เอกสารประกอบการบรรยายและฝึ กอบรม เรื่ อง "ผ้ าปั กเชียงใหม่ " จัดท�ำโดย : โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน) ประธานที่ปรึกษาโครงการ : รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ปี ที่พิมพ์ : สิงหาคม 2559 พิมพ์ที่ : มิสเตอร์ เจมส์ เชียงใหม่ ภาพวาด : หนังสือนิทานเรื่ อง “วันหยุดสุดหรรษาที่หมู่บ้านชาวดอย” พิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ออกแบบปก : อาณัฐพล ชัยศรี ออกแบบรูปเล่ม : วัชราภรณ์ ช่างเหล็ก ติดต่อ FB : www.facebook.com/ChiangmaiCCFA Instagram : Chiangmai_creativecity
“ยั่งยืน” พระผู้ทรงเป็นแก่นแกน แห่งการด�ำรงชีวิต ในแนวความคิดผสมผสานคนกับป่า ศิลปะพื้นถิ่นและป่าไม้จะยังคงเจริญเติบโต เสมือนวงปีของต้นไม้ใหญ่ อันมีสมเด็จพระบรมราชินีนาถพระองค์นี้ ทรงเป็นแกนแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน
องค์การบริ หารส่วนจัง หวัด เชี ยงใหม่ มี อ� ำ นาจหน้ า ที่ ในการพัฒ นาจังหวัดเชี ย งใหม่ใ นหลาย ด้ าน ทังเศรษฐกิ ้ จ สังคม การศึกษา การสาธารณสุข การส่งเสริ มอาชีพ สาธารณูปโภค ทรัพยากรธรรมชาติ และจารี ตประเพณี และภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่ให้ ด�ำรงอยูแ่ ละสืบทอดสู่ ค นรุ่ น ต่ อ ไป เพื่ อ ให้ เกิ ดประโยชน์ สูง สุด ต่อประชาชนในท้ องถิ่ น องค์ การบริ หารส่ว นจัง หวัดเชี ย งใหม่ ได้ ว าง แนวทางปฏิบตั ิในส่วนที่เกี่ยวข้ องกับทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ใน 3 ข้ อ คือ • ส่งเสริ มสนับสนุนให้ ท้องถิ่นด�ำเนินกิจกรรมร่วมกับองค์กรต่างๆ ท�ำงานอย่างบูรณาการ เพื่อให้ เกิดความตระหนัก ในการด�ำเนินกิจกรรมในด้ านการศาสนา การฟื น้ ฟูจารี ตประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่และชนเผ่าที่หลากหลาย • ส่งเสริ มสถาบันทางการศึกษาและสถาบันทางสังคมต่างๆ ให้ มบี ทบาทส�ำคัญในการอนุรักษ์ ท�ำนุ บ�ำรุง รักษา สืบทอด พัฒนา มรดกทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารี ตประเพณีอนั ดีงาม ตลอดจนสถาปั ตยกรรม โบราณและแหล่งประวัตศิ าสตร์ ของจังหวัดเชียงใหม่ • สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้ านศิลปะ วัฒนธรรมสูท่ ้ องถิ่น และศาสนสถาน โดยร่วมกับ องค์กรต่างๆ ทังภาครั ้ ฐ เอกชน และองค์กรที่ท�ำงานเพื่อสังคมในประเทศและต่างประเทศ เพื่อร่วมพัฒนาเมือง เชียงใหม่สเู่ มืองแห่งการสร้ างสรรค์ทางศิลปะและวัฒนธรรม (Creative City of Arts and Culture) ซึง่ แนวทางปฏิบตั ขิ ององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ สอดคล้ องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ทีใ่ ห้ ความส�ำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการส่งเสริมการพัฒนาเมืองสร้ างสรรค์ (Creative City) ในระดับภูมภิ าคและท้ องถิน่ เพือ่ ให้ ประเทศไทย เป็ นศูนย์กลางเครือข่ายการผลิต การค้ า และการ บริการของธุรกิจสร้ างสรรค์ของภูมภิ าคอาเซียน (Creative Hub of ASEAN) ที่ผา่ นมาจังหวัดเชียงใหม่ได้ มีการจัดการศึกษารวบรวมและจัดท�ำข้ อมูลเบื ้องต้ นของเมืองเชียงใหม่ เพื่อเตรี ยมการเป็ นเครื อข่ายสมาชิกเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO ซึง่ กระบวนการด�ำเนินงานจ�ำเป็ น ต้ องมีการศึกษาทังเชิ ้ งกว้ างและเชิงลึก รวมถึงต้ องมีการปฏิบตั ิการอย่างเป็ นรูปธรรม ทังส่ ้ วนนโยบายและการ ปฏิบตั กิ าร ในการนี ้องค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จึงได้ จดั ท�ำโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ภายใต้ ชื่อ “โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรม และศิลปะพื ้นบ้ าน)” โดยมุง่ หวังให้ เกิดการท�ำงานร่วมกันอย่างบูรณาการกับองค์กรภาครัฐ เอกชน ชุมชน ภาค การศึกษาและอาชีพของจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อร่วมกันผลักดันให้ จงั หวัดเชียงใหม่สามารถเป็ นเครื อข่ายเมือง สร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน) อันจะสามารถสร้ างชื่อเสียงให้ กบั ประเทศไทยในระดับสากล จากทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ตอ่ ไป
นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดเชียงใหม่
จากประวัตศิ าสตร์ อนั ยาวนานกว่า 720 ปี ท�ำให้ เชียงใหม่เป็ นเมืองที่อดุ มไปด้ วยทุนทางวัฒนธรรม ซึง่ ล้ วนแต่เสริ มสร้ างศักยภาพของเมือง ให้ ยกระดับเป็ นเมืองสร้ างสรรค์ทางด้ านหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน (Chiang Mai : City of Crafts and Folk Art) อันมีองค์ประกอบทังศิ ้ ลปวัฒนธรรม ประเพณี เอกลักษณ์และ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่หลากหลาย และมีความสัมพันธ์กบั วัฒนธรรมของผู้คนที่พ�ำนักอาศัย ด�ำรงชีวิต และ ประกอบกิจกรรมต่างๆ ซึง่ โดยธรรมชาติของการสร้ างสรรค์งานหัตถกรรมเชียงใหม่ จะมีคณ ุ ลักษณะที่ยงั ยึดโยงกันอยู่ ซึง่ เกิดจากพัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรมของชุมชน ที่เริ่ มจากระดับหมูบ่ ้ านสูเ่ มืองและเป็ นแรงขับ เคลื่อนสูก่ ารสร้ างสรรค์ ท�ำให้ เชียงใหม่นนบานสะพรั ั้ ่งด้ วยงานหัตถกรรม พร้ อมสูก่ ารเคลื่อนตัวของเมือง การน�ำวัฒนธรรมที่สงั่ สมมานาน เป็ นทุนเพื่อให้ การสร้ างสรรค์ในปั จจุบนั และอนาคตนันมี ้ เรื่ องราวความเป็ น มาที่สามารถศึกษาเรี ยนรู้ และน�ำมาสร้ างสรรค์และต่อยอดวัฒนธรรมที่เหมาะสมต่อวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ใน ปั จจุบนั และอนาคตอย่างยัง่ ยืนมัน่ คง มรรคผลของการสร้ างสรรค์งานหัตถกรรม จะกลับมาสูก่ ารพัฒนา คุณภาพของชีวิตและการศึกษาให้ แก่ผ้ คู นในท้ องถิ่น มีการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการท่องเที่ยวที่ยงั่ ยืน เชียงใหม่กบั งานหัตถศิลป์ สร้ างสรรค์ก็เปรี ยบเหมือนดังการปลูกต้ นไม้ แห่งการสร้ างสรรค์ มีรากเหง้ าที่หยัง่ ลึก ล�ำต้ นแข็งแกร่งและมัน่ คง กิ่งใบที่แผ่ไพศาล ออกดอกผลที่เบ่งบานและเจริ ญงอกงามสืบต่อไป
คณะท�ำงานโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้ างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน (Crafts and Folk Art) รศ.ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ประธานที่ปรึกษา
ปะกาเกอะญอ (กะเหรี่ยง)
ปะกาเกอะญอทอผ้ าจนเป็ นวัฒนธรรมประจ�ำเผ่า เสื ้อเด็กและหญิงสาวจะเป็ น ชุดทรงกระสอบ ผ้ าฝ้ายพื ้นขาว ทอหรื อปั กประดับลวดลายให้ งดงาม ส่วนหญิงที่มีครอบครัว แล้ วจะสวมเสื ้อสีด�ำ น� ้ำเงิน และผ้ านุง่ สีแดงคนละท่อน ตกแต่งด้ วยลูกเดือย หรื อทอยกดอก ยกลาย ส�ำหรับผู้ชายปะกาเกอะญอนันส่ ้ วนมากจะสวมเสื ้อตัวยาวถึงสะโพก ตัวเสื ้อจะมี การตกแต่งด้ วยแถบสีไม่มีการปั กประดับเหมือนเสื ้อผู้หญิง นุง่ กางเกงสะดอ นิยมใช้ สร้ อย ลูกปั ดเป็ นเครื่ องประดับ และสวมก�ำไลเงินหรื อตุ้มหู
ภาพวาดจาก หนังสือนิทานเรื่ อง “วันหยุดสุดหรรษาที่หมู่บ้านชาวดอย” พิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
เอกลักษณ์ของปะกาเกอะญอจะต้ องมีเม็ดเล็ก ๆ สี ขาวประดับอยูบ่ นเสื ้อผ้ า เรี ยกว่า “ลูกเดือย” เป็ นธัญพืชที่ ให้ พลังงานและมีคณ ุ ค่าทางอาหารสูง
ภาพวาดจาก หนังสือนิทานเรื่ อง “วันหยุดสุดหรรษาที่หมู่บ้านชาวดอย” พิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
ลีซอ (ลีซู) ผู้หญิงลีซอ ทุกวัยแต่งกายด้ วยผ้ าสีสดใส สวมใส่เป็ นเสื ้อตัวหลวม แขนกระบอก ส่วนหน้ าของเสื ้อยาวถึงเข่าส่วนหลังยาวถึงนิยมสีน� ้ำเงิน เขียว ฟ้า และม่วง คอเป็ นผ้ าสีด�ำ ตกแต่งลวดลายสวยงาม โดยน�ำผ้ าแถบผ้ าสีตา่ ง ๆ เช่น ม่วง ฟ้า ชมพู เขียว ด�ำ ขาว ส้ ม แดง มา เย็บต่อกันเป็ นริ ว้ สวมเสื ้อกัก๊ ที่ตกแต่งด้ วยกระดุมเงิน สวมกางเกงหลวม ๆ สีด�ำ ในตัวเสื ้อ ใช้ ผ้ าสีด�ำพันรอบเอว คล้ ายเข็มขัด สวมปลอกขาเพื่อป้องกัน แมลง กิ่งไม้ หรื อกันหนาว ผู้หญิง สูงวัยโพกหัวด้ วยผ้ าสีด�ำยาวพันหัวหลาย ๆ รอบ แล้ วเก็บชาย หญิงสาวจะสวมหมวกโดย ประดับประดาด้ วยลูกปั ดหลากสี ผู้ชายลีซอ ทุกวัยแต่งกายเหมือนกัน โดยสวมใส่กางเกงที่มี ความยาวเลยเข่าเล็กน้ อย เป้ากว้ างมาก สีน� ้ำเงิน สีเขียว ฟ้า เสื ้อสีด�ำ แขนยาว คอป้ายตกแต่ง กระดุมเงิน ติดรังดุมสีน� ้ำเงินที่สว่ นบนของตัวเสื ้อ สวมปลอกขาสีด�ำ
เอกลักษณ์ของลีซอ คือ เชือกลีซอ หลากหลายสีสัน น�ำมาตกแต่ง หมวก ชายเสื ้อ และผ้ าคาดเอว
ลาหู่ (มูเซอ) ผู้หญิง สวมเสื ้อตัวสันสี ้ ด�ำ แขนยาว ผ่าอก ติดแถบผ้ าสีแดงที่สาบเสื ้อ รอบชายเสื ้อ และแขน ตกแต่งเสื ้อด้ วยกระดุมเงิน ส่วนผ้ าซิน่ ใช้ สีด�ำเป็ นพื ้น มีลายสีตา่ งๆ สลับกันอยูท่ ี่เชิง ผ้ าโดยเน้ นสีแดงเป็ นหลัก ผู้ชาย สวมเสื ้อสีด�ำ ผ่าอกกลาง กระดุมโลหะเงิน หรื อกระดุมเปลือกหอย กางเกงจีน สีด�ำหลวม ๆ ยาวลงไปแค่เข่าหรื อใต้ เข่าเล็กน้ อย
ภาพวาดจาก หนังสือนิทานเรื่ อง “วันหยุดสุดหรรษาที่หมู่บ้านชาวดอย” พิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
เผ่ามูเซอจะขึ ้นชื่อเรื่ องการเย็บ น�ำผ้ าที่เป็ นลายปะมาเย็บต่อกันเป็ นผืน ๆ
อ่าข่า (อีก้อ) อาข่าใช้ ผ้าฝ้ายทอเนื ้อแน่นย้ อมเป็ นสีน� ้ำเงินเข้ มและสีด�ำ หญิง สวมเสื ้อตัวสัน้ กระโปรงพลีทสัน้ ผ้ าคาดเอวและผ้ าพันน่อง ห้ อยคอด้ วยลูกปั ด มีจดุ เด่นที่หมวก ประดับด้ วย ลูกปั ดหลากสี ความแตกต่างของหมวก อยูท่ ี่หญิงวัยเด็ก วัยรุ่น สวมหมวกทรงกลม หาก แต่งงานแล้ วจะสวมหมวกทรงสูง ผู้ชาย สวมเสื ้อคอกลมแขนยาว กางเกงขาก๊ วย สีเดียวกัน
ภาพวาดจาก หนังสือนิทานเรื่ อง “วันหยุดสุดหรรษาที่หมู่บ้านชาวดอย” พิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
เอกลั ก ษณ์ ของอาข่ า จะ นิยมใช้ การปั กลูกเดือย ลูกปั ด พูไ่ หม พรม ปุยไหม เหรี ยญเงินตรา กระดุม เงิน มาประดับประดาตกแต่งบน หมวกและเสื ้อ ซึง่ เครื่ องประดับเหล่า นี ้จะดูโดดเด่นขึ ้นมา เมื่อมาตัดกับ ผ้ าทอสีด�ำหรื อสีน� ้ำเงินเข้ ม
เมี่ยน (เย้า) ชาวเมี่ยนหญิง เครื่ องแต่งกายประกอบด้ วย นุง่ กางเกงขาก๊ วยเป็ นผ้ าสีด�ำ ปั ก ลวดลายด้ านหน้ า ผ้ าคาดเอว ผ้ าโพกศีรษะ เสื ้อคลุมแขนยาว ด้ านหลังเป็ นผ้ าตรงชิ ้น เดียว ด้ านหน้ าเป็ นผ้ า 2 ชิ ้น มีไหมพรมสีแดงเป็ นพวงที่สอบเสื ้อ ชาวเมี่ยนผู้ชาย จะสวม เสื ้อตัวสันหลวม ้ คอกลม ชิ ้นหน้ าห่ออกอ้ อมไปติดกระดุมลูกตุ้มเงิน 8 – 10 เม็ด เป็ น แถวทางด้ านขวา กางเกงขาก๊ วย ตัดเย็บผ้ าทอมือย้ อมครามสีน� ้ำเงินหรื อด�ำ จะมีลาย ปั กและกระเป๋ าติดอยูด่ ้ านหน้ า
ภาพวาดจาก หนังสือนิทานเรื่ อง “วันหยุดสุดหรรษาที่หมู่บ้านชาวดอย” พิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
เอกลักษณ์ของชาวเมี่ยน คือ เสื ้อที่เป็ นเอกลักษณ์ มีปยุ ไหมพรมสีแดงเข้ ม รอบคอเสื ้อ และกางเกงสีด�ำหรื อสีน� ้ำเงินเข้ ม ผ้ าคาดเอวและกางเกงของเผ่าเมี่ยน จะมีลกั ษณะเฉพาะคล้ ายกับวิธีการปั ก ครอสติตช์ วิธีปักของชาวเมี่ยนน่าจะมา จากชาวต่างชาติที่เข้ ามาสอนศาสนา
ม้ง (แม้ว) ผู้ชาย สวมเสื ้อสีด�ำ หรื อน� ้ำเงิน ตัวสัน้ ตัวป้าย ปั กลวดลาย แขนยาว ขลิบขอบแขน เสื ้อด้ วยสีฟา้ ส่วนกางเกงใช้ สีเดียวกัน เป้ากางเกงจะกว้ างและหย่อนต�่ำลงมาถึงหัวเข่า ปลาย ขาแคบมีผ้าสีแดงคาดเอวเอาไว้ ชายผ้ าทังสองข้ ้ างปั กลวดลาย ห้ อยลงมา ผู้หญิง สวมเสื ้อสีด�ำ หรื อสีน� ้ำเงินเข้ ม มีลวดลายที่หน้ าอก แขนยาวขลิบที่ปลายแขน ด้ วยสีฟา้ ปกเสื ้อห้ อยพับไปด้ านหลัง ปั กลวดลาย สวมกระโปรงจีบ รอบตัว ลวดลาย จากการ เขียนด้ วยขี ้ผึ ้งแล้ วน�ำย้ อมสีน� ้ำเงิน มีผ้าผืนยาวปั กลวดลาย หัอยชายปิ ดกระโปรง ผู้หญิงที่ แต่งงานแล้ ว จะใช้ ผ้าพื ้นเรี ยบ ขลิบชายด้ วยผ้ าสี มีผ้าแดงปั กลวดลายที่ชายทังสองข้ ้ าง และ ปล่อยเป็ นพูห่ ้ อยลงมา คาดด้ วยเข็มขัดเงินทับ พันแข้ งด้ วยผ้ าสีน� ้ำเงินหรื อด�ำ มวยผมไว้ ที่ กลางกระหม่อมมีช้องผมมวย พันเสริ มให้ ใหญ่ขึ ้น แล้ วใช้ ผ้าโพกทับมวยผม ประดับเครื่ องเงิน และเหรี ยญเงิน
ภาพวาดจาก หนังสือนิทานเรื่ อง “วันหยุดสุดหรรษาที่หมู่บ้านชาวดอย” พิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
เอกลักษณ์ของชาวม้ ง คือ ลายปั กที่เป็ นลายละเอียดแน่นไป ทังตั ้ ว ลายส่วนใหญ่ได้ มาจากรูป ทรงเรจาคณิต เช่น สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ผ้ าปั กที่เป็ นผีมือ ของชาวม้ ง ยังเป็ นที่ชื่นชอบของ นักท่องเที่ยวอีกด้ วย เพราะเป็ น งานที่ ล ะเอี ย ดอ่ อ นและมี สี สัน ที่ สวยงาม
“
พระเจ้าอยู่หัวรับสั่งว่า ที่บนภูเขานี้เป็นของชาวเขาอยู่มาตั้งแต่เดิม ควรให้เขาดูแลต่อไป ให้เขาอยู่ไปตามวิสัยของเขา ให้เขาอยู่ตามธรรมชาติ เราเพียงแต่มาช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิต เพิ่มรายได้ให้เขาอยู่ได้ ให้หมู่บ้านเล็ก ๆ ค่อยขยายตัวออกไปเอง ไม่ใช่น�ำความเจริญจากภายนอกเข้ามา ให้ท�ำนุบ�ำรุงสิ่งที่ดีที่เหมาะสมกับเขา
”
พระราชด�ำรัส สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ