รายงานประจำปี สำนักศิลปะและวัฒนธรรม ม.ราชภัฏนครราชสีมา 2558

Page 1

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

1


พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา Korat Museum

พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมาได้รับการคัดเลือกจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมของชุมชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจ�ำปี ๒๕๕๘

2

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


สารจากอธิการบดี นับแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ เป็นจุดเริ่มต้นที่ส�ำนักศิลปะ และวั ฒ นธรรมได้ก่อ ตั้ง ขึ้น เป็นเวลากว่า ๔๐ ปีแล้ว ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ ด� ำ เนิ น งานด้ า นการท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ป วัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง เป็นที่ประจักษ์แก่สังคมอย่าง มากมาย ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น ก็ ยั ง คงขั บ เคลื่ อ นภารกิ จ ด้ า น ศิลปวัฒนธรรมอย่างต่อเนือ่ งและเข้มแข็ง เพือ่ การอนุรกั ษ์ ฟื้นฟู และสืบสานศิลปวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าให้คงอยู่ อย่ า งมั่ น คง รวมถึ ง ยั ง ให้ บ ริ ก ารด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรม แก่ ชุ ม ชนและประชาชนในหลากหลายมิ ติ โดยเน้ น การบริ ห ารงานในเชิ ง รุ ก การมี ส ่ ว นร่ ว มและประสาน ความร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานทั้ ง ภายในและภายนอก สถาบันการศึกษา ชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งระดับชาติและนานาชาติในการระดมทรัพยากร เพื่อ ผลักดันและสร้างคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น และของชาติให้เป็นวาระส�ำคัญ ในการเปิดพื้นที่รองรับ และแลกเปลี่ยนงานด้านศิลปวัฒนธรรมสู่ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติให้มากยิ่งขึ้น ผมในนามของมหาวิทยาลัย ขอขอบคุณคณะผูบ้ ริหาร และบุคลากรของส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ที่ได้ร่วมมือ ร่วมใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้วยความมุง่ มัน่ ทุม่ เท และ เสี ย สละ เพื่ อ ให้ อ งค์ ก รประสบความส� ำ เร็ จ อย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ บรรลุ ต ามเป้ า หมายที่ ตั้ ง ไว้ ซึ่ ง จะเป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ ช ่ ว ยพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย ให้ เ จริ ญ ก้ า วหน้ า ต่อไป

รองศาสตราจารย์ ดร. วิเชียร ฝอยพิกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

3


สารจากรองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม เป็นหน่วยงานหลักของ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาทีท่ ำ� หน้าทีข่ บั เคลือ่ นงาน ด้านการท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรมมาโดยตลอด โดยในรอบ ปี ๒๕๕๘ ที่ผ่านมานั้น เป็นที่น่ายินดีที่ส�ำนักศิลปะและ วั ฒ นธรรม ได้ มี ค วามก้ า วหน้ า ขึ้ น ในหลายๆ ด้ า น มี เ หตุ ก ารณ์ แ ละกิ จ กรรมที่ ส� ำ คั ญ เป็ น ที่ น ่ า ประทั บ ใจ หลายประการเกิดขึ้น อาทิ เทศกาลโคราชศิลปะและ วัฒนธรรมนานาชาติ การประกวดหมอเพลงโคราชชิงถ้วย พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ซึ่งเป็นกิจกรรมใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนทั้งใน ระดับมหาวิทยาลัยและระดับจังหวัด อันเป็นนิมิตหมาย ของการเริ่ ม ต้ น สิ่ ง ใหม่ และก้ า วต่ อ ไปอย่ า งมั่ น คงใน อนาคต เพื่ อ สร้ า งให้ ม หาวิ ท ยาลั ย แห่ ง นี้ เ ป็ น สถาบั น การศึกษาที่เป็นที่พึ่งของท้องถิ่นอย่างแท้จริง โดยเฉพาะ ในด้านการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาวโคราช ขอขอบคุณคณะผู้บริหารและบุคลากรของส�ำนัก ศิลปะและวัฒนธรรม รวมถึงภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วน ทีไ่ ด้รว่ มกันสร้างสรรค์ให้มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนทางด้านศิลป วัฒนธรรมส�ำหรับประชาชนและเยาวชนคนรุ่นใหม่ เพื่อ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์และน�ำไปสูก่ ารเป็นคนคุณภาพ น�ำการเปลี่ยนแปลงจังหวัดนครราชสีมาและประเทศไทย ให้ ก ้ า วไปบนพื้ น ฐานของความแข็ ง แกร่ ง ทางศิ ล ป วัฒนธรรมอย่างแท้จริง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุธานันธ์ โพธิ์ชาธาร รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 4

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


ถ้อยแถลงผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ด้วยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได้ประกาศ อัตลักษณ์ต่อมหาประชาคม ไว้ว่า “เป็นที่พึ่งของท้องถิ่น” และผลิ ต บั ณ ฑิ ต ให้ เ ป็ น ผู ้ ที่ มี “ส� ำ นึ ก ดี มี ค วามรู ้ พร้อมสู้งาน” น�ำมาสู่การด�ำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ การพั ฒ นาใน ๕ ประเด็ น โดยเฉพาะในประเด็ น ที่ ๔ “การเสริมสร้างคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ท้องถิ่นสู่สากล” โดยมีส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรมเป็น กลไกหลักในการขับเคลื่อนโดยเชื่อมโยงไปยังคณะวิชา โปรแกรมวิ ช า รวมถึ ง ภาคี ก ารพั ฒ นาทั้ ง ภายในและ ภายนอกอย่างบูรณาการ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ มีผลการด�ำเนินงานที่ ประสบความส� ำ เร็ จ อย่ า งงดงาม ครบถ้ ว นตามแผน ยุ ท ธศาสตร์ ทุ ก ตั ว ชี้ วั ด บรรลุ เ ป้ า หมายร้ อ ยละ ๑๐๐ ผลประเมิ น การปฏิ บั ติ ร าชการอยู ่ ที่ ๔.๐๖ ในระดั บ ดี ผลการประกันคุณภาพทางการศึกษาอยู่ที่ ๔.๖๐ ระดับ ดี ม าก และเป็ น หน่ ว ยงาน ๑ ใน ๕ ที่ มี ก ารเบิ ก จ่ า ย งบประมาณตามกรอบได้ร้อยละ ๑๐๐ ส�ำหรับด้านการ บริหารจัดการ มีผลการด�ำเนินงานด้านการจัดการความรู้ ในระดับดีมาก และได้รับรางวัลชนะเลิศ “แนวปฏิบัติที่ดี” (The Best Practice) ระดับมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ ยังได้รับ การยอมรับจากหน่วยงานต่างๆ ทัง้ ภายในและภายนอก ในการมีระบบบริหารจัดการทีด่ ี ตลอดจนมีการสร้างมูลค่าเพิม่ ด้านศิลปะและวัฒนธรรมในหลากหลายมิติ รายงานประจ�ำปีส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ปี ๒๕๕๘ นี้ นอกจากจะเป็นการสรุปผลการด�ำเนินงาน ตามกรอบ งบประมาณ ปี ๒๕๕๘ และประเด็นยุทธศาสตร์แล้ว ข้อมูลและสารสนเทศต่างๆ ทีป่ รากฏภายในเล่มได้ผา่ นการคัดกรอง ตรวจสอบแล้ว จึงสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ในการอ้างอิง และเป็นแนวทางการด�ำเนินงานได้อย่างหลากหลาย อันจะ ก่อให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดีในมิติอื่นๆ ต่อการด�ำเนินงานด้านท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมในล�ำดับต่อไป

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

5


คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

ผศ. นฤมล ปิยวิทย์ อดีตผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม

นายสมพงษ์ วิริยจารุ วัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา

นายบุญสม สังข์สุข นายกสมาคมเพลงโคราช 6

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

บทบาทหน้าที่ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ๑. วางแผนนโยบายและก� ำ หนดแนวทางการ ด�ำเนินงานของส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรมให้สอดคล้องกับ นโยบายและแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัย ๒. พฒ ั นา ติดตาม และตรวจสอบระบบการประกัน คุณภาพของส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ๓. ว างระเบี ย บและข้ อ บั ง คั บ ที่ เ กี่ ย วกั บ การ บริ ห ารงานและการด� ำ เนิ น การของส� ำ นั ก ศิ ล ปะและ วัฒนธรรมตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมายหรือเพื่อเสนอ ต่อสภามหาวิทยาลัย ๔. แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการหรือบุคคลใดบุคคลหนึง่ เพือ่ ด�ำเนินการใดๆ อันอยูใ่ นอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการ ประจ�ำส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ให้คำ� ปรึกษาและเสนอความเห็นแก่ผอู้ ำ� นวยการ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ๖. ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ นื่ เกีย่ วกับกิจการของส�ำนักศิลปะ และวัฒนธรรมหรือตามที่อธิการบดีมอบหมาย


การประชุมคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

7


สารบัญ

8

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๙ ๑๐ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๔ ๒๖ ๒๙ ๓๐ ๔๐ ๕๒ ๖๖ ๗๘ ๘๓ ๘๔ ๘๘ ๙๐ ๙๑ ๙๔ ๙๗ ๙๙ ๑๐๒

สารจากอธิการบดี สารจากรองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา ถ้อยแถลงผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สารบัญ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ประวัติความเป็นมา รายนามผู้บริหารจากอดีต... สู่ปัจจุบัน โครงสร้างการจัดการองค์กร คณะผู้บริหาร บุคลากร ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ตราสัญลักษณ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ งบประมาณ ภาพอนาคตของส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ส่วนที่ ๒ ผลการด�ำเนินงานของส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม รอบปี ๒๕๕๘ งานบริการทางศาสนา คุณธรรม จริยธรรม และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ งานทางวิชาการและวิจัยศิลปวัฒนธรรม งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม งานเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ระดับชาติ และนานาชาติ งานอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น ส่วนที่ ๓ การบริหารและการพัฒนาองค์กร การพัฒนาบุคลากร องค์กรแห่งการเรียนรู้ การบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษา การลงนามความร่วมมือ (MOU) กับหน่วยงานภายในและภายนอก งานประชาสัมพันธ์และสารสนเทศทางวัฒนธรรม รางวัลและการยอมรับด้านศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติ แนวคิด วิสัยทัศน์ และมุมมองผู้อ�ำนวยการ

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

9


ส่วนที่

ข้อมูลพื้นฐานส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม 10

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


ประวัติความเป็นมา รายนามผู้บริหารจากอดีต... สู่ปัจจุบัน โครงสร้างการจัดการองค์กร คณะผู้บริหาร บุคลากร ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ตราสัญลักษณ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ งบประมาณ ภาพอนาคตของส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

11


ประวัติความเป็นมา

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสี ม า เป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ของมหาวิ ท ยาลั ย ท�ำหน้าที่ในการอนุรักษ์ ส่งเสริม ท�ำนุบ�ำรุง และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่น โดยได้ด�ำเนินงาน อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นเวลากว่า ๔๐ ปี ท� ำ ให้ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม า เป็ น องค์ ก ร แห่งขุมความรู้ ภูมปิ ญ ั ญา และส่งเสริมพลังการมีสว่ นร่วม ในการขับเคลือ่ นงานด้านศิลปวัฒนธรรม เป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้าด้านภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมของจังหวัด นครราชสี ม าและอี ส านใต้ มี ภ ารกิ จ ในการท� ำ นุ บ� ำ รุ ง พระพุทธศาสนา เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ต่อยอด ภูมปิ ญ ั ญาทางศิลปวัฒนธรรมของท้องถิน่ ให้มคี วามเจริญ รุง่ เรือง มัน่ คง สร้างความภาคภูมใิ จให้แก่คนในชาติ ก่อให้ เกิ ด การพั ฒ นามู ล ค่ า ทางเศรษฐกิ จ เชิ ง สร้ า งสรรค์ อันน�ำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มทางด้านศิลปวัฒนธรรม อันเป็นรากฐานส�ำคัญของชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งอย่าง ยั่งยืน

12

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


ภูมิหลัง ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ ครั้ ง ที่ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม ายั ง เป็ น วิ ท ยาลั ย ครู นครราชสี ม า โดยในพระราชบั ญ ญั ติ วิ ท ยาลั ย ครู พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๕ ที่ ก� ำ หนดฐานะและบทบาท ของวิ ท ยาลั ย ครู ใ ห้ เ ป็ น สถาบั น การศึ ก ษาและวิ จั ย มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาวิชาการและผลิตครูถึงระดับ ปริญญาตรี ท�ำการวิจยั เพือ่ ส่งเสริมวิชาชีพ และวิทยฐานะ ของครู อาจารย์ และเจ้ า หน้ า ที่ ผู ้ บ ริ ห ารการศึ ก ษา ตลอดจนท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม และวิชาการแก่สังคม จึงได้กอ่ ตัง้ “ศูนย์ศลิ ปวัฒนธรรม” เพือ่ ด�ำเนินงานเกีย่ วกับ การบ�ำรุง รักษา พัฒนา และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ทั้งส่วนของท้องถิ่นและของชาติตั้งแต่บัดนั้น พ.ศ.๒๕๑๙ กองวัฒนธรรม กรมศาสนา กระทรวง ศึกษาธิการ ได้อนุมัติให้จัดหน่วยประเคราะห์ของศูนย์ ส่งเสริมวัฒนธรรมไทย พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้ มี พ ระราชบั ญ ญั ติ ส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ซึง่ ก�ำหนดให้จดั ตัง้ ศูนย์ วัฒนธรรมในวิทยาลัยครู จึงเปลีย่ นจากหน่วยประเคราะห์ มาเป็น “ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา” พ.ศ. ๒๕๒๓ วิทยาลัยครูนครราชสีมา ได้จัดตั้ง ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา เพื่อปกป้องรักษาส่งเสริมเผยแพร่ ปรับปรุง และพัฒนา วัฒนธรรมของชาติ โดยจัดตั้งหอวัฒนธรรมขึ้นครั้งแรก โดยมีว่าที่ ร.ต.ถาวร สุบงกช เป็นหัวหน้าศูนย์ในขณะนั้น และใช้อาคาร ๕ (อาคารส�ำนักงานชั่วคราวคณะมนุษย์ ศาสตร์และสังคมศาสตร์ในปัจจุบัน) เป็นสถานที่เก็บ รวบรวมโบราณวัตถุและศิลปวัตถุต่างๆ ต่อมาได้พัฒนา เป็น “ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม”

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

13


พ.ศ. ๒๕๒๘ ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ นาคประสิทธิ์ หัวหน้าศูนย์ศิลปวัฒนธรรม ได้ย้ายส�ำนักงานของศูนย์ฯ มาอยูท่ ชี่ นั้ ล่างของห้อง ๑๐.๒๑ อาคาร ๑๐ (อาคารร้านค้า สวัสดิการในปัจจุบัน) โดยใช้ห้อง ๕๑๔-๕๑๕ เป็นหอ วัฒนธรรม ดังเดิม พ.ศ. ๒๕๒๙ รศ.ดร. ทองคูณ หงส์พันธุ์ อธิการบดี วิ ท ยาลั ย ครู น ครราชสี ม า ขณะนั้ น ได้ ย ้ า ยศู น ย์ ศิ ล ป วัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมาและหอวัฒนธรรม ไปอยู่ที่ อาคาร ๒ ซึ่ ง เป็ น อาคารดั้ ง เดิ ม ของสถาบั น (ปั จ จุ บั น ถูกรื้อถอนและสร้างเป็นอาคาร ๙ เฉลิมพระเกียรติ) พ.ศ. ๒๕๓๑ ส�ำนักงานนโยบายและแผนสิง่ แวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ขอความร่วมมือ ตั้ ง หน่ ว ยอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มธรรมชาติ แ ละศิ ล ปกรรม ท้องถิ่นจังหวัดนครราชสีมา ในวิทยาลัยครูนครราชสีมา และถือเป็นหน่วยหนึ่งของศูนย์ศิลปวัฒนธรรม

14

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวิทยาลัยครู ว่า “สถาบันราชภัฏ” จากนั้นในปี พ.ศ.๒๕๓๘ ได้มีการ เคลื่อนย้าย อาคาร ๑ ซึ่งเป็นอาคารไม้ที่ตั้งอยู่หน้าสถาบัน ไปทางทิศตะวันออกของสนามฟุตบอล ผศ.อุทยั เดชตานนท์ อธิการบดีในขณะนัน้ ให้ยา้ ยส�ำนักศิลปวัฒนธรรมไปอยูท่ ี่ อาคาร ๑ พ.ศ. ๒๕๔๒ สถาบันราชภัฏนครราชสีมา ได้แบ่ง ส่ ว นราชการใหม่ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ ส ถาบั น ราชภั ฏ พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๒ และได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น “ส�ำนักศิลป วัฒนธรรม” พ.ศ. ๒๕๔๗ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะสถาบันราชภัฏ ทั่วประเทศขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ จึงได้มีการปรับ เปลีย่ นส่วนราชการอีกครัง้ โดยในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้เปลีย่ น ชื่อมาเป็น “ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม” จวบจนปัจจุบัน


พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้มีการรื้อถอนอาคาร ๑ เพื่อด�ำเนิน การก่ อ สร้ า งศู น ย์ ร วมกิ จ การนั ก ศึ ก ษาและหอประชุ ม นานาชาติ ดังนั้นในวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ จึงได้ ย้ายมาตัง้ ส�ำนักงานชัว่ คราว ณ อาคารยุพราชเบญจมงคล หรืออาคาร ๓๑ ก่อนจะย้ายอีกครั้งในวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๕๕ มาตั้งส�ำนักงาน ณ อาคาร ๑๐ (อาคารเดิมของ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) จวบจนปัจจุบัน และ ด�ำเนินการจัดสร้างพิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา พ.ศ. ๒๕๕๖ ผศ.ดร.ณั ฐ กิ ต ติ์ อิ น ทร์ ส วรรค์ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ได้ ผ ลั ก ดั น ยุทธศาสตร์ด้านศิลปวัฒนธรรมให้เป็นยุทธศาสตร์หลัก ๑ ใน ๖ ด้านต่อการพัฒนามหาวิทยาลัย นัน่ คือ ยุทธศาสตร์

ที่ ๕ “เสริมสร้างคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ท้องถิน่ สูส่ ากล” โดยมีการปรับโครงสร้างและการแบ่งส่วน ราชการภายในที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์กิจดังกล่าว ทั้ ง มิ ติ ใ นการบริ ห ารจั ด การ งานวิ ช าการและวิ จั ย ทาง ศิลปวัฒนธรรม หอวัฒนธรรมและศูนย์การเรียนรู้ รวมถึง การบริการและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับสากล นอกจากนี้ยังได้พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ “พิพิธภัณฑ์เมือง นครราชสี ม า” ให้ เ ป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ใ นด้ า นพั ฒ นาการ ทางประวั ติ ศ าสตร์ ชาติ พั น ธุ ์ มรดกทางภู มิ ป ั ญ ญา อันจะเป็นความภาคภูมิใจในความเป็น “คนโคราช” เพื่อ ก้าวสูก่ ารเป็นศูนย์การเรียนรู้ ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ภาคอีสาน ที่มีความยั่งยืน

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

15


รายนามผู้บริหาร จากอดีตสู่ปัจจุบัน

ว่าที่ ร.ต.ถาวร สุบงกช หัวหน้าศูนย์ศิลปวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ - ๒๕๒๗

ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ นาคประสิทธิ์ หัวหน้าศูนย์ศิลปวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๒๗ - ๒๕๓๐

ผศ.สนอง โกศัย หัวหน้าศูนย์ศิลปวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๔

ผศ.นฤมล ปิยวิทย์ หัวหน้าศูนย์ศิลปวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๓๔ - ๒๕๔๒ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๖

รศ.กมลทิพย์ กสิภาร์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗

นางวิลาวัลย์ วัชระเกียรติศักดิ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม วาระที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๗ - ๒๕๕๑ วาระที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๖

ผศ.ดร.ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๖ - ปัจจุบัน 16

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


โครงสร้างการจัดการองค์กร โครงสร้างการแบ่งส่วนงานภายใน

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม

เทียบเท่าคณะ

ส�ำนักงานผู้อ�ำนวยการ

กลุ่มงานวิชาการ และวิจัย ทางศิลปวัฒนธรรม

งานธุรการ

งานบริหาร ส�ำนักงาน

กลุ่มงานบริการ และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม

งานส่งเสริม งานบริการ งานวิชาการ งานเทคโนโลยี คุณธรรม และสารนิ เ ทศ และเผยแพร่ และวิจัยทาง จริยธรรมและ ทาง ทาง ศิลปวัฒนธรรม ศิลปวัฒนธรรม พระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรม

เทียบเท่ากอง

กลุ่มงานหอวัฒนธรรม และ ศูนย์การเรียนรู้

งานบริการ หอศิลป์ และ หอวัฒนธรรม

เป็นงาน หรือ เทียบเท่า

งานส่งเสริม และ พัฒนาศูนย์ การเรียนรู้ทาง ศิลปวัฒนธรรม

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

17


คณะผู้บริหาร ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม

นางสาวรัตน์พันธ์ โสภาเวทย์ รองผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายหอวัฒนธรรมและศูนย์การเรียนรู้ 18

นายสุชาติ พิมพ์พันธ์ รองผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบริการและเผยแพร่วัฒนธรรม

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

นางสาวเรขา อินทรก�ำแหง รองผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายวิจัยและวิชาการวัฒนธรรม


บุคลากร ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม

๖ ๑

๗ ๘ ๙ ๑๐ ๒

๑ นางวราภรณ์ พิลาบุตร ๒ นางสมใจ เกยด่านกลาง ๓ ดร.ไสว กันนุลา (หัวหน้าส�ำนักงาน) ๔ นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ ๕ นายสุรชัย เดชชัยพิทักษ์ ๖ นายชุตินันท์ ทองค�ำ ๗ นางขวัญเรือน ทองตาม ๘ นายพรมงคล นาคดี ๙ นายศุภรัตน์ ภู่เจริญ ๑๐ นายธนัช แววฉิมพลีสกุล

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

19


ปรัชญา :

แหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม น�ำภูมิปัญญา พัฒนาคุณค่าสู่สากล

วิสัยทัศน์ :

เป็นแหล่งเรียนรู้ชั้นน�ำของอีสาน ด้านศิลปวัฒนธรรม และโคราชศึกษา

พันธกิจ :

อนุรกั ษ์ พัฒนา ส่งเสริม เผยแพร่ ศึกษา และวิจยั ศิลป วัฒนธรรมของท้องถิ่น และของชาติ รวมถึงปลูกฝัง คุณลักษณะและค่านิยมทางวัฒนธรรมทีเ่ หมาะสมแก่ สังคม

20

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


ตราสัญลักษณ์

ปรางค์ประธาน ปราสาทหิน พิมาย

ภาชนะดินเผาสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์

ภาพเขียนสี เขาจันทน์งาม

ตราสัญลักษณ์สำ� นักศิลปะและวัฒนธรรม ออกแบบ แนวคิดโดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม สูอ่ งค์กรแห่งความเป็นเลิศทางศิลปะและวัฒนธรรม ในการ เชื่ อ มโยงรากฐานทางวั ฒ นธรรมเพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ส่งเสริมความเข้มแข็งและอัตลักษณ์อนั โดดเด่นขององค์กร แนวความคิดการออกแบบตราสัญลักษณ์ได้น�ำ จุดเด่นของจังหวัดนครราชสีมาที่ได้รับการยอมรับและ แสดงถึ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมอั น โดดเด่ น ของท้ อ งถิ่ น คื อ “ปรางค์ ป ระธานปราสาทหิ น พิ ม าย” ที่ แ สดงถึ ง อารยธรรมอั น ยิ่ ง ใหญ่ แ ละยาวนานบนผื น แผ่ น ดิ น นครราชสี ม า น� ำ เสนอในรู ป แบบลายเส้ น และลด รายละเอียดบางส่วนออกเพื่อสะดวกต่อการใช้งาน “สีแดงเลือด” ซึ่งเป็นสีของดินเทศ ส่วนใหญ่ได้มา จากแร่เฮมาไทด์ (Hematite) ปรากฏ ณ ภาพเขียนสี เขาจันทน์งามและบนภาชนะดินเผาสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อถึงศิลปะ ความเชื่อ พัฒนาการทาง ประวั ติ ศ าสตร์ แ ละวั ฒ นธรรมของผู ้ ค นบนดิ น แดน นครราชสีมา Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

21


ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ของแผนแม่บท วัฒนธรรมแห่งชาติ

ยุทธศาสตร์ที่ ๗ การบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การพัฒนาสังคมและแก้ไข ความเดือดร้อนของประชาชน

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาระบบบริหาร จัดการงานศาสนา ศิลปะ และ วัฒนธรรม

Art and Culture Center, N

ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ไหม

ยุทธศาสตร์จังหวัดนครราชสีมา 22

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ อนุรักษ์ สืบทอด และ ส่งเสริมด�ำเนินงาน ด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม บนพื้นฐาน ความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

การสร้างคุณค ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ การท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและ วัฒนธรรมระดับนานาชาติ

กลยุทธ์ที่ ๑ การพัฒนาแผนแม่บท การท�ำนุบ�ำรุง และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม อย่างบูรณาการ

กลยุทธ์ที่ ๒ ส่งเสริม สืบสาน ท�ำนุบ�ำรุง และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น สู่ระดับชาติ


ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ธ�ำรง รักษา สถาบัน ชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์ ให้คงอยู่คู่สังคมไทย

ยุทธศาสตร์ที่ ๔ สร้างสังคมคุณธรรม ในสังคม โลกาภิวัฒน์

ยุทธศาสตร์ที่ ๕ สร้างภาคีขับเคลื่อน การด�ำเนินงานทาง ศาสนา ศิลปะ และ วัฒนธรรม

ยุทธศาสตร์ที่ ๖ น�ำทุนทางวัฒนธรรม สร้างมูลค่าเพิ่ม ทางเศรษฐกิจ และคุณค่าทางสังคม

Nakhon Ratchasima Rajabhat University

ค่าทางศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สากล

กลยุทธ์ที่ ๓ การวิจัยและสร้าง ผลงานวิชาการ ให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ทางศิลปวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ และสารสนเทศทางศิลปวัฒนธรรม

กลยุทธ์ที่ ๔ เสริมสร้างศักยภาพ แหล่งเรียนรู้ ทางศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ เพื่อรองรับ ประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การปฏิรูประบบวิจัย ให้มีประสิทธิภาพ สู่มาตรฐานสากล

ยุทธศาสตร์ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ งานวิจัย ผลงานวิชาการ ด้านศิลปวัฒนธรรม และภูมิปํญญาท้องถิ่น

ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา

กลยุทธ์ที่ ๕ การพัฒนาระบบ สารสนเทศด้าน ศิลปวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การบริการวิชาการ และเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้กับชุมชนอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การเสริมสร้างมูลค่า ทางศิลปวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สากล ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การบริหารจัดการ ภายใต้การก�ำกับดูแล กิจการที่ดี

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

23


งบประมาณของส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ๒๕๕๘ ๒๕ ๕ ๗

๒๕ ๕๖ ๒๕๕๕

งบประมาณ ๒๕๕๕-๒๕๕๘

๓,๖๑๒,๔๓๐.-

งบประมาณแผ่นดิน (อนุมัติครั้งที่ ๑) ๒๙๐,๐๐๐.งบประมาณบ�ำรุงการศึกษา (อนุมัติครั้งที่ ๑) ๑,๗๘๒,๕๐๐.งบประมาณบ�ำรุงการศึกษา (อนุมัติครั้งที่ ๒) งบประมาณการศึกษาเพื่อปวงชน (อนุมัติครั้งที่ ๑) ๓๗๒,๔๐๐.งบประมาณการศึกษาเพื่อปวงชน (อนุมัติครั้งที่ ๒) งบประมาณอื่นๆ ๖๕๕,๐๓๐.งบประมาณจากภายนอก ๓,๖๑๒,๔๓๐.-

24

๒,๒๙๙,๖๐๐.-

งบประมาณแผ่นดิน (อนุมัติครั้งที่ ๑) ๒๙๐,๐๐๐.งบประมาณบ�ำรุงการศึกษา (อนุมัติครั้งที่ ๑) ๑,๖๒๙,๖๐๐.งบประมาณบ�ำรุงการศึกษา (อนุมัติครั้งที่ ๒) งบประมาณการศึกษาเพื่อปวงชน (อนุมัติครั้งที่ ๑) งบประมาณการศึกษาเพื่อปวงชน (อนุมัติครั้งที่ ๒) งบประมาณอื่นๆ งบประมาณจากภายนอก ๓๘๐,๐๐๐.-

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

๑,๖๗๘,๘๗๕.-

งบประมาณแผ่นดิน (อนุมัติครั้งที่ ๑) ๒๙๖,๐๐๐.งบประมาณบ�ำรุงการศึกษา (อนุมัติครั้งที่ ๑) ๙๔๓,๐๗๕.งบประมาณบ�ำรุงการศึกษา (อนุมัติครั้งที่ ๒) ๗๕๖,๘๐๐.งบประมาณการศึกษาเพื่อปวงชน (อนุมัติครั้งที่ ๑) ๔๓๙,๘๐๐.งบประมาณการศึกษาเพื่อปวงชน (อนุมัติครั้งที่ ๒) งบประมาณอื่นๆ งบประมาณจากภายนอก -

๑,๖๒๐,๓๕๓.-

งบประมาณแผ่นดิน (อนุมัติครั้งที่ ๑) ๒๙๔,๐๐๐.งบประมาณบ�ำรุงการศึกษา (อนุมัติครั้งที่ ๑) ๘๕๒,๐๗๙.งบประมาณบ�ำรุงการศึกษา (อนุมัติครั้งที่ ๒) งบประมาณการศึกษาเพื่อปวงชน (อนุมัติครั้งที่ ๑) ๓๗,๖๗๔.งบประมาณการศึกษาเพื่อปวงชน (อนุมัติครั้งที่ ๒) ๔๓๖,๖๐๐.งบประมาณอื่นๆ งบประมาณจากภายนอก -


งบประมาณ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ งบประมาณแผ่นดิน (อนุมัติครั้งที่ ๑) ๒๙๔,๐๐๐.- ๒๙๖,๐๐๐.- ๒๙๐,๐๐๐.- ๒๙๐,๐๐๐. งบด�ำเนินงาน ๒๙๐,๐๐๐.- ๒๙๐,๐๐๐.- ๒๙๐,๐๐๐.- ๒๙๐,๐๐๐. งบรายจ่ายอื่นๆ ๔,๐๐๐.- ๖,๐๐๐.- - - งบประมาณบ�ำรุงการศึกษา (อนุมัติครั้งที่ ๑) ๘๕๒,๐๗๙.- ๙๔๓,๐๗๕.- ๑,๖๒๙,๖๐๐.- ๑,๗๘๒,๕๐๐. งบบุคลากร ๓๑๐,๖๓๐.- ๙๔๓,๐๗๕.- ๖๖๗,๖๐๐.- ๘๒๐,๕๐๐. งบด�ำเนินงาน ๕๑๖,๔๔๙.- ๓๐๓,๒๗๕.- ๙๖๒,๐๐๐.- ๙๖๒,๐๐๐. งบลงทุน ๒๕,๐๐๐.- ๖๓๙.๘๐๐.- - งบประมาณบ�ำรุงการศึกษา (อนุมัติครั้งที่ ๒) - ๗๕๖,๘๐๐.- - งบด�ำเนินงาน - ๕๐๐,๐๐๐.- - งบลงทุน - ๒๒๖,๘๐๐.- - งบประมาณการศึกษาเพื่อปวงชน ๓๗,๖๗๔.- ๔๓๙,๘๐๐.- - ๓๗๒,๔๐๐.(อนุมัติครั้งที่ ๑) งบด�ำเนินงาน ๓๗,๖๗๔.- ๔๓๙,๘๐๐.- - ๓๗๒,๔๐๐.งบประมาณการศึกษาเพื่อปวงชน ๔๓๖,๖๐๐.- - - (อนุมัติครั้งที่ ๒) งบด�ำเนินงาน ๓๒๖,๖๐๐.- - - งบลงทุน ๑๑๐,๐๐๐.- - - งบประมาณอื่นๆ ๖๕๕,๐๓๐ งบประมาณจากภายนอก ๓๘๐,๐๐๐ ๕๑๒,๕๐๐ รวม ๑,๖๒๐,๓๕๓.- ๑,๖๗๘,๘๗๕.- ๒,๒๙๙,๖๐๐.- ๓,๖๑๒,๔๓๐ ข้อมูล ณ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘

งบประมาณสนับสนุนจากภายนอกมหาวิทยาลัย

๑. งบประมาณหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดนครราชสีมา สนับสนุนจาก ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมล้อม (สผ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ปีงบประมาณ จ�ำนวน ๓๑๒,๕๐๐ บาท ๒. งบประมาณโครงการแหล่งเรียนรูเ้ ฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สนับสนุน จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม จ�ำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

25


ภาพอนาคตของส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม

๒ ปี...

แห่งการพัฒนาส�ำนัก สู่... องค์การแห่งความเป็นเลิศ ด้านศิลปะและวัฒนธรรม

ด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ฉบับล่าสุด ประกาศให้ประเด็นยุทธศาสตร์ “การเสริมสร้างคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ท้องถิ่นสู่สากล” เป็น ๑ ใน ๕ ประเด็นยุทธศาสตร์หลักใน การพัฒนามหาวิทยาลัย การด�ำเนินงานด้านศิลปะและ วัฒนธรรมจึงเป็นเป้าหมายในการเพิม่ ประสิทธิภาพในการ พัฒนาการเรียนการสอนและคุณภาพบัณฑิตไปพร้อมๆ กัน เพื่อให้การด�ำเนินงานของส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม เป็ น ไปตามยุ ท ธศาสตร์ ที่ ไ ด้ ป ระกาศไว้ ต ่ อ ประชาคม ส�ำนักฯ ได้กำ� หนดกลยุทธ์ในการพัฒนาพร้อมกับเป้าหมาย และตัวชี้วัดความส�ำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม โดยรายงาน การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลงาน มหาวิทยาลัย 26

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ราชภัฏนครราชสีมา ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ระบุ ว ่ า ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมมี ก ารด� ำ เนิ น งาน อย่างประสบความส�ำเร็จโดยมีผลการด�ำเนินงานตามแผน ยุทธศาสตร์ครบทุกตัวชี้วัด บรรลุเป้าหมายร้อยละ ๑๐๐ ซึ่งเป็นการสะท้อนถึงประสิทธิภาพการด�ำเนินงานของ ส�ำนักฯ แต่ดว้ ยปณิธานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสี ม าคนปั จ จุ บั น คื อ รศ.ดร.วิ เ ชี ย ร ฝอยพิ กุ ล ที่ ต ้ อ งการให้ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม าเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ของภู มิ ภ าคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ โดยเฉพาะ “การเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” ซึ่งหมายถึงการสร้างศักยภาพของคนในท้องถิ่น ด้วยองค์ ความรูท้ อ้ งถิน่ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาท้องถิน่ ของตนได้


อย่างยัง่ ยืน เพือ่ ให้บรรลุตอ่ ปณิธานของผูน้ ำ� มหาวิทยาลัย ส�ำนักฯ จึงมีแนวทางพัฒนามหาวิทยาลัยภายใต้บริบทด้าน ศิลปวัฒนธรรม อันเป็นภาพหรือเป้าหมายอนาคต จากปณิธานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมาคนปัจจุบัน คือ รศ.ดร.วิเชียร ฝอยพิกุล ที่ ต ้ อ งการให้ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม าเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ของภู มิ ภ าคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ โดยเฉพาะ “การเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” ซึ่ ง หมายถึ งการสร้างศักยภาพของคนในท้องถิ่น ด้ว ย องค์ความรู้ท้องถิ่น ต่อการพัฒนาท้องถิ่นของตนได้อย่าง ยั่งยืน...เพื่อให้บรรลุต่อปณิธานของผู้น�ำมหาวิทยาลัย...

ส� ำ นั ก ฯ ภายใต้ ก ารก� ำ กั บ ดู แ ลของ ผศ.ดร.ณั ฐ กิ ต ติ์ อินทร์สวรรค์ ได้มีแผนการพัฒนาระยะสั้นและระยะยาว เพื่อพัฒนาให้มหาวิทยาลัยราชภัฏมีอัตลักษณ์และเป็น ผู ้ น� ำ ด้ า นศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมอย่ า งแท้ จ ริ ง ภายใต้ แนวคิด...โคราชประตูแห่งศิลปวัฒนธรรมอีสาน เพื่อให้ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาเป็นศูนย์กลางการเรียน รู้ภูมิปัญญาอีสานและอาเซียนด้วยการพัฒนาศักยภาพ ในมิติต่างๆ ทั้งด้านสภาพแวดล้อม การพัฒนาคนและ ระบบบริ ห ารจั ด การ เพื่ อ ก้ า วสู ่ ก ารเป็ น ผู ้ น� ำ ด้ า นศิ ล ป วัฒนธรรม ในภาคตะออกเแียงเหนือ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๑

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

27


ส่วนที่

28

ผลการด�ำเนินงานของ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม รอบปี ๒๕๕๘ รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


งานบริการทางศาสนา คุณธรรม จริยธรรม และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ งานทางวิชาการและวิจัยศิลปวัฒนธรรม งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม งานเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ระดับชาติ และนานาชาติ งานอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และศิลปกรรมท้องถิ่น

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

29


พิธีบวงสรวงและสมโภชศาลเจ้าพ่อขุนศักรินทร์ ประจ�ำปี ๒๕๕๗

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ได้จัดพิธีบวงสรวงและสมโภชศาลเจ้าพ่อ ขุนศักรินทร์ ประจ�ำปี ๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ ศาลเจ้าพ่อขุนศักรินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร ฝอยพิกุล รักษาราชการแทนอธิการบดี เป็นประธาน เริม่ โดยพิธสี งฆ์ พระสงฆ์ ๙ รูปเจริญพระพุทธมนต์ ต่อด้วยพิธีพราหมณ์

ประกอบพิธโี ดย ร้อยเอกสมชาย กลิน่ ด่านกลาง พร้อมคณะ แล้ ว จึ ง เป็ น การร� ำบวงสรวงของเหล่ า คณาจารย์ และ เจ้าหน้าที่ ซึ่งได้รับเกียรติจาก พ่อบุญสม สังข์สุข ศิลปิน มรดกอีสาน เป็นผู้ประพันธ์ค�ำกลอน และขับร้องเพลง โคราช ซึ่งแต่งขึ้นใหม่เพื่อใช้ในงานนี้โดยเฉพาะ และ บรรเลงโดยนักศึกษาโปรแกรมวิชาดนตรี

งานบริการทางศาสนา คุณธรรม จริยธรรม และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 30

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


ทั้ ง นี้ การจั ด พิ ธี บ วงสรวงจั ด ขึ้ น เพื่ อ เป็ น การ สักการบูชา ศาลเจ้าพ่อขุนศักรินทร์ อันเป็นการสร้างขวัญ และก�ำลังใจให้กับคณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความเชื่อว่าบุญบารมีของท่าน จะช่วยปกป้อง คุ้มครอง และอ�ำนวยพรให้ผู้ที่สักการะได้ รับความปิติสุขสืบไป

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

31


สืบสานประเพณี ทอดกฐินสามัคคี รักษามรดกวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่น

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้จดั กิจกรรม “สืบสาน ประเพณี ทอดกฐิ น สามั ค คี รั ก ษามรดกวิ ถี วั ฒ นธรรม ท้ อ งถิ่ น ” ในวั น อาทิ ต ย์ ที่ ๒ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๗ ณ วัดป่าหิมพานต์ (โนนม่วง) ต�ำบลด่านเกวียน อ�ำเภอ โชคชัย จังหวัดนครราชสีมา เพื่อเชิญชวนให้นักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากร ได้ร่วมท�ำบุญอันเป็นกุศล อีกทั้ง ยั ง เป็ น การช่ ว ยท� ำ นุ บ� ำ รุ ง วั ด สื บ ทอดพระพุ ท ธศาสนา ตลอดจนเป็ น การสร้ า งความสามั ค คี มี ค วามรั ก มั่ น กลมเกลียวอันเนื่องมาจากอานิสงส์ของกฐินสามัคคี

32

งานบริการทางศาสนา คุณธรรม จริยธรรม และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


ผ้าป่ามหากุศล วิสาขพุทธบารมี ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ร่วมเป็นเจ้าภาพพิธีถวายต้นผ้าป่ามหากุศล และร่วมเวียนเทียนสักการะพระบรมสารีริกธาตุ ในงาน วิสาขบูชา พุทธบารมี งานบุญยิ่งใหญ่ สุขใจใกล้ธรรม เฉลิ มพระเกี ยรติส มเด็จ พระเทพรัต นราชสุด าฯ สยาม บรมราชกุ ม ารี เนื่ อ งในโอกาสฉลองพระชนมายุ ค รบ ๖๐ พรรษา เมื่ อ วั น ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ณ เอ็มซีซีฮอลล์ ห้างสรรพสินค้าเดอะมอลล์นครราชสีมา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร ฝอยพิกุล อธิการบดี เป็นประธานถวายต้นผ้าป่า พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ร่วมถวายปัจจัยจ�ำนวน ทั้งสิ้น ๒๖,๓๐๐ บาท

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

33


กิจกรรมเวียนเทียนเนื่องในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้จดั กิจรรมเวียนเทียน เนื่ อ งในวั น ส� ำ คั ญ ทางพระพุ ท ธศาสนาครบทั้ ง ๓ วั น อันได้แก่ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และวันอาสาฬหบูชา เพื่ อ เป็ น การท� ำ นุ บ� ำ รุ ง พระพุ ท ธศาสนา และปลู ก ฝั ง คุณธรรม จริยธรรมแก่นกั ศึกษา รวมถึงส่งเสริมให้สามารถ ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ซึ่งในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ มีรายละเอียด ดังนี้ วันมาฆบูชา วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๘ จ�ำนวนผู้ร่วมกิจกรรม ๑๑๐ คน วันวิสาขบูชา วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๘ จ�ำนวนผู้ร่วมกิจกรรม ๑๐๒ คน วันอาสาฬหบูชา วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๘ จ�ำนวนผู้ร่วมกิจกรรม ๑๐๕ คน

งานบริการทางศาสนา คุณธรรม จริยธรรม และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 34

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


กิจกรรมสืบสานประเพณีสงกรานต์ ราชภัฏโคราช อิ่มบุญชุมฉ�่ำ มหาสงกรานต์ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ร่วมกับสโมสรบุคลากร สโมสรพนักงานเจ้าหน้าที่ และองค์การบริหารนักศึกษา ภาคปกติ และภาค กศ.ปช. จัดกิจกรรมสืบสานประเพณี สงกรานต์ ราชภัฏโคราช อิ่มบุญชุมฉ�่ำ มหาสงกรานต์ ในวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘ ณ ชัน้ ๑ อาคารยุพราชเบญจ มงคล เพื่อเป็นการสืบสานประเพณีขึ้นปีใหม่แบบไทย อีกทัง้ ยังเป็นกิจกรรมทีส่ ร้างความสามัคคีในกลุม่ คณาจารย์ และบุคลากรของมหาวิทยาลัย กิจกรรมประกอบด้วย ขบวนแห่ พ ระพุ ท ธรู ป พระสงฆ์ เ จริ ญ พระพุ ท ธมนต์ ถวายภั ต ตาหารเพลพระสงฆ์ พิ ธี ส รงน�้ ำ พระพุ ท ธรู ป พิธีรดน�้ำด�ำหัวคณะผู้บริหารและอาจารย์อาวุโส และ กิจกรรมร�ำวงย้อนยุค

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

35


ท�ำบุญตักบาตร “ส่งท้ายปีเก่า พุทธศักราช ๒๕๕๗ และต้อนรับปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘”

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม จัดกิจกรรมท�ำบุญ ตักบาตร “ส่งท้ายปีเก่า พุทธศักราช ๒๕๕๗ และต้อนรับ ปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘” ในวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ หอประชุ ม อนุ ส รณ์ ๗๐ ปี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม า และลานธรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ เ พื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาคณาจารย์ นั ก ศึ ก ษา และบุ ค ลากรของ มหาวิ ท ยาลั ย ท� ำ บุ ญ ตั ก บาตรพระสงฆ์ ถ วายข้ า วสาร อาหารแห้ง เพื่อเป็นสิริมงคลต่อตนเองและครอบครัว ต้อนรับศักราชใหม่

งานบริการทางศาสนา คุณธรรม จริยธรรม และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 36

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


สืบฮอยพ่อ ก่อฮอยแม่ คนอีสานแท้ๆ บ่ถิ่มฮีตเก่า ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ร่วมกับโปรแกรมวิชา ปรัชญา ศาสนา และเทววิทยา จัดโครงการสวดมนต์ ท�ำวัตรเย็น จริยธรรมน�ำ้ ใจ นักศึกษารุน่ ใหม่ใส่ใจวัฒนธรรม “’สื บ รอยพ่ อ ก่ อ ฮอยแม่ คนอี ส านแท้ ๆ บ่ ถิ่ ม ฮี ต เก่ า ” ในทุกวันอังคาร ตั้งแต่เวลา ๑๖.๐๐ น. เป็นต้นไป ณ ห้อง พุทธศาสน์ ชั้น ๓ อาคาร ๑๐ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม โดยเชิญชวนผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมแต่งกายด้วยการ นุ่งโสร่ง หรือนุ่งซิ่น มาสวดมนต์ท�ำวัตรเย็น เพื่อปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรมแก่นกั ศึกษา และสามารถใช้ชวี ติ อยูใ่ น สั ง คมอย่ า งมี ค วามสุ ข รวมถึ ง สื บ สานการแต่ ง กาย ตามประเพณีท้องถิ่นอีสานอีกด้วย

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

37


ตักบาตรวันพุธ

โครงการตักบาตวันพุธ ได้จดั ขึน้ เป็นประจ�ำทุกภาค การศึกษา ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ รวมเวลากว่า ๑๖ ปี เพื่อเป็นการสืบทอดศิลปะและวัฒนธรรมไทย ท�ำนุบ�ำรุง พระพุทธศาสนา รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ของไทยให้คงอยู่สืบไป พร้อมทั้งปลูกฝังจิตส�ำนึกให้กับ นักศึกษา คณาจารย์ บุคลากร และพุทธศาสนิกชน ได้รู้จัก การเป็นผู้ให้มากกว่าเป็นผู้รับ และได้มีโอกาสท�ำบุญ ตักบาตรร่วมกันภายในมหาวิทยาลัยในทุกวันพุธ ตั้งแต่ เวลา ๐๗.๐๐ น. เป็นต้นไป ณ ลานธรรมเฉลิมพระเกียรติฯ โดยในปี ๒๕๕๘ ได้ จั ด กิ จ กรรม จ� ำ นวน ๒๗ ครั้ ง มีเข้าร่วมกิจกรรมรวมทั้งสิ้น ๑๑,๙๘๕ คน

งานบริการทางศาสนา คุณธรรม จริยธรรม และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 38

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


การให้บริการในการประกอบพุทธศาสนพิธี

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้จัดเตรียมอุปกรณ์ และสิ่ ง จ� ำ เป็ น ในการประกอบพิ ธี ต ่ า งๆ ทางพระพุ ท ธ ศาสนาไว้บริการแก่คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากร อาทิ พระพุ ท ธรู ป โต๊ ะ หมู ่ บู ช า อาสนะ ขั น น�้ ำ มนต์ นอกจากนี้ ยังได้ให้บริการความรูเ้ บือ้ งต้นในพุทธศาสนพิธี หรือพิธกี รรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง เพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชนได้มี ความเข้าใจ และปฏิบัติพิธีกรรมต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง ตามประเพณีนิยม โดยในปี ๒๕๕๘ ได้มีการให้บริการ จ�ำนวน ๕๓ ครั้ง

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

39


การอบรมทางวิชาการ โคราชศึกษา : ประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิตคนโคราช และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรมนานาชาติ

การอบรมทางวิ ช าการ เรื่ อ ง โคราชศึ ก ษา : ประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิต คนโคราช และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม นานาชาติ โดยส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาระดั บ ประถมศึ ก ษาและ มัธยมศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา เมือ่ วันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมสุวัจน์ลิปตพัลลภ๒ อาคารยุพราช เบญจมงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซึง่ กิจกรรม นี้เป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลโคราชศิลปะและวัฒนธรรม นานาชาติ ๒๕๕๘ (Korat International Arts & Culture Festival 2015)

งานวิชาการและวิจัยทางศิลปวัฒนธรรม 40

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญา จังหวัดนครราชสีมา “สะอ๋อนโคราช” พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา โดยส�ำนักศิลปะและ วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได้รับการ คัดเลือกจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ให้เป็น “แหล่งเรียนรู้ ทางวัฒนธรรมเข้าร่วมโครงการแหล่งเรียนรูท้ างวัฒนธรรม ของชุมชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” พร้อมทังได้สนับสนุนงบประมาณ ในการจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม เรี ย นรู ้ ที่ ด ้ า นประวั ติ ศ าสตร์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และภู มิ ป ั ญ ญาจั ง หวั ด นครราชสี ม า มีรายละเอียดดังนี้

“แต่ ง แต้ ม สี ” เรี ย นรู ้ เ รื่ อ งราวดึ ก ด� ำ บรรพ์ ผ ่ า น เครื่องปั้นดินเผาสมัยก่อนประวัติศาสตร์ กิจกรรมส่งเสริม การเรียนรู้ หัวข้อ “แต่งแต้มสี” เป็นฐานการเรียนรูเ้ รือ่ งราว จากลวดลายที่ ป รากฏบนเครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผาสมั ย ก่ อ น ประวัติศาสตร์ วิทยากรโดย คณาจารย์จากโปรแกรมวิชา ศิลปศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จัดต่อเนื่อง ตลอดเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน ๒๕๕๘ Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

41


การเสวนาทางวิชาการ เรื่อง ทิศทางและการด�ำรง อยูข่ องเพลงโคราชอย่างยัง่ ยืน ณ ห้องประชุม ดร.เศาวนิต เศาณานนท์ ชั้น ๓ อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา

งานวิชาการและวิจัยทางศิลปวัฒนธรรม 42

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


การส่งเสริมความยั่งยืนของเพลงโคราช อัตลักษณ์ประจ�ำจังหวัดนครราชสีมา

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม โดยกลุ่มงานวิชาการ และวิจัยทางศิลปวัฒนธรรม ได้บูรณาการกิจกรรมเพื่อ ด�ำเนินงานด้านการอนุรักษ์เพลงโคราช รวมทั้งมุ่งสร้าง ความภาคภูมใิ จ และกระตุน้ ให้เกิดหมอเพลงโคราชและผู้ ฟังรุ่นใหม่ โดยในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ได้มีการด�ำเนิน โดยสังเขป ดังนี้

- การอบรมเยาวชนและประชาชนเพือ่ การอนุรกั ษ์ - การจัดท�ำสื่อวิดิทัศน์ เรื่อง ท่าร�ำพื้นฐานเพลง โคราช โดย อาจารย์เรขา อินทรก�ำแหง รองผู้อ�ำนวยการ วัฒนธรรมหมอเพลงโคราชพื้นบ้าน เมื่อวันที่ ๒๕ - ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม - การเสวนาเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของของการ ด�ำเนินงานด้านการวิจยั ต่อการก�ำหนดแนวทางการด�ำเนิน งานด้านการสืบสานศิลปะการแสดงเพลงโคราชประจ�ำปี ๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุม ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

43


การหนุนเสริมความยั่งยืนของแหล่งเรียนรู้ “แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัด”

ศูนย์การเรียนรู้ท้องถิ่น สมัยก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งโบราณคดีบา้ นโนนวัด ในปัจจุบนั อยูใ่ นการดูแลของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลพลสงคราม ส่วนบทบาทของ ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสีมา ยังคงเป็นพี่เลี้ยงในการด�ำเนินการด้านต่างๆ ทั้งในด้านการประชาสัมพันธ์ การบริหารศูนย์การเรียนรู้ รวมถึงการส่งเสริมให้ศูนย์การเรียนรู้นี้เกิดความยั่งยืน และในฐานะของหน่ ว ยอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มธรรมชาติ และศิลปกรรมท้องถิน่ จังหวัดนครราชสีมา ได้สง่ เสริมในด้าน การดูแลให้แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัดคงความสมบูรณ์ ทั้ ง ในด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและในเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ แ ละ โบราณคดี โดยในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ได้ด�ำเนินการ ศึกษา รวบรวมข้อมูลเพื่อน�ำเสนอต่อคณะอนุกรรมการ สิ่งแวดล้อมจังหวัดนครราชสีมาเพื่อประกาศขึ้นทะเบียน มรดกจังหวัดนครราชสีมา โดยมีกิจกรรมต่างๆ อาทิ ๑. การประชุ ม เพื่ อ หาแนวทางในการประกาศ หมู่บ้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและศิลปกรรมท้องถิ่นแหล่ง โบราณคดีบา้ นโนนวัด โดยหารือในเบือ้ งต้นกับส่วนราชการ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เมื่อวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๘

44

๒. การประชาคมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจใน การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น ณ ศาลาประชาคมบ้านโนนวัด เมือ่ วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๘ ซึ่งผลจากการประชาคมมีมติร่วมกันในการจะร่วมรักษา สิ่งแวดล้อม โบราณสถาน โบราณวัตถุ โดยเฉพาะแนว คูน�้ำคันดิน เฝ้าระวังไม่ให้ถูกท�ำลาย เพื่อคงสภาพความ เป็นแหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ให้สมบูรณ์ ที่สุด

งานวิชาการและวิจัยทางศิลปวัฒนธรรม รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


๓. การลงนามมติ ป กป้ อ งคุ ้ ม ครองและบริ ห าร ๔. การด� ำ เนิ น การร่ ว มกั บ ชุ ม ชนในการอนุ รั ก ษ์ จั ด การร่ ว มกั น ภายในชุ ม ชนบ้ า นโนนวั ด เมื่ อ วั น ที่ ประเพณีท้องถิ่น อาทิ การไหว้ศาลปู่ตา การแสดงมโหรี ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ณ ศาลาประชาคมหมูบ่ า้ นโนนวัด โคราช

๕. จัดท�ำร่างข้อมูลประกอบการขึ้นทะเบียนมรดก จั ง หวั ด นครราชสี ม า เพื่ อ น� ำ เสนอต่ อ คณะอนุ ก รรม สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมจังหวัดนครราชสีมา โดยการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๘ โดยมีนายบุญยืน ค�ำหงษ์ รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด นครราชสี ม า เป็ น ประธาน การประชุ ม ในวั น พฤหั ส บดี ที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมมูลนิธิท้าวสุรนารี ชั้น ๑ ศาลากลางจังหวัด นครราชสีมา โดยมติที่ประชุมเห็นชอบในการประกาศให้ แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัด เป็นมรดกแห่งชาติ (ระดับ จังหวัด) และนายธงชัย ลืออดุลย์ ผู้ว่าราชการจังหวัด นครราชสี ม า ลงนามในประกาศจั ง หวั ด นครราชสี ม า เพื่อประกาศขึ้นทะเบียนให้แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัด มรดกจั ง หวั ด นครราชสี ม า และน� ำ เสนอต่ อ ระดั บ ชาติ ในล�ำดับต่อไป Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

45


สอนศิลป์ ถิ่นกวี ขับกล่อมดนตรีพื้นบ้านสืบสานงานศิลปวัฒนธรรม

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ร่วมกับ กรมส่งเสริม วัฒนธรรม โดยกองกองทุนส่งเสริมงานวัฒนธรรม ด�ำเนิน โครงการสอนศิลป์ ถิ่นกวี ขับกล่อมดนตรีพื้นบ้านสืบสาน งานศิลปวัฒนธรรม โดยเปิดโอกาสให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนผู้สนใจในงานศิลปวัฒนธรรม ร่วมแลก เปลี่ยนเรียนรู้ฝึกฝนทักษะและรับการถ่ายทอดความรู้ จากศิลปินแห่งชาติ ในฐานกิจกรรมต่างๆ อีกทั้งยังเป็น การอนุรกั ษ์ ส่งเสริม และเผยแพร่มรดกภูมปิ ญ ั ญาปราชญ์ แผ่นดิน มุ่งหวังว่าผลผลิตแห่งมรดกภูมิปัญญาครั้งนี้ จะช่วยพัฒนางานศิลปวัฒนธรรมของชาติให้เติบโตต่อไป ในอนาคตอย่างสร้างสรรค์และยั่งยืน เมื่อระหว่างวันที่ ๒๑ - ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ณ หอศิลป์ทวี รัชนีกร จังหวัดนครราชสีมา

งานวิชาการและวิจัยทางศิลปวัฒนธรรม 46

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


สืบค้นต�ำนานท้องถิ่น ภูมิปัญญา ศิลปะ “โคราช...ยิ้ม”

ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ร่ ว มกั บ มู ล นิ ธิ เพื่อนเยาวชนเพื่อการพัฒนา (มยพ.) และพื้นที่สร้างสรรค์ บ้านลานเพลินโคราช จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของ เยาวชนในด้านประวัติศาสตร์เมืองโคราชผ่านการสืบค้น ต�ำนานท้องถิ่น ภูมิปัญญา ศิลปะ ในรูปแบบกระบวนการ เรี ย นรู ้ การผลิ ต สื่ อ การสร้ า งสรรค์ ในโครงการ “โคราช... ยิ้ม” เมื่อวันที่ ๙ มิ.ย. ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุม ๑๐.๒๑ และพิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

47


การอบรมปฏิบัติการ เทคนิคการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น และขั้นตอนการด�ำเนินการสงวนรักษาใบลานและผ้าพื้นเมือง

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้เผยแพร่องค์ความรู้ ในการอนุ รั ก ษ์ โ บราณวั ต ถุ แ ละวั ต ถุ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ให้ แ ก่ นักศึกษาโปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม า ในหั ว ข้ อ “เทคนิคการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น และขั้นตอน การด�ำเนินการสงวนรักษาใบลานและผ้าพื้นเมือง เมื่อ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ ห้อง ๑๒.๑๒ อาคาร ๑๒ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

งานวิชาการและวิจัยทางศิลปวัฒนธรรม 48

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


การพัฒนาห้องสารสนเทศทางศิลปวัฒนธรรม ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ร่วมกับโปรแกรมวิชา บรรณารักษ์ศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา ปรับปรุงรูปแบบการให้บริการของ ห้องสารสนเทศทางศิลปวัฒนธรรม โดยได้มีการวิเคราะห์ หมวดหมู ่ ท รั พ ยากรสารสนเทศในระบบทศนิ ย มดิ ว อี้ (Dewey Decimal Classification System) การซ่อมหนังสือ ที่ช�ำรุดให้พร้อมให้บริการ การจัดหาหนังสือเพิ่มเติมใน หมวดที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์และ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมโดยเน้ น จั ง หวั ด นครราชสี ม าและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ยัง ได้พัฒนาระบบห้อ งสมุดอัตโนมัติ ด้วยโอเพนซอร์ส (Open Source) ในชื่อ OPAC SLiMS (Senayan Library management System) โดยมี คุณสมบัตกิ ารท�ำงานร่วมกันระหว่างห้องสมุดอัตโนมัตกิ บั ห้ อ งสมุ ด ดิ จิ ทั ล ไว้ ใ นระบบเดี ย วกั น ท� ำ ให้ ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก าร สามารถค้นหารายการของเอกสารและเอกสารดิจิทัลผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ตได้โดยสะดวก

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

49


การจัดท�ำหนังสือของดีโคราช เล่ม ๖ ผ้าโคราช

ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ได้ จั ด ท� ำ หนั ง สื อ “ของดีโคราช เล่ม ๖” สาขาผ้าโคราช โดยอาจารย์ออ้ ยทิพย์ เกตุ เ อม ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นผ้ า โคราชเป็ น ผู ้ เ ขี ย นและ ผู ้ เ รี ย บเรี ย ง เพื่ อ เป็ น การรวบรวมข้ อ มู ล ของผ้ า ทอใน กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในจังหวัดนครราชสีมา ให้สะดวก ต่ อ การศึ ก ษาค้ น คว้ า อย่ า งถู ก ต้ อ ง และเพื่ อ เป็ น การ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้คนโคราชได้ตระหนักถึงคุณค่า เอกลักษณ์ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม น�ำมาสู่การ อนุรักษ์อย่างเป็นรูปธรรมในล�ำดับต่อไป

งานวิชาการและวิจัยทางศิลปวัฒนธรรม 50

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


นิทรรศการ “เมธีศิลปศาสตร์ : ผู้เป็นปราชญ์ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี”

ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ได้ ร ่ ว มกั บ ส� ำ นั ก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดแสดงนิทรรศการ หมุนเวียน ในหัวข้อ “เมธีศิลปศาสตร์ : ผู้เป็นปราชญ์ ด้ า นประวั ติ ศ าสตร์ แ ละโบราณคดี ” น� ำ เสนอเนื้ อ หา เกีย่ วกับงานโบราณคดีในจังหวัดนครราชสีมา โดยเน้นเรือ่ ง เครื่องปั้นดินเผาสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของกิจกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ ครบ ๖๐ พรรษา ประจ�ำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๘ ภายใต้ชื่อ เจ้าฟ้าและการอนุรักษ์มรดกไทย ซึ่งจะจัดแสดงตลอด เดื อ นมิ ถุ น ายน ๒๕๕๘ ณ ลานนิ ท รรศการ อาคาร บรรณราชนครินทร์ ชัน้ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

51


งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม เพือ่ น�ำองค์ความรูด้ า้ นศิลป วัฒนธรรมมาบูรณาการให้เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ประเด็นที่ ๓ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ และสารสนเทศทาง ศิลปวัฒนธรรม กลยุทธ์ที่ ๔ การเสริมสร้างศักยภาพแหล่ง เรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยมี แหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรมทั้งภายในและภายนอก ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได้แก่

ห้องสารสนเทศทางศิลปวัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา

ห้องพุทธศาสตร์

ลานธรรมเฉลิมพระเกียรติ

งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม 52

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


ศูนย์การเรียนรู้ท้องถิ่น สมัยก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัด ต�ำบลพลสงคราม อ�ำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา โดยความร่วมมือกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลพลสงคราม

ห้องปฏิบัติการดนตรีพื้นบ้าน และวงดนตรีโปงลาง สายแนนล�ำตะคอง

โดยผลการส�ำรวจความพึงพอใจของผู้มาเยี่ยมชม แหล่งเรียนรู้ทางด้านวัฒนธรรมในมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ปี ๒๕๕๘ พบว่า โดยภาพรวมกลุ่มตัวอย่าง มีความพึงพอใจโดยภาพรวมในระดับมากที่สุด (๔.๔๑) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีความพึงพอใจ มากที่สุด ได้แก่ ด้านการจัดแสดง ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการบริการของเจ้าหน้าที่ ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจ ในระดับมาก คือ ด้านสถานที่และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก โดยส่ ว นใหญ่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการมาเยี่ ย มชม คื อ มาเพือ่ ศึกษาหาความรู้ และส่วนใหญ่รจู้ กั จากการบอกต่อ หรือผู้อื่นแนะน�ำ

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

53


การเสริมศักยภาพแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรมทางด้านสถานที่ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ได้ ว างแผนการ ด�ำเนินงานเพื่อสนองต่อพันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ยุทธศาสตร์จังหวัดนครราชสีมา และแผน แม่บทวัฒนธรรมแห่งชาติ จึงได้ประกาศยุทธศาสตร์สำ� นัก ศิลปะและวัฒนธรรม ปี ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑ ในการจะเป็น หน่วยงานหลักในการด�ำเนินงานด้าน “การเสริมสร้าง คุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ สูส่ ากล” โดยมุ่งพัฒนาองค์ความรู้จากฐานงานวิจัย รวมถึงการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ อันจะน�ำไปสู่การต่อยอด และเผยแพร่ อย่างสร้างสรรค์ เพื่อสร้างค่านิยม จิตส�ำนึก และการ สืบสานศิลปวัฒนธรรมของท้องถิน่ ไปสูก่ ารสร้างมูลค่าเพิม่ ทางศิลปวัฒนธรรม ซึ่งสามารถบูรณาการไปสู่การด�ำเนิน ชีวิต สังคม รวมไปถึงเศรษฐกิจทั้งระดับรากฐานไปจนถึง เศรษฐกิจในระดับใหญ่ขึ้นได้

โดยในด้ า นการพั ฒ นาแหล่ ง เรี ย นรู ้ ภ ายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาและการสร้างบรรยากาศ รวมถึงสิ่งแวดล้อมของมหาวิทยาลัยให้มีบรรยากาศทาง ศิลปะและวัฒนธรรม มุ่งสร้างให้สะท้อนความเป็นตัวตน คนโคราช โดยเริ่มแผนพัฒนาที่เรียกว่า “NRRU Cultural Zone” โดยเริ่มจากการพัฒนาอาคาร ๑๐ ส�ำนักศิลป วั ฒ นธรรม ซึ่ ง อยู ่ ณ ใจกลางของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ มี บรรยากาศที่รื่นรม มีองค์ประกอบทางศิลปะที่จะน�ำไปสู่ การเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาโคราช อาทิ พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ซุมโคราช (หมู่บ้านโคราช) ลานวัฒนธรรม ห้องพุทธศาสตร์ ห้องสารสนเทศทางศิลป วั ฒ นธรรม และหอจดหมายเหตุ ข องมหาวิ ท ยาลั ย ซึ่งมุ่งหวังจะเป็นแหล่งรวมรวบและน�ำเสนอองค์ความรู้ ภู มิ ป ั ญ ญาด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมของโคราชและอี ส าน ครบวงจรแห่งแรกของภาคอีสาน

งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม 54

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


โดยในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและ วั ฒ นธรรม พร้ อ มด้ ว ยอาจารย์ รั ต น์ พั น ธ์ โสภาเวทย์ รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายหอวัฒนธรรมและศูนย์การเรียนรู้ ได้วางแผน ออกแบบ และจัดท�ำรายละเอียดประมาณการ ในการเสริ ม ศั ก ยภาพแหล่ ง เรี ย นรู ้ ด ้ า นสถานที่ แ ละ สิ่งอ�ำนวยความสะดวก และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริหารมหาวิทยาลัย และสภามหาวิทยาลัย เพื่อขอรับ การสนับสนุนการจัดสร้าง ซึ่งได้รับอนุมัติให้จัดสร้างมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ ๑. การปรับปรุงซ่อมแซมห้องบรรยายรวม ๑๐.๒๑ เพื่อปรับปรุงให้เป็นโรงละครขนาดเล็ก ด้วยงบประมาณ ๖๑๐,๐๐๐ บาท (หกแสนหนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ๒. การปรั บ ปรุ ง หลั ง คา-มุ ข โถงบั น ได ด้ ว ย งบประมาณ ๔๕,๐๓๐ บาท (สี่หมื่นห้าพันสามสิบบาท ถ้วน) โดยในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ได้เสนอเพื่อรับการ สนับสนุนต่อเนื่อง ดังนี้ ๑. การปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ ด ้ า นหน้ า อาคาร ๑๐ ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ให้ เ ป็ น ลาน วั ฒ นธรรม และจุ ด แสดงนิ ท รรศการหมุ น เวี ย นฯ ด้วยงบประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ บาท (ห้าแสนบาทถ้วน) ๒. การจั ด สร้ า งห้ อ งคลั ง โบราณวั ต ถุ แ ละวั ต ถุ พิพิธภัณฑ์ ด้วยงบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งแสน บาทถ้วน)

นอกจากนีย้ งั ได้ทำ� การส�ำรวจบ้านโคราช เพือ่ ด�ำเนิน การออกแบบและจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ด้านสถาปัตยกรรม พื้ น ถิ่ น โคราช ณ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม า (อยู่ในระหว่างการด�ำเนินการออกแบบ) และด�ำเนินงาน ร่ ว มกั บ งานโยธาและสถาปั ต ย์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม า เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ลานธรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ ให้เกิดความสวยงาม สมเกียรติกับการเป็นมงคลสถาน ศูนย์รวมจิตใจของชาวพุทธ และรองรับต่อการปฏิ บั ติ กิ จ กรรมทางพุ ท ธศาสนาของมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสีมา

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

55


พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา

พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ถือก�ำเนิดขึ้นด้วย ความมุ่งหวังที่จะส่งเสริมให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้าน ประวัติศาสตร์ ศิลปะ ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมของ จังหวัดนครราชสีมา โดยน�ำเสนอเนื้อหาประวัติศาสตร์ ของจั ง หวั ด นครราชสี ม าตั้ ง แต่ มี ก ารตั้ ง ถิ่ น ฐานและ พั ฒ นาการทางประวั ติ ศ าสตร์ สื บ ต่ อ กั น มาหลายยุ ค หลากสมัย ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เมื่อประมาณ ๔,๕๐๐ ปีมาแล้ว ซึ่งพบร่องรอยอารยธรรมโบราณที่ได้ สั่ ง สมเทคโนโลยี ผ ่ า นกาลเวลา เรื่ อ ยมาจนถึ ง สมั ย ประวัตศิ าสตร์เริม่ ตัง้ แต่สมัยทวารวดี ลพบุรี สืบต่อมาจนถึง เมื่ อ คราวที่ ไ ด้ รั บ การยกฐานะเป็ น เมื อ งชั้ น เอกในสมั ย

รัตนโกสินทร์ และในปัจจุบันที่ได้พัฒนามาเป็นศูนย์กลาง การคมนาคมขนส่งสินค้าและบริการทางรถยนต์ รถไฟ กับภูมิภาคต่างๆ และเป็นศูนย์กลางธุรกิจที่ส�ำคัญของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในด้านสถิตกิ ารให้บริการ ยอดสะสม ๑๐,๔๒๓ คน โดยในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ (๑ ต.ค. ๕๗ – ๓๐ ก.ย. ๕๘) มีผเู้ ข้าชมพิพธิ ภัณฑ์เมืองนครราชสีมา จ�ำนวน ๙,๐๙๔ คน เพิม่ ขึน้ สูงถึงร้อยละ ๖๘๔.๒๗ โดยส่วนใหญ่เป็นนักศึกษา ร้อยละ ๕๓ และรู้จักจากการบอกต่อ ร้อยละ ๔๔ โดย ลักษณะของมาเยีย่ มชมนิยมมาเป็นหมูค่ ณะสูงถึง ร้อยละ ๗๖ และเป็นชาวต่างชาติ ร้อยละ ๐.๙๔

งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม 56

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


ปริมาณผู้เข้าชม เปรียบเทียบปี ๒๕๕๗ - ๒๕๕๘

แผนภูมิแสดงร้อยละของการรู้จัก พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา สื่อมวลชน 1%

บอกต่อ 44% รู้จักจากป้าย พิพิธภัณฑ์ 1%

แผนภูมิแสดงร้อยละประเภทของผู้เข้าชม พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ค�ำเชิญ 7%

สื่อมวลชน 2%

นักศึกษา 54%

Internet 32%

นักท่องเที่ยว 32% นักเรียน 11%

ไม่ทราบสาเหตุ 15%

แผนภูมิแสดงร้อยละประเภทของผู้มาเยี่ยมชม จ�ำแนกเป็นแบบเดี่ยว และหมู่คณะ

ม.ราชภัฏนครราชสีมา 2%

แผนภูมิแสดงร้อยละชาวไทย-ต่างประเทศ ชาวต่างชาติ 1%

มาเดี่ยว 24% มาเป็นกลุ่ม/ หมู่คณะ 76%

ชาวไทย 99%

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

57


โดยในปี ๒๕๕๘ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ มื อ งนครราชสี ม า ไดมุ่งเน้นการสร้างเครือข่ายการพัฒนาทั้งในระดับองค์กร และระดั บ ชาติ ดั ง จะเห็ น ได้ จ ากการท� ำ งานร่ ว มกั บ เครือข่ายนักวิชาการ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์การ ปกครองท้องถิ่น รวมถึงปราชญ์ตามท้องถิ่นต่างๆ เกิดเป็น ผลงานที่หลากหลาย อาทิ

การให้ ยื ม วั ต ถุ ส ะสมแก่ ส ถาบั น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ก ารเรี ย นรู ้ แห่งชาติหรือมิวเซียมสยาม เพื่อจัดแสดงในนิทรรศการ ประสานอาเซียน เรือ่ ง “วัฒนธรรมรัก” จัดแสดงในระหว่าง วันที่ ๓ มีนาคม - ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ มิวเซียมสยาม กรุงเทพ

งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม 58

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


การจัดนิทรรศการหมุนเวียน เรื่อง เรียนรู้รากเหง้าเข้าใจ วัฒนธรรมอีสาน ผ่านนิทรรศการ เกลืออีสาน ขุมทรัพย์จาก ใต้ดิน โดยมีพิธีเปิดโครงการในระหว่างวันที่ ๒๒-๒๔ กันยายน ๒๕๕๘ ณ ศูนย์รวมประกาศข่าว (หัวล�ำโพง) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และจัดแสดงต่อเนื่อง ในระหว่ า งเดื อ นกั น ยายน - พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๘ ณ ห้อง ๑๐.๓๕ อาคาร ๑๐ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม โดยการสนั บ สนุ น จากสถาบั น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ก ารเรี ย นรู ้ แห่งชาติ (สพร.) และมิวเซียมสยาม

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

59


การจัดนิทรรศการหมุนเวียน เรื่อง เมธีศิลปศาสตร์ ผู้เป็น ปราชญ์ด้า นประวัติศาสตร์และโบราณคดี โดยความ ร่วมมือกับส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกิ จ กรรมเทิ ด พระเกี ย รติ สมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนือ่ งในโอกาส ทรงเจริ ญ พระชนมายุ ค รบ ๖๐ พรรษา ประจ� ำ เดื อ น มิถุนายน ๒๕๕๘ ภายใต้ชื่อ “เจ้าฟ้าและการอนุรักษ์ มรดกไทย” ซึ่งจัดแสดงตลอดเดือนมิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ลานนิทรรศการ อาคารบรรณราชนครินทร์ ชั้น ๑

งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม 60

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


การจัดแสดงนิทรรศการ เรื่อง ความรุ่งเรืองของยุคเหล็ก ในจั ง หวั ด นครราชสี ม า ในเทศกาลพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ท ้ อ งถิ่ น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (Museum Festival 2015) ระหว่างวันที่ ๑๖ - ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ ส�ำนัก วั ฒ นธรรม มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น จั ด โดยสถาบั น พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.)

การผลิตแผ่นพับแนะน�ำพิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา การจัดท�ำคู่มือน�ำชมพิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ฉบับ ภาษาอังกฤษ การจัดท�ำเว็บไซต์พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา www.koratmuseum.com และระบบสารสนเทศสนับสนุน ในด้ า นอื่ น ๆ อาทิ ระบบคลั ง ภาพ ฐานข้ อ มู ล เอกสาร ความรู้เกี่ยวกับโคราช การแจ้งพิกัดต่อ Google Map เพื่อสร้างความสะดวก ต่อการค้นหา Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

61


กิจกรรม “NRRU Museum Tour” โดยบูรณาการงานท�ำนุ บ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมเข้ากับกิจกรรมขององค์การบริหาร นั ก ศึ กษาภาคปกติ ในการแนะน�ำให้นักศึกษาใหม่ได้ เรียนรูใ้ นแหล่งเรียนรูข้ องส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้แก่ พิพธิ ภัณฑ์เมืองนครราชสีมา และศูนย์วฒ ั นธรรมเฉลิมราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดความ ส�ำนึกรักและเทิดทูนในสถาบันพระมหากษัตริย์ รวมถึง ได้เรียนรูใ้ นประวัตศิ าสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และภูมปิ ญ ั ญา ของจังหวัดนครราชสีมา เพือ่ สร้างความรักและความผูกพัน ต่อท้องถิ่น ซึ่งจัดขึ้นในระหว่างวันที่ ๒๐ - ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘

งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม 62

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


การออกอากาศทางรายการโทรทัศน์ พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมาได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนใน การเป็นแหล่งเรียนรูท้ สี่ ำ� คัญของจังหวัดนครราชสีมา โดยได้มกี ารถ่ายท�ำ รายการและออกอากาศ ดังนี้ - รายการบ่ายนี้มีค�ำตอบ ช่วงบ่ายนี้มีอะไร ตอน พิพิธภัณฑ์เมือง นครราชสีมา ออกอากาศเมื่อ ๘ - ๙ ตุลาคม ๒๕๕๘ ทาง MCOT HD - รายการ สมุดโน้ต Season 2 ตอน โคราช (๓) ออกอากาศเมื่อ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ทางช่อง RSU WISDOM TV - รายการตามอ�ำเภอจาน ตอน พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ออกอากาศเมื่อ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ ทางอมรินทร์ทีวี ช่อง ๓๔/๔๔ - รายการไทยรัฐนิวส์โชว์ ตอน รากฐานของชาวนครราชสีมา ออกอากาศเมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๘ ทางไทยรัฐทีวี ช่อง ๓๒

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

63


ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ศู น ย์ วั ฒ นธรรมเฉลิ ม ราช เป็ น นิ ท รรศการ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม า จั ด สร้ า งขึ้ น ด้ ว ยความส� ำ นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ในพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่ ท รงแผ่ พ ระบารมี ปกเกล้าปกกระหม่อม ตั้งแต่เมื่อครั้งมหาวิทยาลัยยังเป็น วิทยาลัยครูนครราชสีมาจวบจนถึงปัจจุบัน โดยเมื่อวันที่ ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ นับเป็นวาระมหามงคล ที่ ส มเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิด อาคารยุ พ ราชเบญจมงคล และทรงทอดพระเนตร นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติในศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช โดยในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ มีผู้เข้าชมจ�ำนวนทั้งสิ้น ๓,๐๕๖ คน

งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม 64

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


ห้องสารสนเทศทางศิลปวัฒนธรรม ห้องสารสนเทศทางศิลปวัฒนธรรม เป็นสถานที่ รวบรวมเอกสาร ต�ำราทางวิชาการ งานวิจยั เอกสารโบราณ ต้นฉบับเอกสารส�ำคัญ (Manuscript) รวมถึงสารสนเทศ อืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานด้านศิลปวัฒนธรรมโดยเน้นข้อมูล ในจังหวัดนครราชสีมาและอีสานใต้ เพื่อส่งเสริมให้เป็น แหล่งค้นคว้าเอกสารเพื่อการอ้างอิง และเผยแพร่ข้อมูล แนวคิดด้านวัฒนธรรม โดยในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ อยู่ในระหว่างการ ปรับปรุงความพร้อมในหลายๆ ด้าน ซึ่งได้บูรณาการ กิ จ กรรมกั บ การเรี ย นการสอนร่ ว มกั บ โปรแกรมวิ ช า บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ ซึง่ มีรายละเอียด ดังนี้ - การวิเคราะห์หมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ และจัดเรียงตามระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification System – DDC หรือ DC) - การพั ฒ นาระบบฐานข้ อ มู ล ในโปรแกรม ห้องสมุดอัตโนมัติ (Senayan Library Management System : Slims)

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

65


เทศกาลโคราชศิลปะและวัฒนธรรมนานาชาติ ๒๕๕๘

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสี มา ร่ ว มกั บ จัง หวัด นครราชสีม า ส�ำนักงาน วัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา สภาวัฒนธรรมจังหวัด นครราชสี ม า และเทศบาลนครนครราชสี ม า ด� ำ เนิ น โครงการเทิ ด พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เนื่ อ งในวโรกาสทรงเจริ ญ พระชนมพรรษาครบ ๕ รอบ ภายใต้ชื่อ “เทศกาลโคราช ศิลปะและวัฒนธรรมนานาชาติ ๒๕๕๘” ในระหว่างวันที่ ๒๔ – ๒๖ มกราคม ๒๕๕๘ ณ ลานอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

งานเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ระดับชาติและนานาชาติ 66

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนือ่ งในวโรกาส ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๕ รอบ ด้วยความส�ำนึกใน พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ที่ ท รงมี ต ่ อ การอนุ รั ก ษ์ ศิ ล ปะและ วัฒนธรรมของชาติ รวมถึงพระปรีชาสามารถด้านศิลป วัฒนธรรม ทรงสนพระทัยและให้การสนับสนุนการอนุรกั ษ์ สื บ ทอด เผยแพร่ ค วามรู ้ ด ้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมมาอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง พระองค์ ท รงได้ รั บ การทู ล เกล้ า ฯ ถวาย พระสมัญญาว่า “เอกอัครราชูปถัมภกมรดกวัฒนธรรมไทย” และ “วิศษิ ฎศิลปิน” ด้วยทรงมีพระปรีชาสามารถทางด้านนี้ จึงท�ำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ร่วมกับ จังหวัด นครราชสีมา จัดท�ำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นการเผยแพร่ กิจกรรมการบริการด้านท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

ต่อสาธารณชน โดยมีประเทศต่างๆ เข้าร่วมโครงการกว่า ๑๐ ประเทศ ซึง่ ได้มกี ารแสดงทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม ประจ�ำชาติของตนเอง อีกทั้งยังเป็นการสร้างเครือข่าย ด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมระดั บ นานาชาติ อั น จะเป็ น การ บู ร ณาการกั บ การเรี ย นการสอน การด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ของนักศึกษา พร้อมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาได้ตระหนักถึง ความส�ำคัญในการหวงแหนศิลปวัฒนธรรมของชาติตนเอง รวมไปถึ ง เป็ น การประชาสั ม พั น ธ์ และสนั บ สนุ น การ ท่องเทีย่ วในระดับจังหวัด จนไปถึงระดับชาติ อันจะก่อให้เกิด ประโยชน์ในการน�ำประสบการณ์ที่ได้รับ ไปใช้ในการ ด�ำเนินงานด้านท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมไทยต่อไป

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

67


งานเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ระดับชาติและนานาชาติ 68

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


เทศกาลโคราชศิลปะและวัฒนธรรมนานาชาติ ๒๕๕๘

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

69


รางวัลชมเชยระดับประเทศ การประกวดวงดนตรีพื้นบ้านโปงลาง ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ

ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ได้ ส ่ ง วงโปงลาง “สายแนนล�ำตะคอง” เข้าร่วมการประกวดวงดนตรีพนื้ บ้าน โปงลาง ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ภายใต้โครงการ ส่งเสริมกิจกรรมดนตรีและการละเล่นพื้นบ้าน ประเภท รุ ่ น อายุ ไ ม่ เ กิ น ๒๕ ปี เมื่ อ วั น ที่ ๙ สิ ง หาคม ๒๕๕๘ ณ ลานเอนกประสงค์ อาคารกีฬานิมิตบุตร สนามกีฬา แห่งชาติ กรุงเทพมหานคร ซึ่งผลปรากฏว่า วงโปงลาง สายแนนล�ำตะคอง สามารถคว้ารางวัลชมเชย ได้รับทุน ส่งเสริมจ�ำนวน ๔๐,๐๐๐ บาท พร้อมถ้วยรางวัลเกียรติยศ

งานเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ระดับชาติและนานาชาติ 70

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


สายแนนล�ำตะคอง Live Concert สานฝัน สู่เวทีระดับชาติ ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ได้ จั ด การแสดง คอนเสิรต์ การกุศล เพือ่ สมทบทุนในการเข้าร่วมการแข่งขัน โปงลางชิงแชมป์ประเทศไทย ถ้วยพระราชทานสมเด็จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ๒๕๕๘ ในชื่ อ “สายแนนล�ำตะคอง Live Concert” ซึง่ จัดขึน้ ในวันอังคาร ที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. ณ ห้อง ประชุมสุวัจน์ ลิปตพัลลภ ๒ อาคารยุพราชเบญจมงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

71


วงโปงลาง “สายแนนล�ำตะคอง” คว้ารองชนะเลิศอันดับ ๑ ในโครงการโปงลางล�ำซิ่ง ชิงแชมป์ประเทศไทย

ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ได้ ส ่ ง วงโปงลาง “สายแนนล�ำตะคอง” เข้าร่วมการแข่งขันในโครงการลีโอ โปงลางล�ำซิ่ง ชิงแชมป์ประเทศไทย รอบคัดเลือกตัวแทน เขต ๔ เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ บิ๊กซี ซุปเปอร์ เซ็ น เตอร์ จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด โดยปรากฏว่ า วงโปงลาง สายแนนล� ำ ตะคอง สามารถคว้ า รางวั ล รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ ที่ ๑ รั บ เงิ น รางวั ล จ� ำ นวน ๓๐,๐๐๐ บาท พร้อมถ้วยเกียรติยศ

งานเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ระดับชาติและนานาชาติ 72

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


การประกวดหมอเพลงโคราช ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ร่วมกับ ส�ำนักงาน วัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา สภาวัฒนธรรมจังหวัด นครราชสีมา และสมาคมเพลงโคราช จัดโครงการประกวด เพลงโคราช ภายใต้ชอื่ “วันอนุรกั ษ์มรดกไทยและงานฉลอง ชัยชนะท้าวสุรนารี” ประจ�ำปี ๒๕๕๘ โดยแบ่งเป็น ๔ รุ่น ประกอบด้วย รุ่นนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ รุ่น มัธยมศึกษาตอนปลาย รุน่ อุดมศึกษาและประชาชนทัว่ ไป ท�ำการประกวด ๒ รอบ ได้แก่ รอบคัดเลือก ซึ่งท�ำการ ประกวด เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๘ ณ เดอะมอลล์ นครราชสีมา และรอบตัดสิน ในวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๘ ณ ลานอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

73


การบรรยายเพื่อเพิ่มทัศนคติที่ดีต่อมหาวิทยาลัย ในการประกวดดาวเดือน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ผศ.ดร. ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ได้ รั บ เชิ ญ จากองค์ ก ารบริ ห าร นักศึกษา ภาคปกติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ในการบรรยายเชิงปฏิบัติการในหัวข้อ “ทัศนคติที่ดีต่อ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม า และการพั ฒ นา บุคลิกภาพของผู้เข้าการประกวดดาวเดือน มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา” เมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ ศูนย์รวมกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

งานเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ระดับชาติและนานาชาติ 74

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


การเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมการแสดงดนตรีพื้นบ้านอีสาน (โปงลาง) ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม มี ก ารให้ บ ริ ก าร การแสดงดนตรี พื้ น บ้ า นอี ส าน (โปงลาง) ในนาม “วงสายแนนล�ำตะคอง” ตลอดปีงบประมาณ ๒๕๕๘ จ�ำนวน ๒๙ กิจกรรม และมีผู้เข้ารับบริการทั้งสิ้นกว่า ๑๗,๘๐๐ คน สู ง ขึ้ น จากปี ที่ ผ ่ า นมา ร้ อ ยละ ๑๘.๖๗ ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

75


การเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ล�ำดับที่ วัน/เดือน/ปี กิจกรรม/โครงการ ผู้เข้ารับบริการ หน่วยงานรับบริการ ๑ ๘ ต.ค. ๕๗ พิธีกวนข้าวทิพย์ ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ๕๐๐ คน วัดป่าศรัทธารวม อ.เมือง จ.นครราชสีมา ๒ ๑๑ ต.ค. ๕๗ งานศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย ๑,๐๐๐ คน กองพัฒนานักศึกษา ราชภัฏนครราชสีมา ๓ ๑๙ ต.ค. ๕๗ งานกฐินสามัคคีวัดดอนหวาย ๕๐๐ คน วัดดอนหวาย อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา ๔ ๑ พ.ย. ๕๗ ฉลององค์กฐินสามัคคี มหาวิทยาลัย ๓๐๐ คน ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ราชภัฏนครราชสีมา ๕ ๓ พ.ย. ๕๗ ประเพณีลอยกระทง “ม่วนซื่นฮวมใจ ๕๐๐ คน องค์การบริหารนักศึกษา ชนเผ่าไทอีสาน สืบต�ำนานแห่งมหานที” ภาคปกติ ๖ ๑๓ พ.ย. ๕๗ โครงการเชื่อมความสัมพันธ์บุคลากร ๕๐๐ คน โปรแกรมวิชาเทคโนโลยี ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร การอาหาร กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ครั้งที่ ๒ ๗ ๒๓ พ.ย. ๕๗ งานเทศมหาชาติถวายพ่อหลวงของแผ่นดิน ๑,๐๐๐ คน คณะครุศาสตร์ ๘ ๕ ธ.ค. ๕๗ งานมุทิตาสักการะพระราชนันทมุนี ๑,๐๐๐ คน วัดบัวขวัญ (พระอารามหลวง) จ.นนทบุรี ๙ ๙ ธ.ค. ๕๗ งานเลี้ยงต้อนรับการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ๕๐๐ คน ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ครั้งที่ ๔๓ นครราชสีมาเกมส์ ภาค ๖ ๑๐ ๓๑ ธ.ค. ๕๗ งานมหกรรมไทยหัวใจ ๔ ภาค ๑,๐๐๐ คน จังหวัดนครราชสีมา ๑๑ ๑๓ ม.ค. ๕๘ งานแถลงข่าวเทศกาลโคราชศิลปะ ๑๐๐ คน ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม และวัฒนธรรมนานาชาติ ๑๒ ๑๕ ม.ค. ๕๘ งานเลี้ยงต้อนรับการแข่งขันกีฬาคนพิการ ๑,๐๐๐ คน ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม แห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓ โคราชเกมส์ ภาค ๖ ๑๓ ๒๔-๒๖ เทศกาลโคราชศิลปะและวัฒนธรรม ๑,๐๐๐ คน ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ม.ค. ๕๘ นานาชาติ ๑๔ ๙-๑๓ งานเทศกาลศิลปวัฒนธรรมอาเซียน ๕๐๐ คน ม.ราชภัฏนครศรีธรรมราช ก.พ. ๕๘ 76

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


ล�ำดับที่ วัน/เดือน/ปี กิจกรรม/โครงการ ผู้เข้ารับบริการ หน่วยงานรับบริการ ๑๕ ๑๔ ก.พ. ๕๘ งานธุรกิจยุคใหม่สไตล์การจัดการ ๓๐๐ คน โปรแกรมวิชาการจัดการ ๑๖ ๒๐ มี.ค. ๕๘ งานเลี้ยงต้อนรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมกีฬา ๕๐๐ คน คณะสาธารณสุขศาสตร์ สาธารณสุขชุมชนสัมพันธ์ ๑๗ ๔ เม.ย. ๕๘ การแข่งขันฟุตบอลประเพณี ๑,๐๐๐ คน ม.ราชภัฏนครราชสีมา ๑๘ ๒๕ เม.ย. ๕๘ งานบุญเบิกบ้าน ๓๐๐ คน บ้านโคกน้อย อ.เสิงสาง จ.นครราชสีมา ๑๙ ๒๕ พ.ค. ๕๘ งานเลี้ยงต้อนรับการประชุมสามัญ ๕๐๐ คน สภาคณาจารย์ ประจ�ำปี ทปสท. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ ม.ราชภัฏนครราชสีมา ๒๐ ๒๕ มิ.ย. ๕๘ งานเลี้ยงต้อนรับผู้เข้าอบรมการลงรายการ ๑๐๐ คน ส�ำนักวิทยบริการและ บรรณานุกรมตามมาตรฐาน MARC 21 เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒๑ ๒๘ ก.ค. ๕๘ พิธีเปิดงานเราจะเดินตามรอยพ่อ... ๑๐๐ คน สโมสรบุคลากร ตลาดนัดราชภัฏวิถีพอเพียง ม.ราชภัฏนครราชสีมา ๒๒ ๒๑ ส.ค. ๕๘ งานเลี้ยงบัณฑิตวิทยาลัย ๑๐๐ คน สาขาการบริหารการศึกษา สาขาการบริหารการศึกษา ม.ราชภัฏนครราชสีมา ๒๓ ๒๔-๒๖ งานฉลองครบ ๑๐๐ ปีมหาวิทยาลัย ๑,๐๐๐ คน ม.ราชภัฏอุบลราชธานี ส.ค. ๕๘ ราชภัฏอุบลราชธานี ๒๔ ๒ ก.ย. ๕๘ งานพี่น้องสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ๓,๐๐๐ คน กองพัฒนานักศึกษา นครราชสีมา ๒๕ ๕ ก.ย. ๕๘ ประกวดดาว เดือน คณะวิทยาศาสตร์ ๕๐๐ คน คณะวิทยาศาสตร์และ และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ๒๖ ๑๗ ก.ย. ๕๘ งานเลี้ยงผู้เข้าประชุมวิชาการโฮมภูมิ ๑๐๐ คน โปรแกรมวิชาสถาปัตยกรรม ๒๗ ๑๘ ก.ย. ๕๘ งานมุทิตาจิตแด่ผู้เกษียณอายุราชการ ๒๐๐ คน โรงเรียนเบญจมหาราช โรงเรียนเบญจมหาราชรังสฤษฎิ์ รังสฤษฎิ์ จ.ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๘ ๒๑ ก.ย. ๕๘ งานมุทิตาจิตแด่ผู้เกษียณอายุราชการ ๒๐๐ คน กรมทรัพยากรน�้ำ กรมทรัพยากรน�้ำ “เส้นทางแห่งความ ภาคภูมิใจ เส้นชัยแห่งวัยสง่างาม” ๒๙ ๒๔ ก.ย. ๕๘ พิธีมุทิตาจิต น้อมมนัส กตเวทิตา ๕๐๐ คน ม.ราชภัฏนครราชสีมา กษิณานุสรณ์ แด่ผู้เกษียณอายุราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

77


หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดนครราชสีมา

หน่วยอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด นครราชสี ม า ได้ ถื อ ก� ำ เนิ ด ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. ๒๕๓๑ ถือเป็นอีกภารกิจส�ำคัญในการเป็นหน่วยงาน ที่ ด� ำ เนิ น งานในการสร้ า งความรู ้ ความเข้ า ใจในเรื่ อ ง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมให้แก่ ประชาชน อีกทั้งยังมีหน้าที่ศึกษา รวบรวม บันทึกข้อมูล ให้ เ กี่ ย วกั บ สภาพแวดล้ อ มของแหล่ ง ธรรมชาติ แ ละ ศิ ล ปกรรม และรายงานสถานการณ์ ที่ ค าดว่ า จะมี ผลกระทบไปยังส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงปฏิบัติงานในฐานะ เลขานุ ก ารของคณะอนุ ก รรมการอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม ธรรมชาติ แ ละศิ ล ปกรรมจั ง หวั ด นครราชสี ม า โดยใน ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ มีรายละเอียดในการด�ำเนินงาน ดังนี้

หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดนครราชสีมา 78

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


การอบรม ประชุม และสัมมนา

กิจกรรม ระยะเวลา สถานที่ ผู้ด�ำเนินงาน การประชุมตัวแทนภาคีอนุรักษ์ ๓ - ๘ กุมภาพันธ์ วิทยาลัยนานาชาติ ผศ.ดร.ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ๒๕๕๘ อ�ำเภอเกาะสมุย นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ ท้องถิ่นกลุ่มจังหวัด ๑ ๘ กลุ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฏ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๘ สุราษฎร์ธานี การรับฟังความคิดเห็นและ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๘ ห้องประชุมชั้น ๕ นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ ข้อเสนอแนะการก�ำหนดขอบเขต อาคารเฉลิมพระเกียรติ พื้นที่เมืองเก่านครราชสีมา เทศบาลนคร นครราชสีมา การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตาม ๒๕ - ๒๗ มีนาคม ส�ำนักศิลปะและ ผศ.ดร.ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ ผลการด�ำเนินงานของหน่วยอนุรักษ์ ๒๕๕๘ วัฒนธรรม นางสาวเรขา อินทรก�ำแหง สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม มหาวิทยาลัย นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ ท้องถิ่น กลุ่ม ๘ ครั้งที่ ๑ ราชภัฏสุรินทร์ นางขวัญเรือน ทองตาม นายชุตินันท์ ทองค�ำ การประชุมตัวแทนภาคีหน่วยอนุรักษ์ ๙ - ๑๐ กรกฎาคม โรงเรียนพะเยาพิทยาคม นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ๒๕๕๘ จังหวัดพะเยา นางขวัญเรือน ทองตาม ท้องถิ่นกลุ่มจังหวัด ๑๘ กลุ่ม ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตาม ๓ - ๔ สิงหาคม ส�ำนักศิลปะและ ผศ.ดร.ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ ผลการด�ำเนินงานของหน่วยอนุรักษ์ ๒๕๕๘ วัฒนธรรม นางสาวเรขา อินทรก�ำแหง สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ ท้องถิ่น กลุ่ม ๘ ครั้งที่ ๒ นครราชสีมา การประชุมตัวแทนภาคีหน่วยอนุรักษ์ ๒๘ กันยายน โรงแรมมิโดโฮเต็ล ผศ.ดร.ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ๒๕๕๘ กรุงเทพฯ นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ ท้องถิ่นกลุ่มจังหวัด ๑๘ กลุ่มจังหวัด ครั้งที่ ๓/๒๕๕๘ Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

79


การด�ำเนินงานด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม

โครงการ ระยะเวลา สถานที่ ผู้รับผิดชอบ การส�ำรวจสถานการณ์สิ่งแวดล้อม ตุลาคม ๒๕๕๘ – โบราณสถาน และ อาจารย์เรขา อินทรก�ำแหง ธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น กันยายน ๒๕๕๘ แหล่งศิลปกรรม อาจารย์พิทักษ์ชัย จตุชัย ในจังหวัดนครราชสีมา ในจังหวัดนครราชสีมา นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ การประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อ ๕ มีนาคม ๒๕๕๘ องค์การบริหาร อาจารย์เรขา อินทรก�ำแหง ประกาศขึ้นทะเบียนให้แหล่งโบราณคดี ส่วนต�ำบลพลสงคราม นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ บ้านโนนวัด เป็นมรดกแห่งชาติ ระดับจังหวัด การประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อ ๑๖ มีนาคม ศาลาประชาคม อาจารย์เรขา อินทรก�ำแหง ประกาศขึ้นทะเบียนให้แหล่งโบราณคดี ๒๕๕๘ หมู่บ้านโนนวัด อาจารย์สุชาติ พิมพ์พันธ์ บ้านโนนวัด เป็นมรดกแห่งชาติ อ�ำเภอโนนสูง นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ ระดับจังหวัด นางขวัญเรือน ทองตาม การลงนามความร่วมมือ การปกป้อง ๑๕ พฤษภาคม ศาลาประชาคม อาจารย์เรขา อินทรก�ำแหง คุ้มครองและบริหารจัดการร่วมกันภายใน ๒๕๕๘ หมู่บ้านโนนวัด อาจารย์สุชาติ พิมพ์พันธ์ ชุมชน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อ�ำเภอโนนสูง นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ ธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น นางขวัญเรือน ทองตาม (มรดกจังหวัดและมรดกแห่งชาติ) 80

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


โครงการ ระยะเวลา สถานที่ ผู้รับผิดชอบ การอบรมเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม ๘ สิงหาคม โรงเรียนพิมายวิทยา อาจารย์เรขา อินทรก�ำแหง ต่อการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ ๒๕๕๘ นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ ในการอนุรักษ์พัฒนาและประชาสัมพันธ์ เมืองเก่าพิมาย การประชุมคณะอนุกรรมการอนุรักษ์ ๙ กรกฎาคม ศาลากลางจังหวัด อาจารย์เรขา อินทรก�ำแหง สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ๒๕๕๘ นครราชสีมา อาจารย์สุชาติ พิมพ์พันธ์ ประจ�ำจังหวัดนครราชสีมา นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๘ ดร.ไสว กันนุลา นายพรมงคล นาคดี นางขวัญเรือน ทองตาม นายศุภรัตน์ ภู่เจริญ นางวราภรณ์ พิลาบุตร นายธนัช แววฉิมพลีสกุล นายสุรชัย เดชชัยพิทักษ์ การประกาศขึ้นทะเบียนให้แหล่ง ๒๒ กันยายน ศาลากลางจังหวัด อาจารย์เรขา อินทรก�ำแหง โบราณคดีบ้านโนนวัด เป็นมรดกแห่งชาติ ๒๕๕๘ นครราชสีมา นางสาวสมฤทัย ปิยะรัตน์ ระดับจังหวัด Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

81


ส่วนที่

การบริหารและการพัฒนาองค์กร 82

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


- การพัฒนาบุคลากร - องค์กรแห่งการเรียนรู้ - การบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน - ระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษา - การลงนามความร่วมมือ (MOU) กับหน่วยงานภายในและภายนอก - งานประชาสัมพันธ์และสารสนเทศ ทางศิลปวัฒนธรรม - รางวัลและการยอมรับด้านศิลปวัฒนธรรม ระดับชาติและนานาชาติ

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

83


การศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์และโลกทัศน์

ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ได้ เ ปิ ด โลกทั ศ น์ ของบุคลากรด้วยการศึกษาดูงานการบริหารจัดการศูนย์ การเรียนรู้และพิพิธภัณฑ์ในภาคเหนือ ในระหว่างวันที่ ๒๕ - ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ณ จังหวัดพิษณุโลก แพร่ เชี ย งราย เชี ย งใหม่ ล� ำ พู น และล� ำ ปาง เพื่ อ เป็ น การ เสริมสร้างประสบการณ์ต่างๆ ทั้งทางด้านการบริหาร จัดการและการบริการ ให้มมี าตรฐานเทียงเคียงกับสถาบัน ต่างๆ ที่ได้มาตรฐาน รวมถึงการน�ำเอาองค์ความรู้ที่ได้ มาประยุกต์และพัฒนาการด�ำเนินงานของส�ำนักศิลปะ และวั ฒ นธรรมในด้ า นการเสริ ม สร้ า งมู ล ค่ า ทางด้ า น ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สากล

การพัฒนาบุคลากร 84

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


การเข้ารับการอบรม เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ตระหนักเสมอว่าบุคลากรเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าต่อการพัฒนาองค์กรให้เติบโต อย่างยั่งยืน จึงมุ่งพัฒนาอย่างเป็นระบบ เพื่อรองรับวิสัยทัศน์และการพัฒนาส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรมในอนาคต โดยพิจารณาตามความรู้ ความสามารถที่แตกต่างกันไปตามหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละบุคคล เพื่อให้สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างสัมฤทธิ์ผลและมีประสิทธิภาพสูงสุดซึ่งท�ำให้ส�ำนักฯ สามารถจัดท�ำแผนการพัฒนาบุคลากรได้ เหมาะสมกับความสามารถและหน้าที่ที่รับผิดชอบได้อย่างเต็มที่ ล�ำดับ ชื่อโครงการ/กิจกรรม วัน/เดือน/ปี ผู้เข้ารับการอบรม หน่วยงานที่จัดกิจกรรม ที่ ๑ การศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรู้และ ๒๕ - ๒๘ พ.ย. บุคลากรทุกคน ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม บริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ในภาคเหนือ ๒๕๕๗ ๒ การอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร ๒๒ ธ.ค. นางวราภรณ์ พิลาบุตร ส�ำนักคอมพิวเตอร์ การใช้งานระบบ E-Document 2014 ๒๕๕๗ นางขวัญเรือน ทองตาม ส�ำหรับผู้ใช้งานระดับส�ำนัก ๓ การอบรมวิชาการและแลกเปลี่ยน ๒๖ ม.ค. บุคลากรทุกคน ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมระดับนานาชาติ ๒๕๕๘ เรื่อง โคราชศึกษา : ประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิต คนโคราช ๔ การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง หลักสูตร ๒๑ ม.ค. นายพรมงคล นาคดี ส�ำนักคอมพิวเตอร์ การใช้ Microsoft Excel 2013 ๒๕๕๘ ๕ การอบรมเชิงปฏิบัติการจริยธรรม ๒๐ ก.พ. นายชุตินันท์ ทองค�ำ สถาบันวิจัยและพัฒนา การวิจัยในมนุษย์ ๒๕๕๘ ๖ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเผยแพร่ ๒๑-๒๒ ก.พ. อ.เรขา อินทรก�ำแหง ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ผลงานวิจัยมาตรฐานท่าร�ำเพลงโคราช ๒๕๕๘ น.ส.สมฤทัย ปิยะรัตน์ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ๗ การอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร ๒๖-๒๗ ก.พ. ดร. ไสว กันนุลา สถาบันวิจัยและพัฒนา ส่งเสริมการเขียนบทความวิจัยเพื่อ ๒๕๕๘ ตีพิมพ์ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับ ๘ การสัมมนาวิชาการ เรื่อง แนวทาง ๑๑-๑๓ มี.ค. อ.เรขา อินทรก�ำแหง กรมส่งเสริมวัฒนธรรม การด�ำเนินงานแหล่งเรียนรู้ทาง ๒๕๕๘ น.ส.สมฤทัย ปิยะรัตน์ วัฒนธรรมของชุมชน เครือข่ายแหล่ง นายชุตินันท์ ทองค�ำ เรียนรู้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

85


ล�ำดับ ชื่อโครงการ/กิจกรรม วัน/เดือน/ปี ผู้เข้ารับการอบรม หน่วยงานที่จัดกิจกรรม ที่ ๙ การอบรมเชิงปฏิบัติการ ๑๒-๑๓ มี.ค. นายศุภรัตน์ ภู่เจริญ ศูนย์นวัตกรรมและ เรื่อง การพัฒนา ดิจิตอลคอลเล็คชั่น ๒๕๕๘ นายพรมงคล นาคดี เทคโนโลยีทางการศึกษา ส�ำหรับเอกสารโบราณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี ๑๐ การอบรมเชิงปฏิบัติการ ๒๓-๒๔ มี.ค. อ.สุชาติ พิมพันธ์ กองประกันคุณภาพ เรื่อง การบริหารความเสี่ยง ๒๕๕๘ อ.รัตน์พันธ์ โสภาเวทย์ การศึกษา อ.เรขา อินทรก�ำแหง ดร. ไสว กันนุลา ๑๑ การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้ ๒๘-๒๙ มี.ค. นายศุภรัตน์ ภู่เจริญ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม โปรแกรมส�ำเร็จรูประบบห้องสมุด ๒๕๕๘ นายพรมงคล นาคดี อัตโนมัติ Slims Senayan น.ส.สมฤทัย ปิยะรัตน์ ๑๒ การอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร ๑-๒ เม.ย. นายพรมงคล นาคดี ส�ำนักคอมพิวเตอร์ การใช้งาน Microsoft Access เบื้องต้น ๒๕๕๘ ๑๓ การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เส้นทาง ๒๒-๒๔ เม.ย. บุคลากรทุกคน กองบริหารงานบุคคล ความก้าวหน้าบุคลากรสายสนับสนุน ๒๕๕๘ ๑๔ การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ๒๘ เม.ย. นายชุตินันท์ ทองค�ำ สถาบันวิจัยและพัฒนา การพัฒนางานประจ�ำสู่งานวิจัย (R2R) ๒๕๕๘ นายศุภรัตน์ ภู่เจริญ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การวิจัย ๑๕ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริม ๒๙-๓๐ เม.ย. นายธนัช แววฉิมพลีสกุล สถาบันวิจัยและพัฒนา ความรู้ เรื่อง การจัดท�ำรายงาน ๒๕๕๘ น.ส.สมฤทัย ปิยะรัตน์ การควบคุมภายใน ๑๖ โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการ ๒๖-๒๘ พ.ค. นายชุตินันท์ ทองค�ำ โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวหลักสูตร การให้บริการ ๒๕๕๘ ท่องเที่ยวและธุรกิจบริการ นักท่องเที่ยวที่มีความต้องการพิเศษ ๑๗ การอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร ๒๗-๒๘ พ.ค. นายศุภรัตน์ ภู่เจริญ บัณฑิตวิทยาลัย การสร้างเครื่องมือเพื่อการวิจัย ๒๕๕๘ ๑๘ การสัมมนาระดมสมองแลกเปลี่ยน ๔ มิ.ย. นายชุตินันท์ ทองค�ำ ส�ำนักวิทยบริการและ เรียนรู้ เรื่อง การจัดรูปแบบหน้าโฮมเพจ ๒๕๕๘ นายพรมงคล นาคดี เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เหมาะสมกับสถาบันบริการสารสนเทศ : การใช้ KM เป็นเครื่องมือในการ จับความรู้ 86

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


ล�ำดับ ชื่อโครงการ/กิจกรรม วัน/เดือน/ปี ผู้เข้ารับการอบรม หน่วยงานที่จัดกิจกรรม ที่ ๑๙ การอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร ๑๐-๑๒ มิ.ย. นายศุภรัตน์ ภู่เจริญ บัณฑิตวิทยาลัย การเลือกใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย ๒๕๕๘ ๒๐ การอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร ๑๒ มิ.ย. นายสุรชัย เดชชัยพิทักษ์ งานประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้าง ๒๕๕๘ ภาพลักษณ์องค์กร ๒๑ การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ๑๗ มิ.ย. นายศุภรัตน์ ภู่เจริญ งานพัฒนาทรัพยากร การอนุรักษ์หนังสือ เทิดพระเกียรติ ๒๕๕๘ สารสนเทศ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ส�ำนักวิทยบริการและ สยามบรมราชกุมารี เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒๒ การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เส้นทาง ๑๕-๑๗ ก.ค. บุคลากรทุกคน กองบริหารงานบุคคล ความก้าวหน้าบุคลากรสายสนับสนุน ๒๕๕๘ ให้สามารถท�ำใบพรรณนางาน (Job description) ๒๓ การอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร ๑๖-๑๘ ก.ค. นายชุตินันท์ ทองค�ำ สถาบันพิพิธภัณฑ์ การประยุกต์นิทานกับการน�ำชม ๒๕๕๘ นายพรมงคล นาคดี การเรียนรู้แห่งชาติ พิพิธภัณฑ์ และการท�ำแท่นฐาน การจัดแสดงจากวัสดุเหลือใช้ ๒๔ การอบรมกฎหมายปกครองส�ำหรับ ๒๐ ก.ค. บุคลากรทุกคน งานนิติกร ผู้บริหารและการส่งเสริมพัฒนา ๒๕๕๘ คุณธรรม จริยธรรม และการปฏิบัติตน ตามจรรยาบรรณวิชาชีพของบุคลากร ๒๕ การประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนแผน ๖-๗ ส.ค. อ. สุชาติ พิมพ์พันธ์ กองนโยบายและแผน ยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ๒๕๕๘ ดร.ไสว กันนุลา นครราชสีมา นายธนัช แววฉิมพลีสกุล ๒๖ การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เส้นทาง ๑๓ ส.ค. บุคลากรทุกคน กองบริหารงานบุคคล ความก้าวหน้าบุคลากรสายสนับสนุน ๒๕๕๘ ให้สามารถจัดท�ำใบพรรณางาน (Job description) และการก�ำหนด ตัวชี้วัดของต�ำแหน่งงาน (KPI)

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

87


องค์กรแห่งการเรียนรู้

การเสวนา “เรื่องเล่าเร้าพลัง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้... สู่การพัฒนาพิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมาอย่างยั่งยืน” ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๘

ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ได้ ส ่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด กระบวนการสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริง โดยสนับสนุนให้บุคลากรเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งใน มิติของทักษะ ประสบการณ์ และองค์ความรู้ระหว่างกัน ทัง้ ภายในและภายนอก โดยในปี ๒๕๕๘ ได้รว่ มกันจัดการ ความรู้ เรื่อง การให้บริการที่ดีต่อผู้มาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ เมื อ งนครราชสี ม า เพื่ อ ที่ จ ะค้ น หาแนวปฏิ บั ติ แ ละ กระบวนการท�ำงานต่างๆ ในการให้บริการต่อผูม้ าเยีย่ มชม พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ซึ่งก่อให้เกิดการพัฒนาคน พัฒนางาน และการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ของ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม

องค์กรแห่งการเรียนรู้ 88

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


โดยได้ เ ข้ า ร่ ว มประกวดแนวปฏิ บั ติ ที่ ดี แ ละจั ด นิทรรศการ เผยแพร่ผลการจัดการความรู้ในมหกรรมการ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ครัง้ ที่ ๔ NRRU Show and Share 2015 เมื่ อ ระหว่ า งวั น ที่ ๑๙ - ๒๐ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๘ ณ หอประชุมอนุสรณ์ ๗๐ ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซึ่ง สามารถคว้ารางวัลชนะเลิศ แนวปฏิบัติที่ดีในด้าน การบริหารจัดการทั่วไป

มหกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ ๔ NRRU Show and Share 2015 เมื่อระหว่างวันที่ ๑๙ - ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

89


การบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรมได้ดำ� เนินการจัดท�ำแผน บริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน เพื่อให้การ บริหารและจัดการความเสี่ยงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในปี ๒๕๕๘ ได้นำ� กระบวนการจัดการความรูม้ าบูรณาการ เพื่ อ ลดความเสี่ ย งในการให้ บ ริ ก ารแก่ ผู ้ ม าเยี่ ย มชม พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา เกิดผลลัพธ์ในการสร้าง กระบวนการในการให้บริการ ข้อปฏิบัติในการเข้าชม ข้อปฏิบตั ใิ นกรณีฉกุ เฉิน วิธใี ช้งานอุปกรณ์ในห้องพิพธิ ภัณฑ์ รวมถึงเอกสารเพือ่ อ�ำนวยความสะดวกในการท�ำงาน อาทิ แบบฟอร์มขอเข้าชม คู่มือวิทยากร นอกจากนี้ยังสามารถ น� ำ กระบวนการ/ขั้ น ตอน ปรั บ ใช้ กั บ แหล่ ง เรี ย นรู ้ อื่ น ๆ ของส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรมได้

การบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน 90

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับส�ำนัก

ผลการประเมิน ปีการศึกษา ๒๕๕๔-๒๕๕๗ ตั ว บ่ ง ชี ้ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ สกอ. สมศ. สกอ. สมศ. สกอ. สมศ. สกอ. สมศ. คะแนนเฉลี่ยตามตัวบ่งชี้ ๓.๔๓ ๔.๕๐ ๔.๒๙ ๕.๐๐ ๔.๐๐ ๔.๕๐ ๔.๖๐ ๕ คะแนนเฉลี่ยทุกตัวบ่งชี้ ๓.๖๗ ๔.๕๐ ๔.๑๑ ๔.๖๐ ผลการประเมินอยู่ในระดับ ระดับดี ระดับดี ระดับดี ระดับดีมาก ผลการตรวจประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ประจ� ำ ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๗ โดย ดร.อาภา สธนเสาวภาคย์ เป็ น ประธานกรรมการ พร้อมด้วย ดร.วันวิสาข์ โชรัมย์ ดร.สวียา ปรารถนาดี และ คุณจารุพรรณ จันทร์แรม ได้เข้าตรวจเยีย่ มส�ำนัก เมือ่ วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๘ ซึ่งมีผลการประเมินเฉลี่ยตัวบ่งชี้ที่ ๔.๖๐ อยู ่ ใ นระดั บ “ดี ม าก” โดยมี ร ายละเอี ย ดผลการประเมิ น แยกตามองค์ประกอบ ดังนี้

การด�ำเนินงานด้านการประกันคุณภาพทางการศึกษา Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

91


องค์ประกอบ ผลการประเมิน สกอ. สมศ. รวม องค์ประกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนด�ำเนินการ ๔.๐๐ - ๔.๐๐ องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ๕.๐๐ - ๕.๐๐ องค์ประกอบที่ ๖ การท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ องค์ประกอบที่ ๗ การบริหารและการจัดการ ๔.๐๐ - ๔.๐๐ องค์ประกอบที่ ๙ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ คะแนนเฉลี่ยทุกองค์ประกอบ ๔.๖๐ ๕.๐๐ ๔.๖๐ ผลการประเมิน ระดับดีมาก ระดับดีมาก ระดับดีมาก โดยคณะกรรมการได้คน้ พบจุดเด่นของการด�ำเนินงานของ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม แบ่งเป็น ๓ ประเด็น ดังนี้ ๑. บุคลากรมีศกั ยภาพ มีความพร้อมทีจ่ ะพัฒนาหน่วยงานบรรลุ ตามพันธกิจ ๒. มีแหล่งเรียนรูด้ า้ นศิลปะและวัฒนธรรม เป็นทีย่ อมรับในระดับ จังหวัด เช่น พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ศูนย์การเรียนรู้ ท้องถิ่นสมัยก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัด ๓. มีการน�ำองค์ความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ (KM) มาใช้ ในการปฏิบัติงานอย่างแท้จริง

การด�ำเนินงานด้านการประกันคุณภาพทางการศึกษา 92

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวิทยาลัย

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้รับผิดชอบในองค์ประกอบที่ ๔ การท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ซึ่งผล การประเมินคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ ๕ เต็ม การด�ำเนินงานในระดับดีมาก โดยคณะกรรมการได้ค้นพบจุดเด่นในการ ด�ำเนินการท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ ๑. มีระบบและกลไกการท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยมีแผนโครงสร้าง มีการบริหารจัดการ และมีการ ก�ำกับติดตามประเมินความส�ำเร็จของตัวบ่งชี้ ทั้งในกิจกรรม และแผนอย่างมีประสิทธิภาพ ๒. มกี ารส่งเสริมและอนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรม จากการท�ำนุบำ� รุงศิลปะและวัฒนธรรมทีโ่ ดดเด่นทางด้าน “ผ้าโคราช” และ “ท่าร�ำมาตรฐานเพลงโคราช” ผ่านกระบวนการวิจัยที่มีการบูรณาการกับการเรียนการสอนจนเป็นแนวปฏิบัติที่ดี และสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย “ที่พึ่งของท้องถิ่น” ๓. มีการสร้างเครือข่าย แสวงหาแหล่งทุนจากภายนอก และมีการพัฒนาการจัดกิจกรรมการท�ำนุบำ� รุงศิลปะและ วัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการเทศกาลโคราชศิลปะและวัฒนธรรมนานาชาติ ๒๕๕๘ เป็นต้น แนวทางเสริมเพื่อการด�ำเนินงานที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น แยกเป็น ๒ ประเด็น ดังนี้ ๑. ควรมีการน�ำผลงานจากแนวปฏิบัติที่ดีไปใช้ประโยชน์ร่วมกับชุมชนหรือสถาบันการศึกษาอื่นๆ เช่น หมู่บ้าน หม่อนไหม ฯลฯ ๒. ควรมีการน�ำท่าร�ำเพลงโคราชและผ้าโคราช มาจัดท�ำเป็นหลักสูตรท้องถิ่น และมีความร่วมมือกับสถาบัน เครือข่ายหรือสถาบันการศึกษาอื่นไปเผยแพร่ เพื่อให้เกิดการยอมรับอย่างแพร่หลาย Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

93


การลงนามความร่วมมือ (MOU) กับหน่วยงานภายในและภายนอก

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้มุ่งพัฒนาขีดความสามารถในการให้บริการ และการท�ำงานที่สามารถครอบคลุม ในหลากหลายด้าน โดยการแสวงหาความร่วมมือจากภาคีในหลายภาคส่วน โดยในปี ๒๕๕๘ ได้มีการจัดท�ำบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก มีรายละเอียดดังนี้ ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หน่วยงานที่ร่วมมือ ระยะเวลา (MOU) การด�ำเนินงานทางศิลปวัฒนธรรม - สถาบันภาษา ๑ ตุลาคม การเสริมสร้างคุณค่าทางศิลป - กองวิเทศสัมพันธ์ ๒๕๕๗ – วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ๓๐ กันยายน สู่สากล ๒๕๖๑

การลงนามความร่วมมือ (MOU) กับหน่วยงานภายในและภายนอก 94

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

วันที่/สถานที่ที่ร่วมลงนาม ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมทิวสน อาคารบรรณราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา


บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หน่วยงานที่ร่วมมือ ระยะเวลา วันที่/สถานที่ที่ร่วมลงนาม (MOU) การด�ำเนินงานเสริมสร้างคุณค่า - มหาวิทยาลัยราชภัฏ ๑ ธันวาคม ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๗ ทางศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา นครราชสีมา ๒๕๕๗ – ณ ห้องประชุม ท้องถิ่นสู่สากล - จังหวัดนครราชสีมา ๓๐ กันยายน ดร. เศาวนิต เศาณานนท์ - ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด ๒๕๖๑ อาคารเฉลิมพระเกียรติ นครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฏ - สภาวัฒนธรรมจังหวัด นครราชสีมา นครราชสีมา - องค์การบริหารส่วนจังหวัด นครราชสีมา - เทศบาลนครนครราชสีมา - ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา เขต ๑ - ๗ - ส�ำนักงานเขตพื้นที่มัธยม เขต ๓๑ การปกป้องคุ้มครองและบริหาร - หมู่บ้านโนนวัด ๑๙ พฤษภาคม ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๘ จัดการร่วมกันภายในชุมชน ต�ำบลพลสงคราม ๒๕๕๘ ณ ศาลาประชาคม เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ อ�ำเภอโนนสูง เป็นต้นไป บ้านโนนวัด ต�ำบลพลสงคราม ธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา (สิ้นสุดเมื่อ อ�ำเภอโนนสูง (มรดกจังหวัดและมรดกแห่งชาติ) - องค์การบริหารส่วนต�ำบล มีการยุติ จังหวัดนครราชสีมา พลสงคราม ทั้งสองฝ่าย) - อ�ำเภอโนนสูง Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

95


บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หน่วยงานที่ร่วมมือ ระยะเวลา (MOU) การประกันคุณภาพ การด�ำเนิน ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม กรกฎาคม กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ๒๕๕๘ – ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ กรกฎาคม และ ด้านแหล่งเรียนรู้ทางศิลป ๒๕๖๐ วัฒนธรรม

วันที่/สถานที่ที่ร่วมลงนาม ๗ กันยายน ๒๕๕๘ ณ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา

การด�ำเนินงานต่อเนื่อง บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หน่วยงานที่ร่วมมือ ระยะเวลา วันที่/สถานที่ที่ร่วมลงนาม (MOU) การขับเคลื่อนงานอนุรักษ์ หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ๑๑ มีนาคม ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๗ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ ธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น ๒๕๕๗ – ณ ห้องประชุมรัตนเพียร ศิลปกรรมท้องถิ่น กลุ่ม ๘ กลุ่ม ๘ ประกอบด้วย ๑๐ มีนาคม มหาวิทยาลัยราชภัฏ จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ ๒๕๖๐ นครราชสีมา สุรินทร์ และชัยภูมิ การขับเคลื่อนงานอนุรักษ์ ส�ำนักนโยบายและแผน ๔ เมษายน ๔ เมษายน ๒๕๕๗ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ ทรัพยากรธรรมชาติและ ๒๕๕๗ ณ โรงแรมริชมอนต์ ศิลปกรรมท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม เป็นต้นไป จังหวัดนนทบุรี (สิ้นสุดเมื่อ มีการยุติ ทั้งสองฝ่าย) เครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ๘ เมษายน ๘ เมษายน ๒๕๕๗ การด�ำเนินงานอนุรักษ์ เผยแพร่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ๒๕๕๗ ณ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม และพัฒนางานด้านศิลปวัฒนธรรม เป็นต้นไป มหาวิทยาลัยราชภัฏ และด้านประกันคุณภาพ (สิ้นสุดเมื่อ นครราชสีมา มีการยุติ ทั้งสองฝ่าย) ความร่วมมือทางวิชาการด้าน - ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ๓๑ กรกฎาคม ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ศิลปวัฒนธรรมและการประกัน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ๒๕๕๘ – ณ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม คุณภาพทางการศึกษา - ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ๓๐ กรกฎาคม มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ๒๕๖๐ นครราชสีมา 96

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


งานประชาสัมพันธ์องค์กร

ส� ำ นั ก ศิล ปะและวัฒนธรรม ได้พัฒนาคุณภาพ การสื่อสารขององค์กรให้ครอบคลุมทุกภารกิจ เพื่อเป็น เครือ่ งมือในการน�ำข่าวสารหรือองค์ความรูท้ างวัฒนธรรม สู่สังคมในรูปแบบสารสนเทศทางวัฒนธรรมที่สร้างสรรค์ ขึน้ อย่างหลากหลายรูปแบบ และเผยแพร่สกู่ ลุม่ เป้าหมาย ได้เร็วขึน้ โดยในปี ๒๕๕๘ มีการด�ำเนินงานโดยสังเขป ดังนี้ ๑. การสร้ า งเครื อ ข่ า ยสื่ อ มวลชน โดยร่ ว มกั บ งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เพื่อเสริมสร้างการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมของ ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม รวมถึ ง สาระความรู ้ อั น เกี่ยวข้องกับศิลปวัฒนธรรมของเมืองโคราชให้รับรู้ในวง กว้าง ๒. การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ อาทิ เอกสารทาง วิชาการ แผ่นพับสาระความรู้ แผ่นพับประชาสัมพันธ์ รวมถึ ง จดหมายข่ า ว ในชื่ อ “ข่ า วศิ ล ปวั ฒ นธรรม” เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารในองค์กร โดยเผยแพร่เป็น ประจ�ำเดือนละ ๑ ฉบับ

๓. การประชาสั ม พั น ธ์ โ ดยใช้ สื่ อ ออนไลน์ อาทิ Facebook.com/koratculture www.koratculture.com www.koratmuseum.com และเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย www.nrru.ac.th ๔. การจัดเหตุการณ์พิเศษเพื่อการประชาสัมพันธ์ (Event Special) อาทิ การแถลงข่ า วโครงการต่ า งๆ นิทรรศการเกลืออีสาน: ขุม ทรัพย์จ ากใต้ดิน กิจ กรรม ส่งเสริมการเรียนรู้สะอ๋อนโคราช และคอนเสิร์ตการกุศล เพื่อสนับสนุนการแข่งขันโปงลางชิงแชมป์ประเทศไทย ๕. สื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ อื่ น ๆ อาทิ การผลิ ต เสื้ อ วงโปงลางสายแนนล� ำ ตะคอง การผลิ ต ของที่ ร ะลึ ก พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา และการผลิตเสื้อส�ำหรับ มัคคุเทศก์พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา

งานประชาสัมพันธ์และสารสนเทศทางศิลปวัฒนธรรม Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

97


งานสารสนเทศทางศิลปวัฒนธรรม

ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรมได้ปรับปรุงและพัฒนา ระบบสารสนเทศเพือ่ ให้เอือ้ ประโยชน์ตอ่ การด�ำเนินงานใน ภารกิจต่างๆ มีผลการด�ำเนินงาน ดังนี้ ๑. ระบบจั ด การห้ อ งสมุ ด อั ต โนมั ติ (Senayan Library) โดยความร่วมมือกับโปรแกรมวิชาบรรณารักษ์ ศาสตร์ แ ละสารนิ เ ทศศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสีมา ๒. ระบบคลังภาพพิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ๓. ระบบฐานข้อมูลเอกสารทางวัฒนธรรม ๔. ระบบฐานข้อมูลงานวิจัยทางศิลปวัฒนธรรม ๕. เ ว็ บ ไซต์ ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม www. koratculture.com และเว็ บ ไซต์ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ มื อ ง นครราชสีมา www.koratmuseum.com ๖. ฐานข้อมูลศิลปวัฒนธรรม โดยความร่วมมือกับ ส�ำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

งานประชาสัมพันธ์และสารสนเทศทางศิลปวัฒนธรรม 98

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


รางวัลและการยอมรับด้านศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติ วงโปงลางสายแนนล�ำตะคอง ส�ำนักศิลปะและ วัฒนธรรม ได้รับรางวัลชมเชย จากการประกวดวงดนตรี พื้นบ้านโปงลาง ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระนางเจ้า สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ภายใต้โครงการ ส่งเสริมกิจกรรมดนตรีและการละเล่นพื้นบ้าน ประเภท รุ ่ น อายุ ไ ม่ เ กิ น ๒๕ ปี เมื่ อ วั น ที่ ๙ สิ ง หาคม ๒๕๕๘ ณ ลานเอนกประสงค์ อาคารกีฬานิมิตบุตร สนามกีฬา แห่งชาติ กรุงเทพมหานคร “วงโปงลางสายแนนล�ำตะคอง” คว้ารางวัลชมเชย ระดั บ ประเทศ ประกวดวงดนตรี พื้ น บ้ า นโปงลาง ชิงถ้วยพระราชทาน

“วงโปงลางสายแนนล�ำตะคอง” คว้ารางวัลชนะเลิศ อันดับ ๑ การประกวดศิลปะพื้นบ้าน โปงลาง-ล�ำซิ่ง ชิงแชมป์ประเทศไทย วงโปงลางสายแนนล�ำตะคอง ส�ำนักศิลปะและ วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได้รับรางวัล ชนะเลิศ อันดับ ๑ จากการประกวดลีโอโปงลาง-ล�ำซิ่ง ชิงแชมป์ประเทศไทย รอบคัดเลือกชิงตัวแทน เขต ๔ เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ ลานห้างสรรพสินค้า บิ๊กซี ซุปเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาร้อยเอ็ด

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

99


รางวัลและการยอมรับด้านศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติ

วงโปงลางสายแนนล�ำตะคอง ส�ำนักศิลปะและ วัฒนธรรม ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การประกวด นางไห ระดับอุดมศึกษา ในการประกวดนางไหคอนเทส ครั้งที่ ๓ เมื่อ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ ณ วิทยาลัยการอาชีพ นางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ “วงโปงลางสายแนนล�ำตะคอง” คว้ารางวัลชนะเลิศ อันดับ ๑ นางไหคอนเทส

พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ได้รับการคัดเลือกจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวง วั ฒ นธรรมให้ เ ป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ท างวั ฒ นธรรมของชุ ม ชน ๑ ใน ๖๐ แห่ ง ทั่ ว ประเทศ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๖๐ พรรษา ๒ เมษายน ๒๕๕๘ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้พิพิธภัณฑ์ เมืองนครราชสีมาเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมของจังหวัดนครราชสีมาที่มีศักยภาพสามารถ ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้คนในชุมชนและบุคคลทั่วไปได้มีโอกาสศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาของจังหวัดนครราชสีมา 100

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม รับมอบโล่จาก กระทรวงวั ฒ นธรรม ในฐานะผู ้ ส นั บ สนุ น การจั ด งาน เทศกาลโคราชศิ ล ปและวั ฒ นธรรมนานาชาติ (Korat International Art and Culture Festival 2015) เมื่อวันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๘ ณ ลานอนุ ส าวรี ย ์ ท ้ า วสุ ร นารี จังหวัดนครราชสีมา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม รับมอบประกาศ เกียรติคุณจากกระทรวงวัฒนธรรม ในฐานะผู้สนับสนุน การจั ด งานมหกรรมลิ เ ก มรดกภู มิ ป ั ญ ญาการแสดง พื้นบ้านลูกหลานย่าโม เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ ลานอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี

รางวัลชนะเลิศ แนวปฏิบัติที่ดีในด้านการบริหาร จัดการทั่วไป การให้บริการที่ดีต่อผู้มาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ เมื อ งนครราชสี ม า ในมหกรรมการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ครั้งที่ ๔ NRRU Show and Share 2015 เมื่อระหว่าง วันที่ ๑๙ - ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ณ หอประชุมอนุสรณ์ ๗๐ ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015

101


แนวคิด วิสัยทัศน์ และมุมมองผู้อ�ำนวยการ

“ราชภัฏโคราชนผู้น�ำด้าน ศิลปวัฒนธรรม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์

ความส�ำเร็จอย่างงดงามในการด�ำเนินงานของ ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสีมา ภายใต้ “การน�ำ” ของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐกิตติ์ อินทร์สวรรค์ ผู้อ�ำนวยการที่มีอายุน้อยที่สุด และเป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการคนแรกที่ ม าจากคณะวิ ท ยาการ จัดการ ด้วยการผลักดันประเด็นยุทธศาสตร์ด้านศิลปะ และวัฒนธรรมให้เป็น ๑ ใน ๕ ยุทธศาสตร์หลักในการ พัฒนามหาวิทยาลัย ส่งผลให้การด�ำเนินงานของส�ำนัก ศิลปะและวัฒนธรรมมีความชัดเจน และสร้างผลงาน โดดเด่ น ให้ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ทั้ ง ในมิ ติ ข องการเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ การวิจัย การพัฒนาแหล่งเรียนรู้และต่อยอดสร้างมูลค่าเพิ่มทาง 102

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ศิลปวัฒนธรรมจากองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยเฉพาะการเป็นเจ้าของเทศกาลทางศิลปวัฒนธรรม นานาชาติ “Korat International Arts and Culture Festival” และการวิจยั เพือ่ สร้างมาตรฐานท่าร�ำเพลงโคราช อันน�ำไปสู่การต่อยอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ในการประกวดหมอเพลงโคราชชิ ง ถ้ ว ยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม “พิพิธภัณฑ์ เมืองนครราชสีมา” และพิพิธภัณฑ์ชุมชน “บ้านโนนวัด” ล้ ว นแต่ เ ป็ น ผลงานเชิ ง ประจั ก ษ์ ข องส� ำ นั ก ศิ ล ปะและ วัฒนธรรม ที่มุ่งมั่นต่อการด�ำเนินงานเพื่อท�ำนุบ�ำรุงศิลปะ และวัฒนธรรม และการสร้างคุณค่าภูมิปัญญาสู่สากล


เมื่อถามถึง “ก้าวย่างต่อไป” หรือแนวคิดตลอดจน มิติด้านศักยภาพแหล่งเรียนรู้ การพัฒนาด้านสภาพแวดล้อมนับเป็นหัวใจส�ำคัญ วิ สั ย ทั ศ น์ ข องการพั ฒ นาส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม าในการด� ำ เนิ น งาน ของการสร้ า งศั ก ยภาพหรื อ ความน่ า ดึ ง ดู ด ใจด้ า นการ ด้านการท�ำนุบ�ำรุงและสร้างคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรม ท่องเที่ยว หรือการเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ปัจจัยด้าน นั้นคือ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ “เราจะเป็นผู้น�ำในมิติศิลป สถานที่ สิ่งแวดล้อม และปัจจัยสนับสนุนต่างๆ ถือเป็น วัฒนธรรมอีสาน” และการท�ำงานเคียงบ่าเคียงไหล่กับ ปัจจัยพื้นฐานของการพัฒนา อาคารส�ำนักศิลปะและ ชุมชนท้องถิ่น รวมถึงภาคีทางศิลปวัฒนธรรมและสถาบัน วัฒนธรรมต้องมีการปรับปรุงให้เอือ้ ต่อการพัฒนา ๑๐๐% การศึกษาในภูมภิ าคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีเป้าหมาย ตั้ ง แต่ ส ภาพแวดล้ อ มภายนอก ประกอบด้ ว ย ส�ำคัญของการพัฒนา “ศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ลานวัฒนธรรม และพิพิธภัณฑ์มีชีวิต “ซุมบ้านโคราช” อีสาน” โดยการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้เพื่อให้เป็นศูนย์กลาง การปรั บ ปรุ ง อาคารส� ำ นั ก งานเพื่ อ รองรั บ ต่ อ การเป็ น ทางวิชาการในการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคอีสาน ศูนย์กลางประสานงานของภูมิภาค การปรับปรุงโรงละคร เชื่อมโยงกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม เล็ ก ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม รวมถึ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ “โคราชประตูแห่งการท่องเทีย่ วอีสาน” โดยมีมติ กิ ารพัฒนา ภูมิปัญญาอีสานในบริเวณชั้น 3 ของอาคาร ส�ำคัญๆ อยู่ ๓ มิติ Art and Culture Center, Nakhon Ratchasima Rajabhat University Annual Report 2015 103


มิติการจัดการการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม การจัดการการท่องเทีย่ วเชิงศิลปวัฒนธรรม นับเป็น รู ป แบบหนึ่ ง ของการท่ อ งเที่ ย วที่ แ ตกต่ า งไปจากการ ท่องเที่ยวประเภทอื่นๆ การท่องเที่ยวประเภทนี้เน้นกลุ่ม นักท่องเที่ยวคุณภาพ คือเป็นกลุ่มที่มีความรู้และต้องการ ประสบการณ์ทแี่ ตกต่าง ดังนัน้ การจัดการท่องเทีย่ วจึงต้อง เริม่ ต้นตัง้ แต่งานวิชาการ การส�ำรวจ การสร้างเส้นทางการ ท่องเที่ยว ไปจนถึงสร้างสิ่งสนับสนุนการท่องเที่ยวต่างๆ โดยงานด้านนี้ต้องระดมนักวิชาการด้านการท่องเที่ยว และด้านศิลปวัฒนธรรม รวมถึงภาคีต่างๆ มาร่วมกับ ด�ำเนินงานอย่างเป็นระบบ มิตกิ ารพัฒนาเครือข่ายอาเซียนด้านการท่องเทีย่ วเชิง ศิลปวัฒนธรรม ด้วยต้นทุนของส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรมที่มีภาคี เครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรมอยู่ทั่วประเทศ รวมไปถึง เครือข่ายต่างประเทศอันจะน�ำไปสู่การเชื่อมโยงทั้งในมิติ องค์ ค วามรู ้ วิ ช าการ การบริ ห ารจั ด การตลอดจน งบประมาณต่างๆ โดยส�ำนักฯ มีแผนจะใช้เทศกาลโคราช ศิลปะและวัฒนธรรมนานาชาติ หรือ “Korat International Arts and Culture Festival” เป็นบันไดในการเชื่อมโยง เครือข่ายให้แพร่กระจายและขยายขอบข่ายความร่วมมือ ไปในมิติอื่นๆ มากขึ้น เช่น เครือข่ายเครื่องปั้นและเซรามิก เครือข่ายผ้าและไหม เครือข่ายภาษาและวรรณกรรม เป็นต้น

104

รายงานประจ�ำปี ๒๕๕๘ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.