ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 1 August 2008

Page 1

วารสาร ARTS ฉบับปฐมฤกษ สิงหาคม 2551

1

(ฉบับปฐมฤกษ)

Contents

สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระราชสมภพ ในวันศุกรที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2475 ทรงเปน พระธิดา องคใหญ ใน พระวรวงศกรมหมื่น จันทบุรีสุรนาถ และ หมอมหลวงบัว กิติยากร สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อทรงพระราชสมภพ ทรงมีฐานันดรศักดิ์เปน หมอมราชวงศ และ พระนาม “สิริกิติ์” ซึ่งมีความหมายวา “ยังความปลื้มปติ ยินดี และ เกียรติยศ มาสู ตระกูล กิติยากร” อันเปนพระนาม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยู หัวรัชกาลที่ 7 ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทาน (ภาพวาดเสน โดย นายรุงศักดิ์ ดอกบัว ศิษยเกาคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม)

2• ถArt News อยแถลงขาวหอศิลป/ขาววิจิตรศิลป • โครงการนิทรรศการศิลปะภาพพิมพรวมสมัย “PRINTS AS PRINTS 2008” • Le Paradis des Fleurs ครั้งที่ 7

3• มายาการ Article และ ความจริง

5• เจดีArtFile ยชางลอมกับพระพุทธศาสนา ลังกาวงศในประเทศไทย • สรุปวงเสวนาสื่อใหม สิงคโปร • เปิดฝกอบรมศิลปะสีน้ำ • lปิดฝึกอบรมศิลปะสำหรับเด็ก

7 •Fine Arts News กราบครุปูจาสรวงสา อาจารยเจา • นิทรรศการภาพถาย เงาแหงกรุงเยรูซาเลม • โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา

8 •Artist จรูญ บุญสวน

คณะผูจัดทำ

บรรณาธิการบริหาร: สมเกียรติ ตั้งนโม. กองบรรณาธิการฉบับปฐมฤกษ: วีระพันธ จันทรหอม, ศุภชัย ศาสตรสาระ, สุวิทย คิดการงาน. ฝายประสานงาน: สุวิทย คิดการงาน. ฝายการจัดการความรู: วีระพันธ จันทรหอม. ฝายศิลป: วรรณชัย วงษตะลา (ศิษยเกาวิจิตรศิลป มช.) ฝายเผยแพร: เลขานุการคณะ และพนักงานสายสนับสนุนสำนักงานคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม หนังสือพิมพขาวหอศิลป จัดทำขึ้นเพื่อเปนสื่อกลางระหวางกิจกรรมดานการศึกษาศิลปะ การวิจัย การบริการ และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ของคณะวิจิตรศิลป กับบุคคลและสถาบันภายนอกที่สนใจเรื่องคุณคาทางศิลปะและสุนทรียภาพ. ขาวและเนื้อหาขอมูล บทความทุกชนิดที่ปรากฏบนหนังสือพิมพนี้ ยินยอมสละลิขสิทธิ์ใหกับ สังคมไทย เพื่อประโยชนทางวิชาการ


Art News ถอยแถลงขาวหอศิลป ขาววิจิตรศิลป ขาวหอศิลป/ขาววิจิตรศิลป (ฉบับปฐมฤกษ) นี้ ตั้งใจใหเปน สวนหนึ่งของนโยบายหอศิลปมีชีวิตและกระฉับกระเฉง (lively art museum) ซึ่งกอนหนานี้ลางผูคนมานาน กลาวคือ กิจกรรม และนิทรรศการ ศิลปะตางๆ ซึ่งจัดแสดงที่หอศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหมในหลายป ที่ผานมานั้น นับจากวันเปดงานนิทรรศการศิลปะแลว ก็แทบจะไมมีผูคน เขาชมผลงานอีกเลย ทำใหเกิดความสิ้นเปลือง และไมบรรลุวัตถุ​ุประสงค ของการจัดตั้งหอศิลปเทาที่ควร ดวยเหตุนี้ คณะกรรมการหอศิลป ภายใต การเปลี่ยนแปลงมหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนมหาวิทยาลัยในกำกับจึงมี ความคิดที่จะปรับปรุงเรื่องกายภาพ สภาพแวดลอม รวมทั้งเนื้อหาสาระ เกี่ยวกับหอศิลปใหมีพลวัตมากขึ้น ในแงกายภาพและสภาพแวดลอม จะจัดใหมีการแสดงผลงานศิลปะ และกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของ โดยเนนใหกิจกรรมและนิทรรศการของ หอศิลปสื่อสารกับผูคน เปนที่รับรูและเขาใจได ดวยการติดปายชื่อผลงาน พรอมคำอธิบายงานตามมาตรฐาน นอกจากนี้ ยังจัดใหมีการอภิปรายถึง ผลงานศิลปะที่จัดแสดงดวยทุกครั้ง พรอมติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรในการ ใหขอมูลเกี่ยวกับหอศิลป และนิทรรศการศิลปะตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ขณะเดียวกัน จะจัดใหมีภัณฑารักษอาสาสมัคร โดยคัดเลือกจาก นักศึกษาศิลปะปสุดทายจากสาขาจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ ศิลปไทย ออกแบบ และสื่อศิลปะ, นักศึกษาศิลปะระดับปริญญาโทของ คณะวิจิตรศิลป, ทำหนาที่ภัณฑารักษพิเศษเพื่อใหความรูและอธิบาย ผลงานใหกับผูเขาชมเปนหมูคณะ ระหวางวันเสารและอาทิตยอยาง สม่ำเสมอ บริเวณหอศิลป จะจัดใหมีหองสมุดศิลปะและหองฉายภาพยนตร เพื่อใหผูสนใจ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนเขามาคนควาขอมูล เกี่ยวกับศิลปะและความรูเกี่ยวเนื่อง โดยจะติดตอกับสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม เขามามีสวนรวมในการตระเตรียมหองสมุดเฉพาะ ทางดังกลาว รวมกับหองสมุดคณะวิจิตรศิลป เพื่อสรางบรรยากาศแหง การเรียนรูและบันเทิงการศึกษา(edutainment) มาเสริมบรรยากาศ คุณภาพชีวิต สวนหนึ่งของกลุมอาคารหอศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม จะจัดให มีหองจำหนายหนังสือและโปสการดศิลปะ, ภาพผลงานศิลปะ (art gallery)ทุกแขนงของนักศึกษา คณาจารย ศิษยเกา และศิลปนโดยทั่วไป ทั้งนี้เพื่อการเผยแพรและชวยสนับสนุนการสรางสรรคผลงานของผูทำงาน ดานศิลปะ และทำใหผูผลิตผลงานทั้งหลายไดมีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยน เรียนรู และตลาดงานศิลปะ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการปฏิสัมพันธกับสังคม ในขณะเดียวกัน พื้นที่บางสวนของหอศิลปที่มีบรรยากาศรมรื่น ยังจะจัดใหมีศิลปะการแสดง อาทิเชน ดนตรีในหอศิลป ทั้งแนว ลานนารวมสมัย แจซ ดนตรีคลาสสิค และการแสดงนาฏกรรม หุนกระบอก รวมถึงการฉายภาพยนตร เพื่อใหหอศิลปที่เคยเนนเฉพาะ เรื่องของทัศนศิลป เขาประสานรวมตัวกับศิลปะแขนงอื่นๆ อยางครบถวน และเปนการเติมเต็มหอศิลปที่เคยเงียบเหงา เกิดสุมเสียงและสำเนียงแวว หวานเสริมบรรยากาศแหงหอศิลปที่มีชีวิตชีวา การอบรมศิลปะ ซึ่งกอนหนานี้คณะวิจิตรศิลปเคยดำเนินการแต เฉพาะภายในคณะในภาคฤดูรอน เชน การอบรมศิลปะเด็ก ในอนาคตอัน ใกล คณะกรรมการหอศิลปมีความประสงคที่จะจัดใหมีการฝกอบรมทาง ดานศิลปะทุกประเภทโดยจัดขึ้นที่บริเวณหอศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม เพื่อตอบสนองตอความตองการใหกับประชาชน นักศึกษา และนัก วิชาการโดยทั่วไปที่สนใจสรางสรรคผลงานทางดานนี้มารวมใชเวลาฝกฝน กับกิจกรรมที่เสริมคุณภาพชีวิต ไมวาจะเปนการจัดอบรมสีน้ำ สีน้ำมัน การเขียนภาพเหมือน การเขียนภาพทิวทัศน การจัดดอกไม การทำความ เขาใจศิลปะอยางงาย และการฝกฝนดานดนตรี และการแสดงทุกประเภท ในสวนของการปรับปรุงดานเนื้อหาของหอศิลป มหาวิทยาลัย เชียงใหม คณะกรรมการไดตกลงรวมกันที่จะจัดใหมีกิจกรรมเสวนา ทางศิลปวัฒนธรรมและความรูเกี่ยวเนื่องเปนประจำ กลาวคือทุกๆ สอง สัปดาหจะจัดใหมีกิจกรรมดังกลาวขึ้นในบริเวณหอศิลป และโรงละคร สลับกันไป นอกจากนี้ยังไดมีการปรับปรุงเว็บไซตของหอศิลป ใหบรรจุ เรื่องราวเกี่ยวกับศิลปะ ประวัติศิลปน ขาวนิทรรศการศิลปะทั่วโลก และ ประวัติผลงานแสดงของหอศิลป เพื่อเผยแพรบนไซเบอรสเปซ สวนขาวหอศิลป / ขาววิจิตรศิลปฉบับนี้ ถือเปนสวนหนึ่งของ กิจกรรมขางตน โดยมีพันธกิจเพื่อสื่อสารกับผูคนในแวดวงมหาวิทยาลัย เชียงใหม สถาบันสอนศิลปะตางๆ ทั่วประเทศ ตลอดรวมถึงโรงเรียนใน กลุมเปาหมายและสื่อมวลชนทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค เพื่อใหทราบ ถึงกิจกรรมของหอศิลป, คณะวิจิตรศิลป, และมหาวิทยาลัยเชียงใหม ลาสุด คณะกรรมการหอศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดเปดให มีระบบสมาชิกหอศิลปขึ้น โดยมีวัตถุประสงคใหสมาชิกมีสวนรวมกับ กิจกรรมของหอศิลป ทั้งในแงของการใชบริการตางๆ ในอัตราพิเศษ เชน การอบรมทางดานศิลปะ การเขาชมการแสดงดนตรี ละคร ศิลปะ และ กิจกรรมอื่นๆ รวมถึงการรับขาวสารกอนคนอื่น โดยชำระคาสมาชิกเปน รายป ถนนนิมมานเหมินทร จังหวัดเชียงใหม ถือเปนเสนทางคมนาคม ที่สำคัญสำหรับนักทองเที่ยวที่เดินทางมาจากสวนกลาง ครึ่งของความ ยาวของถนนสายนี้ตั้งแตโรงแรมอมารีรินคำ จนถึงสามแยกหอประชุม มหาวิทยาลัยเชียงใหม ถือไดวาเปนถนนสายบันเทิงที่สำคัญของ เชียงใหม ซึ่งมีรานรวงตางๆ มากมายสำหรับการช็อปปง รานอาหาร และ รานกาแฟ สวนอีกครึ่งหนึ่งจากสามแยกหอประชุมฯ จนถึงสาธารณสุข กลับเงียบเหงา รางผูคน และบริเวณลานโลงของหอศิลป มหาวิทยาลัย เชียงใหมกลายเปนเพียงที่จอดรถ จากนี้ไป เราพยายามที่จะปรับปรุงให ชวงถนนสวนนี้เปนแหลงของคุณภาพชีวิต ควบคูไปกับบันเทิงการศึกษา ซึ่งหวังเปนอยางยิ่งวา ความคิดความฝนเหลานี้จะเปนจริงขึ้นมาได ก็ดวย การประสานความรวมมือกันทุกฝาย สมเกียรติ ตั้งนโม คณบดีคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม สิงหาคม 2551

www.finearts.cmu.ac.th www.finearts.cmu.ac.th/cmuartcenter 2 Arts Arts august august 2008 2008

อ ชัยวุฒิ

PRINTS AS PRINTS

2008

โครงการนิทรรศการศิลปะภาพพิมพรวมสมัย วันที่ 7 - 31 สิงหาคม 2551 ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม จ. เชียงใหม่ วันที่ 4 – 26 ธันวาคม 2551 ณ หอศิลปวัฒนธรรมภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยบูรพา นิทรรศการศิลปะภาพพิมพรวมสมัย จัดขึ้นโดย อาจารย และ นักศึกษาคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม เนื่องในโอกาส ครบรอบ 25 ป คณะวิจิตรศิลป คณะวิจิตรศิลปไดเปดทำการสอน หลักสูตร ศิลปบัณฑิตขึ้นในป พ.ศ. 2526 สาขาวิชาภาพพิมพได เริ่มตนการเรียนการสอนเปนเพียงรูปของกลุมวิชาโท ตอมาเมื่อป พ.ศ. 2528 จึงไดรับอนุมัติใหเปดเปนสาขาวิชาภาพพิมพโดยตรง สวนหนึ่ง ในวัตถุประสงคของหลักสูตรวิชาเอกภาพพิมพในระดับปริญญาตรีนี้ คือ การผลิตบัณฑิตที่มีทัศนคติอันดีงาม มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความคิดกาวหนาทันตอพัฒนาการของวิทยาการแขนงนี้ รูจักวิจารณ ถายทอดและเผยแพรความรูดานศิลปะ ดวยความรับผิดชอบตออาชีพ ตลอดจนสังคมสวนรวม นอกเหนือจากการอบรมสั่งสอน และการเรียนการสอนตาม หลักสูตรแลว สาขาวิชาภาพพิมพยังสนับสนุนและกระตุนใหนักศึกษา

ไดนำผลงานการสรางสรรคออกไปเผยแพรตอสาธารณชนดวย การนำผลงานไปจัดแสดงในรูปแบบของนิทรรศการ เปนการฝกฝน ประสบการณทางการแสดงออกสูสังคม ซึ่งถือเปนการบริการวิชาแก ชุมชน และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ การจัดทำโครงการแสดงนิทรรศการศิลปะภาพพิมพรวมสมัย “PRINTS AS PRINTS 2008” ของอาจารย และนักศึกษาคณะ วิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม หวังเปนอยางยิ่งวาการฝกฝน ประสบการณทางการแสดงออกสูสาธารณชนในครั้งนี้ จักได เปนประโยชนตอตัวนักศึกษากอนการกาวยางเขาสูวงการศิลปะ ในอนาคต นอกจากการแสดงนิทรรศการศิลปะแลว สาขาวิชา ภาพพิมพ ยังไดมีการจัดทำกิจกรรมทางวิชาการ ในการเรียนรูและ การฝกปฏิบัติจริง เพื่อการเผยแพรความรู ความเขาใจทางดาน ศิลปะภาพพิมพในกระบวนการตางๆ เชน ภาพพิมพแมพิมพพื้นฐาน ภาพพิมพแมพิมพไมและภาพพิมพอื่นๆ แกนักเรียน นักศึกษา และสถาบันการศึกษาที่สนใจในชวงการแสดงนิทรรศการ การ แสดงนิทรรศการและกิจกรรมวิชาการดังกลาวจะเปนเครื่องแสดง ใหประจักษวาสาขาวิชาภาพพิมพ คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย เชียงใหม มีความมุงมั่นในการเผยแพร และทำนุบำรุงศิลป วัฒนธรรมของชาติสืบตอไป

นิทรรศการประจำเดือนสิงหาคม – กันยายน 2551 จัดแสดง ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม ระ เวลา

นิทรรศการ

พื้นที่

1

7 – 29 ส.ค.51

นิทรรศการกลุมคิดถึงบาน

ชั้น 2 ดานหนาและดานหลัง

2

8 – 31 ส.ค. 51

นิทรรศการศิลปะภาพพิมพรวมสมัย “Prints as Prints 2008”

ชั้น 1 ดานหลัง

3

9 – 10 ส.ค. 51

งานแสดงดนตรีและการแสดงชุด แมน้ำ

โรงละคร

4

14 - 29 ส.ค.51

นิทรรศการภาพถาย “เงาแหงกรุงเยรูซาเลม”

ชั้น 1 ดานหนา

5

22 – 23 ส.ค. 51

งาน นาฏยเปงใจ ครั้งที่ 2 นาฏยกรรมรวมสมัยแหงสองโลก

โรงละคร

6

24 ส.ค. 51

งาน The Duet Student Recital 2008

โรงละคร

7

31 ส.ค. 51

คอนเสิรต นักเรียนโรงเรียนปฤษฐาการดนตรี (เมโลดี้ เฮาส์)

โรงละคร

8

1 - 25 ก.ย. 51

ศิลปะของอาจารยและนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะศึกษาศาสตร์

ชั้น 1 ดานหนา

9

4 - 28 ก.ย. 51

วิทยานิพนธ ระดับบัณฑิตศึกษา

ชั้น 1 ดานหลัง หองเล็ก และชั้น 2 ทั้งหมด

10

12 ก.ย. 51

สัมมนาภาควิชาภาพพิมพ และเลี้ยงสง ผศ.สมพร รอดบุญ

โรงละคร และบริเวณสนามหญา

11

27- 28 ก.ย. 51

สัมมนาวิชาการ นักศึกษา ป.โท สาขาจิตรกรรม คณะวิจติ รศิลป์ มช.

ชั้น 1 ดานหนาและโรงละคร

12

1 – 31 ต.ค.51

รักษสิ่งแวดลอมความพอเพียง

ชั้น 1 ดานหลัง

Le Paradis des Fleurs ครั้งที่ 7 คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม จะจัดงาน Le Paradis des Fleurs ครั้งที่ 7 ระหวางวันศุกรที่ 5 - วันอาทิตยที่ 7 กันยายน 2551 ณ ลานกิจกรรม ชั้น G ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม แอรพอรต การจัดงานครั้งนี้เปนการจัดแสดงประติมากรรมดอกไมขนาดใหญ โดยมีผูชวยศาสตราจารยสุนันทา รัตนาวะดี เปนประธานการจัดงาน ทั้งนี้ภายในงาน ทานจะไดรับชมผลงานของนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่มีผลงานเปนที่ยอมรับของสังคม อาทิ ผลงานการออกแบบแฟชั่น SOCIETEA STORY โดยคุณสุกฤษฏิ์ แกวดำ ผลงานการออกแบบแฟชั่น NOPPARAT CHARAPOK โดย คุณนพรัตน ชราพก ซึ่งเปน Fashion Young Designer ของ ELLE ตลอดจน การสาธิตการจัดดอกไมประเภทตางๆ อาทิ การประดิษฐตุก ตาจากดอกบัว การประดิษฐตุก ตาหงสจากดอกรัก การสาธิตและอบรมการจัดดอกไมจากศิษยเกาวิทยากรมืออาชีพ คุณสุนสิ า ศรีวงศ จากราน Iris และคุณดนัย วรพิศาล การสาธิตการแตงหนา Floral Make up Creation จากทีมงานศิษยเกา คณะวิจิตรศิลป โดยคุณสุทธิพันธ เหรา ประกวดชุด สวยดวยดอกไมสดผสมวัสดุประดิษฐและการแขงขันจัดดอกไมชิงรางวัลมากมาย


Article จุดประสงคของงานศิลปะ จะตองเปดเผยคำถาม ซึ่งไดซอนเรนคำตอบตางๆ เอาไว James Baldwin ฟสิกสคือรูปแบบหนึ่งของความเขาใจอยางแจมแจง ดังนั้นมันจึงเปนรูปแบบหนึ่งของศิลปะ David Bohm

ILLUSION / REALITY

มายาการ และ ความจริง มายาการ และ ความจริง ศิลปะและฟสิกส คูที่แปลกหนาตอกัน ศิลปะและฟสิกสคือคูที่คอนขางจะแปลกหนาตอกัน ในสาขาวิชา ตางๆ มากมายของมนุษยนั้น สามารถจะแบงเปนเพียงสองวิชานี้ไดไหม ที่ ดูเหมือนจะเบนออกจากกันอยูตลอดเวลา กลาวคือศิลปนใชจินตนาภาพ และวิธีการอุปมาอุปมัย สวนนักฟสิกสใชตัวเลขและสมการ ศิลปะตีวงอยูรอบๆ อาณาเขตแหงจินตนาการของคุณภาพเชิง สุนทรีย เปนเรื่องของอารมณความรูสึกที่ดึงออกมา สวนฟสิกสดำรงอยู ในโลกของความสัมพันธตางๆ ทางคณิตศาสตรที่โอบลอมเปนละลอก ทามกลางคุณสมบัติตางๆ ฟสิกสเปนวิทยาศาสตรที่แนนอน มีความนา เชื่อถือ โดยทั่วไปแลว ผูที่ใหการสนับสนุนแตละกลุม (ศิลปะและฟสิกส) คอนขางมีทัศนคติที่ตายตัวและมีความเห็นตรงขามกันคนละขั้วเลยทีเดียว ในมหาวิทยาลัย นักศึกษาศิลปะซึ่งมีความรูและความคิดกาวหนา โดยปกติ พวกเขาจะไมผสมปนเปกับคูเหมือนของเขาในวิชาฟสิกส, ดวย การเทียบเคียงกันโดยบังเอิญ (ศิลปะและฟสิกสใหความสนใจในเรื่องแสง สี รูปทรง และอื่นๆ คลายกัน) แตอยางไรก็ตามความรูทั้งสองสาขานี้ในเชิงการ ศึกษา ดูเหมือนวาจะมีบางสิ่งบางอยางรวมกันนอยมาก มีไมมากนัก หากจะ มีการอางอิงบางในเชิงศิลปะกับตำรามาตรฐานบางเลมของวิชาฟสิกส สวน นักประวัติศาสตรศิลปทั้งหลายก็แทบจะไมเคยตีความผลงานของศิลปนคน หนึ่งคนใดที่ทำงานเกี่ยวกับเรื่องแสง ในแนวทางความคิดที่อยูในกรอบโครง ของวิชาฟสิกสเลย แมวา ทั้งๆ ที่สิ่งที่ปรากฏออกมานั้นจะดูเหมือนวามีความแตกตางกัน จนไมอาจปรองดองกันได แตก็ยังมีลักษณะเบื้องตนบางอยางที่เกี่ยวโยงกัน อยางเปนรูปธรรมในสาขาวิชาเหลานี้ ศิลปะในเชิงปฏิวัติ (Revolutionary art ) และฟสิกสเกี่ยวกับภาพทางสายตา (visionary physics) ทั้งสองวิชานี้ เปนเรื่องของการสืบสวนเขาไปหาธรรมชาติของความเปนจริงดวยกันทั้งคู Roy Lihtenstein, ศิลปน Pop art ของทศวรรษ 1960 เคยประกาศ เอาไววา “การรวมเอาความรับรู คือสิ่งที่ศิลปะไปเกี่ยวของทั้งหมด สวน Sir lssac Newton อาจจะพูดขึ้นมาในทำนองนี้เชนเดียวกันเกี่ยวกับฟสิกส พวกเขาไดถูกนำเขาไปเกี่ยวของกับการรับรูที่เปนองคระบบดวยเหมือนกัน ในขณะที่ระเบียบวิธีของทั้งสองศาสตรนั้นแตกตางกันอยางถึงรากทีเดียว ศิลปนและนักฟสิกสตางก็มีสวนในความปรารถนาที่จะคนหาหนทางที่เปน ชิ้นสวนซึ่งประสานกันอยางแนบแนนของความจริง อันนี้คือพื้นฐานที่มี อยูรวมกัน ซึ่งทำใหศาสตรทั้งสองมาบรรจบกัน Paul Gauguin เคยพูดเอาไวครั้งหนึ่งวา “ศิลปนนั้น มีอยูเพียง สองประเภทเทานั้น กลาวคือ ประเภทแรกเปนพวกที่ชอบปฏิวัติ และ ประเภทที่สอง เปนพวกที่ชอบคัดลอกผลงานของคนอื่น มาเปนของ ตน (plagiarists)” ศิลปะประเภทที่จะนำมาพูดคุยในบทความชิ้นนี้ จัด เปนพวกปฏิวัติทั้งหลาย ทั้งนี้เพราะมันเปนผลงานของคนที่นำเอาความ เปลี่ยนแปลงอยางสำคัญมาสูโลกทรรศนของอารยธรรม และในหนทางที่ ขนานกัน แมวาพัฒนาการของฟสิกส บอยครั้งมักจะขึ้นอยูกับการสนับสนุน ตางๆ มากมายของผูทำงานที่เปนคนซึ่งมีความคิดริเริ่มและเปนผูที่อุทิศตน อยางมาก แตก็มีโอกาสอันนอยนิดเทานั้นของประวัติศาสตรที่นักฟสิกสคน หนึ่ง จะมีความเขาใจที่อยูเหนือโลกแหงเหตุผล (transcendent insight) ใน ฐานะที่เปน “เพลิงขนาดใหญของความแจมแจง” (conflagration of clarity) ซึ่งไดยอมใหศิลปนและนักฟสิกสบางคนไดเห็นในสิ่งที่ไมเคยมีใครเห็นมา กอนหรือจินตนาการไปถึง และเปนพวกเขานั่นแหละ – ศิลปนนักปฏิวัติและ นักฟสิกสที่เกี่ยวกับภาพทางสายตา – ผูซึ่งไดรับการจับคูกันในหนาประวัติ ศาสตร นักฟสกิ ส ก็คลายกับนักวิทยาศาสตรอืน่ ๆ คือเริม่ ตนดวยการแบงแยก “ธรรมชาติ” ออกเปนสวนๆ ที่แตกตางของความเปนจริงมาวางเคียงกันและ สังเคราะหมันเขาดวยกัน ดังนั้นจึงอยูบนกระบวนการ การทำใหสมบูรณ (Completion), ผลงานทั้งหมด นั้นเปนสิ่งที่ยิ่งใหญกวาผลบวกของสวนตางๆ เขาดวยกัน มันคอนขางจะเปนการตัดกันในเรื่องของเทคนิคที่นำมาใชโดย ศาสตรทั้งสองนี้ นักเขียนนวนิยาย Vladimir Nabokov เขียนเอาไววา “มัน ไมมีวิทยาศาสตรที่ปราศจากจินตนาการ-ความคิดฝน และมันไมมีศิลปะที่ ปราศจากความจริง” จุดเริ่มตนของวิทยาศาสตรตางๆ ภายใตขอบเขตเรื่องราวของวิทยาศาสตร สำหรับในบทความนี้จะให ความสนใจเกี่ยวกับเรื่องของฟสิกส ซึ่งไดพัฒนามาในชวงระหวางไมกี่รอยๆ ป แตอยางไรก็ตาม ผูอานจะตองไมลืมวา นักฟสิกสในปจจุบันไดสวมใส เสื้อคลุมตัวหนึ่งที่ไดรับการสงทอด ลงมาจากยุคสมัยตางๆ บรรดานักฟสิกส ก็คือตัวแทนยุคใหมของขนบประเพณีที่แตกตางและโดดเดนอันหนึ่ง ซึ่ง ยอนกลับไปสูนักวิทยาศาสตรคนแรกๆ ที่เปนพวกนักเทววิทยาคริสเตียน, นัก ปรัชญาธรรมชาติ, บรรดาพระนอกรีต, และหมอผีในยุคหินเกา, บุคคลพิเศษ เหลานี้ไดมีสวนชวยสรางหรือใหการสนับสนุนตอการเติมแตงแผนภาพอัน ไมมีขอบเขตจำกัดของธรรมชาติ นักฟสิกสคนแรกนาจะเปนคนหนึ่งที่คนพบ วา เขาจะสรางไฟขึ้นมาไดอยางไร ?

ขาพเจาเลือกฟสิกสขึ้นมาโดยเฉพาะก็เพราะวา ใน ศตวรรษนี้วิทยาศาสตรเชิงวัตถุทั้งหมดตางเรียนรูวา พวกมัน ทอดสมอหรือยึดเหนี่ยวอยูกับหินกอนนี้ สวนวิชาเคมีก็เริ่มตนขึ้น มาโดยการพยายามที่จะพิสูจนและจำแนกธาตุแทตางๆ, และมัน ไดกลับกลายไปเปนการถูกละลายสูกฎที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องของ อะตอม สวนดาราศาสตรเริ่มตนขึ้นในฐานะที่เปนความหลงใหล อันหนึ่งในความเคลื่อนไหวของสรวงสวรรค (ทองฟา) และกาวหนาไปสูการสืบสวนเขาไปในเรื่องราวของ การจัดระบบสุรยิ จักรวาล ทุกวันนีใน ้ การศึกษาเกีย่ วกับกาแลกซี่ ตางๆ นักดาราศาสตรฟสิกสไดมีการพูดถึงกฎตางๆ ที่ควบคุม พลังและวัตถุ จากการถือกำเนิดขึ้นของมันในศาสตรของการ แบงแยกประเภทของพวกอริสโตเทเลี่ยน สำหรับชีววิทยา ได วิวัฒนไปสูการศึกษาเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธกันทางฟสิกสของ อะตอมในชีววิทยาโมเลกุล, (molecularbiology), วิชาฟสิกส ใน ระยะเริ่มตนเปนสาขาหนึ่งทามกลางสรรพศาสตรจำนวนมาก แตสำหรับใน ศตวรรษนี้ มันไดกลายมาเปนศาสตรที่ไดรับการยกยองอยูบนบันลังค ใน ฐานะกษัตริยแหงวิทยาศาสตร (king of the sciences) ทัศนศิลป แรกทีเดียวเกิดขึ้นกอนภาษาและคำอธิบาย ในกรณีของทัศนศิลป นอกเหนือจากความจริงอันกระจางแจง ความจริงที่เลียนแบบและความจริงในทางการตีความแลว ก็ยังมีศิลปน อยูไมมากนัก ที่ไดสรางสรรคภาษาหนึ่งซึ่งเกี่ยวกับสัญลักษณสำหรับสิ่ง ตางๆ เทียบเคียงกับ Sigmund Freud ใน Civilization and its Discontents

(อารยธรรม และความไมพอใจ) ไดเปรียบเทียบความกาวหนาของผูคน ทั้งหมดในอารยธรรมหนึ่งกับการพัฒนาของปจเจกชน ขาพเจาเสนอวา นวัตกรรมใหมอยางถึงรากของศิลปะปรากฏเปนรูปรางในขั้นตอนกอนที่จะ เปนคำพูดเกี่ยวกับแนวความคิดใหม ซึ่งในทายที่สุดแลว จะเปลี่ยนแปลง ไปสูหนทางใหมๆ ที่จะคิดเกี่ยวกับความจริงวา เริ่มตนขึ้นดวยการดูดซับจาก ภาพตางๆ ที่ไมคุนเคย, การตรวจทานอันนี้นำไปสูความคิดที่เปนนามธรรม ตางๆ ซึ่งตอมาภายหลังจึงใหกำเนิดในเรื่องของ”ภาษา”และ”คำอธิบาย”

อันนี้มากเทาๆ กันกับพวกผูใหญ พวกเรามักจะไมใครทราบวา เมื่อ เราเขาไปผูกมัดกับความคิดที่เปนนามธรรม เรามิไดคิดในหนทางของความ เปนภาพแตอยางใด แนวความคิดตางๆ อยางเชน “ความยุติธรรม”, “เสรีภาพ”, หรือ “เศรษฐศาสตร” อาจถูกนำมาคิดอยางถี่ถวนในใจโดย ปราศจากการพึ่งพาอาศัยภาพในใจใดๆ (mental picture) ขณะที่มันไมเคย มีการลงมติกันอยางถึงที่สุดระหวางคำพูดและภาพ เราเปนสิ่งที่มีชีวิต เผาพันธุหนึ่งที่ตองขึ้นอยูกับความเปนนามธรรมของภาษา และสวนใหญ แลวในทายที่สุด คำพูดก็จะเขามาแทนที่ภาพตางๆ เมื่อเราครุนคิด ไตรตรอง หวนรำลึก รำพึงรำพัน และจินตนาการ โดย ทั่วไปแลวเรากลับคืนสูวิธีการที่เปนเรื่องภาพ (ซึ่งมองเห็นไดในใจ) แตเพื่อที่ จะดำเนินการใหบรรลุผลสำเร็จในหนาที่อันสูงสุดของสมอง ความคิดที่เปน นามธรรม เราไดละทิ้งประโยชนของภาพลักษณตางๆ ไป และสามารถที่จะ ดำเนินการโดยปราศจากการพึ่งพาอาศัยพวกมันอีก ดวยความถูกตอง เรา เรียกแบบฉบับนี้ทางความคิดวาความเปน “นามธรรม” (abstract) อันนี้ เปนความมีอำนาจและการกดขี่หรือความเปนเผด็จการของภาษา เพื่อที่ จะติดปายชื่ออันหนึ่งกับบางสิ่งบางอยาง และนี่คือการเริ่มตนเกี่ยวกับการ ควบคุมเหนือสิ่งนั้น

พระผูเปนเจาทรงสอนอดัมเพียง อยางเดียว คือ การตั้งชื่อ, คำพูดไดกลายเปนอาวุธตางๆ ที่มนุษยไดนำมาใชเพื่อทำให ธรรมชาติเชื่องลง และถูกกดขม ยกตัวอยางเชน ลองสังเกตเด็กทารกบางคนที่เอาชนะสภาพแวดลอม ตางๆ ของพวกเขายาวนานกอนที่จะมีคำพูดเกิดขึ้นมา เด็กเล็กๆ ไดพัฒนา ความสัมพันธระหวางภาพลักษณของขวดนมใบหนึ่งกับความรูสึกพึงพอ ใจ อยางคอยเปนคอยไป เด็กเล็กๆ ไดสะสมภาพลักษณของขวดนมตางๆ อยางหลากหลาย อันนี้เปนความสามารถที่นางงงวยเกี่ยวกับวา ขวดนมใบ หนึ่งเมื่อมองจากมุมมองที่ตางกัน มันจะเปลี่ยนแปลงรูปรางไปอยางนาทึ่ง ทีเดียว จากรูปทรงกระบอก สูรูปไข และสูรูปทรงกลม ในการสังเคราะห ภาพตางๆ เหลานี้ ความสามารถทั้งหลายเชิงมโนคติ (concept) ที่เกิดขึ้น ของเด็กไดประดิษฐภาพนามธรรมขึ้นมาภาพหนึ่ง ซึ่งโอบลอมความคิดหรือ ไอเดียเกี่ยวกับกลุมกอนทั้งหมดของวัตถุตางๆ เอาไว ที่เขาหรือเธอจะจดจำ มันไดตอไปภายภาคหนาวาเปนขวดนม ขั้นตอนอันนี้ในความเปนนามธรรม ไดยอมใหเด็กทารกเขาใจความนึกคิดเกี่ยวกับความเปนขวดนม ซึ่งยังคง ไมมีภาษา, แตเด็กทารกสามารถมีความปรารถนาในเชิงสัญลักษณอยางมี เจตจำนงได คำพูดเขามาแทนที่ภาพ ตอจากนั้น สวนของสมองที่เรียกวา Broca’s area ไดมีการเชื่อม ตอกันระหวางแกนประสาทตางๆ ซึ่งไดบรรลุถึงการวิเคราะหทางดาน ตัวเลข มันไดเปดสวิทชอยางรวดเร็วใหสวางขึ้นโดยทันใดดวยพลังอันวิเศษ ของภาษา โรงงานผลิตคำอันนี้ มันดังชึกชักตลอด (คลายเสียงเครื่องจักร) ใหกำเนิดเสียงตางๆ ซึ่งจะแทนที่และเขามาบดบังภาพทั้งหลายในชวงตนๆ ในทันทีที่เด็กๆ เริ่มเชื่อมโยง “ภาพลักษณของขวดนม” กับคำวา “ขวดนม” คำๆ นั้นก็จะเริ่มบดบังหรือปกคลุมภาพนั้น

พระผูเปนเจาทรงสอนอดัมเพียงอยางเดียว คือ การตั้งชื่อ หลังจากที่พระผูเปนเจาไดสรางสรรคอดัมขึ้นมา แลว ภาระหนาที่ประการแรกสุดของพระองคก็คือ จะ ตองสั่งสอนอดัมใหทำการเรียกชื่อบรรดาสัตวทั้งหมด พระผูเปนเจาทรงสอนอดัมจนเขาไดบรรลุถึงความ ชำนาญและความคลองแคลวอันนี้ และอดัมก็บรรลุถึง อำนาจการครอบงำเหนือสัตวปาทั้งปวง รวมทั้งสัตวปก ทั้งหมด ขอใหหมายเหตุลงไปดวยวา พระผูเปนเจามิได สั่งสอนอะไรแกอดัมเลยที่เหมาะสมและเปนประโยชน ดังเชนเรื่องจะสรางไฟขึ้นมาไดอยางไร หรือวิธีการ ประดิษฐคิดสรางหอก หรือหลาวขึ้นมาสักอันหนึ่ง? พระองคทรงสอนเขาใหเอยชื่อแทน, คำพูดตางๆ ยิ่งกวา ความเขมแข็งหรือความเร็ว คำพูดไดกลายเปนอาวุธ ตางๆ ที่มนุษยไดนำมาใชเพื่อทำใหธรรมชาติเชื่องลง และถูกกดขม

ใครคือผูสรางสรรคจินตนาการที่มากอนภาษา หรือคำอธิบาย เปนเพราะวากระบวนการกัดเซาะเกี่ยวกับภาพตางๆ โดยคำพูด นั้น เกิดขึ้นมานับตั้งแตยุคตนๆ เลยทีเดียว พวกเราลืมไปวาเพื่อที่จะเรียนรู บางสิ่งใหมๆ อยางถึงราก อันดับแรกเราตองการที่จะจินตนาการถึงมัน. คำ วา “จินตนาการ” อันที่จริงหมายถึง “การสรางภาพ” (make an image) พยานหลักฐานของการแสดงออกตางๆ ที่พวกเราใช ถูกใชเมื่อตองตอสูกับ ไอเดียหรือความคิดใหมอันหนึ่ง เชน “ขาพเจาไมสามารถสรางภาพมันขึ้นมา ได”, “ขอใหขาพเจาสรางตุกตา (แบบจำลอง) ในใจขึ้นมาอันหนึ่ง, และ “ขาพเจาพยายามที่จะหลับตานึกถึงมัน” ถา, ดั่งที่ขาพเจานำเสนอ, ภาระ หนาที่อันนี้เกี่ยวกับการจินตนาการ, คอนจะเปนการชี้ขาดตอพัฒนาการ ของเด็กทารกคนหนึ่ง และยังปรากฏอยูในอารยธรรมสวนใหญดวย ถัดจาก นั้นใครกันเลาที่สรางสรรคจินตภาพใหมๆ ที่มากอนไอเดียหรือความคิด นามธรรมและภาษาที่ใชในการอธิบาย ? เขาผูนั้นก็คือ “ศิลปน” นั่นเอง ในลำดับถัดไป ขาพเจาจะแสดงใหเห็นถึงวาทำอยางไร ศิลปะที่มี ลักษณะของการปฏิวัติ (revolutionary art) สามารถที่จะเขาใจไดในฐานะที่ เปนขั้นตอนกอนที่จะมีคำพูด (preverbal stage) ของอารยธรรมหนึ่ง ซึ่งใน ตอนแรกตองแขงขันตอสูกับความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญในการรับรูเกี่ยวกับ โลก เพื่อที่จะเพิ่มเติมในรายละเอียดเกี่ยวกับบทสรุปนี้, ขาพเจาจะตรวจสอบ งานศิลปะ ไมเพียงในแงของสุนทรีภาพเทานั้น ที่สามารถสรางความพึง พอใจใหกับสายตาของเรา แตจะตรวจคนในแงที่มันเปนระบบหนึ่งซึ่งคอย ตักเตือนเรามาแตเนิ่นๆ เกี่ยวกับความคิดที่รวบรวมกันขึ้นมาของสังคมหนึ่ง

Arts august 2008

3


Article ศิลปะที่ปรากฏตอสายตา (visionary art) หรือทัศนศิลป มัน ปลุกเราสมาชิกคนอื่นๆ ใหตื่นตัวอยูเสมอวา การเปลี่ยนแปลงทางแนวคิด นั้น เปนเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบความคิดที่ใชในการรับรูโลก. John Russell นักวิจารณศิลปะคนหนึ่งใหความเห็นวา “มันมีพลังของ การรูเห็นและเขาใจอันพิเศษ (clairvoyance ตาทิพย) อยูในงานศิลปะ ซึ่งพลังอำนาจอันนั้นเรายังไมคนพบชื่อ, และยังคงใหคำอธิบายมันได นอยมาก” ศิลปนล้ำหนามากอนนักฟสิกส ทั้งๆ ที่แตละสาขาวิชาจะมีภาระความรับผิดชอบคลายๆ กัน แตใน การมองเห็นของศิลปนนั้น มีลักษณะเหมือนกับจะเห็นเหตุการณลวงหนา พิเศษ ซึ่งนำหนามากอนสมการตางๆ ของนักฟสิกส ศิลปนนั้นไดหลอม รวมอยางลึกลับเขาไปสูผลงานตางๆ ของพวกเขา อันเปนรูปลักษณตางๆ ของการอธิบายในเชิงฟสิกสที่เกี่ยวกับโลก ซึ่งวิทยาศาสตรไดคนพบตอมา ภายหลัง ศิลปน ดวยความรับรูแตเพียงเล็กนอย หรือไมเคยรูเลยเกี่ยวกับสิ่งที่ กำลังดำเนินไปในสาขาฟสกิ ส เขาไดจัดการใหภาพลักษณและอุปมาอุปมัย ตางๆ ที่เพอฝนใหปรากฏตัวขึ้นมา ซึ่งมันเหมาะเจาะอยางนาตะลึง เมื่อมัน เขาไปเพิ่มเติมแกโครงรางความคิดในการปรับปรุงแกไขตอมาของบรรดา นักฟสิกสทั้งหลาย เกี่ยวกับไอเดียความคิดตางๆ ของเราในเรื่องของความ เปนจริงทางดานฟสิกส ซ้ำอีกครั้งที่วาตลอดประวัติศาสตร ศิลปนเปนผู ที่นำเสนอสัญลักษณตางๆ และภาพวาด ซึ่งในการหวนรำลึกไดพิสูจนถึง ความเปนกองหนาอันหนึ่ง (an avant-garde) สำหรับแบบแผนโดยตลอด ของยุควิทยาศาสตรที่ยังคงไมเกิดขึ้น นักประวัติศาสตรศิลปจำนวนเล็กนอย ไดสนทนากันถึงภาระหนาที่อันเปนปริศนาอันนี้ของศิลปะในเชิงลึก. Robert Hughes นักวิจารณศิลปะอีกคนหนึ่ง ไดอธิบายวา ทำไมมันถึงถูกมองขาม กันอยูบอยๆ ดังนี้… “สาระสำคัญของการสรรคสรางที่ล้ำหนา (avant-garde myth) ก็ คือ ศิลปนนั้นเปรียบเสมือนทหารกองหนาคนหนึ่ง ผลงานศิลปะที่มีความ สำคัญอยางแทจริง คือสิ่งหนึ่งที่เตรียมการถึงอนาคต จุดศูนยรวมของขนบ ธรรมเนียมประเพณีทางดานวัฒนธรรม. ในอีกดานหนึ่ง มีแนวโนมที่จะ พิจารณาศิลปนปจจุบัน (ศิลปนที่มีชีวิตอยู) ในฐานะการบรรลุถึงจุดสุดยอด ของอดีตดวย” บอยมากเชนกัน เมื่อเวลาที่ไดอานเรื่องราวเกี่ยวกับผลงานของ ศิลปนที่พิเศษบางคน พวกเรามักจะไดรับการบอกเลาเกี่ยวกับสไตลตางๆ ของอดีตที่ผานมา ที่ใหอิทธิพลกับผลงานของพวกเขา, เชื้อสายวงศวาน ของพวกเขา มีรองรอยยอนกลับไปสูบรรดาศิลปนที่มีมากอนทั้งหลาย, และ ผลงานของพวกเขา แทบจะไมไดรับการอธิบายในแนวที่เกี่ยวกับการที่เขา เหลานั้นไดคาดการณลวงหนาถึงอนาคตเลย ชิ้นสวนขนาดใหญอันหนึ่งของสังคมปจจุบัน ไมอาจที่จะเขาใจ วิสัยทัศนของศิลปะ (art’s vision) และไมไดใหการพิจารณาถึงความสำคัญ ของศิลปะแตประการใด. Marshall Mcluhan, ในผลงานที่ทรงอิทธิพลของ เขาเรื่อง “Understanding Media” ไดตั้งคำถามวา: “ถามนุษยสามารถจะถูกทำใหเชื่อมั่นไดวา ศิลปะคือความรูที่ ล้ำหนาอยางถูกตองเกี่ยวกับการจัดการสิ่งที่จะตามมาในเชิงสังคม และ จิตวิทยาของเทคโนโลยีในโอกาสตอไป, พวกเขาจะกลายเปนศิลปนไดไหม? หรือพวกเขาจะเริ่มตนแปรรูปแบบใหมๆ ของศิลปะอยางระมัดระวัง ไปสู แผนภูมินำรองของสังคมไดไหม? ขาพเจากระหายที่จะรูถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้น ถาหากวาศิลปะไดรับการมองเห็นอยางฉับพลันวามันคืออะไร กลาวคือ มันเปนขาวสารที่แนนอนเกี่ยวกับวาจะปรับปรุงจิตวิญญาณของคนๆ หนึ่ง อยางไร เพื่อที่จะคาดการณลวงหนาถึงเหตุการณรุนแรงครั้งตอไปจากความ สามารถตางๆ ที่ขยายกวางออกไปของตัวเรา...” ศิลปะที่มีลักษณะปฏิวัติ (revolutionary art) ในทุกยุคทุกสมัยไดรับ ใชภารกิจนี้เกี่ยวกับการเตรียมการถึงอนาคต ทั้งศิลปะและฟสกิ สตางๆ ก็ มีรูปแบบพิเศษเฉพาะเกี่ยวกับภาษาแตละอยาง และตางก็มีศัพทเฉพาะ พิเศษเกี่ยวกับสัญลักษณทั้งหลาย ซึ่งไดถูกนำมาใชในการสรางประโยค ที่แตกตางกัน บริบททั้งมวล ที่มีลักษณะเฉพาะและแตกตางไปมากของ ทั้งสองวิชานี้ ทำใหการเชื่อมตอของมันกับภาษาในชีวิตประจำวันคอนขาง สับสนเทาๆ กัน แตอยางไรก็ตาม นาเอาใจใสที่วา บอยมากแคไหนที่ศัพท ตางๆ ของวิชาหนึ่ง สามารถจะถูกนำมาใชไดกับแนวความคิดตางๆ ของอีก วิชาหนึ่ง ศัพทแสงที่ใชรวมกันในวิชาฟสิกส และศิลปะ ศัพทคำวา “ Volume” (ปริมาตร) “space” (ระวางเนื้อที่วาง-พื้น ที่-อวกาศ) “mass” (มวล) “force” (กำลัง) “light” (แสง) “color” (สี) “ten sion” (แรงดึง) “relationship” (ความสัมพันธ) และ “density” (ความหนา แนนมีปริมาตร) คือคำอธิบายตางๆ เหลานี้ ยังปรากฏอยูบนกระดานดำของ การบรรยายในชั้นเรียนแกนักศึกษาใหมสาขาวิชาฟสิกส. คำที่มาสนับสนุน ความพยายามอันหลายหลากของทั้งสองวิชานี้ ซึ่งไดชวยเพิ่มเติมอารมณ เกี่ยวกับความงดงามนี้ ไดแก ศัพทคำวา “symmetry” (ความสมมาตร) “beauty” (ความงาม) และ “aesthetics” (สุนทรียศาสตร) เครื่องหมายหรือสัญลักษณที่เทาเทียมกันในรูปที่เกี่ยวกับสูตรตางๆ ของนักฟสิกส เปนอุปมาอุปมัยพื้นฐานอันหนึ่งที่ถูกนำมาใชโดยบรรดา ศิลปนเปนจำนวนมาก ในขณะที่พวกนักฟสิกสแสดงใหเห็นวา A เทากับ B หรือ X หรือเปนอยางเดียวกับ Y, บรรดาศิลปนก็มักจะเลือกเอาเครื่องหมาย, สัญลักษณตางๆ, และการเปรียบเทียบถึงความเทากันของภาพงาน จิตรกรรมชิ้นหนึ่งกับลักษณะหนึ่งของประสบการณ. เทคนิคของทั้งสองวิชา นี้ ไดเผยใหเห็นถึงความสัมพันธที่ซอนเรนที่มีอยูกอนแลวอันนั้น Niels Bohr ผูกอตั้งในวิชาควอนตัมฟสิกส, ไดรับความประหลาดใจ มาก โดยความสัมพันธกันระหวางฟสิกสกับภาษา และไดใหขอสังเกตวา… “หนึ่งในขอสมมุติฐานพื้นฐานของวิทยาศาสตรที่วา เราพูดถึงเรื่อง เกี่ยวกับการวัดคาตางๆ ในภาษาหนึ่ง ที่โดยพื้นฐานแลวเปนโครงสราง อยางเดียวกันกับสิ่งที่เราพูดถึงประสบการณในชีวิตประจำวัน พวกเรา ไดเรียนรูวา ภาษาอันนี้ยังไมเหมาะสมหรือสมบูรณมากพอที่จะใชในการ สื่อสารและสรางความเขาใจ แตอยางไรก็ตาม มันเปนการสมมุติของ วิทยาศาสตรทั้งปวง... สำหรับเรา ถาตองการที่จะพูดถึงบางสิ่งบางอยาง ที่เกี่ยวกับธรรมชาติทั้งหมด และอะไรที่วิทยาศาสตรพยายามที่จะทำ ดวย เหตุผลบางประการ เราจักตองผานจากสิ่งที่เปนคณิตศาสตรสูภาษาในชีวิต ประจำวัน.” Vincent van Gogh ไดพูดถึงความเกี่ยวพันในทำนองเดียวกันนี้ เมื่อ อยูในอารมณที่ผิดหวัง เขาไดเขียนถึงนองชายของเขา Theo เกี่ยวกับสิ่งที่ เขาไมสามารถที่จะพูดมันออกมาไดอยางชัดเจนถึงความรูสึกดวยภาษาพูด

4

Arts august 2008 2008

“แนนอน, เราสามารถจะพูดไดก็เพียงแตโดยผานงานจิตรกรรมตางๆ ของ ของเราเทานั้น” ศิลปะที่มีลักษณะของการปฏิวัติ (revolutionary art) และฟสิกส เกี่ยวกับภาพทางสายตา (visionary physics) พยายามที่จะพูดถึงสสาร ตางๆ ที่ยังไมอาจมีคำพูดได นั่นคือเหตุผลที่วาทำไม ภาษาเหลานั้นจึงถูก เขาใจไดอยางคอนขางยากเย็นเอามากๆ โดยผูคนที่อยูนอกขอบของวิชาการ เหลานี้ ทั้งนี้เพราะทั้งคูไดพูดถึงสิ่งที่จะมาถึงอยางแนนอน แตอยางไรก็ตาม มันเปนภารกิจของเราก็จะเรียนรูเพื่อทำความเขาใจมัน ในนิยายปรับปราโบราณเกี่ยวกับหอสูงแหงบาเบล (Tower of Babe l) (8), มนุษยชาติในชวงตนๆ พยายามที่จะรวมมือกันครั้งใหญเพื่อบากบั่น สรางหอสูงอันจะนำไปสูสรวงสวรรค. Yahweh (องคพระผูเปนเจา), ทรง ทอดพระเนตรลงมาจากหมูเมฆ, พระองคทรงพิโรธมากกับการที่มนุษย ซึ่งตองตายมาแตแรก คิดวาพวกเขาสามารถที่จะบรรลุถึงความสำเร็จดุจ พระเจาองคหนึ่ง. โดยสรุป พระองคทรงบิดเบือนคำพูดของคนทำงานทุกคน ใหผสมปนเปและสับสน และทำใหสิ่งกอสรางนั้นหยุดชะงักลง ประวัติศาสตรไดบันทึกเอาไว เกี่ยวกับการเริ่มตนใหมดวยการ ตอสูดิ้นรนอยางสุดความสามารถ และเปนความพยายามอยางชาๆ ที่จะ เอาชนะเพื่อนำพาไปสูความสำเร็จอยางคอยเปนคอยไป ความสงสัยแครง ใจและความสับสน ไดรับการสนับสนุนโดยจำนวนภาษาทองถิ่นตางๆ ที่มี อยูมากมาย. ปจจุบันงานนี้ยังคงดำเนินตอไป เปนการสรางสรรคเกี่ยวกับ เครือขายโลก ดวยการติดตอสื่อสารที่ขยายออกไปทั่วพิภพของบรรดา ศิลปนตางๆ และนักวิทยาศาสตร ซึ่งถือวาเปนแถวหนาของการประสานกัน ที่ไดใหการรับรูตางๆ เกี่ยวกับความจริงที่จะทำหนาที่ลบรอยพรมแดนแหง ความเปนชาติและภาษาตางๆ ใหจางลง การประนีประนอมเกี่ยวกับความ แตกตางกันอยางเดนชัดระหวางภาษาของมนุษยที่มีลักษณะเฉพาะพิเศษ ของทั้งสองเหลานี้ (หมายถึง”ศิลปะ”และ”ฟสิกส”) คือกาวที่สำคัญอันดับ ตอไปในการพัฒนาหอคอยแหงบาเบลเดียวกัน เรารูจักโลกนี้กันอยางไร ? เพื่อทำความเขาใจใหดีขึ้นถึงความสัมพันธเชื่อมตอระหวาง”ศิลป” กับ”ฟสิกส” พวกเราจักตองตั้งคำถามขึ้นมาแตตนวา “พวกเรารูจักโลกนี้กัน อยางไร?” Plato ในงานเรื่อง Republic หรือ”อุตมรัฐ” ไดมีการเปรียบเทียบ

เกี่ยวกับภาพเงาบนผนังถ้ำอันมีชื่อเสียงของเขา โดยเสนอวา พวกเรา ทั้งหมดคลายดั่งนักโทษที่ถูกพันธนาการอยูกับผนังเตี้ยๆ ในถ้ำแหงหนึ่ง ไม สามารถที่จะพลิกตัวหรือหมุนตัวได และพวกเขาตางเปนพยานที่เห็นถึง กิจกรรมทั้งหลายของมนุษย ซึ่งมีพฤติกรรมเกี่ยวกับการดำรงอยูของพวกเขา ตอหนาไฟกองใหญ. เนื่องจากการถูกคุมขังโดยโซตรวน พวกเราจึงเห็น เพียงแครูปเงาที่สะทอนจากแสงไฟของตัวเองเทานั้น ผสมปนเปกัน ซึ่งได ฉายเงามาทาทาบลงบนผนังดานตรงขาม. อุปกรณหรือเครื่องไมเครื่องมือ ในการรับรูของเราบีบบังคับเราใหเชื่อถือภาพของสิ่งตางๆ และผูคนซึ่ง โบกสะบัดไหวๆ ไปมาเหลานี้วาเปนความจริง และมันเปนเพียงสิ่งที่มาจาก ขอมูลขั้นที่สองที่พวกเราสามารถจะอนุมานถึงธรรมชาติของความเปนจริง เทานั้น สองพันปตอมาหลังจาก Plato, Rene Descartes ไดกลาวซ้ำอีก ครั้งหนึ่งถึงความแตกตางกันอันนี้ระหวางดวงตาภายในของจินตนาการ (In ner eye of imagination) กับโลกภายนอกของสิง่ ตางๆ (external of things) เขา ไดแบงแยกจิตใจบริสุทธิ์ “ในที่นี้” เกี่ยวกับความสำนึกของเรา (res cogitan s) จากโลกวัตถุวิสัย (objective world) ซึ่ง“อยูขางนอกนั้น” (out there) (re s extensa) และประกาศวา ขอบเขตหรืออาณาจักรของทั้งสองนี้ (โลกภายในและโลกภายนอก) แบงแยกออกจากกันอยางไมอาจฝาฝนได อะไรคือความจริง ความจริงคืออะไร ? ในคริสตศตวรรษที่ 18, Immanuel Kant ไดสนับสนุนทรรศนะของ Plato และ Decartes เพิ่มขึ้นในงานเรื่อง Critique of Pure Reason. Kant ไดอางถึงวา พวกเราทั้งหมดจักตองมองออกไปยังความจริงโดยผานรอยราว แคบๆ เกี่ยวกับความรูสึกของเรา, การขาดความสามารถของเราที่จะรูจัก โลกอยางตรงไปตรงมา เปนหนึ่งในศูนยกลางของภาวะที่กลืนไมเขาคายไม ออกมากขึ้นซึ่งดำรงอยู อันนี้เขาสังเกตเห็นในเงื่อนไขของมนุษย. ในงานที่ ถือเปนอนุสาวรียอีกชิ้นหนึ่งซึ่งตั้งชื่อไววา The World as Will and Repres entation (โลกในฐานะที่เปนเจตจำนงและภาพแทน) Arthur Schopenha uer ไดสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับปรัชญาอันนี้ในประโยคที่เปดกวางอยาง แหลมคมวา “โลกนี้ก็คือความคิดของขาพเจา” (The world is my idea). ความสามารถที่เรานำมาใชในการยึดฉวยธรรมชาติของ “สิ่ง

ภายนอก” (Out there) ก็คือจินตนาการของเรานั่นเอง. บางที่มันจะอยู ในเนื้อเยื่อของสมองเรา ซึ่งเราสรางความจริงที่แบงแยกกันอันหนึ่ง ถูก สรางสรรคโดยความสำนึกที่ไมปรากฏเปนรูปราง หรือในทางความคิด. ความจริงภายในอันนี้มิไดเชื่อมโยงกับพื้นที่ภายนอก และดำรงอยูนอกเหนือ จากลำดับการของเวลา. เมื่อเราหวนรำลึกถึงวันเวลาครั้งหนึ่งที่ริมชายหาด เราไดถักทอเอาสวนประกอบตางๆ ของวันนั้นเขาดวยกัน ซึ่งมิไดดำรง อยู “อยางแทจริง” อีกแลว. เราสามารถที่จะวิ่งไปสูเหตุการณขางหนาและ ยอนหลังไดโดยงาย พรอมกับแกไขปรับปรุงดวยการสลับปรับเปลี่ยนความ เปนไปไดตางๆ ในสิ่งที่เราเชื่อวามันไดเกิดขึ้น. มันเปนทั้งสิ่งที่ผิดพลาดและ ลดทอนการรับรูของปจเจกชน ซึ่งความจริงทางดาน “ภววิสัย” ถูกมองเห็น โดยผานแวนกรองหรือฟลเตอรของอารมณความรูสึกของแตละบุคคล ในเรื่องเลาคลาสสิคของชาวญี่ปุนที่ชื่อวา Rashomon (ราโชมอน) แตละคนในเรื่องตางๆ ก็เชื่อมั่นเกี่ยวกับความจริงในเรื่องเลาของตนและ ความสำนึก, ถาไมเปนเนื้อหาที่คลายคลึงกัน ก็เปนแถวยาวของขบวนมด ที่กำลังทำงาน ซึ่งจักตองเคลื่อนยายชิ้นสวนของโลกภายนอกทีละชิ้นอยาง ยากลำบาก โดยผานโพรงใตดินของความรูสึกตางๆ ถัดจากนั้นก็สรางมัน ขึ้นมาในใหมในบาน ทัศนภาพที่คลายกับภูตพรายภาย ิ ในอันนี้ ไดเพิ่มเติม “ความคิดเห็นทางจิต” (mental opinion) รวมกันเปนหนึ่ง สูการรับรูของ ปจเจกแตละคนเกี่ยวกับวา “โลกนี้มันทำงานกันอยางไร?” จาก ”ฉันทามติ” สู ”กระบวนทัศน” (ความจริงที่เปลี่ยนไป) เมื่อมวลหมูผูคนที่มีลักษณะของการวิพากษวิจารณยอมรับขอ คิดเห็นอันหนึ่งแลว เราเรียกขอตกลงที่เห็นดวยอันนั้นวา “ความคิดเห็น สวนใหญที่สอดคลองกัน” (consensus - ฉันทามติ) กลุมความคิดเห็นที่ สอดคลองกันในบริบทของสังคม ไดนำเราไปสูการสรางพรรคการเมืองตางๆ ขึ้น หรือลัทธิความเชื่อทางศาสนา และระบบทางเศรษฐกิจตางๆ หุนจำลอง แตละอยางไดรับการวางรากฐานลงบนระบบความเชื่อที่ยอมรับกัน เมื่อ อารยธรรมหนึ่งไดเคลื่อนคลอยมาถึงความคิดเห็นที่รวมกันเกี่ยวกับวา “ โลกของเรานี้ทำงานอยางไร?”, ระบบความเชื่อก็จะไดรับการยกระดับขึ้น สูสถานะอันสูงสุดใหเปน “กระบวนทัศน” (paradigm), หลักฐานหรือขอ สนับสนุนของพวกเขาจะปรากฏเปนความแนนอนที่ชัดเจนมาก ซึ่งจะไมมี ใครพิสูจนมันอีกตอไป ไมมีการตั้งคำถามอีกอยางเด็ดขาด, ขอสมมุติตางๆ เกี่ยวกับกระบวนทัศนหรือ paradigm นั้นจะกลายเปนหลักการพื้นฐานที่มา กอน เชน สองบวกสองมักจะเปนสี่ และมุมฉากทุกมุมมักจะเทากันเสมอ สำหรับผูที่มีความเชื่อทั้งหลาย. สมมุติฐานอันนี้ไดสรางฐานอันแนนหนา หรือหมอนหินที่เกี่ยวของ “ความจริง” ขึ้น “ความจริง” (truth) ไดรับการนิยามโดย Alfred North Whitehead วา “คือความสอดคลองของปรากฏการณกับความจริง” สิ่งที่ทำใหฐานหิน อันมั่นคงของความจริงตางๆ ลื่นไถลก็คือทุกยุคทุกสมัย และทุกวัฒนธรรม ไดนิยามความหมายขอยืนยันอันนี้ในวิถีทางของมันเอง. เมื่อกาลเวลา เปลี่ยนแปลงไป กระบวนทัศน หรือ paradigm หนึ่ง - ก็ละทิ้งฐานหินอัน มั่นคงของความจริง และก็รับเอาฐานหินอีกอันหนึ่งมาใช – “ศิลปน”และ”นัก ฟสิกส”นาจะเปนบุคคลที่อยูแถวหนาสุดสำหรับกิจกรรมนี้ การประกบคูระหวาง”ศิลป”กับ”ฟสิกส คนบางคนอาจจะคัดคานที่จะประกบคูระหวาง”ศิลป”กับ”ฟสิกส” , นับแตการที่ศิลปนนั้น ไมเพียงที่จะเกี่ยวของกับความจริงภายนอกเทา นั้น แตยังเกี่ยวของกับอาณาจักรภายในของอารมณความรูสึก, ความฝน, ปกรณัมโบราณ, มายาคติ, และเรื่องของจิตวิญญาณดวย. สวนวิชาฟสิกส พยายามหลีกเลี่ยงอยางระมัดระวังคำพูดใดๆ ที่เกี่ยวกับความคิดภายในซึ่ง สัมพันธเชื่อมตอกับโลกภายนอก วิชาฟสิกสผูกพันตัวของมันเองกับสังเวียน ที่เปนภววิสัยของความเคลื่อนไหว, สิ่งตางๆ (วัตถุ), และพลังงาน ความ แตกตางที่ดูตรงขามกันนี้ระหวาง”ศิลป”กับ”ฟสิกส” มันพรามัวในแสงสวาง ของการเผยตัว ซึ่งถูกนำเสนอโดยนักควอนตัมฟสิกสที่ปรากฏขึ้นมาจากการ ละลายของรูปการตางๆ ของแสงที่ขัดแยงหรือตรงกันขามกัน ในป ค.ศ. 1905 Albert Einstein เสนอวา แสงสามารถดำรงอยู ไดในรูปทรงของอนุภาคอันหนึ่ง, นั่นคือ, เปนชิ้นสวนเล็กๆ ของบางสิ่งที่ เรียกวาโปรตอน, สำหรับตลอดระยะเวลาสองรอยป แสงไดรับการพิสูจนโดย การทดลองวาเปนคลื่น, ขอเสนอของ Einstein มีนัยยะวาแสงมีธรรมชาติ ภายนอกที่ดูจะแตกตางกันสองอยาง กลาวคือ มีแงมุมที่ดูเหมือนกับคลื่น (wavelike) และอีกแงมุมหนึ่งเหมือนกับอนุภาค (particlelike). เมื่อเวลา หมุนเวียนเปลี่ยนไปเปนศตวรรษ, สิ่งที่เปนรูปลักษณซึ่งนาประหลาดใจของ ความจริงเกี่ยวกับควอนตัมก็ไดเพิ่มพูนไปสูบทกวีโกอานของเซน (Zenko an) เงื่อนปมของจิตใจ (mind-knot) อันนี้ดูเหมือนวาไมอาจที่จะแกไขได ทั้งนี้เพราะกฎเกณฑตางๆ ของตรรกวิทยาแบบประเพณีไมสามารถนำมา ประยุกตใชกับมันไดนั่นเอง Theory of Complementarity ในความเคลื่อนไหวอยางกลาหาญกาวหนึ่ง Niels Bohr ได สังเคราะหแงมุมตางๆ ที่กลับคาหรือตรงขามกันเหลานี้ของแสง ในงานที่ วาดวยทฤษฎีเกี่ยวกับการเติมเต็มคูตรงขามใหสมบูรณ (theory of com plementarity) ป 1926 เริ่มตนขึ้นดวยคำพูดงายๆ ธรรมดา. Bohr กลาว วา แสงนั้นไมใชเปนคลื่นหรืออนุภาคอยางใดอยางหนึ่ง แตมันเปนทั้งคลื่น และอนุภาคในเวลาเดียวกัน ความรูเกี่ยวกับแงมุมทั้งคูที่แตกตางกันอยาง แทจริงเหลานี้ คือสิ่งจำเปนสำหรับการอธิบายที่สมบูรณเกี่ยวกับแสง หาก ปราศจากสิ่งหนึ่งสิ่งใด อีกสิ่งก็จะไมสมบูรณ ดั่งที่ปรากฏ แสงจะเผยใหเห็นธรรมชาติของมันเพียงดานหนึ่งเทานั้น ในครั้งหนึ่งๆ เมื่อไรก็ตามที่นักวิทยาศาสตรไดเตรียมการทดลองเพื่อที่จะวัด คลื่นแสง การกระทำที่เปนอัตวิสัยในการตัดสินใจเลือกเกี่ยวกับแผนการที่ จะทำการวัด โดยการใชวิธีการบางอยาง จะมีผลกระทบตอผลลัพธที่ตามมา และแสงก็จะตอบสนองโดยแสดงออกมาในรูปแบบของคลื่น, ปรากฏการณ อยางเดียวกันจะเกิดขึ้นกับ เมื่อไรก็ตามที่นักวิทยาศาสตรไดเตรียมการ ที่จะวัดแสงออกมาในรูปของอนุภาคดวยเชนกัน, ดังนั้น “อัตวิสัย” (sub jective) ซึ่งไดถูกประณามจากวิทยาศาสตรทั้งปวง (แตมันเปนบอน้ำพุ อันอุดมสมบูรณของการสรางสรรคงานศิลปะ) จึงไดถูกยอมรับเขาไปสู ปอมปราการที่คอยพิทักษอยางระมัดระวังของวิชาฟสิกสแบบคลาสสิค โลกแบบทวินิยมไมเหมาะสมอีกตอไปแลว Werner Heisenberg ซึ่งเปนเพื่อนรวมงานที่ใกลชิดของ Boh r กลาวสนับสนุนเกี่ยวกับความคิดเห็นที่แปลกประหลาดอันนี้วา การแบง แยกโลกออกเปนทวิลักษณ อัตวิสัยและภววิสัย (subject and object) โลกภายในและโลกภายนอก (Inner world and outer world) รางกายและ

อานตอหนา 6


Research

ArtFile Fine Arts News เจดียชางลอมกับพระพุทธศาสนา ลังกาวงศในประเทศไทย ศ. สุรพล ดำริหกุล การวิจัยครั้งนี้ไดทำการศึกษาในรายละเอียดที่เกี่ยวกับเรื่องราวและแบบ แผนทางศิลปะสถาปตยกรรมของเจดียชางลอมที่ปรากฏอยูตามเมืองตางๆ ของ ประเทศไทยจำนวนทั้งสิ้น ๒๙ แหง ไดแก เมืองสุโขทัย ๕ แหง เมืองศรีสัชนาลัย ๓ แหง เมืองกำแพงเพชร ๓ แหง เมืองพิษณุโลก ๑ แหง เมืองเชียงใหม ๕ แหง เวียงกุมกามในเขตจังหวัดเชียงใหม ๒ แหง เมืองเชียงแสน ๒ แหง เมืองนาน ๑ แหง เมืองแพร ๑ แหง กรุงศรีอยุธยา ๓ แหง เมืองนครศรีธรรมราช ๑ แหง เมือง สทิงพระ ในเขตจังหวัดสงขลา ๑ แหง และเมืองสวี ในเขตจังหวัดชุมพร ๑ แหง การศึกษาทำใหทราบวา เจดียชางลอมนั้นเปนสัญลักษณอยางหนึ่งที่แสดงถึง การตั้งมั่นของพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ และรูปแบบของเจดีย ชางลอมนั้นมีความสัมพันธเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนาลังกาวงศในแตละสำนัก ที่แพรหลายเขามาอยูหลายๆ  ครั้ง โดยพบวารูปแบบทางศิลปะสถาปตยกรรม ของเจดียชางลอมเหลานั้นมีอยู ๕ รูปแบบ คือ ๑. เจดียทรงกลมที่ตั้งอยูบนฐาน ประทักษิณชางลอม ๒. เจดียทรงปราสาทยอดเจดียที่ตั้งอยูบนฐานประทักษิณ ชางลอม ๓. เจดียชางลอมทรงกลมแบบลังกา ๔. เจดียชางลอมทรงกลมแบบทรง สูง ๕. เจดียชางลอมแบบมีซุมทิศ ชวงเวลาของการปรากฏขึ้นของเจดียชางลอม อยูในระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๘ - ๒๑ ซึ่งจะสอดคลองกับการเผยแพรเขามาของ พระพุทธศาสนาลังกาวงศอยูหลายครั้ง รูปแบบทางศิลปกรรมและสถาปตยกรรม ของเจดียชางลอมจะมีความสัมพันธเกี่ยวของกับเหตุการณของการแขงขันกัน ระหวางสำนักพระพุทธศาสนาลังกาวงศสายสีหลและสายรามัญที่เผยแพรเขาไปยัง เมืองตางๆ ในดินแดนประเทศไทย ดวยเหตุนี้เจดียชางลอมจึงมิไดเปนเพียงพระ เจดียที่สรางขึ้นเพื่อสมมุติหมายใหเปนสัญลักษณของพระพุทธองค แตยังเปน เครื่องหมายของสำนักพระพุทธศาสนาลังกาวงศสายตางๆ ที่แขงขันกันเพื่อให ไดรับการสนับสนุนและยอมรับนับถือ การศึกษาครั้งนี้ทำใหไดทราบถึงเรื่องราว ของพระพุทธศาสนาลังกาวงศที่แพรหลายเขามายังดินแดนประเทศไทย แบบแผน ทางศิลปะสถาปตยกรรมและพัฒนาการดานรูปแบบของเจดียชางลอมที่ปรากฏขึ้น

ในชวงเวลาที่แตกตางกัน รูปแบบ ของเจดียชางลอมนั้นมีความสัมพันธ เกี่ยวของกับการเผยแผเขามาหลายๆ ครั้งของสำนักพระพุทธศาสนาลังกา วงศสายสีหลที่มาจากเกาะลังกาและ สายรามัญจากเมืองพันหรือเมืองมะ ตะบัน ซึ่งไดนำเอาแบบแผนทางศิลป วัฒนธรรมเขามาดวย แมวาการ วิจัยครั้งนี้จะเปนการศึกษาในสวนที่ เกี่ยวของกับรูปแบบทางศิลปกรรม และสถาปตยกรรมของเจดียชางลอม ตลอดจนเรื่องราวที่เกี่ยวของกับประวัติ ของพระพุทธศาสนาที่เผยแผเขามาสู ดินแดนประเทศไทย แตความรูที่ไดรับ ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตรบานเมืองทั้ง ในทางการเมือง สังคม และวัฒนธรรม นั้น นาจะชวยเสริมใหเรื่องราวทาง ประวัติศาสตรของชาติบานเมืองมี ความสมบูรณมากยิ่งขึ้น รายงานการวิจัยฉบับนี้ ขณะนี้ สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย กำลังดำเนินการจัดพิมพ เพื่อเผยแพรตอไป คาดวาการจัดพิมพ จะแลวเสร็จภายในปลายป 2551 นี้

ศิลปะสีน้ำ เปดฝกอบรม

ในหอศิลป์ฯ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

หอนิทรรศการศิลปวัฒธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม จัดกิจกรรม อบรมการวาดภาพหุนนิ่ง ทิวทัศน และทฤษฏีศิลปขั้นพื้นฐาน ดวยเทคนิคสีน้ำ เหมาะสำหรับผูเริ่มตน นักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป ระหวางวันที่ 6 กันยายน – 5 ตุลาคม 2551 ทุกวันเสาร – อาทิตย เวลา 9.00-12.00 จำนวน 10 ครั้ง คาอบรม 2,500 บาท รวมอุปกรณ วิทยาการ คณาจารยคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม และ ศิลปนรับเชิญ รับสมัคร ตั้งแต บัดนี้ เปนตนไป ถึง 10 ตุลาคม 2551 (รับจำนวนจำกัด) ขอรับ ใบสมัครและ สอบถาม รายละเอียด ไดที่ สำนักงาน เลขานุการ คณะ วิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย เชียงใหม โทรศัพท/ โทรสาร 053-944805, 053-211724, 081-6811421, 086-1900699 ใน วัน และ เวลา ราชการ Download ใบสมัคร ไดที่ www.finearts.cmu.ac.th

สรุปวงเสวนาสื่อใหม (new media) สิงคโปร วีระพันธ จันทรหอม

ความเปนมา ISEA (International Symposium on Electronic Art) เปนการ ประชุมสัมมนาวิชาการนานาชาติเกี่ยวกับ “ศิลปะอิเล็กทรอนิกส” (Electronic Arts) เริ่มจัดขึ้นตั้งแตป ค.ศ.1988 ในยุคเริ่มตนของการเปลี่ยน ถายสูการเปนสังคม “โลกาภิวัตน”. สื่อใหม (New Media) ในฐานะสื่อ อิเล็กทรอนิกส ดิจิตอล และเครือขายอินเทอรเน็ตไดถูกปรับใชกับศาสตร วิชาการดานตางๆ ไมเวนแมกระทั่ง ในบริบทของวงการศิลปะ ซึ่งไดรับการ นำมาใชเปนเครื่องมือสำหรับการวิพากษ วิจารณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น และ ตั้งคำถามเกี่ยวกับสังคม ISEA2008 ครั้งลาสุด จัดขึ้นมาเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม – 3 สิงหาคม 2551 ที่ผานมา ณ National University of Singapore (NUS), Singapore Management University (SMU), Nanyang Technological University (NTU) และ National Museum of Singapore ประเทศสิงคโปร ถือเปนครั้ง ที่ 2 ในเอเชียซึ่งประกอบดวยเนื้อหา 3 สวนหลักดังนี้ • การนำเสนอผลงานวิจัยดานสื่อศิลปะ • การนำเสนอนิทรรศการสื่อศิลปะ และ • กิจกรรมดานสื่อศิลปะอื่นๆ

ปนี้ ISEA ไดเชิญนักวิจัยทางดานการศึกษา การออกแบบ การคนควาทดลองทางศิลปะทั่วโลก มาประชุมกัน ซึ่งคนเหลานี้ตาง พยายามทำความเขาใจปญหาและแนวทางความเปนไปได เกี่ยวกับ เทคโนโลยีในภาพกวาง ตลอดรวมถึงการทำงานที่เกี่ยวของกับความ ซับซอนทางประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม สังคมการเมือง และบริบท ทางเศรษฐกิจที่มีผลกระทบตอพื้นที่การปฏิสัมพันธในดานเทคโนโลยี ตอ ประเด็นขางตนและผลลัพธที่ออกมาหลังการประชุม เทาที่สังเกตนับได วาเปนไปอยางนาพอใจ ทั้งในเชิงวิพากษวิจารณ การไดรับรูขอเท็จจริง และความกาวหนาในดานความรวมมือกันมากขึ้นในอนาคต สวนของสาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบ (Media Arts and Design) ซึ่งเปนหลักสูตรรวมระหวาง คณะวิจิตรศิลป, คณะ วิศวกรรมศาสตร, คณะสื่อสารมวลชน, และวิทยาลัยศิลปะ สื่อ และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม ซึ่งไดจัดตั้งขึ้นเปนแหงแรกในประเทศ ไทย ในปนี้พวกเราในฐานะคณาจารยสาขาสื่อศิลปะและการออกแบบ ในสวนของคณะวิจิตรศิลป รวมถึงผูบริหารหลักสูตรซึ่งเปนตัวแทนจาก คณะสื่อสารมวลชน คณะวิจิตรศิลป และวิทยาลัยศิลปะฯ ไดรับเชิญให เขารวมสังเกตการณ และนำเสนอผลงานวิชาการนานาชาติ ISEA 2008 โดยเฉพาะในสวนที่ไดเขารวมบนเวทีวิชาการฯ ครั้งนี้ ไดนำเสนอประเด็น หัวขอที่นาสนใจ 2 เรื่องคือ

1. Media Arts and Design - New Space for Thinking (Thailand) สรุปสาระสำคัญการนำเสนอ: Media Arts ในประเทศไทยเริ่มตนจาก งานศิลปะ “เชียงใหมจัดวางสังคม” เมื่อกวาสิบปที่แลว ซึ่งจัดขึ้นโดย คณาจารยคณะวิจิตรศิลป รวมกับศิลปนจากทองถิ่น สวนกลางและ นานาชาติ ถือไดวาเปนความเคลื่อนไหวของวงการศิลปะที่มีแนวความคิด จุดประกาย ใหกับคนทำงานศิลปะวา ศิลปะสามารถอยูไดทุกที่ มิใชสิ่งประดิษฐที่อยูแตเฉพาะใน หอศิลป หรือสถาบันทางศิลปะเทานั้น ดวยเหตุนี้ศิลปะจึงเปนสวนหนึ่งและอยูรวมกัน กับสังคมได ไมแปลกแยกแตกตางไปจากชีวิตธรรมดา จากจุดนี้เองจึงเกิด พื้นทีใหม ่ สำหรับการคิดใหมๆ ทางศิลปะ ประจวบกับ เทคโนโลยีสมัยใหม โดยเฉพาะทางดานดิจิตอลไดเขามามี บทบาทตอวิถีชีวิตประจำวัน ศิลปน จึงนำเทคโนโลยีเหลานี้มาเปนเครื่องมือสำหรับ สรางสรรคงานศิลปะเพื่อตั้งคำถาม วิพากษ วิจารณปรากฏการณในสังคม รวมทั้ง ผลิตศิลปกรรมที่มีคุณคาความงามอยางใหม และนี่คือแนวคิดใหมและเปนจุดเริ่มตน ของการเกิดหลักสูตรสาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบ (Media Arts and Design) ในประเทศไทยขึ้นเปนครั้งแรก จากนั้นเปนการนำเสนอผลงานวิจัยและผลงานศิลปะ ของคณาจารย และนักศึกษาที่สอดคลองกับแนวทางดังกลาวโดยภาพรวม 2. What Can We Learn From Street Scenario สรุปสาระสำคัญการนำเสนอ: มีการเสนอผลงานวิจัยศิลปะ โดยอุปมาอุปมัย ศิลปนไทยเสมือนสุนัขขางถนนในเวทีศิลปะนานาชาติ ที่บางครั้งไมมีความสำคัญใดๆ ในสายตาเวทีโลก แตศิลปนไทยก็มีความสามารถ ถาเมื่อไหรที่ศิลปนไทยลุกขึ้นมาทำ ผลงานศิลปะ ซึ่งมีความแปลกใหม แตกตาง ก็สามารถเปลี่ยนกระบวนทัศนทางดาน ศิลปะโลกได ศิลปนไทยก็จะไดรับการยอมรับและไดรับการหยุดดูเชนกัน เหมือนกับ สุนัขขางถนนซึ่งถาเมื่อไหรมันลุกขึ้นและขามถนน รถที่วิ่งไปมาก็ตองหยุดรอจนกวา มันจะขามไป นอกจากนี้ยังจำลองใหเห็นถึงความเปนมาของศิลปนไทยตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบัน และแนวโนมบทบาทของศิลปนไทยในอนาคต รวมถึงความเปนไปได ตางๆ หากไดรับการสนับสนุน และศิลปนทั้งหลายทำงานหนักอยางเพียงพอ นอกจากนั้นยังมีหัวของานวิจัย และการบรรยายที่นาสนใจอีกกวา 500 หัวขอ ในการนำเสนอครั้งนี้โดยกระจายจัดไปยังมหาวิทยาลัยชั้นนำในสิงคโปรอันไดแก National University of Singapore (NUS), Singapore Management University (SMU) และ Nanyang Technological University นอกจาก ISEA จะจัดใหนำเสนอผลงานวิจัยทางดานสื่อศิลปะแลว ยังคัดเลือก ผลงานสื่อศิลปะจากศิลปนทั่วโลกจัดแสดงใน National Museum of Singapore มีผล ศิลปะที่สรางผลงานจากสื่อใหม เชน สื่อภาพและเสียง สื่ออิเล็กทรอนิกส สื่อดิจิตอล สื่อประสม (ภาพ เสียง กลิ่น) และสื่อเชิงโตตอบ มากมาย สวนกิจกรรมอื่นๆที่นักศึกษาจากสาขาสื่อศิลปะและการออกแบบ นายทวี พัฒน แพรเงิน ไดรับการคัดเลือกเปนตัวแทนประเทศไทยใหเขารวมกิจกรรม โดย คัดเลือกจาก 16 ประเทศทั่วโลก ชื่อโครงการ 6th Asia-Europe Art Camp Ludic Times: The Art of Gaming ตั้งแตวันที่ 22-29 กรกฎาคม 2551

สำหรับหัวขอในการจัดสัมมนาวิชาการ ISEA2008 ครั้งนี้ เนนไป 1. Media Arts and Design - New Space for Thinking (Thailand) ที่ปรากฏการณของความเหลื่อมล้ำไมเทาเทียมกัน ของการกระจายและ (สือ่ ศิลปะและการออกแบบ – พืน้ ทีใหม ่ ทางความคิด (ประเทศไทย) การเพิ่มจำนวนอยางรวดเร็วของขอมูลขาวสารในยุคโลกาภิวัตน จากการ ปรากฏตัวของเทคโนโลยีที่ทันสมัยซึ่งกอใหเกิดความแตกตางและโครงสราง 2. What Can We Learn From Street Scenario ที่มีความสลับซับซอน การแพรกระจายของขอมูลขาวสารไปทั่วโลก แต (อะไรที่เราสามารถเรียนรูได  จากบนทองถนน) อยางไรก็ตาม สิ่งเหลานี้ไมไดเกิดขึ้นอยางเทาเทียมกัน การสรางเทคโนโลยีใหมีความแปลกใหม บางครั้งก็ทำใหเกิดการ แบงแยกระหวางเทคโนโลยีเกาและใหมที่มีอิทธิพลตอการใชชีวิตและ ความคิดสรางสรรค ในความแตกตางทางดานสถานการณของโลก วาดวย ขอสังเกตทางเทคโนโลยีไมวาเกาหรือใหมนั้น ถือเปนประเด็นที่ลวนแลวแต มีความเกี่ยวของทางประวัติศาสตร การเมือง เศรษฐกิจ และบริบททาง ดานศิลปวัฒนธรรม ดังนั้นเทคโนโลยีดังกลาวจึงมีความเกี่ยวของอยาง สลับซับซอน ทั้งประโยชนและโทษกับสังคม และนับเปนตัวแปรหนึ่งของ สังคมที่ไมอาจมองขามได เฉพาะในสวนของโลกศิลปะ ปญหาเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยี เปนที่ถกเถียงกันมาก วาจะมี หลักการในการประเมินการ ใชเทคโนโลยีเชิงสรางสรรคได เพื่อสงเสริมใหเยาวชนไดใชเวลาวางใหเปนประโยชน อยางไร และทำอยางไรจึงจะ และเพิ่มพูนทักษะดานศิลปะแขนงตางๆ เปดรับสมัคร ทำใหคนสามารถใชเทคโนโลยี นักเรียนที่มีอายุระหวาง 5-12 ป ชั้นอนุบาล 3 ถึง ไดอยางพินิจวิเคราะห. ISEA ชั้นประถมปที่ 6 รับสมัครตั้งแตบัดนี้เปนตนไป ถือเปนเวทีของการถกเถียง ถึง 10 ตุลาคม 2551 (รับจำนวนจำกัด) ประเด็นปญหาดังกลาวและ คณะ วิ จ ต ิ รศิ ล ป มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม หาความเปนไปไดในการใช ขอรับใบสมัครและสอบถามรายละเอียดไดที่ จัดโครงการฝกอบรมศิลปะสำหรับเด็ก ชวงปดภาคเรียน เทคโนโลยีในยุคปจจุบันเวที สำนั กงานเลขานุการคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย ระหวางวันที่ 13-24 ตุลาคม 2551 (ไมเวนวันหยุดราชการ) หนึ่ง และประเด็นที่ถูกกลาวขาน เชี ย งใหม โทรศัพท/โทรสาร 053-944805, รวม 11 วัน เวลา 9.00-12.00 น. เกี่ยวกับเทคโนโลยีอยางมากก็คือ 053-211724, 081-6811421, 086-1900699 ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม มันไดเปลี่ยนแปลงแนวคิด และ ในวันและเวลาราชการ Download ใบสมัครไดที่ ขอสังเกตเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม ถ.นิมมานเหมินทร ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม www.finearts.cmu.ac.th คาสมัครพรอมอุปกรณและ เดิมๆ ของพื้นที่ทางเทคโนโลยีไป (ตรงขามตลาดพะยอม) อาหารวาง 1,000 บาท อยางไร

ศิลปะสำหรับเด็ก เปดฝกอบรม

Artsaugust august2008 2008 Arts

5


Article ตอจากหนา 4

แตละสวน, (หนวย), พยายามที่จะสืบเสาะรองรอยยอนประสบการณทั้งหมด กลับไปยังธาตุแทดั้งเดิมอันหนึ่ง, ในชวงราวๆ 580 ปกอนคริสตศักราช, Thal es แหง Miletus (624 BC–ca. 546 BC) นักปรัชญาคนแรก, ประกาศวาธาตุ แทขั้นปฐมของสรรพสิ่งทั้งหมดก็คือ “น้ำ”. สวน Heraclitus เกือบจะโดยทันที ที่แสดงความไมเห็นดวย, เขาประกาศวาธาตุแทดั่งเดิมที่สุดนั้นคือ “ไฟ”. และ ตอมาไมนาน เสียงของนักปราชญคนอื่นๆ ไดแสดงความเห็นของตนวาคือ “ อากาศ” และ”ดิน” ตามลำดับ Empedocles หนึ่งในผูทำการสังเคราะหคนแรกเกี่ยวกับวิทยาศาสตร ที่ยิ่งใหญ (ซึ่งอันนี้ ขาพเจาใครจะเพิ่มเติมวา เปนคนแรกที่รูจักการ ประนีประนอมดวย) ไดเสนอวา บางทีมันอาจจะไมมีธาตุแทอยางหนึ่งอยางใด โดดๆ ที่เปนตนกำเนิดของสรรพสิ่งหรือจักรวาล แตธาตุแททั้งสี่อยางนั่นแหละ คือธาตุแทของสรรพสิ่ง (ดิน น้ำ ลม ไฟ) ถาหากวารากเหงาของความจริงคือ เนื้อแทที่แตกตางกันทั้งสี่ ดังนั้นสิ่งที่ดำรงอยูทั้งหมดก็สามารถที่จะไดรับการ อธิบายในฐานะที่เปนการรวมกันบางอยางของแบบหรือบล็อกของสิ่งสราง พื้นฐาน (basic building blocks) อันไดแก ดิน, น้ำ, ลม, ไฟ. ความคิดนี้ดูเหมือนวาจะสอดคลองตองตรงกับกลุมของนักปรัชญา ทั้งหลายในยุคตนๆ บางทีอาจเปนเพราะวาหมายเลข 4 มันปลุกเราความรูสึก อันหนึ่งเกี่ยวกับการสรางรากฐาน. ไมก็เปนเพราะวาเลข 4 มันเปนจุดบน เสนรอบวง, 4 มุมของพื้นที่สี่เหลี่ยม, หรือ 4 ขาของโตะ, ซึ่งถือเปนจำนวน ตัวเลขพื้นฐานสำคัญ ที่เปนความคาดหวังเกี่ยวกับความสมบูรณเบื้องตน นั่นเอง หนึ่งรอยปตอมาหลังจาก Empedocles, อยางไรก็ตาม Aristotle มิได พึงพอใจทีเดียวนักกับโครงสรางหรือแบบแผนอันนี้ เขาสังเกตเห็นวา สรรพสิ่ง ที่อยูบนโลกดำรงอยูในภาวะตางๆ ที่แปรผันของความเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ และถกเถียงวาบางสิ่งบางอยางมัน ไดสูญสลายหายไป โดยอิทธิพลของ แนวคิด Plato เกี่ยวกับอุดมคติอัน หนึ่งที่เปนนิรันดร. Aristotle ไดตั้ง สมมุติฐานวา นอกจากธาตุแททั้ง 4 ที่นำเสนอโดย Empedocles มันจัก ตองมีเนื้อแทที่ 5 หรือ quintessence นั่นคือธาตุที่คงที่และไมมีการ เปลี่ยนแปลง และดวยเหตุใดเหตุ หนึ่งมันเกี่ยวโยงกับธาตุอื่นๆ ทั้ง 4

วิญญาณ (body and soul) ไมอาจที่จะเหมาะสมหรือทำไดอีกตอไปแลว... วิทยาศาสตรธรรมชาติไมอาจที่จะพูดถึงหรืออธิบายธรรมชาติกันอยางงายๆ ได มันเปนเรื่องของการมีบทบาทรวมกันระหวาง”ธรรมชาติ”และ”ตัวของเรา เอง” ตามที่ฟสิกสสมัยใหม ที่ทำการสังเกตและตรวจสอบอยางใดอยางหนึ่ง ไดถูกทำใหเชื่อมโยงกัน. อาณาเขตภายในของความคิดในเชิงอัตวิสัย (subj ective thought) ปรากฏออกมาเปนการเชื่อมตอกันอยางใกลชิดกับขอบเขต ของโลกภายนอกของความเปนจริงตางๆ ทางภววิสัย (objective facts) John Wheeler หนึ่งในนักศึกษาของ Bohr ภายหลังตอมาได อธิบายความเปนทวินิยม (duality) ของ Bohr และเสนอเรื่อง “จิตใจ”และ” จักรวาล” (Mind and Universe) เหมือนกับ”คลื่น”และ”อนุภาค”, ไดสรางคู ประกอบที่เสริมกันใหสมบูรณขึ้นมาอีกคูหนึ่ง ทฤษฎีของ Wheeler เสนอถึง ความเชื่อมโยงกันระหวาง”อาณาเขตภายในของความสำนึก (Mind)” และ “ ความสัมพันธกันของมันกับโลกภายนอกของผัสสะ (Universe) ตามทฤษฎี ของ Wheeler “จิตใจ”และ”จักรวาล” (Mind and Universe) ไดถูกหลอม รวมเปนกอนเดียวกันอยางแยกไมออก จิตใจและจักรวาล : ศิลปะและฟสิกส ในคัมภีร Talmud (ธรรมนูญศาสนาโบราณของชาวยิว) ไดแสดง ถึงความสัมพันธที่ละเอียดออนอันนี้ในพระคัมภีรเกาทางศาสนาเรื่องหนึ่ง เกี่ยวกับการสนทนากันระหวางพระผูเปนเจากับอับราฮัม. พระผูเปนเจา ทรงเริ่มตนขึ้นดวยการตรัสตำหนิอับราฮัมวา “ถามันไมใชสำหรับฉันแลว ละก็, เจาก็จะไมมีอยู” หลังจากชั่วขณะของการสะทอนออกทางความคิด. อับราฮัมไดตอบออกมาอยางสุภาพออนโยนวา “ใชขอรับ, องคพระผู ประเสริฐ, และสำหรับอันนั้น ขาพระองคจึงรูสึกซาบซึ้งเปนยิ่งนัก และรูสึก ขอบพระคุณเหนือเกลา แตอยางไรก็ตาม ถามันไมใชเพราะตัวขาพระองค แลวละก็ พระองคผูสูงสุดก็จะไมเปนที่รูจัก” ดวยเหตุใดเหตุหนึ่ง ในความลึกลับที่ยิ่งใหญของจักรวาล ความ สำนึกของมนุษยสามารถที่จะตั้งคำถามตอธรรมชาติ และคำตอบนั้นจะ ยอนกลับมาเปนสิ่งที่สามารถเขาใจไดจริงๆ บางที ดั่งที่ Wheeler เสนอ แนะ ทั้งสองคือ”จิตใจ”และ”จักรวาล” (Mind and Universe) เปนแงมุม ธรรมดางายๆ ของระบบที่เปนคู (binary system). “ศิลป”และ”ฟสิกส” อาจ ถูกมองวาเปนกามปูคูหนึ่ง “จิตใจ” (the Mind) สามารถนำมาใชยึดฉวย ธรรมชาติเกี่ยวกับภาพลักษณที่เสริมกันใหสมบูรณของ Wheeler ได, นั่นคือ “จักรวาล” (Universe) Principle of Synchronicity ในเวลาเดียวกัน นักฟสิกสควอนตัมก็เริ่มที่จะดิ้นรนปลุกปล้ำกับ ทฤษฎีเกี่ยวกับการเสริมเติมเต็มใหสมบูรณ (theory of complementarily ) ของ Bohr ซึ่งไมไดเปนไปในลักษณะของวิทยาศาสตรแบบคลาสสิค และ ดูเหมือนวาจะมีพรมแดนที่ติดตอกับเรื่องของจิตวิญญาณ. นักจิตวิทยาชาว สวิสส Carl Jung ไดประกาศและทำการเผยแพรทฤษฎีของเขาเกี่ยวกับ ความสอดคลองที่เปนจังหวะเดียวกัน (theory of synchronicity) ซึ่ง เปนผลที่ตามมาภายในประสบการณของมนุษย ที่คลายคลึงกับความคิด เรื่องควอนตัมของ Bohr, Jung ไมยอมรับคำสอนแบบจารีตเกี่ยวกับความ สัมพันธของเหตุและผล เขาไดเสนอวา เหตุการณของมนุษยทั้งหมดมันผสมผสานกันบน ผืนระนาบเดียวกัน ซึ่งพวกเรามิไดมีความเปนสวนตัวอยางแจมชัด ดัง นั้น นอกเหนือจากเหตุและผล (cause and effect) ที่ธรรมดานาเบื่อนี้ แลว เหตุการณของมนุษยไดถูกนำไปรวมกับมิติหนึ่งที่สูงขึ้นไป. หลักการ เกี่ยวกับความสอดคลองที่เปนจังหวะเดียวกัน (principle of synchronicit y) และการเสริมเติมเต็มใหสมบูรณ (complementarity) เปนการเชื่อมตอ กันระหวางดินแดนตางๆ ที่แยกออกจากกันอยางแทจริงของ”โลกทางจิต” กับ”โลกทางกายภาพ” (psyche and physical world) ซึ่งไดนำมาใชกับการ เชื่อมโยงกันระหวาง”ศิลป”กับ”ฟสิกส”ดวย Zeitgeist - the spirit of the time ในภาษาเยอรมันไดหุมหอไอเดียหรือความคิดนี้เขาไวในคำวา Zeit geist ซึ่งโชคไมดีที่ไมมีคำในภาษาอังกฤษโดดๆ ที่มีความหมายเทากัน แต ความหมายของมันก็คือ “จิตวิญญาณของหวงเวลานั้น” (the spirit of the t ime) (the mind of the time) เมื่อการคนพบตางๆ ในขอบเขตที่ไมสัมพันธ กันเริ่มตนปรากฏขึ้นในเวลาเดียวกันนั้น ราวกับวามันไดถูกทำใหเชื่อมโยง กัน, แตสายใยที่ผูกโยงมันตางๆ มิไดเปนไปตามเหตุปจจัยอยางชัดเจน, ถัดจากนั้น ผูแสดงความคิดเห็นตางๆ ไดอาศัยคำประกาศเกี่ยวกับการมีอยู ของ a zeitgeist (the spirit of the time - จิตวิญญาณของหวงเวลานั้น) เดิมที ไดมีการใชทฤษฎีเกี่ยวกับการเสริมเติมเต็มกันใหสมบูรณ ( theory of complementarily) เพื่อรวมเอาแงมุมที่ตรงขามและขอสรุปที่ ดูเหมือนจะขัดแยงของแสงเขาไวดวยกัน. Bohr ไดดำเนินการสูหลักการ ในทางปรัชญาของเขาใหกวางขวางออกไป เพื่อรวมคูตรงขามอื่นๆ ดวย. บทความชิ้นนี้เปนเรื่องที่เกี่ยวกับการเสริมเติมเต็มกันใหสมบูรณของ”ศิลป” กับ”ฟสิกส” (the complementarity of art and physics) และหนทางที่ ขอบเขตของความรูทั้งสองนี้เกี่ยวพันกันอยางแนบชิด เพื่อกอรูปโครงราง ตาขายบนสิ่งซึ่งพวกเราทั้งหมดสามารถที่จะปนใหสูงขึ้นไปอีกนิด เพื่อที่จะ สรางภาพหรือทรรศนะของเราเกี่ยวกับความจริงเพิ่มมากขึ้น. การทำความ เขาใจการเชื่อมโยงกันอันนี้ จะยกระดับความซาบซึ้งของเราในเรื่องที่ เกี่ยวกับความสำคัญมากๆ ของศิลปะ และลึกลงไปในความรูสึกของเรา เกี่ยวกับความประหวั่นพรั่นพรึง ตอหนาความคิดตางๆ ของฟสิกสสมัยใหม “ศิลป”และ”ฟสิกส”, คลายกับ”คลื่น”และ”อนุภาค” ตางก็คือทวิ นิยมที่หลอมรวมกันเปนกอนๆ หนึ่ง มันเปนความแตกตางกันธรรมดาสอง อยาง แตก็เปนดานที่เสริมเติมเต็มใหกันอยางสมบูรณในคำอธิบายเกี่ยวกับ โลก การหลอมรวมกันเปนหนึ่งของศิลปะและฟสิกสจะใหกำเนิดหรือคลอด ความรูสึกรูทราบมากขึ้นในเชิงสังเคราะห ซึ่งเริ่มตนดวยความสงสัย แต จบลงดวยความมีสติปญญา ศิลปะนำหนามากอนการคนพบทางดานฟสิกส ความสัมพันธกันระหวางศิลปะของยุคสมัยหนึ่ง และวิชาฟสิกส ที่มาทีหลัง กลายเปนสิ่งที่ชัดเจนมากขึ้น เมื่อเราตรวจสอบยอนหลัง ขอให เราลองหวนมองกลับไปยังสมัยคลาสิคกรีกทั้งหมด บางครั้ง ยุคสมัยอัน เชื่องชาดำรงอยูหลายรอยป สวนยุคอื่นๆ อาจดำรงอยูเพียงแคไมกี่ทศวรรษ เทานั้น. ในศตวรรษนี้ เหตุการณทั้งหลายบังเกิดขึ้นพรอมๆ กันระหวาง ศิลปะและฟสิกส ซึ่งอันนี้มันเกิดขึ้นมาตั้งแตเริ่มตนทศวรรษแรกเลยทีเดียว ขอบเขตของความรูทั้งสองไดระเบิดออกและแพรกระจายเขาไปสูทิศทาง ใหมๆ อยางมากมาย

6

Arts august 2008

ลักษณะของการปฏิวัติในศิลปะ และผลงาน ในวิชาฟสิกส จะดูเหมือนแยกออกจากกัน โดยเฉพาะ Picasso และ Einstein โดยทั่วไปแลว ศิลปะนั้นจะลวงหนามากอนการปรับปรุงแกไขตางๆ ทางดานวิทยาศาสตรเกี่ยวกับเรื่องราวของความจริง. โดยปกติ ภายหลัง จากการพัฒนาปรับปรุงเหลานี้แลว มันจะถูกนำเสนอในนิตยสารตางๆ ทางวิชาการเกี่ยวกับฟสิกส ศิลปนจะสรางสรรคจินตภาพตางๆ ตอไปซึ่ง จะสอดคลองกับความเขาใจอยางถองแทเหลานี้ แตอยางไรก็ตาม จาก การสืบคนชีวประวัติบุคคลจากจดหมายหลายฉบับของศิลปน คำวิจารณ และขอคิดเห็น, การสนทนา, ไดเผยใหเห็นวาบรรดาศิลปนทั้งหมดไมเคย รับรูเกี่ยวกับผลงานของพวกเขาเลยวา สามารถจะไดรับการนำไปตีความ และใหความสวางแกความเขาใจอันลึกซึ้งของวิทยาศาสตรใหมๆ ได ใน เรื่องธรรมชาติของความจริง. บรรดาศิลปนยังคงสรางงานกันตอไป อยางตอเนื่องโดยลำพังดวยอัจฉริยภาพของพวกเขา และไดคลอดเอา สัญลักษณตางๆ ออกมา ซึ่งไดชวยพวกที่เหลืออยางพวกเรา(คือบรรดานัก วิทยาศาสตรทั้งหลาย) ไดยึดจับความหมายเกี่ยวกับแนวความคิดใหมๆ พวกนั้น แมศิลปน อาจไมไดบัญญัติสูตร หรือกำหนดอะไรขึ้นมาเปนระบบ ในเชิงสติปญญาเลยก็ตาม หลักการเดียวกันนี้ถือวาเปนจริงดวยในทางกลับกัน ในการคนพบ ของนักฟสิกส โดยปกติแลวพวกเขาไมใครรูอะไรเกี่ยวกับภาพเขียนตางๆ ที่ทำมากอนลวงหนาโดยศิลปนทั้งหลาย แทบจะไมเคยมีนักฟสิกสคน ใด สนทนาถึงการกาวหนาอยางสำคัญยิ่งในวิทยาศาสตรของพวกเขา โดยยอมรับศิลปนคนหนึ่งคนใดวามีอิทธิพล ซึ่งลวงหนามากอนพวกเขา. ถึงอยางไรก็ตาม มิตรภาพตางๆ อยางลึกซึ้งเปนจำนวนมากตลอดมาใน ชวงเวลาประวัติศาสตรระหวาง ”ศิลปน” และ “นักวิทยาศาสตร”, ลักษณะ ของการปฏิวัติในศิลปะ และผลงานในวิชาฟสิกส จะดูเหมือนแยกออกจาก กันโดยเฉพาะ Picasso และ Einstein ผูซึ่งขาพเจาจะแสดงใหเห็นถึงการ มีสวนในทัศนภาพรวมกัน(ในบทความชิ้นตอไป) ทั้งคูไมเคยพบปะกันเลย หรือ แมแตจะแสดงใหเห็นวาสนใจในงานของกันและกันแตประการใด งานศิลปะของอารยธรรมตะวันตก ผลงานทางดานทัศนศิลปนั้น ไมไดดำรงอยูอยางเปนอิสระจาก ดนตรี, การละคร, กวีนิพนธ, วรรณคดี, ปรัชญา, และสถาปตยกรรม, ขาพเจาจะถักทอเสนใยเหลานี้เขาไปในสิ่งทอหรือโครงสรางของ thesis (ขอสรุป) นี้อยางเหมาะสม แตอยางไรก็ตาม สายใยทางความคิดที่เปน แกนกลางในที่นี้คือ งานทางดานทัศนศิลปของอารยธรรมตะวันตกถือเปน ฉากหลังของวิชาฟสิกส. กลุมดายที่พันกันอันนี้สามารถไดรับการคลี่คลาย ออกมา เพื่อตามแกะรอยยอนกลับไปได โดยผานยุคสมัยยุคเมโสโปเตเมีย โบราณ, อียิปต, กรีก, และถัดจากนั้นคือโรม ตามลำดับ สายใยทางความคิดนี้ ดูเหมือนจะถูกทำใหแตกออกในชวงระหวาง ภาวะการแตกตัวของยุคมืด (Dark Ages) แตในยุคแหงค่ำคืนนั้น มัน ยังคงมีการปนดายหรือเสนใยเหลานี้ตอมา ซึ่งเราไมไดสังเกตเห็นสวน ใหญในยุโรป และไดปรากฏตัวออกมาอีกครั้งในยุคกลาง (Middle Ages) จนกระทั่ง, คลายกับการเกิดขึ้นของนกฟนิคซ (phoenix คือ นกขนาดใหญ ที่สวยงามในตำนาน มีอายุ 500-600 ป มันเผาตัวเองใหตาย และจากเถา ถานนั้นมันจะกลับฟนคืนชีวิตไดอีก), มันไดปรากฏขึ้นมาใหมอีกครั้งดวย ความรุงโรจนในสมัยเรอเนสซองค วัฒนธรรมที่พวกเราเรียกวาประเพณี แบบตะวันตก ตอจากนั้น ไดแพรกระจายคลายตาขายออกไปครอบคลุม พื้นที่ตางๆ อยางกวางขวาง จนกระทั่งโอบลอมทั่วทั้งหมดของทวีปยุโรป และอเมริกา ธาตุแทของสรรพสิ่งในจักรวาล เพื่อที่จะสรางสรรคบริบทหนึ่งอันจะนำมาซึ่งการสนทนากันถึง ผลงานสวนตัวของศิลปนและสืบคนดูวาผลงานเหลานี้ มันสัมพันธกัน อยางไรกับทฤษฎีตางๆ ทางดานฟสิกส เราจะตองเริ่มตนขึ้นโดยยอนกลับ ไปยังยุคกรีกโบราณ, ณ ที่แหงนี้ ขอสนับสนุนตางๆ เปนจำนวนมาก เกี่ยวกับคุณคาของเราในปจจุบันและระบบความคิดไดกอกำเนิดขึ้น อันนี้ ไมเหมือนกับผูกอตั้งที่ยิ่งใหญทางดานศาสนาสำคัญๆ ของโลก, บรรดา นักคิดชาวกรีกในยุคแรกๆ นั้น เริ่มตนการสืบสวนของพวกเขาโดยตั้ง สมมุติฐานวา “สิ่งทั้งมวล”(universe) อันประจักษแจงและหลากหลายนั้น เกิดขึ้นมาจากหลักการเดียวของจักรวาล (cosmic) ที่ไมอาจแบงแยกได.

นับตั้งแตตำแหนงของกลุมดาวบนฟากฟา ดูเหมือนวามันไมเคยเปลี่ยนแปลง ไปเลยในเสนทางอันผันแปรของดวงดาวที่เดินทางขามขอบฟา, เขาเสนอ วาธาตุ quintessence (ธาตุที่ 5) ไดรับการกอตัวเปนปจจัยหรือเนื้อแทของ ดวงดาราตางๆ

กาล อวกาศ พลังงาน และสสาร + แสง ถึงแมวาพวกเราจะทอดทิ้งความคิดเห็นที่ประหลาดตางๆ ของ กรีกในยุคตนนี้ไปแลวก็ตาม แตในชวงครึ่งหลังของคริสตศตวรรษที่ 20 แบบแผนของโบราณอันนี้ยังคงถูกเก็บรักษาเอาไวเปนความคุนเคยที่ลึกลับ อันหนึ่ง ในกระบวนทัศนปจจุบันของเรา พวกเรายังคงยอมรับโครงสราง พื้นฐานทั้งสี่ของความจริงกันอยู: นั่นคือ อวกาศ (space พื้นที่, ที่วาง), กาล(เวลา) (time), พลังงาน (energy), และวัตถุสสาร (matter) ในการเฝาดูแสงสวางจากดวงดาวทั้งหลาย, การคาดการณของ Aristotle นั้นใกลเคียงกับความจริงของวิชาฟสิกสในคริสตวรรษที่ 20, ธาตุ ที่ 5 (quintessence) ทีเรา ่ ไดเรียนรู มิใชดวงดาวตางๆ แตคอนขางที่จะ เปน”แสง” อันนี้ดูเหมาะสมเหลือเกิน มันยากที่จะอธิบายและเปนปริศนาอัน ลึกลับ. ธาตุที่ 5 นี้ทำใหเกิดความมหัศจรรยและยำเกรงกันมาตลอดประวัติ ศาสตร, ไมก็มันเปนความนาอัศจรรยของไฟ หรือเปนรังสีที่ไดรับการบำรุง หลอเลี้ยงมาจากดวงอาทิตย แสงสวางในตัวของมันเอง และเกี่ยวกับตัวมัน มักจะเปนธาตุแทที่ดูลึกลับมากที่สุด มันไดถูกทำใหสอดคลองและประสานกันไปกับตำแหนงอันสำคัญ ในทุกๆ ศาสนาของโลก และการคนพบตางๆ ในวิชาฟสิกสสมัยใหมได เผยใหเห็นวา มันเปนธรรมชาติที่เฉพาะพิเศษของ”แสง” ที่ถือกุญแจเพื่อ ไขปริศนาอันลึกลับเกี่ยวกับธาตุอื่นๆ อีก 4 อยาง, ขอบเขตความรูเกี่ยวกับ กลศาสตรควอนตัมและทฤษฎีสัมพันธภาพ ทั้งคูเกิดขึ้นมาจากคำถามที่ ไมมีขอยุติเกี่ยวกับธรรมชาติของแสง. ยิ่งไปกวานั้น Einstein ยังไดคนพบ วาความเร็วของแสงนั้นมีคาตัวเลขที่คงที่และไมเปลี่ยนแปลง. ในหนทางที่ นาประหลาดบางอยาง แสงคือสิ่งที่เชื่อมโยงเกี่ยวของกับอวกาศ (space), กาล (time), พลังงาน (energy), และวัตถุ (matter), สัญลักษณสำหรับ ความเร็วของแสงในวิชาฟสิกสคือ, c, ซึ่งไดแสดงบทบาทที่สำคัญอันหนึ่งใน การเปนกุญแจสมการที่เกี่ยวของกับธาตุอื่นๆ ทั้ง 4


Fine Arts News

พิธีไหวครูคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม

“กราบครุปูจาสรวงสา อาจารยเจา” คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม จัดพิธีไหวครูคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม “กราบครุปูจาสรวงสาอาจารยเจา” (ART GURU OFFERING CEREMONY) วันพฤหัสบดีที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 เวลา 9.00 – 12.00 น. ณ ลานสักหนาศาลาธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม ถนนหวยแกว อ.เมือง จ.เชียงใหม

พิธีไหวครูในแบบลานนาโบราณของคณะวิจิตรศิลป ไดจัดขึ้น เปนประจำทุกๆ ปและถือเปนประเพณีที่สำคัญ โดยคณะวิจิตรศิลป ซึ่งเปน ผูนำทางดานงานศิลปะและการอนุรักษหรือสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีที่ ดีงามของชาวลานนาไทย พิธีไหวครูก็ถือเปนประเพณีที่ชาวลานนาใหความ สำคัญเพราะเปนประเพณีการเคารพกราบไหวครูบาอาจารย ภายในงานพบ กับประเพณีการไหวครูแบบโบราณ ประกอบดวยริ้วขบวนแหเครื่องสักการะ ขบวนแหเครื่องเซนไหวครู โดยนักศึกษา 5 สาขาวิชาคือสาขาวิชาศิลปะไทย สาขาประติมากรรม สาขาจิตรกรรม สาขาภาพพิมพและสาขาการออกแบบ ที่แสดงถึงการเคารพธรรมชาติและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โดยมีขบวนแหเสลี่ยงหลวง นางแกว การบรรเลงดนตรีพื้นเมือง พรอมนางรำในเครื่องแตงกายที่สวยงาม ตระการตามการแตงกายที่สวยงาม พรอมทั้งชมพิธีฮองขวัญและผูกขอมือ นักศึกษาใหม ซึ่งเปนการไหวครูของคณะวิจิตรศิลปที่ไดปฏิบัติยึดถือกันมา ตั้งแตรุนแรก จนถึงรุนปจจุบัน พิธไหว ี ครูในแบบลานนาโบราณของคณะวิจติ รศิลป ไดจัดขึน้ เปนประจำ ทุกๆ ปและถือเปนประเพณีที่สำคัญ เพราะคณะวิจิตรศิลปไดกอตั้งขึ้นมา ภายใตอุดมการณอยางหนึ่งที่วา จะเปนผูนำทางดานงานศิลปะและการ อนุรักษหรือสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของชาวลานนาไทยเอาไว

นิทรรศการภาพถาย

“เงาแหงกรุงเยรูซาเลม” The Shadow of Jerusalem นิทรรศการระหวางวันที่ 14 - 29 สิงหาคม 2551

พิธีไหวครูก็ถือเปนประเพณีที่ชาวลานนาใหความสำคัญเพราะเปน ประเพณีการเคารพกราบไหวครูบาอาจารย โดยเฉพาะความเปนครูใน เชิงชางและทางศิลปะนั้นจะถือวาสำคัญยิ่ง ซึ่งนักเรียนหรือลูกศิษยลูก หาทุกคนพึงตองปฏิบัติ ดังนั้นคณะวิจิตรศิลปจึงไดถือเอาวา กอนเริ่มการ ศึกษาทางศิลปะควรจะมีพิธีการเคารพกราบไหวบวงสรวงครูบาอาจารย ทั้งในปจจุบันและในธรรมชาติ ตลอดจนเทพาอารักษตามความเชื่อทั้ง ของชาวพุทธและชาวฮินดูเราตางก็ถือเปนครูแทบทั้งสิ้น ซึ่งเปนครูนี้มี ผลอยางมากตอการสรางสรรคผลงานและกอใหเกิดแรงบันดาลใจใหกับ เหลาศิลปนทั่วไปในลานนา อีกประการจะไดเปนการปลูกฝงสิ่งที่ดีงาม หรือการรูจักเคารพครูบาอาจารยตามแบบวัฒนธรรมไทย ใหกับนักศึกษา นองใหมที่จะเขามาศึกษาในคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม พิธีการจะเริ่มตั้งแต วันกอนเริ่มงานจริงเราเรียกวาวันแตงดา หมายถึงวันตระเตรียมขาวของสำหรับการเซนไหวครูอาจารยตามแบบ ประเพณีลานนา ซึ่งประกอบไปดวยเครื่องเซนไหวครู 5 สาขาวิชาคือ สาขาวิชาศิลปะไทย สาขาประติมากรรม สาขาจิตรกรรม สาขาภาพพิมพ และสาขาการออกแบบ นอกจากนี้ยังมีเครื่องเซนไหวสำคัญที่แสดงถึง การเคารพธรรมชาติและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลกที่นักศึกษาทางศิลปะ พึงปฏิบัติ คือขันเทวดาอันประกอบไปดวย หัวหมู ไกตม อาหารคาวหวาน หมากเมี่ยงผลไม ตลอดจนดอกไมหอมที่ประดับประดาอยางงดงาม และ ในวันแตงดาเดียวกันนี้ทางนักศึกษาไดจัดพิธีสำคัญ คือพิธีเลือกตัวแทน นักศึกษาหญิงเพื่อที่จะอัญเชิญขันบายศรีและสิ่งมงคลเขาสูพิธีการ ไหวครูและเรียกขวัญนักศึกษานองใหม ก็คือการเลือกนางแกว นางแกวตามคัมภีรภาคเหนือโบราณหมายถึง นางอิตถีรัตนะ คือ นางผูวิเศษที่มีความเพียบพรอมดีงาม เปนนางแกวของจักรพรรดิ และ หากออกเรือนแลวจะกลายเปนแมศรีเรือนที่ทรงคาที่สุดของชายซึ่งมักจะ เรียกวา “เมียนางชางแกว” นอกจากนางแกวจะเปนผูเชิญขันบายศรีขึ้น บนเสลี่ยงหลวงอันงดงามแลวระหวางทางที่ขบวนแหเครื่องเซนไหว และ นางแกวผานคือสันเขื่อนอางแกวขบวนจะหยุดพัก ใหนางแกวไดลงจาก เสลี่ยงเพื่อตักน้ำอันเปนมงคลจากอางแกวคือพิธีรับน้ำ “สุคนธศรี สินธุธารา สุเทพาธาตุ” หมายถึงน้ำที่หลั่งไหลมาจาก ยอดดอยอันศักดิสิทธิ์ของชาวเชียงใหมคือดอยสุเทพ ประเพณีนำนักศึกษาใหมขึ้นนมัสการพระบรมธาตุดอยสุเทพ ประจำป 2551 วันเสารที่ 5 กรกฎาคม 2551 สโมสรนักศึกษาคณะ วิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดเขารวมจัดงานรับนองใหมเดินขึ้น ดอยสุเทพ เพื่อนมัสการพระบรมธาตุดอยสุเทพ ซึ่งเปนประเพณีของ มหาวิทยาลัยเชียงใหมจัดขึ้นทุกๆป นับเปนประเพณีที่ดีงามที่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม รวมกันจัดขึ้นเปนประจำทุกป ตั้งแตเริ่มกอตั้ง มหาวิทยาลัยเชียงใหมในป พ.ศ.2507 เปนตนมา เพื่อความเปนสิริมงคล เสริมสรางพลานามัย สรางความสามัคคีใหแกนักศึกษานองใหม นักศึกษารุนพี่ นักศึกษาเกา และคณาจารย ตลอดจนเปนการสืบสาน ประเพณีอันดีงามของมหาวิทยาลัยเชียงใหมใหคงอยูตอไป ขบวนเดินขึ้นดอยสุเทพ ประกอบดวย ขบวนปาย ขบวนผูบริหาร และคณะกรรมการสมาคมนักศึกษาเกา ธงมหาวิทยาลัยและธงคณะ ขบวนชางฟอนและนักดนตรีพื้นเมือง ขบวนเครื่องสักการะ และขบวน นักศึกษา 21 คณะ จากประตูหนามหาวิทยาลัยเชียงใหม สูถนนหวย แกว ประกอบพิธีสักการะอนุสาวรียครูบาศรีวิชัย แลวจึงมุงหนาเดินทาง ไปนมัสการพระบรมธาตุดอยสุเทพ ซึ่งผูรวมขบวนตางพรอมใจสวมชุด พื้นเมือง เพื่อสงเสริมและอนุรักษอันงดงามของวัฒนธรรมลานนา และ เมื่อถึงจุดหมายแลว จะมีการแสดงของนักศึกษานองใหม พรอมรวมกัน ประกอบพิธีสักการะพระบรมธาตุดอยสุเทพ รับโอวาทจากพระเถระ ผูใหญ ปฏิญาณตนเปนนักศึกษาที่ดี และเปนพลเมืองดีของประเทศ แลวจึงเดินทางกลับสูมหาวิทยาลัยเชียงใหม

หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย เชียงใหม รวมกับ สถานเอกอัครราชทูตอิสราเอล จัดนิทรรศการภาพถาย เงาแหงกรุงเยรูซาเลม (The Shadow of Jerusalem) โดยศิลปนชาวอิสราเอลคุณเลโอนิด พาดรูว ( Mr. Leonid Padrul) ผลงาน ในนิทรรศการ ไดถายทอดเอกลักษณของ ประเทศอิสราเอลอันมีเสนห และสะทอนใหเห็นมุมมองสวนตัวของชางภาพที่ มีตอภูมิทัศน โดยเลโอนิด พาดรูวไดพิชิตยอดเขา และเก็บภาพความงดงาม ตระการตาของทะเลสาบเดดซี มาใหเราไดชม ซึ่งในพระคัมภีรคับบาลาห ทะเลสาบเดดซีมีอีกชื่อวา “เงาแหงกรุงเยรูซาเลม” ผลงานของเขาไดบันทึกวิถีชีวิตทองถิ่นอันเรียบงาย เผยความลับ แหงการสรางสรรคซึ่งมีมานานกวารอยป กลาวไดวา พาดรูว ไดรังสรรคผลงาน ระดับชั้นเลิศที่สามารถผสมผสานกวีนิพนธ และมุมมองของปราชญไวไดอยาง กลมกลืน ภาพถายทั้งสิ้น กวา 41 ภาพ ทีปรากฏ ่ ในนิทรรศการชุดนี้ไมไดผาน การตกแตงเทคนิคทางคอมพิวเตอรแตอยางใด

ขอเชิญผูที่สนใจรวมชมนิทรรศการ และเขารวมพิธีเปด นิทรรศการในวันพฤหัสบดีที่ 14 สิงหาคม 2551 เวลา 18.00 น. ณ หองแสดงงานนิทรรศการชั้น 1 หอนิทรรศการ ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย เชียงใหม นิทรรศการแสดงใหชม ไปจนถึงวันที่ 29 สิงหาคม 2551 เปดทำการวันอังคาร - อาทิตย เวลา 9.00 – 17.00 น. (ปดวันจันทรและวันนักขัตฤกษ) เขาชมโดยไมเสียคาใชจายใดๆ

โครงการ

แลกเปลี่ยนนักศึกษา จากการดำเนินการที่ผานมา คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดสนับสนุน ใหนักศึกษาไดมีประสบการณในการทำงานรวมกับ สถาบันการศึกษาตางประเทศ ดังตอไปนี้ โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหวางคณะวิจิตรศิลป และ Kungl. Konsthogskolan (Royal University College of Fine Arts) ประเทศสวีเดน ดำเนินการภายใตโครงการ Exchange Program (Linnaeus-Palme) โดยไดรับการสนับสนุนทุนจาก The Swedish state organization Sida ทุนดังกลาวจะสนับสนุนคาใชจายในการเดินทาง คา ที่พัก เบี้ยเลี้ยง และคาวัสดุในการทำงาน กำหนดใหนักศึกษาเขารวม โครงการ ณ ประเทศสวีเดนระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา (4 เดือน) ในป 2551 มีนักศึกษาไดรับการคัดเลือกเขารวมโครงการ ณ ประเทศสวีเดน โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับ The Australian National University ประเทศออสเตรเลีย ป 2551 มีนักศึกษาไดรับทุน Australian Government Scholarship ซึ่งเปนทุนรัฐบาลออสเตรเลีย สำหรับโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา สนับสนุนคาเดินทางและคาครองชีพ นักศึกษาไดเขารวมโครงการแลกเปลี่ยน ณ ประเทศออสเตรเลีย ระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา (3 เดือน) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับ Hue College of Arts, Hue University ประเทศเวียดนาม เปนทุนที่สนับสนุนโดยคณะวิจิตรศิลป เปนคาเดินทาง คาที่พัก และเบี้ยเลี้ยงใหแกนักศึกษาเพื่อเขารวมโครงการ ณ ประเทศเวียดนาม ป 2551

รายละเอียดเพิ่มเติม ติดตอ คุณกุณฑีรา โทร. 02- 02-204-9237

Arts august 2008

7


Artist จรูญ บูญสวน กองบรรณาธิการ ประวัติศิลปน คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม

อ. จรูญ บุญสวน อดีตอาจารยสาขาจิตรกรรม คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ซึ่งไมมียศตำแหนงทางวิชาการใดๆ แต เปนศิลปนนามกระเดื่องของสังคม ซึ่งมีผูสะสมภาพเขียนของทาน จำนวนมาก ดังปรากฏในหอศิลปในหลายสถาบัน ตลอดรวมถึง หองตอนรับแขกบานแขกเมืองในทำเนียบรัฐบาล(สมัย นายกฯ ชวน หลีกภัย) ความเปนศิลปนที่อยูใกลชิดกับธรรมชาติ นับจากวัยเด็ก จนกระทั่งลวงเขาปจฉิมวัย ทำใหจรูญ บุญสวน สรางสรรคผลงาน จิตรกรรมทิวทัศนธรรมชาติไดอยางโดดเดน นุมนวล รุมรวยดวยสีสรร งดงาม แมสิ่งเหลานี้จะผุดขึ้นมาจากหลอดสีเพียงไมกี่หลอดในจำนวน พันที่อุตสาหกรรมศิลปะไดผลิตขึ้น อาจารยบอกวา สีสรรที่ดูสุกปลั่ง อวดความเปนธรรมชาติและความอุดมของสี มาจากการเรียนรูอยาง ชาๆ (slow knowledge) ดวยการปฏิบัติ การมีวินัย ความขยัน และ ความใสใจไมนอยกวา 30 ป นับจากเริ่มเรียนศิลปะที่โรงเรียนศิลป ศึกษา(วิทยาลัยชางศิลป) จวบจนปจจุบัน จรูญ บุญสวน เริ่มเขียนรูปมาตั้งแตวัยเด็ก นับจากบานเกิด ที่สิงหบุรี และผูกพันอยูกับการเขียนภาพมาโดยตลอด ทานเลาใหฟงวา เมื่อโตแลวกลับไปเยี่ยมบาน ผูใหญทานหนึ่งบอกวา เคยเห็นทานอุมนอง แลวใชเทาเขียนรูปบนพื้นทรายมาตั้งแตเยาววัย ดวยครอบครัวที่มาจาก ฐานเกษตรกรรม ซึ่งมีลูก 9 คน จรูญเปนบุตรชายคนโตจึงรับภาระหนาที่ ชวยผอนแรงของบุพการีดวยการเลี้ยง นองๆ ทุกคน แมกระทั่งหลังจบ การศึกษาแลวที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ขณะ ที่เรียนอยูที่โรงเรียนศิลปศึกษา ทานไดพบกับคุณชวน หลีก ภัย ซึ่งขณะนั้นเปนนักเรียนรุนนองในสถาบันเดียวกัน ทั้งสองมักพบปะ พูดคุยกันเสมอ อาจารยจรูญเลาเกร็ดประวัติเล็กๆ นอยๆ ใหฟงวา คุณ ชวนมีบุคลิกที่แตกตางไปจากนักเรียนศิลปะโดยทั่วไป และพูดคุยเรื่อง ที่แตกตางไปจากคนอื่นๆ แตทั้งคูก็ชอบสนทนากันเสมอ จนคุณชวนไป เรียนตอที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สวนตัวทานไดเขาศึกษาตอที่คณะ จิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารย เลาวา… ผมเขาเรียนศิลปากรเมื่อป 2501 คนแถวบาน เขาคิดวาผมไปเรียนเลนโขน ผมยังเคยพูดเลนกับพวกเขาวา ผมเลนเปน พระราม เพราะถาบอกวาไปเรียนเขียนรูป พวกเขาจะไมเขาใจวาเรียน ไปทำไมจึงไมอยากอธิบาย การที่ผมเขาเรียนศิลปากรได นาจะเปน เพราะอาจารยอรุณ โลหะชาละ ทานเคยเลาใหฟงวา อาจารยศิลป พีระ ศรี (ชาวอิตาเลียน หนึ่งในผูกอตั้ง มหาวิทยาลัยศิลปากร) เรียกทาน ไปถามวา นายจรูญ คะแนนสอบคาบลูกคาบดอก ในฐานะที่เคยเปน อาจารยใหญโรงเรียนศิลปศึกษา จึงขอความเห็นจากอาจารยอรุณ วาจะ ใหสอบไดหรือสอบตก อาจารยอรุณ รับรองผมวานาจะเรียนได ผมจึงไดเขาเรียนคณะ จิตรกรรมฯ ทั้งๆ ที่ผมเคยเปนคนที่ทำใหทานตองออกจากการเปน

อาจารยใหญที่โรงเรียนศิลป ศึกษา กรรมอันนี้หมดไปแลว เพราะเมื่อผม จบจากมหาวิทยาลัยศิลปากร และไปสอนหนังสืออยูที่วิทยาลัยเทคนิค โคราช ผมก็เคยถูกนักศึกษาเดินขบวนขับเหมือนกัน ตอคำถามเรื่องเกี่ยวกับการ เขียนรูปทิวทัศนขนาดใหญ ซึ่งหลาย รูปมีขนาดยาวถึง 3 เมตร ดวยพูกันเบอร 4 เพียงดามเดียว (ขนาดของ พูกันเบอร 4 มีความกวางนอยกวา 1 เซนติเมตร) จนแทบจะหากรอบใส รูปไมไดในประเทศไทย อาจารยจรูญตอบวา… คุณโกวิทย อเนกชัย ทาน เคยบวชเปนพระ ทานเคยธุดงคผานโคราช, อาจารยสุวิช สถิตยวิทยา นันทไปเยี่ยมทานและถามวาจะเดินธุดงคไปไหน? ทานตอบวาจะไปอุดร อาจารยสุวิชถามวาจะไปถึงเมื่อไร ทานโกวิทยตอบดีมาก ทานบอกวา ทานไมกำหนดวันที่จะไปถึง ทานตั้งใจแตจะไปอุดร จะถึงเมื่อไรก็ได. ผม

8

Arts august 2008

จำเรื่องนี้ได ไมคิดวาจะมีโอกาสนำมาใชกับการเขียนรูป ขอเพียงตั้งใจ เขียนแลวมันก็เสร็จเอง ผมเชื่อวาการเขียนรูปขนาดใหญ ก็คือการเขียน รูปเล็กๆ หลายๆ รูปมาตอกัน ไมใชเอารูปเล็กมาขยายใหญ คุณ ชวน หลีกภัย ทานยังเคยเปรยวา “บานพี่จรูญคงมี สวนดอกไมใหญมาก เห็นเขียนรูปมีดงดอกไมมากมาย” อาจารยจรูญ ตอบวา “มีสวนอยูนิดเดียว แตผมไปซื้อดอกไมมาเปนกระถาง แลวใช

ความโดดเดนในภาพทิวทัศน สมัยที่เรียนอยูชั้นป 4 อาจารยศิลปยังอยู อาจารยจรูญมักจะไดคะแนนวิชาจิตรกรรม หัวขอ Nude, Portrait, Figure ไมดี. วันหนึ่งอาจารยศิลป เรียกอาจารยเขาไปในหองแลวบอกวา “จรูญ ตอไปนี้นายไมตองเขียน Nude, Portrait, และ Figure อีกแลว ให เขียนภาพหุนนิ่ง(Still life) และทิวทัศน(Landscape) มาแทน”. อาจารย ศิลป ทานเปนคนพิเศษ รูวาใครทำอะไรได ทำอะไรไมได ทานมองอนาคต ของลูกศิษยออก ทุกวันนี้อาจารยจรูญจึง เขียนรูปเฉพาะ”ภาพทิวทัศน”และ”หุนนิ่ง” เทานั้น กับ เสนสายและรอยแตมสี จำนวนลาน ที่เปนตนกำเนิดของการผุด พรายของระยับสีบนผาใบที่ลงพื้นดวย สีเหลืองสุก ภาพเขียนของอาจารยจรูญ บุญสวน ในหัวขอเกี่ยวกับทุงดอกไมและ ดอกไมกระถางสีสดสวย ไดถือกำเนิด ขึ้นในวงการศิลปะอยางเดนตระหงาน รอยแปลงเหลานั้นดุจดังอณูพื้นฐานของ สรรพสิ่ง ที่ประกอบสรางเปนวัตถุนับลานอยาง แตสำหรับงานจิตรกรรม ของอาจารยจรูญ บุญสวน อณูพื้นฐานเหลานั้น โดยเจตจำนงค อันเปนอัตวิสัยของตัวศิลปน ทาน เลือกที่จะใหกำเนิดจักรวาลแหง บุพชาติ ที่คอยทำหนาที่เพิ่มเติมเสริมแตงธรรมชาติและสนามกายภาพ ของสิ่งแวดลอม ใหงดงามอยูในตึกใหญอันไรรางลมหายใจ กลับกอปร ไปดวยชีวิตและความอบอุนชุมชื่น ภาพเขียนของอาจารยจรูญ จึงเขา เพิ่มเติมลมหายใจใหอิฐสรางและรูปทรงคอนกรีตอมนุษยใน ตัวอาคารที่ สถาปนิกปรับแตงประยุกตมาจากถ้ำ ใหบงบอกถึงการมีมนุษยอาศัย ทุกวันนี้ อาจารยจรูญ ยังคงเขียนรูปที่ตนเองรักอยูและบริหารงาน หอศิลปสวนตัวรวมกันกับภรรยา ที่มีอยูถึงสองหลังในเขตตัวบาน ซึ่ง สรางขึ้นสำหรับใหคนลำพูนและละแวกใกลเคียงไดเขามาใชประโยชน ทางการ ศึกษาศิลปะ แมวัยจะลวงเขาปที่ 70 แลวก็ตาม อาจารยยังคง เขียนรูปอยางมีวินัยและกระฉับกระเฉงทุกวัน เปนที่ปรึกษาอาจารยสอน ศิลปะในหลายสถาบัน และไดรับเชิญใหเปนอาจารยพิเศษไปบรรยาย ตามสถาบันนอุดมศึกษาตางๆ ทั่วประเทศ ในบั้นปลายชีวิต อาจารยตั้งใจที่จะแสดงภาพเขียนผลงาน จิตรกรรมภาพทิวทัศนใหกับบุพการีทั้ง สองทาน และทุกวันนี้อาจารย จรูญ ยังระลึกถึงครูบาอาจารยทุกคน โดยเฉพาะ ศ.ศิลป พีระศรี ซึ่งเปนผู ใหกำเนิดตัวตนที่สองของความเปนศิลปน สำหรับ นักศึกษา ประชาชน หรือผูสนใจเทปอัตชีวิประวัติ ปากเปลา ของ อ.จรูญ บุญสวน ซึ่งพูดถึงชีวิตในชวงวัยเด็กจนถึงวัยชรา และประสบการณทำงานทางดานศิลปะมาอยางยาวนาน ทั้งในฐานะครู สอนศิลปะ และการเปนศิลปนมืออาชีพ สามารถหยิบยืมไดที่หองสมุด คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม

จากภาพเขียนบนพื้นทราย ถึงจิตรกรรมในทำเนียบ

วิธียายไปเรื่อยๆ ผมไดความคิดนี้มาจากอาจารยทวี นันทขวาง (อดีต อาจารยสอนที่คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร) เพราะทานเคยได รับคำถามทำนองเดียวกันวา “รูปดอกบัว”(ปจจุบันอยูที่พิพิธภัณฑศิลป พีระศรีอนุสรณ) ที่ทานเขียนคงใชดอกบัวเปนจำนวนมาก ทานบอกวา ทานมีดอกบัวแคสองหอ นักศึกษาซื้อมาฝาก ทานใชวิธียายไปเรื่อยๆ จนไดเปนรูปขนาดใหญ. วิธีการนี้ยอดเยี่ยมจริงๆ ทุกวันนี้ผมก็ใชวิธีการนี้ ในการเขียนรูป หาก พิจารณาผลงานจิตรกรรมของ อ.จรูญ บุญสวน นับจาก เริ่มตนจวบจนปจจุบัน จะเห็นถึงขอเดนและขอดอยที่ปรากฎขึ้นมาใน เสนทางสายยาวไกลของความเปน ศิลปน อ.จรูญ ไมมีความถนัดใน การเขียนภาพเหมือนตัวบุคคล(portrait) และภาพเปลือย(nude) แตมี

อ.จรูญ บุญสวน เกิด: ๒ กรกฎาคม ๒๔๘๑ การศึกษา: ศิลปมหาบัณฑิต (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่อยู: ๓๓/๒ หมู ๑๐ ตำบลเหมืองงำ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๕๑๐๐๐

Faculty of Fine Arts


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.