ข่าวหอศิลป์ FINE ARTS Vol 7 April-June 2010

Page 1

งาน​กราฟฟก​บา งก็​เทา​นน้ั ​ ซึ่ง​หลังจาก​อานหนังสือ​ เลม​นี้​แลวก็​พบ​วา ​เสียง​ที่​ อยู​ใน​ใจ​นั้น​จริง ​“​ผม​ชวย​ อะไร​ไมได​เลย”​

วารสารข า วหอศิ ล ป / ข า ววิ จ ิ ต รศิ ล ป ผลิ ต โดยคณะวิ จ ิ ต รศิ ล ป มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม

​ หลังจาก​อา น หนังสือ​เรือ่ ง ​W​i​n​d​o​w​​ ​D​i​s​p​l​a​y​​จบ ​ผม​ได​หวน กลับมา​ส�ำ รวจดู​ถงึ ​ความรู​ ของ​ตน​ในส่วนท่เี กีย่ วกับ พัฒนาการ​ของ ”​การ​ ตก​แตงหนา​รา น​ใน​ สังคม​ไทย”​​ตาม​ชดุ ​ ประสบการณ​และ​ตาม​วยั ​ เทา​ท​ม่ี ​อี ยู​ใ น​ความทรงจำ�​ สวนตัว ​ซง่ึ ​อาจ​กลาว​ได​วา :​​ ​หาบเร ​แผงลอย ​รา น​ขาย​ เครือ่ งมือ​การ​เกษตร ​แผง​ ปลาทู​เขง ​จน​ไป​ถงึ ​รา น​ ขาย​ดอกไม ​นา ​จะ​เปน หลัก​กโิ ลเมตร​แรก​ของ​ วัฒนธรรม​ทาง​สายตา​ เกีย่ วกับ​การ​จดั ​วาง​สนิ คา​ ใน​สงั คม​ไทย ​เพือ่ ​น�ำ เสนอ​ สินคา​ท​จ่ี �ำ เปน​แก​ลกู คา​ให​ เขามา​ซอ้ื หา​สง่ิ ของ​ตา งๆ​​ เรือ่ ง​คง​จะ​จบ​เพียง​แคน้​ี หากวา​มนุษย​เพียง​เปน​ ผูบ ริโภค​เฉพาะ​สง่ิ จำ�เปน​ สำ�หรับ​การ​ด�ำ รงชีวติ ​ ทาง​กายภาพ​เทา​นน้ั ​แต​ ปญหา​คอื ​มนุษย​ม​คี วาม​ ซับซอน​กวา​นน้ั ​มาก​เพราะ​ มนุษย​สง่ั สม​ความรู​ใ น​ เรือ่ ง​คณ ุ คา​ตา งๆ​​เพิม่ เติม​ ขึน้ ​มา​นบั ​พนั ป​ตาม​อายุ​ ของ​อารยธรรม

การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการด้านศิลปกรรม การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการด้านศิลปกรรม การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการออกแบบสื่อ ของศูนย์ศิลปกรรมและกิจกรรมพิเศษ ศูนย์ศลิ ปกรรมและกิจกรรมพิเศษจัดฝึกอบรม ทัง้ ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบตั คิ รอบคลุม สาขาวิชาที่เปิดสอนด้านศิลปกรรม วัฒนธรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์ และ การออกแบบสื่อ โดยคณาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศและต่างประเทศให้กับผู้ประกอบการและสำ�หรับผู้ที่ สนใจทั่วไป ให้มีทักษะความสามารถในเรื่องความคิดสร้างสรรค์ เพื่อสร้างฐานกำ�ลังคนที่มี ทักษะความรู้ความเชี่ยวชาญ จัดฝึกอบรมในห้องปฏิบัติการ (Art Studio) ทางศิลปะที่มีความ พร้อมที่สุดในภาคเหนือ ฝึกอบรมการออกแบบสื่อกับห้องปฏิบัติการทั้งเครื่อง Mac และ PC ที่ทันสมัย หลักสูตรที่เปิดสอน เช่น หลักสูตรศิลปกรรม หลักสูตรการวาดสีน้ำ� หลักสูตรการ ปั้นของตกแต่งบ้าน ตกแต่งสวน หลักสูตรการวาดสีน้ำ�มัน หลักสูตรศิลปวัฒนธรรม

Art Diction

​ มนุษย​รูจัก​คุณคา​ ใชสอย​และ​คุณคา​แลก เปลี่ยน​มา​เปนเวลา​นาน​ แลว ​ตาม​ที่ ​K​ar​ ​l​​M​ar​ ​x​​ กลาว ​แต​นัก​คิด​หลัง​สมัย​ ใหม​อยาง J​ea​ n​ ​​B​au​ ​d​r​il​l​​ a​r​d​​เห็นวา​คุณคา​ที่​กลาว​ ถึง​ทั้ง ​2​​แบบ​นั้น ​ไม​เพียง พอ​ที่​จะ​ใช​ทำ�ความ​เขา​ใจ​ สังคม​สมัย​ใหม​และ​การ​ บริโภค​ที่​เปลี่ยน​แปลง​ไป ​ มนุษย​ยัง​แสวงหา​คุณคา​ อื่นๆ​​อีกดวย ​โดยเฉพาะ​ ยุค​หลัง​อุตสาหกรรม ​และ​ การ​พาณิชย​อุตสาหกรรม​ วัฒนธรรม(​cu​ l​t​​ur​ ​al​​​in​ d​ ​u​ s​t​r​y​)​เปนตนมา ​มนุษย​ถูก​ ปลุก​ให​ตระหนัก​ใน​เรื่อง​ ของ​คุณคา​เชิง​สัญญะ ​ ​(​s​ig​ ​n​​v​al​u​ e​ )​ ​​เพื่อ​แสดง​ ถึงอัต​ลักษณ ​สถานภาพ ​ รูป​แบบ​การ​ใชชีวิต ​ รสนิยม ​เกียรติภูมิ ​และ อำ�นาจ​แหง​ตน ​ (อ่านต่อหน้า 5)

ART&DESIGN TRAINING

วารสารข่าวหอศิลป์ ฉบับที่ 7เมษายน-มิถุนายน 2553

FINE ARTS

WINDOW Display ต่อจากหน้า 23

หลักสูตรหัตถกรรมพื้นบ้าน หลักสูตรความรู้ด้านประวัติศาสตร์ศิลปะของไทย หลักสูตรการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (วัดบ้านก่อ วัดปงสนุก จ.ลำ�ปาง) หลักสูตรการออกแบบและการ ออกแบบสื่อ หลักสูตรการจัดการแบรนด์การตลาดสปา หลักสูตรการออกแบบกราฟิกสำ�หรับ องค์กร หลักสูตรการออกแบบ Computer Graphic and Animation หลักสูตรออกแบบแอนิเมชัน่ หลักสูตรศิลปะการถ่ายภาพ หลักสูตรการออกแบบเว็บไซต์ หลักสูตรการออกแบบสื่อภาพ และเสียง หลักสูตรการออกแบบแอนิเมชั่น 2,3 มิติ หลักสูตรการออกแบบสื่อเชิงโต้ตอบ (Interactive Media) ศูนย์ศิลปกรรมและกิจกรรมพิเศษ เปิดรับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมการฝึกอบรม ทุกเดือน อย่างน้อยเดือนละ 2 หลักสูตร สนใจติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ คุณ ปรัศนีย์ สินพิมลบูรณ์ โทร. 053-944851

Encyclopedia of Art Magic สารานุกรมศิลปะ เพื่อสร้างเสริมความรู้ที่กว้างขวางทางด้านศิลปะ สำ�หรับนักเรียน นักศึกษา นักวิชาการ และผู้สนใจทางด้านศิลปะร่วมสมัย

Realism

Magic realism, or magical realism, is an aesthetic style or narrative mode in literature in which magical elements are blended into a realistic atmosphere in order to access a deeper understanding of reality. These magical elements are explained like normal occurrences that are presented in a straightforward manner which allows the “real” and the “fantastic” to be accepted in the same stream of thought. It has been widely considered a literary and visual art genre; creative efi lds that exhibit less significant signs of magic realism include lfi m and music. As used today, the term is broadly descriptive rather than critically rigorous: Matthew Strecher has defined magic realism as “what happens when a highly detailed, realistic setting is invaded by something ‘too strange to believe’.

วารสารขาวหอศิลป / ขาว​วิจิตร​ศิลป ผลิต​โดย สำ�นัก​งาน​คณะ​วิจิตร​ศิลป มหาวิทยาลัย​เชียง​ใหม : ถนน​หวย​แกว อำ�เภอ​เมือง จังหวัด​เชียง​ใหม 50200

โทรศัพท 053-211724 และ 053-944805 Email Address: info@finearts.cmu.ac.th (ขอมูล เนื้อหา​บทความ​ทุกช​ นิด ที่​ตี​พิมพ​บน​หนังสือ​พิมพ​ฉบับ​นี้ เปน​ความ​รับผิดชอบ​ของ​ผูเขียน รวม​กับ​กอง​บรรณาธิการ)

วารสารขาวหอศิลป / ขาววิจิตรศิลป ฉบับที่ 7 / 2553 นี้ ผลิตขึ้นมาเพื่อเผยแพรความรูทางศิลปะใหกับนักเรียน นักศึกษา นักวิชาการศิลปะ และประชาชนที่สนใจโดยทั่วไป

สนใจขอรับเปนสมาชิกกรุณาสนับสนุนการจัดพิมพ ปละ 500 บาท โดยติดตอที่ คุณจิตตอารีย กนกนิรันดร และ คุณไชยณรงค วัฒนวรากุล โทร. 053-944801-13 ติดตอกองบรรณาธิการวารสารขาวหอศิลป​ ​/ ขาววิจิตรศิลป email address: info@finearts.cmu.ac.th​ หรือ โทรศัพทสายดวน 053-211724 ​


ART MAGAZINE

Chiang Mai University

Faculty of Fine Arts

วารสารข่าวหอศิลป์ ฉบับที่ 7 เมษายน-มิถุนายน 2553

7 ฉบับที่เจ็ด

ความรวมมือทางศิลปะในกลุมประเทศอาเซียน: การประชุมทางวิชาการอาเซียนซีกโลกใต

ในหลายทศวรรษที่ผานมา สถาบันศิลปะตางๆ ของประเทศไทยลวนมีมุมมองการพัฒนาศิลปะไปในเชิงเลียนแบบและกวดใหทันโลกตะวันตก จนทำ�ใหหลงลืมรากเหงาของตัวเอง และความสัมพันธกับเพื่อนบานในเอเชีย โดยเฉพาะในกลุมมิตรประเทศอาเซียน จนอาจกลาวไดวา ศิลปน นักวิชาการศิลปะ และขุนนางวัฒนธรรมไทย ไมทราบเลยวาเพื่อนบาน ชาวอินโดนีเซีย ฟลิปปนส มาเลเซีย และสิงคโปร ฯลฯ กำ�ลังสรางสรรคผลงานศิลปะอะไรอยู ดูเหมือนเรื่องราวทำ�นองเดียวกันนี้จะเกิดขึ้นในหลายประเทศอาเซียน (อ่านต่อหน้า 4)

Contents

2010 Focus on the Global South

ASEAN ART SYNERGY

FINE ART is : a. Art produced or intended primarily for beauty rather than utility. b. Any of the art forms, such as sculpture, painting, or music, used to create such art. Often used in the plural. c. Something requiring highly developed techniques and skills: the fine art of teaching.

ทัศนศิลป์ ประตูบานใหญ่แห่งการสร้างสรรค์ DICTIONARY of ART MUSEUM ONLINE ASEAN ART SYNERGY ถ้าเดินเรื่อยไปย่อมถึงปลายทาง “DESTINATIONS” สหวิทยาการและการศึกษาของวิจิตรศิลป์ แคปซูลประวัติศาสตร์ศิลป์ฟิลิปปินส์ ผลงานศิลปนิพนธ์ ปราสาทนกหัสดีลิงค์

2 3 3 4 5 6 8 9 10

สตรีชาวสยามแห่งเมืองอันน็อต ศูนย์ศิลปกรรมและกิจกรรมพิเศษ SOUNDING CONFUSION ดนตรีในหอศิลป์ นิทรรศการประจำ�เดือน เมษายน-มิถุนายน 2553 INTERDISCIPLINARITY ARTIST: BOTERO ARTS INSTRUCTOR WINDOW DISPLAY

14 15 15 17 17 18 19 23 23

คณะผูจัดทำ� : วารสารขาวหอศิลป / ขาววิจิตรศิลป

บรรณาธิการบริหาร: รศ. สมเกียรติ ตั้งนโม. กองบรรณาธิการ: รศ. รสลิน กาสต์, รศ. อารยา ราษฎร์จำ�เริญสุข, อุทิศ อติมานะ, Joans D. Ground, วีระพันธ์ จันทร์หอม, จิตรลดา บุรพรัตน, Sebastien Tayac, สราวุธ รูปัน, จันทรวิมล แกวแสนสาย, พจวรรณ พันธ์จินดา. ฝายประสานงาน: วีระพันธ จันทรหอม, สุวิทย คิดการงาน. ฝายการจัดการความรู: วีระพันธ จันทรหอม. ฝายศิลป: วรรณชัย วงษ์ตะลา, เอกณพ สุวรรณโกสุม. ถายภาพ: อภิญญา กาวิล, ธรณิศ กีรติปาล. พิสูจนอักษร: นภดล สุคำ�วัง. ฝายเผยแพร: จิตตอารีย กนกนิรันดร, ไชยณรงค วัฒนวรากุล และ พนักงาน สายสนับสนุนสำ�นักงานคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วารสารขาวหอศิลป จัดทำ�ขึ้นเพื่อเปนสื่อกลางระหวางกิจกรรมดานการศึกษาศิลปะ การวิจัย การบริการ และการทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม ของคณะวิจิตรศิลป กับ บุคคลและสถาบันภายนอกที่สนใจเรื่องคุณคาทางศิลปะและสุนทรียภาพ. ขาวและเนื้อหาขอมูล บทความทุกชนิดที่ปรากฏบนวารสารขาวหอศิลปนี้ ยินยอมสละลิขสิทธิ์ ใหกับสังคมไทย เพื่อประโยชนทางวิชาการ (สำ�หรับผูสนใจสนับสนุนการจัดพิมพ สามารถติดตอไดที่โทรศัพทหมายเลข 053-944801 - 11)


อารยา ราษฎร​จำ�เริญ​สุข​ ที่​คณะ​วิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย​เชียงใหม ​ นานมาแลวขอเขียน​หนึง่ ​วา ดวย​การ​ศกึ ษา​ศลิ ปะมี​ใจความ​สน้ั ๆ​ วา “การ​ศึกษา​ศิลปะ​เปน​สิ่ง​สมมุติ” ชนิด​หนึ่ง​ หาก​จะ​ตคี วาม​ส�ำ นวน​ขา งตน อาจ​หมาย​วา ความ​เปน​ศลิ ปะ​นน้ั ​ เรียน​ได​ดวย​ประสบการณ (ทั้ง​สวน​เปนไปตาม​ธรรมชาติ​และ​สวน​เปนไป​ อยาง​จง​ใจ​คัด​เนน) ผล​จาก​ประสบการณ​สั่งสม​ดวย​การ​พินิจ​นึก กาล​ เวลา การ​ซ้ำ�​หรือ​การ​ตัด​ตาง​ซึ่ง​ประสบการณ​นั้น กอ​เกิด​ผลึก​ตะกอน​ใน​ การ​พิเคราะห​ความ สำ�เหนียก​ความ บม​ความ การ​ใหการ​ศึกษา​ศิลปะ​ เปนการ​คาดการณ​ตอ ‘ความ’ ที่จะ​เกิด จึง​เสมือน​การ​สมมุติ​ไป​วา​นาจะ​ สราง ‘บุคคล​ผู​รูความนัย​ใน​ศิลปะ’ ที่​ผูก​กับ ‘ความนัยข​ อง​คุณคา​แหง​ชีวิต​ มนุษย’ อยู​บาง​พอสมควร​ ประสบการณ​ฝง​ที่​ถูก​คัด​เนน​ขึ้น​ที่​สำ�คัญ​ไมนอย​คือ​การ​ใหการ​ ศึกษา​ศิลปะ ​ การ​ศึกษา​ศิลปะ​เกิด​จาก​การ​ตั้ง​สมมุติฐาน​ที่​คาดวา​จะ​ตอบรับ​ กับ​โจทย​ที่​มี​อยู ไมใช​โจทย​ที่​เลือก​ได เปน​โจทย​บังคับ​ที่​ไมมี​ทางเลี่ยง ​ มี​ความ​สัมพันธกับ​สวน​แวดลอม​ของ​สังคม​รวมสมัย​มี​ราก​สืบทอด​จาก​ อดีต​ศิลป​และ​ชีวิต​ในอดีต มา​ผสม​ผสาน​กับ​ลักษณาการ​โลก​ปจจุบัน บริบท​โลก​ศิลปะ​กับ​วัฒนธรรม​รวมทั้ง​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​ เปรียบ​บรรยากาศ​ของ​การ​ใหการ​ศึกษา​ศิลปะ​กับ​ตลาด​ที่​ม​ี สินคา​มากหลาย​ให​เลือก ผูซื้อ​มี​โอกาส​เลือก นาจะ​ดีกวา​การ​จำ�กัด​ ประเภท​สินคา และ​จำ�กัด​อิสรภาพ​ของ​ผูซื้อ​ การ​ใหการ​ศึกษา​ศิลปะ​ใน​ระดับ​ปริญญาโท ซึ่ง​เลย​ขั้น​ของ​ ความ​จำ�เพาะ​เจาะจง​ใดๆ โดยเฉพาะ​ในทาง​ประเภท​และ​ขอจำ�กัด​ทาง​ เทคนิค และ​อาจ​รวมถึง​ทัศนคติ​ใน​การ​ผูก​ติดกับ​ชาติ ความ​เชื่อ เพศ​สภาพ ใน​แบบ​ของ​การ​คดิ ​อยาง​แยกสวน จึง​คอื ​โอกาส​ของ​การ​เปดประตู​บาน​ใหญ​ ที่​ปลอย​ให​หรือ​เปด​รับสาย​ทาง​ความ​เปนไป​ทุกสิ่ง​สวน​ให​เขา​มาสู​การ​รับรู​ และ​ถายโอน​ออกมา​ใน​รูป​ของ​งานศิลปะ​

2

Arts May 2008

คำ�วา ‘ทัศนศิลป’ จึงม​ า​กับ​โอกาส​ของ​อิสรภาพ​ใน​การ​สราง สรรค​ของ​ผูใหญ​หรือ​ผู​ที่​เปน​นาย​ใน​การ​สรางสรรค​ของ​ตน​เอง​ที่​มี​โอกาส​ เลือก​ได​มากกวา​การ​จำ�นน​ตอ​ภาวะจำ�ยอม ไมวา​จำ�ยอม​ตอ​อะไร ระบบ​ การ​ศึกษา​แบบ​บีบอัด ทักษะ​เฉพาะตัว มุม​ปลอดภัย​ที่​คุนชิน ไมวาจ​ ะ​ เลือก​อะไร ความ​ทาทาย​ใน​การ​ทำ�​งานศิลปะ ความป​ติ​ใน​การ​คนพบ​ใหม ความ​เปนไป​ไดที่​ไมเคย​มา​กอน ทัศนศิลป​เอื้ออำ�นวย​ให​กับ​ทางเลือก​ที่​ เราใจ​เหลานี้​ การ​ศึกษา​ระดับ​ปริญญาโท​สาขา​ทัศนศิลป​ของ​ภาควิชา​ภาพ พิมพ จิตรกรรม และ​ประติมากรรม เริ่ม​ใน พ.ศ. 2550 มีน​ ักศึกษา​จาก​ หลาย​สาขาวิชา​เชน​จิตวิทยา สถาปตยกรรม การ​ตลาด ทันตแพทยศาสตร และ​ออกแบบ ผู​มาจาก​สถาบัน​ตางๆ จุฬา​ลง​กรณ บูรพา ประสาน​มิตร ศิลปากร มาเรียน​รวมกับ​นักศึกษา​ที่​มี​พื้นฐาน​ศิลปะ​เฉพาะ​ทาง​มา​กอน​ อยาง​ภาพพิมพ ประติมากรรม จิตรกรรม ภาพถาย​และ​ศิลปะ​ไทย​ใน​ พื้นที่​เชียงใหม สราง​บรรยากาศ​ของ​การ​ทำ�​งานศิลปะ​ที่​มี​การ​แลกเปลี่ยน​ ระหวางส​ห​สาขาวิชา​ใน​พื้นที่​ชั้นเรียน​ที่​มี​การ​สอน​หลากหลาย​วิชา​เชน สุนทรียศาสตร ประวัติ​ศาสตร​ศิลป จิตวิทยา​ศิลปะ โครงการ​สรางสรรค​ ทัศนศิลป การ​วิเคราะห​และ​เขียน​เกี่ยวกับ​ศิลปะ สัมมนา​ศิลปะ​ไทย​รวม สมัย ศิลปะ​โพ​สต์โมเดอรน และ​ทายที่สุด​การ​แสดง​ศักยภาพ​ของ​ผศู​ ึกษา​ ผาน​วิทยานิพนธป​ ระกอบดวย​งาน​สรางสรรค​ที่​แสดง​ตอ​สาธารณะ และ​ ขอเขียน​ หลักสูตร​สอง​ปการศึกษา ใน​บรรยากาศ​ของ​อิสรภาพ​แหง​ การ​สรางสรรค​ศิลปะ​ของ​นักศึกษา​จากส​ห​สาขาวิชา ได​ทำ�การ​บม​เพาะ​ ความ​เปนไปได​ใน​การ​พิเคราะห​การ​ตอบรับ​ซึ่ง​ความ​เปนไป การ​ถายโอน​ ความคิด ความรูสึก ผาน​อิสรภาพ​ของ​การ​สรางสรรค ที่​ทั้งหมด​ทั้งมวล​คือ​ โอกาส​ของ​การ​บันทึก​แงมุม​ของ​ความ​เปน​มนุษย​ใน​กาลเทศะ​ปจจุบัน ​ ที่...ชีวิต​ประจำ�วัน​ทั่วๆ ไป​มี​พื้นที่​และ​โอกาส​ให​นอยเกินไป

The visual arts are art forms that create works which are primarily visual in nature, such as ceramics, drawing, painting, sculpture, architecture, printmaking, modern visual arts (photography, video, and filmmaking), design and crafts. These definitions should not be taken too strictly as many artistic disciplines (performing arts, conceptual art, textile arts) involve aspects of the visual arts as well as arts of other types. Also included within the visual arts.

VISUAL ARTS

‘ทั ศ นศิ ล ป ​ ’  ประตูบ​ าน​ใหญ​แหง​การ​สรางสรรค​

หลั ก สู ต รทั ศ นศิ ล ป์ เป็ น หลั ก สู ต รปริ ญ ญาโทของคณะวิ จิ ต รศิ ล ป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นักศึกษาที่สนใจศึกษาต่อหลักสูตรนี้ สามารถติดต่อได้ที่ ภาควิชาภาพพิมพ์ ฯ โทรศัพท์ 053-944-821, 053-944-812


๐ ใน​ฐานะ​อาจารย​ศิลปะ​เชื่อ​วา แนวคิด​พิพิธภัณฑอ​ อนไลน​นี้​ถา​ออนไลน​อยาง​ตอเนื่อง จริงจัง คง​เสน​คงวา ทั่วถึง มัน​จะ​ชวย​แกปญหา​ทาง​การ​ศึกษาศาสตร​ศิลปะ​ของ​สังคม​ได เพราะ​ชวย​ให​คน​รุนใหม ได​มี​โอกาส​มี​ประสบการณ​เชิง​สุนทรียศาสตร​กับ​ผล​งาน​สำ�คัญๆ อยาง​หลากหลาย บอยครั้ง และ​รอบดาน​จาก​​ ทั่วโลก ไม​เพียง​มี​ประสบการณ​ทาง​ศิลปะ​และ​วัฒนธรรม​ของ​ตัวเอง​เทานั้น กลาว​ได​วา​เรา​อยู​ใน​ยุคสมัย​เปน “คน​ของโลก” ศาสตร​ศิลปะ​รวมสมัย​ปจจุบัน​เปน​ศาสตร​ของโลก เรา​เรียน​ประวัติ​ศาสตร​แนวคิด​ของ​ศาสตร​ศิลปะ​คลายคลึง​กัน​ทั้งโลก มัน​เปน​พื้นฐาน​สำ�คัญ​ของ​การ​เปน​ศิลปน หรือ​นัก​ออกแบบ​รวมสมัย​ ที่จะ​ตอง​เรียน​รูความ​ลึกซึ้ง ความ​มุงมั่น และ​ความ​หลากหลาย​ของ​ประเด็น​วิชาการ​ที่​สำ�คัญ ซึ่ง​เชื่อมโยง​กับ​บริบท​ของ​แตละ​ยุคสมัย​ผาน​ผล​งาน​ทาง​ศิลปะ (อ่านต่อหน้า 9)

๐ ได​ใชเวลา​ใน​การ​ดู​องคประกอบ​ศิลป​โดย​รวม​และ​รายละเอียด​ของ​ผล​งานศิลปะ​ตางๆ อยาง​เพลิดเพลินผ​ าน​จอมอ​นิเตอร​เหลานั้น เปนผล​งาน​ที่​ถูก​สรางสรรค​ดวย​ทักษะ​ขั้นสูง​ที่​หลากหลาย​สไตล​จาก​ศิลปน​และ​นัก​ออกแบบ​ระดับโลก​ตางๆ เสมือน​ได​เดินทาง​ไป​เยี่ยมชม​พิพิธภัณฑศ​ ิลปะ​และ​งาน​ออกแบบ​ทั่วโลก มัน​ทำ�ให​ได​มี​โอกาส​คิด​ทบทวน​เกี่ยวกับ​เรื่องราว หลักการ ขอถกเถียง​เชิง​วิชาการ​ตางๆ เบื้องหลัง​ผล​งาน​ออนไลน​เหลานั้น​ไป​พรอมๆ กัน อาทิ ขอถกเถียง​ความ​ตาง​ระหวาง​ผล​งาน​ชาง​กับ​ผล​งานศิลปะ​ใน​ชวง​ปรัชญา​สมัยใหม? การ​เกิดขึ้น​ของ​ศิลปะ​บริสุทธิ์​กับ​ศิลปะ​การ​ออกแบบ​เพื่อ​อุตสาหกรรม​ที่​แยกจากกัน​ ​เปน​สถาบัน​เฉพาะ​ทางใน​ชวงหลัง​ปฏิวัติ​อุตสาหกรรม? การ​เกิด​ของ​ศิลปะ​ที่​เนน​การ​สำ�รวจ การ​แสดงออก​ของ​จิต​ไร​สำ�นึก​ของ​เรา (Surrealism Art) ใน​ชวง 100 ป​ที่แลว ? ศิลปะ​ที่​เนน​ความ​เปน​ภาษาสากล (Abstract Art) ที่​กลาย​มา​เปน​รากฐาน​ของ​ศิลปะ​สมัยใหม​ตั้งแต ​คริสตศตวรรษ​ที่ 20 ? หรือ​ทำ�ไม​จึง​เกิด​ ศิลปะ​ที่​เนน​รสนิยม​ของ​คน​สวนใหญ (Pop Art) ใน​ชวง​กลาง​คริสตศตวรรษ​ที่ 20 ทีท่​ ำ�ให​ศิลปะ​ชั้นสูง​ถูก​ตั้งคำ�ถาม? เปนตน

๐ มี​โอกาส​ครั้งหนึ่ง​นั่ง​ชม​ผล​งานศิลปะ​ระดับโลก​ยุค​ตางๆ ผาน​จอ​มอนิเตอร​ที่​กระจาย​อยู​ภายใน​คณะ​วิจิตรศิลป มัน​เปน​โครงงาน​ความคิด​ริเริ่ม​หนึ่ง​ที่​นาสนใจ​อยาง​มาก ชวย​ตอกย้ำ�​แนวคิด​ที่วา​โลก​ใน​ยุค​สื่อ​ใหม (New Media) อำ�นาจ​ที่​เคย​ผูกขาด​ได​ผาน​สื่อมวลชน​กระแส​หลัก​ทั้งหลาย​จะ​กระจายตัว​สู​ผูคน​มาก​ ยิ่งขึ้น เปน​ผูคน​ที่​รวมตัวกัน​เปน​ประชา​สังคม (Civil Society) สามารถ​ริเริ่ม​สราง​สื่อ​ทางเลือก (Civic Media) ที่​สะทอน​ระบบ​คุณคา ความ​เชื่อ​ของ​ตัวเอง​หรือ​กลุม​ได​ไม​ยากเย็นม​ าก​นัก ผม​ขอ​เรียก​ความ​คิด​ริเริ่ม​นี้​วา​คือ “พิพิธภัณฑศ​ ิลปะ​ออนไลน” เพราะ​มัน​กำ�ลัง​ทำ�หนาที่​เฉกเชน​พิพิธภัณฑ​ศิลปะ​ใน​โลก​จริง​ ทุกประการ ที่​นำ�เสนอ​ชุด​ประสบการณ​ทาง​สุนทรีย ที่​ถูก​เลือกสรร เรียบเรียง รวบรวม​ผล​งาน​ที่​เห็นวา​สำ�คัญ ซึ่ง​มัก​สะทอน​คุณคา ความ​เชื่อ ความคิด ของ​ผู​นำ�เสนอ​สื่อ​เหลานั้น ถือเปน “โครงการ​ทาง​การเมือง” (ใน​ความ​หมาย​กวาง) ประเภท​หนึ่ง ตางกัน​เพียงวาพ​ ิพิธภัณฑศ​ ิลปะ​ออนไลน มัน​นำ�เสนอ “ประสบการณ​ เสมือน​จริง” เทานั้น

อุทิศ อติมานะ

MUSEUM ONLINE

Editor’s Talk

T

he new policies of the Art Museum, Chiang Mai University under the directorship of Faculty of Fine Arts, highlight its intention bringing liveliness and vigor to the museum. Previously, it is almost mentioned as the formula phenomenon for the sluggish museum to draw attention of people for admiring the visual arts exhibition. This is exactly complicated matters but not too excess to cope with. Consequently, the Art Museum with its new policies, intending to gradually be the lively Art Museum, has been conformed in many ways as the following recapitulations.

For its physical and environmental conditions, the Art Museum will underline its activities and exhibitions presenting name tags and descriptions functioning as the way to communicate with the perceptions and understandings belonging to the audiences. Moreover, the criticism and seminar on the exhibited art works will be raised with the set computer system providing the previous up to the present exhibitions’ information. The senior art students of Faculty of Fine Arts will be selected to service the audiences and visitors as the volunteer curators. They will supply the visitors with knowledge and art works’ explanation during holidays. The Art Museum’s space also offers the art library and the art theatre for all interested people as the research center contributing art and all involved knowledge. The space’s ambience will present the suited space for edutainment for all kinds of sustenance and life quality. Partial Groups of the Art Museum’s buildings are the space such as bookstore, postcards, art works in all fields created by students, art instructors, alumni and artists for sale. This is another way to publicize and promote the creativeness of the artists and bring the opportunity for interchanging idea between people, especially the understanding of art market will be emerged as a part of social interaction. Some shading area of the Art Museum will be utilized for musical activities such as music in Art Museum which contemporary music, jazz, classical music, outdoor performance, puppetry, and movie projection

will be performed. Once, the Art Museum gave importance to the complete admixture of visual arts and other art fields. At the moment, the Art Museum is fulfilled with sweet and sound melody that bring liveliness back to the Art Museum

The Art Workshop, previously, Faculty of Fine Arts has only processed within the faculty during summer. The chairmen of the Art Museum have the aim to service all specializations of art workshops within the Art Museum’s area. This is to response with the needs of students, academicians and all people. They who are interested in art will take time to practice and enjoy these supportive activities enhancing life quality. The workshops are such as water color painting, oil color painting, portrait drawing and painting, landscape drawing, papier-mâché, flower arrangement, basic art knowledge, musical practice and all performances. In the part of developed content of ChiangMai University’s Art Museum, the boards have agreed to raise the art and cultural seminar and the related knowledge. In every 2 weeks, those mentioned activities will be conducted at the Art Museum’s space and the Art Theatre. Besides, the Art Museum will publish Fine Arts magazine, develop Art Museum’s​ website which functions as the online art archives and online artist biographies plus world art exhibitions and all Art Museum’s concentrated exhibitions. ​ The new released projects of the Art Museum’s website include Museum Online distributing art knowledge on the internet. These are all activities provided by the Art Museum, CMU, located on Nimmanhaemintra Road, ChiangMai. This is the main important communicating street for the tourists. The half way of the street, from Amari Rincome Hotel to the cross road next to CMU’s Hall, is the crucial entertaining street of ChiangMai, wellknown as the street of shopping, restaurant and many coffee shops. The rest of the street the area from ​ the cross road next to the public health center to the Art Museum, is left deserted and sluggish. This is such a contrastive mood of living on the same street. ​ The open space of the Art Center, CMU is recognized only as the parking lot. From now on, we attempt to develop this inert area to be the center of knowledge and life quality plus edutainment, extremely expecting this will emerge in reality with the collaboration and all supports from many institutions and organizations.

Arts October 2008

3


ASEAN ART SYNERGY ต่อจากหน้า 1

กอนหนานี้ ความรวมมือทางดานวรรณกรรมในประเทศ กลุมอาเซียนปรากฏชัดเจนกวา ดังจะเห็นไดจากมีการใหรางวัล​ ซีไรทแกบรรดานักประพันธในกลุมอาเซียนมาหลายทศวรรษแลว แตความรวมมือทางดานทัศนศิลปที่มีกันอยูประปราย อาจไมนับวา​ ไดสรางความแนนแฟนและกลมเกลียวกันเทาใดนัก ดวยเหตุนี้ คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม จึงไดมีดำ�ริที่จะทดลองทำ� โครงการนำ�รองในหัวขอ “Asean Art Synergy” ขึ้น เพื่อแสวงหา ความรวมมือกันอยางจริงจังทางดานศิลปวัฒนธรรมกับกลุม​ อาเซียนในอนาคต โดยความรวมมือขั้นเริ่มตน เราคาดหวังที่จะแลกเปลี่ยน เรียนรูเพื่อทำ�ความเขาใจและรูจักกันมากขึ้นในแงของ soft science โดยเฉพาะทางดานศิลปกรรมพื้นถิ่น ศิลปกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับ ศาสนา ตลอดรวมถึงศิลปกรรมรวมสมัย ทั้งนี้โดยเปรียบเทียบแลว อาเซียนตางมีประวัติศาสตรและความเชื่อทางศาสนา รวมถึงการ มีประสบการณทางการเมืองในรอบหลายรอยปที่ผานมาแตกตาง และซับซอนกวากลุมประเทศยุโรป กลาวอยางเปนรูปธรรม เรามี ความเชื่อทางศาสนาที่ตางกันอยางนอย 3 ศาสนา และตางไดรับ อิทธิพลของอารยธรรมจากอินโดจีนเขามาผสมผสาน ดวยเหตุนี้ ​ จึงมีความจำ�เปนที่ไมอาจหลีกเลี่ยงไดที่จะทำ�ความรูจักกันและ​ เขาใจในปญหาที่เรามีตางกันใหมากขึ้นโดยลำ�ดับ ในความตางทีเ่ รามีนน้ั ไมวา จะในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ลวนเปนความงดงามในความหลากหลาย อุปมาเปรียบเสมือน​ ปาไมทอ่ี ดุ มไปดวยพืชพันธุน านาชนิด มิใชพชื เชิงเดีย่ วอยางเกษตร อุตสาหกรรม และดวยความหลากพันธุห ลายชนิดนี้ ทำ�ใหอาเซียนมี ความอุดมสมบูรณทางวัฒนธรรมอยางนาทึง่ อยางไร​

ก็ตาม ในความเปนจริงเกี่ยวกับความหลากหลายเหลานี้เรากลับ​ รับรูมันผานสื่อของโลกตะวันตกมากยิ่งกวาความรูที่เราจะถายทอด และมีความสัมพันธกันโดยตรง ดวยเหตุนี้ทำ�ไมเราจึงไมเริ่มตนที่จะ​ พูดจากันผานปากตอปาก ใจตอใจ และจับมือกัน เพื่อซึมซับจิต วิญญานของความเปนอาเซียนในฐานะภูมิภาคหนึ่งที่มีวัฒนธรรม อันชัดเจน ซึ่งเดินทางผานกาลเวลามาอยางปลอดภัยรวมกัน อยางนอยก็ในระดับหนึ่ง ที่เรายังสามารถธำ�รงความมีอัตลักษณ​ อันเดนชัดของตัวเองได วัตถุประสงค 1. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูกันโดยตรงดานศิลปวัฒนธรรมระหวาง สถาบันการศึกษาทางศิลปะ 2. เพื่อสรางความเขาใจและแสวงหาความรวมมือระหวาง สถาบันการศึกษาศิลปะในอนาคต 3. เพื่อยืนยันถึงอัตลักษณทางศิลปะในภูมิภาคอาเซียนในฐานะ art spot หนึ่งของโลก 4. เพื่อเสริมสรางความสมานฉันทกันทางสังคมและวัฒนธรรมใน กลุมอาเซียนอยางเทาเทียม ระยะเวลาดำ�เนินการ ตุลาคม 2552 – ตุลาคม 2553 ณ โรงละคร หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม การแปลและการบันทึกภาพและเสียง ตลอดการประชุมทางวิชาการ จะมีลามแปลจากภาษา อังกฤษเปนภาษาไทย สำ�หรับนักศึกษา ประชาชน และผูสนใจ เขารวมฟงและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น นอกจากนี้จะมีการบันทึก ภาพและเสียงในระบบดิจิตอล เพื่อนำ�ไปทำ�เปนแผนซีดีรอมและ หนังสือเผยแพรการประชุมฯ ภายหลังหนาที่ดังกลาว การรวบรวมผลงานตีพิมพ โครงการความรวมมือทางศิลปะในกลุมอาเซียนฯ

จะจัดเผยแพรขอมูลทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเปนแบบรูปเลม หนังสือและเผยแพรผานทางเวบไซตคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย เชียงใหม งบประมาณและคาใชจายที่คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย เชียงใหมรับผิดชอบ • คาที่พัก และคาอาหาร (โรงแรมแกรนดวิว จังหวัดเชียงใหม) • คาลงทะเบียน และคาเชาสถานที่จัดประชุมทางวิชาการ : โรงละคร และหองฉายภาพยนตรในหอศิลป มหาวิทยาลัย เชียงใหม • การประชาสัมพันธ • คาจัดนิทรรศการศิลปะ: ศิลปะลานา และศิลปกรรมรวมสมัยไทย • คาอาหาร และงานเลี้ยงอำ�ลา (farewell party) • คาจัดพิมพหนังสือ และอุปกรณบันทึกภาพและเสียง • คานักแปล และคาลวงเวลาเจาหนาที่ชวยงาน • คาบริการพาเที่ยวรอบเชียงใหม หมายเหตุ: คาใชจายนี้ไมรวมคาเครื่องบินของนักวิชาการตาง ประเทศที่มารวมงาน ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. มีความเขาใจฐานทุนศิลปวัฒนธรรมระหวางกลุมประเทศ อาเซียนมากขึ้น 2. มีความรับรูเกี่ยวกับศักยภาพและปญหาศิลปวัฒนธรรมรวม สมัยของกลุมอาเซียน 3. ปูทางไปสูความรวมมือกันอยางมั่นคงและเสมอภาคทางดาน ศิลปวัฒนธรรมของกลุมอาเซียน 4. ไดเพิ่มเติมองคความรูทางศิลปะกันโดยตรงโดยไมตองผาน มุมมองของตะวันตก

Christianity, Muslim, Hinduism, Confucious and influencing and integrating in the development of Indo-China Civilization.​ Metaphorically, ASEAN diverse culture is like the differences​ in our bio-diversity where a various species living together to balance the circle of lives. This project will run the program throughout the period of 1 year (between July 2010-July 2011). Activities include knowledge sharing among 6 ASEAN countries (including Thailand, Singapore, Indonesia, Malaysia, Philippines and Australia) aiming towards the reviewing over the 50 years of contemporary art and culture development since there we are lacking information of how our neighboring artists in Indonesia, Philippines, Malaysia and Singapore, and the Oceania Country such as Australia, have originated and created their arts. It will encourage the disclosure the change of Secular Art, Religious Art and Folk Art focusing at present status in relation to the past development and future projection to gain more holistic understanding of social and cultural revolution in different countries, yet interconnected in this sub-region. Knowledge gained from these activities will include presentations, discussions, critiques and cultural debates will provide better mapping of what has been going on in people perception of the world and their lives affecting by radical change during these past 50 years. In accordance with this mentioned rations, Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University has intentionally commenced the pilots project recognized as ASEAN Arts

Synergy aiming at seeking academic collaboration in art and culture among ASEAN countries. This project would be the starting point of continuous movement of art and culture academic development involving academia, bachelor, master, doctoral degree students ​ (local, national and international) and those with interests. ​ For academic purposes, this is to strengthening the integration of knowledge around the region and expands our worldview ​ to gain more understanding of the results of the whole year​ activities will be documented and develop further as periodicals (in English and national language) to gain the momentum in further expansion to others ASEAN countries. Objective 1. Directly exchange and share art and culture knowledge among art and academic institutes, academics. 2. Gain collaboration among art and academic institutes to sustain research and knowledge based development. 3. Illustrate art identity of ASEAN region as one of unique art region of the world. 4. Supplementing the cultural and social reconciliation within Asian countries with equality. Project’s Commencement October 2009 – October 2010 Project’s Depiction and Place The Project will comprise of the lectures and the scholarly

ASEAN ART SYNERGY Asean Art Synergy The Art Seminar in the Global South The project is in charge of Faculty of Fine Art, Chiang Mai University

Principle and Rational It is known that culture has usually the last priority in funding for academic development, despite its importance to the root of our identity and cultural expression. Typically, the based knowledge regarding art and culture would concentrate surrounding Western culture development affected by social and economic development and vice versa which has been well documented over time and crafted out the outline of well recognized today’s world art history. Rather than perceiving at our culture through the western perspective and media, we need to comprehend our local/regional wisdom and spirit to gain intimate interaction and relationship developed over time. It would be reasonable to integrate the knowledge yet to be revealed regarding the art and culture transformation around this ASEAN sub-regional since the development contain stories and its uniqueness shaping the living style, thinking, behaviors, perceptions of people in the areas.​ Countries in this region, each has its own history, religious, faith and belief embodied with political, economy, and societal experiences proven much more different and complicated than what European countries are. For example,​ there are at least five different religious doctrines, Buddhism,​

4

Arts May 2008


seminar divided into 2 sections. 1. Historical Overview discussion arranged at the Art Theatre, Art Center, Chiang Mai University. This section provides the scrutiny in folk arts, religious arts and secular arts. 2. Cultural Debate held at the Auditorium, Art center, Chiang Mai University. This cultural debate will concentrate on these following topics • Secular Art • Religious Society – Royalty • Colonialism, Post colonialism • Postmodern Culture • Cooperation towards Art vision and Perspective in the future This intellectual seminar aims at seeking for future collaboration such as interchanging staffs, artist in residence, students or even reciprocal art exhibition and other academic congregations. Audiences Academic staffs, instructors, lecturers, artist, students (Bachelor and Master Students) and all interested people Translation and Audio and Visual Record During the seminar, the historical overview and cultural debate, both sessions will be translated into Thai which will be beneficial and provide convenient informational digesting atmosphere for Thai students and other participants to share the idea and perceive the information correctly. Audio Visual record will be catered in digital file and published in CD-rom and other printed matter for dissemination afterwards. The Compilation of Printed Matter The discussion and shared thoughts during the seminar will be published and publicized in the book and website of Faculty of Fine Arts. Especially, they will be translated into bilingual format. The Expected Achievement and Benefits 1. Understanding art and cultural fundament in ASEAN region. 2. Perceiving Art potential and art, cultural problems including obstacle experiencing by Asian Countries. 3. Preparing for the possibility in continuous collaboration with equal focusing on art and cultural culminated among Asian. 4. Effectively and directly enhancing art wisdom without indirectly perceiving through western perspective.

WINDOW DISPLAY ต่อจากหน้า 24 ​ W​i​n​d​o​w​​d​i​s​p​l​a​y ได​เขามา​ท�ำ ​หนา​ท​เ่ี ชือ่ มโยงรอยตอ​ท​ถ่ี า ง​ กวาง​ขยายตัว​ออกมา​ใน​เชิง​คณ ุ คา​ใชสอย​และ​คณ ุ คา​เชิง​สญ ั ญะ​ ตางๆ​​เหลานี้ ​จาก​หาบเร​แผงลอย ​จนกระทัง่ ถึง​การ​ตก​แตงหนา​รา น​ ใน​ปจ จุบนั ​ซง่ึ ​นบั วันยิง่ ​พฒ ั นาการ​ไป​ไกล​เกิน​กวา​คน​ท​เ่ี ก็บตัว​เงียบ​​ จะ​จนิ ตนาการ​ไป​ถงึ ​ได ​ประกอบ​กบั ​การ​พฒ ั นา​ในดาน​อตุ สาหกรรม​ แกว​และ​กระจก​ใน​คริสต​ศตวรรษ​ท่ี ​1​9 ซึง่ ​ประสบ​ความ​ส�ำ เร็จ​ใน​การ​ ประดิษฐ​กระจก​บาน​ใหญ ​รวม​ถงึ ​การ​ประดิษฐ​คดิ คน ​หลอดไฟฟา ​ ทำ�​ให​เรือ่ ง​ของ w​i​n​d​o​w​​d​i​s​p​l​a​y​​รดุ หนา​ไป​อยาง​รวดเร็วและ​ท�ำ ลาย​ ขอจำ�กัด​ของ​กาล​เวลา ​และ​การ​รบกวน​ของ​สง่ิ ​แวดลอม​ไป​โดยสิน้ เชิง ​ เปด​ตวั ​เปนๆ​​ท​เ่ี ดิน​อยู​ใ น​ตกู ระจก​แสดง​สนิ คา ​จนกระทัง่ ​ถึง​ นาง​แบบ-​นาย​แบบ​คน​จริงๆ​​และ​ยอนกลับไป​ถึง​ผู​ที่​อยู​เบื้องหลัง​สิ่ง​ แสดง​และ​สินคา​สำ�หรับ​โชว​หนา​ราน ​มี​ทั้ง​เจาของ​ราน ​นัก​ออก​แบบ​ มือ​สมัครเลน ​จน​ไป​ถงึ ​ศลิ ปน​ชน้ั นำ�​ระดับโลก ​อยาง ​S​a​l​v​a​d​o​r​​D​a​l​i​,​ ​A​n​d​y​​W​a​r​h​o​l​,​​R​o​b​er​ ​t​​R​au​ ​s​he​ n​ b​ ​er​ ​g​​และ ​J​as​ ​p​er​ ​​J​oh​ n​ ​ และ​นัก​ออก​แบบ​ที่​มี​ชื่อเสียง ​เชน ​D​o​n​a​l​d​​D​e​s​k​e​y​​และ ​H​e​n​r​y​​ D​r​e​y​f​u​s​s ลวน​เคย​ทำ�​หนา​ที่​เปน​นัก​ออก​แบบ​ตก​แตงหนา​ราน ​หรือ ​ W​in​d​ow​ ​​D​is​ ​p​la​ y​ ​​d​es​ ​ig​ ​ne​ r​ ​​กัน​มา​แลว​ทั้งสิ้น ​ซึ่ง​พวกเขา​ไม​เพียง​ สะทอน​ถึง​สินคา​ตางๆ​​ที่​ลูกคา​ตองการ​หา​ซื้อ​เทา​นั้น ​แต​ยัง​ได​ แสดงออก​ถึง​สุนทรียภาพ​ชั้นสูง ​อัน​บง​ถึง​ความ​มี​รสนิยม​ของ​รานคา​

และ​ผูบริโภค​ที่มา​บรรจบ​กัน​พอดิบพอดี ​และ​นี่​เปนการ​พิสูจน​ถึง​ ความ​สำ�คัญ​ของ​เรื่อง​ดังกลาวแนนอน ​นัก​ออก​แบบ​ตก​แตงหนา​ ราน​ตาง​มี​แนวคิด​ใน​การ​ทำ�งาน​เปนอัต​ลักษณ​ของ​ตน ​แต​สิ่ง​ สำ�คัญ​ที่​เปน​หัว​ใจ​ของ​นัก​ออก​แบบฯ ​คือ​การ​ดึงดูด​ใจ​ลูกคา​ที่​เดิน ผาน​หนา​ราน​ให​หันมา​สน​ใจ​ได​ทันที ​กระบวนการ​นี้​เรียกวา ​ “​กฎ ​3​​วินาที”​​ซึ่ง​เปน​สิ่ง​ที่​นัก​ออก​แบบ​ตก​แตงหนา​ราน​ตอง​ยึดถือ​ เปนหลัก​ใน​การ​ทำ�งาน ​ในขณะ​เดียว​กัน​การ​ตก​แตงหนา​ราน​ตอง​ นำ�เสนอ​ภาพลักษณ​และ​รสนิยม​ของ​เจาของ​ดวย ​โดย​เหตุนี้ ​การ​ ตก​แตงหนา​ราน​จงึ ​เปรียบ​เสมือน​หอ ง​รบั ​แขก​ของ​บา น ​ซง่ึ ​เปนพืน้ ​ท่​ี แสดง​ความรูส กึ ​แรก​พบ​ส�ำ หรับ​ลกู คา เบื้องหลัง​ของ​การ​ออก​แบบ​ ตก​แตงหนา​ราน ​มิ​ใช​เพียง​แค​การ​นำ�เสนอ​สินคา​ที่​มี​อยู​ใน​ราน​ มา​วาง​อวด​โฉม​อยาง​งายๆ​เหมือน​เขียงหมู​ตาม​ตลาด​โดย​ทว่ั ไป ​ หนังสือ​เลม​น​ไ้ี ด​ให​รายละเอียด​ของ​ความ​ซบั ซอน​ท​ค่ี ดิ ​ไม​ถงึ ​และ​ ความ​ประณีต​ของ​นกั ​ออก​แบบไว​อยาง​นา ​สน​ใจ ​ไมวา ​จะ​เปนเรือ่ ง​ ของ​แรง​บนั ดาล​ใจ (​I​n​s​p​i​r​a​t​i​o​n​)​การ​คน หา​แนวคิด (​C​o​n​c​e​p​t​)​​ การ​ตง้ั ​หวั เรือ่ ง (​T​h​e​m​e​)​รูปแบบ​ศิลปะ (​S​t​y​le​ )​ ​​ตลอดจน​การ​คำ�นึง​ ถึง​แนวโนม​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​ของ​ผูบริโภค (​Li​f​​e​​S​t​y​l​e)​ ​​วัฒนธรรม ​ (​cu​ l​t​​ur​ ​e)​ ​​การ​สาธิต​ตางๆ​​(​D​em ​ ​on​ s​ ​t​r​at​​io​ n​ )​ ​​ลวน​เปนเรื่อง​ของ​ กระบวนการ​และ​ขั้นตอน​ใน​การ​ออก​แบบ​ตก​แตงหนา​ราน​ที่​ตอง​ เรียนรู​มากกวา​การ​ใช​เพียงสัญ​ชา​ตญาน (อ่านต่อหน้า 13)

ถ้าเดินเรื่อยไปย่อมถึงปลายทาง

DESTINATIONS นิทรรศการ ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “ถ้าเดินเรือ่ ยไปย่อมถึงปลายทาง” DESTINATIONS

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงตรัสไว้ว่า “...พักนี้ ข้าพเจ้าต้องไปที่โน่นที่นี่มากกว่าแต่ก่อน ทั้งใน และนอกประเทศ บางทีวันๆ หนึ่งไปได้ไม่ครบ ทุกที่ที่เตรียมไว้ บางวันดินฟ้าอากาศไม่อำ�นวย รถเสีย หรือมีอุปสรรคอื่นๆ ทำ�ให้ไปไม่ถึง จุดหมายปลายทาง อุปสรรคเหล่านี้เป็นเรื่อง ช่วยไม่ได้จริงๆ ได้แต่คิดว่าถ้าเดินไปเรื่อยๆ ไม่ย่อท้อก็ย่อมไปถึงที่ที่เราอยากไป นี่เป็นเรื่อง รูปธรรม ในทางนามธรรมคือ ความมุ่งหวัง ความสำ�เร็จ ถ้าเราก้าวเดินไปตามทิศทางที่ ถูกต้องย่อมถึงปลายทางเข้าสักวัน จะช้าหรือ เร็วก็ไม่ต้องเครียด ภาพที่แสดงครั้งนี้ เป็นภาพถ่ายในการเดินทางไปต่างประเทศ ในประเทศ รวมทั้งภาพตอนเดินไปรอบๆ บ้านตัวเอง เดินตั้งร้อยเที่ยวพันเที่ยวแล้ว ยังเห็นอะไรใหม่ๆ อยู่เรื่อย..” (อ่านต่อหน้า 17)

Typography is the art and technique of arranging type, type design, and modifying type glyphs. Type glyphs are created and modified using a variety of illustration techniques. The arrangement of type involves the selection of typefaces, point size, line length, leading (line spacing), adjusting the spaces between groups of letters (tracking) and adjusting the space between pairs ​ of letters (kerning). Typography is performed by typesetters, compositors, typographers, graphic designers, art directors, comic book artists, graffiti artists, and clerical workers. Until the Digital Age, typography was a specialized occupation. Digitization opened up typography to new generations of visual designers and lay users.

Typography

Dictionary of Art

Arts May 2010

5


สหวิ ท ยาการ และการศึกษาของวิจิตรศิลป Joans D. Ground :​​​เขียน จิตรลดา บุรพรัตน์ :​​แปล​และ​เรียบเรียง

สหวิทยาการและการศึกษาของ วิจิตรศิลป ขาพเจาเลือกเขียนหัวขอนี้เพราะ ปจจุบันขาพเจากำ�ลังอยูในระหวางการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณาจารยและ วางแผนหลักสูตรใหกับสาขาวิชาหนึ่งในคณะ วิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม และตองการ ที่จะย้ำ�วา แมวาการหาขอมูลของขาพเจาเปน เพียงการหาขอมูลทั่วๆ ไปก็ไมไดเกี่ยวกับคณะ นี้โดยตรง แตขาพเจาหวังวาบทความนี้จะเปน ความนำ�สั้นๆ ที่อาจจะเปนประโยชนกับ คณาจารยในคณะวิจิตรศิลป และอาจจะเปน เพียงแรงกระตุนเล็กๆ ที่พยายามจะพูดถึง หลักการปรัชญาทางการเรียนการสอน เพื่อ เปดชองทางใหเกิดการพูดคุยและแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นอยางมีเหตุมีผล ขาพเจาเริ่มหาขอมูลเพื่อเขียนเอกสารชิ้นนี​้ โดยการสืบคนขอมูลของสาขาวิชาฯ จาก สถาบันการศึกษาหลายๆ แหง ที่เกี่ยวของกับ วิจิตรศิลปผานทางเว็ปไซด ขาพเจาสนใจใน พันธกิจและนโยบายการศึกษาที่สถาบันตางๆ เหลานั้นที่หลายๆ แหงไดนำ�เสนอไวอยาง ชัดเจน โดยเฉพาะอยางยิ่งเหตุผลทางการ เรียนการสอนที่สถาบันฯ เหลานั้นไดกลาว ถึง หรือ ละไวไมไดกลาวถึงโดยเฉพาะเรื่อง การเรียนการสอนแบบศาสตรเฉพาะ (discipline) และ แบบสห วิทยาการ (interdisciplinary) คนควาไมนานขาพเจาก็เริ่มเห็น วามีสาขาวิชา วิจิตรศิลปเพียงไมกี่ แหงที่กลาวถึงการเรียน การสอนแบบ disciplinarity หรือ ไมก็ interdisciplinarityอยางชัดเจน แตสวนมากถาเขียนอธิบายไวบางแหงก็ยัง ไมไดใหเหตุผลประกอบวา การเรียนการสอน ทั้งสองแบบมีศาสตรในการเรียนการสอนตาง​ กันอยางไร ซึ่งขาพเจาไดแนบขอความยอๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้ไวในเชิงอรรถที่ 11 ซึ่งจะปรากฏ อยูตอนทายบทความชิ้นนี้ ขณะที่การสืบคน ของขาพเจาในตอนตนนั้นยังเปนการสืบคน ในวงแคบ แตไมนานขาพเจาก็ตระหนักวา ขาพเจาจำ�เปนตองขยายขอบเขตการคนควา เชิงวิชาการของขาพเจาออกไปเพื่อใหเขาใจ อยางถองแทวา disciplinarity และ interdisciplinarity แตกตางกันอยางไรในมุมมอง เชิงวิชาการลึกๆ ดังนั้นบทความนี้ขาพเจา จึงดึงเอางานเขียนของวิทยาศาสตรและ มนุษยศาสตร ที่ไดใหคำ�จำ�กัดความ ไวมาใชศึกษาทำ�ความเขาใจ ซึ่งคิดวาก็ สามารถประยุกตใชกับวิจิตรศิลปได ขณะที่การสืบคนขอมูลเพื่อเขียน บทความชิ้นนี้กำ�ลังดำ�เนินไป ขาพเจาพบวา มีเสียงเรียกรองคูขนาน จากผูทรงคุณวุฒิและ นักวิชาการใหมีการทำ�การวิจัยเชิงวิจารณ (critical research) โดยตองการใหนักวิจัย คนควาและใหนิยามของคำ�วา disciplinarity และ interdisciplinarity ในแตละสาขาวิชา​ เพื่อใหเกิดความชัดเจน ซึ่งการเรียกรอง นี้ทำ�ใหขาพเจามีความเขาใจเพิ่มขึ้นวา disciplines คืออะไรและมีความเปนมา​ อยางไร Frodeman and Micham เสนอ แนวคิดไวในหนังสือชื่อ New Directions in Interdisciplinarity: Broad, Deep, and Critical วาการประเมินความรวมสมัยของ ความเปนศาสตร (disciplinarity) หรือ ความ เปนสหศาสตร (interdisciplinarity) นั้น ตอง

6

Arts May 2008

นำ�ความเปนมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ​ มาศึกษาประกอบดวย ความเปนมาที่ นักเขียน ทั้งสองทานหมายถึงนั้น คือ ประวัติศาสตรความเปนมาของศาสตรการ เรียนการสอนเริ่มตั้งแตสมัยอริสโตเติล (Aristotle) ชวงเวลาตั้งแตสมัยอริสโตเติล จนถึงการสรางมหาวิทยาลัยแหงแรก ​ (มหาวิทยาลัยโบโลญญา ตั้งในป 1088 และ มหาวิทยาลัยซาลามังกา ตั้งในป 1218) จนถึงยุคสมัยใหมที่เรียกกันวายุคกอน สมัยใหม (premodern) กอนมีศาสตรตางๆ (predisciplinary) เกิดขึ้น ในยุคนี้การเรียนการสอนระดับ มหาวิทยาลัยยังคงรูปแบบการเรียนการ สอนแบบดั้งเดิมเพื่อแสวงหาความ รูแบบเดิมๆ แตปจจัยที่ทาทาย การเรียนการสอนแบบนี้ คือแรงกดดันที่มา จากการปฏิวัติ

อุตสาหกรรม การปรับเปลี่ยน เปนสังคมเมือง การ เปลี่ยนแปลงของสังคม รวมทั้ง​ เหตุการณและปรากฏการณ​ ทางการเมืองตางๆ ดังนั้นผลที่เกิด ขึ้น ตามมาก็ คือ ​ ​ ​ ​ การแบงคาย ของศาสตรตางๆ กอใหเกิดเกิดการเรียน การสอนแบบใหมที่มีการ เริ่มใหปริญญาเฉพาะทาง และ การสราง องคความรูแขนงใหมๆ ขึ้น มา ตั้งแตนั้นมาจวบจนถึงปจจุบันการศึกษา และการเรียนการสอนจึงมุงไปในการสราง องคความรูใหมและการสรางงานวิจัย เมื่อมี องคความรูใหมศาสตรใหมๆ ก็เกิดตามมาเปน เงาตามตัว และดวยเหตุผลหลายๆ ประการ การวิจัยของศาสตรตางๆ และวิธีการที่ เกี่ยวของกับการเรียนการสอนมักจะกอใหเกิด การผสมผสานและบูรณาการระหวาง ศาสตรตางๆ จึงเกิดแนวความคิดที่เรียกวา ​ สหวิทยาการ และเมื่อมีแนวความคิดแบบ​ สหวิทยาการเกิดขึ้นมากมาย สหวิทยาการจึง กลายเปนศาสตรใหมอีกแขนงหนึ่งที่เปนที่ ยอมรับทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย การเขาใจความหมายของ ความ เปนศาสตร (disciplinarity) และ ความเปน สหศาสตร (interdisciplinarity) ใหชัดเจนนั้น มีประโยชนในการจัดการเรียนการสอนระดับ อุดมศึกษา การทำ�ความเขาใจความหมาย​ รวมกันและใหขอบเขตคำ�นิยามของการเรียน การสอนทั้งสองแบบดวยเหตุและผลเปน​ พื้นฐานของการเขาใจรากฐานของการสราง​ หลักสูตร ความนาเชื่อถือของหลักสูตร และ การจัดการเรียนการสอน (ทั้งภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัย)

Kirshnan กลาววาคำ�วา ‘discipline’ หรือศาสตรนั้นมากจากภาษาละตินวา ‘discipulus’ ซึ่งแปลวา นักเรียน และ ‘disciplina’ ซึ่งหมายความถึงการเรียน​ การสอน (คำ�นาม)

ความรูเองและสรางนักวิชาการได

Kirshnan กลาวตอไปวา ‘academic discipline’ ศาสตรสาขาวิชา เกี่ยวของกับปจจัยหลายอยางที่ประกอบขึ้น เปนความหมายของคำ�วา ‘discipline’ ใน ขณะเดียวกันคำ�นี้ยังกลายเปนคำ�ศัพทเฉพาะ สำ�หรับการสรางกระบวนการเรียนการสอน และการสรางองคความรูใหมอีกดวย คำ�วา discipline หรือศาสตรสาขา วิชา มักจะไดรับการกลาวถึงควบคูและเชื่อม โยงกับเนื้อหาสาระเรื่องใดเรื่องหนึ่งใน มหาวิทยาลัยแตแนนอนวาเนื้อหา สาระหลายๆ เรื่องก็ไมไดเปน disciplineดังนั้น ​ discipline หรือ ศาสตรสาขา วิชา จึงมี​ ​ ​ ​

​ ความหมาย ความซับซอนมาก กวาจะพูดไดพื้นๆ วาเปน เพียงเนื้อหาสาระตางๆ ที่สอน กันในสถาบันการศึกษา เพราะ จริงๆ แลวยังมีรายละเอียดอีกมากมาย ที่บงบอกความหมายของคำ�คำ�นี้วา เนื้อหา สาระที่สอนนั้นเปน ศาสตรสาขาวิชา ที่เปน ศาสตรเฉพาะทาง การอธิบายลักษณะของ ศาสตรทั่วๆ ไปจะประกอบดวย 1. ศาสตรสาขาวิชานั้นๆ จะมีสาระการทำ� วิจัย (เชน กฎหมาย สังคม การเมือง) ​ ที่ชัดเจน ถึงแมวาสาระเหลานั้นจะ​ เชื่อมโยงกับศาสตรอื่น; 2. ศาสตรสาขาวิชานั้นมีเนื้อหาองคความรู​ พิเศษที่เชื่อมโยงกับสาระที่จะทำ�งาน วิจัยที่คอนขางเฉพาะเจาะจงและ​ ในหลายๆ ครั้งไมสามารถจะเชื่อมโยง​ กับศาสตรสาขาวิชาอื่นได; 3. ศาสตรสาขาวิชามีทฤษฎีและแนวคิด และจัดระเบียบความรู ไดอยางมี ประสิทธิภาพเพื่อที่ใชสรางความรูเฉพาะ ของศาสตรนั้นๆ; 4. ศาสตรสาขาวิชามี​ คำ�ศัพทเฉพาะ หรือศัพทเทคนิค​ ตางๆ ที่ปรับใชกับ ประเด็นที่จะทำ� วิจัย;

ถาศาสตรสาขาวิชา ไดรับการนิยามวา studies หรือ ศึกษา มักจะหมายความวา ศาสตรนั้นเปนศาสตรที่เกิดขึ้นมาใหม ​ (หลังสงครามโลกครั้งที่ 2) และอาจจะเปน ศาสตรที่ยังมีคุณลักษณะไมครบ ตามที่ไดบอกไวขางตน ทั้งนี้ เนือ่ งจากศาสตรใหมเหลานี้​ ไมมีทฤษฎีรองรับ เพียงพอ หรือ​ ​ ​ ​ ​ ​ ขาดระเบียบ วิธีวิทยาในการทำ� วิจัย ซึ่งการขาดปจจัย เหลานี้ทำ�ใหมีผลกระทบกับ สถานภาพของสาขาวิชาที่ทำ�งาน วิจัยที่เกี่ยวของกับศาสตรเหลานั้น ศาสตรศึกษาเหลานั้นจึงยังจะเปนศาสตร​ สาขาวิชาไมได อยางเชน women’s studies หรือสตรีศึกษา ที่ถือกำ�เนิดขึ้นมาในชวงป 1970 หรือยังอยูในกระบวนการที่จะทำ�ใหเปน ศาสตรสาขาวิชา หรือตั้งขึ้นเปนสถาบัน เกณฑที่กลาวมาขางตนมีประโยชน ในการเปนจุดเริ่มตนที่จะสรางความชัดเจน​ และเปนคำ�อธิบายคุณลักษณะของศาสตร​ สาขาวิชาในสาขาวิชาตางๆ ที่กำ�ลังใชเปนฐาน ของการเรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษา นอกจากนี้ยังมีความหวังวาจะมีสาขาวิชาที่ เกี่ยวของกับการเรียนและการปฏิบัติเกิดขึ้น ไดอีก James Chandler เขียนไววา การสราง ศาสตรสาขาวิชาแขนงยอยๆ หรือสรางเงา ของศาสตรสาขาวิชานั้น ตองการความชวย เหลือจากสถาบันที่ไมมีการแบงแยกสาขา วิชาอยางชัดเจน เชน สถาบันที่เกี่ยวของกับ มนุษยศาสตร ทั้งนี้ยังมีสถาบันอีกหลายแหงที่ เปนที่สนใจของนักเรียนนักศึกษาสืบเนื่อง​ มาจากชื่อเสียงของสถาบันนั้นและความ เขมขนของการทำ�วิจัย สำ�หรับผูที่สนใจในสาขาวิชา วิจิตรศิลป สาขาวิชานี้ไดรับการพัฒนาโดย นักจิตวิทยาชื่อ Anthony Biglan ซึ่งเปนผูที่ ผสมผสาน ญานวิทยาแลมิติทางวัฒนธรรม ของศาสตรสาขาวิชาตางๆ เขาดวยกัน ตอนที่จัดศาสตรสาขาวิชาใหเปน หลักคิด แบบทวิลักษณ (binary division) ที่แบง ศาสตรตางๆ ออกเปนศาสตรแข็ง (Hard Science) และศาสตรออน (Soft Science) หรือ ศาสตรบริสุทธิ์ (Pure science) และ ศาสตรประยุกต (Applied science) ซึ่งแตละ ศาสตรไดรับการลำ�ดับเกียรติและการยกยอง ตามที่สมควรตามสถานะของศาสตรเหลานั้น

5. ศาสตรสาขา วิชามีการพัฒนา ระเบียบวิธีวิทยาอยาง เหมาะสมกับการวิจัยเฉพาะ ทางที่เปนความตองการ; และสิ่งที่ อาจจะเปนเรื่องที่สำ�คัญที่สุดคือ 6. ศาสตรสาขาวิชาตองมีสถาบันรับรองใน เรือ่ งของเนือ้ หาสาระทีใ่ ชในการเรียนการ สอนระดับมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย ในภาควิชาในสถาบันวิชาการที่มีนัก วิชาการสอนอยู และตองผานสถาบัน การศึกษาเทานั้นที่ศาสตรสาขาวิชาจะ สามารถเพิ่มพูนและตอยอดองคความรู ไดดวยกระบวนการทางการศึกษา โดยทั่วไปสามารถพูดไดวายิ่ง ศาสตรสาขาวิชามีคุณสมบัติดังที่กลาวมา มากเทาไหร ศาสตรสาขาวิชานั้นก็จะกลาย เปนศาสตรสาขาวิชาที่ไดรับการยอมรับได​ ทั่วไปวาสามารถที่จะใชสืบคน สรางองค-​

ตามระบบที ่ Biglan คดิ ขึน้ วิจติ รศิลป ควรจะเปนศาสตรออ น (soft Science) และ ศาสตรประยุกต (applied science) ​ คำ�นิยามของคำ� ทง้ั สองมักไดรบั การเชิดชูในระดับไมสงู นัก ดังนัน้ การทีเ่ รา (วิจติ ร ศิลป) ถูกจัดวางจึง มีความนัย สำ�คัญ​ ​

​ ​ ซึ่งหมายรวม ไปถึงทุนสนับสนุน เชน ประเภทของทุนที่ จะไดรับ สถานภาพของงาน วิจัย และสัดสวนภาระงานการสอน เปนตน การจำ�แนกและจัดลำ�ดับความ สำ�คัญของศาสตรนั้น มีมากกวาเพียงการ มาปะทะโวหารในชวงที่มีความยากลำ�บาก


จากกระบวนการผสมผสานศาสตรถึงแมวา อาจจะไมไดลงมือทำ�ดวยตนเองแตอาจจะ ไดเปนพยานรูเห็น ในบางกรณีการบูรณาการ กันของศาสตรหรือแนวคิดไมวาจะเปนสอง หรือมากกวาสอง สามารถสรางศาสตร หรือ แนวปฏิบัติไดหลายเรื่องมากกวาของเดิม ตัวอยางหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นเมื่อไมนานมานี้ก็คือ การนำ�ศิลปะการจัดวางมาใชกับคณะวิจิตร ศิลปหลายๆ แหง ดังนั้นการบูรณาการเมื่อ​ มาถึงจุดหนึ่งสามารถกลายเปนสาขาวิชาหรือ แนวปฏิบัติที่สอดคลองกับความตองการของ สถาบันได

ทางเศรษฐกิจ หรือมีการแทรกแซงทางการเมือง ในสถาบันทางการศึกษา การโตแยงกันเพื่อหา ความแตกตาง ภายใตแรงกดดันการโตเถียงบาง กรณีขึ้นอยูกับการใหขอมูลและการใหเหตุผล ที่ไดมาจากความคิดเห็นสวนรวมของ คณาจารยเพื่อใชอางอิง ถาไมมีความคิดเห็นจากสวน รวมก็สมควรใหใชขอ ตกลงของคณบดี หรือภาควิชา​ ​ ​

การสรางการบูรณาการอยางที​่ อธิบายมาแลวนั้น ขาพเจาเรียกวา “intradisciplinary” หรือ การบูรณาการ ภายในวิชา เพราะเปนการผสมผสาน จากขางในคณะ เชน คณะ วิจิตรศิลป ซึ่งสามารถ ทำ�ไดงายเพราะมี

​ ​ ที่พิจารณา ประเด็นตางๆ และการสนับสนุน จากคณาจารยที่เกี่ยวของ ไดเมื่อตองไปปองกันเกียรติของ สาขาวิชาในระดับมหาวิทยาลัย เพื่อใหมหาวิทยาลัยพิจารณาจัดวาง ตำ�แหนงความสำ�คัญของศาสตร เนื่องจากจะมีผล กระทบกับการวางแผนการจัดสรรทรัพยากรทางการ เงินและทุนนั้นเอง David Chandler เรียกวิธีการใหมในการ ศึกษาการเปนศาสตรวา เปนระบบ และไดใหขอ เสนอ​ แนะบางประการในกระบวนการจัดศาสตรสาขา วิชาตางๆ ถาอานอยางระมัดระวังเครือขายของ ศาสตรสาขาวิชานั้นไดรับการเชื่อมโยงอยางไมมี ความสมดุลเพราะมีการใหเหตุผลเขมและออน​ ตาง กัน รวมไปถึงการใชมุมมอง มองศาสตรสาขา​ วิชาแตกตางกันทั้งจากมุมที่เปนคนในและจากที่ เปนคนนอกศาสตร

สวนมากเมือ่ ขาพเจาคิดถึงวิจติ รศิลป​ การวิจัยเชิงทดลองจะอยูในรูปแบบของ ปฏิบัติการเชิงสำ�รวจ มีการทดลอง และการ วิพากษจากบุคคลภายนอกสถาบันเพื่อ​ ประเมินกอนที่จะใหผูเกี่ยวของภายในสถาบัน ประเมิน การเสนอแนวการศึกษาวิจัยใหมๆ ​ มักมาจากนักศึกษาที่ตองการเรียนและ ทดลองปฏิบัติในสิ่งที่เรียกกันวาเปนพื้นฐาน การศึกษาเชิงลึก หรือแรงกระตุนอาจจะเกิด จากคณาจารยที่มีแนวปฏิบัติที่สงเสริมใหเกิด การคิดคนควาและสรางแนวคิดใหมๆ ก็ได โดยทั่วไปการสรางแนวความคิดแบบใหมนั้น มักจะเปนไปไดชาและอาจจะตองพิจารณา​ รวมกับวัฒนธรรมสิ่งแวดลอมดวย

ดังนั้นเราตองทบทวนการใหเหตุผล​ การจัดลำ�ดับศาสตรสาขาวิชาหลังจากมีการ ​ จัดศาสตรกันไปแลวเมื่อ 30 ป ที่ผานมา เราตองการ ทำ�เชนนี้เพื่อลดคาใชจาย หรือสรางความรวมมือ ใหมระหวางศาสตรใหมๆ หรืออยางนอยเปนสวน หนึ่งของศาสตรเหลานั้น เพื่อบูรณาการการเชื่อม โยงสหศาสตรและการคนควาองคความรู David Chandler รูสึกวาความเปนศาสตรไมวาเมื่อไหร​ ก็ตามควรจะมีการบอกกลาวกันแตมิใชในฐานะของ สิ่งที่ตายตัว หรือคูขนาน หรือเปนกลองเครื่องมือ​ แตเปนเครือขายความเชื่อมโยงของศาสตรที่ สามารถเลือกหยิบใชไดเพื่อใหเกิดความสมดุล เพราะระบบของศาสตรตางๆ นั้นมีโครงสรางที่แตก ตางกันเนื่องจากแขนงของศาสตรตางๆ ที่แตกแยก ยอยออกไป

เมื่อตองทำ�ใหศาสตรนั้นๆ ที่สรางขึ้นมามีสถาบันรองรับ กระบวนการก็มีความ​ ซับซอนมากขึ้น ​ ขั้นแรกจะมี​ ​ ​

ตัวอยางเชน การวิพากษวรรณกรรมที่ เกี่ยวของกับประวัติศาสตรและดนตรีวิทยา เปน ตัวอยางที่ไมสามารถเทียบไดกับการวิพากษ​ วรรณกรรมของสาขามนุษยวิทยา หรือภาษาศาสตร การเปนสหวิทยาการเกี่ยวของกับวิจิตร ศิลปอยางไร ถาทานจำ�คำ�อธิบายของ Frodeman and Mitcham ที่ปรากฏในตอนตนของบทความนี้ วา การผสมผสานและบูรณาการของศาสตรสาขาวิชา ไดกอใหเกิดศาสตรแบบสหวิทยาการซึ่งใน บางสาขาไดกลายเปนศาสตรสาขาวิชา ใหมแตกแขนงออกไป​ เหมือนกิ่งกาน​ สาขาของตนไม ​ ​ ​ สมมติวา เราไดขอตกลง กันบางประการวา ศาสตรสาขาวิชาคืออะไร และแขนงของศาสตรสาขา วิชามีเรื่องอะไรบาง รวมทั้งแนว ปฏิบัติ (อยาลืมวาคำ�ถามเหลานี้มีเพื่อ ทดลองคิดเทานั้น) และยังสมมติตออีกวาถา เราตัดสินใจวาในคณะควรประกอบดวยภาควิชาที่ เปนศาสตรสาขาวิชาที่ตางกัน ถามีศาสตรแตกตาง แบบนี้ เราก็จะมีโอกาสไดรับประสบการณ​

วัตถุประสงคทางการ เรียนการสอนที่เปนเฉพาะทาง​ อยูแลว ซึ่งการสรางองคความรู ​ ใหมและการทำ�วิจัยที่ Frodeman and Mitcham ไดกลาวไวในชวงตนของบทความนี้ และทำ�ไดภายในคณะนั้นเอง

​ ​ ความแตก ตาง และความ​ สับสนกันอยางมากมาย​ และในการนิยามคำ�ๆ ใด​ คำ�หนึ่ง สำ�หรับวัตถุประสงคของ ขาพเจาซึ่งใชคำ�วา interdisciplinary หรือสหศาสตร เพื่อขัดเกลาความเขาใจใน ความสัมพันธระหวางศาสตรสองศาสตรหรือ มากกวาสองศาสตรใหเกิดความชัดเจน เชน ปริชานศาสตรและศิลปศาสตร (cognitive science and art) ความตองการใหมีการวิจัยที่เปน ศาสตรแบบบูรณาการมักจะปรากฏในระดับ อุดมศึกษาเมื่อโครงการวิจัยนั้นๆ ตองการ​ ที่ปรึกษา หรือความรวมมือระหวางผูที่อยูใน ศาสตรของตางคณะ ดังนั้น ความสามารถของ สถาบันแตละแหง เมื่อตองเผชิญหนากับความ ตองการเหลานี้ไมไดขึ้นอยูกับทัศนคติเพียง อยางเดียวแตจะขึ้นอยูกับโครงสรางหลักสูตร ของแตละสถาบันดวย

เปนไปไดวาในอนาคตศาสตรใหมๆ ของวิจิตรศิลปอาจจะมาจากการผสมผสาน กันจากการวิจัยแบบบูรณาการซึ่งวิจิตรศิลป​ อาจจะถือเปนแนวปฏิบัติสหวิทยาการ เพื่อเปนแนวทางการขอการสนับสนุนและ เรียกรองการจัดสรรทรัพยากร รองรับความ ตองการภายในของสถาบันเชน อาจารย จะสามารถสังเกตไดวาศิลปนรุนใหมๆ มี ความสนใจในความยั่งยืนและนิเวศวิทยา ถาศิลปนรุนใหมเหลานี้กำ�ลังศึกษาอยูใน มหาวิทยาลัย พวกเขาตองการความชวย​ เหลือจากอาจารยมากกวาหนึ่งทาน การให คำ�ปรึกษาอาจจะมาจากอาจารยที่มีปริญญา ศาสตรผนวกกัน 2 ปริญญา หรืออาจารย ปริญญาจากคณะตางๆ กัน ในหลายๆ กรณี งานวิชาการแบบสหวิทยาการอาจจะขามออก ไปนอกสถาบันการศึกษาก็ได ดังนั้นที่ปรึกษา อาจจะตองมาจากผูเชี่ยวชาญขางนอก เชน องคกรอาสาสมัคร ในกรณีถานักศึกษาตอง การทำ�งานวิจัยในชุมชน ถามีนักศึกษาศิลปนสอดคลองกับ ปริญญาสหวิทยาการจำ�นวนมากพอ การเปน สหวิทยาการมีคุณสมบัติและคุณลักษณะ เพียงพอก็อาจจะสรางเปนศาสตรใหม​ ขึ้นมาไดซึ่งศาสตรนี้อาจจะสามารถอยูรวม ไดกับคณะสิ่งแวดลอมศึกษาหรือ​ วิจิตรศิลป หรืออาจจะอยูดวยกันใน คณะใหมบางทีการทำ�เชนนี​้ อาจจะกอใหเกิด ศาสตรใหมก็ได

การผสมผสาน ของสหวิทยาการ​ และความสำ�เร็จของการ เกิดสหวิทยาการไดเปลี่ยน โครงสรางของโลก วิชาการของ ศตวรรษที่ 21​

การเปลี่ยน แปลงนี้เปนสวน หนึ่งของการสราง องคความรูใหมที่ไมวา จะขับเคลื่อนโดยงานวิจัยจาก ภายในสาขาวิชาหรือเปนแรงกดดัน จากปจจัยภายนอก การเปลี่ยนแปลงใน สังคม สิ่งแวดลอม และการเมืองดวยความ รวดเร็วและซับซอน เปนแรงขับใหเกิดความ คิดและงานวิจัยที่ใชการบูรณาการกันของ ศาสตร ซึ่งในอัตราความเร็วนี้ไมมีเวลาให​ เสียไปกับการพูดคุย ถกเถียง การใหความ หมายและการประเมิน เพราะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดอยาง รวดเร็วทำ�ใหอาจารยที่ยังไมตื่นตัวเกิดความ​ ตระหนกเมื่อตองเผชิญกับการสลายไป การ เปลี่ยนแปลง การตองซึมซับของใหม หรือการ ลมสลายของของเกา

วิเคราะหประเมินได อยางไรก็ตามอินเทอรเน็ต และโทรทัศนกอใหเกิดการสรางกระแสการคิด ที่มีความซับซอนกวาศาสตรที่มีอยู หรือตางจาก แนวคิดที่มีอยูเดิมๆ เราคงไมสามารถจะรูไดวานักศึกษา จะใชชีวิตอยูในศตวรรษที่ 21 อยางไร หรือพวก เขาตองการอะไรจากการศึกษา สิ่งที่ดีที่สุดที่เรา จะทำ�ไดเพื่อเตรียมนักศึกษาใหพรอมรับกับการ เปลี่ยนแปลงและสิ่งที่ไมคาดคิดใหดีที่สุดเทาที​่ เราจะทำ�ได นักศึกษาวิจิตรศิลปอาจจะประสบ ความสำ�เร็จและมีความคิดสรางสรรคอยางลน เหลือที่จะพัฒนาศาสตรใหมหรือผสมผสาน ศาสตรอื่นที่ยังไมเปนที่รูจักหรือเปนที่รูจักดีของ​ คนวิจิตรศิลป หรืออาชีพศิลปน การใหการศึกษาทางวิจิตรศิลปที่ดี นักศึกษาควรจะไดเรียนการจัดตั้งโครงการ การ วิจัยและคนควาอิสระ เพื่อจะไดตริตรองและ ดำ�เนินการโดยไมตองกังวลวาจะทำ�อะไรผิดพลาด พวกเขาควรจะไดเรียนรูวาตัวเองและเพื่อนๆ ​ จะสามารถแกปญหาอยางสรางสรรคไดอยางไร​ ผานการคิดที่หลากหลายและไมตองใชวิธีเดิมๆ นักศึกษาตองเรียนรูที่จะทำ�โครงการใหสำ�เร็จ​ และตองเขาใจวาการทำ�โครงการกอใหเกิดผล​ กระทบหลายประการ นักศึกษาศิลปะตองเรียนรูที่ จะมีความกลา เปดโลกทัศนของตนเองขณะสราง งาน และกลาทีจ่ ะใหงานของตนถูกวิพากษจาก สาธารณะ คุณสมบัตเิ หลานีเ้ ปนคุณสมบัตทิ ศ่ี ลิ ปนที่ ทรงความรูค วรมีนน้ั มีประโยชนไมเพียงตอตนเอง​ ยังมีประโยชนตอ คนทีอ่ ยูใ นศาสตรอน่ื ดวย นักศึกษาศิลปะที่มีความรู หรืออาจจะ​ เรียกไดวามีโอกาสคิดสรางสรรคที่มักจะมีความ กระตือรือรนในการสรางสรรคงานมากกวาสนใจ ตนเอง การมีอิสระในการดำ�เนินการสรางสรรค​ จินตนาการโดยหนาที่ แรงกดดันจากสภาพ เศรษฐกิจ หรือสรางผลิตภัณฑ การเรียนรู​ จากขอผิดพลาด การรูจักหาและใช​ โอกาส เปนทักษะพิเศษที่ขาพเจา​ คิดวานักศึกษาวิจิตรศิลปควรมี

เราจะคาดไดวา นักศึกษายุคปจจุบัน​ สามารถจบออกไปแลว ควรทำ�งานได 5-10 ประเภท ถาเปนเชนนี้นักศึกษาควรที่จะมี ความสามารถปรับเปลี่ยนความรู​ ใหเหมาะสมกับอาชีพสลับไปสลับมาได ​ มิฉะนัน้ ตองเริม่ ตนใหมตลอดเวลา คนทีไ่ มสามารถ​ ฝกใหเห็นความแตกตางของความรูระหวาง ศาสตรไดนั้นจะปรับกระบวนทัศนไดยาก ดังนั้น นักศึกษาของวิจิตรศิลปที่จบแลวยังคงไมประสา วาศาสตรความรูของตนคืออะไรหรือเกี่ยวของกับ ศาสตรอื่นอยางไรก็จะตันในการสรางหรือเชื่อม โยงองคความรู จากประสบการณของขาพเจา ไมใช​ นักศึกษาทุกคนที่จบจากวิจิตรศิลปแลวไปเปน ศิลปน จริงๆ แลวตองไชโยโหรองเพราะตราบใด​ ที่นักศึกษาประสบความสำ�เร็จและยินดีกับ ทางเลือกของตน สำ�หรับคนที่มีความคิดสราง สรรคความสามารถที่จะออกไปยืนหยัดกับโลก ภายนอกไดนั้นเปนการใชทักษะทางสหวิทยา ซึ่ง ขาพเจาเชื่อวาเชนนั้น เปาประสงคหนึ่งของนักการ ศึกษา (educator) คือการกระตุนใหนักศึกษา หมกมุนกับชีวิตและงานอยางสรางสรรคโดย มี​ ผูชวยเหลือเพื่อใหนักศึกษาเหลานั้นดึงศักยภาพ ของตนเองออกมาชวยเหลือสังคมดานที่ตนสนใจ​ ใหมากที่สุดเทาที่จะมากได

สำ�หรับนักศึกษาในปจจุบัน สห วิทยาการนั้นสอดคลองกับสภาพความเปน​ อยูปจจุบันของพวกเขา เพราะใชอินเทอรเน็ต ได และอินเทอรเน็ตที่มีความสามารถคือ เชื่อม โยงหลายมิติและสืบคนไดนั้นเปนเครื่องมือ ของสหวิทยาการ นอกจากนี้นักศึกษาสวน มากชอบดูหนังจากโทรทัศน โดยปรกติจะได ดูหนังที่ไดรับการวิเคราะหวิจัยมาระดับหนึ่ง และรายการตางๆ ที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาใด​ วิชาหนึ่งสลับกันไปมา แนนอนนักศึกษา​ เหลานี้จะไดดูหนังที่มีคุณภาพและไมม​ี คุณภาพดวยเหมือนกัน ไมวาจะอยางไร​ สื่อเหลานี้ไดสอดแทรกบริบทที่ติดตามไดและ

Arts May 2010

7


P​h​i​l​i​p​p​i​n​e​​A​r​t​ ยุค​อาณานิคม

A​​C​a​p​s​u​l​e ​H​i​s​t​o​r​y​t​o​t​h​e​1​9​5​0​s

การ​ขยาย​วงกวาง​ของ​ภาษา​และ​วัฒนธรรม​สเปน​มายัง​

R​od​ ​.​​P​ar​ ​as​ ​-​P​er​ ​ez​ ​:​​เขียน จันทร​วิมล ​แกว​แสน​สาย :​​แปล​และ​เรียบเรีย​ง

ประเทศ​ฟลิปปนส ​ไดรับ​แรง​บันดาล​ใจ​มาจาก​ความ​ ปรารถนา​ที่​จะ​กระจาย​ความ​ศรัทธา​ใน​ศาสนาคริสต ​นิกาย​คาธอลิก​ และ​เพื่อ​ที่​จะ​เขา​ครอบครอง​ความ​มั่งคั่ง ​ดัง​ที่​นัก​ประวัติ​ศาสตร​และ​ กลุม​ชนชั้น​ขุนนาง​นัก​ผจญภัย​คอ​รเตซ ​​C​or​ ​t​ez​ ​​ชื่อ ​เบ​รอล ​ได​แอซ ​ เดล ​คา​สติล​โล ​ได​กลาว​อยาง​จริง​ใจ​วา ​ “​เรา​มา​ที่​แหงนี้​เพื่อ​รับ​ใช​พระเจา​และ​บุรพ​กษัตริย ​และ​ เพื่อ​ความ​ร่ำ�รวย”​​ ใน​งานศิลปะ​ชิ้น​แรกๆ​​ซึ่ง​ไดรับ​แรงกระตุน​จาก​ชนชาติ​ สเปน​ในประเทศ​ฟลิปปนส ​ลวน​มี​ความ​เกี่ยวของ​สัมพันธ​กัน​กับ​ พิธีกรรม​ทาง​ศาสนา ​อาทิเชน ​งาน​ประติมากรรม​ลอยตัว​และ​นูน​สูง​ ​หรือ​แม​แต​งานเขียน​ที่​คัดลอก​มาจาก​การ​แกะสลัก​ใน​แบบ​ยุโรป ​ ใน​สวน​ของ​ศิลปะ​เกี่ยวกับ​การ​แสดงออก​ของ​ตัวตน​ที่​ถือวาเ​ปน​ ศิลปกรรม​สาขา​หนึ่ง​นั้น ​ยัง​ไมได​เปน​ที่​รูจัก ​ศิลปะ​เปน​เพียง​งาน​ หัตถกรรม​เพื่อ​การ​บริการ​ใน​ชุมชน​หรือ​เปน​ชิ้นงาน​ของ​เหลา​สาวก​ ทาง​ศาสนา ​ที่​ถูก​สรางขึ้น​โดย​นัก​หัตถศิลป​ซึ่ง​มี​ความ​เชี่ยวชาญ​แต​ ไม​เปดเผย​นาม ​ ัฒนาการ​จาก​ภาพเขียน​ทาง​ศาสนา ​สู​ภาพ​เหนือน​ตัวบ​ ุคคล พ ใน​เวลา​ตอมา ​ชื่อ​ของ​จิตรกร​คอยๆ​​เกิดขึ้น ​แต​มัก​จะ​เปน​ ใน​ราว​ชวงตน​ศตวรรษ​ที่ ​19​ ​​เชน ​ดา​เมียน ​โด​มิงโก ​(​17​ 9​ 5​ -​ ​18​ 3​ ​3)​ ​​ มาเรีย​อาโน ​อ​ซัน​เชียน ​(​18​ 0​ 2​ -​ ​18​ 8​ 5​ )​ ​​แอน​โตนิ​โอ ​มา​ลาน​ติก ​(​18​ 2​ 0​ ​ ​-​18​ 8​ 6​ )​ ​​จั​สติ​เนีย​อาโน ​อ​ซัน​เชียน ​เปนตน ​พวกเขา​เหลานี้​สวน​ใหญ​ ได​สราง​ผล​งาน​ศิลปกรรม​ทาง​ดาน​ศาสนา​เปน​สวนมาก ​จนกระทั่ง​ ทัศนคติ​อนั ​แสดง​ความ​เคารพ​ตอ ​ความคิด​ทางโลก​ได​ถกู ​ท�ำ นุบ�ำ รุง​ขน้ึ ​ ดัง​นั้น ​ประเภท​ของ​งาน​จิตรกรรม​และ​ภาพวาด​บุคคล​จึง​ได​เจริญ​ งอกงาม​อยาง​เขม​แข็ง​ อยางไร​ก็ตาม ​ความคิด​เกี่ยวกับ​งานศิลปะ​ใน​ฐานะ​ที่​เปน​ หัตถศิลป​ก็​ยัง​ดำ�เนิน​ตอไป ​จิตรกร​ได​วาด​ภาพเหมือน​บุคคล​โดย​ใช​ แปรง​ที่​มี​ลักษณะ​คลาย​เสน​ใย ​เพื่อ​ที่​จะ​สรางงาน​ผา​ที่​ถักทอ​อยาง​ ประณีต ​และ​บอยครั้ง​ที่​จิตรกร​ได​เดินทาง​ไป​ยัง​เมือง​ตางๆ​แ​ ละ​ได​ สรางงาน​ภาพลายเสนท​ ี่​ประณีต​พรอมกับ​การ​จัด​วาง​ที่​นา​ประทับ​ใจ ​ รวม​ถึง​ภาพ​ศีรษะ​และ​ใบหนา​ของ​ลูกคา​ที่​ถู​กวาด​ภายหลัง​ดวย​แรง ปรารถนา​อัน​ทะเยอทะยาน จิตรกร​ได​กลาย​มา​เปน​บุคคล​ทมี่​ ี​ ชื่อเสียง​ใน​ฐานะ ​R​et​​r​at​​is​ ​t​as​ ​อัน​หมาย​ถึง ​ผูสราง​ภาพเหมือน​บุคคล​ ที่​มี​ความ​สัมพันธกับ​ทองถิ่น​อันเปน​สถาน​ที่​ที่​เขา​เหลา​นั้นจาก​มา​ ดัง​นั้น​เซอรเวอร​ริโน ​จาเวียร ​จึง​เปน​ที่​รูจัก​ในนามของ​กัปตัน​ไว​ริ่ง ​ R​et​​r​at​​is​ ​t​a​​d​e​​P​ac​ o​ ​​สวนดา​เมียน ​โด​มิงโก ​และ ​แอนโทนิ​โอ​

8

Arts May 2008

​ มา​ลาน​ตกิ ​เปน​ท​ร่ี จู กั ​ในนามของ ​R​e​t​r​a​t​i​s​t​a​s​​d​e​​B​i​n​o​n​d​o​​จ​สั ติ​เนีย ​อาโน ​ อ​ซนั ​เชียน ​เปน​ท​ร่ี จู กั ​ในนาม​กปั ตัน ​T​i​n​g​​R​e​t​r​a​t​i​s​t​a​​d​e​​S​a​n​t​a​​C​r​u​z​ ดา​เมียน ​โด​มิงโก:​​จิตรกร​ภาพเหมือน​ตัว​บุคคล อัน​ที่จริงดา​เมียน ​โด​มิงโก ​ได​เริ่ม​อาชีพ​ของ​เขา​ใน​ฐานะ​ ที่​เปน​นัก​เขียน​ภาพเหมือน​บุคคล ​ซึ่ง​เปน​ที่​โดงดัง​เกี่ยวกับ​ความ​ สามารถ​ที่​จะ​ดึง​เอา​ความ​เหมือน​จาก​ความทรงจำ�​ออกมาทักษะ​นี้​ เปนความ​สะดวก​ที่​เปน​เอกลักษณ​สำ�หรับ​คน​หนุม​มะนิลาผู​ท​ี่ ไม​ไดรับ​อนุญาต​ที่​จะ​ไป​เยี่ยม​เยียน​บาน​หญิงสาว​ที่​เขา​ได​เกี้ยว​ พา​ราสี​ได​บอยๆ​​ใน​ชั่ว​ขณะหนึ่ง​ที่​หญิงสาว​มองออก​มาจาก​ชอง​ หนาตาง ​ดา​เมียน ​โด​มิงโก​สามารถ​จับภาพ​ของ​หลอน​ไว​ได​ใน​จิต​ใจ ​ และ​สรางภาพ​ขนาดเล็ก​อยาง​งายๆ​​บน​งาชาง​ที่​ถูก​ซื้อขาย​จาก​ผู​ที่​ สน​ใจ ​และ​ชาย​ที่​เกี้ยว​พา​ราสี​หลอน​ มากไป​กวา​นั้น ​เหลา​ภาพเหมือน​บุคคล ​ซึ่ง​ได​แสดงออก​ ราวกับ​กำ�ลัง​พูด​ดวย​ถอยคำ�​คมคาย​กับ​คน​รุน​ปจจุบัน ​ภาพ​เหลา​นั้น​ เปน​ภาพ​ที่​มี​ขนาด​ใหญ​วาด​โดย​ศิลปน ​อาทิเชน ​แอนโทนิ​โอ ​มา​ลาน​ ติก,​​ครอบครัว​ฟรานเซีย​ใน​พากซา​นกาน,​​ลากู​นา,​​และ​ครอบครัว ​ ไซมอน ​ฟลอเรส ​เดอ​ลา ​โร​ซา,​​เกีย​อา​ซัน ​ที่บา​คัลเลอร ​พาม​พันกา

​สถาบัน​ศิลปะ​แหง​แรก​ใน​ป ค​ .​ศ.​18​ 2​ 1​ ​ การ​กอตั้ง​สถาบัน​ศิลปะ​แหง​แรก​ใน​ป ​ค.​ศ.​18​ 2​ 1​ ​​ไมได​ สราง​ความ​เปลี่ยน​แปลง​เกี่ยวกับท​ ัศนคติ​ที่​มี​ตอ​งานศิลปะ​ใน​ฐานะ​ ที่​เปนงาน​หัตถกรรม​ไป​ได ​ใน​ฐานะ​ที่​เปน​สถาบัน​ศิลปะ​เอกชน ​ โรงเรียน​ได​ทำ�​หนา​ที่​เปรียบ​เสมือน​เพียง​แค​สมาพันธ​ที่​ฝกอบรม​ วิชาชีพ​เพื่อ​การ​คา​เทา​นั้น ​ทัศนคติ​ดาน​จิต​ใจ​ไมได​ถูก​เปลี่ยน​แปลง​ ไป​มาก​นัก ​แม​แต​สถาบันฯ ​เอง ​ก็​ยัง​อยู​ใน​ฐานะ​สถาบัน​ที่​อยูภาย​ใต​ สังคม ​เศรษฐกิจ ​กษัตริย ​และ​หมู​มิตรสหาย​ของ​ผู​ให​ความ​อุปถัมภ​ แก​โรงเรียน ​ดัง​จะ​กลาว​ได​วา ​สังคม​ให​ความ​สำ�คัญ​เชิง​เศรษฐกิจ​ และ​คาขาย​เปน​สวน​ใหญ​ ดวย​ความ​พยายาม​ที่​จะ​สราง​สถาบัน​การ​ศึกษา​ของ​ ชนชั้นสูง​เกี่ยวกับ​งานศิลปะ ​ซึ่ง​มี​ขึ้น​หลังจาก​การ​ถึง​แก​กรรม​ของ​ ดา​เมียน ​โด​มิงโก ​แต​ก็​ไม​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ ​ใน​วัน​ที่ ​8​​กรกฎาคม ​ ป ​ค.​ศ.​18​ 4​ 8​ ​​มาเรีย​อาโน ​โรซาส ​วาย ​ยู​บาลโด ​หรือ​อีก​นาม​หนึ่ง​ ​ก็​คือ ​ราชินี​อิสเบล​ลา​ที่ ​2​​ได​มี​พระ​ราช​ดำ�ริ​และ​พันธ​สัญญา​ที่​จะ​ สราง​สถาบัน​การ​ศึกษา​และ​พิพิธภัณฑส​ ำ�หรับ​งาน​จิตรกรรม​ขึ้น ​ นี่​เปนการ​เปดกวาง​ที่​นำ�ไปสู​สถาบัน​การ​ศึกษา​ใน​ป ​18​ 5​ 5​ ​​ภาย​ใต​ การ​ดู​แล​ของ ​อากั​สติน ​ซา​เอซ ​ภาย​ใต​การ​ดู​แล​และ​นำ�ทาง​ของ​

ซา​เอซ ​จติ รกร​สอง​ทา น ​ได​แก ​ลอเรน​โซ ​โรชา ​และ​ลอเรน​โซ ​เกอรเรโร

ช​ าตินิยม​และ​ความ​ปรารถนา​อัน​แรงกลา​ใน​ความ​ถูกตอง ภายหลัง​สาม​ศตวรรษ​และ​สาม​ทศวรรษ​ของ​อิทธิพล​ทาง​ ดาน​ภาษา​และ​วัฒนธรรม​สเปน ​ความ​ตระหนัก​ของ​ชาว​ฟลิปปนส​ ที่​สะสม​มา​ยาวนาน​ถึง​ความ​อยุติธรรม ​ซึ่ง​ได​ถายทอด​ความรูสึก​ อัน​แรงกลา​เกี่ยวกับ​ความ​ถูกตอง​ของ​รูป​แบบ ​ซึ่ง​ได​กลาย​มา​เปน​ มาตรฐาน​สำ�คัญ​ใน​การ​รณรงค​เพื่อ​แสวงหา​ซึ่ง​ความ​เทาเทียม​กัน ​ มรรยาท​ความ​ประพฤติ​อัน​เหมาะสม​ได​เริ่มตน​สราง​รูป​แบบ​ขึ้น ​ ​ ใน​บรรดา​หนังสือ​ทั้งหลาย ​อัน​ได​แก ​La​ g​ ​d​a​​(​17​ 3​ 4​ )​ ​​และ​ตอมา​​ ใน​หนังสือ ​U​r​b​an​ a​ t​​​Fe​ l​i​​s​a​​(​18​ 5​ 4​ )​ ​​และ​ถูก​ทำ�​ให​เขมขน​ขึ้น​อยาง​ มาก​ดวย​มหาวิทยาลัย​ที่​มี​ความ​แตกตาง​ทาง​ศาสนา ​สถาน​ที่ ​ ซึ่ง​กลาย​เปน​ตรา​ของ ​il​u​ s​ ​t​r​a​d​o​​ซึ่ง​หมาย​ถึง ​“​ผู​ซึ่ง​บรรลุ​แลว”​​ (​E​nl​i​g​ ​ht​​en​ e​ d​ ​​M​an​ )​ ​ ดวย​ความ​ปรารถนา​ที่​จะ​สราง​แบบ​แผน​ความ​ถูกตอง ​ หาก​ชุด​กิจกรรม​ใด​ไม​แสดง​มรรยาท​อัน​ดีงาม​หรือ​ไม​แสดง​ความ​ถูก ตอง​เหมาะสม ​จะ​ถูก​มองวา​ไมมี​คุณคา ​ดัง​ที่ ​ดร.​​โจส ​ไร​เซิล ​วีรบุรุษ​ ของ​ชาติ ​ได​เผชิญหนา​กบั ​ต�ำ รวจ​ผจญ​เพลิง​ท​แ่ี ตงกาย​อยาง​เหมาะสม​ ใน​โอกาส​พิเศษ​ที่​ควรคา​แก​การ​เปน​ผูรู​และ​เทาเทียม​กับ​คน​สเปน ​ หรือ​เทาเทียม​กับ​ชาว​ตะวันตก​ดวยซ้ำ�​ ฟราน​ซิสโก ​บา​ลาค​ทาส ​(​17​ 8​ 8​ -​ ​18​ 6​ 2​ ​)​​นัก​เขียน​ได​ บรรยาย​สถาน​ที่​ใน​บทกวี​ของ​เขา​ที่​ชื่อ ​Fl​o​ r​ ​an​ t​​et​​​La​ u​ r​ ​a​​(​18​ 3​ 8​ )​ ​​ ที่​คาดวา​จะ​เปนพื้น​ที่​บริเวณ​เมือง​กรีก ​ไม​ใช​เพียง​เพื่อ​ที่​จะ​หนีจาก​ การ​ควบคุม ​แต​เพื่อ​เปนการ​แสดง​ความรู​เกี่ยวกับ​เทพ​และ​เทพธิดา​ กรีก​ใน​ปกรณัม​โบราณ ​ซึ่ง​ใน​เวลา​นั้น​เปน​สวนหนึ่ง​ของ​ลักษณะ​ที่​ เดนชัด​ของ​ผู​ที่​มีความรู ​แม​แต​วรรณคดี​เทิดทูน​บูชา​ก็​ยัง​ดิ้นรน​เพื่อ​ แบบ​แผน​ที่​ถูกตอง ​ ในป ค.ศ.1852 เอฟอาร เดอ ลา เมอรซ ไดจดั พิมพหนังสือ​ ของเขา ชื่อ A Book of His Life ที่แสดงใหเห็นถึงความถูกตอง​ ในทุกทาง การขัดเกลาตามการใชภาษาและแสดงถึงการไดรับการ​ วิจัยอยางระแวดระวัง ในดานดนตรี มาเซลโล อะโดเน (18481928) มีความพยายามที่จะเผยแพรบทเพลงแหงพิธีกรรม​

การสรรเสริญดวยรูปแบบและบริบทที่เหมาะสมสถาบันการศึกษา เกี่ยวกับงานจิตรกรรม ประติมากรรม และการแกะสลัก (1879) ที่ พัฒนาขึ้นจากโรงเรียนที่มีอยูกอน ไดกลายมาเปนแหลงขอมูลตนๆ ดานความคิดอันถูกตองตามแบบแผนและสไตล รวมไปถึงถูกรวม​ เขากับทัศนคติที่มีมากอนในแมดริด สเปน จิตรกรรมสัจจนิยม และภาพฉากชีวิตประจำ�วัน จิตรกรรมสัจจนิยม และประเภทของงานจิตรกรรมที่ เกี่ยวของกับการใหภาพของฉากชีวิตประจำ�วันและภาพเหมือนของ บุคคลในแตละโอกาสไมไดสิ้นหวังลงไป เพียงแตผลงานศิลปกรรม​ เหลานี้ถูกพิจารณาวาไมใชพาหนะที่สำ�คัญสำ�หรับการประกาศ ความคิดเกี่ยวกับความทัดเทียมกับศิลปนตางชาติ โดยเฉพาะอยาง ยิ่งในแมดริด สเปน (ประเทศเจาอาณานิคม) การตัดสินใจของเชื้อ พระวงศในวันที่ 21 สิงหาคม 1862 ยังคงตองการผูอำ�นวยการของ สถาบันที่จะสงไปยังประเทศกลุมเดียวกันกับสเปน หรือกลุมศิลปะ ภาพเขียนแนวชีวิตประจำ�วัน อัจฉริยบุคลผูไรซึ่งสัญชาติ ความสุขอันเออลนที่พอจะเขาใจไดซึ่งมีผลกระทบตอ สังคมชาวฟลิปปนสในแมดริด เมื่อผูเชี่ยวชาญดานจิตรกรรมชาว ฟลิปปนส 2 ทาน ไดรับรางวัลชนะเลิศในรางวัลสำ�คัญในงาน นิทรรศการศิลปะแหงชาติ ที่สเปนในป ค.ศ.1884​ - จูแอน ลูนา วาย โนวิซิโอ (1857-1899) ไดรับรางวัลชนะเลิศ


เหรียญทองจากงานของเขา ที่ชื่อ Spoliarium ซี่งไดแสดงใหเห็นถึง​ นักสูที่เสียชีวิตถูกลากเขาสูกองฟนพิธีศพ ในแงของสัดสวนและการ อุปมาถึงประวัติศาสตร Spoliarium เปนที่พึงพอใจในดานความ ตองการทางวิชาการ บวกกับความสามารถของศิลปนที่สามารถ​ ดึงชวงเวลาแหงความตื่นเตนเราใจ แมวาจะมีชวงเวลาแหงความ โศกสลดเขามาอยูภายในภาพเหตุการณ - เฟลิกซ รีเซอรเรกชั่น ฮิดาลโก (1855-1918) ไดรับรางวัล ชนะเลิศเหรียญเงินกับผลงานของเขาที่ชื่อวา Christian Virgins Exposed และ The Rabble ซึ่งมีลักษณะอุปมาแบบกรีกโรมันกับ ความตื่นเตนเราใจเทาๆ กัน​ ถึงแมจะไรซึ่งความโศกอยางตรงไปตรงมาในงานของ ลูนาก็ตามที ชัยชนะดังกลาวไดกระตุนใหโจส ไรเซิล ไดกลาวเพลง สรรเสริญกับบรรดาจิตรกรผูซึ่งประกาศในทางปฏิบัติวาเปน ​ “อัจฉริยบุคลผูไรซึ่งสัญชาติ” ​ “ลูนา และฮิดาลโก เปนแสงสวางแหงสเปน เชนเดียว กับฟลิปปนส เกิดในฟลิปปนส พวกเขาสามารถเกิดที่สเปนก็ได เพราะสำ�หรับอัจฉริยบุคคลก็เหมือนกับแสงสวางและอากาศที่ เปนที่ยอมรับของทุกคน ซึ่งมีอยูในทุกหนทุกแหง เหมือนในอากาศ เหมือนชีวิต เหมือนพระเจา” สำ�หรับไรเซิล ชาวอาเซียนสามารถเปนอัจฉริยบุคคล ไดพอๆ กันกับที่คนผิวขาวเปนได​ กลับมาที่มนิลา ชัยชนะของลูนาและฮิดาลโกที่แมดริด ไดรับการตอนรับดวยความปลื้มปติที่ทัดเทียมกัน แตผลกระทบ ของ The Grand Gout ไดงอกงามหยั่งรากลึกอยางชัดแจงมาก จิตรกรสวนใหญจากสถาบันการศึกษาฟลิปปนส อาทิเชน ไซมอน ฟลอเรส เดอ ลา โรซา เฟลิปเป โรซาส และอื่นๆ ดำ�เนินไปตามชีวิต ประจำ�วันและลักษณะของประเทศ แสดงใหเห็นถึงฉากในชีวิต ประจำ� วันที่เขารวมกันอยางสมบูรณกับศิลปะแนวหนาของฝรั่งเศส แรงกระตุนที่จะยกระดับชีวิตธรรมดาสามัญ เปรียบเทียบกับการ ทำ�ใหประเด็นทางศิลปะนั้นสมบูรณ ดังที่เห็นในงานของ ฌอง ฟรัง ซัวร มิลเยต และ กุสตาฟ กูรเบต และดังนักวาดภาพแนวอิมเพรส ชั่นนิสเชน โมเนต เรอนัวร และคนอื่นๆ​ ในศิลปะ เชนเดียวกับในชีวิต ความเทาเทียมกันภายใต​ อิทธิพลทางภาษาและวัฒนธรรมสเปนนั้น ดั่งความฝนที่ยากจะ อธิบาย ชาวฟลิปปนสไดตามติดการสนับสนุนและใหการสงเสริม​ การปฏิวัติที่ประสบความสำ�เร็จเพื่อตอตานสเปน แตทายสุดก็​ พายใหแกชาวอเมริกันในสงครามเลือดที่ยืดเยื้อมาจนถึง​ คริสตศตวรรษที่ 20 ความฝนสีทอง บทละครแสดงความรักชาติ ในวันพฤหัสบดีทอ่ี ากาศชืน้ และอบอาว ในขณะทีอ่ ณ ุ หภูมิ อยูระหวาง 30 – 34 องศาเซลเซียส มีฝูงชนกลุมใหญที่รอคอยการ​ เปดการแสดงละครของโอเรลิโอ โตเลนติโนที่ชื่อวา Kahapon, Ngayon at Bukas ซึ่งแปลวา “เมื่อวาน วันนี้ และพรุงนี้” ที่ Teatro Liberted ในซานตาครูซ มานิลา ซึ่งในเวลานั้นตรงกับวันที่ 14 พฤษภาคม 1903 ฝูงชนไดรับการแจงขาวสำ�หรับยามเย็นที่นา ตื่นเตน ดวยคำ�ร่ำ�ลือที่วา ละครเรื่องดังกลาวไดแสดงออกถึงความ รักชาติอยางรุนแรง และผูชมจะไมไดรับความผิดหวัง​ ในภาพเชิงสัญญะนั้นมันงายตอการทำ�ความเขาใจโดย ผูชม โอเรโล โตเลนติโน ไดเปดเผยความกดดันที่ผันไปตามคน สเปน และคนอเมริกันบนความไรโชคของคนฟลิปปนส ตามที่​ ไดถูกถายทอดในคำ�กลาวที่โผงผาง บางครั้งก็อยูในรูปของถอยคำ�​ สรรเสริญ และถูกสรรคสรางดวยชื่อทางสัญญะของตัวละครที่ แสดงออกในเชิงเสียดสีและเหน็บแนม ละครเรื่องนี้ไดรับการ ตอบรับดวยความยินดีอยางแรงกลาจากคนฟลิปปนสใน ขณะที่ ชาวอเมริกันที่นั่งในฐานะผูชมตางไมพอใจและแสดงความขุนเคือง สุดทายเมื่อธงของอเมริกันถูกชักลงมาและถูกเหยีบย่ำ�อยูบนพื้นเวที ก็เกิดการจลาจลของชาวอเมริกันอยางบาคลั่งขึ้น​ ลงทาย โอเรลิโอ โตเลนติโนก็ถูกจำ�คุก พรอมกับเสียเงิน คาปรับสินไหมที่หนักเอาการ แตมันก็ยังไมใชจุดจบของการ​ ประทวงทางวรรณกรรม เกือบจะเปนแรงบันดาลใจเดียวกัน ที่สามารถเห็นไดจากงานของ จูแอน อาแบด ในงานที่ชื่อวา Tanikalang Guinto ทีหมายความวา “โซตรวนสีทอง” ตามที่ชาว อเมริกันกลาวขานถึง “กฏแหงความเมตตากรุณา” ซึ่งถูกนำ�เสนอ ในฐานะที่ไมตางไปจากหนากากอันหลอกลวงที่สวมใสโดยความ ปรารถนาที่จะครอบครอง เชนเดียวกันกับงานของโอเรลิโอ โตเลนติโน ตัวละครของจูแอน อาแบด ก็ถือกำ�เนิดขึ้นดวยรูปแบบแรกเริ่ม นั่นก็คือ ตัวละครตางๆ มีชื่อทางสัญญะ ลัทธิชาตินิยม พลังที่เคลื่อนไหวของภาพวาดฟลิปปนส ลัทธิชาตินิยมยังเปนพลังที่เคลื่อนไหวของภาพวาด ฟลิปปนสในชวงเปดฉากศตวรรษที่ 20 ถึงแมวาการหยุดพัก ระหวางการจากไปของสเปน และการเขามาแทนที่ของอเมริกา จะมีความเกี่ยวพันกันอยางเงียบๆ ในงานจิตรกรรม วงจรของ งานศิลปะไดแสดงสัญลักษณของกิจกรรมซึ่งเปนผลเนื่องจากป 1903 เมื่อความพยายามที่จะสรางสมาพันธ ที่ชื่อวา Asociacion Internacional de Artistas (สมาพันธศิลปนระหวางประเทศ) อยางไรก็ตาม มันยังไมใชชวงเวลาที่เหมาะสมนัก จนกระทั่งมาถึง ในป ค.ศ.1908 ราฟาเอล เอนริเก ประสบความสำ�เร็จในการจัดการ สมาพันธนี้ในขณะเดียวกันก็มีการเปดโรงเรียนศิลปะขึ้นอีกครั้งที่ มหาวิทยาลัยฟลิปปนส โดยมีเขาเปนผูอำ�นวยการสถาบันฯ​ (อ่านต่อหน้า 16)

MUSEUM ONLINE ต่อจากหน้า 3

๐ โครงการ​นี้​ได​ชวย​สราง​เติมเต็ม​สวน​ที่​ขาด​หายไป​ใน​สังคม​ไทย เปน​สื่อ​ทางเลือก​เชิง​ศิลป​วัฒนธรรม​รวมสมัย สะทอน​วัฒนธรรม​ทาง​ สายตา​ที่​ชวย​ทดแทน​สื่อมวลชน​ไทย​กระแส​หลัก ทั้ง​สื่อ​ทีวี สื่อ​วิทยุ สื่อ​สิ่งพิมพ ในประเทศ​นี้​ที่​สวนใหญ​มัก​ถูก​ใช​เพื่อ (ก) ชวนเชื่อ สราง ภาพ​ทาง​การเมือง​แนว​อนุรักษ​นิยม (ข) สงเสริม​เศรษฐกิจ​บริโภค​นิยม ความ​บันเทิง และ​ใน​บริบท​ศิลปวัฒนธรรม​ทั้ง​สื่อ​กระแส​หลัก​ และ​พิพิธภัณฑศ​ ิลปะ​ของ​ราชการ ก็​มัก​มุง​สนับสนุน​สงเสริม​ศิลปะ​แนว​อนุรักษ​นิยม ศิลปะ​เชิง​จินตนาการโร​แมน​ติค​เกี่ยวกับ​ความ​เชื่อ​ และ​คุณคา​ไทย​ดั้งเดิม​เปน​สวนใหญ ดังนั้น​พิพิธภัณฑอ​ อนไลน​ในที่นี้ จึง​ชวย​เติมเต็ม​ความ​หลากหลาย​ของ​ความคิด ความ​เชื่อ ความรู รสนิยม ฯลฯ ชวย​สราง​สังคม​ไทย​ให​เปน​สังคม​ทาง​การ​ศึกษา มี​ความ​เปน “รัฐ​สมัยใหม” ที่​เชื่อ​ใน​ความ​หลากหลาย​ของ​ระบบ​คุณคา ​ เชื่อ​ใน​กระบวนการ​เชิง​เหตุผล​และ​การ​วิจารณ มากกวา​การ​พยายาม​ผูก​ขาดคำ�​ตอบ​สำ�เร็จรูป ระบบ​คุณคา​ดานเดียว ผาน​การ​ใช​ สื่อมวลชน​ชวนเชื่อ สงเสริม​ความคิด​ริเริ่ม​สรางสรรค การ​ปรับตัว​ให​เหมาะกับ​ยุคสมัย​อยาง​ตอเนื่อง ผาน​กลไก​และ​หลักการ​ความ​​ เสมอภาค ความ​ชอบธรรม สงเสริม​ความ​เปน​มนุษย​นิยม ประชา​สังคม การ​รูเทาทัน​และ​การ​เปน​สวนหนึ่ง​ของ​กระแส​โลก​ทั้ง​ทาง​ เศรษฐกิจ การเมือง สังคม และ​ศิลปวัฒนธรรม ผลงานศิลปนิพนธ์ ต่อจากหน้า 15 ที่โนมนำ�ถึงผูใชแรงงาน เต็มไปดวยความเหนื่อยยาก รางกายกราน แดดที่แผดเผากวาจะไดมาซึ่งผลผลิตที่ใชเลี้ยงคนทั้งประเทศ นอกจากนี้ยังสรางใหสวนของมือและแขนเคลื่อนขยับในกิริยา ของการทำ�งานทั้งหมดนี้ สงความเขาใจถึงประโยคที่วา “หลังสูฟา หนาสูดิน” ไดอยางแจมชัดยิ่ง​ ผลงานชุด “สำ�รอก จิตเสื่อม” เปนศิลปะอินสตอเลชั่นที่ ประกอบไปดวยเซรามิคในรูปทรงของสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ ในทานอน หงาย ตรงสวนชองทองและอกเปด แตกสำ�รอกออกมาดวยรูปทรง ขนาดเล็กจำ�นวนมากที่ผูสรางปรารถนาใหเปนตัวแทนของจิตใจที่ ต่ำ�และเสื่อมทรามทะลักสูสังคม ความเปนมนุษย ความเปนตัวตน ไดหายไปเพราะการดำ�เนินชีวิตแบบบริโภคนิยม รูปทรงที่สำ�รอก ออกมาทั้งหมดนั้นจะถูกจัดวางใหกระจายตอออกจากสวนขาทั้งสอง ลงสูสวนพื้นลาง ที่เปนเสมือนการกระจายความเสื่อมสูสังคม​ พื้นที่หนึ่งถูกจัดใหเปนหองนอนที่เต็มไปดวยความผิด ปรกติ มีความวุนวาย อลหมานปรากฏอยูในทุกวัตถุ ศิลปนตั้งชื่อวา “อลหมานบานทรายทอง” ความวุนวายจากบานทรายทองที่สังคม ไทยรูจักกันมานานดวยเปนนวนิยายที่ถูกนำ�มาสรางเปนละคร​ โทรทัศนครั้งแลวครั้งเลานั้นจะเกี่ยวโยงสัมพันธหรือเปนตัวแทนคา อยางไรของผูสรางสรรคนั้น เปนเรื่องยากที่จะเปรียบเทียบ แตทวา ทีป่ รากฏอยางชัดเจนของผลงาน ชุดนีเ้ ปนประติมากรรมอินสตอเลชัน่ สรางขึ้นดวยการเชื่อมเหล็กเสนประกอบเปนเตียง ตูเสื้อผา โตะ เกาอี้ และสิ่งประกอบอื่นภายในหอง ซึ่งทั้งหมดนี้ลวนเปนตัวแทนถึงภาวะ อันไรซึ่งความสงบ เปนความวาวุน อลหมานอยูในจิตใจที่ไมอาจหลีก หนีได ตางจากการหลีกหนีความวุนวายในสังคม การขับเคลื่อนออก มาเปนงานศิลปะที่บรรจุความวุนวาย สับสนอลหมานไวกับทุกวัตถุ​ นัน้ เปนหนทางหนึง่ ทีช่ ว ยใหความรูส กึ ทีไ่ มนา พิสมัยนี้ กอรูป แปลงราง ถอดความออกมาเปนผลงานสรางสรรคทน่ี า สนใจซึง่ มีคณ ุ คาและมี ความหมายมากกวาทีจ่ ะใหเกาะสุมหนักอึง้ อยูเ พียงภายในจิตใจ​ ความปรารถนาทีจ่ ะเนนใหเห็นถึงความสำ�คัญของเวลา​ ถูกถายทอดออกมาดวยกรรมวิธขี องกลองรูเข็ม (Pinhole Camera)​ เปนงานภาพพิมพบลูพริ้นทที่แสดงการเคลื่อนไปขางหนาอยาง ไมหยุดนิ่งของเวลา ซึ่งไมเพียงเฉพาะกับวัตถุ สภาพแวดลอมราย รอบก็เปลี่ยนแปลงไปตามบริบทของเวลาดวย ผลงานชุดนี้เปน เสมือนการเตือนผูชมถึงความสำ�คัญของเวลา ทำ�ใหเกิดการรำ�ลึกถึง ความดีงามและสิ่งที่ใหประโยชนตอมนุษยชาตินั้นควรตองประพฤติ ปฏิบัติโดยไมรอเวลา ซึ่งไมเคยหยุดนิ่งและไมเคยรอคอย​ การตอกย้ำ�จิตสำ�นึกของคนในสังคมไทยใหรับผิดชอบตอ สังคม เห็นความสำ�คัญของเพื่อนรวมสังคม โดยเฉพาะการใชพื้นที​่ สาธารณะรวมกัน และคำ�นึงถึงสุขอนามัยตอผูบ ริโภคนัน้ ผูส รางสรรค​ ไดนำ�เสนอผลงานในลักษณะของการประชดประชัน เสียดสี​ ผูไรจิตสำ�นึกในสังคมไทย โดยสรางเปนผลงานภาพพิมพสื่อผสม​ รวมกับประโยคที่เปนเสมือนดั่งการตีลงตรงกลางแสกหนา ดวย ​ ขอความสั้นๆ วา “เพื่อนรวมดินเนอร” ภาพแมลงสาบที่ไตอยูบนพื้น และใตโตะ คือ เพื่อนรวมดินเนอรที่คุณกำ�ลังรับประทานอาหารดวย ความ “อรอยสุดสุด” หรือการยื่นมือที่มีทรายอยูเต็มมือออกรับกน ​ บุหรี่จากผูที่กำ�ลังจะทิ้งลงบนพื้น ทั้งๆที่มีถังขยะตั้งอยูในบริเวณนั้น พรอมกับขอความประชดวา “ตองถึงขั้นนี้หรือเปลา” ผลงานทั้งหมด นำ�เสนอไดอยางนาสนใจ แสดงรูปลักษณที่ตางกันแตทั้งหมดทำ�งาน​

รวมกัน กระทุงสังคมไทยภายใตโครงการ “คิดสักนิด จะดีมาก”​ “ภวังคตน” เปนอีกผลงานหนึ่งของการแสดงอารมณ ความรูสึกซึ่งเปนสภาวะจิตที่ไดรับผลกระทบจากปญหาสภาพ แวดลอมและขาวสารรอบตัว ดวยการหยิบยืมลักษณะธรรมชาติ มาเปนตัวแทนของภาวะความรูสึก วุนวาย สลับซับซอนที่กำ�ลัง ดิ้นรนอยูภายใน ถายทอดสูภาพพิมพแกะไมที่มีขนาดใหญมาก ราวกับการแสดงพลังขับเคลื่อนที่ผูสรางสรรคปรารถนาจะผลักความ หนักอึ้งทั้งหมดออกมากับทุกจุดทุกเสน และทุกหนวยใหมาดิ้นรน อยูบนพื้นที่ของภาพพิมพขนาดใหญน​ี้ ความประทับใจจากการเดินทางโดยจักรยานยนต ตองบุก ปาผจญธรรมชาติจากเชียงใหมสลู มุ น้�ำ สาละวิน จังหวัดแมฮอ งสอน นำ�มาซึง่ ความปรารถนาทีจ่ ะบันทึกความทรงจำ�อันพิเศษของชีวติ ไวเปนสมุดภาพพิมพ บันทึกภาพแหงความประทับใจ 3 เลม​ ซึง่ ประกอบดวย เรือ่ งราวการเผชิญกับเสนทางทีย่ ากลำ�บาก แตทวา​ เปนความสนุกและตืน่ เตน อีกเลมหนึง่ เปนการเดินทางรอนแรม​ ตอเนือ่ งผานปาทึบ ลองลำ�น้�ำ ฝาพืน้ ใตน�ำ้ ทีย่ ากยิง่ ตอการขับเคลือ่ น ไดพบกับวิถชี วี ติ ของชาวบานและชนเผาซึง่ มิใชภาพทีจ่ ะพบเห็นไดใน สังคมเมือง และสุดทายเปนสมุดบันทึกภาพบรรยากาศของทองฟา การรวมและเคลือ่ นตัวของกลุม่ เมฆ ฟ้ากว้าง และยิง่ ใหญ่ ให้การ จินตนาการรับรูถ้ งึ ชีวติ เล็กๆ ทีก่ �ำ ลังแหงนเงยขึน้ ชมฟ้า ประทับความ รูส้ กึ ทัง้ หมดทัง้ มวลไว้อยูท่ ใ่ี จ ภาพแห่งความประทับใจอันยิง่ ใหญ่ เกินการพรรณนา ทัง้ หมดนีถ้ า่ ยทอดเป็นสมุดภาพบันทึกย่อ เสมือน การ ‘โน้ตย่อ’ ในรูปลักษณ์ของแผ่นพับต่อเนือ่ ง นำ�เสนอในลักษณะ ศิลปะอินสตอเลชัน่ กางออกต่อเชือ่ มเรือ่ งราวการผจญธรรมชาติท่ี ผูส้ ร้างสรรค์อธิบายว่า เมือ่ ลากสายตาผ่านแต่ละหน้าภาพทุกภาพจะร่วมกัน เรียกรายละเอียดของเรือ่ งราวทุกบททุกตอนให้ได้หวนรำ�ลึกถึง ประสบการณ์ทถ่ี อื ว่า ‘นีเ่ ป็นครัง้ หนึง่ ในชีวติ ’ ทีป่ ระทับใจยิง่ อีกรสหนึง่ แห่งสุนทรีย์ การแสดงรูปทรงทีใ่ ห้การรับรูถ้ งึ ความเป็นรูปธรรมและนามธรรมไปพร้อมๆกัน กรอบจัตรุ สั สีขาวขนาด เล็กๆเท่าๆกัน ถูกจัดระเบียบแนวแถว และถูกสร้างให้เป็นทีอ่ ยูข่ อง รูปทรงเกลีย้ งเกลาขนาดต่างๆทีม่ รี ปู ลักษณ์บอกความเป็นตระกูล เดียวกัน รูปทรงเหล่านีถ้ อดรูปออกเพียงครึง่ หนึง่ จากก้อนหินผิวเรียบ แสดงตัวทัง้ นูนออกและลึกลงสลับคละกันไป การจัดวางทีเ่ ป็นทัง้ การ วางรูปทรงซ้�ำ และวางให้เปลีย่ นแปร ส่งให้รปู ทรงสีขาวทัง้ หมดอยูใ่ น บทสนทนา ภาษาสุนทรียร์ ว่ มกัน นอกจากนีผ้ สู้ ร้างสรรค์ยงั วางรูปทรง ต้นแบบ ซึง่ เป็นก้อนหินทีผ่ า่ นกาลเวลา ผ่านการขัดเกลาจากธรรมชาติ จนเป็นรูปทรงทีห่ มดจด เทียบเคียงกับรูปทรงทีเ่ ป็นดังรูปจำ�ลองสีขาว นัน้ ให้การรับรูถ้ งึ ความงามอีกภาคหนึง่ ของก้อนหินซึง่ เป็นต้นแบบที่ ผูส้ ร้างสรรค์ได้พลิกโฉมขึน้ มาให้ผชู้ มได้พจิ ารณา “มิติ – รูปทรง – พืน้ ทีว่ า่ งของก้อนหิน” ซึง่ เป็นชือ่ ทีก่ �ำ หนดไว้กบั ผลงาน สาระสัน้ ๆ ทีย่ กตัวอย่างนีเ้ ป็นเพียงส่วนหนึง่ ของนิทรรศการ ผลงานศิลปะนิพนธ์ทน่ี กั ศึกษาคณะวิจติ รศิลป์ได้น�ำ เสนอสูส่ งั คม ซึง่ ถือว่าเป็นบทพิสจู น์แรกของการสร้างสรรค์ทไ่ี ด้ประมวลองค์ความรู้ แง่คดิ มุมมอง ประสบการณ์ ทักษะ และวิธกี ารนำ�เสนอ กลัน่ กรอง ออกมาเป็นผลงานศิลปะนิพนธ์ประจำ�ปีการศึกษา 2552

Opinion แสดงความคิดเห็นต่อวารสารข่าวหอศิลป์/ข่าววิจิตรศิลป์ รูปแบบ+รูปเล่ม เนื้อหา ความคิดเห็นอื่นๆ กรุณาส่งกลับไปยัง กองบรรณาธิการวารสารข่าวหอศิลป์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ.ห้วยแก้ว อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 053 211 724 Arts May 2010

9


ปราสาท​นก​ สราวุธ รูปิน

หัสดีล​ ิงค

การ​ปลงศพ พระ​เถระ​ชั้น​ผูใหญ เจานาย หรือ​ชนชั้นสูง​ผู​มี​ ฐานะ​ทาง​สังคม จะ​เรียกวา “พิธี​สงสการ”หรือ “สง​สักการะ” ซึ่ง​มี ความหมาย​ถึง การ​ที่​ลูกหลาน ญาติมิตร ลูกศิษย​ลูก​หาได​นำ�​เครื่อง​ สักการะ​ตางๆ​ไป​สง​ผูวายชนม​ที่​สุสาน ซึ่ง​ถือ​เปนการ​ใหเกียรติ ใหการ​ยกยอง ถือ​เปนการ​กระทำ�​สักการะ​ผูวายชนม​นั่นเอง​การ​สง​ สการ​สังขาร​ราง​ของ​เจานาย ชนชัน้ สูง พระ​เถระ หรือ​พระสงฆที่​ไดรับ​ การนับถือ จึง​มักจะ​มี​ความ​ละเอียดออนซับซอน​มากกวา​พิธีกรรม​ ของ​ชาวบาน​และ​สามัญชน​โดย​ทั่วไป ต้อง​ใช​ทรัพยากร แรงงาน และ​ฝมือ​ใน​การจัด​เตรียม​มาก​พอสมควร ดังนั้น ประเพณี​การ​สง สการ​พระ​เถระ​ชั้น​ผูใหญ เจานาย​ชั้นสูง​นั้น จึง​ตอง​มี​การ​ตระเตรียม​ การ​และ​วางแผน​เปน อยาง​ดี เมื่อ​เจานาย​หรือ​พระสงฆ​สำ�คัญ​สิ้น​ลง จะ​มี​พิธี​อาบน้ำ�​ ผูวายชนม เปลี่ยน​ชุด​เครื่อง​แตงกาย​เต็มยศ หรือ​เสื้อผา​อาภรณ​ ชั้นดี หรือ​อาจ​มี​การ​ปด​ทองคำ�​หอหุม​ราง​นั้น​เอา​ไวกอน​พิธี​รดน้ำ�ศพ​​ และ​การ​ขอขมา​ศพ ราง​ผูวายชนม​นั้น​จะ​ถูก​พัน​หอ​ดวย​ผา​เนื้อ​ดี​ หลายชั้น บรรจุ​ไว​ใน​หีบ​บรรจุ​ที่​ทำ�ขึ้น​มา​อยาง​วิจิตร​งดงาม จัด​ตั้ง ขึ้น​อยาง​เปนทางการ​ภายใน​หอ​หลวง หรือ​วิหาร​สำ�หรับ​ประกอบ​ พิธีการ​ใน​ระยะยาว ชาว​ลาน​นา​นิยม​เก็บ​ศพ​ของ​เจานาย ชนชั้นสูง และ​พระสงฆ​องค​สำ�คัญ​ไว​เปน​แรมป หรือ​ใน​บางกรณี​เก็บ​ไว​หลาย​ป​ นัยวา​เพือ่ ​ไว​กราบ​ไหวบชู า​ร�ำ ลึกถึง​บญ ุ คุณ​ส�ำ หรับ​ไพรฟา ​ขา ​แผนดิน และ​ญาติ​พี่นอง กระทั่ง​ลูกศิษย​ลูก​หา อีกนัยหนึ่ง​เปน​การเต​รียม​ ความ​พรอม ใน​การ​จัด​พิธีการ​สงสการ​อยาง​ถูกตอง​ตาม​ประเพณี หลังจาก​ตั้ง​ศพ​แลว จะ​มี​การ​ทำ�บุญ​อุทิศ​สวนบุญ​สวน กุศล​ไป​ยงั ​ผวู ายชนม​เปนระยะๆ เชน​ทกุ ๆ​เจ็ด​วนั สิบ​หา ​วนั ทุก​เดือน ทุกๆ ​รอย​วัน แลวแต​กรณี ตาม​ความ​เหมาะสม ตามฐานะ​ของ​ ลูกหลาน​หรือ​โยม​อุปถัมภ สวน​พิธีการ​สงสการ​นั้น มัก​จัดให​มี​ใน​ ชวง​เดือน​กุมภาพันธ​หรือ​เดือน​มีนาคม ซึ่ง​เปนชวง​ฤดูแลง มี​ความ​ สะดวก​ตอ​การ​ตระเตรียม​งาน​และ​การ​เดินทาง​มา​รวม​พิธี ในอดีต​มัก​มี​การ​ตั้ง​ศพ​ผูวายชนม​ใน​จิตกาธาน ที่จะ​จัด​ทำ� ขึ้น​ตามฐานะ​ของ​ผูวายชนม หาก​เปน​ชาวบาน​ธรรมดา​จะ​ใช​เพียง​ แมว​ครอบ​ที่​ทำ�จาก​ไมไผ​ทำ�เปน​แคร และ​ตกแตง​ดวย​ดอกไม​สม ฐานะ​เรือน​สำ�หรับ​ผู​ที่​มี​ฐานะ​ขึ้น​มา คหบดี​หรือ​ขุนนาง​จะ​เปน​เรือน​ คลาย​เรือน​ปราสาท​ไมมี​ยอด​เรียก​กัน​วา “หลัง​กลาย” หรือ “หลัง​ กาย” ซึ่ง​มี​ลักษณะ​เปน​เรือน​หลังคา​ทรง​กลีบ​บัว ปาก​กบาล หรือ

10

Arts May 2008

“​กาบจั้ว” เรียก​เต็มๆ วา “ปราสาท​ปาก​กบาล​หลัง​กลาย” สวน​เจา นาย​และ​พระสงฆ​ชั้น​ผูนอย​จะ​ใช​เรือน​ปราสาท​ที่​มี​ยอด​เดียว เรือน​ ปราสาท​ชั้น​ที่​มี​สาม​ยอด จะ​เปน​เรือน​ปราสาท​สำ�หรับ​เจานาย​ชั้น​ ผูใหญ​และ​พระสงฆ​ผูทรง​สมณศักดิ์ แต​หาก​เปน​ปราสาท​ที่​มีเรือน​ ปราสาท​วาง​เทิน​บน​หลัง​นก​หัสดี​ลิงค​ขนาดใหญ หลังคา​เปน​รูป​ จัตุรมุข​โดย​มี​ยอด​ตรงกลาง หรือ​มี​ยอด​ปราสาท​หา​ยอด​นั้น จะ​เปน​ เรือน​สำ�หรับ​เจานาย​ชั้นสูง เจาเมือง เจา​ผูครอง​นคร กษัตริย ​ พระ​เถระ​ชั้น​ผูใหญ ครูบา​สังฆราช​เทานั้น และ​นอกจากนั้น ​ ใน​ระยะหลัง​ยังมี​คตินิยม​ใน​การ​สราง​เรือน​ปราสาท​ให​มี​สีสัน​ตาม​ ​สี​ประจำ�​วันเกิด​ของ​ผูวายชนม​อีกดวย

การ​สราง​ปราสาท​บษุ บก​เทิน​บน​หลัง​นก​หสั ดี​ลงิ ค​ขนาด ใหญ​นน้ั นิยม​สรางดวย​ไม​งว้ิ ไม​ไผสาน กระดาษ​สเี งิน ทอง อยาง​ วิจติ ร​พสิ ดาร ทัง้ หมด​นน้ั ​จะ​ถกู ​กอ ​สรางขึน้ ​บน​แพ​ซงุ ​ไม​ตาล​ไม​มะพราว​ ที​เ่ รียก​กนั ​วา “ไม​แม​เรือ” เปน​แพ​เลือ่ น​แม​สะดึง​ทจ่ี ะ​ฉดุ ลาก​ไป​บน​พน้ื ดิน​ได ตัว​ปราสาท​มกั ​สราง​เปน​จตั รุ มุข หลังคา​ซอ น​ชน้ั ​ใส​ยอด​ฉตั ร ​ จะ​ก​ย่ี อด​ก​ช่ี น้ั ​สดุ แลวแต​ฐานะ​ผวู ายชนม ทรวดทรง​ปราสาท​จะ​สงู

ชะลูด มี​ความ​วจิ ติ ร​งดงาม​มาก ดวย​เปนการ​แสดงออก​ถงึ ​สายสกุล​ ชาง​และ​เปนการ​แสดงออก​ถงึ ​เกียรติยศ​ของ​ผวู ายชนม “นก​หัสดี​ลิงค” ตาม​ความ​เชื่อ​ของ​ชาว​ลาน​นา​นั้น เปน​สัตว​ใน​อุดมคติ​ผสม​กัน​ระหวาง​ชาง​และ​หงส มี​รางกาย​ใหญโต ​ มี​สวนตัว​ที่​เปน​นก​สงางาม​ทั้ง​ปก​และ​หาง​เยี่ยง​พญา​หงส แต​ม​ี ศีรษะ​เปน​ชาง ตาม​ตำ�นาน​กลาว​วา “​หัตถิ​ลิง​คะสะกุโณ” หรือ นก​หัสดี​ลิงค นั้น​เปน​สัตว​ใน​ปา​หิมพานต เพศ​เพียง​ดั่ง​ชาง พละกำ�ลัง​ดั่ง​พญาชาง​ฉัททันต กินอาหาร​คือ​ชาง​วัน​ละ ๒๐ เชือก (จึง​อาจจะ​เปนไปได​วา อาจจะ​เปน​พญา​นก​ที่​กำ�ลัง​กลืนก​ ิน​ชาง​ อยู​จึง​แลเห็น​เปน​นก​ที่​มี​ศีรษะ​เปน​ชาง ดวย​เหตุ​ที่​การ​กลืน​กิน​จาก​ ดานทาย​ของ​ตัว​ชาง​ลง​ไป​กอน​เพื่อ​ปองกัน​มใิ​ ห​งาชาง​เปน​อันตราย​ ตอ​การ​กลืน​กิน) นก​หสั ดี​ลงิ ค​ม​ขี นาดที​ใ่ หญ​และ​ม​พี ละกำ�ลัง​มหาศาล ประกอบ​กบั ​ความ​คนุ เคย​ใน​เสนทาง​สามารถ​โบยบิน​ขา ม​หว ง​แหง​ มหรรณพ​และ​ปา ​หมิ พานต อันเปน​ดนิ แดน​แหง​โลกียะ​วสิ ยั ที​ก่ น้ั ​ ขวาง​เสน​การ​ไป​ส​มู รรคา​แหง​พระ​สเุ มรุ ยกตัวอยาง​ใน​เรือ่ ง​พระ​สธุ น​ กับ​นาง​มโนราห ที​พ่ ระ​สธุ น​นน้ั ​เฝาติดตาม​หา​นาง​มโนราห ได​ผา น​พน ​ อุป​สรรค​มากมาย​จน​มาถึง​เขตปา​หวาย แต​ไม​สามารถ​ขา ม​ผา น​ปา ​ หวาย​ท​ม่ี ​หี นาม​แหลมคม​ดงั ​กรด​เพือ่ ​ไป​ยงั ​เชิงเขา​หมิ พานต​อนั เปน​ วิมาน​ของ​เหลา​นคร​กนิ รี​ได จึง​ได​ออกอุบาย​น�ำ ​ผา แดง​มา​หมุ ​หอ ตัว​ เพือ่ ให​นก​หสั ดี​ลงิ ค​คดิ วา​เปน​ชน้ิ ​เนือ้ ​มา​หยิบ​จกิ ​พาไปยัง​รงั ​ซง่ึ ​อยู​เ ชิง เขา​พระ​สเุ มรุ ใน​เขตปา​หมิ พานต​นน้ั ​เอง จาก​เรือ่ งราว​ดงั กลาว และ​ ดวย​ขนาดที​ใ่ หญโต​ม​พี ละกำ�ลัง​อยาง​มหาศาล จึง​ม​คี วาม​เชือ่ ​วา ​จะ​ นำ�พา​ดวงวิญญาณ​ผวู ายชนมขา ม​พน ไป​ยงั ​เชิงเขา​พระ​สเุ มรุ ซึง่ ​ตอ ง​ ขาม​ผา น​ปา แห​กเิ ลส​กรรม ปา​แหง​อกุศลกรรม​ตา งๆ ​ได เพือ่ ​มงุ สู​พ ระ นิพพาน อันเปน​อนาคต​สมบัติ รูป​ลกั ษณะ​ของ​ตวั ​นก​หสั ดี​ลงิ ค​นน้ั มี​รปู ราง​โครง​สว นหัว​ และ​ล�ำ ตัว​ท�ำ จาก​โครง​ไม ตัดแตง​กระดาษ​เปน​ลวดลาย​ท�ำ ​เปนเกล็ด สวนหัว​ชา ง​ม​คี วาม​พเิ ศษ​ของ​การ​เคลือ่ นไหว​ไป​มา​ได โดย​ชน้ิ สวน​คอ​ ​และ​หัว​ตอง​เคลื่อนไหว​หมุน​ไป​มา​ได ใบหู​สามารถ​พับ​กระ​พือได สวน​งวง​ใช​ผา​เย็บ​เปน​ทรงกระบอก เลียนแบบ​งวงชาง มี​เชือก​รอย​ อยู​ดานใน​สำ�หรับ​ดึง​เคลื่อนไหว สามารถ​ตวัด​โปรย​ขาวตอก​ดอกไม​ ได​อีกดวย ดวง​ตามี​ลักษณะ​กลมมน ขน​ตา​ยาว​สวย​กระ​พริบ​ได​ เหมือน​มี​ชีวิต​จริงๆ ใน​บางครั้ง​ยัง​ทำ�ให​ปก​กระพือ​ได​อีก ยิ่ง​สราง


Thai

Heritage เสริม​ให​จินตนาการ​ไป​ถึง​พญา​นก​ที่​เปน​ทิพ​ยาน​สู​สวรรคาลัย​ดังที่​ ศิลปน​จะ​รังสรรค​ได

หัสดี​ลิงค มิ​ให​กิน​ราง​นั้น​กอน​จะ​ถึง​จุดหมาย​ปลายทาง​เชิงเขา​ ​พระ​สุเมรุ​ดังที่​กลาว​มา

การ​จัดตั้ง​ปราสาท​ศพ​เจานาย​แต​โบราณ​เคย​ใช​พื้นที่​หนา​ หอ​หลวง หรือ​คุม​หลวง​ของ​เจานาย หาก​เปน​พระ​เถระ​จะ​ใช​พื้น​ที่ โลง​หนา​วัด​หรือ​ขวง​หลวง​หนา​วัด​เพื่อ​จัด​พิธีกรรม​ดังกลาว นับตั้งแต​ การ​ลง ”นอน​ขอน” หรือ​การ​อัญเชิญ​ศพ​ขึ้น​ตั้ง​บน​ปราสาท ก็​จะ​มี​ การ​ทำ�บุญทำ�ทาน​เปนเวลา​ตอเนื่อง อยาง​นอย​สาม​วัน​หรือห​ า​วัน หรือ​กระทั่ง​เจ็ด​วัน นอกจาก​จะ​มี​พิธีกรรม​ทาง​ศาสนา​แลว ใน​พิธีการ​

ชาว​ลา น​นา​เชือ่ ​วา หาก​ได​ชกั ลาก​ปราสาท​ศพ​ของ​ครูบา​ อาจารย​ท​เ่ี คารพ​สกั การะ หรือ​เจานาย​ท​เ่ี ปนที​น่ บั ถือ​ของ​สงั คมจะ​ได​ บุญ​และ​อานิ​สงค​มาก ดังนัน้ ​ชาวบาน​ชาวเมือง​จะ​มา​ชว ยกัน​มาก ​ จึง​ตอ ง​ท�ำ ​เชือก​เสนใหญ​ท​แ่ี ข็งแรง​ตอ กัน​ห​ลายเสน จำ�นวน ๒-๓ แถว​ โดย​ผกู ​เขากับ​แม​สะดึง​ของ​ปราสาท​ศพ​เพือ่ ​ชกั ลาก​ไป​กบั ​พน้ื มี​วง ดนตรี​ปพ าทยแห​ประโคม​ไป​ตลอดทาง มี​การ​สาดน้�ำ ​พรม​หนทาง​​

ที​ม่ ี เปนตนวา พัดยศ เครือ่ ง​สงู ​เชน ขันหมาก กระโถน คนโท รม​ฉตั ร สำ�รับ​คาว​หวาน เสือ่ ​หมอน แทน​นง่ั ​เปนตน ทัง้ นีล้ ว น​เกีย่ วของ​กบั ​ผงั ​ จักรวาล​โดย​ทง้ั สิน้ หรือ​ใน​บางกรณี ยังมี​การ​เชิญ​รปู ​เทวดา​ประจำ�​ทง้ั ​ ๔ ทิศ หรือ​ทา ว​ทง้ั ๔ ขึน้ ​ประจำ�​อยู​บ น​ปราสาท​ทศิ ​น​อ้ี กี ดวย

ใน​กรณีที่​เปน​ศพ​พระ​เถระ ภายใน​รั้ว​ราช​วัตร จะ​ปก​เสา​ ไมซาง​ขนาดใหญ ๔ ตน ให​สูงกวา​ปราสาท​นก​หัสดี​ลิงค ขึง​ผา​ ​สังฆาฏิ (ผา​พาดบา) หรือ​ผาจีวร​ของ​พระ​เถระ​ผู​มรณภาพ โดย​ มีความหมาย​ถึง​ศีล​ของ​พระสงฆ เรียกวา จาตุ​ปาริ​สุทธิ​ศีล คือ ปาติโมกข​สังวร​ศีล, อินทรียสังวร​ศีล, อา​ชีว​ปาริ​สุทธิ​ศีล, ปจจัย​สัน​ นิสิต​ศีล หรือ​อีก​นัยยะ​หนึ่ง​หมายถึง​สัญลักษณ​ของ​เพดาน​จักรวาล ที่​แสดง​ออกมา​ใน​​เครื่องหมาย​ที่​เปน​นามธรรม​เรียก​กัน​วา ​ “ผา​พิดาน” หรือ “ผา​เพดาน” ขั้นตอน​การ​สงสการ​ประกอบดวย การ​บังสุกุล กรวด​น้ำ�​ อุทิศ​สวนกุศล​ถึง​ผูวายชนม แลวจึง​กระทำ�การ​เวียน”ผัดตะ​สิน” หรือ “ประทักษิณ” หลังจากนั้น​ชาวบาน​จะ​นำ�​ทอน​ฟน​ไม​จันทน​ที่​ ปอกเปลือก​จน​ขาว​แลว​ทาสี​ดวย​ขมิ้น​ไป​สุมกอง​รวมกัน​ไว​ที่​ปราสาท (ปจจุบัน​ใช​ดอกไม​จันทน​แทน) จากนั้นส​ลา​ชาง​จะ​นำ�​ดอกไมไฟ​​ รูปแบบ​ตางๆ​ที่​ใช​ใน​การ​ประชุม​เพลิง หาก​เปน​พิธีการ​แบบ​โบราณ​ จะ​ใช “บอก​ไฟ​หลอ” ซึ่ง​เปน​บอก​ดิน​ไฟ​มัด​ติด​ไม้รวก​หางยาว​มี​ลอ​ เล็กๆ ​สอง​ลอ​สำ�หรับ​เคลื่อน​บนดิน มี​งาน​แกะ​สลักไม​งิ้ว​เปน​รูป​สัตว​ ตางๆ นอกจากนั้น​ยังมี “สะ​โปก” หรือ “บอก​ไฟ​บองตัน” ซึ่ง​เปน​ ประทัด​ลูก​ใหญ​ที่​แขวน​จุด​รอบ​ปราสาท และ​บอก​ไฟ​หาง​ที่​ยิง​สง ขึ้น​ฟา​อยาง​มากมาย การ​จุดพลุ​และ​การ​จุด​บอก​ไฟ​นั้น​เปนการ​สง​ วิญญาณ​ที่​กำ�ลัง​เดินทาง​สู​สรวงสวรรค ผาน​ปา​หิมพานต​โดย​มี​การ​ เลียน​เสียง​สรรพสัตว​ตางๆ เมื่อส​ลา​ชาง​ติดตั้ง​บอก​ไฟ​ตางๆ ชวงนี้​จะ​เปน​พิธีการ “โหง​มะนาว” คือ​การ​โปรยทาน​หรือ​มะกรูด​ยัด​ดวย​เศษ​เงิน นัย​ของ กา​รอวย​ทาน​คือ​การ​สละ​แลว​ซึ่ง​สมบัติ​ทางโลก เพื่อ​ไป​รับ​เอา​สวรรค​ สมบัติ​หรือ​นิพพาน​สมบัติ​ใน​เบื้องหนา​นั้น​เอง

สงสการ​ศพ​ยัง​จัดให​มี​มหรสพ ระเบ็ง ละคร ฟอน รำ� ระบำ� เตน ดนตรี ปพาทย ตลอดจน​ดอกไมไฟ​ตางๆ นับ​เปนการ​ถวาย​บูชา หรือ​ องคประกอบ​หนึ่ง​ของ​พิธี​สงสการ​นั้น​เอง งานพิธี​จึง​เปน​งานใหญ ​ มี​ผูคน​หลั่งไหล​มา​รวมงาน​กัน​อยาง​คับคั่ง จึง​มี​การ​สราง​ปะรำ�​พิธี​ อยาง​ชว่ั คราว​ขน้ึ ​รอบๆ ​บริเวณ​ทต่ี ง้ั ​ปราสาท​นก​หสั ดี​ลงิ ค เพือ่ ​รอง​รบั ​ แขก​ที่​เรียกวา “ผาม​เปยง” โดย​สราง​เปน​โครงสราง​ไมไผ มุง​ดวย ​ใบตอง​ตึง​หรือ​หญาคา​กันแดด​หรือ​กัน​น้ำ�คาง ขั้นตอน​การ​สงสการ​มี​รูปแบบ​พิธีการ​คลาย​สามัญชน แต​ มี​รายละเอียด​ปลีกยอย​มาก​ยิ่งขึ้น เชน การ​ถวาย​เครื่อง​สังฆทาน​ มาก​ยิ่งขึ้นการ​สวด​การ​เทศน​ก็​จะ​มี​มาก​ยิ่งขึ้น แมกระทั่ง​การ​บังสุกุล​ ก็​มี​มากขึ้น​ตามกำ�ลัง​ศรัทธา​ของ​ผู​ที่มา​รวมงาน โดยเฉพาะ​อยางยิ่ง​ คือ​พิธี​กรรมการ​ชักลาก​ปราสาท​นก​หัสดี​ลิงค ไป​ยัง​สถาน​ที่จะ​ทำ�การ​ สงสการ (ในอดีตชาว​ลาน​นานั้น นิยม​นำ�​เรือน​ที่ตั้ง​ศพ​ที่​บรรจุร​ าง​นั้น​ ไป​ทำ�พิธี​สงส​ ักการะ หรือ​เผา​ตาม​ประเพณีย​ ัง​สุสาน ทีเ่​รียก​กัน​ใน​ ภาษา​พื้น​ถิ่น​วา ปา​เหว หรือป​ า​เหี้ยว ดวย​เหตุ​ที่วา​ชาว​ลาน​นา​นั้น​ไม​ นิยมจัดตั้ง​ศพ​หรือ​สงสการ​ศพ​ที่วัด ดวย​เหตุ​ที่วา​ดู​เปน​การนำ�​ของ​ เนาเสียของ​ไมดี​ไป​ไว​ให​เปน​มลทิน​แก​เขต​พุทธาวาส) อัน​เปนการ​ สง​ดวงวิญญาณ​ไป​สู​สรวงสวรรค​ชั้น​เทวโลก เพื่อให​นก​หัสดี​ลิงค​ ได​นำ�พา​ดวงวิญญาณ​ผูวายชนม​ได​ขาม​ผาน​ปา​หิมพานต ปา​แหง​ กิเลส และ​อกุศลกรรม​ดังกลาว​ขางตน​แลว ใน​บาง​วัฒนธรรม​ยัง​เชื่อ​ วา​นก​หัสดี​ลิงค​นั้น อาจจะ​นำ�​ราง​ผูวายชนม​ไป​กิน​เปน​อาหาร​เสีย​เอง จึง​มี​พิธีการ​ใช​รางทรง​ยิง​ลูกศร​พิเศษ​ใส​นก เพื่อ​เปนการ​สะกด​นก​

เพือ่ ​ลด​ฝนุ เนือ่ ง​มาจาก​การ​จดั งาน​ใน​ชว ง​หนาแลง ประกอบ​กบั ​การ​ โปรย​ขา วตอก​ดอกไม และ​จดุ ​ประทัด​ดอกไมไฟเสริมสราง​จนิ ตนาการ​ ให​ประหนึง่ ​การ​เคลือ่ นที​บ่ นิ ​มา​ของ​พญา​นก​ขนาดใหญ จน​ท�ำ ให​ปา ​ หิมพานต​ทง้ั ​ปา ​เกิด​การ​โกลาหล ซึง่ ​ใน​ปจ จุบนั ปราสาท​นก​หสั ดี​ลงิ ค​ นิยม​ใช​ใน​พธิ ศี พ​ของ​พระ​เถระ​ชน้ั ​ผใู หญ​เทานัน้ ซึง่ ​ใน​การ​ชกั ลาก​จะ​ ตอง​ใช​ระยะเวลา​ยาวนาน​กวา​จะ​ถงึ ​จดุ หมาย เนือ่ งจาก​ไมม​คี นั บังคับ​ จึง​ได​ใช​ไม​แมแรง​ใน​การ​งดั ​ไม​แม​เรือ​เพือ่ ​บงั คับ​ทศิ ทาง ศรัทธา​ผคู น​ ชวยเหลือ​จงึ ​มา​กนั ​อยาง​แนนขนัด​ลน หลาม บริเวณ​ที่ตั้ง​เปน​จิตกาธาน​สำ�หรับ​เผา​ราง​ผูวายชนม จะ​มี​ การ​ปลูก​ปะรำ�​พิธี​หรือ​ผาม​เปยง​สำ�หรับ​พัก​หลบ​แดด สำ�หรับ​สถาน ที่​เผา​นั้น​จะ​กั้นรั้ว​ราช​วัตร​กำ�หนด​ปริมณฑล​เปน​รูป ๔ เหลี่ยม​จัตุรัส กำ�หนด​พื้นที่​ไว​อยาง​ชัดเจน โดย​มี​แผนผัง​แบบ​โบราณ​ประเพณี​คือ แบบ​ที่ ๑ คือ​การ​กั้นรั้ว​ราช​วัตร​ทั้ง ๔ มุม โดย​มี​จิตกาธาน​เปน​ ประธาน​ตรงกลาง แลว​กั้น​รม​หรือ​ฉัตร​ประจำ�​ไว​แตละ​มุม แบบ​ที่ ๒ คือ​การ​กั้นรั้ว​ราช​วัตร​ทั้ง ๔ มุม โดย​มี​จิตกาธาน​เปน​ ประธาน​ตรงกลาง แลว​กั้น​รม​หรือ​ฉัตร เครื่องยศ​ตางๆ โดย​มี​ซุม​หรือ​ บันได หรือ​ประตู​ทาง​ขน้ึ ​ส​จู ติ กาธาน​อยู​ใ น​แตละ​ดา น​ของ​จติ กาธาน แบบ​ท่ี ๓ คือ​การ​กน้ั รัว้ ​ราช​วตั ร​ทง้ั ๔ มุม แลว​ตง้ั ​ปราสาท​ทศิ ​ไว​ใน​แตละ​ มุม​ของ​รว้ั ​ราช​วตั ร ใน​ปราสาท​แตละ​มมุ ​น​น้ี ยิ ม​ตง้ั ​เครือ่ งยศ อิสริยาภรณ​

เมื่อ​ทุกอยาง​สงบลง พิธีการ​สำ�คัญ​ก็​จะ​เริ่มขึ้น​ดวย​การ​ที่​ พอ​ปู​อาจารย​ผูอาวุโส​กลาว​คำ�​สรรเสริญ​คุณ​งาม​ความ​ดี​ของ​ผูวาย ชนม พรอมทั้ง​กลาว​คำ�​ขอขมา​อโหสิกรรม หลังจากนั้น​ประธาน​ใน​ พิธีการ​จะ​จุด​สายมะ​ผาบ คือ​ชนวน​ที่​วิ่ง​เขาสู​ดอกไมไฟ​ตางๆ ​ ในขณะ​เดียวกัน​วงดนตรี​ปพาทย​ก็​จะ​บรรเลง​รับ​ดวย​จังหวะ​เราใจ หาก​เปน​ศพ​ของ​พระ​เถระ​หลังจาก​จุด​ไฟ​ประชุม​เพลิง​เผา​ปราสาท​ แลว ​ญาติโยม​รวมทั้ง​ลูกศิษย​ลูก​หา​ของ​พระ​เถระ​ที่​มรณภาพ​จะ​รอ​ แยง​ผา​เพดาน​ที่​เปลวเพลิง​กำ�ลัง​ลุกไหม​ลาม​เลีย​ที่​ผาจีวร​เพดาน​ถา​ ไฟไหม​ทะลุ​ผา​เปน​รู​เชื่อ​กัน​วา​ดวงวิญญาณ​จะ​ขึ้น​สู​สวรรค​โดย​ตรง ถา​ไฟไหม​จีวร​เพดาน​หมด​แสดงวา​ผูวายชนม​ได​นำ�​ความรู​ ความ​สามารถ คาถาอาคม​ไป​กับ​ดวงวิญญาณ​ทั้งหมด แต​ถา​ ไฟไหม​ไม​หมด​จีวร​เพดาน​ขาด​ปลิว​ลงมา แสดงวา​จง​ใจ​ให​คาถา อาคม​ทิ้ง​ไว​แก​ลูกศิษย จึง​มี​การ​แยง​เศษ​จีวร​เพดาน​นี้ อยาง​เอา​เปน​ เอาตาย​เพื่อ​เก็บ​ไว​เปน​เครื่อง​สัก​การ​บูชา เปน​วัตถุมงคล​ติดตัว​ใน​ หนึ่ง​ของ​ผาจีวร​นั้น คือ​การ​กาง​กั้น​ผาจีวร​เพดาน เพื่อ​ปองกัน​มิ​ให​ เพลิง​ที่​เผา​ราง​ผูวายชนม​ลุกลาม​ไหม​ไป​ติด​ยัง​เทวโลก พรหม​โลก ​ ให​ไหม​ไป​เฉพาะ​เพดาน​ของ​จักรวาล​ที่​กาง​กั้น​อยู ดวยวา​ผู​ที่​สามารถ​ ได​มี​ปราสาท​นก​หัสดี​ลิงค​รองรับ​ราง​เพื่อ​เปน​จิตกาธาน​ได​นั้น​ตอง​ เปน​บุคคล​ที่​เปยม​ไป​ดวย​บารมี​สูง​มิใช​บุคคล​ธรรมดา เชน​เปนที่​ เคารพ​เชื่อถือ​ใน​สังคม​จึง​มี​ผูคน​ศรัทธา​มากมาย มา​รวมมือ​รวมแรง​ กัน​ทำ�พิธี​สงสการ​ดังนั้น​ไฟ​ที่​ใช​เผา​ราง​จึง​มาจาก​พลัง​แหง​ศรัทธา​ และ​ความ​เคารพ​เชื่อถือ อัน​เปนไฟ​ที่​บริสุทธิ์​จึง​สามารถ​ลุกลาม​ไป​ให​ รอน​ได​ถงึ ​เทว​ภมู ิ สวรรค และ​พรหม​โลก ดวย​บารมี​ของ​ผวู ายชนม​นน้ั ผา​เพดาน​จึง​ทำ�หนาที่​กั้น​มิ​ให​เทว​ภูมิ​มอดไหม​ลง หลัง​จากทำ�การ​สงสการ​แลวเสร็จ ๒-๓ วัน จะ​ตอง​ทำ�​ พิธีการ​เก็บ​กระดูก​ไป​ทำ�พิธี​บังสุกุล และ​การ​กอ​กระดูก บรรจุ​ไว​ใน กู​หรือ​สถูปเจดีย เพื่อให​ได​บูชา​และ​อุทิศ​สวนกุศล​ใน​โอกาส​ตอไป สวน​เถา​กระดูก จะ​ถูก​นำ�ไป​กอ​เปน​เจดีย​ทราย​ที่ริมฝง​แมน้ำ� และ​ เมื่อ​ถึง​ฤดูฝน​ผาน​มา เจดีย​ทราย​ที่​กอ​ไว ก็​จะ​ไหล​ไป​ตาม​สายน้ำ� สันนิษฐาน​วา​คงจะ​เปน​คติ​ความ​เชื่อ​สาย​พราหมณ​เกี่ยวกับ​การ​ได​ ขึ้น​สู​สวรรค​จาก​การ​ยอน​ลำ�น้ำ�​คงคา​​นั้น​เอง

Arts May 2010

11


Arts Instructor ต่อจากหน้า 23

​ สรางขึ้นมาจากผลงานประติมากรรมขนาดใหญกวาปกติบาง หรือ การนำ�เศษวัสดุที่ไดมาจากสวนประกอบของรถยนต ทอไอเสีย เครื่องยนต ตลอดรวมถึงผลิตภัณฑและเครื่องใชไมสอยที่เรียบงาย ธรรมดาที่หาไดจากหองครัวในเขตชนบทภาคเหนือ ฝาไมกระดาน กระบอกไมไผ และเศษวัสดุจากสิ่งกอสราง ฯลฯ เหลานี้ลวนถูก​ นำ�มาใชเปนวัตถุดิบในการนำ�มาสังเคราะหเพื่อสราง สรรคผลงานศิลปะ เหมือนตัวอักขระที่ถูกนำ�มาผสม ผสานตามหลักไวยกรณทางทัศนศิลปเพื่อสรางคำ� ใหมๆ และเนื้อหาใหมๆ ใหปรากฏตามพลังความคิด และจิตวิญญานของศิลปน

กับ localization (การทำ�ใหเปนเฉพาะถิ่น เฉพาะตัว การ ทำ�ใหเปนทองถิ่น)

ไปทั่วหองจัดแสดงผลงานฯ และแขกที่มาเปดงานตางสัมผัสกับ บรรยากาศที่รอนอบอาวภายในหองกระจกนั้น

จากผลงานที่ปรากฏ บางทีศิลปนกำ�ลังจะสะทอนถึง ความเปนกบฎและความยอนแยงของตัวเองผานเกาอี้โยเอียง ​ ดิบหยาบ ที่มีตอโลกศิลปะที่ถูกครอบงำ�โดยอำ�นาจนำ�ทางศิลปะ ของตะวันตก(hegemony of western art) ซึ่งประกาศชัยชนะของ ตัวมันผานคำ�วาโลกาภิวัตน – Globalization มันแถลงวา โลกกำ�ลัง

ในภาษาอังกฤษโบราณ คำ�วา Stofa หมายถึงพื้นที่ ปดลอมในลักษณะเปนหองๆ หนึ่ง และมีเตาไฟ (stove) อยูภายใน (ปจจุบันเรียกวา”หองครัว”) จนกระทั่งคริสตศตวรรษที่ 19 คำ�วา stove ไดถูกนำ�มาใชในความหมาย”หองที่ใหความรอน” ซึ่ง Joseph Bank นักพฤกษศาสตรชาวอังกฤษยืนยันวา เขาไดเก็บรักษา พืชพันธุอ นั มีคา หลากหลายชนิดจากทัว่ โลก ​ ในหองใหความรอนนี้ (stove) สวน Rene Descartes สังเกตวา การที่เขาไดมาซึ่งแรงบันดาล ใจทางปรัชญาอันยิ่งใหญนั้น สวนใหญขณะที่นั่ง อยูในหองใหความอบอุนนี้ (stove) ซึ่งไมใชเรื่อง​ นาแปลกประหลาดใจแตประการใด

ผลงานประติมากรรมขนาดใหญ ซึ่งเปน​ ผลงานศิลปกรรมแบบติดตั้งที่นาประทับใจชุดหนึ่ง ไดถูกนำ�ออกแสดงในนิทรรศการศิลปะสวนตัวที่หอง แสดงภาพคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ใน ชุดการแสดงที่ชื่อวา “หลังพิงฝา” เกาอี้ลำ�บาก ถูกนำ� เสนอออกมาในรูปเกาอี้ไมขนาดใหญกวาปกติมาก (giant size) เกาอี้ดังกลาวมีลักษณะโยเอียงไปดาน​ พนักพิง ขาเกาอี้มีขนาดใหญและสูงต่ำ�ไมเทากัน โดย นำ�ไปติดตั้งอิงกับฝาผนังดานหนึ่งของหองแสดง​ ภาพฯ บนสวนที่นั่งของเกาอี้ถูกทำ�ในลักษณะที่ เอียงลาด เทลงมา เพื่อวาผูประสงคจะนั่งเกาอี้ตัวนี้ จะประสบกับความยากลำ�บาก ความไมสะดวก และ ความไมมั่นคง เพราะผูนั่งตองคอยระมัดระวังเรื่อง การทรงตัว ความไมแข็งแรงและการไรเสถียรภาพของ เกาอี้ อีกทั้งเวลานั่งแลวยังจะตองใชเทาของตนเอง​ ยันพื้นตลอดเวลาเพื่อประคับประคองใหนั่งอยูได​ บนที่นั่งลาดเอียง เรือ่ งความเปนมาของเกาอีใ้ นประวัตศิ าสตร​ กลาวกันวา ในโลกอียิปตโบราณก็รูจักการใชเกาอี้​ กันแลวซึ่งสะทอนถึงความร่ำ�รวยและความสงางาม​ เกาอี้ในยุคนี้ทำ�จากไมมะเกลือ บางครั้งก็ทำ�มาจาก ​ งาชาง สวนกรีกโบราณเชนกัน สามารถนับยอนการ รูจักใชเกาอี้กลับไปไดถึง 6 ศตวรรษกอนคริสตศักราช สมัยราชวงศถังของจีน (ค.ศ.618-907) ที่นั่งสูงเริ่ม ปรากฏตัวขึ้นในหมูชนชั้นสูงของชาวจีนสมัยดังกลาว​ และตอมาไดแพรหลายทั่วไปในสังคมชาวจีน ​ พอมาถึงศตวรรษที่ 12 การนั่งพื้นก็แทบจะไมมีแลว​ ในประเทศจีน ซึ่งตางจากประเทศอื่นๆ ในเอเชียที่​ ยังคงวัฒนธรรมการนั่งพื้นมาจนกระทั่งทุกวันนี้ สวนในยุโรปสมัย เรอเนสซองค เกาอี้ไมไดเปนเครื่องใชพิเศษอีกตอไป แตกลายเปน​ เฟอรนิเจอรมาตรฐานที่ทุกคนซึ่งมีอำ�นาจซื้อสามารถจัดหามาเปน​ ของตนได กลาวในเชิงอุปลักษณ (metaphorical) “เกาอี้”​ เปรียบเสมือน ”ตำ�แหนงหนาที่การงานของผูคน” โดยเฉพาะ​ เกาอี้ขนาดใหญนั่น หมายถึงตำ�แหนงที่สูงสงซึ่งหลายคนที่​ คร่ำ�หวอดอยูในโลกสันนิวาส หรือโลกียธรรมปรารถนาที่จะเขาถึง​ เกาอี้เหลานั้น เดิมทีเรื่องในเชิงสัญลักษณนี้มีที่มาจากอังกฤษและ​ คานาดา โดยสภาลาง หรือสภา ผูแทนราษฎรฯ (House of Commons) ใชคำ�วา ”เกาอี้”​ เปนชื่อเรียกแทน” ตำ�แหนงอำ�นาจหนาที่” (The “chair”​ is still extensively used as the emblem of authority in the House of Commons in the United K ingdom and Canada) [ http://en.​ wikipedia.org/wiki/Chair] ศิลปนยังอธิบายเพิ่ม​ เติมตอไปวา ในยุคโลกาภิวัตน​ ที่ทองถิ่นไดรับผลกระทบ กระแทกดวย เกาอี้พิงฝาที่ ทำ�จากอำ�เภอแมแตง จังหวัด เชียงใหม เปนสัญลักษณของ ความเปนทองถิ่น อันเนื่อง​ มาจากความไมเปนไปตามหลัก​ สากล ความไมมั่นคงตาม มาตรฐาน ขนาดที่ไมไดสัด สวน และองคประกอบที่ทำ� ขึ้นมาจากเศษวัสดุดิบหยาบ เปนการจงใจของศิลปนที่จะ เสนอการปะทะกันอยางรุนแรง ระหวาง standardization (การ ทำ�ใหเปนมาตรฐานเดียวกัน) Globalization (โลกาภิวัตน) ​

12

Arts May 2008

Marcel Duchamp (1887-1968) จิตรกร ชาวฝรั่งเศส หนึ่งในศิลปนผูมีชื่อเสียงของลัทธิ ดาดา ไดยักยายโถปสสาวะจากหองสุขามาจัด แสดงในหองแสดงงานศิลปะ และเรียกชื่อมันวา “น้ำ�พุ”(fountain) นี่คือสิ่งที่หวนรำ�ลึกถึงเกี่ยวกับ ประสบการณทางศิลปะ เมื่อปะทะเขากับผลงาน เตาหุงตมจำ�นวนมากไดรับการนำ�มาจัดวางในหอง แสดงงานศิลปะ คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย เชียงใหม มันเปนการเปลี่ยนยายอุปกรณการหุงตม​ ที่เคยอยูในหองครัวของบานเรือนชาวชนบท มาจัด แสดงในสภาพที่พรอมใชงานโดยเพิ่มจำ�นวน ​ ณ หองแสดงนิทรรศการศิลปะเปนครั้งแรก โดย​ ผูชมทั้งหลายสามารถสัมผัสจับตองไดกับความ​ รอนที่แผคลุมบรรยากาศและยื้อแยงอ็อกซิเจน​ ไปจากลมหายใจของพวกเขา

แคบและเล็กลงตามลำ�ดับ ซึ่งในความเปนจริงเปนเรื่องตรงขาม และ ศิลปนยังคงยืนยันในความหลากหลายและความมีลักษณะเฉพาะ ตัวที่จะไมถูกครอบงำ�โดยแถลงการณที่ปนแตงขึ้นมาเองจากเรื่อง ราวปรัมปราหรือมายาคติ (myth) เหลานี้ นิทรรศการศิลปะอีกชุดหนึ่ง ซึ่งแสดง ณ หองแสดงภาพ เดียวกัน แตตางกรรมตางวาระ คือผลงานศิลปะการจัดวาง เตา​ หุงตมแบบชาวบานที่ใชถานไมเปนเชื้อเพลิงจำ�นวน 12 เตา ​ (คละเคลากันหลายขนาด) ในวันที่เปดนิทรรศการไดมีการจุด ไฟใหกับเตาหุงตมเหลานั้นจนแดงฉานทุกเตา สงอุณหภูมิความรอน

ในสภาพที่แตกตางไปจากเขตบรรยากาศ​ อบอุนของยุโรป แนนอน หองที่บรรจุเตาถานดังที่ได้ กล่าวไว้ในขางตนคงไมทำ�ใหใครเกิดแรงบันดาล ใจเชนเดียวกับนักพฤกษศาสตรชาวอังกฤษหรือ นักปรัชญาชาวฝรั่งเศสไปได แตที่เดนชัดคือ ผลงาน ทัศนศิลปชุดนี้ ไดนำ�พาเราใหขยับเขาไปใกลการ เปดรับประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของมนุษยไดเกือบ ทั้งหมด ผานผลงานศิลปะตาดู (visual art) (ชุดเตา หุงตมดวยเชื้อเพลิงถานไม) นับจาก (/) รูป (x) รส (/) กลิ่น (/) เสียง และ (/) สัมผัส จะขาด ก็แต “รส” เทานั้น ในขณะที่ผลงานศิลปะอื่นๆ ในหมวดเดีย วกันไมสามารถทำ�เชนนี้ได อีกชุดหนึ่งของงานศิลปะที่นาสนใจมาก และคอนขาง สอดคลองไปกับบุคลิกสวนตัวของ ศิลปนซึ่งชอบทองเที่ยวไปตาม เมืองตางๆ ในทองถิน่ ชนบท ดวยการสัมผัสกับบรรยากาศ สายหมอก​ และทะเล ก็คือ ผลงานศิลปะชุด Brown Air, Tree, Ocean, and Dirty Automobile ซง่ึ เขาไดสะทอนการเดินทางในชวงกวาสิบปหลังทีผ่ า น​ มานี้ในแงลบ บรรยากาศและสิ่งแวดลอมอันงดงามในเขตชนบท กระทั่งชายขอบเมือง ซึ่งเคยเปนสถานที่ในอุดมคติของชนชั้นกลาง กลับกลายเต็มไปดวยมลภาวะและความสกปรกที่หมกซอนตัว อยูตามซอกหลืบของธรรมชาติ บรรยากาศสีน้ำ�ตาลจากควันและ​ ไอเสียของการเผาปา สะทอน​ อยูทั่วไปในเขตจังหวัดภาค เหนือ รถยนตสวนตัวที่ชวงชิง กันไปยังสถานที่ยอดนิยมของ การทองเที่ยวในชวงวันหยุด ยาว กลายเปนภาพที่คุนตาของ ผูคนยุคนี้ สภาพการณเหลานี้ เปนปรากฎการณและดัชนีบงชี้ ถึงการคอยๆ พังทลายของ​ สิ่งแวดลอม ผลงานศิลปกรรมในชุด​ ที่กลาวถึงนี้ถูกนำ�เสนอผาน​ องคประกอบบางสวนของเศษ วัสดุที่ไดมาจากสวนประกอบ ของรถยนต ทอไอเสีย ประตูรถ และกระจกสองขาง ซึ่งถูกนำ�มา สังเคราะหเขาดวยกันผาน​ รูปลักษณและไวยากรณใหมๆ ไปตามพลังความคิดเชิงวิพากษ​ ของศิลปน ผลงานศิลปะที่ ประมวลขึ้นจากเศษวัสดุเหลานี้​ ไดถูกนำ�เสนอควบคูกันไปกับ​ ภาพถาย ซึ่งแสดงถึงการ เปลีย่ นแปลงของสภาพแวดลอม​ โลกไปอยางพลิกผัน แนนอน ที่ ศิลปนไมไดเสนอทางออก​ อะไรเปนรูปธรรมเหมือนกับ​ (อ่านต่อหน้า 13)


Art Instructor ต่อจากหน้า 12 นักวิชาการสังคมศาสตร์ เขาเพียงนำ�เสนอถึงสภาพการณ์ ชี้ให้เห็นถึงมูล เหตุของปัญหา ด้วยสายตาเชิงวิพากษ์และการวิเคราะห์ส่วนตัว พร้อมยก ระดับในสิ่งที่พบเห็นกันตามหน้าหนังสือพิมพ์ หรือบทวิพากษ์ในนิตยสาร รายสัปดาห์ที่มีอายุสั้นเพียงแค่วันเดียวหรือหนึ่งสัปดาห์ให้กลายเป็นเรื่อง ราวที่มีนัยสำ�คัญและมีอายุนานวันขึ้นบนกรอบโครงงานศิลปะ และถูกนำ�ไป แขวนยังห้องแสดงภาพ เสมือนหนึ่งเป็นป้ายสัญญาณเตือนภัยที่คอยส่งสาร (Message) ย้ำ�อยู่ตลอดเวลาว่าถึงเวลาแล้ว ที่ต้องมีการช่วยกันคิดและลงมือ ทำ�เพื่อแก้ไขปัญหาเหล่านี้ให้ดีขึ้น ในช่วง 2-3 ปีหลังมานี้ อ.เกศ ได้หวนกลับมาทำ�งานศิลปะในสไตล์ Abstract Expressionism เป็นส่วนใหญ่ ซึง่ พัฒนาการไปมากจากประสบการณ์ ส่วนตัวทีส่ ง่ั สมและสนใจในงานศิลปะสไตล์นม้ี าเป็นเวลานาน สีทค่ี รัง้ หนึง่ เมือ่ ยีส่ บิ ปีกอ่ นซึง่ เคยทับซ้อนกันอย่างตุน่ ๆ และดูปราศจากความสดใส ทึบตัน ได้ปรับใหม่ไปสูส่ ที โ่ี ปร่งแสง ซ้อนทับกันหลายระดับคล้ายดังผลึกคริสทอล อย่างเต็มไปด้วยชัน้ เชิงมีการหยดหยาดสีอย่างเป็นธรรมชาติ และพับผืนผ้าใบ ในขณะทีส่ ยี งั คงเปียกอยู่ ทำ�เช่นนีห้ ลายครัง้ จนได้ผลออกมาตามความ ต้องการและให้ความรูส้ กึ พึงใจ บางครัง้ ก็น�ำ งานอีกชิน้ หนึง่ ซึง่ ทำ�คูก่ นั ขณะที่ สียงั ไม่แห้งมาทับและลากให้งานสองชิน้ ถูเข้าด้วยกัน ศิลปินกล่าวเองว่านี่ คล้ายกับการสังวาส (sexual intercourse) ของงานทัง้ สองชิน้ อาจารย์เกศ เลือกใชเทคนิคสีอะคลายลิคมาเปนวัตถุธาตุในการ ทำ�งานจิตรกรรมนามธรรมเขยาอารมณน้ี โดยอธิบายผลงานศิลปะของตนเอง วา เปนการมองธรรมชาติและสิง่ แวดลอมจากใจ มิไดเพงพิศผานมานตา สวน เนือ้ หานัน้ ไมไดใหความสนใจวาจะตอบโจทยทางดานสังคมศาสตร และ มนุษยศาสตร (meaningless – ปราศจากความหมาย) ศิลปนกลาววา : “เมือ่ เรา สรางสรรคศลิ ปะปรากฏเปนรูปรางขึน้ มาครัง้ ใด ความหมายก็จะไปเกาะติด และใหค�ำ อธิบายต่อวัตถุชน้ิ นัน้ ทันที” ดังนัน้ เขาจึงจงใจทีจ่ ะไมท�ำ ใหผลงาน จิตรกรรมของตนปรากฏเปนรูปลักษณใด ขึน้ มา (non-figurative) เพือ่ หลีกเลีย่ ง ความหมาย คำ�อธิบาย หรือคำ�พูดทีถ่ กู สมองซีกซายจะรุกเขามาบงการ เขาเพียงตองการใหผลงานศิลปะนามธรรมสัน่ สะเทือนอารมณความรูส กึ ของ ผูค น ตองการใหจติ วิญญานสัมผัสกับความคลุมเครือ การไรขอบเขตทีค่ มแข็ง ของกรอบโครงของวัตถุ และสีสรรอันชุม ฉ่�ำ ซอนทับกันอยางเปดเผยซึง่ หลุด รอดพนไปจากรูปธรรมทัง้ ปวง เกศ ชวนะลิขิกร ไดเดินทางสายศิลปนและผูสอนศิลปะในระดับ อุดมศึกษามายาวนาน เขาทำ�งานหลากหลายประเภทศิลปะในหัวเรือ่ งและ เนือ้ หา ตลอดรวมถึงเทคนิคทีแ่ ตกตางหลากชนิด เคยรวมงานแสดงกับ Chiang Mai Social Installation นอกจากนี้ผลงานที่ผูเขียนปรารถนาที่จะเรียกวา “หมาขี้เรื้อน” หรือในชื่อภาษาอังกฤษ “Sad Dog” ของเขาอันโดงดังก็ยังคง ความประทับใจและความสะอิดสะเอียนแบบเศราปนสุขอยางรวยรินในหัว ใจของผูคนที่สนใจเฝามองงานศิลปกรรมของศิลปนทานนี้ อ.เกศ ยังไมหยุดที่จะพรรณาสังคม เฝาสังเกตสิ่งแวดลอม ธรรมชาติ และปฏิสัมพันธกับชาวบาน ผานมานตา อารมณ สมอง และหัวใจ และถายทอดสิ่งเหลานี้ออกมาผานแปรง พูกัน จานสี และเศษวัสดุที่หามา อยางพิถีพิถัน (*) Chiang Mai Social installation คือการนำ�เสนอผลงานศิลปะการ จัดวางที่สรางขึ้นบนพื้นที่เปดโลงสาธารณะทั่วจังหวัดเชียงใหม ไมวาจะเปน สวนหยอม คูเมือง วัด ตลาด สุสาน สะพาน และสิ่งกอสรางที่รกราง ฯลฯ ซึ่ง ริเริ่มโดย อ.อุทิศ อติมานะ และเพื่อนศิลปนจำ�นวนมากในจังหวัดเชียงใหม รวมกันนำ�เสนอ จนมีชื่อเสียงระดับโลกเมื่อสิบกวาปที่แลว WINDOW DISPLAY ต่อจากหน้า 5 ​ ดวย​เหตุ​แหง​ความ​สำ�คัญ​เชนนี้ ​จึง​ทำ�​ให​หาง​ดัง​ระดับโลก ​ไมวา​จะ​ เปน ​L​ib​ ​er​ ​t​y​,​​H​ar​ ​r​od​ ​s​,​​M​ar​ ​k​​a​nd​ ​​S​p​en​ c​ e​ r​ ​,​L​.​K​.​B​er​ ​ne​ t​​t​​หรือ ​U​ni​t​​ed​ ​​co​ ​ l​or​ ​s​​of​​​B​an​ e​ t​​t​on​ ​​ฯลฯ โดดเดน​กวา​หาง​สรรพ​ สินคา​นับ​ลาน​บน​ดาว​เคราะห​ดวง​นี้ เปน​หัว​มังกร ​ไม​ใช​กิเลน​สี่​ขา​ที่​เดิน​ ตามหลัง​คน​อื่น ​ความ​โดดเดน​สะดุดตา​นี้​นำ�มาซึ่ง​ยอดขาย​และ​ปรับ​เปลี่ยน​ วัฒนธรรม​ของ​การ​บริโภค​พรอม​ไป​กับ​รสนิยม​ของ​ผูคน​​ บน​โลก​ไป​อยาง​กา ว​กระโดด ​สราง​ส�ำ นึก​รว ม​ความ​เปนพวก​เดียว​กนั ​ ​แม​จะ​อยู​กัน​คนละ​มุม​โลก​ขึ้น​มา​อยาง​ที่​ไมเคย​มี​มา​ในอดีต ​ ​ การ​อานหนังสือ​เลม​นี้​จะ​ให​ความรู​ขางตน​แก​ผูอาน​ตลอด​เวลา​ที่​พลิก​ ไป ​แตละ​บท​ได​นำ�เสนอ​ถึง​ความ​สำ�คัญ​ของ​กระบวนการ ​ขั้นตอน ​และ​วิธี การ​ออก​แบบ​ตก​แตงหนา​ราน ​เพื่อ​นำ�ไปสู​เปาหมาย​ตาม​วัตถุ​ประสงค ​ดวย​ สำ�นวน​ภาษา​ที่​ราบรื่น ​ชวน​ติดตาม​อยางยิ่ง ​ที่​สำ�คัญ​คือ ​ความรู​ใหม​ที่​ถูก​ นำ�เสนอ​อยาง​เปนระบบ​ระเบียบ ​ชัดเจน​ดวย​ภาพประกอบ​พรอม​คำ�​อธิบาย ​ และ​เชิงอรรถ ​ที่​ตอบสนอง​ความ​สน​ใจ​และ​การ​นำ�ไป​ใช​ประโยชน​ได​จริง ​ ​ ความ​กังวล​ใจ​และ​หมั่น​ปรับปรุง​ตนฉบับ​ของ ​ผศ.​สุนัน​ทา ​รัตนา​วะดี ​ จนกระทั่ง​เลยกำ�หนด​จัดพิมพ​ตาม​ตารางเวลา​ของ ​ “​โครงการ​ตำ�รา​ศิลปะ ​สื่อ​ศิลปะ ​และ​การ​ออก​แบบ”​ของ ​คณะ​วิจิตรศิลป ​ มหาวิทยาลัย​เชียง​ใหม ​นับวา​เปนความ​เอา​ใจ​ใส​ที่​คุมคา​สำ�หรับ​แก​การ​รอ คอย ​และ​ผม​ตอง​สารภาพ​อีกครั้ง​วา ​ “​ผม​ชวย​อะไร​ไมได​จริงๆ​​แต​ผม​เรียนรู​จาก​หนังสือ​เลม​นี้​ได”​

สตรีชาวสยาม แห่งเมืองอันน๊อต ต่อจากหน้า 14 ซ​ ัลวาดอร ​ดา​ลี ​ซึ่ง​ทรง​ได​เคย​พบ​มา​กอนหนา​นี้ ​ในขณะ​ที่​เขา​เยี่ยมชม​หอง​ศิลป​นิทรรศ​มารศี ​หรือ​ในขณะ​ที่​พลิก​ดู​หนังสือ​รวบรวม​ ผล​งานศิลปะ​ของ​ทาน ​ผูชม​หรือ​ผู​ที่​อาน​จะ​ไม​สามารถ​นิ่งเฉย​อยู​ได ​ประหนึ่ง​ตื่น​จาก​ภวังค​เขา​ดื่มด่ำ�​สู​โลก​แหง​จินตนาการ​ที่​ตอง​ตีความ​ สัญลักษณ​นี้ ​ใน​โลก​แหง​ความ​ฝน ​ที่​แฝง​ดวย​มนต​ขลัง ​มี​ความ​ลึกลับ ​และ​นา​คนหา ​สื่อ​ถึง ​สัญชาติ​ญาณ​แหง​ความ​รัก​ของ​เทพ​อี​รอส​​ และ​สัญชาติ​ญาณ​แหง​ความ​ตาย​ของ​เทพ​ตา​นาตอส ​ซึ่ง​มี​ความ​สำ�คัญตอ ​ซิก​มันด ​ฟ​รอยด ​ปรากฏ​อยู ​สรรพ​สีสัน​และ​เรื่อง​ที่​หลากหลาย​ ของ​หมอม​เจาหญิง​มารศี​เปรียบได​กับ​จาน​สี​แหง​ความรูสึก​ที่​จะ​เกิดขึ้น​ใน​หัว​ใจ​ของ​ศิลปน​สมัครเลน​หรือ​ผู​ที่​สน​ใจ​งานศิลปะ ​หนังสือ​ รวบรวม​ผล​งานศิลปะ​นี้ ​จะ​เปน​เครื่องมือ​ที่​มี​คุณคา​ใน​การ​ที่​ไดรับ​แรง​บันดาล​ใจ​จาก​นิทาน​หรือ​ตำ�นาน​ของ​สยาม​เฉกเชน​เดียว​กับ​ตำ�นาน​ จาก​ยุโรป ใน​หนังสือ​เลม​นี้ ​ดร.​อภินันท ​โปษ​ยา​นันท ​ปรารถนา​จะ​ถวาย​เกียรติ​นี้​ให​กับ​หมอม​เจาหญิง​มารศี ​และ​หวัง​วา ​ศูนย​ศิลป​ วัฒนธรรม​กรุงเทพฯ ​ซึ่ง​เปด​ใน​เดือน​กรกฎาคม ​25​ 5​ 1​ ​นั้น ​จะ​มี​โอกาส​รวบรวม​ผล​งานศิลปะ​ของ​หมอม​เจาหญิง​มารศี​ใน​นิทรรศการ​ถาวร ​ เพราะ​งาน​ของ​ทา น​เปน​สญ ั ญาณ​อนั ​เดนชัด​ท​เ่ี กิดขึน้ ​ใน​แวดวง​ศลิ ปะ​ของ​ประเทศ​ไทย​และ​ใน​ยคุ ​โลกาภิวตั น​น้ี ​อัต​ลักษณ​ดาน​วัฒนธรรม​​ ดูเหมือน​จะ​รวม​เขา​เปน​สวนหนึ่ง​ของ​งานศิลปะ​รวมสมัย ​การ​คนพบ​การ​ผสม​ผสาน​สอง​วัฒนธรรม​ใน​งานศิลปะ​ของ​หมอม​เจาหญิง​ มารศี​แสดง​ให​เห็น​ถึง​ความ​สมบูรณ​ของ​สอง​วัฒนธรรม ​ตะวันออก​และ​ตะวันตก ​ซึ่ง​โดย​บอยครั้ง​จะ​ถูก​ลดความสำ�คัญ​เปน​เชิง​ปฏิปกษ​ กัน​อยู​แลว​ วัง​สวนผักกาด​สรางขึ้น​บน​ที่ดิน​ซึ่ง​ในอดีต​เคย​เปน​แปลงผักกาด​ปจจุบัน​ตั้งอยู​บน​พื้นที่ ๖ ไร บริเวณ​ถนน​ศรี​อยุธยา ​กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑส​ วนผักกาด​เปด​ให​ชม​ทุกวัน​ตั้งแต 9.00น.-15.00น. หนังสือ​รวบรวม​ผล​งาน​นี้​เผยแพร​ใน​เดือน มกราคม พ.ศ.2553 ใน 3 ภาษา คือ ภาษาไทย อังกฤษ​และ​ฝรั่งเศส ผูเขียน​ บทความ​ขอ​แนะนำ�​ให​ผู​สนใจ​แวะเยี่ยม​วัง​สวนผักกาด เพราะ​เปน​สถานที่​จัดแสดง​งานศิลปะ​ที่​สมบูรณ​ยิ่ง​และ​เปนการ​เริ่มตน​ทำ�ความ​ รูจัก​กับ​หมอมเจา​มารศี​ได

Arts May 2010

13


สตรี ช ​ าว​ ส ยาม ​ แหง​เมือง​อันน​ ็อต ​หมอม​เจาหญิง ม​ ารศี ​สุขุม​พันธุ ​บริพัตร

ในประเทศ​ไทย​จน​สำ�เร็จ​การ​ศึกษา​ใน​ชั้น​มัธยมศึกษา​ตอนปลาย​จาก​ โรงเรียน​มา​แตรเด​อี​วิทยาลัย ​หลังจาก​นั้น​ทานหญิง​เสด็จ​กลับ​ไป​ยุโรป​ อีกครั้ง​เพื่อ​ทรง​ศึกษา​ภาษา​ฝรั่งเศส​ในประเทศ​สวิต​เซอร​แลนด​เปน เวลา ​4​​ป ​กอน​ที่​จะ​ทรง​ศึกษา​ระดับ​ปริญญาเอก​ทาง​วรรณคดี​ฝรั่งเศส​ ศตวรรษ​ที่ 1​9​​และ ​20​ ​​​ณ ​มหาวิทยาลัย​ซอร​บอนน ​กรุง​ปารีส ​ ทานหญิง​ทรง​มี​สายสัมพันธ​พิเศษ​กับ​ประเทศ​ฝรั่งเศส​และ​ทรง​รักษา​ ไว​ตลอด​พระ​ชนม​ชีพ​โดย​ที่​ทาน​ยังคง​ประทับ​อยู​ในประเทศ​นี้ ​​พูด​ให​ ชัด​ก็​คือ​ที่อัน​น็อต​ซึ่ง​เปน​หมู​บานเล็กๆ​มี​ประชากร ​1,​​00​ 0​ ​​กวา​คน​ใน ​ A​lp​ ​es​ ​-​d​e-​ ​H​au​ t​​e-​ ​P​r​ov​ ​en​ c​ e​ ​​​ทาง​ตอน​ใต​ของ​ฝรั่งเศส ​ที่​ทานหญิง​ ประทับ ​แวดลอม​ดวย​บรรดา​สรรพสัตว​และ​สัตว​ใน​จินตนาการ​เหมือน กับ​จิตรกร​สัญลักษณ​นิยม​คน​หนึ่ง​ที่​มี​ชีวิต​เหนือ​โลก​แหง​ความ​เปนจริง ​ เหนือ​กาล​เวลา ​ทรง​ใชชีวิต​ใน​โลก​แหง​ความ​ฝน​ซึ่ง​เปน​แรงบั​ลดาล​ใจ​​ ใน​งานศิลปะ​ของ​ทาน บทความ​นี้​ตองการ​จะ​สื่อ​ให​ผูอาน​ได​ทราบ​ถึง​ที่มา​ของ​​ สัมพันธ​ระหวาง​หมอม​เจาหญิง​มารศี​กับ​โลก​แหง​ศิลปะ​ของ​ทาน ​ โดย​ม​แี รงบั​ลดาล​ใจจาก​เสด็จ​พอ ​ของ​ทา นหญิง​ผทู รง​เปน​ศลิ ปน​ สมัครเลน​ที่​ทรง​สนับสนุน​พระ​ธิดา​ให​เกิด​ความ​สน​พระทัย​ใน​งาน ศิลปะ ทานหญิง​ทรง​พบ​ศักยภาพ​ของ​ทาน​เอง ​ขณะ​ที่​ทรง​ศึกษา​อยู​ ที่​ประเทศ​สวิต​เซอร​แลนด​โดย​ความ​ชวยเหลือ​จาก​ครู​สอน​ศิลปะ​และ​ ภรรยา​ของ​เขา​ซึ่ง​เปน​จิตรกร​เชน​กัน ​ความ​สามารถ​นี้​กระตุน​ให​ ทานหญิง​ทรง​กระหาย​ที่​จะ​คนพบ ​เมื่อ​ทานหญิง​ทรง​เดินทาง​ไป​ชื่นชม​ ศิลปะ​ในประเทศ​อิตาลี ​ประเทศ​สเปน ​และ​ประเทศ​ฝรั่งเศส ​ก็ทรง​เกิด​ แรง​บันดาล​ใจ​มากมาย ​ในประเทศ​ฝรั่งเศส​หมอม​เจาหญิง​มารศี ​ทรง​ เขากลุม​ศิลปน​ชาว​ปารีส​ซึ่ง​ได​สนับสนุน​ให​ทานหญิง​แสดง​นิทรรศการ​ ภาพ​ศิลปะ​ของ​ทาน ​หมอม​เจาหญิง​มารศี​มิได​ปรารถนา ​ชื่อเสียง​ใดๆ​​​ ทรง​ขอ​เพียง​แต ​“​เปน​ที่​รูจัก​ใน​ชุมชน​ทองถิ่น”​​ทรง​ดำ�เนิน​แนวทาง​ ศิลปะ​แบบ​เรียบงาย​ไม​ทะเยอทะยาน อ​ ยางไร​ก็ตาม ​ฌอรจ ​โบล​แอส ​ เมื่อ​ได​เห็น​งานศิลปะ​ของ​หมอม​เจาหญิง​มารศี ​กลาว​ไว​วา ​:​​“​งาน​ของ​ ​ทานหญิง​มี​พลัง​ที่​ไม​ธรรมดา ​ซึ่ง​ทำ�​ให​ทรง​ไดรับ​การ​ยกยอง​ให​อยู​ใน​ กลุม ​ศลิ ปน​สตรี​ท​อ่ี ยู​ใ น​ระดับ​แนวหนา​ของ​ศตวรรษ​ท่ี ​20​​เลย​ทเี ดียว”​​ ถึง​แม​การ​กลาว​ชื่นชม​ทานหญิง​มากมาย ​จะ​อธิบาย​ได​วา​อยางไร​ ทำ�ไม​ไม​ทรง​จึง​เปน​ที่​รูจัก​มาก​นัก​ในประเทศ​ไทย ​เหตุผล​ที่​อธิบาย​ ไดดี​ที่สุด​ประการ​หนึ่ง​ก็​คือ ​งานศิลปะ​สวน​ใหญ​ของ​ทานหญิง​นั้น​ถูก​ เก็บ​เปน​สมบัติ​สวนตัว​ของ​นัก​สะสม ​ซึ่ง​ทำ�​ให​คน​ทั่วไป​ในประเทศ​ไทย​ ไม​สามารถ​เขา​ชม​ได ​การ​ที่​จะ​เผย​แพร​งานศิลปะ​ของ​ทานหญิง​นั้น​มี​ สอง​ทาง​คือ ​ในทาง​ที่หนึ่ง​จะ​ตอง​มี​การ​เปด​หอง​จัด​แสดง​งานศิลปะ​ใน​ พระนาม​ของ​ทาน​และ​อีก​ทาง​หนึ่ง​ที่สอง​คือ​จะ​ตอง​มี​การ​ทำ�หนังสือ​ รวบรวม​งานศิลปะ​ของ​ทาน​ให​แพรหลาย

​ การ​จัดตั้ง​ศูนย​ศิลป​าคาร ​จุมภฏ-​พันธุ​ทิพยขึ้​นภาย​ใน​ ​วงั ​สวนผักกาดใน​ปพ .​ศ.​2​5​3​9​​ท​ซ่ี ง่ึ ​กอ นหนา​น​ไ้ี ด​ถกู ​จดั ​ท�ำ เปน​พพิ ธิ ภัณฑ​ มา​ตั้ง​แต​ปพ.​ศ.​​24​ 9​ 5​ ​​​และ​หอง​ศิลป​นิทรรศ​มารศี​ตั้ง​อยู​บนชั้นสอง​ ​ของ​ศูนย​ศิลปะ​แหงนี้ ​ซึ่ง​มี​การ​จัด​แสดงผล​งาน​ของ​ศิลปน​รวมสมัย​ อยาง​สม่ำ�เสมอ

​S​éb​as​ ​t​ie​ n​ ​​Ta​ y​ ​ac​ ​​เขียน : เหรียญ ​หลอวิ​มงคล ​แปล ​ ประวัติ​ศาสตร​ศิลปะ​ก็​เฉกเชน​เดียว​กับ​มนุษยศาสตร​ กลาว​คือ​เปน​ศาสตร​ที่​แตกตางจาก​วิทยาศาสตร​ซึ่ง​ไม​อาจ​กลาว​ได​ วา​อะไร​ถูก​อะไร​ผิด ​ทำ�ไม​ศิลปน​บางคน​จึง​มี​ชื่อเสียง​ในขณะ​ท​ี่ บางคน​ไม​เปน​ที่​รูจัก ​คุณคา​ของ​ผล​งานศิลปะ​ของ​ศิลปน​คน​หนึ่ง​ ไม​จำ�เปน​ตอง​ขึ้น​อยู​กับ​ความ​มี​ชื่อเสียง​ของ​ศิลปน ​ดัง​นั้น​เมื่อ​ถึง​ โอกาส​ที่​จะ​เผย​ให​ศิลปน​ที่​มี​ความ​สามารถ​พิเศษ​แต​ยัง​ไม​เปน​ที่​รูจัก​ จึง​เปนเรื่อง​ปกติ​ที่​เรา​จะ​ชวย​ศิลปน​ผู​นี้​ให​ไดรับ​การ​ยกยอง ​นี่​คือ​กรณี​ ของ​หมอม​เจาหญิง​มารศี ​สุขุม​พันธ ​บริพัตร ​พระ​ธิดา​องค​เดียว​ใน​ พระองคเจา​จุมภฏ ​บริพัตร ​กรมหมื่น​นครสวรรค​ศักดิ์​พินิต​ (​พระ​ราช​นัดดา​ใน​พระบาท​สมเด็จพระ​จุลจอมเกลา​เจา​อยู​หัว)​​ กับ​หมอมราชวงศ​พันธุ​ทิพย ​เท​วกุล ​บริพัตร เมื่อ​ครั้ง​ที่​หมอม​เจาหญิง​ทรง​ชันษา 2​ป ​ใน​ป​พุทธศักราช ​ 2​47​ 5​ ​​ทานหญิง​และ​ครอบครัว​ทรง​จาก​ประเทศ​ไทย​ไป​ประทับ​ที่​ กรุง​ลอนดอน ​สหราชอาณาจักร​จนกระทั่ง ​8​​ชันษา ​จึง​เสด็จ​กลับ​ มา​ที่​กรุงเทพฯ​อีกครั้ง ​และ​ประทับ​ที่​วัง​สวนผักกาด​​และ​ทรง​ศึกษา​

14

Arts May 2008

​ นอกจากนี้​ยังมี​บุคคล​สำ�คัญ​อีก​สี่ทาน​ใน​โลก​ศิลปะ​ที่​ได​ มีสวนชวย​ให​สาธารณะ​ชน​ได​รูจัก​ทานหญิง ​โดย​เปน​ชาวไทย​สองทาน​ คือ ​ดร.​สุเมธ ​ชุมสาย ​ณ ​อยุธยา ​และ ​ดร.​อภินันท ​โปษ​ยา​นันท ​กับ​ ชาว​ฝรั่งเศส ​สอง​ทาน​คือ ​ฌอรจ ​โบล​แอส ​และ ​​ฟ​รอง​ซัวส ​ป ​ทั้งสอง​ เปน​อาจารย​ที่​มหาวิทยาลัย ​ปารีส ​ทั้ง​สี่ทาน​มี​สวนรวม​ใน​การ​จัด​ทำ� หนังสือ​รวบรวม​ผล​งานศิลปะ​ของ​หมอม​เจาหญิง​มารศี​​โดย​มี ดร.​สเุ มธ ​ ชุมสายฯ ​เขียน​คำ�นำ� ​สวน​อีก​สาม​ทาน​รวม​บรรยาย​เรื่องราว​ใน​โลก​แหง​ จินตนาการ​ของ​ทาน​และ​ชี้​ให​เห็น​ให​เห็น​ถึง​ปจจัย​ตางๆ ​ที่​มี​อิทธิพล​ตอ​ ผล​งาน​ของ​ทาน ​อิทธิพล​ที่​มี​มา​ตั้ง​แต​ยุค​เรอเนส​ซอง​จน​ถึง​ศิลปะ​ เฟ​ลม​มชิ ​นบั ​ตง้ั ​แต ​ฌอง-​อองตวน ​วตั ​โต ​จน​ถงึ กุส​ตาฟ ​โมโร นอกจากนี้​ ยังมี​อิทธิพล​ของ​ศิลปน​สตรี​อีก​มากมาย​เชน ​ฟริดา ​กาหโล,​​ฌอร​เจีย ​ โอ​คฟี  ​และเล​โอนอร ​ฟน ี ​บคุ คล​ดงั กลาว​ทง้ั ​ส่ี ​ตา ง​เขียน​บน​แผนกระดาษ ​ เชน​เดียว​กับ​ที่​ทานหญิง​ทรง​ได​ใช​พู​กัน​แตง​แตม​สีสัน​บน​ผืน​ผา​ใบ ​สิ่ง​น​ี้ ทำ�​ให​เรา​ได​เขา​ใจ​ชีวิต​และ​ผล​งาน​ของ​ทาน​งาย​ขึ้น ​ใน​รูป​ของ​ลีลา​ สะเทือน​อารมณ​และ​ทวงทำ�นอง​กวีนิพนธเ​ชน​เดียว​กับ​ภาพเขียน​ของ​ ทาน ​ใน​บทความ​ของฟ​รอง​ซวั ส ​ป ​ท​ไ่ี ด​เขียน​ถงึ ​ทา นหญิง​โดย​กลาว​วา ​ ​ทานหญิง​รับสั่ง​ถึง​ผล​งาน​ของ​ทาน​ใน​ลักษณะ​ดังนี้ ​“​ด​ภู าพวาด​ของ​ฉนั ​ ​เหลานี​ส้ ิ ​ไมม​อี ะไร​ท​จ่ี ะ​ตอ ง​ท�ำ ความ​เขา​ใจ​อกี ​เลย”​​เรา​อาจ​จะ​ตอง​เขา​ ใจ​และ​ชื่นชม​งานศิลปะ​แบบ​ที่ฟร​องค ​สเตล​ลา​เคย​กลาว​ไว​วา ​:​​“​สิ่ง​ที่​ คุณ​เห็น​ก็​คือ​สิ่ง​ที่​คุณ​เห็น​นั่นเอง”​​ไม​หรอกความ​จริง​หา​เปน​เชน​นั้น​ ไมใคร​ก็ตาม​ที่​ได​มา​ยืน​อยู​ตรงหนา​งานศิลปะ​ของ​ทาน ​ก็​จะ​สามารถ​ เขา​ใจ​ถึง​ภาพ​หลายๆ​ภาพ​ที่​สะทอน​ให​เห็น​ถึง​อิทธิพล​ของ​ตัว​ศิลปน​เอง ​ ทานหญิง​เคยให​สัมภาษณ​ใน​นิตยสาร​ดิฉัน​วา ​ใน​ตอนตน​ของ​การ​​ รังสรรค​งานศิลปะ ​ทานหญิง​ตองการ​ใหผล​งาน​ของ​ทาน​เปน​ลักษณะ ​ ที่​เปน​รูปธรรม ​ทรง​ปลอย​ให​ศิลปน​ทาน​อื่น​เสนองาน​นามธรรม​ซึ่ง​ไมได​ เหมาะกับ​ทาน​เลย ​ถา​งานศิลปะ​ของ​ทาน​แสดง​ให​เห็น​สารานุกรม​ ประวัติ​ศาสตร​ศิลปะ ​งาน​ของ​ทาน​ยัง​เต็มไปดวย​พลัง​และ​ความ​ลึกซึ้ง​ ที่​ไดรับ​อิทธิพล​มาจาก​ผล​งาน (อ่านต่อหน้า 13)


ศูนยศ์ ิลปกรรม และกิจกรรมพิเศษ Service &

Art Project Center ​วีระพันธ์ จันทร์หอม

สืบเนื่องจากรัฐบาลได้ประกาศพันธสัญญา 12 ข้อ เพื่อขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2552 ณ ทำ�เนียมรัฐบาล โดยวางเป้าหมายที่จะให้ประเทศไทยเป็น ศูนย์กลางอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ใน ภูมิภาคอาเซียน (Creative Industrial Hub of ASEAN) โดยมีอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industrial) 15 อุตสาหกรรม อันได้แก่ 1) งานฝีมือ 2) การท่องเที่ยว สถานทีท่ างประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม 3) ธุรกิจอาหาร 4) การแพทย์ แผนไทย 5) ศิลปกรรม 6) ทัศนศิลป์ 7) ภาพยนตร์ 8) สิ่งพิมพ์ 9) เพลง 10) การแพร่ภาพและกระจายเสียง 11) การออกแบบ 12) แฟชั่น 13) สถาปัตยกรรม 14) โฆษณา และ 15) ซอฟท์แวร์ เป็นกลไกในการขับเคลื่อน การที่อุตสาหกรรมไทยจะพัฒนาต่อไปอย่างยั่งยืนและ สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก จำ�เป็นจะต้องยกระดับอุตสาหกรรมให้ มีขีดความสามารถและศักยภาพด้านการออกแบบ และพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใน 15 อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ โครงการพัฒนานวัตกรรม ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ใน 15 อุตสาหกรรมสร้างสรรค์จะเป็น โครงการที่ช่วยสนับสนุนให้ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมสร้าง สรรค์ไทย มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการพัฒนาด้านการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ตง้ั แต่การวิเคราะห์ ความต้องการของตลาด การออกแบบผลิตภัณฑ์ จนถึงการนำ�ผลิตภัณฑ์ ออกวางจำ�หน่าย ในตลาด รวมถึงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านศิลปวัฒนธรรมและ การออกแบบทั้งในภาคอุตสาหกรรมและภาควิชาการ ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี และนายกสภา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แสดงปาฐกถาเนื่องในโอกาสวันเปิดศูนย์ ศิลปกรรมและกิจกรรมพิเศษ เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2552 กล่าวไว้ ว่า “กระแสหลักสังคมจาก ภาคธุรกิจ ภาคการเมือง ได้นำ�เอาแนวคิด การสร้างสรรค์มาใช้กนั แพร่หลายในประเทศไทยมีการใช้ค�ำ ว่า Creative

economy เพือ่ เพิม่ มูลค่าสินค้า ยกตัวอย่างเช่นกระบอกไม้ไผ่ทท่ี ง้ิ ไว้ ใต้ถนุ บ้านไม่เกิดประโยชน์อะไร แต่ถา้ มีความคิดสร้างสรรค์ ก็น�ำ ไป ใช้เป็นกระบองออกกำ�ลังกายได้ ในด้านศิลปะ Creative Art คือ การ สร้างสรรค์ รังสรรศิลปะ และยังต้องคิดถึง การนำ�เอาศิลปะไปสร้าง มูลค่าเพิม่ ในสินค้าได้อย่างไร นีค่ อื ความหมายของ Creative Art ในวันนี้ ทราบว่า คณะวิจติ รศิลป์ได้คดิ ริเริม่ จัดตัง้ ศูนย์ศลิ ปกรรมและกิจกรรม พิเศษ ขึน้ โดยได้รวม หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม และ ห้องจำ�หน่าย ผลงานศิลปกรรม มาบริหารจัดการ เปรียบเสมือนว่าคณะวิจติ รศิลป์ ได้ยน่ื มือไปหาประชาชนโดยนำ�เอาสิง่ ทีเ่ ราสอน เราวิจยั เป็นการเอา องค์ความรูท้ เ่ี ราสะสมกันมานาน โดยเฉพาะศิลปวัฒนธรรมของล้านนา เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการแข่งขันโดยรวมของภูมภิ าค” คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดำ�เนินกิจการภายใต้ ภาระกิจหลักคือ การเรียนการสอน การวิจยั การบริการวิชาการ และ การทำ�นุบ�ำ รุงศิลปวัฒนธรรม เพือ่ เป็นทีพ่ ง่ึ ด้านวิชาการและสร้าง ให้เป็นเครือข่ายของผูเ้ ชีย่ วชาญและ เป็นทีป่ รึกษาด้านศิลปกรรม วัฒนธรรม และการออกแบบ ให้กบั ภาคอุตสาหกรรม ประชาชน ท้องถิน่ เป็นการวางรากฐานสำ�คัญในการพัฒนารูปแบบของ ศูนย์ ศิลปกรรมและการออกแบบ ทีเ่ หมาะสมกับท้องถิน่ ภาคเหนือและ ประเทศไทย เพือ่ บูรณาการงานด้านการส่งเสริมออกแบบและการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้อย่าง ยัง่ ยืน คณะวิจติ รศิลป์จงึ มีนโยบายให้ จัดตัง้ “ศูนย์ศลิ ปกรรมและกิจกรรมพิเศษ” (Service & Art Project : SAP) ขึน้ เพือ่ ให้เป็นหน่วยงานทีเ่ ป็นศูนย์กลางการให้บริการวิชาการ ประกอบไปด้วย การถ่ายทอดความรู้ ฝึกอบรมด้านศิลปกรรม วัฒนธรรมท้องถิน่ การออกแบบหัตถกรรม การออกแบบสือ่ ผลิตและ จำ�หน่ายผลงานด้านศิลปกรรมและออกแบบใน The Art Gallery เป็นศูนย์กลางการเรียนรูด้ า้ นศิลปะ จัดให้มบี ริการพืน้ ทีส่ �ำ หรับ จัดนิทรรศการศิลปะ จัดแสดงละคร ดนตรี จัดอบรมสัมมนาวิชาการ และจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม ทัง้ ในระดับท้องถิน่ ภูมภิ าคและ นานาชาติ บริการข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรม ในหอนิทรรศการศิลป วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Art Center) นอกจากนัน้ ศูนย์ศลิ ปกรรมและกิจกรรมพิเศษยังร่วมมือกับ โครงการกระจายโอกาส สร้างแหล่งเรียนรูด้ า้ นการออกแบบสูภ่ มู ภิ าค miniTCDC ซึง่ มีหนังสือทีม่ ี เนือ้ หาเกีย่ วกับ ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม การออกแบบฯ พร้อมตัวอย่าง วัสดุจากห้องสมุดวัสดุ Material ConneXion และจัดแสดงนิทรรศการ หมุนเวียนด้านการออกแบบเป็นประจำ� เพือ่ บูรณาการงานด้านศิลปกรรม ส่งเสริมออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้อย่างยัง่ ยืนต่อไป

Sounding Confusion Sound Art Installation and Music Performance

กิจกรรม​คอนเสิรต ​และ​นทิ รรศการดน​ตรี​จดั ​วาง “เสียง​ สับสน สับสน​เสียง” (Sounding Confusion) ได​ด�ำ เนิน​ลลุ ว ง​ไป​ ระหวาง​วนั ที่ 18 – 19 กุมภาพันธ 2553 ดวย​ความ​รว มมือ​ระหวาง อาจารย​พล​วทิ ย โอภา​พนั ธ และ​คณาจารย​พรอมทัง้ ​นกั ศึกษา​จาก​ คณะ​ดรุ ยิ างคศาสตร มหาวิทยาลัย​ศลิ ปากร รวมกับ คณะ​วจิ ติ รศิลป มหาวิทยาลัย​เชียงใหม ภายใน​กจิ กรรม​คอนเสิรต ​และ​นทิ รรศการ​ ดนตรี​จดั ​วาง “เสียง​สบั สน สับสน​เสียง” (Sounding Confusion) ได​ เปดโอกาส​ให​นกั เรียน นักศึกษา​และ​ผ​สู นใจ​ได​สมั ผัส​บรรยากาศ​การ​ ฟง​ดนตรี​รปู แบบใหม​ท​ผ่ี สม​ผสาน​เอา​ทศั นศิลป​และ​ดนตรี​แนว​ตา งๆ​ รวม​เขา​ไว​ดว ยกัน จน​เกิด​เปนงาน​จดั ​วาง​งานศิลปะ​ท​ส่ี ราง​อรรถรส​ และ​ความ​อภิรมย​ให​แก​แขก​ผเู ขาชม​เปน​อยาง​ดี อนึ่ง งาน​กิจกรรม​คอนเสิรต​และ​นิทรรศการ​ดนตรี​จัด​วาง เสียง​สับสน สับสน​เสียง เปนหนึ่ง​ใน​กิจกรรม​ดนตรี​ใน​หอศิลป ที่จะ​ เปน​แรงกระตุน​หนึ่ง​ให​ชาว​เชียงใหม​ได​มี​โอกาส​สัมผัส​อรรถรส​ทาง​ ดาน​ดนตรี​ใน​รูปแบบ​ตางๆ ดวย​ความ​รวมมือ​กับ​สถาบัน​ทาง​ดาน​ ดนตรี​ตางๆ ​กับหอ​ศิลป​วัฒนธรรม มหาวิทยาลัย​เชียงใหม ภายใต​ การ​ดู​และ​และ​บริหาร​โดย​คณะ​วิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย​เชียงใหม พรอมทั้ง​สราง​บรรยากาศ​ที่​มี​ชีวิตชีวา​ให​กับ​หอ​ศิลป​วัฒนธรรม​ เชียงใหม เพื่อ​สรางสรรค​กิจกรรม​อัน​มี​คุณคา​ทาง​ศิลปะ​และ​ วัฒนธรรม​ให​แก​ชุมชน

จันทร์วิมล แก้วแสนสาย

Sounding Confusion Concert and Art Installation organized during 18 – 19 February 2010 was completely successful with the cooperation between Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University and Faculty of Music, Silpakorn University with the special leading musical academic ​ colleague, Mr. Polawit Ophakorn, the lecturer and musician from Faculty of Music, Silpakorn University. The activity has mixed the particularity of sounds and visual arts mutually expressing and presenting the special artistic ambience ​ to the audience This Music Art Installation and Concert is the additional program provided to Chiang Mai Community aiming at building the aesthetical atmosphere in particular sounding activities which would heighten the artistic pleasure and experience of the local people and all who are interested ​ in according to the collaboration between Art and Music ​ Institutions and the Art Museum supervised by Faculty of Fine Arts, CMU. Especially, it brings liveliness and energy ​ to the Art Museum and urges the museum to offer the different sense of all aesthetical delights.

ผลงานศิ ล ปนิ พ นธ บทพิสูจนความสำ�เร็จประจำ�ปการศึกษา 2552 ​รศ. รสลิน กาสต์

วาระแหงการพิสจู นบทสรุปความคิดสรางสรรค ดวยผลงาน ศิลปนิพนธของนักศึกษาคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ​ ประจำ�ปการศึกษา 2552 ซึ่งไดจัดแสดง ณ หอนิทรรศการศิลป วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม ระหวางวันที่ 5 – 27 มีนาคม 2553 มีผลงานศิลปะหลากหลายชุด ความคิด และวิธีกรรมตางๆ ​ ในการสนับสนุนใหความคิดปรากฏออกมาเปนชิ้นผลงาน การสราง สรรคทใ่ี ชวธิ กี ารผสมผสานวัสดุและสือ่ อืน่ ๆเขามารวม มีใหชมหลายชุด ในขณะที่ผลงานภาพพิมพ จิตรกรรม และประติมากรรมแทๆ ก็ยัง ผงาดเต็มผนังและพื้นที่ นอกจากนี้ยังมี Performance การแสดงรวม เปนสวนหนึ่งของผลงานตัวเองดวย​ ผลงานศิลปะชุดแรกที่ปะทะสายตาเมื่อกาวเขาสูพื้นที่ นิทรรศการ คือ จิตรกรรมสื่อผสม ซึ่งยึดโยงกันดวยฝเข็ม เปนผืนผา​ ขนาดใหญราวกับพรมแขวนผนัง วัสดุ สีสนั และน้�ำ หนักคมเขม​ รวมกันกอเรื่องราวของโลกแหงจินตนาการเกี่ยวกับทะเล ดอกไม​ และ(คู)แฝดเสมือนการถายทอดความฝนจากแดนไกล หลั่งไหลไวบน​ ความนุมของผาหม ​ ในขณะที่ผนังดานขางแสดงลักษณะตรงขาม เปน จิตรกรรมลายเสน บอกเลาเรื่องราวไมงายดวยลายเสนงายๆ ถึง ประเด็นคิดตอเหตุการณที่ไมพึงปรารถนา ซึ่งเกิดขึ้นใหพบเห็นใน สังคม พรอมกันนั้นก็ตองการแสดงใหเห็นวาภาพที่เห็นอาจไมใช​ สิ่งที่คิด ซึ่งสงใหเกิดคำ�ถามวา ของผูสรางหรือผูชม หรือทั้งของ ผูสรางและผูชม​ เมื่อเผชิญกับชุดจิตรกรรมนามธรรมที่แสดงรูปแตไรนาม (Untitled) ในกรอบสี่เหลี่ยมคมกริบ กำ�หนดผืนสีไลคาแกออนใน แนวนอนบาง ตั้งบาง คละกันไป เปนการนำ�เสนอ จิตรกรรมอินสตอเลชั่น บนผนังที่ผูสรางสรรค​ ใหนิยามแหงความคิดวา “กวาง x ยาว x ​ ขาพเจา = อาณาจักรบริเวณแหงความฝน และความจริง” สวนการรับรูที่กำ�ลังเผชิญ ราวกับกำ�ลังยืนรอยประโยคที่ผูสรางสรรค​ สงถอยคำ�ออกมา ซึ่งบางคำ�สั้น บางคำ�ยาว บางคำ�ออกเสียงแคบ บางคำ�ออกเสียงกวาง และบางคำ�ออกเสียงซอน คำ�ทั้งหมดรอย หลวมๆรวมความแลวเปนดังบรรยากาศ หรือสภาวะการรับรูที่มีความผอนคลายและ ความเปนระเบียบควบคูกันไป​ จิตรกรรมนามธรรมอีกชุดหนึ่งที่ ผูสรางสรรคกำ�หนดใหเปน “บทกวีแหง​ อนาธิปไตย” แสดงดวยรูปทรงนามธรรม อิสระ ดูราวกับรูปทรงของสิ่งมีชีวิตที่ปรับยืด เปลี่ยนรูปได เปนรูปทรงในโครงสีออนเบา ของสีชมพู ฟา มวง กำ�ลังขยับเคลื่อนและ เลื่อนไหลอยูบนแผนผืนขาวขนาดตางๆ ผูสรางอธิบายแนวความคิดวา​ “เปนที่พักพิงใหมของจิตใจ ​ ที่ตองการปลดปลอย ผอนคลาย ​ เมินเฉยตอกฏเกณฑในสังคม อันเกิด จากความไมพอใจ ตอระบบโลกเดิม”​ ​

ความประทับใจตอตัวการตูนญี่ปุนและแฟชั่น Gothic Lolita ผลักดันใหเกิดผลงาน “โลลิตา ณ ลำ�พูน” ซึ่งผูสรางสรรค ไดสนองความปรารถนาสวนตนในการนำ�ชุด Cosplay และ Gothic Lolita มาสวมใสในชีวิตประจำ�วันเปนเวลา 2 เดือน ผูสรางสรรคให​ เหตุผลวาเพื่อตอบสนองความมั่นใจและกอใหเกิดความสุขกับตัวเอง ความโดดเดนของคิ้วและผมยาวเหยียดสีเทอรคอยส ประกอบการ สวมใสเสื้อผากรุยกรายตางออกไปจากการแตงกายในชีวิตประจำ�วัน ของคนในสังคม จึงกอการเรียกสายตาจากผูพบเห็นโดยทั่วถวน​ กิจกรรมและสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในขณะทีผ่ สู รางสรรคสวมบทบาทเปน โลลิตา ณ ลำ�พูน ไดบันทึกไวเปนภาพถายและวิดีโอนำ�เสนอเปน ศิลปะอินสตอเลชั่นที่จัดวางรวมกับหุนใสเสื้อผา และผูสรางสรรค ไดทำ�หนาที่ในบทบาทของโลลิตา ณ ลำ�พูน เดินทักทาย สนทนา กับ ผูชมโดยทั่ว อีกประการหนึ่งที่ผูสรางสรรคตองการคือการทาทาย ความคิด ทัศนคติ และปฏิกิริยาจากผูคนเมื่อพบเห็น​ ประติมากรรมที่สรางการย้ำ�เตือนผูชมวา ยังมีชนชั้น​ กรรมาชีพซึ่งเปนดัง “กระดูกสันหลังของชาติ” ชนที่ไมควรจะถูกลืม และควรไดรับการยกยองจากสังคม ผูสรางสรรคนำ�วัสดุที่เปนเศษ ไมเกา แหงกระดาง และเครื่องมือเกาซึ่งเปนเหล็กขึ้นสนิม จำ�พวก จอบ เสียม และมีดรูปตางๆ ที่ใชในเรือกสวนไรนา ทั้งหมดประกอบ กันขึ้นเปนโครงสรางคน 4 คน ในอากัปกิริยาที่กำ�ลังทำ�งาน เนนสวน หลังใหโคงงอ ประกอบรวมกับความแหงและกระดางของวัสดุ ​ จึงแสดงออกซึ่งอารมณความรูสึก (อ่านต่อหน้า 9)

Arts May 2010

15


และอื่นๆ ซึ่งลวนเปนสิ่งที่พอจะสันนิษฐานไดวา เปนสัจจะของชีวิต​ แมกระทัง่ นวัตกรรมทางเทคนิคก็ถกู ทำ�ใหส�ำ เร็จโดยศิลปน แนวอิมเพรสชัน่ นิส ทางเลือกของประเด็นยังคงดำ�รงอยูอ ยางสำ�คัญ ดังเชนกับทีม่ นั ไดเริม่ ตนขึน้ ในสมัยยุคสงครามโลกครัง้ ที่ 1 ลัทธิ สัจนิยม ทีท่ �ำ ใหเกิดความตางโดยนักชาตินยิ มภายใตกระแสหลัก และไดเฟอ งฟูขน้ึ จนถึงในสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 และเวลาตอมา แสงอาทิตยและรูปปนพระแมมารีสีน้ำ�ตาล สำ�หรับสมัยของเดอ ลา โรซา และอามอรโซโล ดาวนำ� ทางดานศิลปะยังคงอยูใ นแถบยุโรป ดังนัน้ ศิลปนผูซ ง่ึ มีความเอาจริง​ เอาจังในยุคนัน้ จึงมีความทะเยอะทะยานทีจ่ ะเขาศึกษางานของเวลา​ สเกสรวมถึงนักอิมเพรสชัน่ นิสชาวสเปนและชาวฝรัง่ เศส อยางไรก็ ตามชวงเวลานัน้ การปกครองของอเมริกนั เกิดขึน้ ในฟลปิ ปนสแลว​ มากวาทศวรรษ แตศลิ ปนทีม่ คี วามโดดเดนของอเมริกนั ทัง้ หลายยัง ไมเปนทีร่ จู กั ดังนัน้ สหรัฐอเมริกาจึงถูกตัดสินจากคนฟลปิ ปนสวา เปน คนไมมรี สนิยม เปนทีท่ ไ่ี รซง่ึ วัฒนธรรม

PHILIPPINE ART ต่อจากหน้า 9 กิจกรรมหลักที่ดำ�เนินการโดยสมาพันธศิลปนนานาชาติ คือ นิทรรศการที่มีการจัดประกวดงานศิลปะโดยบาซาร ฟลิปนโน ​ ผลงานที่ไดรับรางวัลชนะเลิศนั้น ยืนยันถึงความรูสึกรักชาติท​ี่ เขมแข็งและในประเภทกระแสสัจจนิยม วินเซนต ริเวียรา วาย มีร​ (1872-1960) ชนะเลิศอันดับหนึ่งดวยผลงานของเขาที่ชื่อวา ​ El Sueno Dorado (ความฝนสีทอง) ภาพวาดแสดงถึงผูหญิง นอนหลับในเปลญวน ทาทางแสดงถึงเหตุการณธรรมดาซึ่งถูก จัดแสดงในแบบสัจจนิยมอยางเรียบงายในลักษณะของภาพวาด แตริเวียรา มีร สอดแทรกดวยบันทึกสั้นๆ ที่ไมปกติวา ผูหญิงไดถือ หนังสือพิมพ La Independencia (อิสรภาพ) ดังนั้นโดยผานมโน ภาพที่ระมัดระวัง เหตุการณธรรมดาจึงถูกยกระดับขึ้นเปนสามัญ ลักษณะของลัทธิสัญญะนิยม ผูหญิงที่นอนหลับอยูกลายเปนภาพ อุปมาอุมัย หมายถึงแมชาวฟลิปปนสที่กำ�ลังฝนถึงการมีอิสรภาพ จิตรกรรมในลัทธิสัจจนิยมไดถือสิทธิ์ในหมายเหตุที่เกี่ยวกับโลก หนาผานสัญลักษณ​ ภาษาในเชิงเปรียบเทียบของริเวียรา วาย มีรและ ศิลปนทานอื่นๆ นั้น เปนสิ่งคูกันของการประทวงทางวรรณกรรม​ ของ ออเรลิโอ โตเลนติโน, เจเอ็ม ครูซ, จูแอน อาแบด, และคนอื่นๆ​ แตนี่ก็เปนความตอเนื่องของประเพณีที่มีมายาวนาน วรรณกรรม ฟลิปปนสโบราณมักจะกลาวไวเปนปริศนาเสมอ และการตรวจสอบ ผานศตวรรษของอิทธิพลทางภาษาและวัฒนธรรมสเปนไดขยาย ความสามารถสำ�หรับความหมายหลายระดับชั้นที่แสดงอยางอุดม สมบูรณในงานของฟรานซิสโก บาลาคทาส ที่ชื่อ Florente’t Laura (1838) หรือในงานจิตรกรรมของลูนาที่ไดรับรางวัลชนะเลิศชื่อ ​ The Spoliarium​ มากไปกวานั้น ยังมีงานประเภทสัจจนิยมบริสุทธิ์ใน นิทรรศการบาซาร ฟลิปโน แกสตัน โอฟาเรล ผูมีสัญชาติฝรั่งเศส และเติบโตขึ้นมาในประเทศ ก็ไดรับรางวัลสำ�คัญสำ�หรับภาพวาด บุคคลอยางงายๆ ของแมเขา ศิลปนหนุมนามวา เฟอรนานโดซี อามอรโซโลก็ไดรับรางวัลเชนกัน สำ�หรับภาพของคนๆ หนึ่งที่กำ�ลัง อานหนังสือพิมพ ​ เฟเบียน เดอ ลา โรซา (1869-1937) เปนผูสนับสนุนลัทธิ สัจธรรมนี้อยางรุนแรง เขาไดทิ้งความเปนนักวิชาการของบริษัทที่ กำ�ลังเจริญเติบโตของมะนิลาไวใหกับชาวยุโรปทันที หลังจากงาน นิทรรศการบาซาร ฟลปิ โ น ในปารีส เขาไดใชเวลาชวงหนึง่ ลอกเลียน​ งานตนแบบ หลังจากนั้นเขาก็เขารับการศึกษาที่สถาบันการ ศึกษาจูเลียน และกลับมาพำ�นักที่โรมในภายหลัง เขาเรียนรูที่จะ ชื่นชมคูรเบตและวาดภาพดวยสีที่ออนและปรับลดโทนลงอยาง ระมัดระวัง และปฏิเสธกระบวนการผสมสีทางสายตาที่มักจะเห็น ในงานประเภทอิมเพรสชั่นนิส​ เขาไดอุทิศฉากงานศิลปะในโอกาสที่เขากลับมายัง ประเทศฟลิปปนส ในขณะที่มองหาดาวนำ�ทางของเขา นั่นก็คือ คูรเบต และเวลาสเกส เขาไดวาดภาพชีวิตรอบตัวผานสายตา​ ของเขา ภายหลังเขาไดดำ�รงตำ�แหนงเปนผูอำ�นวยการของ​ โรงเรียนศิลปะคนที่สอง ที่มหาวิทยาลัยฟลิปปนส​ ในยุคแหงศตวรรษทีท่ ศั นคติยงั คงมองหาความเปน คลาสสิคโรแมนติก เชน งานจิตรกรรมของลูนา และฮิดาลโกทีเ่ ปรียบ เปนอนุสรณซง่ึ ไดแสดงที่ Hors Concours ณ งานนิทรรศการบาซาร ฟลปิ โ น อยางไรก็ตาม งานประเภทสัจนิยมไดสรางเหตุและผล เพือ่ โนมนาวใหเมืองปารีสเขียนภาพชีวติ ประจำ�วันทีม่ มี าแตกอ น ประเพณีคลาสสิค ภาพสะทอนความเปนจริงของสามัญชน ลัทธิสัจนิยมชื่นชอบเรื่องราวอันคุนเคย และหัวขอเกี่ยว กับชีวิตประจำ�วัน เชน ชาวไรชาวนา หญิงซักรีด ผูคนในคาเฟ และ อื่นๆ แทนที่จะเปนหัวขอเกี่ยวกับความเปนอนุสรณและสูงศักดิ์ แทนที่ความจริงชั่วกาลปาวสานที่ถูกนำ�เสนอโดยอุดมคติ สัจจะ ไดถูกทำ�ใหทัดเทียมกับภาพที่เปนความจริงของชีวิต ดังนั้นนัก วรรณกรรม เอมิล โซลาจึงทำ�งานเกี่ยวของกับชีวิตธรรมดาที่รวม ไปถึงโลกของโสเภณี ดังเชนที่คูรเบตวาดภาพคนทุบหิน นักบวชที่ เมามาย และอื่นๆ สวนเดกาส วาดภาพหญิงซักรีด นักเตนบัลเลต

16

Arts May 2008

เฟอรนานโด อามอรโซโล (1892-1972) ไดรับโอกาสไป เยือนประเทศสเปน โดยโอกาสนี้ถูกมอบใหโดยนักธุรกิจที่ร่ำ�รวย นามวา ดอน เฟอรนานโด โซเบล ในป 1919 อามอรโซโลในวัยหนุม นั้นไดสมัครเขาเรียนที่ Royal Academy of San Francisco ในกรุง แมดริด และไดกลายมาเปนผูที่ไดรับการอุปถัมภของจิตรกรสเปน ที่ไดรับการบันทึกที่ชื่อ โจส โมเรโน คารโบเนโร และเซซิโล พลา อยางไรก็ตามมันเปนงานของเวลาสเกส และซอรนที่เปนคนเปด วิสัยทัศนของอามอรโซโล เขาตัดสินใจที่จะดำ�เนินรอยตามภายใน มาตราสวนของงานประเภทภาพเขียนเกี่ยวกับชีวิตประจำ�วัน ​ ซึ่งไดกรุยทางแหงความโชติชวงไวโดยศิลปนสองทานนี้

ความสนใจที่จะติดตามการแสดงภาพชีวิตในชนบท ยังมีศิลปนในยุคของเดอ ลา โรซา อีกหลายทานที่ทำ�งาน เกี่ยวกับหัวขอการทำ�งานในประเด็นชนบท อาทิเชน จอรจ ปเนดา (1879–1946) เรมอน เพราลตา (1886–1940) ทีโอโดโร บูเอนาเวน ทูรา (1865–1950) และคนอื่นๆ นี่เปนเพียงสวนเล็กของคนในยุค กอนๆ อยางไรก็ตาม มีความโนมนาวที่จะกำ�หนดรูปแบบการแสดง งานที่มีโทนเสียงสูงต่ำ�ของการแสดงออก ในขณะที่ วัฏจักรของ อามอรโลโซมีความโนมนาวที่จะเปนการแสดงออกในระดับเสียงที่ ผันแปรมากขึ้น ถึงแมวาจะปราศจากการผสมผสานสีทางทัศนะ​ ที่ใชในอิมเพรสชั่นนิสก็ตาม ความงามแบบคลาสสิคในบริบทของฟลิปปนส สัญลักษณในเชิงสัญชาตินิยมที่เห็นในงานของจิตรกร เชน ริเวรา วาย มีร ในกลุมสมาพันธของอามอรโซโล ไดใหหนทาง ในการคนควาเกี่ยวกับความงามของตนเองที่เปน​ อุดมคติทามกลางงานที่เปนลักษณะโมนาลิซา หรือวีนัสในแบบ​ ของความเปนคลาสสิคตะวันตก ในบทความหายาก อามอรโลโซ แสดงความคิดเห็นของเขาอยางชัดแจงเกี่ยวกับความงามที่เปน​ อุดมคติในแบบของฟลิปปนส “ผูห นึง่ กับใบหนากลมๆ ไมใชในรูปไข... ดวงตาทีเ่ ปน ประกายมีชวี ติ ชีวาเปนพิเศษ... จมูกทีไ่ มทอ่ื และถูกสรางขึน้ อยาง เขมแข็ง... หลอนควรจะมีเรียวปากทีใ่ หความรูส กึ ไมใชปากเบ เหมือนในชวงเวลาในอดีต... และหลอนจำ�เปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองมี ผิวขาว ไมใชสนี �ำ้ ตาลเขมแบบมาเลย แตเปนผิวทีก่ ระจางใส หรือเปน ผิวสีเนือ้ เหมือนกับเวลาทีเ่ ราพบเห็นหญิงสาวหนาแดงยามขวยเขิน”

ในป 1922 สองปถัดมาหลังจากที่เขากลับจากตาง ประเทศ อามอรโซโล ไดวาดภาพสำ�คัญชิ้นแรกของเขาตามแบบ ภาพเขียนชีวิตประจำ�วันที่ชื่อ Planting Rice ที่ในที่สุดไดกลาย มาเปนลักษณะโดยรวมของภาพงานรวมสมัยของเขา งานที่ชื่อ​

นี่เปนการคนหาความงามแบบคลาสสิคในบริบทของ ฟลิปปนส การติดตามอุดมคติเชนนั้น สันนิษฐานไดวาจะถูกพบ​ เจอในความบริสุทธิ์สะอาดของชนบท นักเขียนในยุคของ​ อามอรโซโลไดเขียนไวอยางเขมขนเกี่ยวกับชีวิตในชนบทเชนกัน

Planting Rice เปนชวงเวลาที่เขาเรียนรูจากเวลาสเกส และเปน ความสามารถในการจัดการกับภาพเขียนราวกับวาสามารถ มองเห็นดวยการชำ�เลือง แตอามอรโซโลก็ยังไดแสดงใหเห็นถึง ทักษะในการจัดการเรื่องแสงและการเปรียบเทียบแสงเงา ที่มีสวน ทำ�ใหแสงอาทิตยเปลงออกมา เสนหของงานอามอรโซโลที่แสดง​ ออกอยางเดนชัด ในที่สุดก็ทำ�ใหเขากลายเปนจิตรกรที่มีชื่อเสียง มากที่สุด และมีความสำ�คัญอยางมากในการดึงดูดความสนใจ ศิลปนที่อยูรอบตัวเขา ผูซึ่งอุทิศตนในกับงานจิตรกรรมประเภทการ วาดภาพในชีวิตประจำ�วัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ภาพวาดที่เกี่ยวกับ การเฉลิมฉลองของชีวิตในชนบท

อาทิ ผลงานของ เจ วิลลา แพนกานิบาน ชื่อ The Milkman of Makiling หรืองานของ พาซ มารเกซ ที่ชื่อ A Night in the Hills และอื่นๆ แมกระทั่งการประพันธดนตรีก็ไดทำ�ตามความเหมาะสม ดังกลาว เชน ในบทเพลงของ ฟรานซิสโก ซานติอาโก ทีช่ อ่ื Mutya ng Pasig หญิงสาวของ Pasig หรือ ในบทเพลงของ นิเคเนอร ​ อาเบลารโด ที่ชื่อ Nasaan Ka Irog ที่รักเธออยูหนใด

โรงเรียนวิจิตรศิลปที่มหาวิทยาลัยฟลิปปนส สถานที่ ซึ่งอามอรโซโลครั้งหนึ่งเคยเปนผูอำ�นวยการโรงเรียนแหงนี้ ตอมา ไดกลายมาเปนปอมปราการของกลุม ทามกลางศิลปนแนวหนา กลุม โดมิเนเดอร แคสทาเนดา (1904-1964) ผูใหทวงทาอากัปกิริยางานฝแปรงของเขาแกงานภาพวาดประเภทภาพชีวิตประจำ� วัน ทอริบิโอ เฮอรเรรา (1892-1969) ผูมอบงานศิลปะดวยความ รูสึกที่ประกอบดวยบรรยากาศเรื่องราวที่นาทึ่งของเขา เชน ภาพ​ วาดอาทิตยอัสดง และแสงจันทรในงานจิตรกรรม และ ไอริเนโอ​ มิแรนดา (1898-1945) ผูที่มอบอารมณความรูสึกทางดาน สัญลักษณทค่ี นุ เคยแกงานของเขา แมกระทัง่ พีน่ อ งของเฟอรนานโด อามอรโลโซ นามวา พาโบล (1865-1945 ผูที่มีความใกลชิดเชิง เทคนิคกับ ยุคของเดอ ลา โรซา มากกวาพี่ชายของเขา และมี​

ประตูสูศิลปะสมัยใหมก็ไดรับการเปดกวางขึ้น ภาพแหงความไรเดียงสาเหลานั้นและความปติของ คนเลี้ยงแกะไมไดดำ�รงอยูโดยไรซึ่งความดางพรอย ประมาณป ค.ศ.1928 วิคตอริโอ อีดาเดส (1895-1985) ผูนำ�เสนอสหรัฐ อเมริกาอยางมีศิลปะในชวงความหดหูอันยิ่งใหญ และการเริ่มตน​ ในการจูโจมของยุคสมัยใหม เมื่อกลับมาที่มะนิลา เขาก็ไดติด ตัวอยางภาพความขัดแยงของเขาในสโมสรโคลัมเบียนที่ฟลิปปนส สำ�หรับอีดาเดส ศิลปะไมใชสิ่งที่สามารถเอื้อมไปถึงความเปนอุดม คติอีกตอไป หรือแมแตความทะเยอทะยานที่เปนจริงในชีวิต ​ ในทางตรงกันขาม ศิลปะไดรองเรียกใหเกิดการคัดลอกความรูสึก ในสัดสวนของความเปนปจเจกที่สามารถที่จะถูกบิดเบือนและ​ แปรเปลี่ยนได และสีที่ไมตองเปนไปตามธรรมชาติของมัน สิ่งที่ศิลปนรูสึกอยางจริงใจนั้นสันนิษฐานไดวาเปนรัศมี​ ของความถูกตองที่ไมเคยผิดพลาด แลวประตูสูศิลปะสมัยใหม​ ก็ไดรับการเปดกวางขึ้น


ดนตรี ใ ​ น​ ห อศิ ล ป Music In Art Museum ​พจวรรณ พันธ์จินดา

เหนือ​ทองฟา​ใส​กระจาง เคลิบเคลิ้ม​ใน​ภวังค​ไป​กับ​เสียงรอง​ของ​คุณ​ ตุก​บราส​เซ​อรี่ และ​กีตาร​คูใจ พรอมเพรียง​กับ​ดนตรี​กลมกลอม​ของ​ เครื่องสาย ใน​สไตล Acoustic, Blue Music ผูคน​ที่มา​เยือน​หลากหลาย​ชนชาติ มากมาย​จน​ที่นั่ง​ ใน​สวน​แนนขนัด ตาง​รวม​ฟง​บทเพลง​ดวย​ใจจดจอ ซึมซาบ​จนใจ​ พอง​โต ใน​ภาษาสากล​ที่​ไม​ใช​คำ�พูด มีนาคม การ​มาถึง​ของ​ลมรอน​และ​การ​ร่ำ�ลา​ลมหนาว​ อยาง​เปนทางการ เสียง​จักจั่น​และ​ใบไม​แหง​เปลี่ยนสี​บรรยากาศ​​ ใน​หอศิลป งาน​นิทรรศการ​ศิลป​นิพนธ​ที่​หลากหลาย ของ​นักศึกษา​​ ชั้นป​สุดทาย​ของ​สาขา​ภาพพิมพ จิตรกรรม และ​ประติมากรรม คณะ​วิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย​เชียงใหม เพิ่ม​ความ​นาสนใจ​ให​กับ​ หอง​แสดง​งาน ดนตรี​ใน​หอศิลป​ใน​เดือน​สุดทาย มา​รวม​ฟง​บทเพลง​ สไตล live Orchestra จาก​วง Mana String Orchestra และ Montfort String Orchestra ทีจ่​ ัด ณ ลาน​ลีลา​วดี คง​มี​ผูคน​เพิ่มเติม ​ มา​รวม​รับฟง​และ​รับ​ชม​การ​แสดง​ดวยดี​เชนเคย การ​ดำ�เนินการ​​ จัด​มาตลอด 3 เดือน คอยๆ ​มี​คน​สนใจ ถามไถ​เรื่อง​การ​จัดงาน​ มากขึ้น กิจกรรม​นี้​นับเปน​จุด​เริ่มตน​เล็กๆ​ที่​เปน​กำ�ลังใจ​ใน​การ​ เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง​หอศิลป​ให​มี​ชีวิต​และ​เสียง​เพลง

แวว​เสียง​เพลง​หวาน เมื่อ​ลมหนาว​ครั้งนี้ หอศิลป​กำ�ลัง​ เริ่ม​ฮัม​เพลง​เบาๆ จาก​มุม​หนึ่ง​ของ​เชียงใหม และ​คอยๆ กังวาน​ไกล ตอน​ปลายป2552 ฤดูหนาว​ที่​เชียงใหม​ขึ้นชื่อ​เสมอ กับ​ แรงดึงดูด​นัก​ทองเที่ยว​ดวย กิจกรรม งาน​มหกรรม เทศกาล​ลวน​ หลากหลาย บน​ถนน​นมิ มานเห​ม​นิ ทร​ท​ข่ี วักไขว​ดว ย​ผคู น​แปลกหนา เดินทางมา​รับ​ลมหนาว ใน​เวลา​เดียวกัน​นั้น​พื้นที่​ที่​เคย​ซบเซา​อยาง​ หอศิลปคลาย​ตื่น​จาก​การ​หลับ​ไหล เริ่มตน​ที่จะ​มี​ชีวิต และ​ความ​ กระฉับกระเฉง (living art museum) ตาม​นโยบาย​และ​ความ​ตั้งใจ​ ของ​คณะ​วิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย​เชียงใหม ดวย​การ​ปรับปรุง​หลาย​ ดาน หนึ่ง​ใน​กิจกรรมนั้น​คือ​การ​ปรับ​เปลี่ยน​พื้นที่​หอง​จัดแสดง​ท​ี่ นิ่งสงบ ให​มี​จังหวะ และ​เสียง​เพลง​ละมุน​สอด​รับ​ไป​ดวยกัน กิจกรรม​ดนตรี​ใน​หอศิลป​จึง​เกิดขึ้น ดวย​ความ​รวมมือ​กับ​ สมาคม​ดุริยางค​ซิ​มโฟนี​ภาคเหนือ โดย​มี​ความ​ตั้งใจ​ที่จะ​เสริมสราง​ บรรยากาศ​ดาน​การ​แสดงดนตรี ซึ่ง​เปน​โอกาส​อัน​ดี​ของ​คน​เชียงใหม​ และ​จังหวัด​ใกลเคียง​ที่จะ​ได​ชื่นชม​การ​แสดง​และ​การ​บรรเลง​ดนตรี​ แนว​ตางๆ เชน Classic, Blues, Jazz, Folk, Indy, World Music, Live Music ตลอด​ชวง​เดือน​ธันวาคม 2552 ถึง เดือน​มีนาคม 2553 เดือน​ธันวาคม 2552 เชียงใหมใ​ น​ฤดูหนาว​ที่​สัมผัสได​ถึง​ ความ​เย็นสบาย ตลอด​เดือน​นี้​การ​แสดงดนตรี​หนาแนน​ทุก​สัปดาห ดวย​บทเพลง​คลาสสิก การ​แสดง​สด​ขอ​งวงออ​เคสตา รวมถึง​การ workshop โดย​ศลิ ปน อาจารย​ทศั นา นาค​วชั ระ ที​จ่ ดั ​ขน้ึ ณ โถง​กลาง

เดินเรื่อยไปย่อมถึงปลายทาง ต่อจากหน้า 5

หอง​แสดง​นิทรรศการ​ชั้น 1 ดานหนา เริ่ม​กันที่ Guitar Finger style world โดย​นาย​นอย สวัสดี อคู​สติก​แบนด (เชียงใหม​แบนด),​ สไตล Classic โดย Silpakorn string Orchestra และ​สง ​ทา ยป​เกา​ ​ดวย Montfort String Orchestra รวมกันบ​ รรเลง​ทามกลาง​งาน ศิลปะ​เด็ก ปตท. ที่​จัดแสดง​ตลอด​เดือน​ธันวาคม เริ่ม​ฉาย​ชัด​ บรรยากาศ​การ​ฟง​ดนตรีที่​ผูคน​จะ​คอยๆ​เพิ่มขึ้น​ในไมชา

แววเ​สียง​เพลง​หวาน เมื่อล​ มหนาว​ร่ำ�ลา หอศิลป​ กำ�ลัง​ฮัม​เพลง​เบาๆ จาก​มุม​หนึ่ง​ของ​เชียงใหม และ​คอยๆ กังวาน​ไกล …ไดยิน​ไหม?

เดือน​มกราคม 2553 ตอนรับป​ ใหม ลมหนาว​ยังคง​พัด ผาน ใน​ฉาก​ของ​ดอกไม​ตระการตา​รอบๆ ​หอศิลป ตลอด​ทั้ง​เดือน​ นี้​มี​งาน​นิทรรศการ​ภาพถาย​และ​กิจกรรม​มกราคม​อำ�ลา ’รงค วงษ​ สวรรค ศิลปน​แหงชาติ​สาขา​วรรณศิลป ที่​โถง​กลาง หอง​แสดง​ นิทรรศการ​ชั้น 1 ดานหนา งาน​ดนตรี​ใน​หอศิลป​จึง​ขอ​คารวะ​พญา​ อินทรีย​แหง​สวน​อักษร ดวย​การ​ไป​รื่นรมย​ฟงเพลง​ใน​โรงละคร กับ​ ดนตรี​แนว Indy Music ชวน​กัน​มา​ดื่มด่ำ�​ดนตรีโปร​เจค กับ​คุณโจ รังสรรค ราศี​ดิบ​และ​เพื่อนพอง​นัก​ดนตรี เชน นาย​ไป​รษยณีย, ​ ชิ สุ​วิชาน , สุ​วิชา​นนท, wildseed , เหมียว ฟาค​ ราม​และ​วงดนตรี​ รุนใหม อยาง Sonnet and Alcohol เครื่องดนตรีค​ รบ​ชุด พรอมทั้ง​ แสง เสียง และ​ภาพยนตร​อนิเมชั่น​สั้น​จาก to be love บรรยากาศ​ ใน​วัน​นั้น​ลนหลาม ดวย​มิตร​รัก​แฟนเพลง เปลี่ยน​สำ�เนียง​เพลง​ หวาน​ซึ้ง มา​เปนจังหวะ​คึกคัก​และ​ดนตรี​ที่​หนักแนน​ขึ้น กุมภาพันธ 2553 ลมรอน​พัด​มาถึง​แลวบาง​ลมหนาว​ยัง​ อ้อย​อิ่ง​ใน​ยามเชา​และ​เย็นย่ำ� งาน​ดนตรี​ใน​หอศิลป​จึง​ขอรับ​ลมเย็น ณ ลาน​ลีลา​วดี สวน​สวย​ที่อยู​ใน​ออมกอด​ของ​หอศิลป พระจันทร

นิทรรศการ เดือน เมษายน – มิถุนายน 2553 April 2010

2-30 เมษายน 2553

8 เมษายน 2553 8 - 30 เมษายน 2553

จากพระราชดำ�รัสดังกล่าว พระองค์ได้ถ่ายทอดภาพที่ ทรงฉายทั้งในประเทศและระหว่างเสด็จพระราชดำ�เนินเยือน ประเทศต่างๆ ร่วม 200 ภาพ โดยสำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วม สมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์จึงได้ถือโอกาสอันนี้สะท้อนพระอัจฉริยภาพ ความใส่พระทัย ผ่านเลนส์กล้องของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่สะท้อนมุมมองต่างๆ ประกอบกับ อารมณ์ขันในเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ของพระองค์ เพื่อให้ประชาชนได้มี รอยยิ้ม จากการชมภาพถ่ายฝีพระหัตถ์อันทรงคุณค่าในสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ พระราชทานภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ทท่ี รงบันทึกไว้ในช่วง ปี พ.ศ. 2551-2552 จำ�นวน 186 ภาพ ในงานนิทรรศการ “ถ้าเดิน เรื่อยไปย่อมถึงปลายทาง Destinations” โดยจัดแสดงระหว่างวันที่ 9-30 เมษายน 2553 ณ ห้องแสดงนิทรรศการชั้น 1 ด้านหน้า หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ไว​พบกัน​ใหม​ฤดูหนาว​ครั้งหนา​กับ​ดนตรี​รับ​ลมหนาว​ท​ี่ หอศิลป​สำ�หรับ​ผู​สนใจ​สามารถ ติดตาม​กิจกรรม งาน​นิทรรศการ​ จาก​ทาง​เวปไซค www.cmumuseum.org หรือ ตองการ​รับ​ขาว​ หอศิลป​ทาง​อีเมล โดย​เขียน​อีเมล​ของ​ทาน​ไป​ที่ cmuartcenter@ finearts.cmu.ac.th

3- 29 เมษายน 2553

จารีต สู รวมสมัย (Tradition via contemporary) โดย วัฒนะ วัฒนา​พันธ,​นุสรา เตียง​ เกตุ ทัศนีย ​ยะจา,สม​ศรี ผิว​ออน

คณะ​วิจิตรศิลป​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม และ​สำ�นักงาน​คณะกรรมการ​วัฒนธรรม​ แหงชาติ

หอง​แสดง​นิทรรศการ​ชั้น 1 ​ดานหลัง

สถาบัน​พิพิธภัณฑ​การ​เรียนรู​แหง ชาติ(Museum siam) ​ภายใต​การ​สนับสนุน​ ของ​สำ�นัก​นายกรัฐมนตรี สำ�นักงาน​ศิลป​วัฒนธรรม​รวมสมัย กระทรวง​วัฒนธรรม รวมกับ​สมาคม​ภาพ ถาย​แหง​ประเทศ​ไทย ใน​พระ​บรม​ราชูปถัมภ

โรงละคร

John Hulme

หอง​แสดง​นิทรรศการ​ชั้น 2 ​ ดานหลัง

นิทรรศการ​วิทยานิพนธ นักศึกษา​ระดับ​บัณฑิต​ศึกษา สาขาวิชา​ทัศนศิลป คณะ​วิจิตรศิลป คอนเสิรต​เพลง​ประสาน​เสียง “Let’s all join in harmony”

นักศึกษา​ระดับ​บัณฑิต​ศึกษา​สาขาวิชา​ ทัศนศิลป คณะ​วิจิตรศิลป ​มหาวิทยาลัย​ เชียงใหม คณะ​นัก​รอง​ประสาน​เสียง CM. Voice Studio Chorus

หอง​แสดง​นิทรรศการ​ ชั้น 1 ดานหนา และ​หอง ประชุม​เล็ก โรงละคร

นิทรรศการ​ภาพพิมพ

สาขาวิชา​ภาพพิมพ คณะ​วิจิตรศิลป ​ มหาวิทยาลัย​เชียงใหม

หอง​แสดง​นิทรรศการ​ชั้น 1 และ​ชั้น 2

เสวนา​โครงการ Thailand Script Project (TSP) นิทรรศการ​ภาพถาย​ฝ​พระ​หัตถ โดย​ สมเด็จพระ​เทพรั​ตน​ราช​สุดาฯ​สยาม​ บรม​ราช​กุมารี “ถา​เดิน​เรื่อยไป​ยอม​ถึง​ปลายทาง” นิทรรศการ​ภาพถาย “In search of job - any job” โดย ชางภาพ​สารคดี John Hulme

หอง​แสดง​นิทรรศการ​ชั้น 1 ดาน หนา

May 2010 14 - 28 พฤษภาคม 2553 22 พฤษภาคม 2553

June 2010 1-30 มิถุนายน 2553

3-10 มิถุนายน 2553 งานสัปดาห์วัฒนธรรมอิหร่าน

สถานฑูตอิหร่านร่วมกับคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

หอง​แสดง​นิทรรศการ​ชั้น 1

Arts May 2010

17


Interdisciplinarity and Fine Arts Education

A paper for discussion Joans D. Ground

I chose this topic because I am presently involved in discussions and planning of curriculum in some areas of the Faculty of Fine Arts at this University. I would like to stress, however, that my investigation is of a general nature, and is ​ in no way specific to this Faculty. I would hope that this brief ​ introduction might be of use to members of any faculty of fine arts , if only as an impetus to begin to better articulate educational philosophy and to open reasoned discussion and debate. I initially began my investigation for this paper by searching departments of fine arts’ websites in various academic institutions. I was interested in the mission statements and /or​ educational policies explicitly articulated on these institutional web pages. In particular, I was interested in the ways the statements did or did not articulate their course offerings and educational rationale in terms of disciplinary or interdisciplinary education. Before long, it became apparent that few fine arts departments explicitly addressed either. When disciplinarity ​ or interdisciplinarity was mentioned, there was little published ​ rationale or justification of terms used. I note two examples that do address this in footnote 11 later in this paper. While my search was not exhaustive or extensive, it took little time to understand that I needed to expand my sources in order to better understand academic disciplinarity and interdisciplinarity at a deeper level. For this reason, the articles I draw on are predominately from the science and humanities. I believe they are applicable to a fine arts area. As research for this paper progressed, I discovered that there is a rising chorus of intellectuals and academics calling for critical research into more precise definitions of academic disciplinarity and interdisciplinariity in all areas of study. It is clarifying to first understand how disciplines came to be. In New Directions in Interdisciplinarity: Broad, Deep, and Critical, Frodeman and Micham propose that any assessment of contemporary disciplinarity or interdisciplinarity needs to take account of the historical background leading up to the​ present situation. In their version of this history, (and I am greatly simplifying their account) ancient Western learning, beginning with Aristotle, was unified. The time from Aristotle through the creation of the first Universities (Bologna in 1088 and Salamanca in 1218) and up until the modern period, the authors call premodern predisciplinary. In this phase of premodern predisciplinary learning, higher education upheld the tradition of an unchallenged preservation and teaching of established traditional knowledge. The ultimate challenge to this form of pedagogy arose from pressures and needs of industrialization, urbanization, social and political events and circumstances. As a result, modern disciplinary divisions, advanced educational specialization degrees and the creation of new categories of knowledge arose. From this time to the present, the emphasis in education becomes increasingly oriented ​ towards the formation of new bodies of knowledge and ​ research. Out of new categories of knowledge, new disciplines are often created. For various reasons, disciplinary research and pedagogy sometimes cross disciplinary boundaries to become interdisciplinary. Some interdisciplinary efforts then become new categories of knowledge or new disciplines. This process repeats itself both inside and outside of university . It is useful and important to clarify the terms of disciplinarity and interdisciplinarity in tertiary education. A mutually understood and agreed upon definition of terms relevant to naming and nomination of these two systems of study and how they ‘fit’ (or not) into some kind of logical system of order is fundamental to an understanding of curriculum, accountability and service (both internal to a university and external to it.) “The term ‘discipline’ originates from the Latin words discipulus, which means pupil, and disciplina, which means

18

Arts May 2008

teaching (noun).” Kirshnan says further, “The term ‘academic discipline’ certainly incorporates many elements of the meaning of ‘discipline’ ….. At the same time, it has also become a technical term for the organisation of learning and the systematic production of new knowledge. Often disciplines are identified with taught subjects, but clearly not every subject taught at university can be called a discipline. Often disciplines are identified with taught subjects, but clearly not every subject taught at university can be called a discipline. There is more to disciplines than the fact that something is a subject taught in an academic setting. In fact, there is a whole list of criteria and characteristics, which indicate whether a subject is indeed a distinct discipline. A general list of characteristics would include: 1) disciplines have a particular object of research ​ (e.g. law, society, politics), though the object of research maybe shared with another discipline; 2) disciplines have a body of ​ accumulated specialist knowledge referring to their object of ​ research, which is specific to them and not generally shared with another discipline;3) disciplines have theories and ​ concepts that can organise the accumulated specialist knowledge effectively; 4) disciplines use specific terminologies or a ​ specific technical language adjusted to their research object; ​ 5) disciplines have developed specific research methods ​ according to their specific research requirements; and maybe

dler writes that the creation of these subdisciplines or shadow disciplines created the need for supradepartmental institutions such as humanities institutes. There are many institutes that draw students to a particular university because of excellent academic reputation and high research status. Also of interest to those of us in fine arts is the classification system of disciplines developed by psychologist Anthony Biglan. He combines epistemological and cultural dimensions of disciplines when he classifies disciplines into binary divisions. Of particular interest is the division into ‘hard’ and ‘soft’, ‘pure’ and ‘applied’ disciplines and the prestige and recognition ​ afforded each division. Under Biglan’s system, fine arts would be considered a ‘soft’ and ‘applied’ discipline. Both definitions tend to have less university status and recognition. How we (in fine arts) are classified can have serious implications including how we are funded, what funding we receive, what our research is considered to be, how our research is funded, and the ratio of teaching to research, for example. Classification is more than a rhetorical exercise in times of economic constraints and/or political intervention in higher education. Arguing a different or a more nuanced classification system can be a matter of life or death for a faculty or department. Under stress, arguing ones case relies on informed and well-articulated arguments arising from a general staff consensus as to terms of reference. If not consensus, then agreement that the head of the faculty or department has considered the various points of view and has the support of all staff as he or she argues the case within the larger university. This considered positioning needs to be the result of careful monitoring of changing circumstances and resourceful forward planning. David Chandler calls for new ways of studying disciplinarity as a system and offers some suggestions as to possible procedures. Carefully read, his network of disciplines in asymmetrical relation to each other is a subtle doubling of point of view, a way of possibly thinking of disciplines from the outside in and from the inside out. “We need to rearticulate the disciplinary system after three decades of “add on” fields and programs. We need to do this not in order to cut costs or to rebind ourselves to a new regime of disciplinarity but, at least in part, to create new possibilities for interdisciplinary connection and exploration…. (His) sense is that the totality of the disciplines at any given time should be articulated not as a set of territories, or even as most crucially 6), disciplines must have some institutional a set of parallel functions, or box of tools, but as a network of manifestation in the form of subjects taught at universities or relatively autonomous practices in asymmetrical relation to each colleges, respective academic departments and professional other. Properly understood, the disciplinary system will thus ​ associations connected to it. Only through institutionalisation are appear to have a different structure from the perspective of disciplines able to reproduce themselves from one generation ​ each discipline in it. Literary criticism’s relations with history to the next by means of specific educational preparation. and musicology, for example, are not symmetrical with anthro Generally it can be said that the more of these boxes pology’s or linguistics’ relations to those disciplines.”
 a discipline can tick, the more likely it becomes that a certain What of interdisciplinarity and fine arts? Recall Frodefield of academic enquiry is a recognised discipline capable man and Mitcham’s description earlier in this article. in which of reproducing itself and building upon a growing body of own disciplines combine to become interdisciplinary then some of scholarship. If a discipline is called ‘studies’, then it usually indi- these interdisciplinary areas become disciplines themselves cates that it is of newer origin (post Second World War) and that and the process proceeds to branch into a ‘tree’. it may fall short of one or more of the above mentioned charac- Assume that we have come to some sort of agreement teristics. This would be typically lack of theorisation or lack of as to what a discipline is and what a subdiscipline is and that we specific methodologies, which usually diminishes the status of a​ all practice in a discipline (remember this is a hypothetical exerfield of research. These ‘studies’ disciplines can either aim at cise). Assume also that we have decided that under the umbrella remaining ‘undisciplined’, as women’s studies did in the 1970s, of faculty there are divisions that are different disciplines. If this is or they can engage in the process of their disciplinarisation and the case, then we all have experienced this process of combininstitutionalisation.” ing, if not personally, then as witness to another’s art practice. The check list above is a useful starting point for In some cases the combination that comes from putting two or clarification and articulation of disciplines in any field currently more fields or sets of practice together has yielded another more taught at tertiary level. There are more sanguine views of new or less discrete field or set of practices, one example would be academic fields of study and practices, however. James Chan- the relatively recent introduction of installation art ​


in many fine arts faculties. At some point the new ‘combine’ can become a field or set of practices of its own as it fulfills more of the criteria set by the institution. The creation of new combinations described above ​ I call intradisciplinary because it is a ‘combine’ from within ​ a general department such as a faculty of fine arts. It is ​ reasonably easy to undertake this process because it fulfills one of the goals of higher education, the creation of new bodies of knowledge and research identified by Frodeman and Mitcham earlier in this article; and it is internal to a single faculty. In most cases that I can think of in fine arts, experimental research in the form of exploratory practice is initiated, practiced, and critically evaluated outside the institution before it officially enters the educational institution. Introduction of a new field of study comes from students wanting to study and to practice what they consider a bone fide field in depth or the impetus might be from staff whose own practice has led them to explore and create in this new field. Generally inclusion is slow and there is considerable cultural lag in the process. When it comes to institutional interdisciplinarity and fine arts, the situation is more complex. First, there is tremendous variation and even confusion around the definition of the word interdisciplinary. For my purposes, I use the term interdisciplinary from this point in the paper to define activity between two or more distinctly different fields of knowledge that are institutionally identified as separate and discrete. ​ For example, cognitive science and art. Demand for interdisciplinary research will often arise at post-graduate level when the research project requires supervision or collaboration between disciplines in different faculties. ​ The ability of the institution to meet these demands can depend not only on prevailing attitudes to disciplinary boundaries but also to the structure of degree programs in each institution. It is conceivable that in future new disciplines in the

television (film) literate. Daily, they watch expertly researched and produced programs from one knowledge field and point of view back to back withanother field of knowledge and point of view. Of course, they also watch programs of spurious nature and credentials. Neither of these media provide contextualization, follow through, or evaluation. The internet and television do, however, promote a wider possibility for thinking about and beyond a field or even ways of thinking in general. We cannot know what the lives of the 21 Century student will be or what kind of demand will be put upon their education. The best we can do is to prepare them for change and the as-yet-unknown in the best way we can. Students with fine arts training can be extremely successful and highly creative in developing new fields, or approaching fields marginal to or adjacent to fine arts as well as the career of a practicing artist. In a good fine arts education, students will learn to set their own projects, do independent research, to think and act without being overly concerned about mistakes. They will learn how they and their peers attack creative problems by thinking in ways that are free ranging and often fine arts will come from the fusion of interdisciplinary research unconventional. They will learn how to stay with a project into practices that build momentum, advocates and demand and how one self-generated project leads to many possible from within the academic institution. For example, one can alternative outcomes. Art students learn to be courageous, to observe a growing force of young art arising out of interest in ‘open themselves up’ when they create works and then to ‘put and commitment to sustainability and ecology. If these young that work out’ to a critical public. All of these attributes held by artists are studying in a university, they will need to access, ​ the well educated artist are useful not only to themselves but in depth, more than one faculty. Supervision might come from also to those they might work with trained in disciplines with staff with two degrees from two different faculties or it might different and at times more constrained fields of knowledge. take place between separate faculties. In some cases, inter The well-educated art student learns, in other words, disciplinary work will penetrate beyond the boundaries ​ to become creatively opportunistic with very high ambitions of the institution. Supervision might require expertise from for their work rather than simply for themselves. The freedom outside the university, from NGOs for example, if a student to carry out these processes unencumbered by function, was proposing work in a particular community. external economic pressures, or product driven decisions; If the number of artists with relevant interdisciplito make mistakes; to recognize and seize opportunities; are nary degrees reached the needed critical mass and fulfilled just some of the ‘skills’ unique to a good fine arts education it other criteria, a new discipline could be formed. Would that seems to me. discipline be located in the school of environmental sciences It is predicted (anecdotally) that students today can or in fine arts, or would it be shared between the two with staff expect to have between five and ten careers in their working in each? Perhaps a new study area might be formed. lives. If this is so, then they will need to be able to transfer Interdisciplinary combinations and the subsequent knowledge from one career to the next, otherwise they will changes to structure is an ongoing reality of 21 Century have to restart each time. The person who is not able or Academia. Change is an integral part of the creation of new trained to even identify difference in knowledge fields will not knowledge whether driven by research from within academia easily transfer knowledge. If a graduated fine arts student is or pressures from the outside. Rapidly changing social, naïve about their discipline’s knowledge fields in relation to environmental, and political conditions of great complexity are other disciplines, they will not easily transfer their knowledge. driving thinking and research into interdisciplinary combina In my experience, not every student graduating in ​ tions. The rate at which this happens often leaves regrettably fine arts becomes ‘an artist.’ This is something to be celebrated little time for institutional discussion, definition and evaluation. as long as they are reasonably successful and happy with their Because of the rapidity of change, the slumbering faculty choices. For any creative person the ability to successfully implement the transition out of the institution is an interdisciplinary is often taken by surprise when it is dissolved, removed, or skill, I believe. One of our primary goals as educators is to absorbed and diminished. enable students to engage in their life and work creatively and For today’s student, interdisciplinarity is very much ‘in sync’ with their daily lives. The student of today is Internet with agency so that they can make the best and most important contributions to society as a whole that they possibly can in raised; and the internet, with hyperlinks and threading, is an​ whatever field they choose to engage with and work in. interdisciplinary tool. In addition, most students are very

Artist Fernando Botero Angulo ​ (born April 19,1932) is a Colombian figurative artist, self-titled “the most Colombian of Colombian artists” early on, coming to prominence when he won the first prize at the Salón de Artistas Colombianos in 1958.

Fernando Botero was born in Medellín, Antioquia, Colombia, South America, where the ​ Catholic church adopted the Baroque style. Throughout his childhood, Botero was isolated from ​ traditional art presented in museums and other cultural institutes. He lost his father at the age of 4. In 1944, after going to a Jesuit school, Botero’s uncle sent him to a school for matadors for two years. In 1948, at the age of 16, Botero published his first illustrations in the Sunday supplement ​ of the El Colombiano daily paper and used the money he received to pay for his high school education at the Liceo de Marinilla de Antioquia. 1948 was also the year Botero first exhibited, along with other artists from the region.​ From 1949 to 1950, Botero worked as a set designer, before moving to Bogotá in 1951. ​ His first one-man show occurred at the Galería Leo Matiz in Bogotá, a few months after his arrival. ​ In 1952, Botero travelled with a group of artists to Barcelona, where he stayed only briefly before ​ moving on to Madrid. In Madrid, Botero studied at the Academia de San Fernando. In 1952, ​ he traveled to Bogotá, where he had a personal exhibit at the Leo Matiz gallery. Later that year, ​ he won the ninth edition of the Salón de Artistas Colombianos. In 1953, Botero moved to Paris, where he spent most of his time in the Louvre. He lived in ​ Florence, Italy from 1953 to 1954, studying the works of Renaissance masters.

BOTERO Arts May 2010

19


Philippine Art: A Capsule History to the 19505 Rod. Paras-Perez​​

20

Arts May 2008

I. Visual Grammar and Visions of the Holy Hispanic expansion to the Philippines was motivated by a desire to spread the Catholic faith and also to acquire wealth. As the historian and loyal companion of Cortez, Beral Diaz del Castillo candidly put it: "We came here to serve God and the King, and also to get rich." I The first artworks encouraged by the Spaniards in the Philippines were thus related to religious rituals: sculptured icons in-the-round or in relief; ​ or painted icons copied from European engravings. Art as a mode of self-expression was unknown. Art was artisanship in the service of the community or the laity, often done by anonymous master-craftsmen. Some names eventually emerged. But these were mostly early 19th century masters like Damian ​ Domingo (ca.17951833), Mariano Asuncion (1802-1885), Antonio Malantic (ca.1820-1886), Justiniano Asuncion, et al. They did mostly religious works ​ until a more tolerant attitude towards secular themes was fostered. Then genre ​ painting and portraiture fourished. However, the idea of art as artisanship continued. Painters made ​ portraits using paint like threads to do elaborately embroidered clothing. ​ And, very often, painters travelled through various towns bearing works with elaborately painted clothing on stately-posed bodies minus the head-the face ​ of the client was later painted on the pose with the desired attire. Painters became well-known as retratistas or portrait-makers associated with a particular district where they came from. Thus, Severino Javier, also known as Capitan Viring was retratista de Paco; Damian Domingo and Antonio lVlalantic were retratistas de Binondo; Justiniano Asuncion, also known as Capitan Ting, ​ was the retratista de Santa Cruz. Damian Domingo actually started his career as a portrait maker renowned for his ability to get the likeness from memory. The skill was particularly convenient for the young gallants of Manila who were not allowed to frequently visit the ladies they owed. During the few times that a lady looked out of her window, Damian Domingo caputured her image in his mind and easily did a miniature portrait on ivory which was eagerly purchased by the suitor. Moreover, the portraits which still speak with eloquence to the present generation are the larger pieces done on site by artists like Antonio Malantic for the Francia family in Pagsangan, Laguna and that of Simon Flores de la Rosa's Quiason Family in Bacolor, Pampanga. The founding of the first Academy of Drawing in 1821 did not considerably alter the attitude towards art as craft. As a private academy, the school functioned as no more than a trade training guild. The outlook did not change much even when the academy was given a quasi-official status under the Royal Economic Society and the friends of the Country took the school under its patronage. As the name suggests, the society was essentially an economic and trading group." Attempts to establish a Royal Academy of Drawing and Painting were made after the death of Damian Domingo, but nothing was achieved. On 8 June 1848, Mariano Roxas y Ubaldo repetitioned Queen [sabela II for the implementation of the decree creating the Academy and Museum for Painting. This led to the opening of the academy in 1855 under the directorship of Agustin Saez. On the faculty with Saez were the painters Lorenzo Rocha and Lorenzo Guerrero who taught Luna before he went to Madrid. II. Nationalism and the Passion for Correctness After three centuries and three decades of hispanic rule, the accumulated sense of inequities felt by the Filipinos engendered a passion for correct form which became the bannerhead of the campaign for equality. Proper decorum, initially formulated in books

such as Lagda (1734) and later in booklets such as Urhanat Felisa (1854) and amply reinforced by the different ecclesiastical universities became the badge of the ilustrado or enlightened man. So engrained was the passion for form, or what was taken as correct form, that no activity was deemed worth anything if it did not show proper form or decorum. Thus, Dr. Jose Rizal, the national hero, faced the firing squad properly attired, befitting an educated man, and, thus, ​ the equal of any man from the West, particularly the Spaniard. The writer, Francisco Balagtas (1788-1862) placed the setting of his ballad, Florantet Laura (1838) in a presumably Greek city, not only to evade the censors, but also to showcase his knowledge of Greek mythical gods and goddesses which at the time was part of the hallmark of an educated man. Even ​ devotional literature strove for correct form. 1n 1852 Fr. de la Merced published his version of A Book of His Life which was correct in every way-polished in its use of Language and carefully researched. In music, Marcelo Adonay (18481928) attempted to imbue liturgical hymns with the proper form and context. The Academy of Painting, Sculpture and Engraving (l879) which evolved from the preceding schools, also became the premier source of the idea of correctness in form and style,naturally, aligned with the prevailing attitude in Madrid, Spain. Realistic and genre paintings, concerned with the depiction of everyday scenes and occasional portraits, were not discouraged; but these were not considered worthy vehicles for asserting the idea of equality with artists abroad, particularly in Madrid. A Royal Decree on 21 August 1862 still required the head of the academy to send to Spain'country types' or genre art, but the battle for equality was already with Madrid's ali establishment. Euphoric jubilation understandably engulfed the Filipino community in Madrid when two Filipino painting scholars won the major awards at the 1884 National Exhibition in Spain. Juan Luna y Novicio (1857-1899) won the Gold Medal with his painting Spoliariu/ll which depicted dead gladiators being dragged to the funeral pyre.4 In both scale and historical allusion, Spoliarium satisfied the academic requirement plus the artist's capacity to pick a dramatic moment, albeit tragic moment within, the event. Felix Resurreccion Hidalgo (18551918) won the Silver Medal with his Christian Virgins Exposed tothe Rabble, also Greco-Roman in allusion and equally dramatic although without the tragic immediacy of Luna's work. The triumph prompted Jose Rizal to give a paen to the painters declaring in effect that genius is without nationality: "Luna and Hidalgo are the glory of Spain as well as the Philippines; born in the Philippines, they could as well have been born in Spain, for genius is like light and air, owned by all; cosmopolitan like space, like life, like God".5 For Rizal, Asians can be a genius as well as any Caucasian. Back in Manila, Luna and Hidalgo's triumph in Madrid was greeted with equal rejoicing. But the impact of the grand gout apparently did not take too deep a root. Most of the painters from the Philippine Academy, like Simon Flores de la Rosa, Ie Felipe Roxas, et ai, continued to do genre types or country types, scenes depicting daily life which were, strangely IS Ie enough, perfectly aligned with the French avant garde: the impulse to elevate the common life as a fitting subject of art, seen in the works of Jean-Fran~ois Millet and Gustave Courbet and, eventually, among the Impressionists like Monet, Renoir etc. In art as in life, equality under Hispanic rule was an elusive dream. The Filipinos mounted a successful revolt against Spain which was eventually lost to the Americans in a bloody war stretching across the 20th century.


III. The Golden Dream and Other Frames On a hot, humid Thursday night, when the temperature hovered between 30" and 34" Celcius, a huge crowd awaited the opening of Aurelio Tolentino's play, Kahapon, Ngayon at Bukas (Yesterday, Today and Tomorrow) at the Teatro Libertad in Santa Cruz, Manila. That was on 14 May 1903. The crowd was primed for an exciting evening by a rumor that the play was outrageously patriotic. And the audience was not disappointed. In symbolic images easily understood by the audience, Aurelio Tolentino revealed the oppressions inflicted by the ~) Spaniards and Americans on the hapless Filipinos. Conveyed in declamatory speeches, sometimes in the form of eulogies and articulated by characters with symbolic names, each biting Ie dinnuendo was greeted with wild cheering by the Filipinos as I,​ the Americans in the audience sat indignantly. Finally when the American flag was hauleddown​ and trampled on stage, the outraged Americans rioted. Aurelio Tolentino later ended up in jail with a hefty fine. But it was not to be the end of protest literature. Almost the same motif may be seen in Juan Abad's TanikalangGuinto (The Golden Chain). The so-called benevolent rule

the art lodestars were still in Europe. Thus, serious artists of the time aspired to go to study Velasquez and the Spanish and French Impressionists. Although American rule had been established in the Philippines for over a decade then, the United States was still regarded by most Filipino artists as a tasteless, cultural backwater.H The opportunity to go to Spain was given to Fernando Amorsolo (1892-1972) by the business tycoon Don Fernando Zobel in 19 I 9. The young Amorsolo promptly enrolled at the Royal Academy of San Fernando in Madrid and became the protege of Spain's noted painters, Jose Moreno Carbonero and Cecilio Pia. However, it was Velasquez' and Zorn's works which opened Amorsolo's vision. He decided to pursue, within the intimate scale of the genre. the trail blazed by the two ar1ists. In 1922, two years after he returned from abroad, Amorsolo painted his first major genre, Plantinfi Rice, which eventually became the generic image for his contemporaries. Rice Plantinfi embodied the 'vision-of-the-moment' learned from Velasquez, the capacity to organize the painting as if seen at a glance: but Amorsolo also demonstrated a skillful handling of light and dark contrasts which made the rendering of sunlight almost sing. The allure of Amorsolo's works soon made him the most popular painter and, more significantlY. attracted a number of artists around him who also devoted themselves to painting genre works, especially paintings celebrating life in the countryside. The School of Fine Arts at the University of the Philippines where Amorsolo was installed as the third director became the bastion of the group. Among the leading artists in it were Dominador Castaneda (1904-1967) who gave to genre images a more gestural brushwork, Toribio Herrera (1892-1969) who endowed his works with a sense of atmospheric drama, like sunset and moonlight in a single painting, and Irineo Miranda (1896-1964) who gave to his works a sense of intimate symbolism. Even the brother of Fernando Amorsolo, Pablo (1898-1945), who was technically closer to De la Rosa than to his elder brother, followed the interest in depicting rural life. There were also artists of De la Rosa's generation who went for the theme of the countryside like Jorge Pineda (18791946), Ramon Peralta (1886-1940), Teodoro Buenaventura (1865-1950) et al. This slightly older generation, however, tended to define forms in tonal terms, while the circle of Amorsolo tended to be more chromatic in approach although without the optical mixture of colors used in 1mpressionisim. The nationalistic symbolism seen in painters like Rivera y Mir gave way, in the case of Amorsolo's circle, to a search for an ideal Malay Beauty in lieu of the classical, a Western ​ Venus or Mona Lisa type. In a rare anicle, Amorsolo specifically spelled out his vision of an ideal Filipina beauty, "one with a rounded face, not of the oval type ...the eyes should be exceptionally lively...the nose should be of the blunt form and strongly maked... (she) should have a sensuous mouth, not the pouting mouth of early days... (she) should not be necessarily by the Americans was presented as no more than the guileful mask worn by covetousness. As in white complexioned, nor the dark brown color of the typical Malay, but of the clear skin or Aurelio Tolentino, the characters in Juan Abad were cast with archetypal, symbolic names. flesh-colored type which we often witness when we meet a blushing girl." !1 It was a search for Nationalism was also the animating force of Philippine painting in the opening years the classjcal beauty within a Filipino context. In pursuit of such an ideal, presumably to be seen of the 20th century. Although the interlude between Spain's departure and the American ​ in the pristine purity of the countryside, the writers of Amorsolo's era also wrote extensively takeover were relatively quiescent years for painting, the art circuit showed signs of activity about rural life. Like J. Villa-Panganiban's, The Milklllan ofMakilinfi or Paz Marquez' A Nifiht​ by 1903 when efforts were made to organize the Asociacion Internacional de Artistas (Interin the Hills, etc. Even musical compositions followed suit, as in Francisco Santiago's Mutya national Association of Artists). This was however not fully realized until 1908. Rafael Enriquez ng Pasig (Lady of the Pasig) or Nicanor Abelardo's Nasaan Ka frog (Where are you my Love). succeeded in organizing it as well as the re-opening of the School of Fine Arts at the University ​ Such images of innocence and bucolic joys did not remain unsullied. By 1928, Victorio Edades of the Philippines with him as the first director. (1895-1985) who was artistically nurtured in the United States during the Great Depression and The main activity undertaken by the International Association of Artists was the the initial onslaughts of modernism. returned to Manila and mounted his controversial show al competitive exhibition held at the Bazar Filipino. The winning works underscored the strong the Philippine Columbian Club. With Edades, art no longer reached for the ideal or even asnationalistic sentiment of the times and also, in the genre, a realistic trend. Vicente Rivera y Mir pired to be true-to-life. Instead, art asked to transcribe feeling, in all its individuality-proportion (ca. 1872-1960) won the first prize with his El Suefio Dorado (The Golden Dream). The painting can be distorted and color need not follow nature. What the artist felt sincerely assumed an presented a woman in a hammock, asleep. The pose showed an ordianry event, rendered in a aura of infallible rightness. And the door towards modern art opened up. realistic mode typical of genre painting. But Rivera y Mir injected an unusual note: the woman held a newspaper, La Independencia (Independence). Thus, through a careful choice of imagery, an ordinary situation was lifted to a plane of symbolism. The sleeping woman became the personification of Mother Philippines dreaming of independence. Realism in painting ​ acquired an otherworldly note through symbolism. The allegorical nuance in Rivera y Mir and the other artists was the counterpart of the protest literature of Aurelio Tolentino, J.M.Cruz, Juan Abad, et. a!., but this was also the continuation of a long tradition. Ancient Filipino literature often spoke in riddles. And censorship through centuries of hispanic rule honed a capacity for multilayered meanings so amply demonstrated in Francisco Balagtas' Florante't Laura (1838) or in the prize winning painting ​ of Luna, the Spoliarium. Moreover, there were works of pure realism at the Bazar Filipino exhibition. Gaston O'Farell, a French national who grew up in the country was also awarded a major prize for a simple portrait of his mother. A young artist, Fernando C. Amorsolo also received a prize for ​ his painting of someone reading a newspaper. It was, however, Fabian de la Rosa (18691937) who advocated realism quite strongly. Fabian de la Rosa left for Europe as a scholar of Manila's Germinal Company right after the Bazar Filipino exhibition. In Paris, he spent some time copying the masters, then he studied at the Academie Julien, and, afterwards, went to Rome. He learned to admire Courbet and painted in subdued colors and carefully modulated tones, rejecting in the process the ​ optical mixture of colors seen in Impressionist works.He dominated the art scene upon his return to the Philippines, all the while looking up to his lodestars, Courbet and Velasquez. ​ He painted life around him through their eyes. Later, he became the second director of the School of Fine Arts at the University of the Philippines. Turn-of-the-century attitudes still looked up to the ClassicoRomantic, monumental paintings of Luna and Hidalgo whose works were shown Hors Concours at the Bazar Filipino exhibition but the tide of realism sweeping Paris more than validated the innate propensity for genre works. The classical grand gout tradition was ruptured: Instead of monumental and noble themes, realism favored more intimate scales and themes of ordinary life, like peasants, laundry women, the cafe circuit, etcetera. Instead ​ of the eternal verity represented by the ideal, truth was equated with an image that was trueto-life. Thus, the writer Emile Zola dealt with ordinary life, including the world of prostitutes, ​ just as Courbet painted stone breakers, drunken priests, etc. and Degas, that of laundry women, lounging ballet dancers, etc., all presumably true-to-life. Even with the technical innovations accomplished by the Impressionists, the choice of subjects remained essentially the same up to the start of WW I. In Manila, realism nuanced by nationalist undercurrents, flourished up to WW II and beyond. ​ IV. Sunlight and Brown Madonnas For the generation of De la Rosa and Amorsolo, Arts May 2010

21


Standardization , Globalization , Localization

ART INSTALLATION

Kade Javanalikikorn

Brown Air, Tree, Ocean, and Dirty Automobile

Kade Javanalikikorn Sexual Intercourse


Arts

Instructor รศ.สมเกียรติ ตั้งนโม

Kade Javanalikikorn

Painting Department

การโกหกยิ่งทำ�ใหจมูกยาว และหุนที่ทำ�ขึ้นจาก ไมซึ่งอยากเปนคน. ผลงานชิ้นนี้เปนภาพตูเย็นถูก ตอจมูกออกมาจากฝาประตูตูเย็นใหยาวเหมือน จมูกของพิน็อคคิโอ และไดรับการตั้งชื่อผลงาน ในชื่อเดียวกันนี้. อาจารยเกศ อธิบายชิ้นงานนี้ วาเปนการสะทอนถึงสังคมบริโภค การกักตุน อาหาร และการสลับปรับเปลี่ยนบทบาท​ ระหวางหุนกับคน โลกเปนเสมือนดั่งโรงละคร ขณะที่​ พิน็อคคริโออยากเปนคน คนในยุคปจจุบันก็กล้ำ� กลายที่จะละมายดั่งหุนยนตมากเขาไปทุกที ขาด ชีวิตจิตใจ ขาดความจริงใจ เปนการสลับบทบาท ที่มาพบปะกันบนเวทีโรงละครเล็ก กาดสวนแกว เชียงใหม อันเปนสถานที่จัดแสดงผลงานศิลปะ แบบติดตั้ง (Art Installation) ในครั้งนั้น (ราว พ.ศ.2539) สถานที่จัดแสดงผลงานไดถูกเลือก สรรอยางพิถีพิถันใหเขากับเรื่องที่ตองการสื่อ และการจัดแสงก็ทำ�ใหบรรยากาศการแสดงผล

งานเต็มไปดวยความรูสึกคลายดั่งโลกเสมือน จริง ที่ความจริงเปนแคละคร เกศ ชวนะลิขิกร เริ่มทำ�งานครั้งแรก เปนอาจารยสอนทางดานจิตรกรรมที่คณะวิจิตร ศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม เมื่อกวายี่สิบปมา แลว (พ.ศ.2530) ผลงานศิลปะในชวงเริ่มตน ​ ของเขา ใชเทคนิควิธีการเทสีลงบนพื้นผาใบ และ การใชแปรงและพู่กันระบายสีทับลงไปหลายๆ ชั้น หากผูเชี่ยวชาญทางดานศิลปะไดพบเห็น งานในชวงแรกนี้ ตองจัดเขาอยูในหมวดศิลปนที่ ผลิตผลงานทางดาน Abstract Expressionism แตอาจารยเกศ ก็มิไดหยุดนิ่งเพียงเทานั้น ในแตละกึ่งทศวรรษของการทำ�งาน เปนอาจารยและศิลปน อาจารยเกศไดพัฒนา สรรคสรางผลงานศิลปะของตนเองอยูเสมอ โดย เฉพาะผลงานศิลปะแบบติดตั้ง (Installation Arts) โดยการประกอบ (อ่านต่อหน้า 12)

แนะนำ�​หนังสือ

WINDOW DISPLAY รศ.สมเกียรติ ตั้งนโม

ผศ.​สุนัน​ทา ​รัตนา​วะดี ​มัก​ปรารภ​กับ​ขาพเจา​เสมอ​วา​เขียน​หนังสือ​ชา ​เพราะ​ตองการ​ปรับปรุง​ให​ เนื้อหา​มี​ความ​สมบูรณ​แบบ​มาก​ที่สุด ​อีก​ทั้ง​กังวล​ถึง​หนังสือ​เลม​นี้​ใน​แง​ที่วา ​บรรดา​นักศึกษา ​นัก​วิชาชีพและ​​ ผู​สน​ใจเรื่อง​ของ​วัฒนธรรม​ทาง​สายตา (​v​is​ ​ua​ l​​​cu​ l​t​​ur​ ​e)​ ​​จะ​นำ�ไป​ใช​ประโยชน​ใน​เชิง​วิชาการ​และ​ภาคปฏิบัติ​ ได​จริง​ใน​เรื่อง​ความรู​เกี่ยวกับ​การ​ตก​แตงหนา​ราน (​w​in​ d​ ​ow​ ​​d​is​ ​p​la​ y​ ​) ซึ่ง​เปนงาน​ออก​แบบ​ที่​มี​ความ​เปลี่ยน​ แปลง​เร็วมาก​ไม​ตาง​ไป​จาก​วารสาร​รายสัปดาห ​หรือ​นิตยสาร​ราย​เดือน ​ผม​เอง​พร่ำ�​บอก​ตัวเอง​วา​คง​ชวย​ อะไร​ไมได ​เพราะ​ตัวเอง​แคเพียง​ครู​สอน​ศิลปะ​คน​หนึ่ง ​อาจ​มี​ความชอบ​เรื่อง​งาน​ออก​แบบ ​(อ่านต่อหน้า 24)

เกศ ชวนะลิขิกร เกศ ชวนะลิขิกร กลาววา “พัฒนาการของตูเย็น​ ซึ่งใชสำ�หรับถนอมอาหาร ทำ�ใหการลาเครื่องเทศ ของโลกตะวันตกหยุดลง” (แตคงมิไดหมายถึงการ หยุดลาอาณานิคมเพื่อแสวงหาวัตถุดิบและที​่ ระบายสินคาในยุคพัฒนาการของทุนชวงเริ่มตน จนกระทั่งปจจุบัน) ฝรั่งที่เรานึกชื่อออกทันที เวลาที่ เราหวนรำ�ลึกเกี่ยวกับการพบปะกันระหวาง​ ตะวันตกและตะวันออกคือ มารโคโปโล (Marco-

Polo, 1254-1324) ชาวอิตาเลียนที่เดินทางไปถึง ประเทศจีนในชวงจักรวรรดิมองโกล (จักรพรรดิ​ กุบไบลขาน) และสิ่งที่มารโคโปโลประทับใจใน ความมหัศจรรยของจีน 2 อยางก็คือ บะหมี่และ ประทัด. เกร็ดความรูที่นาสนใจซึ่งอาจารยเกศ​ เลาใหฟงคือ การที่จักรวรรดิมองโกลสามารถ​ แผอิทธิพลไปถึงขอบโลกตะวันตก เปนเพราะการที่ ชาวมองโกลรูจักการถนอมอาหาร รูจักการดองผัก และการทำ�เนื้อแหง ทำ�ใหมีเสบียงนำ�ทัพคน​ นับแสนเดินทางทำ�สงครามไปถึงครึ่งโลก จากตูเย็นและเรื่องราวของมารโคโปโล ไดมาเชื่อม​ รอยเขาดวยกัน อันเปนที่มาของผลงานศิลปกรรม พิน็อคคริโอ นิทานพื้นบานของอิตาเลียนวาดวย Arts May 2010

23


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.