รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2554

Page 1


คํานํา รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อ นําเสนอผลการดําเนินงานตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา ๗ มาตรฐาน ๔๔ ตัวบงชี้ ของวิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม ปการศึกษา ๒๕๕4 ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับบทสรุปสําหรับผูบริหาร สภาพทั่วไป ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม วิธีดําเนินการและผลการประเมินคุณภาพภายใน สรุปผลการ ประเมินคุณภาพภายใน จุดเดน และจุดที่ควรพัฒนา ทิศทางการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมในอนาคต การจัดทํารายงานประเมินตนเองในครั้งนี้ สําเร็จไดดวยความรวมมือของบุคลากรทุกฝายทั้ง ภายในและภายนอกสถานศึกษา จึงขอขอบคุณในความรวมมือเปนอยางดียิ่งมา ณ ที่นี้

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม พฤษภาคม ๒๕๕5


เรื่อง

สารบัญ

คํานํา สารบัญ ตอนที่ ๑ บทสรุปสําหรับผูบริหาร ประวัติของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ปรัชญาการศึกษา วิสัยทัศน พันธกิจ การดําเนินงานที่เปนจุดเดน ทิศทางการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สิ่งที่ตองการความชวยเหลือจากหนวยงานอื่น ตอนที่ ๒ สภาพทั่วไปของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ๒.๑ ประวัติวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ๒.๒ ขนาดและที่ตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ๒.๓ หลักสูตรที่เปดสอนและจํานวนผูเรียน ๒.๔ จํานวนบุคลากร ๒.๕ งบประมาณ ๒.๖ เกียรติยศ ชื่อเสียงของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ๒.๗ เปาหมายความสําเร็จของการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา ตอนที่ ๓ การดําเนินงานของสถานศึกษา ๓.๑ ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมายของสถานศึกษา ๓.๒ ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๓.๓ โครงสรางการบริหาร ๓.๔ ลักษณะการบริหารงาน ๓.๕ การประเมินตามมาตรฐานการศึกษา ๓.๖ ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

หนา 1 1 1 1 1 2 5 9 10 10 15 16 18 21 23 32 39 39 39 56 58 60 61


สารบัญ (ตอ) เรื่อง

หนา

ตอนที่ ๔ วิธีดําเนินการและผลการประเมินคุณภาพภายใน มาตรฐานที่ ๑ ผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาวิชาชีพ มาตรฐานที่ ๒ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน มาตรฐานที่ ๓ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน มาตรฐานที่ 4 การบริการวิชาชีพสูสังคม มาตรฐานที่ ๕ นวัตกรรมและการวิจัย มาตรฐานที่ ๖ ภาวะผูนําและการจัดการ มาตรฐานที่ ๗ มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน

67 67 79 94 100 103 108 112

ตอนที่ ๕ สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานและแนวทางการพัฒนา สถานศึกษาในอนาคต ๕.๑ ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๑ ผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาวิชาชีพ ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๒ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๓ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๔ การบริการวิชาชีพสูสังคม ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๕ นวัตกรรมและการวิจัย ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๖ ภาวะผูนําและการจัดการ ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๗ มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน ๕.๒ สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน ทิศทางการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

115 115 115 117 119 120 121 122 123 123 126

ภาคผนวก ภาคผนวก ผลการประเมินคุณภาพภายในโดยตนสังกัด

๗ 132

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตอนที่ ๑ บทสรุปสําหรับผูบริหาร ประวัติของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม เดิมชื่อโรงเรียนประชาบาล สังกัดกองวิสามัญศึกษา กรมศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ เริ่มกอตั้งเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๔๗๖ โดยเชาอาคารไม ๒ ชั้น บนถนนทาแพ เปดทําการสอนวิชาการฝมือ การตัดเย็บเสื้อผา ชางทอผา และบัญชีรานคา พ.ศ. ๒๔๘๑ เปลี่ยนชื่อเปนโรงเรียนชางตัดเย็บเสื้อผาและการชางสตรีเชียงใหม สังกัดกองอาชีวศึกษา กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๔๘๒ ยายมาตั้ง ณ สถานที่ปจจุบัน เลขที่ ๑๖๗ ถนนพระปกเกลา อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ปรัชญาการจัดการศึกษา วิสัยทัศน พันธกิจ ประวัติวิทยาลัย ขนาด และที่ตั้งวิทยาลัย ปรัชญาการจัดการศึกษา “มีคุณธรรม นําวิชาการ ชํานาญวิชาชีพ” วิสัยทัศน “มุงสูส ถานศึกษาแหงคุณภาพที่มีความเปนเลิศในดานอุตสาหกรรมบริการในระดับสากล” พันธกิจ ๑. ผลิตผูส ําเร็จการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอาชีพทางดานอุตสาหกรรมบริการ ๒. พัฒนาศักยภาพวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมดานการจัดการองคความรู ๓. พัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานวิชาชีพดานอุตสาหกรรมบริการ ๔. สรางเครือขายความรวมมือทั้งภายในประเทศและตางประเทศ ๕. พัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖. พัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

การดําเนินงานประกันคุณภาพในสถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา โดยไดวางแผนการ ดําเนินงานตามโครงสรางบริหารงาน โดยอยูในความรับผิดชอบของผูบริหารฝายวางแผนและความ รวมมือ งานประกันคุณภาพภายและมาตรฐานการศึกษา แผนกวิชาและคณะกรรมการบริหาร สถานศึกษารวมกันวางแผนการดําเนินงานประกันคุณภาพ แตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ คณะกรรมการดําเนินงาน คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อกํากับ ติดตาม การพัฒนา คุณภาพในแตละมาตรฐาน โดยบุคลากรทุกฝายทุกคนมีสวนรวมในการประกันคุณภาพมีรายงานการ ประเมินตนเองเปนรายบุคคล สาขาวิชา และสถานศึกษา พรอมทั้งนําเสนอรายงานการประเมิน ตนเองตอตนสังกัด เผยแพรตอสาธารณชน รวมทั้งการนําผลการประเมินตนเอง เสนอตอที่ประชุม คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา คณะกรรมการวิทยาลัย คณะครู บุคลากรทางการศึกษา ผูเรียน ผูปกครอง ชุมชน และรวมมือกันวางแผนแกไข ปรับปรุงโครงการกิจกรรมในแผนปฏิบัติการประจําป เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาตอไป การดําเนินงานที่เปนจุดเดนมีดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ ๑. ผูเรียนสวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผานเกณฑการพนสภาพของระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการวาดวยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร ๓. ผูเรียนสวนมากสามารถประยุกตหลักการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรมาใช แกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพอยางมีระบบ ๔. ผูเรียนมีทักษะในการสื่อสารดานการฟง การอาน การเขียน และการสนทนาทั้ง ภาษาไทย และภาษาตางประเทศเพิ่มขึ้น ๕. ผูเรียนสวนมากมีความสามารถใชความรูและเทคโนโลยีในการศึกษาคนควา และ เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานวิชาชีพ ๖. ผูเรียนสวนมากมีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่ เหมาะสมและมีมนุษยสัมพันธที่ดี ๗. จํานวนผูสําเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ๘. ผูสําเร็จการศึกษาสวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ สําเร็จการศึกษาตาม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ๙. ผูส ําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพทุกคนผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ๑๐. ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงทุกคนผานการประเมินมาตรฐาน วิชาชีพ ๑๑. ผูสําเร็จการศึกษาสวนมากไดงานทําในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระ และ ศึกษาตอภายใน ๑ ป มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

๑๒. สถานประกอบการมีความพึงพอใจตอคุณลักษณะที่พึงประสงคของผูสําเร็จการศึกษา อยูในระดับดี ๑๓. ผูเรียนสวนมากสามารถวางแผนธุรกิจ ประกอบอาชีพตามแผนธุรกิจ และมีรายได ระหวางเรียน มาตรฐานที่ ๒ ๑๔. สถานศึกษามีหลักสูตรฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพทุกสาขาวิชา ๑๕. สถานศึกษามีแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการอยางมีคุณภาพเปนสวนมาก ๑๖. ผูเรียนพึงพอใจตอคุณภาพการสอนของผูสอนเฉลี่ยโดยรวมอยูในระดับดี ๑๗. งบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้อวัสดุฝก อุปกรณสําหรับจัดการเรียนตองบดําเนินการทั้งหมด ๑๘. จํานวนผูเรียนตอเครื่องคอมพิวเตอรมีความเหมาะสมและมีจํานวนเพียงพอ ๑๙. สถานศึกษาไดจัดอาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พื้นที่ฝกปฏิบัติงานเหมาะสมกับวิชาที่เรียน ๒๐. สถานศึกษาไดจัดศูนยวิทยบริการที่มีความเหมาะสมกับรายวิชาที่เรียน มีบรรยากาศ ที่เอื้อตอการเรียนรูและเกิดประโยชนสูงสุด ๒๑. สถานศึกษาไดจัดใหมีครุภัณฑและอุปกรณที่มีความเหมาะสม เพียงพอ ทันสมัยและ อยูในสภาพพรอมใชงานไดดี ๒๒. ทุกสาขางานจัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอมและสิ่งอํานวยความสะดวกได อยางมีคุณภาพ ๒๓. ครูและบุคลากรสายสนับสนุนทุกคนไดพัฒนาตนเองตามหนาที่ที่รับผิดชอบ ๒๔. สถานศึกษาไดระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ ๒๕. ในการจัดการระบบทวิภาคี และระบบปกติมีสถานประกอบการจัดการศึกษารวมกับ สถานศึกษาจํานวนมาก ๒๖. ทุกสาขาวิชามีการจัดหาผูเชี่ยวชาญรวมในการพัฒนาผูเรียน ๒๗. ทุกสาขาวิชามีอัตราสวนของผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิดานวิชาชีพตอผูเรียนอยูในระดับดี ๒๘. อัตราสวนของผูสอนประจําตอผูเรียนทั้งหมดของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๓ ๒๙. สถานศึกษาไดจัดใหผูเรียนพบครูที่ปรึกษาอยางสม่ําเสมอ ๓๐. สถานศึกษาไดใหบริการตรวจสารเสพติดใหแกผูเรียนทั้งหมดในสถานศึกษา ๓๑. ผูเรียนที่ออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรกเขามีจํานวนนอยกวาปที่ผานมา ๓๒. สถานศึกษาไดจัดกิจกรรมที่สงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามใน วิชาชีพ รวมทั้งดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธจํานวนมาก ๓๓. สถานศึกษาไดจัดกิจกรรมสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรมประเพณีและทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรมจํานวนมาก มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานที่ ๔ ๓๔. สถานศึกษาไดจัดกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาชีพ และสงเสริมความรูในการพัฒนา ชุมชนและทองถิ่น และกิจกรรม/โครงการฝกทักษะวิชาชีพ เพื่อการประกอบอาชีพของประชาชน จํานวนมาก ๓๕. สถานศึกษามีงบประมาณที่ใชจริงในการดําเนินการจัดกิจกรรรม/โครงการที่ใหบริการ วิชาชีพ และฝกทักษะวิชาชีพตองบดําเนินการอยูในระดับดี มาตรฐานที่ ๕ ๓๖. ทุกสาขางานทั้งหลักสูตร ปวช. และ ปวส. มีการจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานตามเกณฑอยูในระดับ ดี ๓๗. สถานศึกษามีจํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงงานที่มีประโยชนทางวิชาชีพ และ/ หรือไดรับการเผยแพรระดับชาติอยูในระดับดี ๓๘. สถานศึกษามีงบประมาณที่ใชในการสราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานตองบดําเนินการอยูในระดับพอใช ๓๙. สถานศึกษามีการเผยแพรขอมูลขาวสารเกี่ยวกับนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และ โครงงาน จํานวนหลายครั้งและหลายชองทาง มาตรฐานที่ ๖ ๔๐. การบริหารงานของผูบริหารสอดคลองกับแผนยุทธศาสตร และการมีสวนรวมของประชาคม อาชีวศึกษา ดวยความโปรง ตรวจสอบได ๔๑. ครูทุกคนในสถานศึกษาสามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพไดอยางถูกตอง เหมาะสม ๔๒. การจัดระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการ และการจัดการความรูของสถานศึกษา มีคุณภาพ มาตรฐานที่ ๗ ๔๓. การประกันคุณภาพภายในมีระบบและกลไกที่ดี ทําใหเกิดการพัฒนาสถานศึกษาอยาง ตอเนื่อง ๔๔. การประกันคุณภาพภายในมีประสิทธิผล อยูในระดับดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ทิศทางการพัฒนาคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดกําหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาโดยระบุไวในแผนยุทธศาสตรเพื่อพัฒนาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ดังนี้ 1. พัฒนาคุณภาพผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษา 1.1 สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณดานวิชาชีพ พัฒนามาตรฐานฝมือ ของผูสําเร็จการศึกษาที่ตรงตามความตองการของสถานประกอบการ ในระดับสากล 1.2 การพั ฒ นาผลงานทางวิ ช าการนวั ต กรรมและสิ่ ง ประดิ ษ ฐ ค นรุ น ใหม ทางด า น อุตสาหกรรมบริการ 1.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพ 1.4 พัฒนาระบบการจัดการเรียนรู 1.5 พัฒนาหลักสูตรดานอุตสาหกรรมบริการ 1.6 สรางความรวมมือการจัดการศึกษากับสถาบัน การศึกษาในประเทศและตางประเทศ 1.7 พัฒนาภาวะผูนํา 1.8 พัฒนาสุขภาพกายและใจของผูเรียน 1.9 ทํานุบํารุงสืบสานภูมิปญญาไทย ประเพณีศิลปะ วัฒนธรรม และอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม 2. พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากร 3. พัฒนาคุณภาพหลักสูตรการเรียนและการสอน 3.1 พัฒนาคุณภาพงานวิทยบริการ 3.2 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพ 3.3 พัฒนาครุภัณฑและอุปกรณใหมีคุณภาพและมาตรฐานสากล 3.4 พัฒนาระบบการจัดการศึกษารวมกับสถานประกอบการ 3.5 ทํานุบํารุงสืบสานภูมิปญญาไทย ประเพณีศิลปะ วัฒนธรรม และอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม 4. พัฒนาการบริการวิชาชีพสูสังคม 4.1 ขยายเครือขายความรวมมือกับองคกร ชุมชน สังคม ใหมีความเขมแข็ง 4.2 สรางระบบการถายโอนความรูสูชุมชน 5. พัฒนานวัตกรรมและการวิจัย 5.1 การพัฒนาผลงานทางวิชาการนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐคนรุนใหมทางดาน อุตสาหกรรมบริการ 5.2 พัฒนาคุณภาพงานวิจัยพื้นฐาน มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

6. พัฒนาคุณภาพดานการบริหารจัดการ 6.1 สรางศักยภาพการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยยึดหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6.2 พัฒนาการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใชในการบริหารจัดการภายใน สถานศึกษา และใชในการเรียนการสอน 7. พัฒนามาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน 7.1 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศดานการประกันคุณภาพการศึกษา 7.2 พัฒนาระบบกลไกในการประกันคุณภาพ 8. พัฒนาคุณภาพดานอาคารสถานที่ 8.1 ปรับปรุงหองเรียนและหองปฏิบัติการดวยการนําเทคโนโลยีมาใชในการจัดการ 9. พัฒนาคุณภาพดานพัฒนาองคกรแหงการเรียนรู โดยการพัฒนาคุณภาพผูเรียน และผูสําเร็จการศึกษามีโครงการดังตอไปนี้ 1. โครงการจัดทําบัตรประจําตัวนักเรียน นักศึกษา 2. โครงการจัดพิธีมอบประกาศนียบัตร นักเรียน นักศึกษา ประจําปการศึกษา 2554 3. โครงการจัดทําคลังภูมิปญญาอาชีวศึกษา 4. โครงการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2554 5. โครงการติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2554 6. โครงการจัดทําหนังสือรายงานประจําป (Annual Report) 7. โครงการพัฒนาระบบการใหบริการอินเตอรเน็ต 8. โครงการพัฒนานวัตกรรมวิจัยจากงานประจํา routine to research 9. โครงการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา 10. โครงการตรวจติดตามการดําเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 11. โครงการประกวดรายงานการประเมินตนเองของบุคคลและรายงานการประเมิน ตนเองของสาขาวิชาที่ดําเนินการประกันคุณภาพตามระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ 12. โครงการเสริมสรางความรูดานการประกันคุณภาพอยางตอเนื่อง 13. โครงการประชุมเพื่อนิเทศการดําเนินงานประกันคุณภาพ 14. โครงการรณรงคตอตานยาเสพติดในสถานศึกษา (พลังสีขาว) 15. โครงการอบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 16. โครงการเขาคายพักแรมเตรียมลูกเสือ – เนตรนารี 17. โครงการคุณธรรมนําความรู มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

18. โครงการกิจกรรมกีฬาสี ประจําปการศึกษา 2554 19. โครงการสงเสริมกิจกรรมชมรมวิชาชีพ 20. โครงการพัฒนากิจกรรมองคการวิชาชีพ 21. โครงการกิจกรรมพิธีไหวครู 22 โครงการวันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยและวิทยาลัย 23. โครงการสงเสริมกิจกรรมกีฬา 24. โครงการจัดอบรมรมเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม 25. โครงการกีฬาเพื่อความเปนเลิศ 26. โครงการทําความสะอาดครั้งใหญ (BIG CLEANING DAY) และกิจกรรม 5 ส 27. โครงการพัฒนาบุคลิกภาพคณะกรรมการดําเนินงานองคการวิชาชีพ 28. โครงการแนะแนวสัญจร 29. โครงการติดตามผูสําเร็จการศึกษา 30. โครงการสรางสัมพันธภาพกับองคกร ชุมชนและสังคม (สื่อประชาสัมพันธ) 31. โครงการศึกษาความพึงพอใจของสถานประกอบการ 32. โครงการจัดหาทุนการศึกษา 33. โครงการปจฉิมนิเทศผูสําเร็จการศึกษา 34. โครงการสงเสริมการมีงานทําของนักเรียน นักศึกษาเพื่อใหมีรายไดระหวางเรียน 35. โครงการจัดทําหนังสือรุน 36. โครงการจัดทําคูมือนักเรียน นักศึกษา 37. โครงการฝกอาชีพศิษยเกาโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน 38. โครงการฝกอาชีพระยะสั้น 108 อาชีพ 39. โครงการสรางอาชีพเพื่อชุมชน 40. โครงการศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน Fix It Center 41. โครงการจิตอาสา 42. โครงการรณรงคปองกันโรคเอดสและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ 43. โครงการกีฬาตานยาเสพติด 44. โครงการอบรมแกนนํานักเรียน นักศึกษา 45. โครงการตรวจสุขภาพนักเรียน นักศึกษาประจําป 46. โครงการประกันอุบัติเหตุผูเรียน 47. โครงการบริการดานสุขภาพของผูเรียน 48. โครงการสงเสริมสุขภาพผูเรียนและบุคลากรของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม 49. โครงการบริจาคโลหิต 50. โครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทครูที่ปรึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมตามทัศนคติและ ความคาดหวังของนักเรียน นักศึกษา” มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

51. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (กลุมวิชาภาษาไทย) 52. โครงการจัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (ตามรอยพอตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 53. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ 54. โครงการ English Day Camp 55. โครงการเสริมคุณภาพผูเรียนดานภาษาตางประเทศ 56. โครงการจัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (วันวิทยาศาสตร) 57. โครงการจัดทําโครงงานวิทยาศาสตร 58. โครงการบํารุงรักษาซอมแซมเครื่องจักร เครื่องมือ 59 โครงการรวมแขงขันทางวิชาการ ทางดานคหกรรมศาสตรที่สถาบันภายนอกเปนผูจัด 60. โครงการนิเทศเลือกสาขางานของนักเรียนชั้น ปวช.1 แผนกวิชาพณิชยการ 61. โครงการอาชีวศึกษาเชียงใหมสรางสรรคแปรฝนสูธุรกิจ 62. โครงการปองกันนักเรียนออกกลางคัน 63. โครงการพัฒนาผูเรียนชํานาญวิชาชีพ 64. โครงการสงเสริมกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ (แผนกวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ) 65. โครงการนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (วาดเสน DRAWING) 66. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (นิทรรศการอาชีวศิลปกรรม’54) 67. โครงการวันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยและวิทยาลัย (จัดพิธีทําบุญประเภทวิชาศิลปกรรม) 68. โครงการจัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (สรุปผลการเรียนวิชาภาพพิมพ) 69. โครงการฝกปฏิบัติมาตรฐานวิชาชีพมัคคุเทศก 70. โครงการสงเสริมกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ 71. โครงการนิทรรศการโครงการ 72. โครงการอบรมการวัดผลและประเมินผล 73. โครงการบริการวิเคราะหขอสอบแบบทดสอบ 74. โครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพ 75. โครงการสงเสริมการอาน 76. โครงการศึกษาความพึงพอใจของผูใชบริการงานวิทยบริการ 77. โครงการเยาวชนยอดนักอาน 78. โครงการแปลงผันขอมูลอาชีพอิสระใหอยูในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส 79. โครงการจัดทําเว็บเพจงานวิทยบริการและหองสมุด 80. โครงการพัฒนาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและการฝกงานรวมกับสถานประกอบการ ประจําปการศึกษา 2554 81. โครงการสมุดบันทึกการฝกงาน ประจําปการศึกษา 2554 มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

82. โครงการประชาสัมพันธและแนะแนวการศึกษาระบบทวิภาคี 83. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระบบทวิภาคีและการฝกงาน ประชุมผูปกครอง และสถานประกอบการ 84. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระบบปกติ ภาคฤดูรอน ปการศึกษา 2554 โครงการศึกษาดูงานของนักเรียน นักศึกษา

สิ่งที่ตองการความชวยเหลือจากหนวยงานอื่น

๑. การไดรับการนิเทศอยางตอเนื่องในเรื่องตาง ๆ ดังนี้ ๑.๑ การเผยแพร เพื่อนําผลการประเมินไปใชในการพัฒนางาน ๑.๒ แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะ ๑.๓ แนวทางการจัดทําและพัฒนางานวิจัย นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐคนรุนใหม ๑.๔ แนวทางการพัฒนาสาขาวิชา เพื่อมุงสูความเปนเลิศดานอุตสาหกรรม บริการในระดับสากล ๒. ไดรับความรวมมือจากสถานประกอบการ ชุมชน ทองถิ่น และผูเชี่ยวชาญในการจัดทํา หลักสูตรฐานสมรรถนะ การจัดการเรียนการสอน การดําเนินงานในระบบดูแลชวยเหลือผูเรียน ๓. การชวยเหลือจากภาครัฐและเอกชนในดานงบประมาณ โดยเฉพาะงบประมาณในการ จัดหาครุภัณฑ การพัฒนาอาคารสถานที่ การพัฒนาสมรรถนะครู และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนาผูเรียน รวมทั้งการสนับสนุนที่ดินในการจัดตั้งวิทยาเขต

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ตอนที่ ๒ สภาพทั่วไปของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ๒.๑ ประวัติของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม เดิมชื่อ “โรงเรียนประชาบาลอําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม” สังกัดกองวิสามัญศึกษา กรมศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยูที่ถนนทาแพ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม พ.ศ. 2476 เปดทําการสอนเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2476 โดยรับนักเรียนประโยค ประถมศึกษาปที่ 3 เขาเรียนวิชา การฝมือตัดเย็บเสื้อผา ชางทอผา บัญชีรานคา ซึ่งในขณะนั้นมีครูทั้งสิ้น 3 คน นักเรียนจํานวน 10 คน พ.ศ. ๒๔๘๑ เปลี่ยนชื่อโรงเรียน ชื่อ “โรงเรียนตัดเย็บเสื้อผาและการชางสตรีเชียงใหม” สังกัดกอง อาชีวศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ โดยรับนักเรียนที่จบชั้นประถมปที่ 4 เขาเรียน แบงการเรียนการสอนออกเปน 2 แผนก คือ แผนกชางตัดเย็บเสื้อผา และแผนกการชางสตรี พ.ศ. ๒๔๘๒ ทางราชการไดสั่งยายจากสถานที่เชาเดิมซึ่งตั้งอยูที่ถนนทาแพ ใหมาตั้งอยูที่สถานที่ ปจจุบัน เดิมเคยเปนที่ตั้งของ โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ (โรงเรียนสตรีประจําจังหวัด เชียงใหม) มีพื้นที่ 8 ไร 38 ตารางวา พ.ศ. ๒๔๘๖ ไดรวมแผนกตัดเย็บเสื้อผา และแผนกชางสตรี เขาดวยกันใหชื่อใหมวา แผนกการ ชางสตรี และเปลี่ยนชื่อสถานศึกษาใหมโดยชื่อวา “โรงเรียนการชางสตรี” สังกัด แผนกการชางสตรี กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ สอนระดับอาชีวศึกษา ชั้นตน หลักสูตร 2 ป พ.ศ. ๒๕๐๑ เปดสอนระดับชั้นอาชีวศึกษาชั้นสูง หลักสูตร 3 ป โดยรับนักเรียนที่จบชั้น ม.6 (เทากับ ม.3 ปจจุบัน) จํานวน 2 แผนก คือ แผนกวิชาผาและการตัดเย็บ และแผนกวิชาอาหารและโภชนาการ พ.ศ. ๒๕๐๓ ไดรับงบประมาณจากทางราชการ จัดซื้อที่ดินเพิ่มอีก 1 ไร 2 งาน 86 ตารางวา รวมกับเนื้อที่เดิมที่มีอยูแลว จึงมีเนื้อที่ทั้งหมด 9 ไร 3 งาน 24 ตารางวา พ.ศ. ๒๕๐๗ จัดการเรียนการสอนแผนกวิชาผาและเครื่องแตงกาย แผนกวิชาอาหารและ โภชนาการ และเปดสอนเพิ่มขึ้นอีก 1 แผนกวิชา คือ แผนกวิชาคหกรรมศาสตร ทั่วไป พ.ศ. ๒๕๑๓ เสนอโครงการนํารองขอเปดสอนแผนกวิชาพณิชยการ ซึ่งไดรับอนุมัติ ถือไดวาเปน สถานศึกษาแหงแรกของกรมอาชีวศึกษาในสวนภูมิภาค ที่เปดสอนแผนกวิชา พณิชยการ ซึ่งตอมาไดรับการเห็นชอบจากกรมอาชีวศึกษา ใหเปดสอนแผนกวิชา พณิชยการในโรงเรียนอาชีวศึกษาทั่วประเทศในระยะเวลาตอมา มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๑๑

สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

พ.ศ. ๒๕๑๔

พ.ศ. ๒๕๑๕ พ.ศ. ๒๕๑๖ พ.ศ. ๒๕๑๘ พ.ศ. ๒๕๑๙

พ.ศ. ๒๕๒๑

พ.ศ. ๒๕๒๒

พ.ศ. ๒๕๒๓

ไดรบั งบประมาณกอสรางอาคารหอประชุม 1 หลัง จํานวนเงิน 600,000 บาท เปนอาคารหอประชุมชั้นเดียว (อาคารนี้ถูกรื้อถอนในป 2528 เพื่อกอสรางอาคาร ประชุมหลังใหม คือ อาคารหอประชุมปจจุบัน) และ ในป 2514 ไดรับงบกอสราง อาคารบานพักครูจํานวนเงิน 500,000 บาท ไดรับงบประมาณกอสรางอาคารเรียนตึก 2 ชั้น ขนาด 8 หองเรียน เปนเงินจํานวน 500,000 บาท เปลี่ยนชื่อเปน “โรงเรียนอาชีวศึกษาเชียงใหม” ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2516 สังกัดกองโรงเรียน กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดรับงบประมาณ 190,000 บาท ตอเติมอาคารเรียนของคณะวิชาศิลปหัตถกรรม ซึ่งกอสรางเมื่อป 2515 กรมอาชีวศึกษาประกาศรวมสถานศึกษา คือโรงเรียนอาชีวศึกษาเชียงใหม กับ โรงเรียนเทคนิคเชียงใหม ยกระดับมาตรฐานของสถานศึกษา ขึ้นเปนวิทยาลัยในชื่อ ใหมวา “วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม” มีผลตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2519 และใหเปนสถานศึกษาในสังกัด กองวิทยาลัยอาชีวศึกษา กรมอาชีวศึกษา แตงตั้ง นางจันทดา โหละสุต ดํารงตําแหนงผูอํานวยการ และ นายถาวร สัพพเลข (อาจารยใหญโรงเรียนเทคนิคเดิม) ดํารงตําแหนงผูชวยผูอํานวยการ การบริหารงานป 2519 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มี 2 วิทยาเขต คือ วิทยาเขต 1 คือโรงเรียนเทคนิคเชียงใหมเดิม เปดสอนประเภทวิชาชาง อุตสาหกรรมทั้งระดับ ปวช. และ ปวส. วิทยาเขต 2 คือโรงเรียนอาชีวศึกษาเชียงใหมเดิม เปดสอนในประเภทวิชา คหกรรม พาณิชยกรรม และศิลปหัตถกรรมทั้ง ปวช. และ ปวส. ไดรับงบประมาณ 3,300,000 บาท กอสรางอาคาร 4 ชั้นจํานวน 18 หองเรียน ซึ่งปจจุบันคืออาคาร 5 ของคณะบริหารธุรกิจ การกอสรางอาคารดังกลาวนี้ วิทยาลัยตองใชเงินบํารุงการศึกษาสมทบเพิ่มอีก 305,250 บาท เพื่อจัดซื้อ ครุภัณฑ สถานที่สรางอาคารนี้เคยเปนที่ตั้งของเรือนวัฒนาเดิม กรมอาชีวศึกษาไดมีประกาศแยกการบริหารเปนวิทยาลัย โดยใหวิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม ซึ่งมีอยู 2 วิทยาเขตในป 2519 นั้น เปนสถานศึกษาเดิมและ เปลี่ยนชื่อจากโรงเรียนเปนวิทยาลัย มีผลตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2522 ดังนี้ วิทยาเขต ๑ โรงเรียนเทคนิคเชียงใหม เปนวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม วิทยาเขต ๒ โรงเรียนอาชีวศึกษาเชียงใหม เปนวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม และ นางจันทดา โลหะสุต ดํารงตําแหนงผูอํานวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดรับงบประมาณจํานวน 396,925 บาท กอสรางอาคารคหกรรมศาสตร (แผนก วิชาอาหารและโภชนาการ) เพิ่มเติมอีก 4 หอง และไดรับอนุมัติใหดําเนินการ จัดการเรียนการสอนระดับ ปวส. แผนกวิชาบัญชี มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๑๒

สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

พ.ศ. ๒๕๒๔

พ.ศ. 2525

พ.ศ. ๒๕๒๗

พ.ศ. ๒๕๒๘ พ.ศ. ๒๕๒๙

พ.ศ. ๒๕๓๐

พ.ศ. ๒๕๓๒ พ.ศ. ๒๕๓๓

กรมอาชีวศึกษาประกาศใชหลักสูตรใหม คือ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปพุทธศักราช 2524 และจัดการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพเทคนิค (ปวท.) สาขาวิชาธุรกิจการโรงแรมหลักสูตร 2 ป โดยรับนักเรียนที่มี ความรูพื้นฐานระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เขาเรียนเปนปแรก 1. เปดสอนประเภทวิชาศิลปกรรม สาขาวิชาศิลปหัตถกรรม กลุมวิชาวิจิตรศิลป 2. ไดรับการประกาศเกียรติคุณจากกรมอาชีวศึกษาใหเปน สถานศึกษาดีเดนของ กรมอาชีวศึกษาประจําป 2525 ประเภทวิชาคหกรรม พาณิชยกรรม และ ศิลปกรรม 1. กรมอาชีวศึกษาไดประกาศใชหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ปพุทธศักราช 2527 2. ไดรับอนุมัติจากกรมอาชีวศึกษาใหเปดสอนแผนกวิชาใหม ดังนี้ 2.1 ระดับ ปวช. กลุมวิชาศิลปประยุกต สาขาวิชาศิลปหัตถกรรม 2.2 ระดับ ปวส. แผนกวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ 2.3 ระดับ ปวท. แผนกวิชาบัญชี และวิชาคหกรรมศาสตรทั่วไป ไดรับงบประมาณจํานวน 4,000,000 บาท กอสรางอาคาร 4 ชั้น ขนาด 20 หองเรียน และใชเงินบํารุงการศึกษาสมทบอีก 1,570,000 บาท ปจจุบันคือ อาคาร 2 ซึ่งแตเดิมบริเวณนี้เปนอาคารเรียนไม 2 ชั้น 1. ไดรับงบประมาณตอเนื่องจากป ๒๕๒๘ อีก 4,000,000 บาท เพื่อสราง อาคาร 4 ชั้น ขนาด 20 หองเรียน ซึ่งยังไมแลวเสร็จและตองใชเงินบํารุงการศึกษา ของสถานศึกษาเพิ่มเติมอีกจํานวน 815,712 บาท 2. ไดรับงบประมาณอีก 2,500,000 บาท เพื่อกอสรางอาคารหอประชุมใหมเปน อาคาร 2 ชั้น โดยรื้อถอนหอประชุมเดิม ซึ่งเปนอาคารชั้นเดียว แลวสรางในสถานที่ เดิม ซึ่งสถานศึกษาตองสมทบเงินอีก 1,674,288 บาท 1. ไดรับงบประมาณจํานวน 500,000 บาท เพื่อกอสรางอาคาร 2 ชั้น เปนอาคาร ปฏิบัติการของแผนกวิชาอาหารและโภชนาการ โดยกอสรางในบริเวณที่ตั้งของเรือน อลงกรณเดิม 2. กรมอาชีวศึกษาไดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตรใหม โดยประกาศใชหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2530 เปดสอนระดับ ปวช. สาขาวิชาศิลปหัตถกรรม กลุมวิชาหัตถอุตสาหกรรม ไดรับงบประมาณกอสรางอาคารปฏิบัติการโรงแรมจํานวน 9,000,000 บาท โดย กอสรางเปนอาคาร 4 ชั้น และใชเงินบํารุงการศึกษาสมทบอีก 3,600,000 บาท อาคารหลังนี้แลวเสร็จในตนป 2535 แตยังไมสามารถใชดําเนินการเรียนการสอน และฝกปฏิบัติการโรงแรมได เนื่องดวย ยังขาดครุภัณฑที่จําเปนอีกมาก ซึ่งวิทยาลัย ไดดําเนินการแกไขดวยการขอเงินงบประมาณเพิ่มเติม จนสามารถใชปฏิบัติการได ในป พ.ศ. ๒๕๓๖ มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๑๓

สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. ๒๕๓๖

พ.ศ. ๒๕๓๗

พ.ศ. ๒๕๓๘ พ.ศ. ๒๕๔๐

พ.ศ. ๒5๔๑

พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๖

เปดสอนระดับ ปวช. สาขาวิชาการถายภาพ 1. รื้อถอนอาคารตึก 2 ชั้น ซึ่งเปนอาคารเดิมตั้งแตครั้งเปนโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ (ตึกหอนอน) ตั้งอยูระหวางอาคารคณะวิชาศิลปหัตถกรรม และ อาคารคณะวิชา คหกรรมศาสตร โดยสรางเปนอาคารเรียนชั่วคราวกอน และวิทยาลัยไดทํา แผนพัฒนาสถานศึกษา เพื่อของบประมาณจากกรมอาชีวศึกษาในการกอสรางเปน อาคารตึก 4 ชั้น ขนาดกวาง 9.50 เมตร ยาว 54 เมตร ตอไป 2. กรมอาชีวศึกษา ปรับปรุงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และประกาศใช หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงพุทธศักราช 2536 ไดรับคัดเลือกใหเปน สถานศึกษารางวัลพระราชทานระดับอุดมศึกษา ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจัดตั้งเปนสถานศึกษาประเภทวิทยาลัยอาชีวศึกษา ทําใหไดมีโอกาสเปดทําการสอนระดับอุดมศึกษา คือหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง (ปวส.) และขยายเปดสาขาวิชาชีพเพิ่มขึ้นอยางกวางขวางจนถึงปจจุบัน กรมอาชีวศึกษา ไดประกาศใชหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2538 1. เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) คณะวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาพณิชยกรรม กลุมวิชาธุรกิจคาปลีกในระบบทวิภาคี 2. เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการตลาดภาคสมทบ 1. รื้อถอนเรือนเพาะชํา และอาคาร 4 (แผนกอาหารและโภชนาการ) เพื่อกอสราง อาคารเรียนคณะวิชาศิลปกรรม ไดรับเงินงบประมาณ 1,500,000 บาท ใชเปน อาคารเรียนตั้งแตปการศึกษา 2542 เปนตนมา 2. เปดสอนการศึกษาระบบทวิภาคี หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) คณะวิชาคหกรรมศาสตร สาขาวิชาคหกรรมศาสตร กลุมวิชาคหกรรมธุรกิจผา กลุมวิชาคหกรรมธุรกิจอาหาร กลุมวิชาคหกรรมธุรกิจ และคณะวิชาศิลปกรรม เปดสอนสาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา 3. เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาเทคโนโลยีการ ถายภาพและวีดีทัศน จัดตั้งธนาคารโรงเรียน โดยไดรับความรวมมือจากธนาคารออมสิน จังหวัดเชียงใหม เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาจิตรกรรมสากล กรมอาชีวศึกษา ประกาศใชหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 1. กรมอาชีวศึกษา ประกาศใชหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2545 2. เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาอุตสาหกรรมทองเที่ยว คณะวิชาบริหารธุรกิจ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๑๔

สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

พ.ศ. ๒๕๔๗

พ.ศ. ๒๕๔๘

พ.ศ. ๒๕๔๙

พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๕๓

พ.ศ. ๒๕๕๔

1. แยกคณะวิชาอุตสาหกรรมทองเที่ยว จากคณะวิชาบริหารธุรกิจ 2. จัดการเรียนการสอน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาการ โรงแรมและบริการ 3. ผานเกณฑการประเมินคุณภาพสถานศึกษา จากสํานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) 1. เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีศิลปกรรม และสาขาวิชาคอมพิวเตอรกราฟก คณะวิชาศิลปกรรม 2. ยกเลิกหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาจิตรกรรมสากล และ สาขาวิชาเทคโนโลยีการถายภาพและวิดีทัศน 3. จัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ซึ่งเปนการศึกษารูปแบบโรงเรียน ในโรงงาน สาขาวิชาทันตกรรม โดยความรวมมือกับบริษัทเอ็กซา ซีแลม จํากัด 1. เขารับการประเมินคุณภาพสถานศึกษา โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) ผลการประเมินในระดับดีมาก (๔.๗๕) 2. เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร คณะวิชา บริหารธุรกิจ 3. ทําความรวมมือกับทัณฑสถานหญิงเชียงใหม กรมราชทัณฑ จัดการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ คณะวิชาคหกรรมศาสตร ทําความรวมมือกับเรือนจํากลาง จังหวัดเชียงใหม กรมราชทัณฑจัดการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาวิจิตรศิลป จัดตั้งศูนยสงเสริมและผลิตภัณฑอาชีวศึกษาเบเกอรี่ ผลิตภัณฑนักเรียนนักศึกษา และศูนยภูมิปญญาทองถิ่น 1. ไดรับคัดเลือกใหเปนสถานศึกษาแบบอยางการจัดกระบวนการเรียนการสอน และการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประจําป ๒๕๕๓ 2. ไดผานการคัดเลือกเปนแบบอยางการจัดกระบวนการเรียนการสอน และ การบริหารจัดการ ตามนโนบายสถานศึกษา 3D ระดับเหรียญเงิน รับการประเมินคุณภาพภายใน โดยสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผลการประเมินในระดับดีมาก (๔.๙๑) ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน สําหรับวิทยาลัยอาชีวศึกษา

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๕

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

๒.๒ ขนาดและที่ตั้งของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีเนื้อที่ ๙ ไร ๓ งาน ๒๔ ตารางวา ตั้งอยูเลขที่ ๑๖๗ ถนน พระปกเกลา ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม รหัสไปรษณีย ๕๐๒๐๐ หมายเลขโทรศัพท ๐ ๕๓๒๒ ๑๔๙๓ และ ๐ ๕๓๔๑ ๖๒๐๓ โทรสาร ๐ ๕๓๒๑ ๗๓๑๐ เว็บไซต http://www.cmvc.ac.th ทิศเหนือติดกับสํานักงานยาสูบเชียงใหม ทิศใตติดกับอาคาร พาณิชย ทิศตะวันออกติดกับถนนพระปกเกลา ฝงตรงกันขามเปนโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ทิศ ตะวันตกติดกับถนนจาบาน ฝงตรงกันขามเปนหอพักเอกชน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘.

15

๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕.

อาคารเรียนคณะวิชาพื้นฐาน อาคารเรียนคณะวิชาบริหารธุรกิจ อาคารเรียนคณะวิชาคหกรรม อาคารเรียนคณะวิชาศิลปกรรม อาคารหองสมุดและอาคารเรียน อาคารปฏิบัติการอาหารและพัสดุ โรงอาหาร หอประชุม ธนาคารโรงเรียน งานการคา และศูนยแฟชั่นภาคเหนือ อาคารปฏิบัติการโรงแรมและอาคารเรียน ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทองเที่ยว อาคารเรียนและปฏิบัติการชั่วคราว โดมกีฬา หองประชาสัมพันธ บานพักครู สนามหนาเสาธง (ใชเปนที่จอดรถ) ปอมยาม ศูนยสงเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑอาชีวศึกษา

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๑๖

สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

๒.๓ หลักสูตรที่เปดสอนและจํานวนผูเรียน

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม เปดสอนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๔๕ (ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๔๖) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๔๖ ทั้งระบบปกติและระบบทวิภาคี โดยมีประเภทวิชา สาขาวิชา และสาขางานตาง ๆ ดังนี้ หลักสูตรและจํานวนผูเรียนหลักสูตร ปวช. และ ปวส. ปการศึกษา 2554 จํานวน สัดสวน จํานวนผูเรียน ผูสอน รวม รวม ผูสอน: หลักสูตรและประเภทวิชา ผูเรียน ปวช. ปวส. ปวช. ปวส. ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1. สาขาวิชาพณิชยการ 14 14 360 360 1 : 26 2. สาขางานการบัญชี 11 11 309 309 1 : 28 3. สาขางานการขาย 4 4 85 85 1 : 21 4. สาขางานการเลขานุการ 2 2 51 51 1 : 26 5. สาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ 5 5 163 163 1 : 33 6. สาขาวิชาการบัญชี 8 8 234 234 1 : 29 7. สาขาวิชาการตลาด 3 3 71 71 1 : 24 8. สาขาวิชาการเลขานุการ 2 2 30 30 1 : 15 9. สาขาวิชาการจัดการสํานักงาน 2 2 42 42 1 : 21 10. สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ 5 5 147 147 1 : 29 11. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจคาปลีก 2 2 35 35 1 : 18 รวม 36 22 58 968 559 1,527 1 : 26 ประเภทวิชาศิลปกรรม 12. สาขาวิชาศิลปกรรม 5 5 106 106 1 : 21 13. สาขางานวิจิตรศิลป 2 2 45 45 1 : 23 14. สาขางานการออกแบบ 3 3 54 54 1 : 18 15. สาขางานเครื่องเคลือบดินเผา 2 2 37 37 1 : 19 16. สาขางานเทคโนโลยีศิลปกรรม 3 3 57 37 94 1 : 31 17. สาขางานชางทันตกรรม (ทวิ) 2 2 11 11 1:6 มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๗

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

หลักสูตรและประเภทวิชา

จํานวนผูสอน

ปวช. ปวส. 18. สาขาวิชาการออกแบบ 2 19. สาขาวิชาคอมพิวเตอรกราฟก 3 รวม 15 7 ประเภทวิชาคหกรรม 20. สาขางานออกแบบเสื้อผา 2 21. สาขางานอาหารและโภชนาการ 10 22. สาขางานคหกรรมการผลิต 3 23. สาขางานคหกรรมบริการ 3 24. สาขางานการตัดเย็บเสื้อผาสตรีขั้น 4 25. สาขางานการประกอบอาหาร 3 26. สาขางานธุรกิจงานประดิษฐ 1 27. สาขางานคหกรรมบริการ (ทวิ) 3 รวม 18 11 ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทองเที่ยว 28. สาขางานการโรงแรม 3 29. สาขางานการทองเที่ยว 4 30. สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ 2 รวม 7 2 รวมทั้งสิ้น 76 42

2 3 22

ปวช. 299

ปวส. 24 60 132

24 60 431

สัดสวน ผูสอน: ผูเรียน 1 : 12 1 : 20 1 : 20

2 10 3 3 4 3 1 3 29

68 295 89 71 523

139 36 5 80 260

68 295 89 71 139 36 5 80 783

1 : 34 1 : 30 1 : 30 1 : 24 1 : 35 1 : 12 1:5 1 : 27 1 : 27

รวม

3 4 2 9 118

จํานวนผูเรียน

101 101 116 116 24 24 217 24 241 2,007 975 2,982

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

รวม

1 : 34 1 : 29 1 : 12 1 : 27 1 : 25


๑๘

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

๒.๔ บุคลากร คุณวุฒิทางการศึกษา (มิถุนายน ๒๕๕4) ต่ํากวา ปริญญา ปริญญา ปริญญา ปริญญา ตรี โท เอก ตรี 5 -

ประเภทบุคลากร ผูบริหาร ครูประจํา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ

รวม 5

-

17

16

-

33

ประเภทวิชาศิลปกรรม

-

7

6

-

13

ประเภทวิชาคหกรรมศาสตร

-

15

10

-

25

ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทองเที่ยว

-

-

5

-

5

ประเภทวิชาพื้นฐาน

-

5

9

1

15

ครูอัตราจาง (มากกวา ๙ เดือน) และพนักงานราชการ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ

-

8

-

-

8

ประเภทวิชาศิลปกรรม

-

4

-

-

4

ประเภทวิชาคหกรรมศาสตร

--

-

-

-

-

ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทองเที่ยว

-

2

-

-

2

ประเภทวิชาพื้นฐาน

-

13

-

-

13

บุคลากรสายสนับสนุน

-

-

-

-

-

ลูกจางประจํา

16

1

-

-

17

ลูกจางชัว่ คราว

10

31

-

-

41

-

2

-

-

2

26

105

51

1

183

ขาราชการพลเรือน รวม

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๙

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ตารางแสดงจํานวนครูจําแนกตามประเภทวิชา/สาขาวิชา ปการศึกษา ๒๕๕4 ประเภทวิชา/สาขาวิชา ปวช. 1. ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1.1 สาขาวิชาพณิชยการ 2. ประเภทวิชาคหกรรม 2.1 สาขาวิชาผาและเครื่องแตงกาย 2.2 สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 2.3 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร 3. ประเภทวิชาศิลปกรรม 3.1 สาขาวิชาศิลปกรรม 4. ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทองเที่ยว 4.1. สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ 4.2. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจทองเที่ยว รวมทั้งหมด

ปการศึกษา 2554 ชาย หญิง รวม 7

35

42

-

7 10 8

7 10 8

10

6

16

17

4 4 74

4 4 91

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๒๐

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ตารางแสดงจํานวนครูจําแนกตามประเภทวิชา/สาขาวิชา ปการศึกษา 2554 ประเภทวิชา/สาขาวิชา ปวส. 1. ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ 1.1 สาขาวิชาการบัญชี 1.2 สาขาวิชาการตลาด/ธุรกิจคาปลีก 1.3 สาขาวิชาการเลขานุการ 1.4 สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ 1.5 สาขาธุรกิจคาปลีก 2. ประเภทวิชาคหกรรม 2.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีผาและเครื่องแตงกาย 2.2 สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 2.3 สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เครื่องนุงหม 2.4 สาขาบริหารการงาน คหกรรมศาสตร 3. ประเภทวิชาศิลปกรรม 3.1 สาขาวิชาการออกแบบ 3.2 สาขาเทคโนโลยีศิลปกรรม 3.3 สาขาวิชาคอมพิวเตอรกราฟก 3.4 สาขาวิชาชางทันตกรรม 4. ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทองเที่ยว 4.1 สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ/ทวิ 4.4 สาขาวิชาการจัดการธุรกิจทองเที่ยว รวมทั้งหมด

ปการศึกษา 2554 ชาย หญิง รวม 1 1 4 -

10 6 7 4 -

11 7 7 8 -

-

7 10 -

7 10 -

-

8

8

4 2 2

3 1 -

7 3 2

14

4 4 64

4 4 78

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๒๑

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

๒.๕ งบประมาณ

การจัดสรรงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕4- ๒๕๕5 ดังรายละเอียดตอไปนี้ ๒.๕.๑ ประมาณการรายรับจากเงินงบประมาณ งบประมาณทีไ่ ดรบั ปงบประมาณ ๒๕๕4

รายการ

รอยละ

งบประมาณทีไ่ ดรบั ปงบประมาณ ๒๕๕5

รอยละ

๑. แผนงานจัดการอาชีวศึกษา

๑.๑ งานสนับสนุนการจัด การศึกษาวิชาชีพ ๑.๑.๑ งบบุคลากร ๑) คาจางชั่วคราว ๑.๑.๒ งบดําเนินงาน

๑) คาตอบแทน ๒) คาใชสอย ๓) คาวัสดุ ๔) คาสาธารณูปโภค ๑.๑.๓ งบลงทุน ๑) คาครุภัณฑ ๒) คาที่ดินและ สิ่งกอสราง ๑.๑.๔ งบเงินอุดหนุน ๑) คาใชจา ยตอหัว นักเรียน ๒) สิ่งประดิษฐคนรุน ใหม

รวมเปนเงินทั้งสิ้น

๕๖๑,๖๐๐.๐๐ ๒.๒๖ ๕๖๑,๖๐๐.๐๐ ๒.๒๖ ๘,๙๓๘,๔๐๐.๐๐ ๓๕.๙๓ ๒,๑๑๒,๐๘๐.๐๐ ๑,๙๐๐,๐0๐.๐๐ ๓,๔๒๖,๓๒๐.๐๐ ๑,๕๐๐,๐๐๐.๐๐

-

๘.๔๙ ๗.๖๔ ๑๓.๗๗ ๖.๐๓

-

720,000.00 2.89 720,000.00 2.89 8,310,000.00 33.38 36,000.00 1,524,000.00 4,470,000.00 2,280,000.00 3,750,000.00

-

0.15 6.12 17.95 9.16 15.06

3,750,000.00 15.06

๑๕,๓๗๔,๔๐๒.๓๖ ๑๕,๒๒๔,๔๐๒.๓๖

๖๑.๘๑ ๖๑.๒๑

12,120,000.00 12,000,000.00

48.67 48.19

๑๕๐,๐๐๐.๐๐

๐.๖๐

120,000.00

0.48

๒๔,๘๗๔,๔๐๒.๓๖

๑๐๐

24,150,000.00

100

๒.๕.๒ ประมาณการรายรับจากเงินบํารุงการศึกษา รายการ ๑. รายรับจากนักศึกษา ๒. ผลกําไรจากงานการคา รวมเปนเงินทั้งสิ้น

ปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕4 ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕5 ๕,๐๐๗,๘๘๘.๒๕ ๕,๐๐๗,๘๘๘.๒๕

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๒๒

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

๒.๕.๓ ประมาณการรายจาย งบประมาณทีไ่ ดรบั ปงบประมาณ ๒๕๕4

รายการ ๑. แผนงานจัดการอาชีวศึกษา ๑.๑ งบบุคลากร ๑.๒ งบดําเนินงาน ๑.๓ งบลงทุน ๑.๔ งบรายจายอื่น ๆ ๒. แผนงานจัดการฝกอบรมวิชาชีพ ๓. แผนงานวิจัยนวัตกรรม รวมทั้งสิ้น

รอยละ

๗,๐๗๗,๘๗๐.๐๐ ๑๓.56 ๒๒,๙๗๗,๘๙๐.๒๒ ๔๔.01 ๑๘,๒๐๐,๑๒๕.๕๐ ๓๔.86 ๓,๘๐๓,๖๗๐.๐๐ ๗.28 ๑๕๐,๐๐๐.๐๐ ๐.๒๙ ๕๒,๒๐๙,๕๕๕.๗๒ ๑๐๐.๐๐

งบประมาณทีไ่ ดรบั ปงบประมาณ ๒๕๕5

720,000.00 8.00 8,280,000.00 92.00 9,000,000.00

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

รอยละ

100


๒๓

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

๒.๖ เกียรติยศ ชื่อเสียงของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ๒.๖.๑ สถานศึกษา

ลําดับ วัน/เดือน/ป ประเภทรางวัล 1 2 3

4

5

6

3 พฤษภาคม 2555 9 – 14 สิงหาคม 2554 9 – 14 สิงหาคม 2554

เกียรติยศ ชื่อเสียง

รางวัล พระราชทาน

สถานศึกษาพระราชทาน ระดับอาชีวศึกษา ประจําปการศึกษา 2554 รางวัลชนะเลิศ การประกวดสิ่งประดิษฐของขวัญ (ระดับชาติ) วันแมเนื่องในงาน อาชีวะ มหัศจรรยสวนศิลปแผนดินแม รางวัล การประกวดสิ่งประดิษฐของขวัญ รองชนะเลิศ วันแมเนื่องในงาน อาชีวะ อันดับ 1 มหัศจรรยสวนศิลปแผนดินแม (ระดับชาติ) 10 รางวัลชนะเลิศ ระดับอาชีวศึกษา อุดมศึกษา พฤศจิกายน ประชาชนทัว่ ไป การประกวด 2554 กระทงใบตอง-ดอกไมสด ในงาน ประเพณีเดือนยี่เปงเชียงใหม ประจําป 2554 10 รางวัล ระดับอาชีวศึกษา อุดมศึกษา พฤศจิกายน รองชนะเลิศ ประชาชนทัว่ ไป การประกวด 2554 อันดับ 1 กระทงใบตอง-ดอกไมสด ในงาน ประเพณีเดือนยี่เปงเชียงใหม ประจําป 2554 21 รางวัล การประกวดรองเพลง มิถุนายน รองชนะเลิศ ไทยลูกทุงพรอมหางเครื่อง 2554 อันดับ 2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย วันตอตานยาเสพติดโลก จังหวัดเชียงใหม

หนวยงานที่ รายชื่อ จัด/ สถานที่จัดงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษา กระทรวง เชียงใหม ศึกษาธิการ วิทยาลัยอาชีวศึกษา สํานักงาน เชียงใหม คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษา สํานักงาน เชียงใหม คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษา เทศบาลนคร เชียงใหม เชียงใหม

วิทยาลัยอาชีวศึกษา เทศบาลนคร เชียงใหม เชียงใหม

วิทยาลัยอาชีวศึกษา โ ร ง เ รี ย น โ ป ลิ เชียงใหม เทคนิ ค ลานนา เชียงใหม

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๒๔

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

๒.๖.๒ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ลําดับ วัน/เดือน/ป ประเภทรางวัล 1

ปการศึกษา รางวัล 2554 หนึ่งแสนครูดี ป 2554

เกียรติยศ ชื่อเสียง

รายชื่อ

นางสาววราภรณ เรือนชัย รางวัลหนึ่งแสนครูดี ประจําปการศึกษา 2554 นางปวีณกร แปนกลัด

นางกรองทอง มะลิวัลย นางสาวสุนสิ า ปนเจริญ นางสุพัตรา จันทรเจนจบ

หนวยงาน ที่จัด/ สถานที่จัดงาน สํานักงาน เลขาธิการ คุรุสภา

วาที่ ร.ต.หญิง สุภารัตน ชางลอ

นายคงศักดิ์ กิจเจริญสิน นางทรัพยอารีย ศาลติกุลนุกาล นายเรืองชัย ชื่นศิริกุลชัย นายจักรพันธุ ปญจะสุวรรณ นางไมรินทร พงษนิกร นางศิริภรณ แกวหลวง นางเพลินตา มีกลิ่นหอม นางสุทธิลักษณ เกิดสวางกุล นางจันณิกิต สุวภาพ นางสาวเกศริน เกาะดี นางศรัญญา กิจเจริญสิน นางการุณี วิบูลยชัย นางดาลัด บุญตัน นางศิริกุล อินทรอุทก นายเสกสรรค สิงหออน

2

ปการศึกษา รางวัล 2554 ครูสอนดี ป 2554

ครูสอนดี

3

ปการศึกษา รางวัล 2554 ครูดีเดน ป 2554

นางศรัญญา ครูภาษาไทยดีเดน ประจําปการศึกษา 2554

กิจเจริญสิน

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

สํานักงาน คณะกรรมการ สงเสริมสังคม แหงการเรียนรู และพัฒนา คุณภาพเยาวชน สํานักงาน เลขาธิการ คุรุสภา


๒๕

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

๒.๖.๓ นักเรียน นักศึกษา ลําดับ วัน/เดือน/ป ประเภทรางวัล 1 2 3

3 พฤษภาคม 2555 3 พฤษภาคม 2555 22 กันยายน 2554

เกียรติยศ ชื่อเสียง

หนวยงาน ที่จัด/ สถานที่จัดงาน กระทรวง ศึกษาธิการ

รายชื่อ

นักศึกษารางวัล นักศึกษาพระราชทาน ระดับ พระราชทาน ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

นายวิทวัส ปงใฝ

นักศึกษารางวัล นักศึกษาพระราชทาน ระดับ พระราชทาน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

นายสราวุธ ไชยนิน

กระทรวง ศึกษาธิการ

รางวัลชนะเลิศ (ระดับชาติ)

รางวัลเยาวชนดีเดน แหงชาติ ป 2554

นายวิทวัส

อาคารกีฬาเวสน 2

ปงใฝ

4

14 มกราคม 2555

รางวัลชนะเลิศ (ระดับชาติ)

นักศึกษาดีเดนดาน คุณธรรมและจริยธรรม

นายสราวุธ

5

9-14 สิงหาคม 2554 2 กุมภาพันธ 2555

รางวัลชนะเลิศ (ระดับชาติ)

การประกวดสิ่งประดิษฐ ของขวัญวันแมเนื่องในงานอาชีวะ มหัศจรรยสวนศิลปแผนดินแม การแขงขันทักษะวิชาชีพ ประเภทวิชาศิลปกรรม วาดภาพคนเหมือน

นางสาวอังคณา อินปนแกว นายวิทวัส ปงใฝ นายสยาม จันตา

7-8 กรกฎาคม 2554

รางวัลชนะเลิศ การประกวดสํารับขนมมงคล (ระดับชาติ) (ระดับอุดมศึกษา) โครงการ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ “เย็บรอย คอยจีบ ประดิษฐ ใบตอง ระดับชาติ ครั้งที่ 2 ”

6

7

รางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง (ระดับชาติ)

นายวัชระ

ไชยนิน

หอทอง

นายวิทวัส ปงใฝ นายนิวุฒิ ปญญา นายศรายุธ คํามา นายสยาม จันตา

นางสาวจริญญา อินทะราชา

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

ศูนยเยาวชน

กรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุน) สํานักงานคณะ กรรมการการ อาชีวศึกษากับ ธนาคารออมสิน สํานักงาน คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา การประชุม องคการวิชาชีพใน อนาคตแหง ประเทศไทย ระดับชาติ จังหวัดระยอง

มหาวิทยาลัย

ราชภัฏสวนดุสิต

กรุงเทพฯ


๒๖

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ลําดับ วัน/เดือน/ป 8

9

8 กรกฎาคม 2554

9 ตุลาคม 2554 1

10

29 มกราคม 2 กุมภาพันธ์ 5

11

2555

29 มกราคม 2 กุมภาพันธ์ 9

2555

ประเภท รางวัล

เกียรติยศ ชื่อเสียง

รางวัล ชนะเลิศ (ระดับชาติ)

การประกวดการจัดชอดอกไม แนวประณีตศิลป (ระดับอุดมศึกษา) โครงการ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ “เย็บรอย คอยจีบ ประดิษฐ ใบตอง ระดับชาติ ครั้งที่ 2 ” รางวัลชนะเลิศ ประเภทสถาบันการศึกษา (ระดับชาติ) การแกะสลักผัก-ผลไม งานใบตอง ดอกไมสด ครั้งที่ 13 รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 1 (ระดับชาติ)

รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 1 (ระดับชาติ)

“84 พรรษา เทิดไทองคเอกอัครศิลปน”

การแขงขันทักษะ พุมประดิษฐจากผาสําหรับ ตกแตงสถานที่ ระดับ ปวช. การประชุมทางวิชาการองคการ วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม การแขงขันทักษะ การประดิษฐพานขันหมั้น ขันหมาก และขันสินสอด การประชุมทางวิชาการองคการ วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม ครั้งที่ 23

หนวยงาน รายชื่อ ที่จัด/ สถานศึกษา นางสาวอังคณา อินปนแกว มหาวิทยาลัย นายเจษฎา นายวัชพล

ทาวะดี ระวิวัฒน

นางสาวธัญญาลักษณ สมกันทา

ราชภัฏสวนดุสิต

กรุงเทพฯ

นางสาวสุกญ ั ญา คําบุญมา

นางสาวดาว นายคมกฤษ นายรัชพล นายจิรัฎฐ

จันตะ ดวงตา ระวิวัฒน คํามา

นายวิษณุพงศ นายชาญณรงค นายธีรยุทธ นายศราวุธ นายศุภสิทธิ์

นายวิทวัส นางสาวอนุธิดา นางสาวอังคณา นายจิรัฎฐ นายสยาม

รัตนะ จุมป รุงเรือง คํามา ปญญาแกว

ปงใฝ มุณีจินดา อินปนแกว คํามา จันตา

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

โรงแรมแกรนด

เมอรเคียว ฟอรจูน

กรุงเทพฯ

สํานักงาน คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา โรงแรมสตาร จังหวัดระยอง สํานักงาน คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา โรงแรมสตาร จังหวัดระยอง


๒๗

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ลําดับ วัน/เดือน/ป 12

29 มกราคม 2 กุมภาพันธ์

2555

ประเภท รางวัล รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 2 (ระดับชาติ)

13

13

29 มกราคม 2 กุมภาพันธ์

2555

17

14

15

รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 2 (ระดับชาติ)

หนวยงาน เกียรติยศ ชื่อเสียง รายชื่อ ที่จัด/ สถานศึกษา นางสาวอัจฉราพรรณ พึ่งสม สํานักงาน การแขงขันทักษะ นายพัชร ปูอินตะ การประกวดมารยาทไทย คณะกรรมการ การประชุมทางวิชาการองคการ การอาชีวศึกษา วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย โรงแรมสตาร และการประกวดสิ่งประดิษฐของ จังหวัดระยอง คนรุนใหม ครั้งที่ 23 นายธงชัย แสนยาเกียรติคณ ุ การแขงขันทักษะ สํานักงาน นายอภิ ช น สายทอง Thai Fusion Set ระดับ ปวช. คณะกรรมการ นายสุ ร นั น ท สุ น น ั ตา การอาชีวศึกษา การประชุมทางวิชาการองคการ โรงแรมสตาร วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย จังหวัดระยอง และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม ครั้งที่ 23

29-31 กรกฎาคม 2554

เหมาะสม รางวัลชนะเลิศ การประกวดนวัตกรรมสิง่ ประดิษฐ นายวิฑูรย ในงาน “นวัตกรรมแฟร 2011” นางสาวนฤมล ไชยชอฟา ประเภททีม (ระดับภาค) “ผงโรยขาวรสแกงเขียงหวานไก” นางสาวลีลาวดี ธรรมศรี

30 ธันวาคม 2554

รางวัลชนะเลิศ การแขงขันทักษะ (ระดับภาค) Thai Fusion Set ระดับ ปวช. การประชุมทางวิชาการองคการ วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23

นางสาวศิรินภา ดาวแกว นางสาวสุพรรณิการ สุขดาษ นายอภิชน นายธงชัย นายสุรนันท

สายทอง แสนยาเกียรติคุณ สุนันตา

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

โดยสภา อุตสาหกรรม จังหวัดเชียงใหม ณ ฮอลศูนยการคา เซ็นทรัลแอรพอรต พลาซาเชียงใหม

สํานักงานคณะ กรรมการ การอาชีวศึกษา โดย วิทยาลัย อาชีวศึกษาแพร


๒๘

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ลําดับ วัน/เดือน/ป 16

30 ธันวาคม 2554

17

30 ธันวาคม 2554

18

30 ธันวาคม 2554

19

30 ธันวาคม 2554

ประเภท รางวัล

เกียรติยศ ชื่อเสียง

รางวัลชนะเลิศ การแขงขันทักษะ (ระดับภาค) เมนูสุขภาพจากธัญพืช ระดับปวส. (อาหารจานเดียวและขนมหวาน) การประชุมทางวิชาการองคการ วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23 รางวัลชนะเลิศ การแขงขันทักษะ (ระดับภาค) การประกวดมารยาทไทย การประชุมทางวิชาการองคการ วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23 รางวัลชนะเลิศ การแขงขันทักษะ (ระดับภาค) พุมประดิษฐจากผาสําหรับ ตกแตงสถานที่ ระดับ ปวส. การประชุมทางวิชาการองคการ วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23 รางวัลชนะเลิศ การแขงขันทักษะรักการอาน (ระดับภาค) การประชุมทางวิชาการองคการ วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23

รายชื่อ นายอานันท นายวุฒิชยั

คําเกิด แกวแอง

หนวยงาน ที่จัด/ สถานศึกษา สํานักงานคณะ กรรมการ การอาชีวศึกษา โดย วิทยาลัย อาชีวศึกษาแพร

นางสาวอัจฉราพรรณ พึ่งสม นายพัชร ปูอินตะ

สํานักงานคณะ กรรมการ การอาชีวศึกษา โดย วิทยาลัย อาชีวศึกษาแพร

นายวิษณุพงศ นายชาญณรงค นายธีรยุทธ นายศราวุธ นายศุภสิทธิ์

สํานักงานคณะ กรรมการ การอาชีวศึกษา โดย วิทยาลัย อาชีวศึกษาแพร

รัตนะ จุมป รุงเรือง คํามา ปญญาแกว

นางสาวเบญญภา แกวกมลรัตน

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

สํานักงานคณะ กรรมการ การอาชีวศึกษา โดย วิทยาลัย อาชีวศึกษาแพร


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๒๙

สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

หนวยงาน ลําดับ วัน/เดือน/ป เกียรติยศ ชื่อเสียง รายชื่อ ที่จัด/ สถานศึกษา นางสาวอรณิชา บิดาหก 20 30 รางวัลชนะเลิศ การแขงขันทักษะ สํานักงานคณะ นางสาวยุ ว พร พิ ร ย ิ ะพั น ธ ธันวาคม (ระดับภาค) การลงบัญชีกับคอมพิวเตอร กรรมการ 2554 ระดับ ปวช. การประชุมทาง การอาชีวศึกษา วิชาการองคการวิชาชีพในอนาคต โดย แหงประเทศไทยและการประกวด วิทยาลัย สิ่งประดิษฐของคนรุนใหม อาชีวศึกษาแพร ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23 นางสาวพิชญาภรณ ยศเรือนคํา 21 30 รางวัลชนะเลิศ การแขงขันทักษะ สํานักงานคณะ นายปานเรศ คําสุวรรณ ธันวาคม (ระดับภาค) งานออกแบบคอมพิวเตอรกราฟก กรรมการ 2554 วิชาการองคการวิชาชีพในอนาคต การอาชีวศึกษา แหงประเทศไทยและการประกวด โดย สิ่งประดิษฐของคนรุนใหม วิทยาลัย ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23 อาชีวศึกษาแพร 22 30 รางวัลชนะเลิศ การแขงขันทักษะ นายวัชระ หอทอง สํานักงานคณะ ธันวาคม (ระดับภาค) การวาดภาพคนเหมือน กรรมการ 2554 การอาชีวศึกษา การประชุมทางวิชาการองคการ โดย วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย วิทยาลัย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ อาชีวศึกษาแพร คนรุนใหม ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23 นายณัฐกร พงคธิ การแขงขันทักษะ 23 30 รางวัล สํานักงานคณะ นางสาวมณธิ ช า จั น ทร ส ข ุ ธันวาคม รองชนะเลิศ Animation กรรมการ นางสาวสนธยา ป ญ ญาแปง 2554 อันดับ 1 การประชุมทางวิชาการองคการ การอาชีวศึกษา (ระดับภาค) วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย โดย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ วิทยาลัย อาชีวศึกษาแพร คนรุนใหม ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23 ประเภท รางวัล

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๓๐

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ลําดับ วัน/เดือน/ป

ประเภท รางวัล

24

30 ธันวาคม 2554

รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 1 (ระดับภาค)

25

30 ธันวาคม 2554

รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 1 (ระดับภาค)

26

30 ธันวาคม 2554

รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 1 (ระดับภาค)

27

30 ธันวาคม 2554

รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 1 (ระดับภาค)

เกียรติยศ ชื่อเสียง

รายชื่อ

การแขงขันทักษะ โปรแกรมสําเร็จรูปเพื่องานบัญชี ระดับ ปวส. การประชุมทางวิชาการองคการ วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23 การแขงขันทักษะ พิมพดีดภาษาอังกฤษ การประชุมทางวิชาการองคการ วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23 การแขงขันทักษะ การประดิษฐพานขันหมั้น ขันหมาก และขันสินสอด การประชุมทางวิชาการองคการ วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23 การแขงขันทักษะ ทักษะตอบปญหาวิชาการ ประวัติศาสตรไทย การประชุมทางวิชาการองคการ วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23

นายนคร กินรีแช นางสาวหิรัณยา ตาคํา

นายดํารง

นายวิทวัส นางสาวอนุธิดา นางสาวอังคณา นายจิรัฎฐ นายสยาม

หนวยงาน ที่จัด/ สถานศึกษา สํานักงานคณะ กรรมการ การอาชีวศึกษา โดย วิทยาลัย อาชีวศึกษาแพร

บํารุง

สํานักงานคณะ กรรมการ การอาชีวศึกษา โดย วิทยาลัย อาชีวศึกษาแพร

ปงใฝ มุณีจินดา อินปนแกว คํามา จันตา

สํานักงานคณะ กรรมการ การอาชีวศึกษา โดย วิทยาลัย อาชีวศึกษาแพร

นายกัมพล พันธุสา สํานักงานคณะ นางสาวสุมาลี นิยะรัตน กรรมการ การอาชีวศึกษา โดย วิทยาลัย อาชีวศึกษาแพร

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๓๑

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ลําดับ วัน/เดือน/ป

ประเภท รางวัล

28

30 ธันวาคม 2554

รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 2 (ระดับภาค)

29

30 ธันวาคม 2554

รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 2 (ระดับภาค)

30

18 กันยายน 2554

รางวัล ชนะเลิศ (ระดับ จังหวัด)

เกียรติยศ ชื่อเสียง

รายชื่อ

การแขงขันทักษะ การแขงขันการจัดทําและนําเสนอ รายการนําเที่ยว การประชุมทางวิชาการองคการ วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23 การแขงขันทักษะ การประกวดไทยลูกทุงหญิง การประชุมทางวิชาการองคการ วิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย และการประกวดสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหม ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23 เด็กดีเดน เนื่องในวันเยาวชนแหงชาติ ประจําพุทธศักราช 2554

นายคุณาภรณ ชัยคํา นางสาวนภาพร นาหลวง

หนวยงาน ที่จัด/ สถานศึกษา สํานักงานคณะ กรรมการ การอาชีวศึกษา โดย วิทยาลัย อาชีวศึกษาแพร

นางสาวศลิษา จันทรปุก

สํานักงานคณะ กรรมการ การอาชีวศึกษา โดย วิทยาลัย อาชีวศึกษาแพร

นายศักดิ์รินทร ศรีเพ็ชร

เทศบาลนคร เชียงใหม

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๓๒

สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

๒.๗ เปาหมายความสําเร็จของการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เปาหมายความสําเร็จของการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประจําปการศึกษา ๒๕๕4 มีดังตอไปนี้ มาตรฐานที่ ๑ ผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาวิชาชีพ ดานการพัฒนาผูเรียน ตัวบงชี้ เปาหมายความสําเร็จ ตัวบงชี้ที่ ๑ รอยละของผูเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทาง ๑. ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑที่ การเรียนตามเกณฑที่กําหนดตามชั้นป กําหนดตามชั้นป ตัวบงชี้ที่ ๓ รอยละของผูเรียนที่สามารถประยุกต ๓. ผูเรียน สามารถประยุกตหลักการทางวิทยาศาสตร หลักการทางวิทยาศาสตร และคณิตศาสตรมาใช และคณิตศาสตรมาใชแกปญหาในการปฏิบัติงาน แกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพอยางเปนระบบ อาชีพไดอยางเปนระบบ ตัวบงชี้ที่ ๔ รอยละของผูเรียนที่มีทักษะ ในการ สื่อสาร ดานการฟง การอาน การเขียน และ การสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

๔. ผูเ รียนมีทักษะในการสื่อสาร ดานการฟง การอาน การเขียนและการสนทนาทั้งภาษาไทย และ ภาษาตางประเทศ เพื่อการสื่อสารไดอยาง ถูกตองเหมาะสม ตัวบงชี้ที่ ๕ รอยละของผูเรียนที่มีความสามารถ ๕. ผูเรียนมีความสามารถใชความรูและ เทคโนโลยี ใชความรูและเทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษา ที่จําเปนในการศึกษาคนควาและปฏิบัติงาน คนควาและปฏิบัติงานวิชาชีพไดอยางเหมาะสม วิชาชีพไดอยางเหมาะสม ตัวบงชี้ที่ ๖ รอยละของผูเรียนที่มีคุณธรรม ๖. ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงาม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่ ในวิชาชีพ การมีบุคลิกภาพที่เหมาะสมและ เหมาะสมและมีมนุษยสัมพันธที่ดี มนุษยสัมพันธที่ดี ตัวบงชี้ที่ ๗ รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่มีผล ๗. ผูสําเร็จการศึกษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม สัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จการ เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ตัวบงชี้ที่ ๘ รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่มีผล ๘. ผูสําเร็จการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม สัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จ เกณฑการสําเร็จการศึกษา ตามหลักสูตร การศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นสูง

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๓๓

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ที่ ๙ รอยละของผูสําเร็จการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่ผานการประเมิน มาตรฐานวิชาชีพ ตัวบงชี้ที่ ๑๐ รอยละของผูสําเร็จการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่ผานการ ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ตัวบงชี้ที่ ๑๑ รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่ได งานทําในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระ และศึกษาตอภายใน ๑ ป ตัวบงชี้ที่ ๑๒ ระดับความพึงพอใจของสถาน ประกอบการที่มีตอคุณลักษณะที่พึงประสงค ของผูสําเร็จการศึกษา ตัวบงชี้ที่ ๑๓ รอยละของผูเรียนสามารถวางแผน ธุรกิจ ประกอบอาชีพ และมีรายไดระหวางเรียน

เปาหมายความสําเร็จ ๙. ผูสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพทุกคนที่ผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ๑๐. ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูงทุกคน ที่ผานการประเมิน มาตรฐานวิชาชีพ ๑๑. ผูสําเร็จการศึกษาไดงานทําในสถานประกอบการ /ประกอบอาชีพอิสระ และศึกษาตอภายใน ๑ ป ๑๒. สถานประกอบการมีความพึงพอใจ ตอคุณลักษณะ ที่พึงประสงคของผูสําเร็จการศึกษา ๑๓. ผูเรียนสามารถวางแผนธุรกิจ ประกอบอาชีพ และมีรายไดระหวางเรียน

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๓๔

สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

มาตรฐานที่ ๒ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ดานการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียน การสอน การจัดการทรัพยากรและแหลงเรียนรู การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา และการสราง เครือขายความรวมมือในการจัดการศึกษา ตัวบงชี้ เปาหมายความสําเร็จ ตัวบงชี้ที่ ๑๔ รอยละของหลักสูตรฐานสมรรถนะ ๑๔. สถานศึกษามีหลักสูตรฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพ ที่มีคุณภาพ ตัวบงชี้ที่ ๑๕ รอยละของแผนการจัดการเรียนรู ๑๕. ครูผูสอนมีแผนการจัดการเรียนรูแ บบบูรณาการ แบบบูรณาการ ตัวบงชี้ที่ ๑๖ ระดับความพึงพอใจของผูเรียนตอ ๑๖. ผูเรียนทุกสาขาวิชามีความพึงพอใจในการสอน คุณภาพการสอนของผูสอน ของครูผูสอนอยูในระดับดี ตัวบงชี้ที่ ๑๗ รอยละของงบประมาณที่ ๑๗. งบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้อ วัสดุฝก สถานศึกษาจัดซื้อวัสดุฝก อุปกรณ สําหรับการ อุปกรณ สําหรับการจัดการเรียน การสอน จัดการเรียนการสอน มีความเหมาะสม ตัวบงชี้ที่ ๑๘ ระดับความเหมาะสมและเพียงพอ ๑๘. สถานศึกษาจัดระบบคอมพิวเตอรสําหรับใช ของระบบคอมพิวเตอรในแตละสาขาวิชา ในการเรียน การสอนมีความเหมาะสมและ มีจํานวนเพียงพอ ตัวบงชี้ที่ ๑๙ ระดับความเหมาะสมในการจัด ๑๙. สถานศึกษาจัดอาคารเรียน อาคารประกอบการ อาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พื้นที่ฝก หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พื้นที่ฝกปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานไดอยางเหมาะสมกับวิชาที่เรียนมี เหมาะสมกับวิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอื้อตอ บรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู และเกิดประโยชน การเรียนรูและเกิดประโยชนสูงสุด สูงสุด ตัวบงชี้ที่ ๒๐ ระดับความเหมาะสมในการจัด ๒๐. สถานศึกษาจัดศูนยวิทยบริการไดเหมาะสม ศูนยวิทยบริการใหเหมาะกับวิชาที่เรียนมี กับวิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู บรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรูและเกิดประโยชน และเกิดประโยชนสูงสุด สูงสุด

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๓๕

สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ตัวบงชี้ เปาหมายความสําเร็จ ตัวบงชี้ที่ ๒๑ ระดับความเหมาะสมในการจัดให ๒๑. สถานศึกษามีจํานวนครุภัณฑและอุปกรณ มีครุภัณฑและอุปกรณ เพียงพอและเหมาะสมกับการจัดการเรียน การสอน ทุกสาขาวิชาอยูในระดับดี ตัวบงชี้ที่ ๒๒ ระดับคุณภาพการจัดระบบความ ๒๒. สถานศึกษามีระบบความปลอดภัยของ ปลอดภัยของสภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความ สภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความสะดวก สะดวกที่เอื้อตอการเรียนรูในสาขาวิชา/สาขางาน ที่เอื้อตอการเรียนรูในสาขาวิชา/สาขางาน อยูในระดับดี ตัวบงชี้ที่ ๒๓ รอยละของบุคลากรภายใน ๒๓. บุคลากรทุกคนภายในสถานศึกษาที่ไดรับการ สถานศึกษาที่ไดรับการพัฒนาตามหนาที่ พัฒนาตามหนาที่รับผิดชอบ รับผิดชอบ ตัวบงชี้ที่ ๒๔ จํานวนครั้งหรือปริมาณในการ ๒๔. สถานศึกษาไดรับทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ทั้งภายใน และ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อสนับสนุน ภายนอกสถานศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัด การจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ การศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ ตัวบงชี้ที่ ๒๕ จํานวนสถานประกอบการที่มี ๒๕. สถานศึกษาไดรับความรวมมือจากสถาน การจัดการศึกษารวมกับสถานศึกษาในการจัด ประกอบการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีและ การศึกษาระบบทวิภาคีและระบบปกติ ระบบปกติจํานวนมาก ตัวบงชี้ที่ ๒๖ จํานวนคน -ชั่วโมงของ ๒๖. สถานศึกษามีผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิหรือ ผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิหรือภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาทองถิ่นเขามามีสวนรวม ที่มีสวนรวมในการพัฒนาผูเรียน ในการพัฒนาผูเรียน ตัวบงชี้ที่ ๒๗ อัตราสวนของผูสอนประจําที่มี ๒๗. สถานศึกษาจัดครูผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิ คุณวุฒิดานวิชาชีพตอผูเรียนในแตละสาขาวิชา ดานวิชาชีพตอผูเรียนแตละสาขาวิชา ใน อัตราสวนที่เหมาะสม ตัวบงชี้ที่ ๒๘ อัตราสวนของผูสอนประจําตอ ๒๘. สถานศึกษาจัดครูผูสอนประจําตอผูเรียน ผูเรียน มีอัตราสวนที่เหมาะสม

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๓๖

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

มาตรฐานที่ ๓ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ดานการพัฒนาผูเรียน ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ที่ ๒๙ จํานวนครั้งของการจัดใหผูเรียน พบครูที่ปรึกษา ตัวบงชี้ที่ ๓๐ จํานวนครั้งของการจัดบริการ ตรวจสารเสพติดใหกับผูเรียน ตัวบงชี้ที่ ๓๑ รอยละของผูเรียนที่ออกกลางคัน เมื่อเทียบกับอัตราแรกเขา ตัวบงชี้ที่ ๓๒ จํานวนครั้งและประเภทของ กิจกรรมที่สงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพรวมทั้ง ดาน บุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ ตัวบงชี้ที่ ๓๓ จํานวนครั้งและประเภทของ กิจกรรมที่สงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี และทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม

เปาหมายความสําเร็จ ๒๙. สถานศึกษาจัดใหผูเรียนพบครูที่ปรึกษา ทุกสัปดาหและตามความประสงคของครู กับผูเรียน ๓๐. สถานศึกษามีบริการตรวจสารเสพติดใหแก ผูเรียนทุกปการศึกษาสงผลใหผูเรียนไมเกี่ยวของ กับสารเสพติด ๓๑. สถานศึกษามีจํานวนผูเรียนที่ออกกลางคัน เมื่อเทียบกับแรกเขานอยลงทุกปการศึกษา ๓๒. สถานศึกษามีกิจกรรมที่สงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ รวมทั้งดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ อยูในจํานวนที่เหมาะสม ๓๓. สถานศึกษาจัดกิจกรรมที่สงเสริมการอนุรักษ สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี การทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมไดอยางสม่าํ เสมอ เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ

มาตรฐานที่ ๔ การบริการวิชาชีพสูสังคม ดานการบริการทางวิชาการวิชาชีพแกชุมชนและสังคม ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ที่ ๓๔ จํานวนและประสิทธิผลของ กิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาชีพและฝกทักษะ วิชาชีพ ตัวบงชี้ที่ ๓๕ รอยละของงบประมาณในการจัด กิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาชีพและฝกทักษะ วิชาชีพตองบดําเนินการ

เปาหมายความสําเร็จ ๓๔. สถานศึกษาจัดกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการ วิชาชีพและฝก ทักษะวิชาชีพไดอยางเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ ถือเปนการสงเสริมและ พัฒนาอาชีพใหแกชุมชนในการสรางงาน สรางรายได ๓๕. สถานศึกษาไดจัดสรรงบประมาณในการ จัดกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาชีพ และ ฝกทักษะวิชาชีพตองบดําเนินการไดอยาง เหมาะสม

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๓๗

สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

มาตรฐานที่ ๕ นวัตกรรมและการวิจัย ดานการวิจัยและพัฒนาผลงานโครงงานทางวิชาชีพ สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมและงานวิจัย ตัวบงชี้ เปาหมายความสําเร็จ ตัวบงชี้ที่ ๓๖ จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ ๓๖. สถานศึกษามีจํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงการ งานวิจัยและโครงงานจํานวนเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ ปที่ผานมาพรอมทั้งสามารถนําเทคโนโลยี สารสนเทศมาใชในการเรียน การสอนไดอยาง มีประสิทธิภาพ ตัวบงชี้ที่ ๓๗ จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ ๓๗. สถานศึกษามีจํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงการที่มีประโยชนทางวิชาชีพและ งานวิจัยและโครงงาน ที่มีประโยชนทาง /หรือไดรับการเผยแพรระดับชาติ วิชาชีพและ/หรือไดรับการเผยแพรระดับชาติ ตามเกณฑที่กําหนด ตัวบงชี้ที่ ๓๘ รอยละของงบประมาณที่ใชในการ ๓๘. สถานศึกษาไดจัดสรรงบประมาณที่ใชใน สราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ การสราง พัฒนา และเผยแพร นวัตกรรม งานวิจัย และโครงงานตองบดําเนินการ สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงานตอ งบดําเนินการไดอยางเหมาะสม เปนไปตามเกณฑที่กําหนด ตัวบงชี้ที่ ๓๙ จํานวนครั้งและชองทางการเผยแพร ๓๙. สถานศึกษาเผยแพรขอมูลขาวสารเกี่ยวกับ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงาน ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๓๘

สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

มาตรฐานที่ ๖ ภาวะผูนําและการจัดการ ดานการบริหารจัดการสถานศึกษา ตัวบงชี้ เปาหมายความสําเร็จ ตัวบงชี้ที่ ๔๐ ระดับคุณภาพการบริหารงานของ ๔๐. การบริหารงานของผูบริหารที่สอดคลองกับ ผูบริหารที่สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรและ แผนยุทธศาสตร และการมีสวนรวมของ ประชาคมอาชีวศึกษา ดวยความโปรงใสและ การมีสวนรวมของประชาคมอาชีวศึกษา ดวยความโปรงใส ตรวจสอบได ตรวจสอบได ตัวบงชี้ที่ ๔๑ รอยละของบุคลากรในสถานศึกษา ๔๑. บุคลากรในสถานศึกษาทุกคนมีจรรยาบรรณ ที่สามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐาน มาตรฐานวิชาชีพ วิชาชีพ ตัวบงชี้ที่ ๔๒ ระดับคุณภาพของการจัดระบบ ๔๒. สถานศึกษาจัดระบบสารสนเทศของสถานศึกษา สารสนเทศของสถานศึกษาเพื่อการบริหารจัดการ เพื่อการบริหารจัดการและการจัดการความรู และการจัดการความรูของสถานศึกษา ของสถานศึกษาไดอยางเหมาะสม และ มีประสิทธิภาพ มาตรฐานที่ ๗ มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน ดานการบริหารจัดการสถานศึกษา ตัวบงชี้ เปาหมายความสําเร็จ ตัวบงชี้ที่ ๔๓ ระบบและกลไกในการประกัน ๔๓. สถานศึกษามีระบบและกลไกในการ ประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิดการพัฒนา คุณภาพภายในที่กอใหเกิดการพัฒนาสถานศึกษา สถานศึกษาอยางตอเนื่อง โดยผูเรียน ครู อยางตอเนื่อง และบุคลากรทางการศึกษาไดใหความรวมมือ ในการดําเนินงานประกันคุณภาพ ตัวบงชี้ที่ ๔๔ ประสิทธิผลของการประกัน ๔๔. การประกันคุณภาพภายในมีประสิทธิผลและ คุณภาพภายใน มีประสิทธิภาพ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


แผนภูมกิ ารบริหารงานวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ผูอ้ าํ นวยการ นางสุพิศ ยางาม

คณะกรรมการบริ หารสถานศึกษา

รองผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายบริ หารทรัพยากร นางสาวสุทธิณีย ์ สันอุดร

รองผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายแผนงานและความร่ วมมือ

นายฉัตรชัย เรื องมณี

คณะกรรมการสถานศึกษา

รองผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายพัฒนากิจการนักเรี ยน นักศึกษา

นายบัณฑิตย์ สิ งห์ช่างชัย

งานบริ หารงานทัว่ ไป นางสาววราภรณ์ เรื อนชัย

งานแผนและงบประมาณ นางกชกร บรรณวัฒน์

งานกิจกรรมนักเรี ยน ฯ นายศุภกิจ นรกิจ

งานบุคลากร นางปวีณกร แป้ นกลัด

งานศูนย์ขอ้ มูลสารสนเทศ นางโฉมจิตรา ศรี อนุรักษ์

งานครู ที่ปรึ กษา นางศรี พรรณ เผ่าบุญเสริ ม

งานการเงิน นางสาวอรัญญา ศักดิ์ทอง

งานความร่ วมมือ

งานปกครอง นางกนกรัตน์ เลิศพิริยกมล

นางนารี สุ วรรณโภคัย

งานการบัญชี นางฉัตรพร คริ สต์รักษา

ว่าที่ ร.ต.หญิงสุ ภารัตน์ ช่างล้อ

งานแนะแนวอาชีพฯ นางสุ ทธิลกั ษณ์ เกิดสว่างกุล

งานพัสดุ นางสาวสุ คนธ์ทิพย์ โสภา

งานประกันคุณภาพฯ นางศรัญญา กิจเจริ ญสิ น

งานสวัสดิการนักเรี ยนฯ นางสายสมร ปัญจะสุ วรรณ

งานส่ งเสริ มผลิตผล การค้าฯ นางสาวปราณี หอมละออ

งานโครงการพิเศษฯ นางสุ พตั รา จันทร์เจนจบ

งานอาคารสถานที่ นายพุทธา แก้วพิทกั ษ์

งานวิจยั พัฒนา นวัตกรรมฯ

รองผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายวิชาการ นายศรพล สุริยาสาคร

แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ นางกรองทอง มะลิวลั ย์

แผนกวิชาศิลปกรรม นางสาวเรไร จันทร์ นิกุล

แผนกวิชาผ้าฯ นางวิระภา คอทอง

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ กราฟิ ค นายพัฒนา สมปรารถนา

แผนกวิชาคหกรรมศาสตร์ นางศิริกุล อินทรอุทก แผนกวิชาอาหารฯ นางอนงค์ ทองดา แผนกวิชาพณิ ชยการ นางทรัพย์อารี ย ์ ศาลติกุลนุการ แผนกวิชาการบัญชี นายคงศักดิ์ กิจเจริ ญสิ น แผนกวิชาการตลาด นางสาวเกษร คงคาน้อย

งานทะเบียน นางธิ วาวรรณ แย้มยินดี

แผนกวิชาการเลขานุการ นางนิ ภาพันธ์ แสนมโนรักษ์

งานประชาสัมพันธ์ นางศิริเนตร สิ งห์ช่างชัย

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ฯ นางสาวจิราภรณ์ ปาลี

แผนกวิชาออกแบบ นายเรื องชัย ชื่ นศิริกลุ ชัย แผนกวิชาการโรงแรมฯ นางสุ ภาภรณ์ แสงจันทร์ โอภาส แผนกวิชาการจัดการธุ รกิจท่องเที่ยว

นางสาวสายหยุด ศรี สุเทพ งานพัฒนาหลักสู ตรการเรี ยนฯ นางจรรยา สุ วรรณประเสริ ฐ งานวัดผลและประเมินผล นายภคพจน์ ปวนอินตา งานวิทยบริ การและห้องสมุด นางมลุลี บุญสม งานอาชี วศึกษาระบบทวิภาคี นางทักษวรรณ โรจนสกุลพิสุทธิ์ งานสื่ อการเรี ยนการสอน นายเสกสรร คํายอง


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตอนที่ ๓ การดําเนินงานของสถานศึกษา ๓.๑ ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมายของสถานศึกษา ปรัชญาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา “มีคุณธรรม นําวิชาการ ชํานาญวิชาชีพ” วิสัยทัศน “มุงสูสถานศึกษาแหงคุณภาพที่มีความเปนเลิศดานอุตสาหกรรมบริการในระดับสากล” พันธกิจ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.

ผลิตผูสําเร็จการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอาชีพทางดานอุตสาหกรรมบริการ พัฒนาศักยภาพวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมดานการจัดการองคความรู พัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานวิชาชีพดานอุตสาหกรรมบริการ สรางเครือขายความรวมมือทั้งภายในประเทศและตางประเทศ พัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ

เปาหมายเชิงยุทธศาสตร ๑. เพื่อผลิตบุคลากรดานอุตสาหกรรมบริการที่มีสมรรถนะและคุณภาพ สามารถบริหารงานและ ประกอบอาชีพในระดับสากล ๒. เพื่อสรางศักยภาพบุคลากรวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมสูองคกรแหงการเรียนรู ๓. เพื่อดําเนินงานวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมใหมีคุณภาพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหมีประสิทธิภาพสอดคลองกับการประเมินประสิทธิภาพองคกรของ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) และ การประกันคุณภาพการสถานศึกษา

๓.๒ ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

เพื่อใหการดําเนินการจัดการศึกษาของสถานศึกษาบรรลุเปาหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษา จึงกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาดังนี้

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๔๐

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานที่ ๑ ผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาวิชาชีพ มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

ตัวบงชี้ที่ ๑ รอยละ ๑. ผูเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผูเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ ตามเกณฑที่กําหนดตามชั้นป ทาง การเรียนตามเกณฑ ที่กําหนดตามชั้นป

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ประเด็นยุทธศาสตร ๓.๓ : พัฒนา หลักสูตรดานอุตสาหกรรมบริการ ๑. โครงการสงเสริมกิจกรรมชมรมวิชาชีพ ๒. โครงการพัฒนากิจกรรมองคการวิชาชีพ ๓. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (กลุมวิชาภาษาไทย) ๔. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (กลุมวิชาสังคมศึกษา) ๕. โครงการจัดนิทรรศการแสดงผลงาน ทางวิชาการ (เศรษฐกิจพอเพียง) ๖. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผลงาน ทางวิชาการ (วันวิทยาศาสตร) ๗. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผลงาน ทางวิชาการ (วันสิ่งแวดลอมไทย) ๘. โครงการคายภาษาอังกฤษ ๙. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (การจัดจําหนายสินคา OTOP) ๑๐. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (ธุรกิจจําลอง) ๑๑. โครงการจัดนิทรรศการแสดงผลงาน ทางวิชาการ (วาดเสน DRAWING)

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๔๑

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

ตัวบงชี้ที่ ๒ รอยละ ของผูเรียนที่ไดรับการ เทียบโอนผลการเรียนรู

๑. ผูเรียนทุกคนไดรับการเทียบโอนผล การเรียนรูตามมาตรฐานกําหนด

ตัวบงชี้ที่ ๓ รอยละ ของผูเรียนที่สามารถ ประยุกตหลักการทาง วิทยาศาสตร และ คณิตศาสตรมาใช แกปญหาในการปฏิบัติงาน อาชีพอยางเปนระบบ ตัวบงชี้ที่ ๔ รอยละ ของผูเรียนที่มีทักษะ ใน การสื่อสาร ดานการฟง การอาน การเขียน และ การสนทนาทั้งภาษาไทย และภาษาตางประเทศ

๑. ผูเรียนสามารถประยุกต หลักการ ทางวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร มาใชแกปญหาในการปฏิบัติงาน อาชีพไดอยางเปนระบบ

๑. ผูเรียนมีทักษะในการสื่อสาร ดานการฟง การอาน การเขียนและ การสนทนาทั้งภาษาไทย และ ภาษาตางประเทศ เพื่อการสื่อสาร ไดอยางถูกตองเหมาะสม

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ๑๒. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผล งานทางวิชาการ (นิทรรศการอาชีวศิลปกรรม’๕4) ๑๓. โครงการฝกปฏิบัติมาตรฐานวิชาชีพ มัคคุเทศก ๑๔. โครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพ ประเด็นยุทธศาสตร ๓.๑ : พัฒนาระบบ การจัดการเรียนการรู ๑. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทํา แผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ๒. โครงการศึกษาดูงานสถาน ประกอบการของนักเรียน ๓. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระบบปกติ ระบบทวิภาคีและการฝกงาน ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๓ : การพัฒนา ผลงานทางวิชาการนวัตกรรมและ สิ่งประดิษฐคนรุนใหมทางดานอุตสาหกรรม บริการ ๑. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผลงาน ทางวิชาการ (วันวิทยาศาสตร) ประเด็นยุทธศาสตร ๔.๒ : สรางความ รวมมือการจัดการศึกษากับสถาบัน การศึกษาในประเทศและตางประเทศ ๑. โครงการคายภาษาอังกฤษ ๒. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (กลุมวิชาภาษาไทย) ๓. โครงการเยาวชนยอดนักอาน

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๔๒

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ตัวบงชี้ที่ ๕ รอยละ ๑. ผูเรียนมีความสามารถใชความรู ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๕ : พัฒนาระบบ ของผูเรียนที่มี และเทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพ ความสามารถใชความรู คนควาและปฏิบัติงานวิชาชีพ ๑. โครงการผลิตสื่อการเรียนการสอน และเทคโนโลยีที่จําเปน ไดอยางเหมาะสม (บทเรียนออนไลน) ในการศึกษาคนควาและ ๒. โครงการจัดหาวัสดุถาวรและครุภัณฑ ปฏิบัติงานวิชาชีพไดอยาง เพื่อพัฒนาการศึกษาและการบริหาร เหมาะสม งานทั่วไป ๓. โครงการอบรมการใชงานระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๒ : สงเสริมคุณธรรม ๑. ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ตัวบงชี้ที่ ๖ รอยละ จริยธรรม และจรรยาบรรณ ดานวิชาชีพ คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ การมี ของผูเรียนที่มีคุณธรรม ๑. โครงการกิจกรรมพิธีไหวครู บุคลิกภาพที่เหมาะสมและ จริยธรรม คานิยมที่ดีงาน ๒. โครงการสงเสริมกิจกรรมกีฬา มนุษยสัมพันธที่ดี ในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่ ๓. โครงการจัดอบรมเสริมสรางคุณธรรม เหมาะสมและมีมนุษยจริยธรรม สัมพันธที่ดี ๔. โครงการกิจกรรมกีฬา ประจําป การศึกษา ๒๕๕4 ๕. โครงการคุณธรรมนําความรู ๖. โครงการเขาคายพักแรมเตรียมลูกเสือ – เนตรนารี ๗. โครงการอบรมภาวะผูนํา ๘. โครงการอบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๙. โครงการสงเสริมกิจกรรมกีฬาสีและ นันทนาการ (แผนกวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ) มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๔๓

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

ตัวบงชี้ที่ ๗ รอยละ ๑. ผูสําเร็จการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทาง ของผูสําเร็จการศึกษาที่มี การเรียนตามเกณฑการสําเร็จ การศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาชีพ ตามเกณฑการสําเร็จ การศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ตัวบงชี้ที่ ๘ รอยละของ ๑. ผูสําเร็จการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทาง ผูสําเร็จการศึกษาที่มี การเรียนตามเกณฑการสําเร็จ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การศึกษา ตามหลักสูตร ตามเกณฑการสําเร็จ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง การศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง

ตัวบงชี้ที่ ๙ รอยละของ ๑. ผูสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพทุกคนที่ผาน ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตร การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ๒. ผูสําเร็จการศึกษาใหมีศักยภาพ ที่ผานการประเมิน ดานวิชาชีพเปนที่ยอมรับในตลาด มาตรฐานวิชาชีพ แรงงาน ตัวบงชี้ที่ ๑๐ รอยละ ๑. ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตร ของผูสําเร็จการศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงทุกคน หลักสูตรประกาศนียบัตร ที่ผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ วิชาชีพชั้นสูง ที่ผานการ ๒. ผูสําเร็จการศึกษาใหมีศักยภาพ ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ดานวิชาชีพเปนที่ยอมรับในตลาด แรงงาน

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๔ : พัฒนามาตรฐาน ฝมือของผูสําเร็จการศึกษาที่ตรงตามความ ตองการของสถานประกอบการ ในระดับสากล ๑. โครงการนิเทศการเลือกสาขางาน นักเรียน นักศึกษา ๒. โครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพ ๓. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระบบปกติ ระบบทวิภาคีและการฝกงาน ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๔ : พัฒนามาตรฐาน ฝมือของผูสําเร็จการศึกษาที่ตรงตามความ ตองการของสถานประกอบการในระดับสากล ๑. โครงการนิเทศการเลือกสาขางานนักเรียน นักศึกษา ๒. โครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพ ๓. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระบบปกติ ระบบทวิภาคีและการฝกงาน ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๔ : พัฒนามาตรฐาน ฝมือของผูสําเร็จการศึกษาที่ตรงตามความ ตองการของสถานประกอบการ ในระดับสากล ๑. โครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพ ๒. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระบบปกติ ระบบทวิภาคีและการฝกงาน ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๔ : พัฒนา มาตรฐานฝมือของผูสําเร็จการศึกษาที่ตรง ตามความตองการของสถานประกอบการ ในระดับสากล ๑. โครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพ ๒. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระบบปกติ ระบบทวิภาคีและการฝกงาน

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๔๔

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ตัวบงชี้ที่ ๑๑ รอยละ ๑. ผูสําเร็จการศึกษาไดงานทําในสถาน ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๔ : พัฒนา ประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระ มาตรฐานฝมือของผูสําเร็จการศึกษาที่ตรง ของของผูสําเร็จ และศึกษาตอภายใน ๑ ป การศึกษาที่ไดงานทําใน ตามความตองการของสถานประกอบการ สถานประกอบการ/ ในระดับสากล ประกอบอาชีพอิสระและ ๑. โครงการติดตามผูสําเร็จการศึกษา ศึกษาตอภายใน ๑ ป ๒. โครงการศึกษาความพึงพอใจของ สถานประกอบการ ๓. โครงการประชาสัมพันธและแนะแนว การศึกษาระบบทวิภาคี ๔. โครงการสรางสัมพันธภาพกับองคกร ชุมชนและสังคม (สื่อประชาสัมพันธ) ตัวบงชี้ที่ ๑๒ ระดับ ๑. สถานประกอบการมีความพึงพอใจ ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๔:พัฒนามาตรฐาน ความ พึงพอใจของสถาน ตอคุณลักษณะที่พึงประสงคของ ฝมือของผูสําเร็จการศึกษาที่ตรงตามความ ประกอบการที่มีตอ ผูสําเร็จการศึกษา ตองการของสถานประกอบการ ในระดับ คุณลักษณะที่พึงประสงค สากล ของผูสําเร็จการศึกษา ๑. โครงการศึกษาความพึงพอใจของสถาน ประกอบการ ตัวบงชี้ที่ ๑๓ รอยละ ๑. ผูเรียนสามารถวางแผนธุรกิจ ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๔ : พัฒนามาตรฐาน ของ ผูเรียนสามารถ ประกอบอาชีพ และมีรายไดระหวาง ฝมือของผูสําเร็จการศึกษาที่ตรงตามความ วางแผนธุรกิจ ประกอบ ตองการของสถานประกอบการ ในระดับ เรียน อาชีพ และมีรายได สากล ระหวางเรียน ๑. โครงการสงเสริมการมีงานทําของ นักเรียน นักศึกษาเพื่อใหมีรายได ระหวางเรียน มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๔๕

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานที่ ๒ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

ตัวบงชี้ที่ ๑๔ รอยละ หลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่มีคุณภาพ

๑. สถานศึกษามีหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่มีคุณภาพ

ตัวบงชี้ที่ ๑๕ รอยละ ๑. ครูผูสอนมีแผนการจัดการเรียนรู ของแผนการจัดการเรียนรู แบบบูรณาการ แบบบูรณาการ ๒. ครูผูสอนบูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการ เรียนการสอน ตัวบงชี้ที่ ๑๖ ระดับ ๑. ผูเรียนทุกสาขาวิชามีความพึงพอใจ ความพึงพอใจของผูเรียน ในการสอนของครูผูสอน อยูใน ตอคุณภาพการสอนของ ระดับดี ผูสอน

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ประเด็นยุทธศาสตร ๓.๑ : พัฒนาระบบ การจัดการเรียนรู ๑. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทํา แผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ๒. โครงการประชาสัมพันธและแนะแนว การศึกษาระบบทวิภาคี ๓. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษา ระบบปกติ ระบบทวิภาคีและการฝกงาน ประเด็นยุทธศาสตร ๓.๑ : พัฒนาระบบ การจัดการเรียนรู 1. โครงการศึกษาดูงานของนักเรียน นักศึกษา 2. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทํา แผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ประเด็นยุทธศาสตร ๓.๑ : พัฒนาระบบ การจัดการเรียนรู ๑. โครงการอบรมพัฒนาความรู ความสามารถของเจาหนาที่งานพัสดุ ๒. โครงการฝกอบรมพัฒนาความรู ความสามารถของบุคลากรตาม ระบบงานพัสดุ ๓. โครงการอบรมการใชงานระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๔. โครงการพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาดานภาษาตางประเทศ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๔๖

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

ตัวบงชี้ที่ ๑๗ รอยละ ๑. งบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้อ ของงบประมาณที่ วัสดุฝก อุปกรณ สําหรับการจัด สถานศึกษา จัดซื้อวัสดุฝก การเรียน การสอนมีความเหมาะสม อุปกรณ สําหรับการ จัดการเรียนการสอน ตัวบงชี้ที่ ๑๘ ระดับ ๑. สถานศึกษาจัดระบบคอมพิวเตอร ความเหมาะสมและ สําหรับใชในการเรียน การสอน เพียงพอของระบบ มีความเหมาะสมและมีจํานวน คอมพิวเตอรในแตละ เพียงพอ อยูในระดับดี สาขาวิชา ๑. สถานศึกษาจัดอาคารเรียน อาคาร ตัวบงชี้ที่ ๑๙ ระดับ ประกอบการ หองเรียน ความเหมาะสมในการจัด อาคารเรียน อาคารประกอบ หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พื้นที่ฝก ปฏิบัติงานไดอยางเหมาะสมกับวิชา หองเรียน หองปฏิบัติการ ที่เรียน มีบรรยากาศทีเ่ อื้อตอ โรงฝกงาน พื้นที่ฝก การเรียนรู และเกิดประโยชนสูงสุด ปฏิบัติงานเหมาะสมกับ วิชาที่เรียน มีบรรยากาศ ที่เอื้อตอการเรียนรูและ เกิดประโยชนสูงสุด

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ๕. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทํา นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐดาน อุตสาหกรรมบริการ ๖. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวิจัย ในชั้นเรียน ๗. โครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ดานการวัดผลและประเมินผล ประเด็นยุทธศาสตร ๓.๒ : พัฒนาครุภัณฑ และอุปกรณใหมีคุณภาพและมาตรฐานสากล ๑. โครงการจัดหาวัสดุถาวรและครุภัณฑ เพื่อพัฒนาการศึกษาและการบริหารงาน ทั่วไป ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๕ : พัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพ ๑. โครงการจัดหาวัสดุถาวรและครุภัณฑ เพื่อพัฒนาการศึกษาและการบริหารงาน ทั่วไป ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๒ : พัฒนา คุณภาพงานวิทยบริการ ๑. โครงการจัดหาวัสดุถาวรและครุภัณฑ เพื่อพัฒนาการศึกษาและการบริหาร งานทั่วไป ๒. โครงการศึกษาความพึงพอใจของ ผูใชบริการงานวิทยบริการ ๓. โครงการวิจัย “ความพึงพอใจของ นักเรียน นักศึกษา ที่มีตอการจัด การศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม”

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๔๗

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

ตัวบงชี้ที่ ๒๐ ระดับ ๑. สถานศึกษาจัดศูนยวิทยบริการ ความเหมาะสมในการจัด ไดเหมาะสมกับวิชาที่เรียน มี ศูนยวิทยบริการใหเหมาะ บรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรูและ กับวิชาที่เรียนมีบรรยากาศ เกิดประโยชนสูงสุด ที่เอื้อตอการเรียนรูและ ๒. ศูนยวิทยบริการมีทรัพยากร เกิดประโยชนสูงสุด สารสนเทศทั้งสื่อสิ่งพิมพ สื่อ โสตทัศนและสื่ออิเล็กทรอนิคส ที่ทันสมัยและสมบูรณ ๓. ระบบทรัพยากรสารสนเทศ งานวิทยบริการใหความสะดวก ตอการสืบคนและใชขอมูล ๑. สถานศึกษามีจํานวนครุภัณฑและ ตัวบงชี้ที่ ๒๑ ระดับ อุปกรณเพียงพอและเหมาะสม ความเหมาะสมในการจัด ใหมีครุภัณฑและอุปกรณ การเรียน การสอนทุกสาขาวิชาอยูใน ระดับดี ๒. จัดหาครุภัณฑและอุปกรณที่มี คุณภาพและมาตรฐานสากลอยาง เพียงพอทุกสาขาวิชา ๑. สถานศึกษามีระบบความปลอดภัย ตัวบงชี้ที่ ๒๒ ระดับ ของสภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความ คุณภาพการจัดระบบ สะดวกที่เอื้อตอการเรียนรูใน ความปลอดภัยของสภาพ สาขาวิชา/สาขางานอยูในระดับ ดี แวดลอม สิ่งอํานวย ความสะดวก ที่เอื้อตอ การเรียนรูในสาขาวิชา/ สาขางาน

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๒ : พัฒนา คุณภาพงานวิทยบริการ ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๕ : การพัฒนา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหมี ประสิทธิภาพ ๑. โครงการจัดหาวัสดุถาวรและครุภัณฑ เพื่อพัฒนาการศึกษาและการบริหาร งานทั่วไป ๒. โครงการศึกษาความพึงพอใจของ ผูใชบริการงานวิทยบริการ ประเด็นยุทธศาสตร ๓.๒ : พัฒนา ครุภัณฑและอุปกรณ ใหมีคุณภาพและ มาตรฐานสากล ๑. โครงการจัดหาวัสดุถาวรและครุภัณฑ เพื่อพัฒนาการศึกษาและการบริหาร งานทั่วไป พันธกิจที่ ๕ พัฒนาระบบบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพโดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๑. โครงการอบรมการรณรงค ขับขี่ ปลอดภัย ๒. โครงการจัดหาวัสดุถาวรและครุภัณฑ เพื่อพัฒนาการศึกษาและการบริหาร งานทั่วไป

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๔๘

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ตัวบงชี้ที่ ๒๓ รอยละ ๑. บุคลากรทุกคนภายในสถานศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร ๓.๑ : พัฒนาระบบ ของบุคลากรภายใน ที่ไดรับการพัฒนาตามหนาที่ การจัดการความรู สถานศึกษาที่ไดรับ รับผิดชอบ ๑. โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษาเพื่อใหมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ การพัฒนาตามหนาที่ ๒. โครงการพัฒนาสมรรถนะครูและ รับผิดชอบ บุคลากรทางการศึกษาตามแนว ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. โครงการอบรมพัฒนาความรู ความสามารถของเจาหนาที่งานพัสดุ ๔. โครงการพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาดานภาษาตางประเทศ ๕. โครงการอบรมการใชงานระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทํา นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐดาน อุตสาหกรรมบริการ ๗. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทํา แผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณา ตัวบงชี้ที่ ๒๔ จํานวน ๑. สถานศึกษาไดรับทรัพยากรจาก ประเด็นยุทธศาสตร ๓.๑ : พัฒนาระบบ ครั้งหรือปริมาณในการ แหลงตาง ๆ ทั้งภายใน และ ภายนอก การจัดการความรู ประเด็นยุทธศาสตร ๕.๓ : ทํานุบํารุง ระดมทรัพยากรจาก สถานศึกษา เพื่อสนับสนุน แหลงตาง ๆ ทั้งภายใน การจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ สืบสานภูมิปญญาไทย ประเพณี ศิลป และภายนอกสถานศึกษา ๒. เพิ่มเครือขายองคกร ชุมชน สังคม วัฒนธรรม และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ใหความรวมมือ เพื่อสนับสนุนการจัด ๓. สถานศึกษาไดขอความรวมมือจาก ๑. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระบบปกติ การศึกษาอยางมี ระบบทวิภาคีและการฝกงาน องคกร ชุมชน สังคม ใหมีสวนรวม ประสิทธิภาพ ในการจัดการความรู มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๔๙

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ตัวบงชี้ที่ ๒๕ จํานวน ๑. สถานศึกษาไดรับความรวมมือจาก ประเด็นยุทธศาสตร ๔.๓ : พัฒนาระบบ สถานประกอบการ สถานประกอบการจัดการศึกษา การจัดการศึกษารวมกับสถานประกอบการ ระบบทวิภาคีและระบบปกติจํานวนมาก ๑. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระบบ ที่มีการจัดการศึกษา ๒. มีพัฒนาการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี รวมกับสถานศึกษาใน ปกติ ระบบทวิภาคีและการฝกงาน การจัดการศึกษาระบบ ๓. ผูเรียนระบบปกติทุกสาขางานไดฝก ปฏิบัติและเกิดทักษะจากประสบการณจริง ทวิภาคีและระบบปกติ ตัวบงชี้ที่ ๒๖ จํานวน ๑. สถานศึกษาเชิญผูเชี่ยวชาญ ประเด็นยุทธศาสตร ๓.๑ : พัฒนาระบบ คน-ชั่วโมงของผูเชีย่ วชาญ ผูทรงคุณวุฒิหรือภูมิปญญาทองถิ่นเขา การจัดการความรู มามีสวนรวมในการพัฒนาผูเรียน ประเด็นยุทธศาสตร ๕.๓ : ทํานุบํารุง ผูทรงคุณวุฒิหรือภูมิ สืบสานภูมิปญญาไทย ประเพณี ศิลป ปญญาทองถิ่นที่มีสวน วัฒนธรรม และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ รวมในการพัฒนาผูเรียน และสิ่งแวดลอม ๑. โครงการศึกษาดูงานของนัก เรียนนักศึกษา ตัวบงชี้ที่ ๒๗ ๑. สถานศึกษาจัดครูผูสอนประจําที่มี ประเด็นยุทธศาสตร ๓.๑ : พัฒนาระบบ อัตราสวนของผูสอน คุณวุฒิดานวิชาชีพตอผูเรียนแตละ การจัดการเรียนรู ๑. โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ประจําที่มีคุณวุฒิดาน สาขาวิชาในอัตราสวนที่เหมาะสม ศึกษาเพื่อใหมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ วิชาชีพตอผูเรียนในแตละ ๒. โครงการพัฒนาสมรรถนะครูและ สาขาวิชา บุคลากรทางการศึกษาตามแนว ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบงชี้ที่ ๒๘ ๑. สถานศึกษาจัดครูผูสอนประจํา ประเด็นยุทธศาสตร ๓.๑ : พัฒนาระบบ อัตราสวนของผูสอน ตอผูเรียนในอัตราสวนที่เหมาะสม การจัดการเรียนรู ประจําตอผูเรียน ๑. โครงการพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาเพื่อใหมีหรือเลื่อน วิทยฐานะ ๒. โครงการพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรทางการศึกษาตามแนว ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๕๐

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานที่ ๓ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ตัวบงชี้ที่ ๒๙ จํานวน ๑. สถานศึกษาจัดใหผูเรียนพบครู ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๒ : สงเสริมคุณธรรม ครั้งของการจัดใหผูเรียน ที่ปรึกษาทุกสัปดาหและตามความ จริยธรรม และจรรยาบรรณดานวิชาชีพ พบครูที่ปรึกษา ประสงคของครูกับผูเรียน ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๓ : พัฒนาสุขภาพ กายและใจของผูเรียน ๑. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระบบปกติ ระบบทวิภาคีและการฝกงาน ๒. โครงการนิเทศการเลือกสาขางาน นักเรียน นักศึกษา ตัวบงชี้ที่ ๓๐ จํานวน ๑. สถานศึกษามีบริการตรวจสารเสพติด ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๒ : สงเสริมคุณธรรม ครั้งของการจัดบริการ ใหกับผูเรียนทุกปการศึกษา สงผลให จริยธรรม และจรรยาบรรณดานวิชาชีพ ตรวจสารเสพติดใหกับ ผูเรียนไมเกี่ยวของกับสารเสพติด ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๓ : พัฒนาสุขภาพ ผูเรียน กายและใจของผูเรียน ๑. โครงการตรวจสุขภาพนักเรียน นักศึกษา ประจําป ๒. โครงการประกันอุบัติเหตุผูเรียน ๓. โครงการบริการดานสุขภาพของผูเรียน และบุคลากร ๔. โครงการรั้ววิทยาลัยสูรั้วครอบครัวและ ชุมชนพนภัยยาเสพติด ตัวบงชี้ที่ ๓๑ รอยละ ๑. สถานศึกษามีจํานวนผูเรียนที่ออก ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๒ : สงเสริมคุณธรรม กลางคันเมื่อเทียบกับแรกเขานอยลง จริยธรรม และจรรยาบรรณดานวิชาชีพ ของผูเรียนที่ออกกลางคัน ทุกปการศึกษา ๑. โครงการงานวิจัยเรื่อง“รูปแบบการ เมื่อเทียบกับอัตราแรก บริหารจัดการที่ดีของวิทยาลัย เขา อาชีวศึกษาเชียงใหม” ตัวบงชี้ที่ ๓๒ จํานวน ๑. สถานศึกษามีกิจกรรมที่สงเสริม ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๑ : พัฒนาภาวะผูนํา ครั้งและประเภทของ ดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม ประเด็นยุทธศาสตร ๑.๒ :สงเสริมคุณธรรม กิจกรรมที่สงเสริม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ รวมทั้ง จริยธรรม และจรรยาบรรณดานวิชาชีพ มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๕๑

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

ดานวิชาการ คุณธรรม ดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ จริยธรรม คานิยมที่ดีงาม อยูใ นจํานวนที่เหมาะสม ในวิชาชีพรวมทั้งดาน ๒. ผูเรียนมีความเปนผูนํา และผูตาม บุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

ที่ดี

ตัวบงชี้ที่ ๓๓ จํานวน ครั้งและประเภทของ กิจกรรมที่สงเสริมการ อนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี และทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม

๑. สถานศึกษาจัดกิจกรรมที่สงเสริม การอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ไดอยางสม่ําเสมอ เหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ ๒. บุคลากรมีความตระหนักและจิตใต สํานึกในการทํานุบํารุง สืบสาน ภูมปิ ญญาไทย ประเพณีศิลปวัฒนธรรม

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ๑. โครงการสงเสริมกิจกรรมชมรมวิชาชีพ ๒. โครงการพัฒนากิจกรรมองคการวิชาชีพ ๓. โครงการจัดอบรมเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม ๔. โครงการกิจกรรมกีฬาประจําป การศึกษา ๒๕๕4 ๕. โครงการอบรมภาวะผูนําเครือขาย อาสาสมัครพัฒนานักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษา ๖. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (กลุมวิชาภาษาไทย) ๗. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (กลุมวิชาสังคมศึกษา) ๘. โครงการสงเสริมกิจกรรมกีฬาสีและ นันทนาการ ๙. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (การจัดจําหนายสินคา OTOP) ๑๐. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (ธุรกิจจําลอง) พันธกิจที่ ๕ : พัฒนาระบบบริหาร จัดการที่มีประสิทธิภาพโดยยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นยุทธศาสตร ๕.๓ : ทํานุบํารุง สืบสานภูมิปญญาไทย ประเพณีศิลปะ วัฒนธรรม และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ๑. โครงการวันสําคัญของชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริยและวิทยาลัย

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๕๒

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานที่ ๔ การบริการวิชาชีพสูสังคม มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

ตัวบงชี้ที่ ๓๔ จํานวน และประสิทธิผลของ กิจกรรม/โครงการที่ ใหบริการวิชาชีพและ ฝกทักษะวิชาชีพ

๑. สถานศึกษาจัดกิจกรรม/โครงการ ที่ใหบริการวิชาชีพและฝกทักษะ วิชาชีพไดอยางเหมาะสมและ มีประสิทธิภาพ ๒. ไดสงเสริมและพัฒนาอาชีพใหแก ชุมชนในการสรางงาน สรางรายได

ตัวบงชี้ที่ ๓๕ รอยละ ของงบประมาณในการ จัดกิจกรรม/โครงการ ที่ใหบริการวิชาชีพและ ฝกทักษะวิชาชีพตอ งบดําเนินการ

๑. สถานศึกษาไดจัดสรรงบประมาณ ในการจัดกิจกรรม/โครงการที่ ใหบริการวิชาชีพ และฝกทักษะ วิชาชีพตองบดําเนินการไดอยาง เหมาะสม

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ประเด็นยุทธศาสตร ๔.๑ : ขยาย เครือขายความรวมมือกับองคกร ชุมชน สังคม ใหมีความเขมแข็ง ประเด็นยุทธศาสตร ๔.๕ : สรางระบบ การถายโอนความรูสูชุมชน ๑. โครงการศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน (Fix It Center) ๒. โครงการสรางอาชีพเพื่อชุมชน ๓. โครงการฝกอาชีพระยะสั้น ๑๐๘ อาชีพ ๔. โครงการฝกอาชีพนักเรียนเกาโรงเรียน ตํารวจตระเวนชายแดน ๕. โครงการเพิ่มศักยภาพผูวางงานเพื่อ สรางมูลคาทางเศรษฐกิจ (ตนกลาอาชีพ) ๖. โครงการพัฒนาบุคลากรซอม คอมพิวเตอรและอุปกรณเบื้องตนของ โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน ประเด็นยุทธศาสตร ๔.๑ : ขยาย เครือขายความรวมมือกับองคกร ชุมชน สังคม ใหมีความเขมแข็ง ๑. โครงการศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน (Fix It Center) ๒. โครงการสรางอาชีพเพื่อชุมชน ๓. โครงการฝกอาชีพระยะสั้น ๑๐๘ อาชีพ ๔. โครงการฝกอาชีพนักเรียนเกาโรงเรียน ตํารวจตระเวนชายแดน ๕. โครงการเพิ่มศักยภาพผูวางงานเพื่อ สรางมูลคาทางเศรษฐกิจ (ตนกลาอาชีพ)

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๕๓

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานที่ ๕ นวัตกรรมและการวิจัย มาตรฐานและตัวบงชี้ ตัวบงชี้ที่ ๓๖ จํานวน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงการ

ตัวบงชี้ที่ ๓๗ จํานวน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงการที่มี ประโยชนทางวิชาชีพ และ/หรือไดรับการ เผยแพรระดับชาติ

ตัวบงชี้ที่ ๓๘ รอยละ ของงบประมาณที่ใชใน การสราง พัฒนา และ เผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานตอ งบดําเนินการ

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๓ : การพัฒนา ๑. สถานศึกษามีจํานวนนวัตกรรม ผลงานทางวิชาการนวัตกรรมและ สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงาน จํานวนเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปที่ผานมา สิ่งประดิษฐคนรุนใหมทางดานอุตสาหกรรม ๒. สามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศมา บริการ ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๔ : พัฒนา ใชในการเรียน การสอนไดอยางมี คุณภาพงานวิจัยพื้นฐาน ประสิทธิภาพ ๑. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผลงาน ทางวิชาการ (วันวิทยาศาสตร) 2. โครงการรอยหัตถาบูรณาการสานสู วิชาชีพ ๑. สถานศึกษามีจํานวนนวัตกรรม ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๓ : การพัฒนา สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงาน ผลงานทางวิชาการนวัตกรรม และ ที่มีประโยชนทางวิชาชีพ และ/หรือ สิ่งประดิษฐคนรุนใหมทางดานอุตสาหกรรม ไดรับการเผยแพรระดับชาติ บริการ ตามเกณฑที่กําหนด ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๔ : พัฒนา ๒. สถานศึกษาไดจัดใหมีการพัฒนาครู คุณภาพงานวิจัย และผูเรียนในดานการวิจัยพื้นฐาน ๑. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผลงาน ที่มีคุณภาพ ทางวิชาการ (วันวิทยาศาสตร) ๓. สงเสริมใหครูจัดทํางานวิจัย 2. โครงการประชุมวิชาการ งานวิจัยและ ในชั้นเรียน นวัตกรรม ๑. สถานศึกษาไดจัดสรรงบประมาณ ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๓ : การพัฒนา ที่ใชในการสราง พัฒนา และ ผลงานทางวิชาการนวัตกรรมและ เผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ สิ่งประดิษฐคนรุนใหมทางดานอุตสาหกรรม งานวิจัยและโครงงานตอ บริการ งบดําเนินการ ไดอยางเหมาะสม ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๔ : พัฒนา เปนไปตามเกณฑที่กําหนด คุณภาพงานวิจัยพื้นฐาน ๑. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผลงาน ทางวิชาการ (วันวิทยาศาสตร) เปาหมายความสําเร็จ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๕๔

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานและตัวบงชี้ ตัวบงชี้ที่ ๓๙ จํานวน ครั้งและชองทางการ เผยแพรขอมูลขาวสาร เกี่ยวกับนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน

เปาหมายความสําเร็จ ๑. สถานศึกษาเผยแพรขอมูลขาวสาร เกี่ยวกับนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงาน

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๔ : พัฒนา คุณภาพงานวิจัยพื้นฐาน ๑. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผลงาน ทางวิชาการ (วันวิทยาศาสตร) ๒. โครงการสรางสัมพันธภาพกับองคกร ชุมชนและสังคม ๓. โครงการถายภาพกิจกรรมวิทยาลัย ๔. โครงการจัดทําหนังสือสารสนเทศ เพื่อการบริหาร ประจําปการศึกษา ๒๕๕4

มาตรฐานที่ ๖ ภาวะผูนําและการจัดการ มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

ตัวบงชี้ที่ ๔๐ ระดับ ๑. การบริหารงานของผูบริหาร คุณภาพการบริหารงาน ที่สอดคลองกับแผนยุทธศาสตร ของผูบริหารที่สอดคลอง และการมีสวนรวมของประชาคม กับแผนยุทธศาสตรและ อาชีวศึกษา ดวยความโปรงใสและ การมีสวนรวมของ ตรวจสอบได ประชาคมอาชีวศึกษาดวย ความโปรงใส ตรวจสอบ ได ตัวบงชี้ที่ ๔๑ รอยละ ของบุคลากรในสถาน ศึกษาทีส่ ามารถปฏิบัติ ตามจรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพ

๑. บุคลากรในสถานศึกษาทุกคนมี จรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ประเด็นยุทธศาสตร ๕.๑ : สราง ศักยภาพการปฏิบัติงานของครูและ บุคลากรทางการศึกษาโดยยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ๑.โครงการจัดทําแผนการเรียนรู แบบบรูณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 2. โครงการศึกษาดูงานตามโครงการ พระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๒ : สงเสริม คุณธรรม จริยธรรม ดานวิชาชีพ ๑.โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษาเพื่อใหมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๕๕

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

๑. สถานศึกษาจัดระบบสารสนเทศ ตัวบงชี้ที่ ๔๒ ระดับ ของสถานศึกษา เพื่อการบริหาร คุณภาพของการจัดระบบ จัดการ และการจัดการความรู สารสนเทศของ ของสถานศึกษาไดอยางเหมาะสม สถานศึกษาเพื่อการบริหาร และมีประสิทธิภาพ จัดการและการจัดการ ความรูของสถานศึกษา ๒. มีระบบการจัดเก็บขอมูลทั้งภายใน และภายนอกองคกรที่ทุกคน สามารถเขาถึงไดงาย

แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ประเด็นยุทธศาสตร ๒.๕ : การพัฒนา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหมี ประสิทธิภาพ ๑. โครงการฝกอบรมพัฒนาความรู ความสามารถของบุคลากรตามระบบ งานพัสดุ ๒. โครงการอบรมพัฒนาความรู ความสามารถของเจาหนาที่งานพัสดุ ๓. โครงการอบรมการใชงานระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ

มาตรฐานที่ ๗ มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน แผนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ตัวบงชี้ที่ ๔๓ ระบบ ๑. สถานศึกษามีระบบและกลไกในการ ประเด็นยุทธศาสตร ๖.๒ : พัฒนาระบบ และกลไกในการประกัน ประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิด เทคโนโลยีสารสนเทศดานการประกัน การพัฒนาสถานศึกษาอยางตอเนื่อง คุณภาพการศึกษา คุณภาพภายในที่กอให เกิดการพัฒนาสถานศึกษา โดยผูเรียน ครู และบุคลากรทางการ ประเด็นยุทธศาสตร ๖.๓ : พัฒนาระบบ อยางตอเนื่อง ศึกษา รวมมือในการดําเนินงาน กลไกในการประกันคุณภาพ ประกันคุณภาพ ๑. โครงการดําเนินงานประกันคุณภาพ 2. โครงการนิเทศงานประกันคุณภาพ ตัวบงชี้ที่ ๔๔ ๑. การประกันคุณภาพภายในมี พันธกิจที่ ๖ : พัฒนาการประกันคุณภาพ ประสิทธิผลของการ ประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ การศึกษาใหมีประสิทธิภาพ ประกันคุณภาพภายใน ๑. โครงการดําเนินงานประกันคุณภาพ มาตรฐานและตัวบงชี้

เปาหมายความสําเร็จ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๕๖

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

๓.๓ โครงสรางการบริหาร

วิทยาลัยไดใชหลักของการมีสวนรวมของบุคลากรทุกภาคสวน โดยยึดหลักธรรมมาภิบาลในการ บริหารจัดการองคกร ทั้งนี้เพื่อใหบุคลากรในสถานศึกษาไดรวมกันคิด รวมตัดสินใจและปฏิบัติรวมกัน เพื่อใหบรรลุเปาหมายในการดําเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีโครงสรางการบริหารงาน ดังนี้ แผนภูมิโครงสรางการบริหารงาน

นางสุ พศิ ยางาม ผูอํานวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

นางสาวสุทธิณีย สันอุดร

นายฉัตรชัย เรืองมณี

รองผูอํานวยการ ฝายบริ พยากร บริหหารทรั ารงาน

รองผูอํานวยการ ฝายแผนงานและความรวมมือ

นายบัณฑิตย สิงหชางชัย

นายสรพล สุริยาสาคร

รองผูอํานวยการ ฝายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

รองผูอํานวยการ ฝายวิชาการ


๕๗

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

- แผนภูมิ -

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๕๘

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

๓.๔ ลักษณะการบริหารงาน

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมดําเนินงานพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งสอดคลองกับการอาชีวศึกษา ๗ มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ ผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาวิชาชีพ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมจัดการพัฒนาผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาในเรื่องตอไปนี้ ๑.๑ ความรูและทักษะวิชาชีพตามหลักสูตรที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคม และ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป ๑.๒ ความรู ความเขาใจในหลักการดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรใหสามารถ นํามาประยุกตใชในงานอาชีพได ๑.๓ ทักษะในการใชภาษาสื่อสารไดอยางถูกตองเหมาะสม ๑.๔ ความรูและทักษะการใชเทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษาคนควาและ ปฏิบัติงานวิชาชีพไดอยางเหมาะสม ๑.๕ คุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ การมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และมนุษยสัมพันธที่ดี ๑.๖ ความรูและทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพ และหลักสูตรสําหรับผูสําเร็จการศึกษา ๑.๗ ความรูและทักษะในการหางานทํา การศึกษาตอและการประกอบอาชีพอิสระ ๑.๘ คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษา ที่สถานประกอบการหรือหนวยงานพอใจ ๑.๙ ผูเรียนมีความรูและทักษะในการวางแผนธุรกิจและมีรายไดระหวางเรียน มาตรฐานที่ ๒ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ ๒.๑ รวมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน ๒.๒ จัดกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนา ตนเองตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ ๒.๓ จัดระบบคอมพิวเตอรใหเหมาะสมและเพียงพอในแตละสาขาวิชา ๒.๔ จัดสถานที่เรียน สถานที่ฝกปฏิบัติงาน สถานที่ศึกษาคนควา ใหเหมาะสมกับ สาขาวิชา ทั้งในสถานศึกษา สถานประกอบการ และแหลงเรียนรูอื่นๆ ๒.๕ จัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอมและสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อ ตอการเรียนรู ๒.๖ พัฒนาบุคลากรทุกคนของสถานศึกษาในงานที่เกี่ยวของอยางเปนระบบ และ ตอเนื่อง ๒.๗ ระดมทรัพยากรจากทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษารวมกันจัดการศึกษา ทั้งในระบบ และทวิภาคีอยางมีประสิทธิภาพ มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๕๙

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานที่ ๓ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม กําหนดแนวทางในการดูแลผูเรียนและกิจกรรม ดังนี้ ๓.๑ จัดทําระบบการดูแลใหคําปรึกษาผูเรียนอยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ ๓.๒ จัดบริการ ตรวจสารเสพติดใหกับผูเรียน ๓.๓ จัดกิจกรรมสงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่ดีงาม ในวิชาชีพ รวมทั้งดานบุคลิกภาพ และมนุษยสัมพันธ ๓.๔ กิจกรรมสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี การทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม มาตรฐานที่ ๔ การบริการวิชาชีพสูสังคม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีบริการวิชาชีพสูสังคม ดังนี้ ๔.๑ บริการวิชาชีพที่เหมาะสมตามความตองการของชุมชน สังคม องคกร ทั้งภาครัฐ และเอกชน เพื่อการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง ๔.๒ จัดสรรงบประมาณเพื่อการบริการวิชาชีพอยางเปนระบบและสอดคลองกับ แผนการบริการวิชาชีพที่กําหนด มาตรฐานที่ ๕ นวัตกรรมและการวิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีการจัดการเกี่ยวกับนวัตกรรมและการวิจัยดังนี้ ๕.๑ สงเสริม สนับสนุนใหมีการสรางและพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานที่นําไปใชในการพัฒนา ๕.๒ จัดสรรงบประมาณในการสราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานที่นําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ๕.๓ จัดการเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการสรางและพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานที่นําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ มาตรฐานที่ ๖ ภาวะผูนําและการจัดการ ผูบริหารวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีภาวะผูนําและการจัดการศึกษาในสถานศึกษาดังนี้ ๖.๑ ใชภาวะผูนําการมีวิสัยทัศนของผูบริหารในการผสมผสานความรวมมือของ บุคลากรในสถานศึกษา และหนวยงาน หรือบุคลากรภายนอกใหเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษา ๖.๒ จัดระบบการดูแลบุคลากรของสถานศึกษาดานคุณธรรม จริยธรรมตาม จรรยาบรรณมาตรฐานวิชีพ ๖.๓ จัดระบบสารสนเทศของสถานศึกษาเพื่อการบริหารจัดการ และการจัดการ ความรูเพื่อการพัฒนาสถานศึกษาอยางเหมาะสม

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๖๐

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานที่ ๗ มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมดําเนินการประกันคุณภาพภายใน ดังนี้ ๗.๑ มีระบบกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในอยางตอเนื่อง ๗.๒ รายงานผลการประกันคุณภาพภายในตอคณะกรรมการสถานศึกษา รวมทั้ง สาธารณชน มีการนําผลการประเมินมาใชในการพัฒนาการบริหารใหไดมาตรฐาน จัดทําแผนพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษา โดยมีการดําเนินการอยางตอเนื่อง และมีนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น มีการปฏิบัติที่ดี

๓.๕ การประเมินตามมาตรฐานการศึกษา

วิธีการดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมายตามมาตรฐานที่กําหนด ๓.๕.๑ การวางแผนงานของสถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดมีการวางแผนงานของสถานศึกษา โดย ผูบริหาร ครู เจาหนาที่ นักเรียน นักศึกษา ผูปกครอง คณะกรรมการที่ปรึกษาและชุมชนไดมีสวนรวมในการ วางแผนพัฒนาการศึกษา จัดทํายุทธศาสตรเพื่อพัฒนาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม โดยมีการกําหนด จุดประสงคของการดําเนินงานโดยใหสอดคลองกับมาตรฐาน แตละมาตรฐานวามีความตองการใหเกิดผล สัมฤทธิ์ในดานใด ระดับใดมีการกําหนดเกณฑมาตรฐานสําหรับตัดสินระดับความสําเร็จ มีการวางแผน การพัฒนาสถานศึกษาโดยพิจารณาจากโครงสรางการบริหารงานและกิจกรรม เพื่อนําไปสูแผนปฏิบัติการ ที่สามารถปฏิบัติไดจริง ตลอดจนมีระบบการกํากับติดตามประเมินผล ๓.๕.๒ การนําแผนสูการปฏิบัติ มีการจัดทําปฏิทินการปฏิบัติงาน และแตงตั้งคณะกรรมการใหดําเนินงาน ตามแผนที่กําหนดไว โดยมีกลไกในการกํากับติดตาม ตรวจสอบจากผูที่ไดรับมอบหมายเปนระยะ ๆ ตามปฏิทินการปฏิบัติงานที่กําหนดไว และมีการรายงานผลความกาวหนาเปนลายลักษณอักษร และ ดวยวาจา ๓.๕.๓ การประเมินผลการดําเนินงาน สถานศึกษาไดแตงตั้งคณะกรรมการ เพื่อควบคุม กํากับ นิเทศ ประเมินผลการดําเนินงาน และจัดทํารายงานการประเมินตนเองเสนอตอสถานศึกษา ตนสังกัดและรายงานผลตอสาธารณชน ๓.๕.๔ การพัฒนา ปรับปรุงการปฏิบัติงาน มีการจัดประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาสถานศึกษาตอไป หากผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาดานใด ไมบรรลุตามเปาหมายที่กําหนดไว สถานศึกษาจะให ผูรับผิดชอบ และผูเกี่ยวของ จัดทําแผนพัฒนา ปรับปรุงโดยมีการกําหนดกลยุทธแผนปฏิบัตกิ าร ระยะเวลา ดําเนินงานทรัพยากรที่ใชในการดําเนินงาน และวิธีการติดตามประเมินผล แผนพัฒนาปรับปรุงดังกลาวจะ นําเสนอตอคณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาและขอรับการสนับสนุน เพื่อใหการดําเนินงานสําเร็จตาม จุดประสงคที่กําหนด มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๖๑

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

๓.๖ ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ๓.๖.๑ การประเมินคุณภาพภายในโดยตนสังกัด ขอเสนอแนะจากการประเมิน 1. ควรเก็บขอมูลทุกอยางที่เปนตัวเลข ตองมีคุณคา อธิ บายและนํ าไปใช ประโยชน ได เช น สถิ ติ ที่ ผู ใช หองสมุด ควรบ งชี้ ไดว าผู ใช แตละกลุมประเภทวิชา หรือครู หรือบุคคลภายนอก 2. ควรวางแผนจัดหาครูทดแทนอัตรากําลังที่ขาดไป ใหไดสัดสวน 1 : 25 3. ควรวางแผนเตรียมสอบ V – Net อยางเปนระบบ และมีสวนรวมทุกฝาย เชน แผนกวิชา ครูผูสอน

4. สถานศึกษาควรมีการสรุปผลโครงการ/กิจกรรม พัฒนาผูเรียนใหครบตามกระบวนการ PDCA

การปฏิบัติตามขอเสนอแนะ 1. งานห องสมุ ดได วางระบบการเก็ บ ข อมู ล สถิ ติ ผูใชบริการอยางชัดเจน 2. ปการศึกษา 2554 อัตราสวนของครู : ผูเรียน เทากับ 1 : 25 3. ฝายวิชาการจัดตารางสอนพิเศษวันเสารและวัน อาทิตยใหนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นป ที่ 3 และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปที่ 2 เพื่อเตรียมความพรอมในการสอบ Pre V-net และ V-net 4. มอบหมายใหคณะกรรมการดําเนินงานโครงการ กิจกรรม และสรุปรายงานผลการดําเนินงานของ โครงงาน/กิจกรรม พัฒนาผูเรียนใชกระบวนการ PDCA 5. สงเสริมและสนับสนุนใหครูและนักเรียน นักศึกษา ทุกสาขางาน สาขาวิชา จัดทําโครงการ/กิจกรรม บริการวิชาการวิชาชีพ

5. ควรสงเสริมและสนับสนุนใหมีการบริการวิชาชีพ และฝกวิชาชีพสูสังคม ชุมชน พรอมจัดสรร งบประมาณประจําปสนับสนุนการดําเนินงาน กิจกรรม/โครงการใหครบทุกสาขาวิชา/สาขางาน 6. ควรเพิ่มเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการประสานงาน 6. มอบหมายใหงานวิจัยและพัฒนา เปนผู และรายงานผลการนําไปใชงานนวัตกรรมสิ่งประดิษฐฯ ประสานงาน จัดทําเอกสารและรวบรวมสิ่งประดิษฐ จําแนกตามรายการนวัตกรรม นวัตกรรม จําแนกเปนรายการใหชัดเจน รวมถึงการ สรุปรายการนวัตกรรม 7. ควรสงเสริม และสนับสนุนใหครูไดรับรางวัลและ 7. ไดสงเสริมสนับสนุนใหครูไดรับรางวัลและการ การยกยองเชิดชูเกียรติเพิ่มมากขึ้น ยกยองเชิดชูเกียรติมากขึ้น 8. รูปแบบรายงานการประเมินตนเอง ควรแบงตอน ตามรูปแบบของสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาดานอาชีวศึกษา

8. งานประกันคุณภาพการศึกษาและสาขาวิชา จัดทํา รายงานการประเมินตนเองตามรูปแบบที่สํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนดให

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๖๒

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคตจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในโดยตนสังกัด 1. ควรวางแผนแกไข ตัวบงชี้ที่ 3, 4, 7, 8 ใหครอบคลุมทุกสาขางาน โดยเริ่มตนจากสาขาวิชา (แผนก) อยางเปนระบบ 2. สถานศึกษา ควรจัดทําขอมูลผูเรียนออกกลางคันใหชัดเจน พรอมกับทําการวิจัยเพื่อแกไขปญหา และสาเหตุผูเรียนออกกลางคัน 3. สรุปและประเมินผลการดําเนินงานกิจกรรม/โครงการ บริการวิชาชีพและฝกวิชาชีพสูสังคม ชุมชน ทุกกิจกรรม/โครงการ 4. ควรนําเสนอหลักฐานการจดสิทธิบัตรผลงานนวัตกรรม ครบทุกสาขาวิชา 5. รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาในแตละหัวขอเรื่องพิจารณา ควรสรุปมติจาก ที่ประชุมดวยทุกครั้ง ทุกรายงาน 6. ควรจัดเอกสารหลักฐานเรียงตามขอพิจารณา หรือวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล และสรุปขอมูลตรง ตามขอความในเกณฑการตัดสิน 7. นําผลการประเมินมาใชในการปรับปรุงการบริหารและจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพระดับสาขาวิชา 8. ควรเพิ่มหลักฐานการแลกเปลี่ยนนวัตกรรมหรือการปฏิบัติที่ดี ระหวางสถานศึกษา หรือระหวาง สาขาวิชา การพัฒนาสถานศึกษาตามผลการประเมินจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในโดยตนสังกัด 1. กําหนดใหครูทุกคนทํารายงานการประเมินตนเองและ สาขาวิชา จัดทํารายงานการประเมินตนเอง รวมถึงการจัดทํารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามลําดับอยางเปนระบบ 2. ไดมอบหมายใหงานทะเบียน ไดทําการวิจัย เรื่อง สาเหตุการออกกลางคันของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ระหวางปการศึกษา 2551 – 2554 โดยนําผลการประเมินมาพิจารณา แกปญหา 3. มอบหมายทุกสาขางาน สาขาวิชาการสรุปผลการดําเนินกิจกรรม โครงการบริการวิชาการ วิชาชีพ สูสังคม 4. มีผลงานที่ไดจดสิทธิบัตร จํานวน 12 ชิ้น และไดมอบหมายใหทุกสาขาวิชาจดสิทธิบัตรผลงาน นวัตกรรม ครบทุกสาขาวิชาตอไป 5. ไดปรับปรุงรายงานการประชุมของสถานศึกษา ตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการ โดยสรุปมติ ที่ประชุมทุกครั้ง 6. ไดปรับปรุงการจัดเอกสารหลักฐานตามหัวขอพิจารณาและประเด็นขอพิจารณาใหชัดเจนยิ่งขึ้น 7. ไดนําผลการประเมินแจงใหครูทุกคน และทุกสาขาวิชาทราบ เพื่อนําผลการประเมินมาใชในการ ปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการสถานศึกษา รวมถึงการทําแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา 8. ไดเพิ่มหลักฐานการแลกเปลี่ยนนวัตกรรมหรือการปฏิบัติที่ดีกับวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๖๓

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ขอเสนอแนะจากการประเมิน ๑) ผูบริหารควรมีการติดตามประเมินผล โครงการตาง ๆ อยางเปนระบบเพื่อพัฒนาในโอกาสตอไป ๒) ควรมีผูรับผิดชอบในการจัดเก็บรวบรวมขอมูล โดย เฉพาะของสถานศึกษาทั้งหมด และเปนผูที่มีชั่วโมงสอน นอย หรือไมมีเลย เพื่อจะมีเวลาในการติดตาม ตรวจสอบ ความถูกตองใหชัดเจนเปนปจจุบัน สามารถ นําไปเปนหลักฐานในการตรวจสอบหรืออางอิง ในการ นําไปพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือประเมินคุณภาพได ทันทีเมื่อตองการ ๓) การศึกษาคูมือการประเมินของสํานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา

แผนการปฏิบัติตามขอเสนอแนะ ๑. มอบหมายใหคณะกรรมการดําเนินงานประเมิน โครงการ โดยใชกระบวนการ PDCA ๒. แตงตั้งผูรับผิดชอบตามแผนภูมิโครงสราง บริหารงาน และจัดหาบุคลากรสายสนับสนุน ไดแก เจาหนาที่ สํานักงาน เพื่อชวยจัดเก็บขอมูลใหเปนระบบ สําหรับ ใชเปนหลักฐานอางอิงในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินคุณภาพ และนําไปพัฒนาคุณภาพได

๓. จัดทําคูมือการประกันคุณภาพภายในและการประกัน คุณภาพภายนอกสําหรับบุคลากรภายใน และภายนอก สถานศึกษา ๔) ควรนําขอสอบมาตรฐานวิชาชีพจากสวนกลางมา ๔. จัดสอบมาตรฐานวิชาชีพทุกปการศึกษาโดยใชขอสอบ ดําเนินการทดสอบผูจะสําเร็จการศึกษา มาตรฐานวิชาชีพจากสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาเปนหลัก และไดเชิญผูแทนจากสถาน ประกอบการ ตรวจสอบพรอมทั้งปรับปรุงแบบทดสอบ ใหสอดคลองตามสมรรถนะอาชีพ ๕) ควรเก็บขอมูลการสํารวจ การมีงานทําของผูสําเร็จ ๕. จัดทําเครื่องมือในการสํารวจการมีงานทําการศึกษาตอ การศึกษาใหละเอียด เปนระบบ และสืบคนงาย ของผูสําเร็จการศึกษาอยางชัดเจนเปนระบบและสืบคน ไดงาย รวมถึงมีรายงานผลการสํารวจทุกปการศึกษา ๖) ควรจัดระบบการเก็บขอมูลนวัตกรรมอยางเหมาะสม ๖. มอบหมายใหงานวิจัยและพัฒนาจัดทําเครื่องมือ และทําใหมีสภาพพรอมใชงาน ในการสํารวจติดตามและการเก็บขอมูลนวัตกรรมอยาง เหมาะสม ๗) ทุกสาขาวิชาที่นําวิชาชีพในสาขาของตนเองไปใหบริการ ๗. กําหนดใหรายงานผลการดําเนินงานการบริการ ทางวิชาการแกชุมชนภายหลังการดําเนินตามโครงการ ทางวิชาการและวิชาชีพทุกโครงการ และสรุปผลการดําเนินการแลว ๘) ควรจัดตั้งคณะกรรมการของสาขาวิชานําประสบการณ ๘. ขอความรวมมือจากหนวยงานสถานประกอบการ ชวยกัน หรือภูมิปญญาทองถิ่นมาพัฒนาหลักสูตรการจัด พัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน จัดโครงการ การเรียน การสอนใหมีประสิทธิผลอยางยิ่งพรอมเก็บ พัฒนาผูเรียนโดยผูเชี่ยวชาญหรือภูมิปญญาทองถิ่น มา หลักฐานไวชัดเจน ตรวจสอบได เปนวิทยากรทุกสาขาวิชา มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๖๔

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ขอเสนอแนะจากการประเมิน ๙) ควรศึกษาขอกําหนดคุณสมบัติจําเพาะของเครื่อง ที่จะสรางเปนผลงานนวัตกรรมกอนที่จะดําเนินการ จัดทําเชน เครื่องตีน้ําสลัด ๑๐) งบประมาณสําหรับวัสดุฝกในแตละสาขาวิชา ในภาพรวม สถานศึกษาไดจัดไวใหรอยละ ๖.๕๒ ของงบดําเนินการ ซึ่งมีความเพียงพออยูระดับ ปานกลาง สถานศึกษาควรจัดงบประมาณ ในสวนนี้เพิ่มขึ้น

แผนการปฏิบัติตามขอเสนอแนะ ๙. จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดทํา นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐคนรุนใหม ๑๐. จัดสรรงบประมาณสําหรับวัสดุในแตละ สาขาวิชาเพิ่มขึ้น ในปการศึกษา 2551 ไดจัดไวใหรอยละ 14.75 ปการศึกษา 2552 รอยละ 8.49 ปการศึกษา 2553 รอยละ 27.11

ทิศทางการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาในอนาคตจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ๑. สถานศึกษาควรมีการบริหารจัดการ การประกันคุณภาพภายในอยางตอเนื่อง และ แยกเปนสาขาวิชาสงผลใหมีประสิทธิภาพ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเปนไปตามเกณฑและเปาหมาย ที่กําหนดไว ๒. ผูบริหารควรนําผลการประเมินตนเอง มาวิเคราะหขอมูลเพื่อนําปญหา ขอเสนอแนะ จากบุคลากรและหนวยงานตาง ๆ มาพัฒนา วางแผนการทํางานในปการศึกษาตอไป ๓. ควรจัดทําระบบสารสนเทศใหมีฐานขอมูลที่เชื่อมโยงกันทุกจุดในสถานศึกษา เพื่อการบริหาร จัดการที่มีประสิทธิภาพตอไป ผลการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา 1. สถานศึกษามีระบบกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง โดยเริ่มตั้งแตวางแผน งานของสถานศึกษา การทําแผนสูการปฏิบัติ การกํากับติดตาม และการพัฒนาและปรับปรุงการ ปฏิบัติงานโดยมีรายงานการประเมินตนเองเปนรายบุคคล สาขาวิชา และสถานศึกษาทําใหมีผลการ ประเมินคุณภาพภายในและประเมินคุณภาพภายนอกอยูในระดับ ดีมาก มาโดยตลอด 2. ไดนําผลการประเมินมาใชในการวิเคราะหขอมูล เพื่อวางแผนใชในพัฒนาสถานศึกษา ในการ จัดทําแผนยุทธศาสตร เพื่อพัฒนาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ปการศึกษา 2549 ถึง 2552 และ ปการศึกษา 2553 – 2556 รวมถึงการนําผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอก มาใชในการ แกปญหา ปรับปรุง พัฒนางานอยางตอเนื่อง 3. จัดระบบสารสนเทศใหทันสมัย โดยมีระบบฐานขอมูลและอุปกรณการใชงานที่เชื่อมโยงกัน อยางเปนระบบ ดังนี้ 3.1 ระบบงานสารบรรณ ไดจัดระบบงานสารบรรณ โดยมีการเชื่อมโยงเครือขาย (Link)

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๖๕

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

งานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส จัดเก็บขอมูลและสารสนเทศไว 2 รูปแบบ คือ การเก็บขอมูลและ สารสนเทศแยกตามหมวดหมูของขอมูลเก็บไวในแฟมอยางเปนระบบ และการเก็บขอมูลในรูปแบบของ เอกสารอิเล็กทรอนิกส e – Office 3.2 การจัดการระบบสารสนเทศใหมีระบบเชื่อมโยงกัน โดยการจัดทําฐานขอมูลนักเรียน นักศึกษา บุคลากร การวัดผลและประเมินผล เชื่อมโยงกันเปนเครือขายดวยโปรแกรม ศธ 02 ซึ่งทําใหมี ฐานขอมูลเชื่อมโยงเปนระบบเดียวกันทั้งงานทะเบียน งานหลักสูตรการเรียนการสอน งานวัดผลและ ประเมินผล งานปกครอง งานครูที่ปรึกษา 3.3 จัดทําเว็บไซตวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม เว็บไซตแผนกวิชา เพื่อนําเสนอขอมูลและ เผยแพรขอมูลสารสนเทศบนเว็บไซตวิทยาลัย 3.4 ระบบ RMS โดยวิทยาลัยฯ ไดจัดเก็บขอมูลและเผยแพรขอมูลและสารสนเทศบน เครือขายอินเทอรเน็ตดวยระบบ RMS โดยใชขอมูลในดานนักเรียน นักศึกษา ครู บุคลากร งานสารบรรณ งานวัดผลและประเมินผล และงานครูที่ปรึกษารวมกัน 3.5 จัดทําระบบฐานขอมูลของนักเรียน นักศึกษา ในเว็บไซตศูนยกําลังคน www.v-cop.net โดยการรณรงคใหนักเรียน นักศึกษาบันทึกขอมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอน ผลการเรียน และการ ปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบัน เพื่อเปนขอมูลใหกับสถานประกอบการในการรับสมัครงาน 3.6 ระบบบันทึกการเขาเรียนของนักเรียน นักศึกษา โดยใชบัตรนักเรียน นักศึกษา ผาน ระบบ RFID (Radio Frequency Identification) และ Barcode เพื่อบันทึกการเขาเรียนและออกจาก วิทยาลัยตลอดจนทํากิจกรรมหนาเสาธง หลังจากนักเรียน นักศึกษาเขาเรียน ครูจะเช็คชื่อนักเรียน นักศึกษา ซึ่งมีอยูในฐานขอมูล โดยใช Tablet โดยระบบนี้จะทําใหสามารถรูจํานวนผูมาเรียน ไมมาเรียน มาสาย เพื่อประมวลผลแจงไปยังครูผูสอน ครูที่ปรึกษา และผูดูแลระบบ พรอมทั้งจัดสง SMS แจงเตือน ไปยังผูปกครองผานระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ ในสวนของผูบริหารก็สามารถคลิ๊กเขามาไดเชนกัน เพื่อนํา ขอมูลสารสนเทศมาใชในการบริหารจัดการ 3.7 จัดทําระบบบันทึกขอมูลการใชหองศูนยบริการอินเตอรเน็ต เพื่อสืบคนความรูในหอง ศูนยบริการอินเตอรเน็ต ซึ่งสามารถกําหนดเวลาของผูใชงานในแตละวันวานักเรียน นักศึกษา แผนกวิชา เขาใชหรือไมเขาใชหองศูนยบริการอินเตอรเน็ต โดยสามารถเรียกดูสถิติยอนหลังเปนรายบุคคล รายวัน รายปการศึกษาได เพื่อใชในการเรียนรูเพิ่มเติมและใชเวลาวางใหเปนประโยชน และเปนการพัฒนาทักษะ ความสามารถดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามอัตลักษณของสถานศึกษา 3.8 จัดระบบการซอมบํารุงคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวง โดยมีการสํารวจขอมูล จํานวน ชนิด ประเภท คุณลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงทุกชนิดที่ใชภายในวิทยาลัย เพื่อให เครื่องมืออยูในสภาพที่มีความพรอม สามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีชางผูชํานาญการ รับผิดชอบโดยตรง 3.9 พัฒนาระบบ GFMIS โดยการเชื่อมโยงเปนระบบอินทราเน็ตกับสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา เพื่อเปนหนวยในการอัพโหลดบัญชี การเงิน และงานพัสดุ โดยไมตองเดินทางไปจัดการ ขอมูลที่จังหวัด ลดภาระเรื่องการเดินทางและประหยัดเวลามากยิ่งขึ้น มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๖๖

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

3.10 การพัฒนาระบบเครือขาย มีการพัฒนาปรับปรุงใหมีความทันสมัย โดยการจัดทํา Server Farm หองศูนยเครือขายที่มีประสิทธิภาพ โดยมีตู Rack มี Server ที่มีประสิทธิภาพ มี Ram Bit ที่มีความเร็วสูง 100/30 มีระบบ wireless ควบคุมทั้งวิทยาลัย 3.11 จัดทําระบบรักษาความปลอดภัย (Security) ติดตั้งกลองวงจรปด เปนการปองกันและ เฝาระวัง จํานวน 32 ตัว ควบคุมทั้งวิทยาลัย เพื่อดูแลความเรียบรอย ปลอดภัย ใหกับนักเรียน นักศึกษา ตลอดจนดูแลทรัพยสินของทางราชการ 3.12 การจัดทําเว็บไซตกลางบริการอิเล็กทรอนิกส (Web Portal) เพื่อเปนประตูสูขอมูล สารสนเทศที่มีการเก็บรวบรวมเอาไว ที่มีการเชื่อมโยงขอมูลสารสนเทศจากทุกหนวยงาน ซึ่งเปนขอมูล สารสนเทศที่มีการกลั่นกรอง มีความเที่ยงตรงและเปนปจจุบัน และเปดโอกาสใหบุคลากรทุกฝาย ประชาชน เขาถึงขอมูลและไดประโยชน ตลอดจนผูบริหารสามารถเขาใชขอมูลสารสนเทศเพื่อการ บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตอไป

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตอนที่ ๔ วิธีดําเนินการและผลการประเมินคุณภาพภายใน มาตรฐานที่ ๑ ผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาวิชาชีพ ขอกําหนดที่ ๑ สถานศึกษาจัดการพัฒนาผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาในเรื่องตอไปนี้ ตัวบงชี้ ๑ รอยละของผูเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑที่กําหนดตามชั้นป ความตระหนัก วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Awareness) (Attempt) (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม พัฒนาผูเรียนอยางตอเนื่อง โดยจัดโครงการ/กิจกรรมให ความรู ทักษะและเทคโนโลยี ดานวิชาชีพที่เหมาะสมและ กิจกรรมเสริมหลักสูตรดานตาง ๆ ตามความจําเปน ความถนัด และความสนใจของผูเ รียน ที่ สําคัญ ไดแก จัดทําแผนจัดการ เรียนรูแบบบูรณาการ จัดการ เรียนการสอนโดยเนนผูเรียน เปนสําคัญ และเนนปฏิบัติจริง อาทิ การศึกษาดูงานนอก สถานที่ของนักเรียน นักศึกษา โครงการประชาสัมพันธ และ แนะแนวการศึกษา ระบบทวิ ภาคี จัดกิจกรรมเสริมทักษะ วิชาชีพตามความ เหมาะสม ของศักยภาพผูเรียนการจัดครู ที่ปรึกษา การประชุมผูปกครอง การศึกษาดูงาน เปนตน

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดดําเนินงานที่แสดงถึงความ ตระหนัก โดยมีกิจกรรม/งาน/ โครงการที่ดําเนินการ เพื่อนํา ไปสูมาตรฐานคุณภาพ เพื่อผูเรียน ทั้งหมดในแตล ะชั้นป (ปวช.๑, ๒, ๓ และ ปวส. ๑, ๒) ที่ลงทะเบียนเรียนในปการศึกษา นั้นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผานเกณฑที่กําหนดแตละชั้นป ตามประเภทวิชา สาขาวิชา และ สาขางานทุกชั้นป เชน โครงการ ฝกปฏิบัติมาตรฐานวิชาชีพ มัคคุเทศก โครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการการจัดทําแผนการ จัดการเรียนรูแบบบูรณาการ โครงการประชาสัมพันธและ แนะแนวการศึกษาระบบทวิภาคี เปนตน

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีจํานวนผูเ รียนระดับ ปวช. 1 จํานวน 750 คน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน จํานวน 597 คน คิดเปนรอยละ 79.60 จํานวนผูเรียนระดับ ระดับ ปวช. 2 จํานวน 626 คน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน จํานวน 597 คน คิดเปนรอยละ 95.37 จํานวนผูเรียนระดับ ระดับ ปวช. 3 จํานวน 643 คน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน จํานวน 626 คน คิดเปนรอยละ 97.36 จํานวนผูเรียนระดับ ระดับ ปวส. 1 จํานวน 509 คน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน จํานวน 492 คน คิดเปนรอยละ 96.66 จํานวนผูเรียนระดับ ระดับ ปวส. 2 จํานวน 442 คน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน จํานวน 440 คน คิดเปนรอยละ 99.54 รวมระดับ ปวช. และปวส. ทั้งหมด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 93.71 เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๖๘

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๓ รอยละของผูเรียนที่สามารถประยุกตหลักการทางวิทยาศาสตร และคณิตศาสตรมาใช แกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพอยางเปนระบบ ความตระหนัก วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Awareness) (Attempt) (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ได ผูเรียนสามารถประยุกตหลักการ ตระหนักถึงความสําคัญของการ กําหนดนโยบายและแนวทางใน ทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร เรียนวิชาวิทยาศาสตรและ การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูใน มาใชในการแกปญหาในการ คณิตศาสตร โดยมีความมั่นใจวา รายวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ปฏิบัติงานวิชาชีพอยางเปนระบบ ผูเรียนไดศึกษาดานวิทยาศาสตร โครงการและโครงงานวิชาชีพ รอยละ 81.36 และคณิตศาสตรใหเขาใจอยาง ในการทํางานมีแผนการเรียน เทียบเกณฑการตัดสิน ถองแท ผูเรียนสามารถนําความรู การสอนใหผูเรียนจัดทําชิ้นงาน อยูในระดับ ดี ที่มีการประยุกตหลักการทาง และประสบการณที่ไดรับมาใช แกปญหาในชีวิตประจําวัน และ ดานคณิตศาสตร และวิทยาศาสตร ไดมีโครงการรวมประกวดการแสดง นําไปประยุกตใชในวิชาชีพได นิทรรศการ ผลงาน และแตงตั้ง เปนอยางดี สถานศึกษา คณะกรรมการในการจัดทํา จึงสนับสนุนใหครูผูสอนวิชา นิทรรศการ การประเมินผล วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร ชิ้นงาน นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ ในทุก ๆ ดาน เชน ดาน รวมกันทุกรายวิชา งบประมาณการศึกษาตอ ดานการศึกษา ดูงาน ดานเอกสารตําราที่ควรมี ในหองสมุด

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๖๙

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๔ รอยละของผูเรียน ที่มีทักษะในการสื่อสารดานการฟง การอาน การเขียน และการสนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดกําหนดปรัชญาที่มุงเนนให ผูเรียนมีคุณธรรม นําวิชาการ ชํานาญวิชาชีพ ดังนั้นผูสอนจึง ไดจัดการเรียนการสอนที่ชวยให ผูเรียน มีการพัฒนาในดาน วิชาการ โดยเฉพาะทักษะ ทางภาษา ทั้งภาษาไทยและ ภาษาตางประเทศ โดยสนับสนุน การเรียนรูทั้งภายในและ ภายนอกหองเรียนและครูผูสอน ไดใหความรูผูเรียนในเรื่องของ การกาวสูประชาคมอาเซียน ในป 2558 เพื่อใหผูเรียนได ตระหนักถึงความสําคัญของ ภาษาอังกฤษและเพิ่มความเอา ใจใสในการเรียนรูภาษาอังกฤษ เพิ่มขึ้น

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ได มอบหมายใหครูผูสอนในรายวิชา ภาษาไทย และภาษาตางประเทศ ไดจัดการเรียนการสอนที่เปด โอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมใน กิจกรรมการเรียนการสอน รวมทั้ง จัดกิจกรรมและโครงการตาง ๆ เพื่อพัฒนาทักษะทางดานภาษา ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ทางดานภาษาไทยไดจัดกิจกรรม วันสุนทรภู วันแม โดยการจัด ประกวดเรียงความ อานทํานอง เสนาะ และประกวดคําขวัญตาง ๆ ดานภาษาตาง ประเทศไดจัด โครงการ English Day Camp จัดตั้งชมรมภาษาอังกฤษ การให เกร็ดความรูภ าษาอังกฤษ หนาเสาธง โดยสมาชิกชมรมภาษาอังกฤษ สนับสนุน และฝกนักศึกษาเขารวม แขงขันการอานภาษาไทย การกลาวสุนทรพจนภาษาอังกฤษ การนําเสนอ การสนทนาเปน ภาษาอังกฤษ ในงานองคการ วิชาชีพ ทั้งระดับ อศจ. ระดับภาค และระดับชาติ ซึ่งกิจกรรมตาง ๆ เหลานี้ลวนแตมุงพัฒนาทักษะ ทางภาษาของผูเรียน

ผูเรียนรอยละ ๗5.90 มีทักษะ ในการสื่อสารดานดานการฟง พูด อาน เขียน ในรายวิชาภาษาไทย และภาษาอังกฤษ เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๗๐

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๕ รอยละของผูเรียนที่มีความสามารถใชความรูและเทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษาคนควา และปฏิบัติงานวิชาชีพไดอยางเหมาะสม ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

ผูเรียนมีความสามารถใชความรู วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม และเทคโนโลยีในการศึกษาคนควา เชียงใหม ไดกําหนดปรัชญา ไดดําเนินการดังนี้ และปฏิบัติงานวิชาชีพ ไดอยาง ของสถานศึกษา โดยให 1. แผนกวิชาตาง ๆ ไดสงเสริม เหมาะสม รอยละ 93.86 ผูเรียนมีคุณธรรม แนะนําและนิเทศภายในครูในแผนก นําวิชาการ ชํานาญวิชาชีพ วิชาใหจัดทําแผนการจัดการเรียนการ เทียบเกณฑการตัดสิน จึงไดจัดทําโครงการพัฒนา สอนที่ใชเทคโนโลยี เพื่อเปนสื่อการ ครู ใหมีความรู ความสามารถ สอน พรอมทั้งมอบหมายใหผูเรียนได อยูในระดับ ดี ในการจัดทําแผนการจัดการ ศึกษาหาความรูดวยตนเอง จากศูนย เรียนรูที่มีวิธีการสอนที่ การเรียนรูทั้งในและนอกสถานศึกษา หลากหลาย มีการใช 2. สถานศึกษาจัดทําโครงการ เทคโนโลยีและมุงเนน พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ผูเรียนเปนสําคัญ เชน ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการเรียนการสอนใน ระบบ E-Learning สงเสริม ใหผูเรียนสงงานผานระบบ e-mail เปนตน ตัวบงชี้ ๖ รอยละของผูเรียน ที่มีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และมีมนุษยสัมพันธที่ดี ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม ดําเนินการจัดการ ประชุมบุคลากรทุกฝาย เพื่อรวมกันจัดทําแผน ยุทธศาสตร เพื่อการบริหาร สถานศึกษา กําหนด วิสัยทัศน เปาประสงค

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดดําเนินการดังนี้ 1. งานกิจกรรมดําเนินงานในโครงการ การเขาคายอบรมคุณธรรม จริยธรรม โครงการเขาคายพักแรมลูกเสือเนตร นารีวิสามัญ โครงการรณรงค เพื่อแกปญหาเรื่องเพศ /ยาเสพติด โครงการกีฬาตานยาเสพติด เปนตน

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพ ที่เหมาะสม และ มีมนุษยสัมพันธที่ดีมากกวา รอยละ 97.96

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๗๑

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Attempt) (Achievement) เทียบเกณฑการตัดสิน ประการสําคัญ เพื่อผลิต 2. ผูสอนจัดกิจกรรมการเรียน อยูในระดับดี บุคลากรดานอุตสาหกรรม การสอน โดยบูรณาการ ทั้งทาง บริการที่มีคุณภาพตาม ดานพุทธพิสัย ทักษะพิสัย และ มาตรฐานอาชีพ มีความรูจริง จิตพิสัย และการพัฒนาการปฏิบัติงาน 3. งานอาจารยที่ปรึกษา และการประกอบอาชีพ ที่ จัดกิจกรรม Home Room ตอบสนองตอความตองการของ โดยใหครูที่ปรึกษา พบนักเรียน ตลาด และการพัฒนาเศรษฐกิจ นักศึกษาตามตารางที่กําหนด สังคมของประเทศ และ อยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้ง สถานศึกษาไดกําหนดใหมีหนาที่ 4. ครูที่ปรึกษาดูแลผูเรียนใหมี รับผิดชอบตามระเบียบบริหาร ลักษณะที่พึงประสงค สถานศึกษา ตัวบงชี้ ๗ รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ความตระหนัก(Awareness)

ความตระหนัก(Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีการจัดใหดําเนินงานโดยได รวบรวมขอมูลผูสําเร็จการศึกษา พรอมทั้งไดปฏิบัติตามแผนงาน ที่กําหนดได โดยมีกิจกรรม/ งาน /โครงการ ที่ดําเนินการ เพื่อนําไปสูมาตรฐานคุณภาพ ตลอดปการศึกษา

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดปฏิบัติตามแผนงาน ที่จัดทําขึ้น เพื่อสงเสริมสนับสนุน ใหผูเรียนสามารถจบการศึกษา ตามเกณฑ โดยดําเนินโครงการ กิจกรรมที่สําคัญไดแก จัดการ เรียนการสอนรวมกับสถาน ประกอบการ ประเมินผลการเรียน ตามสภาพจริง โครงการสอนปรับ พื้นฐาน

ผูสําเร็จการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จ การศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ จํานวน รวมทั้งสิ้น 663 คน จากจํานวน ผูเรียนแรกเขา 888 คน คิดเปน รอยละ 74.66 เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๗๒

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๘ รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ความตระหนัก(Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีการจัดใหดําเนินงานโดยได รวบรวมขอมูลผูสําเร็จการศึกษา พรอมทั้งไดปฏิบัติตามแผนงาน ที่กําหนดได โดยมีกิจกรรม/ งาน /โครงการ ที่ดําเนินการเพื่อ นําไปสูมาตรฐานคุณภาพตลอด ปการศึกษา

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดปฏิบัติตามแผนงานที่จัดทําขึ้น เพื่อสงเสริมสนับสนุนใหผูเรียน สามารถจบการศึกษาตามเกณฑ โดยดําเนินโครงการกิจกรรมที่ สําคัญไดแก จัดการเรียนการสอน รวมกับสถานประกอบการ ประเมินผลการเรียนตามสภาพ จริง โครงการสอนปรับพื้นฐาน

ผูสําเร็จการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จ การศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จํานวนรวมทั้งสิ้น 440 คน จากจํานวนผูเ รียนแรกเขา 544 คน คิดเปนรอยละ 80.88

เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับดี ตัวบงชี้ ๙ รอยละของผูสาํ เร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ วิธีดําเนินการ (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม วิทยาลัย ไดดําเนินการสอบตาม ไดวางแผนโดยมีโครงการสอบ โครงการการสอบมาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานวิชาชีพทุกปการศึกษา ทุกสาขางานและสาขาวิชา นักเรียนชั้น ปวช.3 แตละ อยางตอเนื่องมาโดยตลอด ซึ่งไดจัดสอบใหแกผูมีสิทธิ์สําเร็จ ประเภทวิชา สาขาวิชา/สาขางาน ทุกปการศึกษา โดยใชแบบทดสอบ การศึกษาในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ ที่ไดมาตรฐาน ซึ่งไดรับจากสํานัก มาตรฐาน การอาชีวศึกษาและ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง โดยนําขอสอบมาตรฐาน วิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นํามาปรับปรุง วิชาชีพที่ไดรับจากสํานัก มาตรฐานการอาชีวศึกษาและ แกไขและผานความเห็น สอดคลองกันทั้งหมดของ วิชาชีพ สํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา คณะกรรมการที่วิทยาลัยแตงตั้ง ขึ้น จึงสามารถดําเนินการทดสอบ มาปรับปรุง แกไข และ ผานความเห็น สอดคลองกัน ไดบรรลุตามจุดประสงค ความตระหนัก (Awareness)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) นักเรียนระดับชั้น ปวช. 3 ทุกสาขาวิชาผานการประเมิน มาตรฐานวิชาชีพ คิดเปนรอยละ 97.51 ของผูสําเร็จการศึกษา เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๗๓

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Attempt) (Achievement) ทั้งหมดของคณะกรรมการที่ และปรับปรุงแบบทดสอบ วิทยาลัยแตงตั้งขึ้น นอกจากนี้ การสอบมาตรฐาน วิชาชีพ นักเรียน นักศึกษา สวนมากสอบไดคะแนนมากกวา รอยละ 60 และคณะกรรมการ ฝายวิชาการ ประจําปการศึกษา 2552 ไดกําหนดเกณฑผานใน การสอบใหสูงขึ้นจากรอยละ 50 เปนรอยละ 60 ตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ตัวบงชี้ ๑๐ รอยละของผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงที่ผานการประเมิน มาตรฐานวิชาชีพ ความตระหนัก (Awareness)

ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม ไดวางแผนโดยมี โครงการสอบมาตรฐาน วิชาชีพทุกปการศึกษาอยาง ตอเนื่องมาโดยตลอด ซึ่งได จัดสอบใหแกผูมีสิทธิ์สําเร็จ การศึกษาในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง โดยนํา ขอสอบมาตรฐานวิชาชีพที่ ไดรับจากสํานักมาตรฐาน การอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา

วิทยาลัย ไดดําเนินการสอบตาม โครงการการสอบมาตรฐานวิชาชีพ ทุกสาขางานและสาขาวิชา นักเรียนชั้น ปวส.2 แตละประเภทวิชา สาขาวิชา/ สาขางานทุกปการศึกษา โดยใช แบบทดสอบที่ไดมาตรฐาน ซึ่งไดรับ จากสํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษา และวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นํามาปรับปรุง แกไข และผานความเห็น สอดคลองกัน ทั้งหมดของคณะกรรมการที่วิทยาลัย แตงตั้งขึ้น จึงสามารถดําเนินการ ทดสอบไดบรรลุตามจุดประสงค และ ปรับปรุงแบบทดสอบ นอกจากนี้ การสอบมาตรฐานวิชาชีพ

นักศึกษาชั้น ปวส.2 ทุกสาขาวิชา ผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ คิดเปนรอยละ 99.30 ของ ผูสําเร็จการศึกษา เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๗๔

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก(Awareness) มาปรับปรุง แกไขและผาน ความเห็น สอดคลองกันทั้งหมด ของคณะกรรมการที่วิทยาลัย แตงตั้งขึ้น

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

นักเรียน นักศึกษา สวนมากสอบ ไดคะแนนมากกวารอยละ 60 และคณะกรรมการฝายวิชาการ ประจําปการศึกษา 2552 ไดกําหนดเกณฑผานในการสอบ ใหสูงขึ้นจากรอยละ 50 เปนรอย ละ 60 ตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

ตัวบงชี้ ๑๑ รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่ไดงานทําในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระและ ศึกษาตอภายใน ๑ ป ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม ไดตระหนักถึง ความสําคัญของผูสําเร็จ การศึกษา จึงไดกําหนด นโยบายใหจัดกิจกรรมแนะ แนวและศึกษาตอ โดยได มอบหมายใหงานแนะแนว อาชีพและจัดหางาน จัด โครงการและกิจกรรมตาง ๆ พรอมทั้งมีโครงการติดตาม ผูสําเร็จการศึกษา

วิธีดําเนินการ (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดมอบหมายใหงานแนะแนวอาชีพและ จัดหางาน จัดกิจกรรมโครงการเพื่อ แนะแนวทางใหผูสําเร็จการศึกษามีงาน ทําหรือศึกษาตอ อาทิ โครงการปจฉิม นิเทศผูสําเร็จการศึกษา โครงการ ติดตามผูสําเร็จการศึกษา

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) ผูสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2553 จํานวน 1,084 คน ไดทํางานในสถานประกอบการ จํานวน 90 คน ผูประกอบการ อาชีพอิสระ จํานวน 13 คน ศึกษาตอ จํานวน 844 คน รวมผูสําเร็จการศึกษาที่ไดงานทํา ในสถานประกอบการ/ประกอบ อาชีพอิสระและศึกษาตอภายใน 1 ป จํานวน 947 คน คิดเปนรอยละ 87.36 เทียบเกณฑการประเมิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๗๕

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๑๒ ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีตอคุณลักษณะที่พึงประสงคของผูสําเร็จ การศึกษา ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม ไดตระหนักถึง ความสําคัญของ ตลาดแรงงาน จึงไดจัดการ เรียน การสอน รวมกับ สถานประกอบการ เพื่อให ผูเรียนมีคุณสมบัติ สอดคลองกับความตองการ ของตลาดแรงงาน ทั้งทาง ดานความรู ความสามารถ ทักษะ และสอดแทรก คุณธรรม จริยธรรม เพื่อใหเกิดประสิทธิผล แกผูเรียน

วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Attempt) (Achievement) สถานศึกษาไดดําเนินการจัดการเรียน ผลการประเมินระดับความพึง การสอน และไดจัดโครงการกิจกรรม พอใจของสถานประกอบการที่มี ตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนมี คุณลักษณะ ตอคุณลักษณะที่พึงประสงคของ ผูสําเร็จการศึกษา สรุปไดวา ที่พึงประสงค ไดแก มีความรู ระดับความพึงพอใจเฉลี่ย ความสามารถดานวิชาชีพตาม โดยรวม 4.39 สาขาวิชา มีความรูความสามารถ พื้นฐานที่จําเปน และมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ เทียบเกณฑการตัดสิน และไดจัดกิจกรรม อาทิ โครงการ อยูในระดับ ดี สัมมนารวมกับสถานประกอบการ โครงการพัฒนาผูเรียน โครงการนิเทศ นักศึกษาฝกงาน พรอมทั้งไดติดตาม ประเมินระดับความพึงพอใจของสถาน ประกอบการที่มีตอคุณลักษณะที่พึง ประสงคของผูสําเร็จการศึกษา ตัวบงชี้ ๑๓ รอยละของผูเรียนสามารถวางแผนธุรกิจ ประกอบอาชีพ และมีรายไดระหวางเรียน ความตระหนัก (Awareness) สถานศึกษาไดตระหนักถึง ความสําคัญของการฝก ทักษะในการวางแผนธุรกิจ และมีรายไดระหวางเรียน ของผูเรียน ไดจัดทํา แผนการเรียนใหมีวิชา โครงการวิชาชีพขึ้นในแตละ สาขางาน จัดทําแผนปฏิบัติ การประจําปของ สถานศึกษาที่มีการระบุ

วิธีดําเนินการ (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีการ ดําเนินงานและมีขอมูลที่แสดงความ ตระหนัก การปฏิบัติและความสําเร็จ จากการปฏิบัติตามขอกําหนด โดยมี กิจกรรม/งาน/โครงการที่ดําเนินการ เพื่อนําไปสูมาตรฐานคุณภาพ เชน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนน ฝกทักษะในการเขียนแผนธุรกิจ และ ในรายวิชาโครงการไดเนนใหนักศึกษา เขียนแผนธุรกิจเพื่อนําไปปฏิบัติไดจริง

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) ผูเรียนสามารถวางแผนธุรกิจ ประกอบอาชีพ และมีรายได ระหวางเรียน รอยละ 75.45 เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๗๖

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก (Awareness) โครงการหารายไดระหวาง เรียน โครงการฝกอบรมให ความรูเกี่ยวกับการเขียน แผนธุรกิจ การทําโครงการ วิชาชีพ กําหนดใหครูจัดทํา แผนการจัดการเรียนรูที่มี การบูรณาการ การเรียน เปนชิ้นงาน เรียนเปน โครงการ นําไปสูการ วางแผนธุรกิจและมีรายได ระหวางเรียน

วิธีดําเนินการ (Attempt) โดยใหนักศึกษาวางแผนการดําเนินงาน ผลิตผลงาน วางแผนการตลาด หาชองทางการจําหนาย และจัด จําหนายผลิตภัณฑ ซึ่งกอใหเกิดรายได กับนักศึกษาที่เรียนวิชาโครงการ โครงการสงเสริมการประกอบอาชีพ ของนักศึกษาที่ยากจนใหมีรายได ระหวางเรียน การนิเทศการฝก ประกอบอาชีพของนักศึกษา

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ ๑ ในแตละตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ๑. รอยละของผูเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนตามเกณฑที่กําหนดตามชั้นป ๓. รอยละของผูเรียนที่สามารถประยุกต หลักการทางวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร มาใชแกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพ อยางเปนระบบ ๔. รอยละของผูเรียนที่มีทักษะในการสื่อสาร ดานการฟง การอาน การเขียน และการสนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ ๕. รอยละของผูเรียนที่มีความสามารถใช ความรูและเทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษา คนควาและปฏิบัติงานวิชาชีพไดอยางเหมาะสม ๖. รอยละของผูเรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพ ที่เหมาะสม และมีมนุษยสัมพันธที่ดี

เกณฑเชิง ปริมาณ ดี >๗๔ พอใช ๖๐-๗๔ ปรับปรุง < ๖๐ ดี >๗๔ พอใช ๖๐-๗๔ ปรับปรุง < ๖๐

สัมฤทธิ์ผลของ การดําเนินงาน รอยละ 93.71

ผลการประเมิน ดี

รอยละ 81.36

ดี

ดี >๗๔ พอใช ๖๐-๗๔ ปรับปรุง < ๖๐

รอยละ 75.90

ดี

ดี >๗๔ พอใช ๖๐-๗๔ ปรับปรุง < ๖๐ ดี >๗๔ พอใช ๖๐-๗๔ ปรับปรุง < ๖๐

รอยละ ๙๓.86

ดี

รอยละ ๙๗.96

ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๗๗

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

เกณฑเชิง ปริมาณ ๗. รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ ดี >๗๔ ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จการศึกษา พอใช ๖๐-๗๔ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปรับปรุง < ๖๐

สัมฤทธิ์ผลของ การดําเนินงาน รอยละ 74.66

๘. รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง

ดี >๗๔ พอใช ๖๐-๗๔ ปรับปรุง < ๖๐

รอยละ 80.88

ดี

๙. รอยละของผูสําเร็จการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ผาน การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

ดี >๗๔ พอใช ๖๐-๗๔ ปรับปรุง < ๖๐

รอยละ 97.51

ดี

รอยละ 99.30

ดี

รอยละ ๘๗.36

ดี

เฉลี่ยโดยรวม ๔.๓9

ดี

รอยละ 75.45

ดี

ตัวบงชี้

๑๐. รอยละของผูสําเร็จการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่ผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ๑๑. รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่ไดงานทํา ในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระ และศึกษาตอภายใน ๑ ป ๑๒. ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ ที่มีตอคุณลักษณะที่พึงประสงค ของผูสําเร็จ การศึกษา ๑๓. รอยละของผูเรียนสามารถวางแผนธุรกิจ ประกอบอาชีพ และมีรายไดระหวางเรียน

ดี >๕๙ พอใช ๕๐-๕๙ ปรับปรุง < ๕๐ ดี >๕๙ พอใช ๕๐-๕๙ ปรับปรุง < ๕๐ ดี ๔.๐๐-๕.๐๐ พอใช ๓.๕๐- ๓.๙๙ ปรับปรุง ๑.๐๐-๓.๔๙ ดี > ๖๐ พอใช ๕๐ - ๖๐ ปรับปรุง < ๕๐ สรุปผลการประเมินตามมาตรฐานที่ ๑

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

ผลการประเมิน ดี

ดี


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๗๘

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

สรุปจุดเดนของมาตรฐานที่ ๑

ไดแกตัวบงชี้ตอไปนี้ ๑. ผูเรียนสวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผานเกณฑการพนสภาพของระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการวาดวยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร ๓. ผูเรียนสวนมากสามารถประยุกตหลักการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรมาใชแกปญหา ในการปฏิบัติงานอาชีพอยางมีระบบ ๔. ผูเรียนมีทักษะในการสื่อสารดานการฟง การอาน การเขียน และการสนทนาทั้ง ภาษาไทยและ ภาษาตางประเทศเพิ่มขึ้น ๕. ผูเรียนสวนมากมีความสามารถใชความรูและเทคโนโลยีในการศึกษาคนควา และเทคโนโลยีใน การปฏิบัติงานวิชาชีพ ๖. ผูเรียนสวนมากมีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และมีมนุษยสัมพันธที่ดี ๗. ผูสําเร็จการศึกษาสวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ๘. ผูสําเร็จการศึกษาสวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพวิชาชีพชั้นสูง ๙. ผูสําเร็จการศึกษาทั้งหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ๑๐. ผูสําเร็จการศึกษาทั้งหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ๑๑. ผูสําเร็จการศึกษาสวนมากไดงานทําในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระ และศึกษาตอ ภายใน ๑ ป ๑๒. สถานประกอบการมีความพึงพอใจตอคุณลักษณะที่พึงประสงคของผูสําเร็จการศึกษา ๑๓. ผูเ รียนสวนมากสามารถวางแผนธุรกิจ ประกอบอาชีพตามแผนธุรกิจ และมีรายไดระหวางเรียน

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๗๙

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานที่ ๒ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ขอกําหนดที่ ๒ สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ ตัวบงชี้ ๑๔ รอยละของหลักสูตรฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพ ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม ไดจัดประชุมครู อาจารย และชี้แจงใหทราบ แนวนโยบายของสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ใหมีการพัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะใหสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน การปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธี สอน และปฏิรูปวิธีสอบ โดย สงเสริมสนับสนุนใหครู อาจารย ทุกสาขาวิชารวมทํา หลักสูตรฐานสมรรถนะ พรอมทั้งนําความรูมาขยาย ผลใหครูอาจารยภายใน สถานศึกษาสํารวจขอมูล วิเคราะหปญหา สัมภาษณ สอบถามความคิดเห็นของ สถานประกอบการโดย รวมมือกับสถานประกอบการ ประชุมวางแผน ปรับเปลี่ยน แผนการเรียนพัฒนาหลักสูตร ฐานสมรรถนะ โดยเนน ประโยชนสูงสุดใหแกผูเรียน เปนสําคัญ

วิธีดําเนินการ (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดดําเนินการดังนี้ 1. มอบหมายใหครูรวมทํา หลักสูตรฐานสมรรถนะ กับ สํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา เพื่อใหครูนําความรู ที่ไดมาปรับปรุงใชในสถานศึกษา 2. พัฒนาหลักสูตรการเรียนการ สอนรวมกับสาขาวิชา พรอมทั้ง สถานประกอบการพัฒนาหลักสูตร ฐานสมรรถนะ

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดมีการประเมินผลการพัฒนา หลักสูตรฐานสมรรถนะ โดย ปรับเปลี่ยนรายวิชาในแผนการ เรียนใหสอดคลองกับความ ตองการของสถานประกอบการ ตลาดแรงงานและชุมชน ในแตละ สมรรถนะอาชีพและใหครูทุกคน จัดทําแผนการจัดการเรียนรูแบบ ฐานสมรรถนะใหสอดรับ ซึ่งวิทยาลัยฯ เปดสอนทั้งใน ระดับ ปวช. และปวส. จํานวน 20 สาขาวิชา โดยมีรายวิชาทั้งสิ้น 673 รายวิชา ซึ่งไดรับการพัฒนา จํานวน 673 รายวิชา คิดเปนรอยละ 100 เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๘๐

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๑๕ รอยละของแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดสงเสริมใหครูผูสอนจัดทํา แผนการจัดการ เรียนรูแบบ บูรณาการทั้งคุณธรรม จริยธรรมและตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง พรอมทั้งบูรณา การความรูจากรายวิชา ตาง ๆ โดยเนนผูเรียนเปน สําคัญ มีการจัดกิจกรรม การใชสื่อการสอน การวัดผลประเมินผล อยางหลากหลายเหมาะสม สอดคลองกับผูเรียน ตามแผนการจัดการเรียนรู มีการนิเทศการสอน และ การประเมินผลการสอน โดยผูเกี่ยวของ และนําผล มาพัฒนาการจัดการเรียนรู เพื่อใหไดพัฒนาตนเองตาม ธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ

วิธีดําเนินการ (Attempt) 1. วิทยาลัยไดดําเนินการดังนี้ ไดสงเสริมใหครูผูสอนจัดทําแผนการ จัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ทั้งคุณธรรม จริยธรรม และตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการความรูจากรายวิชาตาง ๆ 2. ไดจัดกิจกรรม/โครงการ/จัดอบรม เชิงปฏิบัติการ เพื่อสงเสริมใหครูผูสอน จัดทําแผนการจัดการเรียนรูแบบ บูรณาการ และมีคุณภาพ

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีรายวิชาที่เปดสอนในป การศึกษา ๒๕๕4 จํานวน ๖73 รายวิชา และมีการเขียน แผนการจัดการเรียนรูแบบ บูรณาการอยางมีคุณภาพ จํานวน 577 เลม โดยมีผล การประเมินอยูในระดับดีขึ้นไป คะแนนเฉลี่ยตั้งแต 3.51 คิดเปนรอยละ 85.74 เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๘๑

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๑๖ ระดับความพึงพอใจของผูเรียนตอคุณภาพการสอนของผูสอน ความตระหนัก วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Awareness) (Attempt) (Achievement) ความพึงพอใจของผูเรียนตอ วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัยไดดําเนินการดังนี้ คุณภาพการสอนของผูสอนใน เชียงใหม ตระหนักถึง 1. ไดจัดใหมีการประเมินการสอน คุณภาพการเรียนการสอน ของครูโดยผูเรียนทั้ง 2 ภาคเรียนในป ดานตาง ๆ เชน ความรู ความสามารถ ในรายวิชาที่สอน โดยมีกิจกรรม/งานที่ การศึกษา 2554 เพื่อทราบผลการ ดําเนินการเพื่อนําไปสู ประเมินและนําผลการประเมินมาใชใน ความสามารถในการถายทอด เนื้อหา และเทคนิควิธีสอน การ มาตรฐานคุณภาพ เชน การพัฒนาคุณภาพการสอนของครู ใชสื่อการสอน การวัดและ สนับสนุนใหผูสอนไดรับการ 2. ภาคเรียนในปการศึกษา 2554 ประเมินผล วิทยาลัยอาชีวศึกษา อบรมในเรื่อง หลักการสอน 3. สนับสนุนใหครูผูสอนไดรับการ เชียงใหม มีระดับความพึงพอใจ เทคนิคการสอน เทคนิคการ อบรมในเรื่อง หลักการสอน เทคนิค สรางและใชสื่อการสอน การสอน เทคนิคการสราง และการใช เฉลี่ยโดยรวม เทากับ ๔.๕3 เทคนิคการถายทอดความรู สื่อการสอน เทคนิคการถายทอด เทียบเกณฑการตัดสิน การวัดผลประเมินผล และมี ความรูวัดผลและประเมินผล อยูในระดับ ดี โครงการสนับสนุนผูสอนให เขารับการอบรม พัฒนาดาน ความรู ในวิชาชีพที่สอน หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ตัวบงชี้ ๑๗ รอยละของงบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ สําหรับการจัดการเรียน การสอนอยางเหมาะสม ความตระหนัก วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Awareness) (Attempt) (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม 1. จัดประชุมคณะกรรมการ จํานวนเงินที่ใชจัดซื้อวัสดุฝก ไดตระหนักตอการจัดสรร สถานศึกษา เพื่อจัดสรรประมาณ 1,972,258 บาท อุปกรณ งบประมาณเพื่อจัดซื้อวัสดุ ตามความเหมาะสม สําหรับการจัดการเรียน ฝก อุปกรณสําหรับการ 2. สถานศึกษาแจงใหบุคลากรทุก 2,031,300 บาท จัดการเรียนในแตละ คนจัดทําโครงการเพื่อจัดกิจกรรม รวมเงินที่ใชจัดซื้อวัสดุฝก อุปกรณ สาขาวิชา การเรียนการสอนและสรางรายได สําหรับการจัดการเรียน ทั้งสิ้น เสริมหลักสูตรที่มีการใชวัสดุฝก คือ 4,003,558 บาท

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๘๒

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก วิธีดําเนินการ (Awareness) (Attempt) โดยจัดทําคําสั่งแตงตั้ง 3. จัดทําแผนปฏิบัติการประจําปที่มี บุคลากรใหทําหนาที่จัดทํา การจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดซื้อ รายละเอียดชั่วโมงสอน วัสดุฝก มอบหมายใหครูทําหนาที่ สอนตามรายวิชาที่ตรงกับ ความรูความสามารถและ จัดทํา สผ.1 เพื่อเสนอขอซื้อ วัสดุฝกสําหรับการจัด กาเรียนการสอนแตละภาค เรียนและรายงานผลการ จัดการเรียนการสอนโดยใช วัสดุฝกดวย สผ.2

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) จํานวนเงินงบประมาณทั้งหมด คือ 21,450,000 บาท รอยละ ของงบประมาณที่สถานศึกษา จัดซื้อวัสดุฝกอุปกรณสําหรับ จัดการเรียนตองบดําเนินการ ทั้งหมด คือ รอยละ 18.66 เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับดี

ตัวบงชี้ ๑๘ ระดับความเหมาะสมและเพียงพอของระบบคอมพิวเตอรในแตละสาขาวิชา ความตระหนัก วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Awareness) (Attempt) (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ระดับความเหมาะสมและเพียงพอ เชียงใหม ไดตระหนักในการ ไดมอบหมายให แผนกวิชาตาง ๆ ได ของระบบคอมพิวเตอรในแตละ จัดหาอุปกรณคอมพิวเตอร จัดใหมีการเรียน การสอนในรายวิชา สาขาวิชา ตามเกณฑจํานวน เพื่อใหมีความสอดคลองใน คอมพิวเตอรทุกสาขาวิชา ผูเรียนโดยเฉลี่ย ๑ คน สัดสวนที่เหมาะสมตาม เพื่อสนับสนุนใหผูเรียนไดใช ตอ ๑ เครื่อง ๑:๑ จํานวนนักเรียน นักศึกษา ทรัพยากร เทคโนโลยีสารสนเทศ เทียบเกณฑการตัดสิน อยางทั่วถึง โดยจัดทําโครงการจัดซื้อ อยูในระดับ ดี คอมพิวเตอรตามหองเรียน ตาง ๆ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๘๓

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๑๙ ระดับความเหมาะสมในการจัดอาคารเรียน อาคารประกอบการหองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พื้นที่ฝกปฏิบัติงานเหมาะสมกับวิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู และเกิดประโยชนสูงสุด ความตระหนัก(Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ระดับความเหมาะสมในการจัด จัดทําแผนยุทธศาสตรเพื่อการ ไดดําเนินการประชุม วางแผนการใช อาคารเรียน อาคารประกอบ พัฒนา โดยมีกลยุทธ ๓:๑ อาคารสถานที่รวมกันของผูที่มีสวน หองเรียน หองปฏิบัติการ การพัฒนาอาคารหองเรียน เกี่ยวของทุกฝาย ทุกงาน และ โรงฝกงาน พื้นที่ฝกปฏิบัติงาน หองปฏิบัติการและเครื่องมือ ทุกสาขาวิชา เพื่อใชสถานที่ใหเกิด เหมาะสมกับวิชาที่เรียน ไดแก อุปกรณ วัสดุ ครุภัณฑ โดยมี ประโยชนและวางแผนการใช การวางแผนการใช การติดตาม เปาหมาย เพื่อใหมีอาคาร งบประมาณที่พัฒนาอาคารสถานที่ และการปรับปรุง หองเรียน หองปฏิบัติการ และไดรายงานผลการดําเนินงาน ตลอดจนเครื่องมือ อุปกรณ รวมทั้งไดประเมินผลการใชอาคาร เทียบเกณฑการตัดสิน และวัสดุ ครุภัณฑเพียงพอ สถานที่ จากครู นักศึกษา โดยนําผลการ อยูในระดับ ดี ประเมิน มาใชปรับปรุง มีบรรยากาศที่เอื้อตอการ เรียนรูและเกิดประโยชนสูงสุด ตอผูเรียน ตัวบงชี้ ๒๐ ระดับความเหมาะสมในการจัดศูนยวิทยบริการใหเหมาะสมกับวิชาที่เรียนมีบรรยากาศ ที่เอื้อตอการเรียนรู และเกิดประโยชนสูงสุด ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดจัดทําแผนยุทธศาสตร เพื่อการพัฒนา โดยกําหนด พันธกิจที่ 3 : พัฒนาระบบ บริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยมีกลยุทธ เพิ่มประสิทธิภาพดานวิทย บริการ มีเปาหมาย

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ดําเนินการพัฒนาศูนยวิทยบริการ ดังนี้ 1. จัดสรรงบประมาณในการ จัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ มี ประสิทธิภาพและครบทุกสาขาวิชา เพื่อใหมีทรัพยากรสารสนเทศ ที่ครบถวน และตรงตามความตองการ ของผูใชบริการ

ผลการดําเนินงานของวิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม พบวา สามารถดําเนินการไดดังนี้ 1. ศูนยวิทยบริการมีครุภัณฑและ อุปกรณที่มีประสิทธิภาพ ได มาตรฐาน มีสื่อที่หลากหลาย ครบทุกสาขาวิชา เชน ซีดี วีดทิ ัศน เทปคาสเซ็ท แฟมขอมูลเฉพาะ เรื่อง และตําราวิชาการ เปนตน

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๘๔

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

เพื่อใหวิทยาลัยฯ มีศูนยวิทย บริการที่มีการดําเนินงาน และการใหบริการที่เหมาะสม กับการเรียนการสอน มี บรรยากาศที่เอื้อตอการ เรียนรู

2. จัดสรรงบประมาณในการจัดซื้อ และมีการใชบริการสื่อตาง ๆ ใน ครุภัณฑเพื่ออํานวยความสะดวก การคนควาและอางอิงอยางคุมคา ในการใหบริการ และการดําเนินงาน 2. มีการจัดกิจกรรมสงเสริม ในศูนยวิทยบริการ เชน ชั้นหนังสือ การอาน นักศึกษาผูใชบริการรูจัก 3. โครงการสํารวจความพึงพอใจ แสวงหาความรูดวยตนเอง และ ของผูใชบริการตอทรัพยากร การนําการอานไปสูการเรียนรู สารสนเทศและการบริการ ตลอดชีวิต สารสนเทศของหองสมุด 3. มีการใหบริการแกชุมชนและ 4. โครงการเยาวชนยอดนักอาน สังคมในทองถิ่น โดยเปดโอกาสให และโครงการกิจกรรมสงเสริม บุคคลภายนอกเขามาใชบริการใน การอาน เพื่อสงเสริมใหนักศึกษา หองสมุด เพื่อศึกษาคนควาขอมูล มีนิสัยรักการอาน รักการเรียนรู ทางวิชาการ อยางตอเนื่องตลอดชีวิต และสงเสริม 4. มีการประเมินคุณภาพการ ใหใชเวลาวางใหเกิดประโยชน ใหบริการ โดยการสํารวจความพึง 5. ใหบริการหองสมุดสําหรับ พอใจจากผูใชบริการ บุคคลภายนอก และศิษยเกา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมมีการ เปนการใหบริการทางวิชาการ ขอมูล ดําเนินงานในจัดศูนยวิทยบริการ โดยปฏิบัติครบ 4 ขอ ความรู ขาวสาร แกชุมชน และ ทองถิ่น เพื่อใหเปนแหลงคนควา เทียบเกณฑการตัดสิน และสงเสริมใหเกิดสังคมแหงการ เรียนรู อยูในระดับ ดี ตัวบงชี้ ๒๑ ระดับความเหมาะสมในการจัดใหมีครุภัณฑและอุปกรณ ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

สถานศึกษาไดตระหนักถึง ความสําคัญของการจัดใหมี ครุภัณฑและวัสดุอุปกรณ การเรียนใหเพียงพอและ เหมาะสมในการใชงาน

สถานศึกษาไดดําเนินการตาม แผนปฏิบัติการ ระเบียบและ แนวทางในการปฏิบัติ โดยจัดทําเปน โครงการและกิจกรรม เพื่อจัดใหมีครุภัณฑและวัสดุ

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) ระดับความเหมาะสมในการจัด ใหมีครุภัณฑและวัสดุอุปกรณ ทุกสาขาวิชาอยูในสภาพพรอม ใชงานไดดี มีความเพียงพอ ทันสมัย และไดประเมิน

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๘๕

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

รวมทั้งมีความทันสมัย อุปกรณใหเพียงพอและเหมาะสมกับ ความพึงพอใจ สรุปไดวา โดยสถานศึกษามีการ ความตองการในแตละสาขาวิชา/สาขา ระดับความเหมาะสม วางแผนการปฏิบัติงาน งาน อาทิ จัดใหมีครุภัณฑและวัสดุ เทียบเกณฑการตัดสิน ระเบียบและแนวทาง อุปกรณตามรายละเอียดบัญชีรายการ อยูในระดับ ดี การปฏิบัติใหมีประสิทธิภาพ วัสดุและครุภัณฑ ประจําป เห็นผลเชิงประจักษ การศึกษา ๒๕๕4 พรอมทั้งไดมีการ ประเมินความเพียงพอ และความ เพื่อนําไปสูมาตรฐาน คุณภาพตามความตองการ เหมาะสมของครุภัณฑ วัสดุอุปกรณตอ ความตองการในแตละสาขาวิชา/ ในแตละสาขาวิชา/สาขา งาน และสามารถตอบสนอง สาขางาน การใชงานของผูเรียนได อยางเหมาะสม ตัวบงชี้ ๒๒ ระดับคุณภาพการจัดระบบความปลอดภัย ของสภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความสะดวกที่ เอื้อตอการเรียนรูในสาขาวิชา/สาขางาน ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

สถานศึกษาไดแตงตั้ง และ มอบหมายใหครูดูแล หองเรียน เพื่อจัดระบบ ความปลอดภัยของ สภาพแวดลอมสิ่งอํานวย ความสะดวกที่เอื้อตอ การเรียนรูในสถานศึกษา ทั้งภายในและภายนอก หองเรียน โดยให ประสานงานอาคารสถานที่ งานสวัสดิการพยาบาลและ หอพัก ในการจัดเครื่องมือ อุปกรณตาง ๆ จัดระบบ แสงสวาง การถายเทอากาศ

สถานศึกษาไดมอบหมายใหครู ดูแล หองเรียน โดยไดจัดระบบความ ปลอดภัยของสภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอ การเรียนรูในสถานศึกษา เชน จัดทําปายแสดงคําเตือนความปลอดภัย ติดตั้งระบบสัญญาณเตือนภัยและ อุปกรณปองกันอัคคีภัยจัดทําปายแสดง ขั้นตอนการใชอุปกรณเครื่องมือ เครื่องจักร จัดหาสถานที่จัดเก็บวัสดุ อุปกรณเครื่องมือ จัดหาอุปกรณปฐม พยาบาลเบื้องตน มีการบันทึกการ ตรวจสภาพและบํารุงรักษา อุปกรณ เครื่องจักร จัดหาอุปกรณปองกัน อุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติงาน

ทุกสาขางานมีการจัดระบบ ความปลอดภัยของสภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความสะดวก ที่เอื้อตอ การเรียนรูไดอยางมีคุณภาพ คิดเปนรอยละ ๑๐๐ เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๘๖

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

การจัดพื้นที่หองเรียน หอง ปฏิบัติการ จัดระบบปองกัน อัคคีภัยที่ชวยใหมีระบบความ ปลอดภัยของสภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อ ตอการเรียนรูในสถานศึกษา ตัวบงชี้ ๒๓ รอยละของบุคลากรภายในสถานศึกษาที่ไดรับการพัฒนาตามหนาที่ที่รับผิดชอบ ความตระหนัก(Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของ การพัฒนาบุคลากรภายใน สถานศึกษาใหไดรับการพัฒนา ตามหนาที่ที่รับผิดชอบโดยมี การจัดโครงสรางการ บริหารงานของบุคลากร มอบหมายหนาที่ ความ รับผิดชอบใหกับครูและ บุคลากรทางการศึกษาอยาง ชัดเจน ทั้งหนาที่ดานการ จัดการเรียนการสอนและงาน หนาที่พิเศษนอกเหนือการ เรียนการสอน โดยมีการ กําหนดพันธกิจดานการพัฒนา สมรรถนะครูและบุคลากร ทางการศึกษา ไวในแผน ยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม พ.ศ. 2553 -2556

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

วิทยาลัยฯ ไดดําเนินการตามพันธกิจ ดานการพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรทางการศึกษา โดย ดําเนินงานโครงการพัฒนาบุคลากร ดวยการสนับสนุนและสงเสริมใหครู และบุคลกรทางการศึกษาเขารับการ อบรมประชุม สัมมนา ในสาขาที่ เกี่ยวของกับหนาที่งานที่รับผิดชอบ นอกจากนี้วิทยาลัยฯ ยังไดจัดใหมี การอบรมพัฒนาภายในสถานศึกษา เพื่อใหครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดรับการพัฒนาอยางทั่วถึง ไดแก การอบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตสื่อ การสอนดวยโปรแกรม Adobe Captivate การอบรมเชิง ปฏิบัติการRoutine to Research และการประชุมเชิงปฏิบัติการการ จัดทํามาตรฐานการศึกษา เปนตน ในสวนบุคลากรฝายสนับสนุน การศึกษาวิทยาลัยฯ ไดจัดใหมีการ อบรมใหความรูตามหนาที่งานที่ รับผิดชอบทุกปการศึกษา

ครูและบุคลากรทางการศึกษา ของวิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม ไดเขารับการพัฒนา ตามหนาที่ที่รับผิดชอบอยาง ทั่วถึง โดยมีชั่วโมงการพัฒนา ไมนอยกวา 20 ชั่วโมง จากจํานวนครูและบุคลากร ทางการศึกษา ทั้งหมด 183 คน คิดเปนรอยละ 100 เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๘๗

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก(Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

และมีการประชุมเพื่อพัฒนางาน ในแตละงานอยางตอเนื่องทําให บุคลากรสามารถปฏิบัติงานในหนาที่ ที่รับผิดชอบไดอยางมีประสิทธิภาพ ตัวบงชี้ ๒๔ จํานวนครั้งหรือปริมาณในการระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษาเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดดําเนินการตามนโยบาย ของสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาที่มุงหวังให วิทยาลัยและหนวยงานใน สังกัดนําไปปฏิบัติ และบูรณา การการทํางานรวมกัน เพื่อกอใหเกิดผลการ ดําเนินงานที่เปนรูปธรรม โดย ระดมทรัพยากรจากแหลง ตาง ๆ ทั้งภายในและ ภายนอกวิทยาลัย มีการจัด การศึกษาทั้งในระบบ และระบบทวิภาคี โดย ประสานความรวมมือกับสภา อุตสาหกรรม และสถาน ประกอบการ เพื่อสนับสนุน การจัดการศึกษาใหมี ประสิทธิภาพ

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดดําเนินการโดยไดมีการระดม ทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ทั้ง ภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาอยาง มีประสิทธิภาพ และทุกสาขาวิชา ไดนํานักศึกษาดูงานนอกสถานที่ เพื่อใหผูเรียนไดรับความรูจาก แหลงเรียนรูที่แทจริงหรือจาก สถานประกอบการโดยตรง พรอมทั้ง ไดเชิญผูเชี่ยวชาญและภูมิปญญา ทองถิ่นมาใหความรูแกผูเรียน

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) มีการระดมทรัพยากรทั้งภายใน ภายนอก จํานวน 136 ครั้ง เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๘๘

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๒๕ จํานวนสถานประกอบการที่มีการ จัดการศึกษารวมกับสถานศึกษาในการจัดการศึกษา ระบบทวิภาคีและระบบปกติ ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ตระหนักถึงความสําคัญใน เรื่องการสรางเสริม ประสบการณงานอาชีพ โดยการฝกปฏิบัติจริงใน สถานประกอบการณใหแก นักเรียน นักศึกษาตาม หลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) และ หลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) โดย เนนการจัดการเรียนาการ สอนรวมกับสถาน ประกอบการ

วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Attempt) (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดจัด จํานวนสถานประกอบการที่ให การศึกษา ๒ ระบบ ไดแก ความรวมมือกับวิทยาลัย การจัดการเรียน การสอนระบบปกติ อาชีวศึกษาเชียงใหม มีดังนี้ และการจัดการเรียน การสอนระบบ 1. การจัดการเรียน การสอน ทวิภาคี โดยการจัดการศึกษาระบบ ระบบปกติ มีสถานประกอบการ ปกติ ไดกําหนดใหมีรายวิชาฝกงาน ใหความรวมมือรับนักเรียน นักศึกษา ซึ่งมีการฝกปฏิบัติจริงในสถาน เขาฝกงาน จํานวน 433 แหง ประกอบการจํานวน ๓๒๐ ชั่วโมง 2. การจัดการเรียน การสอน และสําหรับการจัดการศึกษาระบบ ระบบทวิภาคี มีสถานประกอบการ ทวิภาคี ไดจัดการเรียนการสอน ใหความรวมมือรับนักศึกษาเขา รวมกับ สถานประกอบการ ซึ่ง ฝกงาน จํานวน 20 แหง รวมทั้งสิ้น 453 แหง ในการจัดการศึกษาทั้ง ๒ ระบบ สถานศึกษา ไดรับความรวมมือเปน เทียบเกณฑการตัดสิน อยางดี จากสถานประกอบการ จํานวนมาก อยูในระดับ ดี ตัวบงชี้ ๒๖ จํานวนคน-ชั่วโมงของผูเชี่ยวชาญผูทรงคุณวุฒิ หรือ ภูมิปญญาทองถิ่นที่มีสวนในการพัฒนา ผูเรียน ความตระหนัก วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Awareness) (Attempt) (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดวาง ทุกสาขาวิชา/สาขางาน รวม 19 เชียงใหม ไดตระหนักถึง แผนการจัดกิจกรรมการเรียนการ สาขา ไดเชิญผูเชี่ยวชาญ ความสําคัญของการจัดหา สอนอยางหลากหลาย โดยเชิญ ผูทรงคุณวุฒิ หรือภูมิปญญา ผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ ผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ และผูนํา ทองถิ่นมาใหความรูแกนักเรียน และผูนําภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาทองถิ่น ไดมีสวนรวมใน นักศึกษา คิดเปน รอยละ ๑๐๐ ที่มีความรู ความเชี่ยวชาญ การพัฒนาผูเรียน และไดจัดโครงการ โดยเชิญผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ เฉพาะดานที่เกี่ยวของกับ ศึกษาดูงานโครงการเรียนรูจาก และผูนําภูมิปญญาทองถิ่นมาให สาขาวิชาของผูเรียนจาก วิทยากรพิเศษ โครงการนิเทศ ความรู รวม 72 คน ภายนอกสถานศึกษา จํานวน 183.75 ชัว่ โมง การเรียน การสอนรวมกับสถาน มารวมกันพัฒนาผูเรียน ประกอบการ โครงการปฐมนิเทศ และอบรมคุณธรรม จริยธรรม มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๘๙

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Attempt) (Achievement) นักศึกษาใหม โครงการปจฉิมนิเทศ เทียบเกณฑการตัดสิน ผูสําเร็จการศึกษา โครงการอบรม อยูในระดับ ดี อาสาสมัครผูนําเครือขายรวมพัฒนา นักเรียน นักศึกษาในสถานศึกษา โครงการเสริมสรางระเบียบวินัย ใหแกนักเรียน นักศึกษา ตัวบงชี้ ๒๗ อัตราสวนของผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิดานวิชาชีพตอผูเรียนในแตละสาขาวิชา ความตระหนัก วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Awareness) (Attempt) (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัยไดมอบหมายใหแผนกวิชาตาง ๆ ทุกสาขาวิชามีผูสอนประจําที่มี คุณวุฒิทางวิชาชีพตอผูเรียนตาม เชียงใหม จัดทําแผน ไดจัดทําแผนอัตรากําลัง กําหนดให ครูผูสอนรับผิดชอบการสอนในรายวิชาที่ เกณฑ คือ จํานวนสาขาวิชา อัตรากําลังครู ระดับ ปวช. ทั้งสิ้น 7 สาขาวิชา ตรงกับคุณวุฒิวิชาชีพ โดยคํานึงถึงความ บุคลากร ที่เปน ขาราชการ ครูประจํา สอดคลองเหมาะสม นอกจากนั้นสนับสนุน ผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิทาง ครูผูสอนใหเขารับการอบรมในเนื้อหาที่ตรง วิชาชีพตอผูเรียนตามเกณฑ ผูสอน พนักงานราชการ 1 คน ตอผูเรียนไมเกิน 35 คน 7 กับวิชาชีพที่สอน ครูจางที่ทําสัญญา เพื่อนําความรูที่ที่ไดรับมาพัฒนาการเรียน สาขางาน คิดเปนรอยละ 100 จางตอเนื่อง จํานวน สาขาวิชาระดับ ปวส. โดยบุคลากรมีคุณวุฒิ การสอนใหเกิดประสิทธิภาพเปนไปตาม ทั้งสิ้น 12 สาขาวิชา ผูสอนประจํา ทางวิชาชีพ จึงทําให มาตรฐานที่กําหนด ที่มีคุณวุฒิทางวิชาชีพตอผูเรียน มีความสอดคลอง ตามเกณฑ 1 คน ตอผูเรียนไมเกิน เหมาะสมในทุก 35 คน 12 สาขาวิชา คิดเปนรอย สาขาวิชาอยางทั่วถึง ละ 100 จํานวนสาขาวิชาทั้งสิน้ 19 สาขาวิชา ผูสอนประจําที่มี คุณวุฒิทางวิชาชีพตอผูเรียนตาม เกณฑ ในภาพรวมของวิทยาลัย ผูสอน 1 คน ตอผูเรียนไมเกิน 18 คน ทั้งหมด 19 สาขาวิชา คิดเปน รอยละ 100 เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๙๐

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๒๘ อัตราสวนของผูสอนประจําตอผูเรียน ความตระหนัก วิธีดําเนินการ (Awareness) (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัยไดดําเนินการทําแผนอัตรากําลังครู เชียงใหม ไดตระหนัก และบุคลากร โดยมอบหมายใหสาขาวิชา ถึงความสําคัญของ จัดรายละเอียดการสอนที่มีคุณวุฒิ การจัดการเรียน การ การศึกษาของสาขาวิชาที่สอน และ สอน โดยคํานึงถึง มอบหมายงานบุคลากรสํารวจครูผูสอน ถา ครูผูสอน แผน ครูผูสอนมีจํานวน อัตรากําลังครูและ ไมเพียงพอจะจัดหาครูเพิ่ม โดยรับสมัครครู บุคลากร แผนการ อัตราจางที่มีคุณวุฒิตรงกับสาขาวิชาที่เปด พัฒนาบุคลากร สอน และสงเสริมสนับสนุนใหบุคลากรได แผนการรับนักเรียน พัฒนาตนเองดานวิชาชีพ โดยเขารวมอบรม ใหมีความเหมาะสม สัมมนาตามรายวิชาที่สอน ในดานอัตราสวน ครูผูสอนตอจํานวน ผูเรียน

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีครู สอนที่เปนขาราชการ ครูประจํา พนักงานของรัฐ ครูอัตราจางไม นอยกวา 1 ภาคเรียน จํานวนครู 118 คน จํานวนผูเรียน 2,982 คน คิดเปนอัตราสวนครู 1:25 เทียบเกณฑการประเมิน อยูในระดับดี

สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ ๒ ในแตละตัวบงชี้ ตัวบงชี้

เกณฑเชิงปริมาณ

๑๔. รอยละหลักสูตรฐานสมรรถนะที่มี คุณภาพรายวิชาที่มีการพัฒนาครบ ๔ ขอ

ดี >๗๕ พอใช๖๐-๗๕ ปรับปรุง< ๖๐ ๑๕. รอยละของแผนการจัดการเรียนรูแบบ ดี >๗๕ บูรณาการ พอใช ๖๐-๗๕ ปรับปรุง< ๖๐ ๑๖. ระดับความพึงพอใจของผูเรียนตอคุณภาพ ดี ๔.๐๐-๕.๐๐ การสอนของผูสอน พอใช๓.๕๐-๓.๙๙ ปรับปรุง๑.๐๐-๓.๔๙

สัมฤทธิ์ผลของ การดําเนินงาน

ผลการ ประเมิน

รอยละ ๑๐๐

ดี

รอยละ 85.93

ดี

คาเฉลี่ย ๔.๕3

ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๙๑

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้

สัมฤทธิ์ผลของ การดําเนินงาน

ผลการ ประเมิน

ดี >๑๕ พอใช๑๐-๑๕ ปรับปรุง< ๑๐

รอยละ 18.66

ดี

ดี ๑ : ๑ พอใช ๒ : ๑ ปรับปรุง ๓ : ๑

ผูเรียน : คอมพิวเตอร ๑:๑

ดี

ดี ปฏิบัติทุกขอ พอใช ปฏิบัติ ๑-๓ ปรับปรุง ปฏิบัติ๑-๒

ปฏิบัติครบ ๔ ขอ

ดี

ดี ปฏิบัติทุกขอ พอใช ปฏิบัติ ๓ ขอ ปรับปรุง ปฏิบัติ ๑-๒

ปฏิบัติครบ ๔ ขอ

ดี

ดี ปฏิบัติทุกขอ พอใช ปฏิบัติ ๑-๔ ปรับปรุง ปฏิบัติ ๑-๓

ปฏิบัติครบ ๕ ขอ

ดี

ดี >๗๐ พอใช๖๐-๗๐

รอยละ ๑๐๐

ดี

ดี >๘๙ พอใช ๗๕-๘๙ ปรับปรุง< ๗๕

รอยละ 100

ดี

จํานวน ๑36 ครั้ง

ดี

เกณฑเชิงปริมาณ

๑๗. รอยละของงบประมาณที่สถานศึกษา จัดซื้อวัสดุฝก อุปกรณ สําหรับการจัด การเรียนการสอนอยางเหมาะสม เทียบกับ งบดําเนินการทั้งหมด ๑๘. ระดับความเหมาะสมและเพียงพอของ ระบบคอมพิวเตอรในแตละสาขาวิชา จํานวน ผูเรียนตอครั้งของการเรียนในรายวิชาที่ใช เครื่องคอมพิวเตอร ๑๙. ระดับความเหมาะสมในการจัด อาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พื้นที่ฝกปฏิบัติงาน เหมาะสมกับวิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอื้อตอ การเรียนรู และเกิดประโยชนสูงสุด ๒๐. ระดับความเหมาะสมในการจัด ศูนยวิทยบริการใหเหมาะสมกับวิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู และเกิดประโยชน สูงสุด ๒๑. ระดับความเหมาะสมในการจัดใหมี ครุภัณฑและอุปกรณ ๒๒. ระดับคุณภาพการจัดระบบความปลอดภัย ของสภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความสะดวก ที่เอื้อตอการเรียนรู ในสาขาวิชา/สาขางาน ๒๓. รอยละของบุคลากรภายในสถานศึกษา ที่ ไดรับการพัฒนาตามหนาที่ที่รับผิดชอบ ๒๔. จํานวนครั้งหรือปริมาณในการระดม ทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา เพื่อสนับสนุน การจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ

ปรับปรุง< ๖๐

ดี >๒๕ ครั้ง พอใช ๒๐-๒๔ ปรับปรุง< ๒๐ ครั้ง

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๙๒

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้

เกณฑเชิงปริมาณ

สัมฤทธิ์ผลของ การดําเนินงาน

ผลการ ประเมิน

จํานวน 453 แหง

ดี

๒๕. จํานวนสถานประกอบการที่มีการจัด การศึกษารวมกับสถานศึกษา จัดการศึกษา ระบบทวิภาคีและระบบปกติ

ดี >๒๐ แหง พอใช ๑๕-๑๙ แหง ปรับปรุง< ๑๕ แหง

๒๖. จํานวนคน-ชั่วโมง ของผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ หรือภูมิปญญาทองถิ่นที่มีสวนรวม ในการพัฒนาผูเรียน

ดี >๘๙ พอใช ๗๕-๘๙ ปรับปรุง< ๗๕

รอยละ ๑๐๐

ดี

๒๗. อัตราสวนของผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิ ดานวิชาชีพตอผูเรียนในแตละสาขาวิชา

ดี ๑๐๐ พอใช ๕๐-๙๙ ปรับปรุง< ๕๐

รอยละ ๑๐๐

ดี

๒๘. อัตราสวนของผูสอนประจําตอผูเรียน

ดี ๑: < ๒๕ พอใช ๑ : ๒๕-๓๐ ปรับปรุง ๑ : ๓๐

อัตราสวน ๑:25

ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๙๓

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

สรุปจุดเดนของมาตรฐานที่ ๒

ไดแกตัวบงชี้ตอไปนี้ ๑๔. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมมีหลักสูตรฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพทุกสาขาวิชา ๑๕. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมมีแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการอยางมีคุณภาพ เปนสวนมาก ๑๖. ผูเรียนพึงพอใจตอคุณภาพการสอนของผูสอนเฉลี่ยโดยรวมอยูในระดับดี ๑๗. งบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้อวัสดุฝก อุปกรณสําหรับจัดการเรียนตองบดําเนินการทั้งหมด ๑๘. จํานวนผูเรียนตอเครื่องคอมพิวเตอรมีความเหมาะสมและมีจํานวนเพียงพอ ๑๙. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมไดจัดอาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พื้นที่ฝกปฏิบัติงานเหมาะสมกับวิชาที่เรียน ๒๐. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดจัดศูนยวิทยบริการที่มีความเหมาะสมกับรายวิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรูและเกิดประโยชนสูงสุด ๒๑. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดจัดใหมีครุภัณฑและอุปกรณที่มีความเหมาะสม เพียงพอ ทันสมัยและอยูในสภาพพรอมใชงานไดดี ๒๒. ทุกสาขางานจัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอมและสิ่งอํานวยความสะดวก ไดอยางมีคุณภาพ ๒๓. ครูและบุคลากรสายสนับสนุนทุกคนไดพัฒนาตนเองตามหนาที่ที่รับผิดชอบ ๒๔. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมไดระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ ๒๕. ในการจัดการระบบทวิภาคี และระบบปกติมีสถานประกอบการใหความรวมมือ จัดการศึกษารวมกับสถานศึกษาจํานวนมาก ๒๖. ทุกสาขาวิชามีการจัดหาผูเชี่ยวชาญรวมในการพัฒนาผูเรียน ๒๗. ทุกสาขาวิชามีอัตราสวนของผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิดานวิชาชีพตอผูเรียนในแตละสาขาวิชา 28. อัตราสวนของผูสอนประจําตอผูเรียนทั้งหมดของสถานศึกษา

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๙๔

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานที่ ๓ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ขอกําหนดที่ ๓ สถานศึกษากําหนดแนวทางในการดูแลผูเรียนและจัดกิจกรรม ดังนี้ ตัวบงชี้ ๒๙ จํานวนครั้งของการจัดใหผูเรียนพบครูที่ปรึกษา ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม แตงตั้ง คณะกรรมการทํางานดาน อาจารยที่ปรึกษา มอบหมายใหดําเนินงาน เกี่ยวกับระบบการดูแล ผูเรียน รวมกับครูที่ปรึกษา ทุกคน ติดตามการเรียนของ ผูเรียน ทําสถิติการมาเรียน ของผูเรียน จัดกิจกรรม สงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม คานิยม ที่ดีงาม ในวิชาชีพ รวมทั้ง ดานบุคลิกภาพ และมนุษย สัมพันธ การจัดบริการการ ตรวจสอบสารเสพติดใหกับ ผูเรียน

1. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มอบหมายใหครูที่ปรึกษาดูแลการ เขาแถวและการทํากิจกรรมหนาเสา ธงของผูเรียนในที่ปรึกษา 2. ครูที่ปรึกษาพบผูเรียนในที่ ปรึกษาตามตารางที่กําหนด และ นอกเหนือตาราง ไดแก การ ลงทะเบียนเรียนและโอกาสที่ผูเรียน ประสบปญหาดานตาง ๆ รวมทั้ง โอกาสที่เขารวมกิจกรรมวันแหเทียน เขาพรรษา วันไหวครู กิจกรรมกีฬา สี และกิจกรรมอื่น ๆ 3. งานหลักสูตรและการสอน และ รายงานอาจารยที่ปรึกษารวมกันจัด ตารางการพบครูที่ปรึกษา ลงใน ตารางเรียน ตารางหองและ ตารางสอน 4. จัดอบรมคุณธรรม จริยธรรม โดย มีอาจารยที่ปรึกษาคอยควบคุมดูแล

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม จัดใหผูเรียนพบครูที่ปรึกษา ในตารางเรียน พบที่ปรึกษา หนาเสาธง พบที่ปรึกษา ลงทะเบียนเรียน กิจกรรมเขาคาย คุณธรรมจริยธรรม เขาคายลูกเสือ เนตรนารีวิสามัญ กิจกรรมแห เทียนพรรษา กิจกรรมวันไหวครู และกีฬาสี รวมทั้งหมด 133 ครั้ง ตอป เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๙๕

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๓๐ จํานวนครั้งของการจัดบริการ ตรวจสารเสพติดใหกับผูเรียน ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม ไดใหความสําคัญ กับผูเรียนในดานพฤติกรรม ที่เกี่ยวของกับสารเสพติด จึงไดจัดกิจกรรมที่สงเสริม และปลูกฝงใหผูเรียนไดเห็น โทษของยาเสพติด ไดจัดตั้ง คณะกรรมการตรวจสุขภาพ และประชุมเจาหนาที่งาน ปกครองในการเฝาระวัง ผูเรียนที่มีความเสี่ยงตอการ ใชสารเสพติด

วิธีดําเนินการ (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดจัด ใหนักเรียน นักศึกษา ไดทําการตรวจ สุขภาพนักเรียน นักศึกษา ประจําป การศึกษา 2554 ในวันจันทรที่ 4 กรกฎาคม 2554 ถึงวันศุกรที่ 8 กรกฎาคม 2554 และวันพุธที่ 31 สิงหาคม 2554 ณ สนาม บาสเกตบอล วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม งานปกครอง ไดทําการ ตรวจสารเสพติดในปสสาวะกับ นักเรียน นักศึกษา ที่มีพฤติกรรม เสี่ยงตอการใชยาเสพติด งานโครงการพิเศษและงานกิจกรรม นักเรียน นักศึกษา ไดจัดกิจกรรม ประชาสัมพันธใหความรูกับนักเรียน นักศึกษา เกี่ยวกับยาเสพติด และ โรคเอดส

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม นักเรียน นักศึกษา ไดจัดบริการ ตรวจสารเสพติดใหกับผูเรียน จํานวน 1 ครั้ง ตอปการศึกษา มีผูเรียนไดรับการตรวจ 2,906 คน จากจํานวนผูเรียนทั้งหมด 2,971 คน คิดเปนรอยละ 97.81 เทียบเกณฑการตัดสินอยูใน ระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๙๖

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๓๑ รอยละของผูเรียนที่ออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรกเขา ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม ไดตระหนักถึง ปญหาของผูเรียนที่ออก กลางคัน จึงไดแกไข ชวยเหลือผูเรียนที่มีปญหา โดยจัดโครงการพัฒนา จัดการฝกอบรมวิชาชีพ จัดใหผูเรียนรักในวิชาชีพ และไดจัดโครงการและ ติดตามผลของนักเรียน นักศึกษาที่ออกลางคัน จัดทําสถิตินักเรียน นักศึกษา ที่ออกกลางคัน เมื่อเทียบกับแรกเขาของแต ละชั้นป เพื่อนําผลมาใช ปรับปรุงแกไขปญหาตอไป

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ได มอบหมายใหงานทะเบียนรายงาน ขอมูลจํานวนผูเรียนออกกลางคันทุก เดือน และ ไดดําเนินการแกปญหา ดวยการจัดโครงการพัฒนา จัด ฝกอบรมวิชาชีพใหผูเรียนมีความรูใน วิชาชีพแนะนําใหปรับปรุงตนเองให สอดคลองกับวิชาที่เรียน การ ปฐมนิเทศ สงเสริมใหผูเรียน มีความ ตระหนักเห็นความสําคัญของ การศึกษา และการเชิดชูเกียรติ นักเรียน นักศึกษาดีเดน ทั้งการจัด ครูที่ปรึกษาดูแลชวยเหลือ นักเรียน นักศึกษา ดานการเรียน และความ ประพฤติ เพื่อใหเปนผูมีคุณภาพ ทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม เปนตน นอกจากนี้ ไดจัดทําโครงการ สาเหตุที่ออกกลางคัน ประเมินผลการ เปรียบเทียบรอยละของผูเรียนที่ออก กลางคันเมื่อเทียบกันแรกเขา

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) รวมผูเรียนแรกเขาทั้งหมด (ปวช.และ ปวส.) 2,982 คน จํานวนผูออกกลางคัน 238 คน คิดเปนรอยละ 7.98 เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

ตัวบงชี้ ๓๒ จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรม ที่สงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ รวมทั้งดานบุคลิกภาพ และมนุษยสัมพันธ มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๙๗

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม ไดมีแผนปฏิบัติ การประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยสอดคลอง กับเปาประสงคเชิง ยุทธศาสตรที่ 1.1 พัฒนา ผูเรียนใหมีภาวะผูนํา 1.2 สงเสริมคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ ดานวิชาชีพ 1.3 พัฒนาสุขภาพกายและ ใจของผูเรียน โดยสงเสริม สนับสนุน ใหจัดโครงการ กิจกรรมที่ทําใหผูเรียนมี คุณภาพตามเปาประสงค ตลอดจนไดจัดกิจกรรม ที่สงเสริมทางดานวิชาการ สอน และปฏิบัติในดาน วิชาชีพ

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ได ดําเนินตามโครงการพัฒนาผูเรียน ดังนี้ โครงการปฐมนิเทศและอบรม คุณธรรม จริยธรรม นักเรียน นักศึกษาใหม, โครงการเขาคายพัก แรมลูกเสือ เนตรนารีวิสามัญ โครงการกีฬาสี ประจําป, กิจกรรม วันพลังสีขาว To Be Number One, กิจกรรมการประชุมทาง วิชาการ และการแขงขันทักษะ วิชาชีพ วิชาพื้นฐาน ระดับหนวย ภาค และชาติ, กิจกรรมนิทรรศการ “อาชีวศิลปกรรม”54, กิจกรรม นิทรรศการวิชาโครงการกิจกรรม ปฐมนิเทศนักศึกษาฝกงาน ตลอดจน กิจกรรมเดินวิ่งการกุศล “อาชีวศึกษามินิมาราธอน”

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดจัดกิจกรรมที่สงเสริมทางดาน วิชาการในทุกประเภทวิชา จํานวน 9 ครั้ง กิจกรรมที่สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนเกิดคานิยมที่ดี งามในวิชาชีพ ใหเกิดขึ้นในตัวของ นักเรียน นักศึกษา จํานวน 3 ครั้ง พรอมทั้งไดจัดกิจกรรมที่สงเสริม ดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ ใหเกิดขึ้นในตัวของบุคลากร และ นักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม จํานวน 38 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 50 ครั้ง คิดเปนรอยละ ๑๐๐ เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

ตัวบงชี้ ๓๓ จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรมที่สงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๙๘

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม ไดมีแผนปฏิบัติ การประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยสอดคลอง กับเปาประสงคเชิง ยุทธศาสตรที่ 1 เพื่อให บุคลากรมีความตระหนัก และมีจิตใตสํานึกในการ ทํานุบํารุง สืบสานภูมิ ปญญาไทย ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ กิจกรรมที่สงเสริมการ อนุรักษสิ่งแวดลอมทั้ง ภายใน และภายนอก สถานศึกษา เพื่อใหพัฒนา คุณภาพของผูเรียน

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ได ดําเนินตามโครงการตาง ๆ ในการ รวมกันสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรมประเพณี และทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม เชน จัดทําโครงการวัน สําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย โครงการกิจกรรมที่สงเสริมดานอนุรักษ สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี และ ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ไดแก กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาศาสนสถาน, กิจกรรมทําความสะอาดครั้งใหญ (BIG CLENING DAY) 5 ส. กิจกรรมรวมใจ อนุรักษพิทักษลําน้ําปง, กิจกรรมปลูก ปาเฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหามหาราชินี กิจกรรมทําบุญวิทยาลัย, กิจกรรมพิธี ไหวครู, กิจกรรมวันพอแหงชาติ 5 ธันวามหาราช, กิจกรรมวันแมแหงชาติ 12 สิงหา มหาราชินี, กิจกรรมวันปยะ มหาราช, กิจกรรม หลอเทียน และถวายเทียนพรรษา, กิจกรรมปลอยโคมลอยประเพณียี่เปง, กิจกรรมสวดมนตทํานองสรภัญญะหลัง กิจกรรมหนาเสาธง, กิจกรรมการแตง กายชุดพื้นเมือง และกิจกรรมทําบุญ ประเภทวิชาศิลปกรรม เปนตน นอกจากนี้ยังไดใหความรวมมือกับ หนวยงานตาง ๆ ที่ขอใหมีสวนรวม พรอมทั้งใหความรวมมือสนับสนุน กิจกรรมของสังคมทองถิ่น

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ได จัดกิจกรรมที่สงเสริมที่สงเสริมการ อนุรักษธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม จํานวน 5 ครั้ง ตลอดจนสงเสริม การอนุรักษและทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมประเพณี จํานวน 68 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 73 ครั้ง คิดเปนรอยละ 100 เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ ๓ ในแตละตัวบงชี้ มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๙๙

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้

สัมฤทธิ์ผลของ การดําเนินงาน

ผลการ ประเมิน

๑33 ครั้ง

ดี

รอยละ ๙7.81

ดี

รอยละ 7.98

ดี

ดี >๘๐ พอใช ๗๕-๘๐ ปรับปรุง< ๗๕

รอยละ ๑๐๐

ดี

ดี >๘๐ พอใช ๗๕-๘๐ ปรับปรุง< ๗๕

รอยละ ๑๐๐

ดี

เกณฑเชิงปริมาณ

๒๙. จํานวนครั้งของการจัดใหผูเรียน พบ ดี >๒๕ ครั้ง ครูที่ปรึกษา พอใช ๒๐-๒๕ ปรับปรุง< ๒๐ ครั้ง ๓๐. จํานวนครั้งของการจัดบริการ ตรวจ ดี ๑ครั้ง >๙๐% สารเสพติดใหกับผูเรียน พอใช ๑ครั้ง ๘๐-๙๐% ปรับปรุง ๑ครั้ง<๘๐% ๓๑. รอยละของผูเรียนที่ออกกลางคันเมื่อ ดี < ๓๑ พอใช ๓๑-๔๐ เทียบกับแรกเขา ปรับปรุง>๔๐ ๓๒. จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรม ที่สงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงาม ในวิชาชีพ รวมทั้งดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ ๓๓. จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรม ที่สงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี และทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม

สรุปจุดเดนของมาตรฐานที่ ๓

ไดแกตัวบงชี้ตอไปนี้ ๒๙. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมไดจัดใหผูเรียนพบครูที่ปรึกษาบอยครั้ง ๓๐. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมไดบริการตรวจสารเสพติดใหแกผูเรียนทั้งหมดในสถานศึกษา ๓๑. ผูเรียนที่ออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรกเขามีจํานวนนอย ๓๒. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมไดจัดกิจกรรมที่สงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม คานิยม ที่ดีงามในวิชาชีพ รวมทั้งดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธจํานวนมาก ๓๓. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมไดจัดกิจกรรมสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรมประเพณี และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมจํานวนมาก

มาตรฐานที่ ๔ การบริการวิชาชีพสูสังคม ขอกําหนดที่ ๔ สถานศึกษามีการบริการวิชาชีพสูสังคม ดังนี้

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๑๐๐

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๓๔ จํานวนและประสิทธิผลของกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาชีพ และฝกทักษะวิชาชีพ ความตระหนัก วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Awareness) (Attempt) (Achievement) กิจกรรม/โครงการที่ใหบริการ วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ได เชียงใหม ไดตระหนักตาม มอบหมายใหงานโครงการพิเศษและ วิชาชีพและสงเสริมความรู ในการบริการพัฒนาชุมชน ทองถิ่น ความสําคัญของการบริการ บริการชุมชน ฝายพัฒนากิจการ วิชาชีพ และการฝกทักษะ นักเรียน นักศึกษา แผนกวิชาตาง ๆ และกิจกรรม/โครงการฝกทักษะ วิชาชีพเพื่อการประกอบอาชีพของ วิชาชีพใหและชุมชน สังคม ไดดําเนินการฝกอบรมอาชีพระยะสั้น โดยมอบหมายใหงาน การประกอบ อาหาร การทําอาหารวาง ประชาชน จํานวน ๑6 โครงการพิเศษและบริการ ขนมไทย การสอนทํากระเปา การ กิจกรรม/โครงการ ชุมชน ฝายพัฒนากิจการ ฝกอบรม ๑๐๘ อาชีพ โครงการฝก เทียบเกณฑการตัดสิน นักเรียน นักศึกษา และ อาชีพนักเรียนเกา โรงเรียนตํารวจ อยูในระดับ ดี แผนกวิชาตาง ๆ ดําเนิน ตระเวนชายแดน การเขารวมสอน การบริการวิชาชีพ ใหแก อาชีพในงานวันวิชาการ โครงการฝก ประชาชน ชุมชน และสังคม อาชีพ ณ บริ ษั ท โตโยต า นครพิ ง ค ทั้งภาครัฐและเอกชน เชียงใหม จํากัด โครงการเปดวิทยาลัย สูชุมชนผูรับบริการ (Open House) โครงการศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน (Fix It Center)

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๐๑

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๓๕ รอยละของงบประมาณในการจัดกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาชีพ และฝกทักษะ วิชาชีพตองบดําเนินการ ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

คณะกรรมการสถานศึกษา ไดประชุมปรึกษาหารือเพื่อ จัดสรรงบประมาณในการ บริหารงานดานตาง ๆ และ จัดทําคําสั่งแตงตั้งให งาน ความรวมมือและประเภท วิชาตาง ๆ รวมกันบริการ วิชาชีพสูสังคม

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมได จัดสรรงบประมาณในการดําเนินงาน ในกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการ วิชาชีพและสงเสริมความรู อาทิ เชน ศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน (Fix it Center) โครงการเปดวิทยาลัยสู ชุมชน ไดรับจัดสรรงบประมาณจาก ตนสังกัด จํานวน 926,000 บาท สวนการดําเนินงานในกิจกรรม/ โครงการฝกทักษะวิชาชีพ เพื่อการ ประกอบอาชีพของประชาชน อาทิ เชน จัดกิจกรรมฝกอบรม 108 อาชีพ การสอนอาชีพระยะสั้น โครงการอาชีวะสรางงานสรางอาชีพ โครงการฝกอาชีพนักเรียนเกา โรงเรียนตํารวจตระเวรชายแดน ไดรับจัดสรรงบประมาณจาก หนวยงานอื่น 56,420 บาท รวมงบประมาณที่ไดรับจัดสรรทั้งสิ้น 982,420 บาท

งบประมาณที่ใชจริงในการ ดําเนินการตองบประมาณทั้งหมด ไมรวมงบลงทุน 982,420 : 21,450,000 บาท คิดเปนรอยละ 4.58 เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ ๔ ในแตละตัวบงชี้ มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๐๒

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้

เกณฑเชิงปริมาณ

๓๔. จํานวนและประสิทธิผลของ ดี ๔ กิจกรรมขึ้นไป กิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาชีพ พอใช ๒-๓ กิจกรรม และฝกทักษะวิชาชีพ ปรับปรุง ๐-๑ กิจกรรม ๓๕. รอยละของงบประมาณในการ จัดกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการ วิชาชีพและฝกทักษะวิชาชีพ ตองบดําเนินการ

ดี รอยละ ๐.๒ ขึ้นไป พอใช รอยละ ๐.๑๑-๐.๒๒ ปรับปรุง นอยกวารอยละ 0.11

สัมฤทธิ์ผลของการ ดําเนินงาน

ผลการ ประเมิน

๑6 กิจกรรม/ โครงการ

ดี

รอยละ 4.58

ดี

สรุปจุดเดนของมาตรฐานที่ ๔

ไดแกตัวบงชี้ตอไปนี้ ๓๔. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดจัดกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาชีพ และสงเสริมความรู ในการพัฒนาชุมชนและทองถิ่น และกิจกรรม/โครงการฝกทักษะวิชาชีพ เพื่อการประกอบอาชีพชองประชาชน จํานวนมาก ๓๕. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีงบประมาณที่ใชจริงในการดําเนินการจัดกิจกรรรม/โครงการที่ ใหบริการวิชาชีพ และฝกทักษะวิชาชีพตองบดําเนินการ

มาตรฐานที่ ๕ นวัตกรรมและการวิจัย มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๐๓

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ขอกําหนดที่ ๕ สถานศึกษามีการจัดการเกี่ยวกับนวัตกรรม และการวิจัย ดังนี้ ตัวบงชี้ ๓๖ จํานวนนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงาน ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สงเสริม สนับสนุนให ครูผูสอน ผูเรียน จัดทํา นวัตกรรม สิ่งประดิษฐคนรุน ใหม โครงงานและงานวิจัยใน ชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียน การสอนการประกอบอาชีพ หรือพัฒนาชุมชนทองถิ่น และประเทศชาติ จัดใหมี โครงการประกวดโครงงาน วิทยาศาสตร และ สิ่งประดิษฐจากวัสดุเหลือใช ทั้งกําหนดใหมีวิชาโครงการ สําหรับนักศึกษา ปวช.3 และปวส.2 เพื่อสงเสริมให บุคลากร และนักเรียน นักศึกษาทุกสาขาวิชาจัดทํา โครงงาน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ และงานวิจัย เพื่อกอใหเกิดการพัฒนาการ เรียนการสอน และมีการจัด เผยแพรไปยังชุมชน ทองถิ่น เพื่อเปนแนวทางในการ ประกอบอาชีพ

วิธีดําเนินการ (Attempt) กลุมงานวิจัย และพัฒนาสงเสริมให ผูสอน บุคลากรและผูเรียนจัดทํา งานวิจัยประเภทตาง ๆ มีการแจง ขาวสารเกี่ยวกับการวิจัย เพื่อกระตุนใหบุคลากรสนใจที่จะ จัดทําการวิจัย ผูสอนไดจัดทํา แผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณา การใหผูเรียนไดจัดทําโครงการ ประกอบการเรียนนอกจากนี้ยังได จัดนวัตกรรมเพื่อใชประกอบการ สอนอีกดวย

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) ทุกประเภทวิชา สาขางานไดจัดทํา นวัตกรรม สิ่งประดิษฐงานวิจัย และโครงงาน ชิ้นงานภาคเรียนที่ 1 ป 2554 ระดับ ปวช. จํานวน 378 เรือ่ ง/ชิ้น ระดับ ปวส. จํานวน 152 เรื่อง/ชิ้น รวม 530 เรื่อง/ชิ้น ชิ้นงานภาคเรียนที่ 2 ป 2554 ระดับ ปวช. จํานวน 741 เรื่อง/ชิ้น ระดับ ปวส. จํานวน 368 เรื่อง/ชิ้น รวม 1,109 เรื่อง/ชิ้น ผลงานครูผูสอน ป 2554 ระดับ ปวช. จํานวน 84 เรื่อง/ชิ้น ระดับ ปวส. จํานวน 29 เรื่อง/ชิ้น รวม 113 เรื่อง/ชิ้น รวมผลงานทั้งหมด ปการศึกษา 2554 จํานวน 1,752 เรื่อง/ชิ้น เทียบเกณฑการประเมิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๐๔

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ตัวบงชี้ ๓๗ จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงงานที่มีประโยชนทางวิชาชีพ และ/หรือ ไดรับการเผยแพรระดับชาติ ความตระหนัก วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Awareness) (Attempt) (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีการ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม เชียงใหม สงเสริมสนับสนุน ดําเนินงานและขอมูลที่แสดงความ มีนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย จัดสรรงบประมาณทั้ง ตระหนัก การปฏิบัติและความสําเร็จ โครงงานที่มีประโยชนทางวิชาชีพ ภายในและภายนอกให จากการปฏิบัติตามขอกําหนด โดยมี และ/หรือไดรับการเผยแพร ครูผูสอนและนักเรียน กิจกรรม/งาน/โครงการที่ดําเนินการ ระดับชาติ จํานวน 12 ชิ้น นักศึกษาในการจัดทํา เพื่อนําไปสูมาตรฐานคุณภาพ เชน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐคน โครงการพัฒนาทักษะการวิจัย เทียบเกณฑการตัดสิน รุนใหม งานวิจัย โครงงาน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ กิจกรรมการ อยูในระดับ ดี และผลงานทางวิชาการที่ ทําโครงงานของผูเรียน โครงการ ประกวดผลงานวิจัย นวัตกรรม พัฒนาองคความรูในการ จัดการเรียนการสอน เพื่อใช สิ่งประดิษฐและโครงงาน งาน ในการสราง พัฒนาสงเสริม สัปดาหวิทยาศาสตร ใหมีการเผยแพรไปสูชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตัวบงชี้ ๓๘ รอยละของงบประมาณที่ใชในการสราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานตองบดําเนินการ ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม ไดมอบหมายให งานวิจัยและพัฒนา ดําเนินการจัดการเกี่ยวกับ นวัตกรรม และการวิจัย รวมทั้งจัดสรรงบประมาณ ดําเนินการให ครู และ นักเรียน นักศึกษาในการ สรางพัฒนา และเผยแพร นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ

วิธีดําเนินการ (Attempt) สถานศึกษา ไดจัดสรรงบประมาณ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ในการสนับสนุนใหครูและนักเรียน นักศึกษาในการสราง พัฒนา และ เผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงานสิ่งประดิษฐ คนรุนใหมประเภทนวัตกรรม อาทิ เชน ผลิตภัณฑสําเร็จรูป ผงโรยขาว รสแกงไทย ไดรับรางวัล ชนะเลิศอันดับที่ 1 ผลิตภัณฑ สําเร็จรูปน้ําสลัดจากขาวกลองงอก

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) งบประมาณทั้งหมดที่วิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม ไดรับจากตน สังกัดจํานวน 21,450,000 บาท สวนงบประมาณที่ใชในการสราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และ โครงการทั้งหมด 1,043,000 บาท แยกเปนงบลงทุนที่ สถานศึกษาไดรับจากหนวยงานตน สังกัด จํานวน 1,015,500 บาท และ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๐๕

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก (Awareness) งานวิจัยและโครงงาน ไป ยังหนวยงานตาง ๆ พรอม ทั้งตีพิมพในหนังสือพิมพ เชียงใหมนิวส สงขาวไปยัง สถานีวิทยุกระจายเสียง กรมประชาสัมพันธ จังหวัดเชียงใหม และ สถานีวิทยุเสียงชุมชน

วิธีดําเนินการ (Attempt) ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ผลิตภัณฑสําเร็จรูป ซอสฟกขาว ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 งานนวัตกรรมทําไดสบายมาก ของอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม และ ไดรับการสนับสนุนจากโครงการ กรุงไทยยุววานิช การจัดทําแผนธุรกิจ ผลิตภัณฑสําเร็จรูป ซอสฟกขาว เปนตน

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) งบประมาณที่วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม ไดรับจากหนวยงานอื่น จํานวน 27,500 บาท งบประมาณ ที่ใชจริงในการสงเสริมและ สนับสนุนการสรางพัฒนาและ เผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงาน ตอ งบประมาณทั้งหมด 1,043,000 : 21,450,000 คิดเปนรอยละ 4.86

เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี ตัวบงชี้ ๓๙ จํานวนครั้งและ ชองทางการเผยแพรขอมูลขาวสารเกี่ยวกับนวัตกรรม สิ่งประดิษฐงานวิจัย และโครงงาน ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

วิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม ไดมอบหมายให งานวิจัย พัฒนา นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ ดําเนินการจัดการเกี่ยวกับ นวัตกรรมและการวิจัย รวมทั้งจัดสรรงบประมาณ ดําเนินการใหบุคลากรและ ผูเรียนในการสราง พัฒนา มอบหมายใหงาน ประชาสัมพันธและ ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ เผยแพรผลงานเกี่ยวกับ นวัตกรรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน

กลุมงานประชาสัมพันธรวบรวม ขาวสาร นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงาน ที่นําไปใชในการ พัฒนาการเรียน การสอนชุมชน สังคมและประเทศชาติ แลวเผยแพร โครงการสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส ไปยังหนังสือพิมพเชียงใหมนิวส หนังสือพิมพไทยนิวส สงโทรสาร ไปยังสถานีวิทยุทองถิ่น โทรทัศน ครูประจําวิชาไดจัดทํา E-Learning ของ สถานศึกษา http://www.cmvc.ac.th ปายประชาสัมพันธ จัดทําใบปลิว แผนพับ สปอตโฆษณา และ

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ทําการเผยแพร ขอมูลขาวสาร เกี่ยวกับ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย ในการพัฒนาการเรียน การสอน ชุมชน สังคม และ ประเทศชาติ จํานวน 10 ชอง ๑30 ครั้ง เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

0

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๐๖

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ (Attempt)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement)

ประชาสัมพันธเสียงตามสายภายใน และภายนอกสถานศึกษา ฝายวิชาการจัดนิทรรศการ โครงการ โครงการวิชาชีพ โครงงาน วิทยาศาสตร โครงการอาชีวศิลปกรรม 54 และจัดทําเอกสารเผยแพร สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ ๕ ในแตละตัวบงชี้ ตัวบงชี้

เกณฑเชิงปริมาณ

สัมฤทธิ์ผลของ การดําเนินงาน รอยละ ๑๐๐

ผลการ ประเมิน ดี

๓๖. จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงาน

ดี ๑๐๐ ปวช.>๑ ชิ้น/ภาคเรียน ปวส.>๔ ชิ้น/ภาคเรียน พอใช ๗๕-๙๙ ปรับปรุง < ๗๕ รอยละของสาขางาน ทั้ง ปวช . และ ปวส.

๓๗. จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงงาน ที่มีประโยชนทาง วิชาชีพและ/หรือ ไดรับการเผยแพร ระดับชาติ ๓๘. รอยละของงบประมาณที่ใชในการ สราง พัฒนาและเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงานตอ งบดําเนินการ ๓๙. จํานวนครั้งและชองทางการเผยแพร ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน

ดี > ๓ ชิ้น พอใช ๒ ชิ้น ปรับปรุง ๑ ชิ้น

จํานวน ๑2 ชิ้น

ดี

ดี >๑.๐๐ พอใช ๐.๕๐-๑.๐๐ ปรับปรุง< ๐.๕๐

รอยละ 4.86

ดี

ดี ๔ ครั้ง ๔ ชองทาง พอใช ๒-๓ ครั้ง ๒-๓ ชองทาง ปรับปรุง ๑ ครั้ง ๑ ชองทาง

130 ครั้ง 10 ชองทาง

ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๑๐๗

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

สรุปจุดเดนของมาตรฐานที่ ๕

ไดแกตัวบงชี้ตอไปนี้ ๓๖. ทุกสาขางานทั้งหลักสูตร ปวช. และ ปวส. มีการจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน ๓๗. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีจํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงงานที่มีประโยชน ทางวิชาชีพ และ/หรือไดรับการเผยแพรระดับชาติ ๓๘. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีงบประมาณที่ใชในการสราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานตองบดําเนินการ ๓๙. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีการเผยแพรขอมูลขาวสารเกี่ยวกับนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน จํานวนหลายครั้งและหลายชองทาง

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๑๐๘

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานที่ ๖ ภาวะผูนําและการจัดการ ขอกําหนดที่ ๖ ผูบริหารมีภาวะผูนําและการจัดการศึกษาในสถานศึกษา ดังนี้ ตัวบงชี้ ๔๐ ระดับคุณภาพการบริหารงานของผูบริหารที่สอดคลองกับแผนยุทธศาสตร และการมี สวนรวมของประชาคมอาชีวศึกษาดวยความโปรงใสตรวจสอบได ความตระหนัก วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Awareness) (Attempt) (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ระดับคุณภาพการบริหารงานของ ไดจัดทําสั่งแตงตั้งคณะทํางาน ไดกระจายอํานาจในการบริหารงาน ผูบริหารที่มีคุณภาพ โดยมี ตามโครงสรางการบริหาร โดยการจัดทําคําสั่งแตงตั้ง การดําเนินงานตามองคประกอบ สถานศึกษา คณะกรรมการ ผูรับผิดชอบงานตาง ๆ ในสถาน ๙ ขอ สถานศึกษาและคณะทํางาน ศึกษา มีการกําหนดจุดมุงหมาย เทียบเกณฑตัดสิน ดานตาง ๆ เพื่อบุคลากร เปาหมาย ทิศทางการวางแผน อยูในระดับ ดี ทุกทานไดรับทราบขอบขาย จัดการศึกษาของตนเอง ตามแผน ที่รับผิดชอบและสามารถ ยุทธศาสตร เพื่อการพัฒนาวิทยาลัย ปฏิบัติหนาที่ไดตรงตามสาย อาชีวศึกษาเชียงใหม พ.ศ.๒๕๕๓ – การบริหาร บุคลากร ๒๕๕๖ ซึ่งแผนยุทธศาสตรนี้ไดจัดทํา ดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร โดยบุคลากรทุกฝาย ไดรวมกันคิด ที่ไดจัดทําไว และมีการ ตัดสินใจ บริหารการจัดการศึกษา พัฒนาการดําเนินงานตามแผน เพื่อชวยกันขับเคลื่อนการจัด ยุทธศาสตรใหดีขึ้น โดย การศึกษาไปสูเปาหมาย พิจารณาจากผลงานในป ตามวิสัยทัศนที่ไดกําหนดไว และ ที่ผานมา ผลการประเมิน สถานศึกษาไดดําเนินการประกัน ตนเองและผลการประเมิน คุณภาพการศึกษา โดยมีการตรวจ คุณภาพภายนอก โดยมีการ ติดตาม กํากับ ดูแล และ ประเมินผล ดําเนินการตามวงจรคุณภาพ การดําเนินงาน ไดจัดทํารายงานการ PDCA ประเมินตนเอง (SAR) ทุกปการศึกษา แลวนําผลการประเมินมาใชในการ วางแผนและการ ปฏิบัติงาน ได จัดทําแผนปฏิบัติงานประจําป เพื่อสงเสริมจุดเดนและแกไขจุดดอย แลวนําขอเสนอแนะมาพัฒนาในป มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๐๙

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

การศึกษา ๒๕๕5 ตอไป ตัวบงชี้ ๔๑ รอยละของบุคลากร ในสถานศึกษาที่สามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ วิธีดําเนินการ (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม วิทยาลัยฯ มีการดําเนินการจัดกิจกรรม เล็งเห็นถึงความสําคัญของการ เพื่อใหครูและบุคลากรทางการศึกษา สนับสนุนครูและบุคลากร ไดมีโอกาสแสดงออกและประพฤติ ทางการศึกษาใหเปนผูมี ปฏิบัติตนตามมาตรฐานวิชาชีพและ ความสามารถในการปฏิบัติตน จรรยาบรรณวิชาชีพ โดยจัดทํา ตามจรรยาบรรณมาตรฐาน โครงการพัฒนาบุคลากรดานคุณธรรม วิชาชีพ โดยยึดหลักตาม จริยธรรม ใหครูเขาปฏิบัติธรรม ขอบังคับคุรุสภาวาดวย ณ สํานักปฏิบัติธรรม วัดทุงบอแปน มาตรฐานวิชาชีพ และ อ.หางฉัตร จ.ลําปาง นอกจากนี้ยังจัด จรรยาบรรณของวิชาชีพ กิจกรรมทําบุญวิทยาลัยฯ อยาง พ.ศ. 2548 ซึ่งสอดคลองกับ ตอเนื่องทุกป มีการแจงเวียนเรื่องการ วิทยาลัยฯ ที่ไดกําหนดประเด็น ทําบุญในโอกาสตาง ๆ และมีการ บริจาคปจจัยเพื่อชวยเหลือเพื่อนครู ยุทธศาสตรดานการบริหาร จัดการศึกษาตามหลักปรัชญา และผูประสบปญหาและภัยตาง ๆ ตามกําลังศรัทธา จัดกิจกรรมใหครู ของเศรษฐกิจพอเพียง โดย เขารวมกิจกรรมในวันสําคัญของชาติ มุงเนนใหครูและบุคลากร ทางการศึกษาใหเปนผูมีความ ศาสนา พระมหากษัตริย สนับสนุน ใหครูไดสงผลงานเพื่อรับรางวัลเชิดชู พอประมาณ มีเหตุผล เกียรติ ทั้งดานความรูและคุณธรรม มีภูมิคุมกัน ภายใตเงื่อนไข ดานการประกอบวิชาชีพ งานบุคลากร ความรูและคุณธรรม ดําเนินการติดตามครูและบุคลากร ทางการศึกษาใหมีใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพ และดําเนินการตอใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพ ใหกับผูบริหาร ขาราชการครู และครูอัตราจางที่ หมดอายุอยางตอเนื่อง วิทยาลัยฯ มีการแตงตั้งคณะกรรมการประเมิน ความประพฤติในการรักษาวินัย ความตระหนัก(Awareness)

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพ ไดอยางถูกตอง เหมาะสม จํานวน 118 คน จากจํานวนครูทั้งหมด 118 คน คิดเปนรอยละ 100 เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๑๐

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก (Awareness)

วิธีดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Attempt) (Achievement) คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ วิชาชีพ รวมกับการประเมิน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการ ปฏิบัติงาน ของขาราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ปละ 2 ครั้ง จํานวน 200 คะแนน โดยการ ประเมินจากสภาพจริงและเก็บขอมูล จากสมุดบันทึกความดีรายบุคคล ตัวบงชี้ ๔๒ ระดับคุณภาพของการจัดการระบบสารสนเทศของสถานศึกษาเพื่อการบริหารจัดการและ การจัดการความรูของสถานศึกษา ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดตระหนักถึงความสําคัญ ของ การจัดระบบสารสนเทศของ สถานศึกษาเพื่อการบริหาร จัดการและการจัดการความรู ของสถานศึกษา โดยได ดําเนินการจัดทําขอมูลพื้นฐาน ทั้ง 8 ดาน ที่เกี่ยวกับ สถานศึกษาทั้งหมด เชน ขอมูล นักเรียน บุคลากร จัดทําระบบบริหารจัดการ ขอมูลที่เปนปจจุบันและมี ประสิทธิภาพ รวมทั้งจัดทํา แผนงาน/โครงการพัฒนาระบบ เครือขายขอมูลสารสนเทศให ครอบคลุมทั่วถึง และเชื่อมโยง กัน แผนงานโครงการมีการ ดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA

วิธีดําเนินการ (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมได ดําเนินงานดังตอไปนี้ ๑. มีการจัดทําขอมูลพื้นฐานทั้ง 8 ดาน (ขอมูลนักเรียน นักศึกษา ขอมูลบุคลากร ขอมูลงบประมาณ ขอมูลหลักสูตร ขอมูลครุภัณฑ ขอมูล ทั่วไป ขอมูลสถานประกอบการ ขอมูล สถานที่) อยางมีประสิทธิภาพ และ เปนปจจุบัน ๒. มีการพัฒนารับการบริหารจัดการ ขอมูลที่เหมาะสม ทันสมัย รวมถึง มีการปรับปรุงระบบการบริหารจัดการ ขอมูลของสถานศึกษาอยางตอเนื่อง ๓. มีการปรับปรุงตามผลการประเมิน ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของ ระบบการบริหารจัดการขอมูล

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) มีการจัดระบบสารสนเทศ และ จัดการความรูของวิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม พิจารณา ตามองคประกอบ คือ ๑. มีขอมูลพื้นฐานเพื่อการ ตัดสินใจที่เปนปจจุบัน ๒. มีระบบการบริหารจัดการ ขอมูลที่เหมาะสม และ มีผูรับผิดชอบ ๓. มีระบบฐานขอมูลทั้งหมด ที่ประสานกันเปนเครือขายของ สถานศึกษา ๔. มีการประเมินประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของระบบ การบริหารจัดการขอมูล ๕. มีการปรับปรุงระบบบริหาร จัดการขอมูลอยางตอเนื่อง เทียบเกณฑการตัดสิน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๑๑

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ ๖ ในแตละตัวบงชี้ ตัวบงชี้

เกณฑเชิงปริมาณ

๔๐. ระดับคุณภาพการบริหารงานของ ผูบริหารที่สอดคลองกับแผนยุทธศาสตร และการมี สวนรวมของประชาคม อาชีวศึกษาดวยความโปรงใสตรวจสอบ ได ๔๑. รอยละของบุคลากรในสถานศึกษา ที่สามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพ ๔๒. ระดับคุณภาพของการจัดการ ระบบสารสนเทศของสถานศึกษา เพื่อการบริหารจัดการ และการจัดการ ความรูของสถานศึกษา

สัมฤทธิ์ผลของ การดําเนินงาน

ผลการประเมิน

ดี ๘-๙ ขอ พอใช ๖-๗ ขอ ปรับปรุง<๖ขอ

บริหารงาน ครบ องคประกอบ ๙ ขอ

ดี

ดี >๙๐ พอใช ๘๕-๙๐ ปรับปรุง < ๘๕ ดี ปฏิบัติ ๑-๔ หรือ ๑-๕ พอใช ๑-๓ ปรับปรุง ๑-๒

รอยละ ๑๐๐

ดี

๕ ขอ

ดี

สรุปจุดเดนของมาตรฐานที่ ๖

ไดแกตัวบงชี้ตอไปนี้ ๔๐. การบริหารงานของผูบริหารสอดคลองกับแผนยุทธศาสตร และการมีสวนรวมของประชาคม อาชีวศึกษา ดวยความโปรง ตรวจสอบได ๔๑. ครูทุกคนในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมสามารถปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ ไดอยางถูกตอง เหมาะสม ๔๒. การจัดระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการ และการจัดการความรูของวิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหมมีคุณภาพ

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๑๒

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

มาตรฐานที่ ๗ มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน ขอกําหนดที่ ๗ สถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ดังนี้ ตัวบงชี้ ๔๓ ระบบและกลไก ในการประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิดการพัฒนาสถานศึกษา อยางตอเนื่อง ความตระหนัก (Awareness) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม โดยคณะกรรมการสถานศึกษา สาขาวิชา คณะครู จัดประชุม เพื่อจัดทําแผนยุทธศาสตร แผนปฏิบัติการประจําป แผนงานประกันคุณภาพและ แตงตั้งคณะกรรมการประกัน คุณภาพภายใน โดยมอบหมาย งานประกันคุณภาพใหจัดทํา คูมือการประกันคุณภาพ จัดทํามาตรฐานและเกณฑ การประกันคุณภาพ จัดทํา แผนกํากับติดตาม และจัดทํา รายงานการประกันคุณภาพ ประชุมครู และบุคลากรใน สถานศึกษา เพื่อใหความรูเรื่อง การประกันคุณภาพภายในและ ความรูดานประกันคุณภาพแก ผูเรียน

วิธีดําเนินการ (Attempt) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม ไดมอบหมายใหงานวางแผนและ งบประมาณเปนผูประสานงานกับ บุคลากรสาขาวิชา และงานตาง ๆ จัดทําแผน โครงการที่สอดคลองกับ ยุทธศาสตรของสาขาวิชา และ ยุทธศาสตรของสถานศึกษา จัดทํา ปฏิทินการดําเนินงานตามแผนงาน โครงการที่กําหนดไว และแตงตั้ง คณะกรรมการดําเนินงานและจัด กิจกรรมตามปฏิทินที่กําหนด

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีระบบและกลไกการประกัน คุณภาพภายในที่กอใหเกิดการ พัฒนาสถานศึกษาอยางตอเนื่อง โดยมีการปฏิบัติการดังนี้ จัดทํา คูมือ แผนการประกันคุณภาพ มีหลักฐานรายงานตรวจสอบ มีขอมูลหลักฐานการตอบสนอง ขอคิดเห็น มีการปรับปรุงกลไก การดําเนินงานประกันคุณภาพ การศึกษา และมีการรายงาน การประเมินตนเองของบุคคล สาขาวิชา และสถานศึกษา จึงสรุปไดวา ระบบและกลไก ในการประกันคุณภาพภายใน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๑๓

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ความตระหนัก วิธีดําเนินการ (Awareness) (Attempt) ตัวบงชี้ ๔๔ ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีการดําเนินงานอยางเปนระบบ ไดมอบหมายใหฝายแผนงานและ ความรวมมือ คณะกรรมการ และมีกลไกประกันคุณภาพ ดําเนินงานประกันคุณภาพได ภายในสถานศึกษา โดย เผยแพรรายงานผลการประกัน มอบหมายใหงานประกัน คุณภาพภายในตอกรรมการ คุณภาพและมาตรฐาน สถานศึกษา พรอมทั้ง คณะครู การศึกษา รายงานผลการ นักเรียน นักศึกษา บุคลากร ประกันคุณภาพภายในตอ ทางการศึกษา ผูปกครองของ คณะกรรมการสถานศึกษา สถานศึกษา สํานักงานคณะกรรมการ คณะครู นักเรียน นักศึกษา การอาชีวศึกษาและสถานศึกษา บุคลากรทางการศึกษา ผูปกครองของสถานศึกษา และ อื่น ๆ ไดเผยแพรผานทางเว็บไซด สาธารณชนพรอมทั้งนําผลการ ของสถานศึกษาใหแกสาธารณชน ประเมินมาใชในการพัฒนาการ ไดรับทราบ พรอมทั้งนําผลการ บริหารงานใหมีคุณภาพยิ่งขึ้น ประเมินแจงในที่ประชุมเพื่อให บุคลากรแตละสาขาวิชา และงาน ตาง ๆ จัดประชุมปรึกษาหารือ ปรับปรุงการบริหารจัดการใหได มาตรฐาน โดยไดดําเนินงานอยาง ตอเนื่อง

ผลการประเมินคุณภาพภายใน (Achievement) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม มีการรายงานผลการประกัน คุณภาพภายในตอกรรมการ สถานศึกษา คณะครู นักเรียน นักศึกษา บุคลากรทางการศึกษา ผูปกครองของสถานศึกษา และ สาธารณชนพรอมทั้งไดนําผลการ ประเมินมาใชในการปรับปรุง การ บริหารใหไดมาตรฐาน และจัดทํา แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา อยางตอเนื่อง จนทําใหเกิดผลดี มี นวัตกรรม ที่พัฒนาขึ้น รวมทั้งเกิด การพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหสูงขึ้น จึงสรุปไดวาประสิทธิผลของการ ประกันคุณภาพภายใน อยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๑๔

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ ๗ ในแตละตัวบงชี้ สัมฤทธิ์ผลของ การดําเนินงาน

ผลการ ประเมิน

ดี ปฏิบัติ ๑-๔ พอใช ๑-๓ ปรับปรุง ๑-๒

มีการปฏิบัติ ครบ ๔ ขอ

ดี

๔๔. ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพ ดี ปฏิบัติ ๑-๓ พอใช ๑-๒ ภายใน ปรับปรุง ๑

มีการปฏิบัติ ครบ ๓ ขอ

ดี

ตัวบงชี้

เกณฑเชิงปริมาณ

๔๓. ระบบและกลไกในการประกัน คุณภาพภายในที่กอใหเกิดการพัฒนา สถานศึกษาอยางตอเนื่อง

สรุปจุดเดน ของมาตรฐานที่ ๗

ไดแกตัวบงชี้ตอไปนี้ ๔๓. การประกันคุณภาพภายในมีระบบและกลไกที่ดี ทําใหเกิดการพัฒนาวิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงใหม อยางตอเนื่อง ๔๔. การประกันคุณภาพภายในมีประสิทธิผลอยูในระดับดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ตอนที่ ๕ สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานและแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต ๕.๑ ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน

๑ รอยละของผูเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนตามเกณฑที่กําหนดตามชั้นป ๓. รอยละของผูเรียนที่สามารถประยุกต หลักการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร มาใชแกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพ อยางเปนระบบ ๔. รอยละของผูเรียนที่มีทักษะในการ สื่อสาร ดานการฟง การอาน การเขียน และการสนทนาทั้งภาษาไทย และ ภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสาร ไดอยางถูกตองเหมาะสม ๕. รอยละของผูเรียนที่มีความสามารถ ใชความรูและเทคโนโลยีที่จําเปนในการ ศึกษาคนควา และปฏิบัติงานวิชาชีพ ไดอยางเหมาะสม ๖. รอยละของผูเรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และมีมนุษย สัมพันธที่ดี

เทียบเกณฑ สอศ.

รอยละ 93.71

รอยละ 81.36

ดี > ๗๔ พอใช ๖๐ - ๗๔ ปรับปรุง < ๖๐

รอยละ 75.90

ดี > ๗๔ พอใช ๖๐ - ๗๔ ปรับปรุง < ๖๐

รอยละ ๙๓.86

ดี > ๗๔ พอใช ๖๐ - ๗๔ ปรับปรุง < ๖๐

รอยละ ๙๗.96

ดี > ๗๔ พอใช ๖๐ - ๗๔ ปรับปรุง < ๖๐ ดี > ๗๔ พอใช ๖๐ - ๗๔ ปรับปรุง < ๖๐

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

ปรับปรุง

ผลสัมฤทธิ์ ของการ ดําเนินการ

พอใช

เกณฑเชิงปริมาณ

ดี

ตัวบงชี้

ผลการประเมิน


๑๑๖

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ตัวบงชี้

เกณฑเชิงปริมาณ

๗. รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จ การศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ ๘. รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จ การศึกษา ตามหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ๙. รอยละของผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่ผานการประเมิน มาตรฐานวิชาชีพ ๑๐. รอยละของผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงทีผ่ านการ ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ๑๑. รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่ได งานทําในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพ อิสระ และศึกษาตอภายใน ๑ ป ๑๒. ระดับความพึงพอใจของสถาน ประกอบการ ที่มีตอคุณลักษณะที่พึงประสงค ดานคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณใน วิชาชีพของผูสําเร็จการศึกษา ๑๓. รอยละของผูเรียนสามารถวางแผนธุรกิจ ประกอบอาชีพ และมีรายไดระหวางเรียน

ผลสัมฤทธิ์ ของการ ดําเนินการ

ผลการประเมิน

เทียบเกณฑ สอศ.

ดี

ดี > ๗๔ พอใช ๖๐ - ๗๔ ปรับปรุง < ๖๐

รอยละ 74.66

ดี > ๗๔ พอใช ๖๐ - ๗๔ ปรับปรุง < ๖๐

รอยละ 80.88

ดี > ๗๔ พอใช ๖๐ - ๗๔ ปรับปรุง < ๖๐ ดี > ๕๙ พอใช ๕๐ - ๕๙ ปรับปรุง < ๕๐ ดี > ๕๙ พอใช ๕๐ - ๕๙ ปรับปรุง < ๕๐ ดี ๔.๐๐-๕.๐๐ พอใช ๓.๕๐ -๓.๙๙ ปรับปรุง ๑.๐๐๓.๔๙ ดี > ๖๐ พอใช ๕๐ - ๖๐ ปรับปรุง < ๕๐

รอยละ 97.51  รอยละ 99.30  รอยละ ๘๗.36  เฉลี่ยโดยรวม ๔.๓9

รอยละ 75.45

ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๑ มีฐานนิยมอยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

พอ ปรับ ใช ปรุง


๑๑๗

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๒ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

๑๔. รอยละหลักสูตรฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพ ดี > ๗๕ รอยละ ๑๐๐ พอใช ๖๐ - ๗๕ ปรับปรุง < ๖๐ ๑๕. รอยละของแผนการจัดการเรียนรู ดี > ๗๕ รอยละ 85.74 แบบบูรณาการ พอใช ๖๐ - ๗๕ ปรับปรุง < ๖๐ ๑๖. ระดับความพึงพอใจของผูเรียนตอ ดี ๔.๐๐-๕.๐๐ คาเฉลี่ย ๔.๕3 คุณภาพ การสอนของผูสอน พอใช ๓.๕๐ -๓.๙๙ ปรับปรุง ๑.๐๐-๓.๔๙ ๑๗. รอยละของงบประมาณที่สถานศึกษา ดี > ๑๕ รอยละ 18.66 จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ สําหรับการจัดการเรียน พอใช ๑๐ - ๑๕ การสอนอยางเหมาะสม ปรับปรุง < ๑๐ ๑๘. ระดับความเหมาะสมและเพียงพอของ ดี ๑: ๑ ผูเรียน : ระบบคอมพิวเตอรในแตละสาขาวิชา พอใช ๒ : ๑ คอมพิวเตอร ปรับปรุง ๓ : ๑ ๑:๑ ๑๙. ระดับความเหมาะสมในการจัดอาคารเรียน ดี ปฏิบัติทุกขอ ปฏิบัติครบ อาคารประกอบการ หองเรียนหองปฏิบัติการ พอใช ปฏิบัติ ๑-๓ ๔ ขอ โรงฝกงาน พื้นที่ฝกปฏิบัติงาน เหมาะสมกับ ปรับปรุง ปฏิบัติ ๑-๒ วิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู และเกิดประโยชนสูงสุด ๒๐. ระดับความเหมาะสมในการจัดศูนย ดี ปฏิบัติทุกขอ ปฏิบัติครบ วิทยบริการ ใหเหมาะสมกับวิชาที่เรียน พอใช ปฏิบัติ ๑-๓ ๔ ขอ มีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรูและเกิดประโยชน ปรับปรุง ปฏิบัติ ๑-๒ สูงสุด มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

เทียบเกณฑ สอศ.

     

ปรับปรุง

ผลสัมฤทธิ์ ของการ ดําเนินการ

พอใช

เกณฑเชิงปริมาณ

ดี

ตัวบงชี้

ผลการประเมิน


๑๑๘

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

๒๑. ระดับความเหมาะสมในการจัดใหมี ครุภัณฑและอุปกรณ ๒๒. ระดับคุณภาพการจัดระบบความปลอดภัย ของสภาพแวดลอมสิ่งอํานวยความสะดวก ที่เอื้อตอการเรียนรู ในสาขาวิชา/สาขางาน ๒๓. รอยละของบุคลากรภายในสถานศึกษา ที่ไดรับการพัฒนาตามหนาที่ที่รับผิดชอบ ๒๔. จํานวนครั้งหรือปริมาณในการระดม ทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา เพื่อสนับสนุน การจัด การศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ ๒๕. จํานวนสถานประกอบการที่มีการ จัดการศึกษารวมกับสถานศึกษา ในการ จัดการศึกษาระบบทวิภาคีและระบบปกติ ๒๖. จํานวนคน-ชั่วโมงของผูเ ชีย่ วชาญ ผูทรงคุณวุฒิ หรือภูมิปญญาทองถิ่น ที่มีสวนในการพัฒนาผูเรียน ๒๗. อัตราสวนของผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิ ดานวิชาชีพตอผูเรียนในแตละสาขาวิชา ๒๘. อัตราสวนของผูสอนประจําตอผูเรียน

ดี ปฏิบัติทุกขอ พอใช ปฏิบัติ ๑-๔ ปรับปรุง ปฏิบัติ ๑-๓ ดี > ๗๐ พอใช ๖๐ - ๗๐ ปรับปรุง < ๖๐ ดี > ๘๙ พอใช ๗๕ - ๘๙ ปรับปรุง < ๗๕ ดี > ๒๕ ครั้ง พอใช ๒๐-๒๔ ปรับปรุง < ๑๕ แหง ดี > ๒๐ แหง พอใช ๑๕ - ๑๙ แหง ปรับปรุง < ๑๕ แหง ดี > ๘๙ พอใช ๗๕ - ๘๙ ปรับปรุง < ๗๕ ดี ๑๐๐ พอใช ๕๐ - ๙๙ ปรับปรุง < ๕๐ ดี ๑: < ๒๕ พอใช ๑ : ๒๕-๓๐

ปฏิบัติครบ ๕ ขอ

รอยละ ๑๐๐

รอยละ 100

จํานวน 136 ครั้ง

จํานวน 453 แหง

รอยละ ๑๐๐

รอยละ ๑๐๐

อัตราสวน ๑:๒5 

ปรับปรุง ๑ : ๓๐

ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๒ มีฐานนิยมอยู่ในระดับ ดี มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

ปรับปรุง

เทียบเกณฑ สอศ.

พอใช

ผลสัมฤทธิ์ ของการ ดําเนินการ

เกณฑเชิงปริมาณ

ดี

ตัวบงชี้

ผลการประเมิน


๑๑๙

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

๒๙. จํานวนครั้งของการจัดใหผูเรียน พบครูที่ปรึกษา ๓๐. จํานวนครั้งของการจัดบริการ ตรวจสารเสพติดใหกับผูเรียน ๓๑. รอยละของผูเรียนที่ออกกลางคัน เมื่อเทียบกับแรกเขา ๓๒. จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรม ที่สงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ รวมทั้ง ดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ ๓๓. จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรม ที่สงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี และทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม

ดี > ๒๕ ครั้ง พอใช ๒๐-๒๕ ปรับปรุง < ๒๐ ครั้ง ดี ๑ ครั้ง> ๙๐% พอใช ๑ ครั้ง ๘๐-๙๐% ปรับปรุง ๑ ครั้ง< ๘๐% ดี < ๓๑ พอใช ๓๑-๔๐ ปรับปรุง> ๔๐ ดี > ๘๐ พอใช ๗๕ - ๘๐ ปรับปรุง < ๗๕ ดี > ๘๐ พอใช ๗๕ - ๘๐ ปรับปรุง < ๗๕

133 ครั้ง

รอยละ 97.81

รอยละ 7.98

รอยละ ๑๐๐

รอยละ ๑๐๐

ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๓ มีฐานนิยมอยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

เทียบเกณฑ สอศ.

ปรับปรุง

เกณฑเชิงปริมาณ

ผลการประเมิน พอใช

ตัวบงชี้

ผลสัมฤทธิ์ ของการ ดําเนินการ

ดี

ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๓ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน


๑๒๐

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๔ การบริการวิชาชีพสูสังคม

๓๔. จํานวนและประสิทธิผลของ กิจกรรม/โครงการที่ใหบริการ วิชาชีพและฝกทักษะวิชาชีพ ๓๕. รอยละของงบประมาณในการจัด กิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาชีพ และฝกทักษะวิชาชีพตองบดําเนินการ

ดี ๔ กิจกรรมขึ้นไป พอใช ๒-๓ กิจกรรม ปรับปรุง ๐-๑ กิจกรรม ดี รอยละ ๐.๒ ขึ้นไป พอใช รอยละ ๐.๑๑-๐.๒๒ ปรับปรุง นอยกวารอยละ ๐.๑๑

๑6 กิจกรรม/ โครงการ

รอยละ 4.58

ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๔ มีฐานนิยมอยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

ปรับปรุง

เทียบเกณฑ สอศ.

พอใช

เกณฑเชิงปริมาณ

ผลการประเมิน

ดี

ตัวบงชี้

ผลสัมฤทธิ์ ของการ ดําเนินการ


๑๒๑

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

๓๖. จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน

๓๗. จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงงาน ที่มีประโยชน ทางวิชาชีพและ/หรือไดรับการ เผยแพรระดับชาติ ๓๘. รอยละของงบประมาณที่ใช ในการสราง พัฒนา และเผยแพร นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานตองบดําเนินการ ๓๙. จํานวนครั้งและชองทางการเผยแพร ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน

ดี ๑๐๐ ปวช. >๑ชิ้น/ภาคเรียน ปวส. >๔ชิ้น/ภาคเรียน พอใช ๗๕-๙๙ ปรับปรุง < ๗๕ รอยละของสาขางาน ทั้ง ปวช.และ ปวส. ดี > ๓ ชิ้น พอใช ๒ ชิ้น ปรับปรุง ๑ ชิ้น

รอยละ ๑๐๐

เทียบเกณฑ สอศ.

จํานวน ๑2 ชิ้น 

ดี >๑.๐๐ พอใช ๐.๕๐ – ๑.๐๐ ปรับปรุง < ๐.๕๐

รอยละ 4.86

ดี ๔ ครั้ง ๔ ชองทาง พอใช ๒-๓ ครั้ง ๒-๓ ชองทาง ปรับปรุง ๑ ครั้ง ๑ชองทาง

130 ครั้ง 10 ชองทาง

ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๕ มีฐานนิยมอยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

ปรับปรุง

เกณฑเชิงปริมาณ

ผลการประเมิน พอใช

ตัวบงชี้

ผลสัมฤทธิ์ ของการ ดําเนินการ

ดี

ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๕ นวัตกรรมและการวิจัย


๑๒๒

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๖ ภาวะผูนําและการจัดการ

๔๐. ระดับคุณภาพการบริหารงานของ ผูบริหารที่สอดคลองกับแผนยุทธศาสตร และการมีสวนรวมของประชาคม อาชีวศึกษา ดวยความโปรงใสตรวจสอบได ๔๑. รอยละของบุคลากรในสถานศึกษา ที่สามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพ ๔๒. ระดับคุณภาพของการจัดระบบ สารสนเทศของสถานศึกษาเพื่อการ บริหารจัดการ และการจัดการความรู ของสถานศึกษา

ดี ๘-๙ ขอ พอใช ๖-๗ ขอ ปรับปรุง <๖ขอ ดี >๙๐ พอใช ๘๕-๙๐

บริหารงาน ครบ องคประกอบ ๙ ขอ รอยละ ๑๐๐

๕ ขอ

ปรับปรุง < ๘๕

ดี ปฏิบัติ ๑-๔ หรือ ๑-๕ พอใช ๑-๓ ปรับปรุง ๑-๒

ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๖ มีฐานนิยมอยูในระดับ ดี

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional

ปรับปรุง

เทียบเกณฑ สอศ.

พอใช

เกณฑเชิงปริมาณ

ผลการประเมิน

ดี

ตัวบงชี้

ผลสัมฤทธิ์ ของการ ดําเนินการ


๑๒๓

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๗ มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน

ดี ปฏิบัติ ๑-๔ พอใช ๑-๓ ปรับปรุง ๑-๒

มีการปฏิบัติ ครบ ๔ ขอ

๔๔. ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน ดี ปฏิบัติ ๑-๓ พอใช ๑-๒ ปรับปรุง ๑

มีการปฏิบัติ ครบ ๓ ขอ

๔๓. ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพ ภายในที่กอใหเกิดการพัฒนาสถานศึกษา อยางตอเนื่อง

ปรับปรุง

เทียบเกณฑ สอศ.

พอใช

เกณฑเชิง ปริมาณ

ผลการประเมิน

ดี

ตัวบงชี้

ผลสัมฤทธิ์ ของการ ดําเนินการ

ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๗ มีฐานนิยมอยูในระดับ ดี 5.๒ สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน ผลการประเมินคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา ประจําปการศึกษา ๒๕๕4 สรุปไดดังนี้

จุดเดนและมาตรฐานตัวบงชี้ที่ดําเนินการไดในระดับดี การดําเนินงานที่เปนจุดเดนมีดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ ๑. ผูเรียนสวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผานเกณฑการพนสภาพของระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการวาดวยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร ๓. ผูเรียนสวนมากสามารถประยุกตหลักการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรมาใชแก ปญหา ในการปฏิบัติงานอาชีพอยางมีระบบ ๔. ผูเรียนมีทักษะในการสื่อสารดานการฟง การอาน การเขียน และการสนทนาทั้ง ภาษาไทยและ ภาษาตางประเทศเพิ่มขึ้น ๕. ผูเรียนสวนมากมีความสามารถใชความรูและเทคโนโลยีในการศึกษาคนควา และเทคโนโลยีใน การปฏิบัติงานวิชาชีพ ๖. ผูเรียนสวนมากมีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่ เหมาะสม และมีมนุษยสัมพันธที่ดี มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๒๔

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

7. ผูสําเร็จการศึกษาสวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ สําเร็จการศึกษาตาม หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ๘. ผูสําเร็จการศึกษาสวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ สําเร็จการศึกษาตาม หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ๙. ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพทุกคนผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ๑๐. ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงทุกคนผานการประเมินมาตรฐาน วิชาชีพ ๑๑. ผูสําเร็จการศึกษาสวนมากไดงานทําในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระ และศึกษา ตอภายใน ๑ ป ๑๒. สถานประกอบการมีความพึงพอใจตอคุณลักษณะที่พึงประสงคของผูสําเร็จการศึกษาอยูในระดับดี ๑๓. ผูเรียนสวนมากสามารถวางแผนธุรกิจ ประกอบอาชีพตามแผนธุรกิจ และมีรายไดระหวางเรียน มาตรฐานที่ ๒ ๑๔. สถานศึกษามีหลักสูตรฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพทุกสาขาวิชา ๑๕. สถานศึกษามีแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการอยางมีคุณภาพเปนสวนมาก ๑๖. ผูเรียนพึงพอใจตอคุณภาพการสอนของผูสอนเฉลี่ยโดยรวมอยูในระดับดี ๑๗. งบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้อวัสดุฝก อุปกรณสําหรับจัดการเรียนตองบดําเนินการทั้งหมด ๑๘. จํานวนผูเรียนตอเครื่องคอมพิวเตอรมีความเหมาะสมและมีจํานวนเพียงพอ ๑๙. สถานศึกษาไดจัดอาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พื้นที่ฝก ปฏิบัติงานเหมาะสมกับวิชาที่เรียน ๒๐. สถานศึกษาไดจัดศูนยวิทยบริการที่มีความเหมาะสมกับรายวิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอื้อตอ การเรียนรูและเกิดประโยชนสูงสุด ๒๑. สถานศึกษาไดจัดใหมีครุภัณฑและอุปกรณที่มีความเหมาะสม เพียงพอ ทันสมัยและ อยูใน สภาพพรอมใชงานไดดี ๒๒. ทุกสาขางานจัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอมและสิ่งอํานวยความสะดวกไดอยางมี คุณภาพ ๒๓. ครูและบุคลากรสายสนับสนุนทุกคนไดพัฒนาตนเองตามหนาที่ที่รับผิดชอบ ๒๔. สถานศึกษาไดระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ ๒๕. ในการจัดการระบบทวิภาคี และระบบปกติมีสถานประกอบการจัดการศึกษารวมกับ สถานศึกษาจํานวนมาก ๒๖. ทุกสาขาวิชามีการจัดหาผูเชี่ยวชาญรวมในการพัฒนาผูเรียน ๒๗. ทุกสาขาวิชามีอัตราสวนของผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิดานวิชาชีพตอผูเรียนอยูในระดับดี ๒๘. อัตราสวนของผูสอนประจําตอผูเรียนทั้งหมดของสถานศึกษา มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๒๕

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

มาตรฐานที่ ๓ ๒๙. สถานศึกษาไดจัดใหผูเรียนพบครูที่ปรึกษาอยางสม่ําเสมอ ๓๐. สถานศึกษาไดใหบริการตรวจสารเสพติดใหแกผูเรียนทั้งหมดในสถานศึกษา ๓๑. ผูเรียนที่ออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรกเขามีจํานวนนอยกวาปที่ผานมา ๓๒. สถานศึกษาไดจัดกิจกรรมที่สงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงาม ในวิชาชีพ รวมทั้งดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธจํานวนมาก ๓๓. สถานศึกษาไดจัดกิจกรรมสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรมประเพณีและทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมจํานวนมาก มาตรฐานที่ ๔ ๓๔. สถานศึกษาไดจัดกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาชีพ และสงเสริมความรูในการพัฒนา ชุมชนและทองถิ่น และกิจกรรม/โครงการฝกทักษะวิชาชีพ เพื่อการประกอบอาชีพของประชาชนจํานวนมาก ๓๕. สถานศึกษามีงบประมาณที่ใชจริงในการดําเนินการจัดกิจกรรรม/โครงการที่ใหบริการ วิชาชีพ และฝกทักษะวิชาชีพตองบดําเนินการอยูในระดับดี มาตรฐานที่ ๕ ๓๖. ทุกสาขางานทั้งหลักสูตร ปวช. และ ปวส. มีการจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานตามเกณฑอยูในระดับ ดี ๓๗. สถานศึกษามีจํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงงานที่มีประโยชนทางวิชาชีพ และ/หรือ ไดรับการเผยแพรระดับชาติอยูในระดับดี ๓๘. สถานศึกษามีงบประมาณที่ใชในการสราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานตองบดําเนินการอยูในระดับดี ๓๙. สถานศึกษามีการเผยแพรขอมูลขาวสารเกี่ยวกับนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และ โครงงาน จํานวนหลายครั้งและหลายชองทาง มาตรฐานที่ ๖ ๔๐. การบริหารงานของผูบริหารสอดคลองกับแผนยุทธศาสตร และการมีสวนรวมของประชาคม อาชีวศึกษา ดวยความโปรง ตรวจสอบได ๔๑. ครูทุกคนในสถานศึกษาสามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพไดอยางถูกตอง เหมาะสม ๔๒. การจัดระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการ และการจัดการความรูของสถานศึกษามีคุณภาพ มาตรฐานที่ ๗ ๔๓. การประกันคุณภาพภายในมีระบบและกลไกที่ดี ทําใหเกิดการพัฒนาสถานศึกษาอยางตอเนื่อง ๔๔. การประกันคุณภาพภายในมีประสิทธิผล อยูในระดับดี มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๒๖

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ทิศทางการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมไดกําหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาโดย ระบุไวในแผนปฏิบัติการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ดังนี้ ฝายบริหารทรัพยากร งานทะเบียน 1. โครงการจัดทําบัตรประจําตัวนักเรียน นักศึกษา 2. โครงการจัดพิธีมอบประกาศนียบัตร นักเรียน นักศึกษา ประจําปการศึกษา 2554 ฝายแผนงานและความรวมมือ 1. โครงการจัดทําคลังภูมิปญญาอาชีวศึกษา งานวางแผนและงบประมาณ 1. โครงการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2554 2. โครงการติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2554 งานศูนยขอมูลสารสนเทศ 1. โครงการจัดทําหนังสือรายงานประจําป (Annual Report) 2. โครงการพัฒนาระบบการใหบริการอินเตอรเน็ต งานวิจัยพัฒนา นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ 1. โครงการพัฒนานวัตกรรมวิจัยจากงานประจํา routine to research งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 1. โครงการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา 2. โครงการตรวจติดตามการดําเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 3. โครงการประกวดรายงานการประเมินตนเองของบุคคลและรายงานการ ประเมินตนเองของสาขาวิชาที่ดําเนินการประกันคุณภาพตามระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ 4. โครงการเสริมสรางความรูดานการประกันคุณภาพอยางตอเนื่อง 5. โครงการประชุมเพื่อนิเทศการดําเนินงานประกันคุณภาพ ฝายพัฒนาการศึกษา งานกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา 1. โครงการรณรงคตอตานยาเสพติดในสถานศึกษา (พลังสีขาว) มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๒๗

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

2. โครงการอบรมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. โครงการเขาคายพักแรมเตรียมลูกเสือ – เนตรนารี 4. โครงการคุณธรรมนําความรู 5. โครงการกิจกรรมกีฬาสี ประจําปการศึกษา 2555 6. โครงการสงเสริมกิจกรรมชมรมวิชาชีพ 7. โครงการพัฒนากิจกรรมองคการวิชาชีพ 8. โครงการกิจกรรมพิธีไหวครู 9. โครงการวันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยและวิทยาลัย 10. โครงการสงเสริมกิจกรรมกีฬา 11. โครงการจัดอบรมรมเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม 12. โครงการกีฬาเพื่อความเปนเลิศ 13. โครงการทําความสะอาดครั้งใหญ (BIG CLEANING DAY) และกิจกรรม 5 ส. 14. โครงการพัฒนาบุคลิกภาพคณะกรรมการดําเนินงานองคการวิชาชีพ งานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน 1. โครงการแนะแนวสัญจร 2. โครงการติดตามผูสําเร็จการศึกษา 3. โครงการสรางสัมพันธภาพกับองคกร ชุมชนและสังคม (สื่อประชาสัมพันธ) 4. โครงการศึกษาความพึงพอใจของสถานประกอบการ 5. โครงการจัดหาทุนการศึกษา 6. โครงการปจฉิมนิเทศผูสําเร็จการศึกษา 7. โครงการสงเสริมการมีงานทําของนักเรียน นักศึกษาเพื่อใหมีรายไดระหวางเรียน 8. โครงการจัดทําหนังสือรุน 9. โครงการจัดทําคูมือนักเรียน นักศึกษา งานโครงการพิเศษ และบริการชุมชน 1. โครงการฝกอาชีพศิษยเกาโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน 2. โครงการฝกอาชีพระยะสั้น 108 อาชีพ 3. โครงการสรางอาชีพเพื่อชุมชน 4. โครงการศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน Fix It Center 5. โครงการจิตอาสา 6. โครงการรณรงคปองกันโรคเอดสและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ 7. โครงการกีฬาตานยาเสพติด 8. โครงการอบรมแกนนํานักเรียน นักศึกษา มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๒๘

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

งานสวัสดิการนักเรียน นักศึกษา 1. โครงการตรวจสุขภาพนักเรียน นักศึกษาประจําป 2. โครงการประกันอุบัติเหตุผูเรียน 3. โครงการบริการดานสุขภาพของผูเรียน 4. โครงการสงเสริมสุขภาพผูเรียนและบุคลากรของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม 5. โครงการบริจาคโลหิต งานครูทปี่ รึกษา 1. โครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทครูที่ปรึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหมตามทัศนคติ และความคาดหวังของนักเรียน นักศึกษา ฝายวิชาการ แผนกวิชาสามัญสัมพันธ 1. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ (กลุมวิชาภาษาไทย) 2. โครงการจัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (ตามรอยพอตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 3. โครงการจัดกิจกรรมทางวิชาการ 4. โครงการ English Day Camp 5. โครงการเสริมคุณภาพผูเรียนดานภาษาตางประเทศ 6. โครงการจัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (วันวิทยาศาสตร) 7. โครงการจัดทําโครงงานวิทยาศาสตร แผนกวิชาผาและเครื่องแตงกาย 1. โครงการบํารุงรักษาซอมแซมเครื่องจักร เครื่องมือ แผนกวิชาคหกรรมศาสตรทั่วไป 2. โครงการรวมแขงขันทางวิชาการทางดานคหกรรมศาสตรที่สถาบันภายนอกเปนผูจัด แผนกวิชาพณิชยการ 1. โครงการนิเทศเลือกสาขางานของนักเรียนชั้น ปวช.1 แผนกวิชาพณิชยการ 2. โครงการอาชีวศึกษาเชียงใหมสรางสรรคแปรฝนสูธุรกิจ 3. โครงการปองกันนักเรียนออกกลางคัน 4. โครงการพัฒนาผูเรียนชํานาญวิชาชีพ แผนกวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ 1. โครงการสงเสริมกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ (แผนกวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ) มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๒๙

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ

Quality College

ประเภทวิชาศิลปกรรม 1. โครงการนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (วาดเสน DRAWING) 2. โครงการจัดทํานิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (นิทรรศการอาชีวศิลปกรรม’55) 3. โครงการวันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยและวิทยาลัย (จัดพิธีทําบุญประเภทวิชาศิลปกรรม) 4. โครงการจัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (สรุปผลการเรียนวิชาภาพพิมพ) แผนกวิชาการจัดการธุรกิจทองเที่ยว 1. โครงการฝกปฏิบัติมาตรฐานวิชาชีพมัคคุเทศก 2. โครงการสงเสริมกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน 1. โครงการนิทรรศการโครงการ งานวัดผลและประเมินผล 1. โครงการอบรมการวัดผลและประเมินผล 2. โครงการบริการวิเคราะหขอสอบแบบทดสอบ 3. โครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพ งานวิทยบริการและหองสมุด 1. โครงการสงเสริมการอาน 2. โครงการศึกษาความพึงพอใจของผูใชบริการงานวิทยบริการ 3. โครงการเยาวชนยอดนักอาน 4. โครงการแปลงผันขอมูลอาชีพอิสระใหอยูในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส 5. โครงการจัดทําเว็บเพจงานวิทยบริการและหองสมุด งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 1. โครงการพัฒนาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและการฝกงานรวมกับสถานประกอบการ ประจําปการศึกษา 2555 2. โครงการสมุดบันทึกการฝกงาน ประจําปการศึกษา 2555 3. โครงการประชาสัมพันธและแนะแนวการศึกษาระบบทวิภาคี 4. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระบบทวิภาคีและการฝกงาน ประชุมผูปกครอง และสถานประกอบการ 5. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาระบบปกติ ภาคฤดูรอน ปการศึกษา 2555 โครงการศึกษาดูงานของนักเรียน นักศึกษา

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


ภาคผนวก


ภาคผนวก

ผลการประเมินคุณภาพภายใน โดยต้ นสั งกัด



วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๑๓๒

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยตนสังกัด วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม จุดเดนของสถานศึกษา 1. ครู-อาจารย มีจิตวิญญาณเปนครูอยางแทจริง มุงมั่นพัฒนาศิษยของตนเองเต็มกําลัง 2. ครู เปดใจรับการใชเทคโนโลยีมาชวยสอน ทําใหผูเรียนสนใจเนื้อหาการสอนตลอดเวลา 3. ครู มีความกระตือรือรนที่จะหาวิธีการใหม ๆ มาแกปญหาใหกับลูกศิษยของตนอยางเต็มใจ และเต็มกําลัง สมกับเกิดมาเปนครูเพื่อศิษย 4. วิทยาลัยจัดเทคโนโลยี-ครุภัณฑ-งบประมาณสนับสนุนผูเรียนไดดีและพอเพียงกับการเรียน การสอน 5. ผูเรียนไดแสดงความรูความสามารถตามความถนัดในแตละประเภทวิชา ตอสาธารณะชน เชน นิทรรศการ งานแสดงสินคา ทั้งระดับทองถิ่น และระดับชาติ สงผลใหผูเรียน มีความเชื่อมั่นวา สามารถนําความรู ความสามารถจากการเลาเรียนไปประกอบสัมมาอาชีวะ และมีความเชื่อมั่นภูมิใจใน สถาบันการศึกษาของตน 6. ระบบอาจารยที่ปรึกษา สถานศึกษาไดจัดใหนักเรียนพบอาจารยที่ปรึกษาไดมาก 7. สถานศึกษามีมีจํานวนผูเรียนออกกลางคันนอย 8. โครงการ/กิจกรรม มีจํานวนมาก สามารถตอบสนองความตองการของผูเรียนไดอยางทั่วถึง 9. มีการบริการวิชาการและฝกวิชาชีพสูสังคม ชุมชน มีผลสัมฤทธิ์เชิงประจักษ และมีความ หลากหลายของกิจกรรม/โครงการ 10. มีผลงานดานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงานจํานวนมาก 11. จัดนิทรรศการนําเสนอผลงานระดับสถานศึกษาและระดับทองถิ่นเปนประจําทุกป 12. มีการจดสิทธิบัตรและประกอบการในเชิงพานิชยของแผนกวิชาคหกรรม 13. มีการบริหารจัดการ และประสานงานทั้งบุคลากรในสถานศึกษาและบุคลากรภายนอก รวมทั้ง แสวงหาความรวมมือ นําไปสูผลสัมฤทธิ์เพื่อการบริหารและการจัดการความรู อยางตอเนื่องและ หลากหลาย 14. มีการจัดระบบสารสนเทศ บริหารจัดการขอมูลที่ประสานกันเปนเครือขายของสถานศึกษา ครอบคลุม เปนปจจุบัน และมีประสิทธิภาพ 15. สถานศึกษามีการกระจายระบบการประกันคุณภาพภายใน ลงถึงระดับสาขาวิชา รายบุคคล 16. มีระบบการประกันคุณภาพที่ครบถวนทุกรายละเอียดของการควบคุมคุณภาพ การนิเทศ ติดตามและการประเมินคุณภาพ 17. บุคลากรใหความรวมมือกันอยางดีตามหนาที่ที่รับผิดชอบ 18. สถานศึกษาประกันคุณภาพตามมาตรฐานของสํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาดานอาชีวศึกษา รวม 7 มาตรฐาน 44 ตัวบงชี้ 19. จัดเอกสารหลักฐานประกอบตัวบงชี้ โดยแยกหมวดหมูตามกระบวนการ PDCA มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม

๑๓๓

สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

จุดควรพัฒนาของสถานศึกษา 1. ควรเก็บขอมูลทุกอยางที่เปนตัวเลข ตองมีคุณคาอธิบายและนําไปใชประโยชนได เชน สถิติที่ผูใชหองสมุด ควรบงชี้ไดวาผูใชแตละกลุมประเภทวิชา หรือครู หรือบุคคลภายนอก 2. ควรวางแผนจัดหาครูทดแทนอัตรากําลังที่ขาดไปใหไดสัดสวน 1 : 25 3. ควรวางแผนเตรียมสอบ V-Net อยางเปนระบบและมีสวนรวมทุกฝาย เชน แผนกวิชาครูผูสอน 4. สถานศึกษาควรมีการสรุปผลโครงการ/กิจกรรม พัฒนาผูเรียนใหครบตามกระบวนการ PDCA 5. ควรสงเสริมและสนับสนุนใหมีการบริการวิชาชีพและฝกวิชาชีพสูสังคม ชุมชน พรอมจัดสรร งบประมาณประจําปสนับสนุนการดําเนินงานกิจกรรม/โครงการ ใหครบทุกสาขาวิชา/สาขางาน 1. ควรเพิ่มเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการประสานงาน และรายงานผลการนําไปใชงาน นวัตกรรมสิ่งประดิษฐฯ จําแนกตามรายการนวัตกรรม 2. ควรสงเสริม และสนับสนุนใหครูไดรับรางวัลและกรยกยองเชิดชูเกียรติเพิ่มมากขึ้น 3. รูปแบบรายงานการประเมินตนเอง ควรแบงตอนตามรูปแบบของสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาดานอาชีวศึกษา ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคตจากคณะกรรมการประเมินภายในโดยตนสังกัด 1. ควรวางแผนแกไข ตัวบงชี้ที่ 3 , 4 , 7 , 8 ใหคลุมทุกสาขางาน โดยเริ่มตนจากสาขาวิชา (แผนก) อยางเปนระบบ 2. สถานศึกษา ควรจัดทําขอมูลผูเรียนออกกลางคันใหชัดเจน พรอมกับทําการวิจัยเพื่อแกไข ปญหาและสาเหตุผูเรียนออกกลางคัน 3. สรุปและประเมินผลการดําเนินงานกิจกรรม/โครงการ บริการวิชาชีพและฝกวิชาชีพสูสังคม ชุมชนทุกกิจกรรม/โครงการ 4. ควรนําเสนอหลักฐานการจดสิทธิบัตรผลงานนวัตกรรม ครบทุกสาขาวิชา 5. รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาในแตละหัวขอเรื่องพิจารณา ควรสรุป มติจากที่ประชุมดวยทุกครั้ง ทุกรายงาน 6. ควรจัดเอกสารหลักฐานเรียงตามขอพิจารณา หรือวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล และสรุปขอมูล ตรงตามขอความในเกณฑการตัดสิน 7. นําผลการประเมินมาใชในการปรับปรุงการบริหารและจําทําแผนพัฒนาคุณภาพระดับ สาขาวิชา 8. ควรเพิ่มหลักฐานการแลกเปลี่ยนนวัตกรรมหรือการปฏิบัติที่ดี ระหวางสถานศึกษา หรือ ระหวางสาขาวิชา

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional


๑๓๔

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม สถานศึกษาแหงคุณภาพ Quality College

สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยตนสังกัด มาตรฐาน มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่

1 ผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาวิชาชีพ 2 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน 3 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 4 การบริการวิชาชีพสูสังคม 5 นวัตกรรมและการวิจัย 6 ภาวะผูนําและการจัดการ 7 มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน รวมเฉลี่ย สรุปผล

สรุปผลการประเมินคุณภาพโดยรวมทั้ง 7 มาตรฐาน  ดีมาก  ดี  พอใช

ผลการประเมินของ คณะกรรมการ ระดับคุณภาพ ปการศึกษา 2553 5.00 ดีมาก 4.87 ดีมาก 5.00 ดีมาก 5.00 ดีมาก 5.00 ดีมาก 5.00 ดีมาก 4.50 ดีมาก 4.91 ดีมาก ผาน  ควรปรับปรุง  ตองปรับปรุง

มี คุ ณ ธ ร ร ม นํา วิ ช า ก า ร ชํา น า ญ วิ ช า ชี พ Be Moral, Be Intellectual, Be Professional



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.