ชุดความรู้กินได้ | เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล

Page 1

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

ใส่ ภาพ ผู้จัดทา นางสาวลักษมีพร พันธุผ์ จญ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอสันกาแพง สังกัด กศน.อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

...ทาไมต้อง... เครือ่ งจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปัญ ๋ ญาบะเก่า) ภาคเหนือ หรือล้านนาไทย เป็นดินแดนที่มีศิลปวัฒนธรรมเฉพาะถิ่น เป็นของ ตนเองเป็นเหตุให้เครื่องจักสานในภาคเหนือมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างไปจากภาคอื่น นอกจากนี้ ภาคเหนื อ หรื อ ล้ า นนาไทย มี ส ภาพภู มิ ศ าสตร์ ที่ แ ตกต่ า งไปจากภาคอื่ น ๆ สภาพการ ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ทาให้ภาคเหนือเป็นแหล่งผลิตเครื่องมือเครื่องใช้จักสานที่ สาคัญ นอกจากนี้ภาคเหนือยังมีวัตถุดิบหลายชนิด ที่นามาทาเครื่องจักสานได้ เช่น ใบตาล ใบลาน และไม้ ไ ผ่ นอกจากสภาพภู มิ ป ระเทศ และการประกอบอาชี พ ของภาคเหนื อ ที่ เอื้ออานวยให้ประชาชนทาเครื่องจักสานแล้ว ยังมีศิลปวัฒนธรรม ขนบประเพณี ภาษาพูด ภาษาเขียน และศาสนาของภาคเหนือ ที่เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เครื่องจักสานของทาง ภาคเหนือมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง การทาเครื่องจักสานพื้นบ้า นภาคเหนือ หรือล้ านนาไทยนั้ น ท าสืบ ต่อ กันมาแต่ โบราณ เครื่องจักสานที่ทานั้น ไม่ได้มีเฉพาะแต่เครื่องใช้เพียงอย่างเดียว หากแต่ยังมีของเล่น ของประดั บ ตกแต่ ง อย่ า งเช่ น โมบายที่ ส านจากไม้ ไ ผ่ หรื อ ใบลาน เป็ น ต้ น และ นอกเหนือไปจากนั้น วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ทาให้เครื่องจักสานบางอย่าง บางรูปแบบ ยังสามารถเสริมสิริมงคลให้กับผู้ครอบครองอีกด้วย เช่น การสานตัวสัตว์มงคล จาพวก ม้า ปลา นก เป็นต้น โดยจะแขวนหรือติดไว้ในบ้านเรือน ร้านค้า ห้องทางาน เพื่อเสริมมงคลให้แก่ ตนเองและครอบครัว สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

ความเชื อ่ ของคนล้านนา านนากักับบสิสิ่ง่งมงคล ความเชื อ่ ของคนล้ ของมงคล ล้านนาไทยเป็นดินแดนที่มีศิลปวัฒนธรรมเฉพาะถิ่นเป็นของตนเอง มีภาษาพูดและ ภาษาเขียนที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง รวมถึงศิลปะการแสดง เช่น การฟ้อนเล็บ ฟ้อนเจิง กลองสะบัดชัย และอีกหลายๆ อย่าง ตลอดจนยังมีคติความเชื่อตามแบบฉบับของคนล้านนา ในเรื่องของเครื่องรางของขลัง ไม่ว่าจะเป็นพระเครื่อง ตะกรุด หรือแม้กระทั่งเครื่องจักสานบางอย่าง ที่ถือเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ เป็นสิ่งมงคล ตัวอย่างเช่น พิธีกรรมของคนล้านนาในการสร้างบ้าน หลังใหม่ จะต้องมีการขึ้นท้าวทั้งสี่ มีการขึ้นเสาเอก จากนั้นเมื่อสร้างบ้านเสร็จแล้ว ก็จะมีการทาบุญ ซึ่งในวันก่อนวันทาบุญ จะมีวันที่ชาวบ้านช่วยกันเตรียมข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ เรียกว่า “วันดา” ซึ่ง ในวันดานี้ ผู้เฒ่าผู้แก่ที่มีความรู้มีวิชาอาคม จะพากันมาช่วยสานตะแหลว เรียกว่า ตะแหลว 9 ชั้น สานจากไม้ไผ่ และสานสัตว์ประเภทต่างๆ เช่น ม้า นก ปลา เต่า กุ้งหรือกั้ง เป็นต้น โดยใช้ไม้ไผ่ จักเป็นเส้นบางๆ เรียกว่า ตอก และใช้ใบลาน ใบตาล หรือใบมะพร้าว มาสานเป็นสัตว์ดังกล่าว เพื่อเตรียมนามาประดับประดา ตกแต่งบ้านใหม่ ให้เป็นสิริมงคลกับผู้อยู่อาศัย ความเชื่อเหล่านี้ ได้สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ และยังนามาประยุกต์ให้เข้ากับสมัยปัจจุบัน จากแค่สัตว์มงคลที่ ทาขึ้นในวันทาบุญบ้านใหม่ ก็กลายมาเป็นสัตว์มงคลที่ทาขึ้นเพื่อเป็นสิริมงคลในงานแต่งงาน หรือ วันเปิดร้านเพื่อทามาค้าขาย ซึ่งคนล้านนาถือว่าเป็นสิ่งที่ดงี าม เป็นสิริมงคล ทาให้ชีวิตมีความสุข มีโชคมีลาภ แคล้วคลาดปลอดภัย ฯลฯ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

ม้า ม้า ในความเชื่อของคนล้านนา เชื่อว่าม้าเป็นสัตว์ที่ เปี่ยมไปด้วยพลังและเป็นสัญลักษณ์ของขุนนาง หรือชนชั้นสูง มีความรวดและเร็วว่องไว จึงมีความเชื่อว่าม้าเป็นสัญลักษณ์ที่จะช่วยส่งผลให้ ธุรกิจการค้า การงานประสบความสาเร็จเร็ว เหมือนฉายา "ม้าเร็ว"

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

ปลา ปลา ถือเป็นสัตว์มงคล เป็นสัญลักษณ์ของความ มั่งคั่ง แข็งแกร่ง ความอุดมสมบูรณ์และโชคลาภ เป็น สัญลักษณ์ของผลกาไรหรือผลประโยชน์ จากการทา ธุรกิจ และยังเป็นสัญลักษณ์ของการมีเงินทองล้นหลาม โดยเฉพาะคนไทยสมัยก่อน เชื่อกันว่าปลาตะเพียน เป็นสิริมงคล ทาให้เงินทองไหลมาเทมา นอกจากนั้น ยังเชื่อว่า เด็กที่เลี้ยงด้วยปลาตะเพียน จะเป็นเด็กที่มี ความขยันหมั่นเพียร สมดังคาลงท้ายของชื่อปลา

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

เต่า ในความเชื่อของทั้งคนไทยและคนจีน เต่ามีความหมายถึง ความมีสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง และอายุขัยที่ยืนยาว จะจัดตั้งหรือแขวนไว้ในมุมใดๆ ของบ้านก็ได้ ยกเว้น ห้องทางาน เพราะความเชื่องช้าของเต่า จะส่งผล ต่อการพัฒนาของงาน

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

นก นก หมายถึง ความอิสระ เปี่ยมไปด้วยจินตนาการ และความสุ ข รวมถึ ง ความสู ง ส่ ง มี อ านาจบารมี ความ ยิ่งใหญ่ มองการณ์ไกล ช่วยเสริมบารมีหน้าที่การงานให้ ราบรื่นและอายุยืน มีร่างกายแข็งแรง และเป็นสัญลักษณ์ ของความพร้อมพรั่ง มีความเจริญด้านการเงิน ความสุข ความโชคดี ซึ่งคนไทยสมัยก่อน เชื่อกันว่านกบางชนิด เช่น นกคุ้ม เป็นสัตว์ที่ช่วยปกป้องคุ้มครองภัยอันตรายต่างๆ ให้กับ ตัวตน ให้กับคนในครอบครัว ทาให้ครอบครัวอยู่เย็นเป็น สุข มีโชคมีลาภ เป็นต้น

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

กุ้ง/ กั้ง กุ้ง/ กั้ง เป็นสัญลักษณ์แห่งความโชคดี ผ่านพ้นอุปสรรค เชื่อกันว่าลักษณะตัวงอของกุ้ง หรือกั้งนั้น ทาให้ตัวเองมีแรงกระโดดได้ไกล ไม่มี อุปสรรค ทั้งทางโค้งและทางลัด จึงหมายถึง การทาสิ่งใดได้ผลตามที่ปรารถนา สามารถผ่านพ้น อุปสรรคทั้งหลายได้ และโชคดีในทุกเรื่อง

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

ความสาคัญของอาชีพ • เป็นอาชีพที่ใช้วตั ถุดบิ หรือทรัพยากรในท้องถิ่นมา พัฒนาเป็นสินค้าหรือบริการ เพื่อสร้างอัตลักษณ์ และความแตกต่าง • เป็นอาชีพที่ต้องการอนุรกั ษ์ • เป็นอาชีพที่ต่อยอดหรือพัฒนามาจากสิง่ ที่มีอยูเ่ ดิม • เป็นอาชีพที่ต้องส่งเสริมและเตรียมพร้อมเพือ่ โอกาส ในอนาคต

กลุ่มเป้าหมายของชุดความรู้ทามาหากิน 1. กลุ่มผูส้ ูงอายุ 2. กลุม่ บุคคลทัว่ ไป หรือกลุม่ เด็ก นักเรียน เยาวชน ที่สนใจทาเป็นอาชีพเสริมเพื่อสร้างรายได้ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

ประโยชน์ที่จะเกิดขึน้ - ผู้ที่สนใจนาไปประกอบอาชีพหลัก/อาชีพเสริม มีรายได้เพิม่ ขึ้น - เป็นการอนุรักษ์สืบสานองค์ความรู้การทา เครื่องจักสานของคนล้านนาให้คงอยูส่ ืบต่อไป - สามารถเผยแพร่ความรูแ้ ละภูมิปญ ั ญาท้องถิน่ เพื่อไม่ให้สูญหายไปตามกาลเวลา - ประโยชน์ตอ่ ตัวผูจ้ ดั ทาชุดความรูท้ ามาหากิน ทาให้ทราบถึงความเป็นมา รากเง้าแห่งชุมชน วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ และได้รบั ความรูจ้ ากการ ลงมือปฏิบตั ิ (การหาข้อมูล/ลงพืน้ ที่ และลงมือ ปฏิบัติ ฯลฯ) สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

ขั้นตอนการจัดทาชุดความรูท้ ามาหากิน S จุดแข็ง

W จุดอ่อน

- เป็นงานหัตถกรรมพื้นบ้าน ที่เป็นเอกลักษณ์แบบไทย - วัตถุดิบหาง่าย - สินค้าสามารถทาได้หลากหลาย และนามาต่อยอดเพิ่มมูลค่าให้ สินค้า

- เป็นงานฝีมือที่ต้องอาศัยความ ชานาญ - ไม่สามารถทา (มี) แบรนด์ สินค้า ที่ให้คนรู้จักได้ - ราคาสินค้าขึ้นอยู่กับชิ้นงาน (รูปแบบ ขนาด และวัสดุที่ใช้ทา)

O โอกาส - คู่แข่งในตลาดมีน้อย - สามารถผลิตชิ้นงานได้ โดยไม่จาเป็นต้องมีหน้าร้าน

SWOT

T อุปสรรค์

- การถ่ายทอดเพื่อสืบสานภูมิปัญญา ต้องอาศัยผู้ที่มีใจรักและมีเวลาพอ ที่จะเรียนรู้ - เป็นงานฝีมือที่ต้องอาศัยตัวบุคคล ที่มีความรู้เฉพาะทางในการถ่ายทอด - ความต้องการของตลาดยังไม่ กว้างขวาง

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

เช็คความพร้อมก่อนประกอบอาชีพ 1. มีความรูพ้ นื้ ฐานในการจักสาน/ งานไม้ 2. มีความรูพ้ ื้นฐานงานประดิษฐ์ 3. มีแหล่งวัตถุดบิ ในพืน้ ที่ 4. มีความเข้าใจและสามารถถ่ายทอดความรู้ เรื่องราวความเชือ่ ของเครือ่ งจักสานมงคลได้ 5. มีเงินลงทุน ประมาณ 600 บาท 6. มีตลาดในพื้นที่ และสามารถขายบนเว็บไซต์ หรือเฟชบุค๊ โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


Infographic

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปัญ ๋ ญาบะเก่า) 1. วัตถุประสงค์ - เป็นอาชีพที่ใช้วัตถุดิบหรือ ทรัพยากรในท้องถิ่นมาพัฒนาเป็น สินค้าหรือบริการ - เป็นอาชีพที่ต้องการอนุรักษ์ - เป็นอาชีพที่ต่อยอดหรือพัฒนา มาจากสิ่งที่มีอยู่เดิม - เป็นอาชีพที่ต้องส่งเสริมและ เตรียมพร้อมเพื่อโอกาสในอนาคต

2. ความรู้/ทักษะ สาหรับดาเนินการ - ความรู้พื้นฐานในการจักสาน - ความรู้พื้นฐานงานไม้ - ความรู้พื้นฐานงานประดิษฐ์ - ภูมิปัญญาชาวบ้าน

3. เงินลงทุน/การจัดการด้านการเงิน - วัตถุดิบ - ค่าแรง (คิดตามชิ้นงาน เป็นรายชิ้น) - วัสดุ/อุปกรณ์ - แหล่งเงินทุน

4. การจัดการกาลังคน - ทาเองได้/ทาคนเดียว - กลุ่มผู้สูงอายุ/ภูมิปัญญาชาวบ้าน - อุตสาหกรรมครัวเรือน

5. เครื่องมือ/อุปกรณ์/วัตถุดบิ - ไม้ไผ่, ตอก - ใบลาน, ใบมะพร้าว, ใบตาล - มีด, กรรไกร, ปืนกาว - ด้าย, เข็มหมุด, เข็ม - ริบบิ้น, ไหมพรม

6. การลงมือทา - สานขึ้นรูปตามวิธีการ (ปลา 2 เส้น, เต่า 8 เส้น, กบ 6 เส้น, ม้า 5 เส้น, นก 2/4/8 เส้น, กุ้ง 2/20 เส้น ฯลฯ)

7. การตลาด - ถนนคนเดิน/ตลาดนัด - ร้านขายของชา/หน้าบ้านตนเอง - ร้านขายเครื่องจักสาน - เฟชบุ๊ค - เสนอข่ายผ่าน Organizer จัด งานต่างๆ หรือ Wedding Studio

8. ปัญหา/กระบวนการแก้ไขปัญหา ปัญหา - การขาดแคลนวัตถุดิบบางอย่างใน บางช่วงฤดู - แหล่งจัดจาหน่าย/การตลาดที่แคบ กระบวนการแก้ไขปัญหา - หาวัสดุทดแทน/ซื้อจากที่อื่น - ขยายตลาด/ประชาสัมพันธ์

9. ปัจจัยสูค่ วามสาเร็จ - คงความเป็นเอกลักษณ์ดั้งเดิม - มีการส่งเสริมด้านการตลาดและ การประชาสัมพันธ์ - คงความเชื่อ เรื่องราวของความเชื่อ ให้เป็นที่รับรู้ในวงกว้าง - มีทักษะความชานาญและมีความ อดทน

ลงทุนครั้งแรก โดยประมาณ 600.- บาท

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ความรู้ทตี่ ้องมี/ทักษะที่ต้องใช้

* ความรู้เกีย่ วกับงานจักสาน/งานไม้ * ความรูเ้ กี่ยวกับการคัดเลือกวัตถุดบิ

เช่น เส้นตอก ต้องมาจาก

ไม้ไผ่ทอี่ ายุไม่ออ่ นหรือแก่เกินไป อายุไม้ ประมาณ 2-3 ปี ใบตาลและใบลาน สามารถ ใช้ใบอ่อนได้ แต่ตอ้ งไม่ออ่ นเกินไป ส่วนใบแก่จดั ไม่นยิ มใช้ เนื่องจากความแข็งกรอบทาให้ สานยาก ใช้เวลานาน ส่วนใบมะพร้าวต้องเป็นใบทีแ่ ก่พอดี ไม่แก่จดั ใบอ่อนใช้ไม่ได้ และ

ใบทัง้ 3 ชนิดนัน้ ต้องเลือกใบทีย่ าวๆ ไม่มีรูหรือฉีกขาด

* ความรู้พนื้ ฐานด้านงานประดิษฐ์

“ต้องอาศัยความอดทน หมั่นฝึกฝน และต้องมีสมาธิ” สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

ประวัตคิ วามเป็นมาของเครือ่ งจักสาน นักโบราณคดี ได้ค้นพบหลักฐานว่า เมื่อประมาณ 4,000 ปี มาแล้ว มนุษย์ได้รู้จักวิธีการจักสานของใช้ด้วยไม้ไผ่ เป็นลักษณะลายขัด สองเส้น หลักฐานนี้ได้ค้นพบที่จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งถือเป็นดินแดนที่ สาคัญในทางประวัติศาสตร์ของประเทศไทยแล้ว ยังได้พบที่แอฟริกาและ ในทวีปเอเชียบางแห่งบริเวรแหลมมลายู (ในยุคหิน) ได้ค้นพบหลักฐาน เกี่ยวกับเครื่องจักสานที่ทาด้วยไม้กองรวมอยู่กับของใช้ผู้ตาย จึงได้มีการ สันนิษฐานว่าเครื่องจักสานได้เข้ามาไปมีส่วนเกี่ยวกับพิธีกรรม ความเชื่อ บางอย่างของมนุษย์ในยุคนั้นบ้างแล้ว ต่อมาเมื่อมนุษย์ได้มีการดาเนินชีวิตด้วยการทาอาชีพเกษตรกรรม มีการเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์ จึงเป็นที่เชื่อได้ว่ามนุษย์รู้จักพัฒนาการ เครื่องจักสานให้เหมาะสมกับการใช้สอยขึ้นมาเรื่อยๆ ทั้งนี้เพราะการ ขยายตัวออกมาดาเนินชีวิตในที่ราบลุ่ม มีแม่น้าลาธารไหลผ่าน และ เพียบพร้อมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่มีให้อย่างเหลือเฟือ สิ่งจาเป็น สาหรับมนุษย์ ก็คือการหาเครื่องมือบางชนิดไว้ใช้สอยในชีวิตประจาวัน สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

เครื่องจักสานในวิถีชีวติ ไทย การทาเครื่องจักสานในประเทศไทย มีการทาสืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยก่อน ประวัติศาสตร์ นักโบราณคดีได้พบหลักฐานสาคัญเกี่ยวกับการทาเครื่องจักสานในยุคหินใหม่ ที่บริเวณถ้าแห่งหนึ่งในเขตอาเภอศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ซึ่งทาด้วยไม้ไผ่เป็นลายขัดสองเส้น ประมาณว่ามีอายุราว 4,000 ปีมาแล้ว การทาเครื่องจักสานยุคแรกๆ มนุษย์จะนาวัตถุดิบจากธรรมชาติใกล้ตัวที่หาได้ มาทาให้เกิดประโยชน์ เช่น การนาใบไม้ กิ่งไม้ ต้นไม้ ประเภทเถา นามาสานมาขัดเป็น รูปทรงต่างๆ เพื่อใช้เป็นภาชนะหรือสานขัดเป็นแผ่น เพื่อใช้สาหรับปูรองนั่ง รองนอน ก่อนที่จะพัฒนามาเป็นเครื่องจักสานที่มีความประณีตในยุคต่อๆ มา เครื่องจักสานเป็นงาน ศิลปะหัตกรรมที่มนุษย์คิดวิธีการต่างๆ ขึ้น เพื่อใช้สร้างเครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน ด้วยวิธีการสอดขัดและสานกันของวัสดุที่เป็นเส้น โดยสร้างรูปทรงของสิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้น ตามความประสงค์ในการใช้สอยตามสภาพภูมิศาสตร์ ประสานกับขนมธรรมเนียมประเพณี คตินิยม ความเชื่อ ศาสนา และวัสดุในท้องถิ่นนั้นๆ

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

ความหมายของเครื่องจักสาน เครื่องจักสาน คือ เครื่องใช้ที่ทาด้วยไม้ไผ่หรือหวาย หรือใบลาน ใบตาล ใบมะพร้าว ฯลฯ จากฝีมือ ความคิด ภูมิปัญญาของชาวบ้าน มีลักษณะ รูปทรงแตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับภูมิประเทศ วัสดุ อุปกรณ์ คตินิยม วัฒนธรรมประเพณี และอาชีพของคนในท้องถิ่นนั้นๆ คาว่า “จักสาน” คาว่า จัก คือ การทาให้เป็นแฉก เป็นหยักๆ ด้วย ฟันเลื่อย หรืออีกวิธีการหนึ่ง การที่ชาวบ้านใช้คมมีดผ่าไม้ไผ่แล้วทาให้เป็นเส้น บางๆ วิธีการอย่างนี้ก็เรียกว่า จัก เช่นกัน ส่วนไม้ไผ่ หรือหวาย ที่จักออกมา เป็นเส้นบางๆ นั้นเรียกว่า ตอก ถึงตอนนี้การที่ชาวบ้านนาตอกมาขัดกันจนเกิด ลวดลายที่ต้องการ เราเรียกว่า สาน ต่อจากนั้นแล้วก็จะเป็นการสร้างสรรค์ให้ เกิดรูปทรงต่างๆ จนท้ายที่สุดจะได้เป็นภาชนะ หรือของประดับตกแต่ง สามารถ นาไปใช้สอยได้ตามต้องการ

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

การลงมือทา การสานปลาตะเพียน (ใช้ 2 เส้น)

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

การลงมือทา การสานนก (ใช้ 2 เส้น)

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

การลงมือทา

(ต่อ)

การสานนก

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

การลงมือทา

(ต่อ)

การสานนก

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

การลงมือทา

(ต่อ)

การสานนก

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

การลงมือทา

(ต่อ)

การสานนก

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

การลงมือทา

(ต่อ)

การสานนก

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

กระบวนการผลิต กระบวนการ/ขั้นตอนในการทา 1. สานตัวสัตว์ ตามภาพ/วีดโี อ สาธิต 2. ทาพู่ ห้อย โดยใช้ไหมพรมสีแดง 3. มัดพู่ตดิ กับด้ายด้านหนึง่ ส่วนด้ายอีกด้าน สอดเข้าไปในรูเข็ม 4. ร้อยตัวสัตว์ เข้ากับพู่สแี ดง โดยเหลือด้ายอีกด้าน ไว้ยาวพอควร เพื่อมัดติดกับไม้มงคล หรือตะแหลว 5. นาริบบิ้นสีเงิน หรือสีทอง มาผูกเป็นโบว์ หรือตกแต่งให้สวยงาม 6. นาไปแขวนไว้หน้าบ้าน ประตู-หน้าต่าง หน้าร้านค้า ในห้องทางาน ฯลฯ เพื่อเป็นสิริมงคล สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

วัตถุดิบ ใบมะพร้ าว

ใบตาล

ใบลาน

ไม้ ไผ่

ตอก

ริบบิน้ สีเงิน สีทอง

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

เครื่องมือ/อุปกรณ์ มีด/ มีดจักตอก

ปื นกาว

กรรไกร

เข็ม/ เข็มหมุด

ไหมพรม

ด้ าย

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

การจัดการกาลังคน - สามารถเรียนรูแ้ ละทาได้ดว้ ยตัวเอง (คนเดียวก็ทาได้) - อุตสาหกรรมครัวเรือน - กลุ่มผูส้ ูงอายุ

เคล็ดลับในกระบวนการผลิต

“อาศัยความอดทนและความปราณีต”

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

การบริหารจัดการ ด้านการเงิน/การลงทุน - ตอก (ไม้ไผ่) มัดละ 20 บาท -

ปืนกาว+กาวแท่ง ชุดละ 100 บาท ไหมพรม สีแดง ม้วนละ 5 บาท เข็ม เล่มละ 5 บาท กรรไกร อันละ 35 บาท ริบบิ้น สีเงิน สีทอง ม้วนละ 80 บาท ไม้ไผ่ ลาละ 20 บาท ด้าย เบอร์ 12 มัดละ 40 บาท เข็มหมุดหัวสี แผงละ 5 บาท (ไม่ใช้กไ็ ด้)

ใบลาน ใบมะพร้าว ใบตาล เป็นวัตถุดบิ ทีม่ ีในท้องถิน่ ไม่จาเป็นต้องซือ้ หรือหากไม่สามารถตัดเองได้ การจ้างตัดครั้งละ 150 ถึง 300 บาท รวมต้นทุนในการลงทุนครั้งแรก ประมาณ 600 บาท สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

การบริหารจัดการ ด้านการตลาด 1. การจัดจาหน่าย ถนนคนเดิน, ตลาดนัด, หน้าบ้านตนเอง, เฟชบุค๊ , เสนอขายผ่าน Organizer ที่รับจัดงานต่างๆ หรือ Wedding Studio ฯลฯ

2. การตั้งราคาขาย

ขายขั้นต่า ตัวละ 10 บาท หรือเป็นชุด ชุดละ 80 บาท ขึ้นไป (ตามความเหมาะสม/ความยาก-ง่าย ในการทา และ วัสดุที่ใช้ทา)

** รับทาตามสัง่ /ตามความต้องการ และมีการต่อยอดมาเป็นเหรียญโปรยทาน ** สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

ปัญหาและแนวทางการแก้ไข ปัญหา 1. การขาดแคลนวัตถุดบิ บางอย่าง ในบางช่วงฤดูกาล 2. แหล่งจัดจาหน่าย/การตลาดทีแ่ คบ

แนวทางการแก้ไข 1. หาวัตถุดบิ ทดแทนหรือใช้อย่างอื่นแทน 2. ขยายตลาด/การประชาสัมพันธ์

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

“ปัจจัยสูค่ วามสาเร็จ” 1. คงความเป็นเอกลักษณ์ดั้งเดิมไว้ 2. มีการส่งเสริมด้านการตลาด และการ ประชาสัมพันธ์ 3. คงความเชือ่ เรื่องราวของความเชือ่ ให้เป็นที่ รับรูใ้ นวงกว้าง 4. มีทักษะความชานาญและมีความอดทน

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมิผะหยาปั๋ญญาบะเก่า)

แนวคิดใหม่ในการพัฒนาอาชีพ จากการสานตั ว สั ต ว์ ที่ทาจากวั สดุ ธรรมชาติ เ ป็ น หลัก ไม่ใช้วัสดุสังเคราะห์ ทาให้ลดมลภาวะในเรื่องของ ขยะ และพลาสติก นอกจากนี้เรายังสามารถต่อยอดและ พัฒนาจากการสานตัวสัตว์เสริมมงคลตามความเชื่อที่ใช้ แขวนเพื่อประดับบารมี เสริมมงคลในบ้าน ในรถ หรือ ในที่ ท างาน ร้ า นค้ า ต่ า งๆ สามารถพั ฒ นางานสาน เหล่านี้ ให้กลายมาเป็นอย่างอื่นได้อีกด้วย เช่น การ ทาเหรี ยญโปรยทาน ซึ่ ง ทาให้ เกิ ด อาชี พ ใหม่ ขึ้ นอี ก 1 อาชีพ จากการพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิม

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แหล่งอ้างอิง “เจ้าของความรู้” นางสมร คาจริง บ้านเลขที่ 1/2 หมู่ 1 ต.แช่ชา้ ง อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ โทรศัพท์ 084-6175549

นางคามูล ธะนะคา บ้านเลขที่ 38/1 หมู่ 8 ต.ออนใต้ อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ โทรศัพท์ -

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมผิ ะหยาปัญ ๋ ญาบะเก่า)

10

7 3 3 สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมผิ ะหยาปัญ ๋ ญาบะเก่า) การจักสานสัตว์ ของเล่นเด็กพืน้ บ้านล้านนา โดย นัทธวัฒน์ ตั้งจิตต์ หนังสือที่บอกถึงขั้นตอนการจักสานตัวสัตว์ที่เป็นของเล่นพื้นบ้าน จากไม้ไผ่ และสามารถนาไปจักสานได้จริงตามหนังสือ

พับสานโบราณของไทย : โดย เศรษฐมันตร์ กาญจนกุล สร้างงานศิลป์ สร้างอาชีพ สานสร้างอาชีพ สานแล้วรวย เป็นการสอนขั้นตอนการพับสานใบลานอย่างง่าย ขั้นตอนการ พับแมลง ฯลฯ

พับสานงานพื้นเมืองของเล่นโบราณ: โดย เศรษฐมันตร์ กาญจนกุล สืบสานงานอาชีพที่แสดงถึงความเป็นไทย งานสานของเล่นโบราณที่มีรูปแบบหลากหลาย สามารถสร้างทักษะฝึก ให้เป็นอาชีพเสริมสร้างรายได้

ปลาตะเพียนใบลาน : โดย ณรงค์ฤทธิ์ ศรีสยาม คนไทยสมัยก่อน เชื่อกันว่าปลาตะเพียนเป็นสิรมิ งคล ทาให้เงินทองไหลมาเทมา นอกจากนัน้ ยังเชื่อว่า เด็กที่เลีย้ งด้วย ปลาตะเพียน จะเป็นเด็กที่มีความขยันหมั่นเพียร สมดังคาลงท้ายของชื่อปลา

จักสาน งานไทย : โดย บริษัท ปิยมิตร มัลติมีเดีย จากัด เครื่องจักสาน คือ เครื่องใช้ที่ทาด้วยไม้ไผ่ หวาย หรืออื่นๆ จากฝีมือ ความคิด ภูมิปัญญาของชาวบ้าน มีลักษณะรูปทรง แตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่น ทั้งนีข้ ึน้ อยู่กับภูมิประเทศ วัสดุ อุปกรณ์ คตินิยม และอาชีพของคนในท้องถิ่นนั้นๆ

อาชีพช่างจักสาน : โดย ราชาวดี งามสง่า เป็นงานอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถทารายได้ให้ผู้ประกอบอาชีพได้อย่างดี การฝึกอบรมก็งา่ ย แม้แต่เด็กก็สามารถเรียนรู้ และทาได้ อาชีพช่างจักสานจึงเป็นอาชีพของคนไทยอีกอาชีพหนึ่งที่น่าสนใจศึกษา หรือยึดมาเป็นอาชีพหลักของตนเอง

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมผิ ะหยาปัญ ๋ ญาบะเก่า)

เครื่องจักสาน : โดย วินัย วิรยิ ะปานนท์ มนุษยชาติได้เรียนรูเ้ รื่องของการจักสานมาจากธรรมชาติแต่โบราณกาลมาแล้ว ธรรมชาติที่สอนให้มนุษย์รจู้ ักการจักสาน ก็คือการทารังของนก เมื่อเห็นดังนั้นจึงได้นามาดัดแปลงให้เป็นเครื่องใช้ เครื่องเล่น ดังที่จะเห็นได้โดยทั่วไปในทุกวันนี้

ศิลปะสร้างสรรค์เหรียญโปรยทาน : โดย สายใจ เจริญรื่น สุดยอด 25 ผลงานการสร้างสรรค์เหรียญโปรยทานพร้อมขั้นตอนอย่างละเอียด สรรค์สร้างงานศิลป์ แต่งเติมเหรียญ โปรยทาน เพิ่มคุณค่าทางใจ สุขทัง้ ผู้ให้และผู้รับ

การพับริบบิ้นเหรียญโปรยทานสู่มืออาชีพ : โดย จันทิรา สิงห์ยอง แนะนารูปแบบการพับริบบิ้นเหรียญโปรยทานไว้ถึง 25 แบบ พร้อมภาพปรกอบและขั้นตอนการทาอย่างละเอียด สามารถ ฝึกทาตามได้ทันที รวมทั้งนาไปเป็นพื้นฐานต้นแบบเพื่อพัฒนาสร้างสรรค์ให้ผลงานมีความแปลกใหม่ได้เ ป็นอย่างดี

เหรียญโปรยทาน: โดย วิมลทิพย์ อุยเหินนภา 39 ไอเดีย ริบบิน้ และ กระดาษ ห่อเหรียญโปรดทาน อธิบายเข้าใจง่าย ภาพขั้นตอนเข้าใจง่ายพับได้จริง

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมผิ ะหยาปัญ ๋ ญาบะเก่า)

โฮงเฮียนสืบสานภูมปิ ญ ั ญาล้านนา - http://www.lannawisdoms.com มีบริการรวบรวมข้อมูล องค์ความรู้พื้นบ้านออกมาในรูปของตาราที่คนรุ่นใหม่ศึกษาได้ จัดทาหลักสูตร จัดอบรมระยะสั้น เผยแพร่ให้ความรู้แก่สาธารณชนให้เห็นความสาคัญของการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น รวบรวมผู้รู้ พ่อครู แม่ครู ช่างพื้นบ้านในแขนงต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชนล้านนา เปิดสอนวิชาภูมิปัญญา แขนงต่าง ๆ และเปิดรับสมัครนักเรียนและผู้สนใจเข้าเรียนรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านแขนงต่าง ๆ

วีดีโอ การสานตัวสัตว์ (ม้า ของเล่นพื้นบ้านล้านนา) - https://www.youtube.com

วีดีโอ วิธีการสานปลาตะเพียนจากใบมะพร้าว - https://www.youtube.com สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่มที่ 22 - http://kanchanapisek.or.th/kp6/index.php

ทาเนียบภูมิปัญญาอาเภอสันกาแพง ศูนย์ราชการอาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มจักสาน ผู้สูงอายุ บ้านปง หมู่ 8 ตาบลออนใต้ อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ ทาเนียบภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้อาเภอสันกาแพง ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอสันกาแพง สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แหล่งจาหน่ายวัตถุดิบ และอุปกรณ์

เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล (ภูมผิ ะหยาปัญ ๋ ญาบะเก่า)

สินค้า ริบบิ้น ด้าย เข็ม ฯลฯ ชื่อร้าน ร้านเครื่องเขียน/ ร้านขายวัสดุ อุปกรณ์ทั่วไป ข้อมูลติดต่อ สินค้า เส้นตอก/ ไม้ไผ่/ ใบลาน/ ใบตาล/ ใบมะพร้าว

ชื่อร้าน ร้านขายเครื่องจักสาน/ ปราชญ์ชาวบ้าน หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน

ข้อมูลติดต่อ -

สินค้า ลูกปัด ชื่อร้าน ร้านลูกปัด ข้อมูลติดต่อ 35/2 ถ.ข่วงเมรุ ต.ช้างม่อย อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แผนการถ่ายทอดองค์ความรู้ และรูปแบบกิจกรรม แผนการถ่ายทอดองค์ความรูห้ รือรูปแบบกิจกรรม 1. เผยแพร่บนเวปเพจ เฟชบุ๊ค ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอสันกาแพง 2. เผยแพร่ให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม ตามโครงการ ส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราช กุมารี” อาเภอสันกาแพง 3. จัดทาเป็นองค์ความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับการจักสาน ตัวสัตว์ จากองค์ความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้าน 4. เผยแพร่ให้กับผู้ที่สนใจ เพื่อนาไปสร้างเป็นอาชีพ

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แผนการถ่ายทอดองค์ความรู้ และรูปแบบกิจกรรม ครั้งที่ 1 ชื่อกิจกรรม .....ศิลปะประดิษฐ์ การทาดอกไม้จากใบเตย และการสานตัวสัตว์ ตามโครงการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาสังคม และชุมชน “สร้างเสริมสร้างค่านิยมหลักของคนไทย”.................... รูปแบบกิจกรรม .....ฐานการเรียนรู้ การพับใบเตย เป็นดอกไม้ การจัดช่อดอกไม้ใบเตย ช่อผักผลไม้ และการสานตัว สัตว์ เพื่อประดับตกแต่งช่อดอกไม้/ใบเตย....................................... ระยะเวลาดาเนินการ .....15-16 กรกฎาคม 2558............ สถานที่จดั กิจกรรม .....ลานเอนกประสงค์ สานักงาน เทศบาลตาบลสันกาแพง..................................................................... กลุ่มเป้าหมาย .....ผูส้ ูงอายุ...................................................... สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แผนการถ่ายทอดองค์ความรู้ และรูปแบบกิจกรรม ครั้งที่ 2 ชื่อกิจกรรม .....สืบฮีตโตยฮอย ภูมิปัญญาล้านนา ตามโครงการส่งเสริมการอ่าน ประจาปี 2559 “วันรักการอ่าน 2 เมษายน 2559”........................................................................... รูปแบบกิจกรรม .....ฐานการเรียนรู้ การสานตัวสัตว์ การตัดตุงล้านนา และการทาโคมล้านนา........................................ ระยะเวลาดาเนินการ .....2 เมษายน 2559...................... สถานที่จดั กิจกรรม .....ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอสันกาแพง.................................................................................. กลุ่มเป้าหมาย .....เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป............... สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.