NOW
URBAN ZED วิถีชีวิต เมือง โอกาส
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 1
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 2
พิมพ์ครั้งที่ 1 : ตุลาคม 2558 จัดทำ�โดย สำ�นักนโยบายและแผน สำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) อาคาร CMMU ชั้น 18 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร 02-105-6500 แฟกซ์ 02-105-6556 เว็บไซต์ www.okmd.or.th www.facebook.com/TheOpportunitybyOKMD ผลิตโดย บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด เลขที่ 81 ซอยโชคชัย 4 ซอย 46 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230 โทร 02-116-9959, 087-718-7324 แฟกซ์ 02-116-9958 อีเมล cocoonjob@gmail.com จัดท�ำภายใต้โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง “โอกาสในการสร้างรายได้และประกอบอาชีพของคนไทย” ปี 2558 โดยส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นให้คนรุ่นใหม่ เห็นโอกาสและเตรียมความพร้อมพัฒนาทักษะทีจ่ �ำเป็นในการประกอบอาชีพ ข้อมูลภายในหนังสือเล่มนีจ้ ดั ท�ำขึน้ เพือ่ เป็นสาธารณประโยชน์แก่บคุ คลทัว่ ไปและ ไม่มีการผลิตเพื่อจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 3
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 4
บทนำ� โอกาสจากการขยายตัว ของความเป็นเมือง
ซีรีส์ความรู้ The Opportunity : ส่อง โอกาส สร้าง อาชีพ ของสำ�นักงาน บริ ห ารและพั ฒ นาองค์ ค วามรู้ (องค์การมหาชน) หรือ OKMD ได้มี การจัดทำ�และเผยแพร่ออกไปแล้ว รวม 4 เล่ม ซึ่งได้รับการตอบรับ เป็ น อย่ า งดี จ ากกลุ่ ม เป้ า หมาย หลากหลายกลุ่ม “Now Urbanized : วิถีชีวิต เมือง โอกาส” ที่คุณอ่านอยู่นี้เป็น ผลงานต่อเนือ่ งเล่มที่ 5 ซึง่ ได้น�ำ เสนอ ให้เห็นถึงแนวโน้มการขยายตัวของ “ความเป็นเมือง (Urbanization)” ทั้งในระดับโลกและระดับประเทศ อันจะนำ�ไปสูก่ ารเกิดโอกาสใหม่ๆ ใน การประกอบอาชีพ สร้างงาน สร้าง รายได้ พร้อมทั้งตัวอย่างการทำ� ธุ ร กิ จ ที่ใช้ โ อกาสจากการขยายตั ว ของเมื อ งมาสร้ า งสรรค์ สิน ค้ า และ บริการที่สามารถตอบสนองวิถีชีวิต และความต้องการของคนเมืองได้ดี หลายๆ กรณีศึกษามีจุดเริ่มต้นและ เส้นทางการเติบโตทีน่ า่ สนใจ อีกทัง้ ยังช่วยให้เรารู้ว่า บางครั้งก็สามารถ เริม่ ต้นทำ�ธุรกิจได้งา่ ยๆ จากการมอง เห็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ประจำ�วัน
นอ กจา กนี้ ยั ง มี มุ ม ม อ ง อื่ น ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต พฤติ ก รรม ที่ เปลี่ยนไปของคนเมืองและไอเดีย ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในบริบทการขยายตัว ของความเป็นเมืองอีกด้วย เนื้อหาสาระในฉบับนี้ นอกจาก ข้อมูลความรู้ดีๆ เกี่ยวกับ “ความ เป็นเมือง” ที่มีการคัดกรองมาเปิด ประเด็นใหม่ๆ แล้ว ทีมงานยังได้รับ เกียรติจากผู้รู้และผู้มีประสบการณ์ ตรงทัง้ ในภาควิชาการและภาคธุรกิจ มาบอกเล่ า ในครั้ ง นี้ ด ้ ว ย อี ก ทั้ ง ยั ง มี มุมมองของคนรุ่นใหม่ที่เชื่อว่า การขยายตัวของความเป็นเมืองจะ น�ำมาซึง่ โอกาสต่างๆ และอาจกล่าว ได้ว่า “คนในยุคนี้ เลือกเมืองก่อน เลือกงาน” OKMD หวั ง ว่ า หนั ง สื อ Now Urbanized : วิถีชีวิต เมือง โอกาส เล่ ม นี้ จ ะมี ส ่ ว นแบ่ ง ปั น ความรู ้ แลกเปลี่ ย นแนวคิ ด และบอกเล่ า ประสบการณ์ดีๆ ให้คนรุ่นใหม่และ ผู้ที่สนใจน�ำไปใช้ประโยชน์ใ นการ สร้ า งงาน สร้ า งอาชีพและรายได้ รวมทั้งการใช้ชีวิตต่อไป
สำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 5
SCOOP
ความหมายของ
“ความเป็นเมือง” “ความเป็นเมือง” สามารถนิยามหรือให้ค�ำจ�ำกัดความได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับว่า เราจะ ใช้มุมมองใดหรือข้อมูลอะไรมาอธิบาย เช่น การแบ่งแยก “เมือง” กับ “ชนบท” ตามเขต การปกครองหรือความหนาแน่นของประชากร หรือการเชื่อมโยงกับวิถีชีวิต/บริบทสังคม วัฒนธรรม/โครงสร้างทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดี ไม่ว่าจะมอง “ความเป็นเมือง” อย่างไร ต่างก็สะท้อนให้เห็นถึงความท้าทายและโอกาสใหม่ๆ ทางธุรกิจและอาชีพที่มาพร้อมกับการ ขยายตัวของความเป็นเมืองทั้งสิ้น
มุมมองด้านกายภาพ
มุมมองด้านวิถีชีวิต
“เมือง” หมายถึง การย้ายถิ่นฐานจากชนบท เข้าสู่เมืองของประชากร ซึ่งนิยามนี้เกิดขึ้นจาก การแบ่งแยกพื้นที่ “เมือง” และ “ชนบท” ออก จากกันอย่างชัดเจน
เชื่อว่าคนเมืองมีค่านิยมและพฤติกรรมเฉพาะตน ที่แตกต่างจากชนบท เช่น ความเป็นตัวของตัวเอง การยอมรับความหลากหลาย หรือการปฏิสัมพันธ์ ของผู้คน
มุมมองด้านเศรษฐกิจ
มุมมองด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์
“เมือง” คือพื้นที่การผลิตของอาชีพนอกภาค เกษตรกรรม และ “ประชากรเมือง” คือประชากร ที่ประกอบอาชีพนอกภาคเกษตรกรรม
“เมือง” มักมีสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบที่ เอือ้ ต่อการท�ำงานเชิงสร้างสรรค์มากกว่าชนบท ไม่วา่ จะเป็นเทคโนโลยี เครือข่าย เงินทุน บุคลากร ความคิด และแรงบันดาลใจ ในประเทศที่พัฒนาแล้วฐานของ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ล้วนแต่อยู่ในเมืองทั้งสิ้น
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 6
เรากำ�ลังเข้าสูโ่ ลกของคนเมือง
สถานการณ์และแนวโน้มระดับโลก และระดับภูมิภาค
โลกได้ผ่านการขยายตัวของ ความเป็นเมืองอย่างต่อเนื่อง
ตลอดศตวรรษที่ 20
โลก
ระดับความเป็นเมือง จะแตกต่างกันตามพื้นที่
มีประชากรอาศัยอยู่ในเมือง ทวีปอเมริกาเหนือ
ร้อยละ
ร้อยละ
ประชากรคนเมืองเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ประชากรคนเมืองเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ
ปี 2050
หากเทียบตัวเลขปัจจุบัน
หมายความว่า ในอีก 35 ปีข้างหน้า ปี 2050
(ปี 2014) ที่โลกมี ประชากรเมือง
82
73
3.9
พันล้าน คน
โลกจะมีประชากรเมือง
เพิ่มขึ้นมากถึง
2.4
พันล้านคน
ร้อยละ
80
6.3 พันล้านคน
ลาตินอเมริกา-แคริบเบียน
ในอนาคต
ทวีปเอเชียกับแอฟริกา มีการขยายตัว ของความเป็นเมือง
มากที่สุด
30 54 66
โลกมีคนเมืองเพียงร้อยละ
คาดว่าใน
ปี 2014 ยุโรป
ปี 1950 ปี 2014
องค์การสหประชาชาติ
ปี 2050
จะมีประชากรอาศัยในเขตเมือง เอเชีย ร้อยละ
64
แอฟริกา ร้อยละ
56
่ผ่านมา CHINA ในรอบทศวรรษที ประชากรในเมื อ งของจี น เพิ่ ม ขึ้ น ร้อยละ
จาก
36
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 7
เป็น ร้อยละ
50
SCOOP
คนอาเซียนคือคนเมืองรุ่นใหม่ สถานการณ์และแนวโน้มในอาเซียน กลุม่ ประเทศอาเซียนอยูใ่ นกระแสการขยายตัวของความเป็นเมืองเช่นเดียวกับกระแส ภูมิภาคและกระแสโลก ด้วยสถิติการเพิ่มขึ้นของคนเมืองในปริมาณที่ต่อเนื่องและ เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ รวมถึงปัจจัยหลากหลายด้านที่ส่งเสริมให้เกิดความเป็นเมือง
ปี 2013
มีประชากร อาศัยอยู่ใน เมืองเพียง
ปี 2030
ร้อยละ
36
ของประชากรทั้งหมด เศรษฐกิจของเมืองคิดเป็น ร้อยละ
45
ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ทั้งหมดของอาเซียน
อาเซียนมี ประชากร
เมืองเพิ่มเป็น
ร้อยละ
43
ของประชากรทั้งหมด เศรษฐกิจของเมืองเพิ่มขึ้นเป็น
ร้อยละ
76
ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ทั้งหมดของอาเซียน
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 8
คนไทยกำ�ลังอยู่ในวิถีคนเมือง สถานการณ์และแนวโน้มในประเทศไทย มีกระแสการขยายตัวของความเป็น
เมืองมาตั้งแต่ทศวรรษ
1960
มีประชากรเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ โดยเฉพาะในรอบปี
2009 – 2013
ปี 2014
ประชากรที่อาศัยอยู่ในเมือง
33 49% ล้านคน
ของประชากรทั้งหมด
2010 – 2015
มีอตั ราการเพิม่ ของคนเมืองในประเทศไทยถึง
ร้อยละ เฉลี่ยแล้วมีคนย้ายจาก ชนบทเข้าสู่เมืองเป็นจำ�นวน
3.4
940,000
คนต่อปีในช่วงเวลานี้
คาดการณ์ว่า ปี 2050 ประชากรในเมืองของไทยจะ
อัตราการขยายตัว ความเป็นเมือง 2.7 ร้อยละ
เมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านในกลุม่ อาเซียนการขยายตั ว ความเป็ น เมื อ ง
ของไทยถือว่าอยู่
ล้านคน
(ร้อยละ 0.9) และภูมิภาค
(ร้อยละ 1.4)
อนาคตประชากรไทยกว่า ร้อยละ กลาย
73
สูงกว่า
ค่าเฉลีย่ ของโลก
เพิม่ ขึน้ อีกกว่า
11
ต่อ ปี
เป็น คนเมือง
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 9
SCOOP
โอกาสและความท้าทาย
จากความเป็นเมือง
แม้ประเทศไทยจะประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจในรอบ 4 ทศวรรษที่ผ่านมา ทว่าโมเดลการพัฒนาแบบเดิมเริ่มมาถึงทางตันด้วยข้อจ�ำกัดหลายประการ อาทิ ผลิตภาพ การผลิตที่ต�่ำ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การแข่งขันทางเศรษฐกิจที่รุนแรงในตลาดโลก ฯลฯ ไทยจึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมองหาโมเดลการพัฒนาแบบใหม่ที่ตั้งอยู่บนฐานของความ คิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม การยกระดับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม รวมถึงต้องปรับตัวและ มองหาโอกาสจากการขยายตัวของความเป็นเมืองเพื่อแข่งขันกับนานาชาติในอนาคตได้ 2025 ทั่วโลก
1
เพิ่มขึ้น
เมืองจะเป็นตัวขับเคลือ่ น
เศรษฐกิจใหม่ใน ศตวรรษที่ 21
ในศตวรรษที่ 21 การขยายตัวของความเป็นเมือง จะเป็นพลังขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจโดยตรง เนื่องจากการขยายตัวของความเป็นเมืองที่ ก�ำลังเกิดขึ้นนี้มีขนาดใหญ่และเกิดขึ้นอย่าง รวดเร็ว
2030 อาเซียน
30 930
ล้านล้าน
เพิ่มขึ้น
พันล้าน
การศึกษาของ Dobbs et.al. (2012) พบว่า ภายในปี 2025 เมืองทั่วโลกจะสร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 30 ล้านล้าน เหรียญสหรัฐฯ และในปี 2030 การขยายตัวของ ความเป็นเมืองของอาเซียนจะสร้างมูลค่าทาง เศรษฐกิจเพิม่ ขึน้ ถึง 930 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 10
2
นวัตกรรมและ ผู้ประกอบการ
ความเป็นเมืองจะเป็นตัวเร่งการ
เปลี่ยนผ่านทางเศรษฐกิจ
และสังคมในหลากมิติ การเพิ่มผลิตภาพ การผลิต (Productivity)
การเคลื่อนย้ายแรงงานภาคเกษตรกรรมในชนบทมาสู่ภาค อุตสาหกรรมและบริการในเมือง โดยเฉลี่ยแล้วเมืองที่มี ประชากร 200,000 คนจะมีผลิตภาพการผลิตมากกว่าเมือง ที่มีประชากร 100,000 คนประมาณร้อยละ 2 – 8
ความเท่าเทียม
(Innovation & Entrepreneurship) เมืองเป็นตลาดผู้บริโภคที่ใหญ่ที่สุดและมีความ หลากหลายมากทีส่ ดุ และยังเป็นศูนย์รวมของความรู้ เทคโนโลยี รวมทั้งคนที่มีความสามารถสูง
$
$
การเชื่อมต่อ
(Connectivity)
นอกจากเศรษฐกิจโลกจะเป็นการเชือ่ มต่อทางการค้า การลงทุน และเทคโนโลยีระหว่างประเทศกับประเทศ แล้ว เศรษฐกิจโลกยังเป็นการเชื่อมต่อระหว่างเมือง กับเมืองด้วย
(Equality)
การขยายตัวของความเป็นเมืองเป็นโอกาสส�ำคัญที่จะมีส่วน ช่วยสร้างความเท่าเทียมกันในเชิงเศรษฐกิจผ่าน “การจ้าง งาน” และการลงทุนให้ดีขึ้นเพราะอย่างน้อยก็ช่วยสร้างงาน ใหม่ๆ และให้ค่าตอบแทนที่สูงกว่าในชนบทอย่างเทียบไม่ได้
ความยืดหยุ่น (Resilience)
การขยายตัวของความเป็นเมืองจะมีบทบาทส�ำคัญในการ ท�ำให้เศรษฐกิจมีความยืดหยุ่นอย่างน้อย 3 ด้าน คือ 1. 2. 3.
ช่วยบรรเทาปัญหาการขาดแคลนคนวัยท�ำงาน จากการเป็นสังคมผู้สูงอายุ เพราะเมืองดึงดูด แรงงานผู้หญิงหรือแรงงานต่างด้าว ให้เข้ามามี บทบาทในตลาดแรงงานมากขึ้น ช่วยท�ำให้การบริโภคภายในประเทศเพิ่มขึ้น จากการมีประชากรเมืองมากขึ้น สามารถวางแผนจัดการปัญหามลภาวะ และ สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในระดับเมืองได้ดีขึ้น
3
การขยายตั ว ของความเป็ น เมื อ งคื อ โอกาสในการสร้างพื้นที่ทางการเมือง
และวัฒนธรรมใหม่ๆ
• เมืองที่เป็นประชาธิปไตย (Democratic city) เมืองมีบทบาทส�ำคัญในการสร้างความมีส่วนร่วมทางการ เมืองของพลเมือง เมืองจึงเป็นโอกาสและความท้าทายใน การพัฒนาประชาธิปไตยทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ • เมืองที่นับรวมทุกคน (Inclusive city) เมืองที่ออกแบบโดยค�ำนึงถึงคนทุกระดับ ซึ่งจะส่งผลต่อ ศักยภาพของเมือง คุณภาพชีวิตของคนเมืองด้วย • เมืองที่ฉลาดกว่า (Smarter city) เมืองจะขยายตัวเพียงอย่างเดียวไม่ได้ แต่จะต้องมีการวางแผน ให้ขยายตัวอย่างฉลาดด้วย
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 11
The Number
URBANIZATION ตลาดคอนโดมิเนียม ความนิยมของตลาดคอนโดมิเนียม
ตุลาคม
2557
คอนโดในกรุ ง เทพฯ มีทั้งหมด
363
BTS สถานีราชดำ�ริ มีราคาเฉลี่ย สูงสุดคือ
270,000
โครงการ
และปริ ม ณฑล
ปี 2557 คอนโดที่อยู่ใกล้ หรือติดกับ
ล้านบาท
192,593 ยู นิ ต มูลค่า 558,807
โซนรัชดาภิเษก และแยกพระราม 9
บาท/ตารางเมตร
ตลาดคอนโดในเมื อ งเชี ย งใหม่ ได้ รั บ ความนิ ย มมากสุ ด ช่ ว งปี
2555-2556
คื อ ทำ � เลยอดนิ ย มของคนที่ จ ะซื้ อ คอนโด
มีห้องชุดเปิดตัวใหม่กว่า
มี ค น ค ลิ ก เ ข้ า ไ ป เ ช็ ค ร า ค า ค อ น โ ด ใ น www.chekraka.com มากที่ สุ ด ถึ ง
10,000 ยู นิ ต และในปี
100
จำ � นวน
2554 1,150
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 12
ยู นิ ต
2557
ที่ มี ค อนโดเปิ ด ใหม่ เ พี ย ง
ยูนิต
ในปี
ครั้ง
894,349
โดยเพิ่มขึ้นจากปี 2553
COMMUNITY MALL / พื้นที่ค้าปลีก ไตรมาสที่ 3 ของปี 2557 พื้นที่ค้าปลีก ประมาณ
หรือ
59%
ตารางเมตร
4,006,000
ของพื้นที่ค้าปลีกทั้งหมดในปัจจุบัน
เป็ น ศู น ย์ ก ารค้ า ประมาณ ส่ ว นคอมมู นิ ตี้ ม อลล์
มีสัดส่วนมากเป็น อันดับที่
2
905,980
มี พื้ น ที่ ร วม ประมาณ
ตารางเมตร
หรือประมาณ 13% และเพิ ่ ม ขึ ้ น อี ก เป็ น
1,088,880 2557 ตารางเมตร
ปี 2557 ธุรกิจจักรยานและอุปกรณ์เสริมสำ�หรับ นักปั่นของสหรัฐฯ กลับมาเฟื่องฟูอีกครั้ง โดยขายได้ถึง
6.1 พันล้านเหรียญ เพิ่มขึ้นมาจากปี ที่ขายได้
ของปี 2556
ตลาดจักรยานในไทยเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา จากมูลค่ารวม
3,000 เป็ น
ล้ า นบาท/ปี
5,000 ล้านบาท
ในปี 2556 มีผู้ขี่จักรยานเพื่อการท่องเที่ยว
260,000
คน
ณ สิ้นปี
เทรนด์ ก ารใช้ จั ก รยาน ของคนเมื อ ง
ใช้ จ่ า ยเฉลี่ ย
500 - 1,000
บาทต่อคนต่อวัน สร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ การท่ อ งเที่ ย ว ภายในประเทศประมาณ
2556
5.8 พันล้านเหรียญ THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 13
900 ล้ า นบาท
TREND Analysis
Urbanization
การขยายตัวของความเป็นเมืองน�ำมาซึ่งโอกาสและความท้าทายใหม่ๆ เมื่อเปิดมุมมองผ่านกรอบการ วิเคราะห์ “มองเทรนด์ 5 มิติ” (Five Dimensions Analysis) ซึ่งพัฒนาต่อยอดมาจากกรอบการ วิเคราะห์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของ trendwatching.com (2014) ที่จะอธิบายถึง พลังขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ปัจจัยเร่งในระยะสั้น ความต้องการพื้นฐานของคนเมือง และ ความคิดบันดาลใจ ทีจ่ ะก่อให้เกิดเป็นโอกาสใหม่ๆ ของธุรกิจสินค้าและบริการ พร้อมทัง้ ตัวอย่างธุรกิจ สร้างสรรค์ที่น่าสนใจทั้งในและต่างประเทศ
1
Drivers of Change พลังขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยที่เป็นการเปลี่ยนแปลงในระยะยาว จนน�ำไปสู่การ ขยายตัวของความเป็นเมือง
$ THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 14
$
$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$
$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$
$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$
การพัฒนาของภาคอุตสาหกรรมและบริการท�ำให้เกิดการ ขยายตัวของความเป็นเมืองทีท่ รงพลัง เนือ่ งจากมีคา่ จ้าง สูงกว่า จึงดึงดูดแรงงานจากภาคเกษตรกรรมทีม่ คี า่ จ้างถูก ให้ย้ายเข้ามาในเมืองมากขึ้น เพื่อมองหาโอกาสใหม่ๆ ในการประกอบอาชีพ
$
กระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจใหม่
$ $ $
$
$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$
$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$
$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$
$
$
$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$
$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$
แรงงานจากภาคเกษตรที่เข้ามาสู่เมืองส่วนใหญ่จะส่ง เงินกลับไปยังครอบครัว เพื่อน�ำไปลงทุนในเทคโนโลยี การเกษตรเพื่อเพิ่มผลิตภาพทางการผลิต ความต้องการ แรงงานในภาคเกษตรจึงลดลง และเกิดแรงงานส่วนเกิน จึงมีการเคลื่อนย้ายเข้าสู่เมืองเพื่อมองหาโอกาสต่อไป
$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$
กระบวนการเปลีย่ นผ่านในภาคเกษตรกรรม $
$ €
€
$
$
ความสมัยใหม่ของเมือง ความทันสมัยในทุกๆ ด้านของเมืองไม่ว่าจะเป็นด้าน สาธารณูปโภค บริการสาธารณสุข การศึกษา เทคโนโลยี รวมถึงสินค้าและบริการ เป็นผลให้เมืองมีโอกาสมากกว่า ชนบท ผู้คนจึงมีแรงจูงใจให้เคลื่อนย้ายจากชนบทและ มุ่งหน้าสู่เมืองมากขึ้น
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 15
€
€
$
$
TREND Analysis
การลงทุน โครงสร้างพื้นฐาน
โมบาย อินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยีใหม่ ในเมือง
เช่น น�้ำประปาและไฟฟ้า โครงข่ายการคมนาคมขนส่ง และการสือ่ สาร เป็นตัวเร่ง ส�ำคั ญ ที่ ท�ำให้ เ มื อ งขยาย ตัว ในอนาคตรัฐต้องลงทุน โครงสร้างพื้นฐานให้เพียง พอและมีประสิทธิภาพ เพือ่ ขับเคลื่อนการพัฒนาและ สนองความต้องการของผูค้ น
ท�ำให้เกิดการส่งผ่านข้อมูล จ�ำนวนมากระหว่างกันอย่าง รวดเร็วจึงเป็นผลดีให้ธุรกิจ ขนาดเล็กมีโอกาสเติบโตและ เชื่อมโยงกับตลาดที่ใหญ่ขึ้น รวมทั้งท�ำให้เกิด “คนเมือง เสมือน” มากขึน้
เมื อ งเป็ น ศู น ย์ ก ลางของ เทคโนโลยีล�้ำสมัยและเป็น แหล่ ง ที่ ดึ ง ศั ก ยภาพของ เทคโนโลยีเหล่านี้ออกมา ใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ช่วย ให้ภาคธุรกิจประสบความ ส�ำเร็จในโลกยุคใหม่
2 ชนชั้นกลางใหม่ มีมากขึ้น ผู้คนที่เข้ามาอยู่ในเมืองมี การปรับเปลีย่ นสถานะทาง สั ง คมมาเป็ น ชนชั้ น กลาง ใหม่ที่มีไลฟ์สไตล์และวิถี การบริ โ ภคแบบคนเมื อ ง มากขึ้น
เมืองเป็นฐานการ ลงทุนหลัก ของบรรษัทข้ามชาติ บรรษั ท ข้ า มชาติ ข นาด ใหญ่ จะหั น มาใช้ เ มื อ ง เป็นฐานการลงทุนแทนที่ การใช้ ป ระเทศเป็ น ฐาน เหมือนเดิม ท�ำให้เมืองต้อง เตรียมรับมือด้วยการเพิ่ม ศักยภาพการแข่งขันของ เมืองในด้านต่างๆ ด้วย เช่นกัน
TRIGGERS ปัจจัยเร่ง
การเปลี่ยนแปลงในระยะสั้นที่เร่งให้ เกิดการขยายตัวของเมือง
เมืองขนาดกลาง คืออนาคต
เทคโนโลยีดิจิทัล
การคมนาคม ขนส่ง
เมื อ งขนาดกลางมี อั ต รา การขยายตัวที่เร็วกว่าเมือง ขนาดใหญ่ เศรษฐกิ จ หั ว เมื อ งในส่ ว นภู มิ ภ าคของ ไทยหลายเมื อ งจะเติ บ โต ในอัตราที่สูงกว่ากรุงเทพฯ โดยเฉพาะเมืองชายแดนที่ มีศักยภาพ
ความสามารถในการปรับ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ของเมื อ ง เป็ น ปั จจั ย หนึ่ งที่ช่วยให้เมือง เปลี่ยนผ่านไปสู่เศรษฐกิจ สร้างสรรค์และมีนวัตกรรม เป็นของตนเอง
เป็ น ปั จ จั ย ส�ำคั ญ ในการ เพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันและยกระดับ คุ ณ ภาพชี วิ ต แนวโน้ ม การขยายตั ว ของเมื อ ง และเศรษฐกิ จ เกิ ด ใหม่ จึ ง ล ้ ว น ม า พ ร ้ อ ม กั บ การคมนาคมขนส่ ง ที่ มี ประสิทธิภาพ
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 16
โครงสร้างพื้นฐาน ถนน / ระบบราง
เทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นภายในปี 2025
อาเซียน (2011-2012)
1. ประมวลผลข้อมูล ขนาดใหญ่ 2. การเชื่อมต่ออุปกรณ์ด้วย อินเทอร์เน็ต 3. โปรแกรมอัจฉริยะ 4. บริการประมวลผล หน่วยจัดเก็บ ข้อมูล และระบบออนไลน์ต่างๆ 5. การพิมพ์แบบ 3 มิติ 6. วัสดุที่ใช้ในงานที่ต้องการ เทคโนโลยีชั้นสูง 7. เทคโนโลยียานพาหนะไร้คนขับ 8. เทคโนโลยีด้านพันธุกรรม
ความหนาแน่นของโครงข่ายทางถนน
คุณภาพโครงข่ายทางราง
9. เทคโนโลยีในการขุดเจาะ นำ�้ มันและแก๊ส 10. พลังงานหมุนเวียน 11. ระบบสะสมพลังงานขั้นสูง 12. เทคโนโลยีหุ่นยนต์ขั้นสูง
ส่วนไทย
อันดับ 1
สิงคโปร์
อยู่อันดับ 4
อันดับ 2
มาเลเซีย สายสีแดงเข้ม (ธรรมศาสตร์ – มหาชัย) สายสีเขียวเข้ม (ลำ�ลูกกา-สมุทรปราการ-บางปู)
ประเทศไทยมีความหนาแน่นของระบบราง น้อยเมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้วในโลก แต่ในอนาคต ประเทศไทยจะสามารถลงทุน ในระบบรางเพื่อลดต้นทุนในการขนส่ง และ ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศได้
สายสีม่วง (บางใหญ่ – ราษฎร์บูรณะ - วงแหวนกาญจนาภิเษก) สายสีส้ม (ตลิ่งชัน – ศูนย์วัฒนธรรม – มีนบุรี)
ตัวอย่างโครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
ในอนาคต
สายสีน�ำ ้ เงิน (บางซือ่ – หัวลำ�โพง – ท่าพระ – พุทธมณฑลสาย 4)
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 17
TREND Analysis
3
BASIC NEEDS ความต้องการพื้นฐาน
คนเมืองมีความต้องการพื้นฐานบางอย่างที่จะช่วยตอบโจทย์ การใช้ชีวิตในเมืองท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป
ที่อยู่อาศัย
คมนาคม
เมื่อขนาดครอบครัวมีแนวโน้มเล็กลง บ้าน ของคนเมืองยุคใหม่จงึ ไม่จ�ำเป็นต้องมีขนาด ใหญ่อีกต่อไป แต่ต้องอยู่ในท�ำเลที่สามารถ เดินทางและใช้ชีวิตได้อย่างคล่องตัว
การจราจรเป็นปัญหาใหญ่ที่คนเมืองต้อง เผชิญ ท�ำให้การคมนาคมที่มีประสิทธิภาพ มีทางเลือกทีห่ ลากหลาย ปลอดภัยและเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม จึงเป็นความต้องการ พื้นฐานที่คนเมืองต้องการ
สุขภาพดี
เมืองสร้างสรรค์
คนเมืองหันมาเอาใจใส่กับสุขภาพมากขึ้น เมื่อการใช้ชีวิตด้วยความเร่งรีบท่ามกลาง ข้อจ�ำกัดด้านเวลาและขาดพื้นที่ออกก�ำลัง กาย อาจน�ำไปสูโ่ รคภัยไข้เจ็บต่างๆ เช่น โรค อ้วน โรคเครียด เป็นต้น
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์จะช่วยขับเคลื่อน เศรษฐกิจของเมือง แต่เมืองเองก็ต้องมี โครงสร้างพื้นฐานทางปัญญามาสนับสนุน และเพื่ อ ดึ ง ดู ด คน โดยเฉพาะกลุ ่ ม คน สร้างสรรค์ให้เข้ามาอยูใ่ นเมืองเช่นกัน
ประสบการณ์ใหม่ๆ
คุณค่าใหม่ของคนเมือง
คนเมืองยุคใหม่มีความตระหนักในตัวเอง เพิม่ ขึน้ เชือ่ มต่อและรูเ้ ท่าทันมาก โดยความ ต้องการของคนเมืองมีลกั ษณะทีโ่ ดดเด่น คือ ความเร็ว ความแปลกใหม่ คุณภาพและ ความพิเศษ
สังคมเมืองมีลกั ษณะเปิดกว้าง ยอมรับความ หลากหลายได้มากขึน้ คนเมืองมีความเป็นตัว ของตัวเองและแสวงหาความเป็นอิสระ ท�ำให้ เกิดวิถชี วี ติ ใหม่ๆ มากมาย เช่น การยอมรับ ในความหลากหลายทางเพศ
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 18
การเติบโตของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
ต่างจังหวัด มีการ
กรุงเทพฯ มีการ
จดทะเบียนอาคารชุดรวม
จดทะเบียนอาคารชุดรวม
146,403 ยูนติ
ปี
2551
333,980 ยูนติ
73,870 ยูนติ
ปี
2557
233,381 ยูนติ
เติบโตกว่า 2 เท่าตัว ในระยะเวลา 6 ปี
*ปัจจัยสำ�คัญคือ ผูซ้ อ้ื ส่วนใหญ่ให้ความสำ�คัญ กับทำ�เลทีต่ ง้ั ทีส่ ะดวกในการเดินทางมากขึน้
เติบโตกว่า 3 เท่าตัว ในระยะเวลา 6 ปี
กลุ่มสร้างสรรค์ (creative class) ในทศวรรษ 1990 กว่าร้อยละ
80 ของคน
เลือกงาน ก่อนเมือง
แต่ปัจจุบัน กว่าร้อยละ
64
เลือกเมือง ก่อนเลือกงาน
กลุม่ คนสร้างสรรค์ทม่ี วี ถิ ชี วี ติ ทีเ่ รียกว่า ‘วัฒนธรรมข้างถนน’ (street level culture) ต้องการประสบการณ์ทห่ี ลากหลายในชีวติ ประจำ�วัน เช่น เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทีท่ �ำให้ท�ำงานทีไ่ หนก็ได้ ร้านกาแฟหรือคาเฟ่ไว้เป็นแหล่งพบปะของศิลปินและปัญญาชน พิพธิ ภัณฑ์และแกลลอรีทที่ �ำให้เข้าถึงศิลปะได้งา่ ย โรงละครทีม่ กี ารแสดงละครและเพลงให้เสพ และยังชอบกิจกรรม เพือ่ ประสบการณ์ใหม่ๆ เช่น เดินทางท่องเทีย่ ว ปัน่ จักรยาน วิง่ ปีนเขา
ของคน
การคมนาคม
เทรนด์จักรยาน
ปี 2558 กรุงเทพฯ มีปริมาณการ
ขนส่งรวมประมาณ
17
ล้านเที่ยว /ต่อวัน
โดยกว่า 10 ล้านเที่ยวเป็น
การเดินทางโดยรถยนต์
55
เมือง
การใช้จกั รยานเพือ่ เป็นพาหนะ ในการเดินทางในเมืองใหญ่ของ ประเทศสหรัฐอเมริกากว่า 55 เมือง
เพิ่มขึ้นถึง ร้อยละ
70
ในช่วงระหว่างปี 2000 - 2009
สำ�หรับหลายๆ เมืองในยุโรป อาทิ ปารีส อัมสเตอร์ดมั จักรยานถือเป็นส่วนหนึง่ ในชีวติ ประจำ�วันไปแล้ว
TREND Analysis
4
EMERGING OPPORTUNITIES โอกาสเกิดใหม่
ประชากรเมืองทีเ่ พิม่ มากขึน้ ย่อมท�ำให้ขนาดตลาดและผูบ้ ริโภคขยายใหญ่ ตามไปด้วย ผู้ผลิตที่เข้าใจวิถีชีวิตและพฤติกรรมของคนเมืองจะมีโอกาส สร้างสรรค์สินค้าและบริการใหม่ๆ ได้
ชนชั้นกลางใหม่ การขยายตัวของความเป็นเมืองท�ำให้ชนชั้นกลาง ใหม่ มี ค วามส�ำคั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ โทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์ เป็นสินค้ากลุ่มแรกๆ ที่ คนเมืองซือ้ เมือ่ มีรายได้เพิม่ ขึน้ ก่อนจะเริม่ มองหาสิง่ อ�ำนวยความสะดวกในชีวติ หรือสิง่ ทีใ่ ช้แสดงสถานะ ของตนในล�ำดับต่อไป
ตลาดแรงงานต่างด้าว แรงงานต่างด้าวเป็นกลุ่มคนที่มีศักยภาพที่จะเป็น ผู้บริโภคกลุ่มใหม่ หากภาคธุรกิจสามารถเข้าใจ วิถชี วี ติ วัฒนธรรม และความต้องการของคนกลุม่ นี้ ได้ ก็จะสามารถเปิดประตูไปสูต่ ลาดทีม่ ฐี านผูบ้ ริโภค ทีม่ กี �ำลังซือ้ อีกหลายล้านคน
ตลาดคนเจเนอร์เรชัน่ เอ็ม
(MillennialS)
กลุม่ คนเมืองรุน่ ใหม่ทมี่ พี นื้ ฐานครอบครัวค่อนข้างดี และเติบโตมาพร้อมกับเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต การบริโภคของกลุ่มนี้มีจะความเฉพาะตัวในแทบ ทุกสินค้าและบริการขึ้นอยู่กับรสนิยมและความ ชืน่ ชอบ เช่น กลุม่ ฮิพ (hip-ennial) ทีม่ คี วามสุขจาก การแสวงหาความแปลกใหม่อยู่เสมอ
ตลาดคนโสด คนเมืองมีแนวโน้มจะอยูค่ นเดียวมากขึน้ จากค่านิยม เรื่องการแต่งงานและการมีบุตรที่เปลี่ยนไป ท�ำให้ เกิดโอกาสในธุรกิจใหม่ๆ ที่สนองต่อกลุ่มคนโสด โดยเฉพาะ เช่น อาหารแช่แข็งตามร้านสะดวกซื้อ ที่ส่วนมากเป็นการซื้อเพื่อกินคนเดียว หรือคอนโด ขนาดเล็ก เป็นต้น
คนเมืองเสมือน เทคโนโลยีดิจิทัลและโลกของการเชื่อมต่ออย่าง เข้ ม ข้ น ท�ำให้ ก ารส่ ง ผ่ า นแบบแผนวิ ถี ชี วิ ต และ วัฒนธรรมระหว่างเมืองกับชนบทเป็นไปอย่างรวดเร็ว ท�ำให้คนชนบทมีความคิด พฤติกรรม รสนิยม ความเชือ่ และแบบแผนการบริโภคเหมือนคนเมืองมากขึน้
ตลาดของคนที่มี
ความหลากหลายทางเพศ ตลาดกลุ่ม LGBT (Lesbian, Gay, Bisexual, Transgender) เป็นตลาดเฉพาะทางที่เติบโตอย่าง ต่อเนื่องและมีศักยภาพสูงเพราะ LGBT จะมีราย ได้สูงและไม่มีภาระด้านครอบครัว แต่ทั้งนี้ก็ต้องมี การสื่อสารให้เห็นว่าสินค้าและบริการที่น�ำเสนอแก่ พวกเขานั้นเป็นไปอย่างเสมอภาค
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 20
ผูบ้ ริโภคกลุม่ LGBT ในสหรัฐฯ มีอ�ำนาจในการบริโภคสูงกว่า
835
ปี
2013
‘ดิจิทัล’ กับ ‘ชนบท
ตลาดของ LGBT
แต่เดิมรถจักรยานยนต์เป็นสิ่ง ที่วัยรุ่นชนบททุกคนต้องการ เพราะจ�ำเป็นต่อการใช้ชวี ติ แต่ ทุกวันนี้ สมาร์ทโฟนได้กลาย มาเป็นสินค้าที่วัยรุ่นในชนบท ต้องการมากทีส่ ดุ จนมีค�ำกล่าวว่า
ล้าน เหรียญ
‘smartphone is the new motorbike’ ตลาดนักท่องเทีย่ ว LGBT ช่วยสร้างเม็ดเงินในกระแส เศรษฐกิจท่องเทีย่ วได้ถงึ
65 ล้สหรัานเหรีฐฯ ยญ
ตลาดของคนโสด คนเมืองในสหรัฐฯ
แต่งงาน
ตอนอายุ 18 – 30 ปี
1.4
ล้านคน
แรงงานชาวกัมพูชาประมาณ 2 แสนคน แรงงานชาวลาวประมาณ 60,000 คน
ปี 2550
6
หมืน่ ล้าน บาท
แรงงานข้ามชาติสร้างมูลค่าให้เศรษฐกิจ ไทยประมาณ 6 หมืน่ ล้านบาท สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั อุตสาหกรรมไทย ประมาณ 7-10 % สร้างมูลค่าให้กบั การเกษตรไทย ประมาณ 4-5 %
ลดลงเหลือ
ร้อยละ
ร้อยละ
56 23
ปัจจุบนั ไทยมีแรงงานต่างด้าว ทีอ่ ยูใ่ นระบบ 1.4 ล้านคน แรงงานชาวพม่ามากทีส่ ดุ กว่า 1 ล้านคน
ปี 2012
ปี 1968
แรงงานต่างด้าว
การอยูค่ นเดียว
ครอบครัวใหญ่ของ คนไทยมีแนวโน้มลดลง ปี 2012
ร้อยละ
56.1
เพิม่ ขึน้
ปี 2013
เหลือเพียง
ร้อยละ
50.0
ปี 2012
ปี 2013
ร้อยละ
ร้อยละ
11.5
13.4
ข้อมูลจากไทยพีบเี อส (2558) ระบุวา่ วิถชี วี ติ คน โสดในเกาหลีใต้ ทำ�ให้อตุ สาหกรรมสัตว์เลีย้ ง ปี 2014
เติบโต
1 ล้านล้านวอน (29,000 ล้านบาท)
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 21
ปี 2020
เป็น 6 ล้านล้านวอน (171,596 ล้านบาท)
TREND Analysis
5
INSPIRATION AND IDEA ไอเดียสร้างสรรค์
การขยายตัวของความเป็นเมืองก่อให้เกิดไอเดียหรือโอกาสใหม่ๆ มากมาย เพราะเมืองเป็นศูนย์กลาง การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และยังเป็นศูนย์รวมของผู้บริโภคขนาดใหญ่และหลากหลาย ต่อไปนี้เป็น ตัวอย่างของธุรกิจใหม่ที่เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการและความหลากหลายของวิถีชีวิตคนเมือง
Eenmaal
POD 39
ร้านอาหาร pop up store ในเนเธอร์แลนด์ ออกแบบมา เพื่อรองรับลูกค้าที่มารับประทานอาหารคนเดียว โดยทุกโต๊ะ ในร้านถูกออกแบบให้นั่งได้คนเดียวและมีความเป็นส่วนตัว สูง นอกจากจะตอบโจทย์ลูกค้าที่รักสันโดษแล้ว ยังต้องการ ขายประสบการณ์ความแปลกใหม่ให้กับลูกค้าที่อยากลองทาน อาหารคนเดียวอีกด้วย
โรงแรมในเมืองนิวยอร์กที่เน้นการออกแบบเพื่อ รองรับคนโสดหรือนักเดินทางคนเดียว โดยเน้นไป ที่ประสิทธิภาพของการใช้พื้นที่ในห้องพัก มี wifi ตูเ้ ก็บสัมภาระ ห้องนำ�้ ในตัว และมีพนื้ ทีส่ ว่ นกลาง ไว้พูดคุยกันของนักเดินทาง
InterFlora UK
bring.BUDDY
ปี 2010 บริการส่งดอกไม้ชื่อดังสัญชาติอังกฤษได้ ออกแคมเปญทางการตลาดผ่านสือ่ โซเชียลมีเดีย โดย ติดตามผูใ้ ช้ทวิตเตอร์ เเละมองหาคนทีก่ �ำลังต้องการ ก�ำลังใจ เพือ่ จัดส่งช่อดอกไม้ไปให้ ถือเป็นรูปแบบธุรกิจ ใหม่ทคี่ วามเข้าใจความต้องการของผูบ้ ริโภค
โครงการความร่วมมือระหว่างบริษัทขนส่งยักษ์ใหญ่ DHL และกลุ่มนักศึกษาการออกแบบในเยอรมนี เพื่อลดปัญหา การจราจรในเมืองใหญ่และลดการปล่อยมลพิษจากการขนส่ง โดยให้ผคู้ นในเมืองท�ำหน้าทีร่ บั และส่งของระหว่างทางสัญจร ผ่านการแจ้งเตือนแอปพลิเคชัน่ บนโทรศัพท์มอื ถือ โดยได้รับ คะแนนสะสมเพื่อใช้เป็นส่วนลดในร้านค้าต่างๆ ตอบแทน
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 22
แคมเปญ Go Thai. Be free
Samsen 5 Lodge Bangkok
แคมเปญการตลาดของการท่องเทีย่ วแห่งประเทศ ไทย ส�ำนักงานนิวยอร์ก มีเป้าหมายเชิญชวน กลุ่มคู่รักเพศเดียวกันให้เดินทางมาท่องเที่ยวใน ประเทศไทยด้วยคลิปโฆษณาชุด Go Thai. Be free. ที่บอกเล่าในกลิ่นอายทางวัฒนธรรมของ ไทยและข้อมูลที่ว่าประเทศไทยเป็นมิตรต่อกลุ่ม คนรักเพศเดียวกัน
โรงแรมกึ่งออฟฟิศ ที่ออกแบบโดยค�ำนึงถึงความ งามทางสถาปัตยกรรม ประโยชน์ใช้สอย และ สิ่งแวดล้อม จุดเด่นอยู่ที่การน�ำอาคารจอดรถ เก่าที่ถูกทิ้งร้างในย่านเมืองเก่ามาเปลี่ยนเป็นทุน ทางธุรกิจ และออกแบบให้กลมกลืนกับย่านเก่า ในกรุงเทพฯ
ตัวอย่างอาชีพที่จะเป็น
ที่ต้องการเมื่อความเป็นเมืองขยายตัว สถาปนิกผังเมือง นักออกแบบสามมิติ
นักพัฒนาแอปพลิเคชัน
ร้านปลูกปัน่ ร้านน�ำ้ ผักผลไม้ปน่ั เพือ่ สุขภาพในกรุงเทพฯ บริการแปรรูปผัก ผลไม้ และ ธัญพืชเป็นนำ�้ ปัน่ และอาหารเพือ่ สุขภาพ ด้วยผลิตภัณฑ์จากผูผ้ ลิตเกษตร อินทรีย์ และผลผลิตจากสวนเล็กๆ ของร้านเอง จัดส่งโดยนักปัน่ จักรยาน หลากหลายอาชี พ ผลั ด เปลี่ ย นกั น มาปั ่ น ส่ ง ตามเวลาและเส้ น ทางที่ แต่ละคนสะดวก
ธุรกิจที่มีศักยภาพสูงใน กระแสการขยายตัวของ ความเป็นเมือง ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเดินทางสัญจร ในเมือง เช่น ธุรกิจให้เช่ารถยนต์ ธุรกิจที่ เกีย่ วกับจักรยาน
ธุรกิจด้านแหล่งเรียนรูแ้ ละสาธารณูปโภค ทางปัญญา เช่น Co-working Space ธุรกิจเกีย่ วกับสุขภาพจิตของคนเมือง เช่น ธุรกิจท�ำสวนเพือ่ ผ่อนคลายความเครียด
นักปลูกผักออร์แกนิค นักวิเคราะห์ความ ปลอดภัยของข้อมูล ธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ ความสะดวก สบาย และคุณภาพ เช่น การบริการบัตร เครดิตทีร่ วมบัตรทุกใบไว้ในบัตรเดียวกัน ธุรกิจทีม่ องเห็นความหลากหลายของชีวติ เมือง เช่น สินค้าและบริการส�ำหรับกลุม่ แรงงานต่างด้าว กลุม่ LGBT
SURVEY เมือ่ การขยายตัวของความเมืองกลายเป็นเทรนด์ทน่ี ำ�มาซึง่ โอกาส และการเปลีย่ นแปลง ลองมาดูผลส�ำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับชีวิตคนเมืองในสังคมไทยในปี 2020 ส�ำรวจโดยบริษัท ดิ วันโอวัน เปอร์เซ็นต์ จ�ำกัด จากกลุ่มตัวอย่าง 539 คน (มิ.ย. 2558) (กว่าครึ่งของคนเมืองที่ตอบแบบสอบถามมีอายุ 22-30 ปี และประกอบอาชีพที่ หลากหลาย) ภายใต้งานส�ำรวจและศึกษาวิจัยซีรีส์ความรู้ ส่อง โอกาส สร้าง อาชีพ
วิถีชีวิต คนเมือง
(LIFESTYLE)
ที่อยู่อาศัย คนเมืองอาศัยอยูใ่ น บ้านเดี่ยวมากที่สุด
36%
21 % คอนโดมิเนียม 13 % ทาวน์เฮาส์
คนเมือง
การเงิน
การออมเงิน
35.7 %
ไม่มภี าระทางการเงินต้องรับผิดชอบ
33.8 %
มีค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูพ่อแม่
32.9 %
81.7 %
ต้องจ่ายค่าผ่อนบ้านและที่อยู่อาศัย
ลงทุนในกองทุนรวม 31.2 % ซื้อหุ้น 21.1 %
ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ของคนเมืองคือ อาหารและเครื่องดื่ม 25 % รองลงมาคือที่อยู่อาศัย 19 %
ออมโดยฝากธนาคาร เมื่อสมมติว่าหากมีรายรับ เพิ่มขึ้น 2 เท่า พบว่าคนเมือง
คนเมืองในกรุงเทพฯ และ ปริมณฑลที่เดินทางไป-กลับ ที่ทำ�งาน เฉลี่ยวันละน้อยกว่า
30 นาที มี 28 %
ส่วนทีเ่ ดินทางไป-กลับ ทีท่ ำ�งาน เฉลี่ยวันละมากกว่า 1 ชั่วโมง มีถึง
47 %
และคนที่เดินทางมากกว่า 3 ชั่วโมง มีถึง
11 %
สิ่งที่เมืองยังตอบสนอง
88.4 %
จะออมเงินเพิ่มขึ้น
62.4 %
33.8 %
ใช้อินเทอร์เน็ต 3-5 ชั่วโมงต่อวัน
การเดินทาง 36 % คนเมืองใช้รถยนต์ส่วนตัว
ความต้องการ
22.4 %
ได้ไม่เพียงพอคือ
ระบบขนส่งมวลชน แหล่งเรียนรู้ และพื้นที่สีเขียว
29 %
เดินทางท่องเที่ยว เริ่มต้นธุรกิจใหม่
อินเทอร์เน็ต 28.8 %
ใช้มากกว่า 8 ชั่วโมง
SOCIAL MEDIA ที่ มีการใช้งานมากที่สุด
รถเมล์ รถไฟฟ้ารถไฟใต้ดิน
21.9 %
97 %
94 % 84.4 %
พฤติกรรมในการ
เลือกซื้อสินค้า และบริการ
ตัวอย่างของสินค้าและ
พฤติกรรมในการ
บริการที่คนเมืองต้องการแต่ ยังไม่มีในท้องตลาด
สถานที่ในการเลือกซื้อสินค้า
เลือกซื้อสินค้าและบริการ ห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่
68.7 %
คนเมือง ให้ความสำ�คัญกับ คุณภาพสินค้าและบริการ
รองลงมา คือ ราคา
20.9 %
คนเมืองกว่าร้อยละ
67
รับประทานอาหาร นอกบ้านสัปดาห์ละ
1-7 ครั้ง สิ่งที่คนเมือง
ให้ความสำ�คัญในชีวิต 1 ครอบครัว 2 เวลาว่าง 3 การศึกษา 4 สุขภาพ 5 ความสำ�เร็จใน อาชีพการงาน
79.4 %
ร้านสะดวกซื้อ 66.7 % ตลาด 34.1 % ซื้อของออนไลน์ 26 % ยิง่ รายได้มาก จะยิง่ เลือก ซื้อในห้างฯ และคอมมูนิตี้ มอลล์มากขึ้น เช่นเดียว กับการซื้อของออนไลน์
คนเมืองนิยมท่องเที่ยวเอง กับกลุ่มเพื่อน
42.2 % เที่ยวกับครอบครัว
32.8 %
ซื้อแพ็คเก็จทัวร์แค่
2%
เพาเวอร์แบงค์พลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องออกกำ�ลังกายที่ใช้พื้นที่น้อย ร้านสะดวกซื้อที่รับฝากเงินได้ด้วย ร้านทดลองให้เช่าเสื้อผ้า ห้องสมุดเคลื่อนที่
ตัวอย่างของสินค้าและ บริการที่คนเมืองยังไม่พอใจ ในคุณภาพ บริการของโรงพยาบาล บะหมี่กึ่งสำ�เร็จรูป ที่นั่งในโรงหนัง ธนาคารปิดเร็วเกินไป โรงเรียน ห้องสมุด
คนเมืองร้อยละ
81
เห็นว่าควรมีบริการแหล่งเรียนรู้ มากขึ้น เช่น พิพิธภัณฑ์ ห้องสมุด ร้านหนังสือ
Urban lifestyle ปัจจุบนั วิถคี นเมืองของไทย ไม่วา่ จะเป็นกรุงเทพฯ หรือหัวเมืองใหญ่ จะมี ค วามใกล้ เ คี ย งกั น มากขึ้ น ทั้ ง พฤติ ก รรมการใช้ ชี วิ ต หรื อ ทำ�งาน รวมทั้งการเกิดรูปแบบ พฤติกรรมใหม่ๆ ที่เป็นลักษณะ เฉพาะของคนเมืองด้วย
เลือกรับประทานอาหารที่ ร้านหรูหรือร้านที่แปลกใหม่ อย่างน้อยเดือนละ 1-2 ครั้ง
FOOD COURT
ยินดีจ่ายเงินซื้อผลิตภัณฑ์ หรือบริการเสริมความงาม ที่มีราคาแพง
SHOPPING
วิธีการเดินทางที่นิยมใช้คือรถยนต์ส่วนตัว รองลงมาคือรถเมล์และรถไฟฟ้า-รถไฟฟ้า ใต้ดิน แต่ที่น่าสนใจคือการใช้จักรยานใน การเดินทางมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น
นิยมใช้บริการบ�ำบัดความเครียด และผ่อนคลาย เช่น นวดแผน ไทย สปา โยคะ ฯลฯ อย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 26
คนเมื อ งส่ ว นใหญ่ ต ้ อ งการให้ มี แ หล่ ง เรี ย นรู ้ ม ากขึ้ น เช่ น พิพธิ ภัณฑ์ ห้องสมุด ร้านหนังสือ และมีการปรับปรุงบริการให้ดี ขึ้นด้วย
Co-working Space
แนวโน้ ม คนเมื อ งจะ ประกอบอาชี พ อิ ส ระ (ฟรีแลนซ์) เพิม่ มากขึน้
y librar
มี ค นจ�ำนวนไม่ น ้ อ ย ที่ เ ลื อ กออมเงิ น เพื่ อ การเดินทางท่องเทีย่ ว
คนเมืองยังเลือก ทีจ่ ะออมเงินไว้ใน ธนาคาร
แม้ว่าคนเมืองโดยส่วนใหญ่จะยัง อาศัยอยูใ่ นบ้านเดีย่ ว แต่แนวโน้ม ของคนเมืองที่ย้ายมาอาศัยอยู่ใน คอนโดมิ เ นี ย มก็ มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
BANK
nity Commull
Ma
นิยมซือ้ สินค้าทีห่ า้ งสรรพสินค้า มากที่สุด รองลงมาคือ ร้าน สะดวกซือ้ และคอมมูนติ มี้ อลล์ THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 27
Social Media ที่นิยมใช้ มากที่สุดคือ Facebook Line และ Youtube
INTERVIEW
ฟืน้ ฟูกรุงเทพฯ เพือ่ สร้างโอกาส และคุณภาพชีวติ ทีด่ ี กรุงเทพฯ ศูนย์กลางความเจริญของประเทศกำ�ลังจะเฉลิมฉลอง 250 ปี ในอีกไม่ช้า ท่ามกลางปัญหาที่สั่งสมกันมาและความต้องการใหม่ๆ ของคนในเมือง จึงถึงเวลาทบทวน ขนานใหญ่ในโอกาสนี้ ผศ.ดร.นิรมล กุลศรีสมบัติ ผูอำ� ้ นวยการ ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง (UDDC) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะมาเล่าสู่กันฟังถึงโครงการกรุงเทพฯ 250 ที่จะช่วย สร้างโอกาสในการใช้ชีวิตให้กับคนเมืองอย่างแท้จริง สานต่อความรูพ้ ฒ ั นาเมือง ผศ.ดร.นิรมล กุลศรีสมบัติ จบ ปริญญาตรีจาก สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ต่อมา ได้ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น ไปศึกษาต่อถึงระดับปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยโตเกียว หลังจาก กลับมา ได้รบั หน้าทีเ่ ป็นกรรมาธิการ
อนุรักษ์ศลิ ปะสถาปัตยกรรมทีส่ มาคม สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และได้ด�ำเนินโครงการแผนที่มรดก วัฒนธรรมริมน�้ำบางกอก 53 : ย่าน กะดีจีน ต่อมา ปี 2553-2554 ส�ำนัก งานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุ ข ภาพ (สสส.) ได้ เ ล็ ง เห็ น ความ
ส�ำคั ญ ของการพั ฒ นาฟื ้ น ฟู เ มื อ ง ให้ เ ป็ น พื้ น ที่ สุ ข ภาวะ จึ ง ร่ ว มกั บ จุ ฬ าฯ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ อ อกแบบและ พัฒนาเมือง (UDDC) ขึ้น โดยมี เป้าหมายส�ำคัญเพื่อเป็นแกนกลาง เชือ่ มต่อบูรณาการความรูแ้ ขนงต่างๆ และประสานงานระหว่างภาคี เพื่อ
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 28
ผลักดันให้เกิดโครงการฟื้นฟูเมือง อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นต้นแบบ เพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติจริงส�ำหรับ พื้นที่อื่นๆ หมุดหมายอยูท่ ี่ “กรุงเทพฯ 250” กรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวงที่มี การขยายตัวแนวกว้างไปตามแนว เกษตรกรรมและชานเมืองมายาวนาน ท�ำให้ใช้ตน้ ทุนในการพัฒนาสูง และ ยั ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม โครงการกรุงเทพฯ 250 จึงเกิดขึน้ เพื่อจัดท�ำผังแม่บทการฟื้นฟูย่าน เมื อ งเก่ า 17 เขตในพื้ น ที่ ก าร ปกครองของกรุงเทพมหานคร โดยมี โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูเมืองน�ำร่อง ย่ า นกะดี จี น -คลองสาน เตรี ย ม ความพร้ อ มให้ พื้ น ที่ เ มื อ งชั้ น ใน น่ า อยู ่ หลากหลาย และเต็ ม ไป ด้วยโอกาสส�ำหรับทุกคน เนื่องใน วาระครบรอบ 250 ปี กรุงเทพฯ ในปี 2575 วางแผนด้วยยุทธศาสตร์ โครงการกรุงเทพฯ 250 มีการ ตัง้ เป้าหมายการท�ำงานไว้ 17 ปี โดย อาศัยการวางแผนด้วยกระบวนการ คาดการณ์ อ นาคต (Foresight technique) อย่างเป็นระบบ โดย ค�ำนึงถึงปัจจัยรอบด้าน ขณะเดียวกัน มีการวางแผนแบบร่วมหารือระหว่าง ภาคีพฒ ั นา (Deliberative process) เพือ่ หาค�ำตอบร่วมกันให้เกิดผลเป็น รูปธรรมอีกด้วย การท�ำงานดังกล่าว ท�ำให้เห็นถึง 10 เทรนด์ทเี่ ป็นแนวโน้ม การใช้ชวี ติ ในอนาคตของคนเมือง เพิม่ พืน้ ทีส่ าธารณะ ตอนนี้พื้นที่สาธารณะต่อคนมี ขนาดเล็กมากเท่ากับห้องน�ำ้ สองห้อง
เท่านัน้ ถ้าสามารถเพิม่ พืน้ ทีส่ าธารณะ ได้ คุณภาพชีวิตของผู้คนก็จะดีขึ้น เกิดความเท่าเทียม มีโอกาสเพิม่ ขึน้ และทีส่ �ำคัญคือการเพิม่ สัดส่วนทีอ่ ยู่ อาศัยคุณภาพดีในเมื อ ง ท�ำให้ การ
สัญจรและระบบรางในเมืองราบรืน่ ขึน้ เพราะถ้าคนไม่ตอ้ งใช้รถ แต่เดินทาง ในรูปแบบอืน่ ๆ ได้ เมืองจะพัฒนาได้ มากขึน้ ควันพิษลดลง คนในเมืองก็ มีสขุ ภาพดีขนึ้ ด้วย
10 เทรนด์อนาคต การใช้ชวี ติ ในกรุงเทพมหานคร 1) ชีวติ เรียนรูท้ กุ ทีท่ กุ เวลา (Ubiquitous life) อุปกรณ์สอื่ สาร พกพา เป็นปัจจัยที่ 5 ที่ช่วยลดข้อจ�ำกัดด้านเวลา 2) รางเชือ่ มเมือง (Connected track) เชือ่ มต่อพืน้ ทีร่ ะหว่างเขต พืน้ ทีโ่ ดยรอบสถานีรถไฟฟ้าได้รบั การพัฒนา 3) อิสระแห่งการท�ำงาน (Freedom of work) การท�ำงานออนไลน์ ที่ยืดหยุ่น ไม่ยึดติดกับเวลาและสถานที่ 4) บริการสาธารณะทีส่ ะดวก (Convenient public service) ครบวงจร (One stop service) กระจายอยูท่ กุ พืน้ ทีแ่ ละหลายช่องทาง 5) บูรณะการการท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม (Integrated cultural tourism) เพือ่ ตอบรับการเปลีย่ นแปลงของพฤติกรรมการท่องเทีย่ ว 6) อุตสาหกรรมใหม่กลางเมือง (New urban industries) รองรับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสังคมในอนาคต 7) แหล่งพลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Diversified environmental - friendly energy sources) ศึกษาเรียนรู้ เรือ่ งการใช้พลังงานทดแทนในอนาคต 8) การใช้ประโยชน์ทดี่ นิ และพืน้ ทีร่ องรับโครงสร้างประชากร กรุงเทพฯ ใหม่ (Land & space for new Bangkokian) เพือ่ ตอบรับกับวิถชี วี ติ คนเมือง 9) ความปกติใหม่ของชีวติ คนเมือง (Urbanite’s new normal) มีความเป็นปัจเจกสูงขึน้ จึงต้องแสวงหาสมดุลเพือ่ การอยูร่ ว่ มกัน 10) การพัฒนาอย่างทัว่ ถึง (Inclusive development) ตอบรับ ความเท่าเทียมกันในสังคม เช่น การคมนาคมขนส่งครบวงจร พัฒนา ระบบโครงสร้างพืน้ ฐานทางดิจทิ ลั
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 29
ใส่ใจอาหาร ใส่ใจสุขภาพ “เพราะการทานอาหารเพื่ อ สุ ข ภาพที่ ดี คือกุญแจสำ�คัญของการมีอายุยืนยาว” จากความชืน่ ชอบในการทานอาหารบวกกับเป็นคนรักสุขภาพ ทำ�ให้ คุณเบญจพร การุณกรสกุล เดินหน้ากับการทำ�อาหารเพือ่ สุขภาพ ภายใต้แบรนด์ Absolute Fit Food ส่งไปถึงทุกคนทีอ่ ยาก รับประทานอาหารทีด่ ตี อ่ ร่างกายอย่างแท้จริง ทีสำ� ่ คัญยังหมดห่วงเรือ่ งเมนูและรสชาติ เพราะมีกว่า 300 รายการให้เลือกทานได้แบบอร่อยไม่มีเบื่อ THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 30
เริม่ ต้นจากความชอบ ส่วนตัวเป็นคนรักการทานและ รักสุขภาพด้วย เลยคิดว่าน่าจะเอา สองอย่างนีม้ ารวมกันได้ คอนเซปต์ ของเราคือท�ำอย่างไรก็ได้ให้อาหารดี ต่อสุขภาพและอร่อย ถ้าไม่อร่อยจะ ไม่ท�ำ เพราะไม่มคี นทาน แต่ค�ำจ�ำกัด ความของอาหารสุ ข ภาพแต่ ล ะ คนไม่เหมือนกัน ซึง่ ไม่มถี กู ผิด ของเรา ชัดเจนคือ การทานอาหารให้สมดุล ไม่สดุ โต่งทางใดทางหนึง่ เพราะอาจ ขาดสารอาหารได้ อาหารที่ดีต่อ สุขภาพจะต้องมีประโยชน์ สะอาด ย่ อ ยง่ า ย มี วิ ธี ก ารปรุ ง อาหารที่ดี อะไรที่ ไ ม่ ดี ต ่ อ สุ ข ภาพและมี ส าร ตกค้างจะตัดออกทันที เช่น นำ�้ ตาล ทรายขาว เป็นน�้ำตาลที่ย่อยยาก เสีย่ งต่อการเป็นเบาหวาน สารอาหารสูง แคลอรี่ต�่ำ จุดเด่นของร้านคือคุณภาพ เริม่ ตัง้ แต่เมนูทมี่ ใี ห้เลือกหลายร้อยรายการ ซึ่ ง ผ่ า นการคิ ด ค้ น เป็ น เวลานาน การให้ความส�ำคัญกับส่วนประกอบ ที่เป็นซูเปอร์ฟูดส์ แคลอรี่ต�่ำ แต่มี สารอาหารสูงมาก เช่น ควินวั ผักสปิแนช โกจิเบอร์รี่ ฯลฯ รวมทัง้ อาหารทีไ่ ม่ผา่ น การขัดสี เพราะเราอยากท�ำให้การ ทานอาหารเพือ่ สุขภาพกลายเป็นส่วน หนึง่ ในชีวติ ประจ�ำวัน จึงเป็นทีม่ าของ บริการส่งอาหารสุขภาพให้ถึงที่ ไม่ ว่าจะเป็นบ้านหรือออฟฟิศ โดยจะมีชดุ ส�ำหรับทดลองทาน 1 สัปดาห์ ถ้าทาน ได้สว่ นใหญ่จะแนะน�ำให้ทาน 1-3 เดือน ขึน้ ไป เพราะจะเห็นการเปลีย่ นแปลง เช่น
เราอยู่ในช่วงของการบุกตลาด เพือ่ ที่ ว่าจะได้ดงึ ราคาลงมาให้คนสามารถ จั บ ต้ อ งได้ ม ากขึ้ น อาจจะมีการ จ�ำหน่ า ยตามโรงเรี ย น ออฟฟิ ศ โรงพยาบาล ซึง่ เป็นอะไรทีก่ �ำลังเริ่ม นอกจากนี้ ก็ จ ะมี ก ารขยายไปสู ่ ซูเปอร์มาร์เก็ต เอาท์เล็ท เพื่อให้ ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่ Absolute Fit Food ค่อนข้าง ลูกค้าซื้อกลับบ้านได้สะดวก ตรงกับความต้องการของคนยุคนี้ เพราะเมื่อคนรักษาสุขภาพมากขึ้น รักธุรกิจที่ท�ำ ท�ำให้เข้าใจว่าการป้องกันดีกว่าการ ไม่ ว ่ า จะเป็ น ธุ ร กิ จ ใดก็ ต าม แก้ไขในภายหลัง แม้ในช่วงก่อน อั น ดั บ แรกต้ อ งรั ก ในธุ ร กิ จ นั้ น หน้านีจ้ ะเน้นเรือ่ งการออกก�ำลังกาย ถ้ า มี ค วามเข้ า ใจและหาความรู ้ แต่ตอ้ งท�ำควบคูก่ บั การทานอาหาร เพิ่ ม เติ ม จะช่ ว ยได้ เ ยอะ ต่ อ มาก็ ด้วย เพราะเป็น 70% ของชีวิตเรา ต้องเข้าใจลูกค้าว่าชอบแบบไหน เมื่อคนเริ่มตระหนักแล้วว่าอาหาร เพื่ อ จะได้ พั ฒ นาให้ ต รงกั บ ความ ทีท่ านเข้าไปไม่ปลอดภัย มีสารตกค้าง ต้องการ ตอนนี้ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ ที่ อ าจท�ำให้ เ กิ ด โรคในอนาคต บริการเกิดขึ้นมากมาย ถ้าสามารถ ก็จะเลือกทานมากขึ้น นอกจากนี้ ตอบโจทย์ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด ที่ ส�ำคั ญ ไลฟ์สไตล์ของคนที่จะมาจ่ายตลาด ลู ก ค้ า ไม่ ต ้ อ งเปลี่ ย นแปลงอะไร เป็นประจ�ำเป็นไปได้ยาก เพราะคน มาก ก็น่าจะมีแนวโน้มค่อนข้างดี เมืองไม่คอ่ ยมีเวลา เราก็ชว่ ยในเรือ่ ง ที่ เ หลื อ ก็ ค งเป็ น หลั ก การบริ ห าร ความสะดวกที่อยู่ในราคาพอรับได้ จัดการธุรกิจทั่วไป ส่วนตัวชอบท�ำ เพราะทุกคนรักสุขภาพทั้งนั้น เรา อะไรที่ ไ ม่ ค ่ อ ยมี ใ นตลาด เพราะ จึงพยายามท�ำทุกอย่างที่ตอบโจทย์ ท้าทายและสนุก ข้อดีคือเราอาจ เป็นคนแรกที่ท�ำ ถ้าประสบความ ความต้องการตรงนี้ ส�ำเร็จก็จะเป็นผู้น�ำในตลาด ส�ำหรับคนรักการทานอาหาร ขยายสู่อนาคต ตอนนี้ท�ำมาปีที่ 3 แล้ว ข้อดีคือ สุขภาพ อยากให้ศึ กษาให้ละเอียด เริม่ เร็วและพัฒนาต่อเนือ่ ง และเชือ่ ว่า ชัดเจนว่ามีส่วนประกอบอะไรบ้าง ถ้ารักษาและพัฒนาอยู่ตลอดเวลา ดีต่อสุขภาพจริงไหม เหมาะกับเรา ก็ จ ะมี โ อกาสส�ำเร็ จ ไปครึ่ ง หนึ่ ง หรือเปล่า เพราะตอนนี้มีให้เลือก อีกครึง่ คือการตลาด ไม่วา่ จะเป็นการ เยอะมาก อยากให้ตระหนักว่าหัวใจ ตัง้ ราคาทีเ่ หมาะสม การหาช่องทาง ของ Health Food ต้องเริม่ ตัง้ แต่วธิ ี การจัดจ�ำหน่ายทีเ่ ข้าถึงคน มาถึงวันนี้ การผลิต ทานของทอดลดลง และจะเริม่ เปลีย่ น พฤติกรรมการทานได้เอง เพราะทาน แล้ ว สุ ข ภาพดี อร่ อ ย แคลอรี่ ต�่ำ ที่ส�ำคัญจะมีการค�ำนวณแคลอรี่ใน แต่ละเมนูให้ดว้ ย
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 31
TREND สถานการณ และแนวโนมการขยายตัวของความเปนเมือง มีความเขมขนมากขึ้นเรื่อยๆ ชี้ใหเห็นถึงโอกาสและชองทาง ในการทำธุรกิจใหมๆ ที่สอดคลองกับกระแสการขยาย ตัวเมือง โดยนำเสนอตัวอยางไอเดียดานตางๆ ดังนี้
การขยายตัวของความเปนเมือง คอนโดติดรถไฟฟา/รถไฟฟามหานคร โรงแรมที่มีรูปแบบเฉพาะ เชน โรงแรมสำหรับคนโสด โรงแรมแคปซูล โฮสเทลใจกลางเมือง เว็บไซตเครือขายสังคมสำหรับ ผูอยูอาศัยในคอนโดมิเนียม เฟอรนิเจอรแบบประหยัดพื้นที่
LIVING ที่อยูอาศัย
Ex. Addresstalk.com เว็บไซตที่เปนสื่อกลางในการติดตอสื่อสาร ระหวางผูที่อยูอาศัยในหมูบาน คอนโดมิเนียม รวมถึงการจำหนายสินคา ในลักษณะกรุปดีล เพื่อเปนชองทางใหมในการซื้อสินคา
บริการสงของสด/วัตถุดิบสำหรับทำอาหารถึงที่บาน รถขายอาหารเคลื่อนที่ (food truck) อาหารลดน้ำหนัก โดยวิธีการคำนวณแคลอรี่ แอปพลิเคชันคนหารานอาหารดวยภาพ อาหารสำเร็จรูปที่บริโภคงายและรวดเร็ว อาหารเฉพาะกลุม เชน อาหารสำหรับผูสูงอายุ อาหารสำหรับคนมุสลิม
FOOD อาหาร
Ex. OpenSnap แอปฯ คนหารานอาหารดวยภาพและยังสามารถ
แชร รีวิว บุคมารครานนั้นๆ ไว หรือแมกระทั่งถายรูปอาหารที่ทำเอง ที่บาน แชรลงในหมวด Home Cooking ไดอีกดวย
นิทรรศการศิลปะแกลลอรี่ เทศกาลภาพยนตรสำหรับเพศทางเลือก บริการดูหนังฟงเพลงผานทางระบบอินเทอรเน็ต แบบไมตองดาวนโหลดไฟล (streaming) คาเฟบอรดเกม หรือเกมกระดาน (เกมสรางปฏิสัมพันธ) สตรีทอารต นิทรรศการศิลปะบนถนน
ENTERTAINMENT บันเทิง / พักผอน
Ex. รานลานละเลน ใหบริการบอรดเกมกวา 400 เกม เปนกิจกรรม สำหรับคนเมืองที่ตองการกิจกรรมทำกับเพื่อนในเวลาวาง ที่กำลังไดรับ ความนิยมเปนอยางมากในปจจุบัน THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 32
การเดินทาง
บริการเรียกแท็กซี่/มอเตอรไซครับจาง ผานแอปพลิเคชัน รานใหเชา/ยืม จักรยาน แอปพลิเคชันเช็คที่ตั้งทารถตูโดยสาร บัตรโดยสารรถสาธารณะ แบบบัตรเดียวใชไดกับรถทุกประเภท บริการที่จอดรถเสริมความปลอดภัย สำหรับผูหญิง
SHOPPING
คอมมูนิตี้มอลล ตลาดนัดสินคาทำมือ/ศิลปะ ตลาดสินคามือสองนำเขา แอปพลิเคชันสั่งซื้อสินคาพรอมสวนลด จากรานคาโซเชียล ดีลสวนลดโรงแรม/ที่พัก
ง
TRAVELLING
ช็อปปง
Ex. Noise Market ตลาดนัดที่รวมเอาตลาดและเทศกาลดนตรี มาไวดวยกัน เนนขายสินคาทำมืองานของนักศึกษา อีกทั้งยังเปน พื้นที่สำหรับพบปะของกลุมคนเมืองวัยรุนที่มีไลฟสไตลใกลเคียงและ มีความสนใจในงานศิลปะเหมือนกัน
LIFESTYLE ไลฟสไตล
HEALTH สุขภาพ
รานกาแฟที่มีหองสมุดในตัว พื้นที่ทำงานรวมกัน (Co-Working Space) คาเฟเฉพาะทาง เชน คาเฟคนรักสุนัขและแมว คาเฟนักปนจักรยาน นาิกาทำงานรวมกับแอปพลิเคชันบนมือถือ แจงเตือนอีเมลหรือโซเชียลมีเดีย กลองถายรูปใตน้ำที่สงรูปเขาสมารทโฟนไดทันที ศูนยออกกำลังกายครบวงจร แอปพลิเคชัน/วิเคราะห บันทึกสถิติ การออกกำลังกาย อาหารเสริมสำหรับคนออกกำลังกาย รานอาหารออรแกนิกเพื่อสุขภาพ ธุรกิจใหเชาพื้นที่สำหรับปลูกผัก
Ex. MeineErnte ธุรกิจของเกษตรกรชาวเยอรมัน เปดบริการ ใหเชาที่ดินเพื่อปลูกผักเปนของตัวเอง โดยมีอุปกรณและคำแนะนำให พรอมเหมาะสำหรับครอบครัวที่มาทำกิจกรรมรวมกันและหลีกหนี ความวุนวาย
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 33
case study of business
ART BOX ตลาดนัดแนวใหม่ เอาใจคนเมือง
กระแสการเกิดใหม่ของตลาดนัดในยุคสมัยนี้ต้องไม่ใช่แค่ สถานทีส่ �ำหรับขายของ หรือเป็นพืน้ ทีใ่ ห้พอ่ ค้าแม่คา้ มาตัง้ แผง ขายสินค้าเหมือนสมัยก่อนแล้ว แต่ตอ้ งท�ำหน้าทีเ่ ป็นเหมือน สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วไปในตัว และตอบสนองพฤติกรรมการใช้ชวี ติ ของคนยุคปัจจุบนั มีการออกแบบและตกแต่งอย่างมีเอกลักษณ์ และสามารถเดินทางไปมาได้อย่างสะดวกสบาย Art Box คือตลาดนัดสมัยใหม่ที่มีแนวคิดในการรวมการ จัดแสดงงาน (Exhibition) และตลาดนัด (Flea Market) เข้าไว้ดว้ ยกัน โดยใช้ตคู้ อนเทนเนอร์สขี าวมาเป็นจุดขาย มีการ ตกแต่งเรียบง่ายสไตล์มนิ มิ อล เข้ากันกับบรรดาร้านค้าภายใน ตลาดทีข่ ายสินค้าประเภทแฮนด์เมด สินค้าไอเดียสร้างสรรค์ แฟชัน่ และของวินเทจ ส่วนในโซนของกินจะมีรา้ น food truck มากมายหลายร้านให้เลือกซือ้ เลือกกิน ซึง่ สอดคล้องกับเทรนด์ และพฤติกรรมของคนเมืองในปัจจุบนั ทัง้ ยังตัง้ อยูใ่ นตัวเมือง บริเวณลานจอดรถของศูนย์สริ กิ ติ ิ์ เดินทางสะดวกสบายด้วย รถไฟฟ้าใต้ดนิ ท�ำให้ Art Box กลายเป็นตลาดนัดแห่งใหม่ ทีม่ าแรง ตอบโจทย์คนเมือง โดยเฉพาะวัยรุน่ ได้ดที สี่ ดุ ในเวลานี้
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 34
กลุม่ เป้าหมาย
แผนการตลาด
กลุม่ คนรุน่ ใหม่ คนเมืองทีร่ กั ในการช็อปปิง้ กลุม่ นักท่องเทีย่ วต่างชาติ
ใช้อทิ ธิพลจากสือ่ โซเชียลมีเดียให้เกิดประโยชน์สงู สุด ด้วยการใช้เป็นช่องทางโปรโมทและสือ่ สารกับลูกค้า มีการเน้นโซนส�ำหรับแสดงงานศิลปะ เพือ่ ให้ลกู ค้า ได้มมี มุ สวยๆ ไว้ถา่ ยรูป ท�ำให้เกิดการแชร์รปู ถ่ายใน โซเชียลมีเดีย ถือเป็นช่องทางการโปรโมทไปในตัว อีกทัง้ ยังมีการดีลกับโรงแรมและโฮสเทล เพือ่ ดึงดูด กลุ่มนักท่องเที่ยวต่างชาติซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มีก�ำลัง ซื้อสูงและมีไลฟ์สไตล์ที่ใกล้เคียงกับแนวทางของ Art Box
แนวคิด ตลาดที่นำ�การจัดการแสดงและตลาดนัดมาผสม ผสานกันอย่างลงตัว ‘ช้อป กิน ดืม่ เทีย่ ว และชมงาน ศิลปะ ฟังดนตรี’ เพือ่ ตอบโจทย์ทกุ ความต้องการ
จุดเด่น • สร้างเอกลักษณ์โดยใช้ตคู้ อนเทนเนอร์สขี าวมาท�ำ เป็นจุดตัง้ ร้านค้า • ตกแต่งสถานทีใ่ นสไตล์มนิ มิ อล เรียบง่ายแต่มสี ไตล์ โดดเด่น • ประเภทของสินค้าและบริการอยูใ่ นความสนใจของ กลุม่ คนเมืองรุน่ ใหม่ • นอกจากกลุ่มลูกค้าที่มาเดินช็อปปิ้งแล้ว ยังมี กิจกรรมอืน่ ๆ ทีน่ า่ สนใจ เช่น ถ่ายรูป เป็นทีพ่ บปะ สังสรรค์ ชมงานศิลปะ และฟังดนตรีได้อกี ด้วย
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 35
step UP
d o Fo uck Tr
Food Truck หรือรถขายอาหารแบบเคลื่อนที่ ถื อ เป็ น ธุ ร กิ จ แนวใหม่ ที่ กำ�ลั ง มาแรงในบ้ า นเรา ด้วยความแปลกใหม่ของ Food Truck หลากดีไซน์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์ของเมนูทแี่ ตกต่าง ทำ�ให้ธรุ กิจร้านอาหารแนวใหม่นสี้ ามารถตอบโจทย์ กลุม่ ลูกค้าคนเมืองได้อย่างไม่ยาก
BEGINNING จิรายุส ใคร่ครวญ
บัณฑิตคณะรัฐศาสตร์ สาขาการระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
“ผมสนใจธุรกิจ Food Truck เพราะเพือ่ นทีส่ หรัฐอเมริกาเล่าให้ฟงั ว่า ธุรกิจ Food Truck ทีน่ นั่ ขายดีมาก จึงเริม่ สนใจ เพราะถึงแม้ธรุ กิจ Food Truck ในบ้าน เรายังมีไม่มากนัก แต่คนเมืองรุน่ ใหม่กใ็ ห้ความสนใจกันค่อนข้างมาก สิง่ ส�ำคัญคือ ต้องมีไอเดียสร้างสรรค์ทโี่ ดดเด่น แตกต่าง ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าได้ หลากหลาย จากทีล่ องค้นคว้าข้อมูลจากหลายๆ ที่ อาหารทีน่ �ำมาท�ำเป็น Food Truck ในบ้านเรา อาจยังตอบโจทย์คนไทยแค่บางกลุม่ เช่น แฮมเบอร์เกอร์ พิซซ่า หรืออาหารอิตาเลียน ถ้าเราเลือกขายอาหารทีถ่ กู ปากคนไทยส่วนใหญ่ อาจจะท�ำให้ คนหันมาสนใจมากขึน้ อย่างเช่น ส้มต�ำ ทีถ่ กู ปากคนไทยทุกยุคทุกสมัย ถ้าเราน�ำ มาปรับโฉม ผสมความเป็นไทยดัง้ เดิมเข้ากับความแปลกใหม่ในสไตล์ Food Truck เพิม่ เอกลักษณ์ให้นา่ จดจ�ำ ก็นา่ จะสามารถเข้าถึงกลุม่ คนรุน่ ใหม่ได้” “Food Truck ก�ำลังเป็นกระแส ตอนนีเ้ รามีเพียงไอเดียและความคิดสร้างสรรค์ โดยก�ำลังเริม่ ต้นค้นหาเอกลักษณ์ของตัวเอง เพือ่ น�ำไปพัฒนาต่อยอดเมนูอาหารให้มี ความแปลกใหม่และแตกต่าง ผสมผสานการออกแบบรถให้มดี ไี ซน์โดดเด่นเป็นทีน่ า่ จดจ�ำ อย่างไรก็ตาม ธุรกิจนีอ้ าจต้องใช้เงินลงทุนมากพอสมควร ซึง่ ถ้าตัดสินใจลงมือ ท�ำแล้วก็ตอ้ งสร้างกลยุทธ์ทางการตลาด เพือ่ ครองใจคนเมืองยุคใหม่ให้ได้”
?
ฝากคำ�ถามถึงผูท้ กำ� ี่ ลังทำ�ธุรกิจ Food Truck แล้ว มีแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตัวเองอย่างไร ?
GROWING ปิยะ ชยาภัม
Co-Founder “Manhattan Mango” Food Truck เมนูมะม่วง
“ธุรกิจของผมเริม่ จากการเป็นคนชอบท�ำอาหาร และมีความสุขกับการได้ออกไปดู วิถชี วี ติ ผูค้ น ได้ออกไปชิมอาหารอร่อยอยูบ่ อ่ ยๆ คลุกคลีอยูใ่ นวงการอาหารมาโดย ตลอด และเมือ่ มาพบกับคุณวรทรรศ พลอยครบุรี (หุน้ ส่วนอีกคนของร้าน) ซึง่ เรียน จบด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ จึงตกลงมาท�ำร้านนีด้ ว้ ยกัน โดยน�ำผลไม้ขนึ้ ชือ่ ของไทยอย่างมะม่วงมาเป็นจุดเด่นของร้าน ภายใต้คอนเซ็ปท์ทวี่ า่ ต้องมีมะม่วงเป็น วัตถุดบิ หลักในอาหารคาวหวาน และมีรปู ลักษณ์ทดี่ เู ป็นสากล ส่วนชือ่ ร้านผมได้ แรงบันดาลใจในการอยากท�ำ Food Truck มาจากตอนทีไ่ ปศึกษาต่อทีแ่ มนฮัตตัน ซึง่ Food Truck ทีน่ นั่ ขายดีมาก เลยอยากจะกลับมาท�ำในบ้านเราบ้าง”
มีแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตัวเองอย่างไร ?
“เริม่ จากกระบวนการคิด น�ำเอาสิง่ ทีอ่ ยูใ่ กล้ตวั ในชีวติ ประจ�ำวันมาเป็นแบบแผน เพื่อศึกษาตลาดและคู่แข่ง รวมทั้งขอค�ำปรึกษาจากคนใกล้ชิดว่าตอนนี้มีอะไร น่าสนใจ แล้วจึงทดลองท�ำ ท�ำจนกว่าจะได้สนิ ค้าทีเ่ ราพอใจ จากนัน้ ก็เริม่ วางขาย ดูผลตอบรับจากลูกค้า สอบถามความคิดเห็นว่ามีอะไรต้องปรับปรุง โดยยึดเอาความ ต้องการของลูกค้าเป็นหลัก ทีส่ �ำคัญคือต้องพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ ทีส่ ามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างทันสมัย”
TIP by Manhattan Mango อยากเริม่ ธุรกิจ Food Truck ต้องทำ�อย่างไร “อาจเริม่ จากการมองสินค้าทีใ่ กล้ตวั และสิง่ ทีม่ อี ยูใ่ นชีวติ ประจ�ำวัน หรือจาก การเดินทางท่องเทีย่ วเพือ่ เก็บเกีย่ วประสบการณ์ ออกไปดูวา่ คนส่วนใหญ่เขา ชอบท�ำอะไร ชอบกินอะไร หรืออาจลองค้นหาตัวอย่างธุรกิจทีม่ อี ยูแ่ ล้วเป็นกรณี ศึกษา เปรียบเทียบดูความผิดพลาดและโอกาสทีจ่ ะเกิดขึน้ แล้วน�ำมาประยุกต์ ให้เข้ากับตัวเรามากทีส่ ดุ ”
Food Truck is all around Food Truck ได้รบั ความนิยมอย่างแพร่หลายในสหรัฐอเมริกา และกลายเป็นธุรกิจทีกำ่ �ลังได้ รับความนิยมไปทัว่ โลก และนีค่ อื ส่วนหนึง่ ของไอเดีย Food Truck จากประเทศต่างๆ ทีส่ ร้าง เอกลักษณ์ให้กบั ตัวเองทัง้ ในด้านอาหารและการออกแบบตัวรถให้นา่ สนใจ จนกลายเป็น Food Truck ทีอ่ ยูใ่ นความสนใจของคนรุน่ ใหม่
1. Engine Hot Dogs Food Truck ขายฮอทดอก เคลื่อนที่ของประเทศอังกฤษ ที่ ดั ด แปลงตั ว รถมาจากรถ ดับเพลิงเก่าปี 1959 โดดเด่น ด้วยสีแดงสดมีเอกลักษณ์ ออก ขายไปทัว่ กรุงลอนดอน
2. Leoni’s Deli Food truck คันเล็กที่วิ่งตระเวน ขายฮอทดอกทัว่ กรุงปารีส ประเทศ ฝรั่งเศส ด้วยความกะทัดรัด สีสัน สดใส ดูดมี รี สนิยมของตัวรถ ทีช่ ว่ ย สะท้อนเสน่ห์ของความเป็นเมือง แห่ ง แฟชั่ น และศิ ล ปะของปารี ส ได้เป็นอย่างดี
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 38
3. Veggie Patch Van Food truck เมนูเบเกอร์และอาหารมังสวิรตั ิ ที่ก�ำลังอินเทรนด์ที่สุดในประเทศออสเตรเลีย คั น นี้ ดี ไซน์ โ ดยใช้ ก ระถางต้ น ไม้ เ ก่ า ๆ มา ตกแต่งให้ตัวรถมีกลิ่นอายผสมผสานระหว่าง ความเป็นฟาร์มเลี้ยงสัตว์กับพืชผักสวนครัว ทัง้ ยังขับเคลือ่ นด้วยแก๊สโซฮอลล์และพลังงาน แสงอาทิตย์ ได้ทงั้ ความแปลกใหม่และยังเป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อมอีกด้วย
4. Batch Ice Cream Food Truck ขายไอศกรี ม เคลือ่ นทีจ่ ากสหรัฐอเมริกาทีด่ ไี ซน์ รถออกมาได้สวยสะดุดตา ใช้โทน สีขาวด�ำ เรียบแต่เท่ และยังเขียน บอกเมนู รายละเอียดของอาหาร ตลอดจนความเป็นมาของร้านไว้ที่ บริเวณตัวรถเลย
5. The Banh Mi Shop Food Truck ขายแซนด์วชิ เวียดนาม ที่ฟิลิปปินส์ ตัวรถดัดแปลงมาจาก รถตู้ Volkswagen ปี 1968 จับมา ตกแต่งทาสีจนสวยงาม ส่วนอาหาร ก็ไม่ได้มแี ต่แซนด์วชิ เท่านัน้ ยังมีอาหาร เวียดนามอืน่ ๆ ให้เลือกทานมากมาย
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 39
IDEA / Business
Viewmall
Community Mall
Blue Apron
แห่งแรกของไทยในเวียงจันทน์
บริการจัดส่งวัตถุดบิ พร้อมเมนูและวิธที ำ�อาหารถึงบ้าน
ปัจจุบันไลฟ์สไตล์ในการใช้ชีวิตประจ�ำวันของ คนลาวมีความต้องการที่จะเลือกซื้อสินค้าและ บริการอย่างสะดวกสบาย รวมถึงคนลาวยังนิยม ซื้อสินค้าไทย โดยมักจะเดินทางข้ามแดนเข้า มาเลือกซื้อสินค้าตามจังหวัดชายแดนจ�ำนวน มาก และจากการเล็งเห็นว่ายังไม่มีการลงทุนใน รูปแบบนี้ ท�ำให้ตระกูลตนานุวัฒน์เกิดไอเดียใน การสร้าง Community Mall ขึ้นเป็นแห่งแรก ของสาธารณรัฐประชาชนลาว โดยลงทุนร่วมกับ นักธุรกิจชาวลาว ใช้ชอื่ โครงการว่า ‘Viewmall’ ศูนย์รวมสินค้าครบวงจร บนพืน้ ที่ 20,000 ตาราง เมตร ทีม่ ที งั้ ศูนย์สขุ ภาพความงาม สินค้าเกษตร แฟชัน่ ร้านอาหาร ศูนย์รวมสินค้าไอที และศูนย์ บริการการศึกษา สามารถรองรับคนได้วนั ละ 5-6 พันคน ถือเป็นธุรกิจทีน่ า่ จับตามอง
จากวิ ถี ชี วิ ต ของคนเมื อ งในปั จ จุ บั น ที่ นิ ย มท�ำ อาหารทานเองมากขึน้ แต่ไม่มเี วลาไปซือ้ วัตถุดบิ และคิดเมนูอาหาร รวมทัง้ การเหลือของสดค้างใน ตูเ้ ย็นจ�ำนวนมาก Blue Apron บริษทั น้องใหม่ใน สหรัฐอเมริกาทีก่ อ่ ตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี 2012 จึงได้เสนอ ทางออกให้กับคนเมืองด้วยบริการจัดส่งวัตถุดิบ ของสด พร้อมเมนูและวิธีท�ำอาหารส�ำหรับท�ำ อาหารทานเองเป็นมือ้ ๆ บรรจุไว้ในแพ็คเกจอย่างดี โดยเมนูส่วนใหญ่จะเป็นเมนู Easy Cooking ที่ ท�ำได้ง่ายๆ ภายในเวลา 30 นาทีเท่านั้น แม้จะ ไม่ถนัดท�ำอาหารแต่กส็ ามารถท�ำได้อย่างง่ายดาย ส่วนราคาก็ไม่ได้แพงอย่างที่คิด ตกอยู่ที่หัวละ ประมาณ $10 ต่อ 1 มือ้ 1 เมนู ไม่มคี า่ จัดส่งเพิม่ เติม ท�ำให้ธุรกิจนี้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ในปัจจุบนั
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 40
พืน้ ทีส่ เี ขียวแห่งการเรียนรูแ้ ละแลกเปลีย่ น
ปัญหาอินเทอร์เน็ตทีไ่ ม่เสถียรหรือสถานทีท่ ไี่ ม่มี Wi-Fi กลาย เป็นเรือ่ งส�ำคัญส�ำหรับยุคแห่งการเชือ่ มต่อในปัจจุบนั ท�ำให้ ผศ.ดร.ชุตมิ า ประสาทแก้ว อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี และนักศึกษาได้รว่ ม กันพัฒนาเครื่องกระจายสัญญาณอินเทอร์เน็ตแบบหยอด เหรียญที่ใช้งานง่าย มีลักษณะคล้ายตู้น�้ำดื่มหยอดเหรียญ หรือตูเ้ ติมเงินโทรศัพท์มอื ถือ เพียงผูส้ นใจหยอดเหรียญซือ้ เวลา จะได้รบั username และ password ส�ำหรับเข้าใช้ งาน หากเครื่องนี้ถูกน�ำไปวางตามจุดต่างๆ มากขึ้น ก็จะ ช่วยเพิม่ ความสะดวกในการเข้าใช้อนิ เทอร์เน็ตได้อย่างทัว่ ถึง และสะดวกสบาย
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 41
Wi-Fi Vending Machine
ตูก้ ระจายสัญญาณ Wi-Fi แบบหยอดเหรียญ
Root Garden
จากพืน้ ทีร่ กร้างทิง้ ไว้ไม่ได้ใช้ประโยชน์ ได้รบั การปรับปรุงให้ เป็นพืน้ ทีเ่ พือ่ การเรียนรูแ้ ละแลกเปลีย่ นเรือ่ งธรรมชาติ โดย มีกลุ่มคนเมืองรุ่นใหม่ช่วยกันพัฒนาจนกลายเป็นสถานที่ ส�ำหรับพบปะของคนเมืองที่รักการเรียนรู้เรื่องต่างๆ ตั้งแต่ ทดลองปลูกผักสวนครัว ท�ำนา ฟาร์มเห็ด เลีย้ งไก่ และยัง เป็นพื้นที่ในการท�ำกิจกรรม Workshop ตลาดนัดสีเขียว หรือแม้แต่เป็นเวทีส�ำหรับเสวนาถกเถียงในประเด็นต่างๆ อีกด้วย ถือเป็นโมเดลทางธุรกิจทีน่ า่ สนใจในกระแสการขยาย ตัวของเมืองทีเ่ ต็มไปด้วยมลภาวะและความวุน่ วาย สะท้อน ให้เห็นว่าคนเมืองจ�ำนวนไม่นอ้ ยหวนกลับไปหาความสุขจาก ธรรมชาติมากขึน้
Let’s Say Café
คาเฟ่ 24 ชัว่ โมง ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์คนเมือง ไอเดียคาเฟ่สุดเก๋ที่เป็นมากกว่าคาเฟ่ แถมยังตอบโจทย์ ไลฟ์สไตล์คนเมืองในปัจจุบนั อีกด้วย จากแนวคิดทีอ่ ยากมีพนื้ ที่ ท�ำกิจกรรมต่างๆ ท�ำให้ คุณกัญญจันทร์ สะสม (ต่าย) เนรมิต คาเฟ่ในซอยราชวิถี 3 ให้กลายเป็นแหล่งรวมตัวของคนรุน่ ใหม่ มีการแบ่งพืน้ ทีใ่ ช้สอยของอาคาร 3 ชัน้ อย่างลงตัว ชัน้ หนึง่ เปิดเป็นคาเฟ่เล็กๆ ให้บริการตลอด 24 ชัว่ โมง พร้อมปลัก๊ ไฟ และไวไฟใช้งานฟรี ชัน้ สองเป็นพืน้ ทีจ่ ดั กิจกรรมอเนกประสงค์ รวมถึงจัดงานอีเวนท์หรือเวิรค์ ช็อป และชัน้ สามเป็นร้าน Turn The Tables บอร์ดเกมคาเฟ่ทเี่ ป็นเทรนด์มาแรงในปัจจุบนั เรียกได้วา่ ตอบโจทย์ความต้องการของคนเมืองรุน่ ใหม่ได้ถงึ 3 โจทย์ในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน
GrabBike
แอปพลิเคชันให้บริการรับส่ง ทัง้ คนและของ ด้วยรถจักรยานยนต์ อีกหนึง่ บริการดีๆ ทีช่ ว่ ยเพิม่ ความสะดวกสบายให้กบั คนเมือง มากขึน้ กับบริการรับส่งผูโ้ ดยสาร พัสดุหรือเอกสารด้วยรถ จักรยานยนต์ โดยมีพนักงานทีผ่ า่ นการอบรมและตรวจประวัติ มาแล้ว รวมถึงมีอตั ราค่าบริการทีช่ ดั เจน เริม่ ต้นทีก่ โิ ลเมตร แรก 35 บาท หลังจากนัน้ คิดกิโลเมตรละ 12 บาท และหาก เกินกิโลเมตรที่ 11 เป็นต้นไป คิดกิโลเมตรละ 15 บาท การใช้ บริการก็งา่ ยแสนง่ายเพียงเข้าแอปพลิเคชัน GrabTaxi เลือก GrabBike แล้วนัง่ รอให้รถมารับภายใน 15 นาที เท่านีก้ ถ็ งึ จุดหมายอย่างไม่ตอ้ งกังวล แถมสบายใจเพราะมีระบบรองรับ ความปลอดภัยและมีระบบติดตามผ่านแอปพลิเคชันแบบ real-time ปัจจุบนั เปิดให้บริการในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 42
Tint Bicycle
จักรยานแฟชั่น ที่ลูกค้าออกแบบได้เอง จากความรักและความชืน่ ชอบในจักรยาน ต่อยอด มาสู่ธุรกิจที่ให้ลูกค้านักปั่นมีสิทธิ์เลือกออกแบบ จักรยานเพือ่ สือ่ ถึงความเป็นตัวตนได้เองไม่ซำ�้ ใคร ได้มากกว่า 7,000 รูปแบบ ไล่มาตัง้ แต่สขี องเฟรม (โครงจักรยาน) ล้อ สีของยางรถจักรยาน แฮนด์ เบาะ ลวดลายบนเฟรม รวมไปถึงขนาดของจักรยาน ทีเ่ ลือกได้ตามสรีระของผูข้ บั ขี่ ซึง่ สามารถเลือกซือ้ ได้ทางหน้าร้าน หรือสั่งซื้อทางเว็บไซต์ได้ด้วย ปัจจุบนั Tint Bicycle สามารถผลิตจักรยานได้ สูงสุดวันละ 300 คัน และยังมีโอกาสเติบโตได้ อีกมาก จากกระแสการปัน่ จักรยานทีก่ �ำลังเป็นที่ นิยมมากขึน้ THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 43
quiz
Creative Cities
Helsinki York Heidelberg Bilbao
Florianopolis
A
วรรณกรรม
B
งานหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้าน
C
การออกแบบ
เฉลย A Heidelberg (Germany)
B Jingdezhen (China)
เมื อ งเก่ า แก่ ข องเยอรมั น ที่ เ ป็ น ทั้ ง เมื อ ง มหาวิทยาลัยและเมืองท่องเที่ยวจุดเด่นของ เมืองคือมหาวิทยาลัยไฮเดลเบิรก์ อายุกว่า 600 ปี และปราสาทโบราณในย่านเมืองเก่า ที่ยังคงไว้ ซึ่งความสวยงามน่าค้นหา
มีชื่อเสียงในเรื่องเครื่องปั้นดินเผาและเครื่อง ลายครามต่างๆ จนถูกขนานนามว่าเป็น เมือง แห่งเครื่องลายครามโลก มีพิพิธภัณฑ์เซรามิก ประจ�ำเมืองและถนนแห่งเครื่องลายครามเป็น จุดขายที่สะท้อนให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรือง จากในอดีต
C Bilbao (Spain)
C Helsinki (Finland)
เมืองหลวงแห่งแคว้นบาสก์ ที่เป็นเสมือนกับ จุดหมายปลายทางของคนรักงานอินทีเรียดีไซน์ มีแลนด์มาร์คส�ำคัญคือพิพิธภัณฑ์กุกเกนไฮม์ มิวเซียมที่งดงามตระการตา จนใคร ๆ พากัน ยกย่องให้เป็นอาคารที่น่าทึ่งที่สุดแห่งศตวรรษ ที่ 20 หลังตั้งเป็นเมืองหลวง เฮลซิงกิก็ถูกแปรสภาพ จากเมืองเล็กๆ มาเป็นเมืองที่มีสถาปัตยกรรม สวยงาม ที่ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากรู ป แบบนี โ อ คลาสสิกของเมืองเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กโดยมี มหาวิหารของเฮลซิงกิ เป็นสถานที่ท่องเที่ยว ยอดนิยม
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 44
Jingdezhen
D
ดนตรี
D Hamamatsu (Japan)
Busan
E
Hamamatsu
อาหารท้องถิน่
มี ชื่ อ เสี ย ง ในการผลิ ต เครื่ อ งดนตรี แ บรนด์ ดั ง อย่ า งยามาฮ่ า และมี พื้ น ที่ ส�ำหรั บ การ แสดงออกทางดนตรีอยู่เสมอ เช่น จัดแข่งขัน เปียโนนานาชาติ ทัง้ ยังมีพพิ ธิ ภัณฑ์เครือ่ งดนตรี ฮามามัตสึที่มีการจัดแสดงเครื่องดนตรีเก่าแก่ จากทั่วโลก
เมืองสวรรค์ของนักกิน ที่โดดเด่นด้วยการผสม ผสานวั ฒ นธรรมที่ ห ลากหลาย ร้ า นอาหาร Florianopolis ท้องถิ่นที่ยังอนุรักษ์ไว้ซึ่งอาหารและวัตถุดิบ (Brazil) แบบดั้งเดิม บวกกับบรรยากาศของชายหาดที่ สวยงาม จึงท�ำให้เมืองนี้ถูกยกให้เป็นสถานที่ที่ น่าอยู่ที่สุดในบราซิล
E
Creavitive Cities เครือข่ายเมือง สร้ า งสรรค์ ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น โดยองค์ ก าร ยูเนสโก โดยมีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริม การสร้างนวัตกรรมใหม่ และการรักษา ความหลากหลายทางวัฒนธรรม เพือ่ นำ�ไปสู ่ ก ารต่ อ ยอดธุ ร กิ จ ใหม่ ๆ และ ความคิดสร้างสรรค์ โดยเครือข่ายเมือง สร้างสรรค์จะแบ่งออกเป็น 7 สาขา คือ วรรณกรรม, งานหัตถกรรมและ ศิลปะพืน้ บ้าน, การออกแบบ, ดนตรี, อาหาร, ภาพยนตร์ และสือ่ ศิลปะ ลอง มาเล่น Quiz จับคูส่ นุกๆ กันว่า วันนี้ คุณรูจ้ กั เมือง Creative Cities มาก น้อยแค่ไหน?
F
ภาพยนตร์
F Busan (Republic of Korea)
G York (England)
G
สือ่ ศิลปะ
เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติปูซาน เทศกาล ที่รวบรวมคนในแวดวงภาพยนตร์ทั่วโลกให้มา รวมตัวกันทีน่ ี่ โดยสร้างสถิตมิ ผี เู้ ข้าร่วมงานมาก ที่สุด ถึง 226,000 คน ในปี 2557 ที่ผ่านมา
เมืองมรดกทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ของประเทศอังกฤษเกือบ 2,000 ปี มีสถานที่ ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์หลายแห่ง โดย เฉพาะมหาวิ ห ารยอร์ ค มิ น สเตอร์ ท่ี มี ค วาม โดดเด่นของสถาปัตยกรรมแบบดั้งเดิม และยัง เป็นแหล่งค้นคว้าทางประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจ
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 45
Inspiration
ต่อไปนีเ้ ป็นตัวอย่างธุรกิจหรือไอเดียสร้างสรรค์ทตี่ อบสนอง การขยายตัวของความเป็นเมืองและวิถชี วี ติ คนเมือง มาลองดู แนวคิดและโอกาสทีม่ องเห็นในการทำ�ธุรกิจ เพือ่ เป็นแนวทางที่ จะช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กบั คนรุน่ ใหม่ตอ่ ไป “ตอบโจทย์ชวี ติ คนเมืองทีร่ บี เร่งและเป็นทางเลือกใหม่“ อัญชัญ แสงศิรทิ องไชยิจ I’m So Pao : ธุรกิจซาลาเปาโฮลวีต
“จริงๆ แล้วซาลาเปาโฮลวีตอาจจะไม่ใช่อาหารคลีน 100% แต่เป็นซาลาเปา ทางเลือกมากกว่าค่ะ แป้งโฮลวีตจะท�ำให้อม่ิ ท้องนาน และยังช่วยในเรือ่ งการ ขับถ่าย ส่วนไส้กจ็ ะลดหวานลดมัน ถือเป็นทางเลือกใหม่ส�ำหรับคนทีช่ อบทาน ซาลาเปา เพราะเรายังไม่เคยเห็นใครท�ำซาลาเปาโฮลวีตมาก่อนเลย นอกจาก นัน้ เราจะขายทัง้ หน้าร้านและเดลิเวอรี่ เลยคิดว่าน่าจะตอบโจทย์ชวี ติ คนเมืองที่ เร่งรีบตลอดเวลาด้วยค่ะ”
“ไม่ตอ้ งลงทุนเปิดร้าน สะดวก ลูกค้าไม่เสียเวลา“ กาโน่ร เบ็ญอาหมัด อับดุลรอคัท : ธุรกิจบริการตัดผมเดลิเวอรี่
“ความคิดทีท่ �ำให้มาตัดผมแบบเดลิเวอรีเ่ ริม่ จากตอนเรียนตัดผม อาจารย์จะ พาไปตัดให้ชาวบ้านในชุมชน ซึง่ ผมว่ามันสะดวกดีทลี่ กู ค้าไม่ตอ้ งมาเสียเวลารอ คิวในร้านตัดผม บวกกับเงินทุนส�ำหรับเปิดร้านค่อนข้างแพง เลยตัดเดลิเวอรี่ มาเรือ่ ยๆ ผลคือมันโอเคมากทัง้ ผมและลูกค้า ยิง่ เราอยูใ่ นยุคทีค่ นไม่คอ่ ยมี เวลาว่างหรือท�ำอาชีพอิสระเยอะขึน้ ทุกวันนีค้ วิ ตัดผมเลยแน่นทัง้ วันเลยครับ”
“ได้เปิดมุมมองใหม่ให้นกั ท่องเทีย่ วต่างชาติ“ จันทร์มณี พลภักดี Co van Kessel : ทัวร์จกั รยาน
“ทัวร์จกั รยานของเราท�ำให้นกั ท่องเทีย่ วซึง่ ส่วนมากเป็นชาวต่างชาติ ได้เห็นกรุงเทพฯ ในมุมทีแ่ ตกต่างไปจากทัวร์บสั หรือทัวร์แบบอืน่ ๆ ทีเ่ ขาเคยสัมผัสมา ได้ปน่ั เข้าไปตาม ตรอกซอกซอย แวะทานร้านอาหารริมคลองของชาวบ้าน หรือบางวันปัน่ ไปเจองานบวช งานแต่ง เราก็พาเขาเข้าไปดู ซึง่ คนไทยก็มนี ำ�้ ใจ เอาน�ำ้ มาให้ดมื่ เป็นประจ�ำ จักรยานจึง เป็นมากกว่าพาหนะทีพ่ าเราไปยังทีต่ า่ งๆ เพราะยังสามารถพาเราไปเจอมิตรภาพ รอยยิม้ และความสุขได้อกี ด้วยค่ะ” THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 46
“อยากเพิม่ โอกาสให้กบั ร้านค้าหรือธุรกิจใหม่ๆ“ ทินกร เหล่าเราวิโรจน์ RangyPOS : แอปพลิเคชันทีใ่ ช้จดั การร้านค้า
“RangyPOS ถูกสร้างมาเพือ่ ร้านค้าขนาดย่อมๆ ทัง้ หลาย ทีเ่ คย เสียเปรียบร้านใหญ่ๆ เพราะเมืองในตอนนีเ้ ติบโตและเปลีย่ นแปลง ทุกๆ นาที คอนโด ห้างสรรพสินค้า ร้านสะดวกซือ้ และตลาด ต่างๆ เกิดขึน้ อยูต่ ลอดเวลา โอกาสในการค้าขายจึงตามมาด้วย แอปพลิเคชันนี้จะตอบโจทย์และเพิ่มโอกาสนั้นๆ ให้กับคนที่ จะเริม่ ท�ำธุรกิจภายใต้การขยายตัวของเมือง”
“อยากให้คนกรุงเทพฯ ได้เห็นโลกกว้างขึน้ “ ขวัญชาย ดำ�รงค์ขวัญ Fanpage Facebook : มนุษย์กรุงเทพฯ
“ผมอยากท�ำความรูจ้ กั ชีวติ คนกรุงเทพฯ ให้มากขึน้ เพราะกรุงเทพฯ เป็นเมืองทีม่ ผี ค้ ู น หลากหลายอยูร่ วมกัน แต่เราแทบจะไม่รจู้ กั กันเลย เช่น กลุม่ ผูใ้ ช้แรงงานทีเ่ ข้ามาอยู่ ในเมืองเยอะพอสมควร แต่ละคนก็มปี ระสบการณ์ชวี ติ ทีน่ า่ สนใจ แตกต่างกันออกไป ซึง่ ผมเชือ่ ว่าเมือ่ เรารับรูค้ วามแตกต่างนีม้ ากขึน้ เราจะเห็นโลกได้กว้างขึน้ เห็นคนอืน่ กว้างขึน้ ไปจนถึงเห็นตัวเองกว้างขึน้ ด้วย นีค่ อื ความตัง้ ใจทีอ่ ยากจะให้แฟนเพจได้รบั
“เห็นโอกาสจากตลาดสัตว์เลีย้ งทีเ่ พิม่ มากขึน้ “ ฐิตกิ ลุ อยูว่ ทิ ยา Pawpal : ธุรกิจอาบน้ำ�สุนขั เดลิเวอรี่
“ทีเ่ ลือกท�ำธุรกิจเกีย่ วกับสัตว์เลีย้ งเพราะเป็นคนชอบสัตว์อยูแ่ ล้ว เลีย้ งสุนขั 2 ตัว ตัง้ แต่กอ่ นจะท�ำธุรกิจนี้ จึงเริม่ ศึกษาเทรนด์ของตลาดสัตว์เลีย้ งว่าเป็นอย่างไร มีปญั หาหรืออุปสรรคอะไรบ้าง ซึง่ ตอนนีค้ นนิยมเลีย้ งสัตว์กนั มากขึน้ ทัง้ ยังไม่คอ่ ยมี เวลาว่างในการพาสัตว์เลีย้ งไปอาบนำ�้ หรือตัดแต่งขนด้วย จึงท�ำให้เห็นโอกาสในการ เริม่ ธุรกิจอาบนำ�้ สุนขั เดลิเวอรี”่ THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 47
ขอบคุณข้อมูล หน้า 6-11 (Scoop) • ปรีชา คุวนิ พันทร์ (2547) สังคมวิทยาและมานุษยวิทยานคร • ปราโมทย์ ประสาทกุล และคณะ “ระเบิดคนเมืองใน ประเทศไทย” ใน “ประชากรและสังคม 2550” สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม ม.มหิดล • World Urbanization Prospects: The 2014 Revision (United Nations, 2014) • Southeast Asia at the crossroads: Three paths to prosperity (Woetzel et.al., 2014) • World Bank Data • TDRI (2014) ‘The Thai Economy : Success and Challenges’. • Dobbs, Richard et al. (2012) ‘Urban world : Cities and the rise of the consuming class’. Mckinsey Global Institute. • Woetzel, Jonathan et.al. (2014) ‘Southeast Asia at the crossroads : Three paths to prosperity’ Mckinsey Global Institute. • Barro, Robert (1999), ‘Determinants of democracy’ Journal of Political Economy 107 (S6) หน้า 12-13 (The Number) • www.propertychannelnews.com/dialynews/ปี-58อสังหาโต5-10---คอนโดแนวรถไฟฟ้ายังมาแรง/4035 (นายสัมมา คีตสิน ผูอ้ �ำนวยการศูนย์ขอ้ มูลอสังหาริมทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์) • สถิ ติ ค นเข้ า ชมโครงการคอนโดมิ เ นี ย มของปี 2557 บนเว็บไซต์ Checkraka.com • ผลการส�ำรวจของบริษัทพลัส พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด บริษัท บริหารและจัดการอสังหาริมทรัพย์ครบวงจร ปี 2557 • www.bangkokbiznews.com/mobile/view/news/ 630830 • thinkofliving.com/2015/07/29/colliers-สรุปภาพ รวมอสังหาครึ่ง/ • www.dailynews.co.th/article/286963 • www.colliers.co.th • www.bangkokbiznews.com/news/detail/580023 • งานวิจัย NBDA โดย the Gluskin Townley Group
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 48
หน้า 16-17 (Trend Analysis: ปัจจัยเร่ง) • Disruptive technologies : Advances that will transform life, business, and the global economy (ManyiKa et.sl., 2013) • เอกสารเผยแพร่โครงการรถไฟฟ้า การรถไฟฟ้าขนส่ง มวลชนแห่งประเทศไทย www.mrta.co.th • World Economic Forum (2011 – 2012) หน้า 18-19 (Trend Analysis: ความต้องการพื้นฐาน) • กรมที่ดิน, 2556 อ้างถึงใน Homewithdream, 2558 • ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (2553) “Creative City เรื่องราวของการบ่มเพาะความคิดสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และเมือง” อ้างถึง The Art of making Creative city (Charles, Landry) • กรุงเทพมหานคร (2558) หน้า 20-21 (Trend Analysis: โอกาสเกิดใหม่) • American Marketing Association (2013) • gayadnetwork.com/files/CMItourismstudy2011.pdf • Bureau of Labor Statistics อ้างถึงใน Klinberg, 2012 • American Express, 2014 และไทยพีบีเอส (2558) • Goldman Sach, 2015 ‘Millennials : coming of age’ • ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ • องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (2550) • ส�ำนักงานบริหารแรงงานต่างด้าว • รายงานเรื่อง Mind the Gap | When Rural Meets Digital: A Truth Perspective (McCann Truth Central, 2014) หน้า 22-23 (Trend Analysis: ไอเดียสร้างสรรค์) • www.eenmaal.com • www.thepodhotel.com • www.interflora.co.uk • www.dhl.com • www.samsen5lodgebangkok.com • www.pukpun.com หน้า 24-27 (Survey, Urban Lifestyle) • ผลส�ำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับชีวิตคนเมืองในสังคมไทย ในปี 2020 ส�ำรวจโดยบริษทั ดิ วันโอวัน เปอร์เซ็นต์ จ�ำกัด หน้า 28-29 (Interview) • ส�ำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร และ ศูนย์ออกแบบและพัฒนา เมือง (UDDC) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หน้า 32-33 (Trend) • www.facebook.com/lanlalencafe • www.Addresstalk.com • www.facebook.com/OpenSnapTH • www.facebook.com/noisemarketfest • www.meine-ernte.de/ หน้า 34-35 (Case Study of Business) ข้อมูลและรูปภาพจาก • www.artboxbkk.com • www.positioningmag.com/content/61325 หน้า 36-39 (Step Up) ข้อมูลและรูปภาพจาก • www.facebook.com/manhattanmangoth • www.facebook.com/EngineHotdogs • www.leonisdeli.com • www.facebook.com/VeggiePatchVan • batchicecream.com • www.facebook.com/thebanhmishop หน้า 40-43 (Business Idea) ข้อมูลและรูปภาพจาก • www.viewmall.com • www.blueapron.com • www.facebook.com/Rootgarden.thonglor • www.thaicityfarm.com/autopagev4/show_page. php?topic_id=620&auto_id=47&TopicPk= • www.smeleader.com/tag/wifi-vending-machine • www.facebook.com/LetsSayCafe • grabtaxi.com/bangkok-thailand-th • www.tintbicycle.com หน้า 44-45 (Quiz) • www.unesco.org/ หน้า 46-47 (Inspiring People) ข้อมูลและรูปภาพจาก • www.facebook.com/imsopao • www.facebook.com/abdulrawcut • www.covankessel.com/th • www.rangypos.com • www.facebook.com/bkkhumans • www.thepawpals.com ข้อมูลคอลัมน์ Scoop, Trend Analysis, Survey และ Urban Lifestyle มาจากรายงานการส�ำรวจและศึกษาวิจัย ซีรีส์ความรู้ ส่อง โอกาส สร้าง อาชีพ เรื่องการขยายตัวของความเป็นเมือง โดยบริษัท ดิ วันโอวัน เปอร์เซ็นต์ จ�ำกัด (2558)
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 49
When you look at a city, it’s like reading the hopes, aspirations and pride of everyone who built it. -Hugh Newell Jacobsen-
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 50
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 51
THE OPPORTUNITY : KNOWLEDGE SERIES BY OKMD 52