ชุดความรู้กินได้ | เทียนสลักวัฒนธรรม

Page 1

เทียนสลักวัฒนธรรม

ผู้จัดทา นายภควัต เกศบุรมย์ หน่ วยงาน ห้ องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี. สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


เทียนสลักวัฒนธรรม

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม”

หลักการและเหตุผล

ประวัติงานประเพณีแห่ เทียนพรรษาอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี เป็ นจังหวัดหนึ่งในภาคอีสานที่ได้รับอิทธิพล คติความเชื่อเรื่ องอานิ สงส์ของการถวายขี้ผ้ งึ และการถวายแสงสว่างเป็ นทาน ผนวกกับความเชื่อเรื่ องฮีตสิ บสองคองสิ บสี่ ในงานบุญเดือนแปดหรื องานบุญ เข้าพรรษา ตลอดจนความอุดมสมบูรณ์ของรวงผึ้ง จนมีชื่อเรี ยกว่า “ดงอู่ผ้ ึง” ส่ งผลให้มีพิธีการถวายเทียนที่ทามาจากขี้ผ้ งึ เพื่อให้ความสว่างแด่พระสงฆ์ถือ กาเนิ ดขึ้น ทุกครัวเรื อนจะมีการฟั่ นเทียนจากขี้ผ้ งึ เป็ นการของตนเอง จากนั้น จะนาไปถวายพระสงฆ์ในช่วงวันเข้าพรรษาพร้อมกับเครื่ องไทยธรรมอื่น ๆ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๔ นายชอบ ชัยประภา ผูว้ ่าราชการจังหวัด อุบลราชธานี สนับสนุ นให้งานแห่ เทียนพรรษาเป็ นงานประจาปี ของจังหวัด เป็ นครั้งแรก ในปี พ.ศ. ๒๔๙๕ มีการเปลี่ยนแปลงรถแห่ เทียนพรรษาจาก เกวีย นเป็ นรถยนต์ และมี การรื้ อฟื้ นการประกวดเที ย นพรรษาแบบดั้ง เดิ ม (แบบมัดรวมเทียน) และแบบติดพิมพ์ (พ.ศ. ๒๕๐๐ - ๒๕๐๙) และปี พ.ศ. ๒๕๐๐ มีการจัดงานกึ่งพุทธกาลทัว่ ประเทศงานด้านศาสนาเฟื่ องฟูมาก โดยในปี พ.ศ. 2502 มีช่างแกะสลักลงในเทียนพรรษาคนแรก คือ นายคาหมา แสงงาม


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม” การทาเทียนพรรษามีววิ ฒั นาการเรื่ อยมาไม่หยุดนิ่ง ในปี พ.ศ. 2511 ผูค้ นได้พบเห็น ต้นเทียนพรรษาขนาดใหญ่และสูงขึ้น มีการ แกะสลักลวดลายในส่ วนลาต้นอย่างวิจิตรพิสดาร ใน ส่ วนฐานก็มีการ สร้างหุ่นแสดงเรื่ องราวทางศาสนา และความเป็ นไปในสังคมขณะนั้น กลายเป็ น ประติมากรรมเทียนพรรษาที่ยงิ่ ใหญ่ การแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานีได้รับการสนับสนุน ให้ยงิ่ ใหญ่มากขึ้น ทั้งด้านการจัดขบวนแห่ และการจัดหาสาวงามประจา ต้นเทียน มีการประชาสัมพันธ์งานกันอย่าง กว้างขวาง ทาให้มีผคู้ นทั้ง ชาวไทยและต่างชาติมาเที่ยวและชมงานเป็ นจานวนมาก จนกลายเป็ น ประเพณี ที่สาคัญของจังหวัด เป็ นสัญลักษณ์ของเมือง และเป็ นงาน ประเพณี ที่มีชื่อเสี ยงของประเทศ เทียนสลักวัฒนธรรม ถือว่าเป็ นอาชีพที่จะสามารถเพิ่ม รายได้ให้แก่นกั แกะสลักเทียนของจังหวัดอุบลราชธานี โดยการผลิต ออกมาเป็ นของที่ระลึกเพื่อขายให้แก่นกั ท่องเที่ยว นักสะสม หรื อผูท้ ี่ ชื่นชอบงานศิลปวัฒนธรรม ซึ่งนอกจากจะเป็ นการสร้างรายได้แล้ว เทียนสลักวัฒนธรรม ยังเป็ นการเผยแพร่ วฒั นธรรม ประเพณี วิถีชีวติ ของผูค้ นในจังหวัดอุบลราชธานี


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม”

วัตถุประสงค์ 1 เพื่ออนุรักษ์ สื บสานประเพณี แห่เทียนพรรษาของจังหวัด อุบลราชธานี 2 เพื่อสร้างอาชีพและรายได้เสริ มให้แก่ผทู้ ี่มีความสนใจในการ แกะสลักเทียน และช่างแกะสลักเทียนที่วา่ งเว้นจากการทาเทียนพรรษา 3. เผยแพร่ ความรู้และวัฒนธรรมของจังหวัดอุบลราชธานีผา่ นการ แกะสลักเทียน

กลุ่มเป้ าหมาย 1 ช่างแกะสลักเทียนพรรษา 2 คนที่รักในการแกะสลัก 3 ผูท้ ี่ตอ้ งการมีรายได้เสริ มหรื อผูท้ ี่ตอ้ งการ ประกอบอาชีพอิสระ


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม”

ขั้นตอนการจัดทาชุ ดความรู้ทามาหากิน

1

2

3

4

• วิเคราะห์เนื้อหาข้อมูลที่ตอ้ งการนามาใช้ในการจัดทาชุดความรู้

• สื บค้นหาข้อมูลที่ผา่ นการวิเคราะห์แล้วจากแหล่งต่าง ๆ เช่น หนังสื อ อินเตอร์เน็ต ภูมิปัญญา

• ตรวจสอบเนื้อหาข้อมูลและเรี ยบเรี ยงข้อมูลตามลาดับขั้น

• จัดทาชุดความรู้


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม”

ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ

1 เป็ นการอนุรักษ์ประเพณี แห่เทียนพรรษาของ จังหวัดอุบลราชธานีให้คงอยูต่ ่อไป 2 ช่างแกะสลักเทียนมีรายได้เพิ่มมากขึ้นในช่วงนอก เทศกาลแห่เทียนพรรษา 3 สามารถเผยแพร่ ความรู ้การแกะสลักเทียนพรรษา ไปยังลูกหลานชาวอุบลราชธานี


Mind Map



ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม”

ความรู้ทกั ษะทีต่ ้ องใช้ ในการดาเนินงาน ศิ ลปะ การ

ความคิด

แกะสลัก

สรางสรรค ้ ์

ทักษะ

การจัดการกาลังคน ในการแกะสลักเทียนวัฒนธรรม สามารถดาเนินงาน เพียงคนเดียวได้


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม” เงินทุน ขี้ผ้ งึ แท้ กิโลละ 300 บาท ขี้ผ้ งึ เทียม กิโลละ 50 บาท วัสดุ อุปกรณ์ มีด เหล็กขูด แปรง แร้งไฟฟ้ า ไฟสปอร์ตไลท์ ปิ๊ บ ผ้ากรอง แม่พิมพ์ หม้อ รวมเป็ นเงินทั้งหมด 3,250 บาท

ขนาด ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่

ราคาขาย ทุน ค่ าแรง 100 300 250 900

ราคาขาย 550 1300


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม”

วัตถุดบิ 1.ขี้ผ้ งึ แท้

2.ขี้ผ้ งึ เทียม

เป็ นขี้ผ้ งึ ที่ได้มาจากรังผึ้ง มีสีขาวอม เหลือง มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ มีความเหนียว ไม่แตกหรื อเปราะง่าย ขึ้ผ้ งึ วิทยาศาสตร์ เนื้อเปราะแตกง่าย ไม่มี กลิ่นหอม

วัสดุ อุปกรณ์ 1.มีด

ช่วยในการแกะสลักลวดลายบนต้นเทียน

2.แปรง

ใช้ปัดขุยขี้ผ้ งึ ออกจากต้นเทียน

3.เหล็กขูด

ใช้ในการขูดผิวต้นเทียนให้เรี ยบ

4.แร้งไฟฟ้ า

ช่วยประสานหรื อติดขี้ผ้ งึ ให้เป็ นเนื้อ เดียวกัน 5.ไฟสปอร์ตไลท์ ให้ความร้อนช่วยให้ข้ ีผ้ งึ อ่อนตัว ช่วยทา ให้แกะสลักง่ายขึ้น


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม”

วัสดุ อุปกรณ์ 6.หม้อ

ใช้สาหรับต้มเทียน

7.ปิ๊ ป

ใช้ในการบรรจุข้ ีผ้ งึ ที่ผา่ นการกรองแล้ว

8.ผ้ากรอง

นิยมใช้ผา้ ฝ้ ายดิบ ช่วยกรองเศษฝุ่ น ละอองที่ติดมากับขี้ผ้ งึ ทาให้ข้ ีผ้ งึ สะอาด ขึ้น 9.แม่พิมพ์แบบ ใช้สาหรับขึ้นพิมพ์เทียนให้ออกมาเป็ น ต่าง ๆ รู ปแบบหรื อลักษณะตามที่ตอ้ งการ 10.ถาดสแตนเลส ใช้สาหรับพักเทียนเพื่อนาไปแกะสลัก


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม”

ลายในการแกะสลักเทียน

กนกเปลว

ประจายามกามปู ้

กนกสามตัว

กระบี่

เปลวรวงขาว ้

กนกใบเทศ

ประจายาม

นารี

เดชะ


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม” กระบวนการผลิต การทาเทียน 1. ทุบหรื อสับขี้ผ้ งึ แท้ให้มีขนาดเล็กนาไปต้มผสมกับขี้ผ้ งึ เทียม ในอัตราส่ วน 5 ต่อ 1 เมื่อต้มเสร็ จนาเทียนเทลงในปิ๊ บโดย ใช้ผา้ กรองเพื่อให้ข้ ีผ้ งึ ไม่มีฝนละออง ุ่ 2. เทขี้ผ้ งึ ที่พกั ไว้ในปิ๊ บส่ วนหนึ่งแล้วลงในแบบพิมพ์ ให้ได้ ขนาดและรู ปร่ างของต้นเทียน จากนั้นก็นาต้นเทียนไปกลึง โดยการใช้เหล็กขูดเพื่อให้เทียนกลมและเกลี้ยงขึ้น 3. เทขี้ผ้ งึ ลงในถาดสแตนเลสเพื่อเตรี ยมนาไปแกะสลักเป็ น ส่ วนประกอบของเทียนต่อไป

กระบวนการผลิต


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม” กระบวนการผลิต การแกะสลัก 1.ออกแบบลาย โดยการร่ างลายลงบนกระดาษไข หรื อ กระดาษแก้ว แล้วทาการอลกลายลงบนลาต้นเทียน 2. เตรี ยมเครื่ องมืออุปกรณ์สาหรับการแกะสลักให้พร้อม 3. เริ่ มแกะสลักจากลายที่มีภาพประกอบก่อนเพราะเป็ นส่ วนที่ นูนสูงแล้วไล่ไปตามระดับชั้นของลายหรื อช่อลาย แต่ละกลุ่มที่ ต้องการความคมชัด หรื อรู ปแบบเนื้อหาที่จะนาเสนอ 4. นาเทียนจากแบบพิมพ์มาแกะสลักลวดลายต่าง ๆ

5. นาเทียนที่แกะสลักลวดลายต่าง ๆ มาประกอบกับลาต้น เทียนโดยการใช้แร้งไฟฟ้ าส่ วนที่ตอ้ งการติดประสาน 6. ตรวจดูความเรี ยบร้อยและทาความสะอาด ก่อนนาไปบรรจุ ลงในบรรจุภณ ั ฑ์เพื่อเตรี ยมส่ งขายต่อไป

กระบวนการผลิต


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม”

การตลาด • 1.นักทองเที ย ่ ว ่

กลุมเป ่ ้ าหมาย

• 2.นักสะสม

• 3.ผูที ่ น ื่ ชอบศิ ลปวัฒนธรรม ้ ช

สถานที่ จาหน่าย

การส่งเสริม การขาย

• 1.สนามบิน 2.พิพธิ ภัณฑ ์

• 3.โรงแรม

4.รานขายของที ร่ ะลึก ้

• 5.สถานทีท ่ องเที ย ่ ว 6.สิ นคา้ OTOP ่ • 7.อินเตอรเน็ ์ ต

• 1.แพ็คเก็จ

• 2.โปรโมชัน ่ • 3.การดที ์ ร่ ะลึก

• 1.ขนาดของสิ นคา้

ราคา

• 2.ความสวยงาม • 3.รูปแบบ


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม”

ปัญหา/วิธีการตัดสิ นใจ/กระบวนการแก้ปัญหา ปัญหาทีอ่ าจจะเกิดขึน้ 1. ปั ญหาด้านการตลาด ไม่มีแหล่งขายสิ นค้า หรื อการ ประชาสัมพันธ์สินค้าให้เป็ นที่รู้จกั 2. ปัญหาการผลิตสิ นค้าได้นอ้ ย เพราะงานแกะสลัก เป็ น งานที่ตอ้ งใช้เวลาและความปราณี ต เพียงหนึ่งวันสามารถ ทางานได้เพียงไม่กี่ชิ้น ขึ้นอยูก่ บั ขนาดที่ลกู ค้าสั่ง

วิธีการแก้ปัญหา 1. ทาการประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น อินเตอร์ เน็ต ป้ ายโฆษณา ติดต่อหาเครื อข่ายที่จะเป็ นผู ้ กระจายสิ นค้าไปยังสถานที่จาหน่าย และรักษา มาตรฐานของสิ นค้าเพื่อจะได้เป็ นการประชาสัมพันธ์ สิ นค้าอีกทางหนึ่ง 2. อาจจะต้องรวมกลุ่มช่างแกะสลักเพื่อการทาสิ นค้าให้ได้ ตามต้องการ


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม”

ปัจจัยสู่ ความสาเร็จ ความคิด สร้ างสรรค์

ตังใจ ้

ใจรัก ขยัน อดทน

ศิลปะการ แกะสลัก


ชุดความรู้ ทามาหากิน “เทียนสลักวัฒนธรรม”

แนวคิดใหม่ ในการพัฒนาอาชีพ ชุดความรู ้ทามาหากิน “เทียนวัฒนธรรม” สามารถ นาไปต่อยอดเกิดเป็ นอาชีพใหม่ ๆ ได้อีกคือ แกะสลักเทียน หอม

เทียน วัฒนธรรมติด พิมพ ์

เทียน วัฒนธรรม

แกะสลักไม้

การแกะสลัก ผักผลไม้


เทียนสลักวัฒนธรรม

4

5

11

11 สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


เทียนสลักวัฒนธรรม

เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี ประวัติความเป็ นมาและการจัดทาเทียนพรรษา

การตกแต่ งต้ นเทียนจานาพรรษา นาเสนอศิลปะการตกแต่งเทียนพรรษาด้วยดอกไม้สด และวัสดุจากธรรมชาติหลากหลายชนิด ซึ่งล้วนแล้วแต่นามา ประดิดประดอยให้กลายเป็ นชิ้นงานที่สวยงามล้ าค่า การตกแตง่ การแกะสลักผักและผลไม้ นาเสนอขั้นตอนและเทคนิคการแกะสลักผักและผลไม้พร้อมการจัดตกแต่ง เหมาะสาหรับจัดตกแต่งในงาน เลี้ยง วิวฒ ั นาการลายไทย นาเสนอความรู ้ในเรื่ องความเป็ นมาของลวดลายไทย นับแต่สมัยโบราณยุคทวารวดี ลพบุรี สุโขทัย อยุธยา มา จนถึงสมัยรัตนโกสิ นทร์ โดยมีจุดเด่นอยูท่ ี่การอธิบายให้เข้าใจผ่านรู ปภาพของลวดลายไทยจากโบราณวัตถุและ โบราณสถานของไทย

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


เทียนสลักวัฒนธรรม

102 ถนนพรหมราช ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธษนี 34000

จาหน่ายเทียนพรรษาแกะสลักจาลอง

วัดกลาง ถนนพรหมราช ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราธานี บ้ านเทียนหอม http://www.bantontian-ubon.com/index.php?mo=3&art=309456 การทาเทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี (บทเรี ยนเพื่อการเรี ยนรู้ ด้วยตนเอง) http://www.lib.ubu.ac.th/learning/candle/reference.php เทศบาลนครอุบลราชธานี

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แหล่ งอ้ างอิง

เจ้ าของความรู้

นายวิชิต บุญจริ ง ทีอ่ ยู่ 102 ถนนพรหมราช อาเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ 045 - 260095 , 081 - 7093464

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


เทียนสลักวัฒนธรรม ขีผ้ ึง้ แท้

ขีผ้ ึง้ เทียม

มีด

เหล็กขูด

แปรง

แม่ พมิ พ์ เทียน

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


เทียนสลักวัฒนธรรม แร้ งไฟฟ้า

ไฟสปอร์ ตไลท์

หม้ อ

ผ้ ากรอง

ถาดสแตนเลส

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400


แผนการถ่ ายทอดองค์ ความรู้ และรูปแบบกิจกรรมหรือนิทรรศการ

ผู้จัดทานาเสนอแผนการถ่ ายทอดความรู้ ดังนี้ 1.จัดทาเผยแพร่ บน เวปไซต์ กศน.อาเภอเมืองอุบลราชธานี “ศูนย์ความรู ้กินได้” 2. จัดทาเผยแพร่ บน Facebook ห้องสมุดประชาชน จังหวัดอุบลราชธานี “ศูนย์ความรู ้กินได้” 3. จัดกิจกรรมส่ งเสริ มการอ่าน “เทียนสลักวัฒนธรรม” ณ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี “ศูนย์ความรู ้กินได้” 4. จัดทาสื่ อวีดีทศั น์เพื่อการศึกษา “เทียนสลักวัฒนธรรม” เผยแพร่ บน Youtube


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.