คู่มือต่อยอดไอเดียธุรกิจ สาขาแฟชั่น

Page 1


คํา นํา ( พิ ม พ ค รั้ ง ที่ 2 ) สํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (สบร. ) ในฐานะ หน ว ยงานส ง เสริ ม การเรี ย นรู กระตุ น ให เ กิ ด ความคิ ด สร า งสรรค แ ละพั ฒ นาศั ก ยภาพของคนไทย ได จั ด ทํ า “โครงการศึกษาวิจัยอุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มี ศักยภาพในการสรางรายไดและโอกาสในการประกอบ อาชีพ” ขึ้น โดยไดรับความรวมมือจาก ผศ. ดร. การดี เลียวไพโรจน และทีมงาน คณะพาณิชยศาสตรและการ บัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ดําเนินการศึกษาวิจัยใน สาขาอาหารและแฟชั่น พรอมทั้งจัดทําเปน “คูมือแนวทาง และโอกาสในการเขาสูธุรกิจอาหาร” และ “คูมือแนวทาง และโอกาสในการเขาสูธุรกิจแฟชั่น” คู มื อ เล ม นี้ ป ระกอบไปด ว ยสาระความรู ที่ จํ า เป น และ ประสบการณของผูประกอบการที่มีความโดดเดน ซึ่งจะ เป น ประโยชน ต อ ผู ที่ ส นใจจะเริ่ ม ต น ทํ า ธุ ร กิ จ หรื อ ผู ป ระกอบการที่ ทํ า ธุ ร กิ จ อยู แ ล ว ได เ ห็ น ถึ ง โอกาสและ ปจจัยแหงความสําเร็จในการพัฒนาธุรกิจของตนเอง

1


การเผยแพรคูมือออกสูสาธารณะไดรับการตอบรับเปน อ ย า ง ดี ยิ่ ง โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น ก ลุ ม ค น รุ น ใ ห ม แ ล ะ ผูประกอบการเชิงสรางสรรค สบร. จึงเห็นควรใหมีการ จัดพิมพเปนครั้งที่ 2 เพื่อใชในการเผยแพรสูภาคสวน ต า งๆ ในวงกว า งมากขึ้ น อาทิ สถาบั น การศึ ก ษา หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูประกอบการ เยาวชนคน รุ น ใหม ฯลฯ เพื่ อ ร ว มกั น เป น เครื อ ข า ยขั บ เคลื่ อ นการ พัฒนาอุตสาหกรรมและบริการที่มีศักยภาพในการสราง รายไดและโอกาสในการประกอบอาชีพของคนไทยตอไป สบร. หวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า คู มื อ เล ม นี้ จ ะช ว ยสร า งแรง บัน ดาลใจและกระตุน ให คนรุ น ใหม แ ละผู ป ระกอบการ มองเห็นโอกาสและสามารถนําความรูไปประยุกตใชใน การเริ่มตนธุรกิจของตนเองได ในการนี้ สบร.ขอขอบคุณ ผู ป ระกอบการทุ ก ท า นที่ ไ ด มี ส ว นให ข อ คิ ด เห็ น และ แลกเปลี่ยนประสบการณที่เปนประโยชนตอการจัดทํ า คูมือ รวมทั้งขอขอบคุณคณะวิจัย มา ณ โอกาสนี้ สํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน) Office of Knowledge Management & Development (Public Organization) (OKMD)

2


สารบั ญ ภาพรวม อุ ต สาหกรรม แฟชั่น

น. 6

5 ธุรกิจสรางสรรค สาขาแฟชั่นที่ มี ศั ก ยภาพในการสร า งรายได แ ละ โอกาสในการประกอบอาชีพ

น. 27

c ธุรกิจแบรนด กระเปา รองเทา

น. 31

d ธุ ร กิ จ แบรนด เ สื้ อ ผ า แฟชั่น

น. 73

น. 105 f ธุ ร กิ จ ขาย สิ น ค า แ ฟ ชั่ น ออนไลน

น. 131 g ธุ ร กิ จ เสื้อผาพลัสไซส

น. 157 • • •

e ธุรกิจรีวิว สินคาแฟชั่น

แหลงอุปกรณและวัตถุดิบ หนวยงานทีใ่ หขอมูล/คําแนะนํา ตัวอยางโครงสรางการเขียนแผนธุรกิจ ใหไดเงินกู

3

ภาคผนวก น. 185


ขอบคุณภาพจาก Yigal Azrouel Fashion Show ใน en.wikipedia.org


Fashion Overview


ภาพรวมอุตสาหกรรมแฟชั่น

ภ า พ ร ว ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ฟ ชั่ น

อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ฟ ชั่ น เ ป น อุ ต สาหกรรมที่ อ าศั ย ความคิ ด ส ร า ง ส ร ร ค แ ล ะ ไ อ เ ดี ย ข อ ง ผู ป ระกอบการหรื อ นั ก ออกแบบ อาชีพเขามามีสวนรวมในการสราง มู ล ค า เ พิ่ ม ใ ห กั บ สิ น ค า เ ป น อุ ต สาหกรรมที่ มี ความสํ า คั ญ ต อ ระบบเศรษฐกิ จ ของประเทศ ไทย เนื่องจากเปนอุตสาหกรรมที่

ครอบคลุ ม 3 กลุ ม อุ ต สาหกรรม หลัก ประกอบไปดวยอุตสาหกรรม สิ่ ง ท อ แ ล ะ เ ค รื่ อ ง นุ ง ห ม อุ ต สาหกรรมอั ญ มณี แ ละเครื่ อ ง ประดั บ และอุ ต สาหกรรมเครื่ อ ง ห นั ง แ ล ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ซึ่ ง ทั้ ง 3 อุตสาหกรรมเปนอุตสาหกรรมที่มี ความสําคัญตอเศรษฐกิจไทยเปน อยางยิ่ง

6


ภาพรวมอุตสาหกรรมแฟชั่น

ป 2556 อุ ต สาหกรรมแฟชั่ น ของ ไทยมี มู ลค า รวมทั้ งสิ้ น 9,667.80 ลานเหรียญสหรัฐฯ1 เปนมูลคาการ ส ง ออกจํ า นวน 7,766.95 ล า น เหรียญสหรัฐฯ และเปนการนําเขา จํ า นวน 1,900.85 ล า นเหรี ย ญ สหรัฐฯ ทั้งนี้ในชวงป 2554-2556 มู ล ค า การซื้ อ ขายสิ น ค า แฟชั่ น ระหว า งประเทศชะลอตั ว ลงด ว ย ภาวะความไม ส งบด า นการเมื อ ง ภ า ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ ป ร ะ ก อ บ กั บ เศรษฐกิจภายนอกประเทศอยูใน ระยะเพิ่งฟนตัวจากปญหาหนี้เสีย ดานการสงออกกลุมเครื่องประดับ มีมูลคาการสงออก และอัตราการ

เติ บ โตสู ง สุ ด รองลงมาคื อ กลุ ม รองเท า และกระเป า และกลุ ม เครื่ อ งนุ ง ห ม ตามลํ า ดั บ ทั้ ง นี้ อุ ต สาหกรรมแฟชั่ น ไทยกํ า ลั ง อยู ระหว า งการเปลี่ ย นถ า ยจากการ การแข ง ขั น ด า นต น ทุ น ในตลาด ระดับลาง ไปสูการเพิ่มมูลคาเพื่อ การแข ง ขั น ในตลาดระดั บ กลาง และระดับบน ซึ่งอุปสรรคที่สําคัญ ของไทย คื อ การสร า งตํ า แหน ง ท า ง ก า ร แ ข ง ขั น ( Strategic Positioning) ของประเทศในฐานะ ศูนยกลางแฟชั่นของภูมิภาคที่ยัง ไม ชั ด เจนเมื่ อ เที ย บกั บ สิ ง คโปร ฮองกงและเกาหลี

1รวบรวมข อ มู ล การนํ า เข า และส ง ออกสิ น ค า กลุ ม เสื้ อ ผ า สํ า เร็ จ รู ป

เครื่องประดั บไม รวมอั ญ มณี และทองไมขึ้ น รูป และเครื่องหนั งไมรวมแผ น หนั งฟอก จากสรุปภาวะ เศรษฐกิจอุตสาหกรรมป 2556 และแนวโนมป 2557สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม.

7


มู ล ค า ก า ร ค า อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ฟ ชั่ น ไ ท ย ป 2 5 5 1 - 2 5 5 6 (หนวย: ลานเหรียญสหรัฐฯ)

2556

1,900.85

7,766.95

2555

1,910.34

8,048.61

2554

1,769.30

8,394.17

2553

1,352.09

7,401.94

2552

1,115.75

6,443.94

2551

1,264.50

7,288.07

นําเขา

สงออก ที่มา: สรุปภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมป 2556.



ภาพรวมอุตสาหกรรมแฟชั่น

ก า ร บ ริ โ ภ ค ภ า ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ

ป 2556 ประเทศไทยมีการนําเขา สินคาฟุมเฟอย2 คิดเปนมูลคารวม 81,100 ลานบาท และมีอัตราการ เติบโตเพิ่มขึ้นรอยละ 14.123 จาก ป 2555 โดยในบรรดาสิ น ค า ฟุ ม เฟ อ ยนี้ มู ล ค า นํ า เข า สิ น ค า แฟชั่นหรูหรากลุม กระเปาคิดเปน มู ล ค า สู ง ถึ ง 11,000 ล า นบาท กลุมเครื่องประดับประเภทนาฬิกา มีมูลคาการนําเขาจํานวน 10,000 ล า นบาท แว น ตามี มู ล ค า การ นํ า เ ข า 2 , 0 0 0 ล า น บ า ท และกลุมเสื้อผา มีมูลคาการนําเขา

6,000 ลานบาท สวนตลาดสินคา กลุ ม เครื่ อ งสํ า อางมี มู ล ค า การค า ราว 40,000 ลานบาท มีอัตราการ เติ บ โตเพิ่ มขึ้ น ประมาณร อ ยละ 9 ดานชองทางจัดจําหนายสวนใหญ รอยละ 50 เป น การขายตรง รอ ย ละ 30 เปนการขายผานเคานเตอร และร อ ยละ 20 เป น การขายผ า น หนาราน (Retail Shop) ซึ่งขอมูล เชิ ง สถิ ติ เ หล า นี้ แ สดงให เ ห็ น ถึ ง โอกาสของผูประกอบการรุนใหมใน การทํ า ตลาดภายในประเทศให มากขึ้น

2สินคาฟุมเฟอยมี

17 รายการ ประกอบดวย (1) ไวน ( 2) สุราตางประเทศ (3) ผลไม (4) ดอกไม (5) น้ําหอมและ เครื่องสําอาง (6) กระเปาหนังและเข็มขัดหนัง (7) ผาทอ ทําดวยขนสัตว (8) สูท เสื้อ กระโปรง กางเกง สําหรับบุรุษ สตรี เด็กชาย และเด็กหญิง และเนคไท (9) รองเทาหนังและรองเทาผาใบ (10) เครื่องแกวชนิดใชบนโตะอาหาร หรือใชตกแตงภายในที่ทําดวยคริสทัล (11) เครื่องประดับที่ทําดวยคริสทัล (12) เลนส (13) แวนตา (14) กลองถายรูปและอุปกรณ (15) นาฬิกาและอุปกรณ (16) ปากกา และอุปกรณ และ (17) ไฟแช็กและอุปกรณ. 3 ข อ มู ล ณ วั น ที่ 10 กั น ยายน 2556 กระทรวงการคลั ง อ า งถึ ง ในหนั ง สื อ พิ ม พ ฐานเศรษฐกิจออนไลน วันพุธที่ 11 กันยายน 2013 คอลัมน : การเงิน-ตลาดทุน.

10


อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ฟ ชั่ น ข อ ง ไ ท ย ประกอบไปดวยผูประกอบการใน อุ ต ส า ห ก ร ร ม ห ลั ก ร ว ม ทั้ ง สิ้ น 21,931 ราย เปนผูประกอบการใน อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอเครื่ อ งนุ ง ห ม 4,385 ราย อุ ต สาหกรรมเครื่ อ ง หนังและรองเทา 6,009 ราย และ อุตสาหกรรมอัญมณีเครื่องประดับ จํานวน 11,537 ราย

ภาพรวมอุตสาหกรรมแฟชั่น

จํา น ว น ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร แ ล ะ ก า ร จ า ง ง า น

สิ่งทอและเครื่องนุง หม 1,048,720 คน

อัญมณีและเครื่องประดับ 800,000-1,000,000 คน

มี จํ า น ว น แ ร ง ง า น ร ว ม ทั้ ง สิ้ น ประมาณ 2.4-2.6 ลานคน โดยเปน แรงงานในอุตสาหกรรมสิ่งทอและ เครื่องนุงหมประมาณ 1,048,720 คน อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งหนั ง และ รองเท า ประมาณ 606,050 คน และในอุ ต สาหกรรมอั ญ มณี แ ละ เครื่องประดับประมาณ 800,0001,000,000 คน

เครื่องหนังและรองเทา 606,050 คน

4บทสัมภาษณคุณสมศักดิ์ ศรีสุภรวาณิชย

ประธานกลุมอุตสาหกรรมสิ่งทอ, “แฟชั่นเครื่องหนัง” สิ่งทอลุยเองตอบโจทยผูซื้อ, พฤศจิกายน 2556.

11


ภาพรวมอุตสาหกรรมแฟชั่น

ส ถ า น ก า ร ณ ก า ร บ ริ โ ภ ค ใ น ป ร ะ เ ท ศ

5สืบคนออนไลน http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=

1365662895.

12


ขอบคุณภาพจาก Blue hoodie

Fast Fashion

2,500-3,000 บาท

Bridge Line

3,500-4,000 บาท

Luxury

15,000 บาท

13

ภาพรวมอุตสาหกรรมแฟชั่น

ค า ใ ช จ า ย ต อ บิ ล ข อ ง ก ลุ ม สิ น ค า แ ฟ ชั่ น


ภาพรวมอุตสาหกรรมแฟชั่น

พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ช อ ป ป ง สิ น ค า อ อ น ไ ล น 78% ผูหญิงรอยละ 78 เคยชอปปงสินคา ออนไลน และร อ ยละ 58 ช อ ปป ง สิ น ค า ออนไลน ม ากกว า 2 ครั้ ง / สัป ดาห โดยสิ น คา ที่ นิย มซื้อ มาก ที่สุดคือ เสื้ อผา และเครื่องประดั บ คิ ด เป น ร อ ยละ 62 รองลงมาคื อ หนังสือและงานศิลปะ รอยละ 42 และเครื่องสําอาง รอยละ 39

ผู ห ญิ ง เ ค ย ช อ ป ป ง สิ น ค า อ อ น ไ ล น

58% ช อ ป ป ง สิ น ค า อ อ น ไ ล น ม า ก ก ว า 2 ค รั้ ง / สั ป ด า ห

62% 42% ห นนั ง สื อ แ ล ะ ง า น ศิ ล ป ะ

14

เ สื้ อ ผ า แ ล ะ เ ค รื่ อ ง ป ร ะ ดั บ


ภาพรวมอุตสาหกรรมแฟชั่น

เหตุผลในการซื้อสินคาออนไลนของเพศหญิง

75% ซื้ อ เ พ ร า ะ สิ น ค า ร า ค า ถู ก ก ว า ซื้ อ สิ น ค า แ บ บ เ ดี ย ว กั น กั บ ที่ ข า ย ห น า ร า น

51% ซื้ อ เ พ ร า ะ คํา บ อ ก ต อ จ า ก ก ลุ ม เ พื่ อ น ห รื อ อ า น รี วิ ว

49% ซื้ อ เ พ ร า ะ สิ น ค า มี ค ว า ม แ ต ก ต า ง

15


ภาพรวมอุตสาหกรรมแฟชั่น

โ อ ก า ส ท า ง ก า ร ต ล า ด จ า ก ก ลุ ม นั ก ท อ ง เ ที่ ย ว ช า ว ต า ง ช า ติ

ประเทศไทยเปนประเทศที่มีโอกาส ทางการตลาดของสิ น ค า แฟชั่ น ประเภทตางๆ สูง สวนหนึ่งมาจาก การที่ “กรุ ง เทพมหานคร” ได รั บ ก า ร โ ห ว ต จ า ก นั ก ท อ ง เ ที่ ย ว ชาวตา งชาติใ หเป น มหานครแห ง การช อ ปป ง อั น ดั บ 2 ของโลก 6 และจากการศึกษาพฤติกรรมการ ช อ ปป ง ของนั ก ท อ งเที่ ย ว ชาว ตางชาติที่เดินทางเขามาชอปปงใน ประเทศไทย พบว า นั ก ช อ ปป ง ชาวต า งชาติ ที่ เ ดิ น ทางเข า มา ท อ งเที่ ย วและช อ ปป ง สิ น ค า ไทย แบงออกเปน 4 ประเภท7 คือ

49%

45% 3% 3%

นักชอปเชิงวัฒนธรรม (Cultural Shoppers)

นักชอปทั่วไป (General Shoppers)

นักชอปแบบมุง เปา (Run Shoppers) นักชอปตามกระแส (Fun Shoppers)

ที่มา: สืบคนออนไลน www.uasean.com8.

6World Cities Survey 2012, Trip Advisor Best for Shopping 2012 (1) New York City, (2) Bangkok, (3) DubaiBest 7นักชอปประเภทที่ 1 และ 2 จําแนกโดย Taubman Centers และ U.S. Department of Commerce สวนประเภทที่ 3 และ 4 จําแนกโดย William Theobold จากหนังสือ Global Tourism 8http://www.uasean.com/kerobow01/327.

16



แหลงชอปปงในศูนยการคาที่ชาวตางชาติ นิยม อันดับ 1 คือ มาบุญครอง อันดับ 2 คือ แพลทตินัม แหลงชอปปงนอกหางที่ชาวตาง ชาตินิยม อันดับ 1 คือ ตลาดนัดสวนจตุจักร อันดับ 2 คือ ประตูน้ํา

ขอบคุณภาพจาก Thailand Bangkok SiamParagon Night โดย commons.wikimedia.org



ภาพรวมอุตสาหกรรมแฟชั่น

ท า ง เ ลื อ ก . . โ อ ก า ส ข อ ง ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ค น รุ น ใ ห ม

ปจจุบันคนรุนใหมมีแนวโนมที่จะ หันมาทําธุรกิจสวนตัวมากขึ้น สวน หนึ่งเปนผลมาจากกระแสคานิยม ของคนรุน ใหม ที่ตอ งการอิ ส ระใน การทํางานมากขึ้น และโอกาสใน การเริ่มตนธุรกิจของผูประกอบการ รุนใหมยังไดรับการสนับสนุนจาก หนวยงานภาครัฐและสมาคมตางๆ ที่เกี่ยวของ และพรอมจะใหความ ชวยเหลือใหผูประกอบการรุนใหม สามารถดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ

20


ขอบคุณภาพจาก Profil und spiralreissverschluss Retro-fashion AM ใน upload.wikimedia.org


จากการสํ า รวจความคิ ด เห็ น ของ คนรุน ใหมที่สําเร็จการศึกษาในป 255610 พบวา คนรุนใหมตองการ ประกอบอาชี พ ธุ ร กิ จ ส ว นตั ว มาก ที่สุด คิดเปนสัดสวนรอยละ 38.5 งานราชการ ร อ ยละ 30.5 งาน เอกชน ร อ ยละ 18.0 และงาน รัฐวิสาหกิจ รอยละ 13.0 ธุรกิจสวนตัว

38.5%

งานราชการ

30.5%

งานเอกชน

18.0%

งานรัฐวิสาหกิจ

13.0%

10สํารวจความคิดเห็นในหัวขอบัณฑิตใหมในวันรับปริญญา โดยศูนยวิจัยมหาวิทยาลัย

กรุงเทพ (กรุงเทพโพลล), 3.-7 กรกฏาคม 2556. ขอบคุณภาพจาก Personas Persona Hombres Blanco Y Negro Vuelta ใน pixabay.com

22


โดยคนรุ น ใหม ที่ ส นใจทํ า ธุ ร กิ จ ส ว นตั ว ส ว น ใหญสนใจที่จะดําเนินธุรกิจในรูปแบบ “ธุรกิจ เจ า ของคนเดี ย วหรื อ ร ว มหุ น กั บ เพื่ อ น” คิดเปนสัดสวนรอยละ 82 คงมีเพียงรอยละ 18 เท า นั้ น ที่ ต อ งการสื บ ทอดธุ ร กิ จ ของ ครอบครัวตนเอง11

25.92%

82%

ด า นความคิ ด เห็ น ของผู ป กครองเด็ ก รุ น ใหม พบว า 3 อาชี พ แรกท่ี ผู ป กครองอยากให ลูกหลานประกอบอาชีพ12 คือ อาชีพเจาของ ธุรกิจสวนตัว /คาขาย เพราะรายไดดีและไม ตองเปน ลูกนอ งใคร รอยละ 25.92 รองลงมา อยากใหประกอบอาชีพแพทย เพราะรายไดดี มี เกียรติและมีรายไดสูง รอยละ 14.91 และอยาก ใหรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ เพราะมั่นคง และสวัสดิการดี รอยละ 12.66

11 ผลการสํ า รวจความต อ งการประกอบอาชี พ ส ว นตั ว พบว า ร อ ยละ 56 ต อ งการ ประกอบธุรกิจเจาของคนเดียว รอยละ 25 ตองการสืบทอดธุรกิจครอบครัว และรอย ละ 18 ตองการรวมหุนกับเพื่อน. 12ผลการสํารวจอาชีพในฝนของคนกรุงเทพมหานคร โดยนิดาโพลล 2012.

23


ธุ ร กิ จ แ ล ะ อ า ชี พ ที่ เ กี่ ย ว เ นื่ อ ง กั บ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ฟ ชชั่ น

ที่มา: คณะผูวิจัย, 2556.

24


25


Creative Fashion Business 26


ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1 2

ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

3

ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

4

ธุรกิจขายสินคาแฟชั่น ออนไลน

5

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

5 ธุ ร กิ จ ส ร า ง ส ร ร ค ส า ข า แ ฟ ชั่ น ที่ มี ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร ส ร า ง ร า ย ไ ด แ ล ะ โ อ ก า ส ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ 27


การเริ่ มต น ธุ ร กิ จผู ป ระกอบการควรศึ ก ษา สภาพแวดลอมตางๆ ที่มีความเกี่ยวของใน กระบวนการทําธุรกิจ โดยอาศัย Business Model Canvas ซึ่งเปนเครื่องมือในการ ประเมิ น ศั ก ยภาพและวิ เ คราะห ภ าพรวม ธุ ร กิ จ โดยอาศั ย 9 องค ป ระกอบหลั ก ที่ สําคัญ ดังนี้ 1.กลุมลูกคา (Customer Segments) หมายถึ ง กลุ ม เป า หมายที่ ผู ป ระกอบการ ตองการจะเขาถึงและใหบริการ 2.คุณคาที่นําเสนอ (Value Propositions) หมายถึง เหตุผลสําคัญที่ผูประกอบการคิด วาจะทําใหลูกคานั้นกลับมาซื้อผลิตภัณฑ / รับบริการอยางตอเนื่อง

28



ขอบคุณภาพจาก คุณคณิตา คณิยมเวคิน Kanita


1 ธุ ร กิ จ แ บ ร น ด ก ร ะ เ ป า ร อ ง เ ท า

31


ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

ธุ ร กิ จ แบรนด ก ระเป า รองเท า หมายถึ ง ผู ป ระกอบการในธุ ร กิ จ กระเป า และรองเท า ที่ ทํ า หนาที่ออกแบบ คัดเลือกวัตถุดิบ ควบคุมการผลิต และจํ า หนา ย ภายใต ต รายี่ หอ สิน คา หรื อ แบรนด ของตนเอง ทั้งนี้ ผูประกอบการสามารถทําการผลิต ออกแบบและจํ า หน า ยสิ น ค า อื่ น ๆ ที่ มี ค วาม สอดคลองหรือเหมาะสมกับการใชงานกระเปาและ รองเทา เชน ผา ผูกกระเป า พวงกุ ญ แจ เข็ มกลั ด กลองใสนามบัตร และแท็กปายชื่อกระเปา เปนตน โดยสินคาทั้งหมดจะอยูภายใตยี่หอตราสินคาหรือ แบรนด เ ดี ย วกั น โดยผู ป ระกอบการสามารถทํ า การตลาดในรู ป แบบของสิ น ค า คอลเลคชั่ น (Collection) ได เพื่อเปนการสรางมูลคา ใหกับ แบรนดสินคาของตนเองไดอีกดวย

32


อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ค รื่ อ ง ห นั ง แ ล ะ ร อ ง เ ท า ป 2 5 5 4 - 2 5 5 6 ป 2556 ประเทศไทยมีมูลคาการคาอุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเทา คิดเปนมูลคา รวม 3,055.90 ลานเหรียญสหรัฐฯ มีมูลคาการนําเขา จํานวน 1,314.80 ลานเหรียญ สหรัฐฯ มีมูลคาการสงออก จํานวน 1,741.10 ลานเหรียญสหรัฐฯ และมี อัตราการ ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 3.25 (หนวย: ลานเหรียญสหรัฐฯ)

2556 1,741.10

1,314.80

2555 1,162.90

1,684.50

1,149.30

1,835.90

2554

นําเขา

สงออก

ที่มา: สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย ขอบคุณภาพจาก Kevin Dooley ใน www.flickr.com โดย

33 33


ไ ม มี ค ว า ม ลั บ ที่ จ ะ ป ร ะ ส บ ความสํ า เร็ จ มั น เป น ผลจากการ เตรี ย มการ ทํ า งานอย า งหนั ก และการเรียนรูจากความลมเหลว

- คอลลิน พาวเวล ขอบคุณภาพจาก Ruchitta


ก า ร ซื้ อ สิ น ค า แ ฟ ชั่ น ท า ง อ อ น ไ ล น แ ล ะ อ อ ฟ ไ ล น

38% เสื้อผา

24.4% กระเปา

13% รองเทา

6.3%

8%

เครื่องประดับ

แวนตากันแดด

นาฬิกา

3.3% ผาพันคอ

ที่มา: รูปแบบการตัดสินใจซื้อสินคาของผูบริโภค : ศึกษาเปรียบเทียบระหวางการซื้อสินคาแฟชั่นทาง ออนไลนและออฟไลน

ก า ร รั บ น วั ต ก ร ร ม สิ น ค า แ ฟ ชั่ น ข อ ง วั ย รุ น ใ น ก รุ​ุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร

888.6% ก มผูบุกเบิก กลุ (Innovator) nnovat nnova atoor)r)r ทา ทางดานแฟชั่น

11.4% กลุมผูต าม าม (Follower) ทา ทางด างด งดานแฟช านแฟชัชัช่น

ที่มา: ผลการศึกษารูปแบบการดําเนินชีวติ การรับรูเกี่ยวกับตนเอง และ การรับนวัตกรรมสินคาแฟชั่นของวัยรุน ของ คุณอัญชัน สันติไชยกุล นิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

35

1 ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

13%


คุ ณ ส ม บั ติ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร

ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

ผู ป ระกอบการในธุ ร กิ จ แบรนด กระเปารองเทา ควรมีคุณสมบัติที่ สําคัญ ดังนี้ 1 . มี ค ว า ม คิ ด ส ร า ง ส ร ร ค เนื่ อ งจากเป น ธุ ร กิ จ สร า งแบรนด สิ น ค า แฟชั่ น ซึ่ ง จํ า เป น ต อ งใช ความคิดสรางสรรคและไอเดียใน การออกแบบสิ น ค า เพื่ อ สร า ง อัตลักษณ ภาพลักษณและแบรนด ใหกับสินคา 2. มีองคความรูที่จําเปนสําหรับ ธุรกิจ ประกอบไปดวย ค ว า ม รู ด า น แ ฟ ชั่ น วั ส ดุ ศาสตร การออกแบบ การทํ า แพทเทิรน และการตัดเย็บ การ ควบคุมคุณภาพสินคาทั้งวงจร การผลิต ออกแบบและจําหนาย สินคาไดตรงตามเปาหมาย

ความรูดานกระบวนการผลิต และการบริหารจัดการ ขอมูล สวนนี้จะชวยผูประกอบการใน การวางแผนการผลิ ต การหา วั ต ถุ ดิ บ การจ า งแรงงาน การ ควบคุ ม ต น ทุ น และการแก ไ ข ป ญ หาเฉพาะหน า ที่ อ าจจะ เกิ ด ขึ้ น ระหว า งการผลิ ต ที่ ต อ ง อาศั ย ความรู เ ฉพาะทางที่ จ ะ นํ า ไ ป สู ก า ร ตั ด สิ น ใ จ เ ลื อ ก ทางออกของปญหาไดทันเวลา ความรู ด า นธุ ร กิ จ ตลาดและ ลู ก ค า ก็ ต อ งเข า ใจพฤติ ก รรม และความต อ งการของกลุ ม ลูกคาเปาหมายไดอยางแทจริง สามารถออกแบบกิ จ กรรม สงเสริมการขายตามโอกาสและ เ ท ศ ก า ล สํ า คั ญ ต า ม กลุมเปาหมาย และนําไปสูการ ส ร า ง ค ว า ม ป ร ะ ทั บ ใ จ แ ล ะ กอใหเกิดการซื้อซ้ํา 36


ก า ร เ ริ่ ม ต น ธุ ร กิ จ

รองเท า คุ ณ ภาพดี หรู ห ราและ สามารถบ ง บอกถึ ง ฐานะของ ตนเองได โดยส ว นใหญ ลู ก ค า กลุมนี้มักใหความสําคัญกับการ เลื อ กใช สิ น ค า แบรนด เ นมหรู จากตางประเทศ หากเปนสินคา แบรนดไทยสินคานั้นๆ ตองเปน สิ น ค า ระดั บ อั ล ตร า ไฮเอนที่ บ ง บ อ ก ถึ ง ร ส นิ ย ม ฐ า น ะ ท า ง ครอบครั ว และสั ง คมได อ ย า ง ชัดเจน

1 . ก ลุ ม ลู ก ค า ( Customer Segments) ก า ร กํ า ห น ด ก ลุ ม ลูกคาเปาหมายของธุรกิจ อาทิ กลุ ม ลู ก ค า อั ล ตร า ไฮเอนด (Ultra High-End) คือ กลุม ลูกคาที่ชื่นชอบสินคาแฟชั่นเปน กลุมที่มีรายไดสูง มีอํานาจการ ซื้อสูง ชอบการบริการที่ดีมีระดับ ราคาสินคาไมใชปจจัยสําคัญใน การเลื อ กซื้ อ สิ น ค า กลุ ม ลู ก ค า ระดั บ นี้ ได แ ก นั ก ธุ ร กิ จ และ ผูบริหาร เปนตน ลูกคากลุมนี้มี ความตองการกระเปาและ

37

ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1


ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

กลุ ม ลู ก ค า แฟชั่ น ไฮเอนด (High-End Fashion) เปนกลุม ลู ก ค า ที่ ชื่ น ชอบสิ น ค า แฟชั่ น มี รายไดสูงและมีกําลังซื้อสูง กลุม ลูกคาระดับนี้มักจะเปรียบเทียบ ร ะ ห ว า ง ร า ค า กั บ คุ ณ ภ า พ เนื่ อ งจากมี โ อกาสในการเลื อ ก ซื้อ สินคาที่ดีกว าและถูกใจกว า แมสินคานั้นๆ จะมีราคาสูงกวา ลู ก ค า กลุ ม นี้ มี ค วามต อ งการ สินคาดี มีคุณภาพ ทันสมัย นํา แฟชั่ น และเหมาะสมกั บ ราคา โดยสิ น ค า นั้ น ๆ ต อ งบ ง บอกถึ ง รสนิยมและฐานะทางสังคมของ กลุมลูกคาได

38

กลุ ม ลู ก ค า แฟชั่ น แบรนด (Fashion Brand) เปนกลุม ลู ก ค า ที่ ชื่ น ชอบสิ น ค า แฟชั่ น มี รายไดสูงถึงปานกลาง มีอํานาจ ปานกลางถึงสูง ตองการสินคาดี มีคุณภาพ มีเอกลักษณและบง บอกถึ ง ไลฟ ส ไตล ข องตนเอง ชอบสิ น ค า เรี ย บหรู ด ู ด ี แ ละมี รสนิยม


ก ลุ ม ลู ก ค า ส ต รี ท แ ฟ ชั่ น กลุ ม นั ก ท อ งเที่ ย ว (Tourist) (Street Fashion) เปนกลุม คื อ ก ลุ ม ลู ก ค า ที่ เ ป น ลู ก ค า ที่ ชื่ น ช อ บ แ ล ะ ใ ห นั ก ท อ งเที่ ย วทั้ ง ชาวไทยและ ความสํ า คั ญ กั บ สิ น ค า แฟชั่ น ชาวต า งชาติ โดยส ว นใหญ มั ก ม า ก ที่ สุ ด ส น ใ จ แ ล ะ เ ส า ะ เปนการเลือกซื้อสินคา เพื่อเปน แสวงหาสินคาใหมที่กําลังเปนที่ ของที่ระลึกหรือของฝากที่แสดง นิ ย ม ติ ด ตามข า วสารแฟชั่ น ถึงอัตลักษณและเอกลักษณของ และมี ค วามถี่ ใ นการซื้ อ สิ น ค า ประเทศหรื อ สถานที่ ที่ เ ดิ น ทาง แฟชั่นสูงกวากลุมอื่นๆ ซึ่งกลุม มาท อ งเที่ ย ว การดี ไ ซน เ น น ลู ก ค า ส ว น ใ ห ญ ข อ ง สิ น ค า ความสวยงามและมีอัตลักษณที่ ป ร ะ เ ภ ท นี้ ไ ด แ ก นั ก เ รี ย น ผสมผสานระหว า งแฟชั่ น กั บ นักศึกษา และกลุมวัยทํางานที่ ความเปนไทย โดยสวนใหญจะ เป น สิ น ค า ที่ จํ า หน า ยในแหล ง สินคาแฟชั่นประเภทนี้จะมีราคา ทองเที่ยวที่สาํ คัญๆ ไมสูงมากนัก แตกลุมลูกคาจะมี ความถี่ในการซื้อสูงตามกระแส นิยม

39

1 ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา


ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

กลุมตลาดเฉพาะกลุม (Niche Market) เ ป น ก ลุ ม ที่ มี ค ว า ม ประพฤติ รสนิ ย ม ความชอบ ไลฟสไตลหรือเปาหมายการใช สอยสินคาอยางชัดเจน เชน › ก ลุ ม ค น รั ก ไ อ ที ใ ห ความสําคัญกับกระเปาถนอม และป อ งกั น ความเสี ย หาย ใหกับอุปกรณไอที › ก ลุ ม ค น ง า น ฝ มื อ ใ ห ความสําคัญกระเปาที่ทําจาก งาน Handmade ประเภท ต า งๆ เช น กระเป า ถั ก หรื อ กระเปาผาตอ เปนตน › กลุ ม คนรั ก สิ่ ง แวดล อ ม ให ความสํ า คั ญ กั บ กระเป า และ รองเทาที่ชวยลดปญหาใหกับ สิ่ ง แวดล อ ม เช น กระเป า ผ า หรื อ กระเป า ที่ ผ ลิ ต จากวั ส ดุ รีไซเคิล เปนตน › ก ลุ ม ค น รั ก สั ต ว เ ลี้ ย ง ตองการกระเปาที่สามารถพา สัตวเลี้ยงไปดวยไดทุกที่ โดย ที่สัตวเลี้ยงไมอึดอัด เปนตน

กลุ ม รั ก สุ ข ภาพ ต อ งการ รองเทาที่ชวยดูแลสุขภาพเทา รองรับน้ําหนักและสรีระของผู สวมใสไดดี

2. คุ ณ ค า ที่ นํ า เ สน อ ( Value Propositions) สิ น ค า ราคาที่ เ หมาะสมกั บ รู ป แบบและคุ ณ ภาพของ กระเป า และรองเท า ไม ตั้ ง ราคาสูงเกินไปหรือตั้งราคาที่เอา เปรียบผูบริโภคมากเกินไป สิ น ค า ดี มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ มี เอกลั ก ษณ เ ฉพาะแบรนด ที่ บงบอกถึงตัวตนของกลุมลูกคา การรั บ ประกั น สิ น ค า และ ความพึง พอใจ จากการสรา ง ความเชื่อมั่นในการใชสินคาวา ลู ก ค า จะได ใ ช สิ น ค า ดี มี ก าร รั บ ประกั น คุ ณ ภาพของสิ น ค า หรือรับเปลี่ยนสินคาใหใหมหาก พบข อ ผิ ด พลาดจากการผลิ ต หรือคุณภาพของวัสดุ

40


การให บ ริ ก าร ให คํ า แนะนํ า และใหความชวยเหลือลูกคา เพื่อใหลูกคาไดรับสินคาที่ดีที่สุด ใ ห คํ า แ น ะ นํ า แ ล ะ คั ด เ ลื อ ก กระเปาและรองเทาที่เหมาะสม กับไลฟสไตลและการใชงานของ ลูกคาอยางจริงใจ

เ ว็ บ ไ ซ ต ห รื อ สื่ อ สั ง ค ม ออนไลน ซึ่ ง เป น สื่ อ ที่ เ ข า ถึ ง กลุ ม ลู ก ค า เป า หมายได อ ย า ง รวดเร็วและสามารถเขาถึงไดใน วงกวางและมีตนทุนต่ํา เครื อ ข า ยธุ ร กิ จ ในรู ป แบบ การขายฝาก เปนการวางขาย สิ น ค า ผ า นร า นค า ที่ จํ า หน า ย สิ น ค า แฟชั่ น ในกลุ ม เป า หมาย เดี ย วกั น เช น การฝากขาย กระเป า และรองเท า แฟชั่ น กั บ รา นขายเสื้ อ ผ า แฟชั่น ของกลุ ม วัยรุน เปนตน คู ค า ทางธุ ร กิ จ เช น การวาง สิ น ค า จํ า ห น า ย ใ น ห า ง สรรพสินคาหรือตัวแทนจําหนาย

3. ชองทาง (Channels) แ น ว ท า ง แ ล ะ วิ ธี ก า ร ที่ ผูประกอบการใชในการสื่อสารและ สร า งความเข า ใจถึ ง คุ ณ ค า ของ ผลิตภัณฑ/บริการที่ผูประกอบการ ตองการนําเสนอใหกับลูกคา โดย อาศัยชองทางตางๆ ดังนี้ ร า นค า /หน า ร า นของตนเอง ทํ า เลที่ ตั้ ง ร า นค า เป น ป จ จั ย สําคัญที่สงผลตอยอดขายและ รายไดของธุรกิจ ผูประกอบการ ควรเลื อ กทํ า เลที่ เ ป น แหล ง ชอปปงของกลุมลูกคาเปาหมาย เ ช น เ อ เ ชี ย ทิ ค ต ล า ด นั ด จตุจักร หรือแหลงชอปปงมอลล เปนตน

4 . ค ว า ม สั ม พั น ธ กั บ ลู ก ค า (Customer Relationships) การสรางสายสัมพันธกับลูกคา ทํา ให ลู ก ค า รู สึ ก พึ ง พอใจกั บ สิ น ค า และบริ ก ารทั้ ง ก อ นและหลั ง การ ขาย เพื่อกอใหเกิดการซื้อซ้ํา หรือมี

41

1 ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา


ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

ความจงรั ก ภั ก ดี ต อ แบรนด ข อง สินคานั่นเอง การสรางสายสัมพันธ อั น ดี กั บ ลู ก ค า ผู ป ระกอบการ สามารถเลื อ กใช ช อ งทางการ สื่อสารไดหลากหลาย ทั้งนี้ ขึ้นอยู กั บ รู ป แบบการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของ ผูประกอบการ เชน การอํ า นวยความสะดวกใน ก า ร เ ลื อ ก ซื้ อ สิ น ค า ก า ร ให บ ริ ก ารแนะนํ า สิ น ค า และ รู ป แบบกระเป า และรองเท า ที่ เหมาะสมกับไลฟสไตลและการ ใช ง านของลู ก ค า ผ า นช อ งทาง ต า งๆ เช น ให คํ า แนะนํ า ตั ว ต อ ตั ว ที่ ร า นค า /หน า ร า น หรื อ ให คําแนะนําผานสื่อสังคมออนไลน ประเภทตางๆ เปนตน การสรางความรูสึกปลอดภัย ให กั บ ลู ก ค า จากการสร า ง ความเชื่อมั่นในการใชสินคาวา ลูกคาจะไดใชสินคาดี มีคุณภาพ และเหมาะสมกับราคา เชน การ รั บ ประกั น การเปลี่ ย นอะไหล ที่ ชํารุดเสียหายภายในระยะเวลา

ที่กําหนด (3-5 ป หรือตลอดอายุ การใช ง าน) การให บ ริ ก าร เปลี่ ย นกระเป า ใบใหม ใ ห เมื่ อ พบคุณสมบัติบางประการที่ไ ม เป น ไปตามคํ า ชี้ แ จงก อ นขาย เ ช น ก ร ะ เ ป า เ ค ลื อ บ น้ํ า ย า ป อ งกั น น้ํ า ได หากลู ก ค า ซื้ อ นํ า ไ ป ใ ช แ ล ว พ บ ว า เ กิ ด ขอผิดพลาดกระเปาใบดังกลาว เลอะเครื่องดื่มเปนรอย เช็ดหรือ ซั ก ล า งไม อ อก ผู ป ระกอบการ จําเปนตองเปลี่ยนสินคาใบใหม ใหลูกคาทันที การบริ ก ารหลัง การขาย การ ใหบริการแนะนําการใชและการ เก็บรักษาสินคาที่เหมาะสม เพื่อ ยื ด อายุ ก ารใช ง าน หรื อ เพื่ อ รักษาสภาพกระเปาและรองเทา ให มี คุ ณ ลั ก ษณะหรื อ คงสภาพ เดิ ม มากที่ สุ ด เช น การเก็ บ กระเปาและรองเทาควรเก็บใน ถุงผาแลววางในลักษณะตั้ง เพื่อ รั ก ษารู ป ทรงของกระเป า หรื อ ควรใชน้ํายาประเภทไหนเช็ดทํา

42


ออกแบบ ทดลองทํ า ต น แบบ เก็บสต็อกสินคาวัสดุอุปกรณ ใช พื้นที่บรรจุสินคาเตรียมจัดสงแก ลู ก ค า ผู ป ระกอบการสามารถ เลื อ กสถานที่ ตั้ ง โดยคํ า นึ ง ถึ ง ข น า ด ข อ ง ธุ ร กิ จ แ ล ะ ก ลุ ม เ ป า ห ม า ย ซึ่ ง อั ต ร า คาใชจายขึ้นอยูกับขนาด ทําเล ที่ตั้ง และเงื่อนไขการเชาสถานที่ โดยเริ่มตนธุรกิจขนาดเล็ก-กลาง อาจมี พื้ น ฐานสํ า หรั บ สถาน 5. รายได (Revenue Streams) ประกอบการประมาณ 30-60 รายไดห ลัก ของผูป ระกอบการใน ตารางเมตร ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา คือ รายได จ ากการจํ า หน า ยกระเป า อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ได แ ก อุ ป กรณ ที่ จํ า เป น สํ า หรั บ การ และรองเทา ออกแบบ เช น อุ ป กรณ เ ครื่ อ ง เขียน ตัด ตอ เย็บ คอมพิวเตอร 6 . ท รั พ ย า ก ร ห ลั ก ( Key ปริ้นเตอร โตะเขียนแบบ ปากกา Resources) สถานที่ ตั้ ง หรื อ หน า ร า น แม เ ขี ย น แ บ บ ดิ จิ ต อ ล จั ก ร ผู ป ระกอบการจะเลื อ กขาย อุตสาหกรรมสําหรับทดลองเย็บ สิ น ค า ออนไลน แ ละมองว า ไม สินคา ตนแบบ ตัวอยางวัสดุใน จํ า เป น ต อ งมี ห น า ร า น แต ก็ การผลิตสินคาเปนตน จํ า เป น จะต อ งมี พื้ น ที่ ใ นการ วัสดุและวัตถุดิบ มี หลากหลาย ชนิดในกรุงเทพมหานคร แหลงที่ ทํางานที่เปนสั ดสวนเพื่อ ความ สามารถหาซื้อแผนหหนันังปประเภท ระเภท สะดวก เชน ใชเปนสตูดิโอการ 43

1 ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

ความสะอาด หรือใหบริการซัก และทํ า ความสะอาดกระเป า และรองเทาฟรี เปนตน การสรางชุมชนหรือเครือขาย ลูก ค า เพื่อ สร า งความสัม พั น ธ ระหว า งลู ก ค า และลู ก ค า และ ลู ก ค า กั บ เจ า ของกิ จ การ ผ า น กิจกรรมของรานคา เว็บไซตหรือ สื่อสังคมออนไลนประเภทตางๆ


ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

ตางๆ เครื่องมือการตัดเย็บ และ อุ ป กรณ เ ครื่ อ งหนั ง อาทิ ย า น ถนนเจริญรัถ วงเวียนใหญและ ถนนเสือปา เปนตน พนักงาน/แรงงาน แบงออกเปน 2 สวน คือ › พนักงานประจําสํานักงาน ทํา หน า ที่ เ ป น ผู ช ว ยในการดู แ ล หน า ร า น หี บ ห อ พั ส ดุ จั ด ส ง ของ จดบั น ทึ ก บั ญ ชี ฯลฯ เพื่ อ ใหเจ า ของกิจการมี เ วลา ในการดูแลการออกแบบดวย กรณี นี้ ห ากมี หุ น ส ว นช ว ย ทํ า ง า น ห รื อ มี ส ม า ชิ ก ใ น ครอบครัวชวยสนับสนุนก็จะ ประหยัดคาจางในสวนนี้ไป › พ นั ก ง า น จ า ง เ ห ม า (Outsource) อาทิ ชางฝมือ ไมวาจะเปนชางทําแพทเทิรน ช า งตั ด เย็ บ ซึ่ ง ควรใช ร ะบบ จ า งเหมา เพื่ อ ไม ใ ห กิ จ การ ต อ งรั บ ภาระต น ทุ น ค า แรง มากเกินไป การจางเหมาทํา

ใหสามารถคํานวณตนทุนตอ ชิ้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ ไ ด ง า ย แต มี ความเสี่ ย งในเรื่ อ งคุ ณ ภาพ และระยะเวลาการส ง มอบที่ เ จ า ข อ ง กิ จ ก า ร ต อ ง ควบคุมดูแล

44


ในระยะแรกสามารถใชระบบจาง ผลิตได แตตองทดลองติดตอผูรับ จางผลิตหลายรายเพื่อหารายทีค่ ยุ กั น เข า ใจ หากมี ก ารขยายธุ ร กิ จ ภายหลังตองคํานึงถึงที่ตั้งโรงงาน ที่ ใ กล แ กล ง วั ต ถุ ดิ บ ใกล แ หล ง ชางฝมือ หรือใกลตลาดเพื่อความ สะดวกในการขนสง

1) การจัด ตั้ ง สํานั ก งานและ จัดซื้ออุปกรณ

1

2) การหาที่ตั้งโรงงานผลิต เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ สิ น ค า และ ตํ า แ ห น ง ที่ ตั้ ง ร า น ค า ทั้ ง นี้ ผู ป ระกอบการอาจเลื อ กใช สื่ อ สั ง ค ม อ อ น ไ ล น ซึ่ ง ไ ม เ สี ย ค า ใช จ า ยและผู ป ระกอบการ สามารถทํ า ด ว ยตั ว เองได ง า ย แ ท น ก า ร ทํ า เ ว็ บ ไ ซ ต ซึ่ ง มี คาใชจายประจําปได

กิ จ ก ร ร ม ก า ร ล ง ทุ น

3) การจัดทําเว็บไซต

45

ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

เพื่ อ ใช เ ป น สถานที่ ทํ า งานออกแบบ และติ ด ต อ ลู ก ค า กรณี ไ ม มี ห น า ร า น อาจจัดสรรพื้นที่บางสวนของบานใช เป น สํ า นั ก งานได เ ช น กั น มี ก ารซื้ อ เครื่องจักรอุปกรณทดลองตัดเย็บ และ อุปกรณสํานักงาน เชน คอมพิวเตอร ปากกาดิ จิตอลเขี ยนแบบ ปริ้น เตอร และเครื่องเย็บสินคา


เปนจุดเริ่มตนในการสรางตัวตนใหกับแบรนด งานออกแบบที่สามารถ ขายไดตองเนนนําเสนอจุดเดนหรืออัตลักษณของตนเอง การออกแบบที่ ดีผูประกอบการตองเขาใจคุณ สมบัติข องวัสดุที่ นํ า มาใชในการผลิ ต สิ น ค า ด ว ย และควรมี ก ารทดลองตลาดก อ นขายจริ ง เช น สอบถาม ความเห็นลูกคาเดิม /คนรอบขาง เพื่อใหมั่นใจวาการออกแบบในคอล เลคชั่ น นั้ น ๆ ได ส ง มอบคุ ณ ค า ที่ ต รงใจกลุ ม ตลาดเป า หมาย ผูประกอบการสามารถทําเอง หรืออาศัยหุ นสวนที่ มีความรูดานการ ออกแบบ

ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

ผู ป ระกอบการควรติ ด ต อ หาวั ต ถุ ดิ บ เองใน ระยะแรก เพื่ อ คัด กรองคุณ ภาพวัต ถุดิ บที่ ไ ด มาตรฐานจากซัพพลายเออรแหลงตางๆ และมี การตรวจสอบสต็อควัตถุดิบเปนประจํา เมื่อ มั่นใจแลวจึงสามารถใหซัพพลายเออรเปนผูสง วัตถุดิบโดยตรงไปที่โรงงาน หรือใหพนักงาน เปนผูขนสง แตไมควรวางใจใหโรงงานเปนผู จัดหาวัตถุดิบใหเพราะอาจเกิดปญหาสินคา ไม ไ ด ต ามสเปค หรื อ การลอกแบบสิ น ค า ไป ผลิตใหผปู ระกอบการรายอื่นๆ ได

1) การออกแบบ

2) การจัดหาและ ขนสงวัตถุดิบ

กิ จ ก ร ร ม ด า น ก า ร ผ ลิ ต

46


3) การขึ้นแบบ การตัดเย็บ 4) การตรวจสอบ คุณภาพ

1

ควรมีการตรวจสอบคุณภาพทุกขั้นตอน การผลิตกอนออกมาเปนสินคาสําเร็จรูป เพื่อปองกันไมใหมีการผลิตผิดสเปค ทั้งนี้ การตรวจสอบระหวางขั้น ตอนการผลิ ต ไ ม ใ ช เ รื่ อ ง ง า ย ใ น ก ร ณี จ า ง ผ ลิ ต ผูประกอบการควรตกลงกับผูรับจางผลิต ตั้งแตตน หรือหาผูรับจางผลิตที่ยืดหยุน ในการทํางาน

5) การจัดหาบรรจุภัณฑ

47

สามารถหาแบบบรรจุภัณฑ ที่ มี ข ายอยู แ ล ว หรื อ จ า ง ผ ลิ ต ใ ห ม ต า ม ที่ ผูประกอบการออกแบบเอง ก็ได

ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

สามารถจางเหมาผลิตได โดยทั่วไปผูประกอบการจะมีตนแบบราง และแบบจําลองสินคา (Mock up) ซึ่งอาจทําจากกระดาษ เพื่อสื่อสาร ทําความเขาใจกับชางทําแพทเทิรนและชางตัดเย็บ ทั้งนี้การแปลง แบบไปสูสินคาจริงตองอาศัยชางแพทเทิรนที่ชํานาญ โรงงานจะผลิต สิ น ค า ตั ว อย า งจากวั ส ดุ จ ริ ง ให ก อ น 1 ชิ้ น ตามแพทเทิ ร น ซึ่ ง ผูประกอบการยังสามารถแกสินคาตัวอยางได จนมั่นใจแลวจึงสั่งผลิต ในการผลิตจะตองตกลงรายละเอียดการผลิต สเปคสินคากับโรงงาน ใหชัดเจนเปนลายลักษณอักษรและภาพประกอบ (ถามี ) หากเกิด กรณีผลิตไมตรงตามสเปค สามารถเรียกรองใหโรงงานรับผิดชอบได


ผูประกอบการควรตัดสินใจอยาง ระมัดระวัง การตั้งชื่อแบรนดควร เป น ชื่ อ ที่ ช ว ยสร า งภาพลั ก ษณ ของสินคา เรียกงาย สวนการตั้ง ราคาต อ งสอดคล อ งกั บ ตลาด เปาหมายและคุณภาพของสินคา และบริการ

ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

ใชการขายผานออนไลนและระบบฝาก ขายก อ นในระยะแรก หากตั ด สิ น ใจมี หนารานของตัวเอง ควรคํานึงถึงปริมาณ การขายที่นาจะเกิดขึ้น กับการลงทุนตก แตงหนาราน และคาใชจายประจําที่จะ เกิดขึ้นในแตละเดือน เชน คาเชา คาน้ํา คาไฟ หากไมมีหนารานอาจเปลี่ยนเปน การฝากขายซึ่ ง จะเสี ย ค า คอมมิ ช ชั่ น ประมาณรอยละ 3-5 ของยอดขาย

1) ก า ร ส ร า ง แ บ ร น ด และการตั้งราคา 2) การหาทีต่ ั้งหนาราน และตกแตงสถานที่

กิ จ ก ร ร ม ด า น ก า ร ต ล า ด แ ล ะ แ บ ร น ด

กรณีการขายออนไลน ตองหาชองทางการ ชํ า ระเงิ น ที่ ลู ก ค า สามารถไว ใ จได เช น Payment Gateway, PayPal, Internet Banking หากเป น การฝากขายต อ ง คํานึงถึงระยะเวลาที่จะไดเงินสดกลับเขา มาในกิจการดวย 3) ชองทางการชําระเงิน

4) การตลาดและ การขาย

48

การมี ช อ งทางการขายแบบ ออนไลน ผู ป ระกอบการต อ ง พรอมตอบสนองขอซักถามของ ลู ก ค า ด ว ยความรวดเร็ ว และมี หลายชองทางในการสื่อสาร การ จั ด แสดงสิ น ค า กิ จ กรรมพบปะ ลูกคาทําใหลูกคามีโอกาสไดเห็น สินคาจริงและตัดสินใจซื้องายขึ้น


เป น การวางแผนว า จะผลิ ต สิ น ค า ประเภทไหนบ า ง จํ า นวน เทาไหร และมีการคํานวณวัตถุดิบที่ใช เพื่อใหสามารถจัดซื้อได อยางพอดีกับการผลิต นอกจากนั้นยังเปนการวางแผนการผลิต วาจะเริ่มสั่งซื้อวัตถุดิบและผลิตเมื่อไหร จึงจะทันกับกําหนดการ นํ า สิ น ค า ออกสู ต ลาด เป น การคิ ด ย อ นจากปลายทางที่ สินคาออกสูต ลาด ไปถึงการผลิตนั้นเอง

มีการเก็บขอมูลสถิติสินคาที่ ขายดีและ สินคาที่อยูในสต็อค รวมถึงวัตถุดิบ และ สินคาระหวางผลิต เพื่อใหผูประกอบการ สามารถคํ า นวณการผลิ ต และลด ปริมาณสต็อคสินคาได

2) การบริหารหนวยสินคาและ การจัดการสินคาคงคลัง

โดยทั่ ว ไปมั ก ใช บ ริ ก ารไปรษณี ย ไทยในการขนส ง กรณี ส ง สิ น ค า จํานวนมาก สามารถรอ งขอใหรถ ขนพั ส ดุ ม ารั บ สิ น ค า ที่ ร า นได แ ละ ผู ป ระกอบการตามไปชํ า ระเงิ น สํานักงานไปรษณียนั้นๆ

กิ จ ก ร ร ม ด า น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร

3) การขนสงสินคา สามารถให พ นั ก งานช ว ยลง บันทึกรายการสินคาที่ขายในแต ละวันได โดยเจาของกิจการตอง 4) การทําบัญชีและ ตรวจสอบเสมอวาควบคุมรายรับ ยืน่ ภาษี และรายจาย

49

1 ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1) การวางแผนการผลิตและ การบริหารการสั่งซื้อและ สํารองวัตถุดิบ


ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

กระเป า แฟชั่ น กั บ ผ า ทอมื อ ธุ ร กิ จ กระเป า ของที่ ร ะลึ ก กั บ ธุรกิจทองเที่ยวโรงแรมและสปา เปนตน

8.คู ค า หลั ก ทางธุ ร กิ จ (Key Partnerships) พันธมิตรในหวงโซอุปทาน เชน รานจําหนายวัตถุดิบและ วัสดุอุปกรณ บริษัทขนสง นัก ทํ า แ พ ท เ ทิ ร น ช า ง ทํ า หุ น ต น แบบ ช า งตั ด เย็ บ ตกแต ง โรงงานฟอกย อ มพิ ม พ ล าย หนัง โรงงานรับจางผลิต และ โรงงานบรรจุภัณฑ พันธมิตรที่ไมใชคูแขง แตมี วิธีคิดหรือขายสินคาใกลเคียง กัน เชน รานขายเสื้อผา รา น รองเท า ร า นเครื่ อ งประดั บ แฟชั่ น ร า นขายของที่ ร ะลึ ก หองเสื้อ และรานเครื่องสําอาง เปนตน คู แ ข ง ที่ ใ ช ก ลยุ ท ธ ร ว มกั น บ อ ยๆ เช น การออกร า น ร ว มกั บ แบรนด ก ระเป า และ ร อ ง เ ท า อื่ น ๆ ก า ร อ อ ก Roadshow ตามสถานที่ตางๆ พั น ธมิ ต รที่ ร วมกั น ทํ า ให เกิดธุรกิจใหม เชน ธุรกิจ

9 . โ ค ร ง ส ร า ง ต น ทุ น ( Cost Structure)

50


ตั ว อ ย า ง โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ล ง ทุ น ธุ ร กิ จ แ บ ร น ด ก ร ะ เ ป า ร อ ง เ ท า

(เงินลงทุนเริม่ ตนประมาณ 240,000 – 500,000 บาท)*

(2) เงินทุนหมุนเวียน ตนทุนคงที่

ตนทุนผันแปร

คคาออกแบบและ ตตกแตงสถานที่

เงินเดือน พนักงานประจํา พน

คาวัตถุดิบและ วัสดุสิ้นเปลือง

คาอุปกรณ สํานักงาน

คาเชาสถานที่

คาจางผลิตสินคา

คาจัดทําเว็บไซต

คคาอินเทอรเน็ต

คาบรรจุภัณฑ

1

คาน้ํามันคาขนสง

คาใชจาย การตลาดและ ประชาสัมพันธ

หมายเหตุ: 1) *ประมาณการเงินลงทุนเริ่มตนจากธุรกิจขนาดเล็กหรือธุรกิจเจาของคนเดียว แบบมีหนาราน ณ ป 2556 2) องคประกอบโครงสรางการลงทุนจะเปลี่ยนไปตามขนาดของธุรกิจและหลักการดําเนินธุรกิจของผูประกอบการ

51

ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

(1) ลงทุนในสินทรัพย


ความยากของการทําธุรกิจ คือ การลงมือ ทํ า แ ล ะ ส ร า ง แ บ ร น ด ใ ห เ ป น ที่ รู จั ก โดยเฉพาะสิ น ค า ที่ เ ป น แบรนด น อ งใหม จะตองพัฒนาผลิตภัณฑที่สามารถตอบรับ ความตองการของผูบริโภค มีความแปลก ใหม ใช ป ระโยชน ไ ด จ ริ ง รวมถึ ง มี ต ลาด เปาหมายรองรับและอยูรอดได จึงจะถือวา ประสบความสําเร็จอยางแทจริง - คณิตา คณิยมเวคิน -

ขอบคุณภาพจาก คุณคณิตา คณิยมเวคิน Kanita


ตั ว อ ย า ง ก า ร เ ริ่ ม ต น ธุ ร กิ จ ใ ห ม

ก ร ะ เ ป า แ ล ะ ร อ ง เ ท า เ ช น วั ต ถุ ดิ บ สี ข น า ด แ ล ะ ส ว นประกอบต า งๆ เช น ซิ ป ตะขอและกระดุม เปนตน ติ ด ต อ /หาแหล ง ผลิ ต กระเป า และรองเท า ตามรู ป แบบที่ ไ ด กําหนดไว ผลิ ต สิ น ค า ต น แบบ/สิ น ค า ตัวอยาง เพื่อนําสินคานั้นๆ มา ขายผ า นเว็ บ ไซต ห รื อ สื่ อ สั ง คม ออนไลน

3.การตลาด โฆษณาและ ประชาสัมพันธ โดยผานเครือขาย อินเตอรเน็ต ในรูปแบบเว็บไซตของ ตนเอง หรื อ ขายสิ น ค า ผ า นสื่ อ 2.การบริ ห ารจั ด การ/การผลิ ต สังคมออนไลน เนื่องจากเปนสื่อที่ มี ต น ทุ น ต่ํ า และสามารถเข า ถึ ง สินคา ออกแบบกระเปาและรองเทา กลุมเปาหมายไดอยางรวดเร็ว และ ที่มีเอกลักษณและดีไซนเปน เปนวงกวาง รวมถึงทําการโฆษณา ของตนเอง หรื อ สิ น ค า ที่ เ ป น ผ า นสื่ อ อิ น เทอร เ น็ ต ในรู ป แบบ คอลเล็ ค ชั่ น เดี ย วกั น พร อ มทั้ ง ตางๆ เชน การประกาศซื้อ -ขายฟรี (E-Classified) จัดวางองคประกอบตางๆ ของ 53

1 ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

เริ่ ม ต น ธุ ร กิ จ ในลั ก ษณะการ Pre-Order กระเปาและรองเทา แ บ ร น ด ต น เ อ ง ก ล า ว คื อ ผูประกอบการเปนผูออกแบบดีไซน และมีแบรนดเปนของตนเอง แตใน กระบวนการผลิตและขายกระเปา รองเท า จะเป น การรอคํ า สั่ ง ซื้ อ สิ น ค า เมื่ อ ได รั บ คํ า สั่ ง ซื้ อ แล ว จึ ง ดําเนินการผลิตเพื่อสงมอบสินคา ใหกับลูกคา ธุรกิจลักษณะนี้จะไม มีหนารานหรือรานคา (Shop) ขาย ก ร ะ เ ป า แ ล ะ ร อ ง เ ท า โ ด ย มี กระบวนการทําธุรกิจ ดังนี้ 1.การตั้งชื่อแบรนดกระเปาและ รองเทา


ก า ร ส ร า ง มู ล ค า เ พิ่ ม ใ ห กั บ ธุ ร กิ จ

ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

การสร า งมู ล ค า เพิ่ ม ให กั บ ธุ ร กิ จ แบรนดกระเปา รองเทา สามารถ ทํ า ได ห ลายวิ ธี แ ละมี รู ป แบบที่ แตกต า งกั น ไปตามแนวคิ ด ของ ผู ป ระกอบการแต ล ะยุ ค สมั ย ใน คู มื อ ฉบั บ นี้ จ ะขอนํ า เสนอวิ ธี ก าร สรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคา/บริการ ดังนี้ 1 . ก า ร ส ร า ง อั ต ลั ก ษ ณ ข อ ง แบรนด หาจุดการออกแบบที่มี อัตลักษณ ของตั ว เอง เช น กระเป า และ รองเทาระดับไฮเอนด เรียบหรู และ รั ก ษาสุ ข ภาพ อาทิ สุ ข ภาพไหล และเทา เปนตน

ชวยเพิ่มมูลคาใหกับสินคาได เชน การมี Workshop สําหรับใหลูกคา ตกแตงสินคาดวยตัวเอง การสลัก ชื่ อ หรื อ โลโก บ ริ ษั ท ลงในสิ น ค า เปนตน 3.การตอยอดบริการสู B2B ธุรกิจแฟชั่นไมไดเปนเพียงการขาย สิ น ค า ให กั บ ผู บ ริ โ ภคปลายทาง เท า นั้ น ในห ว งโซ อุ ป ทานที่ ย าว เหยียดของอุตสาหกรรมแฟชั่น ยัง มี ง านบริ ก ารอี ก หลากหลายที่ ส า ม า ร ถ ต อ ย อ ด ใ ห กั บ ธุ ร กิ จ ปจจุบันได เชน การเปนที่ปรึกษา ในการตกแตง ราน การรับ จางทํ า แพทเทิ ร น การออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ ใ ห กั บ บริ ษั ท คู ค า ซึ่ ง ล ว น แล ว แต เ ป น งานระดั บ ธุ ร กิ จ ต อ ธุ ร กิจ ที่ ไ ม ต อ งการการลงทุ น มาก นัก

2.บูรณาการบริการเพิ่มมูลคา การเพิ่มงานบริการเขาไปในสินคา

54


ก า ร ข ย า ย ธุ ร กิ จ . . อี ก ร ะ ดั บ กั บ ก า ร พั ฒ น า ธุ ร กิ จ

55

1 ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

สนองความตองการของกลุมลูกคา ที่ ต อ งการกระเป า ที่ บ ง บอกถึ ง เอกลักษณของตนเอง หรือเรียกได ว า เป น “กระเป า รองเท า คอล เล็ ค ชั่ น ส ว นตั ว ” หรื อ มี เ พี ย ง ใบเดียวและคูเดียวในโลก ภายใต แบรนด สิ น ค า ของผู ป ระกอบการ เอง

ซื้อกิจการของบริษัทคูแขงที่ทํา ธุรกิจใกลเคียงกัน เพื่อเพิ่มกําลัง ผลิ ต ขยายตลาด และตั ด กํ า ลั ง คูแขงสําคัญออกไป และมีวิธีการ ขยายธุรกิจอยางชาๆ แตมั่นคงไปที ล ะ ขั้ น ที่ เ รี ย ก ว า Intensive Growth อยางไรก็ตาม ในธุรกิจ แ บ ร น ด ก ร ะ เ ป า แ ล ะ ร อ ง เ ท า ผู ป ระกอบการที่ ต อ งการขยาย ธุรกิจสามารถพัฒนาหรือขยายตัว ไปสูธุรกิจในอนาคตไดโดยพัฒนา ธุ ร กิ จ ไ ป สู “ ธุ ร กิ จ แ บ ร น ด ก ร ะ เ ป า แ ล ะ ร อ ง เ ท า ” ที่ ให บ ริ ก ารออกแบบและดี ไ ซน กระเป า และรองเท า เฉพาะ รายบุ ค คล ตามบุ ค ลิ ก ลั ก ษณะ หรือไลฟสไตลของลูกคา เพื่อตอบ


ป จ จั ย แ ห ง ค ว า ม สํา เ ร็ จ

ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

ป จ จั ย แห ง ความสํ า เร็ จ ในธุ ร กิ จ แ บ ร น ด ก ร ะ เ ป า ร อ ง เ ท า ประกอบด ว ย 5 ป จ จั ย หลั ก ที่ สําคัญ ดังนี้

3.องคความรูดานการออกแบบ และผลิตสินคา ที่ไมใชเพียงการ สเก็ต รูป กลา วคื อ นัก ออกแบบที่ คิดจะผันตัวมาเปนผูประกอบการ ตองมีองคความรูดานเทรนดแฟชั่น 1.ความคิ ด สร า งสรรค ในการ สีสัน การออกแบบ เขาใจขอดีและ ออกแบบสร า งอั ต ลั ก ษณ ใ ห แ ก ข อ จํ า กั ด ของวั ส ดุ ป ระเภทต า งๆ ผลิตภัณฑ ชวยใหผลิตภัณฑมีจุด และกระบวนการผลิ ต ต า งๆ เช น ขายที่ชัดเจน ฟอกยอม พิมพลาย และขึ้นรูปตัด เย็บ เพื่อใหสามารถสื่อสารกับชาง 2.ความสามารถทางการตลาด ที่เขามาชวยในสวนงานตัดเย็บได ใ น ก า ร ส ร า ง Strategic Positioning ใหตรงตามเปาหมาย 4.การปรับตัวดานการออกแบบ การสรางตําแหนงทางการแขงขันที่ ให ทั น กั บ ตลาดสิ น ค า แฟชั่ น ชัดเจนแตกตางจากคูแขง ความถี่ อื่ น ๆ เ นื่ อ งจากกระเป า แ ล ะ และวิ ธี ก ารสื่อ สารให ลูก คา จดจํ า รองเทาแฟชั่นเปนสินคาที่ตองเขาคู ตัวตนของธุรกิจได นําไปสูธุรกิจที่ กั บ เสื้ อ ผ า เครื่ อ งแต ง กายและ เครื่องประดับที่มีความกลมกลืน ยั่งยืนในอนาคต

56


กัน ดั งนั้ น การปรับ ตัว ใหทั น ตาม ตลาดแฟชั่นอื่นๆ จึงมีความสําคัญ เพราะเป น สิ น ค า ที่ ส นั บ สนุ น กั น และกันใหเกิดยอดขายเพิ่มขึ้น 5.องค ค วามรู ด า นการบริ ห าร จั ด ก า ร แ ล ะ ก า ร ว า ง ร ะ บ บ Supply chain และ Outsourcing เฉพาะความสามารถในการ ออกแบบไมสามารถรับประกันได วาธุรกิจจะสามารถเติบโตตอไปได อยางยั่งยืน ความแปลกแหวกแนว อาจดึ ง ความสนใจของลู ก ค า เป า หมาย เป น การเป ด ทางธุ ร กิ จ แตการที่ธุรกิจจะอยูรอดขึ้นอยูกับ การบริ ห ารจั ด การ การวางแผน ออกแบบกระบวนการทางธุ ร กิ จ และการบริหารระบบซัพพลายเชน เป น การตั ด สิ น ใจของนั ก บริ ห าร และสงผลถึงตนทุนและกํา ไรของ ธุรกิจทั้งสิ้น

ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

57


ธุ ร กิ จ แฟชั่ น เป น ธุ ร กิ จ ที่ ห ยุ ด นิ่ ง ไมไ ด ต อ งรู จั กบริ ห ารคา ใช จ า ย ต น ทุ น แต ไ ม ค วรหยุ ด กิ จ กรรม ตางๆ ของแบรนด เพราะจะทําให กระแสนิยมหายไป

-พลพัฒน อัศวประภา เจาของแบรนดอาซาวา (ASAVA) และ เอเอสวี (ASV) -


ขอบคุณภาพจาก Ruchitta


ข อ ท า ท า ย

ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

เกิ ด ขึ้ น การสร า งความผู ก พั น กั บ กลุมเปาหมายเพื่อรักษาฐานลูกคา ไวและการพัฒนาที่ไมหยุดนิ่ง

1.การตีโจทยตัวเองไมแตก เกิด จากการที่ผูประกอบการตีโจทยใน เรื่อง Strategic Positioning ของ ตั ว เองไม แ ตก ทํ า ธุ ร กิ จ โดยมอง ศักยภาพของตนเองดานเดียวโดย ไมไดมองความตองการของตลาด ควบคูไปดวย ทําใหเกิดภาวะ “คิด ได ผลิตได ขายไมได”

3.การขาดแคลนชางฝมือ เนื่อง ด ว ย เ ป น ธุ ร กิ จ ที่ พึ่ ง พ า ร ะ บ บ Outsource ในขณะที่ชางฝมืองาน ตัดเย็บเครื่องหนังที่ยอมรับทํางาน ขนาดเล็ ก หายากขึ้ น ดั ง นั้ น การ 2.การถูกลอกเลียนแบบ การถูก เข า ถึ ง กลุ ม ชา งฝ มื อจึ ง ต อ งอาศั ย ลอกเลี ย นแบบตั ว สิ น ค า หรื อ การเข า ไปพู ด คุ ย ค น หาในย า นที่ รู ป แ บ บ ก า ร บ ริ ก า ร เ ป น ก า ร ขายวัสดุเครื่องหนังโดยเฉพาะ ลอกเลียนแบบความคิดสรางสรรค ที่ ผู ป ระกอบการธุ ร กิ จ สร า งสรรค 4.การควบคุมคุณภาพการผลิต สวนใหญไดรับผลกระทบ กับการ เนื่องดวยวัตถุดิบที่ใชในการผลิ ต ขายตัดราคา และภาพลักษณของ กระเปาและรองเทาบางประเภทมี แบรนด ไ ด รั บ ผลกระทบ สิ่ ง ที่ ต น ทุ น สู ง เสี ย หายง า ย ความ ผู ป ระกอบการควรทํ า คื อ การ ผิด พลาดเพี ย งเล็ ก น อ ย เช น เก็ บ สรางอัตลักษณของแบรนดให ตะเข็บไมเรียบ ก็อาจเปนสาเหตุให

60


เพื่อกําหนดปริมาณการผลิตไมให ผลิตมากเกินไปและลดการสต็อก สินคา การวางแผนการผลิตจะชวย ธุรกิจประหยัดตนทุนในการสํารอง วัตถุดิบในการผลิตดวย 6 . ก า ร ข า ด แ ค ล น เ งิ น ทุ น เนื่องจากสินคาแฟชั่นเปนสินคาที่ มี อ ายุ สั้ น และจํ า เป น ต อ งหมุ น สิ น ค า ให ไ ว ธรรมชาติ ข องธุ ร กิ จ แฟชั่นจึงเสี่ยงตอการทุนจมเพราะ ขายสินคาไดชา การทําธุรกิจตองมี การวางแผนหาแหลงเงินทุนสํารอง และกั น เงิ น สํ า รองบางส ว นเผื่ อ กรณี ฉุ ก เฉิ น นอกจากนี้ การเป น ผูประกอบการรายยอยเงินทุนนอย หลั ก ทรั พ ย ค้ํ า ประกั น น อ ยทํ า ให เปนอุปสรรคตอการขอสินเชื่อ

5.การวางแผนการผลิ ต และ บริหารสินคาคงคลัง เนื่องจาก กระเป า และรองเท า เป น สิ น ค า แฟชั่นที่ตองมีการหมุนเวียนสินคา รวดเร็ว สินคาที่ตั้งโชวนานเกินไป อาจมี ค วามเสี่ ย งที่ สิ น ค า จะขาย ไมได และมีโอกาสเสียหายระหวาง เก็ บ รั ก ษา ธุ ร กิ จ จึ ง ต อ งมี ก าร ประเมินการหมุนเวียนของสินคา

61

1 ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

สินคามีตําหนิ ขายไมได และหาก เป น การ Outsource การเข า ควบคุมในกระบวนการตัดเย็บของ โรงงานรั บ จ า งผลิ ต ยิ่ ง ยุ ง ยาก เพราะโรงงานขนาดใหญ จ ะไม ยิ น ยอมให แ ทรกแซงระหว า ง ขั้นตอนการทํางาน วิธีการปองกัน คือ หาผูรั บจ างผลิต ที่มี กํา ลัง การ ผลิต ใกลเคีย งกับ ขนาดของธุ รกิ จ หรือเจรจาหาโรงงานที่ยืดหยุนสูง กําหนดรายละเอียดใหชัดเจนเปน ลายลั ก ษณ อั ก ษรรวมถึ ง กํ า หนด ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ก ร ณี สิ น ค า เสียหายลาชาไวดวย


กรณี ศึ ก ษา ธุ ร กิ จ แ บ ร น ด ก ร ะ เ ป า ร อ ง เ ท า ต น แ บ บ

ขอบคุณภาพจาก Dan Taylr ใน www.flickr.com


“สรางกิมมิคให สินคา”

Kanita

“สีสันสดใส ใชปุบ แลวเดนเลย”

Ruchitta


n Kanita “เริ่มจากสิ่งที่ชอบ ใหเวลากับสิ่งที่ทํา คิดอะไรออกตองรีบทํา ความสําเร็จไมไดมาจากสิ่งแรกที่เริ่มทํา”

ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

ก า วเล็ ก ๆ ที่ ยิ่ ง ใหญ สู ก ารเป น ผูประกอบการใหม "ความยากของการทํ า ธุ ร กิ จ คื อ การลงมื อ ทํา และสร า งแบรนดใ ห เปนที่รูจัก โดยเฉพาะสินคาที่เปน แบรนด น อ งใหม จะต อ งพั ฒ นา ผลิตภัณฑที่สามารถตอบรับความ ต อ งการของผู บ ริ โ ภค มี ค วาม แปลกใหม ใช ป ระโยชน ไ ด จ ริ ง รวมถึ ง มี ต ลาดเป า หมายรองรั บ และอยูรอดได จึงจะถือวาประสบ ความสําเร็จอยางแทจริง"

“ฉัตรจะเริ่มจากจุดเล็กๆ ไมไดใช เงิ น ลงทุ น มากนั ก เบื้ อ งต น แค ประมาณ 5,000 บาท เริ่มจากทํา เองทุกอยางคนเดียว ตั้งแตไปหา ซื้อวัสดุอุปกรณตางๆ ตัดเย็บหนัง ตอกหมุด ตัดกระดาษ ฯลฯ ทําให เราเรี ย นรู ขั้ น ตอนต า งๆ อย า ง ละเอี ย ด นอกจากนั้ น ยั ง ไปขาย ดว ยตั ว เองเพื่ อรั บฟ งข อ ติ ช มจาก ลู ก ค า นํ า ม า ป รั บ ป รุ ง แ ก ไ ข ตลอดเวลา ” คุ ณ ฉั ต ร คณิ ตา คณิ ยมเวคิ น เจ า ของแบรนด Kanita คุณฉัตร กลาววา หัวใจสําคัญ ของการออกแบบ คือ การสราง กิ ม มิ ค หรื อ ลู ก เล น ให สิ น ค า เพื่ อ ให ผู ใ ช เ กิ ด ความสนุ ก สนาน และจินตนาการกับผลิตภัณฑ

ขอบคุณภาพจาก คุณคณิตา คณิยมเวคิน Kanita

64


Kanita ยังไดรับรางวัล DE mark (Design 1 Excellence Award 2011) สาขาแฟชั่น เสนทางการ กอตั้งธุรกิจของเธอคือบทเรียนที่ดี ของคนรุนใหมที่ตองการมีแบรนด สินคาเปนของตัวเอง อุปสรรคมีไวขามผาน "ทุก ธุ รกิจลวนมีปญหารออยูแทบ ทั้ ง สิ้ น สิ่ ง สํ า คั ญ คื อ เ ร า จ ะ แกปญหาและผานมันไปไดอยางไร คนที่ สู แ ละแก ป ญ หาได จะยิ่ ง มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ สั่ ง ส ม แ ล ะ มี ความสามารถในการบริ ห า ร จัดการธุรกิจไดดีย่ิงขึ้น แตคนที่ไม ลองแม จ ะคิ ด สู ไม ว า มี เ งิ น ลงทุ น มากแคไหนยังไงก็ไปไมรอด”

65

1 ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

คุ ณ ค ณิ ต า ค ณิ ย ม เ ว คิ น นั ก ออกแบบเลื อ ดใหม ที่ มี ค วามคิ ด สรางสรรคแหวกแนวกวาใคร นํ า สิ่ ง ที่ ไ ม น า เชื่ อ มโยงกั น อย า ง ขนมและกระเป า มาเชื่ อ มโยง กัน เธอมองวาการพับใบตองเปน หอขนมไทยตางๆ เปนภูมิปญญา ไทยที่ น า ยกย อ ง และเด็ ก รุ น ใหม หลายคนแทบไมรูจักแลว เธอจึงนํา จุดเดนของหอขนมแตละชนิด ทั้ง รูปทรงภายนอกและสีมาผลิตเปน กระเปาแฟชั่นเกๆ โดยพยายามให ทํ า ออกแล ว ใกล เ คี ย งกั บ ของจริ ง ม า ก ที่ สุ ด พ ร อ ม กั บ คํ า นึ ง ถึ ง ข อ จํ า กั ด เรื่ อ งวั ส ดุ ห นั ง และการ ผลิตจริงดวย ผลงานขนมใสไสของ


ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

ปจจัยแหงความสําเร็จ • ความคิ ด สร า งสรรค ใ นการ ออกแบบ • การใชระบบ Outsource หาคู คามาชวยลดภาระตนทุนและ ลดงานที่ไมถนัดลง • การสราง Strategic Positioning ที่ตรงกับกลุม ตลาดเปาหมาย • ความมุ ง มั่ น ไม ย อมแพ ต อ อุปสรรค เขาถึงขอมูลไดที่ KANITA Shop @ Asiatique The River Front (เจริญกรุง74) https://www.facebook.com/KanitaLeather

66

ขอบคุณภาพจาก คุณคณิตา คณิยมเวคิน Kanita


67


o Ruchitta

ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

"ทุกวั นนี้เปนตั้ง แตดีไซเนอรยันเมสเซนเจอร เริ่มจากสเก็ตภาพดวยการดู หนังสือแฟชั่น ดูเทรนดในแตละปวาปไหนสีอะไรมา ไดแบบแลวก็ตองไปคุย กับชางที่โรงงาน คุยอยูหลายโรงงานกวาจะไดรายที่คุยกันรูเรื่อง ความยาก อยูที่การสื่อสารกับชางใหรูถึงความตองการของเรา อะไหล หนัง แมททีเรียล ทุกอยางตองไปหาซื้อเอง หนังวัวมีหลายชนิดเราก็ตองศึกษาวาแตละชนิดมี ขอดีขอเสียอยางไร เหมาะกับกระเปาประเภทไหน อยางสายโซสะพาย ถา ยาวมากเกินไปมันก็รุมราม ไมคลองตัว ไมไดทําออกมาครั้งเดียวถูกใจเลย บางทีตองสั่งแกถึงสามรอบ“* Ruchitta เปนอีกหนึ่งในแบรนด กระเปาหนังแทฝมือคนไทยที่ไดรับ ความนิ ย มแพร ห ลายในสั ง คม ออนไลน ดวยดีไซนเรียบหรู สีสัน สดใสจัดจาน ใชวัสดุหนังแท การ ตัดเย็บเรียบรอยทนทาน ใชไดทุก วันแมไมมีหนารานใชชองทางขาย ทาง Facebook Instagram และ Line ก็ขายดี

ขอบคุณภาพจาก Ruchitta

*ที่มา: http://women.sanook.com/14489/ruchitta

68


อุ ป ส ร ร ค คื อ บ ท พิ สู จ น ความสํ า เร็ จ ในการจ า งผลิ ต ปญ หาที่ห ลีก เลี่ ย งไมไ ดมี 2 ด า น คือ เรื่องคน และเรื่องทรัพยสินทาง ป ญ ญ า ( 1 ) ป ญ ห า ด า น ค น ผูประกอบการอาจตองเจอปญหา ที่ ช า งหรื อ โรงงานรั บ จ า งผลิ ต ส ง งานไมตรงเวลา ตองรอคิวการผลิต ต อ จากผู ว า จ า งรายอื่ น ความ ประมาททํ า ให สิ น ค า เกิ ด ตํ า หนิ เปลี่ยนสเปคสินคาเองโดยไมถาม ผู  ว า จ า ง สิ น ค า ที ่ ผ ลิ ต ไ ม ไ ด ม า ต ร ฐ า น ทั้ ง ห ม ด ต น ทุ น ที่ ผู ป ระกอบการต อ งแบกรั บ การ ขายลดสินคามีตําหนิ การแจก การแถมล ว นสร า งผลกระทบ กั บ ภ า พ ลั ก ษ ณ แ บ ร น ด ที่ พยายามสร า งมาทั้ ง สิ้ น (2) ป ญ หาด า นทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา อาจพบการนําแบบของผูวาจางไป ดัดแปลงผลิตใหผูประกอบการราย อื่น

69

1 ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

หั ว ใ จ สํ า คั ญ ที่ ทํ า ใ ห ลู ก ค า ประทับใจเปนแฟนเหนียวแนน ของ Ruchitta และบอกตอคือการ สร า งความเชื่ อ มั่ น ในคุ ณ ภาพ สินคาและการใหบริการ คุณหญิง จะตรวจคุ ณ ภาพสิ น ค า อย า ง ละเอี ย ดทั้ ง สี สั น และฝ เ ข็ ม การ บริ ก ารตั้ ง แต ก อ นการขายจนถึ ง หลังการขายลวนบงบอกถึงความ ใส ใ จในตั ว ลู ก ค า และคิ ด อย า ง ละ เ อี ย ด เ ช น มี ก า รส ง ก า ร ด ขอบคุณมาใหลูกคาพรอมกระเปา มีถุงผาอยางดีสําหรับใหลูกคาเก็บ กระเป า เวลาที่ ไ ม ไ ด ใ ช ง าน ให ลู ก ค า สั่ ง สกรี น ป า ยโลหะห อ ย กระเป า ได ต ามชอบ การตอบ คํ า ถ า ม ลู ก ค า แ ต ล ะ ร า ย ด ว ย อัธยาศัยอันดีและบริการหลังการ ขายในการรั บ เปลี่ ย นคื น กรณี อะไหลหลุด โซหลุด แมกระทั่งพบ ฝเย็บไมเรียบรอยหรือ มีเพียงรอย ขนแมว


ธุรกิจแบรนดกระเปา รองเทา

1

แนวทางการปองกันปญหาเรื่องคน และเรื่องทรัพยสินทางปญญา คือ การหาผูรับจางผลิตที่วางใจไดไ ว เปนทางเลือก 2-3 รายเพื่อกระจาย ความเสี่ ย ง ดํ า เนิ น การออกแบบ และจัดซื้อวัตถุดิบเอง และควรตก ลงรายละเอี ย ดกั บ ผู รั บ จ า งผลิ ต เป น ลายลั ก ษณ อั ก ษรใช ชั ด เจน เช น สเปคสิ น ค า วั น ส ง มอบ การ เปลี่ยนคืน การชดเชยคาเสียหาย การรั ก ษาความลั บ งานต น แบบ เปนตน

ปจจัยแหงความสําเร็จ • สร า งความเชื่ อ มั่ น ให กั บ ลู ก ค า ในเรื่องคุณภาพและการสงมอบ • การออกแบบสิ น คา และบริก าร จากมุมมองของลูกคา • ความรวดเร็วและความใสใจใน การตอบสนองตอลูกคา • รั ก ษาความสั ม พั น ธ กั บ คู ค า ให เติบโตไปดวยกัน • ใชเครือขายใหเปนประโยชน

เขาถึงขอมูลไดที่ Ruchitta Website: http://www.facebook.com/Ruchittabrand

ขอบคุณภาพจาก Ruchitta

70


71



2 ธุ ร กิ จ แ บ ร น ด เ สื้ อ ผ า แ ฟ ชั่ น

73


ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2

ธุ ร กิ จ แ บ ร น ด เ สื้ อ ผ า แ ฟ ชั่ น ห ม า ย ถึ ง ผู ป ระกอบการในธุ ร กิ จ เสื้ อ ผ า แฟชั่ น ที่ ทํ า หน า ที่ ออกแบบ คั ด เลื อ กวั ต ถุ ดิ บ ควบคุ ม การผลิ ต และ จําหนายเสื้อผาแฟชั่นประเภทตางๆ ภายใตตรายี่หอ สิน ค า หรื อ แบรนด ข องตนเอง ทั้ง นี้ ผู ป ระกอบการ สามารถทําการผลิต ออกแบบและจําหนายสินคา อื่นๆ ที่มีความสอดคลองหรือเหมาะสมกับการสวม ใส เ สื้ อ ผ า แฟชั่ น นั้ น ๆ เช น ผ า พั น คอ เข็ ม ขั ด หรื อ หมวก ฯลฯ ไดดวย โดยสินคาทั้งหมดจะอยูภายใต ยี่หอตราสินคาหรือแบรนดเดียวกัน ซึ่งผูประกอบการ สามารถทํ า การตลาดในรู ป แบบของสิ น ค า คอล เลคชั่น (Collection) ได เพื่อเปนการสรางมูลคา ใหกับแบรนดสินคาของตนเอง

74


High Fashion จะเปนสินคาที่แลดู เปรี้ยวและเดน เกินไป ลูกคาสว น ใหญจึงนิยมสินคา Basic Style ที่ ดู ดี เรี ย บหรู ดู ดี แ ละสามารถใช งานไดบอยครั้ง มากกวาสินคาที่มี ลักษณะเดนและหวือหวา

1.High Fashion เปนสินคานํา สมัย ราคาสูง และเปนระยะเริ่มตน ของวงจรธุรกิจแฟชั่น สินคา High Fashion จะเปนสินคาที่สะดุดตา แกลูกคาทั่วไปเมื่อนําโฆษณาหรือ นํามาโชวหนาราน 2.Model Style สินคาเปนที่นิยม ปานกลาง ตองการเขากับสังคมนั้น หรืออย างนอ ยเพื่ อ ความต อ งการ ในแง ข องสิ น ค า แปลกใหม ห รื อ ตองการเปลี่ยนสินคาบอยๆ 3.Basic Style เปนสินคาแบบ นิยม อาจจะเปนที่ยอมรับทั่วไป มี อายุสินคายาวนานกวา

กระบวนการคิ ด ตามหลั ก การ ออกแบบสินคา โดยแบงประเด็นเปน 3 หมวดใหญ คือ 1.ความเป น ไปได ด า นการขาย เพราะถ า ขายไม ไ ด จ ะเป น สิ น ค า ตกคาง 2.ความเปนไปไดดานการตัดเย็บ และการผลิ ต เพราะถ า ผลิ ต หรื อ จั ด ทํ า ไม ไ ด การออกแบบก็ เ ปล า ประโยชน 3.ความเป น ไปได ด า นต น ทุ น เพราะถามีตนทุนสูงเกินไป จะขาย ไมไดกําไร

โดยทั่ ว ไปสิ น ค า ประเภท Basic Style จะมียอดขายสูงกวาสินคา ประเภท High Fashion และ Model Style เนื่องจากสินคา High Fashion เปนสินคาที่กระตุนความ ส น ใ จ ม า ก ก ว า ก ร ะ ตุ น ก า ร ซื้อสินคา เนื่องจากสินคาประเภท

ที่มา www.thaipattern.com

ที่มา: http://www.marketeer.co.th/

75

2 ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

ประเภทของสินคาแฟชั่น


คุ ณ ส ม บั ติ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร

ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2

ผู ป ระกอบการรุ น ใหม ที่ ส นใจจะ เข า สู ธุ ร กิ จ แบรนด เ สื้ อ ผ า แฟชั่ น ควรมี คุณ สมบั ติ ห ลัก คือ เปน ผู มี ความคิดสรางสรรค และมีใจรัก ในแฟชั่น ชอบและรักงานดานการ ออกแบบ มีมุมมองของศิลปะ และ สามารถนํ า เสนอแนวคิ ด และ ไอเดี ย สร า งสรรค อ อกมาใน รู ป แบบของเสื้ อ ผ า ใหม ๆ ภายใต แบรนดเสื้อผาของตัวเองไดอยาง ต อ เนื่ อ ง และควรมี ค วามรู ใ น กระบวนการและขั้ น ตอนการ ผลิตเสื้อผาแฟชั่น ตลอดจนการ เ ลื อ ก ใ ช วั ต ถุ ดิ บ ต า ง ๆ ที่ เ ป น องค ป ระกอบที่ สํ า คั ญ ของเสื้ อ ผ า เช น ชนิ ด ของผ า กระดุ ม หรื อ ซิ ป เปนตน

76


ก า ร เ ริ่ ม ต น ธุ ร กิ จ

77

2 ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

เหมาะสมกั บ ราคา โดยสิ น ค า 1.กําหนดกลุมลูกคา (Customer นั้นๆ ตองบงบอกถึงรสนิยมและ Segments) ก า ร กํ า ห น ด ก ลุ ม ลูกคาเปาหมายที่จะเปนผูซื้อหรือ ฐานะทางสังคม สวมใสเสื้อผา อาทิ กลุ ม ลู ก ค า แฟชั่ น แบรนด (Fashion Brand) คือ กลุม กลุ ม ลู ก ค า อั ล ตร า ไฮเอนด ลู ก ค า ที่ ช่ื น ชอบสิ น ค า แฟชั่ น (Ultra High-End) คือ กลุม กลุ ม ลู ก ค า ที่ มี อํ า นาจการซื้ อ ลูกคาที่ชื่นชอบสินคาแฟชั่นเปน สูงถึงปานกลาง ตองการสินคาดี กลุมที่มีรายได สูง และมี อํานาจ การซื้อ ตองการเสื้อผาคุณภาพ มี คุ ณ ภาพ มี เ อกลั ก ษณ แ ละ ดี หรูหราและสามารถบงบอกถึง บงบอกถึงไลฟสไตลของตนเอง ฐานะทางครอบครัวและสังคม ชอบสิ น ค า เรี ย บหรู ดู ดี และมี รสนิยม กลุ ม ลู ก ค า แฟชั่ น ไฮเอนด (High-End Fashion) คือ กลุม ก ลุ ม ลู ก ค า ส ต รี ท แ ฟ ชั่ น ลูกคาที่ชื่นชอบสินคาแฟชั่น เปน (Street Fashion) เปนกลุม ลู ก ค า ที่ ชื่ น ช อ บ แ ล ะ ใ ห กลุมที่มีรายไดสูงและมีกําลังซื้อ ความสํ า คั ญ กั บ สิ น ค า แฟชั่ น สูง ลูกคากลุมนี้มีความตองการ มากที่สุด สนใจและแสวงหา สินคาดี มีคุณภาพ และทันสมัย


สิ น ค า ใหม ที่ กํ า ลั ง เป น ที่ นิ ย ม ติ ด ตามข า วสารแฟชั่ น และมี ความถี่ ใ นการซื้ อ เสื้ อ ผ า แฟชั่ น สูง กว า กลุ ม อื่ น ๆ ซึ่ ง กลุ ม ลู ก ค า ส ว น ใ ห ญ ไ ด แ ก นั ก เ รี ย น นักศึกษา และกลุมวัยทํางานที่

ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2

2 . คุ ณ ค า ที่ นํ า เ ส น อ ( Value Propositions) คุณคาที่นําเสนอ หมายถึง จุดขาย ของสิ น ค า และบริ ก ารที่ จ ะทํ า ให ลูกคากลับมาซื้อผลิตภัณฑ อยาง ตอเนื่อง การสรางจุดขายตองมา จากความเขาใจความตองการของ เสื้ อ ผ า แฟชั่ น ประเภทนี้ จ ะมี ลู ก ค า เป า หมายและจุ ด แข็ ง ของ ราคาไม สู ง มากนั ก แต ก ลุ ม ผูประกอบการที่สามารถนําไปใช ลูก ค า จะมี ค วามถี่ ใ นการซื้ อ สู ง ในธุรกิจได อาทิ ตามกระแสนิยม ราคาที่ เ หมาะสมกั บ รู ป แบบ และคุณภาพสินคา ไมตั้งราคา กลุ ม นั ก ท อ งเที่ ย ว (Tourist) คื อ ก ลุ ม ลู ก ค า ที่ เ ป น สู ง เกิ น ไปหรื อ ตั้ ง ราคาที่ เ อา นั ก ท อ งเที่ ย วทั้ ง ชาวไทยและ เปรียบผูบริโภคมากเกินไป ชาวตางชาติ มักเลือกซื้อสินคา สิ น ค า ดี มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ มี เพื่อเปนของที่ระลึกหรือของฝาก เอกลั ก ษณ เ ฉพาะแบรนด ที่ บงบอกถึงไลฟสไตลและตัวตน ที่แสดงถึงอัตลักษณของประเทศ ของกลุมลูกคาไดอยางแทจริง ไทย หรื อ ประเทศที่ เ ดิ น ทางไป ท อ งเที่ ย ว การออกแบบเน น การรั บ ประกั น สิ น ค า และ ความสวยงามและมีอัตลักษณที่ ความพึ ง พอใจ จากการสร า ง ความเชื่อมั่นในการใชสินคาวา ผสมผสานระหว า งแฟชั่ น กั บ ลู ก ค า จะได ใ ช สิ น ค า ดี มี ก าร ความเปนไทย โดยสวนใหญจะ รับประกันคุณภาพสินคาหรือรับ เป น สิ น ค า ที่ จํ า หน า ยในแหล ง ทองเที่ยวที่สาํ คัญๆ

78


เอเชียทิค ตลาดนัดจตุจักร หรือ แหล ง ช อ ปป ง มอลล ต า งๆ เป น ตน เว็ บ ไซต ห รื อ สื่ อ สั ง คมออนไลน ซึ่ ง เป น สื่ อ ที่ เ ข า ถึ ง กลุ ม ลู ก ค า เป า หมายได อ ย า งรวดเร็ ว และ สามารถเขาถึงไดในวงกวางและ มีตนทุนต่าํ เครื อ ข า ยธุ ร กิ จ ในรู ป แบบของ การขายฝาก เป น การวางขาย สิ น ค า ผ า นร า นค า ที่ จํ า หน า ย สิ น ค า แฟชั่ น ในกลุ ม เป า หมาย เดี ย วกั น เช น การฝากขาย เสื้อผาแฟชั่นกับรานขายกระเปา 3.ระบุชองทาง (Channels) ร า นค า /หน า ร า นของตนเอง หรือรองเทาแฟชั่นของกลุมวัยรุน (Shop) การเลือกทํา เลที่ตั้ง เปนตน รานคาเปนปจจัยสําคัญที่สงผล คู ค า ทางธุ ร กิ จ เช น การวาง สิ น ค า จํ า ห น า ย ใ น ตอยอดขายและรายไดของธุรกิจ และการเขาถึงกลุมลูกคา ดังนั้น ห า งสรรพสิ น ค า หรื อ ตั ว แทน ผู ป ระกอบการควรเลื อ กทํ า เล จําหนาย ที่ตั้งที่ตรงกลุมลูกคาเปาหมาย ของตนเอง เชน เสื้อผาประเภท 4.สร า งความสัมพัน ธกับ ลูกค า สตรี ท แบรนด อาจเลื อ กทํ า เล (Customer Relationships) คือ การสรางความสัมพันธทาง ที่ตั้งรานคาที่สยามเซ็นเตอร

79

2 ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

เปลี่ ย นสิ น ค า ให ใ หม ห ากพบ ขอผิดพลาดจากการตัดเย็บหรือ คุ ณ ภ า พ ข อ ง วั ส ดุ ป ร ะ ก อ บ เสื้อผา การให บ ริ ก าร ให คํ า แนะนํ า และใหความชวยเหลือลูกคา เพื่อใหลูกคาไดรับสินคาที่ดีที่สุด ใหคําแนะนําและคัดเลือกเสื้อผา ที่ เ หมาะสมกั บ ไลฟสไตล แ ละ การใชงานของลูกคาอยางจริงใจ ให คํ า แนะในการเก็ บ รั ก ษา เสื้อผาอยางถูกวิธี


ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2

ธุรกิจกับลูกคาเปาหมาย ตั้งแตการ หาลูกคา การใหบริการลูกคา และ ติ ด ตามหลั ง การใช บ ริ ก าร ซึ่ ง กระบวนการทั้ ง หมดจะมี ค วาม เชื่ อ มโยงกั น ตั้ ง แต ก ระบวนการ วิเคราะหกลุมลูกคา เพื่อ นําเสนอ คุ ณ ค า ผ า นช อ งทางการเข า ถึ ง ลู ก ค า จ น ม า สู ก า ร ส ร า ง ความสั ม พั น ธ อั น ดี กั บ ลู ก ค า และ การกลับมาใชบริการใหม ในราย แบรนดเสื้อผาขนาดเล็ก การรักษา ฐานแฟนคลับไวถือเปนเรื่องจําเปน ซึ่ ง ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร อ า จ เ ลื อ ก กิจกรรมที่สามารถทํารวมกับลูกคา ตามกลยุ ท ธ ธุ ร กิ จ เช น การจั ด กิจกรรมเปดตัวคอลเล็คชั่นสินคา ใหมโดยเชิญลูกคาเกาหรือลูกคา ประจํามาร วมงานดวย เพื่ อสรา ง ค ว า ม ภ า ค ภู มิ ใ จ ใ น ตั ว สิ น ค า กิจกรรมรวมสนุกกับแบรนด แจก ของที่ ร ะลึ ก คุ ย กั น ทางสื่ อ สั ง คม ออนไลนบอยๆ กิจกรรมที่เกี่ยวกับ ก า ร ข า ย เ ช น ก า ร ส ะ ส ม แ ต ม การแชรภาพ เพื่อรับสวนลดในการ

แ น ะ นํ า ลู ก ค า ใ ห ม ก า ร ใ ห คําแนะนําการแตงตัวที่เหมาะกับ บุคลิก เปนตน 5.รายได (Revenue Streams) รายไดหลักของธุรกิจแบรนดเสื้อผา แฟชั่ น คื อ รายได จ ากการขาย เสื้อผา อยางไรก็ตาม โดยทั่วไปใน ธุ ร กิ จ แ บ ร น ด เ สื้ อ ผ า แ ฟ ชั่ น ผูป ระกอบการส ว นใหญ มัก จะให ความสํ า คั ญ กั บ การผลิ ต สิ น ค า ที่ เกี่ยวของหรือชวยเสริมภาพลักษณ ให กั บ เสื้ อ ผ า ดู ดี ขึ้ น เช น กระเป า รองเท า หรื อ ผ า พั น คอ ส ว นหนึ่ ง เพื่อความหลากหลายในตัวสินคา และเพื่ อ ความสวยงามในการ แนะนํ า สิ น ค า ในรู ป แบบคอล เล็คชั่น ซึ่งหากผูประกอบการราย ใหม มี ศั ก ยภาพในการออกแบบ และผลิ ต สิ น ค า ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เสื้ อ ผ า แฟชั่ น ก็ จ ะช ว ยให ธุ ร กิ จ มี รายไดเพิ่มมากขึ้น

80


6 . ท รั พ ย า ก ร ห ลั ก ( Key Resources) ขอแนะนําสําหรับทรัพยากรตั้งตน ที่ใชในการดําเนินธุรกิจ มีดังนี้ รานคา/หนาราน สําหรับธุรกิจ เสื้อผาแลว คนไทยนิยมทดลอง ใสกอนตัดสินใจซื้อ การขายทั้ง ออนไลนและออฟไลนควรทํา คู กัน แมไมมีหนาราน แตควรมีจุด วางขายสิ น ค า ที่ ใ ห ลู ก ค า ได ทดลองไดหรือมีออฟฟศสําหรับ ทํ า งานและจั ด สรรเป น สตู ดิ โ อ ลองเสื้อ สําหรับผูประกอบการ บางรายมี ห น า ร า นออนไลน เท า นั้ น สามารถแก ป ญ หานี้ ไ ด โดยจัดสรรพื้นที่อยูอาศัยใหเปน สตูดิโอได อุปกรณและเครื่องมือ ไดแก อุ ป กรณ ที่ จํ า เป น สํ า หรั บ การ ออกแบบ เช น อุ ป กรณ เ ครื่ อ ง เขี ย น อุ ป กรณ ตั ด ต อ และเย็ บ สิ น ค า คอมพิ ว เตอร ปริ้ น เตอร โตะเขียนแบบ จักรอุตสาหกรรม สํ า ห รั บ ท ด ล อ ง เ ย็ บ สิ น ค า ตนแบบ ปากกาเขียนแบบดิจิตัล ตัวอยางวัสดุ/วัตถุดิบ เปนตน

การเลือกสถานทีต่ ั้ง อาจใชวิธีมีหนารานในยานการคา หรือยาน ตลาดนั ด ออฟฟ ศ พื้ น ที่ ป ระมาณ 20-60 ตารางเมตร โดยแบงพื้นที่ ครึ่งหนึ่งสําหรับ แสดงสินคาติดตอลูกคา สวนอีกครึ่งหนึ่งใช เก็บสต็อค ใชพื้นที่บรรจุสินคาเตรียมจัดสง แกลูกคาและเปนที่นั่งทํางาน

ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2 ราน Lamune ตั้งอยูในสยามสแควร ซอย 10 เปนรานขายอุปกรณที่เกี่ยวของกับการ อ อ ก แ บ บ แ ฟ ชั่ น ช ว ย ป ร ะ ห ยั ด เ ว ล า ผูประกอบการใหมในการหาไอเดียดีๆ ได

81


ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2

วัสดุและวัตถุดิบ มีหลากหลาย ชนิดในกรุงเทพมหานคร แหลงที่ ส า ม า ร ถ ห า ซื้ อ ผ า ผื น ไ ด หลากหลายได แ ก ย า นพาหุ รั ด สํ า เพ็ ง ประตู น้ํ า เป น ต น หา ข อ มู ล นวั ต กรรมผ า แบบใหม ๆ ไดที่สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรม สิ่งทอ ศูนยตนคิด มูลนิธิพัฒนา อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ค รื่ อ ง นุ ง ห ม เปนตน พนักงาน แบงเปน 2 สวน คือ › พนักงานประจําสํานักงาน ทํา หน า ที่ เ ป น ผู ช ว ยในการดู แ ล หน า ร า น หี บ ห อ พั ส ดุ จั ด ส ง ข อ ง แ ล ะ จ ด บั น ทึ ก บั ญ ชี เพื่ อ ให เ จา ของกิ จ การมีเ วลา ในการดูแลการออกแบบดวย กรณี นี้ ห ากมี หุ น ส ว นช ว ย ทํ า งานช ว ยสนั บ สนุ น ก็ จ ะ ประหยัดคาจาง › โรงงานรับจางผลิต คือชางทํา แพทเทิรน ชางตัดเย็บ ซึ่งควร ใชระบบจางเหมา Outsource เพื่อไมใหกิจการตองรับภาระ ตนทุนคาแรงมากเกินไป การ

การหาแหลงรับจางผลิตเสื้อ ผาตามสั่ง ควรดู ปริมาณที่ธุรกิจตองการ กับขนาดของโรงงาน ใหเหมาะสมกัน เพื่อไมใหเกิดปญหาสั่งผลิต ไมไดตามสเปค แหลงรับจางผลิตมีหลายแหลง แตกตางกัน ตัวอยางเชน • มีโรงงานรับจางผลิตชุดชั้นใน ชุดเด็ก เสื้อยืดการเมนต • ประตูน้ํา หางสามยอด แหลงรับจางผลิต เดรสแบบตางๆ • ผูรับจางผลิตที่รับออเดอรจํานวนนอย เชน www.facebook.com/dressmaker.in.th www.facebook.com เปนตน

NOOZ N SHOP ให บ ริ ก ารตั ด เย็ บ เสื อ ผ า ตามที่ อ อกแบบ ให บ ริ ก ารทํ า แพทเทิ ร น ตั ด เย็ บ ตกแต ง ตรวจสอบคุณภาพและแพ็คกิง้ สินคา ที่มา: www.nooz-shop.com

Outsource ทํ า ใ ห ส า ม า ร ถ คํานวณตนทุนตอชิ้นผลิตภัณฑ ไดง า ย แต มีค วามเสี่ ย งในเรื่อ ง คุ ณ ภาพและระยะเวลาการส ง ม อ บ ที่ เ จ า ข อ ง กิ จ ก า ร ต อ ง ควบคุมดูแล 82


83

2 ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

ตลาดเปาหมาย 7.กิจกรรมหลัก (Key Activities) คือ กิจกรรมที่สรางคุณคาและสง การจางผลิต สิ่งที่ควรคํานึงถึง เปนอยางมาก คือ การควบคุ ม มอบใหกับลูกคา และจะตองตรง คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ใ ส ใ จ ใ น ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ห รื อ ค ว า ม รายละเอียดการตัดเย็บ เพื่อให คาดหวั ง ของลู ก ค า ตามประเภท ไ ด สิ น ค า ต า ม แ บ บ ที่ ว า ง ไ ว ของธุรกิจดวย นอกจากนั้นยังตองตกลงกับผูรับ ก า ร อ อ ก แ บ บ คื อ เ ป น จุ ด เริ่ ม ต น ในการสร า งตั ว ตน จางอยางละเอียดรอบคอบ เพื่อ ให กั บ แบรนด งานออกแบบที่ ไมใหงานออกแบบที่ทําไวรั่วไหล สามารถขายได ต อ งชู ลั ก ษณะ กอนที่สินคาจะออกสูตลาด เด น เช น มี อั ต ลั ก ษณ เ ป น ของ การตลาดและการขาย เป น เรื่ อ งใหญ ที่ สุ ด ของการสร า ง ตนเอง หรื อ มี ก ารดี ไ ซน ที่ ช ว ย แบรนดเสื้อผาใหเปนที่จดจํา เริ่ม แก ป ญ หาของผู ใ ช ง าน การ ตั้ ง แต ก ารหาตลาดเป า หมาย ออกแบบที่ดีผูประกอบการตอง ห า ท า ง เ ข า ถึ ง ก ลุ ม ลู ก ค า เข า ใจคุ ณ สมบั ติ ข องวั ส ดุ ที่ เป า หมาย และมี ก ารสื่ อ สาร นํา มาใชใ นการผลิ ต สิ นค า ด ว ย ระหวางกันสรางความเชื่อมั่นให การแปลงแบบไปสู สิ น ค า จริ ง ลูกคาไดมีโอกาสทดลองซื้อ การ ต อ ง อ า ศั ย ช า ง แ พ ท เ ทิ ร น ที่ ชํ า นาญ และควรมี ก ารทดลอง กํ า ห น ด วิ ธี ก า ร สื่ อ ส า ร แ ล ะ ตลาดก อ นออกขายจริ ง เช น ช อ งทางการสื่ อ สารเป น เรื่ อ ง สอบถามความเห็ น ลู ก ค า เดิ ม สํา คั ญ เชน การหาหนาร า นใน คนรอบขาง เพื่อใหมั่นใจวาการ ยานที่กลุมเปาหมายอยู บางครั้ง ออกแบบในคอลเล็คชั่นนั้นๆ ได ไม จํ า เป น ต อ งเป นย า นแฟชั่ น ที่ สงมอบคุณคาที่ตรงใจกลุม มีสินคาประเภทเดียวกันวางขาย


แต เ ป น อี เ วนต ที่ ร วมกลุ ม ลู ก ค า เปาหมายอยูดวยกันก็เปนเทคนิคที่ ได ผ ล การสื่ อ สารออนไลน ต อ ง เข า ถึ ง ชุ ม ชนที่ มี ก ลุ ม เป า หมาย รวมตั ว แลกปลี่ ย นความเห็ น กั น ประจํา เพื่อใหเกิดกระแสบอกตอ กัน

ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2

คู แ ข ง ที่ ใ ช ก ลยุ ท ธ ร ว มกั น บอยๆ เชน การออกรานรวมกับ แบรนด เ สื้ อ ผ า อื่ น ๆ การออก Roadshow ตามสถานที่ตางๆ พัน ธมิ ต รที่ ร วมกั น ทํ า ให เ กิ ด ธุ ร กิ จ ใหม เช น ธุ ร กิ จ แฟชั่ น เสื้ อ ผ า กั บ เทคนิ ค การแพทย ธุ รกิจเสื้อ ผา กับธุ รกิจทองเที่ยว โรงแรม และสปา เปนตน 8.คู ค า ห ลั ก ท า ง ธุ ร กิ จ ( Key Partnerships) พั น ธมิ ต รในห ว งโซ อุ ป ทาน เช น ร า นจํ า หน า ยวั ต ถุ ดิ บ และ Siampro วัสดุอุปกรณ บริษัทขนสง นักทํา ผู ผ ลิ ต กระดุ ม กระดุ ม สแน ป กระดุ ม ยี น ส แพทเทิ ร น ช า งตั ด เย็ บ ตกแต ง ผูผลิตอุปกรณตกแตงเสื้อผา ผูผลิตหมุดตอก โรงงานรับจางผลิต และโรงงาน หนัง หรือตาไกทุกชนิด ในตลาดเมืองไทยกับ การเปลี่ยนแปลงของตลาดโลก เราไดปรับตัว บรรจุภัณฑ เปนตน ในดานการใหบริการของเรา พันธมิตรที่ไมใชคูแขง แตมีวิธี ที่มา www.siampro.co.th คิ ด หรื อ ขายสิ น ค า ใกล เ คี ย งกั น เช น ร า นรองเท า แฟชั่ น ร า น เ ค รื่ อ ง ป ร ะ ดั บ แ ฟ ชั่ น ร า น 9 . โ ค ร ง ส ร า ง ต น ทุ น ( Cost เครื่ อ งสํ า อาง ธุ ร กิ จ รี วิ ว สิ น ค า Structure) แฟชั่ น ธุ ร กิ จ ถ า ยแบบแฟชั่ น ธุ ร กิ จ บั น เ ทิ ง แ ล ะ ธุ ร กิ จ แมกกาซีน เปนตน

84


ตั ว อ ย า ง โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ล ง ทุ น ธุ ร กิ จ แ บ ร น ด เ สื้ อ ผ า แ ฟ ชั่ น รานขายเสื้อผาแบรนดแฟชัน่ (เงินลงทุนเริม่ ตนประมาณ 250,000 – 350,000 บาท)*

(2) เงินทุนหมุนเวียน ตนทุนคงที่

ตนทุนผันแปร

คคาออกแบบและ ตตกแตงสถานที่

เงินเดือน พนักงานประจํา พน

คาวัตถุดิบและ วัสดุสิ้นเปลือง

คาอุปกรณ สํานักงาน

คาเชาสถานที่

คาจางผลิตสินคา

คาจัดทําเว็บไซต

คคาอินเทอรเน็ต

คาบรรจุภัณฑ

2

คาน้ํามันคาขนสง

คาใชจาย การตลาดและ ประชาสัมพันธ

หมายเหตุ: 1) *ประมาณการเงินลงทุนเริ่มตนจากธุรกิจขนาดเล็กหรือธุรกิจเจาของคนเดียวแบบมีหนาราน ณ ป 2556 2) องคประกอบโครงสรางการลงทุนจะเปลี่ยนไปตามขนาดของธุรกิจและหลักการดําเนินธุรกิจของผูประกอบการ

85

ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

(1) ลงทุนในสินทรัพย


ตั ว อ ย า ง ก า ร เ ริ่ ม ต น ธุ ร กิ จ ใ ห ม

ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2

3.การบริ ห ารจั ด การ/การผลิ ต สินคา

ผู ป ระกอบการรุ น ใหม มี เ งิ น ลงทุนนอย อาจเริ่มตนธุรกิจใน ลักษณะการ Pre-Order เสื้อผา แบรนดตนเอง คือ ผูประกอบการ เปนผูออกแบบดีไซน และมีแบรนด เปนของตนเอง แตในกระบวนการ ผลิตและขายเสื้อผา จะเปนการรอ คําสั่งซื้อสินคา เมื่อไดรับคําสั่งซื้อ แลวจึงดําเนินการผลิตเพื่อสงมอบ สินคาใหกับลูกคา ธุรกิจลักษณะนี้ จ ะ ไ ม มี ห น า ร า น ห รื อ ร า น ค า (Shop) ขายเสื้อผา โดยมีกระบวน การทําธุรกิจ ดังนี้ 1.การตั้งชื่อแบรนดเสื้อผา

4.การตลาด โฆษณาและ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ โ ด ย ผ า น เครือขายอินเทอรเน็ตทั้งในรูปแบบ เว็บไซตของตนเอง หรือขายสินคา ผ า นสื่ อ สั ง คมออนไลน เนื่ อ งจาก เป นสื่ อที่ มี ตน ทุน ต่ํา และสามารถ เข า ถึ ง กลุ ม เป า หมายได อ ย า ง รวดเร็ว และเปนวงกวาง รวมถึงทํา การโฆษณาผานสื่ออินเทอรเน็ตใน รูปแบบตางๆ เชน การประกาศซื้อขายฟรี (E-Classified)

2.กํ า หนดกลุ ม เป า หมายและ ประเภทของเสื้ อ ผ า ที่ ต อ งการ จะขาย และสิ น ค าอื่ น ๆ ที่ เ ป น ค อ ล เ ล็ ค ชั่ น เ ช น ผ า พั น ค อ กระเปาผาใสเครื่องสําอาง เปนตน

86



ก า ร ข ย า ย ธุ ร กิ จ . . อี ก ร ะ ดั บ กั บ ก า ร พั ฒ น า ธุ ร กิ จ

ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2

ในธุ ร กิ จ แบรนด เ สื้ อ ผ า แฟชั่ น ผู ป ระกอบการที่ ต อ งการขยาย ธุ ร กิ จ ส า ม า ร ถ พั ฒ น า ห รื อ ขยายตั ว ไปสู ธุ ร กิ จ ในอนาคต โ ด ย ใ ห บ ริ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ดี ไ ซ น เ สื้ อ ผ า เ ฉ พ า ะ รายบุ ค คล ตามบุ ค ลิ ก ลั ก ษณะ หรื อ ไลฟ ส ไตล ข องลู ก ค า ภายใต ผู ป ระกอบการ โดยเสื้ อ ผ า นั้ น ๆ อาจเน น การออกแบบเป น คอล เล็ ค ชั่ น พร อ มกั บ สิ น ค า เชื่ อ มโยง อื่นๆ เพื่อตอบสนองความตองการ ของกลุ ม ลู ก ค า ที่ ต อ งการเสื้ อ ผ า แฟชั่นที่บงบอกถึงเอกลักษณและ รสนิยมของตนเอง

88


หากคุณคิดวา คุณสามารถทําได คุณก็จะทําได และถาคุณคิดวา คุ ณ ไ ม ส าม าร ถทํ า ไ ด คุ ณ ก็ คิดถูก - เฮนรี่ ฟอรด -


ป จ จั ย แ ห ง ค ว า ม สํา เ ร็ จ

ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2

ป จ จั ย แห ง ความสํ า เร็ จ ในธุ ร กิ จ 2.ความสามารถทางการตลาด แบรนดเสื้อผาแฟชั่นประกอบดวย ในการสรางตําแหนงของเสื้อผา 3 ปจจัยหลักที่สําคัญ ดังนี้ สร า งตํ า แหน ง ทางการแข ง ขั น ใน ตลาด เริ่ ม ต น จากการหาส ว น 1.ความคิ ด สร า งสรรค ใ นการ ตลาดที่ มี ศั ก ยภาพ การเข า ใจ ออกแบบสร า งอั ต ลั ก ษณ ตั ว ตน ลูกคาและการรูศักยภาพของ การ ใหแกผลิตภัณฑ ลักษณะเฉพาะตัว หาสวนตลาดเฉพาะที่มีศักยภาพ สามารถชวยใหแบรนดเสื้อผาเปน ได หมายถึงธุรกิจนั้นเขาใจลูกคา ที่ จ ดจํ า ในตลาดได ร วดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น ของตัวเองชัดเจน รูแหลงที่เขาถึง และช ว ยให มี ค วามแตกต า งจาก ลูกคาและพฤติกรรมของลูกคา สิ่ง คู แ ข ง ตามระดั บ ของกลุ ม ลู ก ค า นี้จะสงผลตอการสงมอบคุณคาที่ เปาหมาย การจะสรางอัตลักษณนี้ ลูกคา ตองการ การสรางตําแหนง ได นักออกแบบตองมีความเขาใจ ทางการแข ง ขั น ที่ชั ด เจนแตกต า ง ใ น พ ฤ ติ ก ร ร ม ร ส นิ ย ม ข อ ง จากคู แ ข ง ความถี่ แ ละวิ ธี ก าร กลุ ม เปา หมายเสี ยก อ น มิ เช นนั้ น สื่ อ สารให ลู ก ค า จดจํ า ตั ว ตนของ อาจเกิดผลงานที่ลูกคาถูกใจแตไม ธุ รกิ จไดแ ละนํ า ไปสูธุ รกิจ ที่ยั่ งยื น กลาซื้อไปใสก็เปนได ในอนาคต

90


สามารถสรางพันธมิตรในการเปด ตลาดใหม เติบโตไปด วยกัน การ รวมกลุ ม ผู ค า ทํ า ให สิ น ค า มี ค วาม หลากหลายเปนตัวเลือกที่นาสนใจ สําหรับผูบริโภคและเกิดนวัตกรรม สินคาใหมๆ ชองทางที่สามารถเขา ร ว มเป น เครื อ ข า ยผู ป ระกอบการ ไดแก การเข า เปนสมาชิกในศูนย ต น คิ ด มู ล นิ ธิ สมาคม องค ก ร เครือขายผูประกอบการตางๆ การ เขารวมเวทีการประกวดตางๆ แม ไม ช นะแต ทํ า ให รู จั ก เครื อ ข า ย มากขึ้น

2 ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

3.การสรางเครือขายหรือชุมชน ผูประกอบการ เพื่อเผยแพรองค ความรู เป น วิ ถี ท างที่ ดี ที่ สุ ด ที่ ผู ป ระกอบการจะได แ ลกเปลี่ ย น ข อ มู ล และประสบการณ ร ะหว า ง กั น ทํ า ให ไ ม ต อ งเสี ย เวลาและ เงิน ทุน ในการลองผิด ลองถูก ดว ย ตัวเอง นอกจากจะไดองคความรู แลว การสรางเครือขายยังเปนการ สรางพันธมิตรทางธุรกิจ ไมวาจะ เป น พั น ธมิ ต รทางการค า เกิ ด การ เกื้อหนุนวาจางซื้อขายระหวางกัน ลดภาระของผูประกอบการ ในการ ทํางานที่ไมชํานาญ นอกจากนั้นยัง

91


ข อ ท า ท า ย

1.ติ ด กั บ ดั ก ธุ ร กิ จ แฟชั่ น การ ออกแบบเสื้อผาที่หลากหลายมาก เกินไป จนขาดความเปนอัตลักษณ หรือตัวตนของแบรนด ก็จะสงผล ลบต อภาพลั กษณ ข องสิ นคา และ แบรนดของธุรกิจ

ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2

2.การควบคุ ม มาตรฐานสิ น ค า เนื่ อ งด ว ยเป น ธุ ร กิ จ ขนาดเล็ ก ที่ พึ่งพาระบบ Outsource การเขา ควบคุมในกระบวนการตัดเย็บของ โรงงานที่จางผลิตจึงยุงยาก เพราะ โรงงานขนาดใหญจะไมยินยอมให ทํางาน ปญหาที่พบบอย คือ การ ทํ า แพทเทิ ร น ไม ดี การตั ด เย็ บ ไม เรียบรอย การเปลี่ยนวัตถุดิบไมได ตามสเปค การผลิตเกินคําสั่ง การ สงงานลาชา ผูประกอบการจะรับรู

92


3.การบริหารระบบสินคาคงคลัง ğüĚĐħ èéĕâčėüåňĕĠĂëĔüħ ĄĘĐĕąěčüĨĔ ĠĈē éĖğþŎüøňĐèĎĄěüğĊĘąüčėüåňĕĢĎňģĊøĕĄ ûĆĆĄëĕøėãĐèûěĆâėéĠĂëĔüħ ĠĈēĐĕéĄĘ åĊĕĄğčĘąħ èøŇĐøňüúěüéĄ âĕĆúĖûěĆâėé éęèøňĐèĄĘâĕĆþĆēğĄėüâĕĆĎĄěüãĐèčėüåňĕ ģĄŇĢĎňčøĦĐåčėüåňĕĄĕâğâėüģþ ĠĈē ĎĄěüğĊĘąüâĆēĠčğèėüč÷ğãňĕûěĆâėé ģ÷ňúĔüğĊĈĕ

93

2 ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

ความเสียหายก็ตอเมื่อชิ้นงานเสร็จ ออกมาแล ว ทํ า ให เ สี ย ทั้ ง เงิ น ทุ น และเวลา การหาคู ค า ที่ ส ามารถ ผลิตไดตามขอกําหนดและสงงาน ตรงเวลาจึงหายาก วิธีการปองกัน คื อ ทํ า ข อ ตกลงรายละเอี ย ดให ชัดเจนเปนลายลักษณอักษรวมถึง กํ า หนดความรั บ ผิ ด ชอบกรณี สินคาเสียหายลาชาไวดวย


กรณี ศึ ก ษา ธุ ร กิ จ แ บ ร น ด เ สื้ อ ผ า แ ฟ ชั่ น ต น แ บ บ

ขอบคุณภาพจาก Dan Taylr ใน www.flickr.com


Hempthai

“ภูมิปญญาไทยบวก นวัตกรรมสูตลาด แฟชั่นสีเขียว”

“ไอเดียสดใหม”

เสื้อยืดแบรนด "เฮียสด"


Hempthai


โดยการเกื้อกูลกับชุมชนชาวมง ซึ่ ง เป น กํ า ลั ง สํ า คั ญ ในการผลิ ต วัตถุดิบ พยายามรักษาวิถีชีวิตของ ชาวบ า นท อ งถิ่ น ในการใช ล าย จั ก สานของชาวม ง เป น ลายหลั ก ของสิ น ค า แบรนด Hempthai สงเสริมอาชีพใหแกชาวบานในการ ดูแลไรกัญชง สงเสริมการฝกสอน วิ ชาชีพ การผลิตเสื้อ ผาจากใยกั น ชงในโรงเรียนชุ มชนโดยใหผูเฒ า ในชุ ม ชนเป น ครู ส อนลู ก หลานใน โรงเรียนของชุมชน ทําใหเด็กๆ มี วิ ท ยาการพั ฒ นาเส น ใยและองค รายได แ ละมี อ าชี พ ที่ ส ามารถทํ า ความรูในกระบวนการผลิตตลอด รวมกับครอบครัวได สงผลใหเกิด ห ว ง โ ซ อุ ป ท า น ทํ า ใ ห ธุ ร กิ จ ความสุ ข ในการทํ า งาน ทํ า ให แ ล ะ ชุ ม ช น เ ติ บ โ ต ไ ป ด ว ย กั น Hempthai ไมมีปญหาขาดแคลน Hempthai มีเปาหมาย สราง แรงงานคนในการผลิต ความยั่งยืน ในการดําเนินธุรกิจ

97

2 ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

ซึ่ง เป น วั ส ดุธ รรมชาติเ ป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอม ใชเทคโนโลยีการวิจัย ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพเส น ใยให น า ใช มากขึ้ น ส ว นการออกแบบยั ง มี กลิ่ น อายศิ ล ปะพื้ น บ า นของ ชาวม ง อยู แต ป รั บ ให มี ค วาม ทั น สมั ย ดู เ ป น สากลมากขึ้ น กระบวนการผลิ ต ของแบรนด Hempthai เริ่มตนที่ภูมิปญญา ชาวบาน ในการปลูกตนกัญชงซึ่งมี อยูตามภาคเหนือ การออกแบบที่


ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2

Hempthai มีคาแรคเตอรเหมือน ศิลปน ถึงมีเงินแตก็ซื้อไมได หาก อยากไดตองรอแตไมเคยทําใหรอ

“ทําในสิ่งที่ใกลตัวและตัวเองรัก อยาเปรียบเทียบตัวเองกับใคร และสรางความสุขใหเกิดขึ้นใน สถานที่ทํางาน” คือ หัวใจสําคัญ ในการดํ า เนิ น ธุ รกิ จ คุ ณ ดวงฤทั ย มองว า ผลกํ า ไรไม ใ ช เ ป า หมาย สูงสุด ขอใหธุรกิจพออยูไดก็พอ แต ถ า ชุ ม ชมทํ า งานร ว มกั บ บริ ษั ท อยางมีความสุข พนักงานทํางาน อยางมีความสุขในสถานที่ทํางาน ผลิ ต ผลที่ ไ ด จ ะมี คุ ณ ภาพที่ ดี แ ละ ขายไดดวยตัวเอง Hempthai มี การทํางานกับชุมชนใกลชิดและนํา วั ฒ นธรรมการจั ด การคนแบบ ครอบครัว เคารพระบบอาวุโส มา ใช แตไมใชระบบการบริหารธุรกิจ ครอบครั ว คือ ข อ คิด ดี ๆ จากคุ ณ ดวงฤทัยในการดําเนินธุรกิจ

ประจํ า ตั้ง ตารอดว ยความเชื่อมั่ น สินคามีราคา สินคาทุกชิ้นจะถูก เย็ บ เป น แบบ Zero W Waste Concept คือ พยายามเย็บใหมี ตะเข็ บ น อ ยที่ สุ ด และลดการ ตั ด ทิ้ ง ของเศษผ า หากมองใน ตลาดสิ่ ง แวดล อ มแล ว แบรนด Hempthai แทบไมมี คูแ ข ง ใน ประเทศ สวนคูแขงในตางประเทศ ก็ มี ไ ม ม าก การตลาดจึ ง ใช วิ ธี เ จ า ะ ก ลุ ม ลู ก ค า ต ล า ด รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ ม เช น การขายทาง เว็บไซต การออกงานแสดงสินคา การไป Roadshow ประเทศตางๆ

98


ปจจัยแหงความสําเร็จ • ความคิดสรางสรรคในการสราง จุด ขายที่ ชัด เจนด า นนวั ต กรรม และรักษธรรมชาติ • การพัฒนาธุรกิจโดยมองทั้งหวง โซอุปทาน • การสราง Strategic Positioning ที่ชัดเจน • ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต อ ลู ก ค า พนักงาน และชุมชน

2

เขาถึงขอมูลไดที่ Hempthai Shop http://www.hempthai.com

ขอบคุณภาพจาก Hemptha

99

ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

ทําให Hempthai ไดรับคําสั่งซื้อ ก ลั บ ม า ทุ ก ค รั้ ง ก ลุ ม ลู ก ค า เปาหมาย คือ กลุมประเทศใน ยุ โ ร ป เ ย อ ร มั น เ ด น ม า ร ก อเมริกา และญี่ปุน ปจจุบันกลุม คนไทยเริ่มหันมาใชสินคาที่ทําจาก วัสดุจากธรรมชาติม ากขึ้ นในชว ง 2 ปที่ผานมาทําใหสัดสวนการขาย ในประเทศไทยเพิ่ ม ขึ้ น ส ง ผลให ยอดขายในประเทศมีสัดสวนเปน รอยละ 20 และสงออกตางประเทศ รอยละ 80 ของยอดขายทั้งหมด


o เ สื้ อ ยื ด แ บ ร น ด " เ ฮี ย ส ด " "ยืดสุดแนวแบรนดไทยกับไอเดียแพ็คเกจจิ้งแหวกแนว“

เฮียสด (Here! Sod) ชื่อแบรนด สุ ด กวนที่ วั ย รุ น เด็ ก แนวรู จั ก กั น ดี หน า ตาเหมื อ นอาหารสดตาม

ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2

กลั บ เป น เสื้ อ ยื ด เก ๆ แบรนด นี้ ไดรับรางวัล GOLD AWARD บรรจุภัณฑประเภท Body ของ PENTAWARDS ป 2010 เซียง ไฮ เ วิ ล ด เ อ็ ก ซ โ ป นี่ คื อ การเพิ่ ม มู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ด ว ยบรรจุ ภั ณ ฑ (Packaging) เปนบรรจุภัณฑที่ เรียบงาย จดจําไดงายและสื่อสาร สิ น ค า กั บ แบรนด ไ ด อ ย า งตรง ประเด็น คือ การขายไอเดียสดใหม ชื่อเฮียสดมีที่มาจากความคิดที่นํา คํา“อาเฮีย”จากรานโชหวยขายของ ส ด ม า ผ ส ม กั บ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ กลายเปน Here! Sod ที่นี่ขาย ของสด

*ที่มา: http://women.sanook.com/14489/ruchitta

100

ขอบคุณภาพจาก เฮียสด



ธุรกิจแบรนดเสื้อผาแฟชั่น

2

ปจจัยแหงความสําเร็จ • การออกแบบและความคิ ด สรางสรรค • ความเขาใจกลุมลูกคาเปาหมาย รสนิยม และชองทางการเขาถึง กลุมลูกคา • การเลื อ กใช สื่ อ ออนไลน แ ละ ช อ งทางการขายเข า ถึ ง ลู ก ค า เปาหมายตรงจุด • ใ ช เ ว ที ก า ร ป ร ะ ก ว ด เ ป น ใบเบิกทาง เขาถึงขอมูลไดที่ รานเฮียสด https://www.facebook.com/heresod

ขอบคุณภาพจาก เฮียสด

102


103


104

ขอบคุณภาพจาก Jason Hargrove ใน www.flickr.com


3 ธุ ร กิ จ รี วิ ว สิ น ค า แ ฟ ชั่ น

105


ธุรกิจรีวิวสินคา แฟชั่น หมายถึง ธุรกิจที่ทําหนาที่ ถายทอดประสบการณการใชสินคาแฟชั่นใหผูบริโภค รายอื่ น ๆ ได ท ราบถึ ง คุ ณ สมบั ติ ข อ ดี ข อ เสี ย ของ สินคาหรือบริการนั้นๆ ตามจริง โดยมีการบรรยาย ลักษณะของสินคา วิธีการใชงานหรือขั้นตอนการรับ บริการพรอมภาพประกอบ หรือที่เรียกทั่วไปวา “การ รีวิว” สินคาและบริการ โดยทั่วไปนักรีวิวสินคาแบง อ อ ก เ ป น 2 ลั ก ษ ณ ะ คื อ นั ก รี วิ ว มื อ อ า ชี พ (Professional Reviewer) และนักรีวิวมือสมัครเลน (Amateur)

ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

3

106



การสร า งรายได จ ากธุ ร กิ จ รี วิ ว สินคาแฟชั่น

ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

3

การสรางรายได เกิดจากการผลิ ต เนื้ อ หาสิ น ค า แฟชั่ น บ อ ยๆ จนมี ผู อ า นมี ค วามเชื่ อ ถื อ และติ ด ตาม ขอมูลการรีวิวเปนประจํา จึงมีผล ให ผู อ า นตั ด สิ น ใจซื้ อ สิ น ค า หรื อ บริการตามที่ผูรีวิวนําเสนอ เพราะ คาดหวั ง จะได รั บ ประสบการณ แบบเดียวกัน เจาของผลิตภัณฑที่ ต อ งการสื่ อ สารการตลาดไปยั ง กลุมลูกคาเปาหมายโดยตรง ก็จะ จางใหนักรีวิวไดทดลองสินคาและ ทํ า รี วิ ว ใ ห เ พื่ อ ห วั ง ใ ห ก ลุ ม เปาหมายตัดสินใจซื้อสินคาตามที่ รี วิ ว และเจ า ของผลิ ต ภั ณ ฑ ยั ง ได ความเห็นจากนักรีวิวไปใชในการ ปรับปรุงสินคาและบริการอีกดวย นั ก รี วิ ว ที่ ยิ่ ง มี ผู ติ ด ตามมาก มี ผลงานออกบอย ก็จะยิ่งไดคาจาง ในการรีวิวสูงขึ้น

108

ป จ จุ บั น ธุ ร กิ จ ที่ มี ผู นิ ย มบริ โ ภค ข อ มู ล จากการรี วิ ว มากกว า การ โฆษณาโดยเฉพาะสินคาประเภท แ ฟ ชั่ น เ ช น สิ น ค า ป ร ะ เ ภ ท เครื่องสําอาง ครีมบํารุงผิว กระเปา เสื้อผา รองเทา อุปกรณเสริมสวย ร า นทํ า ผม ร า นแต ง เล็ บ และสปา เปนตน


คุ ณ ส ม บั ติ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร

1.มีใจรักและมีความรูในสินคา แฟชั่น ซึ่งจะทําใหผูประกอบการ ไมเหนื่อยหนายในการเฝาติดตาม ความเคลื่อ นไหวในแวดวงแฟชั่ น และมีแรงบันดาลใจในการคนหา สิ่ ง ใหม ๆ เพื่ อ ติ ด ตามและหา ข า วสารข อ มู ล สิ น ค า ต า งๆ ที่ เกี่ยวของเพิ่มเติม เพื่อประโยชนใน การเปรียบเทียบและแนะนําสินคา และรั ก ที่ จ ะทดลองสิ น ค า และ บ ริ ก า ร ใ ห ม ๆ เ พื่ อ ห า ค ว า ม รู เ พิ่ ม เ ติ ม ใ ห กั บ ต น เ อ ง อ ย า ง สม่ําเสมอ 2.ชอบสังคม มีปฏิสัมพันธในโลก ออนไลนบอยๆ สามารถอัพเดท 109

ความเคลื่อนไหวของขอมูลขาวสาร แ ล ะ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ถายทอดเรื่องราวตางๆ ไดดี 3 . มี ค ว า ม รู ด า น ค อ น เ ท น ต เว็บไซต สามารถผลิตคอนเทนต บนเว็บไซตดวยตัวเอง เชน เขี ยน บทความ ถ า ยรู ป ตกแต ง รู ป ทํ า คลิ ป วิ ดิ โ ออย า งสั้ น และเพิ่ ม ไฟล เสียง เปนตน 4.กลาเสี่ยงเปนนักสรางกระแส บอยครั้งที่ผูประกอบการในธุรกิจนี้ ไมสามารถอยูเฉยๆ แลวรอคอยให เจ า ของสิ น ค า มาจ า ง แต นั ก รี วิ ว ตองมีผลงานของตัวเอง เพื่อชวย ส ร า ง ก ร ะ แ ส แ ล ะ ส ร า ง ฐ า น แฟนคลับ

3 ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

ผูป ระกอบการในธุ รกิ จ รีวิ ว สิน ค า แฟชั่น ควรมีคุณสมบัติหลักดังนี้


ก า ร เ ริ่ ม ต น ธุ ร กิ จ

1.กําหนดกลุมลูกคา (Customer Segments) กลุ ม ลู ก ค า ของผู ป ระกอบการ ธุ ร กิ จ รี วิ ว สิ น ค า แ ฟ ชั่ น คื อ เจาของสินคาแฟชั่นประเภทตางๆ อาทิ เสื้อผาแฟชั่น กระเปา รองเทา และเครื่องสําอาง เปนตน ปจจุบัน นั ก รี วิ ว สิ น ค า ถื อ เป น บุ ค คลที่ ทํ า หน า ที่ ท างการตลาดให กั บ สิ น ค า ใหคําแนะนํา ทดสอบสินคาและทํา หน า ที่ ข ายสิ น ค า ให กั บ เจ า ของ สินคา

ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

3

ปจจุบันธุรกิจสินคาประเภทแฟชั่น ใหความสําคัญกับ “นักรีวิวสินคา” เนื่ อ งจากการรี วิ ว นอกจากทํ า หน าที่ ข ายสิน คา แลว ยั ง เป นช อ ง ทางการรั บ ข อ มู ล ข า วสารหรื อ ปฏิกิริยาตอบกลับ (Feedback) ที่ มีตอสินคาไดเปนอยางดีและตรง กลุ ม เป า หมายหรื อ ผู ใ ช สิ น ค า โดยตรง 110

บทความและการรีวิวตางกันอยางไร ?? บทความ คือ รูปแบบการเขียนประเภทหนึ่ง ที่ ผู เ ขี ย นต อ งการสื่ อ สาร ข อ เท็ จ จริ ง และ หรือความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แกผูอาน โดยเนื้อหานําเสนอจากขอเท็จจริง ไมใชเรื่องแตงหรือคิดขึ้นเองจากจินตนาการ การรีวิวสินคา คือ การแนะนําสินคา ทําให ลู ก ค า เข า ใจว า สิ น ค า ชิ้ น นี้ มี คุ ณ สมบั ติ อยางไร ใชงานยากงายหรือวาดีแคไหน ซึ่ง จะทําใหเกิดความอยากจะซื้อสินคามากขึ้น ที่มา: Blog.lnw.co.th

The 1 Review Touch the power of review ให บริ ก ารรี วิ ว สิ น ค า และบริ ก ารด า น การตลาดบนโลกออนไลน แ บบครบวงจร เรามีความเชี่ยวชาญเฉพาะดานในการสราง แบรนด เพิ่ มความน าเชื่อ ถือให สินคาและ บริการ ที่มา: http://the1reviews.com/


111

ยอมรับสําหรับผูอาน ฐานแฟน คลับ คื อ กํา ลังสํ าคั ญที่ ทํา ให ผู รี วิ ว มี อํ า นาจต อ รองในการหา รานคาหรือเจาของแบรนด

วิธีวางรูปแบบการรีวิวผลิตภัณฑ เคา ร างของวิ ธี การวางออกบทความรี วิ ว สินคา … • ชื่อ URL, ชื่อ, และการแนะนําของคุณ ควรมี ชื่ อ ของผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ คุ ณ กํ า ลั ง ทดสอบ การเป ด ตั ว ควรแนะนํ า ชื่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ ใ ห ผู อ า นเห็ น ภาพรวมของ บทความรวมทั้ ง การเชื่ อ มโยงไปซื้ อ สินคาที่ไหน ในวรรคแรก บอกว า ทํ า ไมคุ ณ ได เลื อ กผลิ ต ภั ณ ฑ นี้ เ พื่ อ การใช ง าน หรือเพื่อการรีวิว ใ น ย อ ห น า ที่ ส อ ง อ ธิ บ า ย ถึ ง ผลิตภัณฑและคุณสมบัติของมัน ในวรรคที่สาม อธิบายสิ่งที่คุณชอบ และไมชอบเกี่ยวกับผลิตภัณฑและ คุณสมบัตขิ องสินคา ในวรรคสุดทายที่ใหผูอานทราบวา ทํ า ไมจึ ง ขอแนะนํ า ให ค นอ า นซื้ อ คนอาน มากขึ้ น โดยการ เชื่ อ มโยง ไปสู บทความที่ละเอียดมากขึ้น ที่มา: www.vvoody.com

3 ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

2 . คุ ณ ค า ที่ นํ า เ ส น อ ( Value Propositions) ข อ มู ล ตรงตามจริ ง การรี วิ ว สินคาเปนกระบอกเสียงของทั้ง รานคาและลูกคา ผูอานคาดหวัง การรีวิวที่ใหขอมูลในมุมมองของง ลูกคาผูใชงานจริงมากกวาการ เชี ย ร ร า นค า เพราะอยากรู คุณภาพที่แทจริงของสินคาและ บริ ก า ร ก า ร ใ ห ข อ มู ลอ ย า ง ละเอียดตรงไปตรงมา เนื้อหาเขาใจงายนาอาน การ เรียบเรียงเนื้อหา ภาพประกอบที่ เขาใจงาย นาสนใจ จะสามารถ ดึ ง ให ผู อ า นสามารถรั บ ข อ มู ล ของผูรีวิวไดตั้งแตตนจนจบ ปฏิ สั ม พั น ธ กั บ ผู อ า น การ สร า งฐานแฟนคลั บ คื อ หั ว ใจ สําคัญที่ทําใหธุรกิจรีวิวสินคาอยู รอด การตอบคําถามดวยความ สุภ าพเต็ ม ใจ ความเป น กั น เอง การมีกิจกรรมสังสรรคกันในโลก ความเปนจริง การเปดเผยตัวตน ใหเปนที่รูจักทําใหผูทํารีวิวเปนที่



113

6 . ท รั พ ย า ก ร ห ลั ก ( Key Resources) สําหรับธุรกิจรีวิวสินคา ทรัพยากร หลักที่ใชมีไมมาก อาทิ อุปกรณคอมพิวเตอร มือถือ ก ล อ ง ถ า ย รู ป แ ล ะ อิ น เทอร เ น็ ต เพื่ อ ใช ใ นการ ติ ด ต อ สื่ อ สารและการทํ า รี วิ ว สินคา เว็บไซต หรือ บล็อกเกอร ของ ตนเอง ข อ มู ล สิ น ค า รายละเอี ย ด สิ น ค า ส ว นผสม คุ ณ สมบั ติ รูปภาพ และขอมูลเปรียบเทียบ เปนตน ตั ว สิ น ค า ที่ จ ะใช เ ป น ต น แบบ หรื อ นํ า เ ส น อ ใ ห ก ลุ ม ลู ก ค า เปาหมายเห็นสินคาที่ใชในการ รีวิว

3 ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

โดงดังของผูทํารีวิว เชน รายไดจากการเขียนบทความ รี วิ ว ประมาณครั้ ง ละ 1,0003,000 บาท รายได จ ากการทํ า วิ ดี โ อรี วิ ว ประมาณครั้งละ 2,000-10,000 บาท รายได ก ารทํ า รี วิ ว สิ น ค า ทั้ ง แ ค ม เ ป ญ อ า จ สู ง ถึ ง ค รั้ ง ล ะ 100,000 บาท ค า จ า งบล็ อ กเกอร อ อกงาน เปดตั วสิน คา ประมาณครั้งละ 3,000-8,000 บาท การขายโฆษณาบนหน า เว็ บ ไซดรีวิวของตนเอง ค า คอมมิ ช ชั่ น จากสิ น ค า ที่ ไ ด รี วิ ว ไป (กรณี ที่ ไ ด ต กลงกั บ เจาของสินคา) นอกจากนี้ยังมีรายไดเสริมที่อาจได จากการเปด Workshop การเปน ผูแทนจําหนายสินคา การขายพื้นที่ โฆษณาบนแบนเนอร ใ นหน า เว็บไซตของตนเอง การผลิตคอน เทนตใหกับเว็บไซตอื่นๆ


ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

3

7.กิจกรรมหลัก (Key Activities) คือ กิจกรรมที่สรางคุณคาและสง มอบใหกับลูกคา และจะตองตรง ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ห รื อ ค ว า ม คาดหวั ง ของลู ก ค า ตามประเภท ของธุรกิจดวย ประกอบดวย การอัพเดทเนื้อหา การอัพเดท ข อ มู ล ใหม ทุ ก สั ป ดาห การหา บทความที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ สิ น ค า การรี วิ ว ผลิ ต ภั ณ ฑ ป ระเภท เดียวกันซ้ําๆ ทําใหเกิดภาพจํา ว า ผู รี วิ ว มี ค วามเชี่ ย วชาญใน สินคาประเภทนั้นๆ การจั ด หากิ จ กรรมร ว มสนุ ก กั บ แฟนคลั บ การสอดแทรก ขอมูลที่เกี่ยวของกับตัวผูรีวิวเอง ไลฟ ส ไตล งานอดิ เ รก เป น เทคนิ ค ที่ ทํ า ให แ ฟนคลั บ รู สึ ก ใกล ชิ ด กั บ ผู รี วิ ว และไม ม องผู รี วิ ว สิ น ค า ใ น ฐ า น ะ ค น ข า ย โฆษณา กิ จ กรรมมี ต ติ้ ง ต า งๆ แ ล ะ เ ก ม ส ร ว ม ส นุ ก จ ะ ช ว ย กระชั บ ความสั ม พั น ธ ให ฐ าน แฟนคลับเหนียวแนนขึ้น

114

การตลาดและการขาย เป น เรื่ อ งใหญ ที่ สุ ด เหมื อ นเอเจนซี่ โฆษณา ในรายผู ป ระกอบการ ขนาดเล็ ก อาจเริ่ ม ต น ด ว ยการ สร า งพอร ท โฟลิ โ อของตนเอง การแนะนํ า ตั ว ให ร า นค า หรื อ แบรนด สิน คา ในสาขาที่ต นเอง ถนัดรูจัก เชน ชวยทดลองสินคา ใหม การให ป ฏิ กิ ริ ย าตอบกลั บ อยา งสุภาพเกี่ยวกับสินคาที่ไ ด ใช เปนตน

8.คู ค า ห ลั ก ท า ง ธุ ร กิ จ ( Key Partnerships) คู ค า หรื อ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ที่ สําคัญและผูเริ่มธุรกิจควรมองหา ไว ไดแก กลุ ม เอเจนซี่ โ ฆษณา ซึ่ ง มี ภารกิ จ หาพื้ น ที่ สื่ อ ออนไลน ใหกับแบรนดขนาดใหญ กลุ ม ผู ป ระกอบการป จ จุ บั น ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ ห ม แ ล ะ ผูประกอบการธุรกิจออนไลน ซึ่งตองการประชาสัมพันธในชวง เริ่มตนธุรกิจ


กลุมผูบริโภคสินคาแฟชั่น ซึ่ง มั ก มี คํ า แนะนํ า อยากเห็ นรี น รี วิ ว สินคาประเภทตางๆ ทําใหผูผูรีวิว สามารถเกาะกระแสไดทัน

9 . โ ค ร ง ส ร า ง ต น ทุ น ( Cost Structure)

ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

3

115


ตั ว อ ย า ง โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ล ง ทุ น ธุ ร กิ จ รี วิ ว สิ น ค า แ ฟ ชั่ น รีวิวแฟชัน่ (เงินลงทุนเริม่ ตนประมาณ 50,000 – 80,000 บาท)*

(1) ลงทุนในสินทรัพย

(2) เงินทุนหมุนเวียน ตนทุนคงที่ คาเชา สถานที่

คคาพาหนะ

คาอินเทอรเน็ต

คคาน้ําคาไฟ

คาอุปกรณและ เค เครื่องมือ

คาอุปกรณ สํานักงาน

ตนทุนผันแปร

คากิจกรรม การตลาด

คาจัดทําเว็บไซต

ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

3 หมายเหตุ: 1) *ประมาณการเงินลงทุนเริ่มตนจากธุรกิจขนาดเล็กหรือธุรกิจเจาของคนเดียว ณ ป 2556 2) องคประกอบโครงสรางการลงทุนจะเปลี่ยนไปตามขนาดของธุรกิจและหลักการดําเนินธุรกิจของผูประกอบการ

116


117


ตั ว อ ย า ง ก า ร เ ริ่ ม ต น ธุ ร กิ จ ใ ห ม

ผูป ระกอบการในธุ รกิ จ รีวิ ว สิน ค า ในระยะเริ่มตน ผูประกอบการอาจ เริ่ ม ต น จากการรี วิ ว สิ น ค า ผ า น เ ว็ บ บ ล็ อ ก แ ล ะ สื่ อ สั ง ค ม ออนไลน ป ระเภทต า งๆ โดยเริ่ ม สรา งโปรไฟลห รือ ประวั ติก ารรีวิ ว สิ น ค า โดยมี ลํ า ดั บ ในการดํ า เนิ น ธุรกิจดังนี้ 1.ศึกษาหาขอมูลสินคาแฟชั่น ที่ สนใจและต อ งการจะเป น นั ก รี วิ ว สินคานั้นๆ

ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

3

2 . เ ขี ย น รี วิ ว สิ น ค า แ ฟ ชั่ น เผยแพร ผ า นสื่ อ สั ง คมออนไลน และเว็บบล็อกของตนเอง 3.ข อ มู ล การรี วิ ว สิ น ค า แฟชั่ น อยางตอเนื่อง เพื่อสรางฐานแฟน คลับ

118

4.ดําเนินการจัดทําเว็บไซดเปน ของตนเอง เพื่ อ สร า งความ นาเชื่อถือ 5.นําเสนอโปรไฟลและประวัติ การรีวิวสินคาแฟชั่นไปยังกลุม ลูกคาเปาหมาย เพื่อใหบริการรับ รีวิวสินคา 6.จัดกิจกรรมทางการตลาดกับ สมาชิก อย า งตอ เนื่ อ ง เช น การ ชิงของรางวัล การนัดทานอาหาร เย็นรวมกันในกลุมสมาชิก เปนตน


ก า ร ส ร า ง มู ล ค า เ พิ่ ม ใ ห กั บ ธุ ร กิ จ

1.งานบริการใหคําแนะนํา เ นื่ อ ง จ า ก ผู ทํ า รี วิ ว จ ะ มี ประสบการณกับสินคาและบริการ ประเภทเดี ย วกั น จํ า นวนมาก มี ขอมูลเปรียบเทียบของสินคาและ บริ ก ารจากแหล ง ต า งๆ ซึ่ ง เป น ประโยชน สํ า หรั บ ผู ผ ลิ ต ในการ ปรับปรุงสินคาและบริการและเปน ขอมูลที่ผูผลิตตองการได

119

2.สร า งความสนุ ก ให กั บ แฟน คลั บ การจั ด กิ จ กรรมร ว มกั บ สปอนเซอร มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ม าให ทดลองใช การประกวดภาพถ า ย กิจกรรม Makeover Workshop ตางๆ ชวยใหแฟนคลับสนุกสนาน และบอกตอใหเขามารวมเปนแฟน คลับมากขึ้น ทําใหผูประกอบการมี โอกาสในการได ง านรี วิ ว สิ น ค า เพิ่มขึ้น

3 ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

การสร า งมู ล ค า เพิ่ ม ให กั บ ธุ ร กิ จ สามารถทําไดหลากหลายรูปแบบ ที่แตกตางกันไป ตามแนวคิดของ ผู ป ระกอบการแต ล ะยุ ค สมั ย ใน คู มื อ ฉบั บ นี้ จ ะขอนํ า เสนอวิ ธี ก าร สรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคา/บริการ ดังนี้


วิ ธี ที่ ดี ที่ สุ ด ใ น ก า ร ทํ า น า ย อนาคต คือ การสรางมันขึ้นมา

- อลันเคย -


ป จ จั ย แ ห ง ค ว า ม สํา เ ร็ จ

ป จ จั ย หลั ก ที่ จ ะตั ด สิ น รายได ข อง ผู ทํ า รี วิ ว ยิ่ ง ล็ อ กอิ น โด ง ดั ง มี แ ฟน คลั บ มากโอกาสทางธุ ร กิ จ และ รายไดก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้น

1.ความคิ ด สร า งสรรค ในการ ออกแบบและนําเสนอเนื้อหาการ รี วิ ว การออกแบบและนํ า เสนอ เนื้ อ หาให น า สนใจ เข า ใจง า ย มี การอั พ เดทข อ มู ล ใหม ๆ อย า ง สม่ําเสมอ ทําใหลูกคาจดจําตัวตน ของธุรกิจได นําไปสูธุรกิจที่ยั่งยืน ในอนาคต

3.ความกระตือรือลนในการหา แ ห ล ง รี วิ ว แ ล ะ ส ป อ น เ ซ อ ร ส ป อ น เ ซ อ ร ร า น ค า เ อ เ จ น ซี่ โฆษณา เว็บไซตขายสินคา บริการ สวนลด คือ แหลงรายไดที่สําคัญ ของนั ก รี วิ ว เพราะเป น กลุ ม ที่ ตองการคอนเทนตที่มีคุณภาพ นัก รี วิ ว จึ ง ต อ งมี ค วามกล า ในการ นําเสนอผลงานตนเอง

2.ความสามารถในการรั ก ษา ฐานแฟนคลับ ฐานแฟนคลับ คือ

121

3 ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

ป จ จั ย แห ง ความสํ า เร็ จ ในดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ รี วิ ว สิ น ค า แ ฟ ชั่ น ประกอบด ว ย 3 ป จ จั ย หลั ก ที่ สําคัญ ดังนี้


ข อ ท า ท า ย

ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

3

1.ถูกลอกเลียนแบบขอมูลและ ภาพถ า ย การลอกเลี ย นแบบ เป น ไปได เ สมอในธุ ร กิ จ บนโลก ออนไลน ผูทํารีวิวจึงควรมีการทํา สัญ ลัก ษณ ตามภาพ หรือ ปองกั น การคัดลอกขอความ หรือ ยอมให คัดลอกโดยใหเครดิตผูทํารีวิว แม จะเปนปญหาทรัพยสินทางปญญา แต ถ า มองอี ก แง ก ารคั ด ลอกคื อ ตัวชี้วัดคุณภาพขอมูลอยางหนึ่งที่ มีผูนําไปอางถึงซ้ําๆ

122


3 ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

2.การสร า งสมดุ ล ระหว า งรี วิ ว เพื่ อ เอาใจผู อ า นและรี วิ ว เพื่ อ สปอนเซอร การสรางความผูกพัน ระหว า งผู อ า นและผู ทํ า รี วิ ว เป น เรื่ อ งสํ า คั ญ การทํ า รี วิ ว ที่ มี ผู จ า ย สปอนเซอรเพียงอยางเดียวอาจทํา ให ผู อ า นรู สึ ก เหมื อ นถู ก ยั ด เยี ย ด ขายสินคา หมดความเชื่อใจ และ ถอยห า งไป ผลงานรี วิ ว ก็ จ ะไม มี อิ ท ธิ พ ลทางการตลาดอี ก ต อ ไป การสรางสมดุลระหวางงานที่รีวิว เพื่ อ ผู อ า นกั บ งานรี วิ ว รั บ จ า งจึ ง สําคัญ

123


กรณี ศึ ก ษา ธุ ร กิ จ รี วิ ว สิ น ค า แ ฟ ชั่ น ต น แ บ บ

ขอบคุณภาพจาก Dan Taylr ใน www.flickr.com


“คอนเทนต และ แฟนคลับ”

Jeban.com เจาแมรีวิวแหงวงการแฟชั่น


J e b a n . c o m เ จ า แ ม รี วิ ว แ ห ง ว ง ก า ร แ ฟ ชั่ น

ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

3

จากงานอดิ เ รกส ว นตั ว สู ก ารรี วิ ว สิน คา แฟชั่ น แบบมือ อาชี พ นั่น คื อ เรื่ อ งราวของเจ า แม ด า นความ สวยความงาม จี ร าภั ส ร อริ ย บุรุษ เจาของและผูบุกเบิกจีบัน ดอทคอม ชุมชนออนไลนสําหรับ ส า ว ๆ รั ก ส ว ย รั ก ง า ม ที่ ถื อ ว า ประสบความสํ า เร็ จ มากที่ สุ ด เ ว็ บ ไ ซ ต ห นึ่ ง www.jeban.com บริหารโดยบริษัท ทูมังกี้ส สตูดิโอ เปนแหลง แลกเปลี่ยนเคล็ดลับการ แต ง หน า แต ง ตั ว สไตล ความ สวยงาม ตลอดจนพูดคุยเรื่องราว ต า งๆ ที่ อ ยู ใ นความสนใจของ ผูหญิงมีสมาชิกกวา 1.3 แสนคน ชื่อ Jeban มาจากชื่อล็อกอินที่คุณ จีร าภั สร ใช ใ นการเขี ย นบล็อ ก ซึ่ ง ขณะนั้นเปนที่ฮือฮาในกลุมสาวๆ เพราะแนะนําวิธีการแตงหนา แบบ

126

ฮาวทู เปดเผยหนาตาจริง ทั้งกอน ทุกขั้ นตอน จนเปนที่อัศจรรยใจที่ การแตงหนาสามารถเปลี่ยนบุคลิก คนได ความนิ ย มในกระทู ค วาม งาม และวิ ธี แ ต ง หน า ในบล็ อ ก มี ผู ติ ด ตามมากขึ้ น เรื่ อ ยๆ จนในป 2550 คุณจิราภัสรและเพื่อนๆ จึง ร ว ม ตั ว กั น เ ป ด บ ริ ษั ท ก อ ตั้ ง www.jeban.com


127

จุ ด สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให Jeban.com ประสบความสําเร็จ คื อ คอนเทนต และแฟนคลั บ ก า ร ที่ มี ข อ มู ล ใ ห ม ๆ เ ว็ บ ไ ซ ต เคลื่อนไหวตลอด และเปดพื้นที่ให สมาชิ ก ชว ยกั น แชร ค อนเทนต บ น เว็ บ ไซต ไ ด ทํ า ให มี ผู ติ ด ตามขา ป ร ะ จํ า แ ล ะ เ พิ่ ม ขึ้ น เ รื่ อ ย ๆ นอกจากนั้นคือการสรางชุมชนขึ้น ใ น โ ล ก จ ริ ง ๆ ไ ม ใ ช เ พี ย ง โ ล ก ออนไลน Jeban.com มักจะจัด กิจกรรมสม่ําเสมอที่ทําใหสมาชิก ได มี โ อกาสพบปะสั ง สรรค สนุ ก รวมกัน เชน How-to contest, Workshop ตางๆ Harem ที่ คัดเลือก ผูโ ชคดีไปทํากิจกรรมนอก ส ถ า น ที่ ด ว ย กั น ทั้ ง ท อ ง เ ที่ ย ว เปลี่ ย นลุ ก และกิ จ กรรม Swop แลกเปลี่ยนเครื่องสําอาง

3 ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

ช ว ง เ ริ่ ม ต น ไ ม ง า ย ค ว า ม ยากลํ า บากมี ตั้ ง แต ก ารไม เ ป น ที่ รูจัก การบุกเบิกธุรกิจเว็บไซต ซึ่ง ในขณะนั้ น ยั ง ใหม ม าก รวมถึ ง ป ญ หาเงิ น สดหมุ น เวี ย นจํ า กั ด ป ญ หาที่ เ ว็ บ คอมมู นิ ตี้ ด า นความ สวยความงามจะต อ ง เ จ อ ใ น ชวงแรก คือ การทําใหสปอรนเซอร หรือ แบรนดต า งๆ เข า ใจลัก ษณะ การทํางานของเว็บไซต เนื่องจาก การทํ า เว็ บ คอมมู นิ ตี้ ใ นเมื อ งไทย ค อ นข า งใหม แ บรนด ต า งๆ จะไม เขาใจวาจีบันไมไดรับจางรีวิวหรือ รับจางแตงหนา การหาผูสนับสนุน เ ว็ บ ไ ซ ต จึ ง เ ป น เ รื่ อ ง ที่ ย า ก พอสมควร จากจุ ด เล็ ก ๆ ทุ ก วั น นี้ จีบันเติบโตมีทีมนักเขียนบล็อกซึ่ง มีความชํานาญหลากหลายรวมกัน อยู ที่ เ ว็ บ ไซต นี้ มี ที ม ดู แ ลลู ก ค า ทีมงานดูแลสมาชิก และทีมไอที


เครื่องประดับ ที่ซื้อมาแลวไมไดใช ระหวางเพื่อนสมาชิกดวยกัน เปน ความสนุกของสมาชิกที่ ไดพบปะ พูดคุยกับคนที่สนใจในสิ่งเดียวกัน

ธุรกิจรีวิวสินคาแฟชั่น

3

ธุ ร กิ จ รี วิ ว สิ น ค า เติ บ โตได เ พราะ ผูบริโภคกระหายอยากรูขอมูลกอน ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ป จ จุ บั น ใ น อุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ เช น โรงแรม รานอาหาร สปา ซาลอน มีการจาง บล็ อ กเกอร หรื อ ล็ อ กอิ น ดั ง ๆ ใน เว็ บ คอมมู นิ ตี้ ข นาดใหญ ที่ มี แ ฟน คลับติดตามมาก ชวยทํารีวิวสินคา และบริ ก ารให ในแวดวงแฟชั่ น ก็ เช น กั น โดยเฉพาะผลิ ต ภั ณ ฑ เครื่ อ งสํ า อางและเครื่ อ งประทิ น ผิ ว ค า ตอบแทนในการทํ า วิ ดี โ อ รีวิวสินคา 1 ชนิด อาจอยูในระดับ

128

หลักหมื่น หากทําเปนซีรีสเคมเปญ อาจสู ง ถึ ง หลั ก แสน และยั ง มี กิ จ กรรมเป ด ตั ว สิ น ค า อี ก ธุ ร กิ จ รีวิวสินคาแฟชั่นคือโอกาสที่ไดทํา ในสิ่งที่รักเปนอาชีพอยางจริงจัง ปจจัยแหงความสําเร็จ • การหาข อ มู ล มาตอบโจทย ที่ กลุมเปาหมายสงสัย • ความสม่ําเสมอในการผลิตคอน เทนต • การรักษาความสัมพันธ กับฐาน แฟนคลับ • การใหขอมูลอยางตรงไปตรงมา เขาถึงขอมูลไดที่ Jaban.com Website : http://www.jeban.com


129


ขอบคุณภาพจาก Jeans for men ใน en.wikipedia.org


4 ธุ ร กิ จ ข า ย สิ น ค า แ ฟ ชั่ น อ อ น ไ ล น


ธุ ร กิ จ ขายสิ น ค า แฟชั่ น ออนไลน หมายถึ ง การ ดํา เนิน ธุ รกิ จ ที่ เกี่ ย วข อ งกับ การซื้ อ ขายและบริ ก าร สินคาแฟชั่น โดยอาศัยชองทางอินเทอรเน็ตในการ ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ เ ช น ก า ร ติ ด ต อ ลู ก ค า ก า ร ประชาสัมพันธ การขายสินคา การรับชําระเงิน ฯลฯ ในรูปแบบของการจัดทําเว็บไซดเปนของตนเองหรือ รานคาออนไลน การทํา ธุรกิจผานเว็บไซดพาณิชย อิเล็กทรอนิกสในรูปแบบของการประกาศซื้อ -ขาย (E-Classified) การทํ า ธุ ร กิ จ ผ า นตลาดกลาง อิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) หรือการทําธุรกิจ บริการอาหารออนไลนผานสื่อสังคมออนไลนประเภท ตางๆ อาทิ เฟซบุก (Facebook) หรืออินสตราแกรม (Instagram) เปนตน

ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

4 132 13 32


ปจจุบันผูประกอบการธุรกิจตางให ความสนใจในการทํ า ธุ ร กิ จ ผ า น เครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต หรื อ สั ง คม ออนไลนเพิ่มมากขึ้น ไมวาจะเปน การจัดทําเว็บไซตของธุรกิจ การใช สื่อ สังคมออนไลน หรือแมแ ตการ เป ด ร า นค า ออนไลน กั บ เว็ บ ไซด ขายสินคาตางๆ ที่มีอยูเปนจํานวน มาก ป 2555 มี ค นไทยใช อิ น เทอร เ น็ ต มากกวา 25 ลานคนและมี

พฤติกรรมการหาขอมูลขาวสาร ทางอินเทอรเน็ตมากเปนอันดับ 2 ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ค มี สินคา ผูประกอบการไทยที่ข าย อยูในโลกออนไลนมากกวา 10 ล า นรายการแล ว และยั ง คงมี แนวโนมเติบโตเพิ่มมากขึ้น โดย ในภาพรวมของตลาดของธุรกิจ พาณิชยอิเล็กทรอนิกส หรือ ECommerce ของประเทศไทยคิด เปนมูลคากวา 14,700 ลานบาท

พฤติกรรมในโลกออนไลนของคนไทย ในป 2555 คนไทยใชอินเทอรเน็ต

ในป 2555 ประเทศไทยมูลคา E-Commerce ของประเทศไทย กวา 14,700 ลานบาท

มากกวา 25 ลานคน

มากกวา 10 ลานคน

อันดับ 2 ภูมิภาค เอเชียแปซิฟค

133

4 ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

ขายสินคาในโลกออนไลน

พฤติกรรมการหาขอมูลขาวสาร ทางอินเทอรเน็ต


ในป 2555 ประเทศไทยมูลคา E-Commerce ของประเทศไทย

ขนาดของธุรกิจ E-Commerce

57.9% กวา 14,700 ลานบาท

ธุธรกิจขนาดเล็ก (มีคนทํางาน 1-5 คน)

36.2%

5.9%

ธุรกิ​ิจขนาดกลาง (6-50 คน) ธุรกิจขนาดใหญ (มีคนทํางานมากกวา 50 คน)

ส ถ า น ภ า พ ก า ร พ า ณิ ช ย อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ป 2 5 5 5 ประเภทผูประกอบการ E-Commerce ประเภท B2C*

ประเภท B2B*

ประเภท B2G*

75.2%

23.4%

1.4%

กลุ งเทีทย่ ว โรงแรม กลมุ ททอองเท กล และรีสอรท

4

กลุมธุรกิจในตลาด E-Commerce กลุมคอมพิวเตอร กลุมอุตสาหกรรมแฟชั่น อุปุ กรณ กรณออิเล็กทรอนิกส เครื่องแตงกาย อัญมณี และอิ และ นเทอรเน็ต แล และเครื่องประดับ

32.8%

14.5%

12.6%

กลุมธุรกิจบริการ

กลุมยานยนตและ ผผลิตภัณฑ

กลุมสิ่งพิมพ/เครื่องใช สสํานักงาน

7.0%

5.5%

4.8%

กลุมธุรกิจอื่นๆ

ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

22.8% ที่มา: สํานักงานสถิตแิ หงชาติ 2556 * B2B (Business to Business) คือ การคาระหวางผูคากับลูกคาเชนกัน แตในที่นี้ลูกคาจะเปนในรูปแบบของผูประกอบการ B2C (Business to Consumer) คือ การทําพาณิชยกรรมอิเล็กทรอนิกส จากผูประกอบการไปยังผูบริโภคทั่วไปหรือภายในทองถิ่น B2G (Business to Government) คือ เปนการประกอบธุรกิจระหวางภาคเอกชนกับภาครัฐ

134


การดูแลลูกคาของธุรกิจ e-Commerce ใชเจาหนาที่รับ โทรศัพท (Call Center))

ใชอีเมลหรือการสง คําถามผานหนาเว็บไซต

82.2%

68.0%

Social media เชน Facebook, Twitter

ใชระบบสนทนาลูกคาแบบ Live Chat เชน MSN, Skype, Gtalk ฯลฯ

17.7% %

10.8%

คนไทยใชอินเทอรเน็ต มากกวา 25 ลานคน พฤติกรรมการใชอนิ เทอรเน็ต (คนไทยมีพฤติกรรมการใชอินเทอรเน็ต เฉลี่ย 32 ชั่วโมง/สัปดาห)

93.8%

ใช Facebook

92.2%

ใช Google+

63.7%

ใชโปรแกรม Line

61.1%

พฤติกรรมการซื้อสินคาและบริการ ผานโซเชียลมีเดีย เคยซื้อสินคาผาน ชองทางโซเชียลมีเดีย

49.7%

สวนใหญเปนเพศหญิง

55.9%

รอยละ 49.7 เคยซื้อสินคาผานชองทางโซเชียลมีเดีย โดยสวนใหญเปนเพศหญิงถึง รอยละ 55.9 โดยมีสาเหตุมาจากความสะดวกสบายในการซื้อสินคาถึงรอยละ 76.0 และ เมื่อเทียบยอนหลังไป 12 ป ยังพบวาคนไทยมีพฤติกรรมการใช อินเทอรเน็ตเพิ่มสูงขึ้นถึง รอยละ 76.3 โดยพฤติกรรมที่คนไทยใชมากที่สุดคือ การซื้อสินคาและบริการผานโซเชียล มีเดีย โดยเฉพาะผูคนในเมืองใหญนิยมใชอินเทอรเน็ตทุกที่ทุกเวลา จึงผลักดันใหตลาด ออนไลนขยายตัวเพิ่มมากขึ้น และคาดการณวาในป 2561 จะมีผูใชสมารท โฟน มากถึง 3,300 ลานคน เลยทีเดียว

135

4 ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

นิยมใชโซเชียลมีเดีย


คุ ณ ส ม บั ติ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร

ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

4

คุณสมบัติของผูประกอบธุรกิจ ข า ย สิ น ค า แ ฟ ชั่ น อ อ น ไ ล น น อ ก จ า ก จ ะ มี สิ น ค า แ ฟ ชั่ น ที่ ทันสมัย สวยงามและหลากหลาย แล ว ผู ป ระกอบการที่ ต อ งการจะ ขายสินคาออนไลนควรเปนบุคคล มีความรูดานเทคโนโลยีหรือการใช สื่ออินเทอรเน็ตประเภทตางๆ เพื่อ นํา มาประยุก ตใชใ นกระบวนการ ทางธุรกิจของตนเอง และกอใหเกิด ประโยชน ท างการค า ผ า นระบบ ออนไลน โดยเฉพาะผูประกอบการ ที่ มี เ ว็ บ ไซด เ ป น ของตนเอง ซึ่ ง จะ ชวยลดคาใชจายในการจางผูดูแล ระบบต า งๆ ของกิ จ การที่ ต อ งมี ความเคลื่อนไหวและอัพเดทขอมูล อยางสม่ําเสมอ

136

องคประกอบของธุรกิจขายสินคาแฟชั่น ออนไลน ประกอบไปดวย • กลุมลูกคาเปาหมายชัดเจน • สินคามีจุดขาย • หน า ร า นออนไลน ซึ่ ง อาจใช เ ว็ บ ไซต สําเร็จรูป เว็บไซตสรางเองหรือโซเซียล มีเดียอื่นๆ ที่ไมเสียคาใชจายก็ได • เนื้อหานาสนใจ • การประชาสัมพันธใชเครือขายออนไลน ใหเปนประโยชน • ชองทางการชําระเงินนาเชื่อถือ • ระบบการขนสงสินคาตรงเวลา ติดตาม ได • ผู ดู แ ลหน า ร า นออนไลน หรื อ เจ า ของ ธุรกิจตองใสใจอัพเดทเนื้อหา และตอบ ขอซักถามของลูกคาอยางรวดเร็ว


ก า ร เ ริ่ ม ต น ธุ ร กิ จ

137

4 ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

1.กําหนดกลุมลูกคา (Customer ความซื่อสัตยตอลูกคา การคา ออนไลนตองอาศัยความเชื่อใจ Segments) กลุมเพศชาย อายุตั้งแต 18-35 เปนหลักเพราะลูกคา ไมไ ดเห็ น ป เป น กลุ ม ที่ ชื่ น ชอบสิ น ค า สินคาจริงหรือเปนการซื้อสินคา แฟชั่ น และใช อิ น เทอร เ น็ ต ใน จากภาพถ า ยหรื อ คํ า บอกเล า ชีวิตประจําวัน ของผู ช าย ดั ง นั้ น การแสดง กลุมเพศหญิง อายุตั้งแต 18-35 ความซื่อสัตยของผูประกอบการ ป เป น กลุ ม ที่ ชื่ น ชอบสิ น ค า จึงสําคัญมาก แฟชั่ น และใช อิ น เทอร เ น็ ต ใน การบริ ก าร คื อ หั ว ใจสํ า คั ญ ชีวิตประจําวัน ของร า นค า ออนไลน ความ ประทั บ ใจต อ ตั ว ผู ค า คื อ ก า ว แรกที่ ทํ า ให ลู ก ค า ตั ด สิ น ใจซื้ อ 2 . คุ ณ ค า ที่ นํ า เ ส น อ ( Value ขายกับกิจการนั้นๆ ตอ การตอบ Propositions) คําถามดวยความสุภาพเต็มใจ คุณภาพสินคาตรงกับขอมูลที่ บริ ก ารหลั ง การขายติ ด ตาม ใหลูกคา การใหขอมูลละเอียด ตรงไปตรงมา มี ข อ แนะนํ า ให ความพึ ง พอใจเมื่ อ ลู ก ค า รั บ ลู ก ค า ได พิ จ ารณาตั ด สิ น ใจเอง สินคาไปแลว และมี ก ารอั พ เดทข อ มู ล เสมอ เนื่ อ งจากลู ก ค า ไม มี โ อกาสได 3.ระบุชองทาง (Channels) สัมผัสสินคากอนตัดสินใจซื้อ จึง เว็ บ ไซต มี 2 ทางเลื อ ก คื อ เว็บไซตที่สรางขึ้นมาเอง โดย ตองใหขอมูลอยางละเอียด



ที่ ร า น นํ า ม า จํ า ห น า ย บ น อินเทอรเน็ต

139

4 ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

กระทรวงพาณิ ช ย เพื่ อ สร า ง ค ว า ม น า เ ชื่ อ ถื อ ใ ห กั บ ผู ป ระกอบการและเสริ ม สร า ง ความมั่ น ใจให กั บ ผู บ ริ โ ภคใน 6 . ท รั พ ย า ก ร ห ลั ก ( Key ก า ร ซื้ อ ข า ย สิ น ค า ผ า น ท า ง Resources) สําหรับธุรกิจออนไลนประกอบไป อินเทอรเน็ต ดวยทรัพยากรหลักที่สําคัญ ดังนี้ บั ญ ชี เ งิ น ฝากสํ า หรั บ ให ลู ก ค า โอนเงิ น ผู ป ระกอบการจะต อ ง อุป กรณคอมพิวเตอร มือถือ เ ป ด บั ญ ชี เ งิ น ฝ า ก กั บ ท า ง กลอง อินเทอรเน็ต เพื่อใชใน การติดตอสื่อสารและการทํารีวิว ธนาคารไวสําหรับใหลูกคาโอน สินคา เปนตน เงินชําระคาสินคา เว็ บ ไซต ห รื อ หน า ร า นสํ า หรั บ ข อ มู ล ข อ ง สิ น ค า ขายสินคาออนไลน ผูประกอบการและรายละเอียดที่ สํ า คั ญ อื่ น ๆ บ น เ ว็ บ ไ ซ ต การตั้ ง ชื่ อ โดเมนของร า นค า หลั ง จากเลื อ กเว็ บ ไซต ที่ จ ะทํ า ผูประกอบการธุรกิจควรที่จะให การเป ด ธุ ร กิ จ ออนไลน ไ ด แ ล ว ข อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ป ร ะ วั ติ ห รื อ ควรเลื อ กชื่ อ ที่ โ ดดเด น และ รายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับ จดจําไดงาย หรืออาจจะเปนชื่อ ธุรกิจ ที่ แ สดงความเป น ตั ว ตนของ ธุ ร กิ จ เพื่ อ ที่ จ ะทํ า ให ลู ก ค า เข า 7.กิจกรรมหลัก (Key Activities) มาเลือกดูสินคาไดงายขึ้นในครั้ง การอัพเดทเนื้อหาบนเว็บไซต คือ การอัพเดทสินคาใหมอยาง ตอๆ ไป น อ ยสั ป ดาห เ ว น สั ป ดาห การ ก า ร จ ด ท ะ เ บี ย น ก า ร ค า หาบทความที่เกี่ยวของกับสินคา กับกรมพัฒนาธุรกิจการคา


ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

4

การรี วิ ว ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ถื อ เ ป น เนื้ อ หาที่ จ ะช ว ยให เ ว็ บ ไซต มี ความนาสนใจติดตามมากขึ้น การจั ด หาสิ น ค า การจั ด หา สินคามีทั้งการออกสํารวจตลาด ซื้ อ สิ น ค า จากแหล ง การสั่ ง นําเข าจากตางประเทศ การใช ระบบและการ Dropship การตลาดและการขาย เริ่ ม ตั้ ง แต ก ารหาตลาดเป า หมาย ห า ท า ง เ ข า ถึ ง ก ลุ ม ลู ก ค า เป า หมาย และมี ก ารสื่ อ สาร ระหวางกันสรางความเชื่อมั่นให ลูกคาไดมีโอกาสทดลองซื้อ การ กํ า หนดวิ ธี ก ารสื่ อ สาร และ ช อ งทางการสื่ อ สารเป น เรื่ อ ง สําคัญ กลวิธีการตลาดออนไลน มีหลายแบบ เชน › ใช บ ล็ อ กเกอร หรื อ นั ก รี วิ ว สิ น ค า มื อ อาชี พ ที่ มี ฐ านแฟน คลับประจําในการสรางความ นาเชื่อถือใหแบรนดรานคา › ฝากลิงคไวตามเว็บตางๆ › ซื้อโฆษณา Google ประเภท

140

Google Adwords เนนคําคน สํ า คั ญ ๆ ที่ สื่ อ ถึ ง สิ น ค า แบบ เจาะจง › ซื้ อ แบนเนอร เ ว็ บ ไซต อื่ น ๆ เปนตน เทคนิคงายๆ กับรานคาออนไลน 1.ติดตอผูขายไดรวดเร็ว เพราะนอกจาก จะชวยใหการขายดําเนินไปไดอยางรวดเร็ว แล ว การทํ า ตั ว ให ติ ด ต อ ได ง า ยยั ง ช ว ยใน เรื่องของความนาเชื่อถือ ทําใหลูกคารูสึกวา พอคาแมคารานนี้มีตัวตนจริงๆ 2.ช องทางโอนเงิ น ผูประกอบการควรมี บัญชีธนาคารไวหลายๆ แหงเพื่อรองรับการ ชํา ระเงิ น และหากมี ก ารรั บ ชํ า ระผ า นบั ต ร เครดิตเพิ่มเขามาดวยก็จะยิ่งชวยใหลูกคา ตัดสินใจไดเร็วขึ้นกวาเดิมดวย 3.การสงของรวดเร็ว เปนเรื่องปกติที่เมื่อ ลูกคาจายเงินแลวก็มกั จะตองการของใหเร็ว ที่ สุ ด เ ท า ที่ จ ะ เ ร็ ว ไ ด ดั ง นั้ น ห า ก ผู ป ระกอบการส ง สิ น ค า ให ลู ก ค า ได เ ร็ ว เท า ไหร ก็ จ ะยิ่ ง สร า งความประทั บ ใจให ลูกคาไดมากเทานั้น 4.หีบหอดูดี และควรบรรจุสินคาลงหีบ หออยางระมัดระวัง มีการหอพลาสติกกัน กระแทกสํ า หรั บ สิ น ค า ที่ อ าจแตกได ห อ พลาสติกหรือนําสินคาใสถุงซิปล็อกอีกชั้น เพื่ อกันการเปยกน้ํา และที่ สําคัญ ที่ สุดคื อ พอคาแมคาตองปดผนึกกลองพัสดุใหแนน หนาที่สดุ ไมใหเกิดการฉีกขาดระหวางทาง


8.คู ค า ห ลั ก ท า ง ธุ ร กิ จ ( Key Partnerships) กลุ ม ผู ค า ส ง ซึ่ ง กิ จ การไปรั บ สินคามาขาย ยานผูคาสงสินคา แฟชั่นสําคัญ อาทิ ประตูน้ํา หาง แพลตติ นั่ ม ตลาดนั ด จตุ จั ก ร และตลาดสําเพ็ง เปนตน คูคาจากตางประเทศ ในกรณี นํ า เข า สิ น ค า จากต า งประเทศ ข อ ควรระวั ง คื อ คุ ณ ภาพและ มาตรฐานของการขนสงและตัว สินคา ผู ใ ห บ ริ ก ารจั ด ส ง สิ น ค า อาทิ ไปรษณียไทย บริษัทขนสงสินคา เอกชน เชน DHL หรือ FedEx ธุรกิจที่เชื่อมโยงกัน เชน ราน รองเทา รานเครื่องประดับแฟชั่น ร า นขายของที่ ร ะลึ ก ห อ งเสื้ อ หรือรานเครื่องสําอาง เปนตน

141

4 ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

9 . โ ค ร ง ส ร า ง ต น ทุ น ( Cost Structure)


ตั ว อ ย า ง โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ล ง ทุ น ธุ ร กิ จ ข า ย สิ น ค า แ ฟ ชั่ น อ อ น ไ ล น สินคาแฟชัน่ ออนไลน (เงินลงทุนเริม่ ตนประมาณ 70,000 – 100,000 บาท)*

(1) ลงทุนในสินทรัพย

(2) เงินทุนหมุนเวียน ตนทุนคงที่

คากลองถายรูป มือถือและอุปกรณ ตอพวง

คาอินเทอรเน็ต

ตนทุนผันแปร คาสินคา / คาจางผลิต

คาอุปกรณ สํานักงาน

คาบรรจุภัณฑสง สินคา

คาจัดทําเว็บไซต

คาไปรษณีย

คาน้ําคาไฟ

ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

4 หมายเหตุ: 1) *ประมาณการเงินลงทุนเริ่มตนจากธุรกิจขนาดเล็กหรือธุรกิจเจาของคนเดียว แบบไมมีหนาราน ณ ป 2556 2) องคประกอบโครงสรางการลงทุนจะเปลี่ยนไปตามขนาดของธุรกิจและหลักการดําเนินธุรกิจของผูประกอบการ

142


143



ก า ร ส ร า ง มู ล ค า เ พิ่ ม ใ ห กั บ ธุ ร กิ จ

145

4 ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

1 . ง า น บ ริ ก า ร เ พิ่ ม มู ล ค า ผูประกอบการสามารถสรางความ ประทั บ ใจให กั บ ลู ก ค า โดยการ อํานวยความสะดวก เชน มีสินคาที่ เขาคูกับเสื้อผาของแบรนดตนเอง มาขายแบบ One-stop service บริ ก ารแนะนํ า เสื้ อ ผ า ที่ เ ข า กั บ บุคลิกของลูกคา บริการสั่งสินคา เฉพาะใหลูกคาและบริการเปลี่ยน สินคา เปนตน 2.สรางความสนุกใหกับรานคา ออนไลน เช น การจั ด กิ จ กรรม ร ว มกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ อื่ น ๆ ออกร า น ตามโอกาสต า งๆ การประกวด ภาพถาย กิจกรรม makeover ชวย ให ลู ก ค า สนุ ก และเข า มามี ส ว น ร ว มกั บ ร า นค า มากกว า จะแวะดู ขอมูลเทานั้น


ถ า คุ ณ ไม เ ห็ น ว า ตั ว เอง คื อ ผู ช น ะ แ ล ว คุ ณ ก็ จ ะ ไมสามารถดําเนินการใหเปน ผูช นะได - ซิก ซิกลา ขอบคุณภาพจาก Creativecommons.org


ป จ จั ย แ ห ง ค ว า ม สํา เ ร็ จ

ลู ก ค า ไม มี โ อกาสได สั ม ผั ส สิ น ค า ก อ น ชํ า ร ะ เ งิ น ดั ง นั้ น ผู ป ระกอบการต อ งสร า งความ ไว ว างใจให เ กิ ด ขึ้ น โดยการดู แ ล คุ ณ ภ า พ สิ น ค า ใ ห ต ร ง กั บ คํ า โฆษณา การส ง มอบสิ น ค า ตรง เวลา การใหขอมูลติดตอที่สามารถ ติดตามตัวได การอัพเดทรหัสพัสดุ ข อ มู ล ก า ร ส ง สิ น ค า ใ ห ลู ก ค า ตรวจสอบได

4.ระบบการเรี ย กเก็ บ เงิ น ที่ น า เ ชื่ อ ถื อ ก า ร ทํ า ธุ ร ก ร ร ม 2.ความรวดเร็วในการใหบริการ ออนไลน สํา หรับ คนไทยหลายคน และตอบคําถามแบบ Real time ยั ง เป น ช อ งทางที่ ไ ม น า เชื่ อ ถื อ การค า ขายบนอิ น เทอร เ น็ ต เป ด ดั ง นั้ น ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ต อ ง มี โอกาสใหผูคาสามารถขายของได ทางเลือกในการรับชําระเงินหลาย ตลอด 24 ชั่วโมง ช อ ง ท า ง ก า ร ใ ช Payment Gateway ของธนาคารตางๆ ก็เปน 3.ระบบการเปลี่ยนคืนสินคาที่ดี วิธีหนึ่งที่ลูกคามั่นใจในระบบการ การขายสินคาออนไลนจําเปนตอง รักษาความปลอดภัยขอมูลลูกคา อาศัยความเชื่อใจเปนหลัก เพราะ ของธนาคาร 147

4 ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

ปจจัยแหงความสําเร็จในธุรกิจขาย สินคาแฟชั่นออนไลน ประกอบดวย 4 ปจจัยหลักที่สําคัญ ดังนี้ 1.ความคิ ด สร า งสรรค ใ นการ นํ า เสนอเนื้ อ หา สํ า หรั บ ธุ ร กิ จ ออนไลน สิ่ ง แรกที่ ส ร า งความ ประทับใจแกผูพบเห็น คือ เนื้อ หา การออกแบบการนํ า เสนอเนื้ อ หา ให น า สนใจ เข า ใจง า ย อั พ เดท สม่ําเสมอ ทําใหลูกคาจดจําตัวตน ของธุรกิจได นําไปสูธุรกิจที่ยั่งยืน ในอนาคต


ข อ ท า ท า ย

1 . ก า ร จั ด ก า ร เ รื่ อ ง ลิ ข สิ ท ธิ์ ขอมูลบนอินเทอรเน็ต สามารถ ลอกเลียนแบบได งายและการตัด ร า ค า ข า ย ก็ เ ป น ไ ป ไ ด เ ส ม อ ตลอดจนการนํ า ข อ มู ล ผู อื่ น มา เ ผ ย แ พ ร บ น อิ น เ ท อ ร เ น็ ต ผูประกอบการควรอางอิงที่มาของ ขอมูล เพื่อเปนการเคารพทรัพยสิน ทางปญญา

ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

4

2 . ก า ร เ ข า ไ ม ถึ ง ก ลุ ม ลู ก ค า เ ป า ห ม า ย อ า จ เ กิ ด จ า ก ผู ป ระกอบการเลื อ กช อ งทางไม เหมาะสม ขาดความสม่ําเสมอใน การสื่อสาร เนื้อหาไมนาสนใจ ตอง ปรับปรุง กระบวนการเหลานี้ อาจ ตองลงทุนในการจางนักถายภาพ สินคามือดี จางนักรีวิว สินคา ชว ย เขียน เปลี่ยนวิธีการสื่อสารลูกคา ใหม หาชองทางเพิ่มเติม 3.การบริหารสินคาคงคลัง ชอง ทางการหาสินคาเขามาขาย มีทั้งที่ 148


ต อ งสต็ อ คสิ น ค า และสั่ ง ตรงจาก ผู ผ ลิ ต มาถึ ง มื อ ผู ซื้ อ โดยไม ต อ ง สต็อ คสินค า แต ละรู ป แบบมีข อ ดี ขอเสียตางกัน การสตอคสินคา ผูประกอบการมี โอกาสได เ ห็ น สิ น ค า ก อ นถึ ง มื อ ลู ก ค า สามารถป อ งกั น ป ญ หาที่ เกิ ด ขึ้ น จากตั ว สิ น ค า ก อ นส ง มอบ ใ ห กั บ ผู ซื้ อ ห รื อ ลู ก ค า ไ ด แ ต ผูประกอบการก็ตองลงทุนลวงหนา

149

4 ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

การสั่งตรงจากผูผลิตมาถึงมือผู ซื้ อ วิ ธี นี้ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ไ ม ตองสตอคสินคา แตมีความเสี่ย ง กั บ คุ ณ ภาพของสิ น ค า ที่ ไ ปถึ ง มื อ ลู ก ค า ห า ก สิ น ค า นั้ น ๆ ไ ม ไ ด คุณภาพ จะสงผลให ชื่อเสียงของ กิจการเสียหาย


กรณี ศึ ก ษา ธุ ร กิ จ ข า ย สิ น ค า แ ฟ ชั่ น อ อ น ไ ล น ต น แ บ บ

ขอบคุณภาพจาก Dan Taylr ใน www.flickr.com


“Dropship ไรสต็อค”

Merrygoroundcloset



ใ น ทั ศ น ะ ข อ ง เ จ า ข อ ง ร า น ค า ออนไลน เห็นวา Dropship ไมควร เปนชองทางรายไดหลักแตเหมาะ

153

4 ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

อัพเดทสินคา แชรหนาแฟนเพจไป ยั ง เว็ บ ต า งๆ ลงโฆษณาตาม เว็ บ ไซต โทรติ ด ต อ ตอบคํ า ถาม ลู ก ค า คอยเช็ ค การโอนเงิ น และ ดูสต็อคสินคา การเลือ กสินคามา ขายและการตั้งราคา ถือเปนเรื่อง ตั ด สิ น ใจยากเรื่ อ งหนึ่ ง เพราะ หมายถึ ง ต น ทุ น และรายได ที่ จ ะ เกิดขึ้น บอยครั้งที่รานคาออนไลน เกิ ด ภาวะทุ น จม แต มี เ ครื่ อ งมื อ การตลาดออนไลนแบบใหมที่ชวย ผ อ นแรงผู ค า ออนไลน ใ นการทํ า คอนเทนต สามารถหาสิ น ค า หลากหลายมาขายเสริมกับสินคา หลั ก โดยไม ต อ งลงทุ น สต็ อ คของ และผูคาไดรับสวนแบงกําไรนั่นคือ ระบบ Dropship

กระบวนการทํางานของ Dropship 1.Dropshipper จะมีสินคาอยูในมือหรือรับ ซื้อสินคาจากผูผลิตมา แลวรับสมัครผูขาย โดยให ข อ มู ล สิ น ค า ภาพประกอบ ราคา สวนลดสินคา/หรือแตมสะสม Dropshipper มีการเก็บคาสมาชิก หรือ กําหนดยอดขาย ในชวง 1-3 เดือนแรกเพื่อใหมั่นใจวาผูขาย จะทําหนาที่ตามขอตกลง ในขณะเดียวกันก็ รับสมัครผูผลิตมาเปนเครือขายเพื่อใหตนเอง มีเครือขายสินคาหลากหลาย 2.ผูขายนําขอมูลสินคาไปประชาสัมพันธ เมื่ อ มี ลู ก ค า สั่ ง ซื้ อ เข า มาและโอนเงิ น เ รี ย บ ร อ ย แ ล ว ผู ข า ย จ ะ สั่ ง ซื้ อ ไ ป ยั ง Dropshipper ใหดําเนินการจัดสงสินคาไป ยังผูซื้อ โดยอาจใชชื่อของผูขายหรือชื่อของ Dropshipper ในการจัดสง แลวแตขอตกลง 3.Dropshipper จัดสงสินคาใหผูซื้อและ แบงกําไรใหกับผูขาย ตามแตวิธีที่ตกลง เชน สวนลดสินคา สะสมแตมแลวจายเปน เดือน คิดเปนคาคอมมิชชั่นแตละครั้ง


เปนวิธีทางการตลาดเสริมสําหรับ ผู ค า ออนไลน ที่ มี สิ น ค า หลั ก ของ ตัวเองที่สามารถกําหนดราคาเอง ได เพื่อใหมีรายไดเพิ่มขึ้น ตรงขาม Dropship เปนเครื่องมือการตลาด ทรงพลั ง สํ า หรั บ ธุ ร กิ จ ที่ มี แ บรนด ของตั ว เอง หรื อ ผลิ ต สิ น ค า ของ ตัวเอง ดวยขอดีขอเสียดังตอไปนี้

ขอเสีย ของรูปแบบ Dropship • สัดสวนกําไรมีนอย เนื่องจากไม มีสิทธิ์ตั้งราคาสินคาเอง • ขอมูลสินคาจะซ้ํากับเว็บอื่นๆ • ผู ค า ไม เ ห็ น สิ น ค า จริ ง อาจเกิ ด ปญหาสินคาไมตรงกับโฆษณา และกระบวนการคื นสิ นค า ยุงยาก

ปจจัยแหงความสําเร็จ ขอดี ของรูปแบบ Dropship • ความซื่ อ สัต ยตอ ลู กคา สง มอบ • ไมตองลงทุนมาก สินคาตรงตามที่โฆษณา • ไมตองผลิตคอนเทนตเอง • มี สิ น ค า หลากหลายเพิ่ ม ความ • การบริหารจัดการสินคาคงคลัง และการสงมอบสินคาตรงเวลา นาสนใจใหกับหนาราน • ความรวดเร็วในการใหบริการ • มีรายไดเพิ่มโดยไมลงแรงมาก • ในแง ที่ ธุ ร กิ จ มี สิ น ค า เป น ของ เขาถึงขอมูลไดที่ ตัวเอง ระบบ Dropship จะชวย Merrygoroundcloset เรื่องการประชาสัมพันธ https://www.facebook.com/merrygoroundcloset

ธุรกิจขายสินคาแฟชั่นออนไลน

4 154


155



5 ธุ ร กิ จ เ สื้ อ ผ า พ ลั ส ไ ซ ส

157


ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส หรือเสื้อผาคนอวน หมายถึง การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การออกแบบ การ จํ า หน า ย การขายเสื้ อ ผ า เครื่ อ งแต ง กายที่ มี ข นาด ใหญกวาขนาดมาตรฐาน S M L หรือ เสื้อผาที่มีรอบ อกใหญ ก ว า 38 นิ้ ว ขึ้ น ไป เพื่ อ กลุ ม ลู ก ค า คนอ ว น รูปแบบธุรกิจแบงได 3 ลักษณะ คือ ธุรกิจเสื้อผาพลัส ไซสแบบมีแบรนดเปนของตนเอง ธุรกิจนําเขา (Preorder) เสื้อผาพลัสไซส และธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส แบบซื้อมาขายไป

5 158


ถนนขรุ ข ระ จะนํ า ไปสู ความ ยิ่งใหญ ที่สูงสุด - เซเนกา -



ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

เพราะประเด็ น สํ า คั ญ คื อ การ เ ส ริ ม จุ ด เ ด น ใ ห ดึ ง ส า ย ต า มากกวาจุดดอย ช า งสั ง เกตและมี ค วามคิ ด สรางสรรค ผูประกอบการควร ช า ง สั ง เ ก ต ว า ก ลุ ม ลู ก ค า เปาหมายสวนใหญนิยมเสื้อผา แบบไหน มีคาแรกเตอรอยางไร และการแตงตัวแบบไหนจะชวย เสริม บุค ลิก ภาพเดน ของลู กค า ขึ้ น ไ ด ทั ก ษ ะ นี้ จ ะ ช ว ย ใ ห ผูประกอบการสามารถออกแบบ หรื อ เลื อ กสิ น ค า และแนะนํ า สินคาใหลูกคาตัดสินใจไดเร็วขึ้น ความคิ ด สร า งสรรค จ ะช ว ยให ผูประกอบการสามารถ Mix & Match สินคา สามารถจัดหุน โชวนําเสนอแนวการแตงตัวเปน ทางเลือกแกลูกคาได

5 161



บ ริ ก า ร สั่ ง ตั ด เ ฉ พ า ะ ผูประกอบการตองเตรียมรับ สถานการณที่ลูกคาขอสั่งตัด เฉพาะ หรือ ผู ป ระกอบการมี แบบที่อยากสั่งผลิตเปนสินคา เฉพาะที่ราน การสงมอบสินคาเสื้อผาพลัส ไซส ใ ห กั บ ลู ก ค า เช น การส ง มอบสิ น ค า ทางไปรษณี ย การ ส ง มอบสิ น ค า ณ ร า นค า ด ว ย บรรจุ ภั ณ ฑ ที่ เ หมาะสมกั บ การ ขนสง การให บ ริ ก ารหลั ง การขาย อาทิ ให คํ า แนะนํ า ในการดู แ ล รักษาเสื้อผาพลัสไซส ใหบริการ จัดเปลี่ยนสินคาที่ไมไดคุณภาพ หรือชํารุดเสียหาย เปนตน ›

3.ระบุชองทาง (Channels) ช อ ง ท า ง ก า ร จํ า ห น า ย สิ น ค า ชองทางการสื่อสารกับลูกคา กลุม นี้ ควรทําควบคูก ันทั้งหนารานจริง

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

ใหคําแนะนํา ขายเสื้อผาพลัสไซส และสงมอบเสื้อผาพลัสไซสใหกับ ลูกคา ก า ร นํ า เ ส น อ สิ น ค า เสื้ อ ผ า พลั ส ไซส ที่ ต รงกั บ กลุ ม เป า หมาย ด ว ยรู ป แบบ ต า งๆ เช น การขายสิ น ค า ผ า น ร า นค า หรื อ ห อ งเสื้ อ การขาย สินคาผานชองทางอินเทอรเน็ต การให คํ า แนะนํ า ตั ว สิ น ค า และการให บ ริ ก ารเสื้ อ ผ า พลัสไซสที่เหมาะสมและตรง ค ว า ม ต อ ง ก า ร ข อ ง กลุมเปาหมาย เชน › ใหคําแนะนําการแตงตัวที่ชวย เสริมบุคลิกภาพ › บริการลองเสื้อผา บริการหลัง การขายติ ด ตามความพึ ง พอใจเมื่ อ ลู ก ค า รั บ สิ น ค า ไป แลวและการรับเปลี่ยนสินคา จะช ว ยสร า งความพึ ง พอใจ ของลูกคา

5 163



165

ตัดเย็บจากแหลงที่ไวใจได เพื่อ เปนการลดตนทุนในการลงทุ น เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ ซึ่ ง เป น ทรัพยากรที่ตองใชเงินลงทุนเปน จํานวนมาก 7.กิจกรรมหลัก (Key Activities) คือ กิจกรรมที่สรางคุณคาและสง มอบใหกับลูกคา และจะตองตรง ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ห รื อ ค ว า ม คาดหวั ง ของลู ก ค า ตามประเภท ของธุรกิจดวย การออกแบบและผลิตสินคา สํ า หรั บ ธุ ร กิ จ ที่ ตั้ ง ใจออกแบบ เสื้อผาดวยตนเองแลว ขั้นตอนนี้ เปนหัวใจหลักในการสรางสินคา ที่มีคุณภาพ เพราะนักออกแบบ ตองอาศัยความรูดานแฟชั่นและ ความเข า ใจในป ญ หาสรี ร ะคน อวนเปนอยางดี จึงสามารถปรับ รู ป แบบแฟชั่ น ปกติ ใ ห เ ข า กั บ แฟชั่นพลัสไซสได ก า ร เ ลื อ ก ส ร ร สิ น ค า ม า จําหนายเปนกระบวนการที่ตอง

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

ที่ เ กี่ ย วข อ งอื่ น ๆ มาจํ า หน า ย รวมกันได เชน รองเทาพลัส ไซส ก ร ะ เ ป า เ ข็ ม ขั ด แ ล ะ เครื่องประดับ เปนตน เพื่อชวย เพิ่มรายไดใหกับธุรกิจ ทรั พ ยากรบุ ค คล ในกรณี ที่ ผู ป ระกอบการต อ งการสร า ง แบรนด ข องตนเอง ทรั พ ยากร บุค คลจึ ง เป นป จจั ย ที่สํ า คัญ ใน การขั บ เคลื่ อ นธุ ร กิ จ อาทิ นั ก ออกแบบ ชางทําแพทเทิรน ชาง ตัด และพนักงานประจําในกรณี มีรานคาเปนของตนเอง เปนต  น ร า นค า หรื อ สถานที่ จํ า หน า ย เสื้อผาพลัสไซส ซึ่งประกอบไป ดวยหนารานแบบออนไลนและ หนารานแบบมีทําเลที่ตั้ง แ ห ล ง ผ ลิ ต แ ล ะ นํ า เ ข า เสื้ อ ผ า พลั ส ไซส ในกรณี ที่ ผูประกอบการตองทํา หนาที่ตัด เย็บจําเปนตองมีอุปกรณในการ ตัดเย็บ อยางไรก็ตาม หากผลิต ในปริ ม าณที่ ม ากขอแนะนํ า ให ผูประกอบการใชบริการจาง

5


ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

5

ต อ งใช ค วามคิ ด สร า งสรรค ความรู ด า นแฟชั่ น และความ เข า ใจตลาดเป น อย า งมาก ผูประกอบการสามารถตัดสินใจ ได ว า จะใช วิ ธี ซื้ อ สิ น ค า เข า ร า น เพี ย งอย า งเดี ย ว การจ า งผลิ ต สิ น ค า เฉพาะที่ ร า นหรื อ นํ า เข า จากตางประเทศ การบริ ห ารสต็ อ คสิน ค า เป น หัวใจสําคัญของรานคาที่มีหนา ร า น จ ริ ง เ งิ นส ว น ใ ห ญ ข อ ง กิจการหมุนเวียนอยูในสต็อคสิน ค า การเก็ บ ข อ มู ล การสํ า รวจ สต็ อ คสม่ํ า เสมอ การขายลด สินคาคางสต็อค (Cut lost) จะ ช ว ยลดภาระการลงทุ น ของ ผูประกอบการได การตลาดและการขาย การ นําเสนอสินคา การใหขอมูล การ ประชาสัมพันธสินคาในรูปแบบ ต า งๆ อาทิ การซื้ อ โฆษณา Google Adsword เ พื่ อ ใ ห เว็บไซตของเราปรากฏดานบน ของหนาแรกทุกครั้งที่มีการ

166

ค น หาด ว ยคี ย เ วิ ร ด ที่ เ กี่ ย วข อ ง กั บ เสื้ อ ผ า พลั ส ไซส หรื อ ซื้ อ แบนเนอรเว็บไซตอื่นๆ เปนตน 8.คู ค า หลั ก ท า ง ธุ ร กิ จ ( Key Partnerships) คู ค า หลั ก ทางธุ ร กิ จ หมายถึ ง เครือข ายของซัพพลายเออร และ คู ค า หลั ก ที่ ส นั บ สนุ น การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ต า ม ห ว ง โ ซ อุ ป ท า น ผูประกอบการตองอาศัยคูคาหลัก ท า ง ธุ ร กิ จ ด ว ย เ ห ตุ ผ ล ห ล า ย ประการ เช น เพื่ อ ลดความเสี่ ย ง จากการทํางานที่ไมถนัด เปนแหลง ซื้อสินคา เปนผูใหบริการ คูคาหรือ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ที่ สํ า คั ญ และ ผูเ ริ่มธุรกิจควรมองหาไว ไดแก กลุ ม ผู ค า ส ง เสื้ อ ผ า พลั ส ไซส ซึ่ ง กิ จ การไปรั บ สิ น ค า มาขาย ยานผูคาสงสินคาแฟชั่นสําคัญ ได แ ก แพลตติ นั่ ม ประตู น้ํ า ตลาดโบ เ บ ตลาดนั ด จตุ จั ก ร และเจ เจมอลล เปนตน


Dropship สินคานําเขาจาก ประเทศจีน ญี่ปุน เกาหลีใต ไตหวัน ฮองกง เปนที่นิยมกัน มากในปจจุบัน เพราะมีคุณภาพ ดีบ วกกับ รสนิย มสมัย ใหม ทํ า ให ส ามารถตั้ ง ราคาในระดั บ เกรดพรีเมี่ยมไดไมยาก ผูรับจางผลิตเสื้อผาพลัสไซส ผูใหบริการจัดสงสินคา พั น ธมิ ต รที่ ไ ม ใ ช คู แ ข ง แต มี กิจกรรมสนับสนุนกัน เชน รา น รองเทา รานเครื่องประดับแฟชั่น ร า นขายของที่ ร ะลึ ก ห อ งเสื้ อ ร า น เ ค รื่ อ ง สํ า อ า ง ร า น ค า อ อ น ไ ล น อื่ น ๆ ผู ใ ห บ ริ ก า ร เว็บไซต นักทํารีวิวสินคา

แหลงเสื้อผาพลัสไซสที่นาสนใจ 1) http://xmjdm.taobao.com เสื้อผาพลัส ไซสสไตลวัยรุน

3) http://icdb.taobao.com/ ชุดทํางาน-ชุด ราตรีพลัสไซส 4) http://cup9099.taobao.com ดีไซน แนวเกาหลี พลัสไซส ราคาถูก 5) http://huazhiminjt.tmall.com กางเกง ยีนสกระโปรงยีนสพลัสไซส 6) http://shop64336039.taobao.com ดีไซนเกาหลี เสื้อคลุมติดฮูดตัวใหญ

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

9 . โ ค ร ง ส ร า ง ต น ทุ น ( Cost Structure)

5 167


ตั ว อ ย า ง โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ล ง ทุ น ธุ ร กิ จ เ สื้ อ ผ า พ ลั ส ไ ซ ส Plus Size Shop (เงินลงทุนเริม่ ตนประมาณ 250,000 – 450,000 บาท)*

(1) ลงทุนในสินทรัพย

(2) เงินทุนหมุนเวียน ตนทุนคงที่

ตนทุนผันแปร

คคาออกแบบตก แแตงหนาราน

เงินเดือน พนักงานประจํา พน

คาสินคา / คาจางผลิต

คาอุปกรณ สํานักงาน

คาเชาสถานที่

คาบรรจุภัณฑ วัสดุสิ้นเปลือง

คคาอินเทอรเน็ต

คาน้ํามันคาขนสง

คคาจัดทําเว็บไซต

คาน้ําคาไฟ

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

คาใชจาย การตลาดและ ประชาสัมพันธ

5

หมายเหตุ: 1) *ประมาณการเงินลงทุนเริ่มตนจากธุรกิจขนาดเล็กหรือธุรกิจเจาของคนเดียวแบบมีหนาราน ณ ป 2556 2) องคประกอบโครงสรางการลงทุนจะเปลี่ยนไปตามขนาดของธุรกิจและหลักการดําเนินธุรกิจของผูประกอบการ

168



ตั ว อ ย า ง ก า ร เ ริ่ ม ต น ธุ ร กิ จ ใ ห ม

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

สําหรับผูประกอบการรายใหมที่ มีเงินลงทุนจํากัด และไมตองการ ลงทุ น ด า นค า เช า สถานที่ ควร เริ่ ม ต น จากธุ ร กิ จ เสื้ อ ผ า พลั ส ไซส แบบออนไลน โดยผูประกอบการ สามารถเลื อ กใช บ ริ ก ารเว็ บ ไซต ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส เว็บไซต ประกาศซื้อขายฟรี และสื่อ สังคม ออนไลนประเภทตางๆ ได เพื่อเปน การลดต น ทุ น ค า ใช จ า ยในระยะ เริ่มตน

ธุรกิจในรูปแบบของ Dropship ได ซึ่งเปนการทําธุรกิจในรูปแบบการ นํ า สิ น ค า ของคนอื่ น มาขาย โดย ผูป ระกอบการสามารถบวกกํ า ไร เข า ไปอยูใ นสิน คา นั้น ๆ โดยที่ ไ ม จํ า เป น ต อ งส ง สิ น ค า หรื อ ประกั น สินคาใดๆ กลาวคือ ผูประกอบการ ไปเปน ตั ว กลางโดยนํา สิ น คา ของ เจาของโรงงานไปขายนั่นเอง

ธุ ร กิ จ เสื้ อ ผ า พลั ส ไซส แ บรนด แ ฟ ชั่ น ห า ก ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร และหากผู ป ระกอบการยั ง ไม มี ตองการเริ่มตนธุรกิจดวยการเปน เสื้ อ ผ า พลั ส ไซส แ ฟชั่ น ที่ จ ะวาง เจาของแบรนดสินคา อาจเริ่มตน จํ า หน า ยบนหน า เว็ บ ไซด ห รื อ สื่ อ ธุ ร กิ จ ในลั ก ษณะการ Pre-Order สังคมออนไลนประเภทตางๆ แตมี เสื้ อ ผ า พลั ส ไซส แ บรนด ต นเอง ความสนใจที่ทํา ธุรกิจเสื้อผาพลัส กล า ว คื อ ผู ป ระกอบการ เป น ไซสผูประกอบการสามารถเริ่มตน ผูออกแบบดีไซน และมีแบรนดเปน

5 170


2.การบริ ห ารจั ด การ/การผลิ ต สินคา ออกแบบเสื้อผาพลัสไซสที่มี เอกลักษณและดีไซนเปนของ ตนเองและองค ป ระกอบ ต า งๆ เช น ไซส เ สื้ อ ผ า สี แ ละ ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง เ สื้ อ ผ า แ ล ะ ประกอบตางๆ เชน ซิป กระดุม หู ก ร ะ เ ป า ห รื อ ส า ย ส ะ พ า ย เปนตน

171

ติ ด ต อ / ห า แ ห ล ง ตั ด เ ย็ บ เสื้อผาพลัสไซสตามรูปแบบที่ได กําหนดไว ผลิ ต สิ น ค า ต น แบบ/สิ น ค า ตัวอยาง เพื่อนําสินคานั้นๆ มา ขายผ า นเว็ บ ไซด ห รื อ สื่ อ สั ง คม ออนไลน 3.การตลาด โฆษณาและ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ โ ด ย ผ า น เครือ ข า ยอิน เทอรเ น็ต ในรู ป แบบ เว็บไซตของตนเอง หรือขายสินคา ผ า นสื่ อ สั ง คมออนไลน เนื่ อ งจาก เป นสื่ อ ที่ มี ตน ทุน ต่ํา และสามารถ เข า ถึ ง กลุ ม เป า หมายได อ ย า ง รวดเร็ว และเปนวงกวาง รวมถึงทํา การโฆษณาผานสื่ออินเทอรเน็ตใน รูปแบบตางๆ เชน การประกาศซื้อขายฟรี (E-Classified)

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

ของตนเอง แตในกระบวนการผลิต ตั ด เย็ บ จะอยู ใ นรู ป แบบ “การรอ คําสั่งซื้อสินคา” เมื่อไดรับคําสั่งซื้อ แลวจึงดําเนินการผลิตเพื่อสงมอบ สินคาใหกับลูกคา ธุรกิจลักษณะนี้ จ ะ ไ ม มี ห น า ร า น ห รื อ ร า น ค า (Shop) ขายเสื้อผาพลัสไซส โดยมี กระบวนการทําธุรกิจ ดังนี้ 1.การตั้งชื่อแบรนดเสื้อผาพลัส ไซส

5


ก า ร ส ร า ง มู ล ค า เ พิ่ ม ใ ห กั บ ธุ ร กิ จ

มากมายที่ชวยลดภาระคาใชจาย การมีหนาราน และมีเทคนิคที่ควร ทดลองใช เชน ใช สื่อสัง คมออนไลน ป ระเภท ต า งๆ ในการประชาสั ม พั น ธ สินคาเสื้อผาพลัสไซส สรางหนารานคาออนไลน ซึ่ง มีเว็บสําเร็จรูปใหเลือกใชบริการ ใชระบบ Dropship เพื่อให ธุรกิจมีสินคาอื่นๆเขามาขายโดย ไมตองสต็อคสินคาเอง หากขาย สิ น ค า ได ก็ จ ะได ส ว นแบ ง กํ า ไร จากสินคานั้นๆ ในขณะเดียวกัน หากลงทะเบี ย นเป น คู ค า ใน 2.เดิ น หน า ธุ ร กิ จ ออนไลน แ ละ Dropship เพื่อใหสมาชิกราย ออฟไลนคูขนานกัน ต อ งยอมรั บ ว า ป จ จุ บั น การตลาด อื่ น ๆ ดึ ง ข อ มู ล สิ น ค า ไปช ว ย ออนไลน มี บ ทบาทมาก ที่ ทํ า ให ผู ประชาสั ม พั น ธ ก็ เ สมื อ นได ซื้ อ รู ว า แบรนด นั้ น ๆขายอยู ที่ ไ หน พนักงานขายชวยอีกทางหนึ่ง และรับ ทราบข อ มู ลก อ นตั ด สิน ใจ การทํ า รี วิ ว สิ น ค า สม่ํ า เสมอ เพื่อใหเกิดภาพจํา ซื้อ กลยุทธการตลาดออนไลนมี

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

1.อํ า นวยความสะดวกสิ น ค า ครบวงจร แม สิ น ค า หลั ก จะเป น เสื้ อ ผ า พลั ส ไซสของตนเอง แตผูประกอบการ สามารถสร า งความประทั บ ใจ ใหกับลูกคาโดยการอํานวยความ สะดวก เช น มี สิ น ค า ที่ เ ข า คู กั บ เสื้ อ ผ า ม า ข า ย แ บ บ One-stop service มีสินคาเฉพาะของทาง ราน บริการแนะนําเสื้อผาที่เขากับ บุ ค ลิ ก ของลู ก ค า บริ ก ารสั่ ง ตั ด เปนตน

5 172


การขยายธุรกิจมีหลากหลายวิธี ทั้ง การเพิ่ ม สายการผลิ ต สิ น ค า ขยายอย า งรวดเร็ ว และเป น การ แฟชั่ น พลั ส ไซส สํ า หรั บ คน เติ บ โตแบบก า วกระโดด เรี ย กว า อ ว นที่ ค รอบคลุ ม ทั้ ง เสื้ อ ผ า Extensive Growth เชน การเขาไป เ ค รื่ อ ง แ ต ง ก า ย ร อ ง เ ท า ซื้ อ กิ จ การ ของบริ ษั ท คู แ ข ง ที่ ทํ า เครื่ อง ปร ะดั บ และสิ น ค า ธุ ร กิ จ ใกล เ คี ย งกั น เพื่ อ เพิ่ ม กํ า ลั ง แฟชั่ น อื่ น ๆ เช น เข็ ม ขั ด และ ผ า พั น คอ เป น ต น เพื่ อ เป น อี ก ผลิ ต ขยายตลาด และตั ด กํ า ลั ง หนึ่ ง ทางเลื อ กสํ า หรั บ กลุ ม คน คูแขงสําคัญออกไป และมีวิธีการ อ ว นที่ ชื่ น ชอบสิ น ค า แฟชั่ น ที่ มี ขยายธุรกิจอยางชาๆ แตมั่นคงไปที เอกลักษณเฉพาะตัว ล ะ ขั้ น ที่ เ รี ย ก ว า Intensive Growth อยางไรก็ตาม โอกาสใน การขยายตลาดสิ น ค า เข า สู การขยายธุ ร กิ จ เสื้ อ ผ า พลั ส ไซส ธุ ร กิ จ เ สื้ อ ผ า พ ลั ส ไ ซ ส ใ น สามารถพัฒ นาหรือ ขยายตัว ไปสู ระบบแฟรนไชส เพื่อโอกาสใน การขายสินคามากขึ้น ธุรกิจในอนาคตไดหลากหลายวิธี เชน การสรางแบรนดเสื้อผาพลัส ไซส เพื่ อ สร า งเอกลั ก ษณ แ ละ โอกาสทางธุ ร กิ จ ให กั บ ตนเอง เพิ่ มมากขึ้ น และเปนโอกาสใน ก า ร เ ข า สู ต ล า ด แ ฟ ชั่ น เสื้อผาพลัสไซสในระดับสากล

173

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

ก า ร ข ย า ย ธุ ร กิ จ . . อี ก ร ะ ดั บ กั บ ก า ร พั ฒ น า ธุ ร กิ จ

5


ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

ป จ จั ย แ ห ง ค ว า ม สํา เ ร็ จ

ป จ จั ย แห ง ความสํ า เร็ จ ในธุ ร กิ จ เสื้ อ ผ า พลั ส ไซส ประกอบด ว ย 4 ปจจัยที่สําคัญ ดังนี้ 1 . ก า ร อ อ ก แ บ บ ที่ เ ข า ใ จ รายละเอี ย ดและข อ จํ า กั ด ของ คนอวน สามารถผสมผสานแฟชั่น สมั ย ใหม เ ข า กั บ ข อ จํ า กั ด ของคน อวน พึงระลึกเสมอวาการสงเสริม จุ ด เด น ง า ยกว า การแก ไ ขจุ ด ด อ ย การออกแบบเสื้อผาใหคนอวนจึง ควรใช วิ ธี เ สริ ม จุ ด เด น ที่ เ ป น บวก เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นใหแ กผูสวม ใส และสรางสรรควิธีการนําเสนอ สิ น ค า ให ม ากกว า การแขวนโชว เพื่ อ ช ว ยจุ ด ประกายและสร า ง แรงจู ง ใจให ก ลุ ม ลู ก ค า เป า หมาย อยากไดสินคาและตัดสินใจซื้อ

5 174

2.การรั ก ษาคํ า มั่ น สั ญ ญาที่ ใ ห ตอลูกคา เริ่มตั้งแตความซื่อสัตย ในการให ข อ มู ล สิ น ค า การรั ก ษา คุณภาพสินคาใหไดตามที่โฆษณา การสงมอบสินคาที่ตรงเวลา นําไป ซื้ อ การสร า งความไว เ นื้ อ เชื่ อ ใจ และการกลับมาซื้อซ้ํา 3.การบริหารสต็อคสินคา และ การจัดการระบบซัพพลายเชน เนื่องจากเสื้อผาพลัสไซสสําเร็จรูป มีการผลิตไมมากนักเมื่อเทียบกับ เสื้อผาไซสปกติและมีหลายขนาด ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร จึ ง มี ภ า ร ะ ใ น การสต็ อ คสิ น ค า การเก็ บ ข อ มู ล สถิ ติ จ ะช ว ยให ผู ป ระกอบการ สามารถจะคาดการณปริมาณการ


4.การมีหนารานและการบริการ เนื่ อ งจากคนอ ว นจะมี ป ญ หาใน การเลื อ กเสื้ อ ผ า ให เ หมาะกั บ บุคลิกภาพ ขอมูลทางอินเตอรเน็ต จึงเปนใบเบิกทางเบื้องตนใหลูกคา ตัดสินใจจะไปใชบริการที่ราน การ ตั ด สิ น ใจซื้ อ โดยไม ล องก อ นจึ ง เปนไปไดนอย เวนแตเปนรานคาที่

ลูกคาเคยซื้อมากอนหรือสั่งซื้อจาก ตา งประเทศและเชื่อ มั่น ในผูผ ลิ ต ดั ง นั้ น ร า นค า จึ ง ควรออกแบบ กระบวนการให บ ริ ก ารที่ เ ข า ใจ ข อ จํ า กั ด ของลู ก ค า เช น การ จัดการสถานที่ที่มีทางเดินกวาง มี จุดนั่งพัก มีหองลองเสื้อที่กวางกวา ปกติ กระจกสองบานใหญ บริการ ครบวงจร เปนตน

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

ขายสินคาแตละรายการได การหา สิ น ค า จากช อ งทางอื่ น ๆ มาเสริ ม เชน Dropship จะชวยลดภาระ การลงทุ น ในสต็ อ คสิ น ค า ของ ผู ป ระกอบการลงไปได ในระยะ เริ่มตนผูประกอบการอาจตองเลือก แหลงรับสินคาจากผูคาสงหลายๆ เจา เพื่อกระจายความเสี่ยง

5 175


ข อ ท า ท า ย

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

1.สื่อสารโดยขาดความเขาใจวา ความอวนเปนประเด็นออนไหว ผู ป ระกอบการหลายรายสู ญ เสี ย ลู ก ค า ประจํ า เพราะขาดความ ระมัดระวังในการสื่อสารกับลูกคา ในประเด็นความอวน

5

2.ขาดความเข า ใจตลาดและ ทั ก ษะในการให บ ริ ก ารกลุ ม ลู ก ค า หากผู ป ระกอบการขาด ความเข า ใจและทั ก ษะในการ ให บ ริ ก าร ซึ่ ง กลุ ม ลู ก ค า เสื้ อ ผ า แ ฟ ชั่ น พ ลั ส ไ ซ ส เ ป น ก ลุ ม ที่ มี ข อ จํ า กั ด ของสรี ร ะ ดั ง นั้ น การ นํ า เสนอขายสิ น ค า ที่ ไ ม เ ป น ที่ ต อ งการของตลาดอาจส ง ผลต อ ยอ ด ข า ย แ ล ะ กํ า ไ ร ข อ ง ธุ ร กิ จ รวมถึงรูปแบบการใหบริการที่ตอง มีความพิถีพิถันและความจริงใจใน ก า ร ใ ห บ ริ ก า ร ข อ มู ล ต า ง ๆ ที่ เกี่ยวข อ งกับ เสื้อผา พลัส ไซส เช น สีที่เหมาะสม รูปแบบและลวดลาย

176


ที่ เ หมาะสม กั บ สรี ระ เป นต น โดยเฉพาะกลุ ม ลู ก ค า แบรนด เสื้ อ ผ า พลั ส ไซส ซึ่ ง เป น กลุ ม ที่ มี ความตองการเสื้อผาพลัสไซสที่มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ก า ร ใ ห บ ริ ก า ร ที่

3.การขาดแคลนคูคาที่สามารถ สงมอบงานไดถูกตอง ตรงเวลา เนื่องดวยเปนธุ รกิจที่พึ่ง พาระบบ การจัดหาสินคาจากภายนอกและ การ Outsource จึงมีโอกาสเผชิญ ปญหาคุณภาพสินคาไมสม่ําเสมอ หรือสงสินคาลาชา ซึ่งเปนปจจัยที่ ควบคุ ม ได ย าก ผู ป ระกอบการ สามารถปองกันไดโดยสรรหาคูคา ไวหลายๆ รายและมีการตกลงเรื่อง การคืนสินคาที่มีปญหา

177

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

ทั่วไป ดังนั้น มาตรฐานและความ ต อ งการที่ ค าดหวั ง คื อ หั ว ใจ สําคัญของการใหบริการลูกคาใน แตละกลุมเปาหมาย

5


กรณี ศึ ก ษา ธุ ร กิ จ เ สื้ อ ผ า พ ลั ส ไ ซ ส ต น แ บ บ

ขอบคุณภาพจาก Dan Taylr ใน www.flickr.com


“จริงใจแนะนํา ไมฝนสรีระ”

Jumbo Design


n Jumbo Design

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

“Jumbo Design ตัวอยางธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส เพื่อเปดมุมมองและสรางแรง บันดาลใจใหแกผูประกอบการรุนใหม ไดศึกษาแนวคิดและรูปแบบการทําธุรกิจ ที่สามารถทําไดหลากหลายรูปแบบ” Jumbo design เริ่มตนธุรกิจเมื่อป 2549 โดยคุณดุจดาว รุงธนวงศผัน อดีตรองอันดับ 1 เวทีประกวดธิดา ช า งป 2542 เดิ ม ที เ สื้ อ ผ า สํ า หรั บ สาวไซสใหญหายากมาก คุณภาพ ผ า ไม ดี ส ว นใหญ มั ก เป น เสื้ อ ผ า ผู ช าย จึ ง เห็ น โอกาสในการจั บ ตลาดเสื้ อ ผ าผู ห ญิ ง ไซส ใ หญ บ า ง ในชวงแรกไดเปดกิจการเปนหนา รานอยางเดียว ซึ่งยอดขายไมคอย ดี นั ก เนื่ อ งจากเป น สิ น ค า เฉพาะ กลุ ม แต เ ติ บ โตมาได ด ว ยการที่ ลู ก ค า บอกต อ ๆกั น ต อ มาจึ ง ได ตั ด สิ น ใจทํ า เว็ บ ไซต เ ป ด ร า นค า อ อ น ไ ล น ซึ่ ง ทํ า ใ ห ลู ก ค า รู จั ก Jumbo design มากขึ้น มีลูกคา กระจายออกไปทั้งตางจังหวัดและ ตางประเทศ

5 180


181

ความยากของธุรกิจเสื้อผาสาว ไซสใหญคือสรีระของลูกคาแต ละรายไม เ หมื อ นกั น บางคนอ ว น สมสวน บางคนอวนเปนบางสวน บางคนอวนมากบางคนอวนนอย ทํ า ให ต อ งลงรายละเอี ย ดในเรื่ อ ง ขนาดสิ น ค า และการสต็ อ กของ การเก็บขอมูลวาลูกคาเลือกซื้อไซส ไหนจึงเปนเรื่องสําคัญในการเลือก สินคาเขามาขาย สิ่งที่ทําให Jumbo design มีฐาน ลู ก ค า ประจํ า เหนี ย วแน น ไม ใ ช เพี ย งเรื่ อ งของผลิ ต ภั ณ ฑ แ ต เ ป น ความซื่อสัตยจริงใจตอลูกคา ตอง ให ข อ มู ล ตรงกั บ สภาพสิ น ค า จริ ง เรื่อ งขนาด ให ค วามรู ใ นการวั ด สรีระ การเอาใจเขามาใสใจเรา แบบไหนที่ ใ ส ไ ม ไ ด ใ ส แ ล ว ไม เหมาะก็จะแนะนําลูกคา

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

ลูกคาเสื้อผาไซสใหญเปนกลุม ที่มีกําลังซื้อ และสวนใหญถูกใจ ร า นไหนจะซื้ อ ร า นนั้ น ประจํ า บางรายยอมเดิ น ทางมาจาก ตางจังหวัดมาถึงรานเพื่อซื้อสินคา กลับไป ลูกคาที่มาที่รานอยากลอง สินคากอนตัดสินใจซื้อ สวนลูกคา ประจํ า ที่ เ ชื่ อ ใจกั น แล ว สามารถ ตั ด สิ น ใ จ ซื้ อ ไ ด ทั น ที ท า ง อิ น เตอร เ น็ ต ป จ จุ บั น ผลิ ต ภั ณ ฑ ราน Jumbo design แบงได 3 รูปแบบหลักๆ คือ • เสื้อผาประเภทตางๆ ตั้งแต เสื้อ ลํ า ล อ ง ชุ ด ทํ า ง า น เ ด ร ส กระโปรง กางเกง ชุดราตรี • ชุดชั้นใน ชุดวายน้ํา • รองเทา เข็มขัดไซสใหญที่เลือก มาใหเขากับสไตลเสื้อผาในราน • เครื่องประดับ

5


โดยตรง จะไมฝนเชียรวา “ใสได คะเดี๋ยวผามันยืดอีก” เหมือนราน เสื้ อ ผ า ไซส ใ หญ อี ก หลายๆ ร า นที่ ผูขายไมไดใสใจประโยชนที่ลูกคา จะได รั บ อย า งแท จ ริ ง แม ก าร แ ข ง ขั น ใ น ต ล า ด นี้ เ ริ่ ม สู ง ขึ้ น ตามลํ า ดั บ เห็ น ได จ ากจํ า นวน เว็ บ ไซต ที่ ข ายเสื้ อ ผ า ไซส ใ หญ มี เพิ่ ม ขึ้ น จํ า นวนมาก มี ก ารนํ า เข า เสื้อผาไซสใหญจากจีนและเกาหลี เพิ่มขึ้น แต Jumbo design ยังคง ยื น หยั ด ได ความซื่ อ สั ต ย ความ น า เ ชื่ อ ถื อ แ ล ะ ก า ร ส ง ม อ บ ที่ ตรงเวลา

ปจจัยแหงความสําเร็จ • ความซื่อสัตยตอลูกคา • ก า ร ทํ า ธุ ร กิ จ อ อ ฟ ไ ล น คู กั บ ออนไลน • การบริหารจัดการสินคาคงคลัง และการสงมอบสินคาตรงเวลา • การบริการดวยความเขาใจ

ธุรกิจเสื้อผาพลัสไซส

เขาถึงขอมูลไดที่ Jumbo Design http://www.jumbodesign.net

5 182


*หมายเหตุ:

หากทานสนใจและตองการทราบขอมูลเชิงลึกของ “คูมือแนวทางและโอกาสในการ เขาสูธุรกิจอาหาร (Pocket Book)” สามารถดาวนโหลดขอมูลไดที่ www.okmd.or.th

183


184


ภาคผนวก

185


186


แหล ง อุ ป กรณ แ ละวั ต ถุ ดิ บ ค ว า ม รู เ รื่ อ ง เ ท ร น ด ธุ ร กิ จ แ ฟ ชั่ น

สี สั น

ก อ น เ ข า สู

ชื่อธุรกิจ

ประเภทสินคา / บริการ

แหลงสืบคนขอมูล

ศูนยสรางสรรคงาน ออกแบบ หรือ TCDC

แหลงขอมูลเกี่ยวกับเรือ่ งเทรนดแฟชั่น สีสัน ประจําฤดู มี ebook เกี่ยวกับแฟชั่นเทรนด

www.tcdc.or.th

Vogue

ตามเทรนดใหทันกอนตกขบวน

www.vogue.co.uk/ fashion

Elle Trend report

เทรนดแฟชั่นเสื้อผาที่ใสไดจริงใน ชีวิตประจําวัน

www.elle.com/runway/r eady-to-wear/spring2014-rtw/

Global Fashion Report

ความเคลื่อนไหวแวดวงแฟชั่น คอลเล็กชั่น ใหมจากรันเวย

www.globalfashionre port.com

ค ว า ม รู เ รื่ อ ง สิ น ค า แ ฟ ชั่ น ร อ บ ตั ว ชื่อธุรกิจ

ประเภทสินคา / บริการ

แหลงสืบคนขอมูล

Chic Ministry

ขาวสารสินคาแฟชั่นทั้งในประเทศและ ตางประเทศ

www.chicministry.com

Jeban.com

มุมแฟชั่น อานรีวิว ทําใหรูวาตอนนี้คอแฟชั่น ฮิตอะไร

www.jeban.com

สถาบันสงเสริมการ ออกแบบเพื่อการคา กรมสงเสริมการ สงออก

ใหคําแนะนําปรึกษาดานการออกแบบ ผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑ และขอมูลแนวโนม การออกแบบ

112.121.130.219/ designcenter

187


ชื่อธุรกิจ Wardrobe Ministry

ประเภทสินคา / บริการ เรื่องราวของสไตลสําหรับสุภาพบุรษุ และ เปนชองทางสําหรับการเลือกสรรเสื้อผา คุณภาพ

แหลงสืบคนขอมูล wardrobeministry.com

อ บ ร ม ค ว า ม รู เ กี่ ย ว กั บ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ตั ด เ ย็ บ ก ร ะ เ ป า ชื่อธุรกิจ

ประเภทสินคา / บริการ

แหลงสืบคนขอมูล

LaGom Art

สอนออกแบบกระเปาและทําแพทเทิรน สําหรับผูไมมีพื้นฐาน

www.schnauzerbkk.co m/LaGom_art/LaGom. html

Craftmangus

สอนออกแบบกระเปาและทําแพทเทิรน สําหรับผูไมมีพื้นฐาน

www.craftsmangus .com

สวนพัฒนา อุตสาหกรรมเครื่อง หนัง กรมสงเสริม อุตสาหกรรม

บริการใหคําปรึกษา และพัฒนาบุคลากรกร ในภาคอุตสาหกรรมเครื่องหนังของไทย

http://bisd.dip.go.th

188


แ ห ล ง วั ต ถุ ดิ บ เ ค รื่ อ ง ห นั ง แ ล ะ อุ ป ก ร ณ ก า ร ผ ลิ ต ชื่อธุรกิจ

ประเภทสินคา / บริการ

แหลงสืบคนขอมูล

Mindbyhand

แหลงวัสดุอุปกรณเครื่องมือการผลิต

www.mindbyhand.net

วงเวียนใหญ.com

ศูนยรวมวัตถุดิบและอุปกรณสําหรับ อุตสาหกรรมเครื่องหนัง, หนังเทียม

www.wongwienyai.com

เฮงหลีอุปกรณ

แหลงอุปกรณเครื่องมือทํากระเปา

www.facebook.com/ Thai-Heng-Lee

Khanittaleather .com

รานจําหนายหนังแทชนิดตางๆ และรับผลิต สินคาจากหนังแท

www.khanittaleather .com/?lang=th

Pantip.com <Review Shopping>

รีวิวยานวัตถุดิบทํากระเปา

http://topicstock.pantip .com/jatujak/topicstock /2008/11/J7192484/J71 92484.html

สมาคมอุตสาหกรรม ฟอกหนังไทย

ขอมูลโรงงานผลิตหนังฟอกในประเทศไทย

www.thaitanning.org

189


ตั ว อ ย า ง ผู รั บ จ า ง ผ ลิ ต ชื่อธุรกิจ

ประเภทสินคา / บริการ

แหลงสืบคนขอมูล

BAG & LEATHER design and made to order

รับสั่งตัด สั่งทํากระเปาทุกชนิด

www.facebook.com/De signAndOrderEveryKin dBags

Me-Idea Shop

รับสั่งทํา ของพรีเมี่ยม ของที่ระลึก ของ ชํารวย จากหนังแท

www.me-idea.com

บริษัท คิงสครอส เลเธอร โปรดักส จํากัด

ผูผลิตเครื่องหนังจําพวกกระเปาและเข็มขัด

www.kingofleather.com

190


หน ว ยงานที่ ใ ห ข อ มู ล /คํา แนะนํา สํา หรั บ ผู ป ระกอบการ SME จ ด ท ะ เ บี ย น จั ด ตั้ ง ธุ ร กิ จ ชื่อหนวยงาน กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย • สํานักทะเบียนธุรกิจ

ขอมูลบริการ

แหลงสืบคนขอมูล / การติดตอ

บริการจดทะเบียน และขอมูล ธุรกิจ และพัฒนาธุรกิจไทยให เขมแข็งแขงขันได

www.dbd.go.th

สวนจดทะเบียนธุรกิจกลาง และ วิเคราะหการจดทะเบียน

02-5474441

• สํานักสงเสริมพัฒนา ธุรกิจ • สํานักพัฒนาผู ประกอบธุรกิจ

02-5475952 02-5475963-4

จ ด สิ ท ธิ บั ต ร / อ นุ สิ ท ธิ บั ต ร ชื่อหนวยงาน

ขอมูลบริการ

แหลงสืบคนขอมูล / การติดตอ

กรมทรัพยสินทาง ปญญา กระทรวง พาณิชย

ขั้นตอนการจดสิทธิบัตร/ อนุสิทธิบัตร

www.ipthailand.go.th 02-5474621-25

กรมสงเสริมการคา ระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย

สงเสริมการสงออก ขยายตลาด สินคาและบริกาารของไทย ใหบริการขอมูลทางการคา

www.ditp.go.th 02-5077999, 02-5130909

191


ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ธุ ร กิ จ ชื่อหนวยงาน

ขอมูลบริการ

สํานักงานสงเสริม วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม (สสว.)

สงเสริมและพัฒนาวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดยอมของประเทศ

www.sme.go.th 02-2788800

สถาบันพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาด ยอม กระทรวง อุตสาหกรรม กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย

พัฒนาผูประกอบการรายเดิมและ สรางผูประกอบการรายใหม

www.ismed.or.th 02-5644000

สงเสริมพัฒนาการประกอบธุรกิจ การคาในประเทศใหมีการแขงขัน และมีการคาที่เปนธรรม เกี่ยวกับธุรกิจ SME ที่ตองการ คําปรึกษาเบื้องตนเกี่ยวกับธุรกิจ

www.dit.go.th 02-5076111

ทําหนาที่เปนตัวแทนผูประกอบการ ภาคเอกชนในการประสานนโยบาย และดําเนินการกับรัฐ พัฒนาศักยภาพกําลังแรงงานและ ผูประกอบกิจการ

www.fti.or.th 02-3451000

กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน สํานักพาณิชย อิเล็กทรอนิกส กรม พัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย

เพื่อเปนศูนยสรางสรรคการ ประกอบธุรกิจ e-Commerce Start-Up

192

แหลงสืบคนขอมูล / การติดตอ

www.dip.go.th 02-2024414

www.dsd.go.th 02-2451707, 02-2454035 www.dbdmart.com 0-25475959-60


เ ค รื อ ข า ย ท า ง ธุ ร กิ จ ชื่อหนวยงาน

ขอมูลบริการ

หอการคาไทย และสภา หอการคาแหงประเทศ ไทย สมาคมเครื่องหนังไทย

นําเสนอกรอบยุทธศาสตรทาง ธุรกิจ เพื่อการขับเคลื่อนศักยภาพ การแขงขันของประเทศ สนับสนุนเครือขายผูประกอบการ ในการจัดแสดงสินคา การเปด ตลาดใหม จัดอบรมสัมมนาแก สมาชิก สรางเครือขายนักออกแบบสินคา แฟชั่น สนับสนุนกิจกรรมจัดแสดง แฟชั่น และการขาย สรางเครือขายการแลกเปลี่ยนองค ความรู การใหคําปรึกษา และ ชวยเหลือผูประกอบารในพัฒนา ผลิตภัณฑ - สงเสริมการรวมกลุมธุรกิจ (Cluster) ของผูประกอบการ - เปนศูนยรวมองคความรูดาน E-commerce และเปนศูนยกลาง ในการเผยแพรเทคโนโลยีดาน E-commerce - เสริมสรางมาตรฐานการประกอบ ธุรกรรมดาน E-commerce

สมาคมแฟชั่นดีไซเนอร กรุงเทพ ศูนยตนคิด

สมาคมผูประกอบการ พาณิชยอิเล็กทรอนิกส ไทย

193

แหลงสืบคนขอมูล / การติดตอ www.thaichamber.org 02-6621860-75 www.thaileathergoods.net/mem ber.php 02-6453505-6 www.facebook.com/bangkokfa shionsociety 02- 5309300 ตอ 14-15 www.facebook.com/tlpf.org 084-5220950

www.thaiecommerce.org 02-2577173


ส นั บ ส นุ น เ งิ น ทุ น สํา ห รั บ ชื่อหนวยงาน ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาด ยอมแหงประเทศไทย หรือ SME BANK

ขอมูลบริการ สงเสริมและพัฒนาธุรกิจขนาด กลางและยอมควบคูกับการ สนับสนุนเงินทุน

S M E แหลงสืบคนขอมูล / การติดตอ www.smebank.co.th 02-2653000

ส นั บ ส นุ น ข อ มู ล ก า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า ธุ ร กิ จ ส ร า ง ส ร ร ค ชื่อหนวยงาน สํานักงานบริหารและ พัฒนาองคความรู (องคการมหาชน) หรือ สบร.

ขอมูลบริการ เปนองคกรในการผลักดัน สังคมไทยใหเปนสังคมแหงการ เรียนรูและใชความคิดสรางสรรคใน การนําเสนอผลงานในรูปแบบตางๆ เพื่อยกระดับประเทศใหเปน ประเทศชั้นนําทั้งในภาคเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและสังคม

194

แหลงสืบคนขอมูล / การติดตอ www.okmd.or.th 02-1056500


ตั ว อย า งโครงสร า ง การเขี ย นแผนธุ ร กิ จ ให ไ ด เ งิ น กู วิ ธี ก า ร เ ขี ย น แ ผ น ธุ ร กิ จ ใ ห ไ ด เ งิ น กู วิ ธี การเขี ย นแผนธุ ร กิ จ ใ ห ไ ด เ งิ น กู สามารถทําไดดังนี้ สําหรับหัวขอที่ใชในการเขียนโครงการขอ กูเงิน ตองมีองคประกอบที่สําคัญคือ 1. หนั งสือ เสนอขอกูเงิน กับสถาบัน การเงิน 2. บทสรุปผูบริหาร เป น การสรุ ป จากแผนต า งๆ ทั้ ง ด า น การตลาด การจั ด การ การผลิ ต และ การเงิ น เพื่ อ ให ท ราบถึ ง พั น ธกิ จ ของ องคกร วัตถุประสงคและเปาหมายของ องคกร พรอมทั้งแผนที่จะไปสูเปาหมาย อยางยอๆ ควรจะเขียนเปนลําดับสุดทาย โดยสรุปยอ มีเนื้อหาที่กระชับ มีประเด็น สําคัญครบถวน 3. ภาพรวมของกิจการ • ประวั ติ ค วามเป น มาของกิ จ การ กลาวถึงแนวคิดและความเปนมา ของกิจการวาเกิดไดอยางไร อะไร คือเปาหมายในการดําเนินธุรกิจ

195

สถานที่ ตั้ ง เป น ที่ ตั้ ง ของกิ จ การ หรื อ โรงงาน พร อ มหมายเลข โทรศัพทเพื่อติดตอไดสะดวก • ผูถือหุนและผูบริหาร/ประสบการณ ผู บ ริ ห าร มี ใ ครบ า งเป น ผู ร ว มทุ น จํ า นวนเงิ น ลงทุ น ความสามารถ และความชํ า นาญงานของ แต ละคน • การแสดงโครงสรางองคกรและผัง บริหารองคกร (ถามี) • ผลการดําเนินงานในอดีต (ถามี) 4. วัตถุประสงคที่จะขอสินเชื่อ • วงเงิ น สิ น เชื่ อ ที่ ต อ งการ โดยแยก เปนประเภทของสินเชื่อ เชน เงินกู เงินทุนหมุนเวียน (O/D) • จะนําสินเชื่อที่ขอครั้งนี้ ไปทําอะไร เชน เพื่ อ ซื้อที่ ดิน ปรับ ปรุง อาคาร ส ถ า น ที่ ก อ ส ร า ง อ า ค า ร ซื้ อ เครื่องจักร • เ งื่ อ น ไ ข ที่ ต อ ง ก า ร มี อ ะ ไ ร บาง เชน ระยะเวลาการชําระคืน



197



บันทึก ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................


บันทึก ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.