ชุดความรู้กินได้ | ลูกหม่อนนอกฤดู

Page 1

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

ผู้จัดทา ; ว่าที่ร้อยตรีหญิงพัชนีพร ใจเดช หน่วยงาน ; วิทยาลัยชุมชนน่าน สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ลูกหม่อนนอกฤดู

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู”

ส่วนที่ 1 : ทาไมต้อง : ลูกหม่อนนอกฤดู ทาได้ง่าย ใช้ความรู้เดิมที่มีอยู่ และเทคนิค เฉพาะทางเล็กน้อย ปลูก - ดูแล - บังคับดอก - เก็บเกี่ยว

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” ความสาคัญของอาชีพ หม่อนผล (mulberry) หรือที่ชาวบ้านเรียกกัน ว่า “ลูกหม่อน” จากกระแสความนิยมบริโภคผลไม้ ตระกู ล เบอร์ รี่ ใ นกลุ่ ม วั ย รุ่ น และกลุ่ ม ผู้ รั ก สุ ข ภาพซึ่ ง ต้ อ งการบริ โ ภคผลไม้ ที่ ใ ห้ ป ระโยชน์ ต่ อ สมองและ ร่างกาย ในช่วง ๕ ปีที่ผ่านมามีแนวโน้มได้รับความ นิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยแต่ละปีมีมูลค่าการนาเข้าผลไม้ ตระกูลเบอร์รี่ปีละหลายร้อยล้านบาท หม่อนเป็นพืชที่ อยู่ในวงศ์ oraceae ตระกูล Morus spp. มีถิ่น กาเนิดอยู่ในแถบเขตหนาวประเภท hard wood คือ ใบจะร่วงในฤดูใบไม้ร่วง และมีการพักตัวในฤดูหนาว ซึ่งจังหวัดน่าน เป็นจังหวัดในภาคเหนือ มีภูมิอากาศ ที่ดี แถบเขตหนาวมีภูมิประเทศที่เป็นภูเขาสูง สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” ความสาคัญของอาชีพ(ต่อ) ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร และหม่อนผลสด เป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่เกษตรกรส่วน ใหญ่เริ่มหันมาให้ความสาคัญอีกอาชีพหนึ่ง ที่ทารายได้ ให้เกษตรกรอย่างดีเยี่ยม เนื่องจากผลไม้ชนิดนี้ไม่มี การใช้สารเคมีในการปูองกันกาจัดโรค แมลง จึงมี ความปลอดภัยต่อผู้บริโภคอย่างยิ่ง ส่งผลให้ปริมาณผล ไม่เพียงพอต่อความต้องการในตลาดผู้บริโภค ดังนั้น เพื่อให้ผลผลิตเพียงพอต่อความต้องการของตลาดและ เพิ่มรายได้ให้เกษตรอีกทางหนึ่งคือการผลิตลูกหม่อน นอกฤดู สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรู้ ทามาหากิน “ลูกหม่ อนนอกฤดู” กลุ่มเปูาหมาย 1.เกษตรกรผู้ปลูกหม่อนผลสด 2.ผู้คนทั่วไปที่สนใจปรับเปลี่ยนอาชีพ 3.นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจศึกษาเพิ่มเติม

ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น 1. รายได้จากการขายผลผลิตหม่อนเพิ่มขึ้นเป็น สองเท่าตัวจากปกติ 2. อาชีพใหม่ให้กับเกษตรกรหรือคนทั่วไปที่สนใจ 3. ลดพื้นที่การปลูกพืชเชิงเดี่ยวเช่นข้าวโพด ฯลฯ โดยปลูกหม่อนผลสดแทน 4. หน่วยงานที่ต้องการเผยแพร่สร้างองค์ความรู้ ใหม่ให้แก่เกษตรกรเปูาหมายของหน่วยงาน สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรู้ ทามาหากิน “ลูกหม่ อนนอกฤดู” ขั้นตอนการจัดทาชุดความรู้ทามาหากิน 1. วิเคราะห์โอกาส อาชีพ ความเป็นไปได้ที่เหมาะสม กั บ อาชี พ กั บ สภาพพื้ น ที่ ภู มิ อ ากาศ และความ เติบโตของอาชีพที่เกี่ยวกับเกษตรในอนาคต 2. เมื่อพบอาชีพที่มีความเหมาะสมและเป็นไปได้แล้ว ซึ่ง ได้แก่การทาเกษตรเกี่ยวกับไม้ผล ได้แก่ อาชีพการ ปลูกหม่อนผลสด และมองอนาคตในความต้องการ ของตลาดที่เพิ่มมากขึ้น จึงนามาสู่แนวความคิดที่จะ ทาให้ไม้ผลชนิดนี้ออกนอกฤดู เพื่ อความต่อเนื่อง ของตลาด จึงได้เกิดอาชีพใหม่ขึ้น คือ การปลูกลูก หม่อนนอกฤดู สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรู้ ทามาหากิน “ลูกหม่ อนนอกฤดู” ขั้นตอนการจัดทาชุดความรู้ทามาหากิน (ต่อ) 3. เมื่อได้อาชีพแล้ว ดาเนินการศึกษาข้อมูลจัดเก็บ ข้อมูล โดยจัดทาข้อมูลให้เห็นความแตกต่างระหว่าง - เกษตรกรที่ ป ลู ก อยู่ แ ล้ ว พั ฒ นาให้ มี ผลผลิตหม่อนผลสดมีจาหน่ายตลอดปีเพื่อรายได้ที่ เพิ่มขึ้นในรายปี - เกษตรกรที่สนใจและอยากปรับเปลี่ยน อาชีพ หรือประกอบอาชีพปลูกหม่อนผลสดรายใหม่ 4.นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ เรียบเรียง และนามา จัดทาแบบรูปเล่ม สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรู้ ทามาหากิน “ลูกหม่ อนนอกฤดู” ขั้นตอนการจัดทาชุดความรู้ทามาหากิน (ต่อ) 5. ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา 6. นาเสนอชุดความรู้ทามาหากิน “ลูกหม่อน นอกฤดู” 7. ถ่ายทอดชุดความรู้ทามาหากิน “ลูกหม่อน นอกฤดู ” ให้ แ ก่ ห น่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบและ ผู้สนใจทั่วไปนาไปใช้ 8. ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาชุ ด ความรู้ ใ ห้ มี ค วาม หลากหลายในอนาคต สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรู้ ทามาหากิน “ลูกหม่ อนนอกฤดู”

ส่วนที่ 2 : เช็คความพร้อม ก่อนการประกอบอาชีพ

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Infographic

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


เช็คความพร้อมก่อนการประกอบอาชีพ “ลูกหม่อนนอกฤดู” ปลูกในฤดู

ปลูกนอกฤดู

• เริ่มต้นกระบวนการปลูก • ไม่ต้องเริ่มกระบวนการ ปลูก ใหม่ทั้งหมด • ลงทุนใหม่ด้วยต้นทุน • ต้นทุนลดลงเพราะต้น หม่อนเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ค่อยข้างสูง • ผลผลิตปริมาณเยอะราคา • ผลผลิตเป็นที่ต้องการ ของตลาด ตกต่า • ราคาสูง • ได้ผลผลิตพลอดได้จาก การปักชากิ่งพันธุ์ จาหน่าย สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


เช็คความพร้อมก่อนการประกอบอาชีพ “ลูกหม่อนนอกฤดู” ประโยชน์และความสาคัญของหม่อนผลสด 1.ผลหม่อนมีกรดโฟลิกสูงกว่าบลูเบอร์รี่ถึง 1-2 เท่า 2.มีสารกลุ่มโพลีฟินอล และกลุ่มแอนโทไชยานิน ซึ่ง เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ มีประโยชน์ช่วยให้เซลล์เม็ด เลือดแดงเจริญเต็มที่ เซลล์ประสาทไขสัน หลัง และ เซลล์สมองเจริญเป็นปกติ 3.ช่วยให้กระแสเลือดหมุนเวียนดี หลอดเลือดแข็งแรง รวมลดอาการแพ้ต่าง ๆ และช่วยยืดอายุเม็ดเลือดขาว 4. หม่อนผลสดเป็นพืชที่ปลูกง่ายให้ผลผลิตเร็ว

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้

69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


เช็คความพร้อมก่อนการประกอบอาชีพ “ลูกหม่อนนอกฤดู” ลักษณะทางพฤกศาสตร์ของหม่อนผลสด จัดเป็นไม้ผลในกลุ่ม deciduous fruit plant คือ ใบจะร่วงในฤดูใบไม้ร่วง และมีการพักตัวในฤดูหนาว ตาดอกเป็นชนิดตารวม คือมีทั้งตาใบและตาดอกอยู่รวมกัน มี ผ ลแบบผลรวม ซึ่ ง เป็ น ผลที่ เ กิ ด จากตาข้ า งของปี นั้ น หมายความว่า จะมีช่อดอกเกิดที่ตา เหนือใบของตาข้างของ กิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ ส่วนลักษณะของดอกเป็นทั้งแบบดอกที่มี เกสรตัวผู้และตัวเมียแยกกันคนละต้น หรือบางพันธุ์อาจ เป็นดอกที่มีเกสรตัวผู้และตัวเมียอยู่ในต้นเดียวกัน

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


เช็คความพร้อมก่อนการประกอบอาชีพ “ลูกหม่อนนอกฤดู” พันธุ์หม่อนผลสดทีป่ ลูกในประเทศไทย 1. หม่ อ นผลสายพั น ธุ์ เ ชี ย งใหม่ พบว่ า มี ป ลู ก ใน ภาคเหนือนานหลายสิบปีมาแล้ว ขณะนี้มีการปลูก กระจายทั่วไปทางภาคเหนือตอนบนและในหมู่บ้าน ชาวไทยภูเขา ในเขตภูเขาสูงของภาคเหนือ

2. พั น ธุ์ บุ รี รั ม ย์ 60 เป็ น พั น ธ์ ห ม่ อ นที่ ป รั บ ปรุ ง พันธุ์ โดยใช้หม่อนพื้นเมืองของไทยผสมกับหม่อน พันธุ์ที่นาเข้ามาจากต่างประเทศคือพันธุ์จีนเบอร์ 45 สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


พันธุ์หม่อนผลสดที่ปลูกในประเทศไทย 3. พันธุ์ศรีสะเกษ 33 เป็นหม่อนลูกผสมเปิดของหม่อน พันธุ์ Jing Mulberry จากประเทศจีน มีคุณลักษณะ ต้ า นทานต่ อ โรคใบด่ า งได้ ดี ก ว่ า หม่ อ นพั น ธุ์ อื่ น ๆ มี ผ ล ค่ อ นข้ า งใหญ่ สามารถน าผลมาแปรรู ป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่างๆ ได้ดี 4. หม่อนปุา เป็นพันธุ์หม่อนที่ยังไม่มีการศึกษาในด้าน จาแนกพันธุ์ พบว่ามีอยู่ในภาคเหนือ เจริญเติบโตได้ที่ในที่ ที่มีความชื้นสูง เป็นไม้ปุาที่ยืนต้นบางต้นพบว่ามีความสูง ประมาณ 50 เมตร และมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลา ต้น 1 เมตร มีอายุมากกว่า 100 ปี

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย 1.ผู้รับบริการชุดประมวลความรู้ มีความรู้ความเข้าใจ มองเห็นทิศทางสร้างรายได้ให้ผู้ปลูกหม่อนผลสดตลอด ทั้งปี

2.แก้ปัญหาหม่อนผลสดราคาตกต่าในฤดู

3. แก้ปัญหาหม่อนผลสดไม่เพียงพอตลาดในช่วง นอกฤดู 4. ปลูกหม่อนผลสดทดแทนการปลูกพืชเชิงเดี่ยว 5.ผลผลิตหม่อนผลสดมีจาหน่ายตลอดปี สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” ความรู/้ ทักษะสาหรับดาเนินการ ความรูพ้ นื้ ฐานทีต่ ้องมี 1 . ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร เ ลื อ ก พื้ น ที่ การเตรียมแปลง การเลื อกพันธุ์ การเพาะกล้ า การ ปลูกและดูแลการปูองกันและกาจัดศัตรูพืช การเก็บเกี่ยว ผลผลิต การจัดการตลาด 2. ความรู้เฉพาะ เทคนิคสาหรับการบังคับให้ หม่อนผลสดออกนอกฤดู 3. ความรู้เกี่ยวกับการผลิตสารชีวภาพเพื่อลด ต้นทุนการผลิต 4. การหาช่อ งทางการตลาดเฉพาะ รู ปแบบ การขาย สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” เงินลงทุน/การจัดการเงิน ต้นทุนผลิตปีที่ 1 (ในฤดู)

ต้นทุนผลิตปีที่ 1 (นอกฤดู)

ค่าไถเตรียมแปลง 700 บาท

ค่าไถเตรียมแปลง - บาท

ค่าขุดหลุม

2,500 บาท

ค่าขุดหลุม

-

บาท

ค่าต้นพันธุ์

2,000 บาท

ค่าต้นพันธุ์

-

บาท

ค่าปุ๋ยคอก

6,000 บาท

ค่าปุ๋ยคอก

3,๐๐๐ บาท

ค่าปุ๋ยเคมี

1,000 บาท

ค่าปุ๋ยเคมี

1,๐๐๐ บาท

ค่าปูนโดโลไมท์

2๐๐ บาท

ค่าปูนโดโลไมท์

ค่าวัสดุอุปกรณ์

800 บาท

ค่าวัสดุอุปกรณ์

-

บาท

500 บาท

รวมทั้งสิ้น 13,200 บาท ผลผลิตปีที่ 1 (ในฤดู)

รวมทั้งสิ้น 4,500 บาท ผลผลิตปีที่ 1 (นอกฤดู)

100 ก.ก. ×35 บาท = 3,500

100 ก.ก.×35 บาท =3,500

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” เงินลงทุน/การจัดการเงิน ต้นทุนผลิตปีที่ 2 (ในฤดู)

ต้นทุนผลิตปีที่ 2 (นอกฤดู)

ค่าไถเตรียมแปลง

-

บาท ค่าไถเตรียมแปลง -

บาท

ค่าขุดหลุม

-

บาท ค่าขุดหลุม

บาท

ค่าต้นพันธุ์

-

บาท

ค่าปุ๋ยคอก

3,000 บาท ค่าปุ๋ยคอก

2,๐๐๐ บาท

ค่าปุ๋ยเคมี

1,000 บาท

1,000 บาท

ค่าจากัดวัชพืช

1,200 บาท ค่าจากัดวัชพืช

ค่าต้นพันธุ์ ค่าปุ๋ยเคมี

รวมทั้งสิ้น 5,200 บาท รวมทั้งสิ้น ผลผลิตปีที่ 2 (ในฤดู) 300 ก.ก. × 35 บาท = 10,500 บาท

-

บาท

1,200 บาท

4,200 บาท

ผลผลิตปีที่ 1 (นอกฤดู) 300 ก.ก. × 40 บาท = 12,000 บาท

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” การจัดการกาลังคน - การปลู กหม่อนผลสดนอกฤดูสามารถทาเองได้โดย เกษตรกรเจ้าของไร่ 1-2 คน - การเก็บเกี่ยวผลผลิตเนื่องจากผลหม่อนมีมีระยะเวลา สุกของผลไม่ พร้ อ มกัน จึ งจาเป็นที่ต้อ งใช้แรงงานจานวน 4-5 คน ในช่วงที่ผลผลิตออกจานวนมากๆๆ - โดยแต่ละขั้นตอนต้องเรียนรู้เรื่องเทคนิคการบังคับให้ หม่อนติดผลนอกฤดูกาล เช่น 1. การโน้มกิ่งแบบอุโมงค์ หรือ การโน้มกิ่ง - เด็ด ยอด/ลิดใบ 2. การโน้มกิ่งหม่อนที่ปลูกแบบทรงพุ่ม 3. การตัดยอดเพื่อให้แตกตา 4. การเตรียมต้นพันธุ์ที่สมบรูณ์ 5. การจัดทรงพุ่ม สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” เครื่องมือ / อุปกรณ์ /วัตถุดบิ 1. วัตถุดิบในการผลิต เช่น กล้าพันธุ์หม่อนผลสด 2. วัสดุ/อุปกรณ์ เช่น จอบ เสียม กรรไกรตัดแต่งกิ่ง ฝางหรือเชือก หลักไม้เสต็ก ตะปู ไม้ไผ่ บัวรดน้า ค้อน ลวด

3. วัสดุ/อุปกรณ์ สาหรับป้องกันกาจัดศัตรูพืช 6. เครือ่ งจักร เช่น เครื่องตัดหญ้า เครื่องพ่นยา สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู”

ส่วนที่ 3 : การลงมือทา

ส่ วนที่ 3 : ลงมือทา

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

กระบวนการผลิต ความรูพ้ นื้ ฐานเฉพาะด้าน 1.1 อุณหภูมิและความเย็นในระยะการเจริญเติบโต ของพืช ทาให้มีผลต่อสรีระวิทยาของพืชเพื่อกระตุ้นการออก ดอก หม่อนจะมีการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนของฮอร์โมน พืชภายในลาต้นหม่อนเพื่อกระตุ้นให้มีการติดดอกออกผล 1.2 ช่วงระยะเวลาของแสงที่มีต่อการเจริญเติบโต ของพืช ทาให้มีผลต่อสรีระวิทยาของพืชเพื่อกระตุ้นการออก ดอก 1.3 ความอุ ดมสมบูร ณ์ของต้ นหม่ อน เป็น การ สะสมสารอาหารต่าง ๆ ภายในลาต้นของหม่อนซึ่งจะต้อง ใช้ระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๖ เดือน เพื่อให้ผ่านระยะเวลา การเจริญเติบโตทางลาต้น เข้าสู่ระยะการติดดอกออกผล สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

ขั้นตอนในการผลิต 1. การเลือกพื้นที่ปลูกและการเตรียมพื้นที่ 2. ระยะปลูกและการเตรียมหลุม 3. วิธีการปลูก 4. การดูแลรักษา 5. การจัดทรงพุ่ม 6. เทคนิคการบังคับให้หม่อนติดผลนอกฤดูกาล 7. การเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษาผลผลิต 8. ระบบการผลิตหม่อนผลสดให้มีผลผลิตตลอดทั้งปี 9. การขยายพันธุ์ 10. โรค แมลง และศัตรูหม่อน สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

การเลือกพื้นที่ปลูก หม่อนเป็นพืชที่สามารถปลูกขึ้นได้ดีในดินชุดต่างๆ เกื อ บทุ ก ชนิ ด แต่ ก ารปลู ก การค านึ ง ถึ ง ปั จ จั ย หลายๆ ด้านดังนี้ 1. ต้ อ งเป็ น พื้ น ที่ โ ล่ ง แจ้ ง ถู ก แสงตลอดทั้ ง วั น ไม่ควรปลูกใต้ร่มไม้อื่น 2. ต้องเป็นพื้นที่ที่ไม่มีน้าท่วมขัง มีการระบายน้าดี และมีหน้าดินลึก 3. ดินไม่เป็นกรด หรือด่างมากเกินไป pH ของ ดินควรอยู่ในระหว่าง 6.0 – 6.5 4. สภาพพื้นดินต้องเป็นพื้นที่ที่ไม่เคยระบาดของ โรครากเน่ า มาก่ อ น หากเคยมี ป ระวั ติ ดั ง กล่ า วจะต้ อ ง แก้ปัญหาโดยการปลูกโดยใช้ต้นตอที่มีความทนทานต่อโรค รากเน่า สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

การเลือกพื้นที่ปลูก (ต่อ) 5. มีแหล่งน้าที่สามารถให้น้าได้ในช่วงที่ฝนทิ้งช่วง ในฤดูฝนหรือช่วงฤดูแล้ง โดยเฉพาะระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน ที่หม่อนกาลังติดดอกออกผลและเก็บเกี่ยว ผล ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตผลหม่อนเป็นอย่างมาก 6. หากปลูกในพื้นที่ลาดชัน ควรทาขั้นบันไดเพื่อ สะดวกในการปฏิบัติงานและลดการพังทลายของหน้าดิน

การเตรียมพื้นที่

1. พื้ น ที่ ร าบ พื้ น ที่ ที่ มี ส ภาพเป็ น ที่ ร าบสามารถ เตรี ย มพื้ น ที่ ไ ด้ โ ดยท าการปรั บ ระดั บ ของดิ น ให้ ส ม่ าเสมอ ขุดตอไม้เดิมออกให้หมดแล้ว เพื่อเป็นการกาจัดวัชพืช กาจัด แมลงศัตรูหม่อนและโรคพืชที่สะสมอยู่ในดินให้หมดไปไถดิน ให้ลึก 30– 50 เซนติเมตร ตากดินทิ้งไว้ 1-2 สัปดาห์ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

การเตรียมพื้นที่ 2. พื้นที่ราบน้าขัง ต้องทาการขุดดินแล้วพูนดินให้ เป็นสัน เพื่อปูองกันน้าท่วมขังโคนต้นหรืออาจขุดดินให้เป็น คูน้าข้างแนวที่จะปลูกหม่อนแล้วกลบดินบริเวณแถวหม่อนให้ เป็นสันขึ้นมาสูงพ้นระดับน้าท่วมขัง 3. พื้นที่ลาดชัน หากเป็นพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง มากกว่า 10% หลังจากปรับพื้นที่และไถพรวนเรียบร้อยแล้ว ให้ทาการวัดระดับความลาดชันของพื้นที่เพื่อปลูกหม่อนตาม แนวระดั บ โดยใช้ อุ ป กรณ์ วั ด ระดั บ ที่ ท าได้ อ ย่ า งง่ า ยๆ ที่เรียกว่า A – frame ซึ่งประกอบไปด้วย ไม้สามเหลี่ยม รูปตัว A ระยะระหว่างฐานของขา ตัว A ห่างกัน 2 หรือ 4 เมตร มีเชือกถ่วงลูกถ่วงจากยอด ตัว A โดยวิธีการวัด ระดับให้ปรับให้เชือกที่ถ่วงลูกถ่วงอยู่ในตาแหน่งกึ่งกลางของ ตัวขวางของขา A - frame สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

ระยะปลูก ระยะปลู กปั จจุบั น กาหนดไว้ 2 แบบคื อ ในแต่ ล ะ แบบให้คานึงถึงลักษณะพื้นที่และการจัดการ ๑. ปลูกแบบระยะชิด คือ ระยะ 2 x 2เมตร ต้องใช้จานวนต้น 400 ต้นต่อไร่ ๒. ปลูกแบบระยะห่าง คือ ระยะ 4 x 4เมตร ต้องใช้จานวนต้ น 100 ต้น/ไร่ เป็นระยะที่ ได้รับความ นิยมกันมากในปัจจุบันโดยเฉพาะในเขตทางภาคเหนือ

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

การเตรียมหลุม ขุดหลุม ขนาด 50X50เซนติ เมตร รองก้นหลุ มด้ว ยปุ๋ย คอก ปุ๋ยหมัก อัตรา 10 กิโลกรัมต่อหลุม ปูนโดโลไมท์ จานวน 1 กิโลกรัม ปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15 จานวน 250 กรัม ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน

วิธีการปลูก ขุดหลุมที่เตรียมไว้ให้มีความลึกพอประมาณ นาต้นหม่อนที่เตรียมไว้ปลูกกลบให้แน่น แล้วรดน้าตามให้ ชุ่ม ให้ใช้ไม้ปักค้าเพื่อปูองกันการโยก

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย เพื่อให้ผลผลิตสูงและหม่อนสมบูรณ์ในรอบปี - ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก 1000 กิโลกรัม / ไร่ - ปุ๋ยเคมี อัตรา 50 กิโลกรัม / ไร่ ช่วงต้นฤดูฝน - ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13 -21 อัตรา 50 กิโลกรัม/ ไร่ ช่วงปลายฤดูฝน การให้น้า เพื่อเก็บผลสดมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ น้าหม่อนในระยะที่หม่อนติดผลแล้ว หากต้นหม่อนขาดน้า ในระยะนี้จะทาให้ผลหม่อนฝุอก่อนที่จะสุก หรือทาให้ผล หม่อนมีขนาดเล็กกว่าปกติวิธีการให้น้ามีหลายวิธี คือ 1. การให้น้าแบบ มินิสปริงเกอร์ เป็นวิธีการให้น้าแบบ ประหยัดทั้งแรงงานและน้า แต่ต้นทุนในการจัดทาระบบ น้าค่อนข้างสูง สามารถให้น้าได้บ่อยตามความจาเป็น สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

การดูแลรักษา การให้น้า 2.การให้น้าแบบ รดโคนต้น โดยใช้เครื่องสูบน้าสูบน้า จากแหล่งน้าเข้าสู่แปลงหม่อนโดยตรง รดน้าตรงบริเวณ โคนต้นให้ชุ่ม 7 วันครั้ง การกาจัดวัชพืช ปัญหาสาคัญอีกอย่างในการปลูกหม่อน รับประทานผล วัชพืชในแปลงหม่อนจะส่งผลกระทบทั้ง ทางตรงและทางอ้อมต่อผลผลิตผลหม่อน โดยอาจทาให้ หม่ อ นมี ผ ลผลิ ต ลดลงหรื อ อาจเป็ น แหล่ ง หลบซ่ อ นหรื อ แหล่งอาหารของแมลงศัตรูหม่อน

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

การตัดแต่งกิ่งและการดูแลรักษาทรงพุ่ม การตัดแต่งกิ่งให้ตัดแต่งกิ่งแบบไม้ผล ตัดเฉพาะกิ่งที่ ไม่สมบูรณ์ โรคแมลงทาลาย และกิ่งที่เกิดขึ้นภายในบริเวณ ทรงพุ่มให้ตัดแต่งออกไปให้

การจัดทรงพุ่ม - การจัดการทรงต้นแบบลาต้นเดี่ยว โดยตัดแต่งกิ่งให้ เหลือเพียงยอดเดียวปล่อยให้หม่อนเจริญเติบโตจนมีความสูง ๑.๕๐ เมตร จากพื้นดิน แล้วทาการตัดยอดให้ หม่อนเริ่ม แตกทรงพุ่มในระดับ ความสูง ๑.๕๐ เมตร ในลักษณะทรง พุ่มเหมือนกางร่ม - การจัดการทรงพุ่มแบบทรงกลม หรือแบบทรงพุ่มแบบ ทรงต้นตะไคร้ คือหลังจากปลูกไปแล้วระยะหนึ่งโดยปล่อยให้ แตกกิ่งเอง ในระดับที่มีความสูงจากพื้นดิน ตั้งแต่ ๓๐ – ๕๐ เซนติเมตร แล้วให้แตกกิ่งประมาณ ๓ – ๕ กิ่ง ไม่ ควรให้กิ่งแตกมากกว่านี้เพราะจะทาให้ลาต้นไม่สมบูรณ์ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

การเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษาผลผลิต หม่อนรับประทานผล ในฤดูกาลผลิตผลหม่อนออกมาเป็น ระยะเวลาสั้น คือประมาณ 30-40 วันเท่านั้น ทาให้การ นาผลหม่อนไปใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ จาต้องดาเนินการ อย่างเร่งด่วนเพื่อมิให้ผลหม่อนที่สุกเกิดความเสียหายได้แต่ การเก็ บ รั ก ษาผลหม่ อ นนั้ น แตกต่ า งกั น ไปตามแต่ วัตถุประสงค์ของการนาไปใช้ประโยชน์ คือ 1. การเก็บรักษาเพื่อการรับประทานผลสด ควรเก็บผล หม่อนจากต้นในระยะที่มีผลสีแดงเข้มแล้วนามาใส่ภาชนะที่โปร่งวาง ซ้ อ นกั น ไม่ สู ง มากนั ก จะสามารถเก็ บ รั ก ษาผลหม่ อ นได้ เป็ น ระยะเวลา ๒-๓ วัน โดยที่คุณภาพของผลหม่อนยังคงเดิม คือมี รสชาติ ห วานอมเปรี้ ย ว ซึ่ ง จะมี ค วามหวานประมาณ ๘ - ๑๐ °Brix. และมีปริมาณกรด ๑.๗ – ๒.๐ % W/V. มีสีสันแดงอม ม่วงหรือดาหากเก็บรักษาไว้นานกว่านี้จะทาให้ผลหม่อนมีปริมาณ กรดน้อยลง และเปลี่ยนสีเป็นสีดาทาให้ไม่น่ารับประทานสด สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Q & A ชุดความรูท้ ามาหากิน

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

การเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษาผลผลิต 2.หากไม่สามารถแปรรูปได้ทันที ควรเก็บ รักษาไว้โดยบรรจุในถุงพลาสติกขนาดบรรจุถุงละ 10 กิโลกรัม หรือ บรรจุลงในตะกร้าผลไม้ แล้ว น าไปเก็ บ ไว้ ที่ ห้ อ งเย็ น ที่ มี อุ ณ หภู มิ –14 องศา เซลเซียส จะเก็บได้นาน 6 เดือน

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” - เคล็ดลับในกระบวนการผลิต

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” - เคล็ดลับในกระบวนการผลิต

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” เทคนิคการบังคับให้หม่อนติดผลนอกฤดูกาลมีวิธีการดังนี้ 1. การโน้มกิ่งแบบอุโมงค์ หรือ การโน้มกิ่ง - เด็ดยอด – ลิดใบ ในลักษณะการโน้มกิ่งแบบโค้ง วิธีการนี้เหมาะสาหรับโน้มกิ่งเพื่อ สร้างความสวยงานในการจัดเป็นแปลงสาธิตเช่น ในสวนสาธารณะ และในบริเวณสวนในบ้าน ทาให้มองดูเหมือนอุโมงค์ ซึ่งทาให้ความ สูงของอุโมงค์สูงประมาณ 1.50 เมตรจากพื้นดิน วิธีการบังคับจะ ทาการตัดต่าหม่อนตามปกติ ในช่วงต้นฤดูฝนปล่อยให้หม่อน เจริญเติบโตทางลาต้นไม่ต่ากว่า 6 เดือน ในช่วงนี้สามารถเก็บเกี่ยว ผลผลิตใบหม่อนได้ตามปกติโดยวิธีการเก็บใบ แต่ต้องระวังไม่ให้มีการ กระทบกระเทือนต่อตาข้างของหม่อน และเมื่ออายุกิ่งหม่อนครบ 6 เดือน ก็เริ่มทาการลิดใบหม่อนที่เหลือออกให้หมด จากนั้นจึงโน้มกิ่ง เข้าหากันลักษณะแถวต่อแถว โดยใช้เชือกฟางผูกติดกิ่งหม่อนแถวหนึ่ง เข้ากับอีกแถวหนึ่ง ให้สารกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาด หรือ สี่เหลี่ยมผืนผ้า ให้แต่ละช่องมีความอย่างทั่วถึงกัน แต่ต้องระวังไม่ให้ มัดกิ่งรวมกันหลายกิ่งซึ่งจะทาให้แดดส่องไม่ทั่วถึง จะร่วง เก็บ ผลผลิตห่างพอสมควรเพื่อให้ได้รับแสงแดดลาบาก สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” เทคนิคการบังคับให้หม่อนติดผลนอกฤดูกาลมีวิธีการดังนี้ 2. การโน้มกิ่งหม่อนที่ปลูกแบบทรงพุ่ม เป็นวิธีการบังคับทรงพุ่มหม่อนที่ ปลูกแบบไม้ผลที่มีระยะปลูก เป็นการปลูกแบบไม่มีการตัดแต่งกิ่ง แต่ทาการ บังคับให้ทรงพุ่มสูงจากพื้นดิน 1.50 เมตร เมื่อหม่อนแตกกิ่งกระโดงใหม่ ขึ้นมาในแต่ละปี ก็จะทาการโน้มกิ่งให้ปลายยอดขนานกับพื้นดิน และก่อนจะ โน้มกิ่งจะต้องลิดใบหม่อนออกให้หมดก่อนพร้อมทั้งตัดยอดส่วนที่เป็นกิ่งสี เขียวออกยาวประมาณ 30 เซนติเมตรออกก่อน วิธีการโน้มกิ่งสามารถกระทา ได้หลายวิธี คือ 2.1 โดยใช้ลวด หรือเชือกผูกโยงติดหลักไม้ไผ่ปักไว้บนพื้นดินให้โค้งไปกับ พื้นดิน จะผูกทีละกิ่งหรือรวมหลายๆกิ่งก็ได้แต่ไม่ควรเกิน กิ่ง ต้อง คานึงถึงความสะดวกในการเก็บผลผลิตด้วย 2.2 ใช้ไม้ไผ่ล้อมเป็นคอกไว้สูงจากพื้นดิน ประมาณ 1.50 เมตรแล้วโน้ม กิ่งออกมาใช้เชือกผูกมัดติดไว้กับคอกที่ล้อมไว้ นานหลายปีส่วนระยะเวลาของการโน้มกิ่งจะอยู่ในช่วง เดือน กันยายน เดือนมกราคม ในปีถัดไป แล้วแต่ว่าจะเลือกให้หม่อนติดดอกออกผลในช่วง ระยะเวลาไหน ซึ่งโดยปกติจะสามารถเก็บเกี่ยวผลหม่อนได้หลังจากทาการโน้ม กิ่งประมาณ ๖๐ วัน และมีระยะเวลาเก็บเกี่ยวผลหม่อน ประมาณ ๓๐ วัน สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” เทคนิคการบังคับให้หม่อนติดผลนอกฤดูกาลมีวิธีการดังนี้ 2.3 ทาราวเส้นลวดขึงขนานในระหว่างแถวของต้นหม่อนแล้วโน้ม กิ่งให้ขนาน กับพื้นดิน จากนั้นนากิ่งหม่อนที่ตัดยอด ลิดใบออก แล้วมามัดตัดไว้กับราวเส้นลวด วิธีการสามารถเก็บเส้นลวดไว้ใช้ งานได้ 3. การตัดยอดเพื่อให้แตกตา เป็นวิธีการที่นิยมทากันในเขตที่มี อากาศหนาวเย็น และต้นหม่อนต้องมีความสมบูรณ์เต็มที่ มีอายุ ของกิ่งไม่น้อยกว่า 6 เดือน คือการเลี้ยงกิ่งที่ให้ผลผลิตแล้วไว้ให้มี ความสมบูรณ์มากที่สุด เมื่อกิ่งมีอายุประมาณ 6 เดือน ใบจะร่วง ทั้งต้น แล้วทาการตัดแต่งกิ่งที่ไม่สมบูรณ์และกิ่งที่แน่ทิ้งโดยการ ตัดให้ติดกับโคนกิ่ง ส่วนกิ่งที่จะบังคับให้ออกผลผลิตให้ตัดให้มีตา ติดประมาณ 5-7 ตา เพื่อเป็นการบังคับให้แตกตาใหม่พร้อมกับ การแตกตาดอก แต่วิธีการดังกล่าวต้องตัดแต่งกิ่งที่ให้ผลผลิตแล้ว ในปีที่ 2 เพราะถ้าไม่ตัดออกจะทาให้ลาต้นโทรมและผลหม่อนจะมี ขนาดเล็ก สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” เทคนิคการบังคับให้หม่อนติดผลนอกฤดูกาลมีวิธีการดังนี้

วิธีการโน้มกิ่งแบบอุโมงค์

วิธีการโน้มกิ่งแบบทรงพุ่มแบบการกางร่ม

วิธีการโน้มกิ่งแบบตัดยอด

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” การเก็บเกีย่ วและการรักษา การเก็บเกี่ยวผลนับเป็นขั้นตอนสุดท้ายของกิจกรรมภายในสวน ก่อนนาเข้าสู่กระบวนการการเก็บรักษาผล การขนส่ง และ การตลาด แนะนาวิธีการเก็บเกี่ยว ดังนี้ 1. การเก็บเกี่ยวผลเพื่อรับประทานผลสด เมื่อผลหม่อนเริ่ม เปลี่ยนสีจากสีแดงเป็นสีแดงดาหรือสีดา ก็เก็บผลได้โดยการใช้มือ เก็บทีละลูกเนื่องจากผลหม่อนสุกไม่พร้อมกัน หากปล่อยทิ้งไว้จน ผลเปลี่ยนเป็นสีดาคล้าผลจะร่วงลงสู่พื้นดินทาให้เก็บเกี่ยวผลผลิต ได้น้อย หลังจากเก็บผลหม่อนมาแล้วนามาบรรจุในกล่องกระดาษ โดยเรียงเป็นชั้นๆ ไม่เกิน 2 ชั้น ทาการปิดกล่องเพื่อรอการ ขนส่งและจาหน่ายต่อไป หากไม่สามารถขนส่งได้ทันทีควรเก็บไว้ ในห้องเย็นอุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” การเก็บเกีย่ วและการรักษา 2. การเก็บเกี่ยวเพื่อการแปรรูป หากต้องการนาไปทาน้าผลหม่อน ที่มีสีแดงก็เลือกเก็บเกี่ยวในระยะผลแดง แต่หากต้องการให้น้า ผลไม้มีสีคล้าก็เก็บผลในระยะสีดา สามารถนาผลหม่อนไปแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ได้ทันที หากไม่สามารถแปรรูปได้ทันที ควรเก็บ รักษาไว้โดยบรรจุในถุงพลาสติก หรือ ตะกร้าผลไม้ ในห้องเย็น ที่มีอุณหภูมิ –15 องศาเซลเซียส สามารถเก็บได้นาน 6 เดือน

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” การขยายพันธุห์ ม่อน เกษตรกรนิยมทากันมากที่สุดมีเพียง 2 วิธีคือ 1. การขยายพันธุ์โดยวิธีการปักชา โดยใช้ถุงเพาะชาสีดา ขยายข้างขนาด 3x10 นิ้ว (ขนาดของถุงเพาะชาดาที่ยังไม่ได้คลี่ ออก) เตรียมวัสดุเพาะโดยใช้ ดินดา : แกลบดิบหรือแกลบเผา : ปุ๋ยคอก ในอัตราส่วน 3:3:3 คลุกเคล้าให้เข้ากัน กรอกดินใส่ถุง อัดให้แน่นวางเรียงกันในเรือนเพาะชา แปลงขนาดกว้าง 1 เมตร ยาวพอประมาณกับพื้นที่ การเลือกท่อนพันธุ์ตัดท่อนพันธุ์หม่อนที่มี อายุมากกว่า 6 เดือน กิ่งแก่เป็นสีน้าตาล นามาตัดเป็นท่อนยาว ท่อนละ 20 - 25 เซนติเมตร นามาปักในถุงดินที่เตรียมไว้ จนกว่าอายุของท่อนพันธุ์ในถุงเพาะชาหม่อนครบ 3 เดือน จึง สามารถนาไปปลูกโดยวิธีการดึงถุงออกก่อนปลูกได้

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” การขยายพันธุห์ ม่อน 2.การขยายพั น ธุ์ โ ดยวิ ธี ก ารตอนกิ่ ง วิ ธี ก ารตอน เลื อ กกิ่ ง หม่ อ นขนาดอายุ

มากกว่า ๖ เดือน ให้มีความยาวของกิ่งมากกว่า 1.50 เมตร ลิดใบที่โคนกิ่งที่จะ ตอนออกประมาณ 20เซนติเมตร ให้ทาการควั่นกิ่งออกยาวประมาณ 1 นิ้ว แล้วใช้ สันมีดขูดเยื่อเมือกซึ่งเป็นท่ออาหารของกิ่งหม่อนออกให้หมด ใช้มีดกรีดถุงขุยมะพร้าวที่ เตรียมไว้ตามความยาวของถุง แยกรอยกรีดออกแล้วนามาประกบเข้ากับ รอยควั้นของ กิ่งหม่อนในลักษณะคว่ารอยกรีดลง ให้รอยควั่นด้านบนอยู่ตรงกลางหรือค่อนไปทาง ด้านบนของถุงขุยมะพร้าวใช้เชือกที่เหลือปลายไว้มัดกับต้นหม่อนให้แน่น จากนั้นนา เชือกฟางอีกเส้นมามัดตรงกลางของถุงให้แน่นจนถุงไม่สามารถขยับเขยื้อนไปมาได้ ทิ้งไว้ป ระมาณ 3๐ วัน กิ่งหม่อนจะเริ่มแตกรากออกมาจากรอยควั่นด้านบน ใน ระยะนี้ต้องดูแลเรื่องถุงขุยมะพร้าวไม่ให้ขาดน้าหากตอนกิ่งหม่อนในช่วงฤดูแล้งใช้ หลอดฉีดยาดูดน้าฉีดเข้าไปหล่อเลี้ยงขุยมะพร้าวไม่ให้ขาดน้า หลังจากตอนกิ่งครบ 45 วัน รากของกิ่งตอนเริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ก็สามารถตัดกิ่งตอนมาลงถุงเพาะ ชาได้ โดยการตัดยอดกิ่งชาให้ยาวประมาณ 1.50 เมตร จากรอยตอน ลิดใบออกให้ หมด ค่อยๆใช้มีดแกะเชือกและถุงพลาสติกออก จากนั้นลงไปชาในถุงดาขนาด 4 X 12 นิ้ว ทิ้งไว้ประมาณ 2-3 เดือนก็สามารถนาไปปลูกในแปลงได้

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” ระบบการผลิตหม่อนผลสดให้มผี ลผลิตตลอดทัง้ ปี

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” โรคและแมลง โรครากเน่า (Root rot) โรครากเน่าเป็นโรคร้ายแรงที่สาคัญที่สุด ทาความเสียหายให้แก่ต้นหม่อนทุก ระยะของการเจริญเติบโต โดยเฉพาะระยะที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้วและอยู่ใน ระยะที่ให้ผลผลิตผลหม่อน จะทาให้เกิดความเสียหายไปทั้งต้นหรือทั้งแปลง หม่อนสาเหตุ ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าเกิดจากเชื้อชนิดใด หรือสาเหตุอื่นใดสาเหตุ อาการของโรค ระยะแรกใบจะเหี่ยวคล้ายถูกน้าร้อนลวก ต่อมาใบและกิ่งจะ เหี่ยวจากส่วนยอด ใบแห้งและร่วมหล่นไปเมื่อขุดดูจะพบว่ารากเน่าเปื่อย เป็น สีน้าตาลปนดา เปลือกรากและเปลือกบริเวณโคนต้นที่เชื้อเข้าทาลาย จะเปื่อย หลุดออกโดยง่าย และมีกลิ่นเหม็น วิธีปูองกันกาจัด 1. ขุดต้นที่เป็นโรครากเน่าและเศษรากออกให้หมดแล้วเผาทาลาย 2. ในการพรวนดินให้ระมัดระวังอย่าให้เกิดรอยแผลที่รากหม่อน 3 การตัดแต่งกิ่งควรใช้กรรไกรตัดกิ่ง ไม่ควรใช้มีดเพื่อหลีกเลี่ยงการ กระเทือนต่อระบบราก 4. ใช้พันธุ์หม่อนทนทาน เช่น ไผ่หรือคุณไพเป็นต้นตอ และติดตาด้วยพันธุ์ หม่อนที่ให้ผลผลิตผลหม่อนสูง เช่นสายพันธุ์เชียงใหม่ หรือบุรีรัมย์ ๖๐ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” โรคและแมลง โรคราแปูง (Powdery mildew

เชื้อราสาเหตุที่พบ Phylactinia corylea (pers) Karst การระบาด ลมพัดพาไป ไรแดงและแมลงอื่น ๆ นาไป มักจะระบาด มากในเวลาที่มีอากาศชื้นจัด แต่ไม่มีฝนตก ลักษณะอาการ โรคราแปูง มองเห็ น ชั ด ด้ ว ยตาเปล่ า มี ลั ก ษณะเป็ น ขุ ย สี ข าวอมน้ าตาลอ่ อ น ๆ เคลือบอยู่ตามผิวใต้ใบมีราขึ้น เป็นผงสีขาวคล้ายแปูง บางครั้งจะพบสี ขาวขึ้ น บนใบด้ ว ย ต่ อ มาจะมี จุ ด เล็ ก ๆ สี เ หลื อ ง แล้ ว ค่ อ ย ๆ เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลและสีดาในที่สุด มักจะเป็นกับใบแก่ม ากกว่าใบ อ่อนใบที่ เป็นโรคจะค่อย ๆ กลายเป็นสีเ หลือง แห้ง กรอบและใบ หม่อนที่เป็นโรคจะร่วงหล่น การปูองกันกาจัด ลดความชื้นบริเวณโคนต้นหรือในทรง พุ่ม โดยการตัดแต่งกิ่ง กาจัดวัชพืชที่เป็นพืชอาศัยของเชื้อสาเหตุ เช่น น้านมราชสีห์ และหญ้ายาง เมื่ อพบโรค ควรพ่นด้ว ยสารปูอ งกัน กาจัดโรคพืชบางชนิด เช่น กามะถันผง ไดโนแคป หรือใช้นาฉีดพ่น สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” โรคและแมลง โรคใบด่าง (Mosaic disease) โรคใบด่าง ของหม่อนผลมี ๒ สาเหตุ คือ เกิดจากเชื้อไวรัส และ เกิดจากการขาด ธาตุแมกนีเซียมใบด่างที่เกิดจากเชื้อไวรัส สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัส ลักษณะอาการ ใบมักจะบิดเบี้ยวม้วนลงเป็นรูปถ้วยหรือเป็นใบเฟิร์น บริเวณแผ่นใบเหลืองซีดใบด่าง เหลืองเข้มต้นที่ถูกทาลายจะแคระแกรน ไม่ค่อยแตกกิ่ง ขนาดใบเล็กกว่าปกติ มักพบ ในช่วงฤดูแล้ง อาการของโรคจะรุนแรงมากกว่าฤดูหนาว วิธีปูองกันกาจัด 1. ถอนและแยกต้น ที่แสดงอาการของโรคใบด่าง ทาลาย 2. การเลือกพันธุ์ปลูกใหม่ควรเลือกกิ่งพันธุ์ที่มาจากแหล่งที่ปลอดจากโรคนี้ใบด่างที่ เกิดจากการขาดธาตุแมกนีเซียม ลักษณะอาการ แมกนีเซียมเป็นส่วนประกอบที่สาคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสาคัญในกระบวนการสร้างพลังงาน การขาดแมกนีเซียม อาจทาให้เกิด อาการเหลืองระหว่างเส้นใบ ใบด่างจากขอบใบเข้าหากลางใบ และจะเห็นเป็นสีเขียว ชัดเจน วิธีการปูองกันกาจัด 1. ฉีดพ่นด้วยสารอาหารที่มีธาตุ แมกนีเซียม ให้ใบหม่อนได้กินทางใบ 2. การใส่สารอาหารทางดิน เป็นประเภทปูนขาว หรือโดโลไมท์จะเป็น การลงทุนต่า แล้วสารอาหารพืชจะค่อยละลายให้พืชดูดซึมนาไปใช้ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” โรคและแมลง เพลี้ยแปูง (Mealy bug) ลักษณะ เป็นแมลงปากดูด ตัวเมียรูปร่างกลมรี คล้ายรูปไข่ ตัวเต็มวัย จะขับสารสีขาวคล้ายแปูงคลุมลาตัว ไข่จะอยู่ในถุงแปูงเมื่อฟักออกเป็นตัวอ่อน จะแยกย้ายไปดูดกินน้าเลี้ยงบริเวณส่วนที่อ่อนของต้นหม่อน เพลี้ยแปูงสามารถ ขยายพันธุ์โดยวิธีไม่ต้องมีการผสมพันธุ์ได้เมื่อเกิดสภาวะแวดล้อม ไม่ เ หมาะสม การระบาดและท าลาย มั ก พบการระบาดรุ น แรงในเดื อ น มีนาคม - กรกฎาคมในพื้นที่บางแห่งอาจพบว่า มีการระบาดช่วงฤดูฝน กับฤดู หนาว เดือนตุลาคม - ธันวาคม เพลี้ยแปูงจะเกาะดูดกินน้าเลี้ยง ตามส่วน อ่อนของหม่อน เช่น ยอดอ่อน ซอกตาที่แตกใหม่ และโคนใบ ทาให้ใบหงิกงอ แคระแกรน ใบจะหนาและมีสี เขียวเข้ม ส่วนยอดชะงักการเจริญเติบโต ข้อจะถี่ กิ่งบวม เปราะและหักง่าย ชาวบ้านเรียกว่า “ โรคกูด” หรือ “โรคหัวนกเค้า”

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” การบริหารจัดการ - การตลาด ในรูปแบบการจาหน่าย

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู”

ส่วนที่ 4 : ทาอย่างไรให้ประสบความสาเร็จ

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” ปัจจัยสูค่ วามสาเร็จ

ปัจจัยสาคัญในการการประกอบอาชีพลูกหม่อน นอกฤดู คือ ความเอาใจใส่ การสังเกต ความรับผิดชอบ ความขยัน หมั่นเพียร ในแปลงหม่อนผลสด แนวคิดใหม่ในการพัฒนาอาชีพ

การพัฒนาต่อยอดอาชีพใหม่จากลูกหม่อน คือ การแปรรูปหม่อนผลสด เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น น้า หม่อนผลสด แยมหม่อน หม่อนอบแห้ง การสร้างอาชีพ ใหม่เช่น การขายกิ่งพันธุ์หม่อนผลสด เป็นต้น

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


ชุดความรูท้ ามาหากิน “ลูกหม่อนนอกฤดู” ปัญหา

1. ปัญหาเรื่องแมลงศัตรูพืช 2. โรคระบาดในฤดูฝน แนวทางแก้ไข

1. การใช้สานขีวภัณฑ์ ในการปูองกันและ รักษาโรคระบาดบางชนิด เช่น ราแปูง เพลี้ยแปูง 2. การใช้น้าหมักและสารขับไล่แมลง เช่น น้าส้มควันไม้ สารขับไล่แมลงจากสะเดา 3. การตรวจดูแลรักษาแปลงหม่อนอย่าง สม่าเสมอ จะช่วยลดการระบาดของโรคได้ดี สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


แหล่ งอ้ างอิง

• เจ้าของความรู้ องค์ความรู้ “ลูกหม่อนนอกฤดู”. ชื่อ ว่าที่ร้อยตรีหญิงพัชนีพร ใจเดช ทีอ่ ยู่ วิทยาลัยชุมชนน่าน โทรศัพท์ 054-710329 องค์ความรู้ ลูกหม่อนผลสด. ชื่อ นายแดนชัย แก้วต๊ะ ตาแหน่ง นักวิชการเกษตรชานาญการ ทีอ่ ยู่ ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯน่าน โทรศัพท์ 081-3864044 สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


“ลูกหม่อนนอกฤดู”

-

10

2

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


“ลูกหม่อนนอกฤดู” แหล่งค้นคว้าเพิม่ เติม เดลินิวส์.๒๕๕๕.ผลวิจัย "หม่อนผลสด"...บารุงสมองและหลอดเลือด . แหล่งที่มา http://www.dailynews.co.th/agriculture/๙๐๐๐.๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕. วสันต์ นุ้ยภิรมย์.๒๕๔๕. หม่อนผลสดและการแปรรูป. กรมหม่อน ไหม ,กรุงเทพ. ๗๐ หน้า วิโรจน์ แก้วเรือง.๒๕๕๔.หม่อนผลสดพันธุ์เชียงใหม่ มีดีอย่างไร. กรมหม่อนไหม. แหล่งที่มา http://www.ichat.in.th/lei/topic-readid๗๑๔๔๖-page๑. ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕. วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาแพงเพชร.๒๕๕๕.การทาไวส์หม่อน.ที่มา : http://www.moac.go.th/builder/mu/images/menu๒๖๓.html. ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕. !

!

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


“ลูกหม่อนนอกฤดู” ธเนศ จันทน์เทศ, จินตนาภรณ์ วัฒนธร, สุภาพร มัชฌิมะปุระ, วิโรจน์ แก้วเรือง, เทอดไทย ทองอุ่น, ศุภชัย ติยวรนันท์, นงนุช เอื้อบัณฑิต , จิณัติตา จิต ติวัฒน์, ณกรณ์ ไกรอนุพงษา และ สุกานดา คาปลิว . 2555. การศึกษาศักยภาพในการแปรรูปผลหม่อนเป็นผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพในการ ปูองกัน และลดการทาลายของเซลล์ป ระสาทและความบกพร่องของความจ าใน Alzheimer’s disease. การประชุมวิชาการหม่อนไหม ประจาปี 2555. กรมหม่อน ไหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. วสั น ต์ นุ้ ย ภิ ร มย์ . 2546. หม่ อ นรั บ ประทานผลและการแปรรู ป . สถาบันวิจัยหม่อนไหม กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ . นันท กานต์กราฟฟิคการพิมพ์. 74 หน้า วิโรจน์ แก้วเรือง. 2552. ภูพยัคฆ์ แหล่งผลิตหม่อนผลสดรสเลิศ . จดหมายข่าวเส้นไหมใบหม่อน ปีที่4 ฉบับที่ 4 สถาบั น หม่ อ นไหมแห่ ง ชาติ เ ฉลิ ม พร ะเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ที่มา : น.ส.พ.กสิกร ปีที่ 86 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม-มิถุนายน 2556 โดย วิโรจน์ แก้วเรือง และวิเชียร ขวัญอ่อน

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


แหล่งจาหน่ายวัตถุดบิ และ อุปกรณ์

“ลูกหม่อนนอกฤดู”

สินค้า อุปกรณ์การเกษตร ชือ่ ร้าน แสงดาวการเกษตร ข้อมูลติดต่อ อ.ภูเพียง จ.น่าน

สินค้า กล้าพันธุ์หม่อนผลสด ชือ่ ร้าน เมืองจังพันธุ์ไม้ ข้อมูลติดต่อ อ.ภูเพียง จ.น่าน

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


แผนการถ่ายทอดองค์ความรู้ และรูปแบบกิจกรรม ครั้งที่ 1 ชื่อกิจกรรม : การฝึกอบรม หลักสูตรเทคนิคการเพิ่ม ผลผลิตหม่อนผล รูปแบบกิจกรรม : การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ระยะเวลาดาเนินการ : ปีงบประมาณ 2558 สถานทีจ่ ดั กิจกรรม : พื้นที่โครงการพระราชดาริฯ ศูนย์ภูฟูาพัฒนา อ.บ่อเกลือ จ.น่าน กลุ่มเป้าหมาย : เกษตรกรบนพื้นที่สูง อ.บ่อเกลือ

สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมิว บิลดิง้ ชัน้ 18-19 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.