ต่อยอดไอเดียทำธุรกิจ กับ 5 ธุรกิจสร้างสรรค์สาขาอาหาร

Page 1

CREATIVE FOOD BUSINESS

- อ ลั น เ ค ย์ -

ต่ อ ย อ ด ไ อ เ ดี ย ทา ธุ ร กิ จ อ า ห า ร

วิ ธี ที่ ดี ที่ สุ ด ใ น ก า ร ทา น า ย อ น า ค ต คื อ ก า ร ส ร้ า ง มั น ขึ ้ น ม า

ค น รุ่ น ใ ห ม่

ต่ อ ย อ ด ไ อ เ ดี ย ทำ ธุ ร กิ จ กั บ 5 ธุ ร กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ส า ข า อ า ห า ร


คำนำ

ในช่วงทศวรรษที่ผา่ นมา ประเทศไทยต้ องเผชิญกับความ ท้ า ทายจากการเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ น้ ทัง้ ภายในและ ภา ย นอก ประ เ ทศ ท่ า มก ลา ง ข้ อจ า กั ด ทา ง ด้ า น ทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานค่าจ้ างต่าที่เคยมีอยู่เป็ น จ านวนมาก ส่ง ผลให้ ต้ อ งเร่ ง ปรั บ เปลี่ย นทิ ศ ทางการ พัฒนามาเน้ นการใช้ ภมู ิปัญญาท้ องถิ่นที่มีความได้ เปรี ยบ ผสมผสานกับ ความคิด สร้ างสรรค์ และนวัต กรรม เพื่ อ สร้ างมูลค่า เพิ่ มให้ กับสินค้ าและบริ การ โดยเฉพาะใน สาขาที่ประเทศไทยมีศกั ยภาพอย่างแท้ จริ ง ไม่ว่าจะเป็ น การสร้ างอาชี พ และรายได้ ให้ คนไทย การมี ต ลาด ภายในประเทศรองรับและมีล่ทู างที่แจ่มใสในการขยาย ตลาดใหม่ๆ ทังในระดั ้ บภูมิภาคและระดับโลก

สานักงานบริ หารและพัฒนาองค์ความรู้ (สบร. ) ในฐานะ หน่วยงานส่งเสริ มการเรี ยนรู้ และกระตุ้นให้ เกิดความคิด สร้ างสรรค์ แ ละพัฒ นาศัก ยภาพของคนไทย ได้ จัด ท า “โครงการศึกษาวิจยั อุตสาหกรรมและบริ การของไทยที่มี ศักยภาพในการสร้ างรายได้ และโอกาสในการประกอบ อาชี พ” ขึน้ โดยได้ รับความร่ วมมือจาก ผศ. ดร. การดี เลียวไพโรจน์ และทีมงาน คณะพาณิชยศาสตร์ และการ บัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดาเนินการศึกษาวิจยั ใน สาขาอาหารและแฟชั่ น พร้ อมทั ง้ จั ด ท าเป็ น “คู่ มื อ แนวทางและโอกาสในการเข้ าสูธ่ ุรกิจอาหาร” และ “คู่มือ แนวทางและโอกาสในการเข้ าสูธ่ ุรกิจแฟชัน่ ” 1


สบร. หวัง เป็ นอย่ า งยิ่ ง ว่า คู่มื อ เล่ม นี จ้ ะช่ ว ยสร้ างแรง บัน ดาลใจและกระตุ้น ให้ ค นรุ่ นใหม่และผู้ป ระกอบการ มองเห็นโอกาสและสามารถนาความรู้ ไปประยุกต์ใช้ ใน การเริ่ มต้ นธุรกิจของตนเองได้ ในการนี ้ สบร.ขอขอบคุณ ผู้ ประกอบการทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ มี ส่ ว นให้ ข้ อคิ ด เห็ น และ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ที่เป็ นประโยชน์ ต่อการจัดท า คูม่ ือ รวมทังขอขอบคุ ้ ณคณะวิจยั มา ณ โอกาสนี ้ สานักงานบริ หารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) Office of Knowledge Management & Development (Public Organization) (OKMD)

2


สำรบั ญ ภาพรวม อุ ต สาหกรรม อาหาร

น. 6

5 ธุรกิจสร้ างสรรค์สาขาอาหารที่มี ศัก ยภาพในการสร้ างรายได้ แ ละ โอกาสในการประกอบอาชีพ

น. 31

 ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร ส อ น ทาอาหาร

น. 35

 ธุ ร กิ จ บริ ก ารอาหาร ออนไลน์

น. 73 น. 107

 ธุ ร กิ จ ออกแบบบรรจุ ภัณฑ์รักษ์ โลก

น. 135  นักออกแบบ อาหาร

น. 163 • • •

 ธุ ร กิ จ บริ การจัดเลี ้ยง

แหล่งอุปกรณ์และวัตถุดิบ หน่วยงานที่ให้ ข้อมูล/คาแนะนา ตัวอย่างโครงสร้ างการเขียนแผนธุรกิจ ให้ ได้ เงินกู้

3

ภาคผนวก น. 193


ขอบคุณภาพจาก คุณดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการออกแบบอาหาร (Food Stylist)


Food Overview


ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

ภ ำ พ ร ว ม อุ ต ส ำ ห ก ร ร ม อ ำ ห ำ ร

อุ ต ส า ห ก ร ร ม อ า ห า ร เ ป็ น อุต สาหกรรมที่ มี ค วามสาคัญ ต่ อ ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยใน ลาดับ ต้ น ๆ ที่ ได้ รั บ การสนับ สนุน จากหน่ ว ยงานภาครั ฐ เนื่ อ งจาก เป็ นอุ ต สาหกรรมที่ ใ ช้ เงิ น ลงทุ น น้ อย และมี ก ารใช้ วั ต ถุ ดิ บ ใน ประเทศมาแปรรู ปเพื่อ เพิ่ มมูลค่า และเป็ นอุ ต สาหกรรมที่ เ กิ ด ผล เชื่อมโยงไปสูก่ ิจกรรมการผลิตอื่นๆ และนาไปสูก่ ารจ้ างงานและรายได้ ประชาชาติที่สงู ขึ ้นอีกด้ วย

ในปี 2555 ประ เทศไทย เป็ น ผู้ส่ง ออกสิน ค้ า อาหารในอัน ดับ ที่ 12 ของโลก มีมูลค่าการค้ าอาหาร รวมทัง้ สิน้ 1,339,449 ล้ า นบาท โดยเป็ นมู ล ค่ า การน าเข้ าสิ น ค้ า อาหารจานวน 364,810 ล้ านบาท และเป็ นมูลค่ า การส่ง ออกสิ น ค้ า อาหารจานวน 971,689 ล้ านบาท1 อุ ต ส า ห ก ร ร ม อ า ห า ร เ ป็ น อุตสาหกรรมที่มีความสาคัญสร้ าง รายได้ และก่อ ให้ เกิ ดการจ้ างงาน ภายในประเทศเป็ นจานวนมาก

1รวบรวมข้ อมูลจากสถาบันอาหารโดยเฉลี่ยประเทศไทยจะมีมล ู ค่าตลาดการส่งออก

อาหารโลกประมาณร้ อยละ 2-3 ต่อปี และเป็ นประเทศผู้ส่งออกอาหารลาดับที่ 12 ใน ปี 2554-2555.

6


ภ า พ ร ว ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม อ า ห า ร ข อ ง ไ ท ย ปี 2 5 5 3 - 2 5 5 5

2555 364,810 ล้ านบาท

971,689 ล้ านบาท

2554 381,285 ล้ านบาท

840,000 ล้ านบาท

293,222 ล้ านบาท

759,660 ล้ านบาท

2553

นำเข้ำ

ส่งออก ที่มา: สภาหอการค้ าฯ สภาอุตสาหกรรมฯ และสถาบันอาหาร

ขอบคุณภาพจาก “The Oven” ขนมปั งไร้ เนย นม ไข่


ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

จำ น ว น ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก ำ ร อุ ต สาหกรรมอ าหารของไทย ประกอบไปด้ วยผู้ ประกอบการ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) เป็ นจานวนมากหรื อคิดเป็ นสัดส่วน ป ร ะ ม า ณ ร้ อ ย ล ะ 9 6 . 9 ข อ ง ผู้ ประกอบการในอุ ต สาหกรรม อาหารทัง้ หมด ซึ่ ง หากแบ่ ง ตาม จานวนเงินลงทุนจะมีสดั ส่วน ดังนี ้  ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ่ (เงิ น ลงทุ น มากกว่ า 100 ล้ านบาท)มี สัดส่วนร้ อยละ 3.1  ธุรกิ จ ขนาดกลาง (เงิ นลงทุน 10 ล้ านบาทถึ ง 100 ล้ าน บาท) มีสดั ส่วนร้ อยละ 1.3  ธุ ร กิ จ ขนาดเล็ ก (เงิ น ลงทุ น น้ อยกว่ า 10 ล้ า นบาท) 2 มี สัดส่วนร้ อยละ 95.6

ซึ่งเป็ นจานวนผู้ประกอบการ SME ทั ง้ หม ด 9 5 ,5 0 6 ราย 3 หา ก พิ จ า ร ณ า ถึ ง ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ผู้ป ระกอบการ SME ในภาคการ ผ ลิ ต พ บ ว่ า ใ น ปี 2 5 5 4 ผู้ประกอบการ SME มีมูลค่าการ ผลิตอาหารรวมทังสิ ้ ้น 205,069.30 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 17 4 ของ GDP ในภาคการผลิต ของ กลุ่ม ผู้ป ระกอบการ SME ไทย ทั ง้ นี ้ จากอั ต ราการเติ บ โตของ ธุ ร กิ จ อาหารและเครื่ องดื่ ม ยั ง ส่ง ผลดี ต่ อ ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ องและ เชื่อมโยงต่างๆ อาทิ ธุรกิจโรงแรม และภัต ตาคาร ธุ ร กิ จ บรรจุ ภัณ ฑ์ และธุรกิจท่องเที่ยว ทีม่ ีแนวโน้ มจะ เติบโตเพิ่มสูงขึ ้นตามไปด้ วย

2ความรู้ เบื ้องต้ นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมยา, สานักงานเศรษฐกิ จ

อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. 3รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี 2554 และปี 2555. 4จ าแนกตามสาขาการผลิ ต ISIC 2 หลัก (ISIC หรื อ International Standard Industrial Classification of All Economic Activities (ISIC Code) คือ การจัด ประเภทอุตสาหกรรมตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกประเภทตามมาตรฐานสากล โดย องค์การสหประชาชาติกาหนดขึ ้นเพื่อใช้ ในการจัดประเภทข้ อมูลกิจกรรมทางเศรษฐกิจ http://unstats.un.org/unsd/cr/registry/regcst.asp?Cl=17).

8


อาหารและเครื่องดื่ม

17%

เครื่องเรือนที่มิได้ จดั ไว้ ในประเภทอื่น

13%

เคมี

12%

เครื่องแต่งกาย

ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

G D P ภ า ค ก า ร ผ ลิ ต ข อ ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร วิ ส า ห กิ จ ข น า ด ก ล า ง แ ล ะ ข น า ด ย่ อ ม ปี 2 5 5 4

8%

44% เครื่องจักรและอุปกรณ์

6% อื่นๆ ที่มา: สานักงานส่งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม5

5สถานการณ์และตัวชี ้วัดเชิงเศรษฐกิจของ

(จาแนกตามสาขาอุตสาหกรรม).

9

SME ปี 2554-2555


ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

ก ำ ร จ้ ำ ง ง ำ น

ปี 2 5 5 5 ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ผู้ประกอบการอยู่ในอุตสาหกรรม อาหารและอุตสาหกรรมเครื่ องดื่ม ที่ จ ดทะเบี ย นกั บ กรมโรงงา น อุ ต สาหกรรม รวมทัง้ สิ น้ 8,434 ราย ส่วนใหญ่ เป็ นอุตสาหกรรมที่ พึ่งพาการใช้ แรงงานเพื่อการผลิต เป็ นส าคัญ ซึ่ ง มี จ านวนแรงงาน รวมทังสิ ้ ้น 518,152 คน6

6สถิ ติส ะสมจานวนโรงงานที่ ได้ รั บอนุญาตให้ ป ระกอบกิ จการ

(เปิ ดดาเนินการ) ตาม พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535 จาแนกรายหมวดอุตสาหกรรมที่สาคัญ ตามจาพวก ณ สิ ้นปี 2555, ศูนย์สารสนเทศโรงงานอุตสาหกรรม, กรมโรงงานอุตสาหกรรม.

10


การขยายตัวของสังคมเมืองส่งผล ต่ อ พฤติ ก รรมผู้ บริ โ ภคที่ มี ค วาม ต้ องการบริ ก ารด้ านอาหารเพิ่ ม มากขึ น้ ส่ว นหนึ่ ง มาจากรู ป แบบ การใช้ ชี วิ ต ของคนรุ่ นใหม่ ที่ มี ความเร่ ง รี บ เพิ่ ม มากขึ น้ ขนาด ครอบครั ว ที่ เ ล็ ก ลง และต้ อ งการ ความสะดวกสบายในการบริ โภค มากขึน้ จึง ส่งผลให้ อุตสาหกรรม อาหารในภาคบริ ก ารมี อัต ราการ ขยายตัวเพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ ว

ในปี 2554 อุ ต สาหกรรมบริ ก าร อาหารของไทยมีมูลค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมคิดเป็ นร้ อยละ 26.3 ของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมในประเทศ โดยแบ่งเป็ นสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวล รวมในประเทศจากวิสาหกิจขนาด ใหญ่ ร้ อยละ 54.2 และเป็ นมูลค่า รวมจากวิสาหกิ จขนาดกลางและ ขนาดย่อม (SME) ร้ อยละ 45.8

อุตสาหกรรมบริการอาหาร 26.3% SME 45.8% วิสาหกิจ ขนาดใหญ่

11

54.2%

ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

ส ถ ำ น ก ำ ร ณ์ ก ำ ร บ ริ โ ภ ค ใ น ป ร ะ เ ท ศ



ขอบคุณภาพจาก Double Dogs Tea Room


ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

หากพิ จ ารณาตามลัก ษณะการ ให้ บ ริ ก ารจะพบว่ า ธุ ร กิ จ บริ ก าร อาหารของไทยสามารถแบ่งออกได้ 6 ประเภท คือ7 1.ร้ ำ น ค ำ เ ฟ่ แ ล ะ บ ำ ร์ (Café/Bar)8 เป็ นธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก าร เกี่ยวกับกาแฟที่มีลกั ษณะร้ านแบบ คาเฟ่ โดยทั่ ว ไปจะให้ บริ การ เครื่ อ งดื่ ม ประเภทกาแฟ ชาและ ช๊ อกโกแลต และอาจมีอาหารว่าง ประเภทซุ ป แซนวิ ช ขนมอบและ ขนมหวาน เช่ น เค้ กหรื อ คุก กี ไ้ ว้ บริ ก ารด้ ว ย ร้ านคาเฟ่ และบาร์ มี รู ป แบบการให้ บ ริ ก าร 2 ประเภท คือ แบบมีโต๊ ะนัง่ และแบบไม่มีโต๊ ะ นั่ ง ทั ง้ นี ้ ขึ น้ อยู่ กั บ รู ป แบบและ สไตล์ ก ารจั ด ตกแต่ ง ร้ านตาม รสนิยมของผู้ประกอบการ

2.ร้ ำนบริ ก ำรจั ด ส่ งอำหำรถึ ง บ้ ำ น ( Delivery) เ ป็ น ธุ ร กิ จ ให้ บริ การจัดส่งอาหารแก่ลกู ค้ าถึง บ้ า น การให้ บ ริ ก ารส่ง อาหารเริ่ ม เป็ นที่ร้ ูจกั กันอย่างแพร่ หลายตังแต่ ้ ปี 2550 ปั จจุบนั สามารถพบเห็นได้ ในรู ป แบบของร้ านอาหารปิ่ นโต ร้ านอาหารตามสั่ง /อาหารจาน เดียวหรื ออาหารอื่นๆ เช่น อาหาร ญี่ปนุ่ อาหารเวียดนามที่ให้ บริ การ ส่ ง ถึ ง บ้ าน และบางส่ ว นจะเป็ น ธุ ร กิ จ ร้ านอาหารขนาดใหญ่ ที่ มี เครื อข่ายการให้ บ ริ ก ารส่ง อาหาร (Chained Home Delivery) โดย ส่ ว นใหญ่ จ ะมี ส าขากระจายอยู่ ตามห้ างสรรพสิ น ค้ าหรื อ แหล่ ง ชุมชน

7 อุ ต สาหกรรมสาร

วารสารของกรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม ฉบับ เดื อ นมกราคม กุมภาพันธ์ 2556. 8สืบค้ นออนไลน์ http://th.wikipedia.org/wiki.

14


4.ร้ ำนอำหำรจำนด่ วน (Fast Food)10 หมายถึง อาหารจานด่วน ที่ ห าง่ า ย รวดเร็ ว รั บ ประทานได้ ทันทีโดยมีการเตรี ยมส่วนประกอบ ในการปรุ งไว้ เรี ยบร้ อย ในส่วนของ คุณค่าทางโภชนาการอาจจะมีครบ หรื อไม่ครบขึ ้นอยู่กับอาหารแต่ละ ชนิ ด ซึ่ ง อาหารประเภทที่ ไ ม่ มี คุณค่าทางโภชนาการมากนักคื อ อาหารประเภทจั ง ค์ ฟ้ ู ด (Junk Food) เช่น เบอร์ เกอร์ ไก่ทอด มัน ฝรั่งทอดและฮอทดอก เป็ นต้ น

9 อุ ต สาหกรรมสาร

ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

3.ร้ ำนอำหำรที่ ใ ห้ บริ ก ำรเต็ ม รูปแบบ (Full-Service) ปั จจุบนั มี ผู้ประกอบการเพียง 61,760 ราย เท่านันที ้ ่ขึ ้นทะเบียนกับกรมพัฒนา ธุ ร กิ จ การค้ า โดยแบ่ ง เป็ นกลุ่ม ธุ ร กิ จ ภัต ตาคาร ร้ านขายอาหาร และเครื่ องดื่ม จานวน 6,933 ราย การจดทะเบี ย นในรู ป แบบบริ ษั ท จ ากั ด 6,002 ราย และเป็ นการ จดทะเบียนในรู ปแบบอื่นๆ ได้ แ ก่ ห้ างหุ้ นส่ ว นจ ากั ด ห้ างหุ้ นส่ ว น สามัญนิติบุคคลฯลฯ จานวน 931 ราย9

วารสารของกรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม ฉบับ เดื อ นมกราคม กุมภาพันธ์ 2556. 10อาหารจานด่ว น ฟาสต์ ฟ้ ด ู (Fast Food) ภัยใกล้ ตัวสาหรับคนรุ่ นใหม่ , Magazine Trendy day (2012).

15


ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

5.ร้ ำนอำหำรเล็ ก ๆ ข้ ำงทำง (Street Stalls) คือ ร้ านอาหารริ ม ทางหรื อรถเข็ น ริ มทาง ซึ่ ง เป็ น ร้ านอาหารขนาดเล็ ก หรื อ ขนาด กลาง อาจเป็ นแผนร้ านหรื อรถเข็น ซึ่ ง มั ก ตั ง้ อยู่ บ ริ เ วณแหล่ ง ชุ ม ชน เน้ นการจาหน่ายอาหารปรุ งสาเร็ จ ราคาไม่แพง และยังเป็ นที่นิยมของ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ต้ องการสั ม ผั ส วั ฒ นธรรมการกิ น ของท้ องถิ่ น นันๆ ้ 11

6.ร้ ำนอำหำรแบบบริ กำรตนเอง (Self-Service Cafeterias)12 คือ ร้ านอาหารที่ลูกค้ าจะต้ องบริ การ ตนเองส่ ว นหนึ่ ง และมี พ นัก งาน บริ ก ารอี ก ส่ ว นหนึ่ ง ซึ่ ง ลูก ค้ าจะ บริ การตนเองในเรื่ องของการเดิน ไปตักหรื อสัง่ อาหารเอง เลือกหยิบ เครื่ องดื่มเอง การเดินไปชาระเงินที่ แคชเชี ย ร์ เ อง ส่ว นพนัก งานจะมี หน้ าที่ในการเก็บจานหรื อแก้ วน ้าที่ ใช้ ไปแล้ ว ทาความสะอาดโต๊ ะและ อ านวยความสะดวกเล็ ก ๆ น้ อย โดยรู ปแบบการบริ การที่เป็ นสากล มี อ ยู่ 2 รู ป แบบ คื อ บริ ก ารคาเฟ่ เทอเรี ย (Cafeteria) และบริ ก าร บุฟเฟต์ (Buffet)

11สืบค้ นออนไลน์ http://www.ryt9.com/s/exim/1452109. 12เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการจัดการและควบคุมต้ นทุนอาหารและเครื่ องดื่ ม ,

โรงเรี ยนการท่องเที่ยวและการบริ การ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต (2554).

16


ในปี 2556 ที่ผ่านมาคาดการณ์ ว่า อุตสาหกรรมอาหารในภาคบริ การ ของประเทศไทยมี มูล ค่า รวมกว่า 669,000 ล้ า นบาท โดยแบ่ง เป็ น ตลาดธุ ร กิ จ บริ การด้ านอาหาร ทั่ว ไปที่ ไ ม่ ไ ด้ เป็ นเครื อ ข่ า ยธุ ร กิ จ อาหาร (Independent Consumer Foodservice) มู ล ค่ า 488,370 ล้ า นบาท และตลาดธุร กิ จบริ ก าร ด้ า นอาหารที่ เ ป็ นเครื อ ข่า ยธุ ร กิ จ อาหาร (Food Chain Restaurant) มูลค่า 180,630 ล้ านบาท13

ด้ า นศัก ยภาพในการใช้ จ่ า ยเพื่ อ การบริ โภคอาหาร พบว่า ผู้บริ โภค ในประเทศมี ศัก ยภาพในการใช้ จ่ายค่าอาหารที่ไม่ได้ เป็ นเครื อข่าย ธุรกิ จอาหารเฉลี่ย 7,481 บาทต่อ คน และมีศักยภาพในการใช้ จ่า ย ค่ า อาหารกั บ ผู้ ให้ บริ การที่ เ ป็ น เครื อข่ายธุรกิจอาหาร เฉลี่ย 2,431 บาทต่ อ คน 14 ซึ่ ง ธุ ร กิ จ บริ การ อาหารที่เป็ นเครื อข่ายที่ได้ รับความ นิ ย มมากที่ สุด คื อ ธุ ร กิ จ บริ ก าร ร้ านอาหาร คิ ด เป็ นมูลค่า 97.43 ล้ า นบาท ของมู ล ค่ า ตลาดธุ ร กิ จ บริ การด้ านอาหารที่เป็ นเครื อข่าย

13เชนร้ านอาหารเติบโต ... อาหารสัญชาติ เอเชี ยยังเป็ นดาวรุ่ ง

ขอบคุณภาพจาก AntwerpenR ใน www.fotopedia.com

(2556), ศูนย์วิจัยกสิกร ไทย จากัด. 14ธุ ร กิ จ บริ ก ารด้ า นอาหารที่ เ ป็ นเครื อ ข่า ยธุ ร กิ จ อาหาร คื อ อาหารที่ มีเ ครื อ ข่า ยหรื อ สาขากระจายอยูท่ วั่ ไป อาทิ เคเอฟซี, แม็คโดนัลล์, สุกี ้เอ็มเค, ดังกิ ้นโดนัท หรื อไอศกรี ม เซเว่นเซ่นส์ เป็ นต้ น ซึง่ ผู้บริ โภคสามารถหารับประทานประเภทเดียวกันแบบเดียวกันได้ ตามสถานที่ หรื อสาขาต่างๆ ของอาหารเหล่า นัน้ โดยแต่ละสถานที่ หรื อสาขาจะมี รู ป แบบการตลาดและการส่ ง เสริ ม การขายที่ เ หมื อ นกั น เนื่ อ งจากเป็ นอาหารที่ มี เครื อข่ายสินค้ ามาจากแหล่งเดียวกัน ซึง่ มีทงรู ั ้ ปแบบร้ านอาหารและซื ้อเพื่อบริ โภคนอก ร้ าน (ไม่มีโต๊ ะ/เก้ าฮี ้บริ การในร้ าน)


อุ ต ส า ห ก ร ร ม อ า ห า ร ใ น ภ า ค บ ริ ก า ร ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น ปี 2 5 5 6 กลุ่มที่ 1 ธุรกิจบริ กำรด้ ำนอำหำรทั่วไป (ที่ไม่ได้ เป็ น เครื อข่ายธุรกิจอาหาร) มูลค่าตลาด 488,370 ล้ านบาท ผู้บริ โภคมีคา่ ใช้ จ่ายเฉลีย่ 7,481 บาทต่อคน

กลุ่มที่ 2 ธุรกิจบริ กำรด้ ำนอำหำรที่เป็ นเครื อข่ ำย ธุ ร กิ จ อำหำร มู ล ค่ า ตลาด 180,630 ล้ านบาท ผู้บริ โภคมีคา่ ใช้ จ่ายเฉลีย่ 2,431 บาทต่อคน* มูลค่าตลาด

1. ธุรกิจบริ การอาหารทัว่ ไป (ที่ไม่ได้ เป็ นเครื อข่ายธุรกิจอาหาร) มูลค่า 488,370 ล้ านบาท

2. ธุรกิจบริ การอาหารที่เป็ นเครื อข่าย ธุรกิจอาหาร มูลค่า 180,630 ล้ านบาท

ร้ านอาหาร 97,430 ล้ านบาท

บริ การอื่นๆ 83,200 ล้ านบาท 18


ธุรกิจโรงแรมและภัตตำคำร นับเป็ นธุรกิจอาหารใน ภาคบริ การที่สร้ างรายได้ ให้ กบั ประเทศมากเป็ นอันดับ 1 คิ ดเป็ นมูลค่า รวม 482,122.60 ล้ า นบาท 15 ของ มูลค่าการค้ าในภาคบริ การอาหารของประเทศ ทัง้ นี ้ ส่ ว นหนึ่ ง มาจากพฤติ ก รรมการบริ โภคหรื อการ รับประทานอาหารนอกบ้ านของคนไทยที่เพิ่มมากขึ ้น หรื อร้ อยละ 70 ของคนไทยในปั จจุบนั นิยมรับประทาน อาหารนอกบ้ านมากกว่า 1 ครัง้ ต่อสัปดาห์ ซึง่ แนวโน้ ม ดัง กล่า วสนับ สนุ น ให้ ธุ ร กิ จ ภัต ตาคารเติ บ โตอย่ า ง ต่อเนื่อง16 ก า ร รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร น อ ก บ้ า น ข อ ง ค น ไ ท ย ทุกวัน

12%

1-2 ครัง้ ต่อสัปดาห์ 2-3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ 3-6 ครัง้ ต่อสัปดาห์ นานๆ ครัง้

24% 19% 15%

30%

15สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิ จและสังคมแห่งชาติ

ส่งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว). 16นิลสัน รี เสิรท์ ประเทศไทย (2012).

19

อ้ างโดยสานักงาน


ขอบคุณภาพจาก คุณดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการออกแบบอาหาร (Food Stylist)


พฤติ ก รรมการบริ โ ภคของคนรุ่ น ใหม่มีแนวโน้ มเปลีย่ นแปลงไปตาม การเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม และสิง่ แวดล้ อมใหม่ๆ ที่มีแนวโน้ ม จะทวี ค วามรุ น แรงมากขึน้ ตาม Mega Trends ซึ่งหมายถึง การ เปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ น้ ต่ อ เนื่ อ ง ยาวนานอย่างน้ อย 10 ปี ขึ ้นไป ซึ่ง ประกอบไปด้ วยปั จ จัยที่ สาคัญ 6 ด้ าน17 คือ

เคลื่ อ นที่ ต่ า งๆ และการพั ฒ นา อุตสาหกรรมดิจิตอลคอนเทนต์ ซึ่ง จะเติ บ โตมากขึ น้ ในอี ก 10 ปี ข้ างหน้ าและช่องทางในการขยาย ธุ ร กิ จ ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ คื อ อินเตอร์ เน็ต ปั จจุบันอินเตอร์ เน็ต ได้ เข้ ามามีบทบาทในวิถี ชีวิตของ ค น ทั่ ว โ ล ก ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ก า ร ติดต่อสือ่ สาร การรับข้ อมูลข่าวสาร การทางาน การทาธุรกรรมทางการ เงิ น ท าให้ ผู้ บริ โ ภคสามารถท า กิ จ กรรมต่ า งๆ ได้ อย่ า งรวดเร็ ว สะดวกและทันเวลามากขึ ้น

1.Urbanization แ น ว โ น้ ม ก า ร ขยายตัวของเมื องใหญ่ ไปสู่เ มื อ ง สาคัญต่า งๆ ประชากรเริ่ มมีที่พัก อาศั ย ในแถบชานเมื อ งมากขึ น้ ส่งผลให้ ความเจริ ญเติบโตกระจาย ไปสูภ่ มู ิภาคมากขึ ้น

ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

พ ฤ ติ ก ร ร ม ก ำ ร บ ริ โ ภ ค ค น รุ่ น ใ ห ม่

3.Hi-Speed and Coverage Logistics แนวโน้ มระบบโลจิสติกส์ ที่ ร วดเร็ ว มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ต้ นทุนต่าลง ซึง่ ระบบโลจิสติกส์มี ผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ ดีขึ ้นมีความ

2.Digital Lifestyle แนวโน้ มการใช้ ชีวิตที่อยูบ่ นอุปกรณ์สอื่ สาร

17สรุ ปภาวะอุตสาหกรรมไทยปี

ธันวาคม 2556..

21

2556 และแนวโน้ มปี 2557, OIE SHARE ประจาเดือน


ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

สะดวกสบายเพิ่ ม ขึ น้ นอกจากนี ้ ระบบโลจิสติกส์ยงั มีบทบาทสาคัญ ต่ อ การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ๆ ออ ก สู่ ต ลาด ท า ใ ห้ กา รคิ ด ค้ น เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ผลิต ภัณฑ์ ใ หม่ๆ รวดเร็ ว ขึน้ จาก เดิมในช่วงปี 2543-2553 ใช้ เวลา ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เฉลี่ย 10 ปี ลดลงเป็ น 5 ปี ในปั จจุบนั และ คาดว่าจะลดลงอีกในอนาคต 4.Aging Society แนวโน้ มการ เพิ่ ม ขึ น้ ของประชากรผู้ สู ง อายุ ความเจริ ญก้ าวหน้ าทางการแพทย์ ทาให้ คนอายุยืนยาวขึ ้น โดยมีการ ประมาณการว่ า ในปี 2568 จะมี ประชากรกลุ่มผู้สูงอายุสูง ถึง ร้ อย ละ 20 ของประชากรทั ง้ หมด ซึ่ง ประชากรกลุ่ม นี ้ จะเป็ นกลุ่ม ที่ กาหนดทิศทางด้ านการตลาดของ ประเทศไทย ดังนัน้ ธุรกิจอาหาร เพื่อสุขภาพสาหรับผู้สงู อายุจึงเป็ น โอกาส และทางเลื อ กที่ น่ า สนใจ สาหรับผู้ประกอบการรุ่นใหม่

5.Greening Economy กระแส โลกสีเขียวที่เรี ยกร้ องให้ ผลิตภัณฑ์ และบริ ก ารมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ม า ก ขึ ้น ดั ง นั ้น ผู้ ประกอบการรุ่ นใหม่ ต้ องให้ ความสาคัญสิ่งแวดล้ อมเพิ่มมาก ขึ ้น ปั จจุบนั ในระดับอุตสาหกรรมมี โ ร ง ง า น ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร รั บ ร อ ง อุตสาหกรรมสีเขียวในระดับ 1-418 แล้ วกว่า 3,500 โรงงาน แสดงให้ เห็ น แนวโน้ มในการปรั บ ตัว ของ ผู้ประกอบการไทยที่รับ กับกระแส เศรษฐกิจสีเขียวของโลก 6.She – Economy (Woman Power) แนวโน้ มการเพิ่มขึ ้นของ บทบาทสตรี ในการขั บ เคลื่ อ น ประเทศทัง้ ด้ า นเศรษฐกิ จ สัง คม และการเมื อ ง อี ก ทั ง้ ในระดั บ ครอบครั ว ผู้ห ญิ ง ยัง มี บ ทบาทใน การดูแ ลการเงิ น เป็ นหลัก ดัง นัน้ ผู้ ประกอบการรุ่ นใหม่ ค วรให้ ความสาคัญกับสินค้ าและแผนการ ตลาดที่จงู ใจผู้หญิงเพิ่มมากขึ ้น

18อุตสาหกรรมสีเขียวของกระทรวงอุตสาหกรรมแบ่งเป็ น

5 ระดับ คือ ระดับที่ 1 ความ มุง่ มัน่ สีเขียว (Green Commitment) ระดับที่ 2 คือ ปฏิบตั ิการสีเขียว (Green Activity) ระดับที่ 3 คือ ระบบสีเขียว (Green System) ระดับที่ 4 คือ วัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture) ระดับที่ 5 คือ เครื อข่ายสีเขียว (Green Network)

22


ปั จจุบันคนรุ่ นใหม่มีแนวโน้ มที่จ ะ หั น มาท าธุ ร กิ จ ส่ ว นตั ว มากขึ น้ อาจจะเป็ นผลมาจากกระแส ค่า นิ ย มของคนรุ่ น ใหม่ ที่ ต้ อ งการ อิ สระในการท างานมากขึ น้ และ โอกาสในการเริ่ ม ต้ นธุ ร กิ จ ของ ผู้ประกอบการรุ่ นใหม่ยงั ได้ รับการ สนับ สนุ น จากหน่ ว ยงานภาครั ฐ และสมาคมต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง และ พร้ อมจะให้ ความช่ ว ยเหลื อ ให้ ผู้ ประกอบการรุ่ น ใหม่ ส ามารถ ด า เ นิ น ธุ ร กิ จ ไ ด้ อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพ

จุ ด เ ริ่ ม ต้ น ที่ ส า คั ญ ส า ห รั บ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร รุ่ น ใ ห ม่ (Entrepreneur) มักเริ่ มต้ นธุรกิ จ อันเนื่องมาจาก “ใจรัก” หรื อธุรกิจ ที่เป็ น “Life Style” ของตนเอง และจากการสารวจความคิด เห็ น ออนไลน์ ข องคนรุ่ น ใหม่ พบว่ า ธุ ร กิ จ บริ ก ารอาหาร เป็ นอี ก หนึ่ ง ธุรกิจที่ได้ รับความสนใจจากคนรุ่ น ใหม่

23

ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

ท ำ ง เ ลื อ ก . . โ อ ก ำ ส ข อ ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก ำ ร ค น รุ่ น ใ ห ม่


จากการสารวจความคิ ด เห็ น ของ คนรุ่ นใหม่ที่สาเร็ จการศึกษาในปี 255619 พบว่า คนรุ่ นใหม่ต้องการ ประกอบอาชี พ ธุ ร กิ จ ส่ว นตัว มาก ที่สุด คิ ด เป็ นสัด ส่ว นร้ อยละ 38.5 งานราชการ ร้ อยละ 30.5 งาน เอกชน ร้ อยละ 18.0 และงาน รัฐวิสาหกิจ ร้ อยละ 13.0 ธุรกิจส่วนตัว

38.5%

งานราชการ

30.5%

งานเอกชน

18.0%

งานรัฐวิสาหกิจ

13.0%

19สารวจความคิดเห็นในหัวข้ อบัณฑิตใหม่ในวันรับปริ ญญา โดยศูนย์วิจย ั มหาวิทยาลัย

กรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์), 3.-7 กรกฏาคม 2556.

ขอบคุณภาพจาก Personas Persona Hombres Blanco Y Negro Vuelta ใน pixabay.com

24


โดยรูปแบบของธุรกิจส่วนตัวของคนรุ่ นใหม่ที่ ต้ องการ ซึง่ จะเห็นได้ ว่าคนรุ่ นใหม่สนใจที่จะ ประกอบธุรกิ จส่วนตัวแบบ “ธุ รกิจ เจ้ ำของ คนเดี ย วหรื อ ร่ วมหุ้ น กั บ เพื่ อ น” คิ ด เป็ น สัด ส่ ว นร้ อยละ 82 คงมี เ พี ย งร้ อยละ 18 เท่านันที ้ ่ต้องการสืบทอดธุรกิจของครอบครัว ตนเอง20

25.92%

82%

และจากการสารวจความคิดเห็นของผู้ปกครอง เด็ ก รุ่ น ใหม่ พ บว่า 3 อำชี พ แรกที่ผ้ ู ป กครอง อยำกให้ ลู ก หลำนประกอบอำชี พ 21 คื อ เจ้ ำของธุรกิจส่ วนตัว/ค้ ำขำย เพราะรายได้ ดี และไม่ต้องเป็ นลูกน้ องใคร คิดเป็ นสัดส่วนร้ อย ละ 25.92 รองลงมาร้ อยละ 14.91 อยากให้ ประกอบอาชีพแพทย์ เพราะรายได้ ดี มีเกี ยรติ และมีรายได้ สงู และร้ อยละ 12.66 อยากให้ รับ ราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ เพราะมัน่ คงและ สวัสดิการดี

20 ผลการส ารวจความต้ อ งการประกอบอาชี พ ส่ ว นตั ว

พบว่า ร้ อยละ 56 ต้ อ งการ ประกอบธุรกิจเจ้ าของคนเดียว ร้ อยละ 25 ต้ องการสืบทอดธุรกิจครอบครัว และร้ อย ละ 18 ต้ องการร่วมหุ้นกับเพื่อน. 21ผลการสารวจอาชีพในฝั นของคนกรุ งเทพมหานคร โดยนิด้าโพลล์ 2012.

25


ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

อ ำ ห ำ ร ธุ ร กิ จ ดั ้ ง เ ดิ ม . . . แ ต่ ไ ม่ ธ ร ร ม ด ำ การก้ า วเข้ า สู่ สังคมคนเมือง

1.

ปั จจุ บัน ผู้ ประกอบการรุ่ น ใหม่ ที่ ต้ อ งการจะเริ่ มต้ นธุ รกิ จมักจะนึก ถึ ง ธุ ร กิ จ อาหารเป็ นอั น ดั บ ต้ นๆ เหมื อ นที่ ใ ครหลายคนมัก บอกว่า “ขำยของกิ น ยั ง ไงก็ ข ำยได้ เพรำะยังไงคนก็ต้องกิน ” นัน่ ถือ เป็ นความคิ ด ที่ ถูก ต้ อ งเพี ย งครึ่ ง เดียวเท่านัน้ เมื่อเทียบกับสภาวะ การแข่งขันที่แท้ จริ งในธุรกิจอาหาร

2.

เพราะในปั จจุ บัน ความต้ องการ ด้ านอาหารของ “ลูกค้ าหรื อคนรุ่ น ใหม่ ” มี พ ฤติ ก รรมและควำม ต้ องกำรที่เปลี่ยนแปลงไปตำม รู ป แ บ บ ก ำ ร ด ำ เ นิ น ชี วิ ต ที่ หลำกหลำยเพิ่มขึน้ อาทิ

3.

ขนาดของ ครอบ ครั ว ที่ เปลี่ ยนแปลง ไป

4.

ก ร ะ แ ส รั ก สุขภาพ

7.

5.

สั ง ค ม ค น สูงอายุ

6.

ค ว า ม เ ท่ า เ ที ย ม ท า ง สั ง ค ม ข อ ง ผู้หญิง

การเพิ่มขึน้ ของ ผู้ป ระกอบการ รายใหม่ อ ย่ า ง รวดเร็ว

8. 26

รายได้

รู ป แ บ บ ชี วิ ต ออนไลน์หรื อโซ เซียลเน็ตเวิรค์


ดัง นัน้ ผู้ประกอบการรุ่ น ใหม่ห รื อ ผู้ประกอบการรายใหม่ที่สนใจจะ เ ข้ า สู่ ธุ ร กิ จ อ า ห า ร ค ว ร ใ ห้ ความสาคัญ กับ การด าเนิ น ธุ ร กิ จ อ า ห า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ที่ เ น้ น ใ ช้ ความคิ ด สร้ างสรรค์ แ ละไอเดี ย แปลกใหม่ ม าพัฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ และบริ การใหม่ๆ ได้ อย่างต่อเนื่อง

27

ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

ด้ านพฤติ กรรมการบริ โภคอาหาร ข อ ง ค น ไ ท ย ก็ มี แ น ว โ น้ ม ก า ร เปลีย่ นแปลงเพิ่มมากขึ ้น ทังนี ้ ้ ส่วน หนึ่งมาจากการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมและวิถีชีวิตของผู้บริ โภคยุค ใหม่ที่ต้องการความสะดวกสบาย ในการบริ โ ภคมากขึ น้ มี ร ายได้ สูงขึน้ และให้ ค วามสาคัญในการ เลือกบริ โภคอาหารตามไลฟ์ สไตล์ ของตัวเองมากขึ ้น ผู้บริ โภคยุคใหม่ ให้ ความส าคั ญ และสนใจเลื อ ก บริ โภคอาหารที่มีความหลากหลาย เพิ่มมากขึน้ รวมถึงประสบการณ์ ในการบริ โ ภคอาหารในรู ป แบบ ใหม่ ๆ เพิ่ ม มากขึ น้ จึ ง ส่ ง ผลให้ ผู้ ประกอบการในธุ ร กิ จ อาหาร จาเป็ นต้ องปรับตัว เพื่อรองรั บกับ พฤติ ก รรมการบริ โ ภคของคนรุ่ น ใหม่ โดยเน้ นสร้ างประสบการณ์ใน การบริ โภคที่แปลกใหม่ทงั ้ ในด้ าน คุ ณ ภ า พ รู ป ลั ก ษ ณ์ แ ล ะ ก า ร ให้ บ ริ ก ารอาหารในรู ป แบบต่า งๆ เพื่อตอบโจทย์ไลฟ์ สไตล์ของสังคม ในปั จจุบนั


ธุ ร กิ จ แ ล ะ อ ำ ชี พ ที่ เ กี่ ย ว เ นื่ อ ง กั บ อุ ต ส ำ ห ก ร ร ม อ ำ ห ำ ร

ที่มา: คณะผู้วิจยั , 2556.

28


29


Creative Food Business 30


1

ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

2

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

3

ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

4

ธุรกิจบรรจุภณ ั ฑ์รักษ์ โลก (Green Packaging)

5

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

5 ธุ ร กิ จ ส ร้ ำ ง ส ร ร ค์ ส ำ ข ำ อ ำ ห ำ ร ที่ มี ศั ก ย ภ ำ พ ใ น ก ำ ร ส ร้ ำ ง ร ำ ย ไ ด้ แ ล ะ โ อ ก ำ ส ใ น ก ำ ร ป ร ะ ก อ บ อ ำ ชี พ 31


การเริ่ มต้ น ธุร กิ จผู้ป ระกอบการควรศึก ษา สภาพแวดล้ อมต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้ องใน กระบวนการทาธุรกิ จ โดยอาศัย Business Model Canvas ซึ่งเป็ นเครื่ องมือในการ ประเมิ น ศัก ยภาพและวิ เ คราะห์ ภ าพรวม ธุ ร กิ จ โดยอาศั ย 9 องค์ ป ระกอบหลัก ที่ สาคัญ ดังนี ้ 1.กลุ่ ม ลู ก ค้ ำ (Customer Segments) ห ม า ย ถึ ง ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย เ ฉ พ า ะ ที่ ผู้ ประกอบการต้ องการจะเข้ าถึ ง และ ให้ บริ การ 2.คุณค่ ำที่นำเสนอ (Value Propositions) หมายถึง เหตุผลสาคัญที่ผ้ ปู ระกอบการคิด ว่าจะทาให้ ลูกค้ านันกลั ้ บมาซื ้อผลิตภัณฑ์ / รับบริ การอย่างต่อเนื่อง

32


3.ช่ องทำง (Channels) หมายถึง แนวทาง และวิธีการที่ผ้ ปู ระกอบการใช้ ในการสื่อสาร และ สร้ า ง ค วา ม เ ข้ า ใ จ ถึ ง คุ ณ ค่ า ข อ ง ผลิตภัณฑ์ /บริ การที่ผ้ ูประกอบการต้ องการ นาเสนอให้ กบั ลูกค้ า 4.ควำมสั ม พั น ธ์ กั บ ลู ก ค้ ำ (Customer Relationships) ห ม า ย ถึ ง รู ป แ บ บ ความสัมพันธ์ ที่ผ้ ปู ระกอบการได้ วางแผนไว้ สาหรับกลุม่ ลูกค้ าเฉพาะกลุม่ 5. รำยได้ (Revenue Streams) หมายถึง กระแสเงินสดที่ได้ จากลูกค้ าเฉพาะกลุม่ 6.ทรั พ ยำกรหลั ก (Key Resources) หมายถึ ง สิ น ทรั พ ย์ ที่ ส าคั ญ ที่ ใ ช้ ในการ ดาเนินธุรกิจ 7.กิจกรรมหลัก (Key Activities) หมายถึง กิ จ กรรมที่ ส าคัญ ของผู้ป ระกอบการที่ จ ะ ด าเนิ น การเพื่ อ สร้ างสรรค์ คุ ณ ค่ า ให้ กั บ ลูกค้ า เข้ าถึงตลาด และรักษาความสัมพันธ์ กับกลุม่ ลูกค้ าเฉพาะ 8.คู่ค้ำหลักทำงธุรกิจ (Key Partnerships) หมายถึง เครื อข่ายของซัพไพลเออร์ และคู่ค้า หลักที่สนับสนุนการดาเนินธุรกิจ 9.โครงสร้ ำงต้ น ทุ น (Cost Structure) หมายถึ ง ต้ น ทุน ที่ เ กิ ด ระหว่า งการด าเนิ น ธุรกิจ 33


ขอบคุณภาพจาก คุณพีช ศุภธนิศร์ ศิวะพรพันธ์ Creative Kitchen


1

ธุ ร กิ จ บ ริ ก ำ ร ส อ น ทำ อ ำ ห ำ ร (Cooking Studio) 35


ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

ธุ รกิ จ บริ ก ำรสอนท ำอำหำร หมายถึ ง ธุ ร กิ จ ที่ ให้ บริ การสอนท าอาหาร/ปรุ งอาหารให้ กับบุคคล ทั่ว ไปที่สนใจที่ จ ะเรี ย นรู้ วิธี การทาอาหารชนิด ใด ชนิดหนึง่ การเรี ยนการสอนมีกระบวนการสอนที่ไม่ ซั บ ซ้ อ น ผู้ ส อ น เ ป็ น ผู้ มี ค ว า ม รู้ แ ล ะ / ห รื อ มี ประสบการณ์ ด้านการทาอาหาร มีความสามารถ ในการคิดค้ นสูตรการทาอาหารใหม่ๆ และสามารถ ถ่ายทอดองค์ ความรู้ ในการทาอาหารนัน้ ๆ ให้ กับ ผู้อื่นได้ โดยการเรี ยนการสอนจะใช้ ระยะเวลาเพียง ครึ่งจนถึง 1 วัน เช่น คัพเค้ ก ชีสเค้ กและอาหารจาน เดียวประเภทต่างๆ ซึ่งการเรี ยนทาอาหารในธุรกิจ ประเภทนี จ้ ะไม่ มี ก ารออกหนั ง สื อ รั บ รองหรื อ เอกสารรับรองคุณวุฒิที่เกี่ยวข้ องกับการเรี ยนการ สอนในหลักสูตรการทาอาหารนันๆ ้

36


ผู้ป ระกอบการรุ่ น ใหม่ ที่ ส นใจจะ เข้ า สู่ธุ ร กิ จ บริ ก ารสอนท าอาหาร นอกจากความรู้ความสามารถและ ประสบการณ์ในการทาอาหารแล้ ว ผู้ ประกอบการยั ง ต้ องให้ ความ สาคัญและวิเคราะห์แนวโน้ มความ เป็ นไปได้ ในการเริ่ ม ต้ นธุ ร กิ จ ได้ อย่ า งรอบด้ าน อาทิ กลุ่ม ลูก ค้ า เป้ าหมาย ทรั พ ยากรหลัก แหล่ง เงินทุนและรายได้ หลักของธุรกิจ

ทาอาหารมีหน้ าที่หลักที่สาคัญใน การถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ ในการ ทาอาหารประเภทต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็ นกระบวนการท าอาหาร การ เลื อ กใช้ วัต ถุดิ บ และการเลื อ กใช้ อุ ป กรณ์ ต่ า งๆ ที่ เ หมาะสมกั บ อาหาร อีก ทัง้ ต้ อ งมี ทักษะในการ ตอบข้ อ ซัก ถามและแก้ ไขปั ญ หา เฉพาะหน้ า ได้ เ ป็ นอย่า งดี และที่ สาคัญควรเป็ นผู้มีทักษะความคิด สร้ างสรรค์ในการประยุกต์ คิดค้ น และดัดแปลงเมนู/สูตรอาหารใหม่ๆ ไ ด้ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ต ร ง กลุม่ เป้าหมาย

และควรมี ทัก ษะในการถ่ า ยทอด องค์ ความรู้ ให้ แก่ ผ้ ู อื่ น ได้ เป็ น อย่างดี เนื่องจากธุรกิจบริ การสอน 37

1 ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

คุ ณ ส ม บั ติ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก ำ ร


ก ำ ร เ ริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ

ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

กา รเ ริ่ ม ต้ น ธุ รกิ จ บริ ก า รสอ น ทาอาหารผู้ประกอบการควรศึกษา สภาพแวดล้ อมต่ า งๆ ที่ มี ค วาม เกี่ ยวข้ องในกระบวนการทาธุรกิ จ โดยอาศั ย Business Model Canvas ซึ่ ง ประกอบไปด้ วย สภาพแวดล้ อมทางธุรกิ จที่สาคัญ 9 ด้ าน ดังนี ้ 1.กำหนดกลุ่มลูกค้ ำ (Customer Segments) ระบุกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายของธุรกิจ บริ การสอนทาอาหารทังกลุ ้ ม่ ลูกค้ า ใน ปั จ จุ บั น แ ละ กลุ่ ม ลู ก ค้ าใ น อนาคต เพื่อวางแผนและออกแบบ ธุ ร กิ จได้ อย่ า งสอดคล้ องและ สามารถตอบสนองความต้ องการ ของกลุ่มลูกค้ าเป้าหมายได้ อย่า ง แท้ จริ ง เช่น

38


ขอบคุณภาพจาก คุณพีช ศุภธนิศร์ ศิวะพรพันธ์ Creative Kitchen

39

กลุ่ มลู ก ค้ ำที่ ท ำอำหำรเพื่ อ เป็ นกิจกรรมสันทนำกำร เป็ น กลุ่ ม ลู ก ค้ าที่ น ากิ จ กรรมการ ทาอาหารมาเป็ นส่วนหนึง่ ในการ ดาเนินธุรกิจของตนเอง โดยส่วน ใหญ่กลุม่ ลูกค้ าประเภทนี ้จะเป็ น ก ลุ่ ม ลู ก ค้ า ข อ ง บ ริ ษั ท แ ล ะ หน่วยงานต่างๆ เช่น › กิ จ ก รรม ท า อา หา รไทย ที่ บ ริ ษั ท ทั ว ร์ จั ด ใ ห้ กั บ นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ › กิ จ กรรมท าอาหารเพื่ อ สร้ าง ความสามัคคีให้ กับพนักงาน ในบริ ษัท › กิ จ รรมการท าอาหารเพื่ อ เรี ยนรู้ วั ฒ นธรรมไทยของ นั ก ศึ ก ษ า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ชาวต่างชาติ เป็ นต้ น

1 ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

กลุ่ มลู ก ค้ ำที่ ช อบท ำอำหำร สนใจและติ ด ตำมข่ ำวสำร ประเภทต่ ำงๆ ที่เกี่ยวข้ องกับ อำหำร เช่ น ชอบเข้ า ครั ว และ ปรุงอาหารด้ วยตนเอง ชอบปรับ และเปลี่ ย นแปลงเมนู อ าหาร ต่างๆ ให้ ตรงกับ ความต้ องการ ของตนเอง เป็ นต้ น  ก ลุ่ ม ลู ก ค้ ำ ที่ ต้ อ ง ก ำ ร ท ำอำหำรเนื่ องในโอกำส พิเศษ เป็ นกลุม่ ลูกค้ าที่เคยและ ไม่ เ คยท าอาหาร แต่ ส นใจจะ ท าอาหารประเภทใดประเภท หนึ่ง ในโอกาสพิ เ ศษต่า งๆ เช่ น การท าเค้ ก เนื่ อ งในวัน เกิ ด ของ คนพิ เ ศษ การท าอาหาร ใน เ ม นู พิ เ ศ ษ เ นื่ อ ง ใ น โ อ ก า ส วันวาเลนไทน์ เป็ นต้ น 


ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

อาหารที่สวยงาม เพื่อให้ ผ้ เู รี ยน นาอาหารนันๆ ้ กลับไปบริ โภคที่ บ้ า นหรื อ ส่ง มอบอาหารให้ กั บ ผู้อื่น  ความง่ า ยต่ อ การเรี ย นรู้ และ สามารถเข้ า ถึ ง ผู้เ รี ย นได้ อ ย่ า ง ทั่ว ถึ ง จากการเรี ย นรู้ เป็ นกลุ่ม ย่อย  การต่อยอดความคิดสร้ างสรรค์ อาหารด้ ว ยตนเอง จากการให้ อิสระและคาปรึ กษาหลังชั่วโมง เรี ยนหรื อทางโซเชียลเน็ตเวิร์ค

2 . คุ ณ ค่ ำ ที่ น ำ เ ส น อ ( Value Propositions) การน าเสนอคุ ณ ค่ า ของธุ ร กิ จ บริ การสอนทาอาหารที่เป็ นไปตาม ความคาดหวังของกลุม่ ลูกค้ าที่เข้ า มาใช้ บริ การ ซึ่ ง กระบวนการ น า เสนอ คุ ณ ค่ า จะ อยู่ ใ นทุ ก ๆ ขั น้ ตอนของธุ ร กิ จ บริ การสอน ทาอาหาร เช่น

การให้ ค าแนะน าหลัก สูต รการ เรี ยนทาอาหารที่เหมาะสมและ ตอบสนองความต้ องการของ กลุม่ ลูกค้ า  การเรี ย นการสอนท าอาหารที่ สนุ ก ส นา น จ า ก ก า ร ลง มื อ ทาอาหารด้ วยตนเอง  ความง่ายและสะดวกในการปรุ ง อาหาร (จากการจัดเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ไว้ อย่างเรี ยบร้ อย และเหมาะสม)  การสร้ างความประทั บ ใจใน ชิ ้นงาน/อาหารที่ผ้ เู รี ยนปรุ งเสร็ จ แล้ ว เช่น การเตรี ยมกล่องบรรจุ 

3.ระบุช่องทำง (Channels) การติ ด ต่ อ สื่ อ สารและน าเสนอ ธุร กิ จ บริ ก ารสอนท าอาหารไปยัง กลุ่ ม ลู ก ค้ าเป้ าหมายได้ อย่ า ง รวดเร็ ว และต่ อ เนื่ อ ง กลุ่ม ลูก ค้ า สามารถเข้ า ถึ ง และติด ต่อ สื่อ สาร กับ ผู้ป ระกอบการได้ ง่า ย สะดวก และรวดเร็ ว ในทุกช่วงเวลาการส่ง มอบคุณค่าย่อมทาให้ เกิดความพึง พอใจในการใช้ บ ริ ก ารที่ ม ากกว่ า อาทิ

40


เอง จากลูก ค้ า ที่ เ คยใช้ บริ ก าร แล้ ว และมี ก ารบอกต่ อ หรื อ แนะน าธุ ร กิ จ ไปยัง กลุ่ม ลูก ค้ า เป้าหมายหรื อผู้ที่สนใจจะเรี ยน ทาอาหารประเภทต่างๆ 4.สร้ ำงควำมสัม พันธ์ กับลู กค้ ำ (Customer Relationships) การสร้ างความประทับ ใจให้ แก่ ลูกค้ าในทุกขัน้ ตอนของการเรี ย น การสอนทาอาหาร ซึ่งกระบวนการ ทั ง้ หมดจะมี ค วามเชื่ อ มโยงกั น ตลอดกระบวนการทาธุรกิจ เช่น ก ำ ร ส ร้ ำ ง ค ว ำ ม สั ม พั น ธ์ ระหว่ ำงกำรเรี ย นกำรสอน การสร้ าง บรรยากาศที่ เ ป็ น กันเองระหว่างผู้เรี ยนกับผู้เรี ยน และผู้เรี ยนกับผู้สอน  กำรสร้ ำงกำรมีส่ ว นร่ วม เปิ ด โอกาสให้ ผ้ เู รี ยนได้ ใช้ ไอเดียและ ความคิ ด สร้ างสรรค์ ในการ ดั ด แปลงรู ปร่ างหรื อตกแต่ ง หน้ าตาอาหารได้ ตามใจชอบ โดยมีผ้ ูสอนให้ คาแนะนาอย่า ง เป็ นกันเอง 

41

1 ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

โซเชียลมีเดีย (Social Media) เป็ นสื่ อ ที่ ส ามารถเข้ าถึ ง กลุ่ ม ลูกค้ าได้ เป็ นจานวนมาก สะดวก และสามารถสื่ อ สารกั บ กลุ่ ม ลู ก ค้ า ได้ อย่ า ง รว ดเ ร็ ว ผ่ า น โซเชียลมีเดียประเภทต่างๆ อาทิ เฟซบุ๊ก อินสตราแกรม หรื อไลน์ เป็ นต้ น  เว็บไซต์ (Web site) เป็ นช่อง ทางการสื่ อ สารที่ ส ามารถระบุ รายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับ ธุ ร กิ จ ได้ อย่ า งครบถ้ วน เช่ น หลั ก สู ต รการเรี ยนการสอน ทาอาหาร ค่าใช้ จ่ายในการเรี ยน การสอน วัน เวลาและสถานที่ใน การเรี ยนการสอนแต่ละหลักสูตร และสถานที่ตงั ้ ของกิ จการ เป็ น ต้ น อี ก ทัง้ เว็ บ ไซต์ ยัง เป็ นสื่ อ ที่ เข้ าถึ ง กลุ่ ม คนได้ เป็ นจ านวน มากโดยไม่ จ ากัด ช่ ว งเวลาอี ก ด้ วย  กำรบอกต่ อ (Word of Mouth) เป็ นช่องทางการสื่อสารระหว่าง ผู้บริ โภค หรื อกลุม่ ลูกค้ าด้ วยกัน 


บริ ก ารสอนท าอาหารโดยตรง ได้ แ ก่ ก ลุ่ ม ผู้ ที่ ชื่ น ช อ บ ก า ร ทาอาหารหรื อทาอาหารเป็ นงาน อดิ เ รก หรื อ กลุ่ ม ผู้ ที่ ส นใจจะ ทาอาหารเนื่ องในโอกาสพิเศษ ต่างๆ เป็ นต้ น  นั กท่ องเที่ ยว เช่น บริ ก ารสอน ท าอาหารให้ แ ก่ นัก ท่อ งเที่ ย วที่ สนใจจะทาอาหารไทยใน ช่วงเวลาที่เดินทางมาท่องเที่ยว ในประเทศไทย เป็ นต้ น  คู่ค้ำทำงธุรกิจ เป็ นกลุม ่ ลูกค้ าที่ ใช้ กิ จ กรรมการท าอาหารเป็ น ส่ว นหนึ่ง ของธุ ร กิ จ เช่ น บริ ษั ท ทัว ร์ จัด กิ จ กรรมการท าอาหาร ไ ท ย ไ ว้ ใ น แ พ็ ค เ ก จ ทั ว ร์ บริ ษั ท เอกชนจั ด กิ จ กรรมการ ท าอาหารไว้ เ ป็ นส่ว นหนึ่ ง ของ 5.รำยได้ (Revenue Streams) รายได้ หลั ก ที่ ส าคั ญ ของธุ ร กิ จ กิ จกรรมสันทนาการของบริ ษั ท บริ ก ารสอนท าอาหารยัง คงเป็ น เช่ น งานสัม มนาประจ าปี ของ รายได้ จากการสอนท าอาหาร บริ ษัท เป็ นต้ น ให้ กบั ลูกค้ ากลุม่ ต่างๆ อาทิ 6 . ท รั พ ย ำ ก ร ห ลั ก ( Key  ลูกค้ ำทั่วไป คือ ผู้เรี ยนและผู้ใช้ Resources) ก ำ ร ส ร้ ำ ง ทั ศ น ค ติ ที่ ดี กั บ ผู้เรียนทำอำหำร ให้ ผ้ เู รี ยนรู้สกึ สนุ ก สนาน และมี ค วามสุข ใน การทาอาหาร เหมือนการได้ มา ทากิ จ กรรมยามว่า งกับ เพื่ อ นๆ มากกว่าการมาเรี ยนทาอาหาร อย่างเคร่งเครี ยด  กำรเข้ ำถึ ง องค์ ควำมรู้ หลั ก หรื อกำรสร้ ำงชุ ม ชนกลุ่ ม ลู ก ค้ ำ (Community) เพื่ อ ก่ อ ให้ เกิ ด การพู ด คุ ย และรู้ จั ก กั น ระหว่ า งลูก ค้ าและธุ ร กิ จ การ แลกเปลี่ ย นข้ อ มูล ร่ ว มกัน หรื อ ตอบข้ อซ้ กถามต่างๆ ที่ลกู ค้ ายัง สงสัยหลังจากเสร็ จสิ ้นการเรี ยน ทาอาหารไปแล้ ว 

ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

42


ง่ ำ ยต่ อกำรใช้ ง ำน เหมาะสม กั บ ประเภทอาหารและกลุ่ ม ลูกค้ าเป้าหมาย  วั ต ถุ ดิ บ ในการสอนท าอาหาร สะอาดและเป็ นไปตามาตรฐาน เพื่อการบริ โภค  ห้ อ ง เ รี ย น / ส ถ ำ น ที่ ส อ น ทาอาหารที่ ได้ รับ การออกแบบ และตกแต่ ง ไว้ อย่ า งสวยงาม เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก ลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้ าหมาย และดูทัน สมัย ตาม คอนเซ็ ป ต์ ก ารให้ บริ การของ ธุรกิจ ผู้ป ระกอบการสามารถคัด เลื อ ก และจัดหาทรัพยากรต่างๆ ได้ ตาม ความเหมาะสม ทัง้ นี ้ ขึ น้ อยู่ กั บ เงินทุน รู ปแบบหรื อคอนเซ็ปต์ของ ธุรกิจและกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมาย

เ ช ฟ ห รื อ บุ ค ล ำ ก ร ผู้ ส อ น ท ำอำหำร หรื อ ผู้ เชี่ ย วชำญ ด้ ำ นอำหำร ที่ มี ค วามรู้ ความ สามารถและหรื อมีชื่อเสียงเป็ นที่ รู้ จั ก หรื อ ได้ รั บ การยอมรั บ ใน ธุรกิจสอนทาอาหาร  เมนู อำหำรสร้ ำงสรรค์ ที่ มี ความหลากหลายและมี ก าร ปรั บ เปลี่ ย นหมุ น เวี ย นอย่ า ง สม่ า เสมอ ทัน ต่อ ยุค สมัย และ กระแสนิยม  อุปกรณ์ ทำอำหำรที่ทันสมัย 

7.กิจกรรมหลัก (Key Activities) เป็ นกิ จ กรรมที่ ส ร้ างคุ ณ ค่ า และ มู ล ค่ า ให้ กั บ ธุ ร กิ จ บริ การสอน ทาอาหาร โดยมีกิจกรรมหลักๆ ที่ สาคัญ ดังนี ้

43

1 ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

ปั จจั ย หรื อทรั พยากรส าคั ญ ที่ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร จ า เ ป็ น ต้ อ ง มี ทรั พ ยากรที่ ดี แ ละมี คุ ณ ภาพจะ สามารถสร้ างคุณค่าให้ กบั ธุรกิจได้ เ ป็ นอย่ า ง ดี แ ละ ไ ด้ รั บค ว า ม ไว้ วางใจจากลู ก ค้ าผู้ ใช้ บริ ก าร นามาซึ่งรายได้ ซึ่งในธุรกิจบริ การ สอนทาอาหาร ผู้ประกอบการควร ให้ ความสาคัญกับทรัพยากรหลักที่ ส าคัญ ในการประกอบธุ ร กิ จ ซึ่ ง ประกอบไปด้ วย


กำรสอนทำอำหำร ให้ บริ การ สอนท าอาหารประเภทต่ า งๆ โ ด ย ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ค ว ร ใ ห้ ความสาคัญกับคอนเซ็ ปต์ หรื อ กลุ่ม ลูก ค้ า เป้ าหมาย เพื่ อ การ น าเสนอบริ ก ารสอนท าอาหาร ประเภทต่างๆ ได้ ตรงตามความ ต้ องการของลูกค้ าเป้าหมาย  กำรส่ ง มอบสู ต รอำหำร การ จัดหาและจัดเตรี ยมสูตรอาหาร ต่า งๆ ที่ สามารถส่ง มอบให้ กับ ลูก ค้ า ได้ ทัน ที ณ วัน เรี ย นหรื อ สอนทาอาหาร  กำรส่ งมอบอำหำร ที่ลกู ค้ าทา ขึ ้นเองให้ แก่ลกู ค้ า เพื่อให้ ลกู ค้ า เกิ ด ความประทั บ ใจและได้ ทดลองบริ โ ภคอาหารที่ ท าเอง หรื อนากลับไปมอบให้ ผ้ อู ื่น  กำรสร้ ำงเครื อ ข่ ำ ยและกำร ให้ บ ริ ก ำรหลั ง กำรขำย การ ตอบข้ อซักถามและแลกเปลี่ยน ความคิ ด เห็ น ร่ ว มกั น ระหว่ า ง ผู้เ รี ย น ผู้สอนและกิ จ การ เพื่ อ สร้ างความสัมพันธ์อนั ดีตอ่ กัน

8.คู่ ค้ ำ หลั ก ทำ งธุ รกิ จ ( Key Partnerships) เครื อข่ า ยพั น ธมิ ต รในธุ ร กิ จ ที่ มี ความเกี่ ย วข้ อ งหรื อ เชื่ อ มโยงกับ ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร อาทิ

ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

ส ถ ำ บั น ส อ น ท ำ อ ำ ห ำ ร / โรงเรี ยนสอนทำอำหำร เพื่ อ การจัดหาเชฟหรื อพ่อครัว  นั ก เ รี ย น / นั ก ศึ ก ษ ำ ส ำ ข ำ อำหำร เพื่อจัดหาบุคลากรที่ มี ความรู้ ด้ านอาหารมาเป็ นผู้ช่วย ในการเรี ยนการสอน เช่น ธุรกิจ สอนทาอาหารเด็ก จาเป็ นต้ องมี บุ ค ลากรผู้ ช่ ว ยสอน เพื่ อ ท า หน้ าที่ช่วยสอนและดูแลเด็กใน ระหว่างจัดการเรี ยนการสอน  หน่ วยงำน/องค์ กร/บริ ษั ท / สถำบั น กำรศึ ก ษำ/โรงเรี ย น ทั่ว ไป เพื่ อ ติด ต่อประสานงาน จัด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน ท าอาหาร เช่ น น าเสนอการ ท าอาหารเป็ นหนึ่ ง ในกิ จ กรรม สันทนาการของบริ ษัทฯ 

44


สาคัญ ๆ ที่ เ กิ ด ขึ น้ ในระหว่า งการ เริ่ มต้ นธุรกิจและขณะดาเนินธุรกิจ ประกอบไปด้ วยโครงสร้ างต้ นทุนที่ สาคัญๆ ดังนี ้ กำรลงทุ น ในสิ น ทรั พ ย์ ถำวร ได้ แ ก่ ค่าออกแบบและตกแต่ง สถานที่/ห้ องเรี ยนทาอาหาร ค่า วางระบบต่างๆ และค่าอุปกรณ์ และเครื่ องใช้ เช่น ตู้แช่วัตถุดิบ และตู้อบ เป็ นต้ น  ก ำ ร ล ง ทุ น ใ น สิ น ท รั พ ย์ หมุนเวียน › ต้ น ทุ น คงที่ ได้ แ ก่ เงิ น เดื อ น พ นั ก ง า น ป ร ะ จ า ค่ า เ ช่ า สถานที่ และค่า อิ น เตอร์ เ น็ ต เป็ นต้ น › ต้ นทุ น ผั น แปร ได้ แก่ ค่ า วัตถุดิบอาหาร/วัสดุสิ ้นเปลือง ค่ า โทรศั พ ท์ ค่ า น า้ และค่ า ไฟฟ้ า เป็ นต้ น 

9 . โ ค ร ง ส ร้ ำ ง ต้ น ทุ น ( Cost Structure) เป็ นการวิเคราะห์คา่ ใช้ จ่ายรายการ

45

1 ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

บริ ษั ท จ ำหน่ ำยอุ ป กรณ์ กำร ท ำอำหำร เพื่ อ สร้ างความ ร่ วมมือการจัดหาอุปกรณ์ ต่างๆ ทังวั ้ สดุอุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ ใช้ ในการทาอาหาร ซึง่ อาจส่งผล ดีตอ่ ระบบเครดิตทางการค้ า  บริ ษัทจำหน่ ำยวัตถุดิบอำหำร เพื่ อ สร้ างความร่ ว มมื อ ในการ จัดหาวัสดุต่างๆ และวัตถุดิบใน การปรุ งอาหาร รวมถึ ง การ สนั บ สนุ น สิ น ค้ า ใ น รู ป แ บ บ สปอนเซอร์ ของธุ ร กิ จ เช่ น ผู้ จาหน่ายไข่ไก่ยี่ห้อ A สนับสนุน ไ ข่ ไ ก่ ส ด ใ ห้ แ ก่ ธุ ร กิ จ ส อ น ทาอาหารเดื อ นละ 3 แผง โดย ผู้ส อนต้ อ งช่ ว ยประชาสัม พัน ธ์ ตรายี่ห้อของไข่ไก่ในระหว่างการ เรี ยนการสอนเป็ นการตอบแทน เป็ นต้ น 


ตั ว อ ย่ า ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ล ง ทุ น ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร ส อ น ทา อ า ห า ร KID Cooking Club (เงินลงทุนเริ่มต้ นประมาณ 500,000 – 700,000 บาท)*

(1) ลงทุนในสินทรัพย์

ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

(2) เงินทุนหมุนเวียน ต้ นทุนคงที่

ต้ นทุนผันแปร

ค่าออกแบบและ ตกแต่งสถานที่

เงินเดือน พนักงานประจา

วัสดุสิ ้นเปลือง

อุปกรณ์และ เครื่องครัว

ค่าเช่าสถานที่

วัตถุดิบ

ค่าวางระบบ สาธารณูปโภค

ค่าอินเตอร์ เน็ต

ค่าน ้าค่าไฟ

ค่าเชฟ / ค่าพ่อครัว

ค่าวัสดุและ เครื่องใช้

หมายเหตุ: องค์ประกอบจะเปลี่ยนไปตามบริ บทของขนาดและคอนเซ็ปต์ในการทาธุรกิจ

46


ถ้ ำคุ ณ ไม่ เห็ น ว่ ำ ตั ว เอง คื อ ผู้ ชนะแล้ ว คุ ณ ก็ จ ะ ไม่ สำมำรถดำเนิ น กำรให้ เป็ นผู้ชนะได้ ขอบคุณภาพจาก christmasstockimages.com

- ซิก ซิกล้ า -


ตั ว อ ย่ ำ ง ก ำ ร เ ริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ ใ ห ม่

ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

เ ริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ แ บ บ ง่ า ย -ง่ า ย ทุ น น้ อย เสี่ ย งน้ อย จะ เริ่ มต้ น ยังไงดี ???

ส าหรั บ ผู้ ประกอบการมื อ ใหม่ ที่ สนใจจะผั น ตั ว เองเข้ าสู่ ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร ส อ น ท า อ า ห า ร ห า ก ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร มี ทั ก ษ ะ แ ล ะ องค์ ค วามรู้ ด้ านอาหาร หรื อมี ประสบการณ์ในการทาอาหาร แต่ ยังมีทุนทรัพย์ไม่พอที่จะเปิ ดธุรกิ จ ขนาดใหญ่ หรื ออยากจะลอง เริ่ มต้ นท าเป็ นงานอดิ เ รก เพื่ อ ทดลองตลาด และเพื่ อ ป้ องกั น ค ว า ม เ สี่ ย ง ข อ แ น ะ น า ใ ห้ ผู้ป ระกอบการเริ่ ม ต้ นจากธุ ร กิ จ ดังนี ้

48

สถำนที่ เลือกใช้ สถานที่ที่มีอยู่ แล้ ว เช่น บ้ าน/ที่พักอาศัย โดย เริ่ มต้ นจากการปรับพื ้นที่ภายใน บ้ านเพื่ อ จั ด ท าเป็ นห้ องเรี ย น จานวน 1-2 ห้ อง หรื อใช้ ห้องครัว ภายในบ้ าน หากผู้ประกอบการ จาเป็ นต้ องลงทุนเช่าสถานที่เพื่อ ประกอบธุ ร กิ จ ผู้ป ระกอบการ ค ว ร ค า นึ ง ถึ ง ท า เ ล ที่ ตั ้ง ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ รู ป แ บ บ ก า ร ให้ บริ การ เช่น › ธุ ร กิ จ บริ ก ารสอนท าอาหาร เด็ ก ควรเลื อ กสถานที่ ใ กล้ ห้ างสรรพสิ น ค้ าหรื อแหล่ ง ช้ อปปิ ง้ เพื่อความสะดวกของ ผู้ปกครองที่จ ะพาบุตรหลาน มาเรี ยนสอนทาอาหาร โดย


ขอบคุณภาพจาก คุณพีช ศุภธนิศร์ ศิวะพรพันธ์ Creative Kitchen


1 ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

ผู้ปกครองสามารถไปทาธุร ะ หรื อกิ จ กรรมส่ ว นตั ว ต่ า งๆ ภายในห้ างสรรพสิ น ค้ าได้ ในช่ ว งระยะเวลาที่เ ด็ ก เรี ย น ทาอาหารประมาณ 2-3 ชม./ ครัง้ ธุ ร กิ จ บริ ก ารสอนท าอาหาร นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ค ว ร เ ลื อ ก ส ถ า น ที่ ห รื อ ท า เ ล ที่ ตั ้ ง ใกล้ เคี ย งสถานที่ ท่ อ งเที่ ย ว ต่างๆ ธุ ร กิ จ บริ ก ารสอนท าอาหาร สาหรับกลุม่ แม่บ้านหรื อคนรุ่ น ใหม่ที่ต้องการเรี ยนทาอาหาร ควรเลื อ กท าเลที่ ตัง้ ที่ อ ยู่ ใ น แหล่ง ชุ ม ชนย่ า นที่ พัก อาศัย อา ทิ หมู่ บ้ า นจั ด สรรหรื อ คอนโดมิเนียม เป็ นต้ น

ด้ วยตัวเองง่ายๆ เช่น ทาสีผนัง ในส่ว นที่จ ะใช้ เป็ นสถานที่ห รื อ มุ ม ส อ น ท า อ า ห า ร ห รื อ ใ ช้ สติ๊กเกอร์ สาเร็ จรู ป ตกแต่งผนัง ห้ องเรี ยน  เ ม นู อ ำ ห ำ ร ส ร้ ำ ง ส ร ร ค์ ประเภทอาหารที่ผ้ ปู ระกอบการ มี ค วามรู้ /ความช านาญและ ประสบการณ์ โดยมีการวางแผน จัดเตรี ยมเมนูอาหารต่างๆ ที่จะ ใช้ ในการเรี ยนการสอนในแต่ละ เ ดื อ น แ ล ะ ว า ง แ ผ น ก า ร จั ด เ ต รี ย ม ห ลั ก สู ต ร ก า ร ทาอาหารในช่วงเทศกาลต่างๆ เพื่ อ ด าเนิ น การจัด เตรี ย มวัส ดุ และอุปกรณ์ เครื่ องมือเครื่ องใช้ และวัตถุดิบในลาดับต่อไป  วัสดุและอุปกรณ์ เลือกใช้ สิ่งที่ มีอ ยู่แ ล้ ว และจัด หาเพิ่ มเติม ใน สิ่ ง ที่ จ า เ ป็ น เ น้ น วั ส ดุ แ ล ะ อุ ป ก รณ์ ที่ ห า ซื อ้ ง่ า ย รา ค า ไม่แพง และสามารถใช้ งานง่าย และควรเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ งานได้ เอนกประสงค์ ซึง่ ในปั จจุบนั มีให้

ก ำ รต ก แ ต่ ง ส ถำ น ที่ ห รื อ สถานที่ ที่ จ ะใช้ สอนท าอาหาร ผู้ป ระกอบการสามารถเริ่ ม ต้ น ตกแต่ ง สถานที่ ด้ วย วัส ดุ แ ละ อุปกรณ์ตา่ งๆ ทีส่ ามารถทาได้

50


เครื่ อ งใช้ ไฟฟ้ า เช่ น เตาอบ/ ตู้อ บ เครื่ อ งผสม/เครื่ อ งปั่ น อาหารเอนกประสงค์ และ เ ค รื่ อ ง ชั่ ง น า้ ห นั ก อ า ห า ร เป็ นต้ น อุ ป ก ร ณ์ แ ล ะ เ ค รื่ อ ง มื อ ทาอาหาร เช่น อุปกรณ์ชุดทา ครัว หัวบีบเค้ ก ถ้ วยกระดาษ ถาดอบขนม และไม้ พายผสม อาหาร เป็ นต้ น วัต ถุ ดิ บ (ขึ น้ อยู่ กั บ ประเภท ของอาหาร) เช่ น แป้ งสาลี เนยสด ไข่ไก่ เนื ้อสัตว์ ผักและ ผลไม้ สด เป็ นต้ น วั ส ดุ อื่ น ๆ เช่ น ผ้ ากั น เปื ้ อ น กล่องบรรจุอาหารที่ปรุงสาเร็ จ

แรงงำน เนื่ อ งจากเป็ นการ เ ริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ ใ น ค ร อ บ ค รั ว ผู้ประกอบการควรบริ หารจัดการ ด้ วยตนเองในระยะเริ่ มต้ นธุรกิจ

51

อาทิ ประสานงานรั บ จองและ สอนทาอาหาร ซึ่งหากมีผ้ สู นใจ และต้ อ งการเรี ย นเพิ่ ม มากขึ น้ ผู้ ประกอบการควรเลื อ กใช้ บริ การจ้ างเหมาแรงงานผู้สอน ทาอาหารเป็ นรายครั ง้ เพื่อเป็ น การลดต้ นทุนในการจ้ างแรงงาน กำรโฆษณำและ ประชำสัมพันธ์ กิจการในระยะ เริ่ มต้ นควรใช้ ช่องทางสื่อสังคม ออนไลน์ (Social Media) ซึ่ง เป็ นสื่ อ ที่ เ ข้ าถึ ง กลุ่ ม ลู ก ค้ าได้ อย่ า งรวดเร็ ว และเป็ นจ านวน มาก สามารถสื่อ สารและตอบ ข้ อ ซั ก ถ า ม กั บ ก ลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้ าหมายได้ และสามารถ น าเสนอภาพถ่ า ยบรรยากาศ การเรี ย นการสอนและอาหาร ต่า งๆ ที่ มี ก ารจัด การเรี ย นการ สอน เพื่ อ สร้ างแรงจูง ใจให้ กับ กลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายได้ อีกด้ วย

1 ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

เลื อ กหลายยี่ ห้ อและมี ร าคา ย่อมเยา เช่น


ก ำ ร ส ร้ ำ ง มู ล ค่ ำ เ พิ่ ม ใ ห้ กั บ ธุ ร กิ จ

ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

กำรสร้ ำงอัตลักษณ์ ให้ กับธุรกิจ ส ร้ า ง ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ใ น ก า ร ให้ บริ การได้ อ ย่ า ง สอด คล้ อ ง กั บ ไลฟ์ สไต ล์ ข อ ง ก ลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้าหมาย 1 . ก ำ ร ส ร้ ำ ง วั ฒ น ธ ร ร ม / พฤติกรรมกำรเรี ยนรู้ แบบใหม่ สร้ างบรรยากาศการเรี ยนการสอน ทาอาหารที่ ทาให้ ผ้ ูเรี ย นได้ มีส่ว น ร่ ว มในการสร้ างสรรค์ แ ละปรุ ง อาหาร 2.เมนู อ ำหำรสร้ ำงสรรค์ การ พัฒนาสูตรอาหารหรื อเมนูอาหาร ใหม่ๆ อย่างต่อ เนื่ อง ตามกระแส นิยมและเทศกาลต่างๆ

52


กลุ่มลูกค้ ำวัยเด็ก เ น้ น “ เ รี ย น รู้ โ ภ ช น า ก า ร จ า ก ก า ร ท าอาหาร” การออกแบบสถานที่ / ห้ องเรี ยนใช้ สีสันสดใส อุป กรณ์ ใ ช้ งาน ง่ า ย ป ล อ ด ภั ย ข น า ด พ อ ดี มื อ เ ด็ ก เมนูอาหารง่ายๆ เช่น วุ้นผลไม้ สด สลัด ไข่ต้มผักสามสี เป็ นต้ น

กลุ่มแม่ บ้ำน/วัยทำงำน เน้ น “ความสนุกสนานกับ การเข้ าครั ว ” สะดวก รวดเร็ วจากวัตถุดิบและอุปกรณ์ ที่สามารถหาซื ้อได้ ง่ายและราคาไม่แพง เน้ นรู ป แบบอาหารใหม่ๆ ที่ ก าลัง เป็ น ที่นิยม ณ ช่วงเวลานัน้

กลุ่มนักท่ องเที่ยว เน้ น “อาหารไทยต้ นต ารั บ ชาววัง ” การ เรี ยนการสอนทาอาหารที่ มี เอกลักษณ์ ความเป็ นไทย ภายใต้ บ รรยากาศและ อุป กรณ์ เครื่ องมือเครื่ องใช้ แ บบโบราณ เช่ น กระทะทองเหลื อ ง จานชามลาย เบญจรงค์ ฯลฯ

53

ขอบคุณภาพจาก คุณพีช ศุภธนิศร์ ศิวะพรพันธ์ Creative Kitchen


ก ำ ร ข ย ำ ย ธุ ร กิ จ . . อี ก ร ะ ดั บ กั บ ก ำ ร พั ฒ น ำ ธุ ร กิ จ

ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

ในธุ ร กิ จ บริ การสอนท าอาหาร โอกาสและความเป็ นไปได้ ในการ ข ย า ย ธุ ร กิ จ ใ น อ น า ค ต คื อ 

กำรเพิ่ ม พืน้ ที่ ห รื อ เพิ่ ม สำขำ กำรให้ บริ กำรสอนทำอำหำร เ พื่ อ ส า ม า ร ถ ร อ ง รั บ แ ล ะ ให้ บริ การกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายได้ เพิ่ ม มากขึ น้ เช่ น A Little Something โรงเรี ย นสอน ท าอาหารสาหรั บ เด็ ก เล็ก วัย 3 ขวบขึ ้นไป ปั จจุบนั มี 2 สาขาคือ สาขาสุ ขุ ม วิ ท และสาขาราช พฤกษ์ หรื อ Play Chef โรงเรี ยน ส อ น ท า อ า ห า ร แ ส น ส นุ ก ให้ บ ริ ก ารสอนท าอาหารเด็ ก ที่ มุ่ง เน้ น กระบวนการเรี ย นรู้ และ พัฒ นาทั ก ษะส าหรั บ เด็ ก ด้ วย การสัม ผัส และปฏิ บัติ จ ริ ง จาก การทาครัว ปั จจุบนั Play Chef มีทงหมด ั้ 5 สาขาอยู่ที่พาราไดซ์ พาร์ ค, บางนา, แจ้ งวั ฒ นะ, พระรามสาม และเจริ ญนคร

“A Little Something” ธุรกิจสอนทาอาหารสาหรับเด็ก เป็ นโรงเรี ยนสอน ทาอาหารสาหรั บเด็กเล็ กวัย 3 ขวบขึน้ ไป เน้ น การพัฒนา IQ และ EQ (เพื่อสร้ างสมดุลทางการ เรี ยนรู้) ผ่านห้ องครัวที่สนุกสนาน ซึ่งเป็ นจุดขาย ที่โดนใจผู้ปกครองยุคใหม่

54


กำรขยำยธุ ร กิ จ ในรู ป แบบ ของแฟรนไชส์ (Franchise) เป็ นการขยายธุ ร กิ จ ในรู ป แบบ ลิ ข สิ ท ธิ์ ห รื อ รู ป แ บ บ ก า ร ให้ บริ การสอนทาอาหาร

1 ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

“Play Chef” สถาบั น สอนท าอาหารส าหรั บ เด็ ก ที่ มุ่ ง เน้ น กระบวนการเรี ยนรู้ และพัฒนาทักษะสาหรับเด็ก ด้ ว ยการสัม ผัส และปฏิ บัติ จ ริ ง จากการท าครั ว เช่น Kids in the Kitchen หลักสูตรอาหารคาว หวานนานาชาติ และ Bakery Box หลักสูตรทา ขนมเบเกอรี่ ประเภทต่างๆ

55


ปั จ จั ย แ ห่ ง ค ว ำ ม สำ เ ร็ จ

ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

ในธุ ร กิ จ บริ การสอนท าอาหาร 2.บุคลำกรหลัก บุคลากรในธุรกิจ ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย ปั จ จั ย แ ห่ ง สอนทาอาหาร เช่น ความส าเร็ จ ที่ ส าคัญ 6 ประการ › เชฟ สอนท าอาหารประเภท ดังนี ้ ต่า งๆ ซึ่ ง เป็ นบุค คลที่ มี ค วามรู้ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ น ก า ร ทาอาหาร มีชื่อ เสีย งและเป็ นที่ 1.อัตลักษณ์ ของธุ รกิจ สิ่งที่โดด เด่น และบ่ง บอกความเป็ นตัว ตน รู้จกั ในธุรกิจอาหาร ขอ ง ธุ รกิ จ ก า รใ ห้ บริ กา รสอ น › ครู ผ้ ู ช่ ว ยสอนท าอาหาร เป็ น ทาอาหาร เช่น บุ ค ค ล ที่ ท า ห น้ า ที่ ใ ห้ ค ว า ม › ธุ ร กิ จ บริ ก ารสอนท าอาหาร ช่ ว ยเหลือ และให้ ค าแนะน าใน เด็ ก เรี ยนรู้ โภชนาการที่ มี ระหว่า งการเรี ยนการสอน เช่ น คุ ณ ค่ า ผ่ า นกิ จ กรรมการ ครู ผู้ ช่ ว ยสอนท าอาหารเด็ ก ทาอาหาร เป็ นต้ น › ธุ ร กิ จ บริ ก ารสอนท าอาหาร › เจ้ า หน้ าที่ แนะนาหลัก สูต ร เป็ น นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว สั ม ผั ส บุคลากรที่ทาหน้ าที่ประสานงาน วัฒนธรรมพื ้นบ้ านผ่านอาหาร และให้ ค าแนะน าในการเรี ย น ไทย การสอน ควรเป็ นบุ ค คลที่ มี › ธุ ร กิ จ บริ ก ารท าอาหารผ่ า น มนุษ ยสัม พัน ธ์ ดี แ ละมี ใ จรั ก ใน กิจกรรมสันทนาการ การให้ บริ การ

56


5.กำรตลำดและประชำสัมพันธ์ การน าเสนอข้ อ มูลข่า วสารใหม่ๆ ไปยังกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง การรักษาฐานลูกค้ าเดิมและขยาย ฐานลูก ค้ าใหม่ เช่ น การแนะน า หลักสูตรทาอาหารใหม่ๆ และการ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารของ กิ จ การผ่ า นช่ อ งทางสื่ อ ออนไลน์ ประเภทต่ า งๆ เช่ น เว็ บ ไซต์ ห รื อ เฟซบุ๊ก ฯลฯ อย่างต่อเนื่อง 6 .คุ ณ ภ ำ พ แ ล ะ ม ำ ต ร ฐ ำ น คุ ณ ภาพและมาตรฐานในการ ใ ห้ บ ริ ก า ร ที่ เ ป็ น ต า ม ที่ ลู ก ค้ า ค า ด ห วั ง เ ช่ น อุ ป ก ร ณ์ แ ล ะ เครื่ องมือเครื่ องใช้ ที่ทนั สมัยเหมาะ กับรู ปแบบของธุรกิ จและประเภท ของอาหาร วัตถุดิบที่ใช้ ในการปรุง/ ประกอบอาหารเป็ นวั ต ถุ ดิ บ ที่ มี ความสดใหม่ แ ละได้ มาตรฐาน เป็ นต้ น

4.เมนู ส ร้ ำงสรรค์ เมนู อ าหาร ใหม่ๆ ตามสมัยนิยมและเทศกาล ต่ า ง เช่ น เค้ กหรื อคั พ เค้ กที่ มี รูปแบบสวยงามสือ่ ถึงความรักและ ความห่วงใย เนื่องในเทศกาลวันวา เลนไทน์ หรื อคริ สต์ ม าสคุ ก กี ท้ ี่ อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ต ก แ ต่ ง ต า ม สัญลักษณ์ ของเทศกาลคริ สต์มาส เช่น คุกกี ต้ ๊ ุก ตาซานตาครอสหรื อ เค้ กรูปต้ นคริ สต์มาส เป็ นต้ น

57

1 ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

3.ค ว ำ มต้ อ ง กำ รข อง ลู ก ค้ ำ ลูกค้ าส่วนใหญ่ของธุรกิจนี ้จะเป็ น กลุม่ ผู้เรี ยนที่เน้ นการทาอาหารเพื่อ รับประทานเอง หรื อทาอาหารเป็ น งานอดิ เรกมากกว่า การเรี ยนเพื่ อ ไปประกอบเป็ นอาชี พ ดั ง นั น้ ผู้ประกอบการต้ องให้ ความสาคัญ กับเมนูอาหาร สภาพแวดล้ อมและ บรรยากาศในการเรี ยนการสอนที่ เป็ นกัน เอง เมนูอ าหารง่ า ยๆ ที่ มี รู ปลักษณ์ สวยงามและใช้ อุปกรณ์ เครื่ องครัวที่ไม่ซบั ซ้ อน


ขอบคุณภาพจาก คุณประไพพร สิริอฉั รานนท์ Fay Fay Homemade Bakery


ไ ม่ มี ค ว ำ ม ลั บ ที่ จ ะ ป ร ะ ส บ ควำมส ำเร็ จ มั น เป็ นผลจำกกำร เตรี ยมกำร ท ำงำนอย่ ำงหนั ก และกำรเรี ยนรู้ จำกควำมล้ มเหลว - คอลลิน พาวเวล -


ข้ อ ท้ ำ ท ำ ย

ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

น าเสนอสูต รเมนูอ าหารประเภท ต่ า ง ๆ บ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ ดั ง นั ้ น ผู้ประกอบการควรให้ ความสาคัญ กั บ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ล ะ ก า ร สร้ างสรรค์ เ มนูใ หม่ ๆ ที่ น่ า สนใจ และทัน สมัย อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และ มอบข้ อ เสนอ เงื่ อ นไขพิ เ ศษหรื อ โปรโมชั่ น พิ เ ศษให้ กั บ ลูก ค้ าเก่ า เช่ น การให้ ส่ ว นลดในการเรี ย น ห ลั ก สู ต ร ต่ อ ไ ป ห รื อ ก า ร จั ด กิ จ กรรมพิ เ ศษในเนื่ อ งในโอกาส ส าคั ญ เพื่ อ เป็ นการสมนาคุ ณ ให้ แก่ลกู ค้ า อาทิ การจัดหลักสูตร/ 2.กำรรั กษำฐำนลูกค้ ำ การสร้ าง เมนูพิเศษในวันครบรอบการก่อตัง้ แรงจูงใจให้ ลกู ค้ ากลับมาใช้ บริ การ กิ จ การหรื อวั น ส าคั ญ ๆ ของปี ซ า้ เนื่ อ งจากปั จจุ บั น การสอน ปฏิ ทิ น โดยให้ สิ ท ธิ์ กับ ลูก ค้ า เดิ ม ท า อ า ห า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ มี อ ยู่ (ลู ก ค้ าที่ เ คยเรี ย นท าอาหาร) 5 แพร่ หลายทัว่ ไป ทังในรู ้ ปแบบการ ท่ า นแรกที่ ล งทะเบี ย นผ่ า นหน้ า นาเสนอผ่านคลิปวีดีโอและการ เว็บไซต์ เป็ นต้ น 1.กำรถูกลอกเลียนแบบ ทังการ ้ ลอกเลี ย นแบบเมนู อ าหารและ รู ปแบบการบริ การ เช่ น การ ลอกเลียนแบบสูตรอาหารโดยการ สมัค รเรี ย นท าอาหารเพื่ อ น าสูต ร อาหารนันๆ ้ ไปลอกเลียนแบบ หรื อ การลอกเลี ย นแบบธุ ร กิ จ โดย ศึกษาข้ อมูลต่างๆ ผ่านเว็บไซต์หรื อ สื่อสังคมออนไลน์ประเภทต่างๆ ที่ มีก ารเผยแพร่ ข้ อมูลข่า วสารและ การประชาสั ม พั น ธ์ ธุ ร กิ จของ ผู้ประกอบการเอง

60


การท าอาหารที่ ไ ด้ เรี ย นไปแล้ ว เป็ นต้ น 5.ต้ นทุ น จำกกำรใช้ เ ทคโนโลยี อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งครั ว ที่ ต้ องพึ่ ง พา เทคโนโลยีบางประเภทมีราคาสูง ส่งผลต่อต้ นทุนในการเริ่ มต้ นธุรกิจ ดั ง นั น้ ผู้ ประ กอ บก า รค วรใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ก า รเ ลื อ ก ใ ช้ เทคโนโลยีหรื ออุปกรณ์ ต่างๆ โดย คานึงถึงความเหมาะสมของขนาด ธุ ร กิ จ และรู ป แบบการให้ บริ ก าร เช่ น การเลื อ กใช้ ตู้ อบไฟฟ้ าที่ มี ขนาดพอดี กั บ ขนาดของธุ ร กิ จ เหมาะกั บ กลุ่ ม ลู ก ค้ าเป้ าหมาย และประเภทของอาหารที่ให้ บริ การ สอนทาอาหาร 6.กำรเกิ ด ใหม่ ของคู่ แข่ งขั น ปั จ จุ บั น คู่ แ ข่ ง มี ก า รข ย า ย ตั ว เพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ ว ทังที ้ ่เกิดจาก แนวโน้ มของคนรุ่ นใหม่สว่ นใหญ่ที่ ต้ อ งการเป็ นเจ้ า ของกิ จ การ และ การขยายธุรกิจของผู้ประกอบการ ที่อยูใ่ นธุรกิจบริ การอาหารอยูแ่ ล้ ว

3.กำรบริ ห ำรจั ด กำรแรงงำน (เชฟ/ผู้สอนทาอาหาร) ทรั พยากร หลัก ส่ ว นใหญ่ มี รู ป แบบการจ้ าง เหมาบริ ก าร (Outsource) หรื อ เป็ นการจ้ างงานแบบ Part time ดังนัน้ การบริ หารจัดการแรงงานที่ ขาดประสิ ท ธิ ภ าพอาจส่ ง ผลต่ อ คุณภาพการให้ บริ การ เช่น ปั ญหา การขาดแคลนเชฟหรื อ ครู ผ้ ู ช่ ว ย สอน 4.คุ ณ ภำพและมำตรฐำนของ ธุ ร กิ จ การรั ก ษาคุ ณ ภาพการ ให้ บริ ก ารในภาพรวมของธุ ร กิ จ ตัง้ แต่ก ารให้ บ ริ การก่ อ นการขาย ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส อ น ทาอาหาร และหลังการให้ บริ การ สอนทาอาหาร เช่น การให้ บริ การ สอนท าอาหารโดยเชฟที่ ชื่ อ เสีย ง การตอบข้ อซักถามและข้ อสงสัยใน

61

1 ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

หรื อ เฟซบุ๊ก เพื่ อ กระตุ้น ให้ ลูก ค้ า ติดตามความเคลือ่ นไหวต่างๆ ของ กิจการ


กรณี ศึ ก ษำ ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร ส อ น ทา อ า ห า ร ต้ น แ บ บ

ขอบคุณภาพจาก Dan Taylr ใน www.flickr.com


“สนุกที่ได้ ทา”

Creative Kitchen

“Be Ge'nie Chef Be Clever!”

Ge'nie Chef


 Creative Kitchen

ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

เราสร้ าง Trend Center เพื่อให้ เหมาะสมกับไลฟ์ สไตล์ ของคนในยุคปั จจุบนั ให้ สามารถใช้ เวลากับตนเอง ครอบครัว เพื่อนหรื อคนที่รัก รวมถึงยังเป็ นกิจกรรมทางเลือกที่มีแบบแผน การเรี ยนการสอนที่เป็ นมาตรฐาน ทังยั ้ งสามารถถ่ายทอดให้ เข้ าใจง่าย และ สามารถนาไปปฏิบตั ิได้ จริ ง

Creative Kitchen ทาธุรกิจบน แนวคิ ด ที่ ท้ า ทายของกลุ่ม คนรุ่ น ให ม่ ใ นสาข า อา ชี พเ ช ฟ ด้ ว ย แนวคิ ด ที่ ก ล้ า จะเปลี่ ย นทัศ นคติ ของคนไทยที่ เ ดิ ม ต้ องการเรี ย น ท าอาหารเฉพาะในโรงเรี ย นหรื อ สถาบัน ชื่ อ ดัง กับ เชฟที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ให้ ปรั บทัศนคติม ายอมรั บกับการ เรี ย นท าอาหารในโรงเรี ย นหรื อ สถาบันเล็กที่มีศักยภาพไม่แพ้ กัน และโดดเด่ น ในการสร้ างสรรค์ เมนู อ าหาร และรู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการเรี ยนรู้ อย่ า งเช่ น Creative Kitchen ทุกวันนี ้

ขอบคุณภาพจาก คุณพีช ศุภธนิศร์ ศิวะพรพันธ์ Creative Kitchen

64


65

1 ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

คุ ณ พี ช ศุ ภ ธนิ ศ ร์ ศิ ว ะพรพั น ธ์ ผู้ก่ อ ตัง้ เป็ นผู้ที่ ไ ด้ รั บ Certificate ในด้ าน Basic and Intermediate Cuisine และด้ าน Patisserie จาก Le Cordon Bleu Dusit, Bangkok, Thailand มีห้ นุ ส่วนที่ ประกอบไปด้ วยผู้ เชี่ ย วชาญใน สาขาต่างๆ ทังด้ ้ านอาหาร วิชาการ และบริ หาร ที่มีความชานาญในแต่ ละสาขากว่าสิบปี

ปั จจัยแห่ งควำมสำเร็จ • มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในองค์ ค ว า ม รู้ ที่ ถ่ า ย ท อ ด ใ ห้ กั บ ผู้เรี ยน • ให้ ค วามสาคัญกับเป้าหมาย ของผู้เรี ยนทุกคนทุกระดับ • ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ง า น สร้ างสรรค์วิธีการสอน • ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ง า น สร้ างสรรค์ แ ละพั ฒ นาสู ต ร อาหาร • ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ก า ร เลือกใช้ วตั ถุดิบที่มีคณ ุ ภาพ • ให้ ความส าคั ญ กั บ การจั ด สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ ที่ เน้ นความสนุ ก สนาน สร้ าง บรรยากาศที่ผ่อนคลายแบบ เป็ นกันเอง • ส า ม า ร ถ ป รั บ ตั ว รั บ กั บ ส ถ า น ก า ร ณ์ ที่ มี ก า ร เปลีย่ นแปลงได้ • มีใจรักและมุง่ มัน ่ พยายาม


ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

• ล ง มื อ ป ฏิ บั ติ เ อ ง ใ น ทุ ก Creative Kitchen มีแนวคิดใน การสร้ างกิจกรรมยามว่างให้ กบั ทุก ขันตอน ้ คนในครอบครัว เพื่อน คนรัก โดย 2) ด้ ำนควำมคิ ด สร้ ำงสรรค์ จัดให้ มีห้องเรี ยนที่หลากหลายทัง้ (Creativity) อาหารและขนม มีบรรยากาศการ • เปิ ดจินตนาการทางความคิด สอนแบบเป็ นกั น เอง พร้ อมด้ ว ย ให้ สร้ างสรรค์ ผลงานของแต่ อุปกรณ์ ที่ครบครัน ทันสมัย อีกทัง้ ละบุคคล ผู้เรี ยนก็สามารถกาหนดเวลาเรี ยน • ต า ร า ง เ รี ย น มี ค ว า ม ไ ด้ ด้ ว ย ตั ว เ อ ง แ ล ะ Creative หลากหลาย และสามารถ Kitchen ได้ มีการกาหนดหลักการ ปรั บ ได้ ต ามความพึง พอใจ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ สาคัญ ไว้ แ บ่ง เป็ น 3 สูงสุดของลูกค้ า ด้ านหลัก ดังนี ้ • พร้ อมให้ คาปรึ กษา และตอบ คาถามทุก ข้ อสงสัย หลัง จบ 1) ด้ ำนคุณภำพ (Quality) • คัด สรรวั ต ถุ ดิ บ คุ ณ ภาพสู ง การเรี ยน หรื อ ตลอดเวลาที่ จากทัว่ ทุกมุมโลก พบปั ญหา • อุ ป กรณ์ ทัน สมัย ปลอดภั ย • ส าหรั บ การเรี ย นการสอน ครบครัน แต่สามารถหาใช้ ได้ ของเด็ก ทุก เมนูอาหารและ ในชีวิตจริ ง ขนม ได้ วางหลั ก สู ต รให้ • เมนู อ าหารมี ก ารปรั บ ปรุ ง สัม พัน ธ์ แ ละสอดคล้ อ งกั บ สู ต รให้ ถู ก ปากกั บ คนไทย พัฒนาการของเด็กในแต่ละ และสามารถหาซื อ้ วัต ถุดิ บ ช่วงวัย พร้ อมทัง้ เปิ ดโอกาส ไปทาได้ จริ ง ให้ เด็ ก ได้ ใช้ ความคิ ด และ จินตนาการอย่างไร้ ขีดจากัด

66


3) ด้ ำนควำมปลอดภัย (Safety) • ด้ า นความปลอดภัย ในการ เ รี ย น ก า ร ส อ น ข อ ง เ ด็ ก เ ร า ส า ม า ร ถ รั บ ผิ ด ช อ บ บุตรหลานของท่านให้ ได้ รับ ความปลอดภัย สูง สุด จาก คณะผู้ สอน และพนั ก งาน รักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชัว่ โมง

มี ป ระกั น อุ บั ติ เ หตุ ใ ห้ กั บ นักเรี ยนที่มาเรี ยนทุกท่าน

ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

เข้ าถึงข้ อมูลได้ ที่ Creative Kitchen Facebook: https://www.facebook.com/creativekitchenschool

67

ขอบคุณภาพจาก คุณพีช ศุภธนิศร์ ศิวะพรพันธ์ Creative Kitchen


 Ge'nie Chef “เราให้ มากกว่าการทาอาหาร เรี ยนรู้ทกั ษะชีวิต ส่งเสริ มการเรี ยนรู้แบบบูรณาการ ทังคณิ ้ ตศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา สุขศึกษา โภชนาการ ประเพณี วัฒนธรรม ผ่านการทาอาหารนานาชาติเป็ นภาษาอังกฤษ”

ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

Ge'nie Chef เติบโตจากวิกฤตที่เปลี่ยนมาเป็ นโอกาส และเจตนาดีที่ต้องการเห็น เด็กน้ อยมีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดี ได้ รับสารอาหารที่ครบถ้ วน ด้ วยประสบการณ์ตรงของ ครอบครัว และความรู้ทางด้ านวิทยาศาสตร์ ที่นามาปรับใช้ กบั การประกอบ ธุรกิจให้ ความสาคัญกับพัฒนาการ ของเด็ก จะเห็นได้ กลุ่มลูกค้ าและ ตลาดเป็ นก้ าวสาคัญก้ าวแรกของ การคิดทาธุรกิจของ Ge’nie Chef ที่ประสบความสาเร็ จมาได้ ใ นทุก วั น นี ้ และเป้ าหมายสู ง สุ ด ของ Ge’nie Chef ก็คือการขยายธุรกิจ ในลักษณะแฟรนไชส์มากกว่าที่จะ ขยายเอง อี ก ทัง้ บุค คลทั่ว ไปเริ่ ม แสดงความสนใจที่จะดาเนินธุรกิจ ประเภทนี เ้ พิ่ ม มากขึ น้ ซึ่ ง อี ก ไม่ นานคงจะพร้ อม เพราะเริ่ ม ท า ขอบคุณภาพจาก คุณรดา อดุลตระกูล ระบบแฟรนไชส์ไว้ แล้ ว Ge'nie Chef

68


Ge’nie Chef เป็ นสถาบันที่ให้ “มากกว่ า การท าอาหาร” โดย คุ ณ รดา อดุ ล ตระกู ล ผู้ ก่ อ ตั ง้ สถาบันเสริ มทักษะและพัฒนาการ ของเด็กผ่านการทาอาหารแห่งแรก ในจังหวัดเชียงใหม่ เป็ นคนรุ่ นใหม่ ที่ เ ห็ น โอกาสการท าธุ ร กิ จ จาก ปั ญหาการเลือกกินอาหารของลูก น้ อ ยวัย ขวบเศษ ประสบการณ์ นี ้ จุ ด ป ร ะ ก า ย ใ ห้ คุ ณ ร ด า ส ร้ า ง สถาบันสอนทาอาหารสาหรับเด็ก ในชื่อ Genie Chef School ขึ ้นมา เพราะรอบตัว เธอต่ า งมี พ่ อ แม่ ที่ เผชิญปั ญหาเดียวกับเธอ ด้ วยการ จัด หลัก สูต รการเรี ย นการสอน 2 ภาษาคื อ ภาษาไทยและภาษา อังกฤษ ที่ถกู ออกแบบให้ เหมาะสม กับ เด็ ก ตัง้ แต่ อ ายุ 3-12 ปี โดยมี แนวความคิ ด คือ “Be Ge’nie Chef…Be Clever”

ปั จจัยแห่ งควำมสำเร็จ • คิ ด สร้ างสรรค์ กิ จ กรรมแปลก ใหม่สาหรับเด็ก • ห ลั ก สู ต ร ต อ บ โ จ ท ย์ ก ลุ่ ม เป้าหมาย ที่ทาให้ เด็กกินอาหาร ได้ มากขึ ้น • หลัก สูต รสามารถช่ ว ยให้ เ ด็ ก มี พัฒ นาการทางสมองที่ ดี ขึ น้ มี สมาธิดีขึ ้น • การให้ ข้ อมู ล และสร้ างความ เข้ าใจเกี่ ยวกับเป้าหมายสาคัญ ของสถาบัน กับกลุ่ม เป้ าหมาย อย่างต่อเนื่อง • มีใจรักและมุง่ มัน ่ พยายาม

69

1 ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

เป้ำหมำยสูงสุด คื อ การขยายธุ ร กิ จ ในลัก ษณะ แฟรนไชส์ มากกว่า ที่ จะขยายเอง เนื่ อ งจากมี ห ลายคนแสดงความ สนใจมา ไม่ ว่ า จะเป็ น ที่ ล าปาง หาดใหญ่ แ ละกรุ ง เทพฯ ซึ่ง อี ก ไม่ นานคงจะพร้ อม เพราะเริ่ ม ท า ระบบแฟรนไชส์ไว้ แล้ ว


ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

1

Ge’nie Chef มีแนวคิดในการทา ธุรกิจด้ วยการเชื่อมโยงความรู้ และ ทัก ษะที่ ส าคั ญ ส าหรั บ เด็ ก ๆ ใน ด้ า นต่ า งๆ เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ในการ ส่ง เสริ ม และพัฒนาสมองสาหรั บ เด็กๆ ซึง่ สรุปได้ ดงั ต่อไปนี ้

โปรตีนและไขมัน เป็ นต้ น และรู้ จัก รสชาติ เปรี ย้ ว หวาน ขม เค็ม เผ็ด และอื่นๆ 3) ได้ ทำกำรทดลอง กำรทำนำย ผ่ ำนห้ องครั ว เช่น รู้ จกั สังเกตการ เปลี่ยนแปลงของอาหาร ก่อนปรุ ง ขณะปรุ งและหลังการปรุ ง ทังรู้ ป สี กลิ่น รสชาติ รู้ จัก ความร้ อน การ ต้ ม การเดื อ ดและการเปลี่ ย น สถานะ เป็ นต้ น 4) ได้ ใ ช้ ป ระสำทสั ม ผั ส ทั ง้ ห้ ำ อย่างเต็มที่ ทัง้ การดู การฟั ง การ สัมผัส การรับรสและการได้ กลิน่ 5) ได้ ควำมรู้ เรื่ องกำรปลูกและ เติบโตมำของอำหำรแต่ ละอย่ ำง

กำรเชื่อมโยงสู่ ควำมรู้ สำขำใน ต่ ำงๆ ให้ กับเด็ก 1) คณิตศำสตร์ ไม่ว่าจะเป็ นการ นับจานวน (Counting) เศษส่วน (Fractions) การแยกประเภท ( Sorting) ก า ร ชั่ ง ต ว ง วั ด (Measuring) น ้าหนัก (Weighing) รู ป ร่ า ง สี ( Shapes & Colors) ล า ดั บ ( Sequencing) ก า รเ งิ น (Money) การแก้ ปัญหา (Problem Solving) 2) วิ ท ยำศำสตร์ และเคมี รู้ จั ก และเข้ าใจที่ ม าของอาหารว่ า มี หลายประเภททังคาร์ ้ โบไฮเดรต

กำรพัฒนำทักษะในด้ ำนต่ ำงๆ ให้ กับเด็ก 1 ) ศิ ล ป ะ ไ ด้ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ความคิ ด สร้ างสรรค์ จิ น ตนาการ ผ่านการออกแบบ ตกแต่งอาหาร

70


ได้ รั บ ความรู้ ต่า งๆ และความคิ ด สร้ างสรรค์ ส่งเสริ มพัฒนาการด้ าน ต่างๆ อีกทังทางสมอง ้ สังคมและ อารมณ์แก่เด็กๆ ทังทั ้ กษะต่างๆ ใน การทาอาหาร ทัศนคติท่ ดี ี เด็กๆ จะได้ เรี ยนรู้ โภชนาการและ สุข อนามัย เป็ นการปลูก ฝั ง เรื่ อ ง การกินอาหารที่ดีมีประโยชน์และรู้ ว่าอะไรเป็ นโทษไม่ควรกิน

1 ธุรกิจบริ การสอนทาอาหาร (Cooking Studio)

การใช้ สี การจัดวางอาหาร เป็ นต้ น 2) ควำมปลอดภัย เด็กได้ เรี ยนรู้ การใช้ เครื่ องครัวและอุปกรณ์ต่างๆ แก๊ ส ไฟฟ้ า ความร้ อน อะไรที่ ปลอดภัย และอะไรที่ ท าให้ เกิ ด อันตรายได้ บ้าง รู้จกั ระมัดระวังทุก ครัง้ ที่ใช้ เครื่ องครัว ต่างๆ และจาก การอ่านฉลากและดูวนั หมดอายุ 3) ด้ ำนพั ฒ นำกำรทำงสมอง สังคม และอำรมณ์ (EQ) การ เรี ยนทาอาหาร นอกเหนือจากการ

เข้ าถึงข้ อมูลได้ ที่ Ge’nie Chef Website: http://www.geniechefschool.com/ E-mail: info@geniechefschool.com

71

ขอบคุณภาพจาก คุณรดา อดุลตระกูล Ge'nie Chef


ขอบคุณภาพจาก คุณเบญจรงค์ เตชะมวลไววิทย์ Cheesecake Palette


2

ธุ ร กิ จ บ ริ ก ำ ร อ ำ ห ำ ร อ อ น ไ ล น์ (Online food Service) 73


ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

ธุรกิจบริ กำรอำหำรออนไลน์ การดาเนินธุรกิจที่ เกี่ยวข้ องกับการซื ้อขายและบริ การอาหารโดยอาศัย ช่องทางอินเทอร์ เน็ตในการประกอบธุรกิจ เช่น การ ติดต่อลูกค้ า การประชาสัมพันธ์ การขายสินค้ า การ รับชาระเงิ น ฯลฯ ในรู ปแบบของการจัดทาเว็บไซด์ เป็ นของตนเองหรื อร้ านค้ าออนไลน์ การทาธุรกิจผ่าน เว็ บ ไซต์ พ าณิ ช ย์ อิเ ล็กทรอนิก ส์ ใ นรู ป แบบของการ ประกาศซื ้อ-ขาย (E-Classified) การทาธุรกิจผ่าน ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketing) หรื อการ ท าธุ ร กิ จ บริ การอาหารออนไลน์ ผ่ า นสื่ อ สั ง คม ออนไลน์ ป ระเภทต่า งๆ อาทิ เฟซบุ๊ก (Facebook) หรื ออินสตราแกรม (Instagram) เป็ นต้ น

74


และมี พ ฤติ ก รรมการหาข้ อ มู ล ข่ า วสารทางอิ น เทอร์ เ น็ ต มาก เป็ นอัน ดับ 2 ในภูมิ ภาคเอเชี ย แปซิฟิค มีสินค้ าผู้ประกอบการ ไทยที่ ข ายอยู่ ใ นโลกออนไลน์ มากกว่า 10 ล้ านรายการ และ ยังคงมีแนวโน้ มเติบโตเพิ่มมาก ขึน้ โดยในภาพรวมของตลาด ของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรื อ E-Commerce ของประเทศ ไทยคิ ดเป็ นมูลค่า กว่า 14,700 ล้ านบาท

โ ด ย ใ น ปี 2 5 5 5 มี ค น ไ ท ย ใ ช้ อินเทอร์ เน็ตมากกว่า 25 ล้ านคน

พฤติกรรมในโลกออนไลน์ของคนไทย ในปี 2555 คนไทยใช้ อินเทอร์ เน็ต

ในปี 2555 ประเทศไทยมูลค่า E-Commerce ของประเทศไทย กว่ ำ 14,700 ล้ ำนบำท

มากกว่า 25 ล้ านคน

ขายสินค้ าในโลกออนไลน์

พฤติกรรมการหาข้ อมูลข่าวสาร ทางอินเทอร์ เน็ต

มากกว่า 10 ล้ านคน

อันดับ 2 ภูมิภาค เอเชียแปซิฟิค

75

2 ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

ปั จจุบนั ผู้ประกอบการธุรกิจต่างให้ ความสนใจในการท าธุ ร กิ จ ผ่ า น เครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต และสัง คม ออนไลน์เพิ่มมากขึ ้น ไม่ว่าจะเป็ น การจัดทาเว็บไซต์ของธุรกิจ การใช้ สื่อสังคมออนไลน์ หรื อแม้ แต่การ เปิ ดร้ านค้ าออนไลน์ กั บ เว็ บ ไซต์ ขายสินค้ าต่างๆ ที่มีอยู่เป็ นจานวน มาก


ในปี 2555 ประเทศไทยมูลค่า E-Commerce ของประเทศไทย

ขนำดของธุรกิจ E-Commerce

57.9%

กว่ ำ 14,700 ล้ ำนบำท

ธุรกิจขนาดเล็ก (มีคนทางาน 1-5 คน)

36.2%

5.9%

ธุรกิจขนาดกลาง (6-50 คน) ธุรกิจขนาดใหญ่ (มีคนทางานมากกว่า 50 คน)

ก า ร สา ร ว จ ส ถ า น ภ า พ ก า ร พ า ณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ปี 2 5 5 5 ประเภทผู้ประกอบกำร E-Commerce

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

ประเภท B2C

ประเภท B2B

75.2%

กลุม่ ท่องเที่ยว โรงแรม และรีสอร์ ท

32.8% กลุม่ ธุรกิจบริการ

7.0%

23.4%

ประเภท B2G

1.4%

กลุ่มธุรกิจในตลำด e-Commerce กลุม่ คอมพิวเตอร์ กลุม่ อุตสาหกรรมแฟชัน่ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องแต่งกาย อัญมณี และอินเทอร์ เน็ต และเครื่องประดับ

14.5%

12.6%

กลุม่ ยานยนต์และ ผลิตภัณฑ์

กลุม่ สิ่งพิมพ์/เครื่องใช้ สานักงาน

5.5%

4.8%

กลุม่ ธุรกิจอื่นๆ

22.8%

ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ 2556 * B2B (Business to Business) คือ การค้ าระหว่างผู้ค้ากับลูกค้ าเช่นกัน แต่ในที่นี ้ลูกค้ าจะเป็ นในรูปแบบของผู้ประกอบการ B2C (Business to Consumer) คือ การทาพาณิชยกรรมอิเล็กทรอนิกส์ จากผู้ประกอบการไปยังผู้บริโภคทัว่ ไปหรือภายในท้ องถิ่น B2G (Business to Government) คือ เป็ นการประกอบธุรกิจระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐ

76


กำรดูแลลูกค้ ำของธุรกิจ E-Commerce ใช้ เจ้ าหน้ าที่รับ โทรศัพท์ (Call Center)

ใช้ อีเมล์หรือการส่ง คาถามผ่านหน้ าเว็บไซต์

82.2%

68.0%

Social Media เช่น Facebook, Twitter

ใช้ ระบบสนทนาลูกค้ าแบบ Live Chat เช่น MSN, Skype, Gtalk ฯลฯ

17.7%

10.8%

คนไทยใช้ อินเทอร์ เน็ต

พฤติกรรมกำรใช้ อินเทอร์ เน็ต (คนไทยมีพฤติ กรรมกำรใช้อินเทอร์ เน็ต เฉลีย่ 32 ชัว่ โมง/สัปดำห์ ) นิยมใช้ โซเชียลมีเดีย

93.8%

ใช้ Facebook

92.2%

ใช้ Google+

63.7%

ใช้ โปรแกรม Line

61.1%

2

พฤติกรรมกำรซือ้ สินค้ ำและบริกำร ผ่ ำนโซเชียลมีเดีย เคยซื ้อสินค้ าผ่าน ช่องทางโซเชียลมีเดีย

49.7%

ส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง

55.9%

ร้ อยละ 49.7 เคยซือ้ สินค้ ำผ่ ำนช่ องทำงโซเชียลมีเดีย โดยส่ วนใหญ่ เป็ นเพศหญิงถึง ร้ อยละ 55.9 โดยมีสาเหตุมาจากความสะดวกสบายในการซื ้อสินค้ าถึงร้ อยละ 76.0 และเมื่อ เทียบย้ อนหลังไป 12 ปี ยังพบว่าคนไทยมีพฤติกรรมการใช้ อินเทอร์ เน็ต เพิ่มสูงขึน้ ถึงร้ อยละ 76.3 โดยพฤติ กรรมที่ค นไทยใช้ มากที่ สุด คื อ การซือ้ สิน ค้ า และบริ การผ่า นโซเชียลมีเดี ย โดยเฉพาะผู้คนในเมืองใหญ่นิยมใช้ อินเทอร์ เน็ตทุกที่ทุกเวลา จึงผลักดันให้ ตลาดออนไลน์ ขยายตัวเพิ่มมากขึน้ และในอนาคตมีการคำดกำรณ์ ว่ำในปี 2561 จะมีผ้ ูใช้ สมำร์ ทโฟน เพิ่มมำกขึน้ ถึง 3,300 ล้ ำนคน เลยทีเดียว

77

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

มากกว่า 25 ล้ านคน


คุ ณ ส ม บั ติ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก ำ ร

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

คุ ณ สมบั ติ ข องผู้ ประกอบธุ ร กิ จ บริ ก ารอาหารออนไลน์ นอกจาก จะต้ องมี ทั ก ษะองค์ ค วามรู้ และ ประสบการณ์ในการทาอาหารแล้ ว ผู้ป ระกอบการควรมี ค วามรู้ ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ห รื อ ก า ร ใ ช้ สื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต ประเภทต่ า งๆ เพื่ อ นามาประยุกต์ ใช้ ใ นกระบวนการ ทางธุ ร กิ จ ของตนเอง โดยเฉพาะ ผู้ประกอบการที่มีเว็บไซต์เป็ นของ ตนเอง เพื่อก่อให้ เกิดประโยชน์ทาง การค้ าผ่านระบบออนไลน์

78


ก ำ ร ส ร้ ำ ง ค ว ำ ม มั่ น ใ จ ใ ห้ กั บ ลู ก ค้ ำ

79

4.ระบบกำรช ำระเงิน ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ สะ ดวก ปลอดภั ย และได้ มาตรฐานสากล 5.กำรดู แลเว็บ ไซต์ หรื อร้ ำนค้ ำ ออนไลน์ อย่าให้ มี spam เข้ ามา โพสต์ เ รื่ อ งราวที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ เช่ น การขายตรง เป็ นต้ น และผู้ ดู แ ลเว็ บ ไซต์ ห รื อร้ านค้ า ออนไลน์ ควรมีการตอบข้ อซักถาม ของลูกค้ าอย่างสม่าเสมอ

2 ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

1 กำรออกแบบหน้ ำร้ ำนให้ มี ค ว ำ ม น่ ำ เ ชื่ อ ถื อ มี ข้ อ มู ล รายละเอียดของธุรกิจครบถ้ วนทัง้ ข้ อมู ล ตั ว สิ น ค้ าที่ จ าหน่ า ยและ ข้ อมูลสถานประกอบการ 2 . ก ำ ร จ ด ท ะ เ บี ย น กั บ ก ร ม พัฒนำธุ รกิจ กำรค้ ำ ซึ่ง จะได้ รั บ เครื่ อ งหมายรั บ รอง Registered และ Verified ตามลาดับขัน้ 3.เงื่อนไขและข้ อกำหนดในกำร ใช้ บริ กำรร้ ำนค้ ำ เช่น ระยะเวลา ในการจัดส่ง การรั บประกันสินค้ า การคืนเงิน ฯลฯ ซึ่งนโยบายเหล่านี ้ จะแสดงถึงความจริ งใจในการทา ธุรกิจ


ก ำ ร เ ริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

กำรเริ่ มต้ นธุ รกิจบริ กำรอำหำร ออนไลน์ ผู้ ประกอบการควร ศึ ก ษาสภาพแวดล้ อมต่ า งๆ ที่ เกี่ยวข้ องกับการดาเนินธุรกิจ ซึง่ จะ ช่ ว ยให้ ผู้ ประกอบการสามารถ มองเห็ น กิ จ กรรมต่า งๆ ที่ มี ค วาม ต่ อ เนื่ อ งกั น ดัง นัน้ เพื่ อ เป็ นการ เตรี ยมความพร้ อม ผู้ประกอบการ ควรศึกษาสภาพแวดล้ อมต่างๆ ที่มี ความเกี่ยวข้ องในกระบวนการทา ธุรกิจ โดยอาศัย Business Model Canvas ซึ่ ง ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย สภาพแวดล้ อมทางธุรกิ จที่สาคัญ 9 ด้ าน ดังนี ้

เปิ ดร้ ำนอำหำรออนไลน์ ให้ ตรงใจลูกค้ ำ เปิ ดร้ านอาหารออแกนิกส์ (Organic Food) ผ่านเฟซบุ๊ก ลงทุนน้ อย เข้ าถึงกลุ่มลูกค้ าได้ ไว และมี สิน ค้ า ออแกนนิ ก ส์ที่ห ลากหลาย เพื่อรองรับกลุม่ ออแกนนิกส์ไลฟ์สไตล์ เปิ ดร้ านเบเกอรี่ ออนไลน์ (Mind Bakery) ผ่านเฟซบุ๊ก ลงทุนน้ อยเข้ าถึงกลุ่มลูกค้ าได้ เป็ นวงกว้ าง มี สิ น ค้ า เบเกอรี่ ห ลากหลาย ลูก ค้ า สามารถปรั บ ส่ ว นผสมหรื อ ตกแต่ ง สินค้ าได้ ตามความต้ องการของลูกค้ า และมี บริ การจัดส่งสินค้ าหรื อลูกค้ าสามารถมารั บ สินค้ าได้ ด้วยตนเอง

1.กำหนดกลุ่มลูกค้ ำ (Customer Segments)  กลุ่ มลูกค้ ำช่ ำงเลือก เป็ นกลุ่ม ที่มีความตังใจที ้ ่จะซื ้อสินค้ านันๆ ้ อย่างชัดเจน ให้ ความสาคัญกับ การเสาะหาข้ อมูลของสินค้ าและ 80


ขอบคุณภาพจาก คุณประไพพร สิริอฉั รานนท์ Fay Fay Homemade Bakery

2 . คุ ณ ค่ ำ ที่ น ำ เ ส น อ ( Value Propositions)  สิ น ค้ ำ แ ล ะ บ ริ ก ำ ร มี รำยละเอียดสินค้ ำและบริ กำร อย่ ำงครบถ้ วน เช่น มีสินค้ าให้ เลือกหลายขนาด มีหลายรสชาติ เป็ นต้ น  ควำมสะดวกและรวดเร็ ว ใน ก ำ ร สั่ ง ซื ้ อ สิ น ค้ ำ ห า ก ผู้ประกอบการมีเว็บไซต์เป็ นของ ตนเอง ต้ องเลือกใช้ บริ การ Web Hosting ที่ มี คุ ณ ภ า พ สู ง ปลอดภัยและเสถียรภาพ  ควำมน่ ำ เชื่ อถือในระบบกำร สั่ ง ซื อ้ และขั น้ ตอนช ำระเงิ น เช่ น การตอบรั บ ค าสั่ง ซื อ้ หรื อ ตอบรั บ การรั บ ช าระเงิ น ผ่ า น อีเมล์หรื อ SMS ของลูกค้ า

81

2 ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

บริ ก ารอาหารนัน้ ๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น การหาข้ อมูลจากผู้มีประสบการณ์ หรื อหาข้ อมู ล ก่ อ นตั ด สิ น ใจซื อ้ สินค้ า  กลุ่ มลู ก ค้ ำนั ก แสวงหำ เป็ น กลุม่ ที่มีความตังใจที ้ ่จะซื ้อสินค้ า แต่ ยั ง ไม่ มี เ ป้ าหมายที่ ชั ด เจน กลุ่ ม ลู ก ค้ ากลุ่ ม นี ม้ ั ก จะเสาะ แสวงหาสินค้ าไปเรื่ อยๆ จนกว่า จะเจอสินค้ าที่ถกู ใจ จึงตัดสินใจ ซื ้อสินค้ านันๆ ้  กลุ่ มลู ก ค้ ำ ที่ รอกำรตั ด สิ น ใจ เป็ นกลุ่มลูกค้ าที่มีความท้ าทาย สาหรั บ ผู้ป ระกอบการในธุ ร กิ จ ออนไลน์ เนื่ อ งจากกลุ่ม ลูก ค้ า กลุ่มนี เ้ ป็ นกลุ่ม ที่อาจไม่เ คยซื อ้ สินค้ าออนไลน์ หรื อไม่มั่นใจใน ตัวสินค้ าและบริ การ


ค่าใช้ จ่ายขึ ้นอยูก่ บั ความซับซ้ อน ของเนื ้อหาและข้ อมูลที่ต้องการ นาเสนอผ่านหน้ าเว็บไซต์  โซเชียลมีเดีย (Social Media) เช่น เฟซบุ๊ก อินสตราแกรม หรื อ ไลน์ ซึ่ ง ข้ อ ดี ขอ ง ก า รใ ช้ สื่ อ ประเภทนี ้ คือ เข้ าถึงกลุ่มลูกค้ า ได้ อย่างรวดเร็ วและเป็ นวงกว้ าง สามารถสื่ อ สารพูด คุย ตอบข้ อ ซักถามกับลูกค้ าได้ อย่างรวดเร็ ว  เ ว็ บ ไ ซ ต์ ต ล ำ ด ก ล ำ ง อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็ นเว็บไซต์ ประเภทศูนย์รวมสินค้ าประเภท ต่า งๆ ที่ มี รู ป แบบการจ าหน่า ย อ อ น ไ ล น์ ซึ่ ง เ ป็ น อี ก ห นึ่ ง 3.ระบุช่องทำง (Channels) ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ ช่ อ ง ท า ง ใ น ก า ร ทางเลือกที่สามารถเข้ าถึงกลุ่ม นาเสนอหรื อเปิ ดร้ านค้ าออนไลน์ มี ลูกค้ าที่มีความหลากหลาย ให้ เลือกหลายรู ปแบบ ทังนี ้ ้ ขึ ้นอยู่  เว็ บ ไซต์ ป ระกำรซื อ้ ขำย (Eกับศักยภาพและขีดความสามารถ Classified) หรื อ เว็บ บอร์ ด ของผู้ป ระกอบการ ซึ่ ง มี ทัง้ แบบ แหล่ งโพสต์ ขำยสินค้ ำฟรี เป็ น ให้ บริ การฟรี และเสียค่าใช้ จ่าย เช่น สื่ อ ที่ ไ ม่ เ สี ย ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ผู้ ป ระ ก อ บ ก า รส า ม า รถ ล ง  เว็บไซต์ ขำยสินค้ ำ (Website) ธุ ร กิ จ ออนไลน์ ป ระเภทนี จ้ ะ ประกาศซือ้ ขายได้ ฟรี สามารถ เข้ าถึงกลุม่ ลูกค้ าได้ ในวงกว้ าง มีคา่ ใช้ จ่ายในการจัดทาเว็บไซต์ มำตรฐำนและบริ ก ำรจั ด ส่ ง สินค้ ำ เช่น การแจ้ งกลับไปยัง ลูก ค้ า เมื่ อ ได้ ด าเนิ น การจัด ส่ ง สินค้ าให้ เรี ยบร้ อยแล้ ว  กำรส่ ง มอบสิ น ค้ ำที่ ค รบถ้ ว น เป็ นไปตามเงื่อนไขและข้ อตกลง สินค้ าที่ได้ รับมีความสมบูรณ์ ไม่ ชารุดเสียหาย  ควำมตรงต่ อ เวลำในกำรส่ ง มอบสิ น ค้ ำ ควรเป็ นไปตาม กาหนดระยะเวลาที่ได้ กาหนดไว้ ณ วันที่ลกู ค้ าทาการสัง่ ซื ้อสินค้ า ออนไลน์ 

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

82


ร้ านค้ าออนไลน์

6 . ท รั พ ย ำ ก ร ห ลั ก ( Key Resources) 4.สร้ ำงควำมสัม พันธ์ กับลู กค้ ำ  ร้ ำ น ค้ ำ อ อ น ไ ล น์ ที่ มี ก า ร ออกแบบและนาเสนอสินค้ าได้ (Customer Relationships) ก า ร ท า ธุ ร กิ จ อ อ น ไ ล น์ มี ข้ อ ตรงกลุม่ เป้าหมายอย่างต่อเนื่อง ได้ เปรี ย บในการปฏิ สัม พั น ธ์ กั บ  เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ ลูก ค้ าได้ แบบไม่ จ ากั ด เวลาและ สำรสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ สถานที่ สามารถติ ด ต่ อ สื่ อ สาร พีซี โน้ ตบุ๊กและแท็บเล็ต เป็ นต้ น ชีแ้ จงรายละเอียด นาเสนอสินค้ า  ระบบเครื อข่ ำยและสัญญำณ ใหม่ ตลอดจนการให้ บริ การแก้ ไข อินเทอร์ เน็ ต ความเร็ วสูงและ ปั ญหาหรื อรั บฟั งข้ อร้ องเรี ยนของ เสถียร ลูกค้ าอย่างรวดเร็ วและเป็ นกันเอง  แรงงำน เช่น พนักงานผู้ติดต่อ การสร้ างปฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ลู ก ค้ า ประสานงานรั บข้ อ มูลจากการ อย่า งรวดเร็ ว เป็ นข้ อ ได้ เปรี ย บข้ อ สั่ ง ซื อ้ อ อ นไ ลน์ พ นั ก ง า น ผู้ ส าคั ญ ในการให้ บริ การธุ ร กิ จ ทาอาหาร/เชฟ ผู้ทาอาหารตาม ออนไลน์ เนื่องจากพฤติกรรมของ คาสัง่ ซื ้อ ผู้บ ริ โ ภคออนไลน์ มัก ไม่ ช อบการ  บรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ กำรส่ ง มอบ รอคอย และขนส่ ง มีความเหมาะสม มี คุณ ภาพและได้ ม าตรฐานการ บรรจุ อ าหาร และช่ ว ยส่ง เสริ ม 5.รำยได้ (Revenue Streams) รายได้ หลั ก ของผู้ ประกอบการ ภาพลักษณ์ให้ กบั ธุรกิจ มาจากการขายสินค้ าอาหาร ผ่าน

83

2 ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

ค ว ร เ น้ น ใ น ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ประชาสัม พัน ธ์ เพื่ อ สร้ างการ รับรู้


ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

7.กิจกรรมหลัก (Key Activities) ความเกี่ ย วข้ อ งหรื อ เชื่ อ มโยงกับ  กำรน ำเสนอและกำรขำย ผู้ ประกอบการในธุ ร กิ จ บริ การ สินค้ ำ ผ่านสื่อออนไลน์ประเภท อาหารออนไลน์ ต่างๆ  ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก ำ ร ใ น ธุ ร กิ จ  กำรโฆษณำ ประชำสั ม พั น ธ์ บ ริ ก ำ ร อ ำ ห ำ ร อ อ น ไ ล น์ และกำรส่ ง เสริ มกำรขำย ใน ด้ วยกั น เพื่ อ สร้ างเครื อข่ า ย รูปแบบต่างๆ ผ่านสือ่ ออนไลน์ ผู้ประกอบการให้ มีความเข้ มแข็ง เพิ่มมากขึ ้น  ก ำ ร รั บ ค ำ สั่ ง ซื ้ อ แ ล ะ ตรวจสอบกำรชำระเงิน  ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก ำ ร ใ น ธุ ร กิ จ  กำรผลิตสินค้ ำและให้ บริ กำร บริกำรออนไลน์ ประเภทอื่นๆ ตามคาสัง่ ซื ้อ ที่มีความเชื่อมโยงหรื อเกี่ยวข้ อง กั บ ธุ ร กิ จ อาหารออนไลน์ ข อง  กำรส่ งมอบสิน ค้ ำ ให้ กับลูกค้ า ภายในระยะเวลาและเงื่ อนไขที่ ผู้ป ระกอบการเอง เช่ น ธุ ร กิ จ กาหนด บริ การอาหารสดออนไลน์ หรื อ ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง เป็ นต้ น  กำรให้ บริ ก ำรหลั ง กำรขำย การติ ด ต่ อ สอบถา มหรื อใ ห้  ผู้ ประกอบกำรธุ ร กิ จ จั ด ส่ ง ข้ อเสนอแนะ ค าติ ช มต่ า งๆ สินค้ ำ เช่น ไปรษณีย์ไทย บริ ษัท ตลอดจนการตอบข้ อซั ก ถาม บริ ก ารขนส่ง สิ น ค้ า ต่ า งๆ อาทิ และแก้ ไขปั ญหาต่ า งๆ ให้ แก่ บริ ษั ท รั บ จ้ า งขนส่ง สิน ค้ า หรื อ ลูกค้ า จักรยานยนต์รับจ้ าง เป็ นต้ น  ผู้ประกอบกำรวัตถุดิบอำหำร เพื่ อ ป้ อ งกั น ก า รขา ด แ ค ลน 8.คู่ ค้ ำ หลั ก ทำ งธุ รกิ จ ( Key วัตถุดิบในบางช่วงเวลา Partnerships) คือ เครื อข่ายพันธมิตรทางธุรกิจทีม่ ี

84


กำรลงทุ น ในสิ น ทรั พ ย์ ถำวร ได้ แก่ เครื่ องมื อ และอุ ป กรณ์ สารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ พีซี โน้ ตบุ๊ก เป็ นต้ น และค่าจ้ างทา

85

2 ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

เว็บไซต์และค่าจดโดเมน (รายปี ) เป็ นต้ น  ก ำ ร ล ง ทุ น ใ น สิ น ท รั พ ย์ หมุนเวียน › ต้ นทุนคงที่ ได้ แก่ ค่าเช่าพื ้นที่/ ส ถ า น ที่ ป ร ะ ก อ บ อ า ห า ร ค่าบริ การอินเทอร์ เน็ต ค่าจ้ าง พนักงานประจา เป็ นต้ น › ต้ น ทุ น ผั น แ ป ร ได้ แ ก่ ค่ า วัต ถุดิ บ ค่ า น า้ -ค่า ไฟฟ้ า ค่ า บรรจุภณ ั ฑ์เพื่อการขนส่งและ ค่าไปรษณี ย์หรื อพนักงานส่ง สินค้ า เป็ นต้ น

9 . โ ค ร ง ส ร้ ำ ง ต้ น ทุ น ( Cost Structure) เป็ นการวิ เ คราะห์ ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ สาคัญ ๆ ที่ เ กิ ด ขึ น้ ในระหว่า งการ เริ่ มต้ นธุรกิจและขณะดาเนินธุรกิจ โดยธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์จะ ประกอบไปด้ วยโครงสร้ างต้ นทุนที่ สาคัญๆ ดังนี ้


ตั ว อ ย่ า ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ล ง ทุ น ใ น ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร อ า ห า ร อ อ น ไ ล น์ MIND Bakery Online (เงินลงทุนเริ่มต้ นประมาณ 100,000 – 300,000 บาท)*

(1) ลงทุนในสินทรัพย์

(2) เงินทุนหมุนเวียน ต้ นทุนคงที่

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

ต้ นทุนผันแปร

ค่าที่ดิน / อาคาร สถานที่

เงินเดือน พนักงานประจา

บรรจุภณ ั ฑ์

ค่าจัดทาเว็บไซต์

ค่าอินเทอร์ เน็ต

วัตถุดิบ

ค่าวางระบบ สาธารณูปโภค

ค่าน ้าค่าไฟ

ค่าอุปกรณ์ เครื่องใช้

ค่าเชฟ / ค่าพ่อครัว

หมายเหตุ: 1) *ประมาณการเงินลงทุนเริ่ มต้ นจากธุรกิจขนาดเล็กหรื อธุรกิจเจ้ าของคนเดียว ณ ปี 2556 2) องค์ประกอบโครงสร้ างการลงทุนจะเปลี่ยนไปตามขนาดของธุรกิจและหลักการดาเนินธุรกิจของผู้ประกอบการ

86


วิ ธี ท่ ี ดี ท่ ี สุ ด ในกำรท ำนำย อนำคต คือ กำรสร้ ำงมันขึน้ มำ

ขอบคุณภาพจาก คุณประไพพร สิริอฉั รานนท์ Fay Fay Homemade Bakery

- อลันเคย์ -


ตั ว อ ย่ ำ ง ก ำ ร เ ริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ สาหรั บ ผู้ป ระกอบการรายใหม่ ที่ สนใจจะเข้ าสู่ธุรกิ จบริ การอาหาร ออนไลน์ สามารถเริ่ มต้ นจากธุรกิจ เล็ ก ๆ หรื อ ธุ ร กิ จ ในครอบครั ว ได้ ดังนี ้

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

ใช้ ส ถำนที่ ท่ ีมี อ ยู่แล้ ว เพื่ อ ใช้ เป็ นสถานที่ ป รุ ง อาหาร เช่ น ห้ อ ง ค รั ว ที่ บ้ า น ใ น ก ร ณี นี ้ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ค ว ร มี ความสามารถในการประกอบ อาหารหรื อ ปรุ ง อาหารได้ เอง เพื่ อ ความสะดวกในการใช้ สถานที่  วัสดุและอุ ปกรณ์ เลือกใช้ สิ่งที่ มีอ ยู่แ ล้ ว และจัด หาเพิ่ ม เติ ม ใน สิ่งที่จาเป็ น เพื่อรองรับการผลิต อาหาร โดยเน้ นวัสดุและอุปกรณ์ ที่ ห าซื อ้ ง่ า ย ราคาไม่แ พง และ สามารถใช้ งานได้ เอนกประสงค์

แรงงำน ผู้ประกอบการสามารถ ควบคุ ม และดูแ ลธุ ร กิ จ ได้ ด้ วย ตนเองจากที่พกั อาศัย › หากผู้ป ระกอบการมี ค วามรู้ ความสามารถในการประกอบ อาหาร จะช่ ว ยลดต้ น ทุน ใน การจ้ างงาน › หากต้ องเพิ่มจานวนบุคลากร พ่ อ ครั ว หรื อเชฟ ในกรณี ที่ ผู้ประกอบการมียอดจาหน่าย สิ น ค้ าออนไลน์ เ ป็ นจ านวน ม า ก แ ละ ต่ อ เ นื่ อ ง ค ว ร ใ ช้ รู ปแบบการจ้ างเป็ นพนักงาน ประจา เพื่อควบคุมมาตรฐาน ในการผลิตอาหาร

กำรตลำด โฆษณำและ ประชำสัมพันธ์ ในระยะเริ่ มต้ น ควรเลื อ กใช้ ช่ อ งทางสื่ อ สัง คม ออนไลน์ เนื่องจากเป็ นสือ่ ที่มีใช้

88


ต้ นทุ น ต่ า และสามารถเข้ าถึ ง กลุ่ม เป้ าหมายได้ อ ย่างรวดเร็ ว และเป็ นวงกว้ าง รวมถึงทาการ โฆษณาผ่า นสื่อ อินเทอร์ เ น็ตใน รู ปแบบต่างๆ เช่น การประกาศ ซื ้อ-ขายฟรี  บรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ใ ช้ บรรจุ สิ น ค้ า อาหารควรมีความเหมาะสมกับ ชนิ ด และประเภทของสิ น ค้ า อาหาร ทั ง้ ด้ านความแข็ ง แรง ทนทานและมาตรฐานความ ปลอดภัย ในการบรรจุ แ ละควร เป็ นบรรจุ ภัณ ฑ์ ที่ ช่ ว ยส่ ง เสริ ม ภาพลักษณ์ให้ กบั ธุรกิจด้ วย

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

89


ก ำ ร ส ร้ ำ ง มู ล ค่ ำ เ พิ่ ม ใ ห้ กั บ ธุ ร กิ จ

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

อำหำรสร้ ำงสรรค์ อำหำรที่ น ำ เ ส น อ ข ำ ย บ น ร้ ำ น ค้ ำ ออนไลน์ ต้ องเป็ นสิ น ค้ ำที่ มี ควำมแตกต่ ำงและโดดเด่ น เนื่องจากกลุ่มผู้บริ โภคที่ใช้ บริ การ ธุ ร กิ จ อ อ น ไ ล น์ เ ป็ น ก ลุ่ ม ที่ มี พฤติกรรมการเสาะแสวงหาสินค้ า ที่มีลกั ษณะเฉพาะและมีความโดด เด่น เป็ นของตัว เอง และต้ อ งการ สินค้ าที่มีความแตกต่างจากสินค้ า ที่มีจาหน่ายอยู่ทวั่ ไป การนาเสนอ รา ย ก า ร อ า ห า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ที่ หลากหลายและการนาเสนอสินค้ า ใหม่อย่างต่อเนื่อง จะช่วยให้ ลกู ค้ า วนเวียนกลับมายังร้ านค้ าออนไลน์ ของผู้ประกอบการอย่างสม่าเสมอ เพื่ อ แสวง หาสิ น ค้ า อาหารใ น รู ป แบบใหม่ ต ามพฤติ ก รรมการ บริ โภค

ขอบคุณภาพจาก The Oven Farm

90


อำหำรออนไลน์ ง่ ำ ย สะดวก รวดเร็ ว รู ป แบบและการ ให้ บริ การต้ องมีความสะดวกและรวดเร็ วต่อการใช้ บริ การ การใช้ บริการของร้ านค้ าไม่ควรมีความซับซ้ อนมากเกินไป หรื อมีขนั ้ ตอน ต่า งๆ มากเกิ น ไป เช่น การกรอกข้ อ มูล สั่งซือ้ ซา้ ไปซา้ มา หรื อ กระบวนการเลื อ กหาสิ น ค้ า มี ร ะบบการค้ น หายุ่ง ยากซับ ซ้ อ น เป็ นต้ น ซึ่งเป็ นที่ทราบกันดีว่าพฤติกรรมของกลุ่มผู้บริ โภคสินค้ า ออนไลน์เป็ นกลุม่ ที่ต้องการความสะดวกและรวดเร็ว

คุณภำพและมำตรฐำนอำหำรที่ส่งมอบ การส่งมอบอาหารสร้ างสรรค์ที่มีคณ ุ ภาพและได้ มาตรฐาน ตามที่ได้ นาเสนอไว้ บนเว็บไซต์ หรื อสื่อออนไลน์ต่างๆ ทัง้ รูปลักษณ์ รูปร่างและขนาด วัตถุดิบที่ใช้ ตกแต่ง ตลอดจน ภาชนะบรรจุอาหารที่มีค วามเหมาะส าหรับอาหารนัน้ ๆ เพื่ อ ปกป้ องสิ น ค้ า อาหารให้ มี ส ภาพสมบูร ณ์ จ นถึ ง มื อ ผู้บริ โภค ทังนี ้ ้ หากอาหารที่ส่งมอบไปยังลูกค้ า ไม่เป็ นไป ตามที่ ได้ ต กลงกัน ไว้ อาจส่งผลให้ ลูก ค้ า ปฏิ เสธการรั บ สินค้ าและปฏิเสธการเป็ นลูกค้ าต่อไปในอนาคต

91

2 ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

The Oven Farm ขนมปั งโฮมเมดเพื่อสุขภำพ ไม่ ใส่ นม เนย ไขและสำรเสริ มคุ ณภำพ กับ กว่ ำ 30 เมนู กับ 4 ชนิดขนมปั ง .... เป็ นอีกทางเลือกหนึ่งสาหรับกลุม่ คนชอบทานเบเกอรี่ แต่ก็ รั กการดูแ ลสุข ภาพด้ ว ย เหมาะกับ คนที่ รักสุข ภาพและ ต้ องการควบคุมอาหารไปพร้ อมๆกัน โดยขนมปั งทุกชนิด ของ The Oven Farm ผลิตจากวัตถุดิบสดจากธรรมชาติที่ อุดมไปด้ วยแร่ ธาตุและวิต ามินที่มีประโยชน์ ต่อร่ างกาย ของเรา และที่สาคัญเราไม่ใส่สารปรับคุณภาพ ไม่ใส่วตั ถุ กันเสีย ไม่แต่งสีห รื อแต่งกลิ่น เพื่อให้ ผ้ ูบ ริ โภคปลอดภัย จากวัตถุสงั เคราะห์ที่พบได้ จากเบเกอรี่ทวั่ ไป

‘Cup Cake‘ โดย Fay Fay Homemade Bakery มี ก ระบวนการส่ ง มอบคัพ เค้ ก ที่ มี คุณ ภาพ ได้ ม าตรฐาน และอยู่ใ น สภาพสมบูรณ์ ตามที่ได้ ตกลงกันไว้


ก ำ ร ข ย ำ ย ธุ ร กิ จ . . อี ก ร ะ ดั บ กั บ ก ำ ร พั ฒ น ำ ธุ ร กิ จ กำรเพิ่มผลิตภัณฑ์ ให้ มีควำม หลำกหลำยเพิ่มมำกขึน้ เพิ่ม ช่ องทำงกำรให้ บริ กำรที่มำก ขึน้ เช่น จากการจาหน่ายสินค้ า ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ และเมื่อ ธุรกิจมีความพร้ อมที่จะขยายตัว ผู้ประกอบการควรจัดทาเว็บไซต์ เป็ นของตนเอง เพื่อการจาหน่าย สิ น ค้ าอย่ า งเป็ นระบบ ลู ก ค้ า สามารถสั่ ง ซื อ้ สิ น ค้ าได้ ด้ วย ตนเองผ่านระบบที่เชื่อถือได้ การ ให้ บริ การเพิ่มช่องทางการชาระ เงิ น ที่ ม ากขึ น้ เช่ น ระบบช าระ เงินด้ วยบัตรเครดิต การชาระเงิน ด้ วยระบบตั ด บั ญ ชี อ อนไลน์ เป็ นต้ น  กำรลงทุ น เปิ ดร้ ำนค้ ำ/หน้ ำ ร้ ำนขนำดเล็ ก เพื่ อ เพิ่ ม ช่ อ ง ทางการจาหน่ายสินค้ า ให้ ลกู ค้ า ได้ สามารถซื ้อสินค้ าไปบริ โภคได้ ทันที 

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

92

สร้ ำงเครื อข่ ำ ยควำมร่ วมมื อ กั บ ผู้ ประกอบกำรอำหำร ออนไลน์ ประเภทอื่ น ๆ ที่ มี ควำมเกี่ยวข้ องหรื อเชื่อมโยง กับธุรกิจของตนเอง เพื่อสร้ าง เครื อ ข่ า ยการจ าหน่ า ยสิ น ค้ า ออนไลน์ ร่ ว มกั น หรื อ การเป็ น ตั ว แ ท น ผู้ จ า ห น่ า ย อ า ห า ร ออนไลน์ประเภทต่างๆ โดยเน้ น กระบวนการให้ บ ริ ก ารอาหาร มากกว่า การเป็ นผู้ผ ลิต อาหาร เช่น ให้ บริ การอาหารออนไลน์ใน รู ปแบบของธุรกิจ Call Center กล่าวคือ ให้ บริ การจัดหาอาหาร ประเภทต่ า งๆ ตามที่ ลู ก ค้ า ต้ องการ โดยผู้ประกอบการท า หน้ า ที่ ป ระสานงานจัด หา และ จัดส่งสินค้ าให้ แก่ลกู ค้ า


ทักษะของสถำปนิกทำให้ เกิดควำมคิด สร้ ำงสรรค์ ในกำรสร้ ำงควำมแตกต่ ำง ให้ กับขนมบรำวนี่ จึงคิดที่จะเติมพร็อพ ให้ กับขนม เป็ นตัวเลือกให้ กับลูกค้ ำ

- รัตน์ปิยะ เหมือนเปี่ ยม จาก Brownie Prop ขอบคุณภาพจาก คุณเบญจรงค์ เตชะมวลไววิทย์ Cheesecake Palette


ปั จ จั ย แ ห่ ง ค ว ำ ม สำ เ ร็ จ ปั จ จัย แห่ง ความสาเร็ จ ของธุ ร กิ จ บริ การอาหารออนไลน์ ประกอบไป ด้ วยปั จจั ย แห่ ง ความส าเร็ จที่ สาคัญ 6 ประการ ดังนี ้

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

รสชาติ คุณ ภาพของวัตถุดิ บ และ บรรจุภณ ั ฑ์ที่ใช้ บรรจุสินค้ าอาหาร ที่ส่ง มอบไปยัง ลูก ค้ า ต้ อ งเป็ นไป ตามมาตรฐานตามที่ได้ กาหนดไว้ ซึ่ง คุณภาพของสิน ค้ า อาหารเป็ น ปั จจั ย ส าคั ญ ที่ จ ะส่ ง ผลต่ อ การ รักษาฐานลูกค้ าให้ เป็ นลูกค้ าต่อไป ในอนาคต

1.ควำมสะดวกและง่ ำยต่ อกำร ใช้ งำน การสั่ง ซื อ้ สิ น ค้ าอาหาร ผ่า นสื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต หรื อ เว็ บ ไซต์ ของร้ านค้ ามี ค วามสะดวกและ ระบบใช้ ง่ า ย กระบวนการรั บ ค า สั่ง ซื อ้ ไม่ ซับ ซ้ อน เช่ น การกรอก ข้ อ มูลหรื อรายละเอี ย ดการจัด ส่ง ซ ้าๆ กับการออกใบเสร็ จ การจดจา ข้ อมูลของลูกค้ า เป็ นต้ น

3.รำยละเอียดข้ อมูลสินค้ ำและ บริกำรบนเว็บไซต์ ครบถ้ วน การ ให้ บริ การข้ อมูลต่างๆ ที่จาเป็ นต่อ การตัดสินใจซื ้อสินค้ าอาหารนันๆ ้ อาทิ รายละเอี ย ดข้ อมู ล ของตั ว สิ น ค้ าอาหารที่ มี ค วามครบถ้ วน 2.คุ ณภำพสินค้ ำ อำหำรเป็ นไป ตามลั ก ษณะของสิ น ค้ าอาหาร ตำมที่คำดหวัง การจาหน่ายและ ระบบการชาระเงิน การรับประกัน ซื ้อสินค้ าออนไลน์เป็ นการซื ้อขาย คุณภาพสินค้ า การเปลี่ยนหรื อคืน สินค้ าผ่านรู ปภาพ ดังนัน้ คุณภาพ สิ น ค้ า และการตรวจสอบข้ อ มู ล ของสินค้ าอาหาร อาทิ ภาพลักษณ์ การจัดส่งสินค้ า เป็ นต้ น ซึง่ ข้ อมูล 94


การจั ด ส่ ง และบรรจุ ภั ณ ฑ์ ต้ อง สามารถปกป้องสินค้ านันๆ ้ ได้ เป็ น อย่างดี ไม่ก่อให้ เกิดความเสียหาย ต่ อ ตัว สิ น ค้ าอาหารระหว่ า งการ จัดส่ง และการจัดส่งสินค้ าอาหาร ต้ อ งตรงต่อ เวลาและเป็ นไปตาม เงื่อนไขที่กาหนด

4.กำรบริ ห ำรจั ด กำรเว็ บ ไซต์ หรื อ สื่ อออนไลน์ การอั พ เดท ข้ อ มูล สิ น ค้ า แนะน าอาหารใหม่ หรื อมีกิจกรรมการส่งเสริ มการขาย ต่ า งๆ บนเว็ บ ไซต์ ห รื อร้ านค้ า อ อ น ไ ล น์ อ ย่ า ง ส ม่ า เ ส ม อ ผู้ประกอบการควรระลึกไว้ เสมอว่า “เว็ บ ไซต์ ที่ นิ่ ง สนิ ท หน้ า ร้ านมี แ ต่ สิน ค้ า เดิ ม ๆ ข้ อ มูล เก่ า ๆ ไม่ ต่ า ง อะไรจากร้ านค้ าที่ ปิดกิ จการหรื อ ร้ านค้ าที่ ข าดคนดู แ ล” .. ดั ง นั น้ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่ เ ปิ ด ร้ า น ค้ า ออนไลน์ แ บบมี เ ว็ บ ไซต์ เ ป็ นของ ตั ว เ อ ง จ า เ ป็ น ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ขี ด ความสามารถในการพัฒ นา และปรับปรุ งเว็บไซด์ของตนเองได้ อย่างต่อเนื่อง 5.ควำมประทั บ ใจในกำรส่ ง มอบอำหำร ผู้ประกอบการควรให้ ความสาคัญกับรู ปแบบการจัดส่ง สิ น ค้ าและบรรจุ ภัณ ฑ์ ที่ ใ ช้ บรรจุ สินค้ าอาหารที่มีความเหมาะสม 95

6.กำรให้ บ ริ ก ำรก่ อ นและหลั ง กำรขำย การให้ บริ การและแก้ ไข ปั ญหาต่างๆ แก่ลกู ค้ าผ่านช่องทาง สือ่ สารต่างๆ ตลอด 24 ชัว่ โมง หรื อ การให้ บริ การในลั ก ษณะ Call Center เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารตอบข้ อ ซัก ถามถึ ง ปั ญ หาต่า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ น้ จากกระบวนขายและส่ ง มอบ สินค้ าอาหาร เช่น การสอบถามถึง ส่วนผสมหรื อรายละเอียดตัวสินค้ า อาหาร ติดตามและสอบถามการ จั ด ส่ ง สิ น ค้ า เป็ นต้ น ซึ่ ง ในทุ ก กระบวนการผู้ประกอบการต้ องให้ ข้ อ มูลต่ า งๆ ได้ อ ย่า งชัด เจนและ ค ว ร มี ม า ต ร ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม รับผิดชอบในแต่ละปั ญหาที่เกิดขึ ้น เช่ น การส่ง สิ น ค้ า ที่ ไม่ ต รงกับ ค า สั่ ง ซื อ้ สิ น ค้ า ที่ ส่ ง ม อ บ ช า รุ ด เสียหาย การส่งมอบสินค้ ามีความ ล่าช้ า เป็ นต้ น

2 ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

ต่ า งๆ ล้ วนเป็ นองค์ ป ระกอบที่ ส าคัญ ต่ อ การตัด สิ น ใจซื อ้ สิ น ค้ า ผ่านระบบออนไลน์


ข้ อ ท้ ำ ท ำ ย

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

ข้ อ ท้ า ทายหรื อ ข้ อ จ ากัด ที่ น าไปสู่ ความล้ มเหลวในการท าธุ ร กิ จ นับเป็ นความเสี่ยงที่ทุกธุรกิ จต้ อง เผชิ ญ และเป็ นเรื่ อ งที่ ห ลี ก เลี่ ย ง ไม่ได้ ในการดาเนินธุรกิจ ซึ่งส่งผล ต่อความยั่งยื นทางธุ รกิ จ ทัง้ ด้ า น ร า ย ไ ด้ ภ า พ ลั ก ษ ณ์ แ ล ะ กระบวนการด าเนิ น งาน ดัง นั น้ การเรี ยนรู้ ผ่ า นข้ อท้ าทายหรื อ ข้ อจากัดอย่างรอบด้ านจะช่วยลด ความเสีย่ งทางธุรกิจหรื ออาจจะไม่ ต้ องเผชิญกับความเสี่ยงดังกล่าวก็ เป็ นได้ ซึ่ง ในการท าธุ ร กิ จ บริ ก าร อาหารออนไลน์ประกอบไปด้ วยข้ อ ท้ าทายในการดาเนินธุรกิจ ดังนี ้

กระทบต่ อ การด าเนิ น ธุ ร กิ จ ของ ผู้ ประกอบการได้ เช่ น ระบบ ร้ านค้ าออนไลน์ ไ ม่ เ สถี ย ร ถู ก ลัก ลอบเจาะข้ อ มูล การถูก ไวรั ส รบกวน หรื อ ระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต มี ความล่าช้ า ซึ่งปั จจัยดังกล่าวล้ วน ส่งผลต่อการให้ บริ การที่ลา่ ช้ าและ อาจส่งผลให้ ลกู ค้ าเบื่อหน่าย และ หันไปใช้ บริ การผู้ประกอบการราย อื่นแทน

2.กำรถูกลอกเลียนแบบ การถูก ลอกเลียนแบบตัวสินค้ าและบริ การ อาหาร เนื่ อ งจากสื่อ อิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ นสื่อที่มีการเข้ าถึงอย่างรวดเร็ ว ส่งผลให้ ผ้ ูประกอบการรายใหม่ที่ 1.เทคโนโลยี แ ละเครื อข่ ำย สนใจจะเข้ าสู่ธุรกิ จบริ การอาหาร อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต เ ค รื อ ข่ า ย ออนไลน์ สามารถลอกเลียนแบบ อินเทอร์ เน็ตไม่เสถียร อาจส่งผล

96


ได้ ง่ า ย อี ก ทัง้ ในการเริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ บริ การอาหารออนไลน์ยงั มีต้นทุน ในการลงทุนไม่สงู มากนัก จึงส่งผล ให้ ผ้ ปู ระกอบการใหม่สามารถเข้ าสู่ ธุรกิจได้ ง่าย

4.คู่แข่ งขันรำยใหม่ ธุรกิจบริ การ อาหารออนไลน์เป็ นธุรกิจที่เริ่ มต้ น ได้ ง่าย ใช้ เงินลงทุนต่าเมื่อเทียบกับ การลงทุนในธุรกิจอาหารประเภท อื่น ๆ ในขณะที่ ค่า นิย มของคนรุ่ น ใ ห ม่ ก็ ใ ห้ ค ว า ม ส น ใ จ ใ น ก า ร ประกอบธุรกิจส่วนตัวมากกว่าการ เป็ นลูกจ้ าง ซึ่งปั จจัยต่างๆ เหล่านี ้ ล้ วนให้ เกิดทังโอกาสและคู ้ ่แข่งขัน ทางธุรกิจสาหรับผู้ประกอบการใน ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ทงสิ ั ้ ้น

2 ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

3 . คุ ณ ภ ำ พ ข อ ง อ ำ ห ำ รแล ะ บริ กำร ผู้ประกอบการพึงระลึกไว้ เสมอว่ า “การซื อ้ สิ น ค้ า ออนไลน์ เป็ นการซือ้ สินค้ าจากภาพลักษณ์ หรื อ รู ป ถ่ า ย” ที่ มี ก ารโฆษณาบน ร้ านค้ าออนไลน์ ดังนัน้ การส่งมอบ สิ น ค้ า แ ล ะ บ ริ ก า ร อ า ห า ร ผู้ ประกอบการจ าเป็ นต้ องให้ ความสาคัญกับความคาดหวังของ ลูกค้ าที่จะได้ รับสินค้ าและบริ การที่ เป็ นไปตามที่ ได้ ต กลงกัน ไว้ หรื อ เป็ นไปต า มรา ย ละ เ อี ยด ที่ ไ ด้ นาเสนอไว้ ผา่ นร้ านค้ าออนไลน์

97


กรณี ศึ ก ษำ ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร อ า ห า ร อ อ น ไ ล น์ ต้ น แ บ บ

ขอบคุณภาพจาก Dan Taylr ใน www.flickr.com


F ay Fay Homemade Bakery

“ชีสเค้ ก.. สไตล์ นิวยอร์ ก”

“ศิลปะเฉพาะตัว”

Cheesecake Palette


 Fay Fay Homemade Bakery “เน้ นความอร่อยไปพร้ อมกับรูปร่างหน้ าตาที่สวยงาม จากความสามารถด้ าน ศิลปะเฉพาะตัว”

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

Fay Fay Homemade Bakery โดย คุณ ประไพพร สิริ อัฉรานนท์ เจ้ าของกิ จ การที่ มี ป ระสบการณ์ ทาเบเกอรี่ มานานกว่า 15 ปี Fay Fay Homemade Bakery โดดเด่น ทั ง้ ความอร่ อยและศิ ล ปะการ เพ้ นลายบนคัพ เค้ กนมสดที่ เ ป็ น ความสามารถเฉพาะตัว ซึ่งตอนนี ้ เราถื อ ว่า เป็ นรำยเดี ย วที่ ใ ช้ ก ำร เพนต์ ลำยลงบนเค้ กนมสด และ การออกแบบสร้ างสรรค์ รู ป ร่ า ง หน้ าตาให้ รับกับ เทศกาลสาคัญ ๆ ต่ า งๆ เป็ นอี ก กลยุ ท ธ์ ที่ ท าใ ห้ ยอดขายสูงขึ ้นในทุกปี “ควำมคิด สร้ ำงสร้ ำงสรรค์ ” จึ ง เป็ นสิ่ ง ส าคั ญ ส าหรั บ การปรั บ ตั ว ของ ผู้ประกอบการในวงการอาหาร ขอบคุณภาพจาก คุณประไพพร สิริอฉั รานนท์ Fay Fay Homemade Bakery

100


ราคาสิ น ค้ า ของร้ าน Fay Fay Homemade Bakery จัดได้ ว่าเป็ น ราคาที่ไม่สงู มากเมื่อเทียบกับกลุม่ สินค้ าและบริ การประเภทเดียวกัน ร้ านเน้ นกาหนดราคาขายเป็ นเซท โดยกาหนดขนาดของกล่อ งไว้ ใ น รูปแบบการสัง่ ซื ้อออนไลน์

2

เข้ าถึงข้ อมูลได้ ที่ Fay Fay Homemade Bakery Website : www.faycake.com Facebook : https://www.facebook.com/FayFayHome

101

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

ปั จจัยแห่ งควำมสำเร็จ • การรักษาคุณภาพความอร่ อย • ศิ ล ปะ ก า รต กแ ต่ ง รู ปร่ า ง หน้ า ต า ที่ ส ร้ า ง สรรค์ แ ละ แตกต่าง • การตอบโจทย์ ค วามต้ องการ ของลู ก ค้ าในโอกาสพิ เ ศษ ต่างๆ • การใส่ใจวัตถุดิบที่สดและใหม่ เสมอ • ก า ร ป รั บ ตั ว รั บ กั บ ก า ร เปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ ต่างๆ ได้ ดี • ประสบการณ์ ด้ านการท า เบเกอรี่ ที่มีมากว่า 15 ปี

ขอบคุณภาพจาก คุณประไพพร สิริอฉั รานนท์ Fay Fay Homemade Bakery


 Cheesecake Palette “เมื่อคิดถึงชีสเค้ กอยากให้ นกึ ถึงแบรนด์ชีสเค้ ก พาเลท”

ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

คุณ เบญจรงค์ เตชะมวลไววิ ท ย์ เจ้ าของร้ านเป็ นคนรุ่ น ใหม่ มี แ รง บัน ดาลใจในการท าธุ ร กิ จอาหาร สร้ างสรรค์ จากความชอบส่วนตัว ชอบทาขนมมาตังแต่ ้ เด็กทังหั ้ ดท า เองและเรี ย นจากสถาบันสอนท า ขนมทังในและต่ ้ างประเทศ ชีสเค้ ก พาเลท (Cheesecake Palette) เป็ นร้ านชี สเค้ กคุณ ภาพออนไลน์ แห่ ง แรกในไทย สร้ างสรรค์ เ มนู ชีสเค้ กใหม่ๆ ให้ หลากหลายควบคู่ กับ รั ก ษาคุ ณ ภาพและบริ ก ารให้ เป็ นที่ พึ ง พอใจของลู ก ค้ าเสมอ ชี ส เค้ กพำเลทเจำะจงสร้ ำง รสชำติเป็ นสไตล์ นิวยอร์ ก ที่ขึ ้น ชื่ อ เรื่ องชี สเค้ ก มีจุดเด่น เนื อ้ แน่น และรสเข้ มข้ น ปั จจุบนั มีมากกว่า 25 รายการ เช่น

102

ขอบคุณภาพจาก คุณเบญจรงค์ เตชะมวลไววิทย์ Cheesecake Palette


ชีสเค้ กพำเลท เติบโตได้ ด้วยใจ รั กและกำรเห็ น โอกำสทำง กำรตลำดในประเทศที่ ยัง ไม่ มี ร้ ำนชีสเค้ กแบบร้ อยเปอร์ เซ็นต์ จึง เป็ นบันไดมาสู่ความสาเร็ จกับ ธุ ร กิ จ ร้ านขายอาหารออนไลน์ ที่ม่งุ มัน่ สร้ างสรรค์ชีสเค้ กที่ เข้ มข้ น ด้ วยรสชาติความอร่ อยที่มากกว่า 25 รายการ รวมถึ ง การน าเสนอ รสชาติ ค วามอร่ อ ยของชี สเค้ ก ได้ เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ ต้ น ต า รั บ ส ไ ต ล์ นิ ว ยอร์ กที่ ขึ น้ ชื่ อ เรื่ อ งชี ส เค้ กได้ อย่างครบสูตร พร้ อมด้ วยบริ การส่ง ถึ ง บ้ า น ที่ เ ห ม า ะ กั บ ยุ ค ส มั ย และรูปแบบการใช้ ชีวิตของคนยุค

103

ปั จ จุ บั น ที่ ต้ อ ง ก า ร ค ว า ม สะดวกสบายและคงคุณภาพความ อร่ อยได้ เหมือนกับซือ้ รั บประทาน เองที่ร้าน ปั จจัยแห่ งควำมสำเร็จ • คุณภาพและความอร่ อยของชี ส เค้ ก • วัต ถุ ดิ บ น าเข้ าส าหรั บ ผลิ ต ชี ส เค้ กให้ ได้ คณ ุ ภาพ • ความคิ ด สร้ างสรรค์ ในการ ออกแบบชี สเค้ ก ที่ ห ลากหลาย เ ม นู แ ล ะ ต อ บ โ จ ท ย์ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ก ลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้าหมาย • ความคิ ด สร้ างสรรค์ ในการ ออกแบบบรรจุ ภัณ ฑ์ เ พื่ อ เพิ่ ม มูลค่าสินค้ า • รู ปแบบการให้ บริ การ • มีใจรักและชอบทาขนม

2 ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

ชาไทย เอสเพรสโซไวต์ช็อกโกแลต แมนฮัตตัน วานิ ลลา เป็ นต้ น และ สร้ างสรรค์ รู ปแบบให้ สวยงามตื่ น ตาตื่นใจอย่างหลากหลาย เช่น ทา เป็ นแท่งคล้ ายไอศกรี ม หรื อใส่ใน ถ้ วยแบบคัพเค้ ก เป็ นต้ น


ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

2

ชี ส เค้ กพำเลท (Cheesecake Palette) เปิ ดหน้ าร้ านขนาด กะทั ด รั ด อยู่ ที่ ซ อยสุ ขุ ม วิ ท 36 ตกแต่ ง บรรยากาศสบายๆ สูต ร เด็ดเคล็ดลับความอร่ อยอยู่ที่การ เลื อ กใช้ วั ต ถุ ดิ บ คุ ณ ภาพเยี่ ย ม นาเข้ าจากต่างประเทศ เช่น ครี ม ชี ส จากฟิ ลาเดลเฟี ย วิ ป ปิ ้ ง ครี ม จากฝรั่งเศส และช็อกโกแลตยุโรป เป็ นต้ น ส่ว นผสมทัง้ หมดมาจาก ธรรมชาติไม่ใส่สีผสมอาหาร หรื อ สารกันเสียใดๆ ทังสิ ้ ้น และทังหมด ้ ผลิตแบบโฮมเมด เฉลี่ยทาเค้ กได้ ประมาณ 50 ก้ อนต่อวัน ในกรณีที่ ลูก ค้ า ต้ อ งการปริ ม าณมากๆ จึ ง จ าเป็ นต้ อ งสั่ง ล่ว งหน้ า ซึ่ ง ราคา ขายก็ ยังอยู่ระดับปานกลางเฉลี่ย ชิ น้ ละ 100 บาท และเพิ่ ม มูล ค่ า เค้ กด้ วยแพกเกจจิ ง้ ที่ ส วยงาม เหมาะสมทังสามารถซื ้ ้อฝากมอบ เป็ นของขวัญในเทศกาลต่างๆ ได้

104

กลุ่ ม ลู ก ค้ ำ หลั ก คื อ กลุ่ม วัย รุ่ น กลุม่ หนุม่ สาวออฟฟิ ศ และกลุม่ คน ที่ ต้ องการสั่ง เป็ นของขวั ญ มอบ ให้ กับคนสาคัญในเทศกาลต่า งๆ นอกจากนั น้ ด้ วยรู ปแบบเค้ กที่ สวยงามหลากหลาย จึ ง มี ก ลุ่ ม ลูกค้ าองค์กรหรื อกลุม่ คนที่สงั่ ไปใช้ ในงานจัดเลี ้ยงและอีเวนต์ตา่ งๆ ช่ องทำงขำย ทางร้ านได้ เลือกวาง ระบบรู ปแบบบริ การส่งสินค้ า โดย สัง่ ผ่านเว็บไซต์ด้วยระบบออนไลน์ หรื อโทรศัพท์ หลังรับออเดอร์ 2 วัน ลู ก ค้ าจะได้ รั บ สิ น ค้ าจากการ บริ การจั ด ส่ ง ถึ ง ที่ ทางร้ านจะ ให้ บริ การส่งสินค้ าในกรุ งเทพฯและ ปริ มณฑล ต่อมาภายหลังได้ มีการ ปรับปรุ งระบบบริ การ โดยจัดให้ มี บริ การเสริ มส่งด่วนส่งด่วนภายใน 90 นาที ในพื น้ ที่ สุ ขุ ม วิ ท วิ ท ยุ สีลม และสาทร เป็ นต้ น ซึ่งบริ การ ดีลเิ วอรี่


รวมถึงคงรู ปทรงได้ ดีกว่าเค้ กทัว่ ไป จึงทาให้ สามารถจัดส่งในรู ปแบบดี ลิเ วอรี ได้ โดยไม่ติ ดปั ญ หาในการ รักษาคุณภาพความอร่ อยและการ คงรู ป ลัก ษณ์ เ ดิ ม เหมื อ นกั บ เค้ ก ทั่ ว ไป แ ละ ทาง ร้ านก็ ประ สบ ความสาเร็ จจากช่องทางการขาย แบบออนไลน์นี ้ไม่ยากนัก ซึ่งลูกค้ า ส่วนใหญ่ก็จะมาจากการบอกปาก ต่อปาก การแชร์ รูป รวมถึงการแชร์ ลิงก์ขา่ วที่มีการประชาสัมพันธ์ หรื อ ท าโฆษณาไว้ ท าให้ ผ ลตอบรั บ ดี ขึ ้นเรื่ อยมาเป็ นลาดับ

เข้ าถึงข้ อมูลได้ ที่ ร้ านชีสเค้ กพาเลท (Cheesecake Palette) Website : www.cheesecakepalette.com

ขอบคุณภาพจาก คุณเบญจรงค์ เตชะมวลไววิทย์ Cheesecake Palette

105

2 ธุรกิจบริ การอาหารออนไลน์ (Online food Service)

ชี ส เค้ กของร้ านชี ส เค้ กพาเลท (Cheesecake Palette) เป็ น บริ การร้ านชีสเค้ กออนไลน์รายแรก ของเมื อ งไทย และการออกแบบ บริ การของทางร้ านที่ ส ามารถ ให้ บริ การออนไลน์และจัดส่งสินค้ า ได้ ในระยะทางที่ ค่ อ นข้ างไกล ครอบคลุม ถึ ง เขตปริ ม ณฑลจาก หน้ าร้ านที่มี เพี ยงแห่งเดีย วได้ นัน้ ส่ว นหนึ่ง สามารถทาได้ เ นื่ องจาก ชี ส เค้ กมี ข้ อดี คื อ อายุ ก ารเก็ บ รักษาจะนานกว่าเค้ กทัว่ ไป หากแช่ เย็นก็จะเก็บไว้ ได้ นานถึง 1 เดือน


ขอบคุณภาพจาก Thipda Chanthacharoonpong DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง)


3

ธุ ร กิ จ บ ริ ก ำ ร จั ด เ ลี ้ ย ง (Catering Service) 107


ธุ รกิจบริ กำรจัดเลีย้ ง หมายถึง ธุรกิ จให้ บริ การ เฉพาะอาหารและเครื่ องดื่มมีลกั ษณะพิเศษด้ านการ ให้ บริ ก า ร ก ล่ า ว คื อ เป็ นกา รให้ บริ ก า รที่ ไ ม่ เฉพาะเจาะจงอยู่ในพื ้นที่ใดพื ้นที่หนึ่ง การให้ บริ การ สามารถเคลื่อนย้ ายการบริ การอาหารและเครื่ องดื่ม ไปยังสถานที่ตา่ งๆ ตามความต้ องการของลูกค้ าหรื อ ผู้ซื ้อ โดยมีรูปแบบและขนาดของงานที่หลากหลาย ตามคอนเซ็ปต์ หรื อรู ปแบบของงานตามที่ผ้ ูว่าจ้ า ง หรื อผู้ซื ้อกาหนด เช่น การจัดเลี ้ยงอาหารไทย การจัด เลีย้ งอาหารแบบบุฟเฟ่ ต์ การจัด เลีย้ งอาหารแบบ ค็อกเทล หรื อการจัดเลี ้ยงอาหารว่างและการเลี ้ยง น ้าชา เป็ นต้ น

ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

3 108


คุ ณ ส ม บั ติ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก ำ ร ผู้ ประกอบธุ ร กิ จ บริ ก ารจั ด เลี ย้ ง ควรมีคณ ุ สมบัติดงั นี ้

109

3 ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

อ า ห า ร ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ วั ต ถุ ดิ บ ประเภทต่างๆ รวมทังส่ ้ วนประกอบ และเครื่ องปรุ งต่างๆ ตลอดจนการ 1.มี ค วำมรู้ พื ้น ฐำนด้ ำนกำร เลือกใช้ อุปกรณ์ และวัสดุเครื่ องใช้ ประกอบอำหำร เนื่ อ งจากใน ต่างๆ ที่เหมาะสมกับประเภทและ ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยงเป็ นธุรกิจที่ทา ชนิดของอาหาร หน้ าที่ผลิตและให้ บริ การอาหารที่มี ความหลากหลายทัง้ อาหารไทย 2 . มี ค ว ำ ม คิ ด ส ร้ ำ ง ส ร ร ค์ และนานาชาติ ทั ง้ ในรู ปแบบ ผู้ประกอบการควรมีไอเดียและคิด อาหารจานหลัก และอาหารว่ า ง สร้ างสรรค์ทงในกระบวนการผลิ ั้ ต ดั ง นั น้ ผู้ ประกอบการในธุ ร กิ จ อาหารและการให้ บริ การ อาทิ การ บริ การประเภทนี ้ จึงจาเป็ นต้ องมี ออกแบบเมนูอาหาร การออกแบบ ความรู้ ด้ านอาหารที่ ค รอบคลุ ม อาหารหรื อ ปรั บ ภาพลัก ษณ์ ข อง ทังการผลิ ้ ต การเก็บรักษาคุณภาพ อาหารให้ เหมาะกับงาน ทังนี ้ ้ การ


สร้ างความแตกต่างจากไอเดียและ ความคิดสร้ างสรรค์ จะก่อให้ เกิ ด ความประทับใจแก่ ลูก ค้ า และยัง เป็ นการสร้ างมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ สินค้ าและบริ การของธุรกิจอีกด้ วย

ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

3

ศัก ยภาพทางธุ ร กิ จ และสามารถ แข่งขันได้ ในสภาวการณ์ตา่ งๆ

5.กำรให้ บ ริ ก ำรที่ เ ข้ ำ ใจลู ก ค้ ำ สามารถเข้ าใจพฤติกรรมและความ ต้ องการของกลุ่มลูกค้ าเป้าหมาย 3.เงินลงทุน ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง ได้ อ ย่า งแท้ จ ริ ง สามารถก าหนด เ ป็ นธุ รกิ จ ที่ ต้ อ ง ใ ช้ เ งิ นลง ทุ น รู ปแบบสิ น ค้ าอาหารและการ ค่ อ น ข้ า ง สู ง เ นื่ อ ง จ า ก ธุ ร กิ จ ให้ บริ การได้ อ ย่างเหมาะสม และ ดั ง กล่ า วเป็ นธุ ร กิ จ ที่ ต้ องพึ่ ง พา เป็ นไปตามความคาดหวั ง ของ แรงงานทังในกระบวนการผลิ ้ ตและ ลูกค้ า การให้ บริ ก าร อุ ป กรณ์ ก ารผลิ ต และอุปกรณ์ สาหรั บจัดเลี ้ยง ซึ่ง มี 6.มี ค วำมรู้ และเข้ ำ ใจในระบบ ความหลากหลาย ทัง้ นี ้ ขึน้ อยู่ กับ ธุ ร กิ จ มี ค วามรู้ ความเข้ าใจใน เมนูและขนาดของกิจการ ภ า พ ร ว ม ข อ ง ก า ร ท า ธุ ร กิ จ เนื่องจากธุรกิจบริ การจัด เลี ้ยงเป็ น 4.มีทักษะด้ ำนกำรสื่อสำร และ ธุ ร กิ จ ที่ มี ค ว า ม เ กี่ ย ว ข้ อ ง ทั ้ง ประสำนควำมร่ วมมือ สามารถ ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร สร้ างความร่ วมมือ หุ้นส่วนร่ วมกับ ให้ บ ริ ก าร ดัง นัน้ ผู้ป ระกอบการ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการทาอาหาร ทัง้ จาเป็ นต้ องมีทกั ษะด้ านการบริ หาร การสร้ างเครื อข่ายความร่วมมือกับ เพื่อการจัดการทรัพยากรต่างๆ ได้ กลุม่ แรงงาน เช่น เชฟ ผู้เชี่ยวชาญ อย่างเหมาะสมและเป็ นระบบ อาทิ ด้ านอาหาร และผู้มีประสบการณ์ การบริ หารลูกค้ าและตลาด การจัด ด้ านการทาอาหาร ที่จะช่วยเพิ่ม ระบบงาน และการเงิน เป็ นต้ น

110


111


ก ำ ร เ ริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ

ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

3

กำรเริ่มต้ นธุรกิจบริกำรจัดเลีย้ ง เพื่อวางแผนในการดาเนินธุรกิจได้ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ค ว ร ศึ ก ษ า อย่างตรงกลุม่ เป้าหมาย เช่น สภาพแวดล้ อมต่างๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ ง  หน่ วยงำนภำครั ฐ ที่ใช้ บริ กำร กับการดาเนินธุรกิ จ ซึ่งจะช่วยให้ จั ด เ ลี ้ย ง ส ำ ห รั บ กิ จก รรม ผู้ป ระกอบการสามารถมองเห็ น ต่ ำ งๆ เช่น การการจัดประชุม กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ที่ มี ค ว า ม และการจัดสัมมนา เป็ นต้ น ต่ อ เนื่ อ งกั น ดัง นัน้ เพื่ อ เป็ นการ  หน่ วยงำนภำคเอกชน ที่ ใ ช้ เตรี ยมความพร้ อม ผู้ประกอบการ บ ริ ก ำ ร จั ด เ ลี ้ ย ง ส ำ ห รั บ ควรศึกษาสภาพแวดล้ อมต่างๆ ที่มี กิจกรรมต่ ำงๆ ภำยในองค์ กร ความเกี่ยวข้ องในกระบวนการทา เช่ น การจั ด งานเปิ ดตัว สิ น ค้ า ธุรกิจ โดยอาศัย Business Model ใหม่ งานเลี ้ยงแสดงความยินดี Canvas ซึ่ ง ประกอบไปด้ วย งานเลี ย้ ง ประจ า ปี และวั น สภาพแวดล้ อมทางธุรกิ จที่สาคัญ ครบรอบกิจการ เป็ นต้ น 9 ด้ าน ดังนี ้  บุ ค คลทั่ วไป ที่ ต้ องกำรจั ด เลี ย้ งเนื่ องในโอกำสต่ ำงๆ เช่น งานเลี ้ยงวันเกิ ด งานเลี ้ยง 1.กำหนดกลุ่มลูกค้ ำ (Customer ครบรอบวัน แต่ ง งาน และงาน Segments) ระบุก ลุ่ม เป้ าหมายหลัก ที่ จ ะเป็ น เลี ย้ งฉลองส าเร็ จการศึ ก ษา ผู้ ใช้ บริ การทั ง้ ในปั จจุ บั น และ เป็ นต้ น แนวโน้ มในอนาคตได้ อย่างชัดเจน

112


3.ระบุช่องทำง (Channels) การสื่ อ สารและประชาสัม พั น ธ์ ธุ ร กิ จ ไปยั ง กลุ่ ม เป้ าหมาย (ใน ปั จจุ บั น และอนาคต) ได้ อย่ า ง รวดเร็ วและตรงกลุม่ เป้าหมาย โดย อาศัยช่องทางต่างๆ อาทิ  เ ว็ บ ไ ซ ต์ ข อ ง กิ จ ก ำ ร โด ย นาเสนอข้ อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง กับ กิ จ การ เช่ น รู ป ภาพอาหาร รู ป ภาพกิ จ กรรมการจั ด เลี ย้ ง รายละเอี ย ดและรู ป แบบการ ให้ บริ การ ประสบการณ์ ในการ ให้ บริ การ และขีดความสามารถ ในการให้ บ ริ ก าร เช่ น ปริ ม าณ การจั ด เลี ย้ งสามารถรองรั บ ลูกค้ าได้ จานวนกี่ทา่ น เป็ นต้ น  สื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งเป็ นการ สือ่ สารและการประชาสัมพันธ์ที่

3 ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

2 . คุ ณ ค่ ำ ที่ น ำ เ ส น อ ( Value Propositions) การส่งมอบสินค้ าและบริ การให้ แก่ ลูกค้ า ซึง่ ประกอบไปด้ วย  อำหำรที่ มี ร สชำติ อ ร่ อย ถู ก สุข ลัก ษณะ ปลอดภั ย และได้ มาตรฐาน  อ ำ ห ำ ร ที่ มี เ อ ก ลั ก ษ ณ์ เฉพำะตั ว ตามรู ป แบบการจัด งาน โดยสามารถถ่ า ยทอด ออกมาในรู ปแบบของตัวอาหาร และบรรยากาศภายในงาน  กำรสร้ ำงควำมประทั บ ใจ ให้ แก่แขกที่มาร่ วมงานจัดเลี ้ยง กล่าวคือ การสร้ างความประทับ ไ ป ยั ง บุ ค ค ล ที่ 3 ซึ่ ง ค ว า ม ประทับ ใจดัง กล่ า วจะสะท้ อน มายังผู้จดั งานดังกล่าวด้ วย

ขอบคุณภาพจาก Thipda Chanthacharoonpong DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง)

113


ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

3

สามารถเข้ าถึ ง กลุ่ ม ลู ก ค้ าได้ ทางการสื่อสารต่างๆ จนมาสู่การ อย่ า งรวดเร็ ว จากการถ่ า ยรู ป สร้ างความสัมพันธ์ อันดีกับลูกค้ า อัพโหลดและแชร์ ภาพ เช่น การ และการกลับมาใช้ บริ การใหม่ เช่น ใช้ เฟซบุ๊ ก หรื อ อิ น สตราแกรม  ใ ห้ ค ำ แ น ะ น ำ แ ล ะ เ ป็ น ที่ เป็ นต้ น ป รึ ก ษ ำ แ ก่ ลู ก ค้ ำ ทั่ ว ไ ป ต ล อ ด จ น แ ก้ ไข ปั ญ ห า แ ล ะ  ช่ องทำงกำรบอกต่ อ เป็ น ช่ อ งทางที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ข้ อ จ า กั ด ข อ ง ลู ก ค้ า เ ช่ น สร้ างความเชื่อมัน่ ให้ กบั ผู้บริ โภค งบประมาณ สถานที่ เป็ นต้ น ได้ เ ป็ นอย่ า งดี การบอกต่ อ จะ  ให้ คำแนะนำรู ปแบบกำรจั ด ช่วยถ่ายทอดประสบการณ์ การ งำนเลี ้ย งที่ เ หมาะสมให้ แก่ ใช้ บริ การจากลูกค้ าคนที่ 1 ไปยัง ลูกค้ าแต่ละราย ลูก ค้ า คนต่อ ๆ ไปจนกลายเป็ น  กำรให้ คำแนะนำด้ ำนอำหำร เครื อข่ายในวงกว้ าง รู ปแบบและประเภทของอาหาร ที่ เ หมาะสมกั บ ความต้ องการ ของลูกค้ า 4.สร้ ำงควำมสัม พันธ์ กับลู กค้ ำ (Customer Relationships)  กำรแก้ ไ ขปั ญหำเฉพำะหน้ ำ การสร้ างความสัม พันธ์ ทางธุรกิ จ ที่เกิดขึ ้นระหว่างการดาเนินการ กับลูกค้ าเป้าหมาย ตัง้ แต่การหา จัดเลี ้ยง ลูก ค้ า การให้ บ ริ ก ารลูก ค้ า และ ติ ด ตามหลั ง การใช้ บริ การ ซึ่ ง 5.รำยได้ (Revenue Streams) กระบวนการทั ง้ หมดจะมี ค วาม รายได้ หลั ก ของธุ ร กิ จ คื อ การ เชื่ อ มโยงกั น ตั ง้ แต่ ก ระบวนการ ให้ บริ การจัดเลี ้ยงอาหาร จ านวน วิเคราะห์ กลุ่มลูกค้ า เพื่อนาเสนอ ของรายได้ ขึ น้ อยู่ กั บ ขนาดของ คุณค่าสินค้ าและบริ การผ่านช่อง กิจการและกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมาย

114


เมนูอำหำรสร้ ำงสรรค์  อุ ป กรณ์ และวั ต ถุ ดิ บ ในกำร ผลิ ต อำหำร คื อ อุป กรณ์ แ ละ เค รื่ อ งมื อส าหรั บใช้ ในกา ร ออกแบบและผลิต อาหาร เช่ น อุป กรณ์ ท าครั ว เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณ์ทาอาหาร เป็ นต้ น  วั ต ถุ ดิ บ และอุ ป กรณ์ ส ำหรั บ กำรให้ บริ ก ำรจั ด เลี ย้ ง คื อ 6 . ท รั พ ย ำ ก ร ห ลั ก ( Key อุ ป กรณ์ แ ละเครื่ องมื อ ต่ า งๆ Resources) ส าหรั บ ใช้ ภายในงานจัด เลี ย้ ง  แรงงำนหรื อบุคลำกรในธุรกิจ เช่ น ภาชนะ อุ ป กรณ์ บ นโต๊ ะ บริ ก ำรจั ด เลี ย้ ง สามารถแบ่ ง ตามกิจกรรมการให้ บริ การได้ 2 อาหาร เป็ นต้ น ประเภท คือ › ผู้ ผ ลิ ต อ า ห า ร ไ ด้ แ ก่ นั ก 7.กิจกรรมหลัก (Key Activities) ออกแบบอาหาร และผลิ ต กิจกรรมที่สร้ างคุณค่าและส่งมอบ อาหาร เช่น เชฟ และกุ๊ก เป็ น ให้ กับ ลูก ค้ า และจะต้ องตรงตาม ต้ น ท าหน้ า ที่ อ อกแบบและ วัต ถุป ระสงค์ ห รื อ ความคาดหวัง ผลิตอาหาร เพื่อนาไปจัดเลี ้ยง ของลูกค้ าตามประเภทของธุ รกิ จ ยังสถานที่ตา่ งๆ ด้ วย › ผู้ ให้ บริ ก ารหรื อ พนั ก งา น  กำรแนะน ำรำยกำรอำหำร บริ ก าร ที่ท าหน้ า ที่ใ ห้ บ ริ ก าร และเครื่ องดื่ ม ที่ เ หมาะสมกับ ลูกค้ า ณ สถานที่จดั งาน รูปแบบการจัดงาน 

115

3 ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

เช่น ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยงอาหาร คาวหวาน หรื อธุรกิ จให้ บริ การจัด เลี ้ยงอาหารว่าง หรื อธุรกิ จบริ การ จัด เลีย้ งสังสรรค์ โดยรายได้ ห ลัก ของธุรกิ จจะมาจากการให้ บริ การ จัด เลีย้ งอาหาร ณ สถานที่ ต่ า งๆ ตามที่ลกู ค้ ากาหนด


กำรจัดตกแต่ งสถำนที่จัดงำน เช่ น การวางอุป กรณ์ เ ครื่ อ งใช้ จาน ช้ อน ส้ อม ฯลฯ  จัดทำอำหำร/ปรุ งอำหำร ตาม รูปแบบที่ลกู ค้ าต้ องการ  จั ด ตกแต่ งอำหำรภำยใน สถำนที่ จั ด เลี ย้ งตามรู ป แบบ และวัต ถุ ป ระสงค์ ข องการจั ด เลี ้ยง  กำรให้ บริ กำรหลังกำรขำย รับ ฟั งค าติ ช มและข้ อเสนอแนะ ต่างๆ

นั ก ศึ ก ษ ำ ส ำ ข ำ ค ห ก ร ร ม ศำสตร์ /นักศึกษำสำขำอำหำร เพื่อเป็ นแรงงานทักษะที่มีความรู้ ความสามารถด้ า นอาหาร จะ ช่วยให้ ลดปั ญหาการขาดแคลน บุคลากรในการปรุงอาหาร  บริ ษั ท จ ำหน่ ำยอุ ป กรณ์ กำร ท ำ อ ำ ห ำ ร แ ล ะ เ ค รื่ อ ง มื อ เครื่ องใช้ ใ นกำรรั บ ประทำน อำหำร เพื่อสร้ างความร่ วมมือ ในการจั ด หา อุ ป กรณ์ ต่ า ง ๆ ส า หรั บท า อ า หา รแ ละ วั ส ดุ อุปกรณ์ตา่ งๆ ที่ต้องใช้ ในการจัด เลี ้ยงประเภทต่างๆ 8.คู่ ค้ ำ หลั ก ทำ งธุ รกิ จ ( Key Partnerships)  บริ ษั ท ให้ บริ ก ำรเช่ ำสิ น ค้ ำ เครื อข่ า ยพั น ธมิ ต รในธุ ร กิ จ ที่ มี และอุ ป กรณ์ ในกำรจั ด เลี ย้ ง ความเกี่ ย วข้ อ งหรื อ เชื่ อ มโยงกับ เพื่ อ สร้ างความร่ ว มมื อ ในการ ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง ทังนี ้ ้ จานวน จัดหาและเช่ายืมอุปกรณ์ ต่างๆ และประเภทคู่ค้าหลักทางธุรกิจจะ ที่จ าเป็ นต้ อ งใช้ ใ นการจัด เลีย้ ง ขึ น้ อยู่ กั บ ประเภทการให้ บริ ก าร เนื่องจากการให้ บริ การจัดเลี ้ยง และขนาดของธุรกิจด้ วย อาทิ ของธุ ร กิ จ ประเภทนี ค้ ่อ นข้ า งมี ความหลากหลาย ดัง นัน้ การ  เชฟหรื อ พ่ อครั ว ผู้ มี ค วามรู้ ความเชี่ ย วชาญในการปรุ ง ลงทุน ในอุป กรณ์ ทุก ชนิ ด อาจ อาหาร ส่งผลต่อเงินลงทุนของกิจการ 

ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

3

116


เริ่ มต้ นธุรกิจและขณะดาเนินธุรกิจ โดยธุ ร กิ จ บริ ก ารจั ด เลี ย้ งขนาด กลาง ประกอบไปด้ วยโครงสร้ าง ต้ นทุนที่สาคัญๆ ดังนี ้  กำรลงทุ น ในสิ น ทรั พ ย์ ถ ำวร ได้ แก่ ค่าอุปกรณ์ และเครื่ องมือ ในการประกอบอาหาร ค่า วาง ระบบต่ า งๆ เช่ น ระบบไฟฟ้ าประปา โทรศัพท์และระบบบัญชี ค่ า อุ ป ก ร ณ์ ส า นั ก ง า น เ ช่ น คอมพิ ว เตอร์ ปริ น้ เตอร์ และ โทรศัพท์ เป็ นต้ น  ก ำ ร ล ง ทุ น ใ น สิ น ท รั พ ย์ หมุนเวียน › ต้ นทุน คงที่ (ต่ อ เดื อ น) ได้ แ ก่ เงินเดือนพนักงานประจา ค่า เช่าสถานที่ ฯลฯ › ต้ น ทุ น ผั น แ ป ร ได้ แ ก่ ค่ า วัตถุดิบอาหาร วัสดุสิ ้นเปลือง ค่ า น ้า ค่ า ไ ฟ ฟ้ า ค่ า จ้ า ง แรงงานรายวัน /จ้ างบริ ก าร 9 . โ ค ร ง ส ร้ ำ ง ต้ น ทุ น ( Cost เหมา อาทิ พ่อครั ว พนักงาน Structure) เป็ นการวิ เ คราะห์ ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เสริ ฟ์ และพนั ก งานจั ด เรี ย ง สาคัญๆ ที่จะเกิดขึ ้นในระหว่างการ อาหาร เป็ นต้ น

117

3 ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

ดัง นัน้ หากสามารถหาคู่ ค้ าที่ ให้ บริ การเช่าอุปกรณ์จดั เลี ้ยงได้ จะช่ว ยลดต้ นทุน ในการเริ่ ม ต้ น กิจการได้  บริ ษัทจำหน่ ำยวัตถุดิบอำหำร เพื่ อ สร้ างความร่ ว มมื อ ในการ จั ด หาวัส ดุ ต่ า งๆ ทัง้ วัต ถุ ดิ บ ที่ เป็ นของสดและของแห้ งที่ใช้ ใน การปรุ ง อาหาร เพื่ อ ป้ องกั น ภาวะการขาดแคลนสินค้ า ที่ใ ช้ ผลิตอาหาร  สถำนประกอบกำรต่ ำงๆ เช่น โรงแรม ร้ านอาหาร สโมสรและ สมาคม เป็ นต้ น เพื่อสร้ างความ ร่ วมมือในการเป็ นผู้ดาเนินการ จัดอาหารสาหรับงานเลี ้ยงต่างๆ หรื อการเป็ นบริ การจ้ างเหมาจัด เลีย้ งให้ กับ สถานประกอบการ ต่างๆ


ตั ว อ ย่ า ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ล ง ทุ น ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร จั ด เ ลี ้ ย ง We are Catering (เงินลงทุนเริ่มต้ นประมาณ 300,000 – 500,000 บาท)*

(1) ลงทุนในสินทรัพย์

(2) เงินทุนหมุนเวียน ต้ นทุนคงที่

อุปกรณ์และ เครื่องครัว

เงินเดือน พนักงานประจา

ค่าเช่า อุปกรณ์

ค่าจัดทาเว็บไซต์

ค่าเช่าสถานที่

ค่าวัตถุดิบ อาหาร

ค่าวางระบบ สาธารณูปโภค

ค่าอินเทอร์ เน็ต

ค่าใช้ จา่ ย สาธารณูปโภค ค่าจ้ างเหมา บริการ

เครื่องใช้ สานักงาน

ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

3

ต้ นทุนผันแปร

หมายเหตุ: 1) *ประมาณการเงินลงทุนเริ่ มต้ นจากธุรกิจขนาดเล็กหรื อธุรกิจเจ้ าของคนเดียว ณ ปี 2556 2) องค์ประกอบโครงสร้ างการลงทุนจะเปลี่ยนไปตามขนาดของธุรกิจและหลักการดาเนินธุรกิจของผู้ประกอบการ

118


หำกคุณคิดว่ ำ คุณสำมำรถทำได้ คุ ณ ก็จ ะทำได้ และถ้ ำคุ ณ คิด ว่ ำ คุณไม่ สำมำรถทำได้ คุณก็คดิ ถูก - เฮนรี่ ฟอร์ ด -

ขอบคุณภาพจาก คุณอ๋อ Acoustic cafe'


ตั ว อ ย่ ำ ง ก ำ ร เ ริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ ใ ห ม่

ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

3

เริ่ มต้ นธุ รกิจแบบง่ ำย-ง่ ำย ทุน 3.เครื่องมือและอุปกรณ์ น้ อย เสี่ยงน้ อย จะเริ่ มต้ นยังไง  เลือกใช้ เครื่ องมือที่เหมำะสม กับประเภทของอาหารที่จดั เลี ้ยง ดี ??? เน้ นเครื่ อ งมื อ เอนกประสงค์ ที่ สาหรั บ ผู้ป ระกอบการที่ ส นใจจะ สามารถใช้ งานได้ กั บ อาหาร เข้ า สู่ธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก ารจัด เลี ย้ ง ใน หลายประเภท ระยะเริ่ ม ต้ น ควรเริ่ ม ต้ น จากการ  อุ ป ก ร ณ์ ส ำ ห รั บ จั ด เ ลี ้ ย ง ใ ห้ บ ริ ก า รจั ด เ ลี ย้ ง ข นา ด เ ล็ ก เลือกใช้ ตามประเภทของอาหาร ประเภทการจั ด เลี ย้ งอาหารว่ า ง และขนาดของธุรกิจ งานสัมมนา งานประชุม หรื องาน ปาร์ ตี ้ส่วนตัว โดยมีแนวทางในการ 4.แรงงำน ผู้ประกอบการสามารถ เริ่ มต้ นธุรกิจ ดังนี ้ ควบคุ ม และดู แ ลธุ ร กิ จ ได้ ด้ วย 1.เริ่ มต้ น จำกธุ รกิจ เล็ กๆ หรื อ ตนเองจากที่พกั อาศัย ธุรกิจในครอบครัว ธุรกิจจัดเลี ้ยง  ผู้ ป รุ ง อ ำ ห ำ ร / เ ช ฟ ห า ก เริ่ ม ต้ นที่ เ ป็ นที่ นิ ย ม คื อ บริ ก าร ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร มี ค ว า ม รู้ เคเทอริ่ ง ประเภทอาหารว่ า งชา/ ความสามารถในการประกอบ กาแฟ อ า หา ร หรื อ มี พื น้ ฐ า นอ ง ค์ ความรู้ ในธุร กิ จอาหาร จะช่ ว ย ลดต้ น ทุน ในการจ้ างงาน หาก 2.ใช้ สถำนที่มีอยู่แล้ ว เช่น บ้ าน/ ที่พกั อาศัย โดยปรับปรุ งพืน้ ที่ให้ มี จ าเป็ นต้ องจ้ างเชฟ ในระยะ ขนาดเหมาะสมกับขนาดของธุรกิจ เริ่ มต้ นควรใช้ บริ การจ้ างเหมา 120


พ นั ก ง ำ น บ ริ ก ำ ร ผู้ประกอบการใหม่ควรเลือกใช้ บ ริ ก า ร จ้ า ง เ ห ม า เ พื่ อ ล ด ค่ า ใช้ จ่ า ยหรื อต้ นทุ น ในการ ดาเนินงาน

5.ช่ องทำงกำรตลำดที่ ส ำคั ญ ของธุ รกิ จ บริ กำร คื อ ความ ประทั บ ใจที่ น าไปสู่ ก ารบอกต่ อ คาแนะนาจากลูกค้ าถึงลูกค้ าเป็ น ช่องทางการตลาดที่ดีสดุ ในธุรกิจ ขนาดเล็ ก ผู้ ประกอบการควร เลือกใช้ ช่อ งทางการโฆษณาและ ประ ชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า นสื่ อ สั ง ค ม ออนไลน์ เนื่ อ งจากเป็ นสื่ อ ที่ มี ต้ นทุ น ต่ า และสามารถเข้ าถึ ง กลุม่ เป้าหมายได้ อย่างรวดเร็ ว และ เป็ นวงกว้ าง รวมถึงทาการโฆษณา ผ่ า นสื่ อ อิ น เทอร์ เน็ ต ในรู ป แบบ ต่างๆ เช่น การประกาศซื ้อ-ขายฟรี

121

3 ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)


ก ำ ร ส ร้ ำ ง มู ล ค่ ำ เ พิ่ ม ใ ห้ กั บ ธุ ร กิ จ

ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

3

1.กำรสร้ ำงเอกลั กษณ์ รู ปแบบ การจั ด เลี ย้ งและรู ป แบบอาหาร ผู้ ประกอบการควรน าความคิ ด สร้ างสรรค์ในการผลิตอาหารหรื อ ตกแต่ ง สิ น ค้ าอาหารให้ มี ค วาม แตกต่าง รวมถึงการเปิ ดโอกาสให้ ลูกค้ าหรื อผู้จดั งานได้ มีสว่ นร่ วมใน การออกแบบรู ปแบบของการ จัดการ โดยผู้ประกอบการควรให้ คาแนะนารู ปแบบอาหาร ประเภท อาหารและรูปแบบการจัดงาน ให้ มี ค ว า ม เ ป็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ แ ล ะ เฉพาะเจาะจง ซึ่ง จะท าให้ ลูก ค้ า รู้ สึก ถึง ความประทับใจในการจัด งาน

ความต้ องการของลู ก ค้ า เพื่ อ ออกแบบและนาเสนอรู ปแบบการ จัดงานที่เหมาะสมและสร้ างสรรค์ ตัง้ แต่ รู ป แบบอาหาร ชนิ ด และ ประเภทของอาหารที่จะใช้ จดั เลี ้ยง เพื่อให้ การบริ การจัดเลี ้ยงดังกล่าว มีเอกลักษณ์ และมีความแตกต่าง จากการบริ การจัดเลี ้ยงทัว่ ไป

2 . ก ำ ร พั ฒ น ำ ง ำ น บ ริ ก ำ ร ที่ ปรึ กษำ การให้ บริ การคาปรึ กษา และให้ คาแนะนาในการจัดเลี ้ยงแก่ ลูกค้ า โดยเริ่ มต้ นจากการรับฟั ง

122


ก ำ ร ข ย ำ ย ธุ ร กิ จ . . อี ก ร ะ ดั บ กั บ ก ำ ร พั ฒ น ำ ธุ ร กิ จ

สโมสรจัดเลี ้ยงต่างๆ เพื่ออานวย ความสะดวกให้ แก่ลกู ค้ าในการ จัดหาสถานที่ที่เหมาะสม พร้ อม ทังให้ ้ บริ การจัดเลี ้ยงอาหารด้ วย การท าธุ ร กิ จ บริ การจั ด เลี ย้ ง แฟรนไซน์ ให้ บริ การจัดเลี ้ยงใน รู ป แบบแฟรนไซน์ ที่ มี รู ป แบบ หรื อคอนเซ็ปต์การให้ บริ การที่มี ความเป็ นอัตลักษณ์ของธุรกิจ

บริ ษั ท ดี เ คเอสเอช (ประเทศไทย) จำกัด ตั ว แทนจ ำหน่ ำ ย ตัวต่ อเสริ มทักษะเลโก้ จัด งำนแสดงตั วต่ อเลโก้ “LEGO to Town” กลุ่มเป้ำหมำย คือ เด็กอำยุ 3-9 ปี เมนูอำหำร • คัพเค้ กแต่ง หน้ าเป็ นตัว ต่อเลโก้ เพื่อแสดงเอกลักษณ์ ของธุรกิ จ (ไม่ใช้ ไม้ จิ ้ม เนื่องจากอาจจะไม่ปลอดภัยสาหรับเด็ก) สถำนที่/วัสดุอุปกรณ์ • จัดตกแต่งงานเลี ้ยงด้ วยรูปแบบน่ารักๆ ภาชนะบรรจุใช้ สีสน ั สดใส เดียวกับสีตัวต่อเลโก้ เช่น สีเขียว เหลือง แดง นา้ เงิน เครื่ องดื่ม เป็ นน ้าหวานสาหรับเด็ก เช่น น ้าเขียวและน ้าแดง เป็ นต้ น

123

3 ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

โอกาสและความเป็ นไปได้ ในการ ขยายธุ ร กิ จ บริ การจั ด เลี ย้ งใน อนาคต คือ  การให้ บริ การจัดเลี ้ยงครบวงจร เพื่ อ สร้ างโอกาสให้ กั บ ธุ ร กิ จ ส ร้ า ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่ มี ค ว า ม เ ชื่ อ ม โ ย ง กั บ ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร จัดเลี ้ยง อาทิ โรงแรม สมาคม


ปั จ จั ย แ ห่ ง ค ว ำ ม สำ เ ร็ จ

ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

3

1.ควำมหลำกหลำยของอำหำร และควำมสำมำรถในกำร น ำเสนอไอเดี ย สร้ ำงสรรค์ ใน กำรบริ หำรจั ด กำรงำนเลี ย้ ง ต่ ำงๆ สร้ างความแตกต่า งในตัว สิ น ค้ า อ า ห า ร แ ล ะ บ ริ ก า ร ที่ ก่อให้ เกิดมูลค่าเพิ่มในธุรกิจบริ การ จัดเลี ้ยง การใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ ในการคิ ด เมนูอ าหารสาหรั บ การ จัดเลี ้ยงแต่ละงานนับเป็ นการสร้ าง มูล ค่ า เพิ่ ม ให้ กับ ธุ ร กิ จ การสร้ าง ความประทั บ ใจให้ แก่ ลู ก ค้ าจะ ส่ง ผลดี ต่ อ การกลับ มาใช้ บริ ก าร ใหม่ในโอกาสต่อไป

เพียงเลือกเมนูอาหารที่ใช้ จดั เลี ้ยง เท่านัน้ เพื่อให้ ลกู ค้ ารู้ สึกถึงการมี ส่วนร่วมในการจัดงานและมีความ ประทับใจต่อ การจัด งานเลี ้ยงที่ มี เ อ ก ลั ก ษ ณ์ เ ป็ น ข อ ง ต น เ อ ง นอกจากจะสร้ างความประทับใจ ให้ กั บ ผู้ ที่ ม างานเลี ย้ งดั ง กล่ า ว ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ค ว ร ส่ ง ม อ บ ความรู้ สึ ก ประทั บ ใจไปยั ง แขก ผู้ร่ ว มงานด้ ว ย เนื่ อ งจากความ ประทับใจของแขกผู้ร่วมงานย่อม สร้ างความภาคภูมิ ใ จให้ แ ก่ ผ้ ูจัด งานเลี ้ยงนันๆ ้ ด้ วย

3.มี ทั ก ษะกำรบริ ห ำรจั ด กำร 2.เข้ ำ ใจพฤติ ก รรมลู ก ค้ ำ เปิ ด กำรตลำด และกำรคิด กลยุท ธ์ โอกาสให้ ลูก ค้ าได้ มี ส่ ว นร่ ว มใน นอกจากต้ นทุ น ด้ านความคิ ด กิ จ กรรมการออกแบบรู ปแบบ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค ว า ม มี ใ จ รั ก การจัดเลี ้ยง มากกว่าการทาหน้ าที่ ในการทาอาหารแล้ ว การทาธุรกิจ

124


ผู้ป ระกอบการจ าเป็ นต้ อ งมี อ งค์ ความรู้ ด้านการบริ หารจัดการ การ บริ ห ารเงิ น ทุน การท าการตลาด และการส่งเสริ มการขาย 4.ต้ องควบคุมมำตรฐำนวัตถุดิบ ความคิ ด สร้ างสรรค์ ที่ ส อดแทรก เข้ าไปในเมนูอาหารผู้ประกอบการ ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง คุ ณ ภ า พ แ ล ะ มาตรฐานของส่ว นประกอบ เพื่ อ ความปลอดภั ย ของลู ก ค้ าและ ผู้บริ โภค ดังนัน้ หากผู้ประกอบการ มี อ งค์ ค วามรู้ หรื อ จบการศึ ก ษา ด้ านอาหารมาโดยตรง จะมี ข้ อ ได้ เ ปรี ย บในการจัด หาวัต ถุดิ บ ที่ หลา ก หลา ย ซึ่ ง ข้ อ ได้ เ ปรี ย บ ดังกล่าวยังส่งผลดีต่อต้ นทุนธุรกิจ บริ การสอนทาอาหารแนวใหม่ด้วย

เชฟ และพ่อ ครั ว และแรงงานใน ภาคบริ การ คื อ ผู้ ให้ บริ การแก่ ลู ก ค้ า ณ สถานที่ จั ด งาน อาทิ พนักงานเสริ ฟ์ พนักงานจัดอาหาร ดังนัน้ การบริ หารจัดการทีมงาน/ แรงงานจึ ง เป็ นหัว ใจส าคัญ ที่ จ ะ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความประทับ ใจในตัว อาหารและบริ ก ารที่ แ ตกต่ า งได้ มาตรฐาน และมี เ อกลัก ษณ์ ห รื อ สไตล์ ใ นการให้ บ ริ ก ารจัด เลี ย้ งที่ เป็ นของตนเองและเป็ นที่จดจาของ ลูกค้ า เพื่อก่อให้ เกิดการกลับมาใช้ บริ การใหม่ในอนาคต

3 ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

5.กำรบริ ห ำรจั ด กำรที ม งำน/ แรงงำน ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยงเป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ต้ องพึ่ ง พาแรงงานเป็ น จานวนมาก ทังแรงงานทั ้ กษะ อาทิ

125


ข้ อ ท้ ำ ท ำ ย

ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

3

1.ถู ก ลอกเลี ย นแบบ การถู ก ผลิตและการบริ การ ดังนัน้ ปั ญหา ลอกเลียนแบบตัวสินค้ าอาหารหรื อ การขาดแคลนแรงงานทัง้ ในภาค รูปแบบการบริ การ การผลิตและการบริ การนับเป็ นข้ อ ท้ าทายที่ ห ลายธุ ร กิ จ ต้ องเผชิ ญ 2.ลู ก ค้ ำ กลุ่ ม บำงกลุ่ ม ยัง คงให้ โดยเฉพาะในภาคการบริ ก ารซึ่ ง ควำมสำคัญกับรำคำ ยังคงเห็น ได้ แก่ พนักงานจัดส่งสินค้ าอาหาร ว่า การจัด เลีย้ งเป็ นกิ จ กรรมที่ จัด พนั ก งานบริ ก าร/บริ ก ร เป็ นต้ น ต่อ เนื่ อ งและบ่อ ยครั ง้ ลูก ค้ า บาง โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง หากเป็ นการ กลุ่ม อาจไม่เ ห็ น ความสาคัญ ของ จ้ างแรงงานแบบจ้ างเหมาหรื อเป็ น การจัดเลี ้ยงที่มีความแตกต่างและ การจ้ า งแบบรายวัน ซึ่ ง ธุ ร กิ จ ที่ มี เป็ นเอกลัก ษณ์ เนื่ อ งจากธุ ร กิ จ การจ้ างงานแบบนี ม้ ั ก ประสบ บริ การจัด เลี ้ยงประเภทนี ม้ ักจะมี ปั ญ หาการขาดแคลนแรงงานซึ่ ง ค่า บริ ก ารที่ สูง กว่า การบริ ก ารจัด ส่งผลกระทบโดยตรงต่อธุรกิจ เลี ้ยงแบบเดิมๆ ที่มีราคาถูกกว่า 4.กำรควบคุ มคุ ณ ภำพแรงงำน 3.ขำดแคลนพนั ก งำนบริ ก ำร และกำรให้ บริ ก ำร เนื่ อ งจาก ธุ ร กิ จ บริ ก ารจัด เลี ย้ งเป็ นธุ ร กิ จ ที่ ธุ ร กิ จ บริ ก ารจัด เลี ย้ งเป็ นธุ ร กิ จ ที่ ต้ องพึง่ พาแรงงานทังในภาคการ ้ ต้ องพึง่ พาแรงงานทังกระบวนการ ้

126


5.ควบคุ ม คุ ณ ภำพและรสชำติ อำหำร วัตถุดิบในการปรุ งอาหาร เป็ นองค์ ประกอบที่สาคัญที่ส่งผล ต่ อ รสชาติ ข องอาหาร ซึ่ ง ในทุ ก ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งอาหาร “รสชาติ และความอร่ อย” เป็ นสิ่ง ที่สาคัญ ที่สุด ดังนัน้ ข้ อควรระมัดระวังคือ การเลือกใช้ วตั ถุดิบและการรักษา มาตรฐานในการผลิ ต อาหาร สาหรั บจัดเลี ้ยงที่ต้อ งคงคุณ ภาพ และรสชาติ ของอาหาร เนื่องจาก ธุ ร กิ จ บริ ก ารจัด เลี ย้ งเป็ นธุ ร กิ จ ที่ ปรุ งอาหารที่สถานที่แห่งหนึ่ง เพื่อ น าไปจัด เลีย้ งอี ก แห่ง หนึ่ง ดัง นัน้ การเลือ กใช้ วัต ถุดิ บต้ อ งคานึง ถึ ง คุณภาพของอาหารภายหลังจาก ปรุ งเสร็ จแล้ ว และต้ องมีการขนส่ง อาหารไปยังสถานที่ที่จัดงานเลี ้ยง ด้ วย

6.กำรพึ่งพำเทคโนโลยี อุปกรณ์ เครื่ องครั ว ที่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยี บางประเภทมีราคาสูงในบางธุรกิจ จัดเลี ้ยง อาทิ ธุรกิจจัดเลี ้ยงอาหาร คาว-หวาน อาจจาเป็ นต้ องลงทุน ในเทคโนโลยีเพื่อการผลิตอาหาร เ ช่ น ตู้ อ บ ข นา ด ใ ห ญ่ เ พื่ อ ใ ช้ ประกอบอาหารในปริ มาณมากๆ เพื่อ สาหรั บการจัดเลีย้ ง ซึ่งส่งผล ต่อเงินลงทุนของกิจการ 7.คู่แข่ งขัน จากผู้ประกอบการใน ธุรกิจอาหาร หรื อการเกิดขึ ้นของคู่ แข่งขันรายใหม่จากผู้ประกอบการ ที่ อ ยู่ ใ นธุ ร กิ จ อาหารที่ เ พิ่ ม การ ให้ บริ การจัดเลี ้ยง เช่น ธุรกิจร้ านเบ เกอรี่ และกาแฟ สามารถผันตัวเอง เข้ าสู่ธุร กิ จ บริ ก ารจัด เลี ้ยงอาหาร ว่างประเภทชา/กาแฟได้ ง่ ายกว่า หรื อ ธุ รกิ จ บริ ก า รร้ า นอ า หา ร สามารถผั น ตั ว เองเข้ าสู่ ธุ ร กิ จ บริ การจัดเลี ้ยงอาหารได้ ง่ ายกว่า เป็ นต้ น

127

3 ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

ผลิตและการให้ บริ การ ดังนัน้ การ เลื อ กใช้ บริ การจ้ างเหมา ย่ อ ม ส่งผลต่อการควบคุมคุณภาพของ อาหารและการให้ บริ การ


กรณี ศึ ก ษำ ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร จั ด เ ลี ้ย ง ต้ น แ บ บ

ขอบคุณภาพจาก Dan Taylr ใน www.flickr.com


“สร้ างรอยยิ ้ม ให้ กบั ลูกค้ า”

DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง)


 DEE CATERING “เราเป็ นผู้ช่วยในการทาให้ งานเลี ้ยงสมบูรณ์แบบ สร้ างรอยยิ ้มให้ กบั เจ้ าภาพ และแขกที่มาร่วมงาน”

ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

3

DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ ง) กลุ่มลูกค้ ำ อาศัย ความช านาญที่ สั่งสม และ กลุ่มลูกค้ าของ DEE CATERING ความใส่ใจทังคุ ้ ณภาพความอร่ อย ประกอบด้ วย 2 กลุม่ หลัก คือ ของอาหารและความต้ องการของ • กลุ่มบุคคลทัว่ ไป บริ การจัดงาน ลูกค้ า เห็น ได้ จ ากการใส่ใจรั กษา ขึน้ บ้ า นใหม่ งานแต่งงาน งาน เมนู ดั่ ง เดิ ม ของร้ านดี พ ร้ อมไป ปาร์ ตี ใ้ นโอกาสต่ า งๆ หรื อ ใน พร้ อม ๆ กับการพัฒนาสร้ างสรรค์ โอกาสทีอ่ ยากกินของอร่ อยแบบ เมนูที่ ห ลากหลายใหม่ ๆ ให้ ต อบ ไม่ต้องออกจากบ้ าน โจทย์ กับความต้ องการของลูกค้ า • กลุ่ม ลูก ค้ า ประเภทองค์ ก รหรื อ ในแต่ ล ะยุค สมัย รวมถึ ง รู ป แบบ บ ริ ษั ท ใ ห้ บ ริ ก า ร จั ด ง า น การบริ ก ารที่ ห ลากหลายโดนใจ ประชุมสัมมนา งานเลี ้ยงส่ง งาน กระทัง่ DEE CATERING (ดี เค เปิ ดตั ว สิ น ค้ า และจั ด เลี ย้ ง เทอริ่ ง) ประสบความสาเร็ จเช่นทุก อา หา รส า หรั บพนั ก ง า นใ น วันนี ้ องค์กรหรื อบริ ษัท

130


131

ในช่วงเริ่ มต้ นก็จดั เลี ้ยงให้ กบั ลูกค้ า ที่ ร้ านและมี ก ารบอกต่ อ กั น มา เรื่ อยๆ ผ่ า นมาได้ 6 ปี ทั ง้ ฐาน ลูก ค้ า ใหม่ แ ละลูก ค้ า เก่ า ที่ ยัง อยู่ ด้ ว ยกัน เสมอมา และยัง คงรั ก ษา เมนูขึ ้นชื่อของร้ านดีพร้ อมหลาย ๆ ตัว เอาไว้ ใ ห้ ลูก ค้ า ได้ รั บ ประทาน พร้ อมกับ พัฒ นาเมนู อ าหารไทย อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะรายการ อ า ห า ร แ บ บ ค็ อ ก เ ท ล ข อ ง ดีเคเทอริ่ ง ที่มีจดุ เด่นไม่เหมือนใคร เน้ นการน าอาหารไทยมาปรั บ รู ปแบบการนาเสนอ ให้ เหมาะกับ งานที่ ไม่ เ ป็ นทางการ แต่ ยัง คง ความอร่อยแบบไทยๆ เอาไว้ ได้ ซึ่ง ให้ บริ การจัดเลี ้ยงในเขตกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล

3 ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ ง) เป็ นบริ การจัดเลี ้ยงที่เติบโตมาจาก ร้ านอาหารดีพร้ อม ร้ านอาหารไทย จากบางแสนซึง่ เริ่ มเปิ ดทาการขึ ้นที่ ชายหาดบางแสนเมื่อปี 2497 โดย คุณยายฝอย ดีพ ร้ อม และคุณก๋ ง เหลี ย ง ดี พ ร้ อม โดยเริ่ ม แรกจาก ร้ านกาแฟและค่ อ ยขยายเป็ น ร้ านอาหารในเวลาต่ อ มา จาก ตึ ก แ ถว สาม คู ห า ในปี 2 4 9 7 ชื่อเสียงของร้ านดีพร้ อมเริ่ มเป็ นที่ รู้จกั มากขึ ้นนับแต่ปี 2510 และเมื่อ ขยายเปิ ดสาขาที่พทั ยา ร้ านอาหาร ดีพร้ อมก็มีชื่อเสียงเป็ นที่ร้ ู จกั อย่าง มาก และเป็ นร้ านอาหารชื่อดังของ ภาคตะวันออก อาทิ น ้าพริ กไข่ปูที่ น า สู ต ร ม า จ า ก จั น ท บุ รี แ ล ะ ปรั บปรุ งเป็ นอาหารจานเด่น แกง ป่ าปลาเห็ ด โคนที่ น า้ เข้ มข้ น จน โรงแรมห้ าดาวในพั ท ยา ต่ า ง พยายามหาสูตรกันใหญ่ ห่อหมก ทะเลที่ ไม่ได้ ใ ช้ วิ ธี ก ารนึ่ง แต่เ ป็ น การผัดด้ วยกะทิในกระทะใหญ่


ปั จจัยแห่ งควำมสำเร็จ • รสชาติของอาหาร • ความรู้ และความเชี่ยวชาญใน วิชาชีพเชฟ • การสร้ างสรรค์ เมนูอาหารที่มี ความหลากหลาย • การออกแบบรู ปลักษณ์อาหาร ทีห่ ลากหลาย • รู ปแบบการบริ การที่เป็ นเลิศ

3

รูปแบบบริกำร รู ป แบบการให้ บริ ก ารที่ โ ดดเด่ น แตกต่ า งของ ดี เคเทอริ่ ง คื อ Catering Expert บริ การคอยช่วย ดูแลและให้ คาแนะนาผู้ที่ต้องการ จัด งานแต่ ง งานแบบมี ส ไตล์ เ ป็ น ของตนเอง นับเป็ นบริ การจัดเลี ้ยง ที่ทาให้ ลกู ค้ าไว้ วางใจในบริ การได้ มากกว่ า เพื่ อ ลดปั ญหาความ ยุ่งยากให้ กับคู่แต่งงานที่มักจะไม่ ค่ อ ยมี เ วลาในการจั ด การที่ จ ะ เตรี ยมความพร้ อมในอีกมากมาย หลายเรื่ องขณะนัน้

ธุรกิจบริ การจัดเลี ้ยง (Catering Service)

เข้ าถึงข้ อมูลได้ ที่ บริ ษัท ดี เคเทอริ่ ง จากัด www.deecatering.com

132

ขอบคุณภาพจาก Thipda Chanthacharoonpong DEE CATERING (ดี เคเทอริ่ง)


ขอบคุณภาพจาก คุณดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการออกแบบอาหาร (Food Stylist)


ขอบคุณภาพจาก บรรจุภณ ั ฑ์ส้มโอขาวแตงกวาชัยนาท โดย บริษัท ยอดคอร์ ปอเรชัน่ จากัด ใน demarkaward.net


4

ธุ ร กิ จ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ล ก (Green Packaging) 135


ธุรกิจบรรจุภณ ั ฑ์ รักษ์ โลก หมายถึง ธุรกิจผลิตและ ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม โดย บรรจุภณ ั ฑ์นนสามารถน ั้ ามารี ไซเคิลหรื อนากลับมา ใช้ ใ หม่ไ ด้ หรื อ มี ก ารใช้ ทรั พ ยากรน้ อ ยลง ช่ ว ยลด ต้ น ทุ น ให้ แก่ เ จ้ าของสิ น ค้ า แต่ โ ดยยัง คงรู ป แบบ สวยงาม ทันสมัย สามารถตอบสนองความคาดหวัง ของผู้ บริ โ ภคที่ มี ม ากขึ น้ ทั ง้ ด้ านคุ ณ ภาพ ความ ปลอดภัย การใช้ งาน การให้ ข้อมูลและรายละเอียด ต่างๆ เกี่ยวกับสินค้ า และยังคงเป็ นบรรจุภณ ั ฑ์ที่ช่วย เพิ่มมูลค่าให้ กบั สินค้ า/อาหารได้ เป็ นอย่างดี

ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร จ ด จา สิ น ค้ า จากการสารวจทัศนคติของลูกค้ าเพื่อประเมินว่า ลูกค้ าใช้ อะไรมาเป็ นเกณฑ์ในการ ตัด สิ นใจซือ้ อาหารและเครื่ องดื่ มที่ ผ ลิ ต โดยเอสเอ็ม อี โดยธุ รกิ จ บัณ ฑิต ย์ โพล ศูนย์วิจยั มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

29%

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4

25%

บรรจุภณ ั ฑ์

โลโก้

14%

6%

รสชาติ

สโลแกน

ที่มา: ธุรกิจบัณฑิตย์โพล ศูนย์วิจยั มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

136

21% ชื่อสินค้ า

5% อื่นๆ


หากพิจารณาตามหน้ าที่ของบรรจุ ภั ณ ฑ์ ส า ม า ร ถ แ บ่ ง อ อ ก ได้ 3 ต ล า ด บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ ประเภท21 คือ  บ รรจุ ภั ณ ฑ์ เ ฉ พ ำ ะ ห น่ ว ย ตลาดบรรจุภณ ั ฑ์ อาจแบ่งตามวัสดุหลักที่ใช้ (Individual Package) คือบรรจุ ดังนี ้ 36% ภัณ ฑ์ ที่ สัมผัสอยู่กับผลิต ภัณ ฑ์ ชันแรกเป็ ้ นสิ่งที่บรรจุผลิตภัณฑ์ เอาไว้ เฉพาะหน่ ว ย เพื่ อ เพิ่ ม บรรจุภณ ั ฑ์ที่ทาด้ วย 24% คุณค่าในเชิงพาณิชย์ กระดาษและกระดาษแข็ง  บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ ชั ้ น ใ น ( Inner บรรจุภณ ั ฑ์ที่ทาด้ วย Package) คือ บรรจุภณ ั ฑ์ที่อยู่ พลาสติก ถัดออกมาเป็ นชันที ้ ่สอง มีหน้ าที่ 20% รวบรวมบรรจุภณ ั ฑ์ชนแรกเข้ ั้ าไว้ 10% ด้ วยกันเป็ นชุด เพื่อการจาหน่าย บรรจุภณ ั ฑ์ท่ที าด้ วยโลหะ สินค้ าตังแต่ ้ 2 ชิ ้นขึ ้นไป บรรจุภณ ั ฑ์ ที่ทาด้ วยแก้ ว  บรรจุ ภั ณ ฑ์ ชั น ้ นอกสุ ด (Out 10% Package) คือ บรรจุภณ ั ฑ์ที่เป็ น อื่นๆ หน่วยรวมขนาดใหญ่ที่ใช้ ในการ ที่มา: สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม ขนส่ง เช่น กล่องขนาดใหญ่ หีบ ไม้ หรื อลัง เป็ นต้ น

ที่มา:สถาบันการจัดการบรรจุภณ ั ฑ์เพื่อสิ่งแวดล้ อม 21การจัด ท าเนื อ้ หาองค์ ค วามรู้

Knowledge Center ปี 2556.

137

SMEs ภายใต้ การพัฒนาศูนย์ข้อมูล SMEs

4 ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

“กระดำษที่ผ่ำนกระบวนกำรรีไซเคิลจะสามารถใช้ งานได้ ใกล้ เคียงกับ กระดาษแท้ จริ งและการหมุนเวียนกลับมาใช้ ใหม่สามารถลดมลภำวะ ทำงนำ้ ได้ ถงึ ร้ อยละ 35 และลดมลภำวะทำงอำกำศได้ ร้อยละ 74”


หลักของกำรออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เป็ นกระบวนการออกแบบที่ต้องใช้ ทงศาสตร์ ั้ และ ศิลป์ โดยมีข้อกาหนดในการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ ดังนี ้ • การออกแบบโครงสร้ างบรรจุภณ ั ฑ์ อาทิ การเลือกชนิดของวัสดุ รู ปแบบ สวยงาม ขนาดพอดีและสามารถรับน ้าหนักสินค้ าได้ การขึ ้นรู ป การบรรจุ การเปิ ด-ปิ ดสะดวก ไม่ย่งุ ยาก • การออกแบบกราฟิ กบนบรรจุภณ ั ฑ์ควรมีความประสานกลมกลืนกันอย่าง สวยงามและสามารถบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ไ ด้ วางไว้ มี ข้ อมู ล และ รายละเอียดต่างๆ บนบรรจุภณ ั ฑ์อย่างครบถ้ วน

คุ ณ ส ม บั ติ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก ำ ร ผู้ป ระกอบธุ ร กิ จ บรรจุ ภัณ ฑ์ รั ก ษ์ โลก ควรมีคณ ุ สมบัติดงั นี ้

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4

(Individual Package) หรื อบรรจุ ภัณฑ์ที่สมั ผัสกับตัวอาหารโดยตรง ซึ่ ง บรรจุ ภั ณ ฑ์ ช นิ ด นั น้ ๆ ต้ องมี 1.มี ค วำมรู้ ในเรื่ องวั ส ดุ แ ละ ความปลอดภัยต่อ ผู้บ ริ โภคอย่า ง วัตถุดิ บต่ ำ งๆ ที่ใช้ ใ นกำรผลิ ต แท้ จริ ง และบรรจุ ภั ณ ฑ์ นั น้ ๆ ไม่ บรรจุภัณฑ์ อำหำร รู้ จักชนิดของ ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร เ ป ลี่ ย น ไ ป ข อ ง วัสดุที่ใช้ ทาบรรจุภณ ั ฑ์ คุณสมบัติ คุณภาพหรื อการเก็บรักษาอาหาร ทางกายภาพ เช่น ความแข็ง แรง และการเลือกใช้ วสั ดุที่เป็ นมิตรกับ ทนทาน ความปลอดภัยของวัสดุที่ สิง่ แวดล้ อม ใช้ ท าบรรจุ ภัณ ฑ์ คุณ สมบัติ ท าง เคมี โดยเฉพาะการผลิ ต บรรจุ 2 . มี ค ว ำ ม คิ ด ส ร้ ำ ง ส ร ร ค์ ภัณฑ์ประเภทเฉพาะหน่วย ซึง่ นับเป็ นทุนตังต้ ้ นที่สาคัญสาหรับ 22กฎหมายที่ เ กี่ ยวกับบรรจุภัณฑ์

เช่น พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ. 2466 , พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522, พระราชบัญญัติค้ มุ ครองผู้บริ โภค พ.ศ. 2522, พระราชบัญญัติมาตรฐานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เป็ นต้ น

138


บนบรรจุภัณฑ์ ได้ อย่างเหมาะสม และส่ ง เสริ ม ภาพลัก ษณ์ ที่ ดี แ ละ สร้ างมูลค่าเพิ่มให้ กบั สินค้ าอาหาร

4.มี ค วำมรู้ และเข้ ำ ใจในระบบ ธุ ร กิ จ มี ค วามรู้ ความเข้ าใจใน ภาพรวมของการทาธุรกิจ เพื่อการ จัด การทรั พ ยากรต่ า งๆ ได้ อ ย่ า ง เหมาะสมและเป็ นระบบ อาทิ ด้ าน ลูก ค้ า ด้ านการตลาด ด้ านการ บริ หารทรั พยากรบุ ค คล ด้ าน บริ ห ารการปฏิ บัติก ารและห่ว งโซ่ อุปทาน

3.มีควำมเข้ ำใจตลำดและลูกค้ ำ เป้ ำห มำ ย มี ค วา มเ ข้ า ใจ ถึ ง พฤติ ก รรม รสนิ ย มและความ ต้ องการของกลุ่มลูกค้ าเป้าหมาย อย่า งแท้ จ ริ ง เพื่ อ น าเสนอไอเดี ย และความคิ ด สร้ างสรรค์ ใ นการ ออกแบบและผลิ ต บรรจุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โลกที่ มี รู ป ร่ า ง ขนาด สี สั น กราฟฟิ กและรายละเอียดต่างๆ

139

4 ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

ผู้ประกอบการรายใหม่บางราย ที่ อาจจะไม่ใช่นกั ออกแบบหรื อไม่ได้ มี พื น้ ฐานองค์ ค วามรู้ ในสาขาที่ เกี่ ย วข้ อ งกับ เทคโนโลยี ก ารผลิ ต บรรจุภัณ ฑ์ ต่า งๆ ซึ่ง การมี ไอเดี ย ห รื อ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ จ ะ สามารถช่ ว ยให้ ผู้ ประกอบการ สามารถนาความคิดสร้ างสรรค์มา พั ฒ นาต่ อ ยอดจากสิ น ค้ าหรื อ บรรจุภณ ั ฑ์เดิมที่มีอยู่ในท้ องตลาด ได้ ที่ สามารถสร้ างจุด ขายให้ กับ สิ น ค้ า ได้ ภายใต้ ข้ อ ก าหนดและ ก ฎ ห ม า ย ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์


ก ำ ร เ ริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4

มี ก ารเลื อ กใช้ บรรจุ ภัณ ฑ์ เพื่ อ บรรจุสิน ค้ าและอาหาร เพื่อ ส่ง มอบให้ แก่ ลูก ค้ า/ผู้ บริ โ ภคคน สุด ท้ า ย ซึ่ง ผู้ป ระกอบการอาจ เป็ นทั ง้ ผู้ ออกแบบและผู้ ผลิ ต บรรจุภณ ั ฑ์รักษ์ โลก  ผู้ ผ ลิ ต อ ำ ห ำ ร เ ป็ น กลุ่ม เป้ าหมายที่ มี ก ารเลือ กใช้ บรรจุ ภั ณ ฑ์ เพื่ อ บรรจุ สิ น ค้ า อาหาร เพื่ อ ขนส่ง และส่ง มอบ ให้ กับตัวแทนจาหน่ายหรื อผู้ค้า ที่จะนาสินค้ าที่อยู่ในบรรจุภณ ั ฑ์ นั ้น ๆ ไ ป จ า ห น่ า ย ต่ อ ซึ่ ง ผู้ ป ระ ก อ บ ก า ร อ า จ เ ป็ น ทั ง้ ผู้ออกแบบและผู้ผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ รักษ์ โลก 1.กำหนดกลุ่มลูกค้ ำ (Customer  ผู้ ประกอบกำรธุ ร กิ จ แฟรน ไชส์ อำหำร เป็ นกลุ่มเป้าหมาย Segments) ที่มีการเลือกใช้ บรรจุภณ ั ฑ์ที่เป็ น  ผู้ ป ระกอบกำรธุ ร กิ จ อำหำร เอกลักษณ์ สวยงาม มีคณ ุ ภาพ ขนำดเล็ก เป็ นกลุม่ เป้าหมายที่ กำรเริ่ มต้ นธุ ร กิ จ บรรจุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ล ก ก า ร เ ริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ค ว ร ศึ ก ษ า สภาพแวดล้ อมต่างๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ ง กับการดาเนินธุรกิ จ ซึ่งจะช่วยให้ ผู้ป ระกอบการสามารถมองเห็ น กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ที่ มี ค ว า ม ต่ อ เนื่ อ งกั น ดัง นัน้ เพื่ อ เป็ นการ เตรี ยมความพร้ อม ผู้ประกอบการ ควรศึกษาสภาพแวดล้ อมต่างๆ ที่มี ความเกี่ยวข้ องในกระบวนการทา ธุรกิจ โดยอาศัย Business Model Canvas ซึ่ ง ประกอบไปด้ วย สภาพแวดล้ อมทางธุรกิ จที่สาคัญ 9 ด้ าน ดังนี ้

140


ได้ ม าตรฐาน เหมาะกับ สิ น ค้ า อ า ห า ร แ ล ะ ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง มู ล ค่ า เ พิ่ ม ให้ กั บ สิ น ค้ าขอ ง กิจการได้ ซึ่งผู้ประกอบการอาจ ท าหน้ า ที่ เ ป็ นผู้อ อกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โลก เพื่ อ ส่ ง ต่ อ ให้ บริ ษั ท ที่มี ศัก ยภาพในการผลิต ในปริ ม าณมากๆ ท าการผลิ ต เพื่อลดปั ญหาด้ านเงิ นลงทุนใน เครื่ องจักรขนาดใหญ่

2 . คุ ณ ค่ ำ ที่ น ำ เ ส น อ ( Value Propositions)  คุ ณ ภำพของวั ส ดุ มี คุ ณ ภาพ ตรงกับ คุณ สมบัติ ก ารน าไปใช้ งาน  ส ำ ม ำ ร ถ คุ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ปกป้องสินค้ ำอำหำรได้ อย่าง

ป ล อ ด ภั ย จ น ก ร ะ ทั่ ง ถึ ง มื อ ผู้บริ โภค  สร้ ำงมูลค่ ำเพิ่มให้ กับสินค้ ำ  กำรสร้ ำงภำพลั ก ษณ์ สร้ าง ความจดจาและสร้ างทัศนคติที่ดี ให้ กบั สินค้ าและองค์กร  สำมำรถเพิ่ ม ยอดขำยให้ กั บ ลูกค้ าได้ 3.ระบุช่องทำง (Channels)  กำรบอกต่ อ เนื่ อ งจากบรรจุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โลกเป็ นสิ น ค้ าที่ มี ความอ่ อ นไหวในการเลื อ กใช้ การโฆษณาชวนเชื่อไม่สามารถ โน้ มน้ าวจิ ตใจกลุ่มลูกค้ าได้ ซึ่ง ต้ อ ง อ า ศั ย ก า ร บ อ ก ต่ อ ถึ ง คุ ณ ภ า พ ที่ ดี ก ว่ า ห รื อ เ รี ย ก ช่องทางนี ้ง่ายๆ ว่า “ช่องทางการ

ขอบคุณภาพจาก ชุดเพาะปลูกสาเร็จรูป โดย บริษัท ยอดคอร์ ปอเรชัน่ จากัด ใน demarkaward.net

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4 141


บอกต่อถึงประโยชน์ในการสร้ าง รายได้ ที่ ม ากกว่ า การใช้ บรรจุ ภัณ ฑ์ ธ รรมดา” จะได้ ผลดี ก ว่ า การโฆษณาชวนเชื่อ  เ ว็ บ ไ ซ ต์ ห รื อ เ ปิ ด ร้ ำ น ค้ ำ ออนไลน์ เพื่อนาเสนอตัวอย่าง บรรจุภณ ั ฑ์และผลงานที่ผา่ นมา  สื่อสังคมออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊ก เป็ นต้ น

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4

มอบคุณประโยชน์ที่จะได้ รับจาก การใช้ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ป ระเภทนี ้ อาทิ การสร้ างมูลค่าเพิ่มให้ กับ สิ น ค้ า การสร้ างภาพลัก ษณ์ ที่ ดีกว่าให้ กบั สินค้ า เป็ นต้ น  กำรให้ บริ กำรหลังกำรขำย รับ ฟั งคาติชมและข้ อเสนอแนะของ ลู ก ค้ า ร ว ม ถึ ง ก า ร มี ค ว า ม รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สิ น ค้ าที่ ส่ ง มอบ ให้ แก่ลกู ค้ า เช่น ให้ บริ การแก้ ไข ในจุ ด ที่ บ กพร่ อ ง การเปลี่ ย น 4.สร้ ำงควำมสัม พันธ์ กับลู กค้ ำ สิน ค้ า ที่ ช ารุ ด เสี ย หายระหว่ า ง (Customer Relationships) ขนส่ง เป็ นต้ น  กำรให้ บริ ก ำรก่ อนกำรขำย การให้ คาปรึ กษาและคาแนะนา ในการเลื อ กใช้ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ 5.รำยได้ (Revenue Streams) เหมาะสมกับสินค้ าของลูกค้ า รายได้ ห ลัก ของธุ ร กิ จ บรรจุภัณ ฑ์  กำรเปิ ดโอกำสให้ ลู ก ค้ ำ ได้ มี รักษ์ โลก คือ การออกแบบและการ ส่ วนร่ วมในกำรออกแบบ ผลิตบรรจุภัณฑ์ ซึ่งโดยทั่วไปการ บรรจุ ภั ณ ฑ์ เพื่ อ ให้ ตรงกั บ ออ ก แบบมั ก จ ะถู ก รว ม อยู่ ใ น ความต้ องการของลูก ค้ าที่ จ ะ กระบวนการผลิตและการจาหน่าย น าไปใช้ สร้ างมูล ค่ า เพิ่ ม ให้ กับ อยู่แล้ ว ยกเว้ นหากการผลิตบรรจุ สินค้ าของตนเองต่อไป ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ล ก นั ้น ๆ มี ค ว า ม  ก ำ ร ส ร้ ำ ง ทั ศ น ค ติ ที่ ดี ต่ อ เ ฉ พ า ะ เ จ า ะ จ ง ห รื อ เ น้ น กำรใช้ บรรจุภณ ั ฑ์ รักษ์ โลก ส่ง กระบวนการออกแบบเป็ นพิเศษซึง่

142


ผู้ประกอบการจะมีรายได้ จากการ บริ ก ารออกแบบบรรจุภัณ ฑ์ นัน้ ๆ เช่ น การให้ บ ริ ก ารจ้ างออกแบบ สิน ค้ า ที่ ลูก ค้ า ต้ อ งการความเป็ น เอกลัก ษณ์ เ ฉพาะตัว และจะน า รู ป แบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ นั น้ ๆ ไปจด ลิ ข สิ ท ธิ์ เป็ นบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ เ ป็ น เอกลักษณ์ของตนเอง

143

4 ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

มอบให้ กับลูกค้ า และจะต้ องตรง ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ สง ค์ ห รื อ ค ว า ม คาดหวัง ของลูก ค้ า ตามประเภท ของธุรกิจด้ วย  กำรให้ ค ำป รึ ก ษ ำ แล ะให้ ค ำแนะน ำในกำรเลื อ กใช้ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ เหมำะสมกั บ สิ น ค้ ำ เช่ น ขนาดของบรรจุ ภั ณ ฑ์ วั ส ดุ แ ละรู ป แบบบรรจุ ภัณฑ์ เป็ นต้ น 6 . ท รั พ ย ำ ก ร ห ลั ก ( Key Resources)  กำรบริ ก ำรออกแบบบรรจุ คือ องค์ ป ระกอบหลักที่สาคัญใน ภัณฑ์ ท่ ีเหมำะสมกับประเภท การด าเนิ น ธุ ร กิ จ บรรจุภัณ ฑ์ รั ก ษ์ ของสินค้ ำของลูกค้ ำ เช่น การ โลก ประกอบไปด้ วย อ อ ก แ บ บ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ ที่ มี รายละเอี ย ดต่ า งๆ ของสิ น ค้ า  ผู้เชี่ยวชำญด้ ำนวัสดุศำสตร์ และคุ ณ ประโยชน์ ข องสิ น ค้ า  ผู้เชี่ยวชำญด้ ำนกำรออกแบบ ปรากฏบนบรรจุ ภัณ ฑ์ การให้ บรรจุภณ ั ฑ์ ข้ อ มูลคุณ ค่ า ทางโภชนาการที่  เทคโนโลยีและเครื่ องจักรที่ใช้ ในการผลิต เป็ นประโยชน์ เป็ นต้ น  แรงงำนผู้ผลิตบรรจุภณ ั ฑ์  กำรส่ งมอบสิ น ค้ ำ คื อ บรรจุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โลก ที่ มี คุ ณ สมบั ติ  วัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิต ตามที่ได้ ตกลงกันไว้ ให้ แก่ลกู ค้ า ตามระยะเวลาที่กาหนด 7.กิจกรรมหลัก (Key Activities) คือ กิจกรรมที่สร้ างคุณค่าและส่ง  กำรให้ บริ กำรหลังกำรขำย


การแก้ ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ น้ จากตัว สินค้ าที่ส่งมอบ เช่น การรั บคื น แ ล ะ เ ป ลี่ ย น สิ น ค้ า ที่ ช า รุ ด เสียหาย การให้ ข้อแนะนาในการ เก็ บ รั ก ษาดูแ ลสิ น ค้ า ที่ ส่ง มอบ เป็ นต้ น

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4

เพื่ อ สร้ างความร่ ว มมื อ ในการ จ้ างเหมาบริ การ  ตั ว แทนผู้ จ าหน่ า ยวั ส ดุ แ ละ วั ต ถุ ดิ บ เ พื่ อ ก า ร ผลิ ต อ า ทิ กระดาษ ผ้ า วัสดุธรรมชาติตา่ งๆ  ตัว แทนผู้ จ าหน่ า ยบรรจุ ภั ณ ฑ์ รักษ์ โลก 8.คู่ ค้ ำ หลั ก ทำ งธุ รกิ จ ( Key  โ ร ง ง า น ผู้ ผ ลิ ต บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ ประเภทต่างๆ Partnerships) คือ เครื อข่ายพันธมิตรในธุรกิจที่มี  กลุม่ แม่บ้านวิชาชีพ เนื่องจากใน ความเกี่ ย วข้ อ งหรื อ เชื่ อ มโยงกับ การผลิตบรรจุภณ ั ฑ์บางประเภท ธุร กิ จ ของผู้ป ระกอบการในธุ ร กิ จ อาจจ าเป็ นต้ องใช้ แรงงานคน บรรจุภัณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ลก ประกอบไป เพื่อผลิตสินค้ า เช่น การพับ การ ด้ วย สกรี น เป็ นต้ น  ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก ำ ร ใ น ธุ ร กิ จ อำหำร อาทิ ธุร กิ จ อาหารเพื่ อ 9 . โ ค ร ง ส ร้ ำ ง ต้ น ทุ น ( Cost สุ ข ภาพ ธุ ร กิ จ อาหารส าหรั บ Structure) ผู้ สู ง อ า ยุ ธุ ร กิ จ ข า ย สิ น ค้ า (อาหาร)ที่ ร ะลึ ก หรื อสิ น ค้ า OTOP เช่ น กล้ ว ยกวน คุก กี ้ ธัญพืช เป็ นต้ น  นักศึกษำสำขำสถำปั ตยกรรม ศิลปกรรม พำณิ ชย์ ศิลป์และ กลุ่มนักศึกษำสำขำออกแบบ

144


145


ตั ว อ ย่ า ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ล ง ทุ น ธุ ร กิ จ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ล ก GREEN Package (เงินลงทุนเริ่มต้ นประมาณ 50,000 – 150,000 บาท)*

(1) ลงทุนในสินทรัพย์

(2) เงินทุนหมุนเวียน ต้ นทุนคงที่

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4

ต้ นทุนผันแปร

ค่าเครื่องจักร

เงินเดือน พนักงานประจา

วัสดุสิ ้นเปลือง

ค่าจัดทาเว็บไซต์

ค่าเช่าสถานที่

วัตถุดิบ

ค่าวางระบบ สาธารณูปโภค

ค่าอินเทอร์ เน็ต

ค่าใช้ จา่ ย สาธารณูปโภค ค่าจ้ างเหมา บริการ

เครื่องใช้ สานักงาน

หมายเหตุ: 1) *ประมาณการเงินลงทุนเริ่ มต้ นจากธุรกิจขนาดเล็กหรื อธุรกิจเจ้ าของคนเดียว ณ ปี 2556 2) องค์ประกอบโครงสร้ างการลงทุนจะเปลี่ยนไปตามขนาดของธุรกิจและหลักการดาเนินธุรกิจของผู้ประกอบการ

146


บรรจุ ภั ณ ฑ์ เ ป็ นพนั ก งำนขำยไร้ เสี ย งที่ ดึงดูดควำมสนใจแรก สร้ ำงมูลค่ ำเพิ่มทำง กำรตลำดให้ กับสินค้ ำ ถ้ ำบรรจุภัณฑ์ สวย ใครก็ อ ยำกซื อ้ หำ ในทำงกลั บ กั น ต่ อ ให้ สินค้ ำดีแค่ ไหน แต่ บรรจุภัณฑ์ ไม่ เตะตำก็ เรี ยกลูกค้ ำไม่ ได้ ขอบคุณภาพจาก บรรจุภณ ั ฑ์ของฝากมะขามหวานเพชรบูรณ์ โดย บริษัท ยอดคอร์ ปอเรชัน่ จากัด ใน demarkaward.net

- วิเทียน นิลดา -


ตั ว อ ย่ ำ ง ก ำ ร เ ริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ ใ ห ม่

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4

เริ่ มต้ นธุ รกิจแบบง่ ำย-ง่ ำย ทุ น ขาดแคลนอยู่ เช่น น้ อย เสี่ยงน้ อย จะเริ่ มต้ นยังไง  นั ก ออกแบบบรรจุ ภัณ ฑ์ ใน ระยะเริ่ มต้ น ควรจ้ างเหมา ดี ??? บริ การ เพื่อลดต้ นทุน เริ่ มต้ นจากธุรกิจเล็กๆ หรื อธุรกิจใน  แรงงำนในกระบวนกำรผลิต ครอบครั ว เป็ นธุ รกิ จที่ เน้ นการใช้ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ควรพิ จ ารณาถึ ง เครื่ อ งมื อ และอุป กรณ์ ข นาดเล็ ก ความเหมาะสมของปริ มาณการ กระบวนการผลิตไม่ซบั ซ้ อน ผลิตและเครื่ องจักรที่มีอยู่ หรื อ ห า ก เ ป็ น ก า ร ผ ลิ ต ที่ เ น้ น ใ ช้ 1.เลื อ กใช้ สถำนที่ ท่ ี มี อ ยู่ แล้ ว เช่น บ้ าน/ที่พกั อาศัย แรงงานคน ควรเลื อ กใช้ การ บริ ก ารจ้ างเหมา ตามจ านวน ชิ ้นงานที่ผลิตเสร็ จ 2.เครื่ องมือและอุปกรณ์ ขนำด เล็ก เช่น เครื่ องพับ เครื่ องตัด ซึ่ง เป็ นเครื่ อ งมื อ ที่ มี ก ระบวนการใช้ 4 . ก ำ ร ต ล ำ ด โ ฆ ษ ณ ำ แ ล ะ งานไม่ซบั ซ้ อน ประชำสั ม พั น ธ์ ในระยะเริ่ ม ต้ น ควรเลื อ กใช้ ช่ อ งทางสื่ อ สั ง คม 3.แรงงำน ขึ ้นอยูก่ บั จุดเริ่ มต้ นของ ออนไลน์ เนื่ อ งจากเป็ นสื่ อ ที่ มี การท าธุ ร กิ จ ซึ่ ง ผู้ ประกอบการ ต้ นทุ น ต่ า และสามารถเข้ าถึ ง อาจจะมี จุด เริ่ มต้ นจากการเป็ นผู้ กลุม่ เป้าหมายได้ อย่างรวดเร็ ว และ มี ไ อเดี ย สร้ างสรรค์ หรื อ เป็ นผู้ มี เป็ นวงกว้ าง รวมถึงทาการโฆษณา ความรู้ความสามารถทางด้ านวัสดุ ผ่ า นสื่ อ อิ น เทอร์ เน็ ต ในรู ป แบบ ศาสตร์ ดัง นัน้ การจ้ างงานควร ต่างๆ เช่น การประกาศซื ้อ-ขายฟรี พิจารณาจากบุคลากรที่กาลัง (E-Classified) 148


ก ำ ร ส ร้ ำ ง มู ล ค่ ำ เ พิ่ ม ใ ห้ กั บ ธุ ร กิ จ ของผู้บ ริ โภคสิน ค้ า และตัว บรรจุ ภัณ ฑ์ ต้ อ งผลิ ต มาจากวัส ดุที่ เ ป็ น มิตรต่อสิง่ แวดล้ อมอย่างแท้ จริ ง 2.กำรสร้ ำงประสบกำรณ์ ใหม่ ใน ก ำ ร ใ ช้ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ เ ป็ น กระบวนการของการออกแบบ สร้ างสรรค์ ตั ว บรรจุ ภั ณ ฑ์ ใ ห้ มี คุณประโยชน์มากกว่าการเป็ นวัสดุ ที่ ห่ อ หุ้ มสิ น ค้ า โดยอาศั ย การ เลื อ กใช้ วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต ที่ สามารถสร้ างประโยชน์ให้ แก่กลุม่

4 ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

1.กำรสร้ ำงเอกลั ก ษณ์ หรื อ รู ป แบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ มี ค วำม แตกต่ ำง การน าเสนอรู ป แบบ บรรจุภัณ ฑ์ ที่ ช่วยสร้ างมูลค่า เพิ่ ม ให้ กั บ สิ น ค้ าที่ บ รรจุ อ ยู่ ใ นบรรจุ ภัณฑ์ สามารถสะท้ อนเอกลักษณ์ และสร้ างความโดดเด่ น ให้ กั บ สิ น ค้ าได้ บรรจุ ภั ณ ฑ์ มี ค ว า ม ปลอดภั ย กั บ ตั ว สิ น ค้ า ลัก ษณะ แ ล ะ รู ป แ บ บ ข อ ง บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ สามารถตอบสนองความต้ องการ ของผู้บริ โภคได้ ตรงกลุม่ เป้าหมาย

149


ลูกค้ าเป้าหมายได้ เช่น บรรจุภณ ั ฑ์ ที่ มี คุ ณ สมบัติ ถ นอมอาหารหรื อ สามารถยืดอายุการบริ โภคอาหาร หรื อ บรรจุภัณ ฑ์ ที่ ใ ช้ บ รรจุอ าหาร เมื่ อ บริ โ ภคเสร็ จ แล้ ว สามารถพับ ตามรอยปรุ หรื อพับกล่องกระดาษ กลับ ด้ าน ก็ จ ะสามารถน าไปใช้ ประโยชน์อย่างอื่นได้ เช่น กล่องใส่ ปากกาทรงสูง กล่องใส่ลวดเสียบ กระดาษ เป็ นต้ น

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4

ก่อนการขายและหลังการขาย เริ่ ม ตัง้ แต่ก ระบวนการ ให้ ค าปรึ ก ษา และข้ อแนะนาในการเลือกใช้ บรรจุ ภัณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ลกที่ เ หมาะสมกับ ตัว สิ น ค้ า ข อ ง ลู ก ค้ า ใ ห้ บ ริ ก า ร ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ โดยคานึงถึง ประโยชน์ แ ละมู ล ค่ า เพิ่ ม ในตั ว สินค้ าของลูกค้ า การให้ บริ การหลัง ก า ร ข า ย ก ล่ า ว คื อ มี ค ว า ม รับผิดชอบต่อสินค้ าที่สง่ มอบให้ แก่ ลูก ค้ า เช่ น บริ การรั บเปลี่ยนหรื อ 3.กำรให้ บ ริ ก ำรก่ อ นและหลั ง คืนสินค้ าที่เกิ ดความเสียหายจาก กำรขำย เป็ นกระบวนการสร้ าง การผลิตและการส่งมอบ ความแตกต่างด้ านการบริ การ ทัง้

150


ก ำ ร ข ย ำ ย ธุ ร กิ จ . . อี ก ร ะ ดั บ กั บ ก ำ ร พั ฒ น ำ ธุ ร กิ จ การขยายธุรกิจมีหลากหลายวิธี ทัง้ ขยายอย่ า งรวดเร็ ว และเป็ นการ เติ บ โตแบบก้ า วกระโดด เรี ย กว่ า Extensive Growth เช่น การเข้ าไป ซื อ้ กิ จ การ ของบริ ษั ท คู่ แ ข่ ง ที่ ท า ธุ ร กิ จ ใกล้ เ คี ย งกัน เพื่ อ เพิ่ ม ก าลัง ผลิ ต ขยายตลาด และตัด ก าลัง คู่แข่งสาคัญออกไป และมีวิธีการ ขยายธุรกิจอย่างช้ าๆ แต่มนั่ คงไปที ล ะ ขั ้ น ที่ เ รี ย ก ว่ า Intensive Growth

1.นั ก ออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ รักษ์ โลก ขยำยธุ รกิจไปสู่ธุรกิจกำร ผลิ ต และจ ำหน่ ำย คื อ เป็ นทั ง้ ผู้ อ อ ก แ บ บ ผู้ ผ ลิ ต แ ล ะ ผู้ จั ด จ าหน่ า ย ลดการพึ่ ง การธุ ร กิ จ เครื อข่าย เพื่อสร้ างความเข้ มแข็ง ให้ กบั ธุรกิจของตนเอง

4 ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

2.กำรขยำยธุ ร กิ จ ไปสู่ ผู้ ผลิ ต บรรจุ ภัณ ฑ์ รัก ษ์ โลกครบวงจร ลงทุนทางด้ านเทคโนโลยี เพื่อเพิ่ม ศั ก ย ภาพในก ารผลิ ต สิ น ค้ า ที่ การขยายธุรกิจบรรจุภณ ั ฑ์รักษ์ โลก หลากหลายเพิ่มมากขึ ้น รวดเร็ วขึ ้น สาหรั บ ผู้ป ระกอบการที่ มี โ อกาส และสามารถผลิตสินค้ าได้ เพิ่มมาก และศัก ยภาพในการขยายธุ ร กิ จ ขึน้ เพื่ อรองรั บ ตลาดที่ มีแ นวโน้ ม อาจทาได้ ในรูปแบบ ขยายตัวเพิ่มมากขึ ้น

151


ปั จ จั ย แ ห่ ง ค ว ำ ม สำ เ ร็ จ 1 . ส ร้ ำ ง เ อ ก ลั ก ษ ณ์ แ ล ะ มู ล ค่ ำ เพิ่ ม ให้ กั บ สิ น ค้ ำ การน า ความคิดสร้ างสรรค์มาประยุกต์ใช้ ในการออกแบบพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ ให้ มี คุณสมบัติสะท้ อนตัว ตนของ สิ น ค้ า และท าหน้ าที่ ข องบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ดี ไ ด้ อย่ า งครบถ้ วนและ สร้ างมูลค่าเพิ่มให้ กบั สินค้ า

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4

2.เข้ ำใจควำมต้ องกำรของ ลู ก ค้ ำ ผู้ ประกอบการที่ เ ป็ นนั ก ออกแบบหรื อ ผู้ ผลิ ต บรรจุ ภัณ ฑ์ ต้ องเข้ าใจความต้ องการของลูกค้ า เ ป้ า ห ม า ย อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง เ ป็ น สามารถออกแบบและผลิต บรรจุ ภัณ ฑ์ ไ ด้ ต ามคาดหวัง ของลูก ค้ า และตรงกลุม่ เป้าหมายทังผู ้ ้ ซื ้อและ ผู้ใช้ สินค้ า เช่น สินค้ าบางประเภท ผลิตขึ ้นมาเพื่อบริ โภคกลุม่ หนึง่ แต่

ผู้ซื ้อคือผู้บริ โภคอีกกลุ่มหนึ่ง อาทิ อาหารของเด็ก เป็ นต้ น 3.สร้ ำงควำมแตกต่ ำงและสร้ ำง ยอดขำยให้ กับลูกค้ ำ บรรจุภณ ั ฑ์ ช่ว ยสร้ างความโดดเด่น ให้ กับ ตัว สิน ค้ า ให้ แ ตกต่ า ง และช่ ว ยสร้ าง ภ า พ ลั ก ษ ณ์ ที่ ดี ใ ห้ กั บ สิ น ค้ า สามารถสร้ างมูลค่าเพิ่มให้ กับตัว สินค้ าได้ และสร้ างยอดขายได้ เพิ่ม มากขึ ้น 4.มีทั กษะกำรบริ หำร นอกจาก ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร ใ ช้ ค ว า ม คิ ด สร้ างสรรค์ การออกแบบและการ พัฒ นาผลิ ต บรรจุ ภัณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ลก แล้ ว การท าธุ ร กิ จ ผู้ป ระกอบการ จาเป็ นต้ องมีองค์ ความรู้ ด้ า นการ บริ หารธุรกิจด้ วย อาทิ การบริ หาร

152


จัดการองค์ ก ร การบริ ห ารเงิ นทุน การทาการตลาดและการส่งเสริ ม การขาย เป็ นต้ น 5.คุณภำพและมำตรฐำน ธุรกิ จ บรรจุภัณ ฑ์ รั กษ์ โลกเป็ นการผลิต บรรจุ ภัณ ฑ์ เ พื่ อ การบรรจุ อ าหาร ดั ง นั น้ ผู้ ประก อบการต้ องใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ วั ต ถุ ดิ บ ที่ ไ ด้ ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ปลอดภัย ต่ อ ผู้บ ริ โภคและไม่เ ป็ น พิษต่อสิง่ แวดล้ อม และเป็ นไปตาม กฎ ระเบี ย บและข้ อบั ง คั บ จาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4 153


ข้ อ ท้ ำ ท ำ ย

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4

1.ต้ นทุนกำรผลิต วัตถุดิบที่ใช้ ใน 3.กำรขำดแคลนแรงงำน การ การผลิต บรรจุภัณ ฑ์ รั ก ษ์ โลกเป็ น ผลิ ต บรรจุ ภัณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ลกในบาง วัตถุดิบที่มีต้นทุนสูง ธุ ร กิ จ แ ล ะ บ า ง ป ร ะ เ ภ ท ยั ง จาเป็ นต้ อ งพึ่ง พาแรงงานจากคน 2.ลู ก ค้ ำยั ง ไม่ ให้ ควำมส ำคั ญ เป็ นหลัก เช่น การพับ การประดับ เป็ นที่ ท ราบกัน ดี ก ว่ า บรรจุ ภัณ ฑ์ หรื อ ตกแต่ ง บรรจุ ภัณ ฑ์ ฯลฯ ซึ่ ง รั ก ษ์ โ ลกเป็ นสิ น ค้ าที่ มี ต้ นทุ น สู ง ส่ ว นใหญ่ เมื่ อ มี ก ารผลิ ต เป็ น กว่าบรรจุภณ ั ฑ์ทั่วไปที่มีจาหน่าย จานวนมากมักประสบปั ญหาการ อยู่ในท้ องตลาด ดังนัน้ กลุม่ ลูกค้ า ขาดแคลนแรงงานในภาคการผลิต ที่ เ ป็ นผู้ ประกอบการในธุ ร กิ จ อาหารส่ ว นใหญ่ จึ ง ไม่ เ ห็ น ถึ ง 4.มำตรฐำนและควำมปลอดภัย ความสาคัญของการใช้ บรรจุภณ ั ฑ์ การควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบที่ รั ก ษ์ โ ลก ถึ ง แม้ จะเข้ าใจว่ า เป็ น นามาผลิตเป็ นบรรจุภณ ั ฑ์รักษ์ โลก บรรจุภณ ั ฑ์ที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้ อม เป็ นปั จจัยที่สาคัญที่ผ้ ปู ระกอบการ แต่ เ มื่ อ พบว่ า การหัน มาใช้ บรรจุ ต้ อ งให้ ค วามส าคัญ เป็ นอย่า งยิ่ ง ภัณ ฑ์ รั ก ษ์ โลกจะส่ง ผลต่อ ต้ น ทุน ทั ง้ ในด้ านความปลอดภั ย ของ สินค้ าที่เพิ่มสูงขึน้ ก็จะทาให้ กลุ่ม วัตถุดิบที่จะนามาใช้ ผลิตเป็ นบรรจุ ลูกค้ าเป้าหมายปฏิเสธการใช้ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ส าหรั บ การบรรจุ อ าหาร ภัณฑ์ดงั กล่าว เพื่อการบริ โภค ซึง่ ต้ องเป็ นไปตาม

154


มาตรฐานความปลอดภัย ในการ บรรจุ อ าหาร รวมทัง้ การเลื อ กใช้ วัต ถุดิ บ ที่ มีคุณ ภาพเหมาะกับ ตัว สินค้ าอาหารทังในด้ ้ านความคงทน สามารถรักษาสภาพสินค้ าอาหาร ไม่ ใ ห้ ช ารุ ด เสี ย หายก่ อ นถึ ง มื อ ผู้บริ โภค

การทาซ ้าอาจส่งผลต่อการแข่งขัน ทางด้ านราคา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากคู่ แ ข่ ง ขัน มี ศัก ยภาพในการ ผลิ ต ที่ ม ากกว่ า ผู้ ประกอบการ อาจจะได้ รั บ ผลกระทบจากการ แข่งขันทางด้ านราคาที่ต่ากว่าและ ช่วงชิงลูกค้ าไปในที่สดุ

5.กำรลงทุ นในเทคโนโลยี การ ผลิ ต บรรจุ ภั ณ ฑ์ บา งประเภท จ าเป็ นต้ อ งพึ่ง พาเทคโนโลยี เ พื่ อ การผลิต ซึ่งส่งผลต่อเงินลงทุนใน การประกอบกิ จ การ ดัง นัน้ การ ลงทุนในเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม อาจส่ง ผลต่อ งบประมาณในการ ล ง ทุ น ที่ ไ ม่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ผลตอบแทนที่ จ ะได้ รั บ จากการ ผลิตบรรจุภณ ั ฑ์

4 ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

6.คู่แข่ งขันรำยใหญ่ ปั ญหาส่วน ใหญ่ ที่ เกิ ด ขึน้ ในธุ ร กิ จ สร้ างสรรค์ คื อ ก า ร ล อ ก เ ลี ย น แ บ บ ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (บรรจุ ภั ณ ฑ์ ) จากคู่ แข่งขัน ซึง่ การลอกเลียนแบบหรื อ

155


กรณี ศึ ก ษำ ธุ ร กิ จ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ล ก ต้ น แ บ บ

ขอบคุณภาพจาก Dan Taylr ใน www.flickr.com


"คิดให้ มากกว่า โจทย์" ย อ ด ค อ ร์ ป อ เ ร ชั่ น


 ย อ ด ค อ ร์ ป อ เ ร ชั่ น “นักสร้ างสรรค์ผลิตภัณฑ์โดนๆ บรรจุภณ ั ฑ์สดุ เจ๋ง ด้ วยงานกราฟฟิ กที่ช่วยให้ สินค้ าหลายตัวกลับมาโดดเด่นในตลาดได้ ” ยอด คอร์ ปอเรชั่ น โดย คุ ณ ฉัตรชัย มีแนวความคิดที่จะขยาย ฐานก าลัง ที่ เ ป็ นกลุ่ม ฟรี แ ลนซ์ ใ ห้ มากขึ น้ เพื่ อ ให้ สามารถรั บ งาน ใหญ่ๆ ได้ เพิ่มขึ ้น โดยมุง่ พัฒนา “ดี ไซเนอร์ เฉพำะทำง” ภายใต้ เครื อ ข่ า ยที่ มี อ ยู่ เ ดิ ม รวมถึ ง การ ขยายโอกาสไปในตลาด ต่ า งประเทศ โดยเริ่ มจากกลุ่ ม อาเซี ย น ที่ ง านด้ า นครี เ อที ฟ ของ ไทยยังคงเป็ นพี่ใหญ่ในภูมิภาคนี ้

คุ ณ ยอด ฉั ต รชั ย ระเบี ย บธรรม เจ้ าของ บริ ษัท ยอด คอร์ ปอเรชั่น จากัด (Yod Corporation) จบ สาขา Industrial Design คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุณ ทหารลาดกระบั ง ได้ เปิ ดตั ว ท า ธุรกิจรับออกแบบครบวงจร รวมถึง การออกแบบบรรจุภัณฑ์ รักษ์ โลก ในนาม บริ ษัท ยอด คอร์ ปอเรชั่น จากัด (Yod Corporation) ขึ ้นเมื่อ

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4 ขอบคุณภาพจาก บรรจุภณ ั ฑ์ของฝากมะขามหวานเพชรบูรณ์ โดย บริษัท ยอดคอร์ ปอเรชัน่ จากัด ใน demarkaward.net

158


ยอด คอร์ ป อเรชั่ น ด าเนิ น ธุ ร กิ จ ด้ วยจุดขายสาคัญในการสร้ างฐาน 159

กลุ่มลูกค้ ำ ลูกค้ า คือ การบริ การที่มีคณ ุ ภาพ ทุ่ม เทกับ ทุก โปรเจคที่ ท า และใน ราคาที่ไม่แพง จนทาให้ ลกู ค้ าเกิ ด ความประทับใจแล้ วบอกต่อกันไป กระทัง่ ได้ มีการขยายบริ การอย่าง ครบวงจร เรี ย กว่ า ไม่ ใ ช่ แ ค่ ง าน ออกแบบ แต่ ร วมไปถึ ง การจั ด อบรมสัม มนาด้ านการออกแบบ ให้ กั บ หน่ ว ยงานรั ฐ และเอกชน รวมถึงบริ การรั บสร้ างธุรกิ จให้ นัก ลงทุ น ตั ง้ แต่ ต้ นจนจบแบบครบ วงจร ซึ่งลูกค้ าในบริ การนี ้เพียงแค่ มีฝัน มีเงิน ก็มาใช้ บริ การได้

4 ขอบคุณภาพจาก ชุดเพาะปลูกสาเร็จรูป โดย บริษัท ยอดคอร์ ปอเรชัน่ จากัด ใน demarkaward.net

ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

ปี 2554 เมื่อปี 2548 เคยทาธุรกิจ ออกแบบด้ ว ยการสนับ สนุน พื น้ ที่ ของกรมส่งเสริ มอุตสาหกรรม พื ้นที่ ในห้ างประตูน ้าเซ็นเตอร์ บริ เวณสี่ แยกราชประสงค์ ไ ด้ เปิ ดบริ ษั ท เล็กๆ ชื่อ Brainstore เพื่อบริ การ ด้ านการออกแบบแก่สินค้ าโอท็อป เป็ นเวลา 3 ปี และใช้ เงินทุนในการ เริ่ มต้ นธุรกิ จด้ วยเงินเพียง 5 หมื่น บาท ซึ่ ง ผู้ ประกอบการ สิ น ค้ า โอท็อปขณะนัน้ ประสบปั ญหาปิ ด ตัว ลงหลายราย จึ ง ท าให้ ต้ อ งปิ ด ตัว Brainstore และไปเปิ ดบริ ษั ท ยอด คอร์ ปอเรชั่น โดยใช้ พืน้ ที่ใ น ตึ ก ข อ ง คุ ณ แ ม่ ตั ง้ บ ริ ษั ท แ ท น ปั จจุบนั มีพนักงานประจา จานวน 10 คน มี เ ครื อ ข่ า ยพัน ธมิ ต รฟรี แลนซ์กว่า 20 ราย มีผ้ เู ชี่ยวชาญใน แ ข น ง ต่ า ง ๆ ไ ม่ เ พี ย ง แ ค่ ง า น ออกแบบ แต่ ค รอบคลุม ทั ง้ งาน การตลาดและการวิจยั ด้ วย


ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

4

ผลงานการออกแบบบรรจุ ภัณ ฑ์ รักษ์ โลกที่สร้ างชื่อเสียงให้ กบั ยอด คอร์ ปอเรชั่น ก็คือ บรรจุภณ ั ฑ์รักษ์ โลกสาหรั บ ส้ มโอขาวแตงกวา จ. ชัยนาท “Thai pomelo of Chainat province” บนแนวคิ ด เป็ น ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใ น ก า ร ออกแบบแพ็กเกจจิ ้งสาหรับพืชผล ทางการเกษตรจากวัชพืชที่ไม่มีใคร ต้ องการ โดยได้ รับ แรงบัน ดาลใจ จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ าอยู่ หั ว น ามาประยุ ก ต์ ร วมเข้ ากั บ ภู มิ ปั ญญาชาวบ้ าน จนได้ บรรจุภณ ั ฑ์ ที่ เ ป็ นมิ ต รกับ สิ่ ง แวดล้ อ ม ทัง้ ยัง ช่ ว ยส่ ง เสริ มภาพลั ก ษณ์ สร้ าง มูลค่าเพิ่มให้ กับสินค้ าอีกด้ วยและ ได้ รั บ รางวั ล ที่ 3- Eco & Sustainable Thai Pomelo Package ในงาน The Dieline Package Design 2012 โดย The Dieline เป็ นชื่ อ เว็ บ ไซต์ จัด การ ประกวดการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ที่ ได้ รับการยอมรับทัว่ โลกในปี 2012 160

คิด แบบ “ยอดคอร์ ป” ในการท าบรรจุ ภัณ ฑ์ รักษ์ โลกให้ กับ ส้ มโอขาวแตงกวา “Thai pomelo of Chainat province” จากค าถามที่ ว่ า “ส้ มโอเราไม่ มี ท าง แยกแยะออกเลยว่ามาจากที่ไหน ฉะนัน้ เราเลยต้ องสร้ างคาแรคเตอร์ ขึน้ มา ก่อน หน้ า นี จ้ ะเห็ น ใครก็ จับ ใส่ก ล่อ ง แต่เคย รู้มยว่ ั ้ าค่ากล่องมันตัง้ 30 บาท ส้ มโอแข่ง กันจะตายอยูแ่ ล้ ว ค่ากล่องยังจะแพงกว่า ส้ มโออีก ดังนัน้ จึงได้ ไปคุยกับชาวบ้ า น จนได้ รู้ ว่ า เขามี ทั ก ษะเรื่ อ งการสาน ผักตบชวาที่ดีมาก ก็กลับมาคิดออกแบบ ให้ เป็ นบรรจุภัณฑ์ เพื่อให้ ชาวบ้ า นเป็ น คนทาเอง ใช้ วัสดุที่ หาได้ ในบ้ านเขา ให้ สามารถพึง่ พาตนเองได้ ” ผักตบไม่ได้เป็ นเพียงวัสดุธรรมชำติ แต่นี่ คือมลภำวะของโลก กำรนำผักตบขึ้ นมำ ใช้ก็เท่ำกับช่วยกันรักษำสิ่ งแวดล้อมให้ดี ขึ้ น ด้ ว ย..นี ่เป็ นกำรคิ ด แบบ 360 องศำ คิ ด แบบ “ยอด” แก้ โ จทย์ ใ ห้ สุ ด ๆ จน นำมำสู่รำงวัล “สุดยอด” ในวันนี ้


ปั จจัยแห่ งควำมสำเร็จ • การบริ การที่มีคณ ุ ภาพ • ความคิดสร้ างสรรค์ • การกาหนดราคาที่เหมาะสม • การท างานเชิ ง ลึ ก เข้ าถึ ง ข้ อมูลลูกค้ า • ให้ ความสาคัญกับงานทุกชิ ้น • คิดต่อยอดธุรกิ จ จากช่องว่า ง ที่มีอยู่ ด้ วยบริ การครบวงจร • สร้ างดี ไ ซเนอร์ เฉพาะทาง รองรับการเติบโตของธุรกิจ

คุ ณ ฉั ต รชั ย กล่ ำว ว่ ำ ปั จ จุ บ ั น ผู้ป ระกอบกำรตื ่ น ตัว ขึ้ น ว่ ำ เรื ่ อ ง ของกำรออกแบบสำมำรถช่ วยเขำ ได้ แต่ปัญหำก็คือเรื ่องงบประมำณ แ ล ะ ก ำ ร ล ง ทุ น โ ด ย เ ฉ พ ำ ะ ผู้ป ระกอบกำรรำยเล็ ก ๆ รวมถึ ง ควรมี มุ ม มองที ่ เ ปิ ดกว้ ำ ง ศึ ก ษำ คู่แข่ งเพื ่อเข้ำใจธุรกิ จและยอมรับ พร้อมทีจ่ ะปรับตัวให้เท่ำทัน”

ขอบคุณภาพจาก บริษัท ยอดคอร์ ปอเรชัน่ จากัด

4 ั ฑ์รักษ์ โลก ธุรกิจบรรจุภณ (Green Packaging)

เข้ าถึงข้ อมูลได้ ที่ บริ ษัท ยอด คอร์ ปอเรชัน่ จากัด Website : www.yodcorporation.com

161


ขอบคุณภาพจาก คุณดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการออกแบบอาหาร (Food Stylist)


5

นั ก อ อ ก แ บ บ อ ำ ห ำ ร (Food Stylist) 163


ธุ รกิจนั กออกแบบอำหำร หมายถึง บุคคลที่ทา หน้ าที่ออกแบบตกแต่งอาหาร จัดวางองค์ประกอบ ของอาหารให้ ดนู า่ รับประทานมากที่สดุ นักออกแบบ อาหารเป็ นอาชี พ ที่ ใ ช้ ความคิ ด สร้ างสรรค์ ตัง้ แต่ กระบวนการคัดสรรวัตถุดิบ เพื่อนามาใช้ กบั อาหารที่ คิ ด ค้ น ขึ น้ รสชาติ แ ละหน้ าตาของอาหาร วิ ธี ก าร บริ โ ภค ตลอดจนถึ ง การจัด วางองค์ ป ระกอบของ อาหารในจานให้ ออกมามี ห น้ าตาสวยงามน่ า รั บ ประทาน ซึ่ ง ต้ อ งอาศัย มุม มองทางด้ า นศิ ล ปะ พร้ อมกับความรู้เรื่ องอาหาร

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

งานออกแบบตกแต่งอาหารสามารถแบ่งตามลักษณะของงานที่ปรากฏ ในธุรกิจอาหารได้ 4 ประเภท คือ

5

 กำรออกแบบตกแต่ งอำหำรส ำหรั บ กำรบริ ห ำร เช่ น การ ออกแบบอาหาร เพื่อนาไปสูข่ นตอนการผลิ ั้ ตเป็ นอาหารให้ บริ การ แก่ผ้ บู ริ โภค  กำรออกแบบตกแต่ งอำหำรสำหรับกำรถ่ ำยภำพ การออกแบบ ประเภทนี จ้ ะให้ ค วามสาคัญกับ รู ปลัก ษณ์ ของอาหารมากกว่า รสชาติ  กำรออกแบบตกแต่ งอำหำรสำหรั บโฆษณำและแฟชั่น เป็ น การออกแบบอาหารโดยคานึงถึงองค์ประกอบอื่นๆ  กำรออกแบบตกแต่ งอำหำรสำหรับอุตสำหกรรมอำหำร 164


กำรออกแบบตกแต่ งอำหำรยัง เป็ นกิ จ กรรมที่ มี ค วามครอบคลุม ระหว่ า งศิ ล ปะการออกแบบและ งานอาหาร ประกอบไปด้ วย

IceDea : Idea in Ice Cream ปรัชญาหลัก คือ การเอาไอเดียไปใส่ในไอศกรี มเพื่อให้ คนกิน ได้ เซอร์ ไพรส์และอมยิ ้ม ไอซ์เดียร้ านไอศครีมแบบมีดีไซน์ เป็ นไอศครีมเจ้ าแรกและเจ้ า เดียวในเมืองไทยที่จบั ไอศครีมมาใส่ศิลปะ เพื่อเอาใจทังคนรั ้ ก ไอศกรีมและคนรักด้ านครีเอทีฟอีกด้ วย (ที่มา: http://www.facebook.com/icedea)

165

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

2.กำรประกอบและตกแต่ ง อำหำร การประกอบอาหาร รับประทานจะมีความแตกต่างจาก กา รประ กอ บอา หารเ พื่ อ ก า ร ถ่ า ยภาพ เพราะมี อ งค์ ป ระกอบ 1.งำนจั ด เตรี ย มวั ต ถุ ดิ บ วั ส ดุ ทางศิลปะและรสชาติที่แตกต่างกัน และอุ ป กรณ์ ท ำอำหำร โดยนัก ซึ่งเป็ นองค์ประกอบที่นกั ออกแบบ ออกแบบต้ อ งให้ ค วามสาคัญ กับ ตกแต่ ง อาหารจะต้ องค านึ ง ถึ ง วัต ถุ ดิ บ และวั ส ดุ ต่ า งๆ ที่ มี สี สัน องค์ประกอบต่างๆ และอาหารที่จะ รูปทรงและรสชาติที่จะมาประกอบ นาไปใช้ ในกิจการต่างๆ เป็ นอาหาร

5


Food Photography Studio สตูดิโอสาหรับงานถ่ายภาพอาหาร ทุ ก ประเภทโดยช่ า งภาพถ่ า ย อ า ห า ร มื อ อ า ชี พ Specialist Food Photographer ที่สามารถ ถ่ า ยทอดรายละเอี ย ดของงาน อาหาร สูภ่ าพถ่ายได้ อย่างลงตัว

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

(ที่มา: www.dcupfoodstudio.com)

3.กำรถ่ ำ ยภำพนิ่ ง ภำพยนตร์ หรื อ วิ ดี ทั ศ น์ อำหำร เป็ นส่ ว น ส าคั ญ ที่ นั ก ออกแบบจะต้ องมี ทักษะการเล็งเห็นภาพที่จะปรากฏ ในภา พถ่ าย หรื อ วี ดี ทั ศ น์ ที่ จ ะ เกิ ด ขึ น้ รู ป ที่ มี สี สัน ควัน ส าหรั บ อาหารร้ อน ไอหรื อหยดน ้าสาหรับ อาหารเย็น 4.กำรนำอำหำรหรื อภำพต่ ำงๆ เหล่ ำนั ้ น ไปออกแบบเป็ นสิ่ ง ต่ ำงๆ งานออกแบบตกแต่งอาหาร จะต้ องมีการนาอาหารไปใช้ บริ การ ในงานต่างๆ เช่น งานจัดเลี ้ยงงาน นิทรรศการหรื อ งานเปิ ดตัวสินค้ า ต่างๆ นอกจากนี ้ต้ องนาภาพไปใช้ ในการออกแบบงานต่ า งๆ เช่ น เมนูอาหาร การตกแต่งร้ าน จัดทา เว็ บ ไซด์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ อ าหาร ต่างๆ

5 166


ให้ เ ข้ ำ ถึ ง แก่ นแท้ ค วำมเป็ น ธรรมชำติ เน้ นควำมเรี ยบง่ ำย คือ ควำมงดงำมที่แท้ จริง ขอบคุณภาพจาก คุณสุทธิพงษ์ สุริยะ (ขาบ) ผู้เชี่ยวชาญด้ านการออกแบบอาหาร (Food Stylist) กรรมการผู้จดั การ บริษัท ขาบสไตล์ จากัด

- สุทธิพงษ์ สุริยะ -


คุ ณ ส ม บั ติ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก ำ ร

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่ ใ น ธุ ร กิ จ อาหารและโภชนาการของอาหาร นั ก อ อ ก แ บ บ อ า ห า ร ค ว ร มี วั ฒ นธรรมการบริ โภคอาหาร คุณสมบัติที่สาคัญ ดังนี ้ ประเภทต่ า งๆ ความสามารถใน การเลือกใช้ ภาชนะและบรรจุภณ ั ฑ์ 1 . ทั ก ษ ะ ด้ ำ น อ ำ ห ำ ร ประเภทต่า งๆ มาบรรจุอ าหารได้ ผู้ ประกอบการควรมี ค วามรู้ ขั น้ อย่า งเหมาะสมกับ ประเภท ชนิ ด พื ้นฐานเกี่ยวกับองค์ประกอบต่างๆ และขนาดของอาหาร เป็ นต้ น ที่เกี่ยวข้ องกับการออกแบบอาหาร อาทิ คุณ สมบัติ ข องวัต ถุดิ บ ที่ จ ะ 2 . ค ว ำ ม คิ ด ส ร้ ำ ง ส ร ร ค์ น ามาผลิ ต เป็ นอาหาร ส่ ว นผสม ผู้ ประกอบการควรมี ไ อเดี ย และ และเครื่ อ งปรุ ง ต่ า งๆ ที่ ส ามารถ ความคิดริ เริ่ มสูก่ ารสร้ างผลิตภาพ บริ โภคร่วมกันได้ คุณค่าทาง ใหม่ๆ ให้ กบั สินค้ าอาหาร ได้ อย่าง

5 168


สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ของการ ออกแบบอาหาร เช่น การออกแบบ อาหารเพื่ อ บริ โ ภค การออกแบบ อาหารเพื่ อ ถ่ า ยภาพหรื อการ ออกแบบเพื่อจัดแสดงอาหาร เป็ น ต้ น เ นื่ อ ง จ า ก ก ร ะ บ ว น ก า ร อ อ ก แ บ บ อ า ห า ร ใ น แ ต่ ล ะ วัตถุประสงค์ล้วนมีความแตกต่าง กั น ใ น ก า ร น า เ ส น อ ค ว า ม คิ ด สร้ างสรรค์ อาทิ อาหารสวยงาม และรสชาติ อ ร่ อ ย (เพื่ อ บริ โ ภค) หรื อ อาหารสวยงามดูมี ชี วิ ต ชี ว า (เพื่อการถ่ายภาพ) เป็ นต้ น

มีความสวยงามและน่ารับประทาน เพียงใด “รสชาติของอาหาร” ยังคง เ ป็ น สิ่ ง ที่ ส า คั ญ ที่ สุ ด ที่ ผู้ประกอบการไม่ควรมองข้ าม เช่น อาหารไทย แม้ จะมีก ารออกแบบ และตกแต่ ง ภาพลัก ษณ์ ใ ห้ ดู น่ า รับประทาน แต่รากฐานและรสชาติ ของอาหาร ยัง ต้ อ งคงความเป็ น ตัวตนของอาหารไทยคงเดิม

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

4.เข้ ำใจตลำดและลูกค้ ำ เข้ าใจ วัต ถุป ระสงค์ แ ละความต้ องการ ของกลุ่ ม ลู ก ค้ าเป้ าหมาย และ ตลาดเป้าหมายของกลุ่มลูกค้ าได้ 3.เข้ ำ ใจอั ต ลั ก ษณ์ ข องอำหำร อย่างชัดเจน การออกแบบและตกแต่งอาหารจะ

5 169


นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

ก ำ ร เ ริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ 1.กำหนดกลุ่มลูกค้ ำ (Customer Segments) ผู้ป ระกอบการอยู่ในธุร กิ จ อาหาร โ ด ย ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ เ ป็ น ก ลุ่ ม ผู้ ประกอบการขนาดกลางและ ขนาดใหญ่ ซึ่ ง เป็ นกลุ่ ม ที่ มี ก าร แข่งขันในธุรกิจอาหารค่อนข้ างสูง โดยกลุ่ ม ลู ก ค้ าอาจแบ่ ง ได้ จาก รู ป แบบความต้ อ งการรั บ บริ ก าร อ อ ก แ บ บ อ า ห า ร เ ช่ น ก า ร ออกแบบตกแต่งอาหารสาหรับการ บ ริ ก า ร ห รื อ ก า ร บ ริ โ ภ ค ก า ร ออกแบบตกแต่งอาหารสาหรับการ ถ่ า ยภาพ การออกแบบตกแต่ ง สาหรับโฆษณาและแฟชัน่ และการ ออกแบบตกแต่ ง อาหารส าหรั บ อุตสาหกรรมอาหาร เป็ นต้ น

2 . คุ ณ ค่ ำ ที่ น ำ เ ส น อ ( Value Propositions) คุณค่าที่นาเสนอจากนักออกแบบ อาหาร ประกอบไปด้ วย  อ ำ ห ำ ร ที่ มี ภ ำ พ ลั ก ษ ณ์ สวยงำม น่ า รั บ ประทาน ถู ก สุขลักษณะ รสชาติอร่อย และคง ความเป็ นตัวตนของอาหารนันๆ ้  กำรสร้ ำงมู ล ค่ ำเพิ่ มให้ กั บ อ า ห า ร ใ น เ ชิ ง พ า ณิ ช ย์ (Commercial Art)  รู ปภำพอำหำรที่ สวยงำม น่ า รั บ ป ร ะ ท า น จ า ก ก า ร อ อ ก แ บ บ อ า ห า ร เ พื่ อ ก า ร ถ่ายภาพ  กำรให้ ค ำปรึ กษำด้ านการ ออกแบบอาหารที่เหมาะสมกับ อาหารที่นาเสนอ

5 170


4.สร้ ำงควำมสัม พันธ์ กับลู กค้ ำ (Customer Relationships) กระบวนการให้ บริ การลูกค้ าตลอด กระบวนการ อาทิ  การให้ ค าปรึ ก ษาทั ง้ ก่ อ นและ หลังการออกแบบอาหาร  การให้ บริ ก ารออกแบบ จัดและ ตกแต่งอาหาร  การส่งมอบชิ ้นงานการออกแบบ อาหาร อาทิ ตัวอาหาร รู ปภาพ หรื อวีดีโอ เป็ นต้ น 5.รำยได้ (Revenue Streams) รายได้ สว่ นใหญ่ของธุรกิจออกแบบ อาหารประกอบไปด้ วย  กำรให้ คำปรึ กษำและแนะนำ ด้ านภาพลักษณ์อาหาร

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

3.ระบุช่องทำง (Channels) ปั จ จุ บัน นัก ออกแบบอาหารส่ว น ใหญ่ ใช้ ช่ องทางในการสื่อสารกับ กลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายผ่านเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ต ทังในรู ้ ปแบบของการ จัด ท าเว็ บ ไซต์ ส่ว นตัว (Website) การสร้ างบล็ อ กเกอร์ (Blogger) ส่วนตัว การสร้ างเพจ (Fan Page) รวมถึ ง การสร้ างเฟซบุ๊ก เป็ นของ ตั ว เอง เพื่ อ น าเสนอผลงานใน รูปแบบของภาพนิ่ง การจัดทาคลิป วีดีโอหรื อยูทปู (You Tube) เพื่อ นาเสนอผลงานของตนเองให้ เป็ นที่ รู้ จักของกลุ่มลูกค้ าเป้าหมายและ บุคคลทัว่ ไป

ขอบคุณภาพจาก คุณดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการออกแบบอาหาร (Food Stylist)

5 171


กำรออกแบบอำหำร ตาม วัต ถุป ระสงค์ ข องลูก ค้ า ทัง้ ใน รูปแบบของชิ ้นงานที่เป็ นภาพนิ่ง และการแสดงการออกแบบ สินค้ า  กำรให้ บริ ก ำรจั ด แสดงกำร อ อ ก แ บ บ อ ำ ห ำ ร ( โ ช ว์ อ อ ก แ บ บ อ า ห า ร ) ซึ่ ง เ ป็ น กิ จ กรรมที่ ผ้ ู ประกอบการใน ธุรกิจอาหารเริ่ มให้ ความสาคัญ กั บ ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ภาพลัก ษณ์ อ าหารโดยอาศั ย ชื่อเสียงของนักออกแบบอาหาร ผ่านกิ จกรรมการออกแบบและ จัด อาหารในรู ป แบบการแสดง ซึ่งกิ จกรรมดังกล่าวถื อเป็ นการ เพิ่มมูลค่าให้ กบั สินค้ าอาหารใน อีกรูปแบบหนึง่ เช่นกัน นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

5

นักออกแบบอาหาร ที่ มีความรู้ ความสามารถในการออกแบบ อาหาร  อุปกรณ์ และเครื่ องมือ (อุปกรณ์ ทาครัว) ที่ใช้ สาหรับการตกแต่ง และจัดอาหาร 

7.กิจกรรมหลัก (Key Activities) ก า ร ส ร้ า ง อั ต ลั ก ษ ณ์ ใ น ก า ร ออกแบบอาหารให้ กับตนเอง เพื่อ นาไปสู่การสร้ างภาพลักษณ์ให้ กับ อาหารผ่ า นการออกแบบอาหาร และส่ ง มอบคุ ณ ค่ า นั น้ ๆ ให้ กั บ ลูก ค้ า ตรงตามวัตถุประสงค์ และ เป็ นไปตามความคาดหวั ง ของ ลูกค้ า เช่น การส่งมอบอาหารเมนู ใหม่ จ ากการออกแบบหน้ าตา อาหาร การเพิ่ม องค์ประกอบหรื อ การจัดวางอาหารในรู ปแบบต่างๆ 6 . ท รั พ ย ำ ก ร ห ลั ก ( Key เป็ นต้ น รวมถึ ง การให้ ค าปรึ ก ษา แ ล ะ ข้ อ แ น ะ น า ต่ า ง ๆ ที่ เ ป็ น Resources) ทรัพยากรหลักของธุรกิจออกแบบ ประโยชน์ตอ่ เจ้ าของสินค้ าอาหาร อ า ห า ร ต้ อ ง ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ประกอบไปด้ วย

172


173

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

8.คู่ ค้ ำ หลั ก ทำ งธุ รกิ จ ( Key  ผู้แทน/บริษัทจำหน่ ำยวัตถุดิบ อำหำร สถานะความเป็ นคู่ค้ า Partnerships) คือ เครื อข่ายพันธมิตรในธุรกิจที่มี คือ การจัดหาวัตถุดิบที่นามาใช้ ความเกี่ ย วข้ อ งหรื อ เชื่ อ มโยงกับ ในการออกแบบอาหาร (ผู้ซื อ้ ) ธุร กิ จ ของผู้ป ระกอบการในธุ ร กิ จ และการรับจ้ างเป็ นพรี เซ็นเตอร์ หรื ออาชีพนักออกแบบอาหาร วัตถุดิบอาหาร (ผู้ให้ บริ การ)  ส ถ ำ บั น ส อ น ท ำ อ ำ ห ำ ร /  ผู้ แทนบริ ษั ท จ ำหน่ ำยวั ส ดุ โ ร ง เ รี ย น ส อ น ท ำ อ ำ ห ำ ร และอุ ป กรณ์ ประกอบกำร สถานะความเป็ นคู่ค้า คือ เป็ นผู้ ทำอำหำร อาทิ อุปกรณ์ทาครัว ถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ ด้ านการ เช่ น มี ด ช้ อ นส้ อ ม เ ป็ นต้ น ออกแบบอาหาร รวมถึงอุปกรณ์และภาชนะบรรจุ อาหาร เช่ น จาน ชาม ถ้ วย  สถำนประกอบกำรต่ ำงๆ อาทิ โรงแรม ภัตตาคาร ธุรกิ จแฟรน เป็ นต้ น ไชส์ สถานะความเป็ นคู่ค้า คื อ  สตู ดิ โ อหรื อธุ รกิ จ บ ริ กำ ร ใ ห้ บ ริ ก า รอ อ ก แ บบ อ า หา ร ถ่ ำยภำพ สถานะความเป็ นคู่ค้า ประเภทต่างๆ คือ สาหรับการออกแบบอาหาร ที่ มี ก ารส่ ง มอบให้ แ ก่ ลูก ค้ า ใน  ธุ ร กิ จ สื่ อสำรมวลชน อาทิ ผู้ ผ ลิ ต สื่ อ ร า ย ก า ร อ า ห า ร รูปแบบไฟล์ภาพประเภทต่างๆ (โทรทัศ น์ ) สถานะความเป็ นคู่ ค้ า คื อ ให้ บ ริ ก ารแสดงเทคนิ ค 9 . โ ค ร ง ส ร้ ำ ง ต้ น ทุ น ( Cost หรื อรูปแบบการออกแบบอาหาร Structure) หรื อการถ่ายทอดองค์ความรู้ ใน การออกแบบอาหารผ่า นธุ ร กิ จ สือ่ สารมวลชน

5


ตั ว อ ย่ า ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ล ง ทุ น ธุ ร กิ จ นั ก อ อ ก แ บ บ อ า ห า ร PROUND Food Stylist (เงินลงทุนเริ่มต้ นประมาณ 70,000 – 150,000 บาท)*

(1) ลงทุนในสินทรัพย์

(2) เงินทุนหมุนเวียน ต้ นทุนคงที่

ต้ นทุนผันแปร

เครื่องมือและ อุปกรณ์ทาครัว

เงินเดือน พนักงานประจา

วัสดุสิ ้นเปลือง

ค่าวางระบบ สาธารณูปโภค

ค่าเช่าสถานที่

วัตถุดิบ

ค่าอินเทอร์ เน็ต

ค่าใช้ จา่ ย สาธารณูปโภค

เครื่องใช้ สานักงาน

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

นักออกแบบ อาหาร

5

หมายเหตุ: 1) *ประมาณการเงินลงทุนเริ่ มต้ นจากธุรกิจขนาดเล็กหรื อธุรกิจเจ้ าของคนเดียว ณ ปี 2556 2) องค์ประกอบโครงสร้ างการลงทุนจะเปลี่ยนไปตามขนาดของธุรกิจและหลักการดาเนินธุรกิจของผู้ประกอบการ

174


มองให้ เห็ น ควำมสวย แม้ ในควำมไม่ สวย - ดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์ -

ขอบคุณภาพจาก คุณดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการออกแบบอาหาร (Food Stylist)


ก ำ ร ส ร้ ำ ง มู ล ค่ ำ เ พิ่ ม ใ ห้ กั บ สิ น ค้ ำ / บ ริ ก ำ ร

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

การสร้ างมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ธุ ร กิ จ อ อ ก แ บ บ อ า ห า ร มี วิ ธี ก า ร ที่ สามารถท าได้ อ ย่ า งหลากหลาย จากรู ปแบบที่แ ตกต่า งกันไปตาม แนวคิดของผู้ประกอบการแต่ละยุค สมัย ในคู่มือฉบับนี ้จะขอนาเสนอ การสร้ างมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ธุ ร กิ จ ออกแบบอาหาร ดังนี ้

ผู้ ป ระกอบกำรในธุ รกิ จ หรื อ อำชี พ นั ก ออกแบบอำหำร ต้ อ ง ส ร้ ำ ง อั ต ลั ก ษ ณ์ ห รื อ ค ว ำ ม เ ป็ น ตั ว ต น ข อ ง นั ก ออกแบบอาหารให้ มี ค วาม เด่ น ชั ด สร้ างความจดจ าใน เอกลัก ษณ์ ที่ ถ่ า ยทอดผ่า นการ ออกแบบอาหาร  ก ำ รส ร้ ำ ง ภ ำ พ ลั ก ษ ณ์ ที่ ดี ให้ กั บ อำหำร สวยงาม น่ า รับประทาน และก่อให้ เกิดมูลค่า เชิ ง พาณิ ช ย์ ไ ด้ (Commercial Art) 

ขอบคุณภาพจาก คุณดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการออกแบบอาหาร (Food Stylist)

5 176


ก ำ ร ข ย ำ ย ธุ ร กิ จ . . อี ก ร ะ ดั บ กั บ ก ำ ร พั ฒ น ำ ธุ ร กิ จ เมนูอ าหาร การออกแบบและ จั ด ท า สิ่ ง พิ ม พ์ อ า ห า ร ก า ร ออกแบบและตกแต่งร้ านอาหาร  กำรให้ บ ริ ก ำรสอนออกแบบ อำหำร

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

การขยายธุ ร กิ จ ออกแบบอาหาร สามารถพัฒ นาหรื อขยายตัว ไปสู่ ธุรกิ จในอนาคตได้ หลากหลายวิธี เช่น  ก ำ ร ใ ห้ บ ริ ก ำ ร อ อ ก แ บ บ อำหำรแบบครบวงจร ก ล่ า ว คื อ น อ ก จ า ก ก า ร ใ ห้ คาแนะนาและให้ คาปรึ กษาด้ าน การสร้ างภาพลักษณ์อาหารแล้ ว ยัง สามารถขยายตัว ไปสู่ธุ ร กิ จ การให้ บ ริ ก ารอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อื่นๆ เช่น การออกแบบ

5 177


นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

ปั จ จั ย แ ห่ ง ค ว ำ ม สำ เ ร็ จ

5

ความสาเร็ จในธุรกิจหรื ออาชีพนัก ออกแบบและจัด วางอาหารต้ อ ง ออกแบบอาหาร ประกอบด้ ว ย 6 ส า ม า ร ถ ส ะ ท้ อ น ถึ ง ร ส ช า ติ ปั จจัยแห่งความสาเร็ จดังนี ้ คุณภาพ และคุณค่าของอาหารที่ ผู้บริ โภคจะได้ รับ และต้ องการที่จะ ้ 1.กำรสร้ ำงอั ต ลั ก ษณ์ ให้ กั บ บริ โภคอาหารนันๆ ตนเอง นักออกแบบต้ องสร้ างอัต ลั ก ษณ์ ใ นการออกแบบอาหาร 3.รสชำติ ของอำหำร สิ่งสำคัญ ให้ กบั ตนเอง มีสไตล์การออกแบบ ของกำรบริโภคอำหำร คือ ความ ที่ บ่ ง บอกถึ ง ตัว ตนความเป็ นนัก อร่ อ ย ดัง นัน้ นอกจากออกแบบ ออกแบบอาหาร เพื่ อ สร้ างการ อาหารให้ มีรูปลักษณ์สวยงามแล้ ว จดจาและสร้ างความแตกต่างจาก อาหารนันๆ ้ ยังต้ องเป็ นอาหารที่มี นักออกแบบอาหารรายอื่นๆ รสชาติ ดี อร่ อ ยและมี คุณ ค่ า ทาง โภชนาการด้ วย 2.ควำมคิ ด สร้ ำงสรรค์ ในกำร ออกแบบอำหำร การใช้ ความคิด 4.เข้ ำใจพฤติ ก รรมและควำม สร้ างสรรค์ ม าประยุก ต์ ใ ช้ ใ นการ ต้ องกำรของลู ก ค้ ำ นอกจาก ออกแบบและนาเสนออาหารให้ มี ความสามารถในการออกแบบ ความโดดเด่ น น่ า สนใจ ตามอัต อาหารแล้ ว นัก ออกแบบอาหาร ลักษณ์ของตนเอง โดยการ ต้ องมีความเข้ าใจในพฤติกรรมของ

178


5 . อ อ ก แ บ บ อ ำ ห ำ ร ไ ด้ ต ำ ม วัต ถุป ระสงค์ การออกแบบและ นาเสนอภาพลักษณ์ อาหารได้ ตรง ตามวัตถุประสงค์ของการออกแบบ อาหารนันๆ ้ เช่น  กำรออกแบบอำหำรเพื่อ กำร บ ริ โ ภ ค ห รื อ เ พื่ อ เ ป็ น เมนู อำหำรใหม่ การออกแบบ อาหารต้ อ งให้ ค วามส าคัญ กับ ภาพลั ก ษณ์ และรสชาติ ข อง อ า ห า ร อ ย่ า ง เ ท่ า เ ที ย ม กั น เนื่องจากอาหารนันๆ ้ จะนาไปสู่ ขัน้ ตอนการผลิ ต และจ าหน่ า ย ให้ แก่ผ้ บู ริ โภค

กำรออกแบบอำหำรเพื่อกำร นำเสนอภำพลักษณ์ เช่น การ การถ่ายภาพนิ่ง ภาพยนตร์ หรื อ วี ดี ทัศ น์ อ าหาร การออกแบบ อาหารนักออกแบบอาหารต้ อ ง ให้ ความสาคัญองค์ประกอบของ อาหารมากกว่ า รสชาติ ข อง อาหาร เช่ น ขนาดของอาหาร รู ปลั ก ษณ์ สี สั น การจั ด วาง อาหาร และองค์ประกอบอื่นๆ ที่ ท าให้ อ าหารนัน้ ๆ ดูมี ชี วิ ต ชี ว า อาทิ ควันสาหรับอาหารร้ อน

6.เป็ นที่ปรึ กษำที่ดี นักออกแบบ อาหารต้ องทาหน้ าที่เป็ นที่ปรึ กษา ให้ กั บ ผู้ ประกอบการในธุ ร กิ จ อาหาร มากกว่าการทาหน้ าที่เป็ น ผู้รับสาร

179

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

ผู้บ ริ โ ภคเป้ าหมายหรื อ ผู้ บริ โ ภค อาหารนันๆ ้ ด้ วย

5


ข้ อ ท้ ำ ท ำ ย 1.กำรออกแบบอำหำรที่ม่ ุงเน้ น แต่ ควำมสวยงำม โดยไม่คานึงถึง รสชาติอาหาร

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

2.ระยะเวลำในกำรได้ รั บ กำร ยอมรั บหรื อมีช่ ือเสียงเป็ นเรื่ องที่ ต้ องใช้ ระยะเวลา อาจส่งผลให้ นกั ออกแบบหน้ าใหม่เกิดความท้ อแท้ และหั น ไปประกอบอาชี พ อื่ น ใน ที่สดุ

5

3.กำรสร้ ำงกำรยอมรั บและ สร้ ำงควำมต้ องกำรด้ ำนกำร อ อ ก แ บ บ อ ำ ห ำ ร ข อ ง ก ลุ่ ม ผู้ ประกอบการขนาดกลางและ ข น า ด ย่ อ ม มี อ ยู่ อ ย่ า ง จ า กั ด เนื่องจากกลุม่ ผู้ประกอบการกลุม่ นี ้ ยั ง ค ง มี ค ว า ม เ ห็ น ว่ า การออกแบบอาหารเป็ นเรื่ องปกติ

180


ดัง นัน้ จึ ง ดูเ หมื อ นว่ า กลุ่ม ลูก ค้ า เป้าหมายของนักออกแบบอาหาร ค่อนข้ างมีจากัด หรื อมีกลุ่มลูกค้ า เป้าหมายน้ อยราย มีขนาดตลาด เล็ ก เกิ น ไป กล่ า วคื อ ผู้ ที่ จ ะใช้ บริ ก ารออกแบบอาหาร คื อ กลุ่ม ผู้ประกอบการรายใหญ่เท่านัน้ จึง ส่ง ผลต่อ ความมั่น ใจในการเข้ า สู่ ธุ ร กิ จ หรื อ อา ชี พนั ก อ อ กแ บบ อาหารของผู้ประกอบการรุ่นใหม่

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

ที่ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ก็ ส า ม า ร ถ ออกแบบอาหารในรู ป แบบต่า งๆ ได้ และไม่เ ห็ น ถึง ความสาคัญ ใน ก า รอ อ ก แ บ บ อ า หา รจ า ก นั ก ออกแบบอาหาร

5 181


กรณี ศึ ก ษำ ธุ ร กิ จ นั ก อ อ ก แ บ บ อ า ห า ร ต้ น แ บ บ

ขอบคุณภาพจาก Dan Taylr ใน www.flickr.com


ขำบสตูดโิ อ

“ศิลปะในการ ปรุงอาหารบนกฎ ธรรมชาติของ อาหาร”

Freelance Food Stylist ... “เลือก-รับ-ปรับ-ใช้ ” คุณดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์


 ข ำ บ ส ตู ดิ โ อ

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

“ให้ เข้ าถึงแก่นแท้ ความเป็ นธรรมชาติ เน้ นความเรี ยบง่าย คือ ความงดงามที่แท้ จริ ง” คุ ณ สุ ทธิ พงษ์ สุ ริ ยะ (ขำบ) ฟู้ดสไตลิสต์ ผ้ ูคร่ าหวอดในวงการ ศิ ล ปะและอาหารมากว่ า 17 ปี ปั จ จุ บัน ด ารงต าแหน่ ง กรรมการ ผู้จัดการ บริ ษัท ขาบสไตล์ จากัด องค์ ก รที่ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า นการสร้ าง ภาพลัก ษณ์ แ ละแบรนดิ ง้ รวมทัง้ งานออกแบบแนวคิ ด คอนเซ็ ป (Concept Designer) ให้ กบั ธุรกิจ อุต สาหกรรมอาหาร ผลงานการ ออกแบบของคุณขาบเป็ นที่ยอมรับ เรื่ องของมาตรฐานสากล ทังสไตล์ ้ การคิดงาน และมององค์ประกอบ อย่ า งรอบด้ านด้ วยความเข้ าใจ และเข้ าถึงแก่น เพราะเคยผ่านงาน

ขอบคุณภาพจาก คุณสุทธิพงษ์ สุริยะ (ขาบ) ผู้เชี่ยวชาญด้ านการออกแบบอาหาร (Food Stylist) กรรมการผู้จดั การ บริษัท ขาบสไตล์ จากัด

5 184


กระบวนการคิดศิลปะในกำรปรุ ง อำหำรบนกฎที่ตัง้ ไว้ อยู่ข้อหนึ่ ง คือ ควำมอร่ อยต้ องมำก่ อนและ อำหำรนั น้ จะต้ องอยู่ภำยใต้ กฎ ธรรมช ำ ติ ข อ ง ก ำ รกิ น เ ช่ น อาหารร้ อนก็ ต้ องกิ น แบบร้ อน อาหารเย็ น ก็ ต้ องกิ น แบบเย็ น ธรรมชาติของอาหารเป็ นอย่างไรก็ ต้ องกิ นแบบนัน้ การหยิบยกอะไร มาใส่กับ อะไร ต้ อ งอยู่ภายใต้ ก ฎ ธรรมชาติ ข องอาหาร โดยใช้ ก าร เ รี ย น รู้ คื อ ว่ า น า วั ต ถุ ดิ บ ส่ว นประกอบทัง้ หมดที่ จะท าเมนู นั ้น ม า ว า ง บ น โ ต๊ ะ แ ล้ ว จ ะ ดู ขาบสตู ดิ โ อ มี จุ ด มุ่ ง หมายเพื่ อ ภาพรวมจากนันค่ ้ อย มาคัดสรรว่า สร้ างมาตรฐานสากลให้ กบั วงการ สีอะไรคู่กับสีอะไร แล้ วหัน่ อย่างไร อาหารไทย โดยเน้ น การน าเสนอ สวยและควรเลือกวัตถุดิบอย่างไร แนวคิดที่เรี ยบง่าย สวยนาน เป็ น ส่วนภาชนะก็จะเป็ นสิ่งที่มารองรับ ความสวยแบบมี ชี วิ ต ชี ว า ใน ให้ ข องที่ ท าสวยขึน้ อี ก สิ่ง เหล่า นี ้ กระบวนการท างานด้ วย กา ร คือความต่อเนื่องของชิน้ งาน อย่ ำ ม อ ง โ จ ท ย์ ร อ บ ด้ า น ลื ม ว่ ำ ศิ ล ป ะ เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ อ ยู่ เพื่อไปสูเ่ ป้าหมายของงาน และมี ในตัวของทุกคนอยู่แล้ ว แต่ เรำ

185

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

หลากหลายบทบาท ทัง้ งานเบือ้ ง หน้ าและเบื อ้ งหลั ง อาทิ เคย ท างานบริ ษั ท โฆษณา ท างาน สิ่ง พิ ม พ์ แ มกกาซี น เป็ นนัก เขี ย น นั ก การตลาด นั ก สร้ างแบรนด์ อ า ห า ร ก ร รม ก า รตั ด สิ น ก า ร ประกวดอาหารและบรรจุ ภัณ ฑ์ อาหาร นักปรุ งอาหาร และส่วนตัว ชื่นชอบศิลปะแนวไลฟ์ สไตล์ ฯลฯ โดยเปิ ดให้ บริ ก ารงานที่ ป รึ ก ษา ด้ านธุรกิจอาหาร อย่างเต็มรู ปแบบ แ ละ ค รบว ง จ รเ กี่ ย ว ธุ รกิ จ สื่ อ โฆษณาและการประชาสัมพันธ์

5


นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

5

มองข้ ำมไปว่ ำมันคืออำหำรที่จะ ทำให้ เรำรู้ สึกอิ่มท้ อง แต่ ควำม จริ ง กำรอิ่ ม ท้ องคื อ กำรท ำให้ ชีวิตมีคุณภำพควบคู่กันไปด้ วย สัง เกตง่ า ยๆ คื อ เทศกาลอาหาร หรื ออะไรก็ ต าม ถ้ าคนไทยลุ ก ขึ น้ มาท างานคนไทยก็ ท าให้ มั น สวยวิ จิ ตรพิ ศ ดารม าก ท าใ ห้ อารมณ์เข้ าถึงได้ ยาก เพราะว่ามัน เป็ นความสวยที่เกินความเป็ นจริ ง ซึง่ ในชีวิตประจาวันแทบจะไม่ค่อย ได้ สั ม ผั ส แต่ ถ้ าเราท าอาหาร ออกมาให้ ค้ นุ เคยกับชีวิตประจาวัน ไม่ ต้ อ งสวยมากแต่ ว่ า การสัม ผัส เข้ าถึงรับรู้ ได้ นนั่ แปลว่า ชีวิตเราจะ ค่ อ ยๆ ซึ ม ธรรมชาติ ข องความ สวยงามเข้ า ไป สุด ท้ ายเราจะตก ผลึ ก เรื่ อ งความคิ ด ว่ า เราจะได้ ความสวยด้ วยธรรมชาติ นั่ น ก็ แปลว่ า ถ้ าเราท าอาหารออกมา ส ว ย ม า ก จ ะ ไ ม่ ก ล้ า กิ น แ ต่ ถ้ า เ ราท า อ า หา รอ อ ก ม า แ ล้ ว ไม่ไปพลิกแพลงจากธรรมชาติของ

วัตถุดิ บ เราจะเข้ า ใจและเราก็ จ ะ แปลงโจทย์ได้ ง่ายขึ ้น หมายความ ว่ า ไม่ ว่ ำจะท ำอะไรก็ ต ำมเรำ ต้ อ ง เ อ ำ ร ำ ก เ ห ง้ ำ ม ำ เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก ำ ร คิ ด เ ส ม อ ใ น ก ร ะ บ ว น ก ำ ร ท ำ ง ำ น ส รุ ป หลักการง่ายๆ ในการทาให้ คนรู้ สกึ และสั ม ผั ส ได้ ว่ า อาหารเป็ นทั ง้ ศาสตร์ และศิ ล ป์ คื อ อย่ า ไปใช้ กระบวนการคิ ด ที่ ซับ ซ้ อ นหรื อ ว่ า มากเกิ นไป คือมองอาหารว่าเป็ น เรื่ องของง่ า ยๆ ยกตั ว อย่ า งคื อ พยายามเข้ าถึ ง ธรรมชาติ ข อง อ า ห า ร อ ย่ า ใ ห้ อ า ห า ร ผ่ า น กระบวนการแปร กระบวนการปรุ ง ที่ มี ขัน้ ตอนยุ่ ง ยาก พยายามกิ น อาหารที่เป็ นวัตถุดิบให้ ได้ มากที่สดุ คือไม่ผา่ นกระบวนการปรุงมาก จะ ทาให้ ได้ เรื่ องของสุข ภาพกลับคื น มา อาหารที่ ไม่ ผ่า นการปรุ ง มาก ความสวยก็ จ ะคงอยู่ ที่ ส าคั ญ คุณค่าของสารอาหารในวัตถุดิบก็ จะไม่สญ ู เสียด้ วย

186


ปั จจัยแห่ งควำมสำเร็จ • ควำมคิดสร้ ำงสรรค์ เน้ นความ เรี ยบง่ า ยคื อ ความงดงามที่ แท้ จริ ง Simply the Best • ควำมรู้ และประสบกำรณ์ ที่ ยาวนานด้ าน Food Stylist • ทั ก ษ ะ แ ล ะ ค ว ำ ม รู้ ด้ ำ น บริ หำรธุ รกิจ ที่ผสมผสานงาน ศิลปะอย่างลงตัว • คุ ณ ภำพงำนที่ น ำเสนอตาม โจทย์ความต้ องการของลูกค้ า • จุ ดประเด็นสร้ ำงควำมแปลก ใหม่ เพื่อให้ ลกู ค้ าเห็นโอกาสใหม่ ทางธุรกิจ • รู ปแบบบริ กำรในการนาเสนอ ความน่าสนใจของอาหารแบบ ครบวงจร

กลุ่มลูกค้ ำ กลุ่ม ลูก ค้ าของขาบสตู ดิ โ อ คื อ บริ ษัทอุตสาหกรรมธุรกิจอาหารใน เมืองไทย ร้ านอาหาร โรงแรม และ ธุรกิจบริ การด้ านต่างๆ ปั ญหำของคนทำธุรกิจอำหำรที่ มัก ประสบ คือ การนาเสนอให้ มี ความน่าสนใจ ซึง่ ปั จจุบนั การแก้ ไข ปั ญหาของบ้ านเรา มักแก้ ไขปั ญหา ให้ กบั ธุรกิจด้ วยนักโฆษณาหรื อนา ฟู้ ดสไตลิ ส ต์ ที่ ไ ม่ มี ทั ก ษะเรื่ อง อาหารมาแก้ ปัญหา

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

เข้ าถึงข้ อมูลได้ ที่ บริ ษัท ขาบสไตล์ จากัด Website : www.karbstyle.com

ขอบคุณภาพจาก คุณสุทธิพงษ์ สุริยะ (ขาบ) ผู้เชี่ยวชาญด้ านการออกแบบอาหาร (Food Stylist) กรรมการผู้จดั การ บริษัท ขาบสไตล์ จากัด

5 187


 Freelance Food Stylist . . . คุ ณ ด ว ง ฤ ท ธิ์ แ ค ล้ ว ป ล อ ด ทุ ก ข์ “ผมรักเรื่ องราวของกับข้ าวกับปลา...เพราะกับข้ าวกับปลาคือส่วนหนึง่ ของชีวิตของผม”

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

การได้ ลงมือ ทาในสิ่งที่ต นรั ก และ รั ก ในสิ่ ง ที่ ต นท านั น้ คุ ณ ค่ า ของ ผลงานจะทาให้ ผ้ คู นที่ได้ เห็นได้ ชื่น ชมสัม ผัส ได้ แต่ คุ ณ ค่ า ที่ เ ด่ น ชั ด กว่านันคื ้ อ การที่เราสามารถหยิบ จับของที่ทุกคนมองข้ าม ดูไร้ ราคา ม า ป รั บ ป รุ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ใ ห้ กลายเป็ นของที่ทุกคนต้ องเหลียว มองนัน้ คุณดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์ Freelance Food Stylist บอกถึง คนรุ่ นใหม่ ห ากสนใจในอาชี พ Food Stylist สามารถทาได้ ไม่ ยากมองโลกในแง่ดี เห็นมุมมองที่

5 188

ขอบคุณภาพจาก คุณดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการออกแบบอาหาร (Food Stylist)


คุณ ดวงฤทธิ์ แคล้ ว ปลอดทุก ข์ มี พื ้นฐานการศึกษาด้ านวัฒนธรรม และโบราณคดี รวมทังเคยเป็ ้ นนัก โบราณคดีและภัณฑารักษ์ ของกรม ศิ ล ปากร ก่ อ นออกมาเป็ นนั ก ออกแบบเรื่ อ งราวให้ พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ แ ล ะ นิ ท ร ร ศ ก า ร ทั ้ ง ใ น แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ผ ล ง า น ที่ ส ร้ า ง ชื่อ คือ “มิวเซียมสยาม” และจาก

189

เมื่อคนเรามีความสุข มีความอิ่มเอมใน ชี วิ ต สภาวะนี จ้ ะสะท้ อ นออกมาเป็ น ผลงานแสนวิเศษได้ เช่น เครื่องใช้ ไม้ สอย ที่เรามี ถ้ วยชามรามไห ผ้ าผ่อนท่อนแพร เครื่ องนุ่งเครื่ องห่มที่น่าอัศจรรย์ในสีสัน รูปทรง รายละเอียดต่างๆ อาหารการกิน ของเรานัน้ ก็จะยิ่งทวี ความหลากหลาย สมัยก่อน ใน South East Asia อาหาร การกิ น ของเราเริ่ ม มาจาก “ข้ าว ปลา เกลือ” เพียง 3 อย่างเท่านัน้ เอง แต่พอ เรามีก ารติ ด ต่อ สื่ อ สาร เกิ ด วัฒ นธรรม ขึน้ มา เรามีความสุขกับการเป็ น การอยู่ เราจึง “เลือก-รั บ-ปรั บ-ใช้ ” วัฒนธรรม อาหารการกิ นของต่า งชาติ เข้ า มา แล้ ว ค่อ ยๆดัด แปลงให้ ถูก ปากต้ อ งลิ น้ ของ ตัวเอง จนกลายเป็ นอาหารที่มีรสชาติ มี การปรุ ง แต่ ง ที่ ห ลากหลาย มี ก ารเติ ม มะพร้ าว น ้าคันจากเนื ้ ้อมะพร้ าวหรือกะทิ พริ ก เครื่ องเทศ เครื่ องแกง เพิ่มนา้ ตาล เพิ่ ม มะนาวเข้ าไป อาหารจึ ง นั บ เป็ น วัฒนธรรมที่ เดิ น ทางผ่า นลิน้ และรสมือ ของแต่ล ะครอบครั ว สืบ ทอดมาจนถึ ง ปั จจุบนั

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

สวยงามในทุก สรรพสิ่ ง “มองให้ เห็นความสวยแม้ ในความไม่สวย” ข้ อนี ้สาคัญมาก ขอให้ ”รัก” ในงาน เพราะพอรั กแล้ วเราจะมีวิ ธีทาให้ งานของเราออกมาดี เ อง อย่า ฝื น ความรู้ สึกเพราะถ้ าฝื น ทาอย่างไร งานก็จะออกมาไม่สวยแน่นอน

5


นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

5

ความประทับ ใจในเรื่ อ งราวของ อาหาร ที่ ได้ ลงมือ เข้ า ครั วกับ คุณ ย่ า มาตั ง้ แต่ วั ย เยาว์ จึ ง ค่ อ ยๆ กลายเป็ นความรั ก ความผู ก พั น ประกอบกับได้ เรี ยนรู้การทาอาหาร จากผู้เชี่ยวชาญด้ านอาหารชาววัง ระดับ ประเทศ อย่า งหม่อ มหลวง เนื่ อ ง นิ ล รั ต น์ หม่ อ มหลวงต่ อ กฤดากร และท่ า นผู้ห ญิ ง บุต รี วี ระไวทยะ จึ ง ได้ หัน มาสนใจด้ า น การออกแบบอาหาร กระทั่ ง ใน ที่สุด ก็ ก ลายเป็ นผู้เชี่ ย วชาญด้ า น อาหารและ Food Stylist ผู้ เชี่ ย วชาญด้ านการออกแบบ อาหารระดับประเทศในทุกวันนีท้ ี่ ส า ม า ร ถ ท า ใ ห้ อ า ห า ร ที่ แ ส น ธรรมดาๆ สามารถกลายเป็ น อาหารจานสวยรสชาติ ระดั บ ชาววังในทันที

มาจากแรงบันดาลใจในการสร้ าง งานบนแนวคิดที่ว่า “กำรมองให้ เห็นควำมงำมของสิ่งที่เรำกำลัง ทำอยู่” ว่าจะน าเสนอในมุม มอง ไ ห น ใ ห้ อ อ ก ม า โ ด ด เ ด่ น แ ล ะ สวยงามที่ สุด และดึ ง เสน่ ห์ ข อง อาหารออกมาให้ ได้ มากที่สดุ และ ที่สาคัญที่สดุ คือ “กำรมองให้ เห็น ควำมสวยแม้ ใ นควำมไม่ ส วย” ให้ ได้ ด้ วยแนวคิดเช่นนี ้จึงเกิดการ ฝึ กฝนตัว เองและศึก ษาเชิ งลึก ใน การพิ จ ารณาความงามในทุ ก แง่มุมของวัตถุดิบ ที่จ ะทาออกมา เป็ นชิ น้ งาน ส ารวจข้ อ ผิ ด พลาด น ามาแก้ ไข ปรั บ ปรุ ง เปิ ดใจให้ กว้ าง เปิ ดโลกทัศน์ให้ กว้ าง ดูงาน ทัง้ ของเมื อ งไทยเราเองและของ ต่างประเทศให้ มากที่สดุ แล้ วนามา ปรับปรุ งต่อยอด จะเป็ นเครื่ องมือ สาคัญสาหรั บอาชีพการออกแบบ การสร้ างสรรค์ ผ ลงานของ คุ ณ อาหารหรื อ Food Stylist ดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์ ทุกครัง้

190


การทาให้ อาหารน่ากิน จึงไม่ได้ อยู่ ปั จจัยแห่ งควำมสำเร็จ ที่ฝีมือการประดิดประดอยอาหาร • ความคิดสร้ างสรรค์ แต่ ส าคั ญ ที่ ก ารเข้ าใจอาหาร • ความรู้ด้านศิลปะ วัตถุดิบหลักของเมนูนนั ้ ๆ และดึง • มีใจรักในงานศิลปะ เอาจุ ด เด่ น ของเมนู นั น้ ออกมา • มีใจรักในการทาอาหาร นาเสนอให้ น่าสนใจ … แต่ไม่ว่า • ความรู้ และประสบการณ์ ง าน อาหารจะถูกจัดวางให้ เย้ ายวนสัก เขี ย นคอลัม น์ อ าหาร และจั ด เพียงใด ความอร่ อยก็ ยังเป็ นสิ่งที่ Styling อาหาร ขาดไม่ได้ อยูด่ ี • มีความมุง่ มัน ่ และการฝึ กฝนที่ดี

นักออกแบบอาหาร (Food Stylist)

เข้ าถึงข้ อมูลได้ ที่ คุณดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์ Freelance Food Stylist https://www.facebook.com/duangrithi.claewplodtook

ขอบคุณภาพจาก คุณดวงฤทธิ์ แคล้ วปลอดทุกข์ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการออกแบบอาหาร (Food Stylist)

5 191


*หมายเหตุ:

หากท่านสนใจและต้ องการทราบข้ อมูลเชิงลึกของ “คู่มือแนวทางและโอกาสในการ เข้ าสูธ่ ุรกิจอาหาร (Pocket Book)” สามารถดาวน์โหลดข้ อมูลได้ ที่ www.okmd.or.th

192


ภำคผนวก 193


194


แหล่ งอุ ป กรณ์ และวั ต ถุ ดิ บ ธุ ร กิ จ บ ริ ก ำ ร ส อ น ทำ อ ำ ห ำ ร ชื่อธุรกิจ

ประเภทสินค้ ำ / บริกำร

แหล่ งสืบค้ นข้ อมูล

SEVENFIVE DISTRIBUTOR

บริ ษัทจาหน่ายอุปกรณ์เครื่ องครัวทุกชนิด

www.sevenfive.co.th

BESTCUP

ร้ านจาหน่ายวัตถุดบิ และอุปกรณ์ที่ใช้ ใน ร้ านอาหาร เครื่ องดื่ม และเบเกอร์ รี่ รวมถึง บริ การออกบูธ

www.bestcup2112. com/?lang=th

ร้ านเล็มมี่

จาหน่ายอุปกรณ์และวัตถุดบิ ทาเบเกอรี่

www.lemmemore.com

บริ ษัท หยกอินเตอร์ เทรด (เชียงใหม่) จากัด

จาหน่าย อุปกรณ์, วัตถุดบิ , บรรจุภณ ั ฑ์, เครื่ องจักรอุตสาหกรรมขนาดเล็กและใหญ่ สาหรับทาเบเกอรี่ อาหารและเครื่ องดื่ม

www.yokinter.com

บริ ษัท วีเจซัพพลาย ยูโรเนชัน่ จากัด

อุปกรณ์เบเกอรี่ แบรนด์คณ ุ ภาพวัตถุดบิ เบเกอรี่ สินค้ าในประเภทอุปกรณ์ไฟฟ้า ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ตา่ งๆ

www.1stopbakery.com

ห้ างหุ้นส่วนจากัด แสงสง่า

จัดจาหน่ายเครื่ องทาอาหารคุณภาพและ อุปกรณ์เบเกอรี่ เครื่ องทาขนมต่างๆ ที่ใช้ ในอุตสาหกรรมอาหาร “ศูนย์รวมเครื่ อง ทาอาหารคุณภาพ”

www.ssfoodmachine .com

ร้ านเกียรติโชคชัย เบเกอร์ มาร์ ท

จาหน่ายอุปกรณ์เบเกอรี่ และเครื่ องดื่มครบ วงจร

www.kccbakermart .com/index.htm

195


ชื่อธุรกิจ สลันดาออแกนิค ฟาร์ ม

ประเภทสินค้ ำ / บริกำร

แหล่ งสืบค้ นข้ อมูล

รับปลูกผักไทยพื ้นบ้ าน โดยรับปลูกผักตาม ออเดอร์ เท่านัน้ จุดเด่นอยู่ที่ “ผักอินทรี ย์ไร้ สารพิษ“ รับปลูกผักไทยพื ้นบ้ าน และปลูก ผักตามออเดอร์ เท่านัน้

www.salandaorganicfa rm.com

ธุ ร กิ จ บ ริ ก ำ ร อ ำ ห ำ ร อ อ น ไ ล น์ ชื่อธุรกิจ

ประเภทสินค้ ำ / บริกำร

แหล่ งสืบค้ นข้ อมูล

บริ ษัท สยามไอทีคลู จากัด

บริ ษัทรับออกแบบเว็บไซต์ ค่าบริ การ ประมาณ 15,000–45,000 บาท

www.rightnowsoft.com

Gz-BanneR

บริ ษัทรับตกแต่งร้ านค้ าออนไลน์ ค่าบริ การ ประมาณ 1,500-3,500 บาท

www.star2bag.com

บริ ษัท ตลาด ดอท คอม จากัด

ฟรี ช้อปปิ ง้ มอลล์ ที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศไทย

www.TARAD.com

บริ ษัท ดีเอฟ มาร์ เก็ต เพลส จากัด

บริ การลงโฆษณาซื ้อ-ขายสินค้ าฟรี

www.dealfish.co.th

การเปิ ด Fan Page บน Facebook

ขายสินค้ าออนไลน์บนเฟสบุ๊ค

www.facebook.com/pa ges/create.php

การเปิ ดร้ านค้ า ออนไลน์บน Instagram

ร้ านค้ าออนไลน์บนอินสตราแกรม

https://instagram.com/ accounts/login/

196


ชื่อธุรกิจ

ประเภทสินค้ ำ / บริกำร

แหล่ งสืบค้ นข้ อมูล

บ้ านขนมลุง

จาหน่ายขนมประเภทเบเกอรี่ ผ่านเว็บไซต์ ของตนเอง

www.ban-lung.com

Cake Decorate

จาหน่ายเค้ ก ผ่านเฟซบุ๊กและ อินสตราแกรม

www.facebook.com/ CakeDecorate

ธุ ร กิ จ บ ริ ก ำ ร จั ด เ ลี ้ ย ง ชื่อธุรกิจ

ประเภทสินค้ ำ / บริกำร

แหล่ งสืบค้ นข้ อมูล

SEVENFIVE DISTRIBUTOR

บริ ษัทจาหน่ายอุปกรณ์เครื่ องครัวทุกชนิด

www.sevenfive.co.th

BESTCUP

ร้ านจาหน่ายวัตถุดบิ และอุปกรณ์ที่ใช้ ใน ร้ านอาหาร เครื่ องดื่ม และเบเกอรี่ รวมถึง บริ การออกบูธ

www.bestcup2112. com/?lang=th

ร้ านเล็มมี่

จาหน่ายอุปกรณ์และวัตถุดบิ ทาเบเกอรี่

www.lemmemore.com

บริ ษัท หยกอินเตอร์ เทรด (เชียงใหม่) จากัด

จาหน่ายอุปกรณ์, วัตถุดบิ , บรรจุภณ ั ฑ์, เครื่ องจักรอุตสาหกรรมขนาดเล็กและใหญ่ สาหรับทาเบเกอรี่ อาหารและเครื่ องดื่ม

www.yokinter.com

บริ ษัท วีเจซัพพลาย ยูโรเนชัน่ จากัด

อุปกรณ์เบเกอรี่ แบรนด์คณ ุ ภาพวัตถุดบิ เบเกอรี่ สินค้ าในประเภทอุปกรณ์ไฟฟ้า ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ตา่ งๆ

www.1stopbakery.com

197


ชื่อธุรกิจ

ประเภทสินค้ ำ / บริกำร

แหล่ งสืบค้ นข้ อมูล

ห้ างหุ้นส่วนจากัด แสงสง่า

จัดจาหน่ายเครื่ องทาอาหารคุณภาพและ อุปกรณ์เบเกอรี่ เครื่ องทาขนมต่างๆ ที่ใช้ ใน อุตสาหกรรมอาหาร “ศูนย์รวมเครื่ อง ทาอาหารคุณภาพ”

www.ssfoodmachine .com

ร้ านเกียรติโชคชัย เบเกอร์ มาร์ ท

จาหน่ายอุปกรณ์เบเกอรี่ และเครื่ องดื่ม ครบวงจร

www.kccbakermart .com/index.htm

สลันดาออแกนิค ฟาร์ ม

รับปลูกผักไทยพื ้นบ้ าน โดยรับปลูกผักตาม ออเดอร์ เท่านัน้ จุดเด่นอยู่ที่ “ผักอินทรี ย์ ไร้ สารพิษ“ รับปลูกผักไทยพื ้นบ้ าน และปลูก ผักตามออเดอร์ เท่านัน้

www.salandaorganic farm.com

ธุ ร กิ จ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ล ก ชื่อธุรกิจ

ประเภทสินค้ ำ / บริกำร

แหล่ งสืบค้ นข้ อมูล

โปรแกรมวาดภาพ สาเร็ จรู ป

โปรแกรมสาเร็ จรูป Adobe Illustrator เป็ น โปรแกรมวาดภาพ (Vector)

www.adobe.com/prod ucts/illustrator.html

โปรแกรมออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ์สาเร็ จรู ป

โปรแกรมสาเร็ จรูป RealVue 3D โปรแกรม ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ 3 มิติ

www.realvue3dpackag er.com

โปรแกรมออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ์สาเร็ จรู ป

โปรแกรมสาเร็ จรูป CAD Packmage ซอฟต์แวร์ การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์สาหรับ กล่องกระดาษลูกฟูกและกล่องกระดาษพับ

www.packmage.com

198


หน่ วยงำนที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล /คำแนะนำ สำหรั บ ผู้ ประกอบกำร SME จ ด ท ะ เ บี ย น จั ด ตั ้ ง ธุ ร กิ จ ชื่อหน่ วยงำน กรมพัฒนาธุรกิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์ • สานักทะเบียนธุรกิจ

• สานักส่งเสริ มพัฒนา ธุรกิจ • สานักพัฒนาผู้ ประกอบธุรกิจ

ข้ อมูลบริกำร

แหล่ งสืบค้ นข้ อมูล / กำรติดต่ อ

บริ การจดทะเบียน และข้ อมูล ธุรกิจ และพัฒนาธุรกิจไทยให้ เข้ มแข็งแข่งขันได้

www.dbd.go.th

ส่วนจดทะเบียนธุรกิจกลาง และ วิเคราะห์การจดทะเบียน

02-5474441

02-5475952 02-5475963-4

จ ด สิ ท ธิ บั ต ร / อ นุ สิ ท ธิ บั ต ร ชื่อหน่ วยงำน

ข้ อมูลบริกำร

แหล่ งสืบค้ นข้ อมูล / กำรติดต่ อ

กรมทรัพย์สนิ ทาง ปั ญญา กระทรวง พาณิชย์

ขันตอนการจดสิ ้ ทธิบตั ร/ อนุสทิ ธิบตั ร

www.ipthailand.go.th 02-5474621-25

กรมส่งเสริ มการค้ า ระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

ส่งเสริ มการส่งออก ขยายตลาด สินค้ าและบริ กาารของไทย ให้ บริ การข้ อมูลทางการค้ า

www.ditp.go.th 02-5077999, 02-5130909

199


ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น ำ ศั ก ย ภ ำ พ ธุ ร กิ จ ชื่อหน่ วยงำน

ข้ อมูลบริกำร

แหล่ งสืบค้ นข้ อมูล / กำรติดต่ อ

สานักงานส่งเสริ ม วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (สสว.)

ส่งเสริ มและพัฒนาวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมของประเทศ

www.sme.go.th 02-2788800

สถาบันพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาด ย่อม กระทรวง อุตสาหกรรม กรมการค้ าภายใน กระทรวงพาณิชย์

พัฒนาผู้ประกอบการรายเดิม และ สร้ างผู้ประกอบการรายใหม่

www.ismed.or.th 02-5644000

ส่งเสริ มพัฒนาการประกอบธุรกิจ การค้ าในประเทศให้ มีการแข่งขัน และมีการค้ าที่เป็ นธรรม กรมส่งเสริ มอุตสาหกรรม เกี่ยวกับธุรกิจ SME ที่ต้องการ กระทรวงอุตสาหกรรม คาปรึกษาเบื ้องต้ นเกี่ยวกับธุรกิจ

www.dit.go.th 02-5076111

สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย

www.fti.or.th 02-3451000

กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน กระทรวงแรงงาน สานักพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ กรม พัฒนาธุรกิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์

ทาหน้ าที่เป็ นตัวแทนผู้ประกอบการ ภาคเอกชนในการประสานนโยบาย และดาเนินการกับรัฐ พัฒนาศักยภาพกาลังแรงงานและ ผู้ประกอบกิจการ เพื่อเป็ นศูนย์สร้ างสรรค์การ ประกอบธุรกิจ E-Commerce Start-Up

200

www.dip.go.th 02-2024414

www.dsd.go.th 02-2451707, 02-2454035 www.dbdmart.com 0-25475959-60


เ ค รื อ ข่ ำ ย ท ำ ง ธุ ร กิ จ ชื่อหน่ วยงำน

ข้ อมูลบริกำร

หอการค้ าไทย และสภา หอการค้ าแห่งประเทศ ไทย สถาบันอาหาร

นาเสนอกรอบยุทธศาสตร์ ทาง ธุรกิจ เพื่อการขับเคลื่อนศักยภาพ การแข่งขันของประเทศ ให้ คาปรึกษาและแนะนาทาง วิชาการด้ านอุตสาหกรรมอาหารแก่ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร ศูนย์รวมข้ อมูลข่าวสารสาหรับ ผู้ประกอบการด้ านอาหารทัว่ ประเทศ

สมาคมผู้ประกอบการ อาหาร

สมาคมผู้ประกอบการ เอสเอ็มอีและธุรกิจ ครัวไทย สมาคมผู้ประกอบการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ไทย

สมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ ไทย

ให้ คาปรึกษาการประกอบวิสาหกิจ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมอาหารทัง้ ภายในและต่างประเทศ และ บริ การข้ อมูลการค้ า การรวมตัวของกลุม่ ผู้ประกอบการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ECommerce) ซึง่ อยู่ภายใต้ โครงการ ICT Alliance กลุม่ E-Commerce ที่จดั ขึ ้นโดยกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ส่งเสริ มการประกอบวิสาหกิจ ประเภทที่เกี่ยวกับหรื อเกี่ยวเนื่อง กับการบรรจุภณ ั ฑ์

201

แหล่ งสืบค้ นข้ อมูล / กำรติดต่ อ www.thaichamber.org 02-6621860-75 www.nfi.or.th 02-8868088 ต่อ 3121, 3118 www.thaiatr.com, www.facebook.com/ สมาคม ผู้ประกอบการอาหาร 034-411560, 034-432788 www.smethaifood.com 02-2799844-5, 02-2798018

www.thaiecommerce.org 080-5816019

www.thaipack.or.th 02-7121995


ส นั บ ส นุ น เ งิ น ทุ น สำ ห รั บ ชื่อหน่ วยงำน ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาด ย่อมแห่งประเทศไทย หรื อ SME BANK

ข้ อมูลบริกำร ส่งเสริ มและพัฒนาธุรกิจขนาด กลางและย่อมควบคูก่ บั การ สนับสนุนเงินทุน

S M E แหล่ งสืบค้ นข้ อมูล / กำรติดต่ อ www.smebank.co.th 02-2653000

ส นั บ ส นุ น ข้ อ มู ล ก ำ ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น ำ ธุ ร กิ จ ส ร้ ำ ง ส ร ร ค์ ชื่อหน่ วยงำน สานักงานบริ หารและ พัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) หรื อ สบร.

ข้ อมูลบริกำร เป็ นองค์กรในการผลักดัน สังคมไทยให้ เป็ นสังคมแห่งการ เรี ยนรู้ และใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ ในการนาเสนอผลงานในรู ปแบบ ต่างๆ เพื่อยกระดับประเทศให้ เป็ น ประเทศชันน ้ าทังในภาคเศรษฐกิ ้ จ อุตสาหกรรม และสังคม

202

แหล่ งสืบค้ นข้ อมูล / กำรติดต่ อ www.okmd.or.th 02-1056500


ตั ว อย่ ำ งโครงสร้ ำง กำรเขี ย นแผนธุ ร กิ จ ให้ ไ ด้ เ งิ น กู้ วิ ธี ก ำ ร เ ขี ย น แ ผ น ธุ ร กิ จ ใ ห้ ไ ด้ เ งิ น กู้ วิ ธี การเขี ย น แผ น ธุ รกิ จให้ ได้ เงิ น กู้ สามารถทาได้ ดงั นี ้ สาหรับหัวข้ อที่ใช้ ในการเขียนโครงการขอ กู้เงิน ต้ องมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ 1. หนั งสือ เสนอขอกู้เ งินกับ สถำบัน กำรเงิน 2. บทสรุ ปผู้บริหำร เป็ นการสรุ ป จากแผนต่ า งๆ ทั ง้ ด้ าน การตลาด การจัด การ การผลิ ต และ การเงิ น เพื่ อ ให้ ทราบถึ ง พั น ธกิ จ ของ องค์กร วัตถุประสงค์และเป้าหมายของ องค์กร พร้ อมทังแผนที ้ ่จะไปสู่เป้าหมาย อย่างย่อๆ ควรจะเขียนเป็ นลาดับสุดท้ าย โดยสรุ ปย่อ มีเนืห้ าที่กระชับ มีป ระเด็ น สาคัญครบถ้ วน 3. ภำพรวมของกิจกำร • ประวั ติ ค วามเป็ นมาของกิ จ การ กล่าวถึงแนวคิดและความเป็ นมา ของกิจการว่าเกิดได้ อย่างไร อะไร คือเป้าหมายในการดาเนินธุรกิจ

สถานที่ ตั ง้ เป็ นที่ ตัง้ ของกิ จ การ หรื อโรงงา น พร้ อมหมายเล ข โทรศัพท์เพื่อติดต่อได้ สะดวก • ผู้ถือหุ้นและผู้บริ หาร/ประสบการณ์ ผู้บ ริ ห าร มี ใ ครบ้ า งเป็ นผู้ร่ ว มทุน จานวนเงิ น ลงทุน ความสามารถ และความช านาญงานของแต่ ละคน • การแสดงโครงสร้ างองค์กรและผัง บริหารองค์กร (ถ้ ามี) • ผลการดาเนินงานในอดีต (ถ้ ามี) 4. วัตถุประสงค์ ท่จี ะขอสินเชื่อ • วงเงิ น สิ น เชื่ อ ที่ ต้ อ งการ โดยแยก เป็ นประเภทของสินเชื่อ เช่น เงินกู้ เงินทุนหมุนเวียน (O/D) • จะนาสินเชื่อที่ขอครั ง้ นี ไ้ ปทาอะไร เช่น เพื่ อซือ้ ที่ ดิ น ปรั บ ปรุ งอาคาร ส ถ า น ที่ ก่ อ ส ร้ า ง อ า ค า ร ซื ้อ เครื่องจักร • เ งื่ อ น ไ ข ที่ ต้ อ ง ก า ร มี อ ะ ไ ร บ้ าง เช่น ระยะเวลาการชาระคืน

203


อัตราดอกเบี ้ย หลัก ประกันที่ เ สนอ รายละเอี ย ด หลักประกัน มูลค่าหลักประกัน 5. ลักษณะและโครงสร้ ำงธุรกิจ • สินค้ าและบริ การมีอะไรบ้ าง • การตลาด การจั ด จ าหน่ า ยใน ประเทศ ต่างจังหวัดหรือกรุงเทพฯ เป็ นสัดส่วนเท่าใด ระยะเวลาการ ให้ เครดิ ต กี่ วั น หรื อ ถ้ าเป็ นการ จาหน่ายต่างประเทศ กลุ่มประเทศ แถบใด วิ ธี ก ารจ าหน่ า ยโดยให้ ลู ก ค้ าเปิ ด L/C หรื อ Open Account ระยะเวลาการให้ เครดิต กี่วนั • ตลาดเป้ าหมายที่ ต้ อ งการขยาย เพิ่ ม ขึ น้ กลุ่ ม ลู ก ค้ า ขนาดของ ตลาด ความต้ อ งการ ภาวะการ ผลิ ต ต าแหน่ง ทางการตลาด กล ยุทธ์และแผนการตลาด • การวิเคราะห์อตุ สาหกรรม • •

คูแ่ ข่ง 6. ลักษณะของโรงงำนและแผนกำร ผลิต • ที่ตงั ้ เนื ้อที่ ผู้ถือกรรมสิทธิ์ • การวางผังโรงงาน นอกอาคาร/ใน อาคาร • เ ค รื่ อ ง จั ก ร อุ ป ก ร ณ์ ก า ร ผ ลิ ต ประสิทธิ ภาพเครื่ องจักร เก่า -ใหม่ แหล่งผลิต • อาคาร สิ่ งก่ อสร้ า งและสานัก งาน เนื ้อที่ถาวรชัว่ คราว เก่า? ใหม่? • ผังการบริ หารในการผลิต • แผนการดาเนินงาน • ก าลัง การผลิ ต ปั จ จุ บัน ผลิ ต เต็ ม กาลังแล้ วหรือยัง • เทคนิ ค การผลิ ต ได้ ม าจากไหน/ กรรมวิธีในการผลิต • แรงงานมีจานวนเท่าใด โครงสร้ าง แรงงานมีสหภาพแรงงานหรือไม่

204


205


“ต่ อยอดไอเดียทำธุรกิจ กับ 5 ธุรกิจสร้ ำงสรรค์ สำขำอำหำร” ภายใต้ โครงการศึกษาวิจยั อุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศกั ยภาพ ในการสร้ างรายได้ และโอกาสในการประกอบอาชีพ สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) Office of Knowledge Management & Development (Public Organization) เขียนและเรียบเรียงโดย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.การดี เลียวไพโรจน์ และคณะ ข้ อมูลการพิมพ์: พิมพ์ครัง้ ที่ 1 จานวน 1,000 เล่ม พิมพ์เผยแพร่ โดย ห้ างหุ้นส่วนจากัด สาวิกาการพิมพ์ เลขที่ 10/40 เซ็นต์หลุยส์ 3 ถนนจันทร์ แขวงทุง่ วัดดอน เขตสาทร กรุงเทพฯ ISBN 978-616-235-194-5


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.