รางวัลไทยสร้างสรรค์ ประจำปี พ.ศ. 2553

Page 1

0.5 cm

14.85 cm

14.85 cm

รางวั ล ไทยสร า งสรรค รางวัลพระราชทานในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี ประจำป พ.ศ. ๒๕๕๓

21 cm

สำนักงานบริหารและพัฒนาองคความร� (องคการมหาชน) ๙๙๙/๙ อาคารดิ ออฟฟศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด ชั้น ๑๗ ถนนพระราม ๑ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กร�งเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทร ๐ ๒๒๖๔ ๕๙๕๘-๙ โทรสาร ๐ ๒๒๖๔ ๕๙๕๐


คำ�นำ�

รางวั ล ไทยสร้ า งสรรค์ รางวัลพระราชทานในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ Thai Creative Awards 2010

คิดแตกต่าง สร้างธุรกิจ

เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) เป็นคำ�ใหม่ที่หลายคนเคยได้ยินและรู้จัก มาก่อนแล้ว แต่ประชาชนส่วนใหญ่อาจยังไม่ค่อยคุ้นหูเท่าไรนัก หลังจากที่รัฐบาลเริ่ม ให้ความสำ�คัญกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เราคงต้องทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการค้า การขาย และการผลิตสินค้าต่างๆ ของประเทศไทยมากขึ้น เพราะเราเป็นเพียงประเทศ เล็กๆ ที่มีประชากร ๖๒ ล้านคน แต่ยังคงค้าขายพึ่งพากับทั่วโลกอยู่ต่อไป จึงไม่อาจ ปฏิเสธทิศทางกระแสโลกได้ โดยเมื่อหันกลับมามองอย่างลึกซึ้ง ก็พบว่า “เศรษฐกิจ สร้างสรรค์” สำ�หรับประเทศไทย ได้เกิดขึ้นมานานแล้ว อยู่คู่กับศิลปวัฒนธรรม และ ภูมปิ ญ ั ญาของท้องถิน่ ไทยทีม่ อี ยูห่ ลากหลาย ปัญหาก็มเี พียงว่า ทีผ่ า่ นมาเรายังไม่สามารถ นำ�มาประยุกต์ต่อยอด หรือสร้างมูลค่าได้อย่างเต็มที่ นิทรรศการรางวัลพระราชทาน “ไทยสร้างสรรค์” ที่สำ�นักงานบริหารและพัฒนา องค์ความรู้ (สบร.) ได้จัดขึ้นนี้ น่าจะเป็นตัวอย่างของการเปิดมุมมองใหม่ได้เป็นอย่างดี และประโยชน์สูงสุดจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ ผู้ชมมีแรงบันดาลใจ สามารถคิดสร้างสรรค์ ผลงานใหม่ๆ ได้จากสิ่งรอบตัว และเริ่มพัฒนาไปสู่หนทางการทำ�ธุรกิจสมัยใหม่ได้มากขึ้น เรือ่ ยๆ เมือ่ นัน้ เศรษฐกิจสร้างสรรค์จงึ จะมีบทบาทขับเคลือ่ นเศรษฐกิจยุคใหม่ของประเทศไทย ได้อย่างยัง่ ยืน โอกาสนี้ ขอขอบคุณท่านที่ปรึกษา ประธานและกรรมการทุกท่านที่มีบทบาทสำ�คัญใน การดำ�เนินงานต่างๆ ให้ส�ำ เร็จลุลว่ งไปด้วยดี พร้อมทัง้ ขอบคุณธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ทร่ี ว่ ม ส่งผลงานเข้าประกวดในครั้งนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รางวัลนี้จะเป็นแรงบันดาลใจให้ เกิดการพัฒนาธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ โดยต่อยอดเพิ่มมูลค่าให้แก่ความคิดสร้างสรรค์ ศิลปวัฒนธรรม และภูมปิ ญ ั ญาของคนไทยต่อไป สำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้


สารบัญ ที่มารางวัลไทยสร้างสรรค์

๐๒

ธุรกิจสร้างสรรค์ที่ได้รับรางวัลพระราชทาน “ไทยสร้างสรรค์” ประจำ�ปี ๒๕๕๓ สาขางานฝีมือและหัตถกรรม

๐๓

ธุรกิจสร้างสรรค์ที่ได้รับรางวัลพระราชทาน “ไทยสร้างสรรค์” ประจำ�ปี ๒๕๕๓ สาขางานออกแบบ

๐๔

ธุรกิจสร้างสรรค์ที่ผ่านเข้ารอบตัดสิน สาขางานฝีมือและหัตถกรรม

๐๕

ธุรกิจสร้างสรรค์ที่ผ่านเข้ารอบตัดสิน สาขางานออกแบบ

๐๖

ภาคผนวก

๐๑ ๐๔

๐๑

ที่มารางวัลไทยสร้างสรรค์

๑๘

๓๒

๔๘

๖๔

สำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) จัดทำ�โครงการ OKMD Creative Awards ขึ้นเพื่อคัดเลือกธุรกิจที่มีผลงานเชิงสร้างสรรค์เข้ารับรางวัล พระราชทาน “ไทยสร้างสรรค์” ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รางวัลดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้ประกอบการทุกระดับ มีความริเริ่มสร้างสรรค์ เกิดความอุตสาหะในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ เชิงสร้างสรรค์ที่เป็นประโยชน์ต่อคนในสังคม รวมทั้งเพื่อขยายแนวคิดเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ ไปยังภาคอุตสาหกรรมต่างๆ

๐๑

๐๑


รางวัล “ไทยสร้างสรรค์” ประจำ�ปี ๒๕๕๓ มี ๖ รางวัล จำ�แนกเป็น ๒ สาขา

สาขางานฝีมือและหัตถกรรม ๓ รางวัล ธุรกิจที่ส่งผลงานเข้ารับการคัดเลือกได้แก่

กิจการการผลิตเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์งานจักสาน ถักทอ เครื่องหนัง ผลิตภัณฑ์ ในครัว เรือนทำ�จากไม้ ดอกไม้ ใบไม้ประดิษฐ์ เซรามิกและเครื่องปั้นดินเผา เครื่องประดับ เพชรพลอยเจียระไนหรือเพชรพลอยร่วง โดยเป็นธุรกิจขนาดย่อมที่มีการจ้างงานไม่ เกิน ๕๐ คน มีสินทรัพย์ถาวรสุทธิไม่เกิน ๕๐ ล้านบาท

รางวัลทีไ่ ด้รบั

• โล่พระราชทาน “ไทยสร้างสรรค์” ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี • ใบเกียรติบัตร • เงินรางวัลๆ ละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท

สาขางานออกแบบ ๓ รางวัล ธุรกิจที่ส่งผลงานเข้ารับการคัดเลือก ได้แก่ บุคคล

กลุม่ บุคคลหรือนิตบิ คุ คลทีด่ �ำ เนินธุรกิจเกีย่ วกับงานออกแบบ ครอบคลุมการผลิตเฟอร์นเิ จอร์ เครื่องครัว เครื่องแก้ว ของเล่นและอื่นๆ โดยไม่จำ�กัดขนาดธุรกิจ ภายใต้หัวเรื่อง การประกวด คือ The Most Innovative Design ซึ่งเน้นกระบวนการคิดสร้างสรรค์ ที่มีแนวคิดไม่เหมือนใคร (Originality)

เกณฑ์การพิจารณามอบรางวัล ประกอบด้วย ๔ มิติ ได้แก่

๑. ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) ๒. ความเป็นไปได้ทางธุรกิจ (Business Opportunity) ศักยภาพในการประกอบธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Business Potentials) ๓. ประโยชน์ใช้สอย (Functionality) ของผลิตภัณฑ์ / คุณภาพ (Quality) ๔. ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม (Social Benefits and Environmental Responsibility) ๐๒

โล่รางวัลพระราชทานในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

๐๓


๐๒

ธุรกิจสร้างสรรค์ที่ได้รับรางวัลพระราชทาน “ไทยสร้างสรรค์” ประจำ�ปี ๒๕๕๓ สาขางานฝีมือและหัตถกรรม


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ได้รับรางวัลสาขางานฝีมือและหัตถกรรม

บริษัท ไทยนำ�โชคเท็กซ์ไทล์ จำ�กัด ผู้ผลิตผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ

๐๗


๒ ๑ - ๒ ผ้าไหมและฝ้ายผสมใยกล้วย ๓

๓ ผ้าฝ้ายที่ปั่นด้วยเครื่องปั่นด้าย “ไทยนำ�โชค”

มีการนำ�วัสดุธรรมชาติเหลือใช้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาพัฒนาผลิตภัณฑ์จนสามารถ ใช้งานได้ดี และมีการวิจยั และพัฒนาเส้นใยจากธรรมชาติและสีธรรมชาติอย่างต่อเนือ่ งโดย คำ�นึงถึงสิง่ แวดล้อมในกระบวนการผลิต ถือเป็นการสร้างนวัตกรรมการทำ�สิง่ ทอทีน่ า่ สนใจ อีกทัง้ ยังมีโอกาสทีจ่ ะพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ ให้ทนั สมัย เพือ่ เพิม่ มูลค่าและขยายช่อง ทางการตลาดในระยะต่อไป

ใบหูกวาง ครัง่ เปลือกกาแฟ บนเส้นใย เส้นด้าย ผ้าผืน และเสือ้ ผ้า รวมทัง้ บริษทั ยังได้ สร้างเครือ่ งปัน่ ด้ายต้นแบบ “ไทยนำ�โชค” ทีม่ จี ดุ เด่น คือ ลักษณะของเส้นด้ายทีผ่ ลิต ออกมามีลกั ษณะและลวดลายพิเศษกว่าการปัน่ ด้วยมือหรือเครือ่ งจักร ทำ�ให้เกิด Texture ทีห่ ลากหลาย มีน�ำ้ หนักเบา และสัมผัสทีน่ มุ่ เหมาะแก่การสวมใส่ อีกทัง้ ยังได้รบั การรับรอง มาตรฐาน ISO 9002 จาก SGS อีกด้วย

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

คุณค่าทีส่ มควรได้รบั รางวัล

ก่อตัง้ เมือ่ ปี ๒๕๓๕ ดำ�เนินกิจการทอผ้า ผลิตและจำ�หน่ายผ้าทอสำ�หรับอุตสาหกรรม เครือ่ งนุง่ ห่ม เคหะ สิง่ ทอ รองเท้า กระเป๋า บรรจุภณ ั ฑ์ ผ้าเคลือบพียแู ละพีวซี ี เป็นต้น บริษทั ให้ความสำ�คัญกับงานวิจยั และพัฒนาเพือ่ ให้ผา้ ทอมีความหลากหลาย (Varieties & Differentiate) มีความริเริม่ สร้างสรรค์ (Creative & Innovative) ตรงกับความต้องการ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ (Dynamic changes & requirement) โดยมีการนำ�วัสดุเหลือใช้ จากธรรมชาติมาปัน่ เป็นเส้นด้ายและทอผ้า มีการวิจยั การย้อมสีธรรมชาติจากใบชา หมาก ๐๘

ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติทเ่ี กิดจากการนำ�วัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติ เช่น ใยกล้วย ใยข่า ใยไผ่ ใยคล้า ใยแฝก มาปัน่ ด้วย เครือ่ งปัน่ ด้าย “ไทยนำ�โชค” แล้วทอจนได้ผา้ ไหมและฝ้ายผสม ใยกล้วย ผ้าที่ใช้ชาและหมากย้อมเส้นด้าย ผ้าย้อมครามและฝ้ายสีธรรมชาติ จึงเป็น การผลิตผ้าทอทีไ่ ม่ตอ้ งผ่านกระบวนการฟอกย้อมทีใ่ ช้ทง้ั สารเคมี สีสงั เคราะห์และพลังงาน ทีใ่ ช้ ในการฟอกย้อม ๐๙


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ได้รับรางวัลสาขางานฝีมือและหัตถกรรม

บริษัท พีคฌาน จำ�กัด

ผู้ผลิตของตกแต่งบ้านจากวัสดุธรรมชาติ เช่น พรม แจกัน ฯลฯ

๑๑


๔ ๑ - ๓ แจกันเชือกปอ, ๔ พรมนวดเท้า

คุณค่าทีส่ มควรได้รบั รางวัล

เป็นผลิตภัณฑ์ทผ่ี สมผสานวัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตกด้วยการนำ�วัสดุจากธรรมชาติ ทีม่ คี ณ ุ ลักษณะแตกต่างกันมาจัดวางองค์ประกอบและใช้ประโยชน์รว่ มกันได้อย่างพอเหมาะ พอดี ถือเป็นรูปแบบการออกแบบและการผลิตทีม่ คี วามแปลกใหม่สวยงาม

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

เป็นกิจการออกแบบ ผลิตและจำ�หน่ายของตกแต่งบ้านจากวัสดุธรรมชาติ เช่น พรม แจกัน ก่อตัง้ เมือ่ ปี ๒๕๕๑ อาศัยแนวคิดการเพิม่ มูลค่าให้วสั ดุทม่ี อี ยูแ่ ล้วแต่ถกู มองข้ามไป โดยใช้ วัสดุปอจากแหล่งธรรมชาติภายในประเทศทัง้ หมด แล้วมาผสมผสานด้วยความคิดสร้างสรรค์ ให้เกิดมุมมองทีต่ า่ งจากเดิม มีการใส่ใจกับกระบวนการผลิตทุกขัน้ ตอน นับตัง้ แต่การคัดเลือก แหล่งวัตถุดิบ การออกแบบ การผลิตและบรรจุภัณฑ์ อีกทั้งยังคำ�นึงถึงความรับผิดชอบ ต่อสิง่ แวดล้อมโดยไม่มกี ารใช้สารเคมีในการผลิตแต่อย่างใด ๑๒

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

ผลิตภัณฑ์พรมนวดเท้าทำ�จากปอและหินมีแรงบันดาลใจภายใต้แนวคิด “สายน้ำ�” ที่มี กระแสน้�ำ ไหลมากระทบกับหิน โดยมีแนวคิดให้เป็นผลิตภัณฑ์นวดเท้า โดยใช้หนิ เป็นตัว กดจุดกระตุ้นระบบประสาทเพื่อให้เกิดการผ่อนคลายของกล้ามเนื้อและการไหลเวียนของ โลหิตในร่างกายดีขึ้น โดยนำ�ปอ หินแม่น้ำ� และสีย้อมมาจากแหล่งธรรมชาติในประเทศ ทัง้ หมด มาใช้เทคนิคการถัก ทอ ขด ให้มคี ณ ุ ภาพคงทน อายุการใช้งานไม่ต�ำ่ กว่า ๑๐ ปี อีกทัง้ ยังมีเอกลักษณ์แตกต่างจากพรมโดยทัว่ ไปทัง้ ในด้านประโยชน์ ใช้สอยและวิธกี ารผลิต นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการจ้างงานในชุมชนและการผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มี ความชำ�นาญเกีย่ วกับปอและการถักทออีกด้วย ๑๓


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ได้รับรางวัลสาขางานฝีมือและหัตถกรรม

ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด กรกต อินเตอร์เนชั่นนอล

ผู้ผลิตโคมไฟลวดลายดอกกุหลาบ, เยอร์บิร่า, อัญชัญ, ลายคลื่น และระฆัง

๑๕


๑ โคมไฟลายดอกอัญชัน ๒ โคมไฟลวดลายดอกเยอบีร่า

คุณค่าทีส่ มควรได้รบั รางวัล

สามารถนำ�เทคนิคโบราณในการทำ�ว่าวมาประยุกต์สร้างสรรค์ ได้อย่างมีคุณค่า สะท้อน ทักษะในงานจักสานได้อย่างสวยงาม รูปแบบมีความเป็นสากล เป็นธุรกิจทีม่ พี ฒ ั นาการ อย่างต่อเนือ่ ง มีศกั ยภาพทางการตลาดสูง สามารถขยายตลาดในกลุม่ ลูกค้าต่างประเทศ และนำ�รายได้เข้าประเทศ

บ้านเกิดโดยใช้ระบบบริหารจัดการอย่างอุตสาหกรรม ทำ�ให้สามารถผลิตผลงานครั้งละ มากๆ ได้ ในขณะทีร่ ปู ลักษณ์ของสินค้ามีลกั ษณะเฉพาะตัวสูงแต่มลี กั ษณะเป็นสากล ทำ�ให้ เป็นทีต่ อ้ งการจากผูบ้ ริโภค ประกอบกับใช้วตั ถุดบิ และแรงงานภายในท้องถิน่ ทำ�ให้ตน้ ทุน การผลิตต่�ำ ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ของกรกตมีศกั ยภาพทางการตลาดสูงมาก

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

ดำ�เนินธุรกิจภายใต้แบรนด์ “กรกต” ก่อตัง้ เมือ่ ปี ๒๕๔๙ โดยผลิตผลงานประติมากรรม งานตกแต่งสถานทีแ่ ละสินค้าตกแต่งบ้านทีท่ �ำ จากไม้ไผ่ โดยในปัจจุบนั สร้างงานในลักษณะ ๑) ผลิตภัณฑ์ชน้ิ เล็กๆ สำ�หรับตกแต่งบ้าน เช่น โคมไฟ ถาดวางของ ซึง่ เป็นแหล่งสร้าง รายได้ส�ำ หรับใช้หมุนเวียนในกิจการ ๒) งานตกแต่งสถานที่ โดยรับทำ�ตามคำ�สัง่ และ ๓) งานประติมากรรม โดยผลิตปีละ ๑ ชุด กระบวนการผลิตใช้ศกั ยภาพของคนในท้องถิน่ ทีม่ ที กั ษะด้านต่างๆ มารวมกัน ทำ�ให้เกิดการกระจายงานและสร้างรายได้ ให้แก่ผเู้ ฒ่าผูแ้ ก่ ในหมูบ่ า้ น นับเป็นการเปลีย่ นธุรกิจหัตถกรรมธรรมดาสูธ่ รุ กิจ “หัตถอุตสาหกรรม” ซึง่ ช่วยเพิม่ มูลค่าแก่ภมู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และสร้างอาชีพแก่ชมุ ชน รวมทัง้ เสริมสร้างจุดแข็งของ ๑๖

ผลงานโคมไฟไม้ไผ่ถกู สร้างเป็นรูปทรงเหมือนดอกไม้ทโ่ี ปร่งแสง โดยมีคณ ุ ลักษณะเด่นคือ เอารูปแบบการมัดผูกของว่าวไทยมาทำ�ให้สินค้ามีความแข็งแรง โดยใช้การวิเคราะห์ การขึน้ โครงสร้างของเครือ่ งจักสานไทย แล้วนำ�รูปแบบของการทำ�ศิลปะ ประติมากรรม มารวมเข้าด้วยกัน วัตถุดบิ เป็นไผ่สสี กุ ทีข่ น้ึ อยูต่ ามลุม่ น้�ำ เพชรบุรี ซึง่ มีความยืดหยุน่ สูง ใช้เทคนิคเหลามือแบบว่าวไทย โดยอาศัยแรงบันดาลใจจากธรรมชาติและจากการสังเกต การมัดว่าวจุฬาของบรรพบุรษุ ผสมผสานกับรูปทรงจากดอกไม้และของทีพ่ บเห็นอยูท่ ว่ั ไป เช่น ระฆัง มาออกแบบและสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความอ่อนช้อย งดงาม แต่มี ความแข็งแรงทนทาน ๑๗


๐๓

ธุรกิจสร้างสรรค์ที่ได้รับรางวัลพระราชทาน “ไทยสร้างสรรค์”ประจำ�ปี ๒๕๕๓ สาขางานออกแบบ


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ได้รับรางวัลสาขางานออกแบบ

บริษัท ไวเบรโต จำ�กัด

ผูผ้ ลิตเครือ่ งดนตรีอลั โต้แซกโซโฟน (Alto Saxophone)

๒๑


๓ ๑ - ๓ Alto Saxophone

อัลโต้แซกโซโฟนที่ออกแบบมาให้มีคุณสมบัติกันน้ำ�

มีการวิจัยและพัฒนา และใช้นวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ด้วยการนำ�วัสดุโพลิเมอร์มาใช้ ในการผลิตเครือ่ งดนตรีอย่างไม่มใี ครเคยทำ�มาก่อน ทำ�ให้สามารถผลิตเป็นจำ�นวนมาก เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าเฉพาะกลุ่มได้ (Mass-customization) และ ขณะเดียวกัน มีความเป็นไปได้ทางธุรกิจสูงเพราะมีศักยภาพในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และอาศัยช่องว่างทางตลาดเดิมทีม่ รี าคาแพงและทำ�ยาก อีกทัง้ ยังเป็นประโยชน์ตอ่ สังคม เพราะช่วยให้เยาวชนและผูส้ นใจทัว่ ไปเข้าถึงเครือ่ งดนตรีทม่ี รี าคาถูกลงได้มากขึน้

ในตลาด อีกทัง้ ยังเป็นเครือ่ งดนตรีทต่ี ลาดมีความต้องการอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ตลาดภายใน และต่างประเทศ โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา ญีป่ นุ่ เยอรมนีและอังกฤษ จึงมี โอกาสทางการตลาดอีกมาก

คุณค่าทีส่ มควรได้รบั รางวัล

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

ก่อตัง้ เมือ่ ปี ๒๕๔๙ นับเป็นผูผ้ ลิตแซกโซโฟนรายแรกของประเทศไทย และเป็นครัง้ แรก ของโลกทีม่ กี ารเปลีย่ นวัสดุในการทำ�จากทองเหลืองมาเป็นโพลิเมอร์ได้ส�ำ เร็จ โดยบริษทั ฯ ได้รับความร่วมมือจากสำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติในการวิจัยจนพัฒนาเป็นแซกโซโฟน ต้นแบบและผ่านการทดสอบจนเป็นทีพ่ อใจ แล้วจึงนำ�ออกจำ�หน่าย กลุม่ เป้าหมายลูกค้าของบริษทั ฯ คือ เด็กและบุคคลทีส่ นใจจะหัดเล่นแซกโซโฟน เพราะ ผูส้ นใจสามารถตัดสินใจซือ้ แซกโซโฟนเพือ่ ใช้ ในการหัดเล่นได้งา่ ย เนือ่ งจากผลิตภัณฑ์มี ราคาถูก มีน�ำ้ หนักเบาใช้งานง่าย มีความทนทานและดูแลรักษาง่ายกว่าแซกโซโฟนทีม่ ี ๒๒

ผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ทไ่ี ด้รบั รางวัล

แซกโซโฟนโดยทั่ว ไปผลิ ต จากทองเหลื อ งและใช้ แ รงงานและฝี มือ คนในการขึ้น รู ป และเชือ่ มชิน้ ส่วนต่างๆ เข้าด้วยกัน ทำ�ให้มรี าคาแพง มีน�ำ้ หนักมากและต้องการการดูแล รักษามากเพราะเป็นวัสดุทส่ี ามารถบุบ ยุบตัวและเป็นรอยขีดข่วนได้งา่ ย จึงเป็นอุปสรรค ต่อผูท้ ส่ี นใจจะฝึกเล่นเครือ่ งดนตรีชนิดนี้ บริษทั ฯ จึงเกิดแรงบันดาลใจให้บริษทั มุง่ มัน่ ที่ จะผลิตแซกโซโฟนที่มีน้ำ�หนักเบาลง ทนทานต่อการใช้งาน มีเสียงเที่ยงตรงเทียบเท่า แซกโซโฟนทองเหลืองและมีราคาถูกลง อัลโต้แซกโซโฟนทีผ่ ลิตขึน้ ใช้พลาสติกประเภท โพลิคาบอร์เนตและเอบีเอสในการขึ้นรูปด้วยวิธีฉีดเข้าแม่พิมพ์ตามที่ออกแบบไว้ โดยวิธี ดังกล่าวทำ�ให้ได้แซกโซโฟนทีม่ นี �ำ้ หนักเบากว่าเดิม (๐.๘ กิโลกรัม ในขณะทีแ่ ซกโซโฟน ทองเหลืองมีน�ำ้ หนัก ๒.๕ กิโลกรัม) และมีราคาถูกกว่าถึง ๖ เท่า แต่มคี วามเทีย่ งตรง ของตัวโน้ตและเป็นแซกโซโฟนพืน้ ฐานทีผ่ สู้ นใจสามารถหาซือ้ ได้งา่ ย และส่งเสริมให้เด็ก เล็กสามารถฝึกหัดโดยไม่ตอ้ งรอให้ โตพอทีจ่ ะแบกรับน้�ำ หนักของแซกโซโฟนได้ ๒๓


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ได้รับรางวัลสาขางานออกแบบ

บริษัท บาธรูม ดีไซน์ จำ�กัด ผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์ ในห้องน้ำ�

๒๕


๑ ๒ ๑ - ๒ I-Tube Flexible Faucet

สุขภัณฑ์รุ่น Ohh! Myy! Godd!

เป็นแบบอย่างของการใช้จินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามา พัฒนาวัสดุการผลิตและประโยชน์ ใช้สอยให้ผสมผสานอย่างลงตัว ทำ�ให้ผลิตภัณฑ์มี ความสวยงาม ทันสมัย น่าใช้ สร้างความแตกต่าง และในเชิงธุรกิจมีการศึกษาความ ต้องการของผู้บริโภคและสามารถสร้างสรรค์งานให้ตอบสนองผู้ ใช้ ในกลุ่มเป้าหมาย เฉพาะได้อย่างชัดเจน ทำ�ให้เกิดมูลค่าเพิม่ ทางธุรกิจและนำ�ไปสูก่ ารยอมรับในระดับสากล ขณะเดียวกัน เป็นผลิตภัณฑ์ประหยัดน้�ำ ทีค่ �ำ นึงถึงการรักษาสิง่ แวดล้อมด้วย นอกจากนี้ ยังได้น�ำ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ ใช้ ในการบริหารธุรกิจ

จากผูบ้ ริโภค ด้วยแนวคิดการออกแบบใหม่ๆ และมีคณ ุ ภาพเทียบเท่าสินค้าต่างประเทศ ทำ�ให้บริษทั ฯ ก้าวขึน้ เป็นผูน้ �ำ ตลาดมาตลอดระยะเวลากว่า ๑๐ ปีทผ่ี า่ นมาสินค้าของบริษทั ฯ มีความโดดเด่นในเรือ่ งคุณภาพ การออกแบบ และบริการหลังการขาย ในขณะเดียวกัน มีการวิจยั และพัฒนาเพือ่ เลือกตลาดเป้าหมาย โดยบริษทั ฯ ใช้กลยุทธ์ก�ำ หนดเป้าหมาย เป็นระดับกลางและระดับบน รวมถึงกลุ่ม Niche Market ที่มีความต้องการเฉพาะตัว โดยเฉพาะกลุ่มที่ให้ความสนใจกับสินค้าเพื่อสุขภาพและสะท้อนเอกลักษณ์ของตนเอง รวมทัง้ มีฟงั ก์ชน่ั การใช้งานทีต่ อบสนองการใช้ชวี ติ ในปัจจุบนั

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

คุณค่าทีส่ มควรได้รบั รางวัล

เริม่ ดำ�เนินกิจการตัง้ แต่ปี ๒๕๓๙ โดยเป็นผูผ้ ลิตและจำ�หน่ายอุปกรณ์เฟอร์นเิ จอร์ในห้องน้�ำ ที่โดดเด่นด้านดีไซน์ คุณภาพและบริการ โดยเริ่มจำ�หน่ายฉากกั้นอาบน้ำ� ตู้อาบน้ำ� ชัน้ วางของอะคริลกิ ในห้องน้�ำ และอ่างอาบน้�ำ ในปี ๒๕๔๔ ซึง่ ได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดี ๒๖

อ่างอาบน้�ำ Nirvana Blue ซึง่ เป็นผลิตภัณฑ์ทส่ี ง่ เข้าประกวดเป็นอ่างอาบน้�ำ ทีแ่ สดงถึง ความลงตัวของการผสมผสานระหว่างการออกแบบและเทคโนโลยีทส่ี นองตอบความต้องการ ของผูบ้ ริโภคได้เป็นอย่างดี ๒๗


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ได้รับรางวัลสาขางานออกแบบ

บริษัท พลาเน็ท 2001 จำ�กัด ผูผ้ ลิตเฟอร์นเิ จอร์

Birdy

๒๙


BIG OCT 07 Mushroom Set M Plash M

คุณค่าทีส่ มควรได้รบั รางวัล

มีความคิดสร้างสรรค์ที่เป็นต้นแบบ (Originality) ที่นำ�เทคนิคด้านการออกแบบมา ต่อยอดงานหัตถกรรม โดยผสมผสานแนวคิดวัฒนธรรมภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และการอนุรกั ษ์ สิง่ แวดล้อมทำ�ให้ของพืน้ บ้านกลายเป็นผลิตภัณฑ์เฟอร์นเิ จอร์รว่ มสมัยทีม่ ปี ระโยชน์ ใช้สอย ลงตัว รวมทัง้ มีการพัฒนาทางธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

ก่อตัง้ เมือ่ ปี ๒๕๔๔ โดยผูป้ ระกอบการเป็นผูอ้ อกแบบ ผลิตและจำ�หน่ายเฟอร์นเิ จอร์เชิง สร้างสรรค์ ภายใต้แนวคิดหลัก “Furniture made on earth, inspired by the universe” ซึ่งหมายถึงการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ท่ีให้ความรู้สึกว่าธรรมชาติได้เข้ามาใกล้ชิดกับชีวิต ของผูค้ นให้มากขึน้ จึงเกิดรูปลักษณ์ทห่ี ลากหลาย และมีการใช้วตั ถุดบิ ธรรมชาติ เช่น หวาย เถาวัลย์ ไม้ ปอ เป็นต้น ในกระบวนการผลิตได้อาศัยบุคลากรและนำ�ภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่นและงานหัตถกรรมพื้นบ้านของไทยมาต่อยอด อีกทั้งยังใช้กระบวนการทำ�งานที่ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ๓๐

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์อาศัยแรงบันดาลใจจากรูปร่าง รูปทรง สี พืน้ ผิว ลีลาและ การดำ�รงอยูข่ องหิน ดิน น้�ำ สัตว์และพืชพรรณนานาชนิดมาใช้ ในการออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ ทีท่ �ำ ให้ผู้ ใช้งานเกิดความรูส้ กึ ใกล้ชดิ กับธรรมชาติ โดยเบาะนัง่ Birdy Outdoor ซึง่ เป็น ผลิตภัณฑ์ท่สี ่งเข้าประกวดเป็นเบาะนั่งใหญ่ท่ที ำ�จากผ้าซาตินที่โอบล้อมด้วยเส้นสายของ เปลือกหวายเส้นกลมอยูภ่ ายนอก ให้ความรูส้ กึ นัง่ สบายและโดดเด่นทัง้ ประโยชน์ ใช้สอย และการออกแบบ โดยเป็นตัวอย่างผลิตภัณฑ์ทแ่ี สดงออกถึงรูปแบบอันอิสระ สือ่ ถึงรูปร่าง ลีลาท่าทางของนกทีก่ �ำ ลังเคลือ่ นไหว โดยมีการนำ�เส้นโค้งมาใช้กบั โครงสร้างและรูปทรง ของชิน้ งาน ๓๑


๐๔

ธุรกิจสร้างสรรค์ที่ผ่านเข้ารอบตัดสิน สาขางานฝีมือและหัตถกรรม


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานฝีมือและหัตถกรรม

ปริญญาผ้าฝ้าย

ผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ : ผ้าทอมือ ผ้าฝ้ายย้อมคราม

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

ก่อตัง้ โดย นายปริญญา - นางสุจนิ ดา บรรลือหาญ ซึง่ เดิมมีบทบาทในฐานะผูน้ �ำ ชุมชน ในการพัฒนาโครงการเข้มแข็งหลายโครงการในเขต อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร ทำ�ให้ ได้รบั รูถ้ งึ ความเดือดร้อนและปัญหาต่างๆ ตัง้ แต่ ระดับต้นน้�ำ -ปลายน้�ำ จึงให้ความสำ�คัญ และหาแนวทางในการผลักดันส่งเสริมให้เกิดรายได้สู่ชุมชนต่อเนื่อง โดยเฉพาะการทอ ผ้าย้อมคราม ผ้าทอมือ ผ้าย้อมสีธรรมชาติ ซึง่ เป็นจุดเด่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของ ชาวภูไท สามารถต่อยอดสืบทอดภูมปิ ญ ั ญาจากรุน่ สูร่ นุ่

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

ประเทศไทยเป็น ๑ ใน ๘ ของประเทศทัว่ โลกทีย่ งั คงมีผเู้ ชีย่ วชาญในการผลิตคราม ซึง่ คุณภาพครามของ อ.พรรณานิคม สกลนคร มีสีสันสดใสและมีรูปแบบเฉพาะตัวของ ชุมชนภูไท เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิน่ ผ้าครามเป็นผ้าฝ้ายทอมือย้อมสีธรรมชาติ ๑๐๐ % ทุกกระบวนการผลิต ได้รับการยอมรับด้านความสวมใส่สบาย ถ่ายเทอากาศได้ดี มี ความนุม่ นวล ไม่ระคายผิว ไม่เกิดไฟฟ้าสถิต ป้องกันรังสียวู ี มีคณ ุ สมบัตทิ างสมุนไพร มีกลิน่ เฉพาะช่วยกันยุง วัตถุดบิ หลักทีใ่ ช้ ในการผลิต ได้แก่ เส้นฝ้ายได้มาจากดอกฝ้ายทีป่ ลูก และเข็นเส้นฝ้ายเอง ส่วนเนื้อครามได้มาจากการปลูกเอง ผลิตเองจากสมาชิกในกลุ่ม เท่านัน้ โดยในกระบวนการย้อมผ้าครามนัน้ ต้องใช้ความเอาใจใส่อย่างมาก ต้องคอยดูแล น้�ำ ด่างในหม้อนิล ซึง่ อาจเกิดเหตุการณ์หม้อนิลเสีย ย้อมสีไม่ตดิ ผ้า เป็นต้น ๓๕


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานฝีมือและหัตถกรรม

อริฏะ

ผู้ผลิตเนคไท

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

เปิดตัวที่ครั้งแรกที่งาน BIFF+BIL 2010 จากการรวมตัวของนักออกแบบ ๒ คน ที่ต้องการนำ�เอาฝีมือและเสน่ห์ความเป็นไทยมาทำ�ให้เกิดมุมมองใหม่ในการตกแต่ง ร่างกายคนเสมือนการสร้างภาพศิลป์เพื่อออกแบบ Fashion Accessories แนวใหม่ที่มี เอกลักษณ์เฉพาะตัว สร้างความเป็นสากลและสามารถใช้รว่ มกับการแต่งกายในยุคปัจจุบนั

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

การออกแบบทีแ่ ปลกใหม่ ทีส่ อดแทรกเรือ่ งราวของไทย สิง่ เก่าและสิง่ ใหม่เช่นภูมปิ ญ ั ญา ไทยกับเทคนิคสมัยใหม่เข้าด้วยกัน นำ�เสนอในผลิตภัณฑ์งานฝีมอื ตกแต่งร่างกายในวิถี ชีวติ ร่วมสมัย โดยวัสดุหลักทัง้ หมดนำ�มาจากธรรมชาติ เช่น สียอ้ ม และบรรจุภณ ั ฑ์ เพือ่ อนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม มีแรงบันดาลใจจากวิถคี วามเป็นไทยและภูมปิ ญ ั ญาของคนไทยโบราณ กระจายตลาดสูก่ ลุม่ ผูต้ อ้ งการรักษาวัฒนธรรมและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม วัสดุทใ่ี ช้เป็น วัสดุธรรมชาติ รวมทัง้ ใช้ฝมี อื ชาวบ้านทำ�ให้เกิดการกระจายรายได้สชู่ มุ ชน ๓๖


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานฝีมือและหัตถกรรม

ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด บัวผัดแฟคทอรี่ ผู้ผลิตหัตถกรรมของตกแต่งบ้าน

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

บัวผัดแฟคทอรี่ เป็นผูผ้ ลิตและส่งออกหัตถกรรมของตกแต่งบ้านตัง้ แต่ปี ๒๕๓๐ ตัง้ อยู่ ที่ จ.เชียงใหม่ สินค้าของบัวผัดจะทำ�มาจากเศษผ้าซึง่ เหลือมาจากโรงงานตัดเย็บ โดยนำ� มาย้อมสีใหม่ เพิม่ มูลค่าด้วยฝีมอื อันประณีต ซึง่ สามารถลดปริมาณของขยะได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้พนักงานในพื้นที่ของบัวผัดเป็นกลุ่มแม่บ้านที่สามารถทำ�งานจากที่บ้านได้ ช่วยรักษาวิถชี วี ติ แบบไทยไปพร้อมกัน ในการผลิตสินค้าจะเน้นเรือ่ งการอนุรกั ษ์ธรรมชาติ และเพิม่ มูลค่าแก่วสั ดุอาศัยการออกแบบเพือ่ ให้ได้อตั ตะลักษณ์เฉพาะตัวและให้ความสำ�คัญ กับการสร้างบรรยากาศในการทำ�งานรวมทัง้ ความเป็นอยูข่ องพนักงาน

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

ผลงานต่างๆ มีการใช้วสั ดุรไี ซเคิล มีการออกแบบทีท่ นั สมัย ตรงความต้องการของลูกค้า และ มีแรงบันดาลใจจากธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ ก้อนหิน ลำ�ธาร ฯลฯ ตัวอย่าง งานหมายเลข “๑” แทนความหมายว่า ที่หนึ่ง ดีที่สุด และ การเริ่มต้น ซึ่งเป็นความหมายที่ดี นำ�มา สร้างสรรค์วิธีการประดิษฐ์เป็นก้อนกรวดเล็กๆ จากเนื้อผ้า โดยวัตถุดิบหลักมาจากวัสดุ เหลือใช้ ในอุตสาหกรรมสิง่ ทอ ทีห่ าง่ายในประเทศ ผ่านการออกแบบและผลิตจากช่างฝีมอื ในท้องถิน่ ผลิตได้คณ ุ ภาพมีอายุการใช้งาน ๑๐ ปีขน้ึ ไป ๓๙


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานฝีมือและหัตถกรรม

บริษทั คอร์เนอร์ 43 เดคคอร์ จำ�กัด ผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

เริ่มประกอบธุรกิจค้าเฟอร์นิเจอร์มาตั้งแต่ราวปี ๒๕๓๐ โดยนำ�หัตถกรรมครัวเรือนมา ทำ�เป็นอุตสาหกรรม คงไว้ซง่ึ ต้นทุนทีไ่ ม่สงู นักแต่มคี ณ ุ ภาพทีไ่ ด้มาตรฐาน จนถึงปัจจุบนั ได้สร้างผลงานเป็นเรือ่ งราวเกีย่ วร้อยกันในแต่ละคอลเลคชัน่ มาแล้ว ๘ ชุด และยังคงคุณภาพ ด้านฝีมอื การสานและประยุกต์ใช้หวายในลักษณะต่างๆ โดยผนวกกับการออกแบบสมัยใหม่ และความเป็นไปได้ ในการผลิต โดยการออกแบบในคอลเลคชั่นนี้ได้แรงบันดาลใจจาก ธรรมชาติ ตลอดจนกระบวนการผลิตไม่สง่ ผลเสียต่อสิง่ แวดล้อม สอดคล้องกับแนวทาง ตลาดในปัจจุบนั

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

เฟอร์นเิ จอร์แต่ละชิน้ เริม่ ต้นจากการดัดหวาย ประกอบโครง และทุกขบวนการผลิตด้วยมือ ของช่างผูช้ �ำ นาญการจากหวายนานกว่า ๒๐ ปี มีการออกแบบเป็นไปตามหลักสรีรศาสตร์ ทำ�ให้นง่ั สบาย วัสดุทใ่ี ช้นน้ั ผ่านกรรมวิธปี อ้ งกันการเกิดมอดและแมลงด้วยเทคโนโลยีท่ี ทันสมัย ตัวอย่างเช่น กลุม่ ทีน่ ง่ั “Anchalee” ในลักษณะ Unit system ทีส่ ามารถจัดวาง ตามลักษณะใดก็ได้ตามความต้องการของผู้ใช้ หรือ “Cremini” ทีน่ �ำ เอาลักษณะเด่นของ เห็ดชนิดต่างๆมาผนวกกับความสามารถของวัสดุธรรมชาติ พัฒนาให้กลายเป็นโคมไฟ ตั้งที่นั่งได้ ๔๐

๒ ๑ Porcini Pendant Lamp, ๒ Cremini Stool


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานฝีมือและหัตถกรรม

ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด บ้านศิลาดล ผู้ผลิตเครื่องเคลือบ

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

เริ่มต้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๓ จ.เชียงใหม่ นำ�เอาหัตถกรรมภูมิปัญญามาเพิ่มคุณค่าในเชิง ท่องเทีย่ วเพือ่ ให้เกิดความยัง่ ยืน สืบสานวัฒนธรรมแบบดัง้ เดิมผ่านทางเครือ่ งปัน้ ดินเผา เคลือบ งานทำ�มือ เน้นเขียนลวดลายสีสนั ทีบ่ ง่ บอกประเพณีศลิ ปวัฒนธรรมไทย ไม่มงุ่ เน้น ทางเทคโนโลยีลำ้�สมัยแต่นำ�เสนอคุณค่าทางประวัติศาสตร์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ผลิตภัณฑ์ ดูแลคุณภาพในขัน้ ตอนการผลิตตัง้ แต่เตรียมดิน ขึน้ รูป สลัก เผา โดยมีชา่ งทีเ่ ป็นคนใน ท้องถิ่นสร้างสรรค์งานโดยมีทักษะจากการฝึกฝนเป็นระยะเวลายาวนาน สร้างรายได้ ให้ คนในชุมชน เน้นพัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้เป็นผูน้ �ำ ในการเครือ่ งเคลือบชัน้ สูง คูเ่ มืองเชียงใหม่

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

เป็นหัตถศิลป์เซรามิกโดยใช้กรรมวิธกี ารผลิตทีเ่ ป็นภูมปิ ญ ั ญาทีเ่ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะของ ชาวล้านนา ไม่มสี ารเคมีในการผลิต ใช้แรงงานช่างฝีมอื ในท้องถิน่ ต่อยอดภูมปิ ญ ั ญาไทย โดยใช้ลวดลายโบราณบวกกับเทคนิคการเขียนสีของช่างที่มีประสบการณ์ ตัวอย่างเช่น “เรือสุพรรณหงส์” เป็นงานประติมากรรมทีส่ ามารถใช้สอยได้ ใช้ลวดลายโบราณของไทย ผสานกับเทคนิคการเขียนสีของช่างที่มีประสบการณ์ ส่วน “แลคเกอร์ศิลาดล” ได้ แรงบันดาลใจมาจากเครือ่ งเขินทีท่ �ำ ด้วยไม้ไผ่แล้วเคลือบแลคเกอร์ โดยการลงรัก ซึง่ การนำ� ยางรักมาผสมผสานกับวัสดุอย่างเคลือบศิลาดล ถือว่าเป็นนวัตกรรมใหม่ในการผลิตศิลาดล ๔๓


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานฝีมือและหัตถกรรม

กลุ่มงานประดิษฐ์จากดินไทย ผู้ผลิตงานประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์จิ๋ว

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

จัดตั้งกลุ่มเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๖ นำ�ดินไทยมาประดิษฐ์ ปั้นแต่งและย่อส่วนแต่งเติมสีสัน ให้ออกมาเหมือนของจริงมากทีส่ ดุ โดยมีชน้ิ งานทีเ่ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพือ่ ถ่ายทอด เรื่องราวและขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมความเป็นอยู่ของไทยให้คงสืบต่อไป โดยทำ�จากงานมือทัง้ หมด ใช้วตั ถุดบิ และแรงงานในชุมชน

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

เป็นงานฝีมอื ประณีตนำ�เสนอเรือ่ งราวของแต่ละชิน้ งานอิงตามวัฒนธรรมความเป็นอยูข่ อง คนไทย ซึง่ ใช้วตั ถุดบิ ในท้องถิน่ และแรงงานในชุมชน ได้แก่ ประเภทกล้วยไม้จวิ๋ ทำ�จำ�หน่าย เป็นชุด ประเภทดอกบัวนำ�มาจัดแจกัน ประเภทผลไม้และขนมไทยๆ จัดใส่เป็นโตก ประเภทอาหารจิว๋ ใส่จาน เป็นต้น ๔๔


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานฝีมือและหัตถกรรม

โฟลว์

ผู้ผลิตเครื่องประดับทำ�จากผ้าไหม

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

เริ่มต้นธุรกิจเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๑ ภายใต้แนวความคิด “Flow to inspire lifestyle by design” โดยเล็งเห็นว่าเครื่องประดับผ้าไหมมีโอกาสเติบโตมาก คู่แข่งน้อย นำ�เสนอ แนวคิดของงานด้วยการออกแบบเป็นลายกราฟฟิคที่สื่อความหมายได้เข้าใจง่าย เน้น การนำ�จุดแข็งด้านการออกแบบมาสร้างแบรนด์ เพราะมีความแตกต่างและพัฒนารูปแบบ ได้อีกมาก ซึ่งมีการค้นคว้า ทดลองทั้งด้านรูปแบบสัดส่วนและการใช้งาน นอกจากนี้ เมือ่ เสร็จแต่ละโปรเจคจะมีเศษทีเ่ หลือจากการตัดทิง้ จะทำ�โปรเจค Eco Jewelry ขึน้ มา คูก่ นั เพือ่ ลดปริมาณขยะให้เหลือน้อยทีส่ ดุ

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

นำ�ผ้าไหมมาออกแบบให้ ใช้งานง่ายใช้ ได้หลายโอกาสและมีความร่วมสมัย เน้นสีสนั ของ ไหมไทย ใช้เทคนิคการผลิตทีผ่ สมระหว่างการเย็บผ้าแบบประณีตและมีการออกแบบให้ สามารถถอดส่วนผ้าไหมออกมาทำ�ความสะอาดหรือเปลี่ยนสีได้ ใช้เศษที่เหลือจากผ้า ม้วนใหญ่หรือเหลือจากการตัดเสือ้ มาทำ�เครือ่ งประดับแทนทีจ่ ะทิง้ ไป ๔๗


๐๕

ธุรกิจสร้างสรรค์ที่ผ่านเข้ารอบตัดสิน สาขางานออกแบบ


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานออกแบบ

บริษัท แอนนิม พิคเจอร์ จำ�กัด

ผู้ผลิตสื่อเสริมทักษะพัฒนากล้ามเนื้อและวิชาการในเด็กเล็ก

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

เป็นบริษัทที่ผลิตและจำ�หน่ายสื่อการศึกษา เริ่มตั้งแต่ปี ๒๕๔๐ โดย เป็นเกมการศึกษา สำ�หรับเด็กอายุ ๑-๑๒ ปี ทั้งในกลุ่มโรงเรียน คุณครู ผู้ปกครอง ทั้งนี้ คุณครูหลายท่าน ได้สมั ผัสถึงประโยชน์ของเกมการศึกษาหลายรูปแบบ และได้น�ำ เอาไปเป็นต้นแบบในการ ใช้ประโยชน์ทางวิชาการ เช่น ชุดการสอนภาษาไทย แบบอ่านสะกดคำ� (หมุนสระ) หรือ ชุดฝึกสร้างคำ�ศัพท์ เพือ่ สอนภาษาอังกฤษ ให้แก่เด็กๆ ปัจจุบนั มีเกมการศึกษากว่า ๓๐๐ รายการวางจำ�หน่ายอยู่ในท้องตลาด

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

เป็นเกมชิ้นเดียว ทำ�ให้ ไม่กระจัดกระจายและง่ายต่อการจัดเก็บ การผลิตมีกระบวนการ สร้างสรรค์ที่มองสิ่งต่างๆ รอบตัว แล้วนำ�มาดัดแปลง คิดใหม่ ออกแบบใหม่ และนำ� วัสดุที่หาได้ ไม่ยากมาประดิษฐ์ต้นแบบก่อน และจึงผลิตออกสู่ตลาด บางชิ้นงานเป็น สื่อเสริมทักษะที่สามารถนำ�ไปเล่นได้มากกว่า ๑ เกม เช่น 4 in 1 และมีประโยชน์ ใน การนำ�ไปใช้งานได้จริง เช่น ทำ�ให้เยาวชนสามารถฝึกออกเสียงภาษาไทย และภาษา อังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๕๐


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานออกแบบ

บริษัท ไมโครเทค โปรดักส์ จำ�กัด ผู้ผลิตโคมไฟตกแต่งบ้าน

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

เจ้าของแบรนด์ TAZANA ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ จากความร่วมมือระหว่างนัก ออกแบบไทย และบริษัทผู้ผลิตแม่พิมพ์และชิ้นส่วนพลาสติก (Microtex) ที่เห็นว่า “การออกแบบ” จะฟืน้ ชีวติ ให้กบั วัสดุและการผลิตพืน้ ๆ ให้กลายมาเป็นโคมไฟทีด่ ตู น่ื ตา โดยแฝงเสน่ห์ทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยลงไป โดยกลุ่มเป้าหมายของบริษัทจะ เป็นผู้ที่นิยมการตกแต่งที่พักด้วยผลิตภัณฑ์แนวดีไซน์

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

มีการใช้เทคนิคต่างๆ เช่น เทคโนโลยี laser cut การขึ้นรูปด้วยมือ และเทคนิคการพับ ซึ่งคล้ายกับการพับกระดาษ เพื่อให้เกิดลวดลายที่แตกต่าง สวยงาม และสร้างสรรค์ มี รูปทรงที่น่าสนใจ งานบางชิ้นเพียงแค่ยกขึ้น สามารถขยายรูปทรงจากแผ่นแบน กลาย มาเป็นโคมไฟได้ด้วยตัวเอง ซึ่งเกิดจากการคิดค้นเส้นที่ตัดด้วย laser-cut อย่างฉลาด สะดวกในการส่งออก ๕๓


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานออกแบบ

บริษัท พราวลาย จำ�กัด

ผู้ผลิตUSB Flash Drive ประดับด้วยเพชร

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

บริษัทเป็นผู้ผลิตและออกแบบเครื่องประดับที่เน้นการออกแบบ โดยได้ค้นคว้าและ พัฒนารูปแบบให้นำ�มาใช้งานได้หลากหลายมากขึ้นด้วยการนำ�ศิลปะไทยโบราณมา ผสมผสานกับโลกแห่งเทคโนโลยี ผลงาน USB Flash Drive อุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ ที่ใช้เก็บข้อมูลสำ�คัญกันอย่างแพร่หลายในยุคปัจจุบัน ได้ถูกนำ�มาออกแบบตกแต่งก่อ ให้เกิดเป็นงานออกแบบร่วมสมัยที่สวยงามและเพิ่มมูลค่าตัวผลิตภัณฑ์ จนเกิดเป็น ชิ้นงาน Flash Drive Jewelry by Proud Line

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

เป็นงานออกแบบที่นำ�ศิลปะไทยมาประยุกต์ ตกแต่งประดับด้วยพลอย สามารถใช้ ประโยชน์ได้หลายรูปแบบ ทัง้ การเก็บรักษาข้อมูล และการนำ�มาสวมใส่รว่ มกับสายสร้อยคอ เกิดเป็นชิ้นเครื่องประดับที่ร่วมสมัย สวมใส่ติดตัวได้ทุกโอกาส เหมาะกับการใช้วิถี ชีวิตของคนในยุคปัจจุบัน ดังนั้น Flash Drive Jewelry By Proud Line จึงเป็น เครื่องประดับร่วมสมัย ที่ผสมผสานอย่างกลมกลืนกับเสน่ห์ของการถมเงิน เป็นการ ดึงอารมณ์ของความล้ำ�ค่าจากอดีตมาประยุกต์ ให้งานมีลักษณะข้ามกาลเวลา รวมทั้ง เป็นการอนุรักษ์หัตถศิลป์ไทยโบราณด้วยฝีมือช่างถมจากภาคใต้ เสริมสร้างรายได้และ ความภาคภูมิใจ ๕๔


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานออกแบบ

เย็นดีไซน์

ผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์และของแต่งบ้าน

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

สองนักออกแบบต่างสาขา วรรัตน์ พัวไพโรจน์ จากคณะสถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และ ศิริลักษณ์ มหาจันทนาภรณ์ จากคณะนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ ได้รวมตัวกันสร้างผลงาน ตัง้ แต่การออกแบบความคิดผลิตภัณฑ์ชน้ิ เล็กๆ จนถึงเฟอร์นิเจอร์ ภายใต้ชื่อ YennDesign สตูดิโอช่างคิด โดยให้ความสำ�คัญกับสิ่ง ใกล้ตัวที่ผู้คนมักหลงลืมและขาดหายในชีวิตปัจจุบัน ตลอดจนนำ�สิ่งของที่มีวัตถุประสงค์ การใช้ที่ต่างกัน แต่มารวมกันเพื่อเกิดการใช้งานแบบใหม่ ตามนิยามของ YennDesign คำ�ว่า “ออกแบบ” หมายความว่า สร้างสรรค์สิ่งใหม่ แก้ ไขความบกพร่องของสิ่งต่างๆ เพื่อให้เกิดประสบการณ์ ใหม่ในการใช้ชีวิต เกิดรูปแบบการดำ�เนินชีวิตที่สร้างสรรค์

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

นำ�เอาความคิดที่ถูกลืมเลือนไปแล้วใส่เข้าไปในงานออกแบบเพื่อสร้างความผูกพัน ระหว่างมนุษย์กบั ผลิตภัณฑ์ ทำ�ให้ได้งานออกแบบทีเ่ รียบง่าย มีเรือ่ งราว ประโยชน์ ใช้สอย และความฉลาดที่ซ่อนอยู่ในงานออกแบบทุกชิ้น ทำ�ให้ผู้ ใช้มีส่วนสร้างสรรค์การใช้งาน ให้เหมาะกับรูปแบบชีวิตของแต่ละคน ตัวอย่างงาน เช่น “Chang Big” เป็น Bean Bag ที่มี ๔ ขา สามารถใช้งานได้หลายรูปแบบ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และเป็น เครื่องใช้ที่สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ ใช้ ได้ “Yen Yen” เป็นการรวมการใช้ งานระหว่างแม่เหล็กและยาง โดยเส้นยางทำ�จากซิลิโคน ตรงกลางเป็นแม่เหล็กแรงสูง เมือ่ ใช้ยางรัดของก็สามารถนำ�ไปติดตูเ้ ย็นได้ สามารถรับน้�ำ หนักได้ ๒๐๐ กรัม สามารถ ปรับการใช้งานแล้วแต่ผู้ ใช้สอยจะนำ�ไปคิดต่อ ๕๗


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานออกแบบ

บริษัท เอสเธทิค สตูดิโอ จำ�กัด ผู้ผลิตของแต่งบ้าน โคมไฟ เฟอร์นิเจอร์

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นบริษัทออกแบบของแต่งบ้าน และเฟอร์นิเจอร์ สำ�หรับ คนเมืองรุน่ ใหม่ ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ เฟอร์นเิ จอร์ โคมไฟ ของแต่งบ้าน ต่อมามีการขยาย ธุรกิจที่มุ่งเน้นการใช้การออกแบบ และขบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทั้งใน แง่การใช้วัสดุและขบวนการผลิต เพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้าและ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ เริ่ม ๔ การส่งออกผลิตภัณฑ์ ไปในกล่มลูกค้าที่ชื่นชอบงานออกแบบทั่วโลก

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

การออกแบบของ เอสเธทิค สตูดิโอ จะให้ความสำ�คัญกับการประโยชน์ ใช้สอยมาก เป็นพิเศษ โดยผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ จะสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการตั้งวาง ได้ เช่น เก้าอี้ “69” ที่สามารถนั่งได้ทั้ง ๒ ด้านตามต้องการใช้งานของผู้ ใช้ หรือ “Leer Lamp” ที่สามารถปรับเปลี่ยนองศาการใช้งานได้ ฝัง MULTI-CHIP LED ที่ให้ความสว่างสูงและประหยัดพลังงาน สามารถเปิด -ปิดได้ โดยการสัมผัสไม้ซึ่งเป็น เทคโนโลยีระดับสูง ๕๘


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานออกแบบ

บริษัท โอแอนด์เอช ฮันนี่คอมป์เปเปอร์ จำ�กัด

ผู้ผลิต โลงศพ Knock down ทำ�จากกระดาษ

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นผู้ผลิตกระดาษรังผึ้ง ผลิตภัณฑ์ที่เน้นให้ความสำ�คัญต่อ สิง่ แวดล้อม โดยผลิตจากวัตถุดบิ หลัก คือ กระดาษรีไซเคิล รวมทัง้ กาว และเป็นรายแรก ที่มีความคิดริเริ่มวิจัยและพัฒนาแผ่นกระดาษรังผึ้ง สำ�หรับนำ�มาต่อยอดพัฒนาเป็น ผลิตภัณฑ์อื่นๆ อีกมากมาย เช่น พาเลทกระดาษ โลงศพกระดาษ เฟอร์นิเจอร์ และ วัสดุสำ�หรับเป็นโครงสร้างหรือตกแต่งในงานแสดงสินค้า

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

การใช้ ไม้เพื่อทำ�โลงศพ ไม่ว่าจะเป็นการเผาหรือฝังก็ตาม เป็นการสิ้นเปลืองทรัพยากร โดยใช่เหตุ ประกอบกับการรณรงค์เรื่องการลดภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน จึงมีความตั้งใจ จะแก้ปัญหาดังกล่าว โดยได้พัฒนาโลงศพจากกระดาษรังผึ้ง เพื่อทดแทนวัสดุประเภท ไม้ ซึ่งสามารถย่อยสลายได้เร็วกว่า และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สามารถรับน้ำ�หนัก ได้ถึง ๒๐๐ กิโลกรัม รวมทั้งสามารถติดไฟและเผาได้ง่ายกว่า รวมไปถึงช่วยลดการใช้ พลังงาน เนื่องจากกระดาษรังผึ้งสามารถเผาไหม้ ได้หมดภายในเวลา ๑๐ นาที อย่างไรก็ดี บริษทั ฯ ตระหนักดีวา่ ผลิตภัณฑ์ประเภทโลงศพมีผลกระทบโดยตรงทางด้าน จิตใจต่อญาติพี่น้องของผู้ล่วงลับ ดังนั้น จึงให้ความสำ�คัญกับรูปลักษณ์ภายนอก โดย ทำ�ให้มีความใกล้เคียงกับโลงศพไม้มากที่สุด ๖๑


รางวัลพระราชทานไทยสร้างสรรค์ ๒๕๕๓ ธุรกิจที่ผ่านเข้ารอบ สาขางานออกแบบ

บริษัท ซีที เอเซีย โรโบติกส์ จำ�กัด ผู้ผลิต“ดินสอ” หุ่นยนต์บริการอัจฉริยะ

ข้อมูลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นบริษัทซอฟท์แวร์ระดับแนวหน้าของไทย ร่วมกับกลุ่ม วิศวกรไทยด้าน Robotics ที่มีผลงานชนะการประกวดหุ่นยนต์ ในระดับโลกติดต่อ กันถึง ๒ ปี บริษัท จึงได้นำ�ความเชี่ยวชาญของทีมวิศวกรไทยด้านหุ่นยนต์ ซึ่งรวมถึง การออกแบบงานไฟฟ้า งานเครื่องกล มารวมกับความเชี่ยวชาญของทีมวิศวกรคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาหุ่นยนต์รูปแบบต่างๆ เพื่อตอบสนองงานบริการ และงานอุตสาหกรรม

คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

เป็นหุน่ ยนต์คล้ายมนุษย์ตวั แรกทีอ่ อกแบบ ผลิต และมีจ�ำ หน่ายเชิงพาณิชย์ ในประเทศไทย การใช้งานสามารถแสดงผลเป็นภาษาไทยได้ และสามารถใช้งานกับธุรกิจต่างๆ เช่น ธุรกิจร้านอาหารโรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า ๖๒


๐๖ ภาคผนวก

• รายนามคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับรางวัล • บทบาทของ สบร. ในการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ • ที่อยู่ติดต่อผู้ส่งผลงานเข้ารับการคัดเลือกรางวัล


คณะกรรมการคัดเลือกผลงาน สาขางานฝีมือและหัตถกรรม

รายนามคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับรางวัล คณะกรรมการอำ�นวยการจัดประกวด ที่ปรึกษากรรมการ นายนิธิ สถาปิตานนท์ ประธานกรรมการ พลเรือเอกฐนิธ กิตติอำ�พน กรรมการ นายประภากร วทานยกุล ม.ล.ภาวินี สันติศิริ นางสาวมาดดี ตั้งพานิช นางวรรณพร พรประภา นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล กรรมการและเลขานุการ นายอารยะ มาอินทร์

คณะกรรมการคัดเลือกผลงาน สาขางานออกแบบ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ๖๖

นายต่อ สันติศิริ นายประธาน ธีระธาดา รศ.ปิยานันต์ ประสารราชกิจ นายพฤฒิพงษ์ กิจกัญจนาสน์ นายโอภาส ลิมปิอังคนันต์ นายปณิธาน ปวโรฬารวิทยา นายภารวี วงศ์จิรชัย

ประธานกรรมการ นางสุพัตรา ศรีสุข กรรมการ รศ.ดร.อรพินท์ พานทอง ดร.วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ นายณรงค์ เลิศกิตศิริ นายธนเดช กุลปิติวัน นายธีระพงศ์ อุ่นเรือน กรรมการและเลขานุการ นางรุ่งทิวา ศักดิ์วิทย์

คณะกรรมการตัดสิน

รางวัลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ประจำ�ปี ๒๕๕๓ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ

ม.ร.ว.จักรรถ จิตรพงศ์ รศ.เอกชาติ จันอุไรรัตน์ รศ.พิศประไพ สาระศาลิน ผศ.ดร.สมพิศ ฟูสกุล นายถาวร โกอุดมวิทย์ นายฉัตรวิชัย พรหมทัตตเวที ผศ.ดร.น้ำ�ฝน ไล่สัตรูไกล นายกีรติ อัสสกุล นางกอบกาญจน์ สุริยสัตย์ วัฒนวรางกูร นายพิภพ โชควัฒนา นางเมธินี สุวรรณะบุณย์ พลเรือเอกฐนิธ กิตติอำ�พน นายอารยะ มาอินทร์ ๖๗


ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ

เป็นศูนย์กลางในการสร้างและพัฒนา แหล่งความรู้ต้นแบบด้านการ ออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สร้างแรงบันดาลใจ และกระตุ้นให้ คนไทยปลดปล่อยพลังสร้างสรรค์ ส่งเสริม และสร้างสรรค์นวัตกรรม และองค์ความรู้ ใหม่ด้านการออกแบบ รวมทั้งเชื่อมโยงให้เกิดโอกาส ทางธุรกิจแก่ประชาชน และผู้ประกอบการ

สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ

บทบาทของ สบร. ในการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ หน่วยงานภายใน สบร. สำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) : สบร. หรือ Office of Knowledge Management and Development : OKMD สังกัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี มีหน้าทีส่ ง่ เสริมการเรียนรูเ้ พือ่ สร้างสรรค์ภมู ปิ ญ ั ญาของประชาชน โดยผ่านกระบวนการ เรียนรูส้ าธารณะ ประกอบด้วยหน่วยงานภายในทีม่ คี วามเชีย่ วชาญเฉพาะด้าน ๕ หน่วย งาน ดังนี้

สำ�นักงานอุทยานการเรียนรู้

เป็นแหล่งการเรียนรูท้ ม่ี รี ปู แบบ “ห้องสมุดมีชวี ติ ” ทีท่ นั สมัยและเอือ้ อำ�นวย ให้เด็กและเยาวชนมีนิสัยรักการอ่านและมีทกั ษะในการแสวงหาความ รู้และเรียนรู้ ได้อย่างสร้างสรรค์ พร้อมทั้งส่งเสริมให้เยาวชนมีโอกาส พัฒนา แลกเปลีย่ น และแสดงผลงานทีม่ คี วามคิดสร้างสรรค์ ๖๘

รับผิดชอบการบริหารจัดการ มิวเซียมสยาม ซึง่ เป็นพิพธิ ภัณฑ์รปู แบบ ใหม่ทม่ี กี ารถ่ายทอดความรูส้ าขาต่างๆ ผ่านนิทรรศการซึง่ สร้างสรรค์ โดยใช้นวัตกรรมในการเล่าเรื่องราวของชนชาติ วิถีชีวิต ภูมิปัญญา และเศรษฐกิจไทยในรูปแบบมีชีวิต สร้างความรื่นรมย์และจุดประกาย ความอยากรู้ การตัง้ คำ�ถามและปฏิสมั พันธ์ระหว่างนิทรรศการกับผูช้ ม เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้อดีตอย่างมีคุณค่าและสร้างสรรค์ เกิด ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ของประเทศไทย

เป็ น ศู น ย์ ก ลางในจั ด การองค์ ค วามรู้ ให้ เ กิ ด และเพิ่ม มู ล ค่ า ในด้ า น ชีววิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ เพื่อมุ่งสร้างศักยภาพของประเทศให้ โดด เด่นด้วยนวัตกรรมชีววิทยาศาสตร์ ไทยสู่มาตรฐานโลก

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม มีบทบาทหลักในการเสริมหนุน เชื่อมประสานและเพิ่มพลังเครือข่าย ในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมให้เกิดขึ้นในทุกภาคส่วนของสังคม ๖๙


โครงการ OKMD Creative Awards หรือโครงการมอบรางวัลพระราชทาน

๕ โครงการหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของ OKMD โครงการฝึกอบรมหลักสูตรผูบ้ ริหารด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Executive CE)

แก่ผู้บริหารระดับสูงของภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ เผยแพร่แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ให้กระจายสู่ภาคธุรกิจ และสาธารณชน โดยการให้ทักษะความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยวิทยากรจากสถาบันชั้นนำ� ของต่างประเทศและภายในประเทศ การศึกษาดูงานประเทศต้นแบบ รวมทัง้ การประชุม กลุ่มย่อยเพื่อระดมความคิดให้ ได้มาซึ่งข้อเสนอเชิงนโยบาย ในการพัฒนาเศรษฐกิจเชิง สร้างสรรค์สำ�หรับต่อคณะรัฐมนตรี ขณะนี้ดำ�เนินโครงการ (EXCET 1) เรียบร้อยแล้ว และอยู่ในระหว่างการจัดอบรมรุ่นที่ ๒ (EXCET 2)

โครงการพัฒนาและประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ (Creative Economy Website)

โดยสร้าง Community Website ขึน้ ใช้ชอ่ื ว่า www.thailandce.com เพือ่ เพิม่ โอกาส ในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และองค์ความรูท้ ส่ี �ำ คัญและจำ�เป็นเกีย่ วกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ เว็บไซต์หลักที่รวบรวมเนื้อหาเรื่องราวเกี่ยวกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ทั้งใน และต่างประเทศ และจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อส่งเสริมการใช้พื้นที่บนโลกไซเบอร์เพื่อสร้าง การมีส่วนร่วมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน รวมทั้งจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ ในรูป แบบต่างๆ ๗๐

“ไทยสร้างสรรค์” จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ให้แก่ธรุ กิจ สร้างสรรค์

โครงการสร้างสรรค์สญ ั จร (Creative Mobile) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาส

พัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และนำ�ไปผสมผสานกับภูมิปัญญาของท้องถิ่นที่จะ นำ�ไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ต่อไป โดยจัดเป็นแห่งแรก ณ จังหวัด ขอนแก่น ในระหว่างวันที่ ๙ - ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๓ โดยจะมีกิจกรรมหลากหลายทั้งการ เสวนา การแสดงผลงาน และการจัดบูธคลีนิคให้คำ�ปรึกษาในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และธุรกิจเชิงสร้างสรรค์

โครงการเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ดำ�เนินการโดยศูนย์สร้างสรรค์งาน

ออกแบบ ประกอบไปด้วยโครงการ Skill Mapping เพื่อสำ�รวจเขตผู้ประกอบการ สร้างสรรค์ ใน ๖ พื้นที่ (สยามสแควร์ RCA ถนนสุขุมวิทตั้งแต่นานาถึงเอกมัย ตลาดจตุจักร ย่านเยาวราช ย่านสำ�เพ็งและโบ๊เบ๊) มหกรรมเครือข่ายดนตรีกรุงเทพฯ และโครงการงานชุมนุมประจำ�ปี Creativities Unfold Symposium เพือ่ สร้าง บรรยากาศให้เมืองกรุงเทพฯเป็นแหล่งรวมของนักคิดนักสร้างสรรค์จากทั่วโลก นอกจากนี้ ยังมีการจัดรายการ Creative DNA เพือ่ เผยแพร่นกั คิดสร้างสรรค์ชาวไทย ทีป่ ระกอบธุรกิจต่างๆ จำ�นวน ๑๒ ราย แล้วเผยแพร่ออกอากาศทางรายการเจาะใจเป็น ประจำ�ทุกวันพฤหัสบดี ๗๑


ห้างหุน้ ส่วนจำ�กัด บ้านศิลาดล เชียงใหม่

ที่อยู่ติดต่อผู้ส่งผลงานเข้ารับการคัดเลือกรางวัล สาขางานฝีมือและหัตถกรรม หจก กรกต อินเตอร์เนชัน่ นอล

๓๓๕ หมู่ ๑๐ ต.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี ๗๖๑๑๐ โทรศัพท์เคลื่อนที่ : +๖๖๘ ๙๖๙๘ ๗๙๖๓ Email : korakot@korakot.net, kappa76110@yahoo.com, korakot.aromdee@yahoo.com, korakot.aromdee@me.com

บริษทั คอร์เนอร์43 เดคคอร์ จำ�กัด

๖๑/๒ ซอยสุขมุ วิท ๕๓ (ไปดี-มาดี) แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ ๑๐๑๑๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๒๒๖๑ ๒๕๒๘, +๖๖ ๒๒๖๐ ๑๑๒๔ โทรสาร : +๖๖ ๒๒๖๑ ๒๕๒๙ Website : www.corner43.com Email : info@corner43.com, contact@corner43.com

บริษทั ไทยนำ�โชคเท็กซ์ไทล์ จำ�กัด

๙๙ หมู่ ๒ ซ.บางเมฆขาว ต.ท้ายบ้าน อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ ๑๐๒๘๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๒๓๘๙ ๒๓๗๗-๙ โทรสาร : +๖๖ ๒๓๘๗ ๐๘๘๓ ๗๒

๗ หมู่ ๓ ถ.เชียงใหม่-สันกำ�แพง ต.สันกลาง อ.สันกำ�แพง จ.เชียงใหม่ ๕๐๑๓๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๕๓๓๓ ๘๒๘๘, +๖๖ ๕๓๓๘ ๔๘๘๙-๙๐ โทรสาร : +๖๖ ๕๓๓๓ ๘๙๔๐ www.baanceladon.com Email : info@baanceladon.com

หจก.บัวผัดแฟคทอรี่ ๑๓๔ หมู่ ๘ บ้านกอสะเลียม ต.บวกค้าง อ.สันกำ�แพง จ.เชียงใหม่ ๕๐๑๓๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๕๓๔๔ ๖๒๙๑ โทรสาร : +๖๖ ๕๓๔๔ ๖๒๙๓ www.buabhat.com Email : buabhat@loxinfo.co.th

บัวสวรรค์ กลุม่ งานประดิษฐ์จากดินไทย ๒๘/๓ หมู่ ๖ ต.บางคูเวียง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี ๑๑๑๓๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๒๙๒๑ ๔๓๓๑ โทรสาร : +๖๖ ๒๘๓๒ ๕๑๕๕66 Email : warattha_m@hotmail.com

ปริญญาผ้าฝ้าย ๒๓๘ หมู่ ๖ ต.พรรณา อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร ๔๗๑๓๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๔๒๗๗ ๙๐๘๘ โทรสาร : +๖๖ ๔๒๗๗ ๙๐๘๘ www.indigoThai.com, www.otopcluster.com Email : indigo_Thai@hotmail.com/ admin@otopcluster.com ๗๓


สาขางานออกแบบ บริษทั ซีที เอเซีย โรโบติกส์ จำ�กัด

บริษทั พีคฌาน จำ�กัด ๓๙/๓๕๖ ซ.ประชาอุทิศ ๑๒๓ แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ ๑๐๑๔๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๒๘๑๕ ๘๐๖๗ โทรสาร : +๖๖ ๒๘๑๕ ๘๕๒๙ www.peakchandesign.com Email : ambaryhemp@hotmail.com, contact@peakchandesign.com

โฟลว์ ๖/๓๖๖ ซ.บัวทองเคหะ๑ ต.บางบัวทอง อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี ๑๑๑๑๐ โทรศัพท์เคลื่อนที่ : +๖๖๘ ๖๙๗๗ ๘๓๘๑ www.flowornament.com Email : flowornament@hotmail.com

อริฏะ ๗๙ ซ.เทอดไทย๓๓ ดาวคะนอง ธนบุรี กรุงเทพฯ ๑๐๖๐๐ โทรศัพท์เคลื่อนที่ : +๖๖๘ +๘๖๗ ๕๑๓๔ Email : contact.arita@gmail.com ๗๔

๑๔๕ ซ. รามคำ�แหง ๔๘ ถ.รามคำ�แหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ ๑๐๒๔๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๒๗๓๐ ๒๘๙๙ โทรสาร : +๖๖ ๒๗๓๐ ๒๘๒๘ www.ctasia-robotics.com Email : info@ctasia-robotics.com

บริษทั บาธรูมดีไซน์ จำ�กัด ๗๒๙/๑๕๐-๑๕๒ ถ.รัชดาภิเษก แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๒๖๘๓ ๗๓๒๒-๓ โทรสาร : +๖๖ ๒๖๘๒ ๗๓๒๔ www.bathroomtomorrow.com Email : ad_lip@hotmail.com, watchara@ bathroomtomorrow.com

บริษทั พราวลาย จำ�กัด อาคารอัมรินทร์พลาซ่า ห้องเลขที่เอ ๑ ชั้น ๑ ๔๙๖-๕๐๒ ถ.เพลินจิต ลุมพินี ปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๒๒๙๕ ๐๓๓๐ โทรสาร : +๖๖ ๒๒๙๕ ๐๓๒๐ www.proudline.co.th Email: info@proudline.co.th ๗๕


บริษทั พลาเน็ท 2001 จำ�กัด

๗๖๙ ซอย ๔๓/๓๑ ถนนจันทน์ แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๒๖๗๔ ๗๕๖๕ โทรสาร : +๖๖ ๒๖๗๔ ๗๕๖๔ www.planet2001design.com

เย็นดีไซน์

๔๘๖/๑๕๒-๑๕๔ เพชรบุรีตัดใหม่ ราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์เคลื่อนที่ : +๖๖๘ ๙๑๓๗ ๖๕๒๖, +๖๖๘ ๙๑๓๑ ๕๕๑๒ โทรสาร : +๖๖ ๒๒๑๕ ๐๕๙๗ www.yenndesign.com email: yenndesign@yahoo.com, yenndesign@gmail.com

บริษทั ไวเบรโต จำ�กัด

๑๑/๒๔๘ หมูบ่ า้ นธันธวัช ๕ ซ.วัชรพล ถ.รามอินทรา ท่าแร้ง บางเขน กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๒๕๑๙ ๗๖๐๓ โทรสาร : +๖๖ ๒๕๑๙ ๗๕๕๖ www.vibratosax.com Email : info@vibratosax.com

บริษทั แอนนิม พิคเจอร์ จำ�กัด

๑๔/๑๓๖ หมู่ ๙ ถนนพระราม ๒ แขวงบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพฯ ๑๐๑๕๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๒๔๑๖ +๐๗๓ โทรสาร : +๖๖ ๒๔๑๖ ๔๓๑๔ www.handtoy.com Email : handtoy@hotmail.com

บริษทั โอแอนด์เอช ฮัน่ นี-่ คอมป์เปเปอร์ จำ�กัด

๑๔๗ หมู่ ๗ ต.หนองเหียง อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี ๒๐๑๔๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๓๘๑๖ ๔๐๘๓-๔ โทรสาร : +๖๖ ๓๘๑๖ ๔๐๘๒ www.oandhhoneycombpaper.com Email : anchalee@rungruangcontainer.com

Tazana (บริษทั ไมโครเทค โปรดักส์)

๘๑-๘๑/๑-๓ หมู่ ๒๐ ถนนเทพารักษ์ ต.บางพลีใหญ่ อ.บางพลี สมุทรปราการ ๑๐๕๔๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๒๓๑๒ ๒๔๘๖-๘๗ โทรสาร : +๖๖ ๒๗๕๕ ๓๖๓๕ Email : contact1@tazana.com

บริษทั เอสเธทิค สตูดโิ อ จำ�กัด

๔๐/๖๐ ซ.อินทามระ ๘ ถ.สุทธิสารวินิจฉัย สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ : +๖๖ ๒๒๗๘ ๔๒๔๔ โทรสาร : +๖๖ ๒๖๑๖ ๙๑๒๓ www.aesthetic-studio.com Email : b@aesthetic-studio.com ๗๖

๗๗


ขอขอบคุณผู้ ให้การสนับสนุน บุคคล คุณหญิงอารยา พิบูลย์นครินทร์ นายนิธิ สถาปิตานนท์ และคณะกรรมการอำ�นวยการจัดประกวด นายต่อ สันติศิริ และคณะกรรมการคัดเลือกผลงาน สาขางานออกแบบ นางสุพัตรา ศรีสุข และคณะกรรมการคัดเลือกผลงานสาขางานฝีมือและหัตถกรรม ม.ร.ว.จักรรถ จิตรพงศ์ และคณะกรรมการตัดสินรางวัลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ประจำ�ปี ๒๕๕๓ นางสุจิตราภรณ์ นาคะลักษณ์ นายอิสระ โพธิจันทร์ นายดุษฎี บุญมาก นายกฤษณะ ธนะธนิต นางเกษณี สกุลดิษฐ์

หน่วยงาน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงวัฒนธรรม คณะผู้เข้าร่วมอบรมหลักสูตรผู้บริหารด้านเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (EXCET-1) หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) สำ�นักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว สำ�นักส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ สมาคมไทยคราฟท์ สมาคมนักออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย www.thailandce.com ๗๘


0.5 cm

14.85 cm

14.85 cm

รางวั ล ไทยสร า งสรรค รางวัลพระราชทานในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี ประจำป พ.ศ. ๒๕๕๓

21 cm

สำนักงานบริหารและพัฒนาองคความร� (องคการมหาชน) ๙๙๙/๙ อาคารดิ ออฟฟศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด ชั้น ๑๗ ถนนพระราม ๑ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กร�งเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทร ๐ ๒๒๖๔ ๕๙๕๘-๙ โทรสาร ๐ ๒๒๖๔ ๕๙๕๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.