CONTENTS
46 9
22
16 04 5IVE
16 EXPLAINED
38 ความรู้กินได้
08 TALK TO ZINE
22 DIGITONOMY
40 INSIDE OKMD
09 DECODE
26 THE KNOWLEDGE
42 INSIDE OKMD : NKC
14 ONE OF A KIND
32 NEXTPERT
46 NEXT
5 ร้านหนังสื ออิสระ : มากกว่าร้านหนังสื อ คือแหล่งเรียนรูเ้ ฉพาะทาง
“สื่ อ” ส� ำคัญ เท่ากับ “สาร”
ไอร์แลนด์พลิกเมืองหลวง เป็นแลนด์มาร์กส� ำคัญ ด้วยวรรณกรรม
A-Z Cultivation of Reading
เส้ นทางประวัติศ าสตร์ ของร้านหนังสื อ ในประเทศต่างๆ ทัว่ โลก
รวมสถิตใิ นแวดวง สิ่่ งพิมพ์เเละร้านหนังสื อ ทัว่ โลกในยุคโควิด-19
ร้านหนังสื อ พื้นที่แห่งความหวัง สู่ เป้ าหมาย การเป็น สั งคมแห่งการอ่าน
ส� ำรวจทิศทาง การด�ำเนินธุรกิจ ร้านหนังสื ออิสระ ในประเทศไทย
จิตรกรรมฝาผนัง มรดกชุมชน
Facilitated-learning เพราะการเรียนรูไ้ ม่ได้ อยู่แค่ในห้องสี่ เหลี่ยม
แหล่งเรียนรูท ้ ี่ เปลี่ยนพลวัฒน์เมือง Guggenheim, Bilbao Spain
ถอดรหัสเส้ นทาง อยูร่ อดของ ร้านหนังสื ออิสระ ทัว่ โลก
51 what's going on
- เทศกาลไดโกะกุ - OKMD Career Bootcamp : 21st Century Skills Online Workshop Facilitated-learning - มิวเซียมสยาม “เปิดรับต้นฉบับ จากทางบ้าน”
's Note กิจการร้านหนังสือเป็ นมากกว่าธุรกิจ แต่คือแหล่งเรียนรู ข้ นาดจิ๋ว ที่สามารถแพร่กระจายไปได้ในทุกพืน้ ที่ น่าเสียดายที่ธรุ กิจนีอ้ ยูใ่ นภาวะ ถดถอยเมื่อสื่ออินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ�ำวันมากยิ่งขึน้ กิจการร้านหนังสือใหญ่ๆ ค่อยๆ ลดจ�ำนวนร้านสาขา แต่เมือ่ ไม่กป่ี ี ทผ่ี า่ นมา กิจการร้านหนังสืออิสระกลับมีจำ� นวนเพิ่มมากขึน้ และจ�ำนวนคนอ่าน ก็ไม่ได้ลดน้อยลงเลย ปรากฏการณ์นีเ้ กิดขึน้ ได้อย่างไร? ร้านหนังสืออิสระก�ำลังก�ำหนดบทบาทตัวเองใหม่มากกว่าแค่การขาย หนังสือ แต่เป็ นชุมชนส�ำหรับคนทีม่ คี วามชอบเหมือนๆ กัน คนขายหนังสือ ก�ำลังท�ำหน้าที่เครื่องมือจับคู่ให้หนังสือไปถึงมือคนที่รกั มันจริงๆ และ ร้า นหนัง สื อ ก�ำ ลัง สร้า งประสบการณ์ใ หม่ด ว้ ยบรรยากาศเฉพาะตัว ที่หาไม่ได้ในโลกออนไลน์ สิง่ ต่างๆ เหล่านีก้ ลายเป็ นเสน่หข์ องร้านหนังสือ ที่ยงั ครองใจนักอ่าน และเป็ นบทพิสจู น์ว่าธุรกิจร้านหนังสือยังไปต่อได้ และไม่ได้ย่ำ� แย่ไปเสียทัง้ หมด The Knowledge ฉบับนี ้ เราจะพาเข้าไปส�ำรวจธุรกิจร้านหนังสือทัง้ ใน แง่ประวัตศิ าสตร์ในฐานะศูนย์กลางการแพร่กระจายความรูต้ งั้ แต่อดีตถึง ปัจจุบนั การปรับตัวไปพร้อมกับความเปลีย่ นแปลงของโลก และการค้นพบ เสน่หเ์ ฉพาะตัวของร้านหนังสือทัง้ ในและต่างประเทศ รวมทัง้ พูดคุย กับเจ้าของธุรกิจร้านหนังสือในเมืองไทยที่กำ� ลังอยู่ในช่วงเวลาท้าทาย จากสถานการณ์ โรคระบาดในปัจจุบนั นอกจากนีย้ ังเข้าไปส�ำรวจปั จจัย พืน้ ฐานที่ทำ� ให้รา้ นหนังสือยังคงอยู่น่ นั คือการปลูกฝั งนิสยั รักการอ่าน ให้กบั ประชาชน ร้า นหนัง สื อ อาจไม่ใ ช่ธุร กิ จ ที่ ใ ห้ผ ลก�ำ ไรเป็ น ตัว เลขมหาศาล แต่ ท�ำหน้าที่ เป็ นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนสังคมแห่งการเรียนรู ท้ ่ี กำ� ลัง รอการพัฒนาจากทุก ภาคส่วนทั้ง ในแง่ธุร กิ จ และการยกระดับเป็ น "ศูนย์กลางทางปั ญญา" ส�ำหรับชุมชนที่มีความส�ำคัญ OKMD Team
Office of Knowledge Management and Development ทีป่ รึกษา ดร.อธิปัตย์ บ�ำรุง ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู ้ บรรณาธิการบริหาร ดร.อภิชาติ ประเสริฐ รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู ้ บรรณาธิการ นายโตมร ศุขปรีชา ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักยุทธศาสตร์และนวัตกรรมการเรียนรู ้
ฝ่ายศิลปกรรมและภาพถ่าย บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด 32 ซอยโชคชัย 4 ซอย 84 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร 10230 โทรศัพท์ 0 2116 9959 และ 087 718 7324 จัดท�ำโดย ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู ้ (องค์การมหาชน) 69 อาคารวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ชัน้ 18-19 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0 2105 6500 โทรสาร 0 2105 6556 อีเมล theknowledge@okmd.or.th เว็บไซต์ www.okmd.or.th
ผู้สนใจรับนิตยสารโปรดติดต่อ 0 2105 6520 หรือดาวน์โหลดที่เว็บไซต์ www.okmd.or.th/knowledge/okmd-magazine
อนุญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย จัดท�ำขึน้ ภายใต้โครงการเผยแพร่กิจกรรมองค์ความรู ้ โดยส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู ้ (องค์การ มหาชน) เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการน�ำองค์ความรู ้ มาผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์ เพื่อประโยชน์ดา้ น การเรียนรู ้ ต่อยอดธุรกิจ เพิม่ มูลค่าเศรษฐกิจของประเทศ
4
5
5IVE
SCAN QR CODE เพื่อรับชม Clip
ร้านหนังสืออิสระ :
มากกว่าร้านหนังสือ คือแหล่งเรียนรู้เฉพาะทาง ในขณะที่่�โลกนี้้�มีี ธุุรกิิ จเครืือข่่ายร้้านหนัังสืือขนาดใหญ่่ แพร่่กระจายไปได้้แทบทุุกพื้้�นที่่� แต่่การมีี รููปแบบ ที่่�เหมืือนกัันไปหมดทำำ�ให้้สูญ ู เสีียเสน่่ห์บ์ างอย่่างไป ช่่วง 2-3 ปีี ที่่�ผ่่านมาจึึงเกิิดปรากฏการณ์์ธุุรกิิจสาขาของ ร้านหนังสืออยูใ่ นช่วงขาลง ในขณะที่รา้ นหนังสืออิสระกลับปรับตัวเพิ่มขึน้ ด้วยการสร้างเอกลักษณ์เฉพาะตัว และ ความใส่ใจในความต้องการของลูกค้าแต่ละคนที่รา้ นหนังสือใหญ่ๆ อาจท�ำให้ไม่ได้ ร้านหนังสืออิสระหลายๆ ร้าน คัดสรรหนังสือที่มีเนือ้ หาเฉพาะทางเพื่อสร้างชุมชนนักอ่านได้งา่ ยขึน้ และปรับตัว ให้เป็ นศูนย์กลางความรูเ้ กี่ยวกับเนือ้ หานัน้ ๆ พร้อมไปกับการพัฒนาตัวเองสูช่ อ่ งทางใหม่ๆ ในรูปแบบออนไลน์ ซึง่ ไม่ใช่แค่การหาทาง “รอด” แต่เป็ นหนทาง “รุง่ ” ของธุรกิจร้านหนังสืออิสระในอนาคต ที่มา : www.forbes.com
5IVE
1
THE RIPPED BODICE ลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา แหล่งรวมเรื่องรัก
ร้านหนังสือเฉพาะทางไม่จำ� เป็ นต้องน�ำเสนอเนือ้ หาของคนกลุม่ เล็กๆ เท่านัน้ แต่อาจหมายถึงการเลือกหมวดหนังสือที่คนกลุม่ ใหญ่ช่นื ชอบเอามา อยู่รวมกันในที่เดียวก็ได้ อย่างเช่น ร้าน The Ripped Bodice ที่เกิดขึน้ จากความชื่นชอบหนังสือแนวรักโรแมนติกของสองสาวพี่นอ้ ง สถิติเมื่อ ปี พ.ศ. 2559 หนังสือ 23% ในตลาดสหรัฐอเมริกาเป็ นหนังสือแนวรักโรแมนติก ทัง้ สองคนจึงมีแนวคิดเปิ ดร้านหนังสือแบบนัน้ ในลอสแอนเจลิสบ้าง จากนัน้ จึงใช้วิธีระดมทุนผ่านเว็บไซต์ Kickstarter ผลปรากฏว่าเงินที่เข้ามา 90% มาจากคนที่เธอไม่รูจ้ กั และส่วนใหญ่ไม่ได้อาศัยในลอสแอนเจลิสด้วยซ�ำ้ แต่อยากให้มีรา้ นหนังสือแบบนีเ้ กิดขึน้ ในโลกอีกสักแห่ง The Ripped Bodice ได้้รับั การตกแต่่งให้้เป็็ นมิิตรกัับนัักอ่่านนิิยาย รัักโรแมนติิกนั่่�นคืือกลุ่่�มผู้้�หญิิง พร้้อมมุุมนั่่�งเล่่นน่่ารักั ๆ สานต่่อจิินตนาการ ให้้ดื่่�มด่ำำ��สู่่�โลกวรรณกรรมรัักแบบไม่่ต้อ้ งอายใคร ทำำ�ให้้ที่่�นี่่�กลายเป็็ นจุุดหมาย ปลายทางของนัักอ่่านนิิยายแนวนี้้�จากทั่่�วโลก ต่่อมาในปีี พ.ศ. 2561 โซนี่่� พิิ ค เจอร์์ส เอนเตอร์์เ ทนเมนต์์ไ ด้้ยิิ น เรื่่� อ งราวนี้้�จึึง ชวนสองพี่่�น้้อ งให้้เป็็ น ที่่�ปรึึกษาในการผลิิตซีีรีส์ี รั์ กั โรแมนติิกเพื่่�อให้้เนื้้�อหาถููกใจผู้้�หญิิงมากยิ่่�งขึ้้�น
2
ที่ ม า : www.spreadtheword.org.uk/londonbookshops-round-table-books/ www.instagram.com/roundtablebooks/
ที่มา : www.therippedbodicela.com/ www.glamour.com/story/the-ripped-bodicebookstore-interview
ROUND TABLE BOOKS ลอนดอน สหราชอาณาจักร ร้านหนังสือส�ำหรับเด็กที่แตกต่างหลากหลาย
จากการส�ำรวจของ Center for Literacy in Primary Education ในสหราชอาณาจักรพบว่าในจ�ำนวนหนังสือเด็กที่ตีพิมพ์กว่า 9,000 เล่ม ในเมื่่�อปีี พ.ศ. 2560 มีีเพีียง 1% เท่่านั้้�นที่่�มีีตัวั ละครหลัักเป็็ นเด็็กในกลุ่่�ม ที่่�มีีความแตกต่่างด้้านเชื้้�อชาติิ ศาสนา และภููมิิหลััง เช่่น พลเมืืองผิิวสีี ชาวเอเชีย และคนกลุม่ น้อยอืน่ ๆ กลายเป็ นจุดเริม่ ต้นให้เกิดการตัง้ ร้านหนังสือ ชั่่�วคราว คััดสรรหนัังสืือเฉพาะทางที่่�นำำ�เสนอเรื่่�องราวของเด็็กกลุ่่�มนี้้�ในเดืือน ตุุลาคม พ.ศ. 2561 ซึ่่�งต่่อมามีีการระดมทุุนผ่่านเว็็บไซต์์ตัวั กลาง (Crown Founding) ภายใต้้แฮชแท็็ก #ReadTheOnePercent จนสามารถเปิิ ด ร้านหนังสือแบบถาวรได้ในเดือนพฤษภาคมปี พ.ศ. 2562 ชื่่�อของ Round Table Books ได้้แรงบัันดาลใจมาจากตำำ�นานกษััตริิย์ ์ อาร์์เธอร์์ที่่�เหล่่าอัศั วิินนั่่�งรวมกัันรอบๆ โต๊๊ะกลม สะท้้อนจุุดมุ่่�งหมายอยาก สร้้างความเท่่าเทีียมให้้กับั เด็็กทุุกกลุ่่�มในสัังคมของอัังกฤษ โดยรวบรวม เอาหนััง สืื อ ที่่�มีี ตััว ละครหลััก ที่่�มีี เ ชื้้�อ ชาติิ และศาสนาที่่�หลากหลาย จากสหราชอาณาจัักรและไอร์์แลนด์์มาไว้้ด้ว้ ยกััน ช่่วยลดปััญหาการขาดแคลน วรรณกรรมที่่�หลากหลาย ง่่ายต่่อการเข้้าถึึง อีี กทั้้�งยัังช่่วยเชื่่�อมโยงให้้ เด็็กกลุ่่�มนี้้�รู้้�สึึกใกล้้ชิิดกัับโลกของวรรณกรรมผ่่านตััวละครที่่�ลัักษณะบุุคลิิก ใกล้้เคีียงกัับตััวของพวกเขา ปั จจุบนั Round Table Books เป็ นช่องทางให้นกั เขียนที่เคยถูกมองข้าม ได้แสดงผลงาน และเป็ นพืน้ ที่เสวนาส�ำหรับพ่อแม่ผูป้ กครองของเด็กๆ กลุม่ นีใ้ ห้มาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังสือร่วมกัน
5
5
6
5
5IVE
3
ที่ ม า : www.theguardian.com/books/2020/ may/15/marcus-books-oakland-oldest-blackbookstore
4
MARCUS BOOKS โอ๊คแลนด์ สหรัฐอเมริกา ร้านหนังสือแห่งประวัตศิ าสตร์คนผิวสีในอเมริกา
ร้านที่รวบรวมหนังสือประวัตศิ าสตร์และการต่อสูข้ องคนผิวสีในอเมริกา ทีม่ อี ายุยาวนานทีส่ ดุ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2503 จนกลายเป็ นศูนย์กลางการเรียนรู ้ เกี่ยวกับประวัตศิ าสตร์เเละวัฒนธรรมของคนผิวสีทส่ี ำ� คัญ อีกทัง้ ยังมีบทบาท ในการเคลือ่ นไหวเพือ่ สิทธิพลเมืองในฐานะพืน้ ทีพ่ บปะส�ำหรับนักเคลือ่ นไหว ทีม่ ารวมตัวกันก่อนและหลังการประท้วง บุคคลที่มีช่ือเสียงในประวัตศิ าตร์ การเรียกร้องสิทธิอย่าง Malcolm X ก็เป็ นลูกค้าของร้านนี ้ รวมทัง้ นักเขียน ผิวสีอย่าง Toni Morrison และ Maya Angelou ต่า งเคยเป็ น เจ้า ภาพ ในการเสวนาที่รา้ น Marcus Books มาแล้วทัง้ สิน้ โดย Marcus Books มีหนังสือกว่า 6,000 รายการ จากนักเขียนผิวสีช่ือดัง ปั จจุบนั มีรา้ นหนังสือที่มีเจ้าของเป็ นคนผิวสีประมาณ 130 แห่ง ลดลง จากยุค 90 ที่มีอยูร่ าวๆ 200 แห่ง อีกทัง้ สถานการณ์โควิดยังซ�ำ้ เติมให้เกือบ ทุกร้านอยูใ่ นภาวะเสี่ยงที่จะต้องปิ ดตัวลง Marcus Books แม้จะผ่านร้อน ผ่านหนาวมาหลายยุคสมัย แต่ก็ไม่มีความเชี่ยวชาญเรื่องการขายหนังสือ ออนไลน์ จนต้องสร้างแคมเปญ และจัดการอ่านกวีสดแบบออนไลน์สตรีมมิง่ โดยกวีช่ือดัง เพื่อเป็ นช่องทางระดมทุนอีกทางหนึง่
CATEGORY IS BOOKS กลาสโกว์ สกอตแลนด์ แหล่งเรียนรู้ด้านความหลากหลายทางเพศ
ร้านหนังสือเพียงร้านเดียวในสกอตแลนด์และหนึง่ ในห้าร้านของสหราช อาณาจักรทีร่ วบรวมเรือ่ งราวของชาว LGBTQ+ ทัง้ ประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรม งานเขียน และเรื่องเล่าเกี่ยวกับ LGBTQ+ รวมทัง้ ผลงานของนักเขียน LGBTQ+ หรืออย่างน้อยมีตวั ละครสักหนึง่ ตัวที่มคี วามหลากหลายทางเพศ เปิ ดกิจการตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2560 โดยคูส่ มรสหญิงรักหญิง จากความช่วยเหลือ ของร้าน Gay's The World ร้านหนังสือส�ำหรับเกย์และเลสเบีย้ นทีเ่ ก่าแก่ทส่ี ดุ ในลอนดอน มีให้เลือกทัง้ หนังสือใหม่ หนังสือมือสอง นิตยสาร สมุดภาพ เเละการ์ตนู ที่่�นี่่�กลายเป็็ น ชุุ ม ชนเล็็ ก ๆ สำำ�หรัับ ชาว LGBTQ+ ด้้ว ยกิิ จ กรรม ที่หลากหลาย เช่น การสอนโยคะ การดูไพ่ยปิ ซีสำ� หรับชาวเกย์และเลสเบีย้ น รวมทัง้ เปิ ดเป็ นร้านท�ำผมที่เป็ นมิตรกับคนข้ามเพศ นอกจากนีพ้ นักงาน ยังยินดีให้คำ� ปรึกษาส�ำหรับผูท้ ่ียังสับสนกับเพศสภาพของตัวเอง และ แนะน�ำหนังสือที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้รูส้ กึ ดีขนึ ้ ความพิเศษอีกอย่างของ Category is Books คือบริการอ่านก่อน จ่ายทีหลังเพือ่ ผูม้ รี ายได้นอ้ ย และยังมีบริการส่งหนังสือให้ถงึ บ้านด้วยจักรยาน และสเก็ตบอร์ดส�ำหรับผูท้ ่ีอาศัยในกลาสโกว์ในช่วงแพร่ระบาดของโควิด นอกจากนีย้ งั จ�ำหน่ายหนังสือแบบออนไลน์ หากลูกค้าต้องการอะไรทีน่ อกเหนือ จากหนังสือในร้านก็สามารถสั่งซือ้ ได้โดยทางร้านยินดีหาและจัดส่งให้
ที่มา : secretglasgow.com/category-is-books/
5IVE
ที่มา : www.thrillist.com/eat/nation/why-cookbook-stores-are-the-antidote-we-need-right-now
5
BONNIE SLOTNICK COOKBOOKS นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา แหล่งรวบรวมต�ำราอาหาร
ในยุุคที่่�ผู้้�คนเรีียนรู้้�วิิธีีทำำ�อาหารผ่่านคลิิปวิิดีีโอออนไลน์์ แต่่ Bonnie Slotnick Cookbooks ร้้านหนัังสืือที่่�รวบรวมเฉพาะตำำ�ราอาหารกลัับยััง อยู่่�ได้้ด้ว้ ยจุุดเด่่น คืือ รวบรวมตำำ�ราอาหารเก่่า สููตรอาหารประจำำ�บ้้าน บางส�ำเนาย้อนไปถึงศตวรรษที่ 18 รวมถึงเครื่องใช้ในครัวจากร้านอาหาร ที่ปิดกิจการ และบางชิน้ ก็เลิกผลิตไปแล้ว ท�ำให้ท่ีน่ีกลายเป็ นแหล่งรวม ต�ำราอาหารที่หลากหลายและดีท่ีสดุ ในนิวยอร์ก จุดเริม่ ต้นของ Bonnie Slotnick Cookbooks มาจากการที่เจ้าของร้าน ได้คน้ พบต�ำราอาหารที่ตพี มิ พ์ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2444 ของคุณแม่ จนกระทั่งย้าย เข้ามาอาศัยที่นิวยอร์กที่มีรา้ นหนังสือมือสองมากมาย ท�ำให้เธอเริม่ ค้นหา ต�ำราอาหารเก่าเรื่อยมาจนกระทั่งเปิ ดร้านหนังสือในที่สดุ เสน่หข์ องต�ำรา อาหารเก่าเหล่านีก้ ็คือร่องรอยการขีดเขียนในต�ำราจนกลายเป็ นสูตรลับ เฉพาะตัว โดย 99% ของหนัง สื อ ในร้า นเป็ น หนัง สื อ ที่ ซื อ้ ต่ อ มาจาก เจ้าของเอง ท�ำให้เกิดการสนทนาแลกเปลี่ยนความรู เ้ รื่องประวัติศาสตร์ อาหาร จน Bonnie Slotnick Cookbooks กลายเป็ นแหล่งเรียนรูว้ ฒ ั นธรรม อาหารที่สำ� คัญของนิวยอร์ก และแน่นอนว่าจะสั่งซือ้ ต�ำราอาหารแบบนี ้ ไม่ได้จากร้านหนังสือออนไลน์อ่ืนๆ ความน่ารักอีกอย่างของ Bonnie Slotnick Cookbooks ก็คือวันดีคืนดี SCAN QR CODE เจ้า ของร้า นก็ มี อ าหารพิ เ ศษจากต�ำ ราอาหารในร้า นเสิ ร ฟ ์ ให้ลูก ค้า ได้ เพื่อรับฟง Audio Text อ่านไปชิมไปอีกด้วย
5
7
8
T
TALK TO ZINE
“สื่อ” ส�ำคัญ เท่ากับ “สาร”
ทุกวันนีช้ อ่ งทางออนไลน์เป็นโอกาสให้คนทีส่ นใจ ผลิตสือ่ เผยแพร่ความคิดของตัวเองได้งา่ ยขึน้ ไม่วา่ จะเป็ นงานเขียน รายการบันเทิง หรือรายการข่าว ต่างๆ โดยไม่มบี รรณาธิการ ไม่มเี จ้าของสถานี ไม่มี ผูค้ วบคุมเนือ้ หาและการผลิต นั่นหมายความว่า จุดแข็งที่จะท�ำให้ส่ือออนไลน์ประสบความส�ำเร็จ ก็คือตัวตนของผูส้ ร้างสรรค์งานชิน้ นัน้ นั่นเอง
ทีปกร วุฒิพิทยามงคล ในเสวนาพิิเศษเรื่่�อง “Success Stories : สร้้างเม็็ดเงิิน จากความเป็็ นตััวตน .. Social Media : Me, Myself and I” ที่สยามพารากอน คุณแชมป์ ทีปกร วุฒิพิทยามงคล ผูร้ ว่ มก่อตัง้ บล็อก exteen.com นักวาดภาพประกอบ นักเขียน นักจัดรายการวิทยุ และพิธีกร ได้มาบอกเล่า ประสบการณ์การท�ำงานให้ฟังว่า หลังจากเรียนจบ วิ ศ วกรรมศาสตร์ค อมพิ ว เตอร์ ได้ท �ำ งานเกี่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์อ ยู่ สัก พั ก แล้ว จึ ง ได้ก่ อ ตั้ง เว็ บ ไซต์ใ ห้ บริการบล็อก exteen.com จากนัน้ จึงเริม่ ท�ำงานเขียน วาด และงานพิธีกร คุณแชมป์ ชอบอ่านหนังสือและบทความ เมื่อชอบ เนื ้อ หาที่ อ่ า นก็ จ ะน�ำ มาตี ค วามในแบบของตัว เอง แล้วสื่อสารออกมาไม่ว่าจะเป็ นงานเขียนหรือรายการ โทรทัศน์ เพราะเป็ นคนชอบขายความคิดสร้างสรรค์ และสื่อสารความคิดให้คนอื่นได้อา่ น สาเหตุหลักที่คุณแชมป์ ได้สร้างเว็บ exteen.com ขึ น้ มาเพราะช่ ว งนัน้ มีแต่เว็บบล็อกที่ไม่ได้เหมาะกับ ตัวเอง จึงคิดว่าน่าจะมีคนอื่นอีกมากที่ไม่ชอบเว็บบล็อก
ดูเพิ่มเติม สแกนเลย!
อีกเหตุผลคือสิ่งที่อยากเห็นก็ไม่มีใครท�ำ สิ่งที่อยาก อ่านก็ไม่มีใครเขียน จึงตัดสินใจมาเขียนในรู ปแบบที่ ตัวเองชอบ เป็ นการ์ตนู ที่สะท้อนมุมมองของโลกและ สะท้อนสถานการณ์ตา่ งๆ แล้วสื่อออกไปให้คนที่สนใจ ได้อา่ นใน exteen.com คุณแชมป์ มองว่าอิ นเทอร์เน็ ตเป็ นพื น้ ที่ เปิ ดกว้าง โดยตัด ตัว กลางทิ ง้ ไป ในอดี ต หากจะเขี ย นหนัง สื อ หนึ่งเล่ม ต้อ งผ่านบรรณาธิ การและส�ำนักพิ มพ์ แต่ ตอนนี ้ถ้า อยากเขี ย นหนั ง สื อ ก็ ส ามารถโพสต์ล ง เฟซบุ๊กหรือเว็บไซต์ได้เลย บทความของคุณอาจจะมี คนอ่ า นหรื อ ไม่ มี อาจจะมี ค นชอบหรื อ ไม่ ช อบ แต่ ช่ อ งทางออนไลน์ก็ คื อ โอกาสที่ ทุก คนจะได้เ ผยแพร่ ความคิดของตัวเอง “พยายามหาช่องทางการสื่อสารหลายๆ แบบ เพราะยุคนีค้ วามสามารถของคนไม่ใช่แค่พูดหรือ เขียนได้ แต่ขนึ้ อยูก่ บั ว่า Content ทีจ่ ะสือ่ ออกไปนัน้ อยู่ในช่องทางใดและเหมาะสมแค่ไหน”
ในเมื่ อ วัน นี ้ ทุก คนที่ ต ้อ งการพื น้ ที่ มี โ อกาสเท่ า กัน สิ่ ง ส�ำ คัญ ที่ จ ะท�ำ ให้ส ารจากผู้ส่ง ไปถึ ง ผู้ร ับ ได้ก็ คื อ ความสร้างสรรค์ในการเลือกใช้ส่อื ซึง่ เป็ นเรือ่ งที่นกั สื่อสารยังต้องเรียนรูแ้ ละตามให้ทนั เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่พฒ ั นา ไปไกลทุกวินาที
DECODE
SCAN QR CODE เพื่อรับชม Clip
ไอร์แลนด์พลิกเมืองหลวงเป็น แลนด์มาร์กส�ำคัญด้วยวรรณกรรม ในทวีีปยุุโรปหากจะบอกว่่าประเทศที่่�ได้้ชื่่�อว่่าเป็็ นมหานครแห่่งศิิลปะนั้้�น คืือ ฝรั่่�งเศส อิิตาลีี ออสเตรีีย อัังกฤษ เนเธอร์์แลนด์์ และสเปน เพราะมีีศิิลปิิ นระดัับโลกในด้้านจิิตรกรรม ประติิมากรรม ดนตรีี รวมถึึงมีีพิิพิิธภััณฑ์์ ศิิลปะระดัับโลกตั้้�งอยู่่�มากมาย แต่่ทั้้�งหมดนี้้�เป็็ นเพีียงส่่วนหนึ่่�งที่่�สะท้้อนให้้เห็็นถึึงวิิถีีชีีวิิตและศิิลปวััฒนธรรม ของชาวยุุโรป เพราะยัังมีีประเทศอื่่�นๆ ในทวีีปนี้้�ที่่�มีีประวััติศิ าสตร์์ศิลิ ปะมาอย่่างยาวนาน สร้้างชื่่�อเสีียง และมููลค่่า ทางเศรษฐกิิ จ อย่่ า งมหาศาลให้้กัับ ประเทศ จนกลายเป็็ น ต้้น แบบในการปฏิิ วััติิ ศิิ ล ปวััฒ นธรรมให้้ทุุก คน จากทั่่�วโลกสามารถเข้้ามามีีส่ว่ นร่่วมได้้ เกาะเล็กๆ ที่อยูท่ างตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากรเพียง 4 ล้านคน ที่มีช่ือว่าไอร์แลนด์ ซึง่ มีเมืองหลวง อย่างดับลิน ถูกจัดให้ติด 30 อันดับแรกในฐานะ “เมืองส�ำคัญของโลก” มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2561 เมืองหลวงแห่งนี ้ มีประวัติศาสตร์มายาวนานตัง้ แต่เริ่มก่อตัง้ ในศตวรรษที่ 7 จนปั จจุบนั ดับลินเป็ นศูนย์กลางทัง้ ด้านการศึกษา การปกครอง ศิิลปวััฒนธรรม และเศรษฐกิิจ ซึ่่�งหนึ่่�งในฟัั นเฟืื องสำำ�คััญที่่�ขัับเคลื่่�อนให้้ดับั ลิินกลายเป็็ นเมืืองหลวง ระดัับโลกได้้ก็็คืือวรรณกรรม
D
9
10
D
DECODE
อิทธิพลจากงานวรรณกรรม สร้างเมืองหลวงแห่งศิลปวัฒนธรรมระดับโลก สวมบทบาท ตามตัวละครในนวนิยาย Ulysses
s e ! s s y l U
หนังสือนวนิยาย Ulysses ผลงานของ James Joyce นักเขียน ชาวไอริช โดยเนือ้ หาพูดถึงเรื่องราวในชีวิตของตัวละครสมมติ อย่าง Leopold Bloom หรือมิ สเตอร์บลูม ที่ เกิ ดขึน้ ในวันที่ 16 มิถนุ ายน พ.ศ. 2447 ตัง้ แต่แปดโมงเช้าจนรุง่ เช้าของอีกวัน โดยในวันนัน้ เขาได้เดินทางไปในหลายสถานที่ เพื่อพบปะผูค้ น และท�ำกิจกรรมต่างๆ เรียกว่าเป็ นนวนิยายที่บอกเล่าเรื่องราว อันแสนจะธรรมดาของมนุษย์ แต่การเล่าเรื่องของหนังสือเล่มนี ้ ก็็ทำำ�ให้้นักั อ่่านหลงใหลในผลงานเขีียนของ James Joyce จนมีี เหล่่าแฟนหนัังสืือ หรืือที่่�เรีียกว่่า Joyceans มากมายที่่�ประทัับใจ ในหนััง สืื อ เล่่ ม นี้้�จ นยกให้้เป็็ น อีี ก หนึ่่�งงานวรรณกรรมชิ้้�น เอก ของโลก และทำำ�ให้้เกิิ ดการเฉลิิมฉลองโดยใช้้ชื่่� อเทศกาลว่่ า Bloomsday ตามชื่ อ ของตัว ละครเอกของหนัง สื อ ซึ่ง ผู้ค น จะแต่งตัวสไตล์ยอ้ นยุคตามตัวละคร และท�ำกิจกรรมตามรอย มิสเตอร์บลูม รวมไปถึงการลิม้ รสชาติของเมนูท่ีมิสเตอร์บลูม กินในแต่ละมือ้ ด้วย
จ�ำลอง สถานที่ในหนังสือ สร้างแลนด์มาร์กรอบเมือง
นอกจากเรือ่ งการแต่งตัวและ การสวมบทบาทประหนึง่ มิสเตอร์บลูม จริงๆ แล้ว เทศกาล Bloomsday ยังท�ำให้ สถานที่ตา่ งๆ ในเมืองดับลินกลายเป็ น แลนด์มาร์กส�ำคัญที่ทกุ คนต้องไป เช่น ผับของ Davy Byrne, หอคอย James Joyce, James Joyce Center, Bloom House และพิพิธภัณฑ์ ที่ Sandycove
สานต่อจนเป็นประเพณีวรรณกรรม ส่งออกไปทั่วโลก
Bloomsday ไม่ได้เป็ นเพียงเทศกาลที่จดั ขึน้ อยู่ แค่ในเมืองดับลินของไอร์แลนด์เท่านัน้ เพราะเหล่า Joyceans นัน้ มีอยู่ท่ วั โลก เทศกาล Bloomsday เลยจัดขึน้ พร้อมกันทุกวันที่ 16 มิถุนายนของทุกปี ในหลายๆ ประเทศทั้งอังกฤษ อเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ แคนาดา อิตาลี ฝรั่งเศส สาธารณรัฐเชค ฮัง การี ลัต เวี ย ฯลฯ เพื่ อ ออกมาเฉลิม ฉลองและ ร�ำลึกถึง James Joyce นักเขียนชื่อดังชาวดับลิน
DECODE
Bloomsday จากดับลิน สู่กระแสพลังออเจ้า ย้อนกลับไปเมื่อปี พ.ศ. 2561 ถือได้ว่ากระแสของ ละครไทยบูมมากที่สุด ในรอบหลายปี ท่ีผ่านมา โดย เฉพาะละครเรื่ อ งบุพ เพสัน นิ ว าสนั้น สั่น สะเทื อ นไป ทั่วประเทศ แน่นอนว่าในทางตรงสามารถสร้างรายได้ และก�ำไรให้กบั ผูจ้ ดั ละคร รวมถึงเหล่านักแสดงในเรือ่ ง ได้แล้ว ในทางอ้อมพลังออเจ้ายังช่วยขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ ทัง้ ในระดับประเทศ และระดับชุมชนได้อย่างมหาศาล
ปรากฏการณ์ตามรอยแม่หญิงการะเกด ปลุกชีพหนังสือ และนิยายย้อนยุค
ความดัง ของละครเรื่องนี ไ้ ม่ไ ด้ เพียงแต่กระชากเรตติง้ สูงสุดได้ แต่ยงั ท�ำให้วงการหนังสือกลับมาคึกคัก จนเรียกว่าเป็ นบุพเพสันนิวาสฟี เวอร์ ซึ่งท�ำให้หนังสือแนวประวัติศาสตร์ ขายดีเป็ นเทน�ำ้ เทท่า รวมถึงผลงาน เขียนอื่นๆ ของ "รอมแพง" เจ้าของ บทประพันธ์บพุ เพสันนิวาสก็ถกู พูด ถึงมากขึน้ ด้วย
หากชาวดับลินนัน้ เพลิดเพลินไปกับการเฉลิมฉลองในวัน Bloomsday และการแต่งตัวด้วยคอสตูมย้อนยุคประหนึง่ ในหนังสือนวนิยาย Ulysses กระแสพลังออเจ้าจากละครเรื่องบุพเพสันนิวาสก็ไม่ต่างกัน สถานที่ ท่องเทีย่ วในจังหวัดลพบุรี และพระนครศรีอยุธยา อย่างวัดไชยวัฒนาราม วัดพุทไธศวรรย์ ตลาดกรุงศรี ก็กลายเป็ นจุดเช็กอินยอดนิยมที่ทกุ คนมา ตามรอยแม่หญิงการะเกด ซึง่ นอกจากธุรกิจการท่องเที่ยวและร้านอาหาร จะสร้างรายได้ให้กบั จังหวัดแล้ว ก็ยงั เกิดธุรกิจร้านเช่าชุดไทยบริเวณรอบๆ โบราณสถานส�ำคัญของจังหวัดด้วย ส่งผลให้เศรษฐกิจการท่องเที่ยว ในจังหวัดนัน้ คึกคักมาก และถึงแม้กระแสของละครจะเริ่มซาลง แต่ ความนิยมของนักท่องเที่ยวก็ยงั คงมาที่น่ีกนั อย่างต่อเนื่อง วันธรรมดา มีีคนมาเที่่�ยวที่่�อยุุธยาประมาณ 5,000 คน และสุุดสััปดาห์์มีีมากถึึง 25,000 คน และอยุุธยาในวัันนี้้�ยัังคงมีีการขยายธุุรกิิจโรงแรม และคาเฟ่่ เพิ่่�มขึ้้�นอีีกมากมาย ทำำ�ให้้ราชธานีีเก่่าที่่�มีอี ายุุมานานกว่่า 417 ปีี ได้้กลัับมา มีีชีีวิิตชีีวาอีีกครั้้�ง
การส่่งต่่อวััฒนธรรมผ่่านนิิยายเรื่่�องดัังกลายเป็็ นเครื่่�องมืือสำำ�คััญที่่�ช่่วยส่่งเสริิมให้้ผู้้�คนจดจำำ� มากขึ้้�น แม้้กระแสของละครและนิิยายไทยอาจจะยัังไม่่ได้้รับั การเชื่่�อมต่่อจากผู้้�คนในระดัับนานาชาติิ มากนััก แต่่ป รากฏการณ์์ข องบุุพ เพสััน นิิ ว าสสามารถเจาะตลาดใหญ่่ อ ย่่า งจีี น และฮ่่อ งกงได้้ อย่่างไรก็็ดีีจะทำำ�อย่่างไรให้้คนดููละครและคนอ่่านนิิย ายเข้้าถึึง ได้้ แบบที่่�ผู้้�คนในเมืืองดัับลิินและ ชาวยุโรปอีกหลายประเทศอยากที่จะมีส่วนร่วมกันอย่างต่อเนื่องเหมือนในเทศกาล Bloomsday นี่ต่างหากคือสิ่งที่ตอ้ งคิดต่อ เพราะความจริงแล้วผลงานนิยายและนักเขียนของไทยที่มีช่ือเสียง ก็ได้รบั ความนิยมจากนักอ่านและคนที่ชอบดูหนัง ดูละครกันไม่นอ้ ย ซึง่ ก็มีอีกหลายเรือ่ งที่สามารถ พัฒนาเมืองให้กลายเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่กลมกลืนกับรูปแบบการใช้ชีวิต
D
11
12
D
DECODE
พัฒนาเมือง ด้วยวรรณกรรมไทย เชียงใหม่ : ตามชีวิตต�ำนานนักเขียน ’รงค์ วงษ์สวรรค์ เเละ อภิชาติ เพชรลีลา
อี ก ปั จจั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่อ การท�ำ ให้ เ ชี ย งใหม่มี ภาพลักษณ์ท่ีแตกต่างจากการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิง วั ฒ นธรรมที่ อ่ื น เพราะเป็ น เมื อ งของศิ ล ปิ นชื่ อ ดั ง มากมาย รวมถึ ง พญาอิ น ทรี ย ์แ ห่ ง สวนอัก ษรอย่ า ง 'รงค์ วงษ์สวรรค์ ศิลปิ นแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ ซึ่ง ใช้ชีวิตช่วงสุดท้ายเพื่อเขียนหนังสือ และสร้างบ้านสวน ทูนอินที่เชียงใหม่ จนกลายเป็ นอีกหนึง่ สถานที่ของเหล่า นักอ่านทีช่ ่นื ชมผลงานของเขาแวะเวียนมาเยีย่ มเยือน ส่ ว นคนรุ ่น ใหม่ ก็ อ าจจะเลื อ กตามชี วิ ต นัก ศึก ษา แบบเดียวกับไข่ยอ้ ยและดากานดาในหนังเรือ่ งเพือ่ นสนิท เมื่อปี พ.ศ. 2548 ซึ่งถอดเอามาจากหนังสือ "กล่อง ไปรษณียแ์ ดง" ของ อภิชาติ เพชรลีลา โดยเป็ นการพูดถึง ชีวิตในรัว้ มหาวิทยาลัยของนักศึกษาคณะวิจิตรศิลป์ ได้เห็นภาพประเพณี และการท�ำกิ จกรรมต่างๆ ตาม สถานที่ ร อบๆ เมื อ งเชี ย งใหม่ เช่น สะพานขัว เหล็ก อ่างแก้ว สถานีรถไฟเชียงใหม่ เรียกได้ว่าจากวันนัน้ จนวันนีเ้ ชียงใหม่คือเมืองศิลปิ นของไทยไปแล้วก็วา่ ได้
ระยอง : ตามรอยบ้านเกิดสุนทรภู่
มีการท่องเที่ยวตามรอยมหากวีท่ีมีช่ือเสียงของไทย และของโลก ทีน่ ม่ี สี ถานทีน่ า่ สนใจมากมาย ทีท่ ำ� ให้ทกุ คน ได้ยอ้ นกลับไปนึกถึงเมื่อครัง้ ได้อา่ นงานวรรณกรรมของ สุนทรภู่ดว้ ย เช่น "อนุสาวรียส์ นุ ทรภู่" ประติมากรรม จากตัวละครในวรรณกรรมเรื่องพระอภัยมณีท่ีตงั้ อยู่ท่ี หาดทรายแก้ว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง หรือเกาะแก้ว พิสดารตามหนังสือเรือ่ งพระอภัยมณี
ประจวบคีรีขันธ์ : ตามรอยปริศนา
มี ก ารพั ฒ นาสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วและวั ฒ นธรรม ตากอากาศตามรอยผูด้ ยี คุ เก่าจากนวนิยายเรือ่ งปริศนา ซึ่งมีสถานที่ท่ีน่าสนใจอย่างทะเลหัวหิน สถานี รถไฟ หัวหิน และกิจกรรมการขี่มา้ ริมชายหาดหัวหิน
SCAN QR CODE เพื่อรับฟง Audio Text
DECODE
พัังงา : ย้้อนรอยชีีวิิตชาวเหมืือง โดย อาจิินต์์ ปััญจพรรค์์
อีีกหนึ่่�งบทประพัันธ์์อย่่าง "ตะลุุยเหมืืองแร่่" ของ อาจิินต์์ ปัั ญจพรรค์์ ซึ่่�งถููกเอามาทำำ�เป็็ นภาพยนตร์์ชื่่�อ "มหา’ลััย เหมืืองแร่่" เมื่่�อปีี พ.ศ. 2548 โดยเนื้้�อหายัังมีีการบอกเล่่า วิ ถีชีวิตของชาวเหมื อ งในพัง งาผ่า นนัก ศึกษาซึ่ง เป็ น คนรุ น่ ใหม่ เรื่องนีท้ ำ� ให้พงั งาเป็ นที่รูจ้ กั มากขึน้ จนเกิด การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรมของชาวเหมื อ งพั ง งา ในยุคหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 และเหมืองแร่เก่าแก่ ของตระกูลบุญสูงได้กลายเป็ นที่สนใจของนักท่องเที่ยว อีกด้วย
สตูล : แกะรอย ดิกชันนารีเล่มแรกของ เมืองไทย โดย สอ เศรษฐบุตร
คุกกลางทะเลทีน่ า่ กลัวและลึกลับ ณ อุทยานแห่งชาติ เกาะตะรุ เ ตา สถานที่ จ �ำ คุก เหล่า นัก โทษการเมื อ ง ซึง่ หนึง่ ในนัน้ มีนกั เขียนปั ญญาชนอย่าง สอ เศรษฐบุตร นักโทษทางการเมือง ต้องใช้ชีวิตอยู่ในคุกกลางทะเล อั น ดามั น ท�ำ ให้ไ ด้เ ขี ย นดิ ก ชั น นารี ซึ่ ง กลายเป็ น พจนานุกรมเล่มแรกของไทยด้วย ปั จจุบันกลายเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวัติ ศ าสตร์ท่ี ส ำ� คัญ ของไทย และเป็ น สวรรค์ข องนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ อ ยากไปสัม ผั ส กับ บรรยากาศความสดใสของท้อ งฟ้ า และน�ำ้ ทะเล ซึ่งถ้าเทียบกับที่เที่ยวยอดนิยมอย่างเกาะอัลคาทราช คุกกลางทะเลบนอ่าวซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา ก็ถือว่าเกาะตะรุ เตาของไทยนัน้ มีความสวยงาม และ ความสมบูรณ์ของธรรมชาติท่ีนา่ ไปเยือนไม่แพ้กนั
จากตัวอักษรในหนังสือที่ รอ้ ยเรียงเรื่องราว ไม่ก่ี หน้า แต่กลับมี อิทธิ พลต่อการพัฒนาผูค้ น ในหลากหลายด้าน ด้วยการสร้างกิจกรรมทาง วัฒ นธรรมส�ำ หรับ ในเมื อ งไทยจริ ง ๆ ก็ จุ ด ติ ด ขึน้ มาบ้างแล้ว และมีแนวโน้มที่สามารถท�ำให้ เกิ ดแนวทางการท่องเที่ ยวที่ เป็ นเทรนด์เหมื อน เทศกาล Bloomsday ได้เช่นกัน แต่ความจริงจัง และกระบวนการที่จะท�ำอย่างต่อเนื่องจะเกิดขึน้ ได้หรือไม่อาจจะต้องน�ำมาศึกษาและวางแผนต่อ เพราะถ้าท�ำได้เชื่อว่าเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว ของไทยนัน้ จะเติบโตอย่างยั่งยืนมากขึน้ ด้วย
D
13
14
o
one OF a kind
CULTIVATION OF READING
เพราะการปลูกฝังการอ่านคือการติดอาวุธให้ประชาชน จึงไม่แปลกใจที่ประเทศต่างๆ เร่งสนับสนุนให้คนในชาติ รักการอ่านตัง้ แต่วยั เยาว์ เพราะนิสยั รักการอ่าน ไม่ใช่พนั ธุกรรมหรือพรสวรรค์แต่เกิดจากการปลูกฝังนั่นเอง
AESTHETICELL
CHARLIE AND THE
ASSOCIATION
BOOK AND BEER
CHOCOLATE FACTORY
DIAMOND SUTRA
จัดตัง้ ขึน้ โดยนักศึกษาใน ไต้ห วัน ที่ อ ยากออกแบบ หนัง สื อ เรี ย นให้มี รู ป เล่ม สวยงาม ดึ ง ดู ด ใจให้ เยาวชน
จั ด ตั้ ง ขึ ้ น เ พื่ อ ใ ห้ ช า ว สิ ง คโปร์ร วมตั ว กั น แลก เปลี่ยนหนังสือที่อ่านแล้ว พร้อมกับร่วมดื่มเครือ่ งดื่ม ต่างๆ ร่วมกันระหว่างอ่าน หนังสือ
วรรณกรรม โดย Roald Dahl ที่่�ทำำ�ให้้เด็็กๆ ได้้รู้้�จักั ชายหนุ่่�มชื่่�อ Willy Wonka และกลายมาเป็็นภาพยนตร์์ ที่่�หลายคนชื่่�นชอบ
วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร หนัง สื อ เล่ ม แรกของโลก ที่ มี ก า ร ตี พิ ม พ์ ล ง บ น กระดาษด้ ว ยแม่ พิ ม พ์ บล็อกไม้ ในปี พ.ศ. 1411 เพื่อเผยแผ่ศาสนา
E-BOOK
FINLAND
GREEN LIBRARY
HOLY BIBLE
หนั ง สื อ ที่ ส ร้ า งขึ ้น โดย โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ เป็ นเอกสารที่สามารถอ่าน ได้ผ่า นคอมพิ วเตอร์หรือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ประเทศที่สง่ เสริมการอ่าน ล�ำดับต้นๆ ของโลก ขาย หนั ง สื อ ได้ม ากกว่ า 20 ล้านเล่มต่อปี ห้องสมุดใน ประเทศเข้าฟรีทงั้ หมด
ห้ อ ง ส มุ ด เป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แวดล้อ ม ลดการใช้ พลั ง งานในตั ว อาคาร ก า ร อ อ ก แ บ บ ต ก แ ต่ ง สอดคล้องกับระบบนิเวศ ธรรมชาติ
หนั ง สื อ พระคัม ภี ร ์บ รรจุ พระวาจาของพระเป็ นเจ้า ถือเป็ นหนังสือขายดีท่ีสดุ ของโลกเล่มหนึง่ มียอดขาย ไม่ต่ ำ� กว่า 100 ล้านเล่ม ต่อปี
LITERACY
J. K. ROWLING
KINOKUNIYA SHOTEN
LITTLE PRINCE
วิิ ช าที่่�ว่่ าด้ ้ว ยการเรีี ย นรู้้� สารสนเทศ เข้้า ใจด้้า น ภาษาในระดัับที่่�เหมาะสม กัับการสื่่�อสาร เพื่่�อให้้ทำำ�งาน ได้้สมบููรณ์์ในระดัับสัังคม ต่่างๆ
เจ้้ า ของผลงานหนัั ง สืื อ ขายดีีอย่่าง Harry Potter เธอเริ่่�มเป็็ นนัักอ่่านตั้้�งแต่่ วััยเยาว์์
ร้านหนังสือสัญชาติญ่ีปนุ่ ที่ มี ส าขากว่ า 72 สาขา ในญี่ปนุ่ และมากกว่า 30 สาขาทั่ว โลก โดยสาขา แรกก่ อ ตั้ง ขึน้ ในฮาราจูกุ โตเกียว
เจ้าชายน้อย โดยนักเขียน ชาวฝรั่งเศส Antonio de Saint – Exupery หนังสือ ที่ ส ร้า งแรงบัน ดาลใจให้ ผูค้ นมากมายทั่วโลก
INFORMATION
one Of a kind
MELVIL DEWEY
NAKANOSHIMA CHILDREN'S
บรรณารักษ์ชาวอเมริกนั ผูค้ ดิ ค้น ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือ แบบทศนิยม หนึง่ ในผูร้ เิ ริม่ ก่อตัง้ สมาคมห้องสมุดอเมริกนั
BOOK FOREST
ห้องสมุดริมแม่นำ้� ในโอซาก้าที่ สร้างขึน้ เพือ่ ขัดเกลาการรับรูแ้ ละ ปลูกฝั งนิสยั รักการอ่านให้เด็กๆ ในญี่ปนุ่
POMODORO
QUOTATIONS FROM THE
OMNICHANNEL
TECHNIQUE
WORK OF MAO TSE TUNG
เทคนิคการตลาดด้านการ อ่านทัง้ แบบออฟไลน์และ ออนไลน์ เพื่ อ ให้สั ง คม ห้ อ งสมุ ด รวมถึ ง ร้ า น หนัง สื อ ต่า งๆ อยู่ร อดใน ยุคดิจิทลั
เทคนิ ค การอ่ า นที่ คิ ด ค้น โดย Francesco Cirillo ชาว อิตาเลียน โดยแบ่งเวลา ออกเป็ นช่วงละ 25 นาที เพื่อไม่ให้สมองเหนื่อยล้า เกินไป
หนัง สื อ ปกแดง วางขาย แอปพลิเคชันทีช่ วนผูค้ นมา มาตั้ง แต่ ปี พ.ศ. 2505 เป็ นจิตอาสาอ่านหนังสือ โดยประชาชนจี นจะต้อง ให้คนตาบอดฟั ง มีคนละ 1 เล่ม เพื่อปรับ ทัศ นคติ ใ ห้ไ ปในทิ ศ ทาง เดียวกัน
TALE OF GENJI
UTOPIA
VOCABULARY
หนั ง สื อ เล่ ม ส�ำ คั ญ ของ Sir Thomas More กับ ใจความที่ ดึ ง ดูด นัก อ่ า น ทั่วโลกให้ชวนตั้งค�ำถาม ตาม
ค� ำ ศั พ ท์ ท่ี ยิ่ ง อ่ า น ม าก เท่า ใด ยิ่ ง ช่ ว ยสร้า งคลัง ค�ำ ศัพ ท์ใ ห้ส มองมากขึน้ เรือ่ ยๆ
READ FOR THE BLIND
SUSTAIN SILENT READING
หลักสูตรในการเรียนของ นวนิยายเล่มแรกของโลก สหรัฐ อเมริ ก า ที่ ไ ด้แ บ่ ง ประพั น ธ์ โ ดย มู ร าซากิ คาบเรียนให้นกั เรียนเลือก ชิกิบุ ในต้นศตวรรษที่ 11 อ่ า นหนั ง สื อ ที่ ช อบโดย ไม่จำ� เป็ นต้องเป็ นหนังสือ เรียนเท่านัน้
WORLD BOOK AND COPYRIGHT DAY
XEROGRAHY
YAGUCHI SHOTEN
Z-LIB
วันหนังสือและลิขสิทธิ์โลก ตรงกับวันที่ 23 เมษายน ของทุกปี ซึง่ เกิดขึน้ ครัง้ แรก ในปี พ.ศ. 2538 ก่อตัง้ ขึน้ โดยองค์การยูเนสโก
เครื่ อ งถ่ า ยเอกสารเป็ น ตัวช่วยส่งเสริมการอ่านใน ยุค ที่ ห นัง สื อ มี ร าคาแพง เพื่อกระจายเข้าสู่กลุ่มคน ทุกชนชัน้
ร้ า นหนั ง สื อ เก่ า แก่ ใ น โตเกี ย วที่ มี ก ารตั้ ง แผง หนัง สื อ ออกมาด้า นนอก ร้า น ดึง ดูดให้ผูค้ นที่ เดิ น ผ่านไปมารู ส้ ึกใกล้ชิดกับ หนังสือ
โครงการเว็็ บ ไซต์์แ หล่่ ง รวมหนัังสืือและบทความ มากกว่่ า 86 ล้้า นชิ้้�น ที่่� สามารถเข้้าไปดาวน์์โหลด มาอ่่านกัันได้้
O
15
16
E
EXPLAINED
เส้นทางประวัติศาสตร์ ของร้านหนังสือ ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก
ในสมัยก่อนการจับจองครอบครอง “หนังสือ” สักเล่ม ถือเป็ นสิ่งที่แสดงออกถึงระดับฐานะและ ยศถาบรรดาศัก ดิ์ ไ ด้เป็ น อย่ า งดี เพราะหนัง สื อ แต่ ล ะเล่ ม ต้อ งเขี ย นด้ว ยมื อ จึ ง เป็ น สิ่ ง ของล�ำ้ ค่ า หายากจัดอยูใ่ นกลุม่ หรูหรา ฟุ่ มเฟื อย การกระจายความรูจ้ งึ เป็ นเรือ่ งที่ไม่งา่ ยนัก ผูค้ นเริม่ ใช้กระดาษราว 2,000 ปี ก่อน โดยร้านหนังสือแห่งแรกๆ คาดว่าเกิดขึน้ ในดินแดนยุโรป จนในศตวรรษที่ 19 นับว่าเป็ น จุดรุง่ โรจน์ของกระดาษเมื่อมีการประดิษฐ์เครือ่ งผลิตกระดาษแทนการผลิตด้วยมือ และการผลิตหนังสือ จากโรงพิมพ์กม็ คี วามนิยมเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ จากหนังสือที่ใช้การจดการเขียนม้วนในกระดาษเป็ นแผ่นๆ สู่การเย็บเล่ม มาเป็ นการพิมพ์ดว้ ยแม่พิมพ์จากธรรมชาติ สู่โลกแห่งอุตสาหกรรมหนังสือและการ กระจายตัวไปอยูบ่ นชัน้ ในร้านหนังสือทั่วทุกมุมโลก
เส้ น ทางการเดิ น ทางของหนั ง สื อ ที่ ท� ำ หน้ า ที่ กระจายความรู้นั้น หากจะเทียบก็คงไม่ต่างจากการ ล�ำเลียงสินค้าส�ำคัญจากเมืองท่าขนาดใหญ่ ทเี่ ป็ น ศูนย์กลาง กระจายตัวไปตามหัวเมืองต่างๆ และแจกจ่าย กระจายความรู้สู่ชุมชนท้องถิน่ เพือ่ การเข้าถึงความรู้ อย่างทั่วถึง
EXPLAINED
เยอรมนี
จุดเริ่มต้น
สันนิบาตฮันเซอ (Hanse/Hansa) หรือการขยายอ�ำนาจ ทางเศรษฐกิ จในเยอรมนี เริ่มก่ อตัวขึน้ ราวคริสต์ศตวรรษ ที่ 12 เมื่ อ แรกก่ อ ตั้ง ใช้ช่ื อ ว่ า "สมาพั น ธ์ พ่ อ ค้า ฮั น เซอ" เป็ นความร่วมมือระหว่างเมืองลือเบ็คและฮัมบวร์กเพื่อค้าขาย ปลาเฮร์ริงกับเกลือ ต่อมาในปี พ.ศ. 1784 สมาพันธ์พ่อค้า เข้า ผู ก ขาดเส้น ทางค้า เกลื อ ที่ เ มื อ งลื อ เนอบวร์ค ซึ่ ง เกิ ด ผลประโยชน์มหาศาล จนพ่อค้าจากเมืองโคโลญและดันท์ซชิ ขอเข้าร่วมด้วย และมีอีกหลายเมืองตามมา เมื่อสันนิบาต มีสมาชิกเพิ่มมากขึน้ ทัง้ ที่เป็ นเยอรมนีและเมืองฝั่ งยุโรปเหนือ จึ ง มี ก ารจัด ระเบี ย บการปกครองเพื่ อ ความเป็ น เอกภาพ เมื องที่ เข้าร่วมสันนิ บาตต้องใช้กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ของลื อ เบ็ ค และใช้ภ าษาเยอรมนี เป็ น ภาษากลางในการ ติดต่อสื่อสาร จนเกิดเอกสารและหนังสือขึน้ กระจายไปตาม เส้นทางการเดินทางนีม้ ากมาย
การเดินทาง ของหนังสือเล่ม ต่อมาในช่วงปี พ.ศ. 1993 ณ เมืองไมนซ์ โยฮั น กู เ ทนแบร์ก (Johannes Gutenberg) พิ ม พ์คัม ภี ร ์ไ บเบิ ล โดยใช้เ ครื่ อ งพิ ม พ์ป ระเภท โลหะที่ เ คลื่ อ นย้า ยได้ ซึ่ง ท�ำ ให้เ ทคนิ ค การพิ ม พ์ นีแ้ พร่กระจายไปทั่วเยอรมันและยุโรปในตอนนัน้ แต่ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 ระบอบนาซี ร่วมมือกับนักศึกษามหาวิทยาลัยและศาสตราจารย์ จ�ำ นวนมากทั่ว ประเทศเผาหนัง สื อ วรรณกรรม เอกสารวิ ช าการต่ า งๆ ที่ เ ขี ย นขึ ้น โดยชาวยิ ว และมี เ นื ้อ หาไม่ ส อดคล้ อ งกั บ ระบอบซึ่ ง อาจ เป็ น ที่ น่ า เสี ย ดายส�ำ หรับ นั ก คิ ด นั ก อ่ า นหลายๆ คนในเวลานั้น ในปี พ.ศ. 2549 มี ก ารติ ด ตั้ง ประติ ม ากรรมชั่ ว คราวเกี่ ย วกั บ ประวัติ ศ าสตร์ หนังสือเยอรมนีท่ี Bebelplatz ในกรุงเบอร์ลนิ ด้วย
ปัจจุบัน ปั จ จุ บั น เยอรมนี ถื อ เป็ น อี ก หนึ่ง ประเทศที่ มี วัฒนธรรมการอ่านที่แข็งแรงมากในยุโรป ในเยอรมนี นั้น ร้า นหนัง สื อ มี ม ากมายพอกั บ ซู เ ปอร์ม าร์เ ก็ ต มีีมากมายหลายขนาดทั้้�งขนาดใหญ่่ แฟรนไชส์์ร้า้ น ร้้า นหนััง สืื อ มืื อ สองหรืือ หนััง สืื อ เฉพาะกลุ่่�มต่่ า งๆ แม้้แ ต่่ ในโบสถ์์หลายๆ แห่่งยัังมีีบริิการห้้องสมุุดด้้วย เมื่่�อเทีียบกัับประเทศอื่่�นๆ ในตอนนี้้�ชาวเยอรมัันยัังคง นิยมอ่านหนังสือเล่มมากกว่าประเทศอื่นๆ ทุกวันนี ้ ในเยอรมนี มี การพิ ม พ์ห นัง สือ ขายประมาณเกื อ บ 100,000 เล่ม
E
17
18
E
EXPLAINED
อิตาลี จุดเริ่มต้น
ย้อนกลับไปในอดีต เนื่องจากอิตาลีมีแคว้นต่างๆ มากมาย ผูค้ นใช้ภาษาที่แตกต่างกัน ท�ำให้การสื่อสารเข้าใจกันได้ยาก แม้กระทั่งเอกสารต่างๆ ของอิตาลีท่ีได้รบั ความนิยมมากที่สดุ ในศตวรรษที่ 10 ก็ ยังเป็ นภาษาถิ่ นต่างๆ จนกระทั่ง Dante Alighieri ผูเ้ ป็ นกวีเอกและนักภาษาศาสตร์ได้คิดค้นภาษากลาง เพื่อเชื่อมต่อผูค้ นให้เข้าใจกันและกันง่ายดายมากยิ่งขึน้
การเดินทาง ของหนังสือเล่ม ในศตวรรษที่่� 16 Simone Galignani เริ่่�มพิิมพ์์หนัังสืือขึ้้�นในปีี พ.ศ. 2063 ณ เวนิิส อิิตาลีี ซึ่่�งครอบครััวนี้้�ถืือเป็็ นกลุ่่�มแรกๆ ที่่�พิิมพ์์หนัังสืือด้้วยแท่่นพิิมพ์์กูเู ทนแบร์์ก ซึ่่�งเป็็ นแท่่นพิิมพ์์ แบบเรีียงตััวอัักษรที่่�เปลี่่�ยนรููปแบบการพิิมพ์์ของโลกในสมััยฟื้้�นฟููศิลิ ปวิิทยาการ และหนัังสืือ ที่่�สร้้างยอดขายได้้มากที่่�สุุดคืือหนัังสืือ Geographia ของ Ptolemy นัักคิิดชาวกรีีกคนสำำ�คััญ ขายดีีมากเกืือบสองศตวรรษเลยก็็ว่า่ ได้้ จนเวนิิสสููญเสีียอำำ�นาจทางเศรษฐกิิจ ผู้้�เป็็ นทายาท จึึงย้้ายไปตั้้�งรกรากที่่�ปารีีส และประวััติิศาสตร์์หน้้าแรกของร้้านหนัังสืื อ ในยุุโ รปเริ่่�มขึ้้�น ที่่�กรุุงปารีีส ในปีี พ.ศ. 2344 กัับร้้านหนัังสืือที่่�ชื่่�อ Galignani หรืือ Liraria Galignani ถืือ เป็็ นร้้านหนัังสืือภาษาอัังกฤษร้้านแรกในภาคพื้้�นทวีีป ร้้านหนัังสืือแห่่งนี้้�เป็็ นโรงพิิมพ์์ไปด้้วย ในตััว รวมทั้้�งมีีห้อ้ งสนทนาและห้้องอ่่านหนัังสืือภาษาอัังกฤษโดยเฉพาะด้้วย ปัั จจุุบันั ร้้าน แห่่งนี้้�ก็็ยังั คงอยู่่� เรีียกว่่าผ่า่ นร้้อนผ่่านหนาวผ่่านประวััติศิ าสตร์์ในยุุคต่่างๆ มากว่่า 200 ปีี
ปัจจุบัน ร้ า นหนั ง สื อ ในอิ ต าลี มี ค วามหลากหลาย หลายๆ ร้้านโดดเด่่นเป็็ นเอกลัักษณ์์สร้้างชื่่�อเสีียง มายาวนาน เมื่่�อไม่่นานมานี้้�มีีร้า้ นหนัังสืือกึ่่�งคาเฟ่่ ในอิิตาลีีแจกหนัังสืือเด็็กๆ เพีียงให้้เด็็กๆ เอาขวดและ กระป๋๋องมาแลกเพื่่�อนำำ�ไปรีีไซเคิิล งานนี้้�ทั้้�งช่่วยเสริิม กิิจกรรมอนุุรักั ษ์์สิ่่�งแวดล้้อมแล้้ว ยัังส่่งเสริิมการอ่่าน ไปในตััว โดยหนัังสืือที่่�นำำ�มาแจกได้้รับั การบริิจาค จากคนทีม่ าซือ้ หนังสือทีร่ า้ น โดยเล่มแรกน�ำกลับไปอ่าน อีกเล่มทิง้ ไว้ท่ีรา้ นเผื่อให้คนที่ตอ้ งการ
EXPLAINED
จีน จุดเริ่มต้น
เมื่่�อ 5,000 ปีี ก่่อนคริิสตกาล มนุุษย์์เราเริ่่�มรู้้�จัักขีีดเขีียน ด้้วยการใช้้ของแข็็งกดลงบนดิินเหนีี ยว จนเกิิ ดลวดลาย ตััวอัักษรที่่�เรีียกว่่าอักั ษรลิ่่�ม จนใน พ.ศ. 648 ชาวจีีนนามว่่า “ไซลั่่�น” ได้้คิดิ ค้้นวิิธีีทำำ�กระดาษขึ้้�น จากนั้้�นจึึงมีีการบัันทึึก และถ่่ า ยทอดเรื่่� อ งราวลงบนกระดาษแพร่่ห ลายมากขึ้้�น จนปี พ.ศ. 1411 วางเซียะ ซึ่งเป็ นชาวจีนได้ทำ� การพิมพ์ หนังสือขึน้ เป็ นเล่มแรก ชื่อว่า วัชรสูตร (Diamond Sutra) โดยมีลกั ษณะเป็ นม้วนยาว โดยมีจุดประสงค์เพื่อเผยแผ่ ศาสนาให้เป็ นที่รูจ้ กั ไปยังพืน้ ที่ตา่ งๆ ทั่วประเทศ
การเดินทาง ของหนังสือเล่ม รากฐานอารยธรรมของจีน คือ การสร้างระบบภาษาเขียนให้เป็ น ภาษากลางใช้ได้ท่วั ประเทศ เกิดขึน้ ในยุคราชวงศ์ฉิน (ศตวรรษที่ 58) การอ่านมีความส�ำคัญมากดูได้จากการสอบเข้ารับราชการที่เรียก กันว่า สอบจอหงวน เหล่าบัณฑิตจ�ำเป็ นต้องอ่านให้มาก เรียนรู ้ ให้มาก แถมอิทธิพลการอ่านเพือ่ สอบเหล่านีย้ งั ส่งผลถึงเวียดนามด้วย เมื่อจักรพรรดิจีนอนุญาตให้บณ ั ฑิตจากเวียดนาม สามารถสอบรับ ราชการได้เช่นเดียวกัน หนังสือและต�ำราของจีนที่เป็ นความรูจ้ งึ ถูก ส่งต่อกระจายไปเกือบทั่วประเทศ ท�ำให้เกิดสังคมแห่งการอ่านที่ แข็งขันจนถึงทุกวันนี ้
ปัจจุบัน แม้ว่าร้านหนังสือต่างๆ ทั่วโลกจะก�ำลังเผชิญวิกฤตขาลง ต่างต้องดิน้ รนให้อยู่รอด แต่เรื่องนี ้ ตรงกันข้ามสิน้ เชิงส�ำหรับจีน เพราะแม้จะเจอสถานการณ์โควิด แต่ว่ามีรา้ นหนังสือเกิดใหม่ในจีน เพิ่มขึน้ ถึง 4,000 แห่งทั่วประเทศ โดยเฉพาะกรุงปั กกิ่งมีรา้ นเปิ ดใหม่มากถึง 639 แห่ง ซึง่ กลยุทธ์สำ� คัญ ในการอยูร่ อด คือ การปรับตัวและจัดกิจกรรมไลฟ์สตรีมมิ่งมาช่วยเพิ่มยอดขายนั่นเอง ในปี พ.ศ.2556 ยูเนสโกขึน้ ทะเบียนเซินเจิน้ ให้เป็ นเมืองต้นแบบด้านส่งเสริมการอ่านของโลก ในช่วง เดือนพฤศจิกายนของทุกปี ถือเป็ นเดือนแห่งการอ่าน ส�ำหรับชาวเซินเจิน้ มีการจัดกิจกรรมหลากหลาย การบรรยาย การอ่านบทกวี การบริจาคหนังสือ การแนะน�ำหนังสือดีๆ ที่หา้ มพลาด ด้วยการสนับสนุน จากรัฐบาลจีน เซินเจิน้ จึงมีหอ้ งสมุดและร้านหนังสือคุณภาพเยี่ยมเป็ นจ�ำนวนมากที่เอือ้ ต่อการเข้าถึง ของผูค้ น ผลจากการส�ำรวจจากมหาวิทยาลัยเซินเจิน้ ในปี พ.ศ. 2561 พบว่า ชาวเซินเจิน้ แต่ละคนอ่านหนังสือ เฉลี่ย 18.44 เล่ม และนี่อาจเป็ นเหตุผลหนึ่งว่าท�ำไมเมืองนีจ้ งึ เจริญรุดหน้าไวมาก ทัง้ ด้านเทคโนโลยี การเงิน โลจิสติกส์และอุตสาหกรรม และส�ำหรับชาวจีนนัน้ การอ่านหนังสือเท่ากับการคลายเครียด
E
19
20
E
EXPLAINED
ทุกวันนี้อินเดียก็มีร้าน หนังสือดีๆ มากมาย
ที่่�มา : unsplash.com/photos/OYnXshorTdE
ในปี พ.ศ. 2565
จะไม่มีคนอินเดียที่ไม่รูห้ นังสืออีกต่อไป นี่คือค�ำกล่าวของ Prakash Javadekar รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ แ ห่ ง อิ น เดี ย สมั ย อิ น เดี ย ประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2490 อัตราผูร้ ู ห้ นังสือในอินเดียมีแค่ 18% แต่ผ่านมา 70 กว่าปี มีอัตราผูร้ ู ห้ นังสือเพิ่มเป็ น 80% ซึ่งคิดเป็ น 4.4 เท่า ทั้ง นี ม้ าจากการ ที่ ร ัฐ บาลส่ ง เสริม ให้ผู้ค นเข้า ถึ ง การศึก ษาและการอ่ า นแบบจริง จัง นั่น เอง และ ส�ำนักพิมพ์ต่างประเทศยักษ์ใหญ่ อย่าง Penguin Random House Hachette UK HarperCollins Taylor & Francis ฯลฯ ต่างพากันสนใจมาลงทุนธุรกิจสิ่งพิมพ์ ในอินเดีย เคยมีรายงานว่าคนอินเดียอ่านหนังสือเฉลี่ยมากกว่า 10 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ นั่นจึงท�ำให้ในอินเดียมีรา้ นหนังสือดีๆ จ�ำนวนไม่นอ้ ย
EXPLAINED
ในปี พ.ศ. 2546-2547
ยูเ นสโกได้เ คยประกาศให้เ ดลี เป็ น เมื อ งหลวง ของหนั ง สื อ โลกและอิ น เดี ย มี ค วามหลากหลาย ทางภาษาที่น่าสนใจ เป็ นชาติท่ีพิมพ์หนังสือมากถึง 24 ภาษา แถมยังเป็ นอันดับสามในการพิมพ์หนังสือ ภาษาอังกฤษมากที่ สุดรองจากสหรัฐอเมริกาและ สหราชอาณาจักร แต่ละปี มีการพิ มพ์หนังสือใหม่ มากถึง 100,000 รายการ
E
21
DIGITONOMY
รวมสถิติในแวดวง
สิ่งพิมพ์ และ ร้านหนังสือ ทั่วโลกในยุคโควิด-19
ท่่ามกลางการล่่มสลายของหลายสิ่่�งอย่่างจากโควิิด -19 กลัับกลายเป็็นยาปลุุกชีีพให้้วงการหนัังสืือกลัับมา คึึกคัักอีีกครั้้ง� เพราะเมื่่�อล็็อกดาวน์์ ให้้อยู่่แ� ต่่ในบ้้าน หนัังสืือกลายเป็็นเครื่่อ� งช่่วยเยีียวยาจิิตใจชั้้น� ดีีที่่ค� นทั่่�วโลกวางใจ
ความเคลื่อนไหวในแวดวงสิ่งพิมพ์โลก ปี พ.ศ. 2564 ทวีีปเอเชีียและอเมริิกาเหนืือ มีีส่่วนแบ่่งทางการตลาด
34%
ผู้้�ที่่�ทำำ�งาน ในวงการสิ่่�งพิิมพ์์
การเติบโตตลาดหนังสือโลก
หนัังสืือใหม่่ที่่�ออกสู่่�ตลาด มีีประมาณ
คาดว่าจะแตะ
87.92
พันล้าน ดอลลาร์
ปี พ.ศ.
2563
92.68
พันล้าน ดอลลาร์
ปี พ.ศ.
2564
315,731 คน
124.2 พันล้าน
1.5 ล้้าน เรื่่�อง
ดอลลาร์
ปี พ.ศ.
2568
3 อันดับหนังสือขายดีตลอดกาล
คัมภีร์ ไบเบิล
4 พันเล่มล้าน
ที่มา : www.tonerbuzz.com/blog/book-and-reading-statistics
D
The Works of Mao Tse-tung
820เล่มล้าน
หนังสือชุด The Harry Potter
500เล่มล้าน
ที่มา : Guinness Book Of World Records / Forbes
22
DIGITONOMY
สหรัฐอเมริกา
นิิยายสำำ�หรัับผู้้�ใหญ่่ นิิยายสำำ�หรัับเด็็ก
23
ปี พ.ศ. 2560 ยอดขายหนังสือเพิ่มขึ้น ทุกประเภท
4.8% 6% 11%
สารคดีีสำำ�หรัับผู้้�ใหญ่่
D
สารคดีีสำำ�หรัับเด็็ก นิิยายสำำ�หรัับวััยรุ่่�น สารคดีีสำำ�หรัับวััยรุ่่�น
23.1% 21.4% 38.3%
ที่มา : Publisher’s Weekly
พฤติกรรมการอ่านของคนอเมริกัน ปี พ.ศ.
2562
ปี พ.ศ.
หนัังสืือเล่่มขายได้้
2563
693.7 ล้้านเล่่ม
หนัังสืือออกใหม่่ ปีีละ
700,000 1,000,000 เล่่ม
8.2%
ขายได้้
751 ล้้านเล่่ม
50%
เกี่่�ยวกัับ การศึึกษา และวิิทยาศาสตร์์
ที่มา : www.tonerbuzz.com/blog/book-and-reading-statistics
การเติบโตของร้านหนังสืออิสระ จำำ�นวน
จ�ำนวน ร้านหนังสือ
จำำ�นวน
967 แห่ง
ปี พ.ศ. 2563
จำำ�นวน
จำำ�นวน
883 แห่ง
890 แห่ง
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2562
868 แห่ง
ที่มา : www.thebookseller.com/news/indie-bookshop numbers-rise-2020-ba-stats-show-1232504#
อังกฤษ
D
DIGITONOMY
เยอรมนี หันมาอุดหนุนหนังสือออนไลน์มากขึ้น
17%
21%
เพิ่่�งทราบว่่าสามารถ ซื้้�อหนัังสืือ ผ่านช่องทางออนไลน์และ สั่งจองผ่านโทรศัพท์ ได้
ประชากรราว
Scan QR Code เพื่อรับชม Clip
1 ล้านคน ซื้้�อหนัังสืือผ่่านช่่องทาง ข้้างต้้นเป็็นครั้้�งแรก ในช่่วงโรคระบาด
ของประชากร อ่่านหนัังสืือบ่่อยขึ้้�น ที่มา : สมาคมผูจ้ ดั พิมพ์และผูจ้ ดั จ�ำหน่ายหนังสือเยอรมนี www.pubat.or.th
จีน
ยอดขายของร้านหนังสือในจีนลดลง ยอดขายปีีแรกของปีี พ.ศ. 2563 ลดลงจากเวลาเดีียวกัันของปีีที่่�แล้้ว
ผลการสำำ�รวจยอดขาย
31.47%
แบบออฟไลน์์จำำ�นวน
5,500
จำำ�นวนสมาชิิกใหม่่ ของแพลตฟอร์์ม
แห่งทั่วจีน
เนื้้�อหาดิิจิิทััลหลายแห่่งในจีีน เพิ่่�มขึ้้�นกว่่า 20% เมื่่�อเทีียบกัับช่่วงก่่อนหน้้า ที่มา : แพลตฟอร์มบิก๊ ดาต้าจงจินอีอ้ วิ๋น (Centrin Ecloud) www.pubat.or.th
ไต้หวัน ชาวไต้้หวัันสนใจหนัังสืือจิิตวิิทยา และให้้กำำ�ลัังใจมากขึ้้�น จ�ำนวนหนังสือ ที่ตีพิมพ์ ใหม่ จ�ำนวนลดลง
1,769 เรื่อง
35,041 เรื่อง
ปี พ.ศ.
2562
ปี พ.ศ.
2563
เสพมังงะและอ่านออนไลน์นานขึ้น
29.7%
30%
40.2%
40.4%
อ่่าน มัังงะ นานขึ้้�น
อ่่าน ออนไลน์์ นานขึ้้�น
สนใจ มัังงะ เพิ่่�มขึ้้�น
ฟััง พอดแคสต์์ นานขึ้้�น
ที่มา : www.pubat.or.th
24
DIGITONOMY
ไทย
อันดับ 2 ของโลก
คนไทยให้เวลากับการอ่านหนังสือต่อสัปดาห์มากเป็น
ข้้อมููลจาก NOP World Under Score Index จากการสำำ�รวจการให้้เวลากัับการอ่่านต่่อสััปดาห์์
ในประชากรแต่่ละประเทศทั่่�วโลก ระบุุว่่า
1 อินเดีย
10.42
ชั่วโมง/คน/สัปดาห์
2
ไทย
3 จีน
4 ฟิลิปปินส์
ชั่วโมง/คน/สัปดาห์
ชั่วโมง/คน/สัปดาห์
ชั่วโมง/คน/สัปดาห์
9.24
8
5 อียิปต์
7.36
7.30
ชั่วโมง/คน/สัปดาห์
ที่มา : www.indy100.com/discover/the-countries-that-read-the-most-books-7348401
เส้นทางการเติบโตของตลาดสื่อสิ่งพิมพ์ ในประเทศไทย
29,300 ล้านบาท ปี พ.ศ.
2557
27,900
27,100
ล้านบาท ปี พ.ศ.
2558
ล้านบาท
23,900 ล้านบาท
20,000
ปี พ.ศ.
ปี พ.ศ.
ปี พ.ศ.
2559
ล้านบาท
2560
2561 ผลรวมรายได้โดยประมาณ
47% ร้านหนังสือ
35% งานหนังสือ
ผลสำำ�รวจของ สถาบัันอุุทยานการเรีียนรู้้� TK Park และสำำ�นัักงานสถิิติิแห่่งชาติิ ปีี พ.ศ. 2561 พบว่่า
คนไทยยังชอบไปซื้อ หนังสือที่ร้าน
3%
15% สั่งหนังสือเล่ม ทางออนไลน์
E-Book
ไทยมีีร้้านหนัังสืือ ทั่่�วประเทศ ประมาณ
783 แห่่ง แบ่งเป็น
ร้้านหนัังสืืออิิสระ
169 ร้าน
ร้้านหนัังสืือรายใหญ่่
614 ร้าน
D
25
26
T
The Knowledge
ร้านหนังสือ
พื้นที่แห่งความหวังสู่เป้าหมาย การเป็นสังคมแห่งการอ่าน ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าร้านหนังสือแห่งแรกของโลกคือที่ ไหน หากจะมีก็แต่บนั ทึกเรือ่ งการขายหนังสือครัง้ แรกของโลก ที่เกิดจากการเอาหนังสือเขียนด้วยมือ (Manuscript ) ไปขายที่งานออกร้านอิมพีเรียล แฟร์ ในเยอรมนี ช่วงศตวรรษที่ 15 ที่แม้แต่มาร์ตนิ ลูเธอร์ นักปฏิรูปศาสนาก็นำ� หนังสือของตนมาขายในงานนี ้ ในหลายประเทศทั่วทุกมุมโลก ต่างก็มปี ระวัตศิ าสตร์การขายหนังสือเป็ นของตนเอง อาทิ ตรุ กี กรุงอิสตันบูลมีตลาดขายหนังสือคัมภีรโ์ กหร่านเขียนด้วยมือ ที่ซาฮาฟลาร์ คาร์ซิส (Sahaflar Carsis) ตรงข้ามประตู Spoons Maker ของบาซาร์ในตุรกี ที่ปัจจุบนั เป็ นตลาดขายหนังสือมือสอง และหนังสือหายากจากทั่วทุกมุมโลก เยอรมนี เมื่อกูเตนเบิรก์ (Gutenberg) คิดค้นวิธีการเรียงพิมพ์ได้สำ� เร็จเมื่อ 500 กว่าปี ท่ีแล้ว จึงเกิด การพิมพ์หนังสือขึน้ อย่างแพร่หลาย น�ำมาสูจ่ ดุ ก�ำเนิดของตลาดขายหนังสือที่แฟรงค์เฟิ รต์ (Frankfurt Book Fair) เทศกาลหนังสือระดับโลกที่ยงั คงความยิ่งใหญ่ตราบจนถึงยุคโควิด-19 ที่ตอ้ งย้ายไป จัดงานในรูปแบบออนไลน์แทน อังกฤษ ในขณะที่รา้ นขายหนังสือในประเทศอังกฤษถือก�ำเนิดขึน้ ข้างมหาวิทยาลัยในช่วงต้นศตวรรษ ที่ 19 และกระจัดกระจายเต็มไปด้วยร้านหนังสือเล็กๆ ในทุกซอกหลืบของเมืองใหญ่ ขายหนังสือ ปกขาวแห่งยุควิคตอเรียน และหนังสือแนวคิดการปฏิวตั ติ า่ งๆ สหรัฐอเมริกา เข้าสูป่ ลายศตวรรษที่ 20 ก�ำเนิดร้านหนังสือแบบซูเปอร์สโตร์ขนาดยักษ์กนิ พืน้ ที่ 4-5 ชัน้ ของตึกทัง้ ตึก โดยร้าน Border’s เคลมว่าตนคือต้นแบบของ Book&Music&Cafe ที่ก่อตัง้ ขึน้ เมื่อปี พ.ศ. 2514 ใน เมืองแอนน์อาร์เบอร์ รัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา และเริม่ มีแผนกดนตรีในปี พ.ศ. 2553 ตามมาด้วยการ ขายกาแฟในร้านหนังสือ ขยายสาขาไปทั่วอเมริกากว่า 300 แห่ง รวมถึงการเปิ ดสาขาในต่างประเทศ จนกลายเป็ นต้นแบบของส่วนผสมของการมีคาเฟ่ ในร้านหนังสืออิสระตราบจนทุกวันนี ้ ก่อนการมาถึงของโซเชียลมีเดีย ถือเป็ นยุคเฟื่ องฟู ของร้านหนังสือไม่วา่ จะในรู ปแบบของร้านหนังสือ อิสระ และร้านหนังสือเครือข่าย โลกแห่งสิ่งพิมพ์ บูมสุดขีด นิตยสารทยอยกันเปิดหัวใหม่ปีละหลายเล่ม เทศกาลหนังสือจัดขึน้ ปี ละมากกว่าสองครัง้ ฯลฯ แม้้ใ นช่่ว งสิิบ ปีี ม านี้้� วงการสิ่่�งพิิ ม พ์์จ ะทยอย ล้้มหายตายจาก เห็็นได้้ชัดั จากการปิิดตััวของนิิตยสาร และหนัังสืือพิิมพ์์หัวั ต่่างๆ กระนั้้�นหนัังสืือเล่่มดููไม่่มีี ทีีท่่าว่่าจะสููญสลายไปง่่ายๆ สำำ�นัักพิิมพ์์ทั้้�งใหญ่่
และย่ อ ยยั ง คงทยอยพิ ม พ์ ห นั ง สื อ ปกใหม่ ๆ ออกมาปี ละหลายเล่ม ร้านหนังสืออิสระไม่ว่าจะ ขายหนัง สื อ มื อ ใหม่ ห รื อ หนัง สื อ มื อ สองก็ ยัง คง “รัน” วงการต่อไปได้ และดูเหมือนว่าคาเฟ่ จะไม่ใช่ ส่วนประกอบที่สำ� คัญของร้านหนังสืออีกต่อไป การเพิม่ บทบาทของการเป็ นพืน้ ทีแ่ ห่งการเรียนรู ้ เข้าไปในร้านหนังสือหรือห้องสมุดต่างหาก คือค�ำตอบ ที่ย่ งั ยืนของการสร้างวัฒนธรรมการอ่านให้แข็งแรง และหยั่งรากลึกในหลากพืน้ ที่ของโลกใบนี ้
The Knowledge
SCAN QR CODE เพื่อรับชม Clip
นโยบายการส่งเสริมการอ่าน ของแต่ละประเทศ ในช่วงทศวรรษก่อนปี 2000 จะมาเยือน หลาย เมืองในโลกให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาสูส่ ถานะ “เมืองการอ่าน” ก่อให้นโยบายต่างๆ ที่น่าสนใจ และแต่ละประเทศต่างก็นำ� ไปปฏิบตั ิอย่างจริงจัง และต่อยอดไปสูก่ ารปลูกฝั งวัฒนธรรมการอ่านให้ หยั่งรากลึกในส�ำนึกของผูค้ น ญี่ปุ่น ปี พ.ศ. 2538 หลายเมืองในญี่ปนุ่ จัดกิจกรรม “อ่านยามเช้า” โดยให้นกั เรียนทุกคนอ่านหนังสือ 10 นาทีทกุ เช้า และโรงเรียนที่มีหอ้ งเรียน 12 ห้อง จะต้องมีบรรณารักษ์ท ําหน้าที่สง่ เสริมการอ่าน ปี พ.ศ. 2545 ห้อ งสมุ ด รัฐ สภาแห่ ง ชาติ (The National Diet Library : NDL) เปิ ดตัวห้องสมุด นานาชาติดา้ นวรรณกรรมเด็กอย่างเป็ นทางการ ในเดือนพฤษภาคม และเปิ ดให้บริการห้องสมุด
Kan-sai-kan ณ กรุ งเกียวโตซึ่งห้องสมุดแห่งนีม้ ี ระบบเครือ ข่ า ยสารสนเทศเชื่ อ มโยงกับ หอสมุด กลางแห่งกรุ งโตเกียว จึงสามารถให้บริการสืบค้น สารสนเทศทุกประเภทได้เช่นเดียวกับหอสมุดกลาง ในปี แรกที่เปิ ดให้บริการ ห้องสมุด Kan-sai-kan มีรายการหนังสือภาษาญี่ปนุ่ ออนไลน์ถงึ 2.6 ล้านปก รวมทัง้ ข้อมูลจากข่าวหนังสือพิมพ์หลายชาติหลาย ภาษา ซึ่งผูใ้ ช้งานสามารถสืบค้นได้ทงั้ ที่หอ้ งสมุด และจากเว็ บ ไซต์ ช่ ว ยอ�ำ นวยความสะดวกให้ ประชาชนเข้าถึงการอ่านได้แพร่หลายยิ่งขึน้ ปี พ.ศ. 2545-2549 รัฐบาลประเทศญี่ปนุ่ ก�ำหนด กรอบวงเงิินงบประมาณระยะ 5 ปีี เป็็ นเงิิน 65 พัันล้้านเยน สำำ�หรัับสนัับสนุุนการจััดซื้้�อหนัังสืือ เข้าห้องสมุดโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ละ 13 พันล้านเยน หรือประมาณ 4,810 ล้านบาท
T
27 27
28
T
The Knowledge
สหรัฐอเมริกา ปี พ.ศ. 2541 เมื อ งซี แ อตเทิ ล สหรัฐอเมริกาจัดแคมเปญ “ถ้าชาว ซีแอตเทิลทุกคนอ่านหนังสือเล่ม เดียวกัน” ซึ่งเป็ นต้นแบบกิจกรรม “หนึ่งเมืองหนึ่งเล่ม” ที่แพร่หลาย จากสหรัฐอเมริกาไปทั่วโลก และเมือง เกาสง ไต้หวันก็ รบั แรงบันดาลใจนี ้ มาด้วยเช่นกัน ไต้หวัน ห้ อ งสมุ ด ประชาชนเกาสง (Kaohsiung Public Library) เป็ น หนึ่ ง ในห้อ งสมุด เก่ า แก่ ท่ี อ ยู่คู่ ไต้ห วัน มานานเกิ น ศตวรรษ และ ปั จจุบนั ถือเป็ นห้องสมุดที่ใหญ่ท่ีสดุ ในภูมิภาคไต้หวันตอนใต้ ขึน้ ชื่อด้าน แนวคิดในการออกแบบและนวัตกรรม ในการให้บริการตามบริบทที่ทา้ ทาย ในแต่ ล ะยุ ค สมั ย จนกลายเป็ น แลนด์มาร์กส�ำคัญประจ�ำเมือง ทัง้ ยัง มี ส่ ว นส�ำ คั ญ ในการสนั บ สนุ น ให้ วัฒนธรรมการอ่านหยั่งรากลึกในวิถี ของผูค้ นทุกเพศทุกวัยผ่านกิจกรรม ต่อไปนี ้
โครงการบริิจาคล้้านเล่่ม ส่่งต่่อ ความรัักและความรู้้�สู่่�คนรุ่่�นต่่อไป เ ปิ ด รั บ บ ริ จ า ค เ งิ น เ พื่ อ จั ด ซื ้ อ หนังสือ ท�ำให้หอ้ งสมุดระดับท้องถิ่น มี ห นั ง สื อ ให้ บ ริ ก ารนั บ ล้า นเล่ ม ในหนัง สื อ แต่ ล ะเล่ ม จะมี ใ บปลิ ว ระบุร ายนามผู้บ ริ จ าค เพื่ อ แสดง ความขอบคุ ณ ในการที่ ส่ ว นร่ ว ม พัฒนาสังคม ตูย้ มื หนังสืออัตโนมัติ หน้าตา คล้ายตูจ้ ำ� หน่ายน�ำ้ อัดลม ติดตัง้ ไว้ ตามสถานีรถไฟฟ้า เพื่อให้สมาชิก ห้ อ งสมุ ด สามารถจองหนั ง สื อ เล่มที่ตอ้ งการผ่านช่องทางออนไลน์ จากนั้น ห้อ งสมุด จะจั ด ส่ ง ไปยัง ตู้ยื ม หนั ง สื อ อัต โนมัติ ณ สถานี รถไฟฟ้าที่ระบุไว้ภายในเวลา 2.33 วัน จากนั้น เพี ย งน�ำ บัต รรถไฟฟ้ า แตะที่ ตู้ แ ล้ ว พิ ม พ์ ร หั ส หนั ง สื อ ก็ จ ะได้ร ับ หนั ง สื อ เล่ ม ที่ ต ้อ งการ ไปอ่า น โดยไม่ ต อ้ งเดิ น ทางไปถึ ง ห้องสมุด
ห้้องสมุุดแบบเครืือข่่ายสาขา โดยแต่่ ล ะสาขามีี จุุ ด เด่่ น ที่่�แตก ต่่างกัันออกไป เช่่น ห้้องสมุุดสาขา หยัันเฉิิง เน้้นด้้านการ์์ตูนู เพราะไต้้หวััน เริ่่�ม มีี นััก เขีี ย นการ์์ตููน และหนััง สืื อ ภาพรุ่่�นใหม่่ๆ เพิ่่�มขึ้้�น ห้้องสมุุดสาขา ซุ่่�ยผิิง (Cuiping) เน้้นด้้านการทำำ� อาหาร เพราะอยู่่�ในชุุมชนผู้้�ย้้ายถิ่่�น มาจากประเทศต่่างๆ จึึงมุ่่�งเน้้นด้้าน การแลกเปลี่่�ยนวััฒนธรรม เป็็ นต้้น จุุ ด แจกจ่่ า ยหนัั ง สืื อ บริิ เ วณ สถานีีรถไฟ สถานีีรถไฟความเร็็วสููง และสถานีีรถไฟฟ้้า ดำำ�เนิินการโดย ห้้องสมุุดสาขาซั่่�วหยิิง โดยผู้้�สััญจร ไปมาสามารถหยิิบหนัังสืือไปอ่่าน โดยไม่่ จำำ� เป็็ นต้้อ งนำำ�มาคืื น แต่่ สนัับสนุุนให้้ส่ง่ ต่่อให้้กับั ผู้้�ที่่�ต้้องการ อ่่านต่่อไป หลัังจากนั้้�นจุุดแจกจ่่าย หนัังสืือก็็เกิิดเพิ่่�มขึ้้�นมากมาย เช่่น ในโรงพยาบาลหรืือคลิินิิก
ปีี พ.ศ. 2556 ห้้องสมุุดประชาชนเกาสงมีีเครืือข่่ายห้้องสมุุดกว่่า 70 แห่่ง มีีทรััพยากรหนัังสืือรวมกัันกว่่า 4 ล้้าน เล่่ม ในหนึ่่�งปีี มีีสมาชิิกยืืมหนัังสืือมากกว่่า 15 ล้้านครั้้�ง ซึ่่�งเพิ่่�มสููงขึ้้�นถึึง 84% เมื่่�อเทีียบกัับ 7 ปีี ที่่�ผ่า่ นมา นวััตกรรม การให้้บริิการที่่�หลากหลายทำำ�ให้้โมเดลห้้องสมุุดประชาชนเกาสงกลายเป็็ นต้้นแบบให้้กับั เมืืองอื่่�นๆ ทั่่�วไต้้หวััน ทั้้�งยัังส่่งผลทางอ้้อมให้้อุตุ สาหกรรมสิ่่�งพิิมพ์์กลัับมาเฟื่่� องฟููอีีกครั้้�ง เมื่่�อการอ่่านหนัังสืือกลายเป็็ นงานอดิิเรกที่่� ชาวเมืืองชื่่�นชอบ พวกเขาจึึงรู้้�จัักเลืือกซื้้�อหนัังสืือที่่�มีีคุณ ุ ภาพ และติิดตามผลงานของนัักเขีียนในดวงใจ
The Knowledge
วัฒนธรรมการอ่าน และการบันทึกของไทย หากไม่ นับ การอ่ า นผ่ า นสมุด ข่ อ ยใบลานที่ จ ำ� กัด เฉพาะชนชัน้ สูงและพระภิกษุ ดูเหมือนว่าประวัตศิ าสตร์ การอ่า นหนัง สื อ เล่ม ของไทยเพิ่ ง จะเริ่ม ขึน้ อย่า งเป็ น รู ป ธรรมในสมัย รัช กาลที่ 3 เมื่ อ หมอบรัด เลย์ก่ อ ตั้ง โรงพิมพ์แห่งแรกขึน้ ในสยามเมื่อ พ.ศ. 2482 ซึง่ ก็ยงั คง จ�ำกัดการเข้าถึงเฉพาะในหมูช่ นชัน้ สูงเช่นเคย ในขณะที่คนไทยส่วนใหญ่ส่งั สมความคิดความอ่าน จากการฟั งพระเทศน์เป็ นส�ำคัญ ควบคูก่ บั การหาความ บันเทิงจากการชมมหรสพอย่างลิเก มากกว่าจะเข้าถึง การอ่านหนังสือ ล่ว งเข้า สู่ยุค หลัง การเปลี่ ย นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เริ่มมีการก่อตัง้ มหาวิทยาลัยขึน้ หลายแห่ง จึงมีการพิมพ์หนังสือเพื่อการศึกษาและการแสวงหา ความรูด้ า้ นต่างๆ มากขึน้ คนไทยจึงมีโอกาสเข้าถึงการ อ่านหนังสือมากขึน้ แต่ก็ไม่แข็งแรงพอที่จะใช้คำ� ว่าเป็ น บ้านเมืองที่มีวฒ ั นธรรมการอ่านได้ เพราะวัฒนธรรมการอ่าน หมายถึง สังคมที่ให้ความ ส�ำคัญกับการอ่าน ชื่นชอบและรักการอ่าน การอ่าน เป็ นส่วนหนึ่งในชีวิต โดยกลุ่มคนส่วนใหญ่ต่างปฏิบตั ิ กิจกรรมการอ่านเป็ นกิจวัตรประจ�ำวัน รวมไปถึงการ พูดคุยสนทนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเรื่องการอ่าน หนังสือ นักเขียน และสิง่ ที่สนใจจนก่อให้เกิดการวิพากษ์ ทัง้ ที่เป็ นทางการและวงสนทนาทั่วไป
ที่่�มา : unsplash.com/photos/84mFDd6bZG4
ในขณะที่ สัง คมไทยเน้น วัฒ นธรรมการรับ ชม มากกว่า โดยเฉพาะเมื่อโทรทัศน์เข้ามามีบทบาทกับ วิถีชีวิตในครัวเรือนมากขึน้ เรื่อยๆ คนไทยที่ปกติก็ ชอบดูโขน ดูลเิ กอยูแ่ ล้ว จึงน้อมรับวัฒนธรรม การดู ทีวีเข้ามาอยู่ในชีวิตโดยไม่ตอ้ งเสียเวลาปรับตัวนาน และยังคงหยั่งรากฝั งลึกตราบจนทุกวันนี ้ ในขณะที่ วัฒนธรรมการอ่านปลิดปลิวไปกับสายลม ส�ำ นัก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ เ คยรายงานไว้เ มื่ อ ปี พ.ศ. 2548 ว่า ในจ�ำนวนประชากรไทย 60 ล้านคน อ่านหนังสือ 41 ล้านคน อ่านหนังสือได้แต่ไม่ชอบอ่าน 18 ล้านคน และอ่านหนังสือไม่ออก 3.3 ล้านคน ตัวเลขที่นา่ สนใจอยูต่ รงกลุม่ คนที่อา่ นหนังสือได้ แต่ไม่ชอบอ่าน เพราะส่วนใหญ่ใช้เวลาไปกับการดู โทรทัศน์ หรือถ้าเป็นสมัยนีก้ ห็ มดเวลาไปกับอินเทอร์เน็ต และโซเชียลมีเดียอย่างไม่ตอ้ งสงสัย นอกจากนี ้ ยังมีรายงานข่าว ระบุว่า “เด็กไทย อ่านหนังสือ 2-5 เล่มต่อปี โดยสิงคโปร์ และเวียดนาม อ่า น 50 เล่ม คนไทยอ่า นหนัง สื อ นอกเวลาเรีย น และท�ำงาน ร้อยละ 68.8 เฉลี่ยอ่านหนังสือคนละแค่ 35 นาทีตอ่ วัน”
T
29 29
30
T
The Knowledge
โอกาสในการพัฒนาสังคมไทย ให้เป็นสังคมแห่งการอ่าน จากตัวอย่างของหลายๆ ประเทศจะเห็นได้ว่า การกระจายหนัง สื อ ให้ถึง มื อ ประชาชนเป็ น เรื่อ ง ส�ำคัญ ในเมืองไทยเองซึง่ เป็ นสังคมแห่งการบริจาค ก็มีการกระจายหนังสือในรู ปแบบของการให้อย่าง ไม่เป็ นรู ปธรรมมาโดยตลอด ต่างจากรู ปแบบของ “โครงการอ่านสร้างชาติมูลนิธิกระจกเงา” ที่เปิ ด รับหนังสือบริจาคที่เป็ นหนังสือดีมีประโยชน์เท่านัน้ เพื่อส่งมอบแก่ผรู้ บั ที่ตอ้ งเป็ นผูเ้ ลือกหนังสือที่ตวั เอง ต้องการ ไม่ใช่ถกู ก�ำหนดโดยผูบ้ ริจาคเพียงฝ่ ายเดียว จึ ง ถื อ เป็ น การออกแบบระบบที่ ท ้ า ทายโจทย์
เรื่ อ งวัฒ นธรรมการให้ ที่ ผู้ใ ห้ต ้อ งเลื อ กในสิ่ ง ที่ ตัว เอง คิดว่าดีท่ีสดุ จริงๆ ไม่ใช่แค่การส่งต่อหนังสือที่ตวั เองไม่อา่ น แล้วสูผ่ อู้ ่ืน นอกจากนี ้ ยังมี ความเคลื่อนไหวในส่วนของภาครัฐ เมื่ อ เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2564 โดยกรมส่ ง เสริ ม วั ฒ นธรรม กระทรวงวั ฒ นธรรม มู ล นิ ธิ วิ ช าหนั ง สื อ และจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย โดยสถาบั น ไทย ศึ ก ษา ได้ท �ำ พิ ธี ล งนามบัน ทึ ก ข้อ ตกลงความร่ ว มมื อ (MOU) เรื่องความร่วมมือการส่งเสริมวัฒนธรรมหนังสือ และระบบหนังสือของไทย
The Knowledge
ความร่วมมือ การส่งเสริมวัฒนธรรม หนังสือและระบบหนังสือ ของประเทศไทย ส�ำหรับความร่วมมื อทางวิชาการครัง้ นี จ้ ะมี การ สร้า งองค์ค วามรู ร้ ่ว มกัน โดยจุฬ าฯ เป็ น ภาคี ห ลัก ด�ำ เนิ น การวิ จัย ส่ว นมูล นิ ธิ วิ ช าหนัง สื อ จะส่ง เสริม ระบบหนังสือในมิติต่างๆ ตัง้ แต่การประพันธ์จนถึง อุตสาหกรรมหนังสือ และให้กำ� ลังใจร้านหนังสือต่างๆ ที่ยงั เปิ ดกิจการ ทั้ง นี ้ การจัด ท�ำ ระบบหนัง สื อ ของประเทศไทย เพิ่ ง เกิ ด ขึน้ เป็ น ครัง้ แรก โดยมอบหมายให้ส ถาบัน ไทยศึกษา จุฬาฯ รวบรวมประมวลผลเกี่ยวกับปั ญหา ระบบหนังสือ ระบบความรู ข้ องประเทศ โดยก�ำหนด กลุ่ม เป้า หมายตั้ง แต่เ ด็ก เยาวชนไปจนถึง ผูส้ ูง อายุ ด้วยการใช้โจทย์จากความไม่รูด้ งั กล่าวมาศึกษาวิจยั เพื่ อให้ได้ชุดข้อมูลตอบโจทย์ท่ี สำ� คัญ คื อ มี คนใน ประเทศจ�ำนวนเท่าไหร่ท่ีเข้าไม่ถึงหนังสือ ซึ่งจะไม่ พิ จ ารณาแค่ ค วามรู ผ้ ิ ว เผิ น ที่ เ กิ ด จากอิ น เทอร์เ น็ ต แต่ตอ้ งเป็ นความรูท้ ่ีแตกฉานจากการอ่านหนังสือโดย แท้จริง ซึง่ จะศึกษาห่วงปั ญหา 14 ห่วง เช่น ผูผ้ ลิต นักเขี ยน พ่อแม่ ผูป้ กครอง ครู อาจารย์ นัก เรีย น นักศึกษา ฯลฯ แล้ววิเคราะห์หาทางแก้ปัญหาให้เหมาะ สมกับกลุม่ เป้าหมาย การสร้างระบบหนังสือนีข้ นึ ้ มาเป็ นการสร้างทัศนคติ ให้คนไทยอ่านหนังสือรู ปเล่ม สร้างสิ่งจูงใจให้เห็น ประโยชน์จากการอ่านหนังสือ จะท�ำให้คนที่เข้าไม่ถงึ องค์ค วามรู ้ไ ด้เ ข้า ถึ ง และน�ำ ไปใช้พัฒ นาตนเอง พัฒนาชาติ เมื่ อ หัน มารับ ฟั ง เสี ย งจากเจ้า ของร้า นหนัง สื อ อิ ส ระอย่ า งฟาธอม บุ๊ ค สเปซ ที่ เ น้น การเป็ น พื น้ ที่ แห่่งการเรีียนรู้้�ควบคู่่�กัับการขายหนัังสืือ ระบุุว่า่ หาก ในการสนัับสนุุนร้้านหนัังอิิสระ ภาครััฐควรพููดคุุยและ รัับฟัังเสีียงของผู้้�ประกอบการด้้วยว่่ากำำ�ลังั ประสบปััญหา
ที่่�มา : unsplash.com/photos/MKTGampVKMQ
อะไร และต้้องการทางออกแบบไหน ขยายความประเด็นนี เ้ พิ่มเติมด้วยความคิดเห็น จาก วิทยากร โสวัตร เจ้าของร้านหนังสือฟิ ลาเดลเฟี ย จังหวัดอุบลราชธานี ที่ไม่ได้มงุ่ เน้นการท�ำร้านหนังสือ เพื่ อ ขายหนัง สื อ แต่ พ ยายามขับ เคลื่ อ นเครื อ ข่ า ย การอ่านให้ขยายวงกว้างขึน้ เรือ่ ยๆ ด้วยหลากหลายวิธี ที่ดำ� เนินการด้วยตนเอง วิธีการคือ น�ำหนังสือที่ลน้ สต๊อก หนังสือที่เพื่อน หรื อ หลายคนให้ม า และหนั ง สื อ ที่ ดี ล กั บ มู ล นิ ธิ กระจกเงาไปจ�ำหน่ายเล่มละ 1 บาท หรือ 5 บาท เพือ่ ให้ ผูอ้ า่ นไม่เกิดความรูส้ กึ ว่าได้หนังสือมาฟรีๆ และเพื่อให้ เกิดการเลือกหนังสือที่เจ้าตัวอยากอ่านจริงๆ นอกจากนี ้ วิทยากรเสนอแนะไปยังโครงการต่างๆ ของภาครัฐ ที่ ตั้ง ใจสนัน สนุ น ร้า นหนัง สื อ อิ ส ระว่ า ควรติ ด ต่ อ ส�ำ นัก พิ ม พ์ต่ า งๆ ที่ มี ห นัง สื อ ล้น สต็ อ ก ให้ท ยอยระบายสิ น ค้า ด้ว ยราคาขายต�่ำ จากนั้น รายชื่อหนังสือทัง้ หมดแล้วแจกจ่ายไปยังร้านหนังสือ อิสระทั่วประเทศ เพื่อเลือกซือ้ หนังสือเหล่านีไ้ ปวาง ขายในร้าน หากท�ำตามกลยุทธ์ดงั กล่าวจะท�ำให้รา้ นหนังสือ อิสระมีหนังสือไว้จำ� หน่าย และส�ำนักพิมพ์เองก็ได้ระบาย สินค้าออกจากคลัง ถือเป็ นการส่งเสริมร้านหนังสือ อิสระและส่งเสริมรากฐานการอ่านอีกทางหนึง่
ทีม่ า : ละออ ศิรบิ รรลือชัย.ร้านหนังสือรอบโลก. มีเดีย สปาร์ค, 2545 วันชัย ตันติวิทยาพิทกั ษ์.วัฒนธรรมการอ่าน.https://www.sarakadee.com/blog/oneton/?p=65 พงศ์ศกั ดิ์ สังขภิญโญ.วัฒนธรรมการอ่านของคนไทย: การวิเคราะห์วาทกรรม.https://bit.ly/2ZZHzo8 TKPark.กลยุทธ์สง่ เสริมวัฒนธรรมการอ่านของห้องสมุดประชาชนเกาสง.https://bit.ly/3ovO5fT TKPark.นโยบายส่งเสริมการอ่านของประเทศญี่ปนุ่ .https://bit.ly/3rIlKow ไทยโพสต์.‘แผนปฏิบตั กิ ารวัฒนธรรมหนังสือ’ อ่านเป็ นเล่มไม่มวี นั ตาย.https://www.thaipost.net/main/detail/93960
T
31 31
32
D N
nexTPERT
ส�ำรวจทิศทางการด�ำเนินธุรกิจ
ร้านหนังสืออิสระในประเทศไทย
ค�ำว่า ธุรกิจ กับ อิสระ ดูจะมีนิยามที่สวนทางกันชนิดที่ไม่นา่ จะมาบรรจบกันได้ โดยเฉพาะเมื่อเพิ่มค�ำว่า ร้านหนังสือ เข้าไปอีกหนึ่งค�ำ เป็ นใครก็ตอ้ งท�ำนายว่า การเปิ ดกิจการ “ร้านหนังสือ อิสระ” ให้เติบโตเป็ นธุรกิจที่ทำ� ก�ำไรได้เป็ นกอบเป็ นก�ำ ดูจะเป็ นหนทางที่มืดมน โดยเฉพาะในยุคที่ทกุ กิจกรรม ถูกขับเคลื่อนด้วยโลกออนไลน์ และใครๆ ก็ปรามาสว่าสิ่งพิมพ์ได้ตายไปแล้ว แต่น่นั เป็ นเพียงสมมติฐานทีค่ นภายนอกมองเข้าไป เพราะเมือ่ ลองสอบถามเจ้าของร้านหนังสืออิสระ ทีห่ ากนับกัน จริงๆ มีจำ� นวนเกือบ 100 แห่งและกระจายตัวอยู่ท่ วั ทุกภาคในประเทศไทย จะพบว่าเส้นกราฟในการประกอบ ธุรกิจร้านหนังสืออิสระไม่ได้ย่ำ� แย่เสียทีเดียว โดยเฉพาะตลอดระยะเวลาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 รวมถึงความสนใจทางการเมืองของคนรุ น่ ใหม่ ในช่วง 2 ปี ท่ีผ่านมา ที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ใหม่ขึน้ ในวงการร้านหนังสืออิสระ ที่แม้จะท�ำนายอนาคตไม่ได้ ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ก็พอจะมองเห็นโอกาสในวิกฤตส�ำหรับเจ้าของร้านหนังสือที่พร้อมปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลง แต่ ก็ ป ฏิ เ สธไม่ ไ ด้ว่ า ยัง มี ปั ญ หาและอุป สรรคต่ า งๆ ที่ เ จ้า ของร้า นหนัง สื อ อิ ส ระต่ า งก็ ต ้อ งหาทางแก้ไ ข แบบเฉพาะตัว ซึง่ เราได้รวบรวมบางกรณีไว้เป็ นบันทึกบทหนึง่ ในหน้าประวัตศิ าสตร์รา้ นหนังสืออิสระไทย รวมถึง เพื่อเป็ นแนวทางส�ำหรับผูท้ ่สี นใจอยากร่วมลงสนามประกอบกิจการร้านหนังสืออิสระให้มจี ำ� นวนมากขึน้ ในอนาคต
nextPERT
เปลี่ยนร้านหนังสือเป็น พื้นที่แห่งการเรียนรู้ ร้า นหนัง สื อ อิ ส ระจ�ำ นวนมาก ไม่ ไ ด้ว างตัว เป็ น เพี ย งร้า นค้า จึ ง รังสรรค์บรรยากาศและสร้างสรรค์ กิ จ กรรมต่ า งๆ ให้ ผ ลั ด เปลี่ ย น หมุนเวียนขึน้ ตลอดปี เพื่อมุง่ หวังให้ ผู้ค นที่ เ ข้า มาสัม ผัส ประสบการณ์ ภายในร้านเป็ นมากกว่า "ลูกค้า" อาทิ ร้านฟาธอม บุค๊ สเปซ ในซอย สวนพลู กรุ งเทพมหานคร ที่ตงั้ ใจ เปิ ดร้านหนังสือควบพืน้ ที่การเรียนรู ้ ขึ น้ เมื่ อ 5 ปี ที่ แ ล้ว โดยเกิ ด จาก แนวคิดของ ภัทรอนงค์ สิรีพิพฒ ั น์ และขนิษฐา ธรรมปัญญา สองผูก้ อ่ ตัง้ ที่่�มุ่่�งมั่่�นในการหาหนทางให้้คนใน สัังคมอยู่่�ร่่วมกัันด้้วยความเข้้าใจกััน
มากขึ้้�น จึึงใช้้องค์์ประกอบ 4 อย่่าง ได้้แก่่ หนัังสืือ ศิิลปะ กระบวนการ เรีียนรู้้� และผู้้�คนเป็็ นเครื่่�องมืือในการ ขัับเคลื่่�อนให้้เกิิดกระบวนการเรีียนรูู้ � ขึ้้�นภายในร้้านหนัังสืือ ในช่ ว ง 3 ปี แรก ร้า นฟาธอม บุ๊ค สเปซจัด กิ จ กรรมเวิ ร ก์ ชอปขึน้ เป็ นประจ�ำทุกสัปดาห์ และเปลี่ยน ธีมหลักในร้านทุก 2 เดือน เพื่อเป็ น การชวนนั ก อ่ า นที่ แ วะเวี ย นมาที่ ร้านสนทนาผ่านกิจกรรมไปในตัว เช่่นเดีียวกัับ ร้้านหนััง (สืือ) 2521 ที่่�อยู่่�ในตััวเมืืองภููเก็็ต ซึ่่�งนอกจาก เป็็ นร้้านหนัังสืือและคาเฟ่่ แล้้ว ยัังมีี การจัดกิจกรรมเกี่ยวกับหนังสือและ
ฉายหนังเป็ นประจ�ำ โดย น.พ.มารุต เหล็กเพชร หนึง่ ในผูร้ ว่ มก่อตัง้ เชื่อว่า ชี วิ ต ของผู้ ค นล้ ว นเชื่ อ มโยงกั บ ประเด็น ต่า งๆ ในสัง คม กิ จ กรรม ของที่ น่ี จึง ไม่ ไ ด้จ ำ� กัด แค่เ รื่อ งราว ในแวดวงวรรณกรรม และเปิิ ดกว้้าง ให้้พื้้�นที่่�ของร้้า นเป็็ นได้้ม ากกว่่ า แผงหนัังสืือ อาทิิ ในเดืือนตุุลาคม ปีี พ.ศ. 2563 Amnesty International Thailand เคยใช้้พื้้�นที่่�บนชั้้�น 2 ของร้้า นเป็็ นสถานที่่�จัั ด กิิ จ กรรม End Crime, Not Life : ถ้้าการเมืืองดีี โทษประหารชีีวิติ ก็็ไม่่จำำ�เป็็ น ซึ่่�งเป็็ น งานเสวนาเเละนิิทรรศการที่่�ว่่าด้ว้ ย เรื่่�องความยุุติธิ รรมและโทษประหาร
ชีวิตของผู้คนล้วนเชื่อมโยง กั บ ประเด็ น ต่ า งๆ ในสั ง คม กิจกรรมของที่นี่จึงไม่ ได้จ�ำกัด แค่เรื่องราวในแวดวงวรรณกรรม และเปิดกว้างให้พื้นที่ของร้าน เป็นได้มากกว่าแผงหนังสือ
ที่มา : www.facebook.com/fathombookspace
N
33
34
D N
nexTPERT
ที่มา : unsplash.com/photos/Hf-2G_vq3kA
กาแฟและเกสต์เฮ้าส์ : ตัวช่วยให้ร้านหนังสืออิสระไปรอด ? แม้รา้ นหนังสืออิสระหลายร้านจะแบ่งพืน้ ที่บางส่วน เป็ น คาเฟ่ เสิ ร ฟ์ กาแฟและขายอาหารควบคู่ไ ปด้ว ย รวมถึึงบางแห่่งที่่�เปิิ ดห้้องพัักสำำ�หรัับนัักเดิินทางไปในตััว แต่่ก็็ไม่่สามารถกล่่าวได้้เต็็มปากว่่าร้า้ นหนัังสืืออิิสระ อยู่ได้เพราะมีธุรกิจเสริมเหล่านี ้ หรือธุรกิจเสริมเหล่านี ้ ได้อานิสงส์จากกลุม่ คนรักหนังสือมาอุดหนุนกันแน่ ตัวอย่างของร้านหนังสือชื่นใจ ในอ�ำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ที่เริม่ ต้นจากการเปิ ดเป็ นเกสต์เฮ้าส์ ควบคู่ไปกับร้า นหนัง สื อ และร้า นกาแฟไปในตัว แต่ หลังจากเปิดกิจการได้เพียง 1 ปี กลับต้องเผชิญสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 นานต่อเนื่องอีก 2 ปี ท้ายที่สดุ สุธีรา รักเหลือ หุน้ ส่วนร้านหนังสือชื่นใจ เลือกที่จะเก็บร้านหนังสือไว้ แล้วปิ ดกิจการที่พกั แทน ต่างกับร้านหนัง (สือ) 2521 ที่นำ� เอาธุรกิ จคาเฟ่ เสริมด้วยกิจกรรมต่างๆ เป็ นตัวช่วยในการขับเคลื่อน ร้านหนังสือให้หมุนต่อไปข้างหน้า โดยยอมรับว่าคาเฟ่ คือรายได้ท่ีช่วยให้รา้ นหนังสือยังยืนหยัดต่อไปในโลก แห่งความเป็ นจริง หากร้านหนัง (สือ) 2521 เด่นที่กาแฟ ใครอยาก
กินชาดีจากเมืองดาร์จีลิง ประเทศอินเดีย ก็ตอ้ งไปที่ ร้า นหนัง สื อ สุน ทรภู่ อ�ำ เภอแกลง จัง หวัด ระยอง ที่ ชูส โลแกน Be Blossom Book & Tea มาตั้ง แต่ บุกเบิกร้าน เพราะเชื่อว่าหนังสือดี กับเครือ่ งดื่มรสชาติดี จะท�ำให้ผมู้ าเยือนร้านหนังสือแห่งนีอ้ ารมณ์เบิกบาน ในขณะที่ วิ ท ยากร โสวัต ร เจ้า ของร้า นหนัง สื อ ฟิ ลาเดลเฟี ย แห่งเมืองอุบลราชธานี ที่แม้จะท�ำที่พกั ไว้บนร้านหนังสือ 2 ห้อง แต่ก็ไม่นบั เป็ นธุรกิจ เพราะ เขาแทบจะไม่่ เ คยคิิ ด เงิิ น ค่่ าที่่�พััก เช่่ น เดีี ย วกัับ การ ชงกาแฟเสิิร์ฟ์ ในร้้าน ที่่�มีี ตััวเลืือกแค่่เอสเปรสโซกัับ อเมริิกาโน ยิ่่�งแขกคุุยถููกคอ เจ้้าของร้้านอาสาเสิิร์ฟ์ กาแฟฟรีีไม่่อั้้�นตามอรรถรสของบทสนทนา ทัง้ นี ้ เพราะวิทยากรเชือ่ มั่นในศักยภาพของร้านหนังสือ ว่่าสามารถเลี้้�ยงตััวเองได้้ และเลี้้�ยงปากท้้องของทุุกชีีวิติ ในครอบครััวเจ้้าของกิิ จการได้้ โดยไม่่จำำ�เป็็ นต้้องพึ่่�ง ส่่วนประกอบอื่่�นใดให้้รุุงรััง ในขณะที่ วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู เจ้าของร้านหนังสือ กาลครัง้ หนึ่ง ริมแม่นำ้� สะแกกรังในตัวเมืองอุทัยธานี ที่ บุก เบิ ก การเสิ ร ฟ์ กาแฟสดเป็ น เจ้า แรกๆ ในเมื อ ง
nextPERT
ร้านหนังสืออิสระ จะต้องขายหนังสือที่ เป็็นตััวตนจริิงๆ ของร้้าน เพื่อเป็นพลังผลักดันให้เจ้าของ ท�ำร้านต่อไปได้อย่าง ไม่ย่อท้อ
อุทยั เมื่อทศวรรษที่แล้ว สามารถประนีประนอมให้กบั ส่ ว นผสมใดๆ ก็ ต ามที่ จ ะท�ำ ให้ร ้า นหนัง สื อ อิ ส ระมี ลมหายใจต่อไปได้ โดยนอกจากร้านหนังสืออิสระจะ ต้องขายหนังสือที่เป็ นตัวตนจริงๆ ของร้าน เพื่อเป็ นพลัง ผลักดันให้เจ้าของท�ำร้านต่อไปได้อย่างไม่ย่อท้อ และ เปิ ดทุกช่องทางการสื่อสารที่ ไม่ขัดแย้งกับตัวเอง ยัง สามารถขายหนังสือพ่วงไปกับการขายอย่างอื่นด้วยก็ได้ เช่น เครือ่ งดื่ม อาหาร ขนมหวาน ต้นไม้ งานฝี มือหรือ งานท�ำมือ เครือ่ งเขียน ฯลฯ ตราบเท่าที่ส่งิ นัน้ ไม่ได้เป็ น ปมขัดแย้งในใจ
ที่มา : www.facebook.com/bookhemian
หน้าร้านออนไลน์ : ช่องทางที่เพิ่มโอกาสในการขาย ? ร้้า นหนััง สืื อ กาลครั้้�ง หนึ่่�ง เริ่่� ม ขายหนััง สืื อ ออนไลน์์บนเว็็บไซต์์ www.oncebookk.com ไปพร้้อมๆ กัับการมีีหน้้าร้า้ น โดยวัันแรกที่่�เริ่่�ม ลงหนัังสืือขาย คืือ วัันที่่� 13 กัันยายน 2553 และ วัันที่่�เปิิ ดหน้้าร้า้ นอย่่างเป็็ นทางการ คืือ วัันที่่� 18 กัันยายน 2553 เหตุุผลที่่�ต้้องขายออนไลน์์ควบคู่่�ไปด้้วย เพราะ คาดการณ์์ไว้้แล้้วว่่า การมีีหน้้าร้า้ นอย่่างเดีียว ในเมืืองเล็็กคงไปไม่่รอดและในช่่วง 2-3 สััปดาห์์ แรกของการเปิิ ดร้้านก็็ ไม่่สามารถทำำ�ยอดขาย ได้้เลยสัักเล่่มดัังคาด จึึงใช้้วิธีิ ีขายทั้้�งหนัังสืือใหม่่ จากสำำ�นัักพิิมพ์์และหนัังสืือเก่่าบนเว็็บไซต์์ควบคู่่� ไปด้้วยมาตลอด 11 ปีี แม้้ก ารโพสต์์ข ายหนัั ง สืื อ มืื อ สองบนหน้้า เพจเฟซบุ๊๊�กอาจช่่วยเพิ่่�มยอดขายได้้ดีี แต่่เมื่่�อ เป็็ นการโพสต์์ขายหนัังสืือปกใหม่่จากสำำ�นัักพิิมพ์์ แล้้ว ดููเหมืือนผลลััพธ์์ที่่�ได้้จะต่่างกัันราวหน้้ามืือ เป็็ นหลัังมืือ กรองทอง สุุด ประเสริิ ฐ หุ้้�นส่่ ว นร้้า นเล่่ า ร้้านหนัังสืืออิิสระที่่�อยู่่�คู่่�เมืืองเชีียงใหม่่ มานาน กว่่า 20 ปีี เล่่าถึงึ ปัั ญหาที่่�พบเจอในช่่วง 2-3 ปีี มานี้้� หลัังจากที่่�นัักเรีียนนัักศึึกษาจำำ�นวนมาก หัันมาอ่่านหนัังสืือแนวการเมืือง รวมถึึงหนัังสืือ ต้้องห้้ามที่่�ขายดีีมาก แต่่ลูกู ค้้าสามารถสั่่�งซื้้�อจาก สำำ�นัักพิิมพ์์หรืือสายส่่งได้้โดยตรง โดยบางแห่่ง มีีส่่วนลดให้้ด้ว้ ย ในขณะที่่�ร้้านหนัังสืือต้้องขาย หนัังสืือราคาเต็็ม เพราะต้้องแบกรัับค่่าบริิหาร จัั ด การต่่ า งๆ ของร้้า น ซึ่่�งถืื อ เป็็ นข้้อ จำำ�กัั ด ของร้้านหนัังสืืออิิสระ อย่่ า งไรก็็ ต าม การขายหนััง สืื อ ในรูู ป แบบ ออนไลน์์เ พิ่่�มเติิ ม ก็็ ถืื อ เป็็ น แนวโน้้ม ที่่�ดีี เ พราะ ตลาดออนไลน์์ก ว้้า งไกล ใครจะซื้้�อ ก็็ ไ ด้้เ พีี ย ง แค่่ร้า้ นหนัังสืือแต่่ละร้้านควรมีีบุุคลิิกในตลาด ออนไลน์์ และต้้อ งบริิห ารสต็็อ กหน้้าร้ า้ นให้้ดีี ด้้วยเช่่นกััน
N
35
D N
nexTPERT
ระบบพรีออเดอร์ : บ่อนท�ำลายหรือยาต่ออายุ ให้ร้านหนังสืออิสระ ? มีเสียงเล่าลือในวงการร้านหนังสือ อิสระว่า ฟาธอม บุ๊กสเปซ เป็ นร้านที่ ขายหนังสือออนไลน์เก่งเป็ นอันดับต้นๆ มีหน้าร้าน บนเพจเฟซบุก๊ อินสตาแกรม และเว็บไซต์ www.fathombookspace.co ซึ่ ง เมื่ อ คลิ ก เข้ า ไปจะพบกั บ รายชื่ อ หนังสือ Pre-order เกือบ 50 รายการ ทัง้ หนังสือไทยและน�ำเข้าจากต่างประเทศ เหตุ ผ ลในการน�ำ เข้า หนัง สื อ จาก ต่างประเทศมาขายเพื่อหาหนทางรอด จากตลาดหนังสือไทยที่แข่งกันลดราคา มากขึน้ และเพื่อเพิ่มความหลากหลาย ให้รา้ นมีตวั เลือกของหนังสือมากขึน้ แต่สำ� หรับร้านเล่าที่ยงั ไม่บุกตลาด ออนไลน์เต็มตัว มองว่าทัง้ ระบบพรีออเดอร์ หรือแม้แต่การที่ สำ� นักพิมพ์เริ่มหันมา ขายและลดราคาหนัง สื อ ท�ำ ให้ร า้ น เล็กๆ อยู่ยากขึน้ เรื่อยๆ เพราะทัง้ การที่ ส�ำนักพิมพ์โปรโมทหนังสือหรือมีระบบ พรี อ อเดอร์ท �ำ ให้ห นัง สื อ เดิ น ทางมา ไม่ถึงหน้าร้าน หรือกว่าจะเดินทางมา ถึงลูกค้าก็ซือ้ และอ่านหนังสือเหล่านัน้ จบไปนานแล้ว ในมุุมมองของร้้านเล่่า เห็็นว่่าการ ลดราคาหนััง สืื อ ของสำำ�นััก พิิ ม พ์์ห รืื อ บริิษััทจััดจำำ�หน่่ายมีีผลกระทบต่่อร้้าน หนัังสืืออิิสระ เพราะโดยโครงสร้้างของ ระบบแล้้ว ร้้านหนัังสืืออิิสระมีีรายได้้แค่่ 25% จากราคาปก ทำำ�ให้้ไม่่สามารถ ลดราคาได้้เท่่าสำำ�นักั พิิมพ์์ สิ่่�งที่่�แต่่ละร้้าน พอจะทำำ�ได้้ คืือ เลืือกหนัังสืือที่่�คิิดว่่า เป็็ น หนััง สืื อ หายากและมีี แ ค่่ ไ ม่่ กี่่� เล่่ม มาโพสต์์ขายออนไลน์์ ซึ่่�งก็็พอขายได้้ แต่่ ยัั ง ไม่่ ใ ช่่ ร ายได้้ห ลัั ก เท่่ า การขาย หนัังสืือหน้้าร้า้ น
ที่มา : www.facebook.com/fathombookspace
36
ปลดแอกร้านหนังสือจากสายส่ง : ภารกิิจที่่�เป็็นไปได้้ ? “ระบบสายส่่งเป็็ นระบบที่่�ทำำ�ให้้ทำำ�ร้า้ นหนัังสืืออิิสระดำำ�เนิิน ไปได้้ยาก” เป็็ นข้้อเท็็จจริิงที่่�ร้้อยละเกืือบร้้อยที่่�ร้้านหนัังสืืออิิสระ หนีีไม่่พ้น้ วิิทยากร โสวััตร เจ้้าของร้้านหนัังสืือผู้้�ควบตำำ�แหน่่ง นัักเขีียนมืือรางวััลเปิิ ดประเด็็นไว้้ ส่วนทีมเจ้าของร้านฟาธอม บุ๊กสเปซ เสริมด้วยเหตุผลว่า การมี ห น้า ร้า นท�ำ ให้มี ค่ า ใช้จ่ า ยต่ า งๆ ที่ ต ายตัว ในขณะที่ หนัง สื อ ส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ไ ด้ข ายออกในทัน ที และส่ ว นใหญ่ เ ป็ น สิ น ค้า ฝากขาย ที่ ต ้อ งอาศัย ระยะเวลาในการคื น เงิ น ให้กับ ส�ำนักพิมพ์ ดังนัน้ เจ้าของร้านหนังสืออิสระจึงต้องมีการจัดการ ทางการเงินที่ดี ไม่อย่างนัน้ เงินก้อนนัน้ อาจจะหายไป ดังนัน้ แทนที่จะพึง่ พาระบบสายส่งเหมือนร้านหนังสืออิสระ จ�ำนวนมาก ร้านฟิ ลาเดลเฟี ยเลือกที่ จะปลดแอกตัวเองจาก ระบบ ทัง้ การไม่เช่าสถานที่เพื่อเปิ ดร้านหนังสือ แต่ลงทุนสร้าง ร้านหนังสือขึน้ บนที่ดนิ ของตัวเอง และค่อยๆ ลดปริมาณการสั่ง หนังสือจากสายส่งลงแบบปี ต่อไป จนตอนนี ้ ร้านฟิ ลาเดลเฟี ย ไม่ได้ใช้บริการสายส่งมานานกว่า 3 ปี แนวทางดังกล่าวจึงเป็ นการพลิกกลับด้าน จากที่สายส่งเคย ได้เงินจากการขายหนังสือ 75% กลายเป็ นว่า ร้านฟิ ลาเดลเฟี ย ได้เ งิ น 70% นั้น แทนจากหนัง สื อ ที่ รา้ นลงทุน ซื อ้ มาขายเอง ส่วนอีก 30% แบ่งเป็ นสองส่วน 15% เป็ นงานของนักเขียนอิสระ เช่น อีก 15% เป็ นผลงานหนังสือของวิทยากร โสวัตรเอง และ วรรณกรรมลุม่ น�ำ้ โขง เช่น พจนานุกรมภาษาลาว
nextPERT
ในเมื่อการซื้อหนังสือออนไลน์ ท�ำได้สะดวกกว่า ท�ำไมถึงยังต้องมี ร้านหนังสือกาลครั้งหนึ่ง "ร้านหนังสือ" อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี ร้านเล่า
อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เปิ ดบริการมาแล้ว 21 ปี “หนัง สื อ แต่ล ะเล่ม ไม่ได้มีนยั ยะแค่เนือ้ หา ในหนังสือ แต่มีความ หมายมากกว่านัน้ ”
ร้านฟาธอม บุ๊กสเปซ
สาทร กรุงเทพมหานคร เปิ ดบริการมาแล้ว 5 ปี “เวลาเข้าร้านหนังสือ เรา จะถูก เชื อ้ เชิ ญ ไปสู่เ ล่ม อื่ น ๆ นอกเหนือไปจากแนวหนังสือ ที่ ตั ว เองชอบ รวมถึ ง การ ได้คยุ กับเจ้าของร้าน ซึง่ ล้วน เป็ น คนรัก การอ่ า น ถื อ เป็ น การต่ อ ยอดไปสู่ก ารอ่ า นที่ หลากหลายขึน้ ”
ร้านหนังสือชื่นใจ
อ�ำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เปิ ดบริการมาแล้ว 3 ปี “ร้า นหนั ง สื อ อิ ส ระไม่ มี วันตาย เชื่อว่ายังไงก็จะมีคน แบบเราอยู”่
เปิ ดบริการมาแล้ว 11 ปี “การได้้หยิิบจัับเลืือกหนัังสืือเล่่มที่่�อยาก ได้้ที่่�สุดุ ได้้แลกเปลี่่�ยนเรื่่�องราวที่่�อยู่่�ในหนัังสืือ และได้้เ ชื่่�อมโยงความรู้้�ไ ปสู่่�เล่่ม ใหม่่ๆ เป็็ น ประสบการณ์์ตรงที่่�การซื้้�อขายออนไลนทดแทน ให้ไม่ได้”
ร้านฟิลาเดลเฟีย
อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เปิ ดบริการมาแล้ว 12 ปี “ประโยคทีเ่ คยได้ยนิ บ่อยจากคนซือ้ หนังสือ คือ หาเล่มไหนไม่ได้ ให้ มาฟิ ลาเดลเฟี ย”
ร้านหนังสือสุนทรภู่
อ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง เปิ ดบริการมาแล้ว 8 ปี “ถ้าเราเริ่มต้นท�ำร้านหนังสือ แทนที่ จะไปสนใจอย่ า งอื่ น เราพอใจแล้ว ที่ อย่างน้อยที่สดุ มีคนอ่านหนังสือเพิ่มขึน้ ”
ร้านหนัง (สือ) 2521
อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต เปิ ดบริการมาแล้ว 18 ปี “ร้านหนัง (สือ) 2521 ไม่ใช่รา้ น หนังสือ ในขณะเดียวกันเราก็ไม่ใช่ ร้า นกาแฟ แต่ เ ป็ นพื ้น ที่ ส �ำ หรั บ การอ่าน”
N
37
38
ค ความรู้กินได้
จิตรกรรม
ฝาผนัง มรดกชุมชน
ภาพจิตรกรรมฝาผนังในโบสถ์วิหารโดยส่วนใหญ่ แสดงเรือ่ งราวพุทธประวัติ ทศชาติชาดก และบรรยากาศ วิถีชีวิตความเป็ นอยูข่ องผูค้ นในท้องถิ่น ทัง้ สภาพสังคม บ้านเรือน การแต่งกาย และกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวัน ซึง่ ช่างเขียนภาพเลือกมาถ่ายทอดผ่านฝี แปรงสูผ่ นังปูน อย่างงดงามเสมือนบันทึกแห่งยุคสมัย
SCAN QR CODE เพื่อรับฟง Audio Text
ปู่ม่านย่าม่านกระซิบรักบรรลือโลก หากให้นึกถึงจิตรกรรมฝาผนังของไทยซึ่งมีช่ือเสียง เป็ น ที่ รู ้จัก หลายคนคงนึ ก ถึ ง ภาพ “ปู่ ม่านย่าม่าน” วัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน ซึ่งเป็ นภาพจิตรกรรมที่ผูไ้ ป เยี่ ย มเยื อ นมัก ไปยื น ถ่ า ยรู ป ตั้ง ท่ า กระซิ บ ตาม และ จากภาพปู่ ม่านย่าม่านนีเ้ อง ชาวน่านได้มีการต่อยอด สร้างสรรค์เป็ นสินค้าที่ระลึกหลากหลายชนิดอีกด้วย จิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน เป็ นมรดก ชิน้ เอกของชาวน่านซึ่งมีลวดลายวิจิตรตามแบบฉบับ ไทลือ้ ดัง้ เดิม สันนิษฐานกันว่าเขียนขึน้ เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2410-2417 สมัยพระเจ้าอนันตวรฤทธิ เดช เจ้าผูค้ รองนครน่าน ซึง่ ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 จิ ต รกรรมฝาผนัง ในวัด ภู มิ น ทร์ป ระกอบไปด้ว ย ภาพพุท ธประวัติ และคัท ธณะกุม ารชาดก ซึ่ง พบที่ วัดภูมินทร์เพียงแห่งเดียวในประเทศไทย ช่างผูว้ าดคือ "หนานบัวผัน" ศิลปิ นชาวไทยลือ้ ผูม้ ีฝีมือเป็ นเอกลักษณ์ ในภาพจิตรกรรมคัทธณะกุมารชาดกนี ้ หนานบัวผัน ได้สอดแทรกเรือ่ งราววิถีชวี ติ ชาวเมืองน่านเข้าไปในภาพ ได้อย่างกลมกลืน ทัง้ สภาพบ้านเรือน การทอผ้าด้วยหูก
หญิงสาวนุ่งผ้าซิ่นลายน�ำ้ ไหลซึ่งเป็ นผ้าทอเอกลักษณ์ ของเมืองน่าน และการสักลายตามตัวของหนุม่ ไทลือ้ ภาพที่ มี ช่ื อ เสี ย งที่ สุ ด ของวั ด ภู มิ น ทร์ คื อ ภาพ "ปู่ มา่ นย่าม่าน" หรือที่เรียกกันว่า "กระซิบรัก บันลือโลก" ปู่ มา่ นย่าม่านคือชายหญิ งคู่หนึ่ง ในภาพฝ่ ายชายใช้ มื อ ข้า งหนึ่ ง เกาะไหล่ห ญิ ง สาว มื อ อี ก ข้า งป้อ งปาก กระซิบที่ขา้ งหู ชื่อปู่ ม่านย่าม่านไม่ได้หมายถึงคนชราแต่อย่างใด วินยั ปราบริปู ศิลปิ นและเจ้าของหอศิลป์ ริมน่าน ได้ ค้นคว้าเกี่ยวกับที่มาของชื่อปู่ ม่านย่าม่าน ไว้วา่ ปู่ ม่าน ย่าม่าน หมายถึงว่า เขาเรียกผูช้ ายพม่า ผูห้ ญิ งพม่า คู่นี ้ เป็ นนัยว่า เป็ นสามีภรรยา แล้วการเกาะไหล่กัน เป็ นธรรมชาติของผูช้ ายผูห้ ญิงที่เป็ นสามีภรรยา ถ้าเป็ น หนุ่ม สาว ถูก เนื อ้ ต้อ งตัว ไม่ ไ ด้ และรู ป ลัก ษณะการ แต่งกายชีช้ ดั ไปอีกสอดคล้องกับค�ำว่า ปู่ ม่าน ย่าม่าน ม่านคือพม่า ปู่ น่ีคอื ผูช้ าย พ้นวัยเด็กผูช้ ายเรียกปู่ พ้นวัย เด็กผูห้ ญิ งเรียกย่า ซึ่งที่จริงออกเสียง "ง่า" ไม่ใช่ปยู่ ่า ตายาย
ค ความรู้กินได้ n
อาจารย์ส มเจตน์ วิ ม ลเกษม ปราญช์ เมื อ งน่า น ได้แ ต่ง ค�ำ กลอนบรรยายถ้อ ยค�ำ กระซิบรักของปู่ มา่ นไว้เป็ นภาษาเหนือ พร้อม ค�ำแปลอย่างสละสลวยตรึงใจ
“ค�ำฮักน้อง กูปี้จักเอาไว้ในน�ำ้ ก็กลัวหนาว จักเอาไว้พนื้ อากาศกลางหาว ก็กลัวหมอกเหมยซอนดาวลงมาคะลุม จักเอาไปใส่ในวังข่วงคุ้ม ก็กลัวเจ้าปะใส่แล้วลู่เอาไป ก็เลยเอาไว้ในอกในใจตัวชายปี้ นี้ จักหือ้ มันไห้อะฮิอะฮี้ ยามปี้ นอนสะดุง้ ตืน่ เววา” “ความรักของน้องนั้น พีจ่ ะเอาฝากไว้ในน�ำ้ ก็กลัวเหน็บหนาว จะฝากไว้กลางท้องฟ้ าอากาศกลางหาว ก็กลัวเมฆหมอกมาปกคลุมรักของพีไ่ ปเสีย หากเอาไว้ในวังในคุ้ม เจ้าเมืองมาเจอ ก็จะแย่งความรักของพีไ่ ป เลยขอฝากเอาไว้ในอกในใจของพี่ จะให้มันร้องไห้รำ� พีร้ ำ� พันถึงน้อง ไม่ว่ายามพีน่ อนหลับหรือสะดุง้ ตืน่ ”
#หิมพานต์มาร์ชเมลโล่
จากจิตรกรรมฝาผนัง สู่สินค้าที่ระลึก
ปู่ ม่านย่าม่านกลายเป็ นสัญลักษณ์ของ เมืองน่าน ชาวน่านได้นำ� ภาพปู่ มา่ นย่าม่าน มาต่อยอดสร้างสรรค์เป็ นธุรกิจ จากภาพ บนผนัง จึ ง ไปปรากฏอยู่ใ นสิ น ค้า ที่ ร ะลึก จ�ำนวนมาก ทัง้ ไปรษณียบัตร เสือ้ กระเป๋ า ไปจนถึ ง ของแต่ง บ้า น เป็ น สิ น ค้า ที่ แ สดง เอกลักษณ์ของเมื องน่านอย่างไม่มีท่ี ไหน เหมือน นอกจากภาพปู่ มา่ นย่าม่านแล้ว ภาพการ แต่งกายแบบโบราณล้านนาบนจิตรกรรม ฝาผนังวัดภูมนิ ทร์ยังแสดงให้เห็นความงดงาม ของลวดลายผ้าซิ่นลายน�ำ้ ไหล หรือผ้าซิ่น ตี น จก ซึ่ง เป็ น ผ้า ทอพื น้ เมื อ งโบราณของ ชาวน่ า น ใครที่ ช่ื น ชอบผ้ า ทอเห็ น แล้ว คงอดใจไม่ได้ท่ีจะซือ้ หามาสวมใส่หรือน�ำ กลับไปเป็ นของฝาก ซึ่งทุกวันนี ย้ ังมี กลุ่ม ชาวบ้านหลายชุมชนรวมตัวกันทอผ้าแบบ โบราณ เป็ นสินค้าทางวัฒนธรรมทีม่ ที งั้ มูลค่า และคุณค่าอันเนื่องมาจากมรดกชุมชน หากลองย้อนมองว่าในชุมชนของเรา มี ม รดกทางศิ ล ปะวั ฒ นธรรมใดบ้ า งที่ ปู่ ย่าตายายสร้างไว้ให้ แต่ละชุมชนอาจ มองเห็นหนทางต่อยอดธุ รกิจใหม่จาก สิ่งทีม่ อี ยู่ใกล้ตวั ได้เช่นกัน
จากพุทธศิลป์ ท้องถิ่นสูแ่ ฮชแท็กสุดฮิตในโลกออนไลน์ ชวนให้อยากตามไปท่องเที่ยวเสาะหาเพื่อเห็นกับตาว่า สัตว์หิมพานต์แสนน่ารักเหล่านีค้ ือตัวอะไรกันแน่ สัตว์ในต�ำนานที่เฝ้าอยู่ตามทางขึน้ โบสถ์ของวัดในภาคอีสานและภาคเหนือตอนล่าง สร้างสรรค์ขนึ ้ โดยฝี มือ ช่างท้องถิ่นอย่างเรียบง่ายแต่มีเสน่หต์ ามสไตล์ศิลปะพืน้ บ้าน ซึ่งได้รบั ความสนใจจนมีแฟนคลับน�ำไปท�ำเป็ น งานศิลปะ ภาพการ์ตนู ในสื่อออนไลน์ ไปจนถึงผลิตออกมาเป็ นโมเดลสามมิตสิ ำ� หรับนักสะสม คมกฤษ เทพเทียน แห่ง MOTMO Studio เป็ นหนึ่งในศิลปิ นที่ร่วมในปรากฏการณ์นี ้ ได้ผลิตหิมพานต์ มาร์ชเมลโล่ขนึ ้ 5 แบบส�ำหรับรุน่ แรก โดยมองว่าสามารถท�ำการตลาดได้ และเห็นว่าถ้าชุมชนต้องการศึกษาศิลปะ ที่มีอยู่ใกล้ตวั ก็สามารถสร้างรายได้กลับไปให้ชมุ ชน จึงค้นหาช่างชาวบ้านที่สนใจสานต่อหิมพานต์มาร์ชเมลโล่ เป็ นสินค้าวางขาย หารายได้เข้าวัดและชุมชนต่อไป
39
40
I W
INSIDE OKMD
Facilitated-learning เพราะการเรียนรู้ ไม่ ได้อยู่ แค่ในห้องสี่เหลี่ยม
แนวทางการจัดการเรียนรู ร้ ู ปแบบใหม่ท่ีสอดคล้อง กับศตวรรษที่ 21 เปลี่ยนแปลงไป ทัง้ โครงสร้างสังคม อาชี พและเทคโนโลยี จากเดิมครู เป็ นศูนย์กลางของ การเรียนการสอนมีบทบาทส�ำคัญต่อความชอบหรือ ไม่ ช อบวิ ช าที่ เ รี ย นของผู้เ รี ย น ซึ่ง สิ่ ง ที่ เป็ น อยู่นั้น ไม่ สอดคล้องกับทิศทางของอนาคตที่เยาวชนควรจะรู จ้ กั ตัวเอง และเห็นคุณค่าของตัวเอง OKMD ได้สรุปแนวทางในการจัดการเรียนรูแ้ บบใหม่ ว่า ครู ตอ้ งไม่เป็ นเพียงผูบ้ รรยาย (Lecturer) แต่เป็ น ผูส้ นับสนุนการเรียนรู ้ (Facilitator) สร้างสิ่งแวดล้อมที่ เอื อ้ อ�ำ นวยและสร้า งแรงบัน ดาลใจให้กับ เด็ ก เพื่ อ ให้เด็กสามารถสร้างความรู ท้ ่ีมาจากความสนใจของ ตัวเด็กเองจริง ๆ (Passion) และครู เองก็ ตอ้ งเรีย นรู ้
การน�ำเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้กบั กระบวนการเรียน การสอนด้วย ทุกวันนีเ้ ราต่างเห็นชัดแล้วว่าโลกก�ำลังเปลี่ยนแปลง ไปอย่างรวดเร็ว ในวันข้างหน้าเยาวชนรุ ่นปั จจุบันนี ้ จะใช้ชีวิตและมีการท�ำงานที่แตกต่างไปจากยุคก่อน อย่างสิน้ เชิ ง การออกแบบกระบวนการเรีย นรู ้ หรือ สร้างพืน้ ที่เรียนรู ้ (Facilitated-learning) จึงเป็ นสิ่งที่ ถูกน�ำมาพูดถึงอยูบ่ อ่ ยครัง้ Facilitated-learning เป็ นทักษะใหม่ทจ่ี ำ� เป็ นอย่างยิง่ ส�ำหรับครู ผูป้ กครอง ไปจนถึง ผูป้ ระกอบการ เพราะการ เรียนรู ไ้ ม่ได้เกิดขึน้ เพียงแค่ในโรงเรียนและไม่จำ� กัดวัย อยู่เพียงแค่เยาวชนเท่านัน้ แต่เกิดขึน้ ได้ทกุ ที่ ทุกเวลา และตลอดชีวิต
ถึงเวลาเปลี่ยนรูปแบบการเรียนรูใ้ ห้สอดคล้องต่อยุคสมัย โดย OKMD จะจัดงาน OKMD Career Bootcamp : 21st Century Skills Online Workshop อัพสกิลทักษะใหม่ท่ีจำ� เป็ นในศตวรรษที่ 21 เพื่อ ติดอาวุธทางความคิดสร้างรายได้จากธุรกิจสร้างสรรค์ หัวข้อ Facilitated-learning : การเรียนรูร้ ูปแบบ ใหม่ท่ีเน้นการสร้างประสบการณ์ และไม่จำ� เป็ นต้องอยูแ่ ค่ในห้องเรียน ผูส้ นใจทุกเพศทุกวัย ทุกสาขาอาชีพสามารถร่วมรับฟั งประสบการณ์การออกแบบกระบวนการเรียนรู ้ ห้องเรียนยุคใหม่ ตลอดจนเครื่องมือและเทคโนโลยีท่ีใช้สำ� หรับการฝึ ก Soft Skill และ Hard Skill รวมทัง้ ต่อยอดแรงบันดาลใจให้เห็นความเป็ นไปได้ในการออกแบบกระบวนการเรียนรู ไ้ ปกับวิทยากร ผูม้ ากประสบการณ์ทงั้ 4 ท่าน
INSIDE OKMD
เมธวิน ปิติพรวิวัฒน์
CEO & Co-Founder BASE Playhouse นัก ออกแบบกระบวนการเรี ย นรู ้ท่ี เ ชี่ ย วชาญด้า น Gamification ผู้ร่ว มก่ อ ตั้ง และ CEO ของ BASE Playhouse องค์ก รที่ ป ลดล็ อ ก ความสามารถของมนุษย์ดว้ ยเทคโนโลยี และเชื่อว่าการเรียนรูท้ ่ีใช่สามารถ ออกแบบได้จริง
ภีศเดช เพชรน้อย
ที่มา : BASE Playhouse
Co-Founder & Learning Designer BASE Playhouse นักออกแบบกระบวนการเรียนรู ้ ผูร้ ว่ มก่อตัง้ BASE Playhouse ผูเ้ ชีย่ วชาญ ในการใช้ Technology มาผสมกับการออกแบบประสบการณ์ให้เกิ ด การยกระดับการเรียนรูข้ องมนุษย์ ที่มา : BASE Playhouse
สรวิศ ไพบูลย์รัตนากร
Founder & CEO, Saturday School Foundation วิศวกรคอมพิวเตอร์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยหลังจากนนัน้ ก็คร�่ำหวอด ในวงการการศึกษา โดยเป็ น Founder และ CEO Saturday School และ ได้รางวัล Forbes 30 under 30 Asia - Social Entrepreneur รวมถึงเป็ น Board President ของ Teach for Thailand Alumni ที่มา : Saturday School Foundation
มิรา เวฬุ ภ าค
ที่มา : Mission to the moon board game by Flock Learning
บริษัท ฟล็อค เลิรน์ นิ่ง จ�ำกัด และ บริษัท แมพป้ า เลิรน์ นิ่ง จ�ำกัด กว่า 20 ปี ในฐานะนักการศึกษา และนักวิจยั ด้านการศึกษา ณสถาบัน อาศรมศิลป์ โรงเรียนรุง่ อรุณ ก่อตัง้ บริษัทฟล็อค เลิรน์ นิ่งขึน้ เพื่อชวนคุณพ่อ คุณแม่ และภาคธุรกิจเข้ามาเป็ นส่วนส�ำคัญในการสร้างการเรียนรูใ้ ห้กบั เด็ก และเยาวชน ปัั จจุุบันั พััฒนาแพลตฟอร์์มการเรีียนรู้้�สำำ�หรัับพ่่อแม่่และเด็็ก วััย 3-8 ปีี และสร้้างสื่่�อสร้้างสรรค์์เพื่่�อเป็็ นพื้้�นที่่�รัับฟัั ง และพููดคุุยกัับคุุณพ่่อ คุุณแม่่ถึงึ การสร้้างการเรีียนรู้้�ของลููก ภายใต้้แบรนด์์ Mappa รวมถึึงกำำ�ลััง ก่่อการรวมฝููง นัักออกแบบการเรีียนรู้้� ให้้พัฒ ั นาองค์์ความรู้้�และเชื่่�อมต่่อกััน เป็็ นเครืือข่่ายทั้้�งในและต่่างประเทศ Upskill ทีจ่ ำ� เป็ นในศตวรรษที่ 21 พร้อมติดอาวุธทางความคิดและสร้างรายได้จากธุรกิจ สร้างสรรค์ ผ่าน Interactive Online Workshop and Panel Live Talk Facilitated-learning : วันเสาร์ท่ี 22 ม.ค. 2565 เวลา 10.00 - 15.00 น. ขอเชิญลงทะเบียนเข้าร่วมฟรี โดยไม่มคี ่าใช้จา่ ยได้ที่
I W
41
42
I
INSIDE OKMD : NKC
แหล่่งเรีียนรู้้�ที่่�เปลี่่�ยนพลวััฒน์์ เมืือง Guggenheim, Bilbao Spain Bilbao ตั้้�งอยู่่�ทางตอนเหนืือของสเปน บนอ่่าวบิิสเคย์์ ซึ่่�งเป็็ นอ่่าวแอตแลนติิก เป็็ นเมืืองที่่�มีีความสำำ�คััญ ในช่่วงตั้้�งแต่่ศตวรรษที่่� 19 จนถึึงปีี พ.ศ. 2513 โดยเป็็ นท่่าเรืืออุุตสาหกรรมที่่�สำำ�คััญที่่�สุุดของประเทศ เนื่่�องจาก มีีสภาพภููมิิศาสตร์์ที่่�เอื้้�อต่่อการออกสู่่�มหาสมุุทรแอตแลนติิกได้้อย่่างสะดวก กิิจกรรมทางเศรษฐกิิจที่่�สำำ�คััญของ Bilbao มาจากการต่่อเรืือ การผลิิตถ่่านหิิน และอุุตสาหกรรมเหล็็กกล้้า อย่่างไรก็็ตามในช่่วงปลายศตวรรษที่่� 20 ได้้เกิิดการเปลี่่�ยนแปลงโครงสร้้างทางเศรษฐกิิจทั่่�วโลกอย่่างรวดเร็็ว จากโลกาภิิวัฒ ั น์์และการล่่มสลายของลััทธิิคอมมิิวนิิสต์์ ทำำ�ให้้เกิิดการย้้ายฐานการผลิิตของภาคอุุตสาหกรรมไปสู่่� พื้้�นที่่�ที่่�มีีความได้้เปรีียบเชิิงเปรีียบเทีียบ (Comparative Advantage) มากกว่่า ส่่งผลกระทบโดยตรงต่่ออุุตสาหกรรม หลัักที่่�ขัับเคลื่่�อนเศรษฐกิิจของเมืือง Bilbao เนื่่�องจากไม่่สามารถปรัับตััวได้้ทันั ต่่อการเปลี่่�ยนแปลง ประกอบกัับ การเปลี่่�ยนแปลงด้้านมาตรฐานทางอุุตสาหกรรมส่่งผลกระทบทำำ�ให้้อู่่�ต่อ่ เรืือ เหมืืองแร่่ และโรงงานทยอยปิิ ดตััวลง ภายในเมืืองเต็็มไปด้้วยอาคารอู่่�ต่่อเรืือ และโรงงานเหล็็กที่่�ถููกทิ้้�งร้้าง แรงงานจำำ�นวนมากย้้ายถิ่่�นฐาน ทำำ�ให้้เมืืองที่่� เคยมีีชีีวิิตชีีวาเปลี่่�ยนไปโดยสิ้้�นเชิิง สภาเมืือง Bilbao ได้้ตระหนัักถึึงปัั ญหาดัังกล่่าวเป็็ นอย่่างดีี จึึงได้้มีีนโยบายกระตุ้้�นเศรษฐกิิจโดยการสร้้าง หมุุดหมายใหม่่ให้้แก่่เมืืองเพื่่�อสร้้าง New S curve ให้้แก่่ Bilbao โดยสภาเมืืองได้้ตัดั สิินใจสร้้าง Guggenheim Museum ซึ่่�งเป็็ นแหล่่งเรีียนรู้้�ที่่�มีชื่่�ี อเสีียงโดยมีีรููปทรงที่่�คล้้ายเรืือด้้วยเส้้นโค้้ง และตััดกัับภาพที่่�ตั้้�งของ Guggenheim ที่่�ตั้้�งอยู่่�บนฝั่่�งแม่่น้ำำ�� Nervion จึึงคล้้ายกัับเรืือที่่�แล่่นอยู่่�บนน้ำำ��นอกจากรููปทรงที่่�แปลกตา และเอกลัักษณ์์โดดเด่่นแล้้ว อีีกหนึ่่�งสิ่่�งที่่�น่่าสนใจคืือ วััสดุุที่่�ใช้้ซึ่่�งประกอบไปด้้วย เหล็็กหิินทรายสีีอ่่อนที่่�หุ้้�มด้้วยแผ่่นโลหะไทเทเนีียม ทำำ�ให้้ เมื่่�อแสงอาทิิตย์์ตกกระทบตััวอาคารในแต่่ละวัันจะเปลี่่�ยนสีีไปตลอดเวลา
SCAN QR CODE เพื่อรับฟง Audio Text
ที่มา : unsplash.com/photos/nh3rDHdApPE
INSIDE OKMD : NKC
การเกิ ด Guggenheim ซึ่งเป็ นพื น้ ที่ แลกเปลี่ยนองค์ความรู ้ สร้างความคิดสร้างสรรค์ ส่ ง เสริ ม การปฏิ สัม พัน ธ์ข องชุม ชนท้อ งถิ่ น เป็ น พื น้ ที่ ส ําหรับ การพบปะกัน ได้อ ย่ า งอิ ส ระ มีีความยืืดหยุ่่�น (Flexible Space) ได้้นำำ�ชีีวิิตชีีวากลัับมาสู่่�เมืืองอีีกครั้้�งหนึ่่�ง อีีกทั้้�งยัังมีีส่่วน สำำ�คััญในการกระตุ้้�นเศรษฐกิิจของเมืือง เนื่่�องจากการใช้้จ่่ายของผู้้�เยี่่�ยมชม Guggenheim ในช่่ ว งสามปีี แรกหลััง จากเปิิ ดให้้บ ริิ ก าร ได้้ทำำ� ให้้ภ าษีี ข องรััฐ บาลท้้อ งถิ่่�นเพิ่่�มขึ้้�น กว่่ า 100 ล้้านยููโร การที่่� Guggenheim สามารถพลิิกฟื้้�นเศรษฐกิิ จของเมืือง Bilbao ได้้อย่่าง มีประสิทธิภาพเป็ นที่รูจ้ กั ในนาม “Bilbao Effect” จึงเป็ นเครื่องพิสจู น์ว่าแหล่งเรียนรู ส้ ามารถ สร้างความเปลี่ยนแปลงให้กบั ชุมชนโดยรอบเมือง และประเทศได้ ทัง้ ในด้านการพัฒนาสังคม แห่งการเรียนรู ้ (Knowledge Society) และการสร้างผลิตภาพทางเศรษฐกิจ “Bilbao Effect” เป็็ นตััวอย่่างที่่�สำำ�คััญในการพลิิกฟื้้�นเศรษฐกิิจ และพััฒนาเมืืองที่่�ถููกทิ้้�งร้้าง ผ่่านการจััดตั้้�ง และพััฒนาพื้้�นที่่�การเรีียนรู้้� ซึ่่�งมีีหลายประเทศได้้ดำำ�เนิินนโยบายตาม อาทิิ การพััฒนาโครงการ Dokk1 ในเมืือง Aarhus เดนมาร์์ก ที่่�เปลี่่�ยนแปลงท่่าเรืือให้้เป็็ นแหล่่งเรีียนรู้้� ที่่�สำำ�คััญ เป็็ นจุุดศููนย์์รวม (Node) ของเมืือง และสถานที่่�พบปะของคนในชุุมชน เป็็ นพื้้�นที่่�การเรีียนรู้้� ตลอดชีีวิิต
ขณะที่่�ฟิินแลนด์์ ได้้สร้้าง Oodi Helsinki Central Library ซึ่่�งเปรีียบเสมืือนศููนย์์รวม ของผู้้�อาศััยในเมืือง เป็็ นแหล่่งเรีียนรู้้�ของ ศตวรรษที่่� 21 ที่่�ไม่่จำำ�เป็็ นต้้องเงีียบ เย็็น และ เน้้นแต่่หนัังสืือ แต่่เป็็ นมิิตร มีีชีีวิิตชีีวา เพื่่�อ เฉลิิมฉลองวาระการได้้รับั เอกราชครบ 100 ปีี ของประเทศ ในทศวรรษหน้้าจะเกิิดแหล่่งเรีียรู้้�แห่่งใหม่่ ขึ้้�นมากกว่่า 20 แห่่งในหลายประเทศ โดยมีี ใช้้งบประมาณราวๆ 250,000 ล้้านเหรีียญ สหรััฐ จากการศึึกษาของ AEA Consulting บริิ ษัั ท ที่่�เชี่่�ยวชาญด้้า นการพััฒ นาแหล่่ ง เรีียนรู้้� โดยโครงการที่่�ถููกกล่่าวถึึงมากที่่�สุุด คืื อ โครงการบนเกาะ Saadiyat สหรััฐ อาหรัับเอมิิเรตส์์ เป็็ นผลจากนโยบายการ พััฒนาเศรษฐกิิจที่่�มีีแนวทางในการให้้ความ สำำ�คััญกัับการพััฒนาเศรษฐกิิจฐานความรู้้� (Knowledge - based Economy) ซึ่่�งเป็็ น แนวทางการพััฒนาเศรษฐกิิจที่่�หลายประเทศ เลืื อ กใช้้เ ป็็ น นโยบายหลััก ซึ่่�งจะกล่่ า วถึึ ง ในคราวต่่อไป โดยโครงการบนเกาะ Saadiyat จะประกอบด้้วย Zayed National Museum, Guggenheim Abu Dhabi Museum, Louvre Abu Dhabi, Maritime Museum
Zayed National Museum
Guggenheim Abu Dhabi Museum
Louvre Abu Dhabi
Maritime Museum
ที่่�มา : www.fosterandpartners.com, www.archdaily.com, www.facebook.com/LouvreAbuDhabi, www.facebook.com/merseysidemaritimemuseum
I W
43
44
I W
INSIDE OKMD : NKC
OKMD กัับโครงการ ร้้านหนัังสืือในฐานะแหล่่งเรีียนรู้้� ผู้้�ค นมากมายเติิ บ โตมากัับ ร้้า นหนััง สืื อ โดยเฉพาะ ร้้านหนัังสืือเล็็กๆ ในต่่างจัังหวััดที่่�มอบทั้้�งความรู้้� ความงาม และความจริิงให้้กับั ผู้้�คน OKMD ตระหนััก ถึึ ง ที่่�ทางและสถานภาพ "พิิ เ ศษ" ของร้้านหนัังสืือในทุุกสัังคม โดยเฉพาะในสัังคมไทยที่่� วััฒนธรรมการอ่่านยัังไม่่แข็็งแรงมากนััก เราจึึงเชื้้�อเชิิญ พััน ธมิิ ต รที่่�รััก ในร้้า นหนััง สืื อ มาร่่ว มกััน สร้้า งโครงการ "ร้้า นหนัั ง สืื อ ในฐานะแหล่่ ง เรีี ย นรู้้�" ขึ้้�น มา ทั้้�งเพื่่�อ ประชาสััมพัันธ์์ให้้ประชาชนทั่่�วไปได้้รับั รู้้�ถึึงความสำำ�คััญ เสน่่ ห์ ์ และการเป็็ น แหล่่ง เรีีย นรู้้�ที่่�มีี ลััก ษณะพิิ เ ศษของ ร้้า นหนััง สืื อ และเพื่่�อสร้้า งความแข็็ ง แรงให้้กัั บ ธุุ ร กิิ จ ร้้านหนัังสืือ โดยเฉพาะในยุุคที่่�โลกออนไลน์์กำำ�ลังั มาแรง จนหลายฝ่่ ายเป็็ นห่่วงว่่าคนยุุคใหม่่ยังั อ่่านหนัังสืือกัันอยู่่� อีีกหรืือไม่่ พัันธมิิตรที่่�จัับมืือกัับ OKMD มีีด้ว้ ยกััน 3 องค์์กร ได้้แก่่ สมาคมผู้้�จััดพิิมพ์์และผู้้�จำำ�หน่่ายหนัังสืือแห่่งประเทศไทย หรืือ PUBAT สื่่�อออนไลน์์ที่่�ให้้ความสำำ�คััญกัับร้้านหนัังสืือ และการอ่่านอย่่าง The Cloud และทีีมคนรุ่่�นใหม่่อย่่าง MEAT ที่่�เชื่่�อในการพบปะกัันของผู้้�คนเพื่่�อแลกเปลี่่�ยนความรู้้� ความงาม และความจริิง ในพื้้�นที่่�กายภาพที่่�ผู้้�คนสามารถ มองตาและสื่่�อสารกัันได้้ด้ว้ ยหััวใจ
เริ่่�มที่่�วิิจััย
ที่่�มา : https://unsplash.com/photos/TOq30NfKFBo
เมื่่�อโครงการนี้้�เป็็ นเรื่่�องเชิิงความรู้้� จุุดเริ่่�มต้้นของโครงการจึึงต้้องย้้อนกลัับไปยััง "องค์์ความรู้้�" เกี่่�ยวกัับร้้านหนัังสืือในสัังคมไทย OKMD พบว่่า ข้้อมููลและองค์์ความรู้้�ในด้้านนี้้�ยัังมีีน้อ้ ย ยิ่่�งกว่่าน้อ้ ย ในระดัับพื้้�นฐานเรายัังขาดข้้อมููลความรู้้�ว่า่ ระหว่่างร้้านหนัังสืือที่่�อยู่่�ในเครืือบริิษััท ใหญ่่ ๆ กัับร้้านหนัังสืืออิิสระนั้้�นมีี วิิธีีดำำ�เนิิ นธุุรกิิ จ (Business Model) ที่่�แตกต่่างกัันโดย พื้้�นฐานอย่่างไร และวิิธีีดำำ�เนิินธุุรกิิจร้้านหนัังสืือที่่�ควรเป็็ นในศตวรรษที่่� 21 ควรเป็็ นอย่่างไร ร้้านหนัังสืือประเภทไหนสามารถทำำ�หน้้าที่่� อย่่างไรในสัังคมได้้บ้า้ ง นิิยามของร้้านหนัังสืือ แต่่ละแบบเป็็ นอย่่างไร อะไรเป็็ นปัั จจััยกำำ�หนดลัักษณะเฉพาะของร้้านหนัังสืือที่่�แตกต่่างกััน รวมถึึงข้้อมููลความรู้้�อื่่�นๆ ที่่�เกี่่�ยวข้้อง นี่่�คืือจุุดตั้้�งต้้นที่่�สำำ�คััญยิ่่�ง เพราะหากปราศจากข้้อมููลความรู้้�ชุุดนี้้�แล้้ว โครงการนี้้�ย่่อม เดิิ น หน้้าต่่อ ไปไม่่ไ ด้้ ดััง นั้้�น สมาคมผู้้�จััดพิิมพ์์และผู้้�จำำ�หน่่ายหนัังสืือแห่่งประเทศไทย หรืือ PUBAT ซึ่่�งเชี่่�ยวชาญเรื่่�องการเก็็ บข้้อมููลการขายมานานปีี และมีี ข้อ้ มููลร้้านหนัังสืือจาก ทั่่�วประเทศอยู่่�จำำ�นวนหนึ่่�งแล้้ว จึึงอาสารัับหน้้าที่่�ในการเก็็บข้้อมููลเพื่่�อสำำ�รวจและวิิจัยั และ จััด ทำำ�เป็็ น รายงานร้้า นหนััง สืื อ ของไทย โดยการใช้้ข้ ้อ มููล พื้้�นฐานเบื้้�อ งต้้น ที่่�มีี อ ยู่่� และ ใช้้กระบวนการสนทนากลุ่่�ม หรืือ Focus Group โดยเชิิญเจ้้าของร้้านหนัังสืือจากทั่่�วประเทศ มาร่่วมถกเถีียง สนทนา นำำ�เสนอปัั ญหาและทางแก้้ไข เพื่่�อรวบรวมเป็็ นรายงานวิิจัยั ที่่�จะเป็็ น หลัักให้้กับั โครงการนี้้�ต่่อไปในอนาคต โดยเฉพาะการหาทางออก (Solution) ทั้้�งในแง่่ธุรุ กิิจและ ความคิิดสร้้างสรรค์์ให้้กับั ร้้านหนัังสืือต่่างๆ
INSIDE OKMD : NKC
ที่่�มา : https://unsplash.com/photos/TOq30NfKFBo
สร้้างการรัับรู้้�
ในเวลาเดีียวกััน การประชาสััมพัันธ์์ให้้ผู้้�คนเห็็นความสำำ�คััญของร้้านหนัังสืือในฐานะ แหล่่งเรีียนรู้้�ก็็เป็็ นงานใหญ่่อีีกงานหนึ่่�งด้้วย The Cloud คืือสื่่�อออนไลน์์ที่่�มีีผู้้�ติดิ ตามเกืือบสี่่�แสนราย และตลอดระยะเวลาหลายปีี มานี้้� ก็็ได้้ผลิิตบทความและชิ้้�นงานที่่�มีีแนวทางสร้้างสรรค์์สังั คมหลายมิิติิเป็็ นจำำ�นวนมาก โดย มิิติิหนึ่่�งที่่� The Cloud มุ่่�งเน้้น ก็็คืือการนำำ�เสนอเรื่่�องราวของร้้านหนัังสืือหลากหลายรูู ปแบบ โดยเฉพาะการอยู่่�รอดและวิิ ธีี ดำำ� เนิิ น ธุุร กิิ จ แบบใหม่่ๆ ของร้้า นหนััง สืื อ ในแบบที่่�ไม่่เ คยมีี มาก่่อน The Cloud อาสาเข้้ามาทำำ�งานประชาสััมพัันธ์์ ด้้วยการสััมภาษณ์์ร้า้ นหนัังสืืออิิสระ ในทั่่�วทุุกภููมิิภาคของประเทศ เพื่่�อให้้เจ้้าของร้้านหนัังสืือเหล่่านี้้�ได้้มีีโอกาส ‘เล่่าเรื่่�อง’ ว่่า ธุุรกิิจร้้านหนัังสืือในไทยมีีอุุปสรรคอะไรบ้้างควรมีีทางเลืือก ทางรอด และความใฝ่่ ฝัั นที่่�จะ ดำำ�เนิินธุุรกิิจต่่อไปในอนาคตอย่่างแข็็งแรงได้้อย่่างไร นอกจากทำำ�หน้้าที่่�เป็็ นพื้้�นที่่�สำำ�หรัับเจ้้าของร้้านหนัังสืือแล้้ว The Cloud ยัังช่่วยประชาสััมพัันธ์์ และสร้้างการรัับรู้้�ใน "กิิ จกรรม" ต่่างๆ ที่่�จะเกิิ ดขึ้้�นในร้้านหนัังสืือที่่�เข้้าร่่วมโครงการ เช่่น การทำำ�ข่่าวการ Live สด และการสรุุปเนื้้�อหาที่่�เกิิดจากกิิจกรรมในร้้านหนัังสืือต่่างๆ
ร่่วมในกิิจกรรม
ร้้านหนัังสืือในต่่างประเทศมัักจะเต็็มไปด้้วยกิิจกรรมต่่างๆ เช่่น การอ่่านหนัังสืือให้้ผู้้�อื่่�นฟัั ง หรืือเรีียกว่่ากิิจกรรม Book Reading, การอ่่านบทกวีี, การเสวนา, การจััดทำำ�สโมสรหนัังสืือ ฯลฯ แต่่ในสภาวะที่่�ยากลำำ�บาก เพราะต้้องเผชิิญกัับขวบปีี แห่่งโควิิด-19 ร้้านหนัังสืือหลายแห่่ง ไม่่สามารถจััดกิิจกรรมต่่างๆ ได้้ ทั้้�งด้้วยข้้อกำำ�หนดในการป้้องกัันการแพร่่ระบาดของโรค รวมถึึงข้้อจำำ�กััดเรื่่�องทุุนรอนที่่�น้้อยลงทุุกทีีเนื่่�องจากผู้้�ซื้้�อหนัังสืือไม่่สามารถออกมาซื้้�อหนัังสืือ ในพื้้�นที่่�กายภาพได้้ดังั เดิิม MEAT คืือ กลุ่่�มคนรุ่่�นใหม่่ในเจนเนอเรชััน Z ที่่�เชื่่�อในอนาคตของโลกออนไลน์์ แต่่ในขณะ เดีียวกัันก็็ยังั เชื่่�อมั่่�นในพื้้�นที่่�เชิิงกายภาพที่่�ผู้้�คนได้้พบปะ มองตา และมีีปฏิิสัมั พัันธ์์กัันด้้วย กลุ่่�ม MEAT จะเข้้ามาช่่วยคิิด สร้้างสรรค์์ และจััดกิิจกรรมในร้้านหนัังสืือต่่างๆ โดยพยายาม สร้้างกิิจกรรมที่่�ยั่่�งยืืน ร่่วมกัับองค์์กรในท้้องถิ่่�น เช่่น ชมรมวรรณศิิลป์์ในมหาวิิทยาลััย องค์์กร บริิหารส่่วนท้้องถิ่่�น เพื่่�อสร้้างสรรค์์กิิจกรรมต้้นแบบที่่�แปลกใหม่่คาดไม่่ถึงึ ให้้กับั ร้้านหนัังสืือใน พื้้�นที่่�นั้้�นๆ โดยคอยทำำ�หน้้าที่่�เป็็ นพี่่�เลี้้�ยงเพื่่�อกระตุุกต่่อมคิิดให้้เกิิดการจััดกิิจกรรมในรูู ปแบบ ที่่�เหมาะสม เพื่่�อที่่�ร้้านหนัังสืือและคนในท้้องถิ่่�นจะได้้ร่่วมกัันจััดกิิจกรรมต่่อเนื่่�องต่่อไปได้้ ในอนาคตด้้วยตััวเอง ความร่่วมมืือระหว่่าง OKMD, PUBAT, The Cloud และ MEAT จะสร้้างความแข็็งแรงให้้กับั ร้้านหนัังสืือ ในสัังคมไทยขึ้้�นมา โดยหากเชื่่�อว่่าร้า้ นหนัังสืือคืือแหล่่งเรีียนรู้้�แบบหนึ่่�ง ความแข็็งแรงของร้้านหนัังสืือก็็จะไม่่ใช่่ อะไรอื่่�น นอกจากความแข็็งแรงทางความรู้้�และภููมิิปััญญาของสัังคมไทยนั่่�นเอง
I
45
46 46 W N NEXT
ถอดรหัส
เส้นทางอยู่รอด ของร้านหนังสือ อิสระทั่วโลก ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2538 เมือ่ Amazon.com เริ่ม บูม และเข้า ถึ ง หมู่นัก อ่ า นง่ า ยดาย ยิ่งขึน้ มีการส�ำรวจสถิตพิ บว่าร้านหนังสือ อิสระในอเมริกามีจำ� นวนลดลงถึง 42% ร้า นหนัง สื อ เชนใหญ่ อ ย่ า ง Borders ก็็ ปิิ ด ตััว ลง จนใครต่่อ ใครก็็ ค าดคิิ ด ว่่ า ร้้า นหนัั ง สืื อ อิิ ส ระคงจะถึึ ง จุุ ด จบแล้้ว แต่่เมื่่�อเวลาล่่วงเลยจนถึึงปีี พ.ศ. 2560 ร้านหนังสืออิสระขนาดเล็กจ�ำนวนมาก ทั่ว โลกก็ ยัง คงอยู่ และจากการส�ำ รวจ ในอเมริ ก าพบว่ า จ�ำ นวนร้า นหนั ง สื อ อิสระกลับมีเพิ่มขึน้ สวนทางกระแสโลก ดิจทิ ลั เสียด้วยซ�ำ้ พบว่าจากปี พ.ศ. 2552 ถึงปี พ.ศ. 2558 มีรา้ นหนังสือเพิ่มขึน้ 35% อี ก ทั้ง ยอดขายของแต่ ล ะร้า นก็ เพิ่มขึน้ 5–10% ในแต่ละปี SCAN QR CODE เพื่อรับชม Clip
NEXT
Ryan Raffaelii จาก Harvard Business School ให้ความสนใจในเรือ่ งนี ้ ว่าท�ำไมร้านหนังสืออิสระเหล่านี ้ จึงยังคงยืนหยัดอยู่ได้ท่ามกลางกระแสโลกออนไลน์ท่ีกา้ วกระโดดไปอย่างว่องไว หลังจากค้นคว้า วิเคราะห์ ผ่านงานวิจยั บทสัมภาษณ์ผเู้ กี่ยวข้องทัง้ ร้านหนังสือ ผูอ้ า่ น นักเขียน ส�ำนักพิมพ์ สายส่ง ฯลฯ โดยพบว่า ปั จจัย หลักที่ทำ� ให้รา้ นหนังสืออิสระเหล่านีอ้ ยูร่ อด สรุปง่ายๆ ด้วยหลัก 3C
1 Community
เน้นการสร้างร้านภายใต้ไอเดียคุณค่าของท้องถิ่น สร้างปฏิสมั พันธ์กบั ผูค้ นในชุมชน ให้ผคู้ นรูส้ กึ ถึงคุณค่านีด้ ว้ ยใจ
2 Curation
เลืือกหนัังสืือจะไม่่เน้้นหนัังสืือขายดีี ตามกระแส หรืือหนัังสืือที่่�หา ที่่�ไหนก็็ ได้้ แต่่จะต้้องเป็็ นหนัังสืือที่่�มีี ความพิิเศษ มีี ความเป็็ นส่่วนตััว มีีบุุคลิิกของร้้านผสมอยู่่� เจ้้าของร้้านหรืือพนัักงานจะต้้องทำำ�หน้้าที่่�เป็็ น “เครื่องมือค้นพบ” ท�ำให้คนที่มาร้านหนังสือพบนักเขียนใหม่ๆ ที่นกั อ่าน อาจไม่เคยรูจ้ กั มาก่อนได้พบหนังสือที่ไม่คาดคิดว่าจะได้เจอ
3 Convening
จำำ�เป็็ นต้้องปรัับตััวโดยทำำ�หน้้าที่่�เป็็ นศููนย์์กลางปััญญาสำำ�หรัับลููกค้้าที่่�มีี แนวคิิดหรืือความสนใจในแนวเดีียวกััน จััดกิิจกรรมต่่างๆ เวิิร์ก์ ชอป คอร์์ส เรีียน งานบอร์์ดเกม การเล่่านิิทานสำำ�หรัับเด็็ก อีีเวนต์์น่า่ สนใจต่่างๆ อย่่าง สม่ำำ��เสมอ หลัก 3C ข้างบนนี ้ คือการเปลี่ยนแปลงและปรับตัวของร้านหนังสืออิสระในระดับชุมชน แต่สำ� หรับระดับ ภูมภิ าคหรือระดับประเทศ ในสหรัฐอเมริกาจะมีสมาคมร้านหนังสืออิสระที่คอยเชื่อมโยง ประสานงานร้านหนังสือ ผูผ้ ลิต ส�ำนักพิมพ์ นักเขียน สายส่ง ฯลฯ เข้าไว้ดว้ ยกัน รวมไปถึงมีคอร์สอบรมส�ำหรับบรรดาร้านหนังสืออิสระด้วย
อเมริกา
ร้าน BookBar ในเดนเวอร์ สหรัฐอเมริกา เป็ นร้านหนังสือที่ ขายเครือ่ งดื่ม รวมถึงเป็ นสถานที่ท่ีให้สโมสรหนังสือมาจัดงาน สังสรรค์กนั ชัน้ บนมี BookBed อพาร์ตเมนท์ธีมร้านหนังสือ โดยเจ้าของร้านจะร่วมมือกับร้านหนังสืออิสระ 4 ร้าน และ ชวนบรรดานักเขียนให้มาเที่ยวในเดนเวอร์ มาท�ำกิจกรรมกับ ทัง้ 5 ร้านนี ้ โดยมีท่พี กั ฟรีให้ หรือร้าน Read It & Eat It ในชิคาโก ที่เอาไอเดียนีม้ าจากปารีส ท�ำร้านหนังสือที่ขายเฉพาะหนังสือ เกี่ยวกับอาหาร และแบ่งส่วนหนึ่งของร้านเปิ ดเป็ นร้านอาหาร และมีคลาสสอนท�ำอาหารด้วย เหล่านีค้ อื กลยุทธ์ในการปรับตัว ร้านหนังสืออิสระในอเมริกา
N
47
48
N
NEXT
SCAN QR CODE เพื่อรับฟง Audio Text
ประเทศในเอเชี ย
มีหลายประเทศที่รา้ นหนังสือ อิ ส ระพากั น ปรั บ กลยุ ท ธ์ เ พื่ อ ความอยู่รอดยกตัวอย่างโมเดล ร้านหนังสือบุง คิต สึ(BUNKITSU) ในรปปงงิ ญี่ ปุ่น ผ่านการบอก เล่าของ เกตุวดี มารุมรู ะ ที่มา : www.gotokyo.org/en/new-and-now/new-and-trending/190318/topics.html
จากร้านหนังสือเดิมที่ช่ือว่าอาโอยาม่าบุ๊กเซ็นเตอร์ ในย่าน รปปงงิ ได้ปิ ด ตัว ลงในเดื อ นมิ ถุน ายน พ.ศ. 2561 ทั้ง ที่ ตั้ง มายาวนานกว่า 38 ปี สาเหตุหลักมาจากปั จจุบนั คนญี่ปนุ่ นิยม ซือ้ หนังสือผ่านช่องทางออนไลน์ เพราะสะดวก รวดเร็ว แค่คลิก ซื ้อ หนั ง สื อ ก็ ส่ ง ตรงถึ ง หน้า บ้า นภายในเวลาไม่ เ กิ น 2 วัน แถมระบบคอมพิ ว เตอร์อัน ชาญฉลาดสามารถวิ เ คราะห์ห า กลุ่มนักอ่านได้ว่า ใครชอบหนังสือแนวไหน แบบใด เล่มไหน น่าจะเป็ นที่สนใจ หรือเล่มอื่นๆ ในแนวเดียวกันที่ผูอ้ ่านน่าจะ ชื่นชอบเช่นเดียวกัน นี่ย่ิงตอกย�ำ้ ความสะดวกสบายและซือ้ ใจ ผูอ้ า่ นได้มากยิ่งขึน้ แถมยังมีรวี ิวจากผูอ้ า่ นคนอื่นๆ ช่วยให้การ ตัดสินใจซือ้ ท�ำได้งา่ ยขึน้ ไปอีก ที่ ม า : wearejapan.com/post/188464815489/ discover-tokyos-best-bookstores-tokyo-is-awash
แต่ทางรอดของร้านหนังสือจะเกิดขึน้ ได้ ณ วันนี ้ อาจอยู่ท่ีความคิด การปรับตัว ก้าวทันโลกยุคใหม่และให้ประสบการณ์ท่ีเหนือกว่า ที่ไม่ใช่ แค่การซือ้ และขายแล้วจบลง แต่เรื่องของบริการ การให้ท่ี มากกว่าใน ด้านอารมณ์ ความรู ส้ ึก สิ่งเหล่านีจ้ ะดึงดูดให้นักอ่านยังคงโหยหาและ ต้องการการด�ำรงคงอยูข่ องร้านหนังสือนั่นเอง
NEXT
หลังจากร้านเก่าปิ ดตัวไป 6 เดือน ร้านหนังสือใหม่ ก็กำ� เนิดขึน้ ภายใต้ช่อื ร้านบุงคิตสึ ซึง่ เมื่อแยกความหมาย เป็ นค�ำ คือ Bun แปลว่า วัฒนธรรม ขณะที่ Kitsu แปลว่า การดื่ ม ดัง นั้น เมื่ อ น�ำ มารวมกัน จึง แปลว่า การดื่ ม ด�่ำ วัฒนธรรม โดยร้านแห่งนีช้ คู อนเซ็ปต์วา่ เป็ นร้านหนังสือ ที่ จ ะท�ำ ให้คุณ ได้พ บรัก กับ หนัง สื อ โดยไม่ ไ ด้ก �ำ หนด รูปแบบตายตัว แต่หมายความว่า คุณอาจจะบังเอิญเจอ แล้ว ตกหลุม รัก ในทัน ที หรื อ ค่ อ ยๆ เปิ ด ไปที ล ะหน้า จนรู ส้ กึ รักก็ได้ลกู เล่นเป็ นกลยุทธ์ทางการตลาดส�ำคัญที่ ชวนให้นักอ่านอยากค้นหา และเช่นเดียวกันกับยามที่ เรามีคนรัก เราก็มกั รูส้ กึ อยากครอบครองรักนัน้ เอาไว้เพียง คนเดียว ดังนัน้ หนังสือกว่า 30,000 เล่มภายในร้าน ทุกเล่ม จะมีเพียงหนึ่งเดียว ไม่มีการซ�ำ้ กัน นั่นแปลว่า หนังสือ หนึง่ เล่ม หนึง่ ปก หนึง่ ชื่อจะมีเจ้าของครอบครองได้เพียง คนเดียว เป็ นเหมือนเรือ่ งรักโรแมนติกเรือ่ งหนึง่ เลยทีเดียว
ที่มา : www.instagram.com/bunkitsu_roppongi/
การจัดวางหนังสือภายในร้าน ไม่มีรูปแบบตายตัว จะวางหนังสือเป็ นกองๆ เพื่อให้นกั อ่านได้ออกตามหารักแท้ หยิบเล่มนั้น จับเล่มนี ้ ไม่มีการจัดตามขนาด เล็กเรียงใหญ่ หรือใหญ่ เรียงเล็ก ปกอ่อนปกแข็ง ทุกอย่างเหมือน การออกแบบมาเพื่อให้ได้คน้ หาแบบแท้จริง โดยทางร้านมีการเก็บค่าเข้าร้าน 1,500 เยน เพราะเชื่อว่าช่วงเวลาแห่ง การคัดสรรความรักล้วนมีค่า เมื่อจ่ายค่าเข้าแล้วก็มีสิทธิ์ท่ีจะเข้าไปค้นหาหนังสือในร้านนานเท่าใดก็ได้ มีบริการชา กาแฟที่คณ ุ จะดื่มเท่าไรก็ได้ไม่จำ� กัด
เมื่ อ เลื อ กหนั ง สื อ จากห้ อ งเลื อ กหนั ง สื อ ได้ แ ล้ ว ก็ สามารถที่ จะพาหนังสือเล่มนั้นๆ ไปเดตในห้องอ่าน หนังสือ ท�ำความรูจ้ กั กันและกัน นอกจากนีย้ งั มีบริการคาเฟ่ เรียกว่าใช้เวลาอยู่ในนีไ้ ด้ทัง้ วันเพราะอาหารเครื่องดื่ม พร้อมสรรพ แบบ one stop service นอกจากนีย้ ังมี ห้องนิทรรศการที่รวมหนังสือกว่า 90 ปก มาจัดแสดงให้ ได้เดินดูแบบเพลินๆ เมื่อศึกษากันจนคิดว่า หนังสือที่ถูกเลือก คือ คนที่ น่าจะใช่ ที่พร้อมจะสานสัมพันธ์ต่อ ก็พาหนังสือเดินลง บันไดไปจ่ายเงินได้เลย ที่มา : www.designboom.com
N
49
50
N
NEXT
ที่มา : mobilebookcafe.com/blog/?p=1037
วััฒ นธรรมการคััด สรรหนััง สืื อ อย่่ า งดื่่�มด่ำำ��เช่่ น นี้้� อาจเป็็นการตลาดอีีกหนึ่่�งรููปแบบในการต่่อสู้้�กัับการตลาด รูู ป แบบดิิ จิิ ทััล ที่่�ว่่ อ งไวในยุุ ค นี้้� การชััก ชวนให้้ผู้้�คน หวนรำ��ลึกึ ถึึงเสน่่ห์ที่่�จั ์ บั ต้้องได้้ของการใช้้เวลาในการเลืือก หนัังสืือ การได้้สัมั ผััสกระดาษจริิง พลิิกอ่่านทีีละหน้้า เหมืือนความรู้้�สึึกค่่อยๆ ตกหลุุมรัักใครสัักคน แบบค่่อย เป็็ นค่่อยไป เป็็ นห้้วงเวลาที่่�มีีค่า่ น่่าจดจำำ� มีีความพิิเศษ เกิิดขึ้้�น มากกว่่าการคลิิกสั่่�งซื้้�อออนไลน์์ผ่า่ นการบอกเล่่า รีีวิวิ จากใครก็็ไม่่รู้้�ที่่�เราไม่่รู้้�จักั มาก่่อนก็็เป็็ นได้้ อย่่าลืมื ว่่า เรื่่�องของความรู้้�สึึกนั้้�นสามารถซื้้�อใจผู้้�บริิโภคได้้อย่่าง ยั่่�งยืืนเช่่นกััน การบอกเล่่าของคุุณเกตุุวดีีมารุุ มูรู ะ หรืือในชื่่�อจริิง กฤติิ นีี พงษ์์ ธ นเลิิ ศ กูู รูู ผู้้�เชี่่�ยวชาญด้้า นการตลาด ญี่่�ปุ่่� นอาจารย์์ค ณะพาณิิ ช ยศาสตร์์แ ละการบัั ญ ชีี จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััยคอลััมนิิ สต์์ประจำำ�เว็็บไซต์์ Marumura.com และเพจ Japan Gossip by เกตุุวดีี Marumura ที่่�พููดถึึงร้้านหนัังสืือ Book Truck ร้้านหนัังสืือ เคลื่่�อนที่่�ที่่�บรรจุุหนัังสืือกว่่า 500 เล่่ม ในรถตู้้�สีีฟ้า้ อมเทา ไปจอดขายตามสถานที่่�ต่่างๆ เช่่น สวนสาธารณะ หรืือ บริิเวณงานอีีเวนต์์กลางแจ้้งต่่างๆ โดยตระเวนขายใน
แถบโตเกีียวและแถบคัันโตมาตั้้�งแต่่ปีี พ.ศ. 2555 ภายใน จะจััดหนัังสืือตามหมวดหมู่่�เพื่่�อง่่ายต่่อการค้้นหาในพื้้�นที่่� ที่่�จำำ�กััดของตััวรถ เช่่น หมวดหมู่่� Books for Girls หรืือ Book for Naturalist ซึ่่�งปกติิร้า้ นหนัังสืือแนว Book Truck นี้้�มัักพบในประเทศแถบยุุโรป เมื่่�อเกิิดขึ้้�นในญี่่�ปุ่่�น จึึงเป็็ นที่่�สนอกสนใจของผู้้�อ่่านและหนอนหนัังสืือจำำ�นวน ไม่่น้อ้ ย และนอกจากจะตระเวนไปจอดขายตามจุุดต่่างๆ ร้้านหนัังสืือในรถแห่่งนี้้�ก็็ยังั จััดกิิจกรรมน่่าสนใจมาล่่อใจ คนซื้้�ออยู่่�บ่่อยครั้้�งด้้วย และนี่่�ก็็ เ ป็็ นไอเดีี ย ที่่�น่่ า สนใจต่่ า งๆ ที่่�จะนำำ�พา ร้้า นหนััง สืื อ อิิ ส ระในหลายๆ แห่่ ง ทั่่�วโลกให้้อ ยู่่�รอด ปลอดภััยและยืืนหยััดได้้อย่่างแข็็งแรงท่่ามกลางปัั ญหา และอุุปสรรคที่่�เกิิดขึ้้�นจากการเปลี่่�ยนแปลง
WHAT"s GOiNG ON
WHAT'S GOING ON มกราคม 2565
ศาลเจ้าคันดะ เมียวจิน (Kanda Myojin) โตเกียว ญี่ปนุ่
กลางเดือนมกราคมของทุกปี ที่ศาลเจ้าคันดะ เมียวจิน (Kanda Myojin) ศาลเจ้าโบราณกว่าพันปี ใจกลางกรุ งโตเกียว ได้จดั ให้มีเทศกาลต้อนรับ ปี ใหม่ขนึ ้ ชื่อว่า ไดโกะกุ มัตซึตริ (Daikoku Matsuri) หรืองานเทศกาลไดโกะกุ ทีศ่ าลเจ้าคันดะ เมียวจิน เป็นทีป่ ระดิษฐานของเทพเจ้าแห่งโชคลาภถึงสององค์ คือเทพไดโกะกุและเทพเอะบิซุ ในงานจะมี คนแต่งตัวเป็ นเทพไดโกะกุ ถือค้อนศักดิส์ ิทธิ์ ให้พรแห่งโชคลาภแก่ผมู้ าเยือนด้วยการแกว่งค้อนเหนือ ที่มา : th.japantravel.com ศีรษะของผูน้ นั้ 22 มกราคม 2565
กรุงเทพ ไทย
เทศกาลไดโกะกุ
OKMD Career Bootcamp : 21st Century Skills Online Workshop Facilitated-learning
เมื่ อ การเรี ย นรู ้ไ ม่ ไ ด้อ ยู่ แ ค่ ใ นห้อ งเรี ย น ร่ ว มรับ ฟั ง ประสบการณ์ การออกแบบกระบวนการเรียนรูห้ อ้ งเรียนยุคใหม่ เครือ่ งมือและเทคโนโลยีท่ี ใช้สำ� หรับการฝึก Soft skill และ Hard skill ในการออกแบบกระบวนการเรียนรู ้ โดยวิทยากร 4 ท่าน คุณเมธวิน ปิ ติพรวิวฒ ั น์, คุณภีศเดช เพชรน้อย, คุณสรวิศ ไพบูลย์รตั นากร และ คุณบี มิรา เวฬุภาค ลงทะเบียนเข้าร่วมฟรี โดยไม่มีค่าใช้จ่ายได้ท่ี https://forms.gle/ SkD3U7zhUpkWsRxW7 ที่มา : ecosystemsknowledge.net/events/woodland
วันนี้ - 31 กรกฎาคม 2565
กรุงเทพ ไทย
มิวเซียมสยาม “เปิิดรัับต้้นฉบัับจากทางบ้้าน”
มิวเซียมสยามเปิ ดพืน้ ทีใ่ ห้นกั เขียนทางบ้านได้รว่ มส่งต่อความรู ้ เพือ่ สร้าง สังคมแห่งการเรียนรู ไ้ ปกับมิวเซียมสยาม โดยโครงการยัง คงยึด มั่น ใน แนวทางที่ ตอ้ งการน�ำสาระความรู ท้ ่ี ดึงอดีตมาสนทนากับปั จจุบันผ่าน การเผยแพร่ออนไลน์เช่นเดิม ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องราวประวัติศาสตร์ ผูค้ น วัฒนธรรม และประสบการณ์ท่องมิวเซียม ฯลฯ ผลงานผ่านการคัดเลือก จะได้รบั ค่าตอบแทน และได้รบั การเผยแพร่ผา่ นเว็บไซต์ของมิวเซียมสยาม ทีม่ า : www.museumsiam.org/event-detail.php?MID=12&CID=60&SID=130&CONID=4747&MDNID=-1
W
51
ร วมเชิญชวนคนไทยท องเที่ยวตลอดป แบบ Knowledge-based Tourism เน นเที่ยวเชิงความรู กับ 12 สุดยอดแหล งเร�ยนรู สร างสรรค ประจําป ยังมีแหล งท องเที่ยวเร�ยนรู ที่น าสนใจ และค นหาทั่วไทยอีกมาก! ทั้งแหล งเร�ยนรู ทางธรรมชาติว�ทยา ประวัตศิ าสตร เกษตรกรรม ชาติพนั ธุว �ทยา มกราคม
อ�ทยานธรณี
1
กุมภาพันธ์
2
จังหวัดสตูล
พ�พ�ธภัณฑ ธรรมชาติ ว�ทยาเกาะและทะเลไทย
มีนาคม
3
5
4
6
สวนพฤกษศาสตร สมเด็จพระนางเจ าสิร�กิติ์ จังหวัดเชียงใหม
10
พฤศจิกายน
11
โฮงเฮียนสืบสานล านนา จังหวัดเชียงใหม
กรกฎาคม
7
กันยายน
9
โครงการชั่งหัวมัน ตามแนวพระราชดําร� จังหวัดเพชรบุร�
อ�ทยานประวัติศาสตร พนมรุ ง จังหวัดบุร�รัมย
วัดพระเชตุพนว�มลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร
อ�ทยาน ประวัติศาสตร สุโขทัย จังหวัดสุโขทัย
จังหวัดอ�ดรธานี
จังหวัดนครปฐม
จังหวัดชลบุร�
ตุลาคม
อ�ทยานประวัติศาสตร ภูพระบาท
อ�ทยานธรรมชาติว�ทยาสิร�รุกขชาติ และพฤกษาดุร�ยางค (พ�พ�ธภัณฑ ต นไม ดนตร�)
Space Inspirium อ�ทยาน รังสรรค นวัตกรรมอวกาศ
มิถุนายน
สิงหาคม
เมษายน
จังหวัดชลบุร�
มีนาคม
8
เพ�่อให นักท องเที่ยวได เพลิน ไปกับการเดินทางท องเที่ยว พร อมการกระตุ นเศรษฐกิจของประเทศ และยกคุณภาพชีว�ตคนไทยให ดียิ�งข�้น
ธันวาคม
12
หอฝ �น อ�ทยานสามเหลี่ยมทองคํา จังหวัดเชียงราย
ข อมูลเพ��มเติมได ที่
สํานักงานบร�หารและ พัฒนาองค ความรู (OKMD) OKMD และ www.okmd.or.th