50 ปี
กายภาพบำาบัด มหิดล วันที่ 20 พฤษภาคม 2558 คณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา
สูจิบัตร
“ทรงพระเจริญ”
เนืื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘
ขอเชิญทวยเทพอัปสร พรหมพรประสิทธิ์อวยชัย อำานาจแห่งพระรัตนตรัย อันตรายใดใดไป่มี พระทัยแห่งรัตนนารี สุขเกษมเปรมปรีดา พระชนม์พละอัครา จบแจ้งเจิดจ้าอาจิณ
เลิศล้นคุณากร ทวีนิรามัย
ไร้ทุกข์ราคี กำาจรทั่วหล้า
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งทิวา วัจฉละฐิติ ในนามศิษย์เก่าและบุคลากรคณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
50 ปี แห่งความผูกพัน กายภาพบำาบัด มหิดล
ี ตาร ี ร ู มชส พ
erutuF eht ni TP :loohcS UMTP ot kcaB สารจากคณบดี
ในโอกาสทีค่ ณะกายภาพบำาบัด (โรงเรียนกายภาพบำาบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล มีอายุ ครบรอบ 50 ปี ของการพัฒนาจากโรงเรียนกายภาพบำาบัด ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดคิ ส์ และกายภาพบำาบัด คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล และมีอายุครบ 10 ปี จากการจัดตัง้ เป็น คณะกายภาพบำาบัด ซึ่งตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมา คณะฯ มีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการ ต่อเนื่องมาอย่างมากมาย ในฐานะที่รับผิดชอบบริหารงานคณะกายภาพบำาบัด ตั้งแต่ พ.ศ. 2551 จนถึง ปัจจุบันซึ่งเป็นการบริหารงานในตำาแหน่งคณบดีสมัยที่ 2 ขอกล่าวถึงพัฒนาการความ ก้าวหน้าของคณะฯ ในระยะเวลาการบริหารงาน โดยสรุปดังต่อไปนี้ ด้านวิสัยทัศน์ คณะฯ มุ่งสู่การเป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำาในระดับอาเซียน มี ความเป็นเลิศด้านวิชาชีพ เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะแก่สังคม โดยดำาเนินงานภายใต้ปณิธาน ของมหาวิทยาลัย “ความสำาเร็จที่แท้จริงอยู่ที่การนำาความรู้ไปประยุกต์ใช้ เพื่อประโยชน์สุข แก่มวลมนุษยชาติ” ด้านบริหารการศึกษา ในรอบ 5 ปีทผี่ า่ นมา คณะฯ ได้รบั การประเมินคุณภาพการ ศึกษาทุกระบบทั้งของมหาวิทยาลัยมหิดล สมศ. และ สกอ. อยู่ในระดับดี - ดีมาก และกำาลัง พัฒนาไปสู่การใช้ระบบ TQA (Thailand Quality Award) หรือระบบ EdPEx (Education Criteria for Performance Excellence) รวมทัง้ ระบบการประเมินระดับหลักสูตร AUN-QA ซึ่งจะนำามาใช้ในอนาคตอันใกล้ ด้านหลักสูตร คณะฯ มีหลักสูตรทั้งระดับปริญญาตรี ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท และปริญญาเอก รวม 5 หลักสูตร โดยหลักสูตรในระดับปริญญาเอกเปิดสอน เป็นหลักสูตรนานาชาติ เพื่อตอบสนองความต้องการของนักศึกษาภายในและต่างประเทศ ด้านการผลิตบัณฑิต คณะฯ มุ่งมั่นที่จะผลิตบัณฑิตที่เป็นทั้งคนดี มีปัญญาและ นำาพาสุข โดยสามารถปรับตัว ทำางานได้ดีและเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมเป็นสำาคัญ โดยมี ค่านิยม PTMU “จิตสาธารณะ (Public mind) ด้วยทักษะและปัญญา (Talent) คุณธรรม จรรยา (Moral) ผสานพลังเป็นหนึ่งเดียว (Unity)” มีการจัดหาทุนสนับสนุนการพัฒนา คุณภาพนักศึกษาเพิ่มเติม ทั้งทุนเรียนดี ทุนแลกเปลี่ยนและฝึกงานต่างประเทศ
ด้านการวิจัย ในช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา คณะเพิ่มทุนสนับสนุนการวิจัย โดยเฉพาะคณาจารย์และนักวิจัยรุ่นใหม่ จัดหางบประมาณในการจัดซื้อเครื่องมือวิจัยทั้งที่ สามารถใช้ในการรักษาและเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ เพิ่มกิจกรรมส่งเสริมการวิจัยทาง คลินิก รวมทั้งจัดอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพทางการวิจัยให้กับบุคลากรทุกสายงาน ด้านบริการสุขภาพ คณะฯ ขยายศูนย์กายภาพบำาบัด โดยขอใช้พนื้ ทีอ่ าคารสำานักงาน อธิการบดี (เดิม) เชิงสะพานสมเด็จพระปิน่ เกล้า เปิดศูนย์กายภาพบำาบัดรองรับความต้องการ ที่มีสูงขึ้น และเปิดศูนย์กายภาพบำาบัด ณ อาคารคณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นอกจากนี้ คณะฯ ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณในการรักษาทางกายภาพบำาบัด ให้กับผู้ป่วยในชุมชนเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จากสำานักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ ต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 สำาหรับชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา คณะฯ ดำาเนินโครงการกายภาพบำาบัดชุมชน เพื่อเสริมสร้างชุมชนให้สามารถ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รวมทั้งบริการรักษาทางกายภาพบำาบัดเป็นประจำาทุกสัปดาห์ ด้านต่างประเทศและความเป็นนานาชาติ คณะฯ ได้ขยายเครือข่ายความร่วมมือ กับต่างประเทศเพิ่มขึ้นทั้งในแถบยุโรปและเอเชีย คณะฯ ได้จดั งานประชุมวิชาการ “50 ปี กายภาพบำาบัด มหิดล” โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่ความก้าวหน้าทางวิชาชีพกายภาพบำาบัดและกิจกรรมบำาบัด เป็นพื้นที่ในการ รวมพลังศิษย์เก่าเพื่อพัฒนาคณะฯ และองค์ความรู้ทางกายภาพบำาบัดและกิจกรรมบำาบัด ให้พัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง สุดท้ายนี้ขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารย์ นายแพทย์เฟื่อง สัตย์สงวน บูรพคณาจารย์ อาจารย์อาวุโส และขอขอบคุณบุคลากร ศิษย์เก่าและศิษย์ปจั จุบนั ของคณะฯ ที่เสียสละเวลาและแรงกาย แรงใจ ในการพัฒนาคณะฯ อย่างต่อเนื่อง ทำาให้มีผลงานเป็นที่ ประจักษ์ ผลิตบัณฑิตเข้าสู่ระบบสาธารณสุขอย่างมีคุณภาพ
รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งทิวา วัจฉละฐิติ คณบดีคณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
ี ตาร ี ร ู มชส พ
t kcaB P oดี erutuF eht ni TP :loohcS UMTน สารแสดงความยิ
ในวาระดิถีที่คณะกายภาพบำาบัดเฉลิมฉลองครบรอบการสถาปนา 50 ปี ในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ผมขอแสดงความยินดี ในความเป็นปึกแผ่นเจริญก้าวหน้า และเป็นผูน้ าำ ของ วิชาชีพนี้ในประเทศไทยและในภูมิภาค ในด้านการศึกษา มีทงั้ หลักสูตรกายภาพบำาบัด และหลักสูตรกิจกรรมบำาบัด โดยทีห่ ลักสูตร กายภาพบำาบัดมีทงั้ ระดับปริญญาตรี โท และเอก นับเป็นคณะกายภาพบำาบัดคณะแรกและเป็นคณะ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และมีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ และระดับชาติ อย่างสมำ่ำาเสมอ ในครึ่งศตวรรษที่สองของคณะกายภาพบำาบัด ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ มีผสู้ งู อายุจาำ นวนมาก ความต้องการนักกายภาพบำาบัดก็จะมากขึน้ เป็นเงาตามตัว และประเทศไทย มีระบบสุขภาพทีเ่ น้นการสร้างเสริมสุขภาพ การดูแลสุขภาพของตนเอง การดูแลกันในครอบครัว และ ในชุมชน การผลิตนักกายภาพบำาบัดรุ่นใหม่จึงควรเอาใจใส่การเรียนรู้ที่เป็น Community-based เพิ่มขึ้น นอกจากนั้น การศึกษาของวิชาชีพสุขภาพในศตวรรษที่ 21 เน้นการเรียนรู้ฝึกฝนทักษะ ในการทำางาน เป็นทีมข้ามวิชาชีพ เพื่อทำางานเป็น “ทีมสุขภาพ” การศึกษาของทั้งสองหลักสูตรใน คณะฯ จึงมีช่องทางที่จะพัฒนาเพื่อให้เกิดสมรรถนะ (Competency) ตามความต้องการนี้ นัน่ หมายความว่า วิชาชีพกายภาพบำาบัดและกิจกรรมบำาบัดจะมีความสำาคัญเพิม่ ขึน้ และ มีโอกาสทำางานวิจัยเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และบำาบัดความเจ็บป่วยตามแนวทางของ วิชาชีพ และตามแนวทางของทีมสหสาขาวิชาชีพเพิ่มขึ้น รวมทั้งงานวิจัยเพื่อพัฒนาศาสตร์ว่าด้วย การเรียนรู้ในแนวทางใหม่ๆ การเปลีย่ นแปลงในสังคมทีม่ ผี ลกระทบต่อวิชาชีพนี้ นอกจากการเปลีย่ นแปลงโครงสร้าง ประชากรแล้ว ยังมีการเปลี่ยนแปลงที่สังคมกลายเป็นสังคมเมืองเพิ่มขึ้น วิถีชีวิตของผู้คนมีการ เคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง สังคมจึงต้องการกายภาพบำาบัดเชิงสร้างเสริมสุขภาพ และเชิงบำาบัด ความเจ็บป่วยเพิ่มขึ้น ในฐานะผู้นำาในวิชาชีพของประเทศไทย คณะกายภาพบำาบัดจึงควรเข้าไปมี ส่วนร่วมในการวางแผนกำาลังคนในวิชาชีพนี้ของประเทศในระยะยาว ในวาระดิถีอันเป็นมงคล ที่คณะกายภาพบำาบัดมีอายุครบครึ่งศตวรรษ ผมขอแสดง ความยินดีทคี่ ณะฯ ได้มคี วามก้าวหน้า ทำาคุณประโยชน์เอนกอนันต์แก่สงั คมไทย และขอให้กาำ ลังใจ ให้ผบู้ ริหาร คณาจารย์และสมาชิกทุกคนของคณะฯ จะร่วมกันดำาเนินกิจกรรมในช่วงครึง่ ศตวรรษที่ สองของคณะกายภาพบำาบัด ให้มีการริเริ่มสร้างสรรค์ พัฒนาคุณประโยชน์ต่อ สังคม และสร้างชื่อเสียงให้แก่สถาบันให้ยิ่งๆ ขึ้นไป ศาสตราจารย์นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล
ราตรีสีชมพู Back to PTMU School: PT in the Future
สารแสดงความยินดี
ในวาระครบรอบ 50 ปี คณะกายภาพบำาบัด (โรงเรียนกายภาพบำาบัด) มหาวิทยาลัย มหิดล ผมในนามอธิการบดีขอแสดงความยินดีอย่างจริงใจ และขอชื่นชมต่อคณะกายภาพบำาบัด ที่ได้พัฒนาศักยภาพทางวิชาการและวิชาชีพอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา ซึ่งมี ผล งานปรากฏเป็นที่ยอมรับในวงการวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิชาชีพกายภาพบำาบัด ตลอดระยะเวลา 50 ปี ที่ผ่านมา คณะกายภาพบำาบัด (โรงเรียนกายภาพบำาบัด) ได้ ทำาหน้าที่ในฐานะสถาบันผู้ผลิตบัณฑิตทางวิชาชีพกายภาพบำาบัด เพื่อป้อนบุคลากรเข้าสู่ระบบ สาธารณสุขไทย รวมทัง้ ระบบการศึกษาทางกายภาพบำาบัดอย่างต่อเนือ่ ง ด้วยหลักสูตรทีส่ ามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต กลุ่มผู้เรียน ชุมชนและสังคม มีการพัฒนาองค์ความรู้ ทางกายภาพบำาบัด ผ่านการวิจัยทั้งการวิจัยในห้องปฏิบัติการและการวิจัยในคลินิก รวมทั้งดำาเนิน การเปิดศูนย์กายภาพบำาบัดรองรับการฝึกปฏิบัติงานทางคลินิกของนักศึกษา และเป็นพื้นที่ในการ บริการสุขภาพแก่ประชาชน นอกจากนี้ คณะฯ ได้ดำาเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อตอบแทนสังคมตาม ศักยภาพขององค์กรอย่างต่อเนือ่ ง โดยได้รบั การสนับสนุนและความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข สำานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในการดำาเนินกิจกรรมต่างๆ ด้วยไมตรีจิตเป็นอย่างดียิ่ง ในวาระทีค่ ณะกายภาพบำาบัด (โรงเรียนกายภาพบำาบัด) ครบรอบ 50 ปี แห่งการดำาเนินงาน ในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 นี้ ผมขอส่งความปรารถนาดีและคำาขอบคุณมายังผูบ้ ริหาร คณาจารย์ และเจ้าหน้าทีท่ กุ หน่วยงานของคณะฯ ทีไ่ ด้ปฏิบตั งิ านด้วยความวิรยิ ะอุตสาหะ ทำาให้คณะฯ ก้าวหน้า มาถึงวันนีไ้ ด้อย่างภาคภูมิ รวมทัง้ ยกระดับวิชาชีพกายภาพบำาบัดให้สามารถปฏิบตั งิ านร่วมกับแพทย์ ทุกสาขาได้เป็นอย่างดี ทั้งยังเป็นส่วนสำาคัญที่ทาำ ให้กระบวนการรักษา ฟื้นฟูมีประสิทธิภาพมากยิ่ง ขึ้น และผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ด้วยความสามารถของบุคลากรทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการพัฒนา และส่งเสริมประสิทธิภาพของการบริหารจัดการองค์กรอย่างมีคณ ุ ภาพ จะสามารถทำาหน้าทีส่ ถาบัน ผู้ผลิตบัณฑิตทางกายภาพบำาบัดและกิจกรรมบำาบัดที่ดีส่งผลให้ผลการดำาเนินงานในภาพรวมของ มหาวิทยาลัยมหิดล ก้าวไปสูม่ หาวิทยาลัยวิจยั อันดับโลก พร้อมนีผ้ มขออำานาจคุณพระศรีรตั นตรัย และสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ งั้ หลายในสากลโลก โปรดอำานวยพรให้คณะผูบ้ ริหาร คณาจารย์และเจ้าหน้าทีข่ อง คณะฯ ประสบความสุขความเจริญด้วยสติปญ ั ญา มีสขุ ภาพแข็งแรง พร้อมทำาหน้าทีผ่ ลิตบัณฑิตทาง กายภาพบำาบัดและกิจกรรมบำาบัดที่มีคุณภาพให้กับสังคมไทยตลอดไป
ศาสตราจารย์คลินิกนายแพทย์ อุดม คชินทร อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
ี ตาร ี ร ู มชส พ
t kcaB P oดี erutuF eht ni TP :loohcS UMTน สารแสดงความยิ
50 ปี แห่งการสร้างสรรค์ กาย จิตผูกพันไม่สร่างซา ภาพ ความสัมพันธ์ตรึงตรา บำาบัด ประชาด้วยดวงมาลย์ คณะกายภาพบำาบัด (โรงเรียนกายภาพบำาบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถานศึกษา ทางกายภาพบำาบัดแห่งแรกของประเทศไทย ซึ่งถือกำาเนิดจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ผมเป็นคนหนึ่งที่ได้สัมผัสการดำาเนินงานและผลผลิตของคณะฯ ทั้งในฐานะ คณะฯ ผู้ให้กำาเนิด ในฐานะแพทย์และในฐานะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล ผมเห็นพัฒนาการ และความเจริญเติบโตมาตลอด คณะกายภาพบำาบัด (โรงเรียนกายภาพบำาบัด) ได้ทำาหน้าที่ในฐานะสถาบันผู้ผลิตบัณฑิต ทางวิชาชีพกายภาพบำาบัด เพื่อป้อนบุคลากรเข้าสู่ระบบสาธารณสุขไทย รวมทั้งระบบการศึกษา ทางกายภาพบำาบัดอย่างต่อเนือ่ ง พัฒนาองค์ความรูท้ างกายภาพบำาบัดผ่านการวิจยั ทัง้ การวิจยั ใน ห้องปฏิบัติการ และการวิจัยในคลินิก รวมทั้งการเปิดศูนย์กายภาพบำาบัดรองรับการฝึกปฏิบัติงาน ของนักศึกษาเพื่อเพิ่มทักษะให้กับนักศึกษาและการบริการสุขภาพแก่ประชาชน นอกจากนี้ คณะฯ ได้ดำาเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อรับใช้สังคมตามศักยภาพขององค์กร และผ่านเครือข่าย ความร่วมมือ ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ในโอกาสที่คณะกายภาพบำาบัด (โรงเรียนกายภาพบำาบัด) มีอายุครบ 50 ปี ในปี พุทธศักราช 2558 นี้ผมขอแสดงความยินดี ความชื่นชม และเป็นกำาลังใจให้ผู้บริหาร คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานของคณะกายภาพบำาบัด ให้ใช้ความริเริ่มสร้างสรรค์ และความเอาใจ ใส่มานะพยายาม ยกระดับคุณภาพวิชาชีพกายภาพบำาบัดและผลิตบัณฑิตทางกายภาพบำาบัดและ กิจกรรมบำาบัดที่มีคุณภาพ เพื่อยังประโยชน์ต่อการสร้างสรรค์สังคมไทยและต่อโลกยิ่งๆ ขึ้นไป
ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประสิทธิ์ วัฒนาภา คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ราตรีสีชมพู Back to PTMU School: PT in the Future
สารแสดงความยินดี
เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปี การสถาปนาคณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่ง เป็นสถาบันแห่งแรกที่ผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีในประเทศไทย ที่มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ในฐานะศิษย์เก่าและในฐานะนายกสภากายภาพบำาบัดขอแสดงความยินดีที่คณะกายภาพบำาบัดมี ส่วนร่วมทีส่ าำ คัญยิง่ ในการผลิตนักกายภาพบำาบัดทีม่ คี วามรูแ้ ละความสามารถทางวิชาการและทาง คลินกิ มาร่วมรับใช้สงั คมไทยมาอย่างยาวนาน มีศษิ ย์เก่าทีร่ ว่ มทำาประโยชน์ให้กบั วงการสาธารณสุข และวงการศึกษา ในโอกาสนี้ ใคร่ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย ดลบันดาลให้คณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล คณาจารย์ผทู้ รงคุณวุฒิ และเจ้าหน้าทีท่ กุ ท่าน สามารถนำาพาคณะกายภาพบำาบัด สู่ความสำาเร็จตามวิสัยทัศน์ที่ได้วางไว้ทุกประการ และขอให้คณะกายภาพบำาบัดมีความเจริญ ก้าวหน้าตลอดไป
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กภ.กานดา ชัยภิญโญ นายกสภากายภาพบำาบัด
ี ตาร ี ร ู มชส พ
t kcaB P oดี erutuF eht ni TP :loohcS UMTน สารแสดงความยิ
เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปี กายภาพบำาบัด มหิดล สมาคมกายภาพบำาบัดแห่ง ประเทศไทยขอแสดงความยิ น ดี และขอส่ ง ความปรารถนาดี ม ายั ง คณะผู้ บ ริ ห ารของคณะ กายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล คณาจารย์ นักศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่าน ตลอดเวลาที่ ผ่านมาคณะกายภาพบำาบัดได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพที่โดดเด่นเป็นรูปธรรมทั้งทางด้านวิชาการ และงานวิจัยให้เป็นที่ประจักษ์ทั้งในประเทศและต่างประเทศจากความมุ่งมั่นของผู้บริหารและ บุคลากรทุกท่านทีร่ ว่ มใจกันทำางานด้วยความเสียสละและสามัคคี สุดท้ายนีข้ อให้การดำาเนินงานของ คณะกายภาพบำาบัดประสบความสำาเร็จก้าวหน้าและร่วมกันเป็นกำาลังสำาคัญในการพัฒนาวิชาชีพ กายภาพบำาบัดให้เจริญรุ่งเรืองและก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นในอนาคต
อ.ดร.กภ.พัชรี คุณค้ำาชู
นายกสมาคมกายภาพบำาบัดแห่งประเทศไทย
ราตรีสีชมพู Back to PTMU School: PT in the Future
สารแสดงความยินดี
จากปี พ.ศ. 2508 โรงเรียนกายภาพบำาบัด ในคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มา ถึงปี พ.ศ. 2558 ปัจจุบันเป็นคณะกายภาพบำาบัด หนึ่งใน 17 คณะ ของมหาวิทยาลัยมหิดล นับว่าภารกิจผลิตบัณฑิตกายภาพบำาบัดถึงวันนีไ้ ด้มคี วามก้าวหน้ามาอย่างมากมาย ปีนพี้ วกเราศิษย์ เก่าที่ผ่านการหล่อหลอมจากที่นี่ ได้มีโอกาสหวนคิดคำานึงถึงอดีต ความหลัง และได้ร่วมภาคภูมิใจ กับความเติบใหญ่ของคณะฯ ทั้งด้านอาคารสถานที่ ความลำ้ำาหน้าทางวิชาการ ตลอดจนบุคลากร คณาจารย์ในสาขากายภาพบำาบัด และสาขากิจกรรมบำาบัด ที่ทำาให้เห็นศักยภาพ ความพร้อม ความมั่งคั่งด้วยผลงานวิชาการ ที่ได้ขยายไปสู่สากล มีนักศึกษาในโครงการแลกเปลี่ยนจากต่าง ประเทศ มีความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยชั้นนำาและมีชื่อเสียงในต่างประเทศ ตลอดจน การสนับสนุนผลงานวิจัยได้รับการเผยแพร่ในวารสารนานาชาติ จึงเป็นความก้าวหน้าทางด้าน วิชาการ สมปณิธานของมหาวิทยาลัยมหิดล“ปัญญาของแผ่นดิน” ตลอดระยะเวลาครึ่งศตวรรษ สถาบั น นี้ ไ ด้ ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต ออกไปรั บ ใช้ สั ง คมและทำ า คุ ณ ประโยชน์ มี ชื่ อ เสี ย งในสั ง คมคุ ณู ป การ อย่างใหญ่หลวงที่ศิษย์เก่ารุ่นพี่ที่สมควรรับการยกย่อง คือผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประโยชน์ บุญสินสุข (รุ่น 1) รองศาสตราจารย์สุรศักดิ์ ศรีสุข (รุ่น 3) ท่านอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัด จันทบุรี ปรีชา ปิตานนท์ (รุ่น 5) ที่ช่วยกันผลักดันยกระดับวิชาชีพ ด้วยกลไกทางสภาผู้แทนราษฎร ออกกฏหมายเฉพาะ คือ พระราชบัญญัติวิชาชีพกายภาพบำาบัด 2547 เพื่อคุ้มครองผู้รับบริการ กำากับโดยสภากายภาพบำาบัด ซึ่งเป็นองค์กรนิติบุคคลตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติฯ นี้ นับเป็นความ ก้าวหน้าสูงสุดในวิชาชีพ ขอชืน่ ชมยินดีกบั คณาจารย์ บุคลากรในคณะฯ กับความสำาเร็จทีผ่ า่ นมา อันเป็นทีป่ ระจักษ์ ศิษย์เก่า ทุกคนขอร่วมภาคภูมิใจและขอรำาลึกถึงพระคุณครูบาอาจารย์ที่ล่วงลับ ขอคารวะต่อครูอาจารย์ ทีม่ สี ว่ นจุดประกาย เริม่ ต้น ผลักดัน ทุม่ เท เสียสละ ก่อเกิดคณะฯ จนเป็นวันนีท้ เี่ ห็น และยังต้องสานต่อ ให้มีความเจริญก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นในก้าวต่อไปจากนี้ พวกเราศิษย์เก่า ขอร่วมเป็นส่วนหนึ่งของพลัง เสริมให้เข้มแข็ง เพื่อให้ความมุ่งมั่นอย่างมีพลังของคณะฯ ในการเป็นเบ้าหลอมที่ดีของการผลิต บัณฑิตให้เติบโตก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้น และจะได้ส่งต่อความภูมิใจจนถึงวันข้างหน้าที่หวังจะย้อนกลับ มาระลึกถึงสิง่ ดีๆ อีกไม่สนิ้ สุด ขอพระพร จากสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิไ์ ด้ตอบแทนความดีและดลบันดาลให้คณะ ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากรทุกคน มีพลังกาย พลังใจที่เข้มแข็ง มีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์ พร้อมร่วมมือร่วมใจพัฒนาคณะฯ ไปสู่เป้าหมายที่ได้ตั้งปณิธาณไว้ร่วมกัน
กภ.ศุภรัตน์ มาสภัสร์
ศิษย์เก่ากายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล รุ่น ๑๐ นายกสมาคมศิษย์เก่า คณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
ี ตาร ี ร ู มชส พ
t kcaB P oดี erutuF eht ni TP :loohcS UMTน สารแสดงความยิ
กระผมในนามของคณาจารย์ ศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน รวมทั้งบุคลากรของภาควิชา ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำาบัด คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ขอแสดงความ ยินดี เนื่องในวาระครบรอบ 50 ปี ของการจัดการศึกษาหลักสูตรกายภาพบำาบัด โดยเริ่มจาก โรงเรียนกายภาพบำาบัด และต่อมาเป็นคณะกายภาพบำาบัด ผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี เป็น แห่งแรกของประเทศไทย กระผมรู้สึกชื่นชม และภาคภูมิใจในความสามารถ ความวิริยะ อุตสาหะ ของคณะผู้ บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรทุกท่าน ทีช่ ว่ ยกันพัฒนาคณะกายภาพบำาบัด ให้กา้ วหน้ามาอย่าง ต่อเนื่อง จนเป็นสถาบันชั้นนำาของประเทศ และภูมิภาค ในโอกาสนี้ กระผม ขออาราธนาคุณพระ รัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลก ช่วยอำานวยพรให้ท่านทั้งหลายประสบความสุข ความเจริญ ปราศจากโรคและภยันตรายทั้งปวง สามารถนำาพาคณะกายภาพบำาบัด ให้มีความเจริญก้าวหน้า ยิ่งๆ ขึ้นไป
ศาสตราจารย์ นายแพทย์ภานุพันธ์ ทรงเจริญ หัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำาบัด คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลับมหิดล
ี ตาร ี ร ู มชส พ
TP ot kcaB UMมา TP :loohcS น niวามเป็ ehtิค erutuF ต ประวั
กายภาพบำาบัดในศิริราช
โรงพยาบาลศิริราชเป็นสถาบันที่ให้กำาเนิดกายภาพบำาบัดในประเทศไทย ปี พุทธศักราช 2460 โรงพยาบาลศิรริ าชเปิดโรงเรียนแพทยากรและโรงเรียนแพทยาลัย โดยเปิด หลักสูตรแพทยาศาสตร์ 5 ปี และบรรจุความรู้ด้านออร์โธปิดิคส์ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา เชอร์เยอร์รี่ เน้นด้านกระดูกหัก ข้อเคลื่อน กระดูกหักชนิดไม่มีแผลเปิดเผย ชนิดมีบาดแผล เนื้องอกตามแขน ขา ลำาตัว ปีพทุ ธศักราช 2490 ศาสตราจารย์นายแพทย์เฟือ่ ง สัตย์สงวน ริเริม่ การใช้เครือ่ งมือ และวิธีการกายภาพบำาบัดรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาลศิริราช ระยะแรกประยุกต์ใช้เครื่องมือ ง่ายๆทีท่ าำ ขึน้ เอง เช่น ความร้อนจากโคมไฟ เครือ่ งนวดสัน่ แบบมือจับ การนวดด้วยมือ การฝึก เดินในราวคู่ และเครือ่ งช่วยเดิน ต่อมาจึงจัดหาอุปกรณ์ และฝึกแพทย์และพยาบาลเพือ่ ช่วย งานของท่านตามงานบริการที่ขยายมากขึ้น ขณะนั้นยังไม่มีชื่อเรียกของนักกายภาพบำาบัด จึงใช้เรียกทับศัพท์ว่า Physiotherapist ปีพุทธศักราช 2507 สภามหาวิทยาลัยมหิดลอนุมัติให้จัดตั้ง ภาควิชาศัลยศาสตร์ ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำาบัด คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีที่ทำาการภาควิชา ณ อาคารสลากกินแบ่งรัฐบาล โดยแยกงานด้านออร์โธปิดิคส์และ กายภาพบำาบัดออกจากภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล
เมื่อปีพุทธศักราช 2495 มีโรค โปลิโอระบาด ในประเทศไทย พระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ย เดชฯ ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรด เกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วน พระองค์ 100,000 บาท ซื้อเครื่องมือ กายภาพบำาบัด Hubbard Tank เพื่อใช้ รักษาผู้ป่วยโปลิโอ จากนัน้ มา โรงพยาบาลศิรริ าชได้พฒ ั นางานบริการกายภาพบำาบัดทัง้ ด้านบุคลากร และเครื่องมือทางกายภาพบำาบัดมาตลอด แต่ยังไม่มีสถานที่เป็นสัดส่วน ท่านผู้หญิงหม่อม งามจิตต์ บูรฉัตร ประธานคณะอนุกรรมการมูลนิธิอนุเคราะห์คนพิการ ได้กราบทูลสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ถึงความลำาบากเรื่องสถานที่ทำางานของกายภาพบำาบัด จึงทรงอนุเคราะห์ติดต่อให้ได้งบประมาณมาสร้างตึก โปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อว่า “ตึกศรีสังวาลย์” และเสด็จพระราชดำาเนินทรงเปิดเมื่อวันศุกร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 โรงเรียนกายภาพบำาบัด ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์และกายภาพบำาบัด คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
ปี พุ ท ธศั ก ราช 2506 ศาสตราจารย์นายแพทย์เฟื่อง สัตย์ สงวน ท่ า นผู้ ห ญิ ง หม่ อ มงามจิ ต ต์ บูรฉัตร ร่วมมือกับ Ms. MJ Neilson เลขาธิการสมาพันธ์กายภาพบำาบัด โลก ร่ ว มก่ อ ตั้ ง โรงเรี ย นกายภาพ บำ า บั ด ในภาควิ ช าศั ล ยศาสตร์ ออร์ โ ธปิ ดิ ก ส์ แ ละกายภาพบำ า บั ด คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2508 โรงเรียนกายภาพบำาบัด รับนักศึกษากายภาพบำาบัดรุ่นที่ หนึ่งจากนักศึกษาเตรียมแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ เข้า มาเรียนชั้นปีที่ 3 โดยมีองค์การอนามัยโลก (WHO) สนับสนุนอาจารย์ อุปกรณ์การเรียนการสอน
และการฝึกปฏิบัติงาน ในระยะแรก นอกจากศาสตราจารย์นายแพทย์เฟื่อง สัตย์สงวน อาจารย์สมสิริ ทับแสง และอาจารย์ชาวต่างประเทศแล้ว โรงเรียนกายภาพบำาบัดได้รบั ความ กรุณาจากอาจารย์แพทย์ของทุกภาควิชาในคณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล เป็นอาจารย์ สอนความรูด้ า้ นการแพทย์แก่นกั ศึกษากายภาพบำาบัดด้วย ในปีพทุ ธศักราช 2510 มีบณ ั ฑิต กายภาพบำาบัดรุ่นแรกของประเทศไทยจบการศึกษา จำานวน 16 คน นับจากนั้น โรงเรียนกายภาพบำาบัด ได้ผลิตบัณฑิตกายภาพบำาบัด ระดับปริญญา ตรีรนุ่ แล้วรุน่ เล่าออกมารับใช้สงั คมไทยทุกปี จนปีพทุ ธศักราช 2526 โรงเรียนกายภาพบำาบัด เปิดหลักสูตรปริญญาโทเป็นแห่งแรกของประเทศไทย เพื่อผลิตนักวิชาการและอาจารย์ กายภาพบำาบัดสำาหรับมหาวิทยาลัยต่างๆ ทีเ่ ริม่ เปิดหลักสูตรกายภาพบำาบัด รวมทัง้ หน่วยงาน ที่มีงานบริการกายภาพบำาบัดมากขึ้นเรื่อยๆ ปีพุทธศักราช 2542 สภามหาวิทยาลัยมหิดล มีมติเห็นชอบให้ยกฐานะโรงเรียน กายภาพบำาบัดเป็นโครงการจัดตั้งคณะกายภาพบำาบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว ประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะฯ ได้เพิม่ ทีท่ าำ การคลินกิ กายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัย มหิดล ที่อาคารสำานักงานอธิการบดี (เดิม) บริเวณเชิงสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า
ปีพุทธศักราช 2548 สภามหาวิทยาลัยมหิดล มีมติเห็นชอบให้ยกฐานะ โครงการ จัดตั้งคณะกายภาพบำาบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็น “คณะกายภาพบำาบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์” และได้รับอนุมัติงบ ประมาณในการสร้างอาคารคณะกายภาพบำาบัด ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จำานวน 167,155,298 บาท
ปีพุทธศักราช ๒๕๕๑ ย้ายที่ทำาการคณะฯ มายังมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขต ศาลายา และได้เปิดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขากิจกรรมบำาบัด และนับเป็นสถาบัน ที่สองของประเทศไทยที่เปิดหลักสูตร คณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
สภามหาวิทยาลัย มีมติเห็นชอบให้มกี ารจัดตัง้ ส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยมหิดล โดยเปลี่ยนชื่อคณะกายภาพบำาบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์ เป็นคณะ กายภาพบำาบัด เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2552 ปัจจุบันคณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดการเรียนการสอนทั้งระดับ ปริญญาตรีและหลังปริญญาตรี รวม 5 หลักสูตร ได้แก่ (1) วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา กายภาพบำาบัด (2) วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขากิจกรรมบำาบัด (3) ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขากายภาพบำาบัดคลินิก (4) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขากายภาพบำาบัด และ (5) ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขากายภาพบำาบัด (หลักสูตรนานาชาติ) จากบัณฑิตกายภาพบำาบัดรุน่ แรก จำานวน 16 คน คณะกายภาพบำาบัดได้ขยายการ ผลิตโดยรับนักศึกษากายภาพบำาบัดระดับปริญญาตรีเป็นปีละ 100 คน ปริญญาโท 15 คน ปริญญาเอก 5 คน ประกาศนียบัตรบัณฑิต กายภาพบำาบัดด้วยการจัด ดัด ดึง 15 คน และกิจกรรม บำาบัดระดับปริญญาตรี 30 คน จนถึงปีการศึกษา 2554 คณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัย มหิ ด ล ผลิ ต นั ก กายภาพบำ า บั ด ระดั บ ปริ ญ ญาตรี อ อกไปรั บ ใช้ สั ง คมไทยในหน่ ว ยงาน ต่างๆ รวม 45 รุ่น จำานวน 1,712 คน
โครงการประชุมวิชาการ ประจำาปี 2558 “50 ปี กายภาพบำาบัด มหิดล” 1. ชื่อโครงการ โครงการประชุมวิชาการ ประจำาปี 2558 “50 ปี กายภาพบำาบัด มหิดล” 2. ผู้รับผิดชอบโครงการ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ 3. หลักการและเหตุผล คณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถาบันการศึกษาทางกายภาพบำาบัด ที่เก่าแก่ท่ีสุดในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2508 โดยศาสตราจารย์นายแพทย์ เฟื่อง สัตย์สงวน ในชื่อโรงเรียนกายภาพบำาบัด สังกัดภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และ กายภาพบำาบัด คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ต่อมา ในปี พ.ศ. 2542 โรงเรียนกายภาพบำาบัด ได้รบั อนุมตั จิ ากสภามหาวิทยาลัยจัดตัง้ เป็นคณะกายภาพบำาบัดและ วิทยาศาสตร์การเคลือ่ นไหวประยุกต์ มีรองศาสตราจารย์กานดา ใจภักดี เป็นคณบดีทา่ นแรก ในปี พ.ศ. 2552 คณะกายภาพบำาบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์ได้เปลี่ยนชื่อ เป็นคณะกายภาพบำาบัด เป็นสถาบันการศึกษาทางกายภาพบำาบัดสถาบันแรกทีเ่ ปิดการเรียน การสอนทางกายภาพบำาบัดระดับหลังปริญญา ได้แก่ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา กายภาพบำาบัด เริ่มในปี พ.ศ.2526 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต กายภาพบำาบัดด้วย การจัด ดัด ดึง และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขากายภาพบำาบัด (หลักสูตรนานาชาติ) เริ่มในปี พ.ศ. 2546 นอกจากหลักสูตรทางสาขากายภาพบำาบัดแล้ว คณะฯ ได้เปิดหลักสูตร ปริญญาตรีสาขากิจกรรมบำาบัด ในปี พ.ศ. 2551 ในปี พ.ศ. 2544 คณะฯ ได้ เ ปิ ด คลิ นิ ก กายภาพบำ า บั ด เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารทาง กายภาพบำาบัดแก่ประชาชน ครอบคลุมหลายสาขา ได้แก่ กายภาพบำาบัดทางระบบกล้ามเนือ้ กระดู ก และข้ อ ต่ อ กายภาพบำ า บั ด ทางการกี ฬ า กายภาพบำ า บั ด ทางระบบประสาท กายภาพบำาบัดทางเด็ก เป็นแหล่งผลิตงานวิจัยและสถานที่ฝึกงานด้านคลินิกของนักศึกษา รวมทั้งเป็นสถานที่ฝึกงานสำาหรับนักศึกษากายภาพบำาบัดชาวต่างชาติจากประเทศต่างๆ และเปิดให้บริการทางกิจกรรมบำาบัด ในปี พ.ศ. 2546 โดยครอบคลุมการให้บริการกิจกรรม บำาบัดทางผู้ใหญ่และทางเด็ก ตลอดระยะเวลา 50 ปี คณะฯ ได้ผลิตบัณฑิตเพื่อรับใช้ชุมชน สังคมและประเทศ รวมทั้งมีการพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง คณะฯ กำาหนดจัดการประชุมวิชาการ ประจำาปี 2558 “50 ปี กายภาพบำาบัด มหิดล” เพือ่ เผยแพร่ความก้าวหน้าทางวิชาการทางกายภาพบำาบัดในทุกแขนง อันได้แก่ การ บริหารจัดการคลินิก ความก้าวหน้าของกายภาพบำาบัดชุมชน การรักษาทางกายภาพบำาบัด ด้วยการออกกำาลังกาย กายภาพบำาบัดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย กายภาพบำาบัดระบบ หัวใจและหลอดเลือด กายภาพบำาบัดในผูป้ ว่ ยเด็ก กายภาพบำาบัดระบบกระดูกและกล้ามเนือ้
กายภาพบำาบัดระบบประสาท และกิจกรรมบำาบัด แก่บุคลากรวิชาชีพกายภาพบำาบัด กิจกรรมบำาบัดและบุคลากรสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ทั้งยังเป็น โอกาสในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความคิดเห็น และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ทางวิชาการ วิชาชีพ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อเผยแพร่ความก้าวหน้าทางวิชาการทางกายภาพบำาบัดในทุกแขนง แก่ นักกายภาพบำาบัด นักกิจกรรมบำาบัดนักศึกษา และบุคลากรสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในด้าน วิทยาศาสตร์สุขภาพ 4.2 เพือ่ แลกเปลีย่ นประสบการณ์ ความคิดเห็นและการสร้างเครือข่ายทางวิชาการ 4.3 เพื่อสร้างพื้นที่ในการรวมพลังศิษย์เพื่อพัฒนาคณะฯ และองค์ความรู้ทาง กายภาพบำาบัดให้พัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง 4.4 เพือ่ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและจิตสำานึกของบุคลากร นักศึกษาให้มคี วาม รักและผูกพันต่อองค์กร 5. กลุ่มเป้าหมาย 5.1 คณาจารย์ทางกายภาพบำาบัดและกิจกรรมบำาบัดทั่วประเทศ 5.2 นักกายภาพบำาบัดและนักกิจกรรมบำาบัดทั่วประเทศ 5.3 นักศึกษากายภาพบำาบัดและกิจกรรมบำาบัดทั่วประเทศ 5.4 บุคลากรสาขาวิชาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 6. วิธีดาำ เนินงาน 6.1 ประชุมคณะกรรมการฝ่ายวิชาการเพื่อกำาหนดกรอบการดำาเนินโครงการ 6.2 ศึกษาข้อมูลเพื่อจัดทำาแบบเสนอโครงการ 6.3 จัดทำาแบบเสนอโครงการเพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติงานประจำาปีของคณะฯ 6.4 ขออนุมัติโครงการ 6.5 แต่งตั้งคณะกรรมการดำาเนินงานและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ 6.6 ประสานงานวิทยากร สถานที่และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 6.7 ประชุมเพื่อเตรียมความพร้อม 6.8 ดำาเนินโครงการ 6.9 ประเมินผลโครงการ 6.10 รายงานผลการดำาเนินโครงการ 7. สถานที่ดาำ เนินงาน คณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ กรุงเทพมหานคร
8. ระยะเวลาในการดำาเนินการ 20 – 22 พฤษภาคม 2558 9. การติดตามและประเมินผล 9.1 การสังเกต 9.2 แบบประเมินโครงการ 10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 10.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับทราบความก้าวหน้าทางกายภาพบำาบัดในทุกแขนง และสามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้ 10.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความคิดเห็นและเกิดเครือ ข่ายทางวิชาการในแขนงต่างๆ 10.3 คณะฯ มีเครือข่ายทางวิชาการและวิชาชีพมากขึ้น
50 ปี
กายภาพบำาบัด มหิดล
วันที่ 20 พฤษภาคม 2558 คณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา เวลา
08.30 – 09.00 น. 09.00 – 09.15 น. 09.15 – 09.30 น. 09.30 – 10.00 น. 10.00 – 10.30 น. 10.30 – 11.00 น. 11.00 – 11.30 น. 11.30 – 12.00 น. 12.00 – 13.00 น. 13.00 – 14.30 น.
14.30 – 14.45 น. 14.45 – 15.15 น.
กิจกรรม
ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมวิชาการ เปิดการประชุมวิชาการ ประจำาปี 2558 โดย ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์ อุดม คชินทร อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ปาฐกถาพิเศษ โดย ศ.คลินิก นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร ปาฐกถาพิเศษ โดย ศ.นพ.ภานุพันธ์ ทรงเจริญ รับประทานอาหารว่าง ปาฐกถา เรื่อง “กว่าจะถึงวันนี ้ กายภาพบำาบัด มหิดล” โดย รศ.กานดา ใจภักดี ปาฐกถา เรื่อง “กายภาพบำาบัด กับ AEC” โดย ผศ.ดร.ประโยชน์ บุญสินสุข ปาฐกถา เรื่อง “ก้าวไปข้างหน้า กายภาพบำาบัด มหิดล” โดย รศ.ดร.รุ่งทิวา วัจฉละฐิติ รับประทานอาหารกลางวัน เสวนา เรื่อง “คลินิกกายภาพบำาบัด” โดย อ.วิยะดา ศักดิ์ศร ผศ.ดร.ประภาส โพธิ์ทองสุนันท์ อ.คมปกรณ์ ลิมป์สุทธิรัชต์ ผศ.ชมพูนุท สุวรรณศรี ดำาเนินการเสวนาโดย ผศ.ดร.ประเสริฐ สกุลศรีประเสริฐ รับประทานอาหารว่าง เสวนา เรื่อง “งานกายภาพบำาบัดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย” โดย ผศ.ดร.จตุพร วงศ์สาธิตกุล ดำาเนินการเสวนาโดย อ.ดร.วรรณเพ็ญ จันทร์ศิรินุเคราะห์
วันที่ 20 พฤษภาคม 2558 คณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา เวลา 15.15 – 16.00 น.
16.30 - 17.30 น. 18.00 – 18.30 น. 18.30 – 18.45 น
18.45 – 19.00 น. 19.00 – 21.45 น. 21.45 – 22.00 น.
กิจกรรม เสวนา เรื่อง งานกายภาพบำาบัดชุมชน โดย รศ.ดร. น้อมจิตต์ นวลเนตร์ กภ.สมคิด เพื่อนรัมย์ รศ.ดร.ปนดา เตชทรัพย์อมร ผศ.ดร.มัณฑนา วงศ์ศิรินวรัตน์ ดำาเนินการเสวนาโดย ผศ.ดร.ภครตี ชัยวัฒน์ ทัวร์คณะและทัวร์ศาลายา ลงทะเบียนเข้าร่วมงานราตรีสีชมพู “50 ปี แห่งความภาคภูมิใจ” พิธีเปิดงานราตรีสีชมพู “50 ปี แห่งความภาคภูมิใจ” โดย รศ.กานดา ใจภักดี คณบดีทา่ นแรกของคณะกายภาพบำาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล มอบรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น การแสดงสลับกับการจับฉลากมอบของรางวัลให้กับผู้ร่วมงาน พิธีปิดงานราตรีสีชมพู “50 ปี แห่งความภาคภูมิใจ”
วันที่ 21 พฤษภาคม 2558 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา 09.00 – 09.30 น. 09.30 – 10.00 น. 10.00 – 10.30 น. 10.30 - 12.00 น. 12.00 - 13.00 น. 13.00 - 14.30 น. 14.30 - 14.45 น. 14.45 - 16.15 น.
กิจกรรม ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมวิชาการ ชมวีดิทัศน์ “50 ปี กายภาพบำาบัด มหิดล” รับประทานอาหารว่าง แยกห้องย่อยในแต่ละหัวข้อ รับประทานอาหารกลางวัน แยกห้องย่อยในแต่ละหัวข้อ รับประทานอาหารว่าง แยกห้องย่อยในแต่ละหัวข้อ
วันที่ 22 พฤษภาคม 2558 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา 08.00 – 08.30 น. 08.30 – 10.00 น. 10.00 - 10.30 น. 10.30 - 12.00 น. 12.00 - 13.00 น. 13.00 - 14.30 น. 14.30 - 14.45 น. 14.45 - 16.15 น.
กิจกรรม ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมวิชาการ แยกห้องย่อยในแต่ละหัวข้อ รับประทานอาหารว่าง แยกห้องย่อยในแต่ละหัวข้อ รับประทานอาหารกลางวัน แยกห้องย่อยในแต่ละหัวข้อ รับประทานอาหารว่าง แยกห้องย่อยในแต่ละหัวข้อ
50 ปี
กายภาพบำาบัด มหิดล
ห้องย่อยที่ 1 Exercise as an Intervention and Thai Physical Activity Guidelines (TPAG)
วันที่ 21 พฤษภาคม 2558 ห้องเจ้าพระยา 1 ชั้น 2 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา
10.30 – 12.00 น.
กิจกรรม
Cardiovascular and Respiratory System: Exercise as an Intervention โดย รศ.พ.ต.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล วิทยาลัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. Muscular System: Exercise as an Intervention โดย รศ.ดร.วิฑูร แสงศิริสุวรรณ คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล 14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารว่าง 14.45 – 16.15 น. Exercise is Medicine: A Global Campaign from ACSM โดย รศ.พ.ต.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล วิทยาลัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
50 ปี
กายภาพบำาบัด มหิดล ห้องย่อยที่ 1 Exercise as an Intervention and Thai Physical Activity Guidelines (TPAG)
วันที่ 22 พฤษภาคม 2558 ห้องเจ้าพระยา 1 ชั้น 2 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา
กิจกรรม
ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมวิชาการ Health Benefits from Physical Activities โดย อ.ดร.ชุติมา ชลายนเดชะ คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 10.00 - 10.30 น. รับประทานอาหารว่าง 10.30 – 12.00 น. Physical Activity Assessment Methodology โดย ผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะ คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. Metabolic Equivalent: Validity, Efficiency and Clinical Applications for Physical Therapists โดย อ.ดร.เวทสินี แก้วขันตี คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารว่าง 14.45 – 16.15 น. Development and Applications of TPAG โดย อ.ดร.ชุติมา ชลายนเดชะ คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 08.00 – 08.30 น. 08.30 – 10.00 น.
ห้องย่อยที่ 2 กายภาพบำาบัดระบบหัวใจและหลอดเลือด
วันที่ 21 พฤษภาคม 2558 ห้องวิมานทอง ชั้น 3 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา
กิจกรรม
Overview in Chest Physical Therapy Technique and New Devices โดย รศ.ดร.ชุลี โจนส์ คณะเทคนิคการแพทย์ ม.ขอนแก่น 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. Updated Chest Physical Therapy Technique in Adults โดย รศ.ดร.ชุลี โจนส์ คณะเทคนิคการแพทย์ ม.ขอนแก่น 14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารว่าง 14.45 – 16.15 น. Updated Chest Physical Therapy Technique in Pediatrics โดย กภ.วิรงรอง ยศะสินธุ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี 10.30 – 12.00 น.
50 ปี
กายภาพบำาบัด มหิดล ห้องย่อยที่ 2 กายภาพบำาบัดระบบหัวใจและหลอดเลือด
วันที่ 22 พฤษภาคม 2558 ห้องวิมานทอง ชั้น 3 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา
กิจกรรม
08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียน 08.30 – 10.00 น. Clinical Outcome Measurement โดย อ.ดร.เวทสินี แก้วขันตี คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 10.00 - 10.30 น. รับประทานอาหารว่าง 10.30 – 12.00 น. ปฏิบัติการ Clinical Outcome Measurement 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. Symposium: From Theory to Practice โดย กภ.นัฏฐา ติตถะสิริ สถาบันโรคทรวงอก ผศ.ณิชานันท์ ปัญญาเอก คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น กภ.สุภาภรณ์ ทัศนอนันชัย โรงพยาบาลพระปกเกล้า จ.จันทบุรี กภ.ชัชวาลย์ วงศ์เพ็ญทักษ์ โรงพยาบาลพุทธชินราช จ.พิษณุโลก Modulator: อ.ดร.อัมพร นันทาภรณ์ศักดิ์ 14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารว่าง 14.45 – 16.15 น. Symposium: From Theory to Practice โดย กภ.นัฏฐา ติตถะสิริ สถาบันโรคทรวงอก ผศ.ณิชานันท์ ปัญญาเอก คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น กภ.สุภาภรณ์ ทัศนอนันชัย โรงพยาบาลพระปกเกล้า จ.จันทบุรี กภ.ชัชวาลย์ วงศ์เพ็ญทักษ์ โรงพยาบาลพุทธชินราช จ.พิษณุโลก Modulator: อ.ดร.อัมพร นันทาภรณ์ศักดิ์
ห้องย่อยที่ 3 How-to : PTs Teach Parents to Care Disabled Children in Communities
วันที่ 21 พฤษภาคม 2558 ห้องเจ้าพระยา 2-3 ชั้น 2 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา
กิจกรรม
10.30 – 12.00 น. Family-Centered Approach & Updated Recent Research Studies of Parent Education โดย ผศ.ดร.สายพิณ ประเสริฐสุขดี คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. Handling and Transferring a Child with Physical Disabilities to Better Care for the Child and the Parent โดย รศ.กรกฎ เห็นแสงวิไล คณะเทคนิคการแพทย์ ม.เชียงใหม่ และ ทีมผู้ช่วยวิทยากร ม. มหิดล 14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารว่าง 14.45 – 16.15 น. Stretching and Positioning โดย ผศ.ดร.สายพิณ ประเสริฐสุขดี คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล และ ทีมผู้ช่วยวิทยากร ม.มหิดล
50 ปี
กายภาพบำาบัด มหิดล
ห้องย่อยที่ 3 How-to : PTs Teach Parents to Care Disabled Children in Communities
วันที่ 22 พฤษภาคม 2558 ห้องเจ้าพระยา 2-3 ชั้น 2 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา
กิจกรรม
08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียน 08.30 – 10.00 น. Developmental Stimulation: Influence of Play โดย ผศ.พิศมัย มะลิลา คณะเทคนิคการแพทย์ ม.ขอนแก่น และ ทีมผู้ช่วยวิทยากร ม.มหิดล 10.00 - 10.30 น. รับประทานอาหารว่าง 10.30 – 12.00 น. Caring for Activities of Daily Life (ADL): What Should PT Focus on? โดย ผศ.ดร.พรรณี ปึงสุวรรณ คณะเทคนิคการแพทย์ ม.ขอนแก่น และ ทีมผู้ช่วยวิทยากร ม.มหิดล 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. Aids for Life and Case Studies โดย ผศ.พิศมัย มะลิลา คณะเทคนิคการแพทย์ ม.ขอนแก่น รศ.กรกฎ เห็นแสงวิไล คณะเทคนิคการแพทย์ ม.เชียงใหม่ 14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารว่าง 14.45 – 16.15 น. Case Studies and Discussion & Conclusion โดย ผศ.ดร.พรรณี ปึงสุวรรณ คณะเทคนิคการแพทย์ ม.ขอนแก่น ผศ.พิศมัย มะลิลา คณะเทคนิคการแพทย์ ม.ขอนแก่น ผศ.ดร.สายพิณ ประเสริฐสุขดี คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล
ห้องย่อยที่ 4 50 ปี กุญแจแห่งความสำาเร็จ กายภาพบำาบัดทางระบบกระดูก และกล้ามเนื้อ เส้นทางลัดจากพี่สู่น้อง
วันที่ 21 พฤษภาคม 2558 ห้อง Grand Ballroom ชั้น 3 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา
10.30 – 12.00 น.
12.00 – 13.00 น. 13.00 - 13.45 น.
13.45 - 14.30 น. 14.30 – 14.45 น. 14.45 – 15.30 น. 15.30 – 16.15 น.
กิจกรรม
Panel Discussion เส้นทางลัดจากพี่สู่น้อง โดย ผศ.ดร.ประโยชน์ บุญสินสุข กรรมการนโยบาย คณะกายภาพบำาบัดฯ ม.มหิดล ผศ.ปรีชา ธันวารชร อาจารย์ที่ปรึกษา คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล อ.มานพ ประภาษานนท์ รพ.สรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลราชธานี ดำาเนินการอภิปราย โดย รศ.โสภา พิชัยยงค์วงศ์ดี คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล รับประทานอาหารกลางวัน มุมมองจากแพทย์กับการพัฒนานักกายภาพบำาบัดให้ชำานาญ ทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ โดย อ.นพ.วิชัย วิจิตรพรกุล รพ.เลิดสิน K.L.I.M.B. : “Alternative Physical Therapy Treatment Solution” โดย ผศ.ปรีชา ธันวารชร อาจารย์ที่ปรึกษา คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล รับประทานอาหารว่าง ปรับสมดุลโครงสร้างร่างกาย โดย อ.มานพ ประภาษานนท์ รพ.สรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลราชธานี จากบกสู่นำ้า โดย ผศ.ดร.ประภาส โพธิ์ทองสุนันท์ คณะเทคนิคการแพทย์ ม.เชียงใหม่
50 ปี
กายภาพบำาบัด มหิดล ห้องย่อยที่ 4 50 ปี กุญแจแห่งความสำาเร็จ กายภาพบำาบัดทางระบบกระดูก และกล้ามเนื้อ เส้นทางลัดจากพี่สู่น้อง วันที่ 22 พฤษภาคม 2558 ห้อง Grand Ballroom ชั้น 3 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา
08.00 – 08.30 น. 08.30 – 09.15 น. 09.15 – 10.00 น. 10.00 – 10.15 น. 10.15 – 11.00 น. 11.00 – 12.00 น. 12.00 – 13.00 น. 13.00 - 13.45 น. 13.45 - 14.30 น. 14.30 – 14.45 น. 14.45 – 16.15 น.
กิจกรรม
ลงทะเบียน Manual Techniques and Beyond (ธาตุรู้กับการแก้ไขโครงสร้าง) โดย อ.สมศักด์ เกวลิน สมศักดิ์คลินิกกายภาพบำาบัด เท้านั้นสำาคัญไฉน? โดย อ.สมเกียรติ มหาอุดมพร สถาบันราชประชาสมาสัย รับประทานอาหารว่าง อัตลักษณ์การรักษาแบบไทยๆ โดย รศ.ดร.วิชัย อึงพินิจพงศ์ คณะเทคนิคการแพทย์ ม.ขอนแก่น จาก Lymphatic Drainage สู่สีสันแห่ง Taping โดย ผศ.ดร.ผกาวลี พุ่มสุทัศน์ และ อ.พิม ภูริสุทธิ์ คณะกายภาพบำาบัด วิทยาลัยเซ็นหลุยส์ รับประทานอาหารกลางวัน เข้าใจธรรมชาติของ Soft Tissue... รากฐานแห่งความสำาเร็จ โดย รศ.ดร.ปนดา เตชทรัพย์อมร คณะสหเวชศาสตร์ ม.นเรศวร Integrated Maitland Concept and Application โดย อ.ธีรศักดิ์ แซ่ฉั่ว รพ.จุฬาลงกรณ์ รับประทานอาหารว่าง West Meets East, ออร์โธ พบ นิวโร, จากกายสู่ใจ โดย อ.คมปกรณ์ ลิมป์สุทธิรัชต์ คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล รศ.โสภา พิชัยยงค์วงศ์ดี คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล อ.ดร.คีรินท์ เมฆโหรา คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล
ห้องย่อยที่ 5 Learn and Share of Stroke Management at the 50th Anniversary PT Mahidol
วันที่ 21 พฤษภาคม 2558 ห้องวิมานทิพย์ ชั้น 4 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา
กิจกรรม
10.30 – 12.00 น. Application of ICF Model for Individuals with Stroke โดย อ.ดร.จตุพร สุทธิวงษ์ คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล อ.ดร.ชุติมา ชลายนเดชะ คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. Conceptual Framework in Stroke Physical Therapy โดย รศ.โสภา พิชัยยงค์วงศ์ดี คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล ผศ.ดร.สุนีย์ บวรสุนทรชัย คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารว่าง 14.45 – 16.15 น. Home-Based Physical Therapy for Stroke โดย รศ.ดร.วิมลวรรณ เหียงแก้ว คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล
50 ปี
กายภาพบำาบัด มหิดล
ห้องย่อยที่ 5 Learn and Share of Stroke Management at the 50th Anniversary PT Mahidol
วันที่ 22 พฤษภาคม 2558 ห้องวิมานทิพย์ ชั้น 4 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา
กิจกรรม
08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียน 08.30 – 10.00 น Mechanical Constraints and Environmental Influences in Stroke โดย รศ.โสภา พิชัยยงค์วงศ์ดี คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 10.00 – 10.15 น. รับประทานอาหารว่าง 10.15 – 12.00 น. Task–Specific Practice and Functional Recovery after Stroke โดย ผศ.ดร.จารุกูล ตรีไตรลักษณะ คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล อ.เฟื่องฟ้า ขอบคุณ คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. Postural Control and Balance and Gait Intervention for Stroke โดย รศ.ดร.วิมลวรรณ เหียงแก้ว คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล ผศ.ดร.สุนีย์ บวรสุนทรชัย 14.30 – 14.45 น. คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 14.45 – 16.15 น. รับประทานอาหารว่าง Intervention Based on Mirror Neuron Concepts โดย ผศ.ดร.ภครตี ชัยวัฒน์ คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล
ห้องย่อยที่ 6 การมองเห็นบำาบัด เพศวิถี และจิตใต้สาำ นึก เพื่อสุขภาวะ Sight Therapy, Sexuality and Subconscious (3S) for Well-being
วันที่ 21 พฤษภาคม 2558 ห้องเจ้าพระยา 4 ชั้น 2 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา
กิจกรรม
10.30 – 12.00 น. Sight & Medicine โดย นพ.วรากร เทียมทัด รพ.เลิดสิน 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. Sight Therapy โดย นพ.วรากร เทียมทัด รพ.เลิดสิน 14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารว่าง 14.45 – 16.15 น. เสวนา เรื่อง Hope on Hopeless โดย คุณยุทธนา เหล่าผดุงรัชกร บริษัท เทพอินทราชัย แมนูแฟคเจอริ่ง จำากัด นพ.วรากร เทียมทัด รพ.เลิดสิน ดำาเนินการเสวนาโดย ผศ.ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล
50 ปี
กายภาพบำาบัด มหิดล ห้องย่อยที่ 6 การมองเห็นบำาบัด เพศวิถี และจิตใต้สาำ นึก เพื่อสุขภาวะ Sight Therapy, Sexuality and Subconscious (3S) for Well-being
วันที่ 22 พฤษภาคม 2558 ห้องเจ้าพระยา 4 ชั้น 2 โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เวลา
กิจกรรม
08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียน 08.30 – 10.00 น. Sexuality & Neurophysiological Concept โดย อ.ดร.วีรวัฒน์ แสนศรี คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 10.00 – 10.30 น. รับประทานอาหารว่าง 10.30 – 12.00 น. Sexual Rehabilitation after Stroke โดย อ.ดร.อนุชาติ เขื่อนนิล คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. Subconscious for Well-being (1) โดย ผศ.ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล 14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารว่าง 14.45 – 16.15 น. Subconscious for Well-being (2) โดย ผศ.ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง คณะกายภาพบำาบัด ม.มหิดล
รายนามคณะกรรมการอำานวยการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27.
รศ.กานดา ใจภักดี รศ.กันยา ปาละวิวัธน์ รศ.สุรศักดิ์ ศรีสุข อ.ถนัด โกมลวรรธนะ ดร.ปรีชา ปิตานนท์ คุณธงสิทธิ์ ตีรณศักดิ์ ผศ.ปรีชา ธันวารชร รศ.นวลอนงค์ ชัยปิยะพร ผศ.นาฏวิมล งามศิริจิตต์ อ.ศุภรัตน์ มาสภัสร์ อ.สิริกุล โพธิมาศ คุณปรีชา อัศวโกสินชัย รศ.ดร.รุ่งทิวา วัจฉละฐิติ ผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะ รศ.สุวรรณี จรูงจิตรอารี ผศ.ชมพูนุท สุวรรณศรี ผศ.ดร.จารุกูล ตรีไตรลักษณะ ผศ.ดร.ภครตี ชัยวัฒน์ อ.ดร.วรรณเพ็ญ จันทร์ศิรินุเคราะห์ รศ.โสภา พิชัยยงค์วงศ์ดี อ.คมปกรณ์ ลิมป์สุทธิรัชต์ ผศ.ดร.จิตวรี ขำาเดช ผศ.ดร.ประเสริฐ สกุลศรีประเสริฐ ผศ.ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง นางสาวนงนุช ช้างแก้วมณี นางรัชพร ราชแพทยาคม นางสาวพรรัตน์ ผ่องเคหา
ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ
รายนามคณะกรรมการดำาเนินงาน 1. คณะกรรมการดำาเนินการจัดประชุมวิชาการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22.
รศ.กานดา ใจภักดี รศ.กันยา ปาละวิวัธน์ รศ.สุรศักดิ์ ศรีสุข อ.ถนัด โกมลวรรธนะ ดร.ปรีชา ปิตานนท์ คุณธงสิทธิ์ ตีรณศักดิ์ ผศ.ปรีชา ธันวารชร รศ.นวลอนงค์ ชัยปิยะพร ผศ.นาฏวิมล งามศิริจิตต์ อ.ศุภรัตน์ มาสภัสร์ อ.สิริกุล โพธิมาศ คุณปรีชา อัศวโกสินชัย รศ.ดร.รุ่งทิวา วัจฉละฐิติ ผศ.ดร.ภครตี ชัยวัฒน์ ผศ.วรรธนะ ชลายนเดชะ อ.ดร.อัมพร นันทาภรณ์ศักดิ์ ผศ.ดร.สายพิณ ประเสริฐสุขดี อ.คมปกรณ์ ลิมป์สุทธิรัชต์ รศ.โสภา พิชัยยงค์วงศ์ดี ผศ.ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง นางรัชพร ราชแพทยาคม นางสาวพรรัตน์ ผ่องเคหา
ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ
1.2 คณะอนุกรรมการประชุมวิชาการ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ 1. ผศ.ดร.ภครตี ชัยวัฒน์ 2. อ.ดร.วนาลี กล่อมใจ 3. อ.ธัญวรัตน์ จันทนชัย
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ
4. 5. 6. 7. 8. 9.
อ.พิมพ์ปวีณ์ เกิดทรัพย์ อ.ไพโรจน์ สุรประภาพิชย์ อ.ทศวรรณ อุปชิต นางสาวจุฑารัตน์ หัสจุมพล นางสาวรุ่งทิพย์ พงษ์อัคคศิรา นักศึกษาปริญญาตรี จำานวน 5 คน
อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
1.3 คณะอนุกรรมการประชุมวิชาการ ฝ่ายพิธีกรและพิธีการงานประชุม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
อ.ดร.วรรณเพ็ญ จันทร์ศิรินุเคราะห์ ผศ.ดร.ประเสริฐ สกุลศรีประเสริฐ อ.ดร.คมศักดิ์ สินสุรินทร์ อ.ดร.นันทินี นวลนิ่ม นางรัชพร ราชแพทยาคม นางสาวประภัสสรณ์ ชูช่วยคำา นักศึกษาหลังปริญญา จำานวน 10 คน
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
1.4 คณะอนุกรรมการประชุมวิชาการ ฝ่ายรับรองวิทยากร 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.
รศ.โสภา พิชัยยงค์วงศ์ดี ผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะ ผศ.ดร.จิตวรี ขำาเดช อ.ดร.อัมพร นันทาภรณ์ศักดิ์ ผศ.ดร.สายพิณ ประเสริฐสุขดี อ.ดร.คีรินท์ เมฆโหรา อ.คมปกรณ์ ลิมป์สุทธิรัชต์ ผศ.ชมพูนุท สุวรณณศรี ผศ.ดร.จารุกูล ตรีไตรลักษณะ ผศ.ดร.ประเสริฐ สกุลศรีประเสริฐ อ.ดร.อนุชาติ เขื่อนนิล นางสาวรุ่งทิพย์ พงษ์อัคคศิรา นางสาวพรรัตน์ ผ่องเคหา นักศึกษาปริญญาตรี จำานวน 5 คน
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
1.5 คณะอนุกรรมการประชุมวิชาการ ฝ่ายจัดแสดงสินค้าและของที่ระลึก 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.
ผศ.ดร.ประเสริฐ สกุลศรีประเสริฐ ผศ.ดร.จิตวรี ขำาเดช นางสาวดรรชนี นามไพโรจน์ นางสาวจันทร์ตรี แย้มเดช นางสาวฐิติรัตน์ ชะเอม นางสาววิชุดา เจตเกษตร์กรณ์ นางสาวนวพร นาคสุกปาน นางสาวขนิษฐา จิตรอารี นายขจรยศ อนุรักษ์ธรรม นางสาวลดาวัลย์ ปัญญา นักศึกษาปริญญาตรี จำานวน 5 คน
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
1.6 คณะอนุกรรมการประชุมวิชาการ ฝ่ายสถานที่ เคลื่อนย้ายเครื่องมือและอุปกรณ์ใน การประชุม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.
ผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะ นายนพรัตน์ นาคไร่ขิง นายนพรัตน์ ฉันสำาราญ นายวสุ ภูสินสวัสดิ์ นายณัฐพล ภู่สุวรรณ นายนิวัฒน์ ผลวงษ์ นางสาวลดาวัลย์ ปัญญา นางสาวจันทร์ตรี แย้มเดช นางสาวฐิติรัตน์ ชะเอม นายเอกนรินทร์ โชคนาคะวโร นักศึกษาปริญญาตรี (ชาย) จำานวน 10 คน
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
1.7 คณะอนุกรรมการประชุมวิชาการ ฝ่ายการเงิน 1. ผศ.ดร.ประเสริฐ สกุลศรีประเสริฐ 2. ผศ.ดร.จิตวรี ขำาเดช 3. นางสาวลัญชนา เผื่อนอาษา
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ
4. นางสาวนุชดีรัตน์ อึ้งนราวิชย์ 5. นางสาวภัททา จิตรอรุณไสว 6. นางสาวภัทรวดี ผู้มีสัตย์
อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
1.8 คณะอนุกรรมการประชุมวิชาการ ฝ่ายจัดทำาหนังสือประชุมวิชาการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
รศ.ดร.วิมลวรรณ เหียงแก้ว อ.ดร.อัมพร นันทาภรณ์ศักดิ์ ผศ.สุภาวดี เลิศวรรณเอก อ.ดร.พีร์มงคล วัฒนานนท์ อ.ประพัฒณ์ สิริประภาพร นางสาวจุฑารัตน์ หัสจุมพล นางสาววนิดา แก้วชะอุ่ม
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
1.9 คณะอนุกรรมการประชุมวิชาการ ฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์ 1. 2. 3. 4. 5.
ผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะ นายธีรพัฒน์ กันสดับ นายอวิรุทธ์ ปิ่นแก้ว นายสุรสิทธิ์ อัศวทวีโชค นายขจรยศ อนุรักษ์ธรรม
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
2. คณะกรรมการดำาเนินการจัดงานคืนสู่เหย้า 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
รศ.กานดา ใจภักดี รศ.กันยา ปาละวิวัธน์ รศ.สุรศักดิ์ ศรีสุข อ.ถนัด โกมลวรรธนะ ดร.ปรีชา ปิตานนท์ คุณธงสิทธิ์ ตีรณศักดิ์ ผศ.ปรีชา ธันวารชร รศ.นวลอนงค์ ชัยปิยะพร ผศ.นาฏวิมล งามศิริจิตต์ อ.ศุภรัตน์ มาสภัสร์
ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา
11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25.
อ.สิริกุล โพธิมาศ คุณปรีชา อัศวโกสินชัย รศ.ดร.รุ่งทิวา วัจฉละฐิติ ผศ.ดร.ภครตี ชัยวัฒน์ ผศ.ดร.จารุกูล ตรีไตรลักษณะ รศ.โสภา พิชัยยงค์วงศ์ดี ผศ.ดร.จิตวรี ขำาเดช อ.ดร.ชุติมา ชลายนเดชะ อ.ดร.อัมพร นันทาภรณ์ศักดิ์ อ.นิสาศรี เสริมพล อ.ทศวรรณ อุปชิต ผู้แทนศิษย์เก่ากายภาพบำาบัดแต่ละรุ่น นายกสโมสรนักศึกษา นางรัชพร ราชแพทยาคม นางสาวพรรัตน์ ผ่องเคหา
ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
2.1 คณะอนุกรรมการงานคืนสู่เหย้า ฝ่ายเลขานุการ ประสานงานและการลงทะเบียน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
ผศ.นาฏวิมล งามศิริจิตต์ อ.ดร.ชุติมา ชลายนเดชะ อ.เฟื่องฟ้า ขอบคุณ อ.ศศิธร แสงเรืองรอบ อ.วรินทร์ รักกมล นางสาวรุ่งทิพย์ พงษ์อัคคศิรา นายปฐาพันธ์ หนูแก้ว นางสาวพรรัตน์ ผ่องเคหา นักศึกษาปริญญาตรี จำานวน 5 คน
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
2.2 คณะอนุกรรมการงานคืนสู่เหย้า ฝ่ายประชาสัมพันธ์ 1. 2. 3. 4.
ผศ.ดร.ภครตี ชัยวัฒน์ อ.พิชญา เฮงสมบูรณ์ อ.ดร.วนาลี กล่อมใจ อ.พิมพ์ปวีณ์ เกิดทรัพย์
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ
5. 6. 7. 8. 9.
อ.ทศวรรณ อุปชิต อ.ไพโรจน์ สุรประภาพิชย์ นางสาวจุฑารัตน์ หัสจุมพล นางสาวรุ่งทิพย์ พงษ์อัคคศิรา นักศึกษาปริญญาตรี จำานวน 5 คน
อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
2.3 คณะอนุกรรมการงานคืนสู่เหย้า ฝ่ายสถานที่ พิธีกรและกิจกรรมการแสดง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15.
อ.ดร.ทิพย์วดี บรรพระจันทร์ อ.ดร.อัมพร นันทาภรณ์ศักดิ์ อ.ดร.นันทินี นวลนิ่ม อ.สุวีณา ค้าเจริญ นางสาวพรสิริ ประเสริฐกิจกุล นายสราวุธ สุวรรณรัตน์ นายภิมุกข์ สิงห์พิทักษ์ นายกีรติ อ้นมั่น นางสาวยุวบล แสนคำา นางสาวสุทธิวรรณ เหมือนโพธิ์ นายธีรภัทร์ ฤกษะสาร นางสาวประภัสสรณ์ ชูช่วยคำา ศิษย์เก่า จำานวน 2 คน นางรัชพร ราชแพทยาคม นักศึกษาปริญญาตรี จำานวน 5 คน
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
2.4 คณะอนุกรรมการงานคืนสู่เหย้า ฝ่ายจัดแสดงสินค้า ของที่ระลึกและของรางวัล จับฉลาก 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ผศ.ดร.ประเสริฐ สกุลศรีประเสริฐ ผศ.ดร.จิตวรี ขำาเดช นางสาวดรรชนี นามไพโรจน์ นางสาวจันทร์ตรี แย้มเดช นางสาวฐิติรัตน์ ชะเอม นางสาววิชุดา เจตเกษตร์กรณ์ นางสาวนวพร นาคสุกปาน
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ
8. 9. 10. 11.
นางสาวขนิษฐา จิตรอารี นายขจรยศ อนุรักษ์ธรรม นางสาวลดาวัลย์ ปัญญา นักศึกษาปริญญาตรี จำานวน 5 คน
อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
2.5 คณะอนุกรรมการงานคืนสู่เหย้า ฝ่ายการเงิน 1. 2. 3. 4. 5. 6.
ผศ.ดร.ประเสริฐ สกุลศรีประเสริฐ ผศ.ดร.จิตวรี ขำาเดช นางสาวลัญชนา เผื่อนอาษา นางสาวนุชดีรัตน์ อึ้งนราวิชย์ นางสาวภัททา จิตรอรุณไสว นางสาวภัทรวดี ผู้มีสัตย์
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
2.6 คณะอนุกรรมการงานคืนสู่เหย้า ฝ่ายจัดทำาหนังสือ 50 ปี 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ผศ.ดร.มัณฑนา วงศ์ศิรินวรัตน์ ผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะ อ.ดร.คมศักดิ์ สินสุรินทร์ อ.ดร.อัมพร นันทาภรณ์ศักดิ์ อ.ดร.อนุชาติ เขื่อนนิล นางสาวจุฑารัตน์ หัสจุมพล นางสาวพลอยชนกภรณ์ เพิ่มแสงสุวรรณ
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
2.7 คณะอนุกรรมการงานคืนสู่เหย้า ฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์ 1. 2. 3. 4.
ผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะ นายอวิรุทธ์ ปิ่นแก้ว นายสุรสิทธิ์ อัศวทวีโชค นายขจรยศ อนุรักษ์ธรรม
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
2.8 คณะอนุกรรมการกองทุน 50 ปี 1. ผศ.นาฏวิมล งามศิริจิตต์ 2. ผศ.ชมพูนทุ สุวรณณศรี 3. รศ.ดร.รุ่งทิวา วัจฉละฐิติ
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ
4. 5. 6. 7.
ผศ.ดร.จิตวรี ขำาเดช ผศ.ดร.ประเสริฐ สกุลศรีประเสริฐ นางสาวนงนุช ช้างแก้วมณี นางสาวประภัสสรณ์ ชูช่วยคำา
อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ
2.9 คณะอนุกรรมการพิจารณาศิษย์เก่าดีเด่น 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
อ.ศุภรัตน์ มาศภัสร์ รศ.ดร.รุ่งทิวา วัจฉละฐิติ ผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะ รศ.สุวรรณี จรูงจิตรอารี ผศ.ชมพูนุท สุวรรณศรี ผศ.ดร.จารุกูล ตรีไตรลักษณะ ผศ.ดร.ภครตี ชัยวัฒน์ อ.ดร.วรรณเพ็ญ จันทร์ศิรินุเคราะห์ ผศ.ดร.ประเสริฐ สกุลศรีประเสริฐ นางสาวอารีรัตน์ งามขำา
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ