Dpumag20

Page 1

DPU MAG


คุยกันก่อน สวัสดีเทอมใหม่ครับ DPU MAG เล่มนี้ใหม่ ตั้งแต่ปกหน้าเลยขอบคุณ คณะศิลปกรรมที่ช่วยดูแลครับ ยินดีต้อนรับวิทยาลัยใหม่ CIBA, CITE, CIM ทีพ ่ ฒ ั นาการเรียนการสอนเพือ่ ตอบโจทย์ Thailand4.0 หลักสูตรใหม่ ที่มุ่งให้ความรู้กับบุคคลภายนอก เช่น MAPS ก็ประสบความส�ำเร็จอย่าง งดงาม นอกจากนี้ DPU ของเรายังมี Spa ใหม่ (ใกล้วิทยาลัย CAIC) ไปลองกันหรือยังครับ ดารา พิธกี ร มาใช้บริการกันเยอะเลย รับรองว่าฟินสุดๆ โทรจองคิวกันได้เลยนะครับ เป็นที่ทราบกันว่า คนรุ่นใหม่จะเป็นพลังขับ เคลื่อนประเทศในอนาคต Gen Y จะเป็นคนกลุ่มส�ำคัญของสังคมมาร่วม กันพัฒนาคนรุ่นใหม่ ไปด้วยกันกับ DPU มหาวิทยาลัยที่มีแต่สิ่งใหม่ๆ ที่น่าตื่นตาตื่นใจเสมอคอยติดตามนะครับ

อาจารย์วีรพล สวรรค์พิทักษ์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสื่อสารการตลาด

Contents

ที่ปรึกษา บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ศิลปกรรม ที่อยู่

2

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัณฑกานต์ ดวงรัตน์ อาจารย์วีรพล สวรรค์พิทักษ์ ประภัสสร มณฑา, ธนัชพร เทพทวี, สงคราม ม่วงมะลิลัย, เกศริน จิตอ�่ำ, จารุวัลย์ ชัยวงค์ ธนัตถ์สรณ์ ชูงาน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 110/1-4 ถนนประชาชืน่ หลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210

www.dpu.ac.th E-mail : pr_dpu@dpu.ac.th Line : @dpu_progressive (มี @ ข้างหน้าด้วยนะ) FB : dpu.ac.th Twitter : @dhurakijpundit Instagram : dpu_dna DPU MAG

คุยกันก่อน Update สิ่งละอันพันละน้อย In Focus Progressive People Smart Tips Success Inter Zone Around Campus Opinion Education Life Graduate Spacial Scoop

2 3 4 6 10 12 14 16 18 20 22 24 26


UPDATE

พลังของคนรุ่นใหม่ พลังแห่ง Generation ในอนาคตอั น ใกล้ ที่ ก� ำ ลั ง จะมาถึ ง คนก�ำลังพูดถึง Generation ใหม่ที่ก�ำลังจะ เข้ามาแทนที่คนยุคเดิมๆ คนยุคใหม่เหล่านี้ เรียกว่า Generation Y และ Generation Z Generation Y เป็ น กลุ ่ ม คนที่ มี อ ายุ ประมาณ 16-36 ปี (แล้วแต่ส�ำนักไหนจะ ก� ำ หนด) แต่ สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ กว่ า อายุ คื อ พฤติกรรมที่มีลักษณะเฉพาะ นั่นคือ เติบโต มาในยุคอินเทอร์เน็ต มีความคล่องแคล่วใน การใช้ เ ทคโนโลยี ในขณะนี้ ถ ้ า พิ จ ารณาที่ GenY ทั่วโลก พบว่ามีจ�ำนวนกว่า 2.4 พัน ล้านคน คิดเป็นสัดส่วน 32% ของประชากร โลก ในประเทศไทยเองมี GenY จ� ำ นวน 18.7ล้านคน คิดเป็นสัดส่วน 28% ของ ประชากรในประเทศไทย PWC คาดว่ากลุ่ม คนเหล่านี้จะมีบทบาทส�ำคัญที่สุดในตลาด แรงงานของประเทศ ลักษณะการท�ำงานของ GenY แตกต่าง จากคนรุน่ อืน่ ๆ โดยส่วนมากมองความสมดุล ระหว่ า งชี วิ ต การท� ำ งานและชี วิ ต ส่ ว นตั ว มากกว่าผลตอบแทนจากการท�ำงาน ท�ำให้ กลุ่มคนเหล่านี้ต้องการเป็นเจ้านายตัวเอง หรือมี Entrepreneurship ค่อนข้างสูง การ เลือกประกอบธุรกิจส่วนตัวหรือการท�ำธุรกิจ ควบคู่ไปกับงานประจ�ำหรือการมีงาน 2 งาน ที่ท�ำได้ดีในเวลาเดียวกัน (Second job) จึง พบเห็นได้มากในคนกลุ่มนี้ ตัวเลขที่น่าสนใจ คือ GenY ต้องการเกษียณตัวเองที่อายุ 45 ปี ซึ่งถือว่าเร็วมากๆ (ต้องเก่งจริงๆ เท่านั้น นะถึงจะท�ำได้แบบนี้) มี ผ ลส� ำ รวจนั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4 ของ มหาวิทยาลัยชั้นน�ำของประเทศไทย 20 แห่ง (โดย Jobnisit และAsia Internship Program) พบว่าบริษทั ทีค่ น GenY ต้องการ

ท�ำงานด้วยมากที่สุดได้แก่ อันดับ1. เครือ SCG อั น ดั บ 2. Google อั น ดั บ 3. เครื อ บุ ญ รอด อั น ดั บ 4. กลุ ่ ม บริ ษั ท ปตท. และ อันดับ5. ExxonMobil (ปั้มน�้ำมันเอสโซ่) (บัณฑิตจากม.ธุรกิจบัณฑิตย์ก็ท�ำงานอยู่ใน ทั้ง 5 บริษัทนี้เช่นกันครับ) นอกจากบริ ษั ท ต่ า งๆ ที่ ก ล่ า วมาแล้ ว GenY ยังมีโอกาสในการประกอบอาชีพที่น่า สนใจอี ก มาก อาทิ นั ก เขี ย นโปรแกรม นักพัฒนาแอปพลิเคชั่น นักวิทยาศาสตร์ ข้อมูล ผูด้ แู ลเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) นักธุรกิจที่ท�ำธุรกิจหลากหลาย แพทย์แผนไทยที่ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม หรืออยากจะสร้างธุรกิจ Startup ก็มีโอกาส มากมายทีเดียว โชคดีที่มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์มกี ารปรับตัวก่อนมหาวิทยาลัยอืน่ ๆ เราจึงใส่แนวคิดการท�ำธุรกิจลงไปในทุกคณะ และยังปลูกฝังแนวคิด New Business DNA ให้นักศึกษาของเราก้าวทันไปพร้อมกับโลก โดยเฉพาะยุค Thailand4.0 วิทยาลัยใหม่ทงั้ 3 วิทยาลัย (CIBA, CITE, CIM) จึงตอบโจทย์ ความต้องการของ GenY ได้เป็นอย่างดี ส� ำ หรั บ การบริ ห ารงานกั บ คน GenY มีลักษณะที่ผู้บริหารต้องให้ความส�ำคัญคือ 1. ต้องให้อ�ำนาจในการบริหารจัดการ ไม่ใช่ ควบคุมทุกอย่างเหมือนในอดีต 2. เพิ่มความ คล่องตัวในเรื่องเวลาการท�ำงาน ติดต่อกัน ทางสือ่ สังคมออนไลน์ ประชุมกันทางโทรศัพท์ หลายๆบริษัทไม่เน้นการลงเวลาท�ำงาน ไม่ ต้องนัง่ ประจ�ำในออฟฟิศ 3. สร้างบรรยากาศ แห่งการเรียนรู้ และความคิดสร้างสรรค์ ใน การท�ำงาน GenY ชอบบรรยากาศที่เป็น กันเอง เน้นการพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยน ความรู้ และแนวคิดใหม่ๆ 4. ท�ำให้พวกเขามี

อาจารย์วีรพล สวรรค์พิทักษ์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสื่อสารการตลาด

ตัวตน คนGenYมีพนี่ อ้ งไม่มาก จึงถูกเลีย้ งดู มาแบบคนส� ำ คั ญ การท� ำ งานต้ อ งมี ก าร สนับสนุนการท�ำงานอย่างชัดเจน มีการให้ ต�ำแหน่งหน้าที่ที่เหมาะสม 5. เร็ว เร็ว เร็ว GenY คิดเร็ว ท�ำเร็ว อาจมีข้อผิดพลาดบ้าง แต่เน้นความเร็วแน่นอนกว่า และที่ส�ำคัญข้อ สุดท้าย คนแต่ละ Generation มีความแตก ต่างกันอย่างสิ้นเชิง ต้องท�ำงานร่วมกันให้ได้ ในองค์กร ใครปรับตัวได้ เป็นองค์กรร่วมสมัย ได้กอ่ นจะสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ได้ดีกว่าอย่างแน่นอน ไม่ ใช่ผู้บริหารหรือองค์กรที่ต้องปรับตัว เท่านั้น แต่ GenY เองก็ต้องปรับตัวเข้าหาคน รุ่นก่อนด้วยเช่นกัน ส�ำหรับนักศึกษาหรือคน รุ่นใหม่ ก็ต้องมีทักษะด้านต่างๆ เพื่อการเป็น องค์กรร่วมสมัย เริ่มจากทักษะความรู้ หมาย ถึง การมีพนื้ ฐานความรูท้ ดี่ ี อย่าคิดว่าทุกคน จะเป็น Steve Jobs ได้หมดทุกคน ถ้าเราไม่มี ความรู้คงจะล�ำบาก ดังนั้นตั้งใจเรียนก่อน ครับ ต่อมาต้องมีความฉลาดทางอารมณ์ GenY ที่ควบคุมอารมณ์ ได้ดี จะเติบโตได้เร็ว เพราะอย่ า งไรก็ ต ามผู ้ ใ หญ่ ก็ ยั ง ชอบคน นอบน้อมจริงไหมครับ เอะอะเหวี่ยง เอะอะเท คงไม่ ไหว ประการสุดท้ายต้องมีทักษะด้าน บริ ห ารธุ ร กิ จ มองเห็ น ความต้ อ งการของ ลูกค้า และสามารถท�ำมาพัฒนาเป็นธุรกิจได้ ท�ำได้แบบนี้รับรองเลยว่าจะเป็น GenY ที่ ประสบความส�ำเร็จอย่างแน่นอนครับ DPU MAG

3


สิ่งละอันพันละน้อย

DIGITAL ECONOMY ค�ำว่า Digital Economy เป็นที่กล่าวถึงกัน มากในสังคมไทยปัจจุบันบางท่านอาจสงสัย ว่ามันคืออะไรกันแน่ ลองมาดูความหมายและ ตัวอย่างกัน

Digital Economy หมายถึงกิจกรรม ทางเศรษฐกิจที่อาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ (information Technology หรือ ไอที) เป็นปัจจัยประกอบ ตัวอย่างที่เกิดขึ้นแล้วใน บ้านเราคือการซือ้ ขายสินค้ากันทางอินเตอร์เน็ต สติก๊ เกอร์ของ line ทีซ่ อื้ มาเล่นกัน การจอง ตัว๋ เครือ่ งบินหรือโรงแรม หรือตัว๋ ดูคอนเสิรต์ หรือภาพยนตร์ หรือละครเวที การสั่งซื้อ หนังสือทางอินเตอร์เน็ต การซือ้ e-book ทีซ่ อื้ โดยการดาวน์โหลดได้ทนั ที ฯลฯ สิง่ เหล่านีก้ ค็ อื สิง่ ทีเ่ รียกว่า E-commerce ซึ่งเป็นลักษณะ หนึ่งของ Digital Economy บางครั้ ง เราอาจรู ้ สึ ก สั บ สนเรื่ อ ง เทคโนโลยี โทรคมนาคม เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ และไอทีว่ามันเป็นสิ่งเดียวกัน หรือแตกต่างกันอย่างไร ค�ำตอบง่ายๆ ก็คอื เทคโนโลยี โ ทรคมนาคมและเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์แต่งงานกันและออกลูกมาเป็น ไอที กล่าวคือไอทีเป็นการผสมปนเประหว่าง สองเทคโนโลยี ตัวอย่างเช่น เวลาเราถอนเงิน จาก ATM นัน้ เป็นการใช้ไอที ค�ำอธิบายก็คอื ข้ อ มู ล ขอเบิ ก เงิ น ที่ เ ราป้ อ นเข้ า ไปจะมี คอมพิวเตอร์ประมวล และส่งเป็นข้อมูลไป ทางสายโทรศัพท์ (เครือข่ายโทรคมนาคม) เพือ่ วิง่ ไปยังศูนย์ของธนาคาร เมือ่ คอมพิวเตอร์ ที่โน่นตรวจสอบแล้วว่าโค้ดถูกต้องและมีเงิน ฝากอยู่จริงก็จะให้ค�ำตอบผ่านมาทางเครือ 4

DPU MAG

ข่ายโทรคมนาคมคอมพิวเตอร์ที่ปลายทาง ก็จะสั่งให้เงินไหลออกมา การมีระบบไอทีเช่นนีเ้ ป็นผลดีตอ่ คุณภาพ ชีวติ ของเราในหลายด้าน ถ้าพิจารณาด้าน เศรษฐกิจแต่เพียงอย่างเดียวก็จะก่อให้เกิด ผลดีดังต่อไปนี้ (1) ความสะดวกต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ นีท้ ำ� ให้ ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการลดต�่ำลง เช่น สามารถขายของได้ โดยไม่ต้องมีร้าน ขายของ ไม่ต้องเสียเงินลงทุนซื้อสินค้ามา เก็บไว้ ในสต๊อกเมื่อใช้ E-Commerce ผู้ซื้อ ก็ ไม่ต้องเสียเวลาและค่าโสหุ้ยในการเดิน ทางไปซื้อ ไปจองตั๋ว (2) ช่วยให้เกิดการต่อยอดในการผลิต สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารใหม่ ๆ เพื่ อ ตอบสนอง ความต้องการของผู้บริ โภค ตัวอย่างเช่น บริการฝากถอนเงินทางอินเตอร์เน็ต การใช้ โทรศัพท์ชนิดมือถือสั่งอาหารในร้านเพื่อ บริการที่รวดเร็วแม่นย�ำและสามารถเช็ค รายรับตลอดจนรู้ปริมาณสต๊อกวัตถุดิบ สร้าง application ให้ประชาชนเข้าไปเช็ค ได้ว่าตรงGPS ที่ตนเองอยู่นั้นในปีนี้ควร ปลูกพืชใดเมือ่ ค�ำนึงถึงปริมาณน�ำ้ ฝนทีจ่ ะมี ประกอบกับภูมิอากาศทั่วไป ฯลฯ

รองศาสตราจารย์ ดร. วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดีกิตติคุณมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์


(3) สนับสนุนการเรียนรูข้ องประชาชน ในทุกวัยจากข้อมูล บทเรียนที่เข้าถึงอย่าง กว้างขวางขึ้นกว่าเก่า เช่น บริการด้าน ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต การเรียนภาษาต่าง ประเทศ การพัฒนาตนเองในทุกเรือ่ ง ฯลฯ (4) สร้างการจ้างงานในลักษณะใหม่ๆ เช่น นักการตลาดและนักวางแผนกลยุทธ์ การตลาดทาง social media (โฆษณา สินค้าทาง line / Facebook ฯลฯ) การเป็น Digital Economy ท�ำให้เกิด งานใหม่ๆ ที่ข้ามพรมแดน เช่น ศูนย์บริการ รับโทรศัพท์เพือ่ ให้ขอ้ มูลและรับใช้ผบู้ ริโภคที่ อยู่ในสหรัฐอเมริกาโดยจ้างคนอินเดียและคน ฟิลิปปินส์นับแสนคนที่อยู่บ้านตนเอง คนเหล่านี้ ให้บริการ 24 ชั่วโมงด้วย ต้นทุนที่ถูก เมื่อผู้บริโภคต้องการความช่วย เหลื อ และบริ ก ารข้ อ มู ล ผ่ า นโทรศั พ ท์ สั ญ ญาณก็ จ ะถู ก ส่ ง ไปต่ า งประเทศ และ พนักงานต่างประเทศก็ให้บริการราวกับอยู่ ในประเทศเดียวกัน การเป็น Digital Economy หรือการมี การผลิตที่ ใช้ไอทีเป็นปัจจัยประกอบส�ำคัญ จะท�ำให้ผลิตภาพ (productivity) ในการ ผลิตและให้บริการ ซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญของ ความแข็งแกร่งของเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ผู้บัญญัติศัพท์ Digital Economy คื อ นาย Don Tapscott ผู ้ เ ขี ย นหนั ง สื อ ยอดฮิ ต ชื่ อ “The Digital Economy: Promise and Peril In The Age ofNetworked Intelligence” ในปี 1995 Digital Economy มีชอื่ อืน่ อีกเช่น The Internet Economy / The New Economy หรือ Web Economy ในปัจจุบันบ้านเราก็มีความเป็น Digital Economy อยู่แล้วในระดับหนึ่งเพียงแต่ยัง ขาดนโยบายภาครั ฐ และการบั ง คั บ ใช้ ก ฎ เกณฑ์ ที่ จ ะก� ำ กั บ ให้ เ สริ ม ไปในทิ ศ ทาง เดี ย วกั น อย่ า งมี แ ผนเป็ น ขั้ น เป็ น ตอน Tapscott กล่าวไว้ในหนังสือเล่มนี้เมื่อเกือบ

20 ปีก่อนว่าอินเตอร์เน็ตจะเปลี่ยนวิถีชีวิต ด้านเศรษฐกิจของผู้คนในโลกอย่างไม่เคย เห็นมาก่อน ซึง่ การจะเป็น Digital Economy นั้ น มี ป ั จ จั ย ส� ำ คั ญ คื อ โครงสร้ า งพื้ น ฐาน โทรคมนาคมและไอที กฎกติกากฎหมาย การบริการจัดการที่มีประสิทธิภาพ ตลอด จนความสามารถในการปรับทัศนคติของ ประชาชนและของภาครัฐ Digital TV ก็เป็นอีกลักษณะหนึ่งของ การเป็น Digital Economy นอกจากความ

ซึ่งปัจจุบันเป็นกูรูให้ค�ำปรึกษาด้านธุรกิจแก่ บริษัทใหญ่ และเขียนหนังสือแนวธุรกิจยุค ใหม่ถึง 15 เล่ม แล้วก็รู้สึกตื่นเต้นเพราะเขา เกิ ด วั น เดี ย ว เดื อ นเดี ย ว และปี เ ดี ย วกั บ ผู้เขียน (คนอื่นที่เกิดวันเดียวกันแต่ต่างปี คือ มาริลีน มอนโร และแพ็ต บูน) Digital Economy ไม่มีอะไรน่ากลัว เพราะโลกก็เปลี่ยนไปเรื่อยๆ อีกหน่อยผู้คน ก็ จ ะไม่ รู ้ สึ ก กลั ว คอมพิ ว เตอร์ อี ก ต่ อ ไป คงคล้ายกับความรู้สึกที่มีต่อตู้เย็น

สะดวกส�ำหรับผูช้ มในการย้อนกลับไปดูละคร ตอนหัวค�่ำ ที่ไม่ได้ดูเมื่อวันก่อนแล้วยังท�ำให้ เกิดการจ้างงานในด้านนิเทศศาสตร์ขึ้นอีก มากมาย พร้อมกับกระแสการกระจายตัว ของข่าวสารและความรู้สู่สาธารณชน ไม่ว่า ในด้านโฆษณาประชาสัมพันธ์หรือความรู้ใน การประกอบอาชีพก็ตาม เมือ่ ผูเ้ ขียนค้นประวัตขิ อง Don Tapscott DPU MAG

5


In Focus

ก้าวต่อไป ของการเริ่มต้น หน้าปก DPU MAG ฉบับนี้อาจดูแปลก ตาไปบ้ า งจากเล่ ม ก่ อ นๆ ด้ ว ยที ม งาน บรรณาธิการร่วมกับคณะศิลปกรรมศาสตร์ พาน้องๆเฟรชชีป่ หี นึง่ หลายคนเป็นคนรุน่ ใหม่ แสนน่ารัก ที่พกพาความสดใสมาโลดแล่น หลังกล้องในสตูดิ โอถ่ายภาพ ปลดปล่อย จินตนาการและแลกเปลี่ยนไอเดียสนุกๆกัน ภายใต้ธีม Freshmen ก้าวใหม่ของน้อง เริ่มกันที่การแต่งหน้า ท�ำผมและแต่งตัว กันตั้งแต่เช้าตรู่ โดยรุ่นพี่ปีส่ีของสาขาการ ออกแบบและธุรกิจแฟชั่น คณะศิลปกรรม ศาสตร์ ที่ท�ำอาชีพอิสระด้านการแต่งหน้า ท�ำผม และเป็นช่างถ่ายภาพไปพร้อมกับการ เรียนในรั้วมหาวิทยาลัย ให้น้องใหม่ได้เห็นว่า การมี ธุ ร กิ จ หรื อ การท� ำ งานระหว่ า งเรี ย น จะช่วยส่งเสริมทักษะการประกอบการให้มี มากขึ้น

ริเริ่มอย่างสร้างสรรค์

ชุดที่น้องใหม่สวมใส่ในวันนี้ ล้วนเป็นผล งานของรุ ่ น พี่ ห ลั ก สู ต รการออกแบบและ ธุรกิจแฟชั่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ ซึ่งเน้น ระบบการเรียนการสอนออกแบบเพื่อตอบ สนองตลาดแฟชั่นและความต้องการของผู้ บริโภค ค้นหาแรงบันดาลใจโดยการลงพื้นที่ ส�ำรวจ กระบวนการออกแบบ ค้นคว้าหาวัสดุ และเทคนิคใหม่ สังเคราะห์ตามกระบวนการ เพือ่ ตอบโจทย์ความต้องการอันเป็นทีต่ งั้ จาก นั้ น ทดลองสร้ า งสรรค์ ต ้ น แบบผลงาน และผลิตชิน้ งานจริงทีส่ วยงามให้เราได้เห็นกัน ต ล อ ด ร ะ ย ะ เ ว ล า ก า ร ศึ ก ษ า ค ณ ะ ศิลปกรรมศาสตร์ เน้นกระบวนการคิดอย่าง สร้ า งสรรค์ แ ละปฏิ บั ติ ง านอย่ า งมี ทั ก ษะ ประยุ ก ต์ ค วามรู ้ เ ชิ ง ศิ ล ป์ กั บ การประกอบ ธุรกิจได้เมื่อส�ำเร็จการศึกษา FB : /silpakam.dpu url : www.dpu.ac.th/finearts

6

DPU MAG


ชาล์ว ผลงานที่สร้างจากแนวทางการแต่งกายช่วงยุค60s และการค้นพบดวงจันทร์ โดย นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาการออกแบบและธุรกิจแฟชั่น คณะศิลปกรรมศาสตร์

นายยุทธภูมิ สุริยันต์

DPU MAG

7


ปิ่นโต

ผลงานการออกแบบโดยได้รับแรงบันดาลใจ จากมหานครนิวยอร์ก ของ ศิษย์เก่าคณะศิลปกรรมศาสตร์ เจ้าของแบรนด์เสื้อผ้า BOSSWUTTICHAI

นายวุฒิชัย ธีระเชาว์

8

DPU MAG

แป้ง


เอิร์ธ ชุดนี้ได้แรงบันดาลใจมาจากนักรบบูชิโด ผลงานของ ศิษย์เก่าคณะศิลปกรรมศาสตร์ เจ้าของแบรนด์เสื้อผ้า BALLAD by Thanate และ Brand Manager บริษัทน�ำเข้ารองเท้าแฟชั่น Subtle Thailand

นายธเนศ แสนใหม่

แก้ม

ผลงานชุดนี้ได้รับแรงบันดาลใจ จากการทัศนศึกษาศิลปวัฒนธรรมชาวไทลื้อ อ.ปัว จ.น่าน โดย

นางสาวณัฐฏกชพร เตชะสิทธิ์

นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาการออกแบบและธุรกิจแฟชั่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ และเป็นทายาทเจ้าของธุรกิจรับพิมพ์ผา้

DPU MAG

9


Progressive People

ชีวิตที่ ไม่ธรรมดาของ

“อานนท์ บัวภา”

ต้นทุนชีวิต อาจมีไม่เท่ากัน... แต่ก็ใช่ว่าจะท�ำชีวิตให้ดีไม่ได้ สวัสดีครับ ขอต้อนรับแฟนๆ ชาว DPU MAG ที่ น ่ า รั ก ทุ ก คนครั บ ส� ำ หรั บ คอลั ม น์ Progressive People ในวันนี้เราจะพาไปตาม ติดชีวติ ของหนุม่ หล่อผูม้ ากความสามารถทัง้ เรียนดีกิจกรรมเด่นถ้าสาวๆ เห็นคงจะเป็น ปลื้มแน่ๆ เลยใช่ปะ คิคิ หนุม่ หล่อคนนีก้ ค็ อื อานนท์ บัวภา นั่นเอง...

มารู้จักกับอานนท์

อานนท์ เป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุ กระจายเสี ย งและโทรทั ศ น์ มี ดี ก รี เ ป็ น ถึ ง ประธานชมรมเด็ ก และเยาวชนดีเด่น สภา สังคมสงเคราะห์ แห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชู ป ถั ม ภ์ และเป็ น นั ก ศึ ก ษาที่ มี ทั้ ง ความ ประพฤติ ดี การเรี ย น การท� ำ กิ จ กรรม จิตอาสาที่ท�ำมาอย่างต่อเนื่อง การันตีด้วย

10

DPU MAG

เกียรติบัตรและรางวัลมากมาย ตั้งแต่ระดับ มัธยมจนถึงระดับอุดมศึกษา

เดินทางตามหา ความฝัน

อานนท์ เป็นคนที่ชื่นชอบและรักในการ ร้องเพลงเป็นอย่างมากเขาจึงออกเดินตาม ความฝันโดยการไปประกวดในรายการร้อง เพลงตามช่องต่างๆ ตามที่ตัวเองได้ตั้งเป้า หมายเอาไว้อย่างล่าสุดนีเ้ องก็ไปประกวดร้อง เพลงในรายการมาสเตอร์คีย์ เวทีแจ้งเกิดลูก ทุ่งน็อคเอ้าท์ ทางไทยทีวีสีช่อง 3 จนสามารถ เข้าถึงรอบที่ 3 อยู่ ในทีมของคุณ เอ ไชยา มิตรชัย


กิจกรรมเด่น

เรื่องของการท�ำกิจกรรมก็ ไม่เป็นสอง รองใครนะเริ่มตั้งแต่ระดับมัธยมเขาได้เป็นถึง อดีตประธานนักเรียนโรงเรียนวัดบางวัว (สาย เสริมวิทย์) และอดีตประธานสภานักเรียน โรงเรียนกันยานุกูล ชลบุรีเชียวนะ พอหลัง จากนั้นเมื่อได้เข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัยก็ ยั ง ได้ ต� ำ แหน่ ง รองประธานนั ก ศึ ก ษาทุ น ครอบครัวหัวกะทิ และเป็นผู้ช่วยประธานฝ่าย ประชาสัมพันธ์ สโมสรนักศึกษา มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ สุดยอดไปเลย

ครั้งหนึ่งในชีวิต

อานนท์ ได้ท�ำกิจกรรมภายใต้ต�ำแหน่ง หน้าที่ ภาระงานที่ได้มอบหมายอย่างมากมาย จนท�ำให้ได้รับการเชิดชูเกียรติ เป็นนักศึกษา รางวั ล พระราชทาน จากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวฯ ระดับอุดมศึกษา ประเภท สถานศึกษาขนาดใหญ่ ต่อมาก็ได้รับรางวัล นักศึกษาดีเด่นประเภทกิจกรรมดีเด่นจาก สมาคมสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชนแห่ ง ประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ขอแสดง ความยินดีด้วยนะครับ เป็นอย่างไรกันบ้างครับส�ำหรับเรือ่ งทีผ่ ม น�ำมาเสนอในวันนี้เราก็ได้รู้จักตัวตนอีกด้าน หนึง่ ของอานนท์ บัวภา อีกมุมมองทีย่ งั ไม่เคย ได้เห็นหวังว่าจะถูกใจแฟนๆ ชาว DPU MAG กันนะแล้วกลับมาพบกันใหม่ใน DPU MAG ฉบับหน้า อย่าลืมติดตามด้วยนะครับ

DPU MAG

11


SMART TIPS

Live & Learn

ในรัว้ มหาวิทยาลัย ดร.อสมา มาตยาบุญ ผู้อ�ำนวยการศูนย์พัฒนาทักษะชีวิตและการท�ำงาน

L

Lifestyle (Healthy)

วิถีชีวิต สุขภาพ การดูแล รักษาความสะอาดของร่างกาย การออกก�ำลังกายอย่างสม�ำ่ เสมอ การรับประทานอาหารคลีนๆ เช่น ผักและผลไม้ ยินดีต้อนรับ นศ.ใหม่ทุกคนนะคะ การใช้ ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยเป็นทักษะหนึ่งที่จะท�ำ ให้นศ.ประสบความส�ำเร็จหรือล้มเหลว ขึน้ อยู่ กับตัวนศ.เป็นผู้เลือก ลิขิตชีวิตของตนเอง ดังนั้น นศ.สามารถเลือกประสบความส�ำเร็จ ได้ โดยใช้สูตรลัด LL นะคะ คือค�ำว่า Live & Learn มนุษย์ 1 คน ควรส�ำรวจตนเองในเรือ่ ง ร่างกายและจิตใจตลอดเวลา เพื่อตรวจเช็ค แล้วจึงปรับปรุง แก้ไขหรือพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น ต่อไป ดังนั้น ค�ำว่า Live จึงเกี่ยวข้องกับทุก อย่างทีเ่ ป็น การด�ำเนินชีวติ เพือ่ ให้อยูร่ อดทาง ด้านร่างกาย โดยค�ำว่า Live ประกอบด้วย

12

DPU MAG

i

innovation

นวัตกรรม สร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ การด�ำเนินชีวิตในแต่ละวันอย่าง สร้ า งสรรค์ แปลกใหม่ แต่ ไ ม่ อันตราย เปิดรับความคิด ความรูส้ กึ และการกระท�ำใหม่ๆ แต่อย่าเพิ่ง เปิดรับ ข่าวใหม่ในโลกออนไลน์และ รีบแชร์นะคะ #เช็คก่อนแชร์ ไม่งั้น รองเท้าเป็นรู ก็หาว่า มีกล้องจิ๋ว อยู่ในรองเท้า ชีวติ ตายทัง้ เป็นเลย

e

v

We

เป็นค�ำพ้องเสียง คือความ เป็น “พวกเรา ” ไม่แบ่งแยก เธอ ฉัน แต่คือ เพราะเราคือ เพือ่ นกัน เพราะฉะนัน้ เราจะช่วย เหลือซึง่ กันและกัน ไม่แข่งขันกัน จะไม่มี ทีมลูกเกด ทีมคริส นะคะ

environment

สภาพแวดล้อมรอบตัวนศ. อาทิ หอพัก อาจารย์ เพื่อน โต๊ะ เก้าอี้ ในห้องเรียน ดังนั้นบางสิ่ง สามารถใช้ ร ่ ว มกั น ได้ ควรมี จิตส�ำนึกสาธารณะ เพื่อให้ผู้อื่นที่ ใช้ สิ่ ง ของต่ อ จากเรา รู ้ สึ ก ไม่ รังเกียจเมือ่ จะต้องใช้สงิ่ ของต่างๆ ต่ อ จากเรา หรื อ ง่ า ยที่ สุ ด คื อ การยืมหนังสือในห้องสมุดและคืน ตรงเวลา เพราะไม่เช่นนัน้ นศ.ใหม่ จะไม่ ส ามารถมี สิ ท ธิ เ ข้ า สอบได้ จนกว่าจะคืนหนังสือนะจ๊ะ


ส่ ว นค� ำ ว่ า Learn เกี่ ย วข้ อ งกั บ ด้ า นจิ ต ใจ อะไรที่สามารถมีอิทธิพล ต่อสภาพจิตใจของแต่ละ คนได้ ประกอบด้วยค�ำว่า

e

L

entrepreneur Leadership การเป็นผู้ประกอบการ (เจ้าของธุรกิจ) ความเป็นผู้น�ำ กล้าคิด กล้าตัดสินใจ ช่วยฝึกทักษะการบริหารจัดการตัวเองและผู้ ในทางที่ถูกต้อง อื่น และเป็นความภาคภูมิใจของตนเอง เมื่อ ตัวนศ.ใหม่กลายเป็น “อายุน้อย ร้อยล้าน”

r

reward

ให้รางวัลตัวเอง เป็นสิ่งที่ควรจะท�ำ เพื่อ เป็นแรงจูงใจ ให้ก�ำลังใจตนเองและเพื่อนๆ ในการด�ำเนินชีวิต เมื่อรู้สึกท้อแท้ หมดหวัง อย่างน้อย เรายังมีเพื่อน อยู่เคียงข้างเรา เสมอ

n

networking, negotiation

เชือ่ มโยงเครือข่าย และการเจรจาต่อรอง ในรั้วมหาวิทยาลัย นศ.ใหม่ควรมีเพื่อนต่าง คณะหรือต่างสาขาบ้าง เพื่อเติมสีสันให้ชีวิต และเพือ่ เรียนรู้ วิถชี วี ติ วิธคี ดิ ผ่านแว่นตาของ เพือ่ นคณะอืน่ ทีแ่ ตกต่างจากเรา และถ้านศ.มี ทักษะการพูดเจรจาต่อรองด้วยเหตุและผล ปัญหาอุปสรรคต่างๆที่ต้องเผชิญจะบรรเทา และสามารถอยูร่ ว่ มกับเพือ่ น ได้อย่างมีความสุข

a

adaptability ความสามารถในการปรับตัว เป็นสิ่งที่ นศ.ใหม่จะต้องเผชิญกับการปรับตัวอย่าง หลากหลาย ดังนัน้ นศ.ควรพยายามเข้าใจคน อืน่ ก่อน ยอมรับในสิง่ ทีเ่ พือ่ นเป็น มีทแี่ ตกต่าง จากตัวเรา เมื่อนศ.เข้าใจคนอื่นแล้ว คนอื่น ก็จะพยายามเข้าใจเราตอบกลับ ดังนั้นในรั้วมหาวิทยาลัย นศ.จึงควรจัด ชีวติ ให้อยู่ในภาวะทีส่ มดุล โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ตัวนศ.เอง นศ.ควรมีทงั้ LIVE & LEARN หมัน่ ดูแลสุขภาพกายและใจให้แจ่มใส ทุกๆวัน เพื่อสร้างอารมณ์ทางบวกและลด อารมณ์ทางลบ ส่วนที่ 2 การเรียน อาจารย์ ยังคงมีความเชือ่ ว่า คนขยัน ชนะคนเก่งเสมอ ถ้านศ.แบ่งแวลา บริหารเวลาได้ นศ.จะประสบ ความส�ำเร็จในเรื่องการเรียน และส่งผลให้ นศ.มีงานท�ำตั้งแต่ยังเรียนไม่จบแน่นอน ส่วน ที่ 3 ครอบครัว เป็นส่วนที่ส�ำคัญที่สุด ที่คอย ขับเคลื่อนสภาพจิตใจให้นศ.ได้เป็นคนอย่าง สมบูรณ์ เพราะครอบครัวคือก�ำลังใจ หมัน่ พูด ชืน่ ชมตนเองและคนในครอบครัวบ่อยๆ นะคะ สุดท้ายหมัน่ ดูแลรักษาดวงใจของตัวเองบ่อยๆ นะคะ อย่าเพิง่ รีบยกให้ใคร #เพราะเราทุกคน มีทางเลือก เราเลือกจะเป็นอะไร เราก็จะเป็น อย่างนั้น

DPU MAG

13


SUCCESS

เพราะมีดี... เลยต้อง Show ฮัลโหล ฮัลโหล...สวัสดีคุณผู้อ่านทุก ท่านครับ มาพบกันอีกเช่นเคยกับ DPU MAG ฉบับที่ 20 เจ้าเก่าเจ้าเดิมทีเ่ พิม่ เติมคือ ความหล่ อ เดี่ ย วๆ ไม่ ใ ช่ ล ะ ฮ่ า ฮ่ า ฮ่ า มาเข้าเรื่องกันดีกว่า ส�ำหรับคอลัมน์นี้เราจะ พาทุ ก คนไปร่ ว มแสดงความยิ น ดี กั บ นักศึกษาที่เป็นตัวแทนสร้างชื่อเสียงให้กับ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์กัน แท่น แทน แท๊น... เอาหละมาเริ่มเลยดี กว่ากับเพือ่ นๆ คณะนิเทศศาสตร์ นายวรวุฒิ ภู ่ โ คกหวาย น.ส.ปทิ ต ตา เสงี่ ย มงาม นายธนกฤต ฉัตรมงคลเกษม นายทศพล แสนรวยเงิน และนายภควัต กิจมัน่ เจริญชัย สาขาภาพยนตร์และสือ่ ดิจทิ ลั หรือทีมลงพุง ฟิลม์ ที่ได้เข้าร่วมการประกวดหนังโฆษณา ในโครงการ “ฟิชโช พีคสุดในสามโลก” ภาย ใต้คอนเซป “ตัวจริงที่ชัดเจน ของวัยรุ่น” สามารถคว้ า รางวั ล ชนะเลิ ศ อั น ดั บ หนึ่ ง “FISHO GOLD AWARD” มาครอบครอง พร้อมรับโล่รางวัลและทุนการศึกษาเป็นเงินถึง 100,000 บาท แค่นั้นยังไม่พอ !! ส�ำหรับ หนั ง โฆษณาของที ม ที่ ช นะเลิ ศ จะถู ก น� ำ ไป ออนแอร์ทางโทรทัศน์ ในรูปแบบหนังโฆษณา ฟิชโชอีกด้วยนะ โอ้ววว สุดยอดจริงๆ

14

DPU MAG


“พาร์ค” ธนกฤต ฉัตรมงคลเกษม หนึง่ ในตัวแทนของทีมลงพุงฟิล์มบอกว่า “ผล งานชิ้นนี้ถือว่าเป็นการท�ำส่งประกวดด้วย และเป็นงานไฟนอลโปรเจคที่อาจารย์ ได้ มอบหมาย ขณะเดียวกันในทีมงานก็ก�ำลัง หาโครงการประกวดอยูพ ่ อดีจงึ ได้มี โอกาส ท�ำผลงานชิ้นนี้ข้ึนมา ไอเดียของผลงานชิ้น นี้มีความสดใหม่ เรากล้าที่จะเล่นกับเฟรม ภาพที่เป็นแนวนอน และมีความแคบ เพื่อ สื่ อ สารไปยั ง ฟิ ช โช ซึ่ ง เป็ น ปลาแผ่ น บด สี่เหลี่ยม ผ่านการน�ำเสนอออกมาในสไตล์ ความรั ก ใสใส ซึ่ ง ใช้ นั ก แสดงวั ย รุ ่ น เป็ น ตัวด�ำเนินเรื่องหลัก”

ยังไม่หมดเพียงเท่านี้นะครับ เพื่อนๆ จากคณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ ก็ ม าแรง สามารถคว้ารางวัลมาได้เช่นกัน ผูส้ ง่ ผลงาน เข้าประกวดได้แก่ นายบุญยพัฒน์ งามสมัย และ นายพรเทพ เอือ้ งเรืองโรจน์ สาขาการ ออกแบบและธุรกิจแฟชัน่ พวกเขาได้รว่ มกัน สร้างผลงานอันเลอค่าที่มีชื่อว่า HERON หรือนกกระเรียน มาในธีมของความเจริญ รุง่ เรือง ความดีงาม เป็นการก�ำเนิดสิง่ ใหม่ๆขึน้

ความแตกต่างทีท่ ำ� ให้ผลงานชิน้ นีเ้ ข้าตา กรรมการจนสอยรางวัลชนะเลิศจาก Saha Group Bangkok Young Designer Awards คือการเอาวัสดุเหลือใช้ทหี่ าได้ทวั่ ไป อย่างเกล็ดปลา มาท�ำเป็นนกกระเรียน และ การน�ำเปลือกไข่มาติดบนเนื้อผ้าท�ำให้เกิด ความสวยงามระยิบระยับนอกจากนี้ ยังคว้า รางวัล The Best Sewing Award (รางวัล การตัดเย็บดีเยี่ยม) เห็นไหมหล่ะครับ ว่าเจ๋ง สุดๆ “ผลงานชิ้นนี้ ไม่ ได้เป็นเพียงแค่แฟชั่น อย่างเดียว มันเป็นทั้งจิตวิญญาณ เป็นทั้ง ศิ ล ปะ ที่ ส ามารถบ่ ง บอกความรู้สึก ของ มนุษย์ ความรู้สึกของทรัพยากรธรรมชาติ และปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง บนโลกนี้ ” กบ บุญยพัฒน์ ได้พูดทิ้งท้ายเอาไว้ เป็ น อย่ า งไรกั น บ้ า งครั บ คุ ณ ผู ้ อ ่ า น สิ่งเหล่านี้ท�ำให้รู้เลยว่า ผลงานนักศึกษาเรา นั้นไม่ธรรมดาเลยจริงๆ และขอปรบมือดังๆ ที่นักศึกษาเราได้ โชว์ความสามารถจนคว้า รางวัลกลับมาให้เราชาว DPU ได้ชื่นชมด้วย ก่อนจะจากกัน ไปก็อย่า ลืมติดตาม DPU MAG ฉบับหน้ากันด้วยนะครับ รับรองว่าจะ ต้องมีอะไรดีๆ มาบอกต่ออีกแน่นอน ขอตัว ลาไปก่อนน่ะ บ๊าย บาย...

DPU MAG

15


INTER ZONE

Students Care

ดูแล นศ.ต่างชาติ ในแบบฉบับ DPU ว่ากันว่า... สิง่ แวดล้อมทีน่ า่ อยูย่ อ่ มส่งผล ดีต่อผู้พักอาศัย มหา’ลัยก็เช่นกัน เพราะ มหาวิทยาลัยเปรียบเสมือนบ้านหลังทีส่ อง เรา จึงใส่ ใจในทุกรายละเอียดเกี่ยวกับนักศึกษา รวมถึงนักศึกษาต่างชาติด้วย Inter Zone ฉบับนี้มาตีแผ่ถึงเรื่องความเป็นอยู่และการ ดูแลนักศึกษาต่างชาติกัน มีอะไรที่น่าสนใจ บ้าง มาติดตามกันค่ะ ผศ.ดร.ลีลา เตีย้ งสูงเนิน รองคณบดีฝา่ ย บริ ห ารและเครื อ ข่ า ยนานาชาติ วิ ท ยาลั ย บริ ห ารธุ ร กิ จ เชิ ง นวั ต กรรมและการบั ญ ชี (College of Innovative Business and Accountancy หรือ CIBA) ได้กล่าวถึงการดูแล นักศึกษาต่างชาติภายใต้การดูแลของ CIBA ว่า

ได้ มี ส ่ ว นร่ ว มในการท� ำ กิ จ ก ร ร ม ซึ่ ง ก ลุ ่ ม นี้ จะมีความใกล้ชดิ กันเพราะ ได้ท�ำกิจกรรมร่วมกัน เช่น เพื่อนติวให้กับเพื่อน หรือ เมื่อเกิดปัญหาต้องการความ ช่ ว ยเหลื อ ก็ ส ามารถติ ด ต่ อ สื่อสารผ่านไลน์กรุ๊ปได้ทันท่วงที โดยมีทีมเจ้าหน้าที่จากส�ำนักงาน เลขานุการคณะคอยดูแลอีกขัน้ หนึง่ ซึง่ ก็ จะมีทงั้ อาจารย์ เพื่อนนักศึกษา รวมถึงเจ้า ผศ.ดร.ลีลา เตี้ยงสูงเนิน หน้าที่คอยให้ค�ำแนะน�ำ ถาม-ตอบ ปัญหาอยูใ่ น รองคณบดีฝ่ายบริหารและเครือข่ายนานาชาติ ไลน์กรุ๊ปนั้นด้วย วิทยาลัยบริหารธุรกิจเชิงนวัตกรรมและการบัญชี

ส่วนใหญ่นกั ศึกษาทีเ่ ล่ากันมาแบบ พูดถึงเรือ่ งการเรียนการสอนแบบ ปากต่อปากเกี่ยวกับ DPU Students center เราเน้ น การเรี ย นการสอนที่ เ รี ย กว่ า การดู แ ลนั ก ศึ ก ษาต่ า งชาติ ข อง ว่าอย่างไร อันดับแรกเป็นเพราะเนื้อหาโครงสร้าง Students center คือเลคเชอร์น้อย แต่มุ่ง CIBA เป็นอย่างไรบ้าง หลักสูตรในรายวิชาทีเ่ รียนเป็นหลักสูตรแบบ อินเตอร์ทั้งหมด ส่วนที่สองนั้นเป็นอาจารย์ ผู้สอน เพราะเราให้ความส�ำคัญในเรื่องของ มาตรฐานภาษาอังกฤษ โดยมีอาจารย์ชาว ต่างชาติคอยช่วยควบคุมดูแลเรือ่ งมาตรฐาน ภาษาอังกฤษอย่างต่อเนื่อง จากนั้นเรื่อง รายวิ ช าเรี ย นซึ่ ง สามารถตอบโจทย์ ใ ห้ กั บ นักศึกษาได้ โดยเฉพาะหลักสูตรทางด้าน ทีม Students community คือ ?? บริหารธุรกิจ ค่อนข้างจะป๊อบปูลา่ มากส�ำหรับ ระบบการดูแลนักศึกษาของทีน่ ี่ เราเรียก นักศึกษากัมพูชา ซึ่งเราก็สามารถรองรับ ว่ า “ที ม คณะกรรมการนั ก ศึ ก ษา หรื อ ความต้องการตรงนี้ได้ Students community” โดยจะให้นกั ศึกษา นับตั้งแต่น้องๆ ก้าวเข้ามาในรั้วมหาลัย เราดูแลกันเหมือนครอบครัวโดยมีทมี อาจารย์ และเจ้าหน้าที่คอยให้ค�ำปรึกษา ซึ่งทีมนี้จะมี ความคุ้นเคยกับน้องๆ เราจะดูแลตั้งแต่เรื่อง การจัดหาทีพ ่ กั ความเป็นอยู่ มีรนุ่ พีห่ รือบัดดี้ เป็นเพื่อนให้ค�ำปรึกษา โดยประสานงานกับ ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยร่วมด้วย

16

DPU MAG

เน้นให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วม ให้ผู้เรียนเป็น ส่วนส�ำคัญในการท�ำกิจกรรม อาทิ การร่วม กิจกรรมในชั้นเรียน ให้มีกิจกรรมเป็นตัวตั้ง ต้นโจทย์ จากนั้นให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์ พิจารณา และก็สรุปผลออกมา นอกจากนี้ ทางวิทยาลัยก็ ได้มีการสอดแทรกกิจกรรม โดยได้ร่วมกันกับภาคธุรกิจและองค์กรใน ระดับนานาชาติเพือ่ ให้นกั ศึกษาต่างชาติได้เข้า มามีส่วนร่วม โดยปกติแล้วเราจะมีรายวิชา สหกิจศึกษา 1 ปีเพือ่ ให้นกั ศึกษาได้เรียนรูง้ าน จริงเพื่อเตรียมพร้อมสู่การท�ำงานในอนาคต


Mr.David Chhun นักศึกษาจาก Cambodia หลักสูตรนานาชาติ วิทยาลัยบริหารธุรกิจ เชิงนวัตกรรมและการบัญชี (College of Innovative Business and Accountancy หรือ CIBA) Mr.David Chhun นั ก ศึ ก ษาจาก Cambodia หลักสูตรนานาชาติ(CIBA) กล่าวว่า เมือ่ ก้าวเข้ามาอยูท่ นี่ สี่ งิ่ แรกทีผ่ มประทับใจนัน่ ก็คอื สิง่ แวดล้อมครับ ทีน่ มี่ บี รรยากาศร่มรืน่ มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ครบครัน เช่น ห้องศูนย์กฬ ี า ห้องเรียน โรงอาหาร นอกจาก นั้นยังผมชอบห้องเรียนที่นี่นะครับ เพราะว่า มีห้องเรียนที่อบอุ่น เป็นทั้งห้องเรียน ห้อง ประชุมกลุ่ม ซึ่งผมสามารถติดต่อปรึกษา อาจารย์ ได้สะดวกด้วยครับ แน่ น อนว่ า เมื่ อ เราเป็ น ต่ า งชาติ ย ่ อ มมี ปัญหาเรื่องการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น อย่าง เพื่ อ นที่ เ รี ย นด้ ว ยกั น ซึ่ ง จะมี จี น พม่ า ฟิลปิ ปินส์ หรือ ฝรัง่ เศสทีม่ าเรียนแลกเปลีย่ น

แต่ละประเทศ ส�ำหรับการสื่อสารนั้นถึงแม้ว่า จะมีความคล้ายคลึงกันก็ตาม แต่ยังมีความ แตกต่างกัน ทัง้ ในด้านของการใช้ภาษา ความ คิด การจัดรูปประโยคในการพูดจะมีความ หลากหลาย แรกๆ ก็เป็นปัญหาอยูพ ่ อสมควร ครับ แต่นานๆ เข้าก็ปรับตัวได้ อย่างเช่น เพือ่ นคนไทยก็จะพูดกับเราไทยค�ำอังกฤษค�ำ และผมเองก็สังเกตุจากสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวประกอบด้วยครับ ไม่เพียงเท่านี้แรกๆจะเกิดปัญหา ในเรื่อง ของการกิน การสั่งซื้ออาหาร และมีความ ล�ำบากในเรือ่ งของการเดินทาง ฉะนัน้ ผมจึงใช้ เวลา 3-4 สัปดาห์ก็สามารถปรับตัวได้ โชคดี ที่ มี เ พื่ อ นเป็ น คนไทยคอยช่ ว ยเหลื อ จึ ง พยายามฝึกพูดภาษาไทย พากันเที่ยว และ พูดคุยปรึกษาได้ทุกๆ เรือ่ ง โดยเวลาว่างส่วน ใหญ่ ผมจะเล่น กีฬา บาสเกตบอล ว่ายน�้ำ บางทีก็เข้าฟิสเนต และออกไปข้างนอกเพื่อดู หนังกับเพือ่ นๆ บ้าง กิจกรรมเหล่านีท้ ำ� ให้ผม เจอเพื่อนใหม่เพิ่มมากขึ้นด้วยครับ ผมมองว่าที่นี่เป็นมหาวิทยาลัยที่ดีแห่ง

หนึง่ เลยก็วา่ ได้ ทีน่ เี่ ปิดโอกาสให้ทนุ การศึกษา กับนักศึกษา ต่างชาติ เปิดกว้างให้ส�ำหรับ นักศึกษาได้ศึกษาต่อยังต่างประเทศ และเมื่อ กลับประเทศแล้ว ผมอยากจะบอก เกี่ยวกับ ประเทศไทยว่า เมืองไทยเป็นเมืองที่สวยงาม นะครับ โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร ไม่ว่าจะ เป็นเรื่องของ ผู้คน ที่มีอัธยาศัยดี น่ารัก ยิ้มทักทาย อาหารการกินก็อร่อยมากครับ

รู้มั้ยคะว่า DPU เรามี นักศึกษา Cambodia ที่เรียนหลักสูตรนานาชาติ มากที่สุดก็ว่าได้

DPU MAG

17


AROUND CAMPUS

โครงการประกวด ภาพยนตร์สั้น ในหัวข้อ “การรณรงค์ปลอดบุหรี่ ในวัยรุ่น”

Thailand Bowling U-Challenge 2016

ผศ.ดร.วันวร จะนู รองอธิการบดีสายงานกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ถ่ายภาพร่วมกับคุณแสนพล อูว่ เิ ชียร ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายธุรกิจและสิทธิประโยชน์ การกีฬาแห่งประเทศไทย คุณวีรยุทธ จอมใจเหล็ก กรรมการบริหารสมาคมกีฬาโบว์ลิ่งแห่ง ประเทศไทย และ คุณทรงศักดิ์ สัตยาภักดีวงศ์ รักษาการผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายการตลาด บริษทั เมเจอร์ โบว์ล กรุป้ จ�ำกัด พร้อมด้วยผูส้ นับสนุนหลัก ในงานแถลงข่าวการจัดการแข่งขันมหกรรมกีฬา “ดอยค�ำ พรีเซนต์ ไทย แลนด์ โบว์ลงิ่ ยู-ชาเลนจ์ 2016” โดยงานแถลงข่าวนีจ้ ดั ขึน้ ณ บลูโอ ริธมึ แอนด์ โบว์ล ชัน้ 4 เมเจอร์ ซีนเี พล็กซ์ รัชโยธิน

ประกาศผลกั น ไปเป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ย กั บ โครงการประกวด ภาพยนตร์ส้ัน ในหัวข้อ “การรณรงค์ปลอดบุหรี่ ในวัยรุ่น” ที่ทาง ส�ำนักกิจการนักศึกษาและคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์จัดขึ้น โดยมีเครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคมไทยปลอด บุหรี่ และน�้ำดื่มสยามเป็นผู้สนับสนุนโครงการ ในการประกาศผลรางวัลได้รับเกียรติจาก คุณบัณฑิต ทองดี นายกสมาคมผูก้ ำ� กับภาพยนตร์ ไทย ดร.วีรนิ ทร์ทริ า นาทองบ่อจรัส กรรมการผู้จัดการ บ. 360 องศา เอ็นเตอร์เทนเม้นท์จ�ำกัด และ คุณอนุพนั ธ์ ธราดลรัตนากร ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาพันธ์ เครือข่ายแห่งชาติเพือ่ สังคมไทยปลอดบุหรี่ ร่วมเป็นกรรมการตัดสิน ผลงานของนักศึกษา โดยทีม “319513” ที่มาพร้อมกับหนังสั้นที่ มีชื่อว่า “Nerd Idol” คว้ารางวัลชนะเลิศพร้อมทุนการศึกษา 10,000 บาท ไปครอง ส่วนรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ตกเป็นของทีม “ลงพุงฟิลม์ ” กับผลงานเรือ่ ง “CELL” รับทุนการศึกษา 6,000 บาท และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่เรื่อง “ควัน” โดยทีม “Mix Production” ได้รับทุนการศึกษา 4,000 บาท โดยผลงานของ นักศึกษาที่ได้รบั รางวัลจะถูกน�ำไปผลิตเป็นหนังต้นแบบ และฉายจริง ในโรงภาพยนตร์ทั้งในและต่างประเทศต่อไป

DPU จัดกิจกรรม "Let's Go! Thai Entertainment Industry บันเทิงไทยไปได้ ไกลกว่าที่เป็น"

18

DPU MAG

เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2559 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ได้จัดกิจกรรมเสวนาในหัวข้อ "Let's Go! Thai Entertainment Industry บันเทิงไทยไปได้ไกลกว่าทีเ่ ป็น" โดย ดีเจพีฉ่ อด สายทิพย์ มนตรีกลุ ณ อยุธยา ดร.อัน๋ ภูวนาท คุนผลิน และดีเจดาด้า วรินดา ด�ำรงผล ผูค้ ร�ำ่ หวอดทุกด้านทัง้ เบือ้ งหน้า-หลังวงการสือ่ ไทย ได้รว่ มพูดคุยแลกเปลีย่ นประสบการณ์ดา้ นธุรกิจ สื่อสารมวลชน โดยกิจกรรมนี้อยู่ภายใต้หลักสูตร "การบูรณาการด้านสื่อและกลยุทธ์ของ สินค้า-บริการ" (Media Appreciation and Product-service Strategies หรือ MAPS) จัดขึ้น ณ ห้องประชุม ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์


การลงนามพัฒนาร่วมกันกับ PPTV

ขอแสดงความยินดี

ขอแสดงความยินดีกบั ทีม SUPWORK นายสันติ แก้วบุญเมือง นายณัฐยุทธ ลินดาพรประเสริฐ และนางสาวอัมพร อุ่นแพทย์ นั ก ศึ ก ษาภาควิ ช าภาพยนตร์ แ ละสื่ อ ดิ จิ ทั ล คณะนิ เ ทศศาสตร์ คว้ารางวัลรองชนะเลิศการประกวดสื่อป้องกันการทุจริต ประเภท ภาพยนตร์ โฆษณา โดยได้รับเกียรติจาก พลต�ำรวจเอกวัชรพล ประสารราชกิจ เป็นเป็นประธานในการมอบรางวัล ณ ส�ำนักงานคณะ กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จับมือ สถานีโทรทัศน์พพ ี ที วี ี เอชดี ช่อง 36 (PPTV HD 36) ลงนามความร่วมมือด้านวิชาการ โดยมี ดร.ดาริกา ลัทธพิพฒ ั น์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และ คุณตรีศรันย์ สีตกะลิน รองกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่อาวุโส ฝ่าย บริหารและทรัพยากรบุคคล (PPTV) ลงนามความร่วมมือเพื่อต่อ ยอดงานวิเคราะห์การพัฒนางานวิจยั ยุคดิจทิ ลั พร้อมมีคณะผูบ้ ริหาร ของทั้ ง สองหน่ ว ยงานร่ ว มเป็ น สั ก ขี พ ยาน ณ มหาวิ ท ยาลั ย ธุรกิจบัณฑิตย์

“CIBA Festival”

ชม ชิม ช็อป อย่างสร้างสรรค์และส่งเสริม Startup Thailand วิทยาลัยบริหารธุรกิจเชิงนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA) จัด โครงการ “CIBA Festival” ชม ชิม ช็อป อย่างสร้างสรรค์และส่ง เสริม Startup Thailand เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติใน การท� ำ ธุ ร กิ จ จริ ง โดยมี ดร.ดาริ ก า ลั ท ธพิ พั ฒ น์ อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เป็นประธานในการเปิดงาน จากนั้นพบ กับแฟชั่นโชว์จากนักศึกษา Net idol CIBA พร้อมโชว์สุดพิเศษ “Startup Showcase ท�ำอาหารสไตล์ Le Cordon Bleu อิม่ อร่อย สร้างรายได้” และร้านจ�ำหน่ายสินค้าให้เลือกชม ชิม ช็อปที่หลาก หลายกว่า 100 ร้านค้า

DPU MAG

19


OPINION

ช่องว่างทักษะ

ถ้าไม่แก้กต็ อ้ งก่ายหน้าผาก

การศึ ก ษาเป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ ของการ พัฒนาประเทศทุกด้าน คนคุณภาพย่อมสร้าง ประเทศที่มีคุณภาพ ด้วยเหตุน้ีนโยบายการ ศึกษาจึงเป็นนโยบายส�ำคัญ ส�ำหรับระดับตัว บุคคล การศึกษาเป็นกุญแจเปิดประตูไปสู่ โอกาสด้านการท�ำงาน ซึ่งเป็นพื้นฐานส�ำคัญ ของคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ด้วยเหตุนกี้ ารศึกษากับ ตลาดแรงงานจึงเป็นคูแ่ ฝดทีแ่ ยกจากกันไม่ได้ เลย ประเทศไหนมีระบบการศึกษาที่สามารถ ผลิตคนออกมาตอบสนองตลาดแรงงานได้ดี ประเทศนัน้ ก็ไปโลด ประเทศไหนท�ำได้ไม่ดกี จ็ ะ ติดกับดักรายได้ปานกลาง ดิน้ เท่าไหร่ก็ไม่หลุด

20

DPU MAG

เครื่องมือหนึ่งที่ ใช้การประเมินว่าระบบ การศึกษาผลิตคนออกมามีคุณสมบัติตรง กับความต้องการของตลาดแรงงานหรือ ไม่คือการประเมินด้วยช่องว่างทักษะ หรือที่เรียกว่า Skill Gaps ซึง่ เป็นการ ประเมินผลการท�ำงานของแรงงานเมือ่ เที ย บกั บ ที่ น ายจ้ า งคาดหวั ง ไว้ หากแรงงานท� ำ งานได้ ต�่ ำ กว่ า ที่ นายจ้ า งคาดหวังอย่างมีนยั ส�ำคัญก็ แสดงว่ามี Skill Gaps เกิดขึน้ ในต่างประเทศการส�ำรวจเรื่องนี้ เป็นงานที่ท�ำเป็นประจ�ำทุกปีเพื่อน�ำไปใช้ วางแผนก�ำลังคนและปรับปรุงหลักสูตรการ เรียนการสอน ส�ำหรับประเทศในอาเซียน การ ศึ ก ษาในลั ก ษณะนี้ ยั ง มี น ้ อ ยมาก ส่ ว น ประเทศไทย งานต้นแบบเรือ่ งนีเ้ ป็นการท�ำงาน ร่วมกันของส�ำนักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน(สพฐ.) ส�ำนักงานสถิตแิ ห่ง ชาติ ส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.) คณะ ท� ำ งานในจั ง หวั ด และมหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ โดยในระยะแรกเป็ น การศึ ก ษา เฉพาะบางจังหวัด แม้ ว ่ า จะเป็ น การศึ ก ษาในบางจั ง หวั ด แต่ผลที่ ได้ก็มีความน่าสนใจ โดยเฉพาะหาก น�ำไปเปรียบเทียบกับงานลักษณะเดียวกัน ของสหราชอาณาจักรและแคนาดา ตามที่ได้ แสดงไว้ในตาราง ตัวเลขร้อยละในตาราง คือ ร้อยละของ สถานประกอบการที่ระบุว่าคุณสมบัติของ แรงงานในด้านนั้นต�่ำกว่าที่นายจ้างคาดหวัง ไว้ เช่น ในจังหวัดตราด 17.2% ของสถาน

ดร.เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว

ผู้ช่วยรองอธิการบดีส่วนงานวิจัย

ประกอบการที่ส�ำรวจระบุว่าแรงงานที่จ้างมา ท�ำงานมีทกั ษะการสือ่ สารด้วยการพูดต�ำ่ กว่า ที่คาดหวังไว้ ส�ำหรับจังหวัดเชียงใหม่สถาน ประกอบการ 60.0% ระบุวา่ แรงงานทีจ่ า้ งมา ท�ำงานมีทกั ษะการสือ่ สารด้วยการพูดต�ำ่ กว่า ที่คาดหวังไว้ เป็นต้น หากมองโดยภาพรวมแล้ว สัดส่วนของ สถานประกอบการในตราดที่ระบุว่ามีปัญหา จะน้อยกว่าเชียงใหม่ แต่จะตีความด้วยการ เที ย บตั ว เลขของตราดกั บ เชี ย งใหม่ เ พี ย ง อย่างเดียวไม่ได้ เราต้องพิจารณาข้อเท็จจริง ที่ว่าทั้งจังหวัดเชียงใหม่มีระดับการพัฒนา ของเศรษฐกิจก้าวหน้ากว่าตราด โดยเฉพาะ ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วและภาคเศรษฐกิ จ ที่ เกี่ยวข้อง ดังนั้น การที่ตัวเลขของตราดต�่ำ กว่าเชียงใหม่จึงไม่ใช่เรื่องที่น่ายินดี กลับเป็น เรื่องต้องระวังเสียด้วยซ�้ำ เพราะหากตราด พัฒนามากขึ้นเรื่อยๆ โดยไม่มีการพัฒนา แนวทางในการพั ฒ นาคนในพื้ น ที่ ใ ห้ ดี พ อ สุดท้ายแล้วปัญหาช่องว่างทักษะของตราด อาจจะเหมือนกับเชียงใหม่


ผลการศึกษาด้านช่องว่างทักษะ ประเด็นที่มีปัญหา

ตราด

เชียงใหม่

สหราช อาณาจักร

การสื่อสารด้วยการพูด 17.2% 60.0% 34.0% การสื่อสารด้วยการเขียน 20.4% 50.0% 32.0% การใช้ภาษาอังกฤษ 47.8% 81.8% การใช้ภาษาต่างประเทศอื่นๆ 52.2% 83.3% 14.0% ความสามารถในการอ่าน 19.1% 50.0% 28.0% ความสามารถในการค�ำนวณ 13.2% 37.5% 24.0% การใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ท 27.0% 45.5% 18.0% การจัดการงานที่ได้รับมอบหมาย 10.5% 40.0% ความสามารถในการเรียนรู้งาน 9.0% 75.0% การท�ำงานเป็นทีม 9.2% 69.2% 31.0% ความรู้เฉพาะตามต�ำแหน่งงานที่ท�ำ 8.7% 76.5% 66.0% การวางแผนการท�ำงาน 12.5% 66.7% 37.0% การแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับงาน 13.1% 68.8% 33.0% ที่มา: โครงการส�ำรวจความต้องการตลาดแรงงานเฉพาะกลุ่มจังหวัด ส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

อีกประเด็นที่เป็นข้อสรุปจากการเปรียบ เทียบกับผลการศึกษาในต่างประเทศ คือ ต่อ ให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าแค่ ไหนช่องว่าง ของทักษะก็ยังคงอยู่ เพราะสถานประกอบ การแต่ละแห่งมีความแตกต่างกันในเนือ้ งานทีท่ ำ � แนวทางการท� ำ งาน และวั ฒ นธรรมของ องค์กร ดังนั้น การจะก�ำหนดแนวทางการ พัฒนาคนว่าจะต้องท�ำให้ช่องว่างทักษะหาย ไปจึงเป็นเรื่องที่แทบจะเป็นไปไม่ ได้เลย สิ่งที่ ท�ำได้เพื่อลดปัญหานี้ต้องเริ่มด้วยการแบ่ง แรงงานออกเป็นสองกลุ่ม คือ แรงงานใหม่ที่ เพิ่งจบการศึกษากับแรงงานที่ท�ำงานอยู่แล้ว ส�ำหรับแรงงานใหม่ทกี่ า้ วเข้าไปสู่โลกของ การท�ำงานเป็นครัง้ แรก ความพร้อมมากหรือ น้อยขึน้ อยูก่ บั สิง่ ที่ได้เรียนรู้ในระบบการศึกษา การแก้ปญ ั หาแรงงานใหม่จงึ เชือ่ มโยงกับการ พัฒนาแนวทางการเรียนรู้ในระบบให้แรงงาน

ใหม่ท�ำงานได้ ท�ำงานเป็น และความสามารถ เรียนรู้งานได้เร็ว ซึ่งหมายความว่าการเรียน จะต้ อ งมี ทั้ ง ภาคทฤษฎี แ ละภาคปฏิ บั ติ ใ น สภาพแวดล้อมการท�ำงานจริงควบคูก่ นั ไปด้วย ยิ่งถ้าเป็นคนที่มี Business DNA เข้มข้นซึ่ง คิดจะมีธุรกิจเป็นของตัวเอง ทักษะเหล่านี้ยิ่ง มี ค วามส� ำ คั ญ มากขึ้ น ไปอี ก เพราะสภาพ แวดล้อมในการแข่งขันจะมีความรุนแรงมาก ขึ้นกว่าเดิม ส�ำหรับแรงงานที่ท�ำงานอยู่แล้ว ช่องว่าง ทักษะเกิดจากสองสาเหตุดว้ ยกัน สาเหตุแรก คือ การทีแ่ รงงานปรับตัวกับลักษณะของงาน ที่เปลี่ยนแปลงไปตามช่วงเวลาไม่ได้ หรือไม่มี โอกาสได้ยกระดับทักษะของตนเอง การแก้ ปั ญ หานี้ จึ ง เชื่ อ มโยงกั บ การพั ฒ นาระบบ สนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรูป แบบต่างๆ ที่สอดคล้องกับลักษณะงานและ

แคนาดา 46% 41% 41% 22% 28% 27% 37% 71%

ความพร้อมของแต่ละคน ซึง่ เป็นเรือ่ งท้าท้าย อย่างยิง่ แต่จะไม่ทำ� ก็ไม่ได้เตรียมตัวกันตัง้ แต่ วันนี้ จะได้ ไม่ต้องมานั่งก่ายหน้าผากกันที หลังว่า เรียนจบได้ใบปริญญาแต่กลับหมดท่า ท�ำงานไม่เป็น

DPU MAG

21


EDUCATION LIFE

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดตัว 3 วิทยาลัยใหม่ สูก่ ารเป็นผูน้ ำ � Thailand 4.0 กว่า 49 ปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์ยังคงยึดมั่นตามเจตนารมณ์ของ อาจารย์สนัน่ เกตุทตั และดร.ไสว สุทธิพทิ กั ษ์ สองผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัย ที่มุ่งมั่นพัฒนาให้ มหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งของสังคม ให้บริการ ด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและประเทศ ชาติ พร้อมสร้างบัณฑิตให้มีความเชี่ยวชาญ ในสาขาต่างๆ และบูรณาการองค์ความรู้ด้าน บริหารธุรกิจ โดยมีปณิธานที่ยึดมั่นว่า “นัก ธุรกิจเป็นผู้สร้างชาติ”และมาถึงปัจจุบันเรามี Vision ใหม่ของมหาวิทยาลัยว่า “Major Driver In New Business Transformation And AEC + China Integration” มหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ จึ ง เป็ น สถาบันการศึกษาที่เน้นผลิตนักศึกษาเพื่อ ตอบโจทย์ธุรกิจของโลกยุคใหม่ โดยสร้าง ทักษะด้านธุรกิจพร้อมปลูกฝัง DNA ของการ เป็นนักธุรกิจและการด�ำเนินงานธุรกิจให้กับ นักศึกษาทุกคน ไม่ว่านักศึกษาจะเรียนใน วิทยาลัยหรือคณะไหนสาขาอะไร ต้องสามารถ ต่ อ ยอดการท� ำ ธุ ร กิ จ บนพื้ น ฐานความ ต้องการของประเทศได้อย่างมืออาชีพ ดร.ดาริ ก า ลั ท ธพิ พั ฒ น์ อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กล่าวว่า เพื่อให้ มหาวิทยาลัยด�ำเนินการภายใต้การพัฒนา ของประเทศ เราจึ ง ก� ำ หนดทิ ศ ทางของ มหาวิทยาลัยให้ชัดเจนในการปฏิรูป New Business ของประเทศ เพื่อให้สอดรับกับ ทิศทางการพัฒนาของภาครัฐบาลภายใน 22

DPU MAG

แนวคิด Thailand 4.0 ในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจผ่านอุตสาหกรรมใหม่ของประเทศ ทัง้ 5 อุตสาหกรรม เช่น ธุรกิจภาค SME และ Startup ด้านอาหารและธุรกิจสุขภาพ ด้าน ดิจิทัลเทคโนโลยี ฯลฯ เพื่อให้เป็นผู้น�ำในการ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ในกลุ ่ ม ประเทศอาเซี ย นและ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ กั บ ประเทศจี น ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ “มหาวิทยาลัยจึงได้ปรับตัวการด�ำเนิน งานของมหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ ให้ ส อดรั บ กั บ ทิ ศ ทางของรั ฐ บาล พร้ อ มสร้ า งความได้ เปรียบจากความแข็งแกร่งทีเ่ รามีในองค์กร ใน คณะที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมต่างๆ จึงมี การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน ให้มี ความสอดคล้องต่อความต้องการของตลาด

แรงงานในอนาคต จึงได้เปิดวิทยาลัยใหม่ 3 วิทยาลัย ที่ส่วนหนึ่งเกิดจากการรวมตัวกัน ของคณะและสาขาวิชาที่มีศาสตร์และองค์ ความรูท้ เี่ ชือ่ มโยงกันมาอยูภ่ ายใต้การบริหาร งานของ 3 วิทยาลัย คือ วิทยาลัยบริหาร ธุรกิจเชิงนวัตกรรมและการบัญชี (College of Innovative Business and Accountancy : CIBA), วิทยาลัยนวัตกรรมด้านเทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ (College of Innovative Technology and Engineering : CITE) และวิทยาลัยการแพทย์บูรณาการ (College of Integrative Medicine : CIM) เพือ่ สร้าง องค์ ค วามรู ้ แ ละพั ฒ นาความพร้ อ มของ บั ณ ฑิ ต ที่ จ บออกไปให้ ร องรั บ กั บ ความ ต้องการของประเทศในอนาคต”


วิทยาลัยบริหารธุรกิจเชิงนวัตกรรมและ การบั ญ ชี (College of Innovative Business and Accountancy หรือ CIBA) วิทยาลัยนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและ วิศวกรรมศาสตร์ (College of Innovative ได้ขานรับนโยบายของรัฐบาล โดยการผลิต Technology and Engineering หรือ CITE) บั ณ ฑิ ต เพื่ อ ตอบโจทย์ Thailand 4.0 ประกอบด้วย 4 คณะ ได้แก่ คณะบริหารธุรกิจ เป็นการผนึกก�ำลังระหว่าง 2 คณะ ได้แก่ คณะการบั ญ ชี คณะเศรษฐศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์และคณะเทคโนโลยี วิทยาลัยนานาชาติ ซึง่ มีรปู แบบบริหารจัดการ สารสนเทศ ซึ่งเป็นการบูรณาการระหว่าง แบบ Innovative management เป็นการบู ศาสตร์ทางด้านไอทีและวิศวกรรม โดยมุง่ เน้น รณาการร่วมกันของ 4 คณะ 10 สาขาวิชา Data เป็นส่วนส�ำคัญ อีกทั้ง CITE ยังมุ่งเน้น และ 15 หลักสูตร ทั้งในระดับปริญญาตรี พั ฒ นาบุ ค ลากรเพื่ อ ผลั ก ดั น เป้ า หมาย ปริญญาโทและปริญญาเอก โดยเปิดสอน Thailand 4.0 โดยมุ ่ ง เน้ น ความคิ ด หลักสูตรภาษาไทย หลักสูตร International สร้างสรรค์ ความรูธ้ รุ กิจ และความเชีย่ วชาญ program หลักสูตร Bilingual และ หลักสูตร ทางด้านเทคโนโลยีแนวใหม่เพื่อพัฒนาต่อ Trilingual ในทุกๆหลักสูตรถูกออกแบบให้ ยอดองค์ความรู้ในด้านนวัตกรรมทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรในเชิงนวัตกรรม

วิทยาลัยการแพทย์บรู ณาการ (College of Integrative Medicine หรื อ CIM) เป็นสถาบันบ่มเพาะแพทย์และบุคลากรการ แพทย์ด้วยแนวคิด “สอนคนให้เป็นหมอ”และ “สอนหมอให้เป็นคน” พร้อมผลักดันธุรกิจ ด้าน Healthcare ส่งเสริมสุขภาพ บ�ำบัดโรค ฟื้นคืนสุขภาพ และการชะลอวัยให้กับผู้คน ร่วมสมัย ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญในการขับเคลื่อน ประเทศไปสู่ Thailand 4.0

DPU MAG

23


GRADUATE

ธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดตัวหลักสูตร

‘MAPS’ เรียนรู้การใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาธุรกิจและสร้างแบรนด์ ครั้งแรกของไทย ปัจจุบนั ความรูค้ วามสามารถนับเป็นสิง่ ที่ ส� ำ คั ญ ไม่ แ พ้ กั บ รู ป ลั ก ษณ์ ภ ายนอก โดย เฉพาะอย่างยิ่งในยุคสมัยนี้ที่เทคโนโลยีการ สือ่ สารมีความก้าวไกล หากใครสามารถเรียน รู้ที่จะน�ำวิทยาการเหล่านี้มาใช้ได้อย่างถูกวิธี ก็นับว่าเป็นผลดีต่อการท�ำธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ได้เล็งเห็น ถึงความส�ำคัญในประเด็นดังกล่าว จึงได้จัด ตั้ ง หลั ก สู ต ร “การบู ร ณาการด้ า นสื่ อ และ กลยุ ท ธ์ ข องสิ น ค้ า -บริ ก าร” (Media Appreciation and Product-service Strategies หรือ MAPS) หลักสูตรการเรียน รูร้ ะยะสัน้ สุดสร้างสรรค์ทตี่ อบโจทย์นกั ธุรกิจ รุ่นใหม่ หรือเจ้าของธุรกิจที่ท�ำธุรกิจในยุค ปัจจุบันที่มีสื่อเป็นปัจจัยส�ำคัญในการสร้าง ภาพลักษณ์ ชื่อเสียงและยอดขายให้ประสบ ผลส�ำเร็จ 24

DPU MAG

MAPS เปิดตัวไปแล้วอย่างคึกคัก โดยได้ รับเกียรติจาก อ่อนอุษา ล�ำเลียงพล ประธาน กลุ่ม เดอะ ลีโอ เบอร์เนทท์ กรุ๊ป และนายก สมาคมโฆษณาแห่งประเทศไทย เป็นประธาน เปิดตัวหลักสูตร โดยกล่าวว่า หลักสูตรนี้จะ สร้างโอกาสทางธุรกิจในบริบทของเศรษฐกิจ ของประเทศ เป็นสิง่ ทีท่ า้ ทายอย่างมากส�ำหรับ ประเทศไทยที่ก�ำลังอยู่ ในยุคของการปฏิรูป คือประเทศไทยยุค 4.0 ซึง่ เป็นยุคของ Media หลอมรวมเพราะในปัจจุบันทุกคนกลายเป็น Media ไปหมด เพราะสื่อออนไลน์เข้ามามี บทบาทและมี ส ่ ว นส� ำ คั ญ อย่ า งมากในชี วิ ต ดั ง นั้ น หลั ก สู ต รนี้ จ ะรวบรวมความรู ้ แ ละ ถ่ า ยทอดให้ กั บ ผู ้ เ รี ย นทุ ก คนที่ อ ยู ่ ใน อุตสาหกรรมของ Media และแบรนด์สินค้า


ด้าน ดร.ดาริกา ลัทธพิพฒ ั น์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ในฐานะตัวแทน ผู ้ จั ด จั้ ง หลั ก สู ต ร กล่ า วว่ า MAPS เป็ น หลักสูตรการเรียนรูร้ ะยะสัน้ ภายใต้คอนเซปต์ ‘3S’ คือ ‘Survival’ (อยู่รอด), ‘Success’ (ส�ำเร็จ), ‘Sustainability’ (ยัง่ ยืน) ให้ธรุ กิจ อยู่รอดบนความส�ำเร็จที่ยั่งยืน โดยการสร้าง ธุ ร กิ จ ในรู ป แบบสมั ย ใหม่ ที่ เ ลื อ กใช้ สื่ อ เป็ น ปัจจัยส�ำคัญในการสร้างแบรนด์และกระตุ้น ยอดขาย ท�ำให้แบรนด์เข้าถึงคนจ�ำนวนมาก ได้อย่างรวดเร็ว จัดตั้งคอร์สแมพส์ขึ้น โดยมี บุคลากรใน 2 อุตสาหกรรมส�ำคัญ ได้แก่ สื่อสารมวลชนและสินค้า-บริการของไทย ที่จะมาช่วยยกระดับวงการธุรกิจไทยให้ ได้ มาตรฐาน เพื่อรองรับการแข่งขันทางการค้า ด้วยการใช้สื่อสร้างมูลค่าของธุรกิจให้สูงขึ้น และดึ ง เม็ ด เงิ น ต่ า งชาติ เ ข้ า สู ่ ป ระเทศไทย มากขึ้น

ภายในงานยังมีเหล่าเซเลบริตี้นักธุรกิจ รุ่นใหม่เรียกว่างานนี้มีดารา เซเลบมาร่วม แสดงความยินดีกนั อย่างคับคัง่ อาทิเช่น คุณ แหวนแหน ปวริศา , คุณแมนการิน , คุณเกล เวธกา , คุณบีม ศรัณยู , คุณแป้ง อัชฌา และ ดาราเซเลบอื่นๆมากมาย ภายในงานได้เชิญ เซเลบริตสี้ าวชือ่ ดัง ‘กรกนก ยงสกุล’ เจ้าของ สถาบั น เสริ ม บุ ค ลิ ก ภาพ ‘รื่ น รมย์ บาย เล็ ก ’ มาร่ ว มเวิ ร ์ ค ช็ อ ปในหั ว ข้ อ ‘ปรั บ บุคลิกภาพเตรียมพร้อมเป็นผู้บริหารมาก ฝีมือ’ ร่วมด้วย กูรูด้านการตลาดยุคใหม่ ดร.ศรีหทัย พราหมณี และดร.วิษณุ วงศ์สิน ศิริกุล พร้อมชมไฮไลต์สุดพิเศษกับการจัด แสดงแฟชั่นโชว์ผลงาน การออกแบบดี ไซน์ เสื้ อ ผ้ า ของนั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ มาร่ ว มสร้ า งสี สั น ณ วิ ท ยาลั ย นานาชาติสังคมศาสตร์ และนิเทศศาสตร์

(ICSC) อาคารสนมสุ ท ธิ พิ ทั ก ษ์ ชั้ น 4 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ การเรียนของหลักสูตร MAPS ถูกจัด ออกมาให้อยู่ ในรูปแบบของงานอีเว้นท์และ การท� ำ เวิ ร ์ ค ช็ อ ปจ� ำ ลองสถานจริ ง ที่ แ ต่ ล ะ คลาสจะมี ลู ก เล่ น ช่ ว ยสร้ า งความสนุ ก ให้ ผู้เรียนแตกต่างกันไป รวมถึงผู้เชี่ยวชาญใน แต่ละด้านทีจ่ ะมาร่วมแชร์เคล็ดลับการประสบ ความส�ำเร็จและวิธีคิดอย่างสร้างสรรค์ ให้ ผูเ้ รียนได้เรียนรูก้ นั อย่างใกล้ชดิ โดยแบ่งการ เรียนออกเป็นทั้งหมด 12 ครั้งด้วยกัน

DPU MAG

25


ON THE WAY

มูลนิธิร่มฉัตร จับมือ ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ จัดแข่งขันภาษาจีนนานาชาติ “ท่านเจ้าคุณธงชัย” มุ่งส่งเสริมเยาวชนเรียนรู้ภาษาจีน

ผ่านพ้นไปเป็นทีเ่ รียบร้อยกับการแข่งขัน ภาษาจีนที่ ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย กับการ แข่งขันภาษาจีนเพชรยอดมงกุฎ ครั้งที่ 13 (นานาชาติ) ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯสยามกุฎราชกุมาร ถ้วยรางวัล พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และทุนการศึกษาพระ ธรรมภาวนาวิกรม ทีท่ างมูลนิธริ ม่ ฉัตร ร่วมกับ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ได้จดั ขึน้ เพือ่ ส่ง เสริมและสนับสนุนการเรียนการสอนภาษาจีน ให้ แ ก่ เ ยาวชนไทยในทุ ก ระดั บ ชั้ น โดยการ แข่งขันครัง้ นี้ได้รบั เกียรติจาก ดร.โจว เกาหยู่ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการศึกษา (เลขานุการเอก) ผู ้ แ ทนท่ า นเอกอั ค รราชทู ต สาธารณรั ฐ ประชาชนจีนประจ�ำประเทศไทย เป็นประธาน 26

DPU MAG

ในพิธีเปิดการแข่งขัน นอกจากนีย้ งั ได้รบั เกียรติจาก คุณดุรยิ า อมตวิวัฒน์ ผู้ช่วยปลัดกระทรวงศึกษาธิการ คุณขจร เจียรวนนท์ ผู้บริหารบริษัทเครือ เจริญโภคภัณฑ์ จ�ำกัด คุณจู เผ หง รองผูอ้ ำ� นวย การโรงเรียนสาธิตมัธยมเทียนจิน คุณหยาง หยูน เซิน ผู้แทนจากสภาการศึกษาไหหนาน คุณจาง เล่ย กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ธนาคาร แห่งประเทศจีน ร่วมเป็นเกียรติในพิธเี ปิดการ แข่งขันครั้งนี้ ดร.ดาริ ก า ลั ท ธพิ พั ฒ น์ อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัย กล่าวว่า มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์ ในฐานะสถาบันการศึกษาได้ให้ความ ส�ำคัญพร้อมส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีน โดยได้รับความไว้วางใจจากท่านพระพรหม

มังคลาจารย์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไตรมิตร วิทยาราม ประธานมูลนิธริ ม่ ฉัตร และประธาน คณะกรรมการสถาบันขงจือ่ เส้นทางสายไหม ทางทะเล ที่มอบหมายให้มหาวิทยาลัยเป็น เจ้าภาพร่วมในการจัดการแข่งขัน นับได้ว่า เป็นโครงการทีม่ สี ว่ นช่วยเหลือประเทศชาติใน การเสริมสร้างคุณธรรมและส่งเสริมความรู้ ความสามารถของนักเรียน นักศึกษา นับได้ ว่าเป็นพลังส�ำคัญประการหนึ่งในการพัฒนา เยาวชนของประเทศชาติ โดยในปีนมี้ นี กั เรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันกว่า 3,600 คน


ผลการแข่งขันปรากฎว่า นางสาวพรนิภา แซ่ลิ้ว นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลาย จากโรงเรี ย นราษฎร์ วิ ท ยา (ตี่ มิ้ ง ) จังหวัดตาก ได้รบั รางวัลเหรียญทอง คว้าถ้วย รางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ส่วนในระดับอุดมศึกษา ผูช้ นะได้แก่ นางสาวจินตรา แซ่จาง นักศึกษา จากมหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ ้ า หลวง จั ง หวั ด เชียงราย คว้ารางวัลเหรียญทอง พร้อมรับ ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมาร พร้อมทุนการศึกษจาก ท่านพระพรหมมังคลาจารย์ นับเป็นอีกหนึง่ โครงการดีๆ ทีเ่ ปิดโอกาส ให้เยาวชนไทยได้แสดงความสามารถด้าน ภาษาจีน พร้อมสนับสนุนการเรียนรูภ้ าษาจีน ต่อไปในอนาคต

DPU MAG

27



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.