MOU Gazette # 1

Page 1

‐ 1 ‐


‐ 2 ‐


ตั้งใจจะอุปถัมภก

ยอยกพระพุทธศาสนา

จะปองกันขอบขัณฑสีมา

รักษาประชาชนแลมนตรี

พระราชปณิธาน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ‐ 3 ‐


เจ็บนาน นึกหนายนิตย มะนะเรื่อง บํารุงกาย

สวนจิตต มิสบาย ศิระกลุม อุราตรึง

แมหาย ก็พลันยาก

จะลําบาก ฤทัยพึง

ตริแตจะถูกรึง

กลัวเปนทวิราช

บ ตริ ปองอยุธยา

เสียเมืองจึงนินทา บ ละเวน ฤ วางวาย

คิดใดจะเกี่ยงแก

ก็ บ พบ ซึ่งเงื่อนสาย

สบหนามนุษยอาย จึงจะอุด และเลยสูญ ฯ

‐ 4 ‐

อุระรัดและอัตรา


ประสา แตอยูใกล ทั้งรูใช วาหนักหนา ทุกหนา ทุกตาดู

บ พบผู จะพึงสบาย

ดุจเหลาขา พละนา วะเหววา กะปตนั

เลือดเนื้อ ผิเจือยา ใหหายได จะชิงถวาย ปรับทุกข ทุรนทุราย กันมิเวน ทิวาวัน นายทาย ฉงนงัน ‐ 5 ‐

ทิศทาง ก็คลางแคลง


เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม พระปฐมบรมราชโองการ ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ วันศุกร ที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓

‐ 6 ‐


สารบัญ คําแถงของผูจัดทํา

บทนํา

ภาค ๑ ถวายฎีกา คําทูลเกลาถวายฎีกา

๑๑

จดหมายเปดผนึกถึงนายกรัฐมนตรี

๑๖

บันทึก ปราโมทย นาครทรรพ

๑๙

ภาค ๒ ระดมปญญา บทความ ปราโมทย นาครทรรพ

๒๐

บทความ ยินดี วัชรพงศ ตอสุวรรณ

๒๓

จดหมาย สุเทพ กิจสวัสดิ์

๒๘

บทความและคําสัมภาษณ สมปอง สุจริตกุล

๓๒

บทความและคําสัมภาษณ สุรพงษ ชัยนาม

๕๐

ภาคผนวก เอ็มโอยู ๒๕๔๓ ....

๖๕

ภาพและเอกสารประกอบ

๗๒

‐ 7 ‐


คําแถลงของผูจัดทํา จุลสาร “เอ็มโอยู – ความจริง กอความรู สูความกลา” ถือกําเนิดจากเจตนารมณของคณะผูกอการดี คณะหนึ่งซึ่งประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจากหลากหลายสาขา ปรารถนาจะเห็นสื่อในรูปจุลสารผลิตตามกาล อัน เหมาะสม เป น เวทีร ะดมป ญ ญา ตี แผ และเผยแพร ข อมู ล ข าวสาร เพื่อ การแก ป ญหาและพั ฒนาความรู ความเขาใจ ใหสังคมไทยเปนสังคมอุดมธรรมอุดมปญญา ไมถูกอวิชชาครอบงํา ฉบับปฐมฤกษนี้ จุติดวยความเรงรัดเพื่อใหทันกระแสประชาภิวัฒน ที่กําลังกอตัวรุกไลอํานาจรัฐให ปฏิบัติหนาที่รักษาศักดิ์ศรีและอธิปไตย ปกปองผืนดินไทยมิใหตกเปนของอดีตประเทศราชอันเนื่องเพราะ ความเขลาขลาดของรัฐบาลและรัฐสภา ประกอบกับความความยอหยอนทางปญญาของบรรดาขาราชการผูมี หนาที่ในการรักษาเอกราช ความมั่นคงแหงชาติ และบูรณภาพแหงอาณาเขต กรณีความขัดแยงเรื่อง “ปราสาทพระวิหาร” และ บูรณาการแหงเขตแดน ไดเผยใหเ ห็น “ตัวจริง ” และ “ตั ว แทน” ในวั ง วนแห ง ผลประโยชน ก องมหาศาล ครอบคลุ ม ธุ ร กิ จ ท อ งเที่ ย ว ขนส ง พลั ง งาน และ การคาของหนีภาษี ประเทศไทยในยามนี้ มีสภาพคลาย “ลูกแกะสยาม” เมื่อครั้งเผชิญภัยคุกคามจาก “หมาปา” นักลา อาณานิคมเพื่อปลนสดมภและบังคับแรงงานทาส โดยเฉพาะเมื่อพิเคราะหบทบาทของผูนํารัฐบาลในการ แกปญหาและระดับสติปญญาของบรรดาผูแทนปวงชนชาวไทยซึ่งสวนใหญดูจะยินยอมพรอมใจยกดินแดน ไทยใหกัมพูชา ดวยขออางอยางทรงเกียรติวา เพื่อรักษาความสัมพันธ คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา จุลสาร เอ็มโอยู ฉบับนี้จะเปนเครื่องชวยชี้ทางสวางใหสังคมไทย ไดประจักษในความจริงอันนาตกใจวา ราชอาณาจักรไทยกําลังเสียดินแดน พมร นวรัตนากร

เกรียงศักดิ์ เหล็กกลา จารุณี นักระนาด มารซิลลี

ภาพการตูนในนิตยสารฝรั่งเศสตีพิมพเมื่อรอยกวาปที่แลว แสดงภาพกองทัพฝรั่งเศสมีชัยชนะเหนือสยามในสงครามสมรภูมิอินโดจีน ‐ 8 ‐


บทนํา

“วิกฤตที่สุดในโลก”ที่ประเทศและพี่นองชาวไทยกําลังพากันเผชิญอยูนี้ เปนวิกฤตยิ่งใหญไมแพการ เสี ย กรุง ทั้ ง ๒ ครั้ งในสมัย อยุ ธยา และการเสี ย ดิน แดนใน รศ.๑๑๒ ปลายรั ช สมัยของพระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระปยะมหาราช ในครั้งนั้นพระพุทธเจาหลวงทรงโทมมนัสถึง กับงดเสวยโอสถและพระกระยาหาร ตั้งพระทัยจะให สิ้นพระชนมเพื่อหนีความอาย ดังความในพระราชนิพนธวา

“เกรงเปน ทวิราช

บ ตริปอง อยุธยา

เสียเมือง จึงนินทา

บ มิเวน ฤวางวาย

คิดใด จะเกี่ยงแก

ก็ บ พบ ซึ่งเงื่อนสาย

สบหนา มนุษยอาย

จึงจะอุด และเลยสูญ”

ตอเมื่อสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ พระอนุชาคูพระทัย ทรงพระราชนิพนธทูลขอใหทรงอยู เปนกําลังใจนําไทยสยามทั้งชาติมิใหตกเปนเมืองขึ้น จึงเกิดขัติยะมานะ หาไมแลวสยามคงไมดํารงเอกราช มาจนถึงทุกวันนี้ และคงไมมีจันทบุรีกับตราดอยูในแผนที่ประเทศไทย บัดนี้ครบรอบรอยปพอดี พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเปนหวงวา บานเมืองกําลังยุง ไมรูจะไป ทางไหน ไปอยางไร ตางคนก็ตางทํา คนละทิศ คนละทาง เกรงวาบานเมืองจะลมจม

‐ 9 ‐


โอกาสที่ประเทศไทยอาจจะเสียดินแดนใหกับกัมพูชา ดังที่โตเถียงกันเรื่อง MOU ก็ดี เรื่องคนไทย ทั้ง ๗ ถูกเขมรจับก็ดี และเรื่องผูนํารัฐบาลกับผูนําทหารรุกลี้รุกรนประกาศรับผิดกับรัฐบาลเขมรวาคนไทยรุก ล้ําเขาไปในดินแดนเขมรก็ดี เปนการราดน้ํามันลงไปบนกองเพลิงแหงความรักชาติของคนไทย จนเกิ ด ขบวนการรักชาติหวงแผนดินกันขึ้นอยางกวางขวางทั่วประเทศ และมีการถวายฎีกาขอพึ่งพระบรมเดชานุภาพ และพระบารมีในหลวงปกปองมิใหไทยเสียดินแดน ฝายรัฐบาลซึ่งสาละวนอยูกับการเอาใจฮุนเซนเพื่อจะรักษาสัมพันธภาพกับกัมพูชาใหหวานชื่นคืนดี ถึงกับวางแผนจะขอพึ่งพระเมตตากษัตริยเขมรใหพระราชทานอภัยโทษใหกับคนไทยที่ลวงละเมิดอธิปไธย เหนือดินแดนเขมร ทั้งๆที่ยังไมมีการพิสูจนใหเปนที่ยุติวาดินแดนนั้นเปนของใคร รัฐบาลเองออกจะอวดอางวาตนเปนผูผูกขาดสัจธรรม เปนผูรูจริง รูแจงแทงตลอด รูแตผูเดียววาตน ถูก ผู อื่นที่เ ห็นตางกับรั ฐบาลลวนแตเ ปน ผูหลงเขาใจผิด เปนผู คลั่งชาติ เปนผูมี ความรูและมีขอมูลไมพ อ ทั้งสิ้น ถารัฐบาลเปนผูรูผูสามารถดังที่อางจริง เหตุไฉนรัฐบาลจึงปลอยเรื่องใหบานปลายเลวรายลงจนถึง ปานนี้ ไมตัดไฟแตหัวลม ทําการโฆษณาประชาสัมพันธใหคนไทยทั้งประเทศหันมาเชื่อและสนับสนุนขอสรุป ของรัฐบาล ทั้งๆที่คนจํานวนมากเคยสนับสนุนรัฐบาลในการตอสูกับอํานาจเกาของรัฐบาลทักษิณหรือกลไก เก า ตกทอดมาจากรั ฐ บาลทั ก ษิ ณ มาแท ๆ ทํ า ไมจึ ง ปล อ ยให ค นเหล า นั้ น มาสงสั ย หรื อ ป ก ใจว า รั ฐ บาลมี ผลประโยชนแอบแฝงในเรื่องกัมพูชาไมตางอะไรกับทักษิณ นี่เปนสาเหตุหนึ่ง ที่ทําใหเกิดการตีพิมพจุลสารฉบับนี้ขึ้น เพื่อแสดงใหพี่นองขาวไทยเขาใจวา ใน บรรดาผูที่เห็นตางกับรัฐบาลนั้นมิใชผูงี่เงา ไรการศึกษา ไมเขาใจกฎหมาย ไมเขาใจความสัมพันธระหวาง ประเทศ เขาไมถึงขอมูลของรัฐบาล ตรงกันขาม บุคคลเหลานี้เปนนักกฎหมายชั้นนํา นักวิชาการชั้นนํา นักการทูตการตางประเทศชั้นนํา ที่ เ ฝ า แนะนํ า และท ว งติ ง รั ฐ บาลด ว ยความหวั ง ดี ต ลอดมา และไม มี ผู ใ ดมี ผ ลประโยชน แ ฝงเร น กั บ พรรค การเมืองหรือกลุมผลประโยชนใดๆ และตางก็ออกความคิดเห็นโดยเปนอิสระ มิไดขึ้นตอกันหรือนัดหมายกัน แตประการใด หากรัฐบาลไมใจแคบเปนประชาธิปไตยแฝงเรนคณาธิปไตยมุงแตผลประโยชนทางการเงินและการ เลือกตั้งเปนสรณะก็นาจะมองเห็นความจริงนี้ไดโดยงาย และสมควรสนับสนุนคาตีพิมพและแจกจายจุลสารนี้ ใหแพรหลายดวยซ้ําไป ถึ ง รั ฐ บาลจะไม ก ระทํ า เช น นั้ น ก็ โ ปรดอย า ได ป ด หู ป ด ตาตนเองถึ ง กั บ ไม ย อมอ า นจุ ล สารนี้ ซึ่ ง จะ แจกจายถึงคณะรัฐมนตรีและสมาชิกรัฐสภาทุกคนเร็วที่สุด อนึ่ง เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๓ ที่ผานมา ในวงสนทนาอาหารกลางวัน ณ สถานที่แหงหนึ่งซึ่งมี อดีตรัฐมนตรีตางประเทศ ๒ ทาน อดีตเอกอัค รราชทูตอาวุโสและผูแทนไทยในสหประชาชาติอีก ๑ ทาน และนักวิชาการกฎหมายอาวุโส รวมการสนทนา ทุกทานตางปรารภเปนเสียงเดียวกันวา เสียดายและเปนหวง กระทรวงตางประเทศ ที่มีขาราชการเกียจครานไมพากันทํ าการบานเพื่อฝกฝนพุทธิปญญาและความกล า หาญใหแหลมคมเหมือนกับบรรพบุรุษสมัยกอน ดีแตมัวเอาใจและวิ่งรับใชนักการเมือง

The patriot volunteer, fighting for country and his rights, makes the most reliable soldier on earth. Thomas J. Jackson

‐ 10 ‐


ภาค ๑

กําลังของแผนดิน หมวดที่ ๑

ถวายฎีกา

คําทูลเกลาถวายฎีกา ขอพระราชทานกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงทราบฝาละอองธุลีพระบาท ขาพระพุทธเจา ดังรายนามขางทายนี้ ในนามผู แทนเครือขายประชาชนไทยหัวใจรักชาติ ซึ่งเป น องคกรภาคประชาชนที่รวมตัวกันจํานวน ๗๒ องคกร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเรียกรองใหรัฐบาลทําหนาที่ตาม รัฐธรรมนูญที่สําคัญ ๒ ประการคือ การปกปองรักษาอธิปไตยและดินแดนของราชอาณาจักรไทย และการ คุมครองความปลอดภัยในชีวิต ทรัพยสินของประชาชนชาวไทย ซึ่งถูกกองกําลังทหารกัมพูชาเขายึดครอง รุ ก ราน ย่ํ า ยี เป น พื้ น ที่ จํ า นวนมาก ตลอดแนวชายแดน ๗ จั ง หวั ด ของภาคอี ส านและภาคตะวั น ออก ซึ่ ง ครอบคลุมไปถึงพื้นที่อาวไทยถึง ๑ ใน ๓ และไดเขายึดครองที่ทํากินของราษฎรไทยทั้งที่มีเอกสารสิทธิ์และ ไดเสียภาษีบํารุงทองที่แกทางราชการมาเปนเวลาชานาน ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาส กราบบังคม ทูลถวายฎีกาเพื่อพึ่งพระบารมีแหงพระมหากษัต ริย พระผูท รงเปนประมุขตามโบราณราชประเพณี ตามนิติ ราชประเพณีใ นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพ ระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และตามแนวทางที่ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดบัญญัติรับรองไว เพื่อบรรเทาทุกขของปวงพสกนิกรซึ่งกําลังทุกขรอน อยูทุกหยอมหญา และไมสามารถพึ่งพาองคกรหรือบุคคลใดในการบรรเทาทุกขไดอีกตอไปแลว ก อ นที่ จ ะกราบบั ง คมทู ล ถวายฎี ก านี้ นายสุ เ ทพ เทื อ กสุ บ รรณ รองนายกรั ฐ มนตรี ได แ ถลงต อ สื่อมวลชนในทํานองทวงติงวา เปนการไมเหมาะสมที่จะทูลเกลาถวายฎีกาตอพระมหากษัตริย เพราะการพน จากตําแหนงของรัฐบาลตองเปนไปตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ ซึ่งขาพระพุทธเจาไดพิเคราะหในเบื้องตนแลว เห็นวา เมื่อราษฎรไทยหมดที่พึ่งอื่นใด ยอมมีสิทธิและความชอบธรรมที่จะพึ่งพระบารมีแหงพระมหากษัตริย ของตนตามโบราณราชประเพณี และตามนิติราชประเพณีได นักการเมืองคนไหนก็ตามไมมีสิทธิ์ที่จะกาวลวง พระราชอํ า นาจมาวิ นิ จ ฉั ย แทนว า เหมาะสมหรื อ ไม ทั้ ง เห็ น ด ว ยว า ปวงชนชาวไทยต อ งพึ่ ง พระบารมี พระมหากษัตริยของราชอาณาจักรไทยจึงจะเหมาะสม ดังนั้น ขาพระพุทธเจาจึงขอกราบทูลถวายฎีกาตอใตฝาละอองธุลีพระบาท ดังตอไปนี้ ขอ ๑. รัฐบาลที่มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี ไมทําหนาที่ตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ และตระบัดสัตยที่ไดถวายสัตยไวตอหนาพระพักตรใตฝาละอองธุลีพระบาท สมรูรวมคิดและรูเห็นยินยอมให กองกําลังทหารของกัมพูชารุกรานยึดครองดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยเปนพื้นที่จํานวนมาก รวมทั้งไมทํา หนาที่ปกปองดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิต รางกาย และทรัพยสินของประชาชนชาวไทย ปลอยใหกอง กํ าลั ง ต า งชาติ รุก ราน ย่ํ า ยี ลัก พาตั ว และประพฤติต นเป นรั ฐ บาลหุน ของกั ม พู ช า ทํ า ตั วเป น ปากเปน เสี ย ง ตําหนิติเตียน ขมขูขมเหงราษฎรไทย ที่ตองการพิทักษรักษาอธิปไตยของประเทศ ตลอดจนพระบรมเดชานุ ภาพแหงพระมหากษัตริย ทั้งยังปลอยใหผูนํารัฐบาลกัมพูชาเหยียดหยาม ย่ํายีเกียรติศักดิ์ของกองทัพไทย และทหารไทย ซึ่งพระมหากษัตริยทรงดํารงตําแหนงจอมทัพ อันเปนการขัดตอพระบรมราชปณิธานขององค ปฐมกษัตริยแหงราชวงศจักรี ขัดตอรัฐธรรมนูญ และทรยศตอประเทศชาติและประชาชนชาวไทย กลาวคือ ‐ 11 ‐


๑.๑ นับแตองคพระปฐมบรมกษัตริยแหงพระบรมราชจักรีวงศทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทรเปนราช ธานีแลว ทรงประกาศพระบรมราชปณิธาน ๓ ประการคือ “ตั้งใจจะอุปถัมภก ยอยกพระพุทธศาสนา จะปองกันขอบขัณฑสีมา รักษาประชาชนแลมนตรี” สมเด็จพระบุรพกษัตริยทั้งหลายเรื่อยมาจนถึงรัชกาลปจจุบันไดทรงสืบทอด สืบสาน และปฏิบัติตามพระบรม ราชปณิธานดังกลาว ซึ่งเปนหนาที่ของรัฐบาลที่ประกาศตนวา เปนรัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จะตองทําหนาที่ ๓ ประการนี้อยางซื่อตรง ดวยความซื่อสัตย เสียสละ และกลาหาญ แตปรากฏวารัฐบาลที่มี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี ทรยศตอพระบรมราชปณิธานนี้ ละเวนไมทําหนาที่ โดยเฉพาะ การปลอยปละละเลย รูเห็น ยินยอมใหกองทหารกัมพูชารุกรานยึดครองดินแดนแหงราชอาณาจักรไทย ย่ํายี ราษฎรชาวไทยอยางตอเนื่อง กระทั่งมาถึงกรณีลาสุดคือการลักพาตัวสมาชิกรัฐสภาแหงราชอาณาจักรไทย และคณะรวม ๗ คน มิหนําซ้ํายังใสรายดวยความเท็จ บนจุดยืนที่ทําตัวเปนรัฐบาลหุนของกัมพูชาวาคนไทย ทั้ง ๗ คนบุกรุกดินแดนกัมพูชา ทําใหเกิดความเสียหายตอราชอาณาจักรและปวงชนชาวไทยทั้งมวล ๑.๒ เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ทรงครองสิริราชสมบัติ รัฐบาล แหงราชอาณาจักรไทยไดทําสนธิสัญญากับฝรั่งเศส ปกปนเขตแดนไทย-กัมพูชา โดยคณะกรรมาธิการรวม ไทย-ฝรั่งเศส โดยพื้นที่ใดมีเสนแบงตามธรรมชาติ คือ สันปนน้ํา หรือรองน้ํา ก็ถือเสนแบงนั้นตามหลักสากล พื้นที่ใดไมมีเสนแบงตามธรรมชาติ เชน เปนที่ราบ ก็ใชวิธีปกปนปกหลักเขตแดนโดยคณะกรรมาธิการรวม ซึ่งคณะกรรมาธิการรวมไทย-ฝรั่งเศส ไดทําการปกปนเขตแดนไทย-กัมพูชา เสร็จสิ้นและถือปฏิบัติมาอยาง ราบรื่นเรียบรอยเปนเวลารอยกวาปแลว แตรัฐบาลที่มีพรรคประชาธิปตยเปนแกนนําและมีนายชวน หลีกภัย เปนนายกรัฐมนตรี ไดกระทําขอตกลงเถื่อนหรือที่เรียกวา MOU ๒๕๔๓ เลิกลมการปกปนเขตแดนที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาอยูหัวทรงกระทํากับฝรั่งเศสเสียทั้งสิ้น และใหปกปนเขตแดนไทย-กัมพูชา ใหม โดยถือแนวเขตตามแผนที่ของกัมพูชา ซึ่งฝรั่งเศสทําขึ้นแตฝายเดียวเปนหลัก ซึ่ง ตองถือวาเปนการ กบฏในราชอาณาจักร เพราะไมไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภาประการหนึ่ง เพราะทําใหราชอาณาจักรไทย สูญเสียดินแดน ๓ สวนสําคัญ คือรอบปราสาทพระวิหารสวนหนึ่ง พื้นที่ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ตั้งแต จังหวัดอุบลราชธานีถึงจังหวัดตราด เปนพื้นที่ประมาณ ๑,๘๐๐,๐๐๐ ไรสวนหนึ่ง และพื้นที่อาวไทย ๑ ใน ๓ อีกสวนหนึ่ง อีกประการหนึ่งและรัฐบาลป จจุบันนี้แทนที่จะยุติการปฏิบัติใ ดๆ ตามข อตกลงเถื่ อนอันขัด ต อ รัฐธรรมนูญ และเปน กบฏดังกลาว กลับยืนยันปฏิบัติและพยายามทําสิ่ งที่ผิด กฎหมายใหกลายเปนสิ่งที่ถู ก กฎหมาย ทั้งๆ ที่รูดีอยูแลววาไดทําใหราชอาณาจักรไทยเสียดินแดนจํานวนมหาศาล ๑.๓ นับแตรัฐบาลนี้ไดเขารับตําแหนง ไดละเวนไมทําหนาที่ในการรักษาอธิปไตยของประเทศ ปลอยปละละเลยในลักษณะรูเห็น ยินยอม คบคิดกับรัฐบาลกัมพูชา ใน ๒ ลักษณะ คือ ลักษณะแรก ใหถอย หรือถอนกําลังทหารของกองทัพไทยที่รักษาแนวชายแดนออกมาตั้งดานอยูนอกแนวเขตตาม MOU ๒๕๔๓ ลั ก ษณะที่ ส อง ปล อ ยให กั ม พู ช าส ง กํ า ลั ง ทหารและประชาชนกั ม พู ช าเข า มายึ ด ครองดิ น แดนแห ง ราชอาณาจั ก รไทย ล้ํ า แนวเขตแดนไทย-กั ม พู ช า ที่ ไ ด ป ก ป น เรี ย บร อ ยตั้ ง แต ส มั ย พระบาทสมเด็ จ พระ จุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว และปล อ ยปละ รู เ ห็ น ยิ น ยอมให กั ม พู ช านํ า พื้ น ที่ ใ นอ า วไทยไปให บ ริ ษั ท ต า งชาติ สัมปทานขุดเจาะสํารวจพลังงานเปนเนื้อที่ประมาณ ๒๗,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ๑.๔ รั ฐ บาลนี้ ไ ด ส ร า งความสั บ สนให แ ก ป ระชาชนชาวไทยโดยการเรี ย กพื้ น ที่ ดิ น แดนแห ง ราชอาณาจักรไทยสวนที่ลึกเขามาจากเขตแดนที่ปกปนไวในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว กับพื้นที่อัตราสวน ๑:๒๐๐,๐๐๐ ของฝรั่งเศสวาเปนพื้นที่ที่ไมชัดเจน และตอมาก็เรียกวาเปนพื้นที่ทับซอน หรือพื้นที่พิพาท ซึ่งทําใหประชาชนชาวไทยสับสน มึนงง มึนชา วาดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยกลายเปน ดิ น แดนที่ พิ พ าทและทั บ ซ อ นกั บ กั ม พู ช า ซึ่ ง เป น กลอุ บ ายหลอกลวงประชาชนไทยในการเตรี ย มการยก ดินแดนใหกับกัมพูชานั่นเอง นอกจากนั้นยังไดนําเงินงบประมาณของแผนดินไปวาจางนักวิชาการและสื่อมวลชนจํานวนหนึ่งใหออก รณรงคในพื้นที่จังหวัดภาคอีสานและภาคตะวันออกเพื่อใหเห็นดีเห็นงามวาพื้นที่ทับซอนนั้นเปนของกัมพูชา โดยบุคคลสําคัญในรัฐบาลและขาราชการในบังคับบัญชาตางพากันพูดจาไปในทิศทางเดียวกันอยางตอเนื่อง ซึ่งลวนเปนกระบวนการที่จะยกดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยใหกับกัมพูชา ยิ่งกวานั้นในดินแดนดังกลาวนี้ กัมพูชาไดสงทหาร ประชาชนชาวกัมพูชาเขามายึดครองอยางตอเนื่อง ก็ปลอยปละละเลยเพิกเฉย ปลอยให ‐ 12 ‐


มีการรุกราน ยึดครองโดยพฤตินัย แมกระทั่งเพิกเฉยใหกัมพูชาใหสัมปทานแกบริษัทตางชาติเขามาบริหาร จัดการพื้นที่ดินแดนของราชอาณาจักรไทย โดยทําเปนแหลงทองเที่ยวหลายพื้นที่ ๑.๕ ตลอดระยะเวลา ๒ ปเศษที่รัฐบาลนี้รับตําแหนงหนาที่ กองทหารกัมพูชาไดรุกรานขมเหง ราษฎรไทยไม ข าดระยะ แต รั ฐ บาลนี้ ไ ม ทํ า หน า ที่ ป กป อ งคุ ม ครองราษฎร ทุ ก ครั้ ง จะแถลงจุ ด ยื น ว า เป น ความผิดของราษฎรไทยที่บุกรุกพื้นที่ทับซอน หรือไมก็บุกรุกดินแดนของกัมพูชา ไมเคยแสดงทาทีในการ รักษาอธิปไตยของประเทศชาติ ปลอยใหรัฐบาลกัมพูชาเหยียดหยามย่ํายีประหนึ่งวาเปนประเทศราช เชน (๑) หัวหนารัฐบาลกัมพูชาเหยียดหยามกองทัพไทยและทหารไทยวาสูเขมรไมได ทหารเขมร ๑ คนสามารถเอาชนะทหารไทย ๖ คนได รัฐบาลนี้ก็กมหัวยอมสยบให ทั้งที่เปนการกระทบตอพระบรมเดชานุ ภาพแหงพระมหากษัตริย (๒) ทางการกัม พูช าจับกุมคนไทยและยัดเหยียดขอหา รัฐบาลนี้ ก็แสดงทาทีวาไมกระทบตอ ความสัมพันธของไทย (๓) ผูนํารัฐบาลกัมพูชาประจานผูนํารัฐบาลไทยวาเปนเด็กไมสิ้นกลิ่นน้ํานม เปนเด็กทารกอมมือ กระทั่งแฉความลับวาล็อบบี้ใหแทรกแซงศาล หรือขอใหปลอย ส.ส.พรรคประชาธิปตย ก็ยอมสยบ ไมกลา ชี้แจงความจริง ดีแตพูดวาไมกระทบความสัมพันธ (๔) ลาสุดกองทหารกัมพูชาบุกรุกเขามาลักพาตัวสมาชิกรัฐสภาไทยและพวกรวม ๗ คนในดินแดน ไทย รั ฐ บาลไทยก็ แ สดงความหวาดกลั ว และยอมจํ า นน กระทั่ ง ยอมรั บ ให ศ าลกั ม พู ช าเป น ผู ตั ด สิ น คดี ว า ดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยเปนดินแดนของกัมพูชาหรือไม ๑.๖ กรณีลาสุด สมาชิกรัฐสภาไทยและพวกรวม ๗ คนที่เดินทางไปตรวจชายแดนโดยการรูเห็นของ นายกรัฐมนตรี ไดถูกกองทหารกัมพูชาเขามาลักพาตัวในพื้นที่หางจากถนนศรีเพ็ญ จังหวัดสระแกว ซึ่งอยูลึก เขามาในประเทศไทยหางจากหลักเขตที่ ๔๖ กวากิโลเมตรเศษ แตรัฐบาลนี้กลับไมกลาแถลงความจริง และ ขอใหกัมพูชาแถลงกอน เมื่อกัมพูชาแถลงวาคนไทยรุกล้ําดินแดน รัฐบาลนี้ก็แถลงตามวารุกล้ําดินแดน ครั้น ถูกภาคประชาชนนําพยานหลักฐานจํานวนมากพิสูจนทางสาธารณะวากรณีเปนการลักพาตัวในดินแดนไทย ก็ พลิกทาทีใหมเปนวาคนไทยทั้ง ๗ คนพลัดหลงเลยหลักเขตที่ ๔๖ เขาไปในดินแดนกัมพูชากวากิโลเมตร ซึ่งเปนการใสรายใหเสียหายแกการตอสูคดี ๑.๗ รัฐบาลนี้แสดงทาทีชักชวนประชาชนไทยใหยอมรับอํานาจศาลกัมพูชาที่จะชี้ขาดวาพื้นที่ที่มี การลักพาตัวเปนพื้นที่ไทยหรือกัมพูชา ซึ่งเปนการยกอธิปไตยของประเทศใหกับรัฐบาลตางชาติ ซึ่งจะมีผล ผูกพันตอราชอาณาจักรไทยไปตลอดกาล ๑.๘ รัฐบาลนี้นอกจากไมปกปองคนไทยที่ถูกลักพาตัวแลว ยังกีดกันการชวยเหลือในการตอสูคดี โดยพยายามเกลี้ยกลอมใหยอมรับวาบุกรุกดินแดนกัมพูชา เพื่อจะพึ่งบารมีพระมหากษัตริยกัมพูชาในการ อภัยโทษ ประพฤติตนเสมือนหนึ่งเปนขาสองเจา บาวสองนาย อยางนาละอายที่สุด ไมคํานึงถึงน้ําจิตน้ําใจ คนไทยทั้งประเทศ ครั้นคนไทยจะถวายฎีกาพึ่งพระบารมีพระมหากษัตริยก็ขัดขวาง กาวลวงพระราชอาชญา วินิจฉัยเสียเองวาไมเหมาะสม แตที่คิดจะพึ่งพาพระมหากษัตริยกัมพูชากลับพูดอยางหนาตาเฉย ขอ ๒. รัฐบาลที่มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี ไมปฏิบัติหนาที่ตามที่รัฐธรรมนูญ บั ญ ญั ติ ไม ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ต ามที่ ไ ด ถ วายสั ต ย ต อ หน า พระพั ก ตร พ ระมหากษั ต ริ ย มี พ ฤติ ก รรมเป น กบฎใน ราชอาณาจักร และทําใหประชาชนชาวไทยยอมจํานน หวาดกลัว กัมพูชา กระทั่งเกิดวลีที่คนเลี้ยงเด็กขูเด็ก วา ถารองฮุนเซนจะมาจับ เด็กก็จะหยุดรอง ซึ่งเปนความอัปยศแหงชาติ กลาวคือ ๒.๑ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยบัญญัติวา ประเทศไทยเปนราชอาณาจักรเดียว จะแบงแยก มิได นั่นคือจะแบงแยกราชอาณาจักรไทยไมวาในสวนดินแดนหรือประชากรไมไดเปนอันขาด โดยในสวน ดิ น แดนนั้ น ก็ คื อ ดิ น แดนแห ง ราชอาณาจั ก รไทยตามที่ ไ ด ป ก ป น เขตแดนร ว มกั บ ฝรั่ ง เศส ตั้ ง แต ส มั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว โดยมี แ ผนที่ อั ต ราส ว น ๑:๕๐,๐๐๐ ที่ ก รมแผนที่ ท หาร กองบั ญชาการกองทั พ ไทย ได รว มกั น จั ด ทํ ากั บ สหรั ฐ อเมริ ก าและถื อ ปฏิ บั ติ ต ลอดมาเป น หลั ก รั ฐ บาลก็ ดี ‐ 13 ‐


นักการเมืองก็ดี หรือบุคคลใดก็ดี ไมมีสิทธิยกดินแดนสวนใดสวนหนึ่งของราชอาณาจักรไทยใหกับชาติใด หรื อ ผู ใ ด ดั ง นั้ น การตกลงป ก ป น เขตแดนใหม แ ละการดํ า เนิ น การทั้ ง ปวงเพื่ อ เปลี่ ย นแปลงแนวเขตแห ง ราชอาณาจักรที่ไดปกปนแลวเสร็จและปฏิบัติมารอยกวาปแลวเพื่อยกดินแดนนั้นใหกับกัมพูชา ทั้งบนบกและ ในอาวไทย จึงขัด ตอรัฐ ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยมาตรา ๑ และไมมีผลตามกฎหมาย ไมผูกมัด ราชอาณาจั ก รไทยและประชาชนชาวไทย ทั้ง ต อ งหยุ ด กระทํ า การทั น ที แต รั ฐ บาลนี้ยั ง คงไม ห ยุ ด ยั ง คง เดินหนายกแผนดินแบงแยกราชอาณาจักรใหกัมพูชาตอไปอยางไมลืมหูลืมตา ๒.๒ ประมวลกฎหมายอาญาไดบัญญัติวา ผูใดก็ตามที่ทําใหเสียดินแดนแกชาติอื่น มีความผิดฐาน กบฎในราชอาณาจักร การปลอยใหกัมพูชาอางสิทธิ์ดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยตามแผนที่อัตราสวน ๑: ๒๐๐,๐๐๐ ก็ดี การปลอยใหกัมพูชาเขามายึดครองดินแดนแหงราชอาณาจักรไทย โดยรูเห็นเปนใจสมยอมก็ ดี การแสดงทาทีวาดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยดังกลาวเปนดินแดนของกัมพูชาก็ดี การยอมรับใหกัมพูชา มี อํ า นาจอธิ ป ไตยทั้ ง ในทางบริ ห ารหรื อ ในทางศาลเหนื อ ดิ น แดนก็ ดี คื อ การกระทํ า ให เ สี ย ดิ น แดนแห ง ราชอาณาจักรไทย มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาฐานกบฎในราชอาณาจักร ซึ่งมีโทษประหารชีวิต แตรัฐบาลนี้ได ลุแกอํา นาจ ทั้ งกระทําเองและสนับ สนุนใหขาราชการร วมมือในการทํ าการทุกอยางเพื่อให ดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยดังกลาวตกเปนของกัมพูชา ๒.๓ รัฐบาลนี้มีหนาที่ต ามรัฐธรรมนูญในการพิทักษรักษาเอกราชอธิปไตยและบูรณภาพเหนือ ดินแดน ตลอดจนมีหนาที่ในการปกปองคุมครองประชาชนชาวไทยใหมีความปลอดภัยในชีวิต รางกายและ ทรั พ ย สิ น แต รั ฐ บาลนี้ ไ ม ก ระทํ า หน า ที่ ไม รั ก ษาอธิ ป ไตยและบู ร ณภาพเหนื อ ดิ น แดนแห ง ราชอาณาจั ก ร ปลอยปละละเลยและรูเ ห็นเปนใจ รวมทั้งคบคิด ใหกัม พู ช าเขามายึด ครองดินแดนแหงราชอาณาจักรไทย และสรางพยานหลักฐานเกื้อกูลใหกับกัมพูชาเพื่อใหไดไปซึ่งดินแดนแหงราชอาณาจักรอยางตอเนื่องและย่ํา ยีประชาชนชาวไทยดวยกันเอง ประหนึ่งวาเปนรัฐบาลหุนของกัมพูชาไปแลว ดวยเหตุดังกลาวนี้ การกระทําของรัฐบาลนี้จึงขัดตอรัฐธรรมนูญ เปนการตระบัดสัตยที่ไดถวายไวตอ หนาพระพักตรและทรยศตอประชาชาติไทยทั้งมวล ขอ ๓. บรรดาขาพระพุทธเจาชาวประชาชาติไทยโดยเฉพาะผูไดรับผลกระทบโดยตรง อาทิผูมีสิทธิ ในที่ดิน ผูถูกจับเปนผูตองหาตลอดจน ผูที่ไดรับผลเสียหายจากการกระทําอันไมชอบธรรม ตั้งแตหนักมาก ไปจนถึงเล็กนอย อันประมาณมิได อีกทั้งชนชาวไทยทุกหมูเหลา แมนจะไมไดผลกระทบโดยตรง แตเขา ทั้งหลายลวน “เทิดทูนบูชา สุดเกลา สุดเศียร สุดรัก คือ ในหลวง” “สุดหวง คือ แผนดิน” นั้น ตางอัดอั้นตัน ใจในความผิดพลาดและอยุติธรรม ซึ่งเกิดจากการประพฤติ ปฏิบัติของคณะรัฐบาลชุดนี้ จนสุดทนสุดที่แลว การกระทําดังกลาวของรัฐบาลไดสรางความทุกขรอน ความรอนอกรอนใจแกอาณาประชาราษฎรทั่ว แผนดิน ทําใหประชาชนตื่นตัวขึ้นปกปกรักษาอธิปไตย บูรณภาพเหนือดินแดนและสิทธิเสรีภาพของปวงชน แต แ ทนที่ รั ฐ บาลนี้ จ ะสํ า นึ ก ผิ ด กลั บ ใช ก ลไกอํ า นาจรั ฐ ทั้ ง มวล ไม ว า สื่ อ ของรั ฐ กํ า ลั ง เจ า หน า ที่ ข องรั ฐ เครือขายตางๆ ของรัฐ รวมทั้งองคกรตางๆ ของรัฐ และการใชงบประมาณของรัฐ เพื่อทําใหประชาชนชาว ไทยเขาใจวาดินแดนไทยเปนดินแดนของกัมพูชา กระทั่งขาราชการบางคนพูดวาประเทศไทยทั้งประเทศก็ เคยเปนของเขมรมากอนอยางไมละอายใจแมแตนอย รวมทั้งการใชงบประมาณไปจางวานสื่อและนักวิชาการ เพื่อรณรงคใหคนไทยเห็นดีเห็นงามกับการยกดินแดนใหกับกัมพูชา ขาพระพุทธเจาโดยเฉพาะองคก รในเครือขายประชาชนไทยหัวใจรักชาติ ไดพยายามหยุด ยั้งการ กระทําที่ผิด ของรัฐบาลมาโดยลําดับ ไมวาการรองเรียนตอคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต แหงชาติ ตอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ตอผูตรวจการแผนดิน และแมแตที่ประชุมใหญศาลฎีกา แตไมมี องคกรใดดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย แมที่ประชุมใหญศาลฎีกาก็ยกคํารอง โดยระบุวายังไมมีกฎหมาย บัญญัติ ทั้งๆ ที่กฎหมายไดบัญญัติชัดเจนวาหามมิใหศาลยกคดีโดยอางวาไมมีกฎหมาย และในกรณีที่ไมมี กฎหมายบั ญ ญั ติ ไ ว โ ดยเฉพาะ กฎหมายก็ บั ญ ญั ติ ว า ให ป ฏิ บั ติ อ ย า งไรไว ชั ด เจนแล ว เมื่ อ เป น เช น นี้ ขาพระพุทธเจาก็ไมมีที่พึ่งอื่นใดที่จะทําใหรัฐบาลนี้ทําหนาที่ในการรักษาอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดน ตลอดจนปกปองคุมครองประชาชนใหมีความปลอดภัยในชีวิต รางกายและทรัพยสิน

‐ 14 ‐


อนึ่ง ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ผานมาและในโอกาสขึ้นปใหม ใต ฝาละอองธุลีพระบาทไดทรงแนะนําใหผูมีอํานาจหนาที่ตองทําหนาที่และตองทําหนาที่ดวยความไมประมาท มิฉะนั้นจะเกิดความเสียหาย ซึ่งบัดนี้ก็เปนที่ประจักษวาความเดือดรอนของอาณาประชาราษฎรจากการไมทํา หนาที่ของรัฐบาลนี้ยังคงดําเนินตอไป กระบวนการในการยกดินแดนแหงราชอาณาจักรไทยใหกัมพูชาก็ดี ใน การปลอยใหทหารกัมพูชารุกราน ยึดครอง ทําราย ลักพาตัวก็ดี ยังคงดําเนินตอไป พฤติกรรมอันเปนกบฎใน ราชอาณาจักรยังคงดําเนินตอไป รัฐบาลนี้จึงไมมีความชอบธรรมอันใดที่จะเปนรัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัว และที่จะทําหนาที่ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดอีกตอไปแลว ดวยเหตุดังกราบบังคมทูลมา ขาพระพุทธเจาจึงจําเปนตองขอพึ่งพระบารมีกราบบังคมทูลถวายฎีกา เพื่อทรงพระกรุณาพระราชทานคําแนะนําใหรัฐบาลพนจากตําแหนง เพื่อดําเนินการตอไปตามที่รัฐธรรมนูญ บัญญัติ ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ

‐ 15 ‐


จดหมายเปดผนึกถึงนายกรัฐมนตรี เรื่อง

ขอสนับสนุนการชุมนุมปกปองแผนดินไทย

จาก

ประชาชนไทยในสหรัฐอเมริกา

ตลอดเวลากวาสองปในการบริหารประเทศ ทานนายกรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ไดพิสูจนให เห็นวา ทานเปนผูนําที่เชี่ยวชาญในการพูด ในระดับที่ความกลาหาญและผลงานเทียบไมได ดังเห็นไดจาก การวาง “กฏเหลว” เกาขอ การนํานิติรัฐสูสังคมไทยจนเกิดการลอบสังหารผูนํามวลชนและระเบิดรายวัน ซึ่ง ยังไมสามารถนําผูบงการมาชําระคดีความได ดวยคําพูดอันวิจิตร “ผมไมมีสิทธิ์ที่จะหนีปญหา หรือปฏิเสธ ความรับผิดชอบ” ตั้งแตการบุกทําลายการชุมนุมผูนําสูงสุดอาเซียนที่พัทยา จนถึงการสงทหารไปตายที่สี่ แยกคอกวัว กระทั่งการเผาราชประสงค ในเดือนเมษายน ๒๕๕๓ ที่ผานมา ลวนเปนความลมเหลวในภาวะ ผูนําของทานทั้งสิ้น เปนความลมเหลวชนิดที่ ผูนําที่มีความกลาหาญ และเปนชายชาตรี ตองละอายจนไม กลาออกมาสําแดงโวหารเอาหนารอด อยางที่ทานกระทําอยูเปนนิจ นอกจากการทําลายตนเองของทานแลว ขณะนี้ทานกําลังทํารายศักดิ์ศรีของประเทศชาติไทย ที่สั่ง สมดํารงอยูหลายรอยป เพียงเพื่อรักษาสถานะภาพและประโยชน ของตนและพรรค โดยไมคํานึงถึงความ สูญเสียอันใหญหลวงอันจะเกิดตอประเทศ การปลอยใหคณะรัฐมนตรีของทาน ออกมาสรางความชอบธรรม ใหนายฮุนเซ็นดวยการผลักไสพี่นองไทยทั้งเจ็ด ใหตกอยูในอํานาจศาลประเทศกัมพูชา ในขณะที่เขตแดน ระหวางประเทศยังไมชัดเจน นอกจากเปนการละเลยหลักกฏหมายระหวางประเทศ รัฐบาลของทานกําลัง ‐ 16 ‐


สรางความชอบธรรมในการขยายอาณาเขตใหรัฐบาลกัมพูชาในอนาคตอยางชัดเจน ซึ่งเปนความผิดปกติที่ ไมเคยปรากฏมากอนในโลกสากล ทานเคยไดรับความเชื่อถืออยางสูงจากเรา เพราะภาพลักษณของทาน เปนภาพของนักการ เมืองที่มี ความคิดกาวไกล กลาปฏิเสธความไมชอบธรรมและยึดประโยชนสุขของประเทศชาติและประชาชนเหนืออื่น ใด บัดนี้ เราสงสัยในความเปนผูนําของทาน เราเห็นวาการตัดสินใจของทานไดยายฐานจากประโยชนของ ประเทศชาติและประชาชนไปแลว ขณะนี้ความหมายของ ประชาธิปไตย คําวานิติรัฐ และสัจจะ ในวาจาของ ทาน อยูในระนาบเดียวกับนักการเมืองเลวๆ ที่เปนสาเหตุใหการเมืองลมเหลว และพบไดอยางดาษดื่นใน สภาของรัฐไทย ดวยคุณวุฒิของทาน เราเชื่อวาทานรูดีวา วาทะกรรมของผูนํา ที่ไดรับการจารึกในประวัติศาสตรนั้น ไมไดเกิดจากผูประดิษฐคํา แตเกิดจากผลของมัน เมือ ่ ประธานาธิบดีลินคอนกลาววา “บานเมืองที่แบงแยก ไมสามารถดํารงอยูได” ยังกึกกองอยูจนบัดนี้ เพราะมันนําไปสูการเลิกทาสอยางเบ็ดเสร็จ และเมื่อ ประธานาธิบดีเคนเนดี้ ประกาศกราววา “จะถือเปนนโยบายของประเทศนี้ วาการโจมตีประเทศใดๆในซีกโลก ตะวันตก ดวยอาวุธนิวเคลียรจากคิวบา เปนการโจมตีของสหภาพโซเวียตตอสหรัฐอเมริกา ตองไดรับการ ตอบโตอยางสาสม” ยังจารึกในความทรงจําของชาวสหรัฐฯ เพราะวาทะนั้นกําจัดอาวุธนิวเคลียรจากคิวบา โดยเด็ดขาด แตทานนายกครับ โวหารที่ทานพลามจนเฝอ ตั้งแตวันแรกที่รับตําแหนงจนบัดนี้ ไมวาจะเปน เรื่องสรางนิติรัฐ เรื่องกฏเหล็ก เรื่องการลอบสังหารผูนํามวลชน เรื่องการจลาจลครั้งแรกในป ๒๕๕๒ เรื่อง การตายของทหารที่สี่แยกคอกวัว เรื่องการเผาราชประสงค เรื่องแกรัฐธรรมนูญและใชเลหเหลี่ยมในการแบง วรรค เรื่องปราสาทพระวิหาร จนถึงเรื่องการลักพาคนไทยไปขึ้นศาลกัมพูชา เปนเพียงลมปาก ที่ไมเคยมี ผลเปนรูปธรรมแลว ทานนายก อภิสิทธิ์ ครับ เราตองการอยางจริงใจที่จะจดจําทาน ไว ในฐานะ นายกรัฐมนตรี ผูนําพาประเทศไทยออกจากภาวะการเมืองที่ลมเหลว มากกวาการเปนผูนําที่ทําใหคุณคา ของการเปนนายกรัฐมนตรี ไมแตกตางจากการเปนนักประชาสัมพันธถุงยางอนามัยหนาตาดีคนหนึ่งเทานั้น เราชาวไทยในสหรัฐอเมริกา สนับสนุนการรวมพลังปกปองแผนดินไทย และขอเรียกรองใหทาน นายกรัฐมนตรี แสดงความจริงใจในการรักษาประโยชนของประเทศ ใหชัดเจนและโปรงใสตอประชาชน โดย ยุติการพูดคลุมเครือบิดเบือนประเด็นจนเกิดความสับสน มาเปนผูนําการเรียกรองศักดิ์ศรีของชาติกลับคืน ดวยการดําเนินนโยบายตางประเทศควบคูกับนโยบายทางการทหารในเชิงรุกอยางเทาเทียมกันกับประเทศ กัมพูชา

ดวยจิตคารวะ

ธัชพงศ จันทรปรรณิก ประธานชมรม ไทย-ดีซี ฟอรั่ม แพทยหญิง ดวงมาลย มาลยมาน ประธานสมาคมแพทยไทยในสหรัฐอเมริกา สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

‐ 17 ‐


พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย กรุงวอชิงตัน พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ชิคาโก อิลลินอยส พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ซานฟรานซิสโก พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เซ็นทหลุยส พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เซาท แคโรไลนา พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ดัลลัส พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นิวเจอซี่ พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นิวยอรค พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นิวอิงแลนด พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เพนซิลเวเนีย พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ฟลอริดา พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย มิสซูรี่ พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย แมรี่แลนด พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ลาส เวกัส พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ลอส แอนเจลิส พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เวอรจิเนีย พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย สหรัฐอเมริกา-แคนาดา พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย โอกลาโฮมา พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ฮาวาย พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ฮิวสตัน เท็กซัส พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย โคโลราโด พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย โอเรกอน พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ซีแอตเติล

ลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๔ บรรจบ เจริญชลวานิช ผูประสานงาน

‐ 18 ‐


บันทึก ดร. ปราโมทย นาครทรรพ ตอบ พันธมิตรฯ อเมริกา

ขอบคุณมากครับที่กรุณาสงมาใหผมเปนชื่อแรกและผมยินดีเปนผูรับผิดชอบสงตอให ฯพณฯนรม. และสื่อพรอมๆกันนี้ สิ่งหนึ่งที่ผมเห็นวาผิดพลาดและนาเสียดายยิ่ง คือทั้งฝายที่ไมเห็นดวยกับรัฐบาลและรัฐบาล โดยเฉพาะนายกรัฐมนตรี ขาดความสามารถ(หรืออาจจะรวมความจริงใจดวย)ในการที่จะจัดการเจรจากันเปน ทางการอยางตรงไปตรงมาเปดเผย โดยอาจจะพูดแบบไมถายทอดกอนก็ได เสร็จแลวตองมี resolution ชี้แจงใหประชาชนเขาใจอยางแจมแจงหมดเคลือบแคลงในทุกๆเรื่องทุกประเด็น ไมตอง resort to proxy and dirty war ผมขอตั้งขอสังเกตผานบันทึกนี้วา crisis management ครั้งนี้ของรัฐบาลยังออนดอยทั้งในดาน เนื้อหา กระบวนการ ขั้นตอน และภาวะผูนํา นาจะตองเอา game theory ไปแปลแจกกันอานใหทั่ว กับทั้ง 2 ฝาย ยังมีบุคคลภายในที่มีมานะตัวตนอยูมากพอสมควร การแกปญหาของชาติมิใชเวทีที่จะแยงกันเปน วีรบุรุษ หรือหวังผลประโยชนใดๆ อนึ่ง ผมเห็นใจที่นรม. ไมสามารถพึ่งกระทรวงตางประเทศ กระทรวงกลาโหม รองนายกฯสุเทพ ได พวกนั้นทั้งหมดเปนตัวถวง ฯพณฯ นรม. อาจจะเคยชินหรือคาดไมถึงจึงยอมเต็มใจใหถูกถวง “ถึงเขาหลอก แตเต็มใจใหหลอก” อยางไรก็ตาม เมื่อเทียบกับอดีตนายกทักษิณ ซึ่งผมแนใจวาขาดความชอบธรรมโดยสิ้นเชิงตั้งแต ธันวาคม 2548 แลว ผมเห็นวาคนไทยจะตองแสดงวุฒิภาวะรูจัก respect integrity และ dignity ของผูนํา รัฐบาล และผูนํารัฐบาลก็จะตองรูจัก preserve dignity and integrity ของตนดวย พูดมาอยางนี้แลว ผมอยากไปพูดชอง 11 เหลือเกิน แตรัฐบาลคงไมยอม ชอง 11 นี้ผมเปนเจาของ ความคิดใหตั้งและไปขอทุนจากญี่ปุนมาตั้งให For Whom the Bell Tolls, the Sun Also Rises! Cheers Pramote 26 January 2011 08:07 ‐ 19 ‐


หมวด ๒

ระดมปญญา ๒.๑

อยาเสียทีพมา อยาเสียทาเขมร ปราโมทย นาครทรรพ ตีพิมพใน เอเอสทีวี ผูจัดการออนไลน ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒

เมื่อวันเสารที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๒ นี้ อดีตเอกอัครราชทูตสุรพงษ ชัยนาม มาเยี่ยมและบอกลาวาจะ ไปวอชิงตัน ดี.ซี. แถมยังบอกฝากเรื่องหวงหนาหวงหลังไว คือ เรื่องพมากับเขมร ผมอุตสาหเพลาการเขียน ลงแลว ทําไมจึงจะตองเปนผมอีกหนอ ทูตสุรพงษบอกวาไดทํารายงานใหรัฐมนตรีตางประเทศและรัฐบาลไป เรี ย บร อ ยแลว เมื่ อ วั น อั งคารที่ ๒๙ กั น ยายน ๒๕๕๒ ป.ป.ช.ชี้ มู ล ว ารั ฐ บาลของนายสมัค ร สุ น ทรเวช ผิ ด หรือไมที่ไปรวมทําสัญญากับนายฮุนเซนโดยพลการ ถานายสมัครไมผิดเหมือนกับกลายางละก็ เรื่องจะยุงยากขึ้นแนๆ ดีไมดี อาจจะถึงกับเสียดินแดน ทุก วันนี้ รัฐบาลดีแตพลามวา “ไมเสีย-ไมเสีย” แตประชาชนสวนใหญชักจะไมเชื่อรัฐบาลเสียแลว โดยเฉพาะผูที่ รักชาติและมีขอมูลที่พากันเดินทางไปพิสูจนอธิปไตยของชาติในวันที่ ๑๙ กันยายน ที่ผานมา ทําไมจึงไม ‐ 20 ‐


อยากเชื่อ ก็เพราะรัฐบาลดีแตพูด แตไมเคยอธิบายเลยวาทําไมจึงบอกวาไมเสีย หรือจะเอาคืนมาไดอยางไร เมื่อใด ทานทูตบอกวา ที่สําคัญที่สุดรัฐบาลสมควรจะตอบดวยการกระทําอันเปนสัญลักษณมองเห็นได วา เรามีอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดน ๔.๖ ตารางกิโลเมตรที่เขมรดอดเขามาครอบครอง เชน การชักธงไทยขึ้น เสาในอาณาบริเวณ สงเจาหนาที่ตางๆ ขึ้นไปปฏิบัติงาน เชน นักอนุรักษ ตรวจคนเขาเมือง หรือทองเที่ยว เปนตน โดยในชั้นนี้อาจจะยังไมตองใชกําลังกวาดตอนเขมรออกไปเลยก็ได และตองปรามเขมรวาถาขืน แตะตองคนของเราจะตองเจอดี พรอมทั้งแสดงศักยภาพทางกําลังวาสามารถจะกระทําตามที่ขูได ในวันที่ ๑๓ กันยายน เมื่อรัฐมนตรีกษิตขึ้นไปสํารวจพื้นที่นั้น เห็นในทีวีมีภาพธงชาติเขมรโบกสบัด อยู และถาเราปลอยใหเขมรอางไดวากอนจะขึ้นไป รัฐมนตรีกษิตยังตองขออนุญาตฝายเขมรดวย ก็ยิ่งจะแย แตผมไมเ ชื่อวารัฐมนตรีกษิตจะทําอยางนั้น ผมอยากตั้ง ขอสังเกตวาไมนานหลังจากที่คณะของวีระ สม ความคิด ขึ้นไป และเจอภาพคนไทยดวยกันเองขัดขวางและซุมโจมตี บริษัท น้ํามันอเมริกัน ๒ บริษัท ก็ไ ป ประชุมแบงเนื้อที่ขุดเจาะสัมปทานกันกับรัฐบาลเขมรในกรุงพนมเปญ พรอมกับขาววาอีกไมนานอเมริกันจะสง เครื่องบินขับไลมาชวยฮุนเซน ๒๐ ลํา

ที่ผมพูดมาทั้งหมดนี้มิใชจะยุกองทัพอากาศใหเตรียมพรอม หรือยุใหรัฐบาลไทยทําสงครามกับเขมร ลําพังกําลังทหารเขมรที่เบงอยูแถวเขาพระวิหารนั้น ใชเวลาไมเกินครึ่งชั่วโมงขี้ครานจะวิ่งแจนมาเจรจา ผม เขียนมาถึงตอนนี้ก็หยุด กลับมาเขียนใหมพุธที่ ๓๐ เวลา ๙ นาฬิกา คืนที่หยุดนั้น ไดยินฮุนเซนประกาศอยาง โอหังวา ไดสั่งทหารใหยิงคนไทยทุกคน ไมวาพลเรือนหรือทหารที่เขาไปในที่ของเขมร ถาไทยยังขืนยึกยัก เรื่องนี้อยูก็อาจจะไมมาประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนกับคูเจรจา หรือถาอภิสิทธิ์ขืนเอาแผนที่ฉบับเดิมมาอาง อีก ก็จ ะฉีก แผนที่ใ สห นา อภิสิ ทธิ์ เช นเดีย วกับที่ทหารเขมรฉี กแผนที่ใ สหน าผูบั ญชาการทหารสูง สุด ไทย มาแลว แผนที่ที่วานี้ก็คือฉบับเดียวกับที่เขมรเคยรับแลวในป ๒๕๐๕ ภายหลังที่ศาลโลกตัดสิน แตทําไมใน วันนี้เขมรจึงจองหองพองขนนาเหยียบอยางนี้ คําตอบก็คือ ความออนแอโลเลของรัฐบาลไทยทุกรัฐบาลที่ งดเวนไมทําในสิ่งที่ควรกระทํา และ/หรือกลับไปกระทําในสิ่งที่ไมควรกระทํา คือการรวมมือกับผูมีอํานาจทั้ง ไทยและเขมร เอาที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตรนี้เปนเครื่องมือตอรองกับพื้นที่ในทะเลอันเปนผลประโยชนสวน บุคคล โดยหวังวาจะโมเมเอาได สําหรับรัฐบาลปจจุบันก็ไดแตอมพะนํา ไมพูดหรือทําอะไรที่ชัดเจน อางแตวาสัมพันธภาพระหวาง ประเทศเพื่อนบานเปนเรื่องละเอียดออน มัวแตเทียวไปเทียวมา ล.ก.ป. ฮุนเซน ‐ 21 ‐


เมื่ อประชาชนผูรั ก ชาติพ ากัน ขึ้ นไปยืน ยัน อธิปไตยเหนื อดิ น แดนของชาติ แทนที่จ ะยกย องและถือ โอกาส ประกาศใหฮุนเซนเขาใจวาพลังรักชาติที่แทจริงของคนไทยนั้นใครก็หามไมอยู ก็กลับขูวาใครทําผิด เรื่อง ปะทะกันก็จะวาตามผิด ทั้งๆ ที่ไมมีการปะทะมีแตการซุมโจมตีจากพวกสมุนผูขายชาติ หากรัฐบาลนายสมัครไมขายชาติ กระดาษแผนเดียวจากรัฐบาลไทยไปบอกยูเนสโกวาไทยจะขอ เปนผูรองรวมเรื่องเขาพระวิหารก็จบ บัดนี้ ป.ป.ช.ชี้มูลไปแลวเมื่อวานนี้วานายสมัครกับนายนพดลกระทําผิด เอื้อประโยชนใหคุณพอฮุนเซน สวน ครม.โงทั้งคณะนั้นพนผิดเพราะไมมีเจตนาและ ป.ป.ช.ยังไมเขาใจหลัก ประชาธิปไตยเรื่อง Collective Responsibility หรือความรับผิดชอบรวมของ ครม.ก็ไมเปนไร แตรัฐบาลตอง ไปบอกยูเนสโกเดี๋ยวนี้วาทั้งศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครองและ ป.ป.ช. มีความเห็นเปนอยางเดียวกันวา การ กระทําของรัฐบาลสมัครเปนโมฆะ รัฐบาลนี้จําเปนตองเชื่อฟง เรื่องเขมรเบงคับทับคนไทยนี้ ผมวาแกไมยาก ถาหากไทยไมคว่ําบาตรโดยมาตรการเศรษฐกิจ เมื่อ เขมรไดสําแดงแนชัดวาตองการรักษาสภาพ No War - No Peace คือไมมีสงคราม-ไมมีสันติภาพอยางนี้ก็ดี แลว ปลอยใหเขายิงเราลองดูสักนัดหนึ่งกอน เราจะสามารถใชเครื่องบินถลมเลยทันที แลวจึงคอยเจรจากัน ไทยไมควรกลัวแตควรใชคําตัดสินของศาลโลกป ๒๕๐๕ ใหเปนประโยชน เพราะเราเพียงถูกหลัก กฎหมายปดปากมิใหเรียกรอง “ตัวเขาพระวิหาร” เทานั้น อาณาบริเวณตางๆ ยังเปนของไทยอยูถายึดหลัก สนธิสัญญากับฝรั่งเศสป ๑๙๐๔ ที่เอาสันปนน้ําเปนเขต หรือถาเขมรจะถือสิทธิเรียกรองกลับไปถึงสมัย โบราณที่ตนและไทยยังไมมีสภาพเปนรัฐชาติ หรือ Nation State เชนในปจจุบัน เราก็จะไดถือหลักใหคืน กลับไปสูสถานภาพเดิม Status Quo Ante ลาสุดกอนที่จะมาเปนรัฐชาติของเขมร โดยเอาเสียมเรียบ พระ ตะบองกับศรีโสภณคืนมาเสีย เอาไหม แตปญหาที่ทูตสุรพงษหวงยิ่งกวา นาจะเปนเรื่องพมา เผด็จการทหาร กําลังเตรียมการเลือกตั้งเพื่อจะสืบอํานาจตอ มีความเปนไปไดสูงที่พมาจะสรางสถานการณชายแดนไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชมือปนรับจางและซากเดนอํานาจไทยเขามาลอบสังหารผูนํากะเหรี่ยงทั้งหมดใน อําเภอแมสอด ถาไทยสมยอม เราจะเสียหายหนัก เปนที่สังเกตทั่วโลกวานอกจากจีน อินเดีย และรัสเซียที่ ผลัดกันอุมพมาแลว เพื่อนบานอารีคือไทยนี่แหละที่เปนมิตรตัวจริงของเผด็จการพมา เพราะผูนําไทยเห็นแก เงินและผลประโยชน เพื่อนบานอยางพมาและเขมรจึงเปนหอกขางแครอยูอยางทุกวันนี้

ปราโมทย นาครทรรพ ประวัติการศึกษา ปริ ญ ญาตรี - โท- เอก: จุ ฬ าลงกรณมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเพนซีลเวเนีย-คอรเนล ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม -วิ จั ย -บรรยาย-สอน: มหาวิ ท ยาลั ย อ็ อ กฟอร ด มหาวิท ยาลัย จอรจ วอชิง ตัน มหาวิทยาลัย มิสซูรี่ เบนนิง ตัน คอลเลจคอร เ นล มหาวิ ท ยาลั ย ปารี ส มหาวิ ทยาลั ยแห ง ชาติ ฟ ลิ ป ป น ส มหาวิทยาลัยแหงรัฐคาลิฟอรเนีย ฯลฯ ทุ น และรางวั ล การศึ ก ษา: ทุ น USAID, ฟุ ล ไบร ท (สละสิ ท ธิ์ ) ทุ น รั ฐ บาลไทย ทุ น มหาวิ ท ยาลั ย คอร เ นล ทุ น ร็ อ กกี เ ฟลเลอร ทุ น ทู ล นิ ธิ ฟอรด ทุน IDRC ฯลฯ ประวัติการทํางาน: วิทยากร อาวุโสและที่ปรึกษาอาวุโส สหประชาชาติ ตุลาการรัฐธรรมนูญ กรรมการราง รัฐธรรมนูญ สมาชิกสภานิติบัญญัติ อาจารยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ที่ปรึกษา SEADAC (คณะกรรมการที ปรึกษาการพัฒนาอุษาคเนย/USAID วิทยากรรุนแรกกรมพัฒนาชุมชน ฯลฯ

‐ 22 ‐


๒.๒

ความเห็นของอดีตผูพ  พ ิ ากษาศาลฎีกา กรณี ๗ คนไทยถูกจับขึ้นศาลกัมพูชากับความผิดตอ ความมัน ่ คงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร ยินดี วัชรพงศ ตอสุวรรณ เผยแพรในเอเอสทีวี ผูจัดการ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ๑๘:๐๕ น.

บทความทางวิชาการนี้ ผูเขียนไมไดมีเ จตนาที่จะทําลาย หรือบั่นทอน การบริหารงานของรัฐบาล หรือขาราชการซึ่งมีหนาที่เกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐแตอยางใด แตมีเจตนาที่จะใหผูมีอํานาจหนาที่ในการ บริ ห ารงานของรั ฐ ดั ง กล า วได ต ระหนั ก ถึ ง ผลของการกระทํ า ในขณะนี้ ซึ่ ง มี แ ละอาจมี ผ ลเป น การกระทํ า ความผิ ด อาญาต อ แผ น ดิ น ในข อ หาความผิ ด ต อ ความมั่ น คงของรั ฐ ภายนอกราชอาณาจั ก ร การกระทํ า ที่ ผูกระทําคิดไมถึง แตไดกระทําการอยางใดอยางหนึ่งลงไปแลว ทําใหราชอาณาจักรของรัฐไทยตองตกอยู ภายใตอํานาจอธิปไตยของรัฐตางประเทศ หรือทําใหเอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป หรือมีการคบคิดกับบุคคล ใด ( ไม วา ภายในหรื อ ภายนอกราชอาณาจั ก รไทย ) เพื่ อ กระทํ า การใดๆอั น เป น ไปเพื่ อ ประโยชน ข องรั ฐ ตางประเทศดวยความประสงคที่จะกอใหเกิดการดําเนินการในทางอื่นที่เปนปรปกษตอรัฐไทย ผูนั้นก็ไดชื่อวา เปนผูกระทําความผิดตอความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร ตามป.อาญามาตรา ๑๑๙ , ๑๒๐ ,๑๒๘ และ ๑๒๙ แลว ไทยและกัมพูชาที่มีอาณาเขตแดนติดตอเปนประเทศเพื่อนบานกัน รัฐบาลและผูมีหนาที่รับผิดชอบ ทั้งสองประเทศจะตองทราบดีถึงหลักปฏิบัติตอกันตามกฎหมายระหวางประเทศ โดยจะตองใชหลักของความ เปนเพื่อนบานที่ดีตอกัน ( good neighbourliness ) และการอยูรวมกันอยางสันติสุข ( Peaceful coexistence ) ซึ่งเปนหลักกฎหมายระหวางประเทศ ๕ ประการ ( Five Principles of Peaceful Coexistence ) คือ ‐ 23 ‐


(๑) (๒) (๓) (๔) (๕)

สองฝายจะตองเคารพในบูรณภาพและอํานาจอธิปไตยแหงเขตแดนซึ่งกันและกัน ( mutual respect for territorial integrity and sovereignty ) การไมรุกรานซึ่งกันและกัน ( non - aggressive ) ไมกาวกายกิจการภายในซึ่งกันและกัน ( non - interference in internal affairs ) มีผลประโยชนอยางเทาเทียมกัน ( equality and mutual advantage ) และ การอยูรวมกันเองอยางสันติสุข ( Peaceful coexistence itself ) [ อันมีที่มาจากคดีพิพาท Sino - Indian Pancha Shiha Agreement of ๑๙๕๔ ]

ไทย และกัมพูชาไดตระหนักถึงปญหาเขตแดนที่มีตอกันหลังจากสงครามในกัมพูชาไดสิ้นสุด ลง จึงไดรวมกันทําบันทึกขอตกลงวาดวยการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบกระหวางรัฐบาลไทยและ รัฐบาลแหงราชอาณาจักรกัมพูชาขึ้นในป ๒๕๔๓ หรือที่เรียกวา MOU๒๕๔๓ ( โดยไมไดผานความเห็นชอบ ของรัฐสภา ) โดยบันทึกดังกลาวในขอ ๓ ไดระบุไว ใหมีคณะกรรมการบริหารเทคนิครวมพิสูจน เพื่อทราบ ตําแหนงที่แนชัดของหลักเขตแดน ๗๓ หลัก ซึ่งจัดทําขึ้นโดยคณะกรรมการปกปนเขตแดนระหวางสยามกับ อินโดจีน เมื่อป ค.ศ.๑๙๐๙ และ ค.ศ. ๑๙๑๙ และรายงานผลการพิสูจนทราบตอคณะกรรมาธิการเขตแดน รวมกันพิสูจนเพื่อพิจารณา แสดงใหเห็นวา เขตแดนระหวางไทยกับอินโดจีน ( ไมใชกัมพูชา ) มีหลักเขต แดน ๗๓ หลักอยูแลว และไทยกับกัมพูชาจะใชหลักเขตแดนเฉพาะ ๗๓ หลัก เปนแนวทางที่จะนํามาพิสูจน ทางเทคนิคเพื่อปกปนเขตแดนทางบกกันตาม MOU๒๕๔๓ ดังกลาว แตเมื่อยังไมปรากฏวามีการพิสูจนทาง เทคนิ ค ของที่ ตั้ ง ที่ แ ท จ ริ ง ของ ๗๓ หลั ก เขต การกํ า หนดการป กป น เขตแดนจึ ง ยั ง มิ ไ ม ไ ด มี ก ารกระทํา กั น ดัง นั้ น เมื่ อมี ป ญ หาความขัด แย ง เกิ ดขึ้ น รั ฐบาลทั้ ง สองประเทศจะต องปฏิ บั ติตอ กั น เยี่ ยงมิ ต รประเทศที่ เ ป น เพื่อนบานที่ดีตอกัน ที่จะตองอยูรวมกันอยางสันติสุขตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ ๕ ขอและตาม MOU ๒๕๔๓ ดังกลาว การที่เจ็ดคนไทยไดเขาไปในพื้นที่ที่เปนเขตดินแดนที่ยังมีปญหา เพื่อที่จะเขาไปตรวจดู หลักเขตและที่ดินซึ่งมีราษฎรมารองทุกขวาไมสามารถเขาไปทํากินในที่ดินซึ่งมีหนังสือสําคัญที่ไดออกโดย รัฐไทยมาเปนเวลาหลายสิบปได เพราะมีชาวเขมรเขามาอยูในที่ดินดังกลาวตั้งแตที่มีเขมรอพยพเขามาอยูใน เขตแดนไทยหลายปมาแลวแตไมยอมออกไป อันเปนการเขาไปปฏิบัติภารกิจตามคําสั่งของนายกรัฐมนตรี ( ตามที่มีขาว) โดยไมปรากฏวามีเจาหนาที่ที่ดูแลเขตแดนหรือกองกําลังรักษาดินแดนฝายใดไดหามปราบมิ ใหเขาไปในสถานที่ดังกลาวแลว รัฐบาลไทยและรัฐบาลกัมพูชาจะกลาวหาวาคนไทย ๗ คนรุกล้ําดินแดน หรือเขาเมืองกัมพูชาโดยผิดกฎหมายไมไดเลย และกัมพูชาจะจับกุมเจ็ดคนไทยเยี่ยงผูกระทําความผิดไมได เชนกัน จะตั้งขอหาเพิ่มเติมภายหลังการจับกุมวากระทําการจารกรรมไมไดโดยเด็ดขาด เพราะการกระทํา ดังกลาวขัดตอหลักกฎหมายระหวางประเทศและขัดตอ MOU๒๕๔๓ ขอ ๖ ซึ่งไดกําหนดใหระงับขอพิพาท ใดๆ ที่เกิดจากการตีความ หรือการบังคับใชบันทึกความเขาใจฉบับนี้โดยสันติวิธีดวยการปรึกษาหารือและ การเจรจา

‐ 24 ‐


เมื่อ ๗ คนไทย ถูกจับบริเวณหลักเขตแดน ซึ่งยังไมรูวาเปนดินแดนของเขตประเทศใด เพราะยังไม มีการพิสูจนทางเทคนิคกันในเรื่องหลักเขตกัน กัมพูชาไมมีอํานาจที่จะจับกุมคนไทยทั้ง ๗ คนได (หากไม ปรากฏว า มี ก ารกระทํ า ความผิ ด ซึ่ ง หน า อื่ น อั น เป น ความผิ ด ตามกฎหมายของประเทศกั ม พู ช าเกิ ด ขึ้ น ใน ขณะนั้น ) และจะนําคนไทยทั้ง ๗ คนไปขึ้นศาลประเทศกัมพูช าไมไดเลย เพราะศาลที่จะมีอํานาจในการ พิจารณาพิพากษาคดีไดจะตองมีเขตอํานาจศาล ( Territorial Jurisdiction ) เมื่อสถานที่เกิดเหตุเปนเขต แดนที่ยังไมรูวาเปนเขตแดนประเทศใด ศาลกัมพูชายอมไมมีเขตอํานาจศาลที่จะพิจารณาพิพากษาคดีใน กรณีรุกล้ําเขตแดนประเทศไดเลย และในกรณีเชนนี้ ไมมีประเทศใดในโลกที่จะยอมรับเขตอํานาจศาลของ ประเทศที่ประชิดพรมแดนกันใหมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีพลเมืองของประเทศตนในเรื่องการรุกล้ําเขต แดนได และจะผลักใสพลเมืองของประเทศใหไปอยูภายใตอํานาจอธิปไตยทางศาลของประเทศนั้นก็ไมได เชนกัน การไมยอมรับเขตอํานาจศาลในกรณีดังกลาวไมใชเปนกาวกายกิจการภายในของประเทศ แตเปน การที่ประเทศนั้นตองรักษาไวซึ่งอํานาจอธิปไตยและบูรณภาพแหงดินแดนของตน รัฐไทยและรัฐกัมพูชาตาง มีหนาที่ตองปฏิบัติตามหลักกฎหมายระหวางประเทศดังกลาวดวยกัน

เจ็ดคนไทยถูกจับกุมขณะเดินเขาไปในเขตแดนติดตอระหวางไทย-กัมพูชา บริเวณหลักเขตที่ ๔๔ ๔๗ ( ตามขาว) เพื่อที่จะเขาไปตรวจสอบที่ดินของราษฎรที่มารองทุกข เรื่องที่ทํากิน และถูกกองกําลังทหาร กัมพูชาจับกุมนําไปกักขังเพื่อขึ้นศาลกัมพูชาที่กรุงพนมเปญ โดยในขณะที่เดินเขาไปและถูกจับกุมโดยกอง กําลังทหารกัมพูชา นั้น กลับไมพบกองกําลังรักษาดินแดนของไทยเลย และจากขอรองทุกขของราษฎรที่ อางวา ไมสามารถเขาไปทํากินในที่ดินที่มีเอกสารสําคัญแสดงสิทธิในที่ดินเปนเวลานานแลว จึงมีขอที่นา สั ง เกตว า รั ฐ ไทยได ยิ น ยอมให ช าวกั ม พู ช าเข า มายึ ด ที่ ดิน ของราษฎรไทยที่ มี หนั ง สื อ สํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิไ ป หมดแลว โดยไมดําเนินการใดๆเพราะมีความสัมพันธอันดีระหวางรัฐบาล และ ขาราชการของทั้งสองประเทศ หรือไม เพราะแทบจะทันทีที่มีขาววาทหารกัมพูชาจับคนไทยนั้น เจาหนาที่รัฐไทยระดับสูง ทั้งฝายการเมือง และขาราชการตางก็ออกมายืนยันเปนเสียงเดียวกันวา คนไทยถูกจับในเขตแดนของประเทศกัมพูชา โดยที่ บุคคลเหลานั้นไมไดรูเห็นสถานที่คนไทยถูกจับกุมแตอยางใดเลย และจากการออกมายืนยันตอสาธารณชน ดังกลาว ซึ่งก็มีผลโดยมีขาววากัมพูชาจะอางบุคคลดังกลาวเปนพยานในศาลกัมพูชาเพื่อพิจารณาพิพากษา คดีลงโทษคนไทย การออกมาพูดตอสาธารณะของเจาหนาที่ไทยยืนยันวาคนไทยถูกจับในเขตแดนกัมพูชา ‐ 25 ‐


โดยที่ยังไมมีการพิสูจนทางเทคนิคของหลักเขต ๗๓ หลัก เปนการที่ผูพูดมีเจตนาประสงคจะใหพื้นที่ที่คน ทั้ง ๗ ถูกจับนั้นเปนเขตดินแดนของกัมพูชา ซึ่งจะตองกลาวหาวา ๗ คนไทยไดกระทําความผิด อันเปนการ กระทําที่มีลักษณะเปนการยัดขอหาใหกับพลเมืองของรัฐไทย และเพื่อแสดงใหเห็นวาบริเวณที่ถูกจับนั้นเปน อาณาเขตประเทศกัมพูชา และเมื่อมีการดําเนินการใหความชวยเหลือในเรื่องการประกันตัว ก็มีการแสดงออก สูสาธารณะที่จะใหศาลกัมพูชาพิจารณาพิพากษาคดีโดยเร็ว เพื่อที่จะไดขออภัยโทษจากกษัตริยกัมพูชา จึง เปนการแสดงโดยชัดแจงในการยินยอมใหศาลกัมพูชามีเขตอํานาจศาลเหนือดินแดนที่ยังไมไดมีการพิสูจน ทางเทคนิคเพื่อปกปนเขตดินแดน โดยยัดเยียดขอหาใหคนไทยเพื่อใหอํานาจอธิปไตยทางศาลของกัมพูชา มามีอํานาจเหนือพลเมืองและดินแดนของรัฐไทย โดยที่ ๗ คนไทยมิไดกระทําความผิดใดๆเพราะจุดที่ถูกจับ นั้นยังไมรูวาเปนดินแดนของไทยหรือกัมพูชา ผูนํากัมพูชาประกาศกราวใหดําเนินคดีกับ ๗ คนไทยที่ศาลกัมพูชา ใครจะกาวกายอํานาจศาล กัมพูชาไมได เปนการแสดงออกที่ไมปฏิบัติตามหลักกฎหมายระหวางประเทศและตาม MOU ๒๕๔๓ ผู นํ า รั ฐ ไทยทั้ ง ฝ า ยการเมื อ งและข า ราชการที่ มี อํ า นาจทั้ ง ฝ า ยความมั่ น คงและต า งประเทศ ประกาศยอมรับไมกาวกายอํานาจศาลของกัมพูชา อันเปนการที่ไทยยอมสยบใหอํานาจอธิปไตยทางศาล กัมพูชาใหมีอํานาจเหนือพลเมืองรัฐไทยและเหนือดินแดนที่มีการจับกุม คนไทยโดยที่ยังไมรูวาดินแดนตรง นั้นเปนของไทยหรือกัมพูชา โดยอางวาคนไทยทั้ง ๗ รุกล้ําเขตแดนกัมพูชา

เมื่อเจ็ดคนไทยถูกนําขึ้นศาลกัมพูชาแลว ไดมีการตั้งข อหาเพิ่มเฉพาะนายวีระ สมความคิด และ นางสาวราตรี พิพัฒนาไพบูลย ในขอหากระทําการจารกรรม ( พยายามประมวลขาวสาร ซึ่งอาจจะกอใหเกิด อันตรายตอการปองกันประเทศ) การตั้งขอหาดังกลาวไมไดมีจุดมุงหมายมาที่บุคคลทั้งสอง เพราะบุคคลทั้ง สองไมใชเจาหนาที่ของรัฐ แตเปนประชาชนซึ่งไมมีประโยชนที่คนทั้งสองจะไปทําการจารกรรมขาวสารมา ใหตนเอง เพราะไมมีพลังอํานาจใดๆที่จะไปดําเนินการเพื่อใหเกิดอันตรายตอการปองกันประเทศกัมพูชาได แตการตั้งขอหาดังกลาวจึงมีจุดมุงหมายมาที่รัฐไทย เพื่อใหประชาคมโลกเห็นวา รัฐไทยนั้นปฏิบัติตอกัมพูชา อยางเปนศัตรูกัน โดยใชใหคนไทยไปทําการจารกรรมมาใหรัฐไทย การยอมรับใหศาลกัมพูชามีเขตอํานาจ พิจารณาพิพากษาคดีคนไทยในขอหากระทําการจารกรรมได ยอมจะเปนผลรายตอรัฐไทยในประชาคมโลก ในอนาคตเปนอยางยิ่ง การที่รัฐไทยไมไดดําเนินตามหลักกฎหมายระหวางประเทศและตาม MOU๒๕๔๓ แตกลับยินยอม ใหกองกําลังทหารกัมพูชาจับคนไทย ๗ คน ในเขตแดนที่ยังไมรูวาเปนของฝายใด ไทยไดแสดงออกให ประชาคมโลกเห็นวา คนไทยรุกล้ําเขตแดนกัมพูชา โดยเจาหนาที่รัฐไทยพยายามหาหลักฐานเพื่อมายืนยัน วา สถานที่จับเปนเขตแดนกัมพูชา ไทยยอมรับในเขตอํานาจศาลกัมพูชาใหอํานาจอธิปไตยทางศาลกัมพูชา มีอํานาจเหนือพลเมืองไทยและเหนือดินแดนที่มีการจับกุมคนไทย ไทยไมไดเรียกรองใหกัมพูชาเคารพใน ‐ 26 ‐


บูรณภาพและอํานาจอธิปไตยแหงเขตแดนไทย ไทยไมไดดําเนินการใดๆเกี่ยวกับการรุกรานของชุมชนชาว กัมพูชา จนพลเมืองไทยไรที่ทํากิน ตองเรรอนรองขอความชวยเหลือจากรัฐบาลมาเปนเวลานานนับสิบป ทํา ใหราษฎรไทย-กัมพูชาไมอาจอยูรวมกันอยางสันติสุขได ราษฎรไทยตองทิ้งถิ่นที่อยูเพราะถูกแยงที่ทํากินไป ไทยไมไดปองกันสิทธิพลเมืองของรัฐไทยในกรณีที่มีขอพิพาทเกิดขึ้นจากการถูกกองกําลังทหารกัมพูช า จั บ กุ ม ในขณะเดี ย วกั น รั ฐ ไทยก็เ ห็ น ดี เห็ น ชอบกั บ การที่ กั ม พู ช าไม ต อ งปฏิ บั ติต ามหลั ก กฎหมายระหว า ง ประเทศ ๕ ขอ และMOU๒๕๔๓ ดวยเชนกัน โดยไมเรียกรองใหระงับขอพิพาทโดยสันติวิธีกับคนไทย ๗ คน แตกลับยินยอมใหนําไปดําเนินคดีที่ศาลและยอมรับเขตอํานาจศาลกัมพูชาใหดําเนินคดีกับพลเมืองไทย เปน การยั ด เยี ย ดอํ านาจอธิ ปไตยทางศาลของกั ม พู ช าให มี เ หนื อ พลเมื อ งของรัฐ ไทยและดิ น แดนไทย โดยที่ พลเมืองไทยไมไดกระทําความผิดใดๆเพราะยังไมมีเขตดินแดน ความผิดตามขอกลาวหาจึงไมอาจเกิดขึ้นได ไมวากรณีใด ไทยยินยอมใหกับการกระทําของกัมพูชาที่ไมเคารพในบูรณภาพและอํานาจอธิปไตยในเขต แดนของไทยตามกฎหมายระหวางประเทศและMOU ๒๕๔๓ การกระทําในลักษณะดังกลาวสอพฤติการณให เห็ น ได ว า เป น การร ว มกั น กระทํ า การเพื่ อ ให เ ขตดิ น แดนของไทยต อ งตกอยู ภ ายใต อํ า นาจอธิ ป ไตยของ กัมพูชา โดยไมตองมีการพิสูจนทางเทคนิคเพื่อใหรูเขตที่แนนอน และโดยไมตองใชMOU๒๕๔๓ ดวยการ หั นมาใช คํ า พิ พ ากษาของศาลกั ม พู ช าแทน เมื่ อ ศาลกั ม พู ช าพิ พ ากษา ลงโทษคนไทย คํ า พิ พ ากษาย อ ม ผูกพั นรั ฐไทยเกี่ ยวกับเขตดิน แดนไปด วย เพราะไทยได ยอมรับอํา นาจอธิปไตยทางศาลของกั ม พู ชาให มี อํานาจเหนือดินแดนรัฐไทย และพลเมืองของไทยไปแลว ทั้งMOU๒๕๔๓ กําลังมีปญหาเนื่องจากประชาชน จํานวนหนึ่งไดเรียกรองใหยกเลิกMOU ๒๕๔๓ การกระทําของผูบริหารรัฐไทยและรัฐกัมพูชาจึงอาจเขาขาย เป นการรว มกันกระทําความผิ ด ต อความมั่ นคงของรั ฐภายนอกราชอาณาจัก ร ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙ , ๑๒๐ , ๑๒๘ และ ๑๒๙ ผูที่มีสวนรวมในการกระทําความผิดแมอยูนอกราชอาณาจักรก็มี ความผิดดวย ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ (๑) การกระทําดังกลาว ยังอาจเปน การรวมกันกระทําความผิดอาญาระหวางประเทศอีกดวย เพราะสิทธิของพลเมืองไดรับความคุมครองตามกฎ บัตรสหประชาชาติและสนธิสัญญาระหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ซึ่งทั้งไทยและ กัมพูชาไดเขารวมเปนภาคีในสนธิสัญญาดังกลาวแลว ( ผูเขียนจะไมเขาไปในรายละเอียด) การกระทําความผิดของผูมีอํานาจบริหารรัฐและผูนํากัมพูชาจะไมเปนความผิดตอความมั่นคง ของรัฐภายนอกราชอาณาจักร จะตองมีการปฏิบัติตามหลักกฎหมายระหวางประเทศและ MOU ๒๕๔๓ ( ถา เห็นวา MOU๒๕๔๓ ชอบดวยกฎหมาย ) แตเมื่อรัฐไทยและกัมพูชาไดรวมกันละเมิดตอMOU๒๕๔๓ โดยไม ระงับขอพิพาทโดยสันติวิธีดวยการปรึกษาหารือและเจรจากันแลว ไทยจะตองประกาศยกเลิกMOU๒๕๔๓ โดยพลั น และใช วิ ธี ท างการฑู ต เรี ย กให กั ม พู ช าปฏิ บั ติ ห ลั ก กฎหมายระหว า งประเทศ ทั้ ง ในเรื่ อ งการนํ า ปราสาทเขาพระวิหารไปขึ้นทะเบียนมรดกโลก และการจับกุม กักขังคนไทยทั้ง ๗ คนโดยไมมีอํานาจการ จับกุมและไมมีเขตอํานาจศาล และขอใหสงคนไทย ๗ คนกลับประเทศไทยโดยเร็วกอนทุกอยางจะสายเกิน แก (เพราะกัมพูชาไมไดปฏิบัติตามหลักกฎหมายระหวางประเทศและMOU๒๕๔๓ มาตั้งแตตน ) ความผิดอาญาเปนเรื่องเฉพาะตัวของผูมีหนาที่ตองกระทําตามกฎหมาย คดีอาญามีอายุความ ยาวนาน การสู ญเสี ย อํ านาจอธิป ไตยและเอกราชของราชอาณาจัก รไทย ไม ใ ช เ ป น นโยบายของรั ฐ และ รัฐบาลจะมีนโยบายดังกลาวไมไดไมวาในกรณีใด MOU๒๕๔๓ เปนอันตรายตอผูมีอํานาจบริหารงานของรัฐ อยางยิ่ง เพราะสามารถนําไปพิสูจนการกระทําความผิดตอความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักรได

ยินดี วัชรพงศ ตอสุวรรณ อดีตผูพิพากษาหัวหนาคณะในศาลฎีกา อดีตผูพิพากษาอาวุโสศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง อดีตผูพิพากษาอาวุโสศาลภาษีอากรกลาง

‐ 27 ‐


๒.๓

จากอดีตอธิบดีผูพิพากษาถึงนายกรัฐมนตรี จดหมายจาก อดี ต อธิ บ ดี ผู พิ พ ากษาศาลแรงงานกลางและผู พิพากษาศาลฎีกา ถึง นายกรัฐมนตรี กรณีเอ็มโอยู ๒๕๔๓

‐ 28 ‐


‐ 29 ‐


เรื่อง ปญหาบันทึกความเขาใจ M.O.U. ป พ.ศ.๒๕๔๓ เรียน ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ กอนอื่น ผมขอแนะนําตัวเองวา ผมชื่อ นายสุเทพ กิจสวัสดิ์ สอบเนติบัณฑิตไทยไดตําแหนงที่ ๒ ขอเขียนไดที่ ๑ (สมัยที่ ๑๕) ผมเคยเปน ผูพิพากษาศาลฎีกา ๓ ป และตําแหนงสุดทาย เปนอธิบดีผู พิพากษา ศาลแรงงานกลาง ๒ ป เกษียณอายุป พ.ศ.๒๕๓๖ ผมขอแสดงความเห็นในฐานะเปนราษฎรคนหนึ่ง ที่รักชาติ ไมอยากใหเสียดินแดนแกกัมพูชา โดย นํา M.O.U.ป พ.ศ.๒๕๔๓ มาอาน และพิเคราะหแลวมีความเห็นดังตอไปนี้ M.O.U.ขอ ๑.(ค.) มีสาระสําคัญวา ไทยกับ กัมพูชา จะรวมกันดําเนินการสํารวจและ จัดทําหลักเขตแดนทางบก ระหวางไทยกับ กัมพูชาใหเปนไปตามเอกสารตอไปนี้ (ค.) แผนที่ที่จัดทําขึ้น ตามผลงาน การปกปนเขตแดนของคณะกรรมการปกปน เขตแดน ระหวางไทยกับอินโดจีน ซึ่งจัดตั้ง ขึ้นตามอนุสัญญา ฉบับป ค.ศ.๑๙๐๔ และ สนธิสัญญา ฉบับป ค.ศ.๑๙๐๗ กับเอกสาร อื่นที่เกี่ยวของ กับการบังคับใชอนุสัญญา ป ค.ศ.๑๙๐๔ และสนธิสัญญาฉบับป ค.ศ. ๑๙๐๗ ระหวางไทยกับฝรั่งเศส ทานนายกฯ กลาววา M.O.U.ป พ.ศ.๒๕๔๓ เปนประโยชน ทําใหยูเนสโก เลื่อนการพิจารณาที่กัมพูชาเสนอแผน บริหารจัดการพื้นที่บริเวณ รอบเขาพระวิหาร ไป ๑ ป ผมขอออกความเห็นอยาง ตรงไปตรงมาวา M.O.U. ป พ.ศ.๒๕๔๓ ขอ ๑.(ค.) ซึ่งมีแผนที่ที่ฝรั่งเศสขีดเสนแบงเขต แดนไทย-กัมพูชา ซึ่งอยูหางสันปนน้ํา เขา มาในเขตไทย ๔.๖ ตารางกิโลเมตรนั้น เปน แผนที่ที่ฝรั่งเศสทําขึ้นแตฝายเดียว กรรมการฝายไทยมิไดเซ็นรับรองดวย แผน ที่ดังกลาวจึงมิไดผูกพันไทย เสนแบงเขตที่ ฝรั่งเศสจัดทําขึ้นจึงไรความหมาย แตตอมาป พ.ศ.๒๕๔๓ ม.ร.ว.สุขุม พันธุ บริพัตร รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศไทย ไดลงนามรับรองใน M.O.U.ป พ.ศ.๒๕๔๓ รวมกับ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ กัมพูชา เมื่อมีคําเสนอและคําสนองเกิดขึ้น M.O.U.ป พ.ศ.๒๕๔๓ จึงเปนสัญญาที่ สมบูรณผูกพันไทยกับกัมพูชา ทําใหเสน แบงเขตที่ฝรั่งเศสขีดขึ้นในแผนที่ตามวรรค ‐ 30 ‐


ขางบนจึงสมบูรณ ไมไรความหมายอีกตอไป เสนแบงเขตนี้ หางสันปนน้ํา เปนเนื้อที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตร แผนที่นี้ ใชมาตราสวน ๑:๒๐๐,๐๐๐ ไทยนาจะเสียดินแดนในตอนนี้ เปนเนื้อที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตร เหตุผลเสริมมีวา M.O.U.ป พ.ศ.๒๕๔๓ มีขอความใหไทยกับกัมพูชารวมกันสํารวจและจัดทําหลัก เขต จึงมีขอคิดวา ขอความสํารวจและจัดทําหลักเขตตองไปทําในเสนที่ฝรั่งเศสขีดเสน ขอความนี้จึงไปเสริม ใหกัมพูชามีเหตุผลหนักแนนขึ้น แตมิไดมาเสริมฝายไทย เพราะไทยยึดถือสันปนน้ําเปนเสนแบงเขต เนื่องจากสันปนน้ําเปนแนวเขตถาวรตามธรรมชาติ ซึ่งไมมีความจําเปนตองสํารวจและจัดทําหลักเขตแต อยางใด แนวเขตสันปนน้ําเปนเสนแบงเขตจึงมีน้ําหนักนอยลง กัมพูชาถือวา M.O.U.ป พ.ศ.๒๕๔๓ มีเสนที่ฝรั่งเศสขีดขึ้น เปนแนวแบงเขตไทยกับกัมพูชา กัมพูชา จึงถือวา พื้นที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตร เปนดินแดนของกัมพูชาและถือวากัมพูชามีอธิปไตยเหนือ ๔.๖ ตาราง กิโลเมตร กัมพูชาจึงเขาไปยึดครอง โดยสงคนเขมรไปตั้งภูมิลําเนา สรางวัด สรางตลาดและสรางถนน โดยมี ทหารเขมรติดอาวุธเขาไปคุมครองพื้นที่ และรักษาพื้นที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตร คนทุกชาติเขาไปในพื้นที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตรได แตคนไทยเขาไปไมได ผมจึงขอฟนธงวา ไทยนาจะเสียดินแดน ๔.๖ ตารางกิโลเมตร แลว และตอไปอาจเสียดินแดนบางสวนของ ๑๑ จังหวัด เปนเนื้อที่ ๑.๕ ลานไร เมื่อรวม ๔.๖ ตาราง กิโลเมตรแลว ไทยนาจะเสียดินแดนประมาณ ๑.๘ ลานไร จึงกราบเรียนทานนายกฯ ไดโปรดพิจารณาและหาทางแกไขตอไป

ขอแสดงความนับถืออยางสูง สุเทพ กิจสวัสดิ์

‐ 31 ‐


๒.๔

ปราสาทพระวิหาร: หลักฐานทางกฎหมาย “ดร.สมปอง” ยัน ๗ คนไทยไมไดบก ุ รุก ชี้หลักเขตไทย เขมร ปกปนชัดเจนกวารอยป สัมภาษณ ศ.ดร.สมปอง สุจริตกุล คณบดีคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต เรียบเรียงโดย ASTVผูจัดการออนไลน ๑๔ มกราคม ๒๕๕๔ ๑๗:๑๘ น.

คณบดีนิติศาสตร ม.รังสิต ชี้ ๗ คนไทยถูกจับขณะเดินยังไมถึงหลักเขตที่ ๔๖ อยูใน ดินแดนไทยชัดเจน เพราะเขตแดนปกปนรอยกวาปแลว JBC ทําไดเพียงแคดูหลักเขตวาสมบูรณ หรือไม ระบุ กัมพูชายึดเขตแดนตามแผนที่ฝรั่งเศส จี้รัฐบาลตองรูวาราชอาณาเขตของไทยมีอยู แคไหน อยามัวแตคิดวาจะคุยเขมรรูเรื่องเหมือนพมา-มาเลเซีย เว็ บ ไซต อ าร เ อสยู นิ ว ส มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต ได สั ม ภาษณ ศ.ดร.สมปอง สุ จ ริ ต กุ ล คณบดี ค ณะ นิติศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกรณีที่ ๗ คนไทยถูกจับกุม วา ไมมีประเทศใดที่ เป น อารยะในโลกนี้ ที่ จ ะทํ า อย า งกั ม พู ช าที่ ม าลั ก พาตัว คนในเขตไทยข า มฝ ง ไปยัง เขตของตนเอง เพราะ กัมพูชาเขาใจผิดวา พื้นที่บริเวณดังกลาวเปนของเขา เพราะยึดตามแผนที่ที่เขียนขึ้นตั้งแตป ค.ศ.๑๙๐๗ ทั้ง ที่แผนที่นั้นเปนแผนที่ที่ผิด เพราะเจาหนาที่กรมแผนที่ และทหารของฝรั่งเศสและกัมพูชา รวมมือกันทําโดย ที่ประเทศไทยยังไมไดสํารวจ ทั้งนี้ เปนเพราะตอนนั้นฝรั่งเศสตองการดินแดนเพิ่มเติมจากไทย คือ เสียมราฐ พระตะบอง ศรีโสภณ เมื่อไทยตกลงจะยกใหฝรั่งเศสและกัมพูชากลับทําแผนที่ไปเรียบรอยแลว ‐ 32 ‐


ดร.สมปอง กลาวตอไปวา ประเทศไทยไมเคยยอมรับแผนที่ฉบับนี้ เพราะวาผิดจากขอเท็จจริง ใน โลกนี้ไมเคยมีประเทศใดเสียดินแดนเพราะแผนที่ มิฉะนั้น ประเทศจีนก็ทําแผนที่ไวนานแลววาไทยเปนสวน หนึ่งของจีน แตจีนก็ไมเคยมาเรียกรองวาไทยเปนของจีน เพราะเขาไมใชประเทศที่ปาเถื่อน การที่จะไดพื้นที่ ของประเทศหนึ่ ง ประเทศใดมาครองนั้ น ไม ไ ด เ กี่ ย วกั บ แผนที่ ที่ ผ า นมากั ม พู ช าฟ อ งให ศ าลโลกตั ด สิ น ว า ปราสาทพระวิหารตั้งอยูบนพื้นที่ที่อยูในอํานาจอธิปไตยของกัมพูชา ขอใหประเทศไทยถอนทหารออกจาก ปราสาท และบริเวณโดยรอบ ขอใหไทยคืนสิ่งของอะไรตางๆ ที่เอาไปจากปราสาทพระวิหาร ซึ่งทหารไทยก็ ปฏิบัติตาม แต ห ากได อ า นคํ า พิ พ ากษาศาลโลก จะพบว า ศาลไม ไ ด ชี้ ข าดว า แผนที่ นี้ ผิ ด หรื อ ถู ก แต ใ นคํ า พิพากษาแยงของผูพิพากษาชาวออสเตรีย อารเจนตินา และจีน ลงความเห็นเหมือนกันวาแผนที่ดังกลาวผิด ผิดตรงที่กัมพูชาและฝรั่งเศส เขาใจวา แมน้ําไหลจากตีนเขาไปสูยอดเขาจริงๆ ซึ่งโดยธรรมชาติตองไหล จากยอดเขามาสูตีนเขา เสนที่เขาลากจึงผิด เพราะฉะนั้นจึงตัดเอาเขาพระวิหารไปเปนของกัมพูชา เคยมีคน คํานวณไววาการลากผิดครั้งนี้ ทําใหประเทศไทยเสียพื้นที่ ๑,๘๐๐,๐๐๐ ไร คนไทยไมเขาใจวา คําพิพากษา แยง คือ คําพิพากษา แมคําพิพากษาหลักไมไดชี้ขาดเรื่องนี้ แตคําพิพากษาแยง ชี้ขาดแลววาแผนที่นี้ใ ช ไมได “แมแตปราสาทพระวิหารก็อยูในเขตไทย เราไมเคยยอมรับแผนที่ ที่หลายคนพูดวา เราจะไปทวง คืนนั้นมันไมจริง เพราะเรายังไมไดเสียจะไปทวงคืนไดอยางไร ศาลโลกไมมีอํานาจบังคับคดี ไมมีอํานาจ พิจารณาพิพากษา เราไมฟง อีกแลว เราไมขึ้นศาลโลกอีกแลว ตัดสินก็ตัดสินไป แตก็ไมเคยมีประเทศใด ปฏิบัติตามคําพิพากษาศาลโลก ก็มีแตประเทศไทย เพราะไมอยากใหคนเขาวาเราบิดพลิ้ว ทั้งนี้ การปฏิบัติ ตามก็ ไ ม ไ ด ห มายความว า เราจะสละอํ า นาจอธิ ป ไตย ดิ น แดนนั้ น ยั ง เป น ของเราอยู เราไม ไ ด ย กให เพราะฉะนั้นไมตองทวงคืน เพียงแตตองคัดคานกัมพูชาตั้งแตแรกที่จะขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปน มรดกโลก เพราะเราเกรงวา จะมีปญหาเรื่องอื่นตามมา” ศ.ดร.สมปอง

ศ.ดร.สมปอง กลาวตอไปวา นายพนิช และคณะ ยังเดินไปไมถึงหลักเขตที่ ๔๖ ซึ่งเปนหลักเขตที่ อยูในดินแดนไทยอยางชัดเจน เพราะพื้นที่นี้มีการปกปนเขตแดนนานกวารอยปแลว คณะกรรมการชุดใหมแค เพีย งมาดู วา หลั ก เขตที่ป ก ป นไปนานมี ห ลั ก เขตไหนที่ชํ า รุ ด เสี ย หายหรื อ มีผู ร ายโยกย า ยหรื อ ไม ซึ่ ง มีก าร ‐ 33 ‐


สํารวจกันเรื่อยๆ ทั้งนี้ การปกปนเขตแดนมีอยู ๓ ขั้นตอน คือ ๑.สรางบทนิยามที่อยูในตัวบทของสนธิสัญญา ที่ตกลงกันสองฝาย ๒.นําบทนิยามมาปรับกับพื้นที่โดยการสงคณะผูแทนทั้งสองฝายลงสํารวจพื้นที่จริงวา ที่ ที่ตกลงกันอยูจุดไหนเพื่อนํากลับมาลากเสน ๓.ลงมือปกหลักเขตในพื้นที่ที่เขตแดนธรรมชาติไมชัดเจน เชน ไมมีสันเขา หรือสันปนน้ํา เปนเขตแดน ซึ่งพื้นที่ที่ นายพนิช และคณะถูกจับกุม เปนพื้นที่ที่เขาขายการปกปนในขอ ๓ คือ มีการปกหลัก เขต ซึ่งหลักที่ ๑ ตั้งอยูที่ชองสะงํา อ.ภูสิงห จ.ศรีสะเกษ หลักเขตที่ ๗๓ อยูที่บานหาดเล็ก อ.คลองใหญ จังหวัดตราด โดยครั้งแรกหลักเขตทําดวยไมและมีการเปลี่ยนเปนหลักเขตที่ทําดวยหินเมื่อป ๑๙๑๙ แสดง ใหเห็นชัดเจนวาพื้นที่ดังกลาวมีการปกปนเขตแดนไปเรียบรอยแลว การที่คณะกรรมาธิการเขตแดนรวมไทยกัมพูชา (Joint Border Committee: JBC) อางวา เปนคณะกรรมการปกปนเขตแดนนั้นเปนการสําคัญผิด เพราะคณะกรรมการปกปนผสมชุดที่สองเขาเดินทางทําไปหมดเมื่อรอยกวาปมาแลว “การจับกุมครั้งนี้ถือเปนความโชคดีของคนไทยที่ไดลืมตาเสียที และจะไดจี้ใหรัฐบาลไทยเขาใจวา กัมพูชาเปนอยางไร รัฐบาลอยามัวเพอฝน วา กัมพูชาจะเหมือนกับประเทศพมา หรือมาเลเซีย ที่พูดคุยกันรู เรื่อง คนของเราประมาทที่ไมเอาตํารวจตระเวนชายแดนของเราเขาไปดวย เราไมคุมครองคนของเราเอง รัฐบาลมีหนาที่ตามรัฐธรรมนูญ มีหนาที่ตามจรรยาบรรณ มีหนาที่ตามกฎหมายระหวางประเทศ มีหนาที่ตาม กฎหมายไทยที่จะตองใหความคุมครองคนในชาติของตนเอง แตคนในรัฐบาลกลับไปพูดคลายๆ วา คนของ เราบุกรุกเขาไป คนที่โดนจับกุมเปนถึงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรซึ่งมีอภิสิทธิ์เหนือคนในชาติ ผมไมเชื่อวาจะ มีรัฐบาลไทยสมัยไหนจะทําใหคนไทยเสื่อมเสียไดมากไปกวานี้ ในอดีตเราไมโตแยง เพราะเรากลัวฝรั่งเศส จะเอาดินแดนไปมากกวาเดิม เนื่องจากตอนนั้นทหารฝรั่งเศสตั้งฐานที่มั่นอยูที่จังหวัดตราดและจันทบุรี เขา เพิ่งถอนกําลังไปเมื่อเราทําสัญญายอมยกเสียมราฐ พระตะบอง และศรีโสภณ ใหเขา เมื่อป ค.ศ.๑๙๐๗ แต เวลานี้ประเทศที่ยัดเยียดแผนที่ใหเราเปนกัมพูชาที่เคยเปนอดีตประเทศราชของไทยซึ่งเรายกใหฝรั่งเศสไป ประเทศไทยจึงจําเปนตองมีหนาที่บอกกัมพูชา วาแผนที่มันผิด การที่เราอนุญาตใหคนกัมพูชาเขามาอยูใน เขตไทยโดยไมไลออกไปถือเปนการอนุญาตโดยอนุโลม ดังนั้นตองรูวาพระราชอาณาเขตของไทยมีอยูแค ไหน และจะตองอธิบายใหคนไทยเขาใจอยางชัดเจน” ดร.สมปอง กลาว

‐ 34 ‐


ปราสาทพระวิหารกับการสูญเสียดินแดนไทย โดย ศาสตราจารย ดร.สมปอง สุจริตกุล

๑. สถานการณ - พ.ศ. ๒๕๔๓ (สมัยรัฐบาล นายชวน หลีกภัย) ม.ร.ว.สุขุมพันธุ บริพัตร รมช.กต. ไดลงนามบันทึกความ เขาใจระหวางไทย-กัมพูชา วาดวยการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบก (MOU ๒๕๔๓) โดยมีการลง นามอนุมัติการใชแผนที่๑ : ๒๐๐,๐๐๐ ของนายชวน หลีกภัย ในหนังสือลง ๑๒ มิ.ย. ๒๕๔๓ โดยเขาใจวา เปนแผนที่สยามอินโดจีน ทั้งที่ไทยไมเคยยอมรับแผนที่นี้มากอนเพราะมีความผิดพลาดทางภูมิศาสตร และ ไมยึดหลักสันปนน้ํา ซึ่งแผนที่ฉบับนี้จะทําใหไทยสุมเสี่ยงตอการสูญเสียดินแดนประมาณ ๑,๘๐๐,๐๐๐ ไร (จว.อ.บ. จว.ศ.ก., จว.ส.ร., จว.บ.ร., จว.ส.ก., จว.จ.บ., จว.ต.ร.) - พ.ศ. ๒๕๔๔ (สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร) นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รมว.กต. ไดลงนามบันทึก ความเขาใจระหวางไทย - กัมพูชา วาดวยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอางสิทธิในไหลทวีปทับซอนกัน (MOU ๒๕๔๔) โดยที่กอนหนานั้นฝายไทยไมเคยยอมรับการอางสิทธิของกัมพูชา ซึ่งทําใหไทยสุมเสี่ยงที่จะ สูญเสียทรัพยากรทางทะเล (น้ํามันปโตรเลียม) มูลคามหาศาล นอกจากนี้ยังมีแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ๒๕๔๔ ลงนามโดย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร (JC ๒๕๔๔) รับรอง MOU ๒๕๔๔ ดวย - พ.ศ. ๒๕๔๖ (สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร) จาก (MOU ๒๕๔๓) ทําใหคณะกรรมาธิการเขต แดนรวมไทย-กัมพูชา (JBC) ไดมีการจัดทําแผนแมบท (TOR ๒๕๔๖) เรงการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดน ทางบก รวมทั้งทําแผนที่ระหวางไทย-กัมพูชา - พ.ศ. ๒๕๕๑ (สมัยรัฐบาล นายสมัคร สุนทรเวช) นายนพดล ปทมะ รมว.กต.ไดมีแถลงการณรวมไทยกัมพูชา วา ไทยสนับสนุนใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกแตเพียงฝาย เดียว ซึ่งทําให ไทยตองสูญเสียดินแดนรอบปราสาทพระวิหารกวา ๒,๘๗๕ ไร (และเปนการยอมรับแผนที่ ๑:๒๐๐,๐๐๐) ตอมาศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งใหเพิกถอนแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา เพราะขัดรัฐธรรมนูญป ๒๕๕๐ มาตรา ๑๙๐

‐ 35 ‐


- พ.ศ. ๒๕๕๑ (สมัยรัฐบาล นายสมชาย วงศสวัสดิ์) ไดมีการเสนอใหมี กรอบการเจรจาสํารวจและจัดทํา หลักเขตแดนทางบกไทย-กัมพูชาตลอดแนว โดยเสนอเอกสาร MOU ๒๕๔๓ และ TOR ๒๕๔๖ เปนเอกสาร ประกอบการประชุมรวมรัฐสภาในการประชุมสมัยสามัญนิติบัญญัติ ครั้งที่ ๕ (ทั้งที่ MOU ๒๕๔๓ สิ้นผลไป แลว และ TOR ๒๕๔๖ มิไดผานการรับรองจากรัฐสภา ตามมาตรา ๒๒๔ มากอน) ผลปรากฏวา สมาชิก รัฐสภามีมติเห็นชอบกรอบการเจรจาดังกลาว ดวยคะแนนเสียง ๔๐๙ : ๗ แมจะผานมติเสียงขางมาก แตขัด รัฐธรรนูญ มาตรา ๑ - พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๓ (สมัยรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) ไดพยายามเสนอบันทึกการประชุม คณะกรรมาธิการเขตแดนรวมไทย-กัมพูชา (JBC) และรายงานการประชุมคณะกรรมการชายแดนทั่วไปไทยกัมพูชา (GBC) เขาสูการพิจารณาของรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบตามรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๕๐ มาตรา ๑๙๐ (เทากับเปนการยืนยันแผนที่ ๑:๒๐๐,๐๐๐ และยอมรับผลการดําเนินการตาม MOU ๒๕๔๓ และ TOR ๒๕๔๖ ซึ่งยึดแผนที่ ๑:๒๐๐,๐๐๐ เปนหลัก แมวา MOU ๒๕๔๓ ไดสิ้นผลไปแลวตั้งแตสมัยรัฐบาล นายชวน หลีกภัย และทั้ง TOR ๒๕๔๖ มิไดผานการรับรองของรัฐสภาในฐานะเปนกรอบการเจรจา) ๑.๑ ศาลโลกกับคดีปราสาทพระวิหาร

เมื่อ ๖ ต.ค. ๒๕๐๒ กัมพูชาเปนโจทกยื่นคํารองฝายเดียวเพื่อฟองไทยเปนจําเลย ขอใหศาลยุติธรรม ระหวางประเทศวินิจฉัยวา พื้นที่ที่ปราสาทพระวิหารตั้งอยูนั้น อยูในอํานาจอธิปไตยของกัมพูชารวม ๕ ประเด็น คือ ๑) สถานภาพของแผนที่ผนวก ๑ แนบทายคําฟอง ๒) ความถูกตองของเขตแดนที่ปรากฏบน แผนที่ผนวก ๑ ๓) ชี้ขาดวาพื้นที่ที่ปราสาทพระวิหารตั้งอยูนั้นอยูภายใตอธิปไตยของกัมพูชา ๔) ใหไทย ถอนกําลังจากตัวปราสาทและบริเวณที่ตั้งปราสาท ๕) ใหไทยคืนวัตถุโบราณที่หายไปจากปราสาทพระวิหาร เมื่อ ๑๕ มิ.ย. ๒๕๐๕ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศไดพิพากษาเฉพาะ ขอ ๓ ขอ ๔ ขอ ๕ โดยไมรวม ขอ ๑ ขอ ๒ เนื่องจากปราสาทพระ วิหารตั้งอยูบนเขาพระวิหารซึ่งเปนสวนหนึ่งของเทือกเขาดงรัก (หรือเขาบรรทัด) ในเขตไทยซึ่งตอกับเขตแดนกัมพูชา โดยไทยยึดสันปนน้ําเปนเสนแบงเขตแดนตามสนธิสัญญาทวิภาคีกับ ฝรั่งเศสลง ๑๓ กุมภาพันธ ร.ศ. ๑๒๒ (ค.ศ. ๑๙๐๔) ตอมา เมื่อ ค.ศ.๑๙๐๕- ๑๙๐๗ คณะกรรมการปกปน เขตแดนผสมสยาม-ฝรั่งเศส ไดไปตรวจสอบ ลงความเห็นวา การกําหนดเขตแดนบริเวณทิวเขาดงรักโดยใช สันปนน้ําเปนหลักตามสนธิสัญญา ค.ศ. ๑๙๐๔ นั้นชัดเจนอยูแลว เสนสันปนน้ําจึงเปนเสนกําหนดเขตไทย‐ 36 ‐


กัมพูชา ซึ่งเปนที่ยอมรับมาโดยตลอดและไมมีการเปลี่ยนแปลงหรือแกไขตั้งแต ค.ศ. ๑๙๐๔ โดยไมเคยมี ผูใดโตแยงหรือใหความเห็นเปนอยางอื่น และไมมีการเปลี่ยนแปลงเปนอื่นไปไดนอกจากไดรับความยินยอม เห็นชอบจากภาคี คูสัญญา สําหรับคดีปราสาทพระ วิหารแมเสียงผูพิพากษาขางมากจะตัดสินใหปราสาทพระวิหารอยูภายใตอํานาจ อธิปไตยของกัมพูชา แตศาลไมไดวินิจฉัยเกี่ยวกับสถานภาพของแผนที่ผนวก ๑ มาตราสวน ๑:๒๐๐,๐๐๐ หรือความถูกตองของเสนเขตแดนที่ปรากฏบนแผนที่ดังกลาวตามที่กัมพูชาขอให ศาลพิจารณา นอกจากนี้ ยังมีผูพิพากษาอีกหลายทานที่เขียนคําพิพากษาแยงไววา ปราสาทพระวิหารนั้นอยูบนดินแดนภายใตเขต อํานาจอธิปไตยของไทยตามหลักสันปน น้ําที่กําหนดไวในสนธิสัญญา ค.ศ. ๑๙๐๔ และยืนยันใน ค.ศ. ๑๙๐๗ ดังนั้นแผนที่ทั้งหมดที่กัมพูชานํามาอางประกอบคําฟองฯ เปนสิ่งที่ทําขึ้นโดยฝรั่งเศส/หรือกัมพูชา โดยไทยไมมีสวนรวมดวยเลยแมแตฉบับเดียว แผนที่ทุกฉบับที่คัดลอกมาจากแผนที่ผนวก ๑ จึงมีความ ผิดพลาดโดยอํานวยประโยชนใหผูจัดทํา และนําความเสียหายมาสูประเทศไทย ๑.๒ การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก

หลังจากการลงนาม MOU ๒๕๔๓ ในป พ.ศ. ๒๕๔๔ (สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร) นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รมว.กต. ไดลงนามบันทึกความเขาใจระหวางไทย-กัมพูชา วาดวยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอาง สิทธิในไหลทวีปทับซอนกัน (MOU ๒๕๔๔) และ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไดลงนามใน JC ๒๕๔๔ ยืนยัน การตกลงใน MOU ๒๕๔๓ และสนับสนุน MOU ๒๕๔๔ พรอมทั้งระบุในการประชุมคณะกรรมการฝายเทคนิค ซึ่งตั้งโดยอํานาจ MOU ๒๕๔๔ วาเมื่อกระทําเรื่องที่คั่งคาง คือ การสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบก แลว จึงจะดําเนินการเจรจาเรื่องผลประโยชนในทะเล ตอมา นายนพดล ปทมะไดแถลงโครงการสําคัญ คือ การพัฒนาและใชประโยชนในพื้นที่พัฒนารวม ( JDA) เพื่อหากาซธรรมชาติและน้ํามันปโตรเลียมในพื้นที่ไหลทวีปที่ทั้งสองฝาย อางสิทธิทับซอนกัน ‐ 37 ‐


๒๖,๐๐๐ ตร.กม. และเรงเจรจากรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก นอกจากนี้ยังสนับสนุน การพัฒนาเสนทางหมายเลข ๔๘ เกาะกง-สแรอัมเบิล ในกัมพูชา (โดย ครม.สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชิน วัตร ไดมีมติอนุมัติใชงบประมาณในรูปแบบความชวยเหลือพัฒนาเสนทางดังกลาว) นอกจากนี้ ผูอํานวยการ Cambodian National Petroleum Authority ยังเปดเผยขอมูลวา พ.ต.ท. ทักษิณจะนําบริษัท เพิรล ออยล (ที่มีกลุมทุนเทมาเส็กของสิงคโปรถือหุน) และ บริษัท ปตท.สผ. อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) (ซึ่ง พ.ต.ท.ทักษิณ ถือหุนใหญ) ไปรวมทุนกับบริษัทกัมพูชาเพื่อขอรับสัมปทาน ในการขุดเจาะน้ํามันและกาซ ธรรมชาติที่บล็อก B สวนเอกชนที่เขาไปลงทุนในกัมพูชา ไดแก บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น ทําธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมผานบริษัท Shenington Invesments Pte.Ltd.โดยมีบริษัท กัมพูชา ชินวัตร เปนผูรับอนุญาตใหดําเนินธุรกิจดานโทรคมนาคมในกัมพูชา ไดเปนเวลา ๓๕ ป และบริษัท กัมพูชา ชินวัตร ไดรับมอบหมายใหติดตั้งอุปกรณรับสงสัญญาณ/ ใหบริการไอพีสตาร สวนบริษัท อินเตอร เนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น ของ นพ.พรหมมินทร เลิศสุริยเดช ดําเนินธุรกิจ ไอบีซีเคเบิลทีวี เปน ตน เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๙ กัมพูชาไดเสนอใหองคการยูเนสโกแหงสหประชาชาติ พิจารณาปราสาทพระวิหาร เปนมรดกโลกทางวัฒนธรรม ในการนี้กัมพูชาพยายามยึดครองพื้นที่ ๔.๖ ตร.กม. ของไทยเพื่อใชเปนเขตกัน ชนรอบตัวปราสาทตามเงื่อนไขในการขึ้นทะเบียนมรดกโลก โดยกัมพูชาไดออกพระราชกฤษฎีกากําหนดเขต คุมครองปราสาท ซึ่งแสดงเสนเขตแดนไทย-กัมพูชา และกําหนดอํานาจหนาที่ของรัฐเหนือเขตคุมครองตาม แผนที่แนบทาย (แผนที่ ๑:๒๐๐,๐๐๐)

ตอมาเมื่อ ๑๘ มิ.ย. พ.ศ. ๒๕๕๑ (สมัยรัฐบาล นายสมัคร สุนทรเวช) นายนพดล ปทมะ รมว.กต. ไดมี แถลงการณรวมไทย-กัมพูชา วาไทยสนับสนุนใหกัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกแต เพียงฝาย เดียว ซึ่งศาลปกครองมีคําสั่งคุมครองชั่วคราว ไมใหรัฐบาลนําแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา และ มติ ครม. เมื่อ ๑๗ มิ.ย. ๒๕๕๑ ไปใชประโยชนในการดําเนินการขึ้นทะเบียนมรดกโลก และศาล รธน.วินิจฉัย วา รัฐบาลทําเกินบทบาท/ อํานาจฝายบริหารตอเรื่องอธิปไตยและดินแดน รวมทั้งเปนการทําโดยพลการ/ ไมผานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ตลอดจนไมนําเรื่องนี้ผานรัฐสภา จึงเปนการละเมิด รธน.ป ๒๕๕๐ มาตรา ๑๙๐ เนื่องจากแถลงการณรวมไทย-กัมพูชามีสถานะเปน “สนธิสัญญา” จึงกอใหเกิดพันธะ ผูกพันตอรัฐบาลทั้งสองฝาย และกอใหเกิดผลกระทบตอไทยโดย ขอ ๑ ระบุวา ไทยสนับสนุนการขอขึ้น ทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกตามแผนที่ที่จัด เตรียมโดยกัมพูชา ซึ่งมีเนื้อที่รวมทั้ง “ตัวปราสาท” และ “บริเวณพื้นที่โดยรอบ” ทางทิศตะวันออกและทิศใต เปนการแสดงวาไทยยอมรับอํานาจอธิปไตยของ กัมพูชาเหนือปราสาทพระวิหาร อันเปนพื้นที่ทับซอนระหวางไทย-กัมพูชา ขอเท็จจริง คดีปราสาทพระวิหารศาลยุติธรรมระหวางประเทศไดตัดสินใหกัมพูชามีอํานาจ อธิปไตยเหนือ พื้นที่ที่ปราสาทพระวิหารตั้งอยูเทานั้น ซึ่งไทยไดยื่นประทวงคําพิพากษาและตั้งขอสงวนไว โดยถือวา ปราสาทพระวิหารยังอยูในอํานาจอธิปไตยของไทยและไทยจะกลับไปครอบครองอีกครั้ง ขอสงวนของไทย ‐ 38 ‐


ครอบคลุมถึงสิทธิของไทยในขณะนั้นและ/หรือจะพึงมีในอนาคต แตเนื้อหาขอ ๑ ในแถลงการณรวม เปนการ เพิกถอนคําคัดคานและขอสงวนสิทธิของไทย จึงเปนการหยิบยื่น “ปราสาทพระวิหาร” รวมถึง “พื้นที่รอบ ปราสาท” ตามที่ระบุไวในแผนที่แนบทายแถลงการณรวม ใหอยูภายใตอํานาจอธิปไตยของกัมพูชาโดย ปราศจากเงื่อนไข นอกจากนี้เนื้อหาใน ขอ ๔ ยังระบุวา ไทยกับกัมพูชาจะรวมกันทําแผนบริหารจัดการ “พื้นที่ดานทิศเหนือ” และ “ทิศตะวันตก” ของปราสาทพระวิหาร โดยแผนบริหารจัดการนั้นจะเปนสวนหนึ่งของแผนบริหารจัดการ ปราสาทและพื้นที่ โดยรอบซึ่งจะนําเสนอคณะกรรมการมรดกโลก ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการมรดก โลกครั้งที่ ๓๒ ระบุใหมีองคกร/ ประเทศ ๗ องคกร/ ประเทศ เขามาทําแผนบริหารจัดการพื้นที่ดวย โดยไทย จะเปนเพียง ๑ ใน ๗ องคกร/ ประเทศที่จะบริหารจัดการมรดกอันเปนของไทยเทานั้น คณะกรรมการมรดกโลกได ประชุมไปแลว ๓ ครั้ง โดยการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ครั้งที่ ๓๑ ที่ เมืองไครสตเชิรช นิวซีแลนด ไดมีการเสนอขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก ตอมา ในการ ประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ครั้งที่ ๓๒ ที่ควิเบก เมื่อ ๗ ก.ค. ๒๕๕๑ ที่ประชุมรับพิจารณาปราสาทพระ วิหารเปนมรดกโลก แตการขึ้นทะเบียนจะบรรลุผลผสมบูรณตอเมื่อกัมพูชาสงแผนที่/ แผนผังฉบับสมบูรณ ประกอบดวย Buffer Zone, Development Zone และแผนบริหารจัดการพื้นที่เรียบรอยแลว นอกจากนี้การ ประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ครั้งที่ ๓๓ ที่สเปน ยังระบุวา บันทึกการประชุมทั้ง ๓ ฉบับ ที่ลงนามแลวนั้น ยังไมมีผลจนกวาทั้งสองฝายจะตองยืนยันผานชองทางการทูตวา ไดมีการดําเนินการตามกระบวนการทาง กฎหมายภายในประเทศครบถวนแลว สวนการประชุมคณะ กรรมการมรดกโลก ครั้งที่ ๓๔ ที่บราซิล เมื่อ ๒๕ ก.ค. ๒๕๕๓ กัมพูชายังไม สามารถปฏิบัติตามกรอบดังกลาวขางตนไดอยางสมบูรณ ที่ประชุม จึงไดมีมติใหเลื่อนกรณีการขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกไปพิจารณา ในป ๒๕๕๔

‐ 39 ‐


๑.๓ บันทึกความเขาใจระหวางไทย-กัมพูชา วาดวยการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทาง บก (Memorandum of Understanding : MOU) เมื่อ ๑๔ มิ.ย. ๒๕๔๓ (สมัยรัฐบาล นายชวน หลีกภัย) ม.ร.ว.สุขุมพันธุ บริพัตร รมช.กต. ไดลงนามใน MOU ๒๕๔๓๒ โดยมีขอความที่สุมเสี่ยงตอการสูญเสียดินแดน คือ ขอ (ค) การสํารวจและจัดทําหลักเขต แดนทางบกใหเปนตามแผนที่ที่จัดทําขึ้นตามผลงานการ ปกปนเขตแดนของคณะกรรมการปกปนเขตแดน ระหวางสยามกับอินโดจีน ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญาฉบับป ค.ศ.๑๙๐๔ และสนธิสัญญาฉบับป ค.ศ. ๑๙๐๗ (ซึ่งหนังสืออนุมัติของ นายชวน หลีกภัย ลง ๑๒ มิ.ย.๒๕๔๓ ระบุไวชัดเจนวา หมายถึงแผนที่มาตราสวน ๑: ๒๐๐,๐๐๐ ที่ฝรั่งเศสจัดทําขึ้นทั้งที่ไมมีการรับรองจาก คณะกรรมการปกปนผสม สยาม-ฝรั่งเศส) เนื่องจาก คณะกรรมการดังกลาวไดยุบเลิกไป ในเดือน มี.ค.๑๙๐๗ สวนแผนที่ฉบับนี้ (๑:๒๐๐,๐๐๐) ถูกตีพิมพที่กรุง ปารีส ในป ค.ศ. ๑๙๐๘ คณะกรรมการปกปนผสมฯ จึงไมมีสวนรับรู/ จัดทําแผนที่ดังกลาว และไมอาจกลาว ไดวาแผนที่ ๑: ๒๐๐,๐๐๐ เปนแผนที่ซึ่งจัดทําโดย คณะกรรมการปกปนผสม สยาม - ฝรั่งเศส แตกลับถูก รับรองโดย นายชวน หลีกภัย ที่สําคัญ MOU ๒๕๔๓ ยังไมไดผานการเห็นชอบจากรัฐสภา ตาม รัฐธรรมนูญป ๒๕๔๐ มาตรา ๒๒๔ และ สิ้นผลไปแลว เนื่องจากเปนเพียงขอตกลงระหวางประเทศของฝายบริหารในขณะนั้น ยอมไมผูกพันตอมา

‐ 40 ‐


๑.๔ คณะกรรมาธิการเขตแดนรวมไทย-กัมพูชา (Joint Boundary Committee : JBC)

JBC เปนคณะทํางานที่ตั้งขึ้นตามบันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักร ไทย กับรัฐบาลแหง ราชอาณาจักรกัมพูชา (MOU ๒๕๔๓) เมื่อ ๑๔ มิ.ย. ๒๕๔๓ ใหทําการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทาง บกตลอดแนว โดยมี รัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศเปนประธาน ผูอํานวยการกองเขตแดน (กต.) เปน กรรมการและเลขานุการ สวนกรรมการอื่นๆ ประกอบดวย เลขาธิการสภาความมั่นคงแหงชาติ ผูแทนผู บัญชาการกองทัพไทย เจากรมแผนที่ทหาร เจากรมอุทกศาสตรทหารเรือ ผูแทนกระทรวงมหาดไทย ผู บัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน อธิบดีกรมสนธิสัญญาทางกฎหมาย (กต.) เอกอัครราชทูต ณ กรุง พนมเปญ เปนตน ตอมา เมื่อ ๒๑ ต.ค. ๒๕๕๑ (สมัยรัฐบาล นายสมชาย วงศสวัสดิ์) ครม. มีมติเห็นชอบ แตงตั้ง นายวศิน ธีรเวชญาณ (อดีตเอกอัครราชทูต ณ กรุงโซล/อดีตอธิบดีกรมสนธิสัญญา ทางกฎหมาย (กต.) ป พ.ศ. ๒๕๔๓/ที่ปรึกษาดานกฎหมายของ กต. ตั้งแตสมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ถึงปจจุบัน) เปนประธาน JBC สําหรับอํานาจหนาที่ ของ JBC ในการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบกนั้น กต. อางวาการปกปนเขต แดนยังไมแลวเสร็จ แตขอเท็จจริง การปกปนเขตแดนระหวางไทยกับกัมพูชานั้นทําเสร็จสิ้นสมบูรณแลว ตาม สนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. ๑๙๐๔ (ร.ศ. ๑๒๒) และ ค.ศ. ๑๙๐๗ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ไทยไดมีการปก ปนเขตแดนกับประเทศเพื่อนบานทั้งสี่ดานรวมกับประเทศมหา อํานาจผูครองอาณานิคมโดยดานไทยกัมพูชา ทํากับฝรั่งเศส ทั้งสองฝายไดจัดทําหลักฐานแสดงแนวเขตแดนไว เชน สนธิสัญญา, อนุสัญญา, แผนที่ปกปน หลักเขตแดน ทั้งนี้หลักฐานดังกลาวยังคงมีผลบังคับใชมาจนถึงปจจุบันและสืบสิทธิมายัง ประเทศเพื่อนบานภายหลังไดรับเอกราช โดยการทําสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. ๑๙๐๗ ไดมีการจัดทํา หลักเขตแดนไวเปนหลักฐาน จากชองเกล (หรือชองสะงํา) มาทางทิศตะวันตก จํานวน ๗๓ หลัก (หลักที่ ๑ ที่ชองสะงํา อ.ภูสิงห จว.ศ.ก. ถึงหลักที่ ๗๓ ที่ บ.หาดเล็ก อ.คลองใหญ จว.ต.ร.) สวนเขตแดนที่เหลือ จาก ‐ 41 ‐


ชองเกลไปทางทิศตะวันออกถึงชองบก จว.อ.บ.นั้น ใหยึดถือสันปนน้ํา ตามสนธิสัญญา ค.ศ. ๑๙๐๔ โดยไม มีการจัดทําหลักเขตแดน เมื่อเปนเชนนี้ JBC จึงไดทําเกินขอบเขตอํานาจหนาที่ที่จะสํารวจในพื้นที่จากหลัก เขตแดนที่ ๑-๗๓ แตกลับหาวิธีเขาไปในพื้นที่จากหลักเขตแดนที่ ๑ ขึ้นไปสํารวจปราสาทพระวิหารดวย เมื่อ ๒๘ ต.ค. ๒๕๕๑ รัฐสภาไดเห็นชอบกรอบการสํารวจและจัดทํา หลักเขตแดนทางบกตลอดแนว ไทย-กัมพูชา ดวยคะแนนเสียง ๔๐๙:๗ สําหรับการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนมีความคืบหนามากในการ ประชุม JBC เมื่อ ๖-๗ เม.ย. ๒๕๕๒ ทั้งสองฝายสามารถตกลงกันไดเกือบทุกประเด็นโดยเฉพาะประเด็นการ จัดตั้ง “ชุดทหารติดตามสถานการณชั่วคราว” (Temporary Military Monitoring Task Force) เพื่อ ดําเนินการเกี่ยวกับการปรับกําลังทหาร และจัดตั้ง “ชุดประสานงานชั่วคราว” (Temporary Coordinating Task Force) เพื่อพิจารณาปญหาที่เกี่ยวของกับพื้นที่พิพาทบริเวณเขาพระวิหาร เมื่อขอตกลงชั่วคราวไทยกัมพูชาฯ มีผลบังคับใชพื้นที่ปราสาทพระวิหารจะปราศจากกําลังทหารของไทย แตจะมีชุดทหารติดตาม สถานการณชั่วคราว และชุดประสานงานชั่วคราวปฏิบัติหนาที่แทนโดยทํางานรวมกับฝายกัมพูชา ตรงตาม เงื่อนไขของการขึ้นทะเบียนมรดกโลก เรื่อง ไมใหมีกําลังทหารในทรัพยสินมรดกโลกอยางเด็ดขาด

บันทึกการประชุม JBC จํานวน ๓ ฉบับ ไดแก ๑) บันทึกการประชุม JBC สมัยวิสามัญที่เมืองเสียมราษฎร วันที่ ๑๐-๑๒ พ.ย. ๒๕๕๑ ขอสังเกต นายวศิน ธีรเวชญาณ ประธาน JBC ไทย ไดเรงรัดประเด็นทางกฎหมายเกี่ยวกับพื้นที่รอบ ปราสาทพระวิหาร และกลาวถึงขอตกลงชั่วคราวซึ่งจะทําให JBC มีอํานาจตัดสินใจเรื่อง การเตรียมพื้นที่รอบ ปราสาทใหอยูในสภาพพรอมสําหรับการสํารวจเขตแดน สวน นายวาร คิม ฮง ประธาน JBC กัมพูชา กลาววา ‐ 42 ‐


“ไทยไดสงกําลังทหารเขามาในพื้นที่ชายแดนและบางโอกาสกําลังเหลานี้ได รุกล้ําเขามาในดินแดน กัมพูชา” ขณะที่ นายวศิน ธีรเวชญาณ ไมทักทวง ปลอยใหนายวาร คิม ฮง บันทึกไวในการประชุม (ทั้งที่ ความจริงการรบกันบริเวณ ภูมะเขือ นั้นอยูในเขตไทย)

๒) บันทึกการประชุม JBC ครั้งที่ ๔ ที่กรุงเทพฯ วันที่ ๓-๔ ก.พ. ๒๕๕๒ ขอสังเกต ประธาน JBC ไทย ยังเรงรัดการจัดทําหลักเขตแดน สวนประธาน JBC กัมพูชา ยังคงตองการ บันทึกถอยคําของฝายกัมพูชาไวในบันทึกการประชุมวา ฝายไทยรุกล้ําอธิปไตยกัมพูชา

‐ 43 ‐


๓) บันทึกการประชุม JBC สมัยวิสามัญ ที่กรุงพนมเปญ วันที่ ๖-๗ เม.ย. ๒๕๕๒ ขอสังเกต บันทึกการประชุมฉบับนี้อาจถือเปนบทสรุปของการประชุมที่ผานมา โดย JBC ทั้งสองฝาย พยายามรวบรัดการพิจารณาเรื่องตางๆ ( กต.ไทยไมยอมแปลเอกสารตรงตามขอความ) และ ประธาน JBC ไทย ไมปฏิเสธขอกลาวหาของกัมพูชา ซึ่งเทากับยอมรับวาไทยรุกล้ําอธิปไตยของกัมพูชา หากมีการนํากรณี ดังกลาวฟองรองตอศาลโลก ไทยไดแสดงใหเห็นถึงความไมหวงกันสิทธิและดินแดนของตน ซึ่งไทยอาจ เขาขาย “กฎหมายปดปาก” อีกครั้งก็เปนได ปจจุบันกัมพูชาประสบความสําเร็จทางพฤตินัยในการรุกล้ํา อธิปไตยของไทย ดวยการตั้งชุมชนรอบปราสาทพระวิหารซึ่งในทางกฎหมายระหวางประเทศ การบุกรุกยึด ครองของกองกําลังตางชาติถือวาเปนขั้นแรกของการเสียดินแดนแลว เมื่อกระบวนการขึ้นทะเบียนปราสาท พระวิหารเปนมรดกโลก เสร็จสมบูรณกัมพูชาก็จะประสบความสําเร็จทางนิตินัย โดยมี “สนธิสัญญา” เปน พันธะผูกพันรัฐบาลทั้งสองฝายและเปนที่ยอมรับของนานาชาติ แมวากองทัพไทยจะมีอํานาจกําลังรบเหนือ กัมพูชา แตกองทัพก็อาจถูกปดกั้นการใชกําลังทหารในการรักษาอธิปไตยของชาติดวย “สนธิสัญญา” ที่ กระทําขึ้นโดยฉอฉลและเปนการกระทําผิดรวมกันของนักการเมืองที่เปนฝายบริหารและฝายนิติบัญญัติ เมื่อ ๒๘ ส.ค. ๒๕๕๒ และ ๒ ก.ย. ๒๕๕๒ (สมัยรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) ไดมีความพยายาม เสนอบันทึกการประชุม JBC และรางขอตกลงชั่วคราวไทย-กัมพูชา เขาสูการพิจารณาของรัฐสภา เพื่อขอ ความเห็นชอบตามรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๕๐ มาตรา ๑๙๐ (ไดมีการเลื่อนวาระดังกลาวออกไป) ตอมาเมื่อ ๒๘ ต.ค. ๒๕๕๓ ไดมีการเสนอบันทึกการประชุม JBC และรางขอตกลงชั่วคราวไทย-กัมพูชา เขาสูการพิจารณา ของรัฐสภาเพื่อลงมติเห็นชอบใน ๒ พ.ย. ๕๓ แตภาคประชาชนไดออกมาชุมนุมคัดคานการลงมติดังกลาว ในที่สุดรัฐสภาไดมีมติใหตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นมาศึกษาบันทึกการประชุมทั้ง ๓ ฉบับ ภายใน ๓๐ วัน กอนจะ นําเขาสูการพิจารณาอีกครั้ง

ทั้งนี้ ภาคประชาชนภาคีเครือขายผูตด ิ ตามสถานการณปราสาทพระวิหารและเครือขาย ประชาชนไทย หัวใจรักชาติ ไมเห็นดวยกับการบรรจุวาระรายงานบันทึกการประชุม JBC และรายงานการประชุม GBC (General Border Committee) ซึ่งยึดหลัก MOU ๒๕๔๓ เขาสูการพิจารณาของรัฐสภา และไมเห็นดวยกับ ‐ 44 ‐


การตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นมาศึกษาอีก ทั้งๆ ที่มีทางเลือกที่ดีกวา คือ การยอมรับวา MOU ๒๕๔๓ ที่ไป รับรอง แผนที่ ๑:๒๐๐,๐๐๐ นั้น เปนความผิดพลาด และไมเปนคุณตอประเทศสมควรเรงแกไข โดยเริ่มตน จากการยอมรับความจริง เนื่องจาก JBC กําเนิดขึ้นตาม MOU ๒๕๔๓ ซึ่งยอมรับแผนที่ที่กัมพูชาใช (แผนที่มาตราสวน ๑: ๒๐๐,๐๐๐) เปนพื้นฐานในการเจรจาและการดําเนินการทั้งปวง หากรัฐสภามีมติเห็นชอบบันทึกการประชุม JBC ก็เทากับเปนการยอมรับ MOU ๒๕๔๓ (ยอมรับแผนที่มาตราสวน ๑: ๒๐๐,๐๐๐) และขอตกลงชั่วคราว ฉบับดังกลาวระบุวา จะมีผลบังคับใชทันทีที่ผานกระบวนการตามกฎหมายสูงสุดภายในประเทศ การที่กัมพูชาขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกนาจะเปนเพียงจุดเริ่มตน แตเปา หมายที่ แทจริง คือ การยึดครองพื้นที่ในไหลทวีปที่ไทยและกัมพูชาอางสิทธิทับซอนกันซึ่งอุดม ดวยน้ํามัน ปโตรเลียมมูลคามหาศาล รวมทั้งการรุกอาณาเขตไทยทางบกตลอดแนวชายแดน ๗ จังหวัด โดยใชการขอ ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกเปนเครื่องมือในการจัดทํา สนธิสัญญาระหวางประเทศขึ้นใหม เพื่อลบลางขอตกลงเดิมและเปดโอกาสใหกัมพูชาสามารถกําหนดหลักเกณฑการปก ปนเขตแดนใหม (ใช แผนที่ ๑:๒๐๐,๐๐๐) ปจจุบันผูที่ไดรับ ความเดือนรอนที่สุด คือ ประชาชนตามแนวตะเข็บชายแดน ทั้งถูกปลน ถูกลักพาตัว ถูก ขมขืน ถูกกระทําใหสูญเสียพื้นที่ทํากิน ทั้งๆ ที่ คนไทยยากจนและมีปญหาไมมีที่ดินทํากินมากพออยูแลว มี หลักฐานวา ราษฎรไทยตองไปเชาที่ดินกัมพูชาในที่ดินเดิมซึ่งตนทํามาหากิน (ภาคีเครือขายฯ มีหลักฐาน การถูกกระทําเชนนี้) ตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ ถือวา ฝายทหารไทยและฝายกัมพูชาชวยกัน Genocide ราษฎรไทย ทั้งนี้ ราษฎรไทยใชสิทธิเขาไปตั้งบานเรือนเพื่อทวงคืนแผนดิน กองทัพควรเปนที่พึ่ง ของประชาชนในยามนี้ อยางนอย ใหมีการผลักดันกองกําลังตางชาติออกไปจากผืนแผนดินไทยตามแผนที่ มาตราสวน เดิมที่ไทยใชอยูกอนอันถูกตองตามกฎหมาย

๒. ขอเสนอ ๒.๑ คัดคานการรับรองบันทึกการประชุม JBC ทั้ง ๓ ฉบับ และรางขอตกลง ชั่วคราวไทย-กัมพูชา ลง ๖ เม.ย. ๒๕๕๒ ๒.๒ รัฐบาลตองยกเลิก MOU ๒๕๔๓, MOU ๒๕๔๔, JC ๒๕๔๔, TOR ๒๕๔๖ (เรื่องแผนที่ มาตราสวน ๑:๒๐๐,๐๐๐) รวมทั้งยกเลิก แถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ๒๕๕๑ และทบทวนการปฏิบัติตามรายงาน GBC ๒.๓ สมควรใหประชาชนไทยรับรูขอมูลขาวสารที่เปนจริง และมีสวนรวมแสดง ความคิดเห็นในการแกไขปญหาดังกลาว ๒.๔ รัฐบาลควรทบทวนจุดยืนในเรื่อง ความสัมพันธระหวางประเทศกับการรักษา อธิปไตยของชาติ ๒.๕ ดูแลและใหความเปนธรรมกับประชาชนที่ตั้งหมูบานทวงคืนแผนดินตาม ตะเข็บชาย แดน และประชาชนที่ถูกทหารกัมพูชายึดที่ดินทํากิน รวมทั้งปลูก บานเรือนทับที่ดินของคนไทย วันที่ ๒๖/๑๑/๒๕๕๓ http://www.rsunews.net/Think%๒๐Tank/TT๓๓๕/TheLossOfThaiTerritory.htm

‐ 45 ‐


การแทรกสอดความสัมพันธทวิภาคี โดย ศาสตราจารย ดร.สมปอง สุจริตกุล

๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓

ความสัมพันธทวิภาคี หรือสองฝายระหวางสองรัฐหรือสองประเทศนั้น ตามหลักกฎหมายจารีตประเพณี ระหวางประเทศเปนเรื่องของประเทศคูกรณี ประเทศที่สามหรือประเทศที่มิใชคูกรณีหรือคูสัญญาจะเขามา แทรกแซงไมได หลักประกันการไมแทรกแซงคือกฎหมายระหวางประเทศที่บัญญัติไวหลายรูปแบบและ หลายลักษณะในกฎบัตรสหประชาชาติ อาทิ หลักการไมใชกําลัง “non-use of force” (ขอ 2 วรรค 4) หลักการไมแทรกแซง “non-intervention” และ หลักการไมแทรกสอด “non-interference” (ขอ 2 วรรค 7) หลักดังกลาวนี้กําหนด ไวชัดเจนในจารีตประเพณีระหวางประเทศ ในสวนที่เกี่ยวของกับความสัมพันธทวิ ภาคี ภาษิตลาตินซึ่งมาจากกฎหมายโรมันใชถอยคําวา “pacta tertii nec nocent nec prosunt” หมายถึง สนธิสัญญาหรือสัญญานั้นๆ ยอมไมเอื้อประโยชนหรือกอพันธกรณีใหประเทศที่สาม รัฐที่สามหรือองคการ ระหวางประเทศจึงไมมีอํานาจหรือสิทธิใดๆที่จะเขามา แทรกแซงเรื่องไทยกับกัมพูชาซึ่งเปนความสัมพันธทวิ ภาคี ไทยไมจาํ เปนตองอาศัยบันทึกความเขาใจหรือ MOU เพื่อยืนยันหลักกฎหมายระหวางประเทศแตอยาง ใด ทั้งนี้ เพราะ MOU ไมผูกพันประเทศที่สามหรือรัฐอื่น ความขัดแยงใดๆ ระหวางรัฐอยูในขายบังคบของขอ บทที่ 33 แหงกฎบัตรสหประชาชาติ สวนการเจรจานั้น หากจะกระทําในประเทศที่สามก็สามารถทําได แต เปนเพียงการใชสถานที่เทานั้น อนึ่ง ในกรณีที่เกี่ยวของกับกิจการภายในของแตละรัฐไมวาไทยหรือกัมพูชา ประเทศที่สามหรือองคการ ระหวางประเทศไมมีอํานาจหนาที่เขามาแทรกสอด (กฎบัตรสหประชาชาติ ขอ 2 วรรค 7) ดังกรณีตัวอยาง มากมายในรายงานสหประชาชาติทั้งในมติที่ประชุมสมัชชา และมติของคณะมนตรีความมั่นคง (Security Council) เวนไวแตกรณีที่กระทบถึงการละเมิดสันติภาพ (Breach of the Peace) หรือการคุกคามสันติภาพ (Threat to the Peace) ในระดับนานาชาตินอกเหนือจากกิจการภายในหรือความสงบเรียบรอยของแตละรัฐ เนื่องจากไทยและ กัมพูชาตางก็เปนสมาชิกสหประชาชาติ กฎบัตรสหประชาชาติยอมผูกมัดทั้งสอง ประเทศ ขอ 2 วรรค 7 และขอ 33 ของกฎบัตรฯ จึงเปนหลักประกันการไมแทรกสอดของประเทศที่สามหรือ องคการระหวางประเทศโดย ไมจําเปนตองใช MOU หรือ JBC ตอกย้ําหลักกฎหมายระหวางประเทศตามกฎ บัตรหรือจารีตประเพณีระหวางประเทศแต อยางใด อนึ่ง นอกจากไมชวยในการสกัดกั้นการแทรกสอดของมือ ที่สาม ขอความบางตอนในเอกสารดังกลาวยังสงผลใหประเทศไทยสุมเสี่ยงตอการสูญเสีย อันเปนสิ่งที่ควร หลีกเลี่ยงเปนอยางยิ่ง ‐ 46 ‐


จุดออนของประเทศหรือ รัฐบาลไทยไมแตกตางจากประเทศที่กําลังพัฒนาทั่วไป คือไมศึกษาหรือให ความสนใจกฎหมายระหวางประเทศ หรือกฎบัตรสหประชาชาติ หรือแมแตกฎบัตรอาเซียนหรือปฎิญญาบัน ดุง หากไทยใหความสําคัญกับพันธกรณีระหวางประเทศเบื้องตน ก็จะสามารถดําเนินการและปฏิบัติตามอยาง ถูกตองและชอบธรรม โดยเฉพาะปญหาระหวางไทยกับกัมพูชาในปจจุบัน ไทยไมควรหวั่นวิตกวาจะมี ประเทศที่สามหรือองคการระหวางประเทศเขามาแทรก สอดในกิจการภายในหรือความสัมพันธทวิภาคี ฉะนั้น ไทยจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองใหความสนใจศึกษากฎหมายระหวางประเทศอยาง ละเอียดและ ลึกซึ้ง ตองมีความแมนยําในตัวบทกฎหมาย กฎบัตรสหประชาชาติ และสนธิสัญญา ทั้งนี้ เพื่อความพรอมใน การเผชิญปญหาระหวางประเทศดวยความมั่นใจในสถานะภาพของตน เอง หนาที่ของปวงชนชาว ไทยคือรักษาไวซึ่งสิทธิและผลประโยชนของประเทศชาติ โดยไมคํานึงถึง ผลประโยชนทับซอน หรือแสวงหาทรัพยากรหรือพลังงานในพระราชอาณาเขตประเทศไทยโดยมิชอบดวย กฎหมาย

http://www.rsunews.net/Think%20Tank/TT321/Interference.htm

‐ 47 ‐


ความผิดพลาดของแผนที่ คําสัมภาษณของ ศ. ดร. สมปอง สุจริตกุล เผยแพรทาง RSU NEWS วันที่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓

ขาพเจาขอถือโอกาสย้ําอีกครั้งถึงความผิดพลาดของแผนที่ที่กัมพูชานํามาใชประกอบเอกสาร แผน ที่ฉบับนี้ทําขึ้นโดยกรรมการฝรั่งเศสในคณะกรรมการผสมสยาม-ฝรั่งเศสโดยไทยมิไดมีสวนรวม แผนที่ ดังกลาวมีความผิดพลาดอยางมหันตเนื่องจากเสนเขตแดนคลาดเคลื่อนจากขอตกลงในสนธิสัญญาซึ่งระบุวา สันปนน้ําเปนเสนแบงเขต ทั้งนี้ ไดมีผูพิพากษาศาลยุติธรรมระหวางประเทศ ๓ ทานในคดีปราสาทพระวิหาร ไดชี้ใหเห็นความไมถูกตองของแผนที่ไวอยางละเอียดถึง ๔๖ หนาในคําพิพากษาแยง (พ.ศ. ๒๕๐๕) ขาพเจาขออธิบายเพิ่มเติมวา คําพิพากษาแยงมิใชเปนเพียง ‘ความเห็น’ ตามที่หลายทานเขาใจ แตเปนสวน หนึ่งของคําพิพากษาซึ่งมีผลผูกพันคูกรณี ในประวัติความสัมพันธระหวางประเทศ ยังไมมีประเทศหนึ่งประเทศใดไดดินแดนของอีกประเทศ โดยทําแผนที่ผิด รุกล้ําเขาไปในดินแดนของอีกฝายโดยลากเสนตามใจชอบ กรณีแรกนาจะเปนประเทศ กัมพูชาซึ่งใชแผนที่ที่รูดีอยูแลววามีเสนเขตแดนที่ผิดพลาดเปนเครื่องกําหนดเขตแดน แผนที่ฉบับดังกลาว ทําขึ้นโดย พ.อ. แบรนารด (ฝรั่งเศส) ร.อ. ทริกซิแอร (ฝรั่งเศส) และ ร.อ. อุม (เขมร) ซึ่งลากเสนเขตแดน ตามอําเภอใจโดยไมคํานึงถึงสันปนน้ําซึ่งเปนเสนแบงเขตที่แทจริงตามอนุสัญญา ค.ศ. ๑๙๐๔ และ สนธิสัญญาและพิธีสาร ค.ศ. ๑๙๐๗

นอกจากนั้น MOU พ.ศ. ๒๕๔๓ ยังใชเอกสารอางอิงถึง ๓ ฉบับคือ (๑) อนุสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. ๑๙๐๔ (๒) สนธิสัญญาและพิธีสาร ค.ศ. ๑๙๐๗ และ (๓) แผนที่ผนวก ๑ มาตราสวน ๑:๒๐๐,๐๐๐ แผนที่ดังกลาวเปนที่ปรากฏอยางชัดเจนมาชานานกวา ๕๐ ปแลววาผิดพลาด โดยเฉพาะอยางยิ่งในการ พิจารณาคดีปราสาทพระวิหารที่ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ ณ กรุงเฮก ประเทศไทยไดอางอิงเอกสาร หลักฐานของศาสตราจารย สเกรเมอรฮอรน พยานผูเชี่ยวชาญจากสถาบันแผนที่เมืองเดลฟ ประเทศ เนเธอรแลนด จากผลจากการสํารวจของนายอัคเคอรมานน รายงานผูเชี่ยวชาญที่ไทยไดยื่นตอศาลฯ แสดง วา เสนเขตแดนในแผนที่ผนวก ๑ ตอทายคําฟองของกัมพูชาไดถูกกําหนดขึ้นโดยมิไดเปนไปตามเสนสันปน

‐ 48 ‐


น้ําตามที่กําหนดไวในบทนิยามแหงความตกลงที่ไทยกับฝรั่งเศสไดกระทําขึ้นเมื่อ ค.ศ. ๑๙๐๔ และมีการ ยืนยันในป ๑๙๐๗ ฉะนั้น เสนเขตแดนที่ปรากฏในแผนที่ผนวก ๑ จึงผิดพลาดโดยสิ้นเชิง ดวยเหตุผลและขอเท็จจริงดังกลาวขางตน ทุกครั้งที่ฝรั่งเศส (ในอดีต) หรือกัมพูชา ถือโอกาสเสนอ แผนที่ที่ผิดพลาดแทรกเขามาเปนเอกสารลําดับที่ ๓ ใน MOU ๒๕๔๓ ๒๕๔๔ และ TOR ๒๕๔๖ รวมทั้งใน แถลงการณรวม พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งลวนแลวแตเปนเอกสารที่มิชอบ ไทยจําเปนตองทักทวงหรือตั้งขอสังเกตไว แผนที่ที่ผิดพลาดยอมใชไมไดและไมมผ ี ล แตกัมพูชาก็หยิบยื่นหรือยัดเยียดใหไทยเชนเดียวกับที่ ฝรั่งเศสไดกระทําเมื่อรอยกวาปมาแลว ไทยชอบที่จะตั้งขอสังเกตและคัดคานอยางชัดเจน มิใชเกรงใจหรือ เกรงกลัว ไมกลาวถึงซึ่งหมายถึงการยอมรับโดยดุษณีย อนึ่ง ในการเจรจาสองฝายหรือทวิภาคี คูเจรจามีหนาที่พูด มิใชฝายหนึ่งพูดแตอีกฝายรับฟงสถาน เดียว โดยเฉพาะในกรณีที่มีผลกระทบถึงอธิปไตยของประเทศชาติซึ่งมีความสําคัญสูงสุด การไมโตแยงจะ นํามาซึ่งกฎหมายปดปากเชนในอดีต และครั้งนี้ไทยจะตองอัปยศยิ่งกวาเพราะมิไดถูกปดปากโดยฝรั่งเศสซึ่ง เปนประเทศมหาอํานาจ แตถูกปดปากโดยอดีตประเทศราชยของไทย”

ศาสตราจารย ดร. สมปอง สุจริตกุล คณบดีคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต B.A., B.C.L., M.A., D.Phil., and D.C.L. (Oxon) Diplômé d’Etudes Supérieures de Droit International Public, Docteur en Droit (Paris) LL.M. (Harvard) of the Middle Temple, Barrister-at-law (United Kingdom) Diplômé de l’Académie de Droit International de La Haye (Nederland)

โก สหรัฐอเมริกา

-ศาสตราจารยกิตติคุณกฏหมายระหวางประเทศและกฏหมาย เปรียบเทียบมหาวิทยาลัยกฎหมาย โกลเดนเกท ซานฟรานซิส

-สมาชิกสถาบันอนุญาโตตุลาการแหงประเทศไทย -สมาชิกสถาบันอนุญาโตตุลาการองคการกฏหมายเอเซีย-แอฟริกา ณ กรุงไคโร และกัวลาลัมเปอร -อนุญาโตตุลาการอิสระ -อดีตเลขาธิการอาเซียน (ประเทศไทย) -อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจําเนเธอรแลนด,เบลเยีย ่ ม,ลักเซมเบอรก,ญี่ปน ุ , ฝรั่งเศส,โปรตุเกส,อิตาลี,กรีก,อิสราเอล และองคการตลาดรวมยุโรป -อดีตหัวหนาคณะผูแทนไทยประจํา UNESCO และ FAO -อดีตสมาชิกศูนยระงับขอพิพาทการลงทุนศาลอนุญาโตตุลาการธนาคารโลก ICSID World Bank -อดีตกรรมาธิการสหปราชาชาติเพื่อพิจารณาคาชดเชยความเสียหายในประเทศคูเวต (UNCC)และทนายผูประสานงาน คณะทนายฝายไทยในคดีปราสาทพระวิหาร ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๐๒-๒๕๐๕

‐ 49 ‐


๒.๕

ปราสาทพระวิหาร: ความสัมพันธไทย-กัมพูชา คําสัมภาษณและบทความ สุรพงษ ชัยนาม

สุรพงษ ชัยนาม จบการศึกษา ปริญญาตรีจาก Marshall University สหรัฐอเมริกา เขารับราชการกระทรวงการตางประเทศ ที่กรมสารนิเทศ เคยดํารงตําแหนง อธิบดีกรมสารนิเทศ กรมเอเชียตะวันออก เอกอัครราชทูตประจํากระทรวง เอกอัครราชทูตไทยประจําประเทศ เวียดนาม โปรตุเกส กรีก เยอรมนี แอฟริกาใต รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝายการเมือง รัฐบาลพลเอกสุรยุทธ จุลานนท ปจจุบัน ดํารงตําแหนงที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ

‐ 50 ‐


อานเกมฮุนเซนไมใชแค"เบี้ย" แตกําลังชักใยการเมืองไทย เผยแพรทาง OK NATION.NET วันจันทร ที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒

วิวาทะระหวาง สมเด็จฮุนเซน ผูนํากัมพูชา กับ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีของไทย วา ดวยเรื่อง พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร กลางวงประชุมอาเซียน กลายเปนประเด็นรอนฉายิ่งกวาขอตกลงใดๆ ของ สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต นี่คือเครื่องยืนยันประการหนึ่งถึงศักยภาพของ พ.ต.ท.ทักษิณ และหมากกลที่เขาเลือกเดิน โดยมี พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ อดีตนายกรัฐมนตรี และ สมเด็จฮุนเซน เปนมือไม สวนจะเปนมือไมระดับ "เบี้ย" ตามที่นายกฯอภิสิทธิ์พูด หรือจะเปนระดับ "ขุน" ที่พรอมจะยอนศรใช ประโยชนจาก พ.ต.ท.ทักษิณ อีกที เปนเรื่องที่นาขุดคนหาคําตอบ สุรพงษ ชัยนาม อดีตเอกอัครราชทูต ๕ ประเทศ และนักการทูตแถวหนาของเมืองไทย วิเคราะห เรื่องราวที่เกิดขึ้น โดยชําแหละออกเปนประเด็นๆ อยางนาสนใจ เริ่มจากทาทีของนายกฯ อภิสิทธิ์ ที่เลือกตอบ (จริงๆ คือ "ตอก") ผูนําเขมรแบบทันควัน โดยใชเวที แถลงขาวของที่ประชุมอาเซียนซึ่งไทยเองเปนเจาภาพ ทําใหหลายฝายออกมาวิพากษวิจารณถึงความ เหมาะความควร “ผมมองวานายกฯ ก็ตอบตามเนื้อผา ไมไดเสียหายอะไร ถาทานไมพูดอะไรเลยสิ ยิ่งจะเปนการทํา ใหประชาชนคนไทยมีความสับสนมากยิ่งขึ้น และที่สําคัญหากทานไมพูดอะไรเลย ไมแสดงจุดยืนของรัฐบาล ก็ยิ่งเทากับสงเสริมใหฮุนเซนกาวราวตอไป" ‐ 51 ‐


ประเด็นตอมาที่นํามาสูวิวาทะเที่ยวนี้ คือขออางของ สมเด็จฮุนเซน ที่จะไมสงตัว พ.ต.ท.ทักษิณ ให ไทยตามสนธิสัญญาสงผูรายขามแดนที่สองราชอาณาจักรทําไวดวยกัน หากวันหนึ่งวันใด พ.ต.ท.ทักษิณ จะ หลบเขาไปพํานักในดินแดนกัมพูชา

"เรื่องสนธิสัญญาสงผูรายขามแดนก็เปนความจริงตามที่ฮุนเซนอาง คือมีมาตราที่เปนเงื่อนไขวาตองไม เกี่ยวกับคดีการเมือง ตรงนี้เปนหลักสากลอยูแลว แตก็ตองอธิบายวาการตีความวาเปนคดีการเมืองหรือไม มันตีความตามอําเภอใจไมไดเด็ดขาด ไมใชเพราะเราไมอยากใหตีความอยางนั้น แตเรื่องที่เปนความสัมพันธระหวางประเทศ มันตองไมใชการตีความโดยพลการ เพราะรัฐบาลไทย โดยกระทรวงการตางประเทศก็มีหนังสือเวียนไปถึงทุกประเทศในโลก นี้ วาคดีของคุณทักษิณเปนคดีอาญา และศาลพิพากษาถึงที่สุดแลวใหจําคุก ๒ ป เราจึงตองขอตัวใหกลับมารับโทษในประเทศไทย" "การขอใหสงตัวที่วานี้ ไมใชเฉพาะประเทศที่มีสนธิสัญญาระหวางกันเทานั้น แตประเทศที่ไมมีสนธิ สัญญาเราก็ขอได วิธีการก็เหมือนๆ กันคือสงเอกสารหลักฐานใหศาลประเทศนั้นๆ พิจารณา ซึ่งศาลจะเปน คนตอบวาเปนคดีการเมืองหรือไม ฉะนั้นการพูดลวงหนาวาเปนคดีการเมือง ผมมองวาเปนเรื่องไรสาระ และ เปนการพูดอยางนักเลงโต พูดแบบตัวเองเปนเจาของประเทศ ซึ่งก็ตองเขาใจวาเขมรมีระบบการปกครองที่ แตกตางจากไทย แมจะเรียกประชาธิปไตย แตพรรคของฮุนเซนก็ครองอํานาจมา ๒๗ ปแลว" ในสายตาของนักการทูตที่ผานงานมาทั่วโลก ทานทูตสุรพงษ สรุปแบบเจ็บๆ วา ระบบการเมืองการ ปกครองของแตละประเทศ จะเปนตัวกําหนดพฤติกรรม ความคิด และทาทีของรัฐบาลนั้นๆ "พฤติกรรมและทาทีของฮุนเซนก็ถูกกําหนดโดยระบอบการเมืองการปกครองของเขมร ผมเชื่อวา ถาฮุนเซนมาเปนนายกฯไทย ภายใตระบบการปกครองของไทย เขาคงพูดอยางนี้ไมได สิ่งที่ฮุนเซนพูด สะทอนวาเขาคือเจาของประเทศ เหมือนที่คุณทักษิณเคยพูดสมัยผูกขาดการเมืองทุกดาน ที่พูดวายูเอ็น ไมใชพอ เพราะผูกขาดอํานาจนิติบัญญัติ บริหารเอาไวหมด" ‐ 52 ‐


ประเด็นสําคัญตอมาที่คาใจใครหลายๆ คน คือทาทีของสมเด็จฮุนเซน มีวาระอื่นซอนเรน หรือแครัก พ.ต.ท.ทักษิณ อยางสุดจิตสุดใจในฐานะเพื่อนตามที่กลาวอางจริงๆ "ผมมองวาฮุนเซนเองก็รูดีวาคดีของคุณทักษิณไมใชคดีการเมือง แตฮุนเซนมีวาระซอนเรนอันสืบ เนื่องมาจากกรณีปราสาทพระวิหาร เขาตองการรูวารัฐบาลไทยจะขีดเสนตรงไหนในปญหาปราสาทพระวิหาร เมื่อรัฐบาลไทยยังไมแสดงทาทีชัดเจนวาจะยอมใหอะไรกับเขมรหรือไม ฮุนเซนจึงคืบคลาน ยุแยงตะแคงรั่ว เพื่อหวังผลที่จะตามมา ซึ่งก็โชคดีที่นายกฯ อภิสิทธิ์ไมไดตบะแตก หรือทําตัวกักขฬะ เพราะถาทําอยางนั้น ฮุนเซนจะชอบที่สุด และเทากับเปนการติดกับดักฮุนเซน" ทานทูตสุรพงษ ระบุ พรอมยกตัวอยาง "ตอนที่คุณชวลิตไปกัมพูชา บอกวาฮุนเซนจะสรางบานใหคุณทักษิณ ภรรยาของฮุนเซนก็รองไห สงสารคุณทักษิณ จะอยางไรก็ตามเขาจะปกปองคุณทักษิณ แตพอวันรุงขึ้นรัฐมนตรีกระทรวงโฆษณาการก็ ออกมาบอกวาไมจริง พอถัดมาอีกวันฮุนเซนก็พลิกลิ้นอีก นี่คือทาทีของเขมรที่ไมเคยเปลี่ยนเลย ฉะนั้นไม ตองแปลกใจ แตเปนเกมที่เขาเลือกใชเพื่อสรางเงื่อนไขกับรัฐบาลไทยมากกวา" แตประเด็นที่นาวิตกคือ สิ่งที่ ทานทูตสุรพงษ วิเคราะหวา สมเด็จฮุนเซนอานการเมืองไทยทะลุ จึง กลาแสดงทาทีแบบนี้ "เขารูจากประสบการณวาการเมืองไทยไมมีเอกภาพ นโยบายของเขาคือตอกลิ่มสรางความ แตกแยกใหแกสังคมไทย และเมื่อแสดงใหเห็นวารัฐบาลไทยกําลังมีปญหากับประเทศเพื่อนบาน เขาก็รูวา นักการเมืองไทยบางกลุม นักธุรกิจไทยบางคน และขาราชการไทยบางสวนที่คอรรัปชัน ก็พรอมที่จะรวมมือ กับเขา เพราะเห็นแกประโยชนสวนตัวมากกวาประโยชนของบานเมือง" "นักการเมืองไทยนั้นชัดเจน ประชาชนก็คงเห็นอยู เอาเรื่องปราสาทพระวิหาร เรื่องคุณทักษิณมา เปนประเด็นโคนรัฐบาลชุดนี้ ถามวาฮุนเซนจะเลือกใครระหวางรัฐบาลชุดนี้กับรัฐบาลนอมินีทักษิณ ก็ตอบได อยางไมตองสงสัยวาเขาเลือกรัฐบาลนอมินีทักษิณ เพราะมีผลประโยชนเรียงไวแลววาจะไดอะไรบาง ฝาย ไทยเราเองตางหากที่อานฮุนเซนไมออก ตองอานใหทะลุวาฮุนเซนใชประเด็นปราสาทพระวิหารเพื่อ ประโยชนเรื่องการเมืองภายในของเขา และใชประเด็นคุณทักษิณเพื่อประโยชนทางธุรกิจ" ทานทูตสุรพงษ ยังมองตอไปวา หาก พ.ต.ท.ทักษิณ ตองการบินเขาเขมรวันนี้ เชื่อวา สมเด็จฮุน เซน จะไมตกลง เพราะทาทีที่แสดงออกเปนแคเกม "ฮุนเซนรูดีวาพูดอยางนี้จะเกิดผลอะไร ถาเอาคุณทักษิณมาอยูพนมเปญจริง เขายอมรูวาทักษิณ เปนปญหาเสี้ยนหนามของรัฐบาลไทย และหากฝนทําไปขนาดนั้น รัฐบาลไทยก็สามารถสรางปญหาให กัมพูชาไดเหมือนกัน เพราะฮุนเซนเองก็มีศัตรูเยอะทั้งในและนอกเขมร คนเหลานี้บางสวนก็อยูในประเทศ ไทย สามารถเคลื่อนไหวทิ่มแทงฮุนเซนไดเหมือนกัน มีเหตุผลเดียวที่ฮุนเซนจะรับคุณทักษิณไวในประเทศ ก็คือสรางความแตกราวใหแกประเทศไทยและสังคมไทยมากกวานี้" อดีตทูต ๕ ประเทศยังชี้ดวยวา ในบริบทของการเมืองระหวางประเทศ สิ่งที่สมเด็จฮุนเซนกําลัง ดําเนินการ คือการแทรกแซงกิจการภายในของประเทศเพื่อนบาน "นี่ ไมใชเรื่องบังเอิญ ฮุนเซนเสียมารยาทอยางรายแรง คําพูดก็ขัดแยงกันเอง พูดเสมือนหนึ่งวาคุณ ทักษิณไมไดสรางปญหาอะไรกับประเทศไทย ทั้งๆ ที่รูวาคุณทักษิณกําลังสรางปญหาใหแกไทย จึงตองถือ วาเปนการแทรกแซงกิจการภายใน คําหนึ่งก็บอกวาเรื่องการเมืองเปนเรื่องของคนไทยที่ตองจัดการกันเอง แตอีกประโยคหนึ่งก็บอกทักษิณเปนแขกของเขาได ทั้งหมดสะทอนวาฮุนเซนคือผูชักใยการเมืองไทย อยูหลังฉาก และแทรกแซงการเมืองไทยอยางโจงแจงที่สุด เพราะเคลื่อนไหวสอดรับกับ พล.อ.ชวลิต และ กลุมการเมืองในประเทศไทย" อีกประเด็นหนึ่งที่มิอาจมองขาม ก็คือจังหวะกาวของ พล.อ.ชวลิต ที่ไปเยือนผูนําเขมร และพูดจา เสมือนหนึ่งวาเปนตัวแทนรัฐบาลไทย ซึ่งทานทูตสุรพงษ มองวา การที่แกนนําพรรคฝายคานของประเทศใด จะเดินทางไปเยือนผูนําประเทศเพื่อนบาน เปนสิ่งที่กระทําได แตมันก็มีเงื่อนไขในเรื่องมารยาทอยูเหมือนกัน ‐ 53 ‐


"การไปเยือนประเทศทั้งหลายในโลกนี้ เปนประเพณีของพรรคการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ฝายคานก็ไปได แตของเรามันคงไมใชประเด็นนั้น ทั้งจังหวะ บริบท และเงื่อนไขปจจุบัน คุณชวลิตเลือกจะ ไปพนมเปญ เสร็จแลวจะไปพมา มาเลเซีย ฉะนั้นจะบอกวาไปตามประเพณีคงไมได เพราะคุณชวลิตเลือกไป พนมเปญกอน"

"ทั้งหมดเปนการตอกย้ําวาพรรคการเมืองบางพรรคกําลังเอาเรื่องการตางประเทศมา เปนอาวุธ ประหัตประหารรัฐบาลชุดนี้ เพื่อชี้ใหประชาชนหลงวา เพราะรัฐบาลชุดนี้จึงทําใหมีปญหาประเทศเพื่อนบาน และการที่ผูนําของประเทศเพื่อนบานใหคุณชวลิตเขาพบ ก็เพื่อตองการตอกลิ่มใหสังคมไทยแตกแยก มากกวานี้อีก" "เพื่อใหเขาล็อกที่วางเอาไววารัฐบาลมีปญหากับประเทศเพื่อนบาน คุณชวลิตจึงมีคิวที่จะลงใต ไป พบกับผูนํามาเลเซียเพื่อแกปญหาภาคใต เพื่อบอกวารัฐบาลนี้ไมมีน้ํายา ทั้งๆ ที่ปญหาภาคใตเกิดจากรัฐบาล ทักษิณ มองดูแลวนี่คือภาพจิ๊กซอวแตละภาพที่ประกอบกับเปนภาพใหญ คือเอางานดานการตางประเทศมา เปนเครื่องมือ เพื่อเปาหมายสุดทายซึ่งหมายถึงภาพทั้งภาพ ก็คือรัฐบาลยุบสภา" "ฉะนั้นสิ่งที่คุณชวลิตทําจึงไมใชแคเสียมารยาทอยางเดียว แตเปนการแสดงใหเห็นวาสังคมการ เมืองไทยไรเอกภาพ และมองแตผลประโยชนของตัวเองกับพรรคพวก เนื่องจากคุณชวลิตไมไดไปสาน สมานฉันท ที่สําคัญตลอดมารัฐบาลชุดนี้ก็ไมไดไปเปนศัตรูกับใคร หรือไปตอกรวิวาทกับประเทศใด ทั้งหมด จึงโยงเรื่องการเมืองภายในเพื่อหาทางบีบรัฐบาลชุดนี้ใหยุบสภา" ประเด็นสุดทายที่ตองไถถามกันก็คือ เมื่อเจอเกมซับซอนแบบนี้ รัฐบาลจะมีทางออกอยางไร ซึ่ง ทานทูตสุรพงษ เห็นวา การสรางความเขาใจที่ไมใช "คลั่งชาติ" เปนเรื่องที่ตองทําโดยดวน "รัฐบาลตองพยายามทําใหเกิดความเขาใจของคนในชาติ ทั้งกรณีปราสาทพระวิหาร และกรณีคุณ ทักษิณ วารัฐบาลจะดําเนินการอยางไร ตองใหขอมูลจริงในเรื่องนี้มากขึ้น ที่ผานมาผมเห็นวายังมีชองโหวอยู มากในเรื่องของการใหขอมูลขาวสารที่ เปนความจริงแกประชาชน ไมใชรอใหเกิดเรื่องกอนแลวคอยชี้แจง เพราะคนไทยจะตามไมทัน อยาลืมวาถึงอยางไรคนไทยก็รักชาติ ฉะนั้นทุกคนพรอมรับฟง" "ที่สําคัญตองอานฮุนเซนใหออก เพราะเรายังอานเขาไมทะลุปรุโปรงเทากับเขาอานเรา ไมใชพระเจาที่ไหน เปนผลผลิตการเมืองแบบของเขา ถาเรารูเขารูเรา ก็จะแกปญหาไดในที่สุด" ‐ 54 ‐

ฮุนเซน


ความสัมพันธไทย-กัมพูชา : ประเด็นสําคัญอยูท  ี่การรูเขารูเรา โดย สุรพงษ ชัยนาม เผยแพรทาง เอเอสทีวีผูจัดการ ๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ ๑๗:๕๗ น.

เปนที่นายินดีที่ความสัมพันธระหวางไทยกับกัมพูชาในยุครัฐบาลของนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชา ชีวะ ไดกลับเขาสูภาวะปกติ และมีแนวโนมที่จะพัฒนากาวหนาอยางราบรื่นอยางเปนขั้นตอนบนพื้นฐานของ การมีผลประโยชนรวมกันและการมีความเขาใจในกันและกัน โดยยึดความเปนจริงในภาพรวมวาดวยมิติดาน ตางๆ ของความสัมพันธระหวางไทยกับกัมพูชาเปนเครื่องชี้นํากําหนดพัฒนาการแหงความสัมพันธระหวาง กัน อยางไรก็ตาม ในเรื่องของความสัมพันธระหวางประเทศ เปนที่เขาใจชัดแจงในตัวอยูแลววา จะตอง เกี่ ย วข อ งกั บ ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งสองประเทศ (ทวิ ภ าคี ) หรื อ ระหว า งหลายประเทศด ว ยกั น (พหุ ภ าคี ) มิฉะนั้นแลวคําวาความสัมพันธยอมปราศจากความหมายและความสําคัญทั้งสิ้น เพราะการตบมือขางเดียวไม มีทางดังได ในกรณี ค วามสั ม พั น ธ ส องฝ า ย (ทวิ ภ าคี ) ระหว า งไทยกั บ กั ม พู ช านั้ น จะมี ลั ก ษณะใกล ชิ ด แนบแน น ก าวหน าหรื อ ถอยหลั ง ปกติ หรื อ ผิ ด ปกติ เป น ประโยชนห รื อ ไร ป ระโยชน ราบรื่ นหรือ มี อุ ป สรรค สงเสริมความเปนมิตรหรือความแตกแยก ตลอดจนสรางสรรคหรือไมสรางสรรคระหวางกัน ขึ้นอยูกับการรูเขา ‐ 55 ‐


รูเราเปนสําคัญ และการรูเขารูเราอยางถูกตองอยางแทจริงจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อรัฐบาลไทยยอมรับและยอม ทําความเขาใจกับขอเท็จจริงขั้นพื้นฐานที่สําคัญดังตอไปนี้ ๑. เรื่องของผลประโยชนแหงชาติ

ผลประโยชน แ ห ง ชาติ ข องทุ ก ประเทศ (รวมทั้ ง ประเทศไทย) มี ห ลายด า นและมี ลั ก ษณะ ยืด หยุ น ไมค งที่ ไม ต ายตัว เปลี่ย นแปลงไดเ สมอ ขึ้ นอยูโดยตรงกั บหลายปจ จัย ทั้ง ที่ป รากฏภายในและ ภายนอกประเทศ ในแตละบริบท แตละหวงเวลาของสถานการณทางการเมือง เศรษฐกิจ และความมั่นคง ภายในประเทศและระหวางประเทศ มีผลประโยชนแหงชาติประการเดียวเทานั้นที่คงที่ไมเปลี่ยนแปลง นั่ น คื อ ผลประโยชน แ ห ง ชาติ ด า นความมั่ น คงอยู ร อดของประเทศชาติ ที่ เ หลื อ ล ว นเป น ผลประโยชนที่เปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา สุดแตความสําคัญ ความจําเปนเรงดวนและความเปนไปไดในแต ละบริบท แตละหวงเวลา ไมมีสูตรสําเร็จรูปในเรื่องของการปกปองรักษาและสงเสริมผลประโยชนแหงชาติ ในหลายดานดวยเหตุผลและขอเท็จจริงทั้งหมดดังกลาว หากรัฐบาลไทยมีนโยบายและเปาประสงคแนวแนที่มุงสงเสริม ปกปองรักษาผลประโยชนในดาน ตางๆ ของไทยไวไดอยางมีประสิทธิภาพ ดวยการสงเสริมสนับสนุนใหเกิดความสัมพันธที่ดีที่ปกติกับกัมพูชา ก็ จํ า เป น ที่ รั ฐ บาลพึ ง ทํ า การศึ ก ษาและทํ า ความเข า ใจอย า งรอบด า นอย า งถู ก ต อ งครบ ถ ว น เกี่ ย วกั บ ‐ 56 ‐


ประวัติศาสตรความสัมพันธไทย-กัมพูชา ชวง ๕๐ ปที่ผานมา (ตั้งแตสมัยเจาสีหนุ ยุคเขมรแดงของพอลพต จนยุคของนายกรัฐมนตรีฮุนเซนในปจจุบัน) วาลักษณะดานใดบางที่เปลี่ยนแปลงและที่ไมเปลี่ยนแปลง แตรัฐบาลไทยจะทําความเขาใจไดอยางถูกตองก็ตอเมื่อหนวยงานทั้งหลายของไทยที่เกี่ยวของ กั บ การต า งประเทศและความมั่ น คงรู จั ก ศึ ก ษา พิ จ ารณา วิ เ คราะห และประเมิ น เหตุ ก ารณ ที่ เ กี่ ย วกั บ ความสัมพันธไทย-กัมพูชา ในแตละบริบท แตละหวงเวลาจากขอเท็จจริงและจากความเปนจริง ไมใชจากที่ ฝายไทยอยากใหเปนจริง (หรืออีกนัยหนึ่งคือ อยานั่งเทียนสรุปเอางายๆ ตามอําเภอใจ) อี ก ทั้ ง จํ า เป น ต อ งทํ า ความเข า ใจโดยตระหนั ก ให ดี ไ ว ต ลอดเวลาด ว ยว า ในยุ คโลกาภิ วั ต น นั้ น นโยบายตางประเทศของทุกประเทศถือเปนสวนขยาย (extension) ของนโยบายภายในประเทศ หมายความ วา นโยบายต างประเทศต อ งพยายามตอบสนองความต อ งการของประชาชนในประเทศให ม ากที่สุ ด และ จําตองสะทอนจุดยืน คานิยม หลักการ ประเพณี วัฒนธรรมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ (เชน ประเทศไทยเปนสังคมเปด มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เนื้อหาของนโยบายตางประเทศของ ไทยก็จําตองสะทอนใหเห็นถึงความเปนประชาธิปไตยของไทย ไมใชสะทอนแตรูปแบบอยางที่เปนมาตลอด ๘ ป ของยุคระบอบทักษิณ) ๒.ประเภทของระบอบการเมือง (regime type)

เปนที่ยอมรับทั่วไปอยูแลววาประเภทของระบอบการเมืองของแตละประเทศ (รวมทั้งของไทยและ กัมพูชาดวย) มีอิทธิพลตอความคิดและพฤติกรรมของผูนําประเทศของรัฐบาล ของนักการเมือง และพรรค การเมื อ ง ตลอดจนมี อิ ท ธิ พ ลต อ การกํ า หนดนโยบาย ยุ ท ธศาสตร และท า ที ข องรั ฐ บาลต อ แต ล ะป ญ หา ระหวางประเทศ และตอการแกปญหาระหวางประเทศ รวมทั้งตอการกําหนดผลประโยชนแหงชาติ และการ ดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งผลประโยชนแหงชาติในดานตางๆ ตัวอยางเชน ความคิดและพฤติกรรมผูนํารัฐบาลของประเทศที่มีระบอบการเมืองการปกครอง ที่เปนเผด็จการ (ไม ว า ทหาร พลเรื อ น หรื อ โดยพรรค) ย อ มแตกต า งจากผู นํ า รั ฐ บาลของประเทศที่ มี ร ะบอบการเมื อ งแบบ ประชาธิปไตย โครงสรางอํานาจการเมืองของระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตย บทบาทและความสําคัญ ของการเมือ งภาคประชาชนในระบอบเผด็จการ (อํานาจนิย ม) ยอมไมมีหรือมีน อยมากและอยูภายใตก าร ‐ 57 ‐


ควบคุมโดยตรงของระบอบเผด็จการ (อํานาจนิยม) ในขณะที่การเมืองภาคประชาชนในระบอบการเมืองแบบ ประชาธิปไตยยอมมีมากและกวาง ขวาง รัฐบาลยอมตองใหความสําคัญและฟงเสียงของประชาชน หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง อยารีบดวนสรุปหรือเหมาโมเมเอาเองวาฝายกัมพูชาคิดเหมือนฝายไทย มี ผลประโยชนอยางเดียวกับไทย มีนโยบาย ทาทีและเปาประสงคตอแตละเรื่อง แตละปญหาเหมือนกัน เพราะ หากฝ า ยไทยยั ง ป ก ใจหลงเชื่ อ เอาเองว า ประเทศต า งๆ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ ไทยจะคิ ด เหมื อ นไทย มี ผลประโยชนทุกๆ ดานเหมือนกับของไทย โดยมองขามความจริงและขอเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติศาสตรความ เปนมาของแตละ ประเทศที่มีความสัมพันธกับไทย (ในกรณีนี้คือกัมพูชา) มองขามขอเท็จจริงเกี่ยวกับพัฒนาการทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของ กัมพูชา ไมพยายามอานสถานการณการเมืองในกัมพูชาและอิทธิพลของปจจัยตางๆ ทั้งที่มีขึ้นภายในและ ภายนอกกัมพูชาวามีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายและทาทีของฝายกัมพูชาตอไทยมากนอยเพียงใด แต กลับเหมาเอาเองวาฝายกัมพูชาไมไดแตกตางจากไทย หากฝายไทยยังคิดงายๆ และตื้นเขินแบบนี้ การรูเขา รูเรายอมไมมีทางเกิดขึ้นไดในทางเปนจริง เพราะนี่คือลักษณะของโรคเรื้อรังของนโยบายตางประเทศและ การทูตไทยที่มีตอประเทศตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งตอกลุมประเทศเพื่อนบานที่มีมาเปนเวลาชานานแลว โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ในยุ ค ของรั ฐ บาลไทยรั ก ไทยและรั ฐ บาลพรรคนอมิ นี ข องไทยรั ก ไทย นายก รัฐมนตรีฮุนเซนรูจักแยกแยะวาอะไรคือรูปแบบ อะไรคือเนื้อหา อะไรคือภาพจริง อะไรคือภาพลวงตา และ ผลประโยชนแหงชาติของกัมพูชาในแตละบริบท แตละหวงเวลาคืออะไร ในขณะที่รัฐบาลไทย (โดยเฉพาะ อยางยิ่งรัฐบาลไทยในยุคของระบอบทักษิณ) จะรูก็แตในเรื่องของผลประโยชนของพรรคและพวก และเหมา หรือสรุปโดยพลการเอาเองวาเปนผลประโยชนแหงชาติ หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง เปนการแสวงผลประโยชนของ พรรคและพวกโดยหากินกับสิ่งที่เรียกวาผลประโยชนแหงชาติ

‐ 58 ‐


ในเมื่ อ ข อ เท็ จ จริ ง ทั้ ง หมดดั ง กล า วข า งต น บ ง ชี้ แ ละยืน ยั น ให เ ห็ น ได อย า งปราศจากข อ สงสั ย ใดๆ ทั้งสิ้นวาการทําความเขาใจอยางถูกตองเกี่ยวกับประเภทระบอบการเมืองของแตละประเทศ (ในกรณีของ บทความนี้คือประเทศกัมพูชา) เปนเรื่องสําคัญยิ่ง การใหน้ําหนักกับเรื่องความสัมพันธและความสนิทสนม สวนตัวระหวางผูนําของไทยกับกัมพูชา (หรือระหวางผูนําไทยกับผูนําประเทศตางๆ) จึงเปนเรื่องเสี่ยงไม คุม คาดวยเกี่ยวขอ งกับรูปแบบมากกวาเนื้อ หา ภาพลวงตามากกวาภาพที่เปน จริง มีผลดานการสรางภาพ มากกวาผลลัพธที่เปนรูปธรรมและมีสารัตถะ

จริงอยูการที่บุคคลระดับผูนําของแตละประเทศมีความสนิทสนมชิดเชื้อเปนอยางดียอมมีสวนดีและ ชวยใหการเจรจาหารือดําเนินไปภายใตบรรยากาศที่เปนมิตร แตจําเปนตองตระหนักไวเสมอวา ในเรื่องของ ความสัมพันธระหวางประเทศ ปจจัยชี้ขาดอยูที่ผลประโยชนแหงชาติ ไมใชความสนิทสนมสวนตัวระหวาง ผู นํ า ประเทศ เพราะไม มี ผู นํ า ประเทศใดที่ จ ะยอมเอาเรื่ อ งของความสนิ ท สนมส ว นตั ว มามี อิ ท ธิ พ ล เหนื อ ผลประโยชนแหงชาติ (จะมีก็ในสมัยรัฐบาลไทยรักไทย) ความสนิทสนมสวนตัวระหวางผูนําประเทศจะมีผลดี ก็ในดานของการสรางภาพสรางบรรยากาศที่เปนมิตรมากกวาอื่นใด

‐ 59 ‐


๓.ลักษณะของนโยบายตางประเทศกัมพูชาที่ยังไมเปลี่ยนแปลง กลาวไดวา นโยบายตางประเทศของกัมพูชาตั้งแตสมัยเจาสีหนุ สมัยชวงเขมรแดง(พ.ศ. ๒๕๑๘ – ๒๕๒๑) มาจนถึงสมัยนายกรัฐมนตรีฮุนเซนในปจจุบัน มีดานที่ดํารงอยูอยางตอเนื่องมาตลอด ๕๐ ปที่ผาน มา พอสรุปสาระสําคัญไดดังนี้ ๓.๑ นโยบายพึ่งการถวงดุลอํานาจ ดวยเหตุผลดานภูมิรัฐศาสตร (กัมพูชาเปนประเทศเล็กที่แวดลอมดวยประเทศที่ใหญกวา และมี ประวัติศาสตรแหงความขัดแยงระหวางกันยาวนาน) เปนผลทําใหนโยบายตางประเทศของกัมพูชาชวง ๕๐ ป ที่ผานมาจนถึงปจจุบัน หันมาพึ่งระบบการถวงดุลแหงอํานาจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนเครื่องมือ สํ า คั ญ อย า งหนึ่ ง ของนโยบายต า งประเทศกั ม พู ช า เพื่ อ เป า ประสงค ห ลั ก ในการธํ า รงรั ก ษาเอกราชและ อธิปไตย ของกัมพูชา

เชน ในอดีต เจาสีหนุไดดึงอิทธิพ ลของจีนมาถวงอิทธิพลของเวียดนามและไทย หรือในชวงที่ เวียดนามรุกรานและยึดครองกัมพูชา พ.ศ. ๒๕๒๑ – ๒๕๓๒ รัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตยซึ่งรวมเขมร ๓ ฝ า ยที่ ต อ ต า นการยึ ด ครองกั ม พู ช าของเวี ย ดนามก็ ไ ด เ ชื้ อ เชิ ญ ให อ าเซี ย นและสหประชาชาติ เ ข า มา สนับสนุน รัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย หรือ CGDK (Coalition Government of Democratic Kampuchea) ทําการ ตอสูกับเวียดนามทางการเมืองและการทูต และลาสุดกรณีความขัดแยงกับไทยในเรื่องเขตแดนและการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร นายก รั ฐ มนตรี ฮุ น เซน ก็ ไ ด ห วนกลั บ มาใช ก ารพึ่ ง พานโยบายถ ว งดุ ล อํ า นาจอย า งชั ด เจน โดยฝ า ยกั ม พู ช าได ‐ 60 ‐


พยายามทําใหปญหาขัดแยงระหวางไทยกับกัมพูชาแปรสภาพจากการเปนปญหาทวิภาคีมาเปนปญหาของ ประชาคมระหวางประเทศอีกดวย (internationalize bilateral problem) โดยการเปดเวทีความขัดแยงที่มี กับไทยใหขยายกวางออกไปดวยการนําประเด็นขัดแยงที่มีกับไทยไปเสนอตอเวทีการประชุมระดับโลกและ ระดับภูมิภาค (เชน เวทีของการประชุมคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติ และเวทีการประชุมของ องคการอาเซียน) เพื่อหวังใหประชาคมระหวางประเทศเขาขางและเห็นใจกัมพูชา อันถือไดวาเปนการสราง แนวรวมทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อมากดดันประเทศไทยทางการเมือง และเพื่อเปนเกราะคุมกัน ใหกัมพูชาในกรณีฝายไทยใชวิธีการแกปญหานอกกรอบของการเจรจา ก็จะมีผลทําใหประชาคมโลกมองวา ฝายไทยเปนฝายรังแกกัมพูชา ซึ่งเปนเรื่องละเอียดออนที่ฝายไทยตองตระหนักไวเสมอ ดวยเหตุผลสําคัญ กลาวคือ ยุทธศาสตรทางการเมืองของกัมพูชาในเรื่องนี้คือ การยั่วยุใหไทยคิด หาทางออกดวยการออกนอกกรอบของการเจรจา (militarization of foreign policy) ซึ่งหากเปนเชนนี้ ย อ มจะทํ า ให ฝ า ยไทยเสี ย เปรี ย บทางการเมื อ งและการทู ต ทั น ที ไทยจะรั ก ษาผลประโยชน แ ห ง ชาติ ไ ด จําเปนตองควบคุมใหปญหาขัดแยงระหวางไทย กับกัม พูชาอยูในกรอบของการเจรจาระดับทวิภาคี (สอง ฝาย) เปนสําคัญ ไมปลอยใหบานปลายกลายเปนปญหาระดับสากล เพราะโดยธาตุแทแลว ปญหาเขตแดน และการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกเปนปญหาทวิภาคี ไมใชพหุภาคี ๔. การพึ่งปจจัยชาตินิยม

‐ 61 ‐


ปจจัยเรื่องของชาตินิยมเปนเครื่องมือนโยบายตางประเทศของทุกประเทศ สวนจะนํามาใชมาก หรือนอยขึ้นอยูกับเงื่อนไข บริบทและศักยภาพของแตละประเทศในแตละยุคสมัย แตละหวงเวลา แตกลาว โดยทั่วไปไดวา ชวง ๔๐ ปแรกของยุคสงครามเย็น ปจจัยชาตินิยมไดกลายเปนอาวุธสําคัญและทรงอานุภาพ สูงของกลุมประเทศอดีตเมืองขึ้นในทวีปเอเชียและแอฟริกาที่ทําการตอสูกับฝายประเทศตะวันตกเจาอาณา นิคมเพื่อเรียกรองเอกราชและอธิปไตย และปจจัยชาตินิยมไดกลับมามีอิทธิพลสูงอีกครั้งในยุคโลกาภิวัตน โดยเฉพาะอยางยิ่งในหมูกลุมประเทศกําลังพัฒนาหรือที่ดอยพัฒนาที่ไดรับผลกระทบรายแรงจากพลังโลกา ภิวัตนในดานตางๆ ในสวนที่เกี่ยวกับกัมพูชานั้น ปจจัยชาตินิยมนับวามีอิทธิพลตอการกําหนดและการดําเนินนโยบาย ต า งประเทศของกั ม พู ช าอย า งมากมาตลอด ๕๐ ป ที่ ผ า นมา ทั้ ง ในแง ข องการเมื อ งภายในกั ม พู ช าและ การเมืองระหวางประเทศ ดังเปนที่ประจักษตลอดมาวาทุกครั้งที่มีการหาเสียงชวงฤดูการเลือกตั้งในกัมพูชา ทุกพรรคการเมืองจะแขงขันแสดงความเปนชาตินิยมเหนือพรรคคูแขง รวมทั้งนําเรื่องของความเจริญรุงโรจน ของอาณาจั ก รขอมในอดี ต มาเป น เครื่ อ งมื อ หาเสี ย ง โดยปลุ ก ระดมประชาชนให เ กิ ด ความรั ก ชาติ แ ละ ความหวังที่จะทําใหกัมพูชากลับมาเปนประเทศที่ยิ่งใหญเหมือนในอดีต (ในประเด็นนี้สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงพนมเปญถูกเผาเมื่อ ๕ ปกอน คือตัวอยางของการ ตกเปนเหยื่อของพิษรายของปจจัยชาตินิยม และความขัดแยงภายในการเมืองของกัมพูชา) และสําหรับความ ขัดแยงไทย-กัมพูชา ครั้งลาสุดนี้ สวนหนึ่งก็มาจากการที่ฝายกัมพูชาใชปจจัยชาตินิยมชวงการหาเสียงเลือก ตั้ ง และชวงมีปญหาเรื่องการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารแตฝายเดียวของกัมพูชา อันเปนเครื่องมือสําคัญ ที่ฝายรัฐบาลกัมพูชาใชเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจของปร ะชาชนกัมพูชาที่มีตอปญหาตางๆ ภายในประเทศ ไปสูภายนอกประเทศ

สรุป นโยบายตางประเทศจะสามารถสะทอนใหเห็นถึงการเปนนโยบายตางประเทศที่รูเขารูเรา อยางแทจริงได อยางนอยที่สุดจําตองนําความจริงและขอเท็จจริงที่ปรากฏในขอ ๑ – ๔ ขางตน มา ประกอบการพิจารณาอยางจริงจัง จึงจะเปนนโยบายตางประเทศที่สามารถปกปองผลประโยชน แหงชาติได

‐ 62 ‐


อดีตทูตจี้รัฐบาลลาออกทั้งคณะรับผิดชอบ “ปราสาท เขาพระวิหาร” ASTV ผูจัดการออนไลน

29 มิถุนายน 2551 18:30 น.

อดีตเอกอัครราชทูต จี้ “รัฐบาลหมัก” สงหนังสือเปนลายลักษณอักษรแจงกัมพูชาเลิกขอตกลงรวม อยางเปนทางการ ชี้ เปนความรับผิดชอบของรัฐบาลทั้งคณะ ที่มีมติใหไปลงนาม หากเปนรัฐบาล ประเทศอื่นคงลาออกไปแลว แตไทยเปนประชาธิปไตยอาเพศ จึงไมมีใครรับผิดชอบ

นายสุรพงษ ชัยนาม อดีตเอกอัครราชทูต 5 ประเทศ และอดีตอธิบดีกรมเอเชียตะวันออก กระทรวงการ ตางประเทศ กลาววา เมื่อคําสั่งศาลปกครองกลางไดออกมาชัดเจนแลว รัฐบาลตองไมดําเนินใดๆ และระงับ การดําเนินการทุกอยาง ซึ่งขณะนี้พรรคประชาธิปตยก็ไดยื่นฟองตอศาลรัฐธรรมนูญดวยวา การลงนาม ขอตกลงดังกลาว ผิดกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 190 หรือไม คงตองรอคําพิพากษาของศาลดวย หากศาล วินิจฉัยวาขัดกฎหมาย มาตรา 190 แถลงการณรวมที่รัฐบาลไทยและกัมพูชา ทํารวมกัน ก็ถือเปนโมฆะไป โดยปริยาย สิ่งที่รัฐบาลไทยตองทํา คือ ทําหนังสือแจงเปนลายลักษณอักษรถึงกัมพูชา วา ขอระงับ แถลงการณรวม ไมมีผลใชบังคับไปกอน เพราะไทยมีปญหากระบวนการทางกฎหมายของประเทศไทย ซึ่ง ตองรอใหเกิดความชัดเจน โดยอาจเปนหนังสือจาก รมว.ตางประเทศ ของไทย ถึง รมว.ตางประเทศ ของ กัมพูชา หรือเปนหนังสือจากนายกรัฐมนตรีไทย ถึงนายกรัฐมนตรีกัมพูชา แตตองเปนหนังสือจากรัฐบาล ประเทศหนึ่งสงถึงรัฐบาลประเทศหนึ่ง ใหไดรับทราบอยางเปนทางการ เพราะขอตกลงที่ไปทํานั้น ถือเปน สนธิสัญญาที่มีผลผูกพันทั้ง 2 ประเทศ ซึ่งเชื่อวาสถานทูตกัมพูชาประจําประเทศไทย ก็คงจะทราบเรื่องและ รายงานใหทางกัมพูชาไดทราบอยูแลว แตไทยก็ตองแจงอยางเปนทางการ นายสุรพงษ กลาวตอไปอีกวา สวนความรับผิดชอบของผูที่เกี่ยวของกับเรื่องที่เกิดขึ้นนั้น ก็ตองดู หลักฐาน เพราะเชื่อวาการดําเนินการเรื่องนี้ คงมีการสั่งการเปนลายลักษณอักษร และเรื่องนี้เปนเรื่องสําคัญมี ทั้งมติ ครม.และคําสงวนสิทธิ์ของไทยในปราสาทพระวิหารป 2505 ขาราชการประจําไดมีขอเสนอแนะใดตอ รัฐบาลหรือไม หรือทั้งๆ ที่รูวาผิดกฎหมายก็ยังกระทํา ทั้งหมดตองพิจารณาจากหลักฐาน เวนแตภาค การเมืองจะสั่งการดวยวาจาก็มีแนวโนมวาขาราชประจําจะเปนแพะรับบาป “สวนความรับผิดชอบของฝายการเมืองนั้น เรื่องนี้ไมใชความผิดของ นายนพดล ปทมะ รมว. ตางประเทศ เพียงคนเดียว แตที่ประชุม ครม.ไดมีมติใหนายนพดลไปลงนามขอตกลงไดโดยไมมีใครคัดคาน ‐ 63 ‐


จึงถือเปนความรับผิดชอบของคณะรัฐบาลทั้งคณะ ไมใชความผิดของคนใดคนหนึ่ง ซึ่งหากเปนรัฐบาลของ ประเทศอื่นที่อยูในวิถีประชาธิปไตย เขาคงลาออกไปนานแลว แตประเทศเรามันเปนประชาธิปไตยอาเพศ จึง ไมมีใครออกมารับผิดชอบสักคน” นายสุรพงษ กลาวอีกวา ตนติดตามการอภิปรายไมไววาง ใจรัฐมนตรีของฝายคานมาตลอด และเห็นวา ส.ส.ฝายรัฐบาล หลายคนชอบอางวา ประเทศไทยลงนามไปแลว และที่ลงนามไปนั้น ก็เพราะคํานึงถึง ความสัมพันธที่ดีระหวาง 2 ประเทศ ถือเปนคําพูดที่ไรความรับผิดชอบอยางที่สุดของ ส.ส.ฟากรัฐบาล เพราะความสัมพันธที่ดีระหวางประเทศนั้น หมายถึงความสัมพันธที่ดีซึ่งตองอยูบนพื้นฐานของประโยชนและ อธิปไตยรวมกัน ไมใชความสัมพันธแบบเอาใจประเทศใดประเทศหนึ่ง หรือมีความสัมพันธโดยผลประโยชน ของชาติเสียหาย แตการทําแถลงการณรวมของนายนพดล ไมไดสนองประโยชนประเทศไทย สนอง ประโยชนกัมพูชาเพียงฝายเดียว ดังนั้น สิ่งที่เปนหัวใจสําคัญของความสัมพันธที่ดีระหวางประเทศคือ ผลประโยชนแหงชาติทั้งสอง ความเปนมิตรประเทศตองอยูบนพื้นฐานมีประโยชนรวมกัน “ผมเห็น ส.ส.รัฐบาลยกมือประทวงในสภา ขอไมใหฝายคานอภิปรายเรื่องปราสาทพระวิหาร และ แถลงการณรวมที่ทําไป เพราะเกรงวาจะกระทบตอความสัมพันธของไทยกับกัมพูชา ผมคิดวาเปนคําพูดที่ บองตื้น ไรสาระมาก เพราะความสัมพันธระหวางประเทศนั้น เราสามารถมีความสัมพันธไดหลายมิติ ทั้งเรื่อง การเมือง สังคม เศรษฐกิจ หรือวัฒนธรรม การที่เรามีความสัมพันธระหวางประเทศตอกันนั้น ไมวาจะอยางไร ก็มีผลกระทบถึงกัน ไมวาเราจะหยิบเอาเรื่องนี้มาพูดหรืออภิปรายในสภาหรือไม ผลกระทบในความสัมพันธ มันเกิดขึ้นอยูทุกวันจากมิติตางๆ อยูแลว แตประเด็น คือ เราตองใหผลกระทบที่เกิดขึ้นเปนประโยชนกับทั้ง 2 ฝายไมใชเปนประโยชนแกฝายใดฝายเดียว” อดีตเอกอัครราชทูต กลาว

‐ 64 ‐


หมวด ๓ ภาคผนวก MOU 2000 ‐ เอ็มโอยู ๒๕๔๓ Memorandum of Understanding between the Government of the Kingdom of Cambodia and the Government of the Kingdom of Thailand on the Survey and Demarcation of Land Boundary (ฉบับภาษาอังกฤษ – ฝายกัมพูชา) ที่มา http://www.oneangzone.blogspot.com/

‐ 65 ‐


‐ 66 ‐


‐ 67 ‐


‐ 68 ‐


‐ 69 ‐


‐ 70 ‐


‐ 71 ‐


‐ 72 ‐


‐ 73 ‐


‐ 74 ‐


‐ 75 ‐


‐ 76 ‐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.