gradyiu 2013 academic

Page 1



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ถอยแถลง บัณฑิตวิท ยาลัยและการวิจัย มหาวิท ยาลัยอิส ลามยะลา ไดดําเนินการจัดการประชุม วิชาการ นําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 เรื่อง “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา” เนื่องจากคณะกรรมการดําเนินงาน ได เล็ง เห็นถึง ความสําคัญ ของการเผยแพร ผ ลงานทางวิชาการสูสัง คม ในการนํ าไปใชป ระโยชนเ พื่อการ สรางสรรคสังคมโลกยุคสมัยใหมใหมีความเจริญกาวหนาที่ยั่งยืนบนหลักการของการบูรณาการคุณธรรมนํา ความรู และเปนกลไกหนึ่งในการพัฒนาศัก ยภาพดานวิชาการของนักศึกษาและคณาจารยของสถาบันสู ความเปนนักวิชาการมืออาชีพที่มีคุณภาพตอไป การจัดประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติในครั้งนี้มี วัตถุประสงคสําคัญ ดังนี้ 1.เพื่อเปนเวทีสําหรับ คณาจารย นัก วิจัย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในการนําเสนอและ เผยแพรผลงานวิจัยและผลงานวิชาการในศาสตรตางๆอันจะเปนประโยชนตอพัฒนาการเรียนการสอนและ การพัฒนาสังคม 2.เพื่อเสริมสรางบรรยากาศทางวิชาการและเปดโอกาสใหมีการแลกเปลี่ยนความรูและขอคิดเห็น ทางวิชาการในหมูคณาจารย นักวิจัย และนักศึกษาในการพัฒนาผลงานวิจัยและงานวิชาการใหมีคุณภาพ ยิ่งขึ้น อันเปนสวนหนึ่งของภารกิจในการบริการวิชาการแกสังคม 3.เพื่อสงเสริมคณาจารย นักวิจัยและนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาและหนวยงานตางๆไดมีโอกาส ในการทําความรูจักและสรางมิตรภาพที่ดีตอกัน อันจะนําไปสูการสรางเครือขายความรวมมือที่เขมแข็งใน การพัฒนางานวิชาการที่สรางสรรคและมีคุณคาตอไป กิจกรรมในการประชุมวิชาการนําเสนอผลงาน ภาคเชาเปนการจัดสัมมนารวม ซึ่งรูป แบบการ ดําเนินการเปนการเปดพิธีพรอมปาฐกถาพิเศษโดย ดร.อิสมาอีลลุตฟ จะปะกียา อธิการบดีมหาวิทยาลัย อิสลามยะลา ตอดวยการบรรยายพิเศษทางวิชาการจากผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญและความสามารถ ดานงานวิชาการและงานวิจัย รองศาสตราจารย พิเ ชฎฐ กาลามเกษตร อาจารยภาควิชามนุษยศาสตร มหาวิท ยาลัยมหิดล ในหัวขอ “ความสําคัญ ของการวิจัย อุป สรรค ปญ หา และการพัฒ นา” และรอง ศาสตราจารย ดร.จรัญ มะลูลีม อาจารยประจําสาขาวิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ในหัวขอ “ทิศทางการวิจัยเพื่อรองรับประชาคมอาเซี่ยน” ภาคบายจะเปนการนําเสนอผลงานแบบบรรยาย และแบบโปสเตอร ซึ่งในปนี้มีผูที่ใหความสนใจ ในการเขารวมการจัดการประชุมนําเสนอทั้งหมด 81 ชิ้น แตผานการพิจารณาจากผูทรงคุณวุฒิใหสามารถ นําเสนอเผยแพรรวมถึงการตีพิมพลงใน Proceeding จํานวน 66 ชิ้น โดยคณะผูดําเนินงาน ไดแบงหอง นําเสนอทั้งหมด 8 หอง ประกอบดวย หองอิสลามศึกษา 2 หอง ศึกษาศาสตร 3 หอง มนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร 2 หอง ภาษาศาสตร (อาหรับ) 1 หอง คณะผูดําเนินงานหวังเปนอยางยิ่งวา การจัดประชุมนําเสนอผลงานระดับชาติในครั้งนี้จะเปนสวน หนึ่งของการเผยแพรองคความรูในแขนงวิชาตางๆ อันจะเปนประโยชนตอการจัดการศึก ษา และผลิต นักวิจัย นักวิชาการในการพัฒนาผลงานดานตางๆ สูสังคมคุณธรรม ผูชวยศาสตราจารย ดร.มุฮําหมัดซากี เจะหะ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย ประธานคณะกรรมการดําเนินงาน Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

คณะกรรมการดํ า เนิ นงานจัด ทํ า รู ป เล ม (Proceeding) โครงการประชุ ม วิช าการนํา เสนอผลงาน ระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัย และการวิจัย มหาวิทยาลัย อิส ลามยะลา ประจํา ป 2556 เรื่อง “ผลงาน บัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา” กองบรรณาธิการรูปเลม (Proceeding) 1. ผูชว ยศาสตราจารย ดร.มุฮําหมัดซากี เจะหะ ประธานกรรมการ 2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ซาการียา หะมะ รองประธานกรรมการ 3. รองศาสตราจารย ดร.อิบรอฮีม ณรงครักษาเขต กรรมการ 4. ผูชวยศาสตราจารย ดร.นิเลาะ แวอุเซ็ง กรรมการ 5. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัดนัน สือแม กรรมการ 6. ผูชวยศาสตราจารย จารุวัจน สองเมือง กรรมการ 7. ผูชวยศาสตราจารย ซอลีฮะห หะยีสะมะแอ กรรมการ 8. ดร.กัลยาณี เจริญชางนุชมี กรรมการ 9. Associate Prof. Dr.Fauzi Bin Deraman กรรมการ 10. Prof. Dr.Mohd Nasran Mohamad กรรมการ 11. Assoc. Prof. Dr.Ramizah Wanmuhammad กรรมการ 12. ดร.อิบรอเฮม สือแม กรรมการและเลขานุการ 13. ดร.อับดุลเลาะ ยูโซะ กรรมการและผูชวยเลขานุการ จัดหนา / รูปเลม 1. นายฟาริด อับดุลลอฮหะซัน 2. นางสาวกามีละ สะอะ กราฟกดีไซด 1. นายอาสมิง เจะอาแซ 2. นายมูฮัมหมัด สนิ ฝายจัดการ 1. นายมาหะมะ ดาแม็ง 2. นางสาวรอหานิง หะนะกาแม จัดทําโดย บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ตู ปณ.142 อ.เมือง จ.ยะลา 95000 หรือ 135/8 หมู 3 ต.เขาตูม อ.ยะรัง จ.ปตตานี 94160 โทรศัพท (073) 418611-4 โทรสาร (073) 418615-6

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

รายชื่อคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิประเมินบทความ ศาสตราจารย ดร.เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ รองศาสตราจารย ดร.จรัญ มะลูลีม รองศาสตราจารย ดร.ธีรพงษ แกนอินทร รองศาสตราจารย ดร.วิชัย นภาพงศ รองศาสตราจารย ดร.อิบรอฮีม ณรงครักษาเขต รองศาสตราจารย ดร.อับดุลเลาะ การีนา รองศาสตราจารย ดลมนรรจน บากา รองศาสตราจารย พิเชฏฐ กาลามเกษตร รองศาสตราจารย อับดุลเลาะ อับรู ผูชวยศาสตราจารย ดร.กาเดร สะอะ ผูชวยศาสตราจารย ดร.เกษตรชัย และหีม ผูชวยศาสตราจารย ดร.จารุวัจน สองเมือง ผูชวยศาสตราจารย ดร.ซาการียา หะมะ ผูชวยศาสตราจารย ดร.นิเลาะ แวอุเซ็ง ผูชวยศาสตราจารย ดร.มุฮําหมัดซากี เจะหะ ผูชวยศาสตราจารย ดร.วุฒิศักดิ์ พิศสุวรรณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัดนัน สือแม ผูชวยศาสตราจารย จิระพันธ เดมะ ผูชวยศาสตราจารย ซอลีฮะห หะยีสะมะแอ ผูชวยศาสตราจารย อับดุลรอซีด เจะมะ

ดร.ซัมซู สาอุ ดร.นินาวาลย ปานากาเซ็ง ดร.นิพนธ โซะเฮง ดร.บดินทร แวลาเตะ ดร.ปณัสย นนทวนิช ดร.มะรอนิง สาแลมิง ดร.มูหามัดรูยานี บากา ดร.มูฮํามัด วาเล็ง ดร.วิสุทธิ์ บิลลาเตะ ดร.สามารถ ทองเฝอ ดร.อะหมัด ยี่สุนทรง ดร.อับดุลรอเซะ หะมีแย ดร.อับดุลรอนิง สือแต ดร.อิบรอเฮม สือแม อ.เจะเหลาะ แขกพงศ อ.อนุกูล อาแวปูเตะ อาจารยอสั สมิง กาเซ็ง Dr.bashir Mahdi Ali Dr.mirqani Makkawi Ramadon

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สารบัญ ถอยแถลง รายชื่อคณะกรรมการดําเนินงานประจํารูปเลม (Proceeding) รายชื่อคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิประเมินบทความ บทความการประชุมนําเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ (ภาคบรรยาย) กลุมมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 1 (หองที่ 1)  บทบาทของมูลนิธิศูนยทนายความมุสลิมตอการชวยเหลือประชาชนทางกฎหมาย กรณีศึกษา: ศูนยทนายความมุสลิมสํานักงานประจําจังหวัดยะลา อิดรีส ดาราไก

หนา ก ข ค

1

สภาพการดําเนินงานของศูนยอํานวยความเปนธรรมภาคประชาชนระดับตําบล (KEADILAN CENTER) ในจังหวัดชายแดนภาคใต สุทธิศักดิ์ ดือเระ

15

ความรุนแรงในครอบครัวมุสลิมเปนภัยตอสังคม อาหะมะกอซี กาซอ

29

ยุทธศาสตรการสรางสังคมสันติ เขาใจ เขาถึง พัฒนา ตามแนวทางทานนบีมหุ ัมมัด รุสณี หะยีอัมเสาะ

47

ทัศนคติตอการบริโภคยาสูบของคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด ในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม: กรณีศึกษาจังหวัดนราธิวาส มูหัมมัดซอและ แวหะมะ

59

กลุมมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 2 (หองที่ 2)  การจัดการตนเองและการจัดการภายในครอบครัวของครูสตรีมุสลิมสมรส ที่นําไปสูครอบครัวอบอุน: กรณีศึกษาจังหวัดยะลา นัชชิมา บาเกาะ

73

การตัดสินใจเลือกตัง้ ผูบ ริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นของผูนําศาสนา ในเขตอําเภอยะหริ่งจังหวัดปตตานี นิอับดุลเลาะ นิตยรักษ

89

การวางกรอบความคิด เกี่ยวกับ “ศาสนาอิสลาม” ในหนาหนังสือพิมพภาษาอังกฤษ ของประเทศสมาชิกในประชาคมอาเซียน อัญนิดา นอยวงศ

103

แรงงานและคาจางในอิสลาม มะดาโอะ ปูเตะ

115

Graduate School and Research / 15 May 2013


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫)‪สารบัญ (ตอ‬‬ ‫‪หนา‬‬ ‫‪129‬‬

‫)‪กลุมภาษาอาหรับ (หองที่ 3‬‬ ‫اﻟﺘﻨﺎﺳﺐ ﺑﲔ اﻟﺼﻮت واﻟﺴﻴﺎق ﰲ اﻟﻔﺎﺻﻠﺔ اﻟﻘﺮآﻧﻴﺔ دراﺳﺔ ﺗﻄﺒﻴﻘﻴﺔ ﰲ اﳉﺰء اﻟﺜﻼﺛﲔ ‪‬‬ ‫ﻣﺼﻄﻔﻰ ﻋﺒﺪاﻟﻘﺎدر ﺣﺎﻓﻆ‬

‫‪139‬‬

‫دراﺳﺔ ﲢﻠﻴﻠﻴﺔ ﻷوﺟﻪ اﻻﺧﺘﻼف ﰲ اﻟﻘﺮاءات اﻟﺴﺒﻊ ﻣﻦ ﺧﻼل ﺑﻌﺾ اﻵﻳﺎت اﻟﻘﺮآﻧﻴﺔ‬

‫‪‬‬

‫ﻋﺎﺻﻢ اﻟﴩﻳﻒ‬

‫‪157‬‬

‫اﻟﻔﻜﺮ اﻟﺼﻮﰐ ﻋﻨﺪ اﺑﻦ ﻣﻨﻈﻮر ﻣﻦ ﺧﻼل ﻣﻌﺠﻤﻪ ﻟﺴﺎن اﻟﻌﺮب‬

‫‪‬‬

‫ﻣﻊ اﻟﱰﻛﻴﺰ ﻋﲆ اﻟﺘﺒﺪل اﻟﺼﻮﰐ‬

‫أﻧﻴﺴﺔ ﺟﻲء ﻣﺄ‬

‫‪169‬‬

‫اﻟﺘﺼﺤﻴﺢ اﻟﻠﻐﻮى وأﺛﺮه ﰲ ﻣﻘﺎوﻣﺔ ﳊﻦ اﻟﻌﺎﻣﺔ‬

‫‪‬‬

‫ﻣﺮﺗﴣ ﻓﺮح ﻋﲇ‬

‫‪185‬‬

‫اﻻﺳﺘﻔﻬﺎم اﻹﻧﻜﺎري اﻟﺘﻮﺑﻴﺨﻲ ﰲ اﻷﺟﺰاء اﳋﻤﺴﺔ اﻷول ﻣﻦ اﻟﻘﺮآن اﻟﻜﺮﻳﻢ‬

‫‪‬‬

‫دراﺳﺔ ﺑﻼﻏﻴﺔ ﲢﻠﻴﻠﻴﺔ ﻋﻦ )ﻛﻴﻒ(‬

‫ﻣﺄﺳﻤﺪي أﲪﺪ ﺳﺄﻋﺄ اﻟﺴﻌﺪي‬

‫‪197‬‬

‫اﻻﺳﺘﺸﻬﺎد ﺑﺎﳊﺪﻳﺚ ﻋﻨﺪ اﺑﻦ ﻋﻘﻴﻞ ﻣﻦ ﺧﻼل ﴍﺣﻪ ﻋﲆ أﻟﻔﻴﺔ اﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ‬

‫‪‬‬

‫ﻧﻮرا ﻛﺎدﻳﺮ‬

‫‪211‬‬

‫ﻣﻼﻣﺢ اﻟﺼﻮرة اﻟﻔﻨﻴﺔ ﻋﻨﺪ اﻟﻌﺮب اﻟﻘﺪﻣﺎء‬

‫‪‬‬

‫ﻣﺄﻓﲇ ﻣﻴﻜﻮﻧﺞ‬

‫‪223‬‬

‫‪จ‬‬

‫)‪กลุมศึกษาศาสตร 1 (หองที่ 4‬‬ ‫‪ ความสัมพันธระหวางการจัดการเรียนการสอนที่สง เสริมการเรียนรูดวยตนเอง‬‬ ‫ี‪กับการเรียนรูดวยตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตร‬‬ ‫‪ธีรพงศ แกนอินทร‬‬

‫‪239‬‬

‫ี‪ครูตนแบบในทัศนะของอิหมามอัลฆอซาล‬‬ ‫‪มุมีนะห บูงอตาหยง‬‬

‫‪‬‬

‫‪249‬‬

‫‪แนวคิดทางการศึกษาของอิบนุสะหฺนูนในหนังสือ อาดาบอัลมุอัลลิมีน‬‬ ‫‪อาหะมะ คาเด‬‬

‫‪‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สารบัญ (ตอ) หนา 

สมรรถนะครูอิสลามศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล อิสหาก นุยโสะ

263

การพัฒนาทักษะการอานออกเสียงภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕๒ โดยใชเทคนิคการเลานิทานแบบมุง ประสบการณภาษา โสรัตน อับดุลสตา

277

การพัฒนาครูดานการจัดการเรียนรูแ บบการบูรณการคุณธรรมจริยธรรมและ คานิยมอิสลามในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จังหวัดชายแดนภาคใตของไทย ซอลีฮะห หะยีสะมะแอ

289

แนวคิดการจัดการหมวดวิชาศึกษาทั่วไปเพื่อพัฒนานักศึกษา สูอัตลักษณบัณฑิต มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มาหามะรอสลี แมนยู

305

กลุมศึกษาศาสตร 2 (หองที่ 5) 

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานในรายวิชาเทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษา ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อดุลย ภัยชํานาญ

323

วัฒนธรรมวิจัยของครูในจังหวัดปตตานี ปวีณกร คลังของ

337

Applications of Critical Linguistic Analysis of Humorous Texts: Recommendations for Muslim Teachers of ESL/EFL Mahsoom Sateemae

351

A Design Model for Teaching English Writing to Improve Muslim Learners’ Writing Skills through the Combination of Schema Theory and Islamaization of Knowledge Nureeyah Maekong

365

แนวทางการสรางความรูความเขาใจดานการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมในโรงเรียน: กรณีศึกษา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา มารียัม เจะเตะ

379

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สารบัญ (ตอ) หนา 

สภาพการการดําเนินการของศูนยอบรมเด็กกอนเกณฑประจํามัสยิดจังหวัดสตูล รอหมาน หลีเส็น

กลุมศึกษาศาสตร 3 (หองที่ 6)  รูปแบบการใชอีเลิรนนิ่งและแนวทางสงเสริมเพื่อการจัดการเรียนการสอน ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จารุวัจน สองเมือง

393

405

ปจจัยการบริหารที่สง ผลตอสภาพการเปนองคการแหงการเรียนรู ของสถานศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต รุสนานี ยาโม

423

สมรรถนะของผูบ ริหารสถานศึกษาในสามจังหวัดชายแดนใต รูไกยะห อาดํา

439

การพัฒนาบุคลิกภาพนักศึกษาครูโดยใชรปู แบบกลุม ศึกษาอิสลาม: กรณีศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฟาตีฮะห จะปะกียา

453

สภาพการดําเนินงานของศูนยการศึกษาอิสลามประจํามัสยิด (ตาดีกา) ที่ไดรับเหรียญทองในจังหวัดสตูล อภิสิทธิ์ ดํายูโซะ

465

กลุมอิสลามศึกษา (หองที่ 7)  การไกลเกลีย่ ขอพิพาทครอบครัวตามบทบัญญัติแหงศาสนาอิสลามในประเทศมาเลเซีย 477 มะรอนิง สาแลมิง 

Wakaf Antara Realiti dan Prospek Dalam Masyarakat Islam Patani Bahruddin Bin Yusoh

487

การสมรสโดยวะลียอ าม: ศึกษาสถานะและแนวปฏิบัติของ คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาส มะนูรี ยูโซะ

501

การแบงทรัพยมรดกตามกฎหมายอิสลามศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายมรดกไทย มะดารี โตะและ

507

นันทนาการในอิสลาม: ศึกษาเพลงอนาชีดในกิจกรรมเสริมหลักสูตรโรงเรียนศรีกิบลัต 523 เขตโกตาบารูรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย อิสมาอีล อาเนาะกาแซ Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สารบัญ (ตอ) หนา 

เศาะลาฮฺญะมาอะฮฺกับการเมืองการปกครอง สะสือรี วาลี

537

กลุมอิสลามศึกษา 2 (หองที่ 8)  การวิเคราะหแนวคิดทางปรัชญาอิสลามของนักคิดมุสลิม เชคดาวูดแหงรัฐปตตานี แวยูโซะ สิเดะ

553

การพิชิตนครมักกะฮฺ กับการรังสรรคสันติภาพ อิสมาแอ สะอิ

561

แนวคิดบิดเบือนของกลุมตัสลีมในรัฐปนัง ประเทศมาเลเซีย อีสมาแอ กาเตะ

569



583 





‫ دراﺳﺔ أﺻﻮﻟﻴﺔ ﺗﻄﺒﻴﻘﻴّﺔ ﰲ ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء‬:‫ﺻﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ‬

595

‫ﻳﻮﺳﻒ وان ﺣﺎﺟﻲ‬

บทความการประชุมนําเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ (ภาคโปสเตอร) 

ผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นจากเหตุการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต ที่มีตอประชาชนในพื้นที่ตาํ บลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี กัมปนาถ นาดามัน

605

บทบาทของอิหมามในการพัฒนาชุมชนเขตเทศบาลเมืองตากใบ อานุวา มะแซ

621

ทัศนคติของผูนําตอบทบาทกลุม วะหดะหในการขับเคลื่อนนโยบายทางการเมือง และการพัฒนาทีม่ ีผลตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา (พ.ศ. 2529 – 2541) อาสมานูรดีน มะสาพา

629

ทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย กรณีศึกษา: โตะครูและผูชวยโตะครูสถาบันศึกษาปอเนาะในจังหวัดนราธิวาส อบูนุฟยล มาหะ

641

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สารบัญ (ตอ) หนา 

บทบาทของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( )ในประวัติศาสตรอสิ ลาม กรณีศึกษา: สังคมและเศรษฐกิจ ซากีรา มาหะ

655

แนวทางการพัฒนาปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนน ในเขตเทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา พิมาน ละสุสะมา

667

ความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานของ องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะอําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส มุคตา อีซอ

681

การจัดการทรัพยากรน้ําเพือ่ การเกษตรขององคการบริหารสวนตําบลกาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา ญะมาลุดดีน ยามา

693

การจัดการความรูท ี่เอื้อกับการพัฒนาอาชีพของกลุมเกษตรกรผูเ ลี้ยงกระบือ ในพื้นที่พรุปายอ อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี อับดุลเราะฮฺมาน ฟูอัด อาลมูฮัมหมัดอามีน

705

พฤติกรรมทางการเมืองของชาติพันธุมลายูในการเลือกตัง้ สมาชิกสภาผูแทน ราษฏร พ.ศ. 2554 กรณีศึกษาจังหวัดนราธิวาส เขตเลือกตัง้ ที่ 4 นิเลาะ แวนาแว

721

ปญหาการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ขององคการบริหารสวนตําบลเกะรอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา เอมัสกี สะแม

733

แนวปฏิบัติในการสงเสริมอาชีพชุมชนขององคการบริหารสวน ตําบลบางเกาอําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี สมาน ยูซง

747

ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝงของตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี อาลี หะแวกะจิ

757

ความเห็นของผูนําตอบทบาทและยุทธศาสตรของคณะกรรมการอิสลาม ประจําจังหวัดปตตานีทมี่ ีตอการเลือกตัง้ คณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด อับดุลฮากัม หะยีเจะหลง

769

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สารบัญ (ตอ) หนา 

(‫ﻋﻼﻗﺔ ﺟﻨﻮب ﺗﺎﻳﻼﻧﺪ ﺑﺎﳊﺠﺎز )دراﺳﺔ اﺟﺘﲈﻋﻴﺔ‬

783

( ‫ﻋﺒﺪ اﻟﻘﺎري ﻣﻨﺠﻮا ) رﺳﻼن ﻋﺒﺪ اﷲ‬

ทัศนคติ ของผูนําชุมชนตอนโยบายของรัฐในการแกไขปญหาความไมสงบ ในพื้นที่จังหวัดปตตานี อดินันต สะแลแม

793

ผลการจัดการเรียนรูแบบโครงงานทีม่ ีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มารียะห มะเซ็ง

809

:‫ﺗﺪرﻳﺲ ﻣﻬﺎرة اﻟﻜﻼم ﻟﻄﻠﺒﺔ ﻣﺮﻛﺰ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺑﺠﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‬

825

‫دراﺳﺔ ﲢﻠﻴﻠﻴﺔ ﻣﻘﺎرﻧﺔ ﺑﲔ اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸﻔﻬﻴﺔ وﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﻟﱰﲨﺔ‬

‫أﺣﻼم ﺟﻲء ﺻﺎﲏ‬

‫اﻻﲡﺎﻫﺎت اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ ﻟﻠﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﻣﻦ ﺧﻼل ﻛﺘﺎﺑﻪ ﺗﺴﻬﻴﻞ‬

839

(‫ﻧﻴﻞ اﻷﻣﺎﲏ ﰲ ﴍح ﻋﻮاﻣﻞ اﳉﺮﺟﺎﲏ)دراﺳﺔ ﲢﻠﻴﻠﻴﺔ‬

‫ﻓﺘﺤﻴﺔ ﺷﻤﺲ اﻟﺪﻳﻦ ﺑﻦ دوﻟﻪ‬

ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนแผนการเรียน วิทยาศาสตรในสังคมพหุวัฒนธรรม โรสมาวัน อะลีดิมัน

855

การกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่นและความสมานฉันท กรณีศึกษา ทัศนคติทางการเมืองของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี มูฮําหมัดดาวูด ซอลฮาน

869

ภาคผนวก ภาคผนวก ก คณะกรรมการจัดการประชุมนําเสนอผลงานระดับชาติ 883 บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย เรื่อง “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพือ่ การพัฒนา ภาคผนวก ข ดัชนีผูแตงบทความ 889

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

การไกลเกลี่ยขอพิพาทครอบครัวตามบทบัญญัติแหงศาสนาอิสลามในประเทศมาเลเซีย The concepts of Islamic law system and the process of mediation in Islamic family matters in Malaysia มะรอนิง สาแลมิง1 ฆอซาลี เบ็ญหมัด2 1

อาจารย แผนกวิชากฎหมายอิสลาม ภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี, 2อาจารยสาขาวิชากฎหมายอิสลาม คณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษากรอบแนวคิดทางกฎหมายอิสลาม ระบบ กลไกและรูปแบบการ ไกลเกลี่ยขอพิพาทครอบครัวอิสลามในประเทศมาเลเซีย โดยใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมขอมูล จาก เอกสารและการสัมภาษณ ใชวิธีวิเคราะหขอมูลเชิงพรรณา ผลการวิจัยพบวาการไกลเกลี่ยขอพิพาทครอบครัวตามบทบัญญัติแหงศาสนาอิสลามในประเทศ มาเลเซียเปนอํานาจหนาที่ของศาลชะรีอะฮเทานั้น เปนการใชวิธีก ารไกลเกลี่ยขอพิพาท เรียกวา ศุล ห (Sulh) ดวยความสมัครใจของคูกรณี การไกลเกลี่ยขอพิพาทของศาลชะรีอะฮในรัฐตางๆของประเทศ มาเลเซียอยูภายใตการบัง คับ บัญ ชาของแตละรัฐ มีบุคลากรที่เปนพนักงานเจาหนาที่ของรัฐรับ ผิดชอบ โดยตรงโดยมีกฎหมายกําหนดรูปแบบการดําเนินการอยางชัดเจน คูพิพาทจะตองเขารวมในกระบวนการ ไกลเกลี่ยขอพิพาทดวยตนเองโดยอาจนําทนายความเขารวมดวยก็ได คํารองจะตองอยูในอํานาจศาลชะ รีอะฮเทานั้น และขอตกลงจากการไกลเกลี่ยจัดทําเปนคําพิพากษาของศาล ในสวนขอเสนอแนะ การไกลเ กลี่ยขอพิพาทครอบครัวตามบทบัญ ญัติแหง ศาสนาอิสลามของ มาเลเซียทั้งระบบมีประสิทธิภาพสอดคลองกับบทบัญญัติแหงศาสนาอิสลามและสถานการณแหงยุคสมัย จึง ควรนํ า มาประกอบการพิ จ ารณาในการพั ฒ นาการไกล เ กลี่ ย ข อ พิ พ าทครอบครั ว และมรดกตาม พระราชบัญญัติการบริหารองคกรศาสนาอิสลาม พ.ศ.2540 ของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดและ คณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดในระบบยุติธรรมอิสลามในประเทศไทย คําสําคัญ: การไกลเกลี่ยขอพิพาท, ศาลชะรีอะฮ , กฎหมายอิสลาม, มาเลเซีย

Graduate School and Research / 15 May 2013

477


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT This research aims to study the concepts of Islamic law system and the process of mediation in Islamic family matters in Malaysia. This research used qualitative method. The research data was collected by documentary studies and interviews. The data was analyzed by a descriptive analysis method. The mediation of disputes on the matters of family according to Islamic law in Malaysia is under the authority of the Shariah court. The term Sulh was used on the process that provided the inaction of the parties. Shariah court is under the command of the leadership of each state. A qualifies staff have a direct responsibility for all relevant matters and law that determine the exact details. The parties are participated in the mediation process with themselves, and lawyers may participate with them. A petition must be in matters of the Court's authority and the Court by consent of the parties to record the mediation agreement by the way of res judicator to bind parties. Suggestion, a mediation system in family dispute in Malaysia is in line with the Islamic law and the situation in the modern era. It should be taken into account to develop a mediation in Islamic family and heritage dispute of the Provincial Islamic Committee and Islamic Committee of mosque according to Islamic Organizations Administration Act BE 2540 in Islamic judicial system in Thailand. Keywords: Mediation, Shariah court, and Islamic law in Malaysia

478

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา การระงับขอพิพาทนอกศาลในประเทศมาเลเซียในปจจุบัน นับวันยิ่งไดรับความนิยมมากขึ้น ศาล ชะรีอะฮในรัฐตางๆของมาเลเซียมีการใชการไกลเกลี่ยในฐานะเปนการระงับขอพิพาทในเชิงสมานฉันท เปน การระงับขอพิพาททางเลือกควบคูไปกับการระงับขอพิพาทโดยกระบวนการพิจารณาคดีซึ่งโดยปกติแลว จะตองใชเวลาและทุนเปนจํานวนมาก การไกลเกลี่ยขอพิพาทในคดีความครอบครัวอิสลามในศาลชะรีอะฮ ตาง ๆ ของประเทศมาเลเซีย มีมาเปนเวลาชานานแลว โดยรูปแบบที่ไมเปนทางการ ถือเปนจารีตประเพณี หนึ่งของสังคมมลายูอิสลามโดยการผสมผสานระหวางจารีตประเพณีและบทบัญญัติอิสลาม แมวารัฐตางๆ ของมาเลเซียหลายๆรัฐ ไดบัญ ญัติใหใชกระบวนการไกลเ กลี่ยในการยุติขอพิพาทในพระราชบัญ ญัติวิธี พิจารณาความแพงแลวก็ตาม แตยังคงไมไดบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับระเบียบวิธีของกระบวนการไกลเกลี่ย อยางที่ควรจะเปน วิวัฒ นาการของกระบวนการไกลเกลี่ยไดเปลี่ยนแปลงไปอยางสําคัญ นับตั้ง แตมีการ ประกาศใชพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาความแพงที่บัญญัติใหกระบวนการไกลเกลี่ยเปนวิธีระงับขอพิพาท ประเภทหนึ่งนอกเหนือไปจากกระบวนการพิจารณาความตามปกติในศาล (Raihanah Binti Hj Azahari. 2004 : 175 ) อยางไรก็ตามเอกสารและงานวิจัยเกี่ยวกับการไกลเกลี่ยขอพิพาทครอบครัวอิสลามของ มาเลเซียโดยทั่วไป เชน การศึกษาเรื่อง Perkembangan dan Pelaksanaan Sulh dalam Kes-Kes Pertikaian Keluarga di. Dunia Islam: Sorotan Terhadap Perkembangan Terkini Pelaksanaannya di Mahkamah Syariah Malaysia ของ Raihanah Binti Hj Azahari และอื่นๆ มักจะอยูในรูปแบบของการศึกษาแนวทางการไกลเกลี่ยขอพิพาทซึ่งจะเปนประโยชนตอการพัฒนาการไกล เกลี่ยขอพิพาทของมาเลเซีย โดยไมไดกลาวถึงระบบและกลไกการไกลเกลี่ยโดยละเอียดครบถวนในทุกๆ ดาน ที่ส ามารถนําไปใชสําหรับการวางระบบการไกลเกลี่ยขอพิพาทครอบครัวอิสลามสําหรับมุส ลิมใน ประเทศอื่นๆ ไดอยางครบวงจรโดยสมบูรณ งานวิจัยนี้จึง ไดศึกษาระบบและกลไกของการไกลเ กลี่ยขอพิพาทครอบครัวตามบทบัญญัติแหง ศาสนาอิสลามในประเทศมาเลเซียที่เปนแบบอยางในการประยุกตใช บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับสังคม ปจจุบัน รูปแบบการไกลเกลี่ยและขอจํากัดตางๆ ผลจากการวิจัยนี้จึงมีประโยชนทั้งในเชิงวิชาการและการ พัฒ นาระบบยุติธรรมอิส ลามในประเทศไทย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในกรณีการไกลเ กลี่ยขอพิพาทของ คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัด ตามพระราชบัญญัติการบริหารองคกรศาสนาอิสลาม พ.ศ.2540 ซึ่งมี การศึกษาพบวา มีการประนีประนอมขอพิพาทที่ดําเนินการโดยสํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจํา จังหวัดและกรรมการอิสลามประจํามัสยิด (อุดม หลําเบ็ญสะ 2544,75-78) วัตถุประสงค การศึกษานี้เปนการศึกษาการไกลเกลี่ยขอพิพาทครอบครัวตามบทบัญญัติแหงศาสนาอิสลามใน ประเทศมาเลเซียในกรณี 1) กรอบแนวคิดทางกฎหมายอิสลามในการไกลเกลี่ยขอพิพาทครอบครัวอิสลาม ของศาลชะรีอะฮ มาเลเซีย 2)ระบบและกลไกการเกี่ยวกับการไกลเกลี่ยขอพิพาทคดีความครอบครัวอิสลาม ในประเทศมาเลเซีย และ 3) ลักษณะการไกลเกลี่ยขอพิพาทในศาลชะรีอะฮ วิธีการวิจัย การศึกษาเรื่อง การไกลเกลี่ยขอพิพาทครอบครัวและมรดกตามบทบัญญัติแหงศาสนาอิสลามใน ประเทศมาเลเซีย ใชวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการไกลเกลี่ยขอพิพาทในบทบัญญัติ Graduate School and Research / 15 May 2013

479


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

อิสลาม และกฎหมายเกี่ยวกับการไกลเกลี่ยขอพิพาทของศาลชะรีอะฮในมาเลเซีย และการสัมภาษณแบบ เจาะลึกผูใหขอมูลสําคัญ (Key informant) ผูใหขอมูลสําคัญ (Key informant) ประกอบดวย ประธานศาลชะรีอะฮแหงมาเลเซีย (Jabatan Kehakiman Syariah Malaysia- JKSM) เจาหนาที่สํานัก งานศาลชะรีอะฮแหงมาเลเซีย ผูพิพากษา เจาหนาที่ไกลเกลี่ยขอพิพาทและเจาหนาที่ของศาลชะรีอะฮ รัฐปนังและกลันตัน การวิเ คราะหขอมูลใชวิธีก ารการวิเ คราะหเ ชิง พรรณนา โดยวิธีก ารเรียบเรียงขอมูล การให ขอสังเกต การวิจารณ และการวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบ (สุภางค จันทวาณิช,2535; Al-Ansari, 1997: 6673 , 90-92; 89,109; Abu Sulaiman, 1986: 78 – 79) ผลการวิจัย ผลการวิจัยตามวัตถุประสงคมีรายละเอียดดังนี้ 1.กรอบแนวคิดทางกฎหมายอิสลามในการไกลเกลี่ยขอพิพาทครอบครัวตามบทบัญญัติแหง ศาสนาอิสลามในประเทศมาเลเซีย ศาลชะรีอะฮของรัฐปนังทุกๆศาล มีอํานาจไกลเกลี่ยตามกฎหมาย เปนการไกลเกลี่ยโดยสมัครใจ ตามบทบัญญัติแหงศาสนาอิสลามจากอัลกุรอานและสุนนะฮฺ โดยการนําบทบัญญัติอิสลามเกี่ยวกับไกลเกลีย่ มาบัญญัติเปนกรอบในการทํางาน การไกลเกลี่ยประนีประนอม สอดคลองกับคําวา ‫( اﻟﺼﻠﺢ‬อัศศุลหฺ) ในภาษาอาหรับ ซึ่งนักวิชาการ กฎหมายอิสลามไดใหการจํากัดความในเชิงวิชาการไววา เปนนิติกรรมสัญญาหนึ่งที่มีเปาหมายเพื่อระงับขอ พิพาทโดยการยินยอมของคูความและมีคาตางตอบแทนในทัศนะนักวิชาการกฎหมายอิสลามสํานักมาลิกี ยะฮฺ ( Ibn Nujaim, n.d.: 55; Ibn Abidin, n.d.a: 629; Ulaish, n.d.: 36; As-Sharbini, 1415: 158; Qalyubi & Umairah, n.d.: 384; Ibn Qudamah, n.d.: 483; al-Bahuti, n.d.: 196 ) อัลลอฮฺตรัสถึงการไกลเกลี่ยประนีประนอมกรณีพิพาทในอัลกุรฺอาน ดังที่ปรากฏในสูเราะฮฺและ โองการ ตางๆ เชน             

ความวา “... ดังนั้น พวกทานจงยําเกรงอัลลอฮฺเถิด และจงไกลเกลี่ยคูพิพาทระหวางพวก ทานเถิดหากพวกทานเปนผูศรัทธา” (สูเราะห อัลอันฟาล, 7: 1) ในสุนนะฮฺของทานนบีมุฮัมมัด นั้น การไกลเกลี่ยขอพิพาทไดปรากฏในหลายๆ รูปแบบ ทั้งที่ เปนการกระทํา และคําพูด โดยที่ทานนบีมุฮัมมัด ไดทําการไกลเกลี่ยประนีประนอมในเหตุการณตางๆ เชน กรณีกะอฺบ บิน มาลิก รายงานวา เมื่อตนเองไดมีขอพิพาทกับอิบนุ อบีหัดรอด ในเรื่องหนี้สิน ทาน นบี มุฮัม มัด จึ ง ประนี ป ระนอมใหเ ขายกหนี้ใหแ กก ะอฺ บบ างส วนและใหจา ยสวนที่เ หลือ (บัน ทึก โดย อัลบุคอรียหมายเลขหะดีษ 450) กรณีที่ทานไดเจรจากับเจาหนี้ของญาบีร เพื่อลดหนี้ลงบางสวน (Ibn Qudamah, 1405: 16) และกรณีชายคนหนึ่ง ที่เรือกสวนเสียหายเนื่องจากภัยธรรมชาติ นบีมุฮัมมัด จึง ไกลเกลี่ยใหเจาหนี้ของเขาลดหนี้ลงครึ่งหนึ่ง ซึ่งเจาหนี้ก็ตกลง ( Ibn Qudamah, 1405: 16) ในกระบวนการการไกลเกลี่ยประนีประนอมวาดวยประเด็นปญหากฎหมายครอบครัวและมรดกใน อิสลามนั้น มีประเด็นปญหาหลักๆ ไดแก 1) ประเด็นปญหาที่เกี่ยวของกับลักษณะการทรงความสามารถ 480

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

และการทรงสิทธิของบุคคล 2) ประเด็นปญหาที่เกี่ยวของกับระบบโครงสรางของครอบครัว เชนการหมั้น การสมรส สิทธิและหนาที่ระหวางสามีภรรยา มะฮัร คาอุปการะเลี้ยงดูภรรยา 3) ประเด็นปญหาที่เกี่ยวของ กับ การสิ้นสุดการสมรส 4) ประเด็นปญหาที่เกี่ยวของกับการสืบสายสกุล 5) ประเด็นปญหาที่เกี่ยวของกับ การอุปการะเลี้ยงดูเครือญาติ อํานาจการปกครอง การกันสิทธิ การพิจารณาถึงขอกฎหมายที่เกี่ยวของกับ บุคคลสาบสูญ 6) ประเด็นปญหาที่เกี่ยวของกับมรดก พินัยกรรม และการดําเนินการหลังการเสียชีวิต (alJasas, 1993: 399; Ibn ‘Abideen, n.d.a.: 593 642; Muhammad bin Farmuz, n.d.: 396 ; Wizarah Al-Auqaf wa Al-Shu-un Al-Islamiah. , 1427: 16 ; al-Shafi’e, n.d.: 226) 2.ระบบและกลไกเกี่ยวกับการไกลเกลี่ยขอพิพาทคดีความครอบครัวอิสลามในประเทศมาเลเซีย ระบบและกลไกเกี่ยวกับการไกลเกลี่ยขอพิพาทคดีความครอบครัวอิสลาม ในศาลชะรีอะฮของรัฐ ตางๆในประเทศมาเลเซีย มีลักษณะใกลเคียงกัน โดยงานวิจัยนี้จะศึกษารูปแบบการไกลเกลี่ยของศาลชะ รีอะฮ ในรัฐกลันตัน ปนัง โดยศาลชะรีอะฮในรัฐตางๆดังกลาวมีระบบและกลไกที่เกี่ยวของกับการไกลเกลี่ย ไดแก 1) กฎหมาย และระเบียบตางๆ 2) หนวยงานผูรับผิดชอบและบุคลากร 3) งบประมาณ ก. กฎหมาย และระเบียบตางๆ การไกลเกลี่ยขอพิพาทคดีความครอบครัวอิสลาม ในศาลชะรีอะฮของรัฐตางๆในประเทศมาเลเซียมี กฎหมายและระเบียบตางๆรองรับ ประกอบดวย 1) พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาความแพงศาลชะรีอะฮ 2) ระเบียบวิธีพิจารณาความแพงศาลชะรีอะฮ (Kaedah-kaedah Tatacara Mal (SULH) Mahkamah Syariah) 3) พระราชบัญญัติกฎหมายครอบครัวอิสลาม (Enakmen Undang-Undang Keluarga Islam ) 4) พระราชบัญญัติการบริหารศาสนาอิสลาม (Enakmen Pentadbiran Agama Islam 4) คูมือปฏิบัติงาน (Manual Kerja Sulh) 5)คําสั่ง (Practice Direction - Arahan Amalan -amalan) ตางๆ ของสํานักงาน ศาลชะรีอะฮมาเลเซีย ในกรณีรัฐกลันตัน คูพิพาทมีอํานาจที่จะทําสัญญาไกลเกลี่ยเพื่อระงับขอพิพาทในทุกขั้นตอนของ การดําเนินคดีในศาลชะรีอะฮฺ โดยพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาความแพงศาลชะรีอะฮ รัฐกลันตัน (2002) มาตรา 99 (Enakmen Tatacara Mal Mahkamah Syariah Negeri Kelantan(2002) ) บัญญัติวา “ฝาย ใด ๆ ก็ตามในคดี มีอํานาจในทุกขั้นตอนของการดําเนินคดีที่จะทําสัญญาไกลเกลี่ยเพื่อระงับขอพิพาทตามที่ ระเบียบกําหนด หากไมมีระเบียบดังกลาวใหดําเนินการไปตามบทบัญญัติศาสนา” สวนพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาความแพง ศาลชะรีอะฮ รัฐปนัง (2004) (Enakmen Tatacara Mal Mahkamah Syariah (Negeri Pulau Pinang) 2004 ) มาตรา 94 ไดบัญญัติเกี่ยวกับการไกลเกลี่ยขอ พิพาทวา “หากวาดวยการตกลงของคูพิพาททําใหขอพิพาทใดสิ้นสุดลง ศาลมีอํานาจบันทึกขอเท็จจริงของ การสิ้นสุดขอพิพาทนั้นตามขอตกลงดังกลาว ณ เวลาใดๆ ก็ไดตามสาระในขอตกลงนั้น และการบันทึก ขอตกลงที่ทําใหขอพิพาทนั้นสิ้นสุด ใหคุมครองดวยวิธีการจัดทําเปนคําพิพากษาในการดําเนินการขั้นตอไป เพื่อการบังคับใชตามนั้นหรือการบังคับตามที่เห็นวาเหมือนกัน” มาตรา 99 บัญญัติวา“ ฝายใดๆก็ตามในคดี มีอํานาจในทุกขั้นตอนของการดําเนินคดีที่จะทําสัญญาไกลเกลี่ยเพื่อระงับขอพิพาทตามที่ระเบียบกําหนด หากไมมีระเบียบดังกลาวใหดําเนินการไปตามบทบัญญัติศาสนา” มาตรา 131 บัญญัติวา“การตัดสินของ ศาลสําหรับการรับ สารภาพหรือการตกลงของคูพิพาท ซึ่งรวมถึงกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาท ศาลมี อํานาจบันทึกในเวลาใดๆ ก็ได” Graduate School and Research / 15 May 2013

481


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ข. หนวยงานผูรับผิดชอบและบุคลากร หนวยงานผูรับผิดชอบและบุคลากร ในการไกลเ กลี่ยขอพิพาทในศาลชะรีอะฮของรัฐตางๆ ใน มาเลเซีย ประกอบดวย 1) หนวยไกลเกลี่ยขอพิพาท (Unit Sulh / Mediasi) 2) ฝายเกื้อหนุนครอบครัว (Bahagian Sokongan Keluarga–BSK ) 3) นายทะเบียน ในศาลชะรีอะฮ รัฐกลันตัน การไกลเกลี่ยขอพิพาทเปนอํานาจหนาที่ของหนวยไกลเกลี่ยขอพิพาท ( Unit Sulh / Mediasi ) ซึ่งเปนหนวยงานที่มีหนาที่ไกลเกลี่ยขอพิพาทในศาล หนวยไกลเกลี่ยขอพิพาท (Unit Sulh /Mediasi ) มีเจาหนาที่ไกลเ กลี่ยขอพิพาท สําหรับ ศาลชะรีอะฮทุกๆ ศาล ในรัฐ กลันตัน จํา นวนทั้ ง สิ้น 4 คน เจ า หน า ที่ มี คุณ ลั ก ษณะเหมื อ นเจ าหน า ที่ ท างตุล าการทั่ วไป รวมทั้ง ต อ งได รั บ ประกาศนียบัตรทางการศาลชะรีอะฮ และไดรับการแตงตั้งจากกษัตริยแหงรัฐ สวนศาลชะรีอะฮ รัฐปนัง เปนอํานาจหนาที่ของฝายไกลเกลี่ยขอพิพาท (Sulh Section / Mediasi) ซึ่งเปนหนวยงานเฉพาะในเรื่อง การไกลเกลี่ยขอพิพาท ฝายไกลเกลี่ยขอพิพาท มีเจาหนาที่ไกลเกลี่ยขอพิพาท ศาลชะรีอะฮแตละแหงจะมี เจาหนาที่ไกลเกลี่ยจํานวนทั้งสิ้น 6 คน เจาหนาที่มีคุณลักษณะเหมือนเจาหนาที่ทางตุลาการทั่วไป รวมทั้ง ตองไดรับ ประกาศนียบัตรทางการศาลชะรีอะฮ สําเร็จ การศึกษาระดับ ปริญ ญาตรีนิติศาสตรและหรือ กฎหมายอิสลาม และไดรับการแตงตัง้ จากกษัตริย หนวยและฝายไกลเกลี่ยขอพิพาทของศาลชะรีอะฮ รัฐกลันตันและรัฐปนัง มีฝายเกื้อหนุนครอบครัว (Bahagian Sokongan Keluarga–BSK ) เปนหนวยงานสนับสนุน ฝายเกื้อหนุนครอบครัวเปนหนวยงาน ของสํานักงานศาลชะรีอะฮมาเลเซีย ( Jabatan Kehakiman Syariah Malaysia - JKSM) ที่มีเจาหนาที่ ประจําการอยูในศาลชะรีอะฮของรัฐตางๆทุกรัฐ มีหนาที่บังคับคดีตามคําสั่งศาลชะรีอะฮเกี่ยวกับคาอุปการะ เลี้ยงดูหรือคาอื่นๆ ฝายเกื้อหนุนครอบครัวมีหนาที่จัดเก็บคาอุปการะเลี้ยงดูหรือคาอื่นๆ แลวนําไปจายใหกบั ผูรับ หรือเปนผูจายคาครองชีพชั่วคราวใหแกภรรยา หรือบุตรของฝายที่มีห นาที่รับ ผิดชอบไมจายคา อุปการะเลี้ยงดู จัดหาและรวบรวมงบประมาณสําหรับใชจายใหแกผูที่ไดรับคาอุปการะเลี้ยงดูไมเพียงพอตอ การครองชีพ และหนาที่อื่นๆ นายทะเบียนมีบทบาทหนาที่ที่สําคัญอยางยิ่งในศาลชะรีอะฮ เพราะมีอํานาจพิจารณารูปแบบการ ดําเนินคดีวา จะดําเนินคดีดวยวิธีการไกลเกลี่ยหรือ ดําเนินคดีตามปกติ ระเบียบวิธีพิจารณาความแพงศาล ชะรีอะฮ รัฐกลันตันป 2007 (Kaedah-kaedah Tatacara Mal (Sulh) Kelantan 2007) และระเบียบวิธี พิจ ารณาความแพ ง ศาลชะรี อะฮ รั ฐป นัง ป ค .ศ. 2006 (Kaedah-kaedah Tatacara Mal (Sulh) Mahkamah Syariah Pulau Pinang 2006) ขอ 3 กําหนดวา นายทะเบียนมีอํานาจหนาที่ในการพิจารณา วาคดีนั้นจะใชการไกลเกลี่ยไดหรือไม ระเบียบวิธีพิจารณาความแพงศาลชะรีอะฮ รัฐกลันตันปค.ศ. 2007 (Kaedah-Kaedah Tatacara Mal (Sulh) Kelantan 2007) และระเบียบวิธีพิจารณาความแพงศาลชะรีอะฮ รัฐปนัง 2006 (Kaedahkaedah Tatacara Mal (Sulh) Mahkamah Syariah Pulau Pinang 2006 ) ขอ 4 กําหนดวา ภายหลัง จากที่นายทะเบียนไดรับคําฟองในเขตอํานาจตามกฎหมาย หากนายทะเบียนเห็นวามีโอกาสที่จะยุติขอ พิพาทดังกลาวได ใหนายทะเบียนดําเนินการ 1) ใหกําหนดวันพิจารณาขอพิพาทดังกลาวในระยะเวลา 3 เดือนหลังจากมีคําฟองนั้น 2) จะตองกําหนดวันเวลาใหฝายที่เกี่ยวของเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาท โดยไมชักชา และ 3) จะตองสงหมายศาลกําหนดวันเวลาดังกลาวไปยังฝายที่เกี่ยวของ นอกจากนั้น แนว การปฏิบัติงานของ JKSM 2/2001 กําหนดวา กระบวนการไกลเกลี่ยจะตองเริ่มตนภายในระยะเวลา 21 วัน นับตั้งแตไดรับการเห็นชอบจากนายทะเบียน การกําหนดระยะเวลาดังกลาวขึ้นก็เพื่อแกไขคํารองที่คางศาล 482

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

และความลาชาของคดีในชั้นศาล และการปฏิบัติง านของ JKSM 3/2003 กําหนดวา หลัง จากที่นาย ทะเบียนไดกําหนดปฏิทินของกระบวนการไกลเกลี่ยแลว จะตองออกหมายไกลเกลี่ ยและสงใหแกคูกรณี ตามระเบียบการสงหมายศาล เพื่อใหเขารวมในวันเวลาที่กําหนด ค) งบประมาณ การไกลเกลี่ยขอพิพาทครอบครัวอิสลามไดรับงบประมาณของรัฐตามพระราชบัญญัติงบประมาณ ประจําป ในกิจการตางๆที่เกี่ยวของ เชน คาตอบแทนและสวัสดิการบุคลากร งบดําเนินการ งบพัฒนา คา วัสดุและครุภัณฑตางๆ เปนตน อยางไรก็ตาม คูพิพาทที่เขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยไดรับการยกเวนคาธรรมเนียมที่เกี่ยวของกับ การไกลเกลี่ยทุกประการ โดยที่ระเบียบวิธีพิจารณาความแพงศาลชะรีอะฮ กําหนดวา กระบวนการไกล เกลี่ ยทุ ก ขั้น ตอนไมมีค าใชจ ายใดๆ ทั้ ง สิ้น (Kaedah-kaedah Tatacara Mal (Sulh) Kelantan 2007;Kaedah-kaeadah Tatacara Mal (SULH) Mahkamah Syariah Pulau Pinang, 2006) 3.การไกลเกลี่ยขอพิพาทในศาลชะรีอะฮ การไกลเกลี่ยขอพิพาทในศาลชะรีอะฮ มีรายละเอียดในกรณี 1) เขตอํานาจศาล 2) ผูเขารวม กระบวนการไกลเกลี่ย 3)ขอตกลงของกระบวนการไกลเกลี่ย 4) คูมือการปฏิบัติงานในกระบวนการไกล เกลี่ย โดยมีรายละเอียดดังนี้ ก.เขตอํานาจศาล ศาลชะรีอะฮของรัฐตางๆในประเทศมาเลเซียมีการไกลเกลี่ยขอพิพาทครอบครัวตามบทบัญญัตแิ หง ศาสนาอิสลามตามเขตอํานาจศาลที่กฎหมายบัญญัติไว อันไดแก คดีเกี่ยวกับ การผิดสัญญาหมั้น คา มุตอะฮ คาอุปการะเลี้ยงดูในระยะอิดดะฮฺ คาอุปการะเลี้ยงดูที่คางจาย สินสมรส คามะฮัรที่คางจาย และ คาอื่นๆที่เกี่ยวกับการสมรส ที่เห็นควร สิทธิปกครองบุตร คาอุปการะเลี้ยงดูบุตรในความปกครอง การ ขอใหบังคับคดีตามคําสั่งศาลชะรีอะฮ การขอเปลี่ยนแปลงคําสั่งศาล ความสัมพันธระหวางสามีภรรยา และ กรณีวะลียปฏิเสธการสมรส ดังที่ปรากฏในพระราชบัญญัติกฎหมายครอบครัวอิสลามรัฐกลันตัน ( ฉบับที่ 6/2002 ) (Enakmen Undang-undang Keluarga Islam Kelantan(No.6/2002) และพระราชบัญญัติ กฎหมายครอบครัวอิสลาม (รัฐปนัง) 2004 (Enakmen Undang-Undang Keluarga Islam (Negeri Pulau Pinang) 2004 ) มาตรา 15 58 59 66 70 73 74 75 76 78 82 และ 122 อยางไรก็ตามคดีครอบครัวตามกฎหมายอิสลามที่ไดรับการยกเวนไมใหใชวิธีการไกลเกลี่ยคือคดี ฟองหยา ดังที่ระเบียบวิธพี ิจารณาความแพงศาลชะรีอะฮ รัฐกลันตัน 2007 (Kaedah-Kaedah Tatacara Mal (Sulh) Kelantan 2007) และระเบียบวิธีพิจารณาความแพงศาลชะรีอะฮ รัฐปนัง 2006 (Kaedahkaedah Tatacara Mal (Sulh) Mahkamah Syariah Pulau Pinang 2006) ขอ 2 กําหนดวา ระเบียบนี้ ไมอ าจใชกับ คดีฟ องหยาและการดํ าเนิ นการใดๆเกี่ยวกับ การฟ องหยาตามพระราชบั ญ ญัติ ก ฎหมาย ครอบครัวอิสลาม ข.คูมือการปฏิบัติงานในกระบวนการไกลเกลี่ย ในการดําเนินการใหเปนไปตามระเบียบวิธีพิจารณาความแพง (กระบวนการไกลเกลี่ย) รัฐกลันตัน (Kaedah–kaedah Tatacara Mal (Sulh) Negeri Kelantan 2007) และระเบียบวิธีพิจารณาความแพง Graduate School and Research / 15 May 2013

483


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ศาลชะรีอะฮ รัฐปนัง 2006 (Kaedah-kaeadah Tatacara Mal (Sulh) Mahkamah Syariah Pulau Pinang, 2006) ไดมีการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานในกระบวนการไกลเกลี่ยเพื่อใหเจาหนาที่ไกลเกลี่ยนําไป ปฏิบัติ เพื่อใหกระบวนการไกลเกลี่ยดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด คูมือการปฏิบัติงานในกระบวนการไกลเกลี่ย กําหนดกระบวนการไกลเกลี่ยเริ่มตั้งแตการแนะนําตัว เจาหนาที่ไกลเกลี่ย คํารองเรียนของผูรองเรียน การพิจารณารวมกัน การเจรจากับ คูกรณีเปนรายคน การ เจรจารวมกัน คําสั่งศาลตามผลจากการตกลงรวมกัน คูมือปฏิบัติงานใหความสําคัญตอการรักษาความลับในการดําเนินกระบวนการไกลเกลี่ย เพื่อให กระบวนการไกลเกลี่ยมีประสิทธิภาพมากที่สุด กระบวนการไกลเกลี่ยอาจดําเนินการตอเนื่องจนจบสิ้นใน ครั้งเดียว หรืออาจตองใชกระบวนการไกลเกลี่ยแบบหลายครั้ง แตตองใชเวลาไมเกิน 3 เดือน แตอาจยื่นคํา รองตอศาลใหเพื่อขยายเวลาของกระบวนการไกลเกลี่ยไดอีก ค.ผูเขารวมการไกลเกลี่ย ระเบียบวิธีพิจารณาความแพงศาลชะรีอะฮ รัฐกลันตันปค.ศ. 2007 (Kaedah-kaedah Tatacara Mal (Sulh) Kelantan 2007 ) และระเบียบวิธีพิจารณาความแพงศาลชะรีอะฮ รัฐปนัง 2006 (Kaedahkaeadah Tatacara Mal (SULH) Mahkamah Syariah Pulau Pinang, 2006) ขอ 5 (1) กําหนดวา ผูดําเนินการกระบวนการไกลเกลี่ยจะตองเปนบุคคลที่ศาลแตงตั้งเทานั้น และระเบียบขอ 5 (2) กําหนดวา กระบวนการไกลเ กลี่ยจะตองดําเนินการในที่ที่เปนสวนตัวที่สุด ใหเขาไดเฉพาะคูกรณีและผูดําเนินการ เทานั้น สวนตัวแทนหรือทนายความ ไมอนุญาตใหเขารวมในกระบวนการไกลเกลี่ยนอกจากจะไดรับอนุญาต จากผูดําเนินการเทานั้น ในทางปฏิบัติ ศาลชะรีอะฮรัฐกลันตันและรัฐปนัง ไดมีก ารแตงตั้งเจาหนาที่ไกลเกลี่ยขอพิพาท โดยเฉพาะ และดําเนินการไกลเกลี่ยในหองพิเศษที่เปนสวนตัวมากที่สุด เรียกวา หองกระบวนการไกลเกลี่ย (Bilik Majlis Sulh ) ที่ประกอบดวยโตะกลมและเกาอี้สําหรับการประชุม 3 ฝาย สภาพเชนนี้จะทําให กระบวนการไกลเกลี่ยมีความเปนสวนตัว ที่ทุกฝายสามารถระบายความรูสึกไดอยางเต็มที่ บรรยากาศของ กระบวนการไกลเกลี่ยจึงแตกตางจากบรรยากาศแงการเอาชนะคะคานกันในศาล ที่มีทนายความ นักขาว บุคคลทั่วไปและอื่นๆ สามารถเขารับฟงการพิจารณาได ง.ขอตกลงของกระบวนการไกลเกลี่ย หลังจากที่กระบวนการไกลเกลี่ยสิ้นสุดลง ขอตกลงที่เปนผลมาจากกระบวนการไกลเกลี่ย ไมวาจะ สิ้น สุด ลงที่คู ก รณีต กลงกั นไดเ ปน ผลสํา เร็ จ หรือ จะต องนํา ไปสูก ารพิจ ารณาของศาล อย างไรก็ต าม ความสํา เร็ จ หรื อ ลม เหลวมิ ไ ดเ ป น ตัว วั ด ประสิ ท ธิ ภ าพของกระบวนการไกล เ กลี่ ย แต เ ปา หมายของ กระบวนการไกลเ กลี่ยคือการที่ไดมีก ารจัดกระบวนการที่ยุติธรรมสําหรับ คูก รณีใหไดหารือกันเทานั้น เนื่องจากกฎหมายบังคับใหคูกรณีตองเขามาและทําความเขาใจกับกระบวนการไกลเกลี่ย แตไมไดบังคับให ตัดสินใจ การบังคับใดๆที่เกิดขึ้นในกระบวนการไกลเกลี่ยอาจทําใหขอตกลงของกระบวนการไกลเกลี่ยเปน โมฆะ โดยปกติแลว ขอตกลงของกระบวนการไกลเกลี่ยมี 3 ลักษณะ คือ การยกหนี้ การจายหนี้ และการ รวมกันของทั้งสองกรณีทั้งการยกหนี้และการจายหนี้ ซึ่งหมายถึง คูกรณีละขอเรียกรองบางสวนแลกกับการ ทดแทนดวยสิ่งอื่น 484

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ขอตกลงของกระบวนการไกลเกลี่ยที่ประสบความสําเร็จ ไมวาจะเปนกรณีสําเร็จอยางสมบูรณหรือ บางสวน จะตองนําไปยังศาลเพื่อบันทึกและทําคําพิพากษา ขอตกลงของกระบวนการไกลเกลี่ยจะมีการทํา ในรูปแบบของสัญญา และใหคูกรณีลงลายมือชื่อตอหนาผูดําเนินการในกระบวนการไกลเกลี่ย แลวนําไปสู ศาลเพื่อทําคําพิพากษา ตามระเบียบวิธีพิจ ารณาความแพง ศาลชะรีอะฮ รัฐกลันตัน 2007 (KaedahKaedah Tatacara Mal (Sulh) Kelantan 2007 ) และระเบียบวิธีพิจารณาความแพงศาลชะรีอะฮ รัฐปนัง 2006 (Kaedah-kaeadah Tatacara Mal (SULH) Mahkamah Syariah Pulau Pinang, 2006) ขอ 6 กระบวนการไกลเกลี่ยที่ลมเหลว ไมวาจะเปนกรณีลมเหลวทั้งหมดหรือบางสวน จะตองนําไปสูศาล เพื่อทําคําฟอง คําใหการและการสืบพยานตอไป ตามระเบียบวิธีพิจารณาความแพงศาลชะรีอะฮ รัฐกลันตัน 2007 ( Kaedah-Kaedah Tatacara Mal (Sulh) Kelantan 2007) และระเบียบวิธีพิจารณาความแพง ศาลชะรีอะฮ รัฐปนัง 2006 (Kaedah-kaeadah Tatacara Mal (SULH) Mahkamah Syariah Pulau Pinang, 2006) ขอ 7 และ 8 สรุป รัฐตางๆ ของมาเลเซียใหความสําคัญกับ การไกลเ กลี่ยขอพิพาทครอบครัวตามบทบัญ ญัติแหง ศาสนาอิสลามเปนอยางสูง จะเห็นไดจากการที่มีการมอบหมายหนาที่เกี่ยวกับการไกลเกลี่ยใหแกบุคลากร และหนว ยงานมากมาย เชน ศาลชะรีอะฮ เจาหนาที่ฝายไกลเ กลี่ ยขอพิพาท นายทะเบียน รวมถึ ง หนวยงานสนับสนุน เชน สํานักงานศาลชะรีอะฮมาเลเซีย (Jabatan Kehakiman Syariah Malaysia JKSM) ฝายเกื้อหนุนครอบครัว (Bahagian Sokongan Keluarga–BSK ) และมีกฎหมายกําหนดรูปแบบ การดําเนิน การอยางชั ดเจน นอกจากนั้นคูพิ พาทที่เ ขา สูก ระบวนการไกลเ กลี่ ยยัง ไดรับ การบยกเว น คาธรรมเนียมทุกอยาง อยางไรก็ตามการไกลเกลี่ยขอพิพาทครอบครัวตามบทบัญญัติแหงศาสนาอิสลาม ของมาเลเซียมีขอจํากัดบางประการ ไดแก การไกลเกลี่ยจะตองเปนคดีที่อยูในอํานาจศาลชะรีอะฮฺ ยกเวน คดีฟองหยาที่ไดรับการยกเวนไมใหใชวิธีการไกลเกลี่ยขอพิพาท และไมรวมถึงคดีมรดกที่ไมอยูในอํานาจของ ศาลชะรีอะฮ เอกสารอางอิง สุภางค จันทวาณิช. 2535. วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ . คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อุดม หลําเบ็ญสะ. 2544. “บทบาทของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดในจังหวัดชายแดนภาคใต” วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ (สําเนา) Abu Sulaiman, Abd al-Wahhab Ibrahim. 1986. Kitabah al-Bahth al-Ilm wa Masadir alDirasat al-Islamiah. Jiddah : Dar al-Shuruq. Al-Ansari,Mansur. 1997. Abjadiyat al-Bahth fi al-Ulum al-Shar-ei’yah. Al-Dar alBaidhaa : Al-Najah al-Jadidah. Al-Ansari, n.d. Sharh Al-Bahjah. s.n.: Al-Matba’ah Al-Maimaniah. Al-Bahuti, Mansur bin Yunus bin Idris. n.d. Sharh Muntaha Al-Iradat,2. Beirut: A’lam AlKutub. Al-Jassas, Ahmad bin ‘Ali. 1405. Ahkam Al-Quran, 3. Beirut: Dar Ihyaa Al-Turath. Graduate School and Research / 15 May 2013

485


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

Al-Shafi’e, Muhammad bin Idris. n.d.a. Al-Umm, 2. s.n.: Dar Al-M’arifah. Al-Sharbini, Muhammad Al-Khatib. 1415. Al-Iqnaa, 3. Beirut: Dar Al-Fikr. Enakmen Tatacara Mal Mahkamah Syariah Negeri Kelantan (2002) Enakmen Undang-undang Keluarga Islam Kelantan (No.6/2002) Enakmen Undang-Undang Keluarga Islam (Negeri Pulau Pinang) 2004) Fadhlullah, Mahdi. 1998. Usul kitabah al-Bahth al-Ilm wa Qawai’d al-Tahqiq. Beirut : Dar al-Talia’h. Kaedah-Kaedah Tatacara Mal (Sulh) Kelantan 2007 ) Ibn ‘Abidin. Muhammad Amin. n.d. Radd Al-Muhtaj a’la Al-Durr Al-Mukhtar Sharh Tanwir Al-Absar, 5. Riyadh: Dar Al-Kutub Al-‘Ilmiah. Ibn Nujaim, Zain Al-Din bin Ibrahim. n.d. Al-Bahr Al-Raiq Sharh Kanz Al-Daqa-iq, 7. s.n.: Dar Al-Kutub Al-Islami. Ibn Qudamah. 1405. Al-Mughni, 8. Beirut: Dar Al-Fikr. _________. n.d. al-Mughni, 8. S.n. : Dar al-Ihyaa al-Turath al-‘Arabi. Kaedah-kaeadah Tatacara Mal (Sulh) Mahkamah Syariah Pulau Pinang, 2006 Manual Kerja Sulh Muhammad bin Farmuz. n.d. Durar Al-Hukkam Sharh Gharar Al-Ahkam, 2. s.n.: Dar Ihyaa Al-Kutub Al-‘Arabiah. Qalyubi wa ‘Umairah. n.d. Hashiyatan Qalyubi wa ‘Umairah, 2. s.n.: Dar Ihyaa Al-Kutub Al-‘Arabiah. Raihanah Binti Hj Azahari. 2004. Perkembangan dan Pelaksanaan Sulh dalam Kes-Kes Pertikaian Keluarga di. Dunia Islam: Sorotan Terhadap Perkembangan Terkini Pelaksanaannya di Mahkamah Syariah Malaysia. Dlm Islam Part Present and Future. International Seminar on Islamic Thoughts Proceedings. 7-9 December 2004. Ulaish, Muhammad bin Ahmad. n.d. Minah Al-Jalil Sharh Mukhtasar Khalil,6. s.n.: Dar AlFikr. Warta Kerajaan. 2005. Enakmen Pentadbiran Agama Islam (Negeri Pulau Pinang) 2004 (Negeri Pulau Pinang) 2004 . Jid 48. No.27 . 24 November 2005 Warta Kerajaan.2006. Enakmen Tatacara Mal Mahkamah Syariah ( Negeri Pulau Pinang) 2004 . Jid 20. No.13 . 22 Jun 2006. Wizarah Al-Auqaf wa Al-Shu-un Al-Islamiah. 1427a. Al-Muasuah Al-Fiqhiah Al-Kuwaitiah, 11.Cairo: Dar Al-Safwah.

486

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

Wakaf Antara Realiti dan Prospek Dalam Masyarakat Islam Patani The concept of wakaf, reality implementation in Patani Bahruddin Bin Yusoh Pensharah dijabattan Usuluddin Fakulti Pengajian Islam, Universiti Islam Yala

ABSTRAK Wakaf adalah satu amalan sunnah yang digalakkan dalam Islam, dan digiatkan sejak dari zaman Rasulullah  , diamalkan oleh para sahabat, generasi-generasi kemudian dan berterusan hingga ke hari ini. Wakaf juga sebagai perkongsian harta kekayaan seorang dengan orang yang lain supaya menjadi sumber utama dalam membangun dan memajukan umat. Makalah ini akan cuba melihat kembali konsep tentang wakaf, realiti pelaksanaan wakaf dalam masyarakat Islam Patani, dan peluang untuk mencapai kejayaan pada masa akan datang. Kata Kunci: wakaf , realiti, prospek, masyarakat Islam.

Graduate School and Research / 15 May 2013

487


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The Wakaf is a sunnah practice encouraged in Islam, from time of the Prophet , followed by his companions, and generations later and continues to now. And wakaf as well as sharing wealth with the other person to be the main source for the development Umah. This article will to look back to the concept of wakaf, reality implementation in Patani, and the chances for success in the future. Key Words: wakaf, reality, prospect, Islamic society.

488

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

Pendahuluan Amalan wakaf merupakan salah satu ibadah yang menghampirkan diri pewakaf dengan Allah  menerusi harta-harta dan kekayaan. Wakaf juga merupakan salah satu ibadah yang diamalkan pada zaman awal Islam yang disyarakkan oleh Allah  . Dengan itu, wakaf menjadi sebagai tradisi amalan para muslimin sama ada kalangan pemerintah, hartawan-hartawan dan rakyat biasa yang dilakukan secara meluas, terutamanya di negara-negara Arab dan Asia Tengah. Di negara Arab terdapat sangat banyak harta wakaf dan tidak terurus menyebabkan penubuhan kementerian khas untuk mengawal dan mengendalikan urusan harta wakaf itu . Makalah ini, penulis cuba meninjau kembali tentang konsep wakaf, bagaimana amalan dan pelaksanaan wakaf dalam masyarakat Islam Patani, dan sejauh manakah peluang untuk membangun serta menjayakan harta wakaf pada masa akan datang untuk memajukan sosioekonomi umat Islam dalam masyarakat Patani. Bagi memenuhi tujuan penulisan makalah ini, penulis mengemukan pelaksanaan harta wakaf umat Islam Patani berdasarkan pemerhatian, pengalaman dan pengamatan dari penulis untuk menjadi bahan pembicaraan kali ini. Pengertian Wakaf Wakaf asal dari kata bahasa Arab, dari sudut bahasa wakaf memberi erti: al-Habs (‫ )اﳊﺒﺲ‬bererti Menahan, dan al-Man’ (‫ )اﳌﻨﻊ‬bererti Menghalang (Ibn Manzur, 1990: 9/359) Ulama’ Fiqh mentakrifkan wakaf mengikut istilah bahasa dengan al-Habs, kerana perkataan ini lebih hampir kepada pengertian syarak. ( al-Khatib al-Syarbini, 2004 : 2/485) Mankala wakaf dari sudut Istilah ialah suatu bentuk penyerahan harta sama ada cara sareh atau kinayah, kemudian harta itu ditahankan sesiapa mengambil manfaat darinya kecuali diberi untuk kebajikan sama ada berbentuk umum atau khusus. Wakaf juga boleh dimaksudkan dengan apa-apa harta yang ditahan oleh pewakaf ke atas harta tersebut daripada sebarang urusan; jual beli, pewarisan, hibah dan wasiat di samping mengekalkan sumber fizikalnya, untuk kebajikan dengan niat mendekatkan diri pewakaf kepada Allah . Wakaf juga dikenali sebagai sedekah jariah (Al-Khatib al-Syarbini, 2004 : 2/485) iaitu suatu ibadah yang berbentuk penyerahan harta yang dimiliki dengan niat mendekatkan diri dengan Allah  bagi tujuan kepentingan umat. Dengan itu, ibadah wakaf merupakan amalan jariah berbentuk kekal yang diberikan ganjaran pahala berterusan kepada para pewakaf sehingga ke hari kiamat.

Graduate School and Research / 15 May 2013

489


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

Dalil Pengsyariatan Wakaf Ada beberapa dalil yang menetapkan syariat Wakaf 1). Al-Quran, Allah  telah berfirman: ‫َﺖ َﺳﺒ َْﻊ َﺳﻨَﺎﺑ َِﻞ ِﰲ ﻛ ﱢُﻞ ُﺳﻨ ْﺒُ َﻠٍ ﺔ‬ ْ ‫ﺣﺒﱠﺔ أَ ﻧ ْﺒَ ﺘ‬ ٍ َ ِ‫أَﻣْﻮاﳍَ ُْﻢ ِﰲ َﺳﺒ ِﻴﻞِ ا ﱠ ِ ﻛ َ​َﻤﺜَﻞ‬ َ َ‫﴿ﻣﺜ َُﻞ ا ِﻟﱠﺬﻳﻦَ ِﻳُﻨﻔﻘُ ﻮن‬ َ ﴾‫ﻒ ﳌَﻦْ َﻳَﺸ ُﺎء َوا ﱠ ُ َو ِاﺳ ٌﻊ ﻋَ ﻠ ِ ٌﻴﻢ‬ ِ ُ ‫ﻳُﻀ ِﺎﻋ‬ َ ُ ‫ﺣﺒﱠﺔ َوا ﱠ‬ ٍ َ ُ‫ِ ﻣﺎﺋَﺔ‬

Bermaksud: Bandingan orang yang membelanjakan hartanya pada jalan Allah (perbelanjaan derma) ialah seperti sebiji benih yang tumbuh dan menerbitkan tujuh tangkai; tiap-tiap tangkai itu pula mengandungi seratus biji. Dan (ingatlah) Allah akan melipatgandakan pahala (ganjaran) bagi sesiapa yang dikehendaki-Nya dan Allah Maha Luas (rahmat) kurnia-Nya lagi Maha Mengetahui”. (Surah Al-Baqarah, 2 : 261) Ayat diatas menggambarkan bagi orang mengerja kebaikan, tetap ia akan ditambahkan kebaikan itu, seperti juga orang-orang yang membelanjakan harta mereka pada jalan Allah  pada bidang kebajikan dan kebaikan, tetap Allah  akan menggandakan kebaikannya, kerana jalan Allah  semuanya benar dan betul. Mereka ini seperti orang-orang yang menanam satu bijian pada bumi yang subur, tetap bumi itu akan menumbuh tujuh tangkai, bagi setiap tangkai mengandungi seratus bijian dan dari bijain itu akan keluar buah buahan yang sangat banyak ( Abdulkarim al-Khatib, nd. : 1/333). Begitu juga orang-orang yang berwakaf hartanya pada jalan Allah  tetap dia akan dapat ganjaran kebaikan yang sangat banyak. Allah  berfirman: ﴾‫ض‬ ِ ‫َﻴﱢﺒَﺎت َﻣﺎ ﻛ َ​َﺴﺒ ْﺘ ُْﻢ َ ِوﳑ ﱠﺎ ْأَﺧ َﺮ ْﺟﻨَﺎ َﻟﻜ ُْﻢِ ﻣﻦَ ْﻷ َْر‬ ِ ‫َﺎ ا ِﻟﱠﺬﻳﻦَ َآﻣﻨُﻮا أَ ِﻧ ْﻔﻘُ ﻮا ِ ﻣﻦْ ﻃ‬

‫﴿ ﻳَﺎ ﱡأَﳞ‬

Bermaksud: Wahai orang yang beriman, hendaklah kamu belanjakan sebahagian dari yang baik daripada apa yang kamu usahakan, dan sebahagian daripada yang kami mengeluarnya untuk kamu dari bumi. (Surah Al-Baqarah, 2: 267) Ayat ini menyuruh orang-orang beriman supaya mereka belanjakan sebahagian dari harta yang baik bagi mereka pada jalan Allah , kerana Allah  adalah Tuhan yang sangat baik, dan Dia tidak akan menerima harta yang dibelanjakan pada jalanNya kecuali harta yang baik. Pada ayat ini Allah  tidak menerangkan jenis-jenis perbelanjaan yang tertentu pada jalanNya, maka sudah pasti amalan wakaf termasuk juga dalam jenis perbelanjaan pada jalan Allah . Degan itu para pewakaf seharusnya berikan hartahartanya yang baik untuk meningkatkan kedudukan umat Islam dalam masyarakat ini, begitu juga orang-orang yang berwakaf harta pada jalan Allah  tetap dia akan dapat ganjaran kebaikan yang sangat banyak. 490

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

Allah  berfirman lagi: ﴾‫ﳾ ء ﻓَﺈِنﱠ ا ﱠ َ ﺑ ِ ِﻪ ﻋَ ﻠ ِ ٌﻴﻢ‬ ٍ ْ َ ْ‫﴿ ﻟَﻦْ َﺗﻨَﺎﻟُﻮا اﻟ ِْﱪ ﱠ َﺣﺘﱠﻰ ُﺗ ِﻨ ْﻔﻘُ ﻮا ِ ﳑ ﱠﺎ ُﲢ ِ ﺒﱡﻮنَ َو َﻣﺎ ُﺗ ِﻨ ْﻔﻘُ ﻮا ِ ﻣﻦ‬

Bermaksud: Kamu sekali-kali tidak sampai kepada kebajikan (yang sempurna), sebelum kamu menafkahkan sehahagian harta yang kamu cintai. Dan apa saja yang kamu nafkahkan maka sesungguhnya Allah sangat mengetahuinya”. (Surah Al-Imran, 3 : 92) Mengikut al-Khatib al-Syarbini ( 2004 : 2/485) berkata : Talhah  apabila mendengar ayat ini, baginda terus wakaf hartanya pada jalan Allah , imam al-Qurthuby berkata: Talhah  adalah seorang Ansar yang paling banyak miliki kebun kurma di Madinah. Antara kebun yang dia sayangi ialah Bi’ruha’ ( ‫ ) ﺑﺌﺮﺣﺎء‬yang terletak berhadapan dengan masjid. Rasulullah . sendiri pernah mengunjunginya dan meminum airnya yang sangat bersih. Apabila firman yang tersebut diatas itu diwahyukan, maka Talhah  berkata kepada Rasulullah  : Sesungganya harta yang paling aku sayang ialah Bi’ruha’, dan sesungguhnya hartaku di Bi’ruhu’ itulah yang ku wakafkan pada jalan Allah  (alQurthuby, 1985 : 4/132) 2). Hadith Nabawi, dari Abu Hurairah , Rasulullah  bersabda: ‫ أو وﻟﺪ‬،‫ أو ﻋﻠﻢ ﻳﻨﺘﻔﻊ ﺑﻪ‬،‫ ﺻﺪﻗﺔ ﺟﺎرﻳﺔ‬: ‫"إذا ﻣﺎت اﻹﻧﺴﺎن اﻧﻘﻄﻊ ﻋﻨﻪ ﻋﻤﻠﻪ إﻻ ﻣﻦ ﺛﻼﺛﺔ‬ "‫ﺻﺎﻟﺢ ﻳﺪﻋﻮ ﻟﻪ‬

Bermaksud:“Apabila mati oleh seorang manusia, akan terputuslah amalannya kecuali tiga perkara: sedekah jariah, ilmu yang dimanfaatkannya dan anak yang soleh yang mendoakannya” (Muslim, 1983 : 6/85, Kitab alwasiah, Bab Ma Yulhaqu al-Insan min al-Thawab ba’d Wafatihi) Menurut al-Khatib al-Syarbini (2004 : 2/485) sedekah jariah dimaksudkan di sini ialah menanggung makna wakaf bukan yang lain. dengan itu barangsiapa wakaf hartanya pada jalan Allah , tetap ia akan dapat ganjaran selama lamanya walaupun dia mati. Hadith riwayat Muslim dari Ibni Umar  dia berkata: Umar telah mendapat sebidang tanah di Khaibar, dia datang kepada Nabi untuk minta pandangan tentang tanah itu, maka katanya yang bermaksud: “Wahai Rasulullah sesungguhnya aku mendapat sebidang tanah di Khaibar, di mana aku tidak mendapat harta yang lebih berharga bagiku selain daripadanya, (walhal aku bercita-cita untuk mendampingkan diri kepada Allah  apakah yang hendak engkau perintahkan kepadaku dengannya?” Maka sabda Rasulullah . kepadanya yang bermaksud: “Jika engkau hendak tahanlah (bekukan) tanah itu, dan sedekahkan manfaatnya.” Maka Umar  pun sedekahkan manfaatnya dengan syarat tanah (maukuf) itu tidak boleh dijualbeli, tidak dihibahkan (beri) dan tidak diwariskan Graduate School and Research / 15 May 2013

491


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

(dipusakai). Tanah itu diwakafkan kepada fakir miskin, kaum kerabat, memerdekakan hamba sahaya, sabilillah, ibnis sabil dan tetamu. Dan tidak ada halangan bagi orang yang menguruskan (yang diberi kuasa menjaganya yakni Nazir) untuk mengambil upah sebahagian darinya dengan cara yang wajar dan mengambil upahnya tanpa menganggap bahawa tanah itu miliknya sendiri. (Muslim, 1983 : 6/86, Kitab al-Wasiah, Bab al-Wakf). Hadith ini para fuqaha menetapkan 3 peraturan wakaf yang perlu diambil kira dalam suatu pelaksanaan wakaf, iaitu; Harta wakaf tidak boleh dijual, tidak boleh diberikan hibah kepada orang lain, dan tidak boleh diwarisi. Selain dari itu, Jabir berkata: Tiada seorangpun dari sahabat Nabi  yang memiliki kemampuan dan kelapangan rezeki, kecuali mereka mewakafkan harta mereka pada jalan Allah. (al-Khatib al-Syarbini, 2004 : 2/485). Rukun Wakaf Amalan wakaf atau wakaf mempunyai rukun-rukun tertentu iaitu; 1. Pewakaf (wakif). Syarat-syarat pewakaf adalah: a) Mestilah memiliki harta secara penuh yang ingin diwakafkan, bererti dia bibas untuk mewakafkan harta itu kepada sesiapa atau mana-mana badan yang ia kehendaki. b) Mestilah pewakaf itu sempurna akal dan waras pemikirannya. c) Sampai umur atau baligh. d) Mestilah pewakaf itu orang merdeka, bukan hamba sahya bagi orang lain. e) Pilihan sendiri untuk berwakaf, iaitu tidak dipaksa oleh sesiapa. 2. Harta yang diwakafkan (Mawquf). a) Harta itu mestilah benda-benda yang dapat diambil faedah dan manfaat darinya. b) Harta yang diwakaf itu mempunyai nilai harganya (mutaqawwim). c) Harta yang diwakafkan itu adalah milik sempurna oleh orang yang berwakaf. d) Diwakafkan untuk tujuan yang baik sahaja dan tidak menyalahi syarak. e) Harta yang dapat diserahkan dan bukan harta ditahan seperti harta orang muflis dan harta anak yatim 3. Penerima wakaf (Mawquf ‘Alaih). a) Orang yang boleh memiliki harta (ahlan li al-tamlik), iaitu; orang Islam, merdeka dan kafir zimmi boleh memiliki dan menerima manfaat harta wakaf. Manakala orang yang tidak sempurna akalnya, hamba sahaya, dan orang gila tidak boleh menerima wakaf. b) Penerima wakaf mampu menjadikan manfaat wakaf sebagai mendekatkan diri (taqarrub) kepada Allah  dan perkara ini hanya ditujukan untuk kepentingan Islam dan umatnya sahaja. 492

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

4. Penyataan wakaf (Sighah wakaf). Pernyataan wakaf yang dibuat boleh sahaja secara lisan atau tulisan atau perbuatan, melalui lisan boleh dilafaz secara soreh atau kinayah;a) Lafaz soreh iaitu lafaz yang jelas membawa maksud yang tertentu sahaja seperti “Saya mewakafkan rumah saya untuk orang-orang fakir”. b) Lafaz kinayah iaitu lafaz yang membawa banyak maksud seperti “Hartaku adalah sedekah kepada fakir miskin”. c) Manakala wakaf melalui perbuatan ialah; perbuatan yang dilakukan dalam melaksanakan waqaf. Contohnya, seseorang mendirikan masjid (Bahauddin AbdulRahman bin Ibrahim al-Maqdasi, 2001: 1/427) dan mengidupkan masjid tersebut dengan amalan– amalan ibadah seperti solat berjemaah, majlis ilmu, kelas fardhu ain dan sebagainya. Konsep Wakaf Dalam amalan wakaf mesti sempernakan konsep-konsep berikut; (Amir abdulAziz, 1999 : 3/1636) a) Wakaf hendaklah terputus hak milik atau sebarang tuntutan balik daripada pewakaf selepas ikrar lafaz wakaf. b) Wakaf hendaklah terdiri daripada harta-harta yang memberi manfaat atau faedah darinya. d) Wakaf hendaklah terdiri daripada harta-harta yang berkekalan ainnya(fizikalnya) e) Wakaf hendaklah dibuat secara berkekalan tanpa dihadkan sesuatu tempoh masa tertentu. f) Wakaf hendaklah dibuat untuk tujuan kebajikan menurut hukum syarak. Jenis Wakaf Wakaf dibahagikan kepada 2 bahagian iaitu: wakaf zurri (‫ )ذري‬iaitu wakaf untuk keluarga atau keturunan dan wakaf khairi (‫ )ﺧﲑي‬iaitu wakfa untuk kebajiakan umum, dan wakaf khairi pula dibahagikan kepada 2 bahagian pula, iaitu: 1. Wakaf Khas, iaitu pewakaf mewakafkan hartanya bertujuan tertentu seperti membina masjid, sekolah agama dan sebagainya. 2. Wakaf Am, ialah pewakaf mewakafkan hartanya untuk tujuan kebajikan Islam semata-mata tanpa ditentukan tujuan yang khusus. Contoh pelaksanaan wakaf di negera Malaysia. Sebenarnya negera Malaysia adalah sebuah negera yang mempunyai suasana dan kehidupan umat Islam berhampiran dengan kehidupan umat Islam di dalam masyarakat Islam Patani. Pelaksanaan wakaf dalam masyarakat Islam di Malaysia telah wujud sejak Graduate School and Research / 15 May 2013 493


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

sekian lama dan telah bermula sejak permulaan datangnya Islam. Para pedagang Islam, pemerintah dan hartawan mereka telah mewakafkan tanah-tanah untuk dijadikan tapak masjid, tempat pengajian Islam, tanah perkuburan dan sebagainya, untuk kegunaan dan faedah umat Islam. Perkembangan tersebut bolehlah digambarkan melalui fakta-fakta berikut: 1. Negara Malaysia memiliki tanah wakaf yang amat banyak dan jika dibangunkan boleh memberi saham kepada pembangunan ekonomi umat Islam khasnya dan negara amnya. Keluasan tanah wakaf di Malaysia ialah sebanyak 20,735.61 ekar dimana sebanyak 14,815.787 ekar wakaf khas dan 5,919.83 ekar wakaf am. Negeri Johor adalah negeri yang paling banyak memiliki tanah wakaf diikuti oleh Perak dan Pahang. (Mohd Nazri Chik, 2007 dari internet) 2. Selain daripada wakaf tanah, terdapat banyak institusi pendidikan di Malaysia yang terus memberi bakti di atas asas wakaf seperti Madrasah al-Attas di Pekan, Madrasah al-Attas di Johor, Sekolah Agama Arab Al-Masriyah di Bukit Mertajam, Madrasah Khairiah Islamiah di Kepala Batas, Madrasah Masyhor al-Islamiyyah di Pulau Pinang, Maahad alYahyawiah di Padang Rengas, Perak, Maahad al-Ihya’ al-Syarif di Gunung Semanggol, Maahad Mahmud di Alor Setar, Kolej Islam Sultan Alam Shah di Kelang dan lain-lain lagi. (Mohd Nazri Chik, 2007 dari internet) 3. Negara Malaysia ada perundangan tentang wakaf yang rasmi dan sempurna bagi setiap negeri seperti; Pengurusan wakaf di negeri Kedah dilaksanakan berdasarkan Enakmen Pentadbiran Undang-undang Islam (Kedah Darul Aman) 2008 seksyen 52: “Walau apapun apa-apa peruntukan yang berlawan yang terkandung dalam mana-mana surat cara arau perisytiharan yang mewujudkan, mengawal, dan menyentuh perkara itu, Majlis hendaklah menjadi pemegang amanah yang tunggal :(a) semua wakaf, sama ada wakaf am atau khas; (b) semua nazr am; (c) segala jenis amanah yang mewujudkan apa-apa amanah khairat bagi menyokong dan memajukan Agama Islam atau bagi faedah orang-orang Islam mengikut hukum syarak. Dan seksyen 53 ; Semua harta yang tertakluk kepada seksyen 52 hendaklah tanpa apa-apa pindah hak, serah hak, atau pindah milik, dan dalam hal harta tak alih sebaik sahaja didaftarkan di bawah undang-undang bertulis yang berhubungan dengan tanah, terletak hak kepada Majlis, bagi maksud wakaf, nazr am atau amanah yang menyentuh harta itu. (Bahruddin Bin Yusoh, et.al. 2555 : 31) Seksyen 47 dalam subseksyen (4) “ Walau apapun peraturan yang disebut dalam subseksyen (3), mana-mana pelaburan, asset atau kumpulan wang yang terletak hak pada Majlis boleh dijual, dihasilkan dan dilupuskan, dan hasil-hasil daripadanya boleh 494

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

dilaburkan dari semasa ke semasa dalam apa-apa pelaburan yang dibenarkan oleh manamana undang-undang bertulis yang sedang berkuatkuasa bagi pelaburan wang amanah dan hukum syarak ” (Bahruddin Bin Yusoh, et.al. 2555 : 42) 4. Penubuhan Jabatan Wakaf, Zakat dan Haji pada 27 Mac 2004 oleh Kerajaan Malaysia. Tujuan jabatan ini tentang wakaf ialah untuk mewujudkan institusi wakaf yang kemas, teratur, seragam, tulus dan berkesan menurut ajaran Islam yang dapat membantu meningkatkan taraf sosioekonomi masyarakat Islam di Malaysia. Dan pada tahun 2008 kerajaan Malaysia telah tubuh Yayasan Wakaf Malaysia (YMW), yayasan ini adalah satu badan bagi menyatukan dan memajukan sumber-sumber wakaf agar dapat dijadikan sumber modal ekonomi dan unutuk dimanfaatkan oleh umat Islam secara terbaik. (Bahruddin Bin Yusoh, et.al. 2555 : 34-35) 5. Penerbitan Saham Wakaf oleh beberapa negeri seperti Johor, Melaka dan Selangor. Cadangan ini adalah menepati keputusan Majma’ Fiqh Islamiy pada 24 November 2005 bahawa: “Adalah harus mewaqafkan bahagian-bahagian dan sahamsaham syarikat kewangan yang diperniagakan dalam dagangan yang diharuskan oleh Syarak dengan syarat saham-saham ini beserta keuntungannya diagihkan sejajar serta mengikut syarat-syarat yang telah ditentukan oleh pewaqaf dimana ia adalah seperti nas Syarak iaitu satu kaedah yang telah disepakati oleh Ulama.” (Mohd Nazri Chik, 2007 dari internet) 6. Penerbitan Pelan Takaful Wakaf oleh Syarikat Takaful Malaysia Berhad yang menggabungkan produk Takaful di bawah kontrak Mudharabah dengan wakaf tunai sejak tahun 1997. Produk ini telah memberi manfaat kepada golongan petani, nelayan dan orang kurang upaya (OKU) melalui penerima wakaf dinamakan iaitu Yayasan Di Raja Sultan Mizan Zainal Abidin, anak yatim dan orang tua di beberapa rumah anak yatim dan orang tua, pelajar-pelajar kurang bernasib baik di beberapa buah institusi pendidikan dan lainlain lagi. (Mohd Nazri Chik, 2007 dari internet) 7. Pengenalan Sistem Maklumat Wakaf Berasaskan Sistem Maklumat Geografi (GISWAQF) iaitu mengambil manfaat daripada Geographic Information System (GIS) sebagaimana dicadangkan oleh sekumpulan penyelidik daripada Pusat Kajian Harta Tanah (CRES), Universiti Teknologi Malaysia. Usaha ini adalah untuk membolehkan tanah-tanah wakaf diuruskan dengan lebih mutu oleh pihak-pihak berkuasa berkaitan. (Mohd Nazri Chik, 2007 dari internet) Dari kenyataan dan contoh pelakasaan wakaf di negera Malaysia yang diteragkan diatas, didapati bahawa negara Malaysia sangat mengambil perhatian dan memberi sumbangan terhadap wakaf dengan membentuk undang-undang terhadap wakaf, menubuh badan-badan khas untuk mengawalkan dan memajukan harta wakaf, serta menetapkan wang tahunan untuk membangunkan harta-harta wakaf di Malaysia. Dengan

Graduate School and Research / 15 May 2013

495


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

itu, pelaksanaan wakaf di Malaysia lebih maju dan teratur dari pelaksanaan-pelaksanaan harta wakaf di dalam mayarakat Islam Patani. Realiti Wakaf dalam Masyarakat Islam Patani Kalau tinjau kepada realiti wakaf dalam masyarakat Patani didapai bahawa beberapa perkara harus diketengahkan dan ditinjau kembali. Antaranya ialah: 1. Masih banyak daripada kalangan umat Islam Patani yang kurang sedar tentang amalan wakaf, budaya, dan potensinya. Selain dari itu, kefahaman wakaf masih terbatas kepada harta yang tidak dapat dipindah, kebanyakan mereka masih faham bahawa wakaf itu terhad kepada tanah, rumah, bangunan dan sebagainya. Sedangkan amalan wakaf yang disyarakkan ialah amalan yang mampu membangun kemajuan sosioekonomi umat, seperti wakaf tunai, saham wakaf, wakaf koprat dan sebagainya. 2. Kefahaman wakaf masih terbatas juga kepada badan-badan keagamaan sahaja seperti; masjid, sekolah agama dan sekolah TADIKA, dan manfaat atau faedah daripadanya tidak diagikhan kepada badan-badan kebajikan yang lain seperti; badan kesihatan, badan pembangunan masyarakat dan sosioekonomi umat. 3. Tidak ada badan yang bertanggungjawab untuk merancang, mengurus, menyelaras dan membangun harta wakaf. Kini, kita dapati bahawa harta wakaf hanya dijaga dan diamanahkan kepada ahli jawatankuasa masjid yang kurang aktif dan sebagainya. Keadaannya sesetengah tempat badan tersebut bertanggungjawab hanya menjaga supaya tidak hilang dan tidak dikhianati sahaja. 4. Tidak ada perundangan yang mengawal, megurus, menyelaras, dan memajukan harta wakaf. Walaupun ada perundangan yang disebut dalam undang-undang “ Pelantikan dan Pembubalan Ahli Jawatan Kuasa masjid dan surau, tahun Budha 2534 ” perkara 35 dan 36 ( Kromkarn Sasna, 2539 : 19-20 ), namun undang-undang tersebut tidak meliputi bahagian pengurusan dan pemajuan harta wakaf. 5. Kelemahan dalam persiapan masa depan umat. Masyarakat Islam Patani belum mempunyai perancangan masa depan mereka sendiri, kecuali apa sahaja yang dirancangkan oleh pihak kerajaan. kemungkinan perancangan yang diberi itu tidak sesuai dengan keperluan dan kepentingan penduduk di sini. 6. Kekurangan dana untuk memajukan harta wakaf. Bagi sesetengah kawasan, tanah wakaf sangat besar dan luas tetapi tanah itu terbiar, tidak dapat manfaat kepada umat dengan sebab tiada badan yang menyumbang bagi memajukan harta wakaf itu. 7. Ketiadaan pangkalan data yang lengkap tentang tanah wakaf. Sekarang harta yang diwakafkan itu tidak terisi maklumat-maklumat yang lengkap tentang harta wakaf itu, walaupun ada, tetapi maklumat itu perlu dibahrui dengan kaedah pengkalan data yang lengkap dan sempurna. 496

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

8. Selain daripada badan-badan agama seperti; masjid dan surau, terdapat sekolah agama rakyat, institusi pengajian tinggi Islam, dan institusi pondok juga merupakan badan yang dapat manfaat daripada harta wakaf secara langsung yang berperanan penting dalam masyarakat. Sejak dari dahulu lagi institusi ini bertanggunngjawab sebagi pendidik dan pembina generasi-generasi pelajar yang mampu membawa Islam dan berdakwah dalam masyarakat Islam Patani khasnya, dan masyarakat Thai amnya. Prospek Pembangunan Wakaf dalam Masyarakat Islam Patani Untuk memajukan harta wakaf dalam masyarakat Islam Patani pada masa akan datang, penulis ingin mengemukakan beberapa perkara, antaranya ialah: 1. Dalam masyarakat Islam Patani perlu mewujudkan institusi wakaf secara rasmi, bersistem, seragam, tulus dan berkesan menurut ajaran Islam yang dapat membantu dan meningkatkan kedudukan sosioekonomi masyarakat Islam di Patani. Badan ini perlu didaftar dengan pihak kerajaan baik dalam bentuk yayasan atau sebagainya. 2. Setelah mewujudkan institusi wakaf, seterusnya kita perlu juga mengumpul semua data atau maklumat tentang harta-harta wakaf yang ada sekarang, dan dikemaskan data itu menurut sistem maklumat yang terkini. 3. Mewujudkan dan meluaskan pelaksaan wakaf tunai yang dikumpul simpanan di dalam satu tabung amanah di bawah pengurusan nazir yang diamanahkan supaya mengurus wakaf ini bagi tujuan kebajikan dan manfaat umat. Para ulama’ di zaman silam telah menggunakan istilah wakaf ad-darahim atau wakaf ad-dananir iaitu wakaf menggunakan wang dirham atau dinar dalam kehidupan mereka. Secara umumnya wakaf tunai ini dilaksanakan adalah bertujuan untuk mengumpulkan dana dari kalangan umat Islam yang kemudianya dapat dimanfaatkan bagi kepentingan pembangunan dan kebajikan umat. 4. Umat Islam dalam masyarakat Patani, perlu mempelbagaikan cara untuk pewakaf, seperti; wakaf Tunai, kutipan melalui potongan gaji bulanan, dan mendepositkan tunai ke salah satu akaun bagi badan-badan wakaf. (Azri bin Ahmad, 2009: 10) Bagaimanapun, kesedaran masyarakat Islam Patani mengenai amalan berwakaf, lebih-lebih lagi berwakaf menggunakan wang tunai amat rendah. 5. Mewujudkan aktiviti dakwah dan penerangan untuk menjadi tradisi masyarakat tentang wakaf. Oleh itu perlu mewujudkan pelbagai program dan aktiviti diatur sepanjang tahun bertujuan untuk menyebarluaskan amalan wakaf kepada masyarakat Islam Patani agar mewujudkan masyarakat yang arif tentang ibadah ini. Program-program ini seperti; khutbah di masjid-masjid, ceramah dan forum kepada masyarakat, dan sebagainya. (Ahmad Shahir Bin Makhtar, 2009: 110)

Graduate School and Research / 15 May 2013

497


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

6. Meningkatkan kesedaran berwakaf di kalangan masyarakat Patani melalui aktiviti promosi media massa berterusan, agar dapat membudayakan ibadah wakaf di kalangan masyarakat, pelbagai promosi perlu dilaksanakan sepanjang tahun bertujuan untuk menambahkan kutipan wakaf, di antara aktiviti itu seperti; Mengedarkan kenyataan akhbar kepada pihak media sekurang-kurangnya tiga kali sebulan untuk melaporkan serta menyebarkan segala aktiviti, mengadakan sesi sidang akhbar bagi aktiviti tertentu, temubual khas dalam program-program di stesen radio dan TV, dan membawa pihak media membuat lawatan ke projek agihan wakaf serta rumah-rumah penerima wakaf. (Ahmad Shahir Bin Makhtar, 2009 : 110) 7. Masyarakat Islam perlu merancang masa depan umatnya dengan pilihan dan perancangan mereka sendiri, menyelaraskan dengan pihak berkuasa baik diperingkat wilayah ataupun peringkat negara, agar umat Islam di Patani akan setanding dengan umat yang maju. Dan perancangan itu mesti mencakupi semua bidang kehidupan mereka; pendidikan dan pelajaran, social, politik, ekonomi, dan sebagainya. 8. Institusi-institusi pendidikan Islam yang dibina atas tanah wakaf dalam masyarakat Patani, perlu memainkan peranan lebih besar dari yang ada sekarang, kerana ia adalah institusi bagi harapan umat untuk merealisasikan syari’at dan menjaga kehidupan masyaraka Islam. Selain dari itu, pihak bertanggunjawab dalam institusi pendidikan perlu bezakan diri mereka diantara; pewakaf, nazir, dan penerima wakaf, serta menjaga harta wakaf dengan baik, beramanah, lebih sistematik, tersusun, dan berkesan. Kesimpulan Wakaf adalah satu ibadah yang digalakkan supaya mendekatkan diri kepada Allah  Dalam masa yang sama harta wakaf adalah kepunyaan Allah  yang mesti dijaga dengan baik dan beramanah, dan harta wakaf itu juga perlu digiatkan untuk mengembalikan fungsinya, seperti; mewujudkan badan wakaf bertaraf rasmi untuk mengumpul harta wakaf menjadi satu tabung amanah, menghayati wakaf tunai melalui cara dakwah dan promosi dalam media massa, memperkemaskan pentadbiran dan pengurusan harta wakaf, membangunkan sistem maklumat tentang harta wakaf yang sempurna, melibatkan pembangunan tanah wakaf dalam perancangan dan pembangunan masyarakat Islam di peringkat wilayah dan negara, membangunkan harta wakaf dengan kaedah istibdal, dan menyedarkan umat Islam tentang wakaf dan potensinya dalam memajukan masyarakat. Dari usaha ini akan mengukuhkan taraf sosioekonomi masyarakat Islam Patani, Insya Allah.

498

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

Bibliografi Abdulkarim al-Khatib, nd. al-Tafsir al-Qur’ani li al-Qur’an. Cairo: Dar al-Fikr al-‘arabi. Amir abdulAziz, 1999. Fiqh al-Kitab wal-Sunnah. Nablus: Dar al-Salam. Bahauddin AbdulRahman bin Ibrahim al-Maqsasi, 2001. al-Uddah fi Tasyri’ al-Umdah. Beirut: Muassasah al-Risalah. Bahruddin Bin Yusoh, et.al. 2555. Karn Bariharn Chadkarn Sapsin Wakaf Tamlak Sasna Islam nai Pratip Malaysia : Korni Seksa karntamngan khong Samnakngan Sasna Islam Muang Alorstar Kedah. Al-Khatib al-Syarbini, 2004. Mughni al-Muhtaj. Beirut: Dar al-Ma’rifah. Kromkarn Sasna, 2539. Khumea karn beriharn masjid lek chumchun. Bangkok: Rongpim Kromkarn Sasna. Ibn Manzur, 1990. Lisan al-Arab. Beirut: Dar al-Sadr. Al-Nawawi, 1983. Sohih Muslim bi syarh al-imam al-Nawawi. Beirut: Dar al-Fikr. Al-Qurthuby,1985. Al-Jami’ li Ahkam al-Quran. Beirut: Dar al-Ihya’ al-Turath al-A’rabi. Ahmad Shahir Bin Makhtar, 2009: 110 “Pradigma Pengurusan Institusi Zakat: Pengalaman Lembaga Zakat Selangor (MAIS)” Muktamar Peningkatan Pengurusan Wakaf dan Zakat, Anjuran Kolej Universiti INSANIAH, pada 30-31 Mei 2009 di dewan Seri Negeri, Wisma Darul Aman, Kedah. Azri Bin Ahmad, , 2009 “Penubuhan Yayasan Wakaf Malaysia (YWM) dan Pelaksanaan Skim wakaf Tunai Malaysia” Muktamar Peningkatan Pengurusan Wakaf dan Zakat, Anjuran Kolej Universiti INSANIAH, pada 30-31 Mei 2009 di dewan Seri Negeri, Wisma Darul Aman, Kedah. Internet Mohd Nazri Chik, 2007. “Wakaf dan Peranannya dalam Pembangunan Umat” dari internet http://ilmuone.wordpress.com/2007/02/22/wakaf-dan-peranannyadalam-pembangunan-umat.

Graduate School and Research / 15 May 2013

499



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

การสมรสโดยวะลียอ าม: ศึกษาสถานะและแนวปฏิบัติของ คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาส marriage by Wali Am: examine the status and the practice method of Narathiwat Islamic Committee มะนูรี ยูโซะ1 มุฮําหมัดซากี เจะหะ2 1

นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาชะรีอะฮฺ คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 2 ผูชวยศาสตราจารย, Ph.D. (In law) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา และอาจารยประจําสาขาวิชาชะรีอะฮฺ

บทคัดยอ วัตถุประสงคหลักของการศึกษาในครั้งนี้ เพื่อศึกษาถึงสถานะและแนวปฏิบัติของคณะกรรมการ อิสลามประจําจังหวัดนราธิวาสในการจัดการสมรสสตรีโ ดยวะลียอาม ใชวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ อัน ประกอบไปดวย การศึกษาขอมูลเอกสารและการสัมภาษณแบบเจาะลึกบุคคลที่เปนเปาหมายของการศึกษา ผลการศึกษาพบวา สถานะของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาสในการจัดการสมรส สตรีโดยวะลียอาม เปนเพียงผูไดรับมอบหมาย (‫ﻞ‬‫ﻴ‬‫ﻛ‬‫ ﻭ‬วะกีล)ฺ จากผูที่ไดรับการแตงตั้งใหเปนวะลียอามทาน หนึ่งใหทําหนาที่แทน สวนแนวปฏิบัติในการจัดการสมรสนั้น มีการสอบสวนคูบาวสาวเกี่ยวกับสาเหตุที่มา สมรส สถานภาพของฝายสาววาเปนโสดหรือหมาย จํานวนภรรยาของเจาบาว สถานที่อยูของวะลียคอศใน ปจจุบัน หากวะลียคอศอยูหางจากสํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดฯ สองมัรหะละฮฺ(96 กม.) หรือมากกวา การสมรสจะทําการที่สํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดฯ และหากระยะหางนอย กวานั้น การสมรสจะทําการที่มัสยิดที่มีระยะหางจากวะลียคอศ อยางนอยสองมัรหะละฮฺ แตทั้งนี้จะตองอยู ในจังหวัดนราธิวาสเทานั้น ผลจากการศึ ก ษาครั้ ง นี้ มี ข อเสนอให ค ณะกรรมการกลางอิ ส ลามแห ง ประเทศไทย และ คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัด แตงตั้งจุฬาราชมนตรีใหเปนวะลียอามของชาวมุสลิมในประเทศไทย เมื่อเปนเชนนั้นแลว จุฬาราชมนตรีจึงสามารถดําเนินการแตงตั้งผูทําหนาที่เปนวะลียอามแทนในจังหวัด ตางๆ ซึ่งขอนี้ถือวา ทําไดงายกวาการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการบริหารองคกรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 และจะทําใหการไดมาของผูทําหนาที่เปนวะลียอามของชาวมุสลิมในประเทศไทยเปนไปในแนวทาง เดียวกันทั้งประเทศ คําสําคัญ: การสมรส, วะลียอาม, คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาส

Graduate School and Research / 15 May 2013

501


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The main objective of this study is to examine the status and the practice method of Narathiwat Islamic Committee in preparing solemnization of marriage by Wali Am. This study is based on a qualitative research by referring to documentary sources and in-depth interview of relevant persons of the study. The results of the study as a status of Narathiwat Islamic Committee in solemnizing the marriage is to be assigned by the one who has been appointed as Wali Am, meanwhile the practice method of Narathiwat Islamic Committee in solemnizing the marriage by Wali Am has Investigated shall be operated on the issues of the marital status of woman and the number of wife belonged to the man with the present location a Wali Khas. If the Wali Khas is two marhalah (96 km) from Narathiwat Islamic Committee office or more, the marriage will be held at the office and if the distance is less than two marhalah, the marriage will be held at any mosque that is two marhalah from the Wali Khas, however it must be in Narathiwat province only. Keywords: Marriage, Wali Am, Narathiwat Islamic Committee

502

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา อิสลามใหความสําคัญในเรื่องการสมรสเปนอยางมาก เพราะถือวาการสมรสนั้นเปนจุดเริ่มตนของ การสรางสถาบันครอบครัว ซึ่งสังคมจะดีไดตองประกอบไปดวยครอบครัวที่ดี อบอุนและมีคุณภาพ ดังนั้นจึง กําหนดองคประกอบและเงื่อนไขตางๆ แหงการสมรส กลาวคือ หากปราศจากสิ่งเหลานั้นแลว การสมรสนั้น ถือวาเปนโมฆะ และหนึ่งในนั้นตามทัศนะของอุละมาอฺฟกฮฺ สวนใหญ การสมรสตองมีวะลีย(ผูปกครอง) และตามหลักทั่วไปแลวการจัดลําดับของวะลียในการสมรส คือจะเริ่มดวยวะลียคอศ(วะลียเฉพาะ)ที่เปน ญาติที่มีความสัมพันธทางสายโลหิตกอน หากไมมีวะลียคอศหรือวะลียคอศมีความขัดแยงกัน ผูจะทําหนาที่ เปนวะลีย คือวะลียอาม(วะลียทั่วไป) อิบนฺรุชดฺ (2004: 36), อัลอิมรอนีย (2000: 152), อิบนุกุดามะฮฺ (1968: 6-7) จากชองทางนี้ จึงเกิดการสมรสโดยใชวะลียอามที่ดําเนินการอยูในบานเรา จนกระทั่งครั้งหนึ่งศาล ตรังกานู ประเทศมาเลเซีย ไดพิพากษาใหคูบาวสาวคูหนึ่งที่ไดทําการสมรสกันในประเทศไทยแยกระหวาง กัน เนื่องจากไดสมรสโดยใชวะลียอามที่มิไดรับการแตงตั้งเปนวะลียหากิม หลังจากไดรับการฟองขอใหแยก ระหวางกันโดยบิดา (ญาบัตตันกือมาูวันอิสลามมาเลเซีย, จากอินเตอรเน็ต) จากเหตุก ารณนี้ ทําใหผูวิจัยสนใจที่จ ะศึกษาสถานะและแนวปฏิบัติของคณะกรรมการอิส ลาม ประจําจังหวัดนราธิวาสในการจัดการสมรสคูบาวสาวโดยวะลียอาม เพราะจากการสัมภาษณเจาหนาที่งาน ทะเบียนการสมรสและหยารางของสํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาสเกี่ยวกับจํานวน ผูที่ทําการสมรสโดยวะลียอามตอเดือนไดคําตอบวา โดยเฉลี่ยแลวมีจํานวน 120 คนตอเดือน ซึ่งสวนใหญ เปนคนจากประเทศมาเลเซีย (เจะสอเหาะ เจะมามะ, 2009) วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาถึงสถานะและแนวปฏิบัติของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาสในการจัดการ สมรสสตรีโดยวะลียอาม ขอบเขตการวิจัย ศึกษาถึงสถานะและแนวปฏิบัติของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาสในการจัดการ สมรสสตรีโดยวะลียอาม โดยศึกษาขอมูลจาก นายสิน ดารามั่น อดีตดะโตะยุติธรรมประจําศาลจังหวัด นราธิวาส ประธานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาส รองประธานคณะกรรมการอิสลาม ประจําจังหวัดนราธิวาส 1 ทาน เลขานุการฯ คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดฯ ฝายละ 1 ทาน เจาหนาที่งานทะเบียนสมรสและหยารางของสํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดฯ 1 ทาน เจาหนาที่งานตรวจสอบและรับรองเอกสารของสํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดฯ 1 ทาน เจาหนาที่ฝายการศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดฯ 1 ทาน และคูสมรสที่เคยสม สมรสโดยวะลียอามจํานวน 8 คู นิยามศัพทเฉพาะ 1.วะลีย หมายถึงผูปกครอง 2.วะลียคอศ หมายถึงผูปกครองเฉพาะ ซึ่งเปนญาติทางสายเลือดกับเจาสาว Graduate School and Research / 15 May 2013

503


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

3.วะลียอาม หมายถึง ผูปกครองทั่วไป ที่จะทําหนาที่เปนผูดําเนินการสมรสใหแกสตรีที่ไมมีวะลีย คอศ ซึ่งเปนผูมีอํานาจปกครองประเทศหรือรัฐ หรือไดรับการแตงตั้งจากผูมีอํานาจปกครองประเทศหรือรัฐ 4.สุลฏอน หมายถึง ผูมีอํานาจในการปกครองประเทศหรือแควน 5.อัลวิลายะฮฺ หมายถึง การปกครองและสิทธิในการดําเนินการหรือจัดการผูที่อยูในการดูแล 6.สถานะ หมายถึง ฐานะหรือตําแหนง 7.แนวปฏิบัติ หมายถึง ขั้นตอนและวิธีการ วิธีการวิจัย 1. วิธีการศึกษา ใชวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (qualitative research) อันประกอบไปดวย การศึกษาขอมูลเอกสาร (documentary research) และการสัมภาษณแบบเจาะลึก (in-depth interview) บุคคลที่ไดกลาวมา ขางตน 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย นอกจากการศึกษาขอมูลเอกสาร (documentary research) แลว ผูว จิ ยั ไดใช แบบสอบถามปลายเปด เปนแบบสัมภาษณที่ผูวิจัยไดสรางขึ้นภายใตคําแนะนําของผูทรงคุณวุฒิ 3 ทาน 3. การเก็บรวบรวมขอมูล ใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลใน 2 ลักษณะ ดังตอไปนี้ 1) เก็บรวบรวมขอมูลจากการศึกษาคนควาขอมูลจากเอกสารทางวิชาการ แลวนํามาวิเคราะหและ ประมวลผลการวิจัย 2) เก็บรวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณแบบเจาะลึก(in-depth interview) โดยผูวิจัยหรือผูชวย ผูวิจัยเปนผูสัมภาษณ แลวนําขอมูลที่ได มาวิเคราะหและประมวลผลการวิจัย 4. การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูลตามขั้นตอนดังนี้ 1) นําขอมูลทั้งหมดมาตรวจสอบความถูกตองและความสมบูรณ 2) นําขอมูล ที่ไดจากการรวบรวมมาวิเคราะหโดยใชวิธีการวิเคราะหเ ชิง พรรณนา(Descriptive Analysis) สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล ในการวิจัย เรื่อง “การสมรสโดยวะลียอาม: ศึกษาสถานะและแนวปฏิบัติของคณะกรรมการอิสลาม ประจําจังหวัดนราธิวาส” สามารถสรุปและอภิปรายผลการวิจัยไดดังนี้ 1.สถานะของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาสในการจัดการสมรสสตรีโดยวะลียอาม เปนเพียงผูไดรับมอบหมาย (วะกีลฺ ‫ ) َ ِوﻛﻴ ْﻞ‬จากนายสิน ดารามั่น อดีตดะโตะยุติธรรมประจําศาลจังหวัด นราธิวาสใหทําหนาที่แทน ซึ่งทานไดรับการแตงตั้งใหเปนวะลียอามจากที่ประชุมบรรดาอัฮลฺอัลหัลฺวะอัล อักด( ‫( ) أَﻫْ ُﻞ ْاﳊ ﱢَﻞ َواﻟْﻌَ ِﻘْﺪ‬วิซาเราะห อัลเอากอฟ, 1427: 115) ในจังหวัดนราธิวาส จะเห็นวา การแตงตั้งนายสิน ดารามั่น อดีตดะโตะยุติธรรมประจําศาลจังหวัดนราธิวาสเปนวะลีย อามโดยบรรดาอัฮลฺอัลหัลฺวะอัลอักดฺ( ‫ )أَ ﻫْ ُﻞ ْاﳊ ﱢَﻞ َواﻟْﻌَ ِﻘْﺪ‬ในจังหวัดนราธิวาส ถือวาเปนกรณีจําเปน ซึ่งอยูใน 504

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

กรณีที่มีผูนําสูงสุดของประเทศมิไดนับถือศาสนาอิสลามและมิไดมีการแตงตั้งหรือมอบหมายใหผูใดเปนผูทํา หนาที่เปนวะลียอามของชาวมุสลิม ดังนั้นจึงเปนหนาที่ของบรรดาอัฮลฺอัลหัลฺวะอัลอักดฺ ( ‫) أَﻫْ ُﻞ ْاﳊ ﱢَﻞ َواﻟْﻌَ ِﻘْﺪ‬ ในการดําเนินการแตง ตั้งผูทําหนาที่เ ปนวะลียอามของชาวมุสลิมในประเทศนั้น ซึ่งอัรร็อมลียไดกลาวใน ประเด็นที่คลายๆ กับกรณีนี้วา กรณีดินแดนใดไมมีสุลฏอน จึงเปนหนาที่ของผูมีบารมี คือบรรดาอัฮลฺอัลหัลฺ วะอัลอักดฺ( ‫ ) أَﻫْ ُﻞ ْاﳊ ﱢَﻞ َواﻟْﻌَ ِﻘْﺪ‬ในการดําเนินการแตงตั้งอัลกอฎีย โดยถือวาการทําหนาที่ของกอฎียนั้นมีผล ตามกฎหมายอิสลาม เพราะมีความจําเปนจะตองดําเนินการเชนนั้น (อัรร็อมลีย, 1984: 242) 2.แนวปฏิบัติของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาสในการจัดการสมรสสตรีโดยวะลีย อาม มีดังนี้ 2.1 คูบาวสาวตองมีอายุ 18 ปขึ้นไป 2.2 คูบาวสาวตองกรอกขอมูลสวนตัวในแบบฟอรมรองขอใหคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดฯ ชวยทําการสมรสให 2.3 มีการสอบสวนคูบาวสาวเกี่ยวกับสาเหตุที่มาสมรส สถานภาพของฝายสาววาเปนโสดหรือ หมาย สถานที่อยูของวะลียคอศในปจจุบัน การคูค วรในดานสังคม และจํานวนภรรยาของเจาบาว 2.4 หากเห็นวาสามารถทําการสมรสได จึงสงใหฝายงานทะเบียนการสมรสและหยารางดําเนินการ ตอ โดยหากวะลียคอศอยูหางจากสํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดฯ สองมัรหะละฮฺ คิดเปน ระยะทาง 96 กิโลเมตร หรือมากกวา การสมรสจะทําการที่สํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดฯ และหากระยะหางไกลนอยกวานั้น การสมรสจะทําการที่มัสยิดที่มีระยะหางจากวะลีย คอศอยางนอย สองมัรหะละฮฺ แตทั้งนี้จะตองอยูในจังหวัดนราธิวาสเทานั้น 2.5 ในกรณีวะลียคอศขัดขวางการสมรสคูบาวสาว คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดฯ จะมีการ ติดตอกับวะลียนั้นไมเกินสองครั้งหากติดตอได หรือขอใหอิหมามในพื้นที่ของเจาสาวชวยติดตอให แตทั้งนี้ก็ ไมเสมอไป และเพื่อมิใหเกิดปญหาในภายหลังจึงทําการสมรสในสถานที่หางจากวะลียไมนอยกวาสองมัรหะ ละฮฺ 2.6 สํานวนการทําการสมรสคูบาวสาวที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาสใชปฏิบัติ เหมือนกับสํานวนการทําการสมรสปกติ เพียงแตมีการระบุเพิ่มวาผูดําเนินการสมรสเปนวะลียในสํานวนดวย 2.7 การสมรสที่ คณะกรรมการอิ ส ลามประจํา จัง หวัดนราธิ วาสได ดําเนินการนอกสํ านัก งาน คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดฯ จะมีแบบจดทะเบียนสมรสให สวนทะเบียนการสมรสจะตองออกและ รับที่สํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดฯ เทานั้น จากแนวปฏิบัติของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาสในการจัดการสมรสสตรีโดยวะลีย อามดัง ที่ไดกลาวขางตน จะเห็นวา คณะกรรมการอิส ลามประจําจังหวัดนราธิวาสมีระเบีย บขั้นตอนที่ ตรวจสอบไดในการจัดการสมรสสตรีโดยวะลียอาม พรอมรับผิดชอบหากมีปญหาในภายหลังเกี่ยวกับการทํา การสมรส และมีการยึดตามทัศนะของอัชชาฟอียะฮฺในการถือวา วะลียไมอยู โดยยึดระยะหางของวะลีย จากนางในระยะทางสองมัรหะละฮฺเปนเกณฑ คือ ระยะทางไมนอยกวา 96 กิโลเมตร ดังที่อัลมุฏีอียไดกลาว ในหนังสืออัลมัจฺมูอฺ(ตักมิละฮฺอัลมุฏีอีย) วา “และหากเขา (บิดาของนาง)ไมอยู โดยเปนการไมอยูที่ไมไดตัด ขาด กลาวคือ รูวาเขายัง มีชีวิตอยู เมื่อเปนเชนนั้นแลวใหพิจ ารณาดูวา หากอยูหางกันในระยะทางที่ สามารถทําการละหมาดยอได อนุญาตใหสุลฏอนเปนผูดําเนินการสมรสนางได เพราะการขออนุญาตจาก เขา(บิดาของนาง) ถือวาเปนการลําบาก ดังนั้นจึงถือเสมือนกับผูที่สูญหาย” (อัลมุฏีอีย, ม.ป.ป. 16: 163) Graduate School and Research / 15 May 2013

505


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ขอเสนอแนะ 1.ขอเสนอแนะที่ไดจากการวิจัย จากผลการวิจัยที่วา สถานะของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาสในการจัดการสมรส สตรีโดยวะลียอาม เปนเพียงผูไดรับมอบหมาย(วะกีลฺ ‫ ) َ ِوﻛﻴ ْﻞ‬จากนายสิน ดารามั่น อดีตดะโตะยุติธรรม ประจําศาลจังหวัดนราธิวาสใหทําหนาที่แทน ดังนั้นผูวิจัยจึงขอเสนอแนะวา ใหคณะกรรมการกลางอิสลาม แหงประเทศไทย และคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัด ซึ่งสามารถถือไดวาเปนบรรดาอัฮลฺอัลหัลฺวะอัล อักดฺ ( ‫ ) أَ ﻫْ ُﻞ ْاﳊ ﱢَﻞ َواﻟْﻌَ ِﻘْﺪ‬แตงตั้งจุฬาราชมนตรีใหเปนวะลียอามของชาวมุส ลิม ในประเทศไทย เมื่อเปน เชนนั้นแลว จุฬาราชมนตรีก็สามารถดําเนินการแตงตั้งผูทําหนาที่เปนวะลียอามแทนในจังหวัดตางๆ ซึ่งขอนี้ ถือวา ทําไดงายกวาการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัตกิ ารบริหารองคกรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 และจะ ทําใหการไดมาของผูทําหนาที่เปนวะลียอามของชาวมุสลิมในประเทศไทยเปนไปในแนวทางเดียวกันทั้ง ประเทศ แตหากไดมีการแตงตั้งแลว ขอใหมีการประกาศอยางทั่วถึงเพื่อใหทุกคนไดรับทราบและปฏิบัติ เปนแนวทางเดียวกัน 2.ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยตอไป เพื่อใหเกิดความกระจางชัดวา การที่วะลียไมอยูนั้น ใชอะไรเปนเกณฑ ใชระยะทางความหางไกล ของวะลียจากเจาสาว หรือ ความยากลําบากในการติดตอกับวะลีย ดังนั้นจึงใครขอเสนอแนะประเด็นนี้เพื่อ ทําการศึก ษาวิจัยในครั้ง ตอไป เพราะระยะทางที่ถูก กําหนดในอดีตนั้นคงมิใชร ะยะทางที่ถือวามีความ ยากลําบากในการติดตอในปจจุบันนี้ เอกสารอางอิง อัรร็อมลีย,มุหัมมัด อิบนฺอะหฺมัด.1404/1984. นิฮายะฮฺอัลมุหฺตาจญ. เบรูต: ดารอัลฟกรฺ อัลมุฏีอีย, มุหัมมัด นะญีบ. ม.ป.ป. อัลมัจฺมูอฺ (ตักมิละฮฺอัลมุฏีอีย) . เบรูต: ดารอัลฟกรฺ อิบนฺรุชดฺ, มุหัมมัด อิบนฺอะหฺมัด. 1425 / 2004. บิดายะฮฺอัลมุจญตะฮิดวะนิฮายะฮฺอัลมุกตะศิด. ไคโร: ดารอัลหะดีษ อิสมาแอ อาลี และ วรรณา แผนมุนิน. 2548. “การไดมาบทบาท และหนาที่ของผูทําหนาที่เปนวะลียอาม ของชาวมุสลิมในประเทศไทย: ศึกษาเปรียบเทียบกรณีจังหวัดปตตานีและสงขลา”, รายงานการ วิจัย วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ญาบั ต ตั น กื อ มาู วั น อิ ส ลามมาเลเซี ย . 2009.“ฟาร็ อ กดาลั ม ป ร กะฮฺ วี นั น ”. จากอิ น เตอร เ น็ ต www.islam.gov.my/sites/default/files/faraq.pdf .

506

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

การแบงทรัพยมรดกตามกฎหมายอิสลามศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายมรดกไทย Division of succession according to Islamic jurisprudence and Thai law มะดารี โตะและ1 มูฮําหมัดซากี เจะหะ2 มะรอนิง สาแลมิง3 1

นักศึกษาปริญญาโท สาขาอิสลามศึกษา คณะชะรีอะฮฺ มหาวิยาลัยอิสลามยะลา, 2คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา, 3อาจารย ประจําแผนกกฎหมายอิสลาม วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

บทคัดยอ การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค คือ 1) เพื่อศึกษาบทบัญญัติเกี่ยวกับการแบงทรัพยมรดกตาม กฎหมายอิสลาม 2) เพื่อศึกษาบทบัญญัติเกี่ยวกับการแบงทรัพยมรดกตามกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย มรดก 3) เพื่อเปรียบเทียบบทบัญญัติเกี่ยวกับการแบงทรัพยมรดกตามกฎหมายอิสลาม และกฎหมายมรดก ไทยเพื่อหาประเด็นที่เหมือนและประเด็นที่แตกตางของทั้งสองกฎหมายและมาวิเคราะห งานวิจัยเลมนี้เปน การศึกษาเอกสาร (Document Research) ที่มีการศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหวางกฎหมายสองระบบเพื่อ หาความเหมือนและความตาง ในประเด็นที่ศึกษา ผลการศึกษาวิจัยพบวา การแบงทรัพยมรดกตามกฎหมายอิสลามและกฎหมายมรดกไทยมีบาง ประเด็นที่เหมือนกันและมีบางประเด็นที่แตกตางกัน คําสําคัญ: แบงทรัพยมรดก, กฎหมายอิสลาม, กฎหมายมรดกไทย

Graduate School and Research / 15 May 2013

507


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The objectives of the research were 1. to study the law of succession in both Furudh group and Asabah group according to Islamic law of Shafie school; 2. to study the law of succession according to Civil and Commercial Code; 3. to compare and contrast between the Islamic law and Thai laws in distributing heritage for both groups, and then analyze the data. This research is based on documentary studies which focus on the comparison between two system of laws in order to find out the similarities and differences of the issued studies The result showed that there are some similarities and differences in succession division according to Islamic Jurisprudence and Thai law. Keywords: both Furudh, Islamic Law, Thai laws

508

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา อิสลามเปนศาสนาที่ไดวางระบบการดําเนินชีวิตที่สมบูรณแบบใหกับมนุษยชาติในทุกยุคทุกสมัย โดย วางระบบที่ส มบูร ณ ในทุก ๆดานและทุ ก ๆขั้น ตอนไมวาจะเปนในดานความสัม พัน ธร ะหวางมนุษยกั บ อัลลอฮฺ เชน การละหมาด การถือศีลอด การใหทาน เปนตน และในดานความสัมพันธระหวางมนุษย กับ มนุษยดวยกัน เชน การซื้อขาย การจํานํา การจํานอง การแลกเปลี่ยนสินคา เปนตน สวนเรื่อ ง ความสัม พันธระหวางมนุษยดวยกันในเรื่องของการถายโอนทรัพยสินใหกั บ ทายาทรุนหลังนั้น เรียกวา “มรดก” ศาสนาอิสลามไดมีบทบัญญัติในคัมภีรอัลกุรอานและอัลหะดีษของนบีมุหัมหมัด  ในเรื่องนี้ดวย อิสลามถือวาการแบงมรดกแกทายาทนั้นเปนสิ่งที่สําคัญยิ่ง และเปนสิ่งที่จําเปนอยางมากในทุกยุค ทุกสมัย เนื่องจากเมื่อคนหนึ่งคนใดไดเสียชีวิตไปแนนอนเขาจะตองมีทรัพยสินที่เหลืออยูไมมากก็นอย ถา หากไมมีระบบหรือกฎเกณฑที่ชัดเจนในการแบงมรดกจะทําใหเกิดการทะเลาะหรือขัดแยงกันในครอบครัว สาเหตุมาจากการแบงมรดก ฉะนั้นอัลลอฮฺทรงเปนผูกําหนดเองเกี่ยวกับสิทธิของบรรดาทายาทผูรับมรดก และสัดสวนที่ไดรับในอัลกุรอานอยางละเอียดและทั่วถึง ดังที่ปรากฏในการใชกฎเกณฑของการแบงมรดก ซึ่งอิสลามไดปฏิบัติเปนขั้นเปนตอน และคอยเปนคอยไป เพื่อจะใหชาวอาหรับในยุคนั้นยอมรับในการแบง มรดกตามคําสอนของอิส ลาม โดยเฉพาะชวงที่อิส ลามบัง เกิดขึ้นใหมๆ ซึ่งอัล ลอฮฺ ไดบังคับ ใหทุก คนทํา พินัยกรรมกอนที่เขาจะเสียชีวิตและมอบทรัพยสินใหแกบิดามารดาและบรรดาญาติที่ใกลชิดเพื่อจะใหเกิด ความเคยชิน และความคุน เคยเกี่ยวกับ ขอกําหนดในเรื่องมรดกตอไป โดยที่เ จาของทรั พยจ ะตองทํ า พินัยกรรมสั่งกอนตายตามสภาวะที่อัลลอฮฺ  ไดกําหนดไว และเจาทรัพยจะไมสามารถกําหนดผูรับ พินัยกรรมไดเอง แตวาอัลลอฮฺ  จะไมระบุจํานวนและปริมาณที่จะมอบใหแตละคน โดยจะใหเจาทรัพย เปนผูกําหนดจํานวนทรัพยสินตามความเหมาะสม และความผูกพันของทั้งสองฝาย ( อะหกาม อัล-มะวารีษ บัยนะ อัลฟกฮฺ วะ อัลกอนูน, 1978 : 14 ) ในสมัยของทานนบี  มีเหตุการณหนึ่งไดเกิดขึ้น คือในขณะที่ ทานเอาส บิน ษาบิต อัลอันศอรีย ไดเสียชีวิตไปโดยมีภริยา บุตรหญิงสามคน และบุตรชายของลุงอีกสองคน ในเมื่อบุตรชายของลุงทั้งสอง คนนั้นไดรับมรดกทั้งหมด แตภริยาและบุตรหญิงไมไดรับอะไรเลยจากกองมรดกนั้น จึงทําใหภริยาและบุตร หญิงของเจามรดกไปพบทานนบี  เพื่อเรียกรองสวนแบงของพวกเขาดวย โดยถามวา พวกเราเพศหญิง ไมสามารถออกทําสงครามไดเหมือนกับพวกเขาที่เปนเพศชายจะไดรับมรดกหรือไม แตทานนบี  ไมได ตอบอะไร จนกวาอัลลอฮฺจะทรงประทาน อายะฮฺลงมา ซึ่งไดตรัสวา          

          

ความวา: สําหรับบรรดาชายนั้น มีสวนไดรับจากสิ่งที่ผูบังเกิดเกลาทั้งสอง และบรรดา ญาติที่ใกลชิดไดทิ้งไว และสําหรับบรรดาหญิงนั้นก็มีสวนไดรับจากสิ่งที่ผูบังเกิดเกลา ทั้งสองและบรรดาญาติที่ใกลชิดไดทิ้งไว ซึ่งสิ่งนั้นจะมากหรือนอยก็ตาม เปนสวน ไดรับที่ถูกกําหนดอัตราสวนไว อันนิสาอฺ 4:7

Graduate School and Research / 15 May 2013

509


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

แตอยางไรก็ตามทานนบี  ยังไมไดแบงมรดกดังกลาว ถึงแมวาในอายะฮฺดังกลาวไดบอกสวน แบงของบุคคลเพศชายและบุคคลเพศหญิงแลว แตยังไมไดกําหนดจํานวนและปริมาณของผูรับมรดก จน กวาอัลลอฮฺไดทรงประทานอายะฮฺเกี่ยวกับมรดกโดยเฉพาะ สวนวิธีการแบงมรดกตามกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกนั้น มีความแตกตางจากวิธีการ แบงตามกฎหมายอิส ลาม โดยที่ผูวิจัยยกกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกมาเปรียบเทียบดวยนั้น เพื่อจะชี้ใหเห็นจุดเหมือนจุดตาง ความครอบคลุม และความละเอียดออนของทั้งสองกฎหมาย จากความสําคัญดังกลาวขางตน เปนที่ประจักษชัดแลววาบทบัญญัติเ กี่ยวกับมรดกในกฎหมาย อิสลามและกฎหมายแพงและพาณิชยที่ใชอยูในประเทศไทยมีความสําคัญมาก ซึ่งบทบัญญัติเกี่ยวกับมรดก ในกฎหมายอิสลามมีขั้นตอนและวิธีการเฉพาะ โดยยึดหลักจากอัลกุรอานและอัลหะดีษ ในขณะเดียวกัน กฎหมายมรดกไทยก็มีขั้นตอนและวิธีการเฉพาะเชนเดียวกัน โดย ยึดหลักจากประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย บรรพ 6 1 แตทั้งสองกฎหมายนั้นมีจุดเหมือนและจุดตางดังที่จะชี้ใหเห็นในโอกาสตอไป ดวยเหตุดังกลาวผูวิจัยจึงสนใจและเห็นควรทําการวิจัยในเรื่องนี้ ทั้งนี้ เพื่อเปนสวนหนึ่งในการ เผยแพรความรูเกี่ยวกับการแบงทรัพยมรดกของผูตาย และมีการเปรียบเทียบกับกฎหมายมรดกที่ใชอยูใน ประเทศไทยดวย เพื่อจะชี้ใหเห็นถึงความแตกตางของบทบัญญัติ และการแบงมรดกตามกฎหมายอิสลาม และกฎหมายมรดกไทย อิน-ชาอัลลอฮฺ วัตถุประสงค ในการศึกษาเรื่อง “การแบงทรัพยมรดกตามกฎหมายอิส ลาม ศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมาย มรดกไทย” ซึ่งผูวิจัยไดกําหนดวัตถุประสงคดังตอไปนี้ 1. เพื่อศึกษาบทบัญญัติเกี่ยวกับการแบงทรัพยมรดก ตามกฎหมายอิสลาม 2. เพื่อศึกษาบทบัญญัติเกี่ยวกับการแบงทรัพยมรดกตามกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดก 3. เพื่อเปรียบเทียบบทบัญญัติเกี่ยวกับการแบงทรัพยมรดก ตามกฎหมายอิสลาม และกฎหมาย มรดกไทย เพื่อหาจุดเหมือนและจุดตางของทั้งสองกฎหมายมาวิเคราะหหาขอสรุป วิธีดําเนินการวิจัย งานวิจัยเลมนี้เปนงานวิจัยเอกสาร( Document Research )ที่มีการศึกษาเชิงเปรียบเทียบเรื่อง การแบงทรัพยมรดกตามกฎหมายอิสลาม และกฎหมายมรดกไทย โดยมีจุดประสงคหลักคือศึกษาความ เหมือนและความแตกตางของทั้งสองกฎหมายในเรื่องดังกลาว ขอมูลในการศึกษาคนควางานวิจัยนี้จะใชขอมูลจากเอกสารชั้นตน (Primary sources) เชน ตํารา ฟกฮฺในสํานักอิหมามชาฟอีย และประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และจะใชเอกสารชั้นรอง (Secondary sources) เชนหนังสือทั่วไปที่สามารถใชอางอิงไดทั้งภาษาไทย ภาษาอาหรับ และวิทยานิพนธตางๆ ที่ เกี่ยวกับการแบงทรัพยมรดก เปนตน ในการศึกษาเรื่องนี้มีวิธีดําเนินการวิจัยตามขั้นตอนตอไปนี้ 1.ทบทวนเอกสารปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ที่เกี่ยวของ เพื่อสามารถมาเปรียบเทียบในเรื่องการแบง ทรัพยมรดกตามกฎหมายอิสลาม และกฎหมายมรดกไทย จากตําราภาษาไทยและภาษาอาหรับ 1

จากมาตรา 1599 – 1645 และ จากมาตรา 1711 - 1755

510

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

2. แยกขอมูลและเอกสารตามหัวขอยอย แลวคนหาความสัมพันธระหวางขอมูลตางๆ 3. ศึกษาและวิเคราะหเปรียบเทียบขอมูลตามหัวขอที่กําหนด ในการเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตาง ในงานวิจัยครั้ง นี้ ผูวิจัยใชวิธีก ารอางเหตุ ผลเปรียบเทียบตามทฤษฎีของมิลล (Mill’s method) แบบวิธีดูตัวรวมกับตัวตางผสมกัน (Join method of Argument and Different) หลังจากผูวิจัยไดวิเคราะหเปรียบเทียบโดยใชวิธีการอางเหตุผลเปรียบเทียบอยางเปนระบบแลว ผูวิจัยทําการสรุปความเหมือนและความแตกตาง และขอเสนอแนะในเรื่องที่เกี่ยวของกับเรื่องนี้เพื่อใหเกิด ประโยชนตอผูสนใจตอไป ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ จากการศึกษาปญหาดังกลาวผูวิจัยคาดวาจะไดรับประโยชนดังตอไปนี้ 1. ทําใหทราบจุดเหมือนจุดตางของความหมายมรดกและผูรับมรดก ตามกฎหมายอิสลามและ กฎหมายมรดกไทย 2. ทําใหทราบจุดเหมือนจุดตางของวิธีการแบงทรัพยมรดกตามกฎหมายอิสลาม และกฎหมาย มรดกไทย 3. เปนแหลงขอมูลในการศึกษาแกนักศึกษา นักคนควา และผูสนใจทั่วไป 4. ขอมูลที่ไดจากการศึกษา สามารถนํามาใชเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับผูที่สนใจศึกษาในประเด็นที่ เกี่ยวของตอไป ผลของการวิจัย จากขอมูลที่ไดศึกษาแลวนั้น ผูวิจัยสามารถทําการสรุปการแบงมรดกตามกฎหมาย อิสลามและ กฎหมายมรดกไทย ตลอดจนความเหมือนและความแตกตางของทั้งสองกฎหมายนี้ มี ดังตอไปนี้ กฎหมายมรดกอิสลาม 1. การตกทอดและเงื่อนไขของการรับมรดก เมื่อเจามรดกเสียชีวิตทายาทคนใดคนหนึ่งยอมไดรับมรดกของผูเสี ยชีวิตทันทีตามเงื่อนไขที่ระบุ ดังตอไปนี้ คือ 1.1 เจามรดกเสียชีวิตกอนผูรับมรดก 1.2 ผูรับมรดกมีชีวิตหลังจากเจามรดกเสียชีวิตไปแลว 1.3 รูวาทายาทกับ เจามรดกมีความเกี่ยวพันกัน ทางเครือญาติ ทางการแตง งาน หรือทาง ปลดปลอยทาส( อัล-ฟกฮฺ อัล-มันฮะญีย 1989: 74) 2. ประเภทของการรับมรดก ทายาทจะไดรับมรดกจากผูที่เสียชีวิตจะดวยสาเหตุใดก็ตาม ซึ่งแบงออก เปน 2 ลักษณะ ไดแก 1.ไดรับมรดกตามสวนแบงที่ศาสนากําหนดไวแนนอนแลว (ฟรฎ) คือ ( 1/2 ) ( 1/4 ) ( 1/6 ) ( 1/8 ) ( 1/3 ) ( 2/3 ) ( 1/3 ที่เหลือ )

Graduate School and Research / 15 May 2013

511


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

2.ไดรับมรดกโดยไมมีสวนแบงที่กําหนดไวแนนอน (ตะอฺศีบ) หรือที่เรียกกันวา อะเศาะบะฮฺ คือ สิทธิไดรับมรดกทั้งหมดหากมีเพียงคนเดียว ถาหากมีทายาทที่ไดรับมรดกภาตฟรฎรวมอยูดวย ก็จะไดรับ มรดกสวนที่เหลือภายหลังจากแบงใหทายาทตามสวนแบงที่กําหนดไว และถาหากมรดกไมเหลือภายหลัง จากแบงใหทายาทตามสวนแบงที่กําหนดไว ก็จะไมไดรับมรดกเลย (ตัสฮีลฺ อัล-ฟะรออิฎ, 1988: 57) 3. การกันและการกําจัดมิใหรับมรดก การกันสิทธิ์แบงออกเปน 2 ประเภท (1) การกันสิทธิไมใหไดรับมรดกดวยลักษณะของบุคคลมี 3 ประการ คือ 1. การเปนทาส 2. การฆาเจามรดก 3. นับถือศาสนาแตกตางกัน (2) การกันสิทธิ์ดวยตัวบุคคลแบงออกเปน 2 ประการ คือ 1. การกันสิทธิ์ไมใหรับสวนแบงทีม่ ากทีส่ ุด (‫)ﺣﺠﺐ اﻟﻨﻘﺼﺎن‬ การกันสิทธิ์ทายาทจากการไดรับสวนแบงที่มากที่สุดใหไดรับสวนแบงที่นอยที่ สุดที่เขาพึงจะไดรับ เชน บุตรของภริยาจะกันสิทธิ์สามีจากการไดรับเศษหนึ่งสวนสอง ซึ่งเปนสวนแบงที่มากที่สุดที่เขาจะไดรับ ใหไดรับเศษหนึ่งสวนสี่ ซึ่งเปนสวนแบงที่นอยที่สุดที่เขาจะไดรับ 2. การกันสิทธิ์ไมใหรบั มรดกเลย (‫)ﺣﺠﺐ اﳊﺮﻣﺎن‬ การกันสิทธิ์ทายาทไมใหรับมรดกเลยเพราะมีทายาทที่ใกลชิดกวาเขากับผูตาย เชน บุตรชายกัน สิทธิ์พี่นองของผูตายไมใหไดรับมรดกเลย เพราะบุตรชายเปนทายาทที่ใกลชิดกวาพี่นองกับผูตาย เปนต น (อัล-ฟกฮฺ อัล-มันฮะญีย, 1989 : 45 ) 4. ทายาทและการแบงมรดก วิธีการแบงมรดกแกทายาทตองปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้ (1) ตองดูทายาทที่รับมรดกในภาคฟรฎ หรือเรียกวา (‫ )أﺻﺤﺎب اﻟﻔﺮوض‬ถาหากวายังมีชีวิตอยู ใหแบงมรดกแกทายาทในภาคนั้นเสียกอน ฟรฏและทายาทที่ไดรับ 1.1 เศษหนึ่งสวนสอง ( 1/2 ) ทายาทที่ไดรับคือ สามี บุตรสาว หลานสาวสายชาย พี่นองหญิงรวมบิดามารดา และพี่นอง หญิงรวมแตบิดา 1.2 เศษหนึ่งสวนสี่ ( 1/4 ) ทายาทที่ไดรับคือ สามี และภริยา 1.3 เศษหนึ่งสวนหก ( 1/6 ) ทายาทที่ไดรับคือ บิดา มารดา ปู ยา ยาย หลานสาวสายชาย พี่นองหญิงรวมบิดา และ พี่นองชายหรือหญิงรวมแตมารดา 1.4 เศษหนึ่งสวนแปด ( 1/8 ) ทายาทที่ไดรับคือ ภริยา 512

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

1.5 เศษหนึ่งสวนสาม ( 1/3 ) ทายาทที่ไดรับคือ มารดา และพี่นองชายหรือหญิงรวมแตมารดา 1.6 เศษสองสวนสาม ( 2/3 ) ทายาทที่ไดรับคือ บุตรสาว หลานสาวสายชาย พี่นองหญิงรวมบิดามารดา และพี่นองหญิง รวมแตบดิ า 1.7 เศษหนึ่งสวนสามที่เหลือ ( 1/3 ที่เหลือ ) ทายาทที่ไดรับคือ มารดา และปู (2) ถาหากไมมีทายาทที่รับมรดกในภาคฟรฎ หรือทายาทในภาคนั้นมีแตรับมรดกไมหมดกองให แบงมรดกที่เหลือนั้นแกทายาทที่รับมรดกในภาคอะเศาะบะฮฺ หรือเรียกวา (‫)أﺻﺤﺎب اﻟﺘﻌﺼﻴﺐ‬ ทายาทที่ไดรับอะเศาะบะฮฺ แตละลําดับมีสิทธิไดรับมรดกกอนหลังดั่งตอไปนี้ คือ 1. บุตรชาย 2. หลานชายที่สืบเชื้อสายมาจากบุตรชาย แมบุตรชายจะตํ่าชั้นลงมา 3. บิดา 4. ปู คือบิดาของบิดา แมจะเหนือชั้นขึ้นไป 5. พี่ชายนองชายรวมบิดามารดาเดียวกันกับผูตาย 6. พี่ชายนองชายที่รวมแตบิดา 7. บุตรชายของพี่ชายนองชายที่รวมบิดามารดาเดียวกันกับผูตาย แมจะต่ําชั้นลงมา 8. บุตรชายของพี่ชายนองชายที่รวมแตบิดาเดียวกันกับผูตาย แมจะต่ําชั้นลงมา 9. ลุงฝายบิดาและอาเพศชายที่รวมบิดามารดาเดียวกันกับบิดาผูตาย 10. ลุงฝายบิดาและอาเพศชายที่รวมแตบิดากับบิดาผูตาย 11. บุตรชายของลุงฝายบิดาและอาเพศชายที่รวมบิดามารดาเดียวกันกับบิดาผูตาย แมจะต่ําชั้นลง มา 12. บุตรชายของลุงฝายบิดาและอาเพศชายที่รวมแตบิดาเดียวกันกับบิดาผูตาย แมจะต่ําชั้นลงมา 13. นายชายหรือนายหญิงที่ปลดปลอยทาสใหเปนอิสระ และทายาทที่เปนอะเศาะบะฮฺของนายที่ เปนอะเศาะบะฮฺโดยตนเอง ทายาทที่กลาวมาขางตน คือบุคคลที่ไดรับมรดกทั้งหมดกองถาหากบุคคลนั้นมีเพียงประเภทเดียว ถาหากวามีทายาทที่เปนฟรฎอยูดวย บุคคลเหลานั้นก็จะไดรับมรดกสวนที่เหลือภายหลังจากแบงมรดกตาม สวนที่เปนฟรฎไปแลว และถาหากมรดกไมเหลือภายหลังจากแบงมรดกตามสวนแบงที่เปนฟรฎแลว บุคคล เหลานั้นจะไมไดรับมรดกอะไรเลย (3) ถาไมมีทายาทในภาคฟรฎและทายาทในภาคอะเศาะบะฮฺ ใหยกมรกดนั้นแกกองคลังของชาว มุสลิม ที่เรียกวาบัยตุลมาล (‫ )ﺑﻴﺖ اﻟﲈل‬ถาหากกองคลังนั้นมีระบบที่จัดเก็บและแจกจายที่ดี (4) ถาหากกองคลังของชาวมุสลิม ที่เรียกวาบัยตุลมาล (‫ )ﺑﻴﺖ اﻟﲈل‬มีการบริหารที่ไมเปนระบบ และไมสอดคลองกับศาสนาอิสลาม กองมรดกที่เหลือนั้นจะปด (เราะดฺ) ใหแกทายาทของผูตายเวนแตสามี และภริยา Graduate School and Research / 15 May 2013

513


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

กฎหมายมรดกไทย 1. การตกทอดแหงทรัพยมรดก มาตรา 1603 บัญ ญัติวา “กองมรดกยอมตกทอดแกทายาทโดยสิท ธิตามกฎหมาย หรือโดย พินัยกรรม ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมาย เรียกวา “ทายาทโดยธรรม” ทายาทที่มีสิทธิตามพินัยกรรม เรียกวา “ผูรับพินัยกรรม” จากมาตราดังกลาวทายาทหมายถึง ผูมีสิทธิไดรับมรดกของผูตาย บุคคลใดก็ตามที่ไมมีสิทธิใน กองมรดก บุคคลนั้นยอมไมเปนทายาทในกองมรดก 2. การเปนทายาทและลําดับชั้นตางๆ มาตรา 1629 ไดบัญญัติวา “ทายาทโดยธรรมมีห กลําดับ เทานั้น และภายใตบังคับ แหงมาตรา 1630 แตละลําดับมีสิทธิไดรับมรดกกอนหลังดังตอไปนี้ คือ 1.ผูสืบสันดาน 2.บิดามารดา 3.พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน 4.พี่นองรวมบิดาหรือรวมมารดาเดียวกัน 5.ปู ยา ตา ยาย 6.ลุง ปา นา อา คูสมรสที่ยังมีชีวิตอยูนั้นก็เปนทายาทโดยธรรม ภายใตบังคับ ของบทบัญญัติพิเศษแหง มาตรา 1635 3. การรับมรดกแทนที่ การรับมรดกแทนที่กัน คือ การรับมรดกแทนที่ทายาทโดยธรรมที่มีสิทธิไดรับมรดกของผูตายซึ่ง เปนเจามรดกแตทายาทผูนั้นไดตายกอนเจามรดก หรือถูกกําจัดมิใหรับมรดกกอนเจามรดกตาย 4. การกําจัดมิใหรับมรดก การถูกกําจัดมิใหรับมรดก คือ การที่ทายาทประพฤติชั่วตอเจามรดกหรือตอทายาทอื่น ซึ่งทําให หมดสภาพความเปนทายาทไปโดยผลของกฎหมาย การถูกกําจัดมิใหรับมรดกนี้เปนบทบัญญัติไมคอยใช บอยนัก จึงมีลักษณะคอนขางเปนทฤษฎี และบทบัญญัติเรื่องการถูกกําจัดมิใหรับมรดกนี้มาจากกฎหมาย เกาบาง และมาจากกฎหมายตางประเทศบาง เหตุที่ทําใหถูกกําจัดมิใหรับมรดก ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมีเหตุที่ทายาทจะถูกกําจัดมิใหรับมรดกมี 2 กรณี คือ (1) การถูกกําจัดฐานยักยายหรือปดบังมรดก (2) การถูกกําจัดฐานเปนผูประพฤติไมสมควร

514

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

5. การตัดมิใหรับมรดก การตัดมิใหรับมรดกเปนการกระทําของเจามรดก ไมมีทางที่จะถูกตัดไปเองโดยผลของกฎหมาย เชน การกําจัดมิใหรับมรดกดังที่กลาวมาแลว ฉะนั้น ทายาทคนใดจะถูกตัดมิใหรับมรดกก็ตองเปนการตัดโดยเจา มรดกเทานั้น ซึ่งทํา (1) โดยพินัยกรรม (2 โดยทําหนังสือมอบไวแกพนักงานเจาหนาที่ 6. การสละมรดก เมื่อบุคคลใดไดเสียชีวิตไป ไมวาจะเสียชีวิตโดยธรรมชาติหรือโดยคําสั่งของศาล (ในกรณีสาบสูญ) ทรัพยสินของผูเสียชีวิตนั้นยอมเปนมรดกตกทอดแกทายาททันที โดยทายาทไมจําตองแสดงเจตนารับมรดก นั้น แตทายาทไมประสงคจะรับมรดกก็สามารถแสดงเจตนาสละมรดกนั้นได อาจเปนเพราะวา กองมรดก มีหนี้สินมากกวาทรัพยสิน หากทายาทเขารับมรดกยอมไมเปนประโยชนแกทายาทแตอยางไร หรือกอง มรดกไมมีหนี้สิน แตทายาทไมเต็มใจที่จะรับมรดกไมวาดวยเหตุผลใด ทายาทก็ยอมจะสละมรดกได 7. วิธีการแบงมรดก (1) ทายาทตางเขาครอบครองทรัพยมรดกเปนสัดสวน การแบง มรดกโดยวิธีนี้ซึ่ง เปนหลัก การแบง มรดกที่ไดใชกันมากอนประมวลกฎหมายแพง และ พาณิชยวาดวยมรดกเสียอีก การแบงมรดกโดยวิธีทายาทเขาครอบครองนั้นทําไดเฉพาะทรัพยมรดกที่มีรูปราง และสามารถ แยกไดเปนสวน เชน ที่ดิน เปนตน แตสิทธิที่ไมใชทรัพยที่มีรูปรางโดยไมสามารถที่จะครอบครองกันได จึงไมอาจแบงดวยวิธีครอบครองไดดวย (2) ขายทรัพยมรดกเอาเงินมาแบงปน การแบงมรดกโดยวิธีนี้ ซึ่งการแบงมรดกโดยการขายทรัพยมรดกเอาเงินมาแบงปนนั้นอาจเกิดขึน้ ได ในกรณีที่กองมรดกเปนทรัพยที่อาจแยกไมไดเปนสวนๆ เชน กองมรดกมีเพียงบานพรอมที่ดิน หรือมีรถยนต หนึ่งคัน เปนตน หรือในกรณีที่ทายาทไมสามารถจะตกลงกันไดวาทรัพยสิ่งใดจะเปนของทายาทคนใด จึง จําเปนตองตกลงกันใหนําเอาทรัพยมรดกนั้นออกขายแลวนําเงินมาแบงกันในระหวางทายาท การขายทรัพย มรดกนี้ไมไดกําหนดวาจะตองขายดวยวิธีใด เพราะจะทําไดหลายวิธี เชน ขายทอดตลาด ประมูล กันใน ระหวางทายาท หรือประกาศขาย เปนตน (3) สัญญาแบงมรดก การแบง มรดกโดยวิธีนี้เ ปนกรณีที่ท ายาทตกลงทําสัญ ญาแบง มรดก แมวาทายาทจะไมมีก าร ครอบครองทรัพยมรดกเปนสัดสวน ก็ถือวาเปนการแบงมรดกเชนกัน แตสัญญาแบงมรดกนี้ตองมีหลักฐาน เปนหนังสือลงลายมือชื่อฝายที่ตองรับผิดหรือตัวแทนของฝายนั้นเปนสําคัญ มิฉะนั้นจะฟองรองใหบังคับคดี ไมได (4) การแบงมรดกโดยการฟองคดีมรดก การแบงมรดกโดยวิธีฟองคดีมรดกนั้นอาจเกิดได 2 กรณี คือ กรณีทายาทฟองคดีขอแบงมรดก ซึ่งผู ฟองตองเปนทายาทและไมเสียสิทธิในทรัพยมรดกไปดวยเหตุใดเหตุหนึ่ง ทั้งตองฟองภายในอายุความมรดก หรือกรณีที่มีคดีฟองเรียกทรัพยมรดก แลวทายาทซึ่งมีสิทธิในทรัพยมรดกที่มิไดเปนคูความรองสอดเขามา

Graduate School and Research / 15 May 2013

515


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ในคดีเพื่อขอสวนแบงมรดก และหามมิใหศาลเรียกทายาทอื่น นอกจากคูความ หรือผูรองสอดใหเขามารับ สวนแบง หรือกันสวนแบงแหงทรัพยมรดกไวเพื่อทายาทอื่น 8. อายุความมรดก เมื่อเจามรดกตาย มรดกยอมตกทอดแกทายาททันที แตทายาทอาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกโดยอายุ ความ ซึ่งบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยอายุความมรดก จึงชี้ใหเห็นวาผูถูกฟองตองเปนบุคคลตามที่บัญญัติไวขางตน จึงสามารถยกอายุความขึ้นตอสู ความเหมือนระหวางกฎหมายทั้งสอง 1. ทั้งสองกฎหมายกําหนดเหมือนกันวาความหมายมรดกคือ ทรัพยสินตางๆ ที่เปนของผูตายใน ขณะที่ถึงแกความตาย หรือผูตายมีสิทธิไดรับอยูแลวกอนถึงแกความตาย หรือสิทธิ หนาที่ และความรับผิด ตางๆ ยกเวนสิทธิ หนาที่ และความรับผิดที่มีกฎหมายระบุวาเปนการเฉพาะของตัวผูตาย หรือโดยสภาพ แลวถือวาเปนการเฉพาะตัวของผูตาย เชน ตําแหนงหนาที่การงานตางๆ 2. ทั้งสองกฎหมายกําหนดเหมือนกันวาเมื่อบุคคลใดถึงแกความตายมรดกของบุคคลนั้น ยอมตก ทอดแกทายาทโดยสิทธิตามกฎหมาย หรือโดยพินัยกรรม และทายาทตองมีชีวิตหลังเจามรดกตาย 3. ทั้ง สองกฎหมายกําหนดเหมือนกันวาองคประกอบการแบง มรดกตองมี ผูตาย (เจามรดก) ทายาท (ผูรับมรดก) มรดก (ทรัพยสิน) 4. ทั้งสองกฎหมายกําหนดเหมือนกันวาการชําระหนี้นั้น บรรดาทายาทหรือผูจัดการมรดกตอง รวบรวมทรัพยสินของผูตายเพื่อทําการชําระหนี้เสียกอน เพราะถือวาหนี้นั้นถึงกําหนดทันทีไมวาจะมีเงื่ อน เวลากํากับอยูห รือไม และกอนแบงมรดกเจาหนี้สามารถจะบัง คับชําระหนี้เต็ม จํานวนจากกองมรดกได การจัดการศพของเจามรดกนั้นเปนสิ่ง ตองกระทํา ซึ่งสามารถเอาคาใชจายในการจัดการศพมาจากกอง มรดกได และการดําเนินการตามพินัยกรรม ตองดําเนินกอนการแบงมรดก 5. ทั้งสองกฎหมายกําหนดเหมือนกันวาการกันสิทธิไมใหรับมรดกนั้นมี 2 ประเภท คือ - การกันสิทธิไมใหรับมรดกดัวยลักษณะของบุคคล - การกันสิทธิไมใหรับมรดกดวยบุคคลที่ใกลกวา 6. ทั้งสองกฎหมายกําหนดเหมือนกันวาการฆาเจามรดกถึงแกความตายนั้นเปนเหตุใหผูที่ฆานั้นไม สามารถรับมรดกของผูตายได แตในกฎหมายอิสลามบัญญัติเพิ่มอีกวาผูที่ฆานั้นไมมีสิทธิรับมรดกไดแมการ กระทําดังกลาวชอบดวยกฎหมายก็ตาม 7. ทั้งสองกฎหมายกําหนดเหมือนกันวากอนตายเจามรดกจะตัดทายาทโดยธรรมของตนคนใดคน หนึ่งมิใหรับมรดกยอมกระทําไดโดยที่เจามรดกจําหนายทรัพยของตนกอนตาย 8. ขั้นตอนการแบงมรดก มีดังนี้ 1. แบงใหทายาทที่รับมรดกในภาคฟรฎ หรือตามสวนแบงที่กฎหมายกําหนด 2. ถาหากทายาทที่รับมรดกตามสัดสวนที่กฎหมายกําหนดนั้นไมมี หรือมีแตรับมรดกไมหมดกอง ใหแบงมรดกดังกลาวแกทายาทที่รับมรดกในภาคอะเศาะบะฮฺ หรือเรียกวาทายาทที่รับมรดกสวนที่เหลือ 3. ถาหากไมมีทายาทที่รับมรดกดังกลาว มรดกจะตกทอดแกกองคลังหรือแผนดิน แตกฎหมาย อิส ลามได เ พิ่ม เงื่อนไขในการรับ มรดกของกองคลั ง วา จะตอ งมีร ะบบการบริห ารจัดการที่ดี และตาม วัตถุประสงคของอิสลามดวย

516

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความแตกตางระหวางกฎหมายทั้งสอง พอจะสรุปบางประเด็นดังนี้ 1. กฎหมายอิสลามที่มิไดกําหนดใหบุตรบุญธรรมเปนทายาทโดยธรรม จึงไมมีสิทธิในการรับมรดก เพราะบุคคลที่จะไดรับมรดกนั้นตองเปนเครือญาติ คูสมรส หรือผูปลดปลอยทาส แตบุตรบุญธรรมนั้นถือ วาเปนบุคคลภายนอกไมใชเชื้อสายโลหิตเดียวกันกับผูตาย ดังนั้น จะไมมีสิทธิในการรับมรดกซึ่งกันและกัน ถึง แมวาจะอยูในความดูแลของเจามรดกมาตลอดก็ตามขณะที่ก ฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดก บัญญัติวาการเปนบุตรบุญธรรมนั้นถือวาเปนทายาทโดยธรรม เพราะเมื่อเจามรดกไดยินยอมรับคนใดคน หนึ่งมาเปนบุตรบุญธรรมโดยถูกตองตามกฎหมายแลว ยอมที่จะไดรับสิทธิทุกอยางของเจามรดก จึงทําให บุตรบุญธรรมไดรับมรดกดวย 2. กฎหมายอิสลามมิไดบัญญัติใหผูสืบสันดานที่เกิดจากผูสืบสันดานหญิงเปนทายาทโดยธรรม จึง ไมมีสิทธิในการรับมรดก เพราะบุคคลเหลานั้นเปนซะวีย อัลอัรหามขณะที่กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย มรดกที่บัญญัติวาบุคคลเหลานั้นเปนทายาทโดยธรรม จึงมีสิทธิในการรับมรดกได ซึ่งบัญญัติวาถาทายาท ลําดับที่ ๑ ถึงแกความตาย หรือถูกกําจัดมิใหรับมรดกกอนเจามรดกตาย ถาบุคคลเหลานั้นมีผูสืบสันดาน ก็ใหผูสืบสันดานรับมรดกแทนที่ และใหรับมรดกแทนที่กันสืบตอกันเชนนี้ไปจนสุดสาย 3. กฎหมายอิสลามบัญญัติวามารดาของปู มารดาของยา และมารดาของยายเปนทายาทโดย ธรรมที่สามารถรับมรดกไดในกรณีไมมีผูกันขณะที่กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกไมไดบัญญัติบุคคล เหลานั้นเปนทายาทโดยธรรม จึงไมมีสิทธิในการรับมรดกได ซึ่งบัญญัติ วาทายาทนั้นมี ๖ ลําดับเทานั้น และใน 6 ลําดับนั้นไมปรากฏมารดาของปู มารดาของยา และมารดาของยาย 4. กฎหมายอิสลามกําหนดใหบิดาของปูจนสุดสายเปนทายาทโดยธรรม จึงมีสิทธิในการรับมรดกได ในกรณีไมมีผูกันขณะที่กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกไมไดบัญญัติบุคคลเหลานั้นเปนทายาทโดย ธรรม จึงไมมีสิทธิในการรับมรดก ซึ่งบัญญัติวาทายาทนั้นมี 6 ลําดับเทานั้น และใน 6 ลําดับนั้นไมปรากฏ บิดาของปูเปนทายาท 5. กฎหมายอิสลามมิไดกําหนดใหบุตรของพี่นองที่รวมแตมารดาเปนทายาทโดยธรรม จึงไมมีสิทธิ ในการรับมรดก เพราะบุคคลเหลานั้นเปนซะวีย อัลอัรหามขณะที่กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกที่ ไดบัญญัติบุคคลเหลานั้นเปนทายาทโดยธรรม จึงมีสิทธิในการรับมรดก ซึ่งบัญญัติวาถาทายาทลําดับที่ 4 ถึง แกความตาย หรือถูก กําจัดมิ ใหรับ มรดกกอนเจามรดกตาย ถาบุคคลเหลานั้นมีผูสืบ สันดานก็ใ ห ผูสืบสันดานรับมรดกแทนที่ และใหรับมรดกแทนที่กันสืบตอกันเชนนี้ไปจนสุดสาย 6. ตามกฎหมายอิสลามบุตรหญิงของพี่นองที่รวมบิดามารดาเดียวกันหรือรวมแตบิดาไมเปนทายาท โดยธรรม จึงไมมีสิทธิในการรับมรดก เพราะบุคคลเหลานั้นเปนซะวีย อัลอัรหามขณะที่กฎหมายแพงและ พาณิชยวาดวยมรดกไดบัญญัติบุคคลเหลานั้นเปนทายาทโดยธรรม จึงสามารถรับมรดกได ซึ่งบัญญัติวาถา ทายาทลําดับที่ (3) และ (4) ถึงแกความตาย หรือถูกกําจัดมิใหรับมรดกกอนเจามรดกตาย ถาบุคคล เหลานั้นมีผูสืบสันดานก็ใหผูสืบสันดานรับมรดกแทนที่ โดยไมคํานึงวาเปนชายหรือหญิง และใหรับมรดก แทนที่กันสืบตอกันเชนนี้ไปจนสุดสาย 7. ตามกฎหมายอิสลามบุตรหญิงของลุงฝายบิดาและอาเพศชายไมเปนทายาทโดยธรรม จึงไมมี สิทธิในการรับมรดก เพราะบุคคลเหลานั้นเปนซะวีย อัลอัรหามขณะที่กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย มรดกที่ไดบัญญัติบุคคลเหลานั้นเปนทายาทโดยธรรม จึง มีสิทธิในการรับมรดก ซึ่งบัญ ญัติวาถาทายาท ลําดับที่ (6) ถึงแกความตาย หรือถูกกําจัดมิใหรับมรดกกอนเจามรดกตาย ถาบุคคลเหลานั้นมีผูสืบสันดานก็

Graduate School and Research / 15 May 2013

517


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ใหผูสืบสันดานรับมรดกแทนที่ โดยไมคํานึงวาเปนชายหรือหญิง และใหรับมรดกแทนที่กันสืบตอกันเชนนี้ ไปจนสุดสาย 8. ตามกฎหมายอิสลามลุงฝายมารดา ปา นา และ อาเพศหญิง ไมเปนทายาทโดยธรรม จึงไมมีสิทธิ ในการรับมรดก เพราะบุคคลเหลานั้นเปนซะวีย อัลอัรหามขณะที่กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกที่ ไดบัญญัติวาบุคคลเหลานั้นเปนทายาทโดยธรรม จึงมีสิทธิในการรับมรดก เพราะกฎหมายนี้ไดบัญญัติวา ทายาทนั้นมี (6) ลําดับเทานั้น และใน (6) ลําดับนั้นปรากฏวามีลุง ปา นา และ อา เปนทายาทโดย ธรรมในลําดับที่ (6) 9. ตามกฎหมายอิสลามไดแบงหนี้สินนั้นเปน 2 ประเภท คือ หนี้สินที่เปนสิทธิ์ของ อัลลอฮฺ เชน ซะกาตฺ และหนี้สินที่เปนสิทธิ์ของมนุษย เชน การกูยืม โดยที่หนี้สินที่เปนสิทธิ์ของอัลลอฮฺเวลาจะ ชําระใหชําระแกสาธารณชน เชน คนยากจน เปนตนขณะที่กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกที่ระบุ วาหนี้สินนั้นแบงเปน 2 ประเภท คือหนี้สินที่เปนสิทธิของหลวง และหนี้สินที่เปนสิทธิของมนุษย โดยที่ หนี้สินที่เปนสิทธิของหลวงเวลาจะชําระตองชําระใหแกรัฐเทานั้น 10. กฎหมายอิสลามไดบัญญัติเรื่องพินัยกรรมวา การดําเนินการตามพินัยกรรมนั้นตองไมเกินหนึ่ง ในสามจากกองมรดกของผูตาย ยกเวนบรรดาทายาทใหความยินยอมตามนั้นขณะที่กฎหมายแพงและ พาณิชยวาดวยมรดกบัญญัติวาเจาทรัพยสามารถทําพินัยกรรมยกทรัพยของตนโดยไมจํากัดจํานวน และไม จําเปนตองนอยกวาหนึ่งในสาม 11. กฎหมายอิสลามบัญญัติเรื่องพินัยกรรมวา เจาทรัพยไมสามารถทําพินัยกรรมยกทรัพย มรดก ของตนใหแกบุคคลที่เปนทายาทที่รับมรดก ยกเวนทายาทคนอื่นๆใหความยินยอมตามที่เจาทรัพยได กระทําไว เพราะเปนการกระทําที่ขัดตอบทบัญญัติของอิสลาม และเปนการเลือกปฏิบัติของเจาทรัพยที่ไม ถูกตอง จึงทําใหทายาทอื่นเสียเปรียบในเรื่องนี้ขณะที่กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกบัญญัติวาเจา ทรัพยสามารถทําพินัยกรรมยกทรัพยมรดกของตนใหแกใครก็ได ไมคํานึงวาบุคคลเหลานั้นเปนทายาท หรือไม 12. กฎหมายอิ ส ลามบัญ ญัติ วา การรั บ มรดกภาคอะเศาะบะฮฺ นั้ นแบง ออก 3 ประเภท คื อ อะเศาะบะฮฺโดยตนเอง อะเศาะบะฮฺโดยอาศัยผูอื่น และอะเศาะบะฮฺพรอมผูอื่นขณะที่กฎหมายแพงและ พาณิชยวาดวยมรดกทายาททุกคนที่ไดรับมรดกภาคอะเศาะบะฮฺนั้น ซึ่งจะรับมรดกภาคอะเศาะบะฮฺโดย ตนเองเทานั้น สวนอะเศาะบะฮฺโดยอาศัยผูอื่น และอะเศาะบะฮฺพรอมผูอื่นนั้นไมปรากฏในกฎหมายนี้ เพราะกฎหมายนี้ถือวาบุคคลที่ไดรับมรดกภาคเศาะบะฮฺนั้น คืออะเศาะบะฮฺโดยตนเอง โดยไมคํานึงวาผูนั้น เปนเพศชายหรือเพศหญิง 13. กฎหมายอิสลามบัญญัติวาการรับมรดกในภาคอะเศาะบะฮฺนั้น ถามีทายาทหลายคนที่อยูใน ลําดับเดียวกันและเพศเดียวกันใหแบงมรดกสวนละเทาๆกัน แตถาเพศตางกันใหเพศชายไดสองสวนและ เพศหญิงไดหนึ่งสวนขณะที่กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกถาทายาทที่ไดรับอะเศาะบะฮฺนั้นมีหลาย คนที่อยูในลําดับเดียวกันจะไดรับมรดกเทาๆ กัน โดยไมคํานึงวาทายาทผูนั้นเพศชายหรือเพศหญิง เพราะ กฎหมายนี้ถือวาความเสมอภาคนั้น ตองแบงมรดกในสวนที่เทาๆกัน 14. ตามกฎหมายอิส ลามไมไดบัญญัติเ กี่ยวกับ การรับมรดกแทนที่กัน ถาทายาทที่ไดรับมรดก เสียชีวิตกอนเจามรดกผูสืบสันดานของทายาทนั้นไมสามารถไดรับมรดกในฐานะการรับมรดกแทนที่ขณะที่ กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกที่บัญญัติวาการรับมรดกแทนที่นั้นสามารถรับมรดกไดในทายาททุก ลําดับชั้น ยกเวนลําดับที่ (2) และลําดับที่ (5) ที่ไมสามารถรับมรดกแทนที่กันได 518

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

15. กฎหมายอิสลามบัญญัติวาการนับถือศาสนาที่แตกตางกันเปนสาเหตุตองหามในการ รับมรดก ซึ่งกันและกันขณะที่กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกมิไดบญ ั ญัติเกี่ยวกับการนับถือศาสนาที่แตกตาง กันเปนสาเหตุที่ตองหามในการรับมรดกซึ่งกันและกัน 16. กฎหมายอิสลามบัญญัติวาบุคคลที่อยูในลําดับกอนที่เ ปนเพศชายเทานั้นที่สามารถกันสิท ธิ บุคคลที่อยูในลําดับถัดลงมา เวนแตทายาทเพศหญิงที่ไดรับมรดกภาคอะเศาะบะฮฺขณะที่กฎหมายแพงและ พาณิชยวาดวยมรดกที่บัญญัติวาทายาทที่อยูในลําดับกอนซึ่งสามารถกันสิทธิทายาทที่อยูในลําดับถัดลงมา โดยไมคํานึงวาทายาทผูนั้นเปนเพศชายหรือเพศหญิง 17. กฎหมายอิสลามบัญญัติวาบุคคลที่เปนบิดาเทานั้นสามารถกันสิทธิบุคคลที่อยูในลําดับถัดลงมา สวนมารดานั้นไมสามารถกันสิทธิทายาทอื่นไดขณะที่กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกบัญญัติวาบิดา และมารดาสามารถกันสิทธิบุคคลที่อยูในลําดับถัดลงมาได 18. กฎหมายอิสลามบัญญัติวาพี่นองรวมบิดามารดาหรือรวมแตบิดาไดรับมรดกรวมกับปูยกเวนพี่ นองรวมแตมารดาจะถูกกันสิทธิดวยปูขณะที่กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกบัญญัติวาพี่นองรวม บิดามารดา รวมแตบิดา หรือรวมแตมารดาจะกันสิทธิปูในการรับมรดก เพราะพี่นองรวมบิดามารดา รวม แตบิดา หรือรวมแตมารดาอยูในลําดับที่ (3) และ (4) สวนปูนั้นอยูในลําดับที่ (5) 19. ตามกฎหมายอิสลามการยักยายหรือปดบังทรัพยมรดกโดยฉอฉลหรือรูวาตนกระทําใหเสื่อม ประโยชนของทายาทคนอื่น หรือการฉอฉลหรือขมขูใหเจามรดกทํา หรือเพิกถอน หรือเปลี่ยนแปลง พินัยกรรมแตบางสวนหรือทั้งหมดซึ่งเกี่ยวกับทรัพยมรดก หรือไมใหกระทําการดั่งกลาว หรือการปลอม ทําลาย หรือปดบังพินัยกรรมแตบางสวนหรือทั้งหมด ซึ่งการกระทําดังกลาวไมเปนเหตุใหทายาทนั้นถูก กําจัดมิใหไดรับมรดกแมการกระทําดังกลาวเปนการละเมิดกฎหมายขณะที่กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย มรดกบัญญัติวาการยักยายหรือปดบังทรัพยมรดกโดยฉอฉลหรือรูวาตนกระทําใหเสื่อมประโยชนของทายาท คนอื่น หรือการฉอฉลหรือขมขูใหเจามรดกทํา หรือเพิกถอน หรือเปลี่ยนแปลงพินัยกรรมแตบางสวนหรือ ทั้ง หมดซึ่ง เกี่ยวกับ ทรัพยม รดก หรือไมใหก ระทําการดั่ง กลาว หรือการปลอม ทําลาย หรือปดบัง พินัยกรรมแตบางสวนหรือทั้งหมด ซึ่งการกระทําดังกลาวเปนเหตุใหทายาทนั้นถูกกําจัดมิใหไดรับมรดก 20. กฎหมายอิสลามมิไดบัญญัติเกี่ยวกับอายุความมรดกเนื่องจากทรัพยมรดกไมมีอายุความตาม กฎหมายนี้ ซึ่ง ทายาทมีสิท ธิฟองร องขอแบง มรดกเมื่อไรก็ไดเ มื่อรู วาเจามรดกถึง แกความตายขณะที่ กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดกบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องอายุความวาจะตองไมเกินหนึ่งป นับแตเมื่อเจา มรดกตายหรือนับแตเมื่อทายาทไดรูหรือควรไดรูถึงความตายของเจามรดก แตไมใหเกินสิบป นับแตเจา มรดกตาย

Graduate School and Research / 15 May 2013

519


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เอกสารอางอิง Al-Quran Al-karim Al-Kalbiy abi al-Qasim Muhammad bin Ahmad. 1992. Takhrib al-Wusul ila cilm al-Usul. 1st ed, Cairo: Maktabat Ibnu Taymiyyah. Al-Khatib Asharbiniy, Muhammad bin Muhammad. 1994. Mughni Muhtaj. 1st ed. J 4. Bayrut: Dar al-Kutub al- cilmiyyah. Al-Ramli Sam al-din Muhammad abi al-cAbbas Ahmad bin Hamzah. 1984. Nihayah alMuhtaj. J 6. Bayrut: Dar al-Fikr. Mustafa al-Khain Mustafa al-Bugha Ali al-Khurayziy. 1987. Al-Figh al-Manhaji. 2nd ed. j 5. Dimask: Dar al-Qalam. Muhammad Mustafa Shalabiy. 1978. Ahkam al-Mawarith bayna al-figh wa al-Qanun. Bayrut: Dar al-Nahdah al-carabiyyah. Al-Shawkaniy, Muhammad bin cali. 1995. Fath al-Qadir. 1st ed. j1. Bayrut: Dar al-macrifah li al-Tibacah wa al-Nhsr wa al-Tawzic. Al-Ghamaraniy, Muhammad al-Zuhri. 1997. Al-Siraj al-Wahaj. Bayrut: Dar al-Fikr li alTibacah wa al-Nshr wa al-Tawzic. Yasin Ahmad Ibrahim. 1998. Al-Mirath fi al-Sharicah al-Islamiyyah. 5th ed. Muassasah alRisalah. Wahbah al-Zuhayli. 1989. Al-Figh al-Islamiy wa cadillahtuh. 3rd ed. j8. Dimask: Dar al-Figh. Al-Juzwayniy, cAbdul Malik bin cAbdullah. 2009. Nihayah al-Matlab. 2nd ed. j 9. Jaddah: Dar al-Minhaj li al-Nashr wa al-Thawzic. Ibnu Hajar al-cAsqalaniy, Ahmad bin cAli. 1986. Fath al-Bariy. 1st ed. j 12. Misr.: Dar alRayyan li al-Turath. Al-Nawawiy, Yahya bin Sharaf. t.th. Al-Majmuc .16th ed. Bayrut. Dar al-Fikr. Al-Nawawiy, Yahya bin Sharaf. 1993. Rawdah al-Talibin. 6th ed. Bayrut. Dar al-Kutub alc Ilmiyyah. Al-Sayyid Sabiq. 1987. Fiqh al-Sunnah. 3rd ed. Bayrut: Dar al-Kitab al-carabiy. Al-Buhgawiy, Abu Muhammad al-Husayn bin Masud bin Muhammad. 1997. Al-Tahzib fi Fiqh al-Imam al-Shaficiy. 1st ed. j5. Bayrut: Dar al-Kutub al-Islamiyyah. Al-Bayhakiy. Abu Bakr. Ahmad bin al-Husayn bin Ali. 1992. Al-Sunan al-Kubra. 6th ed. Bayrut: Dar Al-Macrifah. Al-Ansoriy, Al-Qadi Abi Yahya Zakariya. 2001. Asna al-Matalib. 1st ed. j6. Bayrut: Dar alKutub al-cilmiyyah. Al-Husayn Taqiy al-Din Abi bakr bin Muhammad. 2007. Kifayah al-Akhyar. 1st ed. Cayro: Dar al-Salam li al-Tibacah wa al-Nash wa al-Tawzic wa al-Tarjamah.

520

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

Al-Tahanawiy, Muhammad Ali bin Ali. 1998. Kazzab Istilahat al-Funun, 1st ed. Bayrut: Dar al-Kutub al-cilmiyyah. Ibnu Qudamah, Abu Muhammad Abdullah bin Ahmad. 1992. Al-Mughni. 2nd ed. Cayro: Hijr li al-Tibacah wa al-Nashr wa al-Tawzic wa al-‘cilam. Ibun Jarir Al-Tabariy, Muhammad bin Jarir al-Tabariy. 1992. Tafsir al-Tabariy. 1st ed. Bayrut. Dar al-Kutub al- cilmiyyah. ตําราและเอกสารที่กับเกี่ยวของภาษาไทย ชาญวิท ย เกษตรศิริ และ วิกัลย พงคพนิตานนท . 2553. ประวัติศาสตรกฎหมายไทย ร. แลงกาต . กรุงเทพ: หางหุนสวนจํากัดสามลดา. โชค จารุ จินดา. 2532. คํา อธิบายกฎหมายลั กษณะมรดก. พิม พค รั้ง ที่ 4. กรุง เทพ : หางหุ นสว น จํากัด อรุณการพิมพ. บวรศัก ดิ์ อุ วรรณโณ. 2548. คํ า อธิ บายกฎหมายแพง และพาณิช ยว า ด วยมรดก. พิ ม พ ครั้ ง ที่ 2. กรุงเทพ:สํานักพิมพหางหุนสวนจํากัด เวเจ. พริ้นติ้ง. ประสิทธิ์ บุญเสริม. 2537. กฎหมายนารูกฎหมายเกี่ยวกับมรดก. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพ. ห.จ.ก. โรง พิมพอักษรไทย. พรชัย สุนทรพันธุ. 2538. กฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดก. กรุงเทพ :สํานักพิมพมหาวิทยาลัย รามคําแหง วิ ท ยา ศั ก ยาภิ นั น ท . 2551. ตรรกศาสร . พิ ม พ ค รั้ ง ที่ 2. กรุ ง เทพ : สํ า นั ก งานพิ ม พ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร. สุภาพ สารีพิมพ. 2545. คําบรรยายกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยมรดก. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง. อัม พร ณ ตะกั่ วทุ ง . 2543. คํา อธิบายประมวลกฎหมายแพ งและพาณิช ยว า ดย มรดก. กรุง เทพ. สํานักพิมพนิติบรรณการ.

Graduate School and Research / 15 May 2013

521



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

นันทนาการในอิสลาม: ศึกษาเพลงอนาชีดในกิจกรรมเสริมหลักสูตรโรงเรียนศรีกิบลัต เขตโกตาบารูรฐั กลันตัน ประเทศมาเลเซีย Entertainment in Islam: A study on Anasyeed in Co-curriculum of Sri Kiblah School, Kota baru, Kelantan, Malaysia อิสมาอีล อาเนาะกาแซ1 รอซีดะห หะนะกาแม2 อับดุลรามันห โตะหลง3 รูฮานา สาแมง4 1

อาจารยประจําวิชาสาขาอุศูลุดดีน คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา หัวหนาโครงการวิจัย 2 อาจารยประจําวิชาสาขาชะรีอะฮ คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ผูรวมวิจัย 3 อาจารยประจําวิชาสาขาภาษามลายู คณะศิลปะศาสตรและสังคมสาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ผูรวมวิจัย 4 อาจารยประจําวิชาสาขาอิสลามศึกษา คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ผูรวมวิจัย

บทคัดยอ การวิจัยเรื่องนี้ทําขึ้นเพื่อศึกษาแนวทางการใชอนาชีดในกิจกรรมเสริมหลักสูตรของโรงเรียนศรีกิบ ละฮ เขตโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเปนการวิจัยเชิงคุณภาพโดยไดศึกษาขอมูลจากเอกสาร และจากภาคสนาม ดวยวิธีการสัมภาษณผูใหขอมูลหลักจากผูบริหารโรงเรียนครูผูสอนครูผูดูแลกิจกรรม เสริมหลักสูตรและนักเรียน จํานวนทั้งหมด 16 คน ผลการวิจัยพบวาอนาชีดเปนการอานทํานองเสนาะจาก บทรอยแกวหรือรอยกรองในภาษาอาหรับเพื่อใหขอตักเตือนใจแกคนมุสลิม แตปจจุบันอนาชีดจะมีในภาษา ตางๆเกือบทุกภาษาแลว โรงเรียนศรีกิบละฮไดประยุกตใชอนาชีดในกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อเปนสื่อใน การขัดเกลาจิตใจนักเรียน ซึ่งเริ่มดวยการเปดชมรมอนาชีด การเลือกสรรเนื้ออนาชีด การสรรหาครูอนาชีด ที่เชี่ยวชาญ ใหการสนับสนุนตางๆทั้งงบประมาณและกําลังใจ นักเรียนที่เขารวมกิจกรรมนี้จะมีคุณลักษณะ เดนในดานคุณธรรมจริยธรรม คําสําคัญ: นันทนาการ, อนาชีด, กิจกรรมเสริมหลักสูตร

Graduate School and Research / 15 May 2013

523


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจยั และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The research was conducted to study the use of Anasyeed, in the course Entertainment in Islam: A study on Anasyeed in Co-curriculum of Sri Kiblah School, Kota baru, Kelantan, Malaysia This qualitative research study of documents and information from the field. By means of interviews with key informants from school administrators, teachers, teachers who care, CCA students total 16 results found Ana sheet from a read Tmnagesnaa of prose or poetry in Arabic in order to travel. warning to the Muslim mind. Today, Anasheed is in almost all languages. Gibbs College at Lord Sri Anasyeed were applied in the course of activities as a medium for students to refine the mind. Which began with the opening of the club Ah Ricci. R. Ricci and meat selection. R. Ricci and teacher recruitment specialist. The budget provides support and encouragement. Students who attend this event will feature prominently in the field of ethics. Keywords: Entertainment, Anasyeed, Co-curiulum

524

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา นันทนาการเปนปจจัยหนึ่งในการเสริม สรางรากฐานของสัง คมมนุษย ใหเ ขม แข็งโดยพัฒ นาคน ครอบครัวและชุมชนใหเปนแกนหลักของสังคม ซึ่งมีความสําคัญตอการพัฒนาคุณภาพคนและกระบวนการ การเรียนรูอยางตอเนื่อง เสริมสรางคนใหเปนคนดีมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตยสุจริต รูรักสามัคคี มี ความเขมแข็งทางวัฒนธรรม เสริมสรางเครือขายชุมชนใหเชื่อมโยงกับการพัฒนาชนบทและเมืองใหเกิด ความนา อยู และสามารถนํามาใช กับ การเสริม สรา งเศรษฐกิจ ด วย ประเทศไทยไดจั ดทํา แผนพัฒ นา นันทนาการแหง ชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2550-2554) ขึ้น ซึ่ง ไดกําหนดวา ประชาชนทุก เพศ ทุกวัย รวมทั้ง บุคคลกลุมพิเศษและผูดอยโอกาส มีความรูความเขาใจเห็นคุณคาของการใชเวลาที่มีอยูใหเปนประโยชน และสามารถทํากิจกรรมนันทนาการเปนประจําจนเปนวิถีชีวิตโดยมีเปาหมายรอยละ60 ในป พ.ศ. 2554 เด็กและเยาวชนรอยละ 80 มีความรูความเขาใจและมีเจตคติที่ดีตอนันทนาการ รวมทั้งไดศึกษาการใชเวลา วางและทํากิจกรรมนันทนาการเปนประจําเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ในสถานศึกษาและองคกรปกครองสวน ทองถิ่นรอยละ 60 จัดใหมีการศึกษาการใชเวลาวางและนันทนาการรวมทั้งจัดใหมีกิจกรรมนันทนาการใน ชีวิตประจําวันแกนักเรียน เยาวชน และประชาชนในชุมชน สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาบุคลากรในการ จัดบริการนันทนาการใหมีศักยภาพและขีดความสามารถเพิ่มขึ้น และมีการจางงานบุคลากรนันทนาการ อาชีพมากขึ้น สงเสริมอนุรักษศิลปวัฒนธรรมประเพณีอยางตอเนื่อง มีการสราง ตรวจสอบ ปรับปรุง ดูแล และพัฒนาสิ่งแวดลอม อุปกรณสถานที่และสิ่งอํานวยความสะดวกเกี่ยวกับนันทนาการใหมีความสะดวก ปลอดภัยเปนไปตามมาตรฐานสากล มีการบริหารจัดการนันทนาการอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (สํานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ, 2551:5) โรงเรียนเปนสถาบันสําคัญในสังคมที่มีหนาที่จัดการศึกษาใหเด็กและเยาวชนอยางเปนระบบเพือ่ ให เด็กและเยาวชนไดมีโอกาสศึกษาเลาเรียนตามอัตภาพและพรอมกันนั้นการจัดนันทนาการในโรงเรียนเปน สิ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะชวยสงเสริมพัฒนาลักษณะนิสัยที่พึงประสงคของเด็กและเยาวชน ใหไดมีโอกาสมี ความเขาใจ มีความรักและซาบซึ้ง รูจักใชเวลาวางใหเกิดประโยชนโดยการเขารวมกิจกรรมนันทนาการอยาง มีจุดมุงหมาย การเสริมสรางลักษณะนิสัย และความเปนพลเมืองที่ดีในอนาคต นักเรียนแตละคนจะประสบความสําเร็จหรือมีการพัฒนาทางรางกายและจิตใจไดมากนอยแคไหนก็ ขึ้นอยูกับวานักเรียนมีโอกาสใชเวลาวางใหเปนประโยชนมากนอยเพียงใด เพราะนักเรียนที่เขารวมกิจกรรม เวลาวางสามารถที่จะคนพบสิ่งที่เขาตองการ และความถนัดตามธรรมชาติของตัวเองไดเปนอยางดี ทําใหเขา สามารถพัฒนาตัวเองไปในแนวทางที่เหมาะสม เปนการสงเสริมใหสุขภาพดีทั้งทางรางกายและสุขภาพจิต (จรัญ ธานีรัตน, มปป: 24) อนาชีดเปนนันทนาการสําหรับชาวมุสลิมอยางหนึ่ง ที่สามารถสื่อและถายทอดความรูสึกตางๆใน จากเนื้อหาสาระและเสียงที่ไพเราะไปสูผูฟงได อนาชีดเปนภาษาแหงอารมณซึ่งนักกวีไดถายทอดออกมาเปน เสียงเพลง ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาวา การใชอนาชีดในกิจกรรมเสริมหลักสูตรของโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิสลามในประเทศมาเลเซียมีลักษณะอยางไรที่สามารถขัดเกลาจิตใจนักเรียนใหเปนคนดีได เพื่อ เปนแนวทางในการพัฒนาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใตตอไป วัตถุประสงค การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อที่จะหาคําตอบวาศาสนาอิสลามมีหลักบัญญัติเกี่ยวกับเพลง อยางไร และการใชเพลงอนาชีดในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรในโรงเรียนสอนศาสนาที่ประเทศมาเลเซีย Graduate School and Research / 15 May 2013

525


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจยั และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

นั้นมีลักษณะไหน รูปแบบอยางไรที่สามารถขัดเกลาคุณธรรมจริยธรรมในตัวผูเรียน เพื่อเปนแนวทางในการ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรในโรงเรียนของรัฐและเอกชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต วิธีการศึกษา การเก็บขอมูลในการศึกษาครั้งนี้ คณะวิจัยไดเก็บรวบรวมขอมูลดวย 2 วิธี คือการศึกษาวิเคราะห เอกสารที่เกี่ยวของ ไดแก ทัศนะนักวิชาการอิสลามเกี่ยวกับดนตรีในอิสลาม เและเพลงอานาชีดในประเทศ มาเลเซีย และการศึกษาภาคสนามโดยการสัมภาษณเชิงลึกตอผูบริหารโรงเรียน ครูผูสอนเพลงอานาชีด ครู ผูดูแลชมรมอานาชีด และนักเรียนในโรงเรียนศรีกิบลัต เขตโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย การ เลือกผูใหขอมูลหลักในการวิจัยครั้งนี้ คณะวิจัยไดเลือกผูใหขอมูลหลักแบบเจาะจงซึ่งประกอบดวย คณะ ผูบริหารโรงเรียนจํานวน 3 คน ครูผูสอนอานาชีดจํานวน 1 คน ครูผูดูแลชมรมอานาชีดจํานวน 2 คน และ นัก เรียนจํานวน 10 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสัมภาษณที่มีโ ครงสรางประกอบดวยแบบ สัมภาษณผูบริหารโรงเรียนแบบสัมภาษณผูสอน แบบสัมภาษณนักเรียน การวิเคราะหขอมูลโดยใชหลัก วิเคราะหแบบอุปนัยและนิรนัย บทนิยาม คําวา นันทนาการ [นัน ทะ] เปนคํานาม หมายถึงกิจกรรมที่ทําตามสมัครใจในยามวาง เพื่อใหเกิด ความ สนุกสนานเพลิดเพลินและผอนคลายความตึงเครียด, การสราญใจ (สํานักราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542: 571) มีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายของนันทนาการไวหลากหลาย ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ นันทนาการ หมายถึง การเขารวมกิจกรรมตางๆโดยใชเวลาวางใหเปนประโยชนทางรางกาย อารมณ สังคม และจิตใจ (นันทนาการในโรงเรียน. มปป.:14) คําวา อนาชีด ในทางภาษา การรอง (เพลง) เปนคําพหูพจน ของคําวา นะชีด ซึ่งแปลวา ยกเสียงให สูงขึ้น และนะชีด ในความหมายทางวิชาการ คือ การขึ้นเสียงเลนเสียงในการอานบทกลอน (ชิอฺรุน) หรือบท แกว (นัซรุน) เพื่อการปลุกใจ หรือ ปลูกฝงความตระหนักในศาสนาในเวลาและสถานที่ทแี่ ตกตางกัน คําวา ฆีนาอฺ คือการสั่นเสียง(ในการรอง)ใหมีทํานองในคําที่คลองจองกัน นันทนาการในอิสลาม ศาสนาอิสลามสงเสริมสนับสนุนใหมุสลิม ออกกําลัง กายและเลนกีฬาตางๆเพื่อใหป ระโยชนแก ตนเองและสัง คม และทานรอซูล (ซ.ล) ไดสง เสริม ประชาชาติของทานโดยเฉพาะเยาวชนใหฝก กีฬายิง ธนู กีฬามวยปล้ํา กีฬาแขงมาและการใชศิลปะปองกันตัวอื่นๆ ซึ่งกีฬาเหลานั้นจะทําใหรางกายแข็งแรง แลว ยังสามารถนําไปใชในการปกปองมาตุภูมิในยามถูกรุกรานไดดวย และอัลลอฮฺไดตรัสในอัลกุรอานวา ‫اﳋ َﻴ ْﻞِ ﺗ ْ ُِﺮﻫﺒُﻮنَ ﺑ ِ ِﻪ ﻋَ ﺪُ ﱠو ا ﱠ ِ َوﻋَﺪُ ﱠوﻛ ُْﻢ‬ ْ ‫ﺑَﺎط‬ ِ ‫َو ِأَﻋﺪﱡ وا ﳍَ ُْﻢ َﻣﺎ ْاﺳ َﺘﻄَﻌْ ﺘ ُْﻢِ ﻣﻦْ ﻗ ﱠٍُﻮة َ ِوﻣﻦْ ِر‬

ความวา: “และพวกเจาจงเตรียมตัวไวสําหรับ (ปองกันจาก) พวกเขา ในสิ่งซึ่งที่พวกเจา สามารถเตรียมตัวไวอันไดแกกําลังความเขมแข็งอยางหนึ่งอยางใด และการผูกมาไว โดย ที่พวกเจาจะทําใหศัตรูของอัลลอฮและศัตรูของพวกเจาหวั่นเกรงดวยสิ่งนั้น” (อัลกุรอาน ซูเราะฮฺ อัล-อันฟาล โองการที่ 60) 526

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ทานรอซูล (ซ.ล) ไดอานโองการขางตนแลวกลาววา ‫ﻣْﻲ‬ ُ ‫اﻟﺮ‬ ‫ﻣْﻲ َأَﻻ إ ِنﱠ اﻟْﻘُ ﱠﻮ َة ﱠ‬ ُ ‫اﻟﺮ‬ ‫ﻣْﻲ َأَﻻ إ ِنﱠ اﻟْﻘُ ﱠﻮ َة ﱠ‬ ُ ‫اﻟﺮ‬ ‫َأَﻻ إ ِنﱠ اﻟْﻘُ ﱠﻮ َة ﱠ‬

ความวา: “พึงทราบเถิดวา แทจริงความเขมแข็งนั้นคือการยิงธนู พึงทราบเถิดวา แทจริง ความเขม แข็งนั้นคือการยิง ธนู พึง ทราบเถิดวา แทจริงความเขมแข็งนั้นคือการยิงธนู ” (รายงานโดยมุสลิม) ทานไดย้ําถึงสามครั้ง ทานอิบนุ อุมัร (ร.ฎ) เลาวา ْ َ‫اﳊ َ ﻔ ِْﻴَﺎء إ َِﱃ ﺛَﻨ ِ ِﻴﱠﺔ اﻟ َْﻮدَا ِع َو ْأَﺟ َﺮى َﻣﺎ ﱂ‬ ْ ْ‫اﳋ َﻴ ْﻞِ ِ ﻣﻦ‬ ْ ْ‫)) ْأَﺟ َﺮى اﻟﻨﱠﺒ ﱡِﻲ َﺻ ﱠﲆ ا ﱠ ُ ﻋَ ﻠَﻴ ِ ْﻪ َو َﺳﻠ َﱠﻢ َﻣﺎ ُﺿ ﱢﻤ َﺮِ ﻣﻦ‬ َ‫ﺑَﲔَﻨ ِ ﻴﱠﺔ‬ ‫ﻴَﺎل أَ ْو ِﺳﺘﱠﺔٌ َو ْ َﺛ‬ ٍ ْ‫اﳊ َ ﻔ ِْﻴَﺎء إ َِﱃ ﺛَﻨ ِ ِﻴﱠﺔ اﻟ َْﻮدَ ا ِع َﲬ َْﺴﺔُ أَ ﻣ‬ ْ ‫ﺑَﲔ‬ َ ْ ‫ﻳُﻀ ﱠﻤ ْﺮِ ﻣﻦْ ﻨاﻟ ِ ﱠﺜ ِﻴﱠﺔ إ َِﱃ َﻣ ْﺴ ِ ِﺠﺪ ﺑَ ﻨ ِ ﻲ زُ َر ٍﻳْﻖ‬ َ ((‫إ َِﱃ ﻣ َْﺴ ِ ِﺠﺪ ﺑَﻨ ِ ﻲ زُ َر ٍﻳْﻖ ِ ﻣ ٌﻴﻞ‬

ความวา: ทานรอซูล (ซ.ล) ไดเคยขี่มาแขงที่ไดจัดเตรียมไวสําหรับการวิ่งแขงขันจากอัลหัฟ ยาอฺ ถึง ซะนียะฮฺอัลวะดาอฺซึ่งมีระยะทางประมาณ 5 – 6 ไมล และทานไดเคยขี่มาแขงที่ ไม เ ตรี ย มไว สํ า หรั บ การแข ง จากอั ซ ซะนี ย ะฮฺ ถึ ง มั ส ยิ ด บานี ซุ รั ย กฺ ซึ่ ง มี ร ะยะทาง ประมาณ 1 ไมล ทานหญิงอาอีชะฮฺไดกลาววา ‫َﺎل ِﱄ ﺗَﻌَ َﺎﱄ ْ َﺣﺘﱠﻰ َأُﺳﺎﺑ ِﻘَ ِﻚ‬ َ ‫ﺑَﻌْﺾ ْأَﺳﻔَ ِﺎره ﺛ ﱠُﻢ ﻗ‬ ِ ‫)) َﺧ َﺮ ْﺟ ُﺖ َﻣ َﻊ اﻟﻨﱠﺒ ﱢِﻲ َﺻ ﱠﲆ ا ﱠ ُ ﻋَ ﻠَﻴ ِ ْﻪ َو َﺳﻠ َﱠﻢ ِﰲ‬ ‫ﺑَﻌْﺾ‬ ِ ‫ﻴﺖ َﺧ َﺮ ْﺟ ُﺖ ﻣَﻌَﻪُ ِﰲ‬ ُ ‫ﲪﻠ ُْﺖ اﻟﻠﱠﺤْ َﻢ َوﺑَﺪُ ﻧ ُْﺖ َوﻧ َِﺴ‬ َ َ ‫َﺖ ﻋَ ﻨﱢ ﻲ َﺣﺘﱠﻰ إ ِ ذَا‬ َ ‫ﻓ َ​َﺴﺎﺑَ ْﻘﺘُﻪُ ﻓ َ​َﺴﺒَ ْﻘﺘُﻪُ ﻓ َ​َﺴﻜ‬ ‫َﺎل ﺗَﻌَ َﺎﱄ ْ َﺣﺘﱠﻰ َأُﺳﺎﺑ ِﻘَ ِﻚ ﻓ َ​َﺴﺎﺑَ ْﻘﺘُﻪُ ﻓ َ​َﺴﺒَﻘَ ﻨ ِ ﻲ َﻓ َﺠﻌَ َﻞ‬ َ ‫ﱠﺎس ﺗَﻘَ ﺪﱠ ُﻣﻮا َﻓﺘَﻘَ ﺪﱠ ُﻣﻮا ﺛ ﱠُﻢ ﻗ‬ ِ ‫ْأَﺳﻔَ ِﺎره ﻓَﻘَ َﺎلﻟ ِ ﻠﻨ‬ ((‫ﻮل ﻫَ ِ ِﺬه ﺑ ِﺘ ِ ﻠ َْﻚ‬ ُ ُ‫ﻳَﻀ َﺤ ُﻚ َوﻫُ َﻮ ﻳَﻘ‬ ْ

ความวา: ครั้นหนึ่งฉันไดออกเดินทางพรอมทานนบี ทานนบีไดพูดกับฉันวา “มาแขงวิ่งกับ ฉันนะ?” ฉันก็ไดวิ่งแขงกับทานนบีและฉันชนะทาน และเวลาผานไปจนกระทั่งเมื่อตัวฉัน อวนขึ้น ฉันไดออกเดินทางพรอมทานนบีอีกครั้ง ทานนบีไดกลาวกับบรรดาผูคนทั้งหลาย วา “พวกทานทั้งหลายจงเดินไปกอนเถอะ” เมื่อพวกเขาเดินกันไปหมดแลว ทานนบีได กลาวกับฉันวา “มานี่ ฉันจะแขงวิ่งกับเธอ” และเราก็ไดแขงวิ่งกันอีกและครั้งนี้ทานเปนผู ชนะ และทานไดกลาววา “ครั้งนี้เปนการลบลางครั้งกอน” (รายงานโดยอะหหมัด) ทานรอซูล (ซ.ล) ยังไดกลาวอีกวา ((‫ﻴﻒ‬ ِ ‫اﻟﻀﻌ‬ ِ ‫)) اﳌْ ُﺆِْ ﻣﻦُ اﻟْﻘَ ِﻮ ﱡي َﺧ ْ ٌﲑ َو َأَﺣ ﱡﺐ إ َِﱃ ا ﱠ ِ ِ ﻣﻦْ اﳌْ ُﺆْ ِ ﻣ ِﻦ ﱠ‬

ความวา: “ผูศรัท ธาที่มีความแข็งแรงยอมประเสริฐและเปนที่รักของอัลลอฮฺมากกวาผู ศรัทธาที่ออนแอ” (รายงานโดย) ศาสนาอิส ลามไดวางกรอบแนวทางของนันทนาการอยางกวางๆโดยไมเ จาะจงในกิจ กรรมใด กิจกรรมหนึ่งซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ 1. ไมละเลยการภักดี (อิบาดะฮฺ) ตออัลลอฮฺ เชน การละหมาดเปนตน อัลลอฮฺไดตรัสวา Graduate School and Research / 15 May 2013

527


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจยั และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

َ‫ﺎلﻻ َﺗﻜُﻦْ ِ ﻣﻦَ ا ْﻟﻐَﺎﻓ ِ ﻠ ِ ﲔ‬ َ ‫اﳉ َِﻬْﺮِ ﻣﻦَ اﻟْﻘَ ﻮْ ِل ﺑ ِﺎ ْﻟﻐُﺪُ ﱢو َو ْاﻵ َﺻ َ ِو‬ ْ َ‫َﴬ ﻋً ﺎ َو ِﺧﻴﻔَ ﺔً َودُون‬ ‫ﺑﱠﻚ ِﰲ َﻧﻔ ِْﺴ َﻚ ﺗ َ ﱡ‬ َ ‫َوا ْذﻛ ُْﺮ َر‬

ความวา: “และเจา (มุฮัมมัด) จงรําลึกถึงพระเจาของเจาในใจของเจาดวยความนอบนอม และยําเกรงและโดยไมออก เสียงดัง ทั้ง ในเวลาเชาและเย็นและจงอยาอยูในหมูผูที่ เผลอเรอ” (อัลกุรอาน ซูเราะฮ อัล-อะอฺรอฟ โองการที่ 205) 2. ไมขัดกับจริยธรรมอิสลาม อัลลอฮฺไดตรัสวา ٍ‫َﻌَﲆ ُﺧﻠ ٍُﻖ ﻋَ ﻈ ِ ﻴﻢ‬ َ ‫َوإ ِ ﻧ َﱠﻚ ﻟ‬

ความวา: “และแทจริง เจานั้นอยูบนคุณธรรมอันยิ่งใหญ” (อัลกุรอาน ซูเราะฮฺ อัล-กอลัม โองการที่ 4) คืออัลลอฮฺไดทรงประกาศยืนยันวาทานนบี (ซ.ล) อยูในจรรยามารยาทที่ยิ่งใหญ เปนแบบอยางอันดี งามแกมวลมุสลิมและบุคคลทั่วไป 3. เปนประโยชนตอรางกายและจิตใจ อัลลอฮฺไดตรัสวา ‫َوأَ ِﻧ ْﻔﻘُ ﻮا ِﰲ َﺳﺒ ِﻴﻞِ ا ﱠ ِ َو َﻻ ُﺗﻠ ْﻘُ ﻮا ﺑ ِ​ِﺄَﻳْﺪﻳﻜ ُْﻢ إ َِﱃ اﻟﺘﱠﻬْ ُﻠ ِﻜَﺔ‬

ความวา: “และพวกเจาจงบริจาคในทางของอัลลอฮและจงอยาโยนตัวของพวกเจาสูความ พินาศ” (อัลกุรอาน ซูเราะฮฺ อัล-บะเกาะเราะฮฺ โองการที่195 ) 4. ไมฟุมเฟอย อัลลอฮฺไดตรัสวา ‫ﻮرا‬ ً ُ‫اﻟﺸﻴ ْﻄَﺎنُ ﻟ ِ َ ِﺮﺑﱢﻪ ﻛَﻔ‬ ‫اﻟﺸﻴَﺎﻃ ِ ِﲔ َوﻛَﺎنَ ﱠ‬ ‫َو َﻻ ْ ﺗﺗُﺒَﺬﱢَﺒ ِرْﺬ ًﻳﺮا إ ِنﱠ اﳌْ ُﺒَﺬﱢ ِرﻳﻦَ ﻛَﺎﻧُﻮا إ ِْﺧ َﻮانَ ﱠ‬

ความวา: “และอยาสุรุยสุรายอยางฟุมเฟอยแทจริง บรรดาผูสุรุยสุรายนั้นเปนพวกพองของเหลา ชัยฏอน และชัยฏอนนั้นเนรคุณตอพระเจาของมัน” (อัลกุรอาน ซูเราะฮฺ อัล-อิสรออฺ โองการที่ 26) 5. ไมเปนการพนัน อัลลอฮฺไดตรัสวา ُ‫َﺎﺟﺘَﻨ ِ ﺒُﻮه‬ ْ ‫اﻟﺸﻴ ْﻄ َِﺎن ﻓ‬ ‫ﺎب َو ْاﻷَزْ َﻻ ُم ِر ْﺟ ٌﺲ ِ ﻣﻦْ ﻋَ َﻤﻞِ ﱠ‬ ُ ‫اﳋ َْﻤ ُﺮ َواﳌْ َﻴ ِْﴪ ُ َو ْاﻷَ ﻧ َْﺼ‬ ْ ‫ﻳَﺎ ﱡأَﳞَﺎ ا ِﻟﱠﺬﻳﻦَ َآﻣﻨُﻮا إ ِ ﻧ َﱠﲈ‬ َ‫ﻟَﻌَ ﱠﻠﻜ ُْﻢ ُﺗﻔْﻠ ِ ُﺤﻮن‬

ความวา: “ผูศรัทธาทั้งหลาย ที่จริงสุราและการพนันและแทนหินสําหรับเชือดสัตวบูชายัญ และการเสี่ยงติ้วนั้นเปนสิ่ง โสมมอันเกิดจากการกระทํา ของชัยฏอนดัง นั้นพวกเจาจง หางไกลจากมันเสียเพื่อวาพวกเจาจะไดรับความสําเร็จ” (อัลกุรอาน ซูเราะฮฺ อัล-มาอิดะฮฺ โองการที่ 90) 6. ไมปะปนกันระหวางหญิงและชายซึ่งจะนําไปสูการซินา และตองปกปดเอารอต อัลลอฮฺไดตรัสวา ‫ﻗﹸﻞﹾ‬‫ﻮﻥﹶ ﻭ‬‫ﻌ‬‫ﻨ‬‫ﺼ‬‫ﺎ ﻳ‬‫ ﺑﹺﻤ‬‫ﺒﹺﲑ‬‫ ﺧ‬‫ ﺇﹺﻥﱠ ﺍﻟﻠﱠﻪ‬‫ﻢ‬‫ﻛﹶﻰ ﻟﹶﻬ‬‫ ﺃﹶﺯ‬‫ﻚ‬‫ ﺫﹶﻟ‬‫ﻢ‬‫ﻬ‬‫ﻭﺟ‬‫ﻔﹶﻈﹸﻮﺍ ﻓﹸﺮ‬‫ﺤ‬‫ﻳ‬‫ ﻭ‬‫ﻢ‬‫ﺎﺭﹺﻫ‬‫ﺼ‬‫ ﺃﹶﺑ‬‫ﻦ‬‫ﻮﺍ ﻣ‬‫ﻀ‬‫ﻐ‬‫ ﻳ‬‫ﻨﹺﲔ‬‫ﻣ‬‫ﺆ‬‫ﻠﹾﻤ‬‫ﻗﹸﻞﹾ ﻟ‬ ‫ﺎ‬‫ﻬ‬‫ﻨ‬‫ ﻣ‬‫ﺮ‬‫ﺎ ﻇﹶﻬ‬‫ ﺇﹺﻟﱠﺎ ﻣ‬‫ﻦ‬‫ﻬ‬‫ﺘ‬‫ ﺯﹺﻳﻨ‬‫ﻳﻦ‬‫ﺪ‬‫ﺒ‬‫ﻟﹶﺎ ﻳ‬‫ ﻭ‬‫ﻦ‬‫ﻬ‬‫ﻭﺟ‬‫ ﻓﹸﺮ‬‫ﻔﹶﻈﹾﻦ‬‫ﺤ‬‫ﻳ‬‫ ﻭ‬‫ﻦ‬‫ﺎﺭﹺﻫ‬‫ﺼ‬‫ ﺃﹶﺑ‬‫ﻦ‬‫ ﻣ‬‫ﻦ‬‫ﻀ‬‫ﻀ‬‫ﻐ‬‫ ﻳ‬‫ﺎﺕ‬‫ﻨ‬‫ﻣ‬‫ﺆ‬‫ﻠﹾﻤ‬‫ﻟ‬

528

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความวา: “จงกลาวเถิดมุฮัมมัดแกบรรดาผูศรัทธาชายใหพวกเขาลดสายตาของพวกเขาลงต่ํา และ ใหพวกเขารักษาอวัยวะเพศของพวกเขา นั่นเปนการบริสุทธิ์ยิ่งแกพวกเขา แทจริงอัลลอฮทรงรอบรูสิ่งที่พวก เขากระทํา, และจงกลาวเถิดมุฮัมมัดแกบรรดาผูศรัทธาหญิงใหพวกเธอลดสายตาของพวกเธอลงต่ํา และให พวกเธอรักษาอวัยวะเพศของพวกเธอ และอยาเปดเผยเครื่องประดับของพวกเธอ เวนแตสิ่งที่พึงเปดเผยได” (อัลกุรอาน ซูเราะฮฺ อัล-นูร โองการที่ 30-31) ทัศนะนักวิชาการมุสลิมตอนันทนาการเพลง สําหรับนันทนาการเพลงที่ป ระกอบเครื่องดนตรีนั้น ในทัศนะของนักวิชาการมุส ลิมมีสองทัศนะ ดวยกันคือหนึ่งทัศนะที่ถือวามันเปนสิ่ งที่ตองหาม (Haram) และสองทัศนะที่ถือวามันเปนสิ่ง ที่อนุญาต (Jawaz) ทัศนะที่หนึ่ง ซึ่งเปนนักวิชาการอิสลามสวนใหญถือวาการรองเพลงที่ประกอบเครื่องดนตรีเปนสิ่งที่ ตองหาม (Haram) โดยวิเคราะหจากโองการของอัลกุรอาน และวัจนะของทานนบีมุฮัมมัด (ศ็อล) ดังนี้ 1. อัลลอฮฺตรัสวา ‫ﻳﺚ ﻟ ِ ِﻴُﻀ ﱠﻞ ﻋَ ﻦْ َﺳﺒ ِﻴﻞِ ا ﱠ ِ ﺑ ِ ﻐ َْﲑ ِ ِﻋﻠ ْﻢٍ َوﻳَ ﺘ ِﱠﺨﺬَ ﻫَ ﺎ ﻫُ ﺰُ ًوا أُوﻟَﺌ ِ َﻚ‬ ِ ‫اﳊ َِﺪ‬ ْ ‫ﱠﺎس َﻣي ﳍَ َْﻮ‬ ِ‫َ ِوﻣﻦَ ﻦْاﻟﻨﻳَﺸْ َ ِﱰ‬ ٌ‫اب ﻣ ُِﻬﲔ‬ ٌ َ‫ﳍَ ُْﻢ ﻋَﺬ‬

ความวา: “และในหมูมนุษยมีผู ซื้อเอาเรื่องไรสาระ เพื่อทําใหเขาหลงไปจากทางของ อัลลอฮฺ (หมายถึงการรองรําทําเพลง) โดยปราศจากความรู และถือเอามันเปนเรื่องขบขัน ชนเหลานี้พวกเขาจะไดรับการลงโทษอันอัปยศ” (อัลกุรอาน ซูเราะฮฺ ลุกมาน โองการที่ 6) อิบ นุ มัส อู ด , อิ บ นุ อับ บาส และตาบิ อีน หลายคนได ให ค วามหมายของคํ า วา เรื่อ งไร ส าระ (‫ )ﳍﻮ اﳊﺪﻳﺚ‬คือเพลง (‫)اﻟﻐﻨﺎء‬ 2. อัลลอฮฺตรัสวา َ‫َﻌْﺠﺒُﻮنَ َوﺗ َْﻀ َﺤ ُﻜﻮنَ َو َﻻ ﺗَﺒ ْﻜُﻮنَ َوأَ ﻧ ْﺘ ُْﻢ َﺳ ِﺎﻣﺪُ ون‬ َ ‫ﻳﺚ ﺗ‬ ِ ‫اﳊ َِﺪ‬ ْ ‫أَ ِﻓَﻤﻦْ ﻫَ ﺬَ ا‬

ความวา: “พวกเจายังคงแปลกใจตอคํากลาวนี้อีกหรือ?” และพวกเจายังคงหัวเราะ และ ยังไมรองไห! และพวกเจายังคงหลงระเริงลืมตัว (คือตออัลกุรอานนี้พวกเจายังคงแปลกใจ ดวยการเยาะเยยและหยิ่งยะโสอีกหรือ? ความจริงแลวพวกเจาควรจะรองไหเมื่อไดยินได ฟงอัลกุรอาน อันเนื่องมาจากขอใชขอหามที่พวกเจาไมยอมปฏิบัติตาม นอกจากนี้พวกเจา ยังหลงระเริงตอความเพริศแพรวของโลกดุนยาอีก ดวย) (อัลกุรอาน ซูเราะฮ อัล-นัจมฺ โองการที่ 61-59 ) 3. หะดีษจากอบูอุมามะฮฺ เลาวาทานเราะซูล (ศ.ล.) ไดกลาววา ‫ﻴَﺎء ﻣﻦْ ْأَﺣﻴَﺎﺋ ِ ِﻬ ْﻢ‬ ِ ٍ ‫ْﻌَﺚ ﻋَ َﲆ ْأَﺣ‬ ُ ‫ﻳُﺼﺒ ُِﺤﻮنَ ِ َﻗﺮدَ ًة َو َﺧﻨ َِﺎز َﻳﺮ ﻓَﻴُﺒ‬ ْ ‫ﴍ ٍب َوﳍَ ٍْﻮ َو ِﻟَﻌ ٍﺐ ﺛ ﱠُﻢ‬ ْ ُ ‫ِﻴﺖ ﻃَﺎﺋ ِ ﻔَ ﺔٌ ِ ﻣﻦ ْ ﱠأُﻣﺘ ِ ﻲ ﻋَ َﲆ أَ ﻛْﻞٍ َو‬ ُ ‫ﺗَﺒ‬ ‫َﺎت‬ ِ ‫ُﻮف َو ﱢاﲣ َِﺎذ ِﻫ ْﻢ اﻟْﻘَ ﻴ ْﻨ‬ ِ ‫ﴐ ِﲠ ِْﻢ ﺑ ِﺎﻟﺪﱡ ﻓ‬ ْ َ ‫ﻮر َو‬ َ ‫اﳋ ُ​ُﻤ‬ ْ ‫ﻼ َِﳍ ْﻢ‬ ِ ْ‫ِﺎﺳﺘ ِ ﺤ‬ ْ ‫ﺖ ﻣَﻦْ َﻛﺎنَ ﻗَﺒ ْ ﻠَﻬُ ْﻢ ﺑ‬ ْ َ‫ﻳﺢ َﻓ َﺘﻨ ِْﺴﻔُ ُ ْﻬﻢ ﻛ َ​َﲈ ﻧ َ​َﺴﻔ‬ ٌ ‫ِر‬

Graduate School and Research / 15 May 2013

529


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจยั และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความวา: “คนกลุมหนึ่งจากประชาชาติของฉันไดใชเวลาในยามค่ําคืนใหผานไปดวยการกิน

การดื่ม การบันเทิง การละเลนแลวในวันรุงขึ้นพวกจะถูกเปลี่ยนเปนลิงและหมู และสําหรับผู ที่เหลืออยูในหมูพวกเขาจะถูกพายุทําลายเหมือนชนกอนพวกเขาเพราะพวกเขาไดอนุญาต การเสพสุรา การตีกลอง และนักรองหญิงที่รองเพลงใหพวกเขาฟง” (รายงานโดยอะหฺมัด) 4. หะดีษจากซัลลาม บิน มิสกีน เขาไดยินคําบอกเลามาจากคนชราคนหนึ่งซึ่งเขาไดเห็นอบูวาอีลได เขาในพิธีแตงงานแหงหนึ่งที่มีการละเลนและการรองรําทําเพลงเพื่อที่จะหามผูคนดังกลาว เขาจึงสละผาโพก หัวของเขาและพลางกลาววา ฉันไดยินจากอับดุลลอฮฺ บิน มัสอูดกลาววาทานเคยไดยินทานรอซูล (ศ็อลฯ) กลาววา ‫ﺎق ِﰲ اﻟْﻘَ ﻠ ِْﺐ‬ َ َ‫ا ِﻟْﻐﻨ َُﺎء ﻳُ ﻨ ْﺒ ُِﺖ اﻟﻨﱢﻔ‬

ความวา: “เพลงหรือการรองเพลงจะปลูกนิสัยความเปนมุนาฟก (การกลับกลอก) ใหงอกเงย ในจิตใจ” (รายงานโดยอบู ดาวูด) 4. หะดีษจากอิมรอน บินหุสัยนฺ ซึ่งทานไดกลาววา ทานรอซูล (ศ็อลฯ) กลาววา ‫َﺎل‬ َ ‫ِﻚ ؟ ﻗ‬ َ ‫ﻮل ا ﱠ ِ َو َﻣﺘَﻰ ذَﻟ‬ َ ‫ َر ُﺳ‬:‫ ﻓَﻘَ َﺎل َر ُﺟ ٌﻞ ِ ﻣﻦْ اﳌْ ُْﺴﻠ ِ ِﻤﲔَﻳَ ﺎ‬، ‫َﺬْف‬ ٌ ‫ﻒ َوﻣ َْﺴ ٌﺦ َوﻗ‬ ٌ ‫ِﰲ ﻫَ ِ ِﺬه ْاﻷ ﱠُِﻣﺔ َﺧ ْﺴ‬ ‫ﻮر‬ ُ ‫اﳋ ُ​ُﻤ‬ ْ ‫ﺑَﺖ‬ ْ ‫ﴍ‬ ِ ُ ‫ف َو‬ ُ ‫ت ا ِﻟْﻘﻴَﺎنُ َواﳌْ َﻌَ ِﺎز‬ ْ ‫ إذَا ﻇَﻬَ َﺮ‬:

ความวา: “ประชาชาตินี้จะเกิดดินถลม เกิดการเปลี่ยนหนา และเกิดความวุนวาย มีชาย มุส ลิม ผูหนึ่ง ถามวา โอทานรอซูล เมื่อไหรหรือสิ่ง เหลานั้นจะเกิดขึ้น ? ทานจึง ตอบวา เมื่อใดที่มีนักรองหญิง เครื่องดนตรี และการดื่มสุราเกิดขึ้นในหมูพวกเขา” (อัช-เชากานีย) ทัศนะที่สอง มีนักวิชาการสวนหนึ่งที่เห็นวาเพลงเปนสิ่งที่อนุญาต (Jawaz) โดยยืนยันจากหลักฐาน ตางๆดังนี้ 1.อัลลอฮฺตรัสวา ‫اﳊ َِﻤ ِﲑ‬ ْ ‫ت‬ ُ ْ‫ِﻚ إ ِنﱠ أَ ﻧ ْﻜ َ​َﺮ ْاﻷ َْﺻ َﻮ ِات ﻟ َ​َﺼﻮ‬ َ ‫ِﻚ َواﻏ ُْﻀ ْﺾ ِ ﻣﻦْ َﺻﻮْ ﺗ‬ َ ‫َواﻗ ِْﺼ ْﺪ ِﰲ ﻣَﺸْ ﻴ‬

ความวา: “และเจาจงกาวเทาของเจาพอประมาณ และจงลดเสียงของเจาลง (เพราะการ พูดเสียงดังเปนการกระทําที่นาเกลียด ซึ่งสุภาพชนที่มีปญญาแลวจะไมกระทํากัน) แทจริง เสียงที่นาเกลียดยิ่งคือเสียง (รอง) ของลา” (อัลกุรอาน ซูเราะฮฺ ลุกมาน โองการที่ 19) 2. หะดีษจากทานหญิงอาอีชะฮรายงานวา วันหนึ่งทานรอซูล (ศ็อลฯ) ไดเขามาในหองของฉันขางๆ ฉันมีเด็กผูหญิงสองคนกําลังรองเพลงเกี่ยวกับวันบุอาษ (ชื่อกําแพงแหงหนึ่งของชาวเอาศ) ฉันเห็นทานรอซูล (ศ็อลฯ) นอนตัวลงกับพื้นโดยหันหนาของทาน ในขณะนั้นเองอบูบักร (ผูซึ่งเปนบิดาของอาอีชะฮ) ไดเขามา และไดโกรธฉันโดยไดกลาววา “ในที่ของทานนบียังมีขลุยของชัยฏอนดวยหรือ ?” หลังจากนั้น ทานรอซูล (ศ็อลฯ) จึงหันหนาไปทางอบูบักรและกลาววา ‫أَﻳﱠﺎم ِﻋ ٍﻴﺪ‬ ُ ‫دَ ﻋْﻬُ َﲈ ﻳَﺎ أَﺑَﺎ ﺑَ ﻜ ٍْﺮ ﻓَﺈ ﱠِﳖَﺎ‬

ความวา: “ปลอยใหพวกนางเถอะอบูบักร วันนี้เปนวันอีดนะ” (รายงานโดยอัลบุคอรีย) และ (รายงานโดยมุสลิม) 530

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

3. หะดีษจากทานหญิงอาอีชะฮรายงานวา ตัวเขาเองไดจัดการแตงงานใหผูหญิงคนหนึ่งกับผูชาย ชาวอันศ็อรฺ ทานนบี (ศ็อลฯ) กลาววา ‫ﻳُﻌْﺠﺒُﻬُ ْﻢ اﻟﻠﱠﻬْ ُﻮ‬ ِ ‫ﻳَﺎ ﻋَ ﺎﺋ ِ َﺸﺔُ َﻣﺎ ﻛَﺎنَ ﻣَﻌَ ﻜ ُْﻢ ﳍَ ٌْﻮ ﻓَﺈِنﱠ ْاﻷ َ ﻧ َْﺼ َﺎر‬

ความวา: “โออาอีชะฮ ไมมีการบันเทิงรวมอยูกับพวกทานดวยหรือ? เพราะแทจริงแลวชาว อันศ็อรฺเปนคนชื่นชอบความบันเทิง.” (รายงานโดยอัลบุคอรีย) 4. หะดีษ จากอามิรฺ บินสะอัด ไดรายงานเกี่ยวกับเหตุการณที่เกิดขึ้นในพิธีแตงงานวา “ฉันไดเขา ไปยังบานที่กุเราะเซาะฮฺ บิน กะอับ และอบู มัสอูด อัลอันศอรียอยูในนั้นดวย ซึ่งขณะนั้นพิธีแตงงานกําลัง ดําเนินอยูทันใดนั้นมีเด็กหญิงรับใชจํานวนหนึ่งเริ่มรองรําทําเพลง ฉันจึงเอยถามวา ‫ِﺲ ِإ ْن‬ ْ ‫ْﻌَﻞ ﻫَ ﺬَ ا ِﻋﻨ ْﺪَ ﻛُ ْﻢ ﻓَﻘَ َﺎل ا ْﺟﻠ‬ ُ ‫ﻮل ا ﱠ ِ َﺻ ﱠﲆ ا ﱠ ُ ﻋَ ﻠَﻴ ِ ْﻪ َو َﺳﻠ َﱠﻢ َ ِوﻣﻦْ أَ ﻫْ ﻞِ ﺑَ ْﺪ ٍر ﻳُ ﻔ‬ ِ ‫أَ ْﻧﺘَُﲈ َﺻ ِﺎﺣﺒ َﺎ َر ُﺳ‬ ‫س‬ ِ ‫ﺺ َﻟ ﻨَﺎ ِﰲ اﻟﻠ ِﱠﻬْﻮ ِﻋﻨ ْﺪَ اﻟ ْ​ْﻌُﺮ‬ َ ‫ﺐ َﻗ ْﺪ ُر ﱢﺧ‬ ْ َ‫َﺎﺳ َﻤ ْﻊ ﻣَﻌَ ﻨَﺎ َوإ ِ ْن ِﺷﺌ َْﺖ اذْﻫ‬ ْ ‫ِﺷﺌ َْﺖ ﻓ‬

ความวา: ทานทั้งสองซึ่งเปนสหายของทานรอซูล (ศ็อลฯ) และเปนนักรบในสมรภูมิบะดัร แลวทําไมทานถึงกระทําในสิ่งเหลานี้? เขาจึงตอบวา “จงนั่งฟงเถิดถาทานตองการ หากไม แลวก็เชิญทานออกไป แทจริงแลวเราไดรับอนุญาตใหมีความรื่ นเริงเมื่อมีพิธีแตงงาน” (รายงานโดยอันนาซาอีย) 5. หนึ่งในหลักการของศาสนบัญญัติ (เกาะวาอิด อัลฟกฮฺ) มีวา “แตเดิมทีของทุกสิ่งทุกอยางเปนสิ่ง ที่มุบาหฺ (ถูกอนุญาต) เสมอ ตราบใดที่ไมปรากฏหลักฐานที่ระบุวาสิ่งนั้นหะรอม (ไมอนุญาต)” ดังโองการ ของอัลลอฮฺที่กลาววา ‫ض َﲨ ِ ﻴﻌً ﺎ‬ ِ ‫ﻫُ َﻮ ا ِﻟﱠﺬي َﺧﻠ َ​َﻖ َﻟﻜ ُْﻢ َﻣﺎ ِﰲ ْاﻷ َْر‬

ความวา: “พระองคคือผูที่ไดทรงสรางสิ่งทั้งมวลในโลกไวสําหรับพวกเจา ” (อัลกุรอาน ซู เราะห อัลบะเกาะเราะห โองการที่ 29) และในสมัยเคาะลีฟะฮฺอิสลามในยุคกอนไมเคยสั่งหามประชาชาติฝกฝนและเรียนรูศิลปะการรอง เพลงและศิล ปะดนตรีแ ต ป ระการใด โดยอนุ ญ าตใหมี ก ารเป ดสอนวิ ช าดนตรีแ ละผลิ ต เครื่ อ งดนตรี นอกจากนั้นยังสงเสริมการแตงตํารับตําราเกี่ยวกับศิลปะการรองแพลง ดนตรี และการเตนรํา (อับดุรเราะหฺ มาน อัลบัฆดาดียฺ ในศิลปะดนตรีการรองเพลงและการเตนรําในมุมมองอิสลาม, 2550 : 113) จากโองการของอัลลอฮฺและบทหะดีษดังกลาวกลุมที่สองสรุปวาเพลงและดนตรีนั้นเปนสิ่งที่อนุมัติ การใชเพลงอนาชีดในโรงเรียนศรีกิบลัต โรงเรียนศรีกิบ ลัตไดนําอนาชีดมาใชในการจัดกิจกรรมผานชมรมอนาชีดในคาบกิจ กรรมเสริม หลักสูตร สวนในคาบการเรียนการสอนปกตินั้นทางโรงเรียนไมไดนําเพลงอนาชีดมาใชแตอยางใด ถาใชก็ เปนการเปลี่ยนบรรยากาศเทานั้น ดวยเหตุผลวาเพลงอานาซีดนั้นทําใหนักเรียนเพลิดเพลินมากไป หรือ เสียเวลาไปแทนที่จะไดรับสาระจากเพลงอนาชีด ฉะนั้นทางโรงเรียนจึงจัดใหมีอนาชีดในชั่วโมงกิจกรรม เทานั้น เพื่อเปนไปตามที่รัฐบาลมาเลเซียกําหนดเปนกิจกรรมเสริมหลักสูตร ในคาบกิจกรรมนี้แลวหากเปนโรงเรียนของรัฐบาลแลวก็จะเปนกิจกรรมเกี่ยวกับดนตรีทั่วไป แต ทางโรงเรียนศรีกิบลัตนั้นเปนโรงเรียนเอกชนที่เนนวิชาศาสนาจึงกําหนดกิจกรรมเอง แตก็อยูภายใตกรอบ Graduate School and Research / 15 May 2013

531


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจยั และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ของนันทนาการเพลงและดนตรีเหมือนกัน โดยโรงเรียนไดตั้งชมรมอนาชีดและมีการฝกนักเรียนในการรอง เพลงอนาชีด ในชมรมอนาชีดนั้นจะมีครูเชี่ยวชาญเปนผูดูแลชมรมอนาชีดเปนการเฉพาะและจะมีการคัดเลือก นักเรียนที่มีใจรัก ชอบการรองเพลงอนาชีด และมีความสามารถในการรองเพลงอนาชีด และที่สําคัญ นักเรียนที่ไดรับการคัดเลือกนั้นจะตองเปนนักเรียนที่มีบุคลิกภาพในจริยธรรมที่ดี เพราะถือวาเขาเปนสวน หนึ่งในการที่จะเผยแพรสิ่งที่ดีดังนั้นบุคลิกภาพของเขาจึงตองดีกอน ดังคําพูดของครูซาลีมีซึ่งเปนครูใหญได กลาววา “การจะเปนนักรองที่ดีนั้นไมใชวามีแตเสียงดี หากแตบุคลิกภาพก็ตองดีดวยเปนที่ยอมรับของสังคม โดยเฉพาะเรื่องศาสนา เพราะเขาคือนักเผยแพรศาสนาคนหนึ่ง” ในการคัดเลือกนักเรียนนั้นจะคัดเลือกเฉพาะนักเรียนชาย สําหรับนักเรียนหญิงจะรับเขาชมรม ในชวงอายุประมาณ 5-9 ป โดยใหเหตุผลวาอาจทําใหเกิดความเสี ยหายตามมาซึ่ง ทางโรงเรียนมีความ ตระหนักในเรื่องนี้เปนอยางมาก สําหรับครูผูสอนนั้นทางโรงเรียนไดมีการวาจางครูผูสอนอนาชีดที่มีความ เชี่ยวชาญมาเปนผูสอนสามารถสอนและแตงเพลงอนาชีดไดเปนอยางดีทั้งนี้เพื่อใหสอดคลองกับโจทยเพลงอ นาชีดที่ตั้งไวสําหรับการแขง ขัน เนื้อหาของเพลงอนาชีดที่ใชในการสอนแกนักเรียนจะเปนเนื้อหาที่เนน เกี่ยวกับอิสลาม ความหวัง และอัตลักษณของมุสลิม วงอานาซีดของโรงเรียนนั้นจะสืบทอดมาจากรุนพี่มาสูรุนนอง โดยทางโรงเรียนจะฝกนักเรียนที่โต กอนใหชํานาญและเพื่อเปนตัวแทนของโรงเรียนไปรวมในการแขงขันในที่ตางๆ และจะสรางนักเรียนรุนนอง เพื่อใหเกิดความชํานาญตาม โรงเรียนศรีกิบลัตมีวงอนาชีดอยูสองวงคือ วงศรีกิบลัตและวงเซาตุลกิบลัต รูปแบบของเพลงอนาซีดที่ทางโรงเรียนใชนั้นมีหลากหลายรูปแบบแตก็ตองผานการคัดเลือกมาเปนอยางดี และจะผานการคัดกรองจากครูสอนอนาซีดอีกที่หนึ่ง สวนมากแลวรูปแบบที่เปนตนแบบที่ทางโรงเรียนใช คือวง Raihan และ Hijaz เนื่องจากมีดนตรีประกอบนอย และไมทําใหระเริงบันเทิงเกินขอบเขตที่อิสลาม กําหนด ในสวนของเนื้อหาของอนาชีด ทางโรงเรียนจะดัดแปลงขึ้นมาเองโดยเนนเนื้อหาเพื่อการ Da’wah (เรียกรองเชิญชวน) สูการเขาใจอิสลามและเปนคนดี นอกจากนี้สิ่งที่พึงระวังและตองปฏิเสธอยางสิ้นเชิงคือ เพลงที่นําสูการตั้งภาคีตออัลลอฮฺตัวอยางเชน “Kerana mu Malaysia” ดังนั้น การเลือกเนื้อหาอานาซีด เพื่อเตรียมเขาในการแขงขันระดับชาติ ทางโรงเรียนจะแตงเนื้อหาและทํานองขึ้นมาเอง เพื่อหลีกเลี่ยง เนื้อหาที่ไม พึง ประสงคดัง กลาวและไม ซ้ําใคร ตั วอยา งเชน การเตรี ยมตัว เพื่อการแขง ขัน ในวัน ที่ 10 กรกฎาคม 2010 ที่อิหตีฟาลโรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม ของเมืองโกตาบารู ก็มีหัวขอหลักคือการเชิญชวนสู การเปนมิตรสหายเพื่อเชื่อมสัมพันธระหวางเพื่อนมนุษย (kawan akrab sahabat) ทางโรงเรียนก็แตงเนื้อ อานาซีดขึ้นโดยครูอนาซีดเอง และทําการเลือกเฟนนักเรียนที่มีความสามารถมาฝกทุกวันหลังเลิกเรียนตอน เย็น และทําการฝกอยางเขมขนเมื่อใกลวันประกวด (จากคําบอกของครูรุสมารีน)ี ชมรมอนาชีดในโรงเรียนนั้นตั้งขึ้นตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการประเทศมาเซียทีก่ าํ หนดให การจัดการเรียนการสอนนั้นจะตองมีกิจกรรมเสริมหลักสูตรประกอบดวยซึ่งมีจุดประสงคกิจกรรมเสริม หลักสูตรดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของนักเรียนใหเต็มตามศักยภาพ 2. เพื่อแสดงออกในความสามารถของนักเรียน 3. เพื่อฝกฝนการเปนผูนํา 4. เพื่อฝกความกลาหาญ 532

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

5. เพื่อสรางความสัมพันธระหวางครูและนักเรียน 6. เพื่อสรางรางกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตที่ ดี ดังนั้นการตั้งชมรมอนาชีดในโรงเรียนก็เพื่อรองรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษในดานการรองอ นาชีดเพือ่ พัฒนานักเรียนใหเต็มตามศักยภาพของเขา ครูใหญไดเลาเกี่ยวกับนักเรียนที่เปนศิษเกาและเคย เขารวมในชมรมอนาชีดของโรงเรียนวา อับดุลกอยฺยูม (Abdul Qaiyuum) ซึ่งศิษยของโรงเรียนศรีกิบลัต เขาเปนนักรองเพลงอนาชีดที่มีความสามารถซึ่ง ไดรับเชิญไปแสดงเพลงอนาซีดตามสถานที่ตางๆ เปนที่ ยอมรับโดยคนในสังคมอยางมากเนื่องจากเปนเด็กดี เสียงเพราะ ถึงแมจะตาบอด ราอีส (Raiez) เปนศิษย เกาของศรีกิบลัตอีกคน ที่ตลอดชวงของการศึกษาที่โรงเรียนก็ไดทุมเทความสามารถดวยการรองเพลงอนา ซีดใหกับโรงเรียน และปจจุบันไดเรียนตอในระดับมหาวิทยาลัยไดถูกเลือกใหเปนนักรองของวงอนาซีดชื่อดัง ของมาเลเซียคือวง Raihan สําหรับอิทธิพลของอนาชีดตอนักเรียนในดานคุณธรรมจริยธรรมนั้นทางโรงเรียนใหความเห็นวาอ นาชีดเปนสื่อในการเผยแพรศาสนาก็เหมือนกับสื่ออื่นๆที่มี ซึ่งหากนักเรียนคนใดไดฟงเพลงอนาชีดแลวแต ไมไดคิดไครครวญตามเนื้อหาของเพลงอนาชีดเขาก็จะไดรับเพียงความบันเทิงสนุกสนานเทานั้น แตถาเขาได คิดไครครวญในสิ่งที่เนื้อหาของเพลงที่สื่อออกมานั้นเขาก็จะไดรับประโยชนจากเพลงอนาชีดนั้นดวย จาก การสัมภาษณเด็กนักเรียนที่เขารวมในชมรมอนาชีดนั้น จะเห็นไดวาเด็กมีพื้นฐานการรองอนาชีดมาจาก ครอบครัวแลว ที่บานของนักเรียนก็มีการสงเสริมใหฟงอนาชีด ชอบฟงอนาชีด ชอบรองอนาชีด ดังนั้น ครอบครัวมีสวนอยางมากในการสรางแรงจูงใจใหกับนักเรียน โรงเรียนเปนเพียงสถานที่ที่ใหโอกาสแกเขาใน การที่จะแสดงความสามารถทีเ่ ขามีและพัฒนาใหกับเขาเทานั้น อภิปรายผลการศึกษา จากผลการวิจัยจะเห็นไดวา ศาสนาอิสลามเปนศาสนาแหงการดําเนินชีวิต ทุกๆการงานในการ ดํารงชีวิตอิสลามก็มีขอบัญญัติทุกอยางจนกระทั่งวาสิ่งที่เกี่ยวของกับนันทนาการ และแนนอนสิ่งที่ศาสนา อิสลามหามนั้นทุกอยางก็จะใหผลเสียแกมนุษยทั้งสิ้น และการวินิจฉัยของบรรดานักวิชาการในบางเรื่องนั้น มีความแตกตางกันนั้นก็เปนความโปรดปรานจากอัลลอฮฺที่เปดใจพวกเขาแนะแนวทางเพื่อเปดทางเลือก สําหรับคนมุสลิมทั่วไป กลุม ที่ถือวาการเลนดนตรีเปนสิ่งที่หะรอม (ถูก หาม) ผูที่อยูในกลุมนี้ ไดแก อิบ นุ กอยยิม อัล-เญาเซียะฮ โดยวิเคราะหจากโองการของอัลกุรอาน และวัจนะของทานนบีมุฮัมมัด (ศ็อล) และ กลุมหนึ่งถือวาเพลงและดนตรีเปนสิ่งอนุญาตโดยมีเงื่อนไข มีนักวิชาการอิสลามหลายทาน เชน อิหมามอัล ฆอซาลีย เชคมะหมูด อัล-ชัลตูต อนาชีดถูกนํามาใชในการจัดกิจกรรมตางๆของมุสลิม เชน การเฉลิมฉลอง ในวันตรุษอิดิลฟตริ หรือวันตรุษอิดิลอัดหา (วันตรุษหลังการชุมนุมที่ทุงอารอฟะหประเทศซาอุดีอาระเบีย) การเฉลิม ฉลองในงานมงคลสมรส หรือการตอนรับแขกบุคคลสําคัญ หรืออาจจะใชในการจัดกิจ กรรม นันทนาการในสถานศึกษาอิสลามตางๆ ในสมัยแรกของอิสลามการรองอนาชีดจะไมมีดนตรีประกอบนอกจากกลองดุฟ (กลองเล็กที่มีหนา เดียวหรือกลองรํามะนา) และในปจ จุบันนี้บ างอนาชีดจะมีดนตรีป ระกอบมากขึ้นซึ่ง อาจเกี่ยวของกับ วัฒ นธรรมของกลุม ชน และปจ จุบันอนาชีดมีในหลายๆภาษาดวยกัน เชน ภาษาอาหรับ ภาษามลายู ภาษาอัง กฤษ ภาษาอินเดีย เปนตน ซึ่ง สัง เกตไดวาในทุก ประเทศที่มีมุส ลิม ก็จะมีอนาชีดในภาษาของ ประเทศนั้นๆแมกระทั่งในประเทศไทยก็มีวงอนาชีดภาษาไทย เชน วงนูรูลอีมานฟาตีฮะห วงสามพี่นองโตะ บานา Graduate School and Research / 15 May 2013

533


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจยั และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สําหรับแนวทางการจัดกิจกรรมตางๆของโรงเรียนศรีกิบละฮฺนั้นไดดําเนินการตามหลักของศาสนา อิสลามทุกอยาง โดยพยายามหลีกเลี่ยงปญหาการปะปนระหวางชายหญิงทีผิดกับหลักการอิสลามดังนั้น โรงเรียนจะคัดเลือกนักเรียนหญิงและชายที่ยังเปนเด็กอยูคือ อายุระหวาง 5-9 ปเพราะไดรับการอนุโลมจาก บทบัญญัติศาสนา และถามีนักเรียนที่มีอายุสิบปขึ้นไปก็จะเลือกนักเรียนชายเทานั้น และเนื้อหาอนาชีดที่ ทางโรงเรียนเลือกใชสอนนักเรียนทั้งหมดจะเนนเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และการสรางเอกลักษณของ มุสลิม โรงเรียนทําการสอนอนาชีดสอดคลองกับแนวปฏิบัติการรองอนาชีดที่จากิม (Jabatan Kemajuan Islam Malaysia) กําหนด ถึงอยางไรก็ตามโรงเรียนศรีกิบละฮก็ไดจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรไดครบสอดคลองกับหลักปฏิบัติ ของกระทรวงศึกษาธิการมาเลเซียทุกประการ (BUKU PANDUAN PENGURUSAN KOKURIKULUM SEKOLAH RENDAH DAN MENENGAH) สวนเนื้ออนาชีดที่โรงเรียนใชนั้นตองผานการคัดกรองกอนและ ตนแบบอนาชีดที่ทางโรงเรียนใชเปนตนแบบหลักคือ วงอนาชีดรอยหาน (Raihan) เชน เพลง Bacalah (จง อานเถิด) และวงอนาชีดหิญาซ (Hijaz) เชน เพลง Ayah (พอ) เปนตน บทสรุป การศึกษาการนําเพลงอนาชีดไปใชในกิจกรรมเสริมหลักสูตรของโรงเรียนศรีกิบละฮ เขตโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย สามารถสรุปผลไดดังนี้ ในอิสลามไดวางกรอบอยางกวางๆในประเด็นที่เกี่ยวของกับนันทนาการ และสําหรับนันทนาการ เพลงนั้นบรรดานักวิชาการอิสลามมีทั้งเห็นดวยและไมเห็นดวย โรงเรียนศรีกิบละฮฺไดไดบรรจุกิจกรรมการ รองเพลงอนาชีดในกิจกรรมเสริมหลักสูตรอยางจริงจัง โดยไดคัดเลือกนักเรียนหญิงและชายที่มีใจรักอนาชีด มารยาทดี อายุระหวาง 5-9 ป และถามีนักเรียนที่มีอายุสิบปขึ้นไปก็จะเลือกนักเรียนชายเทานั้นไมนักเรียน หญิงเพราะเกรงจะเกิดฟตนะฮฺ ทางโรงเรียนไดคัดเลือกครูซึ่งมีความเชี่ยวชาญมากมาสอนและฝกนักเรียน รองอนาชีดหลังเลิกเรียนในชวงตอนเย็นทุกวันๆละหนึ่งชั่งโมง สวนเนื้อหาอนาชีดที่ถูกเลือกใชสอนนักเรียน ทั้งหมดจะเนนเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และการสรางเอกลักษณของมุสลิม และโรงเรียนทําการฝกแบบ พี่สอนนองคือใหนักเรียนรุนพี่ที่มีทักษะการรองอนาชีดดีแลวเปนตัวอยางให รุนนองเลียนแบบ ตนแบบอ นาชีด ที่ท างโรงเรี ยนใชคือ ตนแบบจากวงไรหาน และหิญ าซ นัก เรียนที่ผา นกิจ กรรมอนาชีด นี้จ ะมี คุณลักษณะเดนเปนการเฉพาะ

534

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เอกสารอางอิง กอลฺอะญิยฺ, มุหัมมัด รอวฺวาส, 1985, มุญัม ลุฆอต อัล-ฟุเกาะฮาอฺ, เบรุต, ดาร อัล-นะฟาอิส. จรัญ ธานีรัตน. มปป. นันทนาการในโรงเรียน. กรุงเทพฯ, สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง. พีระพงค บุญศิริ, นันทนาการและการจัดการ, กรุงเทพฯ, โอเดียนโพสต. มุสลิม, มปป., อัล-มิอฺ อัล-เศาะหีหฺ, อัล-ริยาด, บัยตฺ อัล-อัฟการ อัล-เดาลิยฺยะฮฺ. ราชบัณฑิ ตยสถาน, 2542, พจนานุกรม ฉบับราชบั ณฑิต ยสถาน พ.ศ. 2542 กรุ ง เทพฯ. สํ านั ก ราชบัณฑิตยสถาน. สมาคมนักเรียนเกาอาหรับ, ฮ.1419, พระมหาคัมภีรอัลกุรอานพรอมความหมายภาษาไทย, นครมาดีนะฮ, ศูนยกษัตริยฟะฮัดเพื่อการพิมพอัลกุรอาน. สํานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา. 2551. แผนพัฒนานันทนาการ แหงชาติฉบับที่ 1พ.ศ. 2550-2554, กรุงเทพฯ. สํานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ. อบู ดาวูด, มปป., อัส-สุนัน, อัล-รียาด, มักตะบะฮฺ อัล-มะอาริฟ. อัช-เชากานีย, มุหัมมัด บิน อะลี, 1995, นัยลุล เอาฏอรฺ, เบรุต, ดาร อัล-มักตะบะฮฺ อัล-อิลมิยฺยะฮฺ. อับดุรเราะหฺมาน อัลบัฆดาดีย,ฺ 2550, ศิลปะดนตรี การรองเพลงและการเตนรําในมุมมองอิสลาม (แปล โดย ฮาเระ เจะโด), ปตตานี, โรงพิมพมิตรภาพ. อับดุลอะซีซ บิน มัรซูกีย อัล-ตูรัยฟย, 2006, อัล-ฆีนาอฺ ฟ อัล-มีซาน, ซาอุดีอาระเบีย, มปท. อัล-ตัรมิซิย, อัล-สุนัน, อัล-ริยาด, มักตะบะฮฺ อัล-มะอาริฟ. อัล-นะซาอีย,ฺ มปป., อัล-สุนัน, อัล-ริยาด, มักตะบะฮฺ อัล-มะอาริฟ. อัล-บัยฮะกีย, มปป., ดะลาอิล อัล-นุบุวฺวะฮฺ, ลุบนาน, ดาร อัล-กุตุบ อัล-อิลมิยฺยะฮฺ. อัล-บุคอรีย,ฺ มปป., อัล-ญามิอฺ อัล-ศอหิห,ฺ อัล-กอฮิเราะฮฺ, อัล-สะละฟยฺยะหฺ. อัหฺมัด บิน หัมบัล, มปป., อัล-มุสนัด, อัล-กอฮิเราะฮฺ, ดาร อัล-หะดีษ. อิบนุ ญะรีร, มปป., ญามิ อัล-บะยาน ฟ ตัฟสีร อล-กุรอาน, ญีซะฮฺ, ดาร หิจรฺ. อิบราฮีม อะนีส, 1972, อัล-มุญัม อัล-วะสีด, ตุรกี, อัล-มักตะบะฮฺ อัล-อิลมิยะฮฺ. ‫ﺣﻘﻴﻘﺔ ﺍﻟﻨﺸﻴﺪ ﻭﺣﻜﻤﻪ‬. 2013. สืบคนเมื่อวันที่ 16 เมษายน 2556 http://islamtoday.net/bohooth/services/saveart-86-115194.htm แหลงขอมูลจากการสัมภาษณ Sulaiman b. Bakar (ผูใหสัมภาษณ), อับดุลรามันห โตะหลง (ผูสัมภาษณ) ที่โรงเรียน Sri Kiblah เลขที่ 691 Paya Senang ถนน Telipot เมืองโกตาบารู กลันตัน ประเทศมาเลเซีย, เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Sharifah bt. Daud (ผูใหสัมภาษณ), รูฮานา สาแมง (ผูสัมภาษณ) ที่โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Salimi b. Mohamad (ผูใหสัมภาษณ), อิสมาอีล อาเนาะกาแซ (ผูสัมภาษณ) ที่โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อ วันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Mohd Rusli b. Bakar (ผูใหสัมภาษณ), อิสมาอีล อาเนาะกาแซ (ผูสัมภาษณ) ที่โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อ วันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Graduate School and Research / 15 May 2013

535


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจยั และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

Rosmarini bt. Abd Rahman (ผูใหสัม ภาษณ), รอซีดะห หะนะกาแม (ผูสั มภาษณ) ที่โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Effandi b. Mat Razi (ผูใหสัมภาษณ), อับดุลรามันห โตะหลง (ผูสัมภาษณ) ที่โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อ วันที่ 21กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Muhamad Adam b. Junaidee, (ผูใหสัมภาษณ), รูฮานา สาแมง (ผูสัมภาษณ) ที่โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Muhammad Murabbi as-Solihin b. Kayati, (ผูใหสัมภาษณ), รูฮานา สาแมง (ผูสัมภาษณ) ที่โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Muhammad Syakir Solihin b. Mohd Salim (ผูใหสัมภาษณ), รูฮานา สาแมง (ผูสัมภาษณ) ที่โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Nur Nisrinaa bt. Che Ramli (ผูใหสัมภาษณ), รอซีดะห หะนะกาแม (ผูสัมภาษณ) ที่โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Siti Nur Husna bt. Mohd Kamal (ผูใหสัมภาษณ), รอซีดะห หะนะกาแม (ผูสัมภาษณ) ที่โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Syarifah Nur Ain Asiyah bt. Syed Omar (ผูใหสัมภาษณ), รอซีดะห หะนะกาแม (ผูสัมภาษณ) ที่ โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Abd Latif Fauwaz b. Abd Wahab (ผูใหสัมภาษณ), อิสมาอีล อาเนาะกาแซ (ผูสัมภาษณ) ที่โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Muhammad Adam Danial b. Hisham (ผูใหสัมภาษณ) , อิสมาอีล อาเนาะกาแซ (ผูสัม ภาษณ) ที่ โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Nur Amira Faqiha b. Zukmi (ผูใหสัมภาษณ), อิสมาอีล อาเนาะกาแซ (ผูสัมภาษณ) ที่โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 Aisya Munifah bt. Ahmad Munawwir. (ผูใหสัมภาษณ), อับดุลรามันห โตะหลง (ผูสัมภาษณ) ที่ โรงเรียน Sri Kiblah, เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553

536

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เศาะลาฮฺญะมาอะฮฺกับการเมืองการปกครอง Solah Jama’ah in building the Politics สะสือรี วาลี อาจารยประจําสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

บทคัดยอ วัตถุประสงคหลักของบทความนี้คือศึกษาผลของการเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺนําสูรูปแบบการเมืองการ ปกครองที่สรางธรรมาภิบาลในสังคม โดยศึกษาถึงความเขาใจของเศาะลาฮฺ ฟรฎของเศาะลาฮฺ ความสําคัญ ของเศาะลาฮฺ วัตถุประสงคของเศาะลาฮฺ ความเขาใจเกี่ยวกับเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺ เศาะลาฮฺญะมาอะฮฺกับ การเมืองการปกครอง ผลการศึกษาพบวา 1) ความเสมอภาพ อิสลามเปนวิถีชีวิตที่สมบูรณและคลอบคลุม มิติของชีวิต มุ ส ลิม จําเปนตอ งดําเนินชีวิตตามครรลองของอิส ลามและ การเศาะลาฮฺ เ ปนหลัก บัญ ชา ของอัลลอฮฺที่ตอบสนองความเปนมนุษย 2) การฏออัตตอผูนําเปนกระบวนการสรางความเปนเอกภาพของ สังคม 3) การตักเตือนกันดวยการรําลึกถึงความบริสุทธิ์ของอัลลอฮฺเปนหลักถวงดุลทางการปกครอง 4) การ ทํางานแบบอิสติกอมะฮฺเปนหลักพื้นฐานของความมั่งคงของทุกดาน 5) ความรักและความสัมพันธที่ดีเปน พื้นฐานของเสถียรภาพ 6) ผูป กครองคือผูรัก ษาผลประโยชนข องสวนรวม 7) ผูป กครองตองเปนผู มี ความสามารถและมีคุณธรรม และ 8) การจัดระเบียบสังคมดวยหลักชะรีอะฮฺ คําสําคัญ : เศาะลาฮฺ, ญะมาอะฮฺ, เศาะลาฮฺญะมาอะฮฺ, การเมือง, การปกครอง

Graduate School and Research / 15 May 2013

537


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The main objective of this article is to study the result of Solah Jama’ah in building the Politics and good Government of Society to investigating the Knowledge and Understanding of Solah, Regulation of Solah, Purpose of Solah, Understanding about Solah Jama’ah, Solah Jama’ah and Government In the study results, 1) Equality because Islam is way of life perfectly and include every field therefore Muslim must to Islam every dimention, Solah Jama’ah can take applied for life 2) To’ah is to building unity in social 3) Warning in Islam by recall Allah 4) Working by Istiqamah 5) Affection and Relatives is important in Islam 6) The Good Leader must to consider follower always 7) The Leader is best Knowledge and Virtue human and 8) Social Organization. Keywords : Solah, Jama’ah, Solah Jama’ah, Politics, Administration.

538

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เศาะลาฮฺญะมาอะฮฺกับการเมืองการปกครอง ความเขาใจของเศาะลาฮฺ เศาะลาฮฺ ทางภาษาศาสตร หมายถึง ดุอาอฺ ซึ่งมาจากรากศัพทจากคํากลาวของคนอาหรับ ‫ﺻﻼة‬ ‫ ﺻﲆ‬รูป พหู พจนคือ ‫ ﺻﻠﻮات‬หมายถึ ง ดุอ าอฺแ ละขอลุแก โทษ (Ibn Manzur, 1993: 14; Dib al-

Nkudrawi, n.d.: 210) และบางทัศนะเขาใจวารากศัพทดั้งเดิมคําวา ‫ ﺻﲆ ﺻﻼة‬หมายถึง อิบาดะฮฺที่ถูก กําหนดไวชัดเจน ตามชวงเวลาที่ชะรีอะฮฺ(นิติศาสตรอิสลาม)ที่กําหนดไว (Al – Munjid fi al- lughah alIi’lam ; 422) วิธีการของเศาะลาฮฺเปนสิ่งที่มาจากชะรออฺ การรูกูอฺ และอื่นๆ ตามที่กําหนดในเศาะลาฮฺ (Ibrahim Madhkur, 1995: 541) บุคคลใดที่ดํารงการเศาะลาฮฺ จะไดรับบะรอกะฮฺ(ความศิริมงคล)และความดีงาม (Ibn Paris, n.d.: 200) อัลลอฮฺไดกลาวถึงคําวาเศาะลาฮฺในความวาดุอาอฺใหไดความดีงาม ดังอายะฮฺที่วา ความวา “และเจาจงดุอาอฺใหพวกเขาเพราะการดุอาอฺของเจานั้นเปนความสงบของพวกเขา” (อัตเตาบะฮฺ, 9 :103) หะดีษบทหนึ่งเราะสูล ไดกลาววา “เมื่อไรก็ตามสูเจาไดถูกเชิญเพื่อรับประทานอาหาร จงตอบ รับเถิด หากวาเจานั้นถือศีลอด ก็จงดุอาอฺและหากวาไมไดถือศิลอดจงรับประทาน ” (บันทึกโดย Muslim, 2000: 826) เศาะลาฮฺตามหลักวิชาการ ตามทัศนะของอิหมามทั้งสี่ คือ อบู หะนีฟะฮฺ (Abu Hanifah) มาลิก (Malik) ชาฟอยี ฺ (Shafi’iy) และอะหฺมัด (Ahmad)1 ไดใหความหมายในลักษณะตาง ๆ ดังนี้ ทัศนะของอบู หะนีฟะฮฺ (Abu Hanifah) และอิหมามชาฟอียฺ (Shafi’iy) หมายถึง คํากลาวและการ กระทําโดยเริ่มดวยการตักบีร (‫ )ﺗﻜﺒﲑة اﻹﺣﺮام‬และสิ้นสุดดวยสลาม ตามชะรัต(เงื่อนไข)2ที่กําหนดไว (Zain al-Din, 1993: 259 ; Ibn A’abidin Muhammad Amin, 1992: 351) ทัศนะของมาลิกและหะนาบีละฮฺ (อุลามาอฺในมัซฮับอิหมามอะหฺมัด) หมายถึง การนอมรับอยาง ใกลชิดของผูศรัทธาตออัลลอฮฺโดยกระทําดวยตนเอง(ผูศรัทธา) ดวยการตักบีร (‫ )ﺗﻜﺒﲑة اﻹﺣﺮام‬สลามและ สุูดเทานั้น การเขาใกลชิดในที่นี้ หมายถึง สิ่งตาง ๆ เพื่อเขาใกลอัลลอฮฺและยังใหความวาในเชิงการกระทํา คือ มีความครอบคลุมทั้งรุกูอ,ฺ สููดและถอยคําตางๆ ที่กลาว ตัสบีฮ(ฺ การใหความบริสุทธิ์ตออัลลอฮฺ) และอะ มาลดานจิตใจ จากการคุสุอฺและคุฎอฺ(Al-Mawardi, n.d: 288; Abd al-Lah bin Abd al-Muslim, 1999: 112) จากความหมายขางตน ผูเขียนประมวลวา เศาะลาฮฺ หมายถึง ถอยคําและการกระทําตางๆ ที่ถูก กํ า หนดไว อ ย า งแน น อนแล ว ตามหลั ก ชะรี อ ะฮฺ ตามแบบอย า งของท า นนบี  เริ่ ม ด ว ยการตั ก บี ร (‫ )ﺗﻜﺒﲑة اﻹﺣﺮام‬และสิ้นสุดดวยสลาม ดังทีท่ านนบี  ไดกลาววา

1

อิหมามอะบูหะนีฟะฮฺ ( ฮ.ศ.80 - 150),อิหมามมาลิก (ฮ.ศ.93 - 179),อิหมามชาฟอียฺ (ฮ.ศ.150 - 204)และ อิหมาม อะหฺมัด บิน หัมบัล (ฮ.ศ.164 - 241) ทั้งสี่อิหมามเปนบุรุษผูยิ่งใหญหรืออุลามาอฺเจาของมัซฮับที่ไดรับการยอมรับของมุสลิม 2 อัชชัรฏ คือ สิ่งที่จําเปนตองกระทํา แตไมใชเปนสวนหนึ่งของแกนแทของการกระทํานั้น แตถือเปนบทนําของการกระทํานั้น

Graduate School and Research / 15 May 2013

539


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความวา “ถือเปนหะรอม(หาม)สําหรับผูทําการเศาะลาฮฺ(นอกจากการกระทําและคํากลาว เพื่อเศาะลาฮฺ ) ตั้ง แตก ารกล าวตัก บีร และไดห ะลาล(อนุญ าต) สิ่ง ดัง กลาวด วยสลาม” (Ahmad, 1998: 1/123) การฟรฎ(บัญญัต)ิ เศาะลาฮฺ เศาะลาฮฺเปนอิบาดะฮฺที่ไดมีฟรฎนานแลว ตั้งแตนบีคนแรกอะดัม  และอัลลอฮฺไดตรัสถึงการ ฟรฎเศาะลาฮฺในสมัยของนบีอิสมาอีล  วา ความวา “และเขาใชหมูญาติของเขาใหปฏิบัติเศาะลาฮฺและจายซะกาตและเขาเปนทีโ่ ปรด ปราน ณ พระเจาของเขา” (มัรยัม, 19: 55) ขณะที่นบีมุฮัมมัด ไดถูกแตงตั้งเปนเราะสูลนั้น นบีไดเศาะลาฮฺสองรอกอะฮฺทุกเชาและสองรอกอัต ทุกเย็น ดังคําตรัสของอัลลอฮฺแกนบีมุฮัมมัด วา ความวา “และเจาจงถวายบริสุทธิคุณพรอมดวยสรรเสริญองคอภิบาลของเจาทั้งในยามเย็น และยามเชาเถิด”(ฆอฟร, 40 : 55) การฟรฎเศาะลาฮฺนั้นไดปรากฏในหะดีษอิสรออฺและเมียะรอจฺ(เหตุการณนี้เกิดขึ้นกอนทานนบี ฮิจเราะฮฺจากมักกะฮฺสูมะดีนะฮฺเปนเวลาสิบแปดเดือน) ดังทีท่ านเราะสูล กลาวา ความวา “...นบี กลาววา ดังนั้นอัลลอฮฺจึงไดท รงบัญญัติแกอุมมะฮฺของฉันเศาะลาฮฺ 50 เวลา ฉันจึงนําบัญญัตินั้นกลับลงมาจนมาพบกับนบีมูซา นบีมูซาถามวา: อัลลอฮฺได ทรงบัญชาอะไรบาง? สําหรับอุมมะฮฺของทาน ฉันตอบวาฟรฎเศาะลาฮฺ 50 เวลา นบีมูซา จึงกลาววา จงกลับไปหาพระผูอภิบาลของทานอีกเพราะอุมมะฮฺ ของทานไมสามารถที่จะทํา เชนนั้นได ...ฉันไดก ลาวกับนบีมูซ าวา เหลือฟร ฎเ พียงครึ่ง หนึ่ง เทานั้นฉันจึงไดก ลับ ไปหาผู อภิบาลอัลอฮฺตรัสวา นี่หาเวลาเทากับหาสิบเวลาและจะไมมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อีกแลว...” (al-Bukhariy, 1992: 349) ความสําคัญของเศาะลาฮฺ มนุษยประกอบดวยสวนที่เปนกายภาพและจิตวิญญาณ ความเปนมนุษยจะสมบูรณก็ตอเมื่อมีความ สมดุลระหวางทั้งสองดานเพื่อใหสอดคลองกับหลักการดังกลาว อัลลอฮฺจึงฟรฎการเศาะลาฮฺแกมวลมนุษย ดังนั้นการเศาะลาฮฺจึงมีความสําคัญมากและสามารถสรุปเปนขอ ดังนี้ 1) การเศาะลาฮฺเปนเสาหลัก ของศาสนาอิส ลาม ดังนั้นการทอดทิ้งการเศาะลาฮฺจึงเปนการ สั่นคลอนหรือทําลายรากฐานของอิสลาม นบีไดกลาววา ความว า “อิ ส ลามตั้ ง อยู บ นรากฐาน(หลั ก การ) 5 ข อ ...ดํ า รงเศาะลาฮฺ . ..” (Muslim, 1995:1/112 ; al- Bukhariy, 1992: 1/8) 2) การทอดทิ้งการเศาะลาฮฺเปนการหลงลืมอัลลอฮฺ และปลีกตัวจากพระองค บุคคลใดก็ตามที่ มีพฤติกรรมดังกลาว พระองคก็จะทรงลืมเขาและจะไมไดรับความเมตตาทั้งโลกนี้และโลกหนา 540

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ฮุซัยฟะฮ ไดกลาววา “เมื่อใดที่เราะสูล มีความกังวลในเรื่องใดแลว ทานจะรีบ เขาสูการเศาะลาฮฺ” (Abu Daud, 1997: 2/1319 หะดีษหะสัน อัยมัน อัลลีฮฺ อางใน al- Termiziy ) 3) การเศาะลาฮฺเปนสิ่งสุดทายที่จะหลุดไปจากสังคมอิสลาม หากวาเศาะลาฮฺไดสูญหายไปความ เปนสังคมมุสลิมก็จะสลายไปดวย เราะสูล ไดกลาววา ความวา“แนนอนหวงโซ (ยึดเหนี่ยว) ของอิสลามจะสูญหายไปที่ละขอ ที่ละขอ และทุก ครั้งที่หวงโซขอหนึ่งขอใดไดสูญเสียไป มนุษยก็จะไขวควาขอที่อยูถัดไป ขอแรกจากจํานวน นั้นจะหลุดไปคือ การบังคับใชกฎหมายและขอสุดทาย คือ การเศาะลาฮฺ”(Ahmad, 1998: 21139) 4) การเศาะลาฮฺเปนคําสั่งเสียครั้งสุดทายที่เราะสูล ไดสั่งเสียแกอมุ มะฮฺ(ประชาชาติ) ของทาน ขณะที่ทานกําลังจะเสียชีวิต โดยกลาววา ความวา “(จงรักษา) การเศาะลาฮฺ (จงรักษา) การเศาะลาฮฺ และสิ่งที่บรรดามือขวาของเจาได ครอบครองอยู(หมายถึงทาสและทาสี)” (Ahmad, 1998: 25278 ) 5) การเศาะลาฮฺเทานั้นที่จะทําใหม นุษยหางไกลจากการสักการะพระเจาจอมปลอมที่มนุษย อุปโลกนขึ้นมา ซึ่งถือเปนบาปใหญที่พระองคอัลลอฮไมทรงอภัยให ดังหะดีษ จากมุอาษฺ บิน ญะบัล รายงานวา เราะสูล สั่งเสียแกฉันสิบประการดวยกันคือ ... ทานอยาไดทิ้งเศาะลาฮฺโดยเจตนาเปนอันขาดเพราะวาผูที่ทิ้งเศาะลาฮฺโดยเจตนานั้น เขา จะหลุดพนจากความรับผิดชอบของอัลลอฮฺ...” (Ahmad, 1998: 7/138) 6) การเศาะลาฮฺเปนงานแรกที่อัลลอฮฺจะทรงตรวจสอบเมื่อมนุษยทุกคนไดถูกทําใหฟนคืนชีพหลัง ความตายเพื่อรอรับการไตสวนการกระทําของเขาตอหนาอัลลอฮฺ ดังเราะสูล ไดกลาววา ความวา “สิ่งแรกที่จะถูกสอบสวนในวันกิยามะฮฺจากจํานวนอามาลที่เขากระทํา คือ เศาะลาฮฺ ถาเศาะลาฮฺของเขาดี แนนอนเขาก็โชคดีและมีชัย...” (al-Termiziy, 1978: 413 ระดับของ หะดีษ หะดีษเศาะเหี้ยะห al-Termiziy) 7) การเศาะลาฮฺเปนสิ่งแรกจากบรรดาอิบาดะฮฺที่อัลลอฮฺไดบังคับใชโดยพระองคไดโตตอบกับนบี มุฮัมมัด โดยปราศจากสื่อกลางใด ๆ ในคืนอัลเมียะรอจฺ อนัสไดกลาววา ความวา “การเศาะลาฮฺไดถูกบัญญัติใหเปนสิ่งฟรฎแกนบี ในคืนที่ทานไดถูกใหเดินทางไป ในเวลากลางคืน จํา นวน 50 เวลา หลั ง จากนั้ นไดถูก ลดหย อนจนกระทั้ ง เหลื อ 5 เวลา หลั ง จากนั้ น จึ ง มี เ สี ย งเรี ย ก ขึ้ น ว า โอ มุ ฮั ม มั ด  แท จ ริ ง ดํ า รั ส ของเรานั้ น จะไม มี ก าร เปลี่ยนแปลงอีก และแทจริงดวย 5 เวลานี้(มีผลเทากับ) หาสิบเวลาสําหรับเจา” (Ahmad, 1995: 12180) Graduate School and Research / 15 May 2013

541


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

8) การเศาะลาฮฺที่สมบูรณนั้นทําใหมุสลิมมีการงานที่ดีและทําใหปราศจากบาป ทําใหในวันอะคิ เราะฮฺนั้นไดรับผลตอบแทน คือ สวรรค ไดมีรายงานจากทานนบีไดกลาววา ความวา “ผูใดที่รักษาเศาะลาฮฺในวันกิยามะฮฺ เขาจะมีนูร (รัศมี) และเปนสิ่งคุมกันเขาและ ทําใหเขาปลอดภัย สวนผูไมรักษาเศาะลาฮฺนั้น เขาจะไมมีนูร (รัศมี) ไมมีสิ่งคุมกันและไม ปลอดภัยเลย แลวในวันกิยามะฮฺ เขาจะไดอยูรวมกับกฺอรูน ฟรอูน ฮามาน และ อุบัย บิน คอลัฟ” (al-Termiziy, 1978: 188 หะดีษเศาะเหี้ยะห อัลฮัยษะมียในมัจมาอฺ อัซซะวาอิด: 2/292) 9) เศาะลาฮฺเปนอิบาดะฮฺทางรางกาย (บะดะนียะฮฺ) ที่ประเสริฐที่สุด ดังที่นบี ไดกลาววา ชายคนหนึ่งมาถามนบี ถึงเรื่องความดี(อะมาล) ที่ประเสริฐที่สุด ทานไดตอบเขาวาคือ “เศาะลาฮฺ” ... ทานตอบวา “เศาะลาฮฺ” ถึงสามครั้ง” (Ibn Hibban, 1993: 258) วัตถุประสงคของเศาะลาฮฺ เศาะลาฮฺมีวัตถุประสงคมากมายหลายประการ จากการศึกษาอัลกุรอาน อัลหะดีษตลอดจนตํารา ทางวิชาการอิสลาม ผูเขียนขอสรุปไวดังนี้ 1) การเตือนใหมนุษยรูถึงความเปนบาวของอัลลอฮฺ อยูตลอดเวลา โดยกิจการงานทางโลกและ ความสัมพันธกับผูอื่นอาจทําใหหลงลืม แตเมื่อถึงเวลาเศาะลาฮฺจะทําใหนึกถึงไดอีกครั้งหนึ่ง การเศาะลาฮฺจงึ เปนสิ่งย้ําเตือน ดังหะดีษ เราะสูล กลาววา “... และทานทั้งหลายอยาไดทิ้งเศาะลาฮฺโดยเจตนา ผูใดทิ้งเศาะลาฮฺ โดยเจตนา แทจริงเขาไดออกจากศาสนาอิสลาม..” (al-Bukhariy, 1992: 18) 2) มนุษยจ ะใชเ วลาเศาะลาฮฺเ ปนชวงเวลาแหงการสํานึก ผิดจากความผิดตาง ๆ ที่ไดกระทําขึ้น ในชวงวันหนึง่ กับคืนหนึ่ง ดังนั้นการเศาะลาฮฺระหวางเวลาหนึ่งกับเวลาหนึ่ง จะชวยขัดเกลาเขาใหสะอาด บริสุทธิ์จากบาปตางๆ ดังหะดีษของเราะสูล กลาววา ความวา “อุปมาเศาะลาฮฺ 5 เวลา ดุจดังน้ําคลองที่ไหลผานหนาประตูบานคนใดคนหนึ่ง แลวเขาอาบน้ํา(ชําระลาง) ในคลองนั้น 5 ครั้ง ทุกวัน” หะสันไดกลาววา “การเศาะลาฮฺ ดังกลาวจะทําใหสิ่งสกปรกใด ๆ เหลืออยูอีกหรือไม?” (Muslim, 1995: 284) 3) เศาะลาฮฺจะเปนเสมือนอาหารที่หลอเลี้ยงอะกีดะฮฺ(การศรัทธา) ที่อยูในจิตใจของมนุษย เพื่อ ปกปองจากความเพลิดเพลินในดุนยาและการหลอกลอของชัยฏอนจะทําใหมนุษยหลงลืมได ถึงแมความ ศรัทธาจะถูกปลูกฝงอยูในจิตใจแลวก็ตาม แตเมื่อมนุษยตกอยูในความหลงลืมก็จะกลายเปนการปฏิเสธและ ไมยอมรับ เหมือนตนไมที่ขาดน้ําหลอเลี้ยงก็จะเหี่ยวเฉาและตายไปในที่สุด ในไมชาตนไมนั้นจะกลายเปนไม ฟนที่ไรคา แตมุส ลิมที่ยืนหยัดปฏิบัติเศาะลาฮฺอยางสม่ําเสมอเศาะลาฮฺนั้นก็จะเปนอาหารคอยหลอเลี้ยง 542

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความศรัทธาของเขาใหสดชื่นและงดงาม ความเพลิดเพลินในดุนยาไมอาจทําใหศรัทธาของเขาออนแอและ ตายได (นัดวี : 2543) 4) เศาะลาฮฺเปนการยืนยันความศรัทธาตออัลลอฮฺ ใหเปนประจักษ หลังจากการประกาศตน เปนมุสลิม ดังหะดีษ เราะสูลไดกลาววา “ความแตกตางระหวางบุคคลที่ศรัทธา(มุอฺมิน)กับผูตั้งภาคี(มุชริก) และผูปฏิเสธ(กาฟร)นั้นคือ การทิ้งเศาะลาฮฺ” (Muslim, 1995: 1/243) 5) เศาะลาฮฺเปนการแสดงความกตัญูตออัลลอฮฺ ตอผูทรงประทานชีวิต รางกาย สติปญญา และปจจัยยังชีพตาง ๆ ที่จําเปนแกมนุษย อิสลามเรียกคนที่อิบาดะฮฺตอสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮฺวา “กาฟร (ผูเนรคุณ)” ดังหะดีษ เราะสูล กลาววา “…ทานทั้งหลายอยาไดทิ้ง เศาะลาฮฺโดยเจตนา ผูใดทิ้งเศาะลาฮฺโดย เจตนา แทจริงเขาไดออกจากอิสลามเสียแลว...” (al-Bukhariy, 1992: 4034) 6) การเศาะลาฮฺเปนการรําลึกถึงอัลลอฮฺและสรางความสัมพันธอันใกลชิดกับพระองคไดโดยไม จําเปนตองอาศัยสื่อกลาง การรําลึกถึงและการใกลชิดอัลลอฮฺในขณะเศาะลาฮฺจะทําใหจิตใจของมนุษยมี ความสงบสุขและมั่งคง ดังที่นบีไดกลาววา ความวา “เศาะลาฮฺที่ ดีเลิศนั้นคือ การปฏิบัติเ ศาะลาฮฺที่ยาวนาน” ทานมุญ าฮิดไดให คําอธิบายอายะฮฺ “จงยืนเพื่ออัลลอฮฺดวยความนอบนอมภักดี” โดยทานกลาววา “กุนูต (นอบนอมภักดี) รวมความทุกอยางในเศาะลาฮฺ เชน ในการรุกูอ คุซูอฺ (สมาธิ) รุกูอฺนาน หรือยืนนาน ตามองต่ํา นอบนอมถอมตน ยําเกรงตออัลลอฮ บรรดาเศาะหาบะฮฺของทาน เราะสูล นั้นเมื่อเขายืนเศาะลาฮฺ เขาจะมีความเกรงกลัวตอพระผูท รงเมตตาของเขา อยางที่สุด เขากลัวการที่จะมองไปทางโนนทางนี้ กลัวตอการที่จะตองใชมือเปลี่ยนกอนหิน (ใหเสมอในที่สุูด) หรือลักษณะที่ไมสวยงามในเศาะลาฮฺตลอดจนแมแตจิตใจที่จะคิดใน เรื่องดุนยา (นอกจากสิ่งที่เกิดขึ้นโดยไมเจตนา) จนเสร็จจากการเศาะลาฮฺนั้น” (Muslim, 1995: 756 ; al-Termiziy, 1978 : 387) 7) การเศาะลาฮฺเปนการย้ําเตือนผูเศาะลาฮฺใหยับยั้งตนเองจากความชั่วชาลามก ดังหะดีษของ ทานนบีไดกลาววา มีผูถามนบี เกี่ยวกับอายะหอัล กุร อานที่วา “แทจ ริง การเศาะลาฮฺนั้นจะระงับ ความ เลวรายและความชั่ว” นบี กลาวตอบวา “ผูที่เศาะลาฮฺของเขาไมทําใหเขางดจากความ เลวรายและความชั่วนั้น เขาไมไดเศาะลาฮฺ” (al-Tฺabrani, 2001: 4/414; อิบนุ กะซีร ใน หนังสือตัฟซีร, 2001: 4/414 ระดับของหะดีษ หะดีษฎออี๊ฟ อัสสุยูฏียฺใน อัลญามิอฺ อัศ ศอฆีร: 2/181) Graduate School and Research / 15 May 2013

543


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความเขาใจเกี่ยวกับเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺ ความหมายเชิง ภาษาศาสตรของ “อัล ญะมาอะฮฺ ” ( ‫ ) اﳉﲈﻋﺔ‬นํามาจากคําวา อัล ญัมอฺ ( ‫) اﳉﻤﻊ‬ หมายถึง การรวมสิ่งหนึ่งโดยเอาสิ่งหนึ่งมาไวไกลกับอีกสิ่งหนึ่ง เชน กลาววา ‫( ﲨﻌﺘﻪ‬ฉันรวมมัน) แลวมันมา รวมอยูดวยกัน มาจากคําวา อัล อิจติมาอฺ (‫ )اﻻﺟﺘﲈع‬การรวมเปนกลุม ซึ่งตรงขามกับการแตกแยกเปนกลุมเล็ก กลุมนอย (‫ )اﻟﺘﻔﺮق‬หรือเปนกลุมนิกาย (‫)اﻟﻔﺮﻗﺔ‬ อัลญะมาอะฮฺ (‫ )اﳉﲈﻋﺔ‬จึงหมายถึง ผูคนจํานวนมาก หมายถึง กลุมคนที่มารวมกันดวยวัตถุประสงค หนึ่งอีกดวย ความหมายเชิงวิชาการของ “อัลญะมาอะฮฺ ” หมายถึง กลุมหรือหมูคณะมุสลิม ( ‫)ﲨﺎﻋﺔ اﳌﺴﻠﻤﲔ‬ ไดแกชาวสะลัฟ ของประชาชาติอิสลาม คือ บรรดาเศาะหาบะฮฺ บรรดาตาบีอีนและผูคนที่ดําเนินตามพวก เขาบนพื้นฐานของหลักคุณธรรมตราบจนถึงวันพิพากษา พวกเขาเหลานั้นตางรวมบนพื้นฐานของคัมภีรของอัลลอฮฺและอัสสุนนะฮฺ และความเปนอยูของชีวิต ของพวกเขาวางอยูบนแนวทางเดียวกันกับชีวิตเราะสูล ไมวาชีวิตภายนอกหรือชีวิตภายใน เศาะลาฮฺญะมาอะฮฺ หมายถึง เศาะลาฮฺที่มุสลิมปฏิบัติรวมกันตามที่ทานนบี ไดวางแนวทางในการ เศาะลาฮฺญะมาอะฮฺไวในหะดีษหลายบทดวยกัน จนทําใหนักปราชญใหความสําคัญตอ เศาะลาฮฺญะ มาอะฮฺมากมาย เศาะลาฮฺญะมาอะฮฺ สามารถอธิบายตามอายะหอัลกุรอานไดดังนี้ ความวา “และเมื่อเจา(นบีมุฮัมมัด) อยูในหมูพวกเขา แลวเจาไดใหมีการเศาะลาฮฺขึ้นแก พวกเขา ดังนัน้ กลุมหนึ่งจากพวกเขาก็จงยืนเศาะลาฮฺรวมกับเจาและก็จงเอาอาวุธของพวก เขาถือไวดวย ครั้นเมื่อพวกเขาสุูดแลว (เมื่อกลุมหนึ่งเศาะลาฮฺตามนบีไดรอกอะฮฺหนึ่ง แลว)พวกเขาก็จงอยูเบื้องหลังของพวกเจา และอีกกลุมหนึ่งที่ยังมิได เศาะลาฮฺก็จงมา และจงเศาะลาฮฺรวมกับเจา และจงยึดถือไวซึ่งการระมัดระวังของพวกเขา และอาวุธของ พวกเขา บรรดาผูปฏิเสธศรัทธานั้น หากวาพวกเจาละเลยอาวุธของพวกเจาและสัมภาระ ของพวกเจาแลว พวกเขาก็จะจูโจมพวกเจาอยางรวดเดียวและไมมีบาปใด ๆ แกพวกเจา หากวาพวกเจามีความเดือดรอน เนื่องจากฝนตกหรือวาปวย ในการที่พวกเจาจะวางอาวุธ (ไมถืออาวุธขณะทําการเศาะลาฮฺ)ของพวกเจาและพวกเจาก็จงยึดถือไวซึ่งการระมัดระวัง ของพวกเจา แทจริง อัล ลอฮฺ ทรงเตรียมไวแลว ซึ่ง การลงโทษที่ยัง อัปยศแกผูปฏิเสธ ศรัทธาทั้งหลาย” (อันนิซาอฺ, 4 : 102) หะดีษของนบีไดอธิบายเกี่ยวกับรูปแบบ คือ การเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺนั้นตองประกอบดวยคนอยาง นอย 2 คน โดยเปนอีหมาม 1 คน และมะอฺมูม 1 คน ดังเราะสูล ไดกลาววา ความวา “เศาะลาฮฺของผูชาย 2 คน โดยใหคนหนึ่งเปนอิหมาม เปนที่พอใจของอัลลอฮฺยิ่ง กวาเศาะลาฮฺ 4 คนโดยทํากันโดยสวนตัว และเศาะลาฮฺของ 4 คน ญะมาอะฮฺเปนที่พอ พระทัยยิ่งกวาเศาะลาฮฺ 8 คน โดยทํากันสวนตัว และเศาะลาฮฺ 8 คน โดยมีอิหมาม ดีกวา 544

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เศาะลาฮฺ 100 คนที่ทํากันสวนตัว” (al-Tฺabrani, 1985 : 14812 ; Al-Tabrani ใน alMu’jam al-Kabir, 1985: 73 – 74 ระดับของหะดีษ หะดีษหะสัน al -Bani ใน เศาะเฮี้ยะหฺมิชกาฮฺ : 412) เศาะลาฮฺญะมาอะฮฺกับการเมืองการปกครอง 1) ความเสมอภาค อิสลามเปนวิถีชีวิตที่มีความสมบูรณ คลอบคลุมทุกมิติของชีวิต มุสลิมจําเปน อยางยิ่งตองดําเนินชีวิตตามวิถีที่ถูกกําหนดไว ฉะนั้นเมื่อใครครวญถึงการเศาะลาฮญะมาอะฮฺแลวสามารถ นํามาประยุกตใชไดเปนอยางดี เนื่องจากการเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺนั้นตองจัดแถวใหมีความเรียบรอย หาก แมนวาแถวแรกยังไมสมบูรณจะถือวาแถวตอไปก็ไมสมบูรณทั้งหมด ดังหะดีษ เราะสูลไดกลาวา “จงจัดแถวใหตรง แทจริงแลวการจัดแถวใหตรง เปนสวนหนึ่งที่จะทําให การเศาะลาฮฺนั้นมีความสมบูรณ” (Muslim: 2541: 465, 659) จากหะดีษขางตนสามารถเขาใจไดวาเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺเปนการฝกอบรมมุสลิมใหมคี วามตระหนัก ในหลักความเสมอภาค ในการเศาะลาฮฺทุกคนจะยืนในแถวเดียวกันโดยไหลชิดกันและเทาชิดกันอยางแนบ แนน หลังอิหมามคนเดียวกันและทุกคนตางคอมศีรษะอิบาดัตตออัลลอฮฺเหมือนกัน ไมสามารถละเมิดสิทธิ ของผูอื่นตามที่หลักของความมุสลิมได มีหลักภราดรภาพและความเสมอภาคในความเปนมนุษยนี้ไดรับการ ปฏิบัติรวมกันวันละหาครั้งทุกวัน การเปนผูนําในการเศาะลาฮฺก็ไมจําเปนตองอาศัยเชื้อสายจากบรรพบุรุษ ครอบครัว สีผิว เชื้อชาติ สิ่งจําเปนสําหรับการเปนอิหมามตองเปนมุสลิม (อางใน al – Nawaaiy, 1995 : 12/229) บรรลุศาสนภาวะ(Ibn Hazmiy, 1997 : 4/179) และมีสติปญญาที่สมบูรณ 2) การฏออัตตอผูนํา เอกภาพของสังคมจะเกิดขึ้นไมไดเลยหากปราศจากการเชื่อฟงผูนํา(นัดวี: 2543; 125 บรรจง บิน กาซัน แปล) เมื่อผูนําสงสัญญาเรียกคนในชาติทั้ง หมดก็ควรจะเคลื่อนไหว การเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺนั้น อิหมามจะเปนผูกํากับการเคลื่อนไหว ดังนั้นในทางอุดมคติ กิจการของชาติก็ควรจะมีอิหมามคอยกํากับดวย เชนกัน และคําวา “อัลลอฮฺ อัก บัร” ก็ควรเปนสัญญาณสําหรับการเคลื่อนไหวของมุสลิม ดังหะดีษของ นบี  ไดกลาววา ความวา “ความจริง อิห มามนั้นมีไวเ พื่อใหปฏิบัติตาม ดังนั้นจงอยาใหผิดเพี้ยนไปจาก อิหมาม เมื่ออิหมามตักกบีรพวกทานก็จงตักบีร เมื่ออิหมามรุกัวะอฺ พวกทานก็จงรุกัวะอฺ เมื่ออิหมามกลาว “สะมิอัลลอฮุ ลิมัน หะมิดะฮฺ” พวกทานจงกลาววา “ร็อบบะนา วะลา กัลฮัมหัมดฺ” เมื่ออิหมามสุูด พวกทานก็จงสูุดตามและเมื่ออิหมามนั่งเศาะลาฮฺ พวก ทานก็จงนั่งเศาะลาฮฺตามทั้งหมด” (Muslim, 2541 : 367) หามคนใดคนหนึ่ ง แตกแถวหรือ ชิง โคง กายหรื อกม กราบกอนหนาอิห มาม ทั้ ง นี้เ พื่อไมทําลาย ระเบียบและประสานงานกัน เชนเดียวกันกับหลัก การบริหารการปกครองในอิสลามใหความสําคัญกับ การฏออะฮฺเปนอยางมาก จะไมถือวาสังคมนั้นเปนสังคมอิสลามอยางเด็ดขาดหากปราศจากญะมาอะฮฺและ ไมถือวาเปนญะมาอะฮฺอิสลามหากปราศจากผูปกครอง และไมถือวาเปนผูปกครองอิสลามหากปราศจาก การฏออะฮฺ Graduate School and Research / 15 May 2013

545


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

3) การตักเตือนกันดวยการรําลึกถึงความบริสุทธิ์ของอัลลอฮฺ อิสลามสนับสนุนใหอุมมะฮฺมีการ ตักเตือนซึ่งกันและกัน แมผูคนเหลานั้นจะมีฐานะสูงทรงหรือเปนเคาะลีฟะฮฺก็ตาม การเศาะลาฮฺ ญะมาอะฮฺ ก็เ ชนเดียวกัน เมื่ออิห มามอานอายะฮฺผิดพลาดหรือมีขอผิดพลาดอื่นๆ จําเปนสําหรับผูตามตองกลาว ตักเตือนดวยวิธีการหิกมะฮฺ คือ “‫ ”ﺳﺒﺤﺎﻥ ﺍﷲ‬หมายถึง มหาบริสุทธิ์แหงอัลลอฮฺ “...เราะสูลได(ถามประชาชน) วา “ฉันเห็นพวกทานตบมือกันหลายคน พวกทานทํา เชนนั้นทําไม หากใครประสงคใหเกิดการตักเตือนในเศาะลาฮฺ เขาควรตัสเบียะฮฺ(กลาว ซุบ หานัล ลอฮฺ ) เมื่อกลาวตัส เบี๊ยะและคนจะมองไปยังเขา สวนหญิง ใหตบมือ ” (Muslim, 2541: 374) บรรดามะอฺมูม มีหนาที่ตองแกไขความผิดพลาดของอิหมาม ทั้งผลจากการกระทําผิดหรือความ หลงลืม ทั้งที่เปนถอยคํา การกระทํา การอานอัลกุรอาน หรือสวนพื้นฐานอื่นๆ ของการเศาะลาฮฺ แมผูหญิง ที่เศาะลาฮฺตามอยูในแถวหลัง ๆ ยังอนุญ าตใหตบมือ เชนเดียวกันการบริหารการปกครองในอิสลามนั้น เนนหนักการมีสวนรวมของประชาชนในการตรวจสอบการทํางานของรัฐ หากพบขอผิดพลาด ประชาชนมี สิทธิ์ในการตักเตือนถึงแมบุคคลนั้นเปนทาส เยาวชนหรือสตรีก็ตาม 4) การทํางานโดยอิสติกอมะฮฺ(เปนประจํา) ความสําเร็จในชีวิตของบุคคลนั้นขึ้นอยูกับการทํางาน อยางตอเนื่องบนพื้นที่ของความดี กลายเปนวิถีชีวิตที่กอใหเกิดคุณคาทางศีลธรรมที่เขมแข็ง การศึกษาและ การฝกอบรมใด ๆ ที่มีเปาหมายจะสรางนิสัยนั้น จําเปนตองทําเปนกิจวัตรประจําวันและทางที่ดีตองทําวัน ละหลาย ๆ ครั้ง เชนเดียวกับการเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺ ตองปฏิบัติเปนประจําอยางปกติและตอเนื่องรวมกัน อัลกุรอานไดกลาวยกยองบรรดาเศาะหาบะฮฺวา ความหมาย “บรรดาผูที่มงั่ คงแนวแนในการเศาะลาฮฺของพวกเขา” (อัลฟตหฺ, 49 : 23) 5) ผูนําที่ดีตองคํานึงถึงผูตามเสมอ ในอิสลามนั้นใหความสําคัญทั้งผูนําและผูตาม ดังนั้นการอยูรวมกันอยางเปนสุขของแตสังคมนั้น จําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองมีผูนําที่เห็นใจผูตาม พรอมที่จะเปลี่ยนใหเหมาะสมตามแตสภาพ แตไมกระทบ หลัก การเดิม ได อยางเชน อิหมามในเศาะลาฮฺ จําเปนอยางยิ่งที่จ ะตองดูส ภาพของมะอฺมูม เชน ผูคนที่ ออนแอ เด็กหรือคนชรา เขาจําเปนที่จะตองอานอายะฮฺในการเศาะลาฮฺใหสั้น ๆ เพราะการอานสูเราะฮฺที่ ยาวในสถานการณนั้น อิส ลามไมส นับสนุนใหก ระทําในสิ่ง ดังกลาว เพราะบางครั้ง อาจจะสง ผลใหเ ขา เหลานั้นรูสึกไมอยากเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺได 6) ผูปกครองตองเปนผูประเสริฐที่สุดในกลุม ความรู ความสามารถ และคุณธรรมดานศาสนาเปนเรื่องสําคัญ ในพิจารณาคัดเลือกผูนําเปน ประการแรก (อิบนุ คอลดูน, 1996 :187) รวมทั้งความยําเกรงเปนคุณสมบัติสําคัญสําหรับการเปนอิหมาม เศาะลาฮฺ ดังนั้นตําแหนงนี้จึงเปนของมุสลิมที่มีคุณสมบัติที่เพียบพรอมที่สุดในกลุม หากพบขอบกพรองตอง พยายามแกไข (ยุสรี มุฮัมมัด, ม.ป.ป. : 81) อิหมามตองเปนคนที่มีความรูเกี่ยวกับหลักการอานอัลกุรอานที่ ถูกตองและมีความไพเราะ (al – Zuhailiy, 1409 H : 177) เพื่อที่จะกระตุนผูคนใหเกิดการพัฒนาทางดาน ความรูและคุณคาทางดานการปฏิบัติ การบริหารการปกครองในอิสลามนั้นไดเนนคุณสมบัติสวนบุคคลที่

546

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เพียบพรอมและเหมาะสม มีความสามารถ มีความรูพรอมคุณธรรม รวมทั้งตองมีความสามารถในการ สื่อสารและประสานงานที่ดี เพื่อนําพาประชาชนสูความสัตนติได 7) การจัดระเบียบสังคม การงานที่กระทํารวมกันเปนหมูคณะจะตองผานการจัดระเบียบและ อาศั ย ภาวะผู นํ า ที่มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ มี ร ากฐานที่ มั่ง คงแข็ ง แรง และมี เ ป า หมายชัด เจน มากํ า หนด ความสัมพันธระหวางผูนําและประชาชนบนพื้นฐานของหลักการชูรอ(การปรึกษาหารือ) ที่เปนขอผูกมัดและ การเชื่อฟงที่ตองปฏิบัติตามอยางเครงครัด(ยูซุฟ อัล –ก็อรฎอวี, 2546 : 24) การเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺเปนตัวอยางที่แสดงใหเห็นถึงการจัดระเบียบของสังคมมุสลิม โดยมีบัญญัติ ของการยืนแถว สนเทาตรงกันและไหลนั้นชิดกัน และการเคลื่อ นไหวทาทางตาง ๆ ไปพรอม ๆ กัน ใน รูปแบบเดียวกันนั้น คือ พลังประสานชีวิตแหงชาติของมุสลิมใหมีความมั่งคง ความสมบูรณของการเศาะลาฮฺ ขึ้นอยูกับการจัดระเบียบการชุมนุมและแถวที่ตรง ในทํานองเดียวกันชีวิตของประชาชาติทั้งหมดก็ขึ้นอยูกับ การมีสวนรวม ชวยเหลือ ความมัง่ คงปลอดภัย มิตรภาพและความเห็นอกเห็นใจกัน ดวยเหตุนี้ นบีจะย้ํา ถึงเรื่องการจัดแถวใหตรง อิสลามไมรับการงานที่กระทํารวมกันเปนหมูคณะที่ไมมีระเบียบ แมแตเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺกลุม เล็ก ๆ ยังตองดําเนินไปบนพื้นฐานของการจัดระเบียบ เนื่องจากอัลลอฮฺไมทรงดูยังแถวที่เบี้ยวและไมชิดกัน ใน แถวจะตองไมปลอยใหชองวางเพราะชองวางนั้นมารรายจะแทรกเขา ดังหะดีษ เราะสูล กลาววา “หมูบานใดหรือชุมชนใดในชนบทที่มีตั้งแตสามคนขึ้นไปแลว พวกเขา ไมไดทําการเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺ ซัยตอน(มารราย) จะเขาปกครองพวกเขา ดังนั้นพวกทาน จงระวังรักษาการเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺ (รวมกันหลาย ๆ คน) แนนอนแพะที่จะถูกหมาปา กัดกินนั้น คือ ตัวที่อยูโดดเดี่ยว (Abu Dau’,1997 : 547; al-Nasa-e, 1999: 1/153; Ahmad, 1995 : 21203 ระดั บ ของหะดี ษ หะดี ษ ศอเหี้ ย ะหฺ อั ล อั ล บานี ยฺ ใ น เศาะเหี้ยะหฺอัลญามิอฺ : 556) 8) ความรักผูกพันตอกัน การเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺเปนวิธีการสรางความรักและความรูสึกตอกันใน หมูมุสลิม การชุมนุมกันของมุสลิมในทองถิ่น ณ สถานที่แหงหนึ่งเปนประจําวันละหาครั้งจะชวยใหมุสลิม เกิดความคุนหนากันและทําใหเกิดความรักกัน ดังนั้นพวกเขาจะพรอมและเต็มใจชวยเหลือกัน อัลกุรอานได ชี้ใหเห็นผลดีของการเศาะลาฮฺวา ความวา“จงเปนผูห ันไปหาพระองคดวยความสํานึกผิดและเกรงกลัวพระองค จงดํารงการ เศาะลาฮฺและจงอยาอยูในหมูผูตงั้ ภาคีที่สรางความแตกแยกใหแกศาสนาของพวกเขาและ แตกออกเปนนิกาย” (อัรรูม, 30: 31 – 32) การเศาะลาฮฺญะมาอะฮฺของมุสลิมสามารถปองกันจากการแตกแยกเพราะการพบกันเปนประจําจะ ชวยลดโอกาสของความเขาใจผิด นอกจากนั้น การเศาะลาฮฺยังเปนวิธีการสรางความเห็นใจซึ่งกันและกันระหวางมุสลิม การชุมนุม รวมกันของคนรวยและคนจนในสถานที่แหงหนึ่งแหงใดนั้น จะทําใหคนรวยมีโอกาสไดเห็นสภาพของคนจน และเปนสิ่งกระตุนความรูสึกของคนเหลานั้นใหอยากชวยเหลือคนที่ไดรับความลําบาก ในสมัยตนของอิสลามมีคนกลุมหนึ่งซึ่งถูกเรียกวา อัศหาบุศ ศุฟฟะฮฺ เปนกลุมคนที่สมควรไดรับ ความชวยเหลือมากกวากลุมอื่น คนกลุมนี้อาศัยอยูในมัสยิด เมื่อบรรดาเศาะหาบะฮฺไดไป เศาะลาฮฺจะรูสึก Graduate School and Research / 15 May 2013

547


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เห็นใจพวกเขา ดังนั้นบรรดาเศาะหาบะฮฺจึงไดเอาอินทผลัมไปใหพวกเขาและบอยครั้งที่บรรดาเศาะหาบะฮฺ จะเชิญพวกเขารับประทานอาหารรวมกันที่บาน ดังอายะหอัลกุรอาน ความวา “และผูดํารงมั่นในการเศาะลาฮฺและจายจากสิ่งเราไดประทานแกพวกเขา” (อัลบะเกาะเราะฮฺ, 2 : 3) จากที่กลาวมาขางตนสามารถประมวลไดวาสังคมมุสลิมนั้นมีตนทุนทางสังคมเกี่ยวกับการบริหาร การปกครองที่ส ามารถขับ เคลื่อสังคมไปขางหนาอยางมั่งคงดวยบัญญัติจากฟากฟา นั้นคือ “การเศาะ ลาฮฺญะมาอะฮฺ” เปนหลักการที่สอดคลองกับวิถีการบริหารการปกครองของมุสลิมภายใตหลักคุณธรรมและ จริยธรรมเปนตัวชี้นํา การใหความยุติธรรมตอราษฎร การกระจายสิทธิผลประโยชนอยางเทาเทียม การ ปกปองสิทธิผูถูกอธรรมเหนือผูละเมิด การคืนสิทธิของผูถูกกดขี่จากผูมีอิทธิพล การเปดโอกาสใหชนชั้น อยางเทาเทียม การดูแลสิทธิชนที่ถูกทอดทิ้งในสังคม รวมถึงการอุปถัมภสิทธิพื้นฐานของมนุษยโดยรวม(อิส มาอีลลุตฟ จะปะกียา, 2551: 22 – 23) จนนําสูรูปแบบการเมืองการปกครองที่มีธรรมาภิบาล ฉะนั้นสังคม มุสลิมจําเปนตองมีความตระหนักและรวมกันรณรงคใหรวม เศาะลาฮฺญะมาอะฮฺอยางพรอมเพรียงกัน รวม ทั้งเสริมสรางความเขาใจตามเจตนารมณของ เศาะลาฮฺญะมาอะฮฺอยางแทจริง เพื่อสรางพลังแหงการ เปลี่ยนแปลง การคัดเลือกผูนํามุสลิมจําเปนตองพิจารณาคัดสรรบุคคลที่มีความสามารถและเหมาะสมบน พื้นฐานของอิสลามอยางเครงครัด เฉกเชนการคัดเลือกผูนํามุสลิมเพื่อเปนอิหมามนําเศาะลาฮญะมาอะฮฺทไี่ ด สงผลตอการฏออะฮฺ ขณะเดียวกันประชาชนจําเปนตองกลาตักเตือนผูนําเมื่อครั้นเห็นความผิดพลาดอยาง ประจักษอยางมีวิทยปญญาจนนําสูการทํางานแบบอิสติกอมะฮฺ เกิดความรักและความสัมพันธที่ดีซึ่งเปน พื้นฐานของเสถียรภาพในการจัดระเบียบสังคมดวยหลักชะรีอะฮฺ เอกสารอางอิง มุริด ทิมะแสน. 2541. มุสลิมบทบาทที่ตองทบทวน. กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ. มูฮัมมัด ซะกะรียา. ม.ป.ป. คุณคาของอามาล. แปลจาก Fada’l al – ‘A’mal. ม.ป.ท. ม.ป.พ. ละหมาด ญะมาอะฮฺ. 2530. กรุงเทพฯ: เทคนิค 19. สมาคมศิษยเกาอาหรับประเทศไทย. 2542. พระมหาคัมภีรอัลกุรอานพรอมความหมายภาษาไทย. ศูนยกษัติย ฟะฮัด เพื่อการพิมพอัลกุรอาน : ซาอุดีอาราเบีย. อัลกอรอฎอวีย, ยูซุฟ. 2546. ขบวนการเคลื่อนไหวอิสลามกับความทาทายของยุคสมัย. แปลและเรียบ เรียงโดย มุฮัมมัด ศิรอุดดีน. กรุงเทพฯ : อิสลามิก อะเคเดมี. อัลกอรอฎอวีย, ยูซุฟ. 2547. สูการฟนฟูอิสลาม. แปลโดยสมาคมนักศึกษามุสลิมแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สมาคมนักศึกษามุสลิมแหงประเทศไทย. อัลบันนา, หะซัน. 2546. สารแดผูรับใชอิสลาม. แปลและเรียบเรียงโดยยะอฺกูบ สืบสุข. กรุงเทพฯ: อัลอิ หฺซาน. เมาดูดีย, อบุล อะอฺลา. 2532. เคล็ดลับแหงความสําเร็จ คูมือฝกฝนและเปลี่ยนแปลงตนเองของ ผูปฎิบัติงานเพื่ออิสลาม. แปลโดย อุมัร อับดุลอาซิซ รัตนวิทย; และ มุฮัมมัด ศิรอศุดดีน นวน มี. กรุงเทพฯ: สมาคมยุวมุสลิมแหงประเทศไทย. 548

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

นัดวี, อัลลามะฮฺ ซัยยิด สุลัยมาน. 2543. นมาซ ศาสนากิจอิสลาม. แปลโดยบรรจง บินกาซัน. กรุงเทพฯ: อัลอามีน. อับดุลฮาดี สะบูดิง. 2547. แนวคิดเกี่ยวกับอิมามะฮฺศึกษาเปรียบเทียบระหวางอะฮฺลิสสุนนะฮฺและ ชีอะฮฺ วิทยานิพนธมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ปตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ‘Ala’ al–Din. 1408 H. al– Ahsan fi Taqrib Sahฺih Ibn Hibban. Bayrut : Mu‘asasah Risalah. ‘Isma’il, Muhammad. 1405 H. al– ‘Adab al – Mufrad. 2nd Edition. Bayrut: ’Alim al– Kutub. Abd al-Rahman, U’mudirah. 1996. Menbentuk Insan Kamil Terjamahan Abdulhadi ba sultanah. Kuala Lumpur: Dar al- Na’im. Abu Da’ud, Sulaiman bin al–‘Ash’as al–Sijistaniy al–‘Zdhiy. 1997. Sunan Abi Da’ud . Bayrut : Dar Ibn Hazam. al–Alaqah, Syikh Muhammadul Hadarah Hasan. n.d.. Ad - Da’wah ila al- Isฺlah. Saudi: Darul ar– rayah lil nasyari wat - tauzi’. al–Baihaqiy, Ahmad bin al–Husin. 1992. Sunan al – Baihaqiy al – Kubra. Bayrut: Dar al – Ma’rifah. al–Baniy, Muhammad Nasir al–Din. 1997. Da’if Sunan Ibn Majah. Maktab al– Ma’arif li al–Nashriy wa al–Tauzi’ li sahibiha Sa’ad bin Abd al – Rahman al– Rashid. al–Baniy, Muhammad Nasir al–Din. 1997. Sahih Sunan Ibn Majah . Maktab al– Ma’arif li al– Nashriy wa al–Tauzi’ li sahibiha Sa’ad bin Abd al–Rahman al–Rashid. al–Baniy, Muhammad Nasir al–Din. 1998. Sahih Sunan al – Nasa’iy. Maktab al– Ma’arif li al–Nashriy wa al–Tauzi’ li sahibiha Sa’ad bin Abd al – Rahman al– Rashid. al–Baniy, Muhammad Nasir al–Din. 1998. Da’if Sunan al – Nasa’iy. Maktab al– Ma’arif li al–Nashriy wa al–Tauzi’ li sahibiha Sa’ad bin Abd al – Rahman al– Rashid. al–Baniy, Muhammad Nasir al–Din. 2000. Da’if Sunan Abi Da’ud Maktab al–Ma’arif li al – Nashriy wa al–Tauzi’ li sahibiha Sa’ad bin Abd al–Rahman al– Rashid. al–Baniy, Muhammad Nasir al–Din. 2000. Sahih Sunan Abi Da’ud. Maktab al– Ma’arif li al–Nashriy wa al–Tauzi’ li sahibiha Sa’ad bin Abd al–Rahman al– Rashid. al–Baniy, Muhammad Nasir al–Din. 2002. Da’if Sunan al– Tirmidhiy. Maktab al–Ma’arif li al–Nashriy wa al–Tauzi’ li sahibiha Sa’ad bin Abd al–Rahman al– Rashid. al–Baniy, Muhammad Nasir al–Din. 2002. Sahih Sunan al – Tirmidhiy. Maktab al– Ma’arif li al–Nashriy wa al–Tauzi’ li sahibiha Sa’ad bin Abd al– Rahman al– Rashid. al–Baniy, Muhammad Nasir al–Din. 1408 H. Sฺahฺihฺ Sunan Ibn Majah. al–Riyadh: Maktab al–Tarbiah al– Arabiy li Daul al – Khalij. al–Baniy, Muhammad Nasir al–Din. 1409 H. Sฺahฺihฺ Sunan al – Nasa‘iy. al–Riyadh: Maktab al–Tarbiah al–Arabiy li Daul al– Khalij. . al–Baniy, Muhammad Nasir al–Din. 1409 H. Sahih Sunan Abi Da‘ud. al– Riyadh: Maktab al–Tarbiah al– Arabiy li Daul al–Khalij. Graduate School and Research / 15 May 2013

549


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

al–Baniy, Muhammad Nasir al–Din. 1408 H. Sฺahฺih Sunan al–Tirmidhiy. al–Riyadh: Maktab al–Tarbiah al–Arabiy li Daul al–Khalij. al–Baniy, Muhammad Nasir al–Din. 1409 H. Sahib al – Targhib wa al–Tarhib. al– Riyadh : Maktab al–Ma’arif. al–Bukhariy, Abu Abd al–Lah Muhammad bin ‘Isma’il. 1992. Sฺahฺihฺ al–Bukhariy. Bayrut: Dar al – fikr. al–Damshaqiy, Ibn Qadiy Shahban. 1399 H. Tabaqat al–Shafi’iah. Mutaba’ah majlis da’irah al – Ma’arif al – Usmaniah hidara abad al – Dukan. al-fuyumi’, Ahmad bin Muhammad. 1994. Al- Misbah al–Munir. Bayrut: Dar al- Kutup al-Ilmiyah. al–Khatib, Abi Bakr Ahmad bin Ali. n.d. Tarikh Baghdad. Bayrut: Dar al- kutub al– Arabi. al–Nawawiy, 1401 H. Sharah al–Nawawiy ’ala Sฺahฺihฺ Muslim. Bayrut: Dar al– fikr. al–Shafi‘iy, Muhammad bin Idris. 1393 H. al–’Um. 2nd Edition. Bayrut : Darul al– Ma’rifah. al–Tirmidhiy, Abi ‘Isa Muhammad bin ‘Isa bin Surah. 1978. Al–Jami’ al–Sฺahฺih. (Sunan al–Tirmidhiy). Shirkah Maktabah wa Taba’a Mustafa al– Baniy al–Hilbiy wa ‘auladuhu. al–Tirmidhiy, Abi ‘Isa Muhammad bin ‘Isa bin Surah, Abi ’Isa Mahammad bin ’Isa bin Surah. n.d. Jami’ al–Tirmidhiy. Bayrut : Dar al- kutub al– Arabiy. al-‘Arabi, Abi Bakr. n.d. ’Ahkam al–Qur‘an. Bayrut: Dar al– Ma’rifah. al–Zuhailiy, Wahbah. 1409 H. al– Fiqh al – Islamiy wa ‘Adillatahu. Bayrut: Dar al– Fiqh. Fadฺ Ilahiy. 1992. Ahammiah Sฺalah al- Jama’ah. al– Qahirah: Ibn Taimiah. Hanbal, Ahmad. 1998. al – Musnad Ahmad bin Hanbal. al – Qahirah: Dar al– Hadidh. Ibn al–Manzur, ‘Abi al – Fadl Jamal al–din Muhammad bin Mukrim Ibn Manzur al–Qurtubi al – Misriy. 1993. Lisan al – Arabiy. Bayrut : Dar Sadir. Ibn Balban, ‘Ala’ al – din Ali bi Balban al– farisiy. 1993. Sahih Ibn Hibban. 2nd Edition. Syria : Mu’assasah al – Risalah. Ibn Hajar, al–‘Asqalani, Shihab al–Din Ahmad bin ‘Ali al–Shafi’iy. 1996. Tahdhib al– Tahdhib. Bayrut: Dar al – Kitab al–‘Ilmiah. Ibn Hajar, al–‘Asqalani, Shihab al–Din Ahmad bin ‘Ali al–Shafi’iy. 1996. Taqrib al– Tahdhib. Bayrut: Mu’assasah al–Risalah. Ibn Hajar, al–‘Asqalani, Shihab al–Din Ahmad bin ‘Ali al–Shafi’iy, n.d. al–’Isฺabah fi Tamyizฺ al – Sฺahabah. Bayrut: Dar al– Kutub al–‘Ilmiah. Ibn ‘Isma’il, Muhamad bin Ahmad. n.d. al – Sฺalah limadha? al - ’Iskandariah: Dar al ’Aqdah li al–Turath.

550

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

Ibn Khuzaimah, Abi bakr bin Ishak. 1395 H. Sahih Ibn Khuzaimah. Bayrut: al–Maktab Islamiah. Ibn Majah, Muhammad bin Yazid. 1996. Sunan Ibn Majah. Bayrut: Dar al– Ma’rifah. Ibn Sa’ad, Muhammad bin Sa’ad al - Basriy. 1990. Tabaqat al– Kubra. Bayrut: Dar al– Kutub al–‘Ilmiah. Ibn Sa’ad, Taj al–din al – Subkiy,‘isa al–Baniy al–hilbiy wa Sharakah. 1388 H. al– Tabaqat al – Kubra. Bayrut: Dar Sadir. Khuzaimah, Abi Bakr Muhammad bin Ishak. n.d. Sฺahฺihฺ Ibn Khuzaimah. Bayrut: Maktab al– Islamiy. Mu’jam al - wasit. 1989. Istanbul: Dar ad - Da’wah.

Graduate School and Research / 15 May 2013

551



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

การวิเคราะหแนวคิดทางปรัชญาอิสลามของนักคิดมุสลิม เชคดาวูดแหงรัฐปตตานี Analysis of Islamic Philosophy for Muslim Thinker Shik Daud Al-Fathony แวยูโซะ สิเดะ1, อับดุลยลาเตะ สาและ2 1

Ph.d.(ภูมิศาสตร) อาจารยประจําสาขาวิชาอุศุลุดดีน คณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา, 2ศษ.ม.(การศึกษาอิสลาม) อาจารยประจําสาขาวิชาอิสลามศึกษา คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

บทคัดยอ การวิจัยครั้ง นี้มีวัตถุประสงคเ พื่อ (1) ศึกษาประวัติความเปนมาแนวคิดของนัก คิดมุส ลิมในรัฐ ปตตานี (2) เพื่อวิเคราะหแนวคิดและปรัชญาทางศาสนาของทานเชคดาวูด อัลฟะฏอนี ตามที่มีอยูใน หนังสือตาง ๆ ของทาน การศึกษาครั้งนี้ใชวิธีการทางประวัติศาสตร โดยศึกษาคนควาขอมูลจากเอกสาร ไดแก ตําราวิชาการตางๆ วิเคราะหขอมูลเชิงวิพากษวิจารณทั้งภายในและภายนอก จากการศึกษาพบวา 1.ผลการวิเ คราะหส ภาพทั่วไปเกี่ยวกับ ยุคตางๆ ของการเผยแผแนวคิดทางปรัชญาอิส ลามใน ปตตานี จะรับการเปลี่ยนแปลงตลอดโดยเฉพาะดานความเชื่อทางศาสนา จากศาสนาฮินดูมาเปนศาสนา พุทธและในชวงสุดทายเปลี่ยนเปนศาสนาอิสลาม การเปลี่ยนแปลงที่ปรากฏอยูในสังคมปตตานีมีอยูตั้งแต อดีต ซึ่งจะมาในเชิงพัฒนาไปสูสังคมที่มีความอิสระทางดานแนวคิดและความเชื่อ 2.การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับแนวคิดทางปรัชญาของเชคดาวูด ทานไดเผยแพรแนวคิดของทาน มี 2 รูปแบบ (1) ผานตําราและหนังสือที่ทานไดแตงเอง (2) ผานนักศึกษาที่กลับมาเปนตัวแทนอธิบายหนังสือ ของทานสูสังคมโดยเฉพาะหนังสือมุนยะตุลมุศอลลีย และเลมอื่นๆ สําหรับแนวคิดของทานที่สังคมไดรับอิทธิพลอยางทั่วถึง คือ หลักความเชื่อใชหลักอัลอัซอะรียะฮฺ หลักปฏิบัติใชหลักอัลชาฟอีย หลักจริยธรรมใชหลักอัลชาฏอรียะฮฺ คําสําคัญ: ปรัชญาอิสลาม นักคิดมุสลิม เชคดาวูดแหงรัฐปตตานี

Graduate School and Research / 15 May 2013

553


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT This research aims to (1) study the history of the concept of a thought in the Muslim state of Pattani (2) to analyze the concept and philosophy of religion for shik Dawod Al- Fathony Research data available in his books This study used the historical method , By studying documents, including texts from various academic , Critical analysis of both internal and external system The study found that (1) Analysis conditions for different periods. The propagation of Islamic Philosophy in Pattani Have been changing, especially religious beliefs. From Hinduism to Buddhism and converted to Islam during the last. Changes that occur in society has existed since the former Pattani. It came in a society that has evolved into the concept of freedom and faith. (2) Analysis on Philosophy of David shakes. He has published a concept you have two forms: (1) through texts and books that you can customize (2) a student who came to represent the books of the society, especially the Monyatu musholi book and other books. For the concept of the social influence thoroughly Doctrine is the main al asariah Practices used to feed Al Shafiah and Ethical use al- Shatoriah Keywords: Islamic Philosophy Muslim Thinker Shik Daud Al-Fathony

554

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา หลังจากทานนบีมุหัมหมัด  สิ้นชีวิต ประชาชาติมุสลิมไดขยายอาณาเขต และประชากรก็ไดเพิ่ม ขึ้นมาอยางรวดเร็ว ศาสนาอิสลามแพรหลายกวางขวาง กระจายไปสูสวนภูมิภาคตาง ๆในทวีปแอฟริก า บางสวนในยุโรปและเอเซีย ในประมาณตนศตวรรษที่ 15 อิสลามไดมาสูรัฐปตตานี (Encyclopedia of Asian History, vol. 3, P. 220) โดยนักปราชญมุสลิมทานหนึ่งจากเมืองปาสัย (Pasai) ชื่อวาเชคสาอิด (Said) ซึ่งมีสุสานตั้งอยูบานแบรอ (ตําบลตะลุโบะ อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี ) (Ahmad Fathy alFatani, 2551) ตามประวัติศาสตรปตตานี (Hikayat Patani) (Ahmad Fathy al- Fatani, 1970: 75), ราชวงศ ปตตานี(Phya Tu Naqpa) ไดเปลี่ยนการนับถือจากศาสนาฮินดูเปนศาสนาอิสลามดวยการชักชวนของ นักปราชญดังที่กลาวมาขั้นตน เมื่อไดรับอิสลามพระองคไดเปลี่ยนชื่อจากเดิมมาเปนชื่อใหม (ชื่ออิสลาม) โดยทานเชคสาอิด ตั้งชื่อวา สุลตาน อิสมาเอล ซารห ษิลลุลลอฮฺ ฟล อาลัม (‫ )ﻇﻞ اﷲ ﰱ اﻟﻌﺎﱂ‬การเขารับ อิสลามของพระองคในครั้งนี้ตามดวยบุตรจํานวน 3 คน บุตรชายคนโตหลังจากไดรับอิสลามทานเชคสาอิด ไดตั้งชื่อวา สุลตาน มุสัฟฟาร ซารห คนกลางเปนบุตรสาวตั้งชื่อวา ซิตี อาอิชะฮฺ และคนสุดทองเปน บุตรชายเปลี่ยนชื่อวา สุลตานมันศูร ซารห จากจุ ดนี้เ ป นจุดเริ่ม ตน ของการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ จากวัฒ นธรรมดั่ง เดิ ม (ทอ งถิ่น )สู วัฒนธรรมอิสลาม ทานอะหมัด ฟตหีย ไดกลาววา การเปลี่ยนแปลงในสังคมมาลายูปตตานีมาสูการพัฒนา ทางศาสนานั้นมีตลอดจากการที่รัฐกอนๆไดเปลี่ยนศาสนาที่มีความเชื่อและแนวคิด (โลกทัศน)กวางยิ่งขึ้น เนื่องจากศาสนาในปตตานีโบราณ(สมัยลังกาสุกะ) ประชาชนสวนมากนับถือศาสนาฮินดู (Ahmad Fathy al- Fatani, 1994: 2) การเปลี่ยนแปลงของสังคมปตตานีในศตวรรษที่16 นั้น เกิดจากปจจัยสําคัญปจจัยหนึ่ง คือ การ เปลี่ยนศาสนาของสังคม จากการแบงชนชั้นวรรณะมาสูความเปนอิสระและความเทาเทียมในสังคม ยุค ตอมาเมื่ออิสลามเขามามีบทบาทในสังคม หลังจากเจาเมืองปตตานีไดเขามารับอิสลาม ทําใหสังคมทั่วไป เปลี่ยนศาสนามาเปนศาสนาอิสลาม เมื่ออิสลามในสมัยนั้นมีบทบาทในวัง ทําใหนักคิดนักปราชญไดรับ ความอนุเคราะหจากราชวัง และทําใหมีบทบาทขึ้น เปนจุดเริ่มตนของการพัฒนาสังคมสูอิสลามและการ ปฏิบัติตาง ๆ แบบอิสลาม นับวาดวยความบริสุทธิ์ใจของนักปราชญรุนกอนๆ ทําใหปตตานี สามารถบันทึก ประวัติศาสตรการศึก ษาและปรัชญา และคงจะไมผิดหากเราจะกลาววา วรรณกรรมตางๆ และระบบ การศึกษาในศตวรรษที่ 16 ของปตตานีเปนตัวอยางแกรัฐเพื่อนบานในสมัยนั้น เชน รัฐเคดะ กลันตัน เปน ตน และผลงานเหลานั้นยังเปนแบบเรียนมาตลอดจนถึงปจจุบัน ดวยเหตุดังกลาวทําใหเกิดมุมมองในเรื่อง การใหฉายานามแกปตตานีในสมัยนั้นวาดารุสลามพรอมๆกับรัฐอื่นๆ เชน อาเจะห บรูไน และ ปอลิมบัง (Ahmad Fathy al- Fatani, 76) ในตนศตวรรษที่ 19 มีนักคิดเปนจํานวนมากที่มีผลงานเปนประโยชนสืบทอดมา เชน (1) เชคดาวุด อัลฟะฏอนีย (เกิด 1856 เสีย 1906) (2) เชคอะหมัด อัลฟะฏอนีย (ชวงมีชีวิตอยู 1883 - 1925) (3) เชคซัยนุล อาบีดีน บิน มูหัมมัด (4) เชคมุฆัมมัด(‫ ﻣﻐﻤﺪ‬Muqammad) บิน อิสมาเอล ดาวุด อัลฟะฏอนี (5) และอื่นๆ จากการที่ไดก ลาวมาทั้งหมดขางตน เปนแนวทางที่สําคัญ เพื่อรูถึง แนวความคิดตางๆ ที่นัก คิด นักปราชญนักเขียนในสมัยนั้นเผยแผศาสนาใหแกสังคมปตตานี ถึงแมในสมัยนั้นยังไมเปนรูปแบบที่ชัดเจน ถึงความแตกตางของแนวความคิดตางๆ แตเราสามารถแยกไดเปนตัวบุคคล ทานเชคดาวุด อัลฟะฏอนีย Graduate School and Research / 15 May 2013

555


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เปนนักแตงตําราทานหนึ่ง ในตนศตวรรษที่ 19 ทานเขียนตําราใหชนรุนหลังสืบทอดมามากมายถึง 120 เลม ในตําราเหลานั้นเราสามารถวิเคราะหแนวคิดของทานไดในทุกดาน เพราะตําราของทานครอบคลุมทุกดาน ไมวาจะเปนดานเตาฮีด ฟกฮ ตะเศาวุฟ อัลฮาดิษ ประวัติศาสตร และอื่นๆ ความพยายามของทานเชคดาวูด ทานไดประสบผลสําเร็จเปนอยางมากจากการเขียนตํารับตํารา ซึ่งทุกปทานจะเขียนอยางนอย 1 ถึง 2 เลม ตําราบางเลมของทานเขียนเปนภายาวี แตชื่อตําราสวนใหญเปน ภาษาอาหรับ และทานมักเลือกเอาคําไพเราะและสวยงามในภาษา อาทิ 1) อัรดุรรุ อัชชะสะมัน 2) กัชฟุล ฆุมมะห 3) อัล-ญาวาฮิร อัซซานียะห เปนตน จากหนังสือที่ทานแตงไวที่มีอยูในหองสมุดตาง ๆ และหาไดใน ปจจุบัน เราสามารถวิเคราะหแนวคิดหรือปรัชญาทางศาสนาของทานได การแยกกลุมแนวความคิดใน ประวัติศาสตรปตตานีนั้น จะเห็นไดชัดก็ภายหลังจากที่มีนักศึกษาจบมาจากตะวันออกกลางจํานวนมากขึ้น ในปลายศตวรรษที่ 19 หรือตนศตวรรษที่ 20 ซึ่งมีความแตกตางและแยกกลุมเปนสะลัฟ เคาะลัฟ และตอรี เกาะห เปนตน ซึ่งกลายเปนปญหาที่ซับซอนและลึก ซึ้ง สิ่งเหลานี้จําเปนจะตองนํามาศึกษาใหเกิดความ ชัดเจน ดวยเหตุนี้คณะผูวิจัยจึงเกิดความสนใจที่จะศึกษาปญหาดังกลาว วัตถุประสงคของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้คณะผูวิจัยไดกําหนดวัตถุประสงคไว 2 ประการดวยกัน ดังตอไปนี้ 1. เพื่อศึกษาประวัติความเปนมาแนวคิดของนักคิดมุสลิมในรัฐปตตานี 2. เพื่อวิเคราะหแนวคิดและปรัชญาทางศาสนาของทานเชคดาวูด อัลฟะฏอนี ตามที่มีอยูในหนังสือ ตางๆ ของทาน ขอบเขตของการศึกษาวิจัย การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยจะทําการวิเคราะหแนวความคิดของนักคิดมุสลิมปตตานีเชคดาวูด ผานหนังสือ งานเขียนของทาน โดยไดแยกประเด็นตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1. ศึกษาประวัติความเปนมาของนักคิดมุสลิมในรัฐปตตานี 2. วิเคราะหแนวคิดทางปรัชญาอิสลามของทานเชคดาวูด อัลฟะฏอนี ตามที่มีอยูในหนังสือตางๆ ของทาน 3. วิเ คราะหที่บ างสว นของเนื้อหาที่แสดงถึง แนวคิดที่เ ป นหลัก ศรัท ธา หลัก ปฏิบั ติ และหลั ก จริยธรรมของทานเรียบเทียบกับนักคิดรวมสมัยบางคนในชวงศตวรรษที่ 19-20 วิธีดําเนินการวิจัย การรวบรวมขอมูล การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ การวิเคราะหขอมูล การรวบรวมขอมูล ศึกษาเอกสาร เริ่มตนจากการเก็บรวบรวมขอมูล (1) จากหนังสือ ตํารา และ เอกสารตางๆทีเกี่ยวของกับประวัตินักคิดมุสลิม เชคดาวูด ทั้งโดยทางตรง และทางออม (2) ศึกษาแนวคิด ทางปรัชญาอิสลามของเชคดาวูดจากเนื้อหาที่เกี่ยวของ และตั้งหัวขอยอย (3) แปลเนื้อหาที่เกี่ยวของและ ชี้แจงที่มาของเนื้อหาที่เกี่ยวของกับแนวคิดทางปรัชญาอิสลามของทาน การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ เปนการพิจารณาขอมูลที่ไดมาจากเอกสารที่เกี่ยวของ มาแยกแยะ เปนหัวขอยอย เพื่อรูถึงกรอบและความหมายแนวคิดทางปรัชญา เพื่อรูพัฒนาการแนวคิดทางปรัชญาของ

556

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

นักคิดมุสลิมในประวัติศาสตรอิสลาม ตลอดจนพัฒนาการแนวคิดของนักคิดมุสลิมปตตานีตั้งแตสมัยกอนเชค ดาวูดจนถึงปจจุบัน การวิเคราะหขอมูลของการวิจัยครั้งนี้ ไดดําเนินแบบอุปนัย คือ สรางขอสรุปจากสิ่งที่ปรากฏขึ้นใน ขณะที่ดําเนินกิจกรรมตามกระบวนการวิจัยและการวิเคราะหจากขอมูลในหนังสืออางทั้งปฐมภูมิและทุติย ภูมิ และนําเสนอผลการวิเคราะหในรูปแบบรายงานเชิงพรรณนาวิเคราะหของขอคนพบในการวิจัย ในการ รายงานผลการวิจัยไดรายงานเปนเรียงความเชิงบรรยาย ประกอบกับขอความสําคัญที่ไดจากการสังเกต ซึ่ง มีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการวิเคราะห ดังนี้ 1.การวิเคราะหเชิงประวัติศาสตร 2.การวิเคราะหที่ใชหลักอุศูลุ อัลฟกฮฺ 3.การวิเคราะหโดยใชหลักการหะดีษ 4. การวิเคราะหโดยใชทัศนะของอุลามาอฺ (นักปราชญ) สรุปและการอภิปรายผลการวิจัย การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลแนวคิดทางปรัชญาศาสนาของเชคดาวูด ดังนี้ (1) ผลการวิเคราะหสภาพทั่วไปเกี่ยวกับยุคตางๆในการเผยแผแนวคิดทางปรัชญาอิสลามในปตตานี สภาพการตอบรับศาสนาตางๆโดยทั่วไปในสังคมมลายูปตตานีเดิม จะเห็นไดวา แนวคิดของสังคม มลายูในปตตานีตั้งแตเดิม รับการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะดานความเชื่อทางศาสนา เดิ่มกอนที่ศาสนาอิสลาม เขามาปก หลัก ในปตตานี สัง คมโดยทั่วไปนับ ถือศาสนาฮินดู ตอมาไดเปลี่ยนเปนศาสนาพุท ธ เมื่อมีนัก เผยแพรอิสลามไดเขามาในพื้นที่ ทําใหสังคมไดใหความเชื่อและศรัทธาตอศาสนาใหม คือ ศาสนาอิสลาม การเปลี่ยนแปลงที่ปรากฏอยูในสังคมปตตานีมีอยูตั้งแตอดีต ซึ่งจะมาในเชิงพัฒนาจากที่สังคมมีแนวคิดที่ไม มีความอิสระ ซึ่งแนวคิดหรือความเชื่อในเรื่องการแบงชนชั้นวรรณะในศาสนาฮินดู เปลี่ยนมาเปนแนวคิดที่มี ความอิสระในศาสนาพุทธ และตอมาสังคมทั่วไปไดเปลี่ยนมารับศาสนาอิสลาม เมื่อศาสนาอิสลามไดปกหลักในสังคมปตตานี ทําใหปตตานีเปนฐานรองรับแนวคิดตาง ๆ เกี่ยวกับ ปรัชญาอิสลาม ทําใหผูวิจัยเห็นถึงการแบงยุคในเผยแพรแนวคิดทางปรัชญาอิสลามในปตตานี ตั้งแตสมัย แรกมาจนถึงปจจุบันได ดังนี้ 1) ยุคแรกสมัยเชคสะอีด แนวคิดทางปรัชญาอิสลามในยุคนี้มีเพี ยงแคมุสลิม เขารับอิสลามผานการกลาวซะฮาดะฮฺเทานั้น ซึ่งการปฏิบัติศาสนกิจตาง ๆ ยังไมคอยไดกําชับและพัฒนา หรือการปฏิบัติของพวกเขา จะมีแคเฉพาะการ ไมรับประทานเนื้อหมู ไมกราบไหวรูปปน แตพิธีการอื่นๆ ยังปฏิบัติและเชื่อกับสิ่งงมงายอยู เนื่องจากความเชื่อของศาสนาเดิมยังครอบงําอยูในจิตใจ ซึ่งลําบากมาก สําหรับนักเผยแพรกําชับในเรื่องนี้ แตอยางไรก็ตามสังคมโดยทั่วไดรับการปฏิบัติในเชิงคอย ๆ ปฏิบัติ 2) ยุคเชควันหุสัยน สะนาวีย คือ ยุคสัง คมกอนเชคดาวูดการกอตั้งสถาบัน เพื่อเผยแพรวิทยาการอิสลาม หลังจากปตตานีถูกรุกรานจากกองทัพสยาม เพื่อปลอดภัยในอิสลาม จึงมีการกอตั้งสถาบันการศึกษาอิสลาม แหงแรกขึ้น ที่ตะโละมาเนาะ แนวคิดทางปรัชญาอิสลามในยุคนี้ เพียงแคอยูในความคิดและความจําของอุ ลามาอฺเทานั้น ยังไมไดเขียนเปนลายลักษณอักษร และเชื่อวา มีเพียงอุลามาอฺบางคนเขียนตําราขนาดเล็ก เพื่อใชเปนแบบเรียนแกนักศึกษาที่เรียนในสมัยนั้น 3) ยุคเชคดาวูด อัลฟะฏอนีเปนการเผยแพรแนวคิดผาน ตํารา 4) ยุคหลังเชคดาวูดเสียชีวิตเปนยุคการกลับมาของนักศึกษาที่จากเมืองเมกกะ และเปนยุคเริ่มมีการ นําเสนอแบบหลากหลายแนวคิด (ดังที่กลาวตอในตอนตอไป) 5) ยุคปจจุบัน เปนยุคการกลับ มาของ นักศึกษาที่จบจากมหาวิทยาลัยเปนทางการ ซึ่งมีการนําเสนอแนวคิดอยางหลากหลาย บางกลุมไดพัฒนา Graduate School and Research / 15 May 2013

557


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

แนวคิดของกลุมตนเองเปนรูปธรรมขึ้น และสามารถยกระดับและพัฒนาแนวคิดดังกลาวขึ้นเปนนักวิชาการ ระดับอุดมศึกษา คือ การสรางมหาวิทยาลัย บางกลุมก็คงอยูกับรักษาแนวคิดเดิม (2) การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับแนวคิดทางปรัชญาของเชคดาวูด ยุคการแตงและเขียนหนังสือ เพื่อเผยแผวิทยาการอิสลามแกสังคม โดยเฉพาะเชคดาวูดเองที่ได เขียนหนังสือมากมาย ถึงแมทานไมไดประจําอยูในพื้นที่ ตามคําอธิบายในหนังสือ ประวัติศาสตรเรื่องราว ปตตานี ระบุวาทานเชคดาวูด เคยมาเยี่ยมปตตานีเพื่อปกหลักอาศัยอยูเปนทางการ เนื่องจากเหตุการณดาน การเมืองไมอํานวยความสะดวกในชวงนั้นทานเลยตอง กลับไปยังเมืองเมกกะอีกครั้ง แตทานไดสอนหนังสือ ใหแกบรรดานักศึกษาที่มาจากปตตานีไปศึก ษาตอที่นั้น ทานไดเ ผยแพรแนวคิดของทานผานตําราและ หนังสือที่ทานไดแตงเอง การเผยแพรแนวคิดของทานนั้น มีดัง นี้ 1) ดานหลักความเชื่อทานจะยึดหลัก ของอัซอะรียฮฺ 2) ดานหลักการปฏิบัติศาสนกิจทานจะใชหลักของมัษฮับซาฟอีย 3) และดานอัตตะเศาวุฟ หรือ ฏอรีเกาะฮฺทานจะใชหลักของซาฏอรียะฮฺ (2) ขอมูลเกี่ยวกับการนําเสนอหลากหลายแนวคิดในสมัยหลังจากเชคดาวูดเสียชีวิต เปนยุคการกลับมาของนักศึกษาที่จากเมืองเมกกะ และเปนยุคเริ่มมีการนําเสนอแบบหลากหลาย แนวคิด ดวยเหตุดังกลาวทําใหในพื้นที่ปตตานีเกิดความขัดแยงแนวคิดทางปรัชญาอิสลามขึ้น และไดแบง สังคมเปนไปตามความนิยม ซึ่งแยกไดสังคมมลายูในขณะนั้นเปน 2 สาย คือ 1) สายโตะครูอะหมัด อัลปอ ซานีย 2) และสายโตะครูอับดุลลอฮฺ บือแนกือบง ซึ่งทั้งสองนี้ ถกเถียงในเรื่องการอนุญาตทําบุญหลังคนตาย ซึ่ง อีก ฝายหนึ่งไมอนุญาตใหทําบุ ญ ดังกลาว เปนตน ความเห็นเพิ่มเติมหลังจากวิเคราะห 1.1 การที่ทานไดเลือกเผยแพรหลักความเชื่อตามอัชอะรียะฮฺ เชื่อวา ทานคงจะใหสังคมรากหญา สามารถเขาใจในเรืองอัลลอฮฺ งายขึ้นโดยใชแนวคิดทางปรัชญา ในคนหาหลักฐานขอเท็จจริงโดยสิฟาต ดูวอ ปูโละ (ลักษณะ) ของอัลลอฮฺ 20 คุณลักษณะ ตามแบบแนวคิดอัชอะรียะฮฺ 1.2 ทานเลือกวิชาฟกฮฺแนวทางของซาฟอีย เชื่อวา ทานคงเห็นทัศนะของซาฟอีย ซึ่งอยูปานกลาง ระหวางทัศนะของหะนาฟย และมาลีกีย 1.3 ทานเลือกคําสอนเพื่อรําลึกถึงอัลลอฮฺตามแบบอัชชะฏอรียะฮฺ ซึ่งพิธีกรรมไมแปลกมากจาก แนวทางของ อะลุสุนนะฮฺ วา อัลญะมาอะฮฺ ขอเสนอแนะ แนวคิ ด ต า ง ๆ ทางปรั ช ญาอิ ส ลามที่ ไ ด เ ผยแพร ใ นพื้ น ที่ ป ต ตานี ทํ า ให สั ง คมป ต ตานี มี ก าร เปลี่ยนแปลงพัฒนาขึ้นตลอดมา จึงมีประเด็นการถกเถียงขึ้นในยุคตาง ๆ โดยเฉพาะยุคหลังจากเชคดาวูด เสียชีวิต ข อเสนอแนะ อยากจะใหสัง คมมลายูในภูมิภาค อยาไดยึ ดหลัก การต างๆ โดยการตะอัศศุ บ (‫ )ﺗﻌﺼﺐ‬หมายความวา เห็นแกตัวไมใหเกียรติแกทัศนะหรือความเห็นอื่น ๆ เชื่อตัวเองจนเกินไป เพราะมี บางกลุมยึดหลักการในมัษฮับ หรือ ทัศนะเดียว จึงไมยอมพิจารณาทัศนะอื่นตามความเหมาะสม ทําใหเกิด เหตุการณการแบงกลุมในสังคม จนกระทั่งการไมตามหลังผูนําละหมาดของผูที่ไมใชพวกเขา เหตุการณ ดังกลาว หาไดยากมากในสังคมที่เจริญแลว ในดานการยึดหลักแนวคิดตางๆ เชน ประเทศในโลกอาหรับ 558

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช แนวคิดของเชคดาวูดเปนสวนหนึ่ง เปนที่นยิ มสําหรับสังคมมลายูในภูมิภาคแหงนี้ ซึ่งสามารถแยกแยะ ดังนี้ 1) ควรเน นหนัก วิชาเตาหี ด (หลั ก การศาสนา)ในทุก ด าน ไมควรเลือ กวิชาเตาหี ดคุณลั ก ษณะ ของอัลลอฮฺ(สิฟด ดูวอปูโละ)เทานั้น 2) ควรเลือกใชขอเท็จจริงเกี่ยวกับกฏขอปฏิบัติในอิสลามที่สอดคลองกับหะดีษของทานนบีมาก ที่สุด 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป 1) ควรเลือกหัวขอ เกี่ยวกับ การหาขอเท็จจริงในเรื่องประวัติสายตระกูลของเชคดาวูดที่ขอเท็จจริง วา ทานสืบเชื่อสายมาจากทานนบีมุหัมมัด เพราะความชัดเจนในดานนั้น 2) ควรเลือกหัวขอ เกี่ยวกับ การหาขอเท็ จจริง ในปจ จัยที่ทําใหสังคมใหความเชื่อถือตอวิธีก าร นําเสนอของทาน ในเรืองการปฏิบัติศาสนกิจตาง ๆ โดยเฉพาะการละหมาด เอกสารอางอิง กีรติ บุญเจือ. 2538. ปรัชญาสําหรับผูเริ่มเรียน. พิมพครั้งที่ 10. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช เชคดาวูด บิน อับดุลลอฮฺ อัลฟะฏอนีย. ม.ป.ป, มุนยะตุ อัลมุศอลลีย , โรงพิมพมุหัมมัด อัลนะหดียี วา อัว ลาดีหีย . นิเลาะ แวอุเซ็ง . 2540. “แนวโนม การบริห ารวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิท ยาลัยสงขลานครินทร ใน ทศวรรษ หนา (พ.ศ.2540 – 2549)” .วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. บัณฑิตวิท ยาลัย . 2541. “หลักสูตรศิล ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิช าอิส ลามศึกษา หลักสูตรใหม 2541”. ปตตานี: วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ประกิจ ประจนปจจนึก . 2516. “การปรับปรุงและสงเสริมปอเนาะใหเปนโรงเรียนราษฎรสอนศาสนา อิสลาม”, วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาการปกครอง จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. พีรยศ ราฮิมมูลา. 2545. บทบาทสถาบันอุลามาอฺและการศึกษาอิสลามปตตานีในอดีตตั้งแต ค.ศ. 17851945. ปตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. วิทยาลัยอิสลามยะลา. 2543. สารวิทยาลัย. ประจําเดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2543.หนา 6 แวอาลี โตะตาตู . 2552.ศึก ษาวิ เ คราะห ห นั ง สือ มุ นยะฮฺ อัล มุ ศอลลี ย ของเชคดาวู ด อั ล ฟะฏอนี ย , วิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร สุจิตรา ออนคอม.2538. ปรัชญาเบื้องตน .พิมพครั้งที่ 6.กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัด ทิพยสุทธิ์. สุเมธ เมธาวิทยกุล.2540. ปรัชญาเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ: สํานักพิมพโอเดียนสโตร อับ ดุล รอแม สุห ลง.2547. “บทบาทของโตะ ครู : กรณีศึก ษาโตะ ครูห ะยีวันอิดรีส บิน หะยีวันอาลี ”, วิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อัลนะวาวีย .ม.ป.ป. อัลมัจญมุอฺ ซะราหฺ มุหัษษับ ลิ ซิรอซี. เจดาห: มักตะบะฮฺ อัลอิรซาด. อัลฟครุ อัลรอซีร. อัล ซะญะเราะหอัลมุบารอกะฮฺ ฟ อิน สาบ อัล ฏอลิบียะฮฺ.มัคตาบะฮฺ ซามีละฮฺ. อัลมาวารดีย อะบู อัลหะสัน อะลี บิน มูหัมมัด อัลหะบีบ .1994.. อัล หาวี อัลกะบีร. กรุงเบรุต :ดารุล อัล ฟครฺ Graduate School and Research / 15 May 2013

559


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

อิมรอน มะลูลีม. 2534. ปรัชญาอิสลาม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพทางนํา. หนังสือภาษาตางประเทศ Ahmad Fathy .1989. Haji Abdulrahman Dala Pathony . (Pengasoh May- June). Ahmad Fathy .1992. Rumpun kelurga Ulama Patani . (Pengasoh July). Ahmad Fathi. 2001 Ulama Besar dari Fatani. Selangor : University Kebangsaan Malaysia. Ahmad Fathi.2001. Pengantar Sejarah Patani. Kelantan : Pustaka Aman. Ahmad Fathy .2002.Ulamabesar Dari Pattani . Bangi. University Kebangsaan Malaysia . Angku Ibrahim Ismail.1992.Sikh Daud Al Fathony – Peranan dan Sumbangan di Nusantara (Dewan budaya Sep.)

560

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

การพิชิตนครมักกะฮฺ กับการรังสรรคสันติภาพ About his faith to conquer the city of Mecca to make peace อิสมาแอ สะอิ อาจารยประจําสาขาวิชาอุศูลุดดีน คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

บทคัดยอ บทความหัวขอ “การพิชิตนครมักกะฮฺ กับการรังสรรคสันติภาพ” มีจุดประสงค เพื่อศึกษาการสราง สันติภาพของทานศาสนทูตในการพิชิตนครมักกะฮฺ ซึ่งจากการศึกษาพบวา ทานศาสนทูต พยายามใชสันติ วิธีในการพิชิตนครมักกะฮฺในกลยุทธตางๆ เชน เมื่อทานสั่งการเตรียมกองทัพทานไมบอกเปาหมายของการ ทําสงคราม ทานใหเกียรติแกผูนํากุเรชเพื่อใหเกิดความสงบสุข ทานใชหลักสงครามทางจิตวิทยาเพื่อกดดัน ชาวกุเรชใหยอมจํานนโดยไมมีการนองเลือด กอนเขานครมักกะฮฺทานหามไมใหฝายมุสลิมเปนผูโจมตีชาว กุเรชกอนยกเวนเพื่อเปนการปองกันตัว ในขณะที่เขาไปในนครมักกะฮฺทานเขาไปดวยความนอบนอมถอม ตน ไมยโส โอหังเฉกเชนผูพิชิตทั่วไปทานประกาศเมตตาธรรมและใหอภัย แกชาวกุเรช แมแตกับชาวกุเรชที่ เคยขมเหง รังแก และทํารายมุสลิมอยางรายแรงมากอนก็ตาม ความพยายามใชสันติวิธีในการพิชิตนครมักกะฮฺของทานศาสนาทูตประสบความสําเร็จเปนอยางสูง เนื่องจากภายหลังการพิชิตนครมักกะฮฺไดเกิดความสงบและสันติขึ้นสงผลใหชาวกุเรชและผูคนมากมายเขา รับอิสลามอันบริสุทธิ์อยางลันหลาม

Graduate School and Research / 15 May 2013

561


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT Topic of the article “about his faith to conquer the city of Mecca to make peace” The purpose was to learn about the Prophet peace in the conquest of Mecca in his faith The study found that Prophet tried to use peaceful means to conquer the city of Mecca about his faith in different ways. For example, when the army was ordered not to tell the soldiers of the war , his honor the leaders of Mecca (kurais) to achieve peace. His use the psychological warfare to pressure the city to surrender his faith, Mecca without bloodshed. Before his faith in Mecca he banned the Muslims attack is the only for defense , His Please to entered Mecca and early submission. Although the kuraisian of Mecca persecuted Muslims had given his faith. The attempt to use peaceful means to conquer Mecca of his faith, the Prophet is highly successful After the conquest was due to increased peace and tranquility. As a result, many people to Islam.

562

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา ศาสนาอิสลามนั้นมีเปาหมายที่จะรักษาไวซึ่งสันติภาพใหกับมวลมนุษย ดังจะเห็นไดจากชื่อและ แกนแทของอิสลาม ชื่อของอิสลามนั้นมีรากศัพทมาจากคําวา “ อัสสิลมฺ” ซึ่งหมายถึงสันติภาพ อิสลามมี ความหมายดั้งเดิมมาจากคําวา “ อิส ติสลาม” ซึ่งหมายถึงการนอมรับและยอมจํานนตอคําบัญชาของ อัลลอฮฺ ทั้งขอใชและขอหาม (สะอีด เฮาวา,1979: 6) ดัง นั้นผูที่เ ปนมุส ลิม คือผูนอบนอม ยอมจํานน ตออัลลอฮฺทั้งรางกายและจิตใจในทุกสถานการณ มุส ลิมที่นอบนอม ถอมตน และยอมจํานนตอคําบัญ ชาของอัล ลอฮฺนั้น คือศรัทธาชน ในภาษา อาหรับ เรี ยกวา “มุ อฺมิน ” อันมี ร ากศัพ ทจ ากคํา วา “อา มา นา” แปลว า ศรัท ธา เชื่ อมัน และมี ความหมายอีกนัย คือ สงบ ปลอดภัย (อิบรอฮีม มุสตอฟา,1980:1:28) ความหมายของสองคํานี้มีปรากฎ อยูในอัลกุรอาน กลาวคือ การศรัทธา (‫) آﻣﻦ ل‬หมายถึง การไววางใจ ความสงบ เมื่อใชคํานี้ในการคบคา สมาคมกับเพื่อนมนุษย ผูใดก็ตามที่ไดรับความไววางใจจากคนอื่น เขาคือ มุอฺมิน และหากใชคํานี้ เชื่อม กับอัลลอฮฺ (‫ )آﻣﻦ ب‬จะมีความหมายเปนการเชื่อมันศรัทธาในจิตใจ ดังนั้น ความหมายของ มุสลิม ที่มีรากศัพทมาจากคําวา อิสลาม หมายถึงผูมอบตน นอบนอมตอคํา บัญชาของอัลลอฮฺ ผูรักซึ่งสันติภาพ และความสงบสุข เชนเดียวกับ มุอฺมิน หากใชในการเชื่อมสัมพันธกับ เพื่อนมนุษยดวยกันจะหมายถึงผูที่ไดรับประกันความสงบ ผูที่ไดรับความไววางใจ โดยปรกติแลว อิสลามไมสนับสนุนการทําสงคราม นอกจากดวยเหตุความจําเปนอยางที่สุด ที่ มี จุดประสงคเพื่ออัลลอฮฺ ซึ่งตองอยูภายใตกฏเกณฑ และเงื่อนไขที่ถูกกําหนดไวแลว ตองผานกระบวนการ เรียกรองสูสันติภาพ หรือการตอบรับอิสลามอยางถูกตอง ชอบธรรม ไมกระทําการโจมตีบุคคลใด หรือฝาย ใด นอกจากตองรับผิดชอบในผลแหงการกระทํานั้น ทั้งในดานศาสนบัญญัติ และกฏหมาย การญิฮาด หรือ การทําสงครามในอิสลาม มีจุดประสงคคือ เพื่อตอบโตความอยุติธรรม การรุกราน ปกปองพิทักษชีวิต ครอบครัว ทรัพยสิน ศาสนา และมาตุภูมิ เพื่อประกันเสรีภาพ ในดานการศรัทธา การปฏิบัติตามศาสนกิจ ที่บรรดาผูรุก รานพยายามใสราย หรือกีดขวางไม ใหมีเ สรีภาพดานความคิดและการนับถือศาสนา เพื่อ พิทักษการเผยแผอิสลามที่ค้ําชูความเมตตา ความสงบ ความสันติแกมนุษยชาติ เพื่อใหบทเรียนแกผูละเมิด สัญญา หรือผูรุกรานบรรดาผูศรัทธาหรือผูทําตัวเปนปฏิปกษกับคําบัญชาของอัลลอฮฺ ปฏิเสธความยุติธรรม การประนีประนอม การทําสงครามในอิสลามยังมีจุดมุงหมายในการใหความชวยเหลือ แกผูที่ถูกกดขี่ ไมวา จะอยูที่ใดก็ตาม ปลดปลอยและปกปองเขาจากการรุกรานจากบรรดาผูอธรรม (อิสมาอีลลุตฟ จะปะกียา, 2006: 81-82) มูลเหตุสูการพิชิตนครมักกะฮฺ ในสนธิสัญญาหุดัยบียะฮฺ ซึ่งเกิดขึ้นในปที่ 6 แหงฮิจเราะฮศักราช ณ สถานที่ที่ชื่อวา หุดัยบียะฮฺ อยูใกลกับ นครมักกะฮฺ บนเสนทางไปยังนครเจดดะฮในปจจุบัน ในสนธิสัญญานี้อนุญ าตใหชาวอาหรับ สามารถทําสนธิสัญญากับฝายมุสลิม หรือกับชาวกุเรชก็ได ตระกูลบักรจึงไดทําสนธิสัญญากับกุเรช สวน ตะกูล คุซาอะฮฺไดทําสนธิสัญญากับ ฝายมุสลิม ในปฮ .ศ.8 ตระกูล บักรไดรุก รานตระกูลคุซ าอะฮฺ โดยได สังหารชายชาวคุซาอะฮฺไปหลายคน ชาวกุเรชไดใหความชวยเหลือแกตระกูลบักรดวยทรัพยสิน และอาวุธ ยุทโธปกรณ การกระทําเชนนี้ถือวาเปนการละเมิดสนธิสัญญาหุดัยบียะฮฺ ผูนําตระกูล คุซาอะฮฺจึงไดไปขอ ความชวยเหลือจากทานศาสนทูต และเมื่อทานไดทราบทานไมพอใจชาวกุเรชเปนอยางยิ่ง อยางไรก็ตาม ทานมิไดตัดสินใจทําสงครามกับพวกกุเรชทันที แตไดสงผูแทนไปยังพวกกุเรช ใหพวกเขาเลือกระหวาง การ Graduate School and Research / 15 May 2013 563


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เลิกสนธิสัญญากับตระกูลบักร หรือการจายคาทดแทนแกตระกูลคุซาอะฮฺ หากไมเชนนั้นหมายถึง พวกเขา ไดยินยอมใหเกิดสงครามขึ้น (อัศศ็อลลาบีย, 2009: 887) การกระทําของทานศาสนทูตเชนนี้เปนสิ่งที่บง บอกวาทานมีความปรารถนาใหเกิดสันติภาพ โดยพยายามเลือกสันติวิธี แตชาวกุเรชกลับไมยอมรับขอเสนอ ของทาน การเตรียมกองทัพเพื่อพิชิตนครมักกะฮฺ หลังจากชาวกุเรชไมยอมรับขอเสนอของศาสนทูตในการจายคาตอบแทนแกตระกูลคุซาอะฮฺหรือ การยกเลิกสนธิสัญญากับตระกูลบักร ทานศาสนทูตจึงสั่งทหารเตรียมทัพโดยที่ทานไมไดบอกแกทหารถึง เป าหมายของสงครามวา จะไปทํ าสงครามกั บ ใครความลั บ นี้ แม แต คนใกลชิ ตของทา นก็ ยัง ไม ท ราบ เหตุการณที่บงบอกถึงเรื่องนี้ไดดีที่สุดไดแก ทานอบูบักร อัศศิดีก สหายที่ใกลชิดที่สุดของทานศาสนทูตได ถามบุตรสาวของทานคือทานหญิงอาอีชะฮฺซึ่งเปนภรรยาของทานศาสนทูต วา ทานศาสนทูตตระเตรียม ทหารไวเพื่อทําสงครามกับใคร ทานหญิงอาอิชะฮฺตอบวา ทานศาสนทูตมิไดบอกแกนาง (อักรอ็ม ฎิยาอฺ อัล อุมารีย: 2:474) การที่ทานศาสนทูตไมบอกเปาในการทําสงครามในครั้งนี้ เพื่อมิใหชาวกุเรชรู และมิใหพวก เขาไดตั้งตัว หากพวกเขารูและไดตั้งตัวกอน แนนอน จะตองมีการนองเลือดเกิดขึ้นในดินแดนหะรอมอยาง มากมาย นี่เปนขอชี้ชัดอีก ประการหนึ่งที่บงบอกวาทานศาสนทูต ปรารถนาในความสันติ ความสงบ ไม ปรารถนาเห็นการนองเลือด ทานศาสนทูตไดยกทัพไปยังมักกะฮฺ ภายหลังเดือนรอมฎอนผานพนไป 10 วัน ปที่ 8 แหง ฮิจเราะฮฺศักราช การสรางสันติภาพดวยการใหเกียรติผูนํากุเรช อบูซุฟยาน บิน ฮัรบ คือผูนําที่สําคัญของชาวกุเรช ในคืนที่ทานศาสนทูตและกองทัพมุสลิมได เดินทางถึงสถานที่ที่ชื่อวา มุรเซาะฮฺรอนนั้น เขาเปนผูหนึ่งในบรรดาผูนํากุเรชที่ออกมาหาขาวนอกมักกะฮฺ เขาไดเห็นเปลวไฟจํานวนมากมายถูกจุดสวางไสวที่เขาไมเคยเห็นมากอน ตอมาเขาไดพบกับ อับบาส บิน อับดิลมุฏฏอลิบ ซึ่งเปนลุงของทานศาสนทูต เขาไดพาอบูซุฟยานไปพบกับทานศาสนทูต ทานจึงสั่งใหอับ บาสนําเขาไปคางคืนดวย แลวในตอนเชาใหนําเขามาพบกับทานอีก ครั้งหนึ่งและในตอนเชาอับบาสก็ได นําอบูซุฟยานมาพบกับทานศาสนทูต และทานไดเชิญชวนเขาเขารับอิสลาม จนในที่สุดอบูซุฟยานก็เขารับ อิสลาม อับบาสจึงไดกลาวแกทานศาสนทูตวา “ อบูซุฟยานเปนผูรักเกีรยติ จงทําอะไรสักอยาง เพื่อเปนเกีร ยติ แกเขา” ทานศาสนทูตจึงกลาววา “ผูใดเขาบานอบูซุฟยาน ผูนั้นปลอดภัย”(อัศศ็ลลาบีย, 2009: 897) หากวิเคราะหถึงการกระทําของทานศาสนทูตแลวจะเห็นไดวานี่คือความฉลาดของทานที่ใหเกียรติ แกอบูซุฟยานซึ่งเปนผูนําชาวกุเรช นี่คือแนวทางสูสันติภาพ เพราะผูใดที่เขาไปในบานของ อบูซุฟยานผู นั้น จะไดรับประกันความปลอดภัย การหลั่งเลือดก็จะไมเกิดขึ้น ใชสงครามทางจิตวิทยาเพื่อใหเกิดสันติภาพ (อัศศ็อลลาบีย, 2009: 898) ทานศาสนทูตตั้งใจใชสงครามทางจิตวิตยากับชาวกุเรชในขณะที่ทานพากองทัพเดินทางเขาสูนคร มักกะฮฺ โดยที่ทานสั่งใหทหารจุดไฟ มากมายมหาศาลในเวลากลางคืน อบูซุฟยาน บิน ฮัรบไดกลาวแก บะ 564

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ดีล บิน วัรกออฺ ซึ่งชาวกุเรชอีกผูห นึ่งที่ออกมาหาขาวนอก นครมักกะฮฺวา “ฉันไมเคยเห็นเปลวไฟ และ ทหารที่มากมาย เหมือนที่เห็นคืนนี้มากอน” บะดีล จึงกลาววา “นี่ คือเผาคุซาอะฮฺ ไดเตรียมตัว เพื่อการ รบ” แตซุฟยานไมเห็นดวย เขาจึงไดกลาววา “ทหาร คุซาอะฮฺมีนอยกวา เปลวไฟนี้” เมื่อชาวกุเรชไดเห็น เปลวไฟที่มากมายเชนนั้น หัวใจของพวกเขาแทบหยุดเตนเพราะความกลัวอยางที่สุด การกระทําของทานศา สนทูตเชนนี้เพื่อชาวกุเรชจะไมคิดตอสูกับฝายมุสลิมอีก ทั้งนี้ยังเปนการกดดันพวกเขาใหยอมจํานนตอ ทานศาสนทูตโดยไมมีการตอสูเกิดขึ้น เพื่อบรรลุความประสงคของทานที่ไมอยากเห็นการนองเลือดเกิดขึ้น ในดินแดนหะรอม การนอบนอมถอมตนคือสัญญลักษแหงความสันติ สิ่งสําคัญประการหนึ่งที่ชี้ชัดวาทานศาสนทูตเปนผูรักสันติคือทานไดเขามักกะฮฺดวยการนอบนอมถอม ตนไมยโส โอหัง หรือทะนงตนเฉกเชนนักรบผูพิชิต ผูยิ่งใหญทั้งหลาย ทานโนมตัวลงต่ําจนหนาผากของทาน เกือบจะกระทบกับที่นั่งบนหลังอูฐ เพื่อเปนการขอบคุณตออัลลอฮฺในชัยชนะอันยิ่งใหญนี้ พรอมกับอานซู เราะฮฺ อัลฟตฮฺ (อักรอ็ม ฎิยาอฺ อัลอุมารีย, 2:482) ทานขี่อูฐซอนหลังอุสามะฮฺ บิน ซัยดฺ ซึ่งเปนทาสของทาน โดยที่มิไดขี่อูฐซอนหลังผูที่มีเกรียติในตระกูลกุเรช แตอยางใด ซึ่งมีอยูมากมายที่ทานสามารถเลือกได การนอบนอมถอมตนของทานศาสนทูตอีกเหตุการณหนึ่งคือ ในขณะที่ทานเขาไปในมัสยิด อบูบักรฺ ไดนําบิดาเขาพบกับทานศาสนทูต แลวทานก็ไดพูดแกอบูบักรฺวา “ เหตุใดไมใหผูสูงอายุอยูที่บาน แลวฉันจะเปนผูไปหาเขาเอง” หลังจากนั้นทานเชิญใหบิดาของอบูบักรฺนั้งลงตรงหนาของทาน (อัศศ็อลลาบีย, 2009: 915) ผล ของการนอบนอมถอมตนและการใหเ กรียติตอผูสูง อายุของทานศาสนทูตทําใหบิดาของอบูบัก รฺเ ขารับ อิสลามทันที การประกาศความเมตตาธรรมคือหนทางแหงสันติภาพ ทานศาสนทูตไดให ซะอดฺ บิน อุบาดะฮฺเปนผูถือธงของชาวอันศอร ในขณะที่อบูซุฟยานเดินผาน เขา เขาไดกลาวแกอบูซุฟยานวา “วันนี้ เปนวันแหงการสูรบ วันนี้สิ่งตองหามเปนที่อนุมัติ วันนี้เปนวันที่อัลลอฮฺ ใหชาว กุเรช ต่ําตอย” ตอมาอบูซุฟยานไดไปแจงใหทานศาสนทูตทราบถึงคําพูดของ ซะดฺ เมื่อทานศาสนทูตทราบทานไม พอใจเปนอยางมาก จากนั้นทานไดกลาววา “ วันนี้คือวันแหงความเมตตา วันนี้เปนวันที่อัลลอฮฺบันดาลใหชาวกุเรชมีเกรียติ” และตอมาทานศาสนทูตไดสั่งให กอยสฺ บิน ของซะดฺเปนผูถือธงแทนบิดา (มูฮัมมัด อัศศอดิก อัรจูน 1985: 4:325) การที่ทานศาสนทูตไดประกาศในวันพิชิตนครมัก กะฮฺวาเปนแหง ความเมตตานั้นไดส ะทอนถึง เจตนารมณของทานในการรังสรรคสันติภาพใหเกิดขึ้นอยางแทจริง ผูใดก็ตามที่กลาวหาวาทานศาสนทูตทํา

Graduate School and Research / 15 May 2013

565


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สงครามเพื่อการหลั่งเลือด นั้นเปนที่ประจักษ วาไมถูกตองโดยสิ้นเชิงแทจริงแลว ทานศาสนทูตเปนผูเ ชิญ ชวนสูสันติภาพ และปกปองเกรียติยศของมนุษยอันสูงสง หากวิเคราะหคําพูดของทานศาสนทูตที่ประกาศวา “วันนี้ เปนวันแหงความเมตตา” แทนคําพูด ของซะดฺ บินอุบาดะฮฺที่กลาววา “วันนี้เปนวันแหงการรบ” จะเห็นไดวาทานศาสนทูตนั้นเปนผูพยายามเลือก สันติวิธีในการพิชิตนครมักกะฮฺ ความจริงหากทานชี้แจงวาคําพูดของซะดฺนั้น ไมถูกตองก็เพียงพอแลว แต ทานยัง สั่ง ใหเ ปลี่ยนผูถือธงจากซะดฺเ ปนบุตรของเขา แสดงถึงความปรารถนาของทานในการแสวงหา สันติภาพอยางแทจริง ยับยั้งการโจมตีคือหนทางแหงสันติ ในการเขาพิชิตนครมักกะฮฺทานศาสนทูตไดหามมิใหทหารโจมตีชาวมักกะฮฺกอน เวนแตเพื่อปองกัน ตนเอง หรือถูกโจมตีกอน เมื่อฝายมุสลิมเขาสูนครมักกะฮฺ ปรากฎวาทหารที่นําโดย คอลิด บิน วะลีด ตอง เผชิญกับการตอตานจากชาวกุเรช กลุมหนึ่งที่นําโดย อิกริมะฮฺ บิน อบียะฮฺล ซอฟวาน บิน อุมัยยะฮฺ พวก เขาเปนผูริเริ่มโจมตีฝายมุสลิมกอน ดังนั้นคอลิด บิน วะลีด และพรรคพวกจําเปนตองทําการปองกันตัว และ ทําการรบกับพวกเขาจนกระทั่งสังหารพวกเขาไปหลายคน และในที่สุดพวกกุเ รชก็ไดหันหลัง หนี เมื่อศา สนทูตทราบทานไมพอใจยิ่ง นัก ทานจึง ไดก ลาววา “เหตุการณนี้ ทําไมจึงเกิดขึ้น แทจริงแลวขาไดหามการเขนฆา” สหายของทานไดตอบวา “เราคิดวา ทาน คอลิดทําการรบเพื่อปองกันตนเอง และพรรคพวก” ทานศาสนทูตจึงไดกลาวแกคอลิดวา “เหตุใดทานทํา การโจมตี เราไดหามทานแลวมิใชห รือ ” คอลิดจึงตอบวา “พวกเขาเปนผูริเ ริ่มโจมตีกอน ขาพเจาได พยายามยับยั้ง เทาที่สามารถจะทําได” ทานศาสทูตจีงกลาววา “การกําหนดของอัลลอฮฺเปนสิ่งที่ดี” (มูฮัม มัด อัศศอดิก อัรจูน,1985: 4:326) หากพิจารณาคําสั่งหามของทานศาสนทูตตอผูนํามุสลิมในการโจมตีฝายกุเรชกอน เปนที่ประจักษ วาทานพยายามรังสรรคสันติภาพใหเกิดขึ้นในการพิชิตนครมักกะฮฺ เมื่อคอลิดทําการรบกับกุเรซ ทานศาสน ทูตจึงรีบสอบสวนคอลิดทันที ซึ่งเปนการยืนยันวาทานปราถนาในสันติวีธี ประกาศการใหอภัยเพื่อสันติภาพ ถึงแมวาชาวกุเรชเคยทําราย ขมเหง รังแกทานศาสนทูต และบรรดามุสลิมีน มากมายเพียงใด ถีง แมวาวันนี้ทานศาสนทูตและมุสลิมีนมีความสามารถและโอกาส ในการแกแคนก็ตาม แตพวกเขามิไดเลือก แนวทางดังกลาวแตอยางใด ทานศาสนทูตกลับเลือกการใหอภัยโทษแกพวกกุเรช โดยที่พวกเขายืนคอยดูวา ทานศาสนทูตจะทําอยางไรกับพวกเขาตอไป ทานจึงกลาวในบัดนั้นวา “โอชาวกุเรช พวกทานคิดวาฉันจะทํา อยางไรกับพวกทาน” พวกเขาตอบวา “ สิ่งดีๆ ทานเปนพี่นองที่ดี ลูกของพี่นองที่ดี” ทานศาสนทูตจึงกลาว ตอไปวา “ วันนี้ ฉันจะกลาวแกพวกทาน เหมือนดังที่ยูซุฟ พี่นองของฉันกลาวมากอนวา “(วันนี้ ไมมีการ ประณาม พวกทาน อัลลอฮฺ จะอภัยโทษพวกทาน และพระองคเมตตายิ่งในบรรดาผูเมตตา) (สูเราะหยูซุฟ, 12: 92)” อักรอ็ม ฎิยาอฺ อัลอุมารีย (2:481) หากวิเคราะหการประกาศใหอภัยของทานศาสนทูตตอชาวกุเรชแลวจะเห็นไดวานั้นคือ การเลือก ความสันติ ความสงบ และสันติภาพ ในขณะที่อิสลามยอมรับกฎแหงการตอบแทนที่เทาเทียมกัน แตอัลกุ รอานเชิญชวนสูการใหอภัยและอททน ในยามที่มุสลิมีนมีความสามารถในการตอบโตยับยั้ง ภยันตราย ใน ยามที่บางครั้งการใหอภัยและอททน ใหผลและประโยชนมากวา (ซัยยิด กุฏบ, 1992: 4: 2302) 566

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

มีชาวกุเรชบางคนถูกยกเวนจากการใหอภัย เนื่องจากพวกเขาเหลานั้นเคยเปนผูขมเหง รังแก และ ทํารายมุสลิมอยางรุนแรงทั้งนี้เพื่อเปนบทเรียนแกผูอธรรม อยางไรก็ตามในบรรดาผูที่เคยทํารายมุสลิม และตอตานอิสลามอยางรายแรงเหลานี้ ก็ยังไดรับการอภัยโทษจากทานศาสนทูตอีก อาทิเชน อิกรีมะฮฺ บิน อบียะฮฺล อั บ ดุล ลอฮฺ บิน สะอฺ รวมทั้ ง ฮินดฺ บินติ อุตบะฮฺ ภรรยาของ อบู ซุฟยาน นางมีสวนในการ สังหารฮัมซะฮฺ ซึ่งเปนลุงทานศาสนทูตอยางทารุน การที่ทานศาสนทูตยกโทษแกคนเหลานี้ เปนหลักฐานที่ ชัดเจน วาทานคือผูสรางสรรคสันติภาพอยางแทจริง บทสรุป ผลของการพิชิตนครมักกะฮฺ 1. การพิชิตนครมักกะฮฺ สงผลใหนครแหงนี้ปลดปลอยจากการบูชา เคารพเจว็ดและรูปปนตางๆ ซึ่ง เปนการตั้งภาคีตออัลลอฮฺ สูการใหเอกภาพแดพระองคผูทรงเอกะ ดวยความสงบและสันติ 2. การพิชิตนครมักกะฮฺ คือกุญแจดอกสําคัญที่นําไปสูการพิชิตเมืองตางๆ เพื่อนําสาสนอิสลาม และสันติภาพสูเมืองเหลานั้น 3. การพิชิตนครมักกะฮฺสงผลใหเมืองนี้ สงบสุข และเกิดความสันติ ตามเจตนารมณของอัลลอฮฺที่ ทรงบันดาลไวในเวลาที่เนิ่นนาน 4. การพิชิตนครมักกะฮฺนําไปสูการเผยแผอิสลามในคาบสมุทรอาหรับอยางกวางขวาง ผูคนพากัน เขารับอิสลามเปนคณะ ดังที่ปรากฏในซูเราะฮฺอันนัศร “เมื่อความชวยเหลือของอัลลอฮฺ และการพิชิต ไดมาถึงแลว และเจาไดเห็นประชาชนเขาในศาสนาของอัลลอฮฺเปนหมูๆ” (สูเราะห อันนัศร, 110: 1-2) 5. หลังจากการพิชิตนครมักกะฮฺ ความหวังและความปรารถนาของทานศาสนทูตที่อยากเห็นชาว กุเรชเขารับอิสลามไดเกิดขึ้นจริง 6. สัญญาของอัลลอฮฺตอศรัทธาชนผูซึ่ง อดทนและศรัท ธาจริงไดเกิดขึ้นเปนที่ป ระจัก อาทิเชน บิลาล บิน รอบาฮฺ ในชวงแรกของการรับอิสลาม เขาถูกทรมานในเมืองนี้อยางแสนสาหัส ในวันนี้เขาคือผูที่ ขึ้นไปประกาศอะซานละหมาดซุฮรฺบนหลังคากะอฺบะฮฺ ที่มีเกียรติยิ่ง เอกสารอางอิง ซัยยิด กุฏบ. 1992.ฟซิลาล อัล กุรอาน . อัล กอฮิเราะฮฺ. ดารุชชูรูก ซอฟยยุรรอฮฺมาน อัล มาบารอ็คฟูรีย. 1988. อัรรอฮีก อัล มัคตูม. อัล กอฮิเราะฮฺ. ดารรุรอยาน ลิตตุรอซ มูฮัมมัด อัศศอดิก อัรจูน.1985. มูฮัมมะดุรรอสูลุลลอฮฺ. เบรุต.ดารุลกอลัม มูฮัมมัด บิน อับดุลวะฮาบ. 1994. มุคตะศ็อร สีรอตุรรอสูล. ริยาด. มักตะบัต ดารุสสะลาม สะอีด เฮาวา. 1979. อัล-อิสลาม. เบรุต. ดารุลกุตุบ อัล อิลมียะฮฺ อักร็อม ฎิยาอฺ อัล อุมารียฺ .1993. อัสสิเราะฮฺ อันนะบะวียะฮฺ อัศศอฮีฮะฮฺ .อัล มะดีนะฮฺ. มักตะบะฮฺ ดารุลอุลูม วัล ฮิกัม อะลี มูฮัมมัด อัศศอลลาบีย. 2009. อัสสิเราะฮฺ อันนะบะวียะฮฺ . เบรุต. ดารุล มะริฟะฮฺ อิบรอฮีม มุศตอฟาและคณะ.1980. อัล มุอฺยัม อัลวะสีด. เบรุต . ดารุล มะริฟะฮฺ อิสมาอีลลุตฟ จะปะกียา . 2006 . อิสลาม ศาสนาแหงสันติภาพ. แปลโดย ซุฟอัม อุษมาน.ปตตานี. โรงพิมพ มิตรภาพ Graduate School and Research / 15 May 2013 567



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

แนวคิดบิดเบือนของกลุมตัสลีมในรัฐปนัง ประเทศมาเลเซีย Un-Islamic Thought of Taslim Community in Penang State, Malaysia อีสมาแอ กาเตะ Phd. Islamic Studies อาจารยประจํา ภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

บทคัดยอ บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาที่มาแนวคิดและหลักการปฏิบัติของกลุมตัสลีมในรัฐปนัง ประเทศมาเลเซีย การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการศึกษาจากเอกสารตางๆและนํามา วิเคราะห ขอมูลหลังจากการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลโดยนํามาเสนอเชิงบรรยายและใชทฤษฎีที่เกี่ยวของกับ แนวคิดบิดเบือน จากการศึกษาพบวาผูกอตั้งลัทธิตัสลีมคือ เชคซัยยิดมุหัมมัดชาฟอีย บุตรของซัยยิด ซัยลุดดีน มี ฉายาวา หัจญีมุหัมมัด มาตาฮารีย อพยพมาจากเมืองมาดูรา ประเทศอินโดนีเซียและอางตนวาสืบสายสกุล จากทานนบีมุหัมมัด กลุม ตัส ลีมเชื่อวาพระเจาสถิตอยูในรางกายของมนุษยทุกคนและซัยยิดมุหัมมัดชาฟอียคือผูทํา หนาที่แทนทานนบีมุฮัมมัดในกิจการศาสนาและกิจการโลก พวกเขาเชื่อวาวิญญาณและรางกายของมนุษย นั้น เป น สิ่ ง ที่ ผ สมผสานกัน ระหว า งนบี อ าดั ม และนบี มู ฮั ม มั ด ลั ก ษณะจิ ต นิย มที่ สํ า คั ญ ในกลุ ม ตั ส ลี ม ประกอบดวย ลักษณะศาสนบัญญัติ ลักษณะการบําเพ็ญตนดวยการภาวนา ลักษณะสัจธรรม และลักษณะ ญาณวิทยา สวนหลักการปฏิบัติ คือ การละหมาดวันศุกร ซึ่งพวกเขาเชื่อวาเปนวันพบกันอีกครั้งของนบี อาดัมและพระนางเฮาวาอหลังจากพลัดพรากออกจากสวนสวรรคโดยการพบกันในที่นี้หมายถึงการรวม ประเวณีกัน นอกจากนี้ กลุมตัสลีมยังทําการสมรสแบบซอนเรนในลักษณะที่ผูหญิงคูสมรสตองพลีกายในคืน แรกใหกับผูนํากลุมของตัวเอง ขอเสนอแนะ 1. ควรมีใหการศึกษาวิจัยเกี่ยวแนวคิดบิดเบือนทุกภาครัฐของประเทศมาเลเซีย 2 .ควรใหมีการศึกษาวิจัยเกีย่ วกับการเปรียบเทียบเกี่ยวแนวคิดบิดเบือนในมาเลเซียและในประเทศไทย คําสําคัญ: แนวคิด, บิดเบือน, กลุมตัสลีม, และรัฐปนงั ,

Graduate School and Research / 15 May 2013

569


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

Abstract The article aims to study about The Distorted Idea of the Taslim Sect and effect upon the Muslim society in Penang State of Malaysia. This research is Qualitative Research by study from documents and delve into the area include process of Analysis, analyzing after collected documents, and then check and lecture, with theories that can apply. From the study, the thesis reveals that the founder of Taslim sect is the Sheikh Syed Muhammad Syafie bin Syed Sailuddin who was well-known as Ahmad Syafie, emigrated from Indonesia’s Madura Area and also claims that his lineagebe descended from the beloved prophet Muhammad’s family The Taslim sect believe inexistence of God essence among his creation, all mankind. So Syed Muhammad Syafie is the successor of the Prophet Muhammad whether worldly affair and religious affair. They claim that body of Human is integrating between Prophet Adam and Prophet Muhammad. Besides they also believe there two kind of death, spiritual death and physical death. According to mysterious practice of The Taslim sect, comprises legislative practice and perform meritorious acts, pray, and realism practice and then epistemology. However they remain Islamic practice like general Muslims such as Friday pray but they believe about first meeting between Prophet Adam and his wife, Eve, in this world after was spelled from heaven further more they explain this event as sexual intercourse ceremony. So The Taslim sect lay down a rule on their members with this rule, secret marriage that a bride have to give oneself to the Taslim Leader as concubine in a first night. Suggestion 1. Should support researching about distort Ideology in all region of Malaysia 2. Study on Comparative Ideology in Malaysia and Thailand Key Words: Un-Islamic Thought Taslim and Penang State

570

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความนํา ในประเทศมาเลเซียไดปรากฏแนวคิดบิดเบือนขึ้นมาอยางมากมาย ซึ่งเปนแนวคิดใหมๆ ถาจะ เปรียบเทียบกับหลักคําสอนของศาสนาดั้งเดิม ปญหาการบิดเบือนศาสนาเหลานี้ เปนที่รูจักกันในโลกมุสลิม และโลกทั่วไป โดยบรรดานักปราชญมุสลิมและไมใชมุสลิมไดเขียนบันทึกและแตงตํารามากมาย เชนทาน Hoston Asmith ในหนังสือ The Religions of Man ไดเขียนเกี่ยวกับศาสนาโบราณที่มีอิทธิพลอยูในโลก ปจจุบัน เชน พุทธ ฮินดู คริสต อิสลาม konusianisme และ taoisme (เตาและขงจือ)นอกจากนี้ ที่กลาว มาขางตนถือวาเปนศาสนาหรือแนวคิดใหมๆ) Wan Mohd. Azam Mohd. Amin, 2001:17) ศูนยอิสลามแหงประเทศมาเลเซียไดรวบรวมเกี่ยวกับแนวคิดใหมๆ ในประเทศมาเลเซียพบวามี ประมาณสี่สิบกวากลุม ที่บิดเบือนและขัดแยงกับหลัก คําสอนของศาสนาอิสลามดั้ง เดิม ที่อยูบ นพื้นฐาน ของอัลกุรอาน อัลหะดิษ และการวินิจฉัยของนักปราชญมุสลิมที่เปนที่ยอมรับ ซึ่งแนวคิดเหลานี้เรียกวา Ajaran Sesat หรือหลักคําสอนที่หลงทาง ในชวงป 1870 ไดปรากฏแนวคิดใหมแนวคิดหนึ่งกลาวคือ “แนวคิดตัสลีม” ที่รัฐปนัง นําโดยฮัจญี มุฮัมมัด มาตาฮารี ซึ่งเปนชาวอินโดนีเซียจากเกาะสุมาตรากลาง แนวคิดนี้เกี่ยวของโดยตรงกับกลุมชีอะฮ หลายนิกาย อยางเชน ชีอะฮอิสมาอีลียะฮ และบาฏีนียะฮ1โดยที่กลุมนี้ไดรับอิทธิพลมาจากกลุมชีอะฮอิสมา อีลียะฮและบาฏีนียะฮ โดยเฉพาะหลักแนวคิดที่วา มูฮัมมัด มาตาฮารี และผูตามของทานมีคุณสมบัติพิเศษ เทากับอิหมามอิส มาอีลียะฮ และถือวา ทานอิหมามมูฮัม มัด มาตาฮารีเ ปนหนึ่งในอิห มามของโลกซึ่ง มี ทั้งหมดสามสิบทาน ศูนยอิทธิพลของกลุมตัสลีมในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยูที่มัสยิดบาน ซือรอเนาะ ชาลู ตงตีโมร ซูงัยนิบง และหมูบานเกนติง บาเละปูเลาในรัฐปนัง คณะกรรมการอิสลามแหงรัฐปนังคือวากลุมนี้มี ความเชื่อและหลักการปฏิบัติที่แตกตางจากหลักความเชื่อและการปฏิบัติของมุสลิมทั่วไป และเห็นวาเปน แนวคิดที่อุตริ และถูกประดิษฐขึ้นมาใหมในสังคมมุสลิม วัตถุประสงค เพื่อศึกษาที่มา แนวคิดและหลักการปฏิบัติของกลุมตัสลีมในรัฐปนังประเทศมาเลเซีย วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิง คุณภาพ โดยการศึกษาจากเอกสารตางๆ ประกอบดวยหนัง สือ วารสาร และหนังสือพิมพที่วิจารณเกี่ยวกับแนวคิดบิดเบือนตางๆ ในประเทศมาเลเซีย ศึกษาผานเอกสาร สําคัญจากสํานัก งานกิจการอิส ลามแหง ประเทศมาเลเซียและทัศนะนักวิชาการที่มีอํานาจในการชี้ขาด (fatawa)หรือองคกรฟตวาที่เกี่ยวของกับประเด็นนี้ กรอบการวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลหลังจาก การเก็บขอมูลจากเอกสารตางๆ นํามาตรวจสอบและนํามาเสนอเชิงบรรยายโดยใชทฤษฎีที่เกี่ยวของกับ แนวคิดบิดเบือน

1

ซึ่ง ชีอะฮอิสมาอีลียะฮเปนกลุมที่รูจักกันวาเปนกลุมของบาฏีนียะฮหรือเปนกลุมหนึ่งของ ชีอะฮบาฏีนียะฮ

Graduate School and Research / 15 May 2013

571


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ผลการวิจัย 1.ที่มาของกลุมตัสลีม ผลการวิจัยพบวาความเปนมาและประวัติการเกิดของผูกอตั้งลัทธิตัสลีม คือ ทานเชค ซัยยิดมุหัมม มัด ชาฟอีย บุตรของ ซัยยิด ซัยลุดดีน หรือมีนามเรียกอีก ชื่ อหนึ่ง วา อะหมัด ชาฟอิย (Maktab Perguruan Pulau Pinang ;nd , Jabatan Hal Ehwal Agama Islam Pulau Pinang) ทานไดกําเนิด ในชวงกอนครึ่งหลังของคริสตศักราชที่ 19 ซึ่งทานเชค ซัยยิด มุหัมมมัด ชาฟอิย มีนามฉายาที่ถูกเรียกกัน อยางแพรหลายในอีกนามหนึ่งวา หัจญี มุหัมมมัด มาตาฮารีย การีย” (ดวงอาทิตย) ทานอพยพมาจากมา ดูรา ประเทศอินโดนีเซีย. (Prof. Abdul Fatah Harun Ibrahim: 1989: 3) ในชวงกึ่งกลางของคริสตศักราชที่ 19 ทานเชค ซัยยิด มุหัมมมัด ชาฟอีย และลูกพี่ลูกนองของทาน กลาวคือ ทานอะหมัด สะอัด บิน หุสเสน พรอมกับบิดาของทาน ทานซัยยิด ซัยลุดดีน ไดทําการอพยพสู แหลมมลายู และไดเลือกบริเวณหมูบานกังปง ซือรอเนาะ บายันลือปส บนเกาะปนังเปนที่ตั้งรกรากอาศัย ซึ่งการเลือกที่ตั้งรกรากที่อยูอาศัยของกลุมของทานบนเกาะปนังครั้งนี้ ไมใชสิ่งที่นาแปลกสําหรับผูคนในยุค นั้น สาเหตุก็เพราะเกาะปนังในสมัยดังกลาวถือเปนดินแดนที่ผูคนหมายปอง และพากันหลั่งไหลอพยพเขา ไปตั้งถิ่นอาศัยกันอยางตอเนื่อง พื้นที่ดัง กลาวตอมาเปนที่รูจัก และเรียกกันวา กัม ปง หัจ ญี มูหัม มัด (กอนที่จะเปลี่ยนชื่อเปน หมูบานกังปงซือรอเนาะ บายันลือปส ) ตามชื่อของทานหัจญี มุหัมมมัด มาตาฮารีย ซึ่งถือเปนผูบุกเบิก พื้นที่ดังกลาว และยังเปนผูที่ไดทุมเท ดวยความเพียรพยายาม และพัฒนาพื้นที่จนสามารถกอตั้งเปนชุมชน ใหมได โดยเริ่มมีผูคนเขามาจับจองพื้นที่และเขามาอยูอาศัยอยางตอเนื่องจากความขยัน ความจริงจัง และ ความสามารถของทาน ทําใหผูคนใหความนับถือ และใหการยอมรับทานเปนผูนําที่มีความนาเกรงขามและ มีอํานาจอยางเบ็ดเสร็จ ทานเชค ซัยยิด มุหัมมมัด ชาฟอีย ไดทําการสมรสกับสตรี สองนางที่เปนคนถิ่น เดิมในเกาะปนัง แตเปนที่นาเสียดายที่ไมปรากฏมีขอมูลที่เกี่ยวของ และกลาวถึงนางทั้งสองเลย จากการ สมรสดังกลาว ทําใหทานไดกําเนิดบุตรหลายคนดวยกัน. (En. Nordin bin Ahmad: Jabatan Hal Ehwal Agama Islam Pulau Pinang, En. Abdullah Fahim: Pusat Islam Kuala Lumpur) เชื้อสายวงศตระกูลทานเชค ซัยยิด มุหัมมมัด ชาฟอีย การอางที่เ กี่ยวของกับ การสืบเชื้อสายวงศตระกูล ของทานเชค ซัยยิด มุหัมมมัด ชาฟอีย มีสิ่ง นาสนใจอยูหลายประการ โดยเฉพาะการอางการสืบเชื้อสายวงศตระกูลที่เกี่ยวของกับบุ คคลที่มีชื่อเสียง และเปนบุคคลที่เปนที่รูจักในประวัติศาสตรอิสลาม . ทานซัยยิด ซัยลุดดีน บุตรของทานเชค ซัยยิด มุหัมมมัด ชาฟอีย และผูสนับสนุนแนวความเชื่อ ของทานไดอางถึงเชื้อสายวงศตระกูลของทานเชค ซัยยิด มุหัมมมัด ชาฟอียมีการสืบเชื้อสายมาจากทานนบี มุหัมมัด จากสายทานหะสัน บุตรทานอาลีกับพระนางฟาติมะฮ (Pak Sihab: Jabatan Agama Islam Kedah) และยังอางอีกวา ทานมีศักดิ์เปนหลานของทานซัยยิด ญามาลุดดีน ซึ่งเปนผูนําของเกาวะลีย 2ผู 2

วาลีย เกาหรือทีร่ ูจักในภาษาอินโดนีเซียคือ วาลีย ซอฆอ wali songo เปนผูเผยเผรศาสนาอิสลามในประเทศอินโดนีเซียมีดังนี้ Maulana Malik Ibrahim Sunan Ampel - Sunan Bonang - Sunan Drajat - Sunan Kudus - Sunan Giri - Sunan Kalijaga - Sunan Muria - Sunan Gunungjati(Hamka : 1963 : 20 )

572

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สูงสงในมาดูรา และเปนที่รูจักกันในนาม สูนัน กาลี อากุง ( Maktab Perguruan Pulau Pinang ;nd ) ดังตอไปนี้คือตารางเชื้อสายของทานเชค ซัยยิด มุหัมมมัด ชาฟอีย ศาสดามูฮัมมัด ศอลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม  นางฟาฏีมะฮ  (อาบุบักร อัลศีดีก รักษาการชั่วคราวหัซซันหัซซัน ซานีย  ซัยดอะมีนุดดีนซัยด ซานีย  อับดุล เราะหมาน ลิงฆีย  อับดุลเลาะ อัลฮุซซันย อัลบะดาวีย อัล-ยุสนีย มักกะฮอัล-เฆาะซาลีย อัล-ฟาฏอนีย  สุไลมาน อัล-ฟานีย  อัลดุลรออูฟอัลฮุซซัยน อัล-ดานีชกียญะมาลุล ลัยล นุรุดดีน อัล-มัฆรีบีย  ชัมซุดดีนอะมีนุดดีนฮัซซะนุดดีนชัมซุดดีนญะลาลุด ดีนญะมาลุดดีนซัยลุดดีนเชคมูฮัมมัด ชาฟอียเชค อัลฆอซาลีย อะลี ญะมาลุลลัยล เชค อะหมัด (Mohd. Zahir Othman : 1980 ) ที่มาของชื่อลัทธิตัสลิม ทุกกลุม ทุกลัทธิ หรือศาสนาปกติจะมีชื่อเรียกกันที่เกิดจากผูคนภายในไดตั้งชื่อไว หรือบางครั้ง เกิดจากบุคคลภายนอกไดตั้งชื่อสมญานาม โดยที่กลุมบุคคลที่ถูกตั้งชื่อไมยอมรับในสมญานามดังกลาวก็มี มากมาย การตั้งชื่ออาจจะมีที่มาที่หลากหลาย บางครั้งตั้งชื่อตามชื่อของผูกอตั้ง บางครั้งก็ตั้งตามชื่อ สถานที่ที่เกิดแนวคําสอน หรือแนวปฏิบัติดังกลาว หรือสถานที่เกิดของผูกอตั้งแนวคิดดังกลาว และบางครั้ง ก็ตั้งชื่อโดยนําความมุงหมายของคําสอน หรือเนื้อหาสาระหลักมาเปนสาเหตุของชื่อ ตัวอยางเชน ลัทธิอะห มะดิยยะฮในอินเดีย มีที่มาจากชื่อของ มีรซา ฆูลาม อะหมัด ( Mirza Ghulam Ahmad ) ซึ่งมีชื่อเรียกที่ แพรหลายอีกชื่อหนึ่งวา ลัทธิก็อดยานีย ( Ajaran Qadiani ) คําวา ก็อดยานีย เปนชื่อเรียกหมูบานหนึ่งใน อินเดียที่เปนสถานที่เกิดของทานมีรซา ฆูลาม อะหมัด (Mirza Ghulam Ahmad ) สวนลัทธิที่ไดตั้งชื่อโดย นําความมุงหมายของคําสอน หรือเนื้อหาสาระหลักมาเปนสาเหตุของชื่อ เชนลัทธิสะหะดะฮ(การปฏิญาณ ตน ) ฟาติมะฮ ( Ajaran Sahadah Fatimah ) ซึ่งเปนลัทธิที่ใหความสําคัญกับเนื้อหาการกลาวปฏิญาณตน ที่มีการระลึกถึงพระนางฟาติมะฮ ( Pejabat Agama Islam Johor J/UG 7 288/53 ) และกลุมลัทธิรูฮานี ยะฮ ( Ajaran Rohaniah ) ซึ่งเปนลัทธิที่ใหความสําคัญกับกิจปฏิบัติเ ชิงจิตวิญญาณนิยมโดยยึด และใช ตําราที่ชื่อวา รูห (Ruh) ที่แปลวา วิญญาณเปนตําราหลัก ในการเปนแนวทางการปฏิบัติกิจ ของกลุมตน นั้นเอง .( Majlis Ugama islam Sabah : Hikmah ,bil. 59 Nov.-Dis. :1986 ) จากผลการศึกษา และการคนควาของสถาบันกิจการการศาสนาอิสลามประจํารัฐยะโอร ( Jabatan Hal Ehwal Agama Islam Negeri Johor ) ไดสรุปถึงที่มาของชื่อกลุมลัทธิตัสลีมวา มาจากการ นําความมุงหมายของคําสอน หรือเนื้อหาสาระหลักมาเปนสาเหตุของการตั้งชื่อ ซึ่งเชื่อวาไดยึดสวนหนึ่ง ของอะยะฮ(โองการ)อัลกุรอานที่มีความวา : "‫" إ ن اﷲ وﻣﻶﺋﻜﺘﻪ ﻳﺼﻠّﻮن ﻋﲆ اﻟﻨﺒﻲ ﻳﺎ أﳞﺎ اﻟﺬﻳﻦ آﻣﻨﻮا ﺻﻠّﻮا ﻋﻠﻴﻪ وﺳﻠّﻤﻮا ﺗﺴﻠﻴﲈ‬

“แทจริงอัลลอฮฺและมะลาอิกะฮฺของพระองคประสาทพรแกนะบี โอ บรรดาผูศรัทธาเอย ! พวกเจา จงประสาทพรใหเขาและจงมอบตนดุจดังผูมอบตนอยางสมบูรณ” 33:56 (อัลอะหซาบ) คําวา " ‫ " ﺗﺴﻠﻴﲈ‬ซึ่ง ใหความหมายวา “ดุจดังผูมอบตนอยางสมบูรณ” ไดถูกเลือกเพื่อเปนนามเฉพาะของกลุมความเชื่อลัทธินี้ กลาวคือ “กลุมแนวคิดตัสลิม” .( En. Abdullah Fahim: Pusat Islam Kuala Lumpur ) ซึ่ง การที่จะถือ Graduate School and Research / 15 May 2013

573


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

วาบุคคลคนหนึ่ง เปนมุสลิมที่สมบูรณ หรือเปนมุสลิมที่บกพรอง ก็จะมีเกณฑวัดอยูที่การมอบตนตอผูนํา หากสามารถมอบตนมากเทาไร ความสมบูรณของความเปนมุสลิมก็จะมีเทานั้น และหากการมอบตนมี ความบกพรองเทาไร ความบกพรองของการเปนมุสลิมก็จะมีเทานั้น ( Pm 148/ 49,LPHA kepercayaan Taslim 25 12 46 dan Abdul Jalil Hj. Hassan:1950: 7) 2. แนวความคิด และหลักการปฏิบัติของกลุมตัสลีม จากการศึกษาพบวา แนวคิดและแนวความเชื่อของกลุมตัสลีมประกอบดวย (1) แนวความเชื่อใน การรูจักอัลลอฮ (2) การศรัทธาตอบรรดานบีและรอซูลของอัลลอฮฺ (3) แนวคิดกลุมตัสลีมเกี่ยวกับวิญญาณ ของมนุษย (4) แนวคิดจิตนิยมในกลุมตัสลีมแนวปฏิบัติ และพิธีกรรมของกลุมตัสลีมแนวคิดตัสลีมเกี่ยวกับ การละหมาดุมอัต (วันศุกร) (6) การสมรสลักษณะซอนเรน (บาฏิน) ความเชื่อเกี่ยวกับการรูจักอัลลอฮฺ เกี่ยวกับแนวคิดในการรูจักอัลลอฮนั้นกลุมตัสลีมมีความเชื่อที่แตกตางออกไปจากความเขาใจของ อิสลามซึ่งในอิสลามการรูจักอัลลอฮนั้นตองเริ่มจากการรูจักตัวเขาเองกอน ซึ่งสอดคลองกับอัลหะดีษที่ม ี ความหมายวา “ใครที่รูจักตัวเขาเอง แสดงวาเขารูจักพระเจาของเขา” แนวคิดนี้ไดสนับสนุนอีกจากหะดีษ กุดซียอีก บทที่วา “มนุษย นั้น คือ ความลับ ของขาและขา คือ ความลับ ของเขา” เนื่องจากมนุษยมี ความสัมพันธกับอัลลอฮอยางใกลชิด แตความเชื่อของลัทธิตัสลีมสามารถเห็นไดดังนี้ “...พระเจาจะสถิตอยูในรางกายของมนุษยคนหนึ่งไมวาจะนั่ง จะอยูนิ่ง จะอยูในรางกายมนุษยทุก คน คําวา (La ila) เปนวังของพระเจา คําวา (illallah ) คือวิญญาณของอัลลอฮ รางกายของมนุษยนั้น เสมือนเปนบาน และวิญญาณนั้นเปนเจาของบาน ดังนั้นไมจําเปนตองละหมาดหาเวลา เพราะอัลลอฮนั้นได เปนหนึ่งในรางกายของเราแลว”(Abd ul Jalil bin Haji Hasan:1950:6) การศรัทธาตอบรรดานบีและรอซูลของอัลลอฮฺ กลุมตัสลีมเชื่อวาเมื่อนบีมูฮัมมัดสิ้นชีวิต จะสงผลใหความเปนนบี เคาะลีฟะฮ และบทบัญญัติของ ทานนั้นถูกยกเลิกไปดวย ดังนั้นจึงจําเปนตองมีผูแทนที่ของการเปนนบีนั้น ดังเชนบรรดานบีสมัยกอนๆ ซึ่ง พวกเขาเชื่อวา “...ผูที่จะแทนที่นบีมูฮัมมัดนั้น อัลลอฮไดทรงทําใหเขานั้นไดกําเนิดขึ้นมาแลวในขณะนี้ ซึ่ง เขามีนามวา เชคอะลีย ซึ่งอยูที่บายัน ลือปส เกาะปนัง เขาสืบเชื้อสายมาจากทานฮัซซัน (หลานทานนบี) และเมื่อทานอะลียเสียชีวิตก็จะถูกแทนที่โดยบุตรของทานซึ่งมีอายุประมาณ 13 – 14 ป และจากทานผูนี้ นั้นเองที่อิหมามมะฮดียจะถือกําเนิดขึ้นมา ดังนั้นพวกเขาจึงมอบหมายตนตอเชคอะลียและมีความเชื่อวา ทานเปนเสมือนผูที่มาแทนที่ทานรอซูลลุลลอฮ”

574

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ตารางคํากลาวปฏิญาณตนหรือคํากลาวชะฮาดะฮตามยุคสมัยของบรรดานบีตามความเชื่อของกลุม ตัสลีม นบี อาดัม นูฮ นูฮ อิบรอฮีม อิบรอฮีม มูซา มูซา อีซา อีซา มูฮัมมัด มูฮัมมัด อิมามมะฮดี

คําปฏิญาณตน La ilaha illa Lah Adam Khalifatullah

ความหมาย ไมมีพระเจาอื่นใดที่ถูกกราบไหวอยาง แท จ ริ ง นอกจากอั ล ลอฮฺ และนบี อาดัมนั้นเปนเคาะลีฟะฮของอัลลอฮ La ilaha illa Lah Nuh Bahtera ไมมีพระเจาอื่นใดที่ถูกกราบไหวอยาง Allah แทจริงนอกจากอัลลอฮ และนบีนูฮ นั้นเปนสําเภาของอัลลอฮ La ilaha illa Lah Ibrahim Wali ไมมีพระเจาอื่นใดที่ถูกกราบไหวอยาง Allah แทจริงนอกจากอัล ลอฮ และนบีอิบ รอฮีมนั้นเปนวาลีของอัลลอฮ La ilaha illa Lah Musa ไมมีพระเจาอื่นใดที่ถูกกราบไวอยาง Kalimatullah แทจริงนอกจากอัลลอฮฺ และนบีมูซา นั้นเปนคําตรัสของอัลลอฮ La ilaha illa Lah Isa Ruh Allah ไมมีพระเจาอื่นใดที่ถูกกราบไหวอยาง แทจริงนอกจากอัลลอฮ และนบีอีซา นั้นเปนวิญญาณของอัลลอฮ La ilaha illa Lah Muhammad ไมมีพระเจาอืนใดที่ถูกกราบไหวอยาง Rasulullah แทจริงนอกจากอัลลอฮ และนบีมูฮัม มัดนั้นเปนศาสนทูตของอัลลอฮ

หลังจากนั้นกลุมตัสลีมเชื่อวาจํานวนอิหมามมะฮดีย มีจํานวนหาสิบคนดังอัลลอฮไดแจงไวในคืนมิอ รอจญของทานนบีมูฮัมมัด ดังที่ปรากฏในหะดีษที่วาอัลลอฮฺไดบัญชาใหละหมาดวันละหาสิบเวลานั้นเปน การอุตริกรรมของบรรดาอุลามาออิสลาม ซึ่งอันที่จ ริงแลวอัลลอฮไดชี้แจงกับ รอซูลในคืนนั้นคือเกี่ยวกับ จํานวนอิมามมะฮดียวามีหาสิบทานที่จะกําเนิดขึ้นมาตางหาก แตไมใชเกี่ยวกับจํานวนเวลาละหมาดแตอยาง ใด สวนสิ่งที่เกี่ยวกับจํานวนของการละหมาด อับดุลญะลีล ฮาซันไดอธิบายเกี่ยวกับลัทธิตัสลีมวา“หะดีษที่ เกี่ยวกับการมิอรอจญของรอซูลนั้นที่อัลลอฮฺไดบัญชาใหประชาชาติอิสลามละหมาดวันละหาเวลา นั้นเปน วจนะจอมปลอมที่บรรดาอุลามาออุตริขึ้นมาเอง เพื่อจะทําการบิดเบือนผูที่ไมมีความรู เพราะเหตุนี้เอง กลุม ตัลลีมจึงไมมีการละหมาด” (Kepercayaan Taslim:25.12-46,f.1 )and(Pm148/49,LPHA) แนวคิดกลุมตัสลีมเกี่ยวกับวิญญาณของมนุษย กลุมตัสลีมมีแนวคิดวาวิญญาณและรางกายของมนุษยนั้นเปนสิ่งที่ผสมผสานกันระหวางนบีอาดัม และนบีมูฮัมมัด ซึ่งไดอางหลักฐานจากหะดีษบทหนึ่งที่วาซึ่งทานนบีมูฮัมมัดไดกลาววา “ขาคือบิดาแหง บรรดาวิญญาณทั้งหลาย และอาดัมนั้นคือบิดาแหงรางกายทั้งหลาย” ดังนั้นความเชื่อของกลุมตัสลีมตอ วิญญานของมนุษยนั้น พวกเขาเห็นวาบรรดามนุษยทั้งหลายเปนสวนหนึ่งของนบีอาดัมและนบีมูฮัมมัด เพราะเหตุนี้การกลาวปฏิญาณตนนั้นมีความแตกตางกันจากคําปฏิญาณตนของมุสลิมทั่วไปAsyhadu An Graduate School and Research / 15 May 2013

575


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

Muhammad Rasulullah ความหมายวา “ขาขอปฏิญาณวานบีมูฮัมมัดนั้นเปนศาสนทูตของอัลลอฮ” แต กลุมตัสลีมไดเปลี่ยนแปลงความหมายเปน “ขาขอปฏิญาณวา ขามูฮัมมัดเปนศาสนทูตของอัลลอฮ จากคํา ปฏิญาณตนดังกลาว กลุมตัสลีมมีความเชื่อวามนุษยทั้งหลายนั้นเปนทานนบีมูฮัมมัดเสียเอง ซึ่งผูตามกลุม ตัส ลีมทุกคนจะตองปกปดความเชื่อเชนนี้ไวเ ปนความลับและหามเปดเผยแกบุคคลอื่นที่ไมใมชกลุมตัสลีม ดวยกัน (Rahmat Saripan,OP.Cit:219) แนวคิดจิตนิยมในกลุมตัสลีม องคป ระกอบของจิตนิยมที่สําคัญ ในกลุมตัส ลีม ที่เ ปนแนวทางที่ผูที่ตามในการไปสูอัล ลอฮ ซึ่ง แนวทางเหลานั้นคือ ชะรีอะฮ (ลักษณะศาสนบัญญัติ) ตะรีกะฮ (ลักษณะจิตนิยมการเพีรยบําเพ็ญตนดวย การภาวนา) ฮะกี ก ะฮ (ลั ก ษณะสั จ ธรรม) มะอ ริฟ ะฮ (ลั ก ษณะญาณวิ ท ยา) ทั้ ง สี่ แ นวทางนี้มี ห ลาย ความหมายซึ่งขึ้นอยูกับสิ่งที่มันพาดพิง ถามันพาดพิงกับตัวตนของมนุษย มันจะใหความหมายวา “คําวาชะรีอะฮ (ลักษณะศาสนบัญญัติ)คือตัวตน ตะรีกะฮ (ลักษณะจิตนิยมการเพีรยบําเพ็ญตน ดวยการภาวนา) คือจิตวิญญาณ ฮะกีกะฮ (ลักษณะสัจธรรม) คือชีวิต มะอริฟะฮ (ลักษณะญาณวิทยา) คือ การหยั่งรู” ถาทั้งสี่แนวทางพาดพิงถึงทานนบีมูฮัมมัด จะทําใหชะรีอะฮ (ลักษณะศาสนบัญญัติ)คือคําพูดของ ทาน ตะรีก ะฮ (ลักษณะจิตนิยมการเพีร ยบําเพ็ญตนดวยการภาวนา)คือการกระทําของท าน ฮะกีก ะฮ (ลักษณะสัจธรรม)พฤติกรรมของทาน มะอริฟะฮ (ลักษณะญาณวิทยา)คือมันสมองของทาน และจะมีบท สวดภาวนาโดยเฉพาะ ซึ่งบทสวดภาวนาของชะรีอะฮคือ “ลาอิลาฮะอิลลัลลอฮ” บทสวดภาวนาตะรีกะฮ คือ “อัลลอฮ” บทสวดภาวนาฮะกีกะฮคือ “ยาอัลลอฮ” และบทสวดภาวนามะอริฟะฮคอื “ยา ฮู” (Kasyaf Al-asrar:11,อางจาก Azmah AbdulManaf,Op.Cit:176) แนวปฏิบัติ และพิธีกรรมของกลุมตัสลีม แนวคิดตัสลีมเกี่ยวกับการละหมาดุมอัต (วันศุกร) กลุมตัสลีมถือวา ุมอัตนั้นคือวันพบกันอีกครั้งของนั้นนบีอาดัมและพระนางเฮาวาอ หลังจากที่ทั้ง สองไดพลั ดพรากจากกัน เมื่อตองออกมาจากสวนสวรรค และกลุมตัสลีมเชื่อวาการพบกันนี้คือการรวม ประเวณีดังที่ จากการรายงานของ (PM 148/49,PL HA, F,3 kepercayaan Taslim อางในRahmat Saripan:1990:217) พบวา ุมอัต (วันศุกร)เปนการรวมกันคือการรวมเปนหนึ่ง ดุฮฺรีย เปนการที่เห็นการ รวมนั้นอยางชัดเจน (การรวมประเวณี)อัสรีย การรวมนั้นกําลังอยูในภาวะที่แรงกลาในชวงเวลามัฆริบ การ หมดสติอยางไมรูสึก ตัวอีชา กลับ มารูสึก ตัวอีก ซุบ ฮีย เคลื่อนไหวมาเปนสอง (การเสร็จ จากการรวม ประเวณี) การสมรสลักษณะซอนเรน (บาฏิน) การสมรสลักษณะซอนเรน (บาฏิน) เปนสิ่งที่นิยมแพรหลายมากในคําสอนที่บิดเบือน ตัวอยางที่ เห็นไดชัดเกี่ยวกับการสมรสลักษณะซอนเรนนี้ คือคําสอนที่มีอยูในกลุมที่อยูภายใตการนําของอะบูบากัร บับปูที่เกิดขึ้นในป 1970 และในคําสอนที่บิดเบือนที่เกิดขึ้นในรัฐมะละกา กลุมตัสลีมยังทําการสมรสแบบ ซ อ นเร น ในลั ก ษณะที่ ผู ห ญิ ง คู ส มรสต อ งพลี ก ายในคื น แรกให กั บ ผู นํ า กลุ ม ของตั ว เอง (Ajaran Taslim,1978:10) 576

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สรุปและอภิปรายผล จากวัตถุประสงค เพื่อศึกษาเกี่ยวกับที่มา แนวคิด และหลักการปฎิบัติของกลุมตัสลีมในรัฐปนัประ เทศมาเลเซียพบวา ผูกอตั้งลัทธิตัสลีม คือ เชคซัยยิดมุหัมมัดชาฟอีย บุตรของ ซัยยิด ซัยนุดดีน มีฉายาวา หัจญี มุหัมมัด มาตาฮารีย อพยพมาจากเมืองมาดูรา ประเทศอินโดนีเซียและอางตนวาสืบสายสกุลจาก ทานนบีมุฮมั มัดคือ ศาสดามูฮัมมัด ศอลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม  นางฟาฏีมะฮ  (อาบุบักร อัลศี ดีก) รักษาการชั่วคราวหัซซันหัซซัน ซานีย  ซัยดอะมีนุดดีนซัยด ซานีย อับดุลเราะหมาน ลิงฆีย  อับดุลเลาะ อัลฮุซซันย อัลบะดาวีย อัล-ยุสนีย มักกะฮอัลเฆาะซาลีย อัล-ฟาฏอนีย  สุไลมาน อัล-ฟานีย  อัลดุลรออูฟอัลฮุซซัยน อัล-ดานีชกีย ญะมาลุลลัยล นุรุดดีน อัล-มัฆรีบีย  ชัมซุดดีนอะมีนุดดีนฮัซซะนุดดีนชัมซุด ดีนญะลาลุดดีนญะมาลุดดีนซัยลุดดีนเชคมูฮัมมัด ชาฟอีย  เชค อัลฆอซาลีย อะลี ญะมาลุลลัยลเชค อะหมัด ขอสังเกตที่สําคัญในตารางการสืบสกุลเชื้อสายของทานเชค ซัยยิด มุหัมมมัด ชาฟอียขางตนวามา จากทานนบีมุหัมมัดนั้น ปรากฏมีขอบิดเบือนอยูอยางเห็นไดชัด และอีกประการหนึ่งที่แสดงถึงการอางถึง ตารางการสืบเชื้อสายมาจากทานนบีมุหัมมัดของทานเชค ซัยยิด มุหัมมมัด ชาฟอียวาเกิดขึ้นจริง สามารถ ที่จะตั้งขอสังเกตไดในสามประเด็นดวยกัน กลาวคือหนึ่ง การอางตนของทานวามีสถานภาพเปนผูนําแทน ทานศาสดามุหัมมัด สอง การอางตนของทานวามีเชื้อสายมาจากทานศาสดามุหัมมัด สาม การอางตนของ ทานวา ทานเปนหลานของทานซัยยิด ญามาลุดดีน ซึ่งเปนผูนําของเกาวะลียผูสูงสงในมาดูราที่เปนที่ รูจัก กันอยางแพรหลายในดินแดนชวา . ตามประวัติศาสตรการเผยแผอิสลามหลังจากยุคการกลับสูความเมตตาของอัลลอฮฺขอทานศาสดา มุหัมมัด เปนที่ปรากฏวาไดมีผูทําหนาที่เปนผูนําแทนทานอยางชัดเจน โดยมีฐานะเปนเคาะลีฟะฮที่ถือเปน ผูนําศาสนา และบริหารกิจ การของประชาชาติมุสลิม ทั้ ง มวล แตไมป รากฏมีการอางถึง การโอนถาย สถานภาพ และภาระหนาที่ความเปนศาสนทูตจากทานรสูลแตอยางใดไม สวนภารกิจตางๆของบรรดา ผูนําเหลานั้นคือการสานตอหนาที่การเผยแผคําสอนอิสลามแกมนุษยชาติ และอีกประการหนึ่งที่เปนขอ ประจักษ ผูนําเหลานี้ไมไดสืบสกุลมาจากทานรสูล ถึงแมบางคนจะเปนพระสหาย และมีศักดิ์เปนเครือ ญาติกับทานรสูลก็ตาม ผูที่มาทําหนาที่เปนผูนําของมุสลิมแทนทานรสูล คนแรก ก็คือ อะบูบักร อัศศิดดีก ซึ่งไมปรากฏ ในบันทึกทางประวัติศาสตรวา บุตรีของทานศาสดา พระนางฟาตีมะฮเคยทําหนาเปนผูนําแทนทานรสูลแต อยางใดไม ถึงแมเปนเวลาสั้นๆก็ตาม นี้คือสิ่งที่เปนขอยืนยันถึงความไมถูกตองของการอางถึงความเปน ผูนําของพระนางฟาตีมะฮตอบรรดามุสลิม ดังที่ปรากฏในตารางขางตน และภายหลังจากที่ทานอะบูบักร อัศศิดดีกไดสิ้นชีวิตลง ผูที่มาทําหนาที่เคาะลีฟะฮแทนทาน ก็คือทานอุมัร อิบนุ อัลเคาะตต็อบ หลังจาก สมัยของทานอุมัร คืออุษมาน อิบนุ อัฟฟาน และตอมาหลังจากอุษมาน อิบนุ อัฟฟาน ก็คือทานอาลี อิบนุ อะบีตอเล็บ แตที่นาสังเกตในตารางการสืบสกุลเชื้อสายของทานเชค ซัยยิด มุหัมมมัด ชาฟอีย และ ถือเปนตารางการดํารงตําแหนงหนาที่เปนผูนําแทนทานนบีขางตน ไมปรากฏบันทึกชื่อของทานอาลี อิบนุ Graduate School and Research / 15 May 2013

577


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

อะบีตอเล็บ เปนหนึ่งในผูนําของพวกเขา ในขณะที่ทานเปนพระสวามีของพระนางฟาตีมะฮ และยังเปน พระบิดาของทานหัซซัน ซึ่งอยูในลําดับที่สี่ตามที่ปรากฏในตารางขางตน สวนที่ปรากฏในบันทึกประวัติศาสตรวาทานหัซซัน อิบนุ อาลี ซึ่งมีศักดิ์เปนหลานของทานศาสดา มุหัมมัด และปรากฏอยูในลําดับที่สี่ตามที่ปรากฏในตารางขางตนวา เคยดํารงตําแหนงผูนําในฐานะเคาะ ลีฟะฮหลังจากการเสียชีวิตของบิดาของตนนั้น เปนสิ่งที่ไมมีใครสามารถปฏิเสธ และแยงได แตกระนั้นก็ ตามภายในเวลาไมนานเทาไรทานหัซซัน อิบนุ อาลี ก็ไดสละตําแหนงเคาะลีฟะฮของตนใหกับทาน มุอาวี ยะฮ อิบนุ อาบูสุฟยาน ซึ่งถือเปนการกอกําเนิดราชวงศอุมัยยะฮที่มีอํานาจปกครองอาณาจักรอิสลามเปน เวลาเกือบรอยป และไดลมสลายลง โดยการเขามาแทนที่ของราชวงศอับบาสิยยะฮซึ่งไดทําการปกครอง อาณาจักรอิสลามเปนเวลารอยๆป และสุดทายก็ลมสลายลง หลังจากนั้นก็เปนยุคการปกครองของราชวงศ อุสมานียะฮและไดลมสลายลงในปค.ศ 1924 โดยการประกาศยกเลิกระบบเคาะลีฟะฮของกามาลอะตา เตอร ซึ่งตั้งแตปค .ศ 1924 จนถึงปจจุบันการปกครองของมุสลิมไดเปลี่ยนแปลงจากระบบเคาะลีฟะฮมาเปน การปกครองแบบมีอาณาเขตบริเวณเปนประเทศเล็ก โดยทุกประเทศจะมีโครงสรางทางการปกครองเปน เอกเทศ และมีอํานาจอธิปไตยเปนของตน ซึ่งถาหากทําการสํารวจเปรียบเทียบรายชื่อของผูนําของมุสลิม ตั้งแตยุคราชวงศอุมัยยะฮ ยุคราชวงศอับบาสิยยะฮ และยุคการปกครองของราชวงศอุสมานียะฮ ตลอด จนถึงสมัยปจจุบัน จะไมปรากฏรายชื่อที่มีปรากฏบันทึกอยูตารางการสืบเชื้อสายวงศตระกูลของทานเชค ซัยยิด มุหัมมมัด ชาฟอียที่มีการสืบเชื้อสายมาจากทานนบีมุหัมมัด และถือเปนผูดํารงตําแหนงหนาที่เปน ผูนําแทนทานนบีอยูเลย . จากขอเท็จจริงที่เปนบันทึกทางประวัติศาสตรที่กลาวมาขางตน ไดแยงกับสิ่งที่เปนขออางของทาน เชค ซัยยิด มุหัมมมัด ชาฟอียอยางชัดเจน ซึ่งหากจะทําการวิเคราะหถึงการอางการสืบเชื้อสายมาจากทาน นบีของผูกอตั้งแนวความเชื่อตัสลีม ก็คงสามารถกลาวไดวา เปนการอางที่แฝงดวยความมุงหวังที่ตองการ ยกสถานภาพความสูงสงของตน และสรางความนาเชื่อถือในหมูผูตาม และผูสนับสนุนใหเกิดความขลัง และความคลั่งมากขึ้นนั้นเอง เปนสิ่งที่ไมสามารถปฏิเสธไดวา ทาน รสูล และบรรดาวงศวาน ตลอดจน ลูกหลาน และผูสืบสกุลจากทาน เปนผูซึ่งไดรับการใหเกียรติ และเปนผูซึ่งสูงสงในสายตาของมุสลิมทั่วไป รวมถึงในสายของชาวมลายูมุสลิมอยางปฏิเสธไมได จึงไมแปลกที่จะพบวามีการกลาวอางความเชื่อมโยงสาย สกุลกับทานรสูลของผูคนในพื้นที่ตางๆอยางมากมาย เพื่อหวังจะไดรับการนับถือจากสังคมมุสลิมโดยเฉพาะ ผูที่หวังจะตั้งตนเปนผูนําทางศาสนาที่มีอํานาจอยางเบ็ดเสร็จ และอยางชอบธรรม ซึ่งหากจะมองในแนว การกลาวอางของทานเชค ซัยยิด มุหัมมัด ชาฟอียในการสืบสกุลเชื้อสายมาจากทานศาสดา ก็คงจะกลาว ไดวาการกลาวอางดังกลาวแฝงดวยความมุงหวังดังกลาวขางตนอยางชัดเจน( Mahayuddin Hj. Yahya : 1980 : 61, En. Nordin bin Ahmad : Jabatan Hal Ehwal Agama Islam Pulau Pinang ) ความเชื่อเกี่ยวกับอัล ลอฮฺ กลุมตัส ลีมมีหลัก ความเชื่อวา พระเจาสถิตอยูในรางกายของมนุษย แนวคิดนี้เปนแนวคิดที่แตกตางจากหลักความเชื่อของมุสลีมทั่วไปและในประเทศมาเลเซีย เปแนวคิดที่ สอดคลองกับแนวคิด อัน-นุศ็อยรียะฮฺ ซึ่งจัดอยูในกลุมลัทธิบาฏีนิยะฮฺ (ลัทธิที่เชื่อวาศาสนามีบทบัญญัติที่ ตรงตัวและแอบแฝง และพวกเขาเทานั้นที่สามารถเขาถึงบทบัญญัติที่แอบแฝง) ที่เกิดขึ้นในฮิจญเ ราะฮฺ ศตวรรษที3่ ผูเลื่อมใสในลัทธินี้คือชาวชีอะฮฺที่มีแนวคิดสุดโตงที่เชื่อวาในตัวทานอะลีย เราะฎิยัลลอฮุอันฮฺมี คุณลักษณะการเปนพระเจาแฝงอยู (Wamy,2012:3) และสอดคลองกับที่เรียกวาแนวคิด ฮุลูลียะฮ ดังที่อับ ดุลกอฮิร อับ-บัฆดาดียกลาววา ฮุลูลียะฮ เปนกลุมที่เกิดขึ้นในสมัยอาณาจักรอิสลามมีเปาประสงคจะทําลาย

578

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เตาฮีด(การเอกภาพตออัลลอฮ)ซึ่งมีหลายกลุมอาทิเชน สับอิยยะฮ-อัล –บายานิยยะฮ- อัล ญานาฮิยยะฮอัล คิฎอบิยยะฮฺและอื่น (Abd al-Qahir al-Bahgadadi,1977:1-241) การศรัทธาตอบรรดานบีและรอซูล กลุมตัสลีมเชื่อวาผูที่จะแทนที่นบีมูฮัมมัดนั้น คือเชคอะลีย แหงหมูบานบายันลือปส เกาะปนัง และบุตรของทานซึ่งสืบเชื้อสายจากทานฮัซซัน (หลานทานนบี) และ อิหมามมะฮดียจะถือกําเนิดจากสายสกุลผูนี้ ดังนั้น พวกเขาจึงตองมอบหมายตนตอเชคอะลีย” การกลาวอางตนเปนนบี หรืออาจารยของตนเปนนบี หรือไดรับฉันทานุมัติใหเปนตัวแทนของน บี มีผูนํากลุมของแนวคิดที่บิดเบือนบางกลุม ตองการสรางความเชื่อมั่น และการเคารพภักดีในตนตอ บรรดาผูตาม จึงทําการอางถึงความเปนนบี หรืออางถึงอาจารยของตนวาเปนนบี หรืออางถึงการไดรับ ฉันทานุมัติใหเปนตัวแทนของนบี การอางตนถึงสถานะการเปนนบี ถือเปนการขัดกับคําสอนอิสลามอยางรุนแรง และถือวาผูที่ไดอาง ตนเปนนบี เปนบุคคลที่ตกศาสนา เพราะในประวัติศาสตรอิสลามมีผูสถาปนาตนเปนนบีมากมาย เป น เหตุการณที่เกิดขึ้น ตั้งแตยุคตนๆ โดยเฉพาะหลังจากที่ทานนบีมุหัมมัดไดกลับสูความเมตตาของพระองค อัลลอฮ ในสมัยบรรดาเศาะหะบะฮมีบุคคลที่กลาวอางตนนบีหลายคน ซึ่งบรรดาเศาะหะบะฮไดทําการ เรียกรองบรรดาบุคคลเหลานั้นใหเปลี่ยนพฤติกรรม และกลับตัวเขารับอิ สลามใหม หาไมแลวก็จะถือวา เปนปฏิปกษกับอิสลาม จะตองถูกลงโทษทางอาญาที่สูงสุด ซึ่งปรากฏวามีผูอางตนบางคนมีผูสนับสนุนที่ สาวกของตนเป น จํา นวนมาก จึง ไมย อมทํ า ตาม และไมย อมจํ า นน บรรดาเศาะหะบะฮ จึง ทํ าการ ปราบปรามกลุมเหลานั้นในฐานะผูออกนอกรีตและตกศาสนา ในหลักความเชื่อ และหลักคําสอนของกลุมอะฮลุลสุนนะฮ วัลญะมาอาฮที่ถือเปนหลักความเชื่อ และหลักคําสอนของกลุมกระแสหลักในประเทศมาเลเซีย จะมี 3 ประการสําคัญที่เกี่ยวของกับสถานะ และคําสอนทานนบีมุหัมมัด ประการที่หนึ่ง ทานนบีมุหัมมัดถือเปนนบีและรสูลคนสุดท าย จะไมมีนบีหรื อรสูลภายหลังจากทานอีก ประการที่สอง คําสอนและบทบัญญัติที่นํามาเผยแผโดยทานนบีมุหัมมัด ถือ เปนคําสอน และบทบัญ ญัติที่สมบูรณและถือเปนสาสนสุดทายแหงพระเจาที่ประทานลงมาใหแกมวล มนุษยชาติ จะไมมีวิวรณใดอีกแลว หลังจากวิวรณที่ไดประทานลงมาแกทานนบีมุหัมมัด ฉะนั้นผูใดที่ได กลาวอางวาไดรับวิวรณของพระเจาจะเปนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ตาม ถือวาเปนการกุเท็จ และอุตริ ขึ้นโดยผูนั้น เชนการกลาวอางวาไดรับวิวรณฉันทานุมัติโดยชอบใหเปนตัวแทนโดยตรง หรือโดยออมของ ทานนบีมุหัมมัด ประการที่สาม ผูใดแอบอางวาตนเปนนบี หรือเปนครูของทานนบี ภายหลังจากสมัยของ ทานนบีมุหัมมัด เปนบุคคลนอกรีตที่ตกศาสนา จะตองขอใหบุคคลเหลานั้นเปลี่ยนพฤติกรรม และกลับตัว เขารับอิสลามใหม หาไมแลวก็จะถือวาเปนปฏิปกษกับอิสลาม พระองคอัลลอฮไดดํารัสในอัลกุอานไววา “มุฮัมมัดมิไดเปนบิดาผูใดในหมูบุรุษของพวกเจา แตเปนรสูลของอัลลอฮฺและคนสุดทายแหงบรรดานบี” (Al -Ahzab :33:40) แนวคิดเกี่ยวกับวิญญาณของมนุษย กลุมตัสลีมไดปฎิญาณตนวา “ ขาขอปฏิญาณวา ขา มูฮัมมัด เปนศาสนทูตของอัลลอฮ จากคําปฏิญาณตนดังกลาว กลุมตัสลีมมีความเชื่อวามนุษยทุกคนนั้นเปนทานนบีมู ฮัมมัด โดยผูเลื่อมใสทุกคนจะตองปกปดความเชื่อนี้เปนความลับและหามเปดเผยแกบุคคลอื่น การวาง เงื่อนไขใหผูเสื่อมใสตองสาบานตนวาจะตองเก็บคําสอนใหเปนความลับ เวนแตกับผูที่อยูในสังกัดเดียวกัน ถือเป นลัก ษณะกิ จ ปฏิ บัติของกลุ ม แนวคิดบิ ดเบือ นโดยสวนมาก กิจ ปฏิบั ติเ ชน นี้เ ป นสิ่ง ที่ ขัดแยง กั บ เปาหมายในการร่ําเรียนและวัตรปฏิบัติของบรรดานบี บรรดาเศาะหะบะฮ และบรรดาผูรูที่ไดรับ การ ยอมรับในอิสลามในอันที่จะตองเผยแผคําสอนของอิสลาม และเชิญชวนผูอื่นโดยเปดเผย ไมซอนเรน ไม Graduate School and Research / 15 May 2013

579


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ปดบัง และถือเปนหนาที่ที่พึงตองกระทํา ผูใดจะละเวนมิได ดังที่พระองคอัลลอฮไดดํารัสไววา “จงกลาว เถิดมุฮัมมัด“นี่คือแนวทางของฉัน ฉันเรียกรองไปสูอัลลอฮอยางประจักษแจงทั้งตัวฉันและผูปฏิบัติตามฉัน และมหาบริสุทธิ์แหง อัลลอฮ ฉันมิไดอยูในหมูตั้งภาคี”( Yusof :12:108) จิตนิยมที่สําคัญในกลุม ตัสลีมประกอบดวย ลักษณะศาสนบัญญัติ ลัก ษณะจิตนิยมบําเพ็ญ ตน ลักษณะสัจธรรม และลักษณะญาณวิทยามีลักษณะการบําเพ็ญตนเปนกลุม (Bentuk Tarikat) โดยปกติ กลุ ม เหลา นี้ มั ก เรีย กกลุ ม ตัว เองดว ยชื่ อ ที่ แพร ห ลายมาก อ นหน า เช น กลุม อะห ม ะดิ ย ะฮ (Tarikat Ahmadiah) กลุมนักซาบันดิยะฮ (Tarikat Naqsyabandiah) กลุมสาซาลิยะฮ (Tarikat Sazaliah) กลุม สามานิยะฮ (Tarikat Samaniah) กลุมเกาะดาริยะฮ (Tarikat Qadariah) และกลุมมุฟฟาริดิยะฮ (Tarikat Muffaridiah) เปนตน อยางไรก็ตาม ไมวาจะมีชื่อใหมหรือเกา ลักษณะสาระคําสอนและลักษณะการบําเพ็ญตนก็มีการ เพิ่ ม เติ ม แก ไ ข ตัด ทอน หรื ออุ ต ริสิ่ ง ใหม ๆ ขึ้ นตามแต ผูนํ า จะประยุ ก ต ป ระสบการณ ข องตนหรื อ สิ่งแวดลอมตนเขามาปรับใช จึงพบวาบางครั้งชื่อกลุมจะเหมือนกัน แตลักษณะสาระคําสอนและพิธีกรรม บําเพ็ญตนจะตางกัน อีกทั้งความเบี่ยงเบนหรือความบิดเบือนก็อาจจะแตกตางกัน และบางครั้งจะใชชื่อ นามตางกัน แตลักษณะสาระคําสอน และพิธีกรรมการเพียรบําเพ็ญตน อาจจะเหมือนกันเพราะผูนํากลุม มีครูคนเดียวกัน แตปรับชื่อกลุมตามชื่อของผูนําใหม หรือตามสาระคําสอนที่ผูนําเห็นวาเดนหรือมีความ ถนัดเชี่ยวชาญกวา (Jakim:2010:3-5) สวนหลักการปฏิบัติคือ การละหมาดวันศุกร ที่ถือวาเปนวันพบกันอีกครั้งของนบีอาดัมและพระ นางเฮาวาอหลังจากที่ทั้งสองไดพลัดพรากออกจากสวรรคนั้น จะเห็นวาคําสอนของกลุม ตัสลีมในกรณีนี้มี การนําเรื่องทางเพศมาบรรจุ โดยการบําเพ็ญภาวนานั้นจะกระทํากันเปนกลุมๆรวมกันระหวางชายและหญิง และยังตีความวาเวลาละหมาดในวันุมอัตหมายถึงเวลาแหงการมีเพศสัมพันธตามที่ไดกลาวมาขางตน ซึ่ง สามารถเขาใจไดวาการสอนเชนนี้มีเจตนาแอบแฝงเพื่อโนมนาวใหผูคนคลอยตามโดยเฉพาะวัยรุนที่กําลังมี ความตองการทางเพศ เพราะสามารถจะลวงละเมิดทางเพศโดยเสรีและเชื่อวาไมผิดตอหลักการศาสนา ในการนี้มีหัวหนาแนวคิดที่บิดเบือนหลายกลุมไดทําการสอนผูตามในกลุมตน ถึงการอนุมัติที่จะ ให มีการละทิ้งการละหมาดวันศุกรได ดวยเหตุผลการเพียรบําเพ็ญตนดวยการภาวนาตามที่ไดกําหนดในแนวคํา สอนของกลุม ซึ่งเปนสิ่งที่ขัดกับหลักคําสอนของอิสลาม เพราะการการละหมาดวันศุกรถือเปนภาระของผู บรรลุศาสนาภาวะทุกคนที่เปนชาย และไมมีลักษณะอนุโลม หรือยกเวนในศาสนาวาสามารถที่จะละการ ละหมาดวันศุกรได ในการนี้พระองคอัลลอฮไดดํารัสในอัลกุรอานไววา“โอบรรดาผูศรัทธาเอย เมื่อไดมีเสียง รองเรียก (อะซาน) เพื่อทําละหมาดในวันศุกรก็จงรีบเรงไปสูการรําลึกถึงอัลลอฮฺ” (Al-Jumu-at:62:9) ทานนบีมหุ ัมมัดในบันทึกของทานอะบูดาวูดวา “การละหมาดวันศุกรถือเปนภาระหนาที่ของมุสลิม ผูบรรลุศาสนาภาวะทุกคน เวนแตบุคคล 4 ประเภท กลาวคือ บาวที่มีเจาของสังกัด ผูเปนหญิง ผูเปน เด็ก และผูปวย” ในบันทึกของทานอะบูดาวูด ทานนบีมหุ มั มัดไดกลาวา “ผูใดทีมีความศรัทธาตอพระองค อัลลอฮ และศรัทธาตอวันฟนคืนชีพใหม ผูนั้นจะตองทําการละหมาดวันศุกร” ในที่นี้เห็นไดวาตัวบทของอัลกุรอานและความในหะดิษของทานนบีไดแสดงความหมายการ ละหมาดวันศุกรซงึ่ ถือเปนสิง่ บังคับเหนือมุสลิมผูบ รรลุศาสนาภาวะทุกคน เวนแตบุคคลที่มีเหตุอนุโลมตาม ความที่ปรากฏในหะดิษของทานนบี ซึ่งไมปรากฏมีการกลาวถึงการเพียรบําเพ็ญตนดวยการภาวนาเปนสิง่ ที่ อนุโลม สามารถทีจ่ ะละทิง้ การละหมาดวันศุกรได และอีกประการหนึ่งการเพียรบําเพ็ญตนดวยการภาวนา ไมปรากฏมีหลักฐานในศาสนาวาเปนสิง่ บังคับเหนือมุสลิมทีจ่ ะตองปฏิบัติ ฉะนั้นคําสอนที่กลาวถึงการ 580

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

อนุมัติที่จะละทิ้งการละหมาดวันศุกรได ดวยเหตุผลการเพียรบําเพ็ญตนดวยการภาวนาตามที่ไดกําหนดใน แนวคําสอนของกลุม ทีบ่ ิดเบือนนั้นเปนสิง่ ทีผ่ ิด (JAKIM:2008:5- 47, Hj.Zamihan Hj. Mat Zin alGhari:2008:2 - 10) การละหมาดภาคบังคับสําหรับชายมุสลิมทุกคนที่จะตองกระทํากันในทุกๆ สัป ดาหอยางไมอาจ หลีกเลี่ยงได การละหมาดนี้จะกระทําในวันศุกรอันเปนวันที่พระเจาไดกําหนดใหมุสลิมทุกคนแสดงออกถึง ความภักดีตอพระองครวมกันเปนการนัดหมายกัน เพื่อจะไดใครครวญถึงเรื่องตางๆที่เกี่ยวกับจิตวิญญาณ ของตนในสัปดาหที่ผานมา และเพื่อเปนการเตรียมความพรอมสําหรับสัปดาหที่กําลังจะมาถึง เปนการ ชุมนุมของบรรดามุสลิมในอันที่จะสรางความมั่นใจแกตัวเองและยืนหยัดพันธะผูกพันทางศาสนาตลอดจน ความมั่นคงทางสัง คมบนรากฐานของศี ล ธรรมและจิต วิญ ญาณและเป นการแสดงให เ ห็นว ามุส ลิม ให ความสําคัญอยางไรกับการเชิญชวนของพระเจาที่นอกเหนือสิ่งอื่นใดทั้งปวง (อาลี อัลชาฮูด, 2010: 1/37) การสมรสลักษณะซอนเรน (บาฏิน) มีการสมรสในลักษณะซอนเรนทีผ่ ูหญิงคูส มรสตองพลีกายใน คืนแรกใหกบั ผูนํากลุมตัสลีม ซึ่งจะเห็นไดวาเพื่อเปนการสนองตัญหาแกหัวหนากลุม และเปนผลเสียแกผู ตามไมวาจะเปนหญิงหรือชาย ถาหากพิจารณา จะพบวาเปนไปไมไดทผี่ ูเปนสามีจะยอมใหผูเปนภรรยาที่ พึ่งทําการสมรสไปหลับนอนกับชายอื่น การแตง งานที่ถูก ตองตามหลัก อิส ลาม คือ ตองมี องคป ระกอบดัง นี้ 1.เจาบาว 2.เจาสาว 3. ผูปกครองของฝายหญิงเปนผูใหความยินยอม 4.มีการกลาวบอกและกลาวตอบรับโดยผูปกครองของฝาย หญิง เปนผูกลาวบอกคํานิกะฮ การนิกะฮมักนิยมทําที่บานเจาสาว กอนนิกะฮใหมีการอานคุฏบะฮ เพื่อ อบรมเกี่ยวกับการครองเรือนเสร็จแลวจึงทําการนิกะฮวา "(ขานชื่อเจาบาว) ฉันจะนิกะฮเธอกับ (ชื่อเจาสาว) บุตร…ซึ่งบิดาของเจาสาวไดมอบใหฉันเปนผูทําพิธีนิกะฮแทน โดยสินสอด …บาท" เจาบาวตองรับดวยวาจา ทันทีโดยบอกกลาวรับวา "ฉันรับนิกะฮดังกลาวดวยสินสอด… บาท" เมื่อเสร็จการถามตอบดังกลาวแลว ก็ถือ วาการแตงงานครั้งนั้นสมบูรณแลว และหากตองการเอกสารเพื่อยืนยันการสมรส ก็ใหขอจากโตะอีหมามซึ่ง จะเปนผูออกเอกสารนั้น (Majlis agama islam, 2012:7)

Graduate School and Research / 15 May 2013

581


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เอกสารอางอิง Abdulfatah. 1985. Harun Ibrahim Ajaran sesat. kuala Lumpur: dewan bahasa Azmah Abd Manaf. 1992. Sejarah dan Perkembangan Pengaruh Ajaran Taslim yang di Asaskan di Pulau Pinang 1870-1960.Universiti Sains Malaysia pinang (USM)berpengaruh. Abd Jalil. 1950. Itikad Taslim wjaj, 3,15 R awal,1369 Abd al-Qahir al-Baghdadi. 1997. al-Farq bayna al-Firaq. bayrut Dar al-Afaq Abu Dawud. nd. al-Sunan. Bayrut. Dar al-Kitab al- ‘Arabi En. Nordin bin Ahmad: Jabatan Hal Ehwal Agama Islam Pulau Pinang. En. Abdullah Fahim: Pusat Islam Kuala Lumpur Hamka. 1981. hari akhirat. pustaka aman press. Kelantan Malaysia. cetakan delapan Rahmat bin Saripan. 1990. Gerakan Agama Taslim Di Johor (1946-1956) Jebatb18 (1990) n205228 Mohd. Zahir Othman. 1980. Konsep ajaran Taslim. Jabatan Usuluddin UKM Majlis Ugama islam Sabah: Hikmah ,bil. 59 Nov.-Dis.:1986 Pejabat Agama Islam Johor J/UG 7 288/53 PPIM,JPM , (1978) Ajaran Taslim, Kuala Lumpur Pm 148/ 49,LPHA kepercayaan Taslim 25 12 46 Wan Muhammad.Azam.Mohd.Amin. 2001. Ajaran sesat, kuala Lumpur: Printing Sdn.Bhd

582

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

 

  Surah Yaseen Reading for Person Passing Away of Muslim Society: Case Study of Regulation and Evidence  

 

 

                                         2  

 

Graduate School and Research / 15 May 2013

583


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT Reading Surah Yaseen for the person who is going to die has been widely practised by most of Muslim society, because they regard this surah as a very glorious and useful one. So the aim of writing this article is to study about the Islamic provision and evidence about reading Surah Yaseen for that person. From the study, we found that most of the Islamic scholars from many Islamic religious sects (mazhabs) have the idea of encouragement and support to read that surah for the person who is going to die.They hold the evidences from many sections of the sayings of the Prophet (Hadeeth) that are weak (dha'eef) and very weak (dha'eef jiddan), because they think that the weak Hadeeth can be used in practising good deeds. Keywords: Reading Surah Yaseen, Muslim Society, Islamic provision, evidence     .

584

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

             2             2               1 

2  

3                4         

22 2 2         2                 Graduate School and Research / 15 May 2013

585


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

        2 2                   2  2             117:1998                            

 2930            2    2                                  22                        21727    22 2     22      780   1996                          2 

586

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

        3407   2000          6471  1988              2 1990                    249   3 1999   399 2    1988   6470       22861999                   831  1990           475   1997       395  2    2   2       83

 22  1  1.1  2 1.2   Graduate School and Research / 15 May 2013

587


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

 1.3  1.4  21.5  1.6  1.7  2 2    23  213

 23

 33

 1211141729561978                   

   2  2    2     2 2  2 2 

588

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

                                  681   752010          

   11  59331990  21   5011 676623 31 2 1997 4371198410353932 24141    2   170941998       2            1997  2717    241  4  Graduate School and Research / 15 May 2013

589


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

  2  170941998     2 1  2  1999   3121   1988         1999     20567   1998  1448         1075    1511990 2     60991987  18811990     919041382526       3         2   2

590

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

               136292010       2           2           1  

2

2  2         2 3  2    1955  87 24    4.1  4.2

Graduate School and Research / 15 May 2013

591


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

4.3   4.4   258  4.5 4.6  52511997                       2               2    222   2     2             2    22      

592

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

   

   1997 1997    . 1999   1998  1998  1998  1417    1988   . 1990   1997  1990   .1999   . 2010  . 1990   2000  . 1987     1382 1997     1984      1978   Graduate School and Research / 15 May 2013

593


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

   2010.    1997     1988       1996    1999     .1955  1990–    

594

Graduate School and Research / 15 May 2013


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﺻﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ‪:‬دراﺳﺔ أﺻﻮﻟﻴﺔ ﺗﻄﺒﻴﻘﻴ ّﺔ ﰲ ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء‬

‫‪The Prohibition Clause: Study Case of Fundamental in‬‬ ‫‪The Surah an-Nisa‬‬ ‫ﻳﻮﺳﻒ وان ﺣﺎﺟﻲ‬ ‫ﻃﺎﻟﺐ ﰲ ﻣﺮﺣﻠﺔ اﻟﲈﺟﺴﺘﲑ ﻗﺴﻢ اﻟ ﴩﻳﻌﺔ‪ ،‬ﻛﻠﻴﺔ اﻟﺪراﺳﺎت اﻹﺳﻼﻣﻴّﺔ‪ ،‬ﺑﺠﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴّﺔ ‪،‬ا‬

‫ﻣﺴﺘﺨﻠﺺ ﺍﻟﺒﺤﺚ‬ ‫ﳞﺪف ﻫﺬا اﻟﺒﺤﺚ إﱃ اﻟﺘﻌﺮف ﻋﲆ ﺣﻘﻴﻘﺔ اﻟﻨﻮاﻫﻲ وﻣﺎﻳﻔﻴﺪﻫﺎ واﺧﺘﻼف اﻟﻌﻠﲈء ﻓﻴﻬﺎ ‪ ،‬ﻛﲈ ﳞﺪف إﱃ‬ ‫اﻟﺘﻌﺮف ﻋﲆ ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء ﻣﻊ دراﺳﺔ أﺻﻮﻟﻴﺔ ﺗﻄﺒﻴﻘﻴﺔ ﻟﺼﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ ﻓﻴﻬﺎ ‪ ،‬و ذﻛﺮ اﳊﻜﻢ ﻋﻘﺒﻬﺎ ﻣﺒﺎﴍة‪ .‬وﻳﺘﺴﻢ‬ ‫ﻫﺬا اﻟﺒﺤﺚ ﺑﺪراﺳﺔ ﻣﻜﺘﺒﻴﺔ ﺣﻴﺚ ﲡﻤﻊ اﳌﻮاد اﻟﻌﻠﻤﻴﺔ ﻣﻦ اﻟﻘﺮآن واﻟﺴﻨﺔ واﻟﺘﻔﺴﲑ وﻛﺘﺐ اﻟﻔﻘﻪ واﻷﺻﻮل‬ ‫وﻏﲑﻫﺎ‪ .‬وﻣﻦ ﻫﺬه اﻟﺪراﺳﺔ ﺗﻮﺻﻞ اﻟﺒﺎﺣﺚ إﱃ ﻧﺘﺎﺋﺞ ﻋﺪّ ة أﳘﻬﺎ ‪:‬‬ ‫أوﻻ ً ‪ :‬أن اﻟﻨﻬﻲ ﻫﻮ اﻟﻘﻮل اﻟﺪال ﻋﲆ ﻃﻠﺐ ﻛﻒ ﻋﻦ ﻓﻌﻞ ﺣﺘ ًﲈ ﻋﲆ ﺟﻬﺔ اﻻﺳﺘﻌﻼء ‪ ،‬ﻓﻴﻜﻮن ﺻﻴﻎ‬ ‫اﻟﻨﻮاﻫﻲ ‪ :‬اﻷﻟﻔﺎظ اﻟﺘﻲ ﺗﺴﺘﻌﻤﻞ ﻟﻠﺪﻻﻟﺔ ﻋﲆ ﻃﻠﺐ ﻛﻒ ﻋﻦ ﻓﻌﻞ ﺣﺘ ًﲈ ﻋﲆ ﺟﻬﺔ اﻻﺳﺘﻌﻼء‪ .‬ﺛﺎﻧﻴ ًﺎ ‪ :‬أن اﻟﻨﻬﻲ‬ ‫اﳌﺠﺮد ﻋﻦ اﻟﻘﺮاﺋﻦ ﺗﻔﻴﺪ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ ﻣﺒﺎﴍة ﻋﲆ اﻟﺮاﺟﺢ ﻣﻦ أﻗﻮال اﻟﻌﻠﲈء‪ .‬ﺛﺎﻟﺜ ُﺎ ‪ :‬أن ﻟﻠﻨﻬﻲ ﺻﻴﻐﺎ ﻣﻨﻬﺎ إﻧﺸﺎﺋﻴﺔ‬ ‫وﻣﻨﻬﺎ ﺧﱪﻳﺔ ‪ ،‬ﻓﻤﻦ اﻟﺼﻴﻎ اﻹﻧﺸﺎﺋﻴﺔ اﻟﺪاﻟﺔ ﻋﲆ اﻟﻨﻬﻲ ﻣﺒﺎﴍة ‪ :‬اﻟﺘﻌﺒﲑ ﺑﻠﻔﻆ ﻳﺪل ﺑﲈدﺗﻪ ﻋﲆ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ ‪ ،‬اﻟﺘﻌﺒﲑ‬ ‫ﺑﻠﻔﻆ ﻳﺪل ﺑﲈدﺗﻪ ﻋﲆ ﻧﻔﻲ اﳊﻞ ‪ ،‬اﻟﺘﻌﺒﲑ ﺑﻠﻔﻆ ﻳﺪل ﻋﲆ اﻟﻨﻬﻲ ‪ ،‬اﻟﻔﻌﻞ اﳌﻀﺎرع اﳌﻘﺮون ﺑﻼ اﻟﻨﺎﻫﻴﺔ ‪ ،‬ﺻﻴﻎ اﻷﻣﺮ‬ ‫اﻟﺘﻲ ﺗﺪل ﻋﲆ ﻃﻠﺐ اﻟﱰك أو اﳌﻨﻊ‪ .‬وﻣﻦ اﻟﺼﻴﻎ اﳋﱪﻳﺔ اﻟﺪاﻟﺔ ﻋﲆ اﻟﻨﻬﻲ ﻋﻦ ﻃﺮﻳﻖ اﻟﻠﺰوم ‪ :‬اﻟﻮﻋﻴﺪ ﺑﺎﻟﻌﻘﺎب‬ ‫ﻋﲆ اﻟﻔﻌﻞ‪ ،‬اﻻﺳﺘﻔﻬﺎم اﻹﻧﻜﺎري‪ ،‬وﺻﻒ اﻟﻌﻤﻞ ﺑﺄﻧﻪ ﻣﻦ ﺻﻔﺎت اﳌﻨﺎﻓﻘﲔ‪ ،‬وﺻﻒ اﻟﻔﻌﻞ ﺑﺎﻟﻈﻠﻢ أواﻹﺛﻢ‪،‬‬ ‫وﺻﻒ اﻟﻔﻌﻞ ﺑﺎﳋﻴﺒﺔ أواﳋﴪان‪ .‬راﺑﻌ ًﺎ ‪ :‬أن ﻟﺴﻮرة اﻟﻨﺴﺎء أﺣﻜﺎﻣﺎ ﻛﺜﲑة ﺗﺘﻌﻠﻖ ﺑﺎﻟﻨﺴﺎء ﱂ ﺗﻮﺟﺪ ﰲ ﻏﲑﻫﺎ ‪،‬‬ ‫وﻟﺬﻟﻚ ﺳﻤﻴﺖ ﺑﺬﻟﻚ ‪ ،‬وﻳﻮﺟﺪ ﻓﻴﻬﺎ ﺻﻴﻎ ﻣﺘﻨﻮﻋﺔ وﻣﺘﻌﺪدة ﻟﺼﻴﻎ اﻟﻨﻬﻲ ﻣﻨﻬﺎ إﻧﺸﺎﺋﻴﺔ وﻣﻨﻬﺎ ﺧﱪﻳﺔ‪ .‬ﺧﺎﻣﺴ ًﺎ ‪ :‬أن‬ ‫ﻣﺪﻟﻮل ﺻﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ اﳌﺪروﺳﺔ ﰲ اﻟﺮﺳﺎﻟﺔ أﻏﻠﺒﻬﺎ ﺗﻔﻴﺪ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ ﻟﺘﺠﺮدﻫﺎ ﻋﻦ اﻟﻘﺮاﺋﻦ اﻟﺘﻲ ﺗﻔﻴﺪ ﻏﲑﻫﺎ ‪.‬‬

‫‪595‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The purposes of this research were: to study the real core of the prohibition, the prohibition clause, the meaning of the prohibition, the diversity in the opinions among scholars on this matter and to study the fundamental principles and practices of the prohibition sentence used to do only in the surah An-Nisa’. The results of this research are the study of the Qur'an, Sunnah, Tafsir, Fiqh, Ausul and the others. The findings revealed that: 1)The prohibition means command to refrain from issuing the command, the prohibition clause: words that used to indicate a request to refrain from issuing the command. 2)The prohibition that without reason is a kind of strictly prohibition, as the scholars have the opinion that it is a valid point. 3)The formats of prohibition clause including the structure of a direct prohibition and the structure of command to avoiding the detour through affirmative sentence. The structure of a direct prohibition: the prohibition clause that using the terminology must be meaningful in itself, the prohibition clause implies not approve the action, the prohibition clause that comes from the root of word “forbidden”, the present tense of the verb preceded by La anNahiyah, which is equal to that of prohibited acts, the prohibition clause that makes sense to refrain from actions or avoid. The structure of command to avoiding the detour through affirmative sentence: the prohibition clause that describes the return of actions that how the offender will be punished, the prohibition clause using the questions that reflect the decline, the action that describes the characteristics of the Munafiq (the hypocrites), the actions that describe the injustice and sin and the action that describes the disappointment and loss. 4)The surah An-Nisa’ contains many provisions on women. This may not be available in the other surah. For these reasons, it is known that the an-Nisaa of the Quran because they have a wide range of expressions prohibited and the order avoiding the detour through affirmative sentence. 5) Indeed, the meaning of the prohibition clause were be studied in this research, the most strictly prohibited type because without justification.

596

Graduate School and Research / 15 May 2013


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫اﳌﻘﺪﻣﺔ‬ ‫إن اﳊﻤﺪﻟﻠﻪ ﻧﺤﻤﺪه وﻧﺴﺘﻌﻴﻨﻪ وﻧﺴﺘﻐﻔﺮه وﻧﺴﺘﻬﺪﻳﻪ ‪ ،‬وﻧﻌﻮذ ﺑﺎﷲ ﻣﻦ ﴍور أﻧﻔﺴﻨﺎ وﻣﻦ ﺳﻴﺌﺎت أﻋﲈﻟﻨﺎ ﻣﻦ‬ ‫ﳞﺪه اﷲ ﻓﻼ ﻣﻀﻞ ﻟﻪ وﻣﻦ ﻳﻀﻠﻞ ﻓﻼ ﻫﺎدي ﻟﻪ ‪ ،‬وأﺷﻬﺪ أن ﻻ‬

‫إﻻ ّ اﷲ وﺣﺪه ﻻﴍﻳﻚ ﻟﻪ ‪ ،‬ﺧﻠﻖ اﻟﺴﻤﻮات‬

‫واﻷرض ﺑﺎﳊﻖ ‪ ،‬وأرﺳﻞ اﻟﺮﺳﻞ وأﻧﺰل اﻟﻜﺘﺐ ﻟﻴﻘﻴﻢ ﻋﻠﻴﻬﻢ اﳊﺠﺔ ‪ ،‬ﻗﺎل ﺗﻌﺎﱃ‪:‬‬ ‫‪Q P O NM L K J I H G F E D C B A @ M‬‬ ‫‪ )LYX WV U TSR‬ﺳﻮرة اﻟﺴﺠﺪة‪( 4 :32،‬‬ ‫وﻗﺎل ﺗﻌﺎﱃ‪L ] \ [ Z YX W V U T S R Q P O N M :‬‬ ‫)ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء‪(165 :4،‬‬ ‫وﻗﺎل ﺗﻌﺎﱃ‪L> = < ; : 9 8 7 6 5 43 2 M :‬‬ ‫) ﺳﻮرة اﻟﻨﺤﻞ‪( 44 :16،‬‬ ‫وأﺷﻬﺪ أن ﳏﻤﺪ ًا ﻋﺒﺪه ورﺳﻮﻟﻪ ﺻﻠﻮات رﰊ وﺳﻼﻣﻪ ﻋﻠﻴﻪ ‪ ،‬وﻋﲆ آﻟﻪ وأﺻﺤﺎﺑﻪ اﻟﻄﻴﺒﲔ اﻟﻄﺎﻫﺮﻳﻦ إﱃ‬ ‫ﻳﻮم اﻟﺪﻳﻦ‪.‬‬ ‫أﻣﺎ ﺑﻌﺪ ‪ :‬ﻓﺈن اﷲ ﺗﻌﺎﱃ أوﺟﺪ اﳋﻠﻖ ﳌﻘﺼﺪ ﻋﻈﻴﻢ وﺟﻠﻴﻞ‪ ،‬وﻫﻮ ﻋﺒﺎدﺗﻪ وﻋﺪم اﻹﴍاك ﺑﻪ ﺷﻴﺌﺎً‪ ،‬ﻛﲈ ﻗﺎل‬ ‫ﺗﻌﺎﱃ‪) L I H G F E D C M :‬ﺳﻮرة اﻟﺬارﻳﺎت‪(51:56 ،‬‬ ‫وﻋﺒﺎدة اﷲ ﻣﺒﻨﻴﺔ ﻋﲆ اﻣﺘﺜﺎل أواﻣﺮه واﺟﺘﻨﺎب ﻧﻮاﻫﻴﻪ ‪ ،‬وﻟﻴﺘﺤﻘﻖ ﻣﻘﺼﻮد اﻟﴩﻳﻌﺔ – ﺑﺄواﻣﺮﻫﺎ‬ ‫ﻻ ﻳﺎﻟﻮﺣﻲ‪ ،‬ﻓﺄرﺳﻞ اﷲ اﻟﺮﺳﻞ ‪ ،‬وﻛﺎن‬ ‫وﻧﻮاﻫﻴﻬﺎ‪ -‬ﻻ ﺑﺪ ﻣﻦ ﲤﻴﻴﺰ اﳊﻼل ﻣﻦ اﳊﺮام ‪ ،‬وﻻﻳﻤﻜﻦ ﻣﻌﺮﻓﺔ ذﻟﻚ إ ّ‬ ‫أﺧﺮﻫﻢ ﺧﺎﺗﻢ اﻷﻧﺒﻴﺎء واﳌﺮﺳﻠﲔ ﻧﺒﻴﻨﺎ ﳏﻤﺪ ﺻﲆ اﷲ ﻋﻠﻴﻪ وﺳﻠﻢ ‪ ،‬وأﻧﺰل اﷲ ﻋﻠﻴﻪ اﻟﻘﺮآن اﻟﻜﺮﻳﻢ اﻟﺬي ﺗﻜﻔﻞ‬ ‫ﺳﺒﺤﺎﻧﻪ ﺑﺤﻔﻈﻪ ‪ ،‬وﺟﺎء اﻟﻘﺮآن اﻟﻜﺮﻳﻢ ﺑﻠﺴﺎن ﻋﺮﰊ ﻣﺒﲔ ﺗﻨﻮﻋﺖ وﺗﻌﺪدت ﻓﻴﻪ اﻟﺼﻴﻎ‪.‬‬ ‫وﻣﻌﺮﻓﺔ اﻟﻌﺒﺪ ﻣﺎﻫﻮ ﳏﺮم ﻋﻠﻴﻪ ﻓﻌﻠﻪ ‪ ،‬وﻣﺎﻫﻮ واﺟﺐ ﻋﻠﻴﻪ ﻓﻌﻠﻪ‪ ،‬ﻳﻜﻮن ﺑﺎﻟﺼﻴﻎ اﻟﺪاﻟﺔ ﻋﲆ ذﻟﻚ ‪ ،‬وﺻﻴﻐﺔ‬ ‫اﻟﻨﻮاﻫﻲ " ﻻﺗﻔﻌﻞ " وﻏﲑﻫﺎ ‪ ،‬اﻟﺘﻲ ﺗﻘﺘﴤ ﰲ أﺻﻠﻬﺎ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ ﻣﺎﻫﻲ إﻻ ﺻﻴﻐﺔ ﻣﻦ اﻟﺼﻴﻎ اﻟﺪاﻟﺔ ﻋﲆ اﻟﻨﻮاﻫﻲ‪.‬‬ ‫وﻣﻦ ﻫﻨﺎ ﺗﱪز أﳘﻴﺔ ﻫﺬا اﳌﻮﺿﻮع ‪ ،‬ﻷن اﳌﻜﻠﻒ إذا اﺟﺘﻨﺐ ﻣﺎ ﺣﺮﻣﻪ اﷲ ﻋﻠﻴﻪ ‪ ،‬واﻣﺘﺜﻞ أواﻣﺮ اﷲ ﻓﻘﺪ‬ ‫أﻓﻠﺢ وﻓﺎز ﺑﺮﺿﻮان اﷲ ‪ ،‬وﺗﺘﺤﻘﻖ ﻟﻪ اﻟﺴﻌﺎدة ﰲ اﻟﺪارﻳﻦ ‪ ،‬وﻫﺬه ﻧﺘﻴﺠﺔ ﲢﻘﻴﻘﻪ ﳌﻘﺼﻮد اﻟﴩﻳﻌﺔ اﻷﻋﻈﻢ وﻫﻮ‬ ‫ﻋﺒﺎدة اﷲ وﺣﺪه ‪ ،‬وﻋﻦ ﻃﺮﻳﻖ اﻟﺼﻴﻎ ﻳﻌﺮف اﻟﻌﺒﺪ ﻣﺎﻫﻮ ﻣﻄﻠﻮب ﻣﻨﻪ ﻟﻴﻔﻌﻠﻪ ‪ ،‬وﻣﺎﻫﻮ ﳏﺮم ﻋﻠﻴﻪ ﻓﻴﺠﺘﻨﺒﻪ ‪ ،‬ﻓﺘﻜﻮن‬ ‫ﻋﺒﺎدﺗﻪ ﷲ ﺗﻌﺎﱃ ﻋﲆ ﻋﻠﻢ وﺑﺼﲑة‪.‬‬

‫‪597‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﺗﻜﻤﻦ أﻫﺪاف اﻟﺒﺤﺚ ﻓﻴﲈ ﻳﲇ ‪:‬‬

‫أﻫﺪاف اﻟﺒﺤﺚ‬ ‫‪ -(1‬اﻟﺘﻌﺮف ﻋﲆ ﺣﻘﻴﻘﺔ اﻟﻨﻮاﻫﻲ ‪ ،‬وﻣﺎذا ﻳﻔﻴﺪﻫﺎ‪.‬‬ ‫‪ -(2‬اﻟﺘﻌﺮف ﻋﲆ ﺻﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ ‪ ،‬وﺧﻼف اﻟﻌﻠﲈء ﻓﻴﻬﺎ‬ ‫‪ -(3‬اﻟﺘﻌﺮف ﻋﲆ ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء ‪.‬‬

‫‪ -(4‬دراﺳﺔ ﻣﺪﻟﻮل اﻟﻨﻬﻲ ﰲ ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء ‪ ،‬ﻫﻞ ﻫﻲ ﻟﻠﺘﺤﺮﻳﻢ ﺣﻘﻴﻘﺔ أم ﻟﻐﲑﻫﺎ ‪ ،‬ﻣﻊ ذﻛﺮ اﳊﻜﻢ‬ ‫اﳌﺴﺘﻔﺎد‪.‬‬ ‫ﺣﺪود اﻟﺒﺤﺚ‬ ‫ﻫﺬا اﻟﺒﺤﺚ ﺳﻴﻘﻮم ﺑﺎﻟﱰﻛﻴﺰ ﻋﲆ اﻟﻘﻀﺎﻳﺎ اﳌﺘﻌﻠﻘﺔ ﺑﺎﻟﻨﻮاﻫﻲ ﰲ اﻟﻨﻘﺎط اﻟﺘﺎﻟﻴﺔ ‪:‬‬ ‫‪-1‬اﻟﱰﻛﻴﺰ ﻋﲆ ﺣﻘﻴﻘﺔ اﻟﻨﻮاﻫﻲ وﻣﺎ ﻳﺘﻌﻠﻖ ﲠﺎ ﻣﻦ ﺻﻴﻐﻬﺎ وﻣﻌﺎﻧﻴﻬﺎ وإﺛﺒﺎﲥﺎ وﻣﻮﺟﺒﺎﲥﺎ‬ ‫‪-2‬اﻟﱰﻛﻴﺰ ﻋﲆ أﻧﻮاع ﺻﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ واﺧﺘﻼف اﻟﻌﻠﲈء ﻓﻴﻬﺎ‬ ‫‪ -3‬اﻟﱰﻛﻴﺰ ﻋﲆ دراﺳﺔ ﺻﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ دراﺳﺔ أﺻﻮﻟﻴﺔ ﺗﻄﺒﻴﻘﻴّﺔ ﰲ ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء‬

‫ﻣﻨﻬﺞ اﻟﺒﺤﺚ‬

‫ﻳﻌﺘﻤﺪ اﻟﺒﺎﺣﺚ ﰲ ﻛﺘﺎﺑﺔ اﻟﺒﺤﺚ ﻋﲆ اﳌﻨﻬﺞ اﻻﺳﺘﻘﺮاﺋﻲ‪ ،‬وذﻟﻚ ﺑﺠﻤﻊ اﳌﻌﻠﻮﻣﺎت ‪ ،‬واﻟﲈدة اﳌﺘﻌﻠﻘﺔ ﺑﺎﳌﻮﺿﻮع‬ ‫‪ ،‬ﻣﻦ ﺧﻼل اﻟﺒﺤﺚ اﳌﻜﺘﺒﻲ ‪.‬‬

‫ﻧﺘﺎﺋﺞ اﻟﺒﺤﺚ‬ ‫اﳊﻤﺪﻟﻠﻪ اﻟﺬي ﺑﻨﻌﻤﺘﻪ ﺗﺘﻢ اﻟﺼﺎﳊﺎت ‪ ،‬واﻟﺼﻼة واﻟﺴﻼم ﻋﲆ اﳌﺒﻌﻮث رﲪﺔ ﻟﻠﻌﺎﳌﲔ وﻋﲆ آﻟﻪ وﺻﺤﺒﻪ‬ ‫وﻣﻦ ﺗﺒﻌﻬﻢ ﺑﺈﺣﺴﺎن إﱃ ﻳﻮم اﻟﺪﻳﻦ‪ .‬وﺑﻌﺪ ‪:‬‬ ‫ﻓﻘﺪ ﺣﻮت ﻫﺬا اﻟﺒﺤﺚ ﰲ ﳏﺎوﻟﺔ ﻟﻠﻜﺸﻒ ﻋﻦ ﺣﻘﻴﻘﺔ اﻟﻨﻮاﻫﻲ وﻣﺎ ﻳﻔﻴﺪﻫﺎ واﺧﺘﻼف اﻟﻌﻠﲈء ﻓﻴﻬﺎ‪،‬‬ ‫وﳏﺎوﻟﺔ أﻳﻀﺎ ً ﻟﻠﻜﺸﻒ ﻋﻦ ﺻﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ‪ ،‬ودراﺳﺔ ﻫﺬه اﻟﺼﻴﻎ دراﺳﺔ أﺻﻮﻟﻴﺔ ﺗﻄﺒﻴﻘﻴﺔ ﰲ ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء ‪ ،‬ﻫﻞ‬ ‫ﻫﻲ ﻟﻠﺘﺤﺮﻳﻢ أو ﻟﻐﲑﻫﺎ‪ .‬وﻗﺪ ﺗﻮﺻﻞ اﻟﺒﺎﺣﺚ ﻣﻦ ﺧﻼل ﺗﻠﻚ اﳌﺤﺎوﻟﺔ إﱃ ﻧﺘﺎﺋﺞ وﺗﻮﺻﻴﺎت‪ ،‬ﻣﻨﻬﺎ ﻋﲆ ﺳﺒﻴﻞ‬ ‫اﳌﺜﺎل ﻣﺎ ﻳﺄﰐ ‪:‬‬ ‫‪-1‬اﻟﻨﻬﻲ ﻫﻮ‪ " :‬اﻟﻘﻮل اﻟﺪال ﻋﲆ ﻃﻠﺐ ﻛﻒ ﻋﻦ ﻓﻌﻞ ﺣﺘ ًﲈ ﻋﲆ ﺟﻬﺔ اﻻﺳﺘﻌﻼء "‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪598‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫‪-2‬اﻟﺼﻴﻐﺔ ﰲ اﻟﻠﻐﺔ ﺗﺄﰐ ﳍﺬه اﳌﻌﺎﲏ ‪ ،‬اﻟﺘﻬﻴﺌﺔ ‪ ،‬واﳋﻠﻖ ‪ ،‬واﻷﺻﻞ ‪ ،‬واﳍﻴﺌﺔ ‪ ،‬واﻟﻮﺿﻊ ‪ ،‬واﻟﺘﺰﻳﲔ‪،‬‬ ‫واﻟﱰﺗﻴﺐ‪.‬‬ ‫‪-3‬اﻟﺼﻴﻐﺔ ﰲ اﻻﺻﻄﻼح ‪ :‬ﻫﻴﺌﺔ اﻟﺸﺊ اﻟﺘﻲ ﺑُﻨﻲ ﻋﻠﻴﻬﺎ اﳊﺎﺻﻠﺔ ﻣﻦ ﺗﺮﺗﻴﺐ ﺣﺮوﻓﻪ وﺣﺮﻛﺎﺗﻪ‪.‬‬ ‫‪-4‬ﺻﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ‪ :‬اﻷﻟﻔﺎظ اﻟﺘﻲ ﺗﺴﺘﻌﻤﻞ ﻟﻠﺪﻻﻟﺔ ﻋﲆ ﻃﻠﺐ ﻛﻒ ﻋﻦ ﻓﻌﻞ ﻋﲆ ﺟﻬﺔ اﻻﺳﺘﻌﻼء‪.‬‬ ‫‪-5‬أن اﻟﻔﺮق ﺑﲔ اﻟﻨﻬﻲ واﻟﺘﺤﺮﻳﻢ ﻫﻮ ‪ :‬أن اﻟﻨﻬﻲ ﻏﺎﻟﺒ ًﺎ ﻳﺄﰐ ﺑﻠﻔﻆ " وﻻﺗﻘﺮﺑﻮا "‪ " ،‬ﻓﺎﺟﺘﻨﺒﻮا " وﻳﺪل ﻋﲆ‬ ‫وﺣﺮم "‬ ‫ﺣﺮﻣﺖ "‪ّ " ،‬‬ ‫ﺷﻴﺌﲔ اﻻﻣﺘﻨﺎع واﳌﺒﺎﻋﺪة ﻣﻌﺎً‪ ،‬وﻟﻴﺲ ﳎﺮد اﻻﻣﺘﻨﺎع ﻓﻘﻂ ‪ ،‬واﻟﺘﺤﺮﻳﻢ ﻏﺎﻟﺒ ًﺎ ﻳﺄﰐ ﺑﻠﻔﻆ " ّ‬ ‫وﻳﺪل ﻋﲆ ﳾء واﺣﺪ وﻫﻮ اﻻﻣﺘﻨﺎع ﻓﻘﻂ وﻋﺪم اﳌﻔﺎرﻗﺔ‪.‬‬ ‫‪-6‬ﺻﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ ﺗﺄﰐ ﻟﻌﺪة ﻣﻌﺎﲏ ﺑﺤﺴﺐ اﻟﻘﺮاﺋﻦ اﻟﺘﻲ ﺗﴫﻓﻪ ﻋﻦ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ إﱃ ﻏﲑﻫﺎ ‪ ،‬ﻣﻨﻬﺎ ﻋﲆ ﺳﺒﻴﻞ‬ ‫اﳌﺜﺎل ‪ :‬اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ واﻟﻜﺮاﻫﺔ واﻹرﺷﺎد واﻟﻴﺄس واﻟﺪﻋﺎء واﻟﺘﻬﺪﻳﺪ واﻹﻫﺎﻧﺔ واﻟﺘﻤﻨﻲ وﻏﲑﻫﺎ‪.‬‬ ‫‪-7‬ﻫﻨﺎك ﺻﻴﻐﺔ ﻟﻠﻨﻬﻲ ﻣﻮﺿﻮﻋﺔ ﰲ اﻟﻠﻐﺔ ﺗﺪل ﺑﻤﺠﺮدﻫﺎ ﻋﻠﻴﻪ وﻫﻲ ﻻﺗﻔﻌﻞ ‪ ،‬ﻋﻨﺪ اﻟﺮاﺟﺢ ﻣﻦ أﻗﻮال اﻟﻌﻠﲈء‪.‬‬ ‫‪-8‬ﺻﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ إذا وردت ﳎﺮدة ﻋﻦ اﻟﻘﺮاﺋﻦ ﻓﻤﻮﺟﺒﻪ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ ﻣﺒﺎﴍة ‪ ،‬ﻋﻨﺪ اﻟﺮاﺟﺢ ﻣﻦ أﻗﻮال اﻟﻌﻠﲈء‪.‬‬ ‫‪-9‬ﻟﻠﻨﻮاﻫﻲ ﺻﻴﻎ ﻣﻨﻬﺎ إﻧﺸﺎﺋﻴﺔ ﻳﻔﻬﻢ ﻣﻨﻬﺎ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ ﻣﺒﺎﴍة‪ ،‬وﻣﻨﻬﺎ ﺧﱪﻳﺔ ﻳﻔﻬﻢ ﻣﻨﻬﺎ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ ﻋﻦ ﻃﺮﻳﻖ‬ ‫اﻟﻠﺰوم‪ ،‬وﻣﻦ اﻟﺼﻴﻎ اﻹﻧﺸﺎﺋﻴﺔ ﻣﺎﻳﺄﰐ ‪:‬‬ ‫أ ( – اﻟﺘﻌﺒﲑ ﺑﻠﻔﻆ ﻳﺪل ﺑﲈدﺗﻪ ﻋﲆ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ‬ ‫ب (‪ -‬اﻟﺘﻌﺒﲑ ﺑﻠﻔﻆ ﻳﺪل ﺑﲈدﺗﻪ ﻋﲆ ﻧﻔﻲ اﳊﻞ‬ ‫ج (‪ -‬اﻟﺘﻌﺒﲑ ﺑﻠﻔﻆ ﻳﺪل ﻋﲆ اﻟﻨﻬﻲ‬ ‫د (‪ -‬اﻟﻔﻌﻞ اﳌﻀﺎرع اﳌﻘﺮون ﺑﻼ اﻟﻨﺎﻫﻴﺔ‬ ‫ﻫﺢ(‪ -‬ﺻﻴﻎ اﻷﻣﺮ اﻟﺘﻲ ﺗﺪل ﻋﲆ ﻃﻠﺐ اﻟﱰك واﳌﻨﻊ‬ ‫وﻣﻦ اﻟﺼﻴﻎ اﳋﱪﻳﺔ ﻣﺎ ﻳﺄﰐ ‪:‬‬ ‫أ (‪ -‬اﻟﻮﻋﻴﺪ ﺑﺎﻟﻌﻘﺎب ﻋﲆ اﻟﻔﻌﻞ‬ ‫ب (‪ -‬اﻻﺳﺘﻔﻬﺎم اﻹﻧﻜﺎري‬ ‫ج (‪ -‬وﺻﻒ اﻟﻌﻤﻞ ﺑﺄﻧﻪ ﻣﻦ ﺻﻔﺎت اﳌﻨﺎﻓﻘﲔ‬ ‫د (‪ -‬وﺻﻒ اﻟﻔﻌﻞ ﺑﺎﻟﻈﻠﻢ أواﻹﺛﻢ‬ ‫ﻫﻮ(‪ -‬وﺻﻒ اﻟﻔﻌﻞ ﺑﺎﳋﻴﺒﺔ أواﳋﴪان‬

‫‪599‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫‪-10‬ﺳﻤﻴﺖ ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء ﻟﻜﺜﺮة اﻷﺣﻜﺎم اﳌﺘﻌﻠﻘﺔ ﺑﺎﻟﻨﺴﺎء ﱂ ﻳﻮﺟﺪ ﰲ ﻏﲑﻫﺎ‪ ،‬وﻳﻌﺪ اﻟﺴﻮر اﻟﺘﻲ ﺗﻨﻮﻋﺖ‬ ‫وﺗﻌﺪدت ﻓﻴﻬﺎ ﺻﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ ﻣﻨﻬﺎ إﻧﺸﺎﺋﻴﺔ وﻣﻨﻬﺎ ﺧﱪﻳﺔ‬ ‫‪ - 11‬أن ﻣﺪﻟﻮل ﺻﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ اﻟﺘﻲ ﻳُﺪرس ﰲ اﻟﺒﺤﺚ أﻏﻠﺒﻬﺎ ﺗﻔﻴﺪ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ ﻟﺘﺠﺮدﻫﺎ ﻋﻦ اﻟﻘﺮاﺋﻦ اﻟﺘﻲ‬ ‫ﺗﻔﻴﺪ ﻏﲑﻫﺎ‪ ،‬وﻛﻴﻔﻴﺔ دراﺳﺔ ﺻﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ ‪ :‬دراﺳﺔ أﺻﻮﻟﻴﺔ ﺗﻄﺒﻴﻘﻴﺔ ﰲ ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء ﻋﲆ اﻟﻨﺤﻮ اﻟﺘﺎﱄ‪:‬‬ ‫‪-1‬ﻗﻮﻟﻪ ﺗﻌﺎﱃ‪ ) L ¥¤ £ ¢ ¡ ~ } | { z M :‬ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء‪(19:4،‬‬ ‫ﻓﺼﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ ﻗﻮﻟﻪ ‪ ،(~ }) :‬وﻣﺪﻟﻮل اﻟﻨﻮاﻫﻲ ‪ :‬أن اﻟﻨﻬﻲ ﻫﻨﺎ ﻳﻔﻴﺪ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ ﻣﺒﺎﴍة ﻟﺘﺠﺮده ﻋﻦ‬ ‫اﻟﻘﺮاﺋﻦ اﻟﺼﺎرﻓﺔ إﱃ ﻏﲑ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ‪.‬‬ ‫وﻋﲆ ذﻟﻚ‪ :‬ﻓﺈﻧﻪ ﳛﺮم ﻋﲆ اﻷوﻟﻴﺎء واﻷزواج ﺑﻤﻘﺘﴣ ﻫﺬه اﻵﻳﺔ ﺟﻌﻞ اﻟﻨﺴﺎء ﻛﺎﳌﺘﺎع أو اﻟﲈل ﻳﻨﺘﻘﻞ‬ ‫ﺑﺎﻹرث ﻣﻦ إﻧﺴﺎن إﱃ آﺧﺮ وﻳﺮﺛﻮﳖﻦّ ﺑﻌﺪ ﻣﻮت أزواﺟﻬﻦ ﻛﺮﻫ ًﺎ ﻋﻨﻬﻦّ ‪.‬‬ ‫‪- 2‬ﻗﻮﻟﻪ ﺗﻌﺎﱃ ‪ )L »º ¹ ¸ ¶ µ ´ ³ ² ± M :‬ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء‪( 161:4،‬‬ ‫ﻓﺼﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ ﻗﻮﻟﻪ ‪ ،(µ ´) :‬وﻣﺪﻟﻮل اﻟﻨﻮاﻫﻲ ‪ :‬اﻟﻨﻬﻲ اﻟﻮارد ﰲ ﻫﺬه اﻵﻳﺔ ﻳﻘﺘﴤ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ‬ ‫ﻣﺒﺎﴍة ‪ ،‬ﻷﻧﻪ ﺟﺎء ﺑﻠﻔﻆ اﻟﻨﻬﻲ ‪ ،‬وﻫﻮ ﻣﻦ أﺑﻠﻎ اﻟﺼﻴﻎ وأﴏﺣﻬﺎ‪ ،‬وﱂ ﻳﻮﺟﺪ أي ﺻﺎرف ﻳﴫﻓﻪ ﻋﻦ ﻏﲑ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ‬ ‫‪.‬‬ ‫وﻋﲆ ذﻟﻚ ‪ :‬ﻓﺈﻧﻪ ﳛﺮم ﻋﲆ أﻫﻞ اﻟﻜﺘﺎب ﻣﻦ اﻟﻴﻬﻮد واﻟﻨﺼﺎرى واﳌﺴﻠﻤﲔ ﺑﻤﻘﺘﴣ ﻫﺬه اﻵﻳﺔ أﻛﻞ اﻟﺮﺑﺎ‬ ‫واﻟﺘﻌﺎﻣﻞ ﻣﻌﻪ ﺑﺄي ﺷﻜﻞ ﻣﻦ اﻷﺷﻜﺎل ‪ .‬وﻳﺆﻳﺪ ذﻟﻚ ﻣﺎ ﻳﺄﰐ ‪:‬‬

‫‪-3‬ﻗﻮﻟﻪ ﺗﻌﺎﱃ ‪L - , + * ) ( ' & % $ # " !M :‬‬ ‫) ﺳﻮرة اﻟﺒﻘﺮة‪( 275:2 ،‬‬ ‫وﺟﻪ اﻟﺪﻻﻟﺔ ‪ :‬أن اﷲ ﺗﻌﺎﱃ أﺑﺎح اﻟﺘﻌﺎﻣﻞ ﺑﺎﻟﺒﻴﻊ وﺣﺮم اﻟﺘﻌﺎﻣﻞ ﺑﺎﻟﺮﺑﺎ وﻫﺬا ﴏﻳﺢ‪.‬‬ ‫‪-4‬ﻗﻮﻟﻪ ﺗﻌﺎﱃ‪L - , + * ) ( ' & % $ # " ! M :‬‬ ‫) ﺳﻮرة اﻟﺒﻘﺮة‪ ( 275:2،‬وﺟﻪ اﻟﺪﻻﻟﺔ ‪ :‬أن اﷲ ﺗﻌﺎﱃ ﺷﺒﻪ آﻛﻞ اﻟﺮﺑﺎ ﺑﺎﻟﺬي ﻳﺘﺨﺒﻄﻪ اﻟﺸﻴﻄﺎن ﻣﻦ اﳌﺲ ﺣﲔ ﻳﺒﻌﺚ‬ ‫ﻓﺪل ﻋﲆ أن اﻟﺮﺑﺎ ﳏﺮم‪ ،‬وﻓﺎﻋﻠﻪ ﻳﺴﺘﺤﻖ اﻟﻌﻘﺎب‪.‬‬ ‫ﻣﻦ ﻗﱪه ‪ّ ،‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪600‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫‪- 5‬ﻗﻮﻟﻪ ﺗﻌﺎﱃ ‪Lq p o n m l k j i h g f e d M :‬‬ ‫) ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء‪( 42:4،‬‬ ‫ﻓﺼﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ ‪ ،(o n) :‬وﻣﺪﻟﻮل اﻟﻨﻮاﻫﻲ ‪ :‬اﻟﻨﻬﻲ اﻟﻮارد ﻫﻨﺎ ﻳﺪل ﻋﲆ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ ﻣﺒﺎﴍة ‪ ،‬وﱂ ﻳﻮﺟﺪ‬ ‫ﻣﺎ ﻳﴫﻓﻪ ﻋﻨﻪ إﱃ ﻏﲑه‪.‬‬ ‫وﻋﲆ ذﻟﻚ ‪ :‬ﻓﺈﻧﻪ ﺑﻤﻘﺘﴣ ﻫﺬه اﻵﻳﺔ ﳛﺮم ﻋﲆ اﳌﺆﻣﻨﲔ ﻓﻌﻞ اﻟﺼﻼة ﰲ ﺣﺎل اﻟﺴﻜﺮ اﻟﺬي ﻻﻳﺪري اﳌﺼﲇ‬ ‫ﻣﺎﻳﻘﻮﻟﻪ‪ .‬وﻛﺎن ﻫﺬا ﻗﺒﻞ ﲢﺮﻳﻢ اﳋﻤﺮ‪.‬‬ ‫‪-6‬ﻗﻮﻟﻪ ﺗﻌﺎﱃ ‪C B A @ ? > = < ; : 9 M :‬‬ ‫‪ ) LQ P O N M LK J I HG F E D‬ﺳﻮرة اﻟﻨﺴﺎء‪( 29:4،‬‬ ‫ﻓﺼﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ ‪ ، (= <) :‬وﻣﺪﻟﻮل اﻟﻨﻮاﻫﻲ ‪ :‬ﻓﺎﻟﻨﻬﻲ ﻫﻨﺎ ﻟﻠﺘﺤﺮﻳﻢ ﻣﺒﺎﴍة ‪ ،‬ﻟﻌﺪم وﺟﻮد اﻟﺼﺎرف‬ ‫ﻋﻨﻪ إﱃ ﻏﲑه‬ ‫وﻋﲆ ذﻟﻚ ‪ :‬ﻓﺈﻧﻪ ﳛﺮم ﻋﲆ اﳌﺆﻣﻨﲔ أﻛﻞ ﻣﺎل ﻧﻔﺴﻪ وﻣﺎل ﻏﲑه ﺑﺎﻟﺒﺎﻃﻞ ‪ ،‬ﻓﺄﻛﻞ ﻣﺎل ﻧﻔﺴﻪ ﻳﻜﻮن ﺑﺈﻧﻔﺎﻗﻪ ﰲ‬ ‫اﳌﻌﺎﴆ ‪ ،‬وأﻛﻞ ﻣﺎل ﻏﲑه ﻳﻜﻮن ﺑﺄﻧﻮاع اﳌﻜﺎﺳﺐ ﻏﲑ اﳌﴩوﻋﺔ ‪ :‬ﻛﺎﻟﺮﺑﺎ واﻟﻘﲈر واﻟﻐﺼﺐ واﻟﴪﻗﺔ واﳋﻴﺎﻧﺔ‬ ‫واﻟﺒﺨﺲ وﺷﻬﺎدة اﻟﺰور وﻏﲑه‪ .‬ﻳﻘﻮل اﺑﻦ ﺟﺮﻳﺮ اﻟﻄﱪي رﲪﻪ اﷲ ‪ :‬وﻻ ﺧﻼف ﺑﲔ اﳌﺴﻠﻤﲔ أن أﻛﻞ أﻣﻮاﻟﻨﺎ ﺑﻴﻨﻨﺎ‬ ‫أﻛﻞ اﻷﻣﻮال ﺑﺎﻟﺒﺎﻃﻞ‪.‬‬ ‫ﺑﺎﻟﺒﺎﻃﻞ ﺣﺮام ﻋﻠﻴﻨﺎ ‪ ،‬ﻓﺈن اﷲ ﱂ ُﳛ ّﻞ ﻗﻂﱞ َ‬ ‫‪- 7‬ﻗﻮﻟﻪ ﺗﻌﺎﱃ ‪l k j i h g f e d c M :‬‬

‫‪ ) L s r q p o n m‬ﺳﻮﺭﺓ ﺍﻟﻨﺴﺎﺀ‪( 93:4،‬‬ ‫ﻓﻔﻲ ﻫﺬه اﻵﻳﺔ اﻟﻜﺮﻳﻤﺔ ﺗﻮﻋﺪ ﺳﺒﺤﺎﻧﻪ وﺗﻌﺎﱃ ﻗﺎﺗﻞ اﳌﺆﻣﻦ ﻋﻤﺪ ًا ﺑﻌﺬاب ﺟﻬﻨﻢ ﺧﺎﻟﺪ ًا ﻓﻴﻬﺎ وﻣﻊ ذﻟﻚ‬ ‫ﻏﻀﺐ اﷲ ﻋﻠﻴﻪ وﻃﺮده ﻣﻦ رﲪﺘﻪ وأﻋﺪ ﻟﻪ ﻋﺬاﺑ ًﺎ ﻋﻈﻴ ًﲈ‪.‬ﻓﺪل اﻟﻮﻋﻴﺪ ﻋﲆ أن ذﻟﻚ اﻟﻔﻌﻞ ﻣﻨﻬﻲ ﻋﻨﻪ ‪ ،‬واﻟﻨﻬﻲ‬ ‫ﻳﻔﻴﺪ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ‪.‬‬ ‫وﻋﲆ ذﻟﻚ ‪ :‬ﻓﺈﻧﻪ ﺑﻤﻘﺘﴣ ﻫﺬه اﻵﻳﺔ اﻟﻜﺮﻳﻤﺔ ﳛﺮم ﻋﲆ اﳌﺆﻣﻨﲔ ﳐﺎﻟﻔﺔ اﻟﺮﺳﻮل وﻣﻌﺎداﺗﻪ واﺗﺒﺎع ﻏﲑ‬ ‫ﻃﺮﻳﻖ اﳌﺆﻣﻨﲔ ‪ .‬ﻷن اﺗﺒﺎع ﻏﲑ ﺳﺒﻴﻞ اﳌﺆﻣﻨﲔ وﻫﻲ ﻣﻔﺎرﻗﺔ اﳉﲈﻋﺔ ﺣﺮام ﻓﻮﺟﺐ أن ﻳﻜﻮن اﺗﺒﺎع ﺳﺒﻴﻞ اﳌﺆﻣﻨﲔ‬ ‫وﻟﺰوم ﲨﺎﻋﺘﻬﻢ واﺟﺒﺎ ً وذﻟﻚ ﻷن اﷲ ﺗﻌﺎﱃ أﳊﻖ اﻟﻮﻋﻴﺪ ﺑﻤﻦ ﻳﺸﺎﻗﻖ اﻟﺮﺳﻮل وﻳﺘﺒﻊ ﻏﲑ ﺳﺒﻴﻞ اﳌﺆﻣﻨﲔ ﻓﺜﺒﺖ‬ ‫ﲠﺬا أن إﲨﺎع اﻷﻣﺔ ﺣﺠﺔ‪ .‬ﻗﺎل اﻹﻣﺎم اﻟﺸﺎﻓﻌﻲ رﲪﻪ اﷲ ﰲ اﻻﺳﺘﺪﻻل ﲠﺬه اﻵﻳﺔ ‪":‬ﻻﻳﺼﻠﻴﻪ ﺟﻬﻨﻢ ﻋﲆ ﺧﻼف‬ ‫ﻓﺮض "‪ .‬وﻗﺎل أﻳﻀﺎ ‪ :‬ﻫﺬه اﻵﻳﺔ دﻟﻴﻞ ﻋﲆ أن اﻹﲨﺎع ﺣﺠﺔ ﲢﺮم ﳐﺎﻟﻔﺘﻪ‪.‬‬ ‫ﺳﺒﻴﻞ اﳌﺆﻣﻦ إﻻ وﻫﻮ ٌ‬

‫‪601‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫اﻟﺘﻮﺻﻴﺎت واﻻﻗﱰاﺣﺎت ‪:‬‬ ‫ﻓﺄوﴆ وأﻗﱰح ﻋﲆ ﻛﻞ دارس وﺑﺎﺣﺚ ﰲ ﻋﻠﻢ أﺻﻮل اﻟﻔﻘﻪ أن ﻳﻜﻮن دراﺳﺘﻪ وﺑﺤﺜﻪ ﻣﺒﻨﻴﺔ ﻋﲆ اﳉﺎﻧﺐ‬ ‫اﻟﺘﻄﺒﻴﻘﻲ ‪ ،‬ﻛﺄن ﻳﺘﻨﺎول ﺟﺎﻧﺒ ًﺎ ﻧﻈﺮﻳﺎ ﻣﻦ ﻣﺒﺎﺣﺚ أو ﻣﻮﺿﻮع ﻋﻠﻢ أﺻﻮل اﻟﻔﻘﻪ ﻛﺼﻴﻎ اﻟﻨﻮاﻫﻲ أوﺻﻴﻎ اﻷواﻣﺮ‬ ‫ﻣﺜﻼً‪ ،‬وﻳﻄﺒﻖ ﻋﻠﻴﻪ ﺳﻮاء ﻛﺎن ذﻟﻚ ﻋﲆ ﻛﺘﺎب اﷲ ﰲ أي ﺳﻮرة ﻣﻦ ﺳﻮر اﻟﻘﺮآن أو ﻋﲆ ﺳﻨﺔ رﺳﻮل اﷲ ﺻﲆ اﷲ‬ ‫ﻋﻠﻴﻪ وﺳﻠﻢ ‪ .‬ﻓﻜﺘﺎب اﷲ اﻟﻌﺰﻳﺰ وﺳﻨﺔ رﺳﻮﻟﻪ ﺻﲆ اﷲ ﻋﻠﻴﻪ وﺳﻠﻢ ﺑﺤﺎﺟﺔ ﻣﺎﺳﺔ ﻟﺘﻄﺒﻴﻖ اﻟﻘﻮاﻋﺪ اﻷﺻﻮﻟﻴﺔ‬ ‫ﺟﻞ ﻋﻠﲈء اﻷﺻﻮل رﲪﻬﻢ اﷲ ﻗﺪ أﻛﻤﻠﻮا اﳉﺎﻧﺐ اﻟﻨﻈﺮي ‪ ،‬وﱂ ﻳﺒﻖ إﻻ‬ ‫ﻟﻴﺤﺴﻦ ﻓﻬﻤﻬﺎ ‪ ،‬ﺧﺎﺻﺔ وأن ّ‬ ‫ُ‬ ‫ﻋﻠﻴﻬﺎ‬ ‫اﳉﺎﻧﺐ اﻟﺘﻄﺒﻴﻘﻲ ‪.‬‬ ‫ﻫﺬا وأﺳﺄل اﷲ اﻟﻌﲇ اﻟﻘﺪﻳﺮ أن ﻳﻨﻔﻌﻨﻲ ﺑﲈ ﻋﻠﻤﻨﻲ ‪ ،‬وأن ﻳﺰﻳﺪﲏ ﻋﻠ ًﲈ ‪ ،‬وأن ﳚﻌﻞ ﻋﻤﲇ ﻫﺬا ﺧﺎﻟﺼ ًﺎ‬ ‫ﻟﻮﺟﻬﻪ اﻟﻜﺮﻳﻢ ‪ ،‬ﻧﺎﻓﻌ ًﺎ ﻟﻌﺒﺎده اﻟﺼﺎﳊﲔ ‪.‬‬ ‫وﺻﲆ اﷲ ﻋﲆ ﳏﻤﺪ وﻋﲆ آﻟﻪ وﺻﺤﺒﺔ أﲨﻌﲔ ‪ ،‬واﳊﻤﺪﻟﻠﻪ رب اﻟﻌﺎﳌﲔ‬ ‫اﳌﺼﺎدر واﳌﺮاﺟﻊ‬ ‫اﻟﻘﺮآن اﻟﻜﺮﻳﻢ‬ ‫اﺑﻦ اـﻟﻨﺠﺎرـ ‪ ،‬ﳏـﻤﺪ ﺑﻦ أـﲪﺪ ﺑـﻦ ﻋﺒﺪاـﻟﻌﺰﻳـﺰ ﺑﻦ ﻋـﲇ اﻟـﻔﺘﻮﺣﻲ اﳊـﻨﺒﲇ‪ 1994 .‬م‪ .‬ﴍح اﻟﻜﻮﻛﺐ اﳌﻨﲑ اﳌﺴﻤﻰ‬ ‫ﺑﻤﺨﺘﴫ اﻟﺘﺤﺮﻳﺮ أو اﳌﺨﺘﱪ اﳌﺒﺘﻜﺮ ﴍح اﳌﺨﺘﴫ ﰲ أﺻﻮل اﻟﻔﻘﻪ‪ .‬اﻟﺮﻳﺎض ‪ :‬ﻣﻜﺘﺒﺔ اﻟﻌﺒﻴﻜﺎن‪.‬‬ ‫أﺑﻮ ﺳﻼﻣﺔ‪ ،‬ﻣﺼﻄﻔﻰ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺳﻼﻣﺔ‪ " .‬د‪.‬ت "‪ .‬اﻟﺘﺄﺳﻴﺲ ﻋﲆ اﺻﻮل اﻟﻔﻘﻪ ﻋﲆ ﺿﻮء اﻟﻜﺘﺎب واﻟﺴﻨﺔ‪ .‬ﻣﻜﺘﺒﺔ‬ ‫اﳊﺮﻣﲔ ﻟﻠﻌﻠﻮم اﻟﻨﺎﻓﻌﺔ‪.‬‬ ‫اﻹﺳﻨﻮي ‪ ،‬ﲨﺎل اﻟﺪﻳﻦ أﰊ ﳏﻤﺪ ﻋﺒﺪاﻟﺮﺣﻴﻢ ﺑﻦ اﳊﺴﻦ‪ 1981 .‬م‪ .‬اﻟﺘﻤﻬﻴﺪ ﰲ ﲣﺮﻳﺞ اﻟﻔﺮوع ﻋﲆ اﻷﺻﻮل‪.‬‬ ‫ﺑﲑوت ‪ :‬ﻣﺆﺳﺴﺔ اﻟﺮﺳﺎﻟﺔ ‪.‬‬ ‫ﺑﺪران ‪ ،‬ﻋﺒﺪاﻟﻘﺎدر ﺑﻦ أﲪﺪ ﺑﻦ ﻣﺼﻄﻔﻰ اﻟﺪوﻣﻲ ﺛﻢ اﻟﺪﻣﺸﻘﻲ‪ .1991 -1412 .‬ﻧﺰﻫﺔ اﳋﺎﻃﺮ اﻟﻌﺎﻃﺮ ﴍح‬ ‫ﻛﺘﺎب روﺿﺔ اﻟﻨﺎﻇﺮ وﺟﻨﺔ اﳌﻨﺎﻇﺮ ﰲ أﺻﻮل اﻟﻔﻘﻪ ﻋﲆ ﻣﺬﻫﺐ اﻹﻣﺎم أﲪﺪ ﺑﻦ ﺣﻨﺒﻞ‪ .‬ﻻـﺑﻦ ﻗـﺪاﻣـﺔ‬ ‫اﳌﻘﺪﳼ‪ .‬ﺑﲑوت ‪ :‬دار اﳊﺪﻳﺚ‪.‬‬ ‫اـﻟــﺒﻐﻮي ـ‪ ،‬ـ أـﺑــﻮ ﳏــﻤﺪ ا ـﳊــﺴﲔ ﺑــﻦ ﻣــﺴﻌﻮد ـ ا ـﻟــﻔﺮاـء ـ ا ـﻟــﺸﺎﻓــﻌﻲ‪1980 .‬م ـ‪ .‬ﺗــﻔﺴﲑ اـﻟــﺒﻐﻮي ـ ا ـﳌــﺴﻤﻰ ﻣــﻌﺎﱂ ـ ا ـﻟــﺘﻨﺰﻳــﻞ‪.‬‬ ‫ﺑﲑوت‪ :‬دار اﻟﻜﺘﺐ اﻟﻌﻠﻤﻴﺔ‪.‬‬ ‫اﳉﻮﻳﻨﻲ ‪ ،‬أﺑﻮ اﳌﻌﺎﱄ ﻋﺒﺪاﳌﻠﻚ ﺑﻦ ﻋﺒﺪاﻟﻠﻪ ﺑﻦ ﻳﻮﺳﻒ‪1399 .‬م‪ .‬اﻟﱪﻫﺎن ﰲ أﺻﻮل اﻟﻔﻘﻪ‪ .‬ﻃﺒﻌﺔ ﻗﻄﺮ‪.‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪602‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫اﳋﺎزن‪ ،‬ﻋﻼء اﻟﺪﻳﻦ ﻋﲇ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ إﺑﺮاﻫﻴﻢ اﻟﺒﻐﺪادي‪1995 .‬م‪ .‬ﺗﻔﺴﲑ اﳋﺎزن اﳌﺴﻤﻰ ﻟﺒﺎب اﻟﺘﺄوﻳﻞ‬

‫ﰲ‬

‫ﻣﻌﺎﲏ اﻟﺘﻨﺰﻳﻞ‪ .‬ﺑﲑوت ‪ :‬دار اﻟﻜﺘﺐ اﻟﻌﻠﻤﻴﺔ‪.‬‬ ‫ا ـﻟــﺰر ـﻛــﴚ ‪ ،‬ـ ﺑــﺪر ـ ا ـﻟــﺪﻳــﻦ ﳏــﻤﺪ ﺑــﻦ ﲠــﺎد ـر ـ ﺑــﻦ ﻋــﺒﺪا ـﻟــﻠﻪ ا ـﻟــﺸﺎﻓــﻌﻲ‪ .1 9 92 .‬ا ـﻟــﺒﺤﺮ ا ـﳌــﺤﻴﻂ ﰲ ـ أــﺻﻮل ـ ا ـﻟــﻔﻘﻪ‪.‬‬ ‫اﻟﻜﻮﻳﺖ‪:‬ﻃﺒﻌﺔ وزارة اﻷوﻗﺎف واﻟﺸﺆون اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ‪.‬‬ ‫ﺳﻠﻘﻴﻨﻲ ‪ ،‬إﺑﺮاﻫﻴﻢ ﳏﻤﺪ‪ .1996 .‬اﳌﻴﴪ ﰲ أﺻﻮل اﻟﻔﻘﻪ اﻻﺳﻼﻣﻲ‪ .‬ﺑﲑوت ‪ :‬دار اﻟﻔﻜﺮ اﳌﻌﺎﴏ‪.‬‬ ‫اﻟﺴﻠﻤﻲ ‪ ،‬ﻋﻴﺎض ﺑﻦ ﻧﺎﻣﻲ ‪ " ،‬د‪.‬ت "‪ .‬أﺻﻮل اﻟﻔﻘﻪ اﻟﺬي ﻻﻳﺴﻊ اﻟﻔﻘﻴﻪ ﺟﻬﻠﻪ‪ " .‬د‪.‬ط " ‪.‬‬ ‫اﻟﺴﻤﻌﺎﲏ ‪ ،‬أﺑﻮ اﳌﻈﻔﺮ ﻣﻨﺼﻮر ﺑﻦ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻋﺒﺪاﳉﺒﺎر اﻟﺸﺎﻓﻌﻲ‪ .1998 -1419 .‬ﻗﻮاﻃﻊ اﻷدﻟﺔ ﰲ أﺻﻮل اﻟﻔﻘﻪ‪.‬‬ ‫ﻣﻜﺘﺒﺔ اﻟﺘﻮﺑﺔ‪.‬‬ ‫اﻟﺸﻮﻛﺎﲏ ‪ ،‬ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻋﲇ‪2000 .‬م‪ .‬إرﺷﺎد اﻟﻔﺤﻮل إﱃ ﲢﻘﻴﻖ اﳊﻖ ﻣﻦ ﻋﻠﻢ اﻷﺻﻮل‪ .‬دار اﻟﻔﻀﻴﻠﺔ‪.‬‬ ‫اﻟﻌﻶﺋﻲ‪1982 ،‬م‪ ،‬ﲢﻘﻴﻖ اﳌﺮاد ﰲ أن اﻟﻨﻬﻲ ﻳﻘﺘﴤ اﻟﻔﺴﺎد‪ .‬دار اﻟﻔﻜﺮ‪.‬‬ ‫اﻟﻠﻜﻨﻮي ‪ ،‬ﻋﺒﺪاﻟﻌﲇ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻧﻈﺎم اﻟﺪﻳﻦ ﳏﻤﺪ اﻟﺴﻬﺎﻟﻮﳼ اﻷﻧﺼﺎري‪ .2002 -1423 .‬ﻓﻮاﺗﺢ اﻟﺮﲪﻮت ﺑﴩح‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ اﻟﺜﺒﻮت‪ .‬ﳌﺤﺐ اﷲ ﺑﻦ ﻋﺒﺪاﻟﺸﻜﻮر اﻟﺒﻬﺎري‪ .‬ﺑﲑوت ‪ :‬دار اﻟﻜﺘﺐ اﻟﻌﻠﻤﻴﺔ‪.‬‬ ‫اﻟﻨﻤﻠﺔ ‪ ،‬ﻋﺒﺪاﻟﻜﺮﻳﻢ ﻋﲇ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ‪ .1996 – 1417 .‬إﲢﺎف ذوي اﻟﺒﺼﺎﺋﺮ ﺑﴩح روﺿﺔ اﻟﻨﺎﻇﺮ ﰲ أﺻﻮل‬ ‫اﻟﻔﻘﻪ ﻋﲆ ﻣﺬﻫﺐ اﻹﻣﺎم أﲪﺪ ﺑﻦ ﺣﻨﺒﻞ‪ .‬دار اﻟﻌﺎﺻﻤﺔ ‪.‬‬ ‫اﻟﻨﻮوي ‪ ،‬ﳛﻲ ﺑﻦ ﴍف اﻟﺪﻣﺸﻘﻲ اﻟﺸﺎﻓﻌﻲ‪ .1995 -1415 .‬ﺻﺤﻴﺢ ﻣﺴﻠﻢ ﺑﴩح اﻹﻣﺎم اﻟﻨﻮوي‪ .‬ﺑﲑوت ‪:‬‬ ‫دار اﻟﻜﺘﺐ اﻟﻌﻠﻤﻴﺔ‪.‬‬

‫‪603‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเหตุการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต ที่มีตอประชาชนในพื้นที่ตําบลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี the impact of the unrest in southern border provinces on the people in the district klongmai sub-district, yarang district, pattani province กัมปนาท นาดามัน1 วรรณชนก จันทชุม2 1

นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2รองศาสตราจารย มหาวิทยาลัยขอนแกน

บทคัดยอ การศึก ษาเรื่องนี้มีวัตถุป ระสงคเ พื่ อศึก ษา 1) ผลกระทบจากเหตุก ารณความไมส งบในจัง หวัด ชายแดนภาคใตที่มีตอประชาชนในพื้นที่ตําบลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี 2) ทัศนคติของ ประชาชนตอผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต และ 3) แนวทางในการวาง นโยบายในการป องกั น การเกิด สถานการณ ใ นพื้น ที่ ใ หมี ป ระสิท ธิ ภ าพ เป น การศึ ก ษาเชิ ง คุ ณ ภาพ กลุมเปาหมายเปนประชาชนในพื้นที่ตําบลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี ดําเนินการเก็บรวบรวม ขอมูลโดยการสัมภาษณเชิงลึก และการสังเกตแบบมีสวนรวม วิเคราะหขอมูลโดยวิธีวิเคราะหเนื้อหา ผล การศึกษาพบวา 1. ผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตที่มีตอประชาชนในพื้นที่ ตําบลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี วิเคราะหไดวาเหตุการณความไมสงบในพื้นที่สามจังหวัด ชายแดนภาคใต อาจมาจากสาเหตุของปญหาในหลายๆ ประการ เชน ปญหาการศึกษาที่เยาวชนเมื่อเรียน จบจากภาคบังคับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 แลว ไมไดเรียนตอ ปญหายาเสพติดที่กําลังระบาดในหมูเยาวชนทํา ใหเยาวชนงายตอการถูกชักจูงไปในทางที่ผิด ปญหาความแตกแยกในชุมชนทั้งจากการเมืองและสวนตัว ที่ ตางคนตางอยากมีอํานาจและครองอํานาจ เพื่อใหประชาชนเกิดความเกรงกลัวในอํานาจบารมี เจาหนาที่ ของรัฐเลือกปฏิบัติ ไมเขาใจชุมชนที่รับผิดชอบ ทําใหการพัฒนาไมเปนไปตามความตองการของประชาชน ในพื้นที่ ตลอดจนปญหาการแบงแยกดินแดนที่ผูมีอุดมการณพยายามกอเหตุความไมสงบขึ้นภายใน พื้นที่ สําหรับผลกระทบที่มีตอประชาชนจากเหตุก ารณความไมสงบฯ ประชาชนไดรับ ผลในดานวิถีชีวิต ความเปนอยูในประจําวันทั้ง ดานการประกอบอาชีพและการปฏิบัติศาสนกิจรวมกันที่มัส ยิด เนื่องจาก ประชาชนเกรงกลัวตอการถูกทําราย ซึ่งองคการบริหารสวนตําบลคลองใหมควรมีนโยบายในการแกไข ปญหาโดยการสนับสนุนอาชีพ การศึกษาแกเยาวชน เพื่อใหเยาวชนปราศจากการวางงานซึ่งเปนหนทางที่ จะปองกันการชักจูงจากผูกอความไมสงบ 2. ทัศนคติของประชาชนตอผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต พบวา ประชาชนเกิดความหวาดกลัวในเหตุการณรุนแรงที่เกิดขึ้นในประจําวัน ไมกลาออกไปทํางาน ไมกลาออกไป ประกอบศาสนกิจรวมกันที่มัสยิด เกรงกลัวภัยอันตรายที่จะเกิดขึ้นตอตนเองและครอบครัว ตลอดจนภาครัฐ ไมไดชวยเหลือผูบริสุทธิ์ที่ถูกกลาวโทษวาเปนผูรายอยางแทจริง ประกอบกับคําสอนทางศาสนาถูกบิดเบือน ทําใหความเขาใจในหลักคําสอนคลาดเคลื่อน อีกทั้งเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนในเรื่องของยาเสพติด 3. แนวทางในการแกไขปญหาเหตุการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต รัฐบาลควรมี นโยบายในการดําเนินการที่ดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้นกวาเดิม แนวความคิดในการกําหนดวิธีการในการ Graduate School and Research / 15 May 2013

605


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

แกไขปญหาความไมสงบในพื้นที่ใหมีประสิทธิภาพ การดําเนินการกระบวนการยุติธรรมตองเคารพในสิทธิ และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย การสรางความเขาใจระหวางรัฐกับประชาชน ประชาชนตองไดรับความเปน ธรรมจากการบังคับใชกฎหมาย การทําประชาพิจารณกอนประกาศใชกฎอัยการศึกและพระราชบัญญัติ ฉุกเฉิน การบูรณาการกฎหมายทั่วไปกับกฎหมายอิสลาม การใหความรูดานกฎหมายแกประชาชนเกี่ยวกฎ อัยการศึก และพระราชบัญญัติฉุกเฉิน เปนตน การจัดการการศึกษาควรสอดคลองกับความตองการของ ชุมชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะ การพัฒนาหลักสูตรทองถิ่น ภาคประชาชนตองมีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย และบริหารทองถิ่นในการปญหาความไมสงบ การกําหนดใชภาษาไทยและมลายูในการติดตอกับสถานที่ ราชการ สนับสนุนวิสาหกิจชุมชนในรูปแบบอิสลาม จัดระบบควบคุมบุคคลสองสัญชาติใหมีประสิทธิภาพ สนับสนุนอุตสาหกรรมในทองถิ่นเพื่อสรางโอกาสการมีงานทําใหกับเยาวชนและปองกันการเคลื่อนยาย แรงงานในพื้นที่ เปนตน คําสําคัญ : ผลกระทบจากเหตุการณไมสงบ, จังหวัดชายแดนภาคใต

606

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

Abstract The study objectives were to study 1) towards the impact of unrest in the southern provinces of the People in District Canal District Yarang Pattani 2) the people attitude the impact of unrest in the provinces. south and 3) guidelines for policy makers to prevent the situation in the area. It is ,A qualitative study. Area Of Study is Yarang Klongmai Sub- district, Pattani province. The data were collected by in-depth interviews. And participant observation. Data were analyzed by content analysis. The results showed that: 1. The impact of unrest in the southern provinces of the People in Klongmai Subdistrict Yarang district, Pattani province. From the Analysis of unrest in the three southern border provinces. Its causes may be rarious in many respects, such as the education of young people end at compulsory Grade 6, thout furtier study. Drug problems are epidemic among young people makes it easier to be motivated to go in the wrong direction. Divisive issue in the community, both politically and personally. Different people have different power and rule. To make people afraid of their Acts. State officials discriminate people, and do not understand the assignod,as a resatt communities development does not fit the needs of local people, inciuding the separate morement in the area . For the impact on the residents of the unrest, People get negative impact in the way of daily living in both occupational and religious activitios at the mosque. Because of the fear of being attacked,the tambon Administrative Organization's policy of klongmai should be to support by a profession,. education of young people. In order to solve youth unemployment, which is a way to prevent the influence of the insurgents. 2. Attitude of the people affected by the unrest in the southern provinces, the stady found that People fear the violent events that took place dialy, don’t dare to work outside the area, don’t dare engage in religious prayer at the mosque. Fear of harm to the self and family. This includes the state sectors have not helped the innocents who are accused of terror. Moreover religious teachings were distorted. Make the understanding of the doctrinal erroneous. And there are conflicts of interest in the subject of drugs. 3. Approach to resolve the unrest in the southern provinces. Government should have a policy in operation and more effective than ever before. Concepts to determine how to resolve the unrest in the area. The need to respect the rights of justice, And human dignity, and Understanding between the state and citizens. People need to get a fair share of law enforcement. There should be public hearing before the declaration of martial law and emergency law, Integration of law with Islamic law, and Educating the public about the law martial law. The Act and emergency management education should Graduate School and Research / 15 May 2013

607


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

meet the needs of the community with a unique culture, and local curriculum development state enconrages Public to participate in policy formulation and local leaders in the unrest, to use Thai and Malay languages, in dealing with the public.,to support enterprises in the Islamic community, to reorganize dualzitizenship effeitively,to support local industries to create job opportunities for the youth and prevent the migration in the area. Keywords: Impact of the Unrest, Southern Bordering Provinces

608

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา อาณาจักรปตตานี ไดเขามาอยูภายใตการปกครองของอาณาจักรสยาม เมื่อป พ.ศ.2329 และ ตอมาไดถูกแบงแยกออกเปน 7 หัวเมือง และในการปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 อาณาจักรปตตานี ถูกจัดใหเปนมณฑลเทศาภิบาลและแบงออกเปน 3 จังหวัด เชนเดียวกับบริเวณอื่นๆ ของประเทศ ดังเชนที่ ปรากฏในปจจุบัน ตลอดระยะเวลา 230 กวาปที่ผานมา ไดเกิดปญหาความไมสงบในการตอสูที่รุนแรง เปนระยะ ๆ เชน ในสมัยรัชกาลที่ 1 รัชกาลที่ 2 และในสมัยรัชการที่ 5 ตอมาในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีเหตุการณทั้งที่สงบและการทําสงครามตอสูซึ่งกันและกันที่ยาวนานจนมาถึงยุคปจจุบัน สงผลกระทบใน หลายๆดาน ในดานเศรษฐกิจ เหตุการณความไมสงบทางภาคใต ไดทําใหการลงทุนจากภายนอกหายไป โรงงานอุตสาหกรรมที่เคยมีอยูในพื้นที่ เชน โรงยางถูกเผาหลายแหง การกรีดยางซึ่งเปนรายไดหลักของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ในหลายพื้นที่ไมมีความปลอดภัย คนไมกลาออกไปกรีดยาง ผลไมจําเปนตองขายใน ราคาถูก เนื่องจากพอคาคนกลางไมกลาเขามาซื้อในพื้นที่เพราะถูกลอบทํารายจนเสียชีวิตมาหลายรายแลว สงผลใหรายไดตอครัวเรือนของประชากรตกต่ํามากในขณะที่อัตราการวางงาน โดยเฉพาะกลุมเยาวชนสูงขึน้ เรื่อย ๆ ดานสังคม จากเหตุการณความรุนแรงทําใหคนในสังคมที่เปนชาวไทยพุ ทธและไทยมุสลิมซึ่งเดิม เคยเปนเพื่อนเปนมิตรที่มีความไววางใจกันไปมาหาสูซึ่งกันและกัน ซื้อขาวซื้อขิงแลกเปลี่ยนกัน แตมาถึง ณ วันนี้ไดเกิดความหวาดระแวง และแบงแยกจากกัน หากไมมีการดําเนินการอยางใดอยางหนึ่ง การแบงแยก ดินแดนจะกอใหเกิดการแตกแยกกันอยางรุนแรง และนําไปสูการตอสูดวยอาวุธของกลุมบุคคล 2 ศาสนาใน อนาคตตอไป ชุมชนที่เคยอยูรวมกันอยางสันติสุขก็จะจางหายไป ดานการเมือง จากเหตุผลในการแบงแยก ทางดานสังคมดังกลาว ไดนําไปสูการแบงแยกทางการเมือง นับตั้งแตการเมืองในระดับทองถิ่น การเมือง ระดับจังหวัด รวมไปถึงการเมืองในระดับชาติ ที่กําลังแตกแยกออกเปน 2 กลุม และจะนําไปสูการตอสูที่ รุนแรงยิ่งขึ้นเชนเดียวกัน, ดานการศึกษา ในปจจุบันการศึกษาของเด็ก และเยาวชน ถูกแยกออกเปน 2 ระบบอยางชัดเจน มีการเรียนรวมกันอยูบางเฉพาะในระดับประถมศึกษา ซึ่งเด็กไทยพุทธและเด็กไทยมุสลิม ยังเรียนรวมกันในโรงเรียนประถมศึกษาของรัฐบาล แตเมื่อจบระดับประถมศึกษาไปเขาศึกษาตอในระดับ มัธยม เด็กนักเรียนจะแยกออกเปน 2 กลุมอยางชัดเจน ไดแก กลุมนักเรียนที่นับถือศาสนาพุทธจะเรียนตอ ในโรงเรียนมัธยมของรัฐบาล ซึ่งนักเรียนกลุมนี้มีจํานวนนอยประมาณรอยละ 20 ของนักเรียนมัธยมทั้งหมด ใน 3 จังหวัด สวนนักเรียนที่มาจากครอบครัวที่นับถือศาสนาอิสลามนิยมไปเรียนตอในโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลาม เยาวชนกลุมนี้แบงออกไดเปน 2 พวก คือ พวกที่เลือกเรียนวิชาศาสนา และวิชาสามัญควบคู กันไป สวนอีกพวกหนึ่งเลือกที่จะเรียนวิชาศาสนาเพียงอยางเดียว การที่เด็กและเยาวชนไมมีโอกาสไดเรียน รวมกันทําใหความใกลชิด ปญหาเยาวชน จากการไดศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ “แผน 7 ขั้น ของความไมสงบ” พบวา กลุมผูกอความไมสงบที่เสียชีวิตและที่ถูกจับไดสวนใหญ เปนเยาวชนที่มีอายุระหวาง 15–24 ป ซึ่ง กลุมเยาวชนเหลานี้ ถือเปนกลุมเปาหมาย สําคัญของผูกอการรายแตรัฐบาลเกือบจะไมไดใหความสําคัญ หรือดําเนินงานโดยยึดกลุมเปาหมายหรือกลุมเสี่ยงเหลานี้เปนพิเศษแตอยางใด, ปญหายาเสพติด ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตนั้น มีปญหาเกี่ยวกับยาเสพติดเชนเดียวกันกับพื้นที่อื่น ๆ แตดวยขอบัญญัติทาง ศาสนาที่หามดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล จึงทําใหกลุมเยาวชนไดพัฒนายาเสพติดใหมีความแตกตางไปจาก พื้นที่อื่นดังจะเห็นไดจากสารเสพติดอันเปนที่นิยมอยูในปจจุบัน ไดแก สารเสพติดที่อยูในใบกระทอมผสม กับยาแกไอและน้ําอัดลม ซึ่งทําใหเพิ่มความรุนแรงของอาการ เสพติดและเปนที่นิยมกันอยางแพรหลายใน ปจจุบัน, ปญหาสิทธิมนุษยชน นับตั้งแตเกิดเหตุการณความรุนแรงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ได กอใหเกิดปญหาการลวงละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรุนแรงหลายกรณี เชน กรณีตากใบหรือการสูญหาย Graduate School and Research / 15 May 2013

609


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บุคคลจํานวนมากโดยไมปรากฏรองรอยหรือหลักฐานทําใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติ กลาวหาวา มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรุนแรงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทยมาโดย ตลอด (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.): www.medipe.psu.ac.th/vis เขาถึงวันที่ 17 พฤษภาคม 2555) สถานการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทย เปนเหตุการณรุนแรงที่ เกิดขึ้นใน 4 จังหวัด ไดแก จังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดสงขลา ซึ่งเกิดจาก ปญหาความขัดแยง มีเหตุการณลอบทําราย วางเพลิง วางระเบิด กอการราย และจลาจล เกิดขึ้นอยาง ตอเนื่องจนถึง ปจ จุบัน จากขอมูล ศูนยป ระสานงานวิชาการใหความชวยเหลือผูไดรับ ผลกระทบจาก เหตุการณความไมสงบจังหวัดชายแดนภาคใต (ศวชต.) จากเดือนมกราคม พ.ศ.2547 ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 รวมระยะเวลา 6 ป 10 เดือน รายงานวา ในรอบ 82 เดือน ไดเกิดเหตุการณความไมสงบ 10,386 ครั้ง มี ผูเสียชีวิต 4,453 ราย แยกเปนประชาชนนับถือศาสนาอิสลาม 2,628 ราย คิดเปนรอยละ 59.02 ศาสนา พุทธ 1,699 ราย คิดเปนรอยละ 38.15 บาดเจ็บ 7,239 ราย แยกเปนประชาชน นับถือศาสนาอิสลาม 2,362 ราย คิดเปนรอยละ 32.68 ศาสนาพุทธ 4,353 ราย คิดเปนรอยละ 60.13 รวมผูเ สียชีวิตและบาดเจ็บ จํานวน 11,692 ราย สถิติที่นาสนใจ คือ ตั้งแตป พ.ศ.2547-2553 เหยื่อของความรุนแรง ทั้งเสียชีวิตและ บาดเจ็บจํานวนมากที่สุด รอยละ 63 เปนราษฎรหรือพลเรือนผูประกอบอาชีพปกติ รองลงมา คือ ทหาร รอย ละ 12 และตํารวจ รอยละ 10 สถิติผูเสียชีวิตและบาดเจ็บตามการรายงานของ ศวชต. จําแนกเปนรายป ใน ป พ.ศ. 2550-2553 เทากับ 2,295, 1,232, 1,505 และ 1,669 คน ตามลําดับ ในปงบประมาณ 2552-2553 ศูนยประสานงานวิชาการใหความชวยเหลือผูไดรับผลกระทบ จากเหตุการณความไมสงบจังหวัดชายแดนภาคใต (ศวชต.) ไดเพิ่มกลุมเปาหมายในการชวยเหลือ คือเด็กอยู ในเหตุการณที่บิดามารดาถูกทําราย และเด็กที่ไดรับบาดเจ็บจากการถูกยิงหรือถูกสะเก็ดระเบิด เด็ก ยากจนทําใหไมส ามารถเรียนหนังสือได เปนตน พบที่จัง หวัดปตตานีจํานวน 153 ราย และไดเ พิ่ม กลุมเปาหมายในการดูแล คือผูพิการที่ไมอยูในเกณฑมาตรฐานของคนพิการทําใหไมไดรับความชวยเหลือ จากรัฐบาล ตั้งแต ป 2547-2553 จํานวนเด็กกําพราที่ ตองสูญเสียบิดา มารดา หรือทั้งบิดาและมารดาจาก สถานการณความไมสงบมากถึง 5,111 คน หรือกวาครึ่งหมื่น สวนหญิงหมายที่ตองสูญเสียสามีไป เพราะ เหตุการณความรุนแรงมีถึง 2,188 คน ตลอด 7 ป ไฟใต 8 ปงบประมาณ รัฐบาลทุมเงินลงไปแกไขปญหา แลวทั้งสิ้น 1.44 แสนลานบาท แยกเปนปงบประมาณ 2547 จํานวน 13,450 ลานบาท ป 2548 จํานวน 13,674 ลานบาท ป 2549 จํานวน 14,207 ลานบาท ป 2550 จํานวน 17,526 ลานบาท ป 2551 จํานวน 22,988 ลานบาท ป 2552 จํานวน 27,547 ลานบาท ป 2553 จํานวน 16,507 ลานบาท และป 2544 อยู ที่ 19,102 ลานบาท อาจจะสรุป ปญหาความไมส งบในจังหวัดชายแดนภาคใต เปนเรื่องที่มีความ สลับซับซอน มีเหตุปจจัยทางปญหา การแกไข ตองดําเนินการควบคูกันไปจึงจะสรางสันติสุขได (ศูนยเฝา ระวังเชิงองคความรูสถานการณภาคใต: www.deepsouthwatch.org เขาถึงวันที่ 17 พฤษภาคม 2555) สําหรับสถานการณความรุนแรงจากเหตุความไมสงบในพื้นที่ตําบลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัด ปตตานี ตั้งแต 4 มกราคม 2547 – มกราคม 2555 รวมระยะเวลา 8 ป ไดเกิดเหตุการณความไมสงบ ทั้งสิ้น 36 ครั้ง มีผูเสียชีวิต 23 ราย แยกเปนประชาชน 16 ราย เจาหนาที่ของรัฐ 7 ราย บาดเจ็บ 42 ราย แยกเปนประชาชน 14 ราย เจาหนาที่รัฐ 28 ราย รวมผู เ สีย ชีวิต และบาดเจ็ บ จํานวน 65 ราย เหยื่อของความรุนแรงทั้ง เสียชีวิตและบาดเจ็บ เปนเจาหนาที่ของรัฐ จํานวน 35 คน รองลงมา คือ ราษฎรหรือพลเรือนผูประกอบอาชีพปกติ 30 คน (ขอมูลจากฝายความมั่นคง 610

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี ณ วันที่ 5 มิถุนายน 2555) จากสถิติดังกลาวที่ผานมาปรากฏวายังไมประสบ ผลความสําเร็จในการแกไขปญหาเทาที่ ควร ซึ่งมีสาเหตุสําคัญหลายประการ คือ แนวคิดและแนวทาง ปฏิบัติยัง ขาดความชัดเจน ขาดการติดตามประเมินผลและการตรวจสอบอยางจริงจัง จากหนวยงานที่ รับผิดชอบ และคนสวนใหญยังใหความสนใจไมมากนัก ดังนั้นผูศึกษาซึ่งมีบทบาทหนาที่เปนผูบริหาร องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนหนวยงานในพื้นที่มีความใกลชิดกับประชาชนมากที่สุด จึงมีความสนใจที่ จะศึกษาปญหาและอุปสรรคของผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเหตุการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต ที่มี ตอประชาชนในพื้นที่ตําบลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี ตลอดจนแนวทางการปรับปรุงแกไขการ เยียวยาผูไดรับผลกระทบของหนวยงานทองถิ่นซึ่งจะตองมีการชวยเหลือในดานการสงเสริมอาชีพสําหรับ ครอบครัวที่ไดรับผลกระทบและใชเปนแนวทางสําหรับใหหนวยงาน อปพร.ทองถิ่นใชในการปองกันไมให เกิดเหตุรายตอประชาชนและทรัพยสินใหมีป ระสิท ธิภาพดียิ่ง ขึ้น อันจะสง ผลตอคุณภาพการบริก าร ประชาชนตอไป วัตถุประสงคการศึกษา 1. เพื่อศึกษาผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใตที่มีตอประชาชนใน พื้นที่ตําบลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี 2. เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนตอผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบในจังหวั ดชายแดน ภาคใต 3. เพื่อศึ ก ษาถึ ง แนวทางในการวางนโยบายในการปองกัน การเกิดสถานการณในพื้ นที่ให มี ประสิทธิภาพ วิธีดําเนินการศึกษา การวิจัยครั้งนี้เ ปนวิจัยเชิงคุณภาพ กลุม เปาหมายในการศึก ษา ประกอบดวย ผูนําศาสนา ผูนํา ทองที่ เจาหนาที่ภาครัฐ ประชาชน(ผูไดรับผลกระทบ) และผูนําทองถิ่น เก็บรวบรวมขอมูลโดยการสังเกต แบบมีสวนรวม และสัมภาษณเปนรายบุคคล นําขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดมาวิเคราะหเนื้อหา ผลการศึกษา 1. ผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตที่มีตอประชาชนในพื้นที่ ตําบลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี จากความเห็นของกลุมผูใหขอมูลเกี่ยวกับผลกระทบจาก เหตุการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตที่มีตอประชาชนในพื้นที่ตําบลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี ผูนําศาสนา จากการสัมภาษณผูนําศาสนาทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา ความคิดเห็นเกี่ยวกับ เหตุการณความไมสงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใตในปจจุบันสถานการณยังมีความรุนแรงเกิดขึ้น อยางตอเนื่อง ซึ่งคดวาสวนหนึ่งมาจากปญหาที่สั่งสมมายาวนานตามความเชื่อของผูมีอุดมการณ ปญหา การบิดเบือนหลักคําสอนทางศาสนา ปญหาการศึกษา ปญหาความไมเขาใจของภาครัฐตอวิถีชีวิตความ เปนอยูของคนในทองถิ่นและอีกในหลายๆสาเหตุ ซึ่งผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบฯที่เกิดขึ้นนี้จะ กระทบในดานการศึกษาเปนอยางมากเนื่องจากเด็กและครูผูสอนมีการเรียนการสอนที่ไมเต็มที่มากนัก อีก ทั้งจะกระทบในดานการดํารงชีวิตประจําวันของประชาชนในพื้นที่ เชน ประชาชนไมกลาที่จะออกไปทํางาน Graduate School and Research / 15 May 2013

611


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

กรีดยางตั้งแตเชามืด ไมกลาที่จะไปปฏิบัติศาสนกิจที่มัสยิด เพราะหวาดกลัวและหวาดระแวงกลังโดนทํา รายไมปลอดภัยในชีวิต ซึ่งอยากใหทางองคการบริห ารสวนตําบลคลองใหมในฐานะที่เปนตัวแทนของ ประชาชนควรสงเสริมหรืออบรมใหความรูดานจริยธรรมและอาชีพและเยาวชนในพื้นที่เพื่อไมใหเยาวชน วางงาน ซึ่งคิดวาสามารถแกไขปญหาไดในระดับหนึ่ง ผูนําทองที่ จากการสัมภาษณผูนําทองที่ทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา ผลกระทบจากเหตุการณ ความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต เกิดจากสาเหตุหลายๆประการ เชน ปญหายาเสพติด ปญหา การศึกษา ปญหาความขัดแยงทั้งทางดานการเมืองและสวนตัว ปญหาผลประโยชน โดยเฉพาะปญหายาเสพ ติดในปจจุบันระบาดหนักในกลุมเยาวชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต ทําใหเยาวชนถูกชักจูงใหเปนผู หลงผิดอยางงายดาย อีกทั้งเยาวชนเรียนจบระดับประถมศึกษาปที่ 6 ไมไดเรียนตอ เกิดปญหาไมมีอาชีพ วางงาน ซึ่งจากเหตุการณความไมสงบฯ ทําใหเกิดผลกระทบตอประชาชนในพื้นที่เปนอยางมาก เพราะ ประชาชนไมกลาออกไปทํางาน ไมกลาออกไปประกอบศาสนกิจที่มัสยิด อีกทั้งสินคาจากผลผลิตตกต่ํา เชน ลองกอง ยางพารา ทุเรียนและอื่นๆ อีกมาก เพราะพื้นที่ตําบลคลองใหมเปนพื้นที่เกษตรกรรม ประชาชนมี อาชีพทําสวน ทํานา สําหรับแนวทางการปองกันและแกไขปญหามีความเห็นวาอยากใหทางองคการ บริหารสวนตําบลคลองใหมนําแนวทางเขาใจ เขาถึงและพัฒนามาเปนแนวทางในการแกไขปญหา และควร จะเนนไปที่เยาวชน ภาครัฐ จากการสัมภาษณขาราชการภาครัฐทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา ผลกระทบจาก เหตุการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต เกิดจากสาเหตุในหลายๆอยาง เชน ปญหาการศึกษา ปญหาชาติพันธุ ปญหายาเสพติด ปญหาคาของเถื่อน ปญหาการบิดเบือนหลักคําสอนทางศาสนา ปญหา การหวาดระแวง ปญหาการแบงแยกดินแดง ปญหาทางประวัติศาสตร ปญหาความไมเขาใจในภาครัฐ ปญหาถูกรังแกขม เหงในอดีต เจาหนาที่รัฐเลือกปฏิบัติ และอีก ในหลายๆปญ หา ที่สั่งสมมาชานาน โดยเฉพาะปญหาที่มีความเชื่อทางดานอุดมการณและหรือปญหาเกี่ยวกับการเมืองทองถิ่นตลอดจนปญหา สวนบุคคลที่มีการชิงดีชิงเดน ซึ่งจากเหตุการณความไมสงบฯ ทําใหเกิดผลกระทบตอประชาชนในพื้นที่เปน อยางมาก โดยเฉพาะขาราชการที่ทํางานหรือปฎิบัติงานในพื้นที่ตองมีความระมัดระวังเปนอยางมากเพราะมี ความเสี่ยงตอการถูกทํารายสูง องคการบริหารสวนตําบลคลองใหมเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือ หนวยงานภาครัฐที่มีความใกลชิดกับประชาชนรูปญหาความตองการของประชาชนควรนําแนวทางเขาใจ เขาถึงและพัฒนามาเปนแนวทางในการแกไขปญหา ภาคประชาชน จากการสัมภาษณภาคประชาชนทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา ผลกระทบจาก เหตุการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต นั้นเกิดจากปญหาการบิดเบือนหลักคําสอนทาง ศาสนา ปญหายาเสพติด ปญหาการแบงแยกดินแดง และปญหาเยาวชนไมไดรับการศึกษาเพราะเมื่อเรียน จบ ป.6 แลว ไมไดเรียนตอ เพราะครอบครัวยากจนหรืออื่นๆ ปญหาการวางงาน ทําใหถูกชักจูงใหหลงผิด แลวแตผูนําชักจูงไปในทางไหนเนื่องจากไมมีความรูไมวาจะเปนความรูทางศาสนาหรือความรูทางสามัญ หากคนมีการศึกษาเขาจะไมกระทําเพราะศาสนาอิสลามเขาหามฆาคน ในปจจุบันชาวบานไดรับผลกระทบ จากเหตุการณความไมสงบเปนอยางมากไมกลาออกไปทํางาน ไปประกอบศาสนกิจ ประจําวันที่มัสยิด เพราะกลัวถูกทําราย อยากใหทาง อบต.คลองใหมสงเสริมการศึกษาแกเยาวชนที่ยากจน หรือสงเสริม อาชีพแกเยาวชนใหมากที่สุด ภาคทองถิ่น จากการสัมภาษณภาคทองถิ่นทัง้ 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา ผลกระทบจากเหตุการณ ความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต นั้นมีความละเอียดออนมากไมวาจะเปนปญหาความขัดแยง 612

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความแตกแยกในชุมชน ทางดานการเมือง ปญหาผลประโยชน ปญหาเยาวชนวางงาน ปญหาการศึกษาที่ไม สอดคลองกับทองถิ่น ยาเสพติด สิ่งที่ไมตรงกับความเปนจริง ปญหาเจาหนาที่รัฐทุจริตคอรรัปชั่น เลือก ปฏิบัติ ไมเขาใจชุมชนที่รับผิดชอบ จากปญหาดังกลาวเปนตนเหตุแหงการเกิดเหตุการณความไมสงบใน พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่ง กอใหเ กิดผลกระทบตอประชาชนที่ดําเนินชีวิตในประจําวันทําให ประชาชนเกิดหวาดระแวงไมกลาออกประกอบอาชีพตามปกติหรือไปประกอบศาสนกิจที่มัสยิดในประจําวัน ทําใหเศรษฐกิจตกต่ําโดยเฉพาะราคาของผลไมที่ไมมีราคา ซึ่งองคการบริหารสวนตําบลคลองใหมในฐานะ หนวยงานของรัฐที่อยูในพื้นที่ใกลชิดประชาชนมากที่สุดเขามาพัฒนาทั้งดานอาชีพและหามาตรการปองกัน การกอเหตุรายในพื้นที่ บทสรุป จากความเห็นของกลุมผูใหขอมูลเกี่ยวกับผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใตที่มีตอประชาชนในพื้นที่ตําบลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี วิเคราะหไดวา เหตุการณความไมสงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใตอาจมาจากสาเหตุของปญหาในหลายๆ ประการ เชน ปญหาการศึกษาที่เยาวชนเมื่อเรียนจบจากภาคบังคับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 แลว ไมไดเรียนตอ ปญหา ยาเสพติดที่กําลังระบาดในหมูเยาวชนทําใหเยาวชนงายตอการถูกชักจูงไปในทางที่ผิด ปญหาความแตกแยก ในชุมชนทั้งผลการเมืองและสวนตัวที่ตางคนตางอยากมีอํานาจและครองอํานาจเพื่อใหประชาชนเกิดความ เกรงกลัวในอํานาจบารมี เจาหนาที่ของรัฐเลือกปฏิบัติ ไมเขาใจชุมชนที่รับผิดชอบทําใหการพัฒนาไมเปนไป ตามความตองการของประชาชนในพื้นที่ ตลอดจนปญหาการแบงแยกดินแดงที่ผูมีอุดมการณพยายามกอ เหตุความไมสงบขึ้นภายในพื้นที่ สําหรับผลกระทบที่มีตอประชาชนจากเหตุการณความไมสงบฯประชาชนไดรับผลในดานวิถีชีวิต ความเปนอยูในประจําวันทั้ง ดานการประกอบอาชีพและการปฏิบัติศาสนกิจรวมกันที่มัส ยิด เนื่องจาก ประชาชนเกรงกลัวตอการถูกทําราย และกลุมผูใหขอมูลมีความเห็นตรงกันวาองคการบริหารสวนตําบล คลองใหมควรมีนโยบายในการแกไขปญหาโดยการสนับสนุนอาชีพ การศึกษาแกเยาวชน เพื่อใหเยาวชน ปราศจากการวางงานซึ่งเปนหนทางที่จะปองกันการชักจูงจากผูกอความไมสงบ 2. เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนตอผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบในจังหวัดชายแดน ภาคใต จากความเห็นของกลุมผูใหขอมูลเกี่ยวกับทัศนคติของประชาชนตอผลกระทบจากเหตุการณความไม สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต ผูนําศาสนา จากการสัมภาษณผูนําศาสนาทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา เหตุการณความไมสงบ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ที่เกิดขึ้นสงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่เพราะในพื้นที่ ตําบลคลองใหม มีวิถีการดํารงชีวิตความเปนอยูแบบมุสลิม มีวัฒนธรรมที่เปนมาลายูทองถิ่น มีการเรียนการ สอนศาสนาขั้นพื้นฐานที่รูจักในนามโรงเรียนตาดีกา ซึ่งพอเกิดเหตุการณความไมสงบในพื้นที่ทําใหครูตาดีกา ถูกจับถูกเชิญตัวไปสอบสวนกลายเปนผูตองสงสัย เพราะคนมุสลิมที่นับถือศาสนาอิสลามไดถูกกลาวหาวา เปนจําเลย ก็เลยทําใหไมมีใครกลาที่จะอุทิศตนเพื่อสอนศาสนาใหความรูตามหลักศาสนาแกเด็กในพื้นที่ ซึ่ง กลุมผูใหขอมูลไดแสดงความเห็นอีกวาเหตุการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต เกิดจากสาเหตุ ยาเสพติด การศึกษา ความไมเขาใจอยางแทจริงของเจาหนาที่รัฐตอวิถีชีวิตความเปนอยูของสังคมมุสลิมใน ภาคใต ตลอดจนการบิดเบือนหลักคําสอนทางศาสนาทําใหการเขาใจในหลักศาสนาที่มีความคลาดเคลื่อน จากความเปนจริง ผูนําทองที่ จากการสัมภาษณผูนําทองที่ทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา เหตุการณความไมสงบใน พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ที่เกิดขึ้นสงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ เพราะเกิดความ Graduate School and Research / 15 May 2013

613


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สูญเสียตอชีวิตในชีวิตและทรัพยสิน ทําใหประชาชนเสียขวัญและกําลังไมกลาออกไปทํางาน ไมกลาออกไป ประกอบศาสนกิจรวมกันที่มัสยิด เกรงกลัวภัยอันตรายที่จะเกิดขึ้นตอตนเองและครอบครัว อีกทั้งสินคาจาก ผลผลิตทางการเกษตรราคาตกต่ํา เชน ลองกอง ยางพารา ทุเรียนและอื่นๆ อีกมาก ซึ่งพื้นที่ตําบลคลอง ใหมเปนพื้นที่เกษตรกรรม ประชาชนมีอาชีพทําสวน ทํานา และไดใหขอมูลเพิ่มเติมอีกวาสาเหตุของการ เกิด เหตุการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตอาจมาจากปญหาอุดมการณที่มีมาชานาน การ แบงแยกดินแดน การถูกรังแกขมเหงจากเจาหนาที่รัฐในอดีต การเลือกปฏิบัติของเจาหนาที่รัฐ ตลอดจน เจาหนาที่รัฐไมเขาใจในวิถีชีวิตของคนมุสลิมอยางลึกซึ้ง ภาครัฐ จากการสัมภาษณขาราชการภาครัฐทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา เหตุการณความไม สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ที่เกิดขึ้นสงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ เพราะใน ปจจุบันประชาชนเกิดความหวาดกลัวเหตุรุนแรงที่เกิดขึ้นในประจําวัน เชน การฆารายวันการลอบวาง ระเบิด การเผาโรงเรียนทําใหประชาชนเกิดความไมมั่นใจความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย และเกิด หวาดระแวงระหวางกันทําใหเกิดความแตกแยกของคนในชุมชน โรงเรียนปดบอยทําใหเด็กมีคุณภาพ การศึกษาที่ต่ํา ประกอบกับบุคคลที่รัฐบาลสงลงมารับผิดชอบในการแกปญหาจังหวัดชายแดนภาคใตนั้น สวนใหญเปนคนจากภาคอื่นที่ไมมีพื้นฐานความรู ความเขาใจในวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของคนในพื้นที่อยาง ลึกซึ่ง โดยเฉพาะคนไทยที่นับถือศาสนาอิสลามซึ่งมีความเชื่อ มีภาษา มีศาสนา และวิถีชีวิตที่แตกตางไป จากประชากรสวนใหญของประเทศ จึงพบวา การดําเนินการทํางานตาง ๆ มักจะถูกคัดคานจากประชาชน ในพื้นที่เปนประจํา ภาคประชาชน จากการสัมภาษณภาคประชาชนทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา เหตุการณความไม สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ที่เกิดขึ้นสงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ เพราะ ใน พื้นที่ตําบลคลองใหมเปนพื้นที่เกษตรกรรม ประชาชนมีอาชีพทําสวน ทํานา พอเกิดเหตุการณความไมสงบ ประชาชนไมก ลาออกไปทํางาน ไปประกอบศาสนกิจ ประจําวันที่มัสยิด เพราะกลัวถูก ทําราย ทําให ประชาชนมีการอพยพยายถิ่นฐานไปประกอบอาชีพที่อื่นที่คิดวาปลอดภัยสําหรับพวกเขา สวนสาเหตุที่เกิด เหตุการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตนั้นอาจมาจากสาเหตุของการไมเขาใจของบุคลากร ภาครัฐตอประชาชนในวิถีชีวิตความเปนอยูของคนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตที่มีวิถีการดํารงชีวิต การ สื่อภาษา วัฒนธรรมที่แตกตางไปจากภาคอื่นๆของประเทศ ภาคทองถิ่น จากการสัมภาษณภาคทองถิ่นทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา เหตุการณความไมสงบ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ที่เกิดขึ้นสงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ เนื่องจาก ประชาชนเกิดความกลัวตอเหตุการณที่เกิดขึ้นในแตละวัน ไมวาจะเปนการลอบวางระเบิดเจาหนาที่ การฆา รายวันตลอดจนความรุนแรงอื่นๆ เปนผลทําใหประชาชนไมกลาเดินทางไปปฏิบัติภารกิจในประจําวัน อีกทั้ง สินคาการเกษตรมีราคาที่ตกต่ํา ไมมีคนมารับซื้อในพื้นที่ทําใหประชาชนมีรายไดไมเพียงพอตอการดํารงชีพ ในครอบครัว ทําใหประชาชนอพยพถิ่นฐานไปอยูตางพื้นที่ สวนสาเหตุความไมสงบนั้นคิดวามาจากหลายๆ ปจจัยทั้งความขัดแยงความแตกแยกในชุมชน ทางดานการเมือง เจาหนาที่รัฐเลือกปฏิบัติ ไมเขาใจชุมชนที่ รับผิดชอบ ปญหาผลประโยชน ปญหาการวางงาน ยาเสพติด บทสรุป จากความเห็นของกลุม ผูใหขอมูล เกี่ยวกับ ทัศนคติของประชาชนตอผลกระทบจาก เหตุการณความไมส งบในจังหวัดชายแดนภาคใต พบวาเหตุก ารณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต ที่เ กิดขึ้นสง ผลกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ เนื่องจากประชาชนเกิดความ หวาดกลัวเหตุรุนแรงที่เกิดขึ้นในประจําวัน ไมกลาออกไปทํางาน ไมกลาออกไปประกอบศาสนกิจรวมกันที่ 614

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

มัสยิด เกรงกลัวภัยอันตรายที่จะเกิดขึ้นตอตนเองและครอบครัว ตลอดจนภาครัฐไมไดชวยเหลือผูบริสุทธิ์ที่ ถูกกลาวโทษวาเปนผูรายอยางแทจริง ประกอบกับคําสอนทางศาสนาถูกบิดเบือน ทําใหความเขาใจในหลัก คําสอนคลาดเคลื่อนอีกทั้งเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนในเรื่องของยาเสพติด 3. แนวทางในการแก ไขปญ หาเหตุ ก ารณค วามไมส งบในพื้นที่ จัง หวัด ชายแดนภาคใต จาก ความเห็นของกลุม ผูใหขอมูล เกี่ยวกับ แนวทางในการแกไขปญหาเหตุการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต พบวา ผูนําศาสนา จากการสัมภาษณผูนําศาสนาทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา แนวทางในการวาง นโยบายตอการแกไขปญหาความไมสงบฯ ในปจจุบันคิดวามีแนวทางที่ดีขึ้นแตควรปรับปรุงในดานการอยู รวมกันในสังคม คือ การดําเนินการกระบวนการยุติธรรมตองเคารพในสิทธิ และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย การสรางความเขาใจระหวางรัฐกับประชาชน ประชาชนตองไดรับความเปนธรรมจากการบังคับใชกฎหมาย การทําประชาพิจารณกอนประกาศใชกฎอัยการศึก และ พ.ร.บ. ฉุกเฉิน การบูรณาการกฎหมายทั่วไปกับ กฎหมายอิสลาม การใหความรูดานกฎหมายแกประชาชนเกี่ยวกฎอัยการศึก และ พ.ร.บ. ฉุกเฉิน เปนตน แนวความคิดในการกําหนดวิธีการในการแกไขปญหาความไมสงบในพื้นที่ใหมีประสิทธิภาพ ดานกระบวนการยุติธรรม การดําเนินการกระบวนการยุติธรรมตองเคารพในสิทธิ และศักดิ์ศรีความเปน มนุษย การสรางความเขาใจระหวางรัฐกับประชาชน ประชาชนตองไดรับความเปนธรรมจากการบังคับใช กฎหมาย การทําประชาพิจารณกอนประกาศใชกฎอัยการศึก และ พ.ร.บ. ฉุกเฉิน การบูรณาการกฎหมาย ทั่วไปกับกฎหมายอิสลาม การใหความรูดานกฎหมายแกประชาชนเกี่ยวกฎอัยการศึก และ พ.ร.บ. ฉุกเฉิน เปนตน ผูนําทองที่ จากการสัมภาษณผูนําทองที่ทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา ปญหาและสถานการณ ความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2547 เปนเรื่องที่มีผลกระทบตอ ความมั่นคงและความสงบสุขของประชาชนทั้งในพื้นที่ และโดยรวม แนวทางการแกไขปญหาจําเปนตองใช การสรางความเขาใจกับทุกภาคสวน เพื่อเปนพลังสรางสรรครวมกันในการคลี่ คลายปญหาใหเกิดความ สมานฉันท และไววางใจตอกันในระดับที่จะเกื้อกูล ตอการพัฒนา ทั้งดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และ วัฒนธรรม แนวความคิดในการกําหนดวิธีการในการแกไขปญหาความไมสงบในพื้นที่ใหมีประสิทธิภาพ ดานทรัพยากรฯ และสิ่งแวดลอม การฟนฟูปาเสื่อมโทรม ใหบทบาทชุมชนดูแลปา ฟนฟูทรัพยากรดิน (ดินเค็ม ดินเปรี้ยวจัด ดินทรายจัด) ฟนฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝงใหกลับคืนสูความสมดุล ฟนฟูแหลง น้ําธรรมชาติ การพัฒนาการเกษตรแบบผสมผสานและการฟนฟูสวนดุซง สงเสริมภูมิปญญาทองถิ่น สิทธิ ชุ ม ชน และบทบาทขององค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ในการอนุ รั ก ษ ฟ น ฟู และใช ป ระโยชน ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน ภาครัฐ จากการสัมภาษณขาราชการภาครัฐทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา สถานการณในจังหวัด ชายแดนภาคใตนับตั้งแตเกิดเหตุการณความรุนแรงในป พ.ศ. 2547 จนถึงปจจุบัน ชวงแหงความรุนแรงนับ ไดเปนเวลา 8 ป ในหวงเวลาดังกลาวพัฒนาการของสถานการณนับวายาวนานพอสมควร สิ่งที่นาคิดก็คือ ความรุนแรงมีความตอเนื่องยาวนานจนกระทั่งสงสัญญาณเตือนอะไรบางอยางแกสังคมไทยได เพราะวา สถานการณที่เกิดขึ้นเปนเรื่องใหญและมีความหมายที่ทาทายความรับรูของสังคมไทยอยางที่ไมเคยมีมากอน สิ่งที่เกิดขึ้นในจังหวัดชายแดนภาคใตบอกใหรูวาเรากําลังอยูในโลกที่กําลังเปลี่ยนแปลงและสังคมไทยกําลัง เผชิญหนากับความเปลี่ยนแปลงที่ทาทาย ความเขาใจ ความรับรูเกา ๆ ของเราเกี่ยวกับสังคมที่หลากหลาย Graduate School and Research / 15 May 2013

615


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

วัฒนธรรมและชาติพันธ ความรูใหมเกี่ยวกับความสามารถของรัฐและการจัดการความขัดแยงที่รุนแรง ซับซอน และความรับรูเกี่ยวกับการตอสูบนความเชื่อความศรัทธาแบบที่คนสวนใหญในสังคมไมเคยเขาใจ พบวา แนวทางในการแกไขปญหาในปจจุบันรัฐบาลมีนโยบายในการดําเนินการที่ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพ ดีกวาเดิม จะเห็นไดวารัฐบาลไดใชนโยบายดังตอไปนี้ ดานยุทธศาสตร นํายุทธศาสตรพระราชทาน เขาใจ เขาถึง พัฒนา และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งยึดมั่นแนวทางสันติวิธีเปนบรรทัดฐานในการแกไข ปญหา ดานการอํานวยความเปนธรรม ยึดถือความเปนธรรมและกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรม เปนปจจัยสําคัญ ในการฟนฟูอํานาจรัฐ แนวความคิดในการกําหนดวิธีการในการแกไขปญหาความไมสงบในพื้นที่ใหมีประสิทธิภาพ ดานองคกรและการจัดการ 1. การใชหลักการสมานฉันท สันติวิธี 2. กระบวนการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น 3. การฟนฟู ศอ.บต. และ พตท. 43 4. องคกรแบบ ศอ.บต. สามารถเปนองคกรตนแบบในการบริหารจัดการพื้นที่ 3 จชต.ไดเพราะ องคกรมีชองทางการมีสวนรวมของประชาชนในการแสดงออกถึงความตองการที่แทจริงบนพื้นฐานทาง วัฒนธรรมและอัตลักษณของตนเอง ภาคประชาชน จากการสัมภาษณภาคประชาชนทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา แนวทางในการ แกไขปญหาในปจจุบันรัฐบาลมีนโยบายในการดําเนินการที่ดีขึ้น เชน การมีสวนรวมจะใชกระบวนการมีสวน รวมของทุกภาคสวนเปนพลังการเขาถึงประชาชน เพื่อเสริมสราง สันติสุขและการพัฒนาอยางยั่งยืน และ สรางความเขาใจ จะสรางความเขาใจตอสถานการณความเปนจริง ตอสังคม ทั้งภายในและภายนอก ประเทศ เพื่อสรางความตระหนั ก ของการอยูร วมกันภายในชาติอย างสัน ติสุขบนพื้นฐานของความ หลากหลาย ในวิธีคิด วิถีชีวิต วัฒนธรรมและศาสนา แนวความคิดในการกําหนดวิธีการในการแกไขปญหาความไมสงบในพื้นที่ใหมีประสิทธิภาพ ดานเศรษฐกิจ ขั้นที่ 1 : เยียวยาและสรางภูมิคุมกันใหชุมชน ขจัดความยากจน/แกปญหาปจจัยพื้นฐาน เชน ที่อยู ที่ทํากิน หนี้สิน ขยายผลเศรษฐกิจ พอเพียง เกษตรผสมผสาน เกษตรทางเลือก ขั้นที่ 2 : สรางความแข็งแกรงแกเศรษฐกิจชุมชน สงเสริมวิสาหกิจชุมชน OTOP และ SMEs ขั้นที่3: สรางความหลากหลายแกโครงสรางเศรษฐกิจ 3 จังหวัด สรางความเปนเลิศอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลและเปนครัวโลกมุส ลิม เปนยอดของปร ามิด เศรษฐกิจสังคม/ใหประโยชนแกชุมชนไดนอยกวาขั้นที่ 1-2 พัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและเชิง นิเวศปาดิบชื้นสูระดับโลก ภาคทองถิ่น จากการสัมภาษณภาคทองถิ่นทั้ง 2 คน ใหขอมูลสรุปไดวา แนวทางในการวาง นโยบายตอการแกไขปญหาความไมสงบฯ ในปจจุบันอยูในระดับที่ดีขึ้น ประชาชนจํานวนไมนอยในตําบล คลองใหมยังมีความเชื่อมั่นตอสถาบันและกระบวนการยุติธรรม รวมทั้งการกระจายอํานาจการปกครอง ทองถิ่นซึ่งถือวาเปนกลไกสําคัญในการแกปญหาความมั่นคงที่เกิดขึ้น แมวารัฐจะแกไขปญหาที่เกิดขึ้นไม ลมเหลวโดยสิ้นเชิง แตรัฐก็ทําหนาที่ไดไมดีนักเพราะสถาบันการบริหาร เชน ตํารวจและทหาร รวมทั้ง 616

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ขาราชการพลเรือนไมไดรับการยอมรับจากประชาชน บทบาทของนักการเมืองในระดับชาติก็ไมไดรับการ ยอมรับ แสดงใหเห็นถึงความลมเหลวของพรรคการเมืองในการสนองตอบตอปญหาที่เกิดขึ้นในจังหวัด ชายแดนภาคใต แนวความคิดในการกําหนดวิธีการในการแกไขปญหาความไมสงบในพื้นที่ใหมีประสิทธิภาพ ดานสังคม การจัดการการศึกษาควรสอดคลองกับความตองการของชุมชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะ การพัฒนา หลักสูตรทองถิ่น ภาคประชาชนตองมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและบริหารทองถิ่นในการปญหาความ ไมสงบ การกําหนดใชภาษาไทยและมลายูในการติดตอกับสถานที่ราชการ สนับสนุนวิสาหกิจชุมชนใน รูปแบบอิสลาม จัดระบบควบคุมบุคคลสองสัญชาติใหมีประสิทธิภาพ สนับสนุนอุตสาหกรรมในทองถิ่นเพื่อ สรางโอกาสการมีงานทําใหกับเยาวชนและปองกันการเคลื่อนยายแรงงานพื้นที่ เปนตน บทสรุป จากความเห็นของกลุมผูใหขอมูลเกี่ยวกับแนวทางในการแกไขปญหาเหตุการณความไม สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต พบวา แนวทางในการแกไขปญหาในปจจุบันรัฐบาลมีนโยบายในการ ดําเนินการที่ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพดีกวาเดิมดังจะเห็นตามการดําเนินการตาง ๆ ตอไปนี้ 1. ยุทธศาสตร- นํายุทธศาสตรพระราชทาน เขาใจ เขาถึง พัฒนา และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งยึดมั่นแนวทางสันติวิธีเปนบรรทัดฐานในการแกไขปญหา 2. การอํานวยความเปนธรรม -ยึดถือความเปนธรรมและกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรม เปนปจจัยสําคัญ ในการฟนฟูอํานาจรัฐ 3. การมีสวนรวม -ใชกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวนเปนพลังการเขาถึงประชาชน เพื่อ เสริมสราง สันติสุขและการพัฒนาอยางยั่งยืน 4. สรางความเขาใจ -สรางความเขาใจตอสถานการณความเปนจริงตอสังคม ทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ เพื่อสรางความตระหนักของการอยูรวมกันภายในชาติอยางสันติสุขบนพื้นฐานของความ หลากหลาย ในวิธีคิด วิถีชีวิต วัฒนธรรมและศาสนา อภิปรายผลการศึกษา การศึกษาวิจัยผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเหตุการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต ที่มีตอ ประชาชนในพื้นที่ตําบลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี ผูศึกษามีความเห็นวาทามกลางสถานการณ ความไมสงบในพื้นที่ชายแดนภาคใตหรือ “มลายูปาตานี” อันประกอบดวยจังหวัดปตตานี ยะลา นราธิวาส และบางสวนของสงขลา ซึ่งเกิดขึ้นมาอยางตอเนื่องจนเปนเหตุการณรายวัน นับตั้งแตวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2547 เปนตนมา ไดคราชีวิตผูคนและเจาหนาที่ของรัฐในพื้นที่ไปมากกวา 2,200 ราย มีตัวเลขผูบาดเจ็บ มากกวา 3,600 ราย สถานการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทยเปนเหตุการณ รุนแรงที่เกิดขึ้นใน 4 จังหวัด ไดแก จังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดสงขลา ซึ่งเกิด จากปญหาความขัดแยง มีเหตุการณลอบทําราย วางเพลิง วางระเบิด กอการราย และจลาจล เกิดขึ้นอยาง ตอเนื่อ งจนถึง ปจ จุบั น จากขอมูล ศูนยป ระสานงานวิช าการใหความชวยเหลือผู ไดรับ ผลกระทบจาก เหตุการณความไมสงบจังหวัดชายแดนภาคใต (ศวชต.) จากเดือนมกราคม พ.ศ.2547 ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 รวมระยะเวลา 6 ป 10 เดือน รายงานวา ในรอบ 82 เดือน ไดเกิดเหตุการณความไมสงบ 10,386 ครั้ง มีผูเสียชีวิต 4,453 ราย แยกเปนประชาชนนับถือศาสนาอิสลาม 2,628 ราย คิดเปนรอยละ 59.02 ศาสนาพุทธ 1,699 ราย คิดเปนรอยละ 38.15 บาดเจ็บ 7,239 ราย แยกเปนประชาชน นับถือศาสนาอิสลาม

Graduate School and Research / 15 May 2013

617


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

2,362 ราย คิดเปนรอยละ 32.68 ศาสนาพุทธ 4,353 ราย คิดเปนรอยละ 60.13 รวมผูเสียชีวิตและบาดเจ็บ จํานวน 11,692 ราย สถิติที่นาสนใจ คือ ตั้งแตป พ.ศ.2547-2553 เหยือ่ ของความรุนแรง ทั้งเสียชีวิตและบาดเจ็บ จํานวนมากที่สุด รอยละ 63 เปนราษฎรหรือพลเรือนผูประกอบอาชีพปกติ รองลงมา คือ ทหาร รอยละ 12 และตํารวจ รอยละ 10 สถิติผูเสียชีวิตและบาดเจ็บตามการรายงานของ ศวชต. จําแนกเปนรายป ในป พ.ศ. 2550-2553 เทากับ 2,295, 1,232, 1,505 และ 1,669 คน ตามลําดับ ในปงบประมาณ 2552-2553 ศูนยประสานงานวิชาการใหความชวยเหลือผูไดรับผลกระทบจาก เหตุการณความไมสงบจังหวัดชายแดนภาคใต (ศวชต.) ไดเพิ่มกลุมเปาหมายในการชวยเหลือ คือ เด็กอยูใน เหตุการณที่บิดามารดาถูกทําราย และเด็กที่ไดรับบาดเจ็บจากการถูกยิงหรือถูกสะเก็ดระเบิด เด็กยากจน ทําใหไมสามารถเรียนหนังสือได เปนตน พบที่จังหวัดปตตานีจํานวน 153 ราย และไดเพิ่มกลุมเปาหมายใน การดูแล คือผูพิการที่ไมอยูในเกณฑมาตรฐานของคนพิการทําใหไมไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาล ตั้งแต ป 2547-2553 จํานวนเด็กกําพราที่ ตองสูญเสียบิดา มารดา หรือทั้งบิดาและมารดาจากสถานการณความ ไมสงบมากถึง 5,111 คน หรือกวาครึ่งหมื่น สวนหญิงหมายที่ตองสูญเสียสามีไป เพราะเหตุการณความ รุนแรงมีถึง 2,188 คน ตลอด 7 ป ไฟใต 8 ปงบประมาณ รัฐบาลทุมเงินลงไปแกไขปญหาแลวทั้งสิ้น 1.44 แสนลานบาท แยกเปนปงบประมาณ 2547 จํานวน 13,450 ลานบาท ป 2548 จํานวน 13,674 ลานบาท ป 2549 จํานวน 14,207 ลานบาท ป 2550 จํานวน 17,526 ลานบาท ป 2551 จํานวน 22,988 ลานบาท ป 2552 จํานวน 27,547 ลานบาท ป 2553 จํานวน 16,507 ลานบาท และป 2544 อยูที่ 19,102 ลาน บาท อาจจะสรุปปญหาความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต เปนเรื่องที่มีความสลับซับซอน มีเหตุปจจัย ทางปญ หา การแกไข ตองดําเนินการควบคูกันไปจึงจะสรางสันติสุขได (ศูนยเฝาระวัง เชิง องค ความรู สถานการณภาคใต: www.deepsouthwatch.org เขาถึงวันที่ 17 พฤษภาคม 2555) สําหรับสถานการณความรุนแรงจากเหตุความไมสงบในพื้นที่ตําบลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัด ปตตานี ตั้งแต 4 มกราคม 2547 – มกราคม 2555 รวมระยะเวลา 8 ป ไดเกิดเหตุการณความไมสงบ ทั้งสิ้น 36 ครั้ง มีผูเสียชีวิต 23 ราย แยกเปนประชาชน 16 ราย เจาหนาที่ของรัฐ 7 ราย บาดเจ็บ 42 ราย แยกเปนประชาชน 14 ราย เจาหนาที่รัฐ 28 ราย รวมผูเสียชีวิตและบาดเจ็บ จํานวน 65 ราย เหยื่อของความรุนแรงทั้งเสียชีวิตและบาดเจ็บ เปนเจาหนาที่ของรัฐ จํานวน 35 คน รองลงมา คือ ราษฎรหรือพลเรือนผูประกอบอาชีพปกติ 30 คน (ขอมูลจากฝายความมั่นคงอําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี ณ วันที่ 5 มิถุนายน 2555) จากสถิติการเกิดเหตุการณความไมสงบในพื้นที่ตําบลคลองใหมอยางตอเนื่องตั้งแตป 2547 เปน ตนมาทําใหทางการหรือภาครัฐไดกําหนดพื้นที่ตําบลคลองใหมเปนพื้นที่โซนสีแดงซึ่งหมายถึงพื้นที่อันตราย กระทั่งเมื่อวันที่ 6 กันยายน 2552 ผูศึกษาไดรบั เลือกตั้งจากประชาชนในพื้นที่เพื่อเปนตัวแทนทําหนาที่ เขามาบริหารการพัฒนาทองถิ่นในฐานะผูบริหารองคการบริหารสวนตําบลคลองใหม อําเภอยะรัง จังหวัด ปตตานี จึงไดตระหนักถึงปญหาความไมปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน เนื่องจากพื้นที่ตําบล คลองใหมมีป ระชาชนสองวัฒ นธรรมอยูรวมกัน คือ พุท ธกับ มุส ลิม ทําใหก ารแกไขปญ หาเปนไปอยาง คอนขางลําบากเพราะตองสรางความเขาใจใหทั้งสองวัฒ นธรรมอยูรวมกันไดอยางมีความเขาใจกันโดย ปราศจากความหวาดระแวงตอกัน จึงไดกําหนดนโยบายสาธารณะเพื่อแกไขปญหาในพื้นที่ โดยนอมนํา พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว”เราจะครองแผนดินโดยธรรมเพื่อประโยชนสุขแหงมวลชน ชาวสยาม” และ แนวทางพระราชทาน “เขาใจ เขาถึง และพัฒ นา” แนวทาง “เศรษฐกิจ พอเพียง” 618

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ประกอบกับใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานและการปฏิบัติงาน มีการบูรณาการกับทุกภาคสวนใน พื้นที่ โดยเฉพาะอยางยิ่ง กระบวนการมีสวนรวมของภาคประชาชนในทุก กระบวนการกิจกรรมซึ่งเปน หนทางที่สรางความเขาใจใหกับประชาชนที่มีตอหนวยงานภาครัฐและระหวางประชาชนดวยกัน ตลอด ระยะเวลาสามปที่ผูศึกษาเขามาทําหนาที่บริหารพัฒนาทองถิ่นทําใหไดรับการตอบรับจากประชาชนในพืน้ ที่ เปนอยางดี ทั้งนโยบายพบปะประชาชนยามเชา นโยบายเยี่ยมบานประชาชน นโยบายองคการบริหารสวน ตําบลสัญจรสัปดาหล ะ 1 ครั้ง นโยบายชวยเหลือครอบครัวผูไดรับ ผลกระทบฯ นโยบายจัดชุด อปพร. ลาดตระเวนในตําบลและนโยบายเรียนรูคุณธรรมจริยธรรม เปนตน ดวยความพยายามของผูศึกษาในฐานะ เปนผูบริหารทองถิ่นและทุกภาคสวนในพื้นที่ที่ตองการใหตําบลคลองใหมมีความสันติสุขและสงบสุข เปน ผลทําใหพื้นที่ตําบลคลองใหมจากเดิมที่ถูกกําหนดเปนพื้นที่สีแดงกลับตรงกันขามกลายเปนพื้นที่สีขาวจนถึง ปจจุบัน ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะที่ไดจากผลการศึกษาวิจัย มีดังนี้ 1. เหตุการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต ควรจัดใหเปนนโยบายหลักของรัฐบาล หรือ อาจจะจัดใหเปนวาระแหงชาติ และควรสงเสริมใหหนวยงานในพื้นที่ปฏิบัติงานโดยใชหลักธรรมาภิบาลให มาก เพื่อใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม พรอมทั้งพัฒนาและสรางความเขมแข็งของชุมชนใหมีความเขมแข็ง อยางยั่งยืนถาวร 2. หนวยงานที่เกี่ยวของในแกไขปญหาความไมสงบ ควรหามาตรการในเชิงปฏิบัติที่มีรูปแบบอยาง ที่ ส ามารถนํ า เป น แบบอย า งในการนํ า ไปปฏิ บั ติ และกํ า หนดแผนพั ฒ นาที่ เ ป น รู ป ธรรมและ สรางสรรค ทบทวน ปรับปรุง และแกไขแนวทางปฏิบัติใหสอดคลองกับการแกไขปญหาที่จริงจัง มีการ พัฒ นาตัวชี้วัดผลสําเร็จ และผลงานของการแกไขปญ หาที่เกิดขึ้นจากเหตุก ารณความไมส งบใหมีความ ทันสมัยมากกวาที่มีอยูในปจจุบัน 3. สรางความรู ความเขาใจในการปฏิบัติงานที่ถูกตองและแนวทางปฏิบัติอยางมีป ระสิทธิภาพ ใหแกเจาหนาที่ทุกระดับ และทุกคน ในทุกองคกร 4. สรางความรู ความเขาใจและทักษะในการสรางกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนในการ พัฒนารวมกับเจาหนาที่ทุกระดับ ทุกคน ทั้งในองคกร นอกองคกร รวมทั้งประชาชนในตําบล หมูบาน กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยฉบับนี้ สําเร็จลุลวงดวยดี จากความรวมมือและการสนับสนุนของวิทยาลัยการปกครอง ทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน ตลอดจนขอขอบพระคุณผูใหขอมูลทุกทานในองคการบริหารสวนตําบล คลองใหมที่ไดใหความรู คําแนะนํา ตลอดจนขอมูลตาง ๆ จนสารนิพนธสําเร็จลุลวงไดดวยดี

Graduate School and Research / 15 May 2013

619


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เอกสารอางอิง เบเนดิคท แอนเดอรสัน .2547. บทสนทนาเกี่ยวกับสถานการณสากลความเปนไปในอุษาคเนย สิ่งที่ เกิดขึ้นในสังคมไทย ในวารสารฟาเดียวกัน 2 (3) , 41 - 42. เสนห จามริก. 2547. ปาฐกถานําเรื่อง แนวทางสูสันติประชาธรรม: มุมมองของชาวบานตอสถานการณ ปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต . เมื่อ 2 กรกฎาคม 2547 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยา เขตปตตานี. คณะกรรมการประสานงานภาคประชาชนเพื่อจังหวัดชายแดนภาคใต, 2549, มุมมองของภาคประชาคม สถานการณชายแดนใต :สงขลา . www.medipe.psu.ac.th/vis เขาถึงวันที่ 17 พฤษภาคม 2555 www.deepsouthwatch.org เขาถึงวันที่ 17 พฤษภาคม 2555 ขอมูลจากฝายความมั่นคงอําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี ณ วันที่ 5 มิถุนายน 2555

620

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทบาทของอิหมามในการพัฒนาชุมชนเขตเทศบาลเมืองตากใบ Roles of Imams on Community Development of Takbai Municipality อานุวามะแซ1 แวยูโซะ สิเดะ2 1

นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาประวัติศาสตรและอารยธรรมอิสลาม คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา, 2ดร .แวยูโซะ สิเดะ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและอาจารยประจําสาขาวิชา ประวัติศาสตรและอารยธรรมอิสลามมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

บทคัดยอ วัตถุประสงคการวิจัยในครั้งนี้ 1) เพื่อศึกษาบทบาทของอิหมามตามศาสนบัญญติของอัลกุรอาน และอัลหะดีษ 2) เพื่อศึกษาบทบาทของอิหมามในการพัฒนาชุมชนในเขตเทศบาลเมืองตากใบ 3) เพื่อศึกษา ปญหาและอุปสรรคของอิหมามในการพัฒนาชุมชนในเขตเทศบาลเมืองตากใบ โดยใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งผูวิจัยไดเก็บรวบรวมขอมูลแบงออกเปน 2 สวนคือ 1) ศึกษาเชิงพรรณนาวิเคราะหโดยอาศัยแหลงขอมูล จากเอกสารที่เกี่ยวกับบทบาทของอิหมามในการพัฒนาชุมชน ขอมูลเกี่ยวกับมัสยิดในเขตเทศบาลเมืองตาก ใบ โดยใชภาษาไทยและภาษาตางประเทศตลอดจนศึกษาขอมูลจากอินเตอรเน็ต 2) ศึกษาภาคสนามโดย รวบรวมขอมูลดวยวิธีการสัมภาษณแบบเจาะลึกจากกลุมตัวอยางทั้งหมด 30 คน ซึ่งวิเคราะหบทบาทใน ดานตาง ๆ เชน การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษาและสาธารณสุข ผลการศึกษาพบวา 1) บทบาทของอิหมามในการพัฒนาชุมชนดานการเมืองการปกครองอยูในระดับดี 2) บทบาทของอิหมามในการพัฒนาชุมชนดานเศรษฐกิจ อยูในระดับดี 3) บทบาทของอิหมามในการพัฒนาชุมชนดานการศึกษาอยูในระดับดีมาก 4) บทบาทของอิหมามในการพัฒนาชุมชนดานสังคมอยูในระดับดีมาก 5) บทบาทของอิหมามในการพัฒนาชุมชนดานสาธารณสุขอยูในระดับดีมาก คําสําคัญ บทบาท, อิหมาน, ตากใบ

Graduate School and Research / 15 May 2013

621


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT Objectives of this research were 1) to examine the role of the imam, the religious account major criticism of the Quran and Al Hadith 2) to study the role of the Imam in community development in Takbai municipality i 3) to study issues and obstacles. Imam in community development in Takbai municipality . sing qualitative research methods. The researcher collected data is divided into two parts: 1) descriptive study based on analysis of data from source documents on the role of the Imam in community development. Information about mosques in the municipality Bai. By using Thailand and foreign languages, as well as information from the Internet, 2) field studies by collecting data through in-depth interviews from a sample of 30 people in total, which analyzes the role in various fields such as politics, economics, social studies. and public health. . The results showed that) The role of the Imam in the development of the political community at a good level.2) the role of the Imam in the economic development community. At a good level.3) The role of the Imam in the development of community education is very good.4) the role of the Imam in the development of the social community is very positive.5) the role of the Imam in the development of the public health community is very positive. Keywords: Roles, Imams, Takbai

622

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา อิสลามเปนศาสนาที่สมบูรณ มีหลักคําสอนที่สามารถนํามวลมนุษยใหเกิดการพัฒนาสูความสําเร็จ และความสันติสุขทั้งโลกนี้และโลกหนา ในเรื่องนี้พระองคอัลลอฮไดตรัสไวในคัมภีรอัลกุรอานวา ﴾            ﴿

ความวา วันนี้ขา ไดใหส มบูร ณแกพวกเจาแล ว ซึ่ง ศาสนาของพวกเจาและขาไดใ ห ครบถวนแกพวกเจาแลว ซึ่งความเมตตากรุณาของขาและขาไดยินยอมใหอิสลามเปน ศาสนาสําหรับพวกเจาแลว (สูเราะห อัลมาอิดะฮฺ, 5: 3) หลักธรรมคําสอนของศาสนาอิสลามจึงประกอบดวย ดานการเมืองการปกครอง ดานเศรษฐกิจ ดานการศึกษา และดานสังคม เปนตน โดยรอซูลลูลออฮเปนผูชี้นําในการปฏิบัติเพื่อเปนตัวอยางใหกับศอ ฮาบะฮและศรัทธาชนทั้งหลายในการพัฒนาชุมชนหรือทองถิ่นตามความตองการของอิสลาม พระองค อัลลอฮไดตรัสไวในคัมภีรอัลกุรอานวา                 ﴿ ﴾ 

ความวา โดยแนนอน สําหรับรอซูลของอัลลอฮนั้นมีแบบฉบับอันดีงามแกพวกเจาแลว สําหรับผูหวังจะพบองคอัลลอฮและวันอาคีเราะฮฺและรําลึกถึงอัลลอฮอยางมาก (สูเราะห อัลอะหซาบ, 33: 21) ในเมื่อรอซูล ลูล ออฮไดสิ้นพระชนมและไดทิ้ง ตัวอยางที่ดีในการพัฒนาชุม ชน บรรดาผูศรัท ธา ทั้งหลายก็ไดเลือกผูนําของเขาที่มีความรูความสามารถในการพัฒนาชุมชน เริ่มจากสมัยศอฮาบะฮจนถึง ปจจุบัน เพื่อทําหนาที่ในการพัฒนาชุมชนสูความสําเร็จในชีวิต เมื่อมีการจัดตั้งชุมชนเปนหลักแหลงในพื้นที่ใด กลุมชนนั้นจะตองรวมกันพัฒนาตัวเองทันที โดย สามารถแบงเปาหมายในการพัฒนาออกเปน 4 เปาหมาย คือ 1.สมาชิกของชุมชนนั้นตองการทําละหมาดโดยใหมีการรณรงคอยางกวางขวางพรอมสรางคานิยม ใหสมาชิกละหมาดโดยไมมีการละเวน เพราะตามหลักการศาสนาอิสลามคนที่ละหมาดอยางสม่ําเสมอเขา จะปลดเปลื้องจากความชั่วตางๆไดและเขาจะเปนผูที่มีจิตใจที่มั่นคง เปนคนตรงตอเวลา ซื่อสัตย อดทน ซึ่ง คุณสมบัติเหลานี้เปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งในการพัฒนา 2.สมาชิกของชุมชนนั้นตองพากเพียรในงานอาชีพ จะไดมีรายไดที่มั่นคงจนสามารถจายซะกาตได ชุมชนก็ไดรับซะกาตนี้ไปพัฒนาในดานตางๆอยางมากมาย ซะกาตเปนบทบัญญัติซึ่งอิสลามกําหนดใหเปน หลักประกันทางสังคม สมาชิกของชุมชนที่ประสบปญหาไมสามารถชวยเหลือตนเองได เชน ยากจน มี ภาระหนี้สิน คนที่เพิ่งเขารับอิสลาม ซะกาตสามารถจะเขาไปชวยแกไขและสนับสนุนในดานตางๆทางสังคม ใหดีขึ้น 3.รณรงคใหคนทําความดีทั่วไป นอกเหนือไปจาก 2 ประการที่กลาวมาแลว ความดีอื่นๆ ที่ชวย สังคมใหพัฒนามีอยูมากมายที่อิสลามไดสอนไว เชน ความสะอาด ความเปนระเบียบ ความมีวินัย ความ สามัคคี ความเสียสละ การดูแลผูปวย และอื่นๆ Graduate School and Research / 15 May 2013

623


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

4.รณรงคใหคนละเวนความชั่ว เชน สิ่งเสพติด การพนัน ดื่มสุรา การผิดประเวณี การลักขโมย การ อุปโภคและบริโภคสิ่งตองหามตามหลักอิสลาม ละเลยในงาน หนาที่และละเลยตอการเปนพลเมืองที่ดีของ สังคม ชุมชนที่ไดปฏิบัติตาม 4 ประการที่ไดกลาวแลวนั้น ชุมชนนั้นยอมเปนชุม ชนที่มีก ารพัฒนาตาม อุดมการณอิสลามอยางแทจริง โดยแตละชุมชนมีการสรางมัสยิดไวเพื่อเปนสถานที่ประกอบกิจกรรมตางๆ ของมุสลิมทั้งดานสังคม เศรษฐกิจและการเมืองการปกครอง (วินัยสะมะอุน, 2539: 194) ในประเทศไทยจะพบผูนับถือศาสนาอิสลามเกือบทั่วประเทศ แตโดยสวนใหญจะอาศัยอยูใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ไดแก จังหวัดสงขลา สตูล ยะลา ปตตานี และนราธิวาส โดยในแตละจังหวัด จะมีมัส ยิดประจําจังหวัดและประจําหมูบานที่มีชุม ชนมุสลิมอาศัยอยู โดยมีอิหมามมัส ยิดเปนผูบริหาร จัดการและเปนผูนําในการประกอบศาสนกิจ เพราะฉะนั้นอิหมามเปนผูที่ชาวบานใหความไววางใจมากและ เปนผูที่ไดรับ ยกยองนับถือวาเปนผูที่มีศีล ธรรมและผูมีความรูในการประกอบพิธีก รรมทางศาสนา ใน โองการอัลกุรอานพระองคไดตรัสไววา ﴾         ﴿

ความวา แทจริงอัลลอฮทรงตรัสพวกเจาใหมอบอามานะฮฺ (หนาที่) แกผูที่มี ความชํานาญ (สูเราะห อันนิซาอฺ, 4: 58) อามานะฮฺ คือ ทุกสิ่งทุกอยางที่มนุษยไววางใจ และใหปฏิบัติตามใหครบสมบูรณ เชน อามานะฮฺใน หนาที่การงาน ทรัพยสิน ความลับ และคําสั่ง ซึ่งไมมีผูที่ทราบในเรื่องดังกลาวยกเวนพระองคอัลลอฮฺองค เทานั้น สวนจังหวัดนราธิวาสเปนหนึ่งจังหวัดของภาคใตที่มีมัสยิดทั้งหมด 625 แหง (ขอมูลสํารวจเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน2551 จากสํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนราธิวาสเฉพาะที่จดทะเบียนถูกตอง ตามกฎหมาย ) โดยตั้งกระจายอยู 13 อําเภอในเขตจังหวัด อําเภอเมือง 68 มัสยิด อําเภอตากใบ 35 มัสยิด อําเภอสุไหงโกลก 30 มัสยิด อําเภอเจาะไอรอง 33 มัสยิด อําเภอยี่งอ 49 มัสยิด อําเภอแวง 50 มัสยิด อําเภอสุคิริน 24 มัสยิด อําเภอสุไหงปาดี 44 มัสยิด อําเภอศรีสาคร 43 มัสยิด อําเภอจะแนะ 37 มัสยิด อําเภอรือเสาะ 78 มัสยิด อําเภอบาเจาะ 49 มัสยิดและอําเภอระแงะ 88 มัสยิด อําเภอตากใบเปนอําเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิวาสซึ่งติดกับเขตแดนไทย - มาเลเซีย มีแมน้ําสุไหง โก-ลกกั้นระหวางรัฐกลันตันของประเทศมาเลเซีย เปนชุมชนที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธ แต สวนมากนับถือศาสนาอิสลาม ในแตละชุมชนที่มุสลิมอาศัยอยูนั้นจะมีมัสยิดประจําหมูบานและมีอิหมามซึ่ง เปนผูนําในการบริหารจัดการ บางมัสยิดในอําเภอตากใบไดมีการพัฒนาไปไกล มีการจัดกิจกรรมตางๆนานา สวนใหญจะอยูเขตเทศบาล แตบางมัสยิดมีการพัฒนาคอนขางลาชาไมวาในดานการเมืองการปกครอง ดานการศึกษา ดานสังคม ดานเศรษฐกิจและอื่น ๆ ในเขตเทศบาลเมืองตากใบมีมัสยิดทั้งหมดจํานวน 6 แหง ในแตละมัสยิดจะมีจุดเดนที่แตกตางกัน ไป ตามศักยภาพของอิหมาม เชน บางมัสยิดมีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ในดานการศึกษา มีการจัด สัมมนาเชิงวิชาการตามวันสําคัญของศาสนา และอื่นๆ บางมัสยิดมีจุดเดนดานสังคม มีการรวบรวมซะกาต ฟตเราะฮฺ แลวก็มีการกระจายซะกาตไปทั่วหมูบานใหกับผูที่มีสิทธิรับซะกาต บางมัสยิดอิหมามมีการ รณรงคอยูสม่ําเสมอใหชุมชนของเขามีพิธีกุรบานในวันอิดิลอัฎฮาจนกระทั่งแตละปมีการเชือดวัวถึง 30 ตัว 624

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ดวยเหตุนี้ ผูวิจัยจึงไดมีความประสงคที่จะศึก ษาบทบาทของอิหมามตามศาสนบัญญัติของอัล กุ รอานและอัลหะดีษนําไปสูการศึกษาบทบาทของอีหมามในการพัฒนาชุมชนเปนอยางมาก โดยเฉพาะพื้นที่ ในเขตเทศบาลเมืองตากใบ จังหวัดนราธิวาส เพื่อจะไดทราบวาในแตละมัสยิดนั้น อิหมามจะมีบทบาทใน การพัฒนาชุมชนมากนอยเพียงใด ปญหาและอุปสรรคของการพัฒนาชุมชนคืออะไร และมีการแกไขปญหา เหลานั้นอยางไรบาง ซึ่งผลจากการวิจัยในครั้งนี้ลวนจะเปนประโยชนใหแกทุกฝายที่เกี่ยวของในการนํา ขอมูลไปใชประโยชนในการพัฒนาชุมชนตอไป วัตถุประสงคการวิจัย 1.เพื่อศึกษาบทบาทของอิหมามตามศาสนบัญญติของอัลกุรอานและอัลหะดีษ 2.เพื่อศึกษาบทบาทของอิหมามในการพัฒนาชุมชนในเขตเทศบาลเมืองตากใบ 3.เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคของอิหมามในการพัฒนาชุมชนในเขตเทศบาลเมืองตากใบ ขอบเขตของการวิจัย ศึกษาเฉพาะบทบาทของอิหมามที่อยูในเขตเทศบาลเมืองตากใบ อธิบายถึงการพัฒนาชุมชนในดาน ตางๆอาทิ ดานการเมืองการปกครอง ดานการศึกษา ดานเศรษฐกิจ ดานสังคม และดานสาธารณสุข มา วิเคราะหการพัฒนาของอิหมามในเขตเทศบาลเมืองตากใบอยูในระดับใด นิยามคําศัพทเฉพาะ บทบาท หมายถึง หนาที่ของอิห มามที่จ ะทําใหทองถิ่นหรือชุม ชนเกิดการพัฒ นาทั้ง ทางดาน การเมืองการปกครอง ดานการศึกษา ดานเศรษฐกิจ และดานสังคมและดานสาธารณสุข อิหมาม หมายถึงผูนําของแตละมัสยิดที่จดทะเบียนตามกฎหมายแลวในเขตเทศบาลเมืองตากใบ มัสยิด หมายถึง สถานที่ซึ่งมุสลิมใชประกอบศาสนกิจโดยจะตองมีละหมาดวันศุกรเปนประจํา การพัฒนา หมายถึงกระบวนการที่ทําใหประชาชนและทองถิ่นหรือชุมชนในเขตเทศบาลเมืองตาก ใบ มีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นทั้งดานการเมืองการปกครอง ดาน การศึกษา ดานเศรษฐกิจ ดาน สังคมและสาธารณสุข ดานการเมืองการปกครอง หมายถึง แนะนําใหประชาชนไปใชสิทธิเลือกตั้ง และรณรงคใหเลือก บุคคลที่มีความรูความสามารถในการบริหารบานเมือง ดา นการศึกษา หมายถึง จัดสัม มนาเชิง วิชาการในวันสําคัญ ของศาสนา สอนกีตาบหลั ง ละหมาดมัฆริบ มีการใหคําตักเตือนหลังละหมาดซุบฮีและมีการสอนกีรออาตี ดานเศรษฐกิจ หมายถึง มีการจัดตั้งรานสวัสดิการของมัสยิดในเขตเทศบาลเมืองตากใบ ดานสังคม หมายถึง การกระจายซะกาต พิธีกุรบานในวันอิดิลอัฎฮา การรวมมือในการบริจาค เพื่อสวนรวม ชุมชน หมายถึง พื้นที่อยูอาศัยของมวลชนมุส ลิม โดยมีมัสยิดเปนศูนยกลางของมุสลิมในเขต เทศบาลเมืองตากใบ ชุมชนเมือง หมายถึง ชุมชนที่ตั้งอยูในเขตเทศบาลเมืองตากใบในจัง หวัดนราธิวาส ซึงมีความ เจริญทางเศรษฐกิจและการศึกษาพอสมควร วันอาคีเราะฮฺ หมายถึง วันปรโลก Graduate School and Research / 15 May 2013

625


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

มินบาร หมายถึง สถานที่อานคุตบะฮในวันศุกร อานตะฮลีล หมายถึง การขอวิงวอนกับอัลลอฮฺใหกับคนที่เสียชีวิตมีความสุขในโลกหนา แปดอัสนัฟ หมายถึง ผูที่มีสิทธิรับซากาตจํานวนแปดประเภท ฮิจเราะฮฺ หมายถึง การเดินทางจากเมืองเมกกะหสูเมืองมาดีนะห วิธีการวิจัย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ ( qualitative reseach ) อันประกอบไปดวย การศึกษาขอมูลเอกสาร ( documentary reseach ) และการสัมภาษณแบบเจาะลึก ( in–depth interview )โดยมีการอัดเทป พรอมๆกับจดบันทึกขอมูลที่เกี่ยวของอยางละเอียด เครื่องมือในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยนอกจากการศึกษาขอมูลเอกสาร( documentary reseach ) แลวผูวิจัย ไดใชแบบสัมภาษณที่ผูวิจัยไดสรางขึ้นภายใตคําแนะนําของผูทรงคุณวุฒิ 3 ทาน ซึ่งเปนไปตามวัตถุประสงค ของการวิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล ใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลใน 2 ลักษณะดังตอไปนี้ 1. เก็บรวบรวมขอมูลจากการศึกษาคนควาขอมูลจากเอกสารทางวิชาการ แลวนํามาวิเคราะหและ ประมวลผลการวิจัย. 2. เก็บรวบรวมขอ มูลจากการสัม ภาษณแบบเจาะลึก (in–depth interview ) โดยผู วิจัย เปน ผู สัมภาษณ แลวนําขอมูลที่ได มาวิเคราะหและประมวลผลการวิจัย การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลดังนี้ แบบสัมภาษณ ผูวิจัยจะนําแบบสัมภาษณที่ไดมาสรุปประเด็นเกี่ยวกับบทบาทของอิหมามมัสยิดใน เขตเทศบาลเมืองตากใบ ทั้ง 5 ดาน คือ บทบาทและการพัฒนาดานการเมืองการปกครอง บทบาทและการ พัฒนาดานดานการศึกษา บทบาทและการพัฒนาดานสังคมบทบาทและการพัฒนาดานเศรษฐกิจ บทบาท และการพัฒนาดานสาธารณสุข และรวมถึงปญหาและอุปสรรคในการพัฒนาชุมชนของอิหมามพรอมดวย ขอเสนอแนะในการพัฒนาพัฒนาชุมชนของอิหมามในเขตเทศบาลเมืองตากใบ แลวนําเสนอเชิงบรรยาย ประกอบการอภิปรายผล สรุปผลการวิจัย ในการวิจัยเรื่อง บทบาทในการพัฒนาชุมชนของอิหมามในเขตเทศบาลเมืองตากใบ สามารถสรุป ผลการวิจัยจากการสัมภาษณไดดังนี้ ขอมูลเกี่ยวกับบทบาทในการพัฒนาชุมชนของอิหมามในเขตเทศบาลเมืองตากใบ มีทั้งหมด 27 คําถาม ประกอบดวย 5 ดาน คือ บทบาทและการพัฒนาดานการเมืองการปกครองมีจํานวนคําถาม 9 ขอ บทบาทและการพัฒ นาดานดานการศึกษามีจํานวนคําถาม 5 ขอ บทบาทและการพัฒนาดานสัง คมมี จํานวนคําถาม 4 ขอ บทบาทและการพัฒนาดานเศรษฐกิจมีจํานวนคําถาม 6 ขอ บทบาทและการพัฒนา ดานสาธารณสุขมีจํานวน 3 ขอ เพื่อทราบบทบาทในการพัฒนาพัฒนาชุมชนของอิหมามในเขตเทศบาล เมืองตากใบ 626

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

จากการศึ กษาพบวา ในกลุมผูใหสัมภาษณเกี่ยวกับบทบาทของอิห มามในการพัฒนาชุมชนดาน การเมืองการปกครองจาก 9 คําถาม อิหมามในเขตเทศบาลเมืองตากใบมีบทบาท 5 คําถาม ซึ่งอยูในระดับดี จากการศึกษาพบวา ในกลุมผูใหสัมภาษณเกี่ยวกับบทบาทของอิห มามในการพัฒนาชุมชนดาน เศรษฐกิจจาก 6 คําถาม อิหมามในเขตเทศบาลเมืองตากใบมีบทบาท 4 คําถาม ซึ่งอยูในระดับดี จากการศึกษาพบวา ในกลุมผูใหสัมภาษณเกี่ยวกับบทบาทของอิห มามในการพัฒนาชุมชนดาน การศึกษาจาก 5 คําถาม อิหมามในเขตเทศบาลเมืองตากใบมีบทบาททั้ง 5 คําถาม ซึ่งอยูในระดับดีมาก จากการการศึกษาพบวา ในกลุมผูใหสัมภาษณเกี่ยวกับบทบาทของอิหมามในการพัฒนาชุมชนดาน สังคมจาก 4 คําถาม อิหมามในเขตเทศบาลเมืองตากใบมีบทบาททั้ง 4 คําถาม ซึ่งอยูในระดับดีมาก จากการการศึกษาพบวา ในกลุมผูใหสัมภาษณเกี่ยวกับบทบาทของอิหมามในการพัฒนาชุมชนดาน สาธารณสุขจาก 2 คําถาม อิหมามในเขตเทศบาลเมืองตากใบมีบทบาททั้ง2 คําถาม ซึ่งอยูในระดับดีมาก อภิปรายผล จากการศึกษาบทบาทในการพัฒนาชุมชนของอิหมามในเขตเทศบาลเมืองตากใบพบวา อิหมามมี บทบาทอยูในการพัฒนาทองถิ่นดานการเมืองการปกครอง ดานสังคม ดานการศึกษา ดานเศรษฐกิจ และ ดานสาธารณสุข โดยรวมอยูในระดับดี ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของเจะมูหามัดสัน เจะอูมา เมื่อจําแนก ตามรายขอพบวาอิหมามมีบทบาทดานการเมืองการปกครองในการไกลเ กลี่ย เมื่อมีขอพิพาทระหวาง ประชาชนมากที่สุด นั่นแสดงวาอิหมามเปนคนกลางที่ดีที่สุดที่มุสลิมใหความไววางใจมากที่สุดเมือ่ เกิดปญหา ขึ้นโดยสวนใหญอิหมามแกปญหาโดยใชสันติวิธีและมีเจรจาตกลงกันสุดทายมีการจับมือเพื่ออภัยซึ่งกันและ กัน สวนบทบาทในดานเศรษฐกิจเมื่อดูจากคําตอบผูใหสัมภาษณพบวา อิหมามมีการรณรงคใหรวมกัน ประหยัดใหมากที่สุดเมื่อมีการอานคุฏบะฮฺในวันศุกรเพราะศาสนาอิสลามก็ไดสอนใหมุสลิมไมใหใชจา ยอยาง ฟุมเฟอยและอิหมามไดจัดตั้งกองทุนซะกาตของมัสยิดเพื่อสงเคราะหประชาชนในหมูบานทุกๆป แลวไดแบง กระจักกระจายใหกับแปดอัสนัฟที่มีสิทธิรับซากาดที่มีในอัลกุรอาน โดยใหคณะกรรมการมัสยิดของทานเปน ผูแจกตามบริเวณของคณะกรรมการแตละคน สวนบทบาทในดานการศึกษาเมื่อดูจากคําตอบผูใหสัมภาษณ พบวา อิหมามมีบทบาทสูงมากเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนศาสนาหลังละหมาดซุบฮีและไดมีการจัด สัมมนาเชิงวิชาการในวันสําคัญของศาสนาและไดสงเสริมใหเยาวชนไดเรียนตอทั้งสายสามัญและศาสนาใน วันศุกรหลังละหมาดุมอะฮฺ สวนบทบาทในดานการสังคมเมื่อดูจากคําตอบผูใหสัมภาษณพบวา อิหมามได สอดสองดูแลไมใหเยาวชนยุงเกี่ยวกับยาเสพติดทานเคยใหคําตักเตือนในคุตบะฮฺุมอะฮฺเกี่ยวกับใหเยาวชน หลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติด สําหรับเยาวชนที่ติดยาเสพติดทานไดพากลุมนี้ไปสถานที่บําบัด อิหมามไดรณรงค ให คนในชุม ชนปฏิ บัติ พิธี กุร บานในวั นอิ ดิล อัฎ ฮาทุ ก ป ในเวลาอา นคุ ตบะฮฺ ห รื อในเมื่อ มีก ารสอนหลั ง ละหมาดมัฆริบอิหมามและนักวิชาการในชุมชนรวมกันรณรงคใหคนในชุมชนปฏิบัติพิธีกุรบานในวันอิดิลอัฎ ฮา ในแตละปจะมีคนในชุมชนมัสยิดยาแมะทําพิธีกุรบานโดยประมาณ 40 ตัวตอป สวนบทบาทในดาน สาธารณสุขเมื่อดูจากคําตอบผูใหสัมภาษณพบวา อิหมามไดรณรงคใหประชาชนในชุมชนรวมกันรักษความ สะอาด เชนการนําเสนอในบทคุตบะฮ ปละครั้งอิหมามจะรณรงคใหประชาชนรวมกันรักษาความสะอาด เชน ทําความสะอาดสุสานและไดใหความรวมมือกับเจาหนาที่สาธารณสุขในดานสาธารณสุขเชน เคยให บริเวณสวนหนึ่งของมัสยิดเปนสถานที่ตรวจความดันโลหิตสูงของคนในชุมชน และเคยประกาศในมัสยิดให คนในชุมชนกักขังสัตวไมใหปลอยปละละเลยบนทองถนนทําใหการจราจรไมสะดวก ไดรวมมือกับเจาหนาที่ สาธารณสุขของเทศบาลควันพนกันยุงในชุมชน Graduate School and Research / 15 May 2013

627


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ขอเสนอแนะ จากผลการวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาบทบาทในการพัฒนาชุมชนของอิหมามในเขตเทศบาลเมืองตาก ใบ ผูวิจัยขอเสนอแนวทางนําผลการวิจัยไปใช โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) ควรศึกษาบทบาทในการพัฒนาชุมชนของอิหมามในเขตเทศบาลเมืองตากใบโดยศึ กษา จากทัศนะของปญญาชนในแตละชุมชนของมัสยิด. 2) ควรศึกษาเปรียบเทียบระหวางบทบาทในการพัฒนาชุมชนของอิหมามในเขตเทศบาลเมือง ตากใบกับบทบาทในการพัฒนาชุมชนของอิหมามในเขตเทศบาลตําบลหรือนคร 3) ควรศึกษาเปรียบเทียบระหวางบทบาทในการพัฒนาชุมชนของอิหมามในเขตเทศบาลเมือง ตากใบกับบทบาทในการพัฒนาชุมชนของอิหมามในจังหวัดอื่น เอกสารอางอิง สมาคมนักเรียนเกาอาหรับประเทสไทย. 1419.พระมหาคัมภีรอัลกุรอานพรอมความหมายเปนภาษาไทย.มะ ดีนะฮฺ: ศูนยกษัตริยฟะฮัด เพื่อการพิมพอัลกุรอาน วินัย สะมะอุน. 2539. คูมือการบริหารมัสยิดและชุมชน. โรงพิมพการศาสนากรุงเทพฯ. ชาญชัย อาจินสมาจาร.2537. นักบริหารผูทรงประสิทธิภาพ. บริษัทตนออ แกรมมี่ จํากัด กรุงเทพฯ. ธรณี ศิริโสภณ. 2549. คุณนั้นแหละคือผูนํา ไมมีใครใหญกวาคุณ.บริษัทธรรมสารจํากัด กรุงเทพฯ. นงลักษณ สุทธิวัฒนพันธ. 2539. การพัฒนาบุคลิกภาพผูนําและผูบริหาร บริษัทแมคเน็ท พริ้นติ้ง เซ็น เตอร จํากัด กรุงเทพฯ. นิตย สัมมาพันธ. 2548. พลังขับเคลื่อนองคกรสูความเปนเลิศ.บริษัทอินโนกราฟฟกส จํากัด c abdurrahman bin Nasir Assaidi.1420 H. Tai-sir Al-karim Arrahman fitafsirkalam Almannan . Dar Annasr Muassasah Arrisalah Alhafiz Abi Al-fida’ Ismacil bin Umar bin kathir Al-khurshiy Addamshikiy .1420H. Tafsir Ibnu kathir. Dar Attaiyibah linnasr Attawzic’ . Ahmad bin Ali bin Hajar Alasqalaniy. Fathu Albariy shar sahih Al-bukhariy .Dar Arrayyan litturash. Abu Alhusayn Muslim bin Alhujjad Annisayburiy . Sahih Muslim .Dar Ihya’ Al-kutub Alc arabiyyah. Sulaiman bin Daud bin Al-yarud . Musnad Abi Daud Attayyalisiy . Dar hijri Masr. Muhammad Nasruddin Al-baniy . Silsilah Assahihah .

628

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ทัศนคติของผูนําตอบทบาทกลุมวะหดะหในการขับเคลื่อนนโยบายทางการเมืองและการพัฒนาที่มีผล ตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา (พ.ศ. 2529 – 2541) The Attitudes of the Leaders on the Roles of Wahdah Party in Movement Political Policy and Development effected on the Malay-Muslim in Yala Province (1986 – 1998) อาสมานูรดีน มะสาพา1 อับดุลเลาะ ยูโซะ2 1

นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง คณะศิลปศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา, 2ดร.(รัฐศาสตร) อาจารยประจําคณะศิลปศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

บทคัดยอ การศึกษาวิทยานิพนธ เรื่อง “ทัศนคติของผูนําตอบทบาทกลุมวะหดะหในการขับเคลื่อนนโยบาย ทางการเมืองและการพัฒนาที่มีผลตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุส ลิมในจังหวัดยะลา (พ.ศ. 2529 – 2541)” มีวัตถุป ระสงค 1) เพื่อศึก ษาถึง นโยบายและบทบาทกลุม วะหดะหในการพัฒนาทองถิ่นดาน การศึกษาในพื้นที่จังหวัดยะลา 2) เพื่อศึกษาถึงนโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหในการพัฒนาทองถิ่นดาน กิจการศาสนาอิสลามในพื้นที่จังหวัดยะลา 3) เพื่อศึกษาถึงนโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหในการพัฒนา ทองถิ่นดานสิทธิและเสรีภาพที่ควรไดรับของสังคมมุสลิมในพื้นที่จังหวัดยะลา โดยมุงที่จะตรวจสอบปญหา “นโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหในการพัฒนาทองถิ่นในพื้นที่จังหวัดยะลาวามีการเปลี่ยนแปลงไปใน ดานบวกอยางไร” กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือ ผูนําชุมชนในเขตเทศบาลนครยะลาและอําเภอกรงปนัง จํานวน 120 ทาน เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถาม มาตราสวนประมาณคา 4 ระดับ การวิเ คราะหขอมูล ใชคาสถิติ รอยละ คาเฉลี่ย คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเ คราะหขอมูล จาก ขอเสนอแนะตางๆจากผูตอบแบบสอบถาม ผูวิจัยไดทําการศึกษา 3 ดาน ประกอบดวย ดานการศึกษา ดาน กิจการศาสนาอิสลามและดานสิทธิและเสรีภาพที่ควรไดรับของสังคมมุสลิม ผลการวิจัยพบวา : 1. นโยบาย และบทบาทกลุมวะหดะหดานการศึกษาที่มีผลตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา โดย ภาพรวมและรายขอ มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด (3.65) จากคาเฉลี่ยเต็มอยูในระดับ (4.00) และความ คิดเห็นทุกขออยูในระดับเห็นดวยมากที่สุด 2. นโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหดานกิจการศาสนาอิสลาม ที่มีผลตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา โดยภาพรวมและรายขอ มีคาเฉลี่ยอยูในระดับ มากที่สุด (3.74) จากคาเฉลี่ยเต็มอยูในระดับ (4.00) และความคิดเห็นทุกขออยูในระดับเห็นดวยมากที่สุด 3. นโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหดานสิทธิและเสรีภาพที่ควรไดรับของสังคมมุสลิมที่มีผลตอการดําเนิน ชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา โดยภาพรวมและรายขอ มีคาเฉลี่ยอยูใ นระดับมากที่สุด (3.51) จาก คาเฉลี่ยเต็มอยูในระดับ (4.00) และความคิดเห็นทุกขออยูในระดับเห็นดวยมากที่สุด คําสําคัญ: กลุมวะหดะห, ทัศนคติ, นโยบายทางการเมือง, ชาวไทยมุสลิม, ยะลา

Graduate School and Research / 15 May 2013

629


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT This thesis study about the “The Attitudes of the Leaders on the Roles of Wahdah Party in Movement Political Policy and Development effected on the MalayMuslim in Yala Province (1986 – 1998)” The objectives of study are 1) to study about the role of Wahdah Party in local educational development of Malay Muslim in Yala 2) to study about the role of Wahdah Party in development of Islamic activities in Yala and 3) to study about the role of Wahdah Party in the right and freedom of Malay Muslim in Yala. This thesis aims to examine research question of “How the local development policy and effective and positive role of Wahdah Party on Malay-Muslim in Yala”. The sample group 120 Community Leaders in Yala Municipal City and Krongpinang district has taken for study Questionnaires were used to collect the data and analyzed by use of the scale of 4 level, data analysis used descriptive statistical Method used Such as percentase and deviation. The study used 3 of variable that are: education development, Islamic activities and the deserve right and freedom of Muslim Society in Yala. The study found that: 1) The policy and effective and positive role of Wahdah Party concerning to educational development for Malay-Muslim in Yala show highest satisfaction at point level (3.65) from (4.00)level. 2) The policy and role of Wahdah Party concerning to Islamic activities development which effective and positive for Malay-Muslim in Yala which shows highest satisfaction at point level (3.74) from (4.00)level. 3) The policy effective and positive role of Wahdah Party concerning in demanding the deserve right and freedom which given positive effective for Malay-Muslim in Yala which shows highest satisfaction at point level (3.51) from (4.00) level. Keywords: Wahdah Party, Attitudes, Political Policy, Malay-Muslim, Yala

630

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา ป พ.ศ. 2529 นับวาเปนปที่มีปรากฏการณที่เดนชัดที่สุด ที่กลุมวะหดะหไดประกาศตัวขึ้น โดยมอง วาการแกปญหาตางๆที่เกิดขึ้นโดยใชนโยบายรวมของประเทศไมสามารถที่จะแกปญหาความเดือดรอนของ พี่นองในจังหวัดชายแดนภาคใตได โดยเฉพาะอยางยิ่งในหวงเวลานั้นทางราชการได ส รางปญหาใหมๆ ที่ กระทบกระเทือนความรูสึกของประชาชนเพิ่มขึ้นไปอีก ซึ่งอาจจะเกิดจากการรูเทาไมถึงการณหรือโดย เจตนาก็ตาม ปญหาเหลานี้จําตองหาทางแกไขและสรางความเขาใจโดยดวน และทุกฝายตางก็ยอมรับวา ปญหาตางๆของประเทศนั้นจะตองแกดวยการสงเสริมระบอบประชาธิปไตย ประชาชนจึงมีโอกาสแกปญหา ของตนเองได ไมใชปลอยใหผูมีอํานาจในบานเมืองเปนผูแกปญหาแตเ พียงฝายเดียวโดยไมฟง เสียงของ ประชาชนเจาของประเทศดวย ดังนั้นแลวกลุมวะหดะหไดจัดตั้งขึ้นเพื่อที่จะเปนตัวกลางในการประสาน ความรวมมือระหวางพี่นองในจังหวัดชายแดนภาคใตกับรัฐบาลเพื่อที่จะใหสอดคลองกับความตองการของ ประชาชนในพื้นที่และเรื่องตางๆที่เกี่ยวกับบทบัญญัติของศาสนาอิสลามดานการใชชีวิตในสังคมภายใต ระบอบประชาธิปไตยโดยไมขัดตอบทบัญญัติของอิสลาม (บูราฮานูดิน อุเซ็ง, 2539 : 113) การศึกษาบทบาทกลุมวะหดะหที่มีผลตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา ถือวามี ความสําคัญอยางยิ่ง เพราะตลอดระยะเวลาที่ผานมาจนถึงปจจุบันการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในสาม จัง หวั ดชายแดนภาคใตไ ดมีก ารเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตเปนอยางมาก เชน ดานการใชชีวิ ตที่มี ความ สอดคลองกับแนววิถีการดําเนินชีวิตแบบอิสลามไดอยางมากยิ่งขึ้น อยางเชนสตรีสามารถคลุมฮิญาบใน สถานศึกษาทุกระดับได สามารถถายรูปทําบัตรประจําตัวประชาชนและถายรูปทําบัตรประจําตัวขาราชการ ของสตรีไทยมุสลิมดวยการคลุมฮิญาบได และอื่นๆอีกมากมายที่อดีตนั้นยังไมไดเกิดขึ้นในเรื่ องดังกลาวซึ่ง ทุกอยางนั้นตองทําตามกฎระเบียบที่มาจากสวนกลางทั้งสิ้นทั้งนี้ประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใตไม มีสิทธิที่จะเรียกรองอะไรไดเลย จากสภาวการณตางๆที่ไดเกิดขึ้นในสังคมมุสลิมถาไมมีผูนําหรือกลุมองคกร การเมืองที่ไดพยายามเรียกรองความเปนธรรมอยางเปนระบบสิท ธิตางๆที่ชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัด ชายแดนภาคใตจะไดปฏิบัติดวยความสะดวกและสอดคลองกับวิถีชีวิตแบบอิสลามก็ยอมไมเกิดขึ้น ดังนั้น กลุมองคกรทางการเมืองที่เปนตัวแทนของประชาชนในพื้นที่จึงมีความสําคัญอยางยิ่งที่เปนตัวกลางในการ ประสานความรวมมือระหวางรัฐบาลกับประชาชนในสวนที่เปนเรื่องของสิทธิและเสรีภาพรวมถึงแนวทางใน การพัฒนาที่ตรงจุดกับความตองการของประชาชนที่แทจริง ดวยเหตุนี้กลุมวะหดะหซึ่งมีบทบาททางการเมืองในการปกปองผลประโยชนของชาวมุสลิมในเขต จังหวัดภาคใตตอนลางจึงไดประกาศตัวขึน้ เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2529 (มนตรี แสนสุข, 2547 : 206) โดยมีนายเดน โตะมีนา เปนประธานกลุม นับจาก พ.ศ. 2529 เปนตนมา กลุมนี้ไดรับจัดตั้งโดยนักการเมือง มุส ลิม พรอมกับผูนําศาสนาจากจัง หวัดปตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล โดยสืบ เนื่องมาจากผลการ ประชุมของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดปตตานีในวันที่ 3 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2529 ทั้งนี้ผูรวม กอตั้งกลุมวะหดะหที่สําคัญไดแก นายเดน โตะมีนา นายวันมูหะมัดนอร มะทา และนายเสนีย มาดากะกุล กลุมวะหดะหพยายามที่จะใหบรรลุเปาหมายของกลุมภายใตกรอบของกฎหมายตามรัฐ ธรรมนูญ โดยมี ยุทธศาสตรหลัก คือ การเขารวมรับตําแหนงในคณะรัฐมนตรีเ พื่อใหไดอํานาจในการพัฒนาสัง คมมุสลิม รวมถึงพัฒนาทางการเมือง เศรษฐกิจ และการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต สมาชิกของกลุมวะหดะห จะอยูภายใตพรรคการเมืองเดียวกันที่มาจากสวนกลางและยอมรับเงื่ อนไขนโยบายของกลุมวะหดะห จะ เห็นวา ตั้งแต พ.ศ. 2535 พรรคความหวังใหมนําโดยพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ยอมรับในเงื่อนไขของกลุม และผลจากการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2535 สมาชิกกลุมวะหดะหไดรับการเลือกตั้งมา 6 ที่นั่ง และตําแหนง Graduate School and Research / 15 May 2013

631


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สํ า คั ญ ในคณะรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ สภาเป น ของกลุ ม วะห ด ะห 2 ตํ า แหน ง คื อ รั ฐ มนตรี ช ว ยว า การ กระทรวงมหาดไทย และรองประธานรัฐสภา (นายเด น โตะมีนา และนายวันมูห ะมัดนอร มะทา) หลังจากนั้น นายวันมูหะมัดนอร มะทา ก็ไดรับตําแหนงในคณะรัฐมนตรีมาโดยตลอด โดยตําแหนงสุดทาย กอนจะมีการทํารัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน ป พ.ศ. 2549 คือที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (บูราฮานูดิน อุ เซ็ง, 2550 : 3) ปจจุบันการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใตไดรับการพัฒนาไปในทางที่ ดีเปนอยางมาก หากเทียบกับ 20 ปกอน สิทธิที่ไดรับจากรัฐไดเพิ่มมากขึ้น วัฒนธรรมและประเพณีตางๆก็ เปนที่ยอมรับและไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานตางๆของภาครัฐเปนอยางดี การไดมาซึ่งความอิสระสิทธิ และเสรี ภ าพของคนในพื้น ที่ ส ามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต อ ย า งเห็ น ได ชั ด นี้ส ว นหนึ่ ง จะมาจากการมี นักการเมืองมุสลิมในพื้นที่ที่ไดมีการตอสูเรียกรองสิทธิตางๆที่สมควรไดรับและไดพยายามหาแนวทางแกไข ปญหาความเดือดรอนของพี่นองมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใตอยางทั่วถึงดวยวิธีการพัฒนาที่มีความ สอดคลองกับบทบัญญัติแหงอิสลามเพื่อใหชาวมุสลิมมีสิทธิและเสรีภาพในการปฏิบัติกฎขอบังคับตางๆของ กฎหมายไทยโดยไมกระทบตอบทบัญญัติแหงอิสลาม เชน การคลุมฮิญาบทําบัตรประจําตัวประชาชนและ การคลุมฮิญาบในสถานศึกษา (บูราฮานูดิน อุเ ซ็ง, 2541 : 53) ซึ่งในอดีตนั้นจะคลุมฮิญาบเพื่อทําบัตร ประจําตัวประชาชนและคลุมฮิญาบในสถานศึกษาไมไดอยางปจจุบันและยังมีการพัฒนาตางๆในพื้นที่สาม จังหวัดชายแดนภาคใต จากกรณีดังกลาวนี้ผูวิจัยจึงมีความตองการที่จะศึกษาถึงผลการดําเนินงานขององคกรทางการเมือง ของกลุ ม วะห ด ะห ซึ่ ง เป น ตั ว แทนของประชาชนในสามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ที่ ทํ า หน า ที่ ใ นสภา ผูแทนราษฎร โดยมุงที่จะตรวจสอบปญหา “นโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหในการพัฒนาทองถิ่นในพืน้ ที่ จังหวัดยะลาวามีการเปลี่ยนแปลงไปในดานบวกอยางไร” วัตถุประสงค งานวิจัยเลมนี้มีวัตถุประสงคดังตอไปนี้ 1) เพื่อศึกษาถึงนโยบายและบทบาทกลุม วะหดะหในการพัฒ นาทองถิ่นดานการศึกษาในพื้นที่ จังหวัดยะลา 2) เพื่อศึกษาถึงนโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหในการพัฒนาทองถิ่นดานกิจการศาสนาอิสลาม ในพื้นที่จังหวัดยะลา 3) เพื่อศึกษาถึงนโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหในการพัฒนาทองถิ่นดานสิทธิและเสรีภาพที่ควร ไดรับของสังคมมุสลิมในพื้นที่จังหวัดยะลา ขอบเขตการวิจัย ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตการวิจัยดังนี้ ขอบเขตดานเนื้อหา การวิจัยนี้เปนการศึกษาถึงนโยบายและบทบาทของกลุมวะหดะหตั้งแตป พ.ศ. 2529 ถึงป พ.ศ. 2541 ที่มีผลตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา วามีการพัฒ นาอะไรบาง และมีการ เปลี่ยนแปลงในดานบวกอยางไร โดยเฉพาะในดานการศึกษา ดานกิจการศาสนาอิสลามและดานสิทธิและ เสรีภาพที่ควรไดรับของสังคมมุสลิมในพื้นที่ 632

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ขอบเขตดานประชากรกลุมตัวอยาง ประชากรกลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้คือ ผูนําชุมชนในเขตเทศบาลนครยะลาและอําเภอกรงปนัง ประกอบดวย ผูนําศาสนาคือ อิมามประจํามัสญิดในเทศบาลนครยะลากับอําเภอกรงปนังผูนําฝายปกครอง คือ กํานันและผูใหญบาน และผูนําฝายบริหารประกอบดวย นายกฝายบริหารและสมาชิกสภาทองถิ่น นิยามศัพทเฉพาะ นโยบายทางการเมือง หมายถึง นโยบายทางการเมืองของกลุมวะหดะหตงั้ แตป พ.ศ. 2529 ถึงป พ.ศ. 2541 ที่ไดกําหนดไวเพื่อใชเปนแนวทางการดําเนินงานดานการศึกษา ดานกิจการศาสนาอิสลาม ดาน สิทธิและเสรีภาพที่ควรไดรบั ของสังคมมุสลิมที่เปนประโยชนของชาวไทยมุสลิมในพื้นทีจ่ ังหวัดยะลา การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงดานบวกหรือในทางที่ดีขึ้นของประชานชนในพื้นที่จังหวัด ยะลา ที่เกิดจากผลงานการบริหารงานของกลุมวะหดะหดานการศึกษา ดานกิจการศาสนาอิสลามและดาน สิทธิและเสรีภาพที่ควรไดรับของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา บทบาท หมายถึง การทําหนาที่ของกลุมวะหดะหในสภาผูแทนราษฎรที่มีผลตอการดําเนินชีวิตของ ชาวไทยมุสลิมในดานการศึกษา ดานกิจการศาสนาอิสลาม และดานสิทธิและเสรีภาพที่ควรไดรับของสังคม มุสลิมในพื้นที่จังหวัดยะลา กลุมวะหดะห หมายถึง กลุมนักการเมืองมุส ลิมและกลุม ผูนําศาสนาจากจัง หวัดปตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล โดยมีนายเดน โตะมีนา นายวันมูหะมัดนอร มะทา และนายเสนีย มาดากะกุล เปนผู ริเริ่มตั้งแต วันที่ 19 มกราคม 2529 โดยมีนายเดน โตะมีนา เปนประธานกลุม การดําเนินชีวิต หมายถึง การดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในพื้นที่จังหวัดยะลาที่มีเอกลักษณ ประเพณีวัฒนธรรมที่เหมือนกัน ที่ไดรับผลจากการดําเนินงานหรือการบริหารงานของกลุมวะหดะหที่มีผล ตอการเปลี่ยนแปลงในการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลาและการพัฒนาตางๆที่กลุมวะหดะห ไดดําเนินการในระหวางป พ.ศ. 2529 ถึง พ.ศ. 2541 วิธีการดําเนินการวิจัย การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยมีจุดมุงหมายที่จะศึกษา “นโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหในการ พัฒนาทองถิ่นในพื้นที่จังหวัดยะลาวามีการเปลี่ยนแปลงไปในดานบวกอยางไร” ซึ่งจะมีการศึกษาลงลึกไปที่ ปจจัยตางๆ อยางเชน 1) นโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหดานการศึกษามีผลตอการดําเนินชีวิตของชาว ไทยมุสลิมในจังหวัดยะลาวามีการเปลี่ยนแปลงไปในดานบวกอยางไร 2) นโยบายและบทบาทกลุมวะหดะห ดานกิจการศาสนาอิสลามมีผลตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลาวามีการเปลี่ยนแปลง ดานบวกอยางไร 3) นโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหดานสิทธิและเสรีภาพที่ควรไดรับของสังคมมุสลิมมี ผลตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลาวามีการเปลี่ยนแปลงดานบวกอยางไร ซึ่งในบทนี้จะ ไดกลาวถึงสาระสําคัญเกี่ยวกับวิธีการดําเนินการศึกษาคนควาคือ ประชากรและกลุมตัวอยาง เครื่องมือที่ใช ในการวิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล และการวิเคราะหขอมูล ตามลําดับดังนี้ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรวิจัยครั้งนี้คือ ผูนําชุมชนในเขตเทศบาลนครยะลาและอําเภอกรงปนังซึ่งประกอบไปดวย 1.ผูนําศาสนา คืออิมามประจํามัสญิดในเทศบาลนครยะลากับอําเภอกรงปนังจํานวนทั้งสิ้น 35 คน 2.ผูนําฝายปกครองคือ กํานันจํานวน 4 คน ผูใหญบานจํานวน 19 คนรวมทั้งสิ้น 23 คน Graduate School and Research / 15 May 2013

633


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

3.ผูนําฝายบริหารประกอบดวย นายกฝายบริหารจํานวน 5 คน และสมาชิกสภาทองถิ่นจํานวน 70 คนรวมทั้งสิ้น 75 คน รวมประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ทั้ง 3 กลุมจํานวนทั้งสิ้น 133 คน (ที่มา : กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ขอมูลมัสญิด เขาถึง .dra.go.th/main.php.index/ กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย อัตรากําลัง เขาถึง http://www.dopa.go.th/ และเทศบาลนคร ยะลา Yalacity Municipality – แผนชุมชน เขาถึง www.yalacity.go.th/th/index.php?option=com.) สวนกลุมตัวอยาง ผูวิจัยไดสุมกลุมตัวอยางโดยคํานวณขนาดกลุมของตัวอยาง จากสูตรของทาโร ยามาเน (Taro Yamane. 1970 : 580-581) กําหนดความคลาดเคลื่อน .05 ดังสูตรตอไปนี้ n

N 1  N ( e) 2

เมื่อ e คือ ความคลาดเคลื่อนของการเลือกตัวอยาง N คือ ขนาดของประชากร n คือ ขนาดของกลุม ตัวอยาง 133 n  2 1  133(0.05)

N = 99.81 หรือ 100 คน แตผูวิจัยไดเก็บขอมูลประชากรทัง้ หมด 135 คนเพื่อปองกันการสูญหายและความไมสมบูรณของ แบบสอบถาม เครื่องมือที่ใชในการวิจัย แบบของเครื่องมือ เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถาม โดยแบงเปน 2 สวนดังนี้ สวนที่ 1 เปนแบบสอบถามขอมูลสวนบุคคลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามมี ลักษณะเปนแบบสํารวจรายการ (Check List) ประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพ วุฒิการศึกษา อาชีพ และสถานที่ สวนที่ 2 เปนแบบสอบถามความคิดเห็นของผูนําตอบทบาทกลุมวะหดะหในการขับเคลื่อนนโยบาย ทางการเมืองและการพัฒนาทีม่ ีผลตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา ในรายการทัง้ 3 ดาน คือ 1. ดานการศึกษา 2. ดานกิจการศาสนาอิสลาม 3.ดานสิทธิและเสรีภาพที่ควรไดรบั ของสังคมมุสลิม การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ผูศ ึกษาดําเนินการดังนี้ 1.ผูศึกษาเก็บขอมูลดวยการใหแบบสอบถามดวยตนเอง ภายในเวลาเดียวกัน จํานวน 135 ชุด ใน เขตเทศบาลนครยะลา จํานวน 35 ชุด และเขตอําเภอกรงปนังจํานวน 100 ชุด 2.ใชเวลาในการเก็บขอมูลทั้งหมดประมาณสองเดือน 634

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

3.เมื่อไดรับใบสอบถามครบจํานวนที่ไดวางไว ผูศึกษาดําเนินการตรวจสอบความสมบูรณของการ ตอบแบบสอบถามแลวนําไปวิเคราะหตอไป 4.วิธีการเก็บขอมูล กําหนดการเก็บขอมูลทั้งทุติยภูมิและปฐมภูมิ โดยมีขั้นตอนของการเก็บขอมูล ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขอมูลปฐมภูมิ การเก็บขอมูลพื้นฐาน โดยใชแบบสอบถาม มีวัตถุประสงคเพื่อใหทราบถึง แนวคิดพื้นฐานของผูนําชุมชนในเขตพื้นที่นั้นๆ ตอผลงานจากการดําเนินงานของกลุมวะหดะห ขั้นที่ 2 ขอมูลทุติยภูมิ การเก็บขอมูลจากเอกสาร วารสาร ตําราวิชาการ และหนังสือสั่งการตางๆ เปนการหาขอมูลถึงแนวทางของการพัฒนาพื้นที่ในจังหวัดยะลาที่เกี่ยวกับผลงานของกลุมวะหดะหตลอดจน เอกสารทางวิชาการอื่นๆเพื่อใชสนับ สนุนในการดําเนินงานวิจัยและเปนแนวทางในการกําหนดการตั้ง ประเด็นคําถามเพื่อสัมภาษณแบบเจาะลึกตอไป การวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหขอมูลผูวจิ ัยไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลดังนี้ 1.ผูวิจัยไดนําแบบสอบถามที่ไดมาวิเคราะหโดยผูวิจัยไดใชเครื่องคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรูป ดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้ แบบสอบถามตอนที่ 1 ขอมูลดานสถานภาพผูตอบแบบสอบถาม ทําการวิเคราะหโดยแยกขอมูลตัว แปรอิสระโดยหาคารอยละ แบบสอบถามตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามความคิดเห็นของผูนําตอบทบาทกลุมวะหดะหในการ ขับเคลื่อนนโยบายทางการเมืองและการพัฒนาที่มีผลตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา ในรายการทั้ง 3 ดาน คือ ดานการศึกษา ดานกิจการศาสนาอิสลาม และดานสิทธิและเสรีภาพที่ควรไดรับ ของสังคมมุสลิม 2.วิเคราะหขอ มูลโดยวิธีการหาคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปนรายดานและรายขอเพื่อ หาระดับความคิดเห็นของแตละดาน การวิเ คราะหขอมู ล โดยการแจกแจงความถี่ห รือคา รอยละ (Percentage) คาเฉลี่ ยเลขคณิ ต (Arithmetic mean) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป ผลการวิจัย จากการวิจัยสามารถนําเสนอผลไดดังนี้ 1.ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชาย รอยละ 100 โดยสวนใหญ มีอายุ 51 ปขึ้นไป รอยละ 31. 7 และรองลงมามีอายุ 31 – 40 ป รอยละ 27.5 และ 41 – 50 ป รอยละ 27.5 และมีอายุ 20 – 30 ป รอยละ 13.3 ตามลําดับ สวนใหญมีสถานภาพสมรส รอยละ 92.5 รองลงมามีสถานภาพโสด รอยละ 4.2 และมีสถานภาพหยาราง รอยละ 3.3 ตามลําดับ ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีวุฒิการศึกษาปริญญาตรี รอยละ 50.0 รองลงมามีวุฒิการศึกษามัธยมศึกษา รอยละ 27.5 มีวุฒิการศึกษาต่ํากวามัธยมศึกษา รอย ละ 17.5 และมีวุฒิการศึกษาปริญญาโทขึ้นไป รอยละ 5.0 ตามลําดับ โดยสวนใหญมีอาชีพลูกจางราชการ/ เอกชน รอยละ 27.5 รองลงมามีอาชีพรับจางทั่วไป รอยละ 26.7 มีอาชีพธุรกิจสวนตัว รอยละ 20.0 และ

Graduate School and Research / 15 May 2013

635


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

มีอาชีพเกษตรกร รอยละ 15.0 อาชีพอื่น ๆ รอยละ 6.7 และรับราชการ รอยละ 4.2 ตามลําดับ จําแนก กลุมผูตอบแบบสอบถามที่อยูในอําเภอกรงปนัง รอยละ 75 และอยูในเขตเทศบาลนครยะลา รอยละ 25 2. ขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผูนําตอบทบาทกลุมวะหดะหในการขับเคลื่อนนโยบายทางการเมือง และการพัฒนาที่มีผลตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา ดานการศึกษา ดานกิจการ ศาสนาอิสลาม และดานสิทธิและเสรีภาพที่ควรไดรับของสังคมมุสลิม ดังนี้ 2.1 ความคิดเห็นตอนโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหดานการศึกษาที่มีผลตอการดําเนินชีวิตของ ชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา กลุ ม ตั ว อย า งส ว นใหญ เ ห็ น ด ว ยมากที่ สุ ด กั บ การที่ ก ลุ ม วะห ด ะห ไ ด มี ก ารแก ไ ขระเบี ย บ กระทรวงศึกษาธิการวาดวยเครื่องแบบนักเรียนนักศึกษาสามารถคลุมฮิญาบไดในโรงเรียนทุกระดับ รอยละ 89.2, เห็นดวยมากที่สุดกับการผลักดันของกลุมวะหดะหในการขออนุญาตจัดตั้งวิทยาลัยอิสลามยะลา รอย ละ 86.7, เห็นดวยมากที่สุดกับ นโยบายของกลุม วะหดะหในการจัดสรรงบประมาณสนับ สนุนในการ กอสรางอาคารหองเรียนในโรงเรียนตาดีกา โรงเรียนปอเนาะ และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม รอย ละ 75.8, เห็นดวยมากที่สุดกับการบริหารงานตามวัฒนธรรมของทองถิ่นที่เปนนโยบายของกลุมวะหดะห ทําใหเกิดการจัดตั้งการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบอบอิสลาม และเห็นดวยมากที่สุดที่กลุมวะหดะหมี นโยบายที่ใหความสําคัญกับการศึกษาและครอบคลุมการศึกษาทุกระดับชั้น รอยละ 67.5 2.2 ความคิดเห็นตอนโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหดานกิจ การศาสนาอิสลามที่มีผลตอการ ดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา กลุมตัวอยางสวนใหญเห็นดวยมากที่สุดกับนโยบายของกลุมวะหดะหที่มีการผลักดันใหมีสถานที่ ละหมาดที่สถานีรถไฟ ทาอากาศยาน รัฐสภาฯ กระทรวงศึกษาธิการ ในโรงเรียน โรงพยาบาล และสถานที่ ราชการอื่น ๆ รอยละ 93.3, เห็นดวยมากที่สุดกับนโยบายของกลุมวะหดะหที่มีการผลักกดันใหกระทรวง คมนาคมทําปายบอกทางมัสยิดในระยะ 300 เมตร รอยละ 81.7, เห็นดวยมากที่สุดกับนโยบายของของ กลุม วะหดะหที่มีก ารผลักดันในเรื่องการจัดตั้ง ธนาคารอิสลามในประเทศไทย โดยเสนอ พรบ.ธนาคาร อิสลามแหงประเทศไทยเขาสูสภาฯ รอยละ 79.2, เห็นดวยมากที่สุดกับนโยบายของกลุมวะหดะหที่มีการ สนับสนุนเงินคาตอบแทนแกประธานกรกรมการอิสลามประจําจังหวัด อิมาม คอเต็บ บิหลั่น ทุกมัสญิด รอย ละ 72.5 และเห็นดวยมากที่สุดกับการบริหารงานตามวัฒนธรรมทองถิ่นที่เปนนโยบายของกลุมวะหดะหทํา ใหเกิดกิจการอิสลามและวัฒนธรรมทองถิ่นใหมีการแพรหลายอยางทั่วถึง รอยละ 65.8 2.3 ความคิดเห็นตอนโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหดานสิทธิและเสรีภาพที่ควรไดรับของสังคม มุสลิมที่มีผลตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา กลุม ตั วอยางสวนใหญเห็นดวยมากที่สุดกับ นโยบายของกลุม วะหดะหทําใหวิถีชีวิตของมุส ลิม เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น รอยละ 65.0, เห็นดวยมากที่สุดที่กลุมวะหดะหมีสวนเกี่ยวของเชิงนโยบายเพื่อปูทาง ใหสังคมมุสลิมกลาแสดงออกทางการเมืองมากขึ้นเมื่อเทียบกับ 20 ปที่ผานมา รอยละ 64.2, เห็นดวยมาก ที่สุดในเรื่องการบริหารงานตามวัฒนธรรมทองถิ่นที่เปนนโยบายของกลุมวะหดะหนั้นทําใหสังคมมุสลิมมี สิทธิและเสรีภาพมากขึ้น รอยละ 62.5 และเห็นดวยอยางมากกับการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมในสาม จังหวัดชายแดนภาคใตไดรับการพัฒนาอยางเปนระบบเนื่องจากผลงานของกลุมวะหดะห และการที่ชาว มุสลิมสวนใหญสามารถมีบทบาทในทางการเมืองมากขึ้นมีผลสืบเนื่องจากนโยบายของกลุมวะหดะห รอยละ 58.3 เทากัน 636

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

อภิปรายผล ผลการวิจัยสามารถอภิปรายผลไดดังนี้ 1.นโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหดานการศึกษาที่มีผลตอการดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิมใน จังหวัดยะลา โดยภาพรวมและรายขอ มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด (3.65) จากคาเฉลี่ยเต็มอยูในระดับ (4.00) และความคิดเห็นทุกขออยูในระดับเห็นดวยมากที่สุด ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากประชาชนสวนใหญใน จังหวัดยะลาพอใจตอบทบาทของกลุมวะหดะหดานการพัฒนาพื้นที่จังหวัดยะลาที่เกี่ยวกับการศึกษารวมทัง้ ไดรับรูถึงผลงานตางๆของกลุมวะหดะหที่ไดดําเนินการใน พ.ศ. 2529 ถึง พ.ศ. 2541 ซึ่งสอดคลองกับ งานวิจัยของ กูเ กียรติ ชูศักดิ์ส กุล วิบูล (2546 : บทคัดยอ) ไดทําการศึก ษาเรื่อง “บทบาทของกํานัน ผูใหญบานในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย : ศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา” ผล การศึกษาพบวา 1. กํานัน ผูใหญบาน ในอําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา มีบทบาทในการพัฒนาระบอบ ประชาธิปไตยโดยรวมอยูในระดับคอนขางมาก ดานการสงเสริมความรูความเขาใจในระบอบประชาธิปไตย (คาเฉลี่ย 4.06) จากคาเฉลี่ยเต็มอยูในระดับ (5.00) ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะวา ผูนําทองที่ ผูนําทองถิ่น และผูนําทางการเมืองไดรูถึงบทบาทและหนาที่ที่ตองรับผิดชอบและดําเนินการเพื่อประชาชนในการพัฒนา พื้นที่เพื่อผลประโยชนของประชาชนที่อยูในความรับผิดชอบ 2.นโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหดานกิจการศาสนาอิสลามที่มีผลตอการดําเนินชีวิตของชาว ไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา โดยภาพรวมและรายขอ มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด (3.74) จากคาเฉลี่ยเต็ม อยูในระดับ (4.00) และความคิดเห็นทุกขออยูในระดับเห็นดวยมากที่สุด ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากประชาชนใน พื้นที่จังหวัดยะลามีความพอใจตอบทบาทของกลุมวะหดะหตอการดําเนินงานทางการเมืองในการพัฒนา พื้นที่จัง หวัดยะลาดานกิจ การศาสนาอิส ลาม ซึ่ง สอดคลองกับ งานวิจัยของ ปรีชา อาบีดีน (2548 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง “บทบาทของผูนําศาสนาอิสลาม (โตะอิหมาม) ในการบริหารพัฒนาชุมชน มุสลิม : ศึกษากรณีมัสยิดในเขตมีนบุรี คลองสามวา ลาดกระบัง” ผลการศึกษาพบดังตอไปนี้ 1. บทบาท ของผูนําศาสนาอิสลาม(โตะอิหมาม) ในการบริหารพัฒนาชุมชนพบวา ผูนําศาสนาอิสลามมีการปฏิบัติตาม บทบาทหนาที่มากที่สุด คือ ดานศาสนา เรื่องการนําละหมาดวันละ 5 ครั้ง ละหมาดตารอเวี๊ยะหในชวง กลางคืนที่ถือศิลอด และการเผยแพรคําสอนของศาสนา รองลงมาคือ ดานการบริหาร เรื่องการเรียนการ สอนอัลกุรอานที่ถูกตอง และดานการศึกษา เรื่องการสงเริมสนับสนุนสมาชิกในชุมชนใหไดรับการศึกษา ทางดานศาสนาและสามัญ ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะวา ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบไดใหความรวมมือ และสนับบสนุนเปนอยางดี และผูนําดังกลาวนี้มีความเสียสละเพื่อสวนรวม และตั้งใจทํางานจึงทําใหประสบ ความสําเร็จ 3.นโยบายและบทบาทกลุมวะหดะหดานสิทธิและเสรีภาพที่ควรไดรับของสังคมมุสลิมที่มผี ลตอการ ดําเนินชีวิตของชาวไทยมุสลิม ในจังหวัดยะลา โดยภาพรวมและรายขอ มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด (3.51) จากคาเฉลี่ยเต็มอยูในระดับ (4.00) และความคิดเห็นทุกขออยูในระดับเห็นดวยมากที่สุดทั้งนี้อาจ เนื่องมาจากประชาชนในพื้นที่จังหวัดยะลาไดรูถึงสิทธิและเสรีภาพที่ควรไดรับและสังคมมุสลิมสวนใหญใน ปจจุบันนี้มีความกลาที่จะแสดงความคิดเห็นในทางการเมืองมากขึ้น เพราะชาวมุสลิมสวนใหญในปจจุบันมี การศึกษาและเปนที่ยอมรับจากหลายๆฝายในการทํางานบนเสนทางการเมืองของนักการเมืองมุสลิมและ ประชาชนโดยทั่วไปมีการศึกษามากขึ้นและมีความเขาใจในเรื่องการเมือง กลาวถึงบทบาทของกลุมวะหดะห ดานการพัฒนาพื้นที่จังหวัดยะลาดานการบริหารงานตามวัฒนธรรมทองถิ่นทําใหสังคมมุสลิมมีสิทธิและ เสรีภาพมากขึ้น ผลจากการศึกษาพบวา ไมวาจะเปนในดานการแตงกายการปฏิบัติศาสนกิจตางๆเปนตนทํา Graduate School and Research / 15 May 2013

637


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ใหชาวมุสลิมมีชีวิตที่อิสระมากขึ้นกวาในอดีต รวมทั้งรัฐบาลและชนตางศาสนิกเปดโอกาสใหชาวมุสลิมและ ยอมรับในบทบาทของชาวมุสลิมมากขึ้น และนักการเมืองที่เปนตัวแทนของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดยะลาได พยายามเรียกรองสิทธิตางๆที่ควรไดรับ เพราะความเปนประชาธิปไตยทําใหชาวไทยทุกคนทุกศาสนามีสิทธิ เทาเทียมกัน และทุกคนมีสิทธิออกความคิดเห็นไดตามหลักกฎหมาย ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของณัฏฐินี ป ยะศิริพนธ (2548: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง “สถานภาพและบทบาทของปอเนาะในสังคมไทย: ศึกษากรณีอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี” ผลการศึกษา พอสรุปไดดังนี้ : 1. บทบาทที่ปฏิบัติจริง (Enacted roles) หรือบทบาทที่เปนจริงของปอเนาะคือ เปนสถาบันที่สอนศาสนาและวิธีปฏิบัติใหถูกตองตามหลักของ ศาสนาอิสลามและเปนแหลงผลิตผูรูทางดานศาสนาอิสลาม 2. บทบาทที่สังคมภายนอกรับรูและตีความ ปอเนาะ (Perceived roles) คือ เปนสถาบันที่ใหความรูในดานศาสนา แตก็มีผูใหขอมูลสําคัญบางสวนที่มี การรับรูและตีความปอเนาะวาเปนแหลงซองสุมของผูที่กอความไมสงบ 3. บทบาทที่สังคมภายนอกคาดหวัง (Expected roles) ผูใหขอมูลสําคัญมีความเห็นตรงกันวาปอเนาะจะเปนสถาบันที่ยังคงมีอยูตอไป และผูให ขอมูลเกือบทั้งหมดคาดหวังใหปอเนาะเปนสถาบันที่อยูในระบบของรัฐแตไมไดคาดหวังวาปอเนาะจะเปน สถาบันการศึกษาที่ไดรับ การยอมรับเทียบเทากับ โรงเรียนสามัญทั่วไป จากงานวิจัยนี้พอที่จะสรุป ไดวา รัฐบาลหรือประชาชนตางศาสนิกไดยอมรับสถาบันปอเนาะซึ่งในอดีตมีความเขาใจวาสถาบันปอเนาะเปน แหลง ของการกอความไมส งบที่ชอบใชความรุนแรงและความเครงศาสนาโดยไมมีเหตุผ ล แตปจ จุบัน ความคิดเหลานั้นไดห มดไป ชนตางศาสนิกไดเขาใจและยอมรับกับ ความแตกตางของศาสนาอิสลามกับ ศาสนาอื่นๆที่ตางกันดวยเหตุนี้กาคลุมรฮิญาบ การปดหนา การรับประทานอาหารที่ถูกตองตามหลักการ ศาสนาหาลาล และการประกอบศาสนกิจตางๆ จึงไมเปนเรื่องแปลกอีกตอไป ปจจุบันหากเทียบกับในอดีต จะพบวาชาวมุสลิมไดรับสิทธิและเสรีภาพในทุกๆดานมากกวาที่เคยไดรับในอดีต เชนแตเดิมอดีตนักศึกษาที่ เปนมุสลิมะฮไมสามารถที่จะคลุมฮิญาบและถายบัตรประจําตัวประชาชนได แตปจจุบันสามารถคลุมฮิญาบ ในสถานศึกษาและถายบัตรประจําตัวประชาชนได จากตรงนี้สรุปไดวาดานสิทธิและเสรีภาพของชาวไทย มุสลิมในจังหวัดยะลาปจจุบันกับในอดีตที่ผานมานั้นมีความแตกตางกันเปนอยางมาก เอกสารอางอิง หนังสือ มนตรี แสนสุข. 2547. วันมูหะมัดนอร มะทา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ อนิเมทกรุป. Yamane, Taro. 1970. Statistics : An Introtroductory Analysis. 2d ed. Tokyo : John Weatherhill, inc. วิทยานิพนธ กูเ กียรติ ชูศัก ดิ์สกุล วิบูล . 2546. บทบาทของกํา นัน ผูใหญบา นในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย: ศึกษาเฉพาะกรณีอํา เภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา. ภาคนิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ณัฏฐินี ปยะศิริพนธ 2548. สถานภาพและบทบาทของปอเนาะในสังคมไทย: ศึกษากรณีอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร. บัณฑิตวิทยาลัย.

638

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ปรีชา อาบีดีน. 2548. บทบาทของผูนําศาสนาอิสลาม (โตะอิหมาม) ในการบริหารพัฒนาชุมชนมุสลิม: ศึกษากรณี มัส ยิด ในเขตมี นบุรี คลองสามวา ลาดกระบั ง . ภาคนิ พนธ ห ลัก สูตรศิ ล ปศาสตร มหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. จุลสาร บูราฮานูดิน อุเซ็ง. 2550. จุลสารกลุมวะหดะห. ยี่สิบป วะหดะห: ทุกคําสัญญาคือ อามานะฮของเรา. ยะลา: หนวยประชาสัมพันธ สํานักงานเลขานุการกลุมเอกภาพ. บูราฮานูดิน อุเซ็ง. 2539. จุลสารกลุมวะหดะห. จากคํามั่นสัญญาสูความสรางสรรค: รายงานประจําป 2538-2539. ยะลา: หนวยประชาสัมพันธ สํานักงานเลขานุการกลุมเอกภาพ. บูราฮานูดิน อุเซ็ง 2541. จุลสารกลุมวะหดะห. จากคําสัญญา-สูการปฏิบัติ 12 ปบนถนนการเมืองไทย: ผลงานดา นวัฒนธรรมและกิจการศาสนาอิส ลาม. ยะลา: หนวยประชาสัม พันธ สํานัก งาน เลขานุการกลุมเอกภาพ. อีเล็กทรอนิกส กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. ขอมูลมัสยิด สืบคนเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2556 http://www.dra.go.th/main.php.index/ กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย.อัตรากําลัง สืบคนเมื่อวันที่ 21มกราคม 2556 http://www.dopa.go.th/ เทศบาลนครยะลา Yalacity Municipality–แผนชุมชนสืบคนเมื่อวันที่ 26มกราคม 2556 www.yalacity.go.th/th/index.php?option=com.

Graduate School and Research / 15 May 2013

639



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย กรณีศึกษา : โตะครูและผูชวยโตะครูสถาบันศึกษาปอเนาะในจังหวัดนราธิวาส The Attitudes and Political Participation in Democracy A Case Study: Tok-guru and Assistant Tok-guru of pondok institute in Narathiwat province. อบูนูฟยล มาหะ1 อับดุลเลาะ ยูโซะ2 ศศบ.ศิลปศาสตรบัณฑิต อูศูลุดดีน (หลักการศาสนาอิสลาม) วิทยาลัยอิสลามยะลา นักศึกษา รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การปกครอง) มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาทัศนคติทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของโตะครูและผูชวย โตะครูสถาบันศึกษาปอเนาะจังหวัดนราธิวาสและศึกษาการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของ โตะครูและผูชวยโตะครูสถาบันศึกษาปอเนาะจังหวัดนราธิวาสซึ่งไดทําการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพโดย เก็บ ขอมูล เชิง ปริ ม าณโดยการตอบแบบสอบถาม จํ านวน 80 คน และเก็บ ขอมูล เชิ ง คุณภาพโดยการ สัมภาษณรายบุคคล จํานวน 10 คน และวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป สําหรับผล ของการวิจัยขอมูลสรุปไดดังนี้ ในเรื่องของทัศนคติทางเมืองแบบประชาธิปไตยของโตะครูและผูชวยโตะครู มีความคิดเห็นดวยในระดับมาก เชน กระบวนการการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตยมีวาระการดํารง ตําแหนงของนายกรัฐมนตรี เมื่อหมดวาระประชาชนสามารถพิจารณาตัดสินวาควรจะเลือกใครที่เหมาะสม มาเปนนายกรัฐมนตรี จึงเห็นวากระบวนการนี้สามารถทําใหไดมาซึ่งคนดีเปนนายกรัฐมนตรี และในเรื่อง ของ การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยมีความคิดเห็นดวยในระดับ มาก เนื่องจากโตะครู และผูชวยโตะครูม นุษยไมอาจปฏิเสธการเขาไปมีสวนรวมกับการเมืองการปกครอง เนื่องจากการเมืองเขาไปมีสวนเกี่ยวของกับทุกคน ยิ่งโดยเฉพาะโตะครูผูที่เ ปนที่เคารพนับถือจากคนใน ชุมชน ยิ่งจําเปนตองมีสวนเกี่ยวของกับการเมืองเพราะสามารถโนมนาวคนในชุมชนในการใหความสําคัญกับ กระบวนการทางการเมือง เชน การเขาคูหาใชสิทธิ ในการเลือกตั้ง การมีสวนรวมในการกําหนดแผนการ พัฒนาตางๆ

Graduate School and Research / 15 May 2013

641


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจยั มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The objectives of this research are to examine attitudes toward political democracy of tok-guru and assistant tok-guru of institutions Pondoks in Narathiwat and to study the participate in democracy of tok-guru and assistant tok-guru of institutions Pondoks in Narathiwat, Researchers have conducted quantitative and qualitative data quantitative questionnaires and 80 were collected qualitative data through personal interviews with 10 people, and analyze data using a computer program. The results of the research can be summarized as follows. Attitudes of tok-guru and vice tok-guru of institutions Pondoks toward democracy. Attitudes toward political democracy. There are very agreeing, because the democratic election for a term of period of the Prime Minister. At the end of the term, people can to choose a prime minister who is suitable. So this process can make a good prime minister. Participate in the democratic political is agreed in high level, because tok-guru and assistant tok-guru cannot refuse to participate in politics. The politics involved with anyone, especially tok-guru who are respected by people in the community. They need to be involved in politics because they can convince people in the community to pay more attention to the political process, such as enter to election row in the election and participation in the development plan.

642

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ปจจุบันประเทศตางๆ ในโลกใหความสนใจในลัทธิและกระบวนการของประชาธิปไตย เนื่องจาก เป น ระบอบที่ เ ป ด โอกาสให ป ระชาชนได มี ส ว นในการปกครองตั ว เอง แต ถึ ง อย า งไรก็ ต ามระบอบ ประชาธิปไตยนั้นเกิดขึ้นไดตอเมื่อมีปจ จัยสนับสนุนหลายอยางซึ่งนั ก วิชาการดานรัฐศาสตรไทย ไดให ความเห็ นเกี่ ยวกั บ ประชาธิป ไตยว า จะตอ งมีค วามเจริ ญ ในด านการศึ ก ษาความเข า ใจของพลเมื อ ง ความกาวหนาในดานเศรษฐกิจ โดยปจจัยตางๆ จะมีวัฎจักร ไดแกความเจริญทางดานเศรษฐกิจ ความ เปนอยูดีและการศึกษาดี และความเขาใจ สนใจดี เปนตน อริสโตเติ้ล “บิดาแหงรัฐศาสตร” ไดกลาวไววา “คนเปนสัตวการเมือง” คนจําเปนที่จะตองเขาไป เกี่ยวของกับการเมืองไมวาทางใดก็ทางหนึ่ง ไมวาเขาปรารถนาหรือไมก็ตาม ถาเรามองวาการเมืองก็คือเรื่อง ของอํานาจในการแจกแจงสิ่งที่มีคุณคาของสังคมของระบอบการเมืองไมวาจะอยูในรูปของนโยบาย กฎ ระเบียบ ฯลฯ ยอมที่จะตองกระทบตอบุคคลแตละคนในสังคมไมทางใดก็ทางหนึ่งโดยไมมีทางหลบหลีกได ในบางสังคม กฎ หรือ นโยบายที่ออกมาไมไดสนองตอบตอความกินดีอยูดีของสวนรวม แตกลับสนองตอบ ความตองการของกลุมทางสังคมใดๆ เมื่อเรามองวาทรัพยากรมีอยูอยางจํากัด เมื่อกลุมหนึ่งไดประโยชน ปญหาเรื่องความไมเปนธรรมจึงเกิดขึ้น และจากความรูสึกวาตนเองไมไดรับความเปนธรรมรูสึกวาตนเองถูก ฉกชิงในสิ่งที่ตนเองควรจะไดรับ จะเปนสาเหตุที่สําคัญประการหนึ่งอันจะนําไปสูการเขาไป “ยุงเกี่ยว” กับ การเมือง และการที่ประชาชนไปเขา “ยุงเกี่ยว” กับการเมืองในที่นี้คือ “ การเขามีสวนรวมทางการเมือง” นั่นเอง (สิทธิพันธ พุทธหุน 2536, 151-152) การมีสวนรวมทางการเมืองเปนทั้งเปาหมายและกระบวนการทางการเมืองกลาวคือ การมีสวนรวม ทางการเมืองเปนเปาหมายสําคัญของการพัฒนาระบอบการเมืองใหเปนประชาธิปไตย ทั้งนี้เพราะการมีสว น รวมทางเมืองเปนดัชนีชี้วัดที่สําคัญ ประการหนึ่งของระบอบประชาธิป ไตย สัง คมใดจะมีระดับความเปน ประชาธิปไตยสูงหรือต่ําพิจารณาไดจากระดับการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน ยอมมีระดับความ เปนประชาธิปไตยสูง ในทางตรงขามถาสังคมใดมีระดับการมีสวนรวมทางการเมืองต่ํา แสดงวาสังคมนั้นมี ระดับความเปนประชาธิปไตย โดยนัยนี้นักวิชาการทางรัฐศาสตรบางกลุมจึงถือวาการพัฒนาการเมืองคือ การทําใหประชาชนมีสวนรวมทางการเมือง ความสําเร็จของการพัฒนาทางการเมืองจึงขึ้นระดับการมีสวน รวมทางการเมืองของประชาชนเปนสําคัญในสวนรวมของกระบวนการทางเมืองนั้น การมีสวนรวมทางการ เมืองแทจ ริง คือ การแสดงออกซึ่ง กิจ กรรมทางการเมืองของบุคคลในสัง คม กิจ กรรมเหลานี้กอใหเ กิด ความสัมพันธระหวางสมาชิกในสังคมการเมือง และความสัมพันธระหวางสมาชิกกับองคกรทางการเมือง รวมทั้ง ความสัม พันธร ะหว างประชาชนกับ รัฐบาล การแสดงออกซึ่ง กิจ กรรมทางการเมื องเหลานี้คื อ กระบวนการทางการเมืองซึ่งจะนําไปสูการบรรลุเปาหมายที่ประชาชนตองการ ในฐานะที่มีการมีสวนรวม ทางการเมืองเปนกระบวนการทางการเมือง ดังนั้น การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองของบุคคลและ องคการทางการเมือง ที่ครอบคลุมระบอบปฏิสัมพันธทางการเมืองไดชัดเจนยิ่งขึ้น (สมบัติ ธํารงธัญวงศ 2546,312) สําหรับประเทศไทยหลังจาการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 จากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิร าชมาเปนการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริยเปน ประมุข จนถึง ปจ จุ บัน ซึ่ง นั บ เปนเวลามากกวา 80 ป แลว ก็ต าม แต ก ารพัฒ นาการทางการเมื องซึ่ง มี จุดมุงหมายไปสูการปกครองแบบประชาธิปไตยที่สมบูรณ ตามแบบอยางตะวันตก ยังขาดความสมบูรณและ ยัง อยูอีก หางไกล ทั้ง นี้เ พราะยังมี อุป สรรคที่ขัดขวางการพัฒ นาหลายประการ หนึ่ง ในอุป สรรคหลายๆ Graduate School and Research / 15 May 2013

643


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจยั มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ประการนั้น ไดแก การที่การปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทย เปนประชาธิปไตยเฉพาะรูปแบบ เชน มีส ภาผูแทนราษฎรที่ไดรับ เลือกตั้ง จากประชาชน มีพรรคการเมือง มีการเลือกตั้ง ที่กําหนดไวใน กฎหมายรัฐธรรมนูญเทานั้น แตเนื้อหาของประชาธิปไตยโดยเฉพาะอยางยิ่งคนไทยสวนใหญยังเมินเฉย ขาด ความสนใจที่จะเขาไปมีสวนรวมในกระบวนการทางการเมืองอยางจริงจังและตอเนื่อง ปลอยใหบุคคลเพียง กลุมเล็กๆ ที่มีทรัพยากรทางการเมืองมากกวาเปนกําหนดนโยบายในการปกครอง ซึ่งเปนสาเหตุที่ทําให ประชาธิปไตยของไทยตองลมลุกคลุกคลาน ไมสามารถที่จะพัฒนาไปสูการปกครองแบบประชาธิปไตยที่ สมบูรณแบบได(วรทัศน วานิชอังกูร,2543,1) เปน ที่ย อมรั บ กั นว า การมีสว นร วมของประชาชน ถื อเป นเปา หมายสํ าคัญ ในสัง คมสมัย ใหม เชนเดียวกันกับในสังคมการเมือง การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน นับเปนกิจกรรมที่มีความสําคัญ ประการหนึ่งของกระบวนการทางเมืองและมีความจําเปนสําหรับทุกระบอบการเมือง โดยเฉพาะในประเทศ ที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย ซึ่งมักจะยึดหลักการของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน ดวยหลัก การเชนนี้ การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนจึง ถือเปนหัวใจสําคัญ ของการเมืองการ ปกครอง (ศิรินภา สถาพรวจนา.2541,1) อยางไรก็ตาม ที่ผานมาความเจริญทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่ รวดเร็วและมีขอบขายที่กวางขวางทั้ง ในระดับภูมิภาคและสากลไดมีอิท ธิพลตอประเทศไทยอยางมาก สัง คมไทยไดเ คลื่อนตัวเขาสูความเปนประชาธิปไตยเพิ่ม ขึ้นตามลําดับ มีความตื่นตัวทางการเมือง เห็น ความสําคัญตอระบอบการปกครองในการพัฒนาประเทศ สนใจไมเพียงแตการใชสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง แต ยังติดตามความเคลื่อนไหวและแสดงความคิดเห็นทางการเมืองอยางกวางขวาง มีก ารรวมกลุมเปนพลัง ตอรองทางการเมืองหลายรูปแบบ ดังนั้น การพัฒนาประชาชนในชาติใหมีความรูความเขาใจ มีทัศนคติและ สวนรวมที่ดีในกระบวนการทางการเมือง จึงเปนการพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่สําคัญและจําเปนยิ่งตอการ พัฒนาประเทศ แนวทางหนึ่ง ที่จ ะชวยใหป ระชาชนมีความเข าใจในบทบาทของตนตามการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย คือการใหการศึกษา เพราะการศึกษามีบทบาทสําคัญในการสรางและปลูกฝงคานิยม ทัศนคติ ความคิดเห็น ความสํานึกความเชื่อตางๆ ใหกับบุคคลในสังคม ทําใหเกิดความรู ความเขาใจ การติดตาม การมีสวนรวมตลอดจนการปฏิบัติหนาที่ของพลเมือง ดังนั้น การศึกษาจึงเปนสิ่งที่สําคัญสําหรับการเมือง การปกครองของทุกประเทศ ในกรณีนี้ สถาบันการศึกษาที่สําคัญ และมีบทบาทมากที่สุดสถาบันหนึ่งคือ โรงเรียนแตทั้งนี้จ ะ หมายถึงสถาบันหนึ่งในของประชาชนที่นับถือศาสนาอิสลามใหความสําคัญและความสนใจที่จะสงบุตรของ ทานเขาไปศึกษาหาความรูนั่นคือ สถาบันศึกษาปอเนาะ สวนใหญอยูทางตอนใตของประเทศไทยอันไดแก ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต ประกอบไปดวย จังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส ในดานการศึกษาของชาวมุสลิมในพื้นที่นั้น มีสถาบันศึกษาอิสลามที่เกาแกที่สุด และมีบทบาทมาก ตั้งแตอดีตจนถึงปจ จุบัน เรียกวา “ปอเนาะ” สถาบันศึกษาปอเนาะเปนศูนยร วมทางอัตลักษณของชาว มุสลิม เปนสถานศึกษาเรียนรูคูกับสังคมมุสลิม ไทยมากกวา 500 ป ฉะนั้นสถาบันศึกษาปอเนาะจึงเปน องคประกอบหนึ่งของกระบวนการพัฒนาและความเปลี่ยนแปลงที่เปรียบเสมือนกับเกียรติและศักดิ์ศรีที่อยู คูบานคูเมืองของชาวมุสลิม แมจะมีการเปลี่ยนแปลงทางดานสังคม การเมือง การปกครองหรือเศรษฐกิจ แตสถาบันศึกษาปอเนาะก็ยังคงดํารงอยูในสังคมของชาวมุสลิมมาโดยตลอด

644

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สถาบันศึกษาปอเนาะ คือ สถานศึกษาศาสนาอิสลามที่มีเฉพาะในประเทศแถบคาบสมุทรมลายูที่ ใชภาษามลายูในการสื่อสาร เปนสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาโดยใชภาษามลายูซึ่งเปนภาษาทองถิ่นเปน เครื่องมือในการถายทอดวิชาการ สวนภาษาอาหรับที่ใชทําการเรียนการสอนในสถาบันศึกษาปอเนาะดวย นั้น ก็สืบเนื่องจากวาภาษาอาหรับเปนภาษาที่ใชในคัมภีรอัล -กุรอานและอัล-หะดิษ ซึ่งถือเปนหลักสําคัญ ของวิชาการอิส ลาม ทุก สถาบันศึก ษาปอเนาะตองศึก ษาทั้ง สองวิชานี้โดยใชภาษามลายูในการสื่อสาร ความหมายและจัดหลักสูตรวิชาศาสนาดวยตัวเองอยางอิสระ โตะครู มีบทบาทอยางมากตอสังคมมุสลิมไทย ชาวไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใตของไทยซึ่ง เปนผูที่นับถือศาสนาอิสลามอยางเครงครัด ตางก็พากันนิยมสงบุตรหลานของตนเขารับการศึกษาตามหลัก ศาสนาอิสลามในสถาบันศึกษาปอเนาะ ทั้งนี้เพราะเห็นวาเปนสถาบันแหงเดียวที่จะอบรมสั่งสอนใหบุตร หลานของตนไดรับรูบทบัญญัติของศาสนาเพื่อจะไดเปนมุสลิมที่ดีตอไป เปนที่ทราบดีวา เหตุผลหนึ่งที่รัฐบาลตองการจัดระเบียบโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามและ สถาบันศึกษาปอเนาะนั้น สืบเนื่องจากเหตุการณความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใตเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2547 จนขยายกลายเปนกรณีความรุนแรงที่มัสยิดกรือเซะวันที่ 28 เมษายนปเดียวกัน และสะสมจนกลาย มาเปนเหตุการณประทวงที่ สถานีตํารวจภูธรอําเภอตากใบ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม เหตุก ารณที่เ กิดขึ้นมี เยาวชนบางสวนซึ่งเปนนักศึกษาจากสถาบันศึกษาดังกลาวรวมในการประทวง นอกจากนี้จากเหตุการณ ความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใตในประวัติศาสตรซึ่ง มัก มีคําวาสถาบันศึก ษาปอเนาะเขามามีสวน เกี่ยวของอยูตลอดเวลา สถาบันศึกษาดังกลาวจึงถูกมองจากรัฐบาลวาเปนสถานศึกษาที่บมเพาะความคิด บอนทําลายความมั่นคงของชาติ เปนสถานศึกษาที่ขาดการควบคุมดูแล ขาดระเบียบกฎเกณฑ และขาด มาตรฐานทางการศึกษา การขาดความเขาใจเรื่องพื้นฐานทางความคิด ทัศนคติทางวิชาการของศาสนา อิสลาม และวิถีชีวิตของมุสลิม เปนตน โตะครูและผูชวยโตะครู นับไดวาเปนบุคคลที่มีความใกลชิดในพื้นที่เปนผูนําหรือตัวแทนของชุมชน ในการติดตอหรือประสานงานกับหนวยราชการ อีกทั้งเปนบุคคลที่ประชาชนในชุมชนใหความเชื่อถือและ มอบหมายความไววางใจยามมีปญหาใหชวยเหลือแกไขปญ หาเดือดรอนตางๆ ในชุม ชนไดอยางดี จึง มี อิทธิพลที่จะชี้นําความคิดของประชาชนในพื้นที่ที่ตนรับผิดชอบ เชน การแนะนําใหประชาชนมีสวนรวม ทางการเมื อ ง การชี้ แ นะทั ศ นคติ ที่ ดี ต อ ระบอบการเมื อ งตลอดจนระบอบการปกครองโดยใช ห ลั ก ประชาธิป ไตยเปนหลัก ในการบริหารจัดการที่ดี โดยการโนม นาวใหป ระชาชนในเขตที่ตนรับผิดชอบมี ทัศนคติที่ดีในเรื่องการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิป ไตย เชน ไปออกเสียงเลือกตั้ง แนะนํ า ประชาชนเมื่อมีการเลือกตั้ง (วรวัศน วานิชอังกูร,2543,3) จะเห็นไดวาการเลือกตั้งเปนวิธีการเขามามีสวน รวมของประชาชนทางการเมืองที่สามารถมองเห็นเปนรูปธรรมมากที่สุด ซึ่งในการเขามามีสวนรวมของ ประชาชนในกระบวนการประชาธิปไตยนั้นมีลักษณะที่แตกตางกันตามสถานภาพทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และสภาพแวดลอมของประเทศนั้นๆ ดวยเหตุนี้ทําใหผูศึกษากําหนดโจทยของการศึกษาดังนี้ “โตะครูและ ผูชวยโตะครูมีทัศนคติและมี สวนรวมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอยูในระดับใด” โดยเฉพาะอยางยิ่งในการเลือกตั้ง เพราะโตะ ครู ผูชวยโตะครู ถือวาเปนบุคคลสําคัญมากในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต เปนผูเผยแพรศาสนา จะใช กระบวนการอยางไร จะเชื่อมโยงกับหลักศาสนาอิสลามเพื่อไมใหเกิดการขัดแยงกับหลักปฏิบัติที่ดีงามไมผิด หลักศาสนา โดยใหประชาชนที่อยูในการปกครองของตนเองมีทัศนคติที่ดีตอการเมือง และใหประชาชนเขา ไปมีสวนรวมทางการเมืองตามที่ตนตองการ ดังนั้นผูวิจัยตองการศึกษาทัศนคติและการมีสวนรวมทางการ Graduate School and Research / 15 May 2013

645


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจยั มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เมืองแบบประชาธิปไตยของโตะครู ผูชวยโตะครู จึงเปนสิ่งที่ผูวิจัยสนใจที่จะศึกษา และประการสุดทาย เนื่องจากผูวิจัยเปนคนในพื้นที่จ ะทําการวิจัย จึงทําใหส ะดวกตอการเก็บ ขอมูล และเปนสวนหนึ่ง ของ การศึกษาปญหาการพัฒนาประชาธิปไตยของไทยตอไป การจัดตั้งสถาบันศึกษาปอเนาะของบรรดาโตะครู เพื่อสอนศาสนาอิสลามและเผยแผอิสลาม แก ชาวบานตลอดจนผูคนตางศาสนิก ทั้งนี้เพื่อตอบสนองคําสั่งสอนของพระองคอัลลอฮฺ ซุบฮานาฮูวาตาลา ที่ ไดกลาวไววา ดังคําตรัสในคัมภีรอัลกุรอานวา ‫ْﺒَﺎب ) ﺳﻮرةـ اﻟـﺰﻣـﺮ‬ ِ ‫يـ ا ـﱠﻟِﺬﻳﻦَ ـَﻳﻌْ ﻠ َُﻤﻮ ـَن َوا ِـﻟﱠﺬﻳـﻦَ ﻻ ـَﻳﻌْ ﻠ َُﻤﻮنَ ِإـﻧـ َﱠﲈ ﻳَ ﺘَﺬَ ـﱠﻛ ُﺮ أُ ْوـﻟُﻮاـ ا ـَﻷﻟـ‬

‫ﻗُﻞ َﻫـ ْﻞ ﻳَ ْﺴﺘ َِﻮ‬ ْ (45 ‫اﻵﻳﺔ‬

ความวา จงกลาวเถิดโอมูฮําหมัด ระหวางผูที่มีความรู กับผูที่โงเขลา จะเทาเทียมกันหรือ แทจริงบรรดาผูมีสติปญญาไดคิดใครครวญแลว (สูเราะห อัลมุซัมมิล: 45) จากอายะฮฺดังกลาวบรรดาโตะครู และผูชวยโตะครูจึงมองเห็นความจําเปนที่จะตองรับผิดชอบใน การเผยแผศาสนาเทาที่ตนไดเรียนรู โดยเปดสอนนักเรียนทั้งใกลและไกลจากบานของตน ทั้งนี้เพื่อปฏิบัติ ตามคําสั่งสอนของทานนบี ที่บังคับผูรูใหเผยแพรความรูที่ไดเลาเรียนมาแกผูที่ยังไมรูมากที่สุด เพราะใน สถาบันศึกษาปอเนาะจะมีบาลัยหรือมัสยิดเปนที่ประกอบศาสนกิจและเปนที่สอนหนังสือใหแกลูกศิษย เชนเดียวกับสมัยของทานนบี ที่ใชมัสยิดเปนที่ประกอบพิธีทางศาสนาและเปนจุดศูนยกลางในการเผยแพร ศาสนาแกบรรดาเศาะหะบะฮฺ ทั้งสมัยที่ทานอาศัยอยูที่นครมักกะฮฺและนครมะดีนะฮฺ) รุง แกวแดง2511 , (2-1) วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาทัศนคติทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของโตะครูและ ผูชวยโตะครูสถาบันศึกษา ปอเนาะ จังหวัดนราธิวาส 2. เพื่อศึกษาการมีสวนรวมทางการเมืองของโตะครูและผูชวยโตะครู สถาบันศึกษาปอเนาะ จังหวัด นราธิวาส สมมติฐานของการวิจัย 1. โตะครู และผูชวยโตะครู สถาบันศึกษาปอเนาะ จังหวัดนราธิวาสที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา สามัญ ระดับการศึกษาศาสนาและสถานภาพตําแหนงตางกันจะมีทัศนคติทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ตางกัน 2. โตะครู และผูชวยโตะครู สถาบันศึก ษาปอเนาะ ที่มีเ พศ อายุ ระดับ การศึกษาสามัญ ระดับ การศึกษาศาสนา และสถานภาพแตกตางกันจะมีสวนรวมทางการเมืองที่แตกตางกัน ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1.ทําใหทราบถึงทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของโตะครู ผูชวยโตะครู สถาบันศึกษาปอเนาะ จังหวัดนราธิวาสวามีความเปนประชาธิปไตยมากนอยเพียงใดหรืออยูในระดับใด Graduate School and Research / 15 May 2013 646


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

2. เพื่อเปนขอมูลที่เปนประโยชนแกผูที่ตองการศึกษาวิจัยเรื่องทัศนคติและการมีสวนรวมทางการ เมืองแบบประชาธิปไตยไดนําผลการวิจัยไปขยายผลใหกวางขวางยิ่งขึ้นและเปนแนวทางในการวิจัยตอไป ขอบเขตของการวิจัย ในการวิจัยเรื่อง ทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของโตะครู ผูชวยโตะ ครูสถาบันศึกษาปอเนาะ จังหวัดนราธิวาส ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตของการวิจัยไวดังนี้ 1. ขอบเขตของเนื้อหา เนื้ อ หาของการวิ จั ย เรื่ อ งนี้ จะมุ ง ศึ ก ษาถึ ง ทั ศ นคติ แ ละการมี ส ว นร ว มทางการเมื อ งแบบ ประชาธิ ป ไตยของโต ะ ครู ผู ชว ยโต ะ ครูส ถาบั น ศึ ก ษาปอเนาะ จั ง หวั ดนราธิ ว าส เท า นั้ น โดยจะนํ า แนวความคิดและความเชื่อของโตะครู ผูชวยโตะครูกับการมีสวนรวมทางเมืองแบบประชาธิปไตยมาทําการ วิเคราะหเพื่อสนับสนุนวัตถุประสงคที่ผูวิจัยไดกําหนดไว 2 .ขอบเขตของประชากรและกลุมตัวอยาง 2.1 ประชากรที่ใชในการวิจัย คือ โตะครู และผูชวยโตะ ครู สถาบันศึก ษาปอเนาะ จัง หวัด นราธิวาส จํานวน 60 สถาบัน จํานวน 120 คน ซึ่งผูวิจัยใชวิธีการวิจัยเชิงสํารวจและเชิงคุณภาพ 2.2 วิธีการสุมตัวอยาง ผูวิจัยกําหนดกลุมตัวอยาง ดังนี้ 1 กลุมประชากรที่เปน โตะครู และผูชวยโตะครู สถาบันศึกษาปอเนาะ จังหวัดนราธิวาส จํานวน 120 คน โดยใชวิธีการสุมแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) โดยใชสตู รของ Robert V Krejcie and Daryle W.Mogan ซึ่งนํามาเทียบกับตารางตามวิธีการตามสูตร จะไดจํานวนกลุมตัวอยาง 80 คน 2 กลุ ม ประชากรที่ เ ป น โต ะ ครู จํ า นวน 10 คน โดยการสุ ม ตั ว อย า งแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งประธานสถาบันศึกษาปอเนาะจังหวัดนราธิวาส เปนผูคัดสรรวาเปนโตะครูที่มี ทัศนคติที่ดี และมีแนวคิดเชิงพัฒนา เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ในการวิจัยเรื่องทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ของโตะครู ผูชวยโตะครู : กรณีศึก ษาสถาบันศึก ษาปอเนาะ จัง หวั ดนราธิวาส ผูวิจัยใชทั้ง แบบสอบถามและแบบสั ม ภาษณเ ป น เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล รายละเอียดแยก ดังนี้ แบบสอบถาม โดยแบงออกเปน ๓ สวน ดังนี้ สวนที่ 1 เปนแบบสอบถามเกียวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม มีลัก ษณะเปน แบบ เลือกตอบ (Check List) สอบถามเกี่ยวกับอายุ วุฒิการศึกษา ตําแหนง และประสบการณสอน สวนที่ 2 เปนขอมูลเกี่ยวกับทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของโตะครู ผูชวยโตะครูสถาบันศึกษาปอเนาะ ใชการวัดในระดับ Interval Scale โดยมีวิธีสรางขอคําถามแบบ Rating Scale คือ แบงลําดับความสําคัญออกเปน 5 ระดับ และมีเกณฑการใหคะแนนเปนการกําหนดระดับของ คะแนนเพื่อใหผูตอบนําไปใชในการประเมินขอความในแตละขอวาตนเองนั้นมีความคิดเห็นอยูในระดับใด สําหรับขอที่ไมมีความคิดเห็นจะไมมีคะแนนใหและระดับของคะแนนจะแบงออกเปน 5 กลุม โดยในแตละ กลุมนั้นจะมีชวงความถี่ของคะแนนเทากับ 1 คะแนน ดังนี้ สวนที่ 3 เปนขอมูลเกี่ยวกับการเสนอแนะของผูตอบแบบสอบถาม

Graduate School and Research / 15 May 2013

647


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจยั มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

แบบสัมภาษณ ผูวิจัยใชวิธีการสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Formal Interview) และเตรียมแนวคําถามกวางๆ มา ลวงหนา โดยสัมภาษณแบบมีจุดสนใจ ทําความสนิทสนมกับกลุมตัวอยาง โดยการเขาไปมีสวนรวมในการ เรียนการสอนของโตะครู และผูชวยโตะครู ในสถาบันศึกษาปอเนาะ เพื่อสรางความไววางใจ และพยามยาม หันความสนใจ กลาวคือ เมื่อเห็นวาผูถูกสัมภาษณพูดนอกเรื่องหรือนอกเหนือจากจุดที่สนใจ ก็พยายามโยง เขาหาประเด็นที่ตองการสัมภาษณ ทั้งนี้เพื่อจะไดอยูในขอบเขตการวิจัย ) สุภางค จันทวานิช. 2543 : 13 และเก็บขอมูลดวยการจดบันทึก การวิเคราะหขอมูล 1. การวิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณ นํารายละเอียดที่ไดจากการจดบันทึกแตละคําถามมาเรียบเรียงเพื่อวิเคราะหขอมูล และสรุปภาพรวมความ คิดเห็นดานทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองของ โตะครู และผูชวยโตะครู ในสถาบันศึกษาปอเนาะ จังหวัดนราธิวาส 2. การวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามมาประมวลผลขอมูลดวยเครื่องคอมพิวตอร โดยใชโปรแกรม สําเร็จรูป มาใชในการวิเคราะหขอมูล และนํามาจัดเปนรายงานในรูปของตาราง โดยใชสถิติในการวิเคราะห ผลขอมูล ดังนี้ ลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม 1. ขอมูลทั่วไปของประชากรที่ศึกษา โดยนําเสนอขอมูลใน 3 ลักษณะ คือ คารอยละ คาเฉลี่ย และ คาเบี่ ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งนํ าผลการวิเคราะหลักษณะประชากรที่ศึกษา ดั งรายละเอี ยดแสดงในตารางที่ 1 พบวา ผูตอบแบบสอบถามทั้งหมดจํานวน 80 คน เปนเพศชาย 53 คน คิดเปนรอยละ 66.3 เปน เพศหญิง 27 คน คิดเปนรอยละ 33.8 สวนใหญมีอายุระหวาง40-49 ป จํานวน 62 คน คิดเปนรอยละ 77.5รองลงมาอายุระหวาง 30-39 ป จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 15.0 และ50 ปขึ้นไปจํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 7.5 บุคลากรสวนใหญจบระดับการศึกษาประเภทสามัญในระดับมัธยมศึกษาตอนตนจํานวน 40 คน คิดเปนรอยละ 50 รองลงมาคือจบการศึกษาในระดับประถมศึกษาจํานวน27 คน คิดเปนรอยละ 33.8 จบการศึกษาในระดับระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจํานวน11 คนคิดเปนรอยละ 13.8 และลําดับสุดทายคือ จบการศึกษาในต่ํากวาระดับประถมศึกษาปที่ 4 จํานวน1 คน คิดเปนรอยละ 1.3 และระดับปริญญาตรี จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 1.3 บุคลากรสวนใหญจบระดับการศึกษาประเภทศาสนาในระดับซานะวียจํานวน 65 คน คิดเปนรอย ละ 81.3 รองลงมาคือจบการศึกษาในระดับมุตาวัสสิต จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 11.3 จบการศึกษา ในระดับปริญญาตรีจํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 7.5 และสถานภาพสวนใหญคิดเปนรอยละ 80 สมรสแลว 2. ระดับทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของโตะครู และผูชวยโตะครูทั้ง 2 ประเด็น พบวา ทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ตามลําดับดังนี้ (1) ทัศนคติ ทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย (2) การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย พบวา โดยภาพรวมโตะครู ผูชวยโตะครูของสถาบันศึกษาปอเนาะในจังหวัดนราธิวาส มี 648

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย อยูในระดับมาก ( X = 7.85) และเมื่อพิจารณา ทั้ง 2 ดาน พบวา โตะครู ผูชวยโตะครูของสถาบันศึกษาปอเนาะในจังหวัดนราธิวาส มีความคิดเห็นทุกดาน อยูในระดับมากเชนเดียวกัน ทั้งนี้หากแยกเปนรายดานสามารถสรุปผลการวิจัยของระดับทัศนคติและการมีสวนรวมทางการ เมืองแบบประชาธิปไตยของโตะครู และผูชวยโตะครูทั้ง 2 ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ 1 ทัศนคติทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย พบวา โตะครู ผูชวยโตะครู ของสถาบันศึกษาปอเนาะในจังหวัดนราธิวาสดานทัศนคติทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยภาพรวมอยูในระดับมาก ( X = 4.17) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา โตะครู ผูชวยโตะครูของสถาบัน ศึกษาปอเนาะในจังหวัดนราธิวาสมีทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ทุกขออยูใน ระดับมากที่สุดและมากเชนเดียวกัน ประเด็นที่ 2 การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย พบวา โตะครู ผูชวย โตะ ครูของสถาบันศึก ษาปอเนาะในจังหวัดนราธิวาส มีความคิดเห็นตอการมีสวนรวมทางการเมืองการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยภาพรวมอยูในระดับมาก( X = 3.69) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา โตะ ครู ผูชวยโตะ ครูของสถาบันศึก ษาปอเนาะในจัง หวัด นราธิวาส บางสวนมีคิดเห็น ตอการมีสวนรวม ทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ที่อยูในระดับปานกลาง มีจํานวน 6 ขอ โดยเรียงลําดับ คาเฉลี่ยจากมากไปหานอย 3 อันดับแรก คือ เปนกลไกหลัก ในการปรับทัศนคติ ความคิดเห็นของชาวบานใน การเขารวมกิจกรรม ( X = 3.49) ในชวงกอนและหลังการเลือกตั้งทานเชิญผูแทนพรรคการเมืองมาพูด ใน สถาบันการศึกษาหรือชุมชน ( X = 3.45) สวนกิจกรรมในสถาบันศึกษาปอเนาะที่เกิดขึ้น เพราะไดรับแรง สนับสนุนจากตัวแทนพรรคการเมือง( X = 3.31) 3. สํ า หรั บ ผลการวิ จั ยของการเปรี ยบเทีย บทัศ นคติ แ ละการมี ส วนร วมทางการเมื องแบบ ประชาธิปไตยของโตะครู และผูชวยโตะครูซึ่งไดจําแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษาทั้งสามัญ และศาสนา สรุปผลได เพศ พบวา โดยภาพรวมประชากรชายและประชากรหญิงมีความคิดเห็นทัศนคติและการมีสวน รวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ของโตะครู และผูชวยโตะครูในสถาบันศึกษาปอเนาะ จังหวัดนราธิวาส แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ และเมื่อพิจารณารายดานทั้ง 2 ดาน พบวาโตะครู และผูชวยโตะครู เพศชายและเพศหญิงมีความคิดเห็นทุกดานตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ เชนเดียวกัน อายุ พบวา โดยภาพรวมของโตะครู และผูชวยโตะครู สถาบันศึกษาปอเนาะ จังหวัดนราธิวาส ส ว นใหญ อ ายุ ร ะหว า ง 40-49 ป มี ค วามคิ ด เห็ น ต อ ทั ศ นคติ แ ละการมี ส ว นร ว มทางการเมื อ งแบบ ประชาธิปไตย แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 โดยโตะครู และผูชวยโตะครูอายุระหวาง 40-49 ป มีความคิดเห็นทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยสูงกวาชวงอายุอื่น ทั้ง โดยภาพรวมและรายดาน ระดับการศึกษา) สามัญ (พบวา โดยภาพรวมของโตะครู และผูชวยโตะครู สถาบันศึกษาปอเนาะ จังหวัดนราธิวาสตามระดับการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนกับบุคลที่มีวุฒิการศึกษาระดับประถมศึกษา มีทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยบุคลากรวุฒิระดับมัธยมศึกษาตอนตนมีทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย สูงกวาวุฒิการศึกษาอื่น ทั้งโดยภาพรวมและรายดาน Graduate School and Research / 15 May 2013

649


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจยั มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ระดับการศึกษา) ศาสนา (พบวา โดยภาพรวมโตะครู และผูชวยโตะครู สถาบันศึกษาปอเนาะ จังหวัดนราธิวาส มีทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย รวมทั้ง 2 ดาน แตกตางกัน อยางนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยบุคลากรวุฒิระดับซานะวียมีทัศนคติและการมีสวนรวมทางการ เมืองแบบประชาธิปไตย สูงกวาวุฒิการศึกษาอื่น ทัง้ โดยภาพรวมและรายดาน ผลการวิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณแบบเจาะลึก พบวา 1 ทัศนคติตอระบอบการปกครอง พบวา โตะครู และผูชวยโตะ มีทัศนคติที่ดีตอระบอบการ ปกครองของไทย ซึ่ง มองวากระบวนการการเลือกตั้ง ในระบอบประชาธิป ไตย ถือเปนหนาที่ห นึ่ง ของ ประชาชนทุกคนที่เมื่อมีอายุครบ 18 ปบริบูรณแลว จะตองไปแสดงตัวเพื่อเลือกตั้ง เพราะปจจุบันประชาชน เปนผูมีสิทธิในการเลือกผูนําของเขาและสามารถทําใหไดมาซี่งคนดีเปนนายกรัฐมนตรีมาบริหารประเทศที่ ตนอาศัยอยู 2 การมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย พบวา โตะ ครู และผูชวยโตะครู มองวา มนุษยไมอาจปฏิเสธการเขาไปมีสวนรวมกับการเมืองการปกครอง เนื่องจากการเมืองเขาไปมีสวนเกี่ยวของกับ ทุกคน 3 อุดมการณและแนวคิดในการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยโดยนําหลักคําสอน ของศาสนาอิสลาม พบวา โตะครู และผูชวยโตะครู คิดวา อิสลามกับการเมืองไมสามารถแยกออกกันได การเมืองคือสวนหนึ่งของอิสลามในการสอนผูเรียนใหเรียนรูถึงความสําคัญของการเมืองตอสังคม อภิปรายผล การอภิปรายผลการวิจัย ผลการศึกษาการวิจัยเรื่อง ทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของโตะครู ผูชวยโตะครู: กรณีศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ จังหวัดนราธิวาส มีประเด็นสําคัญที่จะมาอธิบายไดดังนี้ เชิงปริมาณ อภิปรายผล ไดดังนี้ ผลการวิจัยพบวา ขอมูลทั่วไป ของกลุมตัวอยางเพศชาย 53 คน คิดเปนรอยละ 66.3 เปนเพศหญิง 27 คน คิดเปนรอยละ 33.8 สวนใหญมีอายุระหวาง40-49 ป จํานวน 62 คน โตะครู และผูชวยโตะครู สวนใหญจบระดับการศึกษาประเภทสามัญในระดับมัธยมศึกษาตอนตนจํานวน 40 คน คิดเปนรอยละ 50 รองลงมาคือจบการศึกษาในระดับประถมศึกษาจํานวน27 คน สวนระดับการศึกษาประเภทศาสนา สวน ใหญจะจบการศึกษาในระดับซานะวียจํานวน 52 คนและสถานภาพสวนใหญคิดเปนรอยละ 80 สมรสแลว ผลการวิจัยพบวา ระดับทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของโตะครู และ ผูชวยโตะครู ทั้ง 2 ประเด็น พบวา ทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ตามลําดับ ดังนี้ (1) ทัศนคติทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย) 2) และการมีสวนรวมทางการเมืองการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยอยูในระดับสูง เมื่ อ มาเปรี ย บเที ย บเป น รายด า นและรายข อ พบว า ทั ศ นคติ แ ละการมี ส ว นร ว มทางการเมื อ งแบบ ประชาธิปไตยของตะครู และผูชวยโตะครูในจังหวัดนราธิวาส เปนการยืนยันตามสมมุติฐานที่ 1 และ 2 ที่ตั้ง ไว เชิงคุณภาพ อภิปรายผล ไดดังนี้ 650

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

1. ทัศนคติทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ผลการวิ จั ย พบว า ทั ศ นคติ ท าง การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีความคิดเห็นดวยในระดับมาก เนื่องจากโตะครู และผูชวย โต ะ ครู เห็ น เช น กระบวนการการเลื อ กตั้ ง ในระบอบประชาธิ ป ไตยมี ว าระการดํ า รงตํ า แหน ง ของ นายกรัฐมนตรี เมื่อหมดวาระประชาชนสามารถพิจารณาตัดสินวาควรจะเลือกใครที่เหมาะสมมาเปน นายกรัฐมนตรี จึงเห็นวากระบวนการนี้สามารถทําใหไดมาซึ่งคนดีเปนนายกรัฐมนตรี 2. การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ผลการวิจัยพบวา การมีสวน รวมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยมีความคิดเห็นดวยในระดับมาก เนื่องจากโตะครู และผูชวยโตะครูมนุษยไมอาจปฏิเสธการเขาไปมีสวนรวมกับการเมืองการปกครอง เนื่องจากการเมืองเขาไป มีสวนเกี่ยวของกับทุกคน ยิ่งโดยเฉพาะโตะครูผูที่เปนที่เคารพนับถือจากคนในชุมชน ยิ่งจําเปนตองมีสวน เกี่ยวของกับการเมืองเพราะสามารถโนมนาวคนในชุมชนในการใหความสําคัญกับกระบวนการทางการเมือง เชน การเขาคูหาใชสิทธิ ในการเลือกตั้ง การมีสวนรวมในการกําหนดแผนการพัฒนาตางๆ เปนตน สรุป งานวิจัยเรื่องทัศนคติและการมีสวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของโตะครูผูชวยโตะ ครู : กรณีศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ จังหวัดนราธิวาส สวนใหญแลวโตะครูผูชวยโตะครู ไดมีการแสดง ความคิดเห็นและขอเสนอแนะในดานตางๆ ผลสรุปที่ออกมาคือทัศนคติของโตะครูผูชวยโตะครูตอการการมี สวนรวมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย อยูในระดับมาก ฉะนั้นงานวิจัยเรื่องทัศนคติและการมีสวนรวม ทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของโตะครูผูชวยโตะ ครู : กรณีศึก ษาสถาบันศึก ษาปอเนาะ จัง หวัด นราธิวาส จึงยอมรับแนวความคิดของกีรติ บุญเจือ (15-14 2522) ไดใหความหมายของคําวา “ความ เขาใจ” หมายถึง ขั้นตอนสําคัญของการสื่อความหมายโดยอาศัยความสามารถของสมองและทักษะ ซึ่งอาจ กระทํ า ได โ ดยใช ป ากเปล า ข อ เขี ย น ภาษาหรื อ สั ญ ลั ก ษณ ต า งๆ โดยทํ า ความเข า ใจกั บ สิ่ ง นั้ น ๆซึ่ ง ประกอบดวยการแปล ตีความและการสรุป เพราะมนุษยทุกคนจะเกิดทัศนคติไดจะตองมาจากความรูความเขาใจและความเขาใจจะเกิดขึ้นได จะตองมาจากการไดรับขอมูลขาวสาร ซึ่งขอมูลขาวสารในปจจุบันมีทั้งดีและไมดี จึงเปนเหตุทําใหมนุษยเกิด ทัศนคติในดานบวกและดานลบ ขอเสนอแนะ ในการศึกษาวิจัยมีประเด็นที่ผูตอบแบบสอบถามเขียนมาดังนี้ 1. รัฐบาลควรใหความสําคัญ ตอโตะ ครูและผูชวยโตะ ครู ในการใหก ารสง เสริม สนับ สนุนการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย 2. ประชาธิปไตยเปนสวนหนึ่งของอิสลาม แตรัฐบาลควรตั้ง สภาชูรอ ในการคัดกรองผูลงสมัครรับ เลือกตั้ง 3.การสง เสริมประชาธิปไตย ตองทําอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ ที่ผานมาขาดความชัดเจนในเรื่อง นโยบายที่จะเขามาพัฒนาและชวยเหลือในการจัดกิจกรรมรวมกับสถาบันศึกษาปอเนาะ 4.ผูที่จะลงสมัครเปนตัวแทนประชาชนในทางการเมืองควรตองคุณธรรม จริยธรรมและความ ศาสนาที่เปนที่ตั้ง 5. โตะครูและผูชวยไมอาจปฏิเสธการเมืองเพราะการเมืองเปนสวนหนึ่งของศาสนา

Graduate School and Research / 15 May 2013

651


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจยั มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เอกสารอางอิง กีรติ บุญเจือ. 2522. ปรัชญาศิลปะ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนพานิช. โกสิทธิ์ สวางโรจน. 2531. ความสํา นึกทางการเมืองของประชาชนในบริเวณชายแดนไทยภาคใต . รัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย จิตฐิพร ศิริตานนท. 2543. การเปรีย บเทีย บคาความเชื่อมั่นและความเที่ย งตรงเชิงโครงสรา งของ แบบวัดเจตคติตอ วิช าคอมพิวเตอร . วิท ยานิ พนธ บ ริห ารธุ ร กิม หาบัณฑิ ต , มหาวิท ยาลั ย รามคําแหง. จัก รพั น ธุ วงษ บู ร ณาวาทย . 2523. “แนวทางแก ไ ขป ญ หาในจั งหวั ด ชายแดนภาคใตใ นทั ศนของ กรรมการอิสลามประจําจังหวัด.” วิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย,. จรัญ มะลูลีม. 2548. “ไทยกับ OIC.(1)” มติชนรายสัปดาห จรั ญ มะลู ลี ม กิ ติ ม า อมรทั ต และ พรพิ ม ล ตรี โ ชติ “ .ไทยกั บ โลกมุ ส ลิ ม .” กรุ ง เทพ :จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย,.2538 ฉวีวรรณ วรรณประเสริฐ พีรยศ ราฮิมมูลา และมานพ จิตตภูษา .“ประเพณีที่ชวยสงเสริมการผสมผสาน ทางสังคมระหวางชาวไทยพุทธกับชาวไทยมุสลิม ”.รายงานการวิจัย : สถาบันเอเชีย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย,.2524 เฉลิมเกียรติ ขุนทองเพชร“ .การตอตานนโยบายรัฐบาลใน 4 จชต .ของประเทศไทยโดยการนําของหะยี สุหลง อับดุลกาเดร พ.ศ.2497-2482 .” ปริญญานิพนธ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศิลปากร,.2539 ดรุณี บุญภิบาล .“การศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมชาวไทยมุสลิมในจังหวัดปตตานี ยะลา นราธิวาส กับจังหวัดสตูล ซึ่งมีผลกระทบตอการปกครอง .” รายงานการวิจัย สถาบันทักษิณคดีศึก ษา มหาวิทยาลัยศรีนคริทนรวิโรฒ สงขลา. 2530 ธงชัย สันติวงษ . 2540. องคการและการจัดการทันสมัยยุคโลกาภิวัฒน .กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนา พานิช. ธานินทร ผะเอม .“นโยบายการแกไขปญหาความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต .”สารนิพนธ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,.2527 นิศา ชูโต .การวิจัยเชิงคุณภาพ .กรุงเทพ : แม็ทสปอยท จํากัด,.2545 ปยนาถ บุนนาค .นโยบายการปกครองของรัฐบาลไทยตอชาวไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต พ.ศ (2516-2475กรุงเทพ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,.2534 พุทธชาด โปธิบาล และ ธนานันท ตรงดี .สถานะของภาษาตากใบในภาษาไทถิ่นรายงานการวิจัย : สํานัก งานวิจัยและพัฒนา. มาหวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี,2540 พีรยศ ราฮิมมูลา, พัฒนาการประวัติศาสตรราชอาณาจักรมลายูปตตานีตั้งแต ค.ศ 1350 .–1909 และ การเขามาของศาสนาอิสลามในภูมิภาคปตตานี .ปตตานี :มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี .2543 .เอกสารประกอบการบรรยายวิชาสัมมนาการเมืองการปกครอง จังหวัดชายแดนภาคใต( มัสลัน มาหะมะ,2011, “อิสลามกับระบบการเมืองการปกครอง”,จากอินเตอรเน็ต www.islammore.com 652

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

มัรวาน สะมะอูน. ม.ป.ป,.ข. “ซูเราะฮฺอัซซูรอ ที่ ๔๒ อายะฮฺที่ ๑๑ ”.ใน อัลกุรอาน ฉบับแปลภาษาไทย” กรุงเทพฯ. รุง แกวแดง 2511 “ทัศนคติของโตะครูตอการปรับปรุงปอเนาะเปนโรงเรียนราษฎรสอนศาสนาอิสลาม” มหาวิทยาลัย : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร รัตติยา สาและ “ .การปฏิสัมพันธระหวางศาสนิกที่ปรากฏในจังหวัด ปตตานี ยะลา และนราธิวาส .” รายงานการวิจัย โครงการสรางและพลวัตวัฒนธรรมภาคใตกับการพัฒนา สํานักกองทุนสนับสนุน การวิจัย สกว.2544. วรทัศน วานิชอังกูร. 2534. “การเขามีสวนรวมทางการเมืองของผูนําทองถิ่นไทยมุสลิม : ศึกษาเฉพาะ กรณี ใ น 5 จั ง หวั ด ชายแดนภายใต ” มหาวิ ท ยาลั ย : จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย วินัย ครุวรรณพัฒน“ .ทัศนคติของคนไทยในสี่จังหวัดชายแดนภาคใตที่มีตอประเทศสหพันธมาเลเซีย.” ายงานการวิจัย สถาบันเอเชีย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, .2523 วีรยุทธ สุขนิตถ. 2533. “ปจจัยที่มีความสัมพันธทัศนคติการยอมรับทุนนิยม ศึกษาเฉพาะกรณีชาวเผา เยา อําเภอคลองลาน จังหวัดกําแพงเพชร รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม วิโรจน ขวัญเกื้อ“ .บทบาทของโตะอิหมามในจังหวัดชายแดนภาคใตในการสนับสนุนการพัฒนาโครงการ ศึกษานอกระบอบโรงเรียน ตามการรับรูของผูบริหารการศึกษานอกโรงเรียน ผูนําทองถิ่นและ โตะอิหมาม.” วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการศึกษานอกระบอบโรงเรียน บัณฑิต วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, .2530 ศิรินภา สถาพรวจนา. 2541. “การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนจังหวัดเพชรบุรี : กรณีศึกษา กลุมคนรักเมืองเพชร”, วิท ยานิพนธสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร. สมบัติ ธํารงธัญวงศ การเมือง. 2546. “การเมือง : แนวความคิดและการพัฒนา” กรุงเทพฯ: เสมาธรรม สมศักดิ์ เกี่ยวกิ่งแกว. 2536“ .พฤติกรรมทางการเมืองของชาวเขาในภาคเหนือ .ศึกษาเฉพาะกรณีของ การเลือกตั้ง ”ภาควิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม สิทธิพันธ พุทธหุน. 2536. “ทฤษฎีพัฒนาการเมือง” กรุงเทพฯ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง สุภ างค จั นทรวานิช . 2543. “การวิ เ คราะห ขอ มู ล ในการวิ จั ยเชิง คุ ณภาพ” กรุ ง เทพฯ จุ ฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย สุนีย ทองอินทรเล็ก” .การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการกระจายความคิดไปสูชาวมุสลิมในเขตอําเภอ เมือง จังหวัดปตตานี.” วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต คณะการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินท รวิโรฒ,.2517 สุบิน ยุระรัช. 2550. ทฤษฎีการวัดทัศนคติ (Theory of Attitude Measurement). [online].Available:http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=inthedark&month=0 6-2007&date=27&group=2&gblog=27 [2550, สิงหาคม 28] สุวัชรีย เดชาธรอมร. 2544. ความรูและทัศนคติของบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาและรับรองคุณภาพ โรงพยาบาล: กรณีศึกษา โรงพยาบาลหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ. ชลบุรี: มหาวิทยาลัย บูรพา. สุภางค จันทวานิช .การวิเคราะหขอมูลในการวิจัย เชิงคุณภาพ . กรุงเทพฯ : นักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย,.2542 Graduate School and Research / 15 May 2013

653


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจยั มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สุรินทร พิศสุวรรณ .นโยบายประสมประสานชาวมาเลยมุสลิมในประเทศไทยสมัยรัตนโกสินทร. เอกสาร วิชาการหมายเลข 43 กรุงเทพฯ : ธรรมศาสตร, ) .2525เอกสารเพื่อประกอบการสัมมนา สอง ศตวรรษรัตนโกสินทร : ความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย .( สุรพงษ โสธนะเสถียร“ .คุณลักษณะทางสังคมของชาวไทยมุสลิมและการตอบสนองตอรัฐบาล.”รายงาน การวิจัย : ศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต,.2531 สุรพงษ โสธนะเสถียร“ .การสื่อสารทางการเมืองและการไหลเวียนของขาวสารในชุมชนมุสลิม.”รายงาน การวิจัย คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,.2532 อารง สุทธาศาสน .ปญหาความขัดแยงในสี่จังหวัดภาคใต .กรุง เทพมหานคร : บริษัท พิทักษประชา จํากัด,.2519 อภันตรี อารีกุล .“ปจจัยทางการศึกษาและปจจัยอื่นบางประการที่เกี่ยวของกับบุคคลชนชั้นนํา ครงสราง อํานาจชุมชนชาวไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต : ศึกษากรณีชุมชนในจังหวัดปตตานี .” รายงานการวิ จั ย แผนกวิ ช าการศึ ก ษาชนบท ภาควิ ช าการศึ ก ษา คณะศึ ก ษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี,.2532

654

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทบาทของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( )ในประวัติศาสตรอิสลามกรณีศึกษา: สังคมและเศรษฐกิจ The Roles of Khadijah Binti Khuwailid In Islamic History a Case Study: Social and Economic นางซากีรา มาหะ1 มูหัมมัดซอและ แวหะมะ2 1

ศศม. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรและอารยธรรมอิสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา, 2 ดร. (ประวัติศาสตร) อาจารยประจําสาขาวิชาประวัติศาสตรและอารยธรรมอิสลาม คณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลาม

บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค(1)เพื่อศึกษาชีวประวัติของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( ) (2)เพื่อ ศึกษาบทบาท ในฐานะภรรยาที่ศอลิหะฮฺในดานการดูแลและใหกําลังใจสามีและบทบาทในฐานะมารดาแหง ศรัทธาชนในดานการเลี้ยงดูบุตรและใหคําปรึกษาแกบรรดาศรัทธาชน(3)เพื่อศึกษาบทบาทของทานหญิง คอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( )ในฐานะดาอิยะฮฺในภาวะวิกฤตทางสังคมและเศรษฐกิจ การศึกษาครั้งนี้เปนการวิจัยเอกสาร เพื่อที่จะใหบรรลุเปาหมายของการวิจัย ผูวิจัยไดทําการ วิ จั ย ทางประวั ติ ศ าสตร (HistoricalApproach) โดยวิ เ คราะห ข อ มู ล จากเอกสาร (Documentary Research) ที่เกี่ยวของและนําเสนอรายงานแบบพรรณนาวิเคราะห (Analytical Description) ซึ่งผูวิจัย ดําเนินการวิจัยโดยการรวบรวมเอกสารและขอมูลที่เกี่ยวของกับการวิจัย ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล แยกขอมูลตามเนื้อหา วิเคราะหขอมูล อภิปรายผล และสรุปผล ผลการศึกษาวิจัยสรุปไดวา (1) ทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( )เกิดจากบิดามารดาที่มีเชื้อ สายกุรอยชฺ บิดาชื่อคุวัยลิด บุตร อะซัด บิน อัลดุลอุซซา บิน กิลาบ นางเปนภรรยาคนแรกของทานเราะ สูล () นาง ไดรับการขนานนามวา “อุมมุลมุมีนีน” ( ‫ ) أم اﳌﺆﻣﻨﲔ‬คือมารดาแหงศรัทธาชน ถือกําเนิดใน ปที่ 68 กอนฮิ จฺญเราะฮฺตรงกับป ค.ศ.556 กอนการกําเนิดทานเราะสูล ()15 ป เสียชีวิตในเดือน รอมฎอน ปที่ 10 แหงการแตงตั้งเปนนบี และเปนปเดียวกับที่ลุงของทานเราะสูล()คือทานอะบูฏอลิบ เสียชีวิต ดวยอายุ 65 ป นางใชชีวิตอยูกับทานเราะสูล() 25 ป (2) ทานหญิงมีบทบาทที่โดดเดนและ ยิ่งใหญที่ประวัติศาสตรอิสลามหนาแรกตองบันทึกไว คือทานหญิงเปนภรรยาที่ศอลิหะฮฺคอยปลอบโยนให กําลังใจแกทานเราะสูล ()เพื่อใหหายจากความรูสึกตื่นตระหนกหวาดกลัวจากเหตุการณ รับวะหฺยูครั้ง สําคัญของทานเราะสูล()และเปนบุคคลคนแรกแหงประวัติศาสตรอิสลามที่เขารับศาสนาอิสลามหลังจาก ทานเราะสูล()จนกลายเปนแบบอยางที่ดีใหกับสตรีชนในยุคนั้น (3) ทานหญิงอบรมบรรดาลูกๆ ของนาง คือ ทานหญิงไซนับ ทานหญิงรูกอยยะฮฺ ทานหญิงอุมมุลกัลษูม ทานหญิงฟาฏิมะฮฺ และผูที่อยูในความ อุปการะของนาง คือ ทานซัยดฺและทานอะลีใหศรัทธาตออัลลอฮฺ()และยึดมั่นในสิ่งที่มาจากทานเราะสูล ()เพื่อใหลูกๆเปนผูศรัทธาแถวหนาแหงการดะวะฮฺ ทานหญิงคอดิญะฮฺ( )เปนมารดาของบรรดามุมินผู ศรัทธา เปนผูนําบรรดาสตรีแหงโลกในยุคของทานหญิง (4) ทานหญิงไดอุทิศตนและทรัพยสินในหนทางการ ดะวะฮฺ คอยเปนแรงขับ เคลื่อนที่ยิ่งใหญจนทําใหการดะวะฮฺของทานเราะสูล ()ประสบความสําเร็จ มี ประชาชาติทั่วทุกมุมโลกเขารับนับถืออิสลาม Graduate School and Research / 15 May 2013

655


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The research aims at (1) investigating the biography of khadijah Binti Khuwailid, (2) to study her role as faithful wife as well as a mother in the manner of conducting herself and uplifting her husband and the role of a mother of believers in nurturing a child and counseling all believers, (3) exploring her role as propagator in Social and economic crisis. This methodology of research is designed for historical approach. All data are analyzed from related documents. Report is presented through analytical description. Data are collected by related documents finally verified, categorized, analyzed, discussed and summarized. The study shows as follows: (1) the mother of Khadijah Binti Khuwailid is ethnically Quraish. Her father is Khuwailid Bin asad Bin Abduluzza Bin Kilab. She is the first wife of the prophet (peace be upon him). She is named as “a mother of believers”. She was born in 68 B.H or 556 AD 15 years before the prophet’s birth. She died in Ramadam, in the first ten year of prophet elevation or the same year as the prophet’s uncle death. At the time she was 65 years old. She lived her life with the prophet for 25 years. (2) As recorded, she has a vital role in consoling and encouraging the prophet as a consequence of Qur’anic revelation. More importantly, because of being good example of the prophet, she is the first woman who accepts Islam. (3) she places an importance on educating her daughters, Zainub, Ruqyyah, Ummul Kulthum, Fatimah and ones who are under her nurturing – Zaid and Ali. They are inculcated in believing in Allah and standing firm the prophet tradition. Also, they are designed and cultivated to be in the front line in terms of Islamic propagation. (4) She dedicates herself as well as properties to propagating Islam. She greatly participates in Islamic propagation leading to success in Islamic propagation, as manifestly a great number of people in today’s world believe in Islam.

656

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา มนุษยถูกสรางขึ้นมาดวยรูปราง สรีระที่สมบูรณและสวยงาม มีความพิเศษเหนือกวาทุกสิ่งที่ถูก สราง และอัลลอฮฺ1()2 ไดสรางสรรพสิ่งในชั้นฟาและแผนดินเพื่อที่มนุษยจะไดรับประโยชนจากมัน และ พระองคไดมอบหนาที่สําคัญคือการเปนตัวแทนของพระองคบนผืนแผนดิน ดังที่พระองคไดตรัสไวในอัลกุ รอานวา                                  

ความวา “และจงรําลึกถึงขณะที่พระเจาของเจาไดตรัสแกมะลาอิกะฮฺวา แทจริงขา จะใหมีผูแทนในพิภพ มะลาอิกะฮฺไดทูลขึ้นวาพระองคจะทรงใหมีในพิภพผูซึ่งที่บอน ทําลายและกอการนองเลือดในพิภพกระนั้นหรือ ทั้ ง ๆที่พวกขาพระองคใหความ บริสุทธิ์ พรอมดวยการสรรเสริญพระองค พระองคไดตรัสวา แทจริงขารูยิ่งในสิ่งที่เจา ไมรู” (อัลบะเกาะเราะฮฺ, 2: 30) อัลลอฮฺ ()ไดประกาศถึงเจตนาอันแนวแนในการสรางมนุษยยังโลกดุนยาพระองคทรงสราง มนุษยใหเปนตัวแทนมาแสดงภาพลักษณแหงความมีเกียรติ มาสรางสรรคสังคมในกรอบของการชวยเหลือ เกื้อกูลกันในเรื่องความดีงามและการยําเกรง การไดรับภาระแหงการสืบทอดอุดมการณของพระองคบน หนาแผนดินนั้นถือเปนคุณลักษณะของประชาชาติที่ประเสริฐและเปนบุคลิกภาพที่เลอเลิศเหนือบุคลิกภาพ อื่นทั้งมวล ทานเราะสูล3()4ไดกลาวไววา ((‫)) إ ِ ﻧ َﱠﲈ ِﺑُﻌﺜ ُْﺖ ِﻷُﲤَ َﱢﻢ ﻣَ ﻜ َِﺎرَم اﻷ َﺧْ ﻼ َِق‬

ความวา “แทจริงฉันถูกสงมาเพื่อสถาปนาระบบคุณธรรม จริยธรรมที่สมบูรณ” (อัต ติรมิซีย,ฺ อัศเศาะเหียะฮฺ, เลขที่: 904) มนุษยมีบทบาทและภาระหนาที่ที่ตองรับผิดชอบรวมกันทั้ งนี้เพราะอัลกุรอานไมไดกําหนดวา ภาระหนาที่การรับผิดชอบตอสังคมนั้นเปนของฝายใดฝายหนึ่ง แตไดบัญญัติไวครอบคลุมทั้งชายและหญิง สวนในการสรา งสรรคสั ง คมตามความเหมาะสมกับ ลัก ษณะเฉพาะของตน เพื่อ สืบ ทอดเจตนารมณ ของอัลลอฮ()บนผืนแผนดิน โดยมีจุดประสงคเพื่อใหไดมาซึ่งความโปรดปรานทั้งโลกนี้และโลกหนา 1

อัลลอฮฺ หมายถึงพระเจาองคเดียวของผูท ี่นับถือศาสนาอิสลาม ที่สรางและบริหารสรรพสิ่งทั้งหลายในโลก เปนคํายอของคําวา “สุบหานะฮุวะตะอาลา” เปนคําสรรเสริญตออัลลอฮฺ แปลวา อัลลอฮฺผูทรงมหาบริสุทธิ์ เปนคําตอทายชื่อของอัลลอฮฺ () 3 เราะสูล หมายถึง ศาสนทูต ผูที่ไดรับการแตงตั้งจากอัลลอฮฺ()ใหทําหนาที่เผยแผศาสนาอิสลามแกประชาชาติทั้งปวง 4 หมายถึง เปนคํายอมาจากคําวา “ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม” เปนคําพรภาวนาตอทายทานเราะสูลมุหัมมัด()มีความหมายวา “ขออัลลอ ฮฺ()ทรงสดุดีและใหความสันติแดทาน”เปนมารยาทที่ชาวมุสลิมควรกลาวทุกครั้งที่มีการกลาวถึงทานเราะสูล มุหัมมัด() 2

Graduate School and Research / 15 May 2013

657


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

จากการที่ไดสัมผัสกับเยาวชนมุสลิมในปจจุบันโดยเฉพาะมุสลิมะฮฺที่มีปญหาทางดานคุณธรรม จริยธรรม จึงทําใหผูวิจัยมีความตองการที่จะศึกษาและคนควาถึงวิธีการแกปญหาจากแบบฉบับของทาน หญิงคอดิญะฮฺ( ) ประวัติศาสตรอิส ลามไดจ ารึก เรื่องราวของบรรดามุสลิม ะฮฺที่มีเ กียรติ เขาเหลานั้นไดแสดง บทบาทบรรลุถึงความสําเร็จพรอมๆกับผูชาย เสียงแรกของผูหญิงที่ตอบรับการเชิญชวนของทานเราะสูล ()ก็คือเสียงของทานหญิงคอดิญะฮฺ( )5 (อับดุลลอฮฺ บิน อิบรอฮีม อัลอันศอรี,1981 :134) เลือดหยดแรก ที่หลั่งออกมาเพื่ออิสลาม ก็เปนเลือดสุมัยยะฮฺ แมของอัมมารฺ ภรรยาของยาซิร มุสลิมะฮฺในอดีตมีบทบาทตอ การสนับสนุนศาสนาอิสลามไมวาจะในดานความคิดที่ดี มีจรรยามารยาทที่งดงาม เขมแข็งและกลาหาญ ให การอบรมเลี้ยงดูบุตรหลาน เปนแบบอยางที่ดีและเผยแผศาสนาอิสลามตามความสามารถ (อิบรอฮีม มุหัม มัด หะซัน อัลญะมัล, ม.ป.ป. :195) ทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( ) คือ หญิงหมายชาวอาหรับเผากุรอยชฺผูมีมารยาทที่งดงาม และมีคุณธรรมอันสูงสง จนถูกเรียกวา “ฏอฮิเราะฮฺ”6 เปนผูที่ไดรับการเชิดชูเกียรติจาก อัลลอฮฺ ()และทรงคัดเลือกมาจากบรรดาสตรีชาวอาหรับมากมายหลากหลายเผาพันธุ เพื่อเปนภรรยาคนแรกของ เราะสูลแหงประชาชาติอิสลาม และทําหนาที่ปลูกเพาะเมล็ดพันธุแหงอิสลามใหเจริญเติบโตขึ้นมาอยาง งดงามและสูงสง และทานเราะสูล()ไมไดสมรสกับสตรีอื่นในขณะที่รวมทุกขรวมสุขอยูกับท าน (หาฟซ อะบูลฟดาอฺ อิสมาอีล บินกะษีร, 1992 : 234) นางเปนสตรีที่ไดรับสมญานามวา “มารดาแหงศรัทธาชน” ซึ่ง นางเปนแบบอยางอันล้ําคาแกส ตรีมุส ลิม ทุก คนในการดําเนินรอยตามและยัง เปนกุล สตรีที่มีความ เพียบพรอมทั้งกริยามารยาท มีเกียรติที่สูงสง เขาใจศาสนาอยางลึกซึ้งและมีสติปญญาที่ฉลาดหลักแหลม รอบคอบและชอบชวยเหลือผูอื่น (อิบรอฮีม มุหัมมัด หะซัน อัลญะมัล, ม.ป.ป.: 14) ในชวงที่แผนดินอารเบียกําลังตกอยูในยุคแหงความปาเถื่อนโงเขลาและเสื่อมทรามทางศีลธรรม รอบๆกะอฺบะฮฺ7 ที่นครเมืองมักกะฮฺ8เต็มไปดวยเทวรูปตางๆมากมาย การเขนฆานองเลือด การผิดประเวณี และความอยุติธรรมตางๆมีอยูอยางแพรหลาย ดวยความเบื่อหนายกับสภาพสังคมเสื่อมเสียและตกต่ํา ทาน เราะสูล()จึงมักปลีกตัวไปหาความสงบในถ้ําหิรออฺ9 บนภูเขาลูกหนึ่งนอกเมืองมักกะฮฺเปนประจํา (มุหัม มัด บิน อับดุลวะฮฺฮาบ, 1418 :78) เพื่อทําสมาธิ คิดใครครวญถึงวันแหงการฟนคืนชีพ วันแหงการสอบสวน สวรรคและนรก (หะซัน อิบรอฮีม หะซัน, 2001. : 67) ในชวงแรกตอนญิบรีล10มาหาทานเราะสูล()และ ไดสอนคัมภีรอัลกุรอานใหกับทานเราะสูล()เหตุการณในครั้งนี้ทําใหทานเราะสูล()รูสกึ ตกใจกลัวเปนอัน มาก ทานจึงรีบเดินทางกลับบานและบอกเลาเรื่องราวที่ทานไดประสบใหกับทานหญิงคอดิญะฮฺ ( )ฟงทาน

5

หมายถึง เปนคํายอมาจาก “รอฎิยัลลอฮุอันฮา”หมายถึงอัลลอฮฺทรงปติตอเขา เปน คําที่ใชกับเศาะหาบียะฮฺเอกพจนหญิง หมายถึง ผูที่สะอาดและบริสุทธิ์ 7 หมายถึง คือแทนหินหรืออาคารที่มีดานสี่เหลี่ยมเปนที่ที่มุอฺมินทุกคนผินหนาขณะทําการละหมาด ตั้งอยูตรงกลางมัสยิดอัลหะรอมที่เมืองมัก กะฮฺ 8 เปนเมืองสําคัญทางศาสนาของมุสลิมทัว่ โลกตั้งอยูทางทิศตะวันตกของประเทศซาอุดีอารเบีย 9 ตั้งอยูบนภูเขานูร เปนสถานที่ที่ทานเราะสูล ()เขาไปทําอิบาดะฮฺกอนถูกแตงตั้งใหเปนเราะสูล ภูเขาลูกนี้มีความสูง 634 เมตร มีรูปราง คลายตะโหงกอูฐ ถ้ํานี้มีลักษณะเปนชองลึก จุคนนัง่ ได 5 คน มีความสูงขนาดคนปานกลางยืน คนที่อยูบนภูเขานี้สามารถมองเห็นนครมักกะฮฺ และอาคารบานเรือน 10 หมายถึง ชื่อของมะลาอีกะฮฺ(ทูตของอัลลอฮ) ผูทําหนาที่นําสาสนและคําบัญชาของอัลลอฮหรือกุรอานมายังนบีมุหัมมัดตลอดระยะเวลาแหง การปฏิบัติภารกิจเผยแผอิสลามในทุกกิจการทุกอยางที่พระองคทรงมอบให 6

658

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

หญิงปลอบใจทานเราะสูล ()และนําเรื่องดังกลาวปรึกษากับทานวะรอเกาะฮฺ บิน เนาฟล 11ลุง ของนาง (มุหัมมัดซะอีดรอมะฎอนอัลบูตี, 1999: 62) หลังจากอัลลอฮฺ()ไดแตงตั้งใหเปนเราะสูลแหงมนุษชาติ ทานเราะสูล()ก็ไดทําการเผยแผ ศาสนา ผูคนในคาบสมุทรอารเบียตางประหลาดใจตอการเชิญชวน ไมมีใครยืนเคียงขางทานเราะสูล()แต ทามกลางความเงียบนั้นมีเสียงตอบรับจากหัวใจของทานหญิงคอดิญะฮฺ( )ผูยืนยันการเปนเราะสูล นางเปน สตรีคนแรกที่ศรัทธาและตอบรับการเชิญชวนของทานเราะสูล ()(อาดิล อะหฺมัด อับดุลเมาูดและอะลี มุหัมมัด มุเอาวัด, 1993 :15) เมื่อขาวการเผยแผศาสนาอิสลามของทานเราะสูล()แพรกระจายออกไปก็ทําใหเกิดปฏิกิริยา ตอตานจากบรรดาผูนํากุรอยชฺ ทานเราะสูล()และบรรดามุสลิมถูกรังแกกลั่นแกลงขมเหงใสรายและการดู ถูกเหยียดหยาม ทานหญิงคอดิญะฮฺ( )เปนสตรีที่มีอิทธิพลและสนับสนุนการเผยแผศาสนาอิสลามของทาน เราะสูล()โดยที่ทานยอมเสียสละอุทิศตนและทรัพยสิน จนกระทั่งไดรับความทุกขยากเมื่อถูกผูนํากุรอยชฺ ทําการปดลอมทางเศรษฐกิจและสังคม (อิบรอฮีม มุหัมมัด หะซัน อัลญะมัล , มปป.:14) ประวัติศาสตรได จารึกถึงการเปนวีรสตรีที่มีความอดทนสูง เปนแรงขับเคลื่อนใหกับทานเราะสูล ()เพื่อปฏิรูปจิตใจของ มนุษยและยกระดับสังคมใหเปนสังคมแหงเอกภาพและอารยธรรม สรางความปรองดอง ความเปนอันหนึ่ง อันเดียวกันใหอุบัติขึ้นบนหนาแผนดิน ดวยเหตุนี้จึง เกิดแรงจูง ใจใหผูวิจัยมีความตั้ง ใจและมุงมั่นที่จ ะพยายามศึกษา วิเคราะหและ คนควาขอมูล จากตําราหนัง สือและงานวิจัยที่เ กี่ยวของถึง เรื่อง บทบาทของทานหญิง คอดิญ ะฮฺ ( )ใน ประวัติศาสตรอิสลาม เนื่องจากผูวิจัยเห็นวาทานหญิงคอดิญะฮฺ( )มีบทบาทที่พิเศษเหนือกวาสตรีคนอื่นๆ ในประวัติศาสตรอิสลาม ดังที่ไดกลาวมาแลวซึ่งยากที่จะหาบุคคลอื่นมาเทียบไดและผูวิจัยจะพยายามศึกษา คนควาและรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆ ทั้งในและตางประเทศในการนําเสนอเปนวิทยานิพนธ เพื่อใหเกิดประโยชนแกผูวิจัยและผูสนใจตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยมีวัตถุประสงคในการวิจัยดังตอไปนี้ 1.เพื่อศึกษาชีวประวัติของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( ) 2.เพื่อศึกษาบทบาทในฐานะภรรยาที่ศอลิหะฮฺในดานการดูแลและใหกําลังใจสามีและบทบาทใน ฐานะมรรดาแหงศรัทธาชนในดานการเลี้ยงดูบุตรและใหคําปรึกษาแกบรรดาศรัทธาชน 3.เพื่อศึกษาบทบาทของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( )ในฐานะดาอิยะฮฺ12ในภาวะวิกฤตทาง สังคมและเศรษฐกิจ ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงประวัติศาสตรและเปนวิจัยเอกสารซึ่งผูวิจัยไดจํา กัดขอบเขต การศึกษาดังตอไปนี้

11 12

เปนผูที่ไดรับการศึกษาและมีความเชี่ยวชาญในคัมภีรโบราณของศาสฑูตทานกอนๆ มาจากภาษาอาหรับ รูปคําเดิมเขียนวา “ ‫ ” ﺩﺍﻋﻴﺔ‬หมายถึง นักทํางานเพื่อเผยแพรอิสลาม Graduate School and Research / 15 May 2013

659


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

1.ผูวิจัยศึกษาชีวประวัติของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( )เริ่มตั้งแตชีวิตในสมัยญาฮิลิยะฮฺ การแตงงานกับทานเราะสูล ()ความสัมพันธฉันทสามีภรรยา สถานะและสตรีคนแรกที่เขารับศาสนา อิสลาม จนถึงบั้นปลายชีวิต 2.วิเคราะหถึงบทบาทของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( )ในประวัติศาสตรอิสลาม ดานสังคม และเศรษฐกิจ ในประเด็นยอยดังนี้ 2.1. บทบาทในฐานะภรรยาที่ศอลิหะฮฺในดานการดูแลและใหกําลังใจสามี 2.2. บทบาทในฐานะมารดาแหงศรัทธาชนในดานการเลี้ยงดูบุตรและใหคําปรึกษาแกบรรดาศรัทธา ชน 2.3. บทบาทในฐานะดาอิยะฮฺในภาวะวิกฤตทางสังคมและเศรษฐกิจ ผูวิจัยจะทําการศึกษาเพิ่มในเรื่องการปกปองทานเราะสูล ()และมุสลิมีนจากการถูกทํารายของ ชาวมุชริก การแสดงออกของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด ( ) ตอการอพยพสูเมืองหะบะชะฮฺและ จุดยืนของนางตอการกีดกั้นทางสังคมและเศรษฐกิจ วิธีการดําเนินการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้เปนงานวิจัยเชิงประวัติศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวประวัติและบทบาทของบุคคลคือ บทบาทของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( )ในประวัติศาสตรอิสลามเปนประการสําคัญซึ่งถือเปนวิจัย เชิงคุณภาพและวิจัยเอกสาร ดังนั้นจะใชวิธีการศึกษาทางประวัติศาสตร โดยศึกษาขอมูลจากเอกสาร โดย นําเสนอความเขาใจเรื่องนี้แบบพรรณนาวิเคราะหซึ่งงานวิจัยนี้มีห ลัก การที่สําคัญ 2 ประการคือ การ รวบรวมขอมูลและการวิเคราะหขอมูล ขอมูลที่ใชในการศึกษาคนควาจะใชขอมูลจากเอกสารขั้นปฐมภูมิ(Primary Sources)เอกสารทุติย ภูมิ(Secondary Sources)และเอกสารขั้นตฺติยภูมิ(Tertiary Sources)ทั้งนี้ขอมูลจากแหลงตางๆที่นํามา เพื่อหาคําตอบเกี่ยวกับบทบาทของทานหญิงคอดิญะฮฺบินติ คุวัยลิด( )ในประวัติศาสตรอิสลามโดยมีวิธีการ ดําเนินการวิจัยมีขั้นตอนตอไปนี้ 1. การรวบรวมขอมูล 1.1 ศึกษาจากเอกสารที่เปนหลักฐานขั้นปฐมภูมิดังนี้ ก. หนังสือหะดีษตางๆ ข. หนังสือประวัติศาสตรเกี่ยวกับทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( ) 1.2 ศึกษาจากเอกสารที่เปนหลักฐานเอกสารทุติยภูมิ (Secondary Sources) ซึ่งหมายถึงหนังสือ หรือเอกสารทุกเลมที่เกี่ยวของกับทานหญิงคอดิญะฮฺ บินตุ คุวัยลิด( )จากตําราภาษาอาหรับภาษาไทยและ ภาษามลายูดังนี้ ก. หนังสือเกี่ยวกับชีวประวัติทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( ) ข. หนัง สือที่เกี่ยวกับ บทบาทของทานหญิง คอดิญ ะฮฺ บินติ คุวัยลิด ( )ในประวัติศาสตร อิสลาม 1.3 ศึกษาจากเอกสารตติยภูมิ(Tertiary Sources)ไดแกหนังสือทั่วไป สารานุกรม วารสารตางๆ และขอมูลสืบคนจากเว็บไวต 1.4 รวบรวมขอมูลที่ไดจากการคนควา 660

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

1.5 ตรวจสอบขอมูลโดยทําการวิเคราะหนําขอมูลมาเปรียบเทียบใหสอดคลองกับหัวขอใหญและ หัวขอยอย 1.6 จัดระเบียบที่ไดใหเปนหมวดหมูอยางเปนระบบโดยการจําแนกขอมูลตามหัวขอใหญและหัวขอ ยอยแลวคนหาขอมูลที่มีความสัมพันธกัน 2. การวิเคราะหขอมูล การทําวิจัยในครั้งนี้ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหขอมูลเพื่อตอบจุดประสงคของการวิจัยโดยการบรรยาย ตามคุณลักษณะหรือพรรณนาโดยการใชวิธีอนุมานและวิธีอุปมานและทําการสรุปผลการวิจัย ผลการวิจัย จากการศึกษาและวิเคราะหชีวประวัติของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด ( )ในประวัติศาสตร อิสลาม ผูวิจัยไดแยกเปนประเด็นสําคัญดังนี้ สตรีมุสลิมในประวัติศาสตรอิสลามนั้น มีบทบาทสําคัญและสูงเดนเคียงบาเคียงไหลผูชายในเรื่อ ง การตอสูเพื่อเสริมสรางสังคมตามหลักคุณธรรมและการเสริมสรางสันติสุขและการเผยแผอิสลาม การอบรม ขัดเกลาและการศึกษาอิส ลาม ตลอดจนการฟนฝาอุป สรรคและภัยคุก คามตางๆในภารกิจ การสืบทอด เจตนารมณอันยิ่งใหญและสรางคนรุนใหม ประวัติศาสตรอิสลามไดยืนยันวาผูหญิงไดแสดงบทบาทเทาเทียม กับผูชายในการเผยแผอิสลาม หนึ่งในนั้นคือทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด ( ) ทานหญิงคอดิญะฮฺ( )เกิดในปที่ 68 กอนฮิญเราะฮฺ เกิดจากบิดามารดาที่มีเชื้อสายกุรอยซฺ บิดาชื่อ คุวัยลิด บุตร อะซัด บิน อัลดุลอุซซากุศอย บิน กิลาบ และทานอุซซา เปนพี่นองของอับดุมะนาฟหนึ่งใน ทวดของทานเราะสูล() พอของทั้งสองคือกุศอย บิน กิลาบ เชื้อสายของทานหญิงนั้นมาประจบกับทาน เราะสูล() ในทวดคนที่สี่ คือ กุศอย บิน กิลาบ ทานหญิงคอดิญะฮฺ( )เสียชีวิตในปที่ 10 แหงการ แตงตั้งเปนนบี และเปนปเดียวกับที่ลุงของทานเราะสูล() คือทานอะบูฏอลิบเสียชีวิต ทานหญิงคอดิญะฮฺ( )เปนหญิงหมายชาวอาหรับเผากุรอยชฺผูมีมารยาทที่งดงาม และมีคุณธรรมอัน สูงสง จนถูกเรียกวา “ฏอฮิเราะฮฺ” หมายถึงผูที่สะอาดและบริสุทธิ์ ทานหญิงเปนผูที่ไดรับการเชิดชูเกียรติ จากอัลลอฮฺ()และทรงคัดเลือกมาจากบรรดาสตรีชาวอาหรับมากมายหลากหลายเผาพันธุ เพือ่ เปนภรรยา คนแรกของผูนําแหงประชาชาติอิสลาม และทําหนาที่ปลูกเพาะเมล็ดพันธุแหงอิสลามใหเจริญเติบโตขึ้นมา อยางงดงามและสูงสง ทานหญิงไดใหกําเนิดบุตรกับทานเราะสูล() จํานวน 6 คน บุตรชาย 2 คนนั้นคือ บุตรชายคนที่ 1 คือ กอชิม มีฉายาวา ซัยยิดุซซะกอลัยนฺ บุตรชายคนที่ 2 คือ อับดุลลอฮฺ มีฉายาวา ฏอยยิบ และฏอฮิร โดยที่ลูกชายของนางทั้งสองคนไดเสียชีวิตตั้งแตยังเยาววัย มีบุตรหญิง 4 คนดวยกัน บุตรหญิง คนที่ 1 คือ ไซนับ บุตรหญิง คนที่ 2 คือ รุกอยยะฮฺ บุตรหญิง คนที่ 3 คือ อุมมุลกัลษูม บุตรหญิง คนที่ 4 คือ ฟาฏิมะฮฺ ทานหญิงทําหนาที่มารดาซึ่งเปนที่รักของบรรดาลูกๆ นางยังรับอุปการะซัยดฺใหเปนหนึ่งใน สมาชิก ของครอบครัว ในเวลาเดียวกันทา นเราะสูล ( ) ไดนําอาลีม าอุ ป การะซึ่ง นําความปติยินดีแ ก ทานเราะสูล() และทานเราะสูล() ไดใหเกียรติทานหญิงมากกวาภริยาคนอื่นๆ และไมไดสมรสกับสตรี อื่นในขณะที่รวมทุกขรวมสุขอยูกับทานหญิง ทานหญิงเปนสตรีที่ไดรับสมญานามวา “มารดาแหงศรัทธา ชน” ซึ่งทานเปนแบบอยางอันล้ําคาแกสตรีมุสลิมทุกคนในการดําเนินรอยตามและยังเปนกุลสตรีที่มีความ เพียบพรอมทั้งกิริยามารยาท หลังจากทราบและมั่นใจตอการเปนเราะสูลของทาน ทานเราะสูล() ก็ไดทําการเผยแผศาสนา ผูคนในคาบสมุท รอารเบียตางประหลาดใจตอการเชิญชวน ไมมีใครยืนเคียงขาง ทานเราะสูล () แต Graduate School and Research / 15 May 2013

661


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ทามกลางความเงียบนั้นมีเสียงตอบรับจากหัวใจของทานหญิงคอดิญะฮฺ( )ยืนยันการเปนเราะสูล และเปน สตรีคนแรกที่ศรัทธาและตอบรับการเชิญชวนของเราะสูล() เมื่อขาวการเผยแผศาสนาอิสลามของทานเราะสูล () แพรกระจายออกไปก็ทําใหเกิดปฏิกิริยา ตอตานจากบรรดาผูนํากุรอยชฺ ทานเราะสูล() และบรรดามุสลิมถูกรังแกกลั่นแกลงขมเหงใสรายและการ ดูถูกเหยียดหยาม ทานหญิงเปนสตรีที่มีอิทธิพลและสนับสนุนการเผยแผศาสนาอิสลามของทานเราะสูล() โดยที่ทานยอมเสียสละอุทิศตนและทรัพยสิน จนกระทั่งไดรับความทุกขยากเมื่อถูกผูนํากุรอยชฺทําการปด ลอมทางเศรษฐกิจและสังคมเปนเวลา 3 ป จากเศรษฐินีที่ร่ํารวยมีเงินตรามากมายมหาศาล กลายเปนผูหญิง ที่ไมเหลืออะไรเลย ทานหญิงมีความประเสริฐและเปนแบบอยางที่ดีแกบรรดาสตรีทั้งหลาย ทั้งในดานบุคลิก จรรยามารยาท มีมิตรไมตรีกับทุกๆคนซึ่งเปนเหตุใหผูคนรักและนึกถึงทานหญิงเสมอ คอยใหคําปรึกษาและ ปลอบขวัญแกบรรดาผูศรัทธา และทานหญิงยังเปนผูที่มีสวนสําคัญในการเผยแผศาสนาอิสลามเปนแรง ขับเคลื่อนใหกับทานเราะสูล() ในการดะวะฮฺอยางเปดเผย ปกปองทาน เราะสูล() มุสลีมีนจากการถูก ทํารายของมุชริกและรวมทุกขยากในภาวะวิกฤติการปดกั้นทางเศรษฐกิจและสังคม อภิปรายผล ในการวิ จัยเรื่องบทบาทของท านหญิง คอดิญ ะฮฺ บิน ติ คุ วัยลิ ด ( )ในประวั ติศาสตร อิส ลามมี วัตถุประสงคเพื่อศึกษาชีวประวัติของทานหญิงคอดิญะฮฺ( )เพื่อศึกษาบทบาทของทานหญิงคอดิญะฮฺ ( ) ในฐานะภรรยาที่ศอลิหะฮฺในดานการดูแลและใหกําลังใจสามีเพื่อศึกษาบทบาทของทานหญิงคอดิญะฮฺ( ) ในฐานะมารดาแหงศรัทธาชนในดานการเสี้ยงดูบุตรและใหคําปรึกษาแกบรรดาศรัทธาชนและเพื่อศึกษา บทบาทของทานหญิงคอดิญะฮฺ( )ในฐานะดาอิยะฮฺในภาวะวิกฤตทางสังคมและเศรษฐกิจ จากการศึกษา ขอมูลผูวิจัยขออภิปรายผลตามวัตถุประสงคการวิจัยดังตอไปนี้ 1. ทานหญิงคอดิญะฮฺ( )เกิดในปที่ 68 กอนฮิญเราะฮฺ เกิดจากบิดามารดาที่มีเชื้อสาย กุรอย ซฺ บิดาชื่อคุวัยลิด บุตร อะซัด บิน อับดุลอุซซา กุศอย บิน กิลาบ และทานอุซซา เปนพี่นองของอับดุนมะ นาฟหนึ่งในทวดของทานเราะสูล() พอของทั้งสองคือกุศอย บิน กิลาบ ทานหญิงคอดิญะฮฺ( )และเชื้อ สายของทานหญิงนั้นมาประจบกับทานนบีในทวดคนที่สี่ คือ กุศอย บิน กิลาบ 2. ทานเราะสูล() แตงงานกับทานหญิงคอดิญะฮฺ( )เมื่ออายุได 25 โดยนักวิชาการสวนใหญมี ความเห็นตรงกัน ในขณะที่ทานหญิง อายุ 40 ป กอนที่ทานเราะสูล() จะถูกแตงตั้งใหเปน นบี 15 ป 3. ทานหญิงคอดิญะฮฺ( )ไดรับฉายาที่ดี ประเสริฐ สูงสงและยิ่งใหญที่สุดคือ “ซัยยิดะฮฺ นิซาอฺ อัล อาละมีน” ( ‫ ) ﺳﻴﺪﺓ ﻧﺴﺎﺀ ﺍﻟﻌﺎﳌﲔ‬ไมมีใครไดรับ ฉายานี้แมแตบรรดาภารยาของทาน เราะสูล ( ) นอกจากทานหญิงและลูกสาวของทานหญิงคือทานหญิงฟาฏิมะฮฺ และไมมีใครที่เคยไดรับฉายานี้นอกจาก สตรีคนที่ถูกคัดเลือกจาก 2 คน คือ ทานหญิงมัรยัม บุตร อิมรอน และทานหญิงอาซิยะฮฺ บุตร มุซาหิม ทาน เราะสูล() ไดกลาววา ‫اﻣْﺮ ُة‬ َ‫ﺧﺪﳚَﺔُ ﺑ ِ ﻨ ُْﺖ ُﺧ َﻮﻳْﻠ ِ ٍﺪ َوﻓَﺎﻃ ِ َﻤﺔُ ﺑ ِ ﻨ ُْﺖ ُﳏ ﱠ ٍَﻤﺪ َو ِآﺳﻴَﺔُ ﺑ ِ ﻨ ُْﺖ ُﻣﺰَ ِاﺣ ٍﻢ َ أ‬ ِ َ ‫اﳉ َ ِﻨﱠﺔ‬ ْ ِ‫أَ َﻓ)) َْﻀ ُﻞ ﻧ ِ َﺴ ِﺎء أَﻫْ ﻞ‬ (( َ‫أَﲨَﻌﲔ‬ ِ ْ ‫َو َﻣ ْﺮ ُﻳَﻢ اﺑ ْ ﻨَﺔُ ِﻋْﻤ َﺮانَ َر ِﴈ َ ا ﱠ ُ ﻋَ ﻨ ْﻬُ ﻦﱠ‬

662

Graduate School and Research / 15 May 2013

َ‫ﻓ ِ ْﺮﻋَ ﻮْ ن‬


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความวา “ทานเราะสูล() กลาววา สตรีชาวสวรรคที่ประเสริฐที่สุดมี 4 คน คือทาน หญิงคอดิญะฮฺ บุตรี คุวัยลิด ทานหญิงฟาฏิมะฮ บุตรี มุหัมมัด ทานหญิงอาซิยะฮฺ บุตรี มุซ าฮิม ชายาของฟรเอานฺ และทานหญิงมัรยัม บุตรี อิม รอน” (อะหฺมัด , มุส นัด , เลขที่: 2751) 4. ทานหญิงคอดิญะฮฺ( )เสียชีวิตในปที่ 10 แหงการแตงตั้งเปนนบี และเปนปเดียวกับที่ลุงของ ทานเราะสูล() คือทานอะบูฏอลิบเสียชีวิต มนุษยตองรับขาวคราวทีน่ าเสียใจ เจ็บปวด แตเปนการรําลึกที่ ดี ดังกลาวนั้นเกิดขึ้นกอนการอพยพ 3 ป ในเดือนรอมฎอนที่มักกะฮฺ กอนที่ทานเราะสูล() อพยพไปยัง มะดีนะฮฺ และกอนถูกบัญญัติละหมาด กอนเหตุการณอิสรออฺ ทานหญิงมีอายุ 65 ปและทานเราะสูล () 50 ป นางอยูกับทานเราะสูล() 25ป ทานเราะสูล() เสียใจมากตอการจากไปของผูที่เปนที่รักของทาน ปนั้นจึงถูกขนานนามวาปแหงการเศราสลดใจ 5. ทานหญิงคอดิญะฮฺ( ) มีคุณสมบัติพิเศษโดยที่อัลลอฮฺทรงฝากสลามมากับทานญิบรีลไปถึงทาน หญิงคอดิญะฮฺ( ) นับวาเปนสตรีที่ประเสริฐไมมีสตรีใดเคยไดรับมากอน ทานหญิงมีบทบาทสําคัญในการ ขับเคลื่อนอิสลามในยุคตน ทานหญิงจะเสียสละทรัพยสินสวนตัวใหแกทานเราะสูล () และตองทนรับ อันตรายที่เกิดขึ้นในเรื่องตางๆที่เกี่ยวของกับอิสลาม สิ่งหนึ่งซึ่งนับเปนเกียรติแกทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุ วัยลิด( )ที่ไดรับจากทานเราะสูล ()คือทานเราะสูล()ไม เคยสมรสกับหญิงใดมากอนเลยที่จะสมรสกับ ทานหญิง คอดิญะฮฺ ( ) และทานเราะสูล() มีบุตรกับทานหญิงหลายคนดวยกัน จนกระทั่งทานหญิง คอดิญะฮฺ( )ไดเสียชีวิต จึงไดพบวาทานหญิงคอดิญะฮฺ( )เปนคูชีวิตที่ดีที่สุด และแทจริง อัลลอฮฺ()ทรงมี คําสั่งใหทานเราะสูล() แจงขาวดีถึงปราสาทหลังหนึ่งในสวรรคสําหรับทานหญิงคอดิญะฮฺ ( )ที่สรางดวย ทองคําและเงิน ในปราสาทหลังนั้นจะไมมีเสียงอึกทึกครึกโครมใดๆและจะไมมีความเหน็ดเหนื่อยอันใดเลย 6. เมื่อทานเราะสูล() ไดรับคําสั่งจากอัลลอฮฺใหลุกขึ้นยืนประกาศความสูงสงของอิสลามบนหนา แผนดินอาหรับมักกะฮฺครั้งแรก สตรีคนแรกที่อัลลอฮฺทรงคัดเลือกใหเปนผูที่ยอมจํานนตอพระองค เปนผูที่ ไดรับรัศมีแหงอิสลามก็คือ ทานหญิงคอดิญะฮฺ( )เปนผูที่เชื่อและศรัทธาตอทุกสิ่งที่ทานเราะสูล () นํามา ทามกลางผูคนทั้งหลายที่ตั้งตนเปนศัตรูและขับไล ในขณะที่ทานเราะสูล () ตองพบกับการปฏิเสธและ ตอตานอยางรุนแรง ถูกประณามดวยถอยคําที่สรางความเจ็บปวด ถูกทําราย และถูกลอบปลิดชีวิต ทาน หญิงคอดิญะฮฺ( ) คือผูชวยเหลือที่ภักดี ผูคอยปลอบโยนใหกําลังใจ 7. ทานหญิงคอดิญะฮฺ( ) เสียสละเวลาและอุทิศตนในการอบรมเลี้ยงดูบุตรและเปนภรรยาที่ศอลิ หะฮฺ คอยดูแลอบรมและฝกฝนบรรดาลูกๆของทานหญิงดวยการอบรมที่ดีสั่งสอนและใหความรูในเรื่องที่ ควรรูเพื่อลูกๆสามารถยืนหยัดและดํารงชีวิตดวยตนเอง เปนแมบานที่ดี สามารถดูแลตัวเองเมื่อตองแยก ออกจากครอบครัวไป ไมทําตัวเหนือผูอื่น มีความสุขและประสบความสําเร็จและเชิญชวนบรรดาลูกๆและผู ที่อยูในความอุปการะใหศรัทธาตออัลลอฮ และยึดมั่นในสิ่งที่มาจากทานเราะสูล () และเพื่อใหลูกๆของ ทานหญิงเปนบรรดาผูศรัทธาแถวหนาแหงการ ดะวะฮฺ ทานหญิงคอดิญะฮฺ ( ) เปนมารดาของบรรดามุมิน ผูศรัทธา เปนผูนําบรรดาสตรีแหงโลกในยุคของทานหญิง เปนมารดาของบรรดาลูกๆทานเราะสูล() นอก จากอิบรอฮีม ซึ่งมารดาของ อิบรอฮีม คือทานหญิงมาริยะฮฺ อัลกิบฏิยะฮฺ 8.ดานการปรนนิบัติเอาใจสามีใหมีความสุขและความรักใครซึ่งกัน ทานหญิงคอดิญะฮฺ ( )มีการ ดูแลเสื้อผาและการแตงกายของทานเราะสูล()เปนพิเศษ โดยการซักและถนอมเสื้อผาใหสะอาด เรียบ และหอมสดชื่นตลอดเวลา เลือกสรรเสื้อผาตามความชอบของทานเราะสูล ()ดวยตัวของทานหญิงเอง Graduate School and Research / 15 May 2013

663


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

โดยเฉพาะสีขาวสําหรับการออกไปละหมาดและพบปะผูคนมากมาย ซึ่งสตรีในปจจุบันสวนใหญตองออกไป ทํางานนอกบาน ไมมีเวลาดูแลเอาใจใสสามีและลูกๆ ซึ่งบางครั้งบางครอบครัวสามีตองซักผา รีดผา ใน ประเด็นนี้สตรีและเยาวชนสามารถนําไปประยุกตใชในการดูแลสามีเพื่อการสรางความสัมพันธที่ดีใหเกิดขึน้ ในชีวิตคู 9.ทานหญิงคอดิญะฮฺ( ) ใหเกียรติทานเราะสูล()แมวา นางจะมีฐานะที่ร่ํารวยเหนือกวาทานเราะ สูล() แตไมเคยดูถูก ดูแลปรนนิบัติทานเราะสูล()เปนอยางดี ทานหญิงคอดิญะฮฺ( ) แยกสวนของบาน เปนหองสวนตัวเพื่อทานเราะสูล () จะไดปฏิบัติภารกิจอยางสงบเงียบ สามีภรรยาปจจุบันควรที่ศึกษา แบบอยางที่ดีสําหรับการใชชีวิตคู 10.การเห็นอกเห็นใจระหวางกันก็เปนสิ่งสําคัญที่ไมควรมองขาม เมื่อทานเราะสูล()กลับจากการ ทําภารกิจ การดะวะฮฺ ท านหญิ ง คอดิ ญ ะฮฺ ( ) จะใหทานเราะสูล ( ) พัก ผ อนในหองนอน และคอย ปรนนิบัติอยางใกลชิด เชน รับฟงปญหาและคอยหมผาใหสามีเมื่อเหน็ดเหนื่อยจากการเผชิญโลกภายนอก 11.ทานหญิงคอดิญะฮฺ( ) เปนแบบอยางแมที่ดีในการอบรมเลี้ยงดูลูก ในชวงเวลาที่ลูกๆหยาราง กับสามี พอแมคือกําลังใจที่ดีสําหรับลูกๆ แตหลายครอบครัวในปจจุบัน บางครั้งลูกตองฝาฟนอุปสรรคดัง กลางเพียงลําพัง ตางกับทานหญิงคอดิญะฮฺ ( ) ซึ่งเปนที่ป รึกษาที่ดีสําหรับลูก ๆ ไมแสดงความออนแอ ออกมาใหเห็น สตรีและเยาวชนรุนใหมควรศึกษาเพื่อนํามาประยุกตใชในสังคมปจจุบัน 12.ในภาวะวิกฤตทางสังคมและเศรษฐกิจทานหญิงไดอยูเคียงขางกับบรรดาผูศรัทธาตลอดเวลา ซึ่ง เมื่อทานไดทราบขาววามีชาวมุสลิมถูกรังแกหรือถูกทําราย ทานหญิงเสียใจและเศราโศกเปนอยางยิ่ง และ จะขอดุอาอฺเพื่อขอใหอัลลอฮฺ()ปกปองคุมครองผูศรัทธาจากการทํารายของชาวกุรอยชฺ คอยปลอบขวัญ มุสลิมใหรําลึกถึงผลตอบแทนของพระอัลลอฮฺ()ทานหญิงจะเขาไปคุยกับบรรดามุสลิมะฮฺ คอยบอกให พวกเขาอดทน ยึดมั่นและศรัทธาตอพระองค เพราะความอดทนเปนคุณสมบัติที่สําคัญของผูศรัทธา มันจะ สะทอนใหเห็นถึงความศรัทธาของผูศรัทธาคนหนึ่ง หากผูศรัทธามีความอดทนมากไมปฏิบัติตามอารมณ ความตองการของตัวเอง แสดงใหเห็นวาการศรัทธานั้นสมบูรณ ทานหญิงคอดิญะฮฺ( ) ไมตอบโตอุมมุลญะ มีลเมื่ออุมมุลญะมีลกลาวหาวาราย ใชความอดทนกับทุกการกระทําของอุมมุลญะมีล อดทนตอการถูกกีด กั้นทางสังคมและเศรษฐกิจโดยยังยึดมั่นและศรัทธาตออัลลอฮฺไมเปลี่ยนแปลง ใชทุกอยางในหนทางแหงการ ดะวะฮฺและยอมแบกความเจ็บปวดและความยากลําบาก ทั้งๆ ที่ทานหญิงมีชีวิตที่พรอมทุกอยาง คอยดูแล ทาน เราะสูล() ทั้งกลางวันและกลางคืน และคอยเฝาระวังดวยความเปนหวงวาชาวกุรอยชฺจะมาทําราย สตรีและเยาวชนรุนใหมควรยึดเปนแบบอยางในการสรางครอบครัวและสังคมที่สมบูรณ 13.ในชวงเวลาแหงการดะวะฮฺทานหญิงคอดิญะฮฺ ( )เปนที่ปรึกษาที่ดีแกทานเราะสูล( ) โดย แนะนําใหทานเราะสูล()ประชุมพบปะกับวงศาคณาญาติเพื่อเผยแผศาสนาของพระองค อัลลอฮฺ()ทาน เราะสูล() จึงรวบรวมเครือญาติ และเรียกรองสูการศรัทธาตออัลลอฮฺ()พรอมทั้งเตือนผูที่ไมยอมรับการ เรียกรองเชิญชวนวา จะตองไดรับการลงโทษ 14.ทานหญิงคอดิญะฮฺ( )ทันตอสถานการณตางๆโดยจะติดตามขาวสารความเคลื่อนไหวของชาวกุ รอยชฺตลอดเวลา ดวยการสงคนของนางออกไปหาขาวในเมืองมักกะฮฺ เพื่อวิเคราะหถึงสถานการณความ มั่นคงของทานเราะสูล() 15.ในภาวะวิกฤตทางสังคมและเศรษฐกิจ เมื่อทานหญิงคอดิญะฮฺ( )รับทราบปญหาตางๆเกี่ยวกับ สถานการณการถูกทํารายของบรรดามุสลีมีน ภาวะเศรษฐกิจในชวงการถูกปดลอมทานหญิงคอดิญะฮฺ ( ) 664

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สามารถเก็บความรูสึกเจ็บปวดไดดี จะไมนําไปพูดตอกย้ําและสรางความลําบากใจใหกับทานเราะสูล() และมุสลิมผูศรัทธาใหเสียขวัญและกําลังใจ ขอเสนอแนะ จากการศึก ษาวิจัยเรื่อง “บทบาทของทานหญิง คอดิญ ะฮฺ บินติ คุวัยลิด ( )ในประวัติศาสตร อิสลาม” ผูวิจัยมีขอเสนอแนะตอผูที่จะทําวิจัยตอจากนี้หรือผูสนใจทั่วไป ดังตอไปนี้ 1. ควรมีการศึกษาบทบาทของทานหญิงรุกอยยะฮฺ บินติ มุหัมมัด()ในการอพยพสูเมืองหะบะชะฮฺ 2. ควรมีการศึกษาแนวทางการเลือกบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวยั ลิด( ) 3. ควรมีการศึกษาบทบาทของทานหญิงฟาฏิมะฮฺ บินติ มุหัมมัด()ในการปกปองทานเราะสูล() 4. การอพยพสูเมืองหะบะชะฮฺ กรณีศึกษา : จิตวิทยาและวาทศิลปในการโนมนาวใจคน 5. ควรมีการศึกษาถึงการแนวทางการสรางชีวิตครอบครัวที่สมบูรณแบบและการเปนแรงผลักดันที่ ดีใหกับครอบครัวและสังคม 6. มหาวิทยาลัยควรนําชีวประวัติของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( )ใชประกอบเปนหลักสูตร การอบรมและสัมมนาตางๆที่เกี่ยวกับมุสลิมะฮฺใหแกบรรดาผูนําองคกรตางๆ และผูสนใจทั่วไป 7. มหาวิทยาลัยควรนําชีวประวัติของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( )และบุคคลสําคัญอื่นๆ มาบรรจุเปนหลักสูตรรายวิชาประวัติศาสตร เพื่อใหนักศึกษามีความภาคภูมิใจในบรรพบุรุษในครั้งอดีตกาล และไดเขาใจประวัติศาสตรอยางถูกตอง 8. อยากใหสตรีในทุกภาคสวนและผูสนใจทั่วไป ไดศึกษาชีวประวัติของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( )แลวนําไปสูการปฏิบัติ 9. ควรจัดพิมพและเผยแพรบทบาทของทานหญิงคอดิญะฮฺ บินติ คุวัยลิด( )สูมุสลิมะฮฺทุกระดับ เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต 10. ควรจัดทําใหเปนหนังสือตําราเรียน หนังสืออานประกอบสําหรั บนักเรียนในการอางอิงหรือ ประกอบการเรียนในระดับมัธยมและอุดมศึกษา เอกสารอางอิง Al Quraan al karim Abi Al-fida’ Ibnu kathir Al-damsyikiyy. 2001. Al-bidayah wa Al-nihayah.Bayrut:Dar Al-kutub Al-islamiyyah. c adil Ahmad Abdulmaujud dan Ali Muhammad Mucawwad. 1993. Subulu Al-huda wa Alrashad fi sirah khayri Al-c ibad. Bayrut: Dar Al-kutub Al- clmiyah. Ibrahim Muhammad Hasan Al-jamal, .n.d. Ummul mu’minin khadijah binti khuylid Al-masalu Al- aacla Linisa’Al- c alamin. Al-qahirah: Dar al-fadilah. Hasan Ibrahim Hasan. 2001. Tarikh Al-islam Al-siyasiyy Wa Al-diniyy Wa Al-thaqafiyy Wa AL-’jtima ciyy. 15 thed. Bayrut: Dar Al-jayl. Muhammad bin c abdulwahhab. 1997. Mukhtasar Sirah Arrasul. sl: wizarah Al-shu’un Alislamiyyah Al-‘awqaf Wa Al-dacawah Wa ‘Al-‘rshad. Muhammad Sacid Ramadan Al-buti. 1999. Fiqh Al-sirah Al-nabawiyyah Maca Maujiz Li Tarikh Al-khilafah Al-rashidah. Bayrut: Dar Fikr Al-muc asir. Graduate School and Research / 15 May 2013

665



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

แนวทางการพัฒนาปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนน ในเขตเทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา The guidelines of development of lanscape restoration of public place and roads in kotabaru municipality, amphoe raman, changwat yala พิมาน ละสุสามา นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน

บทคัดยอ การศึก ษาครั้ ง นี้มี วั ตถุ ป ระสงคเ พื่ อ ศึก ษาแนวทางการพั ฒ นาปรั บ ปรุง ฟ นฟู ภู มิ ทัศ น ส ถานที่ สาธารณะ ภูมิทัศนถนนในเขตเทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา โดยการศึกษาขอมูล เอกสารที่เกี่ยวของ ไดแก แผนงานการปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนนและแผนงาน สวนที่เ กี่ยวของ ในปงบประมาณ 2554 ดําเนินการสอบถามประชาชนในเขตเทศบาลตําบลโกตาบารู เกี่ยวกับ ความตองการในการพัฒ นาปรับ ปรุง ฟนฟูภูมิทัศน และการประชุม กลุม (Focus Group) ซึ่ง ประกอบดวย ผูบ ริห ารเทศบาล ประธานสภาเทศบาล ปลัดเทศบาล หัวหนาสวนราชการ เจาหนาที่ ผูรับผิดชอบดานการโยธา และผูนําชุมชนในเขตเทศบาลตําบลโกตาบารู ผลการศึกษาพบวา ในปจจุบันเทศบาลตําบลโกตาบารูมีการดําเนินการโครงการดานการปรับปรุง ภูมิทัศนเมืองอยางตอเนื่องแตยังขาดแนวทางพัฒนาที่เหมาะสม โดยแนวทางการพัฒนาปรับปรุงฟนฟูภูมิ ทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนน คือ ควรมีก ารเตรียมแผนงานโดยเสนอผานการประชุมประชาคม เพื่อใหตรงความตองการของประชาชนและประวัติศาสตรของเมืองเพื่อนําไปสูการพัฒนาของเทศบาล ควร นําพื้นที่ร กร างวางเปลามาจัด ทําสวนสาธารณะ การกอสรา งสัญ ลัก ษณ ป ระจําเมื องโดยการคํานึง ถึ ง ประวัติศาสตรของเมือง ควรเพิ่ม พื้นที่สีเขียว ติดตั้งปายถนน ปายซอยที่เ หมาะสม โดยมีก ารบูร ณาการ แผนงานพัฒนากับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อมีทิศทางในการพัฒนาที่สอดคลองกัน คําสําคัญ: การพัฒนา, ภูมิทัศน, สถานทีส่ าธารณะ, ภูมิทัศนถนน

Graduate School and Research / 15 May 2013

667


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The purposes of this study are to establish the guidelines for the restoration of landscapes of public places and roads in Kotabaru Sub-district Municipality, Raman District, Yala Province. Data were obtained from three sources. Firstly, a documentation research was conducted from the working plans for restoring the public places and roads and related working plans of the fiscal year B.E. 2554. Secondly, the people residing in Kotabaru Sub-district Municipality were asked about their wishes and needs for the restoration. Finally, the focus-group discussions were conducted among the municipality administrative in Kotabaru Sub-district Municipality, including the president of municipal council, municipal clerks, heads of government sections, public work officials, and community headmen. Results revealed that Kotabaru Sub-district Municipality has renovated its public places and roads continuously. However, there were no established guidelines for the developmental plans for this matter. Several suggestions emerged from the study included, firstly, that the plan for the restoration of landscapes of public places and roads should be proposed for the public hearing. In that way it would be well-suited with the public needs and the local history. Secondly, the abandoned areas should be used for public parks. It was also agreed that a local identity tribute should be constructed, in the municipal area, in accordance with its local history. More green areas should be established. There should be name tabs for all roads and lanes in the municipality. Finally, it was important that all the working plans should be done integrative among all responsible parties. Key Words: Development, landscape, Public Place, Roads

668

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา เทศบาลเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีภารกิจตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แกไข เพื่อเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552 มาตรา 50 โดยมีภารกิจที่สําคัญ เชน การจัดบริการสาธารณะ การใหมี และบํารุง รักษาทางบกและทางน้ํา การรักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดินหรือ ที่สาธารณะรวมทั้ง กําจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล รวมทั้งภารกิจตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 กําหนดใหเทศบาล เมืองพัทยา และองคการบริหาร สวนตําบล มีอํานาจหนาที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะ เพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่นของ ตนเอง เชน จัดใหมีและบํารุงรักษาทางบก ทางน้ํา และทางระบายน้ํา การสาธารณูปโภคและการกอสราง อื่นๆ การสงเสริมการทองเที่ยว การจัดใหมีและบํารุงรักษาสถานที่พัก ผอนหยอนใจ การผังเมือง (กรม สงเสริมการปกครองทองถิ่น, 2553 ) จากอํานาจหนาที่ของเทศบาลในขางตน การสรางภูมิทัศนเมืองที่สวยงามมีความสําคัญมากเพราะ ภูมิทัศนเมืองที่สวยงามนํามาสูความนาอยูของคนในเขตชุมชน ตลอดจนผูสัญจรผานเมืองนั้นๆยอมชวยให เห็นคุณคาของความงามของเมืองที่เกิดจากการใชธรรมชาติและการสรางสรรคของมนุษยเพื่อปนแตงเมือง ให เ กิ ด ความสวยงามที่ แ ตกต า งกั น การสร า งภู มิ ทั ศ น ที่ ดี นํ า ผลดี ม าสู เ มื อ งคื อ การท อ งเที่ ย วตามที่ นักทองเที่ยวคาดหวังหรือสิ่งที่นักทองเที่ยวหวังที่จะมาเห็น เชน เอกลักษณพื้นถิ่น วิถีการดําเนินดําเนิน ชีวิตประจําวันของคนพื้นถิ่น ความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอย และความ รมรื่นของสิ่งแวดลอม รวมทั้งการสัญจรเปนระบบพอสมควร มีความสะดวก ปลอดภัย และระบบปายขอมูลที่มีภาษาอังกฤษเปน ภาษาสากลที่ชวยในการเดินทางทองเที่ยว เปนตน หากภูมิทัศนของเมืองไมดีผูรับผิดชอบในการดําเนินการ พัฒนาจะตองประสบปญหาตางๆ ที่จะเกิดขึ้นในชวงการปฏิบัติการ เชน จะตองใชงบประมาณจํานวนมาก ในการสงเสริมและพัฒนาการทองเที่ยว ไมสามารถแบงโครงการเปนขั้นตอนไดงายนัก และนํามาซึ่งความ ขัดแยงกับหนวยงานอื่นหรือประชาชนผูอาศัยในทองถิ่น (เกริก กิตติคุณ, 2552) เทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา ในอดีตเคยเปนที่ตั้งของเมืองเกาที่สําคัญ ปจจุบันเกิดการเปลี่ยนแปลงจากอดีตคือ จากสังคมชนบทไปสูความเปนสังคมเมือง และเกิดการขยายตัว จากศูนยกลางเมืองไปชานเมืองมากขึ้น จากสภาพแวดลอมแบบชนบทก็ถูกกอสรางใหเปนจากเมืองจากสิง่ ที่ มนุษยสรางขึ้น โดยมีการสรางโครงขายคมนาคมขนสง เปนตังเชื่อมโยงชุมชนตางๆ ผลจากการพัฒนาที่ เกิดขึ้น นํามาซึ่งลักษณะของภูมิทัศนเมืองที่ขาดความสวยงามหรือไมมีความสอดคลองกัน เชน ที่สาธารณะ ประโยชนขาดความสวยงาม ถนนในเขตเทศบาลขาดอัตตะลักษณไมสามารถเปนสิ่งดึงดูดนักทองเที่ยวใน การเดินทางมาทองเที่ยว ฯลฯ ดังนั้นบทความนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพปจจุบันของภูมิทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศน ถนน และเพื่อศึกษาหาแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศน สถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนนในเขต เทศบาลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา เนื่องจากเห็นวาควรจะตองมีการศึกษาเพื่อการเตรียมแนว ทางการพัฒนาเมือง การปรับปรุง ดานภูมิทัศน สถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนน ในเขตเมืองโกตาบารูขึ้น เพื่อรองรับการพัฒนาในอนาคต ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้นและสามารถนําผลที่ไดจาก การศึกษาเปนแนวทางในการพัฒนาเมืองไดตอไป

Graduate School and Research / 15 May 2013

669


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

แนวคิดการปรับปรุงภูมิทัศนเมืองที่ควรคํานึงถึง คํ า ว า “ภู มิ ทั ศ น ” แม จ ะเป น คํ า ที่ ไ ม คุ น เคยโดยทั่ ว ไป หรื อ มั ก ใช กั น เฉพาะในวิ ช าชี พ ทาง สถาปตยกรรม แตความหมาย และความเขาใจนั้น เปนสิ่งที่อยูใกลตัว นั่นเปนเพราะชีวิตผูคนสวนใหญตาง ดํารงชีพในสังคมเมืองที่ประสบพบเห็นความงามของเมืองจนชินตา การเขาใจตามความหมาย และแนวคิด เกี่ยวกับภูมิทัศนเมือง ยอมชวยใหเห็นคุณคาของความงดงามของเมืองที่เกิดจากการใชธรรมชาติ และการ สรรสรางของมนุษย เพื่อปนแตงเมืองแตละเมืองใหเกิดความสวยงามที่แตกตางกัน (เกริก กิตติคุณ, 2552) ภูมิทัศนเมือง เปนการรวมองคประกอบในการรับรูของเมืองจากผูพบเห็น ดวยองคประกอบหลัก 5 อยาง คือ ทางสัญ จร (Paths) ขอบเขต (Edges) ยาน (Districts) จุดศูนยรวม (Nodes) และจุดหมายตา (Landmarks) (Kevin Lynch, 1977: 46) นอกจากนี้ภูมิทัศนเมือง คือ ภาพรวมของเมืองซึ่งเกิดจาก องคประกอบทางกายภาพตางๆซึ่งปรากฏแกสายตา และกอใหเกิดผลทางอารมณและความรูสึกแกผูรับรู องคประกอบ โดยคุณลักษณะของภูมิทัศนเมืองถูกกําหนดขึ้นจากความสัมพันธระหวางถนนและกลุมอาคาร ในพื้นที่เมือง ซึ่งองคประกอบสําคัญที่กําหนดคุณลักษณะของภูมิทัศนเมืองในปจจัยสําคัญที่มีผลตอภูมิทัศน เมือง ไดแก วัสดุที่ใช (Materials) ขนาดสัดสวน (Proportions) และเสนรอบรูป (Profiles) หรือ เสนขอบที่ มองจากดานหนาอาคาร และดานขางอาคาร (Ashihara Yoshinobu,Translated by Lynne E. Riggs, 1983 : 39) การปรับปรุงภูมิทัศนเมืองควรคํานึงถึงการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน มีการคํานึงถึงเอกลักษณของเมือง ทางดานสิ่งแวดลอม สังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจรวมเขาดวยกัน โครงการกอสรางที่สงผลกระทบในทาง ลบที่มีตอภูมิทัศนเมือง โดยไมไดคํานึงเอกลักษณเฉพาะและวิถีชีวิตของเมือง ไดทําลายบรรยากาศการรับรู ทางสุนทรียภาพที่สงผลกระทบตอภูมิทัศนเ มือง ทั้ง นี้แนวทางการจัดการภูมิทัศนเมืองที่เ สริม สรางการ พัฒนาและการอนุรักษอยางสอดคลองกัน ควรยึดถือปฏิบัติ ดังนีค้ ือ ประการแรก การบริหารจัดการในเชิงแผนและนโยบายของหนวยงานในทองถิ่น เปนการวางแผน เพื่ อพัฒ นาและอนุรัก ษทัศนียภาพเมือง ควรเปนแผนในระดั บ แผนปฏิ บัติก ารที่มี ความชัดเจนในการ ดําเนินงาน มีการกําหนดวัตถุประสงค ขั้นตอนกระบวนการดําเนินงาน ระยะเวลาของโครงการตางๆ และ การจัดตั้งงบประมาณ โดยมีหลายหนวยงานที่รับผิดชอบเขามามีบทบาทในการดําเนินงาน อันจะทําใหการ จัดเตรียมงบประมาณเพื่อใชในการดําเนินงานทั้ง หมดจากรัฐบาล รวมทั้งแหลงเงินทุนภายในและจาก ตางประเทศ จากกองทุนเพื่อการอนุรักษและพัฒนาในดานตาง ๆ โดยควรเนนที่การศึกษาคนควาวิจัย เพื่อ เสนอแนะวิ ธีก ารการพั ฒ นาสภาพภูมิทัศนเ มือ ง มากกว านํามาใชใ นการของบประมาณเพื่อปรับ ปรุ ง สภาพแวดลอมทางกายภาพ ประการที่สอง การสรางการมีสวนรวมของชุมชนที่มีตอสภาพภูมิทัศนเมือง เพื่อบรรลุผลที่ไดจาก การการวางแผน ควรไดรับการสนองตอบจากชุมชน และสังคมทองถิ่น โดยไมทําใหขีดความสามารถที่จะ สนองตอบตอความจําเปนตองการในอนาคตเสียไป โดยการสรางการมีสวนรวมของชุมชนในการอนุรักษ และพัฒนาสภาพภูมิทัศนเมืองใหเกิดขึ้น แนวทางการจัดการสภาพภูมิทัศนเมือง ควรใหความสําคัญตอสิทธิ ของประชาชนในทองถิ่น และเนนการมีสวนรวมของประชาชน โดยใหขอมูลขาวสารเกี่ยวกับนโยบายและ แผนงานที่ชุมชนมีสวนรวมอยางแทจริง ตลอดจนเผยแพรความรูดานการอนุรักษแกประชาชน ทําไดโดยให ความรูและการศึกษาทั้งในโรงเรียน และนอกระบบ มีการฝกอบรม รวมไปถึงการประชาสัมพันธการจัดทํา แนวทางหรือคูมือการพัฒนาภูมิทัศนเมือง ทั้งนี้กระบวนการมีสวนรวมนับวาเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนา ในทุกระดับตั้งแตระดับองคกรหนวยงานของรัฐ จนถึงในระดับชุมชนขนาดเล็ก การพัฒนาสภาพภูมิทัศน 670

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เมือง ตองใชมิติของภาคประชาชนในการจัดการและการแกปญหารวมกัน กระบวนการมีสวนรวมกอใหเกิด พลังของทุกฝายในการรวมกันคิด รวมกันทํา และผลจากการมีสวนรวมของประชาชน สามารถนําไปสู การ พัฒนาชุมชนที่มีประสิทธิภาพ ประการที่สาม การบังคับใชกฎหมายที่เปนกลไกของรัฐเพื่ออนุรักษและพัฒนาสภาพภูมิทัศนเมือง เปนมาตรการทางกฎหมายที่บังคับใชเพื่อควบคุมภูมิทัศนเมืองที่มีคุณคาใหคูควรแกการอนุรักษ และสงเสริม การพัฒ นาภูมิทัศนเมืองใหเปนไปตามหลัก การสุนทรียภาพโดยคํานึง ถึง ผลกระทบทางสิ่ง แวดลอมของ โครงการกอสรางที่จะเกิดขึ้นทั้งของหนวยงานของรัฐและเอกชน การบังคับใชกฎหมายที่เปนกลไกของรัฐ ที่ ออกตามพระราชบัญญัติ และกฎกระทรวง รวมทั้งขอบัญญัติของทองถิ่น ที่บังคับใชเฉพาะในขอบเขตพื้นที่ การปกครองตามลักษณะความตองการบังคับใชของทองถิ่น การควบคุมเมืองเปนไปตามผังที่ไดกําหนดไวใน อนาคตของเมือง การวางและจัดทําผังเมือง ของกรมโยธาธิการและผังเมืองจะใหความสําคัญกับมาตรการ ควบคุมทางกฎหมายผังเมืองที่ออกตามพระราชบัญญัติ และกฎกระทรวง รวมทั้งขอบัญญัติของทองถิ่น ที่ บังคับใชเฉพาะในขอบเขตพื้นที่การปกครองตามลักษณะความตองการบังคับใชของทองถิ่น รวมทั้งกฎหมาย ที่เกี่ยวของกับการควบคุมทางผังเมือง ไดแก พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติผัง เมือง พ.ศ.2518 พระราชบัญญัติจัดรูป ที่ดินเพื่อพัฒ นาพื้นที่ พ.ศ. 2547 เปนตน และการใชม าตรการ ควบคุม การบัง คับ ใชท างกฎหมายทั้ง ในสวนเทศบัญ ญัติ และขอบัง คับ ของทองถิ่น เพื่อใหเ ปนไปตาม แผนการดําเนินงานของสภาพภูมิทัศนที่ไดกําหนดไว นอกจากนี้ การพัฒนาภูมิทัศนจะตองคํานึงถึงวัตถุประสงค และวัตถุประสงคจะตองสอดคลองกับ ประโยชนของผูเ กี่ยวของทั้ง หมดซึ่ง ประกอบดวย นัก ทองเที่ยว ประชากรเมือง ผูรับ ผิดชอบและการ ดําเนินการพัฒนา ซึ่งตางฝายตางมีสิ่งที่คาดหวังแตกตางกัน คือ สิ่งที่นักทองเที่ยวคาดหวัง คือ สิ่งที่นักทองเที่ยวหวังที่จะมาเห็น มาสัมผัสซึ่งไดแก ภูมิทัศนที่แปลก ตา (Exotic) ในทองถิ่นที่แตกตางจากที่อยูประจํา เชน เอกลักษณพื้นถิ่นภูมิทัศนและบรรยากาศเมืองรอน วิถีการดําเนินดําเนินชีวิตประจําวันของคนพื้นถิ่น ความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอย และความรมรื่น ของสิ่งแวดลอมรวมทั้งการสัญจรบนทางเทาที่เปนระบบพอสมควร มีความสะดวก ปลอดภัยและงายในการ เทียบเคียงกับพื้นที่และระบบปายขอมูลที่มีภาษาอังกฤษเปนภาษาสากลที่ชวยในการเดินทางทองเที่ยว เปน ตน สิ่งที่ประชากรของเมืองคาดหวัง ความคาดหวังของประชากรทองถิ่นมีความแตกตางจากความ คาดหวังของนักทองเที่ยว กลาวคือ ประชากรทองถิ่นอาจมีความตองการความเปลี่ยนแปลงที่ไมจําเจเหมือน ของเดิมตองการการพัฒนาที่ทันสมัยแบบตะวันตก ซึ่งสวนทางกับนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ โดยเฉพาะ อยางยิ่ง ความเปนเอกลักษณเฉพาะตัวของภูมิทัศนตะวันออก โดยสิ่งที่ประชากรทองถิ่นคาดหวังจากการ พัฒนาเมืองคือ การมีที่สําหรับพักผอนหยอนใจเพิ่มขึ้น ไดอยูอาศัยและดําเนินชีวิตในสิ่งแวดลอมและภูมิ ทัศนที่ดี สวยงามมีค วามรื่นรมยและสรา งความภาคภูมิใจในเมืองของตน ไดรับ ประโยชน อื่นรวมกั บ นักทองเที่ยว เชน ความสะดวกในการเดินทางและระบบปายขอมูล เปนตน และผูรับผิดชอบและดําเนินการพัฒนาคาดหวัง ผูมีหนาที่ดําเนินการพัฒนาคือผูที่จะตองประสบ ปญหาตางๆ ที่จะเกิดขึ้นในชวงการปฏิบัติการ ดังนั้นสิ่งที่ผูดําเนินการพัฒนาคาดหวังคือ การใชงบประมารที่ จํากัด สามารถแบงโครงการเปนขั้นตอนไดงายเปนโครงการที่ไมสรางความขัดแยงกับหนวยงานอื่นหรือ ประชาชนผูอ าศัยในทองถิ่น หรือเปนโครงการที่ไดรับความรวมมือจากประชาชนสวนใหญ เปนโครงการที่ ไดรับผลตอบแทนหรือสงผลกระทบในดานบวกตอสังคม เปนโครงการที่ชวยสงเสริมสนับสนุนการอนุรักษ Graduate School and Research / 15 May 2013

671


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ทรัพยากรและทํานุบํารุงศิลปวัฒ นธรรมของปะเทศหรือทองถิ่น และเปนโครงการที่ผูดําเนินการไดรับ ผลกระทบในดานบวกจากสังคม โดยภาควิชาภูมิสถาปตยกรรมไดรายงานถึงแนวทางการพัฒนาจะตองมีการดําเนินการประสานให มีความสอดคลองกันระหวางความคาดหวังหรือความตองการของทั้งสามฝาย และถูกตองถูกหลักวิชาการใน การกําหนดแนวทางการพัฒนา กลาวคือ แนวทางการพัฒนาจะตองสามารถตอบคําถามหรือตรวจสอบ ปจ จัยตางๆ ดัง ตอไปนี้ 1) จะพัฒนาอะไร อะไรคือสิ่ง ที่เรียกวาภูมิทัศนเมือง กลาวคือจะตองทราบถึง องคประกอบภูมิทัศนของเมือง และทําการจัดประเภทใหเปนหมวดหมู 2) บงชี้ปญหาของภูมิทัศนเมือง โดย ทําการบงชี้ปญหาภูมิทัศนในแตละประเภทพรอมทั้งแนวทางและวิธีการแกปญหาที่เหมาะสม 3) จะพัฒนา อยางไร ไดแก วิธีการแกปญหาซึ่งจะตองตรงกับความตองการของทุกฝาย 4) การจัดลําดับความสําคัญและ ขั้นตอนในการพัฒนา โดยดูวาการจัดขั้นตอนในการพัฒนาควรเปนอยางไร 5) งบประมาณในการพัฒนา จะตองทําการพิจารณาวางบประมาณในแตละโครงการยอยจะตองใชเงินจํานวนเทาใด (เกริก กิตติคุณ, 2552) งานวิจัยที่เกี่ยวของ ดวงจันทร เจริญเมือง และคณะ (2541) ศึกษาเรื่อง การผังเมืองของโตเกียวและนรา : บทเรียน สําหรับเชียงใหม เปนการศึกษาเปรียบเทียบระบบผังเมืองของโตเกียวและนาราของประเทศญี่ปุนกับระบบ ผัง เมืองของเชียงใหม ซึ่ง ผลการศึก ษาระบบผัง เมืองเกาของโตเกียวและนาราของประเทศญี่ปุน ไดมี ขอเสนอแนะวาหากตองการจะปรับปรุงประสิทธิภาพระบบการวางผังเมืองของเมืองเชียงใหมและการวางผัง เมืองของประเทศไทย นอกจากจะตองมีการปรับปรุงคุณภาพของการผังเมืองใหดีขึ้นแลว จะตองมีการ ปรับเปลี่ยนโครงสรางการเมืองการปกครอง ดัง นี้ 1) มีการจัดองคก รทั้งหมดที่เ กี่ยวของกับ การวางผัง เมืองขึ้นใหม เพื่อลดความซ้ําซอนที่เกิดขึ้นในปจจุบัน 2) มีการกระจายอํานาจสูทองถิ่นอยางแทจริง และ เสริมสรางศักยภาพใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นทางดานเทคนิคการวางผัง การบริหารจัดการเมือง ตลอดจนจัดเก็บภาษีรายไดทองถิ่นโดยไมตองนําไปบํารุงองคกรสวนกลาง 3) มีการปรับปรุงองคกรปกครอง สวนทองถิ่นใหมีประสิทธิภาพและเหมาะสมในกระบวนการบริหารจัดการเมืองที่โตขึ้นเปนลําดับ 4) ให ประชาชนมีบทบาทในการดูแลรักษาเมืองตามกฎหมาย มีสวนรวมในกระบวนการวางผังเมืองตั้งแตตน และ ในแงมุมของระบบกกหมายก็จะตองมีการปรับเปลี่ยนตาม 5) ตองมีการปรับเปลี่ยนมุมมองเรื่องการวางผัง เมืองที่มีอยูในปจจุบัน และมีการพิจารณาการผังเมืองในเชิงที่มีระบบครอบคลุมมิติตางๆ มากกวาในปจจุบนั โดยเฉพาะเมื่อการผังเมืองคือระบบการจัดการพื้นที่ที่ตองอาศัยกระบวนการการมีสวนรวมของประชาชนใน ฐานะผูพักอาศัย เพื่อใหเมืองเปนที่อยูอาศัยที่ดีสําหรับประชาชน กลาวโดยสรุปแลวหัวใจสําคัญของการผัง เมืองโตเกียวและเมืองนาราก็ คือ การมีร ะบบโครงสร างทางการเมือ งการปกครองที่ มีขอบเขตความ รับผิดชอบไมซ้ําซอน มีการใชอํานาจอยางแทจริงแกทองถิ่น และกระบวนการผังเมืองที่เปดโอกาสใหประชา ขนมีสวนรวมอยางแทจริงในการบริหารจัดการเมือง และสอดคลองกับการศึกษาของ สุคนธทิพย เผยกลิ่น (2545) เรื่อ ง ความคิ ดเห็ น และบทบาทการมี ส วนร ว มของประชาชน ในการอนุ รั ก ษแ ละปรั บ ปรุ ง สภาพแวดลอมถนนสายเชียงใหม-ลําพูน โดยมีวัตถุประสงคหลักในการศึกษาคือ (1) ความเปนมาและการ เปลี่ยนแปลงบริเวณถนนสายเชียงใหม-ลําพูน ในดานกายภาพ ประชากร สังคม เศรษฐกิจ การใชประโยชน ที่ดินและสภาพแวดลอม (2) ความคิดเห็นของประชาชนที่มีตอการอนุรักษและปรับปรุงสภาพแวดลอม ถนนสายเชียงใหม-ลําพูน ผลการศึกษาพบวา (1) ความเปนมาและการเปลี่ยนแปลง เกิดจากความเจริญใน 672

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ทองถิ่นและการเพิ่มขึ้นของประชากร (2) ความเห็นของประชาชนตองการใหมีการพัฒนาที่มีความเหมาะสม กับสภาพแวดลอมทองถิ่นและเอกลักษณของชาวลานนา (3) บทบาทในการมีสวนรวมของประชาชน มีสวน รวมนอยมาก วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันของภูมิทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนนในเขตเทศบาลตําบลโกตา บารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา 2. เพื่อศึกษาหาแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศน สถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนนในเขต เทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา ขอบเขตการศึกษา ขอบเขตดานประชากร ที่ใชในการศึกษาครั้ง นี้ ไดแก ผูบริหารเทศบาล ประธานสภาเทศบาล ปลัดเทศบาล หัวหนาสวนราชการ เจาหนาที่ผูรับผิดชอบดานการโยธา ผูนําชุมชน และประชาชนในเขต เทศบาลตําบลโกตาบารู รวมจํานวน 50 คน ขอบเขตดานเนื้อหา ผูศึกษามุงศึกษาถึงสภาพปจจุบันของภูมิทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศน ถนน และศึกษาถึงแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนนในเขตเทศบาล ตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา นิยามศัพทเฉพาะ แนวทางการพัฒนา ปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศน สถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนนในเขตเทศบาลโกตา บารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา หมายถึง แนวทางการพัฒนาปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศน ที่สาธารณะตลอดจน ภูมิทัศนถนน ที่มีขั้นตอนการดําเนินงานคิดกลั่นกรองและออกแบบอยางเปนระบบ มีความสอดคลองกัน สามารถนํามาใชในการพัฒนาดานภูมิทัศนในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ ประชาชนทั่วไป หมายถึง บุคคลที่มีบทบาทในการพัฒนาเทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา ผูนําชุมชน หมายถึง ผูบริหารทองถิ่น ผูนําทองที่ ผูนําชุมชน ผูนําโดยธรรมชาติ ในพื้นที่เทศบาล ตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา เทศบาลตําบล หมายถึง เทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ สามารถรับถึงสภาพปญหาและสภาพปจจุบันของภูมิทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนน ในเขต เทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา สามารถมีแนวทางการพัฒ นา ปรับ ปรุง ฟนฟูภูมิทัศน ส ถานที่ส าธารณะ ภูมิทัศน ถนน ในเขต เทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษาเรื่องแนวทางการพัฒนาปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนนในเขต เทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา เปนการวิจัยเชิง คุณภาพ (Qualitative research) Graduate School and Research / 15 May 2013

673


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

โดยการศึกษาขอมูลเอกสารที่เกี่ยวของ ไดแก แผนงานการปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศน ถนนและแผนงานสวนที่เกี่ยวของ ในปงบประมาณ 2554 การดําเนินการสอบถามประชาชนในเขตเทศบาล ตําบลโกตาบารูเกี่ยวกับความตองการในการพัฒนาปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศน โดยใชแบบสอบถามซึ่งผูศึกษา กําหนดใหเปนคําถามปลายเปด (Open-ended question) ที่เตรียมคําถามไวลวงหนา แบงออกเปน 2 สวนคือ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม และสวนที่ 2 แนวคําถามเกี่ยวกับแนวทางในการ พัฒนาปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศนของเทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา และการประชุมกลุม (Focus Group) ผูบริหารเทศบาล ประธานสภาเทศบาล ปลัดเทศบาล หัวหนาสวนราชการ เจาหนาที่ ผูรับผิดชอบดานการโยธา ผูนําชุมชนในเขตเทศบาลตําบลโกตาบารู โดยผูศึกษาเตรียมประเด็นสนทนาไว ลวงหนา เพื่อใหผูเขารวมการสนทนาไดเสนอความคิดเห็น โดยการวิเคราะหขอมูล สําหรับการศึกษาครั้งนี้ ซึ่งเปนขอมูลเชิงคุณภาพจะใชวิธีการวิเคราะห ขอมูลโดยบรรยายหรือพรรณนาขอมูล (Descriptive analysis) และการเชื่อมโยงตรรกะ เพื่อจัดทําขอสรุป เสนอผลการศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนนในเขต เทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา ตอไป สรุป สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษาพบวา ในปจจุบันเทศบาลตําบลโกตาบารูมีการดําเนินการโครงการดานการปรับปรุง ภูมิทัศนเมืองอยางตอเนื่องแตยังขาดแนวทางพัฒนาที่เหมาะสม โดยในปงบประมาณ 2554 พบวาดานภูมิ ทัศนสถานที่สาธารณะมีการตั้งงบประมาณและการดําเนินการปรับปรุงสถานที่สาธารณะ เชน โครงการ ปรับปรุงลําคลอง โครงการดําเนินการฝงกลบและดันขยะบริเวณที่ทิ้งขยะเทศบาลตําบลโกตาบารู โครงการ สวนสุขภาพโตะนิ เพื่อใหประชาชนมีสถานที่ออกําลังกาย และสถานที่พักผอนหยอนใจโดยการสนับสนุน งบประมาณจากกรมสงเสริมการปกรองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย สวนดานภูมิทัศนถนน พบวามีการตั้ง งบประมาณและการดําเนินการโครงการจัดซื้อกระถางตนไม ไมดอกประดับเพื่อประดับเกาะกลางถนน โครงการติดตั้งปายประชาสัมพันธโครงการตางๆ เพื่อประชาสัมพันธชื่อถนน ชื่อซอย ในเขตเทศบาลตําบล โกตาบารู โครงการติดตั้งไฟฟาถนน (HI MAST) เพื่อใหประชาชนมีความปลอดภัยในการใชถนนและความ สวยงามเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวในเขตเทศบาลตําบลโกตาบารู และจากการศึกษาเทศบัญญัติงบประมาณ รายจายของเทศบาลตําบลโกตาบารู ประจําป 2554 ปรากฎวาเทศบาลตําบลโกตาบารูมีการประมาณการ รายได ไวจํานวน 31,038,150 บาท และมีการตั้งประมาณการรายจายไวเทากัน เปนเงิน 31,038,150 บาท (ไมรวมงบประมาณเงินอุดหนุนจากหนวยงานภายนอก) โดยแยกเปนการดําเนินการดานพัฒนาปรับปรุง ฟนฟูภูมิทัศนสถานที่ส าธารณะ และภูมิทัศนถนน เปนเงิน 2,890,000 บาท คิดเปนรอยละ 9.31 ของ งบประมาณทั้งหมดของเทศบาลตําบลโกตาบารู ผลการศึกษาพบวาแนวทางการพัฒนาปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนนในเขต เทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา ซึ่งไดจากการสอบถามประชาชนกลุมตัวอยางในเขต เทศบาลตําบลโกตาบารู สามารถสรุปไดดังนี้คือ 1) เทศบาลตําบลโกตาบารูควรสอบถามความตองการและ ความคิดเห็นของประชาชนในเขตพื้นที่ เพื่อรับ ฟง ความตองการของประชาชนและชี้แจงนโยบายและ ทิศทางในการพัฒนาใหชัดเจนดานภูมิทัศนสถานที่สาธารณะและภูมิทัศนถนน เพื่อเสนอโครงการเขาบรรจุ ในแผนพัฒนา 3 ป 2) เทศบาลตําบลโกตาบารูควรพิจารณาสภาพความเหมาะสมของสถานที่ และวางแผน 674

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

การปรับปรุงฟนฟูเพื่อใหมีความเหมาะสมในการออกแบบพัฒนาปรับปรุงกับสภาพพื้นที่มากที่สุด และ 3) ควรนําพื้นที่รกรางวางเปลามาจัดทําสวนสาธารณะ การกอสรางสัญ ลักษณประจําเมืองโดยการคํานึงถึง ประวัติศาสตรของเมือง ควรเพิ่มพื้นที่สีเขียว ติดตั้งปายถนน ปายซอยที่เหมาะสม เปนตน และจากการประชุมกลุม (Focus Group) ผูบริหารเทศบาล ประธานสภาเทศบาล ปลัดเทศบาล หัวหนาสวนราชการ เจาหนาที่ผูรับผิดชอบดานการโยธา ผูนําชุมชนในเขตเทศบาลตําบลโกตาบารู สามารถ สรุปไดดังนีค้ ือ 1) เทศบาลตําบลโกตาบารูจะตองมีการประชุมประชาคมเพื่อสอบถามความตองการและ ความคิดเห็นของประชาชนในเขตพื้นที่และชี้แจงนโยบายและทิศทางในการพัฒ นาใหชัดเจน เพื่อให ประชาชนรับทราบและเสนอโครงการเขาบรรจุในแผนพัฒนา 3 ป 2) มีการพิจารณาสภาพความเหมาะสม ของสถานที่ แ ละการออกแบบพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง กับ สภาพพื้น ที่ และเข า กับ อั ตตะลัก ษณข องเมื องและ ประวัติศาสตรของเมืองโกตาบารู 3) มีการดําเนินการประชุมหนวยงานที่เกี่ยวของกับการวางแผนการ พัฒนาปรับปรุงฟนฟูเพื่อชี้แจงและรวมกันวางแผนเพื่อลดความขัดแยงและสามารถดําเนินการไปในทิศทาง เดียวกัน และ 4) มีการจัดทําแผนดําเนินการในการจายงบประมาณและเพื่อการตรวจสอบการจาย งบประมาณที่เหมาะสมและพอเพียง โดยกลยุทธที่เทศบาลตําบลโกตาบารูควรนํามาประยุกตใชคือ “การ บริหารจัดการแบบภาคีเครือขาย” ทั้งนี้เพื่อลดการใชงบประมาณหรือสามารถใชงบประมาณอยางคุมคา มากที่สุด เพราะการสรางภาคีนับเปน กลยุทธหนึ่งในการบริหารจัดการองคกร ใหสามารถขับเคลื่อน งานขององคก รไดอยางมีป ระสิท ธิภาพและสามารถบรรลุตามวัตถุประสงคขององคก ารนั้นๆที่ไดตั้ง ไว นอกเหนือจากการทํางานเพียงองคกรเดียว เปนการสรางความรวมมือระหวางองคกรตางๆในการทํางาน รวมกันใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น เชน การรวมมือกับสํานักงานทางหลวงชนบทในการ ออกแบบกอสรางถนนในเขตเทศบาล การรวมมือกับการไฟฟาภูมิภาคออกแบบระบบไฟฟาสาธารณูปโภค เปนตน อภิปรายผล จากผลการศึกษาเรื่องแนวทางการพัฒนาปรับ ปรุงฟนฟูสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนนในเขต เทศบาลตํ าบลโกตาบารู อําเภอรามัน จัง หวัดยะลา พบว าในปจ จุบั นเทศบาลตําบลโกตาบารูมีก าร ดําเนินการโครงการดานการปรับปรุงภูมิทัศนเมืองอยางตอเนื่องแตยังขาดแนวทางพัฒนาที่เหมาะสม ดังนั้น แนวทางการพัฒนาปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศนสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนน ที่เหมาะสมในเขตเทศบาลตําบล โกตาบารู คือ ควรมีการเตรียมแผนงานโดยเสนอผานการประชุมประชาคมเพื่อใหตรงความตองการของ ประชาชนและประวัติศาสตรของเมืองเพื่อนําไปสูการพัฒนาของเทศบาล ควรนําพื้นที่รกรางวางเปลามา จัดทําสวนสาธารณะ การกอสรางสัญลักษณประจําเมืองโดยการคํานึงถึงประวัติศาสตรของเมือง ควรเพิ่ม พื้นที่สีเ ขียว ติดตั้ง ปายถนน ปายซอยที่เ หมาะสม โดยมีก ารบูร ณาการแผนงานพัฒ นากับหนวยงานที่ เกี่ยวของเพื่อมีทิศทางในการพัฒนาที่สอดคลองกัน ซึ่งสืบเนื่องมาจากบทบาทในการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในปจจุบัน มีความสําคัญ มากในการพัฒนาทองถิ่นตําบลของตนเอง สําหรับเทศบาลก็เชนกันตองจัดใหมีการปกครองและบริหารงาน ในทองถิ่นตําบลสอดรับกับสภาพปญหาแตละทองที่ โดยในพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ไดบัญญัติ ไวในมาตรา 50 กําหนดวา “ภายใตบังคับแหงกฎหมาย เทศบาลตําบลมีหนาที่ที่ตองทําในเขตเทศบาลดังนี้ (2) ใหมีและบํารุงรักษาทางบกและทางน้ํา (3) รักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดินหรือที่สาธารณะ รวมทั้งกําจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล” มาตรา 51 บัญญัติใหเทศบาลมีหนาที่ตองทําในเขตเทศบาล กําหนดวา Graduate School and Research / 15 May 2013

675


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

“ภายใตบังคับกฎหมายเทศบาลอาจจัดทํากิจการใดๆในเขตเทศบาล ดังตอไปนี้ (7) ใหมีและบํารุงรักษา ไฟฟาหรือแสงสวางโดยวิธีอื่น และ (8) ใหมีและบํารุงรักษาทางระบายน้ํา” ประกอบกับพระราชบัญญัติ กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 หมวด 2 การกําหนด อํานาจหนาที่ในการจัดบริก ารสาธารณะ มาตรา 16 กําหนดวา “ใหเ ทศบาล เมืองพัทยา และองคการ บริหารสวนตําบล มีอํานาจหนาที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะ เพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่น ของตนเอง ดังนี้ (2) จัดใหมีและบํารุงรักษาทางบก ทางน้ํา และทางระบายน้ํา (4) การสาธารณูปโภคและ การกอสรางอื่นๆ (8) การสงเสริมการทองเที่ยว (13) การจัดใหมีและบํารุงรักษาสถานที่พักผอนหยอนใจ (25) การผังเมือง สําหรับเทศบาลตําบลโกตาบารู อําเภอรามัน จังหวัดยะลา เปนเมืองที่มีประวัติเกาแกยอนหลังไป ในสมัยอดีต ตั้งแตพุทธศักราช 2465 เปนที่ตั้งของเมืองเกาที่สําคัญ ขณะที่ปจจุบันเกิดการเปลี่ยนแปลงจาก สังคมชนบทไปสูความเปนสังคมเมือง และเกิดการขยายตัวจากศูนยก ลางเมืองไปชานเมืองมากขึ้น จาก สภาพแวดลอมแบบชนบทก็ถูก กอสรางใหเ ปนจากเมืองจากสิ่ง ที่ม นุษยส รางขึ้น มีก ารสรางโครงขาย คมนาคมขนสงเปนตัวเชื่อมโยงชุมชนตางๆ แตผลจากการพัฒนาที่เกิดขึ้น นํามาซึ่งลักษณะของภูมิทัศนเมือง ที่ขาดความสวยงามหรือไมมคี วามสอดคลองกัน เชน ที่สาธารณะประโยชนมีความรกรางวางเปลาขาดความ สวยงาม ถนนในเขตเทศบาลแมจะมีการกอสรางแลวเสร็จก็ยังขนาดอัตตะลักษณ ไมสามารถเปนสิ่งดึงดูด นักทองเที่ยวในการเดินทางมาทองเที่ยวในเขตเทศบาล ถนนชํารุดทรุดโทรมเนื่องจากการกอสรางมานาน และเขตถนนมีการวางสิ่งของหรือการรุกล้ําถนนสาธารณะ เปนตน สอดคลองกับการศึกษาของ ปญญวัจน ชลวินิต (2545) ที่ใหความเห็นวาการพัฒนาใดๆ ตามควร คํานึงถึงวัตถุประสงคที่สอดคลองกับปรัชญาและแนวคิดที่มีเหตุผลเปนประโยชนกับทุกฝาย ในการพัฒนา ภูมิทัศนควรคํานึงถึงผูเกีย่ วของทุกฝาย ซึ่งไดแก ประชากรของเมืองผูรับผิดชอบและการดําเนินการพัฒนา เพราะทั้งสองฝายนี้มีความคาดหวัง ที่แตกตางกัน ประชากรในทองถิ่นมีแนวโนมที่ตองการจะเห็นความ เปลี่ยนแปลงที่ไมจําเจ สําหรับสิ่งที่ประชาการในทองถิ่นคาดหวังจากการพัฒนาภูมิทัศนอาจจะเปนได ดังนี้ คือ การมีที่พักผอนหยอนใจเพิ่ม ขึ้น การไดอยูอาศัยและดําเนินชีวิตภายในสิ่ง แวดลอมและภูมิทัศนที่ดี ในขณะที่สิ่งที่ผูรับผิดชอบดําเนินการนั้นคาดหวังคือ การพัฒนาจะตองประสบกับปญหาตางๆที่จะเกิดขึ้น ในชวงของการพัฒนา ดัง นั้นสิ่งที่ผูรับผิดชอบในการพัฒนาคาดหวัง ก็คือ การใชง บประมาณที่นอย เปน โครงการที่ไมมีความขัดแยงกับ หนวยงานอื่นและประชาชนภายในทองถิ่นใหความรวมมือ เปนโครงการ พัฒนาที่ไดรับผลตอบแทนหรือมีผลกระทบทางสังคมในเชิงบวกสูง และเปนโครงการที่เกิดผลทางดานการ ประชาสัมพันธแกผูที่เกี่ยวของทุกฝาย นอกจากนี้งานวิชาการที่สามารถสนับสนุนเรื่องนี้ไดเปนอยางดี คือ การศึก ษาของ ทวีวัธน ตายเที่ยงใหญ (2543) ที่วาความคาดหวังของมนุษยที่มีตอสิ่ง ใดที่กําหนดหรือ คาดหวังไวจะทําไดในระดับที่ปรารถนา มีความคาดหวังที่จะไดรับการบริการที่ดีจากภาครัฐเปนอยางมาก หากบริการหรือสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นไดรับการตอบสนองดวยดีและสอดคลองกับความจริงที่ไดรับประชาชนจะมี ความพึงพอใจสูงและกอใหเกิดความสุขสมหวังที่ไดรับในสิ่งที่ปรารถนา นอกจากนี้เทศบาลตําบลโกตาบารูควรมีการหาความรวมมือในการพัฒนาเมืองดวย เพราะการมี สวนรวมของประชาชนในตําบลมีความจําเปนอยางยิ่ง สอดคลองกับงานวิจัยของ มนัส สุวรรณ (2544) ที่ได ใหแนวทางเปนหลักการในการใหประชาชนหรือองคก รทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการพัฒนา เพราะมี ความสําคัญอยางยิ่งตอความสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จของโครงการพัฒนา เพราะการพัฒนาใดๆก็ตามที่ มีการวางแผนมาจากผูมีอํานาจสั่งการโดยไมรับทราบปญหาและความเปนไปอยางถองแทของพื้นที่และ 676

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ชุมชนมักประสบความลอมเหลวโยตลอด แนวคิดการใหประชาชนมีสวนรวมพื้นฐานมาจากธรรมชาติอยาง หนึ่ง ของมนุษยนั่นคือ การใหเ กียรติและยอมรับ ซึ่ง กันและกัน อีก ประการหนึ่ง คือประชาชนในพื้นที่มี ความรูสึกเปนเจาของ รูเขาใจสภาพและปญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่เปนอยางดี ดังนั้นการใหคนในพื้นที่ไดมีสวน รวมในกิจกรรมการพัฒนาตั้งแตตน คือ รวมคิด รวมวางแผน ไปจนถึงการปฏิบัติและติดตามประเมินผล ยอมเทากับวาเปนการหลีกเลี่ยงขอโตแยง ตรงกันขามกลับเปนความเต็มใจและตั้งใจทํางาน ทําใหกิจกรรม การพัฒนามีโอกาสประสบความสําเร็จตามเปาหมายไดสูงขึ้นตามแนวทางการมีสวนรวมของประชาชน ขอแสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. เทศบาลตําบลโกตาบารูควรจัดใหมีการประชุมประชาคมเพื่อสอบถามความตองการและความ คิดเห็นของประชาชนในเขตพื้นที่ และชี้แจงนโยบายและทิศทางในการพัฒ นาปรับ ปรุง ฟนฟูส ถานที่ สาธารณะ ภูมิทัศนถนนในเขตเทศบาลตําบลโกตาบารูใหชัดเจน เพื่อใหป ระชาชนรั บ ทราบและเสนอ โครงการเขาบรรจุในแผนพัฒนา 3 ป 2. เทศบาลตําบลโกตาบารูควรมีการพิจารณาสภาพความเหมาะสมของสถานที่และการออกแบบ พัฒนาปรับปรุงกับสภาพพื้นที่และเขากับอัตตะลักษณของเมืองและประวัติศาสตรของเมือง 3. เทศบาลตําบลโกตาบารูควรมีการดําเนินการประชุมหนวยงานที่เกี่ยวของกับการวางแผนการ พัฒนาปรับปรุงฟนฟูสถานที่สาธารณะ ภูมิทัศนถนน เพื่อชี้แจงและรวมกันวางแผนเพื่อลดความขัดแยงและ สามารถดําเนินการไปในทิศทางเดียวกัน 4. เทศบาลตําบลโกตาบารูควรมีการจัดทําแผนดําเนินการในการจายงบประมาณและเพื่อการ ตรวจสอบการจายงบประมาณที่เหมาะสมและพอเพียงในการพัฒนาปรับปรุงฟนฟูสถานที่สาธารณะ ภูมิ ทัศนถนนในเขตเทศบาลตําบลโกตาบารู 5. เทศบาลตําบลโกตาบารูควรนําพื้น ที่ร กรางวางเปลามาจัดทําสวนสาธารณะ การกอสราง สัญลักษณประจําเมืองโดยการคํานึงถึงประวัติศาสตรของเมือง ควรเพิ่มพื้นที่สีเขียว ติดตั้งปายถนน ปาย ซอยที่เหมาะสม เปนตน ขอเสนอแนะเพื่อการพิจารณา 1. ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจในการดําเนินการพัฒนายอมมีผูไดรับผลกระทบจากการดําเนินการ เสมอ คือ รายไดจากการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจที่คาดวาจะไดรับผลกระทบจากการดําเนินการโครงการ พัฒนาปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศน เนื่องจากการปดถนนบางชวงของโครงการ จึงควรมีการกําหนดชวงเวลาใน การดําเนินการโครงการที่แนนอนและควรเปนชวงเวลาเย็นหลังเวลาเลิกงาน แตหากเกรงวาจะไดรับผลจาก เหตุการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต ก็ควรเปดชองจราจรไวอยางนอย 1 ชองจราจรเพื่อการ สัญจรไปจับจายซื้อของของประชาชน 2. ผลกระทบทางดานสังคมในการดําเนินการพัฒนายอมมีผูไดรับผลกระทบจากการดําเนินการ เสมอ คือ กิจกรรมทางสังคมก็อาจเกิดขึ้นได เชน ชวงงานประเพณีสงกรานต งานลอยกระทง งานวันสําคัญ ทางศาสนาอิส ลาม เปนตน จึง ควรมีก ารปรับ เปลี่ยนยายพื้นที่ก ารจัดกิจ กรรมทางสัง คมไปยังพื้นที่อื่น ชั่วคราวเพื่อใหกิจกรรมนั้นสามารถดําเนินการตอไปไดอยางตอเนื่องและไดรับผลกระทบตอกิจกรรมนอ ย ที่สุด 3. ผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม ในการดําเนินการพัฒนาสิ่งที่คาดวาจะมีผลกระทบอีกเรื่องหนึ่ง ของโครงการคือ ฝุนละออง เสียงดังที่เกินมาตรฐานตลอดจนถึงเรื่องปญหาดานการจราจรและมลภาวะ ในชวงของการดําเนินการโครงการ รวมทั้งดานมาตรการความปลอดภัยตอผูใชรถใชถนนของประชาชนและ Graduate School and Research / 15 May 2013

677


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

นักทองเที่ยว จึงควรมีมาตรการดานสิ่งแวดลอมตลอดจนมีการตรวจสอบควบคุมในเรื่องมาตรฐานความ ปลอดภัยของพื้นที่ดําเนินการอยางรัดกุมและเหมาะสมในทุกขั้นตอนของแผนการดําเนินการโครงการ ขอเสนอแนะเพื่อการศึกษาวิจัยครั้งตอไป 1. ควรศึก ษาดานในเรื่องผลกระทบในดานตางๆที่เ กิดขึ้นในพื้นที่นั้นกอนการดําเนินการเพื่อ ประกอบการตัดสินใจของผูดําเนินการนโยบายพัฒนาปรับปรุงฟนฟูภูมิทัศนของเทศบาลเพื่อความเหมาะสม โดยมีกระบวนการการมีสวนรวมของประชาชนในพื้นที่เพื่อเปนแนวทางประกอบการดําเนินการโครงการ 2. ควรมี ก ารศึ ก ษาความพึ ง พอใจของประชาชนต อ การจั ด การพัฒ นาภู มิ ทั ศน แ ละระบบ สาธารณูปโภค ภายหลังจากที่มีการดําเนินการแลวเสร็จ เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาที่อาจสงผลกระทบ ตอวิถีชีวิตประชาชนหลังการดําเนินการโครงการ และสอดคลองกับความตองการของประชาชนหรือไม เอกสารอางอิง กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น. 2546. “พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.local.go.th/thadsaban.pdf. สืบคนเมื่อ 1 พฤษภาคม 2555. กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น. 2543. “พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ใหแ กองคกรปกครองสวนทองถิ่ น พ.ศ.2542”. กรมสง เสริม การปกครองทองถิ่น กระทรวง มหาดไทย.กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเสมาธรรม. เกริก กิตติคุณ.2552. ภูมิทัศนเมือง. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://th.wikipedia.org/wiki สืบคนเมื่อ 8 พฤษภาคม 2555. เกริก กิตติคุณ.2551. ภูมิทัศนเมืองในงานวางผัง. เอกสารประกอบการสอนวิชาผังบริเวณมหาวิทยาลัยราช ภัฏเชียงราย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://th.wikipedia.org. สืบคนเมื่อ 8 พฤษภาคม 2555. ชาญชัย สีหประเสริฐ.2542. การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินภายหลั งการสรางถนนสายใหม: [การคนควาแบบอิสระ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการการจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม]. เชียงใหม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ดนัย ทายตะคุ.2548. โครงสรางเชิงปริภูมิของภูมิทัศนกับการวิเคราะหและการสรางแบบจําลอง: การทบทวนทางทฤษฎีของกระบวนการเชิงปริมาณทางภูมินิเวศวิทยา. วารสารวิชาการ: 97124. คณะสถาปตยกรรมศาสตร กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ดวงจันทร เจริญเมืองและคณะ.2541. การผังเมืองของโตเกียวและนารา: บทเรียนสําหรับ เชียงใหม. เชียงใหม: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม. เทศบาลตําบลโกตาบารู.2555. ประวัติเมืองโกตาบารู. เทศบาลตําบลโกตาบารู. ยะลา: เอกสารอัดสําเนา. เทศบาลตําบลโกตาบารู.2555. ขอมูลทั่วไปเทศบาลโกตาบารู. เทศบาลตําบลโกตาบารู. ยะลา:เอกสารอัด สําเนา. บุณยวัตร เกิดกล่ํา.2544. การบังใชกฎหมายกรณีการบุกรุกแมน้ําปงในเขตเทศบาลนครเชียงใหม: [การ คนควาแบบอิสระ ปริญ ญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการการจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม]. เชียงใหม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ภาควิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย .2531. คูมือพัฒนาภูมิ ทัศนเพื่อการทองเที่ยว. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 678

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

วรรณศิลป พีรพันธุ.2538. องคประกอบของเมือง. (ม.ป.ท.).เขาถึงไดจาก :http://th.wikipedia.org. สืบคนเมื่อ 8 พฤษภาคม 2555. สุคนทิพย เผยกลิ่น.2545. ความคิดเห็นและบทบาทการมีสวนรวมของประชาชนในการอนุรักษและ ปรับปรุงสภาพแวดลอมถนนสายเชียงใหม-ลําพูน: [การคนควาแบบอิสระปริญญาศิลปศาสตรม หาบัณฑิต สาขาการการจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม]. เชียงใหม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม. Ashihara Yoshinobu,Translated by Lynne E. Riggs.1983. The Aesthetics Townscape. Cambridge : MIT Press. Kevin Lynch.1977. The image of the city. Cambridge : The MIT Press.

Graduate School and Research / 15 May 2013

679



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ อําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส Readiness for Transfers of Basic Education Of Rueso Subdistrict Administration Organization, Amphoe Rueso, Changwat Narathiwat มุคตา อีซอ นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน

บทคัดยอ การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพปญหาความพรอมและแนวทางการเตรียมความพรอมใน การรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ โดยการใชแบบสอบถามและการ สนทนาจากกลุมตัวอยางจํานวน 60 คน และวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบวา เกิดปญหาใน การรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ ดานทรัพยสิน ไดแก มีงบประมาณไม เพียงพอ, ดานวิชาการ ไดแก ขาดบุคลากรที่มีความรูความเขาใจในการจัดการศึกษา และขาดความชัดเจน เกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของ, ดานการบริการและกิจกรรม ไดแก ไมไดดําเนินการ และดานอื่นๆ ไดแก ขาดการวางแผนที่เปนระบบและชัดเจน ไมมีการกําหนดนโยบายและเปาหมาย ไมมีการกําหนดโครงสราง การบริหารที่ชัดเจน ไมเขาใจบทบาทหนาที่ ประชาชนไมไดเขามามีสวนรวม และบุคลากรของโรงเรียนยัง ขาดความเชื่อมั่น ดังนั้นจึงควรมีการเตรียมความพรอมในดานตางๆดังนี้คือ ดานทรัพยสิน ไดแก ควรจัดสรรรายได เพื่อการศึกษาใหม ากขึ้น รัฐบาลควรเพิ่ม งบประมาณใหม ากขึ้น , ดานวิชาการ ไดแก ควรศึก ษาและหา ความรูจ ากหนวยงานที่ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดการศึกษาโดยตรง ควรกําหนดนโยบายและเปาหมาย การศึกษาใหชัดเจน, ดานการบริการและกิจกรรม ไดแก ควรแตงตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญ ในการจัดการศึกษา ควรศึกษาและรวบรวมขอมูลดานการบริการและจัดกิจกรรมการศึกษา, และดานอื่นๆ ไดแก ควรมีการกําหนดนโยบาย วิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมายการศึกษาใหชัดเจน ควรมีการวางแผน ดานการจัดการศึก ษาที่เปนระบบและมีความตอเนื่อง ควรกําหนดโครงสรางการบริห ารจัดการดาน การศึกษา ควรใหผูมีสวนเกี่ยวของไดมีสวนรวมในการวางแผนการจัดการศึกษาที่เปนรูปธรรม ควรมีการจัด ประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการดานการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษา และควรมีการทําประชาพิจารณกอ นรับโอน การจัดการศึกษา คําสําคัญ: ความพรอม, การรับโอน, การศึกษาขั้นพื้นฐาน

Graduate School and Research / 15 May 2013

681


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The purposes of this study are to explore the results of operation and problems and solutions of the transference of the commercial registration jobs from Pattani Provincial Administrative Organization to the Sub-district Administrative Organizations in Tung Yang Daeng District, Pattani Province. Qualitative data were obtained by means of in-depth interviews administered to administrative assistants of Sub-district Administrative Organizations, heads of Finance Sections, and personnel responsible in taxation and commercial registration. Results revealed that most personnel responsible for the commercial registration did not have sufficient knowledge and understanding about the work procedure and management of the commercial registration because they were new to the jobs and the transference of the commercial registration from Pattani Provincial Administrative Organization was in haste. There was no good preparation for the transference in advance. Some of the personnel were new to the job. They had neither experience nor training on the jobs. This resulted in ineffective management and services. The customers had to wait for the service for a long time. Suggested solutions to the problems were that the transference policy should be well planned and done in advance of the transference. Notification and arrangement for the transference of the job should be made and prepared. A survey should be done to the target Sub-district Administrative Organizations whether they were ready for the transference. Sufficient time should be allocated for the target offices of the transferred jobs so that the personnel can do the work well. The personnel appointed for the new jobs should be trained in commercial registration for the better jobs. Keywords: Readiness, Transfers, Basic Education.

682

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา องคก ารบริหารสวนตําบลรือเสาะมีงบประมาณรายไดเฉลี่ย 3 ปงบประมาณยอนหลังจัดอยูใน ระดับ 3 ตามเกณฑของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่ง กําหนดไววาองคปกครองสวนทองถิ่นที่มีรายไดปละ 10 ลานบาท แตไมเกิน 20 ลานบาท สามารถที่จ ะจัดการศึก ษาขั้นพื้นฐาน ระดับ ประถมศึกษาและระดับ มัธยมศึกษา ตามที่แผนปฏิบัติการกําหนดขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดย ปจจุบันในเขตบริการขององคการบริหารสวนตําบลรือเสาะมีโรงเรียนที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ 5 แหง ไดแก โรงเรียนบานนาดา โรงเรียนบานนาโอน โรงเรียนบานสโลรบูกิตยือแรโรงเรียนบานรือเสาะ และ โรงเรียนบานบากง ซึ่งองคการบริหารสวนตําบลรือเสาะยัง ไมไดรับ โอนแตมีความประสงคจะรับโอนมา บริหารจัดการเอง เนื่องจากเกิดปญหาอุปสรรคเรื่องตองปฏิบัติตามหลักเกณฑของกระทรวงศึกษาธิการ ที่มี ขอกําหนดวาหากองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดประสงคจะรับโอนโรงเรียนหรือสถานศึกษา ตองดําเนินการ ยื่นใหก ระทรวง ศึก ษาธิก ารประเมินความพรอมตามหลักเกณฑที่กําหนดกอน ซึ่ง องคก ารบริห ารสวน ตําบลรือเสาะยังไมไดดําเนินการตามขั้นตอนดังกลาว (องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ, 2555: 7) ดังนั้นองคการบริหารสวนตําบลรือเสาะจึงควรมีการเตรียมความพรอมในการรับโอนภารกิจดาน การศึกษาขั้นพืน้ ฐานดังกลาว กอนที่กระทรวงศึกษาธิการหรือหนวยงานที่เกี่ยวของจะมาดําเนินการประเมิน ความพรอมในการรับโอนนั้น โดยควรคํานึงถึงและดําเนินการประเมินความพรอมของหนวยงานในเบื้องตน กอน วามีความพรอมในการรับโอนภารกิจดานการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือไม และหากกรณีที่ไมมีความพรอม ควรจะดําเนินการเตรียมความพรอมไดอยางไร เพื่อใหสามารถบริหารจัดการดานการศึกษาขั้นพื้นฐานให เกิดความพรอมมากที่สุด จากเหตุผลในขางตน ผูศึกษาในฐานะบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ จึงเห็นถึง ความจําเปนที่จะตองมีการประเมินความพรอมและหาแนวทางในการเตรียมความพรอมในการดําเนินการ ขององคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ เพื่อสามารถเตรียมการรับโอนภารกิจดานการศึกษาขั้นพื้นฐานมา ดูแลในอนาคต เพื่อใหการจัดการศึกษามีคุณภาพและมีมาตรฐาน ตลอดจนตอบสนองความตองการของ ประชาชนในทองถิ่นตอไป บทความนี้จึงมีวัตถุประสงคเ พื่อศึกษาสภาพปญ หา เพื่อประเมินความพรอม และแนวทางการ เตรียมความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ เพื่อสามารถ เตรียมการรับโอนภารกิจดานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาดูแลในอนาคต และเพื่อประเมินองคกรวาเมื่อรับโอน ภารกิจดานการศึกษามาแลว จะสามารถบริหารจัดการใหเกิดความสําเร็จและมีประสิทธิภาพได มากนอย เพียงใด แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผลและความพรอมในการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีความพรอมในการรับโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาครัฐจึงได ดําเนินการออกกฎกระทรวงที่เกี่ยวของ เพื่อใหทองถิ่นสามารถประเมินหนวยงานของตนเองวามีความพรอม หรือไม โดยกระทรวงศึก ษาธิก ารอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 21 วรรคสอง แห ง พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร พ.ศ.2546 รั ฐ มนตรี ว า การ กระทรวงศึกษาธิการจึงไดออกกฎกระทรวง ซึ่งสาระสําคัญประกอบดวย เกณฑการประเมินความพรอมใน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเงื่อนไขประกอบการประเมินความพรอมในการจัดการศึกษาขององคกร

Graduate School and Research / 15 May 2013

683


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ปกครองส ว นท อ งถิ่ น ซึ่ ง สามารถแยกออกได ดั ง ต อ ไปนี้ (กรมส ง เสริ ม การปกครองท อ งถิ่ น กระทรวงมหาดไทย, 2547) ดานเกณฑการประเมินความพรอมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคก รปกครองทองถิ่น ประกอบดวย ประสบการณขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการจัดการศึกษาหรือมีสวนรวมในการจัด การศึกษา, แผนการเตรียมพรอมในการจัดการศึกษาหรือแผนพัฒนาการจัดการศึกษาซึ่งแสดงใหเห็นถึ ง ความพรอมดานตางๆที่เหมาะสมกับระดับ ประเภทและรูปแบบการศึกษา, วิธีการบริหารและจัดการศึกษา, การจัดสรรรายไดเพื่อการศึกษา, ระดับและประเภทการศึกษาที่สอดคลองกับสภาพปญหาความตองการ ของชุมชน และความเห็นของประชาชนและผูที่มีความเกี่ยวของตอความพรอมในการจัดการศึกษาของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น เงื่อนไขประกอบการประเมินความพรอมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบดวยการมีรายได ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเพียงพอในการจัดการศึกษา, การกระจายอํานาจขององคกรปกครองสวน ทองถิ่นใหสถานศึกษา, การจัดโครงสรางองคกรภายในรองรับการบริหารจัดการศึกษา, การมีคณะกรรมการ ที่ปรึกษาในการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น, การจัดระบบบริหารงานบุคคลเพื่อการศึกษา และหากองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดที่ผานการประเมินความพรอมในขางตนแลว ใหปฏิบัติตาม เงื่อนไขดังนี้คือ การกระจายอํานาจขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสถานศึกษา องคกรปกครองสวน ทองถิ่นที่จัดการศึกษา ควรกระจายอํานาจการบริหารงานวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุ คลและการบริหารงานทั่วไป ใหสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการไดอยางเปนอิสระสอดคลองกับนโยบาย และมาตรฐานการศึกษา การจัดการโครงสรางองคกรภายในรับรองการบริหารจัดการบริหารจัดการศึกษา องคกรปกครองสวนทองถิ่นจะตองจัดโครงสรางองคกรภายในตามความจําเปนและความเหมาะสมเพื่อ รับ รองการบริ ห ารจั ดการศึ ก ษา บริ ห ารจัด การโดยบุค ลากรวิช าชีพ และมี บุค ลากรเพี ยงพอ การมี คณะกรรมการที่ปรึกษาในการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นองคกรปกครองสวนทองถิ่นควร จัดใหมีคณะกรรมการที่ปรึกษาในการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อทําหนาที่เ สนอ นโยบาย แนวทาง มาตรการ และมาตรฐาน ในการบริหารและจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น องคป ระกอบของคณะกรรมการใหคํา นึง หลัก การมีสวนรวมของผูมี สวนเกี่ยวของ และการจัดระบบ บริหารงานบุคคลเพื่อการศึกษา องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรจัดระบบบริหารงานบุคคลใหมีมาตรฐาน ใกลเคียงกันกับระบบบริหารบุคคลของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของรัฐ (กรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย, 2547) ดังนั้นจึงสรุปไดวากฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ ประเมินความพรอมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2547 นั้นคือ หลักเกณฑที่เปรียบเสมือนเข็มทิศชี้ทางดานการประเมินหนวยงานองคกรปกครองสวนทองถิ่นวาเหมาะสม สําหรับการจัดการศึกษาในอนาคตหรือไม แนวคิดเกี่ยวกับความเปนมาของการถายโอนการจัดการศึกษาไปสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 80 ไดบัญญัติไววา “ให มีกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการศึกษาแหงชาติ” ดังนั้นพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 จึงถือ เปนกฎหมายทางการศึกษาฉบับ แรกของไทย อันเปนมาตรการสําคัญที่นําไปสูการปฏิรูปการศึก ษาของ ประเทศใหป ระสบความสําเร็จ ซึ่ง มีจุดเนนคือการกระจายอํานาจการศึก ษาลงไปสูเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพื่อใหเกิดเอกภาพในระดับนโยบาย มีความหลากหลายและ 684

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

คลองตัวในการปฏิบัติมากขึ้น ซึ่งสอดคลองกับความตองการเรื่องการปฏิรูประบบราชการไทยที่มีมานาน แล ว เพื่ อ เป นการแก ปญ หาในลั ก ษณะที่ มี ก ารดํา เนิ น งานซับ ซอ น ไม เ ท าทั น โลกปจ จุบั น นี้ไ ด มีก าร เปลี่ยนแปลงไปทุกๆดาน โดยประเวศ วะสี (2539: 31) มีความเห็นวา ระบบการศึกษาของเรายังไมทั่วถึง และยืดหยุน ไมเหมาะสมกับคนทุกกลุม ควรจะสํารวจใหทราบถึงความตองการของกลุมตางๆและจัดใหมี การศึกษาอยางทั่งถึงและดีพอ การที่จะจัดการศึกษาในลักษณะดังกลาว รัฐไมสามารถดําเนินการไดเอง ทั้งหมด เพราะการศึกษาเปนระบบที่ใหญมาก หากจะจัดเองจะเปนลักษณะที่เปนอยูในปจจุบัน ซึ่งทําให การศึกษาหยุดนิ่ง เทอะทะไมคลองตัวขาดความยืดหยุน ทําใหการศึกษาขาดการพัฒนาอยางรวดเร็วและ ตอเนื่อง จะตองใชวิธีการกระจายอํานาจการศึกษาไปสูสวนตางๆของสังคม กลาวคือ การกระจายอํานาจ ไปสูสถานศึกษา ชุมชน ทองถิ่น และจังหวัดใหสามารถริเริ่มสรางสรรคเรียนรูและการจัดการศึกษาเอง ทั้งนี้ โดยมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได (Accountability) โดยมีกลไกการตรวจสอบที่เปนอิสระและเขมแข็ง กระจายอํานาจไปเชนนี้จะทําใหเกิดนวัตกรรมทางปญญาขึ้นเต็มประเทศ สอดคลองกับ รุง แกวแดง (2540: 301) ไดกลาวโดยสรุปวา การกระจายอํานาจการบริหารและ การจัดการศึกษา หมายถึง แนวทางการบริหารและการจัดการศึกษาที่สอดคลองกับรัฐธรรมนูญที่ตองการ ใหมีการกระจายอํานาจการตัดสินใจ ไปยังหนวยงานปฏิบัติและเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมใน ทุกๆดาน รวมทั้งดานการศึกษา โดยกําหนดใหมีกฎหมาย คือ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ซึ่งมีหลักและเจตนารมณใหมีการกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการไปสูเขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศึ ก ษา ซึ่ ง เป น การกระจายอํ า นาจการจั ด การศึ ก ษาไปสู ชุ ม ชน องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น คณะกรรมการศึกษา ใหมีอิสระมีความคลองตัวในการบริหารจัดการ สนองตอบความตองการของผูเรียนสู ชุมชน ดังนั้นจึงสรุปไดวาจากอดีตที่ผานมาการปรับเปลี่ยนองคประกอบหรือปจจัยของการจัดการศึกษา เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงภายนอกขางตนไม ส อดคลองกันกั บ ประเทศไทย โดยเฉพาะการจั ด การศึก ษาภาครัฐเพราะการจัดการศึกษาที่เปนอยูมักทําเปนระบบที่คอนขางตายตัว ดําเนินการในรูป องคกรขนาดใหญ มีกฎ ระเบียบมากมาย ผูปฏิบัติคุนเคยกับระบบและกระบวนการที่เปนอยู มีผลใหระบบ การบริหารจัดการศึกษาไมสามารถตอบสนองความตองการในการพัฒนาคุณภาพของคนยุคใหมได การ ปรับเปลี่ยนระบบการศึกษาที่ลาสมัยใหกลายเปนระบบใหมที่ทันสมัยจึงไมอาจทําอยางคอยเปนคอยไปได แตตองดําเนินการอยางรวดเร็วและคลอบคลุมตอไป งานวิจัยที่เกี่ยวของ ชัยยงค ไชยศรี (2545 : ก) ศึก ษาเรื่องแนวทางการพัฒนาความพรอมในการจัดการศึก ษาขั้น พื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลในจังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษาพบวา ปญหาในการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐานดานงบประมาณพบวา อบต. ชั้น 1 ทั้งหมดมีรายไดลดลงเกินกวารอยละ 50 ของรายไดเดิม ดาน บุคลากร พบวา อบต. ชั้น 1 ทั้งหมดขาดบุคลากรที่มีความรูความสามารถดานจัดการศึกษาพื้นฐานโดยตรง ดานวัสดุ อุปกรณ อาคารและสถานที่พบวา อบต. ชั้น 1 ทั้งหมดไมมีปญหาในดานนี้ ดานการบริหารจัดการ พบวา อบต.ชั้น1 ทั้งหมดไมมีกําหนดสวนการศึกษาไวในโครงสรางการบริห ารงาน ความตองการใน การศึก ษาขั้นพื้นฐานดานงบประมาณ พบวา อบต.ชั้น 1 ทั้ง หมดตองการรายไดจ ากภาษีเพิ่ม ขึ้น ดาน บุคลากร พบวา ตองการบรรจุบุคลากรที่มีความรูความสามารถดานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดานวัสดุ อุปกรณ อาคาร และสถานที่ พบวาไมมีความตองการเพิ่มในดานนี้ ดานการบริหารจัดการ พบวาตองการกําหนดให Graduate School and Research / 15 May 2013

685


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

มีสวนการศึกษาในโครงสรางการบริหารงานของ อบต. และแนวทางในการพัฒนาความพรอมของปจจัยการ บริหารการศึกษาขั้นพื้นฐานดานงบประมาณ พบวา ควรปรับใชมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บ ภาษีและเรียกเก็บภาษีรายไดใหมเพิ่มเต็ม ดานบุคลากรพบวา ควรกําหนดใหมีสวนการศึกษาในโครงสราง การบริหารงานของ อบต. เพื่อสามารถดําเนินการบรรจุบุคลากรรับผิดชอบดานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยตรงไดดานวัสดุ อุปกรณ อาคาร และสถานที่ พบวามีขอเสนอใหมีการตั้งงบประมาณอุดหนุนใหเฉพาะ สวนที่โ รงเรียนขาดแคน ดานการบริห ารจัดการ พบวาควรกําหนดใหมีส วนรวมการศึก ษาในโครงการ บริหารงานของ อบต. และควรอบรมและสัมมนาใหความรูดานการบริห ารจัดการศึก ษาขั้นพื้นฐานแก สมาชิกสภา อบต. สอดคลองกับการศึกษาของ พัชรี จินะกัน (2548 : ก) ศึกษาเรื่อง การพัฒนาความพรอม ในการจัดการศึกษาขององคการบริหารสวนตําบลปาแดด อําเภอเมืองเชียงใหม ผลการศึกษาพบวา สภาพ ปจจุบันและปญหาในการเตรียมความพรอมในการจัดการศึกษาขององคก ารบริหารสวนตําบลปาแดด พบวาองคการบริหารสวนตําบลปาแดด มีสวนรวมในการศึกษาแตยังไมมีการจัดการศึกษาขึ้นเอง ยังไมไดรบั ความรวมมือในการจัดการศึกษาจากชุม ชน ในดานของแผนเตรียมความพรอมในการจัดการศึกษาหรือ แผนพัฒนาการศึกษาในลักษณะแผนกลยุทธนั้นยังไมมี ดานอาคารสถานที่ยังไมมีความพรอมเนื่องจากยังไม มีแผนพัฒนาอาคารสถานที่ ดานการจัดสรรรายไดเพื่อการจัดการศึกษามีเพียงพอ ในการสนับสนุนการจัด การศึก ษาไดและเครือขายที่จะชวยเหลือเด็ก ดอยโอกาส มีแหลงเงินทุนการศึกษามอบใหเด็กนัก เรียน องคการบริหารสวนตําบลปาแดดมีโครงสรางสวนการศึกษาที่รับผิดชอบงานดานการจัดการศึกษาแตยังมี บุคลากรไมเพียงพอ และดานการบริหารจัดการศึกษานั้น ยังไมมีรูปแบบการจัดการศึกษาที่ชัดเจนเนื่องจาก ยังรอการถายโอนการจัดการศึกษาที่จะมีการดําเนินการที่ชัดเจนตอไป วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาสภาพปญหาความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการบริหารสวน ตําบลรือเสาะ อําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส 2. เพื่อหาแนวทางในการเตรียมความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการบริหาร สวนตําบลรือเสาะ อําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ขอบเขตการศึกษา ขอบเขตดานประชากร ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก ผูบริหารองคการบริหารสวนตําบล ประธานสภาองคการบริหารสวนตําบล ปลัดองคการบริหารสวนตําบล หัวหนาสวนราชการ เจาหนาที่ผูรับ ผิด ชอบดานการศึกษา ผูบริหารการศึกษาขั้นพื้นฐาน กํานันตําบลรือเสาะ ประธานประชาคมตําบล และ ประชาชนในเขตองคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ รวมจํานวน 60 คน ขอบเขตด า นเนื้ อ หา ในการศึ ก ษาในครั้ ง นี้ ผู ศึ ก ษามุ ง ศึ ก ษาถึ ง สภาพป จ จุ บั น ป ญ หา และ ขอเสนอแนะ เพื่อประเมินความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานและเพื่อหาแนวทางในการเตรียม ความพรอมขององคการบริหารสวนตําบลรือเสาะเพื่อรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขององคการบริหารสวน ตําบลรือเสาะใน 4 ดาน ไดแก ดานทรัพยสิน ดานวิชาการ ดานการบริการและกิจกรรม และดานอื่นๆ

686

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

นิยามศัพทเฉพาะ การประเมิ น หมายถึ ง วิ ธี ก ารประเมิ น ความพร อ มตามหลั ก เกณฑ ที่ มี ก ารกํ า หนดของ กระทรวงศึกษาธิการเพื่อประเมินความพรอมในการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ความพรอมในการรับโอน หมายถึง มีความพรอมในดานบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ และ การบริหารจัดการ เพื่อรองรับการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยประเมินจากการมีแผนปฏิบัติการและ โครงการเพื่อนําไปประเมินความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขององคการบริหารสวนตําบลรือ เสาะ อําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส อบต. หมายถึง องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ อําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1.ทําใหทราบสภาพปญหาความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการบริหารสวน ตําบลรือเสาะ อําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส 2. ทําใหทราบแนวทางในการเตรียมความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการ บริหารสวนตําบลรือเสาะ อําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส วิธีการวิจัย การศึกษาความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบล รือเสาะ เปนการวิจ ัยเชิง คุณภาพ (Qualitative research) โดยใชก ารเลือกกลุมตัวอยางแบบจําเพาะเจาะจง เพื่อใหสามารถตอบปญหาการวิจัยใหเปนไปตามวัตถุประสงค เนื่องจากเปนผูที่มีสวนเกี่ยวของ และมีความรู ความเขาใจพอสมควรในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐาน จํานวน 60 คน ประกอบดวย ผูบริหารองคการ บริหารสวนตําบล ประธานสภาองคการบริหารสวนตําบล ปลัดองคการบริห ารสวนตําบล หัวหนาสวน ราชการ เจาหนาที่ผูรับผิดชอบดานการศึกษา ผูบริหารการศึกษาขั้นพื้นฐาน กํานันตําบลรือเสาะ ประธาน ประชาคมตําบล และประชาชนในองคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ผูศึกษาใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง หรือสัมภาษณแบบเปนทางการ โดยใชคําถามปลายเปด (Open-ended question) ในการเก็บรวบรวมขอมูลจากผูใหขอมูลหลักต ซึ่งผู ศึกษาไดเตรียมคําถามไวลวงหนา ซึ่งรายละเอียดแบงออกเปน 2 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม สวนที่ 2 แนวคําถามเกี่ยวกับ ความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการ บริหารสวนตําบลรือเสาะ อําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ผูศึกษาเก็บรวบรวมขอมูล จากการศึกษาคนควาจากเอกสารที่เกี่ยวของกับความพรอมในการรับ โอนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดแก แผนงานดานการศึกษา รายงานผลการจัดการศึกษา ขอบัญญัติงบประมาณ รายจาย แผนกลยุทธหรือแผนงานดานการศึกษา แผนงานโครงสรางพื้นฐานดานการศึกษา แผนงานดาน การบริหารและการจัดการศึกษา รายงานการใชจายงบประมาณ และโครงการกิจกรรมดานการศึกษา ปงบประมาณ 2552-2554 ขององคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ และโรงเรียนขั้นพื้นฐานในเขตบริการของ องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ ประกอบกับการเก็บรวบรวมขอมูลจากการดําเนินการประชุมสนทนา (Focus Group) ผูบริหารองคการบริหารสวนตําบลรือเสาะและผูเกี่ยวของในการรับโอนการศึกษา โดยผู

Graduate School and Research / 15 May 2013

687


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ศึกษาไดเตรีมคําถามไวลวงหนาใหผูเขารวมการสนทนาเสนอความคิดเห็น และการเก็บรวบรวมขอมูลจาก การสัมภาษณกลุมตัวอยางประชาชนในตําบลรือเสาะ โดยการวิเคราะหขอมูล สําหรับการศึกษาครั้งนี้ ซึ่งเปนขอมูลเชิงคุณภาพจะใชวิธีการวิเคราะห ขอมูลโดยบรรยายหรือพรรณนาขอมูล (Descriptive analysis) และการเชื่อมโยงตรรกะ เพื่อจัดทําขอสรุป เสนอผลการศึกษาในดานการประเมินความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการบริหาร สวนตําบลรือเสาะ และเพื่อหาแนวทางในการเตรียมความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานของ องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นตอไป สรุป สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษาพบวาสภาพปจจุบันในการปฏิบัติงานดานการศึกษาขององคการบริหารสวนตําบลรือ เสาะ มีโรงเรียนที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐอยู 5 แหง ไดแก โรงเรียนบานนาดา โรงเรียนบานนาโอน โรงเรียนบานสโลรบูกิตยือแร โรงเรียนบานบากง และโรงเรียนบานรือเสาะ เปดสอนตั้งแตระดับอนุบาล-ระดับ ประถมศึกษาปที่ 6 ซึ่งโรงเรียนบานบูกิ๊ตยือแร มีจํานวนนักเรียนมากที่สุด และโรงเรียนบานนาโอนมีจํานวน นักเรียนนอยที่สุด โดยโรงเรียนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแตละแหง มีวิธีในการบริหารจัดการศึกษาใน รูปแบบจัดการศึกษาโดยโรงเรียนเอง ยังไม ไดถายโอนการศึกษาใหกับองคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ ดําเนินการ แตองคการบริหารสวนตําบลรือเสาะมีความประสงคจะรับโอนมาบริหารจัดการเอง ผลการศึกษาพบวาสภาพปญหาความพรอมในการรับโอนการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการบริหาร สวนตําบลรือเสาะ ดานทรัพยสิน ไดแก องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะมีการสนับสนุนงบประมาณในการ พัฒนาดานอื่นๆมากกวาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และยังมีงบประมาณไมเพียงพอในการจัดการศึกษา, ดานวิชาการ ไดแก องค ก ารบริห ารส วนตําบล รือเสาะยัง มี ป ระสบการณ และความพร อมในการจั ด การศึก ษานอย ขาดบุคลากรที่มีความรู ความเขาใจในการจัดการศึก ษา และคณะผูบริหาร สมาชิก สภา องคก ารบริห ารสวนตําบล ตลอดจนพนัก งานสวนตําบลยัง ขาดความชัดเจนเกี่ยวกับ ระเบียบปฏิบัติที่ เกี่ยวของกับการถายโอนภารกิจการศึกษาใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น, ดานการบริการและกิจกรรม ไดแก องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะยังไมไดดําเนินการดานการบริการและจัดกิจกรรมสําหรับการศึกษา ขั้น, และดานอื่นๆ ไดแก องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะยังขาดการวางแผนที่เปนระบบและชัดเจน ยัง ไมไดเตรียมความพรอมเพื่อรับการถายโอนการศึกษา ยังไมมีการกําหนดนโยบายและเปาหมายการศึกษาให ชัดเจน ยังไมมีก ารกําหนดโครงสรางการบริหารจัดการดานการถายโอนการศึกษาที่ชัดเจน ยังไมเขาใจ บทบาทหนาที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาอยางเพียงพอ ประชาชนยังไมไดใหความสนใจและเขามามีสวนรวม ในการจั ดการศึก ษาและการถายโอนการศึก ษามากนัก และยัง เกิ ดความรู สึก ตอตา นกั บ การถายโอน สถานศึกษาใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น และบุคลากรของโรงเรียนยังขาดความเชื่อมั่น กลัวการแทรกแซง จากนักการเมืองทองถิ่น จึงไมยอมรับการถายโอนโรงเรียนใหองคการบริหารสวนตําบล ผลการศึก ษาพบวา แนวทางในการเตรียมความพรอมในการรับ โอนการศึก ษาขั้นพื้นฐานของ องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ ดานทรัพยสิน ไดแก องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะควรมีการจัดสรร รายไดเพื่อการศึกษาใหมากขึ้นและมีความรวดเร็วขึ้น รัฐบาลควรเพิ่มงบประมาณใหองคกรปกครองสวน ทองถิ่นเพื่อจัดการศึก ษาใหม ากขึ้น ตามลักษณะความจําเปนในแตละพื้นที่ โดยกํา หนดแนวทางการใช งบประมาณที่ชัดเจน, ดานวิชาการ ไดแก องคก ารบริห ารสวนตําบลรือเสาะควรศึก ษาและหาความรู 688

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ประสบการณในการจัดการศึกษาจากหนวยงานที่ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดการศึกษาโดยตรง ควรมีการ สนับ สนุน สง เสริ ม ดานวิ ชาการใหกับ สถานศึก ษาใหม ากขึ้น ควรมีก ารกําหนดนโยบายและเปาหมาย การศึกษาใหชัดเจน ควรเตรียมความพรอมดวยการเขารับการอบรมสัมมนา ศึกษาดูงานองคกรปกครอง สวนทองถิ่นที่มีถายโอนสถานศึกษาแลว และควรมีการสรางความรูความเขาใจแกบุคลากรเรื่องการจัด การศึกษาตามโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น , ดานการบริการและกิจกรรม ไดแก องคการ บริหารสวนตําบลรือเสาะควรมีการแตงตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญในการจัดการศึกษา การ ใหบริการและจัดกิจกรรมตางๆ และควรเตรียมความพรอมดวยการศึกษาและรวบรวมขอมูลดานการบริการ และจัดกิจกรรมการศึกษาจากแหลงขอมูลตางๆเพื่อนํามาเปนแนวทางในการบริหารงานดานการศึกษา, และดานอื่นๆ ไดแก องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะควรมีการกําหนดนโยบาย วิสัยทัศน พันธกิจและ เปาหมายการศึกษาใหชัดเจน ควรมีการวางแผนดานการจัดการศึกษาที่เปนระบบและมีความตอเนื่อง ควร กําหนดโครงสรางการบริหารจัดการดานการศึกษา ควรใหผูมีสวนเกี่ยวของหลายๆฝายไดมีสวนรวมในการ วางแผนการจัดการศึกษา ทั้งผูบริหาร ขาราชการ พนักงานขององคการบริหารสวนตําบล รวมกับเจาหนาที่ จากสถานศึ ก ษาในพื้นที่ และประชาชน โดยตองมีก ารจัดทําแผนพั ฒ นาการศึ ก ษาที่เ ปนรู ป ธรรม ให สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรดานการศึกษาของหนวยงาน ควรมีการจัดประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการดาน การจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาใหกับบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบล รวมกับบุคลากรของสถานี ศึก ษา และหนวยงานการศึก ษาในพื้นที่ ควรหาผูเชี่ยวชาญดานการจัดการศึก ษามาดําเนินการอบรม เจาหนาที่ สมาชิกเรื่องบทบาทการศึกษา ควรมีการเตรียมความพรอมเพื่อรับการถายโอนการศึกษาทั้งดาน บุคลากร และงบประมาณ และควรมีการทําประชาพิจารณกอนรับโอนการจัดการศึกษา อภิปรายผล จากผลการศึก ษาพบว าในเขตบริก ารขององคก ารบริห ารสวนตํา บลรือเสาะ มี โ รงเรี ยนที่จั ด การศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐอยู 5 แหง ซึ่งองคการบริหารสวนตําบลรือเสาะยังไมไดรับโอน เนื่องจากยังไมมี ความพรอมในการรับโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในดานตางๆคือ ดานทรัพยสิน ไดแก องคการบริหารสวน ตําบลรือเสาะมีการสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาดานอื่นๆมากกวาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมี งบประมาณไมเพียงพอในการจัดการศึกษา, ดานวิชาการ ไดแก องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะยัง มี ประสบการณและความพรอมในการจัดการศึก ษานอย ขาดบุคลากรที่มีความรูความเขาใจในการจัด การศึกษา และคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ตลอดจนพนักงาน ยังขาดความชัดเจน เกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการถายโอนภารกิจการศึกษาใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น, ดาน การบริการและกิจกรรม ไดแก องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะยังไมไดดําเนินการดานการบริการและจัด กิจกรรมสําหรับการศึกษาขั้น, และดานอื่นๆ ไดแก องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะยังขาดการวางแผนที่ เปนระบบและชัดเจน ยังไมไดเตรียมความพรอมเพื่อรับการถายโอนการศึกษา ยังไมมีการกําหนดนโยบาย และเปาหมายการศึก ษาใหชัดเจน ยัง ไมมีก ารกําหนดโครงสรางการบริห ารจัดการดานการถายโอน การศึกษาที่ชัดเจน ยังไมเขาใจบทบาทหนาที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาอยางเพียงพอ ประชาชนยังไมไดให ความสนใจและเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษาและการถายโอนการศึกษามากนัก และยังเกิดความรูส กึ ตอตานกับการถายโอนสถานศึกษาใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น และบุคลากรของโรงเรียนยังขาดความ เชื่อมั่น กลัวการแทรกแซงจากนักการเมืองทองถิ่น จึงไมยอมรับการถายโอนโรงเรียนใหองคการบริหารสวน ตําบล

Graduate School and Research / 15 May 2013

689


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

อาจสืบ เนื่องมาจากองคก ารบริ ห ารสวนตําบลรือเสาะยัง ไมมี ความพรอมเรื่อ งบุคลากร และ งบประมาณ เพื่อการจัดการศึกษา และกําหนดการควบคุม กํากับ ตรวจสอบและประเมินผล เพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษา และยังไมมีนโยบายในการจัดทําแผนกลยุทธ/แผนพัฒนา เพื่อเตรียมความพรอมในการ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สอดคลองกับการศึกษาของมัณฑนา เปงจันทร (2544: ก-ข) เรื่อง การมีสวนรวมใน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลสันทราย จังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษาพบว า ปญหาขององคกรบริหารสวนตําบลในการมีสวนรวมจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสมาชิกสภาองคการบริหารสวน ตําบลยัง ขาดความรูเกี่ยวกับแนวทางปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติก ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ขาดความรูเรื่องการวางแผน โครงการ การจัดการ และเรื่องการประสานงานกับบุคคล คณะบุคคลและ องคกรในชุมชน ไมทราบวาในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดกําหนดใหองคการบริหาร สวนตําบลเขาไปมีสวนรวมในการจัดการศึกษาดวย ขาดทักษะในการสื่อสาร ขาดขอมูลขาวสารในการแจ ความเคลื่อนไหวของโรงเรียนการจัดการศึกษาแกประชาชนในชุมชน นอกจากนั้ นสมาชิกบางสวนยังขาด การเสียสละตอสวนรวมปญหางบประมาณขององคการบริหารสวนตําบลคือไดรับจัดสรรงบประมาณไม เพียงพอกับการใชจายแลไมมีกําหนดโรงการที่จะชวยเหลือโรงเรียนอยางชัดเจน ปญหาวัสดุอุปกรณทสี่ าํ คัญ คือ ไมมีนโยบายในการสนับ สนุนดานวัส ดุอุป กรณเพื่อการศึก ษาไดชัดเจน ไมมีวัสดุอุปกรณที่จ ะใหการ สนั บ สนุ นแก โ รงเรี ยน ไม มี แผนการใช วัส ดุ อุป กรณ ข ององค ก ารบริ ห ารส วนตํ าบลที่ ชั ดเจนและไม มี คณะกรรมการตรวจสอบการใชวัสดุอุปกรณที่รัดกุม ไมมีฝายทํางานที่รับผิดชอบดานการสงเสริมการศึกษา และงานที่เ กี่ยวกับการจัดการศึก ษาขั้ นพื้นฐานไมชัดเจน สอดคลองกับการศึก ษาของพลาธิป รูธรรม (2545: ก) เรื่อง ความสามารถในการจัดการศึกษาขององคการบริหารสวนตําบลในเขตอําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษาพบวา ผูบริหารโรงเรียนและครูในทองถิ่น ไมยอมรับที่จะใหองคการบริหาร สวนตําบลเปนผูจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของทองถิ่น และในดานปญหา อุปสรรค ที่กลุมตัวอยางเสนอ คือ การจัดการดานงบประมาณ บุคลากร นโยบายที่ยังไมมีความชัดเจน เปนตน สอดคลองกับการศึกษาของ พัชรี จินะกัน (2548: ก) ศึกษาเรื่อง การพัฒนาความพรอมในการจัดการศึกษาขององคการบริหารสวน ตําบลปาแดด อําเภอเมืองเชียงใหม ผลการศึกษาพบวา สภาพปจจุบันและปญหาในการเตรียมความพรอม ในการจัดการศึกษาขององคการบริหารสวนตําบลปาแดด พบวาองคการบริหารสวนตําบลปาแดด มีสวน รวมในการศึกษาแตยังไมมีการจัดการศึกษาขึ้นเอง ยังไมไดรับความรวมมือในการจัดการศึ กษาจากชุมชน ในดานของแผนเตรียมความพรอมในการจัดการศึกษาหรือแผนพัฒนาการศึกษาในลักษณะแผนกลยุทธนั้น ยังไมมี ดานอาคารสถานที่ยังไมมีความพรอมเนื่องจากยังไมมีแผนพัฒนาอาคารสถานที่ ดานการจัดสรร รายไดเพื่อการจัดการศึกษามีเพียงพอ ในการสนับสนุนการจัดการศึกษาไดและเครือขายที่จะชวยเหลือเด็ก ดอยโอกาส มีแหลงเงินทุนการศึกษามอบใหเด็กนักเรียน องคการบริหารสวนตําบลปาแดดมีโครงสรางสวน การศึก ษาที่ รับ ผิดชอบงานดานการจัดการศึก ษาแตยัง มี บุคลากรไม เ พียงพอ และดานการบริห ารจั ด การศึกษานั้น ยังไมมีรูปแบบการจัดการศึกษาที่ชัดเจนเนื่องจากยังรอการถายโอนการจัดการศึกษาที่จะมี การดําเนินการที่ชัดเจนตอไป และสอดคลองกับการศึกษาของ ธีระยุทธ ซุนเสง (2554: ก) ศึกษาเรื่อง การ ประเมินความพรอมในการรับโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและหาแนวทางในการเตรียมความพรอมเพื่อรับ โอนสถานศึก ษาขั้นพื้นฐาน ขององคก ารบริห ารสวนตําบลทาหิน อําเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ผล การศึกษาพบวา องคการบริหารสวนตําบลทาหินมีความพรอมในรับโอนการจัดการศึกษา โดยลักษณะการ จัดการศึกษาที่เหมาะสม ไดแก จัดและรับโอนการศึกษาระดับกอนประถมศึกษาและระดับประถมศึกษา โดยสามารถรับโอนสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีจํานวนนักเรียนจํานวนตั้งแต 300 คนขึ้นไป และอาจ 690

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

รวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นจัดการศึกษา แตอาจตองมีการปรับปรุงเพิ่มเติมเพื่อการมีความพรอม ที่มากขึ้น เนื่องจากยังไมมีแผนกลยุทธดานการศึกษา ขาดรูปแบบบริหารจัดการศึกษาที่ชัดเจน เพื่อเพิ่ม ระดับความพรอมที่มากขึ้น นอกจากนี้ในสวนของโครงสรางการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบลทา หินแมจะมีการกําหนดสวนราชการขึ้นมาดูแลการศึกษา แตบุคลากรยังมีจํานวนนอยและขาดความรูความ เชี่ยวชาญดานการศึกษา สําหรับแนวทางในการเตรียมความพรอมในการรับโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ควร มีการจัดทําแผนกลยุทธดานการศึกษา การพัฒนารูปแบบการบริหารและจัดการศึกษา การพัฒนาบุคลากร ทางการศึกษา มีก ารแสวงหาความรวมมือกับ หนวยงานที่เ กี่ยวของ ทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชน ในการ ดําเนินการจัดการศึกษาอยางเปนระบบ และโดยการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะควรศึกษาและหาความรูประสบการณในการจัดการศึกษาจาก หนวยงานที่ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดการศึกษาโดยตรง หรือเตรียมความพรอมดวยการเขารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีถายโอนสถานศึกษาแลว, องคการบริหารสวนตําบลรือ เสาะควรมีการแตงตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญในการจัดการศึกษา การใหบริการและจัด กิจกรรมตางๆ และควรเตรียมความพรอมดวยการศึกษาและรวบรวมขอมูลดานการบริการและจัดกิจกรรม การศึกษาจากแหลงขอมูลตางๆ เพื่อนํามาเปนแนวทางในการบริหารงานดานการศึกษา, องคการบริหาร สวนตําบลรือเสาะควรใหผูมีสวนเกี่ยวของหลายๆฝายไดมีสวนรวมในการวางแผนการจัดการศึกษา ทั้ง ผูบริหาร ขาราชการ พนักงานขององคการบริหารสวนตําบล รวมกับเจาหนาที่จากสถานศึกษาในพื้นที่ และประชาชน โดยตองมีการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาที่เปนรูปธรรม ใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตร ดานการศึ ก ษาของหนวยงาน, และองคก ารบริ ห ารส วนตํ าบลรือเสาะควรมี ก ารจัดประชุม อบรมเชิ ง ปฏิบัติการดานการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาใหกับบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบล รวมกับบุคลากร ของสถานศึกษา และหนวยงานการศึกษาในพื้นที่ หรือหาผูเชี่ยวชาญดานการจัดการศึกษามาดําเนินการ อบรมเจาหนาที่ สมาชิกเรื่องบทบาทการศึกษา ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการทําวิจัยเชิงปฏิบัติก ารแบบมีสวนรวมในเรื่องนี้ เพื่อ ศึก ษาความพรอมในการจัด การศึกษาขององคการบริหารสวนตําบลตามสภาพความเปนจริงใหมากที่สุด 2. ควรมีการศึกษาความพรอมในการจัดการศึกษาขององคการบริหารสวนตําบลตามความคิดเห็น ของประชาชนดวย เพื่อจะไดขอเปรียบเทียบความคิดเห็นที่แทจริงของทุกๆฝายที่เกี่ยวของ 3. ควรศึกษาความพรอมในการจัดการศึกษาขององคการบริหารสวนตําบลในแตละดานโดยเฉพาะ เพื่อใหไดขอมูลที่มีความชัดเจนและมีรายละเอียดในการนําไปปฏิบัติงานมากยิ่งขึ้น 4. ควรศึกษาเปรียบเทียบเรื่องการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลในพื้นที่ อื่นๆที่ประสบความสําเร็จ หรือลมเหลว เพื่อใหไดขอมูลที่แทจริงในเชิงลึกที่มีความชัดเจนและมีรายละเอียด ในการนําไปปฏิบัติงานมากยิ่งขึ้น

Graduate School and Research / 15 May 2013

691


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เอกสารการอางอิง กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น. 2547. แนวทางการเสริมสรางความพรอมในการจัดการศึกษาของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น. กรุงเทพฯ : กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น. ชัยยงค ไชยศรี .2545. แนวทางการพัฒนาความพรอมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการ บริหารสวนตําบลในจังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ธีระยุทธ ซุนเสง. 2554. การประเมินความพรอมในการรับโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและหาแนวทางใน การเตรียมความพรอมเพื่อรับโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขององคการบริหารสวนตําบลทาหิน อําเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา. รายงานการศึกษาอิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน. ประเวศ วะสี. 2536. การศึกษาชาติกับภูมิปญญาทองถิ่น : ภูมิปญญาชาวบานกับการพัฒนาชนบท. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อัมรินทรพริ้นติ้งแอนดพลับลิชชิ่ง. พัชรี จินะกัน. 2548. การพัฒนาความพรอมในการจัดการศึกษาขององคการบริหารสวนตําบลปาแดด อําเภอเมืองเชียงใหม. เชียงใหม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. พลาธิป รูธรรม. 2545. ความสามารถในการจัดการศึกษาขององคการบริหารสวนตําบลในเขตอําเภอแม แตง จังหวัดเชียงใหม. การคนควาแบบอิสระ รัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. มัณฑนา เปงจันทร. 2544. การมีสวนรวมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบล สันทราย จังหวัดเชียงใหม. การคนควาแบบอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. รุง แกวแดง. 2540. ปฏิวัติการศึกษา. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: มติชน. องคก ารบริหารสวนตําบลรือเสาะ. 2552. ขอบัญญัติ งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณพ.ศ. 2552. นราธิวาส : องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ. องคก ารบริหารสวนตําบลรือเสาะ. 2553. ขอบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณพ.ศ. 2553. นราธิวาส : องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ. องคก ารบริหารสวนตําบลรือเสาะ. 2554. ขอบัญญัติ งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณพ.ศ. 2554. นราธิวาส : องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ. องคการบริหารสวนตําบลรือเสาะ. 2555. แผนพัฒนาสามป (พ.ศ. 2556-2558). นราธิวาส: องคการ บริหารสวนตําบลรือเสาะ.

692

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

การจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรขององคการบริหารสวนตําบลกาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา The management of water resource of kalor sub-district administrative organization, raman districe, yala province ญะมาลุดดีน ยามา1 พรชัย ลิขิตธรรมโรจน2 1

นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2รองศาสตราจารย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรขององคการบริหาร สวนตําบลกาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา โดยการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวของกับการจัดการทรัพยากร น้ําเพื่อการเกษตรขององคการบริหารสวนตําบลกาลอ การสัมภาษณกลุมเกษตรกรที่ประกอบอาชีพทางการ เกษตรในชวงฤดูกาลเพาะปลูก ปพ.ศ. 2555-2556 จํานวน 50 คน การสนทนากลุม (Focus Group) กับ ผูเกี่ยวของดานแนวทางการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตร จํานวน 15 คน ผลการศึกษาพบวา การจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตร “อยูในระดับไมดี” สําหรับองคการ บริหารสวนตําบลกาลอมีการดําเนินการเพียงการนําโครงการบรรจุเขาแผนพัฒนาตําบลเทานั้น ไมปรากฏ การดําเนินการโครงการในดานนี้เลย ไมมีการประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการขอรับงบประมาณ สนับ สนุน ไมมีโครงสรางบุคลากรรองรับ ภารกิจ ดานนี้ ไมมีก ารกอตั้ง กลุม ผูใชน้ําเพื่อการเกษตร ไมมี กิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวของใดเลย ไมมีการจัดระเบียบการใชน้ําจึงทําใหชวงฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณน้ําไม เพียงพอ อันนํามาซึ่งความขัดแยงของเกษตรกรแยงกันใชน้ําเพื่อการเกษตร การขาดการบริหารจัดการน้ําที่ ดี ทําใหเกษตรกรขาดโอกาสในการประกอบอาชีพและไมไดรับความชวยเหลือที่ดี จึง ควรมีการเพิ่มการ วางแผนดานงบประมาณ บุคลากร เครื่องมืออุปกรณ การบริหารจัดการ การประสานงานระหวางหนวยงาน ที่เกี่ยวของ ตลอดจนเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวม เพื่อสามารถประหยัดงบประมาณขององคการ บริหารสวนตําบลกาลอ เพื่อประโยชนสูงสุดของประชาชนตอไป คําสําคัญ : การจัดการ ทรัพยากรน้ํา การเกษตร องคการบริหารสวนตําบลกาลอ

Graduate School and Research / 15 May 2013

693


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

Abstract The purposes of this study are to establish the guidelines in managing water resources for agricultural purposes for the Kalo Sub-district Administrative Organization. Data were obtained from three sources. Firstly, documents related to water resources management for agricultural purposes of the Kalo Sub-district Administrative Organization were studied. Secondly, 50 agriculturists doing agronomic work in the agricultural seasons of the year 2012-2013 were asked about their wishes and needs for the irrigation management. Finally, the focus-group discussions were conducted among 15 key persons on water resources management for agriculture in Kalo Sub-district Administrative Organization. Results revealed that the management of water resources for agricultural purposes of the Kalo Sub-district Administrative Organization was at an unsatisfactory level. What has been done about water resources management was the plan being placed in the Kalo Sub-district Administrative Organization Developmental Plan. There were, however, no actions done in this matter. There was neither a plan nor other related activities done for water resources management. There was no communication or coordination with other sectors done to get supporting budgets, nor the human resources plan done to support the water resources management. No interest groups of agriculturalists were established. Most importantly, there was no real plan for management of the water resources to prevent conflicts among agriculturalists in the use of the irrigation water, which was the major problem and hardship among agriculturists. It is therefore suggested that the plans must be made with the details including budgets, personnel, machines and equipment, administration and coordination with other supporting sectors to get help and support. It is also suggested public people should be involved in the plan. This public participation would not only help save the budget of the Kalo Sub-district Administrative Organization ;but also it would be beneficial for people in Kalo. Key Words: Management , Water Resource , Agriculture , Kalo Sub-district Administrative Organization

694

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา ภัยแลง หรือสภาวะฝนแลง เปน ภัยที่กอ ใหเ กิด ผลกระทบอยางยิ่ง ตอการดํารงชีวิตของมนุษ ย เนื่องจากทรัพยากรน้ําเปนปจจัยที่สําคั ญยิ่งตอการอุปโภคบริโภคและการเกษตร ซึ่งการเกิดภัยแลงหรือ สภาวะฝนแลงแตละครั้งจะกอใหเกิดความสูญเสียตอสภาพเศรษฐกิจโดยรวม ดังนั้นสภาพเศรษฐกิจของบาง ประเทศจึงมักขึ้นอยูกับผลกระทบจากปญหานี้ เนื่องจากเปนปญหาที่เกิดขึ้นไดเปนประจําและมีแนวโนมที่ สรางผลกระทบมากขึ้น และทุกปก็มีพื้นที่ประสบปญหาเพิ่มมากขึ้นอาจกลาวไดวาภัยแลงหรือสภาวะฝน แลงและฝนทิ้งชวงเปนภัยธรรมชาติที่สําคัญซึ่งกอใหเกิดผลเสียไดมากเทากับหรือมากกวาภัยธรรมชาติอื่น ๆ ปจจัยที่กอใหเกิดภัยแลงประกอบดวยหลายปจจัยนอกจากสภาวะฝนแลง เชน ระบบการหมุนเวียนของ บรรยากาศ การเปลี่ยนแปลงสวนผสมของบรรยากาศ การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธระหวางบรรยากาศกับ น้ําทะเลหรือมหาสมุทร (สุทัศน ศรีวัฒนพงศ.2541.) จังหวัดยะลาเปนจังหวัดหนึ่งในจังหวัดชายแดนภาคใต ที่ประชากรสวนใหญจะประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ซึ่งการทําอาชีพการเกษตรจะอาศัยน้ําฝนและแหลงน้ําตามธรรมชาติในจังหวัด และการทํา การเกษตรในชวงฤดูแลงโดยอาศัยน้ําจากเขื่อนบางลาง จังหวัดยะลา เปนแหลงน้ําที่สําคัญ ในสวนของ ตําบลกาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา ซึ่งประกอบดวย จํานวน 4 หมูบาน 667 ครัวเรือน เปนพื้นที่หนึ่งที่ ประชากรสวนใหญของตําบลจะประกอบอาชีพทางการเกษตร พืชที่นิยมปลูกคือ ขาวและไมผล สําหรับการ ปลูกขาวจะมีการเพาะปลูกในฤดูฝนเทานั้น สวนแหลงน้ําที่ใชเพื่อการเกษตร ซึ่งมีจํานวน 2 แหง โดยใช แหลงน้ําจากตนน้ําในตําบลคือ จากน้ําตกไอซตาโล หมูที่ 2 และ จากน้ําตกบาตูฮาปา หมูที่ 2 ตําบลกาลอ นํามาผลิตเปนระบบชลประทานสงน้ําใหเกษตรกร ซึ่งปริมาณน้ําที่มีอยูไมเพียงพอตอความตองการใชทํา การเกษตรตลอดทั้งป ทั้งนี้เพราะปริมาณน้ําในคลองสงน้ําที่มาจากตนน้ําคือน้ําตกทั้ง 2 แหง จะขึ้นอยูกับ ฤดูกาล คือ น้ําจะมีใชเพียงพอสําหรับการทําการเกษตรในฤดูฝนเทานั้น แตเมื่อถึงฤดูแลงปริมาณน้ําในคลอง สงน้ําจะเหลือปริมาณนอยมาก ตลอดจนระบบการสงน้ํายังไมดีนักเพราะไมทั่วถึงในเขตตําบลกาลอ โดยจะ มีแคทางสงน้ําขนาดเล็ก ๆ ที่แยกยอยไปยังพื้นทางการเกษตรของเกษตรกรในพื้นที่ ยัง ขาดการบริหาร จัดการน้ํา (ระบบปด-เปดน้ํา) ที่ดี ไมสามารถจัดการปริมาณน้ําในแหลงน้ําใหเพียงพอกับความตองการของ เกษตรกรไดตลอดทั้งป จึงควรมีการศึกษาวางแผนการจัดการทรัพยากรน้ําและปรับปรุงสภาพการใชน้ําของ เกษตรกรใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งจะทําใหประชาชนมีความสามารถในการเพาะปลูกไดเพิ่มขึ้น อันจะ สงผลใหความเปนอยูของประชาชนดียิ่งขึ้น (องคการบริหารสวนตําบลกาลอ, 2554) อุไรวรรณ ตันกิมหยง (2528) ไดใหนิยามเกี่ยวกับภัยแลงวา หมายถึง สภาวะการขาดแคลนน้ํา และไมมีน้ําเพียงพอตอความตองการ สําหรับภัยแลงดานการเกษตร เปนสภาวะการขาดแคลนน้ําและไมมี น้ําเพียงพอตอความตองการของพืช ไมวาจะเปนชวงใดชวงหนึ่ง ซึ่งมีผลตอสภาวะการเจริญเติบโตของพืช และผลผลิตของพืชไมวาจะเปนพื้นที่เกษตรอาศัยน้ําฝนและพื้นที่เกษตรในเขตชลประทาน ป จ จั ย ที่ ส ง ผลให เ กิ ด ภั ย แล ง ในประเทศไทย ได แ ก ลมมรสุ ม ตะวั น ตกเฉี ย งใต ม รสุ ม ตะวันออกเฉียงเหนือ และพายุหมุนเขตรอนซึ่งนําฝนมาตกในประเทศไทย นอกจากฝนยังมีปจจัยอื่นที่เปน องคประกอบอีกหลายประการ เชน ระบบการหมุนเวียนของบรรยากาศการเปลี่ยนแปลงสวนผสมของ บรรยากาศ การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธระหวางบรรยากาศกับน้ําทะเล หรือมหาสมุทร (สุทัศน ศรีวัฒ นพงศ.2541) แนวคิดและทฤษฎีการจัดการทรัพยากรน้ํา คือการวางแผนการจัดการลุมน้ําเปนสิ่งที่สําคัญมากใน การจัดการทรัพยากรน้ํา และสิ่งแวดลอมทั้งในระดับภูมิภาคและระดับทองถิ่น การจัดการทรัพยากรน้ํา Graduate School and Research / 15 May 2013

695


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

หมายถึง การจัดหาน้ํา การใชประโยชน และการควบคุมสภาพแวดลอมเกี่ยวกับทรัพยากรน้ําใหเกิดความ สมดุลและใชประโยชนตลอดไป ขอมูลที่จําเปนสําหรับการจัดการทรัพยากรน้ํา คือ ขอมูลที่ทําใหทราบถึง ทรัพยากรน้ําที่มีอยู (Supply) ขอมูลที่ทําใหทราบความตองการน้ํา (Demand) และขอมูลที่ทําใหเราทราบ สภาวะแวดลอมของลุมน้ํา (Environment) เมื่อทราบขอมูลแลว ก็จะสามารถวางแผนการจัดการลุมน้ําได สําหรับการจัดการทรัพยากรโดยภาครัฐ จากการศึกษาของกองแผน กรมสงเสริมการเกษตร พบวาปจจัยที่ มีผลตอประสิทธิภาพในการจัดการน้ําโดยชลประทานไดแก วิธีการสงน้ําที่เหมาะสม การวางแผนการสงน้ํา การเลือกวิธีการใหน้ํา การกําหนดการใหน้ําที่เหมาะสม การจัดแผนการปลูกพืชที่เหมาะสม และการลด การสูญเสีย (อุไรวรรณ ตันกิมหยง.2536) องคการบริหารสวนตําบลเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่จัดตั้งขึ้นตามแนวนโยบายการกระจาย อํานาจของรัฐเพื่อใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยมากขึ้น องคการ บริหารสวนตําบลกาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นหนึ่งในจังหวัดยะลา ซึ่ง มีวิสัยทัศนในการพัฒนาทองถิ่นคือ “กาลอตําบลนาอยู เชิดชูคุณธรรม ทัศนียภาพสวยงาม อนามัยดี สังคม มีสุข” (องคการบริหารสวนตําบลกาลอ,2555) วัตถุประสงค 2.1 เพื่อศึกษาการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรในปจจุบันของเกษตรกรในตําบลกาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา 2.2 เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรขององคการบริหารสวนตําบลกาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา วิธีการวิจัย ผูใหขอมูลหลัก ผูใหขอมูลหลักคือกลุมเกษตรกรที่ประกอบอาชีพทางการเกษตรในชวงฤดูกาลเพาะปลูก ปพ .ศ. 2555-2556 จํานวน 50 คน และผูเกี่ยวของดานการแนวทางการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตร จํานวน 15 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดแบงการเขาถึงแหลงขอมูลและการจัดเก็บขอมูลเพื่อการศึกษาแนว ทางการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรโดยไดสามารถแบงออกเปน 3 สวน คือ 1. การเก็บ รวบรวมขอมูลดานเอกสาร คือ แบบวิเ คราะหเ อกสาร ซึ่งเปนขอมูลเชิงเอกสารที่ เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรและแผนงานสวนที่เกี่ยวของ ขององคการบริหารสวนตําบล กาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา 2. การเก็บ รวบรวมขอมูล จากการดําเนินการสัม ภาษณ โ ดยการใช แ บบสัม ภาษณ ซึ่ง ผูศึก ษา กําหนดใหเปนคําถามปลายเปด (Open-ended question) ในการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมประชากรที่ ประกอบอาชีพทางการเกษตรในชวงฤดูกาลเพาะปลูก ปพ.ศ. 2555-2556 และมีพื้นที่การเกษตรอยูในเขต ตําบลกาลอ โดยผูศึกษาไดเตรียมคําถามไวลวงหนา

696

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

3. การเก็บรวบรวมขอมูลจากการดําเนินการสนทนากลุม (Focus Group) ผูบริหารและผูเกี่ยวของ โดยการใชการตั้งคําถามซึ่งผูศึกษาเตรียมคําถามไวลวงหนา กําหนดใหเปนคําถามปลายเปด (Open-ended question) ใหผูเขารวมการสนทนาเสนอความคิดเห็นแลวผูศึกษาดําเนินการจดบันทึกสรุปผลการสนทนา การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาซึ่งเปนบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบล กาลอไดรวมปฏิบัติง านกับ องคการบริห ารสวนตําบลกาลอโดยตรง จึงสามารถเก็บรวบรวมขอมูล จาก เอกสารที่เกี่ยวของกับการดําเนินการดานการจัดการทรัพยากรน้ําได และสวนของการสํารวจแบบสอบถาม ผูศึกษาจะดําเนินการสํารวจแบบสอบถามประชาชนในเขตตําบลกาลอและดําเนินการสนทนากลุม (Focus Group) กับผูที่เกี่ยวของในการจัดการทรัพยากรน้ําของตําบลกาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา การวิเคราะหขอมูล สําหรับในการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ผูศึก ษาจะใชวิธีการวิเคราะหขอมูล โดยบรรยายหรือ พรรณนาขอมูล และการเชื่อมโยงตรรกะ เพื่อจัดทําขอสรุปเสนอผลการศึกษาแนวทางการจัดการทรัพยากร น้ําเพื่อการเกษตรขององคการบริหารสวนตําบลกาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา และหาขอเสนอแนะแนว ทางการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรขององคการบริหารสวนตําบลกาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา เพื่อใหทราบสภาพปญหาในปจจุบันและมีแนวทางการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรขององคการ บริหารสวนตําบลกาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา ผลการวิจัย 1) ขอมูลเกี่ยวกับอุปสรรคในการใชน้ําเพื่อการเกษตร อุปสรรคที่สําคัญคือ ระบบการจายน้ําไมดี คลองสงน้ํายังเปนคูสงน้ําดินทราย จึงทําใหเกิดการสูญเสียน้ําและอีกทางหนึ่งคือการดูดซึมน้ําลงไปในดิ น สวนรูปแบบของการสง น้ําเกษตรกรมีความเห็นวา อยากใหองคการบริหารสวนตําบลรวมกับ เกษตรกร จัดระบบ ปจจุบันอํานาจในการตัดสินใจในการสงน้ําการเกษตรอยูกับหนวยงานภายนอกคือ สํานักงาน ชลประทานผูเปนเจาของโครงการเหมืองสงน้ํา ในกรณีมีปญหาเกี่ยวกับการใชน้ํา ยังไมมีการดําเนินการ ประชุมหรือดําเนินการใดๆ ขอขัดแยงในเรื่องการใชน้ําเพื่อการเกษตรเกิดขึ้นบอยครั้งโดยเฉพาะปที่เกิด ปญหาความแหงแลง ซึ่งสาเหตุหนึ่งของความขัดแยงคือ ระบบสงน้ําไมดี จึงทําใหเกิดปญหาแกงแยงน้ํา ตามมา ซึ่ง หนาที่ในการดูแลคลองสง น้ําควรขึ้นอยูกับ หนวยงานราชการในทองถิ่นมากกวา หนวยงาน ภายนอกเพื่อลดความขัดแยง 2) ขอมูลเกี่ยวกับองคการบริหารสวนตําบลกาลอในการสงเสริมความเขมแข็งของชุมชน เกษตรกร สวนใหญมีความผูกพันกับทองถิ่นนี้มาเปนระยะเวลานานมากกวา 16 ป จึงทําใหเกิดความสนิทสนมกลม เกลียวกันระหวางเพื่อนรวมอาชีพเกษตรกร เกิดความศรัทธาและมีความพึง พอใจหากจะตองใหความ รวมมือกับทองถิ่น แมปจจุบันจะยังไมมีการจัดตั้งกลุมเพื่อการจัดการใชน้ําเพื่อการเกษตรในพื้นที่ตํ าบล กาลอ ซึ่งองคการบริหารสวนตําบลกาลอควรมีสวนรวมในการสงเสริมการจัดตั้งกลุม 3) ขอมูลที่รวบรวมจากเกษตรกรเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตร ไดแก วิธีการจัดการ วางแผน อุปสรรคในการจัดการน้ํา การแกไขปญหา กรณีความคิดเห็นของเกษตรกรเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรที่เหมาะสมตอง อาศัยความรวมมือจากหนวยงานตางๆ ที่รับผิดชอบ ไดแก เกษตรกรเอง เกษตรประจําตําบล เจาหนาที่ ชลประทาน เนื่องจากการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรใหมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพตองมี Graduate School and Research / 15 May 2013

697


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

การรวมมือกัน สําหรับปญหาที่รับทราบแลวควรนํามาวางแผนในอนาคตคือ การรวมกลุมของคนในชุมชน เพื่อการจัดตั้งกลุมผูใชน้ํามาเปนตัวแทนในการจัดการการใชทรัพยากรน้ํา เปนตน รวมทั้งควรสงเสริมเกษตร เพื่อการดําเนินการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรเพื่อการเพาะปลูกที่มีประสิทธิภาพ จากการศึกษาเรื่องแนวทางการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรขององคการบริหารสวนตําบล กาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา สรุปไดวามีจุดออนคลองสงน้ํา ระบบการจายน้ําไมดี คลองสงน้ํายังเปนคู สงน้ําดินทราย จึงทําใหเกิดการสูญเสียน้ําและอีกทางหนึ่งคือการดูดซึมน้ําลงไปในดิน ดังนั้นวิธีการจัดการ ทรัพยากรน้ําที่เหมาะสมคือ การปรับปรุงและดูแลระบบสงน้ําใหดียิ่งขึ้น เชน การปรับปรุงจากคลองดิน เปนเหมืองดาดคอนกรีต แตวิธีการเหลานี้ตองอาศัยเงินอุดหนุนจากภาครัฐ องคการบริหารสวนตําบลกาลอ จึงควรประสานงานงบประมาณ อีกทั้งตองมีการวางแผนในการใชน้ําใหมีประสิทธิภาพ การบํารุงรักษาและ ซอมแซมใหดีอยูเสมอ ในการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรอยางมีประสิทธิภาพนั้น เห็นวาตองอาศัยความรว มมือ จากหลายๆฝาย นอกจากจะตองอาศัยการสนับ สนุนจากภาครัฐในการปรับ ปรุง สภาพคลองสง น้ําแลว องคการบริหารสวนตําบลกาลอและเกษตรกรตองมีการวางแผนการจัดการน้ําเพื่อการเกษตรในอนาคตดวย แตจากที่ปจจุบันตําบลกาลอยังไมมีแผนงานไวรองรับยังรอความชวยเหลือจากหนวยงานอื่นๆ จึงนํามาสู ความขัดแยงในการจัดการและการใชทรัพยากรน้ําได จุดออนของการจัดการน้ําขององคการบริหารสวนตําบลกาลอ จากการศึก ษาทบทวนขอมู ล เชิง เอกสารที่เ กี่ยวของกับ แนวทางการจัดการทรั พยากรน้ําเพื่ อ การเกษตรขององคการบริหารสวนตําบลกาลอ มีดังนี้ 1) องคการบริหารสวนตําบลกาลอ ยังไมมีแผนงานดานการจัดการทรัพยากรน้ําโดยตรง มีเพียงการ กําหนดในแผนพัฒนาตําบล 3 ป ในสวนของยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตเทานั้น 2) องคการบริหารสวนตําบลกาลอ มีงบประมาณจํานวนนอยในการดําเนินการตามแผนงานในดาน การจัดการน้ําเพื่อการเกษตร 3) ขาดการนําโครงการจากแผนพัฒนาตําบลมาแปลงสูโครงการในขอบัญญัติทั้งในดานการกอสราง แหลงน้ํา การกอสรางฝายหรือทํานบกั้น และการฟนฟูแหลงน้ําเพื่อการเกษตร 4) องคการบริห ารสวนตําบลกาลอ มีการใชสัดสวนรายไดดานตางๆโดยยังไมใหความสําคัญกับ แผนงานดานการการจัดการน้ําเพื่อการเกษตร แยกเปน (1) ดานบริหารงานทั่วไป เปนเงิน 6,014,290 บาท คิดเปนรอยละ 48.20 (2) ดานบริการสังคมและชุมชน เปนเงิน 5,018,710 บาท คิดเปนรอยละ 40.22 (3) ดานเศรษฐกิจ เปนเงิน 70,000 บาท คิดเปนรอยละ 0.56 (4) ดานการดําเนินการอื่นๆ เปนเงิน 1,376,000 บาท คิดเปนรอยละ 11.03 และ (7) ดานการการจัดการน้ําเพื่อการเกษตร เปนเงิน 0.00 บาท คิดเปนรอย ละ 0.00 แนวทางการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตร 1. มีวิธีการจัดการการใชน้ําเพื่อการเกษตรในพื้นที่การเกษตร คือ 1) ปลูกพืชมีความตองการน้ํา นอยในชวงเวลานอกฤดูเก็บเกี่ยว เชน พืชลมลุกตระกูลถั่ว ขาวโพด 2) มีการเตรียมไถดะไวกอนมีการผัน น้ําเขาที่นาเนื่องจากเปนการประหยัดน้ํา 2. วิธีก ารจัดการทรัพยากรน้ําที่เ หมาะสมควรดําเนินการ คือ 1) ควรดําเนินการโดยสํานัก งาน ชลประทานจังหวัดยะลา องคการบริหารสวนตําบลกาลอ ตลอดจนสํานักงานเกษตรอําเภอรามัน 2) การ

698

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

กําหนดชนิดของพืชในชวงฤดูเพาะปลูกเพื่อการบริหารจัดการน้ําที่ดี 3) มีการบริหารจัดการแบบปลอยน้ํา เปนชวงเวลาเพื่อลดอัตราการสูญเสียน้ํา 3. การวางแผนการจัดการการใชน้ําเพื่อการเกษตรในอนาคตของเกษตรกร คือ 1) ปลูกพืชมี ความตองการน้ํานอยในชวงเวลานอกฤดูเก็บเกี่ยว เชน พืชลมลุกตระกูลถั่ว ขาวโพด 2) หากมีปริมาณน้ํา นอยลง อาจหันไปปลูกพืชประเภทพืชสวนทดแทน 4. การแกปญหาเรื่องปญหาความขัดแยงที่เกิดจากการแกงแยงน้ําเพื่อการเกษตร คือ 1) ปลูกพืชมี ความตองการน้ํานอยในชวงเวลานอกฤดูเก็บเกี่ยว เชน พืชลมลุกตระกูลถั่ว ขาวโพด 2) มีการเตรียมไถดะไว กอนมีการผันน้ําเขาที่นาเนื่องจากเปนการประหยัดน้ํา วิจารณ องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีบทบาทที่สําคัญมากในการกําหนดทิศทางการพัฒนา องคกรปกครอง ทองถิ่นในรูปแบบ องคการบริหารสวนตําบล เปนหนวยงานราชการที่อยูใกลชิดประชาชนมากที่สุดตามหลัก กระจายอํานาจจากสวนกลาง ทั้งนี้เพื่อใหสามารถตอบสนองความตองการของประชาชนไดรวดเร็วและตรง ความตองการของประชาชน มีการแกไขปญหาของชุมชนโดยประชาชนในชุม ชนเอง ราชการทองถิ่นใน รูปแบบ “องคการบริหารสวนตําบล” ไดรับการจัดตั้งขึ้นพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวน ตําบล พ.ศ. 2537 มีก ารกระจายอํานาจหนาที่ใหองคก ารบริห ารสวนตําบลตองดําเนินการและอาจ ดําเนินการในเขตรับผิดชอบของตนเอง รวมถึงการกระจายอํานาจในการจัดการทรัพยากรน้ําใหแกทองถิ่น ดวย โดยรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับพุทธศักราช 2540) มาตรา 290 มีการกําหนดใหองคกร ปกครองสวนทองถิ่นมีห นาที่ในการจัดการ บํารุงรัก ษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมในพื้นที่ ทรัพยากรน้ํา ซึ่งคงอยูในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จัดอยูในอํานาจหนาที่ของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ตามนัยของรัฐธรรมนูญตามมาตรานี้ดวย สําหรับองคการบริหารสวนตําบล ซึ่ง เปนหนวยบริหารราชการสวนทองถิ่นในตําบล ก็ไดรับการกระจายอํานาจด านการจัดการทรัพยากรน้ําใน ตําบลดวยตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 มาตรา 67 (7) และมาตรา 68 (1) ใหองคการบริหารสวนตําบลมีอํานาจหนาที่ในการจัดการ คุมครอง บํารุง รักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จัดใหมีน้ําเพื่อการอุปโภค บริโภค (โกวิทย พวงงาม และปรีดี โชติชวง 2543) การที่องคการบริหารสวนตําบลไดรับการมอบหมายให ดูแลรักษาและใชประโยชน จากทรัพยากร น้ําในพื้นที่ ก็เพราะวา องคการบริหารสวนตําบลเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่อยูใกลชิดประชาชนมาก ที่สุด ยอมทราบปญหาและความตองการของประชาชนในเรื่องทรัพยากรน้ํา องคการบริหารสวนตําบลมี รายไดงบประมาณเจาหนาที่ของตนเอง ยอมสามารถจะจัดการพัฒนาและแกไขปญหาเรื่องน้ําในพื้นที่อยาง มีประสิทธิภาพและตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยางรวดเร็วดวย ในอดีตที่ผานมาเมื่อพิจ ารณาโดยรวมแลวประเทศไทยมีท รัพยากรน้ําที่คอนขางอุดมสมบูร ณ โดยเฉพาะในฤดูฝน ปญหาจึงมีอยูวาจะสามารถรักษาปริมาณน้ําที่มีอยูจํานวนมากในฤดูฝนใหคงอยูในแหลง น้ําธรรมชาติและแหลงน้ําที่มนุษยสรางขึ้นมาเพื่อไวใชประโยชนตลอดปไดอยางไร จากสภาพทางเศรษฐกิจ ที่เปลี่ยนไปทําใหคนรุนหลังใชน้ํากันอยางอิสระเสรีโดยไมคํานึงถึงผลกระทบของสภาพน้ําที่จะตามมา ดังนัน้ จึง เกิดปญหาเพิ่ม ตามมาอีก หลายประการภายไมกี่ปที่ผานมา นับแตปญหาการขาดน้ํา ปญหาอุทกภัย

Graduate School and Research / 15 May 2013

699


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ปญหามลพิษทางน้ํา และปญหาการแกงแยงแหลงทรัพยากรน้ํา ซึ่งความรุนแรงของแตละปญหาเกือบไม แตกตางกันเลย สําหรับปญหาประการแรก คือ ปญหาการขาดแคลนน้ํานั้น ไดทวีความรุนแรงขึ้นทุกปและความ เสียที่เกิดขึ้นไดสงผลกระทบที่รุนแรงตอภาคเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคเกษตรกรรมซึ่งตองอาศัยน้ําเปน วัตถุดิบที่สําคัญในการเพาะปลูก ปญหาประการที่สอง คือ ปญหาอุทกภัย ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากที่มีฝนตกบอย หรือตกหนักตอเนื่องเปนเวลานาน อุทกภัยขนาดใหญที่เกิดขึ้นบอยครั้งไดสรางความเสียหายใหแกชีวิตและ ทรัพยสินเปนจํานวนมากทุกป อีกทั้งมีแนวโนมที่จะสูงขึ้นในทุกป จากสาเหตุการลดลงของพื้นที่ปาบริเวณ ตนน้ํา เพราะการบุกรุกทําลายความสามารถในการเก็บกักน้ําและการชะลอการไหลบาของน้ําลงดวยดังนั้น เมื่อฝนตกในปริมาณมากน้ําจึงไหลบาอยางรวดเร็วทวมพื้นที่ทางการเกษตร ทําใหเกิดอันตรายตอชีวิตและ ทรัพยสิน ปญญาประการที่สาม คือ ปญหามลภาวะทางน้ํา ปญหานี้เปนอีกปญหาหนึ่งซึ่งเกิดจากการเสื่อม คุณภาพลงของน้ํา อันเปนผลมาจากการปลอยน้ําเสียของคนในชุมชน และของโรงงานอุตสาหกรรมที่ตั้งอยู ใกลแหลงน้ํา ซึ่งเปนการทําใหปริมาณน้ําที่มีอยูอยางจํากัด มีปริมาณไมเพียงพอตอความตองการใชน้ําของ ประชาชน และปญหาประการสุดทาย คือ ปญ หาการแยงชิง ทรัพยากรน้ํา ปญหานี้ไดท วีเพิ่ มมากขึ้นใน ระยะเวลากวาทศวรรษที่ผานมา เนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศเติบโตอยางรวดเร็วและขาดการ วางแผนและขาดการควบคุมการใชน้ําอยางเหมาะสม ผลการศึกษาแนวทางการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรขององคการบริหารสวนตําบลกาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา นั้น พบวา การจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตร “อยูในระดับไมดี” สําหรับ องคการบริหารสวนตําบลกาลอมีการดําเนินการเพียงการนําโครงการบรรจุเขาแผนพัฒนาตําบลเทานัน้ ไมมี ปรากฏวามีการดําเนินการโครงการดานการพัฒนาปรับปรุงฟนฟูดานทรัพยากรน้ําเลย ไมมีการประสานกับ หนวยงานที่เกี่ยวของในการขอรับงบประมาณสนับสนุน ไมมีโครงสรางบุคลากรรองรับภารกิจดานนี้ ไมมี การกอตั้งกลุมผูใชน้ําเพื่อการเกษตร และไมมีกิจกรรมอื่นๆที่เกี่ยวของใดเลย ไมมีการจัดระเบียบการใชน้ํา ทําใหชวงฤดูกาลเพาะปลูกมีปริม าณน้ําไมเพียงพอนํามาซึ่งความขัดแยงของเกษตรกรแย ง กันใชน้ําเพื่อ การเกษตร เปนมาของการขาดการบริหารจัดการน้ําที่ดี ทําใหเกษตรกรขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ และไมไดรับ ความชวยเหลือที่ดี จึง ควรมีเ พิ่มการประชุมวางแผนดานงบประมาณ บุคลากร เครื่องมือ อุปกรณ การบริหารจัดการ ประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ ตลอดจนเปดโอกาสใหประชาชนมี สวนรวม เพื่อสามารถประหยัดงบประมาณขององคการบริหารสวนตําบลกาลอ ซึ่งจะยังประโยชนสูงสุดแก ประชาชนตอไป จากผลการศึกษาเรื่องแนวทางการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรขององคการบริหารสวน ตําบลกาลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา นั้น สามารถนํามาอภิป รายผลกับงานวิชาการในดานการจัดการ ทรัพยากรน้ํา ซึ่งมีงานวิชาการที่มีการศึกษาวิจัยและความสอดคลองกัน โดย อนันทชาติ เขียวชอุม (2548) ทําการศึกษาเรื่อง การจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตร กรณีศึกษาอางเก็บน้ําแมยาว อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการใชน้ําของเกษตรกรและเพื่อศึกษาปญหาอุปสรรคตอการใชนา้ํ เพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่รับน้ําจากอางเก็บน้ําแมยาว พบวา สภาพการใชน้ําของเกษตรกรรับน้ําจาก อางเก็บน้ําแมยาวและมีสวนหนึ่งที่อยูไกลพื้นที่อางเก็บน้ําจะไดรับน้ําไมสม่ําเสมอ เกษตรกรยังขาดความรู ความเขาใจในการบริหารจัดการน้ําที่มีอยูเพื่อการเกษตรที่เหมาะสม เกษตรสวนใหญยังไมมีสวนรวมในการ จัดการทรัพยากรน้ําเทาที่ควร ขาดการวางแผนการบริหารจัดการน้ํา การปดเปดประตูน้ําสวนใหญขึ้นอยูกับ คนบางกลุมบางคนเทานั้น ปญหาที่พบคือการมีปริมาณน้ําไมเพียงในฤดู แลงและการกระจายน้ําไมทั่วถึง 700

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

การจัดการบริหารทรัพยากรน้ําที่เหมาะสมคือการวางการเพาะปลูก ที่ตองสัมพันธส ภาพภูมิอากาศ ภูมิ ประเทศและปจจัยทางการตลาด ในการจัดการบริหารทรัพยากรน้ําที่ยังยืนตองอาศัยความรวมมือจากหลาย ภาคสวน คือ ตัวเกษตรกรเอง หนวยงานราชการ หนวยงานเอกชน รวมกันวางแผน ดําเนินการติดตามผล และแกปญหา สําหรับในประเด็นการขัดแยงกันเกษตรในการบริหารจัดการน้ํา โดย วันเพ็ญ สุรฤกษ (2538) ทําการศึก ษาเรื่อง ปญ หาและการแกไขปญ หาขอขัดแยง ในการจัดการเรื่องน้ําและการใชน้ําเพื่อการ เพาะปลูกในไรนาระบบชลประทานในภาคเหนือ พบวา การบริหารจัดสรรเรื่องน้ําในระบบชลประทานเกือบ ทุกโครงการมีโอกาสเกิดความผิดพลาดขึ้นงาย เพราะโครงการชลประทานครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ จึง ลําบากตอการบริหารจัดการสงน้ําและบํารุงรักษาระบบชลประทาน ความสลับซับซอนของการจัดองคกร ของหนวยงานตางๆในการจัดสรรน้ํา การขาดประสิทธิภาพในการประสานงาน ขาดการติดตอประสานงาน และขาดความเอาใจใสและความยุติธรรม นอกจากนั้นการมุงเนนผลผลิตสูงจากพื้นที่เพาะปลูกที่จํากัด เรื่อง เหลานี้ลวนนํามาซึ่งความขัดแยงในการใชน้ําอยูเสมอ สวนมากนอยหรือความรุนแรงขึ้นอยูกับ ตัวแปรที่ ปรากฏในพื้นที่และไมสามารถปองและแกไขใหสิ้นสุดการเกิดได โดยทั่วไปมักจะเกิดกับเกษตรกรที่ปลาย คลองสงน้ํา สอดคลองกับงานวิชาการของ ประธาน สุวรรณมงคล (2533) ที่ไดอธิบายวาความขัดแยงใน สัง คมไทยที่เ กิดขึ้นสวนใหญม าจากเรื่องอํานาจและผลประโยชนร ะหวางกลุมตางๆในสัง คม ทั้ง นี้โ ดย สัญชาตญาณมนุษยทุกคนมีความเห็นแกตัว ซึ่งไดแกผลประโยชนของตนเองและพวกพองความขัดแยงจะ มากหรือนอยจะขึ้นอยูกับการกระจายอํานาจและผลประโยชนทางเศรษฐกิจ สําหรับในประเด็นองคการบริหารสวนตําบลกาลอและกลุมเกษตรกรยังไมมีการจัดตั้งกลุมผูใชน้ํา นั้น ฝายพัฒนาการใชน้ําในแปลงนา กรมชลประทาน (2540) มีรายงานการศึกษาในเรื่องนี้ที่กลาวถึงความ จําเปนในการจัดตั้งกลุมผูใชน้ํา ไววาการสรางทัศนคติของเกษตรกรในความเปนเจาของสิ่งที่รัฐจัดสรางขึน้ ก็ คือการใหเกษตรกรมีสวนรวมตั้งแตแรกเริ่มอาจจะอยูในรูปของการแสดงความคิดเห็น หรือการรับรูความ เขาใจในสิ่งนั้น ซึ่งเมื่อเกิดความรูสึกดังกลาวแลวการปฏิบัติตามคําแนะนําก็งายขึ้น เทากับวาเปนการลด ภาระของภาครัฐในการที่จะตองจัดสรรงบประมาณเพื่อการดูแลสิ่งเหลานั้นและโดยลําพัง หากจะใหผูหนึ่ง ผูใดมารับผิดชอบคงเปนไปไมได จึงตองใหผูที่ไดรับผลประโยชนจ ากการแหลง น้ําสายเดียวกันชวยกัน บํารุง รัก ษาภายใตก ารทํา งานเปนกลุม ผลก็คือ การทําเกษตรกรไดรับ ผลประโยชนจ ากการใชน้ําที่ มี ประสิทธิภาพ ทําใหผลผลิตดีขึ้นความเปนอยูของเกษตรกรดีขึ้น ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะสําหรับประชาชนผูมีอาชีพเกษตรกรรม 1) ควรเขารวมกิจกรรมและแกไขปญหาเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตร ของทองถิ่น เพื่อสรางความสามัคคีในชุมชน 2) ควรหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดการน้ําอยูเสมอทั้งในชุมชนและภายนอกชุมชน 3) ควรตระหนั ก ว า ทรั พ ยากรน้ํา มี ค า และควรใช อ ยา งประหยัด เพื่ อ ให คนรุ น หลั ง มี ทรัพยากรน้ําใชตอไป 4) ปลูกฝงจิตสํานึกในการใชประโยชนจากแหลงน้ําและความคุมคามากที่สุดใหกับเยาวชน 5) รวมสนับ สนุนงบประมาณเพื่อดูแล ปรับ ปรุง ซอมแซมเกี่ยวกับ การจัดการน้ําเพื่อ การเกษตร และเพื่อใหมีการพัฒนาที่ดียิ่งขึ้นไป เปนผลประโยชนตอทองถิ่นที่อยูอาศัยตอไป Graduate School and Research / 15 May 2013

701


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

2. ขอเสนอแนะสําหรับเจาหนาที่ของรัฐ 1) ควรให คํ า แนะนํ า ด า นรู ป แบบวิ ธี ก ารจั ด การทรั พ ยากรน้ํ า แก เ กษตรกรอย า งมี ประสิทธิภาพใหกับเกษตรกรอยางสม่ําเสมอ 2) เปดโอกาสใหคนในทองถิ่นมีสวนรวมในการรวมคิด รวมทํา ร วมวางแผน ปฏิบัติและ แกไขบํารุงรักษาระบบการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรของชุมชนรวมกับราชการเพื่อสรางจิตสํานึก ความเปนเจาของ 3) ควรมีการสํารวจสภาพปญหาการขาดแคลนน้ํา ตองสํารวจถึงจํานวนแหลงน้ําแตล ะ ประเภททั้งของสวนราชการและแหลงน้ําสวนตัวของเกษตรกร รวมทั้งสภาพแหลงน้ําลําคลองวามีการชํารุด หรือไม ปริมาณในฤดูฝนและฤดูแลง รวมทั้งวิเคราะหคุณภาพแหลงน้ําใตดินและผิวดิน และการจัดทําเปน ทะเบียนแหลงน้ําของชุมชน เพื่อใชประกอบการพิจารณาวางแผนเพื่อสรรหาแหลงน้ํา นอกจากนี้ในพื้นที่ สภาพน้ําใตดินที่เปนสนิม ควรใหความสําคัญเปนพิเศษในการวิเคราะหปญหาเพื่อการจัดสรรประเภทแหลง น้ําใหเหมาะสม 4) ประสานงานแผนพัฒนาแหลงน้ําอยางเปนระบบแบบบูรณาการกับหนวยงานทรัพยากร น้ํา โดยการรวมกันจัดทําขอมูลพื้นฐานดานแหลงน้ําและพิจารณาถึงปญหาความขาดแคลนแหลงน้ําในพื้นที่ เปาหมายรวมกับ หนวยงานดานทรัพยากรน้ํา ควรทบทวนแผนการจัดสรรน้ําโดยจัดสรรแหลงน้ําใหเฉพาะ พื้นที่ที่มีความขาดแคลนน้ําอยาแทจริง และมีการประสานงานในการแกไขปญหาแหลงน้ําที่ชํารุดดวยเพื่อ ประหยัดงบประมาณแทนการกอสรางใหม 5) จัดทําดัชนีตัวชี้วัดการพัฒนาของตําบล เชน ความเขมแข็งของชุมชน ดัชนีการพัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต เพื่ อ เป น เครื่ อ งมื อ วั ด ความพร อ มของตํ า บลและหมู บ า นเป า หมาย สามารถประเมิ น ความสามารถในการบริหารจัดการของหมูบานเพื่อจัดลําดับความสําคัญของหมูบานเปาหมายเพื่อจัดสรร แหลงน้ําใหเหมาะสมแตละพื้นที่ตอไป 6) จัดใหมีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานรวมทั้งการประเมินผล การพัฒนาเชิงพื้นที่ รวมทั้งลําดับการขาดแคลนน้ําเพื่อการจัดสรรแหลงน้ําใหเหมาะสมแตละพื้นที่ตอไป 3. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1) ในดานระยะเวลาในการเก็บ ขอมูลควรมีก ารกําหนดในชวงที่เ กษตรกําลังเก็บ เกี่ยว ผลผลิตเนื่องมีความสะดวกในการเก็บรวบรวมขอมูลและเกษตรกรอยูในพื้นที่ การกําหนดชวงเวลานอก ฤดูกาลทําใหมีความยากลําบากในการเกินไปเก็บขอมูล 2) ควรศึกษาดานในเรื่องผลกระทบในดานตางๆที่เกิดขึ้นในพื้นที่นั้นกอนการดําเนินการ และหลังมีการดําเนินการเพื่อประกอบการตัดสินใจของผูดําเนินการนโยบายพัฒนาการจัดการน้ําเพื่อความ เหมาะสม โดยมีกระบวนการการมีสวนรวมของประชาชนในพื้นที่เพื่อเปนแนวทางประกอบการดําเนินการ โครงการ 3) ควรมี ก ารศึ ก ษาความพึ ง พอใจของประชาชนต อ การจั ด การทรั พ ยากรน้ํ า ใน กระบวนการพัฒนาที่อาจสงผลกระทบตอวิถีชีวิตประชาชนหลังการดําเนินการโครงการ และสอดคลองกับ ความตองการของประชาชนหรือไม

702

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เอกสารอางอิง กรมชลประทาน. 2540. คูมือการจัดการแหลงน้ํา. ฝายพัฒนาการใชน้ําในแปลงนา กรมชลประทาน. ประธาน สุวรรณมงคล.2540. “กระบวนทัศนในการกระจายอํานาจ”. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช.ฉบับ เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม. 10:2. ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ: อาสารักษาดินแดน. วันเพ็ญ สรฤกษ. 2538. ปญหาและการแกไขปญหาขอขัดแยงในเรื่องการจัดการน้ําและการใชน้ําเพื่อ การเพาะปลูก ในไร นาระบบชลประทานหลวงและระบบชลประทานราษฎรในภาคเหนื อ วิทยานิพนธ ปริญ ญาศิล ปศาตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม]. เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม. สํานักพัฒนาระบบ รูปแบบโครงสราง กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น. 2550. รัฐธรรมนูญแหง สุทัศน ศรีวัฒนพงศ.2541. การคาดการณอนาคตเกษตรกรไทย. เอกสารประกอบการสัมมนา “Public Seminar on Technology for Learning and Culture” .กรุงเทพฯ: เอกสารอัดสําเนา องคการบริหารสวนตําบลกาลอ.2554. ขอมูลทั่วไปองคการบริหารสวนตําบลกาลอ. สํานักงานปลัด อนันทชาติ เขียวชอุม. 2541.การจัดการน้ําเพื่อการเกษตร กรณีศึกษา อางเก็บน้ําแมยาว อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง [วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม]. เชียงใหม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม. อบต. องคการบริหารสวนตําบลกาลอ. ยะลา: เอกสารอัดสําเนา. อุไรวรรณ ตันกิม หยง.2528. องคกรสังคมระบบชลประทานเหมืองฝายและการระดมทรัพยากร: เปรี ย บเที ย บระหว า งชุมชนที่ อยู บนที่สู งและชุมชนพื้ นราบในภาคเหนือ ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: เอกสารอัดสําเนา. อุไรวรรณ ตันกิมหยง.2536. เหมืองฝายเพื่อการพัฒนาชุมชนและนิเวศสูความยั่งยืน. ในสิสัฒน คติธรรม นิตย (บก.) สิทธิชุมชน: การกระจายอํานาจจัดการทรัพยากร. กรุงเทพฯ: สถาบันชุมชนทองถิ่น พัฒนา. เอกสารอัดสํานา

Graduate School and Research / 15 May 2013

703



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

การจัดการความรูที่เอื้อกับการพัฒนาอาชีพของกลุมเกษตรกรผูเลี้ยงกระบือ ในพื้นที่พรุปายอ อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี Knowledge Management Facilitates the Occupational Development of Buffalo Raising Farmer’s Group in the Payo Swamp Area, Saiburi District, Pattani Province อับดุรเราะฮมาน ฟูอัด อาลมูฮัมมัดอามีน1 บัญชา สมบูรณสุข2 1

เจาพนักงานสัตวบาลชํานาญงาน กลุมงานยุทธศาสตรและสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว สํานักงานปศุสัตวจังหวัดปตตานี (นักศึกษาปริญญาโท สาขาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร) 2 Ph.D. รองศาสตราจารย ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research, PAR) มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษาการจัดการความรูที่เอื้อกับการพัฒนาอาชีพของกลุมเกษตรกรผูเลี้ยงกระบือ (2) ศึกษาองคความรูและกระบวนการเรียนรูของกลุมเกษตรกรผูเลี้ยงกระบือ โดยทําการวิจัยกับกลุม เกษตรกรผูเลี้ยงกระบือในพื้นที่พรุปายอ อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี 30 ราย การรวบรวมขอมูลไดจาก การเก็บขอมูลเอกสารและการเก็บขอมูลภาคสนาม ผลการศึก ษาพบวาการใชรูป แบบการวิจัย แบบมีสวนรวม ผานกระบวนการจัดการความรูตาม โมเดลปลาทู สามารถพัฒนาอาชีพของกลุมเกษตรกรผูเลี้ยงกระบือได โดยหลังจากผานกระบวนการจัดการ ความรู เกษตรกรมีการรวมกลุมกันแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ใหความสํา คัญกับการดูแลจัดการการเลี้ยง กระบือมากขึ้นโดยการเปลี่ยนแปลงที่เห็นไดชัดที่สุดไดแกการนํากระบือมารับการฉีดวัคซีนมากยิ่งขึ้น กลุม เกษตรกรมีความสามัคคีและมีการบริหารจัดการอาชีพอยางมีสวนรวมมากขึ้น มีการรวมตัวกันกอตัง้ สหกรณ ผูเลี้ยงปศุสัตวปตตานี จํากัด ขึน้ ซึ่งเปนการตอยอดการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงปศุสัตวโดยความรวมมือกัน ของเกษตรกรผูเปนสมาชิกของชุมชนดวยกันเองตอไป จากการวิจัยยังพบวา เกษตรกรผูเลี้ยงกระบือสวนใหญมีอาชีพหลักจากการปลูกยางพาราและการ ทํานา การลงทุนในการเลี้ยงกระบือของเกษตรกรสวนใหญเปนการลงทุนของเกษตรกรเอง ไมมีการรวมกลุม กันอยางเปนทางการ เกษตรกรมีที่ดินถือครองเฉลี่ย 3.3 ไร ซึ่งสวนใหญใชพื้นที่พรุปายอในการเลี้ยงกระบือ เกษตรกรเลี้ยงกระบือเฉลี่ยรายละ 4.53 ตัว รูปแบบการเลี้ยงกระบือของเกษตรกรเปนการเลี้ยงแบบกึ่ง ปลอยกึ่งผูกลาม เกษตรกรสวนใหญมีองคความรูในการรักษาและดูแลสุขภาพของกระบือเบื้องตนโดยใช ตํารั บ ยาสมุ นไพรที่ เ ป นภูมิ ปญ ญาเฉพาะถิ่ นที่ ลัก ษณะใกล เ คี ยงกั บ ท องถิ่ นภาคใต เกษตรกรยั ง ไมใ ห ความสําคัญในการสรางโรงเรือนในการเลี้ยงกระบือ เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรูของเกษตรกรผูเลี้ยงกระบือ ถูกถายทอดโดยผานเกษตรกรผูมีประสบการณในการเลี้ยงกระบือดวยกัน ผานกระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรูจากการพูดคุยในโอกาสตางๆ เชน ที่รานน้ําชา ที่มัสญิด ฯลฯ ซึ่งเปนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู ที่เ ชื่อมประสาน คน ความรูและกระบวนการเขาไวดวยกัน นอกจากนี้ก ระบวนการจั ดการความรูยัง มี ลัก ษณะเปนเกลียวของความรูที่เ ชื่อมตอกัน เมื่อไดรับ การสง เสริม จากเจาหนาที่ป ศุสัตวแลวนําไปใช ปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ของตนเอง และพัฒนาใหเกิดองคความรูใหมจะมีการเพิ่มพูนความรูยิ่งขึ้น แตยังไมได มีการจัดเก็บรวบรวมความรูที่ไดไวเปนเอกสาร สวนใหญเปนจดจําและแบงปน แลวนําไปใชตอๆกันไป ซึ่ง องคความรูใดที่ใชไดผลดีก็จะมีการบอกตอกันไปตอๆจนเปนที่แพรหลายออกไป นอกจากนี้กลุมเกษตรกรที่ Graduate School and Research / 15 May 2013

705


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ศึกษาทั้งหมดยังมีความตองการที่จะเชื่อมโยงกับเครือขายของผูเลี้ยงกระบือในที่อื่นๆเพื่อที่จะไดมีโอกาส แลกเปลี่ยนเรียนรูบ ทเรียนที่เ ปนเลิศ (Best Practice) องคความรู (Knowledge) ปญ หาและอุป สรรค (Problem)ในการเลี้ยงกระบือกับเกษตรกรในที่ตางๆ คําสําคัญ : การจัดการความรู, การพัฒนาอาชีพ, การเลี้ยงกระบือ, จังหวัดชายแดนภาคใต และจังหวัด ปตตานี

706

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT This Research is a Participatory Action Research (PAR) Aims to (1) Study of Knowledge Management, Facilitating to the Occupational Development of the group of Buffalo Raising Farmers (2) to Study Cognitive and Learning processes of farmers postponed by research. with 30 Baffalo Raising Farmers in Payo Swamp Area , Saiburi District, Pattani Province, to gather information from the documents and the field data collection The Results Showed that the use of Participatory Research Model. Knowledge Management by TUNA Models can be Occupational Development of a group of Farmers. After the Process of Knowledge Management. Farmers to collectively share and learn together. Focus to manage the Buffaloes more obvious changes include the introduction of cattle to be vaccinated even more. Farmers with unity and career management are more involved,Have gathered to establish the cooperative livestock Pattani Ltd., which builds on professional development with the cooperation of the livestock farmers who are members of the community themselves. The research also found that Frmers with the main occupation of most of the rubber plantations and rice farming. Investment in the raising of Buffalo farmers, most farmers' own investment. No Formal Group. Farmers with an average land holding of 3.3 Rais, mostly raising buffaloes in Payo swamp areas. Farmers an average of 4.53, the pattern of farmers raising is mix-pattern(fields and tied). Most of the knowledge in the treatment and care of Buffaloes used primarily by traditional herbal wisdom is endemic similar to southern dialects. Farmers were not featured on the buffalo stables. About the learning process of farmers have been transmitted through the experience of raising cattle together. Through the learning process of the talks on various occasions such as tea shops and a Mosque etc.,which is welding the Learning Process,Knowledge and processes together. Moreover, the Process of Knowledge Management is Rotating spiral of Knowledge. When the livestock officer inproved then applied to actual work in their own areas. And developed the new knowledge has have more knowledge. But no collect the knowledge gained as a document. Mostly remember, used and shared, some knowledge which works well , it will spread out.In addition, the group of study’s farmers have the desire to links with others Buffaloes Farmers Group in order to have the opportunity to share and learn the lessons of Best Practice, Knowledge and Problems Keywords: Knowledge Management (KM),Occupational Development,Baffalo Raising,Deep Southern Province and Pattani Province

Graduate School and Research / 15 May 2013

707


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความสําคัญและที่มาของการวิจัย เนื่องจากความการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วอันเปนผลจากการพัฒนาตาม แนวทางกระบวนการทันสมัย (modernization) อยางในปจจุบัน ทําใหวิถีสัง คมเมืองและรูปแบบของ วัฒ นธรรมตะวัน ตกได แ ผ เ ขา มายั ง สั ง คมชนบทมากขึ้ น ทํ า ให สัง คมชนบทหลายแห ง เริ่ ม มี วิถี ชี วิ ต ที่ เปลี่ ยนแปลงไป เกษตรกรผูเ ลี้ ย งกระบือ ในพื้น ที่ พ รุป ายอก็ เ ช นเดี ย วกั น ที่ ได รั บ ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงนี้ ผลกระทบที่เห็นไดชัดคือมีสมาชิกชุมชนที่ตองพึ่งพิงปจจัยในการดํารงชีพจากภายนอกชุมชน มากขึ้น โดยเฉพาะการพึ่งพาเมืองในการเปนแหลงทํามาหากินเพื่อการดํารงชีพจนมองขามความสําคัญของ ฐานเศรษฐกิจในระดับชุมชน การเปลี่ยนแปลงเหลานี้อาจทําใหเกิดความไมยั่งยืนในการประกอบอาชีพและ การดํารงชีวิตในระยะยาว ทั้ง ๆที่วิถีชีวิตดั้ง เดิมยังไมไดห ายไปหมดสิ้นและนาจะมีฐานความรูที่เ ปนภูมิ ปญญาแฝงอยู แตไมไดมีการจัดการที่เหมาะสมเพื่อใชแกปญหาการดํารงชีพของคนในชุมชนอยางเปนระบบ และจริงจัง ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจศึกษาการจัดการความรูเกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง ในกลุมเกษตรกรผูเลี้ยงกระบือในพื้นที่พรุปายอ ตําบลกะดุนง อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานีแหงนี้ โดยจะเนนการศึกษาการจัดการความรูที่มีอยูในชุมชนที่จะสามารถนํามาเปนแนวทางในการพัฒนาอาชีพ การเลี้ยงกระบือ วัตถุประสงคของการวิจัย (1) ศึกษาการจัดการความรูท ี่เอื้อกับการพัฒนาอาชีพของกลุมเกษตรกรผูเ ลีย้ งกระบือ (2) ศึกษาองคความรูและกระบวนการเรียนรูของกลุมเกษตรกรผูเ ลี้ยงกระบือ วรรณกรรมที่เกี่ยวของ การจัดการความรู การจัดการความรูเปนกระบวนการในการนําความรูที่มีอยู หรือที่ไดเรียนรูมาใชใหเกิดประโยชน สูงสุดในการทํางานของตนเองหรือการดําเนินงานขององคกร เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งใจไวโดยผาน กระบวนการตางๆ ซึ่งครอบคลุม การสราง รวบรวม แลกเปลี่ยนและใชความรู การจัดการความรูอาจจะ นํามาใชเพื่อการดําเนินชีวิตของปจเจกบุคคล องคกรตางๆทั้งที่เปนองคกรธุรกิจ องคกรทางการศึกษา และ องคกรชุมชน การจัดการกับความรูแตละประเภทนั้นมีวิธีก ารที่แตกตางกัน กลาวคือ ความรูชัดแจง (Explicit Knowledge) และความรูฝงลึก (Tacit Knowledge) จะมีขั้นตอนการจัดการความรูที่แตกตางกัน กลาวคือ ความรูชัดแจง(Explicit Knowledge) จะเริ่มตนจากการ “เขาถึง ตีความ” คือการเขาถึงความรูที่มีอยู ซึ่ง ความรูนี้ มีสวนประกอบสําคัญ คือ สวนของเนื้อหาสาระ (Content) และสวนของบริบท (Context) ซึ่ง นําไปสูขั้นตอนตอมา คือ การนําไปปรับใช โดยจะตองมีการ “ตีความ” ใหเขากับบริบทที่เราจะนําความรูนี้ ไปประยุกตใชงาน แลวจึง เรียนรู ยกระดับ เปนการนําความรูไปใชงานซึ่งในความเปนจริงแลว จะพบวามี สิ่งที่สามารถเรียนรูไดเสมอ ความรูที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน ซึ่งถือวาเปนความรูที่สําคัญยิ่ง เพราะเปน ความรูของจริงที่ไดมาจากการปฏิบัติงานภายใตบริบทนั้นๆเอง ไมวาจะเปนความสําเร็จหรือความผิดพลาด ลวนแลวแตมีโ อกาสที่จะเรียนรู สรางความรูใหมๆ ใหเกิดขึ้นไดเสมอ และขั้นตอนสุดทายจึง รวบรวม จัดเก็บ หลังจากที่ไดเรียนรูไดยกระดับความรูขึ้นแลว ก็จําเปนจะตองมีการรวบรวม แลวเก็บองคความรูที่ได ไวใหเปนระบบ เปนหมวดหมู ทั้งนี้เพื่อใหสามารถสืบคน เขาถึงไดงาย

708

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สําหรับ การจัดการความรูฝงลึก หรือ Tacit Knowledge Management ซึ่งควรที่จะตองเริ่มตน จากการ “มีใจแบงปน” ตองสรางความเปนหวงเปนใย มีใจใหแกกันและกัน (Care) สรางบรรยากาศแหง กัล ยาณมิ ตร ให คนมีจิต ใจที่พร อมชวยเหลือเกื้ อกูล แบ ง ป น (Share) กัน ถึง จะสามารถที่จ ะ “เรีย นรู รวมกัน” เมื่อทุกคนมีใจพรอมให พรอมแบงปนสิ่ง ที่ไดเ รียนรูมาทั้ง ที่ถือวาเปนความสําเร็จ เปน “Best Practice” หรือวาเปนการถอดบทเรียน (Lessons Learned) ที่ไดมาจากขอผิดพลาด ทุกคนก็จะเกิดการ เรียนรูรวมกัน แลว “สรางความรู ยกระดับ” สามารถสรางความรูใหมไดภายในองคกร จากการเปดใจ แบงปน เปดใจยอมรับ ซึ่งจะเปนทางเปดใหสามารถสรางความรูไดเหมาะสมกับบริบ ทขององคก ร ซึ่ง สามารถ “นําไปปรับใช” เมื่อมีประสบการณหรือไดเรียนรูอะไรมา ก็นํามาแบงปน หา “Best Practice” มาปรับใช หมุนเวียนกันเชนนี้ตอไปอยางไมจบสิ้น ซึ่งเมื่อทุกคนตางพรอมจะให ทุกคนก็จะไดรับไปอยาง ตอเนื่องเชนกัน ตรงกับคําพูดที่วา “ยิ่งให ยิ่งไดรับ” วงจรการจัดการความรูที่สมบูร ณ คือ การที่หมุนวงจรการจัดการความรูชัดแจง และวงจรการ จัดการความรูฝงลึก ทั้ง 2 วงไปพรอมๆกัน (ภาพที่ 1) โดยไมแยกวงซายวงขวาใหเปนอิสระตอกัน เพราะ การจัดการความรูเพียงประเภทใดประเภทหนึ่งนั้น ไมใชการจัดการความรูที่แทจริง อันที่จริงความรูทั้งสอง ประเภทนี้มีการแปรเปลี่ยนสถานภาพระหวางกันตลอดเวลา วงจรทั้งสองวงนี้จึงหมุนไปดวยกัน หมุนแบบ เกี่ยวเนื่องกัน คือหมุนจากวงซายไขวไปสูวงขวา และจากวงขวาหมุนกลับ มาสูวงซาย เปนการหมุนใน ลักษณะคลายกับเลขแปดที่วางตั้งในแนวนอน ซึ่งก็คือเครื่องหมาย “ Infinity” และนี่ก็คือวงจรการจัดการ ความรูที่เรียกวา วงจรการจัดการความรูไมรูจบ หรือ “Infinity KM” (ประพนธ ผาสุขยืด, 2549 : 27-35)

ภาพที่ 1 วงจรการจัดการความรูไมรูจบ ที่มา : ประพนธ ผาสุขยืด (2549:35) การจัดการความรูขององคกรชุมชน สําหรับ กลุมที่มีก ารขับ เคลื่อนและมีกิจ กรรมอยางตอเนื่องเปนประจํา งานในลัก ษณะของการ จัดการความรูเกิดขึ้นโดยไมรูตัว เกษตรกรพัฒนารูปแบบของการดําเนินกิจกรรมตางๆ โดยมีพี่เลี้ยงที่ลง พื้นที่ไปเปนวิทยากรใหผานองคกรตางๆหลากหลายองคกร กลุมเหลานี้มีการจัดการความรูอยูแลวซึ่งเปน หนึ่งในกระบวนการพัฒนาของกลุม ซึ่งนันทนา หุตานุวัตร และ ณรงค หุตานุวัตร (2546) ไดกลาวถึงขั้น ของการเรียนรูของกลุม ซึ่งเปนขั้นตอนหนึ่งของการพัฒนากลุม องคกรชุมชน และเครือขาย ที่เปนการ ทํางานกับเกษตรกรโดยกระบวนการกลุม จะอยูในรูปของการจัดการประชุมแบบมีสวนรวมใหกับเกษตรกร เปาหมายใหไดทบทวนองคความรูที่มีกับการที่จะทํากิจกรรมตางๆ วามีอยูมากนอยเพียงใด และยังตองการ ความรูใดๆเพิ่มเติมหรือไม หากกลุมตองการที่จะพัฒนาในประเด็นนั้น ซึ่งจะนําไปสูการจัดกิจกรรมเสริม ความรูในรูปแบบตางๆ เชน การแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณภายในกลุมของเกษตรกรเปาหมายกันเอง การเชิญวิทยากรมาเสริมความรู การศึกษาดูงาน หรือการทดลองปฏิบัติ เปนตน Graduate School and Research / 15 May 2013

709


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทบาทและความสําคัญของกระบือในระบบเกษตรของไทย ประเทศไทยเปน ประเทศเกษตรกรรมที่ ตั้ง อยูใ นเขตร อนชื้ น ประชากรส วนมากมีอ าชีพ ทํ า การเกษตร และเปนเกษตรกรรายยอยเสียสวนใหญ ซึ่งมีปญหาความเหลื่อมล้ําในการทํามาหากินและการ ถือครองที่ดิน ทั้งในเรื่องขนาดและสิทธิ์อยูอีกมาก (สํานักงานสถิติแหงชาติ พ.ศ.2546 ) ดวยพื้นที่ถือครองที่ มีขนาดเล็กสวนใหญเกษตรกรจะทําการเกษตรแบบผสมผสาน ที่มีทั้งการปลูกพืชและเลี้ยงสัตวควบคูกัน บนพื้นฐานของการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่น โดยเฉพาะที่ดินซึ่งมีอยูจํากัด อีก ทั้งยังมีปญหาเรื่องทุนที่จะนํามาใชในการพัฒนาเกษตรสมัยใหมอีกดวย หากพิจารณาจากสภาพการเกษตร ในอดีตจะเห็นวา ในสมัยกอนชาวนาไทยจํานวนมากนําเอากระบือมาใชประโยชนรวมกับการปลูกขาว ซึ่ง สะทอนใหเห็นวามนุษยพยายามดํารงชีพอยูอ ยางเกื้อกูลกับธรรมชาติ โดยใชทุนจํานวนนอย ปรับตัวให เหมาะสม จนกอเกิดเปนภูมิปญญาในการจัดการกับธรรมชาติและการดํารงชีพอยางพอเพียง กระบือจึงถือ เปนสวนหนึ่ง ของครอบครัว เปนสวนประกอบของวิถีชีวิตที่กอใหเ กิดวัฒนธรรม และระบบสัง คมและ เศรษฐกิจที่สําคัญในชุมชนชาวนา การพัฒนาการเลี้ยงกระบือจึงสอดคลองกับลักษณะภูมิประเทศ สังคม วัฒนธรรมของชุมชนนั้นๆ สําหรับบทบาทของกระบือตอการดํารงชีพของมนุษย ซึ่ง จินตนา อินทรมงคล(2548) ไดกลาวไววา (1) เปนแหลงความมั่นคงทางอาหาร และแหลงผลิตอาหารโปรตีนที่สําคัญ (Food Security Function) กระบือเปรียบเสมือนเปนโรงงานมีชีวิต เลี้ยงงาย ไมจําเปนตองใชเทคโนโลยีที่ยุงยาก สามารถเปลี่ยนพืช อาหารสัตวที่มนุษยไมไดใชประโยชนตามทองนาทองไร มาเปนอาหารของกระบือ ซึ่งจะเปนแหลงโปรตีน สําหรับมนุษยบริโภค ทําใหเกิดความมั่นคงทางอาหารของประเทศ หากมีภาวะวิกฤติ สังคมที่มีการเลี้ยง กระบือจะไดรับอาหารโปรตีนบริโภคอยางเพียงพอและในราคาที่หาซื้อได (2) เปนสวนหนึ่งที่ทําใหเกิดการ พึ่ง พาตนเอง ของระบบการเกษตรผสมผสาน (Self-sufficiency System) ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เปนการพึ่งพาตนเองในปจจัยการผลิต เพราะชาวนาสามารถใชประโยชนจากกระบือเปนแรงงาน ไถไร-นา ลากจูง และใชมูลเปนปุย ทําใหดินอุดมสมบูรณ ชวยลดคาใชจายในการทํานา โดยที่เกษตรกร สามารถใชผลพลอยไดจากการปลูกพืชมาใชในการ เลี้ยงกระบือ (3) เปนหลัก ประกันความเสี่ยงของ ครอบครัวและลดปญหาความยากจน (Security Poverty- alleviation Function) กระบือเปนทรัพยสินที่ เปรียบเสมือนธนาคารประจําบาน เปนออมทรัพยที่ชาวนาสามารถสรางรายได เปนหลักประกันความเสี่ยง ของครอบครัวเมื่อเกิดฝนแลง ทํานาไมไดผล สามารถขายเปนรายไดไวใชจายในครอบครัว หรือเปนคาเลา เรียนบุตร เปนตน (4) เปนสวนหนึ่งของสังคม เศรษฐกิจวัฒนธรรม (Socio–economic and Cultural Function) ชาวนาที่เลี้ยงกระบือมักจะมีความผูกพันกับสัตวชนิดนี้ในฐานะเปนเพื่อน มีความรูสึกอบอุน ปลอดภัยที่มีกระบืออยูคูบาน อีกทั้งยังทําใหมนุษยสํานึกในคุณคาและความสําคัญของกระบือ จนกลายเปน ธรรมเนียมปฏิบัติวา กระบือเปนสวนหนึ่งของสังคมที่กอใหเกิดมูลคาทางเศรษฐกิจและคุณคาทางวัฒนธรรม ซึ่งสะทอนไดจากการมีประเพณีตางๆที่เกี่ยวกับกระบือ เชน พิธีสูขวัญกระบือ การวิ่งกระบือ การชนกระบือ เปนความผูกพันทางจิตวิญญาณและดานการเปนแหลงสันทนาการ แสดงวากระบือมีบ ทบาทตอสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมที่ดีงามของสังคมชนบทไทย ประชากรและผูเกี่ยวของกับการศึกษา ประชากรที่ใชในการศึกษา คือ เกษตรกรที่เลี้ยงกระบือของ จังหวัดปตตานี มีจํานวน 361 ราย มี จํานวนกระบือทั้งสิ้น 1,097 ตัว เฉพาะอําเภอสายบุรี มีจํานวนเกษตรกรผูเลี้ยงกระบือจํานวน 71 ราย มี 710

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

จํานวนกระบือทั้งสิ้น 220 ตัว (เปนอําเภอที่มีขอมูลจํานวนกระบือมากที่สุดอันดับ 2 รองจาก อําเภอทุงยาง แดง ตามขอมูลเกษตรกรผูเลี้ยงสัตวและจํานวนสัตว ป 2552) โดยผูวิจัยไดคัดเลือกเกษตรกรที่เลี้ยงกระบือ บริเ วณพรุปายอ เพื่อเขารวมกระบวนการแลว แบง กลุม ขึ้นใหม ใหมีจํานวน 3 กลุม ๆละ 10 คน โดย เกษตรกรกลุมนี้เปนผูดําเนินกิจกรรมตางๆเปนหลักตลอดกระบวนการจัดการความรูรวมกัน เครื่องมือในการวิจัย มีการใชเทคนิคตางๆหลายเทคนิคอยางผสมผสาน คือ การ สนทนากลุม และการสังเกตแบบมีสวนรวม เปนเทคนิคหลักในการ ขับเคลื่อนและการรวบรวมขอมูลตลอดกระบวนการวิจัย โดยเฉพาะ อยางยิ่ง กับ ผูรว มทีม วิ จัย นอกจากนี้ ยัง ใชก ารสัม ภาษณไ มเ ป น ทางการ (Informal Interview) ตลอดจนเครื่องมือการจัดการ ความรู ตาม “โมเดลปลาทู” ของ สถาบันสงเสริมการจัดการความรู เพื่อสังคม (สคส.) คือ เครื่องมือชุด “ธารปญญา” (วิจารณ พานิชย, 2549) และไดนําเอากระบวนการAIC จากหลักคิดของ ศ.นพ.ประเวศ วะสี (ชัชรี, 2551) มาปรับใช โดยมี ขั้นของการดําเนินการ 6 ขั้น ดังนี้ A1 เปนการระดมความคิด ความรูสึกและขอมูลสวนบุคคลแตละคนในกลุม เพือ่ สะทอนสถานการณ ที่เปนปจจุบันของพื้นที่ โดยการใชการเลาเรื่องแลวบันทึกลงในกระดาษ A2 เปนการระดมความคิดฝนที่แตละคนตองการใหพื้นที่เปน โดยมีทีมวิจัยคอยบันทึกขอมูลลง กระดาษ I1 เปนการระดมความคิด เพื่อกําหนดแผนงาน/โครงการหรือกิจกรรมที่ทําแลวจะทําใหความฝนใน ขั้น A2 เปนจริง โดยใหแตละคนคิดกิจกรรมขึ้นโดยกิจกรรมนั้นตองไปแกไขปจจัยทีเ่ ปนสาเหตุหรืออิทธิพลที่ จะมาขัดขวางไมใหบรรลุความฝน แลวนํากิจกรรมนั้นๆมาแลกเปลี่ยนกันในกลุม I2 เปนการนํากิจกรรม มาตรการทีเ่ ตรียมไวใน I1 มาแจกแจงเปนประเภท/กลุม เพือ่ จัดลําดับ ความสําคัญ โดยพิจารณาที่ความเรงดวน, ประหยัด, สําคัญและงาย วิพากษถึงเหตุผลรวมกัน ได เปาประสงคและกิจกรรมรวมของกลุม C1 เปนการนํากิจกรรมจาก I2 ที่เรียงลําดับแลวมาพิจารณารวมกันวาใครคือผูท ี่มีความรู ความสามารถ ความพรอมมารวมงาน ตองมีอปุ กรณ/เทคโนโลยีอะไรบาง งบประมาณเทาใด ใครรับผิดชอบ C2 เปนการเขียนแผนงานหรือโครงการตามที่สมาชิกแสดงความจํานงไวใน C1 แผนงานหรือ โครงการประกอบดวย ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค เปาหมาย วิธีดําเนินการ พื้นที่ ปฏิทินการทํางาน ทรัพยากรที่ใช ผูรับผิดชอบ และหนวยงานที่รับผิดชอบ การเลือกพื้นที่วิจัย ผูวิจัยเลือกบริเวณพื้นที่ศึกษา โดยทําการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (purposive selection) เลือก ศึก ษาในพื้นที่พรุป ายอ ตําบลกะดุนง อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี เนื่องจากเปนบริเวณที่มีก ารเลี้ยง กระบืออยางหนาแนนที่สุดในจังหวัดปตตานี

Graduate School and Research / 15 May 2013

711


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

วิธีการรวบรวมขอมูล (1) การเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนเอกสารและขอมูลทุติยภูมิ ตางๆ ที่เกี่ยวของกับพื้นที่ศึกษา (2) การรวบรวมขอมูลภาคสนาม ผูวิจัยจะรวบรวมขอมูลภาคสนามจากการสนทนากลุม การ สัมภาษณแบบเจาะลึก เครื่องมือการจัดการความรู ชุด “ธารปญญา” และการสังเกตแบบมีสวนรวม จาก ปรากฏการณต างๆที่เ กิด ขึ้น อี ก ทั้ ง ยัง รว มในการขั บ เคลื่ อนกระบวนการเรี ยนรูใ นพื้น ที่ ตั้ง แต เ ดื อ น พฤษภาคม 2552 ถึงธันวาคม 2555 สําหรับ เทคนิค รายละเอียดการเก็บ ขอมูลภาคสนามแตละวิธี มี ดังตอไปนี้ - การสนทนากลุม เปนวิธีการหลักที่นํามาใช ตลอดกระบวนการวิจัย โดยเฉพาะอยางยิ่งกับผู รวมทีมวิจัย ไดแก เกษตรกรผูเ ลี้ยงกระบือ บัณฑิต อาสา อาสาสมัครปศุสัตว และเจาหนาที่ของสํานักงาน ปศุสัตวอําเภอสายบุรี ซึ่งเปนรูปแบบวิธีการแลกเปลี่ยน เรียนรู และการประเมิน-เตรียมการวางแผนงาน หรือที่ นักจัดการความรูเ รียกวา AAR ซึ่งครอบคลุม เนื้อหา เ กี่ ย ว กั บ ส ภ า พ แ ล ะ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง ทรั พ ยากรธรรมชาติโ ดยรวมในพรุ ป ายอ ตลอดจน บริบทที่เกี่ยวของกับแนวทางการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงกระบือ ตลอดจนการปรึกษาหารือเพื่อนําไปสูการ ดําเนินการพัฒนาตางๆโดยการมีสวนรวม - การสัมภาษณแบบเจาะลึก (Indept Interview) เนื้อหาของการสัมภาษณจะครอบคลุม เกี่ยวกับทิศทาง นโยบาย วิสัยทัศน ซึ่งจัดวาเปนการดําเนินการจัดทํา KV; Knowledge Vision ของการทํา การวิจัยการจัดการความรู โดยเราจะดําเนินการสัมภาษณแบบเจาะลึกนายกองคการบริหารสวนตําบลกะดุ นง ปศุสัตวอําเภอสายบุรี แลวนําประเด็นจากการสัมภาษณฯไปเขากลุมประชาคมผูเลี้ยงกระบือเพื่อจัดทํา KV นอกจากนี้จะยกรางแผนพัฒนาการปศุสัตวตําบลกะดุนง ใหสอดคลองกับแผนพัฒนาตําบล (แผน 5 ป) แลวนําเสนอตอองคการบริหารสวนตําบลกะดุนงตอไป - เครื่องมือการจัดการความรู ชุด “ธารปญญา” จะใชเครื่องมือเพื่อเปนกลไกในการ แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกลุมเกษตรกรผูเลี้ยงกระบือในพื้นที่ตําบลกะดุนง ซึ่งประกอบไปดวยเครื่องมือ หลักๆ 5 ชนิดดวยกัน คือ 1)ตารางแหงอิสรภาพ เปนการกําหนดประเด็นองคความรูที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการเลี้ยงกระบือ โดยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใชในการประเมินความรูของตนเองของเกษตรกรแตละกลุม เพื่อจัดทํา ตอไป 2)แผนภูมิแมน้ํา เปนการนําเอาระดับคะแนนที่ไดจากการทําตารางแหงอิสรภาพมา plot เปนกราฟ 3)แผนภูมิขั้นบันได จําแนกกลุม “พรอมให” และ “ใฝรู” ซึ่งไดจากการดําเนินการในสองขั้นตอนแรก 4)ขุมความรู จะดําเนินการจัดเก็บรวบรวมองคความรูที่สําคัญที่เกี่ยวของกับการเลี้ยงกระบือภายใต ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการจัดทําแผนที่ความรูในตําบลกะดุนงขึ้น โดยประเด็นที่เกี่ยวของ คือ การปศุสัตว โดยเฉพาะอยางยิ่งการเลี้ยงกระบือ การเพาะปลูกที่เกี่ยวของ

712

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

5)พื้นที่ประเทืองปญญา ซึ่งจะเปดโอกาสนําเอาองคความรูจากการจัดทําขุมความรู มาแลกเปลี่ยน เรียนรู เพื่อพัฒนาใหเกิดเครือขายการจัดการความรูในประเด็นนี้ตอๆไป โดยใชใน 2 รูปแบบ ทั้งแบบที่เปน พื้นที่จริงโดยแลกเปลี่ยนเรียนรูกันในกลุมเกษตรกร และพื้นที่เสมือน ซึ่งใชระบบ ICT มามีสวนชวยในการ จัดพื้นที่ประเทืองปญญาเสมือน ในบล็อก http://www.gotoknow.org/blog/payo-buffalo-km วิธีดําเนินการวิจัย 1. ขั้นเตรียมการวิจัย ผูวิจัยเลือกบริเวณพื้นที่ศึกษา โดยทําการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (purposive selection) เหตุผลที่เลือกศึกษาในพื้นที่พรุปายอ ตําบลกะดุนง อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี เนื่องจากเปน พื้นที่ที่เปนทุงหญาสาธารณะที่เกษตรกรไดมีการนํากระบือเขาไปเลี้ยง มีการใชประโยชนจากทุงหญารวมกัน มีการบริหารจัดการทุงหญาในการเลี้ยง และเปนพื้นที่ที่มีการเลี้ยงกระบือมากที่สุดในจังหวัดปตตานี และ เนื่องจากเปนพื้นที่โลงกวาง และมีน้ําขังตลอดทั้งป 2. ขั้นปฏิบัติตามแผน เปนการดําเนินการตามขั้นตอนของกระบวนการวิจัยจากการสนทนากลุม การ สัมภาษณแบบเจาะลึก การใชการจัดการความรู ชุด “ธารปญญา” 3. ขั้นประเมินผล เมื่อเสร็จ สิ้นกระบวนการวิจัย โดยประเมินผลหลัง สิ้นการวิจัยภาคสนาม เพื่อ ประเมินผลเบื้องตนของการจัดการความรูตามโมเดลปลาทู การเปลี่ยนแปลงของกลุมเกษตรกร และปญหา อุปสรรคและใหขอคิดเห็นเพิ่มเติม วิธีวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลจะเปนการวิเคราะหเชิงคุณภาพ ดวยการนําขอมูลมาวิเคราะหรวมกันระหวาง ผูวิจัยกับทีมวิจัย และบางสวนผูวิจัยเปนผูวิเคราะหเอง วิธีวิเคราะห ผูวิจัยใชการวิเคราะหขอมูลโดยการ กําหนดประเด็น หาความเชื่อมโยงระหวางประเด็น และสรางขอสรุปเชิงอุปนัยเปรียบเทียบกับแนวคิดและ งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อง แล ว นํ า เสนอในลั ก ษณะของการการพรรณนา (Description) ด ว ยการอธิ บ าย สภาวการณ กระบวนการ และผลลัพธเบื้องตนของการจัดการความรู การตรวจสอบขอมูล ขอมูลที่ไดมามีการตรวจสอบอยางละเอียด โดย การตรวจสอบแบบสามเสา (Data Triangulation) จาก ผูใหขอมูลสําคัญมากกวา 1 คน ถามีผูใหขอมูลคนที่ 1 ให ขอมูลตรงกับคนที่2 และ 3 ก็แสดงวาขอมูลนั้นเชื่อถือได หลังจากนั้นจึง นําขอมูล เขาไปพูดคุยในการสนทนากลุม เพื่อตรวจสอบวา ในสถานการณ และเวลาที่ตางกันของ ผูใหขอมูลคนเดิม ขอมูลจะคงเดิมหรือเปลี่ยนไป สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษาพบวาการใชรูปแบบการวิจัยแบบมีสวนรวมผานกระบวนการจัดการความรูตามโมเดล ปลาทู สามารถพัฒนาอาชีพของกลุมเกษตรกรผูเลี้ยงกระบือได โดยหลังจากผานกระบวนการจัดการความรู กลุมเกษตรกรเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน กอใหเกิดการใหความสํา คัญกับการดูแลจัดการการเลี้ยง กระบือมากขึ้นโดยการเปลี่ยนแปลงที่เห็นไดชัดที่สุดไดแก เกษตรกรใหความสําคัญในการฉีดวัคซีนปองกัน โรคมากยิ่งขึ้น กลุมเกษตรกรมีความสามัคคี และมีการบริหารจัดการอาชีพอยางมีสวนรวมมากขึ้น โดยเกิด Graduate School and Research / 15 May 2013

713


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

การรวมตัวกันกอตั้งสหกรณผูเลี้ยงปศุสัตวปตตานี จํากัด ขึ้น ซึ่งตั้งอยูที่เลขที่ 68/1 หมูที่ 2 ตําบลกะดุนง โดยมีนายมูฮัมมัดฮุสนี หะยียูโซะ เปนประธานสหกรณ เพื่อมุงหวังการพัฒนาและการตอยอดอาชีพการ เลี้ยงกระบือและการอาชีพการเลี้ยงปศุสัตวตอไปในอนาคต จากการวิจัยยังพบวากลุมเกษตรกรผูเลี้ยงกระบือ มีลักษณะการลงทุนในการเลี้ยงกระบือ แบงได เปน 3 รูปแบบ (1) เจาของกระบือเลี้ยงกระบือของตนเอง (2) เจาของกระบือจางใหบุคคลอื่นเลี้ยง (รับ คาจาง) และ (3) เจาของและผูเลี้ยงรวมกันลงทุนในการดําเนินการเลี้ยง ดานการรวมกลุม เกษตรกรผูเลี้ยง กระบือสวนใหญจะเปนสมาชิกของกลุมเกษตรกรผูเลี้ยงปศุสัตวกะดุนง ซึ่งเปนกลุมจัดตั้งอยางเปนทางการ กับ สํานัก งานเกษตรและสหกรณจัง หวัดปตตานี ยัง ไมมีก ารรวมกลุม กันเฉพาะผูเลี้ยงกระบืออยางเปน ทางการ การถือครองที่ดินเฉลี่ย 3.3 ไร สวนใหญมีอาชีพหลักในการปลูกยางพารา เกษตรกรสวนใหญจึง เขาไปใชพื้นที่พรุปายอในการทํานา และเลี้ยงกระบือ รูปแบบการเลี้ยงกระบือของเกษตรกรสวนใหญเปน การเลี้ยงแบบกึ่ง ปลอยกึ่ง ผูก ลาม โดยเฉพาะในฤดูทํานา เกษตรกรเลี้ยงกระบือเฉลี่ยรายละ 4.53 ตัว เกษตรกรสวนใหญมีองคความรูในการรักษาและปฐมพยาบาลกระบือเบื้องตนโดยใชตํารับยาสมุนไพรที่เปน ภูมิปญ ญาเฉพาะถิ่นที่ลัก ษณะใกลเ คียงกับ ทองถิ่นภาคใตในจัง หวัดอื่นๆ เปนกระบวนการเรียนรูของ เกษตรกรผูเลี้ยงกระบือถูกถายทอดโดยผานผูรูซึ่งเปนเกษตรกรผูมีประสบการณในการเลี้ยงกระบือดวยกัน กอน นอกจากนั้นยังไดรับการสงเสริมจากเจาหนาที่ปศุสัตวในพื้นที่ เกษตรกรยังไมใหความสําคัญในการ สรางโรงเรือนเลี้ยงสัตวเทาที่ควร และเกษตรกรยังมีความตองการที่จะเชื่อมโยงกับเครือขายของผูเลี้ยง กระบือในที่อื่นๆเพื่อที่จะแลกเปลี่ยนประสบการณปญหาอุปสรรคในการเลี้ยง ตลอดจนองคความรูเกี่ยวกับ การเลี้ยงกระบือรวมกัน อภิปรายผล 1.การจัดการความรูท ี่เอือ้ กับการพัฒนาอาชีพของกลุมเกษตรกรผู เลี้ยงกระบือ การใชรูปแบบการวิจัยแบบมีสวนรวม ผานกระบวนการ จั ด การความรู ต ามโมเดลปลาทู โดยใช ชุ ด ธารป ญ ญา ซึ่ ง กระบวนการจัดการความรูผานเครื่องมือชุด ธารปญญา สามารถ พัฒนาอาชีพของกลุมเกษตรกรผูเลี้ยงกระบือได ซึ่ง สอดคลองกับ ธันยพร วณิชฤทธา ที่ทําการศึกษาเรื่อง การจัดการความรูในชุมชน กรณีศึกษาดานการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนมีสวนรวม จังหวัดสมุทรสงคราม ผลการวิจัยพบวา รูปแบบการจัดการความรูในชุมชน มีสวนประกอบที่สําคัญคือ ความรู คน และกระบวนการ ความรูคือ ความรูที่เกี่ยวกับการจัดการ โดยมีคนเปนกลไกสําคัญที่จะทําใหเกิดกระบวนการหรือกิจกรรมตางๆและ กระบวนการจึงเปนวิธีเชื่อมประสาน คน ความรู และกระบวนการเขาดวยกัน ซึ่งรูปแบบการจัดการความรู มีความสอดคลองกับแบบจําลองปลาทู(TUNA Model) อยางยิ่ง และกระบวนการจัดการความรูในชุมชนที่ ได สามารถสังเคราะหเปนแบบจําลองที่มีลักษณะเปนเกลียวของความรูที่เชื่อมตอกัน เมื่อการนําไปใชและ พัฒนาใหเกิดองคความรูใหมจะมีการเพิ่มพูนความรูยิ่งขึ้น ซึ่งเกิดขึ้นในกระบวนการแลกเปลี่ยนความรูผาน การพูดคุยแตสิ่งดีๆใหแกกัน ซึ่งรูปแบบการจัดการความรูชุด ธารปญญา มีกระบวนการ 5 ขั้นตอนดังนี้ 1. ตารางแหงอิสรภาพ เปนการกําหนดประเด็นองคความรูที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการ เลี้ยงกระบือ เพื่อใชในการประเมินความรูของตนเองของเกษตรกรแตละกลุม 714

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ปจจัย/องคประกอบ

ระดับความรูที่มี เริ่มตน

พอใช

ดี

ดีมาก

ดีเยี่ยม

1

2

3

4

5

1.การวางแผนบริหารจัดการ 2.การจัดการสุขาภิบาลคอก/โรงเรือน/ทุงหญาเลี้ยงสัตว 3.มีการจดบัญชี 4.การบริหารการเงิน 5.การปองกันเฝาระวังการติดเชื้อโรคระบาดตางๆ 6.การปองกันภัยทางธรรมชาติตางๆ 7.มีการจัดการเลี้ยงดูกระบือ 8.การจัดอบรมใหความรูกับสมาชิก การจัดทําตารางแหงอิสรภาพ เพื่อประเมินกับเกษตรกรในกลุม โดยการมีสวนรวมของกลุม เพื่อ ประเมินวาสมาชิกคนใดในกลุมมีความรูแตละเรือ่ งเหลานี้ เปนอยางไร หลังจากนําตารางใหเกษตรกร ประเมินแลวก็จะนําระดับคะแนนมาจัดทํากราฟตอไป 2. แผนภูมิแมน้ํา เปนการนําเอาระดับคะแนนที่ไดจากการทําตารางแหงอิสรภาพมา plot เปนกราฟดังแผนภูมิที่ 1 แผนภูมิธารปญญา ระดับความรู- ความเขาใจที่มี

5 4 กลุมกะดุนงฆาเฆาะ

3

กลุมกาเซะหปายอ 2

กลุมกาเซะหก ูบา

1 0 1

2

3

4

5

6

7

8

ปจจัย /องคป ระกอบ

แผนภูมิที่ 1 แสดงระดับความรูของปจจัยองคประกอบทีเ่ กษตรกรผูเลี้ยงกระบือแตละกลุม มี 3. แผนภูมิขั้นบันได จําแนกกลุม “พรอมให” และ “ใฝรู” ซึ่งไดจากการดําเนินการในสอง ขั้นตอนแรกในประเด็น/องคประกอบที่ 1 เรื่องการวางแผนบริหารจัดการ เกษตรกรกลุมกะดุนงฆาเฆาะ ประเมินวามีความรูเกี่ยวกับการจัดการถึงระดับ 3 ซึ่งสูงกวาอีกสองกลุม จึงจัดใหกลุมกะดุนงฆาเฆาะเปน กลุม “พรอมให” ในขณะที่ อีกสองกลุมผลออกจัดอยูในกลุม “ใฝรู” ที่ยังตองไปศึกษาเรียนรูเพื่อนํามาปรับ ใชในการดําเนินการของเกษตรกรแตละรายในกลุมของตน ซึ่งหลังจากการดําเนินการในขั้นตอนนี้แลวผูวิจัย ไดเขารวมกับเกษตรกรในการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูในพื้นที่การเลี้ยงไดเพียงบางประเด็น เนื่องจาก ในสภาพของการดําเนินการจริงๆพบวาเกษตรกรสวนใหญยังมีความเขาใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับปจจัย / องคประกอบ ซึ่งสืบเนื่องจากขอจํากัดดานการตีความหมายทางภาษาระหวางผูวิจัยและเกษตรกร

Graduate School and Research / 15 May 2013

715


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ระดับ 5 4 3 2 1

พรอมให กะดุนงฆา เฆาะ

ใฝรู กา เ ซ ะ ห ปายอ กาเซะห กู บา

0 1 2 3 4 แผนภูมิที่ 2 แสดงระดับความรูของปจจัยองคประกอบทีเ่ กษตรกรผูเลี้ยงกระบือแตละกลุม มี นอกจากในองคประกอบที่ 1 แลวจะเห็นวา “กลุมกา เซะห ป ายอ” จั ด อยู ในฐานะ ผู “พรอ มให ” ในหลายๆป จ จั ย / องคประกอบ และในองคประกอบดานการจัดอบรมใหความรูกับ สมาชิก นั้น อีก 2 กลุม จะตองมาเรียนรูที่กลุม กาเซะหปายอ สําหรับกลุม “กาเซะหกูบา” แลวทุกๆกิจกรรม จะตอง เปน “ใฝรู” ตองไปเรียนรูจาก “กลุมกาเซะหปายอ” และ “กลุม กะดุนงฆาเฆาะ” ซึ่งอาจจะเปนเพราะวาเปนเกษตรกรในกลุม ที่ จัดตั้งขึ้นจากความหลากหลาย ซึ่งจะเห็นวาสมาชิกในกลุมของ “กาเซะหกูบา” เปนสมาชิกที่มาจาก หมูที่ 2, 3 และ 8 อาจยังไมสามารถปรับตัวในการทํากิจกรรมรวมกันได เนื่องจากความแตกตางของลักษณะการ เลี้ยงกระบือ ฯลฯ ตอมาจึงไดพาเกษตรกรตัวแทนแตละกลุมไปศึกษาดูงานในกิจการของเกษตรกรในพื้นที่ อ.สะเตง จ.ยะลา ที่มีการดําเนินการที่เกี่ยวของกับการจัดการดานอาหารสัตวซึ่งสามารถมาปรับใชในการจัดการเลี้ยง ดูกระบือได ดังแผนภูมิที่ 2 4. ขุมความรู ดําเนินการจัดเก็บรวบรวมองคความรูที่สําคัญที่เกี่ยวของกับการเลี้ยงกระบือ จากการจัดการความรูตามขัน้ ตอนตางๆทําใหพบวาเกษตรกรทั้งหมดยังขาดการรวบรวมองคความรูไว สวน ใหญเปนเพียงการทําตามสืบทอดตอกันตอๆกันมาจากรุนปูยาตายาย “องคความรูทสี่ ําคัญที่เกี่ยวของกับการเลี้ยงกระบือ เกี่ยวกับการเลี้ยง สุขภาพกระบือ และปองกัน โรคระบาดตางๆ มาจากเจาหนาที่ปศุสัตว” นายซาการียา สาเหาะ “สูตรสมุนไพรที่ใชบํารุงกระบือ และปฐมพยาบาลเบื้องตนที่ยังคงเหลืออยูไมกี่สูตร”นายแม ดรามะ “เกษตรกรสวนใหญใชบริการของเจาหนาที่ปศุสัตว ซึ่งหากเกิดอาการบาดเจ็บรุนแรงก็จะเชือด ชําแหละกระบือจําหนายที่ตลาดนัดในชุมชนหรือพื้นที่ใกลเคียง”นายสือแม็ง ดือเระ “สําหรับโรคระบาดนั้นในระยะ 30 ปมานี้ยังไมมีเกิดการระบาดเลย แมกระทั่งในตอนที่ระบาด รุนแรงที่ อําเภอสุไหงโกลก ปายอเราก็ไมมีการระบาด”นายมะ เวาะหลง 5. พื้นที่ประเทืองปญญา ซึ่งนําเอาองคความรูจากการจัดทําขุมความรู มาแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อพัฒนาใหเกิดเครือขายการจัดการความรูตอๆไป ซึ่งผูวิจัยใชระบบ ICT มามีสวนชวยในการจัดพื้นที่ ประเทืองปญญาเสมือน ในบล็อกของ gotoknow.org แตเนื่องจากขอจํากัดของเกษตรกร ในการเขาถึง แหลงขอมูล ICT ทําใหไมไดรับผลตอบรับเทาที่ควร Graduate School and Research / 15 May 2013 716


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

จากการวิจั ยนี้ จ ะเห็นไดวาการจัด การความรู มีสวนชวยใหก ารดําเนิ นการเลี้ยงดูก ระบือ ของ เกษตรกรมีแบบแผนมีความชัดเจนเปนรูปธรรมมากยิ่งขึ้น กลาวคือแตเดิม การเลี้ยงกระบือเปนปศุสัตว นอกเหนือจากการสงเสริมของทางราชการ เกษตรกรเลี้ยงกันอยูเพราะเปนอาชีพที่เลี้ยงกันสืบทอดกันตอมา จากรุนตอรุน และเนื่องจากสภาพพื้นที่มีแหลงน้ําไมเ หมาะสมที่จะเลี้ยงปศุสัตวชนิดอื่น นอกจากนี้การ จัดการความรูยังกอให เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีโ ดยหลัง จากผานกระบวนการจัดการความรูกลุม เกษตรกรไดมีก ารแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ทําใหเ กิดความยอมรับ ตอกัน เห็นความสําคัญของเพื่อน เกษตรกรดวยกัน ตลอดจนใสใจการดูแลจัดการการเลี้ยงกระบือมากขึ้น แตกตางจากในอดีตที่นานๆจะไป ดูแล และถือเสมือนกระบือคือทุนอยางหนึ่ง เมื่อตองการใชเงินก็นําไปขาย ไมไดมีการดูแลเลี้ยงดูที่เปนพิเศษ อยางปศุสัตวอื่นๆ โดยการเปลี่ยนแปลงที่เห็นไดชัดที่สุดไดแกการฉีดวัคซีนกระบือมีจํานวนมากยิ่งขึ้น กลุม เกษตรกรมีความสามัคคีและมีการบริหารจัดการอาชีพอยางมีสวนรวมมากขึ้นโดยการจัดตั้งสหกรณผูเลี้ยง ปศุสัตวปตตานี ขึ้นโดยมุงหวังการพัฒนาและการตอยอดอาชีพการเลี้ยงกระบือและการอาชีพการเลี้ยงปศุ สัตวตอไปในอนาคต 2. องคความรูและกระบวนการเรียนรูของกลุมเกษตรกรผูเลีย้ งกระบือ จากการการสนทนากลุม สัมภาษณแบบเจาะลึก และผานกระบวนการจัดการความรู ทําใหผูวิจัย รวบรวมองคความรูที่ไดรับจากเกษตรกรดังนี้ - ลัก ษณะการลงทุนในการเลี้ยงกระบือ ของเกษตรกรในพื้นที่พรุป ายอ จําแนกออกไดเ ปน 3 รูปแบบ กลาวคือ (1) เจาของกระบือลงทุนและเลี้ยงกระบือของตนเอง (2) เจาของกระบือลงทุนทั้งหมด แต จางใหผูอื่นเลี้ยง (3) เจาของลงทุนเฉพาะตัวกระบือ และผูเลี้ยงลงทุนดูแลเลี้ยงดูอาหารการจัดการสุขภาพ ตางๆในการเลี้ยงดู แลวแบงสวนรายไดกันตามสัดสวนที่ไดตกลงไวหลังจากที่ขายกระบือได - รูปแบบการเลี้ยงกระบือของเกษตรกรเปนการเลี้ยงแบบกึ่งปลอยกึ่งผูกลาม ซึ่งสอดคลองกับที่ นิย ดา พันธสวัสดิ์ และคณะ ไดทําการศึกษาสภาพการเลี้ยงกระบือของเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช จากการศึกษาผูวิจัยพบวาเกษตรกรสวนใหญเลี้ยงกระบือเพราะเลี้ยงสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ เลี้ยงโดยวิธี ปลอยแทะเล็มอยางเดียว ใชวิธีการผสมพันธุแบบปลอยใหผสมพันธุกันเอง สวนใหญไมมีการคัดเลือกกระบือ มีโรงเรือนหรือคอกอยูนอกบานไมมีหลังคากันแดดกันฝน สวนใหญไมมีการปลูกหญาหรือเก็บสํารองอาหาร หยาบ ไมเคยใชอาหารขนเลี้ยงกระบือ และมีการใชอาหารแรธาตุเปนสวนนอย ไมเคยกําจัดพยาธิภายนอก และภายในในรอบป - องคความรูในการรักษาและดูแลสุขภาพ ของกระบือ เกษตรกรสวนใหญมีองคความรูในการรักษา และดูแลสุขภาพของกระบือเบื้องตนโดยใชตํารับยา สมุนไพรที่เปนภูมิปญญาเฉพาะถิ่นที่ลักษณะใกลเคียง กั บ ท อ งถิ่ น ภาคใต ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ นางจิ น ตนา อิ น ทรมงคล ได ทํ า การวิ จั ย ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น : กรณีศึกษาการใชส มนุไพรดูแลสุขภาพสัตวแบบองค รวม ผลการวิจัยพบวาการใชส มนุไพรในสัตวเ ปนที่ นิยมของเกษตรกรเนื่องจากทําใหลดรายจาย สามารถทําเองไดเหมาะกับการเลี้ยงสัตวจํานวนไมมาก จาการ จัดการความรู การเก็บขอมูลภาคสนามพบวาเกษตรกรสวนใหญมีการใชสมุนไพรที่มีอยูในชุมชนในการดูแล Graduate School and Research / 15 May 2013

717


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สุขภาพสัตว ซึ่งเปนภูมิปญญาทองถิ่นที่ไดรับ การถายทอดมาจากบรรพบุรุษ การใชภูมิปญญาในการดูแล สุขภาพสัตวเปนการลดตนทุนและเปนการกลับมาสูวิธีการผลิตที่เกื้อกูลสิ่งแวดลอม อีกทั้งจากการสัมภาษณ เกษตรกรไดใหขอมูลวา โรคบางอยางการใชยาเคมีไมไดผล หรือทําใหสัตวดื้อยา จึงเห็นวาการใชสมุนไพรมี ผลดีกวาการใชยาปฏิชีวนะ สูตรสมุนไพรที่เกษตรกรยังมีการใชอยูบางในพื้นที่ ไดแก ตํารับยาสมุนไพรสําหรับถายพยาธิ  มะพราวออนๆ ( กะลายังไมแข็ง) เกลือ วิธีปรุงยา นํามะพราว 2 ลูกผาแลวหั่น (ฝาน) ตามยาวเปนชิ้นบางๆ ดองน้ําเกลือไวประมาณ 2 คืน วิธีใช นําไปปอนไวสัตวกิน(ใชไดทั้งโค-กระบือ)วันละ 5-6 ชิ้น จนหมด (สัตวจะชอบมากเพราะมี รสเค็ม) สรรพคุณ รักษาอาการถายเหลวคลายน้ําขนๆ และผอมเนื่องจากมีพยาธิภายใน เมื่อใหกินแลวสัตว จะกลับมาถายตามปกติ และมีรางการสมบูรณดี ตํารับยาสมุนไพรสําหรับบํารุง  หัวขา มะพราว 1 ซีก เกลือ ใบกลวย วิธีปรุงยา นําทุกอยางมารวมกัน วิธีใช นําไปใหสัตวกิน สรรพคุณ บํารุงกําลัง รักษาสัตวเบื่ออาหาร สัตวผอม  เปลือกหมากสุก สมมะขามเปยก เกลือ วิธีปรุงยา นําสมมะขามเปยกมาเอาเมล็ดออก จากนั้นนํามาผสมกับเปลือกหมากสุก และเกลือ จากนั้นปนเปนลูกกลอนประมาณเทาลูกหมาก วิธีใช นําไปปอนใหกระบือกินวันละ 1 ลูก สรรพคุณ เปนยาบํารุงกําลัง แกอาการเบื่อหญา และเปนยาถายพยาธิ ตํารับยาสมุนไพรสําหรับแกอาการทองเสีย  น้ําสมจากตาลโตนด หรือตนจาก ไขไก เกลือ วิธีปรุงยา นําน้ําสมจากตาลโตนดหรือตนจาก ½ แกว ไขไก 1 ฟอง เกลือ 1 ชอนชา วิธีใช นําไปกรอกใหสัตวกิน ไมเกิน 3 ครั้ง สรรพคุณ รักษาอาการถายเปนเลือด  ละมุดดิบ หรือกลวยดิบ วิธีปรุงยา นําละมุดดิบหรือกลวยดิบ 3-5 ลูก ตําใหละเอียดผสมน้ําหนึง่ ขวดสปอนเซอร วิธีใช นําไปกรอกใหสัตวกิน สรรพคุณ รักษาอาการทองเสีย ตํารับยาสมุนไพรสําหรับแกอาการตาเจ็บ  ขมิ้น วิธีปรุงยา วิธีใช นําขมิ้นมาเคี้ยวแลวพนใสตากระบือ สรรพคุณ รักษาอาการตาเจ็บ ตาอักเสบ ตํารับยาสมุนไพรสําหรับรักษาแผลมีหนอน 718

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

 ยาเสน ปูนกินหมาก(ปูนแดง) ลูกเหม็น วิธีปรุงยา นําทั้ง 3 อยางๆละเทาๆกัน มาตําผสมกันให ละเอียด เติมน้ําเล็กนอย วิธีใช นําไปใสแผลสัตวทกุ ชนิด เชน โคกระบือ แพะแกะ แมว สรรพคุณ รักษาแผลมีหนอน เมื่อใชแลวตัวหนอนจะตาย แผลจะหาย - กระบวนการเรียนรูของเกษตรกรผูเลี้ยงกระบือถูกถายทอด โดยผานเกษตรกรผูมีประสบการณในการเลี้ยงกระบือดวยกันกอน “ชวงหลังๆมานี้ จะมีการสงเสริมจากเจาหนาที่ปศุสัตวเขา มาสอนใหทํากอนแรธาตุ(UMMB) เปนอาหารเสริม เรื่องอื่นๆก็ไม คอยมีอะไรมาใหหรอก ที่เลี้ยงๆกันอยูนี้ก็เพราะถาไมเลี้ยงกระบือ ก็ไมรูวาจะเลี้ยงอะไรที่ทนตอสภาพพื้นที”่ นายมะเซ็ง สะมะแอ “ปศุสัตวเขาไมคอ ยใหความสําคัญกับการเลี้ยงกระบือหรอก” นายสาการูนอ บือซาร “แมแตโครงการธนาคารโคกระบือ (ธนาคารโค-กระบือเพื่อเกษตรกร ตามพระราชดําริ) คนปายอ แสดงความจํานงจะขอกระบือ แตเจาหนาที่ก็ยังมาขอใหเปลี่ยนเปนโคแทน บอกวาหาซื้อยาก แตพอหลังๆ เห็นบอกกับพวกที่อยูในเทศบาลใหหาโคซื้อจากในพื้นที่เ ขาโครงการ ทําไมกระบือซื้อจากในพื้นที่นี้เขา โครงการไมไดบาง” นายอิสมาแอ ยูโซะ

ขอเสนอแนะ 1. ควรใหมีการจัดทําและมุงเนนการขับเคลื่อนแผน ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาจั ง หวั ด ที่ มี ร ากฐานมาจากการ จัดการความรูจากพื้นที่กอนที่จะกําหนดเปนแผนพัฒนา จังหวัด 2. เจาหนาที่ควรใชกระบวนการที่เปนเหตุเปนผลใน การวางแผนพัฒ นาร วมกับ เกษตรกร ซึ่ ง อาจจะนํา เอา เครื่องมือวิธีก าร กระบวนการการจัดการความรูที่เ ป น โมเดลปลาทูไปประยุกตใชใหเหมาะสม 3. บริเวณพรุปายอ ตําบลกะดุนง อําเภอสายบุรี นับไดวาเปนพื้นที่ที่มีการเลี้ยงกระบือมากอําเภอหนึ่ง ของจังหวัดชายแดนภาคใต ควรสนับสนุนสงเสริมใหเปนพื้นที่ที่ประกาศใหเปนพื้นที่ -หมูบานอนุรักษการ เลี้ยงกระบือ วิถีทองถิ่น ฯลฯ โดยดําเนินการในรูปแบบพหุภาคีเพื่อกําหนดนโยบายของพื้นที่ โดยเฉพาะ หนวยงานระดับพื้นที่อยางเชน องคการบริหารสวนตําบล(อบต.) จําเปนอยางยิ่งที่จะตองเขามาสนับสนุน กลุมอาชีพตางๆ และพลักดันขึ้นสูระดับภูมิภาค ระดับชาติตอไป 4. ควรปลูกฝงการเลี้ยงกระบือใหเยาวชนเพื่อจะไดมีผูสืบทอดอาชีพการเลี้ยงกระบือตอไป 5. ควรใหความรูเกี่ยวกับการจัดการเลี้ยงดูกระบือ การจัดการพืชอาหารสัตว ขอเสนอแนะในการทําวิจัย 1. ควรมีการวิจัยเพื่อพัฒนาการใชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพสัตวในพื้นที่จังหวัดปตตานี Graduate School and Research / 15 May 2013

719


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เอกสารอางอิง คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง. 2547. นานาคําถามเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. จินตนา อินทรมงคล. 2548. บทบาทและความสํา คัญของกระบือ . กองบํารุง พันธุสัตว กรมปศุสัตว . กรุงเทพฯ ชัชรี นฤทุม . 2551. การพัฒนาการเกษตรแบบมีสวนรวม. สํานัก พิม พม หาวิท ยาลัยเกษตรศาสตร . กรุงเทพฯ นันทิยา หุตานุวัตร และณรงค หุตานุวัตร. 2546. การพัฒนาองคกรชุมชน. กรุงเทพฯ ประพนธ ผาสุกยืด. 2549. การจัดการความรู (KM) ฉบับขับเคลื่อน LO. กรุงเทพฯ

720

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

พฤติกรรมทางการเมืองของชาติพันธุมลายูในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฏร พ.ศ. 2554 กรณีศึกษาจังหวัดนราธิวาส เขตเลือกตั้งที่ 4 Political Behavior of Ethnic Malays in the 2011 General Election of Member Parliament A Case Study of Constituencies 4, Narathiwat Province. นิเลาะ แวนาแว1, อับดุลเลาะ ยูโซะ2 1

นักศึกษาหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต, คณะศิลปะศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา, 2 ดร. (รัฐศาสตร) อาจารยประจําสาขาวิชารัฐศาสตรการปกครอง คณะศิลปะศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพล ที่ทําใหประชาชนออกมาใชสิทธิในการเลือกตั้ง สมาชิก สภาผู แทนราษฎร ของกลุม ชาติ พัน ธุม ลายู โดยกํ าหนดใหอํ านาจเงิ น ความเปน คนในพื้น ที่ ความหวังใหเปนที่พึ่งในการประสานกับทางการและ อํานาจมืดเปนตัวแปรตน ใช แบบสอบถามเก็บขอมูล จากกลุมตัวอยาง แบบเจาะจง (Purposive sampling) จํานวน 100 คน และวิเคราะหขอมูลใชสถิติรอยละ การศึกษาพบวาอิทธิพลตางๆ ที่ทําใหประชาชนออกมาใชสิทธิในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน ราษฎร ดานอํานาจเงิน โดยภาพรวมมีคาเฉลี่ยอยูในระดับนอย (2.38) ดานความเปนคนในพื้นที่ มี คาเฉลี่ยอยูในระดับนอย (2.03) ดานความหวังใหเปนที่พึ่งในการประสานกับทางการ มีคาเฉลี่ยอยูในระดับ นอย (2.35) และ ดานอํานาจมืด มีคาเฉลี่ยอยูในระดับนอยที่สุด (1.98) คําสําคัญ: พฤติกรรมทางการเมืองของชาติพันธุมลายู

Graduate School and Research / 15 May 2013

721


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT This research aims to study the factors influenced People of coming out to exercise their right to elect Members of Parliament of Ethnic Malay by determined the power of money, being native in the area, hoping to be relied on being coordinator with the authorities and black power as independent variable. The study using questionnaire collected data from sample specific (Purposive sampling) of 100 respondents and analyzed using percentage. The study found that these factors: power of money has influenced People of coming out to exercise their right to elect members of parliament overall averaged was low (2.38), being native in the area averaged was low (2.03), hoping to be relied on being coordinator with the authorities average was low (2.35) and factor of black power average level was minimal (1.98.) Keywords: political behavior of Ethnic Malay.

722

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา พฤติกรรมทางการเมืองของมนุษยชาติอาจมีความแตกตางกันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของระบบ การปกครองของประชาชนในแตละประเทศมีหลายรูปแบบ อาจจะมีอัตราสูงหรือต่ําโดยตรงหรือโดยออม โดยสมัครใจหรือบังคับ ในรูปแบบหรือนอกรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระบอบการเมือง(Political Regime) และ ระบบการเมือง(Political system) ตลอดจนพฤติกรรมทางการเมืองของแตละประเทศ ประเทศที่มีการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยจะใหความสําคัญในเรื่องสิทธิภาพของประชาชนในดานตางๆเปนอยางมาก โดยเฉพาะสิทธิเสรีภาพในดานการแสดงออกซึ่งความคิดเห็นและพฤติกรรมทางการเมืองของประชาชน เพราะการแสดงออกซึ่งความคิดเห็นและพฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนจะมีอิทธิพลตอการกําหนด และเปลี่ยนแปลงแนวนโยบายของรัฐบาละผูบริหารประเทศ กลาวคือในประเทศที่มีการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย รัฐจะตองใหหลักประกันแกประชาชนในดานสิทธิเสรีภาพ ทั้งในดานการแสดงออกซึ่งความ คิดเห็นและพฤติกรรมทางการเมือง ซึ่งถือวาเปนหลักสําคัญยิ่งประการหนึ่ง (จรูญสุภาพ:2527:249-256) ทั้งนี้เพราะการตอบสนองของรัฐตอพฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนเปนการยอมรับวา การปกครอง ของประเทศนั้นๆเปนการปกครอง”โดยประชาชน” เพราะโดยทั่วไปการเมืองและการปกครองระบอบ ประชาธิ ป ไตย ประชาชนเป น จั ก รกลที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด ที่ จ ะทํ า ไห ก ลไกทางการเมื อ งทํ า งานได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ(ประหยัด หงษทองคํา ,2538:1) ดังสุนทรพจนของ อบุลหะซัน อาลี อัล -นัดวีย ทีกลาวไววา “มนุษยชาติมิไดเดือดรอนเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงผูนํา มนุษยชาติไมเคยร่ําไหเนื่องจากความสุขที่หลุด ลอยจากบุคคลหนึ่งไปเปนของอีกบุคคลหนึ่งซึ่งตางเชื้อชาติ หรือจากชนกลุมหนึ่งไปสูอีกชนกลุมหนึ่งที่มี ความชั่วราย เผด็จการที่กดขี่ขมเหงผูคนพอ ๆ กัน โลกมิไดคร่ําครวญและปวดราวเนื่องจากความตกต่ําของ ประชาชาติห นึ่ง ที่ถึง แกก าลรวงโรยจนตองออนแอลง โลกมิไดเ ศราสลดกับ การลม สลายของรัฐหนึ่ง ที่ รากฐานถูกกัดกรอนและพังครืนลงในที่สุด อีกแงหนึ่ง ถือวาสิ่งเหลานั้น เปนไปตามกฏธรรมชาติของโลกเสีย ดวยซ้ํา เพราะน้ําตามนุษยยอมมีคาเกินกวาที่จะมัวเฝาหลั่งรินทุกๆวันใหกับพระราชาที่วายชนมหรือผูนําคน หนึ่งซึ่งเสียชีวิตไป คงไมมีความจําเปนอันใดที่จะมัวเสียเวลาไปคร่ําครวญตอบุคคลหนึ่งที่ไมเคยทําอะไรเพื่อ บันดาลสุขแกปวงชน หรือยอมเหน็ดเหนื่อยและตรากตรําลําบากเพื่อพวกเขามากอน แทเจริง ฟากฟาและ แผนดินคงเขมแข็งมากพอที่จะเผชิญกับเหตุการณตางๆในทํานองนี้ ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นหรือเคยเกิดขึ้นมาแทบ ทุกวันเปนจํานวนหลายพันครั้งมาแลวก็เปนไปได (อบุลหะซัน อาลี อัล-นัดวีย: 2554: 30) ประเด็นที่ผูศึกษาตั้งขอสังเกตไวสําหรับการเมืองในระบบเลือกตั้งของสามจังหวัดชายแดนภาคใต ในเรื่องการตัดสินใจเลือกตัวแทนวาในอดีตนั้น การตัดสินใจตั้งอยูบนพื้นฐานอะไรบาง จึงไดตัวแทนที่เปนทั้ง ชาวไทยพุท ธและมลายูมุสลิมคละเคลากันไป ในปจจุบันการเลือกตัวแทนมีลักษณะแตกตางจากในอดีต อยางไร อะไรคือตัวแปรที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในการตัดสินใจในระยะตอมา ในทัศนะของผูศึกษา ขอตั้งสังเกตวา การเปลี่ยนแปลงหรือแนวคิดในการตัดสินใจเลือกตัวแทนของ ประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใตจากลักษณะที่เห็นอยูในปจจุบันนั้น กลาวไดวาหากไมมีแรงจูงใจ ใดๆที่เปนอามิสสินจางหรืออิทธิพลอื่น ๆ เขามาแทรงแซง การเลือกตั้งตัวแทนในแตละครั้งผูใชสิทธิสว น ใหญ ไมวาจะเปนชาวไทยที่นับถือศาสนาพุทธหรือที่เปนชาวมลายูมุสลิม (ชาวไทยมุสลิม) นั้น จะผูกพัน อยูกับปจจัยหลัก ๆ 4 ประการ (นัจมุดดีน อูมา: 2553:22) คือ 1) ชาติพันธุ 2) อัตลักษณ (เชน ภาษาและวัฒนธรรม ฯลฯ) 3) ศาสนา 4) นโยบายสาธารณะที่สอดคลองกับสามขอขางตน Graduate School and Research / 15 May 2013

723


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ปจจัยหลัก ๆ 4 ประการดังกลาวนี้ไดกลายเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมทางการเมืองในสาม จังหวัดชายแดนภาคใตในปจจุบัน ในทัศนะของนักวิชาการมองวา วัฒนธรรมทางการเมืองคือแบบอยางทาง ทัศนะคติ คือความโนมเอียงซึ่งบุคคลในฐานะสมาชิกของระบบการเมืองมีตอการเมือง (พฤทธิสาณ ชุมพล: 2550: 95) ดังนั้นแบบอยางของทัศนคติของประชาชนสามจังหวัดชายแดนภาคใตตอการเมือง ยอมมีลักษณะ ที่แตกตางจากคนสวนใหญของประเทศ เนื่องจากภูมิหลังทางชาติพันธุ อัตลักษณ การศึกษา และศาสนาที่ แตกตางกันดังกลาว แมวาชาวมุสลิม ที่เ ปนคนสวนใหญของพื้นที่มีทีมาทางประวัติศาสตรสังคมและวัฒ นธรรมเปน อันหนึ่งอันเดียวกัน และมีเบาหลอมเดียวกันแตจากเหตุปจจัยหลายประการ ทําใหในปจจุบันชนมลายู มุสลิมมีความแตกตางกัน โดยสามารถแบงออกไดเปน 4 กลุม กลาวคือ กลุมที่ 1 คือ กลุมที่ไดรับ การศึกษาจากการสนับสนุนของรัฐบาล แลวกลับมาเปนขาราชการในหนวยงานของรัฐ กลุมนี้แทบทั้งหมด ทํางานกับรัฐ กลุมที่ 2 คือ กลุมขุนนางเกา ที่ไดรับการยกยองและสนับสนุนจากรัฐมาโดยตลอด ไดรับการ แตงตั้ง พรอมทั้งใหโอกาสมาเปนผูใหญในบานเมือง มีทั้งนักธุรกิจ นักการเมือง และรับราชการ กลุมที่ 3 คือกลุมชาวบานธรรมดาที่มีชีวิตโดยไมคอยยุง เกี่ยวกับใคร ตั้ง ใจทํางานเพื่อเลี้ยงชีพโดยไมคอยสนใจ การเมืองมากนัก และกลุมสุดทายกลุมที่ 4 คือกลุมอุดมการณ ที่ไมลงรอยกับรัฐ สวนใหญจะเปนผูที่ไดรับ ผลกระทบจากนโยบายของรัฐในอดีต กลุมนี้จะมีสํานึกทางชาติพันธุ ศาสนาคือความเปนมลายูมุสลิมสูง ผลสําเร็จของนโยบายรัฐกลายเปนความรูสึกเจ็บปวดลึกๆในหัวใจที่สะสมมาเปนระยะเวลายาวนาน (หามะ มะยูน:ุ 2547: 155) วัตถุประสงค เพื่ อ ศึ ก ษาป จ จั ย ต า งๆที มี อิ ท ธิ พ ล ที่ ทํ า ให ป ระชาชนออ กมาใช สิ ท ธิ ใ นการเลื อ กตั้ ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ของกลุมชาติพันธุมลายู ระเบียบวิธีวิจัย ขอบเขตเนื้อหา การศึกษาวิจัยนี้ตองการศึกษา เรื่อง ปจจัยตางๆทีมีอิทธิพล ที่ทําใหประชาชนออกมาใชสิทธิในการเลือกตั้ง สมาชิก สภาผูแทนราษฏร พ.ศ. 2554 กรณีศกึ ษาจังหวัดนราธิวาส เขตเลือกตั้งที่ 4 ปจจัยดาน อํานาจ เงิน ความเปนคนในพื้นที่ ความหวังใหเปนที่พึ่งในการประสานกับทางการและ อํานาจมืด ขอบเขตพื้นที่ประชากรและกลุมตัวอยางที่ศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้เนนการศึกษาเฉพาะผูนําชุม ชนในเขตุ 4อําเภอของจัง หวัดนราธิวาสทั้ งหมด จํานวน 100 ทาน คือ อําเภอยี่งอ 25 ทาน จากประชากรทั้งหมด 40,956 คน (พ.ศ. 2554) ผูมี สิทธิเลือกตั้ง 27,205 คน, อําเภอบาเจาะ 25 คน ประชากรทั้งหมด 47,807 คน (พ.ศ.2554) ผูมี สิทธิเลือกตั้ง 30,381 คน อําเภอศรีสาคร 25 คน ประชากรทั้งหมด 32,543 คน (พ.ศ. 2554) ผูมี สิทธิเลือกตั้ง 19,607 คน และอําเภอรือเสาะ 25 คน ประชากรทั้งหมด 63,544 คน (พ.ศ. 2554) ผู มีสิทธิเลือกตั้ง 38,777 คน การเลือกกลุมตัวอยางผูศึกษาเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling)

724

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เครื่องมือการศึกษาวิจัย การศึก ษาวิจัยครั้ง นี้ ไดใชแบบสอบถาม (Questionnaires) เปนเครื่องมือเก็บ รวบรวมขอมู ล ขั้นตอนการทําแบบสอบถาม ผูวิจัยไดศึกษาจากเอกสาร งานวิจัยและทฤษฎีที่เกี่ยวของเพื่อเปนขอมูลในการ สรางแบบสอบถาม แลวใหผูเชี่ยวชาญ3ทานตรวจสอบความตรงของเนื้อหา นําแบบสอบถามที่ผานการ ตรวจสอบปรับปรุงแกไขตามที่ผูเชี่ยวชาญเสนอแนะแลวนําไปเก็บขอมูลกับกลุมตัวอยางทั้งหมด 100 คน ซึ่งจากการสํารวจขอมูลไดรับแบบสอบถามคืน จํานวน 60 ชุด คิดเปนรอยละ 73.3 การวิเคราะหขอมูล ในการศึกษาครั้งนี้ ไดใชสถิติเพื่อการวิจัยดังนี้ 1. การจําแนกความถี่ไดใชสถิติเพื่อการวิจัยดังนี้ รอยละ (Percentage) และคาเฉลี่ยเลขคณิต (means) 2. การจัดทําตารางไขว (crosstab) เพื่อหาแนวโนมความสัมพันธระหวางตัวแปร โดยเฉพาะตัวแปร ขอมูลพื้นฐานกับตัวแปรตาม 3. ในสวนของตารางแบบสอบถาม แบบลิคเกิรต สเกล (Likert ScalexHo) ผูศึกษาวิจัย ไดแบงเปน 5 ระดับ คือ ระดับ

ความเห็น

ความหมาย

5

เห็นดวยอยางยิ่ง

4 3

เห็นดวย ไมทราบ

2 1

ไมเห็นดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

ผูตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเชิงบวกอยางยิ่ง ตอคําถาม ผูตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเชิงบวกตอคําถาม ผูตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นไมออกความเห็น ตอคําถาม ผูตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเชิงลบตอคําถาม ผูตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเชิงลบอยางยิ่งตอ คําถาม

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ทราบถึงปจจัยตางๆที่มีอิทธิพล ที่ทําใหประชาชนออกมาใชสิทธิในการเลือ กตั้งสมาชิกสภาผูแทน ราษฎร ของกลุมชาติพันธุมลายูในเขต4อําเภอของจังหวัดนราธิวาส ขอ มู ล ที่ ไ ดจ ากการศึก ษาวิจั ย จะเป นประโยชนต อ คณะกรรมการการเลื อ กตั้ ง และบรรดา สมาชิกสภาผูแทนราษฎรใชประกอบการตัดสินใจในการวางแผนที่จะลงสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรในจังหวัดนราธิวาสในภายภาคหนาตอไป เปนขอมูลใหกับผูที่สนใจทั่วไปที่จะศึกษาพฤติกรรมการเลือกตั้งของคนในเขต4อําเภอของจังหวัด นราธิวาส ผลการวิจัย ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับ พฤติกรรมทางการเมืองของชาติพันธุมลายูในจังหวัดชายแดน ภาคใตของประเทศไทย ตอการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. 2554 กรณีศึกษาจังหวัดนราธิวาส Graduate School and Research / 15 May 2013

725


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เขตเลือกตั้งที่ 4 ดานอํานาจเงิน ดานความเปนคนในพื้นที่ ดานความหวังใหเปนที่พึ่งในการประสานกับ ทางการ และดานอํานาจมืด ดานอํานาจเงิน ผลการวิเ คราะหขอมูล ดานอํานาจเงิน อยูในระดับนอย (คะแนนเฉลี่ย 2.38) หมายความวา อํานาจเงิน ไมไดมีอิทธิพลตอการตัดสินใจของประชาชนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในจังหวัด ชายแดนภาคใต ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว ดานความเปนคนในพื้นที่ ผลการวิ เ คราะห ข อ มู ล ด า นความเป น คนในพื้ น ที่ อยู ใ นระดั บ น อ ย (คะแนนเฉลี่ ย 2.03) หมายความวา ความเปน คนในพื้ น ที่ ไมไ ด มี อิท ธิ พ ลต อ การตั ด สิน ใจของประชาชนในการเลือ กตั้ ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรในจังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว ดานความหวังใหเปนที่พึ่งในการประสานกับทางการ ผลการวิเคราะหขอมูล ดานความหวังใหเปนที่พึ่ง ในการประสานกับทางการ อยูในระดับนอย (คะแนนเฉลี่ย 2.35) หมายความวา ความหวังใหเปนที่พึ่งในการประสานกับทางการ ไมไดมีอิทธิพลตอการ ตัดสินใจของประชาชนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในจังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่งไมสอดคลอง กับสมมติฐานที่ตั้งไว ดานอํานาจมืด ผลการวิเคราะหขอมูล ดานอํานาจมืดความหวังใหเปนที่พึ่งในการประสานกับทางการ อยูในระดับ นอยที่สุด (คะแนนเฉลี่ย 1.98) หมายความวา อํานาจมืด ไมไดมีอิทธิพลตอการตัดสินใจของประชาชนใน การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในจังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว อภิปรายผล ผลการวิเคราะหขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ สามารถนํามาอภิปรายผล ไดดงั นี้ 1.พฤติกรรมทางการเมืองของชาติพันธุมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทย ตอการ เลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ดานอํานาจเงิน โดยภาพรวมและรายขอ ซึ่งไมสอดคลองกับการศึกษา ของ เพิ่ ม พงษ เชาวลิ ต และศรี ส มภพ จิ ต รภิ ร มศรี (2531) ซึ่ ง ศึ ก ษาวิ จั ย การเลื อ กตั้ ง ทั่ ว ไป สมาชิกสภาผูแทนราษฎร เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2529 ในพื้นที่ 8 จังหวัดในภาคอีสาน ภาคใต และภาค กลาง พบวา ปจจัยเงื่อนไขที่สงผลตอชัยชนะในการรณรงคหาเสียงในปจจุบัน มีอยู 4 ประการ คือ เสียง หรือความนิยม ความศรัทธาของประชาชน เงิน และการบริหารคะแนนเสียง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก ชาว มุสลิมมีความศรัทธาในตัวผูสมัคร การเลือกตั้งจึงไมตองใชเงินเปนตัวกําหนดคะแนนเสียงเพราะอิสลามได หามปรามการซื้อสิทธิขายเสียงดั่งที่ หะดีษ พระองคอัลลอฮฺ ซุบหานะฮูวะตะอาลา ทรงกลาวไววา ‫أَﻣْﻮا َﻟ ُﻜ ْﻢﺗَﺄ ْ ُﻛﻠُﻮا َو َﻻ‬ َ ‫ﺑ ِﺎﻟْﺒَﺎﻃ ِ ﻞِ ﺑَﻴ ْﻨَﻜ ُْﻢ‬

“และพวกเจาจงอยากินทรัพยสมบัติของพวกเจาระหวางพวกเจาโดยมิชอบ...” (อัลบะกอเราะฮฺ: 188) มุสลิมจะตองปฏิเสธในการที่จะรับสินบนจากบรรดานักการเมือง หรือพรรคการเมืองทั้งหลาย ซึ่ง ผลประโยชน เพียงแคเล็กนอยนี้นั้นอาจจะตอง แลกมากับความกริ้วโกรธของพระองคอัลลอฮฺ และทานรอ ซูล ศ็อลลัลลอ ฮุอะลัยฮิวะซัลลัม มีรายงานจากทานอับดุลลอฮฺ อิบนิ อัมรฺ เลาวา 726

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ُ‫اﻟﺮ ِاﳾ ﻋَ َﲆ ا ﱠ ﻟ َِﻌْ ﻨَﺔ‬ ‫َواﳌْ ُْﺮﺗ َِﴚ ﱠ‬

“การสาปแชงของอัลลอฮฺนั้นจะประสบกับผูที่ใหสินบน และผูที่รบั สินบน” (บันทึกโดยอิบนุมาญะฮฺ: 2313 เศาะเหี๊ยะหฺอิบนิมาญะฮฺอลั บานีย:ฺ 1885) มีรายงานจากทานอับดุลลอฮฺ อิบนิ อัมรฺ เลาวา َ‫ﻮل ﻟَﻌَ ﻦ‬ ُ ‫اﻟﺮ ِاﳾ َ َو َﺳﻠ َﱠﻢ ﻋَ ﻠَﻴ ِ ْﻪا ﱠ ُ َﺻا ﱠ ﱠﲆ ِ َر ُﺳ‬ ‫َواﳌْ ُْﺮﺗ َِﴚ َ ﱠ‬

“ทานรอซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ไดสาปแชงผูที่ใหสนิ บน และผูท ี่รบั สินบน” (บันทึกโดยติรมีซีย:ฺ 1337 อบูดาวุด: 3580 อะหมัด: 6496 เศาะเหี๊ยะหฺติรมีซียอลั บานีย:ฺ 1337) มนุษยทุกคนนั้น คงไมมีผูใดที่อยากจะถูกสาปแชงจากใครก็ตาม หรือถารูวาใครที่สาปแชงเราอยู เราก็คงมิชอบคนนั้นอยางแนนอน หรือถาเรา ถูกพอ แม สาปแชง เราก็คงจะเสียใจเปนอยางมาก แตใน กรณีของผูที่ชอบใหสิน บน หรือรับสินบนนั้น เปนอีกกลูมคนหนึ่งที่ถูกสาปแชงจาก อัลลอฮฺและรอซูล ซึ่งถือ เปนความเลวรายอยางมหันต ในการที่ถูกสาปแชงจากอัลลอฮฺและรอซูล เพราะหนาที่ของมุสลิมนั้นจะตอง ปฏิบัติตนให พระองคอัลลอฮฺนั้นรัก ปฏิบัติตนใหอยูในแนวทางที่ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมนํามา บอกกลาว ตักเตือน ไมวาจะเปน เรื่องใดก็แลวแตนั้น ทานศาสดา ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ยังไดเตือน วาผูคดโกงไมใชพวกของเราอีกดวย มีรายงานจากทานอบูฮุรอยเราะฮฺ รอฎิยัลลอฮุอันฮุ วาทานศาสดา ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กลาววา ْ‫ِ ﻣﻨﱠﺎ َﻓﻠَﻴ َْﺲ ﻏَ ﱠﺸﻨَﺎ َوﻣَﻦ‬

“...และบุคคลใดโกงเรา เขาไมใชพวกเรา” (บันทึกโดยมุสลิม: 101) มุสลิมจะตองมีจุดยืนในการที่จะไมหวังผลประโยชน หรือชื่อเสียงเพียงเล็กนอยจากมนุษยคนไหน ทั้งสิ้น ถามุสลิม คนใดก็แลวแตหวังผลประโยชน หวังชื่อเสียงจากนักการเมือง โดยไปเปนหัวคะแนนในการ เลือกตั้ง ไปชวยหาเสียงใหกับนักการเมืองที่ฉอฉล คดโกง นั้น อัลลอฮฺก็จะทรงใหเขานั้น ไมไดรับความดีงาม แตอยางใด มีรายงาน จากทานหญิงอาอิชะฮฺ รอฎิยัลลอฮุอันฮา กลาววา ทานศาสดา ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะซัลลัม กลาววา ‫ َو َﻣ ِﻦ ا ْﻟﺘ َ​َﻤ َﺲ ِر َﺿﺎ‬، ُ‫ﱠﺎس ﻋَ ﻨ ْﻪ‬ َ ‫ َوأَ ْر َﴇ اﻟﻨ‬، ُ‫ﴈَ ﱠ ِ ﻋَ ﻨ ْﻪ‬ ِ ‫ﱠﺎس َر ِ ا‬ ِ ‫ﴇ ِ ﺑ َِﺴﺨَ ِﻂ اﻟﻨ‬ ‫َﻣ ِﻦ ا ْﻟﺘ َ​َﻤ َﺲ ِر َ ا ﱠ‬ ‫ﱠﺎس‬ َ ‫ َو ْأَﺳﺨَ ﻂَ ﻋَ ﻠَﻴ ِ ْﻪ اﻟﻨ‬، ‫ﱠﺎسﺑ َِﺴﺨَ ِﻂ ا ﱠ َ ِﺳﺨَ ﻂَ ا ِ ﱠ ﻋَ ِﻠَﻴ ِ ْﻪ‬ ِ ‫اﻟﻨ‬

“บุคคลใดแสวงหาความพอใจ ของอัลลอฮฺดวยความโกรธของมนุษยทั้งหลาย อัลลอฮฺได ทรงพอใจตอเขา และไดทรงทําใหมนุษยทั้งหลายพอใจตอเขาดวย และบุคคลใดแสวงหา ความพอใจของมนุษย ทั้งหลายดวยความกริ้วโกรธของอัลลอฮฺ อัลลอฮฺก็ทรงกริ้วโกรธ เขา และทรงทําใหมนุษยทั้งหลาย โกรธเขา” (บันทึกโดยอิบนุหิบบาน: 278 เศาะเหี๊ยะหฺตัรฆีบอัลบานียฺ: 2250) ดังนั้นสิ่งที่มุสลิมทุกคนตองคํานึงอยูเสมอวาการที่เราเลือกผูใดก็ตามไปเพื่อมาทําหนาที่ปกครอง บานเมืองในระดับตาง ๆ นั้น มิไดยุติลงเมื่อการเลือกตั้ง เสร็จสิ้น แตเราตองมีสวนรับผิดชอบในตัวบุคคลที่ เราเลือก ถาบุคคลที่เราเลือกไป ทําหนาที่ทางสังคมอยางดี อยางยุติธรรม ก็เทากับวาเรามีสวน รวมในความ ดีนั้นดวย แตถาเรารับเงินทุจริตจากนักการเมือง แลวนักการเมืองเหลานั้นเขาไปโกงกินบานเมือง ทุจริต Graduate School and Research / 15 May 2013

727


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

คอรัปชั่น ก็เทากับเราก็มีสวนรวมในการกระทํานั้นดวย ถาเปนคนเลว เทากับวาเราเปนพยานเท็จใหกับ นักการเมืองนั้น ขอเท็จจริงอันเนื่องมาจากบริบททางสังคมของชาวมุสลิมเปนกลุมที่มีศาสนานิยมสูงและ ถือวามาตรฐานที่กําหนดโดยศาสนานั้นมีความเด็ดขาด จะเปลี่ยนแปลงหรือแกไขไมได จะเปลี่ยนแปลงหรือ แกไขไดก็เฉพาะในสิ่งที่ศาสนาไดเปดชองทางไวเทานั้น นอกจากนี้แลวทุกสิ่งทุกอยางจะตองคงไวในรูปเดิม ที่ชาวมุสลิมยึดถือเชนนี้เ พราะถือวาศาสนาอิสลามนั้นมีตนตอที่ม าจากพระผูเปนเจาพระองคเปนผูทรง ประทานศาสนาอิสลามเพื่อใหมวลมนุษยไดถือปฏิบัติ พระศาสดาเปนเพียงผูเผยแพรและประกาศปดเปา ลัทธิของพระองคเทานั้น(อารง สุทธาศาสน”ชนกลุมนอยกับการเมือง : 78) ดังนั้น ชาวไทยมุสลิมเชื้อสาย มลายูสนับสนุนการปกครองแบบประชาธิปไตย เพราะมันสอดคลองกับระบอบการเมืองการปกครองใน อิสลามที่เนนหลักการประชาธิปไตย เนนหลักความถูกตองชอบธรรมและความยุติธรรม ดั ง ที่ร ะบุไวใน คัมภีรอัลกุรอานในเรื่อง การเมือง การปกครอง ตั้งแตระดับครอบครัว ชุมชนและจักรวาล เชนที่ปรากฏใน บทและโองการที่ 58 ซูเราะหอัน- นิซาอฺ ¼ » º¹ ¸ ¶ µ ´ ³ ² ± ° ¯ ® ¬ « ª © ¨ M L Å Ä Ã Â Á À¿ ¾ ½

“แทจริงอัลลอฮฺทรงใชพวกเจาใหมอบคืนบรรดาของฝากแกเจาของของมัน และเมื่อพวก เจา ตัดสินระหวางผูคน พวกเจาก็จะตองตัดสินดวยความยุติธรรม แทจริงอัลลอฮฺทรง แนะนําพวกเจาดวยสิ่งซึ่งดีจริง ๆ แทจริงอัลลอฮฺเปนผูทรงไดยินและไดเห็น” สําหรับทานศาสดามูฮําหมัด(ศ็อลฯ)กลาวไววา ทานเปนผูนําศาสนจักรคนเดียวที่ทําหนาที่เปนผูนํา ทางอาณาจักร ในขณะเดียวกัน ซึ่งอาณาจักรในอดีตนั้นเปนอาณาจักรที่ไพศาล ทานศาสดามูฮําหมัด(ศ็อล ฯ) ไดวางแบบอยางแหงการเปนผูนําไวเปนจํานวนมาก จากใจความในคัมภีรอัลกุรอานและแบบอยางคํา สอนของทานศาสดามูฮําหมัด (ศ็อลฯ) คือที่ม าของกฏหมายอิส ลามอันเปนสวนหนึ่งของการปกครองที่ เรียกวา “ชารีอะฮฺ” ดังนั้นตามความคิดของผูศึกษาบริบททางสังคมที่มีมุสลิมเปนคนในพื้นที่สวนใหญ ทําใหอํานาจเงิน มีอิทธิพลในการทําใหคนไทยเชื้อสายมลายูออกมาเลือกตั้งอยูในระดับที่นอย 2.พฤติกรรมทางการเมืองของชาติพันธุมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทย ตอการ เลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ดานความเปนคนในพื้นที่ โดยภาพรวมและรายขอ ซึ่งไมสอดคลองกับ การศึกษาของ พิชัย เกาสําราญ, สมเจตน นาคเสวี และวรวิทย บารู (2531) ซึ่งศึกษาการรณรงคหาเสียง เลือกตั้ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2529 ของจังหวัดปตตานี พบวา ประชาชน อาศัยความสัมพันธสวนตัวที่มีอยูกับผูสมัครเพื่อมารองเรียนความเดือดรอนตาง ๆ และเรียกรองใหผูแทน ของเขาชวยเหลือ การเรียกรองขอความชวยเหลือดัง กลาวเป นการกระทําในลัก ษณะสวนตัว ทั้ง นี้อาจ เนื่องมาจาก ความเชื่อมั่นตอคนในพื้นที่ของชาวมุสลิมจังหวัดนราธิวาสยัง มีนอย ไมเ หมือนกับ จัง หวัด ปตตานี ที่ชาวมุสลิมมีความเชื่อมั่นมากกวาจังหวัดนราธิวาส การวิจัยนี้สอดคลองกับสมมุติฐานที่ตั้งไวห รือ เปนจริง

728

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก คนในพื้นที่สามารถชวยใหเศรษฐกิจของประชาชนในพื้นที่ดีขึ้น 3.พฤติกรรมทางการเมืองของชาติพันธุมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทย ตอการ เลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ดานความหวังใหเปนที่พึ่งในการประสานกับทางการ โดยภาพรวมและ รายขอ ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ พิชัย เกาสําราญ, สมเจตน นาคเสวี และวรวิทย บารู (2531) ซึ่ง ศึกษาการรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง สมาชิก สภาผูแทนราษฎร เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2529 ของจัง หวัด ปตตานี พบวา ไมมีระบบพรรคการเมืองซึ่งคอยทําหนาที่ติดตอสื่อสาร ใหขาวสารและการอบรมเรียนรู ทางการเมืองแกประชาชนอยางแทจริงในจัง หวัดปตตานี สาขาพรรคที่มีจัดขึ้นก็เฉพาะในระหวางการ เลือกตั้งเทานั้นผลการวิจัยสอดคลองกับสมมุติฐานที่ตั้งไวเห็นดวย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากนโยบายของรัฐบาล ตอผูนําทางศาสนาและทางสังคมของชาวไทยมุสลิมคือ ยอมรั บในขอบเขตของกิจกรรมทางศาสนาและ สังคม แตในเรื่องของการเมืองการปกครองแลว ยังจํากัดอยูมาก 4.พฤติกรรมทางการเมืองของชาติพันธุมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทย ตอการ เลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ดานอํานาจมืด โดยภาพรวมและรายขอ ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ พิชัย เกาสําราญ, สมเจตน นาคเสวี และวรวิท ย บารู (2531) ซึ่งศึกษาการรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2529 ของจังหวัดปตตานี พบวา ระบบราชการมีสวน ชวยหนุนและสงเสริมใหการตอสูแขงขันทางการเมืองในนราธิวาสอยูในกลุมของผูสมัครที่มีอิทธิพล เพราะได ตั้ง เปาหมายใหคนมาใชสิท ธิล งคะแนนมากที่สุด ซึ่งขาราชการทั้ง จัง หวัดและอําเภอก็ใชประโยชนจ าก โครงสรางเดิม ของสัง คมและชุม ชน กลาวคือ อาศัยผูนําทองถิ่นในชนบท และที่สําคัญ ผูนําเหลานี้โ ดย ขอเท็จจริงก็คือ หัวคะแนนคนสําคัญของผูส มัครที่มีอิทธิพลเหลานั้นผลการวิจัยสอดคลองกับสมมุติฐานที่ตั้ง ไวเปนจริง อยูในระดับเห็นดวย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากปญหาในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดน โดยทั่วไปแลวจะ เปนปญหาที่คลายคลึงกับปญหาที่เกิดขึ้นในภูมิภาคอื่น ๆ ของประเทศ ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป จากการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมทางการเมืองของชาติพันธุมลายูในจัง หวัดชายแดนภาคใตของ ประเทศไทยตอการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ผูวิจัยมีความเห็นวาพฤติกรรมในการเลือกตั้ง ของ ประชาชนเปนสวนที่สําคัญอยางหนึ่งในบรรดาพฤติก รรมทางการเมืองทั้งหลายในระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากการเลือกตั้งแตละครั้งมีผลประโยชนอันซอนเรนและสลับซับซอนตามสภาพบริบ ทของแตล ะ ทองถิ่นแตบุคคลที่มีอิทธิพลตอประชาชนในพี้นที่ เปนผูมีอํานาจหรือมีอิทธิพลที่สามารถชี้นําประชาชนใน พื้นที่ได การทําวิจัยในครั้งตอไปควรที่จะมีการเปรียบเทียบระหวางพฤติกรรมทางการเมืองของชาติพันธ มลายูในจังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทยกับพฤติกรรมของการเลือกตั้งภูมิภาคอื่น ๆ เพื่อจะได เขาใจภาพรวมของพฤติกรรมการเลือกตั้งของคนไทยมากขึ้น

Graduate School and Research / 15 May 2013

729


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เนื่องจากการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยใชแบบสอบถามในการเก็บขอมูลทําใหไดขอมูลจากผูตอบแบบสอบ สอบถามถูกจํากัดในวงแคบ เนื่องจากวิจัยนี้เ ปนเรื่องของสังคมศาสตรผูวิจัยเสนอใหมีการใชเครื่องมือที่ มากกวานี้เชนมีการสัมภาษณแบบเจาะลึกหรือมีการสนทนากลุม เอกสารอางอิง ภาษาไทย กระมล ทองธรรมชาติ. 2531. การเมืองและการปกครองไทย. พิมพครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. กระทรวงมหาดไทย.2535.กรมการปกครอง. รายงานการวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร 2 กรกฎาคม 2538. เกรียงไกร จงเจริญ .2535. “ผูนํากับการมีสวนรวมทางการเมืองของชุมชน”วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. จรูญ สุภาพ, พรศักดิ์ ผองแผว.2527. พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและการบริหารการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร: ศึกษาจากกรณีเลือกตั้ง แทนตําแหนงที่วางของจังหวัดบุรีรัมย, 28 สิงหาคม 2526. กรุงเทพฯ: เจาพระยาการพิมพ ฐปนรรต พรหมอิ น ทร .2545. “กระบวนการเลื อ กตั้ ง และป จ จั ย ในการตั ด สิ น ใจเลื อ กตั้ ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี.” ในสติธร ธนานิธิโชติ, บรรณาธิการ. รายงาน วิจัย เรื่ องกระบวนการเลือ กตั้ ง และป จ จั ยในการตั ดสิน ใจเลื อกตั้ ง สมาชิก สภาผูแ ทนราษฎร. กรุงเทพฯ: อักษรโสภณ, ถวิลวดี บุรีกุล สติธร ธนานิธิโชติ และประภาพร วัฒนพงศ. 2546, เทคโนโลยีเพื่อการมีสวนรวมและ การเก็บ ขอมูล เพื่อการวิจัยภาคสนามจากกลุมตัวอยา ง.สถาบันพระปกเกลา : สํานัก งานสถิติ แหงชาติ, ทศพล สมพงษ .2545 “ความเคลื่อนไหวทางสังคมในกระบวนการเลือกตั้งและปจจัยในการตัดสินใจ เลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดสกลนคร.” ใน สติธร ธนานิธิโชติ, บรรณาธิการ. รายงาน วิจัย เรื่องพฤติกรรมการเลือกตั้งและปจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2543. กรุงเทพฯ: เจ ปริ้นติ้ง, เดชา ใจยะ.2532. พฤติก รรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ของประชาชนในการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรแทนตําแหนงที่วาง,มหาวิทยาลัยบูรพา. นิลุบ ล ใจอ อนนอม .2543. การเปดรับขา วสารทางการเมืองและการมีสวนรวมทางการเมือง ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร, วิทยานิพนธมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. นิธิ เอียวศรีวงศ . 2549. วัฒนธรรมคนอยางทักษิณ.มติชนรายสัปดาห วันที่ 24 กุมภาพันธ พ.ศ. 2549 ปที่ 26 ฉบับที่ 1332. นัจมุดดีน อูมา .2551. บทบาททางการเมืองของกลุมวะหดะฮในสามจังหวัดชายแดนภาคใต.กรุงเทพฯ นั ศ รุ ล ลอฮ หมั ด ตะพงศ (แปล): โลกสู ญ เสี ย อะไรจากความตกต่ํ า ของประชาชาติ มุ ส ลิ ม : มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา : สหกรณออมทรัพยบารอกะฮบานทุง จ.กระบี่ 2554 เรืองชัย ทรัพย นิรันดร 2544 “บทบาทการมี สวนรวมในระบอบประชาธิป ไตยของหนั ง สือพิ ม พม ติ ชน.กรุงเทพฯ : มติชน, 2544 730

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

จิตรา พรหมชุติมา. 2541. พฤติกรรมการเลือกตั้งของประชาชนในชุมชนแออัดในกรุงเทพมหานคร, กรุงเทพฯ: กองการพิมพสํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฏร. จิตติพล ผลพฤกษา .2536. กลุมตัวอยางสวนมากรับรูขาวสารจากสื่อมวลชน โดยใหความเชื่อถือกับ แหลงขาวสาร,จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย จริญญา เจริญสุขใส , 2538. “การเปดรับขาวสารทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมืองกับการไปใช สิทธิออกเสียงเลือกตั้งของเยาวชนในกรุงเทพมหานคร,กรุงเทพฯ,จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. จุฑาทิพย ชยางกูร , 2541.ً การโฆษณาทางการเมืองมีอิทธิพลตอการตัดสินใจของผูลงคะแนนเสียง เลือกตั้ง. วิทยานิพนธ 102594.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ชาญศักดิ์ ถวิล .2534. “การซื้อขายคะแนนเสียงเลือกตั้ง โดยศึกษากรณีการเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 27 กรกฎาคม 2529 .สารนิพนธ. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาการปกครอง. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ชาตรี พลายงาม .2544 “ศึกษากรณีขอบเขตอํานาจในการไมประกาศรับรองรายชื่อผูสมัครรับเลือกตั้ง ที่ไ ด รับคะแนนอยูในเกณฑที่ ไ ดรั บเลือกตั้งใหเ ปนสมาชิ กวุ ฒสภา”วิ ท ยานิพ นธ . กรุ ง เทพฯ. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. บูฆอรี ยีหมะ และนรินทร สมพงศ. 2543 “ความเคลื่อนไหวทางการเมือง”สถาบันพระปกเกลา. บุญเลิศ คธายุทธเดช (ชางใหญ) และประยงค คงเมือง, บรรณาธิก าร. รวมสาระรัฐธรรมนูญฉบับ ประชาชน, พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมติชน, 2541. ประหยัด หงษทองคํา .2538. ประชาธิปไตย: ความหมาย หลักการสํา คัญและปจจัย เอื้ออํานวยตอ ความสําเร็จ. กรุงเทพฯ: รัฐสภาสาร, ประชัน รักพงษ และรักฎา บรรเทาสุข. 2545 “ความเคลื่อนไหวทางสังคมในกระบวนการเลือกตั้งและ ปจจัยในการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเชีย งใหม.” ใน สติธร ธนานิธิโ ชติ , บรรณาธิการ. ปรัชญา เวสารัชช. 2527. หลักและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัย. ปรีชา หงษไกรเลิศ.2533. การพัฒนาระบบพรรคการเมืองเพื่อสรา งเสถียรภาพทางการเมืองใน ระบอบ ประชาธิปไตย. เอกสารวิจัยสวนบุคคล วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร, พรศักดิ์ ผองแผว.2527. พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เขต 3 จังหวัด ขอนแกน 18 เมษายน 2536. กรุงเทพฯ: เจาพระยาการพิมพ. พจนีย ไชวาริล .2543. ภูมิหลังทางดานเศรษฐกิจ และสัง คมตางๆ และแรงจูง ใจในการลงสมัครรับ เลือกตั้งของผูสมัครสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2543.จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. ชนชั้นกับการเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ: ศูนยวิจัยและผลิตตํารา มหาวิทยาลัยเกริก, 2541. พิชัย เกาสําราญ, สมเจตน นาคเสวี และวรวิทย บารู .2531. การเลือกตั้งปตตานี ป 2529 .กรุงเทพฯ มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา. พัชโรดม ลิมปษเฐียร .2543. กระบวนการคัดคานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิก วุฒิสภา .วิทยานิพนธ 121269. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Graduate School and Research / 15 May 2013

731


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เพิ่มพงษ เชาวลิต และศรีสมภพ จิตรภิรมศรี .2531.หาคะแนนอยางไรได ส.ส.กรุงเทพฯ.นิติธรรม. พฤทธิ ส าณ ชุม พล .2550.ระบบการเมือง: ความรูเ บื้ องต น .พิ ม พครั้ ง ที่ 9 .สํานั ก พิม พ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. วิท ยา สุ ว รรณมาศ, 2527. พฤติ ก รรมการลงคะแนนเสี ย งเลือ กตั้ ง สมาชิ ก สภาผู แทนราษฎรของ ประชาชน ในเขต อําเภอมโนรมย จังหวัดชัยนาท ,มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย วรสิท ธิ์ อภิชาติโ ชติ .2533. “การบังคับใหไ ปออกเสีย งเลือกตั้ง ” วิทยานิพนธ 53872.กรุง เทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ศรีส มภพ จิตตภิ ร มยศรี และคณะ.2545 “กระบวนการเลือกตั้ง และปจ จั ยในการตัดสินใจเลือกตั้ ง สมาชิก สภาผูแทนราษฎร จังหวัดปตตานีและสงขลา.” ใน สติธร ธนานิธิโชติ, บรรณาธิการ. รายงานวิ จั ย เรื่ อ งกระบวนการเลื อ กตั้ ง และป จ จั ย ในการตั ด สิ นใจเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภา ผูแทนราษฎร. กรุงเทพฯ: อักษรโสภณ, 2545. สุจิต บุญบงการ และพรศักดิ์ ผองแผว. พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของคนไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผลงานวิจัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526. สมชาย ติลังการณ, 2538. พฤติกรรมการออกเสียงเลือกตั้งกับจิตสํานึกทางการเมืองของคน เชียงใหม ในการเลือกตั้งทั่วไป วันที่ 13 กันยายน 2535: วิทยานิพนธ 72716.มหาวิทยาลัยเชียงใหม. สานิตย ปนสังข , 2539. พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของประชาชนในเขตชนบท: ศึกษา เฉพาะกรณี สุข าภิ บ าลศรีด อนไผ อํ า เภอดํ า เนิ นสะดวก จั งหวั ด ราชบุ รี , มหาวิ ท ยาลั ย รามคําแหง, กรุงเทพฯ.วิทยานิพนธ 86359 สุวัฒ น ศิริโ ภคาภิร มย .2540. “อิทธิพ ลของผูนํา ชุ มชนที่ มีตอการมีสว นรวมทางการเมื องของ ประชาชนเมืองของประชาชน: วิทยานิพนธ 89236.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุนีย ตรีธนากร .2539. โลกทัศนประชาธิป ไตยของชนชั้นกลางไทย.วิทยานิพนธ 89204.จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เสาวนีย ศิริพจนานนท .2544. “การตัดสินใจของประชาชนในการเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎร: วิทยานิพนธ 123401.มหาวิทยาลัยขอนแกน. หามะ มะยุนุ . 2547. ขอเสนอภาคประชาชนตอสถานการณความรุนแรงในภาคใตใตฟา เดีย วกั น ปที่3 ฉบับที่ 3. กรกฏาคม-กันยายน 2547. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพฟาเดียวกัน:155 หนังสือพิมพฐานเศรษฐกิจ: ฉบับประจําวันอาทิตยที่ 31 ธันวาคม 2543, วิธีการซื้อเสียงทางออม. อิบนุหิบบาน: เศาะเหี๊ยะหฺตัรฆีบอัลบานียฺ: 278:2250. ‫اﻟﱰﻏﻴﺐ ﺻﺤﻴﺢ‬ อภิชาติ นาคสุ ข .2536.พฤติก รรมการเลือ กตั้งของประชาชนในพื้นที่ เขตบางรักและเขตมีนบุรี . วิทยานิพนธ. มหาวิทยาลัยรามคําแหง อคิน รพีพัฒ น .2546. คูมือวิชัย เชิงคุณภาพเพื่อการพัฒนา, สถาบันวิจัยและพัฒ นมหาวิท ยาลัย ขอนแกน. อัครวิทย ขันธแกว.2539.นักธุรกิจภูมิภาคกับการมีสวนรวมทางการ.วิทยานิพนธ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เอนก เหลาธรรมทัศน .2543. การเมืองของพลเมืองสูสหัสวรรษใหม . กรุงเทพมหานคร: โครงการ จัดพิมพคบไฟ,

732

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ปญหาการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ขององคการบริหารสวนตําบลเกะรอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา The problems of Local Land Tax collection of Ke’ro sub-district Administration Organization Raman district Yala province เอมัสกี สะแม นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน

บทคัดยอ การศึก ษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อมีวัตถุป ระสงค เพื่อ 1) ศึกษาปญหาในการจัดเก็บภาษีบํารุง ทองที่ขององคการบริหารสวนตําบลเกะรอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา 2) ศึกษาขอเสนอแนะในการแกไข ปญหา และพัฒนาการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ขององคการบริหารสวนตําบลเกะรอ อําเภอรามัน จังหวัด ยะลา ใชแบบสัมภาษณเปนเครื่องมือในการศึกษา กลุมตัวอยางที่ใชคือ ผูเกี่ยวของกับงานดานจัดเก็บภาษี ขององคการบริหารสวนตําบลเกะรอ จํานวน 3 คน ประชาชนผูชําระภาษีบํารุงทองที่ใหกับองคการบริหาร สวนตําบลเกะรอ จํานวน 35 คน ผลการศึกษาพบวา จากการใหขอมูลของกลุมผูจัดเก็บภาษีจะเห็นไดวาองคการบริหารสวนตําบล เกะรอ ขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ ซึ่งเปนปจจัยจูงใจใหผูเสียภาษีพยายาม หลบหนีภาษีมากขึ้น ความยุงยากซับซอนของกฎหมายและระเบียบกอใหเกิดความยุงยากในการบังคับใช กฎหมายเพื่อการประเมิน จัดเก็บภาษี รวมทั้งการติดตามตรวจสอบ จึงเปนสาเหตุของการใชดุลยพินิจไป ในทางทุจริต เจาหนาที่จัดเก็บภาษี ไมมีความรูดานกฎหมายและไมดําเนินการเรงรัดติดตามจนทําใหคดีขาด อายุความ ประชาชนใชชองโหวของกฎหมายเปนเครื่องมือในการหลีกเลี่ยงภาษี สวนกลุมผูเสียภาษีนั่นคือ ประชาชนจะพบวายังมีปญหาในเรื่องการไมมีความรูความเขาใจในเรื่องเกี่ยวกับภาษีบํารุงทองที่วาจะตอง เสียอยางไร และทําไมจะตองเสีย คารายปคืออะไร อีกประการคือฐานะทางเศรษฐกิจ เมื่อประชาชนมี รายไดไมพอแกการครองชีพ การหลีกเลี่ยงภาษียอมมีมาก และประชาชนยังเห็นวาความยุติธรรมในการเสีย ภาษียังไมเปนธรรม เชน ผูมีรายไดมากมีอิทธิพลยังเสียภาษีนอย องคการบริหารสวนตําบลจึงควรมีการพัฒนาประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษี โดยเริ่มจากพัฒนา คุณภาพบุคลากร มีเปาหมายเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการทํางาน และพฤติกรรมการทํางาน และควรกระทํา อยางตอเนื่ององคประกอบของการพัฒนาบุคลากร จะประกอบดวย การฝกอบรม การจัดสรรงานหรือการ มอบหมายหนาที่ การประเมินผล การใหรางวัล ปรับเปลี่ยนวิธีการทํางานแบบเดิม ๆ และการวางแผนสืบ ทอดตําแหนง คําสําคัญ: ปญหาการจัดเก็บภาษี , ภาษีบํารุงทองที,่ องคการบริหารสวนตําบล

Graduate School and Research / 15 May 2013

733


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The objective of this study to indicate about- 1. Problems of tax collection of Ke’ro sub-district administration organization Raman district Yala province. 2. The suggestion to solve the problems and the improvement of Local land Tax collection of Ke’ro Sub district Administration Organization Raman district, Yala province, by using an interview of three stuff officer of Ke’ro Sub district Administration Organization who deal with tax collection and thirty five people who pay tax to ke’ro Sub district Administration Organization. The information from stuff officer of Ke’ro Sub district Administration Organization showed that, lack of performance to deal with local tax collection as the factors to make tax payers avoid from tax payment Key Words: Problems collecting, local taxes, Organization.

734

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา การบริหารจัดการรายได และการจัดเก็บภาษี ที่ทองถิ่นจัดเก็บเอง เชนภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษี ปาย ภาษีบํารุงทองที่นั้น นับไดวาเปนหัวใจ และมีความสําคัญอยางยิ่ง ที่องคการบริหารสวนตําบลเกะรอ จะตองดําเนินการจัดเก็บภาษีอากรดังกลาว ใหไดเต็มเม็ดเต็มหนวย จึงจําเปนตองแสวงหากลยุทธที่จะเพิ่ม รายไดในการจัดเก็บภาษีอากรดังกลาว เพื่อที่จะไดมีรายไดเพียงพอในการจัดหาทรัพยากรตางๆ สําหรับการ จัดบริการพื้นฐานที่จําเปนแกการดํารงชีวิตและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน เนนการแกไขปญหาของ ประชาชนเปนประเด็นสําคัญ การที่จะทําใหองคการบริหารสวนตําบลเกะรอ มีศักยภาพในการจัดหารายได หรือเพิ่มภาษีอากรนั้น องคการบริหารสวนตําบลเกะรอ จําเปนจะตองมีความรูความเขาใจในหลักการและ แนวปฏิบัติในการเพิ่มรายได เชน การขยายฐานภาษีดวยการจัดทําแผนที่ภาษี การเพิ่มประสิทธิภาพการ จัดเก็บภาษี ความโปรงใสในการจัดเก็บภาษี รวมทั้งการมีมาตรการที่ดีเหมาะสมทางภาษี เพื่อใหองคการ บริหารสวนตําบลเกะรอ มีความกาวหนาและพึ่งตนเองในระยะยาวได ทั้งนี้ การจัดการดานรายไดและการ จัดเก็บ ภาษีอ ากร ถึง แมว าหน วยงานจะมี ความพร อมในการดํา เนิน งานอยา งเต็ม ที่ แลว แตจ ะไม มี ประสิทธิภาพเทาที่ควร ถาขาดความรวมมือรวมใจจากประชาชนในทองถิ่น (เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรี ธรรม. 2541) องคการบริหารสวนตําบลเกะรอ ตั้งอยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอําเภอรามัน หางจาก จังหวัดยะลา 45 กิโลเมตร มีพื้นที่ 45,390 ไร พื้นที่ถือครอง 27,615 ไร มี 7 หมูบาน ประชากร 7,154 คน มีรายไดหลักจากภาษีที่รัฐบาลจัดสรร และเงินอุดหนุนจากรัฐบาล สวนภาษีอากรที่องคการบริหารสวน ตําบลเกะรอ จัดเก็บเองนั้นยังมีจํานวนนอย โดยเฉพาะภาษีบํารุงทองที่ องคการบริหารสวนตําบลเกะรอ มี ลูกหนี้ภาษีคางชําระ ตั้งแตปงบประมาณ 2537 ถึงปจจุบัน ทั้งที่การกําหนดสัดสวนจํานวนรายผูชําระภาษี อากร ที่จัดเก็บไดตอจํานวนผูที่อยูในขายที่ตองชําระภาษีทั้งหมด ยังอยูในอัตราที่ต่ําในชวง 19 ปที่ผานมา องคการบริหารสวนตําบลเกะรอ มีลูกหนี้ภาษีบํารุงทองที่คางชําระทุกปและมีจํานวนที่สูงขึ้นทุกปตามลําดับ สามารถบอกถึงความไมมีประสิทธิภาพในการบริหารการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ ขององคการบริหารสวน ตําบลเกะรอ (แผนสามปองคการบริหารสวนตําบลเกะรอ. 2555) ดั ง นั้ น องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บลเกะรอ ต อ งมี ก ารบริ ห ารการจั ด เก็ บ ภาษี บํ า รุ ง ท อ งที่ ที่ มี ประสิทธิภาพ มีการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่อยางทั่วถึง เปนธรรม เพื่อมิใหเกิดการหลบหนีและหลีกเลี่ยง ภาษี รวมทั้ง กฎหมายและระเบียบที่เ กี่ยวของจะตองเรียบงาย เจาหนาที่จัดเก็บ รายไดตองมีความรู ความสามารถที่จะอํานวยความสะดวกแกผูเสียภาษี กอใหเกิดความรวมมือและความเต็มใจที่จะเสียภาษี โดยตองรับทราบถึงปญหาอุปสรรคในการชําระภาษีของประชาชน พยายามขจัดปญหาที่สําคัญที่สุดในการ จัดเก็บภาษีอากร คือ ปญหาเรื่องการหลบเลี่ยงการชําระภาษีอากร ซึ่งปญหาดังกลาวนี้กอใหเกิดความไม เปนธรรมระหวางประชาชนผูเสียภาษี องคก ารบริห ารสวนตําบลเกะรอ จึง ตองพยายามหาวิธีการให ประชาชนใหความรวมมือหรือยินยอมเสียภาษีโดยความสมัครใจ การทบทวนวรรณกรรม อรัญ ธรรมโน (2518, หนา 120 - 121) ไดใหแนวคิดทฤษฎีภาษีอากรและองคประกอบของภาษี อากรที่ดีวา การเรียกเก็บที่จะเรียกวาภาษีอากร ควรมีลักษณะสําคัญ 2 ประการ ประการแรก เปนการ บังคับจัดเก็บ และประการที่สองไมมีการใหประโยชนตอบแทนโดยตรง แกผูเสียภาษีอากร สวน เกริก

Graduate School and Research / 15 May 2013

735


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม (2541, หนา 25) ใหความหมายวาภาษีคือสิ่งที่รัฐบาลเก็บจากราษฎร และนํามาใช เพื่อประโยชนของสังคมสวนรวมโดยมิไดมีสิ่งตอบแทนโดยตรงแกผูเสียภาษี องคป ระกอบที่ สําคัญ อี ก อยางของระบบภาษี ที่ดีคือ มี ก ารบริ ห ารการจัดเก็ บ ภาษีอ ากรที่ มี ประสิทธิภาพ ปญหาประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีนั้น จะขึ้นอยูกับความรวมมือของประชาชนในการเสีย ภาษี และขึ้นอยูกับความซื่อสัตยสุจริตและประสิทธิภาพในการทํางานของเจาหนาที่ภาษีอากรเปนสําคัญ หลักเกณฑที่ดีในการจัดเก็บภาษีอากร อดัม สมิธ ไดวางรากฐานไวในหนังสือ Wealthof Nation (1776) โดยมีหลักเกณฑอยู 4 ประการ ไดแก หลักความเสมอภาคหรือความยุติธรรมหลักความแนนอน หลักความ สะดวก และหลักความประหยัด ซึ่งหลักเกณฑดังกลาวที่ อดัม สมิธวางไวนั้นเปนที่ยอมรับโดยตลอดมา และ ไดมีการวิวัฒนาการมาจนถึงปจจุบัน สามารถสรุปเปนสาระสําคัญไดดังนี้ (เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม, 2541, หนา 126) การที่ประชาชนจะใหการยอมรับมากนอยเพียงใด ยอมจะขึ้นอยูกับความยุติธรรมในการเก็บภาษี ของรัฐบาลเปนสําคัญ กลาวคือ ภาษีอากรแตละชนิดที่จะเก็บนั้นจะตองใหความเปนธรรมแกผูเสียภาษีทุ ก คน กอนที่จะออกกฎหมายเก็บ ภาษีอากรแตล ะประเภทนั้น รัฐบาลควรจะตองฟง ความคิดเห็นจาก ประชาชนเปดโอกาสใหมีการแสดงออกถึงการสนับสนุน หรือคัดคานอยางกวางขวางนอกจากนี้ การที่จะทํา ใหคนยอมรับการเสียภาษีนั้นยังขึ้นอยูกับความสัมพันธระหวางการเสียภาษีและประโยชนที่ผูเสียหายไดรับ จากรัฐบาลดวย หากรัฐบาลแสดงใหประชาชนเห็นวาเงินที่เก็บภาษีไปนั้นกลับคืนเปนผลประโยชนตอผูเสีย ภาษีเองในอนาคต ประชาชนก็จะยอมรับการเสียภาษีมากขึ้นและถาทําไดเชนนั้นก็จะทําใหความสํานึกใน การเสียภาษี (tax consciousness) ของประชาชนมีมากขึ้น การกระจายอํานาจทางการคลังแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นในรูปแบบตาง ๆ กําลังจะเปนเรื่อง สําคัญของการปฏิรูประบบการคลังของประเทศไทย (เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม,2541, หนา 503 - 514) ในอดีตที่ผานมาระบบการคลังของไทยถูกรวบอํานาจไวที่สวนกลาง หรือที่รัฐบาลกลาวคือสัดสวนของการใช จายของภาครัฐบาลหรือภาคสาธารณะนั้น กวารอยละ 90 เปนการใชจายของรัฐบาลกลาง และการจัดเก็บ รายไดเกือบทั้งหมดก็จัดเก็บโดยรัฐบาลกลางสวนองคกรปกครองสวนทองถิ่นในรูปแบบตาง ๆ เชน เทศบาล องคการบริหารสวนจังหวัด องคการบริหารสวนตําบล กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา แมจะมีอํานาจใน การจัดเก็บภาษีบางประเภทแตก็มีรายไดจํากัดไมเพียงพอกับการใชจายเพื่อพัฒนาทองถิ่นของตน ตองพึ่ง เงินชวยเหลือหรือเงินอุดหนุนจากรัฐบาล โดยที่การปกครองทองถิ่นเปนการกระจายอํานาจจากรัฐใหกับ ประชาชนในทองถิ่นไดปกครองตนเอง ซึ่งในสวนของรายไดก็มีลักษณะเชนเดียวกัน คือ รัฐจะเปนผูกําหนด และแบงรายไดประเภทใดบางที่ใหเปนของทองถิ่นและรายไดประเภทใดบางที่ยังคงเปนของสวนกลาง โดย กําหนดในรูปของกฎหมายทั้งเปน พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวงประกาศกระทรวงรวมถึง ระเบียบและขอบังคับตาง ๆ การบริหารการจัดเก็บภาษีอากรในประเทศไทย จําแนกการจัดเก็บออกเปน 2 ประเภทคือภาษีสวนกลาง และภาษีสวนทองถิ่น ภาษีสวนกลางจัดเก็บโดยราชการสวนกลาง อาจมีตัวแทน หรือหนวยงานยอยประจําอยูในภูมิภาค เชน อําเภอ จังหวัด ภาษีสวนกลางที่สําคัญ เชน ภาษีสรรพากร ภาษีศุลกากร และภาษีสรรพสามิต จัดเก็บโดยกระทรวงการคลัง ผานกรมสรรพากร กรมศุลกากร และกรม สรรพสามิตกรมเหลานี้มีอธิบดีเปนผูบริหารซึ่งมีอํานาจหนาที่ตามกฎหมายในการจัดเก็บภาษีอากร ภาษีสวนทองถิ่น ไดแก ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบํารุงทองที่ และภาษีปาย จัดเก็บโดยองคกร บริห ารราชการสวนทองถิ่น ไดแก เทศบาล องคการบริหารสวนจังหวัด องคการบริหารสวนตําบล กรุงเทพมหานคร และเมือง (ไกรยุทธ ธีรตยาคีนันท, 2534, หนา 58 - 61) 736

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ระบบภาษีที่ดีนั้นจะตองไดรับการรวมมือในการเสียภาษีดวยดีจากประชาชน กลาวคือประชาชนที่ มีหนาที่เสียภาษีใหแกรัฐนั้น จะยินยอมเสียภาษีใหแกรัฐดวยดีโดยไมพยายามหลบเลี่ยงหรือหนีภาษี ทั้งนี้ เพราะวาการที่ประชาชนใหความรวมมือในการเสียภาษีจะทําใหรัฐบาลเก็บภาษีไดมาก และเสียคาใชจายใน การจัดเก็บนอย ในกรณีตรงขามหากประชาชนไมใหความรวมมือในการเสียภาษีแกรัฐแลว จะทําใหรัฐบาล ประสบกับความยุงยากในการจัดเก็บภาษีมากซึ่งจะทําใหตองเสียคาใช จายในการจัดเก็บสูงและจัดเก็บภาษี ไดนอย ไมเต็มเม็ดเต็มหนวย ดังนั้น ปญ หาที่สําคัญ ที่สุดในการจัดเก็บภาษีคือ ทําอยางไรจึงจะทําให ประชาชนใหความรวมมือหรือยินยอมเสียภาษีแกรัฐโดยความสมัครใจ การที่ประชาชนจะยินยอมเสียภาษี แกรัฐบาลดวยความสมัครใจหรือมีจิตสํานึกในการเสียภาษีมากนอยแคไหนนั้น ยอมขึ้นอยูกับปจจัยตาง ๆ มากมาย ดังตอไปนี้ (เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม, 2541, หนา 143) 1. ขึ้นอยูกับการเห็นความสําคัญของการเสียภาษี ถาหากประชาชนผูมีหนาที่ตองเสียภาษีนั้นเห็น ถึงประโยชนหรือความสําคัญของการเสียภาษีแลว ความยินยอมหรือการใหความรวมมือ ในการเสียภาษีแก รัฐบาลก็จะมีมาก แตในกรณีตรงกันขามถาหากประชาชนมองไมเห็นประโยชนของภาษีที่ตนเสียไปแลว ความยินยอมเสียภาษีของประชาขนจะต่ํา ตัวอยางเชนถาประชาชนมองเห็นวาเงินภาษีอากรที่ตนเสียไปนั้น ไดถูกนําไปใชเพื่อประโยชนของสังคมสวนรวมและตนก็เปนผูที่ไดรับประโยชนนั้น ความยินยอมที่จะเสีย ภาษีก็จะมีมาก ในกรณีตรงขามหากเงินที่เสียภาษีไปนั้นจะถูกนํา ไปใชเพื่อประโยชนของคนกลุมหนึ่งกลุมใด โดยเฉพาะ ความสมัครใจที่จะเสียภาษีก็ยอมจะมีนอย 2. ขึ้นอยูกับประสิทธิภาพในการบริหารงานและการใชจายเงินของรัฐ ความสมัครใจในการเสียภาษี ของประชาชนนั้น อาจจะพิจารณาไดจากประสิทธิภาพในการบริหารงาน และประสิทธิภาพ ในการใชเงิน ของรัฐบาล ถาหากรัฐบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพ และเงินภาษีอากรทุกบาททุกสตางคไดถูกนําไปใช อยางคุมคาแลว ก็จะชวยใหความสมัครใจในการเสียภาษีของประชาชนมีมาก แตในทางตรงกันขามถาหาก รัฐบาลบริหารงานอยางไมมีประสิทธิภาพและใชงบประมาณแบบลางผลาญและไมเกิดประโยชนตอทองถิ่น แลว ความสมัครใจทีจ่ ะเสียภาษีของประชาชนก็จะมีนอย 3. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษี 4. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารการจัดเก็บภาษีอากร 5. โครงสรางหรือองคประกอบของกฎหมายภาษีบํารุงทองที่ 6. แนวคิดเกี่ยวกับองคการบริหารสวนตําบล หลักภาษีอากรที่ดีตามแนวคิด Adam Smith นักเศรษฐศาสตรชาวสกอตแลนด ไดวางหลักการ เกี่ยวกับภาษีอากรที่ดีในหลักการ ดังนี้ (ขจร สาธุพันธ.2513 อางถึงใน ณัชชา คงสมบัต.ิ 2551) 1. ความเทาเทียมกัน (Equitable) หรือ ความเปนธรรม (Fairness) หลักการนี้ ควรจะเปนหลัก พื้นฐานในการกําหนดหลักเกณฑตาง ๆ หรือ ขอกฎหมายที่เกี่ยวกับภาษีอากร เพื่อใชบังคับแกทุกคนใน สังคมเดียวกันโดยทั่วไป เนื่องจากทุกคนที่อยูในสังคมเดียวกัน ควรถือใชกฎระเบียบเดียวกัน และควรไดรับ สิทธิตาง ๆ อยางเปนธรรมในทุก ๆ สวน โดยเทาเทียมกันเพื่อเปนการสรางความสมัครใจใหกับทุกคนใน สังคมที่จะเสียภาษีอากรอยางถูกตอง 2. ความแนนอน (Certainty) ระบบภาษีที่ดีตองอยูในรูปกฎหมายที่มีความชัดเจนมีความแนนอน ไมปลอยอํานาจในการกําหนดหนาที่และภาระภาษีใหอยูในดุลพินิจเจาพนักงานมากเกินไป จนเกิดสิ่งที่ เรียกวา “การบังคับตามใจชอบ” ของเจาพนักงานภาษี (Arbitrariness)ที่สําคัญความแนนอนของกฎหมาย ภาษี หมายถึง ผูเสียภาษีคนหนึ่งจะตองไดรับความมั่นใจวา “ผูเสียภาษีคนอื่น ๆ” ก็ตองเสียภาษีภายใน Graduate School and Research / 15 May 2013

737


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

กฎเกณฑแบบเดียวกับตนดวย นอกจากนี้ความแนนอนของกฎหมายภาษี หมายถึง การที่ผูเสียภาษีสมควรที่ จะรูแนนอนชัดแจงถึงภาระภาษีที่ตนจะตองเสียเพื่อที่จะสามารถวางแผนธุรกิจของตนลวงหนาได เพราะ ภาษีถือเปนตนทุนในการทําธุรกิจประเภทหนึ่ง การขาดความแนนอนและชัดเจนของระบบภาษีจะเกิดผล กระทบที่เปนขอเสียตอเจาพนักงานภาษีมากกวาตอผูเสียภาษี ทั้งนี้เปนผลกระทบในแงการขาดความคงทีใ่ น การจัดเก็บ เพราะผูเสียภาษีจะพากันหลบเลี่ยงเมื่อมีชองทาง ผลก็คือ จํานวนภาษีที่จัดเก็บไดจะไมคงที่ตาม ไปดวย 3. ความสะดวกและไมยุงยากตอการชําระภาษีของผูเสียภาษี (Simplicity) ระบบภาษีอากรที่ดีจะ มีความสะดวกและงายในการชําระภาษีของผูเสียภาษี (Convenience of Payment)หมายถึง ความงายที่ จะเขาใจขอกฎหมาย ดังนั้นระบบภาษีที่ดีจําเปนตองงายตอการเขาใจและและอํานวยความสะดวกใหผูเสีย ภาษี ไมสรางความลําบากหรือยุงยากกับผูเสียภาษีเพราะเปนหลักที่เพิ่มความสมัครใจ หรือความเต็มใจของ ผูเสียภาษีในการเสียภาษีอยางถูกตอง 4. ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) ความมีประสิทธิภาพของระบบภาษี คือความมีประสิทธิภาพ ในแงตนทุนของการจัดเก็บภาษี ซึ่งหมายถึง คาใชจายที่เกี่ยวกับการจัดเก็บของระบบภาษีดังกลาว ควรจะ ต่ําที่สุดเทาที่จ ะทําได คําวา “คาใชจายต่ํา”ในกรณีนี้ไมไดเปนการคํานึงดานมุมมองของเจาพนัก งาน สรรพากรดานเดียว แตตองคํานึง ถึงคาใชจายที่เกิดขึ้นของผูเ สียภาษีในการเตรียมการและชําระภาษีที่ อาจจะเกิดขึ้นจากกรณีผูเสียภาษีมีขอโตแยงในภาระภาษีและนํากรณีของตนขึ้นสูกับเจาพนักงานภาษีใน ศาลดวย สําหรับโครงสรางหรือองคประกอบของกฎหมายภาษีบํา รุงทองที่ คือภาษีบํารุง ทองที่เ ปนภาษี อากรประเภทหนึ่งที่จัดเก็บโดยถือเอาทรัพยสินมาเปนเกณฑในการจัดเก็บ คือ เปนการจัดเก็บจากที่ดินตาม ราคาปานกลางของที่ดินที่กําหนดไวตอไร ตามบัญชีอัตราภาษีทายพระราชบัญญัติ จึงเรียนวาเปนภาษี ทรัพยสิน ภาษีบํารุงทองที่นับวาเปนภาษีที่สําคัญสําหรับทองถิ่น เพราะกฎหมายกําหนดใหทองถิ่นจัดเก็บ และใหเปนรายไดของทองถิ่นในการที่จะนํารายไดนั้นมาพัฒนาทองถิ่น ฉะนั้นหากมีการพัฒนาการจัดเก็บ ภาษีบํารุงทองที่ใหมีประสิทธิภาพและจัดเก็บ ใหเกิดความเปนธรรมทั้ง กับผูมีหนาที่เสียภาษีและองคก ร ปกครองสวนทองถิ่น จะทําใหภาครัฐจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ไดเพิ่มมากขึ้นและสรางความเปนธรรมในการ จัดเก็บ ภาษีกับทุกฝายที่เ กี่ยวของ ทําใหผูที่ถือครองทรัพยสินเปนจํานวนมากและไมไดทําประโยชนใน ทรัพยสินนั้นนําทรัพยสินมาใหประชาชนทํากินเพิ่มมากขึ้น อันเปนการชวยสังคมชนบท การมีงานทํา การ แกไขปญหาสังคมและเหมาะกับสภาวการณในปจจุบัน (ชาญชัย มุสิกนิศากร และ สุพรรณี ตันติศรีสุข. 2528). ภาษีบํารุงทองที่เปนภาษีประจําป ผูมีหนาที่ตองยื่นรายการที่ดินเพื่อประเมินภาษีทุกปและจะตอง เสียภาษีที่พึงประเมินภายในเดือนเมษายน ของปนั้น ๆ โดยมีที่ดินบางประเภทที่ไดรับการยกเวนไมตองเสีย ภาษีบํารุงทองที่ เชน ที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินรวมทั้งพระราชวัง ที่ดินที่ใชเฉพาะการ พยาบาลสาธารณะ การศึกษาหรือการกุศล ที่ดินที่ใชในการรถไฟการประปา การไฟฟาหรือการทาเรือของ รัฐ หรือที่ใชเปนสนามบินของรัฐ ที่ดินที่ใชตอเนื่องกับโรงเรือนที่ตองเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน เปนตน (พระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. 2508) และที่ดินบางประเภทอยูในเกณฑที่ไดรับการลดหยอนตาม กฎหมาย โดยแปรตามเขตที่ตั้งของที่ดินซึ่งระดับการที่จะไดรับการยกเวนนี้จะกําหนดเป นตัวเลขเฉพาะ พื้นที่ ๆ ไป สําหรับกรณีที่ผูเสียภาษีมีที่ดินหลายแปลงตั้งอยูในจังหวัดเดียวกันตองเลือกเอาแปลงใดแปลง

738

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

หนึ่งสําหรับการลดหยอนเทานั้น แตเมื่อแปลงใดมีที่ดินไมครบขนาดตามเกณฑที่ไดรับการลดหยอน ก็มีสิทธิ์ เอาแปลงอื่นมาสมทบได (ณัชชา คงสมบัต.ิ 2551) การจัดระเบียบบริหารงานในองคการบริหารสวนตําบล ภายหลังจากที่มีการใชพระราชบัญญัติสภา ตําบลและองคการบริหารสวนตําบลมาได3 ป ประเทศไทยก็เกิดวิกฤติเศรษฐกิจอยางรุนแรงในป พ.ศ. 2540 สงผลใหเกิดการกูยืมจํานวนหลายลานบาท จากธนาคารโลก กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) ธนาคาร พัฒนาเอเซีย มิยาซาวา เปนตน ผลจากการกูยืมเงินดังกลาวทําใหตองมีการประหยัดงบประมาณแผนดินและมี การปรับเปลี่ยนโครงสรางใหมขององคการบริหารสวนตําบลโดยมีการยุบรวมกับองคการบริหารสวนตําบลที่มี พื้นที่ติดตอกันภายในเขตเดียวกัน (รัตนา บุญรัตน .2548) สําหรับโครงสรางการบริหารงานขององคการ บริหารสวนตําบลนั้น พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 ได กําหนดโครงสรางการบริหารขององคการบริหารสวนตําบลไวดังภาพที่ 2.6 (กระทรวงมหาดไทย กรมการ ปกครอง กองราชการสวนตําบล, 2543, หนา 79 - 81) ซึ่งการกําหนดโครงสรางของอบต. นั้นมีลักษณะคลาย กับการบริหารราชการแผนดิน ซึ่งใหฝายสภา อบต. ทําหนาที่เปนฝายอํานาจนิติบัญญัติ และคณะกรรมการ บริหาร อบต. ทําหนาที่เปนฝายบริหาร ทั้งนี้เพื่อจะให อบต. เปนหนวยบริหารราชการสวนทองถิ่นที่มีความ เขมแข็งและสามารถพึ่งพาตนเองได (อมร รักษาสัตย. 2528) วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาปญหาในการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ขององคการบริหารสวนตําบลเกะรอ อําเภอรา มัน จังหวัดยะลา 2. เพื่อศึกษาขอเสนอแนะในการแกไขปญหา และพัฒนาการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ขององคการ บริหารสวนตําบลเกะรอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา วิธีการวิจัย ประชากร กลุมประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ จํานวนทั้งสิ้น 38 คน ประกอบดวย ผูเกี่ยวของกับงาน ดานจัดเก็บภาษีขององคการบริหารสวนตําบลเกะรอ จํานวน 3 คน ประชาชนผูชําระภาษีบํารุงทองที่ใหกับ องคการบริหารสวนตําบลเกะรอ จํานวน 7 หมูบานๆ ละ 5 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย การศึกษาวิจัยเรื่อง “ปญ หาการจัดเก็บ ภาษีบํารุง ทองที่ขององคการบริห ารสวนตําบลเกะรอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา” เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย 1. แนวคําถามในการสัมภาษณแบบเจาะลึก เปนเครื่องมือที่ผูวิจัยสรางขึ้นมาเองโดยการศึกษา ประเด็นคําถามจากวัตถุประสงคของการศึกษา แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของที่ใชในการอธิบาย แนวคิด ทฤษฎีภาษีอากร และองคประกอบของภาษีอากรที่ดี โดยสรางเปนแนวคําถามใหมีความคลอบคลุมตาม กรอบแนวคิด และขอบเขตของการศึกษาวิจัย เนื้อหาของคําถามสามารถปรับไดตามลักษณะของผูให สัมภาษณ โดยอาศัยการตั้งคําถามที่มีความเขาใจงาย เปนคําถามแบบปลายเปด ไมมีลักษณะของคําถามนํา ซึ่งแนวคําถามทั้งหมดไดผานการตรวจสอบและผานการแกไขจากขอเสนอของอาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษ 2. สมุดบันทึกขนาดเล็ก สะดวกตอการพกพาในการเขาพื้นที่แตละครั้ง ผูวิจัยไดใชสมุดบันทึก เหตุการณ ในขณะการสัมภาษณ จากนั้นไดนําขอมูลมาทบทวนอยางละเอียดลึกซึ้งอีกครั้งโดยการขยาย Graduate School and Research / 15 May 2013

739


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความจากบทบันทึกยอที่ไดทําในพื้นที่นั้น การทําบันทึกอยางละเอียดนี้มีการดําเนินการอยางตอเนื่อง เพื่อ เปนการปองกันการหลงลืมเหตุการณและบรรยากาศที่เกิดขึ้นโดยผูวิจัยทําการบันทึกและจัดขอมูลออกเปน หมวดหมู เพื่อสะดวกในการตรวจสอบและวิเคราะหในขั้นตอไป การเก็บรวบรวมขอมูล 1. การเก็บรวบรวมขอมูลดานเอกสาร ผูวิจัยไดทําการศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูลดานเอกสาร จากแหลงขอมูลทั้งที่เปนตัวบุคคล และสิ่งพิมพตาง ๆ อาทิเชน พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 ระเบียบกฎหมายของภาษีบํารุงทองที่ แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2. การสัมภาษณแบบเจาะลึก (in - depth interview) เปนการพูดคุยกับกลุมตัวอยางเปน รายบุคคล (individual) แบบเจาะลึกเพื่อใหไดรายละเอียดของขอมูลตามแนวคําถาม โดยพยายามถามให ไดตรงประเด็นคําถามที่กําหนดไวในสภาพแวดลอมที่เปนสวนตัว ในบรรยากาศที่เปนกันเอง ไมมีพิธีรีตอง ไมเรงรัด เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองมีความนาเชื่อถือใหไดมากที่สุด ในการศึกษาครั้งนี้เปนการสัมภาษณผูให ขอมูลสําคัญดานการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ ตามแนวคําถามที่ผูวิจัยไดกําหนดไวกอนลวงหนา มีการจด บันทึกไวในแบบสัมภาษณ โดยผูวิจัยไดทําการขออนุญาตจากผูใหสัมภาษณ และตองไดรับอนุญาตกอนทุก ครั้งในการสัมภาษณเก็บขอมูล ผูวิจัยเขาพบผูใหการสัมภาษณ ในสถานที่ที่มีความเหมาะสมและสะดวกตอการพูดคุยในเรื่องที่เปน สวนตัว กอนที่จะเริ่มทําการสัมภาษณผูวิจัยไดย้ําถึงวัตถุป ระสงคของการพูดคุยกอนเสมอตลอดจนขอ อนุญาตสมาชิกกลุม ตัวอยางในการทําการบันทึกคําพูดคุย ระหวางมีการสัมภาษณ และเพื่อสรางบรรยากาศ ของการสัมภาษณและเพื่อเปนการสรางบรรยากาศของการสัมภาษณใหเปนกันเอง โดยผูวิจัยแบงขั้นตอน ของการสัมภาษณออกเปน 2 ขั้นตอน คือ ในขั้นตอนที่ 1 ผูวิจัยไดเขาประเด็นที่จะศึกษาคือปญหาในการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ขององคการ บริหารสวนตําบลเกะรอ จึง ไดขออนุญาตเขาพบผูเกี่ยวของดานการจัดเก็บภาษีเพื่อพูดคุยในฐานะเปน ผูบังคับบัญชาตามสายงาน ถึงปญหาในการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ขององคการบริหารสวนตําบลเกะรอ เพื่อใหไดรับทราบและทําความเขาใจถึงวัตถุประสงคของการวิจัยโดยผูวิจัยไดคัดเลือกผูใหขอมูลสําคัญตาม เงื่อนไขที่ไดกําหนดไว จากการพูดคุยกันอยางไมเปนทางการ และเปนการวางแนวทางในการสัมภาษณ ตาม ขอคําถามที่ไดเตรียมไวโดยใหเวลากับผูใหขอมูลสําคัญ เพื่อเตรียมขอมูลตอบขอคําถามใหมีความชั ดเจน ครอบคลุมกับปญหายิ่งขึ้นเนื่องจากการตอบคําถามตองใชความละเอียดลึกซึ้ง เพื่อเจาะลึกใหถึงแหลงที่มา ของปญหาทัศนคติ ขอเสนอแนะ เมื่อใหเวลาเปนการสมควรแลว ผูวิจัยจึงเขาสัมภาษณอยางเปนทางการ โดยมีการบันทึกขอมูลลงในสมุดบันทึก ตามขอเท็จจริงที่ผูใหขอมูลสําคัญ ไดคนพบ ในขั้นตอนที่ 2 ในเรื่องของปญหาในการชําระภาษีบํารุงทองที่ ของประชาชนผูชําระภาษีใหกับ องคการบริหารสวนตําบลเกะรอ ผูวิจัยไดเขาสูพื้นที่ที่ศึกษา โดยเขาพบประชาชนผูชําระภาษีที่มีที่ดินอยูใน เขตองคการบริหารสวนตําบลเกะรอ ในเบื้องตนผูวิจัยไดแนะนําตนถึงตําแหนงหนาที่การงาน และภาระกิจ หลัก โดยไดประชาสัมพันธการชําระภาษีใหประชาชนไดรับทราบ ถึงเงินภาษีที่ประชาชนไดชําระใหกับ องคก ารบริหารสวนตําบลเกะรอ วาจะยอนกลับสูประชาชนในรูป แบบใดบาง จึง เปนโอกาสที่ดีในการ แลกเปลี่ยนขอคิดเห็น และทัศนคติกบั ประชาชนเปนการสวนตัว สรางความคุนเคยเปนกันเอง โดยใชหลัก จิตวิทยาในการพูดคุยเพื่อจูงใจใหประชาชนมีทัศนคติที่ดีในการชําระภาษีใหองคการบริหารสวนตําบลเกะ รอดวยความเต็มใจ มีทัศนคติที่ดีมีความเขาใจในการชําระภาษีไดอยางถูกตอง นอกจากนี้ยังไดรับทราบ ปญหาในการชําระภาษีในดานตาง ๆ จากประชาชน เพื่อนํามาปรับปรุงแกไขในการบริหารการจัดเก็บภาษี 740

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ใหดียิ่งขึ้น ตอจากนั้น ผูวิจัยไดเขาประเด็นที่จะศึกษาตามแนวคําถามที่ไดเตรียมไว พรอมบันทึกขอมูลลงใน สมุดบันทึก ผลการวิจัย จากการใหขอมูลจากกลุมผูจัดทําเก็บภาษี พบวามีปญหาในการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ขององคการบริหารสวน ตําบลเกะรอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา มีปญหาที่ควรไดรับการพิจารณาแกไข ดังนี้ ดานบุคลากร 1.ขาดบุคลากรที่ชํานาญทางดานกฎหมาย 2.อัตรากําลังยังไมเพียงพอ บุคคลหนึ่งตองทํางานหลายหนาที่ 3.ขาดการอบรมกอนการปฏิบัตงิ านเพื่อใหเกิดมาตรฐานในการทํางาน 4.บุคลากรบางสวนยังไมยอมรับเทคโนโลยีใหมๆ 5.บุคลากรบางสวนยังขาดความขยันขันแข็งในการทํางาน 6.บุคลากรที่ปฏิบัติงานดานภาษีบางสวนยังไมมีความรูทั้งทางดานภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีปาย และภาษีบ 7.รุงทองที่ทําใหไมสามารถปฏิบัติงานทดแทนกันได 8.บุคลากรบางสวนยังขาดความสํานึกและความกระตือรือรนในการทํางาน 9.ปจจุบันไมไดมีการแยกหนาที่ทางดานการดําเนินการประเมินภาษีออกจากการดําเนินการดานกฎหมาย ทําให งานทางดานกฎหมายมีความลาชา ดานงบประมาณ 1. ไดรับการจัดสรรงบประมาณมานอย ไมเพียงพอตอการปฏิบัติงาน อาทิ ไมพอจายคาลวงเวลาในชวงมีงานเรง ไมมีงบประมาณเพียงพอในการซื้อวัสดุอุปกรณที่จําเปน 2. ขาดงบประมาณในการจางสํารวจขอมูลทางดานภาษี ดานวัสดุอุปกรณ 1. ระบบคอมพิวเตอร เปนรุนเกายังไมไดปรับปรุง ทําใหทํางานลาชาแกไขขอมูลไดยาก ประชาชนที่มาใชบริการ ตองเสียเวลารอนาน 2. รถตรวจงานไมเพียงพอ และมีสภาพเกามาก 3. โตะ เกาอี้ยังไมเพียงพอในการใชงาน บางตัวมีสภาพเกา จนไมสามารถใชงานได กลุมผู จัดทํ าเก็ บภาษีไดให แนวทางแกไ ข ในการแกป ญหาการจัดเก็ บภาษี บํารุงท องที่ ขององคการบริหารสวน ตําบลเกะรอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา ดังนี้ 1.ควรดําเนินการสรรหาจํานวนบุคลากรใหเพียงพอตอการปฏิบัติงาน 2.สรางจิตสํานึกที่ดีใหกับบุคลากรใหม มีการอบรมกอนการปฏิบัติงาน 3.มีการรายงานผลการปฏิบัติงาน มีการกําหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน 4.จัดทํางบประมาณในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ

5.จัดทําหนังสือแจงเตือนไปยังประชาชนที่ตองเสียภาษีอยางสม่ําเสมอ และทั่วถึง 6.แยกหนาที่ในดานการประเมินภาษีออกจากการดําเนินการดานกฎหมายอยางชัดเจน 7.จัดโซนหรือหองปฏิบัติงานดานแผนที่ภาษี พรอมทั้งนําระบบ GIS มาใชอยางจริงจัง 8.ปรับปรุงเครื่องคอมพิวเตอร และระบบคอมพิวเตอรใหดีกวานี้ กลุมผูจัดทําเก็บภาษีไดใหขอเสนอแนะในการแกปญหาการจัดเก็บภาษี บํารุงทองที่ขององคการ บริหารสวนตําบลเกะรอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา ดังนี้ 1.ควรมีการพัฒนาเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 2.พัฒนาระบบเครือขายอินเตอรเน็ตเพื่อใหประชาชนสามารถเขาถึงได 3.จัดทําวารสาร เอกสาร แผนพับ ใหมีปริมาณมากขึ้น Graduate School and Research / 15 May 2013

741


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

1.ควรปรับปรุงระบบคอมพิวเตอรและเพิ่มจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรใหเพียงพอตอการใชงาน 2.จัดหองปฏิบัติงานดานแผนที่ภาษีเปนการเฉพาะ 3.ควรมีการเชื่อมตอขอมูลไปยังสวนการงานตางๆ เพื่องายในการนําขอมูลตางๆ มาใช จากการใหขอมูลจากกลุมผูเสียภาษีพบวามีมปี ญหาในการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ขององคการบริหารสวนตําบล เกะรอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา มีปญหาที่ควรไดรับการพิจารณาแกไข ดังนี้ ปญหาในขั้นตอนกอนการชําระภาษี 1.ประชาชนทั่วไปจํานวนมากไมมีความรูทางดานภาษี 2.ประชาชนไมเขาใจในเรื่องที่มาของอัตราการประเมินภาษี 3. ประชาชนจํานวนมากไมเขาใจในหนาที่ที่ตองเสียภาษีบํารุงทองที่ และไมทราบวาตองเสียที่ไหน เมื่อไร ปญหาในขั้นตอนการยื่นชําระภาษี 1.อัตราภาษีที่ตองชําระคอนขางสูง 2.การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ยังมีความลาชา 3.ขอมูลการชําระภาษีไมไดมีการจัดเก็บไวในระบบคอมพิวเตอรทําใหการมายื่นชําระภาษีผูเสียภาษีตองกรอก แบบฟอรมซ้ําซึ่ง จะทําใหเกิดความลาชาและผิดพลาดได ในกรณีที่มีขอมูลจํานวนมาก 1.การใหบริการ ของเจาหนาที่ยังไมดี 2.ผูชําระภาษีไมทราบวาตองใชเอกสารอะไรบาง ทําใหตองเสียเวลาเดินทางมายื่นภาษีหลายครั้ง 3.การกรอกแบบฟอรมยื่นชําระภาษี ทําใหเสียเวลานาน กลุมผู เสียภาษีได ใหแนวทางแกไข ปญหาในการจัด เก็บภาษี บํารุงทองที่ขององค การบริหารสวนตํ าบลเกะรอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา โดยกลุมผูเสียภาษี ดังนี้ 1.ประชาสัมพันธใหประชาชนทราบถึงรายละเอียดที่สําคัญของภาษีบํารุงทองที่อาทิความสําคัญของภาษี ผูที่มี หนาที่ตองเสียภาษี ระยะเวลา สถานที่ที่ตองไปยื่น ชําระภาษี เปนตน 2.ออกหนังสือแจงใหประชาชนที่มีหนาที่ในการชําระภาษีไดทราบลวงหนา เพื่อใหประชาชนไดเตรียมตัวลวงหนา และ สามารถไปยื่นภาษีไดตามกําหนดเวลา 3.ประชาสัมพันธทําความเขาใจกับประชาชนผูเสียภาษีวา ภาษีที่เสียไปจะยอนกลับคืนมาที่เขาในรูปแบบใดบาง 4.พัฒนาคุณภาพในการใหบริการของเจาหนาที่ 5.เพิ่มความรวดเร็วในการใหบริการ 6.จัดบริการในดานสถานที่สําหรับใหประชาชนมายื่นภาษี และสถานที่จอดรถใหมีความสะดวกสบาย กลุมผูเสียภาษีไดใหขอเสนอแนะในการแกไขปญหาการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ขององคการบริหารสวนตําบลเกะ รอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา โดยกลุมผูเสียภาษี 1.การสรางแรงจูงใจโดยสิ่งจูงใจในรูปแบบตางๆ เชน การใหของที่ระลึกสําหรับผูชําระภาษีตามกําหนดชําระ เปน ตน 2.การใหขาวสารขอมูลที่ถูกตองครบถวนและทั่วถึง 3.การใหบริการที่มีคุณภาพ 4.การลดอัตราภาษีให สําหรับผูชําระภาษี ยื่นชําระภาษีตรงตามกําหนดเวลาอยางตอเนื่อง 5.การเพิ่มอัตราภาษีที่ผูชําระภาษีมายื่นชําระภาษีชากวากําหนด รวมทั้งการดําเนินมาตรการกฎหมายใน 6.จัดเจาหนาที่สําหรับดูแลและแกไขปญหาตางๆ ใหกับประชาชนในขณะที่มาติดตอยื่นชําระภาษีลําดับตอไป 7.จัดเจาหนาที่ออกไปทําการประชาสัมพันธและทําความเขาใจกับประชาชนที่ไมไ ดไปยื่นชําระภาษี เพื่อคนหา สาเหตุของการที่ประชาชนไมไปยื่นชําระภาษี

742

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สรุป จากการให ขอ มู ล ของกลุ ม ผู จั ด เก็บ ภาษีจ ะเห็ นได ว าองค ก ารบริ ห ารส วนตํ า บลเกะรอ ขาด ประสิทธิภาพในการบริหารจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ ซึ่งเปนปจจัยจูงใจใหผูเสียภาษีพยายามหลบหนีภาษีมาก ขึ้น ความยุงยากซับซอนของกฎหมายและระเบียบกอใหเกิดความยุงยากในการบังคับใชกฎหมายเพื่อการ ประเมิน จัดเก็บภาษี รวมทั้งการติดตามตรวจสอบ จึงเปนสาเหตุของการใชดุลยพินิจไปในทางทุจริต เจาหนาที่จัดเก็บภาษี ไมมีความรูดานกฎหมายและไมดําเนินการเรงรัดติดตามจนทําใหค ดีขาดอายุความ ประชาชนใชชองโหวของกฎหมายเปนเครื่องมือในการหลีกเลี่ยงภาษี สวนกลุมผูเสียภาษีนั่นคือประชาชนจะ พบวายังมีปญหาในเรื่องการไมมีความรูความเขาใจในเรื่องเกี่ยวกับภาษีบํารุงทองที่วาจะตองเสียอยางไร และเหตุใดจะตองเสีย คารายปคืออะไร อีกประการคือฐานะทางเศรษฐกิจ เมื่อประชาชนมีรายไดไมพอแก การครองชีพ การหลีกเลี่ยงภาษียอมมีมาก และประชาชนยังเห็นวาความยุติธรรมในการเสียภาษียังไมเปน ธรรม เชน ผูมีรายไดมากมีอิทธิพลยังเสียภาษีนอย วิจารณ จากผลการศึกษา จะเห็นไดวาองคการบริหารสวนตําบลเกะรอ ขาดประสิทธิภาพในการบริหาร จัดเก็บ ภาษีบํารุงทองที่ดังนั้นองคก ารบริห ารสวนตําบลเกะรอควรดําเนินการสรรหาจํานวนบุคลากรให เพียงพอตอการปฏิบัติงาน สรางจิตสํานึกที่ดีใหกับบุคลากรใหม มีการอบรมกอนการปฏิบัติงาน มีการ รายงานผลการปฏิบัติงาน มีการกําหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติง าน และไดใหขอเสนอแนะในการแกปญหา การจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ควรมีการพัฒนาเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร พัฒนาระบบ เครือขายอินเตอรเน็ตเพื่อใหประชาชนสามารถเขาถึงได สวน กลุมผูเสียภาษีไดใหแนวทางแกไข ปญหาใน การจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ในเรื่องการ ประชาสัมพันธใหประชาชนทราบถึงรายละเอียดที่สําคัญของภาษี บํารุง ทองที่รวมถึงการออกหนังสือแจง ใหป ระชาชนที่มีหนาที่ในการชําระภาษีไดท ราบลวงหนา เพื่อให ประชาชนไดเตรียมตัวลวงหนา และ สามารถไปยื่นภาษีไดตามกําหนดเวลา โดยไดใหขอเสนอแนะในเรื่อง การสรางแรงจูงใจโดยสิ่งจูงใจในรูปแบบตางๆ เชน การใหของที่ระลึกสําหรับผูชําระภาษีตามกําหนดชําระ ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. จากผลการศึกษาที่พบวา องคการบริหารสวนตําบลมีปญหาทางดานการขาดประสิทธิภาพใน การบริหารการจัดเก็บภาษี ทําใหองคการบริหารสวนตําบลไมสามารถจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ไดอยางเต็ม เม็ดเต็มหนวยดังนั้น องคการบริหารสวนตําบลจึงควรมีการพัฒนาประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษี โดยเริ่ม จากพัฒนาคุณภาพบุคลากร มีเปาหมายเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการทํางาน และพฤติกรรมการทํางาน และ ควรกระทําอยางตอเนื่ององคประกอบของการพัฒนาบุคลากร จะประกอบดวย การฝกอบรม การจัดสรร งานหรือการมอบหมายหนาที่ การประเมินผล การใหรางวัล ปรับเปลี่ยนวิธีการทํางานแบบเดิม ๆ และการ วางแผนสืบทอดตําแหนง 2. จากผลการศึกษาที่พบวา ประชาชนยังขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมายภาษีบํารุงทองที่ ดังนั้น เพื่อประโยชนในการจัดเก็บภาษี องคการบริหารสวนตําบลจึงควรพัฒนาการศึกษาแกประชาชนใหมี ความรูความเขาใจอยางดี ในเรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตย เพื่อใหทราบวาการเก็บภาษีเปนสวน สําคัญอยางยิ่งสําหรับการปกครองแบบนี้ เพราะการปกครองแบบประชาธิปไตยใหสิทธิและเสรีภาพแก Graduate School and Research / 15 May 2013

743


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ประชาชนอยางกวางขวาง โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานประกอบธุรกิจและการลงทุนรวมทั้งการใหการศึกษา เกี่ยวกับภาษีอากรตาง ๆ และวิธีการในการเสียภาษีอากรแตละประเภท และเพื่อความสมัครใจในการเสีย ภาษี ควรพัฒนาจิตใจของประชาชนใหมีคุณธรรม และจริยธรรมที่ดีโ ดยการสรางจิตสํานึก ที่ดี ใหกับ ประชาชน ตลอดจนเจาหนาที่ผูมีหนาทีจัดเก็บภาษี 3. จากผลการศึกษาที่พบวาประชาชน ประสบปญหาในเรื่องความไมเขาใจในที่มาของอัตราการ ประเมินภาษี ดังนั้นเพื่อประโยชนในการจัดเก็บภาษีจึงควรพัฒนากฎหมายและระเบียบตาง ๆ ใหเปนธรรม และเอื้ออํานวยใหเ กิดขึ้น ซึ่ง ความกาวหนาทางเศรษฐกิจ ของประเทศและความยุติธรรมทางสัง คม โดยเฉพาะอยางยิ่งกฎหมายภาษีอากรจะตองมีลักษณะเปนธรรมสงเสริมใหประเทศชาติเจริญกาวหนา ทั้ง ทางเศรษฐกิจ และสังคม นอกจากนั้นกฎหมายภาษีอากรจะตองชัดเจน ไมคลุมเครือ และกอใหเกิดความมี ประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีอากรโดยตองมีความสะดวก และประหยัดในการเสียภาษีอากร สําหรับ ประชาชนทั่วไป ขอเสนอแนะเชิงปฏิบัติ จากผลการศึกษาพบวา บุคลากรขาดจิตสํานึกและความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานดังนั้น องคการ บริหารสวนตําบลตองมีการพัฒนาประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการทํางาน โดย 1. การกําหนดตัวชี้วัดประสิทธิภาพการทํางาน (Key Performance Indicators : KPI)ภายใน หนวยงาน เชน กําหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานในดานความพึงพอใจของผูรับบริการเปาหมายการจัดเก็บ รายไดที่เพิ่มขึ้น คุณภาพการปฏิบัติงานการเรียนรูและการพัฒนาตนเอง 2. มาตรการพัฒนาระบบงาน อุปกรณและเทคโนโลยี ในปจจุบันนี้องคการบริหารสวนตําบลเกะรอ ใชระบบคอมพิวเตอรในการบันทึกขอมูล และนําระบบสารสนเทศภูมิศาสตร(Geographic Information System : GIS) มาใชในการปฏิบัติงานใหเกิดประสิทธิผลใหมากขึ้นเพื่อนํามาใชพัฒนาระบบการบริหารงาน จัดเก็บรายไดใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยมุงเนนใหมีการเชื่อมโยงฐานขอมูลระหวางงานแผนที่ภาษี 3. มาตรการดานการใหบริการทีดีแกผูเสียภาษี จัดใหมีมุมที่พักสําหรับผูมาติดตอราชการปรับปรุง สภาพหองทํางานใหกวางขวางมีหองปฏิบัติการแผนที่ภาษีที่ทันสมัย เพื่อรองรับการใหบริการขอมูลดานการ ชําระภาษีใหกับประชาชน ใหมีการอยางตอเนื่องในเวลาพักเที่ยงและในวันหยุด ขอเสนอแนะเชิงวิชาการ 1. ในการศึกษาครั้งนี้ เนื่องจากเปนการศึกษาขอมูลเชิงคุณภาพ จึงไดขอมูลในเชิงลึกดังนั้น เพื่อ ความนาเชื่อถือใหกับขอมูล จึงควรเพิ่มเติมการศึกษาในเชิงปริมาณ 2. ในการศึกษาครั้งนี้เ ปนเพียงจุดเริ่ม ตนในการบริหารงานดานการจัดเก็บภาษีใหกับ องคการ บริหารสวนตําบลเกะรอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา มีระยะเวลาในการศึกษาวิจัยเพียง 3 เดือน การศึกษา จึงไมสามารถศึกษาครอบคลุมทุกๆ ดานได ผูที่สนใจศึกษาในอนาคต ควรศึกษาเปรียบเทียบระหวาง เทศบาลตําบลที่มีขนาด และพื้นที่ใกลเคียงกัน เพื่อเปรียบเทียบไดอยางชัดเจนยิ่งขึ้น

744

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เอกสารอางอิง เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม. 2541. การคลังวา ดวยการจัดสรรและการกระจาย. (พิมพครั้ง ที่ 6). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ไกรยุทธ ธีรยาคีนันท. 2534. แนวการจัดเก็บภาษีจากรถยนต : กรอบวิเคราะห และขอวิจารณการ ลด ภาษีรถยนต. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ขจร สาธุพันธ. 2513. การภาษีอากร. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ. ชาญชัย มุสิกนิศากร และ สุพรรณี ตันติศรีสุข. 2528. การบริหารการจัดเก็บภาษีอากร เอกสารการสอน ชุดวิชา การคลังและงบประมาณ. นนทบุรี: สํานักพิมพ มหาวิวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ณัชชา คงสมบัติ. 2551 .ปญหาในการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ขององคการบริหารสวนตําบลในเขต จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ มหาวิทยาลัยขอนแกน รัตนา บุญรัตน. 2548 .การศึกษาประสิทธิภาพ ปญหาและอุปสรรคของระบบกํากับ ดูแลผูเสียภาษีโดย ใกลชิดเปนรายผูประกอบการและใหเปนปจจุบัน ของสํา นักงานสรรพกร พื้นที่ลํา ปาง. วิทยานิพนธ มหาวิทยาลัยชียงใหม อมร รัก ษาสัตย . 2528. การปรับปรุ งระบบราชการเพื่อให ปฏิบัติ ภารกิ จไดต ามเป า หมายและ วัตถุประสงคของชาติเอกสารการวิจัยสวนบุคคลในลักษณะวิชาการเมือง. ม.ป.ท. อรัญ ธรรมโน. 2518. การคลัง. พิมพครัง้ ที่ 4. กรุงเทพฯ: กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง.

Graduate School and Research / 15 May 2013

745



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

แนวปฏิบัติในการสงเสริมอาชีพชุมชนขององคการบริหารสวน ตําบลบางเกาอําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี Practict Guidelines For Community Occupational Promotion Of Bangkao Subdistrict Administrative Organization, Saiburi district, Pattani province สมาน ยูซง นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน

บทคัดยอ การศึกษาวิจัยเรื่อง แนวปฏิบัติในการสงเสริมอาชีพชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี โดยมีวัตถุประสงคของการวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาบทบาทหนาที่ขององคการ บริหารสวนตําบลในการทํางานขับเคลื่อนสงเสริมความสําเร็จของกลุมอาชีพชุมชนตําบลบางเกา อําเภอ สายบุรี จังหวัดปตตานี 2) เพื่อศึกษาวิเคราะหปจจัยสงเสริมความสําเร็จหรือปจจัยที่เปนอุปสรรคในการ ดําเนินงานกลุมอาชีพชุมชนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิง คุณภาพประชากรกลุมเปาหมายคือ ผูบริหารและเจาหนาที่องคการบริหารสวนตําบล ไดแก รองนายก องคการบริหารสวนตําบล ปลัดองคการบริหารสวนตําบล นักพัฒนาชุมชน พัฒนากรประจําตําบล และ กลุมอาชีพทําบูดู เครื่องมือวิจัยใชสัมภาษณเจาะจง ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพดวย ตนเองและวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพในเชิงพรรณนาวิเคราะห ตามวัตถุประสงคของการวิจัยในสวนของ องคการบริหารสวนตําบลและการดําเนินงานของกลุมอาชีพ เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงค โดยสรุป ผลการวิจัยดังนี้ องคการบริหารสวนตําบลนั้นมีภารกิจสําคัญในการสนับสนุนใหชาวบานรวมตัวกันจัดตั้งกลุมตาง ๆ ขึ้น เพื่อสรางประโยชนใหแกตนเอง ครอบครัวและชุมชนเปนหลักของการบริหารทองถิ่นองคการบริหาร สวนตําบลมีการจัดทําประชาคมกลุมอาชีพเพื่อนําสิ่งที่ชาวบานนําเสนอเขาแผนพัฒนา 3 ป และองคการ บริหารสวนตําบลมีการสนับสนุนงบประมาณ และนอกจากงบประมาณทองถิ่นทีใหการสนับสนุนแลว องคการบริหารสวนตําบลยังคงตองใชวิธีจูงใจตาง ๆ เชน ใหการฝกอบรมจากหนวยงานราชการและเอกชน การจัดหาแหลง วัตถุดิบ และเครื่องมือ เครื่องใช การไปทัศนศึก ษาในชุมชนหรือกลุมอาชีพที่ป ระสบ ความสําเร็จแลว นอกจากนี้ยังตองจัดหาแหลงจําหนายและการประชาสัมพันธใหกับกลุมอาชีพ นอกจากนี้ องคการบริหารสวนตําบลบางเกา ไดจัดใหมีการฝกอบรมอาชีพตาง ๆ ภายในตําบล โดยมีการเชิญ วิทยากรที่มีความรูมีประสบการณในเรื่องอาชีพนั้น ๆ มาใหความรูในการดําเนินการ เชน กลุมน้ําบูดู กลุม ผาบาติก กลุมเรือกอและและกลุมขาวเกรียบ ซึ่งเมื่อทําการฝกอบรมไปแลวก็จะจัดหาวัสดุ หรืออุปกรณ ที่จําเปนตองใชในการประกอบอาชีพ เพื่อนําไปประกอบอาชีพตามที่ไดรับการฝกอบรม เพื่อเพิ่มรายได ใหแกตนเอง หรือกลุม อาชีพที่ตนเองเป นสมาชิก ตอไป โดยองคก ารบริห ารสวนตําบลบางเกาใหก าร สนับสนุนในโครงการตาง ๆ คําสําคัญ: ชุมชน, อาชีพ, สงเสริม

Graduate School and Research / 15 May 2013

747


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT A Studies of practice in promoting professional community of Bangkau sub district administrative organization Saiburi district Pattani Province. 1. The objective of research educational role of local administration in the to promote the success of the professional community of Bangkau sub district . 2. Factor analysis to study the factor that promote or hinder success in the band’s career of Bangkau sub district. This research is qualitative research the target population is the executive and administrative officer of sub district, including Vice president of administrative organization, permanent sub district coef. Development, development district and professional groups of Budo productive. Research tools, use the specific interview. Researcher continue to collect qualitative information manually, qualitative information analysis for commercial purpose of the description of the research of the administration and operation of professional groups to active the objective by the conclusion as follows. The administration has an important mission in order to encourage the villagers to gather various groups organized to create the sentence itself. Families and communities as well as local management administration organize professional groups, community to bring what the villagers offered to 3 years development plan, and the administration has to support the budget, and the local budget to support and continue to Tambon administrative organization use various incentive such as the training of government agencies and private, source of raw material and equipment field trips community or professional group successful, you will also need to supply public relations and professional group. In addition to administration instead to provide various vocational training, with the district with an invitation to train who have knowledge of or experience in the professional, knowledge in action, such as the training or supply or equipment that are requied in the occupation to occupation by training to boost revenue, with a manual or professional group who ourselves as members Bangkou administration, organization will providing support in various projects. Key words: Community Occupational Promotion

748

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความเปนมา และความสําคัญของปญหา องคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนองคกรที่มีหนาที่ในการดูแลและรับผิดชอบในการพัฒนาทองถิ่น โดยลั ก ษณะสําคั ญ ประการหนึ่ง ขององคก รปกครองส วนทอ งถิ่น ไดแ ก การมีค วามเปนอิ ส ระในการ ดําเนินงานดานตาง ๆ เชน การกําหนดนโยบายการบริหารงานบุคคล การบริหารงานการเงิน การคลังและ งบประมาณเพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถดําเนินการและจัดบริการสาธารณะตาง ๆ ไดอยางมี ประสิทธิภาพจึงไดมีการถายโอนภารกิจในการการจัดบริการขององคกรปกครองสวนทองถิ่นอยางตอเนื่อง ทั้ง นี้ก ระบวนการหนึ่ง ซึ่ง มีความสําคัญ และจําเปนอยางยิ่ง ไดแก การบริห ารงานพัส ดุ เนื่องจากใน กระบวนการบริห ารงานพัสดุจะเปนกระบวนการที่ใหการจัดบริการสาธารณะ และการดําเนินงานของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีประสิทธิภาพ ประกอบกับภายใตกระบวนการดําเนินงานขององคกรปกครอง สวนทองถิ่นในปจจุบันจะตองเนนกระบวนการทํางานและการบริหารงานที่มีความโปรงใส รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดใหความสําคัญกับการกระจายอํานาจการปกครองสวนทองถิ่น โดย ไดกําหนดไวในหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ มาตรา 78 กําหนดใหรัฐตองกระจายอํานาจใหทองถิ่น พึ่งตนเอง และตัดสินใจในกิจการของทองถิ่นไดเองพัฒนาเศรษฐกิจทองถิ่น และระบบสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการ ตลอดทั้งโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศในทองถิ่นใหทั่วถึงและเทาเทียมกันทั่วประเทศ องคการบริหารสวนตําบลเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีอํานาจหนาที่สามารถสงเสริมอาชีพ ของประชาชนในท องถิ่ นไม วา โดยทางตรงหรื อ ทางอ อ มได โดยเฉพาะในด า นการสนับ สนุน ใหเ กิ ด ประสิทธิภาพดานการผลิต การตลาด การบริหารจัดการ และการสนับสนุนดานเงินทุน รวมทั้งมีบทบาท หนาที่ในการประสานงาน ใหความรวมมือ สนับสนุนชวยเหลือองคกรตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนรวมทั้ง องคกรชุมชนในการพัฒนาทองถิ่นของตนเอง และยังมีอํานาจหนาที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะ เพื่อ ประโยชนของประชาชนในทองถิ่นของตนเอง อาทิการสงเสริมการฝกและการประกอบอาชีพ เปนตน องคการบริหารสวนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี ไดตระหนักถึงความสําคัญที่ตองพัฒนา คุณภาพชีวิตความเปนอยูของประชาชนในพื้นที่ใหมีความเปนอยูที่ดี ใหพอมีพอกินอยางเพียงพอตามแนว ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดจัดทําโครงการสงเสริมอาชีพชุมชน โดยเฉพาะกลุมเกษตร เนื่องจากตําบลบางเกาเปนพื้นที่ของกลุมเกษตรกรและทําการประมงเปนสวนใหญ องคการบริหารสวนตําบลจึงใหการสนับสนุนทั้งในดานการฝกอบรมใหความรู การศึกษาดูงาน การหาวัสดุ อุปกรณ และดานการลงทุนในการผลิต ใหกับชุมชน ซึ่งกลุมอาชีพในตําบลบางเกาประกอบดวย 4 กลุม คือ 1 เรือกอและจําลอง 2. ผลิตภัณฑผาบาติก 3. ขาวเกรียบ 4. การทําน้ําบูดู วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษากระบวนการดําเนินงานของกลุมอาชีพชุมชนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัด ปตตานี 2. เพื่อศึกษาปจจัยสงเสริมความสําเร็จหรือปจจัยที่เปนอุปสรรคในการดําเนินงานของกลุมอาชีพ ชุมชนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี 3. เพื่ อศึ ก ษาบทบาทหน า ที่ข ององค ก ารบริ ห ารสว นตํา บลในการทํ างานขั บ เคลื่อ นส ง เสริ ม ความสําเร็จของกลุมอาชีพชุมชน ตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี

Graduate School and Research / 15 May 2013

749


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

จากกลุมตัวอยาง 1. ผูบริหารองคการบริหารสวนตําบลบางเกา ไดแก รองนายกองคการบริหารสวนตําบล 2. กลุมอาชีพ จํานวน 4 กลุม ไดแก กลุมน้ําบูดู กลุมผาบาติก กลุมเรือกอและจําลอง และกลุมขาวเกรียบ จํานวน 4คน 3. เจาหนาที่องคการบริหารสวนตําบลบางเกา ไดแก ปลัดองคการบริหารสวนตําบล นักพัฒนา ชุมชน จํานวน 2 คน 4. กลุมผูที่เกี่ยวของ ไดแก พัฒนากรประจําตําบล 1 คน วิธีการดําเนินการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษารวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพเกี่ยวกับกระบวนการดําเนินงาน ของ กลุมอาชีพ ปจจัยสงเสริมและเปนอุปสรรค ตลอดจนบทบาทขององคการบริหารสวนตําบลในการสงเสริม สนับสนุนกลุมอาชีพน้ําบูดู ในองคการบริหารสวนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี โดยการ เนนศึกษาบริบททางสังคมปรากฏการณของการสงเสริมอาชีพชุมชน การสัมภาษณบุคคลที่เกี่ยวของการ สังเกต และนําขอมูลมาวิเคราะหเชิงพรรณนาตามสภาพที่เปนจริง เพื่อหาทางแกปญหา 1. การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) เปนการคนควา เก็บรวบรวมขอมูลทั่วไปจาก ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ ตําราทางวิชาการ วารสารเอกสาร พระราชบัญญัติ ระเบียบตาง ๆ ที่เกี่ยวของและ การสืบคนทาง Internet ซึ่งเปนขอมูลที่เกี่ยวของกับแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับแนว ปฏิบัติที่ดีในการสงเสริมกลุมอาชีพ 2. เก็บ ขอมูลจากการสัม ภาษณ (Interview) เปนการศึกษาโดยใชวิธีสัมภาษณผูใหขอมูล หลัก บุคคลที่เกี่ยวของ ผูศึกษาใชแบบสัมภาษณดวยตนเองและจดบันทึกขอมูลตามความที่ไดสัมภาษณซึ่งเปน แบบสัมภาษณแบบปลายเปด เปนเครื่องมือในการรวบรวมขอมูล และนําขอมูลมาวิเคราะหเชิงพรรณนา ตามสภาพที่เปนจริง 3. การสังเกตและประสบการณของผูวิจัยซึ่งเปนบุคคลและผูบริหารในพื้นที่ และมีบทบาทสําคัญใน การพัฒนาสงเสริมกลุมอาชีพ ผลการศึกษา ในบทนี้เปนการนําเสนอผลการวิจัยเรื่อง แนวปฏิบัติที่ดีในการสงเสริมอาชีพชุมชนขององคบริหาร สวนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี โดยผูวิจัยไดนําเสนอใหสอดคลองกับวัตถุประสงค ดังนี้ 1. เพื่ อศึก ษาบทบาทหน าที่ข ององค ก ารบริห ารส วนตํ าบลในการทํางานขั บ เคลื่อนสง เสริ ม ความสําเร็จของกลุมอาชีพชุมชนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี 2. เพื่อศึกษาวิเคราะหปจจัยสงเสริมความสําเร็จหรือปจจัยที่เปนอุปสรรคในการดําเนินงานกลุม อาชีพชุมชนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี ผูศึกษาไดรวบรวมขอมูลดวยการสัมภาษณบุคคลจําเพาะเจาะจง โดยแบงแบบสัมภาษณเปน 2 สวน สวนที่ 1 สําหรับผูบริหารและเจาหนาที่องคการบริหารสวนตําบล ไดแก รองนายกองคการบริหาร สวนตําบล ปลัดองคการบริหารสวนตําบล หัวหนาสํานักปลัด เปนจํานวน 3 คน สวนที่ 2 สําหรับ กลุมอาชีพจํานวน 6 คน รวมเปน 9 คน ซึ่งผูวิจัยไดวิเคราะหขอมูลตามวัตถุประสงคของการวิจัยและ นําเสนอผลการวิจัย ดังนี้ 750

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

1. บทบาทหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบลตอกลุมอาชีพชุมชน จากการเก็บรวบรวมขอมูลดวยการสัมภาษณเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบล ตอกลุมอาชีพชุมชนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี จากผูใหขอมูลหลักมีดังนี้ ผูบริหารและ เจาหนาที่องคการบริหารสวนตําบล ไดแก รองนายกองคการบริหารสวนตําบล ปลัดองคการบริหารสวน ตําบล นักพัฒนาชุมชน พัฒนากรประจําตําบล เปนจํานวน 4 คน ผลการศึกษาปรากฏดังนี้ 1.1 การสงเสริมการมีสวนรวมของสมาชิกกลุมอาชีพ ผูใหสัมภาษณมีความเห็นสอดคลองกันวา อบต. มีการสงเสริมการมีสวนรวมของสมาชิก โดยการ จัดตั้งเวทีประชาคม เพื่อใหสมาชิกกลุมอาชีพไดมีสวนรวมในการจัดทําแผนประจําปและแผนพัฒนา 3 ป รวมถึงการกลั่นกรองขอมูล ที่ไดม าบรรจุลงในแผน อบต. ซึ่งการดําเนินการดัง กลาว ผูใหสัมภาษณ บางสวนใหขอมูลวามีปญหาและอุปสรรค ในเรื่องของการประชาสัมพันธการเปดพื้นที่การมีสวนรวมการ จัดทําแผน ใหแกสมาชิกกลุมอาชีพอยางทั่วถึง สงผลใหจํานวนสมาชิกกลุมอาชีพที่เขามามีสวนรวม ใน เรื่องตาง ๆ มีจํานวนคอนขางนอย ทั้งนี้ไดมีขอเสนอแนะใหเพิ่มเติมการประชาสัมพันธ ทั้งในเรื่องของการ จัดเวทีประชาคม รวมถึงประโยชนที่ไดรับจากการเขามามีสวนในการแสดงความคิดเห็น หรือรับทราบ ความเห็นจากการเขารวมเวทีประชาคมในแตละครั้ง 1.2 การจัดสรรงบประมาณและปจจัยการผลิตใหแกกลุมอาชีพ ผูใหสัมภาษณมีความเห็นสอดคลองกันวา อบต. มีการจัดสรรงบประมาณใหแกกลุมอาชีพตั้งแตขั้น การตั้งของบประมาณ และการดําเนินการจัดสรรภายหลังการอนุมัติงบฯ และยังพบอีกวาความไมเพียงพอ ของงบประมาณที่ไดรับ เปนปญหาที่ผูสัมภาษณมีความเห็นที่สอดคลองกัน ซึ่งปญหาดังกลาวสงผลให งบประมาณที่จัดสรรให ไมเปนไปตามความตองการของกลุมสมาชิกอาชีพทั้งนี้ผูใหสัมภาษณบางสวนให ขอเสนอแนะวาควรมีก ารจัดลําดับ ความสําคัญของความตองการในการใชจายงบประมาณเพื่อใชเ ปน แนวทางในการจัดสรรงบประมาณภายใตสถานการณดัง กลาว และพยายามปรับ ปรุงขอมูล คําตั้ง ขอ งบประมาณเพื่อไดรับงบประมาณเพิ่มเติมและใกลเคียงกับความตองการใชจายงบประมาณใหไดมากที่สุด 1.3 การสงเสริมความรูแกสมาชิกกลุมอาชีพ ขอมูลที่ไดรับจากการสัมภาษณ มีรายละเอียดที่สอดคลองกันในเรื่องของการสงเสริมความรูแก สมาชิกกลุมอาชีพวา อบต. มีการดําเนินการดังกลาว โดยการจัดการการอบรมโดยเชิญวิทยากรทั้งภาครัฐ และเอกชนมาใหความรูในเรื่องการแนวทางการผลิต และการบริห ารจัดการนอกจากนี้ผูใหสัมภาษณ บางสวนใหขอมูลวา อบต. ไดมีการนําสมาชิกกลุมอาชีพบางสวนไปดูงานกลุมอาชีพในตางจังหวัดที่ประสบ ความสํา เร็จ ในการดําเนิ นการดว ยเชนกัน ในสว นของอุป สรรคที่พ บจากการดํา เนิน การดัง กลาว ผู สัมภาษณใหความเห็นที่สอดคลองเชนเดียวกันวา งบประมาณสนับสนุนการดําเนินการยังมีไมเพียงพอ ทั้ง ในเรื่ องของค าตอบแทนวิท ยากร และการจั ดให ส มาชิ ก ไปดูง านที่ก ลุม อาชีพ ในต างจั ง หวั ดที่ป ระสบ ความสําเร็จ จึง เสนอแนะใหมีการจัดทํางบประมาณในสวนการส ง เสริม ความรูแกส มาชิก กลุม อาชีพ โดยเฉพาะ เพื่อใหเพียงพอตอการดําเนินการ 1.4 การติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของกลุมอาชีพ ผูใหสัมภาษณมีความเห็นสอดคลองกันวา อบต. มีการติดตามประเมินผล โดยการลงไปพบปะ กลุมอาชีพตามหมูบานและสอบถามการดําเนินงานเปนระยะ ๆ ตั้งแตกระบวนการผลิตจนสิ้นสุดของการ ดําเนินงาน ดําเนินงานบางสวนใหความเห็นวา อบต. ยังขาดการติดตามประเมินผลการดําเนินงานของ กลุม และบางสวนใหความเปนวากลุมอาชีพยังขาดการใหความรวมมือกับเจาหนาที่ในการใหขอมูล ทั้งนี้ Graduate School and Research / 15 May 2013

751


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ผูใหสัมภาษณบางสวนใหขอเสนอแนะวาควรมีการจัดทําแผนติดตามที่เปนระบบและรายงานขอมูลใหกับ ผูบังคับบัญชา เพื่อนําเปนขอมูลในการแกปญหาในคราวตอไป 1.5 การสรางเครือขายและประสานความรวมมือ ผูใหสัมภาษณมีความเห็นสอดคลองกันวา อบต. มีการสรางเครือขายโดยมีการประสานกับผูนํา ตําบล เชน กํ านัน ผูใหญบา น รวมทั้ง องค ก รเอกชน และหนวยงานของรัฐ ที่ใหก ารสนับ สนุนการ ดําเนินงานของกลุมอาชีพ ในดานปญหาพบวายังไมมีรูปแบบของคณะกรรมการเครือขายที่ชัดเจน และไม มีสถานที่สําหรับศูนยเครือขายในระดับตําบล ทั้งนี้ผูใหสัมภาษณบางสวนใหขอเสนอแนะวาควรมีการจัดตั้ง ศูนยเครือขายอาชีพอยางเปนทางการมีคณะกรรมการที่คอยจัดระบบการบริหารงานที่ชัดเจน 1.6 การสงเสริมความสัมพันธของสมาชิกกลุมอาชีพ ผูใหสัมภาษณมีความเห็นสอดคลองกันวา อบต. มีการสงเสริมสรางความสัมพันธโดยมีการกิจกรรม ตาง ๆโดยใชกลุมอาชีพในพื้นที่เขารวมทํากิจกรรม มีการจัดประชุมเปนครั้งคราว และหนุนกิจกรรมนอก สถานที่ ในสวนของปญหาพบวาสวนใหญแลวผูใหสัมภาษณไมมีปญหาในดานนี้ ผูใหสัมภาษณบางสวนให ขอเสนอแนะวาควรมีการจัดกิจกรรมสัญจรนอกพื้นที่ ประชุมเครือขายอยางนอยเดือนละ 2 ครั้ง ผูใหสัมภาษณบางสวนใหความเห็นวา เปนผูริเริ่มในการพัฒนาเครื่องหมายมาตรฐานของสินคา และพัฒนาบรรจุภัณฑและผลิตภัณฑใหมจนเปนที่ยอมรับ บางสวนเปนผูสืบทอดในการจัดทําผลิตภัณฑให ชุมชนมีรายไดโดยเริ่มสาธิตและจัดตั้งกลุมเล็ก ๆ ขึ้นมาเพื่อใหคนในชุมชนเริ่มรูมากขึ้น ผูใหสัมภาษณบาง คนรวมกันกอตั้งกลุมอาชีพขึ้นมาเพื่อใหคนชุมชนมีรายไดจนถึงปจจุบันนี้ และเปนที่รูจักอยางแพรหลาย ผูใหสัมภาษณใหความเห็นวา โดยสวนมากก็พยายามชวยเหลือตนเองอยูแลว เชนเรื่องทักษะใน แตละกลุมอาชีพ ประธานกลุมพยายามสอนใหสมาชิกกลุมทําเปนทุกคน และสมาชิกกลุมที่มีประสบการณ ก็ชวยสอนดวย ทางแตละกลุมก็จะพยายามปอนงานใหมีงานทํา ผูใหสัมภาษณบางสวนใหความเห็นวาบาง กลุม เชน กลุม ขาวเกรียบก็ยัง ตองมีการชวยเหลือตนเองอยู ไมวาดานการผลิต ดานการตลาดและการ ออกแบบเพื่อใหเปนที่รูจักและมีรสชาติที่อรอยตางกับที่อื่น ๆ ผูใหสัมภาษณมีความเห็นสอดคลองกันวา ไดรับความชวยเหลือจากเพื่อนรวมงานเปนอยางดี โดย มีการแนะนําดานการผลิต การตลาด การออกแบบ เปนตน 2.1.2 ลักษณะกลุมอาชีพชุมชนตํา บลบางเกา ที่ประสบความสํา เร็จหรือเกิดอุปสรรค มี รายละเอียดดังนี้ ผูใหขอมูล หลัก มีความคิดเห็นตอผลกําไรจากการจําหนายสินคาวาสามารถนําเงินมาปนผลได และสมาชิกมีการรวมกลุม การแบงงานกันทําและมีขอตกลงรวมกันสรางรายได แลวนําผลกําไรมาเปนเงิน ปนผล และยังมองเห็นวาผลกําไรที่จําหนายมาเปนกําไรมาใชเปนเงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงานกลุมให กลุมสามารถที่จะพัฒนาตอไป และบางสวนมีความคิดเห็นวา ในดานการผลิตมีวัตถุดิบเพียงพอตอการผลิต สินคา โดยไมตองสั่งซื้อจากภายนอก หากมีบางก็ไมเยอะมีวัสดุอุปกรณ เครื่องใชพรอมสําหรับการผลิต สินคา และอบต. มีการฝกอบรม และฝกทัก ษะอาชีพใหกับสมาชิกกลุม โดยอบต. จัดฝก อบรมใหกับ สมาชิกและแนะนําวิธีการดําเนินงานใหงานประสบผลสําเร็จไดอยาง และมีการสงกลุมอาชีพเรียนรูนอก สถานที่ เชน ทัศนศึก ษาดูง านตางจังหวัด และอบต. มีการสงเสริม ใหส มาชิก ไดรับขอมูลขาวสารทาง วิชาการในดานอาชีพเปนอยางดีและยังมีความคิดเห็นวา กลุมมีการพัฒนาคุณภาพสินคา โดยบรรจุใน รูปแบบตาง ๆ เชน ทําในรูปแบบแทง รูปแบบขวดเล็กชนิดพาพาสะดวก ทางกลุมมีความคิดเห็นวา กลุมมี

752

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

กิจกรรมเพื่อสรางความสามัคคีในกลุมเปนอยางดี โดยการจัดเลี้ยงสมาชิกกลุมเปนประจํากลุมสามารถสราง รายไดใหกับสมาชิกเปนที่แนนอน เพราะกลุมน้ําบูดูเปนที่รูจักอยางแพรหลายและสมาชิกสามารถพึ่งตนเอง ผูใหสัมภาษณใหความเห็นวา อบต. ควรสรางเครือขายความรวมมือระหวางกลุมอาชีพ โดยเปน สื่อกลางใหชุมชนในการพัฒนาอาชีพใหสื่อและเครือขายไดรูจัก เนื่องจากยังไมมีหนวยงานใดมาสงเสริม สนับสนุนอยางจริงจัง ผูใหสัมภาษณใหความเห็นวา อบต. ตองพยายามสรางเครือขายทั้งในระดับตําบลอําเภอ และ จังหวัด เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูและชวยเหลือเกื้อกูลกันระหวางกลุมตาง ๆ ผลสรุปปจจัยสงเสริมความสําเร็จหรือปจจัยที่เปนอุปสรรคในการดําเนินงานกลุม อาชีพชุมชนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี ปรากฏดังนี้ ปจจัยสงเสริมความสําเร็จในการดําเนินงานกลุม อาชีพชุมชนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี 1. การจัดตั้งกลุมของอาชีพ คือใชในครัวเรือน เพิ่มรายได ใชเวลาวาง ใหเ ปนประโยชนเ ปนการจั ดตั้ง กลุม โดยชุม ชนหรือบุค คล โดยสว น ราชการริเริ่ม

2. การจัดการบริหารของกลุมอาชีพ จัดอยูในรูปแบบคณะกรรมการ โดยมีประธาน รองประธาน เหรัญญิก มีสมาชิกกลุม มีการแบงหนาที่ กันอยางชัดเจนแบบองคกรทางธุรกิจ คือฝายการผลิต ฝายการตลาด ฝายการจัดหาวัตถุดิบ การเงิน และอาจมีระเบียบกําหนดกฎเกณฑ 3. การระดมทุนและการแบงปนผลประโยชน สวนมากจะมีการระดมทุน และแบงปนผลประโยชน 4. การผลิต การตลาด และการจําหนาย การเลือกผลิตภัณฑสินคา อาจจะใชความสามารถที่ไดจากบรรพบุรุษ จึงมีความชํานาญหรือไดรับ การฝก อบรมจากหน วยงานราชการที่จั ดฝก อบรมให แกก ลุม การ จําหนายสินคาบางครั้งมีพอคามารับซื้อไปจําหนาย แตสวนมากกลุมจํา นําไปจําหนายเองตามตลาดนัดหรือศูนยสินคาโอทอป สําหรับเรื่องเงิน มอบใหฝายเหรัญญิกบริหาร

ปจจั ย ที่ เปนอุป สรรคใน การดํ า เนิ น งานกลุ ม อาชี พ ชุมชนตําบลบางเกา อําเภอ สายบุรีจังหวัดปตตานี 1. กลุมอาชีพชุมชนยังรวมตัว ไมเขมแข็ง ขาดทํากิจกรรมที่ ตอ เนื่อ ง ผู นํ า บางกลุม ยั ง มี ความเปนผูนําไมพอทําใหการ ดําเนินกิจกรรมของกลุมยังไม พัฒนาพอ 2. ขาดการมี ส ว นรวมของ กลุม อาชีพ สมาชิก ของกลุม ไม มี ส ว นร ว มในการดํ า เนิ น กิจกรรมของกลุมอยางจริงจัง 3. ผู นํ า ขาดทั ก ษะในการ บริห ารกลุ ม รวมทั้ง การทํ า กิจกรรมมีอยางไมตอเนื่อง 4. บ าง ก ลุ ม ขาด เ งิ น ทุ น หมุนเวียน เนื่องจากไมไดเก็บ จากสมาชิก

Graduate School and Research / 15 May 2013

753


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ปจจัยสงเสริมความสําเร็จในการดําเนินงานกลุม อาชีพชุมชนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัด ปตตานี 5. การสงเสริม และการสนับสนุน กลุมอาชีพชุมชน ไดรับการสงเสริมสนับสนุนทั้งในรูปแบบการฝกอบรม และสนับสนุนงบประมาณ 6. มีหนวยงานตาง ๆ เขามามีบทบาทในการติดตาม กลุมอาชีพและใหกําลังใจในการทํางานของกลุม เชน พัฒนาชุมชน เปนตน

ปจ จัย ที่ เป นอุ ป สรรคในการดํ า เนิ นงาน กลุมอาชีพชุมชนตํา บลบางเกา อําเภอสาย บุรีจังหวัดปตตานี 5. บางกลุมยังขาดการฝกอบรมเพื่อทักษะการ ผลิตและการออกแบบผลิตภัณฑใหม ๆใหตรง ตามความตองการของตลาด 6. การติดตามประเมินผลการจัดทํากิจกรรม ของกลุมอาชีพตาง ๆ อบต. ยังขาดการติดตาม อยางตอเนื่องและใหความสําคัญยังไมเพียงพอ

สรุปผลการวิจัย บทบาทหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบลในการทํางานขับเคลื่อนสงเสริมความสําเร็จของ กลุมอาชีพชุมชนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี พบวา 1. การสงเสริมการมีสวนรวมของสมาชิกกลุมอาชีพ อบต. มีการสงเสริมการมีสวนรวมของสมาชิก โดยการจั ดตั้ ง เวทีป ระชาคม เพื่ อใหส มาชิ ก กลุ ม อาชี พได มีส วนร วมในการจัด ทํา แผนประจํา ปแ ละ แผนพัฒนา 3 ป รวมถึงการกลั่นกรองขอมูลที่ไดมาบรรจุลงในแผน อบต. ในเรื่องของการประชาสัมพันธ การเปดพื้นที่การมีสวนรวมการจัดทําแผน ใหแกสมาชิกกลุมอาชีพอยางทั่วถึงสงผลใหจํานวนสมาชิกกลุม อาชีพที่ เ ขามามีสวนรวมในเรื่องตาง ๆ มีจํานวนค อนขางนอย ทั้ง นี้ไดมีขอ เสนอแนะใหเ พิ่ม เติม การ ประชาสัมพันธ ทั้งในเรื่องของการจัดเวทีประชาคม รวมถึงประโยชนที่ไดรับจากการเขามามีสวนในการ แสดงความคิดเห็นหรือรับทราบความเห็น จากการเขารวมเวทีประชาคมในแตละครั้ง 2. การจัดสรรงบประมาณและปจจัยการผลิตใหแกกลุมอาชีพ อบต. มีการจัดสรรงบประมาณ ใหแกกลุมอาชีพ ตั้งแตขั้นการตั้งของบประมาณ และการดําเนินการจัดสรรภายหลังการอนุมัติงบฯ และยัง พบอีกวาความไมเพียงพอของงบประมาณที่ไดรับ เปนปญหาที่ผูสัมภาษณมีความเห็น ที่สอดคลองกันซึ่ง ปญหาดังกลาวสงผลใหงบประมาณที่จัดสรรให ไมเ ปนไปตามความตองการของกลุมอาชีพ ทั้งนี้ผูให สัม ภาษณบ างสวนใหขอเสนอแนะวาควรมีก ารจัด ลําดับ ความสํ าคัญ ของความตองการในการใชจา ย งบประมาณเพื่อใชเปนแนวทางในการจัดสรรงบประมาณภายใตสถานการณดังกลาว และพยายามปรับปรุง ขอมูลคําตั้งของบประมาณเพื่อไดรับงบประมาณเพิ่มเติมและใกลเคียงกับความตองการใชจายงบประมาณ ใหไดมากที่สุด 3. การสงเสริมความรูแกสมาชิกกลุมอาชีพการสงเสริมความรูแกสมาชิกกลุมอาชีพ วาอบต. มีการ ดําเนินการดังกลาว โดยการจัดการการอบรมโดยเชิญวิทยากรทั้งภาครัฐและเอกชน มาใหความรูในเรื่อง แนวทางการผลิต และการบริหารจัดการ นอกจากนี้ผูใหสัมภาษณบางสวนใหขอมูลวา อบต. ไดมีการนํา สมาชิกกลุม อาชีพบางสวนไปดูงานกลุม อาชีพในตางจัง หวัดที่ประสบความสําเร็จในการดําเนินการดวย เชน กัน ในส วนของอุป สรรคที่พ บจากการดํา เนิ นการดัง กลา ว ผู สัม ภาษณให ความเห็ นที่ส อดคลอ ง เชนเดียวกันวา งบประมาณสนับสนุนการดําเนินการยังมีไมเพียงพอ ทั้งในเรื่องของคาตอบแทนวิทยากร และการจัดใหสมาชิกไปดูงานที่กลุมอาชีพในตางจังหวัดที่ประสบความสําเร็จ จึงเสนอแนะใหมีการจัดทํา งบประมาณในสวนการสงเสริมความรูแกสมาชิกกลุมอาชีพโดยเฉพาะ เพื่อใหเพียงพอตอการดําเนินการ 754

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

4. การติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของกลุมอาชีพ อบต. มีการติดตามประเมินผล โดย การลงไปพบปะกลุมอาชีพตามหมูบานและสอบถามการดําเนินงานเปนระยะ ๆ ตั้งแตกระบวนการผลิตจน สิ้นสุดของการดําเนินงาน บางสวนใหความเห็นวา อบต. ยังขาดการติดตามประเมินผลการดําเนินงานของ กลุม และบางสวนใหความเห็นวากลุมอาชีพยังขาดการใหความรวมมือกับเจาหนาที่ในการใหขอมูล ทั้งนี้ ผูใหสัมภาษณบางสวนใหขอเสนอแนะวาควรมีการจัดทําแผนติดตามที่เปนระบบและรายงานขอมูลใหกับ ผูบังคับบัญชา เพื่อนําเปนขอมูลในการแกปญหาในคราวตอไป 5. การสรางเครือขายและประสานความรวมมือ อบต. มีการสรางเครือขายโดยมีการประสานกับ ผูนําตําบล เชน กํานัน ผูใหญบาน รวมทั้งองคกรเอกชน และหนวยงานของรัฐ ที่ใหการสนับสนุนการ ดําเนินงานของกลุมอาชีพ ในดานปญหาพบวายังไมมีรูปแบบของคณะกรรมการเครือขายที่ชัดเจน และไมมี สถานที่สําหรับศูนยเครือขายในระดับตําบล ทั้งนี้ผูใหสัมภาษณบางสวนใหขอเสนอแนะวาควรมีการจัดตั้ง ศูนยเครือขายอาชีพอยางเปนทางการมีคณะกรรมการทีค่ อยจัดระบบการบริหารงานที่ชัดเจน 6. การสง เสริม ความสัม พันธของสมาชิก กลุม อาชีพ อบต. มีก ารสงเสริม ความสัม พันธโดยมี กิจกรรมตาง ๆ โดยใชกลุม อาชีพในพื้นที่เขารวมทํากิจ กรรม มีก ารจัดประชุมเปนครั้ง คราว และหนุน กิจกรรมนอกสถานที่ ในสวนของปญหาพบวาสวนใหญแลวผูใหสัมภาษณไมมีปญหาในดานอยางนอยเดือน ละ 2 ครั้ง อภิปรายผล จากการศึกษาวิจัย เรื่องแนวปฏิบัติที่ดีในการสงเสริมอาชีพชุมชนขององคการบริหารสวนตําบล บางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี ผูวิจัยพบเห็นปรากฏการณแนวปฏิบัติที่ดีในการสงเสริมอาชี พ ชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลบางเกาและควรนํามาอภิปรายผลดังนี้ องคการบริหารสวนตําบลบางเกา มีภารกิจสําคัญในการสนับสนุนใหชาวบานรวมตัวกันจัดตั้งกลุม ตาง ๆ ขึ้น เพื่อสรางประโยชนใหแกตนเอง ครอบครัว และชุมชนเปนหลักของการบริหารทองถิ่นองคการ บริหารสวนตําบลมีการจัดทําประชาคมกลุมอาชีพเพื่อนําสิ่งที่ชาวบานนําเสนอเขาแผนพัฒนา 3 ป ซึ่ง สอดคลองกับงานวิจัย นภดล เมืองสอง (2541: บทคัดยอ) วาประชาชนมีความรูความเขาใจเรื่ององคการ บริหารสวนตําบลดีและใหความสําคัญตอแผนพัฒนาอบต. มากขึ้น เพราะถือวาทุกคนมีสวนรวมในการ ปกครองสวนทองถิ่น และองคก ารบริห ารส วนตํ าบลมีก ารสนับ สนุนงบประมาณการส ง เสริม อาชี พ นอกจากงบประมาณทองถิ่นที่ใหการสนับสนุนแลว องคการบริหารสวนตําบลยังคงตองใชวิธีจูงใจตาง ๆ เชน ใหการฝกอบรมจากหนวยงานราชการและเอกชน การจัดหาแหลงวัตถุดิบและเครื่องมือเครื่องใช การ ไปทัศนศึกษาในชุมชนหรือกลุมอาชีพที่ประสบความสําเร็จแลว นอกจากนี้ยังตองจัดหาแหลงจําหนายและ การประชาสัมพันธใหอีกดวย ดังนั้นจะเห็นไดการจัดตั้งกลุมอาชีพโดยทั่วไปมีความมุงหมายของการผลิต คือผลิตเพื่อใชในครัวเรือนและจัดจําหนายเพิ่มรายได นอกจากนี้ยังใชเวลาวางใหเปนประโยชน องคการ บริห ารสวนตําบลบางเกา ไดจัดใหมีการฝก อบรมอาชีพตาง ๆ ภายในตําบลโดยมีการเชิญวิท ยากรที่มี ความรู มีประสบการณในเรื่องอาชีพนั้น ๆ มาใหความรูในการดําเนินการ เชน กลุมน้ําบูดู กลุมผาบาติก กลุมเรือกอและ และกลุมขาวเกรียบ ซึ่งเมื่อทําการฝกอบรมไปแลวก็จะจัดหาวัสดุ อุปกรณที่จําเปนตองใช ในการประกอบอาชีพ เพื่อนําไปประกอบอาชีพตามที่ไดรับการฝกอบรม เพื่อเพิ่มรายไดใหแกตนเอง หรือ กลุมอาชีพที่ตนเองเปนสมาชิกตอไป โดยองคการบริหารสวนตําบลบางเกาใหสนับสนุนโครงการตาง ๆ มี ความสอดคลองกับงานวิจัยของ สมบัติโพธิ์ศรี (2541 : บทคัดยอ) วาเรื่องการสงเสริมการประกอบอาชีพ Graduate School and Research / 15 May 2013

755


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

หัวหนาสวนราชการยังมีความสําคัญตอการดําเนินงานสภาตําบลในระดับหนึ่ง ทั้งนี้เพราะวาคณะกรรมการ สภาตําบลสวนใหญมีการศึกษาต่ํา จะเห็นไดวา ระดับการศึกษาของคณะกรรมการ อบต. มีความสําคัญตอ การจัดทําแผนพัฒนา สวนทองถิ่นมากและยังพบวาปจจัยที่เอื้อใหเกิดกลุมอาชีพ คือนโยบายของรัฐบาล เอื้ออํานวยใหกลุมอาชีพมีโอกาสเจริญเติบโต อาทิ งบประมาณสนับสนุน อุปกรณเครื่องมือในการผลิต สินคา การฝกอบรมและสนับสนุนวิทยากรมาถายทอดความรู ผานกระบวนการทํากิจกรรมในการพัฒนา กลุมอาชีพ สงผลใหกลุมมีศักยภาพมากขึ้น สอดคลองกับงานวิจัยของ ศราวุธ ดีมาก (2549) ที่สรุปวา การพัฒนากลุมอาชีพบานสะพานหิน ดําเนินโดยกระบวนการมีสวนรวมโดยการประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณ การใหความรูและขอมูลขาวสารแกคณะกรรมการบริหารกลุม การจัดทําแผนธุรกิจชุมชน โดยวิธีการฝกอบรมเพื่อใหความรูและการฝกปฏิบัติจริงเชนเดียวกัน เอกสารอางอิง การปกครอง, กรม. 2542. การเสริมสรางความเขมแข็งแกชุมชน. กรุงเทพฯ: (อัดสําเนา) การพัฒนาชุมชน, กรม. 2543. การวิจัยเชิงปฏิบัติการอยางมีสวนรวม เรื่องรูปแบบและวิธีการสรางมาตร วัดชุมชนเขมแข็ง. กรุงเทพฯ: กลุมงานวิจัยและพัฒนา ศราวุธ ดีม าก. 2549. การพัฒนากลุมอาชีพบา นสะพานหิน หมูที่ 9 ตํา บลทา ฉนวน อํา เภอโนรมย จังหวัดชัยนาท. วิทยานิพนธปริญญาโท มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. ขนิษฐา กาญจนรังสีนนท. 2542. การเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน ฉบับชุมชน. กรุงเทพฯ: บริษัท บพิธการพิมพ จํากัด. ชัยอนันต สมุทวนิช. 2541. ทฤษฎีใหมมิตที่ยังใหญทางความคิด. กรุงเทพ:. พรีเพรส. แตงออน มั่นใจตน. “ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งใหกับชุมชน” วารสารพัฒนาบริหารศาสตร. (2 กุมภาพันธ 2545) หนา: 75-115 กลุมอาชีพขาวเกรียบปลา. 2000. ผลิตภัณฑที่นาสนใจในตําบล. จากอินเตอรเน็ต http://www.thaitambon.com/tambon/tprdsdesc.asp?ID=940704&PROD=0271114311 &SME=0271112221 (สืบคนเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2556). กลุมบางเกาบาติด. 2000. สินคาและผลิตภัณฑ. จากอินเตอรเน็จ http://www.thaitambon.com/tambon/tcommdesc.asp?sme=091127134635&ID=940 704

756

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝงของตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี Administration trend manages coastal resource, of Bang kau Sub district, Saiburi district, Pattani province อาลี หะแวกะจิ1, วรรณชนก จันทชุม 2 ¹นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น วิทยาลัยการ ปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน, ²รองศาสตราจารย ดร. วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน

บทคัดยอ การศึกษาเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา สถานการณ ปจจัยแวดลอม ปญหา และ แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝงของตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี ผูใหขอมูลหลัก ประกอบดวย ผูนําในพื้นที่ ไดแก กํานัน ผูใหญบาน นายกองคการบริหารสวนตําบลบางเกา ประธานสภา องคการบริหารสวนตําบล สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ปลัดองคการบริหารส วนตําบล หัวหนา สวนโยธา เจาหนาที่ผูรับผิดชอบงานสิ่งแวดลอม ทีมอาสาสมัครอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผูนําชุมชน ผูแทนเกษตรกรผูประกอบอาชีพประมงชายฝง รวมทั้งสิ้น 42 คน ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ทุติยภูมิ โดยการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝง และ ขอมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณกลุมเปาหมาย นําขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดมาทําการวิเคราะหเนื้อหา และสรุป ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค ผลการศึกษาพบวา จากขอมูลการสัมภาษณกลุมตัวอยางที่ใหขอมูล และจากขอมูลที่มีผูรวบรวม เมื่อนํามาวิเคราะหชี้ใหเ ห็นวาปญ หาและขอบกพรองที่เ ปนขอคนพบเหลานี้ชี้ใหเ ห็นวา ควรตองมีก าร ปรับ ปรุง ทางดานนโยบายและแนวทางบริห ารเสียใหม ในการแกปญ หาขอขัดแยงในการใชป ระโยชน ทรัพยากรชายฝง อันไดแกแนวปะการังเทียม หญาทะเล แหลงประมงและพื้นที่เพาะเลี้ยงชายฝง ชุมชนที่ อยูอาศัย การพาณิชยก รรมและ เกษตรกรรม ทองเที่ยว ยอมตองการความรวมมือและการประสาน แผนพัฒนาทองถิ่น ระหวางองคกรตางๆ ไดแก องคการบริหารสวนตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี พัฒนา ชุมชน เกษตรอําเภอ ที่ดินอําเภอ ประมงอําเภอ อาสาสมัครอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และหนวยงานที่เกี่ยวอื่นในพื้นที่ อยางเรง ดวน ซึ่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง มีห นาที่ ในการ อนุรักษ ฟนฟู และการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ตองถือเปนภารกิจหลักที่สําคัญ ทั้ง กําหนดแนวความคิด บูรณาการวางแผนรวมกันกับองคกรตางๆ ที่ใชป ระโยชนจากที่ดินและทรัพยากร ชายฝง การกําหนดแนวเขตที่ดินชายฝงทะเลเพื่อการปฏิบัติงานที่ชัดเจน รวมไปถึงการวางแผนรับมือกรณี เกิดการกัดเซาะชายฝง และการเตรียมการอพยพชาวประมงชายฝงเมื่อเขาสูฤดูมรสุม เหลานี้เปนกลวิธีที่ สําคัญที่ทําใหทุกภาคสวนเกิดความเขาใจที่ตรงกัน ซึ่งทุกหนวยงานที่รับผิดชอบในพื้นที่ชายฝงทะเลสามารถ ใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดอยางกวางขวางไปในทิศทางเดียวกัน บังเกิดผลสําเร็จของงานดานการจัดการและพัฒนาทรัพยากรชายฝงของตําบลบางเกา การศึกษาในครั้งนี้ เปนมิติใหมของการจัดการทรัพยากรชายฝง ที่กอใหเกิดผลกระทบในทางลบใหนอยที่สุดแกชายฝง และ ชุมชนในทองถิ่น การจัดการทรัพยากรชายฝงตําบลบางเกา มุงเนนใหเกิดความรับผิดชอบแฝงไปในตัวตอ Graduate School and Research / 15 May 2013

757


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สภาพทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล อ ม วั ฒ นธรรมประเพณี แ ละตลอดจนการอนุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติไปดวย รวมทั้งการใหประโยชนแกคนในทองถิ่นตําบลบางเกา โดยเฉพาะทองถิ่นที่ติด กับชายฝงทะเล และประชากรในทองถิ่นประกอบอาชีพประมงชายฝง ใหมากที่สุด จากการพัฒนาของโลก ในดานการพัฒนาอยางยั่งยืน แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรชายฝงแบบยั่งยืน คําสําคัญ: การบริห ารจัดการทรัพยากร (The administration manages the resource , ชายฝง (Coastal)

758

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The objective of this case study to indicate about 1. The situations, environment factors, problems, coastal resources guideline resolve management of Bangkau sub district Saiburi district Pattani province 2. Proposed guideline coastal resources management of Bangkau sub district, will help the increasing completeness of coastal resources. The information from group sample of interviewers and some data from the collectors, when analyzed indicate that these problems and defects are appeared and should make an improvement of the policies and administration, to solve the interest conflict of coastal resource, as artificial reef line, sea grass, fishery area, community agriculture etc. need to cooperate local development plans between organizations in area county or any related organizations as urgently. The department of marine and coastal resources is responsible for conservation and management of marine and coastal resources, must be considered as an important task, define thought integrated planning in collaboration with various organizations to take advantages of the land and coastal resources, to define a zone, coastal land for clear operational including the planning cope in case of caused coastal erosion and preparation of coastal fisherman evacuation when monsoon season log. These are the tactics that make all sectors understand that match, that all the responsible authorities in coastal area can be used as a tool in the management of marine and coastal resources were extensively in the same direction collective success of management and development of coastal resources of Bangkau sub district. A study on the new dimension of managing coastal resources make least negative coarse impact to the shoreline and local community. Coastal resources management of Bangkau sub district focuses on responsibility, to be kept in the condition of resource and the environment, culture, traditional and natural resources conservation as well including the beneficial to local people of Bangkau sub district, specifically the local coastal population and local costal fishing career, as much as possible from the world’s development in the field of sustainable development, the concept on sustainable coastal resource management. Key words: (The administration manages the resource (castal)

Graduate School and Research / 15 May 2013

759


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา ทรัพยากรชายฝงทะเล ( COAST ) คือแถบแผนดินนับจากแนวชายทะเลขึ้นไปบนบกจนถึงบริเวณ ที่มีลักษณะภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงอยางเดนชัด (http://www.md.go.th /interest /coast.php คนเมื่อ 7 ต.ค.2555) มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทั้งในรูปแบบของการกัดเซาะและการทับถม โดยมีตัวการที่ สําคัญคือ คลื่น ลม และกระแสน้ํา ในประเทศไทยเปนประเทศที่ตั้ งอยูในบริเวณคาบสมุทร มีพื้นที่แนว ชายฝงทะเลยาวทั้งสิ้นประมาณ 2,960 กิโลเมตร อยูทางฝงอันดามัน 750 กิโลเมตร ฝงอาวไทย 1,670 กิโลเมตร และตามเกาะตาง ๆ 520 กิโลเมตร ปจจุบันพื้นที่ชายฝงทะเลของประเทศไทย มีพื้นที่ครอบคลุม 24 จังหวัดของประเทศไทย หนึ่งในนั้น มีจังหวัดปตตานี รวมอยูดวย ซึ่งจัง หวัดปตตานีมีพื้นที่ติดแนว ชายฝงใน 6 อําเภอ ไดแก อ.หนองจิก อ.เมือง อ.ยะหริ่ง อ.ปะนาเระ อ.สายบุรี และ อ.ไมแกน ซึ่งบริเวณ พื้นที่ดังกลาวถูก กัดเซาะรุนแรงมากในระยะประมาณ 25 กม. และขนานกับ แนวชายฝง บนพื้นดิน 2 กิโลเมตร ซึ่งปญหาที่พบ ไดแก ปญหาชายฝงถูกกัดเซาะ แนวชายฝงถูกนําไปใชประโยชนที่ดินในรูปแบบ ตาง ๆ กัน เชน ใชเปนพื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ปาไมและปาชายเลนพื้นที่อยูอาศัยพื้นที่วางเปลาและพื้นที่อื่น (http://www.dmcr.go.th/marinecenter/erosion-lesson6.php คนเมื่อ 7 ตุลาคม 2555) พื้นที่ตําบลบางเกา ตั้งอยูในเขตอําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี มีระยะหางจากอําเภอสายบุรี 12 กิโลเมตร ระยะหางจากจังหวัดปตตานี 65 กิโลเมตร ณ ที่ตั้งองคการบริหารสวนตําบลบางเกา ปตตานี มี เนื้อที่ 8.53 ตารางกิโ ลเมตร หรือ 5,332 ไร ตําบลบางเกา เปน 1 ใน 10 ตําบลในเขตอําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี มีประชากร ขอมูลประชากร ณ เดือนกันยายน 2555 มีประชากรทั้งสิ้น 3,339 คน ชาย 1,655 คน หญิง 1,684 คน (ที่มาของขอมูล สํานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง อําเภอสายบุรี ) ความหนาแนนเฉลี่ย 357.44 คน/ตารางกิโลเมตร และมีจํานวนครัวเรือนทั้งสิ้น 660 หลัง ประชากรตําบล บางเกา นับถือศาสนาอิสลาม 100 % มีกลุมอาสาสมัครอนุรักษทรัพยากรสัตวน้ําและสิ่งแวดลอมชายฝง 15 คน ที่มีภารกิจ ในการดูแ ลสภาพแวดลอ มแนวชายฝง ของตําบลบางเกา และจะเพิ่ ม ขึ้นทุก ๆป มี จุดเดน ที่ตั้งของตําบลสําหรับการขยายตัวตอชุมชนและสังคมสามารถพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวได เพราะทิศตะวันออกติดชายทะเลอาวไทย ปจจุบันพื้นที่ชายฝงตําบลบางเกา มีพื้นที่ทางทิศตะวันออก ติ ด อาวไทย หมูบานที่ติดชายฝงมีทั้งหมด 3 หมูบานหมูที่ 1 บานบางเกาเหนือ หมูที 2 บานบางเกาใต หมูที่ 3 บานบางเกาทะเล เกิดปญหาที่ตองเรงดําเนินการแกไข ดังนี้ 1) การขาดความรวมมือประสานงานกัน ระหวางหนวยงานตางๆ ขาดนโยบายและแนวทางการบริหารที่มุงแกปญหาอยางแทจริง 2) การกัดเซาะ ชายฝงทะเล ประมาณ 50 เมตร สงผลกระทบ เกิดการตักตวงผลประโยชน หรือใชประโยชนในพื้นที่ ชายฝง ทะเลมากจนเกินไป 3) ดานสิ่งแวดลอมและมลพิษ เกิดความเสื่อมโทรมของชายฝง 4) แนว ปะการังหลายแหง มีสภาพเสื่อมโทรม 5) ที่ชายหาดและทิวทัศนสวยงามมากมายลดนอยลง 6) ภัย ธรรมชาติ การกัดเซาะพังทลายชายฝงทะเล การตื้นเขินบริเวณปากน้ํา ปญหาดังกลาวกอใหเกิดผลกระทบ ที่ตองมีการดําเนินการแกไข เพราะการขาดการปองกันและแกปญหา ทําใหทรัพยากรชายฝงถูกทําลาย ประชากรก็ขาดพื้นที่บริเวณทํากิน ขาดแหลงที่อุดมสมบูรณ ดวยทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณคามากมาย และแตหากวาเกิดปญหาขึ้นในระดับที่ควบคุมไมได จะสงผลกระทบมากมาย ทั้งนี้การศึกษาสถานการณ ปจจัยแวดลอม ปญหา แนวทางแกไขการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝง ของตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี และมุงหาแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝง จึงเปนสิ่งจําเปนที่ตองอาศัยความ รวมมือจากทุกฝาย ทําใหผูวิจัยมีความสนใจศึกษาแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝง ของตําบล บางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี 760

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

วัตถุประสงคของการศึกษา เพื่อศึก ษาสถานการณ ปจ จัยแวดลอม ปญ หา และแนวทางแกไขการบริห ารจัดการทรัพยากร ชายฝง ของตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ชายฝง ทะเล ( COAST ) คือแถบแผนดินนับ จากแนวชายทะเลขึ้นไปบนบก จนถึงบริเวณที่มี ลักษณะภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงอยางเดนชัด จึงมีความกวางกําหนดไมไดแนนอนชายฝงทะเลของประเทศ ไทยมีความยาวทั้งสิ้น 2,614 กิโลเมตร แบงออกเปนชายฝงทะเลดานอาวไทย 1,660 กิโลเมตร ชายฝงดาน ทะเลอันดามัน 954 กิโลเมตร และครอบคลุมพื้นที่ 24 จังหวัด เมื่อพิจารณาสภาพภูมิศาสตรหรือลักษณะ การกําเนิดของชายฝงทะเล (http://www.md.go.th/interest/coast.php คนเมื่อ 7 ต.ค.2555) ชายฝงทะเลมีความสําคัญ เนื่องจากเปนแหลงที่อุดมสมบูรณ ดวยทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณคา มากมายตอระบบเศรษฐกิจ สังคมและนิเวศวิทยา อาทิ ปาชายเลน ชายหาด ปะการังหญาทะเล สัตวทะเล และทรัพยากรประมงอื่นๆ การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่แหลงทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ไดแก 1) การ ขาดความรวมมือประสานงานกันระหวางหนวยงานตางๆ 2) ปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเล 3) ปญหาดาน สิ่งแวดลอมและมลพิษ 4) แนวปะการังหลายแหงมีสภาพเสื่อมโทรม และบางแหงถูกทําลาย 5) มีชายหาด และทิวทัศนสวยงามมากมายลดนอยลง 6) ภัยธรรมชาติ การกัดเซาะพังทลายชายฝงทะเล การตื้นเขิน บริเวณปากน้ํา น้ําทวมในฤดูมรสุม และ 7) การขาดความรวมมือประสานงานกันระหวางหนวยงานตางๆ( http://www.dmcr.go.th/marinecenter/coastalzone.php : คนเมื่อ 10 ตุลาคม 2555) มีการศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอการแกปญหาการกัดเซาะและฟนฟูพื้นที่ชายฝงทะเล ของอเนก โสภณ และคณะ (2553) กรณีศึกษา บานโคกขาม อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ผลการศึกษา พบวา ความพึงพอใจของประชาชน หมูที่ 3 บานโคกขาม จํานวน 82 คน ตอการแกปญหาการกัดเซาะและ ฟนฟูชายทะเล โดยการปก แนวไมไผ พบวา ประชาชนมีร ะดับ ความพึง พอใจมาก ในทุก ตัวชี้วัด และ การศึกษาบทบาทของชุมชนชาวประมงพื้นบานในการจัดการทรัพยากรชายฝงและการใชกฎหมายในพื้นที่ รอบอาวปตตานี ของ ปยะ กิจถาวร (2543) ศึกษากรณี : บานตันหยงเปาว หมูที่ 4 ตําบลทากําชํา อําเภอ หนองจิก จังหวัดปตตานี ขอคนพบ มีดังนี้ 1) รูปแบบการจัดการทรัพยากรโดยชุมชนชาวประมงพื้ นบาน โดยใชระบบคุณคาและความเชื่อที่มีพื้นฐานจากหลักการทางศาสนาอิสลามที่วา ทะเลเปนทรัพยากรที่ใช รวมกัน เปนขององคอัลเลาะฮ (พระผูเปนเจา)และมีผูปกปองดูแลรักษาทะเลเรียกวา นบีตอยเดห การใช ประโยชนจากทะเล ตองเปนไปอยางเทาเทียมกันอยางคุมคา และไมทําใหคนอื่นเดือดรอน ใชเครื่องมือ ประมงพื้นบาน เกิดจากภูมิปญญา ความรู เกี่ยวกับทองทะเล และสัตวน้ํา เพื่อการใชประโยชนอยางยั่งยื น และ 2) ภัยคุกคามตอการอยูรอดของชุมชนชาวประมงพื้นบาน เกิดจากการใชเครื่องมือประมงพื้นบาน ทําลายทรัพยากรสัตวน้ํา ระบบนิเวศในทะเล และจากโครงการพัฒนาของรัฐโดยการสรางเขื่อนชลประทาน ปดกั้นลําคลอง วิธีการวิจัย ในการศึก ษาครั้ง นี้ เปนการวิจัยเชิง คุณภาพ ผูใหขอมูลหลัก ประกอบดวย ผูนําในพื้นที่ ไดแก กํานันตําบลบางเกา ผูใหญบาน หมูที่ 1-3 นายกองคการบริหารสวนตําบลบางเกา ประธานสภาองคการ บริหารสวนตําบลบางเกา สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลบางเกา หมูที่ 1-3 จํานวน 6 คน ปลัด Graduate School and Research / 15 May 2013

761


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

องคการบริหารสวนตําบลบางเกา หัวหนาสวนโยธา เจาหนาที่ผูรับผิดชอบงานสิ่งแวดลอม จํานวน 1 คน ผูนําชุมชน จํานวน 3 คน ทีมอาสาสมัครอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จํานวน 15 คน ผูแทน เกษตรกรผูประกอบอาชีพประมงชายฝง จํานวน 9 คน รวมทั้งสิ้น 42 คน ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ทุติยภูมิ (Secondary Data ) โดยการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับแนวทางการบริหารจัดการ ทรัพยากรชายฝง และขอมูล ปฐมภูมิ (Primary Data) จากการสัมภาษณกลุม เปาหมาย นําขอมูล เชิง คุณภาพที่ไดมาทําการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย สถานการณทั่วไป ตําบลบางเกา ตั้งอยูในเขตอําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี มีเนื้อที่ 8.53 ตารางกิโลเมตร มีหมูบาน มี 4 หมูบาน ไดแก หมูที่ 1บานบางเกาเหนือหมูที่ 2บานบางเกาใตหมูที่ 3 บานบางเกาทะเล หมูที่ 4 บาน ปาทุง หมูที่ 1 หมูที่ 2 และหมูที่ 3 บางสวนมีพื้นที่ติดชายฝงทะเล มีขอมูลประชากร ณ เดือนกันยายน 2555 มีประชากรทั้งสิ้น 3,339 คน ชาย 1,655 คน หญิง 1,684 คน (ที่มาของขอมูล สํานักบริหารการ ทะเบียน กรมการปกครอง อําเภอสายบุรี) การประกอบอาชีพของประชาชนในพื้นที่ มีอาชีพหลัก ไดแก ทํา ประมง ทํานา ทําสวน ทําน้ําบูดู ปลาไสตันตากแหง ขาวเกรียบ อาชีพรอง รับจางทั่วไป คาขายของชํา ใน บริเวณครัวเรือนของตนเอง ปจจัยแวดลอม จากการวิเคราะหดวยเทคนิค Swot Analysis พบวา ตําบลบางเกา มีจุดแข็ง (Strength = S) ไดแก 1) ตั้งอยูในเขตพื้นที่ที่เหมาะสมทางการเกษตร เนื่องจากมีระบบชลประทาน 2) ตั้งอยูในเขตที่ตั้งของ พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลของจังหวัด 3) มีกลุมอาชีพที่เขมแข็งและพึ่งตนเองไดระดับหนึ่ง 4) พื้นที่สวนหนึ่งติดชายทะเล มีจุดออน (Weakness = W) ไดแก 1) ประชาชนขาดความกระตือรือรน ใน การพัฒ นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน 2) ปญหาราคาผลผลิตการเกษตรตกต่ําและขาดตลาดสงสินคา 3) ปญหาการระบายน้ําในฤดูฝนและขาดน้ําในฤดูแลงที่ใชในการเกษตร 4) การประกอบอาชีพ ขาดการนํา วิทยาการใหมมาใช และ 5) ไมมีทรัพยากรการทองเที่ยวที่จะดึงดูดความสนใจแกนักทองเที่ยว มีโอกาส (Opportunity = O) ไดแก 1) นโยบายรัฐบาลและนโยบายแกปญหา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต เอื้อตอ การพัฒนาทองถิ่นไดระดับหนึ่ง 2) นโยบายการกระจายเงินทุนของรัฐ 3) นโยบายยุทธศาสตรของจังหวัดใน การเปนศูนยกลางอาหารฮาลาลอยูในพื้นที่ตําบลบางเกาที่ทําใหเกิดผลการะทบที่ดีตอการพัฒนาและมี อุปสรรค ( Threat = T ) ไดแก 1) เหตุการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตที่มีอยางตอเนื่อง 2) ตั้งอยูหางไกลจังหวัดปตตานี กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของไมสามารถตอบสนองความตองการของ ประชาชนอยางแทจ ริงและนโยบายของรัฐบาลทีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 3) การขาดความรูเรื่อง เทคโนโลยีใหมๆ และ 4)งบประมาณที่กระจายสูทองถิ่นไมเพียงพอตอการพัฒนา ปญหา ผลกระทบ และแนวทางแกไข

762

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

จากการศึกษาปญหาสามารถจําแนกไดดังนี้ 1. ปญหาการขาดความรวมมือประสานงานกันระหวางหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของในพื้นที่ตําบลบางเกา ผลกระทบ แนวทางแกไข 1) เกิดความขัดแยงและความซ้ําซอนในบทบาท 1) จํ า เป น ต อ งปรั บ ปรุ ง ทั้ ง ด า นนโยบายและแนว หนาที่ กรณีก ารละเวนบทบาทและหนาที่ของ ทางการบริหารจัดการโดยการแกปญหาขอขัดแยงใน หนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่(รูดิง หะมะ,2556) การใชป ระโยชน ท รั พยากรชายฝ ง และที่ ดิ นในด า น 2) ขาดความเข า ใจและการเอาใจใส ต อ การ ตา งๆ ทั้ง แหล ง ทรั พ ยากรสํ า คั ญ (ยามื อ รี เจ ะ แมง อนุรักษ ฟนฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝงของ ,2556) ชุ ม ชนชายฝ ง ทะเล (อาสาสมั ค รอนุ รั ก ษ 2) รวมมือและมีก ารประสานแผนพัฒ นาทองถิ่น ใน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม) พื้นที่ ที่ ดีร ะหวา งองค ก ร ภาครัฐ ภาคเอกชน กลุ ม อาชีพ กลุมประชาชน ตางๆ 2. ปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเล ผลกระทบ 1) การกัดเซาะชายฝงเขามา ประมาณ 50 เมตร และบางสวนติดชายฝง 30 เมตร โดยเฉพาะชวง ฤดูฝนของแตละป จะมีพายุฝนและคลื่นลมแรง พัด กระทบชายฝ ง นํ า พาทรายทะเลมาเกาะ เรื่อยๆจนกระทั่งกินบริเวณกวางเกิดแหลงน้ําตื้น เขิน(สาอุดี สาแม,2556) 2) เกิดการอพยพไปพักอาศัยนอกพื้นที่ในหนา มรสุม 3) ศูนยจริยธรรม อาคารศูนยจริยธรรมเพียง 50 เมตร เกิดผลกระทบตอชุมชนในเขตนี้เพราะชวง หนาฝนจะไมสามารถดําเนินการสอนได(อับดุล ตอเระ สาแม,2556) 4) ศูนยยุติธรรมตําบล เกิดการกัดเซาะมาถึงตัว อาคารประมาณ 30 เมตร หากเกิดการกัดเซาะ มากขึ้น ผูคนอาจไมกลาที่จะมารับบริการ 5) การพัดพาตะกอน ทราย เศษสิ่งปฏิกูล ขยะ และอื่ น ๆมาทั บ ถมจนปรากฏเป น พื้ น ที่ ง อก ออกมา

แนวทางแกไข 1) จําเปนตองเตรียมแผนรองรับการอพยพกรณีเขาสู ฤดูฝนและชวงมรสุม 2) องคการบริหารสวนตําบลบางเกา ควรเตรียมแนว ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ขึ้น และพรอมเผชิญ เหตุและรับมือกับภัยธรรมชาติที่จะเกิดขึ้น(แผนปองกัน และบรรเทาสาธาณภัยอบต.บางเกา ,2556) 3) สอบถามความตองการจากประชาชน ชาวประมงใน พื้นที่โดยมุงใหความรูและการรับฟงติดตามขาวสารการ พยากรณอากาศอยางตอเนื่อง 4) ควรมีระบบติดตามประเมินผลการดําเนินการที่เนน การเขาไปเสนอแนะ พัฒนา มากกวาการจับผิด

Graduate School and Research / 15 May 2013

763


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

3. ปญหาดานสิ่งแวดลอมและมลพิษ ผลกระทบ 1) การเสื่ อ มสภาพของที่ ดิ น ชายทะเลและ ทรั พยากรชายฝ ง รวมถึ ง การเสื่อ มโทรมของ สิ่ง แวดลอม โดยการถูก ทําลาย การตัก ตวงใช ประโยชน จ ากทรั พ ยากรมากเกิ น ไป การใช ทรัพยากรอยางฟุมเฟอย 2) กิจกรรมการแขงขันเรือยอกองประจําปซึ่งจัด ขึ้นทุก ปมี นัก ทองเที่ยวและประชาชนเขารว ม จํานวนมาก แตสิ่งที่คาดวานาจะเกิดในอนาคต คือการตื้น เขินของรองน้ํานี้ จนไมส ามารถจั ด กิจ กรรมเหล า นี้ ไ ด ( สํ า นั ก ปลั ด อบต.บางเก า ,2556)

แนวทางแกไข 1) ควรจั ด การอย า งเ ร ง ด ว นในการฟ น ฟู พื้ น ที่ เกษตรกรรม บริเวณชายฝง และนอมนําแนวทางตาม พระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง มาใชใหเกิดประโยชน ในการเพาะปลุกในพื้นที่ 2) ปลุกจิตสํานึกใหประชาชนในพื้นที่รูจัก รักหวงแหน ชายฝง สัตวน้ําบริเวณชายฝง 3) สรางชุมชนใหมีความเขมแข็ง สามารถคานอํานาจ รัฐ เอกชนที่ประสงคจะมาดําเนินกิจการในพื้นที่แหงนี้

4. แนวปะการังหลายแหงมีสภาพเสื่อมโทรม และบางแหงถูกทําลาย ผลกระทบ แนวทางแกไข 1) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1) ควรมีการรณรงคใหความรูในการอนุรักษธรรมชาติ ไดจัดทําปะการังเทียมขึ้นและนําไปวางในทะเล ทางทะเลแกทุ ก ฝ า ยและมี ก ารขยายผลไปยั ง กลุ ม ใกลชายฝง ผลที่ตามมานั่นก็คือ เมื่อมีปะการัง อนุรักษตางๆในพื้นที่ รวมทั้งเด็ก เยาวชนประชาชนใน เทียมซึ่งเปนที่บริบาลสัตวเล็ก สัตวนอย สัตวน้ํา พื้นที่ (อาสาสมัครอนุรักษทรัพยากรชายฝง,2556) ในทะเลอื่น จนปจจุบันมียอดการดักจับสัตวน้ํา 2) กํากับดูแลการทองเที่ยวใหเ ปนไปโดยไมทําลาย ไดม ากขึ้น ผลที่ตามมา นั่นก็คือ ชาวประมงใน สิ่งแวดลอม รวมทั้งการดูแล ปองกันการเขาไปดักจับ บริ เ วณนั้ น ก็ จ ะดั ก จับ สั ต วน้ํ า บริเ วณปะการั ง สัตวน้ําบริเวณปะการังเทียมโดยเด็ดขาด เทียมนี้ เปนผลใหสัตวน้ําทะเล สิ่งมีชีวิตเล็กๆถูก 3) กําหนดกฎขึ้นในชุม ชน เพื่อจะไดมีสัตวน้ําที่โ ตขึ้น ทําลายลงอยางรวดเร็วขึ้น(ประมงอําเภอสายบุรี และขยายพันธุไดอยางรวดเร็วมากขึ้น ,2556)

764

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

5. ปญหาการปลอยน้ําทิ้งที่เปนของเสียทั้งจาก บานเรือนลงสูทะเล และจากซากสัตวทะเล สิ่งปฏิกูล ขยะ และอื่นๆ ผลกระทบ 1) การปลอยคราบน้ํามันจากเรือที่ออกทะเลหา ปลาของชาวประมงบริเวณชายฝง ปริมาณของ เสีย ทั้งน้ําเสีย และขยะ ซึ่งระบายมาจากบริเวณ ชุ ม ชน ลงสู ท างน้ํ า ไหลไปทะเลส ง ผลให เ กิ ด มลพิษในน้ําทะเลสงผลตอสัตวน้ํา หรือสิ่งมีชีวิต อื่นที่อาศัยอยูบริเวณนั้น(สาอุดี สาแม,2556) 2) การแขงเรือยอกอง มีผูคนเขามาเที่ยวชมงาน เปนประจําทุกป สงผลใหเกิดขยะ สิ่งปฏิกูลตางๆ ขึ้ น มากมายทั บ ถมกั น จะส ง กลิ่ น เน า เหม็ น ทําลายสิ่งแวดลอมไปหมดสิ้น

แนวทางแกไข 1) รัฐ หรือหนวยงานที่ควบคุมดูแลบริเวณชายฝงทะเล ควรสร า งมาตรการทางกฎหมาย และกํ า หนด บทลงโทษกรณีที่มีการปลอยคราบน้ํามันจากเรือที่ออก ทะเลหาปลาของชาวประมงบริเวณชายฝง 2) สรางมาตรการโดยคนในชุมชน และมีการกํากับดูแล ติดตามอยางสม่ําเสมอจากผูนําในพื้นที่

การอภิปรายผล จากผลการศึ ก ษาสถานการณ ปจ จั ยแวดลอ ม ป ญ หา และแนวทางแก ไขการบริห ารจัด การ ทรัพยากรชายฝง ของตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จัง หวัดปตตานี ทําใหเ กิดขอคนพบในการจัดการ ทรัพยากรชายฝงที่มีการศึกษาปญหาและหาแนวทางการแกปญหาเหมือนที่ บําเพ็ญ เขียวหวาน (2544) กรณีศึกษาการมีสวนรวมของชาวบานในการฟนฟูทรัพยากรชายฝง ขององคกรพัฒนาเอกชน กรณีโครงการ อันดามันที่มีก ารคนพบและหาแนวทางแกไขปจจัยสําคัญ ที่มีผลตอการจัดการชายฝง ที่มีก ารถายทอด ความรู ปลูกฝงทัศนคติแกรุนหลัง มีความมั่นคง ปลอดภัย มีการบริหารจัดการและการแกไขปญหาของ กลุม สรา งกระบวนการเรีย นรู มี ผูนํ าที่ดี มี เ ครือ ขา ย มีทุ นทรั พยากรชุ ม ชน วัฒ นธรรมที่เ ข็ม แข็ ง มี ความสัม พันธในชุมชน มีวิถีชีวิตพอเพียง เปนกระแสสังคม รัฐ ภาคีตางๆ นักการเมืองนายทุน องคก ร พัฒ นาเอกชน หากแตก ารศึก ษาแนวทางการบริห ารจัดการทรัพยากรชายฝงของตําบลบางเกานั้นเปน การศึกษาสถานการณ ปจจัยแวดลอม ปญหา และแนวทางแกไขการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝง ของ ตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี ซึ่งแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝงตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานีที่ศึกษามาสามารถนําไปสูการดําเนินการในพื้นที่ ไดดังนี้ 1. การกําหนดการพัฒ นาพื้นที่ชายฝง ของตําบลบางเกา อยางยั่ง ยืนโดยการกําหนดเปนแผน ยุทธศาสตรการพัฒนา แผนพัฒนาสามป ของแตละทองถิ่น ภายในแผนควรประกอบไปดวย การพัฒนาใน แตละดาน ทีม่ ีการวิเคราะหการเกิดผลกระทบในแตละดานอยางละเอียด แลวนํามาวางแผน เพื่อนําไปใชใน การพัฒนาพื้นที่ชายฝงของตําบลบางเกา ไดอยางยั่งยืน สืบไป 2. การกําหนดแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝงของตําบลบางเกา อําเภอสายบุรี จังหวัด ปตตานี ควรดําเนินการแบบบูรณาการเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางยั่งยืนโดยเริ่มตนจากการปลุก จิตสํานึก ดานการอนุรัก ษท รัพยากรธรรมชาติโ ดยเฉพาะทรัพยากรชายฝง รวมทั้ง ภูมิปญ ญาทองถิ่นที่ เกี่ยวของกับวิถีชาวประมงที่มีอยูเดิมไว ซึ่งในการปลุกจิตสํานึกนั้นควรเริ่มจากการใหชาวตําบลบางเกาเอง ที่ตองหันหนาเขาหากัน รวมคิด วางแผน ทบทวนถึงปญ หาที่เ กิดขึ้นวามีส าเหตุมาจากสิ่ง ใด ทบทวน Graduate School and Research / 15 May 2013

765


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ภาวการณเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น อันไดแก การอนุรักษและฟนฟูปะการัง การอนุรักษปาเพื่อรักษาระบบ นิเวศ ตนน้ํา และลําธาร การอบรมเพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับความสัมพัน ธระหวางการทองเที่ยวเชิง นิเวศนและชุมชน การสราจิตสํานึกดานศีลธรรม ความปลอดภัยและทรัพยสิน โดยอาจรวมกับสถานีตํารวจ การปกครองในทองที่หนวยงาน 3. ดานความมั่นคงของอําเภอสายบุรี หรือในตําบลบางเกาเอง ไดแก กํานัน /ผูใหญบาน ชรบ. หัวหนากลุมประมงชายฝง จัดใหชายฝงเปนชายฝงสีขาว และหนวยงานองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่ จัดอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรชายฝงอยางยั่งยืนโดยดึงมวลชนทั้งจาก เด็ก เยาวชน และประชาชน ในพื้นที่ โดยเฉพาะชายประมง รวมกัน ดําเนินการอนุรักษอยางจริงจัง ทั้งรวมพัฒนาจิตใจชาวตําบลบางเกา และผูมาเยือน โดยมุงเนนใหเกิดการดําเนินรอยตามพระราชดําริ เศรษฐกิจ พอเพียง รวมกันอนุรักษภูมิ ปญญาของทองถิ่นที่เปนวัสดุอุปกรณที่ใชประกอบการดักจับสัตว น้ํา งดเวนการจับสัตวน้ําในฤดูวางไข อยา ใหเกิดการแทรกแซงทางวัฒนธรรมตะวันตกเชนการใชเครื่องมือ อุปกรณดักจับสัตวน้ําที่เนนปริมาณสัตวน้ํา จํานวนมาก ใชอวนตาถี่ จับสัตวน้ําในฤดูวาไข ใชเรือขนาดใหญ อวนลากที่มีขนาดใหญ มากเกินไป พยายาม นําเอกลักษณความเปนไทย เอกลักษณความเปนคนบางเกา เอกลักษณในวิถีชาวประมงชายฝงดั้งเดิมที่แฝง ไวซึ่งความเอื้ออาทร และดูแลรักษา ธรรมชาติเพื่อใหอยูคูกับตนและครอบครัว ชุมชนบางเกา ใหยาวนานชั่ว ลูกหลาน และสามารถใชในการดําเนินชีวิตไดตลอดไป 4. การพัฒนาพื้นที่ชายฝงตําบลบางเกาใหเปนศูนยกลางการทองเที่ยวเชิงนิเวศนที่มีมาตรฐานเปน ที่ยอมรับในระดับสากล มีการจัดแขงเรือยอกอง ประจําทุกป และควรเพิ่มการประชาสัมพันธใหทั่วถึงมาก ขึ้น มีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จัดการคุณภาพน้ําอยางยั่งยืน จัดการขยะมูลฝอย สิ่ง ปฏิกูล และจัดการบําบัดน้ําเสียในแหลงทองเที่ยว กรณีมีการเสียหายชํารุดของพื้นที่บริเวณชายฝง จากการ กัดเซาะชายฝงใหดําเนินการตาม อเนก โสภณ และคณะ(2553) ที่ดําเนินการแกปญหาการกัดเซาะและ ฟนฟูชายทะเล โดยการปกแนวไมไผ จากการถูกกัดเซาะพังทลายลง รวมไปถึงก็ดําเนินการประสานไปยัง หนวยงานที่เกี่ยวของโดยชุมชนบริเวณนั้นเปนผูประสาน และชวยกันดูแลบํารุงรักษาทรัพยากรชายฝงใหมี คุณภาพ เชื่อมตอกับแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศน ศึกษาการรับนักทองเที่ยวที่มีปริมาณเหมาะสมกับพื้นที่ อนุรักษ ความหลากหลายทางชีวภาพ ทางทะเล การฟนฟูทะเล ปะการังและชายหาด พัฒนาพื้นที่แหลง ทองเที่ยวเปนเขต Soning ใชในการทองเที่ยว 5.พั ฒ นามาตรฐานที่พัก รานอาหาร แหลงบริก าร และหองน้ําใหไดม าตรฐาน มีความสะอาด ปลอดภัย มีการบริหารจัดการการทรัพยากรชายฝงที่เปนแบบบูรณาการ และรักษา สรางจุดแข็งของชุมชน ในดานการควบคุม ตรวจตรา วางมาตรการในการดําเนินการกับผูที่ฝาฝนกฎชุมชนบางเกา ในการบุกรุ ก ทํา ลายทรัพ ยากรชายฝ ง มีก ารดํ าเนิน การแสวงหาแหล ง เงิน ทุน เพื่อ พัฒ นากลุ ม อาสาสมัค รอนุรั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยเนนการลงทุนและแปรรูปผลิตภัณฑอาหารทะเลของชาวประมง ชายฝงใหมีมากขึ้น จัดการดานการตลาด กําหนดจุดเดน เสริมภาพลักษณ และตราสินคา ใหเปนที่ประจักษ โดยประชาสัมพันธผานสื่อตางๆ เวปไซด โลกออนไลน และเชื่อมโยงเครือขายแหลงทองเที่ยวทั่วโลก 6. เนนการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอันเปนการใหนัก ทองเที่ยวใชเ วลาในการทองเที่ยวแสวงหา ความรูดานวิทยาการเกี่ยวกับวัฒนธรรมของวิถีชาวประมงตําบลบางเกา วิถีความเปนอิสลาม ใหคนในชาติ ไทย ชาติอาเซียน และทุกๆชาติในโลกตางๆหรือเพื่อศึกษาชีวิตความเปนอยูในแงมานุษยวิทยาและสังคม วิท ยาหรือเพื่อชมโบราณสถานที่เ กี่ยวโยงกับขอเท็จจริง ทางประวัติศาสตรมีมีอยูในพื้นที่ตําบลบางเกา

766

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี ตามที่บําเพ็ญ เขียวหวาน (2544) ศึกษาการมีสวนรวมของชาวบานในการ ฟนฟูทรัพยากรชายฝง ขององคกรพัฒนาเอกชน กรณีโครงการอันดามัน ขอเสนอแนะ จากการศึกษาเรื่องแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝงในครั้งนี้ มีขอเสนอที่สามารถจะ นําไปวางแผนการพัฒนาพื้นที่ชายฝงของตําบลบางเกาไดเปนอยางดี เพื่อใหชาวตําบลบางเกาโดยเฉพาะ ชุมชนที่อาศัยอยูบริเวณชายฝงไดภาคภูมิใจในพื้นที่ตน ซึ่งสามารถสรุป ไดดังนี้ ขอเสนอแนะเชิงพัฒนา หนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่รวมสงเสริมสนับสนุนทั้งจํานวน งบประมาณ และการอบรมใหความรู กับกลุมอาสาสมัครอนุรักษทรัพยากรสัตวน้ําและสิ่งแวดลอมชายฝงโดย ไมควรละทิ้งวิถีชาวบาน อันเปนวิถี ชีวิตเดิมของชาวตําบลบางเกาในบริเ วณชายฝง หรือ องคก ารบริห ารสวนตําบลบางเกา ควรเพิ่มการ วางแผนในการจัดการทรัพยากรชายฝงที่ยั่งยืนที่สุด และโครงการที่ดําเนินการอยูก็ควรดําเนินการใหเกิดขึ้น ทุกป และเห็นผลจากโครงการเปนรูปธรรม และ หนวยงานของรัฐ เอกชนและกลุมองคกรตางๆ ควรเขามา สรางความเขาใจใหกับเด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ ใหตระหนัก และใหเกิดความรูสึกหวงแหนใน ทรัพยากรชายฝง ที่ตน อาศัยอยู อยางตอเนื่องและมีการติด ตามผลการดําเนินการอยางตอเนื่องเชนกัน รวมทั้ง นโยบายที่ม าจากสวนกลาง สวนภูมิภาคหรือแมแตสวนทองถิ่นเอง ยัง นําไปสูการปฏิบัติไมได โดยเฉพาะในขั้นของการสรางจิตสํานึกของคนในพื้นที่ยังขาดการสานตอจากคนในพื้นที่ ขอเสนอแนะเชิงการวิจัย การหาแนวทางแกไขการทําลายชายฝงโดยธรรมชาติโดยการศึกษาวิจัยการปองกันและแกไขปญหา อุทกภัยในพื้นที่ โดยมีขั้นตอนศึกษาเริ่มจากการศึกษาสถานการณทั่วไป กอนเกิดภัยพิบัติ (Predisaster Period) ระยะเวลาที่เกิดภาวะฉุกเฉินจากการเกิดภัยพิบัติ (Emergency Period) การฟนฟูในระยะเรงดวน (Early Recovery Period) และการฟนฟูในระยะยาว (Long-term Recovery Period) ที่จะนําผลที่ไดไป แกปญหาไดอยางเปนระบบ ลดความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นจากภัยธรรมชาติใหนอยที่สุด อาจศึกษาการมีสวน รวมในจัดการทรัพยากรชายฝงในพื้นที่ชายฝงตําบลบางเกา โดยกําหนดกลุม เปาหมายเปนเด็กและเยาวชน ประชาชนในพื้นที่ หรือ จัดโครงการสรางเขื่อน ในเขตหมูที่ 3 บานบางเกาทะเล ตําบลบางเกา เพื่อ ปองกันน้ํากัดเซาะชายฝง

Graduate School and Research / 15 May 2013

767


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เอกสารอางอิง กรมเจาทา.ความหมายของทรัพยากรชายฝงทะเล.[ออนไลน] [2549] อางเมื่อ 7 ต.ค.2555 จาก http://www.md.go.th/interest/coast.php . บํา เพ็ ญ เขีย วหวาน. 2544.ศึก ษาการมี สว นร วมของชาวบ า นในการฟ นฟู ทรั พยากรชายฝง ของ องคกร พัฒนาเอกชน: กรณีโครงการอันดามัน (ARR) ปยะ กิจถาวรและคณะ . 2543. ศึกษาบทบาทของชุมชนชาวประมงพื้นบานในการจัดการทรัพยากร ชายฝงและการใชกฎหมายในพื้นที่รอบอาวปตตานี.ภาควิชาสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. อเนก โสภณ และคณะ. 2543. ศึ กษาความพึ ง พอใจของประชาชนต อการแก ปญ หาการกั ด เซาะ และฟนฟูพื้นที่ชายฝงทะเล.สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ํา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

768

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความเห็นของผูนําตอบทบาทและยุทธศาสตรของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดปตตานีที่มีตอการ เลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด The Opinion of Leaders to the Role and Strategy of Provincial Islamic Committee in Election of Mosques Islamic Committee

อับดุลฮากัม หะยีเจะหลง1 ฮูเซ็น หมัดหมัน2 1

2

นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการปกครอง คณะศิลปศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ดร. (รัฐศาสตร) อาจารยประจําสาขาวิชารัฐศาสตร คณะศิลปะศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

บทคัดยอ การศึ ก ษานี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ศึ ก ษาความเห็ น ของผู นํ า ต อ บทบาทและยุ ท ธศาสตร ข อง คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดตอการเลือกตั้งคณะกรรมการอิส ลามประจํามัสยิดตางๆ ในจังหวัด ปตตานีโดยมีประชากรเปาหมายเปนผูนําศาสนาจากอําเภอสายบุรี อําเภอไมแกน อําเภอปะนาเระ และ อําเภอกะพอ จํานวน 65 คน ซึ่งกําหนดตัวแปรอิสระ 4 ตัวคือ 1) การประนีประนอม 2) การประหยัด 3) การหลี ก เลี่ ย งความแตกแยกในชุ ม ชน 4) หลั ก การเคารพผู นํ า ซึ่ ง ข อ มู ล ได ม าจากการเก็ บ แบบสอบถามแลววิคราะหขอมูลดวยการวัดระดับความคิดเห็นแบบordinal scale แลวแปลผลพรรณนา ดวยคาความถี่ของรอยละ ปริมาณรอยละที่มากที่สุดของผลลัพธจากตัวแปรอิสระสี่ตัวดังกลาวจะเปนคาที่ สําคัญที่สุดในการยืนยันการตอบคําถามของโจทยวิจัย การศึกษาพบวา ความเห็นของผูนําตอบทบาทและ ยุทธศาสตรการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดปตตานี ดานการประนีประนอม การประหยัด การหลีกเลี่ยงความแตกแยกในชุมชน การเคารพผูนํา สวนมาก อยู ในระดับที่เห็นดวยอยางยิ่งเมื่อแปรผลเปนความถี่ของรอยละอยูในระดับที่สูง คําสําคัญ: ยุทธศาสตรการเลือกตั้ง, ผูนําศาสนา, คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัด คณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด

Graduate School and Research / 15 May 2013

769


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The objective of this study is to investigate the opinion of leaders to the role and strategy of the Provincial Islamic Committee in election of mosques Islamic committee in Pattani province. The group study are 65 religious leaders from four districts of Pattani Province that comprised with Sai Buri district,Maikean district, Panarea distirct and Kapho district. The study generated four independent variables namely: 1) compromise ,2) Save ,3) community split avoiding,and 4) respect of leader. The primary data obtained from questionnaires then analysis data by measuring the level of opinion in form of ordinal scale and interpreted the data in descriptive with the frequency of percentage. The highest percentage of the results is the answer in confirming the research question. The study found that the opinion of leaders to the role and strategists of the Provincial Islamic Committee in election of mosques Islamic committees in Pattani province based on these strategy compromise 2) save 3) community split avoiding, 4) respect of leader, most of leaders most agree with these strategists the percent frequency agreeing level is high. Keywords: election strategy, religion leader, Provincial Islamic Committee, Board of Islamic Mosques.

770

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา การเลื อ กตั้ ง คณะกรรมการอิ ส ลามประจํ า จั ง หวั ด ในพื้ น ที่ ส ามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ซึ่ ง ประกอบดวย จังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส ไมวาจะอยูภายใตสถานการณความไมสงบที่เกิดขึ้น หรือไม คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัด จะเปนผูคัดเลือกประธานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัด ซึ่งนับวาคณะกรรมการอิสลามมีบทบาทสําคัญอยูไมนอย คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดจึงเปนที่รวมของกลุมบุคคลหลายคนเขามารวมกันรวมการ ทํางาน อยางเชนสํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดในประเทศไทยจํานวน 39 จังหวัดที่มีการ เลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจําจัง หวัดทั้ง 39 จังหวัด เปนเรื่องที่นาจับตาเปนอยางยิ่ง แมจะอยู นอกเหนือความสนใจของสังคมไทยสวนใหญ เพราะเปนการเลือกตั้งผูนําศาสนา ที่มีอํานาจบริ หารจัดการ กิจ การศาสนาอิส ลามทั้ง หมดในเขตจัง หวัด นั้นๆ มีความสําคัญ ตอวิถีชีวิ ตของมุส ลิม รวมทั้ง เปนสว น สนับสนุนที่สําคัญในการปฏิบัติงานของหนวยงานภาครัฐตางๆ รวมทั้งเปนฐานในการเลือกตั้งผูเหมาะสมขึ้น ดํารงตําแหนงจุฬาราชมนตรี ซึ่งเปนผูนําศาสนาอิสลามสูงสุดของประเทศไทย บทบาทยุทธศาสตรของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดมีอํานาจหนาที่ในการจัดการกิจการ ศาสนาอิสลามในจังหวัด ทําใหประธานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัด มีอิทธิพลอยางมากตอวิถีชีวิต มุสลิมในจังหวัด โดยเฉพาะตอบรรดาโตะอิหมาม ประจํามัสยิด ซึ่งเปนผูนําศาสนาที่ไดรั บการยกยองจาก ชุมชน ทาทีของผูนําศาสนาเหลานี้ มีผลอยางมากตอการใหความรวมมือตอการปฏิบัติงานตางๆ ของภาครัฐ การเตรียมพรอมเพื่อจัดวางกําลัง ผูที่จ ะมาเปนคณะกรรมการ ก็จะชวยใหมีความพรอมอยางยิ่งตอการ วางตัวผูมาดํารงตําแหนงประธาน อันจะทําใหแนวทางมาตรการตางๆ ที่วางไว ไหลลื่นยิ่งขึ้น ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตซึ่งมีมุสลิมเปนประชากรสวนใหญและกําลังตกอยูในวงลอมของ สถานการณความไมสงบอยูทุกวัน การกาวขึ้นสูตําแหนงผูนําศาสนาอิสลามในพื้นที่เชนนี้จึงเปนที่จับตามอง อยางมาก โครงสรางการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามซึ่งอยูในฐานะตัวแทนของมุสลิมทั่วทั้งประเทศ มาจาก คะแนนเสียงของบรรดาโตะอิหมามในแตละมัสยิด มิใชมาจากการเลือกตั้งจากประชาชนโดยตรง จึงทําให ‘เกณฑ’ ในการตัดสินใจ ‘เลือก’ หรือ ‘ไมเลือก’ ตกอยูที่ดุลพินิจ ของโตะ อิห มามแตล ะทานเทานั้น พระราชบัญ ญัติการบริหารองคกรศาสนาอิส ลามจะถือวามีความสําคัญ อยางเชนพระราชบัญญัติการ บริหารองคกรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 ใน มาตรา 26 กําหนดไววา ในจังหวัดที่มีคณะกรรมการอิสลาม ประจําจังหวัด ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่คือ ใหคําปรึกษาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับศาสนาอิสลาม ตอผูวา คัดเลือกคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดกันอยางไร เพราะตามพระราชบัญญัติการบริหาร องคกรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 คือโตะอิหมามทุกทานในแตละจังหวัด จะไปประชุม ณ สถานที่ ซึ่งปลัด จังหวัดจัดให โดยปลัดจังหวัดเปนประธานในการจัดประชุมโตะอิหมามใหมีการเลือกบุคคลมาเปนกรรมการ อิสลามประจําจังหวัด บทบาท อํานาจ หนาที่ คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดตามพระราชบัญญัติการบริหารองคกร อิสลามพ.ศ.2540 ระบุไววา คณะกรรมการอิสลามมีหนาที่ กํากับดูแล และ ตรวจตราการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการอิ ส ลามประจํ ามั ส ยิ ดในจั ง หวัด ประนี ป ระนอมหรื อชี้ ขาดคํ าร องทุก ขสั ป ปุ รุษ ประจํ า มัสยิด กํากับดูแลการคัดเลือกกรรมการอิสลามประจํามัสยิดใหเปนไปโดยเรียบรอย พิจารณาแตงตั้งและ ถอดถอนกรรมการอิส ลามประจํามัส ยิด สอบสวนพิจ ารณาใหก รรมการอิส ลามประจํามัสยิดพนจาก ตําแหนงตามมาตรา 40(4) สั่งใหกรรมการอิสลามประจํามัสยิดพักหนาที่ระหวางถูกสอบสวน พิจารณา Graduate School and Research / 15 May 2013

771


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เกี่ยวกับการจัดตั้งการยาย การรวม และการเลิกมัสยิด แตงตั้งผูรักษาการในตําแหนงอิหมาม คอเต็บ และ บิหลั่น เมื่อตําแหนงดังกลาววาง ออกหนังสือรับรองการสมรส และการหยาตามบัญญัติแหงศาสนาอิสลาม ประนีประนอมขอพิพาทเกี่ยวกับเรื่องครอบครัวและมรดก ตามบัญญัติแหงศาสนาอิสลาม เมื่อไดรับการรอง ขอ จัดทําทะเบียนทรัพยสินเอกสารและบัญชีรายรับ-รายจายของสํานักงาน ใหเปนปจจุบันและรายงานทุก ป ตลอดจนออกประกาศและใหคํารับรองเกี่ยวกับกิจการศาสนาอิสลามในจังหวัด ดัง นั้น งานวิจั ย นี้ จึ ง มุ ง ที่ จ ะตรวจสอบโจทย ปญ หา “ผู นํา ศาสนามี ความคิ ดเห็น ต อบทบาท ยุทธศาสตรของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดตอการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด อยางไร?” โดยศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดในจังหวัดปตตานี 4 อําเภอคือ อําเภอสายบุรี อําเภอไมแกน อําเภอปะนาเระ และอําเภอกะพอ วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาความเห็นของผูนําศาสนาตอบทบาทและยุทธศาสตรของคณะกรรมการอิสลามประจํา จังหวัดตอการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดตางๆ ในจังหวัดปตตานี วิธีดําเนินการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการวิจัย ไดแก ผูนําศาสนาในเขตอําเภอสายบุรี อําเภอไมแกน อําเภอปะนา เระ และอําเภอกะพอในจังหวัดปตตานี กลุมตัวอยางเปน ผูนําศาสนาในเขตอําเภอสายบุรี อําเภอไม แกน อําเภอปะนาเระ และอําเภอกะพอในจังหวัดปตตานี จํานวน 65 ทาน ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษา เลือกกลุมตัวอยางแบบเฉพาะเจาะจง(purposive sampling) สาเหตุที่เลือกแบบเจาะจงเพราะมีเวลาและ งบประมาณที่จํากัดและผูศึกษาเลือกกลุมตัวอยางที่ผูศึกษารูจักอยางดี ขั้นตอนดําเนินการมีดังตอไปนี้ ขั้นตอนที่ 1. เลือกมัสยิดแบบเจาะจงในเขตอําเภอสายบุรี 3 แหง อําเภอไมแกน 3 แหง อําเภอปะนาเระ 2 แหง และอําเภอกะพอ 3 แหง ขั้นตอนที่ 2. เลือกและผูนําศาสนาเขตอําเภอสายบุรี ทําการสอบถามและผูนําศาสนาจํานวน 24 ทาน เขตอําเภอไมแกน ทําการสอบถาม และผูนําศาสนา จํานวน 18 ทาน เขตอําเภอปะนาเระ ทําการ สอบถามและผูนําศาสนา จํานวน 12 ทาน และเขตอําเภอกะพอ ทําการสอบถามผูนําศาสนา จํานวน 11 ทาน รวมกลุมตัวอยางทั้งหมด 65 ทาน ขอบเขตทางดานเนื้อหา ผูศึก ษาต องการศึ ก ษาโจทยวิจั ย “ผู นําศาสนามี ความคิด เห็น ตอบทบาทและยุท ธศาสตร ของ คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดปตตานีตอการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดอยางไร?” ซึ่ง เปนการตรวจสอบโจทยปญ หาวิจัย โดยผูศึก ษากําหนดตัวแปรที่จ ะศึก ษา 4 ตัวแปรคือ 1) การ ประนีประนอม 2) การประหยัด 3) การหลีกเลี่ยงความแตกแยกในชุมชน และ 4) หลักการเคารพผูนํา เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัย คือ แบบสอบถาม โดยแบงออกเปน 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ขอมูลที่แสดงความคิดเห็นตอคําถามหลักคือ ผูนําศาสนามีความคิดเห็นตอบทบาทและยุทธศาสตรของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดปตตานีตอ 772

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

การเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดอยางไร โดยแบงกลุมคําถามออกเปน 4 กลุม คือ กลุมที่ 1 การประนีประนอมจํานวน 10 ขอ กลุมที่ 2 การประหยัดจํานวน 10 ขอกลุมที่ 3 การหลีกเลี่ยง ความแตกแยกในชุมชนจํานวน 10 ขอ กลุมที่ 4 หลักการเคารพผูนําจํานวน 10 ขอ ขั้นตอนในการสรางและพัฒนาเครื่องมือดังนี้ ขั้นที่แรกศึกษาเอกสารเกี่ยวกับบทบาทยุทธศาสตรคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัด และ กําหนดคุณลักษณะที่ตองการวัด ขั้นที่สองกําหนดโครงสรางและหัวขอของขอคําถามของแบบสอบถามขั้นที่ สามสรางขอคําถามใหครอบคลุมถึงโครงสรางและหัวขอดังกลาวขางตนขั้นที่สี่นําแบบสอบถามที่ปรับปรุง แกไขเสนอผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน เพื่อพิจารณา ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาขั้นที่หานํา แบบสอบถามมาปรับปรุงแกไขใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น แลวนํามาเก็บขอมูลกับกลุมตัวอยาง วิธีดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยกําหนดวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลแบบเจาะจงกับผูนําศาสนา ในเขต 4 อําเภอ แบงเปน เขตอําเภอสายบุรี 3 แหง อําเภอไมแกน 3 แหง อําเภอปะนาเระ 2 แหง และอําเภอ กะพอ 3 แหง โดยผูวิจัยเดินทางออกพบปะกับผูตอบแบบสอบถามและเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง จํานวน 65 ทาน โดยมีวิธีการดําเนินการดังนี้ 1 ชี้แจงและทําความเขาใจกับผูที่จะตอบแบบสอบถาม 2 ดําเนินการเก็บขอมูลของกลุมตัวอยางตามที่กําหนดไว 3 เก็บรวบรวมขอมูลแลวนํามาวิเคราะห การวิเคราะหขอมูล เมื่อรวบรวมขอมูล และตรวจสอบความสมบูร ณของขอมูลจากการเก็บ แบบสอบถามแลว ได จําแนกหมวดหมู ลงลงรหัส (Coding) แลวนําไปวิเคราะหขอมูลโดยเทียบเคียงเพื่อหาความถี่จากระดับ ความสัมพันธระหวางชุดเงื่อนไข (preconditions) คือบทบาทยุทศาสตรดาน 1) การประนีประนอม 2) การประหยัด 3) การหลีกเลี่ยงความแตกแยกในชุมชน และ 4) หลักการเคารพผูนํา กับชุดเหตุการณที่ เปนจริง (occurrence) คือ ความคิดเห็นของผูนําศาสนาตอบทบาทยุทธศาสตรที่คณะกรรมการอิสลาม ประจําจังหวัดใชในการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัส ยิดแตล ะดาน โดยใชสถิติในการแปล คาความถี่เปนคารอยละ และความถี่สูงสุดที่เปนผลจากการเทียบความสัมพันธระหวางชุดเงื่อนไขกับชุด เหตุการณที่เปนจริงจะถือเปนคาความเปนไปได ซึ่งเปนคําตอบตอคําถามการวิจัย คือ “ผูนําศาสนามีความ คิดเห็นตอบทบาทยุทธศาสตรที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดใชในการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลาม ประจํามัสยิดอยางไร” ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย ทราบถึงความคิดเห็นของผูนําตอบทบาทและยุทธศาสตรของคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัด ตอการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด ผลการวิจัย ผลการวิจัย “ความเห็นของผูนําศาสนาตอบทบาทและยุท ธศาสตรของคณะกรรมการอิสลาม ประจําจังหวัดปตตานีที่มีตอการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด ”ผูศึกษาขอเสนอขอมูลกลุม ตัวอยางและผลการวิเคราะหดังนี้

Graduate School and Research / 15 May 2013

773


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ดานการประนีประนอม ตาราง 1 N= 65 (รอยละ 100) ขอ ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม 1. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดเปนผูอํานวยความสะดวกในการเลือกตั้ง คณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด ( 41.5 % ) เห็นดวยอยางยิ่ง (47.7 % ) เห็นดวย (1.5 % ) ไมทราบ ( 6.2 % ) ไมเห็นดวย (3.1 % ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 2. อิสลามสนับสนุนการประนีประนอมในการเลือกตัง้ ( 44.6 % ) เห็นดวยอยางยิ่ง (47.7 % ) เห็นดวย (6.2 % ) ไมทราบ (1.5 % ) ไมเห็นดวย ( 0 % ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 3. การคํานึงถึงความสามัคคีของคนในชุมชนเปนยุทศาสตรสําคัญของคณะกรรมการอิสลามประจํา จังหวัดทีเ่ นนใหมีการประนีประนอมในการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด ( 53.8 % ) เห็นดวยอยางยิ่ง (41.5 % ) เห็นดวย (1.5 % ) ไมทราบ (3.1 % ) ไมเห็นดวย ( 0 % ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 4. ทานเห็นดวยหรือไมที่สํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดใชหลักการประนีประนอมใน การไกลเกลี่ยในกรณีที่มีขอพิพาทในการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด ( 38.5 % ) เห็นดวยอยางยิ่ง (52.3 % ) เห็นดวย (4.6 % ) ไมทราบ (3.1 % ) ไมเห็นดวย (1.5 % ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 5. คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดมีการชี้แจงถึงขอดีขอเสียของการใชหลักการประนีประนอม ในกระบวนการเลือกตัง้ แกผูนําศาสนากอนการเลือกตัง้ คณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด (35.4 % ) เห็นดวยอยางยิ่ง ( 55.4 % ) เห็นดวย (4.6 % ) ไมทราบ (4.6 % ) ไมเห็นดวย ( 0 % ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ตารางที่ 2 (ตอ) ขอ ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม 6. คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดจัดโครงการเผยแพรความรูเกี่ยวกับสันติศึกษากับสัปปุรุษ ประจํามัสยิดกอนการเลือกตัง้ (23.1 % ) เห็นดวยอยางยิ่ง (64.6 % ) เห็นดวย (7.7 % ) ไมทราบ (4.6 % ) ไมเห็นดวย ( 0 % ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 7. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดมีการรณรงคใหสปั บุรุษของแตละมัสยิดมี การประนีประนอมในการเสนอชื่อผูทมี่ ีสทิ ธิสมัครเลือกตัง้ คณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด (20.0 % ) เห็นดวยอยางยิ่ง (50.8 % ) เห็นดวย (15.4 % ) ไมทราบ (13.8 % ) ไมเห็นดวย ( 0 % ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 8. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดรณรงคใหบรรดาสัปบุรุษประจํามัสยิดทํา กิจกรรมรวมกันเปนวิธีการหนึ่งที่จะชวยใหเกิดการประนีประนอมกันหากมีความขัดแยงเกิดขึ้นในชวง ของการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด (24.6 % ) เห็นดวยอยางยิ่ง (58.5 % ) เห็นดวย (12.3 % ) ไมทราบ (4.6 % ) ไมเห็นดวย ( 0 % ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 774

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

9. คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดมีการรณรงคใหมีการซูรอในกระบวนการเลือกตั้ง คณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด เปนหนึ่งในยุทศาสตรของการประนีประนอม (32.3 % ) เห็นดวยอยางยิ่ง (56.9 % ) เห็นดวย (4.6 % ) ไมทราบ (4.6 % ) ไมเห็นดวย (1.5 % ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 10. การประนีประนอมเปนบทบาทยุทธศาสตรที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัด ใชใน การเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด (35.4 % ) เห็นดวยอยางยิ่ง (49.2 % ) เห็นดวย (6.2 % ) ไมทราบ (7.7 % ) ไมเห็นดวย (1.5 % ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง แหลงขอมูล ผูวิจัยสํารวจเมื่อเดือนมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม ป พ.ศ.2553 ผลการวิ เ คราะห พบว า ความเห็ น ของผู นํ า ศาสนาเกี่ย วกั บ การประนี ป ระนอมเป น บทบาท ยุทธศาสตรที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดใชในการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดนั้น เฉลี่ยเปนคารอยละจะไดคารอยละอยูที่ รอยละ 87.38 สวนมากอยูในระดับเห็นดวยและเห็นดวยอยางยิ่ง ดานการประหยัด ตาราง 1 N= 65 (รอยละ 100) ขอ ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม 1. ทานเห็นดวยหรือไมการประหยัดเปนหลักศาสนาอิสลามที่กําหนดไวใชในการเลือกตั้ง ( 61.5% ) เห็นดวยอยางยิ่ง ( 29.2% ) เห็นดวย ( 3.1% ) ไมทราบ (3.1% ) ไมเห็นดวย (3.1% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 2. ทานเห็นดวยหรือไมการหาเสียงในการเลือกตัง้ ถือเปนการฟุมเฟอย ( 21.5% ) เห็นดวยอยางยิ่ง ( 53.8% ) เห็นดวย (4.6% ) ไมทราบ ( 12.3% ) ไมเห็นดวย ( 7.72% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 3. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดยึดถือปฏิบัติเรือ่ งการประหยัดตามหลัก คําสอนของศาสนาอิสลามอยางเครงครัด ( 24.6%) เห็นดวยอยางยิ่ง (29.2% ) เห็นดวย (6.2% ) ไมทราบ (27.7% ) ไมเห็นดวย (12.3%) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 4. การที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดนําเครื่องมืออุปกรณเทคโนโลยีม่ าใชในกระบวนการ เลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดเปนยุทศาสตรหนึ่งของการประหยัด (18.5% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (50.8 % ) เห็นดวย (18.5% ) ไมทราบ (9.2% ) ไมเห็นดวย (3.1% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 5. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดเห็นดวยกับการใชการโหวตเสียงใน มัสยิดในการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจําามัสยิดเปนวิธีการที่ประหยัด (16.9% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (53.8% ) เห็นดวย (13.8% ) ไมทราบ (10.8% ) ไมเห็นดวย (4.6% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 6. ทานเห็นดวยหรือไมคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดใชงบประมาณของรัฐอยางประหยัดในการ เลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด (18.5% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (53.8% ) เห็นดวย (16.9% ) ไมทราบ Graduate School and Research / 15 May 2013

775


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

(10.8% ) ไมเห็นดวย ( 0% ) ไมเห็นดวยอยางยิง่ 7. ทานเห็นดวยหรือไมการที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดสงเสริมใหสัปบุรุษทุกมัสยิดใหมีการ ประชุมลวงหนาโดยเชิญผูอาวุโสและนักวิชาการทองถิ่นเสนอรายชื่อผูม ีสิทธิลงสมัครเลือกตั้งกอนถึงวัน ทําการเลือกตั้งเปนยุทศาสตรทเี่ นนการประหยัด (30.8% ) เห็นดวยอยางยิ่ง ( 50.8% ) เห็นดวย (9.2% ) ไมทราบ (9.2% ) ไมเห็นดวย ( 0% ) ไมเห็นดวยอยางยิง่ 8. การที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดสงเสริมใหมีการซูรอในกระบวนการเลือกตั้งของ คณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดถือวาเปนหนึ่งในยุทศาสตรของการประหยัด (27.7% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (50.8% ) เห็นดวย (10.8% ) ไมทราบ (9.2% ) ไมเห็นดวย (1.5% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ตารางที่ 2 (ตอ) ขอ ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม 9. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดสงเสริมสัปปุรุษประจํามัสยิดแตละ มัสยิด ใชวิธีการเลือกตัง้ ที่ประหยัด (29.2% ) เห็นดวยอยางยิ่ง ( 47.7% ) เห็นดวย (10.8% ) ไมทราบ (12.3% ) ไมเห็นดวย ( 0% ) ไมเห็นดวยอยางยิง่ 10. ทานเห็นดวยหรือไมการประหยัดเปนบทบาทยุทธศาสตรที่คณะกรรมการอิสลามประจํา จังหวัดใชในการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด (32.3% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (49.2% ) เห็นดวย (9.2% ) ไมทราบ (9.2% ) ไมเห็นดวย ( 0% ) ไมเห็นดวยอยางยิง่ แหลงขอมูล

ผูวิจัยสํารวจเมื่อเดือนมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม ป พ.ศ.2553

ผลการวิเคราะหขอมูลพบวา ความเห็นของผูนําศาสนาเกี่ยวกับการประหยัดเปนบทบาท ยุทธศาสตรที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดใชในการเลือกตั้งคณะกรรมการประจํามัสยิด เฉลี่ยอยูที่ รอยละ 75.06 เห็นดวยและเห็นดวยอยางยิ่ง ความเห็นผูนําศาสนาดานการหลีกเลี่ยงความแตกแยกในชุมชน ตารางที่ 1 N= 65 (รอยละ 100) ขอ ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม 1. ทานเห็นดวยหรือไมความสามัคคีและการหลีกเลี่ยงความแตกแยกเปนหลักการของศาสนา อิสลาม ( 72.3% ) เห็นดวยอยางยิ่ง ( 26.2% ) เห็นดวย ( 0% ) ไมทราบ ( 0% ) ไมเห็นดวย ( 1.5% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 2. ทานเห็นดวยหรือไมความสามัคคีของชุมชนนําไปสูความเจริญของชาติ (63.1% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (35.4% ) เห็นดวย (1.5% ) ไมทราบ (0% ) ไมเห็นดวย ( 0% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 3. ทานเห็นดวยหรือไมการหลีกเลี่ยงความแตกแยกในชุมชนจะทําใหชุมชนมีความเขมแข็งขึ้น 776

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

(40.0% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (47.7% ) เห็นดวย (9.2% ) ไมทราบ ( 0% ) ไมเห็นดวย (3.1% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 4. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดรณรงคเพื่อไมใหมกี ารใสรายใหกันและ กันในชวงการเลือกตัง้ คณะกรรมารอิสลามประจํามัสยิดเปนสวนหนึ่งของวิธีการหลีกเลี่ยงความ แตกแยก (52.3% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (40.0% ) เห็นดวย (1.5% ) ไมทราบ (4.6% ) ไมเห็นดวย (1.5% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ตารางที่ 2 (ตอ) ขอ ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม 5. ทานเห็นดวยหรือไมการที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดจัดสัมมนาเรือ่ งประชาธิปไตยใหกบั สัปปุรุษแตละมัสยิดกอนมีการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดเปนสวนหนึง่ ของการ หลีกเลี่ยงความแตกแยกในชุมชน (27.7% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (55.4% ) เห็นดวย (9.2% ) ไมทราบ (6.2% ) ไมเห็นดวย ( 1.5% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 6. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดสรางความเขาใจถึงกระบวนการเลือกตั้ง และขอดีขอเสียของการเลือกตัง้ ใหกบั สัปปุรุษประจํามัสยิดกอนมีการมีการเลือกตั้งคณะรรมการ อิสลามประจํามัสยิดเปนสวนหนึ่งของการหลีกเลี่ยงความแตกแยกในชุมชน (32.3% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (52.3% ) เห็นดวย (9.2% ) ไมทราบ (4.6% ) ไมเห็นดวย (1.5% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 7. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดสงเสริมใหมีการชูรอในกระบวนการ เลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดเปนวิธีการหนึ่งของการหลีกเลี่ยงความแตกแยกใน ชุมชน (29.2% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (56.9% ) เห็นดวย (7.7% ) ไมทราบ (4.6% ) ไมเห็นดวย (1.5% ) ไมเห็นดวยอยางยิง่ 8. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดเขาไปมีสวนเกี่ยวของในกระบวนการ เลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดชวยลดความแตกแยกที่อาจจะมีจากการเลือกตั้งนั้นได (30.8% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (44.6% ) เห็นดวย (12.3% ) ไมทราบ ( 7.7% ) ไมเห็นดวย (4.6% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 9. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการ อิสลามประจําจังหวัดสรางความปรองดองและควบคุมการ เลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดเปนสวนหนึง่ ของการหลีกเลี่ยงความแตกแยก (29.2% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (53.8% ) เห็นดวย (9.2% ) ไมทราบ ( 6.2% ) ไมเห็นดวย (1.5% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 10. ทานเห็นดวยหรือไมการหลีกเลี่ยงความแตกแยกในชุมชนเปนบทบาทยุทธศาสตรที่คณะกรรมการ อิสลามประจําจังหวัดใชในการเลือกตัง้ คณะกรรมการประจํามัสยิด (33.8% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (43.1% ) เห็นดวย (9.2% ) ไมทราบ (9.2% ) ไมเห็นดวย (4.6% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง แหลงขอมูล ผูวิจัยสํารวจเมื่อเดือนมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม ป พ.ศ.2553 Graduate School and Research / 15 May 2013

777


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ผลการวิเคราะหขอมูลพบวาความเห็นของผูนําศาสนาเกี่ยวกับการการหลีกเลี่ยงความแตกแยกเปน ยุทธศาสตรทคี่ ณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดใชในการเลือกตั้งคณะกรรมการประจํามัสยิดหรือไมนั้น จากการสอบถามผูตอบแบบสอบถามกลุมตัวอยางแลววัดคาเฉลี่ยไดอยูที่คาเฉลี่ยรอยละ 86.61 ในระดับที่ เห็นดวยและเห็นดวยอยางยิ่ง ความเห็นผูนําศาสนาดานการเคารพผูนํา ตารางที่ 1 N= 65 (รอยละ 100) ขอ ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม 1. ทานเห็นดวยหรือไมผูนําเปนบุคคลทีส่ ังคมมุสลิมใหความศรัทธาและนับถือตามหลักการ อิสลาม (66.2% ) เห็นดวยอยางยิ่ง ( 32.3% ) เห็นดวย ( 1.5% ) ไมทราบ ( 0% ) ไมเห็นดวย ( 0% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 2. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดมีสิทธิทจี่ ะคัดคานผลการเลือกตั้งหาก พบวาผูที่ถูกคัดเลือกใหเปนคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดนั้นเปนบุคคลทีป่ ฏิบัติไมตรงกับหลักการ ศาสนาอิสลาม (49.2% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (36.91% ) เห็นดวย (1.5% ) ไมทราบ (7.7% ) ไมเห็นดวย (4.6% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 3. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดมีการอบรมสัปบุรุษประจํามัสยิดวาดวย เรื่องการเคารพ มารยาท และกฎระเบียบในการถอดถอนผูน ํากอนมีการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลาม ประจํามัสยิด (81.5% ) เห็นดวยอยางยิ่ง ( 18.5% ) เห็นดวย ( 0% ) ไมทราบ (0% ) ไมเห็นดวย ( 0% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ตารางที่ 2 (ตอ) ขอ ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม 4. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดมีการรณรงคและสงเสริมใหสปั บุรุษ ประจํามัสยิดมีการปรึกษาหารือผูน ํากอนมีการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดเปน วิธีการหนึ่งทีเ่ นนใหมีการเคารพผูนํา (47.7% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (15.4% ) เห็นดวย (1.5% ) ไมทราบ (18.5%) ไมเห็นดวย (16.9%) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 5. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดมีการขอคําปรึกษาหารือกับผูนําชุมชน นั้นๆในกรณีทมี่ ีขอพิพาทในการเลือกตัง้ คณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดเปนยุทศาสตรหนึ่งของ การเคารผูนํา (24.6% ) เห็นดวยอยางยิ่ง ( 58.5% ) เห็นดวย (6.2% ) ไมทราบ (10.8% ) ไมเห็นดวย ( 0% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 6. ทานเห็นดวยหรือไมคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดจัดโครงการคายอบรมคุณธรรมจริยธรรม ใหกับบรรดาผูนําในทองถิ่นเปนยุทศาตรหนึ่งของการเคารพผูนํา (26.2% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (58.5% ) เห็นดวย (9.2% ) ไมทราบ 778

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

(6.2% ) ไมเห็นดวย ( 0% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 7. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดมีการปรึกษาหารือกับผูนําในชุมชนนั้นๆ กอนมีการเลือกตั้งคระกรรมการอิสลามประจํามัสยิดเปนสวนหนึ่งในยุทศาสตรการเคารพผูนํา (35.4% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (52.3% ) เห็นดวย (6.2% ) ไมทราบ (6.2% ) ไมเห็นดวย ( 0% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 8. ทานเห็นดวยหรือไมการที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดรณรงคและสงเสริมใหมีการซูรอใชใน กระบวนการเลือกตัง้ คณะกรรมการอิลามประจํามัสยิดเปนวิธีการหนึ่งที่เนนใหการเคารพผูนํา (26.2% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (47.7% ) เห็นดวย (15.4% ) ไมทราบ (9.2% ) ไมเห็นดวย (1.5% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 9. ทานเห็นดวยหรือไมที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดเปนผูนําทีม่ ีสทิ ธิตัดสินชี้ขาดตอผลการ เลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดและสัปปุรุษทุกทานแตละมัสยิดตองศรัทธาดวย สม่ําเสมอ (21.5% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (55.4% ) เห็นดวย (13.8% ) ไมทราบ (7.7% ) ไมเห็นดวย (1.5% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 10. ทานเห็นดวยหรือไมหลักการเคารพผูนําเปนบทบาทยุทธศาสตรที่คณะกรรมการอิสลามประจํา จังหวัดใชในการเลือกตั้งคณะกรรมการประจํามัสยิด (26.2% ) เห็นดวยอยางยิ่ง (55.4% ) เห็นดวย (10.8% ) ไมทราบ (7.7% ) ไมเห็นดวย ( 0% ) ไมเห็นดวยอยางยิ่ง แหลงขอมูล ผูวิจัยสํารวจเมื่อเดือนมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม ป พ.ศ.2553 ผลการวิเ คราะหข อ มูล พบว า ความเห็น ของผู นํา ศาสนาเกี่ย วกับ การเคารพผู นํา เปน บทบาท ยุทธศาสตรที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดใชในการเลือกตั้งคณะกรรมการประจํามัสยิดหรือไมนั้น จากการสอบถามกลุมตัวอยางเฉลี่ยเปนคารอยละ 83.56 เห็นดวยและเห็นดวยอยางยิ่ง อภิปรายผล จากผลการศึก ษาความเห็นของผูนําตอบทบาทและยุท ศาสตรที่คณะกรรมการอิส ลามประจํา จังหวัดใชในการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดในเขตสี่อําเภอคือ เขตอําเภอสายบุรี เขต อําเภอไมแกน เขตอําเภอปะนาเระและเขตอําเภอกะพอของจังหวัดปตตานีพบวาผูนําสวนใหญใหความคิด เห็นตอบทบาทและยุทศาสตรที่ที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดใชในการเลือกตั้งคณะกรรมการมัสยิด คือการประนีประนอม 2) การประหยัด 3) การหลีกเลี่ยงความแตกแยกในชุมชน และ 4) หลักการ เคารพผูนําอยูในระดับเห็นดวยอยางยิ่งซึ่งสอดคลองกับสมมุติฐานที่ตั้งไว จากขอคนพบสามารถที่จะยืนยัน ถึงจุดยุทศาสตรที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดใชในการเลือกตั้งคณะกรรมการมัสยิด เปนการตัด ปญหาที่ตนเหตุของความขัดแยงก็จะชวยลดปญหาในดานความสัมพันธของสัปปุรุษประจํามัสยิดไดในระดับ หนึ่ง ทั้ง4ยุทศาสตรถือวาเปนสวนหนึ่งของคําสอนของอิสลามเรื่องการแตงตั้งและคัดเลือกผูนําอาจจะกลาว ไดวาเปนสวนหนึ่งของอารยะธรรมอิสลามซึ่งเปน อารยะธรรมที่รักสันติ โดยเฉพาะการประหยัดเปนยุทศา สตรหนึ่งที่คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดใชในการเลือกตั้งคณะกรรมการประจํามัสยิดซึ่งผูน าํ สวนมาก เห็นดวยอยางยิ่ง การเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดสวนมากใชระบบคัดเลือกภายในลวงหนา Graduate School and Research / 15 May 2013

779


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ของคณะผูอาวุโสที่สัปปุรษประจํามัสยิดเคารพนับถือ ในการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิด ทั้งนี้เพราะวาอันที่จริงแลวการเลือกตั้งคณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดไมควรใชงบประมาณมากมายเกิน ขอบเขตอันเปนจริง ดังในอัลกุรอานบทหนึ่งไดกลาววา ดังนั้นจงกลาวเถิด(มุฮัมมัด) วาบรรดาผูไดรับคัมภีร ทั้งหลาย! จงอยาปฏิบัติใหเกินขอบเขตในศาสนาของพวกทาน โดยปราศจากความเปนจริง และจงอยา ปฏิบัติตามความใครใฝต่ําของพวกหนึ่งพวกใดที่พวกเขาไดหลงผิดมากอนแลว และไดทําใหผูคนมากมาย หลงผิดดวย และพวกเขาก็ไดหลงผิดไปจากทางอันเที่ยงตรง (อัล-กุรอาน, 5 :77) จากขอคนพบในการศึกษา ครั้งนี้ทําใหผูศึกษามองบริบทสังคมสามจังหวัดชายแดนใตสภาพปจจุบันที่กระแสการแขงขันในการเลือกตั้ง ทั่วไปเต็มไปดวยการแขงขันโดยเฉพาะกอนการเลือกตั้งมีการใชเงินในการซื้อเสียงอยางมหาศาลเพื่อใหชนะ คูตอสูซึ่ง เมื่อชนะการเลือกตั้ง แล วสิ่ง ที่ห ลีก เลี่ยงไมไดคือการไถคื นในหลากหลายรู ป แบบเชนการกิ น เปอรเซ็นตจากโครงการตางๆซึ่งวงจรการโกงงบประมาณหรือการคอรัปชั่นในหลากหลายรูปแบบลวนมา จากกระบวนการของการเลือกตั้งที่ไมชัดเจนที่ชัดเจนก็คือเสียงขางมากเปนตัวกําหนดวาใครมีสิทธิ์ที่จะเข า ไปดํารงตําแหนงสําคัญ ทางการเมืองแตก ระบวนการสรรหาผูสมัครและการหาเสียงยัง ไมมียุท ศาสตรที่ ชัดเจน แตบริบทสังคมสามจังหวัดชายแดนใตซึ่งประชากรสวนใหญเปนมุสลิม หากมุสลิมสามารถประยุคใช หลักคําสอนของศาสนาอิส ลามที่แทจริงในกระบวนการเลือกตั้งทั่วไปจะชวยลดปญหาความขัดแยงทาง การเมือง ปญหาคอรัปชั่น และลดปญหาการสิ้นเปลืองงบประมาณการเลือกตั้งไดในระดับหนึ่งและเปนการ เปดโอกาสใหคนดีคนเกงคนมีคุณธรรมและมีใจที่จะพัฒนาบานเมืองไดมีโอกาสในทางการเมืองกับเขาบาง ขอเสนอแนะ 1) จากการศึกษาเรื่อง ความเห็นของผูนําตอบทบาทและยุทธศาสตรของคณะกรรมการอิสลาม ประจําจังหวัดปตตานีทมี่ ีตอการเลือกตัง้ คณะกรรมการอิสลามประจํามัสยิดพบวา การใชยุทศาสตรของการ ประนีประนอม หลีกเลี่ยงความขัดแยง การประหยัดงบประมาณ และหลักการใหความเคารพผูนําสามารถ ลีกเลี่ยงความขัดแยงไดในระดับหนึง่ เพราะเกือบทุกครัง้ ทีม่ ีการคัดเลือกผูนํา/หัวหนา/ประธาน/ผูบ ริหารของ หนวยงานหรือองคกรภาครัฐก็ดเี อกชนก็ดหี รือแมแตองคกรศาสนามักจะมีความขัดแยงอยูบอ ยครั้งและ สิ้นเปลืองงบประมาณในการเลือกตั้งซึ่งบางครัง้ นําไปสูผลเสียมากกวาผลดีดังนั้นผูศึกษาคิดวาจากขอคนพบ ของการศึกษานี้เหมาะที่จะลองนําไปประยุคใชกับทุกองคกรหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน 2)เนื่องจากการศึกษาครั้งนีผ้ ูศึกษาใชวิธีแบบสอบถามในการเก็บขอมูลทําใหประเด็นขอคิดเห็นของผูตอบ แบบสอบถามถูกจํากัดในวงแคบดังนั้นผูศึกษาคิดวาถาจะมีการศึกษาเรือ่ งนี้ควรใชแบบสัมภาษณแบบ เจาะลึกนาจะไดขอคิดเห็นทีก่ วางมากขึ้น เอกสารอางอิง กริยา หลังปูเตะ. 2008. สันติศึกษา. เอกสารประกอบการรายวิชา. มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา: สถาบั น อั ส สลาม. กรมการปกครอง. ม.ป.ป. ศูนยสารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ขอมูล การปกครอง." [ออนไลน]. http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad76/jungwad76.htm (18/8/2553). กรมการปกครอง .2552. จํานวนราษฎรทั่วราชอาณาจักรแยกเปนกรุง เทพมหานครและจัง หวัดตางๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552. กรมการปกครอง. 780

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสํานักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง http://www.dopa.go.th/stat/y_stat.html 2553 (30/3/ 2553). โกวิท วงศสุร วัฒน . ม.ป.ป. หลักรัฐ ศาสตร. ภาคีสมาชิกราชบัณทิตยสถานสํานักธรรมศาสตรและ การเมือง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คณะสังคมศาสตร : ภาคริชารัฐศาสตรและรัฐประศาสน ศาสตร. ครองชัย หัตถา. 2548. ประวัติศาสตรปตตานี สมัยอาณาจักรโบราณถึงการปกครอง 7 หัว เมือง. ปตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ภาควิชาภูมิศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร. ชัยวัฒน สถาอานันท. 2539. สันติทฤษฏี/วิถีธรรม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง. เชคริฎอ อะหมัด สมะดี . 2009. การเมืองการปกครอง คิลาฟะฮฺ: การเลือกตั้งผูนํามุสลิมตาม ระบอบอิสลาม. http//www. Islammore.com. (23/10/2553). ฎอฮา ญาบี ร อั ล อั ล วานี . 2548. คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรมในการแสดงความคิ ด เห็ น ที่ ตา งกันในอิส ลาม. อิบ ราเฮ็ม ณรงครัก ษาเขต และ ธวัช นุยผอม (แปลและเรียบเรียง). ปตตานี: วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ตายูดิน อุสมาน, มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ และซัยนูรดีน นิมะ. 2545. การบริหารมัส ยิดในสี่จังหวัด ชายแดนภาคใต. ปตตานี:วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร นิเวศน อรุณเบิกฟา และคณะ. 2549. โครงการเสริมสรางความรูเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและการจัดการ ความขัดแยง ซึ่งสมานฉันทในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต. ปตตานี:แผนกวิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. มูฮัมหมัด ซัยยิด ฎอนฎอวี . 2550. ชุมนุมปาฐากถาผูนําองคกรมุสลิมโลก. ยะลา: หางหุนสวนจํากัด ยะลาการพิมพ. มานิต รัตนสุวรรณ. 2551. นักเลือกตั้งมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพคัสเบลโล, บจก. มานพ จิ ต ต ภู ษ า, ฉวี ว รรณ วรรณประเสริ ฐ และพี ร ยศ ราฮิ ม มู ล า. 2545. ความร ว มมื อ ระหว า งไทยและมาเลเซี ย ในการปราบปรามกองกํ า ลั ง ที่ ป ฏิ ป ก ษ ต อ รั ฐ บาลไทยและ มาเลเซีย. ปตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. มัรวาน สะมะอุน . 2524 . อัลกุรอาน ฉบับแปลภาษาไทย . กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ ส.วงศเสงี่ยม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. 2545. รายงานการวิจัยประเมินผลจังหวัดทดลองแบบบูรณาการเพื่อพัฒนา กรณีจังหวัดนราธิวาส และ จังหวัดปตตานี. ปตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ม.ป.ผ. 2553. ภาวะผูนําและการจัดการความขัดแยง “ตลาดบางหลวงริมน้ําทาจีน ร.ศ.122. http://www.santitham.org/forum/index.php?action=post;board=8.0 (23/10/2553). ยูซุฟ อัล ก็อรฏอวีย . 2545. ความขัด แยงทางฟกฮฺ ความแตกตา งที่ตองอาศัย ความเขา ใจ (คัด แปล). ยะลา: สมาคมยุวแหงประเทศไทย. ยูซุฟ อัล ก็อรฏอวีย . 2549. สันติภาพและสงคราม. ระหวางบทบัญญัติในอัล กุร อานและคัมภีรโ ต ราห (แปลและเรียบเรียงโดยมัสลัน มาหะมะ). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพอัล-อีหมาน พงษพันธ พงษโสภา. 2542. พฤติกรรมกลุม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพพัฒนาศึกษา. เริงชัย ตันสกุล . เศรษฐศาสตรการเมือง 3 จังหวัดภาคใต ( ตอนที่ 2). ปตตานี: ภาควิชาชิววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

Graduate School and Research / 15 May 2013

781


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

แวอุเซ็ง มะแดเฮาะ, ดลมนรรจน บากา, และ สุวิชา ยี่สุนทรง . 2539. บทบาทมัสยิดใน สามจังหวัด ชายแดนภาคใต. ปตตานี: วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. วิชัย คัมศิร.ิ 2550. วิกฤติการเมือง 2549 –2550. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรังสิต วันชัย มีชาติ. 2548. พฤติกรรมการบริหารองคการสาธารณะ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ศอลิห หุสัยน อัลอายิด . 2005. สิทธิของชนตางศาสนิกในประเทศอิสลาม. แปลและเรียบเรียงโดย อุษมาน อีดรีส. กรุงเทพฯ : บริษัทเอดิสันเพรสโพรดักสจํากัด. สมยศ นาวีการ. 2531. การบริหารเชิงกลยุทธ . กรุงเทพ ฯ: บรรณกิจเทรดดิ์ง. สุริยะ สะนิวา และคณะ. 2551. การบริหารจังหวัดชายแดนภาคใตกับการเปลี่ยนแปลงสูความรุนแรง ของชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายู. ปตตานี: โรงพมพมิตรภาพ สิทธิพงศ สิทธขจร . 2535. การบริหารความขัดแยง. กรุงเทพฯ: จงเจริญการพิมพ. สุ ริ ย ะ สะนิ ว า และอั บ ดุ ล เลาะ อุ ม า . 2550. การเมื อ งกลุ ม ชาติ พั นธุ : กรณี ศึก ษาชาวไทย มุสลิมเชื้อสายมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต. ปตตานี: มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดยะลา. 2540. การบริหารองคกรศาสนาอิสลาม ตาม พ.ร.บ.การบริหารองคกรศาสนา. ยะลา : สํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจํา จังหวัดยะลา สํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดปตตานี . 2550. แผนงานและโครงการของสํา นักงาน คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดปตตานี. สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจําจังหวัดปตตานี . 2546. ระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้ง วา ดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น. อิสมาอีลลุตฟ จะปะกียา. 2006 . อิสลามศาสนาแหงสันติภาพ . ปตตานี : โรงพิมพมิตรภาพ. อับ ดุล รอมะ สามะอาลี . 2551. บทบาทครูส อนศาสนาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิส ลามในการ พัฒนาชุมชน จังหวัดชายแดนภาคใตตอนลาง. วิท ยานิพนธการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย มหาวิทยาลัยทักษิณ. อนันต (อับ ดุลฮา กีม) วันแอเลาะ. ม.ป.ป. การบริหารและการใชอํานาจของผูนํา ตามหลักศาสนา อิสลาม.เลขานุการคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัด นนทบุรี. http://learners.in.th/blog/anda6104/225656 (23/10/2552) Dept.Agama Proyek Pengadaan kitab Suci Al-Quraan.1974.Al Quraan dan Terjemahnya. Jakarta : PT. Bumi Restu. Mamatayuding Samah .2002. Pentadbiran Undang-Undang Islam Di Tiga Wilayah Selatan Thailand. Kualalumpur : Universiti Malaya. Naceur Jabnoun . 2548. Islam and Management . (อิสลามและการจัดการ) . นิเลาะ แวอุเซ็ง (แปลและเรียบเรียง) . ปตตานี: วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

782

Graduate School and Research / 15 May 2013


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﻋﻼﻗﺔ ﺟﻨﻮب ﺗﺎﻳﻼﻧﺪ ﺑﺎﳊﺠﺎز ) دراﺳﺔ اﺟﺘﲈﻋﻴﺔ (‬

‫‪The relationship of southern Thailand with Al-Hijaz‬‬ ‫ﻋﺒﺪ اﻟﻘﺎري ﻣﻨﺠﻮا ) رﺳﻼن ﻋﺒﺪ اﷲ (‬ ‫اﻟﻄﺎﻟﺐ ﺑﻤﺮﺣﻠﺔ اﻟﲈﺟﺴﺘﲑ‪ ،‬ﺑﻘﺴﻢ اﻟﺘﺎرﻳﺦ واﳊﻀﺎرة اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‪ ،‬ﺟﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‬

‫ﻣﻠﺨﺺ اﻟﺒﺤﺚ‬ ‫ﳞ ـ ـ ـ ـ ــﺪف ﻫ ـ ـ ـ ـ ـ ـﺫا اﻟﺒﺤ ـ ـ ـ ـ ــﺚ إﱃ دراﺳ ـ ـ ـ ـ ــﺔ اﺟﺘﲈﻋﻴ ـ ـ ـ ـ ــﺔ ﺣ ـ ـ ـ ـ ــﻮل اﻟﻌﻼﻗ ـ ـ ـ ـ ــﺔ ﺑ ـ ـ ـ ـ ــﲔ ﺟﻨ ـ ـ ـ ـ ــﻮب ﺗﺎﻳﻼﻧ ـ ـ ـ ـ ــﺪ واﳊﺠ ـ ـ ـ ـ ــﺎز‬ ‫ﰲ ﺗﻮﺿ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻴﺢ أﺣ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻮال اﳌﻼﻳ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻮ واﻟﻌ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺮب ﰲ ﺷ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺒﻪ ﺟﺰﻳ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺮة اﳌﻼﻳ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻮ واﻻﻧﻌﻜ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎس اﳌﺘﺒ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎدل ﻓ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻴﲈ ﺑﻌـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺪ‬ ‫ﺣـ ـ ـ ـ ــﻮل ﻣﻨﻄﻘـ ـ ـ ـ ــﺔ اﳊﺠ ـ ـ ـ ـ ــﺎز ‪ ،‬وأﺛـ ـ ـ ـ ــﺮ اﻟﻌ ـ ـ ـ ـ ــﺮب ﰲ ﻋﻼﻗـ ـ ـ ـ ــﺘﻬﻢ ﺑـ ـ ـ ـ ــﺎﳌﻼﻳﻮ ﻣﻨ ـ ـ ـ ـ ـ ـﺫ ﻓﺠـ ـ ـ ـ ــﺮ اﻟﺘ ـ ـ ـ ـ ــﺎرﻳﺦ ‪ ،‬واﳌﻨـ ـ ـ ـ ــﺎﻫﺞ اﳌﺘﺒﻌ ـ ـ ـ ـ ــﺔ‬ ‫ﻫ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻲ دراﺳـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ اﺟﺘﲈﻋﻴ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ اﳌﺴ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺘﻨﺒﻂ ﻣ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻦ ﻛﺘ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺐ اﻟﺘ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎ رﻳﺦ ﺑﺎﻟﻠﻐ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ اﳌﻼﻳﻮﻳ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ و اﻟﻌﺮﺑﻴ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ واﻹﻧﺠﻠﻴﺰﻳ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ‪،‬‬ ‫واﳌﻌﻠﻮﻣـ ـ ـ ـ ـ ــﺎت ﻣـ ـ ـ ـ ـ ــﻦ اﻹﻧﱰﻧـ ـ ـ ـ ـ ــﺖ واﳌﻌﻠﻮﻣـ ـ ـ ـ ـ ــﺎت اﻟﺼـ ـ ـ ـ ـ ــﻮﺗﻴﺔ اﳌﺴـ ـ ـ ـ ـ ــﺠﻠﺔ وﻗـ ـ ـ ـ ـ ــﺪ ﺗﻮﺻـ ـ ـ ـ ـ ــﻞ اﻟﺒﺎﺣـ ـ ـ ـ ـ ــﺚ ﻣـ ـ ـ ـ ـ ــﻦ ﺧـ ـ ـ ـ ـ ــﻼل‬ ‫ﻣﺎ ﺫﻛﺮ ﰲ ﻓﺼﻮﻟﻪ اﻟﻨﺘﺎﺋﺞ اﻟﺘﺎﻟﻴﺔ ‪-:‬‬ ‫‪.1‬ﻋﻼﻗﺔ اﻟﻌﺮب ﺑﺎﳌﻼﻳﻮ ﻫﺪﻓﺖ إﱃ رﺳﺎﻟﺘﻬﻢ اﳊﻤﻴﺪة ﰲ اﳌﻨﻄﻘﺔ‪ ) .‬ﻋﻼﻗﺔ دﻳﻨﻴﺔ (‬ ‫‪.2‬اﻧﺘﺸـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎراﻟﻌﻠﲈء واﻟـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺪﻋﺎة اﻟﻌـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺮب ﰲ أوﻗـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎت ُﻣﺒﻜـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺮة ﳑـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎ ﺟﻌﻠﻬـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻢ ﻳﻔﺘﺤـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻮن اﳌﺮاﻛـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺰ‬ ‫اﻟﺪﻋﻮة ﰲ ﻣﻨﻄﻘﺔ ‪ ) .‬ﻋﻼﻗﺔ ﻋﻠﻤﻴﺔ (‬ ‫‪ .3‬وﺻ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻞ اﻹﺳ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻼم ﰲ اﳌﻨﻄﻘ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ ﺑﻄﺮﻳﻘ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ ﻣﺘﻔﺎوﺗ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ اﻷزﻣ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎن واﳌﻜ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎن وﻣﻨﻬ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎ اﻧﺘﴩ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ﰲ‬ ‫اﻟﻘ ـ ـ ـ ــﺮن اﻟﺴـ ـ ـ ـ ــﺎﺑﻊ واﻟﺜـ ـ ـ ـ ــﺎﻣﻦ اﳌـ ـ ـ ـ ــﻴﻼدي ﻋـ ـ ـ ـ ــﻦ ﻃﺮﻳـ ـ ـ ـ ــﻖ اﻟﺘﺠـ ـ ـ ـ ــﺎرة‪ .‬ﺛـ ـ ـ ـ ــﻢ ﰲ اﻟﻘـ ـ ـ ـ ــﺮن اﻟﺜـ ـ ـ ـ ــﺎﲏ ﻋﴩ ـ ـ ـ ـ ـ واﻟﺜﺎﻟـ ـ ـ ـ ــﺚ ﻋﴩ ـ ـ ـ ـ ـ‬ ‫اﳌﻴﻼدي ﺣﺘﻰ ﻣﻄﻠﻊ اﻟﻘﺮن اﳋﺎﻣﺲ ﻋﴩ اﳌﻴﻼد ‪ ) .‬ﻋﻼﻗﺔ ﺗﺎرﳜﻴﺔ (‬ ‫‪.4‬اﻧﺪﻣﺎج اﳌﻼﻳﻮ ﺑﺎﳉﻨﺴﻴﺎت ‪ ،‬ﻧﺘﺠﺖ ﻋﻨﻬﺎ اﻻﺣﺘﻜﺎك ﺑﺎﻵﺧﺮﻳﻦ ﰲ اﳌﻨﻄﻘﺔ ﻣﻦْ ﻛﺎن أﺻﻠﻬﻢ ﻋﺮﰊ‬ ‫وﻫﻨﺪي وﻓﺎرﳼ وﺻﻴﻨﻲ ‪ .‬ﺛﻢ ﻋﻜﺴﺖ اﳌﻼﻳﻮﻳﲔ ﻣﺜﻠﻬﺎ ﰲ اﳊﺠﺎز ‪ ) .‬ﻋﻼﻗﺔ اﻟﻨﺴﺐ (‬ ‫‪.5‬ﺑﺪاﻳﺔ ﺗﻮاﺟﺪ اﳌﻼﻳﻮ ﰲ اﳉﺰﻳﺮة ﻋﲆ ﺟﻨﺴﲔ ﳘﺎ ﻓﺮوﺗﻮ و دﻳﻮﺗﺮو ‪ ( Deutro and Proto) ،‬اﻟـﺫﻳﻦ‬ ‫ﺳﻜﻨﻮا اﳌﻨﻄﻘﺔ ‪ ) .‬ﻋﻼﻗﺔ اﻻﺳﺘﻄﺎن(‬ ‫‪.6‬ﺗﻮاﺟـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺪ ﻣﻨﻄﻘـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ اﳌﻼﻳـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻮ واﺳـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﱰاﺗﻴﺠﻴﺔ ﺑﺤـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎرﻫﻢ ﺣﻴـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺚ رﺑﻄـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺖ ﲡـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎرﲥﻢ ﺑ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎﳌﺤﻴﻂ‬ ‫اﳍﻨﺪى واﻟﺒﺤﺎر اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﰲ ﻏﺮب آﺳﻴﺎ‪ ) .‬ﻋﻼﻗﺔ ﲡﺎرﻳﺔ (‬ ‫‪.7‬اﻧﺘﺸ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎر اﳌﺼـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻄﻠﺤﺎت اﻟﺪﻳﻨﻴ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ ﰲ اﻟﻠﻐـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ اﳌﻼﻳﻮﻳ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ وﺗﻮ اﺟـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺪ اﳌﻔ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺮدات اﻟﻌﺮﺑﻴـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ ﰲ‬ ‫ﻟﻐﺘﻬﺎ ‪ ،‬ﺑﻌﺪ اﻟﻔﺤﺺ ﻻ ﻳﻘﻞ ‪ 3,303‬ﻛﻠﻤﺔ ﺗﻘﺮﻳﺒ ًﺎ‪ ) .‬ﻋﻼﻗﺔ ﻟﻐﻮﻳﺔ (‬ ‫‪.8‬اﻟ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺪﻋﻢ اﻟﻌ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺮﰊ اﳌﺴ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺘﻤﺮ ﰲ اﳉﺎﻣﻌ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ اﻹﺳ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻼﻣﻴﺔ ﰲ وﻗﺘﻨ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎ اﳊ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎﱄ ﻣ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻦ اﻟﻨﺎﺣﻴ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ اﻟﲈدﻳ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ‬ ‫واﻟﻌﻠﻤﻴﺔ ‪.‬‬

‫‪783‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT Aim of this research to study social about the relationship of southern Thailand with Al-Hijaz, where describes the conditions of Malays and Arabs in the (Peninsula Malay) and the reflection of mutual Malays around Al- Hijaz, and the impact of the Arabs in their relationship since the beginning of its history, and this references from history books in Arabic and Malay, English and some information from the Internet and the information recorded sound, and the researcher through the chapters mentioned in the following results: (1)Study the history of the ancient Arabs and Malays, it is necessary for a sing of the value of Islam in the region of southern Thailand, and stability in the country's Malay aimed at his offices across the region.(2)Arabs guru and preachers in times of an early and open to the call centers in the region of the Malay has come up even to the palace of Sultan of Pattani and then became a center for the teachings of Islam in the region.(3) Integration of other Malay nationalities, as a result of frictionWith others, and these areas during their trade in the region are out of the Arab, Indi PersianandChinese.(4)History suggests that indigenous Malay have settled on the Malay Peninsula and Diotro of Fruto, and located in this area Nusontara therefore called on theisland name.(5)In terms of the Malay region, we find that the geographical importance and their relationship with the seas and oceans on time merchant ships and the nature of the region linking the Indian Ocean and Arabian seas in western Asia.(6)Arabic words and spread of religious terms in the Malay language, at least a thousand words, be for English in the modern era.(7) Financial and moralsupport from the Al- Hijaz to the Muslimsin southern Thailand, the establishment of an Islamic University Yala, starting from the Islamic Development Bank in Jeddah in the purchase of land and the strengthening of the project from Saudi Arabia and Qatar , UAE and Kuwait. And have the honor of supporting the religious sciences and Arabic by the Saudi government, and the relationship of the aforementioned countries.

784

Graduate School and Research / 15 May 2013


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﻣﻘﺪﻣﺔ‬ ‫اﳊﻤﺪ ﷲ رب اﻟﻌﺎﳌﲔ واﻟﺼﻼة واﻟﺴﻼم ﻋﲆ أﴍف اﻷﻧﺒﻴﺎء واﳌﺮﺳﻠﲔ وﻋﲆ آﻟﻪ وﺻﺤﺎﺑﺘﻪ اﻷﻛﺮﻣﲔ‬ ‫و ﻗﺎل ﺗﻌﺎﱃ ﺟﻞ ﺛﻨﺎءه ﰲ ﻛﺘﺎﺑﻪ اﻟﻌﺰﻳﺰ ﴿ وﻟﻮ ﺷﺎء اﷲ ﳉﻌﻠﻜﻢ أﻣﺔ واﺣﺪة وﻟﻜﻦ ﻳﻀﻞ ﻣﻦ ﻳﺸﺎء وﳞﺪى ﻣﻦ ﻳﺸﺎء ‪،‬‬ ‫وﻟﺘﺴﺌﻠﻦ ﻋﲈﻛﻨﺘﻢ ﺗﻌﻤﻠﻮن﴾ﺳﻮرة اﻟﻨﺤﻞ‪93 : 16 :‬‬ ‫وﰲ ﺷﺒﻪ اﳉﺰﻳﺮة اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺑﻌﺪ اﻧﺘﺸﺎر اﻹﺳﻼم ﺑﺪأ اﳌﺴﻠﻤﻮن اﻟﻌﺮب ﻳﺮﺣﻠﻮن وﳛﻤﻠﻮن اﻟﺮﺳﺎﻟﺔ اﳌﺤﻤﺪﻳﺔ إﱃ‬ ‫ارﺟﺎء اﻟﻌﺎﱂ‪،‬وﻋﲆ ﺿﻔﺎف ﺷﻮاﻃﺌﻬﺎ ﻳﻨﻘﻠﻮن ﻣﻨﻬﺞ اﻹﺳﻼم اﻟﻘﻴﻢ ﻋﻦ ﻃﺮﻳﻖ اﻟﺘﺠﺎرة ﰲ ﻧﴩ اﻟﺪﻋﻮة اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‪،‬‬ ‫ﺑﻌﺪ أن ﺟﺎء اﻟﻮاﻓﺪون اﻟﻌﺮﰊ ﻣﻦ ﺑﻼدﻫﻢ ﻟﻨﴩ اﻹﺳﻼم ﰲ ﻣﻨﻄﻘﺔ اﳌﻼﻳﻮ ﰲ ﻓﱰة ﻣﺎ ﺑﲔ ﳖﺎﻳﺔ اﻟﻘﺮن اﻷول‬ ‫اﳍﺠﺮي أو اﻟﺴﺎﺑﻊ اﳌﻴﻼدي أو ﻋﲆ اﺧﺘﻼف أﻟﺴﻨﺔ اﻟﺮواه ﰲ ﲢﺪﻳﺪ اﻟﺰﻣﻦ و ﺑﺪاﻳﺔ وﺻﻮﳍﻢ إﱃ اﳉﺰاﺋﺮ اﳌﻼﻳﻮﻳﺔ‪،‬‬ ‫ﺛﻢ اﻧﺘﴩ ﺗﺪرﳚﻴﺎ ً ﺣﻮل ﻓﻄﺎﲏ ﰲ اﻟﻘﺮن اﻟﺜﺎﻟﺚ واﻟﺮاﺑﻊ و اﻟﺘﺎﺳﻊ اﳍﺠﺮي ﰲ ﳐﺘﻠﻒ اﳌﻨﺎﻃﻖ وﻋﲆ أي ﺣﺎل ﻓﺈن‬ ‫اﳌﻨﻄﻘﺔ ﻫﻲ ﻧﻘﻄﺔ ارﺗﻜﺎز اﻟﺪﻋﻮة واﻟﺘﺠﺎرة ﻣﻌﺎً‪،‬ﺣﻴﺚ رﺑﻄﺖ ﻋﻼﻗﺎت وﺛﻴﻘﺔ ﺑﲔ اﻟﺸﻌﺒﲔ ﰲ ﺑﺪاﻳﺔ اﳌﺮﺣﻠﺔ اﻟﺘﺎرﻳﺦ‬ ‫اﻹﺳﻼﻣﻲ ﻟﺴﻜﺎن أﻫﺎﱄ أرﺧﺒﻴﻞ اﳌﻼﻳﻮﰲ ﻣﻌﺮﻓﺔ ﻫﺬا اﻟﺪﻳﻦ اﳊﻨﻴﻒ‪.‬‬ ‫ﺧﻠﻔﻴﺎت اﻟﺒﺤﺚ‬ ‫وﰲ ﻗﻮﻟﻪ ﺗﻌﺎﱃ﴿وﻟﻮأن أﻫﻞ اﻟﻘﺮى آﻣﻨﻮاواﺗﻘﻮا ﻟﻔﺘﺤﻨﺎ ﻋﻠﻴﻬﻢ ﺑﺮﻛﺎت ﻣﻦ اﻟﺴﲈء واﻷرض ﴾ﺳﻮرة اﻷﻋﺮاف ‪:‬‬ ‫‪96 : 7‬‬ ‫وـﻫـﺬهـ اـﻟـﺪرـاـﺳﺔ ﺗـﻠﻘﻰ اـﻟـﻀﻮءـ ﻋـﲆ اـﻟـﻌﻼﻗـﺔ اـﻻـﺟـﺘﲈﻋـﻴﺔ ﺑـﲔ ﺟـﻨﻮبـ ﺗـﺎﻳـﻼﻧـﺪ ﺑــﺎﳊـﺠﺎزـ وـ اـﻟـﺒﺤﺚ ﰲـ إـﻃــﺎر‬ ‫ﳎﺘﻤﻊ ﻣﻼﻳﻮ ﻓﻄﺎﲏ وأﺷﻬﺮ وﻻﻳﺎﲥﺎ ‪ ) :‬ﻓﻄﺎﲏ ‪ ،‬ﺟﺎﻻ ‪ ،‬ﻧﺎراﺗﻴﻮت ‪ ،‬ﺳﺘﻮل ( وﻫﺬه اﻟﻌﻼﻗﺔ ﺗﻮﺿﺢ أﺣﻮال اﳌﻼﻳﻮ‬ ‫واﻟﻌﺮب ﰲ اﻷرﺧﺒﻴﻞ أي ﺷﺒﻪ ﺟﺰﻳﺮة اﳌﻼﻳﻮ واﻻﻧﻌﻜﺎس اﳌﺘﺒﺎدل ﰲ ﻣﺎ ﺑﻌﺪ ﺣﻮل ﻣﻨﻄﻘﺔ اﳊﺠﺎز‪ ،‬ﺣﻴﺚ ﻣﻀﺖ‬ ‫ﺷﻌﻮب اـﳌـﻼﻳـﻮ ا ﳌـﺴﻠﻤﺔ ﺳﻨﻮاـتـ ﻃـﻮﻳﻠﺔ ﻳـﺘﻌﺎوـﻧـﻮن ﻣـﻊ اـﺧـﻮاـﳖﻢ اـﻟـﻌﺮبـ ﻋـﻦ ﻃﺮﻳـﻖ اـﻟـﺘﺠﺎرةـ وـاـذـا ﻛـﺎﻧـﺖ ﻇـﺮوـف‬ ‫اـﳌــﻨﻄﻘﺔ اـﻟـﺘﻲ ﲤــﻴﻞ ﻧــﺤﻮ اـﻟــﺘﻘﺪمـ وـﲢـﻘﻴﻖ اـﻟــﻨﻬﻀﺔ وـاـﳊــﻀﺎرـةـ ﻣــﻦ اـﻟـﻨﺎﺣــﻴﺔ اـﻟـﲈدـﻳــﺔ وـاـﳌــﻌﻨﻮﻳــﺔ‪،‬ـ ﻏــﲑ أـنـ اـﳌــﺴﺘﴩﻗــﲔ‬ ‫ﳛﺎوﻟﻮ ن إﻧﻜﺎر ﻋﻼﻗﺔ اﻟﻌﺮب ﺑﺎﳌﻼﻳﻮﻳﲔ‪ ،‬وﺣﺎوﻟﻮا ﺗﺸﻜﻴﻚ ﰲ أﻣﻮرﻫﺎ رﻏﻢ وﺟﻮد ﻋﻼﻣﺎت ﺑﺎرزة ﺗﺴﺘﺪل ﻋﲆ‬ ‫أﺛﺮ اﻟﻌﺮب ﰲ ﻋﻼﻗﺘﻬﻢ ﺑﺎﳌﻼﻳﻮﻳﲔ ﻣﻨﺬ ﻓﺠﺮ اﻟﺘﺎرﻳﺦ ‪ .‬ودراﺳﺔ اﻟﻔﻜﺮ اﻟﻌﺮﰊ اﻹﺳﻼﻣﻲ وﻋﻼﻗﺘﻪ ﺑﺎﳌﻼﻳﻮﻳﲔ ﰲ‬ ‫اـﳌـﻨﻄﻘﺔ ﺧـﻄﻮةـ ﻃـﺒﻴﻌﻴﺔ ﰲـ إـﳚـﺎدـ ﺗـﺎرـﻳـﺦ ﻋـﻼﻗـﺘﻬﲈ اـﻻـﺟـﺘﲈﻋـﻴﺔ وـاـﻟـﺬيـ وـﺿﻊ اـﻟـﻄﺮﻓـﲔ ﰲـ وـﺣـﺪةـ ﻣـﺘﻜﺎﻣـﻠﺔ اـﻟـﱰﻛـﻴﺐ‬ ‫وـﺑـﻮاـﻋـﺚ ﻣــﺘﺠﺪدـةـ ﰲـ ﻣـﻀﻤﻮﳖــﺎ اـﻟـﻄﺒﻴﻌﻲ‪،‬ـ ﺑـﻞ ﻫــﻲ ﻣـﺘﺼﻠﺔ ﺑــﺈﺗـﺼﺎلـ اـﻟـﺰﻣــﺎنـ وـاـﳌـﻜﺎنـ ﻋـﲆ ﻧـﻮﻋــﻴﺔ ﺟـﺬرـﻳـﺔ ﻳــﺘﻠﻤﺲ‬ ‫ﺷﺨﺼﻴﺔ إــﺳﻼﻣــﻴﺔ ﻣــﻨﺬ ﻓــﺠﺮهـ اـﻷـوـلـ وـاـﳌــﻤﺘﺪ ﻋــﲆ ﻣــﺮ اـﻟــﻌﺼﻮرـ ‪ .‬وـإـﻧــﲈ ﻧــﺸﺄن ـ اـﳌــﻼﻳــﻮﻳــﺒﻦ ﺑــﻌﺪ ﻣــﺎ اـﻋــﺘﻨﻘﻮاـ اـﻟــﺪﻳــﻦ‬ ‫اﻹﺳﻼم ﻳﺄﺧﺬوا ﻳﺘﻘﺮب ﻣﻦ اﻟﻌﺮب‪ ،‬وﻋﲆ ﻫـﺫ ا اﳊﺎل ﺗﻌﻠﻤﻮن اﻟﻘﺮاءة واﻟﻜﺘﺎﺑﺔ واﳊﺮوف اﳍﺠﺎﺋﻴﺔ اﺳﺘﻔﺎدوا ﻣﻦ‬

‫‪785‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﻧﻘﻞ اﻟﻌﻠﻮم اﻟﺘﻲ وﺻﻠﺖ إﻟﻴﻬﻢ‪ ،‬وﺣﻴﻨﲈ ﺣﺼﻞ اﻟﻮد واﻟﻌﻼﻗﺎت اﻟﺘﺠﺎرﻳﺔ ﺑﺠﺰر اﳌﻼﻳﻮﻳﺔ أوﻣﺎ ﻳﺴﻤﻰ ﺑﺄرﺧﺒﻴﻞ‬ ‫اﳌـﻼﻳـﻮ‪،‬ـوـﻣـﻦ ﺛـَﻢ ﺗـّﻌﻠﻤﻮاـ اـﻟـﻠﻐﺔ اـﻟـﻌﺮﺑـﻴﺔ وـﺣـﺮوـﻓـﻬﺎ‪ ،‬ﺛـﻢ ﻣـﻦ ذـﻟـﻚ اـﻧـﺘﴩتـ اـﻟـﻠﻐﺔ ﰲـ اـﳌـﻨﻄﻘﺔ وـاـﻧـﺪﳎـﺖ ﻣـﻊ ﳍـﺠﺎت‬ ‫اﳌﻼﻳﻮﻳﺔ وﺗﺪاﺧﻠﺖ ﺑﻌﺾ اﳌﻔﺮدات اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﰲ اﻟﻠﻐﺔ اﳌﻼﻳﻮﻳﺔ‪ ،‬وﻳﺆﻛﺪﻫﺎ ﰲ ﺑﻌﺾ اﻟﺒﺤﻮﺛﺎت اﻟﻌﻠﻤﻴﺔ أن اﻟﺘﺠﺎر‬ ‫اﻟﻌﺮب ﻋﺮﻓﻮا اﳌﻼﻳﻮ ﺑﺈﻧﺪوﻧﻴﺴﻴﺎ ﻣﻨﺬ اﻟﻘﺮن اﻟﺜﺎﻟﺚ اﳌﻴﻼدي ﻋﲆ اﻷﻗﻞ‪،‬وﻗﺪ دوﻧﺖ اﻟﺴﺠﻼت اﻟﺼﻴﻨﻴﺔ اﻟﻘﺪﻳﻤﺔ‬ ‫ذﻟﻚ وذﻛﺮت ﻣﺎ ﻳﻔﻴﺪ أن اﻟﻌﺮب ﻗﺪ اﲣﺬوا ﳍﻢ أﻣﺎﻛﻦ ﻻﺳﺘﻴﻄﺎﳖﻢ‪.‬‬ ‫وﻧﺮى رﻏﻢ ﺑﻌﺪ اﳌﺴﺎﻓﺎت وﺻﻌﻮﺑﺔ اﳌﻮﺻﻼت ﱂ ﺗﻜﻦ وﺳﺎﺋﻠﻬﺎ ﻣﺘﺎﺣﺔ ﰲ ذﻟﻚ اﻟﺰﻣﻦ ﻓﺈن اﻟﻌﺮب اﺳﺘﻄﺎﻋﻮا أن‬ ‫ﻳﺼﻠﻮا إﱃ دﻳﺎر ﺷﺒﻪ ﺟﺰﻳﺮة اﳌﻼﻳﻮ ﻋﻦ ﻃﺮﻳﻖ اﻟﺘﺠﺎرة و اﻟﻘﺪوة واﳌﻌﺎﻣﻠﺔ اﳊﺴﻨﺔ ﻗﺪ رﺳﺨﺖ اﻟﺼﻔﺎت اﳊﻤﻴﺪ ﰲ‬ ‫ﻧﻔﻮس اﳌﻼﻳﻮﻳﲔ إﱃ اﻻﻋﺘﻨﺎق ﺑﺎﻹﺳﻼم واﻻﻧﻌﻜﺎس اﳌﺘﺒﺎدل ﰲ ﻓﻮﺿﻮﳍﻢ إﱃ ﻣﻌﺮﻓﺔ اﻟﻌﺮب واﻹﻃﻼع ﻋﲆ‬ ‫أوﻃﺎﳖﻢ ‪ ،‬وﻋﻨﺪﻣﺎ ﻫﺎﺟﺮوا إﱃ ﺑﻼد اﻟﻌﺮب ﻛﺎن ﻟﺪﳞﻢ اﳌﺼﻠﺤﺔ اﳋﺎﺻﺔ واﻟﻌﺎﻣﺔ اﳌﺘﻤﺜﻠﺔ ﰲ اﻟﺪﻳﻦ‪ ،‬وﺧﺎﺻﺔ‬ ‫ﻣﻨﻄﻘﺔ اﳊﺠﺎز اﻟﺬي ﻳﻨﺤﺎزوا إﻟﻴﻪ ﻛﻞ اﳌﺴﻠﻢ ﺑﻤﺠﺎورة اﻟﻜﻌﺒﺔ اﳌﴩﻓﺔ‪ ،‬واﻟﺘﻲ ُﺗﺸﲑ إﱃ أﳘﻴﺔ اﳌﻮﻗﻊ واﳌﻨﻄﻘﺔ ﻣﻦ‬ ‫اﻟﻨﺎﺣﻴﺔ اﻟﺪﻳﻨﻴﺔ واﻟﻌﻠﻤﻴﺔ ﻣﻨـﺫ ﻓﺠﺮ اﻟﺘﺎرﻳﺦ اﻟﺘﻲ ﻗﺎﻣﺖ ﻓﻴﻬﺎ اﻟﴩﻳﻌﺔ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ وﻛﺎﻧﺖ اﻻﻧﺘﻘﺎل ﺗﺘﻢ ﻋﻦ ﻃﺮﻳﻖ‬ ‫اﻟﺒﺤﺮ ﰲ ﺫﻟﻚ اﻟﻌﴫ‪ .‬وﰲ اﻷوﻧﺔ اﻷﺧﲑة وﺑﺎﻟﺬّ ات ﰲ اﻟﻌﻬﺪ اﻟﺴﻌﻮدي وﺟﺪت ﺗﻠﻤﻴﺤﺎت ودﻻﺋﻞ ﺗﺪل ﻋﲆ‬ ‫اﻟﻌﻼﻗﺔ اﻟﺘﻰ ﻣﺜﻠﺖ ﻓﻴﻬﺎ اﻟﻜﺘﺎﺑﺔ اﳉﺎوﻳﺔ ﻋﲆ اﻟﻌﻤﻠﺔ اﻟﺴﻌﻮدﻳﺔ‪ ،‬وﺗﺸﲑ إﱃ ﳌﺤﺎت ﻓﻄﺎﻧﻴﺔ ﰲ اﳊﺠﺎز ﺻﻮرة ﻃﻴﺒﺔ‬ ‫وﻇﻬﺮ ﻣﻨﻬﻢ ﻧﺨﺒﺔ ﻋﻠﲈء ﻓﻄﺎﲏ‪ ،‬وﻛﺎن ﻟﻠﺤﺠﺎز أوﻗﺎﻓﻬﻢ اﳋﺎﺻﺔ ﰲ ﻣﻜﺔ اﳌﻜﺮﻣﺔ‪ ،‬ﺟﺎءوا ﻋﻦ اﳊﺞ أواﻟﻌﻤﺮة أو‬ ‫اﳌﻄﻮﻓﲔ وﻳﺮﺟﻊ اﻟﺴﺒﺐ ﰲ‬ ‫زﻳﺎرة اﳌﺸﺎﻋﺮ ﺛﻢ ﻋﺮف ﺑﺎﳌﻘﻄﻌﺎت اﻟﻔﻄﺎﻧﻴﺔ آﻧﺬاك ﺛﻢ ﺗﻐﲑ اﻻﺳﻢ ﺑﺘﺤﺮﻳﻒ ﻣﻦ ﻗﺒﻞ ﱢ‬ ‫ذﻟﻚ إﱃ اﻷوﺿﺎع اﻟﺴﻴﺎﺳﻴﺔ ﰲ ﻓﻄﺎﲏ ﻓﺈن ﻫﺬه اﻟﻌﻼﻗﺔ اﻟﻄﻮﻳﻠﺔ اﻟﺘﻲ اﻣﻬﻠﺖ اﻟﺜﻘﺔ ﻟﻴﻌﻴﺸﻮاﻛﻞ ﻣﻨﻬﲈ ﺟﻨﺐ إﱃ‬ ‫ﺟﻨﺐ ﰲ اﳌﻨﻄﻘﺔ دون أن ﳚﺮي اﻟﻌﻨﻒ وﻻ ﻗﻮة ﻛﲈ ﻳﺰﻋﻢ أﻋﺪاء اﻹﺳﻼم ﰲ أرض اﳌﻼﻳﻮ‪.‬‬ ‫أﻫﺪاف اﻟﺒﺤﺚ‬ ‫ﳞﺪف ﻫـﺫا اﻟﺒﺤﺚ إﱃ ﻣﺎﻳﺄﰐ ‪:‬‬ ‫‪ .1‬دراﺳﺔ اﻟﻨﻈﻢ اﻻﺟﺘﲈﻋﻴﺔ وﺷﺨﺼﻴﺔ اﳌﻼﻳﻮ ﰲ ﻓﻄﺎﲏ وﺳﻬﻮﻟﺔ ﻗﺒﻮﳍﻢ ﻟﻺﺳﻼم‬ ‫‪ .2‬اﺳﻠﻮب ﲡﺎر اﻟﻌﺮب ودﻋﻮﲥﻢ ﰲ ﻓﻄﺎﲏ اﺛﻨﺎء اﻟﺘﺠﺎرة ﻣﻊ اﺿﺎﻓﺔ ﲢﻘﻴﻖ اﻷوﻟﻮﻳﺔ ﻟﻠﻌﺮب ﰲ ﻧﴩ‬ ‫اﻹﺳﻼم ﰲ اﳌﻨﻄﻘﺔ‪.‬‬ ‫‪ .3‬اﻟﻜﺸـ ـ ــﻒ ﻋـ ـ ــﻦ اﻷﺣـ ـ ــﻮال و اﻟﻌﻼﻗ ـ ـ ــﺔ اﻻﺟﺘﲈﻋﻴـ ـ ــﺔ اﻟﺘـ ـ ــﻲ ﺗـ ـ ــﺮﺑﻂ ﺑـ ـ ــﲔ اﳌﻼﻳـ ـ ــﻮﻳﲔ ﺑـ ـ ــﺎﻟﻌﺮب ﰲ ﻓﻄـ ـ ــﺎﲏ‪،‬‬ ‫وﻋﻼﻗﺔ اﻟﻔﻄﺎﻧﻴﲔ ﺑﺎﻟﻌﺮب ﰲ اﳊﺠﺎز ﻋﱪ اﻟﺘﺎرﻳﺦ‪.‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪786‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫أﳘﻴﺔ اﳌﻮﺿﻮع‬ ‫‪ .1‬أن أﳘﻴـ ـ ــﺔ اﻟﺪراﺳـ ـ ــﺔ ﺗﺮﺟـ ـ ــﻊ إﱃ ﻋﻼﻗـ ـ ــﺎت اﺟﺘﲈﻋﻴـ ـ ــﺔ ﺑـ ـ ــﲔ اﻟﻌـ ـ ــﺮب واﳌﻼﻳـ ـ ــﻮ ﰲ ﺷـ ـ ــﺒﻪ ﺟﺰﻳـ ـ ــﺮة اﳌﻼﻳـ ـ ــﻮ‬ ‫ـﻮاء ﻛ ـ ـ ــﺎن ﻓﻜﺮﻳـ ـ ـ ـ ًﺎ او‬ ‫ﻋ ـ ـ ــﲆ ﻣ ـ ـ ــﺪار ﺗ ـ ـ ــﺎرﻳﺦ اﳌﻨﻄﻘ ـ ـ ــﺔ ‪ ،‬وﻣ ـ ـ ــﺎﲠﻢ ﻣ ـ ـ ــﻦ ﺻ ـ ـ ــﻼت ﺑ ـ ـ ــﺎﳌﺠﺘﻤﻊ اﻹﺳ ـ ـ ــﻼﻣﻲ ﰲ اﳌﻨﻄﻘ ـ ـ ــﺔ ﺳ ـ ـ ـ ً‬ ‫ﻣﻨﻬﺠﻴ ًﺎ ﰲ ﺻﻮرﲥﺎ اﳊﻘﻴﻘﻴﺔ ‪.‬‬ ‫‪ .2‬ﳞـ ـ ـ ــﺪف دراﺳـ ـ ـ ــﺘﻪ إﱃ ﻣﻌﺮﻓـ ـ ـ ــﺔ ﻋﻼﻗـ ـ ـ ــﺔ اﻟﻨﺴـ ـ ـ ــﺐ ﺑﻴـ ـ ـ ــﻨﻬﲈ ﰲ ﻣﻨﻄﻘـ ـ ـ ــﺔ ﺷـ ـ ـ ــﺒﻪ ﺟﺰﻳـ ـ ـ ــﺮة اﳌﻼﻳـ ـ ـ ــﻮ ﻣﻨـ ـ ـ ــﺬ ﻓﺠـ ـ ـ ــﺮ‬ ‫اﻟﺘﺎرﻳﺦ ﻣﻊ إﺑﺮاز اﻟﺼﻼت اﳊﻤﻴﻤﺔ ﺑﲔ اﻟﻄﺮﻓﲔ ‪.‬‬ ‫‪ .3‬ﳞ ـ ـ ـ ــﺪف إﱃ ﻣﻌﺮﻓ ـ ـ ـ ــﺔ ﻣ ـ ـ ـ ــﺪى ﻗﺒ ـ ـ ـ ــﻮل اﳌﻼﻳ ـ ـ ـ ــﻮﻳﲔ ﺑﺎﻟ ـ ـ ـ ــﺪﻳﻦ اﻹﺳ ـ ـ ـ ــﻼم وردود اﻓﻌ ـ ـ ـ ــﺎل اﻟﻔﻄ ـ ـ ـ ــﺎﻧﲔ وأﻫ ـ ـ ـ ــﻞ‬ ‫اﳌﻨﻄﻘﺔ ﰲ ﺗﻠﻚ اﻟﻔﱰة ‪.‬‬ ‫‪ .4‬ﳞـ ـ ـ ـ ـ ــﺪف إﱃ رد اﻻﻋﺘﺒـ ـ ـ ـ ـ ــﺎر واﻟﺸـ ـ ـ ـ ـ ــﻜﻮك ﻣ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻦ ﺑﻌـ ـ ـ ـ ـ ــﺾ اﻗـ ـ ـ ـ ـ ــﻮال اﳌﺴﺘﴩـ ـ ـ ـ ـ ــﻗﲔ ﰲ ﺳـ ـ ـ ـ ـ ــﻼﻣﺔ اﻹﺳـ ـ ـ ـ ـ ــﻼم‬ ‫وﻣﻨﻬﺠ ـ ـ ـ ــﻪ اﻟﻘ ـ ـ ـ ــﻴﻢ رﻏ ـ ـ ـ ــﻢ اﺧ ـ ـ ـ ــﺘﻼﻓﻬﻢ ﰲ اﻷﻟﺴ ـ ـ ـ ــﻦ ‪ .‬وﺑ ﺼ ـ ـ ـ ــﻔﺘﻲ ﻛﺒﺎﺣ ـ ـ ـ ــﺚ ﳚ ـ ـ ـ ــﺐ ﻋ ـ ـ ـ ـ ّـﲇ ﺗﺼ ـ ـ ـ ــﺤﻴﺢ ﺗ ـ ـ ـ ــﺎرﻳﺦ اﳌﻨﻄﻘ ـ ـ ـ ــﺔ‬ ‫وإﺛﺒﺎت ﻣﺎ ﻫﻮ ﻋﻠﻴﻪ ‪.‬‬ ‫ﻓﺮوض اﻟﺒﺤﺚ‬ ‫ﻳﻀﻌﻬﺎ اﻟﺒﺎﺣﺚ وﳚﻴﺐ ﻋﻠﻴﻬﺎ ﺧﻼل اﻟﻔﺼﻮل وﻳﺸﻤﻞ ﲨﻴﻊ اﳌﻮﺿﻮﻋﺎت ﻛﺘﺎﱄ ‪:‬‬ ‫‪.1‬إذا ﻛﺎن اﻟﻌﺮب ﻫﻢ اﺻﺤﺎب اﻟﺮﺳﺎﻟﺔ وأﻫﻞ اﻟﺪﻋﻮة ﰲ اﻟﻌﺎﱂ‪ ،‬واﻟﻌﻤﻞ اﻟﺘﺠﺎري ﻫﻮ ﻃﺒﻴﻌﺔ ﻋﻤﻠﻬﻢ‬ ‫وأﺳﺎﺳﻴﺎﲥﻢ ﻗﺒﻞ اﻹﺳﻼم ‪ ،‬ﻏﲑ أن ﺷﺒﻪ ﺟﺰﻳﺮة اﳌﻼﻳﻮ ﺑﲔ ﺣﺎﴐﻫﻢ ﻛﺎﻧﺖ ﺗﺴﻮدﻫﻢ اﻟﻌﺒﻮدﻳﺔ واﻻﻋﺘﻨﺎق‬ ‫ﺑﺎﻟﻮﺛﻨﻴﺔ‪ ،‬واﻟﻌﺮب ﺷﻖ ﻃﺮﻳﻘﻬﻢ إﱃ اﳌﻨﻄﻘﺔ‪ ،‬ﻛﻴﻒ ﻛﺎن اﺳﻠﻮب دﻋﻮﲥﻢ ﻋﻨﺪﻣﺎ ﻧﺰﻟﻮا ﺟﺰﻳﺮة اﳌﻼﻳﻮ‪.‬‬ ‫‪.2‬ﻟﻌﻞ ﻫﺠﺮة اﻟﻌﻠﲈء و اﻟﻌﻤﻞ اﻟﺘﺠﺎري ﻋﱪ اﳌﺤﻴﻄﺎت اﻧﺘﴩاﻹﺳﻼم ﰲ اﻧﺤﺎء اﻟﻌﺎﱂ ﺑﻌﺪ اﻟﻔﺘﻮﺣﺎت‪،‬‬ ‫وأﺻﺒﺢ رواد اﻟﺪﻋﻮة ﻳﺘﻤﻴﺰون ﰲ ﳐﺘﻠﻒ اﳌﺠﺎﻻت وﺧﺼﻮﺻ ًﺎ ﰲ ﺟﺰﻳﺮة اﳌﻼﻳﻮ‪ ،‬وﻛﺎن أﻛﺜﺮﻫﻢ ﻋﲆ ﻣﺬﻫﺐ‬ ‫اﻟﺸﺎﻓﻌﻲ ‪ ،‬ﻟﲈ أﺻﺒﺢ اﳌـﺫﻫﺐ اﻟﺸﺎﻓﻌﻲ راﺋﺪ اﳌﻨﻄﻘﺔ ‪.‬‬ ‫وﻛﻮن ﻣﻨﻬﻢ أُ ﴎة‬ ‫‪ .3‬ﻟﺮواﻳﺎت اﳌﺸﻬﻮرة‪ ،‬أﺳﺘﻄﺎﻋﻮا ﲡﺎر اﻟﻌﺮب أن ﻳﻌﺎﴍوا اﻟﺴﻜﺎن ﻣﻌﺎﴍة ﻃﻴﺒﺔ ّ‬ ‫ﻋﺮﺑﻴﺔ ﰲ اﳌﻨﻄﻘﺔ‪ ،‬واﻻﻓﱰاض ﻫﻨﺎ ﻣﺎ ﻫﻲ ﺗﻠﻚ اﻟﺪواﻓﻊ وأﺛﺮﻫﺎ ﻋﲆ أﻫﻞ ﻓﻄﺎﲏ ‪.‬‬

‫أﳘﻴﺔ اﻟﺒﺤﺚ‬ ‫‪.1‬أن أﳘﻴ ـ ـ ـ ــﺔ اﻟﺪراﺳ ـ ـ ـ ــﺔ ﺗﺮﺟ ـ ـ ـ ــﻊ إﱃ ﻗﻠ ـ ـ ـ ــﺔ اﻟﺪراﺳ ـ ـ ـ ــﺎت اﻟﺘﺎرﳜﻴ ـ ـ ـ ــﺔ ﺣ ـ ـ ـ ــﻮل ﻣﻨﻄﻘ ـ ـ ـ ــﺔ أرﺧﺒﻴ ـ ـ ـ ــﻞ اﳌﻼﻳ ـ ـ ـ ــﻮ ﻣ ـ ـ ـ ــﻦ‬ ‫اﻟﻨﻮاﺣﻲ اﻻﺟﺘﲈﻋﻴﺔ ‪.‬‬

‫‪787‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫‪.2‬ﺻ ـ ــﺪق اﻟﻌﺒـ ـ ــﺎرة واﻟﻘـ ـ ــﺪوة اﳊﺴـ ـ ــﻨﺔ واﻷﺧ ـ ــﻼق اﻹﺳـ ـ ــﻼﻣﻴﺔ اﻟﻌﺎﻟﻴـ ـ ــﺔ اﻟـ ـ ــﺬﻳﻦ ﳛﻤﻠﻮﳖ ـ ــﺎ ﲡـ ـ ــﺎر اﻟﻌـ ـ ــﺮب أﺛـ ـ ــﺮت ﰲ‬ ‫ﻧﻔﻮس اﳌﻼﻳﻮﻳﲔ و ﻗﺒﻮﳍﻢ ﻟﻺﺳﻼم‪.‬‬ ‫‪.3‬وﺟﻮد ﻋﻮاﻃﻒ اﻟﺘﺴﺎﻣﺢ ﻋﻨﺪ اﳌﻼﻳﻮﻳﲔ ﳑﺎ ﺳﻬﻞ دﺧﻮل اﻹﺳﻼم ﰲ اﳌﻨﻄﻘﺔ واﻻﻧﺪﻣﺎج ﺑﺄﻫﻠﻬﺎ‪.‬‬ ‫‪.4‬أﳘﻴـ ــﺔ اﻟﻠﻐ ـ ــﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴ ـ ــﺔ وأﺛ ـ ــﺮ اﻟﻘـ ــﺮآن اﻟﻜ ـ ــﺮﻳﻢ ﰲ ﻧﻔ ـ ــﻮس أﻫ ـ ــﻞ اﳌﻨﻄﻘ ـ ــﺔ ﳑـ ــﺎ ﻏ ـ ــﲑت ﻃﺒ ـ ــﺎﻋﺘﻬﻢ وﻃﻐ ـ ــﺖ ﺣﺮوﻓﻬ ـ ــﺎ‬ ‫ﻋﲆ اﻟﻠﻐﺎت اﻷﺧﺮى وﺟﻌﻞ ﻣﻨﻬﺎ اﻟﻜﺘﺎﺑﺔ اﳉﺎوﻳﺔ ‪.‬‬ ‫‪.5‬اﻟﺘﻌﺎﻳﺶ اﳌﺘﺒﺎدﻟﺔ ﺑﲔ اﻟﻌﺮب واﳌﻼﻳﻮ ﺗﺎرة ﰲ ﻓﻄﺎﲏ وﺗﺎرة آﺧﺮى ﰲ اﳊﺠﺎز‪.‬‬ ‫‪.6‬أﳘﻴ ـ ـ ــﺔ ﻣﻜ ـ ـ ــﺔ وﻣﻜﺎﻧﺘ ـ ـ ــﻪ اﻟﺪﻳﻨﻴ ـ ـ ــﺔ ﰲ ﻣﻮﺳ ـ ـ ــﻢ اﳊ ـ ـ ــﺞ ﻛ ـ ـ ــﻞ ﻋ ـ ـ ــﺎم ﻳﺘﻌ ـ ـ ــﺎرﻓﻮن وﻳﺘﺒ ـ ـ ــﺎدﻟﻮن اﻻﻓﻜ ـ ـ ــﺎر ﺑﻴ ـ ـ ــﻨﻬﻢ ﻋ ـ ـ ــﲆ ﻣ ـ ـ ــﺮ‬ ‫اﻟﺘﺎرﻳﺦ ﺳﻮاء ﻛﺎﻧﺖ ﻣﻦ اﻟﻨﺎﺣﻴﺔ اﻟﺘﺠﺎرﻳﺔ واﻟﻌﻠﻤﻴﺔ واﻟﺜﻘﺎﻓﻴﺔ وﻏﲑﻫﺎ ‪.‬‬ ‫‪.7‬ﻧﺸﺎط ﻋﻠﲈء اﻟﻌﺮب واﳌﻼﻳﻮ ﰲ ﺑﻨﺎء اﳌﺪارس اﻟﺪﻳﻨﻴﺔ ﰲ ﻣﻨﻄﻘﺔ ﻓﻄﺎﲏ ‪.‬‬ ‫ﺣﺪود اﻟﺒﺤﺚ‬ ‫اوﻻ ً ‪ :‬اﻟﻜ ـ ـ ـ ــﻼم ﻋـ ـ ـ ـ ــﻦ ﻣﻮﻗـ ـ ـ ـ ــﻊ ﻓﻄـ ـ ـ ـ ــﺎﲏ اﳉﻐﺮاﻓ ﻴـ ـ ـ ـ ــﺔ وﻣﻜﺎﻧﺘﻬـ ـ ـ ـ ــﺎ اﻻﺟﺘﲈﻋﻴـ ـ ـ ـ ــﺔ ﻣﻨـ ـ ـ ـ ــﺬ دﺧـ ـ ـ ـ ــﻮل اﻹﺳـ ـ ـ ـ ــﻼم‪ ،‬ﰲ‬ ‫اﻟﻮﻻﻳـ ـ ــﺎت اﻷرﺑـ ـ ــﻊ وﻫـ ـ ــﻲ "ﻓﻄـ ـ ــﺎﲏ‪ ،‬ﺟـ ـ ــﺎﻻ‪ ،‬ﻧـ ـ ــﺎراﺗﻴﻮات‪ ،‬ﺳـ ـ ــﺘﻮل" واﳌﺸـ ـ ــﻬﻮر أﳖـ ـ ــﺎ ﻛﺎﻧـ ـ ــﺖ ﺗﺴـ ـ ــﻤﻰ ﻓﻄـ ـ ــﺎﲏ ﺳـ ـ ــﺎﺑﻘ ًﺎ‬ ‫وﻳﻜﻮن اﻟﱰﻛﻴﺰ ﻋﲆ وﻻﻳﺔ ﻓﻄﺎﲏ ﻛﻮﳖﺎ ﻋﺎﺻﻤﺔ اﻟﺪوﻟﺔ‪.‬‬ ‫ﺛﺎﻧﻴ ـ ـ ـ ًﺎ ‪ :‬اﻟﺒﺤـ ـ ــﺚ ﻋـ ـ ــﻦ وﺻـ ـ ــﻮل اﻹﺳـ ـ ــﻼﻣﺈﱃ ﻓﻄـ ـ ــﺎﲏ ﻣﻨـ ـ ــﺬ اوﺋـ ـ ــﻞ اﻟﻘـ ـ ــﺮن اﳍﺠـ ـ ــﺮي إﱃ ﻗﻴـ ـ ــﺎم دوﻟـ ـ ــﺔ ﻓﻄـ ـ ــﺎﲏ‬ ‫ﻋ ـ ــﺎم ‪918‬ﻫـ ـ ـ ـ ‪1500 /‬م وﳏﻮرﻫ ـ ــﺎ اﻻرﺗﻜـ ـ ــﺎز ﰲ ﻧﴩ ـ ـ ـ اﻟـ ـ ــﺪﻋﻮة واﻟﺘﺠ ـ ــﺎرة ﰲ اﳌﻨﻄﻘـ ـ ــﺔ ﻋ ـ ــﱪ ﲡـ ـ ــﺎر اﻟﻌ ـ ــﺮب ﺣﻴـ ـ ــﺚ‬ ‫ﺗﺸﺪ اﻟﻌﻼﻗﺔ ﻣﻦ ﺧﻼل ﺗﻠﻚ اﻟﻔﱰة‪.‬‬ ‫ﻳﻜﻮن إﲡﺎه اﻟﺒﺎﺣﺚ اﻇﻬﺎر اﻟﻨﻘﺎط اﳌﻬﻤﺔ اﻟﺘﻲ ّ‬ ‫ﺛﺎﻟﺜ ـ ـ ـ ـ ًﺎ ‪ :‬أﻣ ـ ـ ــﺎ ﻣ ـ ـ ــﻦ اﻟﻨﺎﺣﻴ ـ ـ ــﺔ اﳌﻮﺿ ـ ـ ــﻮﻋﻴﺔ ﻓﻨﺒﺤ ـ ـ ــﺚ ﻋ ـ ـ ــﻦ ﻋﻼﻗ ـ ـ ــﺔ ﻣﻼﻳﻮﻓﻄ ـ ـ ــﺎﲏ ﺑﺎﳊﺠ ـ ـ ــﺎز وأﻫ ـ ـ ــﻞ اﳊﺠ ـ ـ ــﺎز‬ ‫ﺑﻔﻄﺎﲏ اﳌﻤﻤﺘﺪه ﻣﻨـﺫ اﻟﻌﻬﺪ اﻟﻌﺜﲈﲏ إﱃ اﻟﻌﻬﺪ اﻟﺴﻌﻮدي ‪.‬‬ ‫ﻣﻨﻬﺞ اﻟﺒﺤﺚ‬ ‫ﻳﻌﺘﻤ ـ ـ ــﺪ اﻟﺒﺎﺣ ـ ـ ــﺚ ﰲ ﻫ ـ ـ ــﺬا اﳌﻮﺿ ـ ـ ــﻮع ﻋ ـ ـ ــﲆ اﳌ ـ ـ ــﻨﻬﺞ اﻟﺘ ـ ـ ــﺎرﳜﻲ اﻟ ـ ـ ــﺬي ﺑ ـ ـ ــﺪوره ﻳﺴ ـ ـ ــﺘﻘﻲ اﳌﻌﻠﻮﻣ ـ ـ ــﺎت ﻣ ـ ـ ــﻦ‬ ‫اﳌﺼ ـ ـ ــﺎدر واﳌﺮاﺟ ـ ـ ــﻊ ﺑﺎﻹﺿ ـ ـ ــﺎﻓﺔ إﱃ اﻟ ـ ـ ــﺪروﻳﺎت واﻟﺮﺳ ـ ـ ــﺎﺋﻞ اﳉﺎﻣﻌﻴ ـ ـ ــﺔ وﻛ ـ ـ ــﻞ ﻣﺎﻟ ـ ـ ــﻪ ﻋﻼﻗ ـ ـ ــﺔ ﺑﺠﻨ ـ ـ ــﻮب ﺗﺎﻳﻼﻧ ـ ـ ــﺪ‬ ‫وﻋﻼﻗ ـ ــﺘﻬﻢ ﺑﺄﻫ ـ ــﻞ اﳊﺠ ـ ــﺎز ‪ ،‬وذﻟـ ـ ــﻚ ﻻﻳﻀ ـ ــﺎح ﺻـ ـ ــﻮرة اﳌﺴ ـ ــﻠﻤﲔ وأﺣ ـ ــﻮال اﳌﻼﻳ ـ ــﻮ ﺑﻌ ـ ــﺪ وﺻ ـ ــﻮل اﻹﺳـ ـ ــﻼم‬ ‫اﻟﻴﻬﻢ ﻣﻊ اﻻﻋﺘﲈد ﻋﲆ اﻟﺘﺤﻠﻴﻞ ﻟﻜﺎﻓﺔ اﳌﻮﺿﻮﻋﺎت اﳌﺪروﺳﺔ ‪.‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪788‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﻧﺘﺎﺋﺞ اﻟﺒﺤﺚ‬ ‫‪.1‬ﻋﻼﻗﺔ اﻟﻌﺮب ﺑﺎﳌﻼﻳﻮ ﻫﺪﻓﺖ إﱃ رﺳﺎﻟﺔ اﳊﻤﻴﺪة ﰲ اﳌﻨﻄﻘﺔ‪ .‬ﺛﻢ اﻧﺘﺸﺎراﻟﻌﻠﲈء واﻟﺪﻋﺎة اﻟﻌﺮب ﰲ‬ ‫أوﻗﺎت ُﻣﺒﻜﺮة ﳑﺎ ﺟﻌﻠﻬﻢ ﻳﻔﺘﺤﻮن اﳌﺮاﻛﺰ اﻟﺪﻋﻮة ﰲ ﻣﻨﻄﻘﺔ ‪.‬‬ ‫‪ .2‬وﺻـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻞ اﻹﺳـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻼم ﰲ اﳌﻨﻄﻘـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ ﺑﻄﺮﻳﻘـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ ﻣﺘﻔﺎوﺗـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ اﻷزﻣـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎن واﳌﻜـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎن وﻣﻨـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻪ اﻧﺘﴩ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ﰲ‬ ‫اﻟﻘ ـ ـ ـ ــﺮن اﻟﺴـ ـ ـ ـ ــﺎﺑﻊ واﻟﺜـ ـ ـ ـ ــﺎﻣﻦ اﳌـ ـ ـ ـ ــﻴﻼدي ﻋـ ـ ـ ـ ــﻦ ﻃﺮﻳـ ـ ـ ـ ــﻖ اﻟﺘﺠـ ـ ـ ـ ــﺎرة‪ .‬ﺛـ ـ ـ ـ ــﻢ ﰲ اﻟﻘـ ـ ـ ـ ــﺮن اﻟﺜـ ـ ـ ـ ــﺎﲏ ﻋﴩ ـ ـ ـ ـ ـ واﻟﺜﺎﻟـ ـ ـ ـ ــﺚ ﻋﴩ ـ ـ ـ ـ ـ‬ ‫اﳌﻴﻼدي ﺣﺘﻰ ﻣﻄﻠﻊ اﻟﻘﺮن اﳋﺎﻣﺲ ﻋﴩ اﳌﻴﻼد ‪.‬‬ ‫‪.3‬اﻧ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺪﻣﺎج اﳌﻼﻳ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻮ ﺑﺎﳉﻨﺴ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻴﺎت ‪ ،‬ﻧﺘﺠ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺖ ﻋﻨﻬ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎ اﻻﺣﺘﻜ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎك ﺑ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎﻵﺧﺮﻳﻦ ﰲ اﳌﻨﻄﻘ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ ﻣ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻦْ‬ ‫ﻛ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎن ﺻ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻠﻬﻢ ﻋ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺮﰊ وﻫﻨ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺪي وﻓ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎرﳼ وﺻ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻴﻨﻲ ‪ .‬وﻋﻜﺴ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺖ اﳌﻼﻳ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻮﻳﲔ ﺑ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎﻟﻌﺮب ﻣﺜ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻞ ﻫ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺬه‬ ‫اﳉﻨﺴﻴﺎت اﳌﺘﻨﻮﻋﺔ ﰲ ا ﳊﺠﺎز اﻳﻀ ًﺎ‬ ‫‪.4‬ﺑﺪاﻳﺔ ﺗﻮاﺟﺪ اﳌﻼﻳﻮ ﰲ ﺟﺰﻳﺮة اﳌﻼﻳﻮ ﳘﺎ ﻓﺮﻋﲔ‪ ،‬ﻓﺮوﺗﻮ و دﻳﻮﺗﺮو ‪ ( Deutro and Proto) ،‬اﻟـﺫﻳﻦ‬ ‫ﺳﻜﻨﻮا اﳌﻨﻄﻘﺔ‪.‬‬ ‫‪.5‬ﺗﻮاﺟـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺪ ﻣﻨﻄﻘـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺔ اﳌﻼﻳ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻮ واﺳـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﱰاﺗﻴﺠﻴﺔ ﺑﺤ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎرﻫﻢ ﺣﻴـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺚ ﺟﻌ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﻞ ﲡـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺎرﲥﻢ ﻳ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ـ ــﺮﺗﺒﻂ‬ ‫ﺑﺎﳌﺤﻴﻂ اﳍﻨﺪى واﻟﺒﺤﺎر اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﰲ ﻏﺮب آﺳﻴﺎ‪.‬‬ ‫‪ .6‬اﻧﺘﺸﺎر اﳌﺼﻄﻠﺤﺎ ت اﻟﺪﻳﻨﻴﺔ ﰲ اﻟﻠﻐﺔ اﳌﻼﻳﻮﻳﺔ وﺗﻮاﺟﺪ اﳌﻔﺮدات اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﰲ ﻟﻐﺘﻬﻢ ‪ ،‬وﻳﺘﻀﺢ ذﻟﻚ‬ ‫ﺑﻌﺪ ﻗﻴﺎم ﺑﺎﺟﺮاء ت دراﺳﻴﺔ ﻋﻨﻬﻢ وﺟﺪ أﳖﺎ ﻻ ﻳﻘﻞ ‪ 3,303‬ﻛﻠﻤﺔ ﺗﻘﺮﻳﺒ ًﺎ‪ ).‬ﻋﻼﻗﺔ اﻟﻠﻐﻮﻳﺔ (‬ ‫‪ .7‬اﻟﺪﻋﻢ اﻟﻌﺮﰊ اﳌﺴﺘﻤﺮ ﰲ اﳉﺎﻣﻌﺔ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﰲ وﻗﺘﻨﺎ اﳊﺎﱄ ﻣﻦ اﻟﻨﺎﺣﻴﺔ اﻟﲈدﻳﺔ واﻟﻌﻠﻤﻴﺔ ‪ ) .‬ﻋﻼﻗﺔ‬ ‫اﻷﺧﻮﻳﺔ (‬ ‫اﻟﺘﻮﺻﻴﺔ واﳌﻘﱰﺣﺎت ‪:‬‬ ‫‪ .1‬ﳛﺘﺎجـ ﻫـﺫ ا اـﳌﻮﺿﻮع إﱃـ دراﺳﺔ ﺗـﺎرﳜﻴﺔ ﻣﻦ ﺷﻌﺐ اﳌﻼﻳـﻮ ﻋﺎﻣﺔ وـﻓﻄﺎﲏ ﺧـﺎﺻﺔ ﻣﻦ ﻧﺎﺣـﻴﺔ اﳊﻀﺎرـة‬ ‫وﻋﻼﻗﺘﻬﻢ ﺑﺎﻟﻌﺮب ‪.‬‬ ‫‪ .2‬ﺗﻮﺿﻴﺢ أﺳﺒﺎب ﺗﺄﺛﺮ اﳌﻼﻳﻮﻳﲔ ﺑﺎﻟﻌﺮب وﺧﺎﺻﺔ اﺳﺘﺨﺪام اﳊﺮوف اﳍﺤﺎﺋﻴﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ دون اﻟﻠﻐﺎت‬ ‫اﻷﺧﺮى رﻏﻢ وﺟﻮد ﺣﻀﺎرﺗﲔ ﺑﻘﺮﲠﲈ اﻟﺼﲔ واﳍﻨﺪ‪ ،‬ووﺿﻊ ﺧﻄﻂ ﺟﺪﻳﺪة ﲥﺘﻢ ﺑﺎﻟﻠﻐﺔ اﳌﻼﻳﻮﻳﺔ ﻗﺒﻞ أن ﺗﺘﺒﺪل‬ ‫إﱃ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻶﺗﻴﻨﻴﺔ واﳊﻔﺎظ ﻋﲆ ﻣﻜﺎﻧﺘﻬﺎ ﰲ اﳌﺠﺘﻤﻊ ‪.‬‬ ‫‪ .3‬اـﳚــﺎدـ ﻣــﻮﺳﻮﻋـﺔ ﺗــﺎرـﳜــﻴﺔ ﺗـﺘﺤﺪثـ ﻋـﻦ ﺗــﺎرـﻳــﺦ ﻓـﻄﺎﲏـ ﺑـﺎﻟــﻠﻐﺔ اـﻟــﻌﺮﺑـﻴﺔ ﲢــﺘﻮيـ ﻋــﲆ ﺟـﻮاـﻧـﺐ ﻋــﺪﻳـﺪةـ ﻣــﻦ‬ ‫ﺣﻀﺎرﲥﻢ‪ ،‬ﻷﺟﻞ ﺗﺮﺳﻴﺦ اﻟﻌﻼﻗﺔ ﺑﻴﻨﻬﻢ واﳊﺠﺎز ﺧﺎﺻﺔ‬

‫‪789‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫واﳌﺼﺎدر اﳌﺮاﺟﻊ‬ ‫اﻟﻘﺮآن اﻟﻜﺮﻳﻢ‬ ‫اﺑﻦ ﻛﺜﲑ‪ ،‬إﺳﲈﻋﻴﻞ اﻟﻘﺮﳾ اﻟﺪﻣﺸﻘﻲ‪ ) .‬د‪ .‬ت(‪ .‬ﺗﻔﺴﲑ اﻟﻘﺮآن اﻟﻌﻈﻴﻢ ‪ .‬ج ‪ .2‬اﻟﻘﺎﻫﺮة‪ :‬دار اﻟﻔﺠﺮ وداراﻟﻘﻠﻢ‬ ‫ﻟﻠﱰاث‪.‬‬ ‫اﺑﻦ ﻛﺜﲑ‪ ،‬إﺳﲈﻋﻴﻞ اﻟﻘﺮﳾ اﻟﺪﻣﺸﻘﻲ‪ ).‬د‪.‬ت (‪.‬اﻟﺒﺪاﻳﺔ واﻟﻨﻬﺎﻳﺔ‪.‬ج ‪. 1-2‬ﻣﻜﺘﺒﺔ اﻹﻳﲈن‪.‬‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺻﺎﻟﺢ وﳛﺎﻣـﺔ‪2002.‬م ‪" .‬دﺧﻮل اﻹﺳﻼم واﻧﺘﺸـﺎره ﰲ ﺗﺎﻳﻼﻧـﺪ وأﺛـﺮه ﻋـﲆ اﻟﻄﻮاﺋـﻒ اﻟﺪﻳﻨﻴـﺔ ﻓﻴﻬـﺎ ﺟﺎﻣﻌـﺔ‬ ‫اﻟﻨﻴﻠﲔ ‪ .‬رﺳﺎﻟﺔ ﻣﺎﺟﺴﺘﲑ ‪.‬‬ ‫ﺷﺎﻛﺮ‪،‬ﳏﻤﻮد‪ " . 1980. .‬ﻓﻄﺎﲏ "‪ .‬ﻣﻦ اﻟﺸﻌﻮب اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﰲ آﺳﻴﺎ ‪ ٧‬اﳌﻜﺘﺒﺔ اﻹﺳﻼﻣﻲ ‪ .‬ط ‪. 3‬‬ ‫اﳉــﻮﻫﺮى‪ ،‬ﻳﴪــى ﻋﺒــﺪ اﻟــﺮزاق ‪١٩٨.‬م‪ .‬اﻟﻜﺘــﺐ اﳉﻐﺮاﻓﻴــﺔ ‪ .٥۳‬ﺟﻐﺮاﻓﻴــﺔ اﻟﺸــﻌﻮب اﻹﺳــﻼﻣﻴﺔ اﻟﻨــﺎﴍ اﳌﻌــﺎرف‬ ‫ﺑﺎﻹﺳﻜﻨﺪرﻳﺔ ﺟﻼل ﺣﺰى وﴍﻛﺎه‬ ‫ﺷﻠﺒﻲ‪،‬رؤوف‪ . 1982 .‬اﻟﺪوﻟﺔ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﰲ ﻓﻄﺎﲏ وﺟﺰر اﻟﻔﻠﺒﲔ‪ .‬ط ‪ .1‬دار اﻟﻘﻠﻢ اﻟﻜﻮﻳﺖ ‪.‬‬ ‫ﺻــﺎدق‪ ،‬دوﻟــﺖ أﲪــﺪ‪ .‬ﻏــﻼب‪ ،‬ﳏﻤــﺪ اﻟﺴــﻴﺪ‪.‬اﻟﺪﻳﻨﺎﺻــﻮري‪ ،‬ﲨــﺎل اﻟــﺪﻳﻦ ‪ . 1982 .‬اﳉﻐﺮاﻓﻴــﺔ اﻟﺴﻴﺎﺳــﻴﺔ ‪.‬اﻟﻨــﺎﴍ‬ ‫ﻣﻜﺘﺒﺔ اﻷﻧﺠﻠﻮ اﳌﴫﻳﺔ ‪.‬‬ ‫ﻋﺒﺪ اﻟﻮﻫﺎب ﺑﻦ اﳊﺎج ﻛﻴﺎ‪1402.‬م ﻫـ ‪1983/‬م ‪ .‬ﻣﺴﻠﻤﻮ ﻣﺎﻟﻴﺰﻳﺎ ﺑﲔ اﻟﲈﴈ واﳊﺎﴐ‪ .‬ﻣﻨﺸﻮرات ﻛﻠﻴﺔ اﻟـﺪﻋﻮة‬ ‫اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ‪ .‬ﻃﺮاﺑﻠﺲ ‪.‬‬ ‫ﺿﻴﺎء ﺷﻬﺎب‪1406،.‬ﻫـ‪1986 /‬م ‪ .‬اﳌﺠﺎﻫﺪون ﰲ ﻓﻄﺎﲏ‪ .‬اﻟﻨﴩ اﻟﺮاﺑﻄﺔ اﻟﻌﺎﱂ اﻹﺳﻼﻣﻲ‪ .‬ﻣﻜﺔ اﳌﻜﺮﻣﺔ‪.‬‬ ‫ﻣﻨﴘ‪ ،‬ﳏﻤﻮد ﺻﺎﻟﺢ ‪1989.‬م‪.‬اﳊﺮب اﻟﻌﺎﳌﻴﺔ اﻟﺜﺎﻧﻴﺔ ‪ .‬ﺣﻠﻮان ﻣﴫ ﻣﻄﺒﻌﺔ ﻋﺒﲑ ﻟﻠﻜﺘﺎب واﻷﻋﲈل اﻟﺘﺠﺎرﻳﺔ‪.‬‬ ‫ﻓﺎﻳــﺪ‪ ،‬ﻳﻮﺳــﻒ ﻋﺒــﺪ اﳌﺠﻴــﺪ‪ . 1994 .‬اﳌــﺪﺧﻞ إﱃ اﳉﻐﺮاﻓﻴــﺎ ‪ .‬واﻟﻜﺘــﺎب اﳉــﺎﻣﻌﻲ ﺟﺎﻣﻌــﺔ اﻟﻘــﺎﻫﺮة‪.‬ﻣﻄﺒﻌــﺔ ﺟﺎﻣﻌــﺔ‬ ‫اﻟﻘﺎﻫﺮة‪.‬‬ ‫اﳉﻮﻫﺮي‪ ،‬ﻳﴪي ﻋﺒﺪ اﻟﺮزاق‪ . 1995 .‬اﳉﻐﺮاﻓﻴﺔ اﳊﻀﺎرﻳﺔ ‪ .‬ﻣﺆﺳﺲ ﺷﺒﺎب اﳉﺎﻣﻌﺔ ‪.‬اﻻﺳﻜﻨﺪرﻳﺔ ﻣﴫ‪.‬‬ ‫ﺷﻠﺒﻲ‪ ،‬أﲪﺪ ‪ . 1996 ،‬ﻣﻮﺳﻮﻋﺔ اﻟﺘﺎرﻳﺦ اﻹﺳﻼﻣﻲ واﳊﻀﺎرة اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ‪ .‬ط ‪ . 4‬ج ‪ . 8‬دارﺳﺔ ﻛﻠﻴﺔ دار اﻟﻌﻠﻮم‬ ‫ﺟﺎﻣﻌﺔ اﻟﻘﺎﻫﺮة ‪.‬‬ ‫اﻟﻔﻘــﻰ ﻋﺼــﺎم اﻟــﺪﻳﻦ ﻋﺒــﺪ اﻟــﺮءوف‪ ،1419 .‬ﻣﻌــﺎﱂ ﺗ ــﺎرﻳﺦ وﺣﻀــﺎرة اﻹﺳ ــﻼﻣﻴﺔ ‪ ،‬ﻣــﻦ اﻟﺒﻌــﺚ اﻟﻨﺒﻮﻳــﺔ إﱃ ﺳــﻘﻮط‬ ‫اﻟﺪوﻟﺔ اﻟﻌﺜﲈﻧﻴﺔ ‪ .1924 .‬دار اﻟﻔﻜﺮ اﻟﻌﺮﰊ ‪،‬اﻟﻘﺎﻫﺮة ‪.‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪790‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﻣﻨﴘ‪ ،‬ﳏﻤﻮد ﺻﺎﻟﺢ ‪ 1998 .‬م ‪ ،‬ﺗﺎرﻳﺦ اﻹﺳﺘﻌﲈر اﻷورﰊ ﰲ آﺳـﻴﺎ‪ .‬د‪.‬ط‪.‬ﻛﺘـﺎب اﳉـﺎﻣﻌﻲ‪ .‬ﳏـﺎﴐات ﰲ ﺟﺎﻣﻌـﺔ‬ ‫اﻷزﻫﺮ‪ ،‬ﻗﺴﻢ ﺗﺎرﻳﺦ وﺣﻀﺎرة ‪.‬‬ ‫اﻟﺴﺒﺎﻋﻲ‪ ،‬أﲪﺪ‪1998.‬م‪ .‬ﺗﺎرﻳﺦ ﻣﻜﺔ ‪ .‬دراﺳﺎت ﰲ اﻟﺴﻴﺎﺳـﻴﺔ واﻟﻌﻠـﻢ واﻻﺟـﺘﲈع واﻟﻌﻤـﺮان ‪ .‬ج‪ .2‬اﻋﻴـﺪ ﻃﺒـﻊ ﻫـﺬا‬ ‫اﻟﻜﺘﺎب ﺑﻤﻨﺎﺳﺒﺔ اﻻﺣﺘﻔﺎل ﺑﻤﺮور ﻣﺌﺔ ﻋﺎم ﻋﲆ ﺗﺄﺳﻴﺲ اﳌﻤﻠﻜﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ اﻟﺴﻌﻮدﻳﺔ‬ ‫ﻗﻤﺮ‪ ،‬ﳏﻤﻮد‪1424 .‬ﻫـ‪2003/‬م‪ .‬اﻹﺳﻼم واﳌﺴﻠﻤﻮن ﰲ ﺟﻨﻮب ﴍق آﺳـﻴﺎ ‪ .‬ط‪ .1‬ﻋـﲔ ﻟﻠﺪراﺳـﺎت واﻟﺒﺤـﻮث‬ ‫اﻻﻧﺴﺎﻧﻴﺔ واﻻﺟﺘﲈﻋﻴﺔ ‪ .‬ﺟﺎزان اﻟﺴﻌﻮدﻳﺔ ‪ .‬ص‪105‬‬ ‫اﳋﻮﻧــﺪ‪ ،‬ﻣﺴــﻌﻮد ‪ .2005 .‬اﳌﺴ ــﻠﻤﻮن ﰲ اﻟﻔﻀــﺎءات ﻏــﲑ اﻟﻌﺮﺑﻴ ــﺔ وﻏــﲑ‬

‫إﺳ ــﻼﻣﻴﺔ )اﻷﻗﻠﻴــﺎت اﳌﺴــﻠﻤﺔ ﰲ اﻟﻌ ــﺎﱂ (‬

‫اﻟﴩﻛﺔ اﻟﻌﺎﳌﻴﺔ ﻟﻠﻤﻮﺳﻮﻋﺎت ‪ .‬ش‪.‬م‪.‬م ‪.‬‬ ‫ﳏﻤﺪ ﻋﺒﺪ اﻟﺮؤوف‪ ،‬د‪.‬ت‪ .‬اﳌﻼﻳﻮ وﺻﻒ واﻧﻄﺒﺎﻋﺎت‪ .‬اﳌﺆﺳﺴﺔ اﳌﴫﻳﺔ اﻟﻌﺎﻣﺔ‪ ،‬اﻟﻘﺎﻫﺮة‪ .‬ﺟﻮزﻓﲔ ﻛﺎم‪.‬‬ ‫) ‪1983 . ( Josephine Kamm‬م ‪ .‬اﳌﺴﺘﻜﺸﻔﻮن ﰲ إﻓﺮﻳﻘﻴﺎ‪ ،( Explorers into Africa) .‬ﺗﺮﲨﻪ اﻟﺴﻴﺪ ﻳﻮﺳﻒ ﻧﴫ‪ .‬راﺟﻌﻪ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﻋﲆ وﻗﺎد‪ .‬اﻟﻘﺎﻫﺮة ‪.‬ج‪،‬م‪،‬ع ‪ .‬دار اﳌﻌﺎرف‬ ‫ﻧــﺊ أﻧــﻮر ﻧــﺊ ﳏﻤــﻮد – دأﻟﻴــﻪ ﻛﺒﻬــﺎس ﺟــﺎوي اوﻟــﻪ ﻓﺮﻳــﺪ ﻣــﺖ زﻳــﻦ ‪ ،‬ﺳــﺠﺎرة ﻓﺮﺟــﻮاﻏﻦ ﻣﻼﻳــﻮ ﻓﻄ ــﺎﲏ)‪/1954‬‬ ‫‪ ،( 1785‬ط ‪ 2000‬م ﻓﱰﺑﻴﺖ ﻳﻮﻧﻴﺆرﻳﺴﺘﻲ ﻛﺒﻐﺴﺎن ﻣﻠﻴﺴﻴﺎ‬ ‫إﺑﺮاﻫﻴﻢ ﺷﻜﺮي ‪ .2002 .‬ﺳﺠﺎرة ﻛﺮاﺟﺄن ﻣﻼﻳﻮ ﻓﺘﺎﲏ ‪.‬ﻓﻨﺮﺑﻴﺔ اوﻧﻴﻮرﺳﻴﺘﻲ ﻛﺒﻐﺴﺎءن ﻣﻠﻴﺴﻴﺎ‪.‬ﺑﺎﻏﻲ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﻻزم ﺑﻦ ﻻوي‪ .2003 .‬ﺑﺎﻟﻠﻐﺔ اﳌﻼﻳﻮﻳﺔ ‪ .‬ﺳﺠﺎره دان ﻓﺮﻛﻤﺒﺎﻏﻦ اﻛَﺎم اﻧﻮﺗﻦ ﻣﺸﺎرﻛﺔ ﻣﻼﻳﻮ ﻓﻄﺎﲏ ‪ .‬اﻟﻜﻠﻴﺔ‬ ‫الإﺳﻼمﻳﺔ ﺟﺎﻻ‬ ‫ﻋﺒﺪ اﻟﻐﻨﻲ ﻳﻌﻘﻮب‪ .2003 .‬اﻹﺳﻼم واﻟﻔﻄﺎﻧﻴﻮن ﰲ ﺗﺎﻳﻼﻧﺪ ﲢﺪﻳﺎت اﻟﲈﴈ وﺗﻄﻠﻌﺎت اﳌﺴﺘﻘﺒﻞ ‪ .‬ﺳﺘﻮدﻳﺎ‬ ‫إﺳﻼﻣﻴﺔ ‪ ،‬ﳎﻠﺔ إﻧﺪوﻧﻴﺴﻴﺔ ﻟﻠﺪراﺳﺎت اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ‪،‬اﻟﺴﻨﺔ اﻟﻌﺎﴍة‪ ،‬اﻟﻌﺪد‪. 2‬‬ ‫ﳏﻤﺪ ﻻزم ﺑﻦ ﻻوي‪ .‬ﺷﻴﺦ أﲪﺪ اﻟﻔﻄﺎﲏ دان ﺳﻮﻣﺒﺎﻏﻦ ﻛﻔﺪ ﺧﺰاﻧﺔ ﲤﺪون ﻋﻠﻢ إﺳﻼم دﻧﻮﺳﻨﺘﺎرا‪ .‬ﺟﺎﻣﻌﺔ إﺳﻼﻣﻴﺔ‬ ‫ﺟﺎﻻ ‪1425‬ﻫـ‪2004 /‬م‪.‬‬ ‫ﺣﺎج ﻋﺒﺪ اﻟﺮﲪﻦ إﺳﲈﻋﻴﻞ اﻟﺪﻳﻮاﲏ ‪ .‬ﺗﻮﻛﻮه ﻋﻠﲈء ﺳﻴﻠﻢ ﻓﻄﺎﲏ ‪2011،‬م ‪ .‬ﺳﲑى ﻓﺮﺗﺎم ‪ .‬ﺳﻮدارا ﻓﺮﻳﺴﺲ ﻓﻄﺎﲏ‪.‬‬ ‫أﲪــﺪ ﻛﺎﻣــﻞ ﺣــﺎج ﻳﻮﺳــﻒ‪ .‬ﺷــﻴﺦ داؤد اﻟﻔﻄــﺎﲏ‪.‬ﺻــﻮت اﳌﺠﻠــﺲ )ﺳــﻮارا ﳎﻠــﻴﺲ(‪ .‬ﻋــﺪد‪2 .4‬ﳏــﺮم‪/‬ﺻــﻔﺮ ‪/‬رﺑﻴــﻊ‬ ‫اﻷول‪1414 /‬ﻫـ ‪1993 /‬م ‪ .‬ﳎﻠﺔ ﺷﻬﺮﻳﺔ ‪ .‬ﳎﻠﺔ ﺑﻮﻟﻨﻦ دﻋﻮه دان ﻓﺮﻛﻤﺒﺎﻏﻦ إﺳﻼم ‪.‬‬ ‫ﻋﺒــﺪ اﻟﻐﻨــﻲ ﻳﻌﻘــﻮب‪ .2003 .‬اﻹﺳــﻼم واﻟﻔﻄــﺎﻧﻴﻮن ﰲ ﺗﺎﻳﻼﻧــﺪ ﲢــﺪﻳﺎت اﻟــﲈﴈ وﺗﻄﻠﻌــﺎت اﳌﺴــﺘﻘﺒﻞ‪ .‬ﺳــﺘﻮدﻳﺎ‬ ‫إﺳﻼﻣﻴﺔ ‪ .‬ﳎﻠﺔ إﻧﺪوﻧﻴﺴﻴﺔ ﻟﻠﺪراﺳﺎت اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ‪.‬اﻟﺴﻨﺔ اﻟﻌﺎﴍة‪ ،‬اﻟﻌﺪد‪22 . 2‬ﻫـ‪2001/‬م‪.‬‬

‫‪791‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ทัศนคติ ของผูนําชุมชนตอนโยบายของรัฐในการแกไขปญหาความไมสงบในพื้นที่จังหวัดปตตานี Attitude of Community Leaders to State’s Policy: CaseStudy of the Unrest Resolution in Pattani Province อดินนั ต สะแลแม รป.บ.(รัฐประศาสนศาสตรบัญฑิต), (นักศึกษารัฐศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการปกครอง คณะศิลปศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา)

บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาทัศนคติ ของผูนําชุมชนตอนโยบายของรัฐในการแกไขปญหา ความไมสงบในพื้นที่จังหวัดปตตานี” โดยสอบถามความเห็นของผูนําชุมชนจังหวัดปตตานี จากอําเภอเมือง อําเภอสายบุรี และอําเภอโคกโพธิ์ จํานวน 100 คน ซึ่งกําหนดตัวแปรอิสระ 3 ตัวคือ 1) โครงการ พัฒนาทางเศรษฐกิจ 2) นโยบายการพัฒนาสูชนบท และ 3)การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมกําหนด นโยบายของรั ฐ เก็ บ ข อมู ล ด วยการสั ม ภาษณ และจากการสร างแบบสอบถามที่ เ กี่ย วข องกับ ผูต อบ แบบสอบถาม คําตอบจากผูตอบแบบสอบถามตางๆ ไดนํามาวิเคราะหในรูปแบบของความถี่และปรับเปน คาของรอยละ ผลลัพธของคารอยละที่มากที่สุดจากตัวแปรอิสระสามตัวดังกลาวจะเปนคาที่สําคัญในการ ยืนยันถึงความเปนไปไดที่เปนทิศทางทัศนคติของผูนําชุมชนตอนโยบายการแกไขปญหาความไมสงบในพื้นที่ 3จังหวัดชายแดนใตของรัฐ งานวิจัยนี้พบวา 1) รอยละ 50 เห็นวา โครงการพัฒนาทางเศรษฐกิจไดเกิด ประโยชนตอชุมชนในทองถิ่นในจังหวัดปตตานี 2) รอยละ 54 เชื่อวา โครงการพัฒนาจากภาครัฐไมตรงกับ ความตองการของประชาชนในทองถิ่นและไมสอดคลองกับวัฒนธรรมความเปนอยูของคนในพื้นที่ และ 3) รอยละ 65 เชื่อวา ประชาชนเห็นวาระดับรากหญาถูกทอดทิ้งไมมีสวนไดสวนเสียในการกําหนดนโยบายของ รัฐเทาที่ควร อยางไรก็ตาม ยังมีปญหาอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวของกับทัศนคติตอนโยบายของรัฐ อยางเชน ผูนํา ชุมชน เชื่อวา โครงการพัฒนาของภาครัฐไมตรงกับความตองการของประชาชนในทองถิ่น (รอยละ 75) นอกจากนี้ และประชาชนเชื่อวา การพัฒ นาดานการศึก ษาในพื้นที่จัง หวัดปตตานียัง ไมทั่วถึง (รอยละ 68.00) คําสําคัญ: ทัศนคติ, ผูนําชุมชน, นโยบายรัฐ, จังหวัดปตตานี

Graduate School and Research / 15 May 2013

793


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The objective of this research is to “study the attitudes of community leaders to state’s policy of unrest resolution in Pattani Province” by question about opinion of 100 community leaders from three districts of Pattani Province which comprised with Muang District, Saiburi District, Khokpho District. The study determined with three independent variables, namely: 1) economic development projects 2) rural development policy, and 3) giving opportunity to the people in making public policy of the state. The data were collected from interviews and questionnaires and analyzed in the frequency of percentage the highest percentage of results answers of three independent variables will be important to confirm the feasibility of the attitudes of community leaders to state’s policy of unrest resolution in Pattani Province. This research found that: 1) 50 percent agreed that the development of economic benefit to the local community in Pattani Province 2) 54 percent believe that the development of the state do not meet the needs of local residents and inconsistent with cultural well-being of people in the area, and 3) 65 percent of the public believes that grassroots people were neglected in participate making public policy of the state as it should. However, also has other problems may be related to attitudes toward public policy, such as 75 percent of communities leaders view that the community development projects of the government does not meet the needs of local residents and 68 percentage of communities leaders believe the development of education in the area of Pattani Province, still not cover all area of PattaniProvince. Keywords: attitude, community leader, state policy, Pattani Province

794

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา จังหวัดปตตานีมีอัตลักษณเฉพาะ ทางสังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และศาสนาที่ แตกตางจากภูมิภาคอื่นของประเทศ ประกอบกับพื้นที่นี้อยูใกลกับประเทศเพื่อนบานที่มีลักษณะทางสังคม วัฒนธรรมและศาสนาเดียวกัน เปนพื้นที่มีลักษณะพิเศษมีลักษณะทางสังคมผิดแผกแตกตางจากดินแดน สวนอื่น ๆ ของประเทศ ประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม มีเอกลักษณทางดานภาษา ศาสนา คาม เชื่อ วัฒ นธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีข องตน มี ความสํ านึก ในประวัติศ าสตรข องตนเองสูง มี ความรูสึกวาตนเองเปนชนพื้นเมืองในทองถิ่นที่มิไดอพยพมาจากที่ไหน ในขณะที่ประชาชนอีกสวนหนึ่งนับ ถือศาสนาพุทธ และศาสนาอื่น ๆ ที่แตกตางกันไป จึงทําใหพื้นที่จังหวัดปตตานีมีลักษณะความหลากหลาย ทางสังคม ความแตกตางทางสังคม วัฒ นธรรมและความเชื่อ อาจจะกอใหเ กิดปญหาความขัดแยง อันมี รากเหงาลึกซึ้งซึ่งตั้งอยูบนพื้นฐานของลัทธิความเชื่อ รูปแบบและความสัมพันธระหวางรัฐกับฝายศาสนา อัน นําไปสูความไมยอมรับในอํานาจ สถานภาพ สิทธิและเสรีภาพของกันและกันจนกอใหเกิดการจัดตั้งกลุม ขบวนการมุส ลิม ตา งๆ ทั้ง ภายในและภายนอกประเทศ เพื่อปกปองสถานภาพสิท ธิและเสรีภาพของ ประชาชนจนกลายเปนปญหาทางสังคมวิทยา และสงผลกระทบตอความมั่นคงของประเทศ การเมืองการ ปกครอง เศรษฐกิจ การคา การลงทุน ตลอดจนการทองเที่ยวก็ไดรับผลกระทบจนเปนเหตุใหนี้ไดรับการ พัฒนาไปอยางคอนขางลาชากวาภูมิภาคอื่น ๆ ของประเทศ ปญหาการกอการรายในจังหวัดชายแดนภาคใตมีการสั่งสมกันมานานจนกลาวไดวาเปนปญหาทาง ประวัติศาสตร และความเปนมาทางสัง คม การเมือง การปกครองที่ตอเนื่อง เกิดเปนชองวางที่ลึกอยูใน สัง คมจากอดีตและหลงเหลื ออยูจ นถึ ง ปจ จุบัน คือทัศนคติห รือโลกทัศนข องเจาหนาที่บานเมืองและ ประชาชนที่มีตอกันและกัน และอาจมีกลุมผลประโยชนหรือกลุมผูไมหวังดีบางกลุมแสวงหาผลประโยชน ใหกับกลุมของตน โดยอาศัยลักษณะและเอกลักษณพิเศษของจังหวัดชายแดนภาคใตของไทย จากสภาพปญหานํามาซึ่งความหวาดระแวง ความไมไววางใจซึ่งกันและกัน เกิดความหวาดกลัวกัน และกัน อันเปนสภาพที่เกิดขึ้นทุกฝายไมวาจะเปนฝายประชาชนทั่วไปซึ่ งถูกปองรายในทุกรูปแบบ ผูตอง สงสัยถูกอุมหายไป และเจาหนาที่ของรัฐถูกลอบทํารายเปนประจําแทบทุกวัน การคุกคาม การกอความไม สงบของผูไมหวังดีที่มุงปองรายโดยไมจํากัดเปาหมายในการกอการรายนี้ ไดกอเกิดขึ้นอันเปนเหตุใหเ กิด ความไมปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสนิ ของประชาชนทั่วไป ซึ่งพอสรุปไดดังนี้คือ 1) สภาพปญหาจากการ กอการรายรวมทั้งขบวนการแบงแยกดินแดน 2) ความไมปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน และ 3) ขาวลือและการใหขาวเพื่อผลทางธุรกิจจากสื่อมวลชนตาง ๆ ปจจัยตางๆเหลานี้อาจจะเปนเหตุผลหนึ่งที่ทําใหกลุมชาติพันธกลาวเปนขออางในการเคลื่อนไหว ทางการเมือง โดยเฉพาะการปลุกกระแสใหเกิดการตอตานอํานาจรัฐ และกอความไมสงบในรูปแบบตาง ๆ มาโดยตลอด สถานการณที่กอใหเกิดความไมสงบในพื้นที่ดังกลาว มีปจจัยภายในที่เปนจุดออนและเงื่อนไข จากความแตกตางทางดานเชือ้ ชาติ ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรมเกื้อกูลใหกลุมขบวนการตาง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกประเทศแสวงประโยชนจ ากการแอบอางศาสนาเขาไปปลูก ฝง อุดมการณใหกับ เยาวชน ประกอบกับสภาพพื้นที่ที่อยูใกลกับมาเลเซียที่งายตอการหลบหนี หลังจากกอเหตุราย ทั้งนี้ ที่ผานมาการ กอความไมสงบมีลักษณะกระจายในหลายพื้นที่ โดยมีจุดมุงหมายเพื่อจะตอบโต กอกวน สรางความสับสน ตอเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งจะสงผลดานจิตวิทยาและความเชื่อมั่นของประชาชน สําหรับปจ จัยภายนอกที่ กอใหเกิดเหตุการณความรุนแรงขึ้นสวนหนึ่งเกิดจากกระแสในตะวันออกกลางตอตานชาติ ตะวันตกอยาง Graduate School and Research / 15 May 2013

795


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

รุนแรง โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกา อาจทําใหกลุมกอการรายเขามาแสวงประโยชนจากสถานการณใน ภาคใตเหตุการณความไมสงบในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต นอกจากนี้แลวยังมีสาเหตุมาจากกลุม ขบวนการตาง ๆ กลุมอิทธิพลทองถิ่น กลุมอิทธิพลการเมือง ทําใหเจาหนาที่รัฐไมสามารถแกปญหาไดดี เทาที่ควรแถมยัง ตองพบอุปสรรคตางๆอีกมากมายเชน ไมไดรับความรวมมือจากประชาชน การทํางานของ เจาหนาที่รัฐในปจจุบันยังมีลักษณะตางหนวยตางทํา การควบคุมบังคับบัญชา และการติดตอสื่อสารขาด ประสิทธิภาพ การทํางานเปนไปในลักษณะตั้งรับ ไมมีการปฏิบัติงานในเชิงรุก ทําใหขาราชการเสียขวัญ ประชาชนไมมั่นใจ โดยสรุปแลว งานวิจัยนี้จึงมุงที่จะตรวจสอบโจทยปญหาคือ “ทัศนคติของผูนําชุมชนตอนโยบาย ของรัฐ กรณีศึกษาการแกไขปญหาความไมสงบในพื้นที่จังหวัดปตตานีเปนเชนไร” วัตถุประสงคในการวิจยั เพื่อศึก ษาถึง ทัศนคติของผูนําชุมชนตอนโยบายของรัฐในการแกไขปญหาความไมส งบในพื้นที่ จังหวัดปตตานี สมมุติฐานของการวิจัย 1) นโยบายการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เกิดประโยชนตอชุมชนทองถิ่นสงผลใหประชาชนมีทัศนคติ ดานบวกตอนโยบายของรัฐบาล 2) นโยบายการพัฒนาสูชนบทสอดคลองกับวัฒนธรรมทองถิ่นสงผลใหประชาชนมีทัศนคติดานบวก ตอนโยบายของรัฐบาล 3) ประชาชนระดับรากหญามีโอกาสรวมกําหนดนโยบายของรัฐตอการพัฒนาทองถิ่นตนเองสงผล ใหประชาชนมีทัศนคติดานบวกตอนโยบายของรัฐบาล ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ทําใหทราบถึงทัศนคติผูนําชุมชนที่มีตอนโยบาย ดานเศรษฐกิจ ดานพัฒนาสูชนบทสอดคลองกับ วัฒนธรรมทองถิ่น การเปดโอกาสใหผูนําชุมชนมีสวนรวมกันในการกําหนดนโยบายรวมกัน นําเสนอรูปแบบ หรือวิธีการเพื่อปรับนโยบายใหสอดคลองกับวัฒนธรรมของทองถิ่นในการแก ปญหาความไมสงบในพื้นที่ จังหวัดปตตานี ขอบเขตการศึกษา ขอบเขตดานพื้นที่และกลุมตัวอยาง ผูศึกษาเลือกพื้นที่ศึกษา จากสามเขตอําเภอของจังหวัดปตตานี คือ อําเภอเมืองเปนผูนําชุมชนใน พื้นที่ ตําบลรูสะมิแลจํานวน 33 คน อําเภอสายบุรีเปนผูนําชุมชนในพื้นที่ ตําบลปะเสยาวอจํานวน 33 คน และอําเภอโคกโพธิ์เปนผูนําชุมชนในพื้นที่ ตําบลนาประดู จํานวน 34 คน รวมกลุมตัวอยางของการศึกษาผู ศึกษาเลือกผูนําชุมชนจํานวนทั้งหมด 100 คน โดยสุมเลือกแบบเจาะจง(Purposive sampling) ขอบเขตดานเนื้อหา การศึกษาครั้งนี้มุงศึกษาเกี่ยวกับทัศนคติของผูนําชุมชนตอนโยบายของรัฐในการแกไขปญหาความ ไมสงบในพื้นที่จังหวัดปตตานี เนื้อหาสวนใหญศึกษาเจาะจงไปที่ทัศนคติของผูนําชุมชนในจังหวัดปตตานี 796

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ทัศนคติผูนําชุมชนที่มีตอนโยบาย ดานเศรษฐกิจ ดานพัฒนาสูชนบทสอดคลองกับวัฒนธรรมทองถิ่น การ เปดโอกาสใหผูนําชุมชนมีสวนรวมกันในการกําหนดนโยบายรวมกัน นําเสนอรูปแบบหรือวิธีการเพื่อปรับ นโยบายใหส อดคลองกับ วัฒ นธรรมของทองถิ่นในการแกไขปญหาความไมส งบในพื้นที่จังหวัดปตตานี ระหวางป 2547-2553 นิยามศัพท ทัศนคติ หมายถึง ความรูสึกหรือทาทีของบุคคลที่มีตอบุคคล วัตถุสิ่งของ หรือสถานการณตางๆ ความรูสึกหรือทาทีนี้จะเปนไปในทํานองพึงพอใจหรือไมพึงพอใจ เห็นดวยหรือไมเห็นดวย (สุธา จันทรเอม, 2524 อางถึงใน นภา จันทรตรี, 2545 : 7 ) ผูนําชุมชน หมายถึง กํานัน ผูใหญบาน สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล อิหมามประจํามัสยิด และผูนํากลุมองคกร อสม. ซึ่งเปนผูนํา และมีสวนรวมในการตัดสินใจ เพื่อวางแผนดําเนินงานในชุมชน ใน ดานความคิดริเริ่ม ทักษะ ความรู ทรัพยากรชุมชน เปนบุคคลที่ชาวบานใหการยอมรับ ใหการเคารพ และ เชื่อถือ นโยบายของรัฐ หมายถึง สิ่งใดก็ตามที่รัฐบาลเลือกจะกระทําหรือไมกระทํา กิจกรรมตาง ๆ ที่ รัฐบาลหรือองคกรของรัฐจัดทําขึ้นเชน การจัดการบริการสาธารณะ (Public services ),การจัดทําสินคา สาธารณะ (public good),การออกกฎหมายและการบังคับใชกฎหมาย แนวทางปฏิบัติที่กําหนดขึ้น เพื่อ ตอบสนองตอปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น หรือแนวทางที่รัฐบาลกําหนดขึ้นเพื่อแกไขปญหา ความคิดของรัฐที่ กําหนดวาจะทําอะไรหรือไม อยางไร เพียงไร เมื่อไร 5แนวทางกวาง ๆ ที่รัฐบาล (ไมวาจะระดับใด) กําหนด ขึ้นเพื่อลวงหนา เพื่อเปนการชี้นําใหเกิดการกระทําตาง ๆ ตามมา การแกไขปญหาความไมสงบ หมายถึง วิธีการในการปรับปรุง พัฒนาสวนที่ไมดี สวนที่ขัดของให กลับ มาดีขึ้น ตามแนวทางที่กําหนดไว เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติใหก ารปรับปรุงสถานการณความ รุนแรง เหตุการณความไมสงบที่เกิดขึ้นรายวัน ประกาศใชนโยบายตางๆ ในการแกไขปญหาความไมสงบที่ เกิดขึน้ ในจังหวัดปตตานีและพื้นที่ใกลเคียงภาคใตบรรลุผล โดยสามารถวิเคราะหกลวิธีตางๆ แลวรวมกัน กําหนดวิธีการแกไขในแตละปญหาระยะสั้นและระยะยาว จังหวัดปตตานี หมายถึง อําเภอเมืองในพื้นที่ ตําบลรูสะมิแล อําเภอสายบุรีในพื้นที่ ตําบลปะเสยา วอ และอําเภอโคกโพธิ์ในพื้นที่ ตําบลนาประดู ทัศนคติตอนโยบายการแกไขปญหาของรัฐ หมายถึง ทัศนคติของผูนําชุมชนในจังหวัดปตตานีที่มี มุมมองตอโครงการพัฒนาทางเศรษฐกิจ นโยบายการพัฒนาสูชนบท และโอกาสรวมกําหนดนโยบายของรัฐ จากประชาชน ระเบียบวิธีวิจัย 1) ประชากรและกลุมตัวอยาง การศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาเลือกกลุมตัวอยางเปนผูนําชุมชนจาก 3 อําเภอ ของจังหวัดปตตานี จํานวน 100 คน โดยแยกออกเปน 3 กลุมซึ่งมีความแตกตางกัน ดังนี้ - กลุมตัวอยางที่เปนผูนําชุมชนในพื้นที่ ตําบลรูสะมิแล อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี ประชาชนใน บริเวณนี้สวนใหญมีอาชีพประมง รับราชการ พนักงานหางราน เปนสังคมเปนชนบทผสมผสานสังคมเมือง จํานวน 33 คน Graduate School and Research / 15 May 2013

797


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

- กลุ ม ตั วอย างที่เ ป นผู นํา ชุม ชนในพื้น ที่ ตําบลนาประดู อํ าเภอโคกโพธิ์ จั ง หวั ดป ตตานี ซึ่ ง ประชาชนสวนใหญในบริเวณนี้ประกอบอาชีพเปนผูประกอบการ รับราชการ พนักงานหางราน ฯลฯ ถือวา เปนสังคมชนบทผสมผสานสังคมเมือง จํานวน 33 คน -กลุมตัวอยางที่เปนผูนําชุมชนในพื้นที่ ตําบลปะเสยาวอ อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี ประชาชน สวนใหญในบริเวณนี้มีอาชีพประมง ทําสวน ทําไร ผูประกอบการ รับราชการ ฯลฯ เปนสังคมที่ยังคงความ เปนชนบท จํานวน 34 คน รวมกลุมตัวอยางในการทําวิจัยครั้งนี้ทั้งสิ้น 100 คน ลักษณะเครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนแบบสอบถามซึ่งแบงเปน 2 ตอนดังนี้ ตอนที่1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผู ตอบแบบสอบถามไดแก เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ ภาษาที่ใชในชีวิตประจําวันนั้น ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับ ทัศนคติ ของผูนําชุม ชนตอนโยบายของรัฐ แบงเปน ดานๆตามตัวแปรตนที่ไดกําหนดไวคือ 1)โครงการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 2) นโยบายการพัฒนาสูชนบท และ 3) โอกาสรวมกําหนดนโยบายของรัฐจากประชาชน 2) วิธีเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการเก็บขอมูล กําหนดการเก็บขอมูลทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ โดยมีขั้นตอนของการเก็บ ขอมูล ดังนี้ - ขอมูลปฐมภูมิ การเก็บขอมูลพื้นฐาน โดยจัดทําแบบสอบถาม เพื่อตรวจสอบคําถามหลักคือ “ผูนําชุมชนมีทัศนคติตอนโยบายการแกไขปญหาของรัฐเชนใด” - ขอมูลทุติยภูมิ การเก็บขอมูลจากเอกสาร วารสาร ตําราวิชาการ เปนการหาขอมูลถึงแนวทาง ของการพัฒนาพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใตที่เกี่ยวกับนโยบายของรัฐบาลตลอดจนเอกสารทางวิชาการ อื่นๆเพื่อใชส นับ สนุนในการดําเนินงานวิจัยและเปนแนวทางในการกําหนดการตั้ง ประเด็นคําถามเพื่อ สัมภาษณแบบเจาะลึก 3) วิธีการวิเคราะห นําขอคิดเห็นของผูนําชุมชนจํานวน 100 คน ที่ไดจากการเก็บขอมูลทําการหาคาความเปนไปได (probability) โดยวัดระดับความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระซึ่งเปนขอคิดเห็นของผูนําชุมชน (โครงการ พัฒนาทางเศรษฐกิจ นโยบายการพัฒนาสูชนบท และโอกาสรวมกําหนดนโยบายของรัฐตอประชาชน) ซึ่ง เปนเงื่อนไขที่กําหนดขึ้นลวงหนา (preconditions) ความถี่ที่ไดจากการวัดระดับความสัมพันธระหวางตัว แปรอิสระกับตัวแปรตามคือ ทัศนคติตอนโยบายการแกไขปญหาของรัฐ (occurrence) จะถูกแปลงคา ออกใหเปนคาของรอยละ และระดับความสัมพันธที่คาสูงสุดจะถือเปนคาความเปนไปไดของงานวิจัย 4) บทวิเคราะห งานวิจัยนี้ เปนการวิจัยเกี่ยวกับทัศนคติของผูนําชุมชนตอนโยบายของรัฐ โดยศึกษากรณีการแกไข ปญหาความไมสงบในพื้นที่จังหวัดปตตานี ซึ่งผูวิจัยไดทําการเก็บแบบสอบถามผูนําชุมชนที่อาศัยอยูใน ตําบลรูสะมิแล (อําเภอเมือง) ตําบลนาประดู (อําเภอโคกโพธิ์) และตําบลปะเสยาวอ (อําเภอสายบุรี) ของ จังหวัดปตตานี รวมทั้ง สิ้น100 ทาน ทั้ง นี้ เพื่อใหไดรับตอบตอคําถามวิจัยคือ “ผูนําชุม ชนมีทัศนคติตอ นโยบายการแกไขปญหาความไมสงบในพื้นที่จังหวัดปตตานีของรัฐเชนใด”โดยมีสมมติฐานการวิจัย คือ 1) นโยบายการพัฒนาทางเศรษฐกิจเกิดประโยชนตอชุมชนทองถิ่นสงผลใหประชาชนมีทัศนคติดานบวกตอ นโยบายของรัฐบาล2) นโยบายการพัฒนาสูชนบทสอดคลองกับวัฒ นธรรมทองถิ่นสงผลใหประชาชนมี 798

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ทัศนคติดานบวกตอนโยบายของรัฐบาล3) ประชาชนระดับรากหญามีโอกาสรวมกําหนดนโยบายของรัฐ สงผลใหประชาชนมีทัศนคติดานบวกตอนโยบายของรัฐบาล 4.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง จากการสอบถามผู นํา ชุ ม ชนจํ านวน 100 คน จากกลุ ม ตั ว อย า งในจั ง หวั ดป ต ตานี ผู ต อบ แบบสอบถามเปนชายรอยละ 94.0 หญิงรอยละ 6.0 มีอายุนอยกวา 20 ป คิดเปนรอยละ 3.0 อยูระหวาง 21-30 ป คิดเปนรอยละ 69.0 อายุระหวาง 31-40 ป รอยละ 13.0 และมากกวา 40 ป รอยละ 15.0 เปนผู ที่สมรสแลวรอยละ 34.0 และมีสถานะโสดรอยละ 66.0 มีการศึก ษาอยูในระดับปริญญาโทรอยละ 3.0 ระดับปริญญาตรีรอยละ 46.0 ระดับมัธยมศึกษารอยละ 46.0 และต่ํากวามัธยมศึกษารอยละ 5.0 สวน ภาษาที่ใชในชีวิตประจําวันนั้น เปนภาษาไทยรอยละ 11.0 ภาษามลายูรอยละ 89.0 อาศัยอยูในตําบลรูสะ มิแล (อําเภอเมือง) รอยละ 34.0 ตําบลนาประดู (อําเภอโคกโพธิ์) รอยละ 33.0 และตําบลปะเสยาวอ (อําเภอสายบุรี) รอยละ 33.0 โดยแตละทานจะประกอบอาชีพ คือ เจาของกิจการทางธุรกิจรอยละ 9.0 ขาราชการประจํารอยละ 13.0 รับจางองคกรเอกชนรอยละ 33.0 ผูนําศาสนารอยละ 2.0 และคอยงานเพื่อ หางานทํารอยละ 43.0 4.2 ขอคําถามเรื่องทัศนคติของผูนําชุมชนดานนโยบายการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (คําถามที่ 1) รัฐบาลมีการสงเสริมและผลักดันใหเกิดธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม และวิสาหกิจชุมชน ผลจากการสอบถามผูนําชุมชนรอยละ 61.0 เห็นดวย หากรัฐบาลมีการสงเสริมและผลักดันใหเกิด ธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอมและวิสาหกิจชุมชนก็สามารถพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่จังหวัด ปตตานี สวนรอยละ 21.0 ไมเห็นดวย ทั้งนี้เพราะโครงการแตละโครงการไมคอยมีการประชาสั มพันธให ทั่วถึง การปฏิบัติงานกวาจะผานแตละขั้นตอนมีความลาชา และอีกรอยละ 18.0 ไมทราบ เพราะผูนําชุมชน บางคนมีภาระงานที่มากจนบางทีไมรูวารัฐบาลมีการสงเสริมภาคอุตสาหกรรมในชุมชนของตนเอง (คําถามที่ 2) รัฐบาลมีการสงเสริมการสรางงานที่ยั่งยืน ผลจากการสอบถามผูนําชุมชนรอยละ 65.0 เห็นดวยหากรัฐบาลรัฐบาลมีการสงเสริมการสรางงาน ที่ยั่งยืนก็จะสงผลตอการพัฒนาดานเศรษฐกิจเปนวิธีการแกปญหาที่ถูกตอง ประชาชนก็จะมีงานที่เปนหลัก แหลงลดปญหาความยากจน ปญหาความเหลื่อมล้ําทางสังคมก็จะไมเกิดขึ้น ประชาชนอยูดีกินดี ก็อาจจะไม ถูกชักจูงไปในทางที่ผิด สวนรอยละ 19.0 ไมเห็นดวย เพราะคิดวาการสรางงานอาจจะไมยั่งยืนเหมือนที่ตั้ง เปาเอาไว แรกๆคิดวาเปนนโยบายของรัฐบาลชุดนี้ แตเมื่อใดมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลนโยบายดังกลาวอาจ หยุดชะงักสงผลกระทบโดยตรงตอประชาชน สวนรอยละ16.0 ไมทราบวางานที่ยั่งยืนนั้นจะมีรูปแบบหรือ โครงสรางการดําเนินงานอยางไรจึงจะเขาถึงระดับรากหญาอยางแทจริง (คําถามที่ 3) รัฐบาลมีการสงเสริมและสนับสนุนกลุมอาชีพ ผลจากการสอบถามผูนําชุมชน รอยละ 55.0 เห็นดวยหากรัฐบาลมีการสงเสริมและสนับสนุนกลุม อาชีพมีทําใหประชาชนมีการรวมตัวขึ้นในสังคม มีการสนับสนุนและสงเสริมอาชีพที่สนองตอบตออัตลักษณ ของคนในพื้นที่ สวนรอยละ 27.0 ไมเห็นดวย เพราะกลัวจะทําลายขนบธรรมเนียม ประเพณี และอัตลักษณ ที่ดีของคนในพื้นที่ สวนรอยละ 18.0 ไมทราบวาหากรัฐบาลมีการสงเสริมและสนับสนุนกลุมอาชีพทําให ประชาชนไดรับประโยชนอยางแทจริง Graduate School and Research / 15 May 2013

799


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

(คําถามที่ 4) รัฐบาลเอาจริงเอาจังกับการแกปญหาวางงาน ผลจากการสอบถามผูนําชุมชน รอยละ 62.0 เห็นดวยหากรัฐบาลเอาจริงเอาจังกับการแกปญหา วางงานของคนในพื้นที่ ประชาชนมีรายไดสามารถจุนเจือตนเองและครอบครัวการเอาจริงเอาจังกับการ แกปญหาการวางงานสามารถแกปญหาทางสังคมไดในระดับหนึ่ง สวนรอยละ 20.0 ไมเห็นดวย เพราะการ แกปญหาการวางงานของคนในพื้นที่ของรัฐบาลจะทําใหประชาชนมีการแขงขันสูงขึ้น ประชาชนอาจละทิ้ง ถิ่นฐานเดิมไปสูสังคมที่เจริญกวา สวนรอยละ 18.0 ไมทราบ ไมมีการติดตามขอมูลขาวสารจากภาครัฐอยาง แทจริง (คําถามที่ 5) รัฐบาลมีการสงเสริมใหคนในพื้นที่เปนผูประกอบการเอง ผลจากการสอบถามผูนําชุมชน รอยละ 50.0 เชื่อวาหากรัฐบาลมีกาสงเสริมใหคนในพื้นที่เปน ผูประกอบการเองทําใหประชาชนในพื้นที่ไดมีพัฒนาทางเศรษฐกิจในบานเกิดของตนเอง ผูคนไมยายถิ่นฐาน ผลดีก็ตกกับ ประชาชนระดับ รากหญาอยางแทจริง สวนรอยละ 31.0 ไมเห็นดวย เพราะการที่จ ะเปน ผูประกอบการตองใชเงินทุนที่สูงในการทําธุรกิจเปนจํานวนมากทําใหเปนภาระตอประชาชน สวนรอยละ 19.0 ไมทราบวารัฐบาลมีการสงเสริมใหคนในพื้นที่เปนผูประกอบการเอง 4.3 ขอคําถามเรื่องทัศนคติของผูนําชุมชนดานการพัฒนาของรัฐสูชนบท ผลจากการสอบถามผู นําชุม ชนรอยละ 42.0 ยอมรับ วาในพื้นที่จัง หวั ดปตตานีนั้นไดรับ การ ชวยเหลือจากภาครัฐดวยดีในการพัฒนาชนบท (คําถามที่ 1) ประชาชนไดรับประโยชนจากนโยบายการพัฒนาชนบทของรัฐ แตสวนใหญจะตอบวารัฐใหความชวยเหลือเพียงบางพื้นที่ บางชุมชนทําใหมีผูตอบแบบสอบถามไม เห็นดวยคิดเปนรอยละ 32.0 ทั้งนี้ อาจเนื่องจากภาครัฐไมใหการชวยเหลืออยางจริงจัง นําไปสูความรูสึก อคติของประชาชนและมองภาครัฐในแงลบมาตลอด นโยบายตางๆที่ถูกนํามาเปนรูปธรรมไมคอยตรงกับ ความตองการของประชาชน ซึ่งจะเห็นวา ผูนําชุมชนรอยละ 48.0 ตองการอยากที่จะรับรูนโยบายพัฒนา ชนบทกอนการดําเนินการ (คําถามที่ 2) ประชาชนสามารถรับรูนโยบายการพัฒนาชนบทกอนการดําเนินการ ทั้ง นี้ เพื่ อที่จ ะรั บ รู ผ ลกระทบที่จ ะตามมา อย างไรก็ ตาม ผูนํ าชุม ชนรอ ยละ 65.0 เชื่ อว า นโยบายการพัฒนาชนบทมุงแตพัฒนาถนนหนทางเพียงดานเดียว (คําถามที่ 3) นโยบายการพัฒนาชนบทมุงแตพัฒนาถนนหนทาง ซึ่งโครงการเหลานี้ทําใหชุมชนไดรับ การพัฒนาและสามารถนําสินคาออกจากชนบทสูตลาดได คลองตัวยิ่งขึ้น จะเปนประโยชนตอการประกอบอาชีพ และผูตอบแบบสอบถามรอยละ 57.0 เชื่อวา ผูนําทองถิ่นไดรับผลประโยชนจากนโยบายการพัฒนาชนบท แตรอยละ 21.0 ไมเห็นดวย (คําถามที่ 4) ผูนําทองถิ่นไดรับผลประโยชนจากนโยบายการพัฒนาชนบท ทั้งนี้ เนื่องจากมีการเลือกปฏิบัติและโครงการสวนใหญจะมีการคอรัปชั่นโดยเจาหนาที่หนวยงาน ราชการที่เกี่ยวของกับโครงการนั้นๆ และบางรายตอบวา เปนการสิ้นเปลืองงบประมาณ เชนการสงทหาร เขามาในพื้นที่ เนื่องจากเปนการสรางความหวาดระแวงใหกับประชาชน จนบางสวนไมกลาออกไปทํางาน นอกบาน และทหารสวนใหญก็เปนคนนอกพื้นที่ยอมไมเขาใจในวัฒนธรรม ประเพณีของประชาชนในสาม จังหวัดภาคใต สวน

800

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

(คําถามที่ 5) นโยบายการพัฒนาสูชนบททําใหเกิดปญหาและอุปสรรค “นโยบายการพัฒนาสูชนบททําใหเกิดทัศนคติดานลบตอรัฐบาล” ปรากฏวาและรอยละ 54.0 เห็นดวย และเชือ่ วา นโยบายของรัฐบาลไมมีความสอดคลองกับลักษณะของพื้นที่ ทําใหผูนําทองถิ่นลุก ขึ้นปลุก ระดมประชาชนเพื่อใหตื่น ตัว ซึ่ง ถือเปนการเสี่ยงตอการเกิดปญ หาความมั่ น คงของประเทศ นอกจากนี้ การที่รัฐบาลมอบนโยบายหรือโครงการมาใหประชาชนในพื้นที่โดยไมไดสอบถามความตองการ ของประชาชน ยอมทําใหการบริการไมประสบผลสําเร็จ และเปนการสิ้นเปลืองงบประมาณ 4.4 ขอคําถามเรื่องทัศนคติของผูนําชุมชนดานนโยบายการพัฒนาดานสังคม ผลจากการสอบถามผูนําชุมชนรอยละ 72.0 ใหการยอมรับวาการพัฒนาดานสังคมของรัฐมีความ ลาชา (คําถามที่ 1) นโยบายของรัฐที่มุงพัฒนาดานสังคมมีความลาชา อาจเปนเพราะรัฐเห็นความสําคัญของกายภาพมากกวาที่จะพัฒนาดานสังคมอาจหมายความถึงจิต วิญญาณของความเปนคนที่ถูกมองขามไป ซึ่งนโยบายดานการพัฒนาทางดานกายภาพเพียงดานเดียว (คําถามที่ 2) นโยบายของรัฐเนนการพัฒนาดานกายภาพอยางเดียว ผูนําชุมชนรอยละ 51.0 มองวารัฐเนนการพัฒนาดานกายภาพไมวาจะเปนถนนหนทาง การอุปโภค บริโภคโดยมองขามถึงจริยธรรมของประชาชน โดยไมไดเชิดชูจริยธรรมของประชาชนเปนหลัก และผูตอบ แบสอบถามรอยละ 65.0 เชื่อวา นโยบายของรัฐมีความหละหลวมดานการบริหารจัดการ (คําถามที่ 3) นโยบายของรัฐมีความหละหลวมดานการบริหารจัดการ ทั้ง นี้ เพราะปจ จุบั นข าราชการส วนใหญใ นพื้ นที่ ไม ได กํา หนดไปตามการนั บ ถื อศาสนาของ ประชาชนในพื้นที่ จะเห็นวาผูตอบแบบสอบถามรอยละ 60 ไมเชื่อวา นโยบายตางๆ ของรัฐที่ลงสูพื้นที่ ประชาชนไดรับประโยชนอยางทั่วถึง (คําถามที่ 4) นโยบายตางๆ ของรัฐที่ลงสูพื้นที่ประชาชนไดรับประโยชนอยางทั่วถึง ทั้ง นี้เปนเพราะวา นโยบายตางๆของรัฐจะกระจุก อยูที่เ มื องใหญๆ สวนพื้นที่หางไกลอาจถูก ทอดทิ้งไมมีการพัฒนาเทาที่ควร (คําถามที่ 5) การขาดโอกาสเขารวมกําหนดนโยบายของรัฐของประชาชนระดับรากหญาทําใหเกิด ทัศนคติดานลบตอรัฐบาล “การขาดโอกาสเขารวมกําหนดนโยบายของรัฐของประชาชนระดับรากหญาทําใหเกิดทัศนคติดาน ลบตอรัฐบาล” ปรากฏวา ผูตอบแบบสอบถามรอยละ 65 เห็นวาระดับรากหญาถูกทอดทิ้งไมมีสวนไดสวน เสียใดๆ ในการกําหนดนโยบายเทาที่ควร ทําใหนโยบายที่ออกมาไมคอยตรงตามความตองการที่ระดับราก หญาตองการ 4.5 ขอคําถามเรื่องทัศนคติของผูนําชุมชนตอ การพัฒนาดานอื่นๆ (คําถามที่ 1) การพัฒนาสูชนบทสวนมากเนนดานวัตถุ ผลจากการสอบถามผูนําชุมชนรอยละ 57.0 เชื่อวา การพัฒนาที่เกิดขึ้นในชนบทประชาชนเห็นวา รัฐเนนการพัฒนาดานวัตถุมากเกินไป (คําถามที่ 2) การศึกษาของประชาชนมีความจําเปนตอการพัฒนา Graduate School and Research / 15 May 2013

801


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เพราะคิ ดว าประชาชนทุก คนเป นคนไทยเหมือ นกั น อยู ในผืน แผ นดิ นเดีย วกั น ตอ งใหค วาม ชวยเหลือกันและสามารถอยูรวมกันได จะสังเกตเห็นวา ผูตอบแบสอบถามรอยละ 75 เชื่อวา การศึกษา ของประชาชนมีความจําเปนตอการพัฒนา (คําถามที่ 3) รัฐบาลควรสงเสริมการศึกษาที่สอดคลองกับวัฒนธรรมของประชาชนในทองถิ่น ผูตอบแบบสอบถามรอยละ 78 เห็นวา รัฐบาลควรสงเสริมการศึกษาที่สอดคลองกับวัฒนธรรมของ ประชาชนในทองถิ่น สวนเกี่ยวกับความมั่นคง (คําถามที่ 4) รัฐควรแกไขปญหาการพัฒนาในจังหวัดชายแดนภาคใตดวยนโยบายจากภาคพลเรือน ผูตอบแบบสอบถามรอยละ 67 เห็นวา รัฐควรแกไขปญหาการพัฒนาในจังหวัดชายแดนภาคใตดวย นโยบายที่ไดรับ ความรวมมือจากภาคพลเรือน จะเห็นวา ชวงที่มีเ หตุก ารณ ไมส งบยิ่ง ทําใหเ กิดความ หวาดระแวงกันมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากไมแนใจวาจะมีความไววางใจกันหรือไม เพราะแตละพื้นที่ประสบ เหตุการณไมเหมือนกัน (คําถามที่ 5) ภาคทหารควรกลับเขาทํางานในหนาที่ปกปองอธิปไตยของชาติตามชายแดนที่เกิด ปญหากรณีพิพาทตางๆผูตอบแบบสอบถามรอยละ 64 เห็นวา รัฐควรแกไขปญ หาภาคทหาร กลับเขา ทํางานในหนาที่ปกปองอธิปไตยของชาติตามชายแดนที่เกิดปญหากรณีพิพาทตางๆ ตามแนวชายแดน เชน กรณีพิพาทชายแดนระหวาง ไทย-กัมพูชามากกวาที่จะมาประจําการในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต (คําถามที่ 6) ทหารไมควรใชงบประมาณของรัฐเขาไปพัฒนาในสามจังหวัดภาคใตดวยตนเอง ผูตอบแบบสอบถามรอยละ 67 เห็นวา เพราะคิดวางบประมาณที่ลงมาแตละครัง้ มีจํานวนมหาศาล แตผลทีอ่ อกมาปญหาการกอเหตุรายรายวันก็ยังไมสงบลง ปรากฏผลสรุปดังนี้คือ 1) รอยละ 50 เห็นวา โครงการพัฒนาทางเศรษฐกิจไดเกิดประโยชนตอ ชุมชนในทองถิ่นในจังหวัดปตตานี 2) รอยละ 54 เชื่อวา โครงการพัฒนาจากภาครัฐไมตรงกับความตองการ ของประชาชนในทองถิ่นและไมสอดคลองกับวัฒนธรรมความเปนอยูของคนในพื้นที่ และ 3) รอยละ 65 เชื่อวา ประชาชนเห็นวาระดับ รากหญา ถูก ทอดทิ้ง ไม มีสวนไดสวนเสียในการกํา หนดนโยบายของรั ฐ เทาที่ควร อยางไรก็ตาม ยังมีปญหาอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวของกับทัศนคติตอนโยบายของรัฐ อยางเชน ผูนํา ชุมชน เชื่อวา โครงการพัฒนาของภาครัฐไมตรงกับความตองการของประชาชนในทองถิ่น (รอยละ 75) นอกจากนี้ และประชาชนเชื่อวา การพัฒ นาดานการศึก ษาในพื้นที่จัง หวัดปตตานียัง ไมทั่วถึง (รอยละ 68.00) อภิปราย จากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ผูวิจัยสามารถอภิปรายผลแตละดานไดดังนี้ 1.ทัศนคติดานนโยบายการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ในประเด็นผูนําชุมชนเห็นตรงกันวา ควรนํามาเปนแนวทางในการแกไขปญหาความไมส งบใน จังหวัดปตตานี ซึ่งประชาชนเองก็พอใจกับ การที่ไดรับความชวยเหลือจากภาครัฐ แตบางทีนโยบายการ พัฒนาทางเศรษฐกิจอาจจะสงผลตอคุณภาพชีวิตของประชาชนในระดับหมูบาน การใหความชวยเหลือตอ ประชาชนอยางเปนรูปธรรมจะสง ผลใหคุณภาพชีวิตโดยรวมของประชาชนในจังหวัดปตตานีดีขึ้น ซึ่งจะ สอดคลองกับงานวิจัยของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี จุมพฎ พงษสุวรรณ (2542:321) พบวา หากมองโดยภาพรวมแลวยุทธศาสตรแนวทางการพัฒนาทางดานนโยบายการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

802

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ของจังหวัดปตตานีอยูในระดับปานกลางสามารถทรงตัวอยูได แตหากวาไมรีบเรงแกไขปญหาอาจจะสงผล กระทบตอการพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ได 2.ทัศนคติดานนโยบายการพัฒนาสูชนบท ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่จังหวัดปตตานีเปนชุมชนที่ มีความ หลากหลายทางดานวัฒนธรรม กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถามนี้จะใหความเห็นวา ในการพัฒนาชนบท นั้นรัฐจะตองเขาใจวิถีชีวิตของชุมชนเปนอยางดี อาจจะเปนคนในพื้นที่หรือไมก็ตาม โดยกอนที่รัฐจะกําหนด นโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาสูชนบท รัฐควรที่จะรับรู หรือเขาใจถึ งวัฒนธรรมของพื้นที่เสียกอน พรอมทั้ง จัดทําคูมือภาษามลายูพื้นฐานที่ใชในชีวิตประจําวัน เพื่อสรางความคุนเคยในภาษา อีก ทั้งนโยบายตางๆที่ล งสูชนบทควรเปนนโยบายที่แสดงถึงการอนุรัก ษวัฒ นธรรมทองถิ่น ใน ประเด็นนี้รัฐสามารถฟนฟูศิลปวัฒนธรรมที่สามารถสอดแทรกหลักคําสอนศาสนาอิสลามที่ถูกตองได และไม ถือเปนอุปสรรคตอการพัฒนาสูชนบทแตอยางใด ซึ่งจะสอดคลองกับงานวิจัยของ นฐพงศ เทพจารี (2534: บทคัดยอ) ที่พบวาความยึดมั่นผูกพันกับศาสนาอิสลาม ไมไดเปนตัวอุปสรรคและขัดขวางตอการพัฒนาแต อยางใด อีกทั้งยังเปนการสงเสริมตอการพัฒนาอีกดวยและถาหากสามารถหากลวิธีนโยบายการพัฒนาสู ชนบทไดเปนรูปธรรมก็จะมีสวนชวยในการพัฒนาจังหวัดปตตานีไปสูการพัฒนาระดับพื้นฐานไดอยางดียงิ่ อีก ทางหนึ่ง นโยบายการพัฒนาสูชนบทแตละนโยบายตางมุงที่จะใหประชาชนอยูดีกินดี แตสภาพความเปนจริง ที่ไดประสบมาคือ นโยบายที่วางไวอยางสวยหรู การวางแผนแบบมีขั้นตอนและ ระบบ แตนโยบายที่มุงสู พื้นที่บางทีอาจขัดกับความเปนอยูของคนในพื้นที่ ซึ่งสวนใหญดําเนินชีวิตตามครรลองของศาสนา ที่จริง แลวนโยบายการพัฒนาโครงการตางๆ สูชนบทนั้น มีความสําคัญมาก ทั้งนี้เพราะเปนสิ่งที่พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว ทรงเปนหวงและทรงหาวิธีการแกไขอยูตลอดมา พระองคทรงทราบดีวาการพัฒนาชนบทให เจริญกาวหนานั้น มีขอจํากัดและอุปสรรคในหลายดาน ทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม ดานการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติของราษฎรในทองถิ่น ปญหาที่สําคัญของชาวชนบทคือ การขาดความรูความสามารถและสิ่งจําเปน ขั้นพื้นฐานในการดําเนินชีวิต โดยเฉพาะอยางยิ่ง การที่เกษตรกรขาดความรูในเรื่องการหลักวิชาในการ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รวมทั้งอุปสรรคปญหาอื่นๆ เชนขาดที่ดินทํากินของตนเอง ขาดแคลนแหลงน้ํา ที่จะใชทําเกษตรกรรมและอุปโภคบริโภค เปนตน แตดวยพระราชหฤทัยที่มุงมั่นในการชวยเหลือราษฎรให พนหรือบรรเทาจากความเดือดรอน แนวพระราชดําริของพระองคที่จะชวยพัฒนาชนบทจึงออกมาในรูป ของโครงการตางๆ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ซึ่งมีลักษณะแตละโครงการแตกตางกันออกไปตามปญหา และสภาพภูมิประเทศในแตล ะแหง แตมีจุดประสงคเดียวกันคือการพัฒนาชนบทเพื่อใหราษฎรมีความ เปนอยูตลอดจนมีการประกอบอาชีพเลี้ยงครอบครัวใหดีขึ้น 84 พรรษาจิตอาสาเพื่อในหลวง (ออนไลน). (2554).สื บ ค น จาก:http://www..v4king.in.th/index.php/paper-ranger-event/11[30 มิ ถุ น ายน 2554] 3.ทัศนคติดานการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมกําหนดนโยบาย ประชาชนระดับรากหญาไมมีโอกาสรวมกําหนดนโยบายตางๆ ที่ผานมา ประชาชนจะเปนฝายที่ สนองความตองการของฝายรัฐเทานั้น รัฐสามารถดําเนินการไดตามอําเภอใจตราบใดที่อํานาจการบริหารอยู ในมือ มีการใหสัญญากับประชาชน แตไมอาจปฏิบัติได โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงเวลาที่ฝายอนุรักษนิยมมี อํานาจ ปจจัยการใหโอกาสประชาชนระดับรากหญาเขารวมกําหนดนโยบายนี้มีความสําคัญมาก ทั้ง นี้ เพราะเปนไปตามกรอบของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 วาดวยการมีสวนรวมของ ประชาชน และการบริหารราชการแบบมีสวนรวมกําหนดใหสวนราชการจะตองจัดหาหรือสนับสนุน กลไก Graduate School and Research / 15 May 2013

803


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ในการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม ในการบริหารงานของภาครัฐมากขึ้น ดังความในมาตรา 78 (5) ซึ่ง บัญญัติใหรัฐตอง “จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอยางอื่นเพื่อใหการจัดทําและ การใหบริการ สาธารณะเปนไปอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปรงใส และตรวจสอบได โดยคํานึงถึงการมีสวนรวมของ ประชาชน” และในมาตรา 87 กําหนดใหรัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดาน การมีสวนรวม ประชาชน โดยตองสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในเรื่องตางๆ อยางครบวงจรเริ่มตั้งแตการกําหนดนโยบาย การ ตั ด สิ น ใ จ จ น ถึ ง ก า ร ติ ด ต า ม ต ร ว จ ส อ บ ก ร ม เ จ า ท า ( อ อ น ไ ล น ) . ( 2554).สื บ ค น จ า ก :http://www.md.go.th/kpi5/ /md_kpi.htm[30 มิถุนายน2554] งานวิจัยสอดรับกับแนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติของสุธา จันทรเอม, 2524 (อางถึงใน นภา จันทรตรี, 2545 : 7) โดยกลาววา “ทัศนคติ หมายถึง ทัศนคติความรูสึกหรือทาทีของบุคคลที่มีตอบุคคล วัตถุสิ่งของ หรือสถานการณตางๆ ความรูสึกหรือทาทีนี้จะเปนไปในทํานองพึงพอใจหรือไมพึงพอใจ เห็นดวยหรือไม เห็นดวยก็ได” ซึ่งประชาชนชาวมุสลิมเชื้อสายมลายูรอยละ 65เห็นวาระดับรากหญาถูกทอดทิ้งไมมีสวนได สวนเสียในการกําหนดนโยบายเทาที่ควร นั่นแสดงใหเห็นวา ทัศนคติความรูสกึ หรือทาทีของบุคคลที่มีตอ บุคคล วัตถุสิ่งของ หรือสถานการณตางๆ ความรูสึกหรือทาทีนี้ของประชาชนชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายู จะเปนไปในทํานองพึงพอใจหรือไมพึงพอใจ เห็นดวยหรือไมเห็นดวยตอรัฐก็ได ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะเรื่องระเบียบวิธีวิจัย เนื่องจากวาการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาใชเครื่องมือในการเก็บขอมูลเปนแบบสอบถามทําใหประเด็น คําตอบเกี่ยวกับทัศนคติที่ผูตอบแบบสอบถามอยากตอบถูกจํากัดในวงแคบ ผูศึกษาเสนอวาวิจัยครั้งตอไป ควรใชเ ครื่องมือแบบสัม ภาษณแบบเจาะลึก หรือเปนการสนทนากลุมจะไดประเด็นคําตอบที่ก วางและ หลากหลายขึ้น สวนกลุมตัวอยางของการศึกษาควรที่จะเลือกจากหลายกลุมอาชีพเพราะจะทําใหไดคําตอบ ที่หลากหลายและกวางมากขึ้น การนําผลการวิจัยไปใช 1) รัฐควรนํานโยบายโครงการพัฒนาทางเศรษฐกิจนําการเมือง สืบเนื่องจากภาวะความไมสงบในเขตพื้นที่จังหวัดปตตานี ซึ่งมีเหตุการณความไมสงบเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง มาเปนเวลานาน กอใหเกิดปญหาทางเศรษฐกิจและสังคม ทําใหภาคธุรกิจเอกชนไมมีความมั่นใจในการ ลงทุนและประกอบธุรกิจในพื้นที่ ภาคประชาชนไดรับความเดือดรอนในดานของการวางงาน และรายไดที่ ไมพอเพียงตอการดํารงชีพ แมวาภาครัฐ จะมีโครงการตาง ๆ ที่ใหการสนับสนุนและชวยเหลือประชาชนใน พื้นที่ เชน การสนับสนุนการจางงานเรงดวน และการสนับสนุนกลุมอาชีพก็ตาม แตโครงการเหลานั้นไมมี ความตอเนื่องและไมยั่งยืนพอที่จะผลักดันเศรษฐกิจของพื้นที่ใหเขมแข็งได นอกจากนี้ รัฐบาลตองสงเสริม ประชาชนในพื้นที่ใหมีความรักและสามัคคีเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกันดวยกิจกรรมที่สรางสรรค และมีสวนรวม ในการแกปญหาความไมสงบ โดยการเปดโอกาสใหกรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เปน อีกหนวยงานหนึ่งของรัฐ ที่มีภารกิจหลักในเรื่องการสรางและสงเสริมใหเกิดความเข มแข็งทางเศรษฐกิจ และกระจายความเจริญไปสูภูมิภาค ดวยการมุงเนน ผลักดันใหเกิดธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาด ยอมและวิสาหกิจชุมชน ซึ่งเปนการเพิ่มโอกาสในการจางงาน และการสรางอาชีพที่ยั่งยืนใหกับประชาชน ดัง นั้น กรมสงเสริม อุตสาหกรรมควรพิจ ารณาการแกปญหาใน 3 จัง หวัดชายแดนภาคใตโดยยึดหลัก “เศรษฐกิจนําการเมือง” ดวยการสงเสริมใหเกิดการลงทุนในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมไปกระตุนใหเกิดการ 804

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

หมุนเวียนทางเศรษฐกิจ และเปนการยกระดับคุณภาพความเปนอยูของประชาชนในพื้นที่ใหดีขึ้น จาก การศึกษาขอมูลพบวา ปจจุบัน ภาคอุตสาหกรรมการผลิตหลายประเภท โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ตองใช แรงงานจํานวนมาก เชน อุตสาหกรรมเสื้อผาสําเร็จรูป อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมเครื่องเรือน เปน ตน ยังมีความตองการแรงงานฝมือจํานวนมาก “โครงการอุตสาหกรรมเพื่อการสรางงานที่ยั่งยืนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต” โดยมีแนวคิดที่จะใชโอกาสดังกลาวในการเชื่อมโยงระหวางความตองการแรงงาน ของภาคอุตสาหกรรม กับปญหาการวางงานในพื้นที่ เนื่องจากการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่มีการ ชะลอตัวถึงหยุดนิ่ง โดยภาครัฐจะเปนหนวยงานหลักในการเตรียมความพรอมดานปจจัยพื้นฐานที่สนับสนุน การผลิต เปนผูลงทุนในการจัดตั้งสถานประกอบการในลักษณะโรงงานอุตสาหกรรม พรอมเครื่องมือ อุปกรณในการผลิต ตลอดจนสนับ สนุนคาแรงในเบื้องตนแกราษฎรที่ประสงคจะเขามาเปนพนักงานใน โรงงานอุตสาหกรรม ภาคเอกชนสนับสนุนดานการตลาด ดานตนทุนการผลิตอื่น ๆ และการบริหารจัดการ ในโรงงาน และภาคประชาชนใหความรวมมือในการดําเนินงาน สนับสนุนโครงการใหดําเนินไปอยางมั่นคง ตอ เนื่ อง เพื่อ เป นการพัฒ นาเศรษฐกิจ และสั ง คมของพื้ นที่ กรมสง เสริม อุต สาหกรรม (ออนไลน ) . (2554).สืบคนจาก:http://www.handinhands. com11[30 ตุลาคม 2554] 2) สรางศักยภาพและโอกาสของพื้นที่ที่มีระดับการพัฒนาใหสูงและกระจายการพัฒนาสูพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตที่สอดคลองกับวัฒนธรรมของพื้นที่ ประเด็นปญหาและขอจํากัดที่สําคัญ ไดแก ปญหาความยากจนและคุณภาพชีวิตของ ประชาชนในชุมชน ชนบทซึ่งพึ่งพิงอาชีพทางการเกษตรเปนหลัก ขณะที่ ภาวะเศรษฐกิจขึ้นกับการผลิตทางการเกษตรไมกี่ชนิด และขยายตัวต่ํา สงผลกระทบตอปญหาการวางงานทั้งยังมีปญหาการจัดการศึกษาที่ไมสอดคลองกับพหุ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตทองถิ่น เด็กและเยาวชนมุสลิม บางสวนยังขาดโอกาสที่จะไดรับการศึกษาอยางทั่วถึง และมีคุณภาพ ทั้งมีขอจํากัดในการใชภาษาไทย เพื่อการ เรียนและการทํางาน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยเฉลี่ยต่ํา นอกจากนี้ปญ หาการไมได รับ ความเปนธรรมยังคงเปนปญ หาที่ตองเรง แกไขดวยระบบ กระบวน การยุติธรรมที่เนนการมี สวนรวมของประชาชนใหเกิดความไววางใจเชื่อมั่นตออํานาจรัฐ ขณะที่ ขอจํากัดที่สําคัญ ตอการ พัฒนาและการดําเนินชีวิตของประชาชนคือ สถานการณความไมสงบที่สงผล กระทบตอความไมปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ตลอดจนปญหายาเสพติดและการคาสิ่งผิดกฎหมายซึ่ง จําเปนตองเรงแกไข สถานการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใตที่ทวีความรุนแรงขึ้นตั้งแตป 2547 เปนตนมา ได สง ผลกระทบอย างรุ น แรงต อนโยบายการพั ฒ นาสู ช นบท ภาคใต ทํา ให เ กิ ด ภาวการณ ผ ลิ ตหดตั ว ผูประกอบการขาดความมั่นใจในการลงทุน มีการเลิกกิจการอยางตอเนื่อง เกิดปญหาการวางงานสูง ซึ่ง ซ้ําเติมปญหาความยากจนของประชาชนในพื้นที่ ทั้งยังตองเผชิญกับปญหาความไมเปนธรรม และความไม ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินและปญหาสังคมอื่น ๆ ตามมา ทําให ประชาชน ลดความเชื่อมั่นในอํานาจรัฐ อยางไรก็ดีอาจกลาวไดวาการดําเนินการแกไขปญหาที่ผานมาของ ภาครัฐ นับวามีสวนสําคัญที่สงผลให โครงสราง เศรษฐกิจของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ไมลมสลายและสามารถปรับตัวรองรับสถานการณไม สงบที่สงผลกระทบตอเศรษฐกิจไดพอสมควร สําหรับการพัฒนาระยะตอไป จําเปนตองพัฒนาในลักษณะ เปนเครือขายกลุมพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัด คือ ปตตานี ยะลา นราธิวาส สตูล และสงขลา โดยอาศัย ศักยภาพ และโอกาสของพื้นที่ ที่มีระดับการพัฒนาสูงกวา (จังหวัดสงขลา) เพื่อเชื่อมโยงและกระจายการพัฒนาสู พื้นที่ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใตอยางสอดคลองกับศักยภาพและวัฒนธรรมของพื้นที่ ซึ่งสรุปประเด็นปญหา

Graduate School and Research / 15 May 2013

805


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

และอุปสรรคตลอดจนศักยภาพและนโยบายการพัฒนาสูชนบท กรมประชาสั ม พั น ธ (ออนไลน ) . (2554).สืบคนจาก: http://yeawya.prd.go.th/view_ebook.php?id=2211 [30 ตุลาคม 2554] 3) สรางโอกาสใหประชาชนในพื้นที่รวมกําหนดนโยบายของรัฐ ประชาชนระดับรากหญาไมมีโอกาสรวมกําหนดนโยบายของรัฐ พบวาในพื้นที่ จังหวัดชายแดน ภาคใต รัฐบาลไดพยายาม ปรับตัว โดยการสรางนโยบาย และมาตรการการมีสวนรวมกําหนดนโยบาย กําหนดนโยบายของรัฐ เพื่อผอนคลาย และแกไขปญหา ที่เ กิดขึ้น ดัง เชน นโยบาย 66/2523 ทําให ผูกอการรายคอมมิวนิสต ในพื้นที่ลดลง จนแทบจะหมดไป การติดตอ รวมมือกับประเทศเพื่อนบาน ในการ ปราบปราม โจรคอมมิวนิสตมลายา (จคม.) ก็ทําใหกลุม จคม.ยุติการปฏิบัติการในปา วางอาวุธออกมารวม พัฒนาชาติไทย การระดมใหการศึกษา และประชาสัมพันธ ผานทางผูนําศาสนา เชน โครงการ ประสาน สัมพันธ ผูนําศาสนาอิสลาม ทําใหประชาชน ในพื้นที่ไดรับความรู รับทราบขาวสารที่แทจริง มีความเขาใจ นโยบาย การพัฒนาพื้นที่ดานตางๆ ลดปญหา ที่เปนมาชานาน ไดพอสมควร จากการรวบรวม งานวิจัย ตางๆ ที่จัดทําขึ้นระหวางป พ.ศ.2521 – 2532 จํานวน 97 เรื่อง พบวา ปญหาตางๆ ที่เคยเปนมาในอดีต ลดลง ตามผลการวิจัยบางฉบับ พบวา เปาหมายของนโยบาย เกือบทุกเปาหมาย บรรลุสูความสัมฤทธิ์ผล ยกเวนเปาหมายทางดานเศรษฐกิจ และจากการศึกษาของ จักรกฤษณ นรนิติผ ดุงการ และคณะที่วิจัย เกี่ยวกับการปกครองทองที่ตางวัฒนธรรมกรณีสถานการณ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต (2530) สรุปวา การที่ สถานการณเลวราย ในป พ.ศ. 2518 และคลี่คลายขึ้นในป 2525 – 2526 นั้น เพราะหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดรวมกัน กําหนดนโยบาย ที่ชัดเจน และสอดคลองกัน ทั้งดานการปราบปราม และพัฒนาการ สรางความ เขาใจ ที่ถูกตองกับตางประเทศ การปรับปรุงการประชาสัมพันธ การจัดการ โครงการพัฒนาและเขาถึง ประชาชน การสรางความเขาใจอันดี กับผูนําศาสนา การปราบปรามกลุมโจรหลักคือ ขบวนการโจรกอการ ราย โจรคอมมิวนิสตมาลายา และ ผูกอความไมสงบอยางจริงจังและตอเนื่อง และที่สําคัญคือขาราชการได เปลี่ยนทัศนคติ และพฤติก รรม มาทํางานรวมกับ ประชาชน และเสียสละมากขึ้น โดยคาดหวั งวาจะมี แรงผลัก ดันที่ดีขึ้นไปอีก ปญ หาสําคัญ คือความไมแนนอน ในนโยบาย หรือความขัดแยง ของผูนําทาง ราชการ โดยเหตุผ ลทางการเมื อง หน ว ยประสานงานวิจั ย เพื่ อท องถิ่น ภาคใตต อนล าง (ออนไลน ) . (2554).สื บ ค น จาก:http://www.budutani.com/policysbp/report/ section4.html11[30 ตุ ล าคม 2554] เอกสารอางอิง จักรกฤษณ นรนิติผดุงการ.2530.การปกครองทองที่ตางวัฒนธรรม : สถานการณในบริเวณ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใตและแนวทางแกไข.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. จุมพฎ พงษสุวรรณ. 2542. การวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบเกี่ยวกับสถานการณการกอการรายและการ กอ ความไมส งบในพื้ นที่จั ง หวัด ชายแดนภาคใต : ในป 2531-2540. สารนิพ นธ ป ริ ญ ญา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลาครินทร. นภา จันทรตรี. 2545. ปจจัยที่มีความสัมพันธกับทัศนคติของนักทองเที่ยวไทยที่มีตอการทองเที่ย วบน เกาะชาง จังหวัดตราด. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. นฐพงศ เทพจารี. 2534.ความยึดมั่นผูกพันในศาสนาอิสลามของคนไทยมุสลิมชนบท จังหวัด

806

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ชายแดนภาคใตที่มีผลตอ พฤติกรรมดานสังคม เศรษฐกิจและคุณภาพชีวิต . ภาควิทยานิพนธ หาวิทยาลัยสงขลานครินทร. เว็บไซตหนวยประสานงานวิจัยเพือ่ ทองถิ่นภาคใตตอนลาง (ออนไลน).(2554).สืบคนจาก :http://www.budutani.com/policysbp/report/section4.html11[30 ตุลาคม 2554] กรมสงเสริมอุตสาหกรรม (ออนไลน).(2554).สืบคนจาก :http://www.handinhands.com11[30 ตุลาคม 2554] กรมเจาทา (ออนไลน).(2554).สืบคนจาก :http://www.md.go.th/kpi5//md_kpi.htm [30 มิถุนายน 2554] กรมประชาสัมพันธ (ออนไลน).(2554).สืบคนจาก :http://yeawya.prd.go.th/view_ebook.php?id= 2211[ 30 ตุลาคม 2554] 84 พรรษาจิตอาสาเพื่อในหลวง (ออนไลน).(2554).สืบคนจาก :http:://www..v4king.in.th/ index. php/paper-ranger- event/11 30 [มิถุนายน 2554]

Graduate School and Research / 15 May 2013

807



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ผลการจัดการเรียนรูแบบโครงงานที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร และเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 Effects of Project - Based Learning on Learning Achievement, Science Process Skills and Attitude Towards Science of Mathayomsuksa Two Students มารียะห มะเซ็ง1, ณัฐวิทย พจนตันติ2, วิรัตน ธรรมาภรณ3, 1

2

นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ศษ.ด. (วิทยาศาสตรศึกษา) อาจารยภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 3 Ph.D.(Higher and Adult Education) อาจารยภาควิชาการวัดและประเมินผล คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้ เปนการศึกษาผลการจัดการเรียนรูแบบโครงงานที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 2 กลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2553 และ ครูวิทยาศาสตรจํานวน 1 คน โรงเรียน เรียงราษฎรอุปถัมภ ตําบลเรียง อําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส โดยจัดการเรียนรูแบบโครงงาน ใชเวลาในการจัดการเรียนรู 16 ชั่วโมง เครื่องมือในการวิจัยประกอบดวย แผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน แบบทดสอบวัดผลสัม ฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดทัก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร แบบวัดเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียน แบบบันทึกภาคสนามของผูวิจัย แบบสัมภาษณผูเ รียน และแบบสัมภาษณความรูความเขาใจในการจัดการเรียนรูแบบโครงงานของครู วิทยาศาสตร ดําเนินการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนกับกลุมเดียว วิเคราะหขอมูลโดยหาคารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบคาที ผลการวิจัยพบวา 1. จากการทดสอบเปรี ยบเที ยบคะแนนเฉลี่ยผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียนกับ เกณฑรอ ยละ 60 พบวาคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนไดมากกวาเกณฑรอยละ 60 อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นัก เรีย นชั้น มัธยมศึก ษาปที่ 2 ที่ไ ดรับ การจัด การเรีย นรูแ บบโครงงานมี คะแนนทั ก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานมีเจตคติตอวิทยาศาสตรทั้ง 5 ดาน อยูในระดับสูง 5. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเกิดพฤติกรรมการเรียนรูใน ดานการสืบคนความรูดวยตนเอง การคิดสรางสรรค กระบวนการกลุม กลาคิดกลาแสดงออก และการนํา ความรูไปใชในชีวิตประจําวัน ทําใหนักเรียนไดเรียนรูอยางมีความสุข 6. ครูวิทยาศาสตรมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเพิ่มขึ้น คําสําคัญ: การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน Graduate School and Research / 15 May 2013

809


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT This research aimed to study the effects of project - based learning on science achievement, science process skills and attitude towards science of mathayomsuksa two students. The sample group of this research were 23 students in mathayomsuksa two classroom at Riengrat Uppatum School, Ruso District, Yala Province during the first semester of 2010 academic year, received by purposive sampling. They were instructed using Project - based learning Approach for 16 hours. The research instruments consisted of lesson plans for the project-based learning , achievement test, science process skills test, students’ attitudes towards science evaluation test, the researcher’s field- note, the interview recording forms for students’ attitudes towards learning activities and the interview recording forms for science teachers’ knowledge about project-based learning. The experimental research was conducted using one group pretest-posttest design. The data was analyzed by mean, standard deviation and t-test. The research findings were as follows: 1. The comparison between mean score and criteria of 60% of total score indicated that students’ mean score was higher than the criteria at the .05 level of significance. 2. Students learning by project-based learning approach had the post-test mean score on science achievement higher than the pre-test mean score at the .05 level of significance. 3. Students learning by project-based learning approach had the post-test mean score on science process skills higher than the pre-test mean score at the .05 level of significance. 4. Students’ attitudes towards science were positively high. 5. Students were able to develop positive learning behaviors, inquiry, creative thinking, group process, confident and apply knowledge to their daily lives which leaded students to study happily. 6. The science teachers gained more knowledge about project-based learning after using project-based learning approach in their class. Keywords: Project - based learning

810

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา ปจ จุบันสัง คมไทยมีก ารเปลี่ยนแปลงอยางมากจากความเจริญ กาวหนาของโลกซึ่งเปนยุคของ เทคโนโลยีและข าวสารขอ มูล วิท ยาศาสตรจึ ง มี บ ทบาทสํา คัญ ในสัง คมโลกปจ จุ บัน เพราะความรู วิทยาศาสตรชวยใหเกิดการพัฒนาเทคโนโลยี ทําใหคนไดพัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเปนเหตุเปนผล คิด สรางสรรค คิดวิเคราะหวิจารณ มีทักษะที่สําคัญในการคนควาหาความรู และมีความสามารถในการ แกปญหาอยางเปนระบบจนเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวา วิทยาศาสตรเปนวิชาที่มีความสําคัญตอการพัฒนา คุณภาพชีวิตและสังคม การใหความสําคัญกับการจัดการศึกษาวาตองเปนการเตรียมและพัฒนาคนใหทันตอ การเปลี่ยนแปลง สามารถสรางศักยภาพในการรับรูและคัดเลือกขาวสารขอมูลความรูตาง ๆ มีศักยภาพใน การเรียนรู การแสวงหาความรู การคิดวิเ คราะห สามารถปรับตัวทามกลางการเปลี่ยนแปลงที่เ กิดขึ้น ตลอดเวลาไดนั้น จะตองมีการพัฒ นาการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรเ พื่อผลิตกําลังคนที่มีคุณภาพ (ภพ เลาหไพบูลย, 2540 : 34) สอดคลองกับแผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2552 – 2559) การจัดการเรียนรูแบบโครงงานถือเปนวิธีการหนึ่งที่สามารถสงเสริมนักเรียนใหรูจักการแสวงหา ความรู ไดทํากิจกรรม พัฒนาทัก ษะกระบวนการและสามารถประยุกตความรูมาใชในการแกปญ หาได เพราะการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนการจัดการเรียนรูที่สงเสริมใหนักเรียนศึกษาคนควาวิจัยทาง วิทยาศาสตร เปดโอกาสเรียนรูจากประสบการณตรง รูจักนําวิธีการทางวิทยาศาสตรไปใชในการแกปญหา และสงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (วิมลศรี สุวรรณรัตน และมาฆะ ทิพยคีรี , 2547: 10) นอกจากนั้นแลวมีผลการวิจัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานสามารถสงเสริมใหนักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และเจตคติตอวิทยาศาสตร เปนไปในทางที่ดีและเพิ่มขึ้นจากเดิม ดังที่มาฆะ ทิพยคีรี (2547 : 76-88) ไดศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนโครงงาน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา พบวา ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนในโครงงานวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับมัธยมศึกษากอนเรียนและหลังเรียนมี ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เจตคติตอกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรของ นักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และนักเรียนมีกระบวนการ เรียนรูในการทําโครงงานอยูในระดับดี สอดคลองกับ มัณฑนี โคตรมี (2548 : 100-113) ไดศึกษาการ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานโดยใชแผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน เรื่อง สาร ในชีวิตประจําวัน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ผลการศึกษาพบวา หลังจากมี การใชแผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน นักเรียนมีความรูเพิ่มขึ้นรอยละ 68.85 มีทักษะกระบวนการ ขั้นพื้นฐานหลังเรียนเพิ่มขึ้นจากกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และนักเรียนมีความ สนใจเรียนดี มีความรับผิดชอบ สามารถเรียนรูไดอยางมั่นใจ รูจักการชวยเหลือ และมีทักษะการทํางาน กลุม สามารถนําทักษะดังกลาวมาใชในการศึกษาคนควาหาความรูในเนื้อหาทีก่ ําหนดไวเปนอยางดีและนํา ความรูที่ไดไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดเปนอยางดี จากผลการวิจัยแสดงใหเห็นวาการใชโครงงาน วิทยาศาสตรมีความสัมพันธกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร นอกจากนั้นยังทําใหผูเรียนมีทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร มีเจตคติที่ดีตอ วิทยาศาสตรดวย ดังนั้น ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาผลการจัดการเรียนรูแบบโครงงานที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 2 โดยผู วิ จั ย และครู วิ ท ยาศาสตร ร ว มกัน จั ด ทํ า แผนการจั ด การเรี ย นรู แ บบโครงงานและให ค รู Graduate School and Research / 15 May 2013

811


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

วิทยาศาสตรเปนผูดําเนินการจัดการเรียนรูเพื่อเปนทางเลือกหนึ่งสําหรับ ครูวิทยาศาสตรในการจัดการ เรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึก ษาการจัดการเรียนรูแบบโครงงานสง ใหผ ลสัม ฤทธิ์ท างการเรียนของนั ก เรียนชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 2 ถึงเกณฑที่กําหนด รอยละ 60 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่เรียนดวยการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน 3. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรกอนเรี ยนและหลังเรียนของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 ที่เรียนดวยการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน 4. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติตอวิทยาศาสตรกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่เรียนดวยการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน 5. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 6. เพื่อศึกษาความรูความเขาใจของครูวิทยาศาสตรเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน วิธีการดําเนินการวิจัย กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2553 จํานวน 1 หองเรียน มีนักเรียนจํานวน 23 คน และครูวิทยาศาสตรจํานวน 1 คน ซึ่งเลือกกลุมตัวอยาง แบบมีจุดมุง หมาย (Purposive Sampling) จากประชากรโรงเรียนเรียงราษฎรอุปถัมภ ตําบลเรียง อําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาสโดยมีเหตุผลในการเลือกโรงเรียนและนักเรียน ดังนี้ 1. เปนโรงเรียนที่ผบู ริหารและครูเห็นความสําคัญของการวิจัย 2. เปนโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มจี ํานวนนักเรียนมากเพียงพอในการวิจัยในครั้งนี้ 3. เปนโรงเรียนที่ผูวิจัยเคยปฏิบัติหนาที่เปนครูสายผูสอนมากอนรวมระยะเวลา 2 ป กอนลาศึกษา ตอในระดับปริญญาโท วิทยาศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี นอกจากนี้บาน เรียงยังเปนภูมิลําเนาของผูวิจัยเอง ดังนั้น จึงทราบถึงปญหาของการจัดการเรียนรู และมีเจตจํานงที่ จะ พัฒนาการจัดการเรียนรูใหมีคุณภาพ 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มีทั้งที่เรียนเกง ปานกลาง และออนคละกันไป เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ในการวิจัยครัง้ นี้ ผูวิจัยใชเครื่องมือวิจัยในการศึกษาวิจัย ประกอบดวย 1. แผนการจัดการเรียนรูที่เรียนดวยการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน เรื่อง ชีวิตสัตว 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร เรือ่ ง ชีวิตสัตว มี 30 ขอ 3. แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร มี 20 ขอ 4. แบบวัดเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียน มี 40 ขอ 5. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพ 5.1 แบบบันทึกภาคสนามของผูวิจัย 5.2 แบบสัมภาษณผเู รียน 812

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

5.3 แบบสั ม ภาษณ ค วามรู ค วามเขา ใจในการจั ด การเรี ยนรู แ บบโครงงานของครู วิทยาศาสตร การเก็บรวบรวมขอมูล ในการวิจัยครั้ง นี้ ผูวิจัยทําการเก็บ รวบรวมขอมูล ในภาคเรียนที่ 1 ปก ารศึก ษา 2553 โดย ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดังนี้ 1. ดําเนินการสัมภาษณเพื่อวัดความรูความเขาใจของครูวิทยาศาสตรเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู แบบโครงงาน ทดสอบกอนเรียน (Pre-test) กับผูเรียนกลุมที่ศึกษาโดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิทยาศาสตร แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และแบบวัดเจตคติตอวิทยาศาสตรที่ ผูวจิ ัยสรางขึ้นเพื่อนําไปวิเคราะหขอมูลในภายหลัง 2. ดําเนินการจัดการเรียนรูโดยครูวิทยาศาสตรดําเนินการจัดการเรียนรูดวยตนเอง ใชเวลาในการ สอน 4 สัปดาห สัปดาหละ 4 ชั่วโมง โดยในการจัดการเรียนรูแตละครั้งผูวิจัย จะเขารวมสังเกตการ จัดการเรียนรูของครูวิทยาศาสตรดวย โดยครูวิทยาศาสตรใชแผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน ผูวิจัยทํา การบันทึกภาพตลอดการจัดการเรียนรู และทําการบันทึกในแบบบันทึกภาคสนาม แบบสังเกตพฤติกรรม ครูวิทยาศาสตรและนักเรียน หลังจากการจัดการเรียนรูเสร็จเรียบรอยแลว ครูวิทยาศาสตรบันทึกหลังการ สอน ผูวิจัยสัมภาษณนักเรียนในชั้นเรียน ครั้งละ 5 คน เกี่ยวกับความรูสึกของนักเรียนที่มีตอการจัดการ เรียนรู ผูวิจัยและครูวิท ยาศาสตรดูภาพรวมกันแลวชวยกันอภิปรายเพื่อหาขอแกไขนําไปปรับ ปรุง การ จัดการเรียนรูในครั้งตอไป 3. สิ้นสุดการทดลองผูวิจัยทําการทดสอบหลังเรียน (Post-test) กับกลุมทดลองโดยใชเครื่องมือชุด เดียวกับเครื่องมือที่ใชทดสอบกอนเรียน และผูวิจัยสัมภาษณเกี่ยวกับความรูความเขาใจของครูวิทยาศาสตร ที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน 4. ตรวจผลการสอบแลว นํา คะแนนที่ไ ดไ ปวิ เ คราะห ดว ยวิ ธีก ารทางสถิติ โ ดยใชโ ปรแกรม คอมพิวเตอร 5. นําขอมูลที่ไดจากเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลและสัมภาษณจากครูวิทยาศาสตร ประมวลผลและเรียบเรียงนําเสนอในรูปความเรียง การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลตามขั้นตอน ดังตอไปนี้ 1.การวิเคราะหขอมูลเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร สาระ การเรียนรูพื้นฐาน เรื่อง ชีวิตสัตว มีวิธีการดังนี้ 1.1 หาคาเฉลี่ย (X ) คาเฉลี่ยรอยละ ( X รอยละ) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร สาระการเรียนรูพื้นฐาน เรื่อง ชีวิตสัตว ของกลุมตัวอยาง 1.2 ทดสอบเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร สาระการเรียนรูพื้นฐาน เรื่อง ชีวิตสัตว ของกลุมตัวอยางกับเกณฑรอยละ 60 ดวยการวิเคราะหคาเฉลี่ยรอย ละ ( X รอยละ) 1.3 ทดสอบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียน กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร สาระการเรียนรูพื้นฐาน เรื่อง ชีวิตสัตว ของกลุมตัวอยาง ระหวางกอนกับหลังการทดลองดวย สถิติทดสอบคาที (t-test Dependent) Graduate School and Research / 15 May 2013

813


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

2. การวิเคราะหขอมูลเพื่อศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร มีวิธีการดังนี้ 2.1 หาคาเฉลี่ย ( X ) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนนแบบทดสอบวัดทัก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรของกลุมตัวอยาง 2.2 ทดสอบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของกลุมตัวอยาง ระหวางกอนกับหลังการทดลองดวยสถิติทดสอบคาที (t-test Dependent) 3. การวิเคราะหขอมูลเพื่อศึกษาเจตคติตอวิทยาศาสตร มีวิธีการดังนี้ 3.1 หาคาเฉลี่ย ( X ) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ของคะแนนแบบวัดเจตคติตอวิทยาศาสตร ของกลุมตัวอยาง มาแปลผลคาเฉลี่ยของคะแนนเจตคติตอวิทยาศาสตร 3.2 หาค าร อ ยละของจํา นวนนั ก เรี ยนที่ มี เ จตคติ ตอ วิ ท ยาศาสตร แ ละวิ เ คราะห เ จตคติ ต อ วิทยาศาสตรรายดานและแตละรายการ 4. นําขอมูลที่ไดจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียนขณะทําการจัดการเรียนรูของ ผูวิจัย การสัมภาษณนักเรียน การสัมภาษณครูวิทยาศาสตรมาวิเคราะหประมวลผลและเรียบเรียงนําเสนอ ในรูปความเรียงและบรรยาย สรุปและอภิปรายผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย 1. จากการทดสอบเปรี ยบเที ยบคะแนนเฉลี่ยผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียนกับ เกณฑรอ ยละ 60 พบวาคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนไดมากกวาเกณฑรอยละ 60 อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นัก เรีย นชั้น มัธยมศึก ษาปที่ 2 ที่ไ ดรับ การจัด การเรีย นรูแ บบโครงงานมี คะแนนทั ก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานมีเจตคติตอวิทยาศาสตรทั้ง 5 ดาน อยูในระดับสูง 5. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเกิดพฤติกรรมการเรียนรูใน ดานการสืบคนความรูดวยตนเอง การคิดสรางสรรค กระบวนการกลุม กลาคิดกลาแสดงออก และการนํา ความรูไปใชในชีวิตประจําวัน ทําใหนักเรียนไดเรียนรูอยางมีความสุข 6. ครูวิทยาศาสตรมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเพิ่มขึ้น อภิปรายผลการวิจัย 1. จากการทดสอบเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับเกณฑรอยละ 60 พบวาคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนไดมากกวาเกณฑรอยละ 60 อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 จากผลการศึกษาพบวา คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนไดมากกวาเกณฑ รอย ละ 60 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคลองกับงานวิจัยของอภิญญา ซื่อตระกูลพานิชย (2550 : 63-67) ไดศึกษาวิจัยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใชวิธีก ารสอนแบบ 814

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

โครงงานวิทยาศาสตร ผลการศึกษาวิจัยพบวานักเรียน รอยละ 79.31 ที่เรียนดวยการจัดการเรียนรูแบบ โครงงานมีคะแนนหลังเรียนผานเกณฑรอยละ 60 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนด ในทํานองเดียวกัน มัณฑนี โคตรมี (2548 : 100-113) ไดศึกษาการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตรขั้นพื้นฐานโดยใช แผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน เรื่อง สารในชีวิตประจําวัน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 ผลการศึกษาพบวาหลังจากมีการใชแผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน นักเรียนมี ความรูเพิ่มขึ้นรอยละ 68.85 เมื่อพิจารณาคะแนนผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบ โครงงานมีคะแนนผลสัมฤทธิ์เทากับ 18.09 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน เมื่อนํามาเทียบกับเกณฑเปาหมาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของโรงเรียนรอยละ 60 คิดเปน รอยละ 60.30 มีจํานวนนักเรียน ที่ผานเกณฑเปาหมายรอยละ 60 เทากับ รอยละ 43 เนื่องจากประการแรกมีนักเรียนคิดเปนรอยละ 30 ไม มีทักษะในการอาน จากการสังเกตในขณะจัดการเรียนการสอนในชวงเปดโอกาสใหนักเรียนศึกษาใบความรู นักเรียนกลุมนี้อานหนังสือไดไมคลอง และไมสามารถจับใจความสําคัญจากเรื่องที่อานไดและในชวงการ สืบคนขอมูลจากการเขาหองสมุดสังเกตไดวานักเรียนกลุมนี้จะใชเวลามากในการรวบรวมขอมูลเพื่อนําไป ประกอบการทําโครงงานสงผลใหเกิดความเบื่อหนายบาง ประการที่สองเมื่อนักเรียนไดหัวขอโครงงานเรียบรอยแลวนักเรียนจะใหความสนใจกับวิธีการสืบ คนหาคําตอบมากกวาเนื้อหาวิทยาศาสตร โดยสมาชิกในกลุมจะพยายามคิดวิธีการตาง ๆ เพื่อใหไดคําตอบ และรวมกันวางแผนอยางเปนระบบโดยการสืบคนจากหองสมุดและอินเตอรเน็ตโดยมีครูเปนที่ปรึกษาคอย ชี้แนะแนวทางที่ถูกตองจนสามารถเก็บรวบรวมขอมูลจากการสํารวจและทดลองจนเสร็จสมบูรณในเรื่องที่ ตนเองสนใจเทานั้นจนทําใหไดรับความรูไมครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด ประการที่สามการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนการจัดการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนสืบคนหา คําตอบดวยตนเองโดยแตละกลุมจะศึกษาในหัวขอแตกตางกันโดยผูส อนจะลดบทบาทลง เปดโอกาสให ผูเรียนมีอํานาจในการจัดการควบคุมตนเอง รวมกันอภิปรายผลในกลุมยอย และทุกกลุมจะนําเสนอในชั้น เรียนโดยครูจะเปดโอกาสใหนักเรียนทุกคนสามารถตั้งขอซักถาม วิพากษวิจารณ และใหขอเสนอแนะเพื่อ จัดนิทรรศการตอไป ทําใหเวลาในการจัดการเรียนรูไมเพียงพอ กลาวคือ นักเรียนจะใชเวลาในแตละขั้นตอน มากกวาปกติ เนื่องจากนักเรียนอาจไมคุนเคยกับการจัดกิจกรรมในรูปแบบนี้ โดยเฉพาะในขั้นตอนอภิปราย ผลกลุมยอยนักเรียนแตละกลุมจะใชเวลานานในการหาขอสรุปโดยจะมีการถกเถียงหาขอสรุปที่ทุกคนใน กลุมยอมรับและเห็นดวยในขณะเวลานั้นมีจํากัด เนื่องจากโรงเรียนเรียงราษฎรอุปถัมภเปนโรงเรียนสอง ระบบมีการสอนสายสามัญ และสายศาสนา ทําใหตองลดเวลาสอนเหลือคาบละ 40 นาที ซึ่งจากการแสดง ความคิดเห็นโดยการสัม ภาษณนัก เรียนพบวา ระยะเวลาในการปฏิบัติก ารทําโครงงานมีนอยทําใหไม สามารถเสร็จภายในเวลาที่กําหนด จนตองหยุดในขณะที่ยังปฏิบัติการไมเสร็จ ทําใหการเรียนรูไมตอเนื่อง จนนักเรียนขอทําการทดลองในเวลานอกหลังเลิกเรียน แสดงใหเห็นวาเวลาในการศึกษาคนควาดวยตนเองมี นอย อีกทั้งนัก เรียนยังไมเ คยถูก ฝกใหศึกษาเรียนรูดวยตนเองจึง ทําใหนักเรียนขาดความตอเนื่องในการ เรียนรู ประการที่สี่วิธีการวัดผลการเรียนรูจะวัดตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหนวยการจัดการเรียนรู ซึ่ง การจัดการเรียนรูแบบโครงงานจะเนนกระบวนการทําโครงงาน วิธีการสืบคนหาความรูโดยนักเรียนจะ ออกแบบการทดลอง หรือการสํารวจดวยตนเอง จึงอาจทําใหนักเรียนมุงสนใจชิ้นงานโครงงานวิทยาศาสตร

Graduate School and Research / 15 May 2013

815


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

มากกวาการสืบ คนหาความรูที่นอกเหนือจากหัวขอของกลุม ตนเอง จึง ทําใหวิธีก ารวัดผลการเรียนไม สอดคลองกับวิธีการเรียนรูแบบโครงงาน จากการศึกษาแสดงใหเห็นวา การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน เรื่อง ชีวิตสัตว สงผลตอผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรยังไมเปนที่นาพอใจ มีจํานวนนักเรียนที่ไมผานเกณฑเปาหมายรอยละ 60 เทากับ รอยละ 57 ทั้งนี้การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนการจัดการเรียนรูรูปแบบที่ชวยสงเสริมใหผเู รียน เกิดความคิดที่หลากหลาย เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร มากกวาเนนตัวเนื้อหาวิทยาศาสตร อีก ทั้ง มีนัก เรียนรอยละ 30 ไมมีทัก ษะในการอาน สงผลใหนักเรียนกลุมนี้มีผลสัมฤทธิ์ท างการเรียนวิชา วิทยาศาสตรไมผานเกณฑที่โรงเรียนกําหนด ผูวิจัยคาดวาหากเพิ่มระยะเวลาในการจัดการเรียนรูเพื่อให นักเรียนสืบคนหาความรูไดอยางเต็มที่และเพิ่มเวลาในชวงการนําเสนอและอภิปรายผลเพื่อเชื่อมโยงกับ เนื้อหาความรูในหนังสือเรียน ใบความรูและสรุปเนื้อหาความรู เรื่องชีวิตสัตว และฝกให นักเรียนคุนเคย วิธีการจัดการเรียนในรูปแบบนี้เพื่อใหนักเรียนสามารถควบคุมเวลาในแตละขั้นตอนไดอยางเหมาะสม จะ ทําใหผูเรียนทําคะแนนไดดีขึ้น 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากผลการวิจัยพบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึก ษาปที่ 2 ที่ไดรับ การจัดการเรียนรูแบบโครงงานมี คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้ เนื่องจากการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง นักเรียนไดมีสวน รวมในการเรียน เปดโอกาสใหนักเรียนไดเลือกศึกษาในสิ่งที่ตนสนใจ และเปนเรื่องใกลตัวนักเรียนที่พบเจอ ในชีวิตประจําวัน โดยเปดโอกาสใหนักเรียนไดคนพบปญหาดวยตนเองโดยใชกระบวนการกลุม และรวมกัน วางแผนหาวิธีการสืบคนหาคําตอบทําใหนักเรียนมีโอกาสไดแลกเปลี่ยนความรูความคิดในกลุมเพื่อน และ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นไดอยางอิสระ ทําใหนักเรียนมีความกระตือรือรนในการแสวงหาความรู ดวยตนเองจากแหลงขอมูลตาง ๆ โดยนักเรียนแตละคนจะไดรับมอบหมายใหทําหนาที่ของตนเองสงผลให นั ก เรี ย นที่ มี ผ ลการเรี ย นอ อ นเห็ น คุ ณ ค า และเห็ น ความสํ า คั ญ ของตนเอง ดั ง ที่ ธี ร ะชั ย ปู ร ณโชติ (2531 : 30-31) กลาวเกี่ยวกับ การจัดการเรียนรูแบบโครงงานไววา นัก เรียนจะเกิดการเรียนรูไดดี มีความสามารถในการเชื่อมโยงการเรียนรูกับกระบวนการแสวงหาคําตอบเมื่อนักเรียนไดลงมือศึกษาคนควา ดวยตนเองโดยตลอดผานกระบวนการเรียนรูโดยใชโครงงาน นอกจากนี้การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน สามารถฝกใหนักเรียนมีความรู ความชํานาญ และมีความมั่นใจในการนําเอาวิธีการทางวิทยาศาสตรไปใช ในการแกปญหา หรือคนควาหาความรูตาง ๆ ดวยตนเองแลว ยังชวยกระตุนสงเสริมใหนักเรียนมีความ สนใจในวิทยาศาสตร เห็นประโยชน เห็นคุณคาตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตอีกดวย (วิมลศรี สุวรรณรัตน และมาฆะ ทิพยคีร,ี 2547 : 10) โดยนักเรียนมีโอกาสตัดสินใจเลือกศึกษาสิ่งที่กลุมนักเรียนมีความสนใจ ตรงกันวางแผนการทํางานรวมกัน แกปญหาโดยความเห็นชอบของทุกคนภายใตบรรยากาศที่มีทางเลือก และเปนกันเอง (ลัดดา ภูเ กียรติ, 2552 : 97-103) ซึ่งจากการเรียนรูดังกลาวนําไปสูการพัฒนาสมอง นักเรียนตองใชวิธีการเรียนรูห ลายอยางทําใหสมองทํางานทุกๆ สวน เริ่มตั้งแตการมองเห็นปญหา การทํา ใหปญหาตาง ๆ สัมผัสไดตอมานักเรียนตองหาวิธีการที่จะนําไปใชในการแกปญหา ลงมือปฏิบัติจริง และ เมื่อปฏิบัติไดสําเร็จแลวก็จะเกิดความรูสึกที่ดี เกิดอารมณทางบวกติดอยูกับงานนั้น ๆ การจัดการเรียนรูแบบโครงงานที่ผูวิจัยและครูวิทยาศาสตรจัดใหนัก เรียนนั้นผานกระบวนการ เรียนรูที่สําคัญ คือ การเรียนรูเปนกลุมตามความสนใจ การแสวงหาความรูดวยตนเอง และการสรุป 816

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความรูดวยตนเอง โดยผูวิจัยเริ่มตนการเรียนรูแบบโครงงานที่เกิดจากการจัดสถานการณเพื่อใหนักเรียนได ปญหาที่นักเรียนสนใจและเปนปญหาที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจําวันเปนตัวกระตุนใหนักเรียนเกิดความสงสัย อยากรูและตัดสินใจเลือกประเด็นที่สนใจเหมือนกัน และเปดโอกาสใหผูเรียนแสวงหาความรูดวยตนเอง สอดคลองกับที่ John W.T. (2000 : 43) ไดกลาววาการจัดการเรียนแบบโครงงานเปนการจัดการเรียนรูที่ เปดโอกาสใหนักเรียนออกแบบวิธีการแกปญหา ตัดสินใจแสวงหาความรูดวยตนเอง ลงมือปฏิบัติจนไดขอ คนพบนั้นๆ ทําใหนักเรียนรูจักการวางแผนการทํางานอยางมีระบบขั้นตอนชัดเจน เกิดทักษะการคิด วิเคราะห และการแกปญหา และขั้นสรุปผลการดําเนินงานโดยผูเรียนเปนผูสรุปและไดชิ้นงานที่สรางสรรค ขึ้น ทําใหผูเรียนสรางองคความรูดวยตนเอง ตามแนวคิดของ Seymour Papert (ทิศนา แขมมณี, 2547 : 96-98) สรุปวา การเรียนรูที่ดีเกิดจากการสรางพลังความรูในตนเองและดวยตนเองของนักเรียน หาก ผูเ รี ยนมี โ อกาสไดส รางความคิ ดและนํ าความคิ ดของตนเอง ไปสรา งสรรค ชิ้นงานโดยอาศั ยสื่อ และ เทคโนโลยีที่เหมาะสมจะทําใหความคิดนั้นเปนรูปธรรมที่ชัดเจน และเมื่อผูเรียนสรางสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมาใน โลกก็หมายถึงการสรางความรูขึ้นในตนเองนั่นเอง ความรูที่ผูเรียนสรางขึ้นในตนเองนี้ จะมีความหมายตอ ผูเ รียน จะอยูคงทน ผูเรียนจะไมลืม งาย และจะสามารถถายทอดใหผูอื่นเขาใจความคิดของตนไดดี นอกจากนั้นความรูที่สรางขึ้นเองนี้ ยังจะเปนฐานใหผูเรียนสามารถสรางความรูใหมตอไปอยางไมมีที่สิ้นสุด สอดคลองกับงานวิจัยของมาฆะ ทิพยคีรี (2547 : 76-88) ไดศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โครงงาน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในการจัดการเรียนรูโดยใชโครงงานวิทยาศาสตรห ลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งแสดงใหเห็นวาการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนการจัดการ เรียนรูที่สามารถชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูและสงเสริมใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 3.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานมีคะแนนทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากผลการศึกษาพบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานมี คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเทากับ 14.57 จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน และมีคะแนนหลัง เรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เนื่องจากการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปน รูปแบบการจัดการเรียนรูที่ไมไดเนนใหผูเรียนทองจําเนื้อหาวิชาแตเพียงอยางเดียวแตยังสง เสริมใหผูเรียน รูจักใชวิธีการสืบคนหาคําตอบโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพื่อใหไดความคิดรวบยอดและสรางองค ความรูดวยตัวนักเรียนเอง นักเรียนไดฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตั้งแตทักษะขั้นพื้นฐานจนถึง ทักษะขั้นสูง จากการจัดสถานการณเพื่อใหนักเรียนไดปญหาผานการฝกทักษะการสังเกตสิ่งรอบตัวนักเรียน หลังจากที่นักเรียนไดป ระเด็นปญ หาเพื่อนําไปเปนหัวขอโครงงาน โดยโครงงานประเภทสํารวจซึ่งเปน โครงงานที่ฝกใหนักเรียนสํารวจและรวบรวมขอมูลแลวนําขอมูลเหลานั้นมาจัดกระทํา เชน จําแนกหมวดหมู และนําเสนอในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใหเห็นลักษณะหรือเห็นความสัมพันธในเรื่องที่ตองการศึกษาใหชัดเจน ยิ่งขึ้น ดังที่นักเรียนกลุมที่ 3 ไดศึกษาชนิดและจํานวนของนกที่คนในทองถิ่นเลี้ยงโดยนักเรียนจะลงพื้นที่ สํารวจชนิดและจํานวนของนกที่คนในทองถิ่นเลี้ยงแลวรวบรวมขอมูลเหลานั้นมาจัดกระทําจําแนกชนิด เพศ และจํานวนของนก นําเสนอในรูป แบบตาราง กราฟ และรูป ภาพ เพื่อใหเ ห็น ลัก ษณะและ ความสัมพันธของชนิดและจํานวนของนกที่คนในทองถิ่นเลี้ยง ซึ่งเปนการฝกใหนักเรียนใชทักษะการวัด ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปสและระหวางสเปสกั บเวลา ทักษะการคํานวณ ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล และทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล Graduate School and Research / 15 May 2013

817


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สวนโครงงานประเภททดลองซึ่งเปนโครงงานที่ฝกใหนักเรียนศึกษาหาคําตอบของปญหาใดปญหา หนึ่งโดยการออกแบบการทดลอง และดําเนินการทดลองเพื่อหาคําตอบของปญหาที่ตองการทราบหรือเพื่อ ตรวจสอบสมมติฐานที่ตั้งไว ดังที่นักเรียนกลุมที่ 4 ไดทําโครงงานประเภททดลอง เรื่อง ความสามารถใน การยกอาหารของมด โดยการฝกใหนักเรียนไดกําหนดปญหา ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง เพื่อ กําหนดและควบคุมตัวแปร จากนั้นดําเนินการทดลอง รวบรวมขอมูล สรุปผล ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย ของ Robinson, D. L. (2009) ที่ไดศึกษาเปรียบเทียบการจัดการเรียนรูแบบดั้งเดิมและการจัดการเรียนรู แบบโครงงาน พบวาการจัดการเรียนรูแบบโครงงานสามารถสงเสริมใหนักเรียนพัฒนาทักษะแหงศตวรรษที่ 21 เชน ทักษะการทํางานกลุม ทักษะการสื่อสาร และทักษะการคิดวิเคราะหเพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวัน ได โดยครูจัดสถานการณก ารทําโครงงานเพื่อใหนัก เรียนเรียนรูก ารไดม าซึ่งคําตอบและมีความเขาใจ เนื้อหาวิชาที่เรียนไดเปนอยางดี และสอดคลองกับงานวิจัยของเบญญา ศรีดารา (2545 : 118 -119) ได ศึก ษาเปรียบเทียบทัก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตรแ ละเจตคติท างวิท ยาศาสตรข องนัก เรียนชั้ น ประถมศึกษาปที่ 5 ที่เรียนโดยการทํากิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตรและการเรียนตามคูมือครู พบวา นักเรียนที่เรียนโดยการทํากิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตรมีคะแนนเฉลี่ยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ขั้นพื้นฐาน และมีเจตคติเชิงวิทยาศาสตรสูงกวากอนเรียน และสูงกวานักเรียนที่เรียนตามคูมือครูอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในทํานองเดียวกัน มัณฑนี โคตรมี (2548 : 100-113) ไดศึกษาการพัฒนา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานโดยใชแผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน เรื่อง สารใน ชีวิตประจําวัน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ผลการศึกษาพบวาหลังจากมีการ ใชแผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน นักเรียนมีทักษะกระบวนการขั้นพื้นฐานหลังเรียนเพิ่มขึ้นจากกอน เรียนอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ร ะดับ 0.05 และนักเรียนมีความสนใจเรียนดี มีความรับ ผิดชอบ สามารถเรียนรูไดอยางมั่นใจ รูจักการชวยเหลือ และมีทัก ษะการทํางานกลุม ผูเรียนทุกคนไดป ฏิบัติ กิจกรรมฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง สามารถนําทักษะดังกลาวมา ใชในการศึกษาคนควาหาความรูในเนื้อหาที่กําหนดไวเปนอยางดี และอภิญญา ซื่อตระกูลพานิชย (2550 : 63-67) ไดศึกษาวิจัยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตร ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใชวิธีการสอนแบบโครงงานวิทยาศาสตร ผลการศึกษาวิจัยพบวาทักษะ กระบวนการของนักเรียน รอยละ 75.86 ที่เรียนดวยการจัดการเรียนรูแบบโครงงานมีคะแนนหลังเรียน ผานเกณฑรอยละ 70 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนด จากการศึกษาแสดงใหเห็นวา การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน เรื่อง ชีวิตสัตว เปนการจัดการเรียนรู อีกรูปแบบหนึ่งที่ชวยสงเสริมใหผูเรียนเกิดความคิดที่หลากหลาย เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เนื่องจากนักเรียนไดปฏิบัติกิจกรรม ฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง สงผลใหมีจํานวนนักเรียนที่ผานเกณฑเปาหมายรอยละ 60 นักเรียนสามารถนําทักษะดังกลาวมาใชใน การศึกษาคนควาหาความรูในเนื้อหาที่กําหนดไวเปนอยางดี และเปนกระบวนการเรียนรูรวมกันระหวางครู และนักเรียนชวยกันสรางบรรยากาศที่เอื้อตอการจัดการเรียนรูที่จะสงผลใหนักเรียนเปนคนดี เกงและมีสขุ 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน มีเจตคติตอวิทยาศาสตร ทั้ง 5 ดาน อยูในระดับมาก ผลการศึกษาพบวา นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานมีเจตคติตอวิทยาศาสตร 5 ดาน คือ ความคิดเห็นทั่วไปตอวิทยาศาสตร การเห็นความสําคัญของวิทยาศาสตร ความสนใจในวิทยาศาสตร การนิยมชมชอบตอวิทยาศาสตร และการแสดงออกหรือมีสวนรวมในกิจกรรมวิทยาศาสตร อยูในระดับมาก 818

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

โดยมีคาเฉลี่ยของคะแนนแตละดานดังนี้ 3.984, 3.727, 3.761, 3.989 และ 4.119 ตามลําดับ ทั้งนี้อาจ เปนเพราะวาการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนการจัดการเรียนรูที่รวมกลุมนักเรียนทําโครงงานในประเด็น ปญ หาที่เ กิ ดขึ้นจริง ในชุม ชนและมีค วามสัม พัน ธกับ ชีวิต ประจํ าวัน ของนัก เรี ยนทํ าให นัก เรี ยนไดผา น ประสบการณการศึกษาทดลองดวยตัวนักเรียนเอง นักเรียนมีความเปนอิสระ ทําใหนักเรียนมีพฤติกรรมที่ พึงประสงคหลายประการ เชน การใหความรวมมือในกิจกรรม มีความกลาแสดงความคิดเห็นและยอมรับ ความคิดเห็น ของผูอื่น มี ความกระตือ รือรนในการเรียน และมีความสุขสนุ ก สนานในการเรียน ซึ่ ง พฤติกรรมเหลานี้สามารถสงเสริม ใหนักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงเจตคติตอวิทยาศาสตรไปในทางที่ดีขึ้น สอดคลองกับ Mc Guire (1970 : 185-186) ไดกลาววา บุคคลสามารถเปลี่ยนแปลง เจตคติของตนไดโดย ผานขั้นตอนดังนี้ การใสใจ ความเขาใจ การมีสิ่ง ใหมเกิดขึ้น การเก็บ เอาไว และการกระทํา และ สอดคลองกับ Kolesnik (1970 : 484-486) ไดกลาววา เจตคติของบุคคลจะพัฒนาไปไดเกิดจากสาเหตุที่ บุคคลไดมีโอกาสสัมพันธกับบุคคลอื่น และยังสอดคลองกับงานวิจัยของเบญญา ศรีดารา (2545 : 118119) ไดศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่เรียนโดยการทํา กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตรและการเรียนตามคูมือครู พบวานักเรียนที่เรียนโดยการทํากิจกรรมโครงงาน วิท ยาศาสตรมีเ จตคติเ ชิง วิท ยาศาสตรสูง กวากอนเรียน และสูงกวานัก เรียนที่เ รียนตามคูมือครูอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในทํานองเดียวกัน มาฆะ ทิพยคีรี (2547 : 76-88) ไดศึกษาผลการ จัด การเรี ยนรู แ บบโครงงานของนั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึก ษา พบว า เจตคติ ตอ กลุ ม สาระการเรี ย นรู วิทยาศาสตรของนักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเชนเดียวกับ งานวิจัยของ Rousova’, V. (2008) ที่ไดศึกษาเกี่ยวกับการใชวิธีการจัดการเรียนรูแบบโครงงานในวิชา ภาษาอัง กฤษ พบวานักเรียนชอบ ตื่นเตน สนใจ และมี เจตคติที่ดีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานซึ่ง นักเรียนอยากใหครูสอนโดยใชวิธีการจัดการเรียนรูแบบโครงงานมากกวาวิธีการจัดการเรียนรูแบบเดิม จาก แนวคิดและงานวิจัยดังกลาวจึงเปนการสนับสนุนวาการจัดการเรียนรูแบบโครงงานสามารถเปลีย่ นแปลงเจต คติของนักเรียนตอวิทยาศาสตรในทางที่ดีขึ้นได เมื่อพิจารณาเจตคติตอวิทยาศาสตรแตละดานแลวคาเฉลี่ยของเจตคติตอวิทยาศาสตร ดานการ เห็นความสําคัญของวิทยาศาสตรนอยกวาดานอื่น ๆ อาจเปนเพราะวานักเรียนมีมุมมองที่แคบเกี่ยวกับ บทบาทและความสําคัญของวิทยาศาสตรในชีวิตประจําวัน แตเมื่อพิจารณาเจตคติตอวิทยาศาสตรดานการ แสดงออกหรือมีสวนรวมในกิจ กรรมวิท ยาศาสตรก ลับเพิ่มขึ้นมากกวาทุก ดาน ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา หลังจากนักเรียนไดผานการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน นักเรียนสนุกสนานกับการศึกษาคนควาในการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร และพึงพอใจในบทบาทหนาที่ของตัวนักเรียนเองในการทํากิจกรรมวิทยาศาสตร สงผลใหนักเรียนอยากเขารวมกิจกรรมเกี่ยวกับวิทยาศาสตรมากขึ้น จากการศึกษาแสดงใหเ ห็นวา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนการจัดการเรียนรูที่ชวยให นัก เรียนสืบ คนหาความรูดวยตนเองโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร เกิดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและเรียนรูอยางมีความสุข เปนกระบวนการเรียนรูรวมกันระหวางครูกับนักเรียน ผูเรียนเกิด ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานสงผลใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร และสามารถ บูรณาการองคความรูเพื่อนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได 5. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเกิดพฤติกรรมการเรียนรู ในดานการสืบคนความรูดวยตนเอง การคิดสรางสรรค กระบวนการกลุม กลาคิดกลาแสดงออก และการนํา ความรูไปใชในชีวิตประจําวัน Graduate School and Research / 15 May 2013

819


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ผลการวิจัยพบวา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานทําใหนักเรียนเกิดพฤติกรรมการเรียนรูใ นดานการ สืบคนความรูดวยตนเอง การคิดสรางสรรค กระบวนการกลุม กลาคิดกลาแสดงออก และการนําความรูไป ใชในชีวิตประจําวัน ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียน เปนสําคัญ ครูผูสอนจะทําหนาที่เ ปนผูใหคําปรึก ษา ชี้แนะแนวทางใหเกิดการเรียนรูดวยตนเอง ซึ่ง พฤติกรรมการเรียนรูดังกลาวไดจากการบันทึกภาคสนามของผูวิจัย การสัมภาษณนักเรียนเกี่ยวกับการ จัดการเรียนรู ซึ่งสามารถอธิบายพฤติกรรมการเรียนรูในแตละดาน ดังนี้ นักเรียนเกิดพฤติกรรมการเรียนรูในดานการสืบคนความรูดวยตนเอง กลาวคือ นักเรียนตัดสินใจ วางแผนงานของนักเรียนเอง ออกแบบวิธีการคนหาคําตอบและดําเนินการศึกษาคนควาดวยตัวนักเรียนเอง ซึ่งพฤติกรรมดังกลาวเกิดขึ้นในขั้นใหความรู และขั้นดําเนินการ ดังเชนความคิดเห็นของนักเรียนที่กลาววา “การเรียนในลักษณะนี้เปนการเรียนที่สนุก ไดแสดงความคิดอยางอิสระ และเสนอวิธีการแกปญหาดวย ตัวเอง และที่สําคัญไดเลือกศึกษาในเรื่องที่หนูสนใจ ทําใหหนูรูสึกวากําลังคนหาคําตอบที่เปนของหนูเอง” , “ชอบการเรียนแบบนี้ เพราะไดวางแผนและศึกษาทดลองในเรื่องที่กลุมเราสนใจและเลือกทําโครงงานทําให เกิดการเรียนรูดวยตนเอง สรางความมั่นใจใหตัวเองดวย” นักเรียนเกิดกระบวนการคิดสรางสรรคโดยใชความคิดสรางสรรคในการสรางสรรคผลงานในขั้น นําเสนอโดยเปดโอกาสใหมีก ารแลกเปลี่ยนประสบการณร ะหวางกลุม ในการจัดนิท รรศการโครงงาน กลาวคือ จากการที่นักเรียนมีความมุงมั่น ตั้งใจในการนําเสนอผลการศึก ษาในรูป แบบตาง ๆ ในงาน มหกรรมวิชาการของโรงเรียนทําใหนักเรียนไดพัฒนาความสามารถในการสื่อสาร การใชภาษา ความคิ ด สรางสรรคในการคิดรูปแบบการนําเสนอที่สามารถดึงดูดผูมาชมได ดังที่นักเรียนไดแสดงความคิดเห็นดังนี้ “ผมอยากใหครูสอนแบบนี้ในวิชาอื่นดวยเพราะทําใหผมกลาแสดงความคิดของผมใหเพื่อนฟงและสามารถ แสดงผลงานของตัวเองใหคนอื่นไดชื่นชมดวย โดยการจัดนิทรรศการโครงงานวิทยาศาสตร” , “หนูชอบการ เรียนในรูปแบบนี้ เพราะเปดโอกาสใหหนูไดใชความสามารถของหนูในการนําเสนอผลงานของกลุมเผยแพร ความรูใหเพื่อน ๆ และนอง ๆ โรงเรียนอื่น ทําใหหนูรูสึกวาสิ่งที่เราเรียนรูมีประโยชน มีคุณคา” นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการกลุม กลาวคือ การจัดการเรียนรูแบบโครงงานนักเรียนตองศึกษา และเรียนรูรวมกันเปนกลุม ตั้งแตการวางแผนรวมกัน การคนหาคําตอบ สรุปและอภิปรายผลจนถึงขั้นจัด นิทรรศการโครงงานวิทยาศาสตร โดยนักเรียนจะมีความรับผิดชอบรวมกัน มีการปรึกษาหารือภายในกลุม คิดวางแผนและแกปญหารวมกัน ซึ่งบางครั้งมีการความเห็นที่ขัดแยง กัน แตสมาชิกในกลุมก็สามารถลง ความเห็นที่เปนเอกฉันทได ดังที่นักเรียนไดแสดงความคิดเห็นดังนี้ “การเรียนแบบนี้ผมวาดีกวานั่งฟงครู เพราะไดออกไปนอกสถานที่และไดคนควาในหองสมุด ในอินเตอรเน็ต ไดพูดคุยกับเพื่อ นและแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับเพื่อนและเพื่อนก็ยอมรับความคิดเห็นของผม” , “การเรียนแบบนี้ไดเปดโอกาสใหหนูไดใช เรียนเปนกลุม เรียนรูดวยกัน รับผิดชอบรวมกัน และรวมกันแกปญหารวมกัน ทําใหหนูรูสึกสนิทกับเพื่ อน มากขึ้น” นักเรียนเกิดพฤติกรรมกลาคิด กลาแสดงออก กลาวคือ นักเรียนมีความกลาคิด กลาแสดงออก โดยในขั้นใหความรู นักเรียนมีความกลานําเสนอการออกแบบแผนการดําเนินงาน กลานําเสนอความคิด ของตนเอง แลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมกัน ขั้นดําเนินงานลงมือปฏิบัติการทําโครงงานนักเรียนจะกลา แสดงความคิดเห็นภายในกลุม ซึง่ ตางกับในหองเรียนนักเรียนจะไมกลาแสดงความคิดเห็นเพราะนักเรียนมี ความรูสึก วาบรรยากาศในหองเรียนดูไมเ ปนกันเอง และทุกคนกําลัง จับ ผิดคําพูดของเพื่อนอยู แตใน สถานการณที่อยูกับเพื่อนในกลุมเล็กทําใหกลาแสดงความคิดเห็นมากขึ้นอีกทั้งภาษาที่นักเรียนใชอาจไมตอ ง 820

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สละสลวยและอาจจะผสมกับภาษาทองถิ่น เมื่อนักเรียนไดแสดงความคิดเห็นบอย ๆ จะเปนการฝกให นัก เรียนกลาแสดงความคิดเห็นและกลาแสดงออกมากขึ้น และขั้นนําเสนอนัก เรียนมีความกลาในการ นําเสนอผลการศึกษาของนักเรียนในงานมหกรรมวิชาการของโรงเรียน ดังที่นักเรียนไดแสดงความคิดเห็น ดัง นี้ “หนูชอบการเรียนแบบนี้เ พราะเปนการเรียนที่ส นุก ไดทํางานเปนกลุม จนถึง การจัดนิท รรศการ แสดงผลงานของแตละกลุม ตื่นเตนเพราะเราไดแสดงผลงานในงานมหกรรมวิชาการของโรงเรียนดวย มี เพื่อน ๆ ตางหอง นอง ๆ จากโรงเรียนอื่น ครู และผูอํานวยการโรงเรียนไดม ารวมชมดวยพรอมทั้งให ขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุงใหดีขึ้นตอไป” สิ่งที่กลาวมาขางตนแสดงใหเห็นวาการจัดการเรียนรูแบบโครงงานสามารถทําให พฤติกรรมการ เรียนรูของนักเรียนมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี จากการแสดงความคิดเห็นของนักเรียนและจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียนพบวา สิ่งที่นักเรียนชอบวิธีการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเพราะนักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ พรอมไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนในกลุม ไดใชความคิดสรางสรรคในการแสดงออก สนุกสนานกับ การเรียน และที่สําคัญนักเรียนไดใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการคนหาคําตอบที่นักเรียนสนใจ ทํา ใหนักเรียนไดทํางานเปนกลุม กลาแสดงออก สนุกสนานในการเรียน ผอนคลาย ไมเครียด เพราะที่ผานมา นักเรียนคิดอยูตลอดเวลาวาวิชาวิทยาศาสตรเปนวิชาที่เครียด และนาเบื่อ สวนการเรียนในครั้งนี้มีความ สนุกสนานแตแฝงไปดวยความรู ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ Mitchell, S., & et al. (2009 : 339-346) พบวา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนการจัดการเรียนรูที่สงเสริมใหนักเรียนมีความคิดสรางสรรค กลา แสดงออก และมาจากความสนใจของนักเรียนเอง โดยเปนการจัดการเรียนรูแบบรว มมือเปดโอกาสให นักเรียนเรียนรูรวมกัน ดังนั้นจึงควรสงเสริมใหมีการจัดการเรียนรูตามความตองการและความสนใจของ ผูเรียนเพื่อใหการจัดการเรียนรูเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 6. ความรูและความเขาใจของครูวิทยาศาสตรตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน ผลการสัม ภาษณ การทําแผนการจัดการเรียนรูรวมกัน และการเขาสัง เกตการจัดการเรียนรู พบวา หลังจากผานการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน ครูวิทยาศาสตรมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการ เรียนรูแบบโครงงานเพิ่ม ขึ้ น โดยจากการสัม ภาษณ พบว า ก อนการจั ดการเรี ยนรู แบบโครงงาน ครู วิทยาศาสตรไมสามารถใหความหมายของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานได แตหลังจากครูวิทยาศาสตร ผานการใหความรู รวมกันจัดทําแผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน และดําเนินการจัดการเรียนรูแบบ โครงงาน ครูวิทยาศาสตรสามารถใหความหมายของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานได และสามารถบอก บทบาทของครูและนัก เรียนได จากคําสัม ภาษณของครูวิท ยาศาสตรก ลาววา “การจัดการเรียนรูแบบ โครงงานเปนวิธีก ารจัดการเรียนรูที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดเ ลือกในสิ่งที่นักเรียนอยากรู และออกแบบ วิธีการหาคําตอบไดอยางอิสระ ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรูโดยผูเรียนเปนผู ลงมือปฏิบัติดวยตนเองพรอมสรุปขอคนพบที่ไดโดยมีครูคอยใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะ โดยหัวขอที่ นัก เรียนเลือกทํา โครงงานตองอยู ในขอบเขตของหนวยการจัดการเรียนรู ” ซึ่ง สอดคลองกั บ การให ความหมายการจัดการเรียนรูแบบโครงงานของ ลัดดา ภูเ กียรติ (2552 : 53) ไดกลาววาการจัดการเรียนรู แบบโครงงานตั้งอยูบนพื้นฐานของความเชื่อและหลักการปฏิรูป กระบวนการเรียนรู คือตองเชื่อมั่นใน ศักยภาพการเรียนรูของผูเรียน ภายใตหลักของการจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ คือผูเรียนเลือก เรื่องหรือประเด็นหรือปญหาที่ตองการศึกษาดวยตนเอง ผูเรียนเปนผูเลือกและแสวงหาวิธีการตลอดจน แหลงขอมูลตาง ๆ อยางหลากหลายดวยตนเอง ผูเรียนเปนผูลงมือปฏิบัติเรียนรูและคนควาดวยตนเอง Graduate School and Research / 15 May 2013

821


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

และผูเรียนเปนผูสรุปขอคนพบหรือสรางองคความรูดวยตนเอง สอดคลองกับ John, W. T. (2000) ได กลาววาการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนรูป แบบหนึ่ง ที่ทําใหนัก เรียนเกิดการเรียนรูผานโครงงาน โครงงานเปนงานที่สลับซับซอนซึ่งวางอยูบนพื้นฐานของคําถามหรือปญหาที่มากมายซึ่งนํานักเรียนเขาสู กระบวนการออกแบบแกปญหา การตัดสินใจ การสืบเสาะหาคําตอบ เปดโอกาสใหนักเรียนไดทํางานดวย ตนเองในชวงเวลาหนึ่ง และสุดทายไดคําตอบของปญหาจากนั้นเปนการนําเสนอ จากการวิจัยพบวา ครูวิทยาศาสตรมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน เพิ่มขึ้นแตไมมั่นใจวาจะนําวิธีการจัดการเรียนรูแบบโครงงานไปใช ทั้งนี้ปญหาเกี่ยวกับเวลา ครูไมมีเวลาลง พื้นที่และเปนที่ปรึกษาใหกับทุกกลุม สอดคลองกับผลการวิจัยของสถาบัน Buck Institute for Education (2007) โดยไดสํารวจการใชวิธีการจัดการเรียนรูแบบโครงงานของครูใน New Tech Network school พบวามีครูกลุมหนึ่งไดแสดงความคิดเห็นวาไมมีเวลาในการใชวิธีการจัดการเรียนรูแบบโครงงานในชั้นเรียน และไมมีตัวอยางเพื่อนําไปใชจัดการเรียนรูในวิชาเรียน แตครูวิทยาศาสตรพรอมจะนําวิธีการจัดการเรียนรู แบบโครงงานไปใชในการจัดการเรียนรูเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร โดยจากการ สัมภาษณครูวิทยาศาสตร กลาววา เปนการจัดการเรียนรูที่ดี สามารถดึงความสนใจจากนักเรียนได และที่ สําคัญนักเรียนมีความสุขกับการเรียน แตครูตองใหเวลาศึกษาเอกสารเพิ่มเติมเพื่อจัดทําแผนการจัดการ เรียนรูที่สมบูรณ และครูตองใหเวลากับนักเรียนเพิ่มขึ้น เพราะชวงนี้เจอครูที่ไหนก็จะเขามาถามปญหาตาง ๆ แตตองเขาใจวาโรงเรียนเราเปนโรงเรียนสองระบบซึ่งมีเวลาเรียนคาบละ 40 นาที ไมเพียงพอในการ จัดการเรียนรูแบบนี้ ครูตองนัดนักเรียนนอกเวลาอีกครั้ง อยางไรก็ตาม จากการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน เรื่อง ชีวิตสั ตว ครูวิท ยาศาสตรและนัก เรี ยนถือ วาประสบความสํ าเร็จ ในการจัดการเรีย นรูเ พราะครู วิทยาศาสตรไดแสดงบทบาทของครูในการจัดการเรียนรูแบบโครงงานโดยการสงเสริมและเปดโอกาสให นักเรียนรวมกันวางแผนในการทําโครงงาน สืบเสาะหาความรู และแกไขปญหาดวยตัวนักเรียนเอง นําไปสู การสรางองคความรูใหมๆ ซึ่งเปนสิ่งสําคัญของการจัดการศึกษาตามแนวปฏิรูปที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนาผูเรียนทั้งดานความรู ทักษะกระบวนการ และคุณธรรมเพื่อใหนักเรียนเปนพลเมืองที่ดีดําเนินชีวิตอยู ในสังคมอยางมีความสุข ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช 1.1 จากผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน และมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรอยูในระดับนาพอใจ มีเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร จึงควรนํา วิธีการจัดการเรียนรูแบบโครงงานไปใชในการจัดการเรียนรูกับนักเรียนในสถานศึกษาในระดับอื่น ๆ ตอไป เพื่อเปนการพัฒนาและสงเสริมใหผูเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงคและเกิดการเรียนรูดวยตนเองอยาง แทจริง 1.2 ในการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน ครูผูสอนควรจัดสถานการณที่เปนประเด็นปญหาใกลตัว นักเรียน กระตุนใหนักเรียนเกิดความสงสัย และอยากรูอยากเห็น เพื่อใหนักเรียนเลือกหัวขอโครงงานที่ นักเรียนสนใจมากที่สุด และมีแรงกระตุนในการคนหาคําตอบ 1.3 ครูผูสอนตองวางแผนการจัดการเรียนรูใหดี พรอมที่จะอํานวยความสะดวกใหกับนักเรียน รวมทั้งตองชี้แจงทําความเขาใจใหนักเรียนเขาใจในบทบาทหนาที่ของตนเองในระหวางการจัดการเรียนรู

822

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

เลือกหัวขอและเนื้อหาสาระตามที่สนใจ แตตองอยูในขอบเขตของเนื้อหา จึงจะทําใหการจัดการเรียนรูแบบ โครงงานเปนการจัดการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ 1.4 การจัดการเรียนรูแบบโครงงานสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการ สงเสริมให นักเรียนเกิด พฤติกรรมการเรียนรูในทางที่ดี และมีเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร แตไมไดเพิ่มคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิทยาศาสตรเทาที่ควร ดังนั้นควรมีการวางแผนสงเสริมในสวนของเนื้อหามากขึ้นเพื่อพัฒนานักเรียนทัง้ ดานความรูและทักษะกระบวนการควบคูกันไป 2. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรมีการศึกษาการนําวิธีการจัดการเรียนรูแบบโครงงานไปใชในการจัดการเรียนรู พรอมศึกษา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรโดยวัดจากการปฏิบัติการจริง ซึ่งตองเพิ่มระยะเวลาของการวิจัย และ นําผลที่ไดปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูครั้งตอไป โดยอาจมีการผสมผสานกับวิธีการจัดการเรียนรูรูปแบบ อื่นดวย เอกสารอางอิง คณะกรรมการการศึ ก ษาแหง ชาติ . 2545. แผนการศึกษาแหงชาติฉบั บที่ 10 (2552-2559). กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟค. ทิศนา แขมมณี. 2547. ศาสตรการสอน: องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ธีรชัย ปูรณโชติ. 2531. การสอนกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร : คูมือสําหรับครู. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เบญญา ศรีดารา. 2545. การเปรียบเทียบกระบวนการวิทยาศาสตร และเจตคติเชิง วิท ยาศาสตรข อง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่เรียนโดยการทํากิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตรและการเรียนรู ตามคู มื อ ครู . วิ ท ยานิ พ นธ ป ริ ญ ญาการศึ ก ษามหาบั ณ ฑิ ต สาขาหลั ก สู ต รและการสอน มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. ภพ เลาหไพบูลย. 2540. แนวการสอนวิทยาศาสตร. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. มนัสชนก อุดมดี. 2550. การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียนที่เรียนโดยกิจกรรม การเรียนรูแบบโครงงาน. วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร. มาฆะ ทิพยคีร.ี 2547. การวิจัยการสอนโครงงานระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัทพัฒนาคุณภาพ วิชาการ (พว.) จํากัด. มัณฑนี โคตรมี. 2548. การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานโดยใชแผนการ จัดการเรีย นรูแ บบโครงงาน เรื่อง สารในชีวิตประจํา วัน . วิท ยานิพนธป ริญ ญาการศึก ษา มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ลัดดา ภูเกียรติ. 2544. โครงงานเพื่อการเรียนรู หลักการและแนวทางการจัดกิจกรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิมลศรี สุวรรณรัตน และมาฆะ ทิพยศรี . 2542. พัฒนาทักษะวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร . กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอรกรุป แมเนจเมนท. Graduate School and Research / 15 May 2013

823


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

อภิญญา ซื่อตระกูลพานิชย. 2550. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใชวิธีการสอน แบบโครงงานวิทยาศาสตร. วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน. Buck Institute for Education. 2007. New Tech Network school: Results of the National Survey of PBL and High School Refore. Novato, CA : Author. Available from http://www.bie.org/research/library (2010 Feb 3) Buck Institute for Education. 2009. PBL Starter Kit : To-the-Point Advice, Tools and Tips for Your First Project. Introduction chapter free. Available from http://www.bie.org/tools/toolkit/starter (2010 Jan 12) Diehl, W., Grobe, T., Lopez, H., & Cabral, C. 1999. Project-based learning : A strategy for teacher and learning. Boston : Center for Youth Development and Education, Cooporation for Business, Work, and Learning. Kolesnik, W.L. 1970. Education Psychology. New York : Mc-Graw-Hill Book. McGuire, W. J. 1985. Attitudes and attitude change. New York : Random House. Mitchell, S., Foulger, T. S., Wetzel, K., & Rathkey, C. 2009. “The negotiated project approach : Project-based learning without leaving the standards behind”. Early Childhood Education Journal, 36(4), 339-346. Robinson, D. L. 2009. Project-based High School Geometry. Available from http://www.bie.org/research/library (2010 Jan 12) Rousova’, V. 2008. Project-based Learning : Halloween Party. Available from http://www.bie.org/research/library (2010 Jan 14) John W. T. 2000. A Review of Research on Project-based Learning. California: San Rafael.

824

Graduate School and Research / 15 May 2013


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﺗﺪرﻳﺲ ﻣﻬﺎرة اﻟﻜﻼم ﻟﻄﻠﺒﺔ ﻣﺮﻛﺰ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺑﺠﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‪ :‬دراﺳﺔ ﲢﻠﻴﻠﻴﺔ ﻣﻘﺎرﻧﺔ ﺑﲔ اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ‬ ‫اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸﻔﻬﻴﺔ وﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﻟﱰﲨﺔ‬

‫‪teaching speaking skills for arabic language center students, yala islamic universty,‬‬ ‫‪utilizing audio-lingual method and grammar translation method:‬‬ ‫‪an analitical and comparative study.‬‬ ‫ﻛﺘﺒﻪ‪ :‬أﺣﻼم ﺟﻲء ﺻﺎﲏ‪1‬‬

‫وإﺑﺮاﻫﻴﻢ ﺗﻴﻪ ﻫﻲ‬

‫‪2‬‬

‫‪ 1‬ﻃﺎﻟﺒﺔ اﻟﲈﺟﺴﺘﲑ ﰲ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ وآداﲠﺎ‪ ،‬ﻛﻠﻴﺔ اﻵداب واﻟﻌﻠﻮم اﻻﺟﺘﲈﻋﻴﺔ‪ ،‬ﺟﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‪.‬‬ ‫‪2‬‬

‫دﻛﺘﻮراه ﰲ اﻟﺪراﺳﺎت اﻷدﺑﻴﺔ‪ ،‬وأﺳﺘﺎذ ﺑﻘﺴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪ ،‬ﺟﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‪.‬‬

‫ﻣﻠﺨﺺ اﻟﺒﺤﺚ‬

‫ﳞﺪف ﻫﺬا اﻟﺒﺤﺚ إﱃ دراﺳﺔ ﻧﻮاﺗﺞ ﺗﺪرﻳﺲ ﻣﻬﺎرة اﻟﻜﻼم ﻟﻄﻠﺒﺔ ﻣﺮﻛﺰ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻣﻦ ﺧـﻼل‬ ‫ﻣﻘﺎرﻧﺔ ﰲ ﻃﺮق اﻟﺘﺪرﻳﺲ ﺑﲔ ﻃﺮﻳﻘﺘﲔ ﳘﺎ‪ :‬ﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﻟﱰﲨﺔ وﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸﻔﻬﻴﺔ‪ ،‬ﻟﻨﻌﺮف أﳞﲈ أﻧﻔﻊ‬ ‫وأﻛﺜﺮ ﺗﺄﺛﲑاً‪ ،‬ﻛﲈ ﳞﺪف إﱃ ﺗﻘﺪﻳﻢ ﻣﻘﱰﺣﺎت وﳐﻄﻄﺎت ﺗﻄﻮﻳﺮ اﻷﻧﺸﻄﺔ اﻟﺘﻌﻠﻴﻤﻴﺔ ﺧﺎﺻﺔ ﰲ ﻣﻬﺎرة اﻟﻜﻼم‪ .‬وذﻟﻚ‬ ‫ﺑﻐﻴﺔ رﻓﻊ ﺷﺄن اﻟﺘﺪرﻳﺲ ﺑﺎﳌﺮﻛﺰ ﺣﺘﻰ ﻳﻜﻮن أﻛﺜﺮ ﻓﻌﱠ ﺎﻟﻴﺔ ﻳﺘﻮﺻﻞ ﺑﻪ إﱃ اﳌﺴﺘﻮى اﳌﻄﻠﻮب‪ .‬اﺗﺒﻌﺖ اﻟﺒﺎﺣﺜﺔ ﰲ ﻫﺬا‬ ‫اﻟﺒﺤﺚ اﳌﻨﻬﺞ اﻟﻮﺻﻔﻲ اﻟﺘﺤﻠﻴﲇ ﰲ دراﺳﺔ ﺟﺎﻧﺐ اﻹﻃﺎر اﻟﻨﻈﺮي ﻛﲈ اﺗﺒﻌﺖ اﳌﻨﻬﺞ اﳌﺴﺤﻲ اﳌﻴﺪاﲏ ﻣﺴﺘﺨﺪﻣﺔ‬ ‫اﻻﺳﺘﺒﺎﻧﺔ ﻛﺄداة اﻟﺒﺤﺚ ﰲ إﺟﺮاء اﻟﺪراﺳﺔ ﻣﻊ ﳎﺘﻤﻊ اﻟﺪراﺳﺔ ﻣﻦ ﻋﻴﻨﺎت اﻟﺒﺤﺚ وﻫﻢ ﻣﻦ ﻃﻠﺒﺔ اﳌﺮﻛﺰ اﻟﺬﻳﻦ ﻳﺒﻠﻎ‬ ‫ﻋﺪدﻫﻢ ‪ 77‬ﻃﺎﻟﺒ ًﺎ وﻃﺎﻟﺒﺔ ﻣﻦ اﳌﺴﺘﻮى اﻟﺜﺎﲏ واﻟﺜﺎﻟﺚ‪.‬‬ ‫وﺗﻮﺻﻠﺖ اﻟﺪراﺳﺔ إﱃ أن ﻃﻠﺒﺔ ﰲ اﳌﺴﺘﻮى اﻟﺜﺎﲏ و اﻟﺜﺎﻟﺚ رأوا أن ﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﻘﻮاﻋﺪ و اﻟﱰﲨﺔ ﺑﺎﻟﻨﺴﺒﺔ‬ ‫ﳍﻢ أﺣﺴﻦ ﻣﻦ ﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸﻔﻬﻴﺔ وﻳﺮﺟﻊ ذﻟﻚ إﱃ أﳖﻢ ﺗﻌﻮدوا ﻋﲆ ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ﻣﻨﺬ ﻣﺮاﺣﻞ دراﺳﻴﺘﻬﻢ‬ ‫اﻷوﱃ‪ ،‬وأن ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ﻛﺎﻧﺖ أﻛﺜﺮ اﺳﺘﻌﲈﻻً‪ ،‬وأﻣﺎ ﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸﻔﻬﻴﺔ ﻫﻲ ﻃﺮﻳﻘﺔ ﻗﻠﻴﻠﺔ اﻻﺳﺘﻌﲈل ﻷﳖﺎ ﻻ‬ ‫ﺗﻠﺠﺄ اﻟﱰﲨﺔ ﺑﻞ إﻟﺘﺰام اﻟﺘﺤﺪث ﺑﺎﻟﻠﻐﺔ اﳌﺪروﺳﺔ أﻛﺜﺮ ﻣﻦ ﻟﻐﺔ اﻷم‪.‬‬

‫‪825‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT This research aims to study the history of Arabic center and its role in the field of teaching Arabic language and academic curricula, also aims to study the theory of teaching Arabic to non-native speakers by compare between the method of grammar and translation with the utilizing audio lingual method, so that we know which is more useful and the most effect for students at the Arabic center. The researcher followed in this research, the analytic descriptive method for a study of the theoretical side as followed the field cadastral method used the questionnaire as the instrument of the study. The samples are 77 of Arabic center students from the second and third level. The study reached that the Arabic center is the important department of the university that plays a prominent role in the field of Teaching Arabic Language. At the same time it has many academic programs, when the more prominent program is the program of Arabic preparation. There are many methods for teaching Arabic that the most popular are the method of Grammar and translation and the Utilizing Audio Lingual Method. And through the study of the comparison between both methods the researcher discovered that the method of grammar and translation is the most acceptances at the students from the utilizing audio lingual method. However, there is related that they got used to this way since the stages of the first study and as for the audio way it is a way of few use because it doesn't resort to the translation but the commitment of the speaking in the studied language and the non- resorting to the mother tongue.

826

Graduate School and Research / 15 May 2013


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫اﳌﻘﺪﻣﺔ‬ ‫اﳊﻤﺪﻟﻠﻪ ﻧﺤﻤﺪه وﻧﺴﺘﻌﻴﻨﻪ وﻧﺴﺘﻐﻔﺮه وﻧﺘـﻮب إﻟﻴـﻪ‪ ،‬وﻧﻌـﻮذ ﺑـﺎﷲ ﻣـﻦ ﴍور أﻧﻔﺴـﻨﺎ‪ ،‬وﻣـﻦ ﺳـﻴﺌﺎت أﻋﲈﻟﻨـﺎ‪،‬‬ ‫ﻣــﻦ ﳞــﺪه اﷲ ﻓــﻼ ﻣﻀــﻞ ﻟــﻪ‪ ،‬وﻣــﻦ ﻳﻀــﻠﻞ ﻓــﻼ ﻫــﺎدي ﻟــﻪ‪ ،‬وأﺷــﻬﺪ أن ﻻ‬

‫إﻻ اﷲ وﺣــﺪه ﻻ ﴍﻳــﻚ ﻟــﻪ‪ ،‬وأﺷــﻬﺪ أن‬

‫ﺻﻞ وﺳﻠّﻢ ﻋﲆ ﻧﺒﻴﻨﺎ ﳏﻤﺪ وﻋﲆ آﻟﻪ وﺻﺤﺒﻪ أﲨﻌﲔ‪ .‬أﻣﺎ ﺑﻌﺪ‪،‬‬ ‫ﳏﻤﺪ ًا ﻋﺒﺪه ورﺳﻮﻟﻪ‪ ،‬اﻟﻠﻬﻢ ّ‬ ‫ﻓﺈن ﺗﺪرﻳﺲ ﻣﻬﺎرة اﻟﻜﻼم ﺗﺼﺒﺢ ﺟﺰء ًا ﻣﻬ ًﲈ ﰲ ﺗﺪرﻳﺲ أي ﻟﻐﺔ ﺑﺨﺎﺻﺔ ﺗﺪرﻳﺲ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪ .‬ﻷﳖﺎ ﻣﻦ أﻫﻢ‬ ‫ﻣﻬﺎرات اﻟﻠﻐﻮﻳﺔ اﻷرﺑﻌﺔ ﰲ ﻣﻨﻬﺞ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻷﺟﻨﺒﻴﺔ وﻻﺑﺪ ﻣﻦ ﲤﻜﻴﻨﻬﺎ ﻟﻜﻞ ﻓﺮد ﺳﻮاء أﻛﺎن ﻣﻦ اﻟﻜﺒﺎر‬ ‫أواﻟﺼﻐﺎر ﻓﻬﺆﻻء ﳛﺘﺎﺟﻮن إﱃ ﳑﺎرﺳﺔ اﻟﻜﻼم ﰲ ﺗﻌﻠﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻷﺟﻨﺒﻴﺔ‪ ،‬وﻫﺬا ﻛﲈ أﺷﺎر إﱃ ذﻟﻚ ﳏﻤﻮد ﻛﺎﻣﻞ اﻟﻨﺎﻗﺔ‬ ‫ورﺷﺪي أﲪﺪ ﻃﻌﻴﻤﺔ ﰲ ﻛﺘﺎﲠﲈ " ﻃﺮاﺋﻖ ﺗﺪرﻳﺲ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻟﻐﲑ اﻟﻨﺎﻃﻘﲔ ﲠﺎ"‪.‬‬ ‫ﻋﲆ اﻟﺮﻏﻢ ﻣﻦ ﻣﻜﺎﻧﺔ اﻟﻜﻼم ﰲ ﺗﻌﻠﻢ اﻟﻠﻐﺔ وﺗﻌﻠﻴﻤﻬﺎ؛ ﻓﺈن اﻟﺒﺎﺣﺜﺔ ُﻣﻌﻠﻤﺔ ﰲ ﻣﺮﻛﺰ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪،‬‬ ‫ﺟﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﻗﺪ ﺷﺎﻫﺪت ﻛﺜﲑﻳﻦ ﻣﻦ اﻟﻄﻠﺒﺔ اﻟﺬﻳﻦ ﱂ ﻳﺘﻤﻜﻨﻮا ﻣﻦ اﻟﻜﻼم أﺛﻨﺎء ﺗﺪرﻳﺴﻬﺎ ﻗﺪ ﻳﻌﻮد ذﻟﻚ‬ ‫إﱃ ﻋﺪم اﻧﺴﺠﺎم ﻃﺮق اﻟﺘﺪرﻳﺲ اﻟﺘﻲ ﻳﺴﺘﺨﺪﻣﻬﺎ اﳌﻌﻠﻤﻮن وﻫﻲ اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸﻔﻬﻴﺔ اﻟﺘﻲ ﺗﺴﺘﺨﺪم ﻋﺎدة ﰲ‬ ‫ﻛﺘﺎب ﺳﻠﺴﻠﺔ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻟﻐﲑ اﻟﻨﺎﻃﻘﲔ ﲠﺎ ﰲ اﳌﺮﻛﺰ‪ ،‬ﻷن ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ﳐﺼﺼﺔ ﳍﺬا اﻟﻜﺘﺎب ﺑﺎﻟﺬات‪،‬‬ ‫ﻓﻌﲆ ﻫﺬا ﻓﻜﺮت اﻟﺒﺎﺣﺜﺔ أن ﺗﺄﰐ ﺑﺎﻟﻄﺮﻳﻘﺔ اﻷﺧﺮى ﻣﻘﺎرﻧﺔ ﺑﺎﻷوﱃ ﻟﻜﻲ ﻳﻘﺪر اﻟﻄﻼب اﻟﺘﻤﻴﻴﺰ ﺑﻴﻨﻬﲈ ﳑﺎ ﻳﺆدي إﱃ‬ ‫وﺑﻨﺎء ﻋﲆ ذﻟﻚ ﺗﺄﰐ ﻫﺬه اﻟﺪراﺳﺔ اﳌﻘﺎرﻧﺔ‪.‬‬ ‫اﻟﺘﻔﺮﻳﻖ ﰲ اﻟﺘﺤﺼﻴﻞ اﻟﻠﻐﻮي ﻟﺪى اﻟﻄﻼب ً‬ ‫أﻫﺪاف اﻟﺒﺤﺚ‪:‬‬ ‫ﳞﺪف ﻫﺬا اﻟﺒﺤﺚ إﱃ ﲢﻘﻴﻖ اﻷﻫﺪاف اﻵﺗﻴﺔ‪:‬‬ ‫‪.1‬دراﺳﺔ ﺗﺎرﻳﺦ اﳌﺮﻛﺰ ودوره واﳌﻨﺎﻫﺞ اﻟﺪراﺳﻴﺔ اﻟﺘﻲ ﻳﺸﻐﻞ ﲠﺎ اﳌﺮﻛﺰ‪.‬‬ ‫‪.2‬دراﺳﺔ ﻧﻈﺮﻳﺔ ﻃﺮق ﺗﺪرﻳﺲ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺑﺄﺑﻌﺎدﻫﺎ اﳌﺨﺘﻠﻔﺔ‪.‬‬ ‫‪.3‬دراﺳﺔ ﻣﻘﺎرﻧﺔ ﺑﲔ ﻃﺮﻳﻘﺘﲔ‪ :‬ﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﻟﱰﲨﺔ وﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸﻔﻬﻴﺔ‪.‬‬ ‫‪.4‬ﺗﻘﻮﻳﻢ ﻋﻤﲇ ﻟﺘﻄﺒﻴﻖ ﻃﺮﻳﻘﺘﻲ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﻟﱰﲨﺔ وﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸﻔﻬﻴﺔ ﻣﻦ ﺧﻼل ﻃﻠﺒﺔ اﳌﺮﻛﺰ‪.‬‬ ‫ﻳﻌﺪ ﻣﺮﻛﺰ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ واﺣﺪ ًا ﻣﻦ أﻫﻢ ﴏوح ﺟﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﺣﻴﺚ ﻳﻠﺘﺤﻖ ﺑﻪ اﻟـﻄﻠﺒﺔ‬ ‫اﻟﻘﺎدﻣﻮن ﻣـﻦ اﳌﺪارس وـاﳌﻌﺎﻫﺪ اﳌـﺨﺘﻠﻔﺔ ﻋﲆ ﻣﺴﺘﻮى ﺗﺎﻳﻼﻧـﺪ وﻗﺪ أﺳﺲ ﻫﺬاـ اﳌﺮﻛﺰ ﰲ أوـل أﻣﺮه ﺿﻤﻦ ﻛـﻠﻴﺔ‬ ‫اﻟﺪراﺳﺎت اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‪ ،‬وذﻟﻚ ﻹﻋﺪاد اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻟﻠﻜﻠﻴﺔ ﻣﻊ اﻟﺒﺪاﻳﺎت اﻷوﱃ ﻟﺘﺄﺳﻴﺲ ﺟﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‬ ‫ﰲ ﻋﺎم ‪ 1998‬م ﻣﺘﺰاﻣﻨ ًﺎ ﻣﻊ اﻓﺘﺘﺎح اﻟﻜﻠﻴﺔ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﺟﺎﻻ‪ ،‬واﻟﺘﻲ ﺗﻢ اﳌﻨﺢ ﳍﺎ آﻧﺬاك اﻟﺮﺧﺼﺔ ﻟﺘﺸﻐﻴﻞ ﻗﺴﻤﻴﻬﺎ‬

‫‪827‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫أﺻﻮل اﻟﺪﻳﻦ واﻟﴩﻳﻌﺔ وﻳﻠﻴﻬﲈ ﻗﺴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪ ،‬وﻛﺎﻧﺖ ﻟﻐﺔ اﻟﺪراﺳﺔ ﳍﺬه اﻷﻗﺴﺎم اﻟﺜﻼﺛﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪ ،‬ﻓﺎﺳﺘﻜﲈﻻ ً‬ ‫ﳌﺘﻄﻠﺒﺎت اﳌﻨﻬﺞ ﻛﺎن ﻫﻨﺎك ﺣﺎﺟﺔ إﱃ أن ﻳﺘﺴﻠّﺢ اﻟﻄﺎﻟﺐ ﺑﻘﺪر ﻣﻌﻘﻮل ﻣﻦ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪ ،‬ﻓﻴﻨﺸﺄ ﺑﺬﻟﻚ ﻣﺮﻛﺰ ﺗﻌﻠﻴﻢ‬ ‫اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ وذﻟﻚ ﰲ ﺑﺪاﻳﺔ ﻋﺎم ‪1998‬م‪ .‬وﻣﻦ أﻫﺪاﻓﻪ‪:‬‬ ‫‪ .1‬اﻹﻋﺪاد اﻟﻠﻐﻮي ﻟﻄﻠﺒﺔ اﳉﺎﻣﻌﺔ ﺑﻘﺴﻢ أﺻﻮل اﻟﺪﻳﻦ‪ ،‬واﻟﴩﻳﻌﺔ‪ ،‬واﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪.‬‬ ‫‪ .2‬ﲤــﻜﲔ اـﻟـﻄﺎﻟــﺐ ﻣـﻦ اـﻟــﻜﻔﺎﻳـﺔ اـﻟـﻠﻐﻮﻳــﺔ‪،‬ـ وـاـﻟـﺘﻲ ﺗــﺘﻤﺜﻞ ﰲـ ﻣـﻬﺎرـةـ اـﻻــﺳﺘﲈعـ‪،‬ـ وـﻣــﻬﺎرـةـ اـﻟـﻜﻼمـ‪،‬ـ وـﻣــﻬﺎرــة‬ ‫اﻟﻘﺮاءة‪ ،‬وﻣﻬﺎرة اﻟﻜﺘﺎﺑﺔ‬ ‫‪ .3‬ﲤــﻜﲔ اـﻟــﻄﺎﻟـﺐ ﻣــﻦ اـﻟــﻜﻔﺎﻳـﺔ اـﻻـﺗــﺼﺎﻟـﻴﺔ‪،‬ـ وـﺗــﺘﻤﺜﻞ ﻫــﺬهـ اـﻟـﻜﻔﺎﻳــﺔ ﰲـ اـﻛـﺴﺎبـ اـﻟــﺪاـرـسـ اـﻟـﻘﺪرـاـتـ ﻋــﲆ‬ ‫اـﻻـﺗــﺼﺎلـ ﺑــﻤﺘﺤﺪﺛــﻲ اـﻟــﻠﻐﺔ اـﻟــﻌﺮﺑــﻴﺔ وـﻟــﺘﺠﺎو ـبـ ﻣــﻌﻬﻢ ﻣــﻦ ﺧــﻼل ـ اـﻟــﺴﺎﻗــﻲ اـﻻ ـﺟــﺘﲈﻋــﻲ ا ـﳌــﻘﺒﻮل ـ وـاـﻟــﺘﻔﺎﻋــﻞ ﻣــﻌﻬﻢ‬ ‫ﻣﺸﺎﻓﻬﺔ‪ ،‬وﻛﺘﺎﺑﺔ‪ ،‬واﻟﺘﻌﺒﲑ ﻋﻦ ﻧﻔﺴﻪ ﺑﺼﻮرة ﻣﻨﺎﺳﺒﺔ ﰲ اﳌﻮاﻗﻒ اﻻﺟﺘﲈﻋﻴﺔ اﳌﺨﺘﻠﻔﺔ‪.‬‬ ‫‪ .4‬ﲤﻜﲔ اﻟﻄﺎﻟﺐ ﻣﻦ اﻟﻜﻔﺎﻳﺔ اﻟﺜﻘﺎﻓﻴﺔ‪ ،‬وذﻟﻚ أن اﻟﻠﻐﺔ ذاﲥﺎ ﺛﻘﺎﻓﺔ ﻓﺎﻟﻄﺎﻟﺐ ﻣﺎﱂ ﻳﻠﻢ ﺑﺠﻮاﻧﺐ ﻣﺘﻨﻮﻋﺔ ﻣﻦ‬ ‫اﻟﺜﻘﺎﻓﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﻓﺴﻮف ﻻ ﻳﺴﺘﻄﻴﻊ أن ﻳﺘﻜﻠﻢ ﲠﺎ ﺑﺸﻜﻞ ﻣﻄﻠﻮب‪ ،‬وﻳﻀﺎف إﱃ ﻫﺬه اﻟﺜﻘﺎﻓﺔ أﻧﲈط ﻣﻦ‬ ‫اﻟﺜﻘﺎﻓﺔ اﻟﻌﺎﳌﻴﺔ اﻟﺘﻲ ﻻ ﺗﺘﻌﺎرض ﻣﻊ أﺻﻮل اﻹﺳﻼم وﴍﻳﻌﺘﻪ‪.‬‬ ‫‪ .5‬ﲤــﻜﲔ اـﻟــﻄﺎﻟــﺐ ﻣــﻦ اـﻟــﻜﻔﺎﻳــﺔ اـﻟــﻠﻐﻮﻳــﺔ‪،‬ـ وـذـﻟــﻚ ﻷـنـ دـرـاــﺳﺔ اـﻟــﻠﻐﺔ ﻣــﻬﲈ وــﺻﻠﺖ إـﱃـ دـرـﺟــﺔ ﻋــﺎﻟــﻴﺔ ﻣــﻦ‬ ‫ﻣﻌﺮﻓﺘﻬﺎ‪ ،‬ﻓﲈ ﱂ ﻳﻘﺪر اﻟﺪارس ﻋﲆ ﺗﻮﻇﻴﻒ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﺘﻲ ﻳﺪرﺳﻬﺎ إﱃ أرض اﻟﻮاﻗﻊ‪ ،‬ﻓﻴُﻌﺪﱡ ﻣﻀﻴﻌ ًﺎ ﻟﻠﻮﻗﺖ‪ ،‬ﻓﻌﲆ ﻫﺬا‬ ‫ﻛﺎن ﺗﻄﺒﻴﻖ اﻟﻠﻐﺔ ﰲ اﳊﻴﺎة اﻟﻴﻮﻣﻴﺔ أﻣﺮ ًا ﻣﻄﻠﻮﺑ ًﺎ ﺷﻌﺎر ًا ﰲ اﻟﺪﻋﺎﻳﺔ ﻟﻜﺜﲑ ﻣﻦ ﻣﻌﺎﻫﺪ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺎت ﰲ اﻟﻌﺎﱂ) ﺑﺮﻧﺎﻣﺞ‬ ‫اﻹﻋﺪاد اﻟﻠﻐﻮي ﺑﻤﺮﻛﺰ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻣﻌﻬﺪ اﻟﻠﻐﺎت اﻟﻌﺎﳌﻴﺔ ﺟﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‪2012 ،‬م‪.(5 :‬‬ ‫ﺗﻘﺴﻢ ﻣﺴﺘﻮﻳﺎت اﻟﺪراﺳﺔ ﰲ اﳌﻨﻬﺞ اﻹﻋﺪاد اﻟﻠﻐﻮي إﱃ ﺛﻼث ﻣﺴﺘﻮﻳﺎت رﺋﻴﺴﻴﺔ‪ :‬وﻫﻲ اﳌﺴﺘﻮى‬ ‫اﳌﺒﺘﺪئ‪ ،‬واﳌﺴﺘﻮى اﳌﺘﻮﺳﻂ‪ ،‬واﳌﺴﺘﻮى اﳌﺘﻘﺪم)ﺑﺮﻧﺎﻣﺞ اﻹﻋﺪاد اﻟﻠﻐﻮي ﺑﻤﺮﻛﺰ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻣﻌﻬﺪ‬ ‫اﻟﻠﻐﺎت اﻟﻌﺎﳌﻴﺔ ﺟﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‪2012 ،‬م‪.(6 :‬‬ ‫أوﻻ ً ‪ :‬اﳌﺴﺘﻮى اﳌﺒﺘﺪئ )‪ :(Beginner‬ﻳﺪرس اﻟﻄﻠﺒﺔ ﰲ ﻫﺬا اﳌﺴﺘﻮى ﻋﴩ ﺳﺎﻋﺎت ﰲ اﳌﻬﺎرات اﻟﻠﻐﻮﻳﺔ اﻷرﺑﻊ‬ ‫وﻋـﴩ ﺳﺎﻋـﺎتـ ﰲ اـﻟـﺘﻌﺒﲑ اـﻟﺸﻔﻬﻲ وـاـﻟـﻜﺘﺎﰊـ وأـرـﺑـﻊ ﺳﺎﻋﺎتـ ﰲـ اـﻟﻘﺮاـءـةـ وـاﻟـﻜﺘﺎﺑـﺔ وـﺳﺎﻋﺘﲔ ﰲـ اـﻟـﻘﺮآنـ اـﻟـﻜﺮﻳـﻢ‪.‬‬ ‫ﺳﻠﻴﲈ واﻟﻘﺪرة ﻋﲆ اﺳﺘﺨﺪام اﻟﻜﻠﲈت‬ ‫وﳞﺪف إﱃ اﻟﱰﻛﻴﺰ ﻋﲆ ﻧﻄﻖ اﻟﻄﻠﺒﺔ أﺻﻮات اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ اﳌ ﺘﺸﺎﲠﺔ ﻧﻄﻘً ﺎ ً‬ ‫اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻻ ﺗﻘﻞ ﻋﻦ أﻟﻒ وﻣﺌﺔ ﻛﻠﻤﺔ‪ ،‬واﻟﺘﻤﻜﻦ ﻣﻦ اﺳﺘﺨﺪام اﳉﻤﻞ اﻷﺳﺎﺳﻴﺔ ﻻ ﺗﻘﻞ ﻋﻦ ﲬﺴﲔ ﲨﻠﺔ‪ .‬واﻟﺘﺪرﻳﺐ‬ ‫ﻋﲆ ﻛﺘﺎﺑﺔ اﳊﺮوف اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺑﺄﺷﻜﺎﳍﺎ اﳌﺨﺘﻠﻔﺔ وﻣﻴﴪ ﻟﻠﻘﺮاءة واﻟﻔﻬﻢ‪ .‬واﻟﺘﻤﻜﻦ ﻣﻦ ﻛﺘﺎﺑﺔ اﻟﻌﺒﺎرات اﳌﺴﺘﺨﺪﻣﺔ ﰲ‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪828‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﺣـﻴﺎةـ اـﻟـﻄﻠﺒﺔ‪ .‬وـاـﻟـﻘﺪرـةـ ﻋـﲆ اـﻟـﻜﻼمـ ﰲـ ﻣـﻮاـﻗـﻒ اـﳊــﻴﺎةـ اـﻟـﻴﻮﻣـﻴﺔ‪ .‬وـﺣــﻔﻆ اـﻟـﺴﻮرـ ﰲـ اـﳌـﻘﺮرـةـ ﻣـﻊ اـﻟـﱰﻛـﻴﺰ ﰲـ ﳐـﺎرــج‬ ‫اﳊﺮوف‪ ،‬وﺗﻄﺒﻴﻖ أﺣﻜﺎم اﻟﺘﺠﻮﻳﺪ‪.‬‬ ‫ﺛﺎﻧﻴﺎ ً ‪ :‬اﳌﺴﺘﻮى اﳌﺘﻮﺳﻂ )‪ (Intermediate‬ﻳﺪرس اﻟﻄﻠﺒﺔ ﰲ ﻫﺬا اﳌﺴﺘﻮى اﻟﺘﻌﺒﲑ اﻟﺸﻔﻬﻲ واﻟﻜﺘﺎﰊ ﺳﺖ ﺳﺎﻋﺎت‬ ‫واﻟﻘﺮاءة أرﺑﻊ ﺳﺎﻋﺎت واﻟﻜﺘﺎﺑﺔ أرﺑﻊ ﺳﺎﻋﺎت واﻟﻨﺤﻮ أرﺑﻊ ﺳﺎﻋﺎت واﻟﴫف أرﺑﻊ ﺳﺎﻋﺎت ودروس ﻣﻦ اﻟﻘﺮآن‬ ‫ﺳﺎﻋﺘﺎن واﳊﺪﻳﺚ ﺳﺎﻋﺘﺎن‪ .‬وﳞﺪف ﻫﺬا اﳌﺴﺘﻮى إﱃ ﺗﻨﻤﻴﺔ اﳌﻬﺎرات اﻟﻠﻐﻮﻳﺔ اﻷرﺑﻌﺔ‪ :‬اﻻﺳﺘﲈع اﻟﻜﻼم اﻟﻘﺮاءة‬ ‫واﻟﻜﺘﺎﺑﺔ‪.‬واﻟﻘﺪرة ﻋﲆ اﺳﺘﺨﺪام اﻟﻜﻠﲈت اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻻ ﺗﻘﻞ ﻋﻦ أﻟﻒ وﺳﺖ ﻣﺌﺔ ﻛﻠﻤﺔ‪ ،‬واﻟﻘﺪرة ﻋﲆ ﺗﻌﺒﲑ ﻋﻦ‬ ‫ﻣﺴﺘﺨﺪﻣﺎ اﻟﻨﻈﺎم اﻟﺼﺤﻴﺢ ﻟﱰﻛﻴﺐ اﻟﻜﻠﻤﺔ وﺣﻔﻆ اﻟﺴﻮر واﻷﺣﺎدﻳﺚ اﳌﻘﺮرة ﻣﻊ اﻟﱰﻛﻴﺰ ﻋﲆ ﳐﺎرج‬ ‫ً‬ ‫أﻓﻜﺎره‬ ‫اﳊﺮوف‪ ،‬واﻻﺳﺘﻔﺎدة ﻣﻦ اﻟﻨﺼﻮص اﻟﻘﺮآن واﳊﺪﻳﺚ‪.‬‬ ‫ﺛﺎﻟﺜﺎ ً ‪ :‬اﳌﺴﺘﻮى اﳌﺘﻘﺪم )‪ : (Advance‬ﻳﺪرس اﻟﻄﻠﺒﺔ ﰲ ﻫﺬا اﳌﺴﺘﻮى ﺗﻌﺒﲑ اﻟﺸﻔﻬﻲ واﻟﻜﺘﺎﰊ أرﺑﻊ ﺳﺎﻋﺎت‬ ‫واﻟﻨﺤﻮ أرﺑﻊ ﺳﺎﻋﺎت واﻟﴫف أرﺑﻊ ﺳﺎﻋﺎت واﻟﻘﺮاءة ﺳﺎﻋﺘﺎن واﻟﻜﺘﺎﺑﺔ ﺳﺎﻋﺘﺎن ودروس ﻣﻦ اﻟﻘﺮآن ﺳﺎﻋﺘﺎن‬ ‫واﳊﺪﻳﺚ ﺳﺎﻋﺘﺎن واﻷدب اﻟﻌﺮﰊ ﺳﺎﻋﺘﺎن واﻟﺘﻮﺣﻴﺪ ﺳﻌﺘﺎن واﻟﻔﻘﻪ ﺳﺎﻋﺘﺎن‪ .‬وﳎﻤﻮع اﳌﻮاد ﻛﻠﻬﺎ ﺳﺖ وﻋﴩﻳﻦ‬ ‫ﺳﺎﻋﺔ اﻷﻫﺪاف اﻟﻌﺎﻣﺔ ﻟﻠﻤﻨﻬﺞ ﰲ اﳌﺴﺘﻮى اﻟﺜﺎﻟﺚ )ﺳﻠﺴﻠﺔ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ اﳌﺴﺘﻮى اﻟﺜﺎﻟﺚ "دﻟﻴﻞ اﳌﻌﻠﻢ"‪،‬‬ ‫‪2000‬م‪ (12 :‬وﳞﺪف ﻫﺬا اﳌﺴﺘﻮى إﱃ ﺗﺪرﻳﺐ اﻟﺪارﺳﲔ ﻋﲆ اﺳﺘﺨﻼص اﻷﺳﺎﺳﻴﺔ اﻟﺘﻲ ﺗﺸﺘﻤﻞ ﻋﻠﻴﻬﺎ‬ ‫اﻟﻨﺼﻮص‪ ،‬واﺧﺘﺰاﳖﺎ‪ ،‬واﺳﺘﻌﲈﳍﺎ ﰲ اﻟﺘﻌﺒﲑ اﻟﺸﻔﻬﻲ واﻟﻜﺘﺎﰊ‪ .‬وﺗﻨﻤﻴﺔ اﻟﻘﺪرة ﻋﲆ اﻟﻘﺮاءة اﻟﴪﻳﻌﺔ اﻟﺼﺤﻴﺤﺔ‪،‬‬ ‫وﺗﻨﻤﻴﺔ اﻟﻘﺪرة ﻋﲆ اﻟﻜﺘﺎﺑﺔ اﻟﺴﻠﻴﻤﺔ‪ ،‬اﳋﺎﻟﻴﺔ ﻣﻦ اﻷﺧﻄﺎء‪ ،‬وﺗﻘﺪﻳﻢ ﻗﺪر ﻣﻦ اﻟﻨﺼﻮص اﻟﻘﺮآﻧﻴﺔ‪ ،‬واﻷﺣﺎدﻳﺚ‬ ‫اﻟﻨﺒﻮﻳﺔ‪ ،‬وﺗﻨﻤﻴﺔ اﻟﺘﺨﻠﻖ ﺑﺄﺧﻼق اﻟﻘﺮآن واﳊﺪﻳﺚ وآداﺑﻪ‪.‬‬ ‫ﻣﻔﻬﻮم ﻣﻬﺎرة اﻟﻜﻼم وأﻫﺪاﻓﻪ )‪:(Speaking Skill‬‬ ‫اﻟﻜﻼم ﰲ أﺻﻞ اﻟﻠﻐﺔ‪ :‬ﻫﻮ اﻹﺑﺎﻧﺔ واﻹﻓﺼﺎح ﻋﲈ ﳚﻮل ﰲ ﺧﺎﻃﺮ اﻹﻧﺴﺎن ﻣﻦ أﻓﻜﺎره وﻣﺸﺎﻋﺮه ﻣﻦ ﺣﻴﺚ‬ ‫ﻳﻔﻬﻤﻪ اﻵﺧﺮون)اﻟﺪﻟﻴﻤﻲ‪ ،‬ﻋﲇ ﺣﺴﲔ‪2003 ،‬م‪ .(200 :‬وﰲ ﻛﺘﺎب آﺧﺮ‪ :‬ﻫﻮ اﻹﻓﺼﺎح واﻹﺑﺎﻧﺔ ﻋﲈ ﳚﻮل ﰲ‬ ‫ﺧﺎﻃﺮ اﻹﻧﺴﺎن ﻣﻦ ﺧﻼل اﺳﺘﺨﺪام اﻟﻠﺴﺎن‪ ،‬وﻫﻮ ﻣﻬﺎرة اﻟﺘﺤﺪث أو اﻷداء اﻟﻌﻔﻮي اﻟﻄﺒﻴﻌﻲ اﳌﻘﻨﻊ ﻹﻳﺼﺎل ﻣﺎ‬ ‫ﻳﺮﻳﺪه اﻟﻔﺮد إﱃ ﻏﲑه)ﻋﲇ‪ ،‬أﲪﺪ ﻋﲇ‪ ،‬وآﺧﺮون‪ ،‬د‪.‬ت‪ .(33،25 :‬وﰲ ﻗﻮل آﺧﺮ‪ :‬اﻟﻜﻼم ﻫﻮ اﳊﺪﻳﺚ واﻟﻘﻮل‬ ‫)ﻓﺮﺣﺎت‪ ،‬ﻳﻮﺳﻒ ﺷﻜﺮي‪2011 ،‬م‪.(518 :‬‬ ‫واﻟﻜﻼم اﺻﻄﻼﺣ ًﺎ‪ :‬ﻫﻮ ﻓﻦ ﻧﻘﻞ اﳌﻌﺘﻘﺪات واﳌﺸﺎﻋﺮ‪ ،‬واﳌﻌﻠﻮﻣﺎت‪ ،‬واﳌﻌﺎرف‪ ،‬واﳋﱪات‪ ،‬واﻷﻓﻜﺎر‬ ‫ﻼ ﻳﻘﻊ ﻣﻦ اﳌﺴﺘﻤﻊ أو اﳌﺴﺘﻘﺒﻞ أو اﳌﺨﺎﻃﺐ ﻣﻮﻗﻊ اﻟﻘﺒﻮل واﻟﻔﻬﻢ واﻟﺘﻔﺎﻋﻞ‬ ‫واﻷراء ﻣﻦ ﺷﺨﺺ إﱃ آﺧﺮﻳﻦ ﻧﻘ ً‬

‫‪829‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫واﻻﺳﺘﺠﺎﺑﺔ )اﻟﻠﺒﻮدي‪ ،‬ﻣﻨﻰ إﺑﺮاﻫﻴﻢ‪2003 ،‬م‪ .(10 :‬وﻳﻌﺘﱪ اﻟﻜﻼم ﻫﻮ اﻟﻔﻦ اﻟﺜﺎﲏ ﻣﻦ ﻓﻨﻮن اﻟﻠﻐﺔ اﻷرﺑﻌﺔ ﺑﻌﺪ‬ ‫اﻻﺳﺘﲈع واﻟﺘﻲ ﲤﺜﻞ ﻏﺎﻳﺔ ﻣﻦ ﻏﺎﻳﺎت اﻟﺪراﺳﺔ اﻟﻠﻐﻮﻳﺔ‪ ،‬وﻫﻮ ﺗﺮﲨﺔ اﻟﻠﺴﺎن ﻋﲈ ﺗﻌﻠﻤﻪ اﻹﻧﺴﺎن ﻋﻦ ﻃﺮﻳﻖ اﻻﺳﺘﲈع‬ ‫واﻟﻘﺮاءة واﻟﻜﺘﺎﺑﺔ‪ ،‬واﻟﻜﻼم ﻳﻜﻮن ﻣﻦ اﻟﻠﻔﻆ واﻹﻓﺎدة‪ .‬اﻟﻜﻼم أﻳﻀ ًﺎ ﻫﻮ اﻟﺸﻜﻞ اﻟﺮﺋﻴﴘ ﻟﻼﺗﺼﺎل اﳉﲈﻋﻲ ﻋﻨﺪ‬ ‫اﻹﻧﺴﺎن‪ ،‬وﳍﺬا ﻳُﻌﺘﱪ ﻣﻦ أﻫﻢ ﺟﺰء ﰲ ﳑﺎرﺳﺔ اﻟﻠﻐﺔ واﺳﺘﻌﲈﳍﺎ )اﻟﺪاﻳﺔ‪ ،‬ﳏﻤﺪ رﺿﻮان وﳏﻤﺪ ﺟﻬﺎد ﲨﻞ‪،‬‬ ‫‪2004‬م‪.(49 :‬‬ ‫ﳎﺎﻻت ﻟﻠﺘﺪرﻳﺐ ﻋﲆ اﻟﻜﻼم‪:‬‬ ‫وﻗﺪ ذﻛﺮ اﻟﱰﺑﻮﻳﻮن اﻟﻌﺪﻳﺪة ﻣﻦ ﳎﺎﻻت ﻟﻠﺘﺪرﻳﺐ ﻋﲆ اﻟﺘﺤﺪث‪ ،‬وﻳﻤﻜﻦ ﻋﺮض ﻣﺎ ذﻛﺮه ﺧﺎﻃﺮ‬ ‫وآﺧﺮون‪ ،‬وﺳﻤﻚ وﻫﻲ اﳋﻄﺎﺑﺔ واﳊﻮار واﳌﻨﺎﻇﺮة واﻟﻨﺪوات أو اﳌﻨﺎﻗﺸﺎت واﳌﺤﺎﴐة واﳌﺴﺎﺟﻠﺔ واﳌﺴﺎﺑﻘﺔ‬ ‫واﳌﺤﺎدﺛﺔ وﺣﻜﺎﻳﺔ اﻟﻘﺼﺔ وإﻋﻄﺎء اﻟﺘﻌﻠﻴﲈت وإﻟﻘﺎء اﻟﻜﻠﲈت ﰲ اﻻﺟﺘﲈﻋﺎﺗﻮاﻟﺼﺤﺎﻓﺔ واﳉﻤﻌﻴﺎت واﻟﺘﻤﺜﻴﻞ‬ ‫واﻹذاﻋﺔ اﳌﺪرﺳﻴﺔ وﲨﺎﻋﺔ اﳌﻜﺘﺒﺔ واﳌﻨﺎﺳﺒﺎت اﻟﻌﺎﻣﺔ واﳋﺎﺻﺔ وﻧﺎدي اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ واﳌﺤﺎﻛﺎة )اﻟﺪورات‬ ‫اﻟﺘﺪرﻳﺒﻴﺔ ﳌﻌﻠﻤﻲ اﳌﺮﺣﻠﺔ اﻻﺑﺘﺪاﺋﻴﺔ‪(9 ،‬‬ ‫ﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﻟﱰﲨﺔ‪:‬‬ ‫واﳌﻘﺼﻮد ﻣﻦ ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ﻫﻲ ﲢﻔﻴﻆ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﻟﻨﺤﻮﻳﺔ واﳌﻔﺮدات اﳌﺤﺪدة‪ ،‬وﺗﺮﺗﺐ ﺗﻠﻚ اﳌﻔﺮدات‬ ‫ﺑﺎﺗﺒﺎع اﻟﻘﻮاﻋﺪ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ وﺗﻨﻘﻞ اﳌﻌﻠﻮﻣﺎت ﻣﻦ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ إﱃ ﻟﻐﺔ اﳌﺘﻌﻠﻢ‪ .‬وﻗﺪ اﻧﺘﴩت ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ﰲ أوروﺑﺎ‬ ‫ﺣﺘﻰ ﳖﺎﻳﺔ اﻟﻘﺮن اﻟﺘﺎﺳﻊ ﻋﴩ وﺑﺪاﻳﺔ اﻟﻘﺮن اﻟﻌﴩﻳﻦ وﻛﺎن ﺗﻌﻠﻢ اﻹﻏﺮﻳﻘﻴﺔ واﻟﻼﺗﻴﻨﻴﺔ ﻳﺴﺘﻨﺪ إﱃ ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ‪،‬‬ ‫وﳍﺎ ﺗﺴﻤﻴﺎت ﳐﺘﻠﻔﺔ واﺳﺘﻌﻤﻠﻬﺎ اﳌﻌﻠﻤﻮن ﻣﻨﺬ ﻋﺪة ﺳﻨﻮات‪ .‬وﺳﻤﻴﺖ ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ﺑﺎﻟﻄﺮﻳﻘﺔ اﻟﻜﻼﺳﻴﻜﻴﺔ ﺑﺴﺒﺐ‬ ‫اﺳﺘﻌﲈﳍﺎ ﰲ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺎت اﻟﻜﻼﺳﻴﻜﻴﺔ ﻛﺎﻻﺗﻴﻨﻴﺔ واﻹﻏﺮﻳﻘﻴﺔ )دﻳﺎن ﻻرﺳﻦ‪ -‬ﻓﺮﻳﲈن‪1997 ،‬م‪ .(21 :‬ﺗﺸﺘﻤﻞ‬ ‫ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ﻋﲆ ﻋﺪد ﻛﺒﲑ ﻣﻦ اﳌﺤﺎوﻻت ﰲ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺎت ﻟﻐﲑ اﻟﻨﺎﻃﻘﲔ ﲠﺎ‪ ،‬وﺗﻌﺘﻤﺪ ﻫﺬه اﳌﺤﺎوﻻت ﻋﲆ‬ ‫ﻧﲈذج اﻟﻘﻮاﻋﺪ اﻟﺘﻲ وﺿﻌﺖ ﰲ اﻷﺻﻞ ﻟﻠﻐﺘﲔ اﻹﻏﺮﻳﻘﻴﺔ واﻟﻼﺗﻴﻨﻴﺔ ﻧﻤﻮذﺟ ًﺎ ﺗﺴﺘﻌﻤﻠﻪ ﻟﻮﺻﻒ اﻟﻠﻐﺎت اﳊﺪﻳﺜﺔ‪،‬‬ ‫واﺳﺘﺨﺮاج ﻗﻮاﻋﺪﻫﺎ‪ ،‬أو ﺑﺎﻷﺣﺮى ﻟﻔﺮض ﻗﻮاﻋﺪ اﻟﻠﻐﺘﲔ اﳌﺬﻛﻮرة ﻋﻠﻴﻬﺎ‪ ،‬رﻏﻢ أن اﻟﻈﻮاﻫﺮ اﻟﺘﻲ ﺗﺼﻔﻬﺎ اﻟﻘﻮاﻋﺪ‬ ‫ﱂ ﺗﻜﻦ ﰲ ﻛﺜﲑ ﻣﻦ اﻷﺣﻴﺎن ﻣﻮﺟﻮدة ﰲ اﻟﻠﻐﺔ اﳊﺪﻳﺜﺔ اﻟﺘﻲ ﲡﺮي دراﺳﺘﻬﺎ‪ )...‬ﻧﺎﻳﻒ ﺧﺮﻣﺎ &ﻋﲇ ﺣﺠﺎج‪،‬‬ ‫‪1988‬م‪.(26 :‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪830‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﺟﺪول ﺗﻮﺿﻴﺢ ﻣﺰاﻳﺎ وﻋﻴﻮب ﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﻟﱰﲨﺔ‪:‬‬ ‫ﻣﺰاﻳﺎ ﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﻟﱰﲨﺔ‬ ‫‪ .1‬اﻻﻫﺘﲈم ﺑﺤﻔﻆ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﳌﻔﺮدات و اﻟﱰﲨﺔ‪.‬‬

‫ﻋﻴﻮﲠﺎ‬ ‫‪.1‬إﳘﺎل ﻣﻬﺎرﰐ اﻻﺳﺘﲈع واﻟﻜﻼم‪.‬‬

‫‪ .2‬ﺗﺴﺘﺨﺪم ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ اﻟﻠﻐﺔ اﻷم ﻟﻠﻄﺎﻟﺐ ﻛﻮﺳﻴﻠﺔ ‪.2‬اﳌﺒﺎﻟﻐﺔ ﰲ ﻋﻨﺎﻳﺔ ﺑﺎﳌﻔﺮدات واﻹﻣﻼء ﳑﺎ ﳚﻌﻞ ﻣﻬﺎرة‬ ‫رﺋﻴﺴﻴﺔ ﻟﺘﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﳌﻨﺸﻮدة‪.‬‬

‫اﳌﺘﻌﻠﻤﲔ ﰲ ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ﳏﺼﻮرة ﰲ اﳌﻌﺮﻓﺔ اﻟﻨﻈﺮﻳﺔ‬

‫‪ .3‬اﻻﻫﺘﲈم ﺑﺎﻟﺼﺤﺔ اﻟﻠﻐﻮﻳﺔ ﰲ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﻹﻣﻼء ﺑﺎﻟﻨﺤﻮ واﳌﻌﺠﻢ وﰲ اﳌﻌﺮﻓﺔ اﻟﺒﴫﻳﺔ ﻷﺷﻜﺎل‬ ‫اﻟﻜﻠﲈت‪.‬‬

‫واﻟﱰﲨﺔ‪.‬‬

‫‪ .4‬اﻻﻫﺘﲈم ﺑﺄﺣﻜﺎم اﻟﻨﺤﻮ ﻛﻮﺳﻴﻠﺔ ﻟﺘﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺔ ‪.3‬اﻻﻋﺘﲈد ﻋﲆ أﻣﺜﻠﺔ ﻣﻌﺰوﻟﺔ ﻋﻦ ﺳﻴﺎﻗﻬﺎ وﻣﺼﻄﻨﻌﺔ ﰲ‬ ‫أﻛﺜﺮ اﻷﺣﻴﺎن ﲠﺪف ﴍح اﳉﻮاﻧﺐ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ‪.‬‬

‫اﻷﺟﻨﺒﻴﺔ‪.‬‬

‫‪ .5‬ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻄﻼب اﻟﻘﺮاءة اﻟﺪﻗﻴﻘﺔ ﻟﻠﻨﺼﻮص‪ ،‬وأن ‪.4‬ﺗﻌﺘﻤﺪ ﻋﲆ اﻟﴩح اﻟﻨﻈﺮي ﻟﻠﻘﻮاﻧﲔ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ ﻓﻬﻲ‬ ‫ﺗﺎﻣﺎ‪.‬‬ ‫ﻓﻬﲈ ً‬ ‫ﻳﻔﻬﻢ ﻣﺎ ﻳﻘﺮأ ً‬

‫ﺗﺼﻠﺢ ﻣﻊ اﻟﻜﺒﺎر وﻻ ﺗﺼﻠﺢ اﻟﺼﻐﺎر‪ ،‬ﻷﳖﻢ ﻻﻳﺪرﻛﻮن‬

‫‪ .6‬ﺗﻨﻤﻴﺔ اﻟﺬاﻛﺮة‪ ،‬ﻧﻈﺮ ًا ﻻﻋﺘﲈدﻫﺎ ﻋﲆ اﳊﻔﻆ واﻟﺘﺬﻛﺮ‪ .‬ﻛﺜﲑ ًا ﻣﻦ ﻋﺒﺎرات ﻧﺤﻮﻳﺔ وﴏﻓﻴﺔ‪.‬‬ ‫‪ .7‬ﻛﺜﲑ ًا ﻣﺎ ﻳﻠﺠﺄ اﳌﻌﻠﻢ اﻟﺬي ﻳﺴﺘﺨﺪم ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ إﱃ ‪.5‬اﻻﺳﺘﺨﺪام اﻻﺑﺘﻜﺎري ﰲ اﻟﻠﻐﺔ ﻻ ﻣﻜﺎن ﻟﻪ ﰲ ﻫﺬه‬ ‫اﻟﺘﺤﻠﻴﻞ اﻟﻨﺤﻮي ﳉﻤﻞ اﳌﻨﺸﻮدة‪ ،‬وﻳﻄﻠﺐ ﻣﻦ ﻃﻼﺑﻪ اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ﺣﻴﺚ ﻳﻨﺤﴫ اﳉﻬﺪ ﰲ اﻟﻘﺮاءة واﻟﻜﺘﺎﺑﺔ‬ ‫اﻟﻘﻴﺎم ﲠﺬا اﻟﺘﺤﻠﻴﻞ‪.‬‬

‫ﺑﺎﻻﻋﺘﲈد ﻋﲆ ﺣﻔﻆ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﳌﻔﺮدات )ﳏﻤﺪ ﻋﺒﺪ‬ ‫اﳋﺎﻟﻖ‪1433 ،‬ه(‪.‬‬ ‫‪.6‬اﻟﺘﺄﺧﺮ ﰲ اﻟﻮﺻﻮل إﱃ اﻟﻔﻬﻢ ﻧﺘﻴﺠﺔ ﻟﻼﻧﺸﻐﺎل‬ ‫ﺑﻌﻤﻠﻴﺔ اﻟﱰﲨﺔ‪.‬‬ ‫‪.7‬إﺗﻘﺎن ﻗﻮاﻋﺪ اﻟﻠﻐﺔ واﻟﻌﺠﺰ ﻋﻦ اﺳﺘﻌﲈﳍﺎ ﰲ ﲨﻞ‬ ‫ﺻﺤﻴﺤﺔ ﰲ أﺛﻨﺎء اﳊﺪﻳﺚ‪.‬‬ ‫‪ .8‬اﻟﺸﻌﻮر ﺑﺎﳌﻠﻞ ﰲ أﺛﻨﺎء اﻟﺘﻌﻠﻢ؛ ﻧﻈﺮ ًا ﻟﻌﺪم اﻟﻮﺳﺎﺋﻞ‬ ‫اﻟﺘﻌﻠﻴﻤﻴﺔ اﻟﺘﻲ ﲡﺪد اﳊﻴﺎة اﻟﺼﻔﻴﺔ )ﻏﺎزي ﻣﻔﻠﺢ‪،‬‬ ‫د‪.‬ت(‪.‬‬ ‫‪.9‬ﻗﻠﺔ اﻟﺘﺪرﻳﺐ ﰲ اﻟﺘﻌﺒﲑ ﺑﺎﻟﻠﻐﺔ اﻟﺘﻲ ﻳﺮﻳﺪ أن ﻳﺘﻌﻠﻤﻬﺎ‪.‬‬ ‫‪.10‬ﲡﻌﻞ اﻟﻄﺎﻟﺐ ﻻ ﺗﺼﻠﺢ إﻻ ﻣﻊ اﻷذﻛﻴﺎء أو‬ ‫ﻣﺘﻮﺳﻂ اﻟﺬﻛﺎء ﺑﺒﺬل ﺟﻬﺪً ا ﻛﺒﲑً ا)ﻣﺬﻛﺮة اﻟﺪورات‬ ‫اﻟﺘﺪرﻳﺒﻴﺔ ﳌﻌﻠﻤﻲ اﳌﺮﺣﻠﺔ اﻻﺑﺘﺪاﺋﻴﺔ‪.(،‬‬ ‫‪ .11‬ﺗﺄﻛﻴﺪ ﺣﻔﻆ اﻟﻜﻠﲈت دون ﻓﻬﻢ اﺳﺘﻌﲈﳍﺎ ﰲ ﲨﻞ‬ ‫ﻣﻔﻴﺪة)اﻟﺰﻋﺒﻲ‪ ،‬ﺑﺸﲑ راﺷﺪ‪2009 ،‬م‪.(49 :‬‬

‫‪831‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ واﻟﺸﻔﻬﻴﺔ‪:‬‬ ‫اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ ﻫﻲ أن ﻳﺴﺘﻤﻊ اﻟﻄﻼب إﱃ اﻟﻘﻄﻌﺔ أو اﻟﻨﺺ اﳌﻘﺮوء وﺑﻌﺪ ﻣﻨﺎﻗﺸﺘﻬﻢ ﰲ ﻣﻌﻨﺎﻫﺎ وﲥﺠﺌﺔ ﻛﻠﲈت‬ ‫ﻣﺘﺠﺎﻧﺴﺔ ﻟﲈ ﻓﻴﻬﺎ ﻣﻦ اﻟﻜﻠﲈت اﻟﺼﻌﺒﺔ وﲤﲆ ﻋﻠﻴﻬﺎ )ﻋﺒﺪاﻟﻌﻠﻴﻢ إﺑﺮاﻫﻴﻢ‪1119 ،‬م‪ .(197:‬ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ﳍﺎ ﻋﺪﻳﺪة‬ ‫ﻣﻦ اﳌﺴﻤﻴﺎت ﻣﻨﻬﺎ‪ Oral – Aural Method :‬أو ‪ Oral – linguistic Method‬ﺑﺴﺒﺐ ﺗﻌﺒﲑ ﻓﻴﻪ ﻏﻤﻮض‬

‫وﺻﻌﻮﺑﺔ اﻟﻨﻄﻖ ﰲ اﻟﺘﺴﻤﻴﺘﲔ اﻟﺴﺎﺑﻘﺘﲔ‪ ،‬وﻟﻜﻦ اﻵن ﲢﻮﻟّﺖ إﱃ ﺗﺴﻤﻴﺔ ﺟﺪﻳﺪة اﺷﺘﻬﺮت ﲠﺬه اﻟﺘﺴﻤﻴﺔ ‪lingual‬‬ ‫‪ Audio - Method‬وأﻛﺜﺮ ﺷﻴﻮﻋﺎ ً ﰲ اﺳﺘﻌﲈﳍﺎ‪ ،‬ﻟﻘﺪ ﺑﺪأت ﻋﻤﻠﻴﺔ اﻻﺗﺼﺎل ﰲ اﻟﺴﻨﻮات اﻷﺧﲑة ﺗﺰداد ﺑﲔ‬ ‫اﻟﺪول‪ ،‬واﻧﺘﴩت ﺑﺮاﻣﺞ اﻹذاﻋﻴﺔ واﻟﺘﻠﻔﺰﻳﻮن‪ ،‬واﺗﺴﻌﺖ اﳌﴩوﻋﺎت واﳌﻌﻮﻧﺎت اﻟﻔﻨﻴﺔ‪ ،‬وﻛﺜﺮت ﻋﻤﻠﻴﺎت‬ ‫اﻟﺘﺒﺎدل اﻟﺜﻘﺎﻓﻴﺔ واﻟﺘﻌﻠﻴﻤﻲ ﺑﲔ اﻟﺪول‪ ،‬وازدادت اﻫﺘﲈم اﻟﻨﺎس ﺑﺘﻌﻠﻢ ﻟﻐﺎت أﺟﻨﺒﻴﺔ ﻏﲑ ﻟﻐﺎﲥﻢ اﳌﺤﻠﻴﺔ‪ .‬وﻗﺪ أدت‬ ‫اﻻﻫﺘﲈم اﳌﺘﺰاﻳﺪ ﺑﺄن ﻳﻜﻮن اﻹﻧﺴﺎن ﻗﺎدر ًا ﻋﲆ اﻻﺗﺼﺎل ﺑﺎﻟﻠﻐﺔ اﻷﺟﻨﺒﻴﺔ إﱃ ﺻﻴﺎﻏﺔ ﻣﺼﻄﻠﺢ )اﻟﺴﻤﻌﻲ واﻟﺸﻔﻮي(‬ ‫وﻟﻴﻄﻠﻖ ﻋﲆ ﻃﺮﻳﻘﺔ ﲥﺪف إﱃ إﺗﻘﺎن ﻣﻬﺎرﰐ اﻻﺳﺘﲈع واﻟﻜﻼم أوﻻ ً ﻛﺄﺳﺎس ﻹﺗﻘﺎن ﻣﻬﺎرة اﻟﻘﺮاءة واﻟﻜﺘﺎﺑﺔ ﺛﺎﻧﻴ ًﺎ‬ ‫)اﻟﻨﺎﻗﺔ‪ ،‬ﳏﻤﻮد ﻛﺎﻣﻞ‪1985 ،‬م‪.(88 :‬‬ ‫ﻇﻬﺮت ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ اﺳﺘﺠﺎﺑﺔ ﻷﻣﺮﻳﻦ ﻣﻬﻤﲔ ﰲ ﲬﺴﻴﻨﺎت وﺳﺘﻴﻨﺎت ﻫﺬا اﻟﻘﺮن ﳘﺎ‪:‬‬ ‫ ﻗﻴﺎم ﻋﺪد ﻣﻦ ﻋﻠﲈء اﻟﻨﻔﺲ واﻟﻠﻐﻮﻳﲔ ﺑﺪراﺳﺔ اﻟﻠﻐﺎت اﳍﻨﺪﻳﺔ ﻏﲑ اﳌﻜﺘﻮﺑﺔ ﺑﺎﻟﻮﻻﻳﺎت اﳌﺘﺤﺪة اﻷﻣﺮﻳﻜﻴﺔ‪.‬‬‫ ﺗﻄﻮر وﺳﺎﺋﻞ اﻻﺗﺼﺎل ﺑﲔ اﻟﺸﻌﻮب ﳑﺎ ّﻗﺮب اﳌﺴﺎﻓﺎت ﺑﲔ أﻓﺮادﻫﺎ‪ ،‬وﺧﻠﻖ اﳊﺎﺟﺔ إﱃ ﺗﻌﻠﻴﻢ اﻟﻠﻐﺎت اﻷﺟﻨﺒﻴﺔ‬‫أﻳﻀﺎ ﻻﺳﺘﺨﺪاﻣﻬﺎ ﰲ اﻻﺗﺼﺎل اﳌﺒﺎﴍ ﺑﲔ اﻷﻓﺮاد ﺑﻌﻀﻬﻢ ﺑﺒﻌﺾ‬ ‫ﻟﻴﺲ ﻓﻘﻂ ﻻﺳﺘﺨﺪاﻣﻬﺎ ﰲ اﻟﻘﺮاءة‪ ،‬ﺑﻞ ً‬ ‫)ﻃﻌﻴﻤﺔ‪ ،‬رﺷﺪي أﲪﺪ‪1989 ،‬م‪.(133 :‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪832‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﺟﺪول ﺗﻮﺿﻴﺢ ﻣﺰاﻳﺎ اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ واﻟﺸﻔﻬﻴﺔ وﻋﻴﻮﲠﺎ‪:‬‬ ‫ﻣﺰاﻳﺎ اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ واﻟﺸﻔﻬﻴﺔ‬

‫ﻋﻴﻮﲠﺎ‬

‫‪.1‬ﺗﻨﻤﻴﺔ ﻓﻬﻢ اﻟﻄﻼب ﻟﺜﻘﺎﻓﺎت اﻟﺸﻌﻮب اﻷﺧﺮى ﻣﻦ‬

‫‪.1‬ﺗﺪرﻳﺐ اﻟﻄﻼب ﺳﻤﻌﻴّﺎ ﺷﻔﻮﻳّﺎ ﺑﻄﺮﻳﻘﺔ أﻟﻴﺔ ﻳﻤﻜﻦ‬

‫ﺧﻼل ﻟﻐﺎﺗﻬم‪.‬‬

‫اﳌﺪرﺑﺔ ﺗﺪرﻳﺒ ًﺎ ﺟﻴّﺪاً‪ ،‬ﻣﻦ‬ ‫أن ﻳﺆدّي ﺑﺘﻘﺪم اﻟﺒﺒﻐﺎءات ّ‬

‫‪.2‬ﺗﺴﻌﻰ إﱃ ﲢﻘﻴﻖ اﻟﺴﻼﺳﺔ واﻟﻄﻼﻗﺔ ﰲ اﳊﺪﻳﺚ ﺑﺎﻟﻠﻐﺔ ﺣﻴﺚ ﻗﺪرﺗﻬم ﻋﲆ ﺗﻜﺮار اﻟﻨﻄﻖ ﺑﺸﻜﻞ ﺗﺎم ﻋﻨﺪﻣﺎ‬ ‫اﳌﺘﻌّﻠﻤﺔ ﰲ وﻗﺖ ﻣﺒﻜّﺮ ﺟﺪّ ا وﺑﲈدة ﻟﻐﻮﻳّﺔ ﳏﺪّ دة‪.‬‬

‫ﻳﻄﻠﺐ ﻣﻨﻬﻢ ذﻟﻚ دون اﻟﺘﺄﻛﺪ ﻣﻦ ﻓﻬﻢ ﻣﻌﻨﻰ ﻣﺎ‬

‫‪.3‬ﺗﻘﺪّ م أﻧﲈط اﻟﻠﻐﺔ وﺗﺮاﻛﻴﺒﻬﺎ ﺑﻄﺮﻳﻘﺔ ﻣﻨﻈّﻤﺔ وﻋﻠﻤﻴّﺔ‬

‫ﻳﻘﻮﻟﻮن وﺑﺪون ﻗﺪرة ﻋﲆ اﺳﺘﺨﺪام اﻟﻠﻐﺔ ﰲ‬

‫أﻛﺜﺮ ﻣﻦ ﻏﲑﻫﺎ ﻣﻦ اﻟﻄﺮق‪ ،‬ﻓﺘﻘﺪّ م اﻟﻘﻮاﻋﺪ ﻋﻦ ﻃﺮﻳﻖ‬

‫ﺳﻴﺎﻗﺎت ﺟﺪﻳﺪة ﻏﲑ ﺗﻠﻚ اﻟﺘﻲ ﺗﻌﻠﻤﻮﻫﺎ‪.‬‬

‫اﳌﻨﻄﻘﻲ اﻟﺬي ﻟﻪ ﺻﻠﺔ ﺑﺤﺎﺟﺎت اﻻﺗﺼﺎل أو‬ ‫ّ‬ ‫اﻟﻌﺮض‬

‫ﺗﺘﻀﻤﻨﻬﺎ ﻫﺬه‬ ‫ّ‬ ‫‪.2‬أن أﺳﺎﻟﻴﺐ اﳊﻔﻆ واﻟﺘﺪرﻳﺐ اﻟﺘﻲ‬

‫ﺑﻄﺮﻳﻘﺔ ﺗﻠﻘﺎﺋﻴﺔ ﻋﺮﺿﻴّﺔ ﺑﺤﺴﺐ ﻇﻬﻮرﻫﺎ ﰲ اﻟﲈدة اﻟﻠﻐﻮﻳﺔ اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ﻗﺪ ﺗﺴﺒّﺐ اﻻﺟﻬﺎد واﻟﺘﻌﺐ واﳌﻠﻞ ﻟﺒﻌﺾ‬ ‫اﳌﻘﺪّ ﻣﺔ‪.‬‬

‫اﻟﻄﻼب‪ ،‬وﲡﻌﻞ ﻋﻤﻠﻴﺔ اﻟﺘﻌﻠّﻢ ﺑﺎﻟﻨﺴﺒﺔ ﳍﻢ ﺑﻐﻴﻀﺔ‪.‬‬

‫‪.4‬ﲥﺘﻢ ﺑﺘﺪرﻳﺐ اﻟﻄﻼب ﻋﲆ ﺑﻨﺎء ﻣﻬﺎرﰐ اﻟﻘﺮاءة‬

‫ﻳﺪرﺑﻮن ﻋﲆ ﻋﻤﻞ‬ ‫‪.3‬إن اﻟﻄﻼب ﰲ ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ّ‬

‫واﻟﻜﺘﺎﺑﺔ ﺧﻄﻮة ﺧﻄﻮة‪ ،‬وذﻟﻚ ﺑﺎﻟﺴﻴﻄﺮة اﻟﺘﺪرﳚﻴﺔ ﻋﲆ‬

‫ﺗﻐﻴﲑات ﰲ أﻧﲈط اﻟﻠﻐﺔ ﺑﻮاﺳﻄﺔ ﻋﻤﻠﻴﺔ اﻟﻘﻴﺎس‬

‫ﻧﻤﻮ ﻣﻌﻠﻮﻣﺎﺗﻬم ﰲ ﺗﺮﻛﻴﺐ اﻟﻠﻐﺔ وﲢﻠﻴﻠﻬﺎ ﺣﺘّﻰ ﺗﺼﺒﺢ‬ ‫ّ‬

‫اﻟﻨﺴﺒﻲ دون إﻋﻄﺎﺋﻬﻢ ﻓﻜﺮة واﺿﺤﺔ ﻋﻦ اﳌﻄﻠﻮب‬

‫ﻼ ﺑﺎﻟﻠﻐﺔ ﻋﻤﻠﻪ ﰲ ﻫﺬه اﻟﻌﻤﻠﻴﺔ‪.‬‬ ‫اﻟﻘﺮاءة واﻟﻜﺘﺎﺑﺔ ﺑﺎﻟﻨﺴﺒﺔ ﳍﻢ ﻧﺸﺎﻃ ًﺎ ﻣﺮﺗﺒﻄ ًﺎ ﻛﺎﻣ ً‬ ‫اﳌﺘﻌّﻠﻤﺔ‪ ،‬وﻟﻴﺲ ﺗﺪرﻳﺒﺎ ﻋﲆ اﻟﱰﲨﺔ‪.‬‬

‫‪.4‬إن ﻫﺬه اﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ﺗﱰك وﻗﺘًﺎ ﻃﻮﻳﻼً ﺑﲔ ﺗﻘﺪﻳﻢ اﻟﲈدة‬

‫‪.5‬ﲡﻌﻞ دواﻓﻊ اﻟﺘﻌﻠﻢ ﻋﻨﺪ اﻟﻄﻼب ﻋﺎﻟﻴﺔ ﰲ ﺗﻌﻠّﻢ اﻟﺘﻌﻠﻴﻤﻴﺔ ﺷﻔﻮﻳًﺎ وﺗﻘﺪﻳﻤﻬﺎ ﻣﻄﺒﻮﻋﺔ أو ﻣﻜﺘﻮﺑﺔ‪.‬‬ ‫اﺳﺘﺨﺪام اﻟﻠﻐﺔ ﻣﻨﺬ اﻟﺒﺪاﻳﺔ‪ ،‬ﻛﲈ ﻳﺸﻌﺮون أن ﻣﺎ ﻳﺘﻌﻠﻤﻮﻧﻪ ‪.5‬أﳖﺎ ﻻ ﺗﺮاﻋﻲ اﻟﻔﺮوق اﻟﻔﺮدﻳﺔ ﺑﲔ اﻟﻄﻠﺒﺔ‪.‬‬ ‫ﻫﻮ اﻟﻠﻐﺔ اﳊﻘﻴﻘﻴﺔ‪ ،‬وﻳﺸﻌﺮون ﺑﺎﻟﺮﺿﺎ واﻹﺷﺒﺎع ﻋﻨﺪﻣﺎ‬ ‫ﻳﺼﻠﻮن إﱃ اﻟﻘﺪرة ﻋﲆ اﺳﺘﺨﺪام ﻣﺎ ﺗﻌّﻠﻤﻮه)ﳏﻤﻮد ﻛﺎﻣﻞ‬ ‫اﻟﻨﺎﻗﺔ ورﺷﺪي أﲪﺪ ﻃﻌﻴﻤﺔ‪2002 ،‬م‪.(84 :‬‬ ‫‪.6‬ﻻ ﺗﻌﻄﻲ ﻟﻠﻄﻼب ﻗﻮاﺋﻢ ﺑﺎﳌﻔﺮدات ﺑﻞ ﻳﺘﻌّﻠﻢ اﻟﻄﻼب‬ ‫اﳌﻔﺮدات ﻣﻦ ﺳﻴﺎﻗﺎﺗﻬا ﰲ اﻟﻨﺼﻮص‪.‬‬ ‫‪.7‬ﺗﺮﻛّﺰ ﻋﲆ ﻧﻄﻖ اﻟﻄﻼب ﻷﺻﻮات وﲨﻞ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﺜﺎﻧﻴﺔ‪.‬‬ ‫‪.8‬ﺗﺮﻛّﺰ ﻋﲆ ﻋﺪم اﻟﺴﲈح ﻟﻠﻄﻼب ﺑﺎرﺗﻜﺎب اﻷﺧﻄﺎء‬ ‫ﻓﻮرا ﺣﲔ ﺣﺪوﺛﻬﺎ)ﳏﻤﺪ ﺧﴬي‬ ‫ً‬ ‫وﺗﺼﺤﻴﺤﻬﺎ‬ ‫ﻋﺎرف&أﻧﻮر ﻧﻘﺸﺒﻨﺪي‪.(56 -55 ،‬‬

‫‪833‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫اﳌﻘﺎرﻧﺔ ﺑﲔ ﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸﻔﻬﻴﺔ وﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﻟﱰﲨﺔ‬ ‫ﻗﺎﻣــﺖ اﻟﺒﺎﺣﺜــﺔ ﺑــﺈﺟﺮاء ﺗﻮزﻳــﻊ اﻻﺳــﺘﺒﺎﻧﺔ ﻋ ـﲆ ﻃﻠﺒــﺔ اﳌﺮﻛــﺰ ﻟﻠﻤﺴــﺘﻮى اﻟﺜــﺎﲏ واﻟﺜﺎﻟــﺚ اﻟــﺬﻳﻦ ﻳﺒﻠــﻎ ﻋــﺪدﻫﻢ‬ ‫ﺳــﺒﻊ وﺳــﺒﻌﻮن ﻃﺎﻟﺒ ـ ًﺎ وﻃﺎﻟﺒــﺔ‪ ،‬وذﻟــﻚ ﻟﺘﻘــﺪﻳﻢ ﻃــﺮق اﻟﺘــﺪرﻳﺲ اﳌﻌﻤــﻮل ﲠــﺎ ﺑــﺎﳌﺮﻛﺰ‪ ،‬واﻻﺳــﺘﺒﺎﻧﺔ ﻋﺒــﺎرة ﻋــﻦ إﺟــﺮاء‬ ‫اﳌﻘﺎرﻧــﺔ ﺑــﲔ ﻃﺮﻳﻘﺘ ــﻲ اﻟﺘــﺪرﻳﺲ‪ :‬ﻃﺮﻳﻘــﺔ اﻟﻘﻮاﻋ ــﺪ واﻟﱰﲨــﺔ واﻟﻄﺮﻳﻘــﺔ اﻟﺴ ــﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸــﻔﻬﻴﺔ ﻛــﲈ ﻫ ــﻮ اﳌﻮﺿــﺢ ﰲ ﻧ ــﺺ‬ ‫اﻻﺳﺘﺒﺎﻧﺔ أدﻧﺎه‬ ‫ت‬

‫ﻣﺴﺘﻮى اﻵراء‬

‫ﻧﻘﺎط اﻟﺘﻘﻴﻴﻢ ﻟﻠﻄﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸﻔﻬﻴﺔ‬

‫ﻛﺜﲑ‬

‫ﻛﺜﲑ‬

‫ﻣﺘﻮﺳﻂ ﻗﻠﻴﻞ ﻗﻠﻴﻞ ﺟﺪ ًا‬

‫ﺟﺪ ًا‬ ‫‪1‬‬

‫ﳛﴬ اﻷﺳﺘﺎذ درﺳﻪ ﲢﻀﲑ ًا ﺟﻴﺪا‪.‬‬ ‫ﱢ‬

‫‪2‬‬

‫ﺗﻈﻬﺮ ﻓﻌﺎﻟﻴﺔ اﻟﻮﺳﺎﺋﻞ اﻟﺘﻌﻠﻴﻤﻴﺔ اﳌﺴﺘﺨﺪﻣﺔ ﻋﻨﺪ‬ ‫اﻟﺘﺪرﻳﺲ‪.‬‬

‫‪3‬‬

‫ﺗﻈﻬﺮ ﻗﻴﻤﺔ اﻟﻮﻗﺖ اﻟﺬي ﻳﺴﺘﺨﺪم ﰲ اﻟﺘﺪرﻳﺲ‪.‬‬

‫‪4‬‬

‫ﻳﻔﻬﻢ اﻟﻄﺎﻟﺐ ﻣﻀﻤﻮن اﻟﺪرس ﻓﻬﲈ ﺟﻴﺪ ًا‪.‬‬

‫‪5‬‬

‫ﻳﻔﺘﺢ اﻷﺳﺘﺎذ ﻓﺮﺻ ًﺎ ﻟﻠﻄﻠﺒﺔ ﰲ اﻟﺘﻌﻠﻴﻖ واﻻﻗﱰاح‬ ‫واﻷﺳﺌﻠﺔ‪.‬‬

‫‪6‬‬

‫ﺗﻈﻬﺮ ﻟﺪرس اﻷﺳﺘﺎذ اﳉﺎذﺑﻴﺔ واﻟﺘﺸﻮﻳﻖ ﳌﺘﺎﺑﻌﺘﻪ‪.‬‬

‫‪7‬‬

‫ﻳﻘﺪر اﻷﺳﺘﺎذ ﻋﲆ ﺗﻮﺻﻴﻞ ﻣﻌﻠﻮﻣﺎت اﻟﺪرس إﱃ‬ ‫اﻟﻄﻠﺒﺔ‪.‬‬

‫‪8‬‬

‫ﺗﺪﻋﻢ ﻃﺮق اﻟﺘﺪرﻳﺲ ﻣﻬﺎرة اﻟﻜﻼم ﻟﻠﻄﻠﺒﺔ‪.‬‬

‫‪9‬‬

‫ﻳﺘﻨﺎﺳﺐ ﳏﺘﻮى اﻟﺪرس ﻣﻊ اﳌﺴﺘﻮى اﻟﻠﻐﻮي ﻟﻠﻄﺎﻟﺒﺔ‪.‬‬

‫‪10‬‬

‫ﳛﻔﱢ ﺰ اﻷﺳﺘﺎذ ﻃﻠﺒﺘﻪ ﻋﲆ ﺗﻌﻠﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺑﺸﻜﻞ‬ ‫ﻣﺴﺘﻤﺮ‬

‫‪11‬‬

‫ﻳﻘﻮم اﻷﺳﺘﺎذ ﺑﺘﻘﻮﻳﻢ اﻟﻄﻠﺒﺔ ﻗﺒﻞ اﻟﺪرس وﺑﻌﺪه‪.‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪834‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫‪12‬‬

‫ﻳﻌﺰز اﻷﺳﺘﺎذ ﻃﻠﺒﺘﻪ ﻋﲆ اﺳﺘﺨﺪام اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪.‬‬

‫‪13‬‬

‫ﻳﺘﺤﻤﺲ اﻟﻄﻠﺒﺔ ﺧﻼل اﻟﺪرس ﻋﲆ ﺗﻨﻤﻴﺔ ﻣﻬﺎرة‬ ‫ﻛﻼﻣﻬﻢ‪.‬‬

‫‪14‬‬

‫ﻳﻌﻲ اﻟﻄﻠﺒﺔ ﺧﻼل اﻟﺪرس ﺑﺄﳘﻴﺔ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‬ ‫وﻣﻜﺎﻧﺘﻬﺎ‪.‬‬

‫‪15‬‬

‫ﻳﺴﺘﻄﻴﻊ اﻟﻄﻠﺒﺔ اﻻﺳﺘﻔﺎدة ﻣﻦ اﻟﺪرس ﰲ ﳎﺎﻻت‬ ‫ﺣﻴﺎﲥﻢ‪.‬‬

‫‪16‬‬

‫ﻳﻌﺪ اﻷﺳﺘﺎذ أﻧﺸﻄﺔ ﻟﻐﻮﻳﺔ ﳐﺘﻠﻔﺔ ﻟﻠﻄﻠﺒﺔ )داﺧﻞ اﻟﻔﺼﻞ‬ ‫وﺧﺎرﺟﻬﺎ(‬

‫‪17‬‬

‫ﻳﻌﺪ اﻷﺳﺘﺎذ أﻧﺸﻄﺔ إﺿﺎﻓﻴﺔ ﻣﺴﺘﻤﺮة ﻟﺘﻨﻤﻴﺔ ﻣﻘﺪرات‬ ‫اﻟﻄﻠﺒﺔ اﻟﻠﻐﻮﻳﺔ‪.‬‬

‫‪18‬‬

‫ﻳﻘﻮم اﻷﺳﺘﺎذ ﺑﺪﻋﺎﻳﺎت اﺳﺘﺨﺪام اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﰲ أﺷﻜﺎل‬ ‫ﳐﺘﻠﻔﺔ‪.‬‬

‫‪19‬‬

‫ﻳﻤﺘﻠﻚ اﻟﻄﻠﺒﺔ ﻣﻬﺎرة اﺳﺘﺨﺪام اﻟﻘﻮاﻋﺪ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻋﺎﻟﻴﺔ‪.‬‬

‫‪20‬‬

‫ﻳﺘﺸﺠﻊ اﻟﻄﻠﺒﺔ ﻋﲆ دراﺳﺔ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺗﺸﺠﻌ ًﺎ‬ ‫ﻣﻠﺤﻮﻇ ًﺎ‪.‬‬

‫ﺕ‬

‫ﻣﺴﺘﻮﻯ ﺍﻵﺭﺍﺀ‬

‫ﻧﻘﺎﻁ ﺍﻟﺘﻘﻴﻴﻢ ﻟﻄﺮﻳﻘﺔ ﺍﻟﻘﻮﺍﻋﺪ ﻭﺍﻟﺘﺮﲨﺔ‬

‫ﻛﺜﲑ‬ ‫ﺟﺪﺍﹰ‬ ‫‪1‬‬

‫ﳛﻀ‪‬ﺮ ﺍﻷﺳﺘﺎﺫ ﺩﺭﺳﻪ ﲢﻀﲑﺍﹰ ﺟﻴﺪﺍ‪‬‬

‫‪2‬‬

‫ﺗﻈﻬﺮ ﻓﻌﺎﻟﻴﺔ ﺍﻟﻮﺳﺎﺋﻞ ﺍﻟﺘﻌﻠﻴﻤﻴﺔ ﺍﳌﺴﺘﺨﺪﻣﺔ ﻋﻨﺪ‬ ‫ﺍﻟﺘﺪﺭﻳﺲ‬

‫‪3‬‬

‫ﺗﻈﻬﺮ ﻗﻴﻤﺔ ﺍﻟﻮﻗﺖ ﺍﻟﺬﻱ ﻳﺴﺘﺨﺪﻡ ﰲ ﺍﻟﺘﺪﺭﻳﺲ‬

‫‪835‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫ﻛﺜﲑ‬

‫ﻣﺘﻮﺳ‬ ‫ﻁ‬

‫ﻗﻠﻴﻞ ﻗﻠﻴﻞ ﺟﺪﺍﹰ‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫‪4‬‬

‫ﻳﻔﻬﻢ ﺍﻟﻄﺎﻟﺐ ﻣﻀﻤﻮﻥ ﺍﻟﺪﺭﺱ ﻓﻬﻤﺎ ﺟﻴﺪﺍﹰ‬

‫‪5‬‬

‫ﻳﻔﺘﺢ ﺍﻷﺳﺘﺎﺫ ﻓﺮﺻﺎﹰ ﻟﻠﻄﻠﺒﺔ ﰲ ﺍﻟﺘﻌﻠﻴﻖ ﻭﺍﻻﻗﺘﺮﺍﺡ‬

‫‪6‬‬

‫ﺗﻈﻬﺮ ﻟﺪﺭﺱ ﺍﻷﺳﺘﺎﺫ ﺍﳉﺎﺫﺑﻴﺔ ﻭﺍﻟﺘﺸﻮﻳﻖ ﳌﺘﺎﺑﻌﺘﻪ‬

‫‪7‬‬

‫ﻳﻘﺪﺭ ﺍﻷﺳﺘﺎﺫ ﻋﻠﻰ ﺗﻮﺻﻴﻞ ﻣﻌﻠﻮﻣﺎﺕ ﺍﻟﺪﺭﺱ ﺇﱃ‬ ‫ﺍﻟﻄﻠﺒﺔ‬

‫‪8‬‬

‫ﺗﺪﻋﻢ ﻃﺮﻕ ﺍﻟﺘﺪﺭﻳﺲ ﻣﻬﺎﺭﺓ ﺍﻟﻜﻼﻡ ﻟﻠﻄﻠﺒﺔ‬

‫‪9‬‬

‫ﻳﺘﻨﺎﺳﺐ ﳏﺘﻮﻯ ﺍﻟﺪﺭﺱ ﻣﻊ ﺍﳌﺴﺘﻮﻯ ﺍﻟﻠﻐﻮﻱ ﻟﻠﻄﺎﻟﺐ‬

‫‪ 10‬ﳛﻔﺰ ﺍﻷﺳﺘﺎﺫ ﻃﻠﺒﺘﻪ ﻋﻠﻰ ﺗﻌﻠﻢ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺑﺸﻜﻞ‬ ‫ﻣﺴﺘﻤﺮ‬ ‫‪ 11‬ﻳﻘﻮﻡ ﺍﻷﺳﺘﺎﺫ ﺑﺘﻘﻮﱘ ﺍﻟﻄﻠﺒﺔ ﻗﺒﻞ ﺍﻟﺪﺭﺱ ﻭﺑﻌﺪﻩ‪.‬‬ ‫‪ 12‬ﻳﻌﺰﺯ ﺍﻷﺳﺘﺎﺫ ﻃﻠﺒﺘﻪ ﻋﻠﻰ ﺍﺳﺘﺨﺪﺍﻡ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪.‬‬ ‫‪ 13‬ﻳﺘﺤﻤﺲ ﺍﻟﻄﻠﺒﺔ ﺧﻼﻝ ﺍﻟﺪﺭﺱ ﻋﻠﻰ ﺗﻨﻤﻴﺔ ﻣﻬﺎﺭﺓ‬ ‫ﻛﻼﻣﻬﻢ‪.‬‬ ‫‪ 14‬ﻳﻌﻲ ﺍﻟﻄﻠﺒﺔ ﺧﻼﻝ ﺍﻟﺪﺭﺱ ﺑﺄﳘﻴﺔ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‬ ‫ﻭﻣﻜﺎﻧﺘﻬﺎ‪.‬‬ ‫‪ 15‬ﻳﺴﺘﻄﻴﻊ ﺍﻟﻄﻠﺒﺔ ﺍﻻﺳﺘﻔﺎﺩﺓ ﻣﻦ ﺍﻟﺪﺭﺱ ﰲ ﳎﺎﻻﺕ‬ ‫ﺣﻴﺎ‪‬ﻢ‪.‬‬ ‫‪ 16‬ﻳﻌﺪ ﺍﻷﺳﺘﺎﺫ ﺃﻧﺸﻄﺔ ﻟﻐﻮﻳﺔ ﳐﺘﻠﻔﺔ ﻟﻠﻄﻠﺒﺔ )ﺩﺍﺧﻞ ﺍﻟﻔﺼﻞ‬ ‫ﻭﺧﺎﺭﺟﻬﺎ(‬ ‫‪ 17‬ﻳﻌﺪ ﺍﻷﺳﺘﺎﺫ ﺃﻧﺸﻄﺔ ﺇﺿﺎﻓﻴﺔ ﻣﺴﺘﻤﺮﺓ ﻟﺘﻨﻤﻴﺔ ﻣﻘﺪﺭﺍﺕ‬ ‫ﺍﻟﻄﻠﺒﺔ ﺍﻟﻠﻐﻮﻳﺔ‪.‬‬ ‫‪ 18‬ﻳﻘﻮﻡ ﺍﻷﺳﺘﺎﺫ ﺑﺪﻋﺎﻳﺎﺕ ﺍﺳﺘﺨﺪﺍﻡ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﰲ ﺃﺷﻜﺎﻝ‬ ‫ﳐﺘﻠﻔﺔ‪.‬‬ ‫‪ 19‬ﳝﺘﻠﻚ ﺍﻟﻄﻠﺒﺔ ﻣﻬﺎﺭﺓ ﺍﺳﺘﺨﺪﺍﻡ ﺍﻟﻘﻮﺍﻋﺪ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻋﺎﻟﻴﺔ‪.‬‬ ‫‪ 20‬ﻳﺘﺸﺠﻊ ﺍﻟﻄﻠﺒﺔ ﻋﻠﻰ ﺩﺭﺍﺳﺔ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺗﺸﺠﻌﺎﹰ‬ ‫ﻣﻠﺤﻮﻇﺎﹰ‪.‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪836‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﺟﺪول ﻧﺘﺎﺋﺞ اﳌﻘﺎرﻧﺔ ﺑﲔ ﻃﺮﻳﻘﺘﻲ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﻟﱰﲨﺔ واﻟﻄﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸﻔﻬﻴﺔ‬ ‫ت‬

‫اﳌﺴﺘﻮﻳﺎت اﻟﺪراﺳﻴﺔ‬

‫ﻣﻘﺎرﻧﺔ ﻃﺮق ﺗﺪرﻳﺲ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‬ ‫اﳌﺠﻤﻮع‬

‫ﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸﻔﻬﻴﺔ‬

‫ﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﻘﻮاﻋﺪ واﻟﱰﲨﺔ‬

‫ﻧﺴﺒﺔ اﳌﺌﻮﻳﺔ‬

‫ﻧﺴﺒﺔ اﳌﺌﻮﻳﺔ‬

‫‪1‬‬

‫اﻟﺜﺎﲏ‬

‫‪3.85‬‬

‫‪3.89‬‬

‫‪100‬‬

‫‪2‬‬

‫اﻟﺜﺎﻟﺚ‬

‫‪3.95‬‬

‫‪3.99‬‬

‫‪100‬‬

‫ﻣﻦ ﺧﻼل ﲢﻠﻴﻞ أوراق اﻻﺳﺘﺒﺎﻧﺔ ﺣﻮل ﻧﺘـﺎﺋﺞ اﳌﻘﺎرﻧـﺔ ﺑـﲔ ﻃﺮﻳﻘﺘـﻲ اﻟﺴـﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸـﻔﻬﻴﺔ واﻟﻘﻮاﻋـﺪ واﻟﱰﲨـﺔ‬ ‫ﻧﺠ ــﺪ أن ﻃﻠﺒ ــﺔ اﳌﺴ ــﺘﻮى اﻟﺜ ــﺎﲏ رأوا أن ﻃﺮﻳﻘ ــﺔ اﻟﻘﻮاﻋ ــﺪ واﻟﱰﲨ ــﺔ أﻓﻀ ــﻞ ﺑﻘﻠﻴ ــﻞ ﻣ ــﻦ ﻃﺮﻳﻘ ــﺔ اﻟﺴ ــﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸ ــﻔﻮﻳﺔ ﰲ‬ ‫ﲢﺼــﻴﻠﻬﻢ اﻟﻠﻐــﻮي أﻣــﺎ ﻃﻠﺒــﺔ اﳌﺴــﺘﻮى اﻟﺜﺎﻟــﺚ ﻓﻨﺠــﺪﻫﻢ أﻳﻀ ـ ًﺎ رأوا أن ﻃﺮﻳﻘــﺔ اﻟﻘﻮاﻋــﺪ واﻟﱰﲨــﺔ أﻓﻀــﻞ ﺑﻘﻠﻴــﻞ ﻣــﻦ‬ ‫ﻃﺮﻳﻘﺔ اﻟﺴﻤﻌﻴﺔ اﻟﺸﻔﻮﻳﺔ ﰲ ﲢﺼﻴﻠﻬﻢ اﻟﻠﻐﻮي ﻛﲈ ﻫﻮ اﳌﻮﺿﺢ ﰲ اﳉﺪول أﻋﻼه‪.‬‬

‫ﺍﳌﺼﺎﺩﺭ ﻭﺍﳌﺮﺍﺟﻊ‬ ‫ﺍﻟﻠﺒﻮﺩﻱ‪ ،‬ﻣﲎ ﺇﺑﺮﺍﻫﻴﻢ‪ ،‬ﺍﳊﻮﺍﺭ ﻭﻓﻨﻴﺎﺗﻪ ﻭﺍﺳﺘﺮﺍﲡﻴﺎﺗﻪ ﺃﺳﺎﻟﻴﺐ ﺗﻌﻠﻴﻤﻴﺔ‪ ،‬ﺍﻟﻘﺎﻫﺮﺓ‪ :‬ﻣﻜﺘﺒﺔ ﻭﻫﺒﺔ‪2003 ،‬ﻡ‪.‬‬ ‫ﺍﻟﺪﺍﻳﺔ‪ ،‬ﳏﻤﺪ ﺭﺿﻮﺍﻥ&ﳏﻤﺪ ﺟﻬﺎﺩ ﲨﻞ‪ ،‬ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻭﻣﻬﺎﺭﺍ‪‬ﺎ ﰲ ﺍﳌﺴﺘﻮﻯ ﺍﳉﺎﻣﻌﻲ ﻟﻐﲑ‬

‫ﺍﳌﺘﺨﺼﺼﲔ‪ ،‬ﺩﺍﺭ ﺍﻟﻜﺘﺎﺏ ﺍﳉﺎﻣﻌﻲ‪ ،‬ﺍﻟﻌﲔ‪2004 ،‬ﻡ‪.‬‬

‫ﺍﻟﺪﻟﻴﻤﻲ‪ ،‬ﻋﻠﻲ ﺣﺴﲔ‪ ،‬ﺍﻟﻄﺮﺍﺋﻖ ﺍﻟﻌﻠﻤﻴﺔ ﰲ ﺗﺪﺭﻳﺲ ﺍﻟﻠﻐﺔ ‪ ،‬ﺩ‪ .1 /‬ﻋﻤﺎﻥ – ﺃﺭﺩﻥ‪ :‬ﺩﺍﺭ ﺍﻟﺸﺮﻭﻕ ﻟﻠﻨﺸﺮ‬ ‫ﻭﺍﻟﺘﻮﺯﻳﻊ‪2003 ،‬ﻡ‪.‬‬

‫ﺍﻟﺪﻭﺭﺍﺕ ﺍﻟﺘﺪﺭﻳﺒﻴﺔ ﳌﻌﻠﻤﻲ ﺍﳌﺮﺣﻠﺔ ﺍﻻﺑﺘﺪﺍﺋﻴﺔ‪ ،‬ﻃﺮﻕ ﺗﺪﺭﻳﺲ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪ ،‬ﺇﻋﺪﺍﺩ ﻗﺴﻢ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪.‬‬

‫ﺍﻟﺰﻋﱯ‪ ،‬ﺑﺸﲑ ﺭﺍﺷﺪ‪ ،‬ﺗﻨﻤﻴﺔ ﻣﻬﺎﺭﺍﺕ ﺍﻹﺳﺘﻴﻌﺎﺏ ﻟﺪﻯ ﻃﻠﺒﺔ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺍﻟﻨﺎﻃﻘﲔ ﺑﻐﲑﻫﺎ‪ ،‬ﻁ‪ .1 /‬ﺩﺍﺭ ﺍﻟﺒﺪﺍﻳﺔ‬ ‫ﻧﺎﺷﺮﻭﻥ ﻭﻣﻮﺯﻋﻮﻥ‪1430 ،‬ﻩ‪2009 -‬ﻡ‪.‬‬

‫ﺍﻟﻨﺎﻗﺔ‪ ،‬ﳏﻤﻮﺩ ﻛﺎﻣﻞ& ﻃﻌﻴﻤﺔ‪ ،‬ﺭﺷﺪﻱ ﺃﲪﺪ‪ ،‬ﻃﺮﺍﺋﻖ ﺗﺪﺭﻳﺲ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻟﻐﲑ ﺍﻟﻨﺎﻃﻘﲔ ‪‬ﺎ ‪ ،‬ﻣﻨﺸﻮﺭﺍﺕ‬ ‫ﺍﳌﻨﻈﻤﺔ ﺍﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﻟﻠﺘﺮﺑﻴﺔ ﻭﺍﻟﻌﻠﻮﻡ ﻭﺍﻟﺜﻘﺎﻓﺔ‪-‬ﺇﻳﺴﻴﺴﻜﻮ‪1424‬ﻫـ‪2003-‬ﻡ ‪.‬‬

‫‪837‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﺍﻟﻨﺎﻗﺔ‪ ،‬ﳏﻤﻮﺩ ﻛﺎﻣﻞ‪ ،‬ﺗﻌﻠﻴﻢ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻟﻠﻨﺎﻃﻘﲔ ﺑﻠﻐﺎﺕ ﺃﺧﺮﻯ ﺃﺳﺴﻪ – ﻣﺪﺍﺧﻠﻪ – ﻃﺮﻕ ﺗﺪﺭﻳﺴﻪ‪،‬‬ ‫‪1405‬ﻩ‪1985 -‬ﻡ‪.‬‬

‫ﺑﺮﻧﺎﻣﺞ ﺍﻹﻋﺪﺍﺩ ﺍﻟﻠﻐﻮﻱ ﲟﺮﻛﺰ ﺗﻌﻠﻴﻢ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻣﻌﻬﺪ ﺍﻟﻠﻐﺎﺕ ﺍﻟﻌﺎﳌﻴﺔ ﺟﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ ﺍﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‪2012 ،‬ﻡ‪.‬‬

‫ﺩﻳﺎﻥ ﻻﺭﺳﻦ‪ -‬ﻓﺮﳝﺎﻥ‪ ،‬ﺃﺳﺎﻟﻴﺐ ﻭﻣﺒﺎﺩﺉ ﰲ ﺗﺪﺭﻳﺲ ﺍﻟﻠﻐﺔ‪ ،‬ﺗﺮﲨﺖ ﻋﺎﺋﺸﺔ ﻣﻮﺳﻰ ﺍﻟﺴﻌﻴﺪ ﺍﻟﺮﻳﺎﺽ‪ :‬ﺟﺎﻣﻌﺔ‬ ‫ﺍﳌﻠﻚ ﺳﻌﻮﺩ‪1997 ،‬ﻡ‪.‬‬

‫ﺳﻠﺴﻠﺔ ﺗﻌﻠﻴﻢ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺍﳌﺴﺘﻮﻯ ﺍﻟﺜﺎﻟﺚ "ﺩﻟﻴﻞ ﺍﳌﻌﻠﻢ"‪1421 ،‬ﻩ‪2000-‬ﻡ‪.‬‬

‫ﻃﻌﻴﻤﺔ‪ ،‬ﺭﺷﺪﻱ ﺃﲪﺪ‪ ،‬ﺗﻌﻠﻴﻢ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻟﻐﲑ ﺍﻟﻨﺎﻃﻘﲔ ‪‬ﺎ )ﻣﻨﺎﻫﺠﻪ ﻭﺃﺳﺎﻟﻴﺒﻪ(‪ ،‬ﺍﻟﻘﺎﻫﺮﺓ‪ :‬ﻣﻨﺸﻮﺭﺍﺕ ﺍﳌﻨﻈﻤﺔ‬ ‫ﺍﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﻟﻠﺘﺮﺑﻴﺔ ﻭﺍﻟﺜﻘﺎﻓﺔ‪1989 ،‬ﻡ‪.‬‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﻟﻌﻠﻴﻢ ﺇﺑﺮﺍﻫﻴﻢ‪ ،‬ﺍﳌﻮﺟﻪ ﺍﻟﻔﲏ ﳌﺪﺭﺳﺔ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪ ،‬ﺍﻟﻘﺎﻫﺮﺓ‪ :‬ﺩﺍﺭ ﺍﳌﻌﺎﺭﻑ‪ ،‬ﻁ‪1119 .10 /‬ﻡ‪.‬‬

‫ﻋﻠﻲ‪ ،‬ﺃﲪﺪ ﻋﻠﻲ‪ ،‬ﻭﺁﺧﺮﻭﻥ‪ :‬ﺧﱪﺍﺕ ﻭﻣﻬﺎﺭﺍﺕ ﻭﻗﺪﺭﺍﺕ ﺍﻟﻌﻤﻞ ﺍﳌﻜﺘﱯ‪) ،‬ﺩ‪.‬ﺕ( ﺍﻟﻘﺎﻫﺮﺓ‪ :‬ﻣﻜﺘﺒﺔ ﻋﲔ ﴰﺲ‪.‬‬

‫ﻏﺎﺯﻱ ﻣﻔﻠﺢ‪ ،‬ﺍﲡﺎﻫﺎﺕ ﺗﻌﻠﻴﻢ ﺍﻟﻠﻐﺔ‪ ،‬ﻗﺴﻢ ﺍﳌﻨﺎﻫﺞ ﻭﻃﺮﺍﺋﻖ ﺍﻟﺘﺪﺭﻳﺲ‪ ،‬ﺍﻟﻜﻠﻴﺔ ﺍﳉﺎﻣﻌﻴﺔ ﺍﻟﻘﻨﻔﺬﺓ ﲜﺎﻣﻌﺔ ﺃﻡ ﺍﻟﻘﺮﻯ‪،‬‬ ‫ﺩ ‪.‬ﺕ ‪.‬‬

‫ﻓﺮﺣﺎﺕ‪ ،‬ﻳﻮﺳﻒ ﺷﻜﺮﻱ‪ ،‬ﻣﻌﺠﻢ ﺍﻟﻄﻼﺏ ﻋﺮﰊ – ﻋﺮﰊ‪ ،‬ﻁ‪ .9/‬ﺑﲑﻭﺕ‪:‬ﺩﺍﺭ ﺍﻟﻜﺘﺐ ﺍﻟﻌﻠﻤﻴﺔ‪2011 ،‬ﻡ‪.‬‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺧﻀﺮﻱ ﻋﺎﺭﻑ‪& ،‬ﺃﻧﻮﺭ ﻧﻘﺸﺒﻨﺪﻱ‪ ،‬ﻣﻘﺪﻣﺔ ﰲ ﻋﻠﻢ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻮﻇﻴﻔﻲ‪ ،‬ﺩ‪.‬ﺕ‪.‬‬

‫ﳏﻤﺪ ﻋﺒﺪ ﺍﳋﺎﻟﻖ‪ ،‬ﺩﻭﺭﺓ ﺍﻟﺘﺪﺭﻳﺒﻴﺔ ﳌﻌﻠﻤﻲ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻃﺮﺍﺋﻖ ﺗﺪﺭﻳﺲ ﺍﻟﻠﻐﺔ ‪ ،‬ﺍﻟﺮﻳﺎﺽ‪1433 ،‬ﻩ‪.‬‬

‫ﻧﺎﻳﻒ ﺧﺮﻣﺎ &ﻋﻠﻲ ﺣﺠﺎﺝ‪ ،‬ﺍﻟﻠﻐﺎﺕ ﺍﻷﺟﻨﺒﻴﺔ ﺗﻌﻠﻴﻤﻬﺎﻭﺗﻌﻠﻤﻬﺎ‪ ،‬ﻁ‪ .1/‬ﺍﻟﻜﻮﻳﺖ‪ :‬ﻋﺎﱂ ﺍﳌﻌﺮﻓﺔ‪1988 ،‬ﻡ‪.‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪838‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫اﻻﲡﺎﻫﺎت اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ ﻟﻠﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﻣﻦ ﺧﻼل ﻛﺘﺎﺑﻪ ﺗﺴﻬﻴﻞ ﻧﻴﻞ اﻷﻣﺎﲏ‬ ‫ﰲ ﴍح ﻋﻮاﻣﻞ اﳉﺮﺟﺎﲏ)دراﺳﺔ ﲢﻠﻴﻠﻴﺔ(‬

‫‪The Grammartical Trends of Shiekh Wan Ahmad Bin Muhammad Zain Al-Fathoni In‬‬ ‫)‪His Book : Thashil Nail Al-Amani Fi sharh Awamil Al-Jurjani (An-Analytical Study‬‬ ‫ﻓﺘﺤﻴﺔ ﺷﻤﺲ اﻟﺪﻳﻦ‬ ‫وإﺑﺮاﻫﻴﻢ‬

‫ﺑﻦ دوﻟﻪ‪1‬‬

‫ﺗﻴﻪ ﻫﻲ‪2‬‬

‫‪ 1‬ﻃﺎﻟﺒﺔ اﻟﲈﺟﺴﺘﲑ ﰲ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ وآداﲠﺎ ‪ ،‬ﻗﺴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪ ،‬ﺟﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‪.‬‬ ‫‪2‬‬

‫دﻛﺘﻮراه ﰲ اﻟﺪراﺳﺎت اﻷدﺑﻴﺔ‪ ،‬ﳏﺎﴐ ﺑﻘﺴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪ ،‬ﺟﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‪.‬‬

‫ﻣﻠﺨﺺ اﻟﺒﺤﺚ‬ ‫ﳞﺪف ﻫﺬا اﻟﺒﺤﺚ إﱃ دراﺳﺔ اﲡﺎﻫﺎت اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ ﻣﻦ ﺧﻼل ﻛﺘﺎﺑﻪ‬ ‫ﺗﺴﻬﻴﻞ ﻧﻴﻞ اﻷﻣﺎﲏ ﰲ ﴍح اﻟﻌﻮاﻣﻞ اﳉﺮﺟﺎﲏ وذﻟﻚ ﻟﻠﻜﺸﻒ ﻋﻦ آراﺋﻪ وﺷﺨﺼﻴﺘﻪ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ وﻣﻦ ﺛﻢ ﺗﺼﻨﻴﻔﻬﺎ‬ ‫وإـﺣـﺎﻟﺘﻬﺎ إـﱃـ اـﳌـﺬاـﻫﺐ اـﻟـﻨﺤﻮﻳﺔ اـﳌـﻌﺮوﻓـﺔ‪ .‬وﻗـﺪ اـﺳﺘﺨﺪﻣﺖ اـﻟـﺒﺎﺣﺜﺔ ﰲـ ﻫﺬاـ اـﻟـﺒﺤﺚ اﳌـﻨﻬﺞ اـﻟﻮﺻﻔﻲ اـﻟـﺘﺤﻠﻴﲇ‬ ‫وﻣﻨﻬﺞ اﻻﺳﺘﻘﺮاء ﰲ ﲨﻊ اﻟﺒﻴﺎﻧﺎت وﺗﺘﺒﻌﻬﺎ ووﺻﻔﻬﺎ وﲢﻠﻴﻠﻬﺎ ﻟﻜﻲ ﺗﺘﺤﺪد ﻟﺪﳞﺎ آراء اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ‬ ‫زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ ﺣﺴﺐ ﻣﺎ ﺟﺎء ﲠﺎ اﳌﺪارس اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﳌﺨﺘﻠﻔﺔ‪ .‬وﺗﻮﺻﻠﺖ اﻟﺒﺎﺣﺜﺔ إﱃ أن اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ‬ ‫ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﻳﻌﺪ ﻣﻦ اﻟﻨﺤﺎة اﻷوﻟﻴﲔ ﰲ ﻓﻄﺎﲏ‪ ،‬وأن اﻟﻨﺤﻮي اﻟﻌﺮﰊ ﻟﻪ ﻣﺬاﻫﺐ وآراء ﺑﺪء ًا ﻣﻦ اﳌﺬﻫﺐ‬ ‫اﻟـﺒﴫيـ وـاـﳌـﺬﻫﺐ اـﻟﻜﻮﰲـ وـاﳌـﺬﻫـﺐ اـﻟـﺒﻐﺪاـديـ واـﳌـﺬﻫـﺐ اـﻷـﻧﺪﻟـﴘ‪،‬ـ وﻟـﻠﺸﻴﺦ واـنـ أﲪـﺪ ﻣﺆﻟـﻔﺎتـ ﰲ اـﻟـﻨﺤﻮ‬ ‫أﺷﻬﺮﻫﺎ ﻛﺘﺎب ﺗﺴﻬﻴﻞ ﻧﻴﻞ اﻷﻣﺎﲏ ﰲ ﴍح ﻋﻮاﻣﻞ اﳉﺮﺟﺎﲏ‪ .‬وﻣﻦ ﺧﻼل اﺳﺘﻘﺮاء اﻟﺒﺎﺣﺜﺔ آراﺋﻪ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ ﰲ ﻫﺬا‬ ‫اﻟﻜﺘﺎب ﻳﻈﻬﺮ أﻧﻪ ﺑﴫي اﻻﲡﺎه؛ ﻷﻧﻪ اﻧﺘﴫ ﳍﻢ ﰲ ﺳﺒﻊ وﻋﴩﻳﻦ ﻣﺴﺄﻟﺔ وﻫﻮ أﻛﺜﺮ ﻣﺎ ﺟﺎء ﺑﻪ ﰲ ﻫﺬا اﻟﻜﺘﺎب‪ ،‬ﺛﻢ‬ ‫ﻛﻞ ﻣﻦ ﻣﺬﻫﺐ اﳌﱪد واﻟﲈزﲏ واﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ واﻟﺴﻴﻮﻃﻲ‪،‬‬ ‫اﺗﻔﻖ ﻣﻊ اﻻﲡﺎه اﻟﻜﻮﰲ ﰲ أرﺑﻊ ﻣﺴﺎﺋﻞ وأﺧﺬ ﻛﺬﻟﻚ ﻣﻦ ﱟ‬ ‫وﻫﻮ ﻣﺘﺄﺛﺮ ﺑﺂراء اﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ ﺣﻴﺚ اﺳﺘﺸﻬﺪ ﺑﺄﺑﻴﺎت اﻷﻟﻔﻴﺔ ﰲ ﻛﺘﺎﺑﻪ أﻛﺜﺮ ﻣﻦ ﻣﺮة‪.‬‬

‫‪839‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT This study aims to study the Grammatical trends of sheikh Wan Ahmed Mohamed Zain Al Fathoni through his book “Thashil Nail Al-Amani Fi sharh Awamil Al-Jurjani” because of to disclose his opinions and his grammatical personality, then to classify them and refer to the known grammatical doctrines. The researcher has used in this study the analytic descriptive method and the extrapolative method to collect, follow, descript and analyze the data to be determined sheikh Ahmed Bin Mohamed Zain Al Fathoni grammatical opinions according to what it came in the different grammatical schools. The researcher reached that sheikh Ahmed Bin Mohamed Zain Al Fathoni is considered the first grammarians in Fathoni, and for Arabic grammar there are its doctrines and opinions starting from the Basra doctrine, the Kofi doctrine, the Baghdadi doctrine and the Andalusia doctrine.For sheikh Ahmed there are his effects on the grammar the the popular ones is his book “Thashil Nail Al-Amani Fi sharh Awamil Al-Jurjani”. And through the extrapolation of the researcher about his grammatical opinions in this book it shows that he is a Basra trend; because he triumphed for them in twenty seven issues and it is the most what he brought in this book,then he agreed with the Kofi trend in four issues and he took also from all of Al Mubarred's doctrine, Al Mazini, Ibn Malek and Al Seyouti, and he is affected by Ibn Malek's opinions where he was martyred by the Alfiyat verses in its book more than once.

840

Graduate School and Research / 15 May 2013


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫اﳌﻘﺪﻣﺔ‬ ‫إن اﳊﻤﺪﻟﻠﻪ ﻧﺤﻤﺪه وﻧﺴﺘﻌﻴﻨﻪ وﻧﺴﺘﻐﻔﺮه وﻧﺴﺘﻬﺪﻳﻪ وﻧﻌﻮذ ﺑﺎﷲ ﻣﻦ ﴍور أﻧﻔﺴﻨﺎ وﻣﻦ ﺳﻴﺌﺎت أﻋﲈﻟﻨﺎ‬ ‫ﻣﻦ ﳞﺪه اﷲ ﻓﻼ ﻣﻀﻞ ﻟﻪ وﻣﻦ ﻳﻀﻠﻞ ﻓﻼ ﻫﺎدي ﻟﻪ وأﺷﻬﺪ أن ﻻ‬

‫إﻻ اﷲ وﺣﺪه ﻻ ﴍﻳﻚ ﻟﻪ‪ ،‬أﻣﺎ ﺑﻌﺪ ‪:‬‬

‫ﻓﺈﻧﻪ ﻻ ﺷﻚ ﰲ أن اﻟﻜﺜﲑﻳﻦ ﻣﻦ اﻷﺑﻨﺎء اﻟﻔﻄﺎﻧﻴﲔ ﰲ ﻫﺬا اﻟﻌﴫ ﻻ ﻳﻌﺮﻓﻮن ﺟﻬﻮد اﻟﻌﻠﲈء اﻟﻔﻄﺎﻧﻴﲔ ﰲ‬ ‫اﻟﲈﴈ ﻓﻴﲈ ﺧﻠﻔﻮا وراءﻫﻢ ﻣﻦ ﺟﻬﻮد ﻋﻠﻤﻴﺔ ﻣﺘﻌﺪدة‪ ،‬ﻟﻘﺪ ﺗﺜﺒﺖ ﰲ ﺗﺎرﻳﺦ ﻫﺬه اﻟﺒﻼد أن ﻫﻨﺎك ﻋﺪدا ﻣﻦ اﻟﻌﻠﲈء‬ ‫ﺑﻔﻄﺎﲏ ﺑﺮزوا ﰲ ﻣﻴﺎدﻳﻦ اﻟﻌﻠﻢ وﺧﺎﺻﺔ ﰲ اﻟﻘﺮن اﻟﺜﺎﻣﻦ ﻋﴩ واﻟﺘﺎﺳﻊ ﻋﴩ ﻟﻠﻤﻴﻼد‪ .‬وﻣﻦ ﻫﺆﻻء اﻟﻌﻠﲈء اﻟﺸﻴﺦ‬ ‫وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ‪ ،‬ﻛﺎﻧﺖ ﻟﻪ ﺟﻬﻮدا ﻛﺒﲑة ﰲ ﳎﺎل اﻟﺘﺄﻟﻴﻒ واﻟﺘﺪرﻳﺲ وﻧﴩ اﻟﺪﻋﻮة اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ وﻣﻦ‬ ‫ﺟﻬﻮده اﻟﺒﺎرزة ﻛﺬﻟﻚ ﺟﻬﻮده اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﺘﻲ ﺧﻠﻒ ﻟﻨﺎ ﻛﺘﺒﺎ ﻗﻴﻤﺔ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ أﺷﻬﺮﻫﺎ ‪ :‬ﻛﺘﺎب ﺗﺴﻬﻴﻞ ﻧﻴﻞ اﻷﻣﺎﲏ ﰲ‬ ‫ﴍح ﻋﻮاﻣﻞ اﳉﺮﺟﺎﲏ‪ ،‬وﰲ ﻫﺬا اﻟﻜﺘﺎب آراؤه اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﳌﺨﺘﻠﻔﺔ‪ .‬وﻣﻦ اﻟﺼﻌﻮﺑﺔ ﺑﻤﻜﺎن أن ﻧﺼﻨﻒ ﻫﺬه اﻵراء‬ ‫اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ وﻧﺮﺟﻌﻬﺎ إﱃ اﳌﺪارس اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﳌﺤﺪدة ﻷﳖﺎ ﻣﺸﺘﺘﺔ و ﻣﻮزﻋﺔ‪ ،‬وﳍﺬا ﻛﺎن ﻣﻦ اﻟﺼﻌﻮﺑﺔ أﻳﻀ ًﺎ أن ﻧﺤﺪد‬ ‫اﻻﲡﺎﻫﺎت اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ ﻟﻠﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﻓﻨﻘﻮل أﻧﻪ ﺑﴫي اﳌﺬﻫﺐ أو ﻛﻮﰲ اﳌﺬﻫﺐ أو ﻣﴫﻳﺔ‬ ‫اﳌﺬﻫﺐ أو ﻏﲑ ذﻟﻚ‪ .‬واﻧﻄﻼﻗﺎ ﻣﻦ ذﻟﻚ ﻳﺄﰐ ﻫﺬا اﻟﺒﺤﺚ ﻟﺪراﺳﺔ ﻫﺬه اﻵراء اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﳌﺘﺒﺎﻳﻨﺔ وﺗﺼﻨﻴﻔﻬﺎ ﺣﺴﺐ‬ ‫اﻵراء اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﳌﻨﺴﻮﺑﺔ إﱃ اﳌﺬاﻫﺐ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﳌﺸﻬﻮرة ﻣﻦ اﳌﺬﻫﺐ اﻟﺒﴫي واﻟﻜﻮﰲ واﻟﺒﻐﺪادي واﻷﻧﺪﻟﴘ و‬ ‫اﳌﺬﻫﺐ اﳌﴫي وﻏﲑﻫﺎ أو ﺣﺘﻰ ﻣﻦ اﺟﺘﻬﺎده‪.‬‬ ‫ﻣﻔﻬﻮم اﻟﻨﺤﻮ ووﻧﺸﺄﺗﻪ وﻣﺪارﺳﻪ‬ ‫وﻧﺤﻮ‬ ‫َ‬ ‫َﺤﻮا واﻧﺘ ِ ﺤﺎه‬ ‫اﻟﻨﺤﻮ ﰲ اﻟﻠﻐﺔ ‪ :‬اﻟﻨﺤﻮ ﻫﻮ اﻟﻘَ ْﺼﺪُ‪ ،‬ﻳﻜﻮن ﻇﺮﻓﺎ وﻳﻜﻮن اﺳﲈ‪ ،‬ﻧﺤﺎه ﻳَ ﻨ ُْﺤﻮه وﻳﻨﺤﺎه ﻧ ً‬ ‫اﻟﴪاج ‪ ) :‬اﻟﻨﺤﻮ إﻧﲈ أرﻳﺪ ﺑﻪ أن ﻳﻨﺤﻮ‬ ‫اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ )اﺑﻦ ﻣﻨﻈﻮر‪1423،‬ﻫـ‪،‬ج‪ .(360 :،15‬وﰲ اﻻﺻﻄﻼح ‪ :‬ﻗﺎل اﺑﻦ ّ‬ ‫اﳌﺘﻜﻠﻢ إذا ﺗﻌﻠﻤﻪ ﻛﻼم اﻟﻌﺮب‪ ،‬وﻫﻮ ‪ :‬ﻋﻠﻢ اﺳﺘﺨﺮﺟﻪ اﳌﺘﻘﺪﻣﻮن ﻓﻴﻪ ﻣﻦ اﺳﺘﻘﺮاء ﻛﻼم اﻟﻌﺮب ﺣﺘﻰ وﻗﻔﻮا ﻓﻴﻪ‬ ‫ﻋﲆ اـﻟـﻐﺮض اـﻟـﺬي ﻗـﺼﺪهـ اﳌـﺒﺘﺪﺋـﻮن ﲠـﺬهـ اﻟـﻠﻐﺔ‪،‬ـ ﻓﺒﺎﺳﺘﻘﺮاـءـ ﻛـﻼم اـﻟـﻌﺮب‪،‬ـ ﻓـﺎﻋﻠﻢ أـنـ اﻟـﻔﺎﻋـﻞ رﻓـﻊ وـاﳌـﻔﻌﻮلـ ﺑـﻪ‬ ‫اﻟﴪاج‪1417،‬ﻫـ‪،‬ج‪.(35:،1‬‬ ‫ﻧﺼﺐ‪ ،‬وأن ﻓﻌﻞ ﳑﺎ ﻋﻴﻨﻪ ﻳﺎء أو واو ﺗﻘﻠﺐ ﻋﻴﻨﻪ‪ ،‬ﻣﻦ ﻗﻮﳍﻢ ‪ :‬ﻗﺎم‪ ،‬ﺑﺎع( ) اﺑﻦ ّ‬ ‫واﺗﺴﻌﺖ رﻗﻌﺔ اﻹﺳﻼم وﺑﺪأ اﺧﺘﻼط اﻟﻌﺮب ﺑﺎﻷﻋﺎﺟﻢ‪ ،‬ﻇﻬﺮ اﻟﻠﺤﻦ ﰲ ﻛﻼم اﻟﻨﺎس ﺣﺘﻰ ﻋﲆ ﻓﺼﺤﺎء‬ ‫اﻟﻌﺮب‪ ،‬ووﻗﻊ اﻟﻠﺤﻦ ﻛﺬﻟﻚ ﻋﻨﺪ ﻗﺮاءة اﻟﻘﺮآن اﻟﻜﺮﻳﻢ‪ ،‬ﻣﻦ ذﻟﻚ ّﺗﻢ وﺿﻊ ﻋﻠﻢ اﻟﻨﺤﻮ ﳊﻔﻆ اﻟﻜﻼم ﻣﻦ اﻟﻠﺤﻦ‬ ‫وﳊﺮص اﻟﻘﺮآن اﻟﻜﺮﻳﻢ واﳊﺪﻳﺚ اﻟﻨﺒﻮي ﻣﻦ اﻟﺰﻟﻞ واﳋﻄﺄ‪ ،‬وﻗﺪ اﺧﺘﻠﻔﺖ اﻟﺮواﻳﺎت ﻋﻦ واﺿﻊ اﻟﻨﺤﻮ اﳊﻘﻴﻘﻲ‪،‬‬ ‫وأﻛﺜﺮ اﻟﺮواﻳﺎت أن اﻟﻮاﺿﻊ اﳊﻘﻴﻘﻲ ﻟﻠﻨﺤﻮ ﻫﻮ أﺑﻮ اﻷﺳﻮد اﻟﺪؤﱄ‪ ،‬وﻟﻜﻨﻪ أﺧﺬ اﻟﻨﺤﻮ ﻣﻦ ﻋﲇ ﺑﻦ أﰊ ﻃﺎﻟﺐ‪،‬‬ ‫ﻓﻬﻨﺎ ﻳﺪل ﻋﲆ أن ﻋﲇ ﺑﻦ أﰊ ﻃﺎﻟﺐ ﻫﻮ أول ﻣﻦ أﻋﻄﻰ اﻟﺼﻮر ﳍﺬا اﻟﻌﻠﻢ)ﳏﻤﺪ اﳌﺨﺘﺎر‪1996،‬م‪.(45:،‬‬

‫‪841‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﻗﺪ اﺧﺘﻠﻒ اﻟﻌﻠﲈء ﰲ وﺟﻮد اﳌﺬﻫﺐ أواﳌﺪرﺳﺔ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ اﻟﻌﺮﰊ‪ ،‬ﻓﱰى اﻟﺪﻛﺘﻮرة ﺧﺪﳚﺔ اﳊﺪﻳﺜﻲ ‪) :‬أن‬ ‫اﻟﺒﺎﺣﺜﲔ اﻷ واﺋﻞ ﻫﻢ ﻳﻨﺴﺒﻮن اﻟﻨﺤﺎة إﱃ ﺑﻠﺪاﳖﻢ أو أﻣﺼﺎرﻫﻢ وﺗﺴﻤﻴﺔ ﺑـ" أﻫﻞ اﻟﺒﴫة و أﻫﻞ اﻟﻜﻮﻓﺔ" أو " ﻋﺎﱂ‬ ‫اﻟﺒﴫة وﻋﺎﱂ اﻟﻜﻮﻓﺔ" وﻫﻜﺬا ﺗﺴﻤﻴﺘﻬﻢ ‪ ،‬ﺛﻢ ﺑﺪأ ﺗﺴﻤﻴﺔ اﻟﻨﺤﺎة ﺣﺴﺐ ﺑﻠﺪاﳖﻢ ﺑـ" ﻣﺬﻫﺐ" وأﺑﻮﺑﻜﺮ اﻟﺰﺑﻴﺪي ﻫﻮ‬ ‫أ ـو ـل ـ ﻣــﻦ ﻗـ ّـﺴﻢ وــﺻﻨّﻒ ا ـﻟــﻨﺤﺎة ـ ﺣــﺴﺐ ﺑــﻠﺪا ـﳖــﻢ و ـﻣــﻨﺎﻫــﺠﻬﻢ و ـآ ـر ـا ـﺋــﻬﻢ ا ـﻟــﻨﺤﻮﻳــﺔ و ـﻫــﻮ أ ـو ـل ـ ﻣ ـﻦ اــﺳﺘﺨﺪم ـ ﻛــﻠﻤﺔ‬ ‫"ﻣﺬﻫﺐ"‪ ،‬وﺑﻌﺪ ذﻟﻚ ﻳﺴﺘﺨﺪم اﻟﺒﺎﺣﺜﻮن اﳌﺤﺪﺛﻮن ﻛﻠﻤﺔ "اﳌﺪرﺳﺔ" ﺑﻤﻌﻨﻰ اﳌﺬﻫﺐ اﻟﻨﺤﻮي‪ ،‬وﻫﻢ ﻳﺘﺄﺛﺮون ﻣﻦ‬ ‫اﻟﻐﺮﺑﻴﲔ()ﺧﺪﳚﺔ اﳊﺪﻳﺜﻲ)د(‪2011 ،‬م‪ .(24-22 :،‬وﺗﻘﻮل اﻟﺪﻛﺘﻮرة ‪ ) :‬وﻋﲆ ﻫﺬا ﻓﺈﻧﻪ ﻻ ﻓﺮق ﺑﲔ أن ﻧﺴﻤﻲ‬ ‫ﻫﺬه اﳌﺠﻤﻮﻋﺎت ) ﻣﺪارس( أو ) ﻣﺬاﻫﺐ( أو ) ﳎﻤﻮﻋﺎت( أو ) ﻧﺰﻋﺎت( ﻣﺎدام اﻟﺘﻘﺴﻴﻢ ﺟﺎرﻳً ﺎ ﻋﲆ اﻟﻨﺴﺒﺔ إﱃ‬ ‫اﻟـﺒﻠﺪ‪ ،‬وـﺳﻮاءـ أﺳﻤﻴﻨﺎ اـﻟﻨﺤﻮ وـاﻟـﻨﺤﺎة ﰲـ اﻟـﺒﴫة‪ ) :‬ﻣﺪرـﺳﺔ اـﻟﺒﴫةـ اﻟـﻨﺤﻮﻳﺔ( أـم ) ﻣﺬﻫـﺐ اﻟـﺒﴫة اـﻟﻨﺤﻮيـ( أـم‬ ‫) ﻧﺤﻮ اﻟـﺒﴫة( أم ) اـﻟﻨﺤﻮﻳﲔ اـﻟﺒﴫﻳﲔ() ﺧﺪﳚﺔ اـﳊﺪﻳﺜﻲ) د( ‪ 2011 ،‬م‪ .(23 :،‬ﻓﲑىـ ﺑﻌﻀﻬﻢ ﺑﺄنـ ﻻ ﺗﻮﺟـﺪ‬ ‫اﳌﺬاﻫﺐ أو اﳌﺪارس ﰲ اﻟﻨﺤﻮ اﻟﻌﺮﰊ‪ ،‬إﻻ اﳌﺪرﺳﺔ اﻟﺒﴫﻳﺔ اﻟﻮﺣﻴﺪة وﻣﻨﻬﻢ ﺟﻮﻧﻠﺪ ﻓﻴﻞ‪ ،‬وأﻣﺎ اﻵﺧﺮون ﻓﺈﳖﻢ‬ ‫ﻳﺮون أﻧﻪ ﺗﻮﺟﺪ ﰲ اﻟﻨﺤﻮي اﻟﻌﺮﰊ ﻣﺪرﺳﺘﺎن ﻓﻘﻂ وﳘﺎ اﻟﺒﴫﻳﺔ واﻟﻜﻮﻓﻴﺔ‪ ،‬وﺗﺮددوا ﰲ وﺟﻮد اﳌﺪرﺳﺔ اﻟﺒﻐﺪادﻳﺔ‬ ‫وـﻳـﺮىـ ذـﻟـﻚ اـﻟــﺪﻛـﺘﻮرـ ﻣـﻬﺪيـ اـﳌـﺨﺰوـﻣـﻲ‪،‬ـ وـﺑــﻌﻀﻬﻢ ﻗ ّـﺴﻤﻬﺎ إـﱃـ أـرـﺑــﻊ ﻣـﺪاـرـسـ‪،‬ـ اـﺛــﻨﺘﺎنـ ﳘـﺎ اـﻷــﺻﻮلـ ‪ :‬اـﻟـﺒﴫﻳـﺔ‬ ‫واﻟﻜﻮﻓﻴﺔ‪ ،‬واـﺛﻨﺘﺎن ﻓﺮﻋﺎن ﳘﺎ ‪ :‬اﻟﺒﻐﺪادﻳـﺔ واﻷﻧﺪﻟﺴﻴﺔ) ﺧـﺪﳚﺔ اﳊﺪﻳﺜﻲ) د( ‪2011 ،‬مـ‪ ، (22-14 :،‬وأﺑﺮزﻫـﻢ‬ ‫ﻗﺴﻢ اﻟﻨﺤﺎة إﱃ ﲬﺲ ﻣﺪارس وﻫﻲ اﳌﺪرﺳﺔ اﻟﺒﴫﻳﺔ واﳌﺪرﺳﺔ اﻟﻜﻮﻓﻴﺔ واﳌﺪرﺳﺔ اﻟﺒﻐﺪادﻳﺔ‬ ‫ﺷﻮﻗﻲ ﺿﻴﻒ اﻟﺬي ّ‬ ‫واﳌﺪرﺳﺔ اﻷﻧﺪﻟﺴﻴﺔ واﳌﺪرﺳﺔ اﳌﴫﻳﺔ‪ .‬ﻓﺎﳌﺪارس اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﳌﺸﻬﻮرة اﳋﻤﺲ وﻫﻲ ‪:‬‬ ‫‪.1‬اﳌﺪرﺳﺔ اﻟﺒﴫﻳﺔ ‪:‬‬ ‫اﻟﺒﴫة ﻫﻲ أول ﻣﺪﻳﻨﺔ ﻋﻨﻴﺖ ﺑﺎﻟﻨﺤﻮ واﻟﻠﻐﺔ‪ ،‬واﳊﺪﻳﺚ ﻋﻨﻬﺎ ﻫﻮ اﳊﺪﻳﺚ ﻋﻦ اﻟﻨﺤﻮ اﻟﻌﺮﰊ ﻣﻨﺬ ﻧﺸﺄﺗﻪ ﺣﺘﻰ‬ ‫ﻋـﴫﻧـﺎ اـﳊــﺎﴐـ‪،‬ـ ﻓـﺎﻟــﺬيـ ﻻـ ﺷﻚ ﻓـﻴﻪ أـنـ اـﻟـﻨﺤﻮ ﺑــﺼﻮرـﺗـﻪ اـﳌـﻌﺮوـﻓـﺔ ﻧــﺸﺄ ﺑـﴫﻳـﺎ وـﺗــﻄﻮرـ ﺑـﴫﻳـﺎ‪،‬ـ ﻓـﺠﻤﻴﻊ ﻣـﺎ ﻳــﺘﻌﻠﻖ‬ ‫ﺑــﺎﳌــﺼﻄﻠﺤﺎتـ وـاـﻷــﺻﻮل ـ اـﻟــﻨﺤﻮﻳــﺔ وـرـد ـتـ ﻣــﻦ ﻧــﺤﺎةـ اـﻟــﺒﴫة ـ‪ .‬وـﻣــﻦ أـﻋــﻼﻣــﻬﺎ اـﻷـوـاـﺋــﻞ ‪ :‬ﻋــﺒﺪاـﻟــﻠﻪ ﺑــﻦ إــﺳﺤﺎق‬ ‫اﳊﴬﻣﻲ‪ ،‬وﻫﻮ أول ﻣﻦ وﺿﻊ اﻟﻨﺤﻮ اﻟﺒﴫي اﳊﻘﻴﻘﻲ وﻋﻴﺴﻰ ﺑﻦ ﻋﻤﺮ اﻟﺜﻘﻔﻲ وأﺑﻮ ﻋﻤﺮو ﺑﻦ اﻟﻌﻼء وﳘﺎ ﻣﻦ‬ ‫ﺗﻼﻣﻴﺬه‪ ،‬وﻳﻮﻧﺲ ﺑﻦ اﳊﺒﻴﺐ‪ ،‬ﺣﺘﻰ ازدﻫﺮ ﻋﲆ ﻳﺪ اﳋﻠﻴﻞ ﺑﻦ أﲪﺪ اﻟﻔﺮاﻫﻴﺪي‪ ،‬وﺗﻠﻤﻴﺬه ﺳﻴﺒﻮﻳﻪ و ﻳﻌﺘﱪان ﺑﺤﻖ‬ ‫اﻟﻮاﺿﻌﲔ ﻟﻠﻨﺤﻮ اﻟﻌﺮﰊ ﺑﺼﻮرﺗﻪ اﳌﻌﺮوﻓﺔ)ﻋﺒﺪه اﻟﺮاﺟﺤﻲ )د(‪1975 ،‬م‪.(11-10 ،‬‬ ‫ﻓﺎﻟﺒﴫﻳﻮن ﻣـﻦ ﺧﻼل أﺳﻠﻮﲠﻢ ﰲـ اﺳﺘﻘﺮاء اـﻟﻠﻐﺔ ﻣﻦ ﻣﺼﺎدرـﻫﺎ ﺣﻴﺚ اﻋـﺘﻤﺪوا ﻋﲆ اﻟـﺴﲈع واﻟـﻘﻴﺎس‬ ‫وﻛﺎﻧﺖ ﻃﺮﻳﻘﺘﻬﻢ ﰲ اﻟﺴﲈع أﳖﻢ ﻗﻴﺪوا ذﻟﻚ ﺑﺎﻟﺒﻴﺌﺔ واﳌﻜﺎن واﻟﺜﻘﺔ واﻟﻜﺜﺮة وﻗﻴﺪوا ذﻟﻚ ﺑﺎﻟﻘﺒﺎﺋﻞ اﻟﺒﺪوﻳﺔ اﻟﺘﻲ‬ ‫ﺣﺎﻓﻈﺖ ﻋﲆ ﻟﻐﺘﻬﺎ‪ ) ،‬اﻟﺴﻴﻮﻃﻲ‪2006 ،‬م‪ ، (102-101 :،‬وأﻣﺎ ﺟﺎﻧﺐ اﻟﻘﻴﺎس ﻓﻘﺪ اﻋﺘﻤﺪوا ﻋﲆ أﺳﺲ ﻋﻘﻠﻴﺔ‬ ‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪842‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﻣﻨﻄﻘﻴﺔ ﺣﻴﺚ ﻻ ﻳﻘﻴﺴﻮن إﻻ ﻋﲆ اﻟﻜﺜﺮة اﳌﻄﺮدة‪ ،‬وﻳﻘﻮل اﻟﺴﻴﻮﻃﻲ ‪ ) :‬اﺗﻔﻘﻮا ﻋﲆ أن اﻟﺒﴫﻳﲔ أﺻﺢ ﻗﻴﺎﺳﺎ ﻷﳖﻢ‬ ‫ﻳﻠﺘﻔﺘﻮن إﱃ ﻛﻞ ﻣﺴﻤﻮع وﻻﻳﻘﻴﺴﻮن ﻋﲆ اﻟﺸﺎذ( )اﻟﺴﻴﻮﻃﻲ‪2006،‬م‪.(428 :،‬وﻛﺎن ﰲ اﻟﻘﺮآن اﻟﻜﺮﻳﻢ وﻗﺮاءاﺗﻪ‪،‬‬ ‫ﻓــﻬﻢ ﻳــﻘﺒﻠﻮن ـ ﻣــﺎ ﻻـ ﺗــﻄﺮدـ ﻣــﻊ ﻗــﻮاـﻋــﺪﻫــﻢ‪،‬ـ وـﱂ ـ ﻳــﻘﺒﻠﻮاـ ﻣــﺎ ﺧــﺎﻟــﻔﺖ ا ـﻟــﻘﺎﻋــﺪة ـ اـﻟــﻨﺤﻮﻳــﺔ ﻋــﻨﺪﻫــﻢ و ـﻳــﺼﻔﻮﳖــﺎ ﺑــﺎﻟــﺸﺬوــذ‬ ‫وﻳﺆوﻟﻮﳖﺎ ﻣﺎ وﺟﺪوا إﱃ اﻟﺘﺄوﻳﻞ ﺳﺒﻴﻼ)ﺷﻮﻗﻲ ﺿﻴﻒ) د( ‪،‬د‪.‬ت‪ ، (19 :،‬وأﻣﺎ ﰲ اﳊﺪﻳﺚ اﻟﻨﺒﻮي ﻫﻢ ﻻ ﳛﺘﺠﻮن‬ ‫ﺑﻪ ﻷﻧﻪ ﺟﺎز رواﻳﺘﻪ ﺑﺎﳌﻌﻨﻰ‪ ،‬وﻣﻊ ﻛﺜﲑ ﻣﻦ رواﺗﻪ ﻛﺎﻧﻮا ﻣﻦ ﻏﲑ اﻟﻌﺮب‪ ،‬ﻓﻮﻗﻊ ﻛﺜﲑ ﻣﻦ اﻟﻠﺤﻦ ﰲ ﻛﻼﻣﻬﻢ‪ ،‬وﺗﺒﻌﻬﻢ‬ ‫ﻧﺤﺎة اﻟﻜﻮﻓﺔ()اﻟﺴﻴﻮﻃﻲ‪2006،‬م‪.(17 :،‬‬ ‫‪ .2‬اﳌﺪرﺳﺔ اﻟﻜﻮﻓﻴﺔ ‪:‬‬ ‫اﻟﻜﻮﻓﺔ ﻫﻲ ﺛﺎﻧﻴﺔ اﳌﺪارـس اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ‪ ،‬وﻟﻘﺪ ﺗﺮﻛـﺖ ﻟﻠﺒﴫة ﰲ وﺿﻊ اﻟﻨﺤﻮ ﻣﺎﻳﻘﺮبـ ﻣﻦ ﻗﺮن ﺗﻘﺮﻳﺒﺎ‪ ،‬وﱂ ﻳـﻜﻦ‬ ‫ﻷﺣﺪ ﺳﻮاﻫﻢ ﺳﺒﻖ ﻣﻦ ﻫﺬا اﳌﻴﺪان‪ ،‬إذ ﻛﺎﻧﺖ ﻣﻨﴫﻓﺔ إﱃ اﻟﻔﻘﻪ وﺗﺮﺗﻴﻞ اﻟﻘﺮآن ورواﻳﺔ اﻟﺸﻌﺮ واﻷﺧﺒﺎرواﻟﻨﻮادر‪،‬‬ ‫ﳑﺎ ﺟﻌﻠﻬﺎ ﲢـﻈﻰ ﺑﻤﺬﻫـﺐ ﻓﻘﻬﻲ ﻫـﻮ ﻣﺬﻫـﺐ أﰊـ ﺣﻨﻴﻔﺔ وـﺑﺜﻼﺛـﺔ ﻣﻦ اـﻟﻘﺮاـء اـﻟﺴﺒﻌﺔ ﻫـﻢ ﻋﺎﺻﻢ وـﲪﺰةـ واـﻟﻜﺴﺎﺋـﻲ‪،‬‬ ‫وذﻛﺮ اﻟﻜﺜﲑ ﻣﻦ ﻛﺘﺐ اﻟﱰاﺟﻢ أن أوﻟﻴﺔ اﻟﻨﺤﻮ اﻟﻜﻮﰲ ﻫﻮ أﺑﻮ ﺟﻌﻔﺮ اﻟﺮؤاﳼ‪،‬وﻗﺪ ﻗﺎل اﻟﺴﻴﻮﻃﻲ ﰲ ﺑﻐﻴﺔ اﻟﻮﻋﺎة‪:‬‬ ‫ﺑﺪءا ﺣﻘﻴﻘﻴًﺎ ﻋﲆ‬ ‫) وﻫﻮ أ ول ﻣﻦ وﺿﻊ ﻧﺤﻮ اﻟﻜﻮﻓﻴﲔ( ) اﻟﺴﻴﻮﻃﻲ‪1979 ،‬م‪ ، (109 :،‬وﻛﺎن ﻳﺒﺪأ اﻟﻨﺤﻮ اﻟﻜﻮﰲ ً‬ ‫ﻳﺪي اﻟﻜﺴﺎﺋﻲ وﺗﻠﻤﻴﺬه اﻟﻔﺮاء)ﺷﻮﻗﻲ ﺿﻴﻒ)د(‪،‬د‪.‬ت‪ ،(154:،‬وﻫﺬه اﳌﺪرﺳﺔ ﻳﺸﻜﻞ ﻣﺬﻫﺒﺎ ﻣﺴﺘﻘﻼ‪.‬‬ ‫وﻛﺎﻧﺖ ﻃﺮﻳﻘﺘﻬﻢ ﰲ اﻟﺴﲈع أﳖﻢ ﲤﻴﺰوا ﻋﻦ اﳌﺪرﺳﺔ اﻟﺒﴫﻳﺔ ﺑﺎﺗﺴﺎﻋﻬﺎ ﰲ رواﻳﺔ اﻷﺷﻌﺎر وﻗﺒﻮﳍﺎ ﻋﻦ‬ ‫ﲨ ــﻴﻊ ا ـﻟ ــﻌﺮب ـ ﺑ ــﺪوـ ـﻫ ــﻢ و ـﺣ ــﴬﻫ ــﻢ‪ ،‬ـ وـ ـﻗ ــﺎل ـ اـ ـﻟ ــﺴﻴﻮﻃ ــﻲ ‪ ) :‬وـ ـا ـﻟ ــﺸﻌﺮ ﺑ ــﺎﻟ ــﻜﻮﻓ ــﺔ أـ ـﻛ ــﺜﺮ و ـأـ ـﲨ ــﻊ ﻣ ــﻨﻪ ﺑ ــﺎﻟ ــﺒﴫة ـ( )‬ ‫اﻟﺴﻴﻮﻃﻲ‪ 2006،‬م‪ ، (202-201 :،‬وأﻣﺎ ﰲ اﻟﻘﻴﺎس أﳖﻢ ﻳﺘﺴﻌﻮن ﻓﻴﻬﺎ‪ ،‬وﻫﻢ ﻳﺮاﻋﻮن اﻟﻠﻐﺔ وﳛﱰﻣﻮﳖﺎ‪ ،‬وﻗﺪ‬ ‫ﻳﻘﻴﺴﻮن ﻋﲆ اﻟﻘﻠﻴﻞ اﻟﻨﺎدر وﻳﺘﺴﺎﻫﻠﻮن ﰲ اﻷﺧﺬ ﺑﻪ وﻳﺒﻨﻮن ﻣﺴﺄﻟﺔ ﻧﺤﻮﻳﺔ ﻋﲆ ﺿﻮﺋﻪ‪ ،‬وﻗﺎل اﻟﻘﺪﻣﺎء ‪ ) :‬ﻟﻮ ﺳﻤﻊ‬ ‫اﻟﻜﻮﻓﻴﻮن ﺑﻴﺘﺎ واﺣﺪا ﻓﻴﻪ ﺟﻮاز ﳾء ﳐﺎﻟﻒ ﻟﻸﺻﻮل ﺟﻌﻠﻮه أﺻﻼ وﺑﻮﺑﻮا ﻋﻠﻴﻪ() اﻟﺴﻴﻮﻃﻲ‪2006،‬م‪.(84 :،‬‬ ‫‪ .3‬اﳌﺪرﺳﺔ اﻟﺒﻐﺪادﻳﺔ‬ ‫وأﻣﺎ اﳌﺪرﺳﺔ اﻟﺒﻐﺪادﻳﺔ ﻓﻘﺪ أﺧﺬت اﻟﻨﺤﻮ ﻋﻦ اﻟﺒﴫﻳﲔ واﻟﻜﻮﻓﻴﲔ وﻛﺎن ﻣﻨﻬﺠﻬﺎ ﱂ ﻳﻜﻦ ﺟﺪﻳﺪا ﻣﻦ‬ ‫ﺣﻴﺚ ﻃﺮاﺋﻖ اﻻﺳﺘﻨﺘﺎج‪ ،‬وﻟﻜﻨﻪ ﻣﻨﻬﺞ ﻳﻨﺒﻨﻲ ﻋﲆ اﻻﻧﺘﺨﺎب أو اﻻﻧﺘﻘﺎء ﻣﻦ آراء اﳌﺪرﺳﺘﲔ اﻟﺒﴫﻳﺔ واﻟﻜﻮﻓـﻴﺔ‪،‬‬ ‫وﻗﺪ اﲡﻬﺖ اﳌﺪرﺳﺔ اﻟﺒﻐﺪادﻳﺔ إﱃ اﲡﺎﻫﲔ ‪:‬‬ ‫اﻻﲡﺎه اﻷول ‪ :‬وﻛﺎن اﻟﺒﻐﺪادﻳﻮن اﻷوﻟﻮن ﻗﺪ ﺗﻐﻠﺐ ﻋﻠﻴﻬﻢ اﻟﻨﺰﻋﺔ اﻟﻜﻮﻓﻴﺔ‪ ،‬وﻫﻢ أﻛﺜﺮوا ﻣﻦ اﻻﺣﺘﺎج‬ ‫ﲠﺎ‪ ،‬ﻓﺴﲈﻫﻢ اﻟﻜﻮﻓﻴﲔ ﺗﺎرة‪ ،‬واﻟﺒﻐﺪادﻳﲔ ﺗﺎرة أﺧﺮى‪ ،‬وﻟﻜﻦ ﻟﻴﺲ ﻣﻌﻨﻰ ذﻟﻚ أﳖﻢ ﱂ ﻳﺄﺧﺬوا ﻋﻦ اﻟﺒﴫة‪ ،‬ﻓﻬﻢ‬

‫‪843‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﻓﺘﺤﻮاـ اﻷـﺑﻮاـب ﻟـﻜﺜﲑ ﻣﻦ آـراـءـ اﻟـﺒﴫة‪،‬ـ ﻟﻜﻦ ﻣـﻴﻠﻬﻢ إﱃـ اﻟـﻜﻮﻓﺔ أـﺷﺪ‪،‬ـ وﻫـﻢ أﻳـﻀﺎ ﻓﺘﺤﻮاـ ﺑﺎبـ اﻻـﺟﺘﻬﺎدـ ﻟـﺒﻌﺾ‬ ‫اﻵراء اﳉﺪﻳﺪة‪ ،‬وأﳘﻬﻢ‪ :‬اﺑﻦ ﻛﻴﺴﺎن )ت ‪299‬ﻫـ(‪ ،‬واﺑﻦ ﺷﻘﲑ )ت ‪315‬ﻫـ( واﺑﻦ اﳋﻴﺎط )ت ‪320‬ﻫـ(‪.‬‬ ‫واﻻﲡـﺎه اﻟـﺜﺎﲏ ‪ :‬وﻫﺬاـ اﻻﲡـﺎه ﻗﺪ ﻳـﻘﺎﺑﻞ اﻻﲡـﺎه اﻷـول‪،‬ـ وﻫﻢ ﻧﺰﻋـﻮا إﱃـ آراـء اﳌﺪرـﺳﺔ اﻟﺒﴫﻳـﺔ‪ ،‬وﻗـﺪ‬ ‫ﻳﺄﺧـﺬواـ ﻛﺬﻟـﻚ آرـاءـ اﳌـﺪرﺳﺔ اـﻟﻜﻮﻓـﺔ‪ ،‬وـﻣﻊ اـﻻﺟـﺘﻬﺎد ﰲـ اﺳﺘﻨﺒﺎطـ آرـاءـ ﺟﺪﻳـﺪة‪،‬ـ وﻟـﻜﻦ ﻣﻴﻠﻬﻢ إـﱃ اـﻟﺒﴫةـ أـﺷﺪ‪،‬‬ ‫و ـأــﺷﻬﺮﻫــﻢ ا ـﻟــﺰﺟــﺎﺟــﻲ ) ت ـ ‪3 3 7‬ﻫـ ـ( ‪ ،‬ـ و ـﺧــﻠﻔﻪ أ ـﺑــﻮ ﻋــﲇ ا ـﻟــﻔﺎر ـﳼ ـ ) ت ـ ‪3 7 7‬ﻫـ ـ( ‪ ،‬ـ و ـﺗــﻠﻤﻴﺬه ـ ا ـﺑــﻦ ﺟــﻨﻲ ) ت‬ ‫‪392‬ﻫـ()ﺷﻮﻗﻲ ﺿﻴﻒ)د(‪،‬د‪.‬ت‪.(248-246،‬‬ ‫‪ .4‬اﳌﺪرﺳﺔ اﻷﻧﺪﻟﺴﻴﺔ‬ ‫وﻟﻌﻞ ﺷﻮﻗﻲ ﺿﻴﻒ ﻣﻦ أواﺋﻞ اﳌﻌﺎﴏﻳﻦ اﻟﺬﻳﻦ ﲢﺪّ ﺛﻮا ﻋﻦ وﺟﻮد اﳌﺪرﺳﺔ اﻷﻧﺪﻟﺴﻴﺔ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ‪ ،‬وأول‬ ‫ّ‬ ‫ﻧﺤﺎةـ اـﻷـﻧـﺪﻟـﺲ ﺑـﺎ ﳌـﻌﻨﻰ اـﻟـﺪﻗـﻴﻖ ﻛـﲈ ﻗـﺎلـ ﺷﻮﻗـﻲ ﺿﻴﻒ ﻫـﻮ ﺟـﻮ ـّديـ ﺑـﻦ ﻋـﺜﲈنـ اـﳌـﻮرـوـرـيـ اـﻟـﺬيـ رـﺣـﻞ إـﱃـ اـﳌـﴩق‬ ‫وﺗﺘﻠﻤﺬ ﻋﲆ ﻛﺴﺎﺋﻲ واﻟﻔﺮاء‪ ،‬وﻫﻮ أ ول ﻣﻦ أدﺧﻞ ﻛﺘﺐ اﻟﻜﻮﻓﻴﲔ إﱃ اﻷﻧﺪﻟﺲ‪ ،‬وأﻣﺎ ﲨﻴﻞ وﻟﻮﻳﻞ ﻳﺮى أن أﻋﻠﻢ‬ ‫اﻟﺸﻨﺘﻤﺮي ﻫﻮ أول ﻧﺤﺎة اﻷﻧﺪﻟﺴﻴﲔ)ﲨﻴﻞ وﻟﻮﻳﻞ‪،‬د‪.‬ت‪.(124:،‬‬ ‫وﻛﺎﻧﺖ ﻣﻨﺎﻫﺠﻬﻢ ﰲ اﺳﺘﻘﺮاء اﻟﻠﻐﺔ ﻛﲈ ﻋﺮﻓﻨﺎ أﳖﺎ ﺗﱰﺳﻢ ﺑﻤﻨﻬﺞ اﻟﺒﻐﺪادﻳﲔ ﰲ اﻻﻧﺘﺨﺎب ﺑﲔ اﳌﺪارس‬ ‫اـﻟـﻨﺤﻮﻳــﺔ اـﻟــﺴﺎﺑـﻘﺔ‪،‬ـ أـيـ أـﳖـﻢ ﳜـﺘﺎرـوـنـ ﻣـﺎ أـرـﺟـﺢ ﻋــﻨﺪﻫـﺎ ﻣـﻦ آـرـاـءـ اـﳌــﺪاـرـسـ اـﻟــﻨﺤﻮﻳـﺔ اـﻟـﺴﺎﺑـﻘﺔ ) اـﻟــﺒﴫةـ وـاـﻟـﻜﻮﻓــﺔ‬ ‫وﺑﻐﺪاد(‪ ،‬وﻣﻊ إﺿﺎﻓﺔ إﱃ اﻵراء اﻟﺴﺎﺑﻘﺔ ﻣﺎ ﻋﻨﺪﻫﺎ ﻣﻦ آراء وﻣﻼﺣﻈﺎت‪.‬‬ ‫‪ .5‬اﳌﺪرﺳﺔ اﳌﴫﻳﺔ‬ ‫ﺑﺪأ اـﻟﺪرـس اﻟـﻨﺤﻮي ﰲـ ﻣﴫ ﻣـﻨﺬ ﻓﱰة ﻣـﺒﻜﺮة ﺣـﲔ وﻓـﺪ إﻟﻴﻬﺎ ﻋـﺒﺪ اﻟـﺮﲪﻦ ﺑـﻦ ﻫﺮﻣﺰ ﺗـﻠﻤﻴﺬ أﰊـ اﻷـﺳﻮد‬ ‫اﻟﺪؤﱄ اﻟﺬي ﻇﻞ ﲠﺎ ﺣﺘﻰ ﺗﻮﰲ ﰲ اﻹﺳﻜﻨﺪرﻳﺔ ﺳﻨﺔ ‪117‬ﻫـ وﺣﲔ ازدﻫﺮت اﻟﻘﺮاءات اﻟﻘﺮآﻧﻴﺔ ﻋﲆ ﻳﺪ ورش )ت‬ ‫‪197‬ﻫـ( ‪ ،‬ﻏﲑ أﻧﺎ ﻻ ﻧﺠﺪ ﺗﺄﻟﻴﻔﺎ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ ﺑﻤﻌﻨﺎه اﳊﻘﻴﻘﻲ إﻻ ﰲ اﻟﻘﺮن اﻟﺜﺎﻟﺚ ﺣﻴﺚ ﻧﻠﺘﻘﻲ ﺑﻮﻻّد ﺑﻦ ﳏﻤﺪ اﻟﺘﻤﻴﻤﻲ‬ ‫) ت ‪263‬ﻫ ـ( ‪ ،‬وـأﲪـﺪ ﺑﻦ ﺟﻌﻔﺮ اـﻟﺪﻳﻨﻮرـي ) ت ‪ 289‬ﻫـ( ‪ ،‬وـﳏﻤﺪ ﺑﻦ وـﻻّد ) ت ‪298‬ﻫ ـ() ﻋـﺒﺪه اﻟﺮاـﺟﺤﻲ ) د( ‪،‬‬ ‫‪ 1975‬م‪،‬ـ‪، (197 :‬ـ وأـولـ اـﻟﻨﺤﻮيـ اﳌـﴫي ﺑـﻤﻌﻨﺎه اـﻟـﺪﻗﻴﻖ وـﻻدـ ﺑﻦ ﳏـﻤﺪ اﻟـﺘﻤﻴﻤﻲ اـﻟﺒﴫيـ اﻷـﺻﻞ اﻟـﻨﺎﳾـء‬ ‫ﺑﺎﻟـﻔﺴﻄﺎط وـﻳﺰدـﻫـﺮ اﻟـﺪرسـ اـﻟﻨﺤﻮيـ ﰲ ﻣـﴫ ﰲـ ﻋﴫ اـﳌﲈﻟـﻴﻚ ازـدـﻫﺎ ًرـا ﻛـﺒﲑاـ‪ ،‬وـﻳﻔﺪ إـﻟـﻴﻬﺎ ﻋﺪدـﻛﺒﲑ ﻣـﻦ ﻋـﻠﲈء‬ ‫اﻷﻗﻄﺎر اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﻣﻨﻬﻢ ﲠﺎء اﻟﺪﻳﻦ ﺑﻦ اﻟﻨﺤﺎس اﳊﻠﺒﻲ اﻷﺻﻞ ﺣﻴﺚ ﺗﻮﰲ ﺑﻤﴫ ﺳﻨﺔ ‪ 697‬ﻫـ‪ ،‬ﺛﻢ ﻳﻈﻬﺮ ﺑﻌﺪه‬ ‫اﻟﻨﺤﻮي اﻟﻜﺒﲑ اﺑﻦ اﳊﺎﺟﺐ ) ت ‪ 646‬ﻫـ( ﺻﺎﺣﺐ اﻟﻜﺎﻓﻴﺔ واﻟﺸﺎﻓﻴﺔ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ واﻟﴫف‪ ،‬وﻟﻪ آراء ﻛﺜﲑة اﺗﻔﻖ‬ ‫ﻓﻴﻬﺎ ﻣﻊ ﺑﻌﺾ اﻟﻨﺤﺎة ) اﳌﺪارس اﻟﺴﺎﺑﻘﺔ( وأﺧﺮى ﺧﺎﻟﻒ ﻓﻴﻬﺎ ﲨﻬﻮرﻫﻢ وﺑﻌﺪه اﺑﻦ ﻫﺸﺎم اﻟﺬي ﻳﻌﺪ ﻣﻦ ﻛﺒﺎر‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪844‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫اﻟﻨﺤﺎة اﳌﴫﻳﲔ وﻛﺎن ﰲ ﻛﺘﺒﻪ وﺧﺎﺻﺔ ﻛﺘﺎب ) اﳌﻐﻨﻲ اﻟﻠﺒﻴﺐ ﻋﻦ ﻛﺘﺐ اﻷﻋﺎرﻳﺐ( ﻳﻈﻬﺮﻟﻨﺎ أﻧﻪ ﺑﺎرﻋً ﺎ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ‬ ‫ﻷـﻧـﻪ ﻳـﻨﺎﻗــﺶ آـرـاـءـ اـﻟـﻨﺤﺎةـ اـﻟـﺴﺎﺑـﻘﺔ ﻣــﻨﺎﻗـﺸﺔ ﺟـﻴﺪةـ‪،‬ـ وـﻇـﻬﺮ ﻋــﺪدـ ﻛـﺒﲑ ﻣــﻦ ﻋـﻠﲈءـ ﺑـﻌﺪهـ‪،‬ـ وـﺗــﻮﻓـﺮ ﻋـﲆ ﺗـﻘﺪﻳــﻢ اـﻟـﴩوــح‬ ‫واﳊﻮاﳾ‪ ،‬وﺧﺎﺻﺔ ﻋﲆ ﻛﺘﺐ اﺑﻦ ﻫﺸﺎم وﻋﲆ أﻟﻔﻴﺔ اﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ‪ ،‬واﺑﻦ ﻋﻘﻴﻞ ﺷﺎرح اﻷﻟﻔﻴﺔ ) ت ‪ 769‬ﻫـ( ‪ ،‬واﺑﻦ‬ ‫ﺻﺎﺋﻎ )ت ‪772‬ﻫـ(‪ ،‬واﻟﺪﻣﺎﻣﻴﻨﻲ اﻹﺳﻜﻨﺪرﻳﺔ )ت ‪837‬ﻫـ(‪ ،‬وﻏﲑﻫﻢ‪.‬‬ ‫وﻳﻈﻬﺮﻟﻨﺎ أن اﳌﻨﺎﻫﺞ اﳌﴫﻳﺔ ﰲ اﻷول ﺑﺪاﻳﺘﻬﺎ ﺗﺘﺒﻊ اﻟﺒﴫﻳﲔ ﻷن ﻧﺤﺎة اﳌﴫﻳﲔ اﻷوﻟﲔ ﻳﻨﺘﺠﻬﻮن إﱃ‬ ‫اـﻟـﺒﴫﻳـﲔ‪،‬ـ وـﻟـﻜﻦ ﺑــﻌﺪ اـﻟـﻘﺮنـ اـﻟـﺮاـﺑـﻊ اـﳍـﺠﺮيـ ﻳـﻨﺘﺠﻬﻮنـ إـﱃـ اـﲡـﺎهـ اـﻟــﺒﻐﺪاـدـﻳـﻦ‪،‬ـ ﻓـﻴﺠﻌﻞ ﻣــﻨﻬﺠﻬﻢ ﻣـﺰﺟـﺎ ﺑـﲔ آـرـاــء‬ ‫اﻟﺒﴫة واﻟﻜﻮﻓﺔ وﺑﻐﺪاد‪ ،‬وﻫﻢ ﻳﺄﺧﺬون ﺑﺨﺎﺻﺔ ﻣﻦ أﰊ ﻋﲇ اﻟﻔﺎرﳼ واﺑﻦ ﺟﻨﻲ‪ ،‬وﻛﺬﻟﻚ ﻫﻢ ﻳﻨﻔﺮدون ﺑﺂراءﻫﻢ‬ ‫ﰲ ﺑﻌﺾ اﻷﺣﻴﺎن‪ ،‬وﻗﺪ ﺗﺄﺛﺮت اﳌﺪرﺳﺔ اﳌﴫﻳﺔ ﰲ ﻋﻠﻢ اﻟﻨﺤﻮ ﺑﻌﻠﲈء اﻷﻧﺪﻟﴘ ﻛﺎﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ وأﺑﻮ ﺣﻴﺎن‪ ،‬وﻧﴩوا‬ ‫ﻣﻌﺎرﻓﻬﻢ وﻛﺘﺒﻬﻢ ﻓﻴﻬﺎ‪ ،‬وﻣﻦ أﺗﺒﺎﻋﻬﻢ اﺑﻦ ﻫﺸﺎم واﳌﺮادي واﺑﻦ ﻋﻘﻴﻞ‪ ،‬ﺣﺘﻰ اﺳﺘﻜﻤﻠﺖ آراء اﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ ﻓﻴﻬﺎ ﻋﲆ‬ ‫ﺻﻮرﺗﻪ اﻟﻨﻬﺎﺋﻴﺔ ﰲ ﻃﺒﻘﺔ اﻟﺪﻣﺎﻣﻴﻨﻲ واﻟﺴﻴﻮﻃﻲ‪ ،‬واﻷﺷﻤﻮﲏ‪.‬‬ ‫اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﻧﺸﺄﺗﻪ وﺗﻌﻠﻴﻤﻪ وﺛﻘﺎﻓﺘﻪ‪.‬‬ ‫ﻫﻮ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ وان ﳏﻤﺪ زﻳﻦ )زﻳﻦ اﻟﻌﺎﺑﺪﻳﻦ( ﺑﻦ وان ﻣﺼﻄﻔﻰ ﺑﻦ وان ﳏﻤﺪ ﺑﻦ وان ﳏﻤﺪ‬ ‫زﻳﻦ اﻟﻌﺎﺑﺪﻳﻦ ﺑﻦ وان ﳏﻤﺪ ﺻﺎﻟﺢ ﺑﻦ ﻋﲇ اﳌﺸﻬﻮر اﻟﻠﻘﻴﻬﻲ‪ ،‬واﳌﻌﺮوف ﺑﺎﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ اﻟﻔﻄﺎﲏ وﻧﺴﺒﺘﻪ إﱃ‬ ‫ﻓﻄﺎﲏ ﻷﻧﻪ ﻧﺸﺄ وﺗﺮﻋﺮع ﻓﻴﻬﺎ)‪ ،Wan Mohd.Shaghir Abdullah,2500,1,:13‬ﳏﻤﺪ ﻻزم‬ ‫ﺑﻌﺪه‪،‬وﻟ ِ ﺪَ ﰲ ﻗﺮﻳﺔ ﲨﺒﻮ ﺑﻮﻻﻳﺔ ﻓﻄﺎﲏ‪،‬‬ ‫ُ‬ ‫ﻻوي‪2003،‬م‪ ،(16:،‬وﻧﺴﺒﺘﻪ إﻟﻴﻬﺎ ﻛﻨﺴﺒﺔ ﻋﻠﲈء اﻟﻔﻄﺎﻧﻴﲔ ﻣﻦ ﻗﺒﻠﻪ وﻣﻦ‬ ‫ﰲ ﻟﻴﻠﺔ اﳉﻤﻌﺔ‪ ،‬ﻣﻦ ﺷﻬﺮ ﺷﻌﺒﺎن ﺳﻨﺔ ‪1272‬ﻫـ‪ ،‬اﳌﻮاﻓﻖ ﺑـ‪ 10‬إﺑﺮﻳﻞ ﺳﻨﺔ ‪1856‬م)أﲪﺪ ﻓﺘﺤﻲ‬ ‫ﻒ ﺑﺎﳌﻔﻜﺮ اﳌﻮﺳﻮﻋﻲ‬ ‫اﻟﻔﻄﺎﲏ‪،‬د‪.‬ت‪ ،(51:،‬وﻫﻮ ﻓﻘﻴﻪ ﻧﺤﻮي ﺻﻮﰲ أﺷﻌﺮي اﻟﻌﻘﻴﺪة وﺷﺎﻓﻌﻲ اﳌﺬﻫﺐ‪َ ،‬و ُو ِﺻ َ‬ ‫ﺣﻴﺚ اﺳﺘﻮﻋﺐ ﻛﺜﲑا ﻣﻦ اﻟﻌﻠﻮم اﻟﺪﻳﻨﻴﺔ واﻟﺪﻧﻴﻮﻳﺔ ) رﲪﺔ ﺑﻨﺖ أﲪﺪ ﻋﺜﲈن وﺑﺪري ﻧﺠﻴﺐ زﺑﲑ‪2011،‬م‪.(43:،‬‬ ‫وأﻣﺎ أﻣﻪ ﻫﻲ وان ﺟﻴﻚ ﺑﻨﺖ اﳊﺎج ﳏﻤﺪ ﺻﺎﻟﺢ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﺑﻦ اﳊﺎج ﻋﺒﺪ اﻟﻠﻄﻴﻒ )وزﻳﺮ اﻟﺪﻓﺎع اﻟﻔﻄﺎﲏ(‬ ‫ﺑﻦ داﺗﻮء ﻓﻮﺟﻮد وان ﺟﺎغ )‪ (Wan chang‬اﳌﻠﻘﺐ ﺑـ)راج ﻟﻘﲈن(‪ ،‬ﺑﻦ وان ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺻﻔﻲ اﻟﺪﻳﻦ‪ ،‬وﻛﺎن اﻟﺸﻴﺦ‬ ‫ﺻﻔﻲ اﻟﺪﻳﻦ ﻣﻦ ﺳﻼﻟﺔ أﺣﺪ ﺧﻠﻔﺎء ﺑﻨﻲ اﻟﻌﺒﺎس اﳌﻌﺘﺼﻢ ﺑﺎﷲ‪ ،‬اﻟﺬﻳﻦ وﻓﺪوا ﻣﻦ ﺣﴬﻣﻮت ﺑﻼد اﻟﻴﻤﻦ إﱃ‬ ‫ﻓﺎﺳﺎي )‪ (pasai‬وﻫﻲ ﺑﻠﺪ ﺷﺒﻪ اﳉﺰﻳﺮة اﳌﻼﻳﻮﻳﺔ ﻟﻴﺒﻠﻐﻮا رﺳﺎﻟﺔ اﻟﺪﻋﻮة اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ وﻗﺪ ﻳﻨﺘﻬﻲ ﻧﺴﺒﻪ إﱃ ﻋﺒﺎس ﺑﻦ‬ ‫ﻋﺒﺪ اﳌﻄﻠﺐ ﻋﻢ رﺳﻮل اﷲ ﺻﲆ اﷲ ﻋﻠﻴﻪ وﺳﻠﻢ)‪Wan Mohd.Shaghir Abdullah,2500,1,:34-‬‬ ‫‪ .(35‬وﻗﺪ ﺗﻮﰲ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﺑﻤﺮض اﻟﺸﻠﻞ ﺑﻤﻨﻰ ﻋﻨﺪ ﻣﻨﺎﺳﻚ اﳊﺞ ﻟﻴﻠﺔ اﻷرﺑﻌﺎء ‪ 11‬ذي اﳊﺠﺔ‬

‫‪845‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫‪1325‬ﻫـ‪ 1908/‬م‪ ،‬ودﻓﻦ ﰲ ﻣﻘﱪة ﻣﻌﻼ ﻣﻜﺔ اﳌﻜﺮﻣﺔ‪ ،‬وﻗﺪ وﺿﻊ ﻗﱪه ﲢﺖ ِر ْﺟﻞ ﺳﻴﺪة ﺧﺪﳚﺔ زوﺟﺔ رﺳﻮل‬ ‫اﷲ ﺻﲆ اﷲ ﻋﻠﻴﻪ وﺳﻠﻢ)ﳏﻤﺪ ﻻزم ﻻوي‪2003،‬م‪.(28:،‬‬ ‫وﺗﺮﻋﺮع اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﰲ ﺑﻴﺖ ذات ﻋﻠﻢ‪ ،‬وﻛﺎن ﺟﺪه وان ﻣﺼﻄﻔﻰ ﻗﺪ أﺳﺲ ﻛﺘﻴﺒﺔ دﻳﻨﻴﺔ‬ ‫ﺑﻨﺪﻧﺞ داﻳﺎ )‪ ،(Bendang daya‬ﺳﲈه ﺑﺘﻮء ﺑﻨﺪﻧﺞ داﻳﺎ اﻷول‪ ،‬وﻗﺪ ﺣﻔﻆ ﺷﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻌﺾ اﳌﺘﻮن ﻣﻨﺬ‬ ‫ﻃﻔﻮﻟﺘﻪ‪ ،‬وأﺧﺬ اﻟﻌﻠﻢ ﻣﻦ أﺑﻴﻪ‪ ،‬وﺑﻌﺪ ذﻟﻚ أﺧﺬ ﻣﻦ ﻋﻤﻪ اﻟﺸﻴﺦ وان ﻋﺒﺪ اﻟﻘﺎدر ﺑﻦ وان ﻣﺼﻄﻔﻰ‪ ،‬اﳌﻌﺮوف‬ ‫ﺑـ"ﺗﺆﺑﻨﺪﻧﺞ داﻳﺎ"‪ ،‬وﻫﻮ ﻣﻦ اﻟﻌﻠﲈء اﻟﻔﻄﺎﻧﻴﲔ اﳌﺸﻬﻮرﻳﻦ ﰲ ﻣﻨﺘﺼﻒ اﻟﻨﺼﻒ اﻟﺜﺎﲏ ﻟﻠﻘﺮن اﻟﺘﺎﺳﻊ ﻋﴩ‬ ‫اﳌﻴﻼدي)أﲪﺪ ﻓﺘﺤﻲ اﻟﻔﻄﺎﲏ‪،‬د‪.‬ت‪ ،(51:،‬وﰲ ﺳﻨﺔ اﻟﺮاﺑﻊ ذﻫﺐ ﻣﻊ أﺑﻮﻳﻪ إﱃ ﻣﻜﺔ اﳌﻜﺮﻣﺔ ودرس ﻓﻴﻬﺎ اﻟﻌﻠﻮم‬ ‫اﻟﺪﻳﻨﻴﺔ واﻟﻠﻐﻮﻳﺔ‪ ،‬وﻗﺪ ﺣﻔﻆ ﻛﺜﲑا ﻣﻦ اﳌﺘﻮن ‪ ،‬وﻛﺎن ذﻛﻴًﺎ ﺑﺎرﻋً ﺎ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ‪ ،‬وﻋﻨﺪ ﺑﻠﻮﻏﻪ اﻟﺜﺎﲏ ﻋﴩ ﻣﻦ ﻋﻤﺮه أﺧﺬ‬ ‫ﻳُﻌَ ﻠّﻢ اﻟﻨﺤﻮ واﻟﴫف )‪ ،Wan Mohd.Shaghir Abdullah,2005,:40-41‬أﲪﺪ ﻓﺘﺤﻲ‬ ‫اﻟﻔﻄﺎﲏ‪،‬د‪.‬ت‪.(51:،‬‬ ‫وﺑﻌﺪ ﺗﻨﺒﻴﻪ أﺑﻴﻪ ﻋﲆ ﻗﻠﺔ ﺟﻬﻮده ﰲ اﻟﺘﻌﻠﻴﻢ‪ ،‬واﺻﻞ اﻟﺸﻴﺦ رﺣﻼﺗﻪ اﻟﻌﻠﻤﻴﺔ ﻓﺮﺣﻞ إﱃ ﺑﻴﺖ اﳌﻘﺪس‬ ‫وﻣﻜﺚ ﻓﻴﻬﺎ ﺳﻨﺘﲔ‪ ،‬ودرس ﻋﻠﻢ اﻟﻄﺐ وﻏﲑه‪ ،‬ﺣﺘﻰ أﻟﻒ ﻛﺘﺎﺑًﺎ ﰲ اﻟﻄﺐ وﺳﲈه "ﻃﻴﺐ اﻹﺣﺴﺎن ﰲ ﻃﺐ‬ ‫اﻹﻧﺴﺎن"‪ ،‬وﻳﺮوى أﻧﻪ درس ﻋﻠﻢ اﻟﻄﺐ ﻋﲆ اﻟﺸﻴﺦ ﻋﺒﺪ اﻟﺮﺣﻴﻢ اﻟﻘﺒﲇ ﻃﺒﻴﺐ ﻣﻦ اﳍﻨﺪ وﻳﻌﺪ ﻣﻦ أواﺋﻞ اﳌﻼﻳﻮﻳﲔ‬ ‫اﻟﺬﻳﻦ درﺳﻮا ﰲ اﻟﻄﺐ )ﻋﺪﻧﺎن ﳏﻤﺪ زﻳﻦ ﺳﻮﻣﻲ‪2005،‬م‪ ،(146:،‬ﺛﻢ رﺟﻊ إﱃ ﻣﻜﺔ اﳌﻜﺮﻣﺔ ﻣﺮة أﺧﺮى‪ ،‬وﺑﻌﺪ‬ ‫ذﻟﻚ ﺳﺎﻓﺮ إﱃ ﻣﴫ ﻟﻠﺘﻌﻤﻖ ﰲ اﻟﻌﻠﻮم اﻟﺪﻳﻨﻴﺔ ﻛﲈ ﺗﻌﻤﻖ اﻟﺸﻴﺦ داود اﻟﻔﻄﺎﲏ ﺑﺠﺎﻣﻌﺔ اﻷزﻫﺮ اﻟﴩﻳﻒ وذﻟﻚ ﰲ‬ ‫ﺳﻨﺔ ‪1294‬ﻫـ‪ ،‬وﻣﻜﺚ ﻓﻴﻬﺎ ﺳﺒﻊ ﺳﻨﻮات ﺛﻢ رﺟﻊ إﱃ ﻣﻜﺔ اﳌﻜﺮﻣﺔ‪ ،‬وﻛﺎن ﻋﻤﺮه ﱂ ﻳﺘﺠﺎوز ﺛﻼﺛﲔ ﻋﺎﻣﺎ‪ ،‬ﻓﺎﻟﻨﺎس‬ ‫ﻳﻠﻘﺒﻮﻧﻪ ﺑـ اﻟﺸﻴﺦ أﲪﺪ اﻟﺬﻛﻲ اﳌﴫى‪ ،‬وﺑﻌﺪ ذﻟﻚ ﻗﺎم ﺑﺎﻟﺘﺪرﻳﺲ ﰲ ﻣﺴﺠﺪ اﳊﺮام) ‪Mohd.Shaghir‬‬ ‫‪.(Abdullah,2005,:54‬‬ ‫ﻣﺆﻟﻔﺎﺗﻪ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ واﻟﴫف‬ ‫أﻟّﻒ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﻛﺘﺐ ﻛﺜﲑة دﻳﻨﻴﺔ ودﻧﻴﻮﻳﺔ‪ ،‬وﻧﻜﺘﻔﻲ ﻫﻨﺎ ﺑﺬﻛﺮ ﻣﺆﻟﻔﺎﺗﻪ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ‬ ‫واﻟﴫف‪ ،‬وﻫﻲ ﻛﲈ ﻳﲇ‪:‬‬ ‫‪.1‬ﻣﻨﻈﻮﻣﺔ اﻟﻌﻮاﻣﻞ )‪1296‬ﻫـ‪1879/‬م(‬ ‫‪ .2‬ﺗﺴﻬﻴﻞ ﻧﻴﻞ اﻷﻣﺎﲏ ﰲ ﴍح ﻋﻮاﻣﻞ اﳉﺮﺟﺎﲏ )‪1300‬ﻫـ(‬ ‫‪ .3‬إﺑﺮﻳﺰ اﻟﴫف )‪1306‬ﻫـ(‬ ‫‪ .5‬ﻋﻠﻢ اﻟﴫف )‪1317‬ﻫـ‪1900 /‬م(‬ ‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪846‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫‪ .6‬أﺑﻨﻴﺔ اﻷﺳﲈء واﻷﻓﻌﺎل‬ ‫‪ .7‬اﻟﺮﺳﺎﻟﺔ اﻟﻔﻄﺎﻧﻴﺔ‬ ‫‪ .8‬ﻣﺘﻦ ﺿﻢ وﻣﺪﺧﻞ‬ ‫‪ .9‬اﻟﺪرر‬ ‫ﻛﺘﺎب ﺗﺴﻬﻴﻞ ﻧﻴﻞ اﻷﻣﺎﲏ ﰲ ﴍح ﻋﻮاﻣﻞ اﳉﺮﺟﺎﲏ‬ ‫ﻛﺘﺎب ﺗﺴﻬﻴﻞ ﻧﻴﻞ اﻷﻣﺎﲏ ﰲ ﴍح ﻋﻮاﻣﻞ اﳉﺮﺟﺎﲏ ﻫﻮ اﻟﻜﺘﺎب اﻟﺬي ﴍح ﻓﻴﻪ ﻛﺘﺎب ﻋﻮاﻣﻞ اﻟﲈﺋﺔ‬ ‫وﻧﻈﺮا ﻟﺴﻬﻮﻟﺔ اﻟﻜﺘﺎب وﺣﺴﻦ أﺳﻠﻮب أُﺧﺬ ﻛﺜﲑ ﻣﻦ اﻟﻨﺤﺎة ﻳﴩﺣﻪ وﻳﻌﻠﻖ ﻋﻠﻴﻪ‪ ،‬وﻣﻨﻬﻢ‬ ‫ﻟﻌﺒﺪ اﻟﻘﺎﻫﺮ اﳉﺮﺟﺎﲏ‪ً ،‬‬ ‫ﻫﺬا اﻟﺸﻴﺦ‪ .‬وﻗﺪ وﺿﺢ اﻟﺸﻴﺦ ﻫﺪﻓﻪ ﰲ ﴍح ﻫﺬا اﻟﻜﺘﺎب ﰲ ﻣﻘﺪﻣﺘﻪ‪ ،‬ﺑﺄﻧﻪ ﻳﺮى أن ﻛﺘﺎب اﻟﻌﻮاﻣﻞ ﻣﻦ أﻧﻔﻊ‬ ‫اﳌﺘﻮن‪ ،‬وﻳﺘﻨﺎﺳﺐ ﻣﻊ اﻟﺒﻴﺌﺔ اﳌﻼﻳﻮﻳﺔ ﻓﺄﺧﺬ ﺑﴩح ﻫﺬا اﻟﻜﺘﺎب‪ ،‬وﻣﻊ أن اﳌﻼﻳﻮﻳﲔ ﰲ ذﻟﻚ اﻟﻮﻗﺖ ﻳﺴﺘﺨﺪﻣﻮن‬ ‫ﻛﺘﺎب اﻟﻌﻮاﻣﻞ وﻛﺘﺎب ﻣﺘﻦ اﻷﺟﺮوﻣﻴﺔ‪ ،‬وأﻧﻪ أراد ﺑﺬﻟﻚ ﺗﺴﻬﻴﻞ اﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﺼﻌﺒﺔ‪ ،‬وﻟﺬﻟﻚ ﺳﻤﻰ ﻛﺘﺎﺑﻪ‬ ‫ﺗﺴﻬﻴﻞ ﻧﻴﻞ اﻷﻣﺎﲏ ﰲ ﴍح ﻋﻮاﻣﻞ اﳉﺮﺟﺎﲏ‪.‬‬ ‫ﻣﻨﻬﺠﺎ ﲢﻠﻴﻠﻴًﺎ‪ ،‬ﺣﻴﺚ أﺧﺬ ﻳﴩح اﳌﺘﻮن ﻛﲈ ﻓﻌﻠﻪ ﻏﲑه ﻣﻦ اﻟﻨﺤﺎة‪،‬‬ ‫ً‬ ‫وﻛﺎن ﳖﺞ اﻟﺸﻴﺦ ﰲ ﻛﺘﺎﺑﺔ ﻫﺬا اﻟﻜﺘﺎب‬ ‫ﺑﺄﺳﻠﻮب ﺳﻬﻞ وواﺿﺢ وﻣﻴﴪ‪ ،‬وﻳﺴﺘﺸﻬﺪ ﺑﺎﻷﻣﺜﻠﺔ ﻣﻊ ﺑﻴﺎﳖﺎ ﺑﺎﻹﻋﺮاب ﻟﻜﻲ ﻳﻔﻬﻤﻬﺎ اﻟﻄﻼب وﻗﺪ زاد ﻣﺎ ﺗﺮك‬ ‫ﻋﺒﺪ اﻟﻘﺎﻫﺮ اﳉﺮﺟﺎﲏ ﰲ ﺑﻌﺾ ﻋﻮاﻣﻞ‪ ،‬وﻳﻨﻮه أﺣﻴﺎﻧﺎ ﰲ اﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﺘﻲ ﳛﺘﺎج إﱃ اﻟﺘﻨﻮﻳﻪ‪ ،‬وﻳﺴﺘﺸﻬﺪ ﺑﺎﳌﻨﻈﻮﻣﺎت ﰲ‬ ‫ﺑﻌﺾ أﻧﻮاع اﳌﺴﺎﺋﻞ)أﲪﺪ‪ ،‬ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ‪،‬د‪.‬ت‪.(38 :،‬‬ ‫اﺳﺘﺪراﻛﺎت اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﻋﲆ ﻋﺒﺪ اﻟﻘﺎﻫﺮ اﳉﺮﺟﺎﲏ‬ ‫واﺳﺘﺪرك اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﻋﲆ ﻋﺒﺪ اﻟﻘﺎﻫﺮ اﳉﺮﺟﺎﲏ ﻛﲈ اﺳﺘﺪرك اﺑﻦ ﻋﻘﻴﻞ ﻋﲆ‬ ‫اﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ ﰲ ﴍﺣﻪ ﻋﲆ أﻟﻔﻴﺔ‪ ،‬واﺳﺘﺪرﻛﻪ ﻓﻴﻪ ﺑﺄن اﻟﻌﺎﻣﻞ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ اﻟﻌﺮﰊ أﻛﺜﺮ ﻣﻦ ﻣﺎﺋﺔ ﻋﺎﻣﻞ‪ ،‬وﻋﺒﺪ اﻟﻘﺎﻫﺮ ﻗﺪ‬ ‫ﺗﺮك ﺑﻌﺾ اﻟﻌﻮاﻣﻞ )أﲪﺪ‪ ،‬ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ‪،‬د‪.‬ت‪.(11-10 :،‬‬ ‫وﻗﺪ زاد اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﳑﺎ ﺗﺮﻛﻪ ﻋﺒﺪ اﻟﻘﺎﻫﺮ اﳉﺮﺟﺎﲏ ﰲ أرﺑﻊ ﻣﺴﺎﺋﻞ‪ ،‬وﻣﻨﻬﺎ ‪) :‬ﰲ اﻟﻨﻮع اﻟﺜﺎﲏ ‪:‬‬ ‫ﺣﺮوف ﺗﻨﺼﺐ اﻻﺳﻢ وﺗﺮﻓﻊ اﳋﱪ‪ ،‬وﻫﻲ ﺳﺘﺔ أﺣﺮف إ) ِنّ ‪ ،‬أَنّ ‪ ،‬ﻛﺄنّ ‪ ،‬ﻟﻜﻦ‪ ،‬ﻟﻴ َْﺖ( وﻋﺪﻫﺎ ﺑﻌﻀﻬﻢ ﺳﺒﻌﺔ ﺑﺰﻳﺎدة‬ ‫)ﻋﺴﻰ( ﰲ ﻟﻐﺔ ﻓﻬﻲ ﺣﻴﻨﺌﺬ ﺣﺮف ﻛﺎﻣﻞ‪ ،‬وﻻ ﻳﻜﻮن اﺳﻤﻬﺎ إﻻ ﺿﻤﲑا ﺗﻘﻮل ‪) :‬ﻋﺴﺎه زﻳﺪ(‪ ،‬وأﺳﻘﻄﻬﺎ اﳌﺼﻨﻒ‬ ‫ﻟﺸﺪة ﺷﺬوذﻫﺎ‪ ،‬وﻋﺪﻫﺎ ﺑﻌﻀﻬﻢ ﲬﺴﺔ ﺑﺈﺳﻘﺎط " أَنْ " اﳌﻔﺘﻮﺣﺔ اﳍﻤﺰة ﻷﳖﺎ ﻓﺮع ﳌﻜﺴﻮرة اﳍﻤﺰة()أﲪﺪ‪ ،‬ﳏﻤﺪ‬

‫‪847‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ‪،‬د‪.‬ت‪ ،(11-10 :،‬وﻫﺬا ﻳﺪل ﻋﲆ أن اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﻋﺎﱂ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ وﺑﺎرع‬ ‫ﻓﻴﻪ‪.‬‬ ‫ﺧﺎﻟﻒ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﻋﺒﺪ اﻟﻘﺎﻫﺮ اﳉﺮﺟﺎﲏ ﰲ ﺑﻌﺾ اﳌﺴﺎﺋﻞ وﻳﺮﺟﺢ ﻣﻦ‬ ‫اﳌﺴﺎﺋﻞ‪ ،‬وﻗﺪ ﺧﺎﻟﻒ ﰲ ﲬﺲ ﻣﺴﺎﺋﻞ‪ ،‬وﻣﻨﻬﺎ ‪ :‬ﰲ ﻣﺴﺄﻟﺔ ﻋﺎﻣﻞ اﳉﺮ ﰲ ) ُر ّب(‪) ،‬أﲪﺪ‪ ،‬ﳏﻤﺪ زﻳﻦ‬ ‫اﻟﻔﻄﺎﲏ‪،‬د‪.‬ت‪.(8:،‬‬ ‫اﻻﲡﺎﻫﺎت اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ ﻟﺪى اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﻣﻦ ﺧﻼل ﻛﺘﺎﺑﻪ اﻟﺘﺴﻬﻴﻞ‬ ‫وﻗﺪ اﺧﺘﻠﻒ اﻟﻨﺤﺎة ﰲ اﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﻔﺮﻋﻴﺔ ﻛﺜﲑة‪ ،‬ﳑﺎ ﳚﻌﻞ ﻇﻬﻮر اﲡﺎﻫﺎت ﰲ دراﺳﺔ ﻧﺤﻮﻳﺔ‪،‬‬ ‫ﻣﻌﲔ‪ .‬واﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﻣﻦ اﳌﺘﺄﺧﺮﻳﻦ‪ ،‬ﻓﲈ ﻫﻲ اﲡﺎﻫﺎﺗﻪ‬ ‫وارﺗﺒﻂ ذﻟﻚ اﻻﲡﺎه ﺑﺈﻗﻠﻴﻢ ﻋﺮﰊ ّ‬ ‫اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﺘﻲ ﻗﺪ اﺧﺘﻠﻒ اﻟﻨﺤﺎة ﻓﻴﲈ ﺑﻴﻨﻬﻢ‪.‬‬ ‫وﻣﻦ ﺧﻼل دراﺳﺔ اﻟﺒﺎﺣﺜﺔ ﰲ اﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﺘﻲ اﺧﺘﻠﻒ ﻓﻴﻬﺎ اﻟﻨﺤﺎة‪ ،‬ﺛﻢ ﳛﻠﻞ ذﻟﻚ إﱃ اﻵراء‬ ‫اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ ﻟﺪى اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ‪ ،‬وﺟﺪت أن اﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﺘﻲ اﺧﺘﻠﻒ اﻟﻨﺤﺎة ﰲ ﻛﺘﺎﺑﻪ‬ ‫ﺳﺒﻊ وﺛﻼﺛﲔ ﻣﺴﺄﻟﺔ‪ ،‬وﻗﺪ ﻳﻤﻴﻞ اﻟﺸﻴﺦ إﱃ اﻟﺒﴫﻳﲔ ﰲ ﺳﺒﻊ وﻋﴩﻳﻦ ﻣﺴﺄﻟﺔ وﻫﺬا اﻷﻛﺜﺮ‪ ،‬وﻳﻠﻴﻪ اﻟﻜﻮﻓﻴﲔ ﰲ‬ ‫أرﺑﻊ ﻣﺴﺎﺋﻞ‪ ،‬وﺑﻌﺪ ذﻟﻚ ﻳﻤﻴﻞ إﱃ رأي ﲨﻬﻮر اﻟﻨﺤﺎة ﰲ ﻣﺴﺄﻟﺘﲔ‪ ،‬ﺛﻢ إﱃ اﳌﱪد واﻟﲈزﲏ واﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ واﻟﺴﻴﻮﻃﻲ‪،‬‬ ‫وﻟﻜﻞ ﻣﻨﻬﻢ ﻣﺴﺄﻟﺔ واﺣﺪة‪ ،‬واﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﺘﻲ ﻳﻤﻴﻞ إﻟﻴﻬﺎ اﻟﺸﻴﺦ ﻛﲈ ﻳﲇ ‪:‬‬ ‫أوﻻ ‪ :‬اﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﺘﻲ ﻳﻤﻴﻞ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ إﱃ اﻟﺒﴫﻳﲔ ﰲ ﺳﺒﻊ وﻋﴩﻳﻦ ﻣﺴﺄﻟﺔ‪ ،‬وﻫﻲ ‪(1 :‬‬ ‫ً‬ ‫) ُر ّب( ﻫﻞ ﻫﻲ ﺣﺮف أو اﻻﺳﻢ؟‪ .(2 ،‬اﻟﺘﻤﻴﻴﺰ ﰲ ﺿﻤﲑ ﻣﺒﻬﻢ ﰲ ) ُر ّب(‪ ) .(3 ،‬واو ُر ّب( ‪ ،‬ﻫﻞ ﻫﻲ ﺗﻌﻤﻞ اﳉﺮ؟‪،‬‬ ‫‪ .(4‬اﻟﻘﻮل ﰲ إﻋﺮاب اﻻﺳﻢ اﻟﻮاﻗﻊ ﺑﻌﺪ ) ﻣﺬ( و ) ﻣﻨﺬ( ‪ .(5 ،‬اﻟﻘﻮل ﰲ اﻟﻌﺎﻣﻞ ﰲ اﳋﱪ ﺑﻌﺪ ) ﻣﺎ( اﻟﻨﺎﻓﻴﺔ اﻟﻨ ّْﺼ َﺐ‪،‬‬ ‫‪ .(6‬اﻟﻘﻮل ﰲ ﻋﺪم ﻳﻘﱰن ) ﻣﺎ( اﻟﻨﺎﻓﻴﺔ ﺧﱪﻫﺎ ﺑـ) ّإﻻ( ‪ .(7 ،‬ﻋﺎﻣﻞ اﳌﻨﺎدى‪ .(8 ،‬اﳌﻨﺎدى اﳌﻔﺮد اﻟﻌﻠﻢ‪ ،‬ﻣﻌﺮب أو‬ ‫ﻌْﻢ( و)ِﺑﺌ ْﺲ" ‪ ،‬ﻓﻌﻼن ﳘﺎ أم إﺳﲈن؟‪ .(10 ،‬اﻟﻘﻮل ﰲ ﻧﺎﺻﺐ اﻟﻔﻌﻞ اﳌﻀﺎرع ﺑﻌﺪ )ﻻم اﻟﺘﻌﻠﻴﻞ( ‪،‬‬ ‫(‪َ ِ ).‬‬ ‫ﻣﺒﻨﻲ؟‪ 9 ،‬ﻧ‬ ‫ﺘﻰ( اﻟﻔﻌﻞ اﳌﻀﺎرع ﺑﻨﻔﺴﻬﺎ؟‪ .(12 ،‬ﻫﻞ ﳚﻮز إﻇﻬﺎر ) أنَ ْ( اﳌﺼﺪرﻳﺔ ﺑﻌﺪ ) َﺣﺘّﻰ( ‪.(13 ،‬‬ ‫‪ .(11‬ﻫﻞ ﺗﻨﺼﺐ ) َﺣ ّ‬ ‫ﻫﻞ ﺗﻨﺼﺐ ) ﻻمـ اﳉﺤﻮد( ﺑﻨﻔﺴﻬﺎ؟‪ ،‬وـﻫﻞ ﳚﻮز إﻇـﻬﺎر ) أَ ـْن ( ﺑﻌﺪﻫﺎ؟ـ‪ .(14 ،‬ﻫﻞ ﺗﺄﰐـ ) ﻛَ ْﻲ( ﺣـﺮف ﺟﺮ وﺗـﺄﰐ‬ ‫) ـَﻛ ْﻲ( ﻧـﺎﺻﺒﺔ اﻟـﻔﻌﻞ؟ـ‪،‬ـ ‪ .(15‬ﻫـﻞ ﳚﻮزـ إـﻇـﻬﺎرـ ) أـ ـَن ْ( اـﳌﺼﺪرـﻳـﺔ ﺑـﻌﺪﻟ) ِ ﻜ َْﻲ( ؟ـ‪،‬ـ ‪ .(16‬ﻋـﺎﻣﻞ اـﻟـﻨﺼﺐ ﰲـ اـﻟـﻔﻌﻞ‬ ‫اﳌﻀﺎرع ﺑﻌﺪ )أو( و )واو اﳌﻌﻴﺔ( و )ﻓﺎء اﻟﺴﺒﺒﻴﺔ(‪ .(17 ،‬راﻓﻊ اﳌﺒﺘﺪأ وراﻓﻊ اﳋﱪ‪ .(18 ،‬اﻟﻘﻮل ﰲ راﻓﻊ اﳋﱪ ﺑﻌﺪ‬ ‫)إنﱠ ( اﳌﺆﻛﺪة‪ .(19 ،‬ﻫﻞ ) ﻛﺎن وأﺧﻮاﲥﺎ( ﺗﻌﻤﻞ ﰲ رﻓﻊ اﻻﺳﻢ وﻧﺼﺐ اﳋﱪ؟‪ .(20 ،‬ﻋﺎﻣﻞ اﻟﻨﺼﺐ ﰲ اﳌﻔﻌﻮل‬ ‫ﻣﻌﻪ‪ .(21 ،‬ﳚﺐ أن ﻳﻜﻮن ﲤﻴﻴﺰ )ﻛ َْﻢ( اﻻﺳﺘﻔﻬﺎﻣﻴﺔ ﻣﻔﺮدًا ‪ .(22‬ﻫﻞ ﳚﻮز ﲤﻴﻴﺰ )ﻛَ ْﻢ( اﻻﺳﺘﻔﻬﺎﻣﻴﺔ ‪ .(23‬إذا ﻓﺼﻞ‬ ‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪848‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﺑﲔ )ﻛَ ْﻢ( اﳋﱪﻳﺔ وﲤﻴﻴﺰﻫﺎ ﻓﻬﻞ ﻳﺒﻘﻰ اﻟﺘﻤﻴﻴﺰ ﳎﺮورا‪ .(24 ،‬اﳉﺮ ﻟﺘﻤﻴﻴﺰ)ﻛَ ْﻢ( اﳋﱪﻳﺔ‪ .(25 ،‬ﰲ ﳎﺮور ) ﻛﺄَ ﻳّﻦْ ( ‪،‬‬ ‫‪ .(26‬ﻫﻞ ﻳﻜﻮن )إ ِ ذ َْﻣﺎ( ﺣﺮف؟‪ .(27 ،‬ﻋﺎﻣﻞ اﳉﺮ ﰲ ﻣﻀﺎف إﻟﻴﻪ‪.‬‬ ‫ﺛﺎﻧﻴًﺎ ‪ :‬ﻣﻦ اﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﺘﻲ ﻳﻤﻴﻞ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ إﱃ اﻟﻜﻮﻓﻴﲔ‪ ،‬وﻫﻲ ‪ .1 :‬ﻫﻞ ﺗﻘﻊ ) ِ ﻣﻦْ ( ﻻﺑﺘﺪاء‬ ‫اﻟﻐﺎﻳﺔ ﰲ اﻟﺰﻣﺎن؟‪ .2 ،‬اﻟﻘﻮل ﰲ راﻓﻊ اﻟﻔﻌﻞ اﳌﻀﺎرع‪ .3 ،‬ﻫﻞ ﳚﻮز ﺗﻘﺪﻳﻢ ﺧﱪ ) ﻣﺎزال وأﺧﻮاﲥﺎ( ﻋﻠﻴﻬﻦ؟‪.4 ،‬‬ ‫ﻫﻞ ﳚﻮز ﺗﻘﺪﻳﻢ ﺧﱪ )ﻟﻴﺲ(ﻋﻠﻴﻬﺎ؟‪.‬‬ ‫ﺛﺎﻟﺜًﺎ ‪ :‬ﻣﻦ اﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﺘﻲ ﻳﻤﻴﻞ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ إﱃ ﲨﻬﻮر اﻟﻨﺤﺎة ﻣﺴﺄﻟﺘﺎن‪ ،‬ﳘﺎ ‪ .1 :‬ﻫﻞ )ﻟَﻴ َْﺲ(‬ ‫ﻓﻌﻞ أو ﺣﺮف؟‪ ) .2 ،‬ﻋَ َﺴﻰ( ﻓﻌﻞ أم ﺣﺮف؟‪.‬‬ ‫ﺎﺷﺎ( ﰲ اﻻﺳﺘﺜﻨﺎء‪،‬‬ ‫راﺑﻌً ﺎ ‪ :‬ﻣﻦ اﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﺘﻲ ﻳﻤﻴﻞ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ إﱃ اﳌﱪد ﻣﺴﺄﻟﺔ واﺣﺪة وﻫﻲ ‪َ ) :‬ﺣ َ‬ ‫ﻓﻌﻞ أو ﺣﺮف أوذات وﺟﻬﲔ‪.‬‬ ‫ﺧــﺎﻣـ ًـﺴﺎ ‪ :‬ﻣــﻦ اـﳌــﺴﺎﺋــﻞ اـﻟــﻨﺤﻮﻳــﺔ ا ـﻟــﺘﻲ ﻳــﻤﻴﻞ ﲠــﺎ إ ـﱃـ اـﻟــﺴﻴﻮﻃــﻲ ﻣــﺴﺄﻟــﺔ وـا ـﺣــﺪةـ‪،‬ـ و ـﻫــﻲ ‪ :‬ﻫــﻞ ) ُرـ ّبـ( ﻟــﻠﺘﻘﻠﻴﻞ أــو‬ ‫ﻟﻠﺘﻜﺜﲑ؟‪.‬‬ ‫ﺳﺎدﺳﺎ ‪ :‬ﻣﻦ اﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﺘﻲ ﻳﻤﻴﻞ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ إﱃ اﻟﲈزﲏ ﻣﺴﺄﻟﺔ واﺣﺪة‪ ،‬وﻫﻲ ‪ :‬ﳚﺐ رﻓﻊ اﻟﻮﺻﻒ‬ ‫ً‬ ‫أَي(‪.‬‬ ‫ﺑﻌﺪ ﻧﺪاء ) ْ‬ ‫ﺳﺎﺑﻌً ﺎ ‪ :‬ﻣﻦ اﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﺘﻲ ﻳﻤﻴﻞ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ إﱃ اﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ أو اﳉﺮﺟﺎﲏ ﻣﺴﺄﻟﺔ واﺣﺪة ‪ :‬اﻟﻘﻮل ﰲ‬ ‫اﻟﻌﺎﻣﻞ اﳌﺴﺘﺜﻨﻰ اﻟﻨﺎﺻﺒﺔ‪.‬‬ ‫ﻣﺎ ﻳﺆﻳﺪ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ آراء اﻟﻨﺤﺎة ﰲ ﻛﺘﺎﺑﻪ‬ ‫ﻣﺴﺄﻟﺔ ‪ :‬اﻟﻮاو اﻟﺘﻲ ﺗﻨﺼﺐ اﻻﺳﻢ ﻋﲆ أﻧﻪ اﳌﻔﻌﻮل ﻣﻌﻪ‪.‬‬ ‫وﻫﺬه ﻫﻲ اﳌﺴﺄﻟﺔ ﻳﺆﻳﺪ اﻟﺸﻴﺦ ﻓﻴﻬﺎ رأي اﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ‪ ،‬وﻫﻮ ﻳﻘﻮل ‪ ) :‬ﻛﻮن اﻟﻮاو ﻫﻲ اﻟﻨﺎﺻﺒﺔ ﻟﻠﻤﻔﻌﻮل ﻣﻌﻪ‬ ‫ﻫﻮ ﻣﺬﻫﺐ ﻗﻮم ﻣﻨﻬﻢ اﳌﺼﻨﻒ واﻟﺼﺤﻴﺢ أن اﻟﻨﺎﺻﺐ ﻟﻪ ﻫﻮ ﻣﺎ ﺳﺒﻘﻬﺎ ﻣﻦ ﻓﻌﻞ أو ﺷﺒﻬﻪ‪ ،‬ﻗﺎل اﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ –رﲪﻪ‬ ‫اﷲ‪ )-‬أﲪﺪ‪ ،‬ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ‪،‬د‪.‬ت‪: (14:،‬‬ ‫ﺑـﲈ ﻣﻦ اﻟﻔـﻌﻞ وﺷﺒﻬـﻪ ﺳﺒﻖ‬

‫ذا اﻟﻨﺼﺐ ﻻ ﺑﺎﻟﻮاو ﰲ اﻟﻘﻮل اﻷﺣﻖ(‬

‫ﻣﺴﺄﻟﺔ ‪) :‬إذ ﻣﺎ( اﺳﻢ أو ﺣﺮف‪.‬‬ ‫وـﻫــﺬهـ اـﳌـﺴﺄﻟــﺔ ﻳــﺆﻳــﺪ ﻓــﻴﻬﺎ اـﻟــﺸﻴﺦ ﻗــﻮلـ اـﺑــﻦ ﻣــﺎﻟــﻚ‪،‬ـ ﺣـﻴﺚ ذـﻛــﺮ ﻓــﻴﻪ ﻗــﻮلـ اـﺑــﻦ ﻣــﺎﻟـﻚ ‪ ) :‬ﻗــﺎلـ اـﺑــﻦ ﻣــﺎﻟــﻚ ‪:‬‬ ‫) وﺣﺮف إذﻣﺎ‪ ،‬ﻛﺎن وﺑﺎﻗﻲ اﻷدوات اﺳﲈ ) ﲡﺰم اﻟﻔﻌﻠﲔ اﳌﻀﺎرﻋﲔ( اﻷول ﻣﻨﻬﲈ ﻓﻌﻞ اﻟﴩط‪ ،‬واﻟﺜﺎﲏ ﺟﻮاﺑﻪ‬

‫‪849‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫وﺟﺰاءه() أﲪﺪ‪ ،‬ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ‪،‬د‪.‬ت‪.(22:،‬‬ ‫ﻣﺴﺄﻟﺔ ‪ :‬اﻟﺘﻤﻴﻴﺰ‪.‬‬ ‫وﰲ اﻟﺘﻤﻴﻴﺰ ذﻛﺮ ﻓﻴﻬﺎ رأي اﻟﺒﴫﻳﲔ‪ ،‬ﺣﻴﺚ ﻗﺎل ‪) :‬ﻷن اﻟﺘﻤﻴﻴﺰ ﻋﻨﺪ اﻟﺒﴫﻳﲔ ﻻ ﻳﻜﻮن إﻻ ﻧﻜﺮة() أﲪﺪ‪،‬‬ ‫ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ‪،‬د‪.‬ت‪.(24:،‬‬ ‫ﻣﺴﺄﻟﺔ ‪ :‬اﻟﻌﺎﻣﻞ ﰲ اﳌﺒﺘﺪأ واﳋﱪ‪.‬‬ ‫وﰲ ﻫﺬه اﳌﺴﺄﻟﺔ ﺟﺮى اﻟﺸﻴﺦ ﳎﺮى ﺳﻴﺒﻮﻳﻪ واﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ‪ ،‬ﺣﻴﺚ ﻗﺎﺋﻞ ‪ ) :‬ﻫﺬا وﻛﻮن اﻟﻌﺎﻣﻞ ﻓﻴﻬﲈ ﻣﻌﻨﻮﻳﺎ‬ ‫وﻫﻮ اﻻﺑﺘﺪاء ﻫﻮ ﻣﺎ ذﻫﺐ إﻟﻴﻪ ﻗﻮم ﻣﻨﻬﻢ اﳌﺼﻨﻒ رﲪﻪ اﷲ واﻷﺻﺢ ﻣﺎ ذﻫﺐ إﱃ ﺳﻴﺒﻮﻳﻪ‪ ،‬وﻫﻮ أن اﳌﺒﺘﺪأ ﻣﺮﻓﻮع‬ ‫ﺑﺎﻻﺑﺘﺪاء واﳋﱪ ﻣﺮﻓﻮع ﺑﺎﳌﺒﺘﺪأ‪ ،‬وﺟﺮى ﻋﲆ ﻫﺬا اﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ ﰲ اﻷﻟﻔﻴﺔ ﺣﻴﺚ ﻗﺎل ‪:‬‬ ‫ورﻓﻌﻮا ﻣﺒﺘﺪأ ﺑﺎﻻﺑﺘﺪا‬

‫ﻛﺬاك رﻓﻊ ﺧﱪ ﺑﺎﳌﺒﺘﺪا(‬

‫ﻣﺴﺄﻟﺔ ‪ :‬اﻟﻌﺎﻣﻞ ﰲ ﻓﻌﻞ اﳌﻀﺎرع‬ ‫ﻓﺎﻟﻨﺤﻮﻳﻮن ﻗﺪ اﺧﺘﻠﻔﻮا ﰲ ﻋﺎﻣﻞ ﰲ ﻓﻌﻞ ﻣﻀﺎرع‪ ،‬وﻫﺬه اﳌﺴﺄﻟﺔ ﻳﺆﻳﺪ اﻟﺸﻴﺦ رأي اﻟﻔﺮاء وأﺻﺤﺎﺑﻪ ﻣﻦ‬ ‫اﻟﻜﻮﻓﻴﲔ‪،‬ـ وﻳﻘﻮلـ ﻓﻴﻪ ‪ )) :‬واـﻷﺻﺢ ﻣﺎ ذﻫـﺐ إﻟﻴﻪ اـﻟﻔﺮاءـ وأﺻﺤﺎﺑﻪ ﻣـﻦ أن رـاﻓﻌﻪ ﻫﻮ ﻧـﻔﺲ ﲡﺮدهـ ﻋﻦ اﻟـﻨﺎﺻﺐ‬ ‫واﳉﺎزم() أﲪﺪ‪ ،‬ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ‪،‬د‪.‬ت‪.(37:،‬‬ ‫وﺗﺮى اﻟﺒﺎﺣﺜﺔ ﻣﺎ ﻳﺆﻳﺪه اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﻣﻦ أﻗﻮال وآراء اﻟﻨﺤﺎة ﻓﻴﻬﺎ‪ ،‬ﻳﻈﻬﺮ أن‬ ‫اﻟﺸﻴﺦ اﺧﺘﺎر اﻷﺻﺢ ﻣﻦ ﺗﻠﻚ اﻵراء واﳌﺬاﻫﺐ واﺳﺘﺸﻬﺪ ﺑﺎﳊﺠﺞ اﳉﻴﺪة ﻓﻴﻬﺎ‪ ،‬ورﻓﺾ اﻵراء اﻟﺘﻲ ﱂ ﺗﻜﻦ ﻓﻴﻬﺎ‬ ‫ﺣﺠﺔ‪.‬‬ ‫ﺧﺎﲤﺔ‬ ‫اـﳊــﻤﺪﻟــﻠﻪ وـﺣــﺪه ـ اـﻟــﺬي ـ أـﻧــﻌﻢ ﻋـ ّـﲇ ﺑــﺈﻧــﺠﺎز ـ ﻫــﺬا ـ ا ـﻟــﺒﺤﺚ ﻓــﻠﻪ ﺛــﻨﺎءـ ا ـﳉــﻤﻴﻞ‪،‬ـ و ـا ـﻟــﺸﻜﺮ ا ـﻟــﻌﻤﻴﻢ ﰲـ ا ـﻷ ـوــﱃ‬ ‫واﻵﺧﺮة‪ ،‬واﻟﺼﻼة واﻟﺴﻼم ﻋﲆ اﳌﺒﻌﻮث رﲪﺔ ﻟﻠﻌﺎﳌﲔ‪ ،‬وﺑﻌﺪ ‪:‬‬ ‫وﻟﻠﻨﺤﻮ اﻟﻌﺮﰊ ﻣﺪارس اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ‪ ،‬ﺑﺎﳋﻼف ﻣﻨﺎﻫﺞ وأﺳﻠﻮب إﺳﺘﻘﺮاء اﻟﻠﻐﺔ ﺑﲔ اﻟﻨﺤﺎة‪ ،‬واﺧﺘﻼﻓﻬﻢ ﰲ‬ ‫اﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﻔﺮﻋﻴﺔ‪ ،‬وﻛﺎن أﺳﺎس ﺗﺸﻌﺐ ﺑﻴﻨﻬﻢ ﻫﻮ اﺧﺘﻼف ﺑﲔ ﻣﺪرﺳﺘﲔ اﻟﺒﴫﻳﺔ واﻟﻜﻮﻓﻴﺔ‪ ،‬وﻟﻜﻞ‬ ‫ﻣﻌﲔ‪ ،‬وﺗﺒﺤﺚ اﻟﻨﺤﺎة ﺑﻌﺪه اﻷﺻﺢ ﻣﻦ ﻧﺤﺎة‬ ‫ﻣﺪرﺳﺔ ﺟﺬور وأﺻﻮل ﺗﻘﻮم ﻋﻠﻴﻬﺎ‪ ،‬ﻓﺄﺻﺒﺤﺖ ﻣﺴﺘﻘﻠﺔ إﱃ ﺣﺪ ّ‬ ‫وﻗﺴﻤﻬﺎ ﺣﺴﺐ إﻗﻠﻴﻤﻬﻢ اﳌﻌﲔ‪ ،‬واﳌﺪرﺳﺔ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﳌﺸﻬﻮرة‬ ‫ﻗﺴﻢ اﻟﻨﺤﺎة إﱃ ﻣﺪارس اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ‪ّ ،‬‬ ‫اﻷوﻟﲔ ‪ ،‬ﻟﺬا ّ‬ ‫ﲬﺴﺔ؛ وﻫﻲ اﳌﺪرﺳﺔ اﻟﺒﴫﻳﺔ‪ ،‬واﳌﺪرﺳﺔ اﻟﻜﻮﻓﻴﺔ‪ ،‬واﳌﺪرﺳﺔ اﻟﺒﻐﺪادﻳﺔ‪ ،‬واﳌﺪرﺳﺔ اﻷﻧﺪﻟﺴﻴﺔ‪ ،‬واﳌﺪرﺳﺔ‬ ‫اﳌﴫﻳﺔ‪ ،‬وﻟﺬا ﺗﻨﻔﻲ ﳌﻦ ردّ ﰲ ﻋﺪم وﺟﻮد ﻣﺪرﺳﺔ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ‪ ،‬واﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ ﺗﻌﺪ ﻣﻦ أول‬ ‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪850‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫ﻧﺤﺎة اﻟﻔﻄﺎﻧﻴﲔ‪ ،‬وﻟﻪ ﻣﺆﻟﻔﺎت ﰲ اﻟﻨﺤﻮ واﻟﴫف وأﺷﻬﺮﻫﺎ ﻛﺘﺎب ﺗﺴﻬﻴﻞ ﻧﻴﻞ اﻷﻣﺎﲏ ﰲ ﴍح ﻋﻮاﻣﻞ اﳉﺮﺟﺎﲏ‬ ‫ﻧﻈﺮا ﻟﺴﻬﻮﻟﺔ اﻟﻜﺘﺎب وﺣﺴﻦ أﺳﻠﻮب‬ ‫ﻫﻮ اﻟﻜﺘﺎب اﻟﺬي ﴍح ﻓﻴﻪ ﻛﺘﺎب ﻋﻮاﻣﻞ اﻟﲈﺋﺔ ﻟﻌﺒﺪ اﻟﻘﺎﻫﺮ اﳉﺮﺟﺎﲏ ً‬ ‫واﻹﳚﺎز ﳑﺎ ﻳﻘﻮم ﻛﺜﲑ ﻣﻦ اﻟﻨﺤﺎة ﺑﴩﺣﻪ وﺗﻌﻠﻴﻘﻪ وﻣﻨﻬﻢ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ‪ ،‬وواﻓﻖ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ‬ ‫اﻟﻔﻄﺎﲏ ﻣﻊ ﻋﺒﺪ اﻟﻘﺎﻫﺮ اﳉﺮﺟﺎﲏ ﰲ أﻛﺜﺮ اﳌﺴﺎﺋﻞ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ اﻟﻮاردة ﰲ ﻛﺘﺎﺑﻪ‪ ،‬وﻣﻊ ذﻟﻚ ﺧﺎﻟﻔﻪ أﻳﻀ ًﺎ ﰲ ﺑﻌﺾ‬ ‫ﻣﺴﺎﺋﻠﻪ‪ .‬وﻣﻦ ﺧﻼل دراﺳﺔ آراء ﺷﻴﺦ وان أﲪﺪ اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ ﰲ ﻛﺘﺎﺑﻪ اﻟﺘﺴﻬﻴﻞ ﻳﻈﻬﺮ أﻧﻪ ﺑﴫي اﻻﲡﺎه‪ ،‬ﻷﻧﻪ اﺗﻔﻖ ﻣﻊ‬ ‫آراء ﻫﺬه اﳌﺪرﺳﺔ ﰲ ﺳﺒﻊ وﻋﴩﻳﻦ ﻣﺴﺄﻟﺔ ﺛﻢ اﺗﻔﻖ ﻣﻊ اﻟﻜﻮﰲ ﰲ أرﺑﻊ ﻣﺴﺎﺋﻞ‪ ،‬وﳜﺘﺎر ﻣﻦ ﻣﺬﻫﺐ اﳌﱪد واﻟﲈزﲏ‬ ‫واﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ واﻟﺴﻴﻮﻃﻲ ﻣﺴﺄﻟﺔ واﺣﺪة ﻟﻜﻞ ﻣﻨﻬﻢ إن اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﻛﺸﺄن اﳌﺘﺄﺧﺮﻳﻦ ﻣﻦ اﻷﻧﺪﻟﺴﻴﲔ واﳌﴫﻳﲔ‬ ‫اﻟﺬﻳﻦ ﳜﺘﺎرون وﻳﻨﺘﺨﺒﻮن اﻷﺻﺢ ﻣﻦ اﻵراء اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ ﻟﻠﻤﺪارس اﻟﺴﺎﺑﻘﺔ ﺗﺄﺛﺮ اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ‬ ‫اﻟﻔﻄﺎﲏ ﺑﺸﻜﻞ ﻣﻠﻤﻮس ﺑﺂراء اﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ ﺣﻴﺚ أﺗﻰ ﺑﺄﺑﻴﺎت أﻟﻔﻴﺘﻪ أرﺑﻊ ﻣﺮات ﰲ ﻛﺘﺎﺑﻪ‪ ،‬وإن ﻛﺎن ﻗﺪ رﻓﺾ آراءه ﰲ‬ ‫ﺑﻌﺾ اﳌﺴﺎﺋﻞ‪.‬‬ ‫اﳌﺼﺎدر واﳌﺮاﺟﻊ‬ ‫اﻟﻘﺮآن اﻟﻜﺮﻳﻢ‬ ‫اﺑﻦ ﺟﻨﻲ‪ ،‬أﺑﻮ اﻟﻔﺘﺢ ﻋﺜﲈن‪.‬د‪.‬ت‪ .‬اﳋﺼﺎﺋﺺ‪ 3 .‬أﺟﺰاء‪ .‬ﻣﴫ ‪ :‬اﳌﻜﺘﺒﺔ اﻟﻌﻠﻤﻴﺔ‪.‬‬ ‫اﻟﴪاج‪ ،‬أﺑﻮ ﺑﻜﺮ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺑﻦ ﺳﻬﻞ‪ .1996-1417 .‬اﻷﺻﻮل ﰲ اﻟﻨﺤﻮ‪ .‬ط ‪ 3 .3:‬أﺟﺰاء‪ .‬ﺑﲑوت ‪ :‬ﻣﺆﺳﺴﺔ‬ ‫اﺑﻦ ّ‬ ‫اﻟﺮﺳﺎﻟﺔ‪.‬‬ ‫اﺑﻦ ﻣﻨﻈﻮر‪ ،‬ﲨﺎل اﻟﺪﻳﻦ أﰊ اﻟﻔﻀﻞ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻣﻜﺮم‪ .2003-1423 .‬ﻟﺴﺎن اﻟﻌﺮب‪ .‬ط‪ 6 .1 :‬اﳌﺠﻠﺪات‪.‬‬ ‫ﺑﲑوت ‪ :‬دار اﻟﻜﺘﺐ اﻟﻌﻠﻤﻴﺔ‪.‬‬ ‫اﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ‪ ،‬ﲨﺎل اﻟﺪﻳﻦ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ اﷲ‪.1990-1410.‬ﴍح اﻟﺘﺴﻬﻴﻞ ﻻﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ‪ 4 .‬أﺟﺰاء‪ .‬ط ‪ .1 :‬ﺟﻴﺰة ‪:‬‬ ‫ﻫﺠﺮ ﻟﻠﻄﺒﺎﻋﺔ واﻟﻨﴩواﻟﺘﻮزﻳﻊ واﻹﻋﻼن‪.‬‬ ‫اﺑﻦ ﻋﻘﻴﻞ‪ ،‬ﲠﺎء اﻟﺪﻳﻦ ﻋﺒﺪاﻟﻠﻪ‪.1988-1409.‬ﴍح اﺑﻦ ﻋﻘﻴﻞ‪ .‬ﺟﺰﺋﲔ‪ .‬ﺑﲑوت ‪ :‬اﳌﻜﺘﺒﺔ اﻟﻌﴫﻳﺔ‪.‬‬ ‫اﺑﻦ ﻳﻌﻴﺶ‪ ،‬ﻣﻮﻓﻖ اﻟﺪﻳﻦ‪) .‬د‪.‬ت(‪ .‬ﴍح ﻣﻔﺼﻞ‪ 10 .‬أﺟﺰاء‪ .‬ﻣﴫ ‪ :‬إدارة اﻟﻄﺒﺎﻋﺔ اﳌﻨﲑﻳﺔ‪.‬‬ ‫اﺑﻦ ﻫﺸﺎم‪ ،‬ﻋﺒﺪ اﷲ اﻷﻧﺼﺎري‪ .‬د‪.‬ت‪ .‬أوﺿﺢ اﳌﺴﺎﻟﻚ إﱃ أﻟﻔﻴﺔ ﺑﻦ ﻣﻠﻚ‪ 4 .‬أﺟﺰاء‪ ،‬ﺑﲑوت ‪ :‬اﳌﻜﺘﺒﺔ اﻟﻌﴫﻳﺔ‪.‬‬ ‫اﺑﻦ ﻫﺸﺎم‪ ،‬ﻋﺒﺪ اﷲ ﺑﻦ ﻳﻮﺳﻒ‪2004 .‬م‪ .‬ﴍح ﺷﺬور اﻟﺬﻫﺐ ﰲ ﻣﻌﺮﻓﺔ ﻛﻼم اﻟﻌﺮب‪ .‬اﻟﻘﺎﻫﺮة ‪ :‬داراﻟﻄﻼﺋﻊ‬ ‫ﻟﻠﻨﴩ واﻟﺘﻮزﻳﻊ واﻟﺘﺼﺪﻳﺮ‪.‬‬

‫‪851‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫اﺑﻦ ﻫﺸﺎم‪ ،‬ﻋﺒﺪ اﷲ ﺑﻦ ﻳﻮﺳﻒ‪ .1990-1410 .‬ﴍح ﻗﻄﺮ اﻟﻨﺪى وﺑﻞ اﻟﺼﺪى‪ .‬ط ‪ ، 1 :‬دﻣﺸﻖ ‪ :‬داراﳋﲑ‬ ‫ﻟﻠﻄﺒﺎﻋﺔ واﻟﻨﴩواﻟﺘﻮزﻳﻊ‪.‬‬ ‫اﺑﻦ ﻫﺸﺎم‪ ،‬ﻋﺒﺪ اﷲ ﺑﻦ ﻳﻮﺳﻒ‪.2000-1421.‬ﻣﻐﻨﻲ اﻟﻠﺒﻴﺐ ﻋﻦ ﻛﺘﺐ اﻷﻋﺎرﻳﺐ‪ 7 ،‬أﺟﺰاء‪ .‬ط ‪ .1 :‬اﻟﻜﻮﻳﺖ ‪:‬‬ ‫اﻟﱰاث اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪.‬‬ ‫ﻋﲈن ‪ :‬دار اﻟﻔﻜﺮ ﻟﻠﻨﴩ واﻟﺘﻮزﻳﻊ‪.‬‬ ‫إﺑﺮاﻫﻴﻢ اﻟﺴﺎﻣﺮاﺋﻲ)د(‪1987 .‬م‪ .‬اﳌﺪارس اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ أﺳﻄﻮرة وواﻗﻊ‪ّ .‬‬ ‫إﺑﺮاﻫﻴﻢ ﺗﻴﻪ ﻫﻲ‪2010.‬م‪.‬ﺷﻌﺮ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ ﺑﻦ ﻣﺼﻄﻔﻰ اﻟﻔﻄﺎﲏ دراﺳﺔ وﲢﻘﻴﻖ‪ .‬ﺑﺤﺚ ﺗﻜﻤﻴﲇ ﻟﻨﻴﻞ‬ ‫درﺟﺔ اﻟﺪﻛﺘﻮراه ﰲ اﻟﻌﻠﻮم اﻹﻧﺴﺎﻧﻴﺔ‪ .‬ﻛﻠﻴﺔ ﻣﻌﺎرف اﻟﻮﺣﻲ واﻟﻌﻠﻮم اﻹﻧﺴﺎﻧﻴﺔ ‪ :‬ﻣﺎﻟﻴﺰﻳﺎ‪.‬‬ ‫أﺑﻮ ﺣﻴﺎن اﻷﻧﺪﻟﴘ‪.1998-1418 .‬ارﺗﺸﺎف اﻟﴬب ﻣﻦ ﻟﺴﺎن اﻟﻌﺮب‪ 5 .‬أﺟﺰاء‪ .‬اﻟﻘﺎﻫﺮة ‪ :‬ﻣﻜﺘﺒﺔ اﳋﺎﻧﺠﻲ‪.‬‬ ‫أﲪﺪ ﻓﺘﺤﻲ اﻟﻔﻄﺎﲏ‪ .‬ﻋﻠﲈء ﺑﴪ دري ﻓﻄﺎﲏ )ﻛﺒﺎر اﻟﻌﻠﲈء اﻟﻔﻄﺎﻧﻴﲔ(‪ .‬ﻛﻠﻨﺘﻦ‪.‬ﻓﺴﺘﺎك أﻣﺎن ﻓﺮﻳﺲ ﺳﻨﺪﻳﺮﻳﻦ ﺑﺮﺣﺪ‪.‬‬ ‫أﲪﺪ‪ ،‬ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ‪ .‬د‪ .‬ت‪ .‬ﺗﺴﻬﻴﻞ ﻧﻴﻞ اﻷﻣﺎﲏ ﰲ ﴍح ﻋﻮاﻣﻞ اﳉﺮﺟﺎﲏ‪ .‬اﳍﻨﺪ ‪ :‬ﻣﻜﺘﺒﺔ وﻣﻄﺒﻌﺔ ﳏﻤﺪ‬ ‫اﻟﻨﻬﺪي وأوﻻده‪.‬‬ ‫اﻷﻧﺒﺎري‪ ،‬أﺑﻮ اﻟﱪﻛﺎت ﻋﺒﺪ اﻟﺮﲪﻦ‪ .1993 -1414 .‬اﻹﻧﺼﺎف ﰲ ﻣﺴﺎﺋﻞ اﳋﻼف ﺑﲔ اﻟﻨﺤﻮﻳﲔ اﻟﺒﴫﻳﲔ‬ ‫واﻟﻜﻮﻓﻴﲔ‪ .‬ﺟﺰﺋﲔ‪ .‬ﺑﲑوت ‪ :‬ﻣﻜﺘﺒﺔ اﻟﻌﴫﻳﺔ ﻟﻠﻄﺒﺎﻋﺔ واﻟﻨﴩ‪.‬‬ ‫اﻷﺷﻤﻮﲏ‪.1955-1375 .‬ﴍح اﻷﺷﻤﻮﲏ ﻋﲆ أﻟﻔﻴﺔ اﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ‪ 3 .‬أﺟﺰاء‪ .‬ط ‪ .1 :‬ﺑﲑوت ‪ :‬دار اﻟﻜﺘﺎب اﻟﻌﺮﰊ‪.‬‬ ‫اﳉﺮﺟﺎﲏ‪ ،‬ﻋﺒﺪ اﻟﻘﺎﻫﺮ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ اﻟﺮﲪﻦ‪ .2009-1430 .‬اﻟﻌﻮاﻣﻞ اﻟﲈﺋﺔ‪ .‬ط ‪ .1 :‬ﻟﺒﻨﺎن ‪ :‬دار اﳌﻨﻬﺎج‪.‬‬ ‫اﳉﺰوﱄ‪ ،‬ﻋﻴﺴﻰ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ اﻟﻌﺰﻳﺰ‪ .1988-1408 .‬اﳌﻘﺪﻣﺔ اﳉﺰوﻟﻴﺔ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ‪ .‬ط ‪ .1:‬ﻣﻄﺒﻌﺔ أم اﻟﻘﺮى‪.‬‬ ‫ﺧﺪﳚﺔ اﳊﺪﻳﺜﻲ )د(‪ .2001-1422 .‬اﳌﺪارس اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ‪ .‬اﻷردن ‪ :‬داراﻷﻣﻞ ﻟﻠﻨﴩ واﻟﺘﻮزﻳﻊ‪.‬‬ ‫رﲪﺔ ﺑﻨﺖ أﲪﺪ ﻋﺜﲈن وﺑﺪري ﻧﺠﻴﺐ زﺑﲑ‪.2011-1423.‬ﻛﻮﻛﺒﺔ اﻟﻌﻠﲈء واﳌﻔﻜﺮﻳﻦ ﰲ أرﺧﺒﻴﻞ اﳌﻼﻳﻮ‪ ،‬ط ‪،1:‬‬ ‫‪.IIUM PRESS‬‬ ‫اﻟﺮﴈ‪.1996.‬ﴍح اﻟﺮﴈ ﻋﲆ اﻟﻜﺎﻓﻴﺔ‪ 4.‬أﺟﺰاء‪ .‬ط ‪ .2 :‬ﺑﻨﻐﺎزي ‪ :‬ﺟﺎﻣﻌﺔ ﻗﺎن ﻳﻮﻧﺲ‪.‬‬ ‫ّ‬ ‫اﻟﺰﺑﻴﺪي‪ ،‬أﺑﻮ ﺑﻜﺮ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ اﳊﺴﻦ‪ .1973.‬ﻃﺒﻘﺎت اﻟﻨﺤﻮﻳﲔ واﻟﻠﻐﻮﻳﲔ‪ .‬ط ‪ .2:‬اﻟﻘﺎﻫﺮة ‪ :‬داراﳌﻌﺎرف‪.‬‬ ‫ﺳﻴﺒﻮﻳﻪ‪ ،‬أﺑﻮ ﺑﴩ ﺑﻦ ﻋﺜﲈن‪.1983-1403.‬ﻛﺘﺎب ﺳﻴﺒﻮﻳﻪ‪ 5 .‬أﺟﺰاء‪ .‬ط ‪ .3 :‬ﺑﲑوت ‪ :‬ﻋﺎﱂ اﻟﻜﺘﺐ‪.‬‬ ‫اﻟﺴﻴﻮﻃﻲ‪ ،‬ﺟﻼل اﻟﺪﻳﻦ ﻋﺒﺪ اﻟﺮﲪﻦ‪ .2006-1426 .‬اﻹﻗﱰاح ﰲ ﻋﻠﻢ أﺻﻮل اﻟﻨﺤﻮ‪ .‬اﻷزارﻳﻄﺔ ‪ :‬دار اﳌﻌﺮﻓﺔ اﳉﺎﻣﻌﻴﺔ‪.‬‬ ‫اﻟﺴﻴﻮﻃﻲ‪ ،‬ﺟﻼل اﻟﺪﻳﻦ ﻋﺒﺪ اﻟﺮﲪﻦ‪ .1998 -1418 .‬ﳘﻊ اﳍﻮاﻣﻊ ﰲ ﴍح ﲨﻊ اﳉﻮاﻣﻊ‪ 4 .‬أﺟﺰاء‪ .‬ط ‪ .1 :‬ﺑﲑوت‬ ‫‪ :‬داراﻟﻜﺘﺐ اﻟﻌﻠﻤﻴﺔ‪.‬ﺷﻮﻗﻲ ﺿﻴﻒ )د(‪) .‬د‪.‬ت(‪ .‬اﳌﺪارس اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ‪ .‬ط‪ .9:‬اﻟﻘﺎﻫﺮة ‪ :‬داراﳌﻌﺎرف‪.‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬

‫‪852‬‬


‫‪โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย‬‬ ‫”‪มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา‬‬

‫اﻟﺴﻴﻮﻃﻲ‪ ،‬ﺟﻼل اﻟﺪﻳﻦ ﻋﺒﺪ اﻟﺮﲪﻦ‪ .2000-1421 .‬ﴍح اﻟﺴﻴﻮﻃﻲ ﻋﲆ أﻟﻔﻴﺔ ﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ اﳌﺴﻤﻰ ﺑﺎﻟﺒﻬﺠﺔ‬ ‫اﳌﺮﺿﻴﺔ‪ .‬ج ‪ .1 :‬اﻟﺰارﻳﻄﺔ ‪ :‬دار اﳌﻌﺮﻓﺔ اﳉﺎﻣﻌﻴﺔ‪.‬‬ ‫اﻟﺼﺒﺎن ‪ ،‬ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻋﲇ‪.‬د‪.‬ت‪ .‬ﺣﺎﺷﻴﺔ اﻟﺼﺒﺎن ﻋﲆ ﴍح اﻷﺷﻤﻮﲏ ﻋﲆ أﻟﻔﻴﺔ اﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ‪ 4 .‬أﺟﺰاء‪ .‬أﻣﺎم اﻟﺒﺎب‬ ‫اﻷﺧﴬ ‪ :‬اﳌﻜﺘﺒﺔ اﻟﺘﻮﻓﻴﻘﻴﺔ‪.‬‬ ‫اﻟﻔﺮاء‪ ،‬أﺑﻮ زﻛﺮﻳﺎ ﳛﻲ ﺑﻦ زﻳﺎد‪ .1983-1403 .‬ﻣﻌﺎﲏ اﻟﻘﺮآن‪ 3 .‬أﺟﺰاء‪ .‬ط ‪ .3:‬ﺑﲑوت ‪ :‬ﻋﺎﱂ اﻟﻜﺘﺐ‪.‬‬ ‫اﻟﻔﺮاﻫﻴﺪي‪ ،‬اﳋﻠﻴﻞ ﺑﻦ أﲪﺪ‪.1985-1405 .‬ﻛﺘﺎب اﳉﻤﻞ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ‪ .‬ط ‪ .1 :‬ﺑﲑوت ‪ :‬ﻣﺆﺳﺴﺔ اﻟﺮﺳﺎﻟﺔ‪.‬‬ ‫ﻛﺎﻣﻞ ﲨﻴﻞ وﻟﻮﻳﻞ)د(‪ .1994-1414.‬ﻋﻮدة ﻟﻠﻨﺤﻮ اﻟﻌﺮﰊ اﻷﺻﻴﻞ )اﻟﻨﺤﻮ واﳌﻌﻨﻰ(‪ .‬ﻋﲈن ‪ :‬اﳌﻜﺘﺒﺔ اﻟﻮﻃﻨﻴﺔ‪.‬‬ ‫اﳌﱪد‪ ،‬أﺑﻮ اـﻟﻌﺒﺎس ﳏـﻤﺪ ﺑﻦ ﻳـﺰﻳﺪ‪ .1994-1415 .‬ﻛﺘﺎب اﳌﻘﺘﻀﺐ‪ 4 .‬أﺟﺰاـء‪ ،‬اـﻟﻘﺎﻫﺮة ‪ :‬وزـارة اﻷوﻗـﺎف‬ ‫اﳌﺠﻠﺲ اﻷﻋﲆ ﻟﻠﺸﺌﻮن اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﳉﻨﺔ إﺣﻴﺎء اﻟﱰاث اﻹﺳﻼﻣﻲ‪.‬‬ ‫ﻣﺄﻃﺎﻫﻲ ﻣﺄﱄ أوﺳﻴﻨﺞ‪ .2005 .‬اﻟﺸﻴﺦ أﲪﺪ اﻟﻔﻄﺎﲏ وﺟﻬﻮده ﰲ اﻟﺪراﺳﺎت اﻟﻨﺤﻮﻳﺔ واﻟﴫﻓﻴﺔ ﻣﻊ ﲢﻘﻴﻖ ﻛﺘﺎب"‬ ‫ﺗﺴﻬﻴﻞ ﻧﻴﻞ اﻷﻣﺎﲏ ﰲ ﴍح اﻟﻌﻮاﻣﻞ ﻟﻠﺠﺮﺟﺎﲏ" ودراﺳﺘﻪ‪ .‬رﺳﺎﻟﺔ ﻟﻨﻴﻞ درﺟﺔ اﻟﺘﺨﺼﺺ )اﻟﲈﺟﺴﺘﲑ(‪.‬‬ ‫ﻗﺴﻢ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﺑﺎﻟﻘﺎﻫﺮة‪ .‬ﺟﺎﻣﻌﺔ اﻷزﻫﺮ اﻟﴩﻳﻒ‪.‬‬ ‫ﳏﻤﺪ ﻻزم ﻻوي)د(‪ .2003.‬اﻟﺸﻴﺦ أﲪﺪ اﻟﻔﻄﺎﲏ وإﺳﻬﺎﻣﺎﺗﻪ ﰲ ﺧﺰاﻧﺔ ﲤﺪن اﻟﻌﻠﻮم اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﺑﺠﻨﻮب ﴍق‬ ‫آﺳﻴﺎ‪ .‬ﺟﺎﻣﻌﺔ ﺟﺎﻻ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ‪ :‬ﻋﲈدة اﻟﻜﻠﻴﺔ اﻟﺪراﺳﺎت اﻟﻌﻠﻴﺎ‪.‬‬ ‫اﳌﺨﺘﺎر‪ ،‬أﲪﺪ دﻳﺮة )د(‪ .‬د‪.‬ت‪.‬دراﺳﺔ ﰲ اﻟﻨﺤﻮ اﻟﻜﻮﰲ ﻣﻦ ﺧﻼل ﻣﻌﺎﲏ اﻟﻘﺮآن ﻟﻠﻔﺮاء‪ .‬دار ﻗﺘﻴﺒﺔ‪.‬‬ ‫اﳌﺮادي‪ ،‬اﳊﺴﻦ ﺑﻦ ﻗﺎﺳﻢ‪.1992-1413.‬اﳉﻨﻰ اﻟﺪاﲏ ﰲ ﺣﺮوف اﳌﻌﺎﲏ‪ .‬ط‪ .1 :‬ﺑﲑوت ‪ :‬داراﻟﻜﺘﺐ اﻟﻌﻠﻤﻴﺔ‪.‬‬ ‫ﻋﺒﺪه اﻟﺮاﺟﺤﻲ )د(‪ .1975 .‬دروس ﰲ ﻛﺘﺐ اﻟﻨﺤﻮ‪ .‬ﺑﲑوت‪ .‬دار اﻟﻨﻬﻀﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪.‬‬ ‫ﻋﺒﺪ اﻟﺴﻼم‪ ،‬ﳏﻤﺪ ﻫﺎرون‪ .1996-1416.‬ﺧﺰاﻧﺔ اﻷدب وﻟﺐ ﻟﺒﺎن ﻟﺴﺎن اﻟﻌﺮب‪ 12 .‬أﺟﺰاء‪ .‬ط ‪ .3 :‬اﻟﻘﺎﻫﺮة ‪:‬‬ ‫ﻣﻜﺘﺒﺔ اﳋﺎﻧﺠﻲ ﺑﺎﻟﻘﺎﻫﺮة‪.‬‬ ‫ﻋﺪﻧﺎن ﳏﻤﺪ زﻳﻦ ﺳﻮﻣﻲ‪ .2005.‬اﻟﺸﻴﺦ وان أﲪﺪ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ زﻳﻦ اﻟﻔﻄﺎﲏ وﺟﻬﻮده ﰲ اﻟﻠﻐﺔ اﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‪ ،‬رﺳﺎﻟﺔ ﻣﻘﺪﻣﺔ‬ ‫ﻟﻨﻴﻞ درﺟﺔ اﻟﺪﻛﺘﻮراه ﺑﺎﳉﺎﻣﻌﺔ اﻟﻮﻃﻨﻴﺔ اﻟﲈﻟﻴﺰﻳﺔ‪.‬‬ ‫ﻋﲇ‪ ،‬ﻧﺎﴏ ﺣﺴﲔ )د(‪ .1989 -1409 .‬ﻗﻀﺎﻳﺎ ﻧﺤﻮﻳﺔ وﴏﻓﻴﺔ‪ .‬دﻣﺸﻖ ‪ :‬اﳌﻄﺒﻌﺔ اﻟﺘﻌﺎوﻧﻴﺔ‪.‬‬

‫‪Wan Mohd.Shaghir Abdullah. 2005. Syeikh Ahmad Al-Fathani Pemikir Agung Melayu‬‬ ‫‪dan Islam. Selangor. Hizi Print Sdn Berhad.‬‬

‫‪853‬‬

‫‪Graduate School and Research / 15 May 2013‬‬



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตรในสังคมพหุวัฒนธรรม Science Students’ Understanding of the Nature of Science in Multicultural Society โรสมาวัน อะลีดิมัน1 ฐวิทย พจนตันติ2 บุญญิสา แซหลอ3 1

นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ศษ.ด. (วิทยาศาสตรศึกษา) อาจารยภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 3 กศ.ด. (คณิตศาสตรศึกษา) อาจารยภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

2

บทคัดยอ การวิ จัย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุป ระสงคเ พื่อ ศึก ษาความเขา ใจธรรมชาติ ของวิ ท ยาศาสตรข องนัก เรี ย น แผนการเรียนวิทยาศาสตรในสังคมพหุวัฒนธรรม กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียน มัธยมศึกษา ก และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ข ค และ ง อําเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปตตานี ภาค เรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 จํานวน 132 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวยแบบสอบถามมุมมอง ธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 แบบสัมภาษณกึ่งโครงสราง เรื่อง ความ เขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียน และแบบบันทึกภาคสนาม ดําเนินการวิจัยโดยเก็บขอมูลจาก แบบสอบถามมุมมองธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาปที่ 6 คัดเลือกนักเรียน จํานวน 16 คน เปนนักเรียนจากโรงเรียนมัธยมศึกษา ก จํานวน 6 คน และนักเรียนจากโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลาม ข ค และ ง จํานวน 10 คน เพื่อสัมภาษณความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียน ผลการวิจัยพบวา 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร ที่เรียนอยูในโรงเรียนมัธยมศึกษา ก มีความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรในดานโลกทัศนทางวิทยาศาสตร (Scientific World View) และ ดานการสืบ เสาะหาความรูท างวิท ยาศาสตร (Scientific Inquiry) มากกวาความเขาใจธรรมชาติของ วิทยาศาสตรดานกิจการทางวิทยาศาสตร (Scientific Enterprise) 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร ที่เรียนอยูในโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิส ลาม ข ค และ ง มีความเขาใจธรรมชาติของวิท ยาศาสตรใ นดานโลกทัศนท างวิท ยาศาสตร (Scientific World View) และดานการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร (Scientific Inquiry) มากกวา ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรดานกิจการทางวิทยาศาสตร (Scientific Enterprise) คําสําคัญ: ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร นักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร สังคมพหุวัฒนธรรม

Graduate School and Research / 15 May 2013

855


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT This research aimed to study science students’ understanding of the nature of science in multicultural society. The sample groups of this research were 132 grade 12 science students at A Mathayomsuksa School, B Islamic Private School, C Islamic Private School and D Islamic Private School, Khokpho District, Pattani Province during the second semester of the 2009 academic year. The research instruments were View of Nature of Science Questionnaire, semi-structured interviews about the Understanding of the Nature of Science and field note. The data were collected by means of View of Nature of Science Questionnaire analysis, choose 16 students who were 6 students’ A Mathayomsuksa School, 10 students’ B Islamic Private School, C Islamic Private School and D Islamic Private School, to interview and discover their understanding of the nature of science. The results were shown as follows : 1. Grade 12 science students who were from A Mathayomsuksa School understood about scientific world view’s concepts and scientific inquiry’s concepts more than scientific enterprise’s concepts. 2. Grade 12 science students who were from B Islamic Private School, C Islamic Private School and D Islamic Private School understood about scientific world view’s concepts and scientific inquiry’s concepts more than scientific enterprise’s concepts. Keywords : Understanding of Nature of Science, Science student, Multicultural society

856

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา สภาพสังคมในยุคขาวสารในประเทศไทยปจจุบั น เปาหมายของการศึกษาเนนทักษะการคิดเพื่อ สรางความรู คนหาความรูจากแหลงตาง ๆ มีความคิดอยางมีวิจารณญาณในการเลือก การตัดสินใจในเรื่อง ตาง ๆ อยางถูกตองและเปนประโยชนตอสวนรวม มีคานิยมตอสังคม พัฒนาใหประชาชนคนไทยเปนผูมี ความรอบรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Science and Technology Literacy : STL) สามารถอยูใน สังคมไดดวยการมีอาชีพ มีความอบอุนในครอบครัวและสังคม เพื่อการพัฒนาแบบยั่งยืนของชาติ เปาหมาย ดังกลาวจะสัมฤทธิผลไดดวยการใหการศึกษา (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2546 : 1) การจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรในปจจุบันไดใหความสําคัญตอธรรมชาติของวิทยาศาสตรเปนอยาง มาก ซึ่งการอธิบายถึงวิทยาศาสตรทั้งในดานของความหมาย วิธีการไดมาซึ่งความรูทางวิทยาศาสตร และ การพัฒนาความรูทางวิทยาศาสตร เปนการอธิบายถึงลักษณะพื้นฐานของความรูทางวิทยาศาสตรหรืออาจ กลาวไดวา เปนการอธิบายถึงธรรมชาติของวิทยาศาสตร ซึ่งความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรจะชวยให นักเรียนทราบถึงขอบเขต ขอจํากัดของความรูวิทยาศาสตร จะชวยใหนักเรียนสามารถเขาใจเกี่ยวกับการ จัดการทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน สามารถเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจ เกี่ยวกับประเด็นปญหาทางสังคม ที่เปนผลสืบเนื่องมาจากวิทยาศาสตรได ชื่นชมวิทยาศาสตรในแงของการ มีจริยธรรมและวัฒนธรรมของการเรียนรูอยางมีเหตุมีผล ชวยใหนักเรียนอยูในสังคมอยางรูเทาทัน และ ตระหนักถึงคุณคา และความจําเปนของการศึกษาวิทยาศาสตร ซึ่งจะชวยใหนักเรียนสามารถพัฒนาการ เรียนรูเนื้อหาวิทยาศาสตรของตนไดดียิ่งขึ้น (Driver et al.,1996 : 16-21) ดังนั้นความเขาใจในธรรมชาติของวิทยาศาสตร จึงมีความสําคัญตอการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร เปนอยางมาก เนื่องจากเปนแกนของการรูวิทยาศาสตรอันจะนําไปสูการเปนผูมีความรูความสามารถทาง วิทยาศาสตร ซึ่งความเขาใจในธรรมชาติของวิทยาศาสตรดังกลาวครอบคลุมประเด็นหลัก 3 ประการ ไดแก โลกทัศนทางวิทยาศาสตร (Scientific World View) การสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร (Scientific Inquiry) และกิจการทางวิทยาศาสตร (Scientific Enterprise) หากผูเรียนเกิดความเขาใจในธรรมชาติของ วิทยาศาสตรตามประเด็นดังกลาวก็จะเปนประโยชนตอการเรียนรูวิทยาศาสตรอยางมั่นคงตอไป ในการปฏิ รู ป การศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร ต ามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กระทรวงศึกษาธิการไดมอบหมายใหสถาบันสงเสริมการสอน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจัดทําหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรซึ่งมีการปรับเนื้อหาการเรียนรู วิทยาศาสตร มุงใหนักเรียนเขาใจเนื้อหาความรูวิทยาศาสตรและธรรมชาติของวิทยาศาสตรควบคูกันไป โดย ไดกําหนดใหมีสาระการเรียนรูที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในมาตรฐานที่ 8.1 ซึ่งกลาววา “ใชก ระบวนการทางวิ ท ยาศาสตรแ ละจิตวิ ท ยาศาสตรใ นการสื บ เสาะหาความรู การแก ปญ หา รูว า ปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใต ขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้น ๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอมมี ความเกี่ยวของสัมพันธกัน” โดยแนะนําใหจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานที่สอดแทรกไปกับมาตรฐาน ของสาระการเรียนรูกลุมสาระวิทยาศาสตรทั้ง 7 สาระการเรียนรู คือ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต ชีวิตกับสิ่งแวดลอม สารและสมบัติของสาร แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน กระบวนการเปลี่ยนแปลงของ โลก และดาราศาสตรและอวกาศ ซึ่งเปาหมายสําคัญในการจัดการเรียนรูกลุมวิทยาศาสตรในโรงเรียนตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มีดังนี้ เพื่อใหเขาใจหลักการ ทฤษฎีที่เปนพื้นฐานในกลุม Graduate School and Research / 15 May 2013

857


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

วิทยาศาสตร เขาใจขอบเขต ธรรมชาติ และขอจํากัดของวิทยาศาสตร มีทักษะที่สําคัญในการศึกษาคนควา และคิดคนทางวิท ยาศาสตรและเทคโนโลยี พัฒ นากระบวนการคิด จินตนาการ ความสามารถในการ แกปญหา ทักษะการสื่อสาร ทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และความสามารถในการตัดสินใจ ตระหนัก ถึง ความสัมพันธระหวางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มวลมนุษยและสภาพแวดลอมในเชิงที่มีอิท ธิพลและ ผลกระทบซึ่งกันและกัน นําความรูความเขาใจในเรื่องวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชนตอ สัง คมและการดํ า รงชี วิ ต และเป น คนมี เ หตุ ผ ล ใจกว า ง รั บ ฟ ง ความคิด เห็ น ของผู อื่ น ใช วิธี ก ารทาง วิทยาศาสตร ในการแกปญหา สนใจ และใฝรูในเรื่องวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จากเปาหมายดังกลาว แสดงใหเห็นวาการเรียนวิทยาศาสตรชวยใหมีการพัฒนาในทุก ๆ ดาน และ ครอบคลุมถึงเรื่องของความตระหนักและผลของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอีกดวย การจัดกระบวนการ เรียนรูกลุมวิทยาศาสตรในทุกระดับจึงตองดําเนินการที่จะสงเสริมใหผูเรียนไดรับการพัฒนาทีส่ มบูรณเพือ่ ให บรรลุเปาหมายที่วางไว โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุมวิทยาศาสตรที่เนนกระบวนการที่ผูเรียนเปนผู คิ ด ลงมื อ ปฏิ บั ติ ศึ ก ษาค น คว า อย า งมี ร ะบบด ว ยกิ จ กรรมหลากหลาย ทั้ ง นี้ โดยคํ า นึ ง ถึ ง วุ ฒิ ภ าวะ ประสบการณเดิม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมตางกันที่ผูเรียนไดรับรูมาแลวกอนเขาสูหองเรียน (สถาบัน สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2546 : 3-4) ซึ่งสภาพแวดลอมทางการศึกษาที่ประกอบดวย นักเรียนที่มีความแตกตางทางวัฒนธรรมนั้น เรียกวา สังคมพหุวัฒนธรรม (Multicultural Society) จากสภาพการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรและความสําคัญของธรรมชาติของวิทยาศาสตรตอการ จัดการเรียนรูวิทยาศาสตรดังกลาวขางตน ผูวิจัยเห็นวาความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนมี ความสําคัญตอการเรียนรูวิทยาศาสตร และจะสงผลตอการเกิดความรอบรูทางวิทยาศาสตรของนักเรียน ดังนั้น ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตรใน สัง คมพหุวัฒ นธรรม เพื่อเปนสิ่ง ที่ชวยใหผูเ กี่ยวของมีขอมูล และสามารถนําไปพัฒนาการจัดการเรียนรู วิทยาศาสตรในสังคมพหุวัฒนธรรม เพื่อใหสอดคลองกับเปาหมายการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรในปจจุบัน ตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อศึกษาความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6แผนการ เรียนวิทยาศาสตร วัตถุประสงคเฉพาะ 1. ศึกษาความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการ เรียนวิท ยาศาสตร โรงเรียนมัธยมศึก ษาในสังกัด สํานัก งานคณะกรรมการการศึก ษาขั้นพื้นฐาน สัง กัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปตตานี เขต 2 จังหวัดปตตานี 2. ศึกษาความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการ เรียนวิทยาศาสตร โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดปตตานี

858

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

วิธีการดําเนินการวิจัย ประชากร ประชากรในการวิจั ยครั้ง นี้ คือ นั ก เรีย นระดั บ ชั้ นมั ธ ยมศึก ษาปที่ 6 ที่ เ รี ยนแผนการเรี ย น วิทยาศาสตร โรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาปตตานี เขต 2 และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสังกัดสํานักงานการศึกษา เอกชนจังหวัดปตตานี ซึ่งสังคมของประชากรในการวิจัยครั้งนี้เปนสังคมที่มีวัฒนธรรมที่แตกตางกัน ไดแก ชาติพันธุ ภาษา ความเปนอยู วิถีชีวิต ศาสนา และความเชื่อ แตก็สามารถอยูรวมกันในบริเ วณดินแดน เดียวกัน กลุมตัวอยาง กลุม ตัว อย างที่ใ ชใ นการวิจั ยครั้ง นี้ คือ นั ก เรีย นระดั บ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปที่ 6 แผนการเรีย น วิทยาศาสตร ที่เรียนอยูในโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปตตานี เขต 2 ขนาดใหญ 1 โรง และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามใน สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานี ขนาดกลาง 1 โรง ขนาดใหญ 1 โรง และขนาดใหญพิเศษ 1 โรง รวมทั้งหมด 4 โรง สาเหตุที่เลือกระดับชั้นในการศึกษาความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของ นักเรียน คือระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ที่เรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร ปก ารศึกษา 2552 เนื่องจาก นักเรียนกลุมตัวอยางเปนนักเรียนที่เรียนหนังสือตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 จน จบหลักสูตร ซึ่งเปนหลักสูตรการศึกษาของไทยฉบับแรกที่มีการกําหนดกลุมสาระการเรียนรู และกําหนด สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร กอนที่จะ มีการเปลี่ยนแปลงมาใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. แบบสอบถามมุมมองธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 2. แบบสัมภาษณกึ่งโครงสราง เรื่อง ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียน 3. แบบบันทึกภาคสนาม วิธีการดําเนินการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลโดยทําหนังสือขอความรวมมือในการวิจัยถึง ผูอํานวยการโรงเรียนที่เปนกลุมศึกษา เพื่อขอความรวมมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจากนักเรียนที่เรียน แผนการเรียนวิทยาศาสตรที่เปนตัวอยางการศึกษา ในการเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามมุมมองธรรมชาติ ของวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 ผูวิจัยชี้แจงวัตถุประสงคของการวิจัยใหนักเรียนกลุม ตัวอยางทราบและขอใหกลุมตัวอยางการศึกษาทุกคนตอบแบบสอบถามมุมมองธรรมชาติของวิทยาศาสตร ผูวิจัยนําแบบสอบถามดังกลาวมาหาคะแนนเฉลี่ยเพื่อจัดกลุมมุมมองธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียน ในการเก็บ ขอมูล โดยใชการสัม ภาษณความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร ผูวิจัยจะคัดเลือกนักเรียน จํานวน 10-20 คน จากนักเรียนกลุมตัวอยางทั้ง หมด โดยพิจารณาจากคําตอบในแบบสอบถามมุมมอง ธรรมชาติของวิทยาศาสตร ซึ่งแบงเปนนักเรียนจากโรงเรียนมัธยมศึกษา ก ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปตตานี เขต 2 จํานวน 6 คน และนักเรียนจาก โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชน ข ค และ ง จังหวัดปตตานีจํานวน 10 คน เพื่อสัมภาษณความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียน โดยผูวิจัยติดตอครูผูสอนเพื่อนัด หมายการสัมภาษณนักเรียนทั้ง 16 คนการสัมภาษณทําโดยสัมภาษณนักเรียนเปนรายบุคคล คนละ 15-20 Graduate School and Research / 15 May 2013

859


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

นาที ในหองพักครูวิทยาศาสตรหรือหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรและมีการบันทึกเสียงสัมภาษณของนักเรียน ผูเปนตัวอยางการศึกษา ผูวิจัยจะทําการวิเคราะหความเขาใจในธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนจาก บันทึก การสัม ภาษณร ะหวางผูวิจั ยและนั ก เรียน และสรุ ป ผลการวิเ คราะหความเขาใจธรรมชาติของ วิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตรในลักษณะความเรียง ตาราง 1 ลักษณะของนักเรียนกลุมตัวอยางการศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษา ก ชื่อ เพศ อายุ ศาสนา คะแนนเฉลี่ย มุมมองธรรมชาติของวิทยาศาสตร (นามสมมติ) บงกช หญิง 18 พุทธ 3.53 มุมมองแบบรวมสมัย สุภิญญา หญิง 17 พุทธ 3.38 มุมมองแบบดั้งเดิมและรวมสมัย นเรศ ชาย 18 พุทธ 3.35 มุมมองแบบดั้งเดิมและรวมสมัย วิภาวี หญิง 18 อิสลาม 3.79 มุมมองแบบรวมสมัย จัลวาล ชาย 18 อิสลาม 3.32 มุมมองแบบดั้งเดิมและรวมสมัย วันชัย ชาย 18 พุทธ 3.00 มุมมองแบบดั้งเดิมและรวมสมัย ตาราง 2 ลักษณะของนักเรียนกลุมตัวอยางการศึกษา โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ข ค และ ง โรงเรียน ชื่อ เพศ อายุ ศาสนา คะแนนเฉลี่ย มุมมองธรรมชาติของวิทยาศาสตร (นามสมมติ) ข ตามีซี ชาย 19 อิสลาม 3.60 มุมมองแบบรวมสมัย ข ซัลมี หญิง 18 อิสลาม 3.75 มุมมองแบบรวมสมัย ข ซอฝยะ หญิง 18 อิสลาม 3.00 มุมมองแบบดั้งเดิมและรวมสมัย ค อาลี ชาย 18 อิสลาม 3.35 มุมมองแบบดั้งเดิมและรวมสมัย ค เนอรไอนี หญิง 18 อิสลาม 3.92 มุมมองแบบรวมสมัย ค ปารีดะ หญิง 18 อิสลาม 2.92 มุมมองแบบดั้งเดิมและรวมสมัย ง อิบรอเฮม ชาย 18 อิสลาม 3.96 มุมมองแบบรวมสมัย ง อาบัส ชาย 18 อิสลาม 3.20 มุมมองแบบดั้งเดิมและรวมสมัย ง นุสรา หญิง 18 อิสลาม 3.76 มุมมองแบบรวมสมัย ง ฟารีดา หญิง 18 อิสลาม 2.96 มุมมองแบบดั้งเดิมและรวมสมัย การตรวจสอบขอมูล ในการวิจัยครั้ง นี้ห ลังจากผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เ กี่ยวของแลว จึงไดสราง แบบสอบถามมุมมองธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 และแบบสัมภาษณกึ่ง โครงสราง เรื่อง ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ซึ่งใชเปนเครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมขอมูล โดยนําเสนอแบบสอบถามและแบบสัมภาษณที่สรางขึ้นใหผูเชี่ยวชาญไดตรวจสอบ เพื่อปรับปรุงแกไขขอบกพรอง หลังจากนั้นจึงนําแบบสอบถามและแบบสัมภาษณไปเก็บรวบรวมขอมูลจาก กลุมตัวอยางการศึกษา หลังจากทําการเก็บรวบรวมขอมูลแตละครั้งผูวิจัยจะทําการจดบันทึกและตรวจสอบ ขอมูลอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองและสมบูรณ โดยใชวิธีการตรวจสอบขอมูลแบบสามเสา (triangulation) ซึ่งมีวิธีการตรวจสอบขอมูลดังนี้ 860

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

1. การตรวจสอบขอมูลสามเสาดานขอมูล (data triangulation) โดยการนําขอมูลที่ไดจาก ภาคสนาม และขอมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวของมาวิเคราะห เปรียบเทียบระหวางเวลา สถานที่ บุคคลและ เนื้อหาที่แตกตางกันวา ถาหากเวลาตางกัน ขอมูล ที่ไดเ หมือนกันหรือไม ขอมูล ที่ไดตางสถานที่กัน เหมือนกันหรือไม และหากบุคคลเปลี่ยนไป ขอมูลที่ไดเหมือนกันหรือไม หากไดขอมูลเหมือนกัน แสดงวา เปนขอมูลที่นาเชื่อถือได 2. การตรวจสอบขอมูลสามเสาดานวิธีรวบรวมขอมูล (methodological triangulation) โดยใช วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลหลายวิธีการและขอมูลดานตาง ๆ กัน เพื่อรวบรวมขอมูลเรื่องเดียวกัน โดยในการ วิจัยจะใชแบบสอบถามควบคูกับการสัมภาษณ พรอมทั้งการศึกษาขอมูลจากแหลงเอกสารประกอบดวย หากขอมูลที่ไดมีความแตกตางกันหรือขัดแยงกัน ผูวิจัยจะเขาไปทําการเก็บรวบรวมขอมูลอีกครั้งและหาก ขอมูลที่ไดทําการตรวจสอบแลว ปรากฏวาเปนขอมูลที่เหมือนกันก็นาเชื่อถือวาเปนขอมูลที่ถูกตอง สมบูรณ การวิเคราะหขอมูล วิเ คราะหคําตอบจากแบบสอบถามมุม มองธรรมชาติของวิท ยาศาสตร ของนัก เรียนระดับ ชั้ น มัธยมศึก ษาปที่ 6 ทําได โ ดยการหาคะแนนเฉลี่ ยรวมทั้ง ฉบั บ และนํามาจัดกลุ ม มุม มองธรรมชาติของ วิทยาศาสตรของนักเรียนโดยเทียบกับเกณฑที่กําหนดไว สําหรับขอมูลจากการสัมภาษณนักเรียน วิเคราะห ขอมูลโดยถอดเทปที่บันทึกเสียงสัมภาษณของนักเรียนแบบคําตอคํา อานคําสัมภาษณของนักเรียนเพื่อหา คําสําคัญ และกําหนดรหัส เพื่อแทนความเขาใจในธรรมชาติของวิทยาศาสตรตามประเด็นที่กําหนดไว จากนั้นอานคําสัมภาษณอีกครั้งเพื่อจัดกลุมของคําตอบและแบงประเภทแนวคิด จากนั้นตีความหมาย และ สรุปแนวคิดของนักเรียนเกี่ยวกับธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียน และสรุปผลการวิเคราะหความ เขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตรในลักษณะ ความเรียง โดยใชวิธีการเชิงอุปมาน สรุปและอภิปรายผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร มีความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร ในดานโลกทัศน ท างวิท ยาศาสตร (Scientific World View) และดานการสืบ เสาะหาความรูท าง วิท ยาศาสตร (Scientific Inquiry) มากกว าความเข าใจธรรมชาติข องวิ ท ยาศาสตรด านกิจ การทาง วิทยาศาสตร (Scientific Enterprise) ซึ่งผลการวิจัยสามารถสรุปตามวัตถุประสงคเฉพาะดังนี้ 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร ที่เรียนอยูในโรงเรียนมัธยมศึกษา ก มี ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรในดานโลกทัศนทางวิทยาศาสตร (Scientific World View) และดาน การสื บ เสาะหาความรู ท างวิ ท ยาศาสตร (Scientific Inquiry) มากกว า ความเข า ใจธรรมชาติ ข อง วิทยาศาสตรดานกิจการทางวิทยาศาสตร (Scientific Enterprise) 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร ที่เรียนอยูในโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิส ลาม ข ค และ ง มีความเขาใจธรรมชาติของวิท ยาศาสตรในดานโลกทัศนท างวิท ยาศาสตร (Scientific World View) และดานการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร (Scientific Inquiry) มากกวา ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรดานกิจการทางวิทยาศาสตร (Scientific Enterprise)

Graduate School and Research / 15 May 2013

861


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

อภิปรายผลการวิจัย การวิจัยเรื่องความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตรในสังคม พหุวัฒนธรรม ผูวิจัยอภิปรายตามสรุปผลการวิจัย ดังนี้ 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตรที่เรียนอยูในโรงเรียนมัธยมศึกษา ก มี ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรในดานโลกทัศนทางวิทยาศาสตร (Scientific World View) และดาน การสื บ เสาะหาความรู ท างวิ ท ยาศาสตร (Scientific Inquiry) มากกว าความเขา ใจธรรมชาติข อง วิทยาศาสตรดานกิจการทางวิทยาศาสตร (Scientific Enterprise) ผลการศึก ษาความเขาใจธรรมชาติของวิท ยาศาสตรดานโลกทัศนท างวิท ยาศาสตร (Scientific World View) พบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึก ษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร ที่เ รียนอยูในโรงเรียน มัธยมศึ ก ษา ก มี ความเข าใจเป นอยา งดี ซึ่ ง ผลการศึ ก ษาองคป ระกอบวิท ยาศาสตรเ ป นการอธิ บ าย ปรากฏการณธรรมชาติ พบวา ในความเขาใจของนักเรียนนั้น วิทยาศาสตรเกิดจากความพยายามในการ อธิบายปรากฏการณธรรมชาติโดยผานวิธีการสังเกต การทดลอง รวบรวมขอมูล และการใหเหตุผล นําไปสู การพัฒนาหลักการและทฤษฎี ซึ่งปรากฏการณธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถ อธิบายและตรวจสอบไดดวยขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้น ความเขาใจของนัก เรียนในองคประกอบนี้เ ปนผลมาจากการเรียนรูที่เกิดจากไดปฏิบัติ การ สังเกต การทดลอง และการสรุปผลการทดลอง ทําใหนักเรียนเกิดความเขาใจวาวิทยาศาสตรนั้นเกิดจากการ อธิบายปรากฏการณโดยผานการสังเกต ทดลอง และสรุปเปนความรูทางวิทยาศาสตร ซึ่งสอดคลองกับ ตัวอยางคําตอบจากขอคําถามที่วา “นักเรียนคิดวา วิทยาศาสตรคืออะไร อะไรที่ทําใหวิทยาศาสตร เชน ฟสิกส เคมี หรือชีววิทยา ตางจากวิชาอื่น ๆ เชน ศาสนา หรือปรัชญา” เชน “วิท ยาศาสตรคือเรื่องใกลตัว เชน การเจริญ เติบ โตของพืช การดูดแรธาตุของพืช ตางก็เ ปน วิทยาศาสตรทั้งหมด คือ มนุษยไปศึกษาหาความรูจากธรรมชาติที่มีอยูรอบ ๆ ตัว” (นายวันชัย-โรงเรียน ก, 25 กุมภาพันธ 2553) ผลการศึกษาองคประกอบความรูท างวิท ยาศาสตรสามารถเปลี่ยนแปลงได นักเรียนทั้ง 6 คนมี ความเขาใจเปนอยางดี โดยในความเขาใจของนักเรียน ความรูทางวิทยาศาสตรมีความเปนจริง ณ ปจจุบัน ภายใตการศึกษาและขอจํากัดทางดานเครื่องมือที่ใชในการศึกษา แตหากมีการศึกษาเพิ่มเติมหรือเครื่องมือ ใหมใชในการศึกษา จนไดหลักฐานใหมที่เปนยอมรับ ความรูทางวิทยาศาสตรก็สามารถเปลี่ยนแปลงได ความเขาใจของนัก เรียนในองคป ระกอบนี้สวนหนึ่ง มีผ ลมาจากการที่นัก เรียนไดเ รียนเนื้อหา วิทยาศาสตรตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และไดรับรูถึงการเปลี่ยนแปลงความรู ทางวิท ยาศาสตรบ างเนื้อหาจากการติ ดตามข อมูล ขาวสารในชีวิต ประจํา วัน สื่อ โทรทัศน วิ ท ยุ และ อินเตอรเน็ตทําใหนักเรียนเขาใจและตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของความรูทางวิทยาศาสตร ซึ่งสอดคลอง กั บ ตั ว อย า งคํ า ตอบของนั ก เรี ย นจากข อ คํ า ถามที่ ว า “หลั ง จากที่ นั ก วิ ท ยาศาสตร คิ ด ค น ทฤษฎี ท าง วิทยาศาสตรแลว เชน ทฤษฎีอะตอม หรือ ทฤษฎีวิวัฒนาการ ทฤษฎีเหลานั้นมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร” เชน “คิดวา...นาจะเปลี่ยนแปลงได อาจจะมีเด็กรุนใหมที่เกงขึ้น สนใจที่จะเปนนักวิทยาศาสตรมากขึ้น มีความรูที่อาจจะมาเปลี่ยนแปลงความคิดของนักวิทยาศาสตรรุนเกา ๆ หรือทฤษฎีที่ใชอยูก็ได” “...ถามีการหาความรูหรือหลักฐานใหม ๆ อาจทําใหทฤษฎีมีการเปลี่ยนแปลงได...” (นายนเรศ-โรงเรียน ก, 25 กุมภาพันธ 2553) 862

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ผลการศึกษาความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรดานการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร (Scientific Inquiry) พบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร ที่เรียนอยูในโรงเรียน มัธยมศึกษา ก จํานวน 6 คน มีความเขาใจเปนอยางดี ซึ่งผลการศึกษาองคประกอบการสืบเสาะหาความรู ทางวิทยาศาสตรมีหลากหลายวิธีนั้น ในความเขาใจของนักเรียน วิธีการทางวิทยาศาสตรเปนวิธีการหนึ่งใน การสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรซึ่งมีลําดับขั้นตอนชัดเจน และยังมีวิธีการอื่นที่สามารถนํามาใชในการ สืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร เชน ความบังเอิญ ซึ่งไมจําเปนตองมีลําดับขั้นตอนที่แนนอน ความเขาใจของนัก เรียนในองคป ระกอบนี้โ ดยสวนใหญนักเรียนสามารถอธิบ ายขั้นตอนในการ สืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรจากขั้นตอนที่นักเรียนทําการศึกษาทดลองในชั้นเรียน ทําใหความเขาใจ ของนักเรียนยังยึดติดอยูกับลําดับขั้นตอนการทดลองทางวิทยาศาสตร จึงเปนสิ่งจําเปนที่ครูผู สอนจะตอง จัด การเรีย นรู ท างวิ ท ยาศาสตร ด ว ยวิ ธี ก ารที่ห ลากหลาย ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ สถาบัน ส ง เสริม การสอน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2546 : 14-15) ที่วา ขั้นสุดทายของการพัฒนากระบวนการเรียนรูคือ กิจกรรม โครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Science and technology project) ที่ผูเรียนเปนผูระบุปญหาหรือ คําถามตามความสนใจของตนเองหรือของกลุม วางแผนหาวิธีการที่จะแกปญหาดวยการสรางทางเลือก หลากหลาย โดยใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่เรียนรูมา มีการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ เหมาะสมในการแกปญหา ลงมือปฏิบัติ และประเมินผลการแกปญหาสรุปเปนความรูใหม ซึ่งสอดคลองกับ ตัวอยางคําตอบของนักเรียนจากขอคําถามที่วา “มีคนกลาววา การศึกษาคนควาหาความรูทางวิทยาศาสตร ตองดําเนินการตามขั้นตอนหรือวิธีการแบบเดียวกัน ในขณะที่มีคนอีกกลุมหนึ่งกลาววาขั้นตอนหรือวิธีการ ในการหาความรูทางวิทยาศาสตรมีหลายวิธีแตกตางกัน หากนักเรียนเห็นวากระบวนการในการหาความรู ทางวิทยาศาสตรมีแบบเดียว ขั้นตอนเหลานั้นประกอบดวยอะไรบาง และหากนักเรียนเห็นวากระบวนการ ในการหาความรูทางวิทยาศาสตรมีมากกวา 1 วิธี ใหยกตัวอยางวิธีก ารทางวิท ยาศาสตรส องรูป แบบที่ ตางกัน และอธิบายวาเหตุใดวิธีการที่แตกตางกันทั้งสองจึงถือวาเปนกระบวนการทางวิทยาศาสตร” เชน “...เพราะวา...การมีความคิดทางวิทยาศาสตร หนึ่งจะตอง...เริ่มแรกจะตองมีความสนใจในเรื่องนั้น ๆ กอนคะ วิธีที่สองคือไปหาหลักฐานและรวบรวมขอมูล สืบคนมาใหไดม ากที่สุ ด ขอสาม วิเ คราะหจาก หลักฐานนั้น วิธีที่สี่ คือนําเสนอผลงานของเราใหผูอื่นไดรู” (นางสาวสุภญ ิ ญา-โรงเรียน ก, 25 กุมภาพันธ 2553) ผลการศึกษาองคประกอบความคิดสรางสรรคและจินตนาการมีบทบาทตอการสืบเสาะหาความรู ทางวิทยาศาสตร นัก เรียนทั้ง 6 คนมีความเขาใจเปนอยางดี โดยในความเขาใจของนักเรียน ความรูทาง วิทยาศาสตรมีพื้นฐานมาจากการสังเกตธรรมชาติ นักวิทยาศาสตรไดนําจินตนาการและความคิดสรางสรรค มาใชในการอธิบายธรรมชาติเพื่อสรางความรูทางวิทยาศาสตร ความเขาใจของนักเรียนในองคประกอบนี้สวนหนึ่งมาจากการเรียนรูวิทยาศาสตรในชั้นเรียนของ ครูผูสอน และสวนหนึ่ง เปนผลมาจากการที่นักเรียนศึกษาดวยตนเอง เชน การอานหนังสือ ดูโ ทรทัศน ติดตามขอมูลขาวสารทางอินเตอรเน็ต เปนตน กลาวคือ เปนการเรียนรูที่ใหผูเรียนเกิดการเรียนรูโดยผาน กระบวนการที่สําคัญ คือ กระบวนการสืบ เสาะหาความรู ซึ่งเปนกระบวนการที่จะนําไปสูการสรางองค ความรูโดยผานกิจกรรมการสังเกต การตั้งคําถาม การวางแผนเพื่อการทดลอง การสํารวจตรวจสอบ ซึ่ง สะท อ นได จ ากการตอบคํ า ตอบจากข อ คํ า ถามที่ ว า “ในการทดลองหรือ การสืบ เสาะหาความรู ข อง นักวิทยาศาสตร นักวิทยาศาสตรไดใชความคิดสรางสรรคหรือจินตนาการหรือไม” และการยกตัวอยางของ นักเรียน เชน Graduate School and Research / 15 May 2013

863


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

“ใช ค รั บ โดยเฉพาะจิ น ตนาการใช เ ยอะครั บ ทางฟ สิ ก ส ที่ ผ มชอบ จิ น ตนาการล ว น ๆ นักวิทยาศาสตรจะใชจินตนาการในขั้นการทดลอง ก็ในเมื่อเราสงสัยอะไรสักอยางหนึ่ง ถาไมทดลองก็จะ ไมไดความจริงออกมา สําหรับผลงานของนักวิทยาศาสตรที่มาจากจินตนาการ เชน การตกของวัตถุอยาง เปนอิสระ พลังงานนิวเคลียร” (นายวันชัย-โรงเรียน ก, 25 กุมภาพันธ 2553) ผลการศึก ษาความเขาใจธรรมชาติของวิท ยาศาสตรดานกิจ การทางวิท ยาศาสตร (Scientific Enterprise) พบวา นัก เรี ยนชั้นมั ธยมศึ ก ษาปที่ 6 แผนการเรียนวิท ยาศาสตรที่เ รียนอยูในโรงเรีย น มัธยมศึกษา ก จํานวน 6 คน มีความเขาใจเปนอยางดี ซึ่งคําถามในองคประกอบวิทยาศาสตรเปนกิจกรรม ทางสังคมที่ซับซอนนี้ไดถามถึงความสําคัญของการคนควาทางวิทยาศาสตรของบุคคลใด ๆ ตอขอคนพบอื่น ๆ ทางวิทยาศาสตรของบุคคลอื่น โดยในความเขาใจของนักเรียน วิทยาศาสตรเปนกิจกรรมการทํางานของ มนุษยภายใตอิทธิพลของสภาพสังคมและวัฒนธรรม และเปนการสะทอนคานิยมทางสังคมและหลักการคิด ความเขาใจของนักเรียนในองคประกอบนี้เปนผลมาจากการจัดการเรียนรูในชั้นเรียน ซึ่งสงผลให นักเรียนเกิดความตระหนักถึงความสําคัญในการที่จะตองมีสวนรวมรับผิดชอบ การอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรูวิทยาศาสตรที่นําเสนอตอสาธารณชนดวยความถูกตอง สอดคลองกับตัวอยาง คําตอบของนักเรียนจากขอคําถามที่วา “นักเรียนคิดวา การคนควาทางวิทยาศาสตรของบุคคลใด ๆ นั้นมี ความสําคัญตอขอคนพบอื่น ๆ ทางวิทยาศาสตรของบุคคลอื่นหรือไม” เชน “...นําความคิดของนักวิทยาศาสตรกลุมแรกมาปรับใชกับงานของเรา จะทําใหเรามีขอมูลเพิม่ ขึน้ คะ หมายความวาถามีงานของคนอื่นมาอางอิงแลวทําใหงานของเรานาเชื่อถือมากขึ้น...” (นางสาวสุภญ ิ ญา-โรงเรียน ก, 25 กุมภาพันธ 2553) ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนมัธยมศึกษา ก โดยรวม มีความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรโลกทัศนทางวิทยาศาสตร (Scientific World View) และ ดานการสืบ เสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร (Scientific Inquiry) มากกวาความเขาใจธรรมชาติของ วิทยาศาสตรดานกิจการทางวิทยาศาสตร (Scientific Enterprise) ดังนั้นเพื่อชวยใหนักเรียนเขาใจถึง ธรรมชาติของวิทยาศาสตรครบโดยสมบูรณ นอกจากครูผูสอนจะจัดการเรียนการสอนโดยการเปดโอกาสให นักเรียนไดทําการทดลองหรือฝกปฏิบัติแลว สิรินภา กิจเกื้อกูล นฤมล ยุตาคม และอรุณี อิงคากุล (2548 : 133-145) เสนอแนะวาครูผูสอนจําเปนตองสื่อสารออกมาใหนักเรียนไดรับ รู รับฟง หรือไดม องเห็นถึง ความสําคัญของกิจการทางวิทยาศาสตรดวย 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร ที่เ รียนอยูในโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิส ลาม ข ค และ ง มีความเขาใจธรรมชาติของวิท ยาศาสตรในดานโลกทัศนท างวิท ยาศาสตร (Scientific World View) และดานการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร (Scientific Inquiry) มากกวา ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรดานกิจการทางวิทยาศาสตร (Scientific Enterprise) ผลการศึก ษาความเขาใจธรรมชาติของวิท ยาศาสตรดานโลกทัศนท างวิท ยาศาสตร (Scientific World View) พบวา องคป ระกอบวิท ยาศาสตรเ ปนการอธิบายปรากฏการณธรรมชาติ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร ที่เรียนอยูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ข ค และ ง จํานวน 10 คน มีความเขาใจเปนอยางดี ในความเขาใจของนักเรียนนั้น วิทยาศาสตรเกิดจากความพยายาม ในการอธิบายปรากฏการณธรรมชาติโดยผานวิธีการสังเกต การทดลอง รวบรวมขอมูล และการใหเหตุผล

864

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

นําไปสูก ารพัฒนาหลักการและทฤษฎี ซึ่ง ปรากฏการณธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูป แบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบไดดวยขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้น ความเขาใจของนักเรียนในองคประกอบนี้เปนผลมาจากการเรียนรูที่เกิดจากไดปฏิบัติ การสังเกต การทดลอง และการสรุปผลการทดลอง ทําใหนักเรียนเกิดความเขาใจวาวิทยาศาสตรนั้นเกิดจากการอธิบาย ปรากฏการณโดยผานการสังเกต ทดลอง และสรุปเปนความรูทางวิทยาศาสตร ซึ่งสอดคลองกับตัวอยาง คําตอบจากขอคําถามที่วา “นักเรียนคิดวา วิทยาศาสตรคืออะไร อะไรที่ทําใหวิทยาศาสตร เชน ฟสิกส เคมี หรือชีววิทยา ตางจากวิชาอื่น ๆ เชน ศาสนา หรือปรัชญา” เชน “วิทยาศาสตรคือวิชาที่เกี่ยวของกับสิ่งที่อยูรอบ ๆ ตัวเรา อาจจะมีวิธีการคํานวณเขามาเกี่ยวของ เพื่อใหรูเวลา ระยะทาง...เชน ความรูทางดาราศาสตร การหมุนของดวงอาทิตย การเกิดกลางวันกลางคืน นําไปใชเชื่อมโยงกับศาสนา เชน เวลาละหมาด” (นางสาวเนอรไอนี-โรงเรียน ค, 24 กุมภาพันธ 2553) ผลการศึกษาองคประกอบความรูทางวิทยาศาสตรสามารถเปลี่ยนแปลงได นักเรียนจํานวน 9 คนมี ความเขาใจเปนอยางดี โดยในความเขาใจของนักเรียน ความรูทางวิทยาศาสตรมีความเปนจริง ณ ปจจุบัน ภายใตการศึกษาและขอจํากัดทางดานเครื่องมือที่ใชในการศึกษา แตหากมีการศึกษาเพิ่มเติมหรือเครื่องมือ ใหมใชในการศึกษา จนไดหลักฐานใหมที่เปนยอมรับ ความรูทางวิทยาศาสตรก็สามารถเปลี่ยนแปลงได นอกจากนี้นักเรียนบางสวนยังมีความเขาใจที่คลาดเคลื่อนวาความรูทางวิทยาศาสตรไมสามารถเปลีย่ นแปลง ได โดยใหเหตุผลวาความรูทางวิทยาศาสตรเปนสิ่งที่เปนความจริงและมีมานาน อาจมีผลมาจากการจัดการ เรียนรูของครูผูสอนที่เนนดานเนื้อหาทางวิทยาศาสตรมากกวา เชน “ไมเปลี่ยนแปลง เปนสิง่ ทีเ่ ปนความจริงแลว มีมาตั้งแตสมัยกอน” (นายอาลี-โรงเรียน ค, 24 กุมภาพันธ 2553) ผลการศึกษาความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรดานการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร (Scientific Inquiry) พบวา องคประกอบการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรมีหลากหลายวิธี นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร ที่เรียนอยูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ข ค และ ง จํานวน 8 คน มีความเขาใจเปนอยางดี ในความเขาใจของนักเรียน วิธีการทางวิทยาศาสตรเปนวิธีการ หนึ่ง ในการสืบ เสาะหาความรูทางวิท ยาศาสตรซึ่ง มีลําดับ ขั้นตอนชัดเจน และยัง มีวิธีการอื่นที่ส ามารถ นํามาใชในการสืบเสาะหาความรูท างวิท ยาศาสตร เชน ความบังเอิญ ซึ่งไมจําเปนตองมีลําดับ ขั้นตอนที่ แน น อน นอกจากนี้ นั ก เรี ย นบางส ว นยั ง มี ค วามเข า ใจที่ ค ลาดเคลื่ อ นว า การสื บ เสาะหาความรู ท าง วิทยาศาสตรมีเพียงขั้นตอนเดียว ความเขาใจของนักเรียนในองคประกอบนี้โดยสวนใหญนักเรียนสามารถอธิบายขั้นตอนในการสืบ เสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรจากขั้นตอนที่นักเรียนทําการศึกษาทดลองในชั้นเรียน จึงเปนสิ่งจําเปนที่ ครูผูสอนจะตองจัดการเรียนรูทางวิทยาศาสตรดวยวิธีการที่หลากหลาย ซึ่งสอดคลองกับตัวอยางคําตอบของ นักเรียนจากขอคําถามที่วา “มีคนกลาววา การศึกษาคนควาหาความรูทางวิทยาศาสตร ตองดําเนินการตาม ขั้นตอนหรือวิธีการแบบเดียวกัน ในขณะที่มีคนอีกกลุมหนึ่งกลาววาขั้นตอนหรือวิธีการในการหาความรูทาง วิทยาศาสตรมีหลายวิธีแตกตางกัน หากนักเรียนเห็นวากระบวนการในการหาความรูทางวิทยาศาสตรมีแบบ เดียว ขั้นตอนเหลานั้นประกอบดวยอะไรบาง และหากนักเรียนเห็นวากระบวนการในการหาความรูทาง วิทยาศาสตรมีมากกวา 1 วิธี ใหยกตัวอยางวิธีการทางวิทยาศาสตรสองรูปแบบที่ตางกัน และอธิบายวาเหตุ ใดวิธีการที่แตกตางกันทั้งสองจึงถือวาเปนกระบวนการทางวิทยาศาสตร” เชน Graduate School and Research / 15 May 2013

865


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

“มีหลายวิธีการ เชน การวิจัย วิเคราะห สังเกต ทดลอง ใชเพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตอง” “...ตั้งปญหา หาขอมูลเพื่อหาวิธีการแกปญหา การรวบรวมขอมูลหรือทดลอง วิเคราะห ประเมิน สรุปผลการทดลอง” (นางสาวปารีดะ-โรงเรียน ค, 24 กุมภาพันธ 2553) นอกจากนี้นักเรียนบางสวนที่มีความเขาใจวาการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรมีเพียงขั้นตอน เดียว อาจมีผลมาจากการจัดการเรียนรูของครูผูสอนที่เนนดานกระบวนการทดลองมากกวาวิธีการอื่น ๆ ทํา ใหความเขาใจของนักเรียนยังยึดติดอยูกับลําดับขั้นตอนการทดลองทางวิทยาศาสตร เชน “ถาตามหลักทางวิทยาศาสตร เขาจะใชวิธกี ารเดียว เชน ถาเขาจะทําขอมูลชุดหนึ่ง การหาขอมูล ทดลอง สังเคราะห ประยุกต หรือหาขอเท็จจริงมีแบบเดียว มีลําดับขั้นตอนชัดเจน มีวิธีการเดียว” (นายอาบัส-โรงเรียน ง, 7 มีนาคม 2553) ผลการศึกษาองคประกอบความคิดสรางสรรคและจินตนาการมีบทบาทตอการสืบเสาะหาความรู ทางวิทยาศาสตร นักเรียนจํานวน 9 คน มีความเขาใจเปนอยางดี โดยในความเขาใจของนักเรียน ความรู ทางวิทยาศาสตรมีพื้นฐานมาจากการสัง เกตธรรมชาติ นัก วิท ยาศาสตรไดนําจินตนาการและความคิด สรางสรรคมาใชในการอธิบายธรรมชาติเพื่อสรางความรูทางวิทยาศาสตร นอกจากนี้นักเรียนบางสวนยังมี ความเขาใจที่คลาดเคลื่อนวานักวิทยาศาสตรไมไดนําจินตนาการและความคิดสรางสรรคมาใชในการอธิบาย ธรรมชาติเพื่อสรางความรูทางวิทยาศาสตร ความเขาใจของนักเรียนในองคประกอบนี้สวนหนึ่งมาจากการเรียนรูวิทยาศาสตรในชั้นเรียนของ ครูผูสอน และสวนหนึ่ง เปนผลมาจากการที่นักเรียนศึกษาดวยตนเอง เชน การอานหนังสือ ดูโ ทรทัศน ติดตามขอมูลขาวสารทางอินเตอรเน็ต เปนตน กลาวคือ เปนการเรียนรูที่ใหผูเรียนเกิดการเรียนรูโดยผาน กระบวนการที่สําคัญ คือ กระบวนการสืบ เสาะหาความรู ซึ่งเปนกระบวนการที่จ ะนําไปสูการสรางองค ความรูโดยผานกิจกรรมการสังเกต การตั้งคําถาม การวางแผนเพื่อการทดลอง การสํารวจตรวจสอบ ซึ่ง สะทอนไดจากคําตอบจากขอคําถามที่วา “ในการทดลองหรือการสืบเสาะหาความรูของนักวิทยาศาสตร นักวิทยาศาสตรไดใชความคิดสรางสรรคหรือจินตนาการหรือไม” และการยกตัวอยางของนักเรียน เชน “ใชครับ ใชจินตนาการเขาไปผสมกับความรู โดยเขาจะใชในขั้นตอนการทดลองวางแผนไววาจะ ทดลองแบบใด แลวจึงทําการทดลอง ถาไมไดผลก็เปลี่ยนแผนการทดลองอีกเพื่อใหไดขอมูล สวนผลงาน ของนักวิทยาศาสตรที่เกิดจากจินตนาการ เชน ตึกรังนกของประเทศจีน ออกแบบมาจากจินตนาการของ มนุษย เอาแบบมาจากรังนก สรางโดยไมใชเสา ใชในการแขงขันกีฬาโอลิมปก” (นายอิบรอเฮม-โรงเรียน ง, 7 มีนาคม 2553) นอกจากนี้นักเรียนบางสวนที่มีความเขาใจวานัก วิทยาศาสตรไมไดนําจินตนาการและความคิด สรางสรรคมาใชในการอธิบายธรรมชาติเพื่อสรางความรูทางวิทยาศาสตร อาจมีผลมาจากการจัดการเรียนรู ของครูผูสอนที่เนนดานกระบวนการทดลองมากกวาวิธีการอื่น ๆ ทําใหความเขาใจของนักเรียนยังยึดติดอยู กับวิธีการหาความรูทางวิทยาศาสตรเพียงวิธีการเดียว เชน “ไมใชคะ ถานักวิทยาศาสตรใชจินตนาการ ผลปรากฏออกมาอาจจะไมตรงตามความเปนจริงก็ได” (นางสาวซอฝยะ-โรงเรียน ข, 25 กุมภาพันธ 2553) ผลการศึก ษาความเขาใจธรรมชาติของวิ ท ยาศาสตรดานกิจ การทางวิท ยาศาสตร (Scientific Enterprise) พบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร ที่เรียนอยูในโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิส ลาม ข ค และ ง จํา นวน 7 คน มี ความเข าใจเปน อยา งดี ซึ่ ง คํ าถามในองค ป ระกอบ 866

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

วิทยาศาสตรเปนกิจกรรมทางสังคมที่ซับซอนนี้ไดถามถึงความสําคัญของการคนควาทางวิทยาศาสตรของ บุคคลใด ๆ ตอขอคนพบอื่น ๆ ทางวิทยาศาสตรของบุคคลอื่น โดยในความเขาใจของนักเรียน วิทยาศาสตร เปนกิจกรรมการทํางานของมนุษยภายใตอิทธิพลของสภาพสังคมและวัฒ นธรรม และเปนการสะทอน คานิยมทางสังคมและหลัก การคิด และนักเรียนบางสวนมีความเขาใจที่คลาดเคลื่อนวาวิทยาศาสตรเปน กิจกรรมการทํางานของมนุษยไมไดรับอิทธิพลของสภาพสั งคมและวัฒนธรรม โดยนักเรียนใหเ หตุผลวา นักวิทยาศาสตรมีแนวคิดหรือวิธีการคิดที่ตางกัน จึงไมนาจะมีผลตองานของนักวิทยาศาสตรที่กําลังกระทํา อยู ความเขาใจของนักเรียนในองคประกอบนี้เปนผลมาจากการจัดการเรียนรูในชั้นเรียน ซึ่งสงผลให นักเรียนเกิดความตระหนักถึงความสําคัญในการที่จะตองมีสวนรวมรับผิดชอบ การอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรูวิทยาศาสตรที่นําเสนอตอสาธารณชนดวยความถูกตอง สอดคลองกับตัวอยาง คําตอบของนักเรียน เชน “มีคะ คือ จะมีการนํางานทั้งสองกลุมมาเปรียบเทียบกันวามีความแตกตางกั นอยางไร คนกลุมที่ สองอาจนํางานกลุม แรกมาดู เพื่อหาความแตกตาง ถามีความแตกตางกันก็จะประกาศใหคนอื่นทราบ เพื่อใหรูวาความรูเรื่องหนึ่งสามารถไดมาจากหลายวิธีการ” (นางสาวเนอรไอนี-โรงเรียน ค, 24 กุมภาพันธ 2553) นอกจากนี้นักเรียนที่มีความเขาใจคลาดเคลื่อนวาวิทยาศาสตรเปนกิจกรรมการทํางานของมนุษย ไมไดรับอิทธิพลของสภาพสังคมและวัฒนธรรม อาจมีผลมาจากวิธีการจัดการเรียนรูของครูผูสอน ซึ่งสิรินภา กิจเกื้อกูล นฤมล ยุตาคม และอรุณี อิงคากุล (2548 : 133-145) เสนอวานอกจากครูผูสอนจะจัดการเรียน การสอนโดยการเปดโอกาสใหนักเรียนไดทําการทดลองหรือฝกปฏิบัติแลว ครูผูสอนจําเปนตองสื่อสาร ออกมาใหนักเรียนไดรับรู รับฟง หรือไดมองเห็นถึงความสําคัญของกิจการทางวิทยาศาสตรดวย ซึ่งสะทอน ใหเห็นจากตัวอยางคําตอบของนักเรียน เชน “ไมมีครับ งานของกลุมที่สองอาจจะมีการออกแบบการศึกษาในรูปแบบอื่น เชน การศึกษาเรื่อง อะตอม ทั้งสองกลุมมีวิธีการศึกษาที่ไมเหมือนกัน แตไดความรูที่เพิ่มมากขึ้น” (นายตามีซ-ี โรงเรียน ข, 25 กุมภาพันธ 2553) ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึก ษาปที่ 6 โรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิส ลาม ข ค และ ง โดยรวม มีความเขาใจธรรมชาติของวิท ยาศาสตรโลกทัศนทางวิท ยาศาสตร (Scientific World View) และดานการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร (Scientific Inquiry) มากกวา ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรดานกิจการทางวิทยาศาสตร (Scientific Enterprise) สอดคลองกับ ขอสรุปในงานวิจัยของ Moss, Abrams and Robb (2001 : 771-790) และ Bell et al. (2003 : 487509) ซึ่ง Bell et al. ไดแสดงความคิดเห็นตอประเด็นนี้วา อาจเปนเพราะนักเรียนมีความเชื่อบางอยางที่ ขัดขวางการทําความเขาใจเกี่ยวกับธรรมชาติของวิทยาศาสตรในดานของกิจการทางวิทยาศาสตร จากผลการศึก ษาในครั้ง นี้ พบวา นัก เรียนชั้นมัธยมศึก ษาปที่ 6 แผนการเรียนวิท ยาศาสตร ที่เรียนอยูในโรงเรียนมัธยมศึกษา ก และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ข ค และ ง มีความเขาใจ ธรรมชาติของวิทยาศาสตรในดานโลกทัศนทางวิทยาศาสตร (Scientific World View) และดานการ สืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร (Scientific Inquiry) มากกวาความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร ดานกิจการทางวิทยาศาสตร (Scientific Enterprise)

Graduate School and Research / 15 May 2013

867


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช 1.1 ครูผูสอนวิทยาศาสตรควรสงเสริมใหนักเรียนมีโอกาสศึกษา คนควา และทําการทดลองดวย ตนเอง ศึก ษาหาความรูจากแหลงความรูตาง ๆ ดวยตนเอง และจัดกิจ กรรมการเรียนรูวิท ยาศาสตรที่ สงเสริมใหผูเรียนเกิดประสบการณที่สะทอนถึงธรรมชาติของวิทยาศาสตรในทุกดาน 1.2 ศึก ษานิเ ทศกและผู เ กี่ยวข อง ควรสง เสริ ม การจั ดการเรียนรูวิท ยาศาสตรของครูผูส อน วิทยาศาสตร และแนะนําวิธีการจัดการเรียนรูที่สงเสริมความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรของนักเรียน 1.3 สํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาหรื อ หน ว ยงานต น สั ง กั ด ควรส ง เสริ ม และจั ด ฝ ก อบรม เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดเรียนรูของครูผูสอนวิทยาศาสตร รวมทั้งจัดการศึกษาดูงานเกี่ยวกับการจัดการ เรียนการสอนวิทยาศาสตรในโรงเรียน 1.4 สถาบัน/มหาวิทยาลัยที่เปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรศึกษา หรือผลิตครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ควรสงเสริมความรูความเขาใจเกี่ยวกับธรรมชาติของวิทยาศาสตรที่ถูกตองใหกับนักศึกษา เพื่อเตรียม ความพรอมในการประกอบอาชีพครูผูสอนวิทยาศาสตรตอไป 2. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรมีการศึกษาในประเด็นอื่นของธรรมชาติของวิทยาศาสตร ไดแก กฎและทฤษฎีเปนความรู ทางวิทยาศาสตรที่แตกตางกัน ความรูทางวิทยาศาสตรตองใชหลักฐานเชิงประจักษ เปนตน หรือศึกษากับ กลุมนักเรียนที่มีลักษณะแตกตางจากกลุมตัวอยางครั้งนี้ 2.2 ควรทําการวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการสอนที่ชวยพัฒนาความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร ของนักเรียน เอกสารอางอิง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2546. การจัดสาระการเรียนรูกลุมวิทยาศาสตร หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุง เทพมหานคร : สถาบันสง เสริม การสอนวิท ยาศาสตร และเทคโนโลยี. สิรินภา กิจเกื้อกูล นฤมล ยุตาคม และอรุณี อิงคากุล . 2548. “ความเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5”, เกษตรศาสตร สาขาสังคมศาสตร. 26(2) : 133-145. Bell, R., Blair, L., Crawford, B.,Crawford, B., and Lederman, N.G. 2003. “Just Do It?Impact of a Science Apprenticeship Program on High School Students’ Understandings of the Nature of Science and Scientific Inquiry”, Journal of Research in Science Teaching. 40(5) : 487-509. Driver, R., Leach, J., Millar, R. and Scott, P. 1996. Young People’s Image of Science.Buckingham : Open University Press. Moss, D. M., Abrams, E. D., and Robb, J. 2001. “Examining Students Conceptions of the Nature of Science”, International Journal of Science Education. 23(8): 771-790.

868

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

การกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่นและความสมานฉันท กรณีศึกษา ทัศนคติทางการเมืองของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี decentralization to local governments and reconciliation: a case study of polotical attitude of muslims in muang district, pattani province มูฮําหมัดดาวูด ซอลฮาน1 ฮูเซ็น หมัดหมัน2 1

นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชารัฐศาสตรการปกครอง คณะศิลปะศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา, 2Ph.D อาจารยประจําหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่เปนชาวมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จัง หวัดปตตานี ตอการกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่นและความเปนสมานฉันท โดยผูวิจัยได รวบรวมขอมูล จากผูตอบแบบสอบถามที่เปนกลุม ตัวอยาง จํานวน 380 คน โดยใชแบบสอบถามเปน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม มีลักษณะ เปนแบบเลือกตอบ (Check - list) ประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพ วุฒิการศึกษา ภาษาที่ใชใน ชีวิตประจําวัน และอาชีพปจจุบัน แบบสอบถามเกี่ยวกับทัศนคติของประชาชนที่เปนชาวมุสลิมในเขต อําเภอเมือง จัง หวัดปตตานี ตอการกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่นและความเปนสมานฉันท จํานวน 45 ขอ และแบบสอบถามเกี่ยวกับ ปญ หาและขอเสนอแนะเกี่ยวกับ ปจจัยที่มี อิท ธิพลตอการ เปลี่ ย นแปลงทั ศ นคติ สู ค วามเป น สมานฉั น ท ท างด า นสิ ท ธิ เ สรี ภ าพด า นบทบาททางการเมื อ ง บรรยากาศแหงความปรองดอง และบทบาทการสรางสันติสุขของศูนยอํานวยการบริหารจังหวัด ชายแดนภาคใต เปนแบบสอบถามปลายเปด ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับทัศนคติของประชาชนที่เปนชาวมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัด ปตตานี ตอการกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่นและความเปนสมานฉันท โดยภาพรวม กลุม ตัวอยางเห็นดวยเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพทางการเมืองของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี คะแนน เฉลี่ยเทากับ 3.84 รองลงมา กลุม ตัวอยางเห็นดวยเกี่ยวกับ การกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่น คะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.81 และกลุมตัวอยางเห็นดวยเกี่ยวกับการสรางบรรยากาศแหงความปรองดองของ ศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต คะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.67 เมื่อทําการทดสอบสมมติฐาน ของการวิจัย พบวาเปนไปตามสมมติฐานที่ไดตั้งไว คือสิทธิเสรีภาพดานบทบาททางการเมือง การกระจาย อํานาจการปกครองสูทองถิ่น และการสรางบรรยากาศแหงความปรองดองมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติทางการเมืองสูความเปนสมานฉันท คําสําคัญ: การกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่น ความสมานฉันท ทัศนคติทางการเมือง

Graduate School and Research / 15 May 2013

869


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ABSTRACT The objectives of this research aim to study about political attitude of Muslims in Muang District, Pattani province on decentralization to local governments and the state of harmony. The researcher collected data from 380 respondents of sampling group, by using questionnaires collecting data. The questionnaire is open-end type was classified into 3 parts: part one is questionnaires regarding the status of respondents in the form of Check-list such as sex, age, status, qualification of education, daily language usage, and present occupation. Part two is 45 items of questions regarding attitude of Muslims in Muang District, Pattani Province on the decentralization to local governments and the state of harmony. And part three is questions regarding problems and propositions of factors which effected in changing attitude to the state of harmony in term of liberal right in having political role, the state of reconciliations, and the role of Southern Border Administrative in peace building. The study found that the over all of attitude of Muslims people in Muang District, Patani province, on power decentralization to local governments and the state of harmony from sampling group most of them agreed with the political liberalization and political right of people in Muang District, Pattani Province with average = 3.84,follow with agreed with the decentralization to local governments with average = 3.81, and agreed with the harmonious atmosphere of the Southern Border Provinces Administrative Center with average = 3.67 the study, found that all research results are correlate with the set hypothesizes, that are liberalization in political role, harmonious atmosphere and power decentralization to local governments could effect in changing political attitude of people to be harmony. Keywords: Decentralization to Local Governments, Reconciliation, Political Attitude.

870

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

บทนํา หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เปนตนไป การบริหารสามจังหวัดชายแดน ภาคใตของรัฐบาลไทยในระยะเริ่มแรกดานการเมืองการปกครอง จะเห็นไดวา รัฐไทยไดเขาไปเกี่ยวพันกับ ประชาชนในดินแดนแถบนี้ ตั้งแตสมัยสุโ ขทัยเปนราชธานี และดินแดนแถบนี้ก็เ ปนอาณาจักรหนึ่ง คือ อาณาจักรปาตานีตามหลักฐานสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราชที่ไดปรากฏในหลักศิลาจารึกกลาว ไววา พอ ขุนรามคําแหงแผขยายอิทธิพลไปจนดินแดนแหลมมลายูตั้งแตเมืองไชยาไปจนถึงสิงคโปร เมื่อ พ.ศ. 1820 โดยความสั ม พั น ธ เ ป น ไปในลั ก ษณะที่ มี ฐ านะเป น ประเทศราช ( ขจั ด ภั ย บุ รุ ษ พั ฒ น , 2519: 67) ความสัมพันธดังกลาวยัง คงดําเนินตอเนื่องมาในสมัยกรุง ศรีอยุธยา ปตตานีในฐานะประเทศราชตองสง เครื่องราชบรรณาการทุกๆ 3 ป บางกระแสระบุวาทุกๆ 4 ป ปตตานีตองสงอาวุธและอาหารไปชวยในยาม เกิดสงคราม แตคราวใดก็ตามที่กรุงศรีอยุธยาออนอํานาจลงปตตานีก็จะงดสงราชบรรณาการและแสดง อาการกระดางกระเดื่องไมยอมอยูใตการปกครองของไทยเชน ใน พ.ศ. 2106 สมัยแผนดินสมเด็จพระมหา จักรพรรดิ และในป พ.ศ. 2173 − 2176 สมัยแผนดินพระเจาปราสาททอง แตก็ถูกปราบปรามลงในที่สุด จนกระทั่งกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2310 ปตตานีก็แยกตัวเปนอิสระอีกครั้งหนึ่ง (อภัย จันทวิ มล,2507 : 33 ) จะเห็นไดวาในระยะเริ่มแรก แนวคิดดานนโยบายของรัฐไทยตอดินแดนในแถบนี้ยังไม ปรากฏชัดเจน มิไดเขาไปครอบครองและปกครองโดยตรง เพียงแตอางสิทธินอกอาณาเขตแยงชิงความเปน ใหญกับอาณาจักรอื่นเชน อาณาจักรศรีวิชัย หรืออาณาจักรมัชปาหิตเพื่อแสดงถึงอํานาจอันเกรียงไกร เพราะเห็นไดจากการที่อาณาจักรปาตานีจะประกาศตัวเปนอิสระถาหากรัฐไทยออนแอ และหากรัฐไทย เขมแข็งก็ยอมอยูภายใตอํานาจของรัฐไทย (surin pitsuwan , 1985 : 83-84) ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร ป พ.ศ.2475 ในชวงนี้รัฐไทยไดใชอํานาจที่เหนือดินแดนในแถบนี้อยางเดนชัด ไดมีการจัดระเบียบการปกครอง เปนรัฐ มีการสงเจานายชั้นผูใหญจากสวนกลางไปชวยดูแลความมั่นคงในรัฐแถบนี้ จุดประสงคก็เพื่อสราง ดุลอํานาจและปองกันการกอกบฏแข็งเมือง ในการจัดระเบียบการปกครองที่เห็นไดอยางเชน การแบงพื้นที่ การปกครองออกเปน 7 หัวเมืองคือ เมืองปตตานี เมืองยะลา เมืองหนองจิก เมืองยะหริ่ง เมืองสายบุรี เมืองระแงะ เมืองรามัน (ขจัดภัย บุรุษพัฒน.2519: 75-77) ในชวงป พ.ศ.2476 - 2520 ภายหลังการ เปลี่ยนแปลงการปกครองเปนระบอบประชาธิปไตยไดมีการยกเลิกระเบียบการปกครองแบบมณฑลมาใช พระราชบัญญัติวาดวยระเบียบราชการบริห ารแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2476ซึ่งจัดระเบียบราชการ สวนกลางเปนกระทรวงหรือทบวงการเมืองราชการบริหารสวนภูมิภาคเปนจังหวัดและอําเภอ และราชการ บริหารสวนทองถิ่นเปนเทศบาลและสุขาภิบาล จาก พระราชบัญญัติจัดการปองกันรักษารัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2476 และประกอบกับสนธิสัญญาระหวางไทยกับอังกฤษพ.ศ.2452ทําใหการปกครองพื้นที่บริเวณนี้ไดแก ปตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูลไดกลายมาเปนหนวยการปกครองที่มีฐานะเชนเดียวกับจังหวัดอื่นๆ และเรียกวาจังหวัดชายแดนภาคใต การกระจายอํานาจบริหารไปสูระดับทองถิ่นในประเทศไทย ไดเกิดขึ้น ตั้งแตในชวงปลาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525 - 2529) แตไดเริ่ม ดําเนินงานอยางเปน รูปธรรมในแผนพัฒนาฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535 - 2539) โดยเฉพาะอยางยิ่งหลัง เหตุการณเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2535 การกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่นมีความสําคัญ และไดรับ การดําเนินการอยางเปนรูปธรรมมากขึ้น ภายหลังการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับ พุทธศักราช 2540 ที่กําหนดใหการกระจายอํานาจเปนนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ และกําหนดวาตองมีการ ดําเนินการวางแผนเพื่อใหมีการกระจายอํานาจเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม สงผลใหการดําเนินการกระจาย อํานาจไปสูทองถิ่นมีรูปแบบที่ชัดเจน โดยรัฐธรรมนูญฉบับ พุทธศักราช 2540 ที่ไดประกาศใชเมื่อวันที่ 11 Graduate School and Research / 15 May 2013

871


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ตุลาคม พ.ศ. 2540 ไดบังคับใหรัฐบาลกระจายอํานาจการปกครองไปสูทองถิ่น โดยเฉพาะมาตรา 334 ไดมี บทบังคับใหรัฐบาลออกกฎหมายกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน ทองถิ่น และรัฐบาลกลางตองปฏิบัติตามเปนครั้ง แรกตามที่กําหนดไวอยางชัดเจนในรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 ดังกลาว ปจจุ บันในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่ง มีป ระชากร 1.91 ลานคน (พ.ศ.2550) ในจํานวน ดังกลาวเปนชาวมลายูนับถือศาสนาอิสลามรอยละ 85 เปนชาวไทยนับถือศาสนาพุทธรอยละ 14.5 และ อื่นๆอีกรอยละ 0.5 นับวาชายแดนภาคใตเ ปนพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ ศาสนาและ วัฒนธรรม (อางในเอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการ "นครปตตานีภายใตรัฐธรรมนูญไทย : ความฝนหรือ ความจริง, 2552,บทนํา) นับตั้งแตปพ.ศ. 2547 เปนตนมา ไดเกิดปญหาความขัดแยงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตระหวาง ประชาชนกับรัฐ ระหวางประชาชนกับประชาชน ไดกอใหเกิดความหวาดระแวง ไมไววางใจและเกิดความ ขัดแยงรุนแรงมากขึ้นตลอด และยังไมพบหนทางแหงสันติภาพไดอยางแทจริง เพราะปญหากําลังขยายตัว ไปในวงกวางไมสิ้นสุด กอใหเกิดความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสินทั้งของรัฐและประชาชนจํานวนมาก ใน ขณะเดียวกันรัฐตองใชงบประมาณจํานวนมหาศาลในการแกไขปญหา ดังนั้น การศึกษาทัศนคติทางการเมืองของประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใตจึงเปนเรื่อง สําคัญ ซึ่งผูศึกษาไดกําหนดตรวจสอบโจทยปญหาวิจัยคือ “อะไรคือปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติทางการเมืองของประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใตสูความเปนสมานฉันท” โดยเจาะจงศึกษา เฉพาะทัศนคติของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี วัตถุประสงคของการวิจัย 1.เพื่อศึก ษาทัศนคติเ กี่ยวกับสิท ธิเสรีภาพทางการเมืองของมุส ลิม ในเขตอําเภอเมือง จัง หวัด ปตตานี 2.เพื่อศึกษาทัศนคติของมุสลิมเกี่ยวกับการสรางบรรยากาศแหงความปรองดองของศูนยอาํ นวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต 3.เพื่อศึกษาทัศนคติ ตลอดจนความรู ความเขาใจของมุสลิมเกี่ยวกับการกระจายอํานาจการ ปกครองสูท องถิ่น ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี สมมติฐานของการวิจัย 1.สิท ธิเ สรีภาพดานบทบาททางการเมืองมีอิท ธิพลต อการเปลี่ยนแปลงทัศนคติทางการเมืองสู ความเปนสมานฉันท 2.การสรางบรรยากาศแหงความปรองดองมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทัศนคติทางการเมืองสู ความเปนสมานฉันท 3.การกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่น มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทัศนคติทางการเมืองสู ความความเปนสมานฉันท

872

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย 1.นําเสนอความรูที่เกี่ยวของกับสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงทัศนคติทางดานการเมืองของมุสลิมใน เขตอําเภอเมือง จัง หวัดปตตานี เ พื่อกําหนดนโยบายในการบริห ารการปกครองทองถิ่นในสามจัง หวัด ชายแดนภาคใต 2.นําขอบกพรองของการกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่นมาพัฒนาเพื่อใหเกิดความสอดคลอง กับวัฒนธรรมของทองถิ่น 3.นําเสนอปจจัยตางๆ ที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทัศนคติทางการเมืองของประชาชน ในสาม จังหวัดชายแดนภาคใตเพื่อใหเกิดบรรยากาศแหงความสมานฉันทอยางแทจริง ขอบเขตของการวิจัย การศึกษานี้ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตของการศึกษาดังนี้ 1.ขอบเขตดานเนื้อหา มีการมุงเนนศึกษาถึงทัศนคติ หรือ ความคิดเห็นทางดานการเมืองเกี่ยวกับการกระจายอํานาจสู ทองถิ่นของประชาชนผูที่นับถือศาสนาอิสลามที่อาศัยอยูในเขตอําเภอเมือง จัง หวัดปตตานีซึ่ง จะแบง ออกเปน 3 ดานคือ 1) การเปดโอกาสใหมุสลิมมีบทบาททางการเมืองอยางเสรีมากขึ้น 2) การสราง บรรยากาศแหงความปรองดองจากฝายรัฐ 3) การกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่น มีอิทธิพลตอการ เปลี่ยนแปลงทัศนคติทางการเมืองสูความเปนสมานฉันท โดยตรวจสอบโจทยปญหา คือ “อะไรคือปจจัยที่ มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทัศนคติทางการเมืองของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานีสูความเปน สมานฉันท” 2.ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรในการศึกษาในครั้งนี้ คือ ประชาชนที่มีสิทธิเลือกตั้งในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี ประกอบดวย ผูนําชุ มชน เชน กํานัน ผูใหญบาน นายกเทศบาล นายกองคการบริหารสวนตําบล ปลัด องคการบริหารสวนตําบล อิหมาม คอฏีบ บิลาล ปญญาชน และประชาชนทั่วไป จํานวน 78,994 คน (สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดปตตานี รายงานผลคะแนนการเลือกตั้ง ส.ส. 3 ก.ค. พ.ศ. 2540) สวนกลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้ประกอบไปดวย กลุมตัวอยางที่เปนผูนําชุมชนจํานวน 100 คน และกลุมตัวอยางที่เปนประชาชนทั่วไป 300 คน รวมกลุมตัวอยางทั้งสิ้น 400 คน นิยามศัพทเฉพาะ 1.การกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่น หมายถึง การไมรวมอํานาจในการบริหารไวที่สวนกลาง แตเพียงแหงเดียว แตเปนการกระจายอํานาจออกไปยังทองถิ่นเพื่อใหมีการปกครองกันเองในพื้นที่มากขึ้น คือ การปกครองที่ตองสอดคลองกับสิ่งที่ทองถิ่นตองการ ดังเปนที่ประจักษในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร ไทย มาตรา 282 ภายใตบังคับมาตรา 1 คือ "รัฐจะตองใหความเปนอิสระแกทองถิ่นตามหลักแหงการ ปกครองตนเองตามเจตนารมณของประชาชนในทองถิ่น" (อางใน http://www.kodmhai.com/m1/m1282-290.html) 2.ความสมานฉันท หมายถึง ความพอใจทีม่ ีตอกันระหวางรัฐและประชาชนในพื้นที่

Graduate School and Research / 15 May 2013

873


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

3.ทัศนคติทางการเมือง หมายถึง คานิยมหรือความคิดเห็นของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัด ปตตานีที่มีตอการบริหารงานของรัฐบาลไทยดานการใหสิทธิเ สรีภาพทางดานการเมือง การสรางความ ปรองดอง และการกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่น 4.ปจ จัยที่มีอิท ธิพลต อการเปลี่ยนแปลงทัศนคติท างการเมืองสูความเปนสมานฉันท หมายถึง ปจ จัยอิท ธิพลที่ผ ลักดันทัศนคติท างการเมืองของผูนําชุม ชน ปญญาชน และประชาชนที่นับถือศาสนา อิสลามในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานีสูความเปนสมานฉันท วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยเรื่อง การกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่นและความสมานฉันท กรณีศึกษา ทัศนคติ ทางการเมืองของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี มีวิธีการดําเนินการวิจัยดังนี้ 1.ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรในการศึก ษาในครั้งนี้ คือ ประชาชนที่มีสิทธิเลือกตั้งในอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี ประกอบดวยผูนําชุม ชน เชน กํานัน ผูใหญบาน นายกเทศบาล นายกองคการบริห ารสวนตําบล ปลัด องคการบริหารสวนตําบล อิหมาม คอฏีบ บิลาล ปญญาชน และประชาชนทั่วไป จํานวน 78,994 คน (สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดปตตานี รายงานผลคะแนนการเลือกตั้ง ส.ส. 3 ก.ค. 2540) สวนกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนดกลุมตัวอยาง โดยใชสูตรของทาโร ยามาเน (อาคม ใจแกว 2545:132) กําหนดความคลาดเคลื่อน 0.05 รวมกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้มี จํานวน 400 คน 2.เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ผูวิจัยนําแนวคิด ทฤษฎี และขอเสนอแนะของนัก วิชาการ เกี่ยวกับอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทัศนคติสูความเปนสมานฉันทเปนแนวทางในการกําหนดองคประกอบ ในการสรางเครื่องมือใชในการศึกษาออกเปน 3 ตอน คือ 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคลของ ผูตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเปนแบบสํารวจรายการ(Checklist) หรือแบบเลือกตอบ ไดแก เพศ อายุ สถานภาพ วุฒการศึกษา ภาษาที่ใชในชีวิตประจําวัน และอาชีพปจจุบัน 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยที่ มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทัศนคติสูความเปนสมานฉันท คือ 1) เสรีภาพดานบทบาททางการเมือง 2) บรรยากาศแหงความปรองดอง และ 3) บทบาทการสรางสันติสุขศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดน ภาคใต 3 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับปญหาและขอเสนอแนะเกี่ยวกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติสูความเปนสมานฉันททางดานสิทธิเสรีภาพดานบทบาททางการเมือง บ ร ร ย า ก า ศ แ ห ง ค ว า ม ปรองดอง และบทบาทการสรางสันติสุขศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต เปนแบบสอบถาม ปลายเปด การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดดําเนินการแจกแบบสอบถามใหกับประชากรในการศึกษา คือ ประชาชนที่มีสิทธิเลือกตั้ง ในอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี ประกอบดวยผูนําชุม ชน เชน กํานัน ผูใหญบาน นายกเทศบาล นายก องคการบริหารสวนตําบล ปลัดองคการบริหารสวนตําบล อิหมาม คอฏีบ บิลาล ปญญาชน และประชาชน ทั่วไป จํานวน 78,994 คน โดยมีก ลุมตัวอยางที่ใชในการศึก ษาครั้งนี้มีจํานวน 400 คน (กําหนดกลุม

874

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ตัวอยาง โดยใชสูตรของทาโร ยามาเน กําหนดความคลาดเคลื่อน 0.05) กลุมตัวอยางไดตอบแบบสอบถาม จํานวน 380 คน คิดเปนรอยละ 95.00 การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดนําแบบสอบถามที่รับกลับคืนมาทั้งหมดมาดําเนินการวิเคราะหขอมูล โดยใชโ ปรแกรม คอมพิวเตอรสําเร็จรูป ซึ่งมีขั้นตอนการดําเนินงานดังนี้ 1.เมื่ อ ทํ า การเก็ บ รวบรวมข อ มู ล ได ค รบตามจํ า นวน ทํ า การตรวจสอบความสมบู ร ณ ข อง แบบสอบถามทั้งหมด เพื่อใหไดขอมูลที่ครบถวน ถูกตองตามที่กําหนดไว 2.นําแบบสอบถามชนิดสอบรายการ (Checklist) มาแจกแจงความถี่ และหาคารอยละ 3.วิเคราะหขอมูลโดยหาคาเฉลี่ย ( x ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) แลวนําคาเฉลี่ยมา เปรียบเทียบเกณฑที่กําหนด โดยใชเกณฑของบุญชม ศรีสะอาด (2535:103) ในการแปลผลดังนี้ 4.51-5.00 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวยมากที่สุด 3.51-4.50 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวย 2.51-3.50 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง 1.51-2.50 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับไมเห็นดวยนอย 1.00-1.50 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับไมเห็นดวยนอยที่สุด 4.สถิติการวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลนั้น ผูวิจัยหาความสัมพันธระหวางตัวแปรตนและตัว แปรตาม โดยใชการประมวลผลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป เสนอขอมูลดังนี้ 4.1สถิติเชิง พรรณนา ( Descriptive Statistics) เพื่ออธิบ ายขอมูล สวนบุคคลของกลุม ตัวอยาง ไดแก ความถี่ (Frequency) คาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) 4.2 การวิเคราะหปญหาและขอเสนอแนะเกี่ยวกับอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทัศนคติสูความเปน สมานฉันท สถิติที่ใชไดแก การแจกแจงความถี่ และการพรรณนาความ สรุปผลการศึกษา จากการวิเคราะหขอมูล ปรากฏผลโดยสรุป ดังนี้ ตอนที่ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับสถานภาพและลักษณะทั่วไปของกลุมตัวอยาง ซึ่งไดแก เพศ อายุ สถานภาพ วุฒิการศึกษา ภาษาที่ใชในชีวิตประจําวัน และอาชีพปจจุบัน ดังตารางตอไปนี้

Graduate School and Research / 15 May 2013

875


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ เพศ จํานวน (คน) รอยละ ชาย 200 52.63 หญิง 180 47.36 รวม 380 99.99 ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุ อายุ จํานวน (คน) รอยละ นอยกวา 20 ป 35 9.21 21 – 30 ป 80 21.05 31 – 40 ป 175 46.05 มากกวา 40 ปขึ้นไป 85 22.36 รวม 380 68.67 ตารางที่ 3 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามสถานภาพ สถานภาพ จํานวน (คน) รอยละ สมรส 200 52.63 โสด 100 26.31 หยาราง 80 21.05 รวม 380 99.9 ตารางที่ 4 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามวุฒิการศึกษา วุฒิการศึกษา จํานวน (คน) รอยละ ปริญญาโทขึ้นไป 47 12.36 ปริญญาตรี 98 25.78 มัธยมศึกษา 100 26.31 ต่ํากวามัธยมศึกษา 135 35.52 รวม 380 99.97 ตารางที่ 5 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามภาษาที่ใชในชีวิตประจําวัน ภาษาที่ใชใน จํานวน (คน) รอยละ ชีวิตประจําวัน ภาษามลายู 200 52.63 ภาษาไทย 180 47.36 อื่น ๆ รวม 380 99.99

876

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ตารางที่ 6 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอาชีพปจจุบัน อาชีพปจจุบัน จํานวน (คน) รอยละ เจาของกิจการทางธุรกิจ 41 10.78 รับจางองคกรเอกชน 70 18.42 นักการเมือง 37 9.73 ขาราชการ 67 17.63 ผูนําศาสนา 65 17.10 อื่นๆ 100 26.31 รวม 380 99.97 ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับทัศนคติของประชาชนที่เปนชาวมุสลิมในเขตอําเภอ เมือง จังหวัดปตตานี ตอการกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่นและความเปนสมานฉันท โดยภาพรวม ทั้ง 3 ดาน สรุปผลไดดังนี้ ทัศนคติของประชาชนที่เปนชาวมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี ตอการกระจายอํานาจ การปกครองสูทองถิ่นและความเปนสมานฉันท จําแนกตามทัศนคติเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพทางการเมืองของ มุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี กลุมตัวอยางไดแสดงทัศนคติเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพทางการเมือง ของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี โดยภาพรวม กลุมตัวอยางเห็นดวยเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพทาง การเมืองของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี คะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.84 จําแนกตามทัศนคติ เกี่ยวกับการสรางบรรยากาศแหงความปรองดองของศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต กลุม ตัวอยางไดแสดงทัศนคติเกี่ยวกับการสรางบรรยากาศแหงความปรองดองของศูนยอํานวยการบริหารจังหวัด ชายแดนภาคใต โดยภาพรวม กลุมตัวอยางเห็นดวยเกี่ยวกับการสรางบรรยากาศแหงความปรองดองของ ศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต คะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.67 และจําแนกตามทัศนคติเกี่ยวกับ การกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่น กลุมตัวอยางไดแสดงทัศนคติเกี่ยวกับการกระจายอํานาจการ ปกครองสูทองถิ่น โดยภาพรวม กลุมตัวอยางเห็นดวยเกี่ยวกับการกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่น คะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.81 ตอนที่ 3 ปญหาและขอเสนอแนะเกี่ยวกับงานวิจัยชิ้นนี้ ผูวิจัยไดแบงตามวัตถุประสงคของการ วิจัยทั้ง 3 ดาน ดังนี้ 1. ดานสิทธิเสรีภาพทางการเมือง สวนใหญเสนอวารัฐบาลควรสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมใน การกําหนดนโยบายและวางแผนพัฒ นาเศรษฐกิจ และสัง คม ทั้ง ในระดับ ชาติ และระดั บ ทอ งถิ่ น สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนและพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการจัดทําบริการสาธารณะ สงเสริมใหประชาชนมีความเขมแข็งทางการเมือง มีสวนรวมในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ และสงเสริมในการใหการศึกษาแกประชาชนเกี่ยวกับ การพัฒ นาทางการเมืองและการปกครองระบอบประชาธิป ไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุข รวมทั้งสงเสริมใหประชาชนใชสิทธิเลือกตั้งโดยสุจริตและเที่ยงธรรม 2. ดานความปรองดองและความสมานฉันท สวนใหญเสนอวากระบวนการยุติธรรมตองปรับปรุง แกไข จัดใหมีองคกรยุติธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต เพื่อใหการปฏิบัติทุกขั้นตอนเปนไปตามหลักนิติ ธรรม การสืบสวนสอบสวน และการดําเนินคดี ใหทั้งตํารวจ ฝายปกครอง และอัยการมีสวนรวมในการ Graduate School and Research / 15 May 2013

877


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

สอบสวนถวงดุลอํานาจซึ่งกันและกัน ใหมีสํานักงานยุติธรรมจังหวัด ยุติธรรมเขตพื้นที่ เพื่อคุมครองสิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน และศักดิ์ศรีความเปนมนุษยที่เทาเทียมกัน 3. ดานการกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่น สวนใหญเสนอวารัฐบาลควรกระจายอํานาจให องคกรปกครองสวนทองถิ่นพึ่งตนเอง และตัดสินใจในกิจการของทองถิ่นไดเอง สงเสริมใหองคกรปกครอง สวนทองถิ่นมีสวนรวมในการดําเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ พัฒนาเศรษฐกิจของทองถิ่น และ ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ตลอดทั้งโครงสรางพื้นฐาน สารสนเทศในทองถิ่นใหทั่วถึง และเทา เทียมกันทั่วประเทศ รวมทั้งพัฒนาจังหวัดที่มีความพรอมใหเปนองคกรปกครองทองถิ่นขนาดใหญ โดย คํานึงถึงเจตนารมณของประชาชนในจังหวัดนั้น การอภิปรายผลการวิจัย ผลการวิเคราะหขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ สามารถนํามาอภิปรายผล ไดดังนี้ 1. จากผลการวิจัยการศึกษาทัศนคติทางการเมืองของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี ตามทัศนคติเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพทางการเมืองของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี โดยภาพรวม กลุมตัวอยางเห็นดวยวาสิทธิเสรีภาพทางการเมืองของมุสลิมในเขตอําเภอเมืองจังหวัดปตตานีเปนปจจัยที่มี อิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทัศนคติทางการเมืองของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี สูความเปน สมานฉั น ท ทั้ ง นี้ อาจเนื่ อ งมาจากการปกครองท องถิ่ น นั้ น ถื อ เป น รากฐานของการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย เพราะเปนสถาบันฝกสอนการเมืองการปกครองใหแกประชาชน ทําใหมุสลิมเกิดความคุนชิน ในการใชสิทธิและหนาที่พลเมืองอันจะนํามาสูความศรัทธาเลื่อมใสในระบอบประชาธิปไตย สอดคลองกับ ทฤษฎีการปกครองในอิสลาม ( 35- 36 :1975 ،‫ ) ﻋﺒﺪاﻟﻜﺮﻳﻢ زﻳﺪان‬คือ สิทธิปจเจกบุคคลในการให ขอเสนอแนะ ( ‫ ) ﺣﻖ اﳌﺸﺎورة‬ทั้งนี้เมื่อปจเจกบุคคลมีสิทธิที่จะเลือกผูนํา อันเปนผูแทนของเขาเพื่อปฏิบัติ หนาที่เปนผูบริหารกิจการของเขา เขาก็ยอมมีสิทธิที่จะใหขอเสนอแนะได และการที่องคกรปกครองสวน ทองถิ่นมีการเปดเผยขอมูลในการบริหาร การเขาถึงขอมูลขาวสารขององคกรเปนปจจัยสําคัญในการมีสวน รวมของประชาชน และการเปด โอกาสให ภาคสว นประชาชนเข าไปมีส วนรวมในการตรวจสอบการ ดําเนินงานขององคก รเพื่อแสดงใหเห็นถึง การกระจายอํานาจกากรปกครองสูทองถิ่นอยางแทจ ริง นั้น สอดคลองกับทฤษฎีการปกครองในอิสลาม ( 38 :1975 ،‫ ) ﻋﺒﺪاﻟﻜﺮﻳﻢ زﻳﺪان‬คือ สิทธิปจเจกบุคคลในการ ตรวจสอบ ( ‫ ) ﺣﻖ اﳌﺮاﻗﺒﺔ‬ปจเจกบุคคลมีสิทธิที่จะตรวจสอบผูนําและคณะทํางานในเรื่องที่เกี่ยวพันกับการ บริหารประเทศ ทั้งนี้เพื่อความแนใจวาผูนําและคณะทํางานที่เขาไดเลือกนั้นมีความสุจริตและทํางานอยาง ถูก ตอง ดัง นั้ นผลการวิจัย ขอนี้ เมื่อ นํามาทดสอบกับ สมมติฐานของการวิจั ยแลว พบว าเปน ไปตาม สมมติฐานที่ไดตั้งไว คือสิทธิเสรีภาพทางการเมือง เปนปจ จัยที่มีมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ทางการเมืองสูความเปนสมานฉันท 2. จากผลการวิจัยการศึกษาทัศนคติของประชาชนที่เปนชาวมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัด ปตตานี ตอการกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่นและความเปนสมานฉันท ตามทัศนคติเกี่ยวกับการ สรางบรรยากาศแหงความปรองดองของศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต โดยภาพรวมกลุม ตัวอยางเห็นดวยวาการสรางบรรยากาศแหงความปรองดองของศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดน ภาคใตเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทัศนคติทางการเมืองของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัด ปตตานี สูความเปนสมานฉันท ทั้ง นี้อ าจเนื่องมาจากความเปนไปไดถึง วิธีก ารที่องคก รภาครัฐจะนํา 878

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

นโยบายสันติวิธีมาใชในการแกไขปญหาความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต โดยยึดพระราชดํารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว “เขาใจ เขาถึง พัฒนา” มาปฏิบัติอยางเครงครัด ซึ่งพระราชดํารัสฯ นี้ ถา พิจ ารณาถึง แกนแท แลว จะเห็นไดวามีความสอดคลองกับ ทฤษฎีก ารสรางความปรองดองและความ สมานฉันทตามหลักการอิสลามคือการดํารงไวซึ่งความยุติธรรมและความเสมอภาค ทั้งนี้อิสลามถือวามนุษย ทุกคนนั้นมีความเทาเทียมกันตอกฎหมายหรือบทบัญญัติของอัลลอฮ มีสิทธิเทาเทียมกันระหวางคนรวยและ ผูยากจน ผูมีตําแหนงและประชาชนทั่วไปตางมีหนาที่ที่จะตองดํารงไวซึ่งความยุติธรรม ทั้งนี้เพราะอิสลาม มีขอจํากัดในการประเมินตนเองเพียงขอเดียวเทานั้น ที่ตางคนตางตองประเมินตนเอง และเปนบรรทัดฐาน แหงชีวิตของมุส ลิมทุคน นั้นคือโองการอัลลอฮที่ตรัสวา : ในซูเราะหอัลฮุจุรอต: 13 ( ‫إن أﻛﺮﻣﻜﻢ ﻋﻨﺪاﻟﻠﻪ‬ ‫ ) أﺗﻘﺎﻛﻢ‬ความหมาย: แทจริงแลวผูที่สูงสงและมีเกียรติยิ่ง ณ อัลลอฮนั้นคือผูที่ยําเกรงตอพระองค ทาน

อุมัร บิน อัลค็อตตอบไดเขียนหนังสือใหกับทานอบูมูซา อัลอัชอารีย ซึ่งในขณะนั้นอบูมูซา อัลอัชอารีย เปน วาลีย (เปรียบเสมือนผูวาราชการจังหวัดในปจจุบัน) ของชาวกูฟะห (เมืองในประเทศอิรัก) วา : โออบูมูซา อัลอัชอารีย จริงๆแลวทานก็เหมือนคนทั่วไปนอกจากวาอัลลอฮไดเลือกใหทานรับภาระที่มากกวาคนทั่วไป ... เพราะแทจ ริงแลวผูใดที่ไดเ ปนผูนํา เขาจะตองปฏิบัติตัวเหมื อนกับทาสหรือผูรับ ใชกับ นายของเขา ( 35 : 1964 ، ‫ ) اﺑﻦ اﻟﻘﻴﻢ‬ดังนั้นการเขาใจวัฒนธรรมทองถิ่น เขาถึงปญหาที่เกิดขึ้น มีการวางแผนเพื่อ พัฒนาทั้งทางดานการศึกษา เศรษฐกิจ และอื่นๆก็คือการดํารงไวซึ่งความยุติธรรมและความเสมอภาค นั้นเอง โดยเฉพาะการพัฒ นาทางดานการศึกษา ดังเปนที่ปรากฎในงานวิจัยของ ลัยลา เรืองฉิม เรื่อง สันติวิธีกับการแกไขปญหาความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต กรณีศึกษา แนวทางการแกไขปญหาความ ไมสงบของศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต (2553:บทสรุป) การพัฒนาการศึกษา คือ กระบวนการสรางบุคคลเพื่อใหเปนบุคคลที่เดินตามแนวทางที่สันติ และมีเปาหมายชีวิตตามความสงบสุขใน บานเมืองการศึกษากับการสรางสันติภาพนั้นเปนเรื่องเดียวกัน จะตองทําควบคูกันไป เพราะสันติภาพไมใช ภาพลวงตา แตเปนสัจธรรมที่เกิดจากหัวใจ ความคิด อุดมการณ พฤติกรรม ซึ่งสิ่งเหลานี้สามารถสั่งสมได จากการศึกษา (วันมูหะมัดนอร มะทา, ปาฐกถาพิเศษที่วิทยาลัยอิสลามยะลา [18/9/2549] อางใน ฮามี ดะฮฺ สาแม, 2551: 54) ดังนั้นผลการวิจัยขอนี้ เมื่อนํามาทดสอบกับ สมมติฐานของการวิจัยแลว พบวา เปนไปตามสมมติฐานที่ไดตั้งไว คือ การสรางบรรยากาศแหง ความปรองดองของศูนยอํานวยการบริหาร จังหวัดชายแดนภาคใตเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทัศนคติทางการเมืองของมุสลิมในเขต อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี สูความเปนสมานฉันท 3. จากผลการวิจัยการศึก ษาทัศนคติของของมุส ลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี ตาม ทัศนคติเ กี่ยวกับ การกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่น โดยภาพรวมกลุม ตัวอยางเห็นดวยวาการ กระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่นเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทัศนคติทางการเมืองของ มุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี สูความเปนสมานฉันท ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการกระจายอํานาจ การปกครองสูทองถิ่นคือการยึดหลักทองถิ่นปกครองตนเอง ปญหาทองถิ่นแกไขโดยทองถิ่น เปนการเปด โอกาสใหประชาชนไดมีสวนในการบริหารงานชุมชนทองถิ่น ตามเจตนารมณของประชาชนมากขึ้น เปนการ จัดความสัมพันธทางอํานาจ หนาที่ใหม ระหวางสว นกลางกับสวนทองถิ่น ใหสอดคลองกับสภาพการณ บานเมือง ที่เปลี่ยนแปลงไปในสภาวะที่สังคมมีกลุมที่หลากหลาย มีความตองการ และความคาดหวังจากรัฐ ที่เพิ่มขึ้น สอดคลองกับทฤษฎีการปกครองในอิสลาม ( 20:1975 ،‫ ) ﻋﺒﺪاﻟﻜﺮﻳﻢ زﻳﺪان‬คือ คุณลักษณะ Graduate School and Research / 15 May 2013

879


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

พิเศษและเปาหมายของรัฐอิสลาม ( ‫ ) ﻃﺒﻴﻌﺔ اﻟﺪوﻟﺔ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ وأﻫﺪاﻓﻬﺎ‬เปาหมายของรัฐอิสลามคือรักษา ผลประโยชนสวนบุคคลและสวนรวมดวยวิธีการของพระเจา และสอดคลองกับงานวิจัยของฉันทนา บรรพศิ ริโชติ, การคุมครองชนกลุมนอย และการเมืองการปกครองบนความแตกตางทางอัตลักษณ : ประสบการณ จากยุโรป กรณีบอสเนีย – เฮอรเซโกวีนา (Bosnia – Herzegovina) และมาเซโดเนีย ( Macedonia) เปน สองประเทศที่แยกออกจากยูโกสลาเวียเดิมในยุคที่ยุโรปตะวันออกมีการเปลี่ยนแปลงภายหลังสหภาพโซ เวียตลมสลาย ทั้งสองประเทศมีองคประกอบของประชากรที่มีศาสนาและชาติพันธุที่แตกตาง สําหรับ บอสเนียมีประชากรที่เปนคนมุสลิม (บอสเนีย หรือมุสลิมบอสเนีย) และเปนคริสต ( โครแอทและเซิรบ)อยู ดวยกัน สวนมาเซโดเนีย มีสลาฟเปนกลุมใหญ และอัลเบเนียนเปนคนกลุมนอย มาเซโดเนียประสบปญหา การชุมนุมประทวงของคนอัลบาเนียนในหลายกรณี แตรัฐบาลใชมาตรการในการจํากัดการชุมนุมอยาง เครงครัด และยอมรับพิจารณาขอเรียกรองที่ไมไดมีเปาหมายเพื่อขอแยกตัวเปนอิสระของคนอัลบาเนียน และไดแปรเปลี่ยนขอเรียกรองของผูชุมนุมใหเปนโอกาสที่พวกเขาจะสามารถมีสวนรวมทางการเมืองได อยางมีนัยสําคัญดวยวิธีการที่หลากหลายภายใตแนวคิดเรื่องการกระจายอํานาจ ทั้งหมดนั้นกระทําโดยการ แกไขรัฐธรรมนูญตามที่ไดมีก ารกําหนดไวในขอตกลงที่ โอริด ในป ค.ศ.2001 (Ohrid Agreement, August 23,2001) ขอตกลงดังกลาวไดรับการผลักดันโดยสหภาพยุโรปและประเทศสหรัฐอเมริกา ถือไดวา เปนกรอบของการเปลี่ยนแปลงสาระสําคัญ ของรัฐธรรมนูญของมาเซโดเนียและรัฐธรรมนูญนี้ไดรับการ รับรองโดยคนสวนใหญในประเทศ ถึงรอยละ 94 ในการลงประชามติเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ.2001 ในรัฐธรรมนูญนั้นไดประกาศชัดเจนวา สาธารณรัฐมาเซโดเนียเปน “รัฐของพลเมืองทุกคน” และละเวน การใชคําบางคําเช น “คนมาเซโดเนีย” แตหันมาใชคําที่มีความหมายดีกวาทางการเมือง เชน “คนสวน ใหญ” และหลีกเลี่ยงการใชศัพทคําวา “คนกลุมนอย” โดยหันมาใชคําวา “ชุมชนที่ไมไดเปนคนสวนใหญ” การเปลี่ยนแปลงเชนนี้ไมไดมีความหมายเฉพาะตอคนอัลบาเนียนเทานั้น แตคนเซิรบซึ่งอาศัยอยูในประเทศ เดียวกันก็ไดรับการรับรองสถานะแหงความเสมอภาคเชนกัน โธมัส มารเคิรท ( Thomas Markert) หนึ่ง ในคณะกรรมการเวนิส (Venice Commission) ซึ่งทําหนาที่ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการใชรัฐธรรมนูญในการ พัฒนาประชาธิปไตยในยุโรปสะทอนใหเห็นขอแตกตางของแนวทางที่ประเทศทั้งสองใชในการจัดการปญหา ชาติพันธุและศาสนา ที่บอสเนียใชแนวทางการแบงอํานาจ โดยมีผูนําที่ม าจากทั้งสามกลุมบริห ารงาน รวมกันโดยผลัดเปลี่ยนกันเปนผูนําประเทศระหวาง โครแอท (Croat) บอสเนีย ( Bosniak หรือ Bosnian) และเซิรบ (Serb)ขณะที่มาเซโดเนียใชแนวทางการกระจายอํานาจ ดูเหมือนวามาเซโดเนีย จะประสบ ความสําเร็จมากกวาในการลดความรุนแรงและในการบริหารประเทศ และยังไดกลาวอีกวา โดยภาพรวม แลวแนวทางของมาเซโดเนียคือแนวทางสายกลาง ดวยมาตรการที่ห ลากหลายในระดับการเมือง และ ระดับการบริหารจัดการทองถิ่น ดังนั้นผลการวิจัยขอนี้ เมื่อนํามาทดสอบกับ สมมติฐานของการวิจัยแลว พบวาเปนไปตามสมมติฐานที่ไดตั้งไว คือการกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่น เปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติทางการเมืองสูความเปนสมานฉันท ขอเสนอแนะ การวิจัยเรื่อง การกระจายอํานาจการปกครองสูทองถิ่นและความสมานฉันท กรณีศึกษา ทัศนคติ ทางการเมืองของมุสลิมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดปตตานี ผูวิจัยมีขอเสนอแนะ ดังนี้ ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย คือ กระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทอถิ่นพึ่งตนเอง และตัดสินใจ ในกิจ การของทองถิ่นไดเอง สง เสริม ใหองคก รปกครองสวนทองถิ่นมีสวนรวมในการดําเนินการตาม 880

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ พัฒนาเศฐษรกิจของทองถิ่น และระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ตลอด ทั้งโครงสรางพื้นฐาน สารสนเทศในทองถิ่นใหทั่วถึง และเทาเทียมกันทั่วประเทศ รวมทั้งพัฒนาจังหวัดที่มี ความพรอมใหเปนองคกรปกครองทองถิ่นขนาดใหญ โดยคํานึงถึงเจตนารมณของประชาชนในจังหวัดนั้น สงเสริม ใหป ระชาชนมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม ทั้งใน ระดับชาติ และระดับ ทองถิ่น และกระบวนการยุติธรรมตองปรับปรุงแกไข จัดใหมีองคก รยุติธรรมใน จังหวัดชายแดนภาคใต เพื่อใหการปฏิบัติทุกขั้นตอนเปนไปตามหลักนิติธรรม การสืบสวนสอบสวน และ การดําเนินคดี ใหทั้งตํารวจ ฝายปกครอง และอัยการมีสวนรวมในการสอบสวนถวงดุลอํานาจซึ่งกันและ กัน ใหมีสํานักงานยุติธรรมจังหวัด ยุติธรรมเขตพื้นที่ เพื่อคุมครองสิทธิเ สรีภาพ สิท ธิมนุษยชน และ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยที่เทาเทียมกัน และขอเสนอแนะเพื่อศึกษาวิจัยตอไป ควรศึกษาทัศนคติทางการเมืองของประชาชนทั้งหมดใน สามจังหวัดชายแดนภาคใต และควรใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีการแบบอื่นๆ เชน การสัมภาษณ เปนตน เอกสารอางอิง อัลกุรอาน หนังสือภาษาไทย ขจัดภัย บุรุษพัฒน, 2519. ไทยมุสลิม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแพรพิทยา ฉันทนา บรรพศิริโชติ. 2009. การคุมครองชนกลุมนอย และการเมืองการปกครองบนความแตกตา ง ทางอัตลักษณ : ประสบการณจากยุโรป, กรุงเทพฯ: มูลนิธิฟรีดริชเนามัน บุญชม ศรีสะอาด. 2545. การวิจัยเบื้องตน. ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสนการพิมพ อาคม ใจแกว. 2545. วิธีวิทยาการวิจัยทางรัฐประสศาสนศาสตร. สงขลา. มหาวิทยาลัยสงขลานรินทร อภัย จันทวิมล. 2507. ปญหาเกี่ยวกับสี่จังหวัดภาคใต. ลพบุรี: โรงพิมพศูนยการทหารราบคายสมเด็จพระ นารายณ หนังสือภาษาอาหรับ .‫ ﻣﻄﺒﻌﺔ ﺍﳌﺪﱐ‬.1964 .1381 ،‫ ﺍﻟﻄﺮﻕ ﺍﳊﻜﻤﻴﺔ ﰲ ﺍﻟﺴﻴﺎﺳﺔ ﺍﻟﺸﺮﻋﻴﺔ‬،‫ ﺍﺑﻦ ﺍﻟﻘﻴﻢ‬،‫ﺍﳉﻮﺯﻳﺔ‬ ‫ ﻃﺒﻊ ﻭﻧﺸﺮ ﺍﻻﲢﺎﺩ ﺍﻹﺳﻼﻣﻲ ﺍﻟﻌﺎﳌﻲ‬.1975 .1395. ،‫ ﺍﻟﻔﺮﺩ ﻭﺍﻟﺪﻭﻟﺔ ﰲ ﺍﻹﺳﻼﻡ‬،‫ﻋﺒﺪﺍﻟﻜﺮﱘ ﺯﻳﺪﺍﻥ‬ .‫ ﺍﻟﻜﻮﻳﺖ‬،‫ﻟﻠﻤﻨﻈﻤﺎﺕ ﺍﻟﻄﻼﺑﻴﺔ‬ งานวิจัยและวิทยานิพนธภาษาไทย ลัยลา เรืองฉิม. 2553. สันติวิธีกับการแกไขปญหาความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต กรณีศึกษา แนวทางการแกไ ขปญหาความไมส งบของศูนยอํา นวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต . มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฮามีดะ สาแม. 2008. สันติวิธีในอิส ลามกรณีศึกษาสนธิสัญญาหุดัย บีย ะฮฺ . วิทยานิพนธตามหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตรและอารยธรรมอิสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา. Graduate School and Research / 15 May 2013

881


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

งานวิจัยและวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ Pitsuan , Surin. 1985. Islam and Malay Nationalism: A Case Study of the Malay Muslims of Southern Thailand. Thammasat University: Thai Khadi Research Institude. เอกสารสิ่งพิมพ เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการ "นครปตตานีภายใตรัฐธรรมนูญไทย: ความฝนหรือความจริง, 2552

882

Graduate School and Research / 15 May 2013


ภาคผนวก ก คณะกรรมการจัดการประชุมนําเสนอผลงานระดับชาติบัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย เรื่อง “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

แตงตั้งคณะกรรมการโครงการ ประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 เรื่อง “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา” 1.คณะกรรมการที่ปรึกษา 1.1 อธิการบดีมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 1.2 รองอธิการบดีฝายวิเทศนสัมพันธและกิจการพิเศษ 1.3 รองอธิการบดีฝายวิชาการ 1.4 รองอธิการบดีฝายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา 1.5 รองอธิการบดีฝายบริหาร 1.6 ผูชวยอธิการบดีฝายทรัพยสินและสิทธิประโยชน 1.7 คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย 1.8 คณบดีคณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร 1.9 คณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1.10 คณบดีคณะศึกษาศาสตร 1.11 ผูอํานวยการสํานักจัดหาทุนและพัฒนาบุคลากร 1.12 ผูอํานวยการสํานักงานอธิการบดี 1.13 ผูอํานวยการสํานักบริการการศึกษา 1.14 ผูอํานายการสํานักวิทยบริการ 1.15 ผูอํานวยการสถาบันอัสสาลาม 2. คณะกรรมการอํานวยการ มีดังนี้ 2.1 ผูชวยศาสตราจารย ดร.มุฮําหมัดซากี เจะหะ 2.2 ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัดนัน สือแม 2.3 ดร.มุหัมมัดซอและ แวหะมะ 2.4 ดร.อับดุลเลาะ ยูโซะ 2.5 ดร.มูฮามัสสกรี มันยูนุ 2.6 ดร.อิบรอเฮม เตะแห 2.7 ดร.ซอบีเราะห การียอ 2.8 ผศ.ซอลีฮะห หะยีสะมะแอ 2.9 นายอับดุลลาตีฟ การี 2.10 นายโสรัตน อับดุลสตา 2.11 นายดานียา เจะสนิ 2.13 นายมาหะมะ ดาแม็ง

Graduate School and Research / 15 May 2013

885


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

3. ฝายเลขานุการ และทะเบียน 3.1 นายโสรัตน อับดุลสตา 3.2 นายอับดุลลาตีฟ การี 3.3 นายมาหะมะ ดาแม็ง 3.4 นายซาการียา กะลูแป 3.5 นายฮําดัน บูนํา 3.6 นายนัสรูดิง วานิ 3.7 นายอับดุลอาซิ แวนาแว 3.8 นางสาวพาตีเมาะ บือราเหม

ประธาน รองประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

4. ฝายประชาสัมพันธและตอนรับ 4.1 ดร.อิบรอเฮม เตะแห 4.2 ดร.อับดุลเลาะ ยูโซะ 4.3 นายอาสมิง เจะอาแซ 4.4 นายนพกร กูโน 4.5 นางสาวอานีซะห เจะมะ

ประธาน รองประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

5. ฝายจัดการสถานที่และโสตทัศนูปกรณ 5.1 ดร.มุหัมมัดซอและ แวหะมะ 5.2 นายอาสมิง เจะอาแซ 5.3 นายรอมซี สาแม 5.4 นายมูฮําหมัดรุสลัน เซะ 5.5 นายอิสมาแอ หะยีเตะ 5.6 นายอุสมาน นิมะ 5.7 นายสะตอปา แชลี

ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

6. ฝายวิชาการและประเมิน 6.1 ผศ.ดร.มุฮําหมัดซากี 6.2 ดร.มูฮามัสสกรี 6.3 นายฟาริด 6.4 นายอับดุลยลาเตะ 6.5 นายซุลกอรนัยน 6.6 นายมูฮัมหมัดรอซีดี 6.7 นางสาวกามีละ 6.8 นางสาวรอหานิง

ประธาน รองประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

886

เจะหะ มันยูนุ ดอเลาะ สาและ แดแก อะหลาม สาอะ หะนะกาแม

Graduate School and Research / 15 May 2013


โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจัย และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

7. ฝายสวัสดิการและอาหาร 7.1 นายดานียา เจะสนิ 7.2 นายมูฮัมหมัด สนิ 7.3 นายซาบีดี อัสมะแอ 7.4 นางสาวนูรไลลา มูละซอ 7.5 นายมัรวาน หะยีจิ

ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

Graduate School and Research / 15 May 2013

887



ภาคผนวก ข ดัชนีผูแตงบทความ



โครงการ การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานระดับชาติ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป 2556 “ผลงานบัณฑิตศึกษา งานวิจยั และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนา”

ดัชนีผูแตงบทความ Mr. Murtada Farah Ali Widaa Mr.Moustafa Abd el-Kader Hafez Fath allah กัมปนาถ นาดามัน จารุวัจน สองเมือง ซอลีฮะห หะยีสะมะแอ ซากีรา มาหะ ญะมาลุดดีน ยามา ธีรพงศ แกนอินทร นัชชิมา บาเกาะ นิเลาะ แวนาแว นิอับดุลเลาะ นิตยรักษ นูรอห คาเดร นูรียะห แมกอง บะหรุดดีน บินยูโซะ ปวีณกร คลังของ พิมาน ละสุสะมา ฟตฮียัฮ บินดอเลาะ ฟาตีฮะห จะปะกียา มะซัมดี สะอะ มะดารี โตะและ มะดาโอะ ปูเตะ มะนูรี ยูโซะ มะพลี แมกอง มะรอนิง สาแลมิง มะฮฺซูม สะตีแม มารียะห มะเซ็ง มารียัม เจะเตะ มาหามะรอสลี แมยู มุคตา อีซอ มุมีนะห บูงอตาหยง มูหัมมัดซอและ แวหะมะ มูฮําหมัดดาวูด ซอลฮาน

ยูโซฟ วันหะยี รอหมาน หลีเส็น รุสณี หะยีอัมเสาะ รูไกยะห อาดํา โรสมาวัน อะลีดิมัน รูสนานี ยาโม แวยูโซะ สิเดะ สมาน ยูซง สะสือรี วาลี สุทธิศักดิ์ ดือเระ โสรัตน อับดุลสตา อดินันต สะแลแม อดุลย ภัยชํานาญ อบูนุฟยล มาหะ อภิสิทธิ์ ดํายูโซะ อะหลาม เจะสอแน อัญนิดา นอยวงศ อับดุลกอรี เม็งวา อับดุลเราะฮฺมาน ฟูอัด อาลมูฮัมหมัดอามีน อับดุลฮากัม หะยีเจะหลง อาเซ็ม อัซซะรีฟ อานีซะห เจะมะ อานุวา มะแซ อาลี หะแวกะจิ อาสมานูรดีน มะสาพา อาหมัด อัลฟารีตีย อาหะมะ คาเด อาหะมะกอซี กาซอ อิดรีส ดาราไก อิสมาอีล อาเนาะกาแซ อิสมาแอ สะอิ อิสหาก นุยโสะ อีสมาแอ กาเตะ เอมัสกี สะแม

Graduate School and Research / 15 May 2013

891





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.