Al-Hikmah Journal

Page 1



วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Al-Hikmah Journal of Yala Islamic University


บทบรรณาธิการ วารสาร อั ล -ฮิก มะฮฺ มหาวิ ทยาลัย อิ สลามยะลา เป็น วารสารที่ ตี พิม พ์ เพื่ อ เผยแพร่ บ ทความวิ ชาการ (Article) บทความวิจัย (Research) มีวัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและงานวิจัย ในการเป็นสื่อส่งเสริมการสร้างองค์ ความรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ครุศาสตร์ วิทยาศาสตร์และอื่นๆ เพื่อให้คณาจารย์และนักศึกษาได้มีความคิด สร้ า งสรรค์ ด้ า นผลงานวิ ชาการและงานวิ จั ย สู่สั ง คม และเพื่อ เป็น สื่ อ กลางการนํา เสนอสาระน่า รู้ ด้ านวิ ชาการต่ า งๆ แก่ นักวิชาการและบุคคลทั่วไป บทความที่ได้ปรากฏในวารสารฉบับนี้ทุกบทความได้ผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิตรงตาม สาขาวิชา (Peer Review) วารสารฉบับนี้เป็นฉบับที่ 4 ปีที่ 2 ประจําปี 2555 ประกอบด้วยบทความ จํานวน 8 บทความ กับ 1 บทวิพากษ์หนังสือ (Book Review) ซึ่งมีแขนงวิชาด้านต่างๆ ได้แก่ อิสลามศึกษา การวัดและประเมินผล ภาษาศาสตร์ รัฐศาสตร์การเมืองการปกครอง มีเป้าหมายมุ่งพัฒนาเป็นวารสารที่มีมาตรฐานและคุณภาพการตีพิมพ์บทความ ตามเกณฑ์และ ข้อกําหนด ในนามของกองบรรณาธิการวารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ขอขอบคุณผู้เขียนบทความทุกท่านที่ให้ ความสนใจลงตีพิมพ์ ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความประจําฉบับที่ไ ด้สละและให้ข้อเสนอแนะทางวิชาการตลอดจนคณะ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ที่ให้การสนับสนุนการจัดทําวารสารฉบับนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคณาจารย์ นักวิชาการ และผู้อ่านจะได้รับประโยชน์และข้อมูลทางวิชาการอันเป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ หากท่านมีข้อคิดเห็นหรือคําแนะนําประการใดที่จะนําไปสู่การพัฒนาปรับปรุงวารสารให้มีคุณภาพ ดียิ่ง ขึ้น กองบรรณาธิ การวารสาร อัล -ฮิก มะฮฺ มหาวิท ยาลั ยอิส ลามยะลา ยิ นดี รับคํ าแนะนํา ด้วยความขอบคุณ ยิ่ง และ ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนให้วารสารฉบับนี้สําเร็จลุล่วงไปด้วยดี และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

บรรณาธิการ วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


เจ้าของ

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 135/8 ม.3 ต.เขาตูม อ.ยะรัง จ.ปัตตานี 94160 โทร 0-7341-8611-4 โทรสาร 0-7341-8615-6

วัตถุประสงค์

1. เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและงานวิจัย 2. เพื่อเป็นสื่อส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ครุศาสตร์ วิทยาศาสตร์และอื่นๆ 3. เพื่อให้คณาจารย์และนักศึกษาได้มีความคิดสร้างสรรค์ด้านผลงานวิชาการและงานวิจัยสู่สังคม

ขอบเขตงาน

เป็นวารสารวิชาการที่ครอบคลุมในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ครุศาสตร์ วิทยาศาสตร์และอื่นๆ โดยนําเสนอในรูปแบบ 1. บทความวิชาการ 2. บทความวิจัย 3. เวทีนําเสนอผลงานวิชาการ

คณะที่ปรึกษาวารสาร นายกสภามหาวิทยาลัย อธิการบดี รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ฯ รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายทรัพย์สินและสิทธิประโยชน์ คณบดีบณ ั ฑิตวิทยาลัย คณบดีคณะอิสลามศึกษา คณบดีคณะศิลปะศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ ผู้อํานวยการสถาบันอัสสลาม ผู้อํานวยการสํานักวิทยบริการ ผู้อํานวยการสํานักงานอธิการบดี ผู้อํานวยการสํานักบริการการศึกษา ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ผู้อํานวยการสํานักงานจัดหาทุนและพัฒนาบุคลากร บรรณาธิการ

ผศ.ดร.มุฮําหมัดซากี เจ๊ะหะ

รองบรรณาธิการ ดร.อิบรอเฮม สือแม กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุสลัน อุทยั ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาเดร์ สะอะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกษตรชัย และหีม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เกสรี ลัดเลีย ดร.อะห์มัด ยีส่ ุนทรง ดร.มูหามัดรูยานี บากา ดร.กัลยานี เจริญช่างนุชมี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุกรี หลังปูเต๊ะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จีระพันธ์ เดมะ ดร.อิดรีส ดาราไก่ ดร.อับดุลเลาะ ยูโซ๊ะ ดร.ปนัสย์ นนทวานิช Prof. Dr. Mohd Nasran Mohamad Dato’ Assoc. Prof. Dr. Mohd. Rodi Usman


ผู้ประเมินบทความประจําฉบับ (Peer Review) รองศาสตราจารย์ ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุกีนา อาแล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาริน สะอีดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิศักดิ์ พิศสุวรรณ ผู้ช่วยศาตราจารย์ จารุวัจน์ สองเมือง ดร.อะห์มัด ยีส่ ุนทรง อาจารย์สุวรรณี หลังปูเต๊ะ พิสูจน์อกั ษร

ดร.อิบรอเหม เต๊ะแห อาจารย์อับดุลรามันห์ โตะหลง อาจารย์วิไลวรรณ กาเจร์ อาจารย์คอลีเย๊าะ ลอกาซอ

ฝ่ายจัดการ

นายฟาริด อับดุลลอฮ์หะซัน นายมาหะมะ ดาแม็ง นายอาสมิง เจ๊ะอาแซ

รูปแบบ

นางสาวรอฮานิง หะนะกาแม นายมูฮมั หมัด สนิ นางสาวกามีละ สะอะ

กําหนดออก

ปีละ 2 ฉบับ

การเผยแพร่

แจกจ่ายฟรีแก่ห้องสมุดของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สถาบันการศึกษาทั้งในและนอกประเทศ

ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม

การบอกรับและติดต่อ สํานักงานกองบรรณาธิการวารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ตู้ ปณ.142 อ.เมือง จ.ยะลา 95000 โทรศัพท์ (073) 418611-4 ต่อ 124 โทรสาร (073) 418615-6 Email: gs@yiu.ac.th รูปเล่ม

โครงการจัดตั้งสํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

พิมพ์ที่

โรงพิมพ์มิตรภาพ เลขที่ 5/49 ถนนเจริญประดิษฐ์ ตําบลรูสะมิแล อําเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000 โทร (073) 331429

ข้อกําหนดวารสาร 1.ทัศนะและข้อคิดเห็นในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบแต่ อย่างใดของคณะบรรณาธิการ 2.ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา


สารบัญ Lexical Errors in the Written Compositions of Thai EFL students: Neglectful Instruction of Vocabulary Teaching Jehsuhana Suetae, Choi Kim Yok ......................................................................................................1-15 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลาในการอิสลามานุวัตรการศึกษา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ ................................................................................................................................. 17-29 The Interview- A step closer to the reckoning Fahad Tanweer ................................................................................................................................... 31-35 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชัน้ เรียนของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยอิสลามยะลาด้วย กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง มะยูตี ดือรามะ....................................................................................................................................... 37-44 Suggestions for Making English Course Materials More Relevant to the Needs of Muslim Students Mahsoom Sateemae Datoo.................................................................................................................... 45-50 การดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม, ชิดชนก เชิงเชาว์................................................................................................. 51-62 Islamic world view of Balance (Al-Wustiyah): It's implication to Socio-economic, political and education. Ruhana Abdulaziz Samaeng ........................................................................................................... 63-76 ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม กับการพัฒนาประเทศไทยอย่างยั่งยืน สุบันโญ จีนารงค์ ........................................................................................................................................... 77-88 บทวิพาทย์ / Book Review การซื้อขายแบบผ่อนชําระตามกฎหมายอิสลาม อับดุลอาซิส แวนาแว, มุฮําหมัดซากี เจ๊ะหะ .............................................................................................. 89-92



วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

1

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

Research Lexical Errors in the Written Compositions of Thai EFL students: Neglectful Instruction of Vocabulary Teaching Jehsuhana Suetae*, Choi Kim Yok** *M.A. (MESL), Lecturer of English Department, Faculty of Liberal Arts and Social Sciences, Yala Islamic University **Doctorat de 3e Cycle, UNIVERSITI PARIS III, Master (Ling), SORBONNE UNIVERSITY, NOUVELLE Department of Asian and European Languages, Faculty of Languages and Linguistics, University of Malaya Abstract This article emphasized the analysis of the lexical errors in the written work of fourth-year students at Prince of Songkla University (PSU), Pattani campus, majoring in English from both the Faculty of Education and the Faculty of Humanities and Social Sciences. The aim of this study was to investigate the types of lexical errors produced by Thai students who study English as Foreign Language (EFL). This study also attempted to explain the possible causes of lexical errors in terms of interlingual and intralingual errors. From the analysis of the data, it was revealed that the highest percentage of errors was attributed to direct translations, the type of interlingual errors. For intralingual errors, the majority of error was attributed to omissions while confusion of binary terms was the least frequent of lexical errors found. The findings of this study showed that students had a great difficulty in producing vocabulary in the written composition. The influence of the mother tongue was the main cause of errors in the use of vocabulary among Thai EFL students. The main difficulty encountered was negative transfer from their native language rather than difficulties within the Target Language (TL). Key Words: Lexical Error; Interlingual & Intralingual Errors, Target Language (TL), and Thai EFL Students


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

2

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

บทความวิจัย ข้อผิดพลาดทางคําศัพท์ในงานเขียนของนักศึกษา EFL: การเรียนการสอนคําศัพท์ เจ๊ะสูฮานา สือแต*, Choi Kim Yok** *อาจารย์ประจําสาขาวิชาภาษาอังกฤษ, คณะศิลปะศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา **ศาสตราจารย์, ดร.(ภาษาศาสตร์), อาจารย์ประจําสาขาวิชาภาษาอาเซียนและยุโรป คณะภาษาศาสตร์และ ภาษา มหาวิทยาลัยมาลายา, มาเลย์เซีย บทคัดย่อ บทความชิ้นนี้เน้นการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดทางคําศัพท์ในงานเขียนของนักศึกษาวิชาเอกภาษา อังกฤษชั้นปี ที่ 4 ทั้งคณะศึกษาศาสตร์ และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จุ ด ประสงค์ ข องการศึ ก ษาครั้ ง นี้ เพื่ อ วิ เ คราะห์ ถึ ง ข้ อ ผิ ด พลาดทางคํ า ศั พ ท์ ช นิ ด ต่ า งๆ ของนั ก ศึ ก ษาไทยที่ เ รี ย น ภาษาอั ง กฤษเป็ น ภาษาต่ า งประเทศ รวมทั้ ง อธิ บ ายถึ ง สาเหตุ เ กี่ ย วกั บ ข้ อ ผิ ด พลาดดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ในแง่ ข อง Interlingual errors และ Intralingual errors จากการศึกษาพบว่า ข้อผิดพลาดทางคําศัพท์ที่มีร้อยละสูงสุด คือ Direct Translations ซึ่งเป็นชนิดของ ข้อผิดพลาดใน Interlingual errors สําหรับข้อผิดพลาดใน Intralingaul errors ชนิดของข้อผิดพลาดที่พบมากที่สุด คือ Omissions ในขณะที่ Confusion of binary terms เป็นชนิดของข้อผิดพลาดที่พบน้อยที่สุด ผลของการศึกษา ครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า นักศึกษามีอุปสรรคในการใช้คําศัพท์ในการเขียนเรียงความเป็นอย่างมาก อิทธิพลของภาษาแม่ถือ เป็นสาเหตุหลักของข้อผิดพลาดในการใช้คําศัพท์ของนักศึกษาไทยที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ การถ่าย โอนจากภาษาแม่เป็นอุปสรรคสําคัญมากกว่าความยากของภาษาเป้าหมาย นั่นก็คือภาษาอังกฤษ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

Definition of Terms 1. Lexical Errors: The errors which are classified according to vocabulary at a word level. 2. Interlingual Errors: Errors which results from language transfer which is caused by the learner’s native language. 3. Target Language (TL): The language which a person is learning, in contrast to a first language or mother tongue. 4. Intralingual Errors: Errors which occur due to difficulties found within the TL or the learners in ignorance of the TL on rule learning. 5. English as a Foreign Language (EFL): The role of English in countries where it is taught as a subject in schools but not used as a medium of instruction in education nor as a language of communication. 6. Thai EFL Students: Thai EFL Students in this study refer to the students at Prince of Songkla University, Pattani, Thailand who use Thai as a medium of instruction and learn English as a foreign language. Introduction Research in Error Analysis (EA) have focused mainly on two components of interlanguage, that is, syntax and phonology to the neglect of the lexicon as evidenced by many researchers such as Ramsey (1981); Zoghoul (1991); and Dušková, (1969). Ramsey (1981, cited in Zughoul, 1991: 45) claims that “teachers and syllabus designers have been under the influence of the tenets of audiolingualism where lexis is relegated to a secondary status in comparison to phonology and syntax”. In addition, the complexity inherent in the area of lexis does not lend itself

3

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

as easily as phonology and syntax to quantification and scientific analysis (Zughoul, 1991). Dušková (1969) has acknowledged that certain lexical errors are difficult to differentiate and they are less homogeneous as compared to errors in grammar. In many studies on Thai EFL learners (Khaourai, 2002; Kemthong, 1981; Kertpol, 1983 & Lukanavanich, 1988), lexical errors were considered to be a secondary factor after grammar. Lack of researches on lexical errors makes this study different from other studies. With the emphasis on the investigation of lexical errors produced by Thai students, this study gives a real insight into explanations and causes of lexical errors. In addition, recommendations for the improvement of teaching and learning of vocabulary in the Thai EFL context as provided in this study will further benefit Thai teachers in the understanding of the causes of lexical errors faced by their students. Importance of Vocabulary Instruction Vocabulary is an important component in English language teaching. In the area of reading and language arts, vocabulary instruction plays a crucial role in students’ comprehension and written composition. Wilkins (1972) expresses the view that learning vocabulary is as important as learning grammar. He explains that we can distinguish near native speaking levels by whether learners can use collocation, which refers to the way in which words are used together to produce naturalsounding speech and writing. Without such ability, learners cannot be classified as native speakers, even if they make no grammatical


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

mistakes. McCarthy (1990: viii), states in his introduction that “No matter how well the student learns grammar, no matter how successfully the sounds of L2 are mastered, without words to express a wide range of meanings, communication in L2 just cannot happen in any meaningful way”. Allen (1983) holds the view that vocabulary problems frequently interfere with communication. When people do not use the right words, they fail to communicate. This view underlines the importance of vocabulary instruction as without vocabulary, communication is unsuccessful. Problem of Vocabulary Instruction Despite the great significance of vocabulary knowledge, it is not as important as the aspect of grammar. Richards (1985: 176) reveals that “the teaching and learning of vocabulary has never aroused the same degree of interest within language teaching as have such issues as grammatical competence, contrastive analysis, reading or writing, which have received considerable attention from scholars and teachers”. In addition, grammatical well-formedness of a composition is the main focus of many second and foreign language teachers in the teaching of writing. Lexis in language teaching, in general, and in the teaching of writing, in particular, is misunderstood because of the assumption that “grammar is the basis of language and that mastery of the grammatical system is a prerequisite for effective communication”. (Lewis, 2002: 133). In Thailand, too, vocabulary teaching is not the main focus. In the Thai education system, particularly at the tertiary level, it

4

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

appears to be that lexis is not given much emphasis in the teaching class. When correcting students’ writing, teachers pay more attention to the grammatical errors than to the lexical errors even though they are main errors found in a composition. In addition, teachers still use a limited range of methods. Pookcharoen (2007) explains problems of ineffective vocabulary instruction in Thailand that most Thai EFL teachers are familiar with traditional way of teaching vocabulary. Memorizing and translation-based teaching strategies are their common emphasis. Furthermore, looking for dictionary definitions and memorizing the translation equivalent in Thai are activities generally used in the classroom. Teachers usually use decontextual methods to teach words in isolation rather than showing students how to make use of contextual clues. As the neglect of vocabulary teaching, it appears to be a major problem among Thai students who study English as a foreign language. Their command of English vocabulary is very poor. Sawangwaroros (1984) reported that Thai EFL learners are weak in vocabulary knowledge, which results in their being unable to effectively perform in the four language skills, namely listening, speaking, reading and writing. Navasumrit (1989) indicated that Thai students encounter a major problem in learning EFL because they have insufficient vocabulary knowledge. Methodology Participants: The errors exemplified in this study were based on the English composition written by 50 of fourth year students at Prince of Songkla University ((PSU),


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

Pattani campus, majoring in English language from both the Faculty of Education and the Faculty of Humanities and Social Sciences and comprising 8 male and 42 female students ranging from 19-23 years old. Instruments: The written work, vocabulary test and questionnaire were the instruments used for this study. Data Collection Procedures: There were three main procedures of data collection. To start collecting the data, the researcher obtained permission from the Dean of the Faculty of Humanities and Social Sciences and the Head of the English Department at Prince of Songkla University (PSU) to conduct this research. Secondly, the lecturer of the writing course, namely, “Paragraph and Composition Writing” was informed the purpose of this study. Finally, discussions were held to clarify the methods and details of the study tools. On the final week of the course, two sets of the written work were given to the students as the assignment. The students were divided into two groups. Each group comprised 25 persons. The first group was assigned to choose and write one topic from the first set of the written work, narrative composition, whilst the second group was assigned to choose and write one topic from the second set, factual descriptive composition. They had to finish their writing in the class hour together with the vocabulary test. Due to the normal teaching schedule, the first 30 minutes of the class period was spent for the class introduction and the explanation of doing the composition and the vocabulary test. The lecturer gave 1 hour after the class introduction to the students to

5

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

finish the writing part. The length of the essay was about 200-400 words to be written under the supervision of the lecturer of the course. In order to maintain the authenticity of the data, dictionaries were not allowed. The vocabulary test was administered to the subjects in the last 30 minutes after the lecturer collected the written work. The questionnaire was administered to the subjects after the vocabulary test was collected at the end of the class. the students were asked to complete it outside the class, at home or dormitory and return it to the lecturer next class. After the lecturer obtained all the data from the students, he kept the photocopy of the written work in order to give mark to the students as a part of his assignment. The original of the written work, vocabulary test, and questionnaire, then, were returned to the researcher. Data analysis: The students’ errors were explained by means of Error Analysis (EA). Four procedures adapted from Corder (1974), namely (1) identification of errors, (2) counting of errors, (3) classification of errors, and (4) description and explanation of errors were used for analyzing students’ lexical errors. Results & Discussions In the 50 English compositions, a total of 17,438 words were produced by the subjects. The average length of an essay was approximately 349 words. There were all together 847 lexical errors found in the written work. Out of the total number of lexical errors discovered in the data, as many as 657 lexical errors were identified as intralingual errors, while 190 were interlingual errors. In other


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

6

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

words, intralingual errors made up 77.6% of the interlingual errors constituted the remaining total number of errors identified and 22.4%. They were illustrated below: Distribution of Lexical Errors According to Types Types of Lexical Errors Number of Errors I) Interlingual Errors 1. Direct translations 173 2. Misordering 17 3. Use of native words 0 Subtotal: 190 II) Intralingual Errors 93 1. Confusion of sense relations 2. Collocational errors 42 3. Distortions 42 4. Omissions 165 5. Additions 117 56 6. Confusion of derivatives 42 7. Redundancy 8. Paraphrasing 63 9. Confusibles 29 8 10. Confusion of binary terms Subtotal: 657 TOTAL: 847 On the whole, intralingual errors outnumbered interlingual errors. But the highest frequency of lexical errors felt into the error type known as direct translations, subtype of interlingual errors. It accounted for 20.4% of the total number of errors. This is due to the fact that intralingual errors have more subcategories and, as a result, there are a greater number of errors. Another two subtypes of interlingual errors are misordering and use of native words. The former accouted for 17 (2.0%) of errors whilst no record was found for the latter. Although some native words were

% 20.4 2.0 0 22.4 11.0 5.0 5.0 19.5 13.8 6.6 5.0 7.4 3.4 0.9 77.6 100

used in the students’ compositions, they could not be considered as lexical errors because they were names of places, provinces and games in Thai. Moreover, the subjects did not use words from the Thai language, Thai loan words in English, probably because the need did not arise. Of the 10 subtypes of intralingual errors, omissions occupied second place after direct translations. Out of the 874 errors, 165 (19.5%) accounted for this error type. The lowest frequency (0.9%) of errors found in the data was confusion of binary terms. The


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

findings of this study showed that students had a great difficulty in producing vocabulary in the written composition. The influence of the mother tongue was the main cause of errors in the use of vocabulary among Thai EFL students. The main difficulty encountered was negative transfer from their native language rather than difficulties within the TL. 1. Direct Translations This error type presents errors due to the literal translation of Thai words when their meanings are assumed to be equivalent to English words or phrases. It is subtype of interlingual error caused by the interference or negative transfer of the learner’s mother tongue (Richard, 1971). The following are examples of such errors. The erroneous items are underlined. In the explanation, L1 translations are provided in Thai characters followed by the romanised version. In the list of examples, possible interpretations in the TL are given in parenthesis: 1.*At the in front of Big C while I was driving, I tried to drive carefully. (In front of) 2.*But each activity has difference. (is different) 3.*I think education is important thing for everybody. (important) 4.*In each a day everybody have 24 hours… (Everybody has 24 hours a day...) All sentences given are interesting exemplifications of word-for-word translation from Thai to English. The phrase ‘at the in front of Big C’, ‘has difference’, ‘important thing’, and ‘in each a day’ were the students’ literal translation from the Thai ที่หน้า บิ๊กซี /te na Big C/, มีความแตกต่าง /mee khwam taek tang/, สิ่ง

7

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

สําคัญ /sing sam khan/, and ในแต่ละวัน /nai tae la wan/ to English respectively. For those who are familiar with the Thai language or use Thai as a mother tongue, such expressions are understood. But they are unacceptable to Standard English. Such errors were produced because the students structured the sentences in their Mother Tongue (MT); Thai, before translating them into the TL (English). They chose a lexical item which they were familiar with. The students produced erroneous items in the L2 compositions because of the L1 structure interference. This process is what Richards (1971) calls negative transfer. 2. Misordering When the learners express their intended meaning in the TL by using word-forword translation of the native language, misordering or incorrect placement of a word or groups of words is usually generated (Dulay; Burt and Krashen, 1982). The following are examples from the corpus: 1.*I and my old friend strolled down to the sea. (My old friend and I..) 2.*This is because it uses many program software of three – D animation. (software program) 3.*Translators should be good at structure language that they want to translate. (language structure) In sentence 5, the pronoun ‘I’ is usually put before other pronouns in Thai sentences. On the other hand, in English, the pronoun ‘I’ is usually put after pronouns. Consequently, most Thai students still put the pronoun ‘I’ before other pronouns in English sentences because


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

they are used to the Thai structure. Sentences 6 and 7 showed the misplacement of compound nouns. The errors demonstrated how two words were put together to form compound nouns in Thai. Thai people say โปรแกรม ซอฟท์แวร์ ‘program software’, and โครงสร้างภาษา ‘structure language’ in their language. In English, on the other hand, the adjectives are placed before the noun: ‘software program’, and ‘language structure’. 3. Use of Native Words From the data collected, none of the lexical errors found was due to the use of native words. According to “perceived language distance” (Kellerman, 1977 & Ringbom, 1982, cited in Zughoul, 1991: 56), there was a great distance between the MT (Thai) and the TL (English). Thai is perceived as very distant from English in terms of writing system, graphology and phonology. In addition, the role of English in Thailand is that of a foreign language. As a result, code switching or code mixing is very rare compared to countries where English is used as a second language. 4. Confusion of Sense relations The results showed that the students used or selected words that were inappropriate for the context. The words in English can be classified into sets such as synonyms, superonyms, and hyponyms (Lehrer, 1974). The students cannot realize these word sets by assuming that they can be used interchangeably. The problem of this kind of error can be seen clearly, especially among foreign language learners who are encouraged to learn synonyms and rely heavily on bilingual

8

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

dictionary. The following are examples of confusion of sense relations found in the data: 1.*Uncle and aunt talked together. (to each other) 2.*It is useful for us to think about this question (Why do we learn English?). (necessary) 3.*The weather is also causes of an accident if the weather is bad or not suitable such as raining or smokescreen, drivers can’t see well. (cloudy skies) In sentences 8 and 9, the errors of lexical choice occurred due to semantic confusion between pairs of words which were near-synonyms. Because of meanings which were quite similar, the subjects used inappropriate lexical items in the given context. To give the intended meaning, ‘to each other’ and ‘necessary’ are more appropriate. Sentence 10 was an error due to the use of a specific term where a more general term is needed. To explain the weather in this context, ‘cloudy skies’ is more appropriate for this sentence. 5. Collocational Errors James (1998:152) defines collocations as “the other words any particular word normally keeps company with”. It relies heavily on wordassociation knowledge. The wrong choice of collocation produced by the students can be considered as “unEnglish”, which is directly related to transfer from the native language”. The following are examples from the corpus: 1.*They are fighting again and again to go to the aim. (achieve their aim)


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

2.*This sweeping beach offers finegrained white sand and crystalline water. (crystal-clear water) 3.*I would come back here again to see nightlife and click photos to show you. (take) In sentence 11, the subject transferred the phrase directly from the Thai ไปให้ถึงจุดหมาย /pai hai teug jud mai/. He might assume that this collocation in Thai can also be applied to English. Although it is acceptable and frequently used in Thai expressions, it sounds odd in English because ‘go’ does not collocate with ‘aim’. So, ‘achieve their aim’ is more acceptable. In sentence 12, the word ‘crystalline’ gives the meaning of ‘something made of crystals’ or ‘very clear and transparent, like crystal’. Although the learner used this word together with the word ‘water’, the word ‘crystal clear’ is more appropriate to mean ‘water that is completely clear and also clean’. The word ‘click’ in sentence 13 did not collocate with ‘photos’. It is usually used to show ‘how quickly something can be done on a computer’ such as the click of a mouse. Thus, ‘take’ is the right collocation. 6. Distortions James (1998: 150) explains distortions as “the intralingual errors of form created without recourse to L1 resources”. The outcomes are forms non-existent in the TL. The misapplication of processes as given by James (1998), namely omission, overinclusion, misselection, misordering, and blending are the framework of analysis for this error type. However, blending cannot be found from the data. The following are examples of distortions:

9

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

1.*Another occupation in which we have to use English is an ambassdor. (ambassador) 2.*Bussiness men exploit English for negotiating their agreements. (business) 3.*Of cause, some people were friendly. (of course) 4.*When I wacthed ghost 1990 I always happy and active. (watched) Sentence 14 illustrated the error of omission. The letter ‘a’ was missed resulting in the deviant form ‘ambassdor’. From this example, it can be assumed that the subjects committed such error because they have spelt the word according to the way they pronounce it. However, this deviant form can also be the result of ignorance of the spelling of the word in question. Sentence 15 showed distortions resulting from overinclusion. The subject produced additional letter ‘s’ in the word ‘business’, by assuming that it was needed for the first syllable as in the third syllable. As a result, the deviant form ‘*bussiness’ was produced. Sentence 16 was the example of misselection. The way that Thai students pronounce the words ‘course’ and ‘cause’ are the same, that is, /kǤ:s/. However, for native speakers, the pronunciation is different. The final sound of the ‘course’ is /s/, while the final sound in ‘cause’ is /z/. Due to the similarity in the way Thai students pronounce these words, the subject has chosen the incorrect form for the expression ‘of course’. The distortion resulting from misordering was exemplified in sentence 17. All the letters of the words were presented but they were not in the appropriate


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

place. In this sentence, the word ‘watched’ was spelt as ‘*wacthed’. The order of the letters ‘t’ and ‘c’ were confused. 7. Omissions Omissions are erroneous sentences characterized by “the absence of an item that must appear in a well-formed utterance” (Dulay, Burt and Krashen, 1982: 154). The following are examples of omissions: 1.*The beach is ___ place that everyone wants to go. (a) 2.*…but when I heard at ___ second time …(the) 3.*The sky ___so clear. (is) 4.*We parked our car at the parking ___ of Samila beach. (lot) In sentences 18 and 19, the subjects omitted the articles ‘a’ and ‘the’. These are the common errors that can be found among Thai students because the use of articles does not exist in the Thai structure. Similarly, the omission of the verb ‘to be’ in sentence 20 was an interesting example of the errors produced by Thai students. The subjects have produced this kind of error because of the differences between Thai and English sentence structures. In Thai, a subject can be immediately be followed by an adjective, and it is unnecessary to use the copula as in the English structure. In addition, Thai verbs can function as adjectives and verbs in the sentence. Sentence 21 demonstrated omissions caused by ignorance of the right choice of words. Because of the lack of vocabulary in the TL, the subjects could not perform the correct word choice with its intended meaning, thus, leaving blanks in the sentences. Thus, this

10

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

sentence needs the word ‘lot’ to produce the meaning of a parking space. It should be noted that although the researcher has placed omissions under intralingual errors, some of the errors mentioned are due to interference of the mother tongue. 8. Additions Additions are analyzed based on Dualy, Burt and Krashen’s (1982) subtypes, which are double marking, regularization, and simple addition. The subjects produced these kinds of errors because of the difficulty in the TL. These errors can be used as a measure of the learners’ acquisition of the TL. The learners have learned but have yet to master all the rules. Incomplete learning has resulted in “the all-too-faithful use of certain rules” (Dulay, Burt and Krashen, 1982: 156). The following are examples from the corpus. 1.*We can see that the governments are pay attention in education. 2.*I can contain the photos, musics, or videos in the diary. 3.*What I did in the yesterday,…. 4.*In our daily life, we always to do everything. Sentence 22 was additions resulting from double marking. The present tense was produced twice. This may come from overgeneralization and ignorance of rule restrictions. The subject may have acquired the general basic sentence structure in English, that is, subject + copula as in ‘he is a man’ or ‘they are beautiful’ and assumed that the verb ‘to be’ can be used with all kinds of sentences. At the same time, the subject may not realize that ‘pay’ functions as a verb in the sentence,


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

when, ‘are’ was added, it has resulted in double marking. In sentence 23, ‘*musics’ was regularizations in which the plural marker ‘-s’ was added to uncountable nouns which do not take a marker. This may come from the incomplete learning and ignorance of the rules in the TL. The rest of the examples given were simple addition errors. Interestingly, the study has revealed that simple addition errors found in the subjects’ written work were mostly due to the additional use of prepositions and articles. 9. Confusion of Derivatives This category involves the students’ inability to differentiate between the word classes, for example, verbs and nouns, nouns and adjectives, verbs and adverbs, verbs and adjectives, and adjectives and adverbs. They are attributed to incomplete application of the rules and structure in the TL. In addition, the differences between the TL and the learners’ mother tongue are a major cause of difficulties for the students. However, the problem is also attributed to the learners’ ignorance of the use of the different forms of the words in the TL. The following are examples of this error type: 1.*I was very amused with Allah’s created. (creation) 2.*Every language is importance and English is importance like other languages. (important) 3.*When I go to the beach, I feel relax and relieve. (relaxed, relieved) In sentence 26, the subject could not differentiate between the noun and the verb, producing an error of derivatives. The correct word should be a noun ‘creation’. Sentence 27

11

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

was a derivational error caused by the inability to differentiate between the noun and the adjective. In an English sentence, an adjective is required to describe a noun. Thus, the right choice of word for this sentence is ‘important’ not ‘importance’. The errors in sentence 28 were due to the wrong uses between verbs and adjectives. The subject used the verbs ‘relax’ and ‘relieve’ in the sentence. They were considered as the errors because two verbs could not use together in an English sentence. The verb is followed by the adjective. So, the correct choices are ‘relaxed’ and ‘relieved’. 10. Redundancy This type of error includes the deviant forms of a needless use of different words or phrases to mention or repeat the same thing twice in the sentence (Woon,2003).The following are examples of redundancy: 1.*The World Wide Web is larger than anyone person can imagine. 2.*We applauded the performance by clapping. 3.*But we can learn from entering to wander in cyber world, internet. In sentence 29, the word ‘anyone’ itself refers to ‘any person’. The repetition of the word ‘person’ is unnecessary because the word ‘anyone’ is enough to express the meaning in this context. Similarly, the word ‘applauded’ in sentence 30 carries the meaning of “to hit your open hand together to show that you have enjoyed a play, show, etc”. This means that the phrase ‘by clapping’ is unnecessary in such a context and could be considered as redundant. The word ‘internet’ in sentence 31 was redundant as the subject


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

12

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

The third simplification strategy is has already used the word ‘cyber world’ which has the same meaning. Thus, ‘internet’ is demonstrated in sentence 34. When the unnecessary repetition. subjects had a limited amount of English vocabulary knowledge, they tried to put the 11. Paraphrasing lexical item or phrase together in a This type of error is often committed complicated way. Sometimes, the paraphrasing by the second or foreign language learners, sentence they produced was unstructured, especially those who have a limit amount of ungrammatical and difficult to understand. In vocabulary. When the learners face such a this sentence, actually, it could be shortened problem, they tend to use more words than to ‘people drive back’. necessary to convey the intended meaning. Woon (2003: 81) describes paraphrase as a 12. Confusibles state of “simplification strategy which the Confusibles are errors that Laufer (1992) learners employ to replace lexical item that calls ‘synforms’. Room (1979) refers to them as they don’t know”. The paraphrasing errors ‘confusibles’; and Phythian (1989) uses the produced can be described under three term ‘confusables’ (cited in James, 1998: 145). different simplification strategies: (1) providing Laufer’s (1992) taxonomy; (1) the suffix type elaborating synonyms, (2) providing e.g. consider<able> / consider<ate>, (2) the oppositeness of meaning, and (3) providing prefixing type e.g. <com>press / <sup>press, (3) semantic features of the intended lexical items. the vowel-based type e.g. seat/set, The following are examples of paraphrasing: manual/menial, and (4) the consonant-based 1.*My father and my mother bought type e.g. prize/price, ledge/pledge were used to analyze the errors found in this study. However, seafood. (my parents) 2.*It is not unusual if they always have only the consonant-based and vowel-based ambition and face with various competition. types were found, while the suffix and prefixing types had no occurrences. The following are (usual) 3.*People use car to drive go back to examples of confusibles: 1.*He must warm Molley about the their home. (People drive back) Sentence 32 was the example of the danger that she is in. (warn) first simplification strategy. The subject 2.*We had many activities, such as paraphrased ‘my father and my mother’ driving into the sea. (diving) because he or she provided elaborating 3.*The principle character is so famous synonyms of the word ‘parents’. Sentence 33 too. (principal) demonstrated paraphrasing occurred due to In sentence 35, the confusible pair, the second simplification strategy where the ‘warn’ and ‘warm’ have some phonetic subject provided oppositeness of meaning similarity. Both words share the same initial instead of the actual word or phrase. The consonant /w/ and vowel sound /Ǥ:/. The subject used ‘not unusual’ to refer to ‘usual’. difference is in the spelling of the final


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

consonant /n/ and /m/ respectively. However, to convey the intended meaning, ‘warn’ is the correct word. In sentence 36, the subject produced the confusible pair ‘drive’ and ‘dive’. The two words have some phonemes in common. Semantically, these words are different. In the context of this sentence it is more appropriate to use ‘dive’ as the subject was talking about the activities at the seaside. The confusible pair ‘principle’ and ‘principal’ in sentence 37 was due to phonetic similarity. These words sound similar /prǺnsəpl/, but their spelling and meaning are different. The word that means “a moral rule or belief about what is right and wrong” is spelt <ple> for the last syllable, whereas the word that means “main or most important” is spelt <pal>. Thus, to convey the intended meaning, ‘principal’ is correct choice in the sentence. 13. Confusion of Binary Terms Palmer (1976 cited in Zughoul, 1991: 55) defines binary terms as “relational opposites” of lexical items. In other words, binary terms refers to two lexical items that are rationally opposite to each other such as come-go, herethere, give-take, etc,. These words generally exhibit the relationship between items rather than “oppositeness in meaning”. According to the analysis of this error type, ‘come-go’, ‘givetake’, and ‘borrow-lend’ are binary terms found in the data. The following are examples from the corpus: 1.*People all around the world go to take diving courses here. (come) 2.*My friends took a lot of fruits to my parents. (gave)

13

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

3.*I lent the car from my uncle and drove to the sea. (borrowed) The confusion between ‘come-go’ in sentence 38 was produced because the subject did not have a clear understanding of the directional relations of these words although they know that ‘come’ and ‘go’ are opposite to each other in meaning. In addition, the relational opposites of ‘come-go’ and ‘herethere’ are interrelated. ‘Come’ is always used with ‘here’, while ‘go’ always appears with ‘there’. Otherwise it does not make sense. Sentence 39 the subject confused the binary terms of ‘give’ and ‘take’. To express the meaning ‘to provide something for someone’ or ‘let someone have something’, ‘give’ is the correct word to be used instead of ‘take’. Sentence 40 presented the rational opposites of ‘lend-borrow’. Instead of ‘lent’, the subject has to use ‘borrowed’ because its meaning is ‘to take something from somebody that you intend to give back’. Recommendations In order to facilitate Thai EFL students’ learning English, particularly English vocabulary, some recommendations are suggested as follows: 1.In terms of English teaching methodology, Teachers need to apply the functional-communicative approach and other eclectic methods in the classroom and place more emphasis on learner-centred and performance-based assessment together with a balanced teaching of the four language skills. 2.Thai EFL students need to receive more vocabulary instruction. Further more, the attitude of giving more importance to grammar


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

should be radically changed by giving more emphasis to other aspects such as vocabulary, reading, listening, and speaking which are applicable to functional and communicative strategies. 2.Many of the lexical errors produced in this study are caused by the use of equivalent vocabulary in the students’ mother tongue. Teachers have to encourage their students to use a monolingual dictionary in order to avoid resorting to Thai equivalents and literal translation from Thai to English. 3.Teachers should help the students by increasing their chances to learn vocabulary through exposure to words in contexts, and not only concentrate on introducing new words with their meaning in isolation. 4.Teachers should encourage their students to be aware of their own vocabulary learning strategies by designing appropriate exercises to promote the use of vocabulary learning strategies. References Allen, V. F. 1983. Techniques in Teaching Vocabulary. New York: Oxford University Press. Corder, S. P. 1974. Error Analysis. In Allen, J. and Corder, S. P. (eds.). The Edinburgh Course in Applied Linguistics. Oxford: Oxford University Press. (pp. 122-154). Dulay, H. C., Burt, M. K. & Krashen, S. 1982. Language Two. Oxford: Oxford University Press. Dušková, L. 1969. On Sources of Errors in Foreign Language Learning. IRAL, 7 (1): 11-36.

14

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

James, C. 1998. Errors in Language Learning and Use: Exploring Error Analysis. New York: Longman. Kemthong, Phantipha. 1981. Karnseuksa Khobokprong Nai Karnkian Phasa Angkrit Khong Nakseuksa Eek Karnsorn Phasa Angkrit Mahawittayalai Ramkhamhaeng (An Error Analysis of the Written English of English Teaching Major Students at Ramkhamheang University). Master of Education, Ramkhamheang University, Thailand. Kertpol, Sakol. 1983. Karnwikro Khobokprong Nai Karnkian Riangkwam Phasa Angkrit Beab Issara Khong Nakrian Mathayom Plai (An Error Analysis of the English Compositions of Secondary School Students). Master of Arts, Srinakharinwirot University, Thailand. Khaourai, Phitsinee. 2002. A study of Error Analysis in English Compositions: Case Study of English Major Students of Rajabhat Institute, Nakhon Pathom. Master of Arts, Mahidol University, Thailand. Lehrer, A. 1974. Semantic Fields and Lexical Structure. London: North-Holland Publishing Company. Lewis, M. 2002. The Lexical Approach: The State of ELT and A Way Forward. London: Commercial Colour Press. Lukanavanich, Suwanee. 1988. Karnwikro Khopidplad Nai Karnkian Riangkwam Khong Nakseuksa Chan Pee Tee Neung Mahawittayalai Krungthep (An Error Analysis in the Essay Writing of First Year Students at Bangkok


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Jehsuhana Suetae and Choi Kim Yok

University). Master of Arts, Silpakorn University, Thailand. McCarthy, M. 1990. Vocabulary. New York: Oxford. Navasumrit, Intira. 1989. A Study of the Use of an English-English Dictionary with Reference to the Selection of Meanings from Contexts. Master of Education, Srinakarinwirot University, Thailand. Pookcharoen, Pookcharoen, Suphawat. 2007. Exploring How Teaching Morphemic Analysis Fosters Thai EFL Students’ Vocabulary Development. Journal of English Studies, 3: 85-105. Richards, J. C. (1971). A Non-Contrastive Approach to Error Analysis. In Richards, J. C. (ed.). Error Analysis: Perspective on Second Language Acquisition. London: Longman. (pp. 172-188). ___________. 1985. The Context of Language Teaching. London: Cambridge. Sawangwaroros, Bang-on. 1984. American and British English. Phasa Parithat Journal, 4 (2): 24-37. Wilkins, D. A. 1972. Linguistics in Language Teaching. Massachusettes: Cambrridge. Woon Y. F. 2003. A Study of Lexical Errors of Chinese Educated ESL Students. Master of English as a Second Language, University of Malaya. Zughoul, M. R. 1991. Lexical Choice: Towards Writing Problematic Word Lists. IRAL, 29 (1): 45-60.

15

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...



วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ

17

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา...

Article The Role of Yala Islamic University in the Islamization of Education Solihah Hayeesama-ae M.Ed.(Islamic Education), Lecturer Department of Teaching Profession Faculty of Liberal Arts and Social Sciences Yala Islamic University, Pattani Campus Abstract This paper aims at introducing the idea on the role of Yala Islamic University in the Islamization of Education. The university has played vital roles in providing integrated Islamic education. This article analyses the role of the university in the aspects : philosophy of the university ; curriculum development; staff development; preparation of textbooks and other learning resources; research and development; and community service. It suggests guidelines for the university in developing its role in managing the Islamization process in a more comprehensive context and widespread into lower educational institutions and Muslim society at large, that it emphazied on the following aspects: 1. there should have educational and training programmes for producing academic staff with a high level of ideological and moral commitment, 2. curriculum development, there should be the preparation of Islamically oriented curriculum guides for all disciplines and all levels, and also provide guidance to the lecturers for Islamization of the instructional methods and techniques and the co-curricular activities; 3. developing textbooks and multiplicity of learning resources from an Islamic perspective and also a variety of audio and visual materials developed by using an Islamic approach; 4. there should establish a model Islamic school at elementary the secondary levels where some of Islamically-based ideas and practices; 5.research department should play a vital role in evaluating the progress of the efforts at Islamization of education within the university; 6.Community service should be emphasized on providing comprehensive Islamic education. Keywords: role of Islamic University, Yala Islamic University, Islamization of education, Islamization of knowledge, Islamic education


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ

18

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา...

บทความวิชาการ บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลาในการอิสลามานุวัตรการศึกษา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ M.Ed. (Islamic Education), อาจารย์ สาขาวิชาวิชาชีพครู คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา วิทยาเขตปัตตานี บทคัดย่อ บทความฉบับ นี้ เสนอแนวคิด หลัก เกี่ ย วกั บบทบาทของมหาวิ ทยาลั ย อิส ลามยะลาในการอิ สลามานุวั ต ร การศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลามีบทบาทที่สําคัญในการจัดการศึกษาที่เน้นการบูรณาการและการอิสลามานุวัตร การศึกษา บทความได้วิเคราะห์บทบาทของมหาวิทยาลัยในด้านปรัชญาการศึกษา พัฒนาหลักสูตร การพัฒนาอาจารย์ และบุคลากร การจัดเตรียมหนังสือและแหล่งการเรียนรู้ การวิจัยและการพัฒนา ตลอดจนการบริการวิชาแก่สังคม และได้นําเสนอแนวทางสําหรับมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาบทบาทในการจัดการกระบวนอิสลามานุวัตรในบริบทที่มี ความครอบคลุมมากขึ้นและแผ่ขยายไปสู่สถาบันการศึกษาขั้นพื้นฐานและสังคมมุสลิมในวงกว้าง คือ1.การจัดหลักสูตร เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาโดยมุ่งเน้นการผลิตครูและบุคลากรที่ยึดมั่นต่ออิสลาม 2. การพัฒนาหลักสูตร ควร เตรียมคู่มือหลักสูตรที่มีเนื้อหาวิชาในทัศนะอิสลามในทุกวิชาและมีคู่มือเพื่อเป็นแนวทางในการอิสลามานุวัตรเทคนิค และวิธีการสอนตลอดจนการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3. การพัฒนาหนังสือตําราและแหล่งการเรียนรู้ ควรสอดแทรก ทัศนะอิสลามในทุกศาสตร์สาขาวิชา และเตรียมสื่อทางโสตทัศนวัสดุตามแนวทางอิสลาม 4. การจัดตั้งโรงเรียนสาธิต เพื่อใช้ทดลองสาธิตเกี่ยวกับการศึกษาและการวิจัย 5. ฝ่ายวิจัยควรเตรียมตําราที่เกี่ยวข้องกับทัศนะอิสลาม และควร ติดตามประเมินความก้าวหน้าของสถาบันในการบูรณาการและอิสลามานุวัตรองค์ความรู้ในทุกระดับ 6. การให้บริการ วิชาการต่อชุมชน ควรเน้นการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาอิสลามที่ครอบคลุมและบูรณาการ คําสําคัญ : บทบาทมหาวิทยาลัยอิสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อิสลามานุวัตรองค์การศึกษา อิสลามานุวัตรองค์ ความรู้ การศึกษาอิสลาม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ

บทนํา การเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการพัฒนาหรือปฏิรู ป การศึกษาเพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ นับเป็นประเด็นสําคัญของสังคมโลกตลอดมา สําหรับ โลกมุสลิม การเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา เริ่ ม ขึ้ น อย่ า งจริ ง จั ง ในศตวรรตที่ 19 และ 20 โดยมี นักวิชาการมุสลิมมากมายนําเสนอความคิดเกี่ยวกับการ อิสลามานุวัต รเพื่ อแนะนํ าระบบการศึกษาที่แ ท้จริ งให้ เกิดขึ้นใหม่ การเคลื่อนไหวของกระบวนการอิสลามานุ วั ต รทํ า ให้ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ อย่ า งกว้ า งขว้ า ง(Talat Sultan, 1997, 57-63)ทั้ งนี้ร ะบบการศึ กษาได้รั บ ผลกระทบมากโดยเฉพาะเกี่ยวกับปัญหาของความรู้ซึ่ง ได้รับอิทธิพลจากแนวความคิด ”dualism” ส่งผลให้ หลักสูตรการศึกษาและความรู้ที่สอนในสถาบันการศึกษา ส่วนใหญ่ถูก แยกออกเป็นสองส่ว นจากกัน นั้นคือ วิช า ท า ง ด้ า น ศ า ส น า แ ล ะ วิ ช า ท า ง ด้ า น โ ล ก ห รื อ เรียกว่ า”Secularization” ซึ่ งมีผลกระทบต่ อปัญหา เกี่ ย วกั บ องค์ ค วามรู้ อิส ลามอย่ างยิ่ ง (Baba, Sidek, 2000: 16) และนับเป็นอุปสรรคที่สําคัญอย่างยิ่งต่อการ พัฒ นาและความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ของสถาบั น การศึ ก ษา อิสลามในการนํามุสลิมสู่การค้นพบเอกลักษณ์ที่แท้จริง ทําให้ไม่สามารถที่จะผลิตผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เพื่ อ ทํ า หน้ า ที่ ใ นฐานะบ่ า วที่ ภั ก ดี แ ละเคาะลี ฟ ะฮฺ (ตัวแทน)ของพระผู้เป็นเจ้าที่มีศักยภาพได้ตามเป้าหมาย การศึกษาอิสลามที่พึ่งประสงค์ ด้ ว ยความตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หาดั ง กล่ า วข้ า งต้ น บรรดานักวิชาการและปราชญ์มุสลิมได้เกิดความตื่นตัวใน การที่ จ ะพั ฒ นาระบบการศึ ก ษาและสั ง คมอิ ส ลามที่ แท้จริง โดยได้จัดให้มีการประชุมสัมมนาระดับโลกเกี่ยว การศึ ก ษามุ ส ลิ ม ครั้ ง แรกขึ้ น ที่ น ครเมกกะ ในปี ค.ศ. 1977 เพื่อแสวงหามติร่วมกันในการปฏิรูปการศึกษาใน สังคมมุสลิม ที่ป ระชุม ได้ท บทวนปัญหา วางเป้า หมาย และวางแผนการปฏิรูปการศึกษาของมุสลิมเพื่อรับการ ท้าทายและสนองความต้องการทางด้านการศึกษาของ มุสลิมในปัจจุบันและในอนาคต (Ghulam Nabi Saqeb, 2000,43) และได้มีการนําเสนอประเด็นอิสลามานุวัตร องค์ความรู้ (Islamisation of knowledge) เป็นหลัก (Talat Sultan, 1997: 57-63) หนึ่งในข้อเสนอแนะในที่

19

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา...

ประชุม คือ การก่อตั้งมหาวิ ทยาลัย อิสลามขึ้ นในพื้น ที่ ส่วนต่างๆของโลกมุสลิมเพื่อที่จะบูรณาการองค์ความรู้ ทางด้ า นวะฮฺ ยู กั บ องค์ ค วามรู้ ที่ ไ ด้ ม าจากการแสวงหา และเพื่ อ เป็ น หั ว หอกวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การอิ ส ลามานุ วั ต ร (Islamisation) (Ghulam Nabi Saqeb, 2000: 43) ด้วยเหตุนี้กระบวนการบูรณาการและอิสลามานุวัตรจึ่ง ต้องเข้ามาเกี่ยวข้องในรูปแบบที่ครอบคลุม ทั้งนี้มโนทัศน์ การศึกษาอิสลามได้ฝั่งกระบวนทัศน”เตา-ฮีด” (การให้ เอกภาพต่อพระองค์อัลลอฮฺเพีย งองค์ เดียว)ไว้เพื่อการ เติมเต็มความต้องการทางโลกนี้และที่สําคัญที่สุดจะต้อง นําพามนุษย์ไปสู่การบรรลุถึงความต้องการในโลกหน้า ด้ ว ย นี้ เ ป็ น การแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง แนวทางของสหวิ ท ยา (multi-disciplinary)ของความรู้ ที่ ว างอยู่ พื้ น ฐานบน หลัก”เตาฮีด” (การให้เอกภาพต่อพระองค์อัลลอฮฺองค์ เดียว)(Baba, Sidek, 2000: 16) ม ห า วิ ท ย า ลั ย อิ ส ล า ม ย ะ ล า เ ป็ น สถาบันอุดมศึกษาอิสลามเอกชนแห่งแรกในประเทศไทย ที่ได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 2001) โดยมีปณิธาน ที่แน่วแน่ในการที่จะพัฒนาการศึกษาและสังคมมุสลิมใน ภูมิภาค มหาวิทยาลัยมีวิสัยทัศน์ที่จะเป็นคลังแห่งปัญญา ที่มีความเป็นเลิศในทุกภารกิจตามหลักการอิสลามและ เป็นศูนย์กลางการศึกษาที่มีมาตรฐานสากลสู่การสร้าง สั น ติ ภ าพที่ ยั่ ง ยื น การก่ อ ตั้ ง ของมหาวิ ท ยาลั ย ตั้ ง แต่ เริ่มแรกวางอยู่บนพื้นฐานปรัชญาการจัดการศึกษาที่ว่า “ม ห า วิ ท ย า ลั ย อิ ส ล า ม ย ะ ล า เ ป็ น สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีความมุ่งมั่นในการ จั ด การศึ ก ษา ทํ า การวิ จั ย ให้ บ ริ ก ารวิ ช าการทางด้ า น อิ ส ลามและทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมที่ ส อดคล้ อ งกั บ หลักการอิสลามโดยทําการผลิตบัณฑิตให้มีความรอบรู้ ศรั ท ธาและปฏิ บั ติต ามหลั ก การของอั ล กุ รอานและซุ น นะฮฺ มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล มีคุณธรรมและจริยธรรมที่ เป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ใ นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ทั้ ง ของ ตนเอง ครอบครัวและสังคมโดยผ่านระบบการศึกษาที่ ดํารงไว้ด้วยความสมดุล ครอบคลุม ต่อเนื่องและบูรณา การ” (มหาวิทยาอิสลามยะลา, 2550: 3-7) เพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายตามปรั ช ญาที่ ว างไว้ มหาวิทยาลัยได้มีนโยบายในการจัดการศึกษาแบบบูรณา การที่ เน้น คุณ ธรรมนํา ความรู้ โ ดยการจัด การเรี ย นการ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ

สอนในทุกหลักสูตรแบบบูรณาการ มหาวิทยามีพันธกิจที่ จะบ่มเพาะความรู้เชิงบูรณาการในทุกหลักสูตรทั้งในเชิง หลั กแนวคิ ด การปฏิ บัติ การวิ จั ยและการบริ ก าร โดย มหาวิ ท ยาลั ย ได้ เ ปิ ด ดํ า เนิ น สอนหลั ก สู ต รทั้ ง ในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ระดั บ ประกาศนี ย บั ต รบั ณ ฑิ ต (ทางด้ า น วิชาชีพครู)และระดับปริญญาโท นอกจากนี้มหาวิทยาลัย ยังได้สร้างเสริมความรู้แบบบูรณาการสู่สาธารณชนด้วย การให้ บริ การวิช าการต่อชุมชนในหลากหลายรูป แบบ บทบาทมหาวิทยาลัยยะลาในการบูรณาการศึกษาและอิส ลามานุ วั ต รการศึ ก ษานั บ ว่ า สํ า คั ญ ยิ่ ง ในการพั ฒ นา การศึกษาของมุสลิมในภูมิภาคแห่งนี้และการผลิตบัณฑิต ที่ มี คุ ณ ลั ก ษณะดั ง กล่ า วมาข้ า งต้ น ดั ง นั้ น จึ่ ง ควร ทํ า การศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ บ ทบาทของมหาวิ ท ยาลั ย อิสลามยะลาในการจัดศึกษาแบบบูรณาการและการอิส ลามานุวัตรการศึกษา ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาของสถาบันให้บรรลุเป้าหมาย ตามปรัชญาของมหาวิทยาลัยที่วางไว้และปรัชญาการจัด การศึกษาในอิสลามที่แท้จริง บทความฉบับนี้ได้นําเสนอ บทบาทมหาวิทยาลัยยะลาในการจัดการศึกษาแบบบูรณ การและอิ ส ลามานุ วั ต รการศึ ก ษา ซึ่ ง เน้ น การศึ ก ษา วิ เ คราะห์ บ ทบาทตามขอบข่ า ยข้ อ เสนอแนะจากที่ ประชุม สัมมนาระดับ โลกเกี่ยวกับ การศึ กษาของมุสลิ ม ครั้งแรกที่นครเมกกะ ในปี 1977 โดยกล่าวถึง แนวคิด เกี่ยวกับการบูรณการและการอิสลามานุวัตรการศึกษา บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลาในการบูรณาการ และอิ ส ลามานุ วั ต รการศึ ก ษา แนวทางสํ า หรั บ มหา วิ ท ย า ลั ย ใน ก า รพั ฒ น า บ ทบ า ทก า รจั ด กา ร กระบวนการอิสลามการศึกษา และบทสรุป แนวคิดเกี่ยวกับการบูรณการและการอิ สลามานุวัต ร การศึกษา แผนงานเกี่ยวกับ การอิส ลามานุวัต รองค์ การ ศึกษาและองค์ความรู้ที่ ได้นํา เสนอในที่ป ระชุม สัมมนา ระดับโลกทางด้านการศึกษามุสลิมครั้งแรก (the First World Conference on Muslim Education)โดยได้ จัดขึ้น ณ เมกกะในปี ค.ศ. 1977 ซึ่งได้มีนักวิชาการและ นักการศึกษามุสลิมจากส่วนต่างๆของโลกประมาณ 313

20

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา...

คนได้เข้าร่วมการประชุม และมีข้อเสนอแนะหลักการที่ สําคัญๆดังนี้ 1. เป้าหมายการศึกษา เป้า หมายการศึก ษาในอิ สลามที่ ได้ กล่า วไว้ใ น การประชุมสัมมนาระดับโลก ครั้งแรกนี้ได้ระบุเป้าหมาย ของศึกษาไว้ดังนี้ 1.1.เป้าหมายการศึกษาโดยทั่วไป “กา รศึ กษ า จ ะต้ อง มี เ ป้ า หม า ย เพื่ อก า ร เจริ ญ เติ บ โตที่ มี ดุ ล ยภาพทางบุ ค ลิ ก ภาพทั้ ง มวลของ มนุ ษ ย์ โดยการฝึ ก ฝนทางด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณ สติ ปั ญ ญา เหตุผล ความรู้สึกและ ประสาทสัมผัส ดังนั้นการศึกษา จะต้องมุ่งเน้นความเจริญเติบโตของมนุษย์ในทุกๆด้าน เช่น ด้านจิตวิญญาณ ด้านจิตนาการ ด้านร่างกาย ด้าน วิทยาศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ทั้งใน ส่วนปัจเจกบุคคลและ ส่วนรวม และโน้มน้าวด้านต่างๆเหล่านี้สู่ความดีและการ บรรลุถึงความสมบูรณ์” (Cited in Husain, Syed Sajjad and Ashraf, Syed Ali, 1979: 44) 1.2. เป้าหมายการศึกษาโดยเฉพาะ “เป้ า หมายสู ง สุ ด ของการศึ ก ษาตั้ ง อยู่ บ นการ ตระหนักถึงการมอบหมายโดยสิโรราบต่ออัลลอฮฺทั้งใน ระดับปัจเจกบุคคล ชุมชนและมนุษยชาติ” (Cited in Husain, Syed Sajjad and Ashraf, Syed Ali, 1979: 44) 2. อิสลามานุวัตรองค์ความรู้ ความรู้และการศึกษามีความสัมพันธ์กันเฉกเช่น ฉันท์ความสัมพันธ์ระหว่างมารดากับบุตร การศึกษาไม่ สามารถที่ จ ะปฏิ รู ป และทํ า ให้ เ ป็ น อิ ส ลามได้ หาก ปราศจากการให้ความหมายญาณวิทยาอิสลามและการ ออกแบบวิธีการวิทยาการอิสลามานุวัตรในทุกด้านของ การศึกษา ด้วยความสําคัญดังกล่าวที่ประชุมสัมมนาซึ่ง ได้ขยายผลมาจากการยึดมั่นต่อการอิสลามานุวัตรองค์ ความรู้ แ ละเพื่ อ ให้ ส ามารถทํ า การพั ฒ นานั ก วิ ช าการ มุสลิมในปัจจุบันและในอนาคตเพื่อมุ่งสู่การการปฏิรูป โลกทั ศ น์ อิ ส ลาม การประชุ ม สั ม มนาได้ มุ่ ง เน้ น การ ดําเนินการอิสลามานุวัตรองค์ความรู้ให้มีความเหมาะสม กับระบบการศึ กษาของมุ สลิ มในทุก ระดับ และทุก ด้า น (Ghulam Nabi Saqeb, 2000: 41)


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ

3. การจําแนกองค์ความรู้ ที่ ป ระชุ ม ได้ จํ า แนกศาสตร์ ต ามแนวทางของ นักปราชญ์มุสลิมในประวัติศาสตร์ของอารยธรรมอิสลาม ซึ่งที่ประชุมได้บรรลุถึงการจําแนกองค์ความรู้บนพื้นฐาน ของหลั ก การอิ ส ลามที่ แ ท้ จ ริ ง และเหมาะสมสํ า หรั บ ช่วงเวลาปัจจุบันและในอนาคต การจําแนกแบ่งศาสตร์ ในอิสลามได้แบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ คือ นิรันตร ศาสตร์ ห รื อ ศาสตร์ ที่ ไ ด้ ม าจากการประทาน (the Revealed or Perennial Knowledge) และศาสตร์ที่ ได้จากการแสวงหา(the Acquired or Empirical Knowledge) (Ghulam Nabi Saqeb, 2000: 41) ซึ่งมี รายละเอียดในแต่ละประเภทดังนี้ 1) นิรันตรศาสตร์หรือศาสตร์ที่ได้มาจากการประทาน (the Revealed or Perennial Knowledge) 1.1.) ศาสตร์แห่งอัลกุรอาน (The Qur’anic sciences) ประกอบด้วย กิรออะฮฺ (qira’ah-การอ่านอัล กุรอาน) หัฟซ (tahfiz -การท่องอัลกุรอาน) ตัฟซีร (tafsir–การอรรถาธิบายอัลกุรอาน) 1.2) ซุ น นะฮฺ ( แบบฉบั บ )ของท่ า นรอซู ล (Hadith / Sunnah) 1.3) ซี เ ราะฮฺ (ชี ว ประวั ติ ) ของท่ า นรอซู ล (Sirah) 1.4) เตาฮีด (Tawhid-เอกภาพ) 1.5) อูศูลุลฟิก และศาสนบัญญัติ (Usul alfiqh and fiqh) 1.6) ภาษาอัลกุรอาน (Qur’anic language) 1.7) วิ ช าเสริ ม (วิ ช ารองจากวิ ช าข้ า งต้ น ) (Ancillary subjects) ไดแก่ อภิปรัชญา (Islamic metaphysics) ศาสนาเปรี ยบเที ยบ (Comparative religion) วัฒนธรรมอิสลาม (Islamic culture and civilization) 2) ศาสตร์ที่ได้จากการแสวงหา (the Acquired or Empirical Knowledge) 2.1) ศาสตร์ แ ห่ ง จิ ต นการหรื อ สร้ า งสรรค์ (Creative arts) ได้แก่ วิชาศิลปะและสถาปัตยกรรม ภาษาศาสตร์ และวรรณคดี 2.2) ศาสตร์ แ ห่ ง สติ ปั ญ ญา (Intellectual sciences) ได้แก่ วิชาสังคมศึกษา ปรัชญา การศึกษา

21

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา...

เศรษฐศาสตร์ รั ฐ ศาสตร์ ประวั ติ ศ าสตร์ วั ฒ นธรรม อิสลาม เป็นต้น 2.3) ศาสตร์บริสุทธิ์ (Natural sciences) ได้แก่ คณิตศาสตร์ สถิติ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ วิทยา ดาราศาสตร์ ศาสตร์เกี่ยวกับอากาศล 2.4) ศาสตร์ประยุกต์ (Applied sciences) ได้ แ ก่ วิ ศ วกรรมศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แพทยศาสตร์ เกษตรศาสตร์และวนศาสตร์(ป่าไม้) 2.5) ศ า ส ต ร์ แ ห่ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ (Practical sciences) ได้แก่ พาณิชยศาสตร์ ศาสตร์การ-บริหาร บรรณรักษาศาสตร์ การจัดการบ้าน และการสื่อสาร การแบ่งองค์ความรู้ในอิสลามออกเป็นประเภท ดังกล่าวข้างต้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อชี้ให้เห็นถึงลําดับขั้นของ ประเภทความรู้ ที่ ค วรจะต้ อ งให้ ค วามสํ า คั ญ ก่ อนหลั ง ทั้งนี้สถานภาพของศาสตร์ความรู้มีความแตกต่างกันใน แง่ของคุณภาพและความสําคัญ ความรู้ที่เป็นศาสตร์ที่ได้ จากการประทานมีความสําคัญสูงสุด เพราะเป็นความรู้ ที่มาจากพระเจ้า (พระองค์อัลลอฮฺ)โดยตรง มีความเป็น เอกภาพในเหตุผล หลักฐานและความประเสริฐทางด้าน อื่นๆอีกมากมาย ในที่ นี่ไม่ได้หมายความว่า วิชาความรู้ ทางด้านการแสวงหาไม่มีความหมาย แต่จะเป็นความรู้ที่ ช่ ว ยให้ เ ราเข้ า ใจและสํ า นึ ก ในความหมายและมี จิ ต วิ ญ ญาณรั ก ในความรู้ ข องอั ล ลอฮฺ ใ นความหมายที่ กว้างขวางเพื่อการพัฒนาสังคมปัจเจกบุคคลและสังคม (Wan Kamariah Leman, 2002: 70) ให้มีความ สมบูรณ์แบบ ซึ่งความสําคัญและสถานภาพของศาสตร์ ต่ า งๆสามารถจั ด ลํ า ดั บ ได้ ดั ง นี้ ศาสตร์ ท างด้ า นจิ ต วิญญาณจะมีสถานภาพสูงที่สุด รองลงมาเป็นศาสตร์ที่ เกี่ยวกับคุณค่าแห่งคุณธรรม และรองมาอีกระดับหนึ่งจะ เป็ น ศาสตร์ ที่ เกี่ ยวกั บ สติ ปัญ ญาหรื อศาสตร์ ที่นํ า มาซึ่ ง หลั ก การทางด้ า นสติ ปัญ ญา และตามมาด้ วยศาสตร์ ที่ เกี่ยวกับการควบคุมและจัดระเบียบ จิตนาการสร้างสรรค์ และลํ า ดั บ สุ ด ท้ า ยเป็ น ศาสตร์ ที่ จ ะช่ ว ยมนุ ษ ย์ ส ามารถ ควบคุมประสาทสัมผัส (Asraf, Ali, 1985) ประชาชาติ อิ ส ลามควรที่ จ ะสอนและศึ ก ษา เรี ย นรู้ ค วามรู้ ต ามลํ า ดั บ ความจํ า เป็ น และสํ า คั ญ ด้ ว ย วิธีการดังกล่าวจะทําให้ทุกๆความรู้ที่มีในบุคคลหนึ่งจะ เป็นแสงสว่างนําทางที่แท้จริง ในทางกลับกันการลําดับ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ

ความสําคัญของความรู้ที่ไม่เป็นระเบียบจะเป็นสาเหตุให้ เราหลงทางในความรู้(Wan Kamariah Leman, 2002: 70) และการจําแนกศาสตร์ดังที่กล่าวข้างต้นจะช่วยให้ มุสลิมในทุกสมัยสร้างหลักสูตรบนพื้นฐานของความรู้ที่ ถูกประทานมา (วะฮฺยู-วิวรณ์) เป็นรายวิชาที่บังคับ และ จั ด รายวิ ช าเสริ ม หรื อ วิ ช าเลื อ กและกิ จ กรรมจากองค์ ความรู้ ที่ ไ ด้ จ ากการแสวงหาที่ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ ระดั บ การศึ ก ษาบนพื้ น ฐานของบริ บ ทที่ มี ค วามแตกต่ า ง ทางด้านวัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ภาษาและสังคม (Asraf, Ali, 1985) 4. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากที่ประชุม นอกจากนี้ที่ประชุมได้ให้ข้อเสนอแนะที่สําคัญ เพิ่ ม เติ ม อี ก หลากหลายประเด็ น อาทิ เ ช่ น 1) เน้ น ย้ํ า บทบาทของภาษาอาหรับในโปรแกรมการศึกษามุสลิม ควรมีการจัดการเรียนการสอนภาษาอาหรับโดยใช้วิธีการ ที่ เ หมาะสมมากที่ สุ ด และทั น สมั ย (Ghulam Nabi Saqeb, 2000: 4) 2) การศึกษาทางด้านสังคมศาสตร์ จะต้องทําการสร้างขึ้นใหม่จากทัศนะแนวคิดอิสลามที่ เกี่ยวกับมนุษย์และสังคม เช่นเดียวกันศาสตร์บริสุทธิ์และ ศาสตร์ ป ระยุ ก ต์ จ ะต้ อ งสร้ า งขึ้ น ใหม่ ใ ห้ ส อดรั บ กั บ วิญญาณการสอนของอิสลาม 3) ครูผู้สอนเป็นตัวแปรผัน ที่สําคัญที่สุดในกระบวนการอิสลามานุวัตร จึ่งเน้นย้ําว่า ครูมุสลิมควรที่จะได้รับการฝึกฝนทางด้านความคิดและ ความประพฤติให้อยู่ภายใต้ทางนําของหลักการศรัทธา อิ ส ลาม 4) ควรจะมี แ หล่ ง ทุ น ในการที่ จ ะให้ ก าร ช่ ว ยเหลื อ มุ ส ลิ ม ที่ เ ป็ น ชนกลุ่ ม น้ อ ยให้ ส ามารถจั ด ตั้ ง โรงเรียนเพื่อให้การศึกษาอิสลามแก่เด็กมุสลิมในประเทศ นั้นๆ (Ghulam Nabi Saqeb, 2000) บทบาทของมหาวิ ทยาลั ยอิ สลามยะลาในการบู รณา การและอิสลามานุวัตรการศึกษา ภายใต้ ร่ ม เงาของปรั ช ญาและวั ต ถุ ป ระสงค์ การศึกษาอิสลามและข้อเสนอแนะในที่ประชุมสัมมนา ทางการศึกษามุสลิมระดับโลก ณ นครเมกกะ บทบาท ของมหาวิทยาลัยในบริบทของการบูรณาการและอิสลา มานุวั ตรการศึกษานั้น สามารถจะวิเคราะห์ ในประเด็ น สําคัญต่างๆได้ดังนี้ 1. ปรัชญาการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย

22

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา...

จะเห็นได้ว่าปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัย ที่ได้นําเสนอมาข้างต้นนั้นสอดรับกับเป้าหมายการศึกษา อิสลามในอิสลามและเป้าหมายการศึกษาที่ได้เสนอแนะ ไว้ในที่ประชุมการศึกษามุสลิมระดับโลกดังกล่าวข้างต้น ไม่ว่าทั้งทางตรงหรือทางออ้ม 2. การพั ฒ นาหลั ก สู ต รตามกระบวนการ จําแนกองค์ความรู้ในอิสลาม การพั ฒ นาหลั ก สู ต รเป็ น บทบาทที่ สํ า คั ญ ที่ สถาบันการศึกษาอิสลามจะต้องให้ความสําคัญยิ่ง เพราะ หลักสูตรถือเป็นปัจจัยที่สองที่สําคัญในการพัฒนาระบบ การศึ ก ษาอิ ส ลาม ในช่ ว งเริ่ ม แรกของการจั ด ตั้ ง มหาวิทยาลัยได้ให้ความสําคัญยิ่งเป็นอันดับแรกในการ เปิดดําเนินการสอนหลักสูตรที่เป็นศาสตร์ที่ได้มาจากการ ประทาน(วะฮฺยู)ซึ่งถือเป็นศาสตร์หัวใจหลักที่สําคัญยิ่งใน ระบบการศึ ก ษาอิ ส ลาม กล่ า วคื อ มหาวิ ท ยาลั ย ได้ ดํ า เนิ น การจั ด การเรี ย นการสอนในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ภายใต้คณะอิสลามศึกษา ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิชาชะ รีอะห์ (กฎหมายอิสลาม) สาขาวิชาอุศูลลุดดีน(หลักการ อิสลาม) และต่อมา มหาวิทยาลัยได้เปิดหลักสูตรที่เป็น ศาสตร์ ท างด้ า นการแสวงหาภายใต้ สั ง กั ด คณะศิ ล ป ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ซึ่งถือเป็นความจําเป็นสําหรับ สั ง คมมุ ส ลิ ม ในภู มิ ภ าคนี้ เริ่ ม การเปิ ด หลั ก สู ต รระดั บ ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา (ปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อเป็นสาขาวิชาวิชาชีพครู) สาขาวิชา ภาษาอาหรับ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชา การเงิ น และการธนาคารตามลํ า ดั บ และตามมาด้ ว ย หลั ก สู ต รทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ ภ ายใต้ ก ารจั ด การของ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ สาขาวิชาวิท ยาศาสตร์ ทั่วไป ตามมาด้ว ย สาขาวิ ชาภาษาอัง กฤษ และสาขาวิ ชาภาษามลายู ซึ่ ง สังกัดอยู่ภายใต้คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ และ ได้พัฒนาหลักสูตรในระดับมหาบัณฑิต หลักสูตรศิลปะ ศาสตร์ ม หาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าชะรี อ ะฮฺ แ ละสาขาวิ ช า ประวัติศาสตร์และอารยธรรมอิสลาม การพั ฒ นาหลั ก สู ต รของมหาวิ ท ยาลั ย ตั้ ง แต่ เริ่ ม แรกของการก่ อ ตั้ ง ด้ ว ยการเปิ ด ศาสตร์ ส าขาวิ ช า ทางด้านอิสลามศึกษาดังกล่าวนี้ถือเป็นการเริ่มต้นที่ถูก ทางสอดรับกับแนวทางการจัดการศึกษาอิสลาม และการ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ

จําแนกองค์ความรู้ตามแนวคิดของญาณวิทยาในอิสลาม และได้บรรจุศาสตร์รายวิชาความรู้ที่เป็นศาสตร์แห่งการ ประทาน (วะฮฺยู-วิวรณ์) เป็นรายวิชาแกนบังคับพื้นฐาน และบั ง คั บ เลื อ ก ตลอดจนรายวิ ช าเลื อ กทั้ ง ในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย และคณะสาขาวิ ช า โดยเฉพาะในระดั บ ปริญ ญาตรี เช่ น รายวิช าอั ลกุ รอาน ความรู้ พื้น ฐาน เกี่ยวกับอิสลาม หรืออิสลามวิถีการดําเนินชีวิต ศาสตร์ แห่งอัลกุรอานและอัลหะดีษ และบรรจุรายวิชาอื่นๆใน กลุ่ ม มนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ ตลอดจนกลุ่ ม คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ ม หาวิ ท ยาลั ย ยั ง เปิ ด โอกาสให้ นั ก ศึ ก ษาเลื อ กเรี ย นรายวิ ช าโทและวิ ช าเลื อกได้ อ ย่ า ง อิ ส ระ เช่ น นั ก ศึ ก ษาที่ เ รี ย นในคณะศิ ล ปศาสตร์ แ ละ สังคมศาสตร์สามารถเลือกเรียนรายวิชาโทและรายวิชา เลื อ กจากคณะอิ ส ลามศึ ก ษาได้ และในทางกลั บ กั น นั ก ศึ ก ษาจากคณะอิ ส ลามศึ ก ษาสามารถเลื อ กเรี ย น รายวิชาโทในคณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์หรือคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ ผลของการมีแนวความคิด การเปิดอิสระในการเลือกเรียนรายวิชาโทและรายวิชา เลือกเช่นนี้นับเป็นการพัฒนาหลักสูตรในทางที่ดีขึ้นอีก ระดับ หนึ่งโดยเฉพาะสําหรับคณะอิสลามศึ กษาซึ่ งเดิ ม เป็ นหลัก สู ตรที่เป็ นเอกกว้า ง วิ ธีก ารนี้ นับ เป็ น ช่องทาง หนึ่งในการที่ทํ าให้มีการบูร ณาการองค์ค วามรู้ระหว่า ง ศาสตร์ท างด้ านอิส ลามศึ ก ษาและศาสตร์ที่ แสวงหาได้ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น และเป็นการเติมเต็มการสร้างบุคลิกภาพที่ สมดุ ล มากขี้ น และเป็ น การเปิ ด ช่ อ งทางให้ บั ณ ฑิ ต มี โอกาสในการหางานทําได้กว้างขวางมากขึ้น ซึ่งถือเป็น การพั ฒ นาหลั ก สู ต รให้ มี ก ารบู ร ณาการ สมดุ ล ยและ เป็ น ไปในทางปฏิ บั ติ ไ ด้ ม ากขึ้ น ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ข้อเสนอแนะของ อะหมัด อัล บีลีย์ (Ahmad al-Beely อ้างถึงใน Husain, Syed Sajjad and Ashraf, Syed Ali,1979,68-73)ในการบู ร ณาการการศึ ก ษาโดยผ่ า น หลักสูตรพื้นฐานและวิชาเฉพาะทางในสาขาวิชาต่างๆไว้ ว่า “นักศึกษาที่เลือกเรียนสาขาวิชาทั่วไปควรจะ เรี ย นรายวิ ช าศาสนาที่ ส ามารถให้ ค วามรู้ ที่ เ พี ย งพอ เกี่ยวกับความศรัทธาและการภักดีในอิสลาม ตลอดจน หลักการทางด้านคุณธรรมจริยธรรมที่พัฒนาคุณลักษณะ

23

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา...

ของผู้ เรี ย น อาจจะต้ องให้ เ รี ย นรายวิ ช าภาษาอาหรั บ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอ่าน เขียน พูดและแปลไปสู่ภาษา ของตนเองส่ ว นกลุ่ ม นั ก ศึ ก ษาที่ เ ลื อ กเรี ย นสาขาวิ ช า ทางด้านศาสนาจะต้องมีความสามารถในการท่องจําอัลกุ รอานและฮาดีษได้ อีกทั้งมีทักษะในการใช้ภาษาอาหรับ ในระดับที่สามารถพูดฟัง อ่านและเขียนในระดับที่ดี และ นักศึกษากลุ่มนี้จะต้องเรียนรายวิชาทางด้านทั่วไปและ เลื อ กเรี ย นภาษาต่ า งประเทศหนึ่ ง ภาษาซึ่ ง ควรอยู่ ใ น ระดับ ที่ สามารถอ่ านได้เข้า ใจ ทั้ง นี้ เพื่ อนํ า ไปใช้ ใ นการ เผยแพร่อิสลาม และสามารถปกป้องการบิดเบือนอิสลาม ได้” อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ถึ ง แ ม้ ว่ า ห ลั ก สู ต ร ข อ ง มหาวิทยาลัยได้พัฒนาปรับปรุงมาแล้วในระดับหนึ่ง แต่มี ข้อสังเกตในประเด็นต่างๆดังนี้ (1)หลั ก สู ต รบั ง คั บ พื้ น ฐานรายวิ ช าแกนของ มหาวิ ทยาลั ยยั ง ไม่มี ร ายวิ ช าที่เกี่ ย วกั บ วั ฒนธรรมและ อารยรรมหรื อประวั ติศ าสตร์อิส ลามโดยเฉพาะเพื่อให้ นักศึกษาได้มีโอกาสได้เข้าใจและซาบซึ้งถึงความสําคัญ และคุ ณ ค่ า ของวั ฒ นธรรมและอารยธรรมอิ ส ลามมาก ยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง จะส่ ง ผลในการสร้ า งจิ ต สํ า นึ ก รั บ ผิ ด ชอบต่ อ อนาคตวัฒนธรรมและอารยธรรมของอิสลาม หลักสูตร อิ ส ลามที่ เ น้ น แนวการคิ ด แบบอิ ส ลามนั้ น จะต้ อ งเปิ ด โอกาสให้นักศึกษาได้มีการสํารวจในแต่ละวิทยาการดังนี้ 1) วรรณคดี แ ละศิ ล ปะ 2) ประวั ติ ศ าสตร์ 3) การ วิ เ คราะห์ ท างด้ า นสั ง คมศาสตร์ แ ละปรั ช ญา 4) วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 5) ภาษาต่างประเทศและ วัฒนธรรม ซึ่งมีศาสตร์ทางด้านศาสนาเป็นแกนพื้นฐาน หากขาดซึ่งประสบการณ์ทางศาสตร์ดังกล่าวนี้ บัณฑิตจะ ขาดซึ่งการจิตนาการและรสชาติที่เกี่ยวกับความสวยงาม ทางด้ านธรรมชาติ ศิ ลปะและวั ฒนธรรม (Hashim, Rosnani, 2005: 15) นอกจากนี้ ก ารเปิ ด รายวิ ช าภาษาเพื่ อ เป็ น รายวิชาบังคับแกนสําหรับคณะวิชาควรจัดให้มีจํานวน หลากหลายวิ ช าเพิ่ ม ขึ้น โดยเฉพาะสาขาวิช าทางด้ า น อิสลามศึกษาที่มีนโยบายในการใช้ภาษาอาหรับเป็นสื่อ หลั กในการเรี ย นการสอน ควรเปิ ดโอกาสให้ นั ก ศึ ก ษา สามารถเรียนรายวิชาภาษาอาหรับในทุกภาคการศึกษา เพราะจะสร้างความเชี่ยวชาญและคล่องแคล่วในด้านการ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ

ใช้ทักษะภาษาอาหรับมากขึ้นซึ่งจะเป็นกุญแจที่สําคัญใน การศึกษาองค์ความรู้อิสลามได้อย่างแตกชาญยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการศึกษาในทัศนะอิสลามและวัฒนธรรมแห่ง การเรียนรู้เพื่อสร้างนักศึกษาที่มีบุคลิกภาพใฝ่เรียนใฝ่รู้ มี ความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะในการศึกษาแสวงหาความรู้ ที่ดี ตลอดจนเห็นความสําคัญของศึกษาแสวงหาความรู้ ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัวและสังคมนั้น ในประเด็น ดั ง กล่ า วนี้ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ มี ก ารจั ด เตรี ย มที่ ดี ด้ ว ยการ พัฒนาหลัก สูตรสําหรับรายวิช าบัง คับพื้ นฐานในหลาย รายวิ ช าที่ มี ลั ก ษณะของการบู ร ณาการมากยิ่ ง ขึ้ น ในปี การศึ ก ษา 2549 เช่ น รายวิ ช ามโนทั ศ น์ ก ารศึ ก ษาใน อิ ส ลาม นั บ เป็ น รายวิ ช าหนึ่ ง ที่ สํ า คั ญ มากในการสร้ า ง แนวความคิดที่ถูกต้องเกี่ยวกับการศึกษาในทัศนะอิสลาม ให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษา จากการสั ง เกตและการประเมิ น การ จั ด การเรี ย นการสอนรายวิ ช าดั ง กล่ า วนี้ ม าสองภาค การศึกษา พบว่านักศึกษาได้ให้ความสนใจเป็นอย่างดียิ่ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลงทั ศ นคติ เ กี่ ย วกั บ การศึ ก ษาไปใน ทางบวกและสร้างสรรค์มากขึ้น กอปรกับมีข้อเสนอแนะ ให้ มี ก ารเพิ่ ม หน่ว ยกิ ต มากกว่ าหนึ่ ง หน่ว ยกิ ต หรื อเวลา เพี ย งหนึ่ ง คาบ ส่ ว นรายวิ ช าทั ก ษะการเรี ย นและ การศึกษาค้นคว้าก็เป็นอีกรายวิชาหนึ่งที่มี ความสําคัญ ยิ่งที่ต้องคํานึงในการจัดการเรียนการสอน การจัดกลุ่ม ผู้เรียนต้องคํานึงถึงจํานวนขนาดความเหมาะสมเพื่อให้ ผู้สอนสามารถให้คําปรึกษาแก่นักศึกษาอย่างทั่วถึงและ ส่งผลให้นักศึกษาสามารถฝึกฝนทักษะได้อย่างเต็มที่ (2) การแปลงหลั ก สู ต รไปสู่ ก ารสอนในบาง รายวิชาที่เป็นศาสตร์ทางด้านการแสวงหา บางรายวิชา ไม่ ไ ด้ ส อดแทรกเนื้ อ เกี่ ย วกั บ อิ ส ลามไว้ ใ นคํ า อธิ บ าย รายวิชาอย่างชัดเจน ทั้งนี้ให้อยู่ในความรับผิดชอบของ อาจารย์ผู้สอน ซึ่งในบางรายวิชาผู้สอนยังไม่ได้มีการบูร ณาการตามแนวทางอิสลามและการอิสลามมานุวัตรองค์ ความรู้อย่างเต็มที่ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าผู้สอนดังกล่าว ยังขาดความรู้ความเข้า ใจเกี่ ยวกับ อิสลามที่ครอบคลุ ม ชัดเจนถูกต้องในลักษณะองค์รวม และยังขาดความรู้และ ประสบการณ์เกี่ยวกับการบูรณาการหรือการอิสลามานุ วัตรองค์ความรู้

24

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา...

(3) ในการจัดการเรียนการสอนบางรายวิชาที่ ผ่านมายังไม่ค่อยทันสมัยในแง่การใช้เครื่องมือในการวัด และประเมินผลและการใช้แหล่งทรัพยากรทางการเรียน การสอน ดังรายงานการวิจัยเกี่ยวกับความคิดเห็นของ นักศึกษาต่อการจัดการศึกษาของวิทยาลัยอิสลามยะลา ต่อด้านการเรียนการสอน (ของคณะอิสลามศึกษา) ในปี การศึกษา 2545 พบว่ารายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ําสุด 2 ด้าน คื อ มี ก ารใช้ วิ ธี ก ารหรื อเครื่ องมื อ ในการประเมิ น ผลที่ เหมาะสมและหลากหลาย (มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.33) และ มีการนําสื่อการสอนและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน การจัดการเรียนการสอนอย่างเหมาะสมกับเนื้อหาวิชา(มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.04) (ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ, 2546) ทั้งนี้เป็นเพราะว่าอาจารย์ผู้สอนส่วนหนึ่งไม่ได้มีความรู้ ทางด้านวิชาชีพครู ดังนั้นในการจัดเรียนการสอนอิสลาม ศึกษาและวิชาอื่นๆจําเป็นที่ต้องให้ความสําคัญกับวิธีการ สอน การใช้ สื่ อ การเรี ย นรู้ แ ละการวั ด ประเมิ น ผลที่ เหมาะสมและควรนํ า เหตุก ารณ์ หรื อปั ญ หาร่ ว มสมั ย ที่ เกิดขึ้นในสังคมเข้ามาบูรณาการ เพื่อให้นักศึกษาสามารถ คิ ด วิ เ คราะห์ เ พื่ อ ที่ จ ะนํ า ความรู้ ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัวและสังคมใน ปัจจุบันได้อย่างแท้จริง หากสภาพการจัดการเรียนสอน ขาดลักษณะดังกล่าวมาข้างต้น อาจเป็นเหตุที่นําไปสู่การ คงไว้ซึ่งลักษณะของdualism (แนวความคิดการแยก ศาสนาออกจากทางโลก) ในระบบการศึกษาอิสลาม ต่อไปเป็นได้ และการได้รับองค์ความรู้ที่ขาดซึ่งความสม ดุลยนั้น จะส่งผลต่อการผลิตบัณฑิตส่วนหนึ่งเป็นบุคคลที่ มีจิ ต ใจแคบ ขาดทัก ษะการคิ ดวิ เคราะห์ ที่ดี แทนที่ จ ะ บุค คลที่มี จิต ใจกว้ างขวาง มี ทัก ษะในการคิ ดวิ เคราะห์ (Hashim, Rosnani, 2005: 16) ในการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย จํา เป็ นอย่า งยิ่ งที่ จะต้องมี การประเมิ นการนํา นโยบาย การบูรณาการตามแนวทางอิสลามในทุกรายวิชา ทั้งนี้ เพื่ อ ให้ ทุ ก ศาสตร์ ห รื อ องค์ ค วามรู้ ที่ เ ปิ ด สอนสามารถ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพของบัณฑิตในลักษณะของ การบูรณาการแบบองค์รวมครบทุกด้านอย่างสมดุล ดัง ในประวัติศาสตร์การศึกษาอิสลามได้แสดงให้ประจักษ์ แล้ ว ว่ า การศึ ก ษาอิ ส ลามในอดี ต ได้ ผ ลิ ต นั ก วิ ช าการ นั ก ปราชญ์ ที่ มี บุ ค ลิ ก ภาพที่ บู ร ณาการที่ มี ศั ก ยภาพที่


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ

25

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา...

หลากหลาย ชาญฉลาดรอบรู้ทั้งทางศาสนาและวิชาการ 4. การพัฒนาคณาอาจารย์ ทั่วไป อีกทั้งมีความศรัทธายึดมั่นและความคิดสร้างสรรค์ สถานภาพของครู ผู้ ส อนในทั ศ นะอิ ส ลามนั้ น ( Hashim, Rosnani,2005: 16) สูงส่งยิ่งและนับเป็นปัจจัยหลักที่สําคัญมากที่สุดในระบบ การจัดการศึกษาอิสลามและเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพการ 3. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จัดการศึกษาในระดับต่างๆ ทั้งนี้การศึกษาในอิสลามได้ ภายใต้บรรยากาศอิสลาม เน้ น ความสํ า คั ญ ของการเรี ย นรู้ ทั้ ง ภาคทฤษฎี แ ละ มหาวิทยาลัย มีความมุ่ งมั่น ในการจั ดกิจ กรรม ภาคปฏิบัติ ดังนั้นการศึกษาหาความรู้ที่ดีจําเป็นต้อง การเรี ย นการสอนที่ มุ่ ง เน้ น การสร้ า งบรรยากาศแห่ ง ศึกษาจากนักปราชญ์หรือครูอาจารย์มากกว่าการศึกษา อิสลามโดยให้ความสําคัญยิ่งต่อรูปแบบและวิธีการในการ เรียนรู้ ผ่านหนังสือเพียงแหล่งเดียว เพราะการที่จะนํ า จัดกิ จกรรมการเรียนการสอนที่ สอดคล้ องกับหลัก การ ความรู้ไปใช้ในชีวิตจริงอย่างได้ผลนั้น นักศึกษาจะเรียนรู้ อิสลาม ดังจะเห็นว่ามีการจัดการเรียนการสอนและการ ได้ดีโดยสังเกตแบบอย่างหรือการปฏิบัติตนของผู้สอน ซึ่ง จั ด กิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต รโดยแยกกั น เป็ น เอกเทศ อีหม่ามชาฟีอีได้กล่าวไว้ว่าแท้จริงการเรียนรู้ที่ปราศจาก ระหว่างนักศึกษาชายและหญิง และจากการวิจัยสํารวจ ครู เ ฉกเช่ น การเรี ย นกั บ ชั ย ตอน (มารร้ า ย) และที่ ความคิดเห็นของนักศึกษาในปีการศึกษา 2545 พบว่า ประชุมสัมมนาโลกมุสลิมครั้งที่ 1 ได้เน้นย้ําว่า ครูผู้สอน นักศึกษามีความคิดเห็นศึกษาเกี่ยวกับการจัดการศึกษา เป็นตัวแปรผันที่สําคัญที่สุดในกระบวนการอิสลามานุวตั ร ในด้านการเรียนการสอนอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาราย ดังนั้นครูมุสลิมควรที่จะได้รับการฝึกฝนทางด้านความคิด ข้อพบว่าผลการประเมินความคิดเห็นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดใน และความประพฤติ ใ ห้ อ ยู่ ภ ายใต้ ท างนํ า ของหลั ก การ ระดับดี คือ รูปแบบการเรียนการสอนอยู่ในบรรยากาศ ศรัทธาอิสลาม (Ghulam Nabi Saqeb, 2000: 41) และ แห่งอิสลาม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29 (ซอลีฮะห์ หะยีสะมะ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอิสลามนับเป็นปัจจัยที่สําคัญ แอ, 2546) ยิ่ง ในการสร้ างบุค ลิก ภาพอิส ลามในตั ว ผู้ส อนที่จ ะฉาย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยได้มีนโยบายในการจัด ภาพการเป็นแบบอย่างที่ดีแก่บรรดานักศึกษาและบุคคล กิจกรรมเสริมหลักสูตรในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อเน้น ทั่วไป และเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้ผู้สอนสามารถทําการ การส่งเสริมเติมเต็มการพัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษา สอนที่เน้นการบูรณาการแบบอิสลามและการอิสลามานุ ให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึ่งประสงค์ตามที่ระบุไว้ใน วัตรองค์ความรู้ได้ ปรัชญาของมหาวิทยาลัยได้บรรลุผล และหนึ่งในกิจกรรม ด้วยความสําคัญดังกล่าว มหาวิทยาลัยมีความ เสริ ม หลั ก สู ต รภายใต้ ชื่ อ โครงการ” กิ จ กรรมพั ฒ นา มุ่งมั่นในการคัดเลือกหรือสรรหาอาจารย์และบุคลากรที่มี บุคลิกภาพนักศึกษา”ซึ่งเป็น โครงการที่จัดให้นักศึกษา บุ ค ลิ ก ภาพที่ ดี แ ละคุ ณ ลั ก ษณะที่ มี ค วามเหมาะสมมา ระดับปริญญาตรีทุกคนได้เข้าร่วมเป็นรายสัปดาห์นับเป็น รั บ ผิ ด ชอบงานต่ า งๆ ซึ่ ง จากผลการวิ จั ย พบว่ า การ โครงการที่ มี ค วามสํ า คั ญ ยิ่ ง อย่ า งไรก็ ต ามโครงการ ประเมินความคิ ดเห็น ของนักศึก ษาด้า นอาจารย์ ผู้สอน ดังกล่าวนี้ยังไม่สามารถบรรลุถึงประสิทธิภาพสูงสุดใน ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ใ นระดั บ ดี ซึ่ ง ค่ า เฉลี่ ย สู ง สุ ด ในระดั บ ดี 2 การดํ า เนิ น การเพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ม หาวิ ท ยาลั ย อั น ดั บ แรก คื อ อาจารย์ เ ป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ใ นด้ า น ตั้งเป้าหมายไว้ ทั้งนี้เนื่องจากมหาวิทยาลัยมีนโยบายให้ บุคลิกภาพ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.28 และอาจารย์มีความรู้ นั ก ศึ ก ษาทุ ก คนต้ อ งเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมพั ฒ นาผู้ เ รี ย น ในวิชาที่สอนเป็นอย่างดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.11 (ซอลี ดังกล่าว ซึ่งในการนี้จะต้องอาศัยพลังจากบุคลากรที่ มี ฮะห์ หะยีสะมะแอ, 2546) อย่างไรก็ตาม อาจารย์และ ความรู้ความชํานาญเป็นจํานวนมากในการดูแล เป็นที่ บุ ค ลากรของมหาวิ ท ยาลั ย ยั ง มี ค วามหลากหลายใน ปรึกษาหรือพี่เลี้ยงสําหรับทุกกลุ่มอย่างทั่วถึงทุกกลุ่ม ซึ่ง ประสบการณ์และพื้นฐานความรู้ทางด้านศาสนา อีกทั้ง นับเป็นงานหนึ่งที่มีความท้าทายอย่างยิ่ง ยังขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับวิธีการสอน การแบบบูรณาการตามแนวทางอิสลามและการอิสลามนุ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ

วัตรองค์ความรู้ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าอาจารย์ส่วนหนึ่ง เป็นผลผลิตของระบบการศึกษาแบบ”dualism” ส่งผล ให้วิธีการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ดังกล่าวก็ยัง ไม่แ ตกต่างจากวิธี การที่ใ ช้อยู่ในมหาวิท ยาลัยทั่ วไปซึ่ ง ไม่ ไ ด้ ส อดแทรกจิ ต วิ ญ ญาณของหลั ก ”เตาฮี ด ”ลงใน กระบวนการจัด การเรี ย นการสอนเท่ า ที่ค วรจะเป็น ไป โดยเฉพาะในรายวิ ช าวิ ช าที่ เ ป็ น ศาสตร์ ท างด้ า นการ แสวงหา ซึ่ ง การที่ อาจารย์ มี ค วามรู้ พื้ น ฐานในศาสนา อิสลามน้อย คลุมเครือหรือไม่ชัดเจนนั้น จะเป็นสาเหตุ ไปสู่ ภ าวะที่ มี ค วามเสี่ ย งสู ง ต่ อ การสอนนั ก ศึ ก ษาใน เนื้อหาวิชาที่อาจคัดค้านกับหลักอากีดะฮฺ(ยึดมั่น)อิสลาม โดยไม่รู้ตัว อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ใ น พื้ น ฐานความรู้ทางศาสนา สามารถที่จะพัฒนาได้โดยผ่าน โครงการพั ฒ นาบุ ค ลิ ก ภาพอิ ส ลามของบุ ค ลากรของ มหาวิ ท ยาลั ย ซึ่ ง โครงการนี้ นั บ เป็ น ช่ อ งทางในการ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอิสลามในการนํามา ซึ่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากรมหาวิทยาลัยให้ สอดคล้ อ งกั บ หลั ก การอิ ส ลามมากยิ่ ง ขึ้ น โดยผ่ า น โครงการดังกล่าว อาจารย์สามารถนําหลักคําสอนอิสลาม มาบูรณาการสอดแทรกในการจัดการเรียนการสอนใน รายวิ ช าที่ รั บ ผิ ด ชอบได้ ใ นระดั บ หนึ่ ง นอกจากนี้ ท าง มหาวิทยาลัยควรให้ความสําคัญในการจัดวางนโยบาย เพื่อให้อาจารย์ได้มีโอกาสในการเพิ่มพูนความรู้ทางด้าน อิ ส ลามศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม อย่ า งน้ อยที่ สุ ด ในระดั บ ฟั ร ฎู อี น (ภาคบังคับ) และการจัดอบรมสัมมนาเกี่ยวกับการบูรณา การตามแนวทางอิ ส ลามและการอิ ส ลามานุ วั ต รองค์ ความรู้ ซึ่งการพัฒนาดังกล่าวจะส่งผลในทางที่ดีต่อการ จัดการเรียนสอนที่เน้นกระบวนการบูรณาการองค์ความรู้ ตามแนวทางอิสลามให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 5. การเตรียมหนังสือและแหล่งการเรียนรู้ มหาวิ ท ยาลั ย มี ค วามมุ่ ง มั่ น อย่ า งสู ง ในการจั ด แหล่ ง การเรี ย นรู้ หนั ง สื อ และทรั พ ยากรทางด้ า น โสตทั ศ นวั ส ดุ เพื่ อให้ บ ริ ก ารแก่ นั ก ศึ ก ษาและบุ ค ลากร อย่างทั่วถึง จากสภาพของการเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่ มีนโยบายการให้บริการการจัดการศึกษาที่ไม่หวังผลกําไร ทําให้มหาวิทยาลัยไม่มีงบประมาณที่มากเพียงพอในการ จัดซื้อหนังสือและทรัพยากรทางด้านโสตทัศนวัสดุอย่าง

26

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา...

มากมาย จะเห็ นได้ ว่าสํ านักวิ ทยบริการมีหนั งสือตํารา และวารสารที่ เ กี่ ย วกั บ วิ ช าการทั่ ว ไป ตลอดจน โสตทั ศ นวั ส ดุ ใ นการให้ บ ริ ก ารที่ ไ ม่ ม ากนั ก นอกจากนี้ หนั ง สื อที่ เกี่ ย วกั บ อิส ลามในภาคภาษาไทยที่ ใ นการใช้ ประกอบการเรี ย นการสอนรายวิ ช าทั่ ว ไป โดยเฉพาะ ตําราเรียนที่บูรณาการอิสลามที่เขียนในภาษาไทย ภาษา มลายูและภาษาอังกฤษมีน้อยมาก ในจุดนี้มหาวิทยาลัย ควรให้ความสําคัญและเสาะแสวงหาแหล่งทุนเพื่อทุ่มเท่ งบประมาณในการจั ด หาและจั ด ซื้ อ หนั ง สื อ และ โสตทั ศ นวั ส ดุต่ า งๆที่ มีคุ ณ ภาพมาให้บ ริ การแก่ ส มาชิ ก อย่างเพียงพอและทั่วถึง 6. การให้บริการสังคม การบริการสังคมเป็นภารกิจหนึ่งที่มหาวิทยาลัย ได้ให้ความสําคัญยิ่ง ดังจะเห็นได้ว่าหนึ่งในพันธกิจของ มหาวิทยาลัยระบุไว้ว่า”ให้บริการวิชาการแก่สังคมด้วย รู ป แบบที่ ห ลากหลาย เพื่ อ สร้ า งสั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู้ สามารถชี้นําสังคมและให้คําปรึกษาได้ตามความต้องการ ของท้ อ งถิ่ น และนานาชาติ ซึ่ ง จะนํ า ไปสู่ ก ารพั ฒ นา คุ ณภาพชี วิ ตและสภาพแวดล้ อมให้ เกิ ดประโยชน์ อย่ าง ต่อเนื่องและยั่งยืน” (มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา, 2550: 8) และภารหน้ า ที่ ห ลั ก หนึ่ ง ในด้ า นการให้ บ ริ ก ารวิ ช าแก่ สังคมของมหาวิทยาลัย คือ การดําเนินโครงการประจํา สัปดาห์ที่มีชื่อว่า”โครงการวิทยาการอิสลามเพื่อชุมชน” ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อการเผยแพร่วิทยาการและหลักคํา สอนอิ ส ลามแก่ มุ ส ลิ ม ในพื้ น ที่ นั บ เป็ น โครงการที่ มี ความสํ าคั ญยิ่ งในการขับ เคลื่ อนองค์ค วามรู้ อิส ลามที่ มี ลั ก ษณะบู ร ณาการแท้ จ ริ ง สู่ ส าธารณชนในการนํ า ไป ปฏิบัติใช้ในชีวิตประจําวัน และเป็นเอกลักษณ์พิเศษของ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลาที่มีความแตกต่างโดยสิ้นเชิง กับมหาวิทยาลัยโดยทั่วไป และการเปิดสถาบันอัสสา ลามนั บ เป็ น นิ มิ ต หมายที่ ดี สํ า หรั บ การเพิ่ ม ศั ก ยภาพ ทางการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น มหาวิทยาลัยควรเปิดช่องทางการให้บริการวิชาการใน เชิ งรุ กมากขึ้ น โดยเฉพาะในพื้ นที่ ตั้ง ของมหาวิท ยาลั ย บุคลากรหรือนักศึกษาของวิทยาลัยควรมีบทบาทในการ บริการวิชาแก่ชุมชนรอบข้างมหาวิทยาลัยให้มากกว่านี้ เพื่ อ สร้ า งเสริ ม บรรยากาศของสั ง คมแห่ ง การเรี ย นให้ ครอบคลุมและกว้างขวางออกไป และควรนําเทคโนโลยี


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ

27

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา...

สารสนเทศในหลากหลายรูปแบบมาประยุกต์ใช้ในการ แต่ ง ตั้ ง อาจารย์ นั ก การศึ ก ษาที่ ยึ ด มั่ น ต่ อ อิ ส ลามที่ มี เผยแพร่วิทยาการอิสลามสู่สาธารณชนให้กว้างขวางและ คุ ณ ภาพ 3)หลั ก สู ต รการศึ ก ษาอิ ส ลามในระบบ การ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สัมมนาและการการอบรมเชิงปฏิบัติการจะต้องจัดให้แก่ บรรดาครู ผู้ ส อนในระดั บ โรงเรี ย น วิ ท ยาลั ย และ แนวทางการพัฒ นาบทบาทของมหาวิทยาลัยในการ มหาวิทยาลัย ตลอดจนบรรดาเจ้าหน้าที่ทางการศึกษาที่ จัดการกระบวนการอิสลามานุวัตร เกี่ยวข้อง (Talat Sultan, 1997: 57-63) เพื่อให้มหาวิทยาลัยสามารถจัดการศึกษาของ เกี่ยวกับการพัฒนาครูอาจารย์ผู้สอนเพื่อที่จ ะ มหาวิทยาลัยให้บรรลุผลตามปรัชญาสูงสุด และพัฒนา นํามาซึ่งการบรรลุถึงนโยบายการบูรณาการและอิสลามา บทบาทในการจั ด การกระบวนอิ ส ลามานุ วั ต รได้ อย่ า ง นุวัตรองค์ความรู้ตามระบบการศึกษาอิสลาม Rosnani ค ร อ บ ค ลุ ม แ ล ะ ก ว้ า ง ข ว า ง แ ผ่ ข ย า ย อ อ ก ไ ป สู่ Hashim (1997: 59) ได้กล่าวไว้ว่าการฝึกฝนอบรม สถาบันการศึกษาขั้นพื้นฐานและสังคมมุสลิมในวงกว้าง เตรี ย มครู ผู้ ส อนที่ จ ะเป็ น ผู้ นํ า มาซึ่ ง การตระหนั ก ถึ ง มหาวิทยาลัยต้องพิจารณาคํานึงถึงปัจจัยต่างๆที่สําคัญใน เป้าหมายการศึกษาอิสลามนั้น จะต้องมีจุดประสงค์เพื่อ การอิสลามานุวัตรการศึกษาดังจะนําเสนอเป็นประเด็น เป็นการเตรียมครูผู้สอนให้มีลักษณะดังนี้ 1) เข้าใจและ ดังนี้ คือ ลึกซึ่งต่อระบบค่านิยมอิสลามซึ่งวางอยู่บนพื้นฐานของ 1. จัดหลักสูตรการฝึกอบรมและการศึกษาแก่ โ ล กทั ศน์ เต า ฮี ด 2) เ ข้ า ใจ พั ฒ น า กา รท า ง ด้ า น บุคลากรทางการศึกษา ประวัติศาสตร์และปรัชญาของความรู้และการศึกษาทั้ง ในการนํ า หลั ก การบู ร ณาการตามแนวทาง ใน ทั ศ น ะอิ สล า มแ ละ ทั ศน ะ ตะ วั น ต ก 3) เ ข้ า ใ จ อิสลามและการอิสลามานุวัตรการศึกษามาสู่ภาคปฏิบัติ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งความรู้ การศึ ก ษา ศาสนาและ ในสถาบั น การศึ ก ษาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและมี คุ ณ ภาพนั้ น สังคม 4) มีความรู้ในสาชาวิชาเฉพาะทางที่ลึกซึ้งไม่ว่าจะ บรรดาผู้ บ ริ ห ารและครู อ าจารย์ จ ะต้ อ งมี วิ สั ย ทั ศ น์ ที่ เป็นศาสตร์ทางด้านการประทานหรือศาสตร์การแสวงหา ชัดเจนต่ ออิสลามที่เป็นวิถี ชีวิตที่สมบูรณ์และมโนทัศ น์ ซึ่งศาสตร์ดังกล่าวสามารถพานําไปสู่การสอนและชี้นํา อิสลามต่อการศึกษา อีกทั้งต้องมีความสามารถในการ เยาวชนได้ 5) มี ความรู้ทางด้ านการสอนและจิ ตวิทยา แสดงและสาธิตการยึดมั่นที่มั่นคงทั้งในด้านคําพูดและ ตลอดจนทัก ษะในการสอนอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 6) มี การกระทําและสถาบันการศึกษาอิสลามระดับอุดมศึกษา ความเป็ น เลิ ศ ทางด้ า นศี ล ธรรมจริ ย ธรรมและมี จะต้องให้ความสําคัญกับการปฏิรูปการจัดการเรียนการ ความสามารถทางด้านสติปัญญาในการประพฤติปฏิบัติ สอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งจุดเริ่มต้นในการปฏิรูป ตนเป็ น แบบอย่ า งได้ 7) เป็ น ผู้ ที่ ช อบการวิ พ ากษ์ มี ระบบการศึ ก ษาในสั ง คมมุ ส ลิ ม ควรที่ เ ริ่ ม จากการจั ด ความคิดสร้างสรรค์และรู้สึกอ่อนไหวกับความต้องการ โครงการฝึกอบรมและการศึกษาสําหรับครูอาจารย์ผู้สอน และปั ญ หาของสั ง คม 8) คงไว้ ซึ่ ง การแสวงหาและ ตลอดจนผู้ บริหารและบุ คลากรฝ่า ยสนั บสนุ นทางด้า น เผยแพร่ความรู้ในฐานะที่เป็นการปฏิบัติศาสนกิจ (อิบา การศึกษา หลักสูตรการฝึกอบรมและการศึกษามีบทบาท ดะฮฺ) อย่างหนึ่ง สําคัญที่สุดในการฝึกอบรมครูผู้สอนที่ยึดมั่นต่ออิสลาม 2. การพัฒนาหลักสูตร ซึ่ ง ต้ อ ง คํ า นึ ง ถึ ง ป ระ เด็ น ต่ อไ ป นี้ เ ป็ น สํ า คั ญ คื อ การพัฒนาหลักสูตรเป็นบทบาทประเด็นสําคัญ 1) หลั ก สู ต รการฝึ ก อบรมจะต้ อ งพิ จ ารณาจากทั ศ นะ ที่สองที่สถาบันการศึกษาอิสลามจะต้องให้ความสําคัญ อิสลามและออกแบบให้สอดคล้องกับการศึกษาในทัศนะ ในการเตรี ย มคู่ มื อหลั ก สู ต รสํ า หรั บ ทุก สาขาวิช าในทุ ก อิสลาม จะต้องมีการอธิบายถึงวรรณกรรมในยุคต้นและ ระดับการศึกษา แต่ละคู่มือจะต้องบรรจุทั้งเนื้อหาวิชาใน วรรณกรรมร่ว มสมัย ที่ เกี่ย วกั บปรั ช ญา ทฤษฎี วิธี ก าร มุมมองที่เป็นบริบทในทัศนะอิสลามและจะต้องเสนอแนะ และรูปแบบการศึกษาอิสลามในทุกระดับของการศึกษา แนวทางแก่ผู้สอนหรือครูอาจารย์ในการอิสลามานุวัตร ครู 2) ผู้ที่รับผิดชอบหลักสูตรการฝึกอบรมครูจะต้อง เทคนิ ค และวิ ธี ก ารสอนตลอดจนการจั ด กิ จ กรรมเสริ ม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ

หลั ก สู ต ร ในระบบการศึ ก ษาอิ ส ลามที่ แ ท้ จ ริ ง นั้ น บทเรียนต่างๆเกี่ยวกับหลักเตาฮีด (ความเป็นเอกภาพ ของพระเจ้า) และอาคีรัต (วันปรโลก)ควรจะบรรจุใน รายวิชาต่างๆโดยเฉพาะรายวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่ น ชี วะวิ ทยา พฤษศาสตร์ ฟิสิ ก ส์ เคมี ดาราศาสตร์ ภู มิ ศ าสตร์ แ ละอื่ น ๆ ระบอบการดํ า เนิ น ชี วิ ต อิ ส ลาม จะต้องสอนในรายวิชาปรัชญา สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ รัฐประศาสนาศาสตร์ การศึกษา จิตวิทยา นิเวศวิทยา เป็ น ต้ น และรายวิ ช าทางด้ า นอิ ส ลามศึ ก ษาจํ า เป็ น ที่ จะต้องโยงเกี่ยวข้องกับด้านต่างๆของวิถีชีวิตประจําวัน เน้ น ประเด็ น สั ง คมร่ ว มสมั ย และวิ ธี ก ารสอนรายวิ ช า เหล่านี้จะต้องมีปรับปรุงอยู่เสมอ(Talat Sultan, 1997: 57-63) 3. การเตรี ย มหนั ง สื อ ตํ า ราและแหล่ ง การ เรียนรู้ บทบาทที่สําคัญอีกประการหนึ่งในการที่ส่งผล ทําให้บรรลุเป้าหมายของการศึกษาอิสลามและการจัด การศึกษาอิสลามในรูปแบบบูรณาการและการอิสลามานุ วั ต รองค์ ค วามรู้ คื อ การพั ฒ นาแหล่ ง การเรี ย นรู้ หลากหลายมิ ติ ต ามแนวทั ศ นะอิ ส ลามสํ า หรั บ ทุ ก สาขาวิ ช าในทุ ก ระดั บ การศึ ก ษาการจั ด ทํ า แผนงานนี้ จะต้องนําวิธีการสอนจากอัลกุรอาน อัซซุนนะห์ ซีเราะห์ และฟิกฮ์ เข้ามาบรรจุไว้ ในหนัง สือตํารา การเตรียมสื่ อ ทางโสตทัศนวัสดุหลากหลายนั้นควรจะวางอยู่บนพื้นฐาน ของวัสดุที่เรียบง่ายและราคาไม่แพงซึ่งครูสามารถพัฒนา ได้โดยใช้แนวทางอิสลามในการจัดทํา (Talat Sultan, 1997: 57-63) และในการจัดทําหนังสือตํารา ควรมีการ เติมเต็มจิตวิญญาณอิสลามที่เป็นคุณลักษณะสําคัญที่ทรง อิทธิพลไว้ในทุกรายวิชา นอกจากนี้หลักสูตร หนังสือและ สิ่งพิมพ์ตลอดจนสื่อการสอนต่างๆควรมีใจความสําคัญที่ สัม พัน ธ์ร ะหว่ างพระเจ้ า มนุษ ย์ และจั ก รวาล ประเด็ น ดังกล่าวนี้ผู้เขียนตํารา อาจารย์และผู้เรียนทั้งหลายควรที่ จะรําลึก ให้ความสนใจและเน้นย้ําอยู่เสมอ ซึ่งจะส่งผล ทํ า ให้ มุ ส ลิ ม นั้ น เคารพภั ก ดี ต่ อ พระเจ้ า อยู่ ต ลอดเวลา ศรัทธามั่นในพระเจ้าองค์เดียว และจะเชื่อมโยงอ้างอิง หลั ก ชะรี อ ะห์ ข องพระองค์ ใ นการตั ด สิ น ใจเกี่ ย วกั บ ประเด็ น ใหม่ ใ นชี วิต อยู่ เสมอ หากสามารถกระทํ า การ ดังกล่าวนี้ได้จะส่งผลให้การศึกษาสามารถสร้างผู้เรียนให้

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา...

28

เป็ น มนุ ษ ย์ ที่ ดี มี ศั กยภาพตามเป้ า หมายของการศึ ก ษา อิสลามได้ในระดับหนึ่ง (Ahmad al-Beely อ้างถึงใน Husain, Syed Sajjad and Ashraf, Syed Ali,1979: 68-73) 4. จัดตั้งโรงเรียนเรียนสาธิต ในขณะที่ ส ถาบั น เป็ น แบบอย่ า งในการจั ด การศึ ก ษาอิ ส ลามชั้ น สู ง สถาบั น ควรที่ จ ะมี โ รงเรี ย น อิสลามที่ ใช้เป็นห้ องปฏิบัติ การเพื่อที่จะทําการทดลอง สาธิ ต เกี่ ย วกั บ การศึ ก ษาทั้ ง ในระดั บ ประถมและ มัธยมศึกษา (Talat Sultan, 1997: 57-63) 5. การวิจัยและพัฒนา ฝ่ายวิจัยควรเป็นแหล่งอ้างอิงหรือเตรียมข้อมูล เกี่ยวกับอายัตอัลกุรอานและอัซซุนนะห์ที่เกี่ยวข้องกั บ สาขาวิ ช าต่ า งๆ จุ ด เน้ น พื้ น ฐานที่ ฝ่ า ยวิ จั ย ควรให้ ความสําคัญเป็นอันดับแรก คือ การเตรียมตําราที่เขียน เกี่ยวข้องกับทัศนะอิสลามในทุกระดับ และฝ่ายวิจัยควร ทําหน้าที่ในการติดตามและประเมินความก้าวหน้าของ สถาบันในการบูรณาการและอิสลามานุวัตรองค์ความรู้ใน ทุกระดับ (Talat Sultan, 1997: 57-63) 6. การให้บริการวิชาการต่อชุมชน ควรจัดการอบรมอีหม่ามและกรรมการมัสยิ ด ผู้ บ ริ ห ารและกรรมการบริ ห ารชุ ม ชนและหมู่ บ้ า น ตลอดจนเทศบาล ตลอดจนกลุ่มครูอาจารย์ ข้าราชการ และโดยเฉพาะกลุ่มสตรีมุสลิมซึ่งนับเป็นทรัพยากรบุคคล ที่สําคัญในการให้การศึกษาอบรมแก่เยาวชนมุสลิม ทั้งนี้ เพื่อให้กลุ่มบุคคลเหล่านี้สามารถนําความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการศึกษาอิสลามที่ครอบคลุมไปประยุกต์ใช้ใน การพั ฒ นาชุ ม ชน สั ง คมให้ เ กิ ด ผลตามเป้ า หมายของ การศึกษาในอิสลามในมากที่สุด บทสรุป ความพยายามในการนําระบบการศึกษาอิสลาม มาดํา เนิ นการปฏิ บัติ ใช้ ของมหาวิ ทยาลั ยอิ สลามยะลา เพื่อให้บรรลุผลตามปรัชญาการศึกษาที่ไว้วางเป็นเรื่องที่ ท้าทาย อย่างไรก็ตามในภาพรวมมหาวิทยาลัยได้แสดง บทบาทสําคัญในการทําหน้าที่เพื่อการพัฒนาการศึกษา อิสลามในภูมิภาคแห่งนี้และผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมและ จริยธรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดีแก่สังคมจัดอยู่ในระดับที่


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ

29

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 บทบาทของมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา...

Quarterly, 17 (2).The Islamic Academy, เป็นน่าพอใจอย่างยิ่ง มหาวิทยาลัยมีแนวนโยบายในการ จัดการศึกษาที่เน้นการบูรณาการตามแนวอิสลามอย่าง Cambridge, U.K. ชัดเจนดังจะเห็นจากการกําหนดไว้ในปรัชญาของสถาบัน Ghulam Nabi Saqeb. 2000. The Islamisation of ซึ่งที่มีความสอดคล้องกับปรัชญาการศึกษาอิสลาม มีการ Education since the 1977 Makkah พัฒนาหลัก สูตรการเรียนการสอนและกิจ กรรมพั ฒนา Education Conference: Achievements, ผู้เรียนที่เน้นการบูรณาการอิสลาม มีการคัดเลือก สรรหา Failures and Tasks Ahead. Muslim อาจารย์และบุคลากรที่มีคุณลักษณะที่มีความเหมาะสม Education Quarterly, 8 (1).The Islamic มาปฏิบัติหน้าที่ มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาแหล่งการ Academy, Cambridge, U.K. เรียนรู้และการให้บริการทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรู้ Ghulam Nabi Saqeb. 2000.The Islamisation of และมีบทบาทหลักที่สําคัญในการให้บริการสังคม และ Education since the 1977 Makkah เพื่ อ ให้ สา มา ร ถทํ า บ ท บ า ทหน้ า ที่ ใ น ก า รพั ฒ น า Education conference: Achievements, กระบวนการอิสลามานุวัตรการศึกษาได้อย่างครอบคลุม Failures. A paper presented to และขยายผลไปสู่สถาบันการศึกษาขั้นพื้นฐานและสังคม International Conference on Islamization มุสลิมในวงกว้าง มหาวิทยาลัยควรให้ความสําคัญในการ of Human Sciences. 4th-6th August, พัฒนาประเด็นต่างๆตามที่ได้แนะนําข้างต้นอย่างจริงจัง International Islamic University Malaysia, ทั้งนี้เพื่อให้สามารถทําหน้าที่การเป็นคลังแห่งปัญญาที่ Gombak, Malaysia. เน้นคุณธรรมนําความรู้ และทําหน้าที่ให้บริการวิชาการ Hashim, Rosnani. 1997. The Construction of เพื่อการสร้างสังคมแห่งการเรียนและสามารถชี้นําสังคมสู่ an Islamic-Based Teacher Education การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่สอดคล้องตามหลักการอิสลาม Programme. Muslim Education ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น Quarterly, 14 (2). The Islamic Academy, Cambridge, U.K. เอกสารอ้างอิง Hashim, Rosnani. 2005. Islamic Intellectual in Higher Islamic Education in Malaysia. สํา นั ก บริ การการศึก ษา. 2550. คู่มื อ การศึก ษาระดั บ A paper presented to International ปริญญาตรี 2550. มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Seminar on "University Teaching of ซอลี ฮ ะห์ หะยี ส ะมะแอ. 2546. ความคิ ด เห็ น ของ Islamic Studies at the International" นั ก ศึ ก ษาต่ อ การจั ด การศึ ก ษาในวิ ท ยาลั ย Level: Concept, Policy and Trends. 19อิ ส ลามยะลา. รายงานการวิ จั ย วิ ท ยาลั ย 20 March. Songkhla, Thailand. อิสลามยะลา. Ahmad al-Bayly. Refultation of Duality. Cited in Husain, Shik Sajjad and Ashraf, Shik Ali. 1979. Crisis in Muslim Education. Jeddah. Husayn, Shik Sajjad and Ashraf, Shik Ali. 1979. Crisis in Muslim Education pp. Talat Sultan. 1997. The Role of Islamic University in the Islamization of 68-73. King Abdulaziz University, Education. Muslim Education Jeddah: Hodder and Stoughton. Quarterly,14 (3). The Islamic Asraf, Ali. 1985. New Horizon in Muslim Education. Academy, Cambridge, UK. Great Britain: Antony Rowe Ltd. Baba, Sidek. 2000. Integrated Knowledge in the Wan Kamariah Leman. 2002. Sejarah dan Tamatsdun Islam. Shah Alam: Tawhidic Curriculum. Muslim education Universiti Teknologi Mara.



วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Fahad Tanweer

31

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 The Interview-A step close to the...

Article The Interview- A step closer to the reckoning Fahad Tanweer Ph.D. (Technology), lecturer Department of Technology, Faculty of Science and Technology Yala Islamic university. Abstract Today’s world, as a global village, has certainly become very competitive and this has affected, among other things, the field of education too. Today the students have to burn the midnight oil to get admissions in good academic institutions. Even after successfully passing the written test, they have to work really hard to get through the interview. Normally the interview is of two kinds i.e. Personal Interview and Group Discussion (GD). Personal interview deals mainly with the candidate’s personality, his/her thinking ability and his/her overall conduct whereas the group discussion is all about having leadership skills. The essay tries to answer ‘What’ and ‘How’ of the interview. Keyword: Reckoning, Personal interview, Group discussion, Manner, Etiquette


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Fahad Tanweer

32

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 The Interview-A step close to the...

บทความวิชาการ การสอบสัมภาษณ์ในลักษณะของการคํานวณ ฟาฮัด ตันวีร Ph.D. (เทคโนโลยี) อาจารย์ สาขาวิชาเทคโนโลยี, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา บทคัดย่อ ปั จ จุ บั น โลกของเราได้ ก ลายเป็ น โลกแห่ ง การแข่ ง ขั น ซึ่ ง มี ผ ลกระทบต่ อ ทุ ก สั ง คม และแน่ น อนที่ สุ ด มี ผลกระทบต่อการศึกษาอีกด้วย ปัจจุบันผู้เรียนต้องอดตาหลับขับตานอนเพื่อเตรียมตัวสอบเข้าในสถานศึกษาต่างๆ ถึงแม้ว่าผู้เรียนสอบข้อเขียนผ่านแล้ว ก็ยังต้องเตรียมตัวเพื่อสอบสัมภาษณ์ การสอบสัมภาษณ์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท กล่าวคือ การสอบสัมภาษณ์ตัวต่อตัวและการสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม การสัมภาษณ์ตัวต่อนั้นจะวัดผู้สอบสัมภาษณ์ทางด้าน บุคลิกภาพ ทักษะการคิด และภาพรวมทั้งหมด ในขณะที่การสัมภาษณ์เป็นกลุ่มจะวัดผู้สอบสัมภาษณ์เกี่ยวกับทักษะ ความเป็นผู้นําเป็นหลัก บทความนี้พยายามจะตอบคําถามว่า การสัมภาษณ์คืออะไร และการสัมภาษณ์ควรมีลักษณะ อย่างไร คําสําคัญ: การตัดสิน, การสัมภาษณ์ตัวต่อตัว, การสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม, กิริยามารยาท,มารยาทสังคม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Fahad Tanweer

Introduction We are living in a world which, as everybody says and knows, has become a global village. The impact of globalization has been immense. As it has affected every sphere of life, it has rather affected the education much more than anything. The field of education, overall, has experienced a sea change. So much so that today’s student of higher secondary classes, probably, possesses much more knowledge than a Ph.D. student of 70’s did. Like every sphere of life there is enormous competition in the field of education too. As a result today’s student finds himself in a situation where there is an ocean of opportunities. On the other hand this flow of opportunities might prove to be a disadvantage as the student is, sometimes, unable to decide which course he should go for. There was a time when mere degrees used to be the guarantee for a successful career but now the degree is only ‘a step’ of the success ladder. If we talk about different sciences vis-àvis successful career, medical and engineering sciences are still the most favored ones. But there are many more good subjects, like IT and Business Administration, which equally provide glittering career. Successful candidates, passing out from good business schools, are being offered very handsome salaries by MNC’s and reputed firms. As we talked earlier, whatever subject one wants to pursue, he has to be competent enough to get a good job but more importantly getting admission in good academic institutes is as difficult as getting a good job. Most top business schools, for instance, take into account student’s performance in the written

33

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 The Interview-A step close to the...

test, group discussion, personal interview, academic record and extracurricular activities. This essay deals mainly with the phase when a candidate, after successfully passing the written test, has to face interview. Today almost all good professional courses have at least ‘personal interview’ as the essential requirement for the entrance. A personal interview means how a candidate reacts to various situations. It involves his thinking ability and helps the interviewer understand his thought process and attitude. Although most institutes don’t reveal the exact weight age accorded to the interview but it carries a weight age of 10 to 20 percent in most places. One must not take interview for granted since it is the ultimate step towards selection. How one performs in the interview will, perhaps, determine whether or not he/she will be selected for the course. The people who interview are called interview panel. They can be three or four in number. Interview duration may vary between five and 45 minutes. It is a general perception that interview which lasts longer means the candidate has done well. However, this is not the case. In fact the duration doesn’t matter, what matters is the quality of interaction the candidate had with the interview panel. Manners and Etiquettes for the Interview Good Institutions not only look for the way the candidate speaks but they observe his/her overall conduct. Dress: - He/she must wear a formal dress. He/she should wear a dress which meets the requirements of modesty, honor and virtue. The dress should also be an expression of


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Fahad Tanweer

culture, elegance and beauty. One should not put on strange or funny cloth which may lend him/her an absurd appearance and he/she may end up in ridiculous situation. The dress should be simple, moderate, dignified and civilized. How to enter the room: - Many candidates are outside the interview room waiting for their turn. The candidate may be asked by one of the panel members or one of their assistants to enter the room. He/she should ask for permission before entering. After being granted the permission he/she should greet the panel. When the panel members ask him/her to sit down he/she should thank them. While sitting he/she has to be calm, composed but confident. When speaking or taking part in question and answer, he/she should not pretend or assume such role as if he/she is presiding over the conversation. It may be taken as an attempt to impose or force your opinion upon others as well as an insult to the panel members. Candidate’s behavior inside the room: He/she should not be in a hurry to speak or answer. He/she should listen carefully and attentively and speak only when he/she is asked to do so. He/she has to be polite and moderate in his/her voice. The voice should not be so low that it can not be heard, neither it should be too loud to be harsh for the listeners. He/she has to be soft spoken and reasonable. The answers should be crisp and clear. There is no need to answer the moment he/she is asked. He/she should take his/her time, order his/her thoughts and then answer. If he/she is unable to understand the question, he/she can request the panel member/s to repeat or clarify the question. Don’t interrupt

34

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 The Interview-A step close to the...

the question. This is totally improper and undignified. Let the panel member complete his question. Moreover, he should lean a little forward to show the panel that he/she in what they are saying. Group Discussion Group Discussion (G.D.) holds immense significance when it comes to business school entrance tests. While personal interview evaluates the candidate’s overall personality, GD looks for his leadership skills. So what actually the ‘group discussion’ is? It can be defined as a formal discussion involving 10-12 participants in a group. A topic is given to them, with some time to collect their thoughts and the group is then asked to discuss the topic for 20-25 minutes. Most business schools have GD as the basic requirement for the entrance, because in the present world of business and knowledge economy, it is essential for a manager to be a team player. A manager will always work in teams. In the beginning of his career, a manager works as a team member and later as team leader. Everybody in the group has to speak his way to perfection. But the participant has to be careful not to interrupt when someone else in the group is speaking. If one starts speaking, he/she should discuss the topic calmly; touching upon all nuances and should try to reach a conclusion. He/she has to be flexible and open to another person’s ideas. As it has been told earlier he/she should be reasonable in his/her approach to the topic. He/she shouldn’t be emotionally attached or aggressive to the topic.


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Fahad Tanweer

Being reasonable, not shrewd, means he has present him/herself as fair and sensible. If he changes his mind too often, he/she will be seen as fickle-minded and whimsical person. If he/she does not accommodate other views, he/she will be considered as stubborn and obstinate. Mere smooth flow of language is not enough to score in the group discussion. A good GD should incorporate the views of all the team members. For that, one has to be good listener. Moreover, there should be a fine balance between the expression of your ideas and imbibing the ideas of others. Last, but certainly not the least, we discussed GD that is related mainly with MBA entrance test, but no course or subject is superior or inferior in the age specialization. One has to be go-getter and talented enough to b in the reckoning. Mediocrity has no place in this era of competition. References “You can do it” by Khera Shiv, Surjeet Publications, New Delhi “How t crack CAT” by Mukherjee Anand, Unique Publication “career solutions” by Malhotra, Education Times, The Times of India ‘Education’ “Outlook” (a weekly news magazine)

35

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 The Interview-A step close to the...



วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยูตี ดือรามะ

37

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

Research Improvement of Classroom Research Skills through Self-Directed Learning Approach: A Case Study of Graduate Students in Teaching Profession Diploma Program Mayutee Duerama* *Lecturer, Department of Teaching Profession, Faculty of Liberal Arts and Social Science, Yala Islamic University Abstract This study was aimed at improving students’ classroom research skills through self-directed learning approach. The sample included 34 graduate students in Teaching Profession Diploma Program of Yala Islamic University, enrolling for the Education Research Methodology and Professional Experience of 2008. The instruments were a cognitive test on education research methodology, practice exercises for classroom research and a classroom research assessment form. Data analysis was carried to discover percentages, means, standard deviations, t-test and quisquare test. The findings indicate higher means of the cognitive test than the criterion score with the statistic significance of .01. Over fifty percents of students’ classroom research were found at a very-good scale. This signifies that the self study approach truly improves the students’ classroom research skills.


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยูตี ดือรามะ

38

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

บทความวิจัย การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยอิสลามยะลาด้วยกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง มะยูตี ดือรามะ อาจารย์ประจําสาขาวิชาชีพครู คณะศิลปะศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร วิ ช าชี พ ครู ม หาวิ ท ยาลั ย อิ ส ลามยะลาด้ ว ยกระบวนการเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเอง กลุ่ ม ตั ว อย่ า งเป็ น นั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต ร ประกาศนียบัตรวิชาชีพครูที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา ระเบียบวิธีการวิจัยทางการศึกษาและออกฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู ปีการศึกษา 2551 จํานวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบทดสอบวัดความรู้ ความรู้ความเข้าใจระเบียบวิธีการวิจัยทางการศึกษา ชุดฝึกปฎิบัติการวิจัยชั้นเรียน และแบบประเมินผลงานวิจัยชั้น เรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบวิธีการวิจัยสูงกว่า คะแนนเกณฑ์อย่างนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีผลงานวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษาร้อยละ 55.9 อยู่ในเกฑณฑ์ดีมาก ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า กระบวนการเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเองสามารถพั ฒ นาทั ก ษะการวิ จั ย ชั้ น เรี ย นของนั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต ร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูได้อย่างแท้จริง


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยูตี ดือรามะ

บทนํา ทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนเป็นทักษะที่จําเป็น อย่ า งยิ่ ง สํ า หรั บ ครู ซึ่ ง เป็ น บุ ค ลากรหลั ก ในการพั ฒ นา คุณภาพการศึกษา การใช้กระบวนการวิจัยชั้นเรียนใน การเรี ย นการสอนจะทํ า ให้ ค รู ส ามารถรั บ รู้ แ ละเข้ า ใจ สภาพปัญหาของการเรี ยนการสอน สามารถแสวงหา แนวทางในการพั ฒ นากระบวนการจั ด การเรี ย นรู้ ใ ห้ เหมาะสมกั บแวดล้ อมและระดั บผู้เรีย นในแต่ ละระดั บ อย่ า งเหมาะสม พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 24 และมาตรา 30 จึงได้ กํ า หนดให้ ส ถานศึ ก ษาและหน่ ว ยงานที เ กี่ ย วข้ อ ง ดําเนินการส่งเสริม สนับสนุนให้ครูหรือผุ้สอนสามารถใช้ กระบวนการวิ จั ย เพื่ อพั ฒ นาการเรี ย นรู้ ที่ เหมะสมกั บ การศึกษาแต่ละระดับโดยใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของ การเรี ย นรู้ กระบวนการและผลของการทํ า วิ จั ย ปฏิ บั ติ ก ารในชั้ น เรี ย น สนั บ สนุ น ให้ ค รู นั ก วิ จั ย เกิ ด ความคิด ความมั่นใจในผลการทํางาน และเป็นแรงจูงใจ ให้ทํางานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน อันสืบเนื่อง ไปยังลักษณะและพฤติกรรมของครู คือ ความใฝ่รู้ใฝ่เรียน ความสนใจในการค้นคว้า การเห็นโอกาสของการเรียนรู้ ความสนใจในการสัง เกตและบั นทึ ก ความเอาใจใส่ นักเรียน และมีความรับผิดชอบในงานครู(ลัดดา ดําพล งาม, 2540) การส่งเสริมให้ครูใช้ กระบวนการวิจัยชั้ น เรียนในการพัฒนาการเรียนการสอนในโรงเรียนจะทําให้ การเรี ย นการสอนมี คุ ณ ภาพบรรลุ จุ ด มุ่ ง หมายของ หลั ก สู ต ร ทั้ ง ยั ง ช่ ว ยเพิ่ ม ศั ก ยภาพของตั ว เองอี ก ด้ ว ย ดั ง นั้ น การพั ฒ นาทั ก ษะการวิ จั ย ชั้ น เรี ย นให้ แ ก่ ค รู หรื อ นักศึกษาวิชาชีพครูซึ่งเป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่เป็นครูใน อนาคตจึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ จํ า เป็ น และต้ อ งดํ า เนิ น การอย่ า งมี ประสิทธิภาพ การเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเอง เป็ น รู ป แบบของการ จัด การเรี ยนรู้ ที่ ผู้ เรี ยนมี บ ทบาทในการรั บผิ ด ชอบการ เรียนของตนเอง โดยที่ผู้เรียนเป็น ผู้เรีย นรู้ด้ วยตนเอง ครูหรือผู้สอนเป็นเพียงผู้คอยสนับสนุนการเรียนให้บริการ ด้านแหล่งความรู้แก่ผู้เรียน ผู้เรียนจะรับผิดชอบตั้งแต่ การเลือกและวางแผนสิ่งที่ตนเรียน เข้าไปมีส่วนร่วมใน การเลื อ กและเริ่ ม ต้ น การเรี ย นด้ ว ยตนเองตลอดจน ประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเองได้ (กรมวิชาการ.2541)

39

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

กระบวนการเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเองจึ ง สอดคล้ อ งกั บ การ จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ใ น ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ห รื อ บัณฑิตศึกษาที่มุ่งให้นักศึกษาเกิดทักษะการเรียนรู้ด้วย ตนเอง สามารถหาแหล่งความรู้ เพื่อพัฒนาความรู้และ พัฒนาตนเอง เพื่ อให้ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงของ สั ง คม การใช้ ก ะบวนการเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเองจึ ง เป็ น สิ่ ง จํ า เป็ น สํ า หรั บ การจั ด การเรี ย นการสอนระดั บ สู ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้า ด้วยกระบวนการวิจัย ผู้ วิ จั ย ในฐานะผู้ ที่ รั บ ผิ ด ชอบสอนรายวิ ช า ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพครูได้ตระหนักถึงความสําคัญในการพัฒนาทักษะ การทํ า วิ จั ย ชั้ น เรี ย นของนั ก ศึ ก ษาที่ เ รี ย นในหลั ก สู ต ร ประกาศนี ยบั ตรบั ณฑิ ตวิ ชาชีพครู มี ความสนใจจึ งได้ ทํ า การศึ ก ษาพั ฒ นาทั ก ษะการวิ จั ย ชั้ น เรี ย น ด้ ว ย กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้นักศึกษาสามารถ ใช้กระบวนการวิจัยชั้นเรียนในการพัฒนาการเรียนการ สอนต่อไป แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ความหมายและลักษณะของวิจัยชั้นเรียน คํา ที่ ใ ช้ใ นเรีย กการวิ จั ย ในชั้ น เรีย นมี หลายคํ า เช่น การวิจัยปฏิบัติการ (Action research) การวิจัยใน ชั้ น เรี ย น (Classroom research) การวิ จั ย ของครู (Teacher research) และการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action research–CAR) เป็นต้น การวิจัย ดังกล่าวนี้เป็นการวิจัยที่ทําโดยครูทั้งสิ้น สุวิมล ว่องวาณิช (2545) ได้ให้ความหมายของ การวิจัยปฏิบัติในชั้นเรียน คือ การวิจัยที่ทําโดยครูผู้สอน ในชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนและนําผล มาใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนหรือส่งเสริมพัฒนาการ เรียนรู้ของผู้เรียนในดียิ่งขึ้น อุทุมพร จามรมาน (2537) กล่าวว่า การวิจัย ปฏิบัติในชั้นเรียน คือ การวิจัยที่ทําโดยครู ของครู เพื่อ ครู และสําหรับครู เป็นการวิจัยที่ครูต้องดึงปัญหาในการ เรียนการสอนออกมาและครูต้องแสวงหาข้อมูลออกมา เพื่อแก้ปัญหาด้วยกระบวนการที่เชื่อถือได้ ผลการวิจัยคือ คําตอบที่ครูจะนําผลไปใช้แก้ปัญหาของตนเอง


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยูตี ดือรามะ

ดั ง นั้ น อาจกล่ า วได้ ว่ า การวิ จั ย ชั้ น เรี ย นเป็ น กระบวนการพัฒนาการเรียนการสอนของครูในชั้นเรียน ของตนเองโดยใช้กระบวนการวิ จัยซึ่ งเป็ นกระบวนที่ มี ระบบและแบบแผน การวิ จั ย ชั้ น เรี ย นมี ลั ก ษณะเป็ น การวิ จั ย เชิ ง ปฎิบัติการ (Action research) ซึ่งการวิจัยลักษณะนี้มี จุดมุ่งหมายเพื่อแก้ปัญหาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งเท่านั้น ผลการวิจัยที่ค้นพบไม่ สามารถอ้างอิงไปยังกลุ่มอื่นได้เพราะเป็นปัยหาที่เกิดขึ้น ในวงจํ า กั ด หรื อ เป็ น ปั ญ หาเฉพาะที่ (รั ต นา ศรี เ หรั ญ 2547) การวิจัยชั้บเรียนเป็นการแก้ปัญหาที่พบโดยการ หาสาเหตุให้พบปัญหาแท้จริง เลือกวิธีการแก้ที่เหมาะสม ที่สุด ลงมือแก้แ ล้ว จดบั นทึ กทํา รายงานสั้น ๆ (อุทุ มพร จามรมาน,2537 )การวิจัยชั้นเรียนจึงไม่มีความซับซ้อน ในเรื่องระเบียบวิธีวิจัยแต่จะคํานึ่งถึงผลการแก้ปัญหาใน ชั้นเรียนมากกว่าอย่างอื่น ความหมายและลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเอง เป็ น กระบวนการที่ บุคคลมีความคิดริเริ่มในการวินิจฉัยความต้องการในการ เรียนรู้ การตั้งจุดมุ่งหมายในการเรียนรู้ การพบปะบุคคล หรื อ แหล่ ง เอกสารสํ า หรั บ การเรี ย นรู้ การเลื อ กวาง แผนการเรียนรู้และประเมินการเรียน โดยได้รับหรือไม่ ได้รับการช่วยเหลือจากผู้อื่นก็ตาม Knowles (1975,อ้าง ถึงใน รัชนีพร ยันตะบุสย์,2546) เป็นการดําเนินการที่ ผู้เรียนช่วยเหลือตนเองในการเรียนรู้ ผู้เรียนมีความคิด ริเริ่มในความอยากรู้สิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้วจัดทําการวางแผน ศึกษาค้นคว้าต่างๆด้วยตนเองจนจบกระบวนการเรียนรู้ (สมคิด อิสระวัฒน์,2542) Griffin (1975.อ้างถึงใน รัชนีพร ยันตะบุสย์ ,2546) ได้จําแนกกลุ่มแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วย ตนเอง ออกเป็น 5 กลุ่มดังนี้ กลุ่ ม ที่ 1 กลุ่ ม แนวคิ ด ของโนลส์ ซึ่ ง เสนอ รูปแบบของการเรียนรู้ด้วยตนเองที่เรียกว่า “สัญญาการ เรียน” (Learning Contract) เป็นการมอบภาระงาน ให้แก่ ผู้เรี ยนว่ าจะต้องทําอะไรบ้ างเพื่อให้ได้ รับความรู้ ตามเป้าประสงค์และผู้เรียนจะต้องปฎิบัติตามเงื่อนไขนั้น

40

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

กลุ่มที่ 2 กลุ่มแนวคิดของทาฟรูปแบบที่สําคัญ ของกลุ่มนี้ คือ “โครงการเรียน” (Learning Project) ที่ เป็นตัวชี้ว่าบุคคลนั้นมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง มากน้อยเพียงใด กลุ่ ม ที่ 3 กลุ่ ม แนวคิ ด ของสกิ น เนอร์ เรื่ อง บทเรี ย นสํ า เร็ จ รู ป (Infividualization Program Instruction) ซึ่งกริฟฟินวิจารร์ว่า วิธีกานี้เป็นวิธีการที่ เรียนด้วยตนเองตามข้อเสนอแนะของสื่อการเรียนเท่านั้น แต่มิ ใช่ การเรี ยนรู้ด้ว ยตนเอง หากแต่ เป็ นการเรีย นรู้ ที่ เกิดขึ้นจากการกํากับของครูมากกว่า กลุ่มที่ 4 เป็นแนวคิดในการจัดการศึกษาที่ต่าง ไปจากรูปแบบของสถานศึกษาตามปกติทั่วไป ตัวอย่าง กิจกรรมตามแนวคิดนี้ เช่น การจัดการศึกษาในรูปของ มหาวิทยาลัยเปิด เป็นต้น กลุ่ ม ที่ 5 เป็ น การเรี ย นรู้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน ชีวิตประจําวันทั่วไปหรือการเรียนรู้เกี่ยวกับประสบการณ์ ในชีวิตวึ่งบุคคลต้องอาศัยการศึกษา การทดลองและการ ค้นคว้าด้วยตนเองอยู้ตลอดเวลา วัตถุประสงค์การวิจัย 1.เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัย ชั้นเรียนของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต วิชาชีพครูที่ใช้ชุดฝึกปฎิบัติการวิจัยชั้นเรียน 2.เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการวิ จั ย ชั้ น เรี ย นของ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูโดย ใช้กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ขอบเขตการวิจัย ประชากรที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เป็ น นั ก ศึ ก ษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู มหาวิทยาลัย อิสลามยะลา ปีการศึกษา 2551 จํานวน 280 คน กลุ่ม ตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ครูมหาวิทยาลัยอิสลามยะลาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษาและได้ฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู จํานวน 34 คน


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยูตี ดือรามะ

นิยามศัพท์เฉพาะ ทั ก ษะการทํ า วิ จั ย ชั้ น เรี ย น หมายถึ ง ความรู้ ความเข้า ใจเกี่ยวกับกระบวนการและวิธีการในการทํ า วิจัยชั้นเรียน กระบวนการเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเอง หมายถี ง กระบวนการแสวงหาความรู้และประสบการณ์ตามความ ต้องการของตนเองที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยชั้นเรียน โดย เริ่ ม ตั้ ง แต่ ฝึ ก ปฎิ บั ติ จ ากชุ ด ฝึ ก ปฎิ บั ติ ก ารวิ จั ย ชั้ น เรี ย น การกําหนดหัวข้อวิจัยชั้นเรียน การเก็บรวบรวมข้อมูล การสรุปผล และการเขียนรายงานผลการวิจัย ชุ ด ฝึ ก ปฎิ บั ติ ก ารวิ จั ย ชั้ น เรี ย น หมายถึ ง แบบฝึกหัดการทําวิจัยชั้นเรียนที่ประกอบด้วยกิจกรรมที่ ให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์ สังเคราะห์เกี่ยวกับระเบียบ วิธีการวิจัยทางการศึกษา อย่างเช่น การระบุตัวแปร การ กําหนดวัตถุประสงค์การวิจัย การตั้งสมมติฐาน เป็นต้น วิธีดําเนินการวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น การวิ จั ย เชิ ง ปฎิ บั ติ ก าร ดํ า เนิ น การกั บ กลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ เ ป็ น นั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต ร ประกาศนี ย บั ต รบั ณ ฑิ ต วิ ช าชี พ ครู ปี ก ารศึ ก ษา 2551 จํานวน 34 คน การดําเนินการวิจัยมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 ทําการสอนทฤษฎีพื้นฐานที่เกียวข้อง กั บ ระเบี ย บวิ ธี ก ารวิ จั ย ทางการศึ ก ษาพร้ อ มกั บ ให้ นักศึกษาใช้ชุดฝึกปฎิบัติการวิจัยชั้นเรียนในการฝึกปฎิบัติ จากกิจกรรมที่ 1 ถึงกิจกรรมที่ 20 ด้วยตนเอง โดย เนื้ อ หาในชุ ด ฝึ ก จะฝึ ก ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ วิ เ คราะห์ ตั ว แปร ต่างๆจากตัวอย่างหัวข้อการวิจัยการกําหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย การตั้งสมมติฐาน เป็นต้น แล้วให้ผู้วิจัยซึ่งเป็น อาจารย์ผู้สอนคอยให้คําเสนอแนะ ขั้นที่ 2 ให้นักศึกษาปฎิบัติการวิจัยชั้นเรียนใน ชั้ น เรี ย นที่ ไ ปฝึ ก ปฎิ บั ติ ก ารวิ ช าชี พ ครู โ ดยนั ก ศึ ก ษา สามารถเลื อ กเรื่ อ งที่ ต นเองสนใจที่ เ หมะสมกั บ สภาพ ความพร้อมและศักยภาพของตนเองในการปฏิบั ติการ วิจัยชั้นเรียน ซึ่งมีขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้ 1)นักศึกษาสํารวจปัญหาที่พบในห้องเรียนแล้ว ทําการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อหาวิธีการในการแก้ไข 2)นักศึกษาเขียนโครงร่างวิจัยชั้นเรียนที่อธิบาย รายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับเรื่องที่นักเรียนจะทําการวิจัย

41

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

รวมทั้งเครื่องมือและนวัตกรรมเสนอให้อาจารย์ที่ปรึกษา ตรวจสอบเพื่อแก้ไขปรับปรุงและเสนอแนะ 3)นักศึกษาเก็บรวมข้อมูลโดยนําเครื่องมือและ นวั ต กรรมที่ ส ร้ า งไปใช้ กั บ นั ก เรี ย นเพื่ อแก้ ปั ญ หาหรื อ พัฒนาทักษะของนักเรียน 4)อาจารย์ที่ปรึกษาติดตาม ตรวจสอบการใช้ นวัตกรรมเพื่อให้การใช้นวัตกรรมในแก้ปัญหานักเรียนมี ประสิทธิภาพ 5)นักศึกษานําข้อมูลที่รวบรวมมาวิเคราะห์สรุป แล้ ว เขี ย นเป็ น รายงานการวิ จั ย ชั้ น เรี ย นให้ อ าจารย์ ที่ ปรึ ก ษาตรวจสอบและปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขจนถู ก ต้ อ งและ สมบูรณ์ ขั้นที่ 3 ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจการวิจัย ชั้นเรียนของนักศึกษาโดยการทดสอบความรู้ความเข้าใจ เกี่ ย วกั บ ระ เบี ย บ วิ ธี แ ล ะกร ะบ วน ก า ร วิ จั ย ด้ ว ย แบบทดสอบแบบอัตนัยและทําการประเมินรายงานการ วิจัยของของนักศึกษาแต่ละรายเพื่อประเมินทักษะการ วิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. ชุดฝึกปฎิบัตการวิจัย เป็นชุดแบบฝึกที่ ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองโดยศึกษาจากตัวอย่างหลายๆตัวอย่าง ซึ่งมีเนื้อหาที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์ห์ตัวแปรต่างๆ การ กําหนดวัตถุประสงค์การวิจัย การตั้งสมมติฐาน เป็นต้น 2. แบบทดสอบเป็นแบบทดสอบชนิดความ เรียงที่วัดความรู้ความเข้าใจการเกี่ยวกับระเบียบวิธีการ วิจัยทางการศึกษาที่ผู้วิจัยสร้างเอง 3. แบบประเมินรายงานผลการวิจัยชั้นเรียน เป็นแบบประเมินคุณภาพรายงานการวิจัยชั้นเรียนของ นักศึกษาซึ่งมีระดับคุณภาพ 3 ระดับ คือ ดีมาก ดี และ พอใช้ การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยทําการทดสอบนักศึกษาหลังการฝึกปฎิบตั ิ การวิจัยชั้นเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ เกี่ ยวกับ ระเบี ยบวิ ธีก ารวิจั ยทางการศึก ษาและทํ าการ ประเมินรายงานผลการวิจัยที่ นักศึ กษาโดยแบ่งเป็น 3 ระดับคุณภาพคือ พอใช้ ดี และดีมาก


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยูตี ดือรามะ

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

42

การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสําเร็จรูป โดย หาค่าเฉลี่ย ค่าเบียงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าเฉลี่ยกับ เกณฑ์โดยใช้สถิติที( t-test) และทดสอบอตราส่วนของ ความถี่ผลการประเมินคุณภาพงานวิจัยโดยใช้ ไคสแควร์ ผลการวิจัย

1.คะแนนเฉลี่ ย ผลการทดสอบความรู้ ค วาม เข้าใจเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษาของนักศึกษา เท่ากับ 15.15 คิดเป็นร้อยละ 75.75 ของคะแนนเต็ม ซึ่ง สูงกว่าคะแนนเกณฑ์ที่ตั้งไว้ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ดังตารางที่ 1

ตาราง 1 แสดง คะแนนเฉลี่ย คะแนนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบวิธีการ วิจัย และผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยกับเกฑฑ์ N 34 ** มีนัยสําคัญที่ระดับ .01

X

S.D.

t

15.15

1.65

4.044**

2.ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพผลงานวิ จั ย ของ ประเมิ น คุ ณ ภาพงานวิ จั ย แต่ ล ะระดั บ โดยใช้ ส ถิ ติ ไ คส นักศึกษา พบว่า งานวิจัยของนักศึกษาร้อยละ 55.9 ของ แควร์ พบว่ า ความถี่ ข องผลการประเมิ น คุ ณ ภาพ มีผลการประเมินอยู่ในระดั บดีมาก ร้อยละ 35.3 มีผ ล งานวิจัยเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ดังตารางที่ 2 การประเมินอยู่ในระดับ ดี และอีกร้อยละ 8.8 อยู่ใน ระดั บ พอใช้ เมื่ อทดสอบอั ต ราส่ ว นของความถี่ ผ ลการ ตาราง 2 แสดง ความถีผลการประเมินคุณภาพงานวิจัย และผลการเปรียบเทียบอัตราส่วนของความถี่ผลการ ประเมินคุณภาพงานวิจันของนักศึกษากับความถี่ที่คาดหวัง ระดับคุณภาพ

จํานวน(N=34)

ร้อยละ

χ2

ดีมาก ดี พอใช้

19 12 3

55.9 35.3 8.8

1.917

อภิปรายผล 1.จากผลการทดสอบความรู้ ค วามเข้ า ใจ เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา พบว่า คะแนน เฉลี่ ยของนั ก ศึก ษาสู ง กว่ า เกณฑ์ที่ ตั้ งไว้ คือ ร้อยละ 70 และจากผลการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยของนักศึกษา พบว่า ผลงานวิจัยที่นักศึกษาได้ทําการวิจัยในชั้นเรียนที่ ได้ไปฝึกปฎิบัติการวิชาชีพครู ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีมาก ซึ่งแสดงให้เห็นว่า กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองสามารถ พัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษาหลักสูตร

ประกาศนียบัตรบัณฑิตได้ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการเรียน การสอนที่ควบคู่กับการใช้ฝึกปฎิบัติการวิจัยชั้นเรียน ทํา ให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ประเด็นต่างที่เกี่ยวข้องกับ ระเบียบวิธีการวิจัยจากกิจกรรมในแบบฝึกด้วยตนเอง มี ผลทํา ให้นัก ศึกมีค วามเข้าใจเกี่ย วกับ กระบวนการวิจั ย มากขึ้ น การใช้ ชุ ด ฝึ ก ปฎิ บั ติ ก ารเป็ น การส่ ง เสริ ม ให้ นักศึกษาได้เรียนรู้ด้วยตนเองซึ่งเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ เน้ น ผู้ เ รี ย นเป็ น สํ า คั ญ อย่ า งหนึ่ ง ทั้ ง เป็ น กระบวนการ สําคัญในการพัฒนาทักษะความรู้และพัฒนาเอง โนลส์


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยูตี ดือรามะ

(Knowles,1975 อ้างถึงใน รัชนีพร ยันตะบุสย์,2546) กล่าวถึงข้อดีของการเรียนรู้ด้วยตนเองว่า เป็นวิธีการที่ ทําให้ผู้เรียนเรียนได้มากกวา ดีกว่าผู้ที่เป็นเพียงผู้รับหรือ รอให้ครูผู้สอนถ่ายทอดเท่านั้น ผู้ที่เรียนรู้ด้วยตนเองจะ เรียนอย่างตั้งใจ มีจุดมุ่งหมายและมีแรงจูงใจสูงสามารถ ใช้ประโยชน์จากการเรียนรู้ได้ดีกว่า การเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ทําวิจัยในเรื่องที่ ตัวเองมีความเข้าใจเป็นอย่างดีอย่างจริงจัง มีส่วนช่วยให้ นักศึกษาได้รู้จักใช้ศักยภาพของตัวเองอย่างแท้จริง เป็น การฝึกให้นักศึกษาได้รู้จักการวางแผน การค้นหาแหล่ง การเรียนรู้ รู้จักวิธีการเส่าะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ในรู ป แบบและวิ ธี ก ารที่ ห ลากหลาย สอดคล้ อ งกั บ แนวคิดของBrookfield, (1984 อ้างถึงใน รัชนีพร ยันตะ บุสย์, 2546) ที่กล่าวถึงการเรียนรู้ด้วยตนเองว่ามีลักษณะ เป็ น ตั ว ของตั ว เอง ควบคุ ม การเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเอง มี ความเป็นอิสระ อาศัยความช่วยเหลือจากแหล่งภายนอก น้อยที่สุด อย่างไรก็ตาม ถึงแม้กระบวนการเรียนด้วย ตนเองจะส่งเสริมให้ผู้เรีย นหรือนักศึกษาได้เรียนรู้ด้ว ย ตนเอง แต่ก็ยังจําเป็นต้องมีพี้เลี้ยงหรือที่ปรึกษาคอยให้ คําแนะนําด้วยเสมอ 2. การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของ นักศึกษาหลักสุตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มีขั้นตอน การดําเนินการ 3 ขั้นตอนหลัก คือ ขั้นตอนแรกเป็นการ เพิ่มทักษะความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบวิธีการวิจัย ซึ่งถือเป็นขั้นตอนที่สําคัญทีจะช่วยให้นักศึกษาเข้าใจมโน ทัศน์ของกระบวนการวิจัยแบบองค์รวมเพื่อให้สามารถ วางแผนหรือสามารถออกแบบการวิจัยได้อย่างถูกต้อง ตามระเบียบวิธีเพื่อให้ผลการวิจัยมีความถูกต้องมากที่สุด ส่วนขั้นตอนที่สองเป็นการปฎิบัติการทําวิจัยจริงซึ่งเป็น ขั้นตอนที่จะช่ วยให้นักศึกษาได้ศักยภาพของตนเองใน สถานการณ์จ ริงซึ่ งจะทํา ให้นั กศึก ษาเกิด ทักษะการทํ า วิจั ย ได้อย่ า งแท้ จ ริง โดยมี อาจารย์ ที่ ป รึก ษาคอยดู แ ล ติดตามให้การชี้แนะเพื่อความสมบูรณ์ของงานวิจัย และ ขั้นตอนสุดท้ายเป็นการตรวจสอบว่านักศึกษาสามารถ พัฒนาทั กษะของตั วเองได้ม ากน้อยเพี ยงใดโดยใช้ การ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม รู้ แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ง า น กระบวนการพัฒนาดังกล่าวสามารถพัฒนาทักษะการทํา

43

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...

วิจัยชันเรียนแก่นักศึกษาได้เนื่องจากนักศึกษามีความรู้ เกี่ยวกับทฤษฎีและได้ปฎิบัติจริง ข้อเสนอแนะ 1.จากผลการวิจั ยพบว่ า การใช้ชุ ดฝึ กปฎิบั ติ การมีส่วนช่วยให้นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบวิธีการ วิจัยได้ดี ดังนั้นในการเรียนการสอนรายวิชาระเบียบวิธี วิจัยควรมีการใช้ชุดฝึกปฎิบัติการประกอบเพื่อส่งเสริมให้ นักศึกษามีการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2.ในการจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา หรือบัณฑิตศึกษาผู้สอนควรใช้กระบวนการเรียนรู้ด้วย ตนเองในการพั ฒ นาทั ก ษะในด้ า นต่ า งๆ โดยเน้ น ให้ นักศึกษามีการปฎิบัติจริงหรือใช้สถานการณ์ที่ใกล้เคียง กับสถานการณ์จริง 3.จากผลการศึกษาพบว่า การให้นักศึกษาได้ทํา วิจัยชั้นเรียนในระหว่างการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สามรถที่ จ ะพั ฒ นาทั ก ษะการทํ า วิ จั ย ชั้ น เรี ย นได้ จ ริ ง ดั ง นั้ น มหาวิ ท ยาลั ย ที่ เ ปิ ด หลั ก สู ต รทางวิ ช าชี พ ครู ค วร กําหนดให้การทําวิจัยชั้นเรียนเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร และควรมีก ารพัฒ นาระบบดูแ ลติ ดตามการทํ าวิ จัย ชั้ น เรียนของนักศึกษาด้วย 4.ควรให้มีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้วิจัยชั้น เรียนระหว่างมหาวิทยาลัยกับโรงเรียนที่เป็นสถานที่ฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วม จากผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์ที่ปรึกษา เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการ. 2541. สาระความรู้ที่ได้จากการสัมมนา ทางวิ ช าการเรื่ อ ง กระบวนการเรี ย นรู้ . กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ ลัดดา ดําพลงาม. 2540. กระบวนการและผลของการ ทํ า วิ จั ย ป ฏิ บั ติ ก า ร ใ น ชั้ น เ รี ย น ที่ มี ต่ อ พฤติกรรมการสอน: พหุกรณีศึกษาของครู นักวิจัยในโรงเรียนประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รัชนีพร ยันตะบุศย์. 2546. การพัฒนาแบบทดสอบวัด คุ ณ ลั ก ษณะการเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเองสํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย.ปริ ญ ญ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยูตี ดือรามะ

นิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิท ยาลัยศรี นคริทรวิโรฒ รัตนา ศรีเหรัญ. 2547. ครู: นักวิจัยในชั้นเรียน (ตอนที่ 1) .ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. 24(1).22-23. ศึ ก ษาธิ ก าร, กระทรวง. 2542. พระราชบั ญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ า แ ห่ ง ช า ติ พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2542. กรุงเทพฯ. สุวิมล ว่องวาณิช, 2545. การปฏิบัติการวิจัยชั้นเรียน. พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 5. กรุ ง เทพฯ: จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. อุทุมพร จามามาน. 2537. การวิจัยครู.คณะครุศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

44

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การพัฒนาทักษะการทําวิจัยชั้นเรียนของนักศึกษา...


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มัฮซูม สะตีแม

45

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ข้อเสนอแนะสําหรับการสร้างวัสดุการเรียนการสอน...

Article Suggestions for Making English Course Materials More Relevant to the Needs of Muslim Students Mahsoom Sateemae (Datoo ) MHSci ( English as a Second Language) Department of English Language,Faculty of Liberal Arts and Social Sciences Yala Islamic University Abstract Some course materials used in English-language classes conflict with Islamic values and the cultural practices of Muslim learners. This article proposes alternatives to adapt teaching materials to suit the learner’s needs and their cultural backgrounds. It also discusses the importance of maintaining Islamic expressions and vocabulary in English classrooms. Teachers of Muslim learners should augment English education with Islamic principles, yet also be aware of different cultural practices. The author discusses the relevance of learning English to global affairs and the importance of understanding other cultures and ways of thinking, and recommends the development of an Islamic English. Keywords: English for Muslim Leaners, English Materials Evaluation, Muslim Students’Needs


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มัฮซูม สะตีแม

46

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ข้อเสนอแนะสําหรับการสร้างวัสดุการเรียนการสอน...

บทความวิชาการ ข้อเสนอแนะสําหรับการสร้างวัสดุการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้สอดคล้อง กับความต้องการของผู้เรียนมุสลิม มัฮซูม สะตีแม (ดาตู) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปะศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา บทคัดย่อ เนื่องจากวัสดุการเรียนการสอนที่ผู้สอนส่วนใหญ่นํามาใช้ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษมักมีเนื้อหาภาษา และการนําเสนอบางส่วนที่ขัดกับแบบแผนทางจริยธรรมของผู้เรียนที่นับถือศาสนาอิสลาม บทความชิ้นนี้จึงได้นําเสนอ ทางเลือกหนึ่ง แก่ผู้ส อนภาษาอังกฤษในการปรับเปลี่ย นเนื้ อหาทางภาษาและการนํ าเสนอให้สอดคล้องกับ ความ ต้องการและความคาดหวังตลอดจนบริบททางวัฒนธรรมของผู้เรียนที่นับถือศาสนาอิสลาม และให้ความสําคัญกับการ ใช้ภาษาเชิงวัฒนธรรมอิสลามอันเป็นอัตลักษณ์ของผู้เรียนมุสลิม บทความนี้ยังได้กล่าวถึงความจําเป็นสําหรับมุสลิมใน การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยไม่ทิ้งโอกาสในการเรียนรู้วัฒนธรรมและวิธีคิดของชนชาติที่พูดภาษาอังกฤษเพื่อความ เข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ งต่ อ สถานการณ์ โ ลกและประชาคมที่ มี ค วามแตกต่ า งทางวั ฒ นธรรม และสนั บ สนุ น การพั ฒ นา ภาษาอังกฤษแนวอิสลาม (Islamic English) คําสําคัญ: ภาษาอังกฤษสําหรับผู้เรียนที่นับถือศาสนาอิสลาม, การประเมินวัสดุการเรียนการสอน, ความต้องการของ ผู้เรียนที่นับถือศาสนาอิสลาม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มัฮซูม สะตีแม

Introduction Many works have been created to teach students the English language. The majority of English language education books are created in the United States or the United Kingdom. These books are typically written by experienced and qualified authors from well-known institutions. However it is important to recognize that because these books are usually written by teachers from western nations for western audiences, there are implicit cultural assumptions communicated in the content. Such educational materials may contain the authors’ assumptions about morals, culture, and relationships. (Littlejohn & Windeatt,1989) It can be assumed that an English language book written by western authors for western audiences may communicate western values as well. This is a challenging issue for Muslim learners of English, who may have significantly different cultural backgrounds and systems of belief. Recently, Muslim educators have focused their attention to this important issue, and much commentary has been discussed in certain quarters of the Ummah (see http://www.tesolislamia.org) Designing appropriate texts responding to the needs of Muslim learners is an important yet challenging task. A teacher’s skills and knowledge of English, interest, creativity, commitment, and Islamic consciousness all play a key role in developing excellent educational materials for Muslim learners. Additionally, the job is complicated by lack of time and resources.

47

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ข้อเสนอแนะสําหรับการสร้างวัสดุการเรียนการสอน...

Many teachers have multiple responsibilities to attend to, and may not have the time necessary to devote to such work. A more realistic option for teachers of Muslim learners is to adapt already-existing English educational materials for their students and courses. This is still a challenging task for educators, but it can be done successfully. The aim of this article is to provide educators with strategies and recommendations for making English course materials more relevant and culturally appropriate to students in the Thai Muslim context. It is intended to benefit those educators with limited time or beginner levels of curriculum design. Principles for materials evaluation As a first step, teachers should be aware of some basic principles for evaluating educational materials. First, the teaching materials should align with the aims and objectives of the course. Second, the students’ needs should always be kept in mind. Third, teachers should be aware of specific needs and uses that students will have outside of the classroom. Fourth, teachers should be aware of the relationship between the learning process and the learner–especially the learner’s cultural beliefs. (Cunningsworth, 1994) Aims and Objectives The aims and objectives of the course should be clearly defined from the beginning. Unfortunately there are times when students are not informed why they are studying English as a Second Language, what the specific goal of a course is, and what the expected outcomes are. This is especially problematic when the course materials were written for a


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มัฮซูม สะตีแม

predetermined curriculum that may not align with the students’ needs. This is a common challenge in many Thai institutions, even at the university level. Thus, clarifying the aims and objectives is an important first step. The Needs of the Students The teacher must identify the students’ strengths and weaknesses in language learning. Again, this can be a problem with materials that have been developed for a different audience or context. The teacher must be able to make a clear link between the content of course books and how it will help the learner. This requires proper evaluation of both teaching materials, and students. Learners may find some aspects of English-language learning to be easy, and others to be very difficult. It is the teacher’s job to identify both and make sure that the choice in teaching materials reflects those abilities and needs. Be aware that identifying student needs can be difficult in the Thai educational context. Often times, Thai students do not like to admit they are having problems understanding a particular concept, particularly in front of other students. The teacher should be prepared to find ways to assess the strengths and weaknesses of students in ways that accord with this context.

48

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ข้อเสนอแนะสําหรับการสร้างวัสดุการเรียนการสอน...

spent preparing it is wasted. Thus, the content selected for classroom teaching should be basic patterns of language that can be replicated in real life. Students will be thankful if they learn materials they can use outside the class! The teacher should anticipate what real life situations their students are most likely to encounter, and what sorts of language skills they will need in those situations. This may require awareness and thinking about the students’ current and future surroundings and occupations, and what situations the students are likely to encounter in real life. The Learning Process and the Learner The teacher should always remember that the learner is at the center of the learning process. Choosing or revising the correct materials should be done with the learner in mind, not with the teacher’s personal preferences. Keep in mind that Islamic values and culture are of key importance to the Muslim learner. The chosen curriculum should reflect the values and beliefs of the Muslim student.

Further recommendation Cunningsworth’s principles for evaluating educational materials are useful and basic first steps that all teachers should be aware of. Language for Real World Purposes However, here are some further suggestions based The teacher must be aware that on the author’s experiences with teaching English content taught in the classroom will be to undergraduate Muslim students at Yala Islamic forgotten if it is not practiced outside the University. classroom. A teacher can spend many hours Be Aware of Cultural Information Embedded preparing coursework for a class, but if the in Course Materials material learned is forgotten by the students Teachers should scrutinize cultural because it is not practiced outside of the information conveyed in English course books. classroom, then that content and the time


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มัฮซูม สะตีแม

49

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ข้อเสนอแนะสําหรับการสร้างวัสดุการเรียนการสอน...

so it is applicable to the Islamic context. It is important for teachers to know the underlying concepts of some English vocabulary and expressions. Instead of using English expressions, teachers should encourage Muslim students to use everyday Muslim expressions. Examples include using Assalamualaikum warahmatullahi wabarakatuh for greeting their Muslim friends, Insha Allah when they accept something, or Allhamdullilah, Masha Allah when they are Utilize Islamic Ethics and Critical Thinking pleased with something. This will make English The teacher should always couple language learning more relevant to the students’ reliance on course books with teachings about lives and beliefs. Islamic values. For example, if a course book presents a situation that may be alien to or against Use the Students as Resources Islamic beliefs or values, the teacher should Students can serve as excellent resources acknowledge that such activities are un-Islamic. for classroom activities. Remember that students The teacher should then lead a class discussion so like to talk about their own interests and activities. students can talk about how Islamic values differ The teacher may want to encourage students to from western practices, and what the proper use English to discuss Islamic or Thai Muslim Islamic way should be. The teacher may also want culture and activities. A group presentation or play to encourage students to seek information from can be informative, educational, and enjoyable for the internet in English about Islamic values and the classroom. practices as well. Materials from Islamic Sources Adoption of Language Habits With the advent of the internet, there is a Similarly, the teacher should always keep wealth of information about Islam and Islamic in mind that some particular language habits practices available in English. Teachers may want simply do not apply to the Islamic context. The to consider using materials produced by Muslim western author’s choice of words will reflect the ELT authors, which are becoming increasingly cultural practices and traditions of western nations. common in some Muslim academic institutions. For example, use of phrases like “A First Date” or This is completely satisfactory and such materials “Girls Night Out” are derived from cultural are more likely to be appropriate for Islamic values situations acceptable in western nations, but they and the Muslim learner. conflict with Islamic values and morality. While Muslims are strongly encouraged to Soft Power and English as a Second Language: learn languages, cultures and heritages of the Importance to Education world’s diverse nations as creations of God, This discussion of cultural values and Muslims also need to correct and adapt language teaching English raises important questions about Even though the textbooks written in the United States, the United Kingdom, and even India may be attractive and well-organized, there may be content that is objectionable to Islamic beliefs. This content may be embedded in the presentation of language activities, or pictures and drawings depicting western lifestyles,, dress, manners and attitudes. These pictures can have considerable influence on the young Muslim mind.


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มัฮซูม สะตีแม

the wider topic of “soft power” – the ability for a nation to influence world affairs not through military or economic strength, but through cultural influence. Many academics and commentators have discussed soft power and its role in the world today. It is often stated that the United States has great soft power today, through much of its cultural influence in television, movies or music. Although this may be true, the discussion in this article raises important questions for the future. Many people in the United States or west are only familiar with western cultures and moral beliefs. They are ignorant about the cultures and beliefs of other peoples and nations, especially about Islamic cultures and people. This ignorance has become a weakness of the United States, as seen from its foreign policy actions. As Muslim teachers, it is important that we educate learners about other cultures and ways of thinking in order to have a good understanding of world events. Of course, this does not mean that Muslim students should accept the cultures or beliefs of non-Islamic societies. However, having an understanding of other cultures is key to raising a generation of young people who can both comprehend and influence world affairs. The choices and direction provided in the classroom are important to this global challenge. Additionally, it should be remembered that although the English language is from England and widely used in the western world, there is great potential for an Islamicized English. We should encourage growth and development of an Islamic English on the global stage. Conclusion It is not a new call for English language teachers to develop or adapt suitable materials for

50

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ข้อเสนอแนะสําหรับการสร้างวัสดุการเรียนการสอน...

their learners, instead of simply using materials produced by other writers from different cultural backgrounds. Indeed, many conscious educators in other communities and societies who teach foreign languages are increasingly changing their views on learning and teaching methods to meet the needs of their learners. This article provides some basic guidelines for both beginner and veteran teachers of Muslim learners of English. References Allwright, R.L. 1990. What do we want teaching materials for? In R.Rossner and .Bolitho,(Eds.),Currents in language teaching. Oxford University Press. Cunningsworth, A. 1994. Evaluating and selecting EFL teaching materials. Heinemann. Littlejohn, A., and Windeatt, S. 1989. Beyond language learning: perspective on materials design. In R.K. Johnson (Ed.), The second language curriculum. Cambridge: Cambridge University Press.


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม และ ชิดชนก เชิงเชาว์

51

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน...

Research The Operation of Educational Quality Assurance by Islamic Private School in Chana District, Songkhla Province. Robeeyah Mah-kharem* Chidchanok Churngchow** * Human and Social Development, Faculty of Liberal Arts, Prince of Songkla University. ** Associate. Professor. Dr., Faculty of Education , Prince of Songkla University, advisor Abstract This paper aims at introducing the idea on the role of Yala Islamic University in the Islamization of Education. The university has played vital roles in providing integrated Islamic education. This article analyses the role of the university in the aspects: philosophy of the university ; curriculum development; staff development; preparation of textbooks and other learning resources; research and development; and community service. It suggests guidelines for the university in developing its role in managing the Islamization process in a more comprehensive context and widespread into lower educational institutions and Muslim society at large, that it emphazied on the following aspects: 1. there should have educational and training programmes for producing academic staff with a high level of ideological and moral commitment, 2. curriculum development, there should be the preparation of Islamically oriented curriculum guides for all disciplines and all levels, and also provide guidance to the lecturers for Islamization of the instructional methods and techniques and the co-curricular activities; 3. developing textbooks and multiplicity of learning resources from an Islamic perspective and also a variety of audio and visual materials developed by using an Islamic approach; 4. there should establish a model Islamic school at elementary the secondary levels where some of Islamically-based ideas and practices; 5.research department should play a vital role in evaluating the progress of the efforts at Islamization of education within the university; 6.Community service should be emphasized on providing comprehensive Islamic education. Keywords: Operation, Educational Quality Assurance, Islamic Private School


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม และ ชิดชนก เชิงเชาว์

52

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน...

บทความวิจัย การดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม* ชิดชนก เชิงเชาว์** * นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ** รศ.ดร., คณะศึกษาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการปฏิบัติงานและเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติงานตามความ คิดเห็นเกี่ยวกับการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จําแนกตามขนาดของสถานศึกษา ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหาร จํานวน 15 คน และครูผู้สอน จํานวน 234 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้าง ขึ้น มีค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงเท่ากับ .9766 วิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูป คํานวณหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอ จะนะ จังหวัด สงขลา ทั้ง 8 ด้าน โดยภาพรวมมีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับ “มาก”เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านผดุงระบบ ประกันคุณภาพการศึกษา ด้านการรายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี ด้านการประเมินคุณภาพการศึกษา ด้านการ พัฒนามาตรฐานการศึกษา ด้านการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการดําเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ด้านการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ มีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับ “มาก ส่วนด้านที่มีการปฏิบัติงาน น้อยที่สุด คือ ด้านการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา มีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับ “ปานกลาง” 2) ผลการเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติงานตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน เกี่ยวกับการ ดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จําแนกตาม ขนาดของสถานศึกษา ในภาพรวมผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่ปฏิบัติการสอนสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็น เกี่ยวกับการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัด สงขลา ไม่แตกต่างกัน คําสําคัญ: การดําเนินงาน, การประกันคุณภาพการศึกษา, โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม และ ชิดชนก เชิงเชาว์

บทนํา กา รพระรา ช บั ญ ญั ติ ก า รศึ ก ษา แห่ ง ช า ติ พุทธศักราช 2542 มาตราที่ 47 ระบุให้มีการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐาน การศึ ก ษาโดยมี ระบบการประกั น คุณ ภาพภายในและ ระบบการประเมินคุณภาพภายนอก ระบบการประเมิน คุ ณ ภาพภายใน โดยมุ่ ง การกระจายอํ า นาจไปสู่ สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรา18 (2) โดยให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการพัฒนา ความรู้ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตาม มาตรฐานการศึกษาที่กําหนดให้หลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน และสถานศึกษามีศักยภาพในการจัดการศึกษา ให้ผู้เรียนบรรลุผลตามมาตรฐานอย่างแท้จริง ระบบการ ประกั น คุ ณ ภาพภายในสถานศึ ก ษาจึ ง เป็ น ความ รับผิดชอบของสถานศึกษา ซึ่งเป็นหน่วยงานรับผิดชอบ การจัดการศึกษาให้ผู้เรียนโดยตรง สถานศึกษาร่วมมือ กับชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยต้องดําเนินการ ร่วมกันอย่างเป็นระบบ (กรมวิชาการ.2544 :23-24) โรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามเป็ น สถาบันการศึกษาที่จําเป็นต้องดําเนินการประกันคุณภาพ การศึกษาตามข้อกําหนดของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่ ง ชาติ ด้ ว ยเช่ น กั น แต่ ปั จ จุ บั น พบว่ า จากการ ดํ า เ นิ น ก า ร ป ร ะ ก น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง สถาบันการศึกษาระดับต่างๆ ยังไม่สามารถตอบสนอง เป้าหมายสําคัญได้ สอดคล้องกับที่ศิริ ถีอาสนา (2549:) ได้ นํ า เสนอภาพรวมของผลการดํ า เนิ น การประกั น คุ ณ ภาพในสถานศึ ก ษาประเภทและระดั บ ต่ า งๆ ว่ า มี ปัญหาอุปสรรคหลายประการ เป็นต้นว่าความเข้าใจและ ความร่วมมือของบุคลากรต่อการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา ยัง เข้าใจไม่ต รงกัน และยั ง ไม่ใ ห้ค วามร่ว มมื ออย่ างเพี ยงพอ โรงเรี ยนส่วนใหญ่ยั ง ขาดความมั่นใจในการดําเนินงาน และยังไม่มีการบูรณรา การระบบการประกันคุณภาพเข้ากับการบริหารงานปกติ และพบว่าสถานศึกษาส่วนใหญ่จะประเมินตนเองไม่เป็น ระบบ และยั ง ไม่ ไ ด้ นํ า ผลการประเมิ น ไปใช้ ใ นการ วางแผนบริหาร พัฒนาปรั บปรุ งสถานศึ กษาเท่า ที่ควร

53

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน...

นอกจากนี้ค รูอาจารย์ มีความเห็น ว่าเป็นการเพิ่ม ภาระ งาน ถึงแม้ว่าโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจะมี การดําเนินการเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาตามที่ ระบุ ไ ว้ ใ นพระราชบั ญ ญั ติ แต่ ก ระบวนการที่ เ กิ ด ขึ้ น ดังกล่าวยังไม่สามารถกระตุ้นให้เกิดกระบวนการคุณภาพ ที่แท้จริงในโรงเรียน ทั้งนี้อาจเกิดจากระบบการประกัน คุ ณ ภาพที่ ใ ช้ อ ยู่ มิ ไ ด้ เ อื้ อ ต่ อ อั ต ลั ก ษณ์ ข องโรงเรี ย น ประเภทนี้ ที่ มี ค วามแตกต่ า งจากโรงเรี ย นทั่ ว ไป ใน ขณะเดียวกันบุคลากรในโรงเรียนขาดความตระหนักและ ขาดการมี ส่ ว นร่ ว มในการสร้ า งคุ ณ ภาพของการจั ด การศึกษาของโรงเรียน ดังนั้นเพื่อให้การประกันคุณภาพ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การปรั บ ปรุ ง เปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการเพื่อสร้างกลไกคุณภาพใน โรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามอย่ า งแท้ จ ริ ง จึ ง จําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการพัฒนาระบบและกลไกเพื่อ การประกั น คุ ณภาพการศึ ก ษาในโรงเรี ยนเอกชนสอน ศาสนาอิ ส ลามใหม่ โดยประยุ ก ต์ จ ากแนวคิ ด ของ การศึ ก ษาอิ ส ลาม ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ปรั ช ญา เป้าหมายและอัตลักษณ์ของโรงเรียน ตลอดจนเป็นกลไก เพื่อกระตุ้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียน ในการ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาต่อไป ทั้งนี้สอดคล้องกับ แนวคิดของชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์และคณะ (2550:31) ที่ได้ เสนอไว้ ว่ า การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการจั ด การศึ ก ษาของ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในพื้นที่สามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ โรงเรี ย นต้ องให้ ค วามสํ าคั ญ ต่ อความ มุ่ ง หวั ง และความต้ อ งการของผู้ เ รี ย น ผู้ ป กครองและ ชุ ม ชน ซึ่ ง เป็ น ข้ อ มู ล พื้ น ฐานประกอบการกํ า หนด จุดมุ่งหมายในการพัฒนาของโรงเรียน เพื่อให้สามารถ จัดบริการทางการศึ กษาที่ตอบสนองต่อความต้องการ ของผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ ทุกด้านตามความพร้อมของทรัพยากรและศักยภาพที่มี ตลอดจนความเป็นไปได้ของแต่ละโรงเรียน จนเป็นที่พึง พอใจในการจั ด การศึ ก ษาของโรงเรี ย นอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เป็นเรื่อง ของการบริ ห ารจั ด การคุ ณ ภาพศึ ก ษาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง กระแสความต้ อ งการให้ ก ารศึ ก ษามี คุ ณ ภาพเกิ ด จาก ผู้เรียน ผู้ปกครอง และสังคม ทําให้สถานศึกษาต้องการ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม และ ชิดชนก เชิงเชาว์

จัดการศึกษา โดยเน้นพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อให้ เป็นมนุษย์ที่มีคุณภาพทั้งด้าน ปัจจัย ผลผลิต ซึ่งถือว่า เป็นกระบวนการที่สถานศึกษาต้องดําเนินการเพื่อที่จะ สร้างความมั่ นใจในคุณภาพ จึ งนับว่ าเป็น จุดเริ่ มต้นใน การประกันคุณภาพการศึกษา ที่ครอบคลุมกระบวนการ ต่ า งๆ ที่ จ ะต้ อ งดํ า เนิ น การในการจั ด การศึ ก ษา สถานศึ ก ษาต้ อ งมี ก ารจั ด การอย่ า งเป็ น ระบบ มี กระบวนการรั บ รองการปฏิ บั ติ ง าน มี ก ระบวนการ ตรวจสอบ ที่ ส ร้ า งความมั่ น ใจให้ เ ป็ น หลั ก ประกั น ต่ อ ผู้เรีย น ผู้ ปกครอง และสัง คมเพื่อยืน ยั นต่ อสั ง คมได้ ว่ า สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ เ รี ย นที่ จ ะจบการศึ ก ษามี คุ ณ ภาพตามมาตรฐาน การศึ ก ษา เป็ น ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ที่ มี คุ ณ ภาพ เป็ น ที่ ยอมรับของสังคม ตลอดจนเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ ทั ก ษะ เจตคติ ค่ า นิ ย ม และคุ ณ ธรรมตามหลั ก สู ต ร ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เป็น ส่ว นหนึ่ง ของการบริหารการจั ดการศึ กษา ซึ่ง เป็ น กระบวนการพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง (กรมสามัญศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. 2542:68) สถานศึกษาทุกแห่งต้องดําเนินการตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ ในเรื่องของ ระบบ หลักเกณฑ์และ วิ ธี ก ารประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในสถานศึ ก ษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและปฐมวัย ซึ่งประกอบด้วย ภาระงานที่สถานศึกษาต้องดําเนินการอย่างเป็นระบบ ใน 8 ด้าน คือ 1) การจัดการระบบริหารและสารสนเทศ 2) การพัฒนามาตรฐานการศึกษา 3) การจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4) การดํา เนิ นการตามแผนพัฒ นาคุณ ภาพ การศึกษา 5) การตรวจสอบและทบทวนคุ ณ ภาพ การศึกษา 6) การประเมินคุณภาพการศึกษา 7) การรายงานคุณภาพการศึกษา 8) การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ย่อมทําให้สังคมได้รับความพอใจ ซึ้งการสร้างคุณภาพของ ผู้เรียนสถานศึกษาต้องมีการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง มี

54

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน...

ข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาคุณภาพงาน มีวิสัยทัศน์ ภารกิจ มีการวางแผนพัฒนาคุ ณภาพ แต่ในขณะเดียวกันในการ ปฏิบัติจริงก็ต้องย่อมมีอุปสรรคที่จะทําให้การดําเนินงาน ติดขัดหรือไม่สะดวก ซึ้งปัญหาและอุปสรรคดังกล่าวนั้ น อาจเหมื อนหรื อแตกต่ างกั นขึ้ นอยู่ กั บสภาพสิ่ งแวดล้ อม หรือบริบทของแต่ละสถานศึกษา แต่สถานศึกษาจะต้อง ดํ าเนิ นงานและพั ฒนาระบบประกั นคุ ณภาพการศึ กษา เพื่อให้เป็นไปตามหมวด 6 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พุทธศักราช 2542 อย่างชัดเจนและต่อเนื่อง สม่ําเสมอ จึงนับได้ว่าเป็นการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษาเอง ผู้วิจัยในฐานะที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ในด้านงานการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งมีภารกิจหลัก ในการบริ หารงานตามกรอบคุ ณ ภาพการศึ ก ษา และ ติ ด ตามผลการดํ า เนิ น งานของโรงเรี ย นให้ เป็ น ไปตาม มาตรฐานการศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย จึงมี ความสนใจและต้องการศึกษาว่า โรงเรียนมีการดําเนินการ เกี่ ย วกั บ การประกั น คุ ณ ภาพภายในสถานศึ ก ษาของ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามมากน้อยเพียงใด และได้ ดําเนินการเป็นไปตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพ หรือไม่ อย่างไร และต้องการเปรียบเทียบความคิดเห็นของ ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรผู้รับผิดชอบงานประกัน คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา จําแนกตามขนาด ของสถานศึกษา ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่ อ ศึ ก ษาระดั บ การปฏิ บั ติ ง านในการ ดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรีย น เอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 2.เพื่ อ เปรี ย บเที ย บระดั บ การปฏิ บั ติ ง านตาม ความคิ ด เห็ น ของผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาและครู ผู้ ส อน เกี่ย วกั บการดําเนิน งานการประกัน คุณ ภาพการศึ กษา ของโรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลาม อํ า เภอจะนะ จังหวัดสงขลา จําแนกตามขนาดของสถานศึกษา ขนาด เล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ สมมติฐานการวิจัย 1.ผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาและครู ผู้ ส อนของ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัด


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม และ ชิดชนก เชิงเชาว์

สงขลา มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการดําเนินงานการประกัน คุณภาพการศึกษา แตกต่างกัน 2.ผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาและครู ผู้ ส อนของ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัด สงขลา ที่ มี ข นาดแตกต่ า งกั น มี ค วามคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ระดั บ การปฏิ บั ติ ง านในการดํ า เนิ น งานการประกั น คุณภาพการศึกษา แตกต่างกัน ประโยชน์ของการวิจัย 1.เป็ น ข้ อ มู ล สารสนเทศสํ า หรั บ ผู้ บ ริ ห าร ครู อาจารย์ และบุคลากรที่ มีส่วนเกี่ยวข้อง ตลอดจนเป็ น แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข และพัฒนางานตามระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 2.เป็นข้ อสนเทศในการพัฒ นาการดํ าเนิ นการ ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ของโรงเรี ย นเอกชนสอน ศา สน า อิ ส ลา ม เพื่ อ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ า พและเกิ ด ประสิทธิผลต่อการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา 3.เป็นข้อสนเทศหรือรูปแบบสําหรับหน่วยงาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง หรื อ ที่ ส นใจเพื่ อ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการ แก้ ปั ญ หาและพั ฒ นาการดํ า เนิ น การประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษาให้เหมาะสมยิ่งขึ้น 4.เป็นข้อมูลพื้นฐานเตรียมการรับการประเมิน คุณ ภาพภายนอกจากสํ า นั กงานรั บ รองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) วิธีดําเนินการวิจัย ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ลงนามแทนผู้รับ ใบอนุญาต ผู้จัดการ ผู้อํานวยการ รองผู้อํานวยการ หรือ ผู้ ที่ รั ก ษาการในตํ า แหน่ ง ดั ง กล่ า ว และครู ผู้ ส อนของ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัด สงขลา ทั้งหมด 15 โรงเรียน ผู้บริหารทั้งหมด จํานวน 60 คน และครูผู้สอน จํานวน 564 คน กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ลงนามแทน ผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ ผู้อํานวยการ รองผู้อํานวยการ หรือผู้ ที่รัก ษาการในตําแหน่งดั งกล่ าว ซึ่งผู้อํานวยการ เป็นผู้คัดเลือกผู้บริหารที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงาน

55

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน...

ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา และมอบหมายให้ ต อบ แบบสอบถาม โรงเรียนละ 1 คน จํานวน 15 คน และ ครูผู้สอน จํานวน 234 คน โดยมีขั้นตอนในการเลือกกลุ่ม ตัวอย่างดังนี้ 1. ผู้ ล งนามแทนผู้ รั บ ใบอนุ ญ าต ผู้ จั ด การ ผู้ อํ า นวยการ รองผู้ อํ า นวยการ หรื อ ผู้ ที่ รั ก ษาการใน ตําแหน่งดังกล่าวของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อํ า เภอจะนะ จั ง หวั ด สงขลา ผู้ วิ จั ย ใช้ วิ ธี เ ลื อ กตาม จุด มุ่ งหมาย (Purposeful sampling selection) ทั้งหมด15 โรงเรียน โรงเรียนละ 1 คน โดยมอบหมายให้ ผู้อํานวยการเลือก ผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ ผู้อํานวยการ หรือรองผู้อํานวยการ ซึ่งผู้อํานวยการเป็นผู้ คั ด เลื อ กผู้ บ ริ ห ารที่ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ งาน ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา และมอบหมายให้ ต อบ แบบสอบถาม โรงเรียนละ 1 คน จํานวน 15 คน 2. ครู ผู้ ส อนของโรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนา อิ ส ลาม อํ า เภอจะนะ จั ง หวั ด สงขลา ประมาณกลุ่ ม ตัวอย่างโดยใช้ตารางยามาเน่ (Yamane.1970 : 886) ที่ ระดั บ ความเชื่ อ มั่ น ร้ อ ยละ 95 ทั้ ง นี้ ย อมให้ เ กิ ด ความ คลาดเคลื่ อนร้ อยละ 5 ต้ องใช่ กลุ่ ม ตั ว อย่ างอย่ า งน้ อย 234 คน โดยใช้ สั ด ส่ ว นร้ อยละ 42.03 เพื่ อให้ ไ ด้ ก ลุ่ ม ตัวอย่างตามขนาดดังกล่าว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ เ ป็ น แบบสอบถามเกี่ยวกับระดั บการปฏิบัติงาน และความ คิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนเกี่ยวกั บ งานประกันคุณภาพการศึกษา ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยให้ อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจสอบ ความตรง เชิงเนื้อหา (Content Validity) พิจารณาความเหมาะสม ของการใช้ภาษาและอื่นๆแล้วปรับปรุงเครื่องมือให้ตาม คําแนะนําของผู้เชี่ยวชาญและอาจารย์ที่ปรึกษา แล้วนํา แบบสอบถามไปทําการทดลอง (Try out) ในโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอนาทวี จังหวัดสงขลา ได้ผู้บริหาร 3 คน และครูผู้สอน 17 คน เหตุผลเนื่องจาก สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมประเพณีที่คล้ายคลึงกัน แล้วนํามาหาค่าสัมประสิทธิความเที่ยง (Reliability) โดย ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูป คํานวณหาค่าร้อยละ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม และ ชิดชนก เชิงเชาว์

ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t- test และ f-test ( one way - anova) ได้ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของ เครื่ อ งมื อ ทั้ ง ชุ ด เท่ า กั บ .9766 ซึ่ ง แบบสอบถามแบ่ ง ออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 สอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบ แบบสอบถาม มี ลั ก ษณะเป็ น แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ประกอบด้วย ตําแหน่ง วุฒิการศึกษา และ ขนาดของสถานศึกษา ตอนที่ 2 สอบถามเกี่ยวกับการดําเนินงานการ ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของโรงเรี ย นเอกชนสอน ศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา มีลักษณะ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ วิ จั ย ได้ ดํ า เนิ น การเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ด้ ว ย ตนเองโดยขอความอนุ เ คราะห์ จ ากบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ในการ ทําหนังสือขออนุญาตเก็บข้อมูลถึงผู้อํานวยการโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา เพื่ อ เก็ บ รวบรวมข้ อมู ล จากผู้ บ ริ หาร และครู ผู้ ส อนใน โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัด สงขลา แบบสอบถาม จํานวน 249 ชุด ได้รับคืน 249 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 โดยผู้วิจัยเดินทางไปแจกและเก็บ แบบสอบถามด้วยตนเองทั้งหมด การวิเคราะห์ข้อมูล ข้ อ มู ล ที่ ร วบรวมได้ นํ า ไปวิ เ คราะห์ โ ดยใช้ โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ สํ า เร็ จ รู ป เพื่ อ หาค่ า ความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) ของข้อมูล เกี่ยวกับสถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อมูลเกี่ยวกับ การดําเนินการประกันคุณภาพการศึ กษาของโรงเรีย น เอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ใน 8 ด้ า น สถิ ติ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ได้ แ ก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน(Standard deviation) และ การทดสอบ ความแตกต่างระหว่างกลุ่มโดยใช้ t- test และ f- test (one way - anova)

56

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน...

สรุปผลและอภิปรายผลการวิจัย ผลการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล จากแบบสอบถาม สามารถนํ า มาสรุ ป ผลและอภิ ป รายผลการวิ จั ย ได้ ดังต่อไปนี้ 1.สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการศึก ษาพบว่า ผู้ ตอบแบบสอบถามส่ว น ใหญ่มีตําแหน่งเป็นครู (ร้อยละ 94.0) และเป็นผู้บริหาร สถานศึกษา (ร้อยละ 6.02) 1.1 จําแนกตามวุฒิการศึกษาสายสามัญ ใน ภาพรวมกลุ่ม ตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามทั้ง ผู้บริ หาร สถานศึ ก ษาและครู ส่ ว นใหญ่ มี วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาระดั บ ปริญญาตรี (ร้อยละ 82.33) รองลงมามีวุฒิการศึกษาต่ํา กว่าปริญญาตรี (ร้อยละ 11.65) โดยผู้บริหารสถานศึกษา จํ า แนกตามวุ ฒิ ก ารศึ ก ษาสายสามั ญ ส่ ว นใหญ่ มี วุ ฒิ การศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 53.33) รองลงมามี วุ ฒิ ก ารศึ ก ษา ปริ ญ ญาโท (ร้ อ ยละ 45.67) ส่ ว นครู ที่ จํ า แนกตามวุ ฒิ ก ารศึ ก ษาสายสามั ญ ส่ ว นใหญ่ มี วุ ฒิ การศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 84.19) รองลงมามี วุฒิการศึกษา ต่ํากว่าปริญญาตรี (ร้อยละ 12.39) 1.2 จําแนกตามวุฒิการศึกษาสายศาสนา ใน ภาพรวมกลุ่ม ตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามทั้ง ผู้บริ หาร สถานศึ ก ษาและครู ส่ ว นใหญ่ มี วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาต่ํ า กว่ า ระดั บ ปริ ญ ญาตรี (ร้ อ ยละ 81.93) รองลงมามี วุ ฒิ การศึกษาปริญญาตรี (ร้อยละ 12.05) นอกจากนี้ยังวุฒิ การศึกษา อื่นๆ (ร้อยละ 5.22) โดยผู้บริหารสถานศึกษา จํ า แนกตามวุ ฒิ ก ารศึ ก ษาสายศาสนา ส่ ว นใหญ่ มี วุ ฒิ การศึ ก ษาต่ํ า กว่ า ระดั บ ปริ ญ ญาตรี (ร้ อ ยละ 73.33) รองลงมามีวุฒิการศึกษาปริญญาตรี(ร้อยละ 20.00) ส่วน ครูที่จําแนกตามวุฒิการศึกษาสายศาสนา ส่วนใหญ่มีต่ํา กว่ า วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี (ร้ อ ยละ 82.48) รองลงมามีวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี (ร้อยละ 11.54) จําแนกตามขนาดโรงเรียน ส่วนใหญ่ปฏิบัติงานในโรงเรียน ขนาดกลาง (ร้อยละ 46.67) รองลงมาปฏิบัติงานในโรงเรียน ขนาดเล็ก (ร้อยละ 40.00) และปฏิบัติงานในโรงเรียนขนาด ใหญ่ (ร้ อยละ 13.33) ส่ วนครู ที่ จํ าแนกตามตามขนาด โรงเรียน ส่วนใหญ่ปฏิบัติงานในโรงเรียนขนาดกลาง (ร้อย ละ 53.42) รองลงมาปฏิบัติงานในโรงเรียนขนาดใหญ่ (ร้อย


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม และ ชิดชนก เชิงเชาว์

ละ 23.50) และปฏิ บั ติ งานในโรงเรี ยนขนาดเล็ ก(ร้ อยละ 23.08) 2. การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 2.1การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้ง 8 ด้าน ผลกา รศึ ก ษาพบว่ า โ ดยภา พรวมมี ก า ร ปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีการปฏิบัติงาน มากที่สุดคือ ด้านผดุงระบบประกันคุณภาพการศึกษา มี การปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านการ ประเมินคุณภาพการศึกษา มีการปฏิบัติปฏิบัติงานอยู่ใน ระดับมาก ส่วนด้านที่มีการปฏิบัติงานน้อยที่สุด คือ ด้าน การตรวจสอบและทบทวนคุ ณ ภาพการศึ ก ษา มี ก าร ปฏิบัติงานอยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก ผู้บ ริหารและครูผู้ ส อน มี ความรู้ค วามเข้ าใจและความ ตระหนักในเรื่องการประกัน คุณ ภาพการศึ กษาซึ่ งเป็ น หัวใจหลักของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้ การจั ดการศึ กษามุ่ ง พัฒ นาคนให้มี คุณ ภาพ ระบบการ บริหารจัดการทรัพยากร และการปฏิบัติงานบนพื้นฐาน ของแผนพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษา โดยเน้ น การร่ ว ม ตัด สิน ใจของทุ ก ฝ่า ยทั้ ง ครู ผู้ สอน ผู้ บริ หาร ชุม ชนและ คณะกรรมการสถานศึ ก ษา เพื่ อกํ า หนดแนวทางและ วิธีการประกันคุณภาพของสถานศึกษา ในขณะเดียวกัน แสดงให้ เ ห็ น ว่ า สถาน ศึ ก ษา มี ก ารพั ฒ นา ระบ บ สารสนเทศ ซึ่งเป็นการจัดการข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนํ า ไปใช้ ใ นการประกอบการตั ด สิ น ใจในการ วางแผน การพั ฒ นาคุ ณ ภาพทั้ ง ในระดั บ รายบุ ค คล ระดับชั้น กลุ่มสาระวิชา และสถานศึกษาเอง ในปัจจุบัน โรงเรียนมีข้อมูลพื้นฐานอยู่แล้ว ฉะนั้นการนํามาวิเคราะห์ และแปลผลให้ มี ค วามหมายจะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ การ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งได้แก่ การกําหนดภารกิจ วิสัยทัศน์และเป้าหมาย ตลอดจนการนําผลการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจ ให้ผู้ปกครอง และชุมชนทราบในด้านการดําเนินการตาม แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ว่ า สถานศึ ก ษามี ก ารนํ า แผนไปสู่ ก ารปฏิ บั ติ อ ย่ า งเป็ น

57

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน...

รูปธรรมและบรรลุเป้าหมายที่กําหนดในการพัฒนาการ เรี ย นรู้ ข องนั ก เรี ย นเป็ น การสร้ า งความมั่ น ใจให้ ผู้ ที่ เกี่ยวข้อง นอกนี้อาจเป็นเพราะกระทรวงศึกษาธิการ ได้ จั ด ทํ า เอกสารคู่ มื อ การปฏิ บั ติ ง านของสถานศึ ก ษา สามารถนํ า ไปทางเลื อ กในการปฏิ บั ติ ง าน ตามระบบ หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก าร การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ภายในสถานศึกษา ซึ่งแต่ละขั้นตอนในการดําเนินงาน บุ ค ลากรในสถานศึ ก ษา คณะกรรมการสถานศึ ก ษา ตั ว แทนผู้ ป กครอง ชุ ม ชนจะเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการ ดําเนินงานและรับทราบผลความก้าวหน้า และอุปสรรค อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่การจัดระบบสารสนเทศเพื่อจัดทํา มาตรฐานการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการศึกษา การ ดํ า เนิ น งานตามแผนพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษา มี ก าร ตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา มีการประเมิน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาแล้ ว รายงานคุ ณ ภาพการศึ ก ษา ประจําปีต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แล้วยังมีการผดุงระบบ ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ซึ่ ง น่ า จะส่ ง ผลให้ ก าร ดํ า เนิ น งานตามระบบหลั ก เกณฑ์ และวิ ธี ก ารประกั น คุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา โดยภาพรวม มีก ารดํ าเนิ นงานอยู่ ในระดั บ “มาก” ซึ่ งสอดคล้ องกั บ งานวิจั ยของสมพล จันทร์แ ดง (2545) ที่ พบว่ า โดย ภาพรวมอยู่ในระดับ “มาก” บุญถิ่น วงษ์สิทธิ์ (2546) ที่ พบว่า โดยภาพรวมมีการดําเนินงานอยู่ในระดับ “มาก” และ เพ็ญศิริ ทานให้ (2544) ที่พบว่า โดยภาพรวมทุก ด้านอยู่ในระดับ “ปานกลาง” เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ผู้วิจัยมีประเด็นสําคัญที่นํามาอภิปรายดังนี้ 1)ด้ า นการจั ด ระบบบริ ห ารและสารสนเทศ พบว่ามีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับ “มาก” ซึ่งผู้วิจัยมี ความเห็นว่าเนื่องจากโรงเรียนมีการจัดการเตรียมการ ดําเนินงานการประกันคุณภาพภายในเป็นอย่างดีโดยมีกา รัดองค์กรมีโครงสร้างการบริหารงาน ในรูปแบบแผนภูมิ แสดงไว้อย่างชัดเจน มีนโยบาย / เป้าหมายการพัฒนา ของสถานศึกษา มีแผนการนิเทศและกํากับติดตามการ ปฏิบัติงานของบุคลากร มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างเหมาะสมและ ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีการสร้างความตระหนักถึงคุณค่าของ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม และ ชิดชนก เชิงเชาว์

การดําเนินงานการประกั นคุณ ภาพการศึกษาและการ ทํางานเป็นทีมมีระบบสารสนเทศและข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการบริหารวิชาการ เช่น การบริหารจัดการหลักสูตร การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ การวั ด และประเมิ น ผลที่ ถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบัน มีการนําข้อมูลสารสนเทศ ไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ผลงานวิ จั ย ของสมพล จั น ทร์ แ ดง (2545) ที่ พ บว่ า มี ก ารปฏิ บั ติ ง านอยู่ ใ นระดั บ “มาก” ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามามีบทบาท ในโรงเรี ยนมากขึ้ น ผู้ บริ หารและครู มีค วามรู้ ใ นการใช้ คอมพิ ว เตอร์ ใ นการจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล แทนเอกสารที่ เ ป็ น กระดาษ ทั้ ง นี้ เพื่ อสะดวกในการใช้ แ ละจั ด เก็ บ และ สอดคล้องกับงานวิจัยของชาติชาย พิมพิไ ล (2543) ที่ พบว่า ด้านการวางแผนพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ มี การปฏิบัติงานอยู่ในระดับ “มาก” 2)ด้านการพัฒนามาตรฐานการศึกษา พบว่ามี การปฏิบัติงานอยู่ในระดับ “มาก” ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ มาตรฐานการศึ กษา ซึ่ งประกอบไปด้ว ยมาตรฐานการ เรียนรู้การศึกษาขั้นพื้น ฐาน และหลักสูต รสถานศึกษา และที่ สํา คั ญ โรงเรี ยนมี ค ณะกรรมการพัฒ นาหลั ก สู ต ร และมาตรฐานการศึกษา ครู นักเรียน ผู้ ปกครอง และ คณะกรรมการสถานศึกษาที่ดีและเข็มแข็ง อีกทั้งมีส่วน ร่วมในการจัดทํามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มี หลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนท้องถิ่น มีการจัดประชุมทบทวน และวิเคราะห์ผลการประเมิน การปฏิบัติงานตามมาตรฐานของฝ่าย / กลุ่มสาระการ เรียนรู้ / บุคคลและสถานศึกษา ในภาพรวม มีการพัฒนา และปรับ ปรุงมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและ มาตรฐานการปฏิบั ติงานให้ส อดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้ อ งการที่ จํ า เป็ น และทรั พ ยากรที่ เ อื้ อ ต่ อ การ ปฏิบัติงาน มีการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในการทํ า มาตรฐานการศึ ก ษาของสถานศึ ก ษาและ มาตรฐานการปฏิบัติงาน เพื่อก่อให้เกิดความสอดคล้อง สัมพันธ์ไปสู่การปฏิบัติงานที่จะทําให้ประสบความสําเร็จ ตามเป้าหมาย จึงมีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับ “มาก” 3)ด้านการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พบว่ า มี ก ารปฏิ บั ติง านอยู่ ใ นระดั บ “มาก” ผู้ วิ จั ย มี ความเห็น ว่า โรงเรี ยนมี การจั ด ทํา แผนพัฒ นาคุ ณภาพ

58

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน...

การศึกษาที่คลอบคลุมทุกกิจกรรม และทุกโครงการ มี การกํ า หนดรู ป แบบ และวิ ธี ก ารพั ฒ นาบุ ค ลากรที่ มี ประสิท ธิ ภาพ เพื่ อให้ สามารถปฏิ บั ติ ภารกิจ ตามแผน อย่างได้ผลดี มี การวางแผนและออกแบบกิจกรรมต่างๆ ในสถานศึกษา เช่น การเรียนการสอน การวัดประเมินผล ตลอดจนการ บริ ห ารจั ด การ มี ก ารประสานสั ม พั น ธ์ แ ละมี ค วาม สอดคล้ อ งกั น มุ่ ง ไปสู่ เ ป้ า หมายร่ ว มกั น อย่ า งมี ร ะบบ ผู้ ป กครองและชุ ม ชนมี โ อกาสเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม และ บทบาทสําคัญในกิจกรรมต่างๆ ตามแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาสถานศึ กษานําข้ อมูลตรวจสอบ จุ ดอ่อน จุ ด แข็ ง มากํา หนดจุ ดเน้น การพั ฒนาคุ ณภาพการศึ กษามี การจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 3 ปี หรือ 5 ปี และจัดทําแผนปฏิบัติ การประจําปี จึงมีการ ปฏิบัติงานอยู่ในระดับ “มาก” 4)ด้านการดําเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพ การศึ ก ษา พบว่ า มี ก ารปฏิ บั ติ ง านอยู่ ใ นระดั บ “มาก” ทั้ ง นี้ อ าจเป็ น เพราะโรงเรี ย นมี ก ารดํ า เนิ น การตาม แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีการนําแผนไปปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม และยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชน และหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง มี ก ารนิ เ ทศ ติ ด ตาม การ ดํ า เนิ น งานตามแผนพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ สถานศึกษาทุกขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง และมีการปรับปรุง และพัฒนาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา อย่างต่อเนื่องเพื่อให้เหมาะสมกันและทันสมัยอยู่เสมอ มี การนําผลการประเมินไปจัดทําแผนและโครงการพัฒนา คุณภาพการศึกษาตลอดจนมีกระบวนการที่ ตลอดจนมี กระบวนการที่เป็ นระบบโดยมีการวางแผนปฏิบัติตาม แผนตรวจสอบหรือประเมินผลปรับปรุงและพัฒนา ซึ่ง สอดคล้องกับผลงานวิจัยของ สมพล จันทร์แดง (2545) ที่พบว่า มีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับ “มาก” 5)ด้ า นการตรวจสอบและทบทวนคุ ณ ภาพ การศึ ก ษา พบว่ า มี ก ารดํ า เนิ น งานอยู่ ใ นระดั บ “ปาน กลาง” ซึ่งผู้วิจัยมีความเห็นว่า โรงเรียนยังไม่ได้ใช้วิธีการ ที่หลากหลายและเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนไปใช้ ในการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา กลไกที่ สําคัญอย่างหนึ่งที่จะทําให้คุณภาพการศึกษาดําเนินไป อย่างมีประสิทธิภาพคือ การตรวจสอบและทบทวนเป็น


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม และ ชิดชนก เชิงเชาว์

การประเมินตนเองของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ มีการ กําหนดขอบข่าย วิธีการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพ การศึกษา มีการใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศของงาน/ฝ่าย ให้เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ มีการตรวจสอบเน้น หลักฐานเชิงประจักษ์หรือตามสภาพจริง บุคลากรมีการ ตรวจสอบการปฏิบัติงาน / กิจกรรมด้วยวิธีการ ประเมิน ตนเองอย่างสม่ําเสมอ มีการนําผลการประเมินไปจัดทํา แผนและโครงการพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษา มี ก าร ดํ า เนิ น การอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ภายใต้ ค วามร่ ว มมื อ ของ บุคลากรในสถานศึกษา ซึ่งแต่ละขั้นตอนมีภาระงานมาก และซับซ้อน จึงทําให้การดําเนินการในด้านนี้ได้เพีย ง ระดับ “ปานกลาง” 6)ด้านการประเมินคุณภาพการศึกษา พบว่ามี การปฏิบัติงานอยู่ในระดับ “มาก” ผู้วิจัยมีความเห็นว่า โรงเรียนได้ใช้วิธีการประเมินคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และสถานศึกษาให้ความสําคัญใน การประเมิ นคุ ณภาพการศึ กษา มี การนํ าผลการประเมิ น คุณภาพการศึ กษาไปวิ เคราะห์ จุ ดเด่ น จุ ดด้ อยเพื่ อนํ าไป ปรับปรุงคุณภาพผู้เรียน มีการประเมินคุณภาพผู้เรียนด้วย แบบทดสอบมาตรฐาน มีการวางแผนประเมินตนเอง และ จัดทําเครื่องมือประเมินตนเอง โดยบุคลากรทุกคนมีส่วน ร่วม จึงมีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับ “มาก” 7)ด้านการรายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี พบว่ า มี ก ารปฏิ บั ติง านอยู่ ใ นระดั บ “มาก” ผู้ วิ จั ย มี ความเห็ นว่ า โรงเรียนมี การพัฒนาคุ ณภาพการศึกษามุ่ ง ผลสั มฤทธิ์ มี ค ณะหรื อ บุ ค คลผู้ รั บ ผิ ด ชอบการจั ด ทํ า รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี มีการรวบรวมผลการ ดํ า เนิ น งาน และผลการประเมิ น เพื่ อ จั ด ทํ า รายงาน คุณภาพการศึกษา มีการเขียนรายงานที่มีความชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาสาระสําคัญ และแสดงหลักฐานข้อมูล ผลสั ม ฤทธิ์ ข องสถานศึ ก ษาในรอบปี ที่ เ ที่ ย งตรงและ เชื่ อถื อได้ มี ก ารจั ด ทํ า รายงานประเมิ น ตนเองของ สถานศึกษาเสนอหน่วยงานต้นสังกัด และคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานทราบอย่างต่อเนื่อง มีการนําเสนอ ผลการประเมิ น ตนเองไปใช้ ใ นการปรั บ ปรุ ง มาตรฐาน คุ ณ ภาพการศึ ก ษา มี ก ารนํ า ผลการพั ฒ นาคุ ณ ภาพ การศึ ก ษามาวิ เ คราะห์ แ ปลผลใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล สํ า หรั บ ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา ตลอดจนมี ก ารจั ด ทํ า รายงาน

59

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน...

คุณภาพการศึกษาครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา การ บริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ จุดเด่น / จุดด้อย แนว ทางการพั ฒ นาคุณ ภาพการศึก ษาโดยมี ผู้มี ส่ วนร่ วมใน ความรับผิดชอบที่ชัดเจน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ นภวรรณ ศรีภูธร (2544) ที่ พบว่าด้านการรายงาน มี การกําหนดการอยู่ในระดับ “มาก” 8)ด้ า นผดุ ง ระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา พบว่ า มี ก ารปฏิ บั ติง านอยู่ ใ นระดั บ “มาก” ผู้ วิ จั ย มี ความเห็ น ว่ า ทั้ งนี้ อาจเป็ นเพราะโรงเรี ยนมี การ กํ า กั บ ติดตาม ประเมินผลและผดุงระบบประกันคุณภาพ อย่าง มีประสิทธิภาพ และเป็นกลไก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบ ประกันคุณภาพการศึกษาที่มีหน้าที่หลักในการให้ข้อมูล ย้ อ น กลั บ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม กา รพั ฒ น า และป ระเมิ น ประสิทธิภาพในการดําเนินงานของระบบประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา และพบว่าโรงเรียนมีการ เสน อแนวทางกา รพั ฒ นา การจั ด กา รศึ ก ษา ของ สถานศึกษาในปีต่อไป ซึ่งครอบคลุมสาระสําคัญ จุดเด่น ที่ควรผดุงไว้และจุดด้อยที่ต้องแก้ไขป้องกัน มีแผนพัฒนา บุคลากรในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ต่อเนื่องระยะ ยาว มี ก ารปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาและรั ก ษาระบบประกั น คุณภาพการศึกษาในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง และทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม มีการศึกษาวิเคราะห์กิจกรรม/ โครงการที่ ดํ า เนิ น การอยู่ ร่ วมกั น สนับ สนุ นกิ จ กรรม/ โครงการที่ดําเนินการ ได้ผลดีและนําเทคนิค วิธีการไปใช้ ในการพัฒนากิจกรรม/โครงการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตลอดจนสถานศึ ก ษามี ก ารปรั บ ปรุ ง งานตามรายงาน คุณภาพการศึกษา มีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับ “มาก” 2.2 ผลการเปรี ยบเที ยบความคิ ดเห็ นของผู้ บริ หาร สถานศึกษาและครูผู้สอน เกี่ยวกับการดําเนินงานการ ประกันคุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จําแนกตามขนาดของ สถานศึ กษา ในภาพรวมผู้ บริ หารสถานศึ กษาและครู ที่ ปฏิ บั ติ การสอนสถานศึ ก ษาที่ มี ข นาดต่ า งกั น มี ค วาม คิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การดํ า เนิ น งานการประกั น คุ ณ ภาพ การศึ ก ษา ของโรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณา รายด้าน พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่ปฏิบัติการ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม และ ชิดชนก เชิงเชาว์

สอนสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับ การดํ า เนิ น งานการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ของ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัด สงขลา ตามด้ า นการจั ด ระบบบริ หารและสารสนเทศ ด้ า นการพั ฒ นามาตรฐานการศึ ก ษา ด้ า นการจั ด ทํ า แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการดําเนินการตาม แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการตรวจสอบและ ทบทวนคุ ณ ภาพการศึ ก ษา ด้ า นการประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึ กษา ด้านการรายงานคุณภาพการศึกษาประจํ าปี และด้ า นผดุ ง ระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษามี ค วาม คิ ด เห็ น ของผู้ บ ริ หารสถานศึ ก ษาและครู เกี่ ย วกั บ การ ดําเนิ นงานการประกั นคุ ณภาพการศึ กษา ของโรงเรี ยน เอกชนสอนศาสนาอิสลาม อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ไม่ แตกต่างกัน ซึ่ งสอดคล้องกั บผลการวิจั ยของ เรื องเดช เพ็งจันทร์ (2546) ที่เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับ การดํ า เนิ น การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน สถานศึ ก ษาของ ผู้ บ ริ ห ารและครู ผู้ ส อน จํ า แนกตาม ขนาด คือ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ โดย ภาพรวมทุกด้านพบว่า การดําเนินงานไม่แตกต่างกัน 2.3 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะผู้บริหารสถานศึกษา 1)ควรได้มีการกําหนดนโยบายการดําเนินงาน การประกั นคุณ ภาพการศึ กษาภายใน อย่างเป็น ระบบ โดยกํ า หนดเป็ น แนวทาง และวิ ธี ก ารประเมิ น ให้ สอดคล้ อ งกั บ มาตรฐานการศึ ก ษาในระดั บ เขตพื้ น ที่ การศึ ก ษา โดยใช้ รู ป แบบการตรวจสอบและทบทวน คุณภาพการศึกษาแบบองค์รวมและรูปแบบอื่นๆ 2)การดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในและภายนอก เป็นภารกิจที่สําคัญของสถานศึกษา ดั ง นั้ น สถานศึ ก ษาจึ ง ควรกํ า หนดมาตรฐานระดั บ สถานศึ ก ษาให้ เ หมาะสมกั บ ผู้ เ รี ย น ท้ อ งถิ่ น และ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตลอดจน กําหนดแนวทางการดําเนินงานให้ชัดเจนโดยให้บุคลากร ในสถานศึ ก ษาและชุ ม ชนเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการ ดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา 3)ควรมีการจัดประชุมสัมมนาการดําเนินงาน ตามระบบ หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารประกั น คุ ณ ภาพ

60

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน...

การศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทุ กระดับ นํ าผลการศึ กษาวิจัยใน ครั้ ง นี้ ไปวางแผนแก้ ไ ขปั ญ หาการดํ า เนิ น งานการ ประกันคุณภาพการศึกษาทั้งระบบในระดับสถานศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษา 4)ควรรวบรวมผลการประเมิ น ภายในมา วิเคราะห์ สั ง เคราะห์ แปลผลในภาพรวมทั้ ง หมดแล้ ว นํามาเสนอผลการประเมินต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อนํา ผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงงานของ ตนเองต่อไป 5)ควรมีการนิเทศ กํากับ ติดตามการดําเนินงาน ให้เป็นไปตามแผน และรายงานผลการดําเนินงานการ ประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งสถานศึกษาจะต้องกระทํา อย่างต่อเนื่องและจริงจัง ทั้งนี้และทั้งนั้นเพื่อนําผลที่ได้ รั บ มาปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาการดํ า เนิ น งานการประกั น คุณภาพการศึกษาต่อไป ข้อเสนอแนะครูผู้สอน 1)ควรให้บุคลากรครูและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคนได้มี โอกาสเข้ า ร่ ว มอบรม สั ม มนา เพื่ อ พั ฒ นาความรู้ แ ละ ทัก ษะเกี่ ยวกับ การประกัน คุ ณภาพภายใน ไม่ ควรเน้ น เฉพาะบุคลากรแกนนํา 2)ผู้บริหารระดับสูง ควรสร้างความตระหนักถึง คุณค่าของการประกันคุณภาพภายในและการทํางานเป็น ทีมให้แก่บุคลากร 3)ด้า นการเตรี ยมการและการปรับ ปรุง ระบบ ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาควรมี ก ารประชาพิ จ ารณ์ ธรรมนู ญ สถานศึ ก ษา ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ข้ อ คิ ด เป็ น ที่ หลากหลาย จัดทําแผนพัฒนาให้สอดคล้องกัน กําหนด ทิศทาง กําหนดการนิเทศติดตาม กํากับและประเมินผล ทั้งในระดับบุคคล สถานศึกษา กลุ่มงาน สํานักงานเขต พื้นที่การศึกษา ปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานเพื่อ ปรับปรุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษาให้เหมาะสม ตลอดจนใช้เทคโนโลยีมาใช้ในการเก็บประมวลผลและ นําเสนอข้อมูล 4)สถานศึกษาควรเล็งเห็น และให้ความสําคัญ ในการวิจัยและพัฒนาระบบบริหารและการจัดการศึกษา การพัฒนาสื่อนวัฒกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม และ ชิดชนก เชิงเชาว์

61

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน...

5)โรงเรียนควรส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรครู ชาติชาย พิมพิไสย. 2543. การศึกษาการดําเนินการ มีขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานอย่างสม่ําเสมอ ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของโรงเรี ย น 6)โรงเรีย นควรดํา เนิ นการให้ มีก ารวัด ผลและ ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า สั ง กั ด สํ า นั ก ง า น ก า ร ประเมิ น ผลนั ก เรี ย นด้ ว ยเครื่ อ งมื อ และวิ ธี ก ารที่ ประถมศึ ก ษาจัง หวั ด กาฬสิ น ธุ์. วิ ท ยานิ พ นธ์ หลากหลาย ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการ 7)โรงเรียนควรจัดระบบการบริหารจัดการโดย บ ริ ห า ร ก า ร ศึ ก ษ า บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ให้ บุ ค ลากรมี ส่ ว นร่ ว มทุ ก ขั้ น ตอนและมี ก ารกํ า หนด มหาวิทยาลัยขอนแก่น. บทบาทหน้าที่ในการดําเนินงานอย่างชัดเจน นภวรรณ ศรีภูธร. 2544. การประกันคุณภาพารศึกษา ภายในโรงเรียนนําร่อง สังกัดกรมสามัญศึกษา ข้อเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยครั้งต่อไป จัง หวั ด หนองบั วลํ า ภู . วิ ท ยานิ พนธ์ ปริ ญ ญา 1)ควรศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ ปั ญ หาและแนว การศึ ก ษามหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห าร ทางการแก้ปัญหาการดําเนินงานการประกันคุณภาพการ ก า ร ศึ ก ษ า บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ศึกษาของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2)ควรมีการศึกษาวิจัยโดยใช้กระบวนการวิจัย บุ ญ ถิ่ น วงสิ ท ธิ์ . 2546. การศึ ก ษาการดํ า เนิ น งาน เชิงปฏิบัติการ เกี่ยวกับสภาพการปฏิบัติงาน ปัญหาและ ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของโรงเรี ย น แนวทางการแก้ ปั ญ หาตามระบบการประกั น คุ ณ ภาพ ประถมศึ ก ษาและมั ธ ยมศึ ก ษาในสั ง กั ด การศึ ก ษาภายใน ในโรงเรี ย นต้ น แบบ โรงเรี ย นในฝั น สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครราชศรีมา โรงเรียนแกนนํา หรือทุกสถานศึกษาทั่วประเทศ เขต 5. วิ ท ยานิ พ นธ์ ปริ ญ ญาการศึ ก ษา 3)ควรมีการศึกษาโดยใช้กระบวนการวิจัยเชิง มหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห ารการศึ ก ษา คุณภาพ ควบคู่ไปกับการวิจัยเชิงปริมาณ ทั้งนี้และทั้งนั้น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการดําเนินงานการประกัน เพ็ญศิริ ปานรังศรี. 2548. การประเมินการดําเนินงาน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของโรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนา ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา อิสลาม โรงเรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษา ขนาดกลาง จั ง หวั ด สงขลา. วิ ท ยานิ พ นธ์ ปริ ญ ญาการศึ ก ษา บรรณานุกรม มหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห ารการศึ ก ษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. 2544. การประกัน เรืองเดช เพ็งจันทร์.2546. การดําเนินงานการประกัน คุณ ภาพการศึ ก ษาภายในสถานศึ กษาระดั บ คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในสถานศึ ก ษาขั้ น การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานระบบการประกั น พื้ น ฐานจั ง หวั ด ชั ย ภู มิ . ปริ ญ ญาการศึ ก ษา คุ ณ ภาพการศึ ก ษา : กรอบและแนวการ มหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห ารการศึ ก ษา ดําเนินงาน (ลําดับที่ 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คุรุสภาลาดพร้าว. สมพล จันทร์แ ดง. 2545. การประกัน คุณภายในของ กรมสามั ญ ศึ ก ษา. กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. 2542ข. โรงเรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาขนาดเล็ ก สั ง กั ด กรม เอกสารชุด ประกั นคุ ณภาพ เล่ม 1 ระบบ สามั ญ ศึ ก ษาจั ง หวั ด ขอนแก่ น . วิ ท ยานิ พ นธ์ ประกันคุณภาพการศึกษาและมาตรฐานและ ปริญญาการศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา ตั ว ชี้ วั ด มาตรฐานคุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ ก า ร บ ริ ห า ร ก า ร ศึ ก ษ า บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย โรงเรียนในสังกัดกรมสามัญศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม และ ชิดชนก เชิงเชาว์

สํ า นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึ ก ษา. 2549. หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก าร ประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกของสถานศึ ก ษา ระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานรอบที่ 2 (พ.ศ. 2549-2553). กรุงเทพมหานคร : บริษัทจุด ทองจํากัด . ศิริ ถีอาสนา. 2549. โครงการวิ จัย การพัฒ นาระบบ ประกั นคุ ณภาพภายในโรงเรี ยนอาชีวศึก ษา เอกชนโดยใช้ ห ลั ก การวิ จั ย เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร. วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ป ริ ญ ญ า ก า ร ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร์ มหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห ารการศึ ก ษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

62

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน...


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

63

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

Article Islamic world view of Balance (Al-Wustiyah): It's implication to Socio-economic, political and education. Ruhana Abdulaziz Samaeng M.ed , Lecturer Department of Usulluddin, Faculty of Islamic studies Yala Islamic Univertity Abstract The forth characteristic of the Islamic concept is “Al wasatiyah / Attawazun“ which means balance proportion or moderation , which cover its foundation concept, basic element and ramifications, and which linked with the characteristic of illimitability or “Shumul“, in other word we can combine both the characteristics and call it “balanced illimitability“ . Applying the concept of balance in social, political, economic, and education will created justice in society. In Islam, justice in this comprehensive sense is a fundamental obligation. Injustice is one of the horrified capital sins in Islam, and its perpetrator shall be required on the day of reckoning to bear the burdens of the shortcomings of his victim. This paper is discussing on the concept of the balance in Islamic world view, and its implication to socio-economic, political, and education. The paper discusses the balance of compulsion and freedom, compatibility between worship and place of humanity, balance relationship between God and man, the concept of balance in education, the concept of balance and social transformation, effect of balance in epistemology, effect of balance on economic activity, the impact of concept balance on political life. This paper will be beneficial to reader concerning Islamic world view on concept of balance and its implication to socio-economic, political, and education, Insha Allah . Keyword: Islamic world view, balance, , concept, balance in education , social justice, economic activity, social transformation.


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

64

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

บทความวิชาการ “ดุลยภาพ” อัตลักษณ์แห่งอิสลาม : การประยุกต์ใช้ด้านสังคมเศษฐกิจ การเมือง และ การศึกษา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง M.ed, อาจารย์ สาขาวิชาอุศุลลุดดีน คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา บทคัดย่อ ดุลยภาพ อัตลักษณ์แห่งอิสลาม คือ ความเป็นสายกลาง สมดุล และยุติธรรม เป็นดุลยภาพที่มีความเป็น สากลครอบคลุ ม ทุ ก แง่ มุ ม ของชี วิ ต ซึ่ ง การประยุ ก ต์ ใ ช้ แ นวคิ ด ดุ ล ยภาพนี้ ใ นด้ า นสั ง คม เศษฐกิ จ การเมื อง และ การศึกษา จะช่วยรังสรรค์สังคมที่ยุติธรรมและสันติสุขได้ ในอิสลามความยุติธรรมในความหมายที่กว้างและเป็นสากลนี้เป็นบทบัญญัติบังคับพื้นฐาน ดังนั้นความ อธรรมจึงถือเป็นบาปใหญ่ที่ต้องได้รับการลงโทษในวันแห่งการพิพากษา บทความนี้เกี่ยวกับมโนมติดุลยภาพในอิสลาม การประยุกต์ใช้ในกิจกรรมทางสังคมเศษฐกิจ การเมืองและ การศึกษา ความสมดุลระหว่างการบังคับและอิสรภาพ การภัคดีและสถานภาพของความเป็นมนุษย์ ความสัมพันธ์ที่ สมดุลระหว่างพระเจ้าและมนุษย์ มโนมติเกี่ยวกับดุลยภาพทางการศึกษา แนวคิดของความยุติธรรมกับการปฏิรูปทาง สังคม และผลดีของความสมดุลด้านญาณวิทยา สังคม เศษฐกืจ การเมือง และการศึกษา คําสําคัญ: อัตลักษณ์แห่งอิสลาม ดุลยภาพ ความสมดุลด้านการศึกษา สังคมยุติธรรม มโนมติ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ การปฏิรูปสังคม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

Introduction Balance means to avoid doing too much or too little of something. Islam teaches us to practice moderation in everything we do. Islam wants us to do those things that need to be done in a decent manner. Allah has guided us to do in the middle path. In prayer for instance Allah has mentioned " do not shout in your prayer nor say in under your breath; seek a course in between" (Al-Israa, 17: 110). In charity, Qur'an has clearly stated; " do not keep your hand gripping at your neck nor stretch it out as far as it will reach, lest you soy back blame worthy, destitute." (Al-Israa, 17: 29). In spending" … when they spend, neither give too lavishly nor yet hold back, and keep a happy medium…" (Al-Furqan, 25: 67) In speech and action: " Be modest in the way you walk, and lower your voice : the uqliest sound id a donky's braying," (Luqman, 31: 19) Some religions teach that we can only gain the pleasure of God if we give up everything that we love. They teach, the more we suffer in the life, the greater will be the rewards in the afterlife. The people who follow such religions give up their families, properties, and worldly comforts and they voluntarily suffer hardship. There are other peoples who claim that we should enjoy our lives as much as possible since there is no life after death. They teach that we should concern ourselves with our own pleasures and should not worry about anyone else. Islam teaches us that the best way to live our lives is by doing all things in moderation. To enjoy the blessing that Allah

65

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

has given us is to show our thanks and use them in moderation. To share the blessing of Allah with others is also a way of showing our greatfulness to Him. Some people are stingy and miserly. They have money but they do not want to spend it. They do not contribute to charities. If a needy person comes to them , they rebuke him and turn him away. Other people waste their money and spend it on things that they really do not need. Both kinds of people are disliked by Allah . We should live moderately, spending our money properly, on ourselves, on the needy and on charities. We should thank Allah for having blessed us with it. We must share our wealth with our families, relatives, the needy and any good cause which helps the society. We must trust in Allah and do thing as He commands us to . Our generiousity to others dose not decrease our wealth but rather, it adds to the barakah of our lives. As a complete religion, Islam guides its followers not only to be moderate in spending their wealth but also in dealing with anything both politically and economically. Thus extremism has no room in Islam. Sharing the wealth and helping each other are one of a basic Islamic teaching in order to eradicate poverty and create social justice and a caring society for mankind. Allah says; "And be steadfast in prayer; practise regular charity, and bow down your heads with those who bow down (in worship)" (Al-Baqarah, 2: 43). In other verses Allah says: " For those who give in charity, men and women, and loan to God a Beautiful Loan, it shall be increased manifold


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

to their credit), and they shall have besides) a liberal rewards " (Al-Hadid, 57: 18) Muhamad was a perfect example of moderation to his followers in every walk of life. In expenditure, he advised them to spend within their means, neither to be so lavish as to make themselves destitute, nor to hold back their wealth from those who have a claim on their resources. See the Qur'an as stated earlier (Al-Israa', 17: 29). He gave mankind a golden rule of moderation between the two extreams of lavish expenditure and miserliness; neither to be extravagant in ordinary spending as well as in charity, nor to be niggardly. The people who practice this rule in their life are praised in these words, "Who are neither extravagant nor miserly in their spending, but keep ajust balance between the two extreams." (AlFurqon, 25: 67) The prophet (saw) taught, by his own example, the same rule of moderation in eating, in dressing and in worship (cibadah). Abdullah bin Umar alcAas said that onece he had decided to engage himself in worship all the time; to fast during the day and read the whole Qur'an during the night. His father married him to a young woman. Onece his father asked his wife about him, and she replied, " he is a very pious man and never come to his bed for sleep nor keep any relation with any one. "……….His father complained to the Messenger, who said to him" I have heard that you fast during the day and pray all night. He replied that was right. Then the prophet ( saw) said, " Do not do that, but instead fast sometimes; pray during the night and sleep well, for your body has a claim on you; your eyes have a claim on you; lack of

66

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

sleep will weaken them; your wife and children and relatives have a claim on you too. Anas reported prophet Muhammad as saying," Don't be too cruel to yourselves, certain nation adopted severity towards themselves so God punished them. You can see their remnants in churches and monasteries" All of the prophet (saw) life, in Makkah as an ordinary trader and in Madinah as a ruler, he led a simple life, avoiding extreames, and taught his followers by his personal example to live a similarly moderate life (AbdulMuhaimin abdulkarim: 93) (1) THE QUR'ANIC VERSES ABOUT BALANCE

^ ] \ [ Z c b a ` _ j i h g f e d q p o n m l k y x w vu t s r b a ` _ ~ } | { z i h g f ed c j

"Thus have we made of you an ummah justly balanced that you might be witness over nation" (Al-Baqarah, 2: 143) and "For Muslim men and women for believing men and women, for devout men and women, for free men and women, for true men and women, for men and women who humble themselves, for men and women who give in charity, for men and women who fast (and deny themselves), for men and women who engage much in Allah praise, for them has Allah prepared forgiveness and great reward"


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

(2) DEFINITION OF BALANCE (2.1) Balance means justice; "God sent down His messengers so that people could deal according to justice, upon which depends the keeping of the order in heavens and earth. So whenever or wherever the manifestations of justice are apparent then that is the way of God, His pleasure and His order" (Al- Ma’idah, 5: 8) The prophet said: "By God if Fatimah the daughter of Muhammad steals, Muhammad will enforce the punishment" The Qur’anic term Adl refer to a constructive and positive approach, with reference to the individual and his responsibility toward other members in society. It also refers to effort for establishment of social justice, where individual and community get their due. Adl could be partially understand if we take a legal approach in which justice is understood as correction, repair, remedy, and taking care of grievances. With reference to development of Islamic personality Adl stands for observing those duties and obligations which have been specified by the Qur’an and Sunnah. An individual who taken care of his personal needs may have done Adl to his own self but if his capabilities are not utilized providing necessary assistance and guidance to other members of society he will not be considered as observing Adl. Therefore Adl consequently refers to fulfillment of individual and collective obligations responsibilities in a given society or balance to individual and community. (2.2) Balance means consistency;

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

67

"Show us the straight way" (Al-Fatihah, 1: 6) (2.3) Balance means goodness; "Thus have we made of you an ummah justly balance, that ye might be witness over the nation"(Al-Baqarah, 2: 143?) (2.4) Balance also means security, strength, and it as the center of unity (Yusuf Alqardawi, 1985: 9-10) (3) THE EVIDENCE OF BALANCE IN ISLAM (3.1) Balance of spiritual and material; In Islam it comprises the spiritual and material domains, and the individual and social life. Islam dose not separate the spiritual and physical domains of our life, nor dose it conduce its adherents to emphasize one at the cost of the other. A good believer partakes of both. Yet Islam stress on moderation and it is called a religion of the middle way. We Muslim have to live and struggle in the mosque, as well as in the market and in the field. We are taught that there is time for worship and other times for material work. We are forbidden to perform prayer during certain times each day. We are urged to struggle to increase our productivity and to perfect our product for the sake of Allah, and to be careful not to waste time or energy because we are to give account to Almighty on the day of judgment as to how spent and how we had invested those gifts bestowed by Allah upon us . From the above explanation, it has become clear to us that Islam is a practical complete way of life. It is not a religion burden with rhetoric or symbolic mysteries. And Islam is balance religion as we can see in balance between spiritual and material, Allah says;


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

"O ye who believe, when the call is proclaimed to prayer on Friday ( the day of assembly) hasten earnestly to the remembrance of Allah and when the prayer finished then ye may disperse through the land" (Al-Jumacah, 62: 910) (3.2) Balance between permanent and flexibility; The fixed part of sharicah scheme there can be no practice of usury or open consumption of liquor or tolerated cases of rape, extortion, and robbery. It is clear that the application of this part of the sharicah Islam is in the best interest of the social life. The ordinance of this “permanent” part of sharicah is inherently good in the case of prescribed virtues, or inherently evil in the case of prohibited vices and practices. They are therefore, applicable and most suitable at all time for all nations. The flexibility part of sharicah on the other hand has made sharicah capable of adaptation to the needs of times and environments. Life at the time of the prophet, please and blessing be upon him was relatively simple. It was simpler than the life of two decades latter when his companions observed within the fold of the Muslim state. They and their successors ruled over these territories in the light of sharicah effectively and efficiently. Success was more due to the genius of sharicah itself which could be effectively adapted to the needs of the time. Those new conditions challenged the intellectual gift and fired the imagination of the Muslim scholar who during the first three century of Islam was able to develop the vast literature of fiqh, leaving the

68

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

huge rich heritage of Muslim jurisprudence and established numerous legal Mazhabs. (2) Life in modern times is much more complex than ever before. During the last seven decades or so, there have been many amazing discoveries and inventions. We now enjoy electric light, travel comfortably in motor cars, and travel fast in aero planes. We have wide smooth roads, work in air-conditioned offices, and have easy and have rapid communication through telephone, telegrams, teletaxes and internet. Improved health conditioned have led to rapid increase of the would population, bringing many problems along. Life now cannot go smoothly without complex sets of rules and regulations. The flexibility of sharicah certainly able to provide for all these legislation and can efficiently and effectively adapt itself to the needs. Sweeping critism of sharicah as unsuitable to our times, stem from the lack of sufficient knowledge. Just give it a chance. Let us adopt sharicah as the basic source of legislation and apply it where there is no apparent hindrances till the time when these hindrances can be overcome. The prophet peace and blessings be on him said; "When I command you to do something, fulfill of it the degree you can afford to fulfill" "I am leaving behind that which if you should fast to, you will never go astray, namely the book of Almighty Allah and my own sunnah" (3.3) Balance in faith (Aqidah) "And they say “none shall enter paradise unless he be Jews or a Christian “those are their vain desire. Say produces your proof if you are truthful" (AlBaqarah, 2:111) Islam believes in the unity of God, that one Supreme Being from whom we can get the


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

necessary light. God is all knowing and all seeing. (3.4) Balance of Islam in worship (Ibadah) and ritual "O ye who believe, when the call is proclaimed to prayer on Friday (the day of assembly) hasten earnestly to the remembrance of Allah and when the prayer finished then ye may disperse through the land" (Al-Jumacah, 62: 9-10) (3.5) Balance in ethical and morality; "Eat and drink but waste not by excess, for Allah loveth not the wasters" (Al-Unfal, 7: 31) (3.6) Balance in legislation "For the equity of the Jews we made unlawful for them certain (foods) good and wholesome which had been lawful for them. In that they hindered many from Allah way" (AlNisaa, 4: 160) (3.6) Balance between individual and collectivism (3.6.1) The rights of individual are; a) The blood of Muslims is unlawful "On that account we ordained for the children of Israel that if any one slew a person unless it is for murder or for the spreading mischief in the land, it would be as if he slew the whole people. And if any one saves a life it would be as the life of the whole people" (AlMaidah, 5: 32) b) Individual right for respected "O ye who believe! Let not some men among you laugh at others. It may be that the (latter) are better than the (former). Nor let some women laugh at others; it may be that the latter are better than the former. Nor

69

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

defame nor be sacra tic to each other by (offensive) nicknames till seeming is a name connoting wickedness (to be use of one) after he has believed. And those who do not desist are indeed doing wrong)" (Al-Hujrat, 49: 11) c) Individual wealth protection "Oh you who believe ! do not consume the possessions of one another unjustly, but (consume them ) only by trade that is mutually agreed between yourselves. Do not kill one another. Allah is compassionate towards you" (Annisat, 4: 29) d) Individual right of faith "Let there be no compulsion in religion" (Al-Baqarah, 2: 256) e) Individual freedom of thinking f) Individual responsibility "Every soul will be (held) the pledge for its deed" (Al-Muddathir, 74: 38) "No bearer of burden can bear the burden of another" (Al-Israa, 17:15) These individual right is important in Islam. The fact that man is crueler to himself than to any other being. On the face of it this may be astonishing; how man can be unjust to himself, particularly when we find that he loves himself most. The greatest weakness of man is that when we feel an overpowering desire, instead of resisting it, he succumbs to it, and in it gratifications knowingly cause great harm to himself. One comes across disequilibrium in one’s every day life and there is no need to multiply them here. Islam stands for human welfare and its avowed objective is to establish balance in life. That is why the sharicah clearly declares that your own self also have certain right upon you.


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

A fundamental principle of it is "There are right upon you of your own person" Islam forbids suicide and impresses on man that life belong to God. This how Islam instills in the mind of man that his own person, his own self, possesses certain rights and it is his obligation to discharge them as best he can, in the way that have been suggested by the sharicah. This is how he can be true to his own self. (3.6.2) Collective rights On the one hand the sharicah has enjoined man to fulfill his personal rights and be just to his own self, and on the other, it has asked him to seek their fulfillment in such a way that the rights of other people are not violated. The sharicah has tried to strike a balance between the rights of society, so that no conflict arises and there is co-operation in establishing to law of God. What Islam totally disapproves of is conceited self-centeredness, which neglects the welfare and welfare and well being of others and gives birth to the exaggerated individualism. It instill in the minds of its followers social consciousness and suggest that they live a simple and frugal life, that they avoid excesses and while fulfilling their own needs, keep in mind the needs and requirement of their friends and associates, their neighbors and follow-citizen. This is what Islam wants to achieve. Allah says; "And fear tumult or oppression which affecteth not in particular (only) those of you who doing wrong and know that Allah is strict in punishment" (Al-Anfal, 8:25)

70

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

(4) THE IMPLICATION OF ISLAMIC CONCEPT OF BALANCE (4.1) Balance of compulsion and freedom The compatibility between the divine will and the human freedom is an important problem of the human history, which is the basis of every material philosophy or the nonmaterial theory. In this problem the opinion of Islam is very balanced. In Islam the real activation or motivation is from Allah and Allah alone. But Islam dose not ignore the important of human will. Human will is that basis on account of which man has been bestowed the high rank of the vicegerency of the earth, and He has given central position in the whole system of the universe. Islam establishes balance in both positions. According to it the manifest cause are ascribed to the human will, while beyond that the real cause are attribute to Allah. Allah says; "No misfortune can happen on earth or in your souls but is recorded in a decree before we bring it into existence that is truly easy for Allah" (Al-Hadid, 57: 22) "Say nothing will happen to us except what Allah has decreed for us; He is our protector and on Allah let the believers put their trust" (Al-Tawbah, 9: 51) "By the soul, and the proportion and order given to it; and its enlightenment as to its wrong and right-truly he succeeds that purifies it, and he fails that corrupts It" (Al-Sham, 91: 7-10) In Islamic concept there is no difficulty in connection with this problem of compulsion and freedom. In the Islamic concept "Taqdeer" (Destiny) means of all creations, whether


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

animate or inanimate matter, the creator is Allah, it is He alone who controls and shapes human life according to circumstance; all things come into existence by His will, and all movement and changes take place by His will only, and the assertion of man. (Yusuf Alqardawi, 1989: 115-143) Allah says; "Verily never will Allah change the condition of people until the change it themselves (with their own soul)" (Racad, 13: 11) The fact of every affair returning to the will of Allah dose not denies the existence of human will and desire nor dose it suppress it. The right way of thinking is that we should give up all the previous reservations and reflection on these topics about a clash or opposition between the divine will and human will. Because these are the problems which do not brook any other argument except the spiritual guidance, Allah says; "And your lord is not an oppressor for His slaves" (Fussilat, 41: 46) There is no conflict between the Devine will and the destiny on the one hand and the human freedom of action on the other. But that man is responsible for his own acts so that he may be questioned for his goods and bad acts. This will and this freedom is not in opposition to the will and pleasure of Allah which covers the entire universe. The point of view of Islam is that this world is a place of action and trials, and the hereafter is the place for reckoning and reward and punishment. (4.2) Compatibility between Worship and Place of Humanity

71

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

The Islamic concept had provided such compatibility between the concept of worship and the place of position on humanity that every possibility of error and wrong course of action has been done away with. Some religion have given such wrong explanations for the place of humanity that they have carried man to the high rank of god, and some have given such a negative meaning to the concept of worship that man has reached the nadir of dishonor and disgrace. Islam has clearly explained of two positions. On the one hand it has presented a correct picture of the Devine reality and the Devine attributes and on the other it has presented a true image of reality. In the reality and nature of Allah, there is none who is His Partner. "There is nothing (in the universe) like Him" (Shura, 42: 11) He is no associate in His existence. "He is the first and the last, the evident and the immanent" (Al-Hadid, 57: 2) Man is Allah slave, and Allah has breathed His spirit into him, and has made him respectable and honorable in the whole world, so much that He commands the nearest one to Him, the angle to prostate before man. Behold! your lord said to angles I am about to create man, from sounding clay, from mud molded into shape; when I have fashioned him and breath into him of my spirit, fall you down in obeisance to him, so the angle prostrated themselves all of them together (Al- Hijr, 15: 28-30 ) Man on this earth is Allah’s khalifah. Everything on this earth has been made sub servant to him, and he has precedence over


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

72

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

everything. This is the superior of man to other creation. Therefore there is no contradiction in the Islamic concept in respect of human respect and honor, nobility and authority, and Allah divinity and its theory of servitude of man. Man honor and dignity do not demand that we should servitude and subjugate to God and we may try to prove Devine qualities in his material existence as the people of the church tried to do in respect of prophet Eeasa (Jesus) (4) Islam has granted man his real position, a position which gives him satisfaction peace. He is the slaves of Allah, and by worshiping Allah he become superior to all other creatures.

objective is clear and distinct. With this self confidence he also has satisfaction that he is under the protection of Allah. That Allah who is most beneficent and most Gracious. Allah who dose not oppress or compel any body nor does He has a revengeful disposition of His slaves misbehave. The concept of God to other theories for example according to Aristotle, God is the victim of self-deception to such an extent that he dose not think about any body else except himself. In material theory god is blind, deaf, and mute matter. Therefore when we compare to false theories, the Islamic theory is balance and pleasant. And the influence of this balance is very prominent of human life and on the moral and social values.

(5) BALANCE RELATIONSHIP BETWEEN GOD AND MAN The relationship between god and man is balanced. In feeling fright and terror and in feeling comfort, peace and satisfaction, there is mutual relationship. In the universe and in the human life Allah is the real activator, and in all contradictory and opposing feeling He is the cause of perfect balance. "And know that Allah comes in between a man and his heart, and that is He to whom you shall be gathered" (Al-Anfal, 8: 24) Between greed and fear, wildness and love, distress and satisfaction, Islam has created a beauty of proportion for the human conscience, and with full consciousness, then he never fell helpless, disgraced and in difficulty, he neither stray nor does he allow his destination to disappear from his sight. His

(6) EFFECTS OF BALANCE ON EPISTEMOLOGY In the realm of epistemology, Islam provides a new understanding of knowledge. Since public revelation (Wahy) is the only reliable source of ultimate knowledge and truth, reason is brought into harmony with revelation. Revelation in Islam should not be confused with the mystical experience. Though there exist many apparent similarities between them, these are two differences kind of experience. Therefore, applying concept of balance to both knowledge is needed for Muslim to overcome dualism in education as enfluenced from colonialism and the enlightenment periods. (7) THE CONCEPT OF BALANCE IN EDUCATION There are two important sources of human knowledge, guidance from the unseen


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

and the observation of the universe, or in other word religion and the experience of human life. Islam has established between the two. Unfortunately Europe could not establish balance between these two sources. They most emphasize on intellect. The acceptance and importance of one source become the cause of the rejection of the other source. Islam consider revelation or inspiration as the first source of knowledge because this is such a reliable source as brook any kind of interference from falsehood, nor is there any possibility of human desire or wishes influencing it or interfering with it. On these ground it enjoys the privilege of being the high source. While acknowledging the greatness and importance of this source, Islam does not deny the important of intellect. The conclusion draw from the observation of the universe and the experience of life are given their due rights by Islam. Universe like the Devine revelation is an open book which has been created by Allah. It provides knowledge and awareness to man. There is only one difference between the two, that the conclusion drawn from the study of the universe are not definite and final, but there is a possibility of errors occurring in them, while the theories provided by revelation are definite and final. "Glory to Allah, who created in pairs all thing that earth produces, as well as their own humankind and other things of which they have no knowledge" (Yasin, 36: 36) "He is the creator of the heavens and the earth, He has made for you pairs

73

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

from among yourselves, and pair among cattle" (Shura, 42: 11) As Islamic education is concerned, Islamic world view of balance should be applied in education. In case of knowledge man has to do justice to it and make balance between revealed knowledge and acquire knowledge. That is to know it limit of usefulness and not to exceed or fall short of it. To know it various orders of priority in relation to its usefulness to one’s self. To know where to stop, and to know the source of knowledge that one gained. To know what can be gained and what cannot, and what is true knowledge. As in respect of dual nature of man, justice is the condition and situation where by he is in right and proper place. Then the knowledge of the right place for thing or being to be is wisdom. Therefore dualism in education is kind of injustice and imbalance in society. Getting involved in activities that lead to realization of social justice in community through social critique is compulsory for every Muslims. The integrated of revealed knowledge and acquired knowledge is needed in Islamic education. (8) THE CONCEPT OF BALANCE AND SOCIAL TRANSFORMATION The concept of balance in Islamic characteristic transforms the value system of the individual as well as of society. In Makkah (in the first century AH / seventh century AC) when the Islamic movement began, its objectives was on only to make specific reforms in the religious life of the Arabs, its emphasize as well on modernity and social change was manifest. The massage of which


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

also stress on the balance personality play a great role in transformation of society, from injustice society to justice society. Where the concept of balance brings the notion of equality among mankind, the only one who own the high position in the eyes of God is one who believes in Allah (Al Muttaqeen) (9) EFFECT OF BALANCE ON ECONOMIC ACTIVITY Concept of balance in personal and social life is followed by its introduction and application in the market place. One of the fundamental teaching of Islam is the seeking Hasanat (goods) in this world is no less moral and virtuous than seeking Allah’s favor in life here after. The significance of economic participation, production, and distribution is impressed on Muslims’ mind by placing it in the context of an important ritual, the Jum’ah prayer congregation. "O ye who believe, when the call is proclaimed to prayer on Friday ( the day of assembly) hasten earnestly to the remembrance of Allah and when the prayer finished then ye may disperse through the land and seek Allah bounty and remember Allah much so that you may be successful" (Jumcah, 62: 9-10) Hence Al-Qur’an develops a harmony and balance between the spiritual and economic needs of man. Friday is not a day for rest nor is it holy day. Therefore as soon as the prayer is over, the believer is asked to resume his economic obligation. Seeking economic prosperity, in this context, is a continuation of prayer and worship. Balance, however is to be

74

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

maintained. Economic activity, even large scale production, should not lead him wantonness. "They who hoard up gold and silver and spend not in the way of Allah onto them give tiding (O Muhammad) of a painful doom" (Attaubah, 9:34) This harmonious balance leads to at least three responses; First it helps one overcome the tendency to a mass wealth out of selfish motives, though one may find at the end of fiscal year a reasonable saving in one’s purse. Second it encourages one to engage in lawful economic competition for spiritual purification (Tazkiyah). This purification is reinforced in Islam by the third pillar of the faith, al-Zakah Third, it encourages one to spend in the way of Allah and help needy in society. "Take dues from their wealth, where with you may purify them and make them grow, and pray for them" (Attaubah, 9: 103) Establishment of al-Zakah is possible only when a just and equitable economic system exist. Al-zakah cannot purify or multiply wealth accumulated through injustice or imbalance, exploitation, corruption, and immoral economic activities. On a more positive and constructive level, both the zakah system and the system of sharing profits and risks (Mudarabah) provide incentives for investment and deter hoarding. It represents social justice that Islam wants to implement. The social good of all the member of a society is central to the new socioeconomic order created under the doctrine of tawhid.


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

Not only dose individual have to be just in his economic dealing with his fellow men, but the state also has to be just dealing with its citizens. Allah says; "And the sky, He has raised, and the balance He has placed, that you may not transgress the balance, and establish the balance equitably and do not fall short in balancing" (Arrahman, 55: 7-9)

75

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

months- a penance from Allah, the Knower , the wise" (Annisat, 4: 92) The prophet said; "Who so ever kills his slave, we shall kill him, and if he should castrate him, he shall suffer the same". Islam not only emphasized balance and warned of severe punishment for any type of imbalance, but also stresses certain modes of behavior that should foster peace and safe (10) THE IMPACT OF CONCEPT BALANCE ON guard it, especially balance in faith (Ictiqad). POLITICAL LIFE Concept of balance first introduces the CONCLUSION idea that all men are equal in dignity and as Muslims need to maintain balance in such are equally entitled to participate in every aspects of life. When Muslims should not political processes and responsibilities. There separate the spiritual and material domain of should be no privileged class with political as our life. When Muslim should not separate the tendency over others. Second it calls for spiritual and material domain of our life. And rejection of all kinds of exploitation and should not separate individual and social life. condemns exploiters such as unjust kings, We must establish good relation to ourselves, dictator and so on. Third and at a more positive to the member of society, and to Allah. The level, it established a political system base on important is our relation to Allah as His servant the sovereignty of Allah and the supremacy of and His vicegerent on earth, who responsible the sharicah in political life. Therefore, without for establishing Islamic society. The society applying the concept of balance in political life, which is justice and base on the Devine law it will not create social justice in the society. (Sharicah). This can be done through awareness Regarding Islamic state is a classless of God. Presence and God ever watchful eyes. society in which all must enjoy equal right and The concept of Al-Akhirah as the source of equal opportunity. Allah says in the Qur’an; motivation for Muslims to involve in certain "He who kills a believer by mistake activities which can bring Taqwa to Allah. must set free a believing slave, and pay the Therefore, the concept of balance between life blood money to the family of the slain unless in this world and the life after death is the forgo it as a charity ….it he (the slain important to every Muslims to be successfully person) comes of an (unbelieving) folk with return back to Allah. As the prophet be upon whom you have a covenant, then the blood him always emphasized on the notion of money must be paid to hid folk and also to a balance of this worldly life and the life after believing slave must be set free. Whosoever, death. cannot afford it, has to fast two consecutive


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูฮานา อับดุลอาศิส สาแมง

76

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 "ดุลยภาพ" อัตลัก ษณ์แ ห่ง อิสลาม...

Therefore, there is no deny that the Hasan Langgulung. t.t. Beberapa Tujuan Dalam concept of balance is important for Muslims to Pendidikan Dalam. al-Qur’an. terj. be maintained and practice in every aspects of Abdullah Hj. Salleh. Pustaka sa. life, because it is one source of establishing ______ .1991. Pendidikan Islam Menghadapi social justice, and equality among mankind. Abad Ke-21. Shahlam: Hizbi. ______. 1991. Asas-Asas Pendidikan. Kuala REFERENCES Lumpur: Dewan Bahasa Dan Pustaka. Muhammad al-Ghazali. 1998. Dialoq dengan al-Qur’an al-Karim al-Qur’an. terj. Mardiyah Syamsuddin. Kuala Lumpur: Jasmin Enterprise. Abdul Muheimin Abdul Karim. "Al-Nahdah", Shalaby Ahmad. 1970. Sejarah dan Kebudayan Journal RISEAP. Vol 20, p 3. Islam. Singapura : Pustaka Nasional. Ahmad bin Haji Mohd. Salleh. 1989. Kursus Subhi Salih .1991. Kajian al-Qur’an. Terj. Zinal Pendidikan Islam. Kelantan: Pustaka Abidin bin Abdul Kadir. Edisi 2. Kuala Aman Press. Sdn. Bhd.. Lumpur: Dewan Bahasa Dan Pustaka, ______. 1997. Pendidikan Islam: Falsafah, KPM. Pedagogi Dan Metodologi. Shah Alam: S.S. Husain, S.A. Ashraf. 1989. Krisis Dalam Fajar Bakti Sdn.Bhd.. Pendidikan Islam. terj. Masa’od al-Attas, Shik Muhammad Naquib. 1987. Abdul Rashid. Kuala Lumpur: Dewan Konsep pendidikan Dalam Islam: Bahasa Dan Pustaka. Suatu Rangka Fikir, Pembinaan Yusuf al-Qardawi. 1989. Al-Khasais al-cAmmah Filsafat Pendidikan Islam. Bandung: lil Islam. Kahirah: Maktabah wahbah. Penerbit Mizan. al-Banna, Hasan. 1981. Kunci Memahami alQur’an. Singapore: Pustaka Nasional Pte. Ltd.. al-Faruqi, Ismail R. 1990. Fikiran Dan Budaya Islam. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa Dan Pustaka. Azam Hamzah dan Zulekha Yusoff. 1990. Tamadun Islam: Konsep dan Pencapaiannya. Kuala Lumpur: Hizbi. Desuki Haji Ahmad. 1978. Ikhtisar Perkembangan Islam. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. Hamka, Abdul Malik Karim Amrullah Dr., Haji. 1980. Sejarah Umat Islam. KualaLumpur: Pustaka Antara.


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุบันโญ จีนารงค์

77

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม...

Article Good Governance and Thailand Sustainable Development Subanyo Geenarong The instructor of Department of Public Administration The Faculty of Liberal Arts & Social Sciences Yala Islamic University Abstract This article aims to study Thailand sustainable development for understanding and considering any issues in Thailand development. In this study, Thailand development based on self-reliant good governance by applying integrated development as well as having economic, social, political, and environmental equilibrium. This development would be considered as immunized society to keep up with the world as well as creating moral people in all levels in view of good governance as the way to success in Thailand sustainable development. In general, the guideline for creating good governance and Thailand development would be very significance to Thailand sustainable development. According to an analysis and discussion of this research, a researcher points out in view of Thailand development, that is, country development should significantly rely on good governance of Thai people in order to conform with the situation under condition of changing tendency in globalization era which would be affected to the direction of Thailand development. In addition, this development also focuses on holistic development in which people and society are settled in center of development. Moreover, share value is created by creating conscience to Thai people to be aware in Thailand crisis. Consequently, the guideline of country development which is based on “Sufficiency Economic” is determined as well as creating moral people who full of moral and ethical principles as the determination in personal and organizational behavior. Beside, the procedure and process of Thailand development as well as problem situations and solutions are determined. As a matter of fact, it is time to review the guideline of Thailand development as a pattern to solve national issues as well as the significance of appropriate element in public management and Thailand sustainable development. Finally, the notion in previous Thailand development result is then summarized and recommended by the researcher. Keywords: Good Governance, Sustainable Development, Sufficiency Economic, Applying Integrated Development


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุบันโญ จีนารงค์

78

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม...

บทความวิชาการ ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม กับการพัฒนาประเทศไทยอย่างยั่งยืน สุบันโญ จีนารงค์ อาจารย์ประจําสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา บทคัดย่อ บทความนี้ มี วัต ถุ ประสงค์เพื่ อสร้ างความเข้ าใจตลอดจนเพื่ อเป็ นการพิ จารณาถึ งปั ญหาของการพัฒ นา ประเทศไทยอย่างยั่งยืน คือ การพัฒนาประเทศที่ตั้งอยู่บนฐานของการมีธรรมาภิบาล ด้วยการพึ่งพาตนเอง โดยการ พัฒนาอย่างบูรณาการ มีดุลยภาพ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อม จะเป็นสังคมที่มีภูมิคุ้มกัน เท่า ทันโลกและเสริมสร้างให้เกิดคนดีในทุกระดับในมิติการมีธรรมาภิบาลเพื่อให้เป็นแนวทางที่จะให้บังเกิดผลต่อการ พัฒนาประเทศไทยอย่างยั่งยืนโดยมองว่าแนวทางการสร้างธรรมาภิบาลกับการพัฒนาประเทศไทยน่าจะมีความสําคัญ ยิ่งต่อความยั่งยืนโดยทั่วไป ทั้งนี้การวิเคราะห์และอภิปรายเรื่องนี้ผู้เขียนจะชี้ให้เห็นภาพของคําว่า การพัฒนาประเทศ จะต้องอาศัยการมีธรรมาภิบาลของคนในชาติเป็นสําคัญ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ภายใต้เงื่อนไขสถานการณ์ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์ ที่มีผลต่อทิศทางการพัฒนาประเทศไทย ที่มุ่งเน้นการพัฒนาแบบองค์ รวมที่ยึดคนและชุมชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา สร้างค่านิยมร่วมโดยการสร้างจิตสํานึกให้คนไทยได้ตระหนักถึง วิกฤตของประเทศ และกําหนดแนวทางการพัฒนาประเทศ โดยยึดหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ตลอดจนการ สร้างคนดีที่เพียบพร้อมด้วยหลักคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อจะเป็นตัวกําหนดพฤติกรรมของบุคคลและองค์การใน ขบวนการและขั้นตอนในการพัฒนาประเทศไทยกับสถานการณ์ปัญหาตลอดจนการแก้ไขปัญหาจึงถึงเวลาที่จะทบทวน แนวการพัฒนาประเทศไทย เพื่อให้การแก้ไขปัญหาชาติ ซึ่งถือเป็นรูปแบบหนึ่ง พร้อมทั้งชี้ให้เห็นความสําคัญของ องค์ประกอบที่เหมาะสมในการบริหารปกครองประเทศตลอดจนการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน สุดท้ายผู้เขียนได้สรุป และเสนอแนะแนวคิดจากผลการพัฒนาที่ผ่านมาของการพัฒนาประเทศของไทย คําสําคัญ: ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม, การพัฒนาอย่างยั่งยืน, ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, การพึ่งพาตนเอง โดยการพัฒนาอย่างบูรณาการ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุบันโญ จีนารงค์

บทนํา ประทศไทยกําลังเผชิญกับภาวะการณ์ใหม่ทั้ง ในทางการเมือง สังคมและเศรษฐกิจทั้งเผชิญแรงกดดัน จากกระแสการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมโลก ซึ่งกระแส การเปลี่ ยนแปลงของโลกที่สํ าคั ญ ได้แ ก่ การปกครอง แบบประชาธิปไตยที่เปิดโอกาส ให้ประชาชนได้มีส่วน ร่ ว มในการปกครองตนเองมากยิ่ ง ขึ้ น การเคารพสิ ท ธิ มนุ ษ ยชน และคุ ณ ภาพชี วิ ต อย่ า งเท่ า เที ย มกั น การ ส่งเสริม การค้าเสรี การพิทัก ษ์สิ่ง แวดล้อม และการให้ ข้อมูลข่าวสารแบบเครือข่าย ซึ่งประเด็นเหล่านี้ นับวันจะ ทวี ค วามสํ า คั ญ มากยิ่ ง ขึ้ น สภาวะการเปลี่ ย นแปลง ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ประเทศไทยเร่ ง ปรั บ ตั ว ในแต่ ล ะด้ า น อย่างเร่งด่วน การจัดทํารัฐธรรมนูญใหม่ในปี พ.ศ.2550 คือการปรับตัวทางการเมืองครั้งใหญ่ โดยการสําคัญทาง รั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ นี้ คื อ การส่ ง เสริ ม และคุ้ ม ครองสิ ท ธิ เสรีภาพของประชาชนและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่เท่า เทียมกัน ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองและการ ตรวจสอบการใช้ อํ า นาจจริ ง ๆเพิ่ ม ขึ้ น การปรั บ ปรุ ง โครงสร้า งทางการเมืองให้มีเสถี ยรภาพ ประสิ ทธิ ภาพ มากขึ้ น โดยกํ า หนดให้ มี ม าตรฐานทางคุ ณ ธรรมและ จริยธรรมของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ ของรัฐ เพื่อป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ การ กระจายอํ า นาจให้ ท้ องถิ่ น พึ่ ง ตนเอง และตั ด สิ น ใจใน ท้องถิ่นได้เอง การจัดระบบงานของรัฐให้มีประสิทธิภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนตลอดจนให้ คํ า นึ ง ถึ ง ความคิ ด เห็ น ของประชาชนเป็ น สํ า คั ญ การ สนั บ สนุ น ระบบเศรษฐกิ จ เสรี โ ดยอาศั ย กลไกจากการ ยกเลิกและละเว้นทางกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่ควบคุม ธุรกิจที่ไม่สอดคล้องกับความจําเป็นทางเศรษฐกิจภาครัฐ ซึ่งประกอบด้วยบุคลากรเป็นจํานวนเกือบ 3 ล้านคน จําเป็นต้องเปลี่ยนแปลงตนเองให้สอดรับและสนองต่อ สภาวะใหม่ของสังคมไทยดังกล่าว วิกฤติทางเศรษฐกิจใน กลางปี พ.ศ.2540 เป็นจุดหักเหสําคัญของสังคมไทย เพราะปัญหาที่เกิดคือผลลัพธ์ของการสะสมของปัญหา ต่างๆ ที่มีมานานกว่า 50 ปี ปัญหาสําคัญประการหนึ่ง ได้ แ ก่ ก ารที่ ภ าครั ฐ ขาดความสามารถในการบริ ห าร จั ด การและปรั บ ตั ว เองได้ อ ย่ า งทั น การณ์ กั บ การ เปลี่ ย นไปของสภาพแวดล้ อ มทั้ ง ในและนอกประเทศ

79

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม...

ความไม่ ส ามารถปรั บ ตั วให้ ทั นการณ์ใ นด้ านต่ า งๆของ ภาครัฐจึงนํามาสู่ปัญหาและสภาวะวิกฤติของประเทศที่ เกิดขึ้น ตั้งแต่กลางปี 2540 และเห็นผลอย่างชัดเจนในปี ต่อมา ภาครัฐจึงไม่มีทางอื่น นอกจากการปฏิรูประบบ บริหารภาครัฐทั้งระบบและระบบกฎหมาย เพื่อที่จะพลิก ฟื้ น ให้ เป็ น พลั ง และอาวุ ธ สํ า คั ญ ในการนํ า ชั ย ชนะมาสู่ ประเทศแบบ “ธรรมาภิบาล” (Governance) เพื่อสร้าง ระบบเศรษฐกิจและสังคมในแบบประชาธิปไตยทางการ เมืองของประเทศให้พัฒนาต่อไปได้อย่างยั่งยืนในเวทีโลก ความนํา : ความหมายของธรรมาภิบาล คําว่า “ธรรมาภิบาล” หรือที่บางท่านเรียกว่า ธรรมรั ฐ นั้ น ตรงกั บ คํ า ภาษาอั ง กฤษว่ า “Good Governance” คํานี้เริ่มใช้กันแพร่หลายภายหลังการ ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับใหม่ และหลังจากภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจในปี 2540 รัฐบาล ไทยให้คํามั่นว่าจะต้องสร้าง “Good governance” ขึ้น ในการบริหารจัดการภาครัฐ “Good Governance” เป็นคําที่ IMF ใช้เรียก สําหรับภาษาไทยใช้เรียกหลายคํา คือ ธรรมรั ฐ หรื อระเบีย บวาระแห่ งชาติ หรือธรรมาภิ บาล ถึ ง แม้ จ ะใช้ คํ า อะไรก็ ต าม “กระแส” และความ ยุ่งยากคือ การจะเลือกกระแสอะไรมาใช้ อย่างไรก็ตาม “กระแส” ของGovernance เป็ น การปกครองแบบ ประชาธิปไตยเป็นคําที่ให้ความหมายและความรู้สึกของ ความเป็นประชาธิปไตยอยู่แล้ว ดังนั้นต่างประเทศจึงไม่ ใช้คําว่า Good Governance แต่จะใช้ Governance เพราะเหตุว่าเป็น “กระแส” ที่ประเทศต่างๆในโลกนี้เห็น พ้ อ ง กั น ว่ า เ ป็ น ค ว า ม ดี อ ยู่ แ ล้ ว ก ล่ า ว โ ด ย ส รุ ป Governance คือ Democratic Governance คือ การ จั ด การปกครองแบบประชาธิ ป ไตยจะเป็ น เป็ น การ วางรากฐานการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น สํ า หรั บ สั ง คมไทยใน ปั จ จุ บั น ให้ เ ป็ น สั ง คมเสถี ย รภาพ(อรพิ น ธ์ สพโชคชั ย . (2540,ธันวาคม). “สังคมเสถียรภาพและกลไกประชารัฐ ที่ ดี ”. รายงานที่ ดี อ าร์ ไ อ. ฉบั บ ที่ 20 : 11) แนวความคิ ด เรื่ อ ง “ธรรมาภิ บ าล” เป็ น แนวความคิ ด สากลที่ถูกนําเข้ามาในสังคมไทยเหมือนๆ กับการนําเข้า แนวความคิ ด เรื่ อ ง ประชาธิ ป ไตยทางการเมื อ ง แนวความคิดเศรษฐกิจแบบเสรีนิย มและแนวความคิ ด


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุบันโญ จีนารงค์

ทางสังคมแบบปัจเจกชนนิยม ซึ่งล้วนเป็นแนวความคิด สากลทั้ ง สิ้ น ธรรมาภิ บ าล หรื อ Governance ใน ความหมายแบบสากลนี้ มีความหมายรวมถึง “ระบบ โครงสร้ า ง และขบวนการต่ า งๆที่ ว างกฎเกณฑ์ ความสัมพันธ์ ระหว่างเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ของประเทศ เพื่อที่ภาคต่างๆของสังคมจะพัฒนาและอยู่ ร่วมกันอย่างสงบสุข ดังนั้น การสร้างธรรมาภิบาลขึ้น จะ”...เป็นการดําเนินการเพื่อกอบกู้ชาติเพราะเป็นกลไก ประชารัฐที่ดี เป็นเรื่องของคนไทยในชาติจะต้องร่วมแรง ร่วมใจกันสร้างขึ้นมาจากรากฐานการยอมรับและการมี ส่วนร่วมของทุกส่วนในสังคมต่อการพัฒนาประเทศไทย ให้ยั่งยืนอย่างจริงจัง การปฏิรูประบบราชการและระบบกฎหมายให้เอื้อต่อ การพัฒนาประเทศ 1. การปฏิรูประบบราชการ การปฏิรูปก็เพื่อให้ได้สังคมของไทยที่ดีก็ต้องมี การ “ใช้ อํ า นาจการจั ด การ” (Governance) ที่ ดี ขึ้ น หรื อ “ประชารั ฐ ที่ ดี ” (Good “Co-Governance”) อันมีลักษณะที่สําคัญ อาจสรุปได้ดังนี้ - มีความโปร่งใส (Transparency) - มี ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ผ ล ง า น (Accountability) - มี น โ ย บ า ย เ งื่ อ น ไ ข ที่ ชั ด เ จ น (Predictability) - มีการส่วนร่วม (Participation) - มีความเป็นภาคี (Partnership) - มีประสิทธิผล (Effectiveness) - มีสมรรถภาพ (Capacity) หลักการจัดการปกครองแบบประชาธิปไตยมี ความสํ า คั ญ ยิ่ ง อั น จะให้ ส อดคล้ องกั บ เหตุ ก ารณ์ และ ปัญหาที่กําลังเผชิญหน้าอยู่ในปัจจุบัน ภายใต้ระบบการ ปกครองซึ่งยังมีลักษณะเป็น “รัฐ ราชการ” ซึ่งเป็นสิ่งที่ ประชาชนเจ้าของประเทศไม่อยากให้เกิดขึ้นแต่อยากให้ เป็นระบบ “ประชารัฐ” ขึ้นแทนจึ่งต้องอาศัย การบริหาร ปกครองด้วยหลักสําคัญมี 4 ประการดังนี้ คือ

80

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม...

หลักการที่ 1 สนับสนุนรัฐให้เล็กลงและทํา น้อยลง (A Smaller Government That Does Less) ภายใต้คําถามว่า “รัฐควรทําอย่างไร” ซึ่งการปกครอง แบบประชาธิปไตยแนวใหม่รัฐจะเล็กลงและทําน้อยลง โดยรัฐจะต้องประกาศนโยบายการปฏิรูป การบริหารงาน ภาครั ฐ เช่ น การลดการจัด การการลดขนาด การลด ขั้นตอน การถ่ายโอนให้ภาคเอกชน การจ้างเหมา และ การมอบอํ า นาจ คํ า ว่ า “รั ฐ เล็ ก ลง” ในที่ นี้ ห มายถึ ง ราชการบริหารส่วนกลางที่เล็กลงซึ่งหมายถึงอํานาจใน การบริหารจะตัดเป็นของท้องถิ่น จึงนําไปสู่การกระจาย อํ า นาจและความรั บ ผิ ด ชอบ จากราชการบริ ห าร ส่วนกลางไปสู่ท้องถิ่น ซึ่งเป็นหลักสําคัญของการปฏิรูป นอกจากนี้ ก ารทํ า ให้ รั ฐ เล็ ก ลงจะต้ อ งทํ า เป็ น การลด จํานวนและเพิ่มประสิทธิภาพซึ่งค่อนข้างทําได้ยาก ยิ่งไป กว่ า นั้ น รั ฐ บาลต้ อ งลดการผู ก ขาดอํ า นาจ และความ รั บ ผิ ด ชอบ รวมทั้ ง เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ จะต้ อ งเป็ น ผู้ ช่ ว ยเหลื อ เป็ น พี่ เ ลี้ ย งมากกว่ า ผู้ อุ ป ถั ม ภ์ เ พราะการ ปกครองแบบประชาธิปไตยเป็นเรื่องของความร่วมมื อ ระหว่า งการเมือง ข้า ราชการ และประชาชน ดัง นั ้น รัฐ บาลที ่เ ล็ก ลงจึง หมายถึง ประชาชนที ่เ ข็ม แข็ง ขึ ้น กล่าวคือ “ลดอํานาจรัฐ เพิ่มอํานาจประชาชน” นั้นเอง หลั ก การที่ 2 รัฐ ที่ มี วิสั ย ทั ศน์ โ ลกาภิ วัต น์ ยืดหยุ่นและคล่องตัว (A Government With A Global Vision And Flexibility) เป็นแนวทางภายใต้ คําถาม “รัฐควรทําอย่างไร” ปรากฏการณ์โลกาภิวัตน์ ทําให้สภาพแวดล้อมของหน่วยงานของรัฐขยายขอบเขต ไปในระดั บ ชาติ รั ฐ แห่ ง ชาติ ใ นปั จ จุ บั น จึ ง ขึ้ น อยู่ กั บ สิ่งแวดล้อมโลกมากกว่ าที่ผ่ านมา ดั งนั้น เพื่อให้เกิดผล ดังกล่าว หน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐ จะต้องมี วิสัยทัศน์กว้างไกลไร้พรมแดน และต้องเข้าใจถึงตําแหน่ง ที่ เ หมาะสมของเราอยู่ ต รงไหนในชุ ม ชนโลก ความ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและความไม่แน่นอนของโลก ทํา ให้ ต้องมี องค์ก ารที่มี ลัก ษณะยื ดหยุ่น คล่ องตัว ยิ่ง ขึ้ น เจ้าหน้าที่ของรัฐจะต้องเรียนรู้วิธีคิดให้กว้างไกล ต้องเปิด ใจและค้นทางเลือกในการออกแบบองค์การ ให้มีความ หลากหลายไม่ยึดติดกับราชการที่มีชั้นการบังคับบัญชา หลายขั้ น ตอนตามรู ป แบบ Weber ( Hierarchical


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุบันโญ จีนารงค์

Weberian Styal Bureaucracy) ซึ่งการออกแบบ องค์การมีหลายทางเลื อก เช่น องค์การแห่ งนวัตกรรม องค์ ก ารที่ มุ่ ง เน้ น ข้ อ มู ล สารสนเทศ องค์ ก ารแห่ ง การ เรียนรู้ และองค์การที่ได้รับการปรับรื้อเป็นต้น นอกจากนี้ เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ต้ อ งเข้ า ใจในสิ ท ธิ พ ลเมื อ ง (Citizens Rights) รัฐจากการเลือกตั้งความโปร่งใสของรัฐและรัฐ ส่ ว นท้ องถิ่ น ดั ง นั้ น เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ จะต้ องปรั บ ตั ว ให้ เป็นไปตามหลักความต้องการประชาธิปไตยแต่สิ่งที่น่า เป็นห่ว งคือ เรามี ความคิดกว้า งไกล มีการปรับ รื้อและ สร้างองค์การรูปแบบใหม่ๆ เช่น องค์การมหาชนอิสระแต่ ยังติดยึดอยู่กับอํานาจ ยังมีสายบังคับบัญชาเชื่อมโยงจาก ปลัดกระทรวง หรืออธิบดีอยู่ ก็จะไม่เกิดความอิสระและ จะกลับไปสู่รูปแบบองค์การหน่วยงานของรัฐแบบเดิม หลั ก การที่ 3 รั ฐ ที่ มี ภ าระรั บ ผิ ด (Accountable Government) หมายถึง การทํางาน ของเจ้าหน้าที่ข องรั ฐจากเดิม เคยมีการตรวจสอบโดย กลไก การบังคับบัญชาหลายชั้นตามระบบราชการ ซึ่ง เป็ น กลไกภายในต่ อไป “จะต้ องมี ภ าระรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ภายนอก” คือจะถูกตรวจสอบจากบุคคลภายนอก เช่น รัฐสภา สื่อมวลชน องค์ พัฒนาเอกชนหรื อองค์กรนอก ภาครัฐ (NGO) และพลเมือง เป็นต้น การปฏิรูปจึงต้องมี การเกื้อกูลกันระหว่างกลไกต่างๆในรัฐ แม้แต่รัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบันยังมีเรื่องภาระรับผิดชอบ โดยกําหนดให้มี ศาลปกครอง เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นกลไกของกระแสการ จัด การปกครองแบบประชาธิ ปไตยเป็ นการปฏิ รูป เพื่ อ เพิ่ ม อํ า นาจให้ ป ระชาชนและรั ฐ ต้ อ งมี อํ า นาจลดลง อย่ า งไรก็ ต าม มี สิ่ ง ที่ น่ า เป็ น ห่ ว งคื อ การต่ อ ต้ า นการ เปลี่ยนแปลง เพราะกระแสการเปลี่ยนแปลงอาจมีกลุ่ม พลังใหม่ คนที่มีความเชี่ยวชาญจะมีบทบาททางสังคม เพิ่ ม ขึ้ น กล่ า วโดยสรุ ป รั ฐ ที่ มี ภ าระรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ประชาชน คือ ที่ๆมีการทุจริตน้อย มีประสิทธิภาพมาก ขึ้น มี ค วามโปร่ง ใสและเปิ ด เผย มี การกระจายอํ านาจ และสามารถปรับเปลี่ยนได้

81

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม...

การปฏิรูปราชการ” นโยบายการปฏิรูปใหม่จะต้องให้เกิด ความสมดุลของกลุ่มที่มีความสําคัญต่างๆ ของรัฐ จะต้อง มีมาตรฐานงานใหม่ ๆ เพื่อมากําหนดว่ าสิ่งที่ ดีคืออะไร และควรเป็น มาตรฐานจากภายนอก เช่น การกํา หนด มาตรฐานของรัฐที่เกี่ยวกับแรงงาน จะต้องคํานึงถึงสิทธิ มนุ ษ ยชนและการคุ้ ม ครองสิ ท ธิ แ รงงานของกฎหมา แรงงานระหว่างประเทศ หรือเรียกว่า “อนุสัญญา ILO” เป็นต้น ซึ่งเป็นการกําหนดมาตรฐานงานของราชการยุค ใหม่ จากหลักการทั้ง 4 ประการ สรุปได้ว่า การ ปฏิรูประบบราชการคือการเปลี่ยนแปลงโดยการสร้า ง อํ า นาจทางสั ง คม สิ่ ง ที่ จ ะเกิ ด ในระบบราชการคื อ ข้าราชการจะต้องมีอํานาจลดลงและจะมีกลุ่มใหม่ๆ ที่มี อํานาจามากขึ้น ดังนั้นการปฏิรูปจึงมีความรุนแรงอยู่ใน ตัวเพราะเป็นการเปลี่ยนแปลงจิตวิญญาณของคนที่จะ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ จิตวิญญาณของข้าราชการยุคใหม่ อยู่ในความผันผวนปั่นป่วนในทางการเมือง ซึ่งส่งผลต่อ ปัญหาการพัฒนาประเทศซึ่งมีปัญหาต่างๆที่มีอยู่อย่าง คณานั บ นั้ น ตราบเท่ า ที่ ร ะบบราชการไทยไม่ ย อม ปรั บ เปลี่ ย นโครงสร้ า งระบบบริ ห ารราชการเพื่ อ ให้ สอดคล้องกับเหตุการณ์และปัญหาที่กําลังเผชิญหน้าอยู่ ในปั จ จุ บั น ย่ อ มจะมี ผ ลต่ อ การทํ า ลายระบบราชการ ปกครองซึ่งยังมีลักษณะเป็น “รัฐราชการมากกว่าจะเป็น ประชารัฐ” และจะต้องปลูกฝังหลักการทั้ง 4 ประการ อย่างเร่งด่วนให้กับระบบราชการไทยในปัจจุบัน

2. การปฏิรูประบบกฎหมาย การปฏิรู ปกฎหมายของประเทศไทยในช่ วงที ผ่านมา มีปรากฏเพียงครั้งเดียว ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นการปฏิรูปจากสิ่งที่ยังไม่ เป็นระบบสากลยอมรับ มาสู้ระบบที่เป็นสากล หรือเป็น การปรับระบบจากระบบโบราณแบบไทยๆ มาสู่ระบบ ตะวั น ตก จุ ด นี้ จึ ง ถื อ ได้ ว่ า เป็ น ก้ า วแรกของกา ร เปลี่ ย นแปลง แม้ ต่ อ มาในปี พ.ศ. 2475 จะมี ก าร หลั ก การที่ 4 รั ฐ ที่ มี ค วามเป็ น ธรรม (A เปลี่ยนแปลงการปกครองเกิดขึ้น แต่ในเรื่องของระบบ Government That Is Fair) การปฏิรูปราชการจะต้อง กฎหมายก็ ยั ง มิ ไ ด้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงมากนั ก ยั ง คงยึ ด ให้ความสําคัญในคําถามที่ว่า“ใครจะได้รับประโยชน์จาก แบบเดิมมาจนถึงปัจจุบันเมื่อเป็นเช่นนี้ รัฐธรรมนูญไทย


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุบันโญ จีนารงค์

ฉบั บ ก่ อน ๆ จึ ง ถู ก บุ ค คลบางกลุ่ ม “กํ า หนด” ขึ้ น เพื่ อ สังคม โดยคนในสังคมไม่มีส่วนร่วมดังที่ นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์ กล่าวไว้ว่า “รัฐธรรมนูญ” คือ อะไร? ตรงนี้ต้องเข้าใจให้ ดี รัฐธรรมนูญ คือ ข้อกําหนดว่าบุคคลหรือสถาบันต่าง ๆ ในรัฐนั้นพึงสัมพันธ์กันในเชิงอํานาจอย่างไร แต่มีปัญหาในการนิยามแบบนี้นิดหน่อยก็คือ ที่ เรียกรัฐธรรมนูญว่าข้อกําหนดจะทําให้เกิดความเข้าใจผิด ในกลุ่มบุคคลที่มีอาวุธในคนกับคนที่มีปัญหาสูงจนสังคม ยอมรั บ คื อ ต่ า งพากั น ไปคิ ด ว่ า “ถ้ า อย่ า งนั้ น ถู ก กําหนดให้เอง” เพื่อประโยชน์และโชคลาภแก่ตนเองเพื่อ ความเจริญก้าวหน้าของชาติบ้านเมืองก็แล้วแต่จะว่ากัน ไป( นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์. 2538 : 137) การที่ จ ะปฏิ รู ป กฎหมายได้ นั้ น ต้ อ งมองว่ า กฎหมายเป็ น กลไกของราชการและเราจํ า เป็ น ต้ อ ง ปรับปรุงกลไกของราชการนี้ก่อน จึงจะส่งผลไปถึงการ ปฏิรูปแบบราชการ ระบบบริหารราชการและปฏิรูปตัว ราชการเป็นประเด็นที่สําคัญยิ่งต่อการปฏิรูปกฎหมาย และการปฏิรู ประบบราชการจะสัมพันธ์ กันอย่างไรนั้ น เป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาดังต่อไปนี้

82

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม...

กฎหมายทั้งระบบไม่ว่าจะตามส่วนที่หนึ่งหรือ ส่วนที่สอง ล้วนแต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารราชการ แผ่นดินในการปฏิรูปทั้งระบบ จึงต้องพิจารณาว่าสภาพ ของกฎหมายเหล่านี้เป็นอย่างไร สภาพกฎหมายในปัจจุบันแบ่งได้ 5 แบบดังนี้ 1. กฎหมายล้าสมัย การพิจารณาดูเฉพาะชื่อย่อ ว่ า เป็ น กฎหมาย พ.ศ........ไม่ ไ ด้ เพราะการปรั บ ปรุ ง เพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอๆ บางฉบับจะเปลี่ยนแปลง แนวคิ ด ไปจากเดิ ม บางฉบั บ ยั ง ไม่ ย กเลิ ก แต่ ค นไม่ ไ ด้ นํามาใช้แล้ว บางกิจกรรมควรมีกฎหมายรองรับแต่ก็ไม่มี

2. กฎหมายไม่ ทั น สมั ย หรื อ ตามข้ อ เท็ จ จริ ง ยังคงใช้อยู่ได้แต่ไม่เต็มที่ เป็นกฎหมายที่ไม่ได้นําแนวคิด ใหม่ ม าใช้ เช่ น การค้ า ขายกํ า ลั ง ก้ า วไปสู่ ก ารค้ า ขาย ลั ก ษณะผ่ า นระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ซึ่ ง เรี ย กว่ า “ระบบ E.Commerce” แต่ ก ฎหมายยั ง คงเป็ น ฉบั บ เดิม ยั ง เปลี่ ย นแปลงไม่ ทั น กั บ ความก้ า วหน้ า ของสั ง คมโลก กฎหมายยังไม่เคยพูดถึง Land Use Control หรือ Land Use Planning หรือภาษีมรดก ส่วนใหญ่การ พิ จ ารณากฎหมายยั ง ปล่ อยในมื อของนั ก การเมื อง ซึ่ ง กฎหมายอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนใหญ่ ส่ว นแรก กฎหมายที่ เป็ น ภาคบริหารราชการ ไม่ใช่นักสร้างหรืออีกนัยหนึ่งเราขาดคนที่มีแนวคิดใหม่ๆ โดยตรง ได้ แ ก่ ระเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น 3. กฎหมายที่ อ อกมาบางครั้ ง ซ้ อ นกั น ไปมา กฎระเบียบบริหารงานบุคคลของ ก.พ. หรือกระทรวงอื่นๆ (Overlap) กันบางครั้งคลุมเครือ โดยเฉพาะส่วนราชการ กฎหมายงบประมาณ และกฎหมายพัสดุ เป็นต้น ออกกฎหมายมาเพื่อแสวงหาอํานาจเพิ่มขึ้น แต่เนื่องจาก ส่วนที่สอง กฎหมายที่ไม่ใช่กฎระเบียบการบริ อยู่คนละกระทรวงจึงทํ าให้ซ้อนกันไปมา ซึ่งควรมีการ หาราชการแผ่ น ดิ น โดยตรง เป็ น กฎที่ ก ระทบถึ ง สิ ท ธิ จัด สรรกลุ่ ม ส่ว นราชการใหม่ เช่ น กลุ่ ม งานที่ ดิน มี ทั้ ง ประชาชน และราชการสร้ า งขึ้ น มาเพื่ อ ใช้ ใ นการ กระทรวงเกษตรและกระทรวงมหาดไทยเกี่ ย วข้องอยู่ บริหารงาน แต่กฎหมายนี้ไม่ว่าเป็นประเภทใดก็ตาม จะมี ด้ว ยกั น เรื่ องที่ ดิ นจึ ง ควรจัด อยู่ ก ระทรวงเดีย วกั น เป็ น ส่ ว นเชื่ อ มโยงกั บ การบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ในการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและที่ดิน มีงานเกี่ยวกั บ บริหารราชการแผ่นดินมีกฎหมายหลักและกฎหมายลูก Overlap Use P Use Planning การให้สัมปทานและ หรือกฎหมายรอง ที่ออกมาเป็นกฎกระทรวง ระเบีย บ ทุกอย่างอยู่ในกระทรวงนี้ เพื่อไม่ให้มีการออกกฎระเบียบ ป ร ะ เ ท ศ ต่ า ง ๆ เ ช่ น พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ป่ า ไ ม้ ที่ซ้ําซ้อนกันอีกเป็นต้น พระราชบั ญ ญั ติ แ รงงานเป็ น ต้ น ที่ อ อกตามความใน 4. กฎหมายมี ม ากเกิ น ความจํ า เป็ น เช่ น กฎหมายหลั ก และเป็ น กลไกในการบริ ห ารราชการ พระราชบัญญัติเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยของรัฐ มีผู้กล่าวว่า แผ่นดินด้วยกันทั้งสิ้น น่าจะใช้เป็นพระราชบัญญัติองค์การมหาชนที่เพิ่งเกิดขึ้น


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุบันโญ จีนารงค์

แต่ยังติดที่วิทยฐานะศักดิ์และสิทธิแห่งปรัชญา ซึ่งที่จริง แล้วยกเลิกกฎหมายของแต่ละมหาวิทยาลัยแล้ว รวมเป็น พระราชบั ญ ญั ติ เ ดี ย วกั น เหมื อ นพระราชบั ญ ญั ติ ข อง มหาวิทยาลัยเอกชน เพราะหลักการรายละเอียดต่างๆ เหมือนกัน 5. กฎหมายไม่ เอื้ อต่ อผลสั ม ฤทธิ์ กํ า หนดขึ้ น มาแล้ ว ปฏิ บั ติ ไ ม่ ไ ด้ เช่ น พระราชบั ญ ญั ติ เกี่ ย วกั บ การ รัก ษาความสะอาด ห้ า มตากผ้ า ตามบ้ า นพั ก ห้ องแถว( Flat)ริมถนนแต่คนไม่มีที่ตากผ้าก็ยังต้องตากตามระเบียง อยู่เหมือนเดิม จึงเป็นเรื่องที่ทําได้ยากและเป็นเรื่องที่ท้า ทายของรัฐบาล ดังนั้ น การหาช่ องทางที่ จะปรับ เปลี่ ยน “ธรร มาภิ บ าลไทย” ในวั ฒ นธรรมการเมื อ งแบบไทยให้ สอดคล้องกับ “ธรรมภิบาลสากล” ตามรัฐธรรมนูญฉบับ ใหม่หรื อในทางกลั บ กัน จึง เป็ น เรื่ องที่ ทํ าได้ และสิ่ง นี้ ก็ เกิดขึ้นแล้วในการใช้ประมวลกฎหมายแบบตะวันตกใน สังคมไทย ซึ่ง David M.ENGEL ได้ศึกษาและพบว่า ประมวลกฎหมายและกฎหมายแบบตะวันตกที่ตราขึ้น โดยอํ า นาจรั ฐ ส่ ว นกลางนั้ น เมื่ อ นํ า ไปใช้ จ ริ ง ก็ ต กอยู่ ภายใต้อิทธิพลของระบอบวัฒนธรรมแล้ว ประเพณีแบบ ไทยเดิ ม ทํ า ให้ “กฎเกณฑ์ ป ระมวลกฎหมายถู ก เปลี่ยนแปลงโดยปริยายเพื่อให้สอดคล้องกับทางปฏิบัติ ตามประเพณี กระบวนการที่เป็นทางการของกฎหมาย ถูกใช้เพื่อจุดมุ่งหมายตามธรรมเนียมประเพณีที่ไม่เป็น ทางการ ควรมีผ ลต่ อกัน ระหว่า งประมวลกฎหมายกั บ จารีตประเพณีในระบบสังคมที่กําลังเปลี่ยนแปลงจึงเป็น เรื่ อ งจริ ง ของการทํ า กฎหมายไทยให้ ทั น สมั ย ระบบ กฎหมายไทยสมัยใหม่จึงเป็นส่วนผสมของกฎเกณฑ์ทาง จารี ต ประเพณี และกฎเกณฑ์ ท างกฎหมายในประมวล กฎหมาย ” (David M.ENGEL. 1978 : P.3 ) สิ่งที่ต้องทําในการปฏิรูปกฎหมาย 1. ต้องปฏิรูปโครงสร้างของระบบจัดกลุ่มงาน ใหม่ จั ด ระเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ใหม่ มี ก าร กระจายอํานาจ คือพระราชบัญญัติองค์การมหาชน เป็น การกระจายอํ านาจให้หน่ ว ยงานของรัฐ ไปทํ างานโดย อิสระ มีภารกิจรับผิดชอบในระบบราชการเหมือนเดิม

83

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม...

แต่ทํางานคล่องตัวขึ้นไม่อยู่ในระบบราชการ แต่ยังเป็น หน่ ว ยราชการที่ ไ ม่ ใ ช่ ส่ ว นราชการ หมายถึ ง ออกไป ปฏิบัติงานเป็นเอกเทศแต่ยังเป็นราชการอยู่ 2. ปฏิ รู ป กฎหมายเกี่ ย วกั บ การบริ ห ารงาน บุคคล 3. ปฏิรูปกฎหมายบริหารงบประมาณและพัสดุ 4. เร่ ง ให้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง กระบวนการร่ า ง กฎหมายให้มีประสิทธิภาพรวดเร็ว และให้มีการสํารวจ ความคิ ด เห็ น ของประช าชนเป็ น ประจํ า ในเรื่ อ ง กฎระเบียบที่มีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่หรือการ ติ ด ต่ อ ราชการของประชาชน เพื่ อ การปรั บ ปรุ ง ระบบ กฎหมายให้ดีขึ้น ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย เป็นกฎหมายที่มี ลักษณะเป็นสากล เอื้อต่อการบริหารและพัฒนาประเทศ สรุ ป การปฏิ รู ป ระบบราชการและระบบ กฎหมายให้เอื้อต่อการพัฒนาประเทศ จะต้องดําเนินการ ให้สอดคล้องกับปรัชญาการบริหารงาน ตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย การพัฒนาประเทศตามแนวทาง ของแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ แ ละ นโยบายของรั ฐ บาลอย่ า งต่ อเนื่ องและจริ ง จั ง กระแส โลกาภิวัตน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยถือประโยชน์ของ ประชาชนและประเทศชาติเป็นเป้าหมาย เพื่อให้ประเทศ ไทยมีเสถียรภาพและมั่นคงทั้งทางการเมืองเศรษฐกิจและ สังคม คนจะต้ อ งมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ด้ ว ยจริ ย ธรรมและ คุณธรรม จากแนวคิ ด ของการพั ฒ นาประเทศตาม แผนพัฒ นาเศรษฐกิ จและสั ง คมแห่ง ชาติใ นอดี ต ได้ ใ ห้ ความสําคัญกับการเร่งรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาได้ มุ่ ง เน้ น การสร้ า งระบบ สาธารณูปโภคมูลฐาน การพัฒนาอุตสาหกรรม การผลิต แล ะ ส่ ง อ อ ก ซึ่ ง อ า ศั ย คว า ม ไ ด้ เ ป รี ย บ ท า ง ด้ า น ทรัพ ยากรธรรมชาติ ที่ไ ด้เปรีย บเป็น ฐานการพั ฒนาแต่ อย่างไรก็ตามความเจริญเติบโตรุดหน้าทางด้านเศรษฐกิจ โดยรวมของประเทศมิได้หมายถึง ประชาชนในประเทศมี ความสมบูรณ์พูนสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี ในทางตรงข้าม กลับพบว่าคุณธรรมและจริยธรรมหรือธรรมาภิบาลของ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุบันโญ จีนารงค์

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม...

84

คนไทยตกต่ํา ซึ่งความตกต่ําลงของคุณธรรมจริยธรรม ดังกล่าว ทําให้เกิดปัญหาอื่นๆ ที่ตามมา ไม่ว่าจะเป็นการ เห็นแก่ตัวของคน ปัญหาอาชญากรรม ยาเสพติด ปัญหา การคอรัปชั่นทั้งในวงราชการ ธุรกิจเอกชน รวมถึงพรรค นักการเมือง จากปัญหาความเสื่อมถอยลงของคุณธรรม และจริ ย ธรรมดั ง กล่ า ว ทํ า ให้ เ กิ ด ปั ญ หาที่ ต ามาอี ก ประการหนึ่งที่สําคัญคือ ทําให้กระบวนการแก้ปัญหาที่ เราจะพยายามทํ า ด้ อยประสิ ท ธิ ภ าพลงไปเพราะคนที่ แก้ ปั ญ หาหรื อ คนที่ มี ส่ ว นร่ ว มในการแก้ ปั ญ หาขาด จิตสํานึกทางด้านจริยธรรมและคุณธรรมและที่เลวร้ายไป กว่านั้นกลุ่มบุคคลดังกล่าวกลับเป็นคนที่ทําลายสังคมเสีย

เอง ดัง อมรา พงศาพิชญ์และปรีชา ศุวินทร์พันธุ์ ได้เขียน ไว้ในหนังสือระบบอุปถัมภ์ ดังนี้ ผู้ได้ประโยชน์คือ ผู้อุปถัมภ์ แต่ผู้อุปถัมภ์ต้องรับผิดชอบ ต่อการกินดีอยู่ดีของผู้รับอุปถัมภ์ด้วย กฎแห่งศีลธรรม ของระบบอุ ปถั มภ์ คื อ การตอบแทนซึ่ง กัน และกั นเป็ น หลัก สํา คัญ แต่ ปัจจุ บัน นี้ก ารเอารัด เอาเปรีย บผู้ ที่อยู่ใ น ฐานะด้อยกว่ามีมากขึ้น ผลที่จะเกิดตามมาก็อาจเป็นการ รวมตัวของชนชั้นผู้รับอุปถัมภ์เพื่อช่วยเหลือตนเอง ซึ่ง เป็นลักษณะของการเกิดชนชั้นทางสังคม ( อมรา พงศา พิชญ์ และ ปรัชญา คุรินทร์พันธุ์. 2535 : 4 – 7)

จตุภาคีการทําลายสังคม

นักการเมือง

อุปถัมภ์ เงิน

เลือกตั้ง ข้าราชการ

นักธุรกิจ

อํานาจผูกขาด

จากแผนภู มิ ดั ง กล่ า วนั ก การเมื อ งซึ่ ง ได้ รั บ เลือกตั้งเขามาเพราะระบบอุปถัมภ์ คนจนในชนบทให้เขา เลือกตั้งด้วยวิธีการซื้อเสียงหรือการให้สัญญาว่าจะให้จน ไปถึงการอุปถัมภ์เป็นการส่วนตัวเช่นไปเป็นเกียรติงาน บวช งานศพ งานแต่งงาน การไปฝากลูกหลานเข้าทํางาน

คนในเขต เลือกตั้ง

เมื่ อ มี อํ า นาจทางการเมื อ งนั ก การเมื องก็ ต้ องแสวงหา บริวารในระบบราชการเพื่อเป็นข้ารับใช้ ข้าราชการก็ต้อง พึ่งพาอาศัยนักการเมืองเพื่อไต่เต้าไปสู่ตําแหน่งที่สูงกว่า ซึ่งความร่วมมือกันระหว่างนักการเมืองและข้าราชการ จะเป็นไปในทํานอง ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน โดยมีนักธุรกิจที่


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุบันโญ จีนารงค์

ต้องการผูกขาดความร่ํารวย พร้อมหวังผลการสัมปทาน ของรั ฐ ที่ นั ก การเมื อ งหรื อข้ า ราชการมี อํา นาจในการ อนุ มั ติ กี ด กั น อั น จะนํ า มาซึ่ ง ผลประโยชน์ ใ นการที จ ะ ผูกขาดหรือได้มาซึ่งสัมปทานของตัวเอง นักธุรกิจเหล่านี้ จะเข้าหานักการเมืองหรือข้าราชการโดยการให้เงิน การ พึ่งพาซึ่งอํานาจและอิทธิพลทางการเงินดังกล่าวนํามาซึ่ง อํานาจทางเศรษฐกิจ ผลประโยชน์ของทุกฝ่าย กล่าวคือ นักการเมืองก็ได้เงินเพื่ออุปถัมภ์ในเขตพื้นที่ ข้าราชการก็ ได้ย ศตํ าแหน่ ง จากเหตุก ารณ์ดั งกล่าวถ้า ดูผิ วเผิน แล้ ว น่าจะนํามาในสิ่งที่ดีเพราะทุกฝ่ายได้ผลประโยชน์แต่ใน ความเป็ น จริ ง แล้ ว เป็ น การทํ า ลายศั ก ยภาพของการ พัฒนาและแก้ปัญหาของประเทศอย่างมหาศาลโดยเกิด การผู ก ขาดทางธุ ร กิ จ ทํ า ให้ ไ ม่ มี ก ารแข่ ง ขั น และการ พัฒนาและที่เลวร้ายไปกว่านั้นทําให้สูญเสียงบประมาณ แผ่นดินไปกับการคอรัปชั่นจากการรับเหมาสัมปทานหรือ การจัดสรรงบประมาณที่ไม่เป็นธรรม รวมถึงการสร้าง ค่ า นิ ย มที่ เ ป็ น ผลเสี ย ต่ อ การพั ฒ นาประเทศ โดยที่ ประชาชนได้รับเพียงเศษเงินจากระบบอุปถัมภ์ ตรงกัน ข้ามกลับเป็นผู้เสียผลประโยชน์จากการจ่ายภาษีเพื่อไป เป็น เงิ นเดื อนหรือเป็ นงบประมาณของประเทศเพื่ อให้ นักการเมือง ข้าราชการและนักธุรกิจกลุ่มดังกล่าวไปหา ผลประโยชน์ ถึงแม่วาระบบอุปถัมภ์หรือวงจรดังกล่าวจะ เกิดขึ้นจากพื้นฐานของวัฒนธรรมของไทย เช่น หลักการ กตัญญู หลักความนอบน้อมต่อผู้ใหญ่ผู้มีอํานาจแต่วงจร การทํ า ลายสั ง คมดั ง กล่ า วจะเกิ ด ขึ้ น ไม่ ไ ด้ เ ลยถ้ า กลุ่ ม บุคคลดังกล่าวมีจริยธรรมและคุณธรรมในการประกอบ วิชาชีพและการงาน จากแนวคิดที่จะพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนได้ นั้ น ประการหนึ่ ง ที่ มี ค วามสํ า คั ญ นั่ น ก็ คื อ การเร่ ง เสริมสร้าง ฟื้นฟูคุณธรรม จริยธรรมของคนในประเทศ เพราะแนวทางการพัฒนาโดยใช้คนเป็นศูนย์กลางการ พัฒนานั้นนอกจากจะมุ่งเน้นการพัฒนาขีดความสามารถ ให้ ค นไทยมี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ ซึ่ ง นํ า มาซึ่ ง ขี ด ความสามารถในการพัฒนาในด้านต่างๆแล้ว ควรจะมี คุณธรรมและจริยธรรมควบคู่ไปกับขีดความสามารถที่ เพิ่ ม ขึ้ น ด้ ว ย ดั ง นั้ น การเสริ ม สร้ า งจิ ต สํ า นึ ก ทางด้ า น คุณ ธรรมและจริ ย ธรรมจึ ง มีค วามจํ าเป็ นเร่ งด่ ว นอย่ า ง หนึ่งควบคู่ไปกับการพัฒนาประเทศในด้านอื่นๆ แต่การ

85

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม...

สร้างคุณธรรมและจริยธรรมให้เกิดขึ้นกับคนในประเทศ นั้ น ค่ อ นข้ า งที่ จ ะเป็ น นามธรรม โดยจะมี คํ า ถามที่ ค่ อ นข้ า งจะหาคํ า ตอบได้ ย ากคื อ การสร้ า ง ฟื้ น ฟู จริ ย ธรรมเราจะทํ า อย่ า งไร อะไรเป็ น ตั ว ชี้ วั ด ใน ความสํ า เร็ จ ของการเสริ ม สร้ า งนั้ น ๆ ซึ่ ง จากคํ า ถาม ดั ง กล่ า วทางกลุ่ ม แนวคิ ด เรื่ อ งการสร้ า งจริ ย ธรรมให้ เกิดขึ้น โดยต้องสร้างจากหน่วยย่อยที่มีอิทธิพลในทาง ความคิด ความรู้สึกและการตัดสินใจของบุคคลในอันที่ จะบอกว่าการกระทําไหนที่เป็นการกระทําที่ควรหรือไม่ ควร เหมาะสมหรือไม่เหมาะสม โดยเริ่มต้นจากสถาบัน หลักๆ ดังนี้ 1. สถาบันครอบครัว พ่อแม่ควรจะมีการอบรม ลูกให้รู้ว่าสิ่งไหนดี ไม่ดี สิ่งไหนควร ไม่ควร โดยกระทํา ตนเป็นตัวอย่างและแนะนําชักจูง 2. สถาบันการศึกษา ในสถาบันการศึกษาควรมี หลั ก สู ต รจริ ย ธรรมสํ า หรั บ สาขาต่ า งๆ ของนัก ศึ ก ษาที่ กําลังศึกษาอยู่และเกี่ยวข้องกับการงานที่จะจบออกไป ประกอบอาชี พ โดยที่ ค รู อาจารย์ จะต้ องปฏิ บั ติ เป็ น แบบอย่างที่ดีด้วย 3. สถาบันศาสนา นอกจากประกอบพิธีกรรม ต่ า งๆทางศาสนาแล้ ว ควรจะมี ก ารสอนทางด้ า น จริยธรรมที่ดีงามประกอบและควบคู่กันไป 4. สถาบันหรือสังคมการงาน ในการประกอบ อาชีพทุกอย่างควรจะมีองค์กรที่จัดตั้งกันขึ้นเพื่อส่งเริม ตรวจสอบการประกอบอาชีพในสาขาอาชีพนั้นๆ เพื่อให้ เกิดจริยธรรมที่เป็นบรรทัดฐานของอาชีพในแต่ละด้าน 5. สถาบั น ทางด้ า นสั ง คมและค่ า นิ ย ม ต้ อ ง เสริมสร้างค่านิยมที่ถูกต้องและลดค่านิยมที่ไม่เหมาะสม ของคนในสังคมลง โดยใช้มาตรการทางสังคม เช่น การ ไม่คบค้าสมาคมกับคนที่ได้ทรัพย์สินมาอย่างไม่ถูกต้อง รวมทั้ งการใช้ม าตรการทางด้ า นกฎหมายและควบคุ ม มาตรฐานหรื อ องค์ ก รที่ ทํ า หน้ า ที่ ต รวจสอบให้ มี ขี ด ความสามารถและประสิท ธิภาพในการตรวจสอบและ ดําเนินไปบนพื้นฐานของความเป็นธรรมและจริยธรรม นอกจากการเสริ ม สร้ า งจริ ย ธรรมโดยมุ่ ง เน้ น สถาบั น ต่ า งๆที่ ก ล่ า วมาแล้ ว อี ก สถาบั น หนึ่ ง ที่ มี ผ ลตอ ค่า นิย มของคนในสั ง คมในวงกว้ างคื อ ทางด้ านสื่ อ สื่ อ ต่างๆต้องเข้ามามีบทบาทในการเสริ มสร้า งค่านิ ยมที่ ดี


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุบันโญ จีนารงค์

ค่านิยมที่เหมาะสมโดยผ่านการโฆษณา ละคร นวนิยาย และสิ่ ง ตี พิ ม พ์ ต่ า งๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น อย่ า งไรก็ ต าม “การ อภิบาล” (Governance) ที่พจนานุกรมราบัณฑิตสถาน ให้ ค วามหมายไว้ ว่ า “บํ า รุ ง รั ก ษา ปกครอง” ย่ อ มมี ปัจจัยอันเป็นองค์ประกอบย่อยอยู่ 2 ส่วน คือ ส่วนแรก เป็นการจัดสรรอํานาจเพื่อสั่งการให้มีการใช้ทรัพยากร ทางเศรษฐกิจและสังคมให้เกิดผลตามที่ต้องการและส่วน ที่ ส อง คื อ โครงสร้ า งทางวั ฒ นธรรม ระบบคุ ณ ค่ า ใน จารีตของสังคมที่เป็นเครื่องกําหนดพฤติกรรมของบุคคล ทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม (Darling Barbara. 1999 : 26-30 ) กระบวนการ การกําหนดนโยบาย กฎหมาย

การนํานโยบายไปปฏิบัติ

86

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม...

เพื่ อ เราสามารถเสริ ม สร้ า ง ฟื้ น ฟู คุ ณ ธรรม จริยธรรมที่ดีที่เหมาะสมให้เกิดขึ้นในกลุ่มคนในสังคมทุก สาขาอาชีพได้แล้ว คุณธรรมและจริยธรรมดังกล่าวจะมี ส่วนช่วยในการพัฒนาประเทศได้อย่างไร กล่าวคือจะต้อง ย้อนกลับไปที่แนวทางการพัฒนาหรื อแก้ไขปัญหาของ ประเทศ กระบวนการพัฒนาหรือแก้ปัญหาของประเทศ เราจะกํ า หนดมาในรูป นโยบายสาธารณะ แผนพัฒ นา หรือกฎหมาย พระราชบัญญัติ

ผู้เกี่ยวข้องหลัก -นักการเมือง

-ข้าราชการ

ประชาชน / ผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากกระบวนการดั ง กล่ า วจะพบว่ า ผู้ มี ส่ ว น เกี่ ย วข้ อ งในขั้ น ตอนตั้ ง แต่ แ รกเริ่ ม ของกระบวนการ แก้ ปั ญ หาหรื อ การพั ฒ นาประเทศคื อ นั ก การเมื อ ง ถ้ า นักการเมืองมีคุณธรรมจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ ไม่ เ ข้ า มาทํ า การเมื อ งเพื่ อหวั ง ผลประโยชน์ คุ้ ม ครอง ผลประโยชน์ของตัวเองตรงและพวกพ้อง ตรงกันข้ามกัน ข้ า มาเพื่ อ มุ่ ง หวั ง ทํ า ประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ ส่ ว นรวมและ ประเทศชาติบนพื้นฐานของการมีคุณธรรมและจริยธรรม เป็นที่ตั้งแล้ว กฎหมายออกมาจะมีความเป็นธรรม เอื้อ ประโยชน์และส่งเสริมการพัฒนาโดยมุ่งเน้นผลประโยชน์ ของบุ ค คลในป ระเทศเป็ น ที่ ตั้ ง จึ ง ถื อ ได้ ว่ า ถ้ า มี นักการเมืองที่ดีมีคุณธรรมและจริยธรรมจะเป็นจุดเริ่มต้น

ของการแก้ไ ขปั ญหาและการพัฒ นาประเทศ หลัง จาก ผ่านกระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งถือว่าเป็นส่วน สําคัญของการแก้ปัญหาหรือพัฒนาอีกส่วนหนึ่ง ถ้ากลุ่ม ข้าราชการมีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพ มุ่งรับใช้ประชาชน โดยไม่ฝักใฝ่การเมืองเพื่อหวัง ลาภ ยศ หรื อ ตํ า แหน่ ง หรื อ มุ่ ง ที่ จ ะหาผลประโยชน์ จ าก งบประมาณจากการอาศัยหน้าที่การงานที่มีอยู่จะทําให้ การนํานโยบายไปปฏิบัติ บังเกิดผลและโยชน์สูงสุด ลด การสูญ เสี ยงบประมาณที่ เกิด จากการทุจ ริต คอรั ปชั่ น และอีกทางหนึ่งลดการได้มาซึ่งเงินทองที่อาศัยหน้าที่การ งานในการแสวงหาผลประโยชน์จากนักธุรกิจ ข้าราชการ ระดับล่าง รวมถึงประชาชน นักธุรกิจ หรือทุกคนที่ได้รับ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุบันโญ จีนารงค์

ผลกระทบจากนโยบาย ในบุ ค คลกลุ่ ม นี้ จ ะได้ รั บ ผลประโยชน์ถ้า กลุ่มการเมือง กลุ่มราชการมี คุณธรรม และจริย ธรรมแล้ ว จะนํา มาซึ่ งนัก การเมืองที่ดี เพราะ เป็นกลุ่มที่เป็นคนที่ประชาชนเลือกนักการเมืองเข้าไปทํา หน้าที่แทนตนเองในการออกกฎหายหรือนโยบายของรัฐ และในขณะเดี ย วกั น ก็ ทํ า หน้ า ที่ ใ นการตรวจสอบ นักการเมืองหรือข้าราชการโดยกระทําผ่านองค์กรต่างๆ อีกทั้งเป็นการสกัดกั้นคนไม่ดีเข้าไปบริหารบ้านเมือง คุณธรรมและจริยธรรมของบุคคลในชาติทําให้ การพัฒนาประเทศเป็นไปอย่างยั่งยืนได้อย่างไรจากองค์ รวมของระบบสังคมที่มีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องและส่ง ผลกระทบต่ อกั นและส่ งผลต่ อระบบโดยรวมจะพบว่ า หากทุกคนในสังคม ในทุกอาชีพมีจริยธรรมและคุณธรรม ในการประกอบอาชีพจะส่งผลในเชิงพัฒนาและแก้ปัญหา ต่างๆ ที่มีอยู่ของประเทศได้ ซึ่งจะนํามาซึ่งคุณภาพชีวิตที่ ดี ข องคนในชาติ และในขณะเดี ย วกั น คุ ณ ธรรมและ จริ ย ธรรมในอาชี พ ที่ มี ห รื อ ที่ ถู ก ส่ ง เสริ ม ฟื้ น ฟู ใ ห้ เ กิ ด ขึ้นกับคนในรุ่นปัจจุบันย่อมจะส่งผลที่เป็นแบบอย่างและ ถูก ถ่ า ยทอดถึ ง คนรุ่ น หลั ง ดั ง นั้ น การพั ฒ นาประเทศที่ เกิดขึ้นจะมีความยั่งยืนและต่อเนื่อง ระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนในทุกสาขาอาชีพก็จะดีขึ้นอย่างมั่นคงและ ต่อเนื่องเช่นกัน รวมถึงระบบโครงสร้างและกระบวนการ ต่าง ๆ ที่วางกฎเกณฑ์ความสัมพั นธ์ร ะหว่ างเศรษฐกิ จ การเมื องและสังคมของประเทศ เพื่อที่ภ าคต่างๆ ของ สังคมจะพัฒนาและอยู่ร่วมกันอย่างสงบสันติสุข บทสรุปและข้อเสนอแนะ จากการประเมินผลการพัฒนาที่ผ่านมาและการ วิ เ คราะห์ ภ ายใต้ เ งื่ อ นไขสถานการณ์ แ นวโน้ ม การ เปลี่ ย นแปลงในยุ ค โลกาภิ วั ต น์ ที่ มี ผ ลต่ อ ทิ ศ ทางการ พั ฒ นาประเทศตามแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่ ง ชาติ ที่ มุ่ ง เน้ น พั ฒ นาแบบองค์ ร วมที่ ยึ ด คนเป็ น ศูนย์กลางของการพัฒนา สร้างค่านิยมร่วมโดยการสร้าง จิ ต สํ า นึ ก ให้ ค นไทยได้ ต ระหนั ก ถึ ง วิ ก ฤตของประเทศ และกํ าหนดแนวทางการพั ฒนาประเทศ โดยยึ ดหลั ก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญานําทางในการ บริ หารจั ด การประเทศที่ มุ่ ง สู่ ป ระสิ ท ธิ ภ าพ คุ ณ ภาพ สามารถเลื อ กใช้ ค วามรู้ แ ละเทคโนโลยี ไ ด้ อ ย่ า งคุ้ ม ค่ า

87

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม...

และเหมาะสม มีระบบคุ้มกันที่ดีควบคู่ไปกับการสร้าง คนดีที่เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและความซื่อสัตย์ สร้าง สังคมที่มีคุณ ภาพ โดยยึด หลักความสมดุล พอดี และ พึ่งพาตนเอง นําไปสู่สังคมที่มีคุณภาพ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองได้ โดยให้คนไทยทุกคนมีโอกาสและ ความเสมอภาคในการพัฒนาตนเองเต็มศักยภาพ เพื่อ เป็นคนดี คนเก่ง ทั้งพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม มี วิ นั ย เคารพกฎหมาย มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ และมี จิตสํานึกสาธารณะ มีความสามารถในการคิดเอง ทํา เอง พึ่ ง ตนเองได้ คนที่ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี สุ ข ภาพ อนามัยแข็งแรงสมบูรณ์ สามารถเข้าถึงการบริการขึ้น พื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม เศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้มีเสถีรภาพ ได้รับ การพัฒนาอย่างยั่งยืน และสมดุลกับทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศไทยให้ยั่งยืน จําเป็นอย่างที่จะต้องสร้างการฟื้นฟู หรือส่งเสริมให้ทุก ค น ใ น ช า ติ ใ น ทุ ก ส า ข า อ า ชี พ ใ ห้ มี ธ ร ร ม า ภิ บ า ล (Governance) คือ การมีจิตสํานึกทางด้านคุณธรรมและ จริยธรรมในอาชีพการงาน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความเป็น ธรรมเกิดขึ้นในสังคม ช่วยลดการเอาเปรียบกันของคนใน สังคม และช่วยลดปัญหาการทุจริตคอรัปชั่นต่างๆลง ทํา ให้การใช้จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดินตรงกับเป้าหมาย ของการพั ฒ นาหรื อ แก้ ไ ขปั ญ หามากขึ้ น ทํ า ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลในการบริ ห ารงาน แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามการ แก้ปัญหาของประเทศที่มีอยู่อย่างมากมายและมีความ หลากหลาย เชื่อมโยงและเกี่ยวข้องกัน รวมถึงแนวทาง การพัฒนาในปัจจุบันจําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเกี่ยวข้อง กับปัจจัยภายนอก และภาวะต่างๆของสังคมโลก ดังนั้น การแก้ปัญหาและการพัฒนาประเทศในทางที่ยั่งยืนนั้น นอกจากจะฟื้นฟูและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้เกิด ขึ้นกับคนในชาติแล้ว จะต้องทําอย่างอื่นควบคู่กันไปด้วย เช่น การเพิ่มขีดความสามารถและประสิทธิภาพในการ บริ หารจั ดการภาครั ฐ การเพิ่ม ความรู้ ทัก ษะความคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ ข องคนในชาติ การเพิ่ ม ส่ ง เสริ ม ขี ด ความสามารถทางการแข่ ง ขั น ของภาคเอกชน การ กระจายรายได้ที่เป็นธรรม ประชาชนมีบทบาทและส่วน ร่วมในการพัฒนา การปรับปรุงหรื อปฏิรูปกฎหมายให้


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุบันโญ จีนารงค์

88

ปี ที่ 2 ฉบั บ ที่ 4 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2555 ธรรมาภิบาล และคุณธรรม จริยธรรม...

เอื้ อ ต่ อ การพั ฒ นาประเทศ การจั ด สรรและจั ด การ in Parliamentarians Assisting Corruption ทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกต้องและเหมาะสมรวมถึงภาวะ Cotrol in South East Asia", April 26-30 เศรษฐกิจ สังคม การเมืองของโลกเอื้ออํานวย การพัฒนา 1999.N akorn Pathom. Thailand. ประเทศของไทยจึงเป็นไปอย่างยั่งยืน Engel, David M. 1978. Codand Custom in a Thai Provincial Court. Arizona: The เอกสารอ้างอิง University of Arizona Press. Presidential Committee on Streamlining the ภาษาไทย Bureaucracy. 1995. Republic of the กระมล ทองธรรมชาติ. 2529. “แนวทางปฏิรูประบบ Philippines:Reengineering the Bureaucracy ราชการเพื่อการพัฒนาประเทศไทย”. ในสทิน for Better Governance: Principles and เกษาคุปต์ และประสิน โสภณบุญ. หลักสูตรรัฐ Parameters. Manila. ประศาสนศาสตร์ กั บ นั ก บริ ห ารในทศวรรษ UNDP. 1997. Governance for Sustainable หน้า. กรุงเทพ: สหายบล็อกและการพิมพ์. Human Development. 9 UNDP Policy ฉลองภาพ สุ สัง การญน์ และอภิษั ย พัน ธเสน. 2539 Document. January 1995. “ภ า ค ร า ช ก า ร กั บ อ น า ค ต ก า ร พั ฒ น า ประเทศ”. เอกสารประกอบการสั ม มนา วิ ช าการประจํ า ปี 2539. การปฏิ รู ป ภาค ราชการเพื่ อ อนาคตของไทย. กรุ ง เทพฯ ธันวาคม 2539. นิธิ เอียวศรีวงค์. 2538 "รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม ไทย" ในชาติไทย, เมืองไทย, แบบเรียน และ อนุสาวรีย์, กรุงเทพฯ: มติชน. ประเวศ วะลี . 2540. เศรษฐกิ จ แห่ ง การพึ่ ง ตั วเอง: ความเข็ ม แข็ ง จากฐานล่ า ง. กรุ ง เทพฯ: สํานักพิมพ์หมอชาวบ้าน. ปรัชญา เหล่ารัชช์. 2539. “ปฏิรูปราชการเพื่ออนาคต: ยุทธศาสตร์ เพื่อการพั ฒนา”, ในเอกสาร ประกอบการสั ม มนาวิ ช าการประจํ า ปี 2539 เรื่องปฏิรูปภาคราชการเพื่ออนาคต ของไทย.กรุงเทพฯ: ธันวาคม 2539. อมรา พงศาพิ ชญ์ และปรั ช ญา คุริ นทร์ พัน ธุ์. 2535. (บรรณาธิ การ). ระบบอุ ปถั มภ์. กรุง เทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาษาอังกฤษ Darling, Barbara. 1999. “Sustainable Development, Good Govornance and Public Sector Management Reform”. conference paper


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อับดุลอาซิซ แวนาแว

89

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 วิพากษ์เรื่อง การซื้อขายแบบผ่อนชําระ...

Book Review การวิพากษ์วิทยานิพนธ์ การซื้อขายแบบผ่อนชําระตามกฎหมายอิสลาม ผู้เขียน ผู้วิพากษ์

:อานิส พัฒนปรีชาวงศ์ :อับดุลอาซิส แวนาแว*, มุฮาํ หมัดซากี เจ๊ะหะ** *นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาชะรีอะฮฺ (กฎหมายอิสลาม) คณะอสิลามศึกษา มหาวิทยาลัย

อิสลามยะลา **Ph.D. (in Law), ผู้ช่วยศาสตราจารย์, อาจารย์ประจําสาขาวิชาชะรีอะฮฺ (กฎหมายอิสลาม) คณะ อสิลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อับดุลอาซิซ แวนาแว

ข้อมูล เบื้องต้น ของวิ ทยานิพ นธ์ฉ บั บนี้ มี ชื่อว่ า การซื้ อ ขายแบบผ่ อนชํ า ระตามกฎหมายอิ ส ลาม หนา ประมาณ 190 หน้า มีอยู่ 5 บท บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 อั ล กุ ร อาน เอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิจัย และบทสุดท้าย สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผู้วิ พ ากษ์ จะแยกการวิ พ ากษ์ ออกเป็น 3 ส่ ว น คือ ส่วนที่หนึ่ง บทนํา อัลกรุอาน เอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ ย วข้ อ ง ส่ ว นที่ ส อง วิ ธี ก ารวิ จั ย และส่ ว นที่ 3 สรุ ป ผลการวิจัย ส่วนที่ 1 ส่วนของบทนํา ผู้เขียน ได้สะท้อนให้เห็นปัญหาที่ เกิดขึ้นในปัจจุบัน ของคนที่อยู่ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนมุสลิม ผู้ที่มีรายได้จํากัดและผู้ที่มีรายได้ มากนิยมการซื้อขายแบบผ่อนชําระโดยเลือกทําการศึกษา จากสหกรณ์ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ 1.สหกรณ์ อิสลามปัตตานี 2.สหกรณ์ออมทรัพย์อิบนุอัฟฟานปัตตานี 3.สหกรณ์อิสลามเบตง และ 4.สหกรณ์อิบนุเอาฟ จังหวัด สตูล วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่ อค้ น คว้ า การซื้ อขายแบบผ่ อนชํ า ระตาม กฎหมายอิสลาม 2.เพื่ อ ศึ ก ษาการซื้ อ ขายแบบผ่ อ นชํ า ระที่ สหกรณ์อิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้ง 4 แห่ง ได้ดําเนินการอยู่ 3.เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการซื้อขายแบบผ่อน ชําระตามหลักกฎหมายอิสลามกับการซื้อขายแบบผ่อน ชําระที่สหกรณ์ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ทั้ง 4 แห่ง ดําเนินการอยู่ 4.เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการซื้อขายแบบผ่อน ชํ า ระระหว่ า งสหกรณ์ อิ ส ลามในสามจั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ทั้ง 4 แห่ง ส่วนประเด็นปัญหาที่ตั้งไว้น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง คื อ แต่ ล ะสหกรณ์ ดํ า เนิ น การซื้ อ ขายแบบผ่ อ นชํ า ระ สอดคล้ อ งกั บ หลั ก การซื้ อ ขายแบบผ่ อ นชํ า ระตาม กฎหมายอิสลามหรือไม่? ผู้เขียนได้กําหนดข้อสมมุติฐาน ตั ว แปรที่ จ ะศึ ก ษา และกรอบแนวคิ ด อย่ า งเป็ น ลํ า ดั บ

90

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 วิพากษ์เรื่อง การซื้อขายแบบผ่อนชําระ...

ขั้ น ตอน แต่ ล ะข้ อ ผู้ เ ขี ย นได้ เ สนอสมมุ ติ ฐ านและ ความสัมพันธ์กัน ระหว่างตัวแปรต้น และ ตัวแปรตาม คํานิยามศัพท์แยกออกเป็น คํานิยามศัพท์ทั่วไปและคํา นิ ย ามศั พ ท์ เ ฉพาะซึ่ ง ทํ า ได้ ส มบรู ณ์ แต่ ใ นส่ ว นของ ข้ อ ตกลงเบื้ อ งต้ น ผู้ วิ จั ย ได้ กํ า หนดเพี ย งข้ อ เดี ย วซึ่ ง ผู้ วิพากษ์มองว่าน่าจะมีมากกว่านี้ ส่ ว นของ อั ล กุ ร อาน เอกสารและงานวิ จั ย ที่ เกี่ยวข้องผู้วิจัยได้นําเสนอ อายะฮฺอัลกุรอาน อัลหะดีษ ที่ เกี่ยวข้องกับการวิจัยได้อย่างคลอบคลุมโดยได้นําเสนอ ใน 3 หัวข้อดังนี้ 1.คํานิยามการซื้อขายในเชิงภาษา เชิงหลักการ ฟิ ก ฮฺ เชิ ง หลั ก กฎหมายไทย ตลอดจนบทบั ญ ญั ติ องค์ ป ระกอบของการซื้ อ ขาย และเงื่ อ นไขแต่ ล ะ องค์ประกอบ 2.คํ า นิ ย ามการซื้ อ ขายแบบผ่ อ นชํ า ระในเชิ ง ภาษาอาหรับ เชิงหลักการฟิกฮฺ และบทบัญญัติของการ ซื้ อขายแบบผ่ อนชํ า ระ สาเหตุ ข องความแตกต่ า งทาง ทัศนะ หลักฐานของแต่ละกลุ่ม อภิ ปรายหลั กฐานของ การโต้แย้ง ทัศนะที่น่าถูกต้องของผู้วิจัย เงื่อนไขและหลัก ปฏิบัติในการซื้อขายแบบผ่อนชําระ 3.ประเด็ น “ลดราคาและชํ าระ” สาเหตุข อง ความขัดแย้ง หลักฐานของแต่ละกลุ่ม ทัศนะที่น่าถูกต้อง ของผู้วิจัย ส่วนที่ 2 วิ ธี ก ารวิ จั ย งานวิ จั ย ฉบั บ นี้ เ ป็ น งานวิ จั ย คุณ ภาพซึ่ งประกอบด้ว ย 2 ส่ วน คือ การวิ จัย เอกสาร และการวิจัยภาคสนาม ส่วนที่ 1 วิจัยภาคเอกสาร ผู้เขียนศึกษาจากอัล กุรอาน อัลหะดีษ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการ ซื้อขายแบบผ่อนชําระตามกฎหมายอิสลาม ส่วนที่ 2.วิจัยภาคสนาม ผู้เขียนเลือกประชากร และกลุ่มตัวอย่างดังนี้ 2.1 ผู้จัดการสหกรณ์อิสลามปัตตานี 2.2 ผู้จั ด การสหกรณ์ออมทรัพ ย์อิบ นุอัฟฟาน ปัตตานี 2.3ผู้จัดการสหกรณ์อิสลามเบตง และ 2.4พนั ก งานฝ่ า ยสิ น เชื่ อ สหกรณ์ อิ บ นุ เ อาฟ จังหวัดสตูล


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อับดุลอาซิซ แวนาแว

ในส่วนของการวิจัยภาคสนามมีข้อสังเกตดังนี้ 3 ท่านแรกมีตําแหน่งถึง ผู้จัดการแต่ท่านสุดท้ายผู้เขียน เลือกที่จะสัมภาษณ์พนักงานฝ่ายสินเชื่อ ซึ่งผู้วิพากษ์เห็น ว่าน่าจะเลือกสัมภาษณ์ให้เหมือนกัน ถ้าเป็นผู้จัดการก็ ควรเป็นผู้จัดการทั้งหมดหรือพนักงานก็ควรเป็นพนักงาน ทั้งหมด ผู้เขียนใช้เครื่องมือการวิจัยเหมือนกับงานวิจัย ทั่วไปคือ ใช้การสัมภาษณ์ และการใช้แบบสอบถาม วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล จะได้จากการศึกษา เอกสารและการสัมภาษณ์ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ผู้ วิ จั ย มี ขั้ น ตอนการ วิเคราะห์ดังนี้ ตรวจสอบความถูกต้องและความสมบรูณ์ ของข้ อ มู ล วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล โดยใช้ วิ ธี ก ารวิ เ คราะห์ พรรณนา ส่วนที่ 3 สรุปผลการวิจัย การนําเสนอผลสรุปการวิจั ย ผู้วิจัยนําเสนอ 2 วิธี 1.ใช้ตาราง/ตารางเปรียบเทียบและ อธิบายท้ายตาราง 2.อธิบายเชิงวิเคราะห์พรรณนา ซึ่ง ทําได้สมบรูณ์แบบและสามารถตอบสมมุติฐานได้ทุกข้อ ซึ่งผู้วิพากษ์สามารถสรุปเนื้อหาได้ดังนี้ การซื้อขายแบบผ่อนชําระทั้ง 4 แห่งดําเนินการ ดังนี้ 1.สหกรณ์ออมทรัพย์อิบนุอัฟฟาน ดําเนินการ ซื้อขายแบบผ่อนชําระ สอดคล้องกับกฎหมายอิสลามใน ทุกด้าน 2.สหกรณ์ อิส ลามปั ต ตานี ดํ า เนิ น การซื้ อขาย แบบผ่อนชําระ สอดคล้องกับกฎหมายอิสลามในทุกด้าน ยกเว้นในด้านการอนุญาตให้ขายสินค้าที่ยังค้างชําระงวด ซึ่งสหกรณ์ไ ม่อนุญาตให้ลูกค้าขายสินค้าที่ยั งค้างชําระ งวดเนื่องจากยังติดหนี้สหกรณ์ และเกรงว่าจะเกิดปัญหา กั บ ผู้ รั บ ซื้ อ ต่ อ ที่ ยั ง ไม่ ส อดคล้ อ ง เพราะกรรมสิ ท ธิ์ ใ น สินค้าหลังจากการทําสัญญาซื้อขายเสร็จสิ้นสมบรูณ์จะ ตกเป็นของผู้ซื้อทันที ดังนั้นผู้ขายไม่มีกรรมสิทธิ์กําหนด เงื่อนไขห้ามมิให้ผู้ซื้อโอนกรรมสิทธิ์แก่ผู้อื่นได้เพราะเป็น เงื่อนไขที่ขัดกับวัตถุประสงค์ของการซื้อขาย 3.สหกรณ์ อิบ นุ เอาฟ ดํ า เนิ น การซื้ อขายแบบ ผ่อนชําระสอดคล้องกับกฎหมายอิสลามในทุกด้านยกเว้น ในด้ านการอนุญ าตให้ข ายสิน ค้า ที่ยั งค้า งชํ าระงวด ซึ่ ง

91

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 วิพากษ์เรื่อง การซื้อขายแบบผ่อนชําระ...

สหกรณ์ไม่อนุญาตให้ผู้ซื้อขายสินค้า ที่ยังค้างชําระงวด เนื่องจากยังมีหนี้ค้างอยู่ นอกจากผู้ซื้อที่มาเจรจาเปลี่ยน สัญญาซื้อขายแบบผ่อนชําระเป็นสัญญาเช่าซื้อ ที่ยังไม่ สอดคล้อง เพราะกรรมสิทธิ์ในสินค้าหลังจากทําสัญญา ซื้อขายเสร็จสิ้นสมบรูณ์จะตกเป็นของผู้ซื้อทันที่ ดังนั้น ผู้ขายไม่มีสิทธิกําหนดเงื่อนไขห้ามมิให้ผู้ซื้อโอนกรรมสิทธิ์ แก่ผู้อื่นได้ เพราะเป็ นเงื่ อนไขที่ขัด กับวั ตถุประสงค์ของ การซื้อขาย 4.สหกรณ์อิสลามเบตง ดําเนินการซื้อขายแบบ ผ่อนชําระสอดคล้องกับกฎหมายอิสลามในทุกด้านยกเว้น ใน 2 ด้า นที่ยั งไม่ สามารถเปรีย บเที ย บได้คื อ ด้ า นการ อนุญาตให้ขายสินค้าที่ยังค้างชําระงวดเพราะสหกรณ์จะ เจรจากับผู้ซื้อ แล้วนําเข้าที่ประชุมเพื่อพิจารณาเป็นกรณี ๆ จึ ง ไม่ ส ามารถวิ เ คราะห์ ไ ด้ ว่ า สอดคล้ อ งหรื อ ไม่ สอดคล้องกับกฎหมายอิสลาม ถ้าหากสหกรณ์อนุญาตให้ ขายสินค้าทียังค้างชําระงวด ถือว่าสอดคล้องกับกฎหมาย อิสลามและถ้าหากสหกรณ์ไม่อนุญาตให้ขายสินค้าที่ยัง ค้างชําระงวด ถือว่าไม่สอดคล้องกับกฎหมายอิสลามและ ด้านการจัดการกับเงินประมูลที่เหลือจากการชําระหนี้ เพราะสหกรณ์ ยั ง ไม่ เ คยประมู ล ขายหลั ก ทรั พ ย์ ห รื อ ทรัพย์สิน จึงไม่สามารถวิเคราะห์ได้ว่า สอดคล้องหรือไม่ สอดคล้ องกั บ กฎหมายอิ ส ลาม ถ้ า หากสหกรณ์ คื น เงิ น ประมูลที่เหลือจากการชําระหนี้แก่ผู้ซื้อ ถือว่าสอดคล้อง กับกฎหมายอิสลาม และถ้าหากสหกรณ์ไม่คืนเงินประมูล ที่เหลือจากการชําระหนี้แก่ผู้ซื้อ ถือว่าไม่สอดคล้องกับ กฎหมายอิสลาม พร้อมกันนี้ผู้เขียนยังได้เสนอแนะเกี่ยวกับการ ซื้อขายแบผ่อนชําระแก่สหกรณ์อิสลามดังนี้ 1.สหกรณ์ควรมีผู้ให้คําปรึกษาด้านศาสนา แก่ ลูกค้าที่กระทํานิติกรรมสัญญากับสหกรณ์ 2.สหกรณ์ ค วรมี ก ารเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล และ รายละเอียดเกี่ยวกับลูกค้าที่กระทํานิติกรรมสัญญากับ สหกรณ์ 3.สหกรณ์ควรเก็บรวบรวมรายชื่อลูกค้าที่ผิดนัก ชําระงวดเป็นประจํา แล้วเสนอแก่คณะกรรมการบริหาร ของสหกรณ์ 4.สหกรณ์ อิส ลามปั ต ตานี สหกรณ์ อิบ นุ เอาฟ และสหกรณ์อิสลามเบตง ควรเสนอเงื่ อนไขแก่ ผู้ซื้ อให้


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อับดุลอาซิซ แวนาแว

จํานําสินค้าไว้กับผู้ขาย ทั้งนี้เพื่อเป็นหลักประกันแก่ผู้ขาย ในการให้ได้มาซึ่งจํานวนงวดที่ยังไม่ถึงกําหนด เวลาชําระ ซึ่งการจํานํานั้นไม่จําเป็นที่ ผู้รับจํานําต้องถือครองของ จํานําเสมอไปอาจจะจํานําในทางเอกสารเท่านั้น โดยการ เขียนเป็นลายลักอักษรในใบโอนกรรมสิทธิ์ว่า “สินค้านี้มี ภาระจํ า นํ า หรื อ จํ า นองไม่ ส ามารถซื้ อ ขายหรื อ โอน กรรมสิ ท ธิ์ แ ก่ ผู้ อื่น ได้ ยกเว้ น จะต้ องได้ รั บ อนุ ญ าตจาก สหกรณ์ก่อน” เป็นต้น สุดท้ายนี้การ ผู้วิพากษ์สามารถสรุปการวิพากษ์ ได้ดังนี้ ในแง่ของการนําเสนอข้อมูล ผู้เขียนนําเสนอได้ดี เป็นลําดับขั้น อ่านแล้วเข้าใจง่าย ในแง่ ข องเนื้ อ หา ผู้ เ ขี ย นนํ า เสนอเนื้ อ หาที่ ครอบคลุม บอกทัศนะของนักวิชาการ หลักฐาน ทั้งที่เป็น เอกสารและตัวเลข และต่อท้ายด้วยนําเสนอทัศนะของ ผู้เขียนต่อประเด็นนั้น ๆ ในภาพรวม วิทยานิพนธ์เล่มนี้เป็นวิทยานิพนธ์ ที่ดี และเป็นประโยชน์สําหรับมุสลิมในการทําสัญญาซื้อ ขายแบบผ่อนชําระ และเลือก สหกรณ์ที่ดําเนินการตาม หลักการกฎหมายอิสลาม สหกรณ์ทั้ง 4 แห่ง สหกรณ์ออมทรัพย์อิบนุอัฟ ฟาน สหกรณ์ อิ บ นุ เ อาฟ สหกรณ์ อิ ส ลามเบตง และ สหกรณ์ สหกรณ์อิสลามปัตตานี ดําเนินการซื้อขายแบบ ผ่อนชําระสอดคล้องกับกฎหมายอิสลาม

92

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 วิพากษ์เรื่อง การซื้อขายแบบผ่อนชําระ...


หลักเกณฑ์และวิธีการเขียนบทความวิชาการ บทความวิจัย ในวารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูปแบบและคําแนะนําสําหรับผูเ้ ขียน วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา (Yala Islamic University Al-Hikmah Journal) เป็นวารสาร ตีพิมพ์เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้สู่สาธารณประโยชน์ ที่ไ ด้รวบรวมผลงานวิชาการด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ของ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซึ่งจัดตีพิมพ์เป็นราย 6 เดือนต่อฉบับ บทความที่ส่งมาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้ จะต้องเป็นวารสารที่ไม่เคยเผยแพร่และตีพิมพ์ในวารสารอื่นๆ มาก่อน หรือสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน บทความดังกล่าวต้องชี้แจงให้กับกองบรรณาธิการวารสาร เพื่อพิจารณาสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทํา การประเมินบทความ ผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีสาขาชํานาญการที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อบทความ การเตรียมต้นฉบับสําหรับการตีพิมพ์ รับตีพิมพ์ผลงานทั้งที่เป็นภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษามลายูญาวี และภาษามลายูรูมี ต้นฉบับต้อง พิมพ์ในกระดาษ ขนาด A4 พิมพ์ 2 คอลัมน์ ยกเว้นบทคัดย่อพิมพ์แบบหน้าเดียว ซึ่งการเขียนจะมีรูปแบบที่แตกต่างกันในแต่ ละภาษาดังนี้ หน้ากระดาษ 1.หน้ากระดาษบนมีความกว้าง 2.หน้ากระดาษล่างมีความกว้าง 3.หน้ากระดาษซ้ายและขวามีความกว้าง 4.ความกว้างของคอลัมน์เท่ากัน การใช้ตัวอักษร 1.ภาษาไทย 2.ภาษาอังกฤษ กับ ภาษามลายูรูมี 3.ภาษาอาหรับ 4.ภาษามลายูญาวี

3.81 เซนติเมตร 3.05 เซนติเมตร 2.54 เซนติเมตร 7.71 เซนติเมตร มีระยะห่างระหว่างคอลัมน์ 0.51 เซนติเมตร

ใช้อักษร TH SarabunPSK ใช้อักษร TH SarabunPSK ใช้อักษร Traditional Arabic ใช้อักษร Adnan Jawi Traditional Arabic

ขนาด 15 พ. ขนาด 15 พ. ขนาด 16 พ. ขนาด 16 พ.

ประเภทของบทความ 1.บทความวิชาการ (Article) ประมาณ 8-10 หน้า ต่อบทความ 2.บทความวิจัย (Research) ประมาณ 6-8 หน้า ต่อบทความ 3.บทความปริทรรศน์ (Review Article) ประมาณ 6-8 หน้า ต่อบทความ 4.บทวิพาทย์หนังสือ (Book Review) ประมาณ 3-4 หน้า ต่อบทความ ชื่อเรื่อง ชื่อเรื่องต้องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในทุกๆ ภาษาที่เขียนบทความ ชื่อผู้เขียน 1.ชื่อเต็ม-นามสกุลของผู้เขียนครบทุกคนตามภาษาที่เขียนบทความ และต้องมีภาษาไทยและภาษาอังกฤษเสมอ 2.ผู้เขียนหลักต้องใส่ที่อยู่ให้ละเอียดตามแบบฟอร์มที่สํานักงานกองบรรณาธิการวารสารจัดเตรียม 3.ให้ผู้เขียนทุกคนระบุวุฒิการศึกษาที่จบ ณ ปัจจุบัน (ถ้ามีตําแหน่งทางวิชาการให้ระบุด้านชํานาญการ) พร้อม ตําแหน่งงานและสถานที่ทํางานปัจจุบัน สังกัด หน่วยงาน เป็นต้น บทคัดย่อ 1.จะปรากฏนําหน้าตัวเรื่อง ทุกๆ ภาษาที่เขียนบทความต้องมีบทคัดย่อภาษาที่เขียน และบทคัดย่อภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษเสมอ มีความยาระหว่าง 200 ถึง 250 คํา จะต้องพิมพ์แบบหน้าเดียว


คําสําคัญ ให้มีระบุคําสําคัญท้ายบทคัดย่อไม่เกิน 5 คํา ทั้งที่เป็นภาษาที่เขียนบทความ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ รูปภาพ ให้จัดรูปภาพ ให้พอดีกับหน้ากระดาษ โดยจะต้องให้รูปภาพจัดอยู่ในหน้าเดียวของหน้ากระดาษ ตาราง ให้จัดตาราง ให้พอดีกับหน้ากระดาษ โดยจะต้องให้ตารางจัดอยู่ในหน้าเดียวของหน้ากระดาษ และให้ระบุลําดับที่ ของตาราง พร้อมรายละเอียดต่างๆ ของตาราง เอกสารอ้างอิง 1.ให้ระบุเอกสารอ้างอิงตามที่ได้ค้นคว้าวิจัยในบทความเท่านั้น เพื่อนํามาตรวจสอบความถูกต้อง 2.ต้องจัดเรียงลําดับตามตัวอักษรนํา ของแต่ละบทความนั้นๆ 3.การอ้างอิงในเนื้อหาของบทความต้องอ้างอิงแบบนามปีเท่านั้น (ให้ระบุ ชื่อผู้แต่ง, ปี: หน้า) ยกเว้นคําอธิบายคํา สามารถทําในรูปแบบของเชิงอรรถได้ และให้อ้างอิงตามรูปแบดังนี้ (1) หนังสือ มัสลัน มาหะมะ. 2550. ลุกมานสอนลูก: บทเรียนและแนวปฏิบัติ. ยะลา. วิทยาลัยอิสลามยะลา Best, John W. 1981. Research in Education. 3 rd ed. Englewood cliffs, New Jersey: Prentice. Hall Inc. (2) บทความ วิสุทธิ์ บิลล่าเต๊ะ. 2010. “กระบวนการดํารงอัตลักษณ์มุสลิม”, อัล-นูร. ฉบับที่ 9 (กรกฎาคม-ธันวาคม) หน้า 55-66 (3) สารอิเล็กทรอนิกส์ อัล บุนยาน. 2552. มุ่งมั่นสู่การปฏิรูปตนเองและเรียกร้องเชิญชวนผู้อื่นสู่การยอมจํานงต่ออัลลอฮฺ. จากอินเตอร์เน็ต. http://www.iqraforum.com/oldforum1/ www.iqraonline.org/ (ค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2552). การส่งต้นฉบับ ส่งต้นฉบับสําเนา 3 ชุด และแผ่นข้อมูลลง CD 1 แผ่น ส่งมายัง สํานักงานกองบรรณาธิการวารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย เลขที่ 135/8 หมู่ 3 ตําบลเขาตูม อําเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี 94160 หรือ ตู้ปณ. 142 อําเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 Tel. (073) 418611-4 / Fax. (073) 418615-6


แบบเสนอต้นฉบับเพื่อลงตีพิมพ์ ในวารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว.......................................................................................................................................................... ชื่อเรื่องตามภาษาที่เขียนบทความ................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................................... ชื่อเรื่องภาษาไทย:………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ....................................................................................................................................................................................................... ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ:………………………….………………………………………………………………………………………………………………………. ....................................................................................................................................................................................................... ชื่อ-สกุลผู้แต่งหลัก: (1) ชื่อภาษาไทย…………..….……………………………………………………………………………………………………………. (2) ชื่อภาษาอังกฤษ....................................................................................................................................... ที่อยู่:…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เบอร์โทรศัพท์:……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เบอร์โทรสาร:………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………. E-mail address:………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ชื่อ-สกุลผู้แต่งร่วม (1) ชื่อภาษาไทย..……………………………………………………………………………………………………………. ชื่อภาษาอังกฤษ........................................................................................................................ (2) ชื่อภาษาไทย..……………………………………………………………………………………………………………. ชื่อภาษาอังกฤษ........................................................................................................................ (3) ชื่อภาษาไทย..……………………………………………………………………………………………………………. ชื่อภาษาอังกฤษ........................................................................................................................ (4) ชื่อภาษาไทย..……………………………………………………………………………………………………………. ชื่อภาษาอังกฤษ........................................................................................................................ ระบุประเภทของต้นฉบับ บทความวิชาการ (Article) บทความวิจัย (Research) บทความปริทรรศน์ (Review Article) บทวิพาทย์หนังสือ (Book Review) ลงชื่อ…………………………………………………… ( ) วันที่...........................................................





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.