ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ทีฆายุกา โหตุ มหาราชินี ข้าฯ พระบาท ปวงราษฎร์ ทั่วชาติไทย ลุ สิบสอง สิงหามาส ราชสมภพ ขออัญเชิญ เทพยดา ทั่วธาตรี
พระจอมขวัญ แห่งจักรี ศรีสมัย น้อมถวาย พระพรชัย สดุดี นับแปดสิบ พรรษาครบ เฉลิมศรี แผ่บารมี คุ้มพระองค์ ทรงพระเจริญ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า คณะกรรมการวิชาการไฟฟ้า วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๕ นพดา ธีรอัจฉริยกุล ผู้ประพันธ์
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม - สิงหาคม 2555 E-mail : eemag@eit.or.th, eit@eit.or.th
ส า ร บั ญ
14
สัมภาษณ์พิเศษ
14
ณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ์ เลขาธิการ สมอ. คนใหม่ ยกระดับมาตรฐานอุตสาหกรรมไทยสู่สากล
มาตรฐานและความปลอดภัย
17
25
25 30
ขยายความมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย บทที่ 4 (ตอนที่ 3) : นายลือชัย ทองนิล อัคคีภัยจากไฟฟ้า : นายมงคล วิสุทธิใจ การติดตั้งระบบไฟฟ้าในสระว่ายน�้ำและอ่างน�้ำพุ (ตอนที่ 5) การติดตั้งระบบไฟฟ้าอ่างน�ำ้ พุ (Fountains) : รศ.ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ไฟฟ้าก�ำลังและอิเล็กทรอนิกส์กำ� ลัง
40
37 40
ไฟฟ้าสื่อสารและคอมพิวเตอร์
45
51
Guideline for Under Frequency Relay Setting : นายปริญญา เอกพรพิศาล เทคโนโลยีและการท�ำงานของ Ground Lead Disconnector ส�ำหรับกับดักเสิร์จชนิด MOV ในระบบจ�ำหน่ายแบบเหนือดิน : นายกิตติกร มณีสว่าง
51
55
ประสบการณ์ในการออกแบบและติดตั้งระบบสื่อสาร Master Radio ในระบบ SCADA ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค : นายรักชาติ นนทพันธ์ ระบบ SCADA และ DMS กับการพัฒนาต่อยอดไปสู่ Smart Grid : นายกิตติวัฒน์ ศรีวิลาศ ในแวดวง ICT : แนวโน้มโทรคมนาคม 4G (ตอนที่ 3) : นายสุเมธ อักษรกิตติ์
พลังงาน
62
68
68
76
การศึกษาการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในประเทศไทย (ตอนที่ 4) เทคโนโลยีของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าพลังงานลม : นายศุภกร แสงศรีธร เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากขยะ (ตอนที่ 3) Waste to Electricity Technology (Part 3) : นายธงชัย มีนวล การจัดท�ำมาตรการอนุรักษ์พลังงานระบบอัดอากาศ (ภาคปฏิบัติ) : นายธวัชชัย ชยาวนิช
ปกิณกะ
83 87
90 92
Titanic : น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล ศัพท์วิศวกรรมน่ารู้ “Isolation Panel” (For Hospital Applications.) : นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล Innovation News เต้ารับอัจฉริยะ : น.ส.กัญญารัตน์ เอี่ยมวันทอง ข่าวประชาสัมพันธ์
ความคิดเห็นและบทความต่าง ๆ ในนิตยสารไฟฟ้าสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผูเ้ ขียน ไม่มสี ว่ นผูกพันกับวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
บ ท บ ร ร ณ า ธิ ก า ร สวัสดีท่านผู้อ่านทุกท่านครับ ช่วงนี้เป็นฤดูฝน มีฝนตกบ่อยครั้ง ผมหวังว่าทุกท่านคงดูแล สุขภาพให้แข็งแรงเพือ่ ป้องกันไม่ให้เจ็บป่วยได้งา่ ยนะครับ สิง่ ทีห่ ลายท่านกังวลคงไม่ใช่แค่เรือ่ งปัญหา สุขภาพเป็นแน่ ผมคาดว่าหลายท่านคงกังวลในเรื่องน้องน�ำ้ ว่าปีนี้จะเกิดน�้ำท่วมหนักเช่นปีที่ผ่านมา หรือไม่ ? ภาครัฐได้มีการเตรียมความพร้อมและการป้องกันได้ดีเพียงใด ? จะเอาอยู่ไหม ? และ ทีส่ ำ� คัญพวกเราทุกคนได้เตรียมความพร้อมเรือ่ งใดไปบ้าง ? อย่างไรก็ดที างนิตยสารไฟฟ้าสารของเรา ก็ได้ให้ขอ้ มูลผ่านบทความทีไ่ ด้นำ� มาลงในหลายฉบับทีผ่ า่ นมา โดยได้มงุ่ เน้นเรือ่ งเกีย่ วกับการป้องกัน การตรวจสอบ และแก้ไขปัญหาอุปกรณ์ไฟฟ้าจากเรื่องน�้ำท่วม หากท่านใดยังไม่ได้อ่านก็สามารถ หาอ่านย้อนหลังผ่านทาง E-Magazine ได้จาก http:/www.eit.or.th/smf/index.php?board=13.0 ครับ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ในช่วงนี้หลายท่านคงได้ยินค�ำว่า AEC (ASEAN Economic Community) หรือที่เราเรียกกันว่าประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน บ่อยครั้งกันมากขึ้น คงสงสัยว่า AEC คืออะไร ? จะมีผลกระทบอะไรกับเราบ้าง ? ที่สำ� คัญอะไรคือโอกาสและ ความท้าทายใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้น ? ผมคิดว่าพวกเราในแวดวงวิศวกรรม ผู้ประกอบการภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรม ควรจะให้ความส�ำคัญกับสิ่งนี้เป็นพิเศษ เพราะปัจจุบันสถานการณ์ด้านการค้าและการลงทุนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีการแข่งขันกันสูงมาก โดยในปี 2558 ทั้ง 10 ประเทศของอาเซียนจะเข้าสู่ AEC ครบทุกประเทศ จะท�ำให้ฐานการตลาด ขยายกว้างมากขึ้น ส่งผลให้ผู้ผลิตต้องพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค หากเรา ไม่ปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงอาจส่งผลต่อขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้
ส�ำหรับนิตยสารฉบับนีไ้ ด้รบั เกียรติจากคุณณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ์ เลขาธิการส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) คนใหม่ ที่เพิ่งเข้ามารับต�ำแหน่งเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2555 ให้สัมภาษณ์ถึงทิศทางการด�ำเนินงานและการเตรียม ความพร้อมของ สมอ. เพือ่ เตรียมพร้อมรับกับความเปลีย่ นแปลงด้านการแข่งขันในอุตสาหกรรมต่าง ๆ นอกจากนีย้ งั มีบทความ วิชาการหลายบทความที่น่าสนใจเหมือนฉบับที่ผ่าน ๆ มา เช่น อัคคีภัยจากไฟฟ้า, เทคโนโลยีและการท�ำงานของ Ground Lead Disconnector ส�ำหรับกับดักเสิร์จชนิด MOV ในระบบจ�ำหน่ายแบบเหนือดิน, ประสบการณ์ในการออกแบบและติดตั้ง ระบบสื่อสาร Master Radio ในระบบ SCADA ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค, ระบบ SCADA และ DMS กับการพัฒนาต่อยอด ไปสู่ Smart Grid, การจัดท�ำมาตรการอนุรักษ์พลังงานระบบอัดอากาศ (ภาคปฏิบัติ) และเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องน่าสนใจและ ติดตามเป็นอย่างยิ่งครับ
อนึ่งหากท่านผู้อ่านท่านใดมีข้อแนะน�ำ หรือติชมใด ๆ แก่กองบรรณาธิการ ท่านสามารถมีส่วนร่วมกับเราได้โดยส่ง เข้ามาทางไปรษณีย์ หรือที่ Email: eemag@eit.or.th และสุดท้ายผมขอขอบคุณผู้สนับสนุนนิตยสาร “ไฟฟ้าสาร” ทุกท่าน ทีช่ ว่ ยให้เรายังคงสามารถท�ำนิตยสารวิชาการให้ความรูแ้ ละข่าวสารแก่ทา่ นผูอ้ า่ นทุกท่านในช่วงทีผ่ า่ นมา และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า จะให้การสนับสนุนตลอดไปครับ
สวัสดีครับ ดร.ประดิษฐ์ เฟื่องฟู
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
เจ้าของ : สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 487 รามค�ำแหง 39 (ซอยวัดเทพลีลา) ถนนรามค�ำแหง แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2319 2410-13 โทรสาร 0 2319 2710-11 http://www.eit.or.th e-mail : eit@eit.or.th
คณะกรรมการที่ปรึกษา
ฯพณฯ พลอากาศเอก ก�ำธน สินธวานนท์ ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ศ.อรุณ ชัยเสรี รศ.ดร.ณรงค์ อยู่ถนอม รศ.ดร.ไกรวุฒิ เกียรติโกมล รศ.ดร.ต่อตระกูล ยมนาค ดร.การุญ จันทรางศุ นายเรืองศักดิ์ วัชรพงศ์ พล.ท.ราเมศร์ ดารามาศ นายอ�ำนวย กาญจโนภาศ
จันทร์เจนจบ, อาจารย์สุพัฒน์ เพ็งมาก, นายประสิทธ์ เหมวราพรชัย, นายไชยวุธ ชีวะสุทโธ, นายปราการ กาญจนวตี, นายพงษ์ศักดิ์ หาญบุญญานนท์, รศ.ศุลี บรรจงจิตร, รศ.ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช, นายเกียรติ อัชรพงศ์, นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์, นายเชิดศักดิ์ วิทูราภรณ์, ดร.ธงชัย มีนวล, นายโสภณ สิกขโกศล, นายทวีป อัศวแสงทอง, นายชาญณรงค์ สอนดิษฐ์, นายธนะศักดิ์ ไชยเวช
ประธานกรรมการ นายลือชัย ทองนิล
รองประธานกรรมการ นายสุกิจ เกียรติบุญศรี นายบุญมาก สมิทธิลีลา
คณะกรรมการอ�ำนวยการ วสท.
นายสุวัฒน์ เชาว์ปรีชา นายไกร ตั้งสง่า รศ.ดร.หรรษา วัฒนานุกิจ ศ.ดร.ต่อกุล กาญจนาลัย นายธเนศ วีระศิริ นายทศพร ศรีเอี่ยม นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ นายธีรธร ธาราไชย รศ.ดร.วันชัย เทพรักษ์ รศ.ดร.วิชัย กิจวัทวรเวทย์ นายชัชวาลย์ คุณค�้ำชู รศ.ดร.อมร พิมานมาศ ผศ.ดร.วรรณสิริ พันธ์อุไร ดร.ชวลิต ทิสยากร รศ.ดร.พิชัย ปมาณิกบุตร นายชูลิต วัชรสินธุ ์ รศ.ดร.ทวีป ชัยสมภพ นายนินนาท ไชยธีรภิญโญ นายประสิทธิ์ เหมวราพรชัย นางอัญชลี ชวนิชย์ ดร.ประวีณ ชมปรีดา รศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายลือชัย ทองนิล นายจักรพันธ์ ภวังคะรัตน์ รศ.ด�ำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย รศ.ดร.ขวัญชัย ลีเผ่าพันธุ์ นายเยี่ยม จันทรประสิทธิ์ ผศ.ยุทธนา มหัจฉริยวงศ์ ผศ.ดร.ก่อเกียรติ บุญชูกุศล นายกุมโชค ใบแย้ม รศ.ดร.เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง รศ.วิชัย ฤกษ์ภูริทัต รศ.ดร.สมนึก ธีระกุลพิศุทธิ์ ผศ.ดร.สงวน วงษ์ชวลิตกุล รศ.ดร.จรัญ บุญกาญจน์
นายก อุปนายกคนที่ 1 อุปนายกคนที่ 2 อุปนายกคนที่ 3 เลขาธิการ เหรัญญิก นายทะเบียน ประชาสัมพันธ์ โฆษก สาราณียกร ประธานกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ ประธานกรรมการโครงการ ประธานสมาชิกสัมพันธ์ ปฏิคม ประธานกรรมการต่างประเทศ ประธานกรรมการสวัสดิการ กรรมการกลาง 1 กรรมการกลาง 2 ประธานวิศวกรอาวุโส ประธานวิศวกรหญิง ประธานยุววิศวกร ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ประธานสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ประธานสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ประธานสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ โลหการ และปิโตรเลียม ประธานสาขาวิศวกรรมเคมี ประธานสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ประธานสาขาวิศวกรรมยานยนต์ ประธานสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ประธานสาขาภาคเหนือ 1 ประธานสาขาภาคเหนือ 2 ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 ประธานสาขาภาคใต้
กรรมการ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
รายนามคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. 2554-2556 ที่ปรึกษา
นายอาทร สินสวัสดิ์, ดร.ประศาสน์ จันทราทิพย์, นายเกษม กุหลาบแก้ว, ผศ.ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์, นายโสภณ ศิลาพันธ์, นายภูเธียร พงษ์พิทยาภา, นายอุทิศ
ผศ.ถาวร อมตกิตติ ์ ดร.เจน ศรีวัฒนะธรรมา นายสมศักดิ์ วัฒนศรีมงคล นายพงศ์ศักดิ์ ธรรมบวร นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ นายสุธี ปิ่นไพสิฐ ดร.ประดิษฐ์ เฟื่องฟู นายกิตติศักดิ์ วรรณแก้ว นายสุจิ คอประเสริฐศักดิ์ นายภาณุวัฒน์ วงศาโรจน์ นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
คณะท�ำงานกองบรรณาธิการนิตยสารไฟฟ้าสาร คณะที่ปรึกษา
นายลือชัย ทองนิล, นายปราการ กาญจนวตี, ผศ.ดร.วชิระ จงบุรี, นายยงยุทธ รัตนโอภาส, นายสนธยา อัศวชาญชัยสกุล, นายศุภกิจ บุญศิริ , นายวิชยั จามาติกลุ
บรรณาธิการ
ดร.ประดิษฐ์ เฟื่องฟู
กองบรรณาธิการ
ผศ.ถาวร อมตกิตติ์, นายมงคล วิสุทธิใจ, นายชาญณรงค์ สอนดิษฐ์, นายวิวัฒน์ อมรนิมิตร, นายสุเมธ อักษรกิตติ์, ดร.ธงชัย มีนวล, ผศ.ดร.ปฐมทัศน์ จิระเดชะ, ดร.อัศวิน ราชกรม, นายบุญถิ่น เอมย่านยาว, นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล, นายกิตติศักดิ์ วรรณแก้ว, อาจารย์ธวัชชัย ชยาวนิช, นายมนัส อรุณวัฒนาพร. นายประดิษฐ์พงษ์ สุขสิริถาวรกุล, นายจรูญ อุทัยวนิชวัฒนา, น.ส.เทพกัญญา ขัติแสง, น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล
ฝ่ายโฆษณา
สุพจน์ แสงวิมล, กฤษณะ หลักทรัพย์, วีณา รักดีศิริสัมพันธ์
จัดท�ำโดย
บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด
539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม ชั้น 22 A ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2247 2330, 0 2247 2339, 0 2642 5243, 0 2642 5241 (ฝ่ายโฆษณา ต่อ 112-113) โทรสาร 0 2247 2363 www.DIRECTIONPLAN.org E-mail : DIRECTIONPLAN@hotmail.com
Interview สัมภาษณ์พิเศษ
ณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ์
เลขาธิการ สมอ. คนใหม่ ยกระดับมาตรฐานอุตสาหกรรมไทยสู่สากล ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. เป็นหน่วยงานที่มีความส�ำคัญและเกี่ยวข้องกับ ประชาชน โดยเฉพาะผูบ้ ริโภคทีต่ อ้ งใช้สนิ ค้าต่าง ๆ ในชีวติ ประจ�ำวัน ซึ่งสินค้าส่วนใหญ่ล้วนมาจากกระบวนการผลิต ในระบบอุตสาหกรรมทัง้ สิน้ กอปรกับปัจจุบนั สถานการณ์ ด้านการค้าและการลงทุนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีการแข่งขันในภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น ส่งผลให้ผู้ผลิต ต้องพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค และใน พ.ศ. 2558 จะเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economic Community : AEC) ครบทั้ง 10 ประเทศ การเตรียม ความพร้อมด้านมาตรฐาน เพื่อรองรับการแข่งขันจาก ต่างประเทศจึงมีความส�ำคัญยิ่ง เพราะหากอุตสาหกรรม ไทยไม่ปรับตัวอาจส่งผลต่อขีดความสามารถในการแข่งขัน รวมถึ ง อาจถู ก สิ น ค้ า จากประเทศอื่ น เข้ า มาตี ต ลาดใน ประเทศได้ นิตยสารไฟฟ้าสารฉบับนีไ้ ด้รบั เกียรติจาก นายณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ์ เลขาธิการส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) คนใหม่ ที่เพิ่งเข้ามารับต�ำแหน่ง เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2555 ให้สัมภาษณ์ถึงทิศทาง การด�ำเนินงานและการเตรียมความพร้อมของ สมอ. เพือ่ เตรียมพร้อมรับกับความเปลีย่ นแปลงด้านการแข่งขัน ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทิศทางต่อจากนี้ไปของ สมอ. ถือเป็นก้าวย่างที่ส�ำคัญยิ่ง
สมอ.ปกป้องผลประโยชน์และความปลอดภัย ให้แก่ผู้บริโภค
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
14
นายณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ์ เลขาธิการส�ำนักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) เปิดเผยว่า สมอ. เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม ด�ำเนินการ ภายใต้พระราชบัญญัติ 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติ มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม พ.ศ. 2511 และ พระราชบัญญัติมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ. 2551 มีอ�ำนาจ หน้าที่ในการก�ำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม เพือ่ ประโยชน์ ในการส่งเสริม ความปลอดภัย และป้องกันความเสียหาย ที่อาจจะเกิดขึ้นแก่ประชาชนหรือเศรษฐกิจของประเทศ “ที่ผ่านมา สมอ.ได้ด�ำเนินการก�ำหนดมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (มอก.) ทัง้ ทีเ่ ป็นมาตรฐานบังคับ และไม่บังคับเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค รักษาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งเสริมให้ภาคอุตสาหกรรม ไทยสามารถแข่ ง ขั น ได้ ใ นตลาดโลก และยั ง มี ห น้ า ที่ ในการก�ำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ดา้ นการมาตรฐาน ของประเทศเพื่อให้เป็นเอกภาพ สอดคล้องกับมาตรฐาน สากล ซึง่ จะส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ” เลขาธิการ สมอ.กล่าว
“มาตรฐาน” อาวุธส�ำคัญการแข่งขันใน ตลาดโลก
การแข่งขันในโลกปัจจุบันมีการแข่งขันที่รุนแรง เลขาธิการ สมอ.กล่าวถึงเรื่องนี้วา่ บทบาทส�ำคัญประการ หนึง่ ของ สมอ. คือการพัฒนาผูป้ ระกอบการให้มศี กั ยภาพ
และมีขีดความสามารถ โดยใช้กลไกด้านมาตรฐานให้ สามารถแข่งขันได้เพือ่ สร้างเสริมเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม ของประเทศให้เข้มแข็งและเกิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน โดย สมอ.มีแนวทางในการส่งเสริมด้านการมาตรฐานในหลาย ๆ ด้าน อาทิ การก�ำหนดมาตรฐานให้ตอบสนองความต้องการ ของทุกภาคส่วน โดยจัดท�ำแผนแม่บทการก�ำหนดมาตรฐาน 5 ปี เพือ่ ให้ทกุ ภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องมีสว่ นร่วมในการก�ำหนด มาตรฐานเพื่ อ ให้ ต รงตามความต้ อ งการและทั น ต่ อ การใช้งาน โดยสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานทีม่ ศี กั ยภาพ เป็นผูก้ ำ� หนดมาตรฐานในสาขาต่าง ๆ ตามความรูแ้ ละทักษะ สาขาอาชีพที่เกี่ยวข้องของหน่วยงาน รวมถึงการพัฒนา ระบบตรวจสอบและรับรองให้สอดคล้องกับแนวทางสากล โดยส่งเสริมให้มกี ารน�ำมาตรฐานไปใช้ในภาคอุตสาหกรรม อย่างทั่วถึง เพื่อให้การผลิตและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ เป็นที่ยอมรับและแข่งขันในตลาดโลกได้
หน่วยงานระหว่างประเทศ สมอ.ได้ร่วมก�ำหนดมาตรฐาน กั บ องค์ ก ารระหว่ า งประเทศว่ า ด้ ว ยการมาตรฐาน (International Organization for Standardization : ISO) และคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน สาขาอิเล็กทรอเทคนิกส์ (International Electrotechnical Commission : IEC) โดยพิจารณาให้ข้อคิดเห็นต่อร่าง มาตรฐานในขัน้ ตอนจัดท�ำร่างมาตรฐานและส่งผูเ้ ชีย่ วชาญ ตามสาขาทีเ่ กีย่ วข้องเป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมประชุม ในคณะกรรมการวิชาการด้านเทคนิคของทั้งสององค์กร
มาตรฐาน สมอ.เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
การเข้าร่วมจัดท�ำมาตรฐานของ สมอ.กับหน่วยงาน ระหว่างประเทศนั้น เลขาธิการ สมอ.กล่าวว่า ไทยเป็น สมาชิกและเข้าร่วมลงนามข้อตกลงการยอมรับร่วมใน ผลการตรวจสอบและรับรองกับ International Accreditation Forum (IAF) และ International Laboratory Accreditation Cooperation (ILAC) ซึ่งทั้ง 2 องค์กรเป็นหน่วยงานที่มี สมาชิกอยู่ทั่วโลก และมีกระบวนการท�ำให้หน่วยรับรอง ระบบงานจากที่หนึ่งของโลกได้รับการยอมรับเทียบเท่า หน่วยงานรับรองระบบงานในอีกที่หนึ่งของโลก ซึ่งแสดง ให้เห็นถึงการยอมรับความเทียบเท่าของ สมอ.กับหน่วยงาน อื่น ๆ ในระดับสากล
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ถ่ายโอนงานเพิ่มคุณภาพมาตรฐานไทย
จับมือหน่วยงานต่าง ๆ พัฒนามาตรฐาน ร่วมกัน
เลขาธิการ สมอ.กล่าวว่า การพัฒนามาตรฐานต่าง ๆ นัน้ สมอ.ได้รว่ มมือกับหน่วยงานในประเทศสร้างเครือข่าย ความร่วมมือในการก�ำหนดมาตรฐานกับหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนทีม่ คี วามรูค้ วามช�ำนาญเฉพาะด้าน เพือ่ ให้ การก�ำหนดมาตรฐานมีความรวดเร็ว โดย สมอ.ได้ลงนาม ความร่วมมือด�ำเนินการก�ำหนดมาตรฐานกับ 12 หน่วยงาน อาทิ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นต้น ส่วนความร่วมมือกับ
จากการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศและ การเติบโตของภาคอุตสาหกรรม ประกอบกับการมาตรฐาน มีบทบาทส�ำคัญด้านการค้าระหว่างประเทศมากขึ้น ท�ำให้ สมอ.มีภาระงานด้านการก�ำหนดมาตรฐานและด้านการรับรอง มาตรฐานผลิตภัณฑ์เพิม่ มากขึน้ ซึง่ สวนทางกับอัตราก�ำลัง ที่คงที่ เป็นเหตุให้การบริการแก่ผู้ประกอบการเกิดความ ล่าช้า เลขาธิการ สมอ.กล่าวถึงแนวทางแก้ไขในเรื่องนี้วา่ ท�ำได้โดยถ่ายโอนงานด้านการตรวจสอบรับรองคุณภาพ มาตรฐานให้แก่เอกชน หรือส่วนงานอืน่ รับไปด�ำเนินการแทน ส่วนงานด้านก�ำหนดมาตรฐาน สมอ.ได้ลงนามความร่วมมือ กั บ หน่ ว ยงานเครื อ ข่ า ยทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชนเป็ น ผูก้ ำ� หนดมาตรฐานตามสาขาวิชาชีพแทน สมอ. การถ่ายโอน ดังกล่าวจะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการด�ำเนินงานของ สมอ. ให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นได้
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
15
จัดท�ำมาตรฐานเตรียมรับประชาคมอาเซียน เตรียมการรองรับ Smart เทคโนโลยี
เลขาธิการ สมอ.กล่าวว่า วัตถุประสงค์หนึ่งของ การก่อตั้งประชาคมอาเซียน คือ ความร่วมมือทางด้าน เศรษฐกิจของภูมภิ าค เพือ่ ลดอุปสรรคจากมาตรการกีดกัน ทางการค้าทีม่ ใิ ช่ภาษี คณะกรรมการทีป่ รึกษาของอาเซียน ด้านมาตรฐานและคุณภาพ (ASEAN Consultative Committee for Standards and Quality : ACCSQ) จึงถูกจัดตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2535 โดยมีภารกิจหลัก คือ ด�ำเนินการเพื่อลดอุปสรรคอันเกิดจากมาตรการกีดกัน ทางการค้ า อั น เนื่ อ งมาจาก กฎระเบี ย บทางเทคนิ ค (Technical Regulations) หรื อ มาตรฐานบั ง คั บ (Mandatory Standards) ซึง่ สมอ.เป็นตัวแทนประเทศไทย ใน ACCSQ ผลการด�ำเนินงานของ ACCSQ ทีผ่ า่ นมาจนถึง ปัจจุบนั ด้านการมาตรฐาน ได้แต่งตัง้ คณะท�ำงานพิจารณา อุปสรรคที่เกิดจากการมาตรฐานใน 8 สาขา อาทิ สาขา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาการเกษตรและการประมง สาขาอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นต้น ซึ่งคณะท�ำงานทั้ง 8 สาขา ได้ประสานงานให้ใช้มาตรฐานร่วมกัน เพื่อให้ ตรวจสอบรับรองที่เดียวสามารถจ�ำหน่ายได้ทั่วทั้งภูมิภาค ส�ำหรับสาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์มคี วามคืบหน้า ถึงขัน้ ร่วมลงนามใน ASEAN EE MRA (ASEAN Sectoral MRA for Electrical and Electronic Equipment) เมือ่ พ.ศ. 2546 ประเทศสมาชิกทั้งหมดร่วมมือกันในการยอมรับ รายงานผลการทดสอบ ซึ่ง สมอ.ได้ด�ำเนินการปรับปรุง แก้ ไ ขมาตรฐานและกฎระเบี ย บด้ า นการมาตรฐานให้ สอดคล้องตามข้อตกลง รวมถึงจัดให้มีห้องปฏิบัติการ ทดสอบทีอ่ ยูใ่ นบัญชีรายชือ่ ภายใต้ ASEAN EE MRA จ�ำนวน 4 หน่วยงาน และเพื่อรองรับประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 รัฐสภาได้ลงมติเห็นชอบให้ประเทศไทยลงสัตยาบัน ในความตกลงว่ า ด้ ว ยการปรั บ ระบบด้ า นกฎระเบี ย บ และการควบคุมบริภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของ อาเซียนแล้วเมื่อเดือนมิถุนายน 2555
เลขาธิการ สมอ.กล่าวว่า Smart Technology และ Smart Grid หรือโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ เป็นความท้าทาย ของโลกในอนาคต จุดประสงค์เพื่อลดการเพิ่มขึ้นของ แก๊สเรือนกระจกด้วยการใช้พลังงานให้มีประสิทธิภาพ มากทีส่ ดุ ในทุกห่วงโซ่ของพลังงานไฟฟ้า และต้องสามารถ ควบคุมให้ท�ำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้มี การสูญเสียพลังงานน้อยที่สุด ซึ่งในส่วนของประเทศไทย การไฟฟ้าทั้ง 3 แห่ง ทั้งการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้า นครหลวง และการไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย ได้ร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดในการด�ำเนินโครงการดังกล่าว และ สมอ.ได้ ติ ด ตามการด� ำ เนิ น งานของ IEC ที่ ใ ห้ ความส�ำคัญกับ Smart Grid โดยเริ่มก�ำหนดมาตรฐาน ในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นแนวทางส�ำหรับการพัฒนาให้มี ทิศทางเดียวกัน
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
16
“อย่างไรก็ตาม Smart Grid เป็นเทคโนโลยีที่มี ความซับซ้อน จึงมีมาตรฐานที่เกี่ยวข้องมากมาย เช่น มาตรฐานการท�ำงานอัตโนมัติของ Substation มาตรฐาน ข้อมูลที่ใช้ส�ำหรับการบริหารระบบจ่ายไฟฟ้า มาตรฐาน การแลกเปลี่ยนข้อมูลในระบบ ฯลฯ ซึ่ง สมอ.ท�ำหน้าที่ เป็นผู้แทนไทยในการศึกษาการน�ำเทคโนโลยีนี้มาใช้กับ ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะของไทย และต้องศึกษา เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ว่าแบบใดมีความเหมาะสม และอ�ำนวยประโยชน์กับประเทศไทยมากที่สุด แล้วน�ำมา ใช้เป็นแนวทางก�ำหนดมาตรฐานส�ำหรับเป็นทิศทางของ ประเทศต่อไป” เลขาธิการ สมอ.กล่าวทิ้งท้าย แผนการด�ำเนินงานของ สมอ.ดังกล่าวคงท�ำให้เรา เห็นถึงทิศทางการพัฒนามาตรฐานต่าง ๆ ของประเทศไทย ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น สิ่งส�ำคัญคือความร่วมมือในการจัดท�ำ มาตรฐานในระดับนานาชาติ รวมถึงการปรับตัวให้ทันกับ การเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมไทย เพื่อที่ว่าเราจะได้ ไม่ตกขบวนการพัฒนา และสามารถแข่งขันกับประเทศ อื่น ๆ ได้อย่างเท่าเทียม
Standard & Safety มาตรฐานและความปลอดภัย
ขยายความมาตรฐานการติดตั้ง ทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย
นายลือชัย ทองนิล อีเมล : luachai@yahoo.com
บทที่ 4 (ตอนที่ 3)
บทความทั้ ง หมดนี้ เ ป็ น ความเห็ น ของผู ้ เ ขี ย น ในฐานะที่เป็นอนุกรรมการและเลขานุการในการจัดท�ำ มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าฯ ไม่ได้เป็นความเห็นร่วมกัน ของคณะอนุกรรมการฯ การน�ำไปใช้อ้างอิงจะต้องท�ำด้วย ความระมัดระวัง แต่ผู้เขียนหวังว่าจะให้ความเห็นที่เป็น ประโยชน์ได้มาก และเพื่อความประหยัดพื้นที่ ผู้เขียน จึงไม่ได้ยกเนื้อความของมาตรฐานฯ มาลงไว้ในบทความ ทัง้ หมด แต่ยกมาเฉพาะบางส่วนทีต่ อ้ งการอธิบายเพิม่ เติม เท่านั้น ส่วนที่เป็นค�ำอธิบายใช้เป็นอักษรตัวเอียงบนพื้น สีเทา ทีส่ ำ� คัญคือมาตรฐานฯ มีการอ้างอิงและเชือ่ มโยงกัน ดังนั้นการใช้มาตรฐานจ�ำเป็นต้องอ่านและท�ำความเข้าใจ ทั้ ง เล่ ม จะยกเพี ย งส่ ว นใดส่ ว นหนึ่ ง ไปใช้ อ ้ า งอิ ง อาจ ไม่ถูกต้อง
ในข้อนี้ต้องการให้อุปกรณ์ที่ใช้ส�ำหรับการเดินสาย ทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นท่อร้อยสายหรือเครื่องห่อหุ้มสาย ไฟฟ้าต้องต่อลงดิน เพื่อป้องกันอันตรายกรณีที่ฉนวนของ สายไฟฟ้าช�ำรุด การต่อลงดินมีจุดประสงค์ให้เครื่องป้องกันกระแส เกินที่จ่ายไฟผ่านสายไฟฟ้านั้นตัดวงจร อย่างไรก็ตามก็มี ข้อยกเว้นส�ำหรับเครือ่ งห่อหุม้ และ/หรือช่องเดินสายทีเ่ ป็น โลหะช่วงสั้น ๆ ที่ไม่มีจุดประสงค์เพื่อการเดินสายไฟฟ้า หรือเป็นการเดินสายเพิ่มจากเดิมที่ไม่ต้องมีการต่อลงดิน อยูแ่ ล้ว ไม่ตอ้ งต่อลงดินตามทีก่ ำ� หนดในข้อนี้ ความหมาย ของการยกเว้นว่าไม่ต้องต่อนั้น ถ้าต้องการต่อลงดินก็ สามารถท�ำได้ ไม่ขัดกับที่ก�ำหนดในมาตรฐานฯ
เครื่องห่อหุ้มและ/หรือช่องเดินสายที่เป็นโลหะของ สายตัวน�ำต้องต่อลงดิน ข้อยกเว้นที่ 1 เครื่องห่อหุ้มและ/หรือช่องเดินสาย ทีเ่ ป็นโลหะช่วงสัน้ ๆ ซึง่ ใช้ปอ้ งกันความเสียหายทางกายภาพ ที่มีการต่อสายเคเบิลหรือใช้จับยึดสาย ไม่บังคับให้ต่อ ลงดิน ข้อยกเว้นที่ 2 เครื่องห่อหุ้มและ/หรือช่องเดินสาย ทีเ่ ป็นโลหะของสายทีต่ อ่ จากการติดตัง้ เดิมทีเ่ ป็นการเดินสาย แบบเปิดเดินสายบนตุม้ หรือใช้สายทีม่ เี ปลือกนอกไม่เป็น โลหะไม่จ�ำเป็นต้องต่อลงดิน ถ้าระยะเดินสายที่เพิ่มมี ความยาวไม่เกิน 8 เมตร ไม่สัมผัสกับดินหรือโลหะที่ต่อ ลงดิน หรือวัสดุที่เป็นตัวน�ำ และมีการป้องกันไม่ให้บุคคล สัมผัส
ถาวร ส่วนที่เป็นโลหะที่เปิดโล่งและไม่ได้เป็นทางเดินของ กระแสไฟฟ้าของบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าดังกล่าวต้องต่อลงดิน เมือ่ มี สภาพตามข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้ ข้อ 4.9.1 ห่างจากพื้นหรือโลหะที่ต่อลงดินไม่เกิน 2.4 เมตรในแนวดิง่ หรือ 1.5 เมตรในแนวระดับ และบุคคล อาจสัมผัสได้โดยบังเอิญ ข้อ 4.9.2 อยู่ในสถานที่เปียกหรือชื้นและไม่ได้มี การแยกอยู่ต่างหาก ข้อ 4.9.3 มีการสัมผัสทางไฟฟ้ากับโลหะ ข้อ 4.9.4 อยู่ในบริเวณอันตราย ข้อ 4.9.5 รั บ ไฟฟ้ า จากสายชนิ ด หุ ้ ม ส่ ว นน� ำ กระแสไฟฟ้าด้วยโลหะ (Metal-Clad, Metal-Sheath) หรือ สายที่เดินในท่อสายโลหะเว้นแต่ที่ได้ยกเว้นในข้อ 4.8
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ข้อ 4.9 การต่อลงดินของบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าชนิด ข้อ 4.8 การต่อลงดินของเครื่องห่อหุ้มและ/ ยึดติดกับที่ หรือชนิดที่มีการเดินสายถาวร หรือช่องเดินสายที่เป็นโลหะของสายตัวน�ำ บริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าชนิดยึดติดกับทีห่ รือชนิดทีม่ กี ารเดินสาย
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
17
การติดตั้งที่ไม่ต้องต่อลงดินตามที่ก�ำหนดในข้อ 4.9.1
จุดประสงค์หลักของการต่อลงดินในข้อนี้ต้องการให้บริภัณฑ์ไฟฟ้าชนิดยึดติดกับที่ หรือชนิดที่มีการเดินสาย ถาวรต้องต่อลงดินเพื่อความปลอดภัย โดยเฉพาะบริภัณฑ์ซึ่งอยู่ในต�ำแหน่งที่มีความเสี่ยงจากไฟฟ้าดูดเมื่อมีไฟรั่ว บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่อยู่ในข่ายการยกเว้นนั้นสามารถต่อลงดินได้เช่นกันตามความต้องการ บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่อยู่สูงจากพื้นเกิน 2.40 เมตร และห่างจากส่วนโลหะที่ต่อลงดินเกิน 1.50 เมตร ถือว่าสัมผัส ไม่ถึงจึงไม่ต้องต่อลงดินตามข้อ 4.9.1 แต่อย่างไรก็ตามบริภัณฑ์ไฟฟ้าที่สัมผัสกับโลหะ เช่น ยึดติดกับโครงโลหะของ อาคาร ตามข้อ 4.9.3 หรือรับไฟฟ้าจากสายชนิดหุม้ ส่วนน�ำกระแสไฟฟ้าด้วยโลหะ ซึง่ เมือ่ เกิดไฟรัว่ ก็อาจมีกระแสไฟฟ้า ผ่านมาทางโครงสร้างโลหะได้ ต้องต่อลงดิน ส�ำหรับการเดินสายเข้าบริภัณฑ์ไฟฟ้าที่ใช้การเดินสายในท่อโลหะตามข้อ 4.9.5 ซึ่งท่อโลหะนั้นมีการต่อลงดิน กรณีนี้ต้องต่อบริภัณฑ์ไฟฟ้าลงดินด้วย เพราะเมื่อเกิดไฟรั่ว กระแสไฟฟ้าก็จะไหลผ่านมาทางท่อโลหะได้เช่นกัน เพราะท่อโลหะจะเดินไปทั่วอาคารซึ่งบุคคลสัมผัสได้ หมายเหตุ บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่ใช้ในบริเวณอันตรายต้องดูเรื่องบริเวณอันตรายในบทที่ 7 ประกอบด้วย
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ข้อ 4.10 การต่อลงดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้า ชนิดยึดติดกับที่ทุกขนาดแรงดัน
ยกเว้น โคมไฟแบบแขวน ข้อ 4.10.6 ป้ายที่ใช้ไฟฟ้ารวมทั้งอุปกรณ์ประกอบ ข้อ 4.10.7 เครื่องฉายภาพยนตร์ ข้อ 4.10.8 เครื่องสูบน�ำ้ ที่ใช้มอเตอร์
บริ ภั ณ ฑ์ ไ ฟฟ้ า ชนิ ด ยึ ด ติ ด กั บ ที่ ทุ ก ขนาดแรงดั น ส่วนที่เป็นโลหะเปิดโล่งและไม่เป็นทางเดินของกระแส ไฟฟ้า บริภัณฑ์ไฟฟ้าต่อไปนี้ต้องต่อลงดิน การต่ อ ลงดิ น ของเครื่ อ งสู บ น�้ ำ ที่ ใ ช้ ม อเตอร์ นั้ น ข้อ 4.10.1 โครงของแผงสวิตช์ มีจุดประสงค์เพื่อลด Stray Voltage และลดอันตรายจาก ข้อ 4.10.2 โครงของมอเตอร์ชนิดยึดติดกับที่ ข้อ 4.10.3 กล่องของเครือ่ งควบคุมมอเตอร์ ยกเว้น ไฟฟ้าดูดในระหว่างการบ�ำรุงรักษาซึง่ อาจต้องถอดมอเตอร์ ออกและท�ำการทดสอบ ฝาครอบสวิตช์ ปิด-เปิดที่มีฉนวนรองด้านใน ข้อ 4.10.4 บริภัณฑ์ไฟฟ้าของลิฟต์และปั้นจั่น ข้อ 4.10.5 บริภัณฑ์ไฟฟ้าในอู่จอดรถ โรงมหรสพ โรงถ่ายภาพยนตร์ สถานีวิทยุและโทรทัศน์
18
ข้อ 4.11 การต่อลงดินของบริภัณฑ์ซึ่งไม่ได้ รับกระแสไฟฟ้าโดยตรง
มั ก พบว่ า มี ไ ฟฟ้ า รั่ ว ไปยั ง โครงสร้ า งโลหะนั้ น แต่ ถ ้ า โครงสร้างโลหะมีการยึดแน่นอย่างดี และมีความต่อเนื่อง บริภณ ั ฑ์ซงึ่ ไม่ได้รบั กระแสไฟฟ้าโดยตรง ส่วนทีเ่ ป็น ทางไฟฟ้ากับบริภัณฑ์ไฟฟ้าที่ต่อลงดินแล้วก็ไม่ต้องต่อ ลงดินเพิ่มอีกตามข้อ 4.14.5 โลหะของบริภัณฑ์ต่อไปนี้ต้องต่อลงดิน ข้อ 4.11.1 โครงและรางของปั้นจั่นที่ใช้ไฟฟ้า ข้อ 4.11.2 โครงของตูโ้ ดยสารลิฟต์ทไี่ ม่ได้ขบั เคลือ่ น ข้อ 4.12 การต่อลงดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้า ที่มีสายพร้อมเต้าเสียบ ด้วยไฟฟ้าแต่มีสายไฟฟ้าติดอยู่ บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่มีสายพร้อมเต้าเสียบ ส่วนที่เป็น ข้อ 4.11.3 ลวดสลิงซึ่งใช้ยกของด้วยแรงคนและ โลหะเปิดโล่งของบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าจะต้องต่อลงดินถ้ามีสภาพ ลวดสลิงของลิฟต์ที่ใช้ไฟฟ้า ข้อ 4.11.4 สิง่ กัน้ ทีเ่ ป็นโลหะ รัว้ หรือสิง่ ห่อหุม้ ของ ตามข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้ ข้อ 4.12.1 ใช้ในบริเวณอันตราย บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่มีแรงดันระหว่างสายเส้นไฟเกิน 1,000 ข้อ 4.12.2 ใช้แรงดันไฟฟ้าวัดเทียบกับดินเกิน 150 โวลต์ ข้อ 4.11.5 โครงสร้างโลหะทีใ่ ช้ตดิ ตัง้ บริภณ ั ฑ์ไฟฟ้า โวลต์ ข้อยกเว้นที่ 1 มอเตอร์ที่มีการกั้น วงจรไฟฟ้าที่จ่ายไฟให้ปั้นจั่นที่ใช้งานเหนือวัสดุ ข้อยกเว้นที่ 2 โครงโลหะของเครื่องใช้ไฟฟ้าทาง เส้นใยที่อาจลุกไหม้ได้ซึ่งอยู่ในบริเวณอันตราย ห้ามต่อ ลงดิ น ตามที่ ก� ำ หนดในข้ อ 4.2.1 แต่ ตั ว ปั ้ น จั่ น ที่ เ ป็ น ความร้อน ซึง่ มีฉนวนกัน้ ระหว่างโครงโลหะกับดินอย่างถาวร ข้อยกเว้นที่ 3 บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่ระบุว่าเป็นฉนวน บริภัณฑ์ไฟฟ้าต้องต่อลงดินรวมถึงโครงและรางปั้นจั่น 2 ชัน้ หรือเทียบเท่า ซึง่ มีเครือ่ งหมายแสดงชัดเจนว่าไม่ตอ้ ง ก็ต้องต่อลงดินด้วยตามข้อ 4.11.1 ข้อ 4.11.5 เป็นข้อทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการปรับปรุงครัง้ ที่ 1 ต่อลงดิน มีจุดประสงค์เพื่อลดอันตรายจากไฟฟ้าดูด เนื่องจาก
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดฉนวน 2 ชั้น
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
19
บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่เป็นฉนวน 2 ชั้น สังเกตจากรูปร่างภายนอกจะท�ำด้วยวัสดุที่เป็นฉนวนไฟฟ้า เพราะเมื่อฉนวน ชัน้ ในช�ำรุดก็ยงั มีชนั้ นอกอีก จึงมีความปลอดภัยเพียงพอ บริภณ ั ฑ์ไฟฟ้านีไ้ ม่ตอ้ งต่อลงดิน เต้าเสียบทีต่ ดิ มากับบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้าจึงเป็นชนิดไม่มีขั้วสายดิน และโดยปกติจะไม่สามารถต่อลงดินได้ด้วย บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่เป็นฉนวน 2 ชั้นนั้นอาจเป็นชนิดที่ฉนวนมีความหนาเป็น 2 เท่าก็ได้ ซึ่งทั้ง 2 แบบจะต้องมี เครื่องระบุมาที่ฉลากเท่านั้น จึงจะมั่นใจว่าเป็นฉนวน 2 ชั้นจริง ข้อ 4.12.3 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ในสถานที่อยู่อาศัย ต่อไปนี้ 4.12.3.1 ตู้เย็น ตู้แช่แข็ง เครื่องปรับอากาศ 4.12.3.2 เครือ่ งซักผ้า เครือ่ งอบผ้า เครือ่ งล้างจาน เครื่องสูบน�้ำทิ้ง เครื่องใช้ไฟฟ้าในตู้เลี้ยงปลา 4.12.3.3 เครื่องมือชนิดมือถือที่ท�ำงานด้วย มอเตอร์ (Hand-Held Motor-Operated Tools) 4.12.3.4 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ทำ� งานด้วยมอเตอร์ เช่น เครือ่ งเล็มต้นไม้ เครือ่ งตัดหญ้า เครือ่ งขัดถูชนิดใช้นำ�้ ฯลฯ 4.12.3.5 ดวงโคมไฟฟ้าชนิดหยิบยกได้ ยกเว้น บริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าทีร่ ะบุวา่ เป็นฉนวน 2 ชัน้ หรือเทียบเท่า ซึ่งมีเครื่องหมายแสดงชัดเจนว่าไม่ต้องต่อ ลงดิน ข้อ 4.12.4 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ได้ใช้ในสถานที่ อยู่อาศัย ต่อไปนี้ 4.12.4.1 ตู้เย็น ตู้แช่แข็ง เครื่องปรับอากาศ 4.12.4.2 เครือ่ งซักผ้า เครือ่ งอบผ้า เครือ่ งล้างจาน เครือ่ งสูบน�ำ้ ทิง้ เครือ่ งประมวลผลข้อมูล เครือ่ งใช้ไฟฟ้าใน ตู้เลี้ยงปลา 4.12.4.3 เครื่องมือชนิดมือถือที่ท�ำงานด้วย มอเตอร์ 4.12.4.4 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ทำ� งานด้วยมอเตอร์ เช่น เครือ่ งเล็มต้นไม้ เครือ่ งตัดหญ้า เครือ่ งขัดถูชนิดใช้นำ�้ ฯลฯ 4.12.4.5 เครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีม่ สี ายพร้อมเต้าเสียบ ใช้ในสถานทีเ่ ปียกหรือชืน้ หรือบุคคลทีใ่ ช้ยนื อยูบ่ นพืน้ ดิน หรือพื้นโลหะ หรือท�ำงานอยู่ในถังโลหะหรือหม้อน�ำ้ 4.12.4.6 เครื่องมือที่อาจน� ำไปใช้ในที่เปีย ก หรือใช้ในบริเวณที่น�ำไฟฟ้าได้ 4.12.4.7 ดวงโคมไฟฟ้าชนิดหยิบยกได้
ข้อยกเว้นที่ 1 เครื่องมือและดวงโคมไฟฟ้า ชนิดหยิบยกได้ ที่อาจน�ำไปใช้ในที่เปียกหรือใช้ในบริเวณ ที่น�ำไฟฟ้าได้ ไม่บังคับให้ต่อลงดินถ้ารับพลังไฟฟ้าจาก หม้อแปลงนิรภัยทีข่ ดลวดด้านไฟออกมีแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 50 โวลต์ และไม่ต่อลงดิน ข้อยกเว้นที่ 2 บริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าทีร่ ะบุวา่ เป็นฉนวน 2 ชัน้ หรือเทียบเท่าซึง่ มีเครือ่ งหมายแสดงชัดเจนว่าไม่ตอ้ ง ต่อลงดิน
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
20
ในข้อยกเว้นที่ 1 ใช้ส�ำหรับเครื่องมือและดวงโคม แรงดันไม่เกิน 50 โวลต์ ทีต่ อ่ ใช้ไฟผ่านหม้อแปลงนิรภัยเท่านัน้ (Isolating transformer) การต่อผ่านหม้อแปลงไฟฟ้า ทัว่ ไปนัน้ ยังคงต้องต่อลงดินเพราะยังไม่ปลอดภัยเพียงพอ และต้ อ งเป็ น การใช้ ไ ฟฟ้ า ในสถานที่ ซึ่ ง ไม่ ไ ด้ ใ ช้ เ ป็ น ที่อยู่อาศัยเท่านั้น
ตัวอย่างดวงโคมแรงดันไม่เกิน 50 โวลต์ ที่ใช้ไฟจากหม้อแปลงนิรภัย ตามข้อยกเว้นที่ 1
ข้อ 4.13 ระยะห่างจากตัวน�ำระบบล่อฟ้า
ท่อสาย เครื่องห่อหุ้ม โครงโลหะ และส่วนโลหะอื่นของบริภัณฑ์ไฟฟ้า ที่ไม่เป็นทางเดินของกระแสไฟฟ้าต้องมี ระยะห่างจากตัวน�ำระบบล่อฟ้าไม่น้อยกว่า 1.80 เมตร หรือต้องต่อฝากเข้ากับตัวน�ำระบบล่อฟ้า ในการติดตัง้ ตัวน�ำลงดิน (Down conductor) ของระบบล่อฟ้าหรือระบบป้องกันฟ้าผ่านัน้ ปกติจะเดินยึดมากับ ผนังอาคารซึง่ ต้องพยายามให้หา่ งจากบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์การเดินสายให้มากทีส่ ดุ เพือ่ ลดโอกาสทีก่ ระแสล่อฟ้า จะกระโดดเข้าหาสิ่งดังกล่าว เป็นสาเหตุให้เกิดความเสียหายกับบริภัณฑ์ต่าง ๆ และประกายไฟยังเป็นสาเหตุของ การเกิดเพลิงไหม้ได้ด้วย กรณีที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ก็ต้องต่อฝากถึงกันเพื่อให้แรงดันไฟฟ้ามีค่าเท่ากัน
ข้อ 4.14 วิธีต่อลงดิน
ข้อ 4.14.1 การต่อสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้าที่มีตัวจ่ายแยกต่างหากโดยเฉพาะ ต้องปฏิบัติตามที่ได้ก�ำหนดไว้ ในข้อ 4.6.1 การต่อสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้าที่บริภัณฑ์ประธานต้องปฏิบัติดังนี้ 4.14.1.1 ระบบไฟฟ้าที่มีการต่อลงดิน ให้ต่อฝากสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้าเข้ากับตัวน�ำประธานที่มีการต่อ ลงดินและสายต่อหลักดิน ยกเว้น กรณีต่อลงดินของห้องชุดในอาคารชุดให้เป็นไปตามที่กำ� หนดในบทที่ 9 ในระบบไฟฟ้ามีการต่อลงดิน ตัวน�ำประธานได้มีการต่อลงดินไว้แล้วที่บริภัณฑ์ประธาน สายดินของบริภัณฑ์ ไฟฟ้าต้องต่อฝากกับตัวน�ำประธานเส้นที่มีการต่อลงดินที่บริภัณฑ์ประธาน นั่นคือที่บริภัณฑ์ประธานของระบบที่มี การต่อลงดินต้องต่อฝากนิวทรัลบาร์กบั กราวด์บาร์เข้าด้วยกัน และการต่อฝากนีย้ อมให้ทำ� ได้ทจี่ ดุ นีเ้ พียงจุดเดียวเท่านัน้ ทีจ่ ดุ อืน่ ภายในอาคารห้ามต่อฝากสายดินเข้ากับตัวน�ำประธานเส้นทีม่ กี ารต่อลงดิน (สายนิวทรัล) อีก ถ้ามีการต่อฝาก จะท�ำให้กระแสที่ไหลในสายนิวทรัลไหลในสายดินด้วย ท�ำให้ในสายดินมีแรงดันไฟฟ้าเนื่องจากแรงดันตกซึ่งเป็น อันตราย และที่สำ� คัญคือสายดินไม่ได้ออกแบบให้มีขนาดใหญ่พอที่จะรับกระแสโหลดปริมาณมาก ๆ ได้ เช่นเดียวกับ สายนิวทรัล ถ้ามีกระแสไหลมากเกินไปจะท�ำให้สายดินขาดได้ กรณีของอาคารชุด (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในบทที่ 9) แผงย่อยที่จ่ายไฟตามห้องชุดถือเป็นบริภัณฑ์ประธาน ของห้องชุดนั้น ถ้าอนุญาตให้มีการต่อฝากสายดินกับสายนิวทรัลที่บริภัณฑ์ประธานของห้องชุด จะท�ำให้สายดิน มีการต่อกับสายนิวทรัลหลายจุดนอกเหนือจากที่บริภัณฑ์ประธานของอาคาร (บริภัณฑ์ประธานของอาคารคือ Main Distribution Board)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ วิธีต่อลงดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้า
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
21
วิธีต่อลงดินที่ผิด การต่อฝากสายดินกับนิวทรัลที่จุดอื่นอีกจะมีกระแสไหลในสายดินด้วย
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
4.14.1.2 ระบบไฟฟ้ า ที่ ไ ม่ มี ก ารต่ อ ลงดิ น ให้ตอ่ ฝากสายดินของบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าเข้ากับสายต่อหลักดิน ระบบไฟฟ้าที่ไม่มีการต่อลงดิน บริภัณฑ์ไฟฟ้าต้อง ต่อลงดินด้วย การต่อลงดินสามารถท�ำได้โดยการเดิน สายดินต่อจากบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าไปต่อเข้ากับหลักดินทีเ่ ตรียมไว้ ส�ำหรับการต่อลงดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้านั่นเอง
ข้อ 4.14.2 ทางเดินสู่ดินที่ใช้ได้ผลดี ทางเดินสู่ดินจากวงจร บริภัณฑ์ไฟฟ้า และเครื่อง ห่อหุ้มสายที่เป็นโลหะ ต้องมีลักษณะดังนี้ 4.14.2.1 เป็นชนิดติดตัง้ ถาวรและมีความต่อเนือ่ ง ทางไฟฟ้า 4.14.2.2 มีขนาดเพียงพอส�ำหรับน�ำกระแส ลัดวงจรทุกชนิดที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างปลอดภัย กระแสลัดวงจรทีไ่ หลในสายดินมีคา่ สูง สายดินหรือ ตัวน�ำอืน่ ทีท่ ำ� หน้าทีเ่ ป็นสายดินต้องมีความสามารถน�ำกระแส ทีไ่ หลได้อย่างปลอดภัย คือไม่เกิดความร้อนสูงจนสายขาด หรือจุดต่อช�ำรุด ซึง่ จะต้องสัมพันธ์กบั ความเร็วในการปลด วงจรของเครื่องป้องกันกระแสเกินด้วย 4.14.2.3 มีอิมพีแดนซ์ต�่ำเพียงพอที่จะจ�ำกัด แรงดันไฟฟ้าวัดเทียบกับดินไม่ให้สูงเกินไป และช่วยให้ เครือ่ งป้องกันกระแสเกินในวงจรท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อเกิดลัดวงจรลงดินและมีกระแสไหลในสายดิน แรงดันไฟฟ้าที่เกิดต้องไม่เกิน 50 โวลต์ ในขณะเดียวกัน สายดินจะต้องมีอิมพีแดนซ์ต�่ำที่จะท�ำให้เครื่องป้องกัน
22
กระแสเกินปลดวงจรได้ตามเวลาที่ก� ำหนด มาตรฐาน IEC 364-4-41 ก�ำหนดให้ระบบแรงดันวัดเทียบดินไม่เกิน 230 โวลต์ ต้องปลดวงจรในเวลา 0.4 วินาที ในบางส่วน ของวงจร เช่น วงจรย่อย เวลาในการปลดวงจรอาจนานกว่านี้ แต่ทกุ กรณีตอ้ งไม่เกิน 5 วินาที ถ้าเป็นเซอร์กติ เบรกเกอร์ จะต้องท�ำงานปลดวงจรในช่วงของ Short Time ค่าอิมพีแดนซ์ สูงสุดของวงจรเมื่อเกิดลัดวงจรสามารถหาได้จากสมการ ต่อไปนี้ Zs = Uo/Ia ก�ำหนดให้ Zs = อิ ม พี แ ดนซ์ สู ง สุ ด ของวงจร เป็นโอห์ม Uo = แรงดันไฟฟ้าที่เมื่อไม่มีโหลด เป็นโวลต์ Ia = กระแสทีท่ ำ� ให้เซอร์กติ เบรกเกอร์ ปลดวงจรแบบทันทีทันใด เป็นแอมแปร์ ปกติเซอร์กติ เบรกเกอร์ตามมาตรฐาน IEC 60898 ค่ากระแสที่ท�ำให้เซอร์กิตเบรกเกอร์ท�ำงานในช่วงของ Short Time จะมีค่าประมาณ 5 เท่า และ 10 เท่าของ พิกัดกระแสใช้งาน ส�ำหรับ Type B และ C ตามล�ำดับ ตัวอย่าง การค�ำนวณส�ำหรับเซอร์กิตเบรกเกอร์ ขนาด 50 แอมแปร์ Type C กระแสต�่ำสุดที่จะปลดวงจร แบบทันทีทันใดเป็น 10 เท่า คือ 500 แอมแปร์ ในระบบ แรงดัน 230 โวลต์ อิมพีแดนซ์ต�่ำสุดของวงจรเท่ากับ 230/500 = 0.46 โอห์ม หมายความว่า ในวงจรนี้ ค่า Loop Impedance ต้องไม่เกิน 0.46 โอห์ม
ข้อ 4.14.3 การใช้หลักดินร่วมกัน ถ้าระบบไฟฟ้ากระแสสลับมีการต่อลงดินเข้ากับ หลักดินภายในอาคารหรือสถานที่ตามที่ได้ก�ำหนดไว้ใน ข้อ 4.3 และข้อ 4.4 แล้ว ต้องใช้หลักดินนัน้ ส�ำหรับต่อเครือ่ ง ห่อหุ้มสายและส่วนที่เป็นโลหะของบริภัณฑ์ไฟฟ้าลงดิน ด้วย ส�ำหรับอาคารทีร่ บั ไฟจากแหล่งจ่ายไฟแยกกันต้องใช้ หลักดินร่วมกัน หลักดินสองหลักหรือมากกว่าทีต่ อ่ ฝากเข้า ด้วยกันอย่างใช้ได้ผลดีถือว่าเป็นหลักดินหลักเดียว ในแต่ละอาคารอาจต้องการระบบไฟฟ้าต่างกันหรือ มีหม้อแปลงไฟฟ้ามากกว่า 1 ลูก ซึง่ ต้องมีบริภณ ั ฑ์ประธาน มากกว่า 1 ชุด แต่ระบบไฟฟ้าทั้งหมดต้องใช้หลักดิน ร่วมกัน ในทางปฏิบัติแต่ละแผงสวิตช์อาจมีหลักดินเป็น ของตัวเองได้ แต่ต้องฝากถึงกันเพื่อท�ำให้เป็นหลักดิน เดียวกัน
บริภัณฑ์ไฟฟ้าอาจหุ้มฉนวนหรือไม่หุ้มฉนวนก็ได้ ฉนวน หรือเปลือกของสายดินต้องเป็นสีเขียวหรือสีเขียวแถบ เหลือง ข้อยกเว้นที่ 1 สายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้าชนิด หุม้ ฉนวนขนาดใหญ่กว่า 10 ตร.มม. อนุญาตให้ทำ� เครือ่ งหมาย ที่ถาวรเพื่อแสดงว่าเป็นสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้าที่ปลาย สายและทุกแห่งที่เข้าถึงได้ การท�ำเครื่องหมายต้องใช้ วิธีหนึ่งวิธีใดดังต่อไปนี้ 1.1) ปอกฉนวนหรื อ เปลื อ กส่ ว นที่ ม องเห็ น ทั้งหมดออก 1.2) ท�ำให้ฉนวนหรือเปลือกส่วนที่มองเห็นเป็น สีเขียว 1.3) ท�ำเครื่องหมายบนฉนวนหรือเปลือกส่วนที่ มองเห็นด้วยเทปพันสายหรือแถบกาวสีเขียว ข้อยกเว้นที่ 2 ถ้าการบ�ำรุงรักษากระท�ำโดย ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง อนุญาตให้ท�ำเครื่องหมายถาวรที่ ปลายสายและทุกแห่งทีเ่ ข้าถึงได้ทฉี่ นวนของตัวน�ำในเคเบิล หลายแกน เพื่อแสดงว่าเป็นสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้า การท�ำเครื่องหมายต้องใช้วิธีหนึ่งวิธีใดดังต่อไปนี้ 2.1) ปอกฉนวนหรื อ เปลื อ กส่ ว นที่ ม องเห็ น ทั้งหมดออก 2.2) ท�ำให้ฉนวนหรือเปลือกส่วนที่มองเห็นเป็น สีเขียว 2.3) ท�ำเครื่องหมายบนฉนวนหรือเปลือกส่วนที่ มองเห็นด้วยเทปพันสายหรือแถบกาวสีเขียว
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ข้อ 4.14.4 การต่อของบริภัณฑ์ไฟฟ้าชนิดยึดติด กับที่ หรือชนิดที่มีการเดินสายถาวร ส่วนที่เป็นโลหะของบริภัณฑ์ไฟฟ้าและไม่ได้เป็น ทางเดินของกระแสไฟฟ้า ถ้าต้องการต่อลงดินจะต้องต่อ โดยวิธีใดวิธีหนึ่งต่อไปนี้ 4.14.4.1 โดยใช้ ส ายดิ น ของบริ ภั ณ ฑ์ ไ ฟฟ้ า ประเภทต่าง ๆ ตามที่ได้กำ� หนดไว้ในข้อ 4.17 4.14.4.2 โดยใช้ ส ายดิ น ของบริ ภั ณ ฑ์ ไ ฟฟ้ า เดินสายร่วมไปกับสายวงจรภายในท่อสายเดียวกันหรือ เป็นส่วนหนึ่งของสายเคเบิลหรือสายอ่อน สายดินของ
การเดินสายดินไปต่อลงดินทีบ่ ริภณ ั ฑ์ประธาน มีจดุ ประสงค์เพือ่ ให้เครือ่ งป้องกันกระแสเกินท�ำงานปลดวงจรได้ ถูกต้องและรวดเร็ว จากรูปการต่อลงดินที่ถูกต้อง จะเห็นว่าค่าลูปอิมพีแดนซ์ (Loop impedance) ปกติมีค่าน้อยมาก เมื่อเกิดกระแสรั่วลงดินจะมีกระแสไหลในวงจรมีค่าสูงมาก เครื่องป้องกันกระแสเกินจะท�ำงานปลดวงจรอย่างรวดเร็ว เป็นผลให้วงจรที่เกิดไฟรั่วนี้ถูกปลดออก ผู้ที่สัมผัสก็จะปลอดภัย
รูปการต่อลงดินที่ถูกต้อง กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
23
ส�ำหรับการต่อลงดินที่ไม่ถูกต้องนั้นเป็นการต่อลงดินโดยการต่อเปลือกบริภัณฑ์ไฟฟ้าลงดินโดยตรงที่จุดติดตั้ง เมื่อเกิดกระแสรั่วลงดินค่าลูปอิมพีแดนซ์จะมีค่าสูงเนื่องจากต้องไหลผ่านหลักดินและดิน ท�ำให้กระแสไฟฟ้ามีค่าน้อย เครื่องป้องกันกระแสเกินอาจไม่ปลดวงจรหรือปลดวงจรช้ากว่าที่ออกแบบไว้ซึ่งเป็นอันตราย
รูปการต่อลงดินที่ไม่ถูกต้อง
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
การต่อลงดินของบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้า ห้ามต่อเปลือกหรือเครือ่ งห่อหุม้ โลหะของบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าลงดินโดยวิธกี ารต่อเข้ากับ สายนิวทรัล เพราะหากสายนิวทรัลขาดที่เปลือกหรือเครื่องห่อหุ้มโลหะของบริภัณฑ์ไฟฟ้าจะมีแรงดันไฟฟ้าเท่ากับ สายเส้นไฟ ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อผู้ที่สัมผัสได้
ห้ามต่อลงดินโดยวิธีการต่อเข้ากับสายนิวทรัล
การต่ อ ลงดิ น โดยหลั ก การ แล้วดูเหมือนมีอะไรไม่มาก แต่เมื่อ ลงลึกในรายละเอียดแล้วจะเห็นว่า มีข้อที่ต้องเรียนรู้และระวังอีกมาก หวังว่าบทความนีจ้ ะเป็นประโยชน์กบั ท่านผู้อ่านบ้าง แล้วพบกันฉบับหน้า ส�ำหรับฉบับทีแ่ ล้วพลาดไปครับ ต้อง ขออภัยท่านที่คอยอ่านครับ
24
ประวัติผู้เขียน
นายลือชัย ทองนิล • ผู้อำ� นวยการไฟฟ้าเขตมีนบุรี การไฟฟ้านครหลวง • ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท.
Standard & Safety มาตรฐานและความปลอดภัย นายมงคล วิสุทธิใจ
อัคคีภัยจากไฟฟ้า ความร้อนสูง หรือในเชิงเทคนิค ไฟฟ้า ลัดวงจร คือ การทีส่ ายไฟต่างขัว้ แตะกัน โดยอุบัติเหตุจนท�ำให้ฟิวส์ขาดหรือ เซอร์กิตเบรกเกอร์ตัดไฟ เพื่อป้องกัน ไฟไหม้จากการลัดวงจรดังกล่าว ดังนัน้ ถ้ า ว่ า กั น ด้ ว ยเทคนิ ค และอาคาร ทุ ก หลั ง ติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ้ า อย่ า งได้ มาตรฐานและมีการบ�ำรุงรักษาทีด่ แี ล้ว ยังจะเกิดอัคคีภัยจากไฟฟ้าได้อย่างไร อีก ประกายไฟจากวงจรไฟฟ้ า เกิดขึน้ ได้จากหลายกรณี เช่น เกิดจาก การลัดวงจรในสายไฟฟ้าที่ฉนวนหุ้ม เสื่อมหรือด้อยคุณภาพ ลัดวงจรใน อุ ป กรณ์ ห รื อ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า และ เกิดจากการต่อสายไฟฟ้าเข้าด้วยกัน หรื อ ต่ อ สายไฟฟ้ า เข้ า กั บ อุ ป กรณ์ ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างไม่ได้ มาตรฐาน เป็นต้น ความร้อนและ ประกายไฟจากวงจรไฟฟ้าสามารถ ท� ำ ให้ เ กิ ด การติ ด ไฟและลามไปกั บ วั ส ดุ ห รื อ ของเหลว หรื อ แก๊ ส ไวไฟ ที่อยู่ติดหรือใกล้เคียงกับจุดต้นเพลิง นั้นได้ โดยสถิติการเกิดอัคคีภัยจาก ไฟฟ้าส่วนใหญ่เกิดจากการเสือ่ มสภาพ ของสายไฟ รองลงมาเกิดจากการใช้ ปลั๊ ก ไฟหรื อ เต้ า รั บ ปลั๊ ก ไฟที่ ไ ม่ ไ ด้ มาตรฐาน และบางส่ ว นเกิ ด จาก การลัดวงจรไฟฟ้าภายในเครือ่ งใช้ไฟฟ้า
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ไฟฟ้าลัดวงจร ปัจจุบันดูเหมือนจะตกเป็นจ�ำเลยที่หลายคนนึกขึ้นได้ เป็นอย่างแรกเมื่อเกิดอัคคีภัยอาคารขึ้นแทบทุกครั้งไปเสียแล้ว ต่างจากเมื่อ หลายสิบปีกอ่ นทีอ่ คั คีภยั เกิดขึน้ ด้วยหลายสาเหตุ เช่น จากการประกอบอาหาร ด้วยเตาถ่าน จากการจุดธูปเทียนทิ้งไว้ จากอุบัติเหตุ จากการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ของเด็ก และจากการวางเพลิง เป็นต้น ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากความเจริญทางเศรษฐกิจ ของประเทศ การแปรผันทางวัฒนธรรม และวิถกี ารด�ำรงชีพ ทีป่ ระชาชนในชาติ เข้าถึงการให้บริการแหล่งพลังงานและระบบไฟฟ้าได้อย่างทัว่ ถึง เหตุของอัคคีภยั อาคารที่เกิดในปัจจุบันจึงเริ่มซับซ้อนและนับวันจะใกล้ขั้นวิกฤติเข้าไปทุกที
ไฟฟ้าลัดวงจร
หากไม่นับรวมถึงอัคคีภัยที่เกิดจากการวางเพลิง การก่อการร้าย และ การระเบิดของแก๊สแล้ว อัคคีภัยที่เกิดจากระบบไฟฟ้าก็นับเป็นอัคคีภัยที่ให้ ความรุนแรงได้มากทีเดียว และจ�ำนวนไม่นอ้ ยของอัคคีภยั จากไฟฟ้ามักเกิดจาก การลัดวงจรของกระแสไฟฟ้า ในบทความนี้ขอกล่าวถึงอาคารทั่วไปตลอดจน บ้านพักอาศัยเท่านั้น ไม่รวมถึงอาคารที่เก็บสารไวไฟหรือสารเคมี และอาคาร ที่เก็บวัตถุระเบิด หากจะให้ค�ำจ�ำกัดความตามหลักวิชาการแล้ว ไฟฟ้าลัดวงจร คือ การที่ กระแสไฟฟ้าเดินทางออกนอกเส้นทางปกติ และเมื่อกระแสไฟฟ้าจากขั้ว ด้านหนึง่ พบกับกระแสจากขัว้ ตรงกันข้าม ผลปะทะจะท�ำให้เกิดประกายไฟและ
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
25
ตารางแสดงสถิติการเกิดอัคคีภัยในอาคาร อันเนื่องจากไฟฟ้าในต่างประเทศ ต้นเหตุแห่งอัคคีภัย สายไฟ เต้าเสียบปลั๊กและสายเต้าเสียบปลั๊ก ดวงโคมผนังหรือเพดาน สวิตช์และเต้ารับปลั๊ก ดวงโคมตั้งพื้นหรือตั้งโต๊ะ และหลอดไฟ เครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น พัดลม กาต้มน�้ำ เตารีด ฯลฯ ฟิวส์และเซอร์กิตเบรกเกอร์ มิเตอร์ไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า
% เฉลี่ย 34.7 17.2 12.4 11.4 8.3 7.2 5.6 3.2
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ดังนัน้ ค�ำว่าไฟฟ้าลัดวงจรอันเป็นทีม่ าของอัคคีภยั จากไฟฟ้า จึงเป็นเพียง ค�ำพูดที่กินความหมายในวงกว้าง หากยังไม่ได้ระบุแน่ชัดถึงต้นเหตุที่แท้จริง ซึง่ หากตรวจสอบสาเหตุทแี่ ท้จริงได้กอ่ นด่วนสรุปด้วยค�ำพูดทีต่ ดิ ปาก ก็จะช่วยให้ 1. ใ ช ้ ส า ย ไ ฟ ที่ มี คุ ณ ภ า พ การวางแนวทางป้องกันและแก้ปัญหาได้ตรงจุดดียิ่งขึ้นได้ ได้มาตรฐาน มีพิกัดรองรับค่ากระแส ไฟฟ้ามากกว่า หรือเท่ากับค่ากระแส สาเหตุหลัก ไฟฟ้าใช้งานของวงจรไฟฟ้านั้น ๆ แม้อัคคีภัยจากไฟฟ้าจะเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุดังกล่าวข้างต้น 2. ใช้เต้ารับและปลั๊กไฟฟ้าที่มี แต่สาเหตุหลักสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ คุณภาพ ได้มาตรฐาน มีพิกัดรองรับ 1. สายไฟฟ้าลัดวงจรเนื่องจากสายไฟเสื่อมสภาพหรือด้อยคุณภาพ ค่ากระแสไฟฟ้ามากกว่าหรือเท่ากับ 2. ประกายไฟจากการต่อสายไฟหรือเสียบปลั๊กไฟไม่แน่น หรือปลั๊กไฟ ค่ากระแสไฟฟ้าใช้งานทีเ่ ครือ่ งใช้ไฟฟ้า และเต้ารับด้อยคุณภาพไม่ได้มาตรฐาน นั้น ๆ ต้องการ และหลีกเลี่ยงการใช้ 3. ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่กินก�ำลังไฟสูงเกินพิกัดสายไฟ หรือปลั๊ก และ เครือ่ งใช้ไฟฟ้าร่วมเต้ารับทีจ่ ดุ เดียวกัน เต้ารับของวงจรนั้นจะรับได้ พร้อมกัน 4. ติดตัง้ หรือใช้งานเครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีก่ นิ ก�ำลังไฟสูง อยูต่ ดิ หรือใกล้กบั วัสดุ 3. หยุดใช้งาน ถอดปลั๊กและ หรือของเหลว หรือแก๊สที่ติดไฟง่าย ซ่อมเครือ่ งใช้ไฟฟ้านัน้ ๆ หากในขณะ 5. เครือ่ งใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าทีใ่ ช้ไม่ได้มาตรฐาน ด้อย หรือเสือ่ ม ใช้งานมีควันหรือกลิ่นผิดปกติมาจาก คุณภาพ เครื่อง 6. ใช้ฟวิ ส์หรือเซอร์กติ เบรกเกอร์ผดิ ขนาด เสือ่ มสภาพ หรือด้อยคุณภาพ 4. ต่อสายไฟให้แน่น ใช้อปุ กรณ์ 7. เครื่องไฟฟ้าที่คายประจุไฟฟ้าสถิตได้ในขณะท�ำงาน อยู่ติดหรือใกล้ ต่ อ สายที่ ไ ด้ ม าตรฐาน หลี ก เลี่ ย ง กับวัสดุ หรือของเหลว หรือแก๊สที่ติดไฟง่าย การต่ อ สายด้ ว ยวิ ธี แ ทปสายและ พันเทป แนวทางป้องกันการเกิดอัคคีภัยจากไฟฟ้า 5. เปลี่ยนสายไฟเก่าที่ฉนวน แม้อคั คีภยั จากไฟฟ้าจะสามารถเกิดขึน้ ได้จากหลายสาเหตุ แต่สามารถ เริ่มแข็งหรือกรอบ เปลี่ยนสายปลั๊กที่ ป้องกันได้ด้วยหลักปฏิบัติง่าย ๆ ดังต่อไปนี้ ฉนวนหุ้มลุ่ยหรือฉีกขาด
26
6. ใช้ฟวิ ส์หรือเซอร์กติ เบรกเกอร์ปอ้ งกันวงจรไฟฟ้าในขนาดทีไ่ ม่มากกว่าค่าพิกดั กระแสไฟของสายไฟฟ้าวงจรนัน้ และติดตั้งแผงฟิวส์หรือแผงเซอร์กิตเบรกเกอร์ให้อยู่ห่างจากวัสดุ ของเหลว หรือแก๊สที่ติดไฟง่าย 7. เก็บของเหลวที่ติดไฟง่ายในภาชนะปิดมิดชิด ที่ใช้เฉพาะกับของเหลวไวไฟนั้น ๆ 8. ถอดปลั๊กเครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดจากเต้ารับเมื่อไม่ใช้งาน 9. ติดตั้งใช้งานเซอร์กิตเบรกเกอร์ชนิดป้องกันการลัดวงจรลงดิน (Earth Leakage Circuit Breaker : ELCB) ที่สามารถตัดไฟทันทีที่ตรวจพบไฟรั่ว (ไฟฟ้าลัดวงจรลงดิน) ซึ่งจะช่วยป้องกันการเกิดอัคคีภัยได้อีกทางหนึ่ง
ร า ส า ้ ฟ ไฟ แนวทางป้องกันอัคคีภัย
หลักปฏิบัติที่จ�ำเป็นเพื่อป้องกันอัคคีภัยที่อาจเกิดจากไฟฟ้าหรือด้วย สาเหตุอื่นก็ตามจะต้องเตรียมการดังนี้ อุปกรณ์ตรวจจับควันแจ้งสัญญาณ (ส�ำหรับบ้าน)
ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับควันแจ้งสัญญาณส�ำหรับบ้านในทุกห้องทุกชั้น ภายในบ้าน เพื่อให้ท�ำงานแจ้งสัญญาณเตือนเมื่อเริ่มเกิดอัคคีภัย ให้มีเวลา ป้องกันหรือหนีภัยมากขึ้น ก่อนที่ไฟจะลุกลามจนยากที่จะป้องกันหรือหนีภัย ได้ทัน โดยต้องทดสอบก�ำลังไฟและการท�ำงานอุปกรณ์ตรวจจับควันตามวิธีที่ ผู้ผลิตก�ำหนดสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรืออย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และเปลี่ยน แบตเตอรี่ทุกปีแม้แบตเตอรี่จะยังใช้ได้อยู่ และเปลี่ยนอุปกรณ์ตรวจจับควัน หลังใช้งานไปแล้ว 8 ถึง 10 ปี
ร ะ บ บ สั ญ ญ า ณ เ ตื อ น อั ค คี ภั ย (ส�ำหรับอาคาร) ติ ด ตั้ ง ระบบสั ญ ญาณเตื อ น อั ค คี ภั ย ตลอดจนระบบแสงสว่ า ง ฉุกเฉิน และป้ายทางออกฉุกเฉินที่ ได้มาตรฐาน ตามที่กฎหมายก�ำหนด กั บ ต้ อ งท� ำ การตรวจสอบ ทดสอบ อุ ป กรณ์ แ ละการท� ำ งานของระบบ ในระยะเวลาที่ ป ระมวลหลั ก ปฏิ บั ติ มาตรฐานก�ำหนด โดยผู้อยู่ในอาคาร ต้องเอาใจใส่ทำ� ความรูจ้ กั กับเสียงหรือ แสงสัญญาณเตือนอัคคีภัยที่แตกต่าง ไปจากสัญญาณเตือนภัยอื่น ๆ และ
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
27
ที่มาของสัญญาณเตือนนั้น ทั้งควรจะต้องทราบขอบเขต ขนาด และจ�ำนวน ของพื้นที่ตรวจจับอัคคีภัยในชั้นที่พักอาศัยอยู่เป็นอย่างน้อย ตลอดจนเส้นทาง หนีไฟ พื้นที่ลี้ภัยในอาคาร ห้องบันไดหนีไฟ และจุดรวมพล เครื่องดับเพลิงมือถือและระบบป้องกันอัคคีภัย
1. หากท� ำ งานหรื อ อยู ่ อ าศั ย ในอาคารสูงจะต้องรู้เส้นทางหนีไฟ และห้องบันไดหนีไฟของชั้นที่อยู่ 2. ต้องหมัน่ ตรวจเส้นทางหนีไฟ และบันไดหนีไฟ ไม่ให้มสี งิ่ กีดขวางอยู่ ในเส้นทาง โดยประตูหอ้ งบันไดหนีไฟ ต้องเป็นแบบผลักเปิดล็อกออก ไม่ใช่ ลูกบิดหรือก้านโยก 3. ต้องรู้ ท�ำความเข้าใจ และ ซักซ้อมปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินของ อาคารที่ใช้เพื่อการหนีไฟ 4. ควรติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับ ควันแจ้งสัญญาณเพิ่มเติมในห้องพัก (หากไม่มีติดตั้ง) กรณีเป็นอาคารชุด พักอาศัย และแจ้งเจ้าหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้อง ของอาคารได้ ท ราบทั น ที ห ากพบ ความผิ ด ปกติ ข องอุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ควัน หรือสวิตช์แจ้งเหตุด้วยมือใน เส้นทางหนีไฟ หรือพืน้ ทีส่ ว่ นกลางอืน่ ๆ 5. ต้องรู้ต�ำแหน่งติดตั้งสวิตช์ แจ้ ง เหตุ ด ้ ว ยมื อ ที่ อ ยู ่ ใ กล้ กั บ ห้ อ ง ท�ำงานหรือห้องพักที่สุด เพื่อใช้งาน เตือนภัยเมื่อพบเหตุอัคคีภัยในที่นั้น ด้วยตัวเอง 6. ต้ อ ง รู้ ต� ำ แ ห น่ ง ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งดั บ เพลิ ง มื อ ถื อ ที่ อ ยู ่ ใ กล้ ที่ สุ ด เพื่อท�ำการดับเพลิงเบื้องต้นเมื่อพบ เหตุอัคคีภัยในที่นั้นด้วยตัวเอง
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ส� ำ หรั บ บ้ า น ควรติ ด ตั้ ง เครื่ อ งดั บ เพลิ ง มื อ ถื อ ในจ� ำ นวนที่ เ พี ย งพอ ในต�ำแหน่งที่เหมาะสมได้มาตรฐาน ส�ำหรับอาคาร ต้องติดตั้งเครื่องดับเพลิง มือถือและระบบดับเพลิงด้วยน�ำ้ ทีไ่ ด้มาตรฐาน ตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด กับต้อง ท�ำการตรวจสอบ ทดสอบอุปกรณ์ และการท�ำงานของระบบในระยะเวลาที่ มาตรฐานก�ำหนด โดยผูอ้ ยูใ่ นบ้านหรืออาคารต้องรูต้ �ำแหน่งติดตัง้ และวิธใี ช้งาน เครื่องดับเพลิงมือถือ ทั้งควรต้องเอาใจใส่ทำ� ความรู้จักอุปกรณ์และการท�ำงาน ของระบบดับเพลิงด้วยน�้ำที่อาคารนั้นมีอยู่ ซ้อมหนีไฟ
ผูอ้ ยูใ่ นบ้านหรืออาคารควรวางแผนและซักซ้อมการป้องกันอัคคีภยั และ หนีไฟจากบ้านหรืออาคารนัน้ ๆ ด้วยเส้นทางหนีไฟปลอดภัยทีก่ ำ� หนดขึน้ ไปยัง จุดรวมพลนอกอาคาร อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ โดยตัง้ สมมติฐานการเกิดอัคคีภยั และต�ำแหน่งที่เกิดแตกต่างกันไปในแต่ละครั้งโดยใช้เวลาหนีไฟที่สั้นที่สุดหลัง เกิดการแจ้งสัญญาณเตือนอัคคีภัยดังขึ้นเป็นเกณฑ์ปลอดภัยที่สุด เตรียมทางหนีที่ปลอดภัย หลักปฏิบัติที่จ�ำเป็นเพื่อเตรียมพร้อมเผชิญหน้า และหนีจากอัคคีภัย ที่อาจเกิดจากไฟฟ้า หรือด้วยสาเหตุอื่นก็ตามจะต้องเตรียมการดังนี้
28
เอาตัวรอดจากอัคคีภัย
อัคคีภัยจากไฟฟ้าหรือเหตุอื่นใดก็ตามอาจเกิดจากความเผอเรอหรือ ความประมาทของเราเองหรือบุคคลอืน่ ก็แล้วแต่ ขัน้ ตอนต่อไปนีอ้ าจช่วยให้ทา่ น รอดพ้นอันตราย เมื่อท่านต้องติดอยู่ในพื้นที่เกิดเหตุ 1. ปิดห้องและอุดช่องใต้บานประตูห้อง และช่องระบายอากาศภายใน ด้วยผ้าชุบน�้ำ ป้องกันไม่ให้ควันไฟเข้ามาในห้องได้ 2. ใช้ผ้าเปียกปิดจมูกป้องกันการสูดควันไฟ และต้องหายใจทางจมูก เท่านั้น 3. ร้องหรือส่งสัญญาณขอความช่วยเหลือด้วยโทรศัพท์ หรือโบกมือ ที่หน้าต่างห้อง 4. อย่าเปิดหน้าต่างจนกว่าจะแน่ใจว่าเปลวไฟและควันไฟจะไม่ย้อนมา เข้าห้องจากภายนอก หากจ�ำเป็นให้แง้มหน้าต่างชั่วขณะแล้วปิด
5. เพื่ อ การหนี ภั ย ต้ อ งคลาน ให้ ศี ร ษะอยู ่ ต�่ ำ กว่ า ระดั บ ควั น ไฟที่ ลอยอยู่เหนือพื้น เพราะขณะไฟไหม้ ความร้อนของไฟจะพาให้ควันไฟและ แก๊สที่เป็นอันตรายลอยตัวสูงจากพื้น อากาศเรี่ ย พื้ น ยั ง เป็ น อากาศที่ ใ ช้ หายใจได้ ต้องใช้วิธีคลานด้วยศอก และเข่าไปยังทางออกหนีไฟทีใ่ กล้ทสี่ ดุ โดยให้ศรี ษะอยูห่ า่ งจากพืน้ 30 ถึง 60 เซนติเมตร 6. หากเสื้ อ ผ้ า ติ ด ไฟ อย่ า วิ่ ง ให้หยุดล้มตัวลงและกลิง้ ตัวกับพืน้ ทับ เสื้อผ้าส่วนที่ติดไฟจนไฟดับ 7. หากติดอยู่บนอาคารสูงกว่า ชั้นสอง อย่าเสี่ยงกระโดดหนีลงมา ให้คอยความช่วยเหลือ พึงระลึกไว้ว่า โอกาสรอดยังมี ขอให้ ทุ ก ท่ า นปลอดภั ย จาก อัคคีภัยครับ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ เอกสารอ้างอิง 1. มาตรฐานระบบสั ญ ญาณแจ้ ง เหตุเพลิงไหม้ วสท. 2. ประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพด้าน การตรวจสอบ และการทดสอบระบบ สัญญาณเตือนอัคคีภัย สภาวิศวกร
ประวัติผู้เขียน
นายมงคล วิสุทธิใจ • ประธานกรรมการ ร่างมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ วสท. • ประธานกรรมการร่างประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพด้านการตรวจสอบ และการทดสอบระบบสัญญาณ เตือนอัคคีภัย สภาวิศวกร • ประธานผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความปลอดภัยด้านอัคคีภัย อาคารผู้โดยสารสนามบินสุวรรณภูมิ
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
29
Standard & Safety มาตรฐานและความปลอดภัย รศ.ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช อีเมล : s.tanaboon@hotmail.com
การติดตั้งระบบไฟฟ้าในสระว่ายน�้ำและอ่างน�้ำพุ (ตอนที่ 5)
การติดตั้งระบบไฟฟ้าอ่างน�ำ้ พุ (Fountains)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
4.1 การติดตั้งอ่างน�ำ้ พุ การเดินสายและการติดตั้งบริภัณฑ์ภายในหรือชิดอ่างน�ำ้ พุชนิดก่อสร้างถาวร รวมทั้ง บริภัณฑ์ประกอบ ซึ่งท�ำด้วยโลหะ เช่น โคมไฟใต้น�้ำดังรูปที่ 4.1 และเครื่องสูบน�้ำดังรูปที่ 4.2
รูปที่ 4.1 โคมไฟใต้น�้ำหลอด LED
30
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 4.2 เครื่องสูบน�้ำชนิดแช่ในน�้ำได้
4.2 โคมไฟใต้น�้ำ เครื่องสูบน�้ำชนิดแช่ในน�้ำได้ และบริภัณฑ์อื่นชนิดแช่ในน�้ำได้ส�ำหรับอ่างน�ำ้ พุ จะต้องติดตั้ง และปฏิบัติตามข้อต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 4.2.1 เครื่องป้องกันกระแสรั่วลงดิน ต้องติดตั้งเครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดินในวงจรย่อยที่จ่ายไฟ ให้กับบริภัณฑ์ไฟฟ้าของอ่างน�ำ้ พุ ยกเว้น วงจรน�้ำพุขนาดแรงดันไม่เกิน 15 โวลต์ รับไฟฟ้าจากหม้อแปลงชนิดแยกขดลวด 4.2.2 แรงดันใช้งาน โคมไฟฟ้า ต้องใช้แรงดันระหว่างสายไม่เกิน 240 โวลต์ ส่วนเครื่องสูบน�้ำชนิดแช่ ในน�้ำได้และบริภัณฑ์อื่นที่แช่ในน�ำ้ ได้ต้องใช้แรงดันระหว่างสายไม่เกิน 416 โวลต์ 4.2.3 เลนส์ของโคมไฟฟ้า โคมไฟฟ้าจะต้องติดตัง้ ให้สว่ นบนของเลนส์อยูใ่ ต้ระดับน�ำ้ ปกติในอ่างน�ำ้ พุ ดังรูปที่ 4.3 หากไม่ใช่ชนิดที่ได้รับการรับรองให้ติดตั้งโดยด้านหน้าหงายขึ้น และต้องมีเลนส์ที่มีการกั้นอย่างเพียงพอเพื่อป้องกัน การสัมผัสถูกของบุคคล ส่วนรูปที่ 4.4 แสดงส่วนประกอบโคมไฟฟ้าใต้นำ�้ ส�ำหรับอ่างน�ำ้ พุ
รูปที่ 4.3 โคมไฟฟ้าจะต้องติดตั้งให้ส่วนบนของเลนส์อยู่ใต้ระดับน�้ำปกติในอ่างน�้ำพุ กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
31
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 4.4 ส่วนประกอบโคมไฟฟ้าใต้น�้ำส�ำหรับอ่างน�้ำพุ
4.2.4 การป้องกันความร้อน บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่ท�ำงานอย่างปลอดภัยขึ้นอยู่กับการอยู่ใต้น�้ำ ทั้งนี้ต้องมี เซอร์กติ เบรกเกอร์ตดั วงจร เมือ่ มีความร้อนเกินในกรณีทนี่ ำ�้ มีระดับต�ำ่ หรือใช้มาตรการอืน่ ป้องกันไม่ให้ระดับน�ำ้ ต�ำ่ กว่า ปกติ 4.2.5 การเดินสาย บริภัณฑ์ไฟฟ้าต้องท�ำรูส�ำหรับต่อท่อเกลียวเข้าได้หรือมีสายอ่อนที่เหมาะสม สายอ่อน ทีเ่ ปิดโล่งในอ่างน�ำ้ พุตอ้ งยาวไม่เกิน 3.00 เมตร ดังรูปที่ 4.5 สายอ่อนส่วนทีพ่ น้ ขอบอ่างน�ำ้ พุตอ้ งห่อหุม้ ด้วยเครือ่ งห่อหุม้ ที่ได้รับการรับรองแล้ว ส่วนโลหะของบริภัณฑ์ที่สัมผัสกันต้องท�ำด้วยทองเหลืองหรือโลหะที่ทนการผุกร่อนชนิดอื่น
รูปที่ 4.5 สายอ่อนที่เปิดโล่งในอ่างน�้ำพุต้องยาวไม่เกิน 3.00 เมตร
32
4.2.6 การซ่อมบ�ำรุง บริภัณฑ์ทั้งหมดต้องน�ำขึ้นมาจากน�้ำได้ เพือ่ เปลีย่ นหลอดหรือบ�ำรุงรักษา ตามปกติโคมไฟต้องไม่ตดิ ตัง้ ฝังในโครงสร้าง ของอ่างน�้ำพุอย่างถาวร ทั้งนี้เพื่อการเปลี่ยนหลอด ตรวจและบ�ำ รุงรักษา จะต้องระบายน�ำ้ ออกจากอ่าง 4.3 กล่องต่อสายใต้น�้ำและเครื่องห่อหุ้มอื่น กล่องต่อสายใต้นำ�้ และเครื่องห่อหุ้มใต้นำ�้ อื่น ๆ ต้องเป็นชนิดกันน�้ำ ดังรูปที่ 4.6 ก. ต้องประกอบด้วยช่องส�ำหรับต่อท่อเกลียวเข้า หรือปลอกลัด หรือแหวนผนึก (Seal) ส�ำหรับต่อเข้ากับสายคอร์ด (Cord) ข. เป็นทองแดง ทองเหลือง หรือวัตถุทนการผุกร่อนอื่น ค. ใส่สารผนึกป้องกันความชื้นเข้า
ง. ติ ด อ ย ่ า ง มั่ น ค ง กั บ ที่ ร องรั บ หรื อ ผิ ว หน้ า ของอ่ า งน�้ ำ พุ โดยตรงและต่อประสาน กรณีทกี่ ล่อง ต่ อ สายต่ อ กั บ ท่ อ ที่ ไ ม่ มี ก ารรองรั บ อย่ า งอื่ น ท่ อ ต้ อ งท� ำ ด้ ว ยทองแดง ทองเหลือง หรือโลหะทนการผุกร่อน อื่นที่ได้รับการรับรองแล้ว แต่ถ้าท่อที่ ต่อเข้ากับกล่องต่อสายเป็นท่ออโลหะ กล่องต่อสายต้องยึดกับที่รองรับโดย ใช้ตวั จับยึดท�ำด้วยทองแดง ทองเหลือง หรือโลหะทนการผุกร่อนอื่นที่ได้รับ การรับรองแล้ว
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 4.6 กล่องต่อสายใต้น�้ำส�ำหรับโคมน�้ำพุใต้น�้ำเป็นทองแดง ทองเหลือง หรือสเตนเลส
4.4 การประสาน ร ะ บ บ ท ่ อ โ ล ห ะ ทั้ ง ห ม ด ที่ เกี่ยวข้องกับอ่างน�ำ้ พุ ต้องต่อฝากกับ ตัวน�ำต่อลงดินดังรูปที่ 4.7 บริภัณฑ์ วงจรย่อยที่จ่ายไฟให้กับอ่างน�ำ้ พุ
รูปที่ 4.7 ส่วนที่เป็นโลหะทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับอ่างน�้ำพุ ต้องต่อฝากกับตัวน�ำต่อลงดิน กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
33
4.5 การต่อลงดิน 4.5.1 บริภณ ั ฑ์ทตี่ อ้ งต่อลงดิน บริภณ ั ฑ์ตอ่ ไปนี้ ก. บริภัณฑ์ไฟฟ้าทั้งหมดที่อยู่ในระยะ 1.50 เมตร จากผนังอ่างน�้ำพุด้านในต้องต่อลงดิน ดังรูปที่ 4.8 ข. บริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าทีเ่ กีย่ วกับระบบหมุนเวียนน�ำ้ ของน�้ำพุต้องต่อลงดิน ค. แผงวงจรย่ อ ยที่ มิ ไ ด้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ บริภัณฑ์ประธานและจ่ายไฟฟ้าให้แก่บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่ เกี่ยวกับน�้ำพุนั้นต้องต่อลงดิน รูปที่ 4.9 โคมไฟใต้น�้ำ กล่องต่อสายใต้น�้ำ กล่องใส่ หม้อแปลงขนาดสายดินไม่เล็กกว่า 4 mm2
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 4.8 ระยะบริภัณฑ์ไฟฟ้าที่ต้องต่อลงดิน
4.5.2 วิธีการต่อลงดิน 1. โคมไฟใต้น�้ำ กล่องต่อสายใต้น�้ำ กล่องใส่ หม้อแปลง เครื่องสูบน�ำ้ ชนิดแช่ในน�้ำ จะต้องต่อกับตัวน�ำ ทองแดงต่อลงดินของบริภณ ั ฑ์ ขนาดสายดินต้องไม่เล็กกว่า 2 4.0 mm และต้องเป็นสายหุม้ ฉนวนเดินรวมไปกับสายไฟ ภายในท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง หรือท่อ อโลหะหนา ดังรูปที่ 4.9
2. รับไฟฟ้าด้วยสายอ่อน ส่วนโลหะไม่น� ำ กระแสเปิดโล่งทัง้ หมดต้องต่อลงดิน โดยใช้ตวั น�ำต่อลงดิน ของบริภัณฑ์เป็นชนิดทองแดงหุ้มฉนวน ซึ่งอยู่รวมใน สายอ่อนนัน้ ตัวน�ำต่อลงดินนีต้ อ้ งต่อเข้ากับขัว้ ต่อลงดินใน กล่องต่อสายที่จ่ายไฟให้ หรือเครื่องห่อหุ้มของหม้อแปลง หรือเครื่องห่อหุ้มอื่น 4.6 บริภัณฑ์ต่อด้วยสายพร้อมเต้าเสียบ 1. เครื่องป้องกันกระแสรั้วลงดิน บริภัณฑ์ ไฟฟ้าทั้งหมดรวมทั้งสายอ่อนรับไฟฟ้าต้องป้องกันด้วย เครื่องป้องกันกระแสรั่วลงดิน 2. สายอ่อนแช่น�้ำ สายอ่อนที่อยู่ในน�้ำต้อง เป็นชนิดทนน�ำ้ (Water resistance) หรือเป็นเคเบิลแช่นำ�้ (Submersible cable) ดังรูปที่ 4.10
รูปที่ 4.10 สายเคเบิลอ่อนแช่น�้ำ
34
3. การผนึก ปลายของเปลือกนอกและตัวน�ำ ข. ป้ า ยติ ด ตั้ ง ชั่ ว คราว ป้ า ยไฟฟ้ า ที่ ติ ด ตั้ ง ของสายอ่อนทีต่ อ่ เข้ากับขัว้ ต่อสายในบริภณ ั ฑ์ตอ้ งปิดหรือ ชั่วคราวอยู่ในอ่างน�ำ้ พุ ต้องมีระยะไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร หุ้มด้วยสารอุดเพื่อกันน�้ำเข้าไปในบริภัณฑ์โดยผ่านทาง ด้านในอ่างโดยวัดจากขอบในของอ่างน�ำ้ พุ สายอ่อนหรือทางตัวน�ำ ยิ่งกว่านั้นการต่อลงดินภายใน บริภัณฑ์จะต้องปฏิบัติเช่นเดียวกัน เพื่อป้องกันหัวต่อเกิด การผุกร่อนอันเกิดจากน�้ำที่อาจเข้าไปในบริภัณฑ์
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 4.12 ต�ำแหน่งการติดตั้งป้ายไฟฟ้าระยะไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร จากขอบในอ่างน�้ำพุ
รูปที่ 4.11 เต้าเสียบแบบมีขั้วสายดิน และมีเครื่องป้องกันกระแสไฟรั่วลงดิน
4.7 การต่อปลายสาย การต่อด้วยสายอ่อนต้อง ท�ำเป็นการถาวร ยกเว้นการใช้เต้าเสียบและเต้ารับแบบมี ขั้วสายดินยอมให้ใช้ส�ำหรับบริภัณฑ์ที่ติดตั้งยึดกับที่หรือ ติดตั้งประจ�ำที่ โดยไม่อยู่ในส่วนที่มีน�้ำอยู่ในทางน�้ำพุ ทั้งนี้เพื่อการถอดหรือปลดออกเพื่อการซ่อมบ�ำรุงรักษา หรือรื้อออกเก็บ ดังรูปที่ 4.11 4.8 ป้ายไฟฟ้า การติดตัง้ ป้ายไฟฟ้าภายในอ่างน�ำ้ พุ ต้องปฏิบัติตามข้อต่อไปนี้ 4.8.1 เครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน ส�ำหรับบุคคล ทุกวงจรไฟฟ้าที่จ่ายโหลดให้กับป้ายไฟฟ้า ติดตั้งอยู่ในอ่างน�ำ้ พุในระยะ 3 เมตร จากขอบในอ่างน�ำ้ พุ จะต้องมีเครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดินส�ำหรับ บุคคล 4.8.2 ต�ำแหน่งป้ายไฟฟ้าและเครือ่ งปลดวงจร ดังรูปที่ 4.12 ก. ป้ายติดตั้งถาวร ป้ายไฟฟ้าที่ติดตั้งถาวรอยู่ ในอ่างน�้ำพุ ต้องมีระยะไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร ด้านในอ่าง โดยวัดจากขอบในของอ่างน�ำ้ พุ
รูปที่ 4.13 ระยะ 1.5 เมตร ต�่ำสุดของการติดตั้งป้ายไฟฟ้า และเครื่องปลดวงจร
ค. เครื่องปลดวงจร เครื่องปลดวงจรเพื่อตัด กระแสไฟฟ้าส�ำหรับป้ายไฟฟ้าจะต้องติดตัง้ อยูใ่ นต�ำแหน่ง ห่างจากขอบนอกอ่างน�ำ้ พุในแนวระดับไม่นอ้ ยกว่า 1.5 เมตร ดังรูปที่ 4.13 ง. การประสานและการต่อลงดิน ป้ายไฟฟ้า จะต้องการประสานและการต่อลงดิน 4.9 เครือ่ งป้องกันกระแสเกินและรัว่ ลงดิน (GFCI) ป้องกันการบาดเจ็บ
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
35
ส�ำหรับเต้ารับขนาด 10, 15 และ 20 A เฟสเดียว 240 V ที่ติดตั้ง เอกสารอ้างอิง 1. มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า ภายในระยะ 6 เมตร หรือต�ำ่ กว่า ต้องจัดให้มีการป้องกันด้วยเครื่องป้องกัน ส�ำหรับประเทศไทย วิศวกรรมสถานแห่ง กระแสเกินและรั่วลงดิน ดังรูปที่ 4.14 และรูปที่ 4.15 ประเทศไทย พ.ศ. 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2551)
2. NEC, National Electrical Code Handbook, National Fire Protection Association, Quincy Massachusetts : 2011 3. UL. Marking Guide Swimming Pool Equipment Spas Fountains and Hydro massage Bathtubs, Underwriter Laboratory; 2008 4. NEC Code Article 680. Swimming pools, Spas, Hot Tubs, Fountains and Similar Installations, www. NEC Code.com Free FDF Download 5. www.pentairpool.com/pdfs/ FountainFixturesIG.pdf
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 4.14 เต้ารับติดตั้งภายในระยะ 6 เมตร หรือต�่ำกว่า ต้องมี GFCI ป้องกัน
ประวัติผู้เขียน
รูปที่ 4.15 เต้ารับชนิด GFCI
36
รศ.ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี • วุ ฒิ วิ ศ วกร แขนงไฟฟ้ า ก� ำ ลั ง (วฟก.457) • กรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. 2554-2556
Power Engineering & Power Electronics ไฟฟ้าก�ำลังและอิเล็กทรอนิกส์กำ� ลัง นายปริญญา เอกพรพิศาล วิศวกร ระดับ 7 แผนกศึกษาแผนงานระบบส่งไฟฟ้า กองวางแผนปฏิบัติการระบบส่งไฟฟ้า ฝ่ายควบคุมระบบก�ำลังไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
Guideline
for Under Frequency Relay Setting
ร า ส า ้ ฟ ไฟ แนวทางการพิ จ ารณาเลื อ ก ค่า Setting ของ U/F Relay ส�ำหรับ ปลดโหลดออกจากระบบ เมื่อระบบ เกิดปัญหาขาดความสมดุลระหว่าง ก�ำลังผลิตไฟฟ้ารวมจากทุกแหล่งจ่าย พลังงานไม่เพียงพอกับความต้องการ ใช้ไฟฟ้าของผูใ้ ช้ไฟฟ้า และความสูญเสีย ทีเ่ กิดในระบบส่ง โดยหลักการท�ำงาน ของ U/F Relay นัน้ ถือได้วา่ เมือ่ ใดก็ตาม ที่ระบบมีความถี่ต�่ำลงจนถึงระดับค่า Pick Up หรือค่า Setting ตัว U/F Relay ก็จะตรวจสอบ (Detect and Evaluation) และท�ำการส่งสัญญาณ ต่อไปเบรกเกอร์เพื่อปลดโหลดออก จากระบบ จึงถือได้ว่าเป็นการช่วย ระบบในการหาสมดุ ล ของหลั ก ทรง พลังงานใหม่ อย่างไรก็ตาม การพิจารณา ถึงจุดเริ่มต้นของค่า Setting จนถึง ปริ ม าณความต้ อ งการของ Load ที่ถูกปลดในแต่ละ Step ถือว่าเป็น ความท้ า ทายของงานวางแผนและ ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ร ะบบ โดยจะต้ อ ง ถู ก ค� ำ นวณและออกแบบให้ มี ค วาม เหมาะสม เพื่อป้องกันมิให้ระบบเกิด ปัญหาความถี่ลดต�่ำลงอย่างต่อเนื่อง จนเกินขีดความสามารถในการรองรับ
จากผู้ใช้ไฟฟ้า รวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบไฟฟ้า และเป็นการป้องกัน ความเสีย่ งต่อการเกิดไฟฟ้าดับบางส่วน (Brownout) และไฟฟ้าดับทัง้ ประเทศ (Blackout) โดยบทความนี้ได้อธิบายถึงประเภทของ U/F Relay หลักปฏิบัติ ทั่วไป และยกตัวอย่างค่า Setting ของประเทศต่าง ๆ
รูปแบบของ U/F Relay
ปัจจุบัน U/F Relay ที่นิยมใช้ทั่วไปมี 2 รูปแบบ คือ แบบที่ 1 Traditional Design (บางทีถูกเรียกว่า Fixed Load Reduction) เป็นการออกแบบทีก่ ำ� หนดให้เมือ่ ความถีข่ องระบบต�ำ่ ลงจนมีคา่ เดียวกับ ค่าความถี่ที่ถูกก�ำหนดไว้ในตัว Relay (Pick up Frequency) ทันใดนั้น Relay จะสั่งการส่งสัญญาณไปยังเบรกเกอร์ เพื่อปลด Load ในแต่ละ Feeder ที่ถูกเลือกไว้ ตัวอย่าง เช่น U/F for System A Step Pick Up Frequency (Hz) Trip Feeder load
1 49 AAA
2 48.75 BBB
3 48.5 CCC
4 48.25 DDD
5 48 EEE
แบบที่ 2 Modern Design (บางทีถกู เรียกว่า Varied Load Reduction) นอกจากปริมาณ Load ที่ถูกปลดในแต่ละ Step ขึ้นอยู่กับระดับ ค่าความถี่ (Frequency Level) แล้ว จะมีการใช้ค่าสัญญาณอัตราเร็วจาก การเปลี่ยนแปลงของความถี่เทียบกับเวลา (df/dt) มาพิจารณาเพื่อพิจารณา ปลด Load เพิ่มเติม กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
37
ตัวอย่าง เช่น U/F for System A Step Pick Up Frequency (Hz) Trip Feeder load
1 49 AAA
2 48.75 BBB
3 48.5 CCC
4 48.25 DDD
5 48 EEE
Trip Group Loading 1: df/dt ≥ -0.4 Hz/s and f ≤ 49.2 Hz Trip Group Loading 2: df/dt ≥ -0.3 Hz/s and f ≤ 49.0 Hz Trip Loading Group 3: f ≤ 48.0 Hz อธิบายเพิ่มเติม • เมือ่ ความถีข่ องระบบลดต�ำ่ ลงถึง 49.0 Hz ด้วยอัตราเร็ว 0.4 Hz/s => ผลจะท�ำให้ U/F Relay ปลด Load AAA (ผ่าน Pick up Relay Step 1) + Group Loading 1 (ผ่านเงื่อนไขอัตรา df/dt ≥ -0.4 Hz/s และระดับ f ≤ 49.2 Hz) + Group Loading 2 (ผ่านเงื่อนไขอัตรา df/dt ≥ -0.3 Hz/s และระดับ f ≤ 49.0 Hz) • เมื่อความถี่ของระบบลดต�่ำลงถึง 49.0 Hz ด้วยอัตราเร็ว 0.35 Hz/s => ผลจะท�ำให้ U/F Relay ปลดเฉพาะ Load AAA + Group Loading 2 (Group Load 1 ไม่ผ่านเงื่อนไขอัตราเร็ว df/dt จึงไม่ถูกปลด)
ตัวอย่างการ Setting ที่ใช้ งานจริงในประเทศต่าง ๆ
ตั ว อย่ า ง ค่ า U/F Setting ในประเทศสมาชิก GMS 1) จีน • 9 steps starting at 49.0 Hz down to 47.8 Hz. 2) เวียดนาม • 9 steps starting at 49.0 Hz down to 47.4 Hz; steps: 0.2 Hz; operating time: 0s and 0.5s Plus Load shedding – df/dt Group 1: df/dt ≥ -0.4 Hz/s and f ≤ 49.2 Hz Group 2: df/dt ≥ -0.3 Hz/s and f ≤ 49.0 Hz Group 3: f ≤ 48.0 Hz Maximum load shedding: 995 MW (North regional) 3) พม่า • 3 steps starting at 48.3, 48.1 and 47.9 Hz 4) ไทย • 5 steps starting from 49.0 Hz, 48.8 Hz, 48.6 Hz, 48.3 Hz and 47.9 5)UK National Grid
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
หลักปฏิบัติทั่วไป
หน่วยงานและสถาบันการศึกษาหลายแห่งได้ท�ำการศึกษาและวิจัย Protection Algorithms พร้อมทั้งเสนอทางเลือกให้มีการพิจารณาใช้งาน U/F ในรูปแบบที่ 2 Varied Load Reduction อันเป็นการเสริมสร้างเสถียรภาพ ของระบบในภาพรวม แต่ทั้งนี้ต้องอยู่บนฐานของการศึกษาวิเคราะห์ระบบที่ เชือ่ ถือได้และการให้ความส�ำคัญในการรักษาระบบ ซึง่ ปัจจุบนั ผูผ้ ลิต U/F Relay หลายรายได้บรรจุฟังก์ชันอัตราการเปลี่ยนแปลงความถี่เทียบกับเวลา (df/dt) เป็น Option ที่ทางผู้ซื้อสามารถเลือกใช้งานได้ โดยมีตัวอย่างประเทศที่ใช้งาน แล้วเช่น เวียดนาม เป็นต้น ส�ำหรับระบบที่มีค่าความถี่ฐาน 50 Hz โดยทั่วไปพบว่า U/F Step แรกมักถูกออกแบบให้เริ่มท�ำงานที่ค่า 49 Hz โดยแต่ละ Step ให้มีค่า Gap ประมาณ 0.25 Hz และเลือกปลด Load 10% (อ้างอิงจาก IEEE PCIC Europe 2005) ซึ่งค่าดังกล่าวไม่ถือเป็นข้อบังคับที่ทุกระบบต้องยึดปฏิบัติ แต่เป็นค�ำแนะน�ำที่สามารถปฏิบัติตามได้
38
กล่ า วถึ ง การ Setting U/F Relay ว่าสามารถเลือกค่า Setting ส�ำหรับความถี่ได้ระหว่าง 47-50 Hz โดยแต่ละ Step ให้มีความแตกต่าง ของความถี่เท่ากับ 0.05 Hz และ ค่ า Operating time ขึ้ น อยู ่ กั บ Measurement period ซึ่งอยู่ระหว่าง 100-150 ms
ตารางแสดงค่า Setting ของ Low Frequency Relay ส�ำหรับ UK Grid Table CC.A.5.5.1a Frequency Hz 48.8
% Demand disconnection for each Network Operator in Transmission Area NGET SPT SHETL 5
48.75
5
48.7 48.6 48.5 48.4 48.3 48.2 48.0 47.8 Total % Demand
10 7.5 7.5 7.5 7.5 5 5 60
10 10 10
10
10 10
10 10
40
40
ร า ส า ้ ฟ ไฟ Note – the percentages in table CC.A.5.51a are cumulative such that, for example, Should the frequency fall to 48.6 Hz in the NGET Transmission Area, 27.5% of the Total Demand connected to the GB Transmission System in the NGET Transmission Area shall be disconnected by the action of Low Frequency Relays.
สรุป
การ Setting ค่า U/F Relay นั้นมีความหลากหลาย แต่ทุก ๆ แห่งก็มี วัตถุประสงค์เดียวกัน คือต้องการรักษาระบบให้เกิดเสถียรภาพและต้องการ ให้เกิดความสูญเสียจากไฟฟ้าดับในปริมาณน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ ดังนั้นจึง ต้องท�ำการศึกษาและปรับปรุง U/F Protection Table อย่างต่อเนือ่ งโดยเฉพาะ อย่างยิ่งเมื่อระบบเปลี่ยนแปลงไป
เอกสารอ้างอิง 1. Guidelines from IEEE PCIC Europe 2005 “Intelligent Load Shedding Need for a Fast and Optimal Solution”, Dr. Farrokh Shokooh, Dr. JJ Dai, etc. 2. Countries’ Presentation from the floor of Performance Standards Methodology Workshop on August 2-3, 2007 3. EGAT U/F Relay setting จากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 4. UK National Grid
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
39
Power Engineering & Power Electronics ไฟฟ้าก�ำลังและอิเล็กทรอนิกส์ก�ำลัง นายกิตติกร มณีสว่าง กองวิจัย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
เทคโนโลยีและการท�ำงานของ Ground Lead Disconnector
ส�ำหรับกับดักเสิร์จชนิด MOV ในระบบจ�ำหน่ายแบบเหนือดิน บทน�ำ
ในอดี ต กั บ ดั ก เสิ ร ์ จ (Surge Arrester) มีเปลือกฉนวนเป็น Porcelain และมีโครงสร้างภายในประกอบไปด้วย บล็อก Silicon Carbine (SiC) แต่ดว้ ย คุณสมบัติของ Silicon Carbine เอง จะยอมให้มกี ระแสไหลผ่านในปริมาณ ที่มากถึงแม้แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อม กับดักเสิร์จจะมีค่าไม่สูงมากนัก หาก พิจารณาจากรูปที่ 1 จะพบว่าทีแ่ รงดัน ไฟฟ้าขนาด 1 p.u. มีกระแสไหลผ่าน บล็อก Silicon Carbine ถึง 10 A ดังนัน้ กับดักเสิรจ์ ชนิดนีจ้ งึ ต้องออกแบบให้มี ช่องว่างอากาศ (Spark Gap) ติดตั้ง อยู่ภายในที่ด้านล่างดังรูปที่ 2 เพื่อ ป้องกันการไหลของกระแสผ่านระบบ ต่อลงดินในสภาวะปกติและช่วยเพิ่ม ขีดความสามารถในการทนต่อแรงดัน ไฟฟ้าเกินให้สูงขึ้น โดยเมื่อแรงดัน ไฟฟ้าเกินตกคร่อมกับดักเสิรจ์ จนมีคา่ สูงเกินกว่าที่บล็อก Silicon Carbine และช่องว่างอากาศสามารถทนได้แล้ว ช่องว่างอากาศจะน�ำกระแสเสิร์จผ่าน ระบบต่อลงดิน และเนื่องจากช่องว่าง อากาศดังกล่าวไม่สามารถคืนสภาพ ความเป็นฉนวนได้ทันภายหลังจากที่ แรงดันไฟฟ้ากลับสู่สภาวะปกติแล้ว จึงท�ำให้มีกระแสไหลตาม (Power Follow Current) ทีค่ วามถีไ่ ฟฟ้าก�ำลัง
50 Hz ไหลผ่านช่องว่างอากาศนี้ผ่านระบบต่อลงดินและมีโอกาสเกิดกระแส ลัดวงจรแบบ Single Line to Ground Fault ดังรูปที่ 3 ต่อมาภายหลังจึงได้มี การพัฒนาปรับปรุงกับดักเสิรจ์ เพือ่ ลดข้อบกพร่องดังกล่าวโดยเปลีย่ นบล็อกจาก Silicon Carbine มาใช้เป็น Zinc Oxide (ZnO) หรือ Metal Oxide Varistor (MOV) แทน เพื่อให้ได้ค่าความต้านทานที่ไม่เป็นเชิงเส้นมากกว่า Silicon Carbine โดยจากรูปที่ 1 จะพบว่าที่แรงดันไฟฟ้าขนาด 1 p.u. มีกระแสไหล ผ่านบล็อก Zinc Oxide อยูใ่ นช่วงประมาณ 0.07-0.45 mA ขึน้ อยูก่ บั อุณหภูมิ ในขณะใช้งาน ซึง่ เป็นค่ากระแสทีน่ อ้ ยมาก ดังนัน้ จึงสามารถออกแบบกับดักเสิรจ์ ชนิด MOV นี้ให้เป็นแบบไม่มชี อ่ งว่างอากาศ (Gapless) ได้ กับดักเสิร์จชนิดนี้ เมือ่ เชือ่ มต่อใช้งานจะมีกระแสรัว่ ดังกล่าวไหลผ่านระบบต่อลงดินอยูต่ ลอดเวลา แม้ว่าแรงดันไฟฟ้าจะอยู่ในสภาวะปกติก็ตาม
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
40
หมายเหตุ
Um = แรงดันไฟฟ้าสูงสุด
รูปที่ 1 คุณสมบัติของ Silicon Carbine และ Zinc Oxide
Disconnector (GLD) ต่ออนุกรมกับตัวกับดักเสิร์จที่ ด้ า นล่ า งเพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ แ ยกกั บ ดั ก เสิ ร ์ จ ที่ เ สื่ อ มสภาพ ออกจากระบบไฟฟ้า อุ ป กรณ์ GLD มี โ ครงสร้ า งที่ ส� ำ คั ญ ประกอบ ไปด้วยส่วนของช่องว่างอากาศ (Spark Gap) ต่อขนาน กับตัวต้านทาน โดยมีดินระเบิด (Cartridge) บรรจุ ไว้ใกล้ ๆ กับตัวต้านทาน ดังรูปที่ 4 และด้วยฟังก์ชัน การท�ำงานของอุปกรณ์ GLD ที่ออกแบบให้ท�ำงานแยก กั บ ดั ก เสิ ร ์ จ ออกจากระบบไฟฟ้ า เฉพาะเมื่ อ มี ก ระแสที่ ความถี่ไฟฟ้าก�ำลัง 50 Hz ไหลผ่าน ในการออกแบบ รูปที่ 2 กับดักเสิร์จชนิด Silicon Carbine และ Zinc Oxide จึงก�ำหนดให้ท�ำการทดสอบด้วยกระแสเสิร์จที่มีความชัน หน้าคลื่นสูง ซึ่งหากอุปกรณ์ GLD ท�ำงานได้อย่างถูกต้อง กระแสเสิ ร ์ จ จะกระโดดข้ า มช่ อ งว่ า งอากาศไหลผ่ า น ดินระเบิดและระบบต่อลงดิน โดยที่อุปกรณ์ GLD ต้อง ไม่ทำ� งาน ซึ่งต้องผ่านการทดสอบตามตารางที่ 1
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3 ลักษณะการท�ำงานของกับดักเสิร์จชนิด Silicon Carbine (Spark Gap) และ Zinc Oxide (MOV)
เทคโนโลยี Ground Lead Disconnector (GLD) ส�ำหรับกับดักเสิร์จชนิด MOV
กั บ ดั ก เสิ ร ์ จ ชนิ ด MOV จั ด เป็ น อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ที่มีความส�ำคัญในการป้องกันและช่วยลดทอนขนาดของ แรงดันไฟฟ้าเกิน เนือ่ งจากเสิรจ์ ทีเ่ กิดขึน้ ไม่ให้เกินขีดความ คงทนทางด้านฉนวนของอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ โดยใช้ หลักการดีสชาร์จพลังงานกระแสเสิร์จลงระบบต่อลงดิน และในขณะเดียวกันกับดักเสิรจ์ เองต้องมีศกั ยภาพเพียงพอ ที่จะหยุดการน�ำกระแสไฟฟ้าภายหลังจากที่แรงดันไฟฟ้า กลั บ สู ่ ส ภาวะปกติ แต่ ใ นกรณี ที่ กั บ ดั ก เสิ ร ์ จ เกิ ด การ เสื่อมสภาพหรือช�ำรุดจนไม่สามารถหยุดการน�ำกระแส ที่ความถี่ไฟฟ้าก�ำลัง 50 Hz ได้ จะท�ำให้ระบบไฟฟ้า เกิดกระแสลัดวงจรแบบ Single Line to Ground Fault ตามมา ดังนั้นโดยทั่วไปจะมีการติดตั้ง Ground Lead
รูปที่ 4 โครงสร้างของ Ground Lead Disconnector (GLD) กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
41
การต่ออุปกรณ์ GLD อนุกรมกับตัวกับดักเสิร์จ ท�ำให้ในสภาวะปกติแรงดันไฟฟ้าส่วนใหญ่จะตกคร่อม ความต้านทานชนิด MOV โดยที่แรงดันไฟฟ้าในส่วน ที่ เ หลื อ จะตกคร่ อ มช่ อ งว่ า งอากาศและตั ว ต้ า นทาน ในอุปกรณ์ GLD ซึ่งแรงดันไฟฟ้านี้มีค่าน้อยกว่าแรงดัน ไฟฟ้าข้ามผ่านช่องว่างอากาศ จึงท�ำให้ปริมาณกระแส ทีไ่ หลผ่านตัวต้านทานภายในอุปกรณ์ GLD มีคา่ น้อยมาก ๆ แต่ในกรณีที่กับดักเสิร์จเสื่อมสภาพหรือช�ำรุด แรงดัน ไฟฟ้าส่วนใหญ่จะตกคร่อมช่องว่างอากาศและตัวต้านทาน ในอุปกรณ์ GLD ท�ำให้กระแสที่ความถี่ไฟฟ้าก�ำลัง 50 Hz ไหลเพิ่มมากขึ้น กระแสดังกล่าวจะท�ำให้เกิดความร้อน จนท�ำให้อุณหภูมิสูงขึ้นจนถึงจุดที่ท�ำให้ดินระเบิดท�ำงาน และท�ำให้อุปกรณ์ GLD สามารถแยกกับดักเสิร์จออกจาก ระบบไฟฟ้าได้ส�ำเร็จ ซึ่ง IEC 60099-4 ก�ำหนดให้ป้อน กระแสทดสอบที่ 20 A, 200 A และ 800 A ดังแสดง ในตารางที่ 2 โดยอุปกรณ์ GLD ต้องท�ำงาน
รูปที่ 5 กราฟ กระแส–เวลา แสดงการท�ำงานของอุปกรณ์ GLD ที่กระแสความถี่ไฟฟ้าก�ำลัง 50 Hz
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ตารางที่ 1 การทดสอบอุปกรณ์ GLD ด้วยกระแสเสิร์จ ความชันหน้าคลื่นสูงตาม IEC 60099-4 (ต้องไม่ทำ� งาน) ความชันหน้าคลื่นทดสอบ ขนาดกระแสที่ทดสอบ จ�ำนวนครั้งที่ทดสอบ
2000 µs 8/20 µs 4/10 µs 250 A 10 kA 100 kA 18 ครั้ง 20 ครัง้ 2 ครั้ง
ตารางที่ 2 การทดสอบอุปกรณ์ GLD ด้วยกระแสที่ความถี่ ไฟฟ้าก�ำลัง 50 Hz ตาม IEC 60099-4 (ต้องท�ำงาน) กระแสที่ความถี่ 50 Hz เวลาที่ GLD ท�ำงาน
20 A 1 sec
200 A 800 A 0.07 sec 0.015 sec
หมายเหตุ IEC ไม่ได้ระบุระยะเวลาที่ GLD ท�ำงาน เวลาใน ตารางนี้อ้างอิงจากค่าที่นิยมใช้ในการออกแบบของผู้ผลิต
รูปที่ 6 แสดงการทดสอบและการท�ำงานของอุปกรณ์ GLD
ส� ำ หรั บ การทดสอบเพื่ อ ประเมิ น สมรรถนะ ของอุปกรณ์ GLD นั้นจะใช้การป้อนแรงดันไฟฟ้าขนาด 1.2 เท่าของพิกัดแรงดันไฟฟ้า (Ur) ของกับดักเสิร์จที่ ความถีไ่ ฟฟ้าก�ำลัง 50 Hz เป็นเวลานาน 1 นาที โดยขนาด ของตัวต้านทานในอุปกรณ์ GLD จะต้องจ�ำกัดไม่ให้กระแส ไหลผ่านดินระเบิดและระบบต่อลงดินเกินกว่า 1 mA ซึง่ ปกติตวั ต้านทานจะออกแบบให้มขี นาดประมาณ 22 kΩ
42
อย่างไรก็ตาม IEC 60099-4 มุ่งเน้นการก�ำหนด รายละเอียดของกับดักเสิร์จมากกว่าที่จะให้ความส�ำคัญ กับอุปกรณ์ GLD จึงท�ำให้อุปกรณ์ GLD ของบริษัท ผู้ผลิตแต่ละรายดังรูปที่ 7 มีลักษณะและประสิทธิภาพ ในการท�ำงานที่แตกต่างกัน และมักสร้างปัญหาในด้าน ความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า เนื่องจากในการติดตั้ง
ใช้งานจริงพบว่าบ่อยครัง้ ทีอ่ ปุ กรณ์ GLD ท�ำงานไม่สมบูรณ์ และไม่สามารถแยกกับดักเสิรจ์ ทีช่ �ำรุดออกจากระบบไฟฟ้า ได้ดังรูปที่ 8 ท�ำให้กลายเป็นต้นเหตุของความผิดพร่อง แบบถาวร และท�ำให้เกิดไฟฟ้าดับในวงกว้าง ในบางกรณี ยังพบว่าการท�ำงานของอุปกรณ์ GLD ช้ากว่าอุปกรณ์ ป้องกันที่อยู่เหนือขึ้นไป ทั้งนี้เป็นเพราะ IEC 60099-4 ก�ำหนดแต่เพียงกระแสทดสอบที่ 20 A, 200 A และ 800 A แต่ไม่ได้กำ� หนดระยะเวลาทีต่ อ้ งท�ำงาน ดังนัน้ ระยะเวลาที่ อุปกรณ์ GLD ท�ำงานจึงขึน้ อยูก่ บั บริษทั ผูผ้ ลิตเป็นผูก้ ำ� หนด ดังรูปที่ 5 ประกอบกับโดยทั่วไปแล้ววิศวกรที่ท�ำหน้าที่ ในการก�ำหนดค่าการท�ำงานของอุปกรณ์ป้องกันมักไม่ได้ ค� ำ นึ ง ถึ ง การจั ด ความสั ม พั น ธ์ ท างด้ า นกระแสระหว่ า ง อุปกรณ์ GLD และอุปกรณ์ปอ้ งกันจ�ำพวกฟิวส์ รีโคสเซอร์ หรือรีเลย์ที่สถานีไฟฟ้า ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาที่ทำ� ให้ อุปกรณ์ป้องกันท�ำงานก่อนอุปกรณ์ GLD และเป็นที่มา ของปัญหาความผิดพร่องแบบไม่ทราบสาเหตุในปัจจุบัน
ดังได้กล่าวแล้วว่าการท�ำงานของอุปกรณ์ GLD เพือ่ แยกกับดักเสิรจ์ ทีช่ ำ� รุดออกจากระบบไฟฟ้าต้องอาศัย ความร้อนที่เกิดจากกระแสที่ความถี่ไฟฟ้าก�ำลัง 50 Hz ไหลผ่านตัวต้านทานเพื่อท�ำให้ดินระเบิดท�ำงาน ดังนั้น การท�ำงานที่ไม่สมบูรณ์ของอุปกรณ์ GLD จึงขึ้นอยู่กับ สองปัจจัยนีเ้ ป็นส�ำคัญ การท�ำงานทีไ่ ม่สมบูรณ์ของอุปกรณ์ GLD มักเกีย่ วข้องกับการออกแบบ และเทคนิคการปิดผนึก ที่ ไ ม่ ส ามารถป้ อ งกั น ความชื้ น จากภายนอกจนท� ำ ให้ ดินระเบิดเกิดความเสียหาย (มาตรฐาน IEC 60099-4 ก�ำหนดให้มีการทดสอบ Moisture Ingress Test เฉพาะ กับดักเสิร์จเท่านั้น) นอกจากนั้นยังพบว่าภายหลังจากที่กั บ ดั ก เสิ ร ์ จ มีกระแสเสิร์จไหลผ่านหลายครั้งติดต่อกัน จนมีผลท�ำให้ ตัวต้านทานต้องท�ำงานหลายครั้งตามไปด้วย และหาก บริษัทผู้ผลิตเลือกประเภทของวัสดุที่ใช้ท�ำตัวต้านทาน ไม่เหมาะสมก็มผี ลท�ำให้ตวั ต้านทานช�ำรุดเสียหาย จนส่งผล ให้อปุ กรณ์ GLD ไม่ทำ� งานหรือท�ำงานไม่สมบูรณ์ได้เช่นกัน ดังนั้นในขั้นตอนการผลิตอุปกรณ์ GLD ควรท�ำการสุ่ม ตัวอย่างกับดักเสิร์จมาทดสอบ Operating Duty Test ด้วยกระแสเสิร์จความชันหน้าคลื่น 8/20µS ขนาด 10 kA จ�ำนวน 20 ครั้ง และทดสอบด้วยกระแสเสิร์จความชัน หน้าคลืน่ 4/10 µS ขนาด 100 kA จ�ำนวน 2 ครัง้ ซึง่ ภายหลัง การทดสอบตัวต้านทานในอุปกรณ์ GLD ต้องมีคา่ แตกต่าง จากค่าก่อนการทดสอบไม่เกิน 5% ซึ่งจากข้อมูลการใช้ งานจริงในต่างประเทศพบว่าตัวต้านทานที่มีส่วนผสมของ คาร์บอน (Carbon Composition Resistor) มีประสิทธิภาพ และทนทานมากกว่าตัวต้านทานชนิดฟิลม์ (Film Resistor)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 7 แสดงอุปกรณ์ GLD ของผู้ผลิตแต่ละราย
รูปที่ 8 แสดงการท�ำงานของอุปกรณ์ GLD ที่ไม่สมบูรณ์
รูปที่ 9 ตัวอย่างชนิดของตัวต้านทานในอุปกรณ์ GLD กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
43
ข้อสรุป
การท�ำงานที่ไม่สมบูรณ์ของกับดักเสิร์จในส่วนของ อุปกรณ์ GLD กลายเป็นปัญหาที่ท�ำให้ความน่าเชื่อถือ ของระบบไฟฟ้าลดลง แต่นั่นอาจเกิดจากความไม่ชัดเจน ของหน่วยงานมาตรฐานเองทีไ่ ม่มกี ารก�ำหนดรายละเอียด ของหัวข้อการทดสอบที่มากพอ ดังนั้นในส่วนของผู้ใช้งาน หรือบริษทั ผูผ้ ลิตอุปกรณ์ GLD ควรเพิม่ เติมหัวข้อทดสอบ อุปกรณ์ GLD ดังต่อไปนี้ - Time versus current curve test : ในขณะที่ IEC 60099-4 ยังไม่ได้กำ� หนดระยะเวลาส�ำหรับการท�ำงานของ อุปกรณ์ GLD ที่ค่ากระแส 20 A, 200 A และ 800 A ควรทดสอบหัวข้อนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลส�ำหรับใช้ในการจัด ความสัมพันธ์ระหว่างอุปกรณ์ GLD และระบบป้องกัน ทางด้านกระแสที่อยู่เหนือขึ้นไป - High lightning duty current impulse withstand test : เป็นการทดสอบความไวในการท�ำงานของอุปกรณ์ GLD โดยการป้อนกระแสเสิร์จให้ไหลผ่านกับดักเสิร์จ ซึ่งหากกับดักเสิร์จยังไม่เสื่อมสภาพหรือช�ำรุด อุปกรณ์ GLD จะต้องไม่มีการท�ำงาน มีผู้ผลิตต่างประเทศบางราย ใช้การป้อนกระแสเสิร์จที่ความชันหน้าคลื่น 30/80 µS ขนาดไม่ต�่ำกว่า 30 kA ส�ำหรับการทดสอบในหัวข้อนี้ จ�ำนวน 2 ครั้งต่อเนื่องกัน
- Repetitive surge withstand ability test : เป็นการทดสอบโดยป้อนแรงดันอิมพัลส์ทหี่ น้าคลืน่ 5-10 µS และต้องให้หางคลืน่ มีระยะเวลานานมากพอทีจ่ ะท�ำให้เกิด การสปาร์กผ่านช่องว่างอากาศ โดยใช้อมิ พัลส์ขนาด 1.2 เท่า ของแรงดันข้ามผ่านช่องว่างอากาศ จ�ำนวน 1,000 ครั้ง ซึง่ ต้องเว้นระยะเวลาในแต่ละครัง้ 50-60 วินาที หลังจากนัน้ จึงพิจารณาการเสื่อมสภาพของอุปกรณ์ GLD - Thermal pre-conditioning and water immersion test : เป็นการทดสอบความสามารถของอุปกรณ์ GLD ในการป้องกันความชื้นจากภายนอก - GLD resistance measurements : เป็นการ ทดสอบการเสื่ อ มสภาพของตั ว ต้ า นทานโดยการป้ อ น กระแสเสิร์จความชันหน้าคลื่นมาตรฐาน ซึ่งตัวต้านทาน ในอุปกรณ์ GLD ต้องมีค่าก่อนการทดสอบและค่าหลัง การทดสอบแตกต่างกันไม่เกิน 5% - Operating verification test : เป็นการทดสอบ ภายหลังจากทีท่ ดสอบด้วยกระแสอิมพัลส์แล้ว เพือ่ ตรวจสอบ ส่วนประกอบอื่น ๆ ของอุปกรณ์ GLD ว่ายังคงสามารถ ท�ำงานได้ตามปกติหรือไม่ โดยการป้อนกระแสขนาด 5 A ที่ความถี่ไฟฟ้าก�ำลัง 50 Hz ซึ่งอุปกรณ์ GLD ต้องท�ำงาน ที่เวลาน้อยกว่า 3 วินาที
ร า ส า ้ ฟ ไฟ เอกสารอ้างอิง [1] IEC 60099-4 “Specification for metal-oxide surge arrester without gap for a.c. systems”, 2004 [2] Dr. Hendri Geldenhuys & Mr. Rossouw Theron “Lightning surge arrester ground lead disconnectors: standard and reliability”, 2007 ประวัติผู้เขียน
รูปที่ 10 แสดงอุปกรณ์ GLD ท�ำงาน ในขณะที่กับดักเสิร์จยังอยู่ในสภาพปกติ
44
นายกิตติกร มณีสว่าง ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น และปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบัน ท� ำ งานในต� ำ แหน่ ง หั ว หน้ า แผนกวิ จั ย อุปกรณ์ไฟฟ้า กองวิจัย ฝ่ายวิจัยและ พัฒนาระบบไฟฟ้า การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ส�ำนักงานใหญ่
Communication Engineering & Computer ไฟฟ้าสื่อสารและคอมพิวเตอร์ นายรักชาติ นนทพันธ์ อีเมล : g5314503611@ku.ac.th
ประสบการณ์ในการออกแบบและติดตั้งระบบสื่อสาร
Master Radio
ในระบบ SCADA ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
ร า ส า ้ ฟ ไฟ บทความนี้น�ำเสนอระบบ Master Radio ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของระบบ SCADA ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยเริ่มการน�ำเสนอระบบ SCADA ในภาพรวม แล้วมุ่ง ประเด็นไปในส่วนการสือ่ สารทางคลืน่ วิทยุ และสุดท้ายน�ำ เสนอวิธีการออกแบบติดตั้งและปัญหาจากประสบการณ์ การท�ำงานทีเ่ กิดขึน้ พร้อมข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไข
ระบบ SCADA
ในอดี ต เมื่ อ เกิ ด ปั ญ หากระแสไฟฟ้ า ขั ด ข้ อ ง ทั้ ง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและการไฟฟ้านครหลวง ซึ่งเป็น หน่วยงานผู้ให้บริการพลังงานทั่วไปและการควบคุมระบบ จ�ำหน่ายไฟฟ้า จะให้หน่วยแก้กระแสไฟฟ้าขัดข้องหรือ ฮอตไลน์ ท�ำการปลด-สับ Load Break Switch (LBS) วิธกี าร นี้จะรู้ถึงปัญหาและแก้ไขได้อย่างล่าช้า รวมทั้งอาจก่อให้ เกิดอันตรายต่อผูป้ ฏิบตั งิ านได้งา่ ย ดังนัน้ ผูใ้ ห้บริการจึงได้ ปรับปรุงพัฒนาระบบการควบคุมการจ่ายไฟให้เป็นระบบที่ สามารถควบคุมและสั่งการด้วยคอมพิวเตอร์แทนการใช้ คนเป็นผู้ปฏิบัติงานทั้งหมด โดยระบบนี้สามารถควบคุม จากระยะทางไกล และตรวจสอบระดับ Demand ซึ่งหาก เพิ่มสูงจนถึงระดับที่ก�ำหนดก็สั่งตัดการจ่ายไฟให้แก่พื้นที่ หรือเครื่องจักรได้ ระบบนี้ยังรวมถึงการพัฒนาระบบงาน ประมวลผล จัดเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยระบบใหม่นี้ทำ� ให้ การควบคุมการจ่ายไฟฟ้า การถ่ายเทโหลด และการแก้ไข ไฟฟ้าขัดข้องคืนสภาพปกติได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น ระบบ
ดังกล่าวเรีย กว่า Supervisory Control And Data Acquisition หรือรู้จักกันทั่วไปว่า SCADA นั่นเอง SCADA เป็นระบบที่ท�ำหน้าที่ควบคุม สั่งการและ ดูแลสถานีไฟฟ้า ต้นทาง สายส่ง สถานีไฟฟ้าย่อย อุปกรณ์ ภายในระบบสายส่ง (Field Device) รวมถึงการจ่ายไฟฟ้า ให้กับผู้ใช้ไฟฟ้าโดยมีโปรแกรมประยุกต์ เช่น DMS ที่ท�ำ หน้าทีว่ เิ คราะห์สภาพการจ่ายพลังไฟฟ้า ตลอดจนช่วยผูส้ งั่ การระบบไฟฟ้าในการตัดสินใจแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ได้ นอกจากนี้ ระบบ SCADA ยังใช้งานอุตสาหกรรมอีก หลาย ๆ อย่าง เช่น การโทรคมนาคมสื่อสาร การบ�ำบัด น�ำ้ เสีย การจัดการด้านพลังงาน อุตสาหกรรมการกลัน่ น�ำ้ มัน และก๊าซ อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ การขนส่ง กระบวนการนิวเคลียร์ในโรงไฟฟ้า เป็นต้น
ระบบ SCADA นีไ้ ด้เข้ามาในประเทศไทยเป็นระยะ เวลา 10 กว่าปีแล้ว มีหน่วยงานราชการหลาย ๆ หน่วยงาน ได้น�ำมาใช้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการท�ำงาน เช่น การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) น�ำระบบ SCADA เข้ามาใช้สำ� หรับการควบคุมระบบท่อส่งก๊าซ การประปาใช้ ส�ำหรับควบคุมการจ่ายน�ำ้ ประปาเพือ่ ลดปริมาณน�ำ้ สูญเสีย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ก็ใช้สำ� หรับ ควบคุมการผลิตไฟฟ้าในเขือ่ นต่าง ๆ และสายส่ง การไฟฟ้า นครหลวง (กฟน.) ใช้สำ� หรับควบคุมการจ่ายไฟฟ้าส�ำหรับ กรุงเทพฯ และปริมณฑล กรกฏาคม - สิงหาคม 2555
45
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เป็นอีกหน่วยงาน หนึ่งที่ให้ความส�ำคัญกับปัญหาในการสั่งการระบบไฟฟ้า และปัญหาความล่าช้าในการแก้กระแสไฟฟ้าขัดข้องจึงได้ น�ำระบบ SCADA เข้ามาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุง ระบบการจ่ายไฟฟ้าอัตโนมัติ แต่อย่างไรก็ตาม กฟภ.มี พืน้ ทีใ่ ห้บริการทีค่ รอบคลุมพืน้ ทีก่ ว้าง กล่าวคือ ทัว่ ประเทศ ยกเว้น กรุงเทพฯ และเขตปริมณฑล การออกแบบระบบ SCADA ให้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดจึงท�ำได้ยาก และมี ปัจจัยทีต่ อ้ งพิจารณาหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การ ติดตั้งระบบสื่อสารให้ครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมด ซึ่งนับได้ ว่าเป็นหัวใจหลักของการท�ำงานของระบบ SCADA ที่จะ บรรลุผลส�ำเร็จ ในบทความนี้มุ่งประเด็นเรื่องการสื่อสาร ของระบบ SCADA ของ กฟภ.
Chiang Mai Udon Thani
Phisanulok Lop Buri Nakhon Pathom
Nakorn Ratchasima Pha Nakorn Si Ayutthaya
Phet Chaburi
Udon Ratchathani
Chonburi
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
โครงสร้างของศูนย์ควบคุมระบบ SCADA ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
Nakorn Si Thammarat
Yala
ระบบ SCADA ของการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ประกอบ ด้วยศูนย์ควบคุมระบบไฟฟ้ารวม 13 ศูนย์ ดังนี้ 1. ศูนย์สงั่ การระบบไฟฟ้า (ส�ำนักงานใหญ่) 1 ศูนย์ (System Management Center, SMC) รูปที่ 1 ศูนย์สั่งการระบบไฟฟ้า (ส�ำนักงานใหญ่) และ 2. ศูนย์ควบคุมการจ่ายไฟฟ้าเขต 12 ศูนย์ (Area ศูนย์ควบคุมการจ่ายไฟฟ้าเขต 12 ศูนย์ Distribution Dispatching Center, ADDC) - ภาคเหนือ : เชียงใหม่ (น.1), พิษณุโลก (น.2), ลพบุรี (น.3) - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : อุดรธานี (ฉ.1), การด�ำเนินงานของโครงการแบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้ อุบลราชธานี (ฉ.2), นครราชสีมา (ฉ.3) (1) โครงการติดตั้งระบบศูนย์สั่งการจ่ายไฟระยะที่ - ภาคกลาง : อยุธยา (ก.1), ชลบุรี (ก.2), 1 (คจฟ.1) ด�ำเนินการในปี 2543-2548 นครปฐม (ก.3) (2) โครงการติดตัง้ ระบบศูนย์สงั่ การจ่ายไฟระยะที่ - ภาคใต้ : เพชรบุรี (ต.1), นครศรีธรรมราช 2 (คจฟ.2) ด�ำเนินการในปี 2548-2553 (ต.2), ยะลา (ต.3) โดยแสดงในรูปที่ 2 ดังแสดงสรุปในรูปที่ 1
46
Chiang Mai Udon Thani
Phisanulok Lop Buri Nakhon Pathom
Nakorn Ratchasima Pha Nakorn Si Ayutthaya
Phet Chaburi
Udon Ratchathani
Chonburi
Nakorn Si Thammarat Yala
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 2 โครงการระยะที่ 1 และระยะที่ 2
สถาปัตยกรรมของการควบคุมสั่งการในระบบ SCADA
จากระบบในรูปที่ 3 จะเห็นว่าการท�ำงานต่าง ๆ ของ สื่อสารโดยเฉพาะระบบสื่อสารทางคลื่นวิทยุแล้ว ระบบ ระบบ SCADA จะท�ำงานผ่านระบบสื่อสารทั้งสิ้น ไม่ว่าจะ SCADA ก็จะไม่สามารถท�ำงานได้ ดังนั้นก่อนที่จะท�ำการ เป็นผ่านระบบสายหรือผ่านทางคลื่นวิทยุ ถ้าไม่มีระบบ ติดตัง้ ระบบ SCADA จ�ำเป็นต้องมีขนั้ ตอนในการออกแบบ ติดตั้งระบบสื่อสารทางคลื่นวิทยุ
รูปที่ 3 การท�ำงานของระบบ SCADA
กรกฏาคม - สิงหาคม 2555
47
โครงสร้างการเชือ่ มต่อระบบสือ่ สารเป็นไปตามรูปที่ 4 ศูนย์สงั่ การไฟฟ้า (ADDC ในรูป) อาจสือ่ สารกับอุปกรณ์ ปลายทาง (FRTU ในรูป) โดยตรงผ่านทางเครือข่าย GSM โดยตรง หรือสื่อสารผ่านทาง Base Station (SRTU ใน รูป) โดยใช้การเชื่อมต่อหลัก (Back Bone) ซึ่งมีรูปแบบ ได้หลายแบบ เช่น ระบบสือ่ สารไมโครเวฟ (DMRL) ระบบ สือ่ สารใยแก้วน�ำแสง (Optical Fiber) ระบบสือ่ สาร Trunk
Radio และระบบ Leased Line เป็นต้น ในกรณีที่ผ่าน ทาง SRTU จ�ำเป็นต้องใช้การเชื่อมต่อผ่านทางคลื่นวิทยุ ย่าน UHF หรือที่เรียกว่า Master Ratio (MARS) ดังแสดงไว้ในรูปที่ 4 ในส่วนต่อไปจะมุ่งไปสู่การเชื่อมต่อ ระหว่าง SRTU กับ FRTU ในแง่การออกแบบ ปัญหา และ แนวทางการแก้ไข
Remote Control Switch
Line Recloser
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
Automatic Voltage Regulator
GSM Modem
Capacitor Bank
13
รูปที่ 4 การเชื่อมต่อโดยใช้ระบบสื่อสารต่าง ๆ
การออกแบบ Base Station ส�ำหรับระบบสื่อสาร SCADA การออกแบบระบบสื่ อ สารทางคลื่ น วิ ท ยุ นี้ เ ริ่ ม ต้นด้วยการวิเคราะห์ Terrain Map ของพื้นที่ติดตั้ง (ตามรูปที่ 5) โดยการออกแบบให้ Base Station (ตาม รูปที่ 6) แต่ละที่ห่างกันประมาณ 30 km. และหาจุด ติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมเพือ่ ควบคุมอุปกรณ์ใน Field Device เช่น Capacitor AVR Recloser และ FS6 เป็นต้น เมือ่ น�ำ Terrain Map มาตรวจสอบหาจุดติดตัง้ ทีเ่ หมาะสม และก�ำหนดจุดต่าง ๆ ได้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็จะท� ำ การตรวจสอบจุดติดตั้งจริงเพื่อดูสภาพแวดล้อมของจุด ติ ด ตั้ ง ว่ า พื้ น ที่ เ ป็ น พื้ น อั บ สั ญ ญาณหรื อ ไม่ ทั้ ง นี้ เพื่ อ หลีกเลี่ยงการรื้อถอนอุปกรณ์ในภายหลัง
48
รูปที่ 5 แผนที่ Terrain Map ของจังหวัดภูเก็ต
เมือ่ ก�ำหนดจุดติดตัง้ ของ Base Station ก็จะท�ำการ วัดสัญญาณของจุดที่ติดอุปกรณ์ โดยใช้ Power Meter หรือ Hand-Held Remote Programming (ตามรูปที่ 7) การตรวจสอบคุณภาพสัญญาณแต่ละจุดว่าท�ำโดยดูจาก
ค่า Bit Error Rate, ค่า SNR และค่า RSSI ที่เหมาะสม กล่าวคือ RSSI อยู่ในช่วง -90 dBm ถึง -50 dBm และ SNR มากกว่า 15 dB เมื่อได้ตามข้อก�ำหนดข้างต้นแล้วก็ จะท�ำการติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุม เป็นอันเสร็จสิน้ การติดตัง้ ระบบสื่อสารทางวิทยุ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 6 Base Station ของ Master Radio และ Remote Radio
SERIAL NUMBER LABEL
LED INDICATORS (4)
EXTERNAL INTERFACE CONNECTOR (DB-25) DIAGNOSTICS CONNECTOR (RJ-11) 13.8 VDC POWER CONNECTOR
ANTENNA CONNECTOR (TYPE ‘N’)
รูปที่ 7 MDS Radio และตัววัดสัญญาณ Remote Programming
ปัญหาและแนวทางในการแก้ปัญหาในการออกแบบติดตั้ง จากประสบการณ์ ใ นการติ ด ตั้ ง สามารถจ� ำ แนก ปัญหาหลัก ๆ ที่พบบ่อยได้ดังนี้ 1. ปัญหาการออกแบบติดตั้ง MARS 1. ผู้ออกแบบไม่ได้ส�ำรวจจุดติดตั้งระบบจริง โดยศึกษาเพียงระบบ Terrain Map เมื่อมาติดตั้งจริงจะ พบว่ามีสิ่งก่อสร้างซึ่งไม่ปรากฏใน Map เช่น ตึกอาคาร ป้ายโฆษณา จะก่อให้เกิดเป็นจุดอับสัญญาณได้
2. จ�ำนวนของ Master Radio มีน้อยเกินไป ไม่ครอบคลุมอุปกรณ์ทุกตัว ท�ำให้ไม่สามารถใช้โปรแกรม ของระบบ SCADA ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. จ�ำนวนอุปกรณ์ที่ต้องการควบคุมการสั่งการ ผ่านระบบ SCADA ไม่ได้อยู่ภายในขอบเขตของสัญญาณ Master Radio ท�ำให้ต้องใช้หน่วยแก้กระแสไฟฟ้าขัดข้อง ด�ำเนินการ กรกฏาคม - สิงหาคม 2555
49
3. ปัญหาขั้นตอนการท�ำงานกับระบบ SCADA กับหน่วยแก้กระแสไฟฟ้าขัดข้อง อุปกรณ์บางตัวไม่จำ� เป็นต้องท�ำงานผ่านระบบ SCADA แต่เนื่องจากมีอุปกรณ์ควบคุมใกล้กับ Master Radio ท�ำให้ต้องด�ำเนินการติดตั้งไปก่อน เพื่อรอติดตั้ง Master Radio ในอนาคต และจะท�ำการย้ายจุดติดตัง้ ใหม่ จึ ง ท� ำ ให้ อุ ป กรณ์ ที่ จ� ำ เป็ น ในการใช้ ง านไม่ ส ามารถท� ำ การติดตัง้ ได้ ท�ำให้ไม่สามารถสัง่ การอุปกรณ์ตวั ทีจ่ ำ� เป็นได้ เป็นเหตุให้หน่วยแก้กระแสไฟฟ้าขัดต้องขับรถแก้กระแส ไฟฟ้าในระยะทางที่ไกลเท่าเดิม ข้อเสนอแนะและแนวทางในการแก้ปัญหา ปัญหาข้อนี้เป็นเรื่องที่มีความส�ำคัญมากส�ำหรับ ความรวดเร็วในการปลดสับสวิตช์ แต่ว่าต้องลงทุนเป็น จ�ำนวนมากในการด�ำเนินการเพราะต้องออกแบบระบบ ให้ครอบคลุมทั้งต้นทางและปลายทาง ซึ่งเป็นไปได้ยาก 2. ปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบ SCADA กับระบบ แต่ก็เป็นไปได้ ถ้าเราเน้นการท�ำงานของระบบโดยไม่มอง Master Radio การลงทุน ตอนนี้ทางหน่วยงานก็เล็งเห็นในจุดนี้จึงคิดค้น 1. จ�ำนวนอุปกรณ์ควบคุมของ Master Radio มี การควบคุมผ่านระบบโทรศัพท์มอื ถือมาใช้เป็นการชัว่ คราว จ�ำนวนมากเกินไป ท�ำการ Polling แต่ละครั้งใช้เวลานาน เพื่อลดการเดินทางในการท�ำงานและลดต้นทุนทางส่วนนี้ บางอุปกรณ์ต้องใช้เวลาการสั่งการเกิน 1 นาที ท�ำให้ล่าช้า มากหากต้องการโอนย้ายโหลดเมื่อมีกระแสไฟฟ้าขัดข้อง บทสรุป 2. Master Radio ไม่สามารถติดตั้งบริเวณ ปัญหาของการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคกับระบบ SCADA ที่ต้องการควบคุมอุปกรณ์ได้ เนื่องจากระบบ SCADA มีฟังก์ชัน FISR ซึ่งจะด�ำเนินการปิด-เปิดอุปกรณ์โดย จากที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น ผู ้ อ ่ า นคงเห็ น แล้ ว เมื่ อ การวาง อัตโนมัติ เมื่อไม่สามารถควบคุมทุกอุปกรณ์ได้ทุกตัว โครงสร้างของระบบสื่อสารอย่างไม่มีประสิทธิภาพแล้วจะ เกิดอะไรขึน้ บ้าง จากโครงการในระยะที่ 1 ซึง่ เป็นโครงการ จะท�ำให้ฟังก์ชันการท�ำงานไม่สามารถท�ำงานได้ น� ำ ร่ อ งของการติ ด ตั้ ง ระบบ SCADA ของการไฟฟ้ า ข้อเสนอแนะและแนวทางในการแก้ปัญหา เนื่องจากปัญหาจ�ำนวนอุปกรณ์ควบคุมมากเกิน ส่วนภูมิภาค มีการติดตั้งระบบสื่อสารและระบบอื่น ๆ นั้น ไปใน Master Radio ก็ต้องท�ำการแก้ไขโดยการเพิ่ม ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ห ลายจั ง หวั ด ท� ำ ให้ ก ารติ ด ตั้ ง Base จ�ำนวน Master ได้เพียงอย่างเดียว อีกประการหนึ่งที่ทำ� Station ของ Master Radio ไม่เพียงพอต่อจ�ำนวนอุปกรณ์ คือพยายามกระจายอุปกรณ์ให้ไปรับสัญญาณจาก Master และผู้ปฏิบัติขาดประสบการณ์ในการติดตั้งระบบ ท�ำให้ Radio ที่อยู่ใกล้กัน แต่วิธีหลังอาจจะท�ำให้มีปัญหาในการ เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาอย่างมากมาย ซึง่ การแก้ไขระบบ ให้ดีขึ้นต้องใช้เวลามากกว่าการติดตั้งระบบที่ดีเป็นอย่าง ตรวจสอบรหัสสั่งการได้ถ้าไม่รอบคอบ ฟังก์ชันของ FISR ตอนนี้หน่วยงานได้แก้ไขโดย มาก ดังนั้นเมื่อเจอบทเรียนจากโครงการในระยะที่ 1 แล้ว พยายามท�ำให้เป็นวงจรเล็ก ๆ ก่อน จะเป็นการควบคุม โครงการในระยะที่ 2 ต้องดีขึ้นกว่าเดิมแต่อาจจะซ�ำ้ รอย กึ่ ง อั ต โนมั ติ เพื่ อ ท� ำ การทดลองฟั ง ก์ ชั น ต่ า ง ๆ แล้ ว เดิมได้ ถ้าผู้ปฏิบัติขาดความรับผิดชอบและไม่ศึกษาจาก ค่อย ๆ เพิ่มวงจรเข้าไปเรื่อย ๆ จนกลายเป็นฟังก์ชันที่ ระบบเดิมที่เกิดปัญหาขึ้นอาจท�ำการแก้ระบบเป็นระยะ เวลานานเหมือนโครงการแรกหรือมากกว่าก็เป็นได้ ดังนัน้ สมบูรณ์ และจะท�ำการสั่งการเป็นแบบอัตโนมัติต่อไป เพื่อให้การด�ำเนินงานให้ระบบดีขึ้น บทความนี้เป็นส่วน หนึ่งที่ชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และแนวทางการแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ ส�ำหรับผู้ปฏิบัติ
ข้อเสนอแนะและแนวทางในการแก้ปัญหา จากการติดตั้งจริงของระบบการส� ำรวจจุดติดตั้ง เป็นสิ่งส�ำคัญมาก ดังนั้นทางหน่วยงานได้มองเห็นถึง ความส�ำคัญของปัญหาดังกล่าว ก่อนที่ท�ำการติดตั้งจริงจึง มีการวัดค่าสัญญาณจุดติดตัง้ อุปกรณ์พร้อมทัง้ ด�ำเนินการ Mapping ค่าที่วัดได้ลงใน Terrain Map ไว้เป็นข้อมูลเพื่อ พิจารณาการติดตั้ง ปัญหาของ Master Radio ไม่เพียงพอ เนื่องจาก จ�ำนวนอุปกรณ์มีน้อยและความถี่ที่ขอให้ กทช.จัดสรรมา ให้มนี อ้ ยเกินไป การแก้ไขประการแรกท�ำได้โดยการจัดซือ้ เพิ่มเติม ส่วนเรื่องความถี่เพื่อกันไม่ให้ความถี่รบกวนกัน เมื่อเพิ่มปริมาณ Base Station อาจจะท�ำการลด Power ของตัวส่งให้มคี า่ น้อยลง ปัญหานีส้ ามารถแก้ไขได้ในระดับ หนึ่งเท่านั้น
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
50
Communication Engineering & Computer ไฟฟ้าสื่อสารและคอมพิวเตอร์ นายกิตติวัฒน์ ศรีวิลาศ อีเมล : k_srivilas@hotmail.com
ระบบ SCADA และ DMS กับการพัฒนาต่อยอดไปสู่ Smart Grid ในอนาคตอันใกล้การจัดสรรพลังงานระหว่างผู้ให้ บริการพลังงานไฟฟ้ากับผู้บริโภคอย่างเรา ๆ ท่าน ๆ จะ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เราสามารถเลือกซื้อพลังงาน ไฟฟ้าได้แบบเหมาจ่ายหรือเติมเงินตามช่วงเวลาทีต่ อ้ งการ ใช้งาน สามารถเลือกโปรโมชันการใช้พลังงานได้หลาย รูปแบบจากผู้ให้บริการ ครัวเรือนที่ติดตั้งแหล่งก�ำเนิด พลังงานสะอาดอย่างแผงพลังงานแสงอาทิตย์ ก๊าซชีวมวล หรือกังหันลม สามารถขายไฟฟ้าให้กับผู้ให้บริการได้หาก มีพลังงานเหลือใช้ อีกทั้งผู้ใช้ไฟฟ้ายังตรวจสอบการใช้ พลังงานไฟฟ้าของครัวเรือนของตนได้แบบเรียลไทม์ และ สามารถทราบราคาค่าไฟฟ้า ณ ขณะนัน้ เพือ่ เลือกทีจ่ ะเปิด เครื่องใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลาที่ค่าไฟฟ้าถูกกว่า ท�ำให้ควบคุม ค่าใช้จ่ายและลดการใช้พลังงานได้ สิ่งเหล่านี้จะไม่ใช่ ความฝันอีกต่อไป มันสามารถเกิดขึน้ ได้จริงด้วยเทคโนโลยี ที่เรียกว่า Smart Grid หรือโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ
5. จัดสรรพลังงานไฟฟ้าที่ได้คุณภาพและมีความ ปลอดภัยต่อการด�ำเนินการส่งจ่าย 6. มีคา่ ใช้จา่ ยในการด�ำเนินการและการบ�ำรุงรักษา ต�ำ่ และ 7. ช่ ว ยลดปั ญ หาการสู ญ เสี ย ทางด้ า นเทคนิ ค เป็นต้น แต่การที่จะได้มาซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้ โครงข่าย ไฟฟ้าอัจฉริยะ Smart Grid จ�ำเป็นต้องได้รับการออกแบบ และพัฒนามาเป็นอย่างดี ค�ำถามคือ เราจะสามารถปฏิรปู โครงข่ายไฟฟ้าแบบดัง้ เดิมซึง่ ไม่สอดคล้องหรือรองรับความ สามารถต่าง ๆ ข้างต้นได้อย่างไร บทความนี้จะกล่าวถึง การพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้าแบบดั้งเดิมที่มีการใช้งานระบบ SCADA ว่า จะสามารถพัฒนาต่อยอดไปสู่ Smart Grid ได้อย่างไร
แม้ว่าในปัจจุบันเรายังไม่สามารถที่จะระบุได้อย่าง ชัดเจนว่า Smart Grid ในอนาคตจะเกิดจากการผนวก รวมด้วยเทคโนโลยีใดบ้าง แต่เราสามารถที่จะประมวล คุณสมบัติของ Smart Grid ได้ โดยสิ่งที่เราคาดหวังจาก การใช้งาน Smart Grid นั้น เช่น 1. ระบบเครือข่ายสามารถแก้ไขสภาวะขัดข้องกลับ สู่ปกติได้ด้วยตนเอง (Autonomous Restoration) 2. มีศกั ยภาพด้านความปลอดภัยสูงทัง้ ทางกายภาพ และทางไซเบอร์ 3. สามารถรองรับแหล่งพลังงานแบบกระจายศูนย์ (เช่น Distributed Generation, Distribution Storage) ได้ 4. รองรับแหล่งพลังงานสะอาด
ระบบ SCADA และ DMS
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ในปั จ จุ บั น ระบบทางด้ า นอุ ต สาหกรรมและงาน วิศวกรรมที่ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ติดตั้งใช้งาน ตามสถานีลูกข่ายอยู่เป็นจ�ำนวนมาก มีระบบศูนย์ควบคุม กลาง และจ�ำเป็นต้องติดต่อสื่อสารกับอุปกรณ์ทั้งหมดใน ระบบ โดยเฉพาะโครงข่ายไฟฟ้าแบบดัง้ เดิมแล้ว มีการน�ำ ระบบ SCADA เข้ามาใช้งานอย่างกว้างขวาง
SCADA (Supervisory Control And Data Acquisition) เป็นระบบตรวจสอบและวิเคราะห์ขอ้ มูลแบบ Real-time ใช้ในการตรวจสอบสถานะ ตลอดจนสามารถ กรกฏาคม - สิงหาคม 2555
51
ควบคุมการท�ำงานของอุปกรณ์ในระบบ ส�ำหรับระบบ SCADA ในงานให้บริการพลังงานไฟฟ้านั้นใช้สำ� หรับการ มอนิเตอร์, ควบคุมและสั่งการ, อุปกรณ์ในสถานีไฟฟ้า และในระบบจ�ำหน่าย ซึ่งอยู่ห่างไกลจากศูนย์สั่งการได้ ด้วยการเชือ่ มต่อของระบบสือ่ สาร และระบบคอมพิวเตอร์ ในการควบคุ ม อุ ป กรณ์ เมื่ อ เกิ ด กระแสไฟฟ้ า ขั ด ข้ อ ง เจ้าหน้าที่ ณ ศูนย์สงั่ การจะสามารถรูต้ ำ� แหน่งไฟฟ้าขัดข้อง และสามารถสั่งจ่ายไฟจากวงจรข้างเคียงให้กับผู้ใช้ไฟ
ส่วนใหญ่ได้ทันที ระบบพื้นฐานหลักส�ำหรับการท�ำงาน ของศูนย์ควบคุมสั่งการ (Control Center) ของ SCADA เรียกว่า ระบบบริหารการจ�ำหน่ายไฟฟ้า หรือ ระบบ DMS (distribution management system) ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ฟังก์ชันหลัก ดังต่อไปนี้ 1) ฟังก์ชันมาตรฐานของระบบ SCADA ส�ำหรับระบบส่งจ่ายกระแสไฟฟ้า 2) ระบบ ควบคุมการจ่ายไฟฟ้าอัตโนมัติ (Distribution Automation System : DAS) และ 3) ฟังก์ชันสนับสนุนระบบควบคุม การจ่ายไฟ (Supporting Function)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 1 ระบบ SCADA ซึ่งประกอบไปด้วย ศูนย์สั่งการ, สถานีแม่ข่าย และอุปกรณ์ลูกข่าย
ความส�ำคัญของระบบ SCADA ต่อการพัฒนาไปสู่ Smart Grid จากการส�ำรวจวิจัยตั้งแต่ ค.ศ. 2008 ถึง ค.ศ. 2010 โดย Newton-Evans (Newton-Evans Research Company บริษทั ส�ำรวจข้อมูลแบบ Business-to-Business ที่เน้นงานทางด้านอุตสาหกรรม, เทคโนโลยีสารสนเทศ, และโครงสร้างพื้นฐานส�ำหรับ Smart Grid) ได้ข้อสรุปที่ เป็นที่ยอมรับอย่างเป็นทางการว่า ระบบ SCADA, ระบบ การจัดการพลังงาน (Energy Management Systems : EMS), และระบบควบคุมทางด้านพลังงานนัน้ มีสว่ นส�ำคัญ เป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเทคโนโลยี Smart Grid โดย ผลส�ำรวจระบุว่าหน่วยงานราชการต่าง ๆ ของประเทศ
52
สหรั ฐ อเมริ ก าที่ ด� ำ เนิ น การพั ฒ นา Smart Grid นั้ น การจัดสรรงบประมาณส�ำหรับศูนย์ควบคุมสัง่ การทางด้าน การอัปเกรดระบบควบคุม และการจัดซื้อระบบใหม่ ๆ นั้ น มี ค วามส� ำ คั ญ เป็ น ล� ำ ดั บ ที่ 2 รองจากการจั ด สรร งบประมาณตามแผนงานส�ำหรับติดตั้งระบบ Advanced Metering Infrastructure (AMI) ในขณะที่ข้อมูลจาก การส� ำ รวจกลุ ่ ม International Community พบว่ า การวางแผนการด� ำ เนิ น การส� ำ หรั บ ระบบศู น ย์ ค วบคุ ม สัง่ การนัน้ มีความส�ำคัญมากกว่าการด�ำเนินการด้าน AMI และ AMR (automated meter reading) จากข้อมูลทีก่ ล่าว
มา แสดงให้เห็นว่าความส�ำคัญของศูนย์ควบคุมสัง่ การของ ระบบ SCADA นั้นมีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับ การพัฒนา Smart Grid เลยทีเดียว ในการด�ำเนินการพัฒนา Smart Grid นัน้ โครงข่าย ไฟฟ้าแบบดั้งเดิมที่ได้รับการบูรณาการระบบ SCADA แล้วนัน้ จะมีอปุ กรณ์จำ� นวนมากมีความสามารถรองรับการ ส่งผ่านข้อมูลในระบบดิจิทัล ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ในสถานี ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในระบบจ�ำหน่าย จะมีเทคโนโลยี Sensor ติดตั้งใช้งาน การส่งผ่านข้อมูลของอุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ ผนวกรวมกับข้อมูลใหม่ ๆ ทีจ่ ำ� เป็นต่อ Smart Grid (เช่น ข้อมูลจากมิเตอร์จ�ำนวนมหาศาล) ข้อมูลทั้งหมดจะ ถูกส่งไปยังศูนย์ควบคุมสั่งการ เพื่อให้ยูทิลิตี้ของระบบน�ำ ข้อมูลที่ได้ไปประมวลผล เพื่อกระท�ำการต่าง ๆ ตามแต่ ประเภทของข้อมูล เช่น ค�ำนวณสถานะการส่งจ่ายก�ำลัง ไฟฟ้าในสายส่ง, ค�ำนวณหาต�ำแหน่งไฟฟ้าขัดข้อง เป็นต้น อุปกรณ์หลาย ๆ ตัวที่เป็นอุปกรณ์รุ่นใหม่ที่เกิดขึ้นเพื่อ รองรับ Smart Grid โดยเฉพาะนั้นมีความสามารถที่จะ ส่งข้อมูลไปยังหลาย ๆ ระบบ (Multi Systems) ได้ใน เวลาเดียวกัน (ระบบเหล่านี้รวมถึงระบบที่ท�ำงานเฉพาะ อย่างด้วย เช่น Protection and Control, Meter Data Management ทว่าการส่งผ่านข้อมูลของระบบ SCADA, ระบบ DMS, และระบบ EMS นั้นมีลักษณะการส่งผ่าน ข้อมูลแบบเป็นล�ำดับขัน้ ตอน (Data Flows) ซึง่ ไม่สามารถ ส่งข้อมูลแบบ Multi Systems ที่ใช้ใน Smart Grid ได้ หากไม่ได้รับการอัปเกรด
ระบบบริ ห ารการจ� ำ หน่ า ยไฟฟ้ า เพื่ อ การ รองรับ Smart Grid ระบบบริหารการจ�ำหน่ายไฟฟ้าซึง่ เป็นระบบพืน้ ฐาน หลักของระบบ SCADA เป็นองค์ประกอบส�ำคัญหลัก ของเทคโนโลยี Smart Grid ส�ำหรับจัดสรรแอปพลิเคชัน ต่ า ง ๆ ทางด้ า นการบริ ห ารการจ� ำ หน่ า ยไฟฟ้ า โดย แอปพลิเคชันของระบบบริหารการจ�ำหน่ายไฟฟ้าที่ส�ำคัญ ต่อ Smart Grid มีดังนี้ - Geographic schematics for distribution feeder map displays - Relational databases with SQL access - Basic outage analysis - Interface to customer information systems (CIS) - Mobile data systems for utility crews - Crew scheduling to aid dispatch for outage work - Work order system interfaces
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ดั งนั้ น การจะขั บ เคลื่ อนระบบ SCADA, DMS, และ EMS ไปสู่ Smart Grid ได้นั้นจ�ำเป็นต้องมีค่าใช้จ่าย ส�ำหรับการอัปเกรดแอปพลิเคชันซอฟต์แวร์ใหม่ ๆ และ เครื่องมือที่มีความสามารถมากขึ้นกว่าเดิม เพื่อชดเชย ช่องว่างของอายุเทคโนโลยีของระบบเดิมทีต่ ดิ ตัง้ ไปแล้ว ใน ขณะที่ระบบบริหารไฟฟ้าขัดข้อง (Outage Management System : OMS) ซึ่งเป็นระบบที่โดยทางเทคนิคแล้วไม่ ได้ขึ้นกับระบบศูนย์ควบคุมสั่งการ จะมีความสอดคล้อง และพัฒนาต่อยอดเพื่อผนวกรวมเข้ากับ Smart Grid ได้ ง่ายกว่า
ซึ่งการรองรับ Smart Grid นั้นระบบบริหารการ จ�ำหน่ายไฟฟ้าจ�ำเป็นต้องเพิ่มแอปพลิเคชันใหม่ ๆ เข้าไป โดยจะมุ ่ ง เน้ น ไปที่ แ อปพลิ เ คชั น มิ เ ตอร์ ไ ฟฟ้ า อั จ ฉริ ย ะ (AMI), การจ่ายไฟฟ้าอัตโนมัติ (Distribution Automation), การวิเคราะห์ระบบจ�ำหน่าย (Distribution Analysis) และ ระบบบริหารไฟฟ้าขัดข้อง (Outage Management) เป็น หลัก โดยแอปพลิเคชันต่าง ๆ เหล่านี้ ได้แก่ AMI, AMR integration for outage detection, Interface from OMS to SCADA for real-time updates, Additional distribution automation (fault detection, isolation and service restoration) เป็นต้น นอกจากแอปพลิเคชันหลัก ๆ ทางด้านการวิเคราะห์ ระบบจ�ำหน่ายทั้งหลายดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังสามารถ เพิม่ เติมแอปพลิเคชันทางด้านการวิเคราะห์ระบบจ�ำหน่าย ลัดวงจร (Short Circuit Analysis) และซอฟต์แวร์ทางด้าน Balance Load Flow ซึ่งประกอบไปด้วยแอปพลิเคชัน ต่าง ๆ ดังนี้
กรกฏาคม - สิงหาคม 2555
53
1. Three-Phase Unbalanced Load Flow Studies 2. Feeder Voltage Optimization 3. Distribution Load Forecasting Tools 4. VAR Flow Analysis และ 5. Distribution model load allocation ได้อีกด้วย
ระบบควบคุ ม การจ่ า ยไฟฟ้ า อั ต โนมั ติ เ พื่ อ การรองรับ Smart Grid
ระบบควบคุ ม การจ่ า ยไฟฟ้ า อั ต โนมั ติ ข องระบบ SCADA นั้น มีศักยภาพในการส่งผ่านข้อมูลได้อย่าง รวดเร็ว สัมพันธ์กบั สภาวะคงตัวของการส่งจ่ายก�ำลังไฟฟ้า (Steady State Distribution Power Operation) ท�ำให้ Smart Grid พัฒนาได้จากการผนวกเพิ่มความสามารถ ใหม่ ๆ ลงไปในแอปพลิเคชันของระบบควบคุมการจ่าย ไฟฟ้าอัตโนมัติ โดยความสามารถเหล่านี้ ได้แก่ Integrate Volt/Var Control : IVVR และ Detection and isolation of faults at the feeder level : FDIR/FLISR
รูปที่ 2 Smart Grid จากการผนวกรวมกันของระบบ DMS, ระบบ DAS และระบบ OMS
บทสรุป
ระบบ SCADA นั้นสามารถขยายขอบเขตความ สามารถ เพื่อให้สอดรับกับความต้องการ การจัดสรร พลังงานอย่างชาญฉลาด เพื่อก้าวไปสู่ค�ำจ�ำกัดความใหม่ ค�ำว่า “Smart Grid” ได้อย่างเต็มภาคภูมิ เมื่อการใช้งาน แอปพลิ เ คชั น ต่ า ง ๆ เกิ ด จากการผนวกรวมกั น ของ 1) ระบบบริหารการจ�ำหน่ายไฟฟ้า DMS 2) ระบบควบคุม การจ่ายไฟฟ้าอัตโนมัติ DAS และ 3) ระบบบริหารไฟฟ้า ขัดข้อง OMS กลายเป็นฟังก์ชันที่เหมาะสมส�ำหรับระบบ ระบบบริหารไฟฟ้าขัดข้องเพื่อการรองรับ ศูนย์ควบคุมสั่งการและเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ สามารถ Smart Grid มอนิเตอร์และสั่งการได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เหล่านี้ เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่า บทบาทของระบบ ระบบบริหารไฟฟ้าขัดข้อง เป็นกลุ่มของแอปพลิเคชัน SCADA ยังคงเป็นหัวใจส�ำคัญหลักส�ำหรับการก้าวสู่ Smart พื้นฐานที่ใช้ส�ำหรับแจ้งให้ระบบควบคุมและปฏิบัติการ Grid ต่อไปในอนาคต ได้ ท ราบข้ อ มู ล และลัก ษณะของเหตุก ารณ์ไฟฟ้า ดับใน ระบบจ�ำหน่าย ต�ำแหน่งทีเ่ กิดไฟฟ้าขัดข้อง หรือแม้กระทัง่ เอกสารอ้างอิง [1] Charles W. Newton, Newton-Evans Research สามารถบ่งบอกถึงสาเหตุไฟฟ้าขัดข้องได้ นอกจากนี้ยัง Company, Inc., “Better Leverage SCADA: Systems Expand สามารถแนะน�ำเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารให้กระท�ำการอย่างใด to Support New Challenges and Needs”, April 2010 อย่างหนึ่งเพื่อแก้ไขสถานการณ์นั้น ๆ ได้อีกด้วย ฟังก์ชัน ของระบบบริหารไฟฟ้าขัดข้องที่จะท�ำงานได้สมบูรณ์แบบ นั้น ขึ้นอยู่กับการเชื่อมโยงข้อมูลที่กระชับแน่นระหว่าง 3 ระบบหลัก อันประกอบไปด้วย 1) ระบบ SCADA ประวัติผู้เขียน นายกิตติวัฒน์ ศรีวิลาศ 2) ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (Geographic Information ท�ำงานให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ประมาณ 9 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. System : GIS) และ 3) ระบบเชื่อมต่อข้อมูลของลูกค้า 2545 จนถึงปัจจุบัน รับผิดชอบงานในแผนกระบบสื่อสาร (Customer Information System : CIS) กองควบคุมและบ�ำรุงรักษา ฝ่ายปฏิบัติการเครือข่าย เขต 3
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ภาคกลาง จังหวัดนครปฐม
54
Communication Engineering & Computer ไฟฟ้าสื่อสารและคอมพิวเตอร์
ในแวดวง ICT :
แนวโน้มโทรคมนาคม
นายสุเมธ อักษรกิตติ์ อีเมล : sumeth.aksorn@gmail.com
(ตอนที่ 3)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ปัจจุบนั วงการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร โทรคมนาคม (ICT) ของประเทศไทยได้กา้ วสูย่ คุ ทีจ่ ะมีการ แข่งขันเสรี และเป็นธรรมอย่างเต็มรูปแบบ เนื่องจากได้ สรรหาคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) จ�ำนวน 11 คน เรียบร้อยแล้ว โดยได้มีการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเมื่อ วันที่ 8 ตุลาคม 2554 คณะกรรมการชุดนี้ตั้งขึ้นตาม เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และก�ำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 มีอำ� นาจ หน้าที่ในการจัดสรรคลื่นความถี่ส�ำหรับกิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ก�ำหนด มาตรฐานทางเทคนิค พิจารณาน�ำเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้ และออกระเบียบหลักเกณฑ์การขออนุญาตประกอบ กิจการดังกล่าว ตลอดจนเป็นหน่วยงานที่ต้องก�ำกับดูแล การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคม ด้วยความโปร่งใสและเป็นธรรม จะเห็นได้ว่าก่อนหน้านี้ประเทศไทยได้เตรียมที่จะเปิด ประมูลคลื่นความถี่ 3G เพื่อใช้ในกิจการโทรคมนาคม แต่ ต้องมีอันเป็นไป เนื่องจากมีการตีความว่าคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคม (กทช.) ชุดที่ผ่านมาไม่สามารถ ด�ำเนินการได้เพราะขัดต่อกฎหมาย ดังทีท่ ราบแล้ว ดังนัน้ เมื่อมีการแต่งตัง้ คณะกรรมการ กสทช.แล้ว หวังว่าวงการ สื่อสารโทรคมนาคมไทยจะสามารถขับเคลื่อนและพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐาน โดยการน�ำเทคโนโลยีที่คุ้มค่ามาใช้เพื่อ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และสามารถรองรับบริการและ ธุรกิจใหม่ ๆ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต พัฒนาเศรษฐกิจ และการศึกษาต่อไปในอนาคต
เราทราบแล้วว่าระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้เริ่มต้น ตัง้ แต่ยคุ ที่ 1 หรือ 1G ซึง่ เป็นระบบอนาล็อก และส่วนใหญ่ ใช้ในการติดต่อสื่อสารโดยเสียงอย่างเดียว และได้พัฒนา รูปแบบการสื่อสารมาโดยตลอด ดังแสดงในรูปที่ 1 ต่อมา ยุค 2G ซึ่งเป็นการก้าวสู่ช่วงแรกของยุคดิจิทัล เรายังคง ใช้เสียงในการติดต่อสื่อสารประมาณ 80% และสามารถ ใช้รับ-ส่งข้อมูลขนาดเล็ก เช่น SMS, MMS ได้ มีการน�ำ Wireless Application Protocol (WAP) มาใช้ ซึ่งอาจ สรุปได้ว่ามีการใช้ในการรับ-ส่งข้อมูลและมัลติมีเดียขนาด เล็กประมาณ 20% สามารถให้ความเร็วในการรับ-ส่ง ข้อมูลประมาณ 14.4-115 kbps ยุค 2G นี้สามารถแบ่ง ย่อยเป็น 2.5G และ 2.75G ขึ้นอยู่กับความเร็วของการ รับ-ส่งข้อมูลและเทคโนโลยีทพี่ ฒ ั นามาใช้งาน เช่น General Packet Radio Services (GPRS) และ Enhance Data rate for Global Evolution (EDGE) ซึ่งสามารถรับ-ส่ง ข้อมูลได้ประมาณ 3-400 kbps ส�ำหรับยุค 3G ปัจจุบัน ผูป้ ระกอบการโทรศัพท์เคลือ่ นทีบ่ างรายเปิดให้บริการโดย พัฒนาต่อยอดบนความถี่เดิม เนื่องจากไม่สามารถเปิด ประมูลคลื่นความถี่สำ� หรับ 3G ที่อยู่ในช่วง 1900-2100 MHz ได้ดังกล่าวแล้ว อย่างไรก็ตามคาดว่าภายใต้การ กรกฏาคม - สิงหาคม 2555
55
ก�ำกับดูแลของ กสทช.ชุดนีน้ า่ จะเปิดประมูลได้ภายในเวลา อันใกล้นี้ ในยุค 3G มีการใช้การสือ่ สารทัง้ แบบเสียง ข้อมูล และมัลติมีเดีย หรือที่เรียกว่า “Triple play” โดยส่วนใหญ่ จะเน้นในเรื่องของ web Browsing, Messaging, Social networking เล่นเกม ดาวน์โหลดเพลง ภาพยนตร์ และ ดูทีวีออนไลน์ ส�ำหรับการให้บริการ 3G ในประเทศไทย นั้นผู้ให้บริการหลายรายระบุว่าสามารถให้ความเร็วเฉลี่ย ประมาณ 7.2 Mbps ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีและสภาพ การใช้งาน จะเห็นว่ามีการใช้การสือ่ สารด้วยเสียงประมาณ 20% และใช้ในการรับ-ส่งข้อมูลและมัลติมีเดียอีกอย่าง ละประมาณ 40% ส�ำหรับยุค 4G ปัจจุบันหลายประเทศ เริ่มทดลองและเปิดให้บริการในเชิงพาณิชย์แล้วโดยใช้ เทคโนโลยี LTE (Long Term Evolution) สามารถรองรับ
ความเร็วทางทฤษฎีได้หลายร้อย Mbps ซึ่งจะได้กล่าว ในรายละเอียดต่อไป โครงข่าย 4G นี้เป็นเทคโนโลยีที่ ออกแบบไว้รองรับ Traffic ของข้อมูลประเภทมัลติมีเดีย HD TV และ Video streaming ซึง่ ต้องใช้ความเร็วสูง และ เป็น IP based network ที่ยังมีข้อจ�ำกัดในการใช้ Voice บนโครงข่ายดังกล่าว และยังจะต้องมีปรับปรุงและพัฒนา ในเรื่องของการใช้เสียงบนโครงข่ายนี้ต่อไป ดังนั้นจะเห็น ว่าในยุค 4G รูปแบบของการสื่อสารจะเน้นในเรื่องของ Mobile broadband application, Mobile internet และ Mobile commerce ตลอดจนความบันเทิงทุกรูปแบบที่อยู่ ในรูปข้อมูลและมัลติมีเดียประมาณ 95% และเสียงเพียง 5% (ตามรูปที่ 1)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 1 พัฒนาการของรูปแบบการสื่อสารในโครงข่ายโทรคมนาคมของแต่ละยุค
LTE เป็นมาตรฐานของกลุ่ม 3GPP (3rd Generation Partnership Project) เป็นมาตรฐานใหม่ข องระบบ โทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคที่ 4 ที่ใช้ Radio interface ในยุค แรก ๆ ที่เรียกว่า Evolved UMTS (Universal Mobile Telecommunications System) Terrestrial Radio Access (E-UTRA) ซึง่ ได้พฒ ั นาจนถึงจุดอิม่ ตัว ในหลายประเทศได้
56
มีการน�ำเทคโนโลยี LTE มาใช้ในระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ ตั้งแต่ปลายปี 2552 โดยการพัฒนาต่อยอดเช่นเดียวกับ GSM (Global System for Mobile Communications) น�ำเทคโนโลยี EDGE (Enhance Data rate for GSM Evolution) และ UMTS น�ำเทคโนโลยี HSPA (High Speed Packet Access) มาใช้
ส่วนทาง ITU (International Telecommunication Union) ก็มีมาตรฐานที่เทียบเคียงกันคือ IMT 2000 (International Mobile Telecommunications 2000) ซึ่ง ITU ร่วมกับภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรม และภาคเอกชน ได้พัฒนาโครงข่ายบรอดแบนด์เพื่อใช้เป็นมาตรฐานสากล ส�ำหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ตั้งแต่ปี 2543 (ค.ศ. 2000) ต่อมา ITU ได้ก�ำหนด Platform เพื่อใช้สำ� หรับให้บริการ โทรศัพท์เคลือ่ นทีท่ วั่ โลกทีส่ ามารถเข้าถึงข้อมูลทีค่ วามเร็ว สูง (Fast data access) รองรับ Unified Messaging และบรอดแบนด์มลั ติมเี ดียแบบ Interactive ได้ โดยเรียก มาตรฐานนี้ว่า IMT-Advanced (International Mobile Telecommunications–Advanced) ซึ่งเป็นมาตรฐานใหม่ ส�ำหรับระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้ Packet–based หรือ IP-based มีความสามารถเหนือกว่า IMT 2000 เพราะ สามารถเข้าถึงบริการโทรคมนาคมต่าง ๆ ได้หลากหลาย รูปแบบ รวมถึงบริการและ Applications ทีก่ า้ วหน้าล่าสุด ของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ อีกทั้งยังรองรับและท�ำงาน ร่วมกับโครงข่ายโทรคมนาคมพื้นฐาน (Fixed network) ได้ด้วย
- รับ-ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงเพื่อรองรับบริการ และ Application ที่ล�้ำหน้าล่าสุดได้ (100 Mbps ส�ำหรับ การเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง และ 1 Gbps ส�ำหรับการ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วต�ำ่ หรืออยู่กับที่) ทางด้าน 3GPP ก็ได้ปรับปรุงมาตรฐาน LTE เพื่อ ให้มีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับข้อก�ำหนดตามมาตรฐาน IMT-Advanced โดยเมื่อประมาณเดือนกันยายน 2552 ได้นำ� เสนอ LTE Release 10 & beyond หรือ LTEAdvanced ให้ ITU พิจารณาเป็นมาตรฐานและเป็นคู่แข่ง ของ IMT-Advanced นอกจากนี้ LTE สามารถใช้ย่าน ความถี่ได้หลายย่าน เช่น - 450 - 470 MHz band - 698 - 862 MHz band - 790 - 862 MHz band - 2.3 - 2.4 GHz band - 3.4 - 4.2 GHz band และ - 4.4 - 4.99 GHz band.
ร า ส า ้ ฟ ไฟ IMT-Advanced สามารถใช้งานได้ทงั้ แบบเคลือ่ นที่ ด้ ว ยความเร็ ว ต�่ ำ จนถึ ง การเคลื่ อ นที่ ด ้ ว ยความเร็ ว สู ง และให้อัตราความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลที่กว้างกว่า ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับจ�ำนวนผู้ใช้และความต้องการใช้บริการในขณะ นั้น นอกจากนี้ ยังสามารถประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดียที่มี คุณภาพสูง มีการปรับปรุงประสิทธิภาพการท�ำงาน และ QoS (Quality of Services) ที่ดีขึ้น จุดเด่นของ IMT-Advanced - สามารถให้บริการร่วมกับ IMT 2000 และ โครงข่ายโทรศัพท์พื้นฐาน (Fixed network) - สามารถท�ำงานร่วมกับ Radio access อื่น ๆ ได้ - ให้คุณภาพบริการที่ดี - รองรับ Video chat - รองรับ DVB (Digital Video Broadcasting) - อุปกรณ์ของผู้ใช้สามารถใช้ได้ทั่วโลก - รองรับ Worldwide roaming
จากข้อมูลข้างต้นสรุปได้ว่าระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือ Mobile broadband technology ในแต่ละยุค ได้พัฒนาเพื่อให้ได้ความเร็วในการรับ-ส่งข้ อมู ล สู ง สุ ด สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ได้ บริเวณกว้าง และรองรับ Mobility เพื่อสนองตอบความ ต้องการในเชิงธุรกิจ การศึกษา ความบันเทิง และคุณภาพ ชีวิต ทางภาคอุตสาหกรรมได้แบ่งเทคโนโลยี 4G เป็น 4 แบบ คือ
• WiMAX (Worldwide Interoperability for Microwave Access) • 3GPP LTE (3rd Generation Partnership Project Long Term Evolution) • UMB (Ultra Mobile Broadband) • Flash-OFDM (Fast Low-latency Access with Seamless Handoff Orthogonal Frequency Division Multiplexing)
กรกฏาคม - สิงหาคม 2555
57
แต่เทคโนโลยีทเี่ ป็นทีย่ อมรับและมีการพัฒนาน�ำมา ใช้งานส่วนใหญ่จะใช้ LTE ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผู้ประกอบการ ที่ร่วมมือกับผู้ผลิตของแต่ละค่าย ตัวอย่างเช่นในอเมริกา เริ่มต้นให้บริการ WiMAX ต่อมาผู้ประกอบการหลายราย พร้อมที่จะปรับเปลี่ยนเป็น LTE เป็นต้น ปัจจุบันหลาย ประเทศทั่ ว โลกได้ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก าร 4G ในเชิ ง พาณิ ช ย์ โดยประเทศแรกที่เปิดตัวให้บริการ 4G ในที่สาธารณะคือ สวีเดน และ นอร์เวย์ ซึ่งได้เปิดบริการในเมืองหลวงของ ทั้งสองประเทศ เมื่อปลายปี 2552 คือที่ Stockholm ใช้ อุปกรณ์ของ Ericsson และ Nokia Siemens Networks และที่ Oslo ใช้อุปกรณ์ของ Huawei ส�ำหรับอุปกรณ์ ลูกข่ายใช้ Dongle ของ Samsung ดังรูปที่ 2
ที่จะรองรับ Voice call เมื่อใช้งานในโครงข่าย 2G/3G ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องแก้ปัญหาดังกล่าวด้วยวิธี Voice over LTE (VoLTE) ซึ่งคาดว่าสถาปัตยกรรมของโครงข่ายแบบ นีจ้ ะขยายตัวอย่างรวดเร็ว และในช่วง 2 ปีทผี่ า่ นมา วงการ อุตสาหกรรมโทรคมนาคมยอมรับและก�ำหนดแนวทางแก้ ปัญหาการใช้ Voice call บนโครงข่าย 4G ตามที่ได้เกริ่น ไว้ในตอนต้นเป็น 4 แนวทาง คือ
- Circuit Switched Fallback (CSFB) เมื่อเครื่อง ลูกข่ายอยู่นอกพื้นที่ 4G และอยู่ในพื้นที่ 2G/3G สามารถ ใช้ Voice call ได้ผ่าน Circuit switched - IMS-based (IP Multimedia Subsystem-based) เช่น 3GGP IMS MMTel (Multimedia Telephony) over ทางด้านสหรัฐอเมริกาขณะนีม้ ผี ปู้ ระกอบการหลาย LTE ซึ่งเป็นการหลอมรวมโทรศัพท์พื้นฐาน และ Mobile รายที่เปิดให้บริการ 4G เช่น AT&T Inc. Multimedia เข้าด้วยกัน ลักษณะคล้ายกับ IP telephony หรือ VoIP - Over-the-top (OTT) ตัวอย่างเช่น Skype phone - Circuit Switched over Packet Switched (CS over PS) ตัวอย่างเช่น VoLTE
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
รูปที่ 2 อุปกรณ์เสริม (Dongle) ส�ำหรับโน้ตบุ๊ก เพื่อใช้ในโครงข่าย 4G
Verizon Wireless, Clearwire, Sprint และ MetroPCS Inc. เป็นต้น ส่วนใหญ่จะใช้เทคโนโลยี LTE แต่ รูปแบบสถาปัตยกรรมของโครงข่ายใหม่ใช้ LTE radio และ Evolved Packet Core (EPC) ซึ่งไม่มี Circuit switched
58
โดยที่แนวทางแรก (CSFB) และแนวทางสุดท้าย (CS over PS) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้แก้ปัญหาชั่วคราว เท่านั้น ส่วน IMS MMTel และ OTT น่าจะเป็นแนวทาง ที่ ส ามารถแก้ ป ั ญ หาแบบถาวรและรองรั บ การพั ฒ นา โครงข่าย LTE ในอนาคต ส� ำ หรั บ ตั ว เครื่ อ งโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ ที่ จ ะรองรั บ มาตรฐาน 4G LTE (LTE smart phone) ในปัจจุบนั ผูผ้ ลิต และผู้ให้บริการได้ใช้วิธีการเสริมโครงข่ายให้สามารถ ใช้เสียงสื่อสารบนโครงข่าย LTE ได้ด้วยแนวทาง CSFS ข้างต้น โดยการเพิม่ ช่องสัญญาณวิทยุอกี มากกว่าหนึง่ ช่อง ในอุปกรณ์ดังกล่าว โดยที่ช่องหนึ่งใช้ส�ำหรับบริการข้อมูล แบบ Packet-based ของ LTE และอีกช่องหนึ่งใช้บริการ ทางเสียงผ่าน Circuit switched เมื่อช่วงปลายปี 2554 ผู้ประกอบการ AT&T ของอเมริกา และ RCI (Rogers Communications Inc.) ของแคนาดา ได้เปิดตัว LTE สมาร์ตโฟน โดยทีอ่ ปุ กรณ์เหล่านีม้ หี ลายความถีท่ สี่ ามารถ รองรับ LTE, UMTS และ GSM แต่ส�ำหรับ CS Fallback นัน้ มีความถีเ่ ดียวทีเ่ ปิดใช้งานอยูต่ ลอดเวลา ดังนัน้ อุปกรณ์
จะถูกบังคับให้ปิดคลื่นความถี่ของโครงข่าย LTE และเปิด เพื่อรองรับระบบ Wireless broadband ในอเมริกาโดยจะ คลืน่ วิทยุสำ� หรับโครงข่าย 2G หรือ 3G ส�ำหรับสายสนทนา เน้นลงทุน LTE ในเมืองใหญ่ ๆ ก่อน แล้วกระจายการให้ รูปที่ 3 แสดงแนวทางที่จะพัฒนาและ Upgrade โครงข่าย บริการจนทัว่ ถึงตามความต้องการของผู้ใช้
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3 แนวทางพัฒนาเทคโนโลยี Wireless broadband ในสหรัฐอเมริกา
นักวิเคราะห์หลายคนให้ความเห็นว่า ผู้ให้บริการ ส่วนใหญ่เปิดตัวเทคโนโลยี CSFB เพื่อรองรับ Voice service บนโครงข่าย LTE เนื่องจากมีประเด็น “Time-tomarket” ก่อนทีม่ าตรฐาน Voice over LTE จะสามารถน�ำ มาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งคาดว่าประมาณไตรมาส แรกของปี 2556 ซึ่งกว่าจะถึงเวลานั้น ผู้ประกอบการจึง จ�ำเป็นต้องเลือก CSFB เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าชั่วคราว ก่อน แต่ก็มีปัญหาตามมาว่า CSFB จะเป็นแค่การแก้ ปัญหาเฉพาะหน้าจริงหรือ ? หรือจะใช้ขนานกับ VoLTE ตลอดไปก็เป็นได้ ผู้บริหารระดับสูงของ TeliaSonera ให้ ความเห็นว่า ผู้ประกอบการหลายรายต้องการเทคโนโลยี ทั้ง CSFB และ VoLTE เพราะ CSFB สามารถรองรับ ผู้ใช้บริการที่อาจจะต้อง Roaming นอกพื้นที่ให้บริการ 4G ได้ด้วย นอกจากนี้ TeliaSonera ผู้ประกอบการในกลุ่ม สแกนดิ เ นเวี ย ได้ ป ระกาศเมื่ อ กลางเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2554 ว่าได้เปิดตัว LTE Tablet รุ่น Galaxy Tab 8.9 ของ Samsung เมื่ อ คริ ส ต์ ม าสที่ ผ ่ า นมา และ LTE
สมาร์ตโฟนที่จะเปิดตัวช่วงต้นปี 2555 ทั้งหมดสามารถ รองรับ CSFB ส�ำหรับ Voice calls เรามามอง 4G ในเอเชียกันบ้าง KT Corp. (Korea Telecom) ในประเทศเกาหลีใต้ ได้เปิดให้บริการ 4G LTE เมือ่ ต้นปีนี้ โดยตัง้ เป้าทีจ่ ะให้บริการลูกค้าประมาณ 4 ล้าน ราย หลังจากที่ล่าช้ามาเป็นเดือน และคาดหวังว่าภายใน ปีนี้ลูกค้าเหล่านี้จะได้ใช้บริการใหม่ ๆ ในขณะที่คู่แข่ง อย่าง SK telecom ได้เปิดตัวเทคโนโลยี LTE ตั้งแต่เดือน กรกฎาคม 2554 (รูปที่ 4) และคาดว่าจะเปิดบริการให้ ครอบคลุม 84 เมืองภายในเดือนเมษายนที่ผ่านมา และ บางแห่งจะใช้ร่วมกับ Wi-Fi โดยใช้เทคนิคที่เรียกว่า Wi-Fi Integrated LTE Femtocells และใช้สถานีฐานขนาดเล็ก (Ultra-mini base station) เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ภายใน อาคารมากยิ่งขึ้น และลดการรบกวนจากคลื่นวิทยุอื่น (รู ป ที่ 5) ท� ำ ให้ ป ระชาชนเกาหลี ใ ต้ ป ระมาณ 92% สามารถใช้บริการ 4G LTE ได้ จากการเปิดตัวครั้งแรกนี้ ได้ทดลอง Download ภาพยนตร์ขนาด 800 MB โดยใช้ เวลาเพียง 1 นาที 25 วินาที
กรกฏาคม - สิงหาคม 2555
59
รูปที่ 4 SK Telecom ได้เปิดตัว 4G LTE เมื่อเดือนกรกฎาคม 2554
ส� ำ หรั บ ในประเทศญี่ ปุ ่ น นั้ น ได้ มี ก ารพั ฒ นาและ ปรับปรุงโครงข่าย 2G เป็น 3G ทั่วประเทศแล้วประมาณ 84% และผู้ให้บริการรายใหญ่ 4 ราย ประกอบด้วย NTT DoCoMo, KDDI, SoftBank และ eMobile ได้เปิดให้ บริการ 3G ทั่วประเทศ ปัจจุบัน DoCoMo และ SoftBank ก�ำลังปรับปรุงโครงข่ายเดิมไปสู่ HSDPA (High Speed Downlink Packet Access) ในขณะที่ eMobile ได้ให้ บริการนี้ตั้งแต่เริ่มต้น ซึ่งเทคโนโลยี HSDPA ในญี่ปุ่น สามารถให้ ค วามเร็ ว ได้ ป ระมาณ 3.6 Mbps และมี เป้าหมายที่จะปรับปรุงให้ได้ถึง 10 Mbps ตามความเป็น ไปได้ทางเทคนิค เมื่อปี 2553 ผู้ประกอบการโทรศัพท์เคลื่อนที่ KDDI ได้ประกาศที่จะปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีจาก CDMA 2000-1xEVDO (Code Division Multiple Access 20001x Evolution Data Only) เป็น LTE ในขณะที่ DoCoMo ได้เปิดให้บริการ 4G LTE เฉพาะข้อมูลอย่างเดียวเมื่อ ธันวาคม 2553 ซึ่งให้ความเร็ว 10 เท่าของโครงข่าย 3G เดิม ความเร็วสูงสุดในการดาวน์โหลดอยูท่ ี่ 75 Mbps และ อัปโหลดที่ 37.5 Mbps และเมื่อเมษายน 2554 เริ่มเปิด บริการ Voice call บนโครงข่าย LTE โดยใช้ LTE สมาร์ต โฟน ส่วน SoftBank ผู้ให้บริการโทรคมนาคมอันดับสาม ของญี่ปุ่นได้เปิดตัว Ultra Wi-Fi 4G เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2555 ที่ผ่านมา Ultra Wi-Fi เป็น mobile Wi-Fi router โครงข่ายนี้ไม่ใช่ LTE แต่เป็นระบบใหม่ที่เรียกว่า AXGP (Advanced eXtended Platform) ซึ่งพัฒนามาจากระบบ PHS (Personal Handy-phone System) เดิม และสามารถ เทียบเคียงได้กบั เทคโนโลยี TD-LTE (Time-Division LTE) ทีใ่ ช้ในประเทศจีน สามารถให้ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล ที่ 76 Mbps ซึ่ง SoftBank ได้ประกาศว่าสามารถรองรับ การดาวน์โหลดได้ถึง 110 Mbps ประเทศไทยก็ได้ทำ� การทดสอบเทคโนโลยี 4G LTE โดยความร่วมมือระหว่าง TOT, CAT, Digital Phone และ AIS และได้รับอนุญาตจาก กสทช. เมื่อเดือนมกราคม 2555 แบ่งการทดสอบเป็นสองแบบคือ การทดลองกับ ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ความถี่ 1800 MHz และใช้ ความถี่ในลักษณะ FDD (Frequency Division Duplex) และทดสอบระบบบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูง BWA
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
อย่ า งไรก็ ต าม ประเทศเกาหลี ใ ต้ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า เป็ น ประเทศทีบ่ ริโภคข้อมูลข่าวสารมากทีส่ ดุ ในโลก ดังนัน้ เมือ่ เปิดบริการ 4G LTE แล้วจะท�ำให้เกิดการบริโภคข้อมูล และ High-Definition Multimedia Content เพิ่มขึ้นเป็น สามเท่าของประเทศอันดับสองคือฝรั่งเศส นอกจากนี้ SK ยังได้ประกาศที่จะพัฒนาโครงข่ายไปสู่ LTE-Advanced ภายในปี 2556 ก่อนทีจ่ ะเปิดตัวโครงข่าย LTE ใหม่นนั้ KT Corp. ได้รว่ มกับค่าย Apple เสนอสมาร์ตโฟนรุน่ ล่าสุดของ Apple คือ iPhone 4S ซึ่งมีผู้สั่งจองประมาณ 300,000 เครื่ อ ง แต่ เ มื่ อ เปิ ด ตั ว 4G แล้ ว ท� ำ ให้ มี ก ารยกเลิ ก การจอง และหันไปหาสมาร์ตโฟนของ LG และ Samsung ที่สามารถรองรับ 4G LTE แทน
รูปที่ 5 สถานีฐานขนาดเล็ก (Ultra-mini) ส�ำหรับใช้งาน ร่วมกันระหว่าง LTE และ Wi-Fi
60
(Broadband Wireless Access) ที่ความถี่ 2300 MHz เอกสารอ้างอิง [1] Converge network digest, Broadband wireless (www. และใช้ความถี่ในลักษณะ TDD (Time Division Duplex) convergedigest.com) อย่างไรก็ตาม ต้องรอการแถลงผลการทดสอบอย่างเป็น [2] http://www.ais.co.th/4g ทางการจากเว็บไซต์ของ AIS ต่อไป [3] Business @ the Speed of Thought, William H. Gates, III [4] www.sktelecom.com [5] www.kt.com/eng
ประวัติผู้เขียน
นายสุเมธ อักษรกิตติ์ วศ.ม. (วฟก. 557) อดี ต คณะอนุ ก รรมการยกร่ า งแผน แม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทัศน์ ของ กสทช. อดีตกรรมการมาตรฐานทางเทคนิค ของคณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ อนุกรรมการสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 6 อุปกรณ์ (USB dongle) ที่ AIS ใช้ในการทดสอบแบบ BWA
บทสรุป
เป็นทีท่ ราบกันแล้วว่าเมือ่ มีการพัฒนาและปรับปรุง ด้านเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีด้านการ สื่อสารโทรคมนาคม ก็ย่อมท�ำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของ ประชาชนเปลี่ยนไป รวมถึงเป็นการกระตุ้นให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา เพราะ เทคโนโลยีทพี่ ฒ ั นาให้เร็วขึน้ ท�ำให้สนองตอบความต้องการ ในการสื่อสาร การเข้าถึงข้อมูล และตัดสินใจได้เร็วขึ้น เช่นกัน อันจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในวงการธุรกิจและ ชีวิตประจ�ำวัน อย่างเช่นที่ Bill Gates เขียนไว้ในหนังสือ Business @ the Speed of thought เมื่อปี 2542 ที่ชี้ ในเห็นถึงการน�ำเทคโนโลยีด้านสื่อสารโทรคมนาคมและ คอมพิวเตอร์มาใช้งานร่วมกันอย่างบูรณาการ ท�ำให้ภาค ธุรกิจสามารถด�ำเนินไปได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการที่จะน�ำเทคโนโลยีใดมาใช้หากเป็นการตอบ โจทย์และคุ้มทุนในเชิงเศรษฐศาสตร์และสังคมก็น่าจะรีบ ลงมือท�ำโดยไม่ลังเลและชักช้า มิฉะนั้นจะเป็นการเสีย โอกาสในการพัฒนาประเทศชาติและเสริมสร้างรากฐาน ทางเศรษฐกิจ
กรกฏาคม - สิงหาคม 2555
61
Energy พลังงาน นายศุภกร แสงศรีธร กองพัฒนาระบบไฟฟ้า ฝ่ายวิจัยและพัฒนาระบบไฟฟ้า การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อีเมล : supakorn.sae@pea.co.th
การศึกษาการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในประเทศไทย (ตอนที่ 4) เทคโนโลยีของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าพลังงานลม 1. บทน�ำ
ในการผลิตไฟฟ้า เพือ่ ให้เป็นข้อมูลการตัดสินใจเลือกชนิดและขนาดของกังหันลม จากบทความที่ แ ล้ ว เราได้ ต่อไป แต่ก่อนอื่นเพื่อให้ผู้อ่านมีความรู้เบื้องต้นด้านพลังงานลมก็จะได้อธิบาย กล่าวถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลของ ทฤษฎีของลมในหัวข้อต่อไป ศั ก ยภาพพลั ง งานลม เพื่ อ น� ำ มา วิเคราะห์หาจุดติดตัง้ กังหันลมทีด่ ที สี่ ดุ 2. ลมและก�ำลังลม โดยค� ำ นึ ง ถึ ง พลั ง งานไฟฟ้ า ที่ ผ ลิ ต การเกิดลมและการเคลื่อนที่ของลมเป็นผลมาจากความแตกต่างของ ได้สงู สุด แต่ในทางปฏิบตั จิ ริงต�ำแหน่ง ความกดอากาศซึ่งสามารถอธิบายได้โดยทฤษฎีทางฟิสิกส์ นอกจากนี้ยัง ของการติดตั้งกังหันลมอาจจะไม่ใช่ เกี่ยวข้องกับความทรงตัวของสภาพอากาศ, ความแตกต่างของอุณหภูมิ, ต� ำ แหน่ ง ที่ ไ ด้ จ ากการค� ำ นวณก็ ไ ด้ สิ่งกีดขวาง และสภาพความขรุขระของพื้นผิว เป็นต้น เนือ่ งจากปัญหาต่าง ๆ ในการติดตัง้ เช่น การที่ บ รรยากาศพื้ น ผิ ว โลกมี ก ารเปลี่ ย นแปลงอุ ณ หภู มิ จึ ง ท� ำ ให้ ปัญหาการอนุญาตให้ใช้ที่ดิน ดังนั้น ความหนาแน่นของอากาศหรือความกดอากาศนั้นแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ ในการติดตั้งกังหันลมจริงอาจต้องมี โดยทีบ่ ริเวณทีม่ อี ณ ุ หภูมสิ งู ๆ จะท�ำให้อากาศบริเวณนัน้ ลอยตัวขึน้ สูงเพราะว่า การขยับการติดตัง้ กังหันลมออกไปยัง บริเวณดังกล่าวมีความกดอากาศต�ำ่ (อากาศที่มีอุณหภูมิสูงจะเบากว่าอากาศ ต�ำแหน่งที่มีความเหมาะสม ถึงแม้จะ ทีม่ อี ณ ุ หภูมติ ำ�่ ) เป็นเหตุให้อากาศจากบริเวณอืน่ ๆ ทีม่ อี ณ ุ หภูมติ ำ�่ กว่า ซึง่ จะมี ไม่ได้พลังงานไฟฟ้าจากการผลิตของ ความกดอากาศสูงกว่านั้นเคลื่อนตัวเข้ามาแทนที่ และการเคลื่อนตัวของ กังหันลมสูงสุดก็ตาม เมื่อมีการขยับ อากาศจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งนี้เรียกว่า “ลม” หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ลม คือ ต�ำแหน่งกังหันลมใหม่ก็ต้องด�ำเนินการ การเคลื่อนตัวของอากาศ เราอาจจะแบ่งลักษณะการเกิดของลมอย่างกว้าง ๆ ค� ำ นวณหาพลั ง งานไฟฟ้ า ที่ ผ ลิ ต ได้ ได้เป็น 2 แบบ โดยสามารถพิจารณาได้ดังนี้ อีกครั้ง 2.1 การเกิดลมในลักษณะทั่วทั้งโลก นอกจากการเลื อ กต� ำ แหน่ ง ส�ำหรับลักษณะแรกจะเกิดขึน้ เนือ่ งจากการทีอ่ ณ ุ หภูมขิ องพืน้ ผิวโลก ติ ด ตั้ ง กั ง หั น ลมที่ มี ผ ลต่ อ พลั ง งาน ที่ใกล้เส้นศูนย์สูตรนั้นสูงกว่าอุณหภูมิที่ขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ เป็นเหตุให้ ไฟฟ้าทีส่ ามารถผลิตได้แล้ว การเลือก อากาศร้อนทีบ่ ริเวณใกล้เส้นศูนย์สตู รนัน้ ลอยตัวขึน้ สูงสูบ่ รรยากาศข้างบน ท�ำให้ ชนิดและขนาดของกังหันลมก็จะส่งผล อากาศทีข่ วั้ โลกซึง่ เย็นกว่าเคลือ่ นตัวมายังบริเวณเส้นศูนย์สตู ร ดังแสดงในรูปที่ 1 (ก) ต่อพลังงานไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้ และจะมีผล แต่เนือ่ งจากโลกหมุนรอบตัวเอง ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อทิศทางการเคลือ่ นทีข่ อง ต่อการวิเคราะห์ด้านการเงินอีกด้วย อากาศนี้ โดยที่อากาศร้อนซึ่งอยู่ในบรรยากาศชั้นบนจะมีทิศทางค่อนไปทาง ดังนั้นในหัวข้อต่อ ๆ ไปจะได้กล่าว ตะวันออก และอากาศเย็นซึง่ อยูใ่ กล้พนื้ ผิวโลกจะหมุนตัวไปในทางทิศตะวันตก ถึงชนิดของกังหันลมที่มีการน�ำมาใช้ สามารถพิจารณาได้ดังแสดงในรูปที่ 1 (ข)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
62
รูปที่ 1 (ก) ทิศทางลมเมื่อโลกไม่หมุน
รูปที่ 1 (ข) ทิศทางลมเมื่อโลกหมุนรอบตัวเอง
2.2 การเกิดลมในลักษณะเฉพาะที่หรือลมประจ�ำถิ่น ส�ำหรับลักษณะการเกิดลมในลักษณะเฉพาะที่หรือลมประจ�ำถิ่น จะเป็นลมที่เกิดขึ้นภายในท้องถิ่นเนื่องจากอิทธิพลของภูมิประเทศ และความ เปลีย่ นแปลงของความกดอากาศ ลมประจ�ำถิน่ แบ่งแยกออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 2.2.1 ลมทะเลและลมบก ลมทะเลและลมบกคือลมประจ�ำถิน่ ซึง่ เกิดจากความแตกต่าง ของความกดอากาศระหว่างทะเลกับแผ่นดิน คือ (1) ลมทะเล (Sea Breeze) เกิดขึ้นในฤดูร้อนตามชายฝั่งทะเล ในเวลากลางวันเมื่อ พื้นดินได้รับความร้อนจากแสงอาทิตย์จะมีอุณหภูมิสูงกว่าพื้นน�้ำและอากาศ เหนือพืน้ ดิน เมือ่ ได้รบั ความร้อนจะขยายตัวลอยขึน้ สูเ่ บือ้ งบน อากาศเหนือพืน้ น�ำ้ ซึ่งเย็นกว่าจะไหลเข้าไปแทนที่เกิดลมจากทะเลพัดเข้าหาฝั่งเรียกว่า ลมทะเล ดังแสดงในรูปที่ 2 (ก) ซึ่งจะเริ่มพัดในเวลาประมาณ 10.00 น. ลมทะเล สามารถพัดเข้าหาฝั่งมีระยะไกลถึง 16-48 กิโลเมตร และความแรงของลม จะลดลงเมื่อเข้าถึงฝั่ง ลมทะเลมีความส�ำคัญต่ออุณหภูมิของอากาศในบริเวณ ชายฝัง่ ท�ำให้อณ ุ หภูมขิ องอากาศลดลง เช่น ก่อนทีล่ มทะเลจะพัดเข้าไปพืน้ ดิน มีอุณหภูมิ 30oC แต่เมื่อลมทะเลพัดผ่านเข้าไปท�ำให้อุณหภูมิลดลงเป็น 22oC ในช่วงบ่าย
(2) ลมบก (Land Breeze) เกิ ด ขึ้ น ในเวลากลางคื น เ มื่ อ พื้ น ดิ น ค า ย ค ว า ม ร ้ อ น โ ด ย การแผ่รังสีออกจะคายความร้อนออก ได้ เ ร็ ว กว่ า พื้ น น�้ ำ ท� ำ ให้ มี อุ ณ หภู มิ ต�่ำกว่าพื้นน�้ำ อากาศเหนือพื้นน�้ำซึ่ง ร้อนกว่าพืน้ ดินจะลอยตัวขึน้ สูเ่ บือ้ งบน อากาศเหนือพื้นดินซึ่งเย็นกว่าจะไหล เข้ า ไปแทนที่ เ กิ ด เป็ น ลมพั ด จากฝั ่ ง ไปสูท่ ะเลเรียกว่า ลมบก ดังในรูปที่ 2 (ข) ซึง่ ลมบกจะมีความแรงของลมอ่อนกว่า ลมทะเล จึงไม่สามารถพัดเข้าสู่ทะเล ได้ ร ะยะทางไกลเหมื อ นลมทะเล โดยลมบกสามารถพั ด เข้ า สู ่ ท ะเลมี ระยะทางเพียง 8-10 กิโลเมตร
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 2 (ก) การเกิดลมบก
รูปที่ 2 (ข) การเกิดลมทะเล กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
63
2.2.2 ลมหุบเขาและลมภูเขา ลมหุบเขาและลมภูเขา เป็นลมประจ�ำถิน่ อีกชนิดหนึง่ เกิดขึน้ ประจ�ำวันเช่นเดียวกับลมทะเลและลมบก ซึ่งเกิดขึ้นเองจากความแตกต่างของความกดอากาศ คือ (1) ลมหุบเขา เกิดขึน้ ในเวลากลางวัน อากาศตามภูเขาและลาดเขาจะร้อนเพราะได้รบั ความร้อนจากดวงอาทิตย์ เต็มที่ ส่วนอากาศหุบเขาเบือ้ งล่างมีความเย็นกว่าจึงไหลเข้าแทนที่ ท�ำให้มลี มเย็นจากหุบเขาเบือ้ งล่างพัดไปตามลาดเขา ขึ้นสู่เบื้องบนเรียกว่า ลมหุบเขา ดังแสดงในรูปที่ 3 (ก) (2) ลมภูเขา เกิดขึ้นในเวลากลางคืน อากาศตามภูเขาและลาดเขาจะเย็นลงอย่างรวดเร็วด้วยการคาย ความร้อนออก อากาศตามลาดเขาทีเ่ ย็นและหนักกว่าอากาศบริเวณใกล้เคียงจึงไหลออกมาท�ำให้มลี มพัดมาตามลาดเขา สู่หุบเขาเบื้องล่างเรียกว่า ลมภูเขา ดังแสดงในรูปที่ 3 (ข)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3 (ก) การเกิดลมหุบเขา
2.2.3 ลมตะเภา ลมตะเภา เป็ น ลมท้ อ งถิ่ น ในประเทศไทย โดย ลมตะเภาเป็นลมที่พัดมาจากทิศใต้ ไปยังทิศเหนือ คือพัดจากอ่าวไทยเข้าสู่ ภาคกลางตอนล่าง พัดในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ถงึ เดือนเมษายน ซึง่ เป็นช่วง ที่ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะ เปลี่ยนเป็นลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เป็นลมที่น�ำความชื้นมาสู่ภาคกลาง ตอนล่าง ในสมัยโบราณลมนี้จะช่วย พัดเรือส�ำเภาซึ่งเข้ามาค้าขายให้แล่น ไปตามแม่น�้ำเจ้าพระยา 2.2.4 ลมว่าว ลมว่าว เป็นลมทีพ่ ดั จากทิศเหนือไปยังทิศใต้ เกิดระหว่าง เดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน
64
รูปที่ 3 (ข) การเกิดลมภูเขา
เป็นลมเย็นทีพ่ ดั มาตามล�ำน�ำ้ เจ้าพระยาและพัดในช่วงทีล่ มมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ จะเปลี่ยนเป็นลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือหรืออาจจะเรียกว่า ลมข้าวเบา เพราะพัดในช่วงที่ข้าวเบาก�ำลังออกรวง
3. เทคโนโลยีกังหันลมผลิตไฟฟ้า
ในหัวข้อต่อไปนีจ้ ะกล่าวถึงประเภทของกังหันลม ซึง่ มีรายละเอียด ดังนี้ 3.1 ประเภทของกังหันลม กังหันลมสามารถแบ่งประเภทได้ 2 วิธี คือ 3.1.1 การแบ่งตามลักษณะของแรงขับทีก่ ระแสลมกระทาํ ต่อใบพัด กังหันลมพิจารณาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับอากาศพลศาสตร์ (Aerodynamic) ประกอบ สามารถแบ่งออกได้ 2 ชนิด ดังนี้ 1) การขับด้วยแรงยก (Lift Force) 2) การขับด้วยแรงฉุดหรือแรงหน่วง (Drag Force) 3.1.2 การแบ่งตามลักษณะแนวแกนหมุนของกังหันลม เป็นวิธี ที่เด่นชัดสามารถเข้าใจได้ง่าย และเป็นที่นิยมในปัจจุบัน ดังนั้นจะกล่าวถึง รายละเอียดในส่วนนี้ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1) กั ง หั น ลมแบบแกนนอน (Horizontal Axis Wind Turbine : HAWT) เป็นกังหันลมที่มีแนวแกน หมุนขนานกับทิศทางของลม โดยมี ใบพัดตั้งฉากกับทิศทางลม จ�ำนวน ใบพัดจะมีตั้งแต่หนึ่งใบพัดไปจนถึง หลายใบพั ด โดยกั ง หั น ลมแบบ แกนนอนที่มีจ�ำนวนใบพัดน้อยจะมี ความเร็วรอบสูงและมีแรงบิดต�่ำ ส่วน กั ง หั น ลมแบบแกนนอนที่ มี จ� ำ นวน ใบพัดมากจะมีความเร็วรอบต�่ำและ มีแรงบิดสูง โครงสร้างของกังหันลม แบบนี้จะมีความซับซ้อน เวลาใช้งาน ต้ อ งให้ ด ้ า นหน้ า ของกั ง หั น ลมหั น เข้าหาทิศทางลมเสมอ ซึ่งท�ำได้โดยมี เครื่ อ งวั ด ทิ ศ ทางลมที่ ส ามารถส่ ง สัญญาณไปยังเครื่องควบคุมทิศทาง เพื่อไปสั่งให้มอเตอร์หมุนกังหันไปยัง ทิ ศ ทางที่ ถู ก ต้ อ ง ใบพั ด ของกั ง หั น จะต้ อ งมี ก ารปรั บ ถ่ ว งน�้ ำ หนั ก ให้ มี ความสมดุล 2) กั ง หั น ล ม แ บ บ แ ก น ตั้ ง (Vertical Axis Wind Turbine : VAWT) เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุน และใบพัดตัง้ ฉากกับการเคลือ่ นทีข่ อง ลมในแนวราบ ซึง่ ท�ำให้สามารถรับลม ในแนวราบได้ทุกทิศทาง กังหันลม ชนิดนี้มีคุณสมบัติคือสามารถรับลม ได้ ทุ ก ทิ ศ ทาง น�้ ำ หนั ก ของใบพั ด จะทิ้ ง ตั ว ลงในลั ก ษณะสมมาตร (Symmetry) และไม่มผี ลต่อความกว้าง ของใบพัดเมือ่ เพิม่ แขนหมุน (Moment Arm) จะไม่เป็นปัญหาต่อการติดตั้ง ฐาน การหมุนของใบพัดจะอยู่ในแนว ระนาบเดียวกันกับทิศทางลม ดังนั้น แรงปะทะจะเป็นแรงทีท่ ำ� ให้เกิดการหมุน โดยตรง ซึง่ ท�ำให้การใช้ประโยชน์จาก แรงปะทะมีมากขึ้น ส่วนข้อเสียของกังหันลมชนิดนี้ คือ ลักษณะการวางใบพัดไม่สามารถ
รูปที่ 4 กังหันลมผลิตไฟฟ้าแบบแกนนอนและแกนตั้ง
ใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ทุ ก ใบพั ด ในเวลาเดี ย วกั น เนื่ อ งจากมี บ างส่ ว นของใบพั ด ถูกบังลมอยู่ และจะมีบางส่วนของใบพัดทีถ่ กู ลมปะทะท�ำให้เกิดแรงต้านการหมุน ซึ่งกันและกันขึ้นอีกด้วย 3.2 การควบคุมกังหันลม การควบคุมกังหันลมเป็นการจ�ำแนกเทคโนโลยีกงั หันลมโดยอาศัย ความสามารถในการควบคุมความเร็วและการควบคุมก�ำลัง แบ่งได้ดังนี้ 3.2.1 การควบคุมความเร็วของกังหันลม (Speed Control) แยกเป็น (1) การควบคุมความเร็วแบบคงที่ (Fixed Speed Control) • Fixed Speed เป็ น กั ง หั น ลมความเร็ ว คงที่ ช นิ ด เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวน�ำแบบกรงกระรอก (Constant Speed Wind Turbine with Squirrel Cage Induction Generator : SCIG) (2) การควบคุมความเร็วแบบปรับเปลี่ยนได้ (Variable Speed Control) • Limited Variable Speed เป็นกังหันลมความเร็ว ปรับเปลี่ยนได้ชนิดเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวน�ำแบบออฟติสลิป (Variable Speed Wind Turbine with Opti-Slip Induction Generator : OSIG) • Variable Speed with Partial Scale Frequency Converter เป็นกังหันลมความเร็วปรับเปลีย่ นได้ชนิดเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าเหนีย่ วน�ำ แบบดับบลิเฟด (Variable Speed Wind Turbine with Doubly-Fed Induction Generator : DFIG) • Variable Speed with Full Scale Frequency Converter เป็นกังหันลมความเร็วปรับเปลี่ยนได้ชนิดเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ซิงโครนัส (Variable Speed Wind Turbine with Converter-Driven Synchronous Generator : DDSG) 3.2.2 การควบคุมก�ำลังของกังหันลม (Power Control) แยกเป็น (1) การควบคุมก�ำลังแบบสทอล (Stall Control) เป็นวิธกี าร ควบคุมใบพัดของกังหันลมเป็นการยึดหรือตรึงไว้ด้วยเกลียวลงบนดุมโรเตอร์ (Hub) ที่มุมคงที่ ไม่สามารถหมุนหรือปรับองศาของใบพัดได้ ซึ่งเป็นวิธีที่ง่าย ไม่ซับซ้อน มีความแข็งแรงและราคาถูกเมื่อเทียบกับการควบคุมลักษณะอื่น
ร า ส า ้ ฟ ไฟ กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
65
ข้ อ เสี ย ของการควบคุ ม แบบ สทอล คือ ประสิทธิภาพต�ำ่ ทีค่ วามเร็ว ลมต�่ ำ ไม่ ส ามารถช่ ว ยเพิ่ ม แรงบิ ด ในช่วงเริ่มต้นการหมุน ในปัจจุบัน ประมาณ 65% ของกังหันลมผลิต ไฟฟ้าที่ติดตั้งใช้วิธีการควบคุมก�ำลัง แบบสทอล (2) การควบคุมก�ำลังแบบพิช (Pitch Control) เป็นวิธีการควบคุม ใบพัดของกังหันลมสามารถหมุนปรับ องศาได้ โดยใบพั ด สามารถหมุ น รอบแนวแกนนอนของตั ว เองได้ เมือ่ ความเร็วลมเพิม่ ขึน้ ใบพัดจะหมุน ให้รบั ลมน้อยลง และจะหมุนกลับเมือ่ ความเร็ ว ลมลดลง เพื่ อ ให้ ไ ด้ ก� ำ ลั ง ไฟฟ้ า ที่ เ หมาะสมส� ำ หรั บ ความเร็ ว ลมที่ต่างกัน ท�ำให้มีประสิทธิภาพใน การควบคุมก�ำลังทีด่ ี สามารถช่วยเพิม่ แรงบิดในช่วงเริ่มการท�ำงาน และใน กรณีที่ต้องการหยุดฉุกเฉิน ข้ อ เสี ย ของการควบคุ ม แบบ พิช คือ ต้องการระบบควบคุมที่มี ประสิทธิภาพสูงในการหมุนปรับองศา ของใบพั ด ให้ มี ค วามเหมาะสมกั บ ความเร็วลมต่าง ๆ และต้องมีระบบ ไฮดรอลิกหรือมอเตอร์ไฟฟ้าเพื่อปรับ องศาของใบพัดอีกด้วย ในปัจจุบัน ประมาณ 35% ของกังหันลมผลิตไฟฟ้า ทีต่ ดิ ตัง้ ใช้วธิ กี ารควบคุมก�ำลังแบบพิช (3) การควบคุ ม ก� ำ ลั ง แบบ แอคทีฟสทอล (Active Stall Control) เป็นการควบคุมที่ใช้การควบคุมก�ำลัง แบบสทอลและแบบพิชร่วมกัน คือ เมื่อความเร็วลมต�่ำจะใช้การควบคุม แบบพิช เพื่อช่วยเพิ่มแรงบิดในช่วง เริม่ ท�ำงาน เมือ่ ความเร็วลมสูงขึน้ และ อยู่ในช่วงพิกัดของการออกแบบของ กังหันลมจะเปลี่ยนมาใช้การควบคุม แบบสทอล และในกรณีที่จะถึงพิกัด ก�ำลังของเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าจะท�ำการ
หมุนใบพัดให้รับลมมากขึ้นและยังใช้การควบคุมแบบสทอล แทนที่จะปรับ ลดองศาของใบพัดเพื่อลดการรับลมและความเร็วของโรเตอร์ ส่งผลให้ได้ก�ำลัง ผลิตไฟฟ้าที่สม�่ำเสมอและมีประสิทธิภาพสูง
4. การเปรียบเทียบเทคโนโลยีของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ าจาก พลังงานลม
ท�ำการเปรียบเทียบความแตกต่าง ข้อดี-ข้อด้อยของเทคโนโลยีเครื่อง ก�ำเนิดไฟฟ้าจากพลังงานลมที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน ดังนี้ • SCIG : Squirrel Cage Induction Generator
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
66
รูปที่ 5 กังหันลมความเร็วคงที่ชนิดเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวน�ำ แบบกรงกระรอก (SCIG)
• OSIG : Opti-Slip Induction Generator
รูปที่ 6 กังหันลมความเร็วปรับเปลี่ยนได้ชนิดเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวน�ำ แบบปรับค่าความต้านทานโรเตอร์ภายนอก
• DFIG : Doubly-Fed Induction Generator
รูปที่ 7 กังหันลมความเร็วปรับเปลี่ยนได้ชนิดเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวน�ำ แบบดับบลิเฟด
• DDSG : Converter-drive Synchronous Generator with Direct-Drive
รูปที่ 8 กังหันลมความเร็วปรับเปลี่ยนได้ชนิดเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าซิงโครนัส
โดยสรุ ป สามารถเปรี ย บเที ย บเทคโนโลยี ข องเครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า กังหันลมได้ ดังนี้ 1) เทคโนโลยีเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าจากพลังงานลมในปัจจุบันสามารถ แยกได้ 2 กลุ่ม คือ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าที่มีความเร็วคงที่ คือ SCIG และ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าที่สามารถปรับเปลี่ยนความเร็วได้ ประกอบไปด้วย OSIG, DFIG และ DDSG ซึ่งการผลิตและพัฒนาส่วนใหญ่จะเป็นเทคโนโลยีของ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าที่สามารถปรับเปลี่ยนความเร็วได้ โดยเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า เหนี่ยวน�ำแบบดับบลิเฟด (DFIG) ก�ำลังเป็นที่นิยมอย่างมาก 2) SCIG มีโครงสร้างเครือ่ งจักรไม่ซบั ซ้อน ใช้งานง่าย แต่มคี วามสามารถ ในการควบคุมก�ำลังไฟฟ้าเสมือนไม่ดี มีก�ำลังการผลิตที่ต�่ำกว่าที่ความเร็วลม เท่ากัน และมีช่วงการท�ำงานที่ความเร็วลมระดับต่าง ๆ ที่แคบ ท�ำให้มี ความเครียดทางกลสูงและแรงดันมีความแปรปรวนสูง 3) OSIG สามารถควบคุ ม ความเร็ ว ได้ เ ล็ ก น้ อ ย โดยการปรั บ ค่ า ความต้านทานโรเตอร์จากภายนอก ปัจจุบันการน�ำมาใช้งานน้อยลงมาก เนื่องจากมีการสูญเสียในตัวต้านทานโรเตอร์ภายนอก และจ�ำเป็นต้องต่อ คาปาซิเตอร์เพื่อชดเชยก�ำลังไฟฟ้าเสมือน รวมทั้งข้อจ�ำกัดในการปรับเปลี่ยน ความเร็วโรเตอร์ 4) DFIG สามารถท�ำงานทีค่ วามเร็วลมระดับต่าง ๆ โดยมีชว่ งการท�ำงานที่ กว้างกว่าเทคโนโลยีเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าจากพลังงานลมชนิด SCIG มีการสูญเสีย ก�ำลังจากอุปกรณ์ภายในต�ำ่ มีคอนเวอร์เตอร์ทมี่ ขี นาดเพียง 30% ของพิกดั ก�ำลัง ของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ท�ำหน้าที่ชดเชยความแตกต่างของความถี่ทางไฟฟ้า กับความถี่ทางกล ซึ่งท�ำให้มีความสามารถในการควบคุมก�ำลังไฟฟ้าจริง และก�ำลังไฟฟ้าเสมือนระหว่างการท�ำงานได้เป็นอย่างดี 5) DDSG เป็นเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าที่ถูกออกแบบให้ท�ำงานที่ความเร็ว ต�่ำ ท�ำให้มีประสิทธิภาพสูงในการท�ำงานที่สภาวะความเร็วลมต�่ำ ไม่ต้องใช้ เกียร์บล็อกในการขับ สามารถขับได้โดยตรงจากกังหันซึ่งเป็นการลดลงของ ต้นทุนในส่วนการบ�ำรุงรักษา แต่เนือ่ งจากเป็นเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าทีถ่ กู ออกแบบ ให้ท�ำงานที่ความเร็วต�่ำท�ำให้มีจ�ำนวนขั้วแม่เหล็กมาก มีขนาดใหญ่ มีราคาสูง และมีความยุง่ ยากซับซ้อนมากกว่า SCIG และ DFIG ทีข่ นาดก�ำลังใกล้เคียงกัน จากรายละเอียดข้างต้นเป็นการเปรียบเทียบให้เห็นข้อดีและข้อด้อย ของการใช้งานกังหันลมในการผลิตไฟฟ้า ซึ่งใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการเลือก เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้ากังหันลมมาใช้ผลิตไฟฟ้าตามทีต่ อ้ งการ ส�ำหรับในฉบับหน้า จะเป็ น การน� ำ เสนอข้ อ มู ล การผลิ ต ไฟฟ้ า จากกั ง หั น ลมจริ ง ที่ มี ติ ด ตั้ ง ใน ประเทศไทย ซึง่ เป็นกังหันลมของการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค โดยติดตัง้ อยูท่ ชี่ ายหาด อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
เอกสารอ้างอิง [1] Thomas Ackermann. Wind Power in Power Systems. England : John Wiley & Sons. 2005. [2] Lubosny Z. Wind turbine Operation in Electric Power Systems. Berlin : Spinger-Verlag. 2003. [3] Siegfried H. Grid Integration of Wind Energy Conversion Systems. London : John Wiley & Sons. 1998. [4] J.F. Manwell, J.G. McGowan and A.L. Rogers. Wind Energy Explained. England : John Wiley & Sons. 2002.
ร า ส า ้ ฟ ไฟ กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
67
Energy พลังงาน นายธงชัย มีนวล อีเมล : athme@hotmail.com
เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากขยะ (ตอนที่ 3)
Waste to Electricity Technology (Part 3)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
บทความตอนที่ 3 นีน้ ำ� เสนอเนือ้ หาเพิม่ เติมเกีย่ วกับหลักการท�ำงานของ เครื่องปฏิกรณ์ของเทคโนโลยีผลิตก๊าซเชื้อเพลิง (Gasification) ต่อเนื่องจาก บทความตอนที่ 2 ส�ำหรับเทคโนโลยีทนี่ ำ� เสนอในบทความตอนที่ 3 นีค้ อื เทคโนโลยี ผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse-Derived Fuel) เนื้อหาประกอบด้วยขั้นตอน การผลิตเชือ้ เพลิงขยะ ปริมาณและองค์ประกอบของเชือ้ เพลิงขยะ ประเภทของ เทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงขยะ หลักการท�ำงาน ชนิดของเชื้อเพลิงขยะ และข้อดีข้อจ�ำกัดของเชื้อเพลิงขยะ 5) หลักการท�ำงานของเครื่องปฏิกรณ์ เครือ่ งปฏิกรณ์ทงั้ แบบไหลขึน้ (Updraft) และแบบไหลลง (Downdraft) แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ส่วนอบแห้ง (Drying), ส่วนไร้อากาศ (Pyrolysis), ส่วนเติมอากาศ (Oxidation) และส่วนลดอุณหภูมิ (Reduction) ในทีน่ อี้ ธิบาย หลักการท�ำงานในแต่ละส่วนส�ำหรับเครือ่ งปฏิกรณ์แบบไหลลง ดังแสดงในรูปที่ 15
รูปที่ 15 การท�ำงานของเครื่องปฏิกรณ์แบบไหลลง
68
เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ แ บบไหลลงมี กระบวนการทางความร้อน (Thermal Process) แบ่งออกเป็น 4 ส่วนทีส่ ำ� คัญ ดังนี้ 1) ส่ ว นอบแห้ ง (Drying Zone) 2) ส่วนไร้อากาศ (Pyrolysis Zone) 3) ส่วนเติม O2 (อากาศ) (Oxidation Zone/Gasification Zone) 4) ส่ ว น ล ด อุ ณ ห ภู มิ (Reduction Zone) 5.1) กระบวนการทางความร้อน ส� ำ หรั บ เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ แ บบ ไหลลงจะท�ำการเติมวัสดุจากส่วนบน ของถั ง ควบคุ ม การเติ ม วั ส ดุ จ ะถู ก ควบคุ ม ด้ ว ยเครื่ อ งวั ด ระดั บ วั ส ดุ ภายในถัง ทั้งนี้เพื่อให้วัสดุภายในถัง ด�ำเนินไปตามกระบวนการและไหลลง ด้านล่างตามแรงโน้มถ่วงโลก ซึ่งใช้ ปริ ม าณต่ อ ชั่ ว โมงตามขนาดของ Gasifier วัส ดุที่เติมควรมีความชื้ น ไม่เกินร้อยละ 12-15 หลักการท�ำงาน ของกระบวนการทางความร้ อ นทั้ ง 4 ส่วน สรุปได้ดังนี้
(1) ส่วนอบแห้ง จะใช้ความชืน้ ที่มีอยู่ในวัสดุ คือ น�้ำซึ่งจะท�ำหน้าที่ เพิ่มเติมไฮโดรเจนให้แก่กระบวนการ อุ ณ หภู มิ ใ นส่ ว นอบแห้ ง อยู ่ ร าว ๆ 100 °C ถึง 200 °C (2) ส่วนไร้อากาศ เมื่อวัสดุ เข้ า สู ่ ส ่ ว นที่ ไ ม่ มี อ ากาศอุ ณ หภู มิ จ ะ สูงขึ้นระหว่าง 200 °C ถึง 500 °C วัสดุบางส่วนจะผลิตก๊าซออกมาและ น�้ำมันดิน (3) ส่วนเติมอากาศ หรือส่วน Gasification มีอุณหภูมิสูง 1,000 °C ถึ ง 1,500 °C ในส่ว นนี้น�้ำมันดิน และสารประกอบไฮโดรคาร์บอนจะ ถูกเปลี่ยนเป็นก๊าซ เพื่อขจัดปัญหา การก่อเกิดของก๊าซไดออกซินที่เป็น อั น ตราย อุ ณ หภู มิ ใ นส่ ว นนี้ จึ ง สู ง มากกว่า 850 °C ตามข้อก�ำหนดของ Waste Incineration Directive (WID) (4) ส่วนลดอุณหภูมิ จะปรับ ลดอุณหภูมิลงอยู่ที่ประมาณ 900 °C ถึ ง 400 °C ก๊ า ซที่ ไ ด้ จ ะถู ก ท� ำ ปฏิกิริยาความร้อนอีกครั้งเพื่อให้ได้ ก๊าซสังเคราะห์ (Syn Gas หรือ CO + H2) และก๊าซมีเทน (CH4) เพิ่มเติม คงเหลือเถ้าตอนล่างสุดซึ่งจะถูกขับ ออกจากระบบต่อไป 5.2) ระบบท�ำความสะอาดก๊าซ เมื่ อ ได้ ก ๊ า ซจากกระบวนการ ทางความร้อนทั้ง 4 ส่วนข้างต้นแล้ว จะส่งก๊าซทีไ่ ด้เข้าสูร่ ะบบท�ำความสะอาด ก๊าซ (Gas Cleaning System) โดยใช้ เครือ่ งเป่า (Blower) นอกจากท�ำหน้าที่ ส่ ง ก๊ า ซเข้ า สู ่ ร ะบบท� ำ ความสะอาด แล้ว เครื่องเป่ายังมีหน้าที่ดูดอากาศ ป้อนระบบผลิตก๊าซเชื้อเพลิงในเวลา เดียวกันด้วย ท�ำให้กระบวนการเติม อากาศ (Oxidation) ภายในถังเป็นไป อย่างต่อเนื่อง
ระบบท�ำความสะอาดก๊าซ ประกอบไปด้วยระบบย่อย 4 ระบบ คือ 1) Cyclones 2) Heat recovery and coolers 3) Venturi scrubber 4) Gas chiller ก๊าซทีอ่ อกมาจากเครือ่ งปฏิกรณ์จะมีอณ ุ หภูมปิ ระมาณ 450 °C ถึง 550 °C จะผ่านเข้าสูร่ ะบบ Cyclones คู่ เพือ่ แยกอนุภาคทีม่ ขี นาดเกิน 10 ไมครอน รวมทัง้ น�ำ้ มันดิน (Tars) ออกจากก๊าซ และส่งไปรวมไว้กบั เถ้าทีเ่ หลือจากเครือ่ งปฏิกรณ์ โดยก๊าซทีอ่ อกจาก Cyclone (อุณหภูมปิ ระมาณ 400 °C ถึง 500 °C) จะเข้าสู่ ระบบลดอุณหภูมจิ นเหลือประมาณ 70 °C และส่งต่อไปสูร่ ะบบ Venturi Water Scrubber เพื่อท�ำให้ก๊าซมีความชื้นมากขึ้น ท�ำให้อนุภาคเจือปนที่ยังคงมีอยู่ กลั่นตัวเป็นของเหลว รวมทั้งน�้ำมันดินที่เหลือแยกตัวออกจากก๊าซเพื่อเข้าสู่ ระบบ Gas Chiller ลดความชื้นของก๊าซให้เหลือน้อยที่สุด และอุณหภูมิของ ก๊าซจะลดลงเหลือประมาณ 40 °C มีความสะอาดถึงร้อยละ 98 พร้อมที่จะ ป้อนเข้าสู่เครื่องยนต์สันดาปภายในเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าต่อไป
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 5. เทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงขยะ
กระบวนการผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse-Derived Fuel : RDF) เป็น การแปรรูปขยะมูลฝอยโดยผ่านกระบวนการจัดการต่าง ๆ เช่น การคัดแยกวัสดุ ทีเ่ ผาไหม้ไม่ได้ออก การฉีกหรือตัดขยะมูลฝอยออกเป็นชิน้ เล็ก ๆ เพือ่ ปรับปรุง คุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทางเคมีของขยะมูลฝอยให้กลายเป็น เชือ้ เพลิงทีไ่ ด้จากขยะมูลฝอย (Refuse-Derived Fuel : RDF) เชือ้ เพลิงขยะทีไ่ ด้นี้ จะมีคา่ ความร้อนสูงขึน้ หรือมีคณ ุ สมบัตเิ ป็นเชือ้ เพลิงทีด่ กี ว่าการน�ำขยะมูลฝอย ทีเ่ ก็บรวบรวมมาใช้โดยตรง เนือ่ งจากมีองค์ประกอบทัง้ ทางกายภาพและทางเคมี ที่สม�่ำเสมอกว่า เชื้อเพลิงขยะที่ได้นั้นสามารถน�ำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อทดแทนชีวมวล หรือถ่านหิน สามารถน�ำไปใช้ผลิตพลังงานได้ทั้งระบบผลิตก๊าซเชื้อเพลิง (Gasification) และระบบเผาไหม้ (Combustion) (ระบบเผาไหม้ตา่ งกับระบบ ผลิตก๊าซเชื้อเพลิงตรงที่ระบบเผาไหม้ใช้ปริมาณอากาศในการไหม้ 100% ส่วนระบบผลิตก๊าซเชื้อเพลิงใช้อากาศเพียงบางส่วน) โดยสามารถควบคุม กระบวนการเผาไหม้ให้ได้ตามต้องการและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยลง เทคโนโลยีการผลิตเชือ้ เพลิงขยะมีการใช้อย่างกว้างขวางในกลุม่ ประเทศ สหภาพยุโรป (European Union) ซึง่ มีปริมาณเชือ้ เพลิงขยะประมาณ 3 ล้านตัน ต่อปี โดยมีประเทศที่ได้มีการศึกษาและพัฒนาการแปรรูปขยะเป็นเชื้อเพลิง มาอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ออสเตรีย ฟินแลนด์ เยอรมนี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ และสวีเดน ประเทศญีป่ นุ่ เป็นประเทศในเอเชียทีม่ กี ารศึกษาและพัฒนาการแปรรูป ขยะมูลฝอยเป็นเชือ้ เพลิงขยะมาก ในญีป่ นุ่ มีโรงงานแปรรูปขยะเป็นขยะเชือ้ เพลิง มีกำ� ลังการผลิตตัง้ แต่ 2.5 ตัน/วัน ไปจนถึง 390 ตัน/วัน โดยทัว่ ไปแล้วโรงผลิต เชื้อเพลิงขยะจะมีก�ำลังการผลิตประมาณ 50 ตัน/วัน กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
69
ขยะ
1) ขั้นตอนการผลิตเชื้อเพลิง
ขั้นตอนการผลิตเชื้อเพลิงขยะ จะเริ่ ม ต้ น เช่ น เดี ย วกั บ การจั ด การ โดยทั่วไป กล่าวคือ เมื่อจัดเก็บขยะ มู ล ฝอยแล้ ว ขยะมู ล ฝอยดั ง กล่ า ว จะถู ก น� ำ มาคั ด แยกส่ ว นที่ ส ามารถ น� ำกลั บ ไปใช้ ซ�้ำได้ (Reuse) เช่น โลหะและแก้ ว เป็ น ต้ น ส่ ว นขยะ อินทรียสาร เช่น เศษอาหาร เศษผัก เป็นต้น ซึง่ มีความชืน้ สูง องค์ประกอบ ที่ เ ป็ น อิ น ทรี ย สารสามารถน� ำ ไปใช้ กั บ กระบวนการผลิ ต ก๊ า ซชี ว ภาพ (Biogas) หรือสารปรับปรุงคุณภาพดิน (Soil Conditioner) องค์ ป ระกอบที่ เ หลื อ จาก การคัดแยก เช่น กระดาษ เศษไม้ พลาสติก จะถูกน�ำไปลดขนาดและ น�ำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการ เผาไหม้โดยตรงในรูปของ Coarse RDF (c-RDF) ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงขยะ ชนิดหยาบ หรือน�ำเข้าสู่กระบวนการ ท� ำ ให้ แ ห้ ง และการอั ด แท่ ง เพื่ อ ผลิ ต เป็น Densified RDF (d-RDF) โดย การป้อนเข้าเตาอบเพื่อลดความชื้น ของขยะมูลฝอย ด้วยความร้อนจาก ไอน�้ำหรือลมร้อนเพื่ออบขยะมูลฝอย ให้แห้งซึ่งจะทําให้น�้ำหนักลดลงเกือบ 50% (ความชื้นเหลือไม่เกิน 15%) ขยะที่ เ ป็ น กระดาษ กระดาษแข็ ง พลาสติก ไม้ และผ้า ซึง่ มีคา่ ความร้อน ต�ำ่ สุด (LHV) ประมาณ 11-17 เมกะจูล/ กิโลกรัม เป็นวัสดุทเี่ หมาะสมในการนาํ มาใช้ผลิตแท่งเชื้อเพลิง และสุดท้าย จะส่งไปเข้าเครื่องอัดเม็ด (Pellet) หรือทาํ เป็นแท่ง เพือ่ ทาํ ให้ได้เชือ้ เพลิง ขยะอัดเม็ดหรือเป็นแท่งทีม่ ขี นาดและ ความหนาแน่นเหมาะสมต่อการขนส่ง หรือการใช้งาน รูปที่ 16 แสดงแท่ง เชื้อเพลิงขยะ
รูปที่ 16 ตัวอย่างแท่งเชื้อเพลิงขยะ
การเลือกพิจารณาว่าจะผลิตเชือ้ เพลิงขยะชนิดไหนนัน้ ขึน้ อยูก่ บั เทคโนโลยี ของระบบการเผาไหม้ สถานที่ที่ตั้งระหว่างที่ผลิตเชื้อเพลิงขยะ และสถานที่ ที่ใช้งาน รูปที่ 17 แสดงขั้นตอนการแปรสภาพขยะมูลฝอยเป็นเชื้อเพลิงขยะ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
70
รูปที่ 17 ขั้นตอนการแปรรูปขยะมูลฝอยเป็นเชื้อเพลิงขยะ
2) ปริมาณและองค์ประกอบของเชื้อเพลิงขยะ ปริมาณของเชือ้ เพลิงขยะทีผ่ ลิตได้ตอ่ ปริมาณขยะมูลฝอย 1 ตัน ขึน้ อยูก่ บั วิธีการจัดเก็บขยะ กระบวนการที่ใช้ในการแปรรูปขยะ และคุณภาพของขยะ เชื้อเพลิงที่ต้องการ จากรายงานของ European Commission Directorate General Environment ระบุว่าปริมาณขยะเชื้อเพลิงที่ผลิตได้จากขยะมูลฝอย จะอยู่ในช่วงระหว่างร้อยละ 23 ถึง 50 โดยน�้ำหนักของขยะมูลฝอยที่นำ� มา แปรรูป ตารางที่ 5 แสดงอัตราการแปรสภาพเฉลี่ยด้วยวิธีการที่แตกต่างกัน ในประเทศต่าง ๆ ในยุโรป ตารางที่ 5 อัตราการแปรสภาพเป็นเชื้อเพลิงขยะ ประเทศ ออสเตรีย เบลเยียม ฟินแลนด์ เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ โดยที่
วิธีการ MBT MBT MT MT MT
MBT = Mechanical Biological Treatment MT = Mechanical Treatment
% การแปรสภาพ 23 40-50 ไม่แน่นอน 35 22-50
องค์ ป ระกอบของขยะเชื้ อ เพลิ ง จะขึ้ น อยู ่ กั บ องค์ ป ระกอบของขยะมู ล ฝอยที่ น� ำ มาแปรรู ป วิ ธี ก ารจั ด เก็ บ และกระบวนการที่ใช้ในการแปรรูป คุณลักษณะที่ส�ำคัญของเชื้อเพลิงขยะที่ได้จากการแปรรูป ได้แก่ ค่าความร้อน ปริมาณความชืน้ ปริมาณเถ้า และปริมาณซัลเฟอร์และคลอไรด์ ตัวอย่างคุณลักษณะของขยะมูลฝอยและเชือ้ เพลิงขยะ ที่ได้จากการแปรรูปขยะแสดงในตารางที่ 6 ตารางที่ 6 องค์ประกอบขยะมูลฝอยและเชื้อเพลิงขยะ Proximate Analysis MSW (wt%)
RDF (wt%)
Moisture
55.93
29.29
Volatile Fixed Carbon Ash
35.28 4.27 4.52
LHV (KJ/Kg)
9,736.17
Carbon
54.27 Hydrogen 10.98 Oxygen 5.46 Nitrogen Calorific Value 14,805.25 HHV (KJ/Kg)
Elemental Analysis MSW (wt%)
RDF (wt%)
51.33
50.87
6.77 30.92 1.42
6.68 26.66 1.56
21,894.33
21,306.77
ร า ส า ้ ฟ ไฟ Dry Basis : modified from K.Silvapalan, 2003.
ตารางที่ 6 แสดงให้เห็นชัดเจนว่าความชื้นในเชื้อเพลิงลดลงอย่างมาก (ประมาณร้อยละ 50) เมื่อเทียบกับ ขยะมูลฝอยก่อนที่จะน�ำมาแปรรูป ผลดังกล่าวท�ำให้เชื้อเพลิงขยะมีค่าความร้อนสูงกว่าขยะมูลฝอย
3) ประเภทของเทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงขยะ เทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงขยะสามารถแยกได้เป็น 2 แบบ ตามกระบวนการผลิต ดังนี้ 3.1) วิธีทางกล (Mechanical Treatment) โดยทั่วไปกระบวนการก�ำจัดขยะมักจะเป็นวิธีผสมระหว่างเชิงกลและชีวภาพ 2 รูปแบบ รูปแบบแรก คือ Mechanical-Biological Treatment (MBT) เป็นการผลิตเชื้อเพลิงขยะก่อนกระบวนการทางชีวภาพ และรูปแบบที่สอง คือ Biological Mechanical Treatment (BMT) เป็นการผลิตเชื้อเพลิงขยะหลังกระบวนการทางชีวภาพ รายละเอียด ขั้นตอนของทั้งสองรูปแบบดังแสดงในรูปที่ 18
(ก) MBT กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
71
(ข) BMT รูปที่ 18 กระบวนการ MBT และ BMT
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
บทความนี้ จ ะอธิ บ ายหลั ก การท� ำ งานของเทคโนโลยี รู ป แบบ MBT ดั ง แสดงในรู ป ที่ 19 ขั้นตอนการท�ำ งานเริ่มจากการน�ำขยะมูลฝอยผ่าน กระบวนการคัดแยกขยะส่วนที่ไม่สามารถเผาไหม้ได้ (โลหะ แก้ว เศษหิน) ขยะอันตราย และขยะรีไซเคิลออกจากขยะส่วนอื่น ๆ ขยะส่วนที่เหลือน�ำมา ผ่านเครือ่ งสับย่อยเพือ่ ลดขนาด ก่อนส่งเข้าสูเ่ ครือ่ งอบความร้อนเพือ่ ลดความชืน้ อากาศร้อนที่ผ่านเครื่องอบแล้วจะต้องน�ำไปผ่านกระบวนการบ�ำบัด เพื่อแยก
ฝุ่นละอองและเผาไหม้เพื่อขจัดกลิ่น ออกก่อนที่จะปล่อยสู่บรรยากาศ ส่วนขยะทีผ่ า่ นการอบแห้งแล้ว จะน�ำมาผ่านเครื่องคัดแยกแม่เหล็ก เพื่ อ คั ด แยกมู ล ฝอยที่ มี เ หล็ ก เป็ น ส่วนประกอบ และใช้เครื่อง Eddy
รูปที่ 19 การผลิตเชื้อเพลิงขยะ โดยระบบทางกล
72
Current Separator เพื่ อ คั ด แยก อะลูมิเนียมออกจากมูลฝอย จากนั้น จึ ง ป้ อ นขยะมู ล ฝอยเข้ า ไปยั ง เครื่ อ ง อัดเม็ด (Pettet) เพือ่ ท�ำให้ได้เชือ้ เพลิง ขยะอัดเม็ดทีม่ ขี นาดและความหนาแน่น เหมาะสมต่อการขนส่งไปจ�ำหน่ายเป็น เชื้อเพลิง ซึ่งในบางกรณีจะมีการเติม หิ น ปู น (CaO) เข้ า ไปกั บ มู ล ฝอย ระหว่างการอัดเป็นเม็ดเพื่อควบคุม และลดปริมาณก๊าซพิษที่เกิดขึ้นจาก การเผาไหม้ 3.2) ระบบไอน�ำ้ (Autoclave) หลักการท�ำงานคล้ายกับระบบ แรก เริ่มจากการป้อนขยะมูลฝอย เข้ า กระบวนการคั ด แยกขยะส่ ว นที่ ไม่สามารถเผาไหม้ได้ (โลหะ แก้ว เศษหิ น ) ขยะอั น ตราย และขยะ รีไซเคิล ออกจากขยะรวมหลังจาก นัน้ จึงน�ำขยะมูลฝอยเข้าหม้ออบไอน�ำ้ ดังแสดงในรูปที่ 20 ที่ระดับแรงดัน
รูปที่ 20 หม้ออบไอน�้ำส�ำหรับอบขยะมูลฝอยเพื่อผลิตเชื้อเพลิงขยะ
5 บาร์ อุณหภูมิ 160 องศาเซลเซียส เป็นเวลาประมาณ 45 นาที โดยไม่ต้อง ผ่านเครื่องสับย่อยเพื่อลดขนาด ซึ่งจะเป็นการฆ่าเชื้อโรคได้ทั้งหมด ขยะที่ ผ่านการอบไอน�ำ้ จะเปือ่ ยยุย่ พลาสติกจะอ่อนตัว ฉลากทีต่ ดิ กับขวด ภาชนะต่าง ๆ จะลอกออก ท�ำให้สามารถน�ำไปคัดแยกในกระบวนการต่อไปเช่นเดียวกับ ระบบแรก แต่สามารถคัดแยกส่วนที่รีไซเคิลได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า ส่วนที่เหลือจากการคัดแยกสามารถน�ำไปผ่านเครื่องอัดเม็ด (Pellet) เพื่อท�ำให้ได้เชื้อเพลิงขยะอัดเม็ด RDF ต่อไป รูปที่ 21 และรูปที่ 22 แสดง กระบวนการผลิตเชื้อเพลิงขยะโดยระบบไอน�้ำ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 21 การผลิตเชื้อเพลิงขยะ โดยระบบไอน�้ำ กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
73
รูปที่ 22 แผนผังการผลิตเชื้อเพลิงขยะ โดยระบบไอน�้ำ
4) ชนิดของเชื้อเพลิงขยะ เชื้อเพลิงขยะสามารถแบ่งออกได้เป็น 7 ชนิด ตามมาตรฐาน ASTM E-75 รายละเอียดของกระบวนการจัดการ และระบบการเผาไหม้ของขยะเชื้อเพลิงแต่ละชนิดดังแสดงในตารางที่ 7
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ตารางที่ 7 ชนิดเชื้อเพลิงขยะและกระบวนการจัดการ
ชนิด RDF : MSW RDF2 : Coarse RDF RDF3 : Fluff RDF
RDF4 : Dust RDF RDF5 : Densified RDF RDF6 : RDF Slurry RDF7 : RDF Syn-gas
กระบวนการจัดการ คัดแยกส่วนที่เผาไหม้ได้ออกมาด้วยมือ รวมทั้งขยะที่มีขนาดใหญ่ บดหรือตัดขยะมูลฝอยอย่างหยาบ ๆ
ระบบการเผาไหม้
Stoker Fluidized Bed Combustor, Multi fuel Combustor คัดแยกส่วนที่เผาไหม้ไม่ได้ออก เช่น โลหะ แก้ว และอื่น ๆ มีการ Stoker บดหรือตัดจนท�ำให้ 95% ของขยะมูลฝอยที่คัดแยกแล้วมีขนาดเล็ก กว่า 2 นิ้ว ขยะมูลฝอยส่วนที่เผาไหม้ได้มาผ่านกระบวนการท�ำให้อยู่ในรูปของ Fluidized Bed Combustion, ผงฝุ่น Pulverized Fuel Combustor ขยะมูลฝอยส่วนที่เผาไหม้ได้มาผ่านกระบวนการอัดแท่ง โดยให้มี Fluidized Bed Combustor, Multi ความหนาแน่นมากกว่า 600 kg/m³ fuel Combustor ขยะมูลฝอยส่วนที่เผาไหม้ได้มาผ่านกระบวนการให้อยู่ในรูปของ Swirl Burner Slurry ขยะมูลฝอยส่วนทีเ่ ผาไหม้ได้มาผ่านกระบวนการท�ำเป็นก๊าซเชือ้ เพลิง Burner, Integrated Gasificationเพื่อผลิต Syn-gas Combined Cycle (IGCC)
5) การใช้ประโยชน์เชื้อเพลิงขยะ การใช้ประโยชน์เชือ้ เพลิงขยะสามารถใช้ได้ทงั้ ในรูปผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อน โดยอาจมีการใช้ประโยชน์ ในสถานทีผ่ ลิตเชือ้ เพลิงขยะหรือขนส่งไปใช้ทอี่ นื่ นอกจากนีย้ งั สามารถใช้เผาร่วมกับถ่านหิน (Co-firing) เพือ่ ลดปริมาณ การใช้ถ่านหินลงในอุตสาหกรรมบางประเภท เช่น อุตสาหกรรมซีเมนต์ โดยมีรูปแบบเตาเผาที่ใช้เปลี่ยนเชื้อเพลิง ขยะให้เป็นพลังงานความร้อน ประกอบด้วยเตาเผาแบบตะกรับ (Stoker) เตาเผาแบบฟลูอิดไดช์เบด (Fluidized Bed
74
Combustor) หรือเตาเผาแก๊สซิฟเิ คชัน่ (Gasification) หรื อ ไพโรไลซิ ส (Pyrolysis) สรุปการใช้ประโยชน์จาก แท่งเชื้อเพลิงขยะได้ดังนี้ (1) ใช้เป็นเชือ้ เพลิงโดยรวมกับ อุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนเป็นพลังงาน เช่น เตาเผา (2) เผาไหม้รวมกับเชือ้ เพลิงอืน่ เช่น ถ่านหินหรือชีวมวล (3) เผาไหม้ในเตาผลิตปูนซีเมนต์ 6) ข้ อ ดี แ ละข้ อ จ� ำ กั ด ของ เชื้อเพลิงขยะ 6.1) ข้อดี (1) สามารถลดปริ ม าตร ของขยะมูลฝอยได้ 50-70% ท�ำให้ ไม่เป็นภาระในการหาพืน้ ทีเ่ พือ่ ฝังกลบ ส่วนที่เหลือจากการคัดแยก (2) สามารถก�ำจัดเชื้อโรคได้ 100% เนือ่ งจากมีการอบขยะเชือ้ เพลิง ด้วยความร้อน นอกจากนีย้ งั ลดปัญหา เรื่องกลิ่นอันไม่พึงประสงค์ได้ (3) ได้ เ ชื้ อ เพลิ ง ขยะที่ มี ขนาดและคุณภาพสม�่ำเสมอ เหมาะ ส�ำหรับการน�ำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงใน ระบบการเผาไหม้ต่าง ๆ ในโรงงาน อุตสาหกรรมหรือโรงผลิตไฟฟ้า (4) สะดวกต่อการขนส่ง
(3) มีค่าใช้จ่ายในการเดินระบบและค่าบ�ำรุงรักษาค่อนข้างสูง (4) ต้องมีบุคลากรที่มีประสบการณ์เฉพาะด้านในการเดินระบบ (5) การผลิตเชื้อเพลิงขยะโดยไม่ได้คัดแยกพลาสติกออก จะต้อง ใช้เป็นเชื้อเพลิงในระบบเผาไหม้ที่มีการควบคุมมลพิษจากการเผาไหม้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันปัญหามลพิษทางอากาศที่อาจเกิดขึ้นได้ บทความตอนต่อ ๆ ไปจะกล่าวถึงเนือ้ หาส่วนทีเ่ หลือเกีย่ วกับเทคโนโลยี การผลิตเชื้อเพลิงขยะ ได้แก่ การน�ำไปผลิตพลังงาน และผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อมเนือ่ งจากเทคโนโลยีดงั กล่าว นอกจากนัน้ จะกล่าวถึงเทคโนโลยีอนื่ ๆ ได้แก่ เทคโนโลยีการฝังกลบ เทคโนโลยีชีวภาพซึ่งเป็นเทคโนโลยีส�ำหรับ การก�ำจัดขยะ และผลิตไฟฟ้าจากกระบวนการก�ำจัดขยะเหล่านั้น กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ ดร.ประดิษฐ์ เฟือ่ งฟู ทีช่ ว่ ยปรับปรุงให้บทความนีส้ มบูรณ์มากยิง่ ขึน้ และ ขอขอบคุณ บริษัท พีอีเอ เอ็นคอม อินเตอร์เนชั่นแนล ที่สนับสนุนข้อมูลและรายละเอียด เกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากการก�ำจัดขยะ, ผศ.บุญมา ป้านประดิษฐ์ และคณะ, เทศบาลนครภูเก็ต และศูนย์วจิ ยั การเผากากของเสีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ รวมทั้งศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่อนุเคราะห์องค์ความรู้ ข้อมูลต่าง ๆ ระหว่างการศึกษาความเหมาะสมโครงการผลิตไฟฟ้าจากการก�ำจัดขยะ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 6.2) ข้อจ�ำกัด (1) เป็ น การจั ด การขยะ มูลฝอยที่ไม่สมบูรณ์ในตัวเอง จ�ำเป็น ต้ อ งน� ำ ไปใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ร่ ว มกั บ เทคโนโลยีทางความร้อนอื่น ๆ เพื่อ ผลิตเป็นพลังงาน (2) ต้องใช้เงินลงทุนก่อสร้าง ระบบค่อนข้างสูง
เอกสารอ้างอิง [1] พีอีเอ เอ็นคอม อินเตอร์เนชั่นแนล, “ร่างรายงานฉบับสมบูรณ์การศึกษา ความเหมาะสมโครงการผลิตไฟฟ้าจากการก�ำจัดขยะ”, มีนาคม 2555 [2] เทศบาลนครภูเก็ต, “โครงการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียด ในการลงทุนและด�ำเนินการฝังกลบขยะด้วยกระบวนการชีวภาพ-กลและรื้อบ่อฝังกลบ เป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตพลังงานสะอาด” (โดย ศูนย์วิจัยการเผากากของเสีย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ), มีนาคม 2554 [3] การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค, “โครงการศึกษาความเหมาะสมการผลิตไฟฟ้าจากขยะ” (โดยศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร), มีนาคม 2553
ประวัติผู้เขียน
นายธงชัย มีนวล ท�ำงานให้การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ประมาณ 21 ปี ตัง้ แต่ พ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบัน งานหลักที่รับผิดชอบในปัจจุบันเกี่ยวกับ การพัฒนาบุคลากรของ กฟภ.ให้มีความรู้ ความสามารถ และ ทักษะในด้านวิศวกรรม เทคนิค เทคโนโลยีระบบไฟฟ้า, การพัฒนา ระบบผลิตไฟฟ้าจากขยะชุมชน และการพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้า อัจฉริยะ
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
75
Energy พลังงาน นายธวัชชัย ชยาวนิช สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การจัดท�ำมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ระบบอัดอากาศ (ภาคปฏิบัติ) ในโรงงานอุตสาหกรรมนัน้ มีเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ สนั บ สนุ น กระบวนการผลิต อยู่มากมายหลายประเภท บ้างก็ใช้งานเป็นครั้งคราว บ้างก็ต้องเปิดใช้แบบต่อเนื่อง ตลอดเวลา บ้างก็เปิดระบบใช้งานเพียงเฉพาะจุด บ้างก็เปิด ระบบเพือ่ ใช้งานกระจายไปในหลายส่วน แม้บางส่วนหยุด ใช้งานไปแล้ว แต่ก็ยังต้องเปิดระบบไว้ต่อไป ในกิจกรรม อนุรักษ์พลังงานจึงต้องอาศัยการสังเกต วิเคราะห์และ วางแผนการใช้งานให้ดลู งตัวมากทีส่ ดุ และหนึง่ ในระบบที่ พบเห็นโดยทั่วไปที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้ามากในระดับที่มี นัยส�ำคัญก็คอื ระบบอากาศอัด ซึง่ ผลิตอากาศอัดจากเครือ่ ง อัดอากาศ (Air Compressor) ที่มีเอกสารทางวิชาการ หลายแหล่งกล่าวไว้ว่า มีการสูญเสียพลังงานมากถึง 7090% ในการอัดอากาศ การเลือกใช้เครือ่ งอัดอากาศจึงควร ค�ำนึงถึงประสิทธิภาพในการผลิตอากาศอัดให้มาก เพราะ การค�ำนึงถึงราคาเครือ่ งเป็นส�ำคัญ แต่ลมื นึกถึงค่าพลังงาน ไฟฟ้าทีจ่ ะตามมา อาจท�ำให้มาคิดได้ในภายหลังว่า เครือ่ งอัด อากาศนี้ ค่าไฟฟ้าที่ใช้ไปในปีหนึ่ง ๆ มากกว่าราคาเครื่อง เสียอีก เพราะเป็นอุปกรณ์ทมี่ กั จะต้องเปิดใช้งานอย่างต่อเนือ่ ง เท่า ๆ กับเวลาทีท่ �ำงานในแต่ละวันนัน่ เอง อีกทัง้ เป็นระบบ ที่เกิดการรั่วไหลได้ง่าย อุปกรณ์ชำ� รุดได้เสมอ ในโรงงาน ที่ มี ก ารบ� ำ รุ ง รั ก ษาไม่ ดี พ อจึ ง มั ก เกิ ด การสู ญ เสี ย เป็ น จ�ำนวนมาก ดังนั้น การจัดท�ำมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ระบบอัดอากาศจึงต้องการการสังเกตและการตรวจวัด มาประกอบการพิจารณา ทั้งนี้ เนื้อหาและทฤษฎีของ เครื่องอัดอากาศมีเนื้อหาที่กว้างขวางมาก จึงไม่อาจน�ำมา กล่าวอ้างถึงในทีน่ ไี้ ด้ แต่จะขอยกข้อสังเกตต่าง ๆ ทีค่ วรทราบ และผลจากการตรวจวัดมาเป็นกรณีศึกษาส�ำหรับผู้อ่าน ทีม่ คี วามสนใจในการจัดท�ำมาตรการอนุรกั ษ์พลังงานระบบ อัดอากาศต่อไป
ระบบอั ด อากาศเป็ น ระบบที่ อ าศั ย การรั ก ษา • ค่าความดันเป็นจุดท�ำงาน หากความดันอากาศลดลง
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
76
ถึงเกณฑ์ที่ตั้งค่าไว้ เครื่องก็จะท�ำการอัดอากาศจนกว่า ความดันอากาศในระบบจะมากขึ้นถึงเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ เช่นกัน ดังรูปที่ 1
รูปที่ 1 พฤติกรรมการรักษาค่าความดันของระบบอัดอากาศ ซึ่งท�ำงานแบบตัด-ต่อ (Load - Unload) ในขณะท�ำการทดสอบ การรั่วไหลของอากาศอัด (ไม่มีการผลิต)
การรัว่ ไหลของอากาศอัด (ลมรัว่ ) ในระบบอาจจะ • ท�ำให้เกิดการสูญเสียได้มากอย่างคาดไม่ถงึ แม้จะเป็นช่วง
หยุดพักหรือเลิกงานก็ตาม หากมีลมรั่วไหลจนความดัน ในระบบลดลง เครื่องอัดอากาศก็จะท�ำการผลิตอากาศอัด ต่อไป หากมีลมรัว่ ไม่หยุด เครือ่ งอัดอากาศก็จะท�ำการรักษา ค่าความดันเอาไว้ตลอดเวลา นั่นคือมีการใช้ไฟฟ้าแบบ ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์เลย ดังรูปที่ 2 ซึ่งสังเกตได้ว่า เครื่องอัดอากาศรุ่นนี้ ขณะที่หยุดอัดอากาศ (Unload) ก็ยังมีการใช้ไฟฟ้ามากกว่า 5 kW
รูปที่ 2 พฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าของเครื่องอัดอากาศขนาดเล็กรุ่นหนึ่งในขณะท�ำการทดสอบลมรั่ว (ไม่มีการผลิต)
การตรวจสอบการรั่วไหลของอากาศอัดในพื้นที่ • ปฏิบัติงาน สามารถท�ำได้โดยการฟังเสียง หรือใช้น�้ำสบู่
การตรวจสอบการรั่วไหลของอากาศอัดที่เครื่อง • อัดอากาศ สามารถท�ำได้โดยง่าย เพียงอาศัยการสังเกตว่า
มาป้ายทาในจุดที่สงสัยว่ามีการรั่วของลม หรือใช้น�้ำใส่ ในช่วงเลิกงาน (หรือช่วงพักที่ไม่ได้มีการใช้อากาศอัด) ภาชนะแล้วจุม่ ปืนลม หรือปลายสาย เพือ่ สังเกตการรัว่ ไหล เครื่องอัดอากาศมีการท�ำงานหรือไม่ ค่าความดันเกจที่ ดังรูปที่ 3 ถังพักลมมีค่าคงที่หรือมีค่าลดลงรวดเร็วเพียงใด หากไม่มี ลมรัว่ เลย เครือ่ งอัดอากาศก็จะไม่ทำ� งานและเกจความดัน ก็จะมีคา่ คงที่ ซึง่ เป็นกรณีทหี่ าได้ยากในทางปฏิบตั ิ เพราะ โดยส่วนใหญ่ระบบอากาศอัดย่อมจะมีลมรัว่ อยูบ่ า้ งไม่มาก ก็น้อย การประเมินลมรั่วท�ำได้ด้วยการจับเวลาว่า เครื่อง อัดอากาศท�ำการอัดอากาศ (Load) มีเวลา tload นานเท่าใด และมีการหยุดอัดอากาศ (Unload) มีเวลา tunload นานเท่าใด แล้วค�ำนวณ % การรั่วไหลได้จากสมการ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ทั้งนี้ ผู้เชี่ยวชาญแนะน�ำว่าโรงงานที่มีการรั่วไหล ของอากาศอัดอยู่ระหว่าง 5-10 % ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ ยอมรับได้ เครือ่ งอัดอากาศแบบลูกสูบ (ประเภททีเ่ ครือ่ งอัด อากาศติดอยูก่ บั ถังพักและมีลอ้ ) โดยปกติแล้วขณะทีห่ ยุด อัดอากาศจะตัดการใช้ไฟฟ้าเลย ดังรูปที่ 3 ซึ่งสังเกตได้ ว่าเครือ่ งอัดอากาศในกรณีนี้ หากเปิดทิง้ เอาไว้และมีลมรัว่ ในช่วงเวลาประมาณ 5 นาที มีการใช้พลังงานไฟฟ้าไป ประมาณ 0.21 หน่วย (ผู้เขียนเคยพบว่า มีบางโรงงานมี ความเชื่อว่า หากเครื่องอัดอากาศมีการสตาร์ตบ่อย ๆ จะ ท�ำให้อายุการใช้งานสั้น จึงดัดแปลงการท�ำงาน เป็นผลให้ เครือ่ งอัดอากาศแบบลูกสูบขนาด 7 HP ขณะตัดการท�ำงาน ก็ยังใช้ก�ำลังไฟฟ้ามากกว่า 1 kW)
•
รูปที่ 3 การตรวจสอบการรั่วไหลของอากาศอัด ในพื้นที่ปฏิบัติงาน
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
77
รูปที่ 4 พฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าของเครื่องอัดอากาศแบบลูกสูบ ขนาด 10 HP รุ่นหนึ่ง
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
โดยทั่วไปแล้วเครื่องอัดอากาศที่ไม่ใช่แบบลูกสูบขนาดเล็ก ขณะที่หยุดอัดอากาศ (Unload) ก็ยังมีการใช้ไฟฟ้า และอาจใช้มากกว่าที่หลาย ๆ คนคิด พิจารณารูปที่ 5 แสดงก�ำลังไฟฟ้าขาเข้า (Input Power) ของเครื่องอัดอากาศ ขนาด 75 kW รุ่นหนึ่ง จะสังเกตได้ว่าขณะหยุดอัดอากาศยังใช้ก�ำลังไฟฟ้ามากกว่า 32 kW และจากกราฟพบว่า ช่วงเวลาที่อัดอากาศน้อยกว่าช่วงเวลาที่หยุดอัดอากาศ นั่นหมายถึง หากมีการเลือกใช้เครื่องอัดอากาศขนาดใหญ่ เกินไปก็จะมีช่วงเวลาที่หยุดอัดอากาศเป็นเวลานาน ถือเป็นการสูญเสียพลังงานที่ไม่ท� ำให้เกิดงาน หากเทียบกับ การเลือกใช้เครือ่ งอัดอากาศทีม่ ขี นาดเล็กกว่าแล้วจะพบว่ามีชว่ งเวลาทีอ่ ดั อากาศนานขึน้ และช่วงเวลาทีห่ ยุดอัดอากาศ น้อยลง จึงเป็นทางเลือกที่ควรเลือกมากกว่า
รูปที่ 5 พฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าของเครื่องอัดอากาศขนาด 75 kW รุ่นหนึ่ง
ระบบที่มีการบ�ำรุงรักษา มีการแก้ไขปัญหาการรั่วไหลของลมอัด ในทางปฏิบัติหากไม่มีเครื่องวัดที่มี • ความสามารถที่จะบันทึกพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้า แต่มีเครื่องวัดก�ำลังไฟฟ้า อาจประเมินผลการปรับปรุงได้ด้วย การค�ำนวณและการตรวจวัดประกอบกัน โดยอนุมานว่าพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าของเครื่องอัดอากาศมีลักษณะสมมุติ ดังรูปที่ 6 ก. ในการตรวจวัดต้องท�ำขณะทีไ่ ม่มกี ารผลิต เพราะต้องการสังเกตการรัว่ ไหลเท่านัน้ ก่อนท�ำการปรับปรุงให้
78
ท�ำการวัดก�ำลังไฟฟ้าและจับเวลาทั้งในช่วงอัดอากาศ (Load) และช่วงหยุดอัดอากาศ (Unload) เพื่อเขียนรายละเอียด ดังรูปที่ 6 ก. หลังท�ำการปรับปรุงแล้ว ก็ให้ทำ� การวัดก�ำลังไฟฟ้าและจับเวลาเพื่อเขียนรูปเปรียบเทียบดังรูปที่ 6 ข. อย่างไรก็ดี หากพิจารณาจากรูปที่ 5 จะเห็นว่าการวัดก�ำลังไฟฟ้าขณะ Unload อาจเกิดความผิดพลาดได้ง่าย เพราะ ก�ำลังไฟฟ้าในช่วงเวลานั้นมักจะไม่คงที่ (ค่า kW ที่ฉลากของเครื่องอัดอากาศ หมายถึง พิกัด Output Power ของมอเตอร์ ไม่ใช่พิกัด Input Power ของอุปกรณ์)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ก.
ข.
รูปที่ 6 การวัดก�ำลังไฟฟ้าและจับเวลาการท�ำงานเครื่องอัดอากาศ ก. ก่อนปรับปรุง ข. หลังปรับปรุง
ค�ำนวณ % การรัว่ ไหลก่อนและหลังการปรับปรุง • จากสมการ % การรั่วไหล = % การรัว่ ไหล ก่อนปรับปรุง = [69 / (69+114)] x 100 = 37.7 %
% การรั่วไหล หลังปรับปรุง = [47 / (47+136)] x 100 = 25.7 % ค�ำนวณผลประหยัดจากพลังงานไฟฟ้าทีล่ ดลง = (kWLoad – kWUnload) x (% การรัว่ ไหลก่อน - % การรัว่ ไหลหลัง) /100 x จ�ำนวนชั่วโมงใช้งาน
•
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
79
รูปที่ 7 เครื่องอัดอากาศท�ำงานเป็นกลุ่ม
ถ้าช่วงเวลาการเปิดต่อวัน = 24 h จ�ำนวนชั่วโมงใช้งานต่อปี (คิดที่ 320 วัน/ปี) = 24 × 320 = 7,680 h พลังงานไฟฟ้าที่ลดลง = (77 - 32) x (37.7 – 25.7)/100 x 7,680 = 41,472 หน่วย/ปี เมื่อคูณด้วยค่าไฟฟ้าเฉลี่ยต่อหน่วย ก็จะได้ผล ประหยัดโดยประมาณเป็น บาท/ปี (แต่ละโรงงานอาจมีคา่ ไฟฟ้าเฉลีย่ ต่อหน่วยไม่เท่ากัน) กรณีที่โรงงานมีลมรั่ว และมีเครื่องอัดอากาศ ท�ำงานเป็นกลุ่ม ดังกรณีของรูปที่ 7 ที่มีการเปิดเครื่องอัด อากาศ 2 เครื่อง จากทั้งหมด 4 เครื่อง เมื่อประเมิน % การท�ำงาน (ใช้วิธีคิดเหมือนค�ำนวณ % ลมรั่ว) พบว่า เครื่ อ งอั ด อากาศเครื่ อ งหนึ่ ง ท� ำ งานแบบไม่ มี ก ารตั ด อีกเครื่องหนึ่งท�ำงาน 27% มีความเป็นไปได้ว่า เพราะ ลมรัว่ จ�ำนวนมากในหลาย ๆ จุดของโรงงาน ท�ำให้ปริมาณ
ลมไม่เพียงพอ ท�ำให้ต้องเปิดเครื่อง 30 kW ช่วยอีก 1 เครื่อง และเพราะมีลมรั่วมาก ท�ำให้ความดันของ อากาศอัดที่ปลายทางไม่เพียงพอที่จะใช้งาน (ต้องการ 5 Bar) ท�ำให้ต้องอัดอากาศที่ต้นทางเพิ่มเป็น 7.2 Bar เป็นผลให้ใช้พลังงานในการอัดอากาศมากขึน้ ในกรณีนหี้ าก ท�ำการแก้ไขปัญหาลมรั่วได้ส�ำเร็จแล้ว อาจลดความดัน อากาศที่ต้นทางได้ และเครื่องอัดอากาศ 37 kW เพียง เครื่องเดียวอาจเพียงพอต่อการใช้งานอีกด้วย หากทางโรงงานไม่มีเครื่องวัดก�ำลังไฟฟ้า แต่มี เครื่องวัดที่วัดแรงดันและกระแสได้ โดยทางทฤษฎีอาจ พิจารณาว่าเครื่องอัดอากาศเป็นอุปกรณ์สมดุล 3 เฟส และสามารถค�ำนวณก�ำลังไฟฟ้า 3 เฟสได้จากสมการ เมื่ อ Cos θ คื อ ค่าตัวประกอบก�ำลัง หรือ PF (Power Factor) แต่ถ้าได้พิจารณารูปที่ 8 ทั้ง 2 รูปแล้วจะเห็นได้ว่า การแทนค่าตัวประกอบก�ำลังให้ถกู ต้องเป็นเรือ่ งยาก ดังนัน้ ผลการค�ำนวณอาจมีความคลาดเคลื่อนได้
ร า ส า ้ ฟ ไฟ •
ก.
80
•
ข. รูปที่ 8 แสดงค่าตัวประกอบก�ำลังของเครื่องอัดอากาศ 2 รุ่น ก. ขนาดกลาง ข. ขนาดใหญ่
ร า ส า ้ ฟ ไฟ เครื่องอัดอากาศบางรุ่นมีระบบประหยัดพลังงาน (Econo Mode) หากพิจารณาจากรูปที่ 9 จะสังเกตได้ว่า • การท�ำงานใน Econo Mode เน้นการอัดอากาศครัง้ ละน้อย ๆ แต่ทำ� งานถีก่ ว่า โดยการอัดอากาศจะอัดอากาศให้ความดัน
เพิ่มขึ้นระดับหนึ่ง แต่จะไม่สูงเท่ากับความดันตอนท�ำงานในภาวะปกติ (Normal Mode) ท�ำให้ก�ำลังไฟฟ้าขณะอัด มีคา่ น้อยกว่า อย่างไรก็ดี ผลประหยัดจะเป็นเช่นไรต้องเปรียบเทียบจากพืน้ ทีใ่ ต้กราฟรวม (พลังงาน = ก�ำลังไฟฟ้า x เวลา) พื้นที่ใต้กราฟรวมมากกว่า ก็หมายถึงมีการใช้พลังงานไฟฟ้ามากกว่านั่นเอง กรณีในรูปที่ 9 นี้เป็นการทดสอบขณะที่ ไม่มีการผลิต มีแต่ลมรั่วเท่านั้น พบว่าเครื่องอัดอากาศมีการท�ำงานไม่มากนัก Econo Mode จึงใช้พลังงานมากกว่า Normal Mode เล็กน้อย
รูปที่ 9 แสดงการเปรียบเทียบการท�ำงาน Normal Mode กับ Econo Mode
หากมีเครื่องอัดอากาศหลายเครื่อง ควรท�ำการตรวจวัดปริมาณลมที่มีการน�ำไปใช้อัดอากาศจริง (ต้องใช้ • เครื่องมือ) และวัดก�ำลังไฟฟ้า เพื่อประเมินค่าก�ำลังไฟฟ้าต่อปริมาณลมใน 1 นาที ในหน่วย kW / m / min เพื่อ 3
วางแผนเลือกใช้งานเครื่องที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดก่อน ดังตารางประเมินประสิทธิภาพในหน้าถัดไป กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
81
ข้อมูล ขนาดพิกัด ก�ำลังไฟฟ้าที่วัดได้ อัตราการผลิตลม อัตราการผลิตลมจริง ประสิทธิภาพการผลิตลม
เครื่องที่ 1 175 kW 168.75 kW 30 m3/min 32.8 m3/min 5.14 kW/m3/min
แนวคิดนี้สามารถน�ำไปใช้กับการวางแผนจัดซื้อ เครือ่ งอัดอากาศใหม่มาทดแทนของเก่า เพราะบางโรงงาน ซือ้ เครือ่ งอัดอากาศใหม่ทมี่ พี กิ ดั ใหญ่ขนึ้ แต่กลับกลายเป็น ว่าประสิทธิภาพการผลิตลมกลับแย่ลง จึงควรตรวจสอบ ให้ดี (อย่าดูแต่ฉลากผลิตภัณฑ์เพียงอย่างเดียว ควรมี การทดสอบจากเครื่องจริงหรือเครื่องตัวอย่างด้วย)
เครื่องที่ 2 125 kW 105.5 kW 22 m3/min 13.5 m3/min 7.81 kW/m3/min
ค� ำ แนะน� ำ แนวทางการประหยั ด พลั ง งานที่ • น่าสนใจ จากคู่มือการจัดการพลังงานไฟฟ้าในโรงงาน ด�ำเนินการจัดท�ำภายใต้ความร่วมมือระหว่าง สถาบัน สิง่ แวดล้อมไทย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และ The Energy Conservation Center แห่งประเทศญีป่ นุ่ (ECCJ) ปี 2552
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
แนวทางการประหยัดพลังงาน การลดก�ำลังทางกลหรือโหลดทางกล ให้ตำ�่ ที่สุด
82
มาตรการที่ด�ำเนินการ
1. การลดอุณหภูมิอากาศก่อนเข้าเครื่องอัดอากาศ 2. การปรับปรุงท่อเมนส่งจ่ายอากาศอัด 3. การลดแรงดันในการผลิตอากาศอัดที่เครื่องผลิต 4. การลดการรั่วไหลของอากาศอัด 5. การจัดโหลดเครื่องอัดอากาศ 6. การใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงในระบบอัดอากาศ 7. การบ�ำรุงรักษาชุดกรองและจุดกรองต่าง ๆ ในระบบอัดอากาศ 8. การลดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของการใช้อากาศอัด 9. ใช้นอซเซิลที่มีขนาดเล็กลง หรือเป็นชนิดประหยัดพลังงาน 10. ใช้ชุดกรองที่มีความดันสูญเสียต�ำ่ 11. การลดขนาดเครื่องอัดอากาศให้เหมาะสม ไม่ใช้เครื่องอัดอากาศที่มีขนาดใหญ่เกินไป 12. การปรับการเปิดวาล์วอากาศเข้าให้เหมาะสม 13. การใช้เครื่องอัดอากาศขนาดใหญ่แทนเครื่องขนาดเล็กหลาย ๆ เครื่อง 14. การเลือกขนาดถังเก็บอากาศอัดที่เหมาะสม
การเพิ่มประสิทธิภาพการส่งผ่านก�ำลัง
1. การปรับตั้งสายพานส่งก�ำลัง 2. การเปลี่ยนถ่ายน�ำ้ มันเครื่อง 3. การบ�ำรุงรักษาเครื่องอัดอากาศ
การเพิ่มประสิทธิภาพมอเตอร์
1. การเลือกใช้เครื่องอัดอากาศที่ใช้มอเตอร์ประสิทธิภาพสูง
การเพิ่มประสิทธิภาพอินเวอร์เตอร์
1. การเลือกอินเวอร์เตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง 2. การเลือกอินเวอร์เตอร์ที่มากับเครื่อง
การลดเวลาท�ำงานของเครื่องอัดอากาศ
1. การหยุดเครื่องอัดอากาศ 2. การเลือกเครื่องอัดอากาศที่เหมาะสมกับโหลด 3. การลดการเดินตัวเปล่าของเครื่องอัดอากาศ
Variety ปกิณกะ น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล
TITANIC
สวัสดีค่ะผู้อ่านทุกท่าน เรื่องราวท้ายเล่ม ไฟฟ้าสารฉบับประจ�ำเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2555 นี้ ผู้เขียนขอใช้โอกาสครบรอบ 100 ปี เรือไททานิค (วันที่ 15 เมษายน 2455) ซึ่งมี นิทรรศการแสดงประวัติและข้าวของเครื่องใช้จริง บนเรือ (Titanic : The Artifact Exhibition) ตัง้ แต่ วันที่ 9 มิถุนายน 2555 ที่ผ่านมา และจะสิ้นสุด งานนิทรรศการในวันที่ 2 กันยายน 2555 นี้ มาเล่าถึงระบบไฟฟ้าในเรือค่ะ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 1. ระบบไฟฟ้ามาตรฐานในเรือ
ระบบไฟฟ้ามาตรฐานในเรือมีทั้งระบบกระแสตรง (DC) และกระแสสลับ (AC) ความถี่ 50 เฮิรตซ์ หรือ 60 เฮิรตซ์ ได้แก่ - ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 2 สาย ทั้ง AC หรือ DC - ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 3 สาย ทั้ง AC หรือ DC - ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 3 สาย AC - ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย AC แรงดันไฟฟ้าในเรือ แสดงไว้ในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 แรงดันไฟฟ้ามาตรฐานที่ใช้ในเรือ
Standard
AC (V)
DC (V)
115-200-220-230-350-440Power 460-575-660-2300-3150Utilization 4000-6000-10600-13460
115 and 230
120-208-230-240-380-450Power 480-600-690-2400-3300Generation 4160-6600-11000-13800
120 and 240
การเลื อ กระดั บ แรงดั น และระบบไฟฟ้ า ภายในเรื อ ก็ ขึ้ น อยู ่ กั บ ขนาดของเรื อ ด้ ว ย เช่ น เรื อ ขนาดเล็ ก ที่ มี ความต้องการพลังงานไฟฟ้าน้อย คือประมาณไม่เกิน 15 กิโลวัตต์ สามารถเลือกใช้เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าระดับแรงดัน 120 โวลต์ ชนิด 3 เฟส หรือ 1 เฟส เพื่อจ่ายไฟให้โหลดแสงสว่างหรือโหลดทั่วไปในระดับแรงดัน 115 โวลต์ 3 เฟส หรือ 1 เฟสได้ เป็นต้น กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
83
2. เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า
เรื อ ขนาดกลางที่ มี ค วามต้ อ งการพลั ง งานไฟฟ้ า ไม่เกิน 100 กิโลวัตต์ อาจเลือกใช้เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ระดับแรงดัน 230 โวลต์ หรือ 240 โวลต์ 3 เฟส เพื่อจ่ายไฟให้โหลดในระดับแรงดัน 220 โวลต์ หรือ 230 โวลต์ ตามล�ำดับ ส่วนในเรือขนาดใหญ่ที่มีความต้องการพลังงาน ไฟฟ้าสูงจะต้องมีระบบไฟฟ้า 2 ระบบ โดยใช้เครือ่ งก�ำเนิด ไฟฟ้าระดับแรงดัน 380, 450, 480, 600, หรือ 690 โวลต์ เพื่อจ่ายโหลดก�ำลังต่าง ๆ ที่ระดับแรงดันใช้งานที่ 350, 440, 460, 575 หรือ 660 โวลต์ ตามล�ำดับ ส่วนอีกระบบส�ำหรับจ่ายไฟแก่โหลดแสงสว่างที่ระดับ แรงดัน 120 โวลต์หรือ 230 โวลต์ 3 เฟส 3 สาย ในเรือขนาดใหญ่ที่มีความต้องการพลังงานไฟฟ้า สู ง มาก อาจต้ อ งพิจ ารณาเลือกใช้เครื่องก�ำเนิด ไฟฟ้า ในระดับแรงดันทีส่ งู ขึน้ เช่น 2400, 4160 หรือ 6600 โวลต์ เพื่ อ จ่ า ยโหลดที่ ร ะดั บ แรงดั น ใช้ ง าน 2300, 4000, หรือ 6000 โวลต์ ตามล�ำดับ ส่วนในโหลดอืน่ ๆ ทีม่ รี ะดับ แรงดันใช้งานต�่ำกว่านี้ก็ใช้หม้อแปลงแรงดันให้ลดลงไป ตามความเหมาะสม เรือที่ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าและใช้ไฟฟ้าใน 2 ระดับ แรงดัน หรือมากกว่า แต่ความถี่เท่ากัน พลังงานไฟฟ้าที่ ใช้ในระบบไฟฟ้าของเรืออาจแปลงมาจากแหล่งพลังงาน เดี ย วกั น ได้ โ ดยไม่ ต ้ อ งติ ด ตั้ ง เครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า เพิ่ ม เมื่อเครื่องยนต์หลักเครื่องใดเครื่องหนึ่งช�ำรุด เครื่องยนต์ หลักที่เหลือต้องสามารถขับเคลื่อนให้เรือแล่นได้เร็วครึ่ง หนึ่งของความเร็วที่ออกแบบ หรือ 7 นอต (แล้วแต่ค่าใด ที่น้อยกว่า) ขนาดก�ำลังไฟฟ้ารวมปกติของเครื่องจักรจะ ต้องไม่นอ้ ยกว่าความต้องการก�ำลังงานไฟฟ้าสูงสุดในขณะ ปฏิบัติงานในทะเล เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าควรติดตั้งในบริเวณที่แห้ง และ ระบายอากาศได้ดี ไม่ควรติดตั้งบริเวณที่มีท่อทางของน�้ำ และไอน�้ำ ควรมีการป้องกันน�้ำและน�้ำมันหยดใส่เครื่อง ก�ำเนิดไฟฟ้า ต�ำแหน่งติดตั้งต้องง่ายต่อการบ�ำรุงรักษา โดยต้องมีระยะห่างระหว่างเครื่องก�ำเนิดและสิ่งรอบข้าง อย่างน้อย 460 มิลลิเมตร (18 นิ้ว) และควรให้เพลาของ เครื่องก�ำเนิดอยู่ในแนวหัว-ท้ายของเรือ หากจ�ำเป็นต้อง ติดตั้งโดยวางขวางล�ำเรือควรพิจารณาการหล่อลื่นภายใน ระบบให้ปอ้ งกันการสึกหรอได้ดว้ ย เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าต้อง ท�ำงานได้ในสภาพการใช้งานดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 สภาพการใช้งานเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าในเรือ
การเอียงทางข้าง การโคลงทางข้าง Trim หัว-ท้าย Pitch หัว-ท้าย
15 องศา ถึง 22.5 องศา 5 องศา ถึง 7.5 องศา
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
84
3. แบตเตอรี่
แบตเตอรี่ เป็นอุปกรณ์ที่สำ� คัญในการจ่ายพลังงาน ไฟฟ้าทั้งในสภาวะปกติและสภาวะฉุกเฉิน เช่น การเริ่ม เดินเครื่องจักรใหญ่และเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าของเรือที่ใช้ ระบบเริ่มเดินด้วยแบตเตอรี่ในสภาวะปกติ รวมถึงการ จ่ายไฟให้กับระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและระบบไฟ เดินเรือเมื่อระบบไฟหลักขัดข้อง ซึ่งเป็นการจ่ายไฟใน สภาวะฉุกเฉิน เป็นต้น แบตเตอรี่ที่ใช้จึงจ�ำเป็นต้องเป็น ชนิดที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการใช้งานในเรือ ซึ่งต้อง ค�ำนวณปริมาณขนาดความจุของแบตเตอรี่ให้เหมาะสม เพื่ อ ไม่ ใ ห้ แ บตเตอรี่ มี ข นาดที่ ใ หญ่ ห รื อ เล็ ก เกิ น ไป ซึ่ ง แบตเตอรี่ที่ใช้งานในเรือสามารถเลือกใช้ชนิดตะกั่ว-กรด (Lead-Acid) หรือชนิดด่าง (Nickel-Alkaline) ก็ได้ ทั้งนี้ ขึ้ น อยู ่ กั บ ความเหมาะสมในการใช้ ง านแต่ ล ะประเภท โดยแบตเตอรีท่ ใี่ ช้ควรออกแบบให้มคี ณ ุ ลักษณะเหมาะสม ต่อการใช้งานภายใต้ภาวะต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิ แวดล้อมที่สูง เช่น ในห้องเครื่องจักรและในห้องเก็บ แบตเตอรี่ที่ผนังห้องสามารถรับแสงอาทิตย์ได้โดยตรง นอกจากนี้ยังต้องทนต่อการโคลงและการสั่นสะเทื อน ของเรือ ตลอดจนทนต่อความชื้นและความเค็มได้สูงด้วย
4. มอเตอร์
มอเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าก�ำลังทีส่ ำ� คัญมากในเรือ โดยโครงสร้างและการระบายอากาศของมอเตอร์ที่ใช้งาน ในเรือมีหลายแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการใช้งาน ภายใต้สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ซึ่งลักษณะโดยทั่วไปที่มักใช้ ในเรือ มี 7 แบบ คือ (1) Open, Self-ventilation (2) Dripproof Protected, Self-ventilation (3) Totally Enclosed, Fan-cooled (4) Waterproof, Non-ventilated (5) Explosion Proof, Fan-cooled (6) Watertight Enclosure (7) Submersible, Self-ventilated
การติ ด ตั้ ง มอเตอร์ จ ะเป็ น ไปตามการออกแบบ ส�ำหรับมอเตอร์ชนิดนั้น ๆ ซึ่งอาจติดตั้งบนพื้นในแนว ระดับการติดตั้งแบบแขวนกับเพดานในแนวระดับหรือ ติดตัง้ ในแนวดิง่ โดยเพลาของมอเตอร์อยูท่ างด้านล่างหรือ ด้านบน และในบางกรณีอาจติดตั้งในแนวเอียง โดยปกติ มอเตอร์ที่ติดตั้งในเรือจะติดตั้งในแนวระดับขนานกับแนว กระดูกงูเรือ
นอกจากนีใ้ นการเลือกใช้หลอดไฟจะต้องพิจารณาถึง Radio Interference ซึ่ ง อาจเกิ ด จากหลอดไฟชนิ ด ฟลู อ อเรสเซนต์ ห รื อ หลอดไฟชนิ ด High-Intensity Electric-Discharge โดยดวงโคมที่ใช้ต้องมีคุณสมบัติตาม เกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนดตาม UL595-Marine Type Electric Lighting Fixtures และตัวโคมควรมีลักษณะ โครงสร้างที่เหมาะสมตามพื้นที่ใช้งาน ดังนี้ 1) Watertight ส�ำหรับดวงโคมที่ติดตั้งในพื้นที่ทั้งหมด ทีด่ วงโคมอาจสัมผัสกับน�ำ้ ทะเล มีนำ�้ สาด (Splashing) หรือมีความชืน้ สูงมาก ๆ และบนดาดฟ้าภายนอกตัว เรือ 2) Drip-Proof ส� ำ หรั บ ดวงโคมที่ ติ ด ตั้ ง เหนื อ ศี ร ษะ ในบริเวณทีด่ าดฟ้าเหนือดวงโคมเปียกหรือมีความชืน้ อันอาจจะรวมตัวเป็นหยดน�ำ้ ตกใส่ดวงโคมได้ 3) Explosion-Proof ส�ำหรับดวงโคมที่ติดตั้งในบริเวณ ที่ ก ารสะสมของแก๊ ส ระเหยเร็ ว (Volatile Gas) โดยปกติ จ ะต้ อ งเป็ น โครงสร้ า งที่ ส ามารถป้ อ งกั น ไม่ให้การระเหยของแก๊สที่บรรจุอยู่ภายในท�ำให้เกิด การลุ ก ไหม้ ข องแก๊ ส ที่ ร ะเหยอยู ่ ใ นบริ เ วณรอบ ๆ ตัวโคมไฟ 4) Non-Watertight ส�ำหรับดวงโคมทีใ่ ช้ในบริเวณทีไ่ ม่มี ปัญหาความชื้นและไอระเหยอันตราย
5. ไฟฟ้าแสงสว่าง
6. ไฟเดินเรือและไฟสัญญาณ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ อุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างต้องถูกออกแบบและสร้าง เป็นพิเศษให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดต่าง ๆ ส�ำหรับการ ติดตัง้ ใช้งานในเรือ โดยต้องสามารถทนต่อแรงสัน่ สะเทือน ปกติที่เกิดขึ้นภายในเรือ เครื่องห่อหุ้ม (Enclosure) ต้อง เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในบริเวณที่อุปกรณ์นั้น ๆ ติ ด ตั้ ง อยู ่ โดยต้ อ งสามารถต้ า นทานการผุ ก ร่ อ นได้ ซึ่งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ขึ้นเงาหรือชุบจะต้องถูกเคลือบเพื่อ ป้องกันจากไอน�้ำเค็ม โดยสารป้องกันที่ใช้ในการเคลือบ เช่น แล็กเกอร์ เป็นต้น
เรื อ ทุ ก ล� ำ ต้ อ งติ ด ตั้ ง ไฟเดิ น เรื อ และไฟสั ญ ญาณ ตามข้อบังคับการเดินเรือสากลตาม CG-169 Rules of the Road International-Inland ดวงโคมที่ใช้จะต้องเป็นแบบ Waterproof ท�ำด้วยโลหะทีม่ คี ณ ุ สมบัตปิ อ้ งกันการผุกร่อน ที่ดีเป็นพิเศษและติดตั้ง Lens แบบ Fresnel Lens ไฟเดิ น เรื อ และไฟสั ญ ญาณต่ า ง ๆ ส� ำ หรั บ เรื อ เดินทะเล (Oceangoing Vessel) แสดงในตารางที่ 3
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
85
ตารางที่ 3 ไฟเดินเรือและไฟสัญญาณส�ำหรับเรือเดินทะเล Arc of Visibility Degrees ไฟกราบขวา (Starboard Side) 112.5 ไฟกราบซ้าย (Port Side) 112.5 ไฟยอดเสา (Masthead) 225 ไฟแนว (Range) 225 ไฟท้าย (Stern) 135 ไฟสมอเรือ (Forward Anchor) 360 ไฟสมอท้ายเรือ (After Anchor) 360 ไฟแสดงว่าเรือไม่อยู่ในบังคับ 360 (Not-Under-Command) ไฟลากจูง (Towing) 225 Name of Light
Lens Color Green Red Clear Clear Clear Clear Clear Red Clear
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
นอกจากไฟสัญญาณต่าง ๆ ข้างต้นแล้วยังมีไฟหวูด (Whistle light) ส�ำหรับเรือที่มีหวูดไอน�ำ้ ซึ่งจะสว่างเมื่อ เปิดหวูด ไฟทัศนะ ส�ำหรับเรือทีข่ บั เคลือ่ นด้วยใบจักรขนาด ตั้งแต่ 150 Gross Ton และไฟค้นหาอีกด้วย
7. อุปกรณ์เดินเรือ
เอกสารอ้างอิง 1. IEEE STD 45-2002 Recommended Practice อุปกรณ์เดินเรือที่ส�ำคัญ คือ 1) วิทยุสื่อสาร (Radio Communication) ในการสื่อสาร for Electric Installations on Shipboard. 2. ช่ า งไฟฟ้ า ก� ำ ลั ง เล่ ม 6 (ระบบไฟฟ้ า ในเรื อ ), ทั่ ว ๆ ไปใช้ วิ ท ยุ โ ทรศั พ ท์ (Radio Telephone) กรมอู่ทหารเรือ, กันยายน 2548.
วิทยุโทรเลข (Radio Telegraph) หรือในระบบสื่อสาร ที่ทันสมัยอาจใช้เป็นวิทยุโทรพิมพ์ (Radio Teletype) 2) วิทยุหาทิศ (Radio Direction Finding) โดยปกติระบบ วิทยุหาทิศจะใช้ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส 115 โวลต์ 60 เฮิรตซ์ และรับไฟจากแหล่งจ่ายไฟของแผงควบคุมวิทยุ 3) เรดาร์ (Radar) เป็นอุปกรณ์ที่มีความส�ำคัญต่อความ ปลอดภัยในทะเล จอแสดงภาพของเรดาร์จะแสดง เรือ ทุน่ เกาะ และพืน้ ทีอ่ นั ตรายในการเดินเรือ โดยแสดง ถึงต�ำแหน่งและความสัมพันธ์ 4) อุปกรณ์ชว่ ยเดินเรือ (Navigation Aids) มีหลายระบบ ตามการใช้งานของเรือไม่วา่ จะเป็น Hyperbolic system (LORAN A, LORAN C, Omega) Satellite system (Transit sat., GPS) และ Portable system เป็นต้น 5) โซนาร์วัดความลึก (Echo Depth Sounding Sonar) อาศัยหลักการสะท้อนของเสียง โดยวัดระยะเวลา เดินทางของเสียงที่ถูกส่งออกไปจากท้องเรือถึงพื้น ท้องทะเลแล้วสะท้อนกลับ
86
ประวัติผู้เขียน
น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล • กรรมการสาขาไฟฟ้า วสท. • อนุกรรมการมาตรฐานการติดตั้ง ทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย • กองบรรณาธิการนิตยสารไฟฟ้าสาร
Engineering Vocabulary ศัพท์วิศวกรรมน่ารู้ นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
“Isolation Panel”
(For Hospital Applications.) สวัสดีทุกท่านที่อยู่ในแวดวงวิศวกรรมฯ และผู้อ่าน ทุกท่าน ด้วยอานิสงส์แห่งบุญได้กล่าวไว้ว่าอีก 1,000 ปี จะมีพระศรีอริยเมตไตรยในยุคพระศรีอารย์ ตอนที่ 23 มนุ ษ ย์ ใ นยุ ค ของพระศรี อ ริ ย เมตไตรยนั้ น จะมี สุ ข ภาพ ร่ า งกายที่ แ ข็ ง แรงสมบู ร ณ์ ไร้ ซึ่ ง โรคภั ย ไข้ เ จ็ บ ที่ เ ป็ น อันตรายร้ายแรงมาเบียดเบียน พวกเราทราบแล้วก็รู้สึก ดีใจมาก ขอให้รอกันหน่อย อีกแค่เกือบ 1,000 ปีเอง หลายท่านคงรอไม่ไหว ดังนั้นส่วนของค�ำศัพท์ในฉบับนี้ ขอกล่าวถึงค�ำว่า “Isolation Panel” หลายท่านรู้จักกัน และอีกหลาย ๆ ท่านคงยังไม่ทราบว่าหมายถึงอะไร ? เป็ น อย่ า งไรกั น ? แต่ ที่ แ น่ ๆ จะต้ อ งเกี่ ย วข้ อ งกั บ ความเป็นความตายแน่ ๆ เพราะส่วนใหญ่ Isolation Panel จะใช้ในสถานที่เฉพาะ ในสถานพยาบาล ก็คือในส่วนของ โรงพยาบาล คลินิก เป็นต้น โดย Isolation Panel จะเป็น ส่วนหนึ่งในระบบไฟฟ้าที่ท�ำการแยกส่วนออกมา โดยใช้ Isolation Transformer เป็นส่วนส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ระบบไฟฟ้า นั้นมีความปลอดภัยจากการเกิดกระแสไฟฟ้ารั่ว ท�ำให้ ผู ้ ป ่ ว ยอาการสาหั ส ที่ ก� ำ ลั ง ถู ก ผ่ า ตั ด บนเตี ย งไม่ ไ ด้ รั บ อันตรายจากการเกิดกระแสไฟฟ้ารั่ว โดยใช้ Isolation Panel ที่จ�ำเป็นต้องใช้ทั้งในห้อง ICU หรือห้อง CCU เป็นต้น ตามมาตรฐาน IEC 60364-7-710 หรือมาตรฐาน ติดตั้งทางไฟฟ้าในสถานที่เฉพาะ ส�ำหรับสถานพยาบาล ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 1. หม้อแปลงแบบแยก (Isolation Transformer) เป็นหม้อแปลง (Transformer : Tr) ที่มีการแยกส่วนของ ขดลวดปฐมภูมิและขดลวดทุติยภูมิออกจากกัน เพื่อไม่ ให้ส่วนที่จ่ายไฟไปยังโหลดหรืออุปกรณ์การแพทย์ใด ๆ เกิดกระแสไฟฟ้ารั่วไปถึงคนไข้ที่ก�ำลังถูกผ่าตัด มีผลอาจ จะท�ำให้หัวใจท�ำงานพลิ้วไหวแผ่วเบาถึงเสียชีวิตได้ ยิ่งใน
ผู้ป่วยที่มีการผ่าตัดหัวใจหรือการท�ำเส้นเลือดสวนหัวใจ โดยหม้ อ แปลงแบบแยกจะมี ลั ก ษณะและการใช้ ง าน เบื้องต้นของระบบ Isolation Panel เป็นไปตามรูปที่ 1
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 1 ตัวอย่างการใช้งานแบบเบื้องต้นของระบบ Isolation Panel (Isolation Transformer)
2. Circuit breaker เป็นอุปกรณ์ปอ้ งกันในการเกิด กระแสไฟฟ้าลัดวงจร กระแสไฟฟ้าเกิน และคอนแทคช่วย เพื่อท�ำการส่งสัญญาณ
รูปที่ 2 เซอร์กิตเบรกเกอร์ แบบ 2 ขั้ว แบบ 1 ขั้ว และคอนแทคช่วย กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
87
3. อุปกรณ์แสดงความเป็นฉนวน Insulation Monitoring Device : IMD หรือที่เคยรู้จักกันว่า อุปกรณ์ ตรวจสายวงจรไฟฟ้ า แบบแยกส่ ว น Line Isolation Monitor : LIM โดยในปัจจุบันจะมีการแสดงค่าเป็น ความต้านทาน เพื่อเป็นการบ่งชี้แสดงค่าความเป็นฉนวน ของระบบหม้อแปลงแยกว่ามีการเสียหายของฉนวนมาก/ น้อยขนาดไหน
4. ส่วนการทดสอบ การแจ้งเตือน และการแสดงค่า (System Test Alarm and Monitoring) เป็นส่วนที่ ใช้ในการทดสอบค่าความเป็นฉนวน ท�ำการส่งสัญญาณ เสียง รวมถึงการแสดงค่าต่าง ๆ เช่น อุณหภูมิ ความดัน บรรยากาศ ความชื้น ความเป็นฉนวน และการบันทึก ประวัติการท�ำงานต่าง ๆ ของระบบฯ
รูปที่ 3 Insulation Monitoring Devices : IMD
รูปที่ 4 Test Panel และ Control Panel แสดงค่าอุณหภูมิ, ความดัน, ความชื้น, Insulation, Data logger เป็นต้น
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
จากส่วนต่าง ๆ ของอุปกรณ์ที่กล่าวถึงข้างต้น หากน�ำมาประกอบใช้งานจริง ส�ำหรับ Isolation Panel จะมีรปู ทีส่ มบูรณ์หลากหลายรูปแบบขึน้ อยูก่ บั ลักษณะและเงือ่ นไขในแต่ละการใช้งาน ใช้ส�ำหรับในสถานทีเ่ ฉพาะ ส�ำหรับ สถานพยาบาล ซึ่ง Panel ที่ใช้นั้นต้องผ่านการทดสอบตาม IEC60439-1 : TTA Licensee หรือ IEC61439-2 โดย Panel ทีเ่ ลือกใช้ตอ้ งเป็นแบบทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ใช้ในสถานทีเ่ ฉพาะ ส�ำหรับสถานพยาบาล ทีม่ ดี งั ภาพประกอบด้านล่างนี้
รูปที่ 5 Isolation Panel+Tr+Monitor+UPS
รูปที่ 6 Isolation Panel มี Tr อยู่ภายใน+Monitor+UPS
หมายเหตุ การใช้ Isolation Panel ควรมีการตรวจสอบระบบไฟฟ้าและสภาพความเป็นฉนวนจากความต้านทาน ด้วย Insulation Monitoring Device เป็นประจ�ำทุกวัน เพื่อความปลอดภัยสูงสุดของการใช้งาน และต้องไม่ลืมที่จะมี การบ�ำรุงรักษา Isolation Panel เป็นประจ�ำด้วย ส�ำหรับค�ำศัพท์ในครั้งนี้ขอน�ำเสนอค�ำว่า “Isolation Panel” [N] แผงสวิตช์ไฟฟ้าแบบแยกส่วน เรามาพิจารณา ดูความหมายของค�ำว่า “Isolation Panel” กันดังนี้
88
isolation isolation isolationism panel panel panel panel panel panel panel panel panel
[N] การแยกออก, Syn. separation [N] ความโดดเดี่ยว, Syn. seclusion, solitude, desolation [N] ลัทธิการอยู่โดดเดี่ยว, See also: ลัทธิโดดเดี่ยว [N] แผงควบคุมไฟฟ้า, See also: แผงหน้าปัด, Syn. switchboard [N] เบาะรองอานม้า, Syn. pad [N] บัญชีรายชือ่ แพทย์ทรี่ กั ษาคนไข้ (ทางประกันสังคม), See also: แผนการประกันสังคม, Syn. committee, group [N] คณะผู้อภิปรายทางการเมือง, Syn. committee, group [N] คณะลูกขุน, Syn. juror, jury, group [N] ดิ้นประดับบนชุดสตรี [VT] ตกแต่ง, See also: ประดับ, ใส่กรอบ, Syn. arrange, decorate, furnish, set up [VT] ใส่เบาะอานม้า [VT] จัดให้มีคณะลูกขุน, Syn. empanel, impanel, pick, set up
ร า ส า ้ ฟ ไฟ Easy Easy Think Part. +++++ Don’t worry to practice and speak English.
“Just say it and repeat several times.”
The below several samples are for your practicing. “Isolation Panel” ระบบไฟฟ้าที่ใช้ในสถานพยาบาล เช่น หออภิบาลผู้ป่วยหนักรวม (Intensive Care Unit : ICU) และหออภิบาลผู้ป่วยหนักเฉพาะ โรคหัวใจ (Coronary Care Unit : CCU) Isolation Panel จ�ำเป็น ต้องใช้เพื่อช่วยป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นส�ำหรับผู้ป่วย Integrated Isolation Panel เป็นการต่อยอดของแผงสวิตช์ไฟฟ้า แบบแยก เพือ่ ให้แน่ใจว่าระบบมีประสิทธิภาพสูงสุด ในการบริหาร จัดการในห้องผ่าตัด เพื่อสะดวกในการใช้งานเรื่องความต้านทาน ความเป็นฉนวนของระบบ การเกิดกระแสไฟฟ้าเกิน อุณหภูมิ ความดัน ความชื้น รวมถึงการสื่อสารเข้าห้องควบคุม หรือการ ส่งข้อความเข้าโทรศัพท์มอื ถือให้บคุ คลทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ การบริหาร จัดการได้ทันที
เอกสารอ้างอิง 1. มาตรฐานติดตั้งทางไฟฟ้าในสถานที่เฉพาะ ส�ำหรับ สถานพยาบาล วสท. 2. Google แปลภาษา 3. LONGDO Dict. 4. ภาพและข้อมูลจาก บริษัท อาซีฟา จ�ำกัด 5. ภาพและข้อมูลจาก บริษัท ชไนเดอร์ จ�ำกัด
Electrical Systems used in hospitals as in the ICU and CCU room. Isolation Panel is required to prevent potential harm to patients.
Integrated Isolation Panel is integrated on the isolation panel to ensure maximum performance management in the operating room. For ease of management the insulation resistance (R), over-current or short-circuit, temperature, pressure, humidity, and communications to the control room or sent message to mobile phone to the involving management person immediately. ประวัติผู้เขียน
นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล • คณะวิ ท ยาศาสตร์ เ ทคโนโลยี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี • เลขาฯ และกรรมการสาขา วิศวกรรมไฟฟ้า วสท. • ทีป่ รึกษา สมาคมช่างเหมาไฟฟ้า และเครื่องกลไทย
กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
89
Innovation News ข่าวนวัตกรรม น.ส.กัญญารัตน์ เอี่ยมวันทอง
เต้ารับอัจฉริยะ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
Innovation News ฉบับนี้ ขอน�ำเสนอเต้ารับแบบใหม่ทไี่ ม่ธรรมดา เพราะมัน เป็นเต้ารับอัจฉริยะทีช่ ว่ ยให้คณ ุ น�ำไปใช้งานได้อย่างเหมาะสมและสะดวกมากยิง่ ขึน้ ซึ่งมีมาน�ำเสนอกันถึง 3 แบบ มาดูกันว่าแต่ละแบบนั้นอัจฉริยะอย่างไร
เต้ารับต่อพ่วงแบบตลับเมตร
เต้ า รั บ อั จ ฉริ ย ะแบบแรกได้ แ นวคิ ด มาจาก ตลับเมตรที่สามารถดึงออกและหดกลับได้ ด้วยเหตุนี้ เต้ารับต่อพ่วงตัวนี้จึงสามารถดึงสายไฟออกมาเมื่อ ต้องการใช้และเก็บสายไฟกลับเข้าไปได้เมื่อเลิกใช้งาน ส�ำหรับรูปทรงและขนาดก็ดนู า่ ใช้ เพราะเป็นทรงสีเ่ หลีย่ ม ขนาดกะทัดรัด สะดวกต่อการพกพาไปไหนมาไหน ในส่วนของสายไฟออกแบบมาให้แบนและบางจึงเรียบ ติ ด ไปกั บ ทุ ก พื้ น ผิ ว ไม่ เ กะกะ ไม่ ท� ำ ให้ เ ดิ น สะดุ ด และไม่ก่อให้เกิดปัญหาสายไฟพันกัน จุดเด่นอีกอย่างของเต้ารับต่อพ่วงแบบตลับเมตร คือ สามารถเก็บสายไฟได้งา่ ยโดยการกดปุม่ และซ่อน เต้าเสียบที่ปลายด้านหนึ่งของสายไฟไว้ จึงไม่ยื่นหรือ โผล่ออกมาให้เกะกะหรือเกี่ยวกับสิ่งอื่น ๆ
90
เต้ารับแบบตั้งเวลา เต้ารับอัจฉริยะแบบที่ 2 เป็นเต้ารับที่สามารถตั้งเวลาให้ ตัดไฟได้ ด้วยการน�ำหลักการของกลไกนาฬิกามาใช้ บ่อยครัง้ ทีเ่ รา มักลืมถอดปลั๊กเมื่อเลิกใช้งาน หรือบางครั้งไม่ลืมแต่ก็เกิดอาการ ขี้เกียจ เต้ารับแบบตั้งเวลาจะช่วยให้ปัญหาเหล่านี้หมดไป เต้ารับแบบตั้งเวลาจะมีวงแหวนส�ำหรับตั้งเวลาซึ่งสามารถ ตั้งได้ตั้งแต่ 1-5 ชั่วโมง เมื่อถึงเวลาที่กำ� หนดไว้ เต้ารับนี้จะตัดไฟ ทันที ช่วยให้ไม่สูญเสียพลังงานไฟฟ้าไปในกรณีที่ลืมถอดปลั๊ก นอกจากนี้ ทีว่ งแหวนตัง้ เวลายังมีไฟ LED บอกสถานะของการใช้งาน เพื่อให้ผู้ใช้รู้ว่าขณะนี้ใช้ไฟอยู่หรือไม่ นับว่าเป็นเต้ารับที่ช่วยให้ ประหยัดพลังงานได้มาก
ร า ส า ้ ฟ ไฟ เต้ารับต่อพ่วงแบบสลับสับเปลี่ยน
เต้ารับอัจฉริยะแบบที่ 3 เป็นเต้ารับต่อพ่วงที่ได้ แนวคิดมาจากปัญหาความไม่เหมาะสมของต�ำแหน่ง ที่ ว าง เพราะเต้ า รั บ ต่ อ พ่ ว งส่ ว นใหญ่ จ ะมี รู ป แบบที่ ตายตัว ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ จึงท�ำให้วางไม่พอดี กับพื้นที่ แต่ปัญหานี้จะหมดไปถ้าใช้เต้ารับต่อพ่วงแบบ สลับสับเปลี่ยน เต้ า รั บ แบบสลั บ สั บ เปลี่ ย นออกแบบมาให้ สามารถหมุนปรับเต้ารับแต่ละเต้าได้ตามที่ต้องการ ซึ่งมีหลายแบบ เช่น แนวตรง ตัวแอล สี่เหลี่ยม ฯลฯ เรี ย กได้ ว ่ า เป็ น เต้ า รั บ ต่ อ พ่ ว งที่ ใ ห้ ค วามสะดวกและ ความเหมาะสมในการใช้งานได้เป็นอย่างดี เพราะว่า สามารถวางได้ทุกที่ที่ต้องการ
เป็นอย่างไรกันบ้างกับเต้ารับอัจฉริยะที่น�ำเสนอไป 3 แบบ ดูแล้วน่าใช้มาก ๆ เพราะสามารถตอบสนอง ความต้องการในการน�ำไปใช้งานได้มากขึ้น และยังช่วยให้การประหยัดพลังงานไฟฟ้าเป็นเรื่องที่ง่ายอีกด้วย แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม www.gearmag.info กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
91
Variety ปกิณกะ
ข่าวประชาสัมพันธ์ ประกาศผลผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 5 ผู้อ�ำนวยการเลือกตั้งกรรมการสภาวิศวกร ประกาศผล สาขาวิศวกรรมสิง่ แวดล้อม ได้แก่ นายชัชวาลย์ คุณค�ำ้ ชู ผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 5 ดังนี้ สาขาวิศวกรรมเคมี ได้แก่ นายชัยฤทธิ์ สัตยาประเสริฐ 1. กรรมการสภาวิศวกรจากสมาชิกสามัญที่มิได้ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ ได้แก่ นายจักรพงศ์ อุทธาสิน ด�ำรงต�ำแหน่งคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญา 2. กรรมการสภาวิ ศ วกรจากสมาชิ ก สามั ญ ที่ จ�ำนวน 10 คน ตามมาตรา 24 (1) แห่งพระราชบัญญัติ ด�ำรงต�ำแหน่งคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญา วิศวกร พ.ศ. 2542 มีรายละเอียดดังนี้ จ�ำนวน 5 คน ตามมาตรา 24 (2) แห่งพระราชบัญญัติ สาขาวิศวกรรมโยธา ได้แก่ นายประสงค์ ธาราไชย วิศวกร พ.ศ. 2542 มีรายละเอียดดังนี้ นายวินิต ช่อวิเชียร สาขาวิศวกรรมโยธา ได้แก่ นายอมร พิมานมาศ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ได้แก่ นายกมล ตรรกบุตร สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ได้แก่ นางสุรี ขาวเธียร นายเกชา ธีระโกเมน สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ได้แก่ นางนิตยา มหาผล สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ได้แก่ นายลือชัย ทองนิล สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล ได้แก่ นายมงคล มลคลวงศ์โรจน์ นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ได้แก่ นายพิชิต ล�ำยอง สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ได้แก่ นายจ�ำรูญ มาลัยกรอง
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ขอแสดงความยินดี
ขอแสดงความยินดีกบั คุณลือชัย ทองนิล ประธานสาขาวิศวกรรม ไฟฟ้า และคุณพิชญะ จันทรานุวฒ ั น์ ทีป่ รึกษา สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าก�ำลัง วสท. ที่ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการสภาวิศวกร ในสมัยที่ 5 ระหว่าง ปี 2555-2558 ทั้งนี้ คุณลือชัย และคุณพิชญะ ฝากขอขอบพระคุณ ทุกคะแนนเสียงทีไ่ ด้ให้ความไว้วางใจเลือกเข้ามาเป็นตัวแทนของวิศวกรฯ
กองบรรณาธิการนิตยสารไฟฟ้าสารเข้าพบและสัมภาษณ์เลขาธิการ สมอ. ในโอกาส เข้ารับต�ำแหน่งใหม่ เมือ่ วันที่ 28 มิถนุ ายน 2555 กองบรรณาธิการนิตยสารไฟฟ้าสารได้รบั เกียรติ จากนายณั ฐ พล ณั ฏ ฐสมบู ร ณ์ เลขาธิ ก ารส� ำ นั ก งานมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) คนใหม่ ให้เข้าพบและสัมภาษณ์ถึงทิศทางการด�ำเนินงาน ของ สมอ. เพื่อเตรียมพร้อมด้านมาตรฐาน รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี 2558 ณ อาคารส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
92
ประชุมการปรับปรุงร่างมาตรฐานติดตั้งทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย คณะอนุกรรมการปรับปรุงร่างมาตรฐานติดตั้งทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย ของ วสท. โดยประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า นายลือชัย ทองนิล ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการร่างฯ ได้รว่ มประชุมหารือเรือ่ งการปรับปรุงร่างมาตรฐานติดตัง้ ทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย
แสดงความยินดีในโอกาสได้รับวุฒิวิศวกรไฟฟ้าก�ำลัง
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ขอแสดงความยิ น ดี กั บ คุ ณ บุ ญ ชิ ต วิ ชุ ภ ากรณ์ กุ ล คุ ณ ชาญยุ ท ธ เบญจมงคลวารี คุ ณ เอกชั ย ประสงค์ และคุณสมพล เจริญพงศ์พัฒนะ ที่ได้รับวุฒิวิศวกรไฟฟ้าก�ำลัง ของสภาวิศวกร จากประสบการณ์การท�ำงานที่โดดเด่น พร้อมงานวิศวกรรมที่มีคุณภาพ
วสท. เข้าพบและสัมภาษณ์กรรมการผู้จัดการ บริษัท อาซีฟา จ�ำกัด
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย ผศ.ดร.วรรณสิริ พันธุ์อุไร กรรมการอ�ำนวยการ และ กรรมการจัดงานวิศวกรรมแห่งชาติ (จัดขึน้ ระหว่างวันที่ 12-15 กรกฎาคม 2555 ณ อาคารชาเลนเจอร์ 3 อิมแพค เมืองทองธานี) ได้เข้าพบและสัมภาษณ์คุณไพบูลย์ อังคณากรกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท อาซีฟา จ�ำกัด ที่ได้ร่วมจัดสัมมนา เชิงวิชาชีพ The Innovation of M.V – L.V Switch board and Preventive Maintenance และส่วนแสดงบูทที่ S23
กฟภ. จัดกิจกรรม “เยาวชนรักษ์โลก ลดภาวะโลกร้อน และการอนุรักษ์แม่น�้ำท่าจีน” ประจ�ำปี 2555 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ได้จัดกิจกรรม โครงการ “เยาวชนรักษ์โลก ลดภาวะโลกร้อน และการอนุรกั ษ์แม่นำ�้ ท่าจีน” ประจ�ำปี 2555 โดยมีนายวิบลู ย์ สงวนพงศ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประธาน คณะกรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค เป็นประธานในพิธเี ปิดงาน รวมทัง้ ปลัดจังหวัด นครปฐม ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และคณะผู้บริหารระดับสูงของการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคเดินทางมาร่วมพิธีเปิดโครงการ ณ โรงเรียนวัดบางหลวง กรกฎาคม - สิงหาคม 2555
93
มหัศจรรย์แห่งการอ่าน วิธีคิดแบบลือชัย ทองนิล และหนุ่มเมืองจันท์ นายโชคจุน สุคันธาพฤกษ์ รองผู้ว่าการจ�ำหน่ายและบริการ (ภาค 3) การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ “วันรักการอ่าน” ณ ห้องสมุด กฟภ. ส�ำนักงานใหญ่ เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2555 ภายในงานมีการเสวนาในหัวข้อ “มหัศจรรย์ แห่งการอ่าน” โดย 2 นักเขียน อาจารย์ลือชัย ทองนิล ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และผู้อ�ำนวยการไฟฟ้าเขตมีนบุรี การไฟฟ้านครหลวง ปรมาจารย์ทางวิชาการ ผู้เขียนต�ำรา “การออกแบบและติดตั้งระบบ ไฟฟ้าตามมาตรฐานของการไฟฟ้า” และ “ความปลอดภัยทางไฟฟ้าในสถานประกอบการ” อีกท่าน คือ สรกล อดุลยานนท์ หรือ “หนุ่มเมืองจันท์” คอลัมนิสต์ชื่อดังจากมติชนสุดสัปดาห์และประชาชาติธุรกิจ ซึ่งองค์การยูเนสโกก�ำหนดให้วันที่ 23 เมษายนของทุกปีเป็น “วันหนังสือโลกและลิขสิทธิ์” (World Book and Copyright Day) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจึงจัดงาน “วันรักการอ่าน กฟภ.” ขึ้น เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และสร้างวัฒนธรรมรักการอ่าน ให้พนักงาน กฟภ. ทั้งยังเป็นปัจจัยที่ช่วยเสริมให้ กฟภ.เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ตามยุทธศาสตร์องค์กร
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
“โซลาร์เซลล์ เขื่อนสิรินธร” ผ่านการขึ้นทะเบียน UNFCCC พร้อมเป็นโครงการ CDM ต้นแบบแก่หน่วยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้ดำ� เนินงานพัฒนาโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ เขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ขนาดก�ำลังผลิตติดตั้ง 1 เมกะวัตต์ ในฐานะโครงการ ลดก๊าซเรือนกระจกภายใต้กลไกการพัฒนาทีส่ ะอาด (CDM) มาตัง้ แต่ พ.ศ. 2551 สอดคล้องกับ นโยบายของรัฐและข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ โดยได้ด�ำเนินการทุกขั้นตอนตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) ล่าสุดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2555 คณะกรรมการบริหารกลไก การพัฒนาที่สะอาด (CDM Executive Board) ของ UNFCCC ซึ่งตั้งอยู่ที่กรุงบอนน์ ประเทศ เยอรมนี มีมติเห็นชอบการขึ้นทะเบียนโครงการดังกล่าวในชื่อ “Project 5739 : 1 MW Sirindhorn Solar Cell Project, Thailand” โดยมีผลย้อนหลังตั้งแต่วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2555 ครอบคลุมระยะเวลา 10 ปี (หมดอายุวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2565) คิดเป็นปริมาณคาร์บอนเครดิตในอัตราเฉลี่ย 701 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี ถือเป็นโครงการ CDM แรกของภาครัฐและรัฐวิสาหกิจไทยทีไ่ ด้รบั การขึน้ ทะเบียนดังกล่าว และเป็นโครงการ CDM ประเภทผลิตพลังงานไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์ แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ซึ่งองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. และ บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด จะออกหนังสือรับรองให้ กฟผ. เป็นกรณีพิเศษ เพื่อแสดงว่า โครงการดังกล่าวได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโครงการ CDM จาก CDM Executive Board ของ UNFCCC
กฟน. จัดค่ายครูรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม นายสมชาย วิวัฒนวัฒนา ผู้ช่วยผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) เป็น ประธานในพิธเี ปิดกิจกรรม “ค่ายครูรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม” เรียนรูถ้ งึ วิธกี ารรักษา สิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การอนุรักษ์พลังงาน และขยายผลไปตามโรงเรียนต่าง ๆ ในโครงการ Energy Mind Award โดยมีอาจารย์ จาก 67 โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ เข้าร่วมกิจกรรม ณ ศูนย์รวมตะวัน จังหวัดกาญจนบุรี
94
ปฏิทินกิจกรรม ก�ำหนดการอบรมสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) พ.ศ. 2555 ล�ำดับ
กิจกรรม
วันที่
สถานที่
1
อบรม การป้องกันฟ้าผ่าส�ำหรับสิ่งปลูกสร้างและการป้องกันแม่เหล็กไฟฟ้า จากฟ้าผ่า
18 ส.ค.55
วสท.
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 2
อบรม Lightning Discharge and Surge Voltage Protections
23-24 ส.ค.55
วสท.
3
อบรม Substation Equipment and Protective Relaying
1-2 ก.ย.55
วสท.
4
อบรม การวัดวิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้าและวิธีแก้ไขปัญหา (ทฤษฎีและปฏิบัติ) รุ่นที่ 4
7-8 ก.ย.55
วสท.
5
อบรม Transmission and Distribution System
15-16 ก.ย.55
วสท.
6
อบรม มาตรฐานแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ไฟแสงสว่างฉุกเฉินและป้ายทางออก
22 ก.ย.55
วสท.
7
อบรม มาตรฐานติดตั้งไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย และออกแบบระบบไฟฟ้า
28-30 ก.ย.55
วสท.
8
อบรม ประสบการณ์แก้ปัญหาคุณภาพไฟฟ้าในประเทศไทย
17-18 ต.ค.55
วสท.
9
อบรม การตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟ้าอาคาร (เพื่อการบ�ำรุงรักษาและ ความปลอดภัย) ทฤษฎีและปฏิบัติ รุ่นที่ 28
3 พ.ย.55
วสท.
10
อบรม ระบบการต่อลงดิน
10 พ.ย.55
วสท.
หมายเหตุ : วัน/เวลาอบรม อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม และสมัครได้ที่ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) 487 ซอยรามค�ำแหง 39 ถนนรามค�ำแหง แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2184 4600-9, 0 2319 2410-13 โทรสาร 0 2319 2710-11 Homepage : www.eit.or.th E-mail : eit@eit.or.th
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ใบสั่งจองโฆษณา (Advertising Contract) นิตยสารไฟฟ้าสาร (Electrical Engineering Magazine) กรุณาส่งใบสั่งจองทางโทรสาร 0 2247 2363
ข้อมูลผู้ลงโฆษณา (Client Information)
วันที่.............................................. บริษัท / หน่วยงาน / องค์กร ผู้ลงโฆษณา (Name of Advertiser) :........................................................................................... ที่อยู่ (Address) :........................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... โทรศัพท์/Tel :............................................................................โทรสาร/Fax :............................................................................ ชื่อผู้ติดต่อ/Contact Person :............................................................อีเมล/E-mail :.................................................................... ฉบับที่ต้องการลงโฆษณา (Order)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ฉบับเดือนกันยายน–ตุลาคม 55 ฉบับเดือนมีนาคม-เมษายน 56
ฉบับเดือนพฤศจิกายน–ธันวาคม 55 ฉบับเดือนพฤษภาคม–มิถุนายน 56
อัตราค่าโฆษณา (Order) (กรุณาท�ำเครื่องหมาย
ในช่อง
ต�ำแหน่ง (Position)
ปกหน้าด้านใน (Inside Front Cover)
ปกหลัง (Back Cover) ปกหลังด้านใน (Inside Back Cover) ตรงข้ามสารบัญ (Before Editor - lift Page) ตรงข้ามบทบรรณาธิการ (Opposite Editor Page) ในเล่ม 4 สี เต็มหน้า (4 Color Page) ในเล่ม 4 สี 1/2 หน้า (4 Color 1/2 Page) ในเล่ม 4 สี 1/3 หน้าแนวตั้ง (4 Color 1/3 Page) ในเล่ม ขาว-ด�ำ เต็มหน้า (1 Color Page) ในเล่ม ขาว-ด�ำ สี 1/2 หน้า (1 Color 1/2 Page ) ในเล่ม ขาว-ด�ำ สี 1/3 หน้า (1 Color 1/3 Page ) ในเล่ม ขาว-ด�ำ สี 1/4 หน้า (1 Color 1/4 Page )
ฉบับเดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ 56 ฉบับเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 56
มีความประสงค์สั่งจองโฆษณา “นิตยสารไฟฟ้าสาร”) อัตราค่าโฆษณา (Rates)
55,000 บาท 60,000 บาท 50,000 บาท 48,000 บาท 47,000 บาท 45,000 บาท 23,000 บาท 16,500 บาท 23,000 บาท 12,000 บาท 7,700 บาท 7,000 บาท
(Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht)
รวมเงินทั้งสิ้น (Total).......................................................บาท (......................................................................................)
ผู้สั่งจองโฆษณา (Client)......................................................... ผู้ขายโฆษณา (Advertising Sales)..........................................
ต�ำแหน่ง (Position).......................................................... วันที่ (Date)............./......................../.............
วันที่ (Date)............./......................../.............
หมายเหตุ - อัตราค่าโฆษณานี้ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม - เงื่อนไขการช�ำระเงิน 15 วัน นับจากวันวางบิล ทางบริษัทฯ จะเรียกเก็บเป็นรายฉบับ - โปรดติดต่อ คุณสุพจน์ แสงวิมล ประชาสัมพันธ์ นิตยสารไฟฟ้าสาร ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) โทรศัพท์ 0 2642 5241-3 ต่อ 113-115 โทรสาร 0 2247 2363 E-mail : EE.mag01@gmail.com เจ้าของ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) 487 รามค�ำแหง 39 (ซอยวัดเทพลีลา) วังทองหลาง กทม. 10310 ผู้จัดท�ำ : บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด 539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม ชั้น 22A ถ.ศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400
ใบสมัครสมาชิก/ใบสั่งซื้อนิตยสาร
นิตยสารไฟฟ้าสาร (Electrical Engineering Magazine) วันที่................................... ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................................................................................... บริษัท/หน่วยงาน ............................................................................................................................................................ เลขที่......................................................อาคาร.......................................................ซอย................................................. ถนน.......................................................ต�ำบล/แขวง.......................................................................................................
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
อ�ำเภอ/เขต..............................................จังหวัด......................................................รหัสไปรษณีย์...................................
โทรศัพท์..................................................โทรสาร....................................................E-mail:.............................................
ที่อยู่ (ส�ำหรับจัดส่งนิตยสาร กรณีที่แตกต่างจากข้างต้น).................................................................................................
....................................................................................................................................................................................... กรุณาท�ำเครื่องหมาย ในช่อง มีความประสงค์สมัครสมาชิกนิตยสาร “ไฟฟ้าสาร” มีความประสงค์สมัครเป็นสมาชิกนิตยสารไฟฟ้าสาร ในประเภท : 1. บุคคลทั่วไป ครึ่งปี 3 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 1 เล่ม ราคา 220 บาท 1 ปี 6 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 1 เล่ม ราคา 440 บาท 2. นิติบุคคล ครึ่งปี 3 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 3 เล่ม ราคา 660 บาท 1 ปี 6 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 3 เล่ม ราคา 1,320 บาท แถมฟรี หนังสือเทคโนโลยีสะอาด จ�ำนวน 3 เล่ม มูลค่า 320 บาท 3. นิติบุคคลขนาดใหญ่ ครึ่งปี 3 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 5 เล่ม ราคา 1,100 บาท 1 ปี 6 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 3 เล่ม ราคา 2,200 บาท แถมฟรี หนังสือเทคโนโลยีสะอาด จ�ำนวน 3 เล่ม มูลค่า 320 บาท และเสื้อ PREclub 1 ตัว มูลค่า 550 บาท ต้องการนิตยสารตั้งแต่ฉบับที่/เดือน................................................ถึงฉบับที่/เดือน...................................................... ช�ำระเงินโดย เช็คธนาคาร...............................................สาขา...........................................เลขทีเ่ ช็ค................................................ โอนเงินเข้าบัญชีประเภทออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด” ธนาคารกสิกรไทย สาขาถนนรางน�ำ้ เลขที่บัญชี 052-2-56109-6 หมายเหตุ
• กรุณาส่งหลักฐานการโอนเงินและใบสมัครสมาชิกมาที่ โทรสาร 0 2247 2363 โดยระบุเป็นค่าสมาชิก “นิตยสารไฟฟ้าสาร” เจ้าของ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) 487 รามค�ำแหง 39 (ซอยวัดเทพลีลา) วังทองหลาง กทม. 10310 ผู้จัดท�ำ : บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด 539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม ชั้น 22A ถ.ศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ