ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2555 E-mail : eemag@eit.or.th, eit@eit.or.th
ส า ร บั ญ
10
สัมภาษณ์พิเศษ
10
พลอากาศเอก ธเรศ ปุณศรี ประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
มาตรฐานและความปลอดภัย
30
13 19 30
หลักปฏิบัติด้านการตรวจสอบและการทดสอบ การติดตั้งระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย (ตอนที่ 3) : นายมงคล วิสุทธิใจ การติดตั้งระบบไฟฟ้าในสระว่ายน�้ำและอ่างน�้ำพุ (ตอนที่ 4) การติดตั้งระบบไฟฟ้า อ่างน�ำ้ แร่ อ่างน�ำ้ ร้อน และอ่างอาบน�ำ้ นวดตัว : รศ.ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช มารู้ลึกๆ ในเรื่องลับๆ ของเครื่องตัดไฟรั่ว RCD : Residual Current Devices : นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ไฟฟ้าก�ำลังและอิเล็กทรอนิกส์กำ� ลัง
53
37 43 46
การฟื้นฟูระบบไฟฟ้าก�ำลังและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายหลังน�้ำท่วม (ตอนที่ 2) Flood Repair of Electrical Equipment : นายวิทยา ธีระสาสน์ ผลกระทบด้านแรงดันเกินจากการติดตั้งโซลาร์ฟาร์มในพื้นที่มีโหลดต�่ำ : ดร.ประดิษฐ์ เฟื่องฟู สภาพระบบไฟฟ้าในประเทศไทย และ Load Shedding Scheme : นายณัฐพงษ์ ฉลาดคิด
50 53 56
อัตตวิพากษ์ผลการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศน์ พ.ศ..... (ตอนจบ) : นายสุเมธ อักษรกิตติ์ การใช้ Microsoft Kinect เป็นเซนเซอร์ส�ำหรับสร้างพื้นผิว 2½D : มิติ รุจานุรักษ์, ปัญจวี รักษ์ประยูร และอมรรัตน์ คงมา การเพิ่มช่องสื่อสารโดยการใช้คลื่นวิทยุแบบเกลียว : นายปราการ กาญจนวตี
58 63
การศึกษาการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในประเทศไทย (ตอนที่ 3) การเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล : นายศุภกร แสงศรีธร เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากขยะ (ตอนที่ 2) Waste to Electricity Technology (Part 2) : นายธงชัย มีนวล
70
ข้อคิดมือใหม่อยากท�ำวิจัยเริ่มต้นอย่างไร : รศ.ดร.ส�ำรวย สังข์สะอาด
78 84 86 88
300 : น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล ศัพท์วิศวกรรมน่ารู้ “EARTHQUAKE” : นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล Innovation News แบตเตอรี่รุ่นใหม่ ใช้ได้หมดจนหยุดสุดท้าย : น.ส.กัญญารัตน์ เอี่ยมวันทอง ข่าวประชาสัมพันธ์
ไฟฟ้าสื่อสารและคอมพิวเตอร์
56
พลังงาน
70
เทคโนโลยีและนวัตกรรม ปกิณกะ
ความคิดเห็นและบทความต่าง ๆ ในนิตยสารไฟฟ้าสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผูเ้ ขียน ไม่มสี ว่ นผูกพันกับวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
บ ท บ ร ร ณ า ธิ ก า ร เมือ่ เดือนมีนาคมและเดือนเมษายนทีผ่ า่ นมา ผมได้มโี อกาสไปประชุมหารือและ ทัศนศึกษาดูงานทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ และประเทศจีน ตามล�ำดับ ก็ได้เรียนรูอ้ ะไรใหม่ ๆ หลายสิง่ หลายอย่าง เช่น การด�ำเนินการของระบบไฟฟ้าเพือ่ รองรับระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) ของทั้งสองประเทศนั้นก็มีมุมมองที่ไม่เหมือนกัน โดยแต่ละประเทศ ก็มีบริบทของตัวเองว่าต้องการ Smart Grid มาเพื่อช่วยการด�ำเนินการเรื่องใดบ้าง เน้นงานทางด้านไหน แต่ที่เหมือนกันก็คือทั้งสองประเทศนั้นพยายามวิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์เพือ่ ใช้สำ� หรับระบบ Smart Grid เป็นของตัวเองแทนทีจ่ ะใช้การซือ้ เทคโนโลยี มาใช้งาน นอกจากนีย้ งั พบว่าทัง้ สองประเทศให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาบุคลากรเป็นอย่างยิง่ โดยมีศนู ย์ฝกึ การอบรมทีท่ นั สมัย มีอุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวกที่ครบครัน มีการจัดสรรงบประมาณด้านการพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับภารกิจขององค์กรอย่าง เป็นระบบ อีกทั้งการแลกเปลี่ยนข้อมูลและการสื่อสารภายในองค์กรนั้นท�ำได้ดีมากโดยเฉพาะที่ประเทศญี่ปุ่นซึ่งเขาท�ำงาน เป็นระบบ พนักงานทุกคนมีความรู้ความสามารถท�ำงานทดแทนกันได้ มีระบบการหมุนเวียนคน (Rotation) อย่างเหมาะสม เพือ่ กระตุน้ ให้การท�ำงานมีประสิทธิภาพสูงสุด จากประสบการณ์ทผี่ มได้กล่าวโดยย่อนีผ้ มมีความเห็นว่า บ้านเราหลายหน่วยงาน ยังท�ำสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ได้ไม่ดีเท่าที่ควร โดยเฉพาะการสื่อสารภายในองค์กรและการพัฒนาบุคลากรเพื่อให้เป็นทุนมนุษย์นั้น ยังต้องมีการด�ำเนินการอีกหลาย ๆ เรื่อง เพื่อให้เทียบเท่าบริษัทชั้นน�ำระดับสากล แต่จริง ๆ แล้ว บริษัทเอกชนชั้นน�ำของ ประเทศเราไม่ว่าจะเป็นบริษัท SCG หรือ PTT ก็มีการพัฒนาเรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคลดีมาก หากท่านใดสนใจสามารถ ติดต่อประสานงานไปดูงานได้ ซึ่งอาจจะไม่ต้องไปดูไกลถึงต่างประเทศก็ได้ครับ ผมเองก็เคยไปมาแล้วก็เห็นว่าสามารถน�ำมา ประยุกต์ใช้กับของหน่วยงานเราได้ครับ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ในปี 2558 อีก 3 ปีข้างหน้า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASIAN Economic Community : AEC) จะเปิดสมบูรณ์ ครบทั้ง 10 ประเทศ หากหน่วยงานหรือบริษัทใดยังไม่มีการศึกษาและเตรียมปรับตัวให้พร้อมเพื่อรองรับ AEC โดยเฉพาะ เรือ่ งการบริหารงานด้านบุคลากรทีเ่ หมาะสมก็อาจจะเกิดสมองไหลไปประเทศอืน่ ๆ ก็ได้ครับ ซึง่ วิศวกรก็เป็นหนึง่ ในสาขาวิชาชีพ ที่สามารถไปท�ำงานที่ประเทศใดก็ได้ ที่ทราบมาหลายหน่วยงานก็มีการตื่นตัวกันมากขึ้น พร้อมทั้งได้มีการศึกษาและวางแผน เพือ่ รองรับผลกระทบทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ผมจึงหวังว่าท่านผูอ้ า่ นทุกท่านคงจะได้ตระหนักถึงผลดีและผลเสียทีอ่ าจเกิดขึน้ และพยายาม ปรับกลยุทธ์เพื่อให้ธุรกิจของท่านสามารถด�ำเนินการได้อย่างปลอดภัย และใช้โอกาสนี้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อหน่วยงาน หรือบริษัทของท่านต่อไปครับ อนึง่ หากท่านผูอ้ า่ นท่านใดมีขอ้ แนะน�ำ หรือติชมใด ๆ แก่กองบรรณาธิการ ท่านสามารถมีสว่ นร่วมกับเราได้โดยส่งเข้ามา ทางไปรษณีย์ หรือที่ Email: eemag@eit.or.th และหากท่านสนใจจะอ่านบทความในรูปแบบ E-Magazine ซึ่งเป็นรูปแบบ 4 สี ทุกหน้า ท่านสามารถติดตามได้ที่ http://www.eit.or.th/smf/index.php?board=13.0 หวังว่าจะท�ำให้เอื้ออ�ำนวยให้ ท่านผู้อ่านสามารถติดตามบทความได้สะดวกมากยิ่งขึ้น และผมขอขอบคุณบริษัทห้างร้านต่าง ๆ ที่ให้การสนับสนุนนิตยสาร “ไฟฟ้าสาร” ด้วยดีเสมอมา ขอให้กิจการของท่านจงมีความเจริญก้าวหน้าขึ้นตลอดไปครับ
สวัสดีครับ ดร.ประดิษฐ์ เฟื่องฟู
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
เจ้าของ : สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 487 รามค�ำแหง 39 (ซอยวัดเทพลีลา) ถนนรามค�ำแหง แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2319 2410-13 โทรสาร 0 2319 2710-11 http://www.eit.or.th e-mail : eit@eit.or.th
คณะกรรมการที่ปรึกษา
ฯพณฯ พลอากาศเอก ก�ำธน สินธวานนท์ ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ศ.อรุณ ชัยเสรี รศ.ดร.ณรงค์ อยู่ถนอม รศ.ดร.ไกรวุฒิ เกียรติโกมล รศ.ดร.ต่อตระกูล ยมนาค ดร.การุญ จันทรางศุ นายเรืองศักดิ์ วัชรพงศ์ พล.ท.ราเมศร์ ดารามาศ นายอ�ำนวย กาญจโนภาศ
จันทร์เจนจบ, อาจารย์สุพัฒน์ เพ็งมาก, นายประสิทธ์ เหมวราพรชัย, นายไชยวุธ ชีวะสุทโธ, นายปราการ กาญจนวตี, นายพงษ์ศักดิ์ หาญบุญญานนท์, รศ.ศุลี บรรจงจิตร, รศ.ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช, นายเกียรติ อัชรพงศ์, นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์, นายเชิดศักดิ์ วิทูราภรณ์, ดร.ธงชัย มีนวล, นายโสภณ สิกขโกศล, นายทวีป อัศวแสงทอง, นายชาญณรงค์ สอนดิษฐ์, นายธนะศักดิ์ ไชยเวช
ประธานกรรมการ นายลือชัย ทองนิล
รองประธานกรรมการ นายสุกิจ เกียรติบุญศรี นายบุญมาก สมิทธิลีลา
คณะกรรมการอ�ำนวยการ วสท.
นายสุวัฒน์ เชาว์ปรีชา นายไกร ตั้งสง่า รศ.ดร.หรรษา วัฒนานุกิจ ศ.ดร.ต่อกุล กาญจนาลัย นายธเนศ วีระศิริ นายทศพร ศรีเอี่ยม นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ นายธีรธร ธาราไชย รศ.ดร.วันชัย เทพรักษ์ รศ.ดร.วิชัย กิจวัทวรเวทย์ นายชัชวาลย์ คุณค�้ำชู รศ.ดร.อมร พิมานมาศ ผศ.ดร.วรรณสิริ พันธ์อุไร ดร.ชวลิต ทิสยากร รศ.ดร.พิชัย ปมาณิกบุตร นายชูลิต วัชรสินธุ ์ รศ.ดร.ทวีป ชัยสมภพ นายนินนาท ไชยธีรภิญโญ นายประสิทธิ์ เหมวราพรชัย นางอัญชลี ชวนิชย์ ดร.ประวีณ ชมปรีดา รศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายลือชัย ทองนิล นายจักรพันธ์ ภวังคะรัตน์ รศ.ด�ำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย รศ.ดร.ขวัญชัย ลีเผ่าพันธุ์ นายเยี่ยม จันทรประสิทธิ์ ผศ.ยุทธนา มหัจฉริยวงศ์ ผศ.ดร.ก่อเกียรติ บุญชูกุศล นายกุมโชค ใบแย้ม รศ.ดร.เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง รศ.วิชัย ฤกษ์ภูริทัต รศ.ดร.สมนึก ธีระกุลพิศุทธิ์ ผศ.ดร.สงวน วงษ์ชวลิตกุล รศ.ดร.จรัญ บุญกาญจน์
นายก อุปนายกคนที่ 1 อุปนายกคนที่ 2 อุปนายกคนที่ 3 เลขาธิการ เหรัญญิก นายทะเบียน ประชาสัมพันธ์ โฆษก สาราณียกร ประธานกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ ประธานกรรมการโครงการ ประธานสมาชิกสัมพันธ์ ปฏิคม ประธานกรรมการต่างประเทศ ประธานกรรมการสวัสดิการ กรรมการกลาง 1 กรรมการกลาง 2 ประธานวิศวกรอาวุโส ประธานวิศวกรหญิง ประธานยุววิศวกร ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ประธานสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ประธานสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ประธานสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ โลหการ และปิโตรเลียม ประธานสาขาวิศวกรรมเคมี ประธานสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ประธานสาขาวิศวกรรมยานยนต์ ประธานสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ประธานสาขาภาคเหนือ 1 ประธานสาขาภาคเหนือ 2 ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 ประธานสาขาภาคใต้
กรรมการ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
รายนามคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. 2554-2556 ที่ปรึกษา
นายอาทร สินสวัสดิ์, ดร.ประศาสน์ จันทราทิพย์, นายเกษม กุหลาบแก้ว, ผศ.ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์, นายโสภณ ศิลาพันธ์, นายภูเธียร พงษ์พิทยาภา, นายอุทิศ
ผศ.ถาวร อมตกิตติ ์ ดร.เจน ศรีวัฒนะธรรมา นายสมศักดิ์ วัฒนศรีมงคล นายพงศ์ศักดิ์ ธรรมบวร นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ นายสุธี ปิ่นไพสิฐ ดร.ประดิษฐ์ เฟื่องฟู นายกิตติศักดิ์ วรรณแก้ว นายสุจิ คอประเสริฐศักดิ์ นายภาณุวัฒน์ วงศาโรจน์ นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
คณะท�ำงานกองบรรณาธิการนิตยสารไฟฟ้าสาร คณะที่ปรึกษา
นายลือชัย ทองนิล, นายปราการ กาญจนวตี, ผศ.ดร.วชิระ จงบุรี, นายยงยุทธ รัตนโอภาส, นายสนธยา อัศวชาญชัยสกุล, นายศุภกิจ บุญศิริ
บรรณาธิการ
ดร.ประดิษฐ์ เฟื่องฟู
กองบรรณาธิการ
ผศ.ถาวร อมตกิตติ์, นายมงคล วิสุทธิใจ, นายชาญณรงค์ สอนดิษฐ์, นายวิวัฒน์ อมรนิมิตร, นายสุเมธ อักษรกิตติ์, ดร.ธงชัย มีนวล, ผศ.ดร.ปฐมทัศน์ จิระเดชะ, ดร.อัศวิน ราชกรม, นายบุญถิ่น เอมย่านยาว, นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล, นายกิตติศักดิ์ วรรณแก้ว, อาจารย์ธวัชชัย ชยาวนิช, นายมนัส อรุณวัฒนาพร. นายประดิษฐ์พงษ์ สุขสิริถาวรกุล, นายจรูญ อุทัยวนิชวัฒนา, น.ส.เทพกัญญา ขัติแสง, น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล
ฝ่ายโฆษณา
สุพจน์ แสงวิมล, กฤษณะ หลักทรัพย์, วีณา รักดีศิริสัมพันธ์
จัดท�ำโดย
บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด
539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม ชั้น 22 A ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2247 2330, 0 2247 2339, 0 2642 5243, 0 2642 5241 (ฝ่ายโฆษณา ต่อ 112-113) โทรสาร 0 2247 2363 www.DIRECTIONPLAN.org E-mail : DIRECTIONPLAN@hotmail.com
Interview สัมภาษณ์พิเศษ
พลอากาศเอก ธเรศ ปุณศรี ประธาน กสทช. เร่งแผนแม่บท ดันไทยเป็นศูนย์กลาง การสื่อสารของอาเซียน ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. ที่มี พลอากาศเอก ธเรศ ปุณศรี เป็นประธาน กสทช. นั้น ถื อ เป็ น หน่ ว ยงานที่ ถู ก จั บ ตามองและถู ก ตั้ ง ความหวั ง จากสังคมเป็นอย่างมาก เพราะองค์กรอิสระนี้มีหน้าที่ ส� ำ คั ญ ในการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมของประเทศ นิตยสารไฟฟ้าสารได้มีโอกาสสัมภาษณ์วิสัยทัศน์ และทิศทางการด�ำเนินงานของ กสทช. จากประธาน คนปัจจุบัน ซึ่งจะท�ำให้เราทราบถึงทิศทางการด�ำเนินงาน ของ “การสื่อสารของประเทศไทย” นับแต่นี้ไป
“การด� ำ เนิ น งานทุ ก อย่ า งเป็ น ไปตามแผน ซึ่ ง เราก็ พ ยายามเร่ ง รั ด เพราะเป็ น เรื่ อ งเร่ ง ด่ ว นตามที่ กฎหมายก�ำหนดไว้ 1 ปี เรือ่ งทีเ่ ร่งด่วน เช่น การรีฟาร์มมิง่ (Refarming) หรื อ การเรี ย กคื น คลื่ น ความถี่ วิ ท ยุ ซึ่งจะเรียกคืนเฉพาะบางย่านที่ส�ำคัญ การหมดอายุของ สัมปทาน หากสัมปทานหมดแล้วจะคืนคลืน่ ความถีอ่ ย่างไร ถ้าคืนแล้วจะดูแลผู้บริโภคอย่างไร นอกจากนั้นจะดูเรื่อง การเปลี่ยนผ่านระบบโทรทัศน์จากอนาล็อกไปเป็นดิจิทัล ซึง่ จะเร่งรัดให้ได้ภายใน พ.ศ. 2555 นี้ ส่วนการด�ำเนินการ เรื่ อ ง 3G ก็ เ ป็ น เรื่ อ งด่ ว นที่ ต ้ อ งเร่ ง รั ด ด� ำ เนิ น การ เช่นกัน คาดว่าภายใน พ.ศ. 2555 นีจ้ ะสามารถด�ำเนินการ ได้ และในขณะที่ท�ำ 3G ก็จะท�ำ 4G ไปพร้อม ๆ กัน แผนแม่บทฯ ภารกิจเร่งด่วน กสทช. คงไม่ ร อให้ 3G เสร็ จ ก่ อ นแล้ ว ค่ อ ยท� ำ นอกจากนั้ น พลอากาศเอก ธเรศ ปุณศรี ประธาน กสทช. ในอนาคตยังมีการเตรียมพร้อมเรื่องสมาร์ทกริด เพื่อ กล่าวถึงแผนการด�ำเนินงานของ กสทช. ใน พ.ศ. 2555 รองรับระบบการสื่อสารโทรคมนาคมในอนาคตไว้ด้วย” ว่า กสทช.ได้จัดท�ำแผนแม่บท กิจการโทรคมนาคม ซึ่งมี ประธาน กสทช. กล่าว อยู่ 3 แผนหลัก คือ 1. แผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่ (พ.ศ. 2555) 2. แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศน์ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555-2559) และ 3. แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 25552559) โดยแผนแม่บททั้ง 3 แผนนี้อยู่ในพระราชบัญญัติ องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และก�ำกับการประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 ซึง่ แผนแม่บททัง้ 3 แผนได้ผา่ นความเห็นชอบจาก คณะกรรมการ กสทช. และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่ อ ประกาศใช้ แ ล้ ว โดยมี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 4 เมษายน 2555 เป็นต้นไป
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
10
วิทยุชุมชน ปัญหาที่ต้องเร่งแก้ไข
กรณีของวิทยุชมุ ชนทีใ่ ช้คลืน่ ความถีเ่ กินก�ำลังส่ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเดื อ ดร้ อ นจากสั ญ ญาณวิ ท ยุ ร บกวน สั ญ ญาณการบิ น และรบกวนการส่ ง สั ญ ญาณอื่ น ๆ พลอากาศเอก ธเรศ กล่าวว่า วิทยุชุมชนในประเทศไทยมี จ�ำนวนสถานีวทิ ยุชมุ ชนมากทีส่ ดุ ในโลกก็วา่ ได้ เพราะมีอยู่ กว่า 6,000 สถานี ซึง่ เจตนารมณ์ของการมีวทิ ยุชมุ ชนนัน้ ดีที่ต้องการให้ประชาชนได้ส่งข้อมูลข่าวสารถึงกัน แต่ ในทางปฏิบัติมีการด�ำเนินการเกินขอบเขต อาทิ ใช้คลื่น ความถี่โดยส่งก�ำลังส่งเกินจนสัญญาณวิทยุไปกวนคลื่น สัญญาณอื่น โดยเฉพาะเครื่องบินโดยสารจะมีปัญหา เพราะรบกวนสัญญาณการบิน ซึง่ เป็นอันตรายมากเพราะ เวลาเครื่ อ งบิ น ขึ้ น -ลงสนามบิ น จะสื่ อ สารกั น ไม่ ชั ด เจน จึงต้องมาดูเรื่องการออกใบอนุญาต การออกระเบียบ และเข้าไปก�ำกับดูแลให้มากขึ้น ขั้นตอนขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่าง การรีฟาร์มมิง่ หลังจากนัน้ จะให้วทิ ยุชมุ ชนมาลงทะเบียนใหม่ และให้ปฏิบัติตามข้อก�ำหนด หากไม่ปฏิบัติตามก็จะมี บทลงโทษที่เข้มงวดต่อไป
ต้องปรับตัวด้านการแข่งขันทีจ่ ะมากขึน้ ส่วนประชาชนก็จะ มีทางเลือกใหม่ ๆ ในการรับชมมากขึ้น สามารถดูทีวีเป็น ร้อยช่องได้ โดยต้องมีการติดตั้งอุปกรณ์ หรือ Set Top Box ที่ใช้ในการรับสัญญาณ ซึ่ง กสทช. จะเข้าไปดูแล การเปลี่ยนผ่านครั้งนี้แบบค่อยเป็นค่อยไป แม้จะเปลี่ยน เป็นระบบดิจทิ ลั แล้วแต่ประชาชนก็ยงั สามารถรับชมระบบ ฟรีทีวีแบบอนาล็อกได้ เพื่อให้ประชาชนได้มีเวลาเตรียม พร้อมสู่การเปลี่ยนแปลง
“หากหลาย ๆ ปั จ จั ย เอื้ อ อ� ำ นวย ประเทศไทยน่ า จะเป็ น ผู ้ น� ำ ในด้ า น การสื่ อ สารได้ ท� ำ อย่ า งไรให้ ป ระเทศ ต่าง ๆ ยอมรับในจุดนี้ ให้ ITU มาอยู่ที่ ประเทศไทย หรือประเทศไทยเป็น ITU ของอาเซียน”
ร า ส า ้ ฟ ไฟ เตรียมพร้อมรับประชาคมอาเซียน
เปลี่ยนระบบโทรทัศน์สู่ดิจิทัล
ตามยุทธศาสตร์ กสทช. ได้กำ� หนดการเปลีย่ นแปลง การรั บ -ส่ ง สั ญ ญาณโทรทั ศ น์ จ ากระบบอนาล็ อ กไปสู ่ การรับ-ส่งสัญญาณระบบดิจิทัล ภายใน 4 ปี ซึ่งตามแผน จะเปิดประมูลทีวีดิจิทัลประเภทธุรกิจใน พ.ศ. 2556 ซึ่งถือเป็นการเปิดเสรีให้ผู้ประกอบการรายใหม่ ๆ รวมทั้ง สือ่ ชุมชนและสือ่ สาธารณะได้มโี อกาสเข้ามาเป็นเจ้าของทีวี ดิจิทัล โดยไม่จ�ำเป็นต้องรอการเรียกคืนคลื่นทีวีอนาล็อก ซึง่ ประธาน กสทช. กล่าวว่า แม้จะมีผลกระทบตามมาบ้าง แต่ในอนาคตต้องด�ำเนินการเรือ่ งนีเ้ ป็นสิง่ ทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ได้ ผู้ประกอบการและประชาชนต้องปรับตัว ผู้ประกอบการ
ใน พ.ศ. 2558 ที่ประเทศในอาเซียนจะรวมกัน เป็นหนึ่งภายใต้ประชาคมอาเซียนนั้น กสทช.ได้เตรียม ความพร้อมเรื่องนี้แล้วโดยได้ตั้งอนุกรรมการขึ้นมาเพื่อ เตรียมรับเรื่องนี้ เบื้องต้นจะเตรียมพร้อมทั้งด้านบุคลากร และด้านเทคนิค ซึง่ ในอนาคตคาดหวังอยากให้ประเทศไทย เป็นผู้น�ำด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม เพราะขณะนี้ ประเทศไทยมี ส หภาพโทรคมนาคมระหว่ า งประเทศ (International Telecommunication Union : ITU) อยู่ หากหลาย ๆ ปัจจัยเอื้ออ�ำนวยประเทศไทยน่าจะเป็นผู้น�ำ ในด้านการสือ่ สารได้ ท�ำอย่างไรให้ประเทศต่าง ๆ ยอมรับ ในจุดนี้ ให้ ITU มาอยู่ที่ประเทศไทย หรือประเทศไทย เป็น ITU ของอาเซียน เพราะขณะนี้ประเทศต่าง ๆ ใน อาเซียนต่างด�ำเนินการไปคนละทิศคนละทาง ประเทศไทย จึงต้องเตรียมพร้อมทั้งเรื่องบุคลาการ เทคนิคต่าง ๆ เพื่อ ก้าวไปสู่การเป็นผู้น�ำในระดับภูมิภาคของอาเซียน “แต่การด�ำเนินการมีรายละเอียดค่อนข้างมาก ทั้งรายละเอียดเรื่องการแข่งขัน การถือครอง ก็คงเป็น แนวคิด กว้าง ๆ ในการเป็น Annex International เป็นศูนย์กลางด้านการสื่อสารของอาเซียน คาดว่าจะ ด�ำเนินการภายใน พ.ศ. 2560” ประธาน กสทช.กล่าว พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
11
พัฒนาบุคลากรรองรับ
เนือ่ งจาก กสทช. เป็นหน่วยงานทีท่ ำ� หน้าทีก่ ำ� กับ ดูแลหน่วยงานอื่น ประธาน กสทช. กล่าวว่า จ�ำเป็นต้องมี การพัฒนาบุคลากรผูป้ ฏิบตั งิ านให้สามารถท�ำงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ โดย กสทช. มีโครงการพัฒนาบุคคลเพื่อ เปิดเป็นศูนย์เฉพาะทางด้านมาตรวัด และการสอบเทียบ ต่าง ๆ โดยจะร่วมกับสถาบันที่ท�ำการเรียนการสอน ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อาทิ สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร และหากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) เข้ามาท�ำงานร่วมกันจะช่วยให้การด�ำเนิน งานมีมาตรฐานมากขึ้น คาดว่าในอนาคตจะได้ร่วมมือ กับ วสท. ในหลาย ๆ ด้าน เพราะ กสทช. ต้องการพัฒนา คนทั้ งในด้า นเทคนิคและความเชี่ยวชาญให้มากกว่านี้ เพราะมี เ ป้ า หมายมุ ่ ง ไปสู ่ เ วที อ าเซี ย น นอกจากนั้ น ยังจะท�ำห้องสมุดไอซีทเี พือ่ ให้เป็นแหล่งข้อมูลกลางในการ สืบค้นข้อมูลด้านสื่อสาร มีการรวบรวมมาตรฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับไอซีทีไว้ กสทช. จะเป็นตัวกลางเพื่อให้มา ที่เดียวแล้วได้ข้อมูลครบ ซึ่งเรื่องเหล่านี้เป็นแผนงานที่จะ ด�ำเนินการในโอกาสต่อไป
คุ้มครองผู้บริโภคอีกภารกิจส�ำคัญ
กสทช. ให้ความส�ำคัญกับการคุ้มครองผู้บริโภค มาก เพราะเทคโนโลยี แ ละการสื่ อ สารเกี่ ย วข้ อ งกั บ ชีวิตของประชาชน ที่ผ่านมาผู้บริโภคถูกเอาเปรียบจาก ผู้ประกอบการ โดยอาจจะเป็นความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ ก็ ต าม ที่ ผ ่ า นมายั ง ไม่ มี ใ ครเข้ า ไปดู แ ลแก้ ไ ข ตอนนี้ กสทช. ได้เข้าไปดูแลแล้ว อาทิ เรื่องโทรศัพท์หลุดบ่อย ก็ แ จ้ ง ให้ ผู ้ ป ระกอบการแก้ ไ ขให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก� ำ หนด แต่ จุ ด อ่ อ นในเรื่ อ งนี้ คื อ ประชาชนไม่ ค ่ อ ยร้ อ งเรี ย น ไม่ ค ่ อ ยใช้ สิ ท ธิ ข องตนเอง ตั ว เลขผู ้ ร ้ อ งเรี ย นปั ญ หา ที่ทางผู้ให้บริการรายงานมาจึงน้อย หากมีปัญหาในการ ใช้ บ ริ ก ารอยากให้ ป ระชาชนใช้ สิ ท ธิ ข องตนเอง เพื่อ ให้ทางผู้ให้บริการได้มีบันทึกเก็บไว้ว่า ที่ผ่านมา มี ผู ้ ร ้ อ งเรี ย นปั ญ หาเข้ า มาเรื่ อ งอะไร จ� ำ นวนเท่ า ไหร่ ซึ่ ง ในอนาคตต้ อ งหาผู ้ ต รวจสอบภายนอกเข้ า มาดู แ ล เรื่องนี้
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
12
เทคโนโลยีจ�ำเป็นส�ำหรับชีวิต
พลอากาศเอก ธเรศ ฝากข้อคิดว่า เทคโนโลยี สื่ อ สารด้ า นโทรคมนาคมทุ ก วั น นี้ ก ้ า วหน้ า ไปเร็ ว มาก และมีผลโดยตรงต่อความเป็นอยู่ของประชาชน เห็นได้ จากทุกคนมีโทรศัพท์มือถือใช้ เพราะโทรศัพท์ส�ำคัญกับ ชีวิต ต่อไปอุปกรณ์หลาย ๆ อย่างในชีวิตจะผสมผสาน การท�ำงานเข้าด้วยกัน จึงจ�ำเป็นที่เราต้องติดตามด้าน เทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้เข้าใจและใช้ประโยชน์ ของเทคโนโลยีได้อย่างเต็มที่ “ประเทศของเราจะพัฒนาไป ไม่ได้เลยถ้าประชาชนไม่ให้ความสนใจเรื่องเทคโนโลยี เพราะเทคโนโลยีกลายเป็นหัวข้อส�ำคัญทีส่ ดุ ในการพัฒนา โลกในปั จ จุ บั น และอยากฝากไปถึ ง คนที่ ก� ำ ลั ง อยู ่ ใ น วัยศึกษาและจะเรียนต่อ การสื่อสารเป็นสาขาที่น่าสนใจ มากในขณะนี้ เพราะมีช่องทางที่จะท�ำประโยชน์ให้แก่ ตนเองและประเทศชาติอีกมาก” ประธาน กสทช. กล่าว แนะน�ำแก่เยาวชนและวิศวกรรุ่นใหม่ในอนาคต
Standard & Safety มาตรฐานและความปลอดภัย นายมงคล วิสุทธิใจ
หลักปฏิบัติด้านการตรวจสอบ และการทดสอบ การติดตั้งระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย (ตอนที่ 3) ปัญหาการป้องกันอัคคีภัยอาคารประการหนึ่ง คือปัญหางานระบบวิศวกรรมความปลอดภัยจากอัคคีภัย โดยเฉพาะงานระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั ทีม่ กั พบว่าระบบไม่ทำ� งานในบางส่วน หรือทัง้ ระบบ หรือท�ำงานตรวจจับ อัคคีภัยในระยะเริ่มต้นช้าจนไม่สามารถเตือนภัยได้ทัน ทั้งนี้เพราะปัญหาการติดตั้งที่ไม่ได้มาตรฐาน และที่ส�ำคัญ คือระบบขาดการบ�ำรุงรักษาตามมาตรฐานก�ำหนด
ร า ส า ้ ฟ ไฟ การติดตั้ง ใช้งาน และบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ตรวจจับควันส�ำหรับบ้าน
อุปกรณ์ตรวจจับควัน แจ้งสัญญาณส�ำหรับบ้าน เป็นอุปกรณ์ที่ทำ� งาน ตรวจจับควันและแจ้งสัญญาณเสียงได้ด้วยตัวเองโดยอิสระ ท�ำงานด้วย แบตเตอรี่ที่บรรจุอยู่ภายใน สามารถติดตั้งได้แทบทุกพื้นที่ในบ้าน
ขอบเขตการใช้งาน อุปกรณ์ตรวจจับควัน แจ้งสัญญาณส�ำหรับบ้าน ควรติดตั้งในพื้นที่ ปิดกั้นทางหนีไฟ เช่น โถงหน้าห้องนอน โถงบันได ในห้องนอน และห้องที่ใช้ งานอุปกรณ์หรือบริภัณฑ์ไฟฟ้า อุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดนี้สามารถใช้ติดตั้ง เสริมกับระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัยที่ติดตั้งตามมาตรฐานอยู่แล้วในอาคาร ที่กฎหมายก�ำหนดได้ เช่น ห้องนอนภายในอาคารชุด หอพัก ห้องพักของ โรงแรม หรือพืน้ ทีอ่ นื่ ใดทีต่ อ้ งการเสริมการตรวจจับควันและเสียงสัญญาณแจ้ง การตรวจจับควันในพื้นที่นั้น ๆ หากแต่ไม่สามารถใช้เป็นสิ่งทดแทนอุปกรณ์ ตรวจจับ และอุปกรณ์แจ้งสัญญาณตามมาตรฐานที่ก�ำหนดให้ใช้กับอาคาร หรือพื้นที่นั้น ๆ อุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ควั น แจ้ ง สั ญ ญาณ ส� ำ หรั บ บ้ า น จะสามารถท� ำ งานได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพเมื่อได้รับการติดตั้งอย่างถูกต้อง ในต�ำแหน่งที่ควันลอยมาถึงได้ ทั้งต้องได้รับ การทดสอบและบ� ำ รุ ง รั ก ษาอย่ า งสม�่ ำ เสมอ เพื่อให้มั่นใจว่าอุปกรณ์รวมทั้งแบตเตอรี่อยู่ใน สภาพที่ดี และท�ำงานอย่างต่อเนื่องได้เป็นปกติ อย่างไรก็ตาม ควรเปลี่ยนอุปกรณ์ตรวจจับควันนี้เมื่ออุปกรณ์ท�ำงานผิดปกติ หรือเสีย หรือใช้งานมาแล้ว 10 ปีหลังจากวันที่ผลิต (ดูวันผลิตที่ฉลากติด ด้านหลังอุปกรณ์)
ข้อจ�ำกัดการใช้งาน 1. อุ ป กรณ์ ที่ ติ ด ตั้ ง แล้ ว จะ ไม่ท�ำงานหากยังไม่บรรจุแบตเตอรี่ หรือแบตเตอรี่ที่บรรจุในอุปกรณ์นั้น เสื่อมสภาพ หรือไฟอ่อนกว่าที่ผู้ผลิต ก�ำหนด หรือแบตเตอรี่ที่ใช้เป็นคนละ ชนิดกับที่ผู้ผลิตก�ำหนด
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
13
2. อุปกรณ์ท�ำหน้าที่เพียงแจ้ง เสียงสัญญาณเฉพาะตัวเมื่อตรวจจับ ควันได้ ไม่สามารถพ่วงแจ้งสัญญาณ ไปที่อื่น ไม่สามารถท�ำการป้องกัน อัคคีภัยหรือดับเพลิงเองได้ และหาก ผู ้ อ ยู ่ อ าศั ย อยู ่ ค นละห้ อ งกั บ ห้ อ งที่ อุปกรณ์นั้นท�ำงานแจ้งสัญญาณก็อาจ ไม่ได้ยินเสียงแจ้งสัญญาณนั้น ดังนั้น ผู้ที่ได้ยินเสียงสัญญาณก่อนจะต้อง รีบปลุกหรือแจ้งเตือนผู้อื่นในบ้านที่ ไม่ได้ยินเสียงแจ้งสัญญาณดังกล่าว ให้ทราบโดยเร็ว
ไอน�้ำมัน หรือไอน�ำ้ หรือมีฝุ่นละอองฟุ้ง เช่น ห้องครัว ห้องอาบน�ำ้ อุ่น เป็นต้น อุปกรณ์อาจท�ำงานตรวจจับและแจ้งสัญญาณเตือนขึ้นได้ แม้จะไม่มีอัคคีภัย เกิดขึ้นก็ตาม การเตรียมพื้นที่ติดตั้ง อุปกรณ์ตรวจจับควันแจ้งสัญญาณส�ำหรับบ้าน สามารถติดตั้งได้แทบ ทุกพื้นที่ในบ้าน ควรติดตั้งในทุกชั้นทุกห้องของบ้าน โดยเฉพาะโถงบันได โถงหน้าห้องนอน ห้องนอน ห้องเก็บของ ห้องที่ติดตั้งแผงควบคุมไฟฟ้าของ บ้าน และห้องที่ใช้งานอุปกรณ์หรือบริภัณฑ์ไฟฟ้า เป็นต้น เว้นแต่ห้องครัว ห้องพระที่มีการจุดธูปจริง ห้องอาบน�้ำอุ่น หรือห้องที่มีฝุ่นละอองฟุ้งอยู่เป็น ปกติ ดังภาพตัวอย่าง
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
3. อุปกรณ์ไม่สามารถท�ำงาน ตรวจจับและแจ้งสัญญาณได้ทันกับ อัคคีภัยประเภทที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน จากเชื้อเพลิงที่ติดไฟได้เร็วกว่าการ เกิ ด ควั น เช่ น ไฟไหม้ ฟู ก โซฟา (จากการสู บ บุ ห รี่ ) หรื อ เด็ ก เล่ น ไม้ขีดไฟหรือจุดเทียน ไฟจากน�้ำมัน หรื อ ของเหลวติ ด ไฟ และไฟจาก การระเบิดเมื่อแก๊สหุงต้มรั่ว เป็นต้น 4. อุปกรณ์ไม่สามารถตรวจจับ ควั น ได้ หากควั น ลอยขึ้ น มาไม่ ถึ ง ต�ำแหน่งที่ติดตั้ง หรือติดตั้งอุปกรณ์ อยู่คนละห้องกับห้องที่เกิดอัคคีภัย 5. อุปกรณ์ไม่สามารถตรวจจับ แก๊สหุงต้มรั่ว ไม่สามารถตรวจจับ ความร้อนจากเปลวไฟ ไฟที่เกิดจาก เชื้อเพลิงไวไฟ และไม่ตรวจจับควัน บุหรี่ที่เจือจาง แต่ในทางกลับกันหาก ติดตั้งอุปกรณ์ในห้องที่ปกติมีควันไฟ
14
ภาพตัวอย่าง พื้นที่ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับควัน แจ้งสัญญาณส�ำหรับบ้านเดี่ยวหลายชั้น
ภาพตัวอย่าง พื้นที่ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับควัน แจ้งสัญญาณส�ำหรับบ้านชั้นเดียว
ต�ำแหน่งติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับควันจะต้องเป็นต�ำแหน่งที่ควันสามารถ ลอยตัวถึงหรือผ่านเข้าได้ จะต้องไม่มีสิ่งกีดขวางหรือสิ่งปลูกสร้างใดของห้อง บดบัง เป็นอุปสรรคต่อการท�ำงานตรวจจับควัน ทั้งต้องเป็นต�ำแหน่งที่ผู้ใช้ สามารถเข้าถึงเพือ่ การทดสอบและบ�ำรุงรักษาได้สะดวก และต้องเป็นต�ำแหน่ง ที่สอดคล้องกับข้อก�ำหนดมาตรฐานการติดตั้งดังจะกล่าวถึงต่อไป มิฉะนั้น อุปกรณ์อาจท�ำงานตรวจจับควันได้ช้ากว่าที่ควร หรือไม่สามารถตรวจจับควัน ได้เลย นอกจากนั้น ต�ำแหน่งติดตั้งจะต้องเป็นต�ำแหน่งที่ท�ำให้ได้ยินเสียง สัญญาณเตือนได้ แม้เสียงสัญญาณจากอุปกรณ์แต่ละชุดจะดังไม่ถึงทุกพื้นที่ ในบ้านก็ตาม
1.3 ส�ำหรับโถงช่องบันได ให้ติดตั้งอุปกรณ์ที่เพดานบนสุดของ โถงบันได และที่เพดานของพักบันได ชั้นถัดลงมา 1.4 ส�ำหรับเพดานห้องใต้ หลังคาทีเ่ พดานห้องมีความร้อนสะสม ควรติดตั้งอุปกรณ์ที่ผนังห้อง 2. เพดานทรงจั่ ว ให้ ติ ด ตั้ ง อุปกรณ์ที่เพดานห่างจากแนวดิ่งของ จั่ ว ไม่ เ กิ น 900 มม. (วั ด ในแนว ระดับ) โดยติดให้ขอบบนของอุปกรณ์ ข้อก�ำหนดต�ำแหน่งติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับควันฯ ต�่ำกว่ายอดจั่วลงมาไม่น้อยกว่า 100 อุปกรณ์ตรวจจับควัน แจ้งสัญญาณส�ำหรับบ้าน ใช้ติดตั้งที่เพดานหรือ มม. และหากต้องการติดตั้งอุปกรณ์ ผนังห้อง โดยมีข้อก�ำหนดต�ำแหน่งติดตั้ง เพื่อให้การตรวจจับควันและการแจ้ง มากกว่ า 1 ชุ ด ก็ ส ามารถติ ด ตั้ ง เสียงสัญญาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด ดังต่อไปนี้ เพิม่ เติมได้ตามแนวลาดเอียงของหลังคา
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ภาพต�ำแหน่งติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับ ควันที่เพดานทรงจั่ว
ภาพต�ำแหน่งติดตั้งอุปกรณ์ฯ ที่เพดานหรือผนัง
1. เพดานราบ ให้ตดิ ตัง้ อุปกรณ์ทเี่ พดานกลางห้อง โดยไม่เสริมฐานหรือ หนุนอุปกรณ์ ไม่ซ่อนในหลุมฝ้าเพดาน หากติดที่กลางเพดานไม่ได้ ให้ติดตั้ง ห่างจากผนังกั้นห้องได้อย่างน้อย 100 มม. แต่หากไม่สามารถติดที่เพดานได้ ก็อาจติดตั้งเข้ากับผนังห้อง โดยติดให้ขอบบนของอุปกรณ์อยู่ตำ�่ กว่าเพดานไม่ น้อยกว่า 100 มม. แต่ไม่เกิน 300 มม. 1.1 ส�ำหรับห้องนอนควรติดตั้งอุปกรณ์ที่เพดานเหนือเตียงนอน หรือที่ผนังใกล้เตียงนอน 1.2 ส�ำหรับห้องโถงหน้าห้องนอนหรือโถงทางเดินที่มีความกว้างไม่ เกิน 3.60 เมตร • โถงที่ยาวไม่เกิน 12 เมตร ควรติดตั้งอุปกรณ์ที่เพดานกลาง โถง • โถงที่ยาวมากกว่า 12 เมตร ควรติดตั้งอุปกรณ์ที่ปลายโถง ทั้งสองด้าน
3. ให้ติดตั้งอุปกรณ์ห่างจาก ดวงไฟฟลู อ อเรสเซนต์ ที่ ติ ด อยู ่ ใ น ระนาบเดียวกันอย่างน้อย 300 มม. 4. ให้ติดตั้งอุปกรณ์ห่างจาก หัวจ่ายลมเย็นของระบบปรับอากาศที่ อยูใ่ นระนาบเดียวกันไม่นอ้ ยกว่า 400 มม. 5. ให้ติดตั้งอุปกรณ์ห่างจาก แหล่งก�ำเนิดไอน�้ำหรือความชื้น เช่น ตูอ้ บซาวน่า ห้องอาบน�้ำ ตูอ้ บผ้า หรือ เครื่องล้างจานด้วยน�้ำร้อน เป็นต้น อย่างน้อย 3 เมตร
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
15
6. ให้ติดตั้งอุปกรณ์ห่างจาก แหล่งก�ำเนิดควัน เช่น เตาไฟ เครื่อง ท�ำน�้ำร้อน หรือเครื่องปิ้ง-ย่าง เป็นต้น อย่างน้อย 6 เมตร และควรติดตั้ง พั ด ลมดู ด อากาศออกจากห้ อ งหรื อ พื้นที่ดังกล่าว 7. ให้ติดตั้งอุปกรณ์ห่างจาก หน้าประตูห้องครัว ประตูหน้าห้อง อาบน�้ ำ หรื อ ประตู ห ้ อ งอบซาวน่ า อย่างน้อย 1 เมตร 8. ไม่ควรติดตัง้ อุปกรณ์ในห้อง หรือพื้นที่มีฝุ่นละออง ไอน�ำ้ มัน หรือ มีค่าความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่าที่ผู้ผลิต ก�ำหนด หรือห้องทีม่ อี ณ ุ หภูมแิ วดล้อม ต�่ำกว่า 4 °C หรือสูงกว่า 38 °C วิธีติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับควัน แจ้งสัญญาณส�ำหรับบ้าน 1. ให้ติดตั้งอุปกรณ์เข้ากับต�ำแหน่งที่ก�ำหนดไว้แล้ว ด้วยวิธีติดตั้ง การเตรี ย มอุ ปกรณ์ ต รวจจั บ ควั น ฯ อุปกรณ์ทผี่ ผู้ ลิตก�ำหนด โดยพึงป้องกันไม่ให้มฝี นุ่ ละอองเข้าอุปกรณ์ในระหว่าง ก่อนน�ำไปติดตั้ง การติดตั้ง 1. ไม่ควรติดตัง้ ใช้งานอุปกรณ์ 2. ให้ยดึ สกรูหรือแท่นยึดอุปกรณ์เข้ากับต�ำแหน่งติดตัง้ ก่อนติดอุปกรณ์ ที่ผลิตมาแล้วตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป (ดูวัน เข้ากับสกรูหรือแท่นยึดนั้น ซึ่งเมื่อติดตั้งแล้ว แท่นยึดและอุปกรณ์จะต้องติด ทีผ่ ลิตจากฉลากปิดด้านหลังอุปกรณ์) แนบสนิทมั่นคงอยู่กับเพดานโดยตลอด และอุปกรณ์จะต้องสามารถถอดแยก 2. เตรี ย มแบตเตอรี่ ส� ำ หรั บ ออกจากแท่นหรือสกรูที่ยึดได้โดยไม่ต้องไขสกรูออกจากต�ำแหน่งติดตั้ง อุปกรณ์ทมี่ พี กิ ดั แรงดันไฟฟ้าและชนิด 3. ก่อนบรรจุแบตเตอรี่เข้ากับอุปกรณ์ ให้ตรวจสอบขั้วต่อ ขั้วบวก ตามที่ผู้ผลิตก�ำหนด และขั้วลบที่อุปกรณ์ และขั้วของแบตเตอรี่ก่อนโดยต่อขั้วที่ตรงกันเข้าด้วยกัน 3. ตรวจอุปกรณ์ให้มีจ�ำนวน และบรรจุแบตเตอรี่เข้ากับอุปกรณ์ตามวิธีที่ผู้ผลิตก�ำหนด เพี ย งพอกั บ จ� ำ นวนห้ อ งหรื อ พื้ น ที่ ภายในบ้านที่ควรจะต้องติดตั้ง 4. ศกึ ษาคูม่ อื การติดตัง้ และใช้ งานอุปกรณ์ให้เข้าใจ เพื่อการควบคุม และใช้งานอุปกรณ์อย่างถูกวิธีตาม ผู้ผลิตก�ำหนด
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ภาพตัวอย่าง การต่อหรือบรรจุแบตเตอรี่เข้ากับอุปกรณ์ตรวจจับ แจ้งสัญญาณ
16
4. ติดอุปกรณ์เข้ากับสกรูยึดหรือแท่นยึด หลังจากบรรจุแบตเตอรี่แล้ว 2. ทดสอบการท�ำงานตรวจจับ เพื่อใช้งาน หากอุปกรณ์มีดวงไฟสัญญาณ ให้ตรวจสอบการติดกะพริบของ ควั น และการท� ำ งานแจ้ ง สั ญ ญาณ โดยใช้ ค วั น รมที่ อุ ป กรณ์ (ห้ า มใช้ ดวงไฟอย่างช้านาทีละ 1 ครั้ง แสดงสภาวะการท�ำงานเป็นปกติ การจุดไฟลนที่อุปกรณ์) หรือใช้แก๊ส 5. ห้ามทาสี เคลือบสี หรือพ่นสีอุปกรณ์ในทุกกรณี เสมือนควัน พ่นเข้าที่อุปกรณ์ตาม วิธีที่ผู้ผลิตก�ำหนด อุปกรณ์จะต้อง การใช้งานอุปกรณ์ตรวจจับควัน แจ้งสัญญาณส�ำหรับบ้าน อุปกรณ์เมื่อบรรจุแบตเตอรี่แล้วจะเริ่มท�ำงานตรวจจับควันในภาวะ ส่งเสียงแจ้งสัญญาณที่ความดังไม่ต�่ำ ปกติทันที และสามารถแจ้งเสียงสัญญาณพร้อมกับดวงไฟสัญญาณติดค้าง กว่า 85 dBA และดวงไฟ (ถ้ามี) (ถ้ามี) เมือ่ อุปกรณ์ตรวจจับควันได้ และหากแบตเตอรีไ่ ฟอ่อนหรือเสือ่ มสภาพ จะต้องติดค้าง จากนั้นให้ท�ำการพัด อุปกรณ์จะต้องส่งเสียงสัญญาณเตือนเป็นระยะ นาทีละ 1 ครั้ง หรือตามที่ หรือโบกให้ลมโกรกผ่านเพื่อไล่ควัน หรือฝุ่นออกจากอุปกรณ์ โดยไม่ต้อง ผู้ผลิตก�ำหนดให้เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ทันที ส� ำ หรั บ อุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ควั น แจ้ ง สั ญ ญาณส� ำ หรั บ บ้ า น ชนิ ด ที่ มี ถอดแบตเตอรี่ออก กระทั่งอุปกรณ์ คุณสมบัตพิ เิ ศษทีส่ ามารถควบคุมการท�ำงานให้เหมาะกับสถานทีต่ ดิ ตัง้ ได้ เช่น เงี ย บเสี ย งสั ญ ญาณลงได้ เ อง และ มีสวิตช์ปรับหน่วงเวลาการตรวจจับควัน หรือมีสวิตช์ใช้เงียบเสียงสัญญาณได้ ดวงไฟ (ถ้ามี) กลับกะพริบตามปกติ ให้ปรับควบคุมเพื่อใช้งานคุณสมบัติพิเศษดังกล่าวตามค�ำแนะน�ำของผู้ผลิต จึงถือว่าผ่านการทดสอบนี้ แต่หาก อุ ป กรณ์ ไ ม่ ใ ห้ เ สี ย งแจ้ ง สั ญ ญาณ หรือเสียงสัญญาณเบากว่าปกติ หรือ การทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับควัน แจ้งสัญญาณส�ำหรับบ้าน เมือ่ ติดตัง้ อุปกรณ์เสร็จเป็นครัง้ แรกให้ทดสอบอุปกรณ์ทนั ที และทดสอบ ดังผิดเพี้ยน หรือไม่ผ่านการทดสอบ ตามก�ำหนดมาตรฐานอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ตลอดอายุการใช้งานดังนี้ ข้างต้นให้เปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 1. ทดสอบก�ำลังไฟแบตเตอรี่ และการท�ำงานแจ้งสัญญาณโดยกดปุ่ม ทดสอบที่ตัวอุปกรณ์ค้างไว้อย่างน้อย 5 วินาที อุปกรณ์จะต้องส่งเสียงแจ้ง สัญญาณที่ความดังไม่ต�่ำกว่า 85 dBA และดวงไฟ (ถ้ามี) จะต้องติดค้าง โดยเมือ่ หยุดกดปุม่ ทดสอบ เสียงสัญญาณต้องเงียบลง และดวงไฟ (ถ้ามี) จะต้อง กลับมากะพริบตามปกติ จึงถือว่าผ่านการทดสอบนี้ แต่หากอุปกรณ์ให้เสียง แจ้งสัญญาณเบากว่าปกติ หรือดังผิดเพี้ยน หรือไม่ผ่านการทดสอบข้างต้น ให้ทดลองเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ตามขนาดและชนิดที่ผู้ผลิตก�ำหนด แล้วท�ำ การทดสอบซ�ำ้ ถ้ายังไม่ผ่านอีกให้เปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่
3. ทดสอบการท� ำ งานตาม คุณสมบัติพิเศษของอุปกรณ์ (ถ้ามี) ตามวิธีที่ผู้ผลิตก�ำหนด
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
17
การบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ตรวจจับควัน แจ้งสัญญาณส�ำหรับบ้าน ควรท�ำการบ�ำรุงรักษาเบือ้ งต้น ด้วยการถอดอุปกรณ์ลงจากต�ำแหน่ง ติดตั้งเพื่อท�ำความสะอาดอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง โดยถอดแบตเตอรี่ ออกจากอุ ป กรณ์ แล้ ว ดู ด ฝุ ่ น ที่ ฝาครอบ ที่ ก ล่ อ งรั บ ควั น และท� ำ ค ว า ม ส ะ อ า ด อุ ป ก ร ณ ์ เ ฉ พ า ะ ที่ ด้านนอกด้วยผ้าชุบน�้ำหมาด ด้วย ความระมัดระวังอย่าให้นำ�้ เข้าอุปกรณ์ เมื่อท�ำสะอาดแล้วจึงบรรจุแบตเตอรี่ กลับ และท�ำการทดสอบตามที่กล่าว แล้วข้างต้น ส�ำหรับแบตเตอรี่ควรเปลี่ยน แบตเตอรี่ใหม่ตามขนาดและชนิดที่ ผู ้ ผ ลิ ต ก� ำ หนดให้ กั บ อุ ป กรณ์ ปี ล ะ 1 ครั้ง แม้แบตเตอรี่เก่าจะยังใช้งาน ได้ก็ตาม
3. หากพบว่าอุปกรณ์ท�ำงานแจ้งเสียงสัญญาณผิดพลาดเพราะ สภาพแวดล้อมในห้อง หรือพื้นที่ติดตั้งท�ำให้อุปกรณ์ตรวจจับท�ำงานแม้ ไม่เกิดอัคคีภัย ควรเงียบเสียงสัญญาณด้วยการพัดหรือโบกให้ลมโกรก ผ่านอุปกรณ์เพือ่ ไล่ควันหรือฝุน่ ออกจากกล่องตรวจจับภายในอุปกรณ์ แทนที่ จะใช้ วิ ธี ถ อดแบตเตอรี่ อ อก หรื อ ถอดอุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ลงจากที่ ติ ด ตั้ ง หากอุปกรณ์ไม่สามารถกลับไปท�ำงานตามปกติได้ควรถอดอุปกรณ์ลงจาก ต�ำแหน่งติดตั้ง แล้วท�ำความสะอาดตามการบ�ำรุงรักษาที่กล่าวในเบื้องต้น 4. หากอุปกรณ์ท�ำงานแจ้งสัญญาณเตือนโดยไม่มีการตรวจจับควัน ได้จริงบ่อยครั้งและอุปกรณ์ไม่เสีย ควรพิจารณาเปลี่ยนต�ำแหน่งติดตั้งใหม่ ที่เหมาะสม หรือปรับปรุงสภาพแวดล้อมในห้องหรือพื้นที่นั้น เพื่อป้องกันไม่ ให้อุปกรณ์ทำ� งานผิดพลาดได้อีก 5. ในทุกกรณีเมื่อพบว่าอุปกรณ์เสีย จะต้องไม่ซ่อมอุปกรณ์ตรวจจับ ควันนั้น แต่ควรเปลี่ยนใหม่เท่านั้น
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
จะต้องปฏิบตั อิ ย่างไร เมือ่ มีเสียงแจ้ง สั ญ ญาณเตื อ นดั ง ขึ้ น จากอุ ป กรณ์ ตรวจจับควันฯ เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือน จากอุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ควั น ให้ ป ฏิ บั ติ ดังนี้ 1. เข้าตรวจสอบพื้นที่หรือห้อง ที่อุปกรณ์นั้นติดตั้งอยู่ในทันที 2. หากพบการเริม่ เกิดอัคคีภยั ในระยะที่มีเพียงควันไฟ ให้ท�ำการ ระงับเหตุอัคคีภัยในทันที (ถ้าท�ำได้) และ/หรือแจ้งเตือนให้ผอู้ นื่ ในบ้านทีย่ งั ไม่ทราบเหตุในทันที เพื่อด�ำเนินการ ป้องกันและช่วยเหลือระงับอัคคีภัย ต่อไป
18
เอกสารอ้างอิง ประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพ ด้านการตรวจสอบ และการทดสอบการติดตั้งระบบ สัญญาณเตือนอัคคีภัย สภาวิศวกร พ.ศ. 2553
ประวัติผู้เขียน
นายมงคล วิสุทธิใจ • ประธานกรรมการ ร่างมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ วสท. • ประธานกรรมการร่างประมวลหลักปฏิบตั วิ ชิ าชีพด้านการตรวจสอบ และการทดสอบระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย สภาวิศวกร • ประธานผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความปลอดภัยด้านอัคคีภัย อาคารผู้โดยสารสนามบินสุวรรณภูมิ
Standard & Safety มาตรฐานและความปลอดภัย รศ.ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช อีเมล : s.tanaboon@hotmail.com
การติดตั้งระบบไฟฟ้าในสระว่ายน�ำ้ และอ่างน�้ำพุ
(ตอนที่ 4)
การติดตั้งระบบไฟฟ้าอ่างน�ำ้ แร่ (Spas) อ่างน�้ำร้อน (Hot Tubs) และอ่างอาบน�้ำนวดตัว (Hydromassage Bathtubs)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ อ่างน�้ำร้อน (Hot Tubs)
อ่างน�ำ้ แร่และอ่างน�้ำร้อน เป็นอุปกรณ์เพิม่ เติมในด้านการรักษาสุขภาพ โดยการควบคุมให้อุณหภูมิสูงตามเวลา ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยในการใช้ อ่างน�้ำแร่และอ่างน�้ำร้อนจะก�ำหนดอุณหภูมิน�้ำประมาณ 40°C และเป็น เวลาสูงสุด 15 นาที อ่างน�ำ้ แร่และอ่างน�ำ้ ร้อนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ (1) อ่างส�ำเร็จในตัว (Self-Contained) และ (2) ชุดประกอบอ่าง (Package Assembly) อ่างน�้ำแร่ส�ำเร็จในตัวหรืออ่างน�้ำร้อน (Self-Contained Spas and Hot Tubs) โรงงานผู้ผลิตจะสร้างเป็นชุดประกอบด้วยอ่างน�ำ้ วน การท�ำ ความร้อน และอุปกรณ์ควบคุมรวมกันเป็นชุด ส่วนชุดประกอบอ่างน�้ำแร่หรือ อ่างน�้ำร้อน (Packaged Spas and Hot Tubs) โรงงานผู้ผลิตจะสร้างเป็นชุด ประกอบด้วยอ่างน�้ำวน การท�ำความร้อน และอุปกรณ์ควบคุมจะติดตั้งอยู่บน ฐานเพื่อการท�ำงานของอ่างน�ำ้ แร่หรืออ่างน�ำ้ ร้อน อ่างน�ำ้ แร่และอ่างน�ำ้ ร้อนแตกต่างกันทีว่ สั ดุใช้สร้าง กล่าวคือ อ่างน�ำ้ ร้อน จะท�ำด้วยไม้ ส่วนอ่างน�ำ้ แร่จะท�ำด้วยคอนกรีต กระเบื้อง หรือไฟเบอร์กลาส
อ่างน�้ำแร่ (Spas)
3.1 สวิตช์ฉุกเฉินส�ำหรับอ่างน�้ำแร่ และอ่างน�้ำร้อน ต้ อ งมี ป ้ า ยฉุ ก เฉิ น แสดง อย่างชัด เจน เพื่อควบคุ มการหยุ ด ฉุ ก เฉิ น หรื อ เป็ น สวิ ต ช์ ค วบคุ ม ที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ หยุ ด มอเตอร์ ที่ จ ะ จ่ายน�้ำในระบบไหลเวียนและพ่นน�้ำ ในระบบ สวิตช์ฉกุ เฉินต้องติดตัง้ ในจุด ทีเ่ ข้าถึงได้งา่ ยอย่างฉับพลันในสายตา ระยะไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร ดังรูปที่ 3.1
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
19
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3.1 การติดตั้งสวิตช์ฉุกเฉินส�ำหรับอ่างน�้ำแร่และอ่างน�้ำร้อน
ส�ำหรับการติดตั้งสวิตช์ฉุกเฉิน มีข้อแนะน�ำดังนี้ ก. เป็นเครื่องปลดวงจรเพื่อการบ�ำรุงรักษา ข. เพื่อการหยุดฉุกเฉิน ส�ำหรับป้องกันอุบัติเหตุอาจบาดเจ็บจากการเปิดปั๊มน�ำ้ ในวงจรดังรูปที่ 3.2
รูปที่ 3.2 การติดตั้งสวิตช์ฉุกเฉิน เพื่อการบ�ำรุงรักษา
20
3.2 การติดตั้งระบบไฟฟ้าอ่างน�้ำแร่หรืออ่างน�้ำร้อนภายนอกอาคาร การติดตั้งระบบไฟฟ้าอ่างน�้ำแร่หรืออ่างน�ำ้ ร้อนภายนอกอาคาร อนุญาตให้ปฏิบัติดังข้อต่อไปนี้ 3.2.1 ข้อต่ออ่อน ข้อต่ออ่อนที่ใช้กับชุดประกอบอ่างน�้ำแร่หรืออ่างน�้ำร้อนได้รับการรับรอง (Listed Packaged Spas and Hot Tubs) หรืออ่างน�ำ้ แร่สำ� เร็จในตัวหรืออ่างน�ำ้ ร้อน (Self-Contained Spas and Hot Tubs) 1. ข้อต่อท่ออ่อน เป็นท่ออ่อนโลหะกันน�ำ้ หรือท่ออ่อนอโลหะกันน�ำ้ ยาวไม่เกิน 1.80 เมตร 2. สายอ่อนหรือข้อต่อเต้าเสียบ (Cord and plug connection) สายอ่อนและข้อต่อเต้าเสียบ จะต้องมี เครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน (Ground Fault Circuit Interrupter หรือ GFCI) และสายอ่อนยาวไม่เกิน 4.60 เมตร ดังรูปที่ 3.3
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3.3 สายอ่อนและข้อต่อเต้าเสียบ จะต้องมีเครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน (GFCI)
3.2.2 ก า ร ป ร ะ ส า น (Bonding) อุปกรณ์ที่ติดตั้งเป็นโครง โลหะหรือฐานโลหะ ต้องต่อประสาน เข้าด้วยกันทั้งหมด ลวดที่ใช้ผูกกับไม้ ไม่จ�ำเป็นต้องประสาน 3.2.3 การเดินสายไฟฟ้า ส� ำ หรั บ อ่ า งน�้ ำ แร่ ห รื อ อ่ า งน�้ ำ ร้ อ น ภายนอกอาคาร ให้อ่านเพิ่มเติมและ ปฏิบัติตามมาตรฐานการติดตั้งทาง ไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย บทที่ 5 ข้อ ก�ำหนดการเดินสายและวัสดุ และต้อง มีเดินสายดินของบริภัณฑ์เป็นตัวน�ำ ทองแดงหุ้มฉนวนขนาดไม่เล็กกว่า 4 mm2 ทั้งนี้ยอมให้ต่อเข้ากับมอเตอร์, ลวดความร้อน และชุดควบคุมโหลด อ่างน�้ำแร่ส�ำเร็จในตัวหรืออ่างน�้ำร้อน หรื อ ชุ ด ประกอบที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รอง อ่างน�้ำแร่หรืออ่างน�ำ้ ร้อน
ส�ำหรับการเดินสายให้กับโคมไฟใต้นำ�้ ให้อ่านเพิ่มเติมและปฏิบัติ ตามการติดตั้งระบบไฟฟ้าสระว่ายน�้ำและอ่างน�้ำพุ (ตอนที่ 2) จากนิตยสาร ไฟฟ้าสาร ฉบับเดือน ม.ค.-ก.พ. 2555
3.3 การติดตั้งระบบไฟฟ้าอ่างน�้ำแร่หรืออ่างน�้ำร้อนภายในอาคาร การติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ้ า อ่ า งน�้ ำ แร่ ห รื อ อ่ า งน�้ ำ ร้ อ นภายในอาคาร อนุญาตให้ท�ำตามข้อดังกล่าวดังต่อไปนี้ ยกเว้น 1. ชุดจ่ายไฟขนาดไม่เกิน 20 A ใช้ต่อกับสายอ่อนและข้อต่อ เต้าเสียบ 2. การประสานศักย์ไฟฟ้าเท่า (Equipotential Bonding) มีความ จ�ำเป็นส�ำหรับพื้นขอบนอกสระ (Perimeter Surfaces) ให้อ่านเพิ่มเติมและ ปฏิ บั ติ ต ามการติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ้ า สระว่ า ยน�้ ำ และอ่ า งน�้ ำ พุ (ตอนที่ 2) จากนิตยสารไฟฟ้าสาร ฉบับเดือน ม.ค.-ก.พ. 2555 ข้อก�ำหนดนี้ไม่ใช้กับ อ่างน�้ำแร่ส�ำเร็จในตัวหรืออ่างน�ำ้ ร้อน (Self-Contained Spas and Hot Tubs) ที่ติดตั้งอยู่เหนือพื้น 3.3.1 เต้ารับ มีเต้ารับอย่างน้อยหนึ่งตัวขนาด 15 A หรือ 20 A 240 V เต้ารับต้องอยู่ห่างจากผนังด้านในอ่างต�ำ่ สุด 1.83 เมตร แต่ไม่เกิน 3 เมตร พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
21
ก. ต�ำแหน่งเต้ารับต้องติดตั้งในระยะไม่น้อยกว่า 1.83 เมตร วัดจากแนวระดับจากผนังด้านในอ่างน�ำ้ แร่หรืออ่างน�ำ้ ร้อน ข. ป้องกันทั่วไป เต้ารับขนาดไม่เกิน 30 A 240 V ติดตั้งใน ระยะไม่เกิน 3 เมตร จากผนังด้านในอ่างน�ำ้ แร่หรืออ่างน�้ำร้อน จะต้องติดตั้ง เครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน (GFCI) ดังรูปที่ 3.4 และรูปที่ 3.5 ค. เต้ารับอ่างน�ำ้ แร่หรืออ่างน�ำ้ ร้อนทีจ่ า่ ยก�ำลังไฟฟ้าให้กบั อ่างน�ำ้ แร่ หรืออ่างน�้ำร้อน จะต้องมีการป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน ดังรูปที่ 3.6
ง. การวัด ในการวัดระยะ ห่างต้องสั้นสุดเมื่อต่อผ่านจากแหล่ง จ่ายไฟสายอ่อนเข้ากับอุปกรณ์ไฟฟ้า กั บ เต้ า รั บ ต้ อ งไม่ ท ะลุ ผ ่ า นพื้ น ผนัง เพดาน แขวนกับประตูทางเดิน หรือประตูเลือ่ น หน้าต่างเปิด หรือผนัง อื่น ๆ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3.4 เต้ารับติดตั้งในระยะไม่น้อยกว่า 1.83 เมตร และระยะไม่เกิน 3 เมตร จากผนังด้านในอ่างน�ำ้ แร่หรืออ่างน�้ำร้อน จะต้องติดตั้งเครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน (GFCI)
รูปที่ 3.5 เต้ารับอ่างน�ำ้ แร่หรืออ่างน�้ำร้อนมีเครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน (Ground Fault Circuit Interrupter หรือ GFCI) ในตัว
22
รูปที่ 3.6 เต้ารับมีเครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน (GFCI) ในตัว และต่อพ่วงเสริมกับเต้ารับทั่วไป
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 3.3.2 โคมไฟฟ้าและจุดต่อไฟฟ้าแสงสว่างและพัดลมเพดาน ก. อ่างน�้ำแร่หรืออ่างน�้ำร้อนภายในอาคาร ระยะห่างของการติดตั้ง โคมไฟฟ้า จุดต่อไฟฟ้าแสงสว่าง และพัดลมเพดาน ห้ามติดตั้งเหนืออ่างน�้ำ หรืออยู่เหนือพื้นที่ซึ่งห่างจากขอบอ่างด้านในตามแนวระดับไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร และเว้นแต่ปฏิบัติตามรูปที่ 3.7 หรือตามรหัส A, B และ C
รูปที่ 3.7 ระยะความสูงโคมไฟฟ้า และจุดต่อไฟฟ้าแสงสว่างและพัดลมเพดานอ่างน�้ำแร่หรืออ่างน�้ำร้อนภายในอาคาร
หมายเหตุ: จากรูปที่ 3.7 รหัสอักษร A, B และ C หมายถึง A อนุญาตให้ตดิ ตัง้ โคมไฟฟ้า จุดต่อไฟฟ้าแสงสว่าง และพัดลมเพดาน แต่ตอ้ งอยูส่ งู จากระดับ (2) โคมไฟฟ้ า ชนิ ด ติ ด กั บ ผิ ว น�้ำในอ่างไม่น้อยกว่า 3.70 เมตร ไม่ต้องมีเครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน ซ่อนด้วยแก้วหรือพลาสติกกลม อโลหะ B อนุญาตให้ตดิ ตัง้ โคมไฟฟ้าและพัดลมเพดาน แต่ตอ้ งอยูส่ งู จากระดับน�ำ้ ในอ่างไม่นอ้ ยกว่า หรือส่วนที่เป็นโลหะแยกจากการสัมผัสถูก 2.30 เมตร และต้องมีเครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน และสามารถใช้ได้กับพื้นที่เปียกชื้น C อนุญาตให้ตดิ ตัง้ โคมไฟฟ้า อยูส่ งู จากระดับน�ำ้ ในอ่างน้อยกว่า 2.30 เมตร และต้องมีเครือ่ ง ป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน โคมไฟฟ้ามีข้อก�ำหนดดังนี้ (1) โคมไฟฟ้าชนิดติดซ่อน มีครอบแก้วหรือเลนส์พลาสติก อโลหะหรือส่วนที่ เป็นโลหะแยกจากไฟฟ้า และสามารถใช้ได้กับพื้นที่เปียกชื้น พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
23
ข. ส�ำหรับโคมไฟใต้น�้ำ ให้อ่านเพิ่มเติมและปฏิบัติตามการติดตั้งระบบไฟฟ้าสระว่ายน�้ำและอ่างน�้ำพุ (ตอนที่ 2) จากนิตยสารไฟฟ้าสาร ในหัวข้อที่ 2 3.3.3 สวิตช์ จะต้องติดตั้งในระยะไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร จากขอบอ่างในแนวระดับดังรูปที่ 3.8
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3.8 สวิตช์จะต้องติดตั้งในระยะไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร จากขอบอ่างในแนวระดับ
3.3.4 การประสานชิ้นส่วนที่เป็นโลหะต่าง ๆ อ่างน�ำ้ แร่หรืออ่าง น�้ำร้อนจะต้องต่อประสานเข้าด้วยกันทั้งหมด ก. ข้อต่อโลหะภายในหรือต่อเข้ากับโครงสร้างของอ่างน�้ำแร่หรือ อ่างน�้ำร้อนภายในอาคาร ข. ทุกส่วนของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เป็นโลหะต่อเข้ากับระบบน�ำ้ ไหลวน ของอ่างน�้ำแร่หรืออ่างน�ำ้ ร้อนภายในอาคาร รวมทั้งมอเตอร์ปั๊ม นอกจากอ่าง น�้ำแร่ส�ำเร็จในตัวหรืออ่างน�้ำร้อนที่ได้รับการรับรอง เนื่องจากผู้ประกอบการ ผลิตอ่างน�้ำแร่ได้ท�ำการต่อประสานไว้ภายในชุดส�ำเร็จเรียบร้อยแล้ว ค. ท่อไฟฟ้าโลหะและท่อน�ำ้ โลหะ ในระยะ 1.50 เมตร ของขอบ อ่างด้านในของอ่างน�ำ้ แร่หรืออ่างน�ำ้ ร้อนภายในอาคาร โดยไม่มีผนังกั้นแยก ง. พืน้ ผิวโลหะทัง้ หมดในระยะ 1.50 เมตร ของขอบอ่างด้านในของ อ่างน�้ำแร่หรืออ่างน�้ำร้อนภายในอาคาร โดยไม่มีผนังกั้นแยก ข้อยกเว้นพื้นผิวตัวน�ำขนาดเล็ก เช่น หัวฉีดอากาศและน�้ำไม่ใช้ ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ที่ไม่ใช้ไฟฟ้าอื่น เช่น ที่แขวนผ้าขนหนู กรอบกระจก ไม่ต้องต่อประสาน จ. อุปกรณ์ไฟฟ้าและควบคุมที่ไม่เกี่ยวข้องกับอ่างน�้ำแร่หรืออ่าง น�้ำร้อนแต่ติดตั้งอยู่ในระยะน้อยกว่า 1.5 เมตร จากอ่างจะต้องต่อประสาน เข้ากับอ่างน�้ำแร่หรืออ่างน�ำ้ ร้อน
24
3.3.5 วิ ธี ก ารประสาน ส่ ว นที่ เ ป็ น โลหะทั้ ง หมดต้ อ งต่ อ ประสานเข้าด้วยกันทั้งหมด เพื่อให้ ศักย์ไฟฟ้ามีระดับเดียวกันดังรูปที่ 3.9 โดยท�ำตามวิธีต่อไปนี้ ก. ระหว่างเกลียวท่อโลหะ กับข้อต่อท่อ ข. โลหะกับโลหะที่ติดตั้ง บนฐานหรือพื้น ค. ประสานด้ ว ยแท่ ง ทองแดงขนาดไม่เล็กกว่า 10 mm2
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3.9 ส่วนที่เป็นโลหะทั้งหมดต้องต่อประสานเข้าด้วยกันด้วยแท่งทองแดงขนาดไม่เล็กกว่า 10 mm2
3.4 เครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน 3.4.1 เต้ารับที่จ่ายไฟฟ้าให้กับอ่างน�้ำแร่ส�ำเร็จในตัวหรืออ่างน�ำ้ ร้อน (Self-Contained Spas and Hot Tubs) และชุดประกอบอ่างน�ำ้ แร่หรืออ่างน�ำ้ ร้อนได้รับการรับรอง (Listed Packaged Spas and Hot Tubs) จะต้องเป็นชนิด มีเครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน (Ground Fault Circuit Interrupter หรือ GFCI) ดังรูปที่ 3.10
รูปที่ 3.10 เต้ารับที่จ่ายไฟฟ้าให้กับอ่างน�้ำแร่ส�ำเร็จในตัวหรืออ่างน�้ำร้อน (Self-Contained Spas and Hot Tubs) จะต้องเป็นชนิดมีเครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
25
3.4.2 ชุดอ่างน�ำ้ แร่หรืออ่างน�ำ้ ร้อนที่ได้รับการรับรอง ไม่ต้องติดตั้ง GFCI เพิ่มเมื่อใช้กับอ่างน�ำ้ แร่ส�ำเร็จ ในตัวหรืออ่างน�้ำร้อน หรือชุดประกอบอ่างน�้ำแร่หรืออ่างน�้ำร้อนได้รับการรับรอง หรืออ่างน�้ำแร่หรืออ่างน�้ำร้อนที่มี เครื่องป้องกัน GFCI รวมอยู่ภายในชุด ดังรูปที่ 3.11
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3.11 อ่างน�้ำแร่หรืออ่างน�้ำร้อนที่มีเครื่องป้องกัน GFCI รวมอยู่ภายในชุด ไม่ต้องติดตั้ง GFCI เพิ่ม
3.5 การติดตั้งระบบไฟฟ้าอ่างอาบน�้ำนวดตัว (Hydromassage Bathtabs) 3.5.1 การป้องกัน อ่างอาบน�ำ้ นวดตัวจะติดตัง้ ถาวรกับอ่างอาบน�ำ้ ประกอบด้วยอุปกรณ์ระบบท่อน�ำ้ น�ำ้ ไหล วน และการระบายน�้ำ วงจรไฟฟ้าต้องแยกแต่ละวงจรย่อยและจะต้องมีเครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน (GFCI) ดังรูปที่ 3.12 เต้ารับเฟสเดียวทั้งหมดขนาด 30 A หรือต�ำ่ กว่าแรงดัน 240 V ต้องติดตั้งในระยะไม่น้อยกว่า 1.83 เมตร จากขอบอ่างอาบน�ำ้ นวดตัวในแนวระดับ และจะต้องมีเครือ่ งป้องกันกระแสเกินและรัว่ ลงดิน (GFCI) ดังรูปที่ 3.13
รูปที่ 3.12 วงจรย่อยแต่ละวงจรจะต้องมีเครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน (GFCI)
26
รูปที่ 3.13 เต้ารับเฟสเดียวขนาด 30 A หรือต�่ำกว่าแรงดัน 240 V ติดตั้งในระยะ 1.83 เมตร จะต้องมีเครื่องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน (GFCI)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 3.5.2 อุปกรณ์ไฟฟ้าอื่น โคมไฟฟ้า สวิตช์ เต้ารับ และอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นที่ติดตั้งอยู่ภายในห้องเดียวกัน และไม่เกี่ยวข้องกับอ่างอาบน�ำ้ นวดตัวโดยตรง ให้มีระยะติดตั้งเช่นเดียวกับห้องอาบน�ำ้ ทั่วไป ดังรูปที่ 3.14
รูปที่ 3.14 สวิตช์ที่รวมชุดอยู่ด้วยกันกับเต้ารับระยะไม่น้อยกว่า 1.83 เมตร และโคมไฟฟ้าติดตั้งอยู่ภายในห้องเดียวกัน ให้มีระยะติดตั้งเช่นเดียวกับห้องอาบน�้ำทั่วไป
3.5.3 ความสามารถเข้าถึง (Accessibility) อุปกรณ์ไฟฟ้าอ่างอาบน�้ำนวดตัวจะต้องสามารถเข้าถึงได้โดย ไม่ต้องทุบท�ำลายตัวโครงสร้างของอาคารเพื่อการบ�ำรุงรักษาซ่อมแซม ทั้งนี้สายต่อเข้ากับเต้ารับและเต้าเสียบของ ชุดอ่างอาบน�้ำนวดตัวต้องสามารถเข้าถึงและมองเห็นได้โดยตรงในระยะไม่เกิน 30 เซนติเมตร เมื่อเปิดประตูออก ดังรูปที่ 3.15 พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
27
รูปที่ 3.15 มอเตอร์ปั๊มน�้ำไหลวนอ่างน�้ำนวดตัว ต่อกระแสไฟฟ้าจากเต้ารับมองเห็นได้
3.5.4 การประสาน ระบบท่อโลหะทั้งหมด ส่ ว นของโลหะที่ ต ่ อ ลงดิ น ที่ สั ม ผั ส กั บ ท่ อ น�้ ำ ต้ อ งต่ อ ประสานเข้าด้วยกันด้วยแท่งทองแดงขนาดไม่เล็กกว่า 10 mm2 มอเตอร์ปั๊มน�ำ้ วนต้องมีแท่งทองแดงขนาดไม่ เล็กกว่า 10 mm2 เชื่อมต่อประสานกับระบบสายดิน ยกเว้นมอเตอร์ปั๊มน�้ำวนที่มีเครื่องหมายระบุเป็นชนิด หุ้มฉนวน 2 ชั้น (เครื่องหมายหุ้มฉนวน 2 ชั้น) ดังรูป ที่ 3.16
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3.16 มอเตอร์ปั๊มน�้ำวนต้องมีแท่งทองแดงขนาดไม่เล็กกว่า 10 mm2 เชื่อมต่อประสานกับระบบสายดิน ยกเว้นมอเตอร์ปั๊มน�ำ้ วนที่มีเครื่องหมายระบุเป็นชนิดหุ้มฉนวน 2 ชั้น
3.6 แสดงรูปตัวอย่างการติดตั้งอ่างน�้ำร้อน (Hot Tubs) ภายนอกอาคาร
1
(1) ปรับระดับพื้นที่อัดหินกรวดให้แน่น
28
2
(2) ก่อวางอิฐบล็อกประสานติด ด้วยซีเมนต์กาว
5
3
4
(3) เทฐานพื้นคอนกรีตปรับให้เรียบ
6
(4) ยกอ่างน�้ำร้อนวางบนฐาน พื้นคอนกรีต
7
ร า ส า ้ ฟ ไฟ (5) เจาะรูเดินท่อร้อยสายไฟฟ้าเข้า อ่างน�ำ้ ร้อน
8
(8) ติดตั้งกล่องต่อสาย (สายเฟส, สายศูนย์, สายดิน)
(6) ท่อ PVC ร้อยสายผ่าน LB และ เดินผังดินลึกอย่างน้อย 0.45 m ไปยังแผงจ่ายไฟย่อย
9
10
(9) ต่อสายเข้าชุดแผงควบคุม อ่างน�้ำร้อน
เอกสารอ้างอิง 1. มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้า ส�ำหรับประเทศไทย วิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2551) 2. NEC, National Electrical Code Handbook, National Fire Protection Association, Quincy Massachusetts : 2011 3. UL. Marking Guide Swimming Pool Equipment Spas Fountains and Hydro massage Bathtubs, Underwriter Laboratory ; 2008 4. NEC Code Article 680. Swimming pools, Spas, Hot Tubs, Fountains and Similar Installations, www.NECCode.com Free PDF Download
(7) ร้อยสายขนาด 10 mm2 NYY
(10) สุดท้ายแผงจ่ายไฟย่อยติดตั้ง เบรกเกอร์ชนิด GFCI ขนาด 50 A 240 V
(โปรดติดตามต่อฉบับหน้า)
ประวัติผู้เขียน
รศ.ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช • มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล ธัญบุรี • วุฒวิ ศิ วกรแขนงไฟฟ้าก�ำลัง (วฟก.457) • กรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. 2554-2556 พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
29
Standard & Safety มาตรฐานและความปลอดภัย นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
มารู้ลึก ๆ ในเรื่องลับ ๆ ของเครื่องตัดไฟรั่ว
RCD : Residual Current Devices
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
Residual Current Devices : RCDs เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการตัดกระแส จากภาพข้างต้นจะเห็นได้ ว่ า ไฟฟ้ารั่วในวงจรไฟฟ้า ทั้งในกรณีที่มีการสัมผัสโดยตรงกับกระแสไฟฟ้า น�้ ำ ที่ ท ่ ว มนั้ น หากไม่ มี ก ารปิ ด เมน (การแตะ/สัมผัสกับสายเส้นไฟโดยตรง) และการสัมผัสทางอ้อมกับกระแส สวิตช์ที่แผงเมนใหญ่ของบ้าน น�้ำที่ ไฟฟ้า (การแตะ/สัมผัสกับกระแสไฟฟ้าโดยผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้า) ท่วมเต้ารับไฟฟ้าถึงจะไม่มีการเสียบ ปลั๊ ก ใช้ ก ระแสไฟฟ้ า แต่ น�้ ำ ที่ ท ่ ว ม เต้ารับไฟฟ้านั่นแหละ เปรียบเสมือน เราได้เสียบอุปกรณ์ไฟฟ้าตัวหนึ่งไว้ ตลอดเวลาที่นำ�้ ท่วมนั่นเอง ในประเทศไทยเรา RCDs ได้ มี ก ารนิ ย ามเป็ น ภาษาไทยตาม องค์กรที่จัดท�ำมาตรฐานหลัก ๆ ใน ประเทศไทย ดังนี้ ตามมาตรฐานติ ด ตั้ ง ทาง การสัมผัสโดยตรงกับกระแสไฟฟ้า การสัมผัสทางอ้อมกับกระแสไฟฟ้า (Direct Contact) ผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้า (Indirect Contact) ไฟฟ้ า ส� ำ หรั บ ประเทศไทย ของ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ใน รูปที่ 1 การสัมผัสโดยตรงและโดยอ้อม พระบรมราชูปถัมภ์ : วสท. ได้เรียก จากมหาอุทกภัยในปีที่ผ่านมา ทราบหรือเปล่าว่าท�ำไมค่าไฟฟ้าเรา ว่า “เครื่องตัดไฟรั่ว” ตามมาตรฐาน ถึงมีราคาสูงขึ้น ทั้งที่ไม่ได้ใช้กระแสไฟฟ้า ? อุตสาหกรรม ของ สมอ. ได้เรียกว่า “เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือ” ในเรื่ อ งของเครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว RCDs ได้แบ่งลักษณะการท�ำงานของ RCDs ให้เหมาะกับการใช้งานในแต่ละ รูปแบบ โดยมีการแบ่งประเภทหลัก ๆ เป็น 2 ประเภท ดังนี้ รูปที่ 2 เต้ารับที่ถูกน�ำ้ ท่วม
30
1. เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว แบบมี อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน : RCBOs ตามมาตรฐาน IEC 61009, มอก. 909-2548 (residual current operated circuitbreaker with integral overcurrent protection for Household and similar uses- RCBO) เครื่อง ตัดวงจรกระแสเหลือแบบมีอุปกรณ์ ป้องกันกระแสเกิน หมายถึง เครื่อง ตั ด ไฟรั่ ว ที่ อ อกแบบมาให้ ท� ำ หน้ า ที่ ป้องกันโหลดเกิน และ/หรือกระแส ลัดวงจร ส�ำหรับใช้ในที่อยู่อาศัยและ ใช้ในลักษณะที่คล้ายกัน หน้าที่การท�ำงานของ RCBOs จะมี ก ารท� ำ งานเมื่ อ มี ก ระแสไฟฟ้ า รั่ ว การใช้ ง านกระแสเกิ น และ/ หรือ กระแสลัดวงจร รวมอยู่ในตัว เดียวกัน (3 in 1) ก็จะประหยัด พื้นที่ ขนาดจะเล็ก โดยส่วนใหญ่จะ ใช้หลักการทางไฟฟ้าร่วมกับหลักการ อิเล็กทรอนิกส์ แน่นอนอาจมีข้อเสีย บ้างเล็กน้อย ๆ เพราะมีการท�ำงาน ร่ ว มของอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และบาง ตราสินค้าอาจไม่ป้องกันกระแสไฟฟ้า รั่วในบางกรณีได้ ทั้ ง นี้ ห ากมี ก ารเสี ย หายที่ ตั ว RCBOs ก็ต้องเปลี่ยนทั้งตัว อีกส่วน หนึ่งในเรื่องการติดตั้งที่ตัว RCBOs จะมี สั ญ ลั ก ษณ์ ใ ห้ ท ราบว่ า จะติ ด ตั้ ง สายไฟฟ้า สายนิวทรัล และสายดิน อย่างไรทั้งส่วนเข้า-ออก 2. เครื่ อ งตั ด ไฟรั่ ว แบบไม่ มี อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน RCCBs ตามมาตรฐาน IEC 61008, มอก. 2425-2552 (residual current operated circuit-breaker without integral over-current protection for Household and similar uses - RCCB) เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือแบบไม่มี
อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน หมายถึง เครื่องตัดไฟรั่วที่ไม่ได้ออกแบบมา ให้ทำ� หน้าทีป่ อ้ งกันโหลดเกิน และ/หรือ กระแสลัดวงจร ส�ำหรับใช้ในทีอ่ ยูอ่ าศัย และใช้ในลักษณะที่คล้ายกัน หน้าที่การท�ำงานของ RCCBs จะมีการท�ำงานเมื่อมีกระแสไฟฟ้ารั่ว จะ ใช้หลักการทางไฟฟ้าซึ่งค่อนข้างปลอดภัยแน่นอน ปัจจุบันส่วนใหญ่การติดตั้ง จะสามารถสลับสายไฟฟ้าทางเข้า-ออก และสลับสายไฟ-สายนิวทรัล ก็ยังคง ท�ำงานได้ปกติ กรณีทนี่ ำ� RCCBs มาเป็นเมนสวิตช์นนั้ ไม่สามารถท�ำได้ เพราะ RCCBs ไม่มกี ารป้องกันกระแสเกิน/กระแสลัดวงจร ดังนัน้ ต้องมีการต่อ CB, Fuse หรือ อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน/กระแสลัดวงจรต่ออยู่ก่อนหน้า RCCBs โดย CB ต้องมีขนาดการป้องกันกระแสลัดวงจร ไม่น้อยกว่า 10kA เมื่อน�ำมาเป็นเมน สวิตช์ในบ้านพักอาศัย ตามมาตรฐานของ วสท. ที่มาที่ไปของหลักการท�ำงานของ RCDs เมื่อเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วขึ้นใน วงจรที่มีการใช้ RCDs ถึงระดับค่าที่ตั้งไว้แบบคงที่ เพื่อความปลอดภัยสูงสุด ซึ่งตามมาตรฐาน IEC 479-1 เมื่อเราเกิดอุบัติเหตุไปสัมผัสโดยตรงกับแรงดัน 230V (ตามรูปที่ 1 การสัมผัสโดยตรง) กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านเข้าร่างกายเราที่ 230mA ท�ำให้ RCDs ต้องตัดวงจรภายในเวลา 40ms หากตัดช้ากว่านีจ้ ะมีผล ท�ำให้หวั ใจห้องล่างเต้นพลิว้ ไหว หัวใจหยุดเต้นถึงตายได้ ตามหลักการทางการ แพทย์และความปลอดภัยสูงสุดทางวิศวกรรมฯ ที่ผ่านการวิจัยและทดสอบที่ หลากหลายรูปแบบ ในเกือบทุก ๆ สถานการณ์ จึงได้กำ� หนดค่ากระแสไฟฟ้า รัว่ ของ RCDs ทีต่ อ้ งท�ำงานทีก่ ระแสไฟฟ้ารัว่ ไม่เกิน 30mA และเวลาในการตัด วงจรไม่เกิน 200ms เพือ่ ความปลอดภัยสูงสุดในชีวติ โดยห้ามให้มกี ารปรับตัง้ ค่ากระแสไฟฟ้ารั่ว หรือห้ามให้มีการ Bypass ส่วนการป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว เพราะนั่นคือไม่มีการป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วนั่นเอง ตัวอย่างเช่น RCDs บาง ประเภทที่ไม่ถูกต้องตามมาตรฐานจะสามารถตั้งค่ากระแสไฟฟ้ารั่วที่ 5mA เกิดกระแสไฟฟ้ารั่วก็ปรับสูงขึ้นเป็น 15mA ขยับขึ้นเป็น 25mA RCDs ก็ยัง ท�ำงานอยู่อีก เพราะมีกระแสไฟฟ้ารั่วอยู่จึงปรับที่ต�ำแหน่งต่อไป คือ Bypass ก็คือการตัดวงจรป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วออกไปนั่นเอง ซึ่งจะไม่ปลอดภัยต่อ ชีวิตและทรัพย์สิน จากการส�ำรวจข้อมูลของการไฟฟ้าฯ ในช่วงก่อนและขณะ ที่เกิดมหาอุทกภัยที่ผ่านมานี้ ทั้งนี้ตามมาตรฐานก็ได้มีระดับของกระแสไฟฟ้า ที่ไหลผ่านร่างกายมนุษย์ในระยะเวลา 1 วินาที ดังนี้
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 0.5 (มิลลิแอมแปร์) 1 (มิลลิแอมแปร์) 1-3 (มิลลิแอมแปร์) 3-10 (มิลลิแอมแปร์) สูงกว่า 10 (มิลลิแอมแปร์) สูงกว่า 30 (มิลลิแอมแปร์) สูงกว่า 75 (มิลลิแอมแปร์) 250 (มิลลิแอมแปร์)
ไม่รู้สึกถึงกระแสไฟฟ้า รับรู้ถึงกระแสไฟฟ้า รับรู้ถึงกระแสไฟฟ้าแต่ยังไม่รู้สึกเจ็บปวด รับรู้ถึงกระแสไฟฟ้าและเกิดความเจ็บปวด เกิดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ระบบหายใจขัดข้อง ระบบการท�ำงานของหัวใจผิดปกติ กล้ามเนื้อหัวใจขัดข้อง (หัวใจวาย)
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
31
จากข้อมูลข้างต้น ผู้ผลิตได้มีการจัดท�ำ RCDs เป็นหลาย ๆ ระดับการป้องกัน ส�ำหรับวงจรหนึ่ง ๆ ในระดับค่า 10mA และ 30mA เพื่อป้องกันสัตว์หรือมนุษย์จากกระแสไฟฟ้ารั่ว (ส่วนใหญ่ RCDs ที่นิยมใช้กันในบ้านพักอาศัยจะ มีขนาดพิกัดการป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้ารั่วที่ 30mA) ส่วนที่เมน RCDs ก็อาจใช้ที่ 100mA หรือ 300mA ซึ่งในวงจรขนาดใหญ่อาจแบ่งระดับของ RCDs ที่ 100mA เป็นตัวย่อยของ RCDs ที่ 300mA และในขนาดพิกัด ใหญ่ขนึ้ ใกล้ตวั เมนมากขึน้ ก็ให้เรียงล�ำดับกันไป เช่น 10mA, 30mA, 100mA, 300mA, 500mA เป็นต้น โดยขนาดพิกดั กระแสไฟฟ้ารั่วเกิน 300mA จะมีผลท�ำให้เกิดความร้อน กลายเป็นเพลิงไหม้ได้ (ทั้งนี้เพลิงไหม้ที่อาจเกิดขึ้นขึ้นอยู่กับ ปัจจัยแวดล้อมและขนาดพิกดั กระแสไฟฟ้ารัว่ ) เพือ่ ให้เกิดการท�ำงานร่วมกันของการป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้า รั่วในระบบไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุประสิทธิผลในเรื่องความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สิน ตามหลักการ การท�ำงานร่วมกันของกระแสไฟฟ้ารั่ว (Earth Leakage Coordination) จากการค�ำนึงถึงเรื่องความปลอดภัยสูงสุด และผู้ผลิตที่มีจ�ำนวนมาก จึงได้มีการแบ่งหัวข้อในการพิจารณา ด้านต่าง ๆ ที่ส�ำคัญ ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการใช้ และทราบถึงแนวทางการทดสอบ รวมถึงรูปแบบการติดตั้ง ผนวก กับประเด็นที่อาจเกิดขึ้นกับ RCDs ดังต่อไปนี้ 1. การพิจารณาขั้นพื้นฐาน ตามลักษณะคร่าว ๆ ดังนี้ 1.1 RCCBs ในรูปแบบและลักษณะประมาณนี้ (ต้องมั่นใจว่าเป็น RCCBs เพราะดูคล้าย ๆ กัน)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ RCCBs
RCCBs
RCCBs
Yes Yes Yes Yes ระบุต�ำแหน่ง ระบุต�ำแหน่ง Yes
Yes Yes Yes Yes ระบุต�ำแหน่ง ระบุต�ำแหน่ง Yes
Yes Yes Yes Yes ระบุต�ำแหน่ง ระบุต�ำแหน่ง Yes
หัวข้อการพิจารณา
1. ตัดไฟรั่วที่ค่าคงที่ 30mA 2. ตัดไฟรั่วที่ค่าคงที่ 10mA 3. ไม่มีการ Bypass ตามมาตรฐาน 4. ไม่มีการปรับตั้งค่ากระแสไฟฟ้ารั่ว ตามมาตรฐาน 5. สามารถต่อสลับ เข้า-ออก (in-out) ได้ 6. สามารถต่อสลับสายไฟ-สายนิวทรัลได้ 7. มีปุ่ม Monthly test เพื่อทดสอบการท�ำงานประจ�ำเดือน
1.2 RCBOs ในรูปแบบและลักษณะประมาณนี้ โดยจะขอแบ่งเป็นช่วง ๆ ดังนี้ 1.2.1 RCBOs แบบ 2 ขั้ว RCBOs
RCBOs
RCBOs
RCBOs
Yes Yes Yes Yes ระบุต�ำแหน่ง ระบุต�ำแหน่ง Yes
Yes Yes Yes Yes ระบุต�ำแหน่ง ระบุต�ำแหน่ง Yes
Yes Yes Yes Yes ระบุต�ำแหน่ง ระบุต�ำแหน่ง Yes
(15mA) (15mA) Yes Yes Yes Yes Yes
หัวข้อการพิจารณา
1. ตัดไฟรั่วที่ค่าคงที่ 30mA 2. ตัดไฟรั่วที่ค่าคงที่ 10mA 3. ไม่มีการ Bypass ตามมาตรฐาน 4. ไม่มีการปรับตั้งค่ากระแสไฟฟ้ารั่ว ตามมาตรฐาน 5. สามารถต่อสลับ เข้า-ออก (in-out) ได้ 6. สามารถต่อสลับสายไฟ-สายนิวทรัลได้ 7. มีปุ่ม Monthly test เพื่อทดสอบการท�ำงานประจ�ำเดือน
32
1.2.2 RCBOs แบบ 1 ขั้ว RCBOs
RCBOs
RCBOs
RCBOs
Yes Yes Yes Yes ระบุตำ� แหน่ง ระบุตำ� แหน่ง Yes
Yes Yes Yes Yes ระบุต�ำแหน่ง ระบุต�ำแหน่ง Yes
Yes Yes Yes Yes ระบุตำ� แหน่ง ระบุตำ� แหน่ง Yes
Yes Yes Yes Yes ระบุตำ� แหน่ง ระบุตำ� แหน่ง Yes
หัวข้อการพิจารณา
1. ตัดไฟรั่วที่ค่าคงที่ 30mA 2. ตัดไฟรั่วที่ค่าคงที่ 10mA 3. ไม่มีการ Bypass ตามมาตรฐาน 4. ไม่มีการปรับตั้งค่ากระแสไฟฟ้ารั่ว ตามมาตรฐาน 5. สามารถต่อสลับ เข้า-ออก (in-out) ได้ 6. สามารถต่อสลับสายไฟ-สายนิวทรัลได้ 7. มีปุ่ม Monthly test เพื่อทดสอบการท�ำงานประจ�ำเดือน
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 1.2.3 แบบอื่น ๆ ที่มีลักษณะเป็นตัวใหญ่ ๆ RCBOs ใส่ เ ป็ น ตู ้ ไ ฟท� ำ จากเหล็ ก ขนาดใหญ่ เ ฉพาะ หากรู ป ลักษณะคล้ายแบบนี้มีการปรับตั้งค่ากระแสไฟฟ้ารั่วได้ หัวข้อการพิจารณา และยังสามารถปรับ Bypass เพือ่ ตัดวงจรของการป้องกัน อันตรายจากกระแสไฟฟ้ารั่วได้นั้น ทาง IEC และ สมอ. ไม่อนุญาตให้ใช้ตงั้ นานแล้ว เพราะเป็นอันตราย 1. ตัดไฟรั่วที่ค่าคงที่ 30mA No อย่างมากกับผู้ใช้งาน 2. ตัดไฟรั่วที่ค่าคงที่ 10mA No จากตารางการพิจารณาขั้นพื้นฐานของ RCDs 3. ไม่มีการ Bypass ตามมาตรฐาน No ในแต่ละแบบทั้ง RCCBs และ RCBOs จะเป็นข้อมูล 4. ไม่มีการปรับตั้งค่ากระแสไฟฟ้ารั่ว ตามมาตรฐาน No ส่วนหนึ่งในการพิจารณาเลือกซื้อได้ระดับหนึ่ง แต่หาก 5. สามารถต่อสลับ เข้า-ออก (in-out) ได้ ---6. สามารถต่อสลับสายไฟ-สายนิวทรัลได้ ---จะท�ำให้มั่นใจมากขึ้น แนะน�ำให้มีการทดสอบก่อนการ 7. มีปุ่ม Monthly test เพื่อทดสอบการท�ำงานประจ�ำเดือน No ติดตั้งใช้งานจริงแบบง่าย ๆ โดยผู้ทดสอบต้องมีความรู้ ทางช่างไฟฟ้าเฉพาะทางนี้ 2. ขั้นตอนในการทดสอบ RCCBs ให้ปฏิบัติทุกขั้นตอนด้วยความระมัดระวังเพื่อความปลอดภัย ดังนี้ 2.1 เมือ่ ต่อวงจรตามรูปเรียบร้อยแล้ว เสียบปลัก๊ ไฟเข้าเต้ารับไฟฟ้าแล้วยกคันโยกตัวเซอร์กติ เบรกเกอร์ (CB) ขึ้น ยกคันโยกตัว RCCB เพื่อป้องกันอันตรายจากการทดสอบขึ้น และยกคันโยกตัว RCCB ตัวที่ต้องการทดสอบขึ้น จากนั้นให้กดที่ปุ่ม Trip (อาจระบุว่า Monthly trip ที่ปุ่ม) RCCB ตัวที่ต้องการทดสอบนั้นจะต้องทริปลง (คันโยกดีด ลง) แสดงว่า RCCB ตัวที่ต้องการทดสอบนั้นน่าจะท�ำงานได้ดี แต่อย่างไรก็ตามต้องผ่านทดสอบครบทุกขั้นตอนก่อน
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
33
2.2 เมือ่ ต่อวงจรตามรู ป ด้ า นล่ า งเรี ย บร้ อ ยแล้ ว เสียบปลั๊กไฟเข้าเต้ารับไฟฟ้าแล้วยกคันโยกตัวเซอร์กิต เบรกเกอร์ (CB) ขึ้น ยกคันโยกตัว RCCB เพื่อป้องกัน อันตรายจากการทดสอบขึน้ และยกคันโยกตัว RCCB ตัวที่ ต้องการทดสอบขึน้ จากนัน้ น�ำสายไฟทีป่ ลอกเห็นทองแดง เล็กน้อยแตะที่ส�ำลีชุ่มน�้ำ ตามภาพ RCCB ตัวที่ต้องการ ทดสอบนัน้ จะต้องทริปลง (คันโยกดีดลง) แสดงว่า RCCB ตัวที่ต้องการทดสอบนั้นน่าจะท�ำงานได้ดีอีกขั้นหนึ่ง
RCCB เพื่อป้องกันอันตราย
RCCB ตัวที่ต้องการทดสอบ
ส�ำลีชมุ่ น�ำ้ วางบน พื้นปูน/คอนกรีต
2.5 เมื่อต่อวงจรตามรูปด้านล่างเรียบร้อยแล้ว เสียบปลั๊กไฟเข้าเต้ารับไฟฟ้าแล้วยกคันโยกตัวเซอร์กิต เบรกเกอร์ (CB) ขึ้น ยกคันโยกตัว RCCB เพื่อป้องกัน อันตรายจากการทดสอบขึ้น และยกคันโยกตัว RCCB ตัวที่ต้องการทดสอบขึ้น จากนั้นน�ำสายไฟจี้ที่ส�ำลีชุ่มน�้ำ ตามภาพ RCCB ตัวที่ต้องการทดสอบนั้นจะต้องทริปลง (คันโยกดีดลง) แสดงว่า RCCB ตัวที่ต้องการทดสอบนั้น น่าจะท�ำงานได้ดีเป็นขั้นที่สี่
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
2.3 เมื่อต่อวงจรตามรูปด้านล่างเรียบร้อยแล้ว เสียบปลั๊กไฟเข้าเต้ารับไฟฟ้าแล้วยกคันโยกตัวเซอร์กิต เบรกเกอร์ (CB) ขึ้น ยกคันโยกตัว RCCB เพื่อป้องกัน อันตรายจากการทดสอบขึน้ และยกคันโยกตัว RCCB ตัวที่ ต้องการทดสอบขึน้ จากนัน้ น�ำสายไฟทีป่ ลอกเห็นทองแดง เล็กน้อยแตะที่ส�ำลีชุ่มน�้ำ ตามภาพ RCCB ตัวที่ต้องการ ทดสอบนัน้ จะต้องทริปลง (คันโยกดีดลง) แสดงว่า RCCB ตัวที่ต้องการทดสอบนั้นน่าจะท�ำงานได้ดีเป็นขั้นที่สอง
RCCB เพื่อป้องกันอันตราย
RCCB ตัวที่ต้องการทดสอบ
ส�ำลีชมุ่ น�ำ้ วางบน พื้นปูน/คอนกรีต
2.6 ขั้นสุดท้ายที่ส�ำคัญที่สุดคือ การน�ำไปติดตั้ง และตั้งจิตอธิษฐานให้ RCCB สามารถใช้งานได้อย่างที่เรา ทดสอบกัน ซึ่งการทดสอบ RCBO ก็มีหลักการคล้าย ๆ กันแต่อาจง่ายกว่า เนือ่ งจาก RCBO ส่วนใหญ่จะมีการระบุ ต� ำ แหน่ ง ของสายไฟอย่ า งชั ด เจนทั้ ง เข้ า -ออก โดยใช้ สายเส้นไฟสายออกเพื่อไปต่อป้องกันวงจร มาเป็นสายไฟ ที่แตะกับส�ำลีชุ่มน�้ำเหมือนกัน ทั้งนี้แนะน�ำว่าการทดสอบ 2.4 เมื่อต่อวงจรตามรูปด้านล่างเรียบร้อยแล้ว ส่วนของ RCCB หรือ RCBO ควรต่อร่วมกับตูไ้ ฟ Consumer เสียบปลั๊กไฟเข้าเต้ารับไฟฟ้าแล้วยกคันโยกตัวเซอร์กิต unit เพื่อความปลอดภัยและสะดวกในการทดสอบ เบรกเกอร์ (CB) ขึ้น ยกคันโยกตัว RCCB เพื่อป้องกัน 3. หลั ก การไล่ ห าวงจรที่ เ กิ ด กระแสไฟฟ้ า รั่ ว อันตรายจากการทดสอบขึน้ และยกคันโยกตัว RCCB ตัวที่ ต้องการทดสอบขึน้ จากนัน้ น�ำสายไฟทีป่ ลอกเห็นทองแดง มีหลายรูปแบบ ดังนี้ 3.1 กรณีใช้ RCCB ตัวเดียวควบคุมหลาย ๆ เล็กน้อยแตะที่ส�ำลีชุ่มน�้ำ ตามภาพ RCCB ตัวที่ต้องการ ทดสอบนัน้ จะต้องทริปลง (คันโยกดีดลง) แสดงว่า RCCB วงจร ตามรูปด้านล่างมีหลักการดังนี้ ตัวที่ต้องการทดสอบนั้นน่าจะท�ำงานได้ดีเป็นขั้นที่สาม
34
1
2
3
4
5 6
ก�ำหนดให้ 1 = เมนเซอร์กติ เบรกเกอร์ 2 = RCCB ขนาด 30mA 3, 4, 5, 6 = เซอร์กติ เบรกเกอร์ยอ่ ย กรณีที่ RCCB มีการควบคุมวงจรเซอร์กติ เบรกเกอร์ย่อยที่ 3, 4, 5, 6 สมมุตวิ า่ มีกระแสไฟฟ้ารัว่ วงจร ที่ 5 = 10 mA และวงจรที่ 6 = 20 mA ท�ำให้ RCCB ทริป เพราะมีกระแส ไฟฟ้ารั่วถึง 30mA ปัญหาท�ำให้ทุก ๆ วงจร ไฟดับหมด ให้ท�ำตามขั้นตอน ต่อไปนี้ 1. โยกคั น โยกของเซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ที่ 3, 4, 5, 6 ลง ยกเมนเซอร์กติ เบรกเกอร์ขึ้น และ RCCB ขึ้น 2. โยกคั น โยกของเซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ ที่ 3 และโยกเซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ที่ 4, 5 (มีกระแสไฟฟ้ารัว่ อยู่ 10mA) และโยกเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ 6 (มีกระแสไฟฟ้ารั่วอยู่ 20mA) ขึ้น จะมีผลท�ำให้ RCCB ทริปลง เพราะมี กระแสไฟฟ้ารัว่ รวมกันเท่ากับ 30mA เรารูค้ ร่าว ๆ ว่าเซอร์กิตเบรกเกอร์ ที่ 6 มีกระแสไฟฟ้ารั่วขึ้นจะท�ำให้ RCCB ทริป 3. โยกคั น โยกของเซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ที่ 3, 4, 5, 6 ลง ยกเมน เซอร์กติ เบรกเกอร์ขนึ้ และ RCCB ขึน้ แล้วโยกคันโยกของเซอร์กติ เบรกเกอร์ ที่ 6 ขึ้น 4. โยกคั น โยกของเซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ที่ 3, 4, 5 (มีกระแสไฟฟ้า รัว่ อยู่ 10mA) ขึน้ จะมีผลท�ำให้ RCCB ทริปลง เพราะมีกระแสไฟฟ้ารั่วรวม กันเท่ากับ 30mA เราก็จะรูว้ า่ เซอร์กติ เบรกเกอร์ที่ 5 และ 6 มีกระแสไฟฟ้า
รั่วขึ้น แต่เราจะไม่ทราบว่ามีกระแสไฟฟ้ารั่วเท่าใด ดังนัน้ หากเราทราบว่ามีกระแสไฟฟ้ารัว่ ขึน้ ทีว่ งจรของเซอร์กติ เบรกเกอร์ ย่อยวงจรใด เราต้องไปท�ำการหาวงจรหรือต้นเหตุ เช่น สายไฟฟ้า เครื่องใช้ ไฟฟ้า เป็นต้น ที่เป็นต้นเหตุของที่เกิดกระแสไฟฟ้ารั่ว แล้วจัดการซ่อมแซมให้ ใช้งานได้เหมือนเดิมเพื่อความปลอดภัยอย่างแท้จริง 3.2 กรณีใช้ RCBO ตัวเดียวควบคุมหลายๆ วงจร ตามรูปด้านล่าง มีหลักการดังนี้ ก�ำหนดให้ 1 = RCBO ขนาด 30mA (เป็นทั้งเมนเซอร์กิตเบรกเกอร์และ เครื่องตัดไฟรั่ว) 2, 3, 4, 5 = เซอร์กติ เบรกเกอร์ยอ่ ย กรณี ที่ RCBO มี ก ารควบคุ ม วงจร เซอร์กิตเบรกเกอร์ย่อยที่ 2, 3, 4, 5 สมมุติว่ามีกระแสไฟฟ้ารั่ววงจร 1 2 3 4 5 ที่ 4 = 10 mA และวงจรที่ 5 = 20 mA ท�ำให้ RCBO ทริป เพราะมีกระแส ไฟฟ้ารั่วถึง 30mA ปัญหาท�ำให้ทุกวงจรไฟดับหมด ให้ท�ำตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. โยกคันโยกของเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ 2, 3, 4, 5 ลง ยก RCBO ขึ้น 2. โยกคันโยกของเซอร์กติ เบรกเกอร์ที่ 2 และโยกเซอร์กติ เบรกเกอร์ที่ 3, 4 (มีกระแสไฟฟ้ารั่วอยู่ 10mA) และโยกเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ 5 (มีกระแส ไฟฟ้ารั่วอยู่ 20mA) ขึ้น จะมีผลท�ำให้ RCBO ทริปลง เพราะมีกระแสไฟฟ้ารั่ว รวมกันเท่ากับ 30mA เรารู้คร่าว ๆ ว่าเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ 5 มีกระแสไฟฟ้า รั่วขึ้น จะท�ำให้ RCBO ทริป 3. โยกคันโยกของเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ 2, 3, 4 ลง ยก RCBO ขึ้น แล้วโยกคันโยกของเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ 5 ขึ้น 4. โยกคันโยกของเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ 2, 3, 4 (มีกระแสไฟฟ้ารั่ว อยู่ 20mA) ขึ้น จะมีผลท�ำให้ RCCB ทริปลง เพราะมีกระแสไฟฟ้ารั่วรวมกัน เท่ากับ 30mA เรารู้ว่าเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ 4 และ 5 มีกระแสไฟฟ้ารั่วขึ้น แต่เราจะไม่ทราบว่ามีกระแสไฟฟ้ารั่วเท่าใด ดังนัน้ หากเราทราบว่ามีกระแสไฟฟ้ารัว่ ขึน้ ทีว่ งจรของเซอร์กติ เบรกเกอร์ ย่อยวงจรใด เราต้องไปท�ำการหาวงจรหรือต้นเหตุ เช่น สายไฟฟ้า เครื่องใช้ ไฟฟ้า เป็นต้น ที่เป็นต้นเหตุ ของที่ เ กิ ด กระแสไฟฟ้ า รั่ ว แล้ ว จั ด การซ่ อ มแซมให้ ใช้งานได้เหมือนเดิม เพื่อ ความปลอดภัยอย่างแท้จริง 3.3 กรณีใช้ RCBO ตั ว เดี ย วควบคุ ม หลาย ๆ วงจร และมี RCBO ควบคุม ในบางวงจร ตามรูปด้านล่าง มีหลักการดังนี้
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 1
2
3
4
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
5
35
1
2
3
4
5
ก�ำหนดให้ 1 = RCBO / RCCB ขนาด 30mA 2, 3 = เซอร์กติ เบรกเกอร์ยอ่ ย 4, 5 = RCBO ขนาด 10mA แบบควบคุมแต่ละวงจรย่อย สมมุตวิ า่ มีกระแสไฟฟ้ารัว่ วงจร ที่ 4 = 10 mA และวงจรที่ 5 = 20 mA ท�ำให้ RCBO ในวงจรที่ 4, 5 ทริป เพราะมีกระแสไฟฟ้ารัว่ ถึง 10mA และ 20mA ตามล�ำดับ ก็จะวงจรที่ 4, 5 ไฟดับเท่านั้น ไม่มีผลกระทบกับวงจร อื่น ๆ ที่มีไม่กระแสไฟฟ้ารั่ว โดยสรุป หากมี RCCB และ RCBO ควบคุมที่เมนและมี RCBOs ที่วงจรย่อยแต่ละส่วนที่ส�ำคัญ เพื่อ ป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้ารั่ว จะดีมาก และสะดวกกับการใช้งาน มาก ๆ หากไม่มเี งือ่ นไขของการลงทุน ซึ่ ง การลงทุ น อย่ า งนี้ ถื อ ว่ า คุ ้ ม ค่ า มาก เพราะสามารถป้องกันชีวิตและ ทรัพย์สินได้ดีกว่า
การใช้งานมากกว่า 1 ตัวในตูไ้ ฟ Consumer unit เดียว เพราะต้องมีเทอร์มนิ อล นิวทรัลแยกตัวต่อตัวกับ RCCB 4.6 เมือ่ มีการต่อ RCDs ควบคุมวงจรเครือ่ งปรับอากาศหรือมอเตอร์ ต่าง ๆ 4.7 เมื่อมีฝุ่น ความชื้น สนามแม่เหล็กในปริมาณมาก สิง่ ทีส่ ำ� คัญมาก ๆ ก่อนการติดตัง้ RCCB หรือ RCBO คือ การต่อหลักดิน ที่ถูกต้อง ขนาดความยาว 240 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5875 ซม. (5/8 นิ้ว) โดยแนะน�ำให้มีการเชื่อมต่อหลักดินกับสายไฟเส้นดินขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ที่ถูกต้องตามมาตรฐานอย่างดี เพราะสายดินจะเป็นตัวป้องกันอันตรายจาก กระแสไฟฟ้ารั่วได้อย่างดีเป็นอันดับแรก แต่เนื่องจากความปลอดภัยสูงสุด ในชีวิตและทรัพย์สินจึงให้มีการใช้งาน RCCB และ RCBO ร่วมป้องกันเป็น ชั้นที่สองให้มีความไวในการตัดกระแสไฟฟ้ารั่วที่เร็วขึ้นด้วย จากข้อมูลการพิจารณา RCDs ขัน้ พืน้ ฐาน การทดสอบ RCDs การใช้งาน และแนวทางในการไล่หาวงจรที่เกิดกระแสไฟฟ้ารั่ว รวมถึงปัจจัยที่อาจท�ำให้ RCDs ท�ำงานผิดพลาด ในส่วนของเครื่องตัดไฟรั่วของ RCCB และ RCBO แบบเต็มๆ แล้ว เรายังต้องมีการกดปุ่มทดสอบ Trip (Monthly trip) บ่อย ๆ ทุกเดือน เพือ่ เป็นการออกก�ำลังกายให้ RCDs และช่วยเพิม่ ความมัน่ ใจส่วนหนึง่ ว่ายังคงท�ำงานดีอยู่ เพราะบางครัง้ RCDs ทีใ่ ช้อาจมีมด ปลวก อาศัยอยู่ ท�ำให้ ไม่สามารถท�ำงานได้เช่นเดิม อีกส่วนหนึง่ ทีเ่ คยพบจากบางบ้านทีเ่ พิง่ ผ่านวิกฤต อุทกภัยมา อาจมีผลจากละอองไอน�้ำเสียเข้าในตัวอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือ RCDs ท�ำให้ RCDs นั้นเสีย หรือไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ และที่ลืมไม่ได้ หากต้องการหนีน�้ำในปีนี้ ก่อนออกจากบ้านควรยกคันโยกของเมนสวิตช์ลง ก่อนหนีน�้ำ ทั้งนี้ขณะกลับมาที่บ้านหลังน�้ำท่วมก็ขอให้ที่บา้ นนั้นแห้งสนิทจาก น�้ำที่ท่วมก่อนกลับเข้าบ้าน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าอุบัติเหตุจากกระแสไฟฟ้ารั่ว และกระแสไฟฟ้า ลัดวงจรที่ท�ำให้ได้รับบาดเจ็บ เสียชีวิต และไฟไหม้ทรัพย์สินเสียหายจะมี ปริมาณลดลงอย่างต่อเนือ่ ง จากเหล่าวิศวกรฯ หรือทุก ๆ ท่านทีช่ ว่ ยกันรณรงค์ ให้ความรู้ ความเข้าใจ มีหลักคิด แนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหา เพื่อความปลอดภัยของตนเองและครอบครัวของทุก ๆ ท่าน
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
4. ก า ร ท� ำ ง า น ผิ ด พ ล า ด ที่อาจเกิดขึ้นได้ของ RCDs มีดังนี้ 4.1 ก ล ไ ก ก า ร ท� ำ ง า น อาจเสี ย หายจากทางกลและทาง อิเล็กทรอนิกส์ 4.2 มีมด ปลวก อาศัยอยู่ ภายใน 4.3 อาจทริ ป ได้ เมื่ อ มี ฝนตกฟ้าคะนอง 4.4 การต่อหรือติดตัง้ สายไฟ ทีไ่ ม่แน่นหรือไม่ถกู ต้อง 4.5 การต่ อ หรื อ ติ ด ตั้ ง ไม่ ถู ก ต้ อ ง ในส่ ว นของ RCCB ที่ มี
36
เอกสารอ้างอิง 1. มาตรฐานการติดตั้ง ทางไฟฟ้าส�ำหรับ ประเทศไทย วสท. 2. มอก.909-2548 3. มอก.2425-2552 4. IEC 1008 5. IEC 1009 6. IEC 479-1 7. เอกสารเครื่องตัด วงจรกระแสเหลือ นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล 8. ภาพจาก Google, Schneider Electric, Chin etc..
ประวัติผู้เขียน
นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล ต�ำแหน่งทางสังคม : • เลขาธิการและกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. • เลขาธิการและกรรมการสมาชิกสัมพันธ์ วสท. • เลขาธิการและอนุกรรมการคุณภาพไฟฟ้า วสท. • กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ วสท. • ทีป่ รึกษาทางวิชาการ : สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครือ่ งกลไทย; TEMCA • อนุกรรมการร่างมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศ วสท. • อนุกรรมการร่างมาตรฐานโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินและระบบ แสงสว่างฉุกเฉิน • อนุกรรมการร่างมาตรฐานติดตัง้ โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉินและ ระบบแสงสว่างฉุกเฉิน • อนุกรรมการร่างมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าในสถานที่เฉพาะ บริเวณสถานพยาบาล • อนุกรรมการกองบรรณาธิการนิตยสาร “ไฟฟ้าสาร’’ วสท. • อนุกรรมการกองบรรณาธิการวารสาร “TEMCA Magazine’’ : TEMCA
Power Engineering & Power Electronics ไฟฟ้าก�ำลังและอิเล็กทรอนิกส์กำ� ลัง นายวิทยา ธีระสาสน์ Quality Control Department / ASEFA Co., Ltd.
การฟื้นฟูระบบไฟฟ้าก�ำลังและอุปกรณ์ไฟฟ้า ภายหลังน�ำ้ ท่วม (ตอนที่ 2) Flood Repair of Electrical Equipment กลับมาในตอนจบของการฟื้นฟูระบบไฟฟ้าก� ำลัง และอุปกรณ์ไฟฟ้าภายหลังน�ำ้ ท่วม จากฉบับที่แล้วในส่วน การส�ำรวจ การตรวจสอบตูส้ วิตช์บอร์ดและอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่อยู่ภายใน และส่วนที่พิจารณาจากหัวข้อต่อจากนี้ 1.3 อุปกรณ์เครื่องมือวัดและอุปกรณ์แสดงผล (Measuring Equipment) ควรมีการทดสอบการท�ำงาน ของอุ ป กรณ์เครื่องวัด, สัญญาณมาตรฐาน (Output signal) ที่ติดตั้งแสดงผลอยู่ที่หน้าตู้สวิตช์บอร์ดไฟฟ้า อีกทัง้ จะยังเป็นการรับรองการท�ำงานของหม้อแปลงกระแส (Current Transformer : CT) และหม้อแปลงแรงดัน (Voltage Transformer/Potential Transformer : VT or PT) ในการอ่านค่าพารามิเตอร์ทางไฟฟ้าอีกด้วย 1.4 บัสบาร์และอุปกรณ์รองรับบัสบาร์ (Busbar and Support Busbar) จากรู ป ที่ 6 ส� ำ หรั บ บั ส บาร์ ที่ ไ ด้ รั บ ความชื้ น หรื อ เปี ย กน�้ ำ เป็ น ระยะเวลานานจะส่ ง ผลกระทบ ที่ ท� ำ ให้ ส ภาพผิ ว ของบั ส บาร์ เกิ ด ร่ อ งรอยของ สนิ ม ทองแดงขึ้ น ดั ง นั้ น สภาพการน� ำ กระแสไฟฟ้ า แ ล ะ ส ภ า พ ค ว า ม น� ำ ไ ฟ ฟ ้ า ( C o n d u c t i v i t y ) ของบัสบาร์จะลดลง ข้อเสนอแนะคือ ควรท�ำความสะอาด ที่บริเวณพื้นผิวของบัสบาร์ โดยกรรมวิธีการขจัดคราบ สนิมทองแดงที่เกาะพื้นผิวของบัสบาร์ให้หมดไป เพื่อ
คืนสภาพการน�ำกระแสไฟฟ้าของบัสบาร์ให้เป็นไปตามปกติ (ซึ่งในความเป็นจริงเมื่อมีการท�ำความสะอาดพื้นผิวของ บั ส บาร์ ท องแดง นั่ น ก็ ห มายถึ ง อาจท� ำ ให้ ห น้ า สั ม ผั ส ของบัสบาร์จะถูกท�ำลายลง ดังนั้นการน�ำกระแสไฟฟ้า ของบั ส บาร์ ท องแดงจะลดลงนั่ น เอง หรื อ อาจกล่ า ว ได้ว่าการน�ำกระแสไฟฟ้าของบัสบาร์จะไม่สมบูรณ์ 100% เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ การเปลี่ ย นบั ส บาร์ ใ หม่ ทั้ ง เส้ น ตลอดความยาว) ภายหลังจากการท�ำความสะอาดที่บริเวณพื้นผิว ของบัสบาร์ทองแดงเสร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จะต้อง ท� ำ การทดสอบความเป็ น ฉนวนของบั ส บาร์ ร วมทั้ ง อุ ป กรณ์ จั บ ยึ ด บั ส บาร์ (Busbar Support) ด้ ว ย เพื่ อ เป็ น การตรวจสอบค่ า ความเป็ น ฉนวนของ ตัวน�ำไฟฟ้าภายในตู้สวิตช์บอร์ดไฟฟ้า ซึ่งพิกัดแรงดัน ไฟฟ้าที่ใช้ในการทดสอบจะมีค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง ที่มีค่าแรงดันทดสอบไม่ตำ�่ กว่า 500 Vdc และเกณฑ์การ ยอมรับส�ำหรับค่าความเป็นฉนวนของบัสบาร์จะต้องมีค่า ความต้านทานที่ไม่น้อยกว่า 1,000Ω / V ยกตัวอย่างเช่น เมื่อใช้พิกัดแรงดันไฟฟ้าทดสอบที่ 1000 Vdc ค่าความ ต้านทานของฉนวนจะต้องมีค่าไม่น้อยกว่า 1,000,000Ω หรือ 1 MΩ (Reference IEC 60439 – 1) ตามรูปที่ 7 และตาราง A
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 6 แสดงตัวอย่างสภาพพื้นผิวของบัสบาร์ที่ได้รับความเสียหาย พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
37
- ปลด Surge Protection ออกจากวงจรโดยการ หมายเหตุ : ส� ำ หรั บ บั ส บาร์ ที่ แ ช่ น�้ ำ เป็ น ระยะเวลา นาน ๆ ค่าความน�ำไฟฟ้า (Conductivity) ของบัสบาร์ ปลดฟิวส์หรือ OFF เบรกเกอร์ของวงจร Surge Protection จะเสื่ อ มสภาพหรื อ ลดน้ อ ยถอยลง ซึ่ ง ท� ำ ให้ พิ กั ด (ถ้ามี) - ปรับระดับพิกัดแรงดันไฟฟ้าให้มีความเหมาะสม การน� ำ กระแสไฟฟ้ า ของบั ส บาร์ จ ะลดลงตามไปด้ ว ย ในการทดสอบ และไม่เป็นไปตามเดิม - ในระหว่างการทดสอบไม่ควรไปสัมผัสบริเวณ ตัวน�ำไฟฟ้าเพราะอาจจะเกิดอันตรายได้ 1.5 สายไฟฟ้า (Power Cable) ควรมีการตรวจสอบ ค่าความเป็นฉนวน(Insulation Test)ดังแสดงในรูปที่ 8 ซึ่งในระหว่างท�ำการทดสอบค่าฉนวนไฟฟ้าเพื่อให้เกิด ความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงาน และได้ผลการวัดที่ถูกต้อง ควรปฏิบัติดังนี้
รูปที่ 7 แสดงการทดสอบค่าความต้านทานฉนวนของบัสบาร์
Minimum Insulation Resistance 0.25 MΩ 0.5 MΩ 1.0 MΩ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ตาราง A แสดงระดับแรงดันไฟฟ้า ในการทดสอบค่าความต้านทานฉนวน
พิกัดแรงดันไฟฟ้า ของอุปกรณ์ (VAC)
แรงดันไฟฟ้า ทดสอบ (VDC)
0 – 250 251 – 600 601 – 5,000 5,001 – 15,000 15,001 – 25,000 25,001 – 69,000
500 1,000 2,500 2,500 5,000 15,000
Recommended Minimum Insulation Resistance (MΩ) 50 100 1,000 5,000 20,000 100,000
Reference : Field Guide for Inspection, Evaluation and Maintenance Criteria for Electrical Substation Switchgear, DEPARTMENT OF THE AIR FOCR
เทคนิคในการทดสอบค่าฉนวนไฟฟ้าเพื่อให้เกิด ความปลอดภั ย ต่ อ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน และได้ ผ ลการวั ด ที่ ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้ - ตรวจสอบและปลดแหล่งจ่ายออกจากวงจรภายใน ตู้สวิตช์บอร์ด -ปลดวงจรชุ ด อุ ป กรณ์ Control ของอุ ป กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เช่น PLC, Soft Start, AC Drive, DC Drive
38
System
Test Voltage
SELV and PELV LV up to 500 V Over 500 V Reference : IEC 60364
250 Vdc 500 Vdc 1000 Vdc – 6 – 61
รูปที่ 8 ตัวอย่างการทดสอบค่าความต้านทานฉนวน ของสายไฟฟ้า
1.5.1 การตรวจสอบความต่ อ เนื่ อ งของวงจร ป้องกัน (Protective Circuit) เป็นการทดสอบการต่อ ถึงกันของสายกราวด์ทั้งตู้สวิตช์บอร์ดไฟฟ้า และให้มั่นใจ ว่าเมื่อถอดส่วนหนึ่งส่วนใดออก วงจรป้องกันส่วนที่เหลือ จะต้องไม่ขาดตอน (Bonding all metal covers) ตรวจวัดค่า ความต้ า นทานดิ น ของระบบ Grounding ส� ำ หรั บ ระบบไฟฟ้ า เพื่ อ ท� ำ การปรั บ ปรุ ง ให้ ร ะบบ Ground มีประสิทธิภาพและเกิดความปลอดภัยกับผู้ใช้งานและ ระบบไฟฟ้าเมื่อเกิดความผิดปกติขึ้น การต่อลงดินทีต่ อ่ เนือ่ งถึงกันกับอุปกรณ์ไฟฟ้าหลัก คื อ ก า ร ต ่ อ ล ง ดิ น ข อ ง ร ะ บ บ ไ ฟ ฟ ้ า ( S y s t e m Grounding) และการต่ อ ลงดิ น ของอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า
(Equipment Grounding) ซึ่งการต่อลงดินจะต้องระวัง ให้การต่อลงดินมีความต่อเนื่องทางไฟฟ้าที่ดีทุกส่วนของ อุปกรณ์ไฟฟ้านั้น ๆ ภายในตู้สวิตช์บอร์ดไฟฟ้า ในกรณี ที่การต่อโครงตู้ของอุปกรณ์ไฟฟ้าลงดินจะต้องตรวจสอบ การต่อฝากบานประตูทงั้ ทีเ่ ป็นฝาหน้า ฝาข้าง และฝาหลัง เข้ากับโครงตู้ที่มีการต่อลงดินไว้อย่างดีที่บัสบาร์กราวด์ (Grounding Bus) ตามรูปที่ 9
1.5.2 การตรวจสอบจุดต่อทางไฟฟ้าของสาย Power Cable เป็นการตรวจสอบแรงขันแน่นของ นัต/โบลท์ บริเวณจุดยึดต่อ เชื่อมต่อต่าง ๆ ของอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น บัสบาร์, เซอร์กิตเบรกเกอร์, คอนแทคเตอร์ เป็นต้น ค่าแรงขัน Torque จะอ้างอิงตามคู่มือของอุปกรณ์ไฟฟ้า ดังกล่าวที่ได้ระบุไว้ ตามตาราง B
ตาราง B แสดงค่าแรงขันนัตและโบลท์แต่ละขนาด โบลท์ GRADE 8.8 ค่าที่ตั้งไว้ในขณะขัน (Torque wrench)
ค่าที่ใช้ที่ยอมรับได้ (Torque)
ค่าที่ตั้งไว้ในขณะขัน (Torque wrench)
ค่าที่ใช้ที่ยอมรับได้ (Torque)
Ft-lb
Ft-lb
N.m
N.m
M3
1.1
0.99-1.21
1.5
1.35-1.65
M4
2.58
2.32-2.84
3.5
3.15-3.85
M5
5.16
4.64-5.68
7
6.3-7.7
M6
9.58
8.62-10.54
13
11.7-14.3
M8
20.64
18.58-22.54
28
25.2-30.8
M10
36.86
33.17-40.55
50
45-55
M12
55.29
49.76-60.82
75
67.5-82.5
M14
88.47
79.62-97.32
120
108-132
M16
136.4
122.76-150.04
185
166.5-203.5
M18
191.69
172.52-210.86
260
234-286
M20
272.8
245.52-300.08
370
333-407
ขนาด โบลท์และนัต
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 9 แสดงการตรวจสอบความต่อเนื่องถึงกัน การต่อฝากของระบบกราวด์ พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
39
2. การตรวจสอบระบบหลักดิน เป็นการตรวจสอบ ด้วยสายตาเป็นอันดับแรกเกี่ยวกับการต่อเชื่อมถึงกัน ของระบบหลักดิน และหลักดินทีม่ กี ารผุกร่อน, ตรวจสอบ ความหนาแน่นของการต่อเชื่อม, การต่อฝากของสายดิน ในระบบไฟฟ้า, การวัดค่าความต้านทานในการต่อลงดิน, ทดสอบการต่ อ ประสานของหลั ก ดิ น โดยการวั ด ความ ต่อเนื่องถึงกันของหลักดินที่ต่อร่วมอยู่ในระบบไฟฟ้า
ระบบการต่ อ ลงดิ น ที่ ดี มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ ความ ปลอดภัยในการท�ำงาน วิธที ดี่ ที สี่ ดุ ของค่าความต้านทานดิน ทีม่ คี ณ ุ ภาพจะต้องท�ำการตรวจวัดโดยใช้เครือ่ งมือวัด เช่น วิธกี ารตรวจสอบความต้านทานดินโดยแคลมป์ และวิธกี าร ตรวจสอบความต้านทานดินโดยการปักล๊อท ตามรูปที่ 10 และ 11
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 10 แสดงตัวอย่างระบบกราวด์ภายในโรงงานอุตสาหกรรม
วัดความต้านทานดินโดยแคลมป์ วัดความต้านทานดินโดยการปักล๊อท รูปที่ 11 แสดงวิธีการตรวจวัดค่าความต้านทานของหลักดิน
3. ขั้ น ตอนการเตรียมการก่อนการจ่ายไฟฟ้า - ตรวจสอบจุ ด ต่ อ การเข้ า สายไฟฟ้ า ต่ า ง ๆ เข้าสู่โหลดภายในโรงงานอุตสาหกรรม (Protection Index) การเตรียมความพร้อมก่อนการจ่ายไฟฟ้า - ตรวจสอบแรงขัน (Tightening Torque) Bolt/ - ตรวจสอบสภาพความเรียบร้อยทัว่ ไปของอุปกรณ์ Nutt ของจุดต่อสายไฟฟ้า ภายในตู้สวิตช์บอร์ดไฟฟ้า - ตรวจสอบการเชื่ อ มต่ อ ของระบบกราวด์ (Grounding System)
40
- ตรวจสอบค่าความต้านทานของฉนวน (Insulation Voltage : Line to Line : 400 Vac, 415 Vac : Line to Neutral : 240 Vac, 230 Vac Test) - เซอร์กิตเบรกเกอร์ทุกตัวภายในตู้สวิตช์บอร์ด Frequency : 50 Hz - Close Main Circuit Breaker จ่ายไฟฟ้าเข้าสู่ อยู่ในต�ำแหน่ง Open Circuit - ปิดฝาตู้ทุกช่องให้เรียบร้อยก่อนการจ่ายไฟฟ้า ตู้สวิตช์บอร์ดไฟฟ้า การเตรียมความพร้อมเมื่อจ่ายไฟฟ้าเข้าสู่ตู้สวิตช์บอร์ด - เริ่ม Close Circuit Breaker ในแต่ละ Feeder ไฟฟ้า เพื่อจ่ายไฟฟ้าไปสู่โหลด - ตรวจสอบพิกัดแรงดันไฟฟ้า (Voltage Rated) - ตรวจสอบการแสดงผลของเครือ่ งมือวัด (Metering ที่จ่ายมาจากหม้อแปลงไฟฟ้า Circuit) : Feeder Circuit Voltage, Current, Power, - ตรวจสอบล�ำดับเฟสของแรงดันไฟฟ้า (Phase PF, Active Power, Appearance Power, Reactive Sequence) Power and etc. - ตรวจสอบล�ำดับเฟสของแรงดันไฟฟ้า (Phase - ติดตั้งป้ายเตือน (Tacking) ส�ำหรับ Feeder Sequence) ที่ห้ามจ่ายไฟฟ้า
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ตารางที่ 1 ค�ำแนะน�ำของ NEMA ในการจัดการกับอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ถูกน�้ำท่วม
ประเภท
อุปกรณ์จ่ายพลังงานไฟฟ้าหลัก (Electrical Distribution Equipment)
อุปกรณ์ชุดควบคุมมอเตอร์ (Motor Control Equipment)
Power Equipment
Transformer
Wire, Cable, and Flexible Cord Other Devices
อุปกรณ์ไฟฟ้า
Air Circuit Breaker Mold Cased Circuit Breaker Enclosure Switch Busway (Mylar-wrapped Bars) Busway (Powder-wrapped Bars) Surge Protection Device Panel Board Variable Speed Drive Components Containing Semiconductors and Transistors Electronically Controlled and Solid-state Contractor and Starters Overload Relays Manual and Magnetic Controllers Motor Control Centers Electronic Trip Unit of LV Circuit Breaker High–voltage Circuit Breaker Low–voltage Circuit Breaker Protection Relays, Meter Curent Transformer Voltage Transformer Low–voltage Switchgear Medium-voltage Switchgear Dry-Type Transformer Dry-Type Control Circuit Transformer Liquid-filled Transformer Cast-resin Transformer Wire or cable lited for dry locations Wire or cable that is suitable for locations Motors
เปลี่ยนใหม่ ซ่อมคืนสภาพ x x x x x x x x x x x x
x
x
x x
x x x
x x x x x x x x
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
41
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ข้อควรพิจารณา (Additional Considerations)
ในกรณี ที่ เ กิ ด ความเสี ย หายจากอุ ท กภั ย จาก น�้ำท่วม ภายหลังจากปริมาณน�้ำลดลงแล้วเป็นการดีที่ ควรจะเปลี่ ย นแปลงอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ใหม่ ม ากกว่ า ที่ จ ะ พยายามซ่ อ มแซมและแก้ ไ ข เพื่ อ ให้ อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า สามารถกลับคืนมาใช้งานใหม่ได้ เช่น เซอร์กติ เบรกเกอร์, อุปกรณ์ป้องกันต่าง ๆ อุปกรณ์เครื่องมือวัดและแสดงผล, Control Relay, บัสบาร์ (ส�ำหรับกรณีที่เกิดการกัดกร่อน จากสารเคมี การผุก ร่อนของบัสบาร์) เต้ารับ ไฟฟ้า, สวิตช์ไฟฟ้า, หลอดไฟฟ้า, สายไฟฟ้าที่เปื่อยหรือช�ำรุด ฉีกขาด และอุปกรณ์ประกอบ แผงควบคุมระบบแจ้งเตือน เพลิงไหม้และเครื่องมือวัดต่าง ๆ เจ้าหน้าที่ซ่อมบ� ำรุง จะต้องท�ำการตรวจวัดค่าความเป็นฉนวนของสายไฟฟ้า และสายคอนโทรลทั้งหมด และต้องเปลี่ยนสายไฟฟ้า ใหม่ทั้งหมดในกรณีที่ค่าความต้านทานของฉนวนที่วัดได้ มีค่าต�่ำกว่ามาตรฐาน ทั้งนี้เกณฑ์ในการพิจารณาเปลี่ยน อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ถูกน�้ำท่วมนั้น สามารถใช้ข้อแนะน�ำของ NEMA มาประยุกต์ใช้งานได้ตามความเหมาะสม ดังแสดง ในตารางที่ 1
42
สรุป
การฟื้นฟูหรือกู้คืนระบบไฟฟ้าก�ำลัง อุปกรณ์ไฟฟ้า และเครื่องจักรภายในโรงงานอุตสาหกรรมให้สามารถ ท�ำงานและใช้งานได้เหมือนเดิม จะเร็วหรือจะช้าก็จะ ขึ้นอยู่กับการที่มีข้อมูลทั้งหมด ความแม่นย�ำและความ ถู ก ต้ อ งในการตรวจสอบด้ ว ยวิ ศ วกรหรื อ ช่ า งเทคนิ ค ผู้ช�ำนาญการที่รวบรวมรายละเอียดของระบบไฟฟ้าก�ำลัง อุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องจักรที่ติดตั้งอยู่ภายในโรงงาน การจั ด เก็ บ แบบไฟฟ้ า ต่ า ง ๆ เพื่ อ ให้ ส ามารถเข้ า ถึ ง ระบบไฟฟ้าได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย
เอกสารอ้างอิง 1. Industrial Technology Review 215 ธันวาคม 2553 หน้า 96 - 100 2. Flood Repair of Electrical Equipment : EC&M February 2010 page 8 – 14 www.ecmweb.com 3. Evaluating Water – Damaged Electrical Equipment : NEMA publication www.nema.org ประวัติผู้เขียน
นายวิทยา ธีระสาสน์ ผู้จัดการ แผนกควบคุมภาพ การผลิต บริษัท อาซีฟา จ�ำกัด
Power Engineering & Power Electronics ไฟฟ้าก�ำลังและอิเล็กทรอนิกส์ก�ำลัง ดร.ประดิษฐ์ เฟื่องฟู กองฝึกอบรม ฝ่ายพัฒนาบุคลากร การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
ผลกระทบด้านแรงดันเกิน
จากการติดตั้งโซลาร์ฟาร์มในพื้นที่มีโหลดต�ำ่
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ผมเคยเขียนบทความลงในนิตยสารไฟฟ้าสารเมือ่ ประมาณ 1-2 ปี ทีผ่ า่ นมา เกี่ยวกับผลกระทบของแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้าขนาดเล็กหรือที่ประเทศไทยของเรา มักเรียกกันว่า ผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (Very Small Power Producer : VSPP) ที่มีขนาดไม่เกิน 8 MW ส�ำหรับระบบจ�ำหน่าย 22 kV และ 10 MW ส�ำหรับระบบจ�ำหน่าย 33 kV โดยประเด็นทีผ่ มให้ความสนใจประเด็นหนึง่ คือ ผลกระทบด้านแรงดัน โดยเฉพาะปัญหาแรงดันเกินในช่วงทีม่ โี หลดในระบบต�่ำ ในบทความนี้ผมขอน�ำมาเน้นย�้ำอีกครั้งเนื่องจากพบว่ามีปัญหาแรงดันเกิน เพิ่มยิ่งขึ้น เนื่องจากมีโซลาร์ฟาร์ม (Solar Farm) เข้ามาเชื่อมต่อกับระบบ โครงข่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้ามากขึ้นในพื้นที่ที่มีโหลดในระบบต�ำ่
1. รายงานผลกระทบแรงดันเกินจากต่างประเทศ
ในต่างประเทศ เช่น ประเทศญี่ปุ่น ประเทศออสเตรเลีย ฯลฯ เป็น ประเทศทีส่ ง่ เสริมการติดตัง้ Solar Rooftop โดยเป็นการติดตัง้ แผงโซลาร์เซลล์ บนหลังคาบ้าน เพือ่ รณรงค์สง่ เสริมการใช้พลังงานทดแทนทีเ่ ป็นพลังงานสะอาด ในการผลิตไฟฟ้า จากการติดตามสถานการณ์ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ พบว่าทัง้ ประเทศ ญี่ปุ่นและประเทศออสเตรเลียมีปัญหาการเกิดแรงดันเกินในระบบ เนื่องจาก การผลิตไฟฟ้าจากแผงโซลาร์เซลล์บนหลังคาบ้านนั้นมีปริมาณมากกว่าโหลด ทางด้านแรงต�่ำของหม้อแปลงที่จ่ายไฟให้แก่บ้านพักอาศัยรายอื่น ๆ ดังแสดง ในรูปที่ 1 โดยเฉพาะในช่วงเวลากลางวันที่มีปริมาณการใช้ไฟต�่ำเนื่องจากไม่มี ใครอยู่บ้าน แต่ขณะเดียวกันก็มีการผลิตกระแสไฟฟ้าจากแผงโซลาร์เซลล์ บนหลังคาบ้านได้สูงสุด จึงเกิดกระแสไฟฟ้าไหลย้อนกลับเข้าไปด้านขดลวด ปฐมภูมิของหม้อแปลงจ�ำหน่าย ซึ่งเหตุการณ์นี้หากมีแรงดันเกินทางด้าน แรงต�่ำสูงมากก็อาจจะท�ำให้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ได้รับแรงดันเกินช�ำรุดเสียหายได้ นอกจากนี้ สถาบันวิจัย EPRI (Electric Power Research Institute) ของสหรัฐอเมริกาได้มีการศึกษาวิจัยผลกระทบของแหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก ได้ ศึ ก ษาพบว่ า หากมี ก ารเชื่ อ มต่ อ ระบบผลิ ต ไฟฟ้ า จากแผงโซลาร์ เ ซลล์
(Photovoltaic, PV) เข้ากับระบบ จ� ำ หน่ า ยของการไฟฟ้ า หากมี ก าร ติ ด ตั้ ง ที่ ข นาดก� ำ ลั ง การผลิ ต ที่ สู ง เกินกว่าที่โหลดต้องการจะท�ำให้เกิด ปัญหาแรงดันเกินที่จุดเชื่อมต่อได้ดัง แสดงในรูปที่ 2 ซึ่งจะพบว่าจากกรณี การศึกษาหลาย ๆ กรณี มีความเป็น ไปได้ ที่ จ ะเกิ ด ปั ญ หาแรงดั น เกิ น ได้ โดยกรณีสว่ นใหญ่พบว่าเกิดจากการที่ ระบบนั้นเป็นระบบที่มีโหลดต�่ำและ เป็ น ระบบที่ เ ป็ น Weak System ส� ำ หรั บ ในกรณี ที่ เ ป็ น โซลาร์ ฟ าร์ ม ขนาดใหญ่ ติ ด ตั้ ง เชื่ อ มต่ อ กั บ ระบบ จ�ำหน่ายของการไฟฟ้าในหลายกรณี ก็พบปัญหาแรงดันเกินเช่นกันดังได้ แสดงในรูปที่ 3 โดยพบว่าแรงดันเกิน มีค่าสูงมากถึง 1.19 pu. ในกรณีที่มี โซลาร์ฟาร์มขนาดใหญ่ 10 MW เข้ามา เชื่อมต่อในช่วงที่มีโหลดต�่ำและเป็น Weak System ซึ่งอาจจะส่งผลท�ำให้ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ของผู ้ ใ ช้ ไ ฟ รายอื่นช�ำรุดเสียหายได้
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
43
รูปที่ 1 ผลการศึกษาปัญหาแรงดันเกินของบริษัท HITACHI อันเนื่องมาจากการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์บนหลังคาบ้าน [1]
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
รูปที่ 2 ผลการศึกษาปัญหาแรงดันเกินของ EPRI อันเนื่องมาจากการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์บนหลังคาบ้านขนาดต่าง ๆ [2] 1.2
Maximum Bus Voltage (Vpu)
1.18
Primary Secondary
1.16 1.14 1.12 1.1
1.08 1.06 1.04 1.02 0
1000 2000 3000 4000 5000 6000 7000 8000 9000 10000 Penetration (kW)
รูปที่ 3 ผลการศึกษาปัญหาแรงดันเกินของ EPRI อันเนื่องมาจากการติดตั้งโซลาร์ฟาร์มขนาดต่าง ๆ [2]
44
2. ปัญหาแรงดันเกินในประเทศไทย
จากที่กล่าวข้างต้นเป็นรายงานปัญหาและผลการ วิจัยในต่างประเทศ ส�ำหรับสภาพปัญหาของประเทศไทย ในปัจจุบันนั้นเกิดจากการติดตั้งโซลาร์ฟาร์มขนาดใหญ่ เนื่ อ งจากปั จ จุ บั น มี ห ลายบริ ษั ท ที่ ไ ด้ มี สั ญ ญาขายไฟ ด้ ว ยการผลิ ต ไฟฟ้ า จากโซลาร์ ฟ าร์ ม ไว้ กั บ การไฟฟ้ า หลายพั น เมกะวั ต ต์ ก� ำ ลั ง เริ่ ม ทยอยขายไฟเข้ า ระบบ โดยโซลาร์ ฟ าร์ ม หลายแห่ ง จะติ ด ตั้ ง ในพื้ น ที่ ช นบทที่ มี ราคาพื้นที่ไม่สูงมากนัก ในหลายพื้นที่พบว่าบริเวณที่มี การติดตัง้ โซลาร์ฟาร์มมีโหลดต�่ำมากและเป็นระบบ Weak System คืออยู่ห่างไกลจากแหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ จึงส่งผลให้หลายพื้นที่เกิดปัญหาแรงดันเกินในช่วงที่มีการ ผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ได้สูงสุดแต่มีโหลดในระบบต�่ำ ในการนี้ ก ารไฟฟ้ า จึ ง ได้ ห ารื อ กั บ ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ ง ในการแก้ปญ ั หาและลดผลกระทบดังกล่าว แนวทางในการ แก้ปัญหาหรือลดผลกระทบมีได้หลายวิธี เช่น การตัดต่อ ระบบจ�ำหน่ายใหม่เพื่อให้วงจรที่มีโซลาร์ฟาร์มเชื่อมต่อมี โหลดเพิ่มมากขึ้น การสับปลดคาปาซิเตอร์แบงค์ออกจาก ระบบ รวมถึงการขอความร่วมมือให้ผู้ประกอบการที่เป็น เจ้าของโซลาร์ฟาร์มลดการจ่ายไฟเข้าระบบไฟฟ้าในช่วงที่ เกิดปัญหา เป็นต้น บางวิธีที่ด�ำเนินการอาจจะส่งผลเสีย บางประการตามมาได้ เช่น ปัญหาในด้านการควบคุมและ ปฏิบตั กิ าร โดยเฉพาะการควบคุมแรงดันในช่วงโหลดสูงสุด ซึง่ มักจะเกิดในช่วงประมาณ 19.00-21.00 น. ส�ำหรับโหลด ที่เป็นบ้านพักอาศัยทั่วไป แต่ในขณะนั้นไม่มีการจ่ายไฟ ของโซลาร์ฟาร์มมาช่วยจ่ายโหลดอีกทั้งได้มีการสับปลด คาปาซิเตอร์แบงค์ออกจากระบบ จึงท�ำให้มีความยุ่งยาก ในการควบคุมและปฏิบัติการได้ นอกจากนี้หากมีการ ควบคุมปริมาณการขายไฟให้ลดลงในบางช่วงเวลา ก็อาจจะ ส่งผลให้ผปู้ ระกอบการผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์ฟาร์มไม่คมุ้ ค่า กับการลงทุนหรือถึงจุดคุ้มทุนที่ยาวนานขึ้น อย่างไรก็ดี ในอนาคตอันใกล้หากได้มีการลงทุนระบบ Smart Grid เพิ่ ม มากขึ้ น ก็ อ าจจะท� ำ ให้ ก ารควบคุ ม และปฏิ บั ติ ก าร ท�ำได้ง่ายและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้
3. สรุป
บทความนี้ ไ ด้ อ ธิ บ ายถึ ง ปั ญ หาแรงดั น เกิ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการติ ด ตั้ ง โซลาร์ ฟ าร์ ม หรื อ การติ ด ตั้ ง โซลาร์เซลล์บนหลังคาบ้านในต่างประเทศ และสภาพ ปัญหาที่เกิดขึ้นในเมืองไทย เพื่อเป็นการชี้ให้เห็นว่าปัญหา ดังกล่าวเป็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ได้งา่ ยในหลายพืน้ ทีใ่ นอนาคต ดังนั้นการส�ำรวจจุดติดตั้งที่เหมาะสม การใช้เทคโนโลยี สมั ย ใหม่ ใ นการควบคุ ม และปฏิ บั ติ ก าร โดยจะต้ อ งมี การปรับปรุงระบบและใช้เทคโนโลยี Smart Grid มาช่วย ในอนาคต จึงจะสามารถช่วยลดปัญหาจากแรงดันเกิน และการควบคุมแรงดันได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง การใช้เทคโนโลยีของ Inverter ที่สอดรับกับการควบคุม ระยะไกลและระบบ Smart Grid ก็จะช่วยลดปัญหานี้ ได้เป็นอย่างดี ดังนั้นในส่วนของการไฟฟ้า ผู้ประกอบการ VSPP และคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงานต้องหารือ ร่วมกันเพื่อจะได้ช่วยผลักดันให้มีการใช้พลังงานทดแทน ที่ เ ป็ น พลั ง งานสะอาดในการผลิ ต ไฟฟ้ า ได้ ม ากยิ่ ง ขึ้ น โดยไม่ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ คุ ณ ภาพไฟฟ้ า ของระบบ โครงข่ายไฟฟ้าและผู้ใช้ไฟรายอื่น
ร า ส า ้ ฟ ไฟ เอกสารอ้างอิง [1] Hitachi’s Smart Grid Technologies, Feb 2011. [2] Jeff Smith, “EPRI Distributed PV (DPV) Feeder Impact Study and Application of Advanced Inverter Functions: Brief Overview“, Inverter Based Generation Power System Performance Needs Workshop, Apr 11, 2012. ประวัติผู้เขียน
ดร.ประดิษฐ์ เฟื่องฟู • ผู ้ อ� ำ นว ย การ กอ งฝึ ก อบรม ฝ่ายพัฒนาบุคลากร การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค • กรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. • บรรณาธิการ นิตยสารไฟฟ้าสาร วสท. • CIGRE Member and Study Committee CIGRE C4 • IEEE Member
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
45
Power Engineering & Power Electronics ไฟฟ้าก�ำลังและอิเล็กทรอนิกส์ก�ำลัง นายณัฐพงษ์ ฉลาดคิด หัวหน้ากองวางแผนปฏิบัติการระบบส่งไฟฟ้า ฝ่ายควบคุมระบบก�ำลังไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
สภาพระบบไฟฟ้าในประเทศไทย และ Load Shedding Scheme
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
บทน�ำ
ในระบบไฟฟ้าก�ำลังมีองค์ประกอบ 3 ส่วนที่สำ� คัญ ได้แก่ 1. ระบบผลิต 2. ระบบส่ง 3. ผู้ใช้ไฟฟ้า ระบบผลิต ได้แก่ โรงไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ มีหน้าที่ผลิตพลังงานไฟฟ้าเพื่อส่งผ่านระบบส่งไฟฟ้าด้วยสายส่งไฟฟ้าแรงสูง ซึ่งจ�ำเป็น ต้องมีการยกระดับแรงดันไฟฟ้าทีใ่ ช้ในการส่งผ่านให้สงู ขึน้ เพือ่ ลดปริมาณความสูญเสียทีเ่ กิดขึน้ ในระบบส่ง โดยแรงดัน ไฟฟ้าของระบบส่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ที่ใช้งานในปัจจุบัน ได้แก่ ระดับแรงดัน 500, 230, 115 และ 69 กิโลโวลต์ และส่งต่อไปยังผู้ใช้ไฟฟ้า โดยโรงไฟฟ้าที่มีอยู่ในปัจจุบันสามารถจ�ำแนกตามประเภทของโรงไฟฟ้า และจ�ำแนกตามชนิดของเชื้อเพลิงได้ ดังรูปที่ 1 และรูปที่ 2 ตามล�ำดับ
รูปที่ 1 สัดส่วนโรงไฟฟ้าในประเทศไทยโดยแยกตามประเภทของโรงไฟฟ้า
46
รูปที่ 2 สัดส่วนโรงไฟฟ้าในประเทศไทยโดยแยกตามประเภทของเชือ้ เพลิง
ร า ส า ้ ฟ ไฟ โดยก�ำลังผลิตรวมของระบบเท่ากับ 31,446.72 เมกะวัตต์ แบ่งเป็น ก�ำลังผลิตของ กฟผ. 14,998.13 เมกะวัตต์ คิดเป็น 47.69% และก�ำลังผลิต ของผู้ผลิตเอกชน 16,448.59 เมกะวัตต์ หรือคิดเป็น 52.31% (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มกราคม 2555) และปัจจุบันค่าความต้องการใช้กำ� ลังไฟฟ้าสูงสุด ของประเทศไทยเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 มีค่าเท่ากับ 26,121.1 เมกะวัตต์ ซึ่งเป็นการท�ำลายสถิติครั้งที่ 7 ส�ำหรับปี 2555 นี้ (ข้อมูล ณ วัน ที่ 29 เมษายน 2555) เป็นที่ทราบกันดีว่า ความถี่ระบบไฟฟ้าของประเทศไทยอยู่ที่ 50.00 Hz โดย กฟผ. มีหน้าที่ในการควบคุมความถี่ของระบบไฟฟ้าให้อยู่ในเกณฑ์ +/- 0.225 Hz กล่าวคือ จะต้องควบคุมการผลิตไฟฟ้า (Generation) ใน ระบบไฟฟ้านั้นให้มีความสอดคล้องกับปริมาณผู้ใช้ไฟฟ้า (Load) ดังนั้น ถ้า ปริมาณ Load เปลี่ยนแปลงไปก็จะส่งผลให้ค่าความถี่ของระบบเปลี่ยนแปลง ตามไปด้วย สิ่งที่ กฟผ. ต้องด�ำเนินการคือต้องท�ำการปรับค่า Generation ให้ สอดคล้องกับปริมาณ Load ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป จึงจะสามารถควบคุมความถีใ่ ห้ กลับมาอยู่ในสภาวะปกติได้
ปัจจัยที่ท�ำให้คา่ ความถี่ของระบบไฟฟ้ามีการเบี่ยงเบน นอกจากพฤติกรรมของ Load ทัว่ ๆ ไปทีส่ ง่ ผลกระทบท�ำให้ความถีข่ อง ระบบเกิดการเบี่ยงเบนได้แล้ว ยังมีสาเหตุอื่นอีกหลายประการที่ทำ� ให้ความถี่ ของระบบเกิดการเบี่ยงเบนได้ เช่น • โรงไฟฟ้าหลุดออกจากระบบ (Generator Tripping) ไม่ว่าจะด้วย สาเหตุใดก็แล้วแต่ เมื่อมีการ Trip ของโรงไฟฟ้าเกิดขึ้น นั่นหมายถึงปริมาณ Generation ย่อมน้อยกว่า Load ซึง่ จะส่งผลให้ความถีข่ องระบบมีคา่ ลดลงอย่าง แน่นอน ส่วนจะลดลงไปมากน้อยเพียงใดนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ปริมาณของ Generation ที่หลุดออกไป
• สายส่งหลุดออกจากระบบ (Transmission Line Tripping) เนื่องจากสายส่งเป็นอุปกรณ์หลักใน การส่งผ่านพลังงานไฟฟ้าจากแหล่ง ผลิตไปยังผูใ้ ช้ไฟฟ้า ดังนัน้ เมือ่ สายส่ง หลุดออกไปจากระบบ และไม่สามารถ ส่งผ่านพลังงานไฟฟ้าไปยังผู้ใช้ไฟฟ้า ได้ ก็จะส่งผลให้ปริมาณ Generation และ Load ไม่สมดุลกัน นัน่ คือความถี่ ของระบบก็จะต้องเปลี่ยนแปลงตาม ไปด้วย
การวางแผนการผลิต การวางแผนการผลิตไฟฟ้าของ โรงไฟฟ้าต่าง ๆ นั้น เป็นหน้าที่ของ กฟผ. โดยมีเงือ่ นไขหรือสิง่ ทีพ่ จิ ารณา ดังต่อไปนี้ • ต้นทุนการผลิตของโรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้ า ที่ มี ต ้ น ทุ น ในการผลิ ต ต�่ ำ สามารถเดินเครื่องได้ก่อนโรงไฟฟ้าที่ มีต้นทุนในการผลิตสูงกว่า • ต�ำแหน่งที่ตั้งของโรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้ า ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นต� ำ แหน่ ง ที่ ใกล้เคียงกับผู้ใช้ไฟฟ้าสามารถเดิน เครื่ อ งได้ ก ่ อ นโรงไฟฟ้ า ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ น ต�ำแหน่งทีห่ า่ งไกลจากผูใ้ ช้ไฟฟ้า ทัง้ นี้ เพื่อเป็นการลดความสูญเสียที่เกิดขึ้น ในระบบส่ง พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
47
• ความเชื่อถือได้ของระบบส่ง ไฟฟ้า (System Reliability) เนือ่ งจาก ระบบส่งไฟฟ้าเป็นสิ่งส�ำคัญในการน�ำ พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโรงไฟฟ้า ไปยังผู้ใช้ไฟฟ้า ระบบส่งของ กฟผ. จะเชื่ อ มโยงกั น เป็ น ระบบเดี ย วกั น ทั้งหมด (Network) แต่ละภาคของ ประเทศไทยจะมีสายส่งเชือ่ มโยง (Tie Line) เชื่อมโยงถึงกัน ดังนั้นการเดิน เครื่องของโรงไฟฟ้าในแต่ละภาคหรือ แต่ละพื้นที่ เราจะต้องค�ำนึงถึงความ มั่นคงของระบบส่งที่เชื่อมโยงอยู่ด้วย กันเป็นหลักส�ำคัญด้วย • ปั ญ หาด้ า นมลพิ ษ ที่ เ กิ ด ขึ้นจากการเดินเครื่องของโรงไฟฟ้า ต่าง ๆ ในปัจจุบันนี้ปัญหาด้านมลพิษ นั้นเป็นปัญหาใหญ่ ซึ่งการเดินเครื่อง ของโรงไฟฟ้าแต่ละแห่งนั้นจะต้องมี การควบคุมมลพิษที่อาจเกิดขึ้นได้ให้ อยู่ในปริมาณที่ไม่สูงเกินข้อก�ำหนด ของกรมควบคุมมลพิษ การเลือกใช้ เชือ้ เพลิงให้เหมาะสมจึงมีความส�ำคัญ เป็นอย่างยิ่ง • ปริมาณเชื้อเพลิงที่มีใช้งาน เช่น ถ่านหิน/ลิกไนต์ที่เหมืองแม่เมาะ ถูกน�ำมาใช้ส�ำหรับโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ปริมาณการใช้ขึ้นอยู่กับจ�ำนวนเครื่อง ที่เดินอยู่ แต่ปริมาณถ่านที่พร้อมใช้ งานนีอ้ าจแปรเปลีย่ นไปได้ เช่น ฤดูฝน มีฝนตกหนักอาจท�ำให้ถา่ นมีความชืน้ สู ง หรื อ ถ่ า นเปี ย ก หรื อ สายพาน ล� ำ เลี ย งถ่ า น/ล� ำ เลี ย งขี้ เ ถ้ า ขาดหรื อ ช�ำรุด ก็เป็นสาเหตุทที่ ำ� ให้ปริมาณการ ใช้ถา่ นหินลดลง ส�ำหรับเชือ้ เพลิงก๊าซ ธรรมชาติ จ ะมี แ ผนก� ำ หนดปริ ม าณ เนื้อก๊าซที่สามารถใช้ได้ในแต่ละวันไว้ ล่วงหน้า แต่หากมีเหตุผิดปกติเกิด ขึน้ จ�ำนวนก๊าซทีม่ ใี ช้ได้กจ็ ะเหลือน้อย ลงเช่นกัน
• ปริมาณน�ำ้ ทีม่ ใี ช้ในแต่ละวันจะถูกก�ำหนดไว้แล้ว โดยกรมชลประทาน จะแจ้งปริมาณความต้องการน�ำ้ ของแต่ละสัปดาห์มาให้ทาง กฟผ.ทราบล่วงหน้า หลั ง จากได้ ข ้ อ มู ล แล้ ว จะต้ อ งท� ำ การจั ด สรรปริ ม าณน�้ ำ ออกเป็ น รายวั น การไฟฟ้าฯ ไม่สามารถปล่อยน�ำ้ ได้มากกว่าหรือน้อยกว่าทีท่ างกรมชลประทาน ก�ำหนดไว้ได้ยกเว้นกรณีจำ� เป็น เช่น มีโรงไฟฟ้าหลุดออกจากระบบเป็นจ�ำนวน มาก ท�ำให้จำ� เป็นต้องเดินเครือ่ งโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ขึน้ มาชดเชย แผนงานทีก่ ล่าว มาทั้งหมดนี้เป็นเพียงปัจจัยหลัก ๆ ที่ใช้ในการวางแผนการผลิตไฟฟ้า โดย ยั ง มี ป ั จ จั ย สนั บ สนุ น อื่ น ๆ อี ก มากมายซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ มี ค วามละเอี ย ดอ่ อ น โดยการไฟฟ้าฯ ต้องใช้ประกอบในการพิจารณาการเดินเครื่องด้วย มาตรการรองรับในกรณีที่ก�ำลังผลิตในระบบไม่เพียงพอ กฟผ. มีหน้าที่ควบคุมและ/หรือสั่งการให้โรงไฟฟ้าทุกแห่งเดินเครื่องให้ เป็นไปตามแผนทีไ่ ด้เตรียมการไว้ หากแต่วา่ การคาดการณ์จากการวางแผนการ ผลิตแปรเปลีย่ นไปจากความเป็นจริง พนักงานของศูนย์ควบคุมฯ จะจัดการหา แหล่งผลิตแหล่งอืน่ เดินเครือ่ งเข้ามาชดเชยในส่วนทีห่ ายไป โดยค�ำนึงถึงปัจจัย ต่าง ๆ ดังทีไ่ ด้กล่าวไว้แล้วในหัวข้อ การวางแผนการผลิต เป็นส�ำคัญในทุกขณะ เวลา โดยจะต้องมีการเตรียมก�ำลังผลิตส�ำรอง (Operational Reserve) ไว้ใน ปริมาณที่เหมาะสม ซึ่ง Operational Reserve นี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ Spinning Reserve หรือก�ำลังผลิตส�ำรองทีเ่ กิดขึน้ จากโรงไฟฟ้าทีเ่ ดิน เครือ่ งอยูใ่ นระบบ โดยก�ำลังผลิตส�ำรองส่วนนีส้ ามารถน�ำมาใช้งานได้ดว้ ยระบบ AGC (Automatic Generation Control) หรือด้วย Speed Droop ของ โรงไฟฟ้า ค่าของ Spinning Reserve นี้จะมีไว้ในปริมาณที่ไม่น้อยกว่าปริมาณ ก�ำลังผลิตของโรงไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุดซึ่งเดินเครื่องอยู่ในขณะนั้น อีกส่วนหนึ่งคือ Standby Reserve หรือก�ำลังผลิตส�ำรองที่เกิดขึ้นจากโรงไฟฟ้าที่ยังมิได้เดิน เครือ่ งแต่พร้อมทีจ่ ะเดินเครือ่ งเข้าระบบได้ในเวลาอันรวดเร็ว ถ้าเกิดเหตุการณ์ ก�ำลังการผลิตของโรงไฟฟ้าน้อยกว่าความต้องการของผู้ใช้ไฟฟ้า จะส่งผลให้ ความถี่ของระบบมีค่าลดลง บางครั้งอาจลดลงตํ่าไปมากจนอาจเป็นอันตราย ต่อระบบไฟฟ้าได้ กฟผ.จึงได้ด�ำเนินการติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันชนิดหนึ่งเรียก ว่า Under Frequency Relay (U/F Relay) ไว้เพื่อท�ำการปลด Load ออก จากระบบ U/F Relay ที่ติดตั้งไว้จะท�ำหน้าที่ปลด Load ออกจากระบบเมื่อ ความถีล่ ดลงจนถึงค่า Setting ของ Relay ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการรักษาสมดุลระหว่าง Generation และ Load ไว้ ปัจจุบันนี้ U/F Relay ที่ได้ทำ� การติดตั้งไว้มีอยู่ด้วย กันทั้งหมด 5 STEP ดังนี้ STEP 1 : Setting 49.00 Hz 150 mSec : ปลด Load ออกประมาณ 10% ของ System Load STEP 2 : Setting 48.80 Hz 150 mSec : ปลด Load ออกอีก ประมาณ 10% ของ System Load STEP 3 : Setting 48.60 Hz 150 mSec : ปลด Load ออกอีก ประมาณ 10% ของ System Load
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
48
STEP 4 : Setting 48.30 Hz 150 mSec : ปลด Load ออกอีก ในส่วนของ กฟภ. ประมาณ 10% ของ System Load ขั้นตอนที่ 1 ลดเหลือ 33.5 STEP 5 : Setting 47.90 Hz 150 mSec : ปลด Load ออกอีก และ 22.5 kV ประมาณ 10% ของ System Load ขั้นตอนที่ 2 ลดเหลือ 33.0 และ 22.2 kV ปัจจุบัน U/F Relay Step 1 และ 2 ถูกติดตั้งในระบบของการไฟฟ้า ในส่วนของ กฟน. นครหลวง (กฟน.) และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เป็นหลัก และ ขั้นตอนที่ 1 ลดเหลือ 23.0 U/F Relay Step ที่เหลือจะติดตั้งในระบบของ กฟผ. อย่างไรก็ตาม การที่ และ 11.5 kV U/F Relay ท�ำงานย่อมหมายถึงมีการดับไฟฟ้าปริมาณมากเกิดขึ้นซึ่งจะส่ง ขั้นตอนที่ 2 ลดเหลือ 22.6 ผลกระทบต่อผูใ้ ช้ไฟฟ้าจ�ำนวนมาก ดังนัน้ จึงมีการก�ำหนดมาตรการเพือ่ ป้องกัน และ 11.3 kV มิให้ U/F Relay ท�ำงานหรือลดจ�ำนวนครั้งในการท�ำงานของ U/F Relay ลง ขั้นตอนที่ 3 ลดเหลือ 22.2 ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้ และ 11.1 kV การควบคุมการผลิต จะต้องรักษาค่า Spinning Reserve ไว้ในปริมาณ ทีไ่ ม่นอ้ ยกว่าก�ำลังผลิตของเครือ่ งทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ทีเ่ ดินเครือ่ งอยูใ่ นขณะนัน้ ซึง่ การลดแรงดันไฟฟ้าในระบบ และจะต้องมีการกระจายค่า Spinning Reserve ไปยังโรงไฟฟ้าหลาย ๆ โรง จ�ำหน่ายนั้นจะเป็นผลให้ลดปริมาณ และหลาย ๆ ประเภท โดยเฉพาะค่า Spinning Reserve ของโรงไฟฟ้า Load ลงได้ในระดับหนึ่งเมื่อความถี่ พลังน�้ำนั้นจะมีค่า Inertia สูง สามารถช่วยระบบได้ดี กล่าวโดยสรุปได้คือ ของระบบมี แ นวโน้ ม ลดลงตํ่ า กว่ า ให้ทุกโรงไฟฟ้าเดินเครื่องไม่เกิน 95% ของก�ำลังผลิตสูงสุดแต่ละเครื่อง 49.50 Hz จะด� ำ เนิ น การดั บ ไฟ มีการบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าให้มีความพร้อมที่จะสามารถควบคุม Governor กฟน. และ กฟภ. บางส่วน ครั้งละ ให้อยูใ่ นสภาวะ ON ได้ตลอดเวลา เพือ่ เป็นการตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลง ไม่เกิน 100 MW (กฟน. 50 MW ของระบบได้ด้วย Droop ของตนเอง และ กฟภ. 50 MW) จนกว่าความถี่ บ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าให้มีความพร้อมที่จะควบคุมการผลิตได้ด้วยระบบ จะกลั บ เข้ า สู ่ ส ภาวะปกติ ห รื อ ไม่ อัตโนมัตหิ รือ AGC จากศูนย์ควบคุมระบบก�ำลังไฟฟ้าส่วนกลาง กฟผ. ได้ตลอด น้อยกว่า 49.50 Hz เวลา หากว่าในระบบมีโรงไฟฟ้าที่สามารถ ON AGC ได้เป็นจ�ำนวนมาก ๆ สรุป จะสามารถปรับความถี่ของระบบได้ดียิ่งขึ้น ปัจจุบันนี้โรงไฟฟ้าที่มีก�ำลังผลิตสูงสุดต่อเครื่องมีขนาดสูงถึง 700 MW ภารกิจหลักทีส่ ำ� คัญของ กฟผ. เช่น โรงไฟฟ้าพลังความร้อนราชบุรี เครื่องที่ 1 และ 2 หากโรงไฟฟ้าเหล่านี้ คือการผลิตและส่งจ่ายกระแสไฟฟ้า Trip ออกไปจากระบบจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรง อาจมีไฟฟ้าดับเนื่องจาก ให้ มี คุ ณ ภาพ มั่ น คงและเชื่ อ ถื อ ได้ U/F Relay ได้ ดังนั้นถ้ามีโอกาส เราไม่ควรสั่งการให้โรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ ดังนัน้ กฟผ.จึงจ�ำเป็นต้องมีมาตรการ เดินเครื่องเต็มที่ ควรกระจายไปยังโรงไฟฟ้าอื่น ๆ บ้างหากสามารถท�ำได้ และแผนรองรับต่าง ๆ เพื่อป้องกัน มาตรการฉุกเฉิน ถูกก�ำหนดไว้ใช้งานในกรณีจ�ำเป็นบางกรณี เช่น และลดผลกระทบอันอาจจะเกิดขึน้ ต่อ ใช้ในกรณีทรี่ ะบบมีกำ� ลังผลิตส�ำรองต�ำ่ ซึง่ อาจมีสาเหตุมาจากมีโรงไฟฟ้า Force ระบบ ค่าความถี่ก็เป็นตัวชี้วัดตัวหนึ่ง Shut Down ไปหลายโรง ขัน้ ตอนการปฏิบตั กิ ารส�ำหรับมาตรการฉุกเฉินมีดงั นี้ ที่จะแสดงถึงคุณภาพในระบบไฟฟ้า 1. ลดการใช้ไฟ Station Service ในส่วนที่คิดว่าไม่จำ� เป็น กฟผ. จ�ำเป็นต้องควบคุมความถีใ่ ห้อยู่ 2. ให้โรงไฟฟ้าเดินเครื่องเกินพิกัด (Over Load) เฉพาะโรงไฟฟ้าที่ ในเกณฑ์มาตรฐาน ในกรณีที่ความถี่ สามารถด�ำเนินการได้ ของระบบมีค่าต�่ำจนอาจเป็นอันตราย 3. ลดแรงดั น ไฟฟ้ า ระบบจ� ำ หน่ า ยของ กฟภ. และ กฟน. โดย ต่อระบบ U/F Relay เป็นอุปกรณ์ ด�ำเนินการเป็น 2 และ 3 ขั้นตอน ดังนี้ ป้องกันชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้ปลดโหลดบาง ส่ ว นออกเพื่ อ รั ก ษาเสถี ย รภาพของ ระบบไว้ ซึ่งจะได้กล่าวถึงในโอกาส ต่อไป
ร า ส า ้ ฟ ไฟ พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
49
Communication Engineering & Computer ไฟฟ้าสื่อสารและคอมพิวเตอร์ นายสุเมธ อักษรกิตติ์
อัตตวิพากษ์ผลการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ
แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ..... (ตอนจบ) จากตอนที่ 2 เราได้กล่าวถึง มิติ ยุทธศาสตร์ และแนวทางด�ำเนินการของแผนแม่บทฯ ตั้งแต่มิติที่ 2 จนถึงมิติ ที่ 4 ตามรายละเอียดที่ได้กล่าวไว้แล้ว ซึ่งในตอนจบจะกล่าวถึงมิติที่ 5 ที่เป็นมิติสุดท้ายของร่างเดิม ที่กล่าวถึง การพัฒนากิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ แต่บงั เอิญในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2555 ทีผ่ า่ นมา กสทช. ชุดใหม่ ได้จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นสาธารณะที่คาดว่าจะเป็นครั้งสุดท้าย ซึ่งเนื้อหาของร่างแผนแม่บทฯ ดังกล่าวได้มี การปรับเปลี่ยนไปบ้างตามที่คณะกรรมการ กสทช. ชุดใหม่ได้พิจารณาทบทวน แต่หลักการส่วนใหญ่ยังคงยึดตาม แนวทางของร่างทีผ่ เู้ ขียนได้รว่ มเป็นอนุกรรมการยกร่างแผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ... โดยที่ ร่างเดิมได้ก�ำหนดเป็น 5 มิติ แต่ละมิติก็มีหลายยุทธศาสตร์และแนวทางด�ำเนินการเพื่อให้บรรลุผลตามยุทธศาสตร์ นั้น ๆ แต่ร่างแผนแม่บทฉบับใหม่ได้เปลี่ยนค�ำว่า ”มิติ” เป็น “ยุทธศาสตร์” แทน โดยก�ำหนดให้มี 7 ยุทธศาสตร์ แต่ละยุทธศาสตร์ก็มีวัตถุประสงค์แตกต่างกันไป และได้ก�ำหนดแนวทางเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ นอกจากนี้ คณะกรรมการชุดใหม่ยังได้เพิ่ม ”ตัวชี้วัด” ในแต่ละวัตถุประสงค์ด้วย พร้อมทั้งได้กำ� หนดช่วงเวลาของแผนแม่บทเพื่อ ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 มาตรา 49 ที่กำ� หนดให้มีแผนแม่บทฯ เพื่อใช้ เป็นแนวทางด�ำเนินการระยะเวลา 5 ปี อย่างไรก็ตาม คาดว่าอาจจะมีการแก้ไข ปรับปรุงอีกเล็กน้อยตามที่ได้รับฟัง ความคิดเห็นจากประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ประกอบการ ก่อนที่จะประกาศในราชกิจจานุเบกษาประมาณกลางปีนี้ ดังนัน้ เพือ่ เป็นการทบทวนและท�ำความเข้าใจในร่างแผนแม่บทกิจการกระจายเสียงฉบับนี้ ผูเ้ ขียนขอสรุปภาพรวมอย่าง ย่อ ๆ ของร่างแผนแม่บทฯ ที่ใช้ประกอบการประชุมรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2555 ดังนี้
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
(ร่าง) แผนแม่บทกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555–2559) มีทั้งหมด 7 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่และการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ วัตถุประสงค์ • เพือ่ ให้การอนุญาตให้ใช้คลืน่ ความถีแ่ ละการประกอบกิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน์เป็นไปอย่างทัว่ ถึง เป็นธรรม และก่อให้เกิดประสิทธิภาพ ในการใช้ทรัพยากรของชาติ • เพื่อส่งเสริมการใช้ทรัพยากรคลื่นความถี่ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ สาธารณะและไม่แสวงหาก�ำไรในทางธุรกิจ
50
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การก�ำกับ ดูแลการประกอบกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ วัตถุประสงค์ • เพื่อก�ำกับดูแลการประกอบ กิ จ การในด้ า นเนื้ อ หาให้ มี คุ ณ ภาพ เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ และมี ความหลากหลาย • เพื่อก�ำกับดูแลโฆษณามิให้ กระทบสิทธิผู้บริโภค
• เพื่อก�ำกับดูแลการใช้คลื่นความถี่และเครื่องวิทยุคมนาคมให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย และมิให้เกิดการรบกวนซึ่งกันและกัน • เพื่ อ ก� ำ กั บ ดู แ ลให้ มี ก ารแข่ ง ขั น อย่ า งเสรี ตลาดมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ภายใต้กฎกติกาที่โปร่งใสและเป็นธรรม • เพื่อให้มีมาตรการรองรับอย่างมีประสิทธิภาพกรณีที่มีภัยพิบัติหรือ เหตุฉุกเฉิน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศน์ วัตถุประสงค์ • เพื่ อ คุ ้ ม ครองสิ ท ธิ เ สรี ภ าพของผู ้ บ ริ โ ภคมิ ใ ห้ ถู ก เอาเปรี ย บจาก ผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ • เพือ่ ให้มชี อ่ งทางร้องเรียนทีส่ ามารถเข้าถึงได้งา่ ย ได้รบั การเยียวยาที่ รวดเร็วและเป็นธรรม • เพื่อให้มีการรวมกลุ่มสร้างเครือข่ายผู้บริโภคที่เข้มแข็ง ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมสิทธิเสรีภาพในการสื่อสาร วัตถุประสงค์ • เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพในการเข้าถึงและรับรู้ข้อมูล ข่าวสารที่หลากหลาย (รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 56) • เพื่อส่งเสริมให้ผู้พิการ ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึง รับรู้ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารได้อย่างเท่าเทียมกับประชาชนทั่วไป • เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนและสื่อมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ภายใต้ขอบเขตที่กฎหมายก�ำหนด (รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 45) • เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเพิม่ ความสามารถของประชาชน ในการรู้เท่าทันสื่อ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาคุณภาพการประกอบกิจการ วัตถุประสงค์ • เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพบุ ค ลากรในกิ จ การกระจายเสี ย งและกิ จ การ โทรทัศน์ให้ประกอบวิชาชีพอย่างมีความรับผิดชอบและค�ำนึงถึงประโยชน์ สาธารณะ • เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพรายการในกิ จ การกระจายเสี ย งและกิ จ การ โทรทัศน์ • เพื่อพัฒนาคุณภาพการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทัศน์ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเปลี่ยนผ่านไปสู่การรับ-ส่งสัญญาณวิทยุกระจาย เสียงและวิทยุโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล วัตถุประสงค์ • เพือ่ ให้การใช้คลืน่ ความถีใ่ นกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถจัดให้ภาคประชาชนได้ใช้คลืน่ ความถี่ ในกิ จ การกระจายเสี ย งและกิ จ การโทรทั ศ น์ ตามที่ ก ฎหมายก� ำ หนด (พระราชบัญญัตอิ งค์กรจัดสรรคลืน่ ความถีฯ่ พ.ศ. 2553 มาตรา 49 และ 85) • เพื่อให้ประชาชนสามารถรับสัญญาณวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ระบบดิจิทัลได้อย่างทั่วถึง
ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนา ระบบบริหารจัดการเพื่อไปสู่องค์กร ก�ำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ • เพือ่ ให้มรี ะบบบริหารจัดการ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ องค์กรได้รบั การวาง รากฐานการพัฒนาในด้านที่เกี่ยวข้อง อย่ า งสมดุ ล ยั่ ง ยื น ภายใต้ ห ลั ก ธรรมาภิบาล • เ พื่ อ พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ในองค์ ก รมุ ่ ง สู ่ ค วามเป็ น มื อ อาชี พ มี ค วามรู ้ ความสามารถ ก้ า วทั น การเปลี่ยนแปลง • เพื่ อ ให้ มี ข ้ อ มู ล ความคื บ หน้ า การด� ำ เนิ น การตามแผนแม่ บ ท และข้ อ มู ล ปั ญ หาอุ ป สรรคที่ เ กิ ด ขึ้ น (ถ้ามี) เพื่อน�ำไปสู่แนวทางการแก้ ปัญหาต่อไป
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ร่ า งแผนแม่ บ ทฉบั บ นี้ ไ ม่ ไ ด้ เน้ น และก� ำ หนดวิ ธี ก ารเพื่ อ เตรี ย ม ความพร้อมในเรื่องของช่วงเวลาที่จะ เปลี่ยนผ่านไปสู่การรับ-ส่งสัญญาณ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ในระบบดิจิทัล ซึ่งจากประสบการณ์ ในหลายประเทศ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้ อ งประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ค วามรู ้ แ ก่ ประชาชนและผู ้ บ ริ โ ภค เพื่ อ ได้ รับทราบนโยบาย ระยะเวลาที่ชัดเจน ที่ จ ะเปลี่ ย นเป็ น ระบบดิ จิ ทั ล ข้ อ ดี ข้ อ เสี ย และความจ� ำ เป็ น ที่ จ ะต้ อ ง เปลี่ ย นการรั บ -ส่ ง สั ญ ญาณวิ ท ยุ กระจายเสี ย งและวิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ ใ น ระบบดิจิทัล ซึ่งในเบื้องต้นน่าจะเน้น ในเรื่องของระบบโทรทัศน์ดิจิทัลก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจุบันประเทศ เพื่อนบ้านเราและหลายประเทศใน กลุม่ อาเซียนได้เปลีย่ นมาส่งสัญญาณ โทรทั ศ น์ ร ะบบดิ จิ ทั ล กั น บ้ า งแล้ ว เราเองต้องเตรียมความพร้อมเพื่อเข้า สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AECASEAN Economics Community) พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
51
ซึง่ เป็นการรวมตัวของประเทศในกลุม่ อาเซียน 10 ประเทศ ซึ่งมีประชากร 600 กว่าล้านคน โดยจะเริ่มขึ้นอย่าง เป็นทางการในปี 2558 นี้ ซึ่งมุ่งเน้น ให้อาเซียนเป็นตลาดและศูนย์กลาง ของฐานการผลิตโลก ดังนัน้ เราจะต้อง ปรับตัวให้ได้เนื่องจากมีการแข่งขัน สูง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเกี่ยวกับ อุปกรณ์ไฟฟ้า หากเราประกาศชัดเจน ว่าจะเลิกส่งโทรทัศน์ระบบอนาล็อก เมื่ อ ใด และจะส่ ง เป็ น ระบบดิ จิ ทั ล เมื่ อ ใด ทางภาคอุ ต สาหกรรมและ ผู ้ บ ริ โ ภคจะได้ เ ตรี ย มพร้ อ มต่ อ ไป ในช่วงเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ระบบดิจิทัลนี้ บางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกาได้ จัดหา Set top box ส�ำหรับโทรทัศน์ ระบบเดิ ม สามารถรั บ ชมในระบบ ดิจิทัลได้ โดยจ�ำหน่ายให้ประชาชน ผู้มีรายได้น้อยในราคาถูกพิเศษและ รัฐบาลเป็นผูร้ บั ภาระบางส่วน เป็นต้น เมื่อมีการปรับเปลี่ยนการส่ง สัญญาณโทรทัศน์เป็นระบบดิจทิ ลั แล้ว ท� ำ ให้ ส ามารถเพิ่ ม ช่ อ งสั ญ ญาณได้ มากขึน้ กอปรกับตามพระราชบัญญัติ องค์ ก รจั ด สรรคลื่ น ความถี่ ฯ พ.ศ. 2553 มาตรา 49 กสทช. ต้องจัดให้ ภาคประชาชนได้ใช้คลื่นความถี่เพื่อ ประโยชน์สาธารณะ และไม่แสวงหา ก� ำ ไรในทางธุ ร กิ จ ในการประกอบ กิ จ การบริ ก ารชุ ม ชนไม่ น ้ อ ยกว่ า ร้อยละยีส่ บิ ของคลืน่ ความถีใ่ นแต่ละ พืน้ ที่ของการอนุญาตประกอบกิจการ ดั ง นั้ น คาดว่ า น่ า จะเกิ ด โทรทั ศ น์ ชุมชนขึ้นมากมาย แต่ทั้งหมดต้อง อยู่ในเงื่อนไขตามกฎหมายและตาม บทเฉพาะกาล มาตรา 85 ของ พระราชบัญญัติดังกล่าว
ส�ำหรับยุทธศาสตร์ที่ 2 การก�ำกับดูแลการประกอบกิจการกระจาย เสียงและกิจการโทรทัศน์ เราอยากให้มีการก�ำกับดูแลเกี่ยวกับการโฆษณา แฝง และการใช้เวลาในการโฆษณาเกินสัดส่วนที่ก�ำหนดอย่างเข้มงวดเพราะ เป็นการเอาเปรียบผู้บริโภค โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามวัตถุประสงค์ข้อสุดท้าย ของยุทธศาสตร์นี้ที่กล่าวถึงเรื่องมาตรการรองรับในกรณีเกิดภัยพิบัติและเหตุ ฉุกเฉิน ผู้ประกอบการต้องให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง ตัวอย่างเช่น เมื่อช่วง สงกรานต์ทผี่ า่ นมาเกิดแผ่นดินไหวทีจ่ งั หวัดภูเก็ต ทีวบี างช่องไม่มกี ารรายงาน ข่าวและแจ้งเหตุให้ประชาชนทราบเพื่อเตรียมความพร้อมเลย เพราะต้องการ ถ่ายทอดสดงานสงกรานต์ เป็นต้น ดังนั้น กสทช. ต้องมีมาตรการก�ำกับดูแล อย่างเคร่งครัดในประเด็นดังกล่าว
บทสรุป
พิจ ารณาจาก (ร่าง) แผนแม่บทกิจการกระจายเสีย งและกิจการ โทรทัศน์ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555–2559) แล้วใน 7 ยุทธศาสตร์ไม่ได้พูดถึง เคเบิลทีวี โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม และ IPTV เลย ซึ่งทั้งหมดเป็นหน้าที่ของ กสทช. ที่ต้องก�ำหนดลักษณะและประเภทของกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ตามมาตรา 27 (3) ซึ่งผู้เขียนได้เคย เสนอแนะในที่ประชุมอนุกรรมการฯ และได้เคยวิพากษ์ในประเด็นค�ำจ�ำกัด ความในมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 ที่ว่า “กิจการกระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์ ที่ใช้คลื่นความถี่” คือกิจการกระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์ซึ่งต้องขอรับ การจัดสรรคลื่นความถี่ ตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ และ “กิจการกระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์ทไี่ ม่ใช้คลืน่ ความถี”่ หมายถึงกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ซึ่งไม่ต้องขอรับการจัดสรรคลื่นความถี่ ตาม กฎหมายว่าด้วยองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วกิจการทั้ง สองประเภทต้องใช้คลืน่ ความถีท่ งั้ สิน้ แต่หลักการอยูท่ ตี่ อ้ งขอจัดสรรคลืน่ หรือ ไม่เท่านั้น ซึ่งถ้ามองในด้านเทคโนโลยีแล้วจะท�ำให้สับสนได้ ยกเว้น IPTV ที่ ต้องใช้โครงข่ายโทรคมนาคมที่ใช้สายและไม่ใช้สาย (Wireless) และเคเบิลทีวี ทีเ่ ป็นของท้องถิน่ บางแห่งทีส่ ง่ สัญญาณผ่านเคเบิลใยแก้ว แต่ผใู้ ห้บริการเคเบิล ทีวบี างรายก็ใช้ความถีเ่ ช่นกัน ซึง่ ส่วนใหญ่ใช้ความถีย่ า่ น KU band โดยใช้จาน ดาวเทียมเป็นตัวรับสัญญาณผ่าน Set top box อย่างไรก็ตาม กสทช. ต้องเป็น ผู้ก�ำหนดค�ำจ�ำกัดความของกิจการให้ชัดเจน และสอดคล้องกับการหลอมรวม ของเทคโนโลยีในอนาคต เพราะปัจจุบนั ผูป้ ระกอบการทีวผี า่ นดาวเทียมเปรียบ เสมือนผูป้ ระกอบกิจการโทรทัศน์ทมี่ อี ภิสทิ ธิแ์ ละอยูน่ อกเหนือการควบคุมของ กสทช. อยู่แล้ว
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
52
เอกสารอ้างอิง [1] www.nbtc.go.th [2] เอกสารประกอบการประชุมรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ (ร่าง) แผนแม่บทกิจการ กระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555–2559) [3] เอกสารประกอบการประชุมคณะอนุกรรมการยกร่างแผนแม่บทกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์
Communication Engineering & Computer ไฟฟ้าสื่อสารและคอมพิวเตอร์ มิติ รุจานุรักษ์, ปัญจวี รักษ์ประยูร และอมรรัตน์ คงมา
การใช้ Microsoft Kinect
เป็นเซนเซอร์ส�ำหรับสร้างพื้นผิว 21/2D บทน�ำ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ในช่วงต้นปี 2555 ได้มีการจัดอันดับ 10 อุปกรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข ายดี ใ นรอบปี ที่ ผ ่ า นมา ทราบไหมว่ า นอกจากอุปกรณ์ของค่าย Apple อันได้แก่ iPhone และ iPad ที่เราพอจะเดาออกแล้ว ส�ำหรับค่าย Microsoft อุปกรณ์ ที่ขายดีคือ Kinect ซึ่งใช้ส�ำหรับติดต่อกับเครื่องเล่นเกม XBox อันจะท�ำให้ผู้เล่นสามารถใช้ร่างกายตัวเองควบคุม ตัวแทนในเกมได้ ตั้งแต่หัวจดเท้า เช่น เกมโยนโบว์ลิง เกมแข่ ง ขั น มวยระหว่างผู้เล่นสองคน เกมสกีที่อาศัย การโยกตัวไป-มา เป็นต้น วันนี้เราจะอธิบายการน�ำเครื่อง เล่นเกม Kinect นี้มาประยุกต์ใช้เป็นเซนเซอร์ตรวจจับ ความลึกในงานด้านวิศวกรรม Kinect ประกอบด้วย กล้องสี กล้องความลึก และมัลติอาเรย์ไมโครโฟน ดังรูปที่ 1 กล้องสี (Color CMOS-VNA38209015) นัน้ มีความละเอียดระดับ VGA 8 บิต ส่วนตัวกล้องความลึกนั้นประกอบด้วยตัวส่งสัญญาณ อินฟราเรด (IR Projector-OG12 / 0956 / D306 / JG05A) และตัวรับสัญญาณอินฟราเรด (IR CMOSMicrosoft / X853750001 / VCA379C7130) ที่มีความ ละเอียดระดับ VGA 11 บิต ตัวส่งจะส่งสัญญาณอินฟราเรด ออกไปเป็นกลุ่มจุดดังรูปที่ 2 เราคงเดาได้ว่าหากตัวรับจับ รูปกลุ่มจุดที่กระจุกตัวกัน ย่อมหมายความว่าบริเวณนั้น อยู่ใกล้กล้อง ในขณะที่หากตัวรับจับรูปกลุ่มจุดที่กระจาย ตัวกัน ย่อมหมายความว่าบริเวณดังกล่าวอยูห่ า่ งจากกล้อง ดังนี้ท�ำให้เราสามารถรู้ระยะห่างจากกล้องได้โดยระยะ
ห่างนีจ้ ะถูกบันทึกไว้เป็นสัญญาณทีเ่ รียกว่าเมฆจุด (Point cloud) ดั ง แสดงในรู ป ที่ 3 คู ่ กั บ รู ป สี รู ป สี แ ละรู ป ความลึกนี้สามารถน�ำเข้าที่คอมพิวเตอร์ได้โดยสาย USB ผ่านโอเพ่นซอร์สไลบรารีหลายเจ้าในอินเทอร์เน็ต ซึง่ ท�ำให้ ใช้ Kinect กับวินโดวส์ ไลนุกซ์ หรือแม็คได้
รูปที่ 1 Kinect
รูปที่ 2 สัญญาณอินฟราเรดของกล้องความลึก พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
53
รูปที่ 4 ตัวอย่างรูปความลึกของวัตถุระนาบ ซึ่งมุมทั้งสี่แสดงเป็นจุดสีแดงเล็ก ๆ
ในขั้นที่สอง หลายท่านคงคาดไม่ถึงว่าข้อมูลความลึก ของ Kinect ที่เห็นนั้นไม่ได้มีหน่วยเมตริกซ์ หน�ำซ�้ำยัง เป็นส่วนกลับกับความลึกทีแ่ ท้จริง กล่าวคือข้อมูลความลึก ของ Kinect เป็นข้อมูลดิบขนาด 11 บิต มีช่วงค่า 0-2047 ซึ่งต้องแปลงเป็นความลึกโดยอาศัยสมการที่ (1)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3 ตัวอย่างรูปสีและรูปความลึก
รูปความลึกจาก Kinect นัน้ จะมีขนาด 640 x 480 พิกเซลที่เฟรมเรต 30 fps ระยะที่ตรวจจับความลึกได้นั้น จะอยู่ประมาณ 500–5000 ซม.
(1)
โดยที่ f(d) เป็นสมการของตัวแปร d ซึ่ง d คือ ข้ อ มู ล ดิ บ จาก Kinect ดั ง กล่ า ว ทั้ ง นี้ เ ราต้ อ งท� ำ การ ขั้นตอนวิธี Regression เพือ่ สร้าง f(d) จาก d โดยปรับเทียบกับวัตถุที่ ที นี้ ก ารจะใช้ Kinect เป็ น เซนเซอร์ ต รวจจั บ รูค้ วามลึกแน่นอน จะท�ำให้ได้ความสัมพันธ์ระหว่าง depth ความลึกนัน้ ก็คอื การน�ำเมฆจุดมาใช้นนั่ เอง ซึง่ เช่นเดียวกับ และ d [1] ดังสมการที่ (2) เซนเซอร์ทั้งหลาย เราต้องท�ำการปรับเทียบก่อน การปรับ (2) เทียบประกอบด้วยสองขั้นตอนคือ หนึ่ง คือ การหาทาง ยาวโฟกัส (Focal length fx, fy) และแกนกลางของรูป (Center of projection cx, cy) ทั้งนี้เพื่อความง่ายเราจะ อย่าลืมว่าแม้เราได้ depth ซึ่งก็เทียบได้กับแกน สมมุติว่ากล้องไม่มีความบิดเพี้ยนของเลนส์ในแนวรัศมี และแนวขนาน สอง คือ การปรับเทียบข้อมูลดิบที่ได้จาก Z แล้ ว แต่ เ รายั ง ไม่ ไ ด้ ค ่ า พิ กั ด สามมิ ติ ข องแต่ ล ะจุ ด ซึ่งประกอบด้วย XYZ ในขั้นสุดท้ายเราจึงใช้ค่าทางยาว Kinect เป็นข้อมูลในหน่วยเมตริกซ์ ในขั้นตอนที่หนึ่ง เราจะใช้วิธีปรับเทียบกล้องทั่วไป โฟกั ส และแกนกลางของภาพ ประกอบกั บ ค่ า Z ใน ซึ่งวิธีหนึ่งที่นิยมกันก็คือ ใช้วัตถุระนาบที่รู้ขนาดแน่นอน การหาค่า X และ Y ตามความสัมพันธ์สามเหลี่ยมคล้าย ดั ง รู ป ที่ 4 มาเป็ น อิ น พุ ต ส� ำหรั บ โปรแกรมปรั บ เที ย บ ในรูปที่ 5 เช่น ของ Open Computer Vision Library (OpenCV) ซึง่ เมือ่ ป้อนพิกดั ของมุมตารางหมากรุกทัง้ สีจ่ ดุ เข้าไปพร้อม กับขนาดที่แท้จริงของมัน โปรแกรมจะคืนค่า fx, fy, cx, cy มาให้ ตามทฤษฎีวิทัศน์คอมพิวเตอร์
54
รูปที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างจุดรูปในกล้องความลึก xyZ และจุดรูปในพิกัดเมตริกซ์ XYZ
นอกจากนี้จากรูปที่ 6 จะสังเกตได้ว่าด้านหลัง ของตัวหุ่นจะถูกบดบัง ท�ำให้ไม่มีข้อมูลความลึกในบริเวณ ดังกล่าว เกิดเป็นช่องว่าง ลักษณะข้อบกพร่องเช่นนี้ไม่ ได้เกิดจาก Kinect เพียงอย่างเดียวแต่เกิดกับเซนเซอร์ 2½D ทุกตัว ไม่ว่าจะมีราคาแพงแค่ไหน (เราไม่เรียกว่า 3D เนื่องจากมีการบดบังดังกล่าวนั่นเอง) สิ่งส�ำคัญประการถัดไปในการใช้ Kinect เป็น เซนเซอร์ความลึกคือเราต้องรู้ความแม่นย�ำของค่าความลึก ที่ค�ำนวณได้ มีผู้ท�ำวิจัยไว้แล้ว [2] ว่าความผิดพลาด ในการหาระยะของ Kinect จะขึ้นอยู่กับระยะห่างจากตัว กล้องยกก�ำลังสอง
(6)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
(3)
เช่น ที่ระยะต�่ำสุด 50 ซม. จะมีความผิดพลาด F(50) = 0.0375 ซม. ส่วนที่ระยะสูงสุด 500 ซม. จะมี (4) ความผิดพลาด F(500) = 3.75 ซม. ซึ่ ง ถื อ ว่ า ค่ อ นข้ า งสู ง เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ กล้ อ ง (5) ความลึกเฉพาะทางที่มีความผิด พลาดหลัก นาโนเมตร อย่างไรก็ตาม อย่าลืมว่า Kinect มีราคาถูกกว่าประมาณ 50 เท่า ดั ง นี้ ท� ำ ให้ เ ราได้ รู ป ความลึ ก ในหน่ ว ยเมตริ ก ซ์ นอกจากนี้ก็ต้องระวังไม่ใช้ Kinect กับวัตถุมันวาว ดังแสดงในรูปที่ 6 พื้นผิวคล้ายไหม หรือกลางแดด เป็นต้น เพราะสัญญาณ อินฟราเรดสะท้อนกับวัตถุในสภาพเหล่านี้ได้ไม่ดีนัก
บทสรุป
พอจะเห็นภาพแล้วสิว่า เราสามารถน�ำ Kinect เป็ น เซนเซอร์ วั ด ความลึ ก ได้ โ ดยมี ข ้ อ จ� ำ กั ด อะไรบ้ า ง เมื่อพิจารณาว่าราคาอุปกรณ์อยู่ที่แค่ประมาณสี่พันบาท และมีโอเพ่นซอร์สหลายเจ้าให้เลือกใช้ ก็คงน่าสนใจส�ำหรับ หลายท่านไม่น้อยทีเดียว
รูปที่ 6 เมฆจุดในพิกัดเมตริกซ์ของรูปที่ 1
เอกสารอ้างอิง 1. K. Conley, http://www.ros.org/wiki/kinect_node 2. K. Khoshelham, “Accuracy analysis of kinect depth data,” International Society for Photogrammetry and Remote Sensing, 2011.
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
55
Communication Engineering & Computer ไฟฟ้าสื่อสารและคอมพิวเตอร์ นายปราการ กาญจนวตี อีเมล : prakarnk@loxinfo.co.th
การเพิ่มช่องสื่อสาร โดยการใช้คลื่นวิทยุแบบเกลียว
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ปั ญ หาหนั ก อกอย่ า งหนึ่ ง ของผู ้ ป ระกอบกิ จ การ โทรคมนาคมรวมถึงวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ใน ทุกภาคส่วน ตั้งแต่ภาคของผู้ควบคุมก�ำกับดูแล (กสทช.) ภาคของผู้ให้บริการ ตลอดจนถึงภาคของผู้ใช้บริการคือ การขาดแคลนคลื่นความถี่วิทยุ สาเหตุคือความต้องการ ติดต่อสื่อสารในแบบมัลติมีเดีย (Multimedia) มีปริมาณ สูงขึน้ อย่างรวดเร็ว ท�ำให้ความต้องการใช้คลืน่ วิทยุเพิม่ ขึน้ มากและเร็วเกินกว่าจะจัดสรรมาให้ทันกับความต้องการ จากการที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตไร้สายและ Smart phone จ�ำนวนมากในสังคมมือถือ ประกอบกับการที่สังคมดิจิทัล มีการติดต่อสื่อสารในรูปมัลติมีเดียอย่างฟุ่มเฟือย ยิ่งเป็น ตัวผลักเร่งอัตราความต้องการใช้คลื่นความถี่วิทยุให้มาก ทวียงิ่ ขึน้ แต่คลืน่ ความถีว่ ทิ ยุเป็นทรัพยากรทีม่ อี ย่างจ�ำกัด ต้องมีการจัดสรรให้ใช้งานอย่างเหมาะสมและเป็นธรรม แม้จะมีการใช้เทคโนโลยีรว่ มกับกลยุทธ์ตา่ ง ๆ ในการท�ำให้ การใช้คลืน่ ความถีว่ ทิ ยุอย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ รับ-ส่ง ข้อมูลได้เพิ่มขึ้น ก็ยังไม่ทันกับการบริโภคอยู่ดี ปัญหาใน ยุคดิจิทัลนี้จึงเกิดขึ้นมานานพอสมควรในทุกประเทศและ ดูเหมือนว่าจะหนักขึ้นทุกวัน ปัญหาการขาดแคลนคลื่นความถี่วิทยุอาจบรรเทา ลงได้ในอนาคตอันใกล้ เพราะผมได้อ่านข่าว Science Daily ฉบับวันที่ 2 มีนาคม 2555 ว่ากลุ่มนักวิจัย ชาวอิ ต าลี ร ่ ว มกั บ นั ก วิ จั ย ชาวสวี เ ดนได้ ท ดลองส่ ง /รั บ คลื่นวิทยุ 2 ล�ำที่ความถี่เดียวกัน แต่ได้มีการบิด (Twist)
56
คลืน่ ล�ำหนึง่ ให้เป็นเกลียวคล้ายกับตัวสปาเกตตีแบบเกลียว (ภาษาอิ ต าลี เ รี ย กว่ า Fusilli pasta ตามรู ป ที่ 1) ส่วนคลื่นอีกล�ำหนึ่งไม่บิด ในคลื่นแต่ละล�ำมีการมอดูเลด ด้วยสัญญาณต่างชนิดกัน ผลการทดสอบพบว่าสามารถ ดีมอดูเลดสัญญาณทั้งสองได้อย่างชัดเจนน่าพอใจ แม้ว่า คลื่นทั้งสองล�ำจะเป็นความถี่เดียวกัน จึงเป็นนิมิตที่ดีว่า ในอนาคตเราจะสามารถใช้สื่อสัญญาณต่าง ๆ ผ่านคลื่นถี่ วิทยุหลาย ๆ ล�ำทีค่ วามถีเ่ ดียวโดยการบิดคลืน่ แต่ละล�ำให้ ต่างกันออกไป รายงานการทดลองนีไ้ ด้ลงตีพมิ พ์ในวารสาร New journal of Physics ของสมาคมฟิสิกส์เยอรมัน (Institute of Physics and German Physical Society)
รูปที่ 1 ภาพสปาเกตตีแบบเกลียว เสมือนกับคลื่นวิทยุที่มีการบิด
รายงานดังกล่าวอธิบายว่าคลืน่ วิทยุสามารถ บิดตามแกนให้เป็นมุมเท่าใดก็ได้ ในรายงานเรียก ว่า Orbital Angular Momentum: OAM ทั้งใน ทิศตามเข็มนาฬิกาและทวนเข็มนาฬิกา โดยอาศัย คุณสมบัติพื้นฐานว่า สนามแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถ ส่งทั้งพลังงานและโมเมนตัม ในคลื่นวิทยุที่ใช้งาน โทรคมนาคมแต่ละล�ำ ค่า Total angular momentum เป็นผลรวมขององค์ประกอบสองส่วน สามารถ เขียนสมการง่าย ๆ ดังนี้ J = ∑ + L โดย ∑ คือ Spin Angular Momentum: SAM ซึ่งสัมพันธ์กับ Polarization ของคลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า แต่ ล ะล� ำ นัน่ คือสัมพันธ์กบั Photon helicity และ L คือ OAM ซึ่งมีความเชื่อมโยงกับ Helicoidal phase profile ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในทิศทางตั้งฉากกับการ เคลื่อนที่ของคลื่น หรืออธิบายอย่างง่าย ๆ คือการ บิดตัวของคลื่นในแนวแกนของการเคลื่อนที่นั่นเอง การทดลองดังกล่าวท�ำโดยมีผู้เข้าชมการ ทดลองประมาณ 2,000 คน เมือ่ วันที่ 24 มิถนุ ายน 2554 เวลา 21:30 น. ระหว่างยอดประภาคารบน เกาะ San Georgio (เป็นที่เดียวกับ Guglielmo Marconi ท�ำการทดลองส่งวิทยุเป็นครั้งแรก เมื่อ วันที่ 8 ธันวาคม 1895) กับ ระเบียงตึก Palazzo Ducale บนฝั่ง เวนิส อิตาลี คิดเป็นระยะทาง 442 เมตร ความถี่ที่ใช้คือ 2.414 GHz ซึ่งเป็นความถี่ ย่าน WiFi ใช้เครื่องส่งก�ำลังส่ง 2 W จ�ำนวน 2 เครื่ อ งที่ ค วามถี่ เ ดี ย วกั น ส่ ง จากยอดประภาคาร เครื่องส่งแรกใช้ส่งคลื่นไม่บิด (Untwisted with OAM L = 0) ด้วยสายอากาศ Yagi-Uda ขนาด 16.5 dBi ส่วนอีกเครือ่ งหนึง่ ส่งคลืน่ ทีบ่ ดิ (Twisted with OAM L = 1) การบิดคลื่นใช้จานสายอากาศ พาราโบลิ ค ดั ด แปลงขนาด 80 ซม. 26 dBi ดู รู ป ที่ 2 (ต้ อ งขออภั ย ที่ ไ ม่ ข อน� ำ รายละเอี ย ด ของรายงานดังกล่าวมาลงเนื่องจากข้อจ�ำกัดทาง ความรู ้ หากต้ อ งการรายงานทั้ ง หมดให้ เ ข้ า ใน Google แล้วพิมพ์ Encoding many channels on the same frequency through radio .. ก็จะ สามารถเลือกดาวน์โหลดรายงานนีไ้ ด้ รวมทัง้ วิดโี อ คลิปการทดลองด้วย หากไม่สะดวกกรุณาติดต่อ ผมทางอีเมล)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 2 จานพาราโบลิคดัดแปลงเพื่อบิดคลื่นให้เป็นเกลียว
จากผลส�ำเร็จของการทดลองนี้คาดว่าหากมีการพัฒนา ต่อไปให้ใช้ในเชิงพาณิชย์ จะท�ำให้มีช่องวิทยุส�ำหรับการสื่อสาร เพิม่ ขึน้ อีกมาก ยกตัวอย่างเช่น เราสามารถใช้คลืน่ ความถีเ่ ดียวกัน มาบิดคลืน่ ในทิศตามนาฬิกา 5 คลืน่ ทวนนาฬิกา 5 คลืน่ และไม่ บิดอีก 1 คลื่น รวมแล้วความถี่เดียวจะใช้ได้กับคลื่นวิทยุสื่อสาร 11 คลืน่ หากน�ำมาใช้สง่ โทรทัศน์ดจิ ทิ ลั คลืน่ ละ 5 รายการ ก็จะ สามารถส่งรายการโทรทัศน์ได้ถงึ 55 รายการ หากน�ำไปใช้ในระบบ วิทยุมอื ถือก็คงจะได้ชอ่ งการสือ่ สารเพิม่ ขึน้ อีกมากมาย เพียงพอ ส�ำหรับ 3G, 4G และระบบอื่น ๆ ในอนาคต จึงอยากให้วิศวกร ไทยช่วยพัฒนาเทคโนโลยีนี้ให้เป็นจริงให้ได้โดยเร็ว ประวัติผู้เขียน นายปราการ กาญจนวตี • วศบ.ไฟฟ้าสื่อสาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ที่ปรึกษาเทคนิคบริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด • กรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท.
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
57
Energy พลังงาน นายศุภกร แสงศรีธร กองพัฒนาระบบไฟฟ้า ฝ่ายวิจัยและพัฒนาระบบไฟฟ้า การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อีเมล : supakorn@pea.co.th
การศึกษาการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในประเทศไทย (ตอนที่ 3) การเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล 1. บทน�ำ
จากบทความที่แล้วเมื่อด�ำเนินการติดตั้งเครื่องมือวัดพลังงานลมแล้วเสร็จ ในขั้นตอน ต่อไปก็จะเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จากเครื่องมือวัด ระยะเวลาในการเก็บรวบรวม ข้อมูลขึ้นอยู่กับความต้องการความเที่ยงตรงของข้อมูลในการวิเคราะห์ และระยะเวลาในการ ด�ำเนินการโครงการ บางโครงการต้องการความเที่ยงตรงของข้อมูลสูงก็อาจจะต้องใช้เวลาใน การเก็บข้อมูลนาน และข้อมูลต้องมีความต่อเนือ่ ง จ�ำนวนข้อมูลทีข่ าดหายน้อย บางโครงการ ใช้เวลาในการเก็บข้อมูลนานถึง 5 ปี แต่หากมีเวลาในการเก็บข้อมูลน้อยก็อาจจะเก็บข้อมูลเป็น ระยะเวลา 1 ปี เพื่อให้ระยะเวลาดังกล่าวครอบคลุมทุกฤดู แต่ในการวิเคราะห์จะต้องเผื่อการ เปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ เนือ่ งจากการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมขิ องโลกด้วย
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ส�ำหรับวิธีการเก็บข้อมูลขึ้นอยู่กับการออกแบบ ระบบการเก็บข้อมูล เช่น การเก็บข้อมูลโดยวิธีการดึง ข้อมูล ณ ต�ำแหน่งติดตั้ง หรือการดึงข้อมูลผ่านระบบ Global System for Mobile Communications (GSM) ซึ่งจะส่งข้อมูลผ่านอีเมล เราสามารถดาวน์โหลดข้อมูลที่ รวบรวมได้แล้วน�ำมาป้อนลงในโปรแกรมแปรค่า โดยใน ที่นี้จะใช้โปรแกรม Nomad Desktop ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ เหมาะส�ำหรับท�ำงานร่วมกับเครื่องบันทึกข้อมูล Nomad 2 โดยการใช้งานร่วมกันระหว่างเครือ่ งไมโครคอมพิวเตอร์ และโปรแกรม Nomad Desktop เราสามารถที่ จ ะ ด�ำเนินการต่าง ๆ ได้ดังนี้ • ท�ำการ Configure เครื่องบันทึกข้อมูล Nomad 2 เพื่อที่จะเก็บรวบรวมข้อมูลที่เราต้องการ • สามารถบอกให้เครื่องบันทึกข้อมูล Nomad 2 รู้ได้ว่าติดตั้งอยู่ที่ไหน เวลาเท่าไร และเครื่องวัดที่ใช้คือ อะไร
58
• ติดต่อสื่อสารกับเครื่องบันทึกข้อมูล Nomad 2 โดยตรงผ่านพอร์ต RS232 • สามารถโทร.ติ ด ต่ อ กั บ เครื่ อ งบั น ทึ ก ข้ อ มู ล Nomad 2 โดยใช้โมเดม • สามารถเชื่อมต่อกับเครื่องบันทึกข้อมูล Nomad 2 ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตหรือใช้ระบบโมเดมในเครื่อง โทรศัพท์มือถือ • สามารถแสดงข้อมูล ณ เวลาจริง ๆ • สามารถถ่ายโอนข้อมูลในระยะไกลจากเครื่อง บันทึกข้อมูล Nomad 2 • เก็ บ ข้ อ มู ล ในเครื่ อ งบั น ทึ ก ข้ อ มู ล Nomad 2 เพื่อใช้เป็นระบบฐานข้อมูล • สามารถน� ำ ข้ อ มู ล จากเครื่ อ งบั น ทึ ก ข้ อ มู ล Nomad 2 ไปพล็อตได้หลายรูปแบบในการท�ำรายงาน • สามารถสร้ า งข้ อ มู ล ในรู ป แบบต่ า ง ๆ ให้ เหมาะสมกับโปรแกรมที่จะใช้ในการวิเคราะห์
การส่ ง ข้ อ มู ล สามารถส่ ง เป็ น รายวั น ผ่ า นระบบ อินเทอร์เน็ตในรูปแบบของไฟล์นามสกุล “.NDF” โดย การใช้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์โหลดข้อมูลจากระบบ อินเทอร์เน็ตแล้วใช้โปรแกรม Nomad Desktop ในการอ่าน ค่าและจัดการฐานข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ นอกเหนือจากนี้
ยังสามารถใช้ในการปรับแต่งเครือ่ งบันทึกข้อมูล Nomad 2 ใหม่โดยผ่านระบบโทรศัพท์มือถือด้วย รูปที่ 1 จะเป็นการ แสดงลักษณะการเก็บและส่งข้อมูลของโปรแกรม Nomad 2 ส่วนรูปที่ 3 และรูปที่ 4 เป็นรูปตัวอย่างการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Nomad Desktop
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 1 การเก็บและการส่งข้อมูลของ Nomad 2
รูปที่ 2 การวิเคราะห์ศักยภาพพลังงานลม โดยใช้ Nomad Desktop
รูปที่ 3 การวิเคราะห์ Wind Rose โดย Nomad Desktop พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
59
3. การวิเคราะห์ข้อมูล
หลังจากทีเ่ ก็บข้อมูลเป็นระยะเวลาหนึง่ ซึง่ มีปริมาณ ข้อมูลเพียงพอส�ำหรับใช้ในการวิเคราะห์แล้ว ขัน้ ตอนต่อไป คือ การน�ำข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์ศักยภาพในการ ผลิตไฟฟ้าจากกังหันลม ซึง่ จะต้องใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยในการวิเคราะห์ อาทิ WindSim WAsP Meteodyn หรือ 3DWind เป็นต้น การเลือกใช้โปรแกรมใดในการ วิเคราะห์ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศที่จะด�ำเนินการติดตั้ง กังหันลม โดยแต่ละโปรแกรมมีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน ดังนั้นในการเลือกใช้โปรแกรมวิเคราะห์ศักยภาพพลังงาน ลมจะมีผลต่อพลังงานไฟฟ้าที่คาดว่าจะผลิตได้จากกังหัน ลม โดยในที่นี้ขอยกตัวอย่างโปรแกรม Meteodyn เพื่อให้ ผู้อา่ นได้เข้าใจดังนี้ Meteodyn เป็นโปรแกรมขั้นสูงที่พัฒนาโดยอาศัย หลั ก การของอากาศพลศาสตร์ CFD และวิ ศ วกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเข้าด้วยกัน จึงมีประสิทธิภาพการ ค�ำนวณสูงมากส�ำหรับการประเมินศักยภาพพลังงานลม เฉพาะแหล่ง โดยสามารถค�ำนวณในรายละเอียดของพื้นที่ ได้ถงึ 25 เมตร x 25 เมตร และสามารถให้ผลการค�ำนวณ ในลักษณะต่าง ๆ ประกอบด้วย ความเร็วลมเฉลี่ยรายปี ก�ำลังการผลิตรายปี พารามิเตอร์ของกราฟการกระจาย ความเร็วลมแบบไวน์บูล ค่าเฉลี่ยของลมกระโชก แสดง ได้ดังรูปที่ 4-6
รูปที่ 5 แผนที่ศักยภาพพลังงานลมในรูปแบบ 2 มิติ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
รูปที่ 4 กราฟการกระจายความเร็วลมและทิศทางลม
60
รูปที่ 6 แผนที่ศักยภาพพลังงานลมในรูปแบบ 3 มิติ
หลักการท�ำงานโดยสังเขปของโปรแกรม Meteodyn มีรายละเอียดดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 จัดท�ำแผนที่พร้อมระบุต�ำแหน่งเสาวัด ลมและติดตั้งกังหันลมในแผนที่ เป็นการระบุการวางเสาวัดพลังงานลมจ�ำนวน 2 ต้น ในพื้นที่ภูมิประเทศที่ซับซ้อนขนาด 7 x 3 ตารางไมล์ โดยคาดว่าจะด�ำเนินการติดตั้งกังหันลมจ�ำนวน 34 ตัว แสดงดังรูปที่ 7
รูปที่ 7 แผนที่แสดงต�ำแหน่งเสาวัดพลังงานลม และกังหันลม
ขั้นตอนที่ 2 สร้างแผนที่ข้อมูลความสูงของพื้นที่ ในรู ป ที่ 8 เป็ น ตั ว อย่ า งแผนที่ ค วามสู ง ของ ภูมิประเทศที่สร้างจาก ASTER Global Digital Elevation Model ที่มีรายละเอียดขนาด 30 เมตร
รูปที่ 10 การระบุกรอบต�ำแหน่งที่ต้องการค�ำนวณ
ขั้นตอนที่ 5 การระบุต�ำแหน่งเสาวัดพลังงานลม ต�ำแหน่งของเสาวัดพลังงานลมและเครื่องมือวัด จะถูกระบุลงไปในโปรแกรมในรูปแบบพิกัดละติจูด และ ลองติจูด ดังตัวอย่างแสดงในตารางที่ 1 ซึ่งเป็นการระบุ ต�ำแหน่งเสาวัดพลังงานลม 2 จุด ที่ต�ำแหน่ง A และ B มี ค่าละติจูดและลองติจูดเป็น XXXXX และ YYYYY
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 8 แผนที่ข้อมูลความสูงของพื้นที่
ขัน้ ตอนที่ 3 สร้างแผนทีข่ อ้ มูลความขรุขระของพืน้ ที่ โปรแกรม Meteodyn จะสร้ า งแผนที่ ข ้ อ มู ล ความขรุขระ โดยรวมความสูงของต้นไม้ด้วย ซึ่งแผนที่ ความขรุขระของรูปที่ 8 แสดงดังรูปที่ 9
รูปที่ 9 แผนที่ข้อมูลความขรุขระ
ตารางที่ 1 ต�ำแหน่งเสาวัดพลังงานลม A และ B Mast Name
Easting (m)
Northing (m)
Tower A
XXXXX
YYYYY
Tower B
XXXXX
YYYYY
ขัน้ ตอนที่ 6 ป้อนข้อมูลกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร็วลมและก�ำลังผลิตไฟฟ้า กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วลมและก�ำลัง ผลิตไฟฟ้า จะหาได้จากผู้ผลิตกังหันลม โดยตัวอย่าง เป็นการเลือกกังหันลมของบรัท Vestas รุ่น V90-3 ซึ่ง มีกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วลมกับก�ำลัง ผลิตไฟฟ้าแสดงดังรูปที่ 11 และกราฟแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างความเร็วลมกับสัมประสิทธิ์ Thrust ของกังหันลม แสดงดังรูปที่ 12
ขั้นตอนที่ 4 การระบุกรอบต�ำแหน่งที่ต้องการ ค�ำนวณ เราสามารถระบุพื้นที่ที่เราสนใจในการค�ำนวณลง ในแผนที่โดยตีกรอบดังรูปที่ 10 เพื่อจะประเมินศักยภาพ พลังงานลมและระบุหาต�ำแหน่งการติดตัง้ กังหันลมในพืน้ ที่ ที่ตีกรอบ รูปที่ 11 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วลม กับก�ำลังผลิตไฟฟ้า พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
61
ขั้นตอนที่ 7 ผลลัพธ์การวิเคราะห์ เมือ่ ป้อนข้อมูลต่าง ๆ ในโปรแกรม Meteodyn เสร็จ เรียบร้อย ขั้นตอนต่อไปเป็นการสั่งให้โปรแกรมค�ำนวณ หาต�ำแหน่งการติดตั้งกังหันลมที่ดีที่สุด และแสดงผลใน ตารางที่ 2 รูปที่ 12 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วลม กับสัมประสิทธิ์ Thrust ของกังหันลม ตารางที่ 2 แสดงค่าพลังงานที่คาดว่าจะได้รับจากกังหันลมที่ความเร็วสูง 105 เมตร Wind Turbine
Location
Wind
Energy production
Weibull parameters
Without wake losses With wake losses
X (m)
Y (m)
H (m)
Capacity Shape Mean Annual Z Mean wind Scale (m) speed (m/s) parameter parameter turbulent production factor intensity (%) (MWh/year) (-) (m/s) (-)
XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX XXXXX
YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY YYYYY
80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80 80
497 503 530 528 516 517 522 481 526 536 515 526 479 488 490 512 499 518 489 521 494 460 496 485 488 507 552 503 517 513 545 484 470 456
Annual production (MWh/
Wake losses (%)
0.32 0.30 0.31 0.30 0.32 0.35 0.30 0.29 0.32 0.37 0.35 0.36 0.29 0.34 0.31 0.37 0.35 0.38 0.34 0.39 0.33 0.25 0.33 0.30 0.27 0.34 0.42 0.32 0.39 0.34 0.41 0.30 0.37 0.33
7658.44 6778.34 7646.69 7029.90 7254.97 7399.25 6625.97 5965.51 7749.72 8377.76 7588.73 8406.24 6200.98 6908.49 7290.69 8375.46 7030.21 8600.75 6848.84 8696.80 6789.72 5356.99 7790.13 6778.70 5763.90 8113.11 9525.16 7181.31 9575.50 8057.95 9611.51 7220.27 9238.33 7955.58
-8 -13 35 -11 -15 -21 -15 -21 -8 -13 -18 -12 -18 -23 -11 -14 -24 -13 -24 -14 -22 -19 -10 -15 -17 -10 -13 -15 -7 -11 -12 -9 -4 -7
298226.50
257391.87
-14
ร า ส า ้ ฟ ไฟ WT01 WT02 WT03 WT04 WT05 WT06 WT07 WT08 WT09 WT10 WT11 WT12 WT13 WT14 WT15 WT16 WT17 WT18 WT19 WT20 WT21 WT22 WT23 WT24 WT25 WT26 WT27 WT28 WT29 WT30 WT31 WT32 WT33 WT34
7.49 7.24 7.36 7.28 7.58 7.97 7.24 7.17 7.59 8.18 8.00 8.16 7.16 7.84 7.44 8.24 7.99 8.31 7.85 8.46 7.71 6.69 7.69 7.39 6.90 7.91 9.01 7.58 8.60 7.91 8.91 7.37 8.32 7.73
8.46 8.20 8.32 8.24 8.56 9.02 8.18 8.10 8.58 9.26 9.04 9.22 8.08 8.86 8.40 9.32 9.02 9.40 8.88 9.56 8.27 7.56 8.70 8.36 7.80 8.94 10.20 8.58 9.72 8.94 10.08 8.34 9.42 8.74
2.14 2.14 2.06 2.10 2.10 2.12 2.02 2.06 1.92 2.02 2.00 2.00 1.98 2.04 1.98 2.04 2.02 2.02 2.06 2.04 2.00 1.98 2.02 1.98 2.08 2.02 2.02 2.10 2.00 2.04 2.06 1.96 1.94 1.90
0.18 0.20 0.20 0.21 0.18 0.16 0.19 0.19 0.17 0.15 0.15 0.14 0.18 0.15 0.16 0.14 0.15 0.14 0.15 0.14 0.16 0.20 0.17 0.17 0.21 0.15 0.12 0.18 0.13 0.15 0.13 0.18 0.13 0.16
TOTAL
จากตารางที่ 2 จะเห็นได้ว่าผลลัพธ์ของการวิเคราะห์จะเป็นการ บอกต�ำแหน่งการติดตัง้ กังหันลมทีด่ ที สี่ ดุ เพือ่ ให้ได้คา่ พลังงานไฟฟ้ามาก ทีส่ ดุ ซึง่ จะส่งผลต่อการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ แต่หากเราต้องการที่ จะวางกังหันลมในต�ำแหน่งทีแ่ ตกต่างจากนีก้ ส็ ามารถท�ำได้ แต่ตอ้ งค�ำนึง ถึงองค์ประกอบอื่น ๆ ด้วย ซึ่งจะได้กล่าวถึงในฉบับต่อไป
62
8343.10 7771.60 8062.10 7885.50 8498.10 9310.00 7755.40 7569.80 8395.00 9590.60 9225.10 9560.40 7571.10 8956.50 8158.60 9762.60 9257.60 9855.70 8981.10 10160.90 8662.30 6599.70 8617.30 8000.30 6983.90 8998.30 10988.00 8406.20 10261.70 9007.10 10900.40 7920.90 9666.10 8540.50
เอกสารอ้างอิง 1. มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ “รายงานการศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ความเหมาะสมในการติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟ้า” กุมภาพันธ์ 2554 2. www.Meteodyn.com
Energy พลังงาน นายธงชัย มีนวล อีเมล : athme@hotmail.com
เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากขยะ (ตอนที่ 2) Waste to Electricity Technology (Part 2) บทความตอนที่ 2 นี้นำ� เสนอ เกี่ยวกับเทคโนโลยีผลิตก๊าซเชื้อเพลิง ซึ่ ง เป็ น เทคโนโลยี ที่ ค ่ อ นข้ า งใหม่ เมื่อเปรียบเทียบกับเทคโนโลยีอื่น ๆ เนื้อหาประกอบด้วย หลักการท�ำงาน องค์ ป ระกอบที่ ส� ำ คั ญ ประเภท และหลักการท�ำงานของเตาปฏิกรณ์ ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม และการเลือกเทคโนโลยี ผลิตก๊าซเชื้อเพลิง
ขยะเมื่ อ ถู ก ท� ำ ให้ แ ห้ ง โดยการระเหยความชื้ น ทิ้ ง ไปแล้ ว จะน� ำ ความร้ อ น จากการเผาไหม้ก่อนหน้านี้มาท�ำให้ตัวเองเกิดการไพโรไลซิส (Pyrolysis) และกลายเป็ น ก๊ า ซเชื้ อ เพลิ ง สั ง เคราะหขณะเดี ย วกั น มั ก มี ก าร จ่ า ยออกซิ ไ ดเซอร์ เ ข้ า มาบริ เ วณที่ เ กิ ด ปฏิ กิ ริ ย าด้ ว ยเพื่ อ ช่ ว ยให้ เ กิ ด การ เผาไหม้บางส่วน (Partial Oxidation/Gasification) หรือกระบวนการ ก๊ า ซซิ ฟ ิ เ คชั่ น กระบวนการก๊ า ซซิ ฟ ิ เ คชั่ น และกระบวนการเผาไหม้ มี ค วามแตกต่ า งกั น ทั้ ง ในเรื่ อ งของสภาวะการท� ำ งานและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ได้ ดังรูปที่ 10
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 5.เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ก๊ า ซ เชื้อเพลิง
กระบวนการผลิตก๊าซเชือ้ เพลิง (Gasification) เป็ น กระบวนการ น� ำ สารไฮโดรคาร์ บ อนมาผลิ ต เป็ น ก๊าซเชือ้ เพลิง ซึง่ ส่วนใหญ่จะประกอบ ด้ ว ย ก๊ า ซมี เ ทน ไฮโดรเจน และ คาร์บอนมอนอกไซด์ โดยใช้อากาศ บางส่วน ก๊าซเชื้อเพลิงนี้สามารถใช้ ในเครื่องยนต์โดยตรงเพื่อผลิตไฟฟ้า หรือใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตความร้อน ใน Boiler เพื่อเป็นก�ำลังขับเคลื่อน Steam Turbine เพื่อผลิตไฟฟ้า เทคโนโลยีนี้เป็นกระบวนการ เปลี่ยนเชื้อเพลิงแข็งให้กลายสภาพ เป็ น ก๊ า ซเชื้ อ เพลิ ง ภายใต้ ส ภาวะ ควบคุ ม อากาศและที่ อุ ณ หภู มิ สู ง โดยปกติกระบวนการก๊าซซิฟิเคชั่น เป็ น กระบวนการย่ อ ยที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน ระหว่างกระบวนการเผาไหม้ กล่าวคือ
รูปที่ 10 การก�ำจัดขยะด้วยเทคโนโลยีทางความร้อน
กระบวนการผลิตก๊าซเชือ้ เพลิง เป็นกระบวนการท�ำให้ขยะกลายเป็นก๊าซ โดยการท�ำปฏิกิริยาสันดาปแบบไม่สมบูรณ์ (Partial Combustion) กล่าวคือ สารอินทรีย์ในขยะจะท�ำปฏิกิริยากับอากาศหรือออกซิเจนในปริมาณจ�ำกัด และท�ำให้เกิดก๊าซซึ่งมีองค์ประกอบหลัก คือ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรเจน และมีเทน เรียกว่า Producer Gas ทัง้ นีอ้ งค์ประกอบของก๊าซเชือ้ เพลิงจะขึน้ กับ ชนิดของเครือ่ งปฏิกรณ์ (Gasifier) สภาวะความดันและอุณหภูมิ และลักษณะ สมบัติของเชื้อเพลิงแข็ง 1) ประเภทของเครื่องปฏิกรณ์ เครื่องปฏิกรณ์แบ่งออกเป็นหลายประเภท หลายกลุ่ม เช่น กลุ่ม Fixed Bed Gasifier ได้แก่ Downdraft Gasifier, Updraft Gasifier และ Cross-Current Gasifier และกลุ่ม Fluidized Bed Gasifier ได้แก่ Bubbling Fluidized Bed Gasifier, Circulating Fluidized Bed Gasifier และ Pressurized Fluidized Bed Gasifier การเลือกใช้ชนิดเครื่องปฏิกรณ์นั้นจะขึ้นอยู่กับ รูปแบบการใช้งานก๊าซเชื้อเพลิงและขนาดก�ำลังไฟฟ้าที่ต้องการผลิต เป็นต้น พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
63
โดยก๊าซเชื้อเพลิงที่ผลิตได้สามารถ ใ ช ้ ง า น ไ ด ้ ห ล า ย รู ป แ บ บ เ ช ่ น การให้ ค วามร้ อ นโดยตรง ใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ส� ำ หรั บ ผลิ ต ไฟฟ้ า โดยใช้ กังหันก๊าซ เครื่องยนต์สันดาปภายใน หรื อ หม้ อ น�้ ำ และใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ส�ำหรับยานพาหนะ ทั้งนี้การใช้งานฯ จะต้ อ งค� ำ นึ ง ถึ ง คุ ณ ภาพของก๊ า ซ เชื้อเพลิง โดยอาจมีความจ�ำเป็นต้อง ท�ำความสะอาดก๊าซเชื้อเพลิงโดยการ ก�ำจัดก๊าซกรด สารประกอบของโลหะ อัลคาไลน์ น�ำ้ มันทาร์ และฝุ่นละออง เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของระบบ ลดปั ญ หาการเสี ย หายของอุ ป กรณ์ และป้องกันปัญหามลพิษที่เกิดขึ้น ในบทความนี้ ก ล่ า วถึ ง เครื่ อ ง ปฏิกรณ์ 3 ประเภทหลัก ๆ ตาม ลั ก ษณะการเคลื่ อ นที่ ข องเชื้ อ เพลิ ง และก๊ า ซเชื้ อ เพลิ ง ภายในเครื่ อ ง ปฏิ ก รณ์ คื อ เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ แ บบ Fixed Bed เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ แ บบ Fluidized Bed และเครื่องปฏิกรณ์ แบบ Entrained Flow 1.1) เ ครื่ อ งปฏิ ก รณ์ แ บบ Fixed Bed เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ แ บบ Fixed Bed เหมาะส�ำหรับเชื้อเพลิงที่มีขนาด ใหญ่เพียงพอที่จะท�ำให้การไหลของ เชื้ อ เพลิ ง มี ค วามเสถี ย ร โดยปกติ เชื้อเพลิงจะมีขนาดประมาณ 1-100 มม. เชื้ อ เพลิ ง จะถู ก ป้ อ นทางด้ า น บนและตกลงสู ่ ด ้ า นล่ า งของเตา เตาประเภทนี้ ยั ง สามารถแบ่ ง ออก ได้ เ ป็ น เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ แ บบไหลลง (Downdraft Gasifier) และเครื่อง ปฏิ ก รณ์ แ บบไหลขึ้ น (Updraft Gasifier) ส�ำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบ ไหลลง สารออกซิไดเซอร์จะถูกป้อน เข้าสูเ่ ตาทางด้านบนและก๊าซเชือ้ เพลิง
ที่ เ กิ ด ขึ้ น จะไหลออกทางด้ า นล่ า งของเตา ในขณะที่ เ ครื่ อ งปฏิ ก รณ์ แ บบ ไหลขึ้น สารออกซิไดเซอร์จะถูกป้อนทางด้านล่างของเตาและก๊าซเชื้อเพลิง จะไหลออกทางด้านบนของเตา โดยโซนปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ ในเตาทัง้ 2 ประเภท นี้จะมีการแบ่งโซนอย่างชัดเจน ดังแสดงในรูปที่ 11
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
64
(ก) (ข) รูปที่ 11 เครื่องปฏิกรณ์ (ก) แบบไหลขึ้น (ข) แบบไหลลง
1.2) เครื่องปฏิกรณ์แบบ Fluidized Bed เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ ป ระเภทนี้ เ หมาะส� ำ หรั บ เชื้ อ เพลิ ง ที่ มี ข นาดเล็ ก โดยเชือ้ เพลิงจะถูกป้อนทางด้านล่างของเตาและจะมีการป้อนสารออกซิไดเซอร์ จากใต้เตา ซึ่งสารออกซิไดเซอร์จะต้องมีความเร็วมากเพียงพอที่จะท� ำให้ เชื้อเพลิงเริ่มลอยตัวขึ้นมีสภาพเป็นสารแขวนลอยในเตา นอกจากเชื้อเพลิง แล้วยังมีการใส่สารตัวกลาง เช่น ทราย อะลูมนิ า หรือออกไซด์ของโลหะ ภายใน เตาจะไม่มีการแบ่งโซนปฏิกิริยาที่ชัดเจน โดยส่วนใหญ่แล้วกระบวนการ ก๊าซซิฟิเคชั่นจะเกิดบริเวณเบดทางตอนล่างของเตา เตาประเภทนี้สามารถ แบ่งออกเป็น Bubbling Fluidized Bed และ Circulating Fluidized Bed ดังรูปที่ 12 Raw biosyngas
Cyclone
Freeboard
Gas phase reactions
Fly ash and particles
Additional sand
Bottom ash and bed material Fluidization medium
Fuel
Velocity 2-3 m’s
Raw biosyngas
Cyclone
Gas phase reactions Circulating fluidized bed Fuel Additional sand
Bubbling fluidized bed Grate
Bottom ash and bed material Fluidization medium
Velocity 5-10 m’s
Inter +Char Grate
(ก) (ข) รูปที่ 12 เครื่องปฏิกรณ์แบบ (ก) Bubbling Fluidized Bed (ข) Circulating Fluidized Bed
1.3) เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ แ บบ Entrained Flow เ ค รื่ อ ง ป ฏิ ก ร ณ์ แ บ บ Entrained Flow เหมาะส� ำ หรั บ เชื้ อ เพลิ ง ขนาดเล็ ก มาก ๆ คื อ มีขนาดประมาณ 0.1-1 มม. หรือ เชื้อเพลิงเหลว และใช้ออกซิเจนเป็น สารออกซิ ไ ดเซอร์ โดยออกซิ เ จน และเชื้อเพลิงจะถูกป้อนทางด้านบน ของเตา การเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าภายในเตา จะไม่มีการแบ่งโซนปฏิกิริยาที่ชัดเจน การเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเป็ น แบบผสมกั น ระหว่างเชื้อเพลิงและสารออกซิเจน 2) การท�ำงานของเครื่องปฏิกรณ์ ที่ ก ระจายอยู ่ ทั่ ว เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ แ ต่ ล ะประเภทเหมาะสมกั บ สภาพการท� ำ งานที่ เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ แ บบนี้ จ ะท� ำ งาน ที่อุณหภูมิสูง จนกระทั่งในบางครั้ง แตกต่างกันออกไป เช่น ขนาดของเชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ อุณหภูมขิ องปฏิกริ ยิ าความดัน ต้องมีระบบหล่อเย็นภายในเตาเพื่อ ภายในเตา ชนิดของสารออกซิไดเซอร์ที่ใช้ รวมถึงเวลาในการเกิดปฏิกิริยา ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ด การหลอมตั ว ของ ดังแสดงในตารางที่ 1 ขี้เถ้าภายในเตา เครื่องปฏิกรณ์แบบ ตารางที่ 1 สภาพการท�ำงานของเตาปฏิกรณ์ 3 แบบ Entrained Flow ดังในรูปที่ 13
ร า ส า ้ ฟ ไฟ สภาพการท�ำงาน
รูปที่ 13 เครื่องปฏิกรณ์แบบ Entrained Flow
หน่วย
Fixed Bed
Fluidized Bed
Entrained Flow
ขนาดของเชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ mm.
1-100
1-10
< 0.5
อุณหภูมิ
°C
300-900
700-900
1200-1600
ความดัน
MPa
0-5
0.1-3
0.1-3
เวลาท�ำปฏิกิริยา
s
600-6000
10-100
< 0.5
สารออกซิไดเซอร์
-
อากาศ,ของผสม อากาศ,ของผสม ออกซิเจน ระหว่ า ง ไอน�้ ำ / ระหว่าง ไอน�้ำ/ ออกซิเจน ออกซิเจน
เครือ่ งปฏิกรณ์ทงั้ 3 แบบ มีจดุ แข็ง ข้อจ�ำกัดในการท�ำงาน ประสิทธิภาพ ของระบบ และลักษณะเฉพาะตัวอืน่ ๆ ทีแ่ ตกต่างกันออกไป ตารางที่ 2 แสดง การเปรียบเทียบเครื่องปฏิกรณ์ส�ำหรับเทคโนโลยีก๊าซซิฟิเคชั่นในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ลักษณะของเชื้อเพลิงที่ต้องการ, คุณภาพของก๊าซเชื้อเพลิงที่ผลิตได้ โดยจะพิจารณาถึงค่าความร้อน ปริมาณน�ำ้ มันดินและอนุภาคฝุน่ ทีป่ ะปนอยูใ่ น ก๊าซเชื้อเพลิง, ประสิทธิภาพของระบบก๊าซซิฟิเคชั่น (Cold Gas Efficiency), ขนาดของระบบ, ศักยภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้า, การควบคุมการท�ำงาน ของระบบ, ค่าลงทุน/ด�ำเนินการ และการขยายขนาดของระบบ พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
65
ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบเครื่องปฏิกรณ์เทคโนโลยีก๊าซซิฟิเคชั่น เครื่องปฏิกรณ์แบบ Fixed Bed
เครื่องปฏิกรณ์แบบ Fluidized Bed
เกณฑ์
เครื่องปฏิกรณ์ แบบ Entrained Flow
Downdraft
Updraft
Bubbling Fluidized Bed
Circulating Fluidized Bed
1. ลักษณะของ เชื้อเพลิง
- ขนาดประมาณ 20-100 มม. - มีความชื้นและ ขีเ้ ถ้าไม่เกิน ร้อยละ 20 และร้อยละ 6
- ขนาดประมาณ 5-100 มม. - มีความชื้นและ ขีเ้ ถ้าไม่เกิน ร้อยละ 55 และร้อยละ 25
- ขนาดเล็กประมาณ 1-10 มม. - มีความยืดหยุ่น ต่อการเปลี่ยนแปลง ความชื้นของเชื้อเพลิง
- ขนาดเล็กประมาณ 1-10 มม. - มีความยืดหยุ่นต่อการ เปลี่ยนแปลงความชื้น ของเชื้อเพลิง
- ขนาดเล็กมาก - มีความชื้น ไม่เกินร้อยละ 15 ดังนั้นจึงจ�ำเป็น ต้องเตรียมระบบ เชื้อเพลิงก่อน
2. คุณภาพของ ก๊าซเชื้อเพลิง ที่เกิดขึ้น
- ค่าความร้อนต�่ำ (LHV) ประมาณ 4.5-5 MJ/Nm3 - สะอาดแทบไม่มี น�้ำมันดินปะปนอยู่ (ประมาณ 0.0150.5 g/Nm3) รวมทั้งมีอนุภาคฝุ่น ปะปนอยู่น้อยมาก
- ค่าความร้อนต�่ำ (LHV) 5-6 MJ/Nm3 - ปริมาณน�ำ้ มันดิน สูง (ประมาณ 30-150 g/Nm3) จึงต้องมีการก�ำจัด น�้ำมันดินออกก่อน น�ำไปใช้ อย่างไร ก็ตาม เตาประเภท นี้มีอนุภาคฝุ่น ปะปนอยู่น้อยมาก
- ค่าความร้อนสูง (HHV) ประมาณ 5.4 MJ/Nm3 - ปริมาณน�้ำมันดิน ปานกลาง จึงต้องมี การก�ำจัดน�้ำมันดิน ออกก่อนน�ำไปใช้ แต่ มีอนุภาคฝุ่นปะปนอยู่ ในก๊าซเชื้อเพลิง ค่อนข้างสูง
- ค่าความร้อนสูง (HHV) ประมาณ 5.4 MJ/Nm3 - ปริมาณน�ำ้ มันดิน ค่อนข้างสูง จึงต้องมี การก�ำจัดน�้ำมันดิน ออกก่อนน�ำไปใช้ แต่ มีอนุภาคฝุ่นปะปนอยู่ น้อย
- ค่าความร้อนสูง - เป็นก๊าซสะอาด มีปริมาณน�ำ้ มันดิน และก๊าซมีเทน ปะปนอยู่เพียง เล็กน้อยเท่านั้น
3. ประสิทธิภาพ ของระบบก๊าซ ซิฟิเคชั่นในการ ผลิตก๊าซเชือ้ เพลิง
ประมาณ ร้อยละ 65-75
ประมาณ ร้อยละ 40-60
ใกล้เคียงกับ ประสิทธิภาพของเตา แบบ Downdraft
สูงถึงร้อยละ 80 เนื่องจากมีการน�ำ อนุภาคเชื้อเพลิง กลับมาเผาใหม่
มีประสิทธิภาพ ของระบบผลิต ก๊าซเชื้อเพลิงสูง
4. ขนาดของระบบ
0.02-5 MWth
0.1-20 MWth
10-100 MWth
ใหญ่กว่า 20 MWth
ใหญ่กว่า 20 MWth
5. ศักยภาพในการ ผลิตพลังงานไฟฟ้า
0.1-1 MWe
1-10 MWe
10-20 MWe
2-100 MWe
5-100 MWe
6. ค่าลงทุน/ ด�ำเนินงาน
ต�่ำ
ต�่ำ
สูง
สูง
สูง
7. การควบคุมระบบ
ง่าย
ง่าย
ปานกลาง
ปานกลาง
ยาก
8. การขยายขนาด ของระบบ
มีข้อจ�ำกัด
ง่าย ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน
ง่าย
ง่าย
ง่าย
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
การใช้เทคโนโลยีก๊าซซิฟิเคชั่นก�ำจัดขยะจะแตกต่างจากการใช้เทคโนโลยีเตาเผา เนื่องจากวัตถุประสงค์หลัก ของเทคโนโลยีกา๊ ซซิฟเิ คชัน่ ไม่ใช่การท�ำลายขยะให้สนิ้ ซากไป (Destruction) แต่เป็นการเปลีย่ นรูป (Conversion) ขยะซึง่ อยูใ่ นสภาพเชือ้ เพลิงแข็งให้อยูใ่ นสภาพทีส่ ามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ตอ่ ไป กล่าวคือ ก๊าซเชือ้ เพลิงทีเ่ กิดขึน้ อาจน�ำไปใช้ เป็นเชือ้ เพลิงส�ำหรับการเผาไหม้ในเครือ่ งยนต์สั น ดาปภายใน (Internal Combustion Engine) หรือเครือ่ งยนต์ กังหันก๊าซ (Gas Turbine Engine) หรือใช้เป็นเชื้อเพลิงส�ำหรับการเผาไหม้โดยตรงในเครื่องยนต์ไอน�ำ้ (Burner in Steam Generator) รวมทัง้ การน�ำก๊าซเชือ้ เพลิงไปผ่านกระบวนการเคมีตา่ ง ๆ ทีจ่ ำ� เป็นเพือ่ สังเคราะห์เป็นเชือ้ เพลิงเหลว หรือใช้ในอุตสาหกรรมเคมีตอ่ ไป จุดแข็งและข้อจ�ำกัดของเทคโนโลยีกา๊ ซซิฟเิ คชัน่ ในการก�ำจัดขยะ ดังแสดงในตารางที่ 3
66
ตารางที่ 3 จุดแข็งและข้อจ�ำกัดของเทคโนโลยีก๊าซซิฟิเคชั่นในการก�ำจัดขยะ -
จุดแข็ง
ข้อจ�ำกัด
เป็นเทคโนโลยีที่สะอาด ลดมวลและปริมาตรได้มาก เวลาก�ำจัดสั้น สามารถผลิตพลังงานได้แม้ระบบมีขนาดเล็ก สามารถพัฒนาเทคโนโลยีได้เองในประเทศ
- เงินลงทุนและ O&M สูงส�ำหรับระบบขนาดใหญ่ - เหมาะกับขยะที่มีความชื้นต�่ำและค่าความร้อนสูง
3) การใช้ประโยชน์ ผลที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซิส/ก๊าซซิฟิเคชั่น มีหลายประเภท เช่น ถ่านชาร์ น�้ำมันที่มีสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนและก๊าซเชื้อเพลิง ถ่ า นชาร์ ที่ ไ ด้ จ ากกระบวนการไพโรไลซิ ส ขยะ จะมีคา่ ความร้อนสามารถน�ำไปใช้เป็นเชือ้ เพลิงแข็งส�ำหรับ อุตสาหกรรมถลุงเหล็กและปูนซีเมนต์ น�้ ำ มั น ที่ ไ ด้ จ ากกระบวนการไพโรไลซิ ส ขยะ ซึง่ มีคา่ ความร้อนประมาณ 25 MJ/kg สามารถน�ำมาใช้เป็น น�้ำมันเชื้อเพลิงส�ำหรับกระบวนการเผาไหม้ในเครื่องยนต์ ดี เ ซลรอบต�่ ำ เพื่ อ ผลิ ต พลั ง งานไฟฟ้ า แต่ ทั้ ง นี้ จ ะต้ อ ง มีการก�ำจัดอนุภาคฝุ่นหรือผงชาร์ที่อาจปะปนอยู่ในน�ำ้ มัน ไพโรไลซิสออกก่อนโดยใช้ไซโคลน ห า ก น� ำ น�้ ำ มั น ที่ ไ ด ้ ไ ป ป รั บ ป รุ ง คุ ณ ภ า พ ใ น กระบวนการเคมี จ ะท� ำ ให้ ไ ด้ น�้ ำ มั น ที่ มี คุ ณ ภาพสู ง ขึ้ น อย่างไรก็ตาม การปรับปรุงคุณภาพของน�้ำมันไพโรไลซิส ด้วยกระบวนการที่กล่าวถึงข้างต้น ยังคงอยู่ในช่วงการ ศึกษาวิจัย ไม่มีการใช้ในเชิงพาณิชย์ เนื่องจากยังไม่มี
ความคุ้มค่าในการลงทุน นอกจากนั้น มีความเป็นไปได้ ที่จะผลิตก๊าซไฮโดรเจนจากน�้ำมันไพโรไลซิส เพื่อใช้เป็น แหล่งพลังงานส�ำหรับใช้ในรถยนต์เซลล์เชื้อเพลิง ในกรณี ที่ ใ ช้ อ ากาศเป็ น สารออกซิ ไ ดเซอร์ กระบวนการก๊ า ซซิ ฟ ิ เ คชั่ น จะผลิ ต ก๊ า ซเชื้ อ เพลิ ง ที่ มี ค ่ า ความร้อนประมาณ 4-6 MJ/Nm3 ในกรณี ที่ ใ ช้ อ อกซิ เ จนเป็ น สารออกซิ ไ ดเซอร์ ก๊ า ซเชื้ อ เพลิ ง ที่ ไ ด้ จ ะมี ค ่ า ความร้ อ นเพิ่ ม ขึ้ น สู ง ถึ ง 10-15 MJ/Nm3 หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 3 เท่า ก๊าซเชื้อเพลิงที่ผลิตได้ด้วยเทคโนโลยีไพโรไลซิส/ ก๊ า ซซิ ฟ ิ เ คชั่ น สามารถน� ำ ไปใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ส� ำ หรั บ การเผาไหม้ โ ดยตรงในหม้ อ น�้ ำ กั ง หั น ก๊ า ซ หรื อ ใน เครื่องยนต์สันดาปภายในเพื่อผลิตพลังงานความร้อนและ พลังงานไฟฟ้าได้ ดังแสดงในรูปที่ 14 และประสิทธิภาพ ในการผลิตพลังงานไฟฟ้าโดยใช้เทคโนโลยีก๊าซซิฟิเคชั่น ร่ ว มกั บ ระบบผลิ ต พลั ง งานชนิ ด ต่ า ง ๆ ดั ง แสดงใน ตารางที่ 4
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 14 ระบบผลิตพลังงานด้วยเทคโนโลยีไพโรไลซิส/ก๊าซซิฟิเคชั่น พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
67
ตารางที่ 4 ประสิทธิภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยเทคโนโลยีก๊าซซิฟิเคชั่นร่วมกับระบบผลิตพลังงานต่าง ๆ ปริมาณพลังงานไฟฟ้า (MWe)
ประสิทธิภาพ (ร้อยละ)
เครื่องยนต์ก๊าซ
0.3-30
21
กังหันก๊าซและกังหันไอน�ำ้
5-200
50
0.05-1.5
30
ระบบผลิตพลังงาน
ระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อนร่วม โดยใช้ เครื่องยนต์ดีเซลหรือเครื่องยนต์ก๊าซ
4) ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีก๊าซซิฟิเคชั่นที่ใช้ ในการก�ำจัดขยะเป็นการใช้ความร้อน ในการท�ำให้ขยะแตกสลาย เพือ่ เปลีย่ น เชือ้ เพลิงแข็งให้กลายเป็นก๊าซเชือ้ เพลิง เป็ น การใช้ ค วามร้ อ นเผาคล้ า ยกั บ เทคโนโลยี เ ตาเผา จึ ง มี ผ ลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นคล้ายกับ เทคโนโลยีเตาเผาขยะ ทั้งมลพิษทาง อากาศ มลพิษจากกากของแข็ง และ มลพิษทางน�้ำ 4.1) มลพิษทางอากาศ เทคโนโลยี ก ๊ า ซซิ ฟ ิ เ คชั่ น เกิ ด ขึ้นในสภาวะที่มีปริมาณอากาศหรือ ออกซิเจนเข้าท�ำปฏิกิริยาในปริมาณ น้อยกว่าปริมาณที่จะท�ำให้เกิดการ เผาไหม้ที่สมบูรณ์ นั่นหมายความว่า ปฏิ กิ ริ ย าที่ เ กิ ด ขึ้ น ในกระบวนการ ก๊ า ซซิ ฟ ิ เ คชั่ น เป็ น การเผาไหม้ ไม่ ส มบู ร ณ์ ดั ง นั้ น เทคโนโลยี ก ๊ า ซ ซิ ฟ ิ เ ค ชั่ น จ ะ มี โ อ ก า ส ที่ จ ะ ผลิตสารไดออกซินหรือฟูรานซึ่งเป็น สารอันตราย ในกรณีของเทคโนโลยีเตาเผา ที่เกิดการเผาไหม้สมบูรณ์ที่อุณหภูมิ สูงในเตาเผาจะเกิดสารไดออกซินหรือ ฟูรานขึ้นได้ยากกว่าและในปริมาณที่ จ�ำกัดกว่า
ก๊าซเชื้อเพลิงที่เกิดจากเครื่องปฏิกรณ์และเทคโนโลยีก๊าซซิฟิเคชั่น จะมี ฝุ ่ น ละอองและน�้ ำ มั น ดิ น ปนเปื ้ อ นอยู ่ โ ดยปริ ม าณของสิ่ ง ปนเปื ้ อ น เหล่านี้จะขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องปฏิกรณ์ที่นำ� มาใช้ นอกจากฝุ ่ น ละอองและน�้ ำ มั น ดิ น แล้ ว อาจมี ไ อของโลหะหนั ก แอมโมเนีย ไฮโดรเจนคลอไรด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และ NOx ซึ่งสารปนเปื้อน เหล่านี้เป็นสารที่เป็นอันตรายต่ออุปกรณ์ในระบบอื่น ๆ เช่น น�้ำมันดิบอาจ จับตัวเป็นของแข็งเมือ่ อุณหภูมขิ องก๊าซเชือ้ เพลิงลดลง จนท�ำให้เกิดการอุดตัน ของระบบท่ อ หรื อ ไปเกาะที่ บ ริ เ วณชิ้ น ส่ ว นที่ เ คลื่ อ นที่ ไ ด้ ข องเครื่ อ งยนต์ สารประกอบของคลอไรด์อาจท�ำให้อุปกรณ์ในระบบสึกกร่อน เป็นต้น ดังนั้น จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งในการท�ำความสะอาดก๊าซเชื้อเพลิง ก่อนน�ำไปใช้งานในอุปกรณ์อื่น ๆ ซึ่งเทคโนโลยีที่ใช้ในการบ�ำบัดหรือควบคุม สารมลพิษเหล่านี้ ได้แก่ สครับเบอร์ เครื่องกรองด้วยเส้นใยถัก เครื่องดักด้วย ไฟฟ้าสถิตและไซโคลน เป็นต้น 4.2) มลพิษกากของแข็ง กากของแข็งทีเ่ กิดขึน้ ภายในเครือ่ งปฏิกรณ์ประกอบด้วยสารเชือ้ เพลิง และสารที่เผาไหม้ไม่ได้ สารเชื้อเพลิงที่ได้ คือ ถ่านชาร์ ส�ำหรับโลหะและสารทีเ่ ผาไหม้ไม่ได้ อืน่ ๆ จะถูกคัดแยกเพือ่ น�ำกลับไปใช้ใหม่ ขีเ้ ถ้าเบาทีเ่ กิด ขึน้ ณ อุปกรณ์ควบคุม มลพิษอากาศอาจปนเปื้อนด้ ว ยโลหะหนักและต้องการการบ�ำบัดขั้นสุดท้าย เพื่อป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้น 4.3) มลพิษทางน�้ำ น�้ำจากกระบวนการก๊าซซิฟิเคชั่นเกิดจากน�้ำชะล้างขยะที่เกิดขึ้น ภายในห้องเก็บขยะ น�ำ้ ล้างภาชนะบรรจุขยะและน�ำ้ เสียทีเ่ กิดจากระบบควบคุม มลพิษอากาศ น�้ำเสียที่เป็นมลพิษทางน�้ำเหล่านี้จะถูกบ�ำบัดเบื้องต้นโดย กรรมวิธกี ารกรอง จากนัน้ จะถูกส่งไปยังระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียซึง่ อาจใช้วธิ ที างเคมี หรือชีวภาพให้น�้ำเสียเหล่านั้นกลับสู่สภาพที่ดีก่อนที่จะปล่อยสู่ระบบนิเวศน์ ต่อไป
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
68
5)การเลือกเทคโนโลยีก๊าซซิฟิเคชั่น จากข้ อ มู ล เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ - ไม่ต้องมีระบบเตรียมเชื้อเพลิงที่ยุ่งยากซับซ้อน ในตารางที่ 2 พบว่า เครื่องปฏิกรณ์ - ใช้อากาศเป็นสารออกซิไดเซอร์ได้ แบบ Fixed Bed สามารถใช้ขยะ - ราคาต้นทุนและค่าด�ำเนิน ระบบต�ำ่ ที่มีขนาดใหญ่ คือ ขนาดประมาณ - มีประสิทธิภาพการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงสูง 20-100 มม. ในขณะที่เครื่องปฏิกรณ์ - ก๊าซเชื้อเพลิงที่ได้สะอาดไม่มีน�้ำมันดินและฝุ่นละออง แบบ Fluidized Bed และ Entrained Flow จากเหตุผลดังกล่าวปัจจุ บั น นี้ ผู ้ อ อกแบบระบบจึงมักพิจารณาเลือก ต้ อ งใช้ ข ยะขนาดเล็ ก ท� ำ ให้ ต ้ อ งมี ระบบก๊าซซิฟิเคชั่นแบบไหลลงมาใช้งาน ระบบเตรียมขยะขั้นต้นเพิ่มเติม บทความตอนต่อไปจะกล่าวถึงเทคโนโลยีอื่น ๆ ส�ำหรับก�ำจัดขยะ นอกจากนี้ เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้า ส่วนที่เหลือ แบบ Fixed Bed ยั ง สามารถใช้ อากาศเป็ น สารออกซิ ไ ดเซอร์ ไ ด้ กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ ดร.ประดิษฐ์ เฟื่องฟู ที่ช่วยปรับปรุงให้บทความนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ใ น ข ณ ะ ที่ เ ค รื่ อ ง ป ฏิ ก ร ณ ์ แ บ บ และขอขอบคุณ บริษทั พีอเี อ อินคอม อินเตอร์เนชัน่ แนล ทีส่ นับสนุนข้อมูลและรายละเอียดเกีย่ วกับ Entrained Flow ต้องใช้ออกซิเจน เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากการก�ำจัดขยะ, ผศ.บุญมา ป้านประดิษฐ์ และคณะ รวมทั้ง เป็นสารออกซิไดเซอร์ ซึ่งท�ำให้ต้องมี เทศบาลนครภูเก็ตและศูนย์วิจัยการเผากากของเสีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ระบบผลิตออกซิเจน พระนครเหนือที่อนุเคราะห์องค์ความรู้ข้อมูลต่าง ๆ ระหว่างการศึกษาความเหมาะสมโครงการ จากเหตุ ผ ลดั ง กล่ า วท� ำ ให้ ผลิตไฟฟ้าจากการก�ำจัดขยะ ราคาลงทุนและค่าการด� ำเนินระบบ เอกสารอ้างอิง ของเครื่องปฏิกรณ์แบบ Fixed Bed [1] พีอเี อ เอ็นคอม อินเตอร์เนชัน่ แนล, “ร่างรายงานฉบับสมบูรณ์การศึกษาความเหมาะสม มีราคาต�ำ่ กว่าเครือ่ งปฏิกรณ์แบบอืน่ ๆ โครงการผลิตไฟฟ้าจากการก�ำจัดขยะ”, มีนาคม 2555 รวมทั้ ง สามารถควบคุ ม การท� ำ งาน [2] เทศบาลนครภูเก็ต, “โครงการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดในการ ของระบบได้งา่ ยกว่าเครือ่ งปฏิกรณ์แบบ ลงทุนและด�ำเนินการฝังกลบขยะด้วยกระบวนการชีวภาพ-กลและรื้อบ่อฝังกลบเป็นเชื้อเพลิง อืน่ ๆ ดังนัน้ ปัจจุบนั นีผ้ อู้ อกแบบระบบ เพือ่ ผลิตพลังงานสะอาด” (โดย ศูนย์วจิ ยั การเผากากของเสีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ), มีนาคม 2554 จึงมักพิจารณาเลือกเครื่องปฏิกรณ์ แบบ Fixed Bed มาใช้งาน นอกจากนั้ น เมื่ อ พิ จ ารณา ประวัติผู้เขียน นายธงชัย มีนวล ถึ ง คุ ณ ภาพของก๊ า ซเชื้ อ เพลิ ง ที่ ไ ด้ ท�ำงานให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ประมาณ 21 ปี ตั้งแต่ จากระบบพบว่ า ก๊ า ซเชื้ อ เพลิ ง พ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบัน งานหลักที่รับผิดชอบในปัจจุบัน เกีย่ วกับการพัฒนาบุคลากรของ กฟภ. ให้มคี วามรู้ ความสามารถ ที่ผลิตจากเครื่องปฏิกรณ์แบบไหลลง และทักษะในด้านวิศวกรรม เทคนิค เทคโนโลยีระบบไฟฟ้า, มี ป ริ ม าณน�้ ำ มั น ดิ น และฝุ ่ น ละออง การพัฒนาระบบผลิตไฟฟ้าจากขยะชุมชน และการพัฒนา น้อยกว่าเครื่องปฏิกรณ์แบบไหลขึ้น โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ อย่ า งเห็ น ได้ ชั ด ท� ำ ให้ ร ะบบบ� ำ บั ด ก๊าซเชือ้ เพลิงไม่ยงุ่ ยากซับซ้อนมากนัก อี ก ทั้ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของระบบยั ง สู ง กว่ า เครื่ อ งปฏิ ก รณ์ แ บบไหลขึ้ น คื อ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ถึ ง ร้ อ ยละ 65-75 ซึ่งจุดแข็งที่ส�ำคัญของระบบ ก๊าซซิฟเิ คชัน่ แบบไหลลงสามารถสรุป ได้ดังนี้
ร า ส า ้ ฟ ไฟ พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
69
Technology & Innovation เทคโนโลยีและนวัตกรรม รศ.ดร.ส�ำรวย สังข์สะอาด เมธีวิจัยอาวุโส สกว.
ข้อคิดมือใหม่
อยากท�ำวิจัยเริ่มต้นอย่างไร
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
บทคัดย่อ
การท�ำวิจัยเป็นวิธีทางหนึ่งที่จะท�ำให้เข้าใจปัญหาและน�ำไปสู่การแก้ปัญหาที่ประสบอยู่ได้ ในสถาบันการศึกษา นิสิต นักศึกษาควรจะได้รับการปลูกฝังให้รู้จักการท�ำวิจัย ให้รู้จักค้นคว้าหาค�ำตอบอย่างมีระบบ วิเคราะห์ด้วยเหตุ และผล บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อให้ข้อคิดส�ำหรับผู้ที่คิดอยากท�ำวิจัย แต่ไม่ทราบว่าจะเริ่มต้นและด�ำเนินการอย่างไร ให้คำ� แนะน�ำการเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนการวิจัย กลยุทธ์การท�ำวิจัยให้ส�ำเร็จอย่างมีคุณค่า ให้ตัวอย่าง โครงการวิจยั เป็นกรณีศกึ ษา เริม่ ต้นจากปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จริง เป็นการศึกษาวิจยั ทีม่ ผี ลงานประสบผลส�ำเร็จ ทีม่ ปี ระโยชน์ ต่อการพัฒนาวิชาการและเทคโนโลยี ต่อภาคอุตสาหกรรม และมีคุณค่าต่อเศรษฐกิจและสังคมชาติโดยรวม
1. บทน�ำ
การศึ ก ษาดี ที่ มุ ่ ง หวั ง สร้ า งบุ ค ลากรที่ มี คุ ณ ภาพ เพื่ อ เป็ น พลั ง ในการพั ฒ นาประเทศชาติ ใ นอนาคต ควรปลู ก ฝั ง สอนให้ นั ก เรี ย นรู ้ จั ก คิ ด ด้ ว ยเหตุ แ ละผล หรือวิเคราะห์ปัญหาด้วยความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์ หาวิธี แก้ปัญหาอย่างมีระบบ คิดและท�ำอย่างมีขั้นตอน เริ่มต้น ตั้ ง แต่ เ ด็ ก เป็ น การวางแผนที่ น� ำ ไปสู ่ ก ารพั ฒ นาด้ า น การท�ำวิจัย โดยทั่วไปเรามักมีความรู้สึกว่าการวิจัยเป็น สิ่งที่ยุ่งยากจึงไม่อยากแตะต้อง แน่ล่ะค�ำว่าวิจัยของแต่ละ สาขามีความหมายแตกต่างกัน แม้แต่ในสาขาเดียวกัน ยังมีความเข้าใจนิยามที่ต่างกัน ว่าอย่างไรจึงเรียกว่าวิจัย ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 [1] วิ จั ย หมายถึ ง การค้ น คว้ า เพื่ อ หาข้ อ มู ล อย่ า งถี่ ถ ้ ว น ตามหลั ก วิ ช าการและงานวิ จั ย คื อ สิ่ ง หรื อ กิ จ การที่ มี นักวิจัยเป็นผู้ด�ำเนินการ การวิจัยในที่นี้จะเป็นงานวิจัย สาขาวิศวกรรมศาสตร์
70
อย่างไรก็ดีโดยหลักการงานวิจัยอาจแบ่งตามความ มุ่งหมายของผลงานวิจัยที่ได้เป็น 2 ประเภท [2] คือ หนึ่ง การวิจัยแบบพื้นฐาน (Basic research) เป็นการวิจัย ในแบบที่ค้นหาองค์ความรู้ใหม่ด้วยการค้นพบข้อเท็จจริง จากธรรมชาติ โดยมิได้คิดถึงเรื่องการใช้ประโยชน์ของ องค์ความรู้นั้น และสองการวิจัยแบบประยุกต์เพื่อพัฒนา (Applied research for development) เป็นการวิจยั เพือ่ ให้ เกิดการพัฒนาทีเ่ ป็นประโยชน์ในเชิงอุตสาหกรรม เชิงพาณิชย์ เชิงสาธารณะ โดยใช้ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยพื้นฐาน เพื่อให้เข้าใจได้ชัดเจนขึ้น อย่างไรเรียกว่างานวิจัย แบบพื้นฐาน และอย่างไรเรียกว่าวิจัยเชิงประยุกต์เพื่อ พัฒนา จึงขอยกตัวอย่างทีเ่ กิดขึน้ จริงในโลกนีเ้ รือ่ งหนึง่ คือ ก๊าซ SF6 (Sulphur hexafluoride) ซึง่ ค้นพบโดย Moissan and Lebeau ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1900 ว่าเป็นก๊าซที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่เป็นพิษ ไม่ติดไฟ ไม่ช่วยให้ไฟติด [3]
หลังจากนั้นก็มีผู้ท�ำการค้นคว้าวิจัยต่อถึงคุณสมบัติทาง ความร้อน ทางเคมี ทางฟิสกิ ส์ ทางไฟฟ้า พบว่าเป็นก๊าซที่ มีความคงทนต่อแรงดันไฟฟ้าได้สงู ซึง่ จัดเป็นงานวิจยั แบบ พื้นฐาน และเพิ่งมีการประยุกต์ใช้เป็นฉนวนในหม้อแปลง ทดสอบแรงสูง 138 kV เมื่อปี ค.ศ. 1952 ใช้เป็นฉนวน ในเซอร์กิตเบรกเกอร์ครั้งแรก 115 kV 1000 MVA เมื่อ ปี ค.ศ. 1965 [4] การวิจัยใช้องค์ความรู้ของก๊าซ SF6 เช่นนี้จัดเป็นงานวิจัยประยุกต์พัฒนา
2. การเริ่มต้นด�ำเนินการวิจัย การเริ่มต้นส�ำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่ ควรมีพี่เลี้ยง (Mentor) หรือนักวิจัยรุ่นพี่เป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำ ความคิดเห็น และเป็นที่ปรึกษา จะช่วยให้การวิจัยเริ่มต้นได้ง่ายขึ้น
ภาคเหนือกับภาคใต้ก็ไม่เหมือนกัน ผู้เขียนตั้งใจจะศึกษา วิจัยรวบรวมข้อมูลปรากฏการณ์ฟ้าผ่าของประเทศไทยที่ เป็นระบบเชิงวิทยาศาสตร์ จึงได้เสนอโครงการวิจัยขอรับ เงินทุนสนับสนุนจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในโครงการเมธีวจิ ยั อาวุโส สกว. (โครงการสร้างนัก วิจยั รุน่ ใหม่) โดยใช้เครือ่ งนับฟ้าผ่าทีพ่ ฒ ั นาออกแบบสร้าง ขึ้นเอง (นักวิจัยรุ่นใหม่ คุณณรงค์ ทองฉิม และคณะ) [7] ข้ อ มู ล คุ ณ ลั ก ษณะฟ้ า ผ่ า ที่ เ ครื่ อ งนั บ ฟ้ า ผ่ า นี้ บั น ทึ ก ได้ คือ ฟ้าผ่าแต่ละวาบ (Flash) มีล�ำฟ้าผ่ากี่ล�ำ (Stroke) ที่เรียกว่าฟ้าผ่าซ�้ำ (Multi strokes) บันทึกเวลาระหว่าง ล�ำละเอียดเป็นมิลลิวินาที (msec) วันเวลาที่เกิดฟ้าผ่าใน รอบ 24 ชั่วโมง ก็จะทราบได้ว่ามีฟ้าผ่ากี่ครั้ง ตรวจจับ ได้ในวงรัศมีโดยประมาณ 25 กิโลเมตร สามารถระบุได้ ว่าแต่ละครั้งเป็นฟ้าผ่าบวกหรือฟ้าผ่าลบ แต่ละขั้วมีฟ้าผ่า ซ�้ ำ กี่ ค รั้ ง ในรอบหนึ่ ง ปี ก็ จ ะทราบได้ ว ่ า มี ฟ ้ า ผ่ า กี่ วั น รวมฟ้าผ่ากีค่ รัง้ ในรอบปีได้ จ�ำนวนวันทีเ่ กิดฟ้าผ่าฟ้าคะนอง ในรอบปีเรียกว่า Thunderstorm day (Td) เมื่อเก็บข้อมูล Td ของแต่ละท้องถิ่นได้เป็นเวลาหลายปี อย่างน้อย 10 ปี ก็ ส ามารถท� ำ แผนที่ ฟ ้ า คะนองต่ อ ปี ข องท้ อ งถิ่ น นั้ น ได้ การศึกษาวิจัยบันทึกข้อมูลจากธรรมชาติเช่นนี้จัดเป็น การวิจัยแบบพื้นฐาน ส่ ว นงานวิ จั ย เชิ ง ประยุ ก ต์ พั ฒ นา เป็ น การน� ำ ความรูพ้ นื้ ฐานทีม่ อี ยูม่ าพัฒนาให้เกิดประโยชน์ อาจท�ำได้ 2 วิ ธี คื อ วิ ธี ห นึ่ ง ใช้ ท ฤษฎี เ ป็ น ตั ว น� ำ เรื่ อ ง แล้ ว ท� ำ การศึกษาทดลองตามทฤษฎีเพื่อหาผลลัพธ์หรือค�ำตอบ ส่วนอีกวิธีหนึ่งใช้ปัญหาที่มีอยู่เป็นตัวน� ำเรื่อง แล้วท�ำ การศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ว ่ า ท� ำ ไมจึ ง เป็ น เช่ น นั้ น ใช้ ท ฤษฎี วิเคราะห์หาสาเหตุ หาข้อเท็จจริงเพื่อให้เข้าใจถึงกลไก การเกิดปัญหานั้น ดังเช่นตัวอย่างเรื่องของกรงฟาราเดย์ (Faradays cage) ที่ จั ด เป็ น องค์ ค วามรู ้ พื้ น ฐานหรื อ ทฤษฎีว่า ภายในโลหะทรงกลวงใด ๆ จะไม่มีสนามไฟฟ้า ซึ่ ง ค้ น พบและพิ สู จ น์ ค วามจริ ง โดยไมเคิ ล ฟาราเดย์ นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ ถ้าใช้ความจริงหรือทฤษฎีเป็น ตัวน�ำเรื่อง ในเรื่องนี้ผู้เขียนท�ำการทดลองสร้างสนาม ไฟฟ้าขึน้ โดยป้อนแรงดันสูงเข้าไปทีส่ ายตัวน�ำขึงในอากาศ ยึดปลายทั้งสองของตัวน�ำด้วยลูกถ้วยฉนวน ผู้เขียนอยู่ใน กรงฟาราเดย์ทรงกลมที่ทำ� ด้วยตาแกรงเหล็กยืด ห้อยอยู่ ด้วยลูกถ้วยฉนวนที่คงทนต่อแรงดันทดลองได้ ดังรูปที่ 1
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 2.1 การเลือกเรื่องโครงการวิจัย กรณีเพิ่งเริ่มท�ำวิจัยเป็นโครงการครั้งแรกอาจจะ เริม่ ต้นโครงการเล็ก ๆ ก่อน เพือ่ เรียนรูแ้ ละหาประสบการณ์ การหาหัวข้อหรือโครงการวิจัย ก่อนอื่นควรทราบก่อน ว่า ต้องการท�ำงานวิจัยประเภทไหน ซึ่งหมายถึงเป็นงาน วิจัยแบบพื้นฐาน เพื่อค้นหาองค์ความรู้ใหม่ ซึ่งอาจท�ำได้ โดยการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ รวบรวมเก็บข้อมูล อย่างเป็นระบบ เป็นวิทยาศาสตร์ ดังเช่นทีผ่ เู้ ขียนก�ำลังท�ำ วิจัยอยู่ขณะนี้โครงการหนึ่งคือเรื่อง “การศึกษาและวิจัย ปรากฏการณ์ฟา้ ผ่าในประเทศไทย” จริงอยูเ่ รือ่ งฟ้าผ่ามิใช่ เรือ่ งใหม่ มนุษย์ได้รจู้ กั ฟ้าผ่าในเชิงวิทยาศาสตร์มาตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1752 โดยเบนจามิน แฟรงคลิน (Benjamin Franklin) กับลูกชายได้ทดลองและพิสจู น์ให้เห็นว่า ฟ้าผ่าก็คอื สปาร์ก ไฟฟ้า (Lightning is electric spark) [5] เป็นการค้นพบ โดยการทดลองปล่อยว่าวขึ้นไปบนท้องฟ้า เรียกว่าเป็น การวิจัยพื้นฐาน ค้นพบองค์ความรู้ใหม่ ต่อมาก็ได้มี การศึกษาวิจัยรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับฟ้าผ่าอีกมากมาย หนึ่งในนั้นคือ Prof. Dr. Karl Berger จาก Swiss Federal Institute of Technology, Zurich, Switzerland [6] ซึ่ง เป็นผู้ที่ได้ศึกษาวิจัยรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปรากฏการณ์ ฟ้าผ่าไว้มากมาย และได้มกี ารอ้างอิงน�ำมาใช้ประโยชน์กนั อย่างกว้างขวางจนถึงทุกวันนี้ ในประเทศไทยเองก็ ยั ง ต้ อ งใช้ ข ้ อ มู ล เหล่ า นี้ แต่ คุ ณ ลั ก ษณะของปรากฏการณ์ ฟ ้ า ผ่ า ขึ้นอยู่กับพื้นที่ เชิงภูมิศาสตร์ ดังเช่นในประเทศไทย ข้อมูลฟ้าผ่าใน
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
71
รูปที่ 1 กรงฟาราเดย์ต่อกับสายแรงสูง 400 kV 50 Hz พิสูจน์ให้เห็นว่าภายในกรงตาข่ายไม่มีสนามไฟฟ้า (Photo by B. Staub, H.V. Lab จุฬาลงกรณ์ฯ 2510) [8]
รูปที่ 2 แสดงฟ้าผ่าลงรถยนต์ (H.V. Lab จุฬาลงกรณ์ฯ 2510)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
เมื่อกรงฟาราเดย์ทรงกลมเข้าไปใกล้สายตัวน�ำ แรงสู ง จะเกิ ด สปาร์ ก เป็ น กระแสประจุ ร ะหว่ า งกรง ฟาราเดย์ทรงกลมกับสายตัวน�ำแรงสูง เมื่อต่อถึงกันด้วย ตัวน�ำท�ำให้ศกั ย์ไฟฟ้าเท่ากัน แล้วสปาร์กก็หายไป จึงยืน่ มือ ไปจับสายแรงสูงนั้นได้ แขนที่ยื่นออกไปนอกทรงกลม ฟาราเดย์จะพบว่าขนตามแขนจะตั้งชันตามแนวสนาม ไฟฟ้า ส่วนร่างกายที่อยู่ในกรงฟาราเดย์ทรงกลมนั้นจะ ไม่รู้สึกว่ามีสนามไฟฟ้าใด ๆ การทดลองลักษณะนี้ถือว่า เป็นการพิสูจน์ทฤษฎี ถ้าน�ำความรู้นี้ไปใช้ประโยชน์ เช่น ศึกษาพัฒนาการก�ำบัง (Shielding) เพื่อป้องกันสนาม แม่เหล็กไฟฟ้ารบกวนแก่อปุ กรณ์ทไี่ วต่อการรบกวน ได้แก่ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ จัดเป็นการวิจยั เชิงประยุกต์พฒ ั นา ในเรื่ อ งเดี ย วกั น นี้ ถ ้ า จะตั้ ง ปั ญ หาขึ้ น ก่ อ น คื อ ถามว่าท�ำไมฟ้าผ่าลงรถยนต์ตัวถังโลหะ ผู้อยู่ในรถนั้นจึง ไม่เกิดอันตราย ก็สามารถวิเคราะห์อธิบายได้วา่ เนือ่ งจาก ตั ว ถั ง รถเป็ น โลหะ มี ลั ก ษณะกรงฟาราเดย์ ซึ่ ง ไม่ มี สนามไฟฟ้าภายในจึงปลอดภัย ดังรูปที่ 2 ซึ่งอาจพิสูจน์ โดยการหาความลึกของกระแสทีไ่ หลลึกเข้าไปในเนือ้ โลหะ กรงฟาราเดย์ได้จากสูตร [8]
ผูอ้ ยูใ่ นรถนัน้ จะปลอดภัย เพราะตัวถังรถเป็นโลหะ มีลักษณะเป็นกรงฟาราเดย์ เรื่องนี้เคยน�ำเสนอไว้หลายที่ ล่าสุดได้บนั ทึกไว้ในจดหมายข่าว วสท.ฉบับที่ 7 กรกฎาคม 2552 [9]
2.2 การเสนอโครงการวิจัยต่อแหล่งทุนวิจัย เมื่อทราบแน่แล้วว่างานวิจัยที่ตั้งใจจะท�ำนั้นเป็น งานวิจัยแบบพื้นฐาน หรืองานวิจัยเชิงประยุกต์พัฒนา และเลือกหัวข้อเรื่องโครงการวิจัยได้แล้ว ต่อไปก็นำ� เสนอ โครงการวิจัยต่อหน่วยงานต้นสังกัดเพื่อขออนุมัติหรือ น�ำเสนอต่อหน่วยงานทีใ่ ห้ทนุ สนับสนุนการวิจยั การท�ำวิจยั ต้องใช้ทุน ความจริงมีแหล่งทุนอยู่มากมายที่จะสนับสนุน ให้ท�ำวิจัย จะเขียนโครงการวิจัยอย่างไรเพื่อให้ได้รับทุน ฉะนั้นเพื่อเป็นแนวทางแก่นักวิจัยหน้าใหม่ในการน�ำเสนอ โครงการวิจยั ต่อหน่วยงานทีใ่ ห้ทนุ สนับสนุนการวิจยั จึงขอ เสนอข้อคิดการเขียนโครงการ โดยอาศัยรูปแบบการเสนอ โครงการของส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีทุนสนับสนุนการวิจัยมากหลาย ผู้เสนอขอทุนต้องให้ข้อมูลตามล�ำดับดังนี้ [10] 1) โจทย์วิจัย และวัตถุประสงค์ ต้องให้ความส�ำคัญที่มาของปัญหาการวิจัย ซึ่งเป็น δ โจทย์วจิ ยั ว่าจะท�ำอะไร ระบุสงิ่ ทีจ่ ะท�ำให้ชดั เจน ท�ำไปท�ำไม เมื่อ δ คือ ความลึกที่กระแสเข้าเนื้อผิวโลหะ มีเหตุหรือปัญหาส�ำคัญที่ต้องแก้ไขมีอยู่จริงที่น�ำมาอ้างอิง f คือ ความถี่ ได้ (มิใช่จินตนาการเอาเอง) อันเป็นแรงจูงใจให้ทำ� เรื่องนี้ σ คือ สภาพน�ำไฟฟ้า วั ต ถุ ป ระสงค์ ค วรชั ด เจนเป็ น รู ป ธรรม เพื่ อ ให้ µ คือ เปอร์มีบิลลิตี้ ถ้าคิดจากกระแสฟ้าผ่า f ≈ 10 kHz จะได้ δ = 55 μm: ผู้ประเมินผลงานพิจารณาตัดสินได้ เมื่อท�ำส�ำเร็จแล้วจะ เกิดประโยชน์ต่อสังคมอย่างไร ขอให้เสนอโครงการวิจัย
72
ที่ดี มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ มีคุณค่า มองเห็นประโยชน์ และมีความเป็นไปได้สูง 2) ความคิดริเริ่ม และความพร้อม ต้ อ งแสดงให้ เ ห็ น ว่ า โครงการมี แ นวคิ ด ริ เ ริ่ ม ที่ ก้าวหน้าหรือไม่อย่างไร มีความส�ำคัญและความหมาย ต่อประเทศไทยในอนาคตหรือไม่อย่างไร ผูเ้ สนอโครงการควรศึกษาเรือ่ งนัน้ ให้ถอ่ งแท้ชดั เจน ก่อนทีจ่ ะเสนอโครงการ นัน่ คือในโครงการทีเ่ สนอนอกจาก มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบข่ายการวิจัยแล้ว ต้องเสนอหลักการหรือทฤษฎีของเรือ่ งนัน้ เป็นอย่างไร มีวธิ ี ด�ำเนินการอย่างไรให้ชัดเจนระดับหนึ่ง เพื่อให้ผู้ประเมิน โครงการพิจารณาได้ มิใช่จะเริ่มศึกษาหลังจากได้รับทุน แล้ว ต้องแสดงให้เห็นว่า ผู้ขอทุนวิจัยได้ศึกษาเรื่องนั้น เข้าใจแล้วว่าจะท�ำอย่างไร พร้อมจะเริม่ ท�ำงานวิจยั ได้ทนั ที ที่ได้รับอนุมัติทุนสนับสนุนโครงการ 3) คุ ณ ค่ า ทางวิ ช าการ ตรงความต้ อ งการของ ประเทศ น�ำไปสู่การค้นพบความรู้ใหม่หรือทฤษฎีใหม่ หรือไม่อย่างไร มีผลกระทบต่อความก้าวหน้าในสาขานั้น หรือน�ำ ไปใช้เสริมขีดความสามารถในการพัฒนาประเทศหรือไม่ อย่างไร 4) การสืบค้นผลงานวิจัย และหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อไม่ให้เกิดความซ�้ำซ้อนและโครงการที่เสนอมี คุณภาพ ต้องแสดงการสืบค้นผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องอย่าง กว้างขวาง และต้องชีป้ ระเด็นให้ได้วา่ ผลงานทีส่ บื ค้นนัน้ ได้ ท�ำอะไร ผลเป็นอย่างไร เกีย่ วข้องกับผลงานทีเ่ สนออย่างไร ยังขาดประเด็นใด หรือยังไม่สมบูรณ์ จึงท�ำให้เกิดเป็นโจทย์ วิ จั ย นี้ ซึ่ ง ถื อ เป็ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ ในการน� ำ เสนอโครงการ และแนวคิดการวิจัย ควรสืบค้นว่าเรื่องที่ท�ำเป็นเรื่องใหม่ หรือไม่ ท�ำการส�ำรวจว่ามีการพัฒนามามากน้อยเพียงใด การสื บ ค้ น ได้ ข ้ อ มู ล มากและกว้ า งขวางจะช่ ว ยให้ เ กิ ด แนวคิ ด ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การด� ำ เนิ น การวิ จั ย ท� ำ ให้ โครงการวิจัยประสบผลส�ำเร็จได้ด้วยดี 5) ระเบียบวิธีวิจัย ควรเสนอให้กระชับและชัดเจน แจกแจงเป็นข้อ ๆ ตามล�ำดับ และต่อเนื่องกัน ผู้เสนอโครงการวิจัยควรส�ำรวจเรื่องนั้นมีอยู่แล้ว หรือไม่ หากมีการท�ำหรือใช้งานอยู่แล้วควรน�ำมาอ้างอิง โดยระบุขนาด อยู่ที่ไหน มีอะไรที่ต้องแก้ไข
6) ปริ ม าณงาน แผนการด� ำ เนิ น งาน และ งบประมาณ ควรเสนอปริมาณงานที่ทำ� ระบุขอบเขตการวิจัยให้ กระชับ ต้องระบุแผนการด�ำเนินงานอย่างชัดเจนในแต่ละ ช่วงเวลาจะท�ำอะไร มีกิจกรรมอะไรบ้าง แผนการด�ำเนิน งานกับงบประมาณต้องสอดคล้องกัน มีความเหมาะสม ของเนื้องานกับระยะเวลาที่เสนอ งบประมาณต้องชัดเจน เสนอด้วยความซื่อสัตย์ อยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง ผู้ให้ทุนยินดีจะให้ทุน สนับสนุน แต่จะให้แก่โครงการที่มีคุณค่าและมีประโยชน์ คุ้มค่า 7) ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ ควรแสดงรายละเอียดว่าท�ำอะไร จะต้องใช้อปุ กรณ์ อะไร พยายามใช้อุปกรณ์ที่มีอยู่ ขอเสนอเพิ่มเท่าที่จำ� เป็น ผู้เสนอโครงการวิจัยควรใช้ทุนให้เกิดประโยชน์สูงสุด 8) การเผยแพร่ผลงาน ผลงานวิจยั ต้องมีคณ ุ ค่าทีส่ ามารถน�ำเสนอเผยแพร่ ได้ในทีป่ ระชุมวิชาการทัง้ ระดับชาติและนานาชาติ หรือตีพมิ พ์ ในวารสารที่มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับในหมู่นักวิชาการ 9) นักวิจัยต้องมีจรรยาบรรณ การสืบค้นน�ำผลงานผู้อื่นมาอ้างอิงต้องระบุว่ามา จากไหน ซึ่งเป็นการให้เกียรติเจ้าของผลงาน สมการหรือ สูตรใด ๆ ที่มิได้พิสูจน์ทราบ (Derive) หรือวิเคราะห์ ได้ เ อง จะต้ อ งระบุ อ ้ า งอิ ง ที่ ม าของข้ อ ความนั้ น ด้ ว ย ความซื่อสัตย์สุจริตใจ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 3. เกณฑ์ตัดสินผลการวิจัย
การพิจารณาว่างานวิจัยประสบผลส� ำเร็จหรือไม่ อาจท�ำได้โดย 1) ใช้มาตรฐานเป็นเกณฑ์ตัดสิน โดยการทดสอบ ตามมาตรฐานว่าเป็นไปตามที่มาตรฐานก�ำหนดหรือไม่ 2) การประเมินผลการวิจัย จะพิจารณาว่าผลงาน ได้ บ รรลุ ผ ลตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ผู ้ ท� ำ วิ จั ย ได้ เ สนอไว้ ใ น โครงการหรือไม่ 3) ขั้นสุดท้ายการพิจารณาผลงานสมบูรณ์ ก็คือ ต้องมีการใช้งานได้จริง เพราะว่าการออกแบบมีสิ่งที่ไม่ ทราบแฝงอยู่ จึงต้องพิสูจน์โดยการใช้งานจริง หากเสร็จ ที่ไม่สมบูรณ์ เวลาใช้งานจริงก็จะแสดงผลผิดพร่องให้เห็น หรือท�ำงานไม่ได้ตามที่ออกแบบไว้ พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
73
4. กรณีศึกษาตัวอย่างโครงการวิจัย เพื่ อ ให้ นั ก วิ จั ย มื อ ใหม่ ริ เ ริ่ ม ได้ เ ห็ น ตั ว อย่ า งหรื อ แนวคิ ด โครงการวิ จั ย ผู ้ เ ขี ย นขอน� ำ เสนอผลงานจาก ประสบการณ์ที่ท�ำวิจัยเอง และที่ร่วมโครงการในฐานะ หัวหน้าโครงการให้เป็นกรณีศกึ ษาตัวอย่าง 2 เรือ่ ง ทีเ่ ริม่ ต้น จากปัญหา โดยทีผ่ เู้ ขียนไม่มคี วามรูเ้ รือ่ งนัน้ มาก่อน กล่าว ได้ว่าเริ่มต้นที่ศูนย์ ต้องค้นคว้าหาข้อมูลอย่างกว้างขวาง และผลงานจบลงที่แก้ปัญหาได้ส�ำเร็จสมบูรณ์ 4.1 โครงการวิจัย 1 “การพัฒนาออกแบบลูกถ้วยแขวน คอตันพอร์ซเลนเพือ่ แก้ปญ ั หาการเจาะทะลุในระบบ ส่งจ่ายไฟฟ้าแรงสูง” [11] เรือ่ งนีเ้ ป็นโครงการต่อเนือ่ งหลายโครงการ เริม่ ต้น ปี 2537 เสร็จในปี 2547 มีขั้นตอนโดยย่อ คือ 1) เริ่มต้นที่ปัญหาจากการไฟฟ้าว่า “ท�ำไมลูกถ้วย ฉนวนที่ติดตั้งใช้งานในระบบไฟฟ้าแรงสูงได้ระยะหนึ่งจึง เกิดแตกหรือเจาะทะลุ เกิดขึ้นได้อย่างไร (2535) ดังรูป ที่ 3 a) และจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร”
4) ศึกษาเครื่องก�ำเนิดแรงดันอิมพัลส์หน้าคลื่นชัน (SFI = Steep Front Impulse voltage) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ หลักส�ำคัญ แต่ SFI เป็นเรื่องใหม่ส�ำหรับประเทศไทย (2537) ต้องค้นคว้าหาข้อมูลอย่างกว้างขวางจากเอกสาร และบทความต่างประเทศ ผลการศึกษาทราบว่า การสร้างแรงดันอิมพัลส์ หน้าคลื่นชันนั้น ได้จากการตัดรูปคลื่นอิมพัลส์มาตรฐาน 1.2/50 µs ด้วยสปาร์กแกป SG [16] 5) เริ่มออกแบบสร้างเครื่องก�ำเนิดแรงดันอิมพัลส์ มาตรฐาน ขนาด 1000 kV 30 kJ ก่อน สร้างเสร็จในปี 2538 ซึ่งต่อมาเพิ่มเป็น 1200 kV 36 kJ [17] 6) การพั ฒ นาออกแบบสร้ า งชุ ด เครื่ อ งก� ำ เนิ ด แรงดันอิมพัลส์หน้าคลื่นชัน โดยใช้เครื่องก�ำเนิดแรงดัน อิมพัลส์มาตรฐาน ขนาด 1200 kV 36 kJ เป็นตัวจ่าย ใช้ ส ปาร์ ก แกปทรงกลม SG ติ ด ตั้ ง ในถั ง ก๊ า ซ N 2 อัดความดันที่ปรับความดันได้ [18] สร้างความชันของ หน้าคลื่นที่ปรับได้สูงถึง 10000 kV/µs 7) ท�ำการศึกษาผลของแรงดันอิมพัลส์หน้าคลืน่ ชัน ต่อการเจาะทะลุลูกถ้วยฉนวน ดังรูปที่ 3 b) ท�ำให้เข้าใจ กลไกการเจาะทะลุของลูกถ้วย [19] 8) การแก้ ป ั ญ หาการเจาะทะลุ ลู ก ถ้ ว ยฉนวน โดยการเพิ่ ม ความหนาเนื้ อ ฉนวนระหว่ า งอิ เ ล็ ก โตรด เป็นลูกถ้วยแขวนคอตัน ใช้เวลาในการศึกษาวิจัยอย่าง ต่อเนื่องอยู่หลายปี ในที่สุดก็พัฒนาออกแบบสร้างลูกถ้วย แขวนคอตันชัน้ เดียวได้สำ� เร็จ ซึง่ ทนต่อแรงดันอิมพัลส์หน้า คลื่นชันที่มีความชันหน้าคลื่นสูงถึง 7500 kV/µs คือสูง ถึง 3 เท่าของค่าที่มาตรฐานก�ำหนด และสามารถใช้แทน ลูกถ้วยแขวนธรรมดาที่ต่อเป็นพวงได้ ดังรูปที่ 4 [11, 20]
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
a)
b)
รูปที่ 3 ลูกถ้วยแขวนแตกทะลุ a) จากแรงดันเสิร์จตามธรรมชาติ b) ด้วยแรงดันอิมพัลส์หน้าคลื่นชัน [11]
2) ท� ำ การวิ เ คราะห์ ห าสาเหตุ ข องการเจาะทะลุ ของลูกถ้วยฉนวน เพื่อศึกษาหาวิธีที่แก้ปัญหาได้ถูกต้อง โดยใช้ลักษณะเส้นกราฟ แรงดัน–เวลา ของลูกถ้วยฉนวน ผ่ า นเนื้ อ ฉนวน หรื อ อากาศรอบลู ก ถ้ ว ยฉนวน และ ความชันหน้าคลื่นแรงดันอิมพัลส์ [12] 3) ศึกษาข้อก�ำหนดของมาตรฐานต่าง ๆ เกี่ยวกับ เรื่องแรงดันอิมพัลส์หน้าคลื่นชัน [13, 14, 15]
รูปที่ 4 ลูกถ้วยแขวนคอตันชั้นเดียว 2 ลูกต่อกัน
74
9) ผลงานวิ จั ย นี้ มี คุ ณ ค่ า และมี ป ระโยชน์ ยิ่ ง ต่ อ ขดลวดเฮล์มโฮลทซ์ เพือ่ ศึกษาการรบกวนจากสนามแม่เหล็ก ประเทศชาติและสังคม เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีและ H ดังรูปที่ 5 แสดงหน้าจอคอมพิวเตอร์ถูกรบกวน บุคลากร ทีส่ ำ� คัญช่วยให้สามารถท�ำการทดสอบความคงทน ต่อการเจาะทะลุดว้ ยแรงดันอิมพัลส์หน้าคลืน่ ชันในอากาศ ของลูกถ้วยฉนวนประเภท B ได้ภายในประเทศ ช่วยให้ โรงงานอุตสาหกรรมผลิตลูกถ้วยฉนวนที่มีคุณภาพ ท�ำให้ ระบบไฟฟ้ามีเสถียรภาพและความเชื่อถือได้สูง เป็นผลดี ต่อเศรษฐกิจโดยรวม 4.2 โครงการวิจัย 2 “การรบกวนจากสนามแม่เหล็กบน จอคอมพิวเตอร์และการป้องกันด้วยกล่องชีลด์” โครงการวิจัยมีขั้นตอนโดยย่อดังนี้ 1) ที่มาของปัญหา วันหนึ่งผู้เขียนได้รับค�ำถาม จากนายช่างผู้ปฏิบัติงานที่ห้องบังคับการในสถานีไฟฟ้า ย่อยหนองจอก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ ว่าท�ำไมตัวเลข ตัวอักษรบนจอคอมพิวเตอร์จึงสั่นไหว ท�ำให้อ่านได้ยาก มีผลเสียต่อการด�ำเนินงานและมีผลกระทบต่อสายตาใน ระยะยาวอีกด้วย ตอนนั้นผู้เขียนไม่ทราบจึงตอบไม่ได้ แต่ค�ำถามน่าสนใจ เป็นปัญหาท้าทายให้น่าศึกษาวิจัย คิดว่าน่าจะเป็นเรือ่ งการรบกวนจากสิง่ แวดล้อม เมือ่ ส�ำรวจ พบว่า ด้านข้างอาคารที่มีคอมพิวเตอร์ในห้องบังคับการ (อยู่ชั้นสอง) นั้นมีสายส่งแรงสูงระบบ 230 kV ขึงอยู่ จึง คิดว่าน่าจะเกิดจากสนามไฟฟ้า E หรือสนามแม่เหล็ก H ที่ก�ำเนิดจากสายส่งแรงสูงนี้ 2) การศึกษาการรบกวนของ E หรือ B เบื้ อ งต้ น ท� ำ การศึ ก ษาถึ ง ผลของสนามไฟฟ้ า ต่ อ จอคอมพิ ว เตอร์ ภ ายในห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารไฟฟ้ า แรงสู ง จุฬาลงกรณ์ฯ โดยสร้างสนามไฟฟ้าด้วยการป้อนแรงดัน สูงที่สายส่งตัวน�ำแรงสูงจ�ำลองขึงเหนือพื้น ให้มีค่าสนาม ไฟฟ้าประมาณเท่ากับที่วัดได้จากใต้สายส่งจริง ประมาณ 8 kV/m [21] ผลปรากฏว่าสนามไฟฟ้า E ≤ 8 kV/m ไม่มี ผลรบกวนต่อจอคอมพิวเตอร์ 3) การศึกษาการรบกวนของสนามแม่เหล็กต่อ จอคอมพิวเตอร์จึงเริ่มต้นขึ้น สร้างสนามแม่เหล็กด้วย ขดลวด Helmholtz coil โดยใช้เส้นลวดพันบนโครงทีท่ ำ� ด้วย ท่อพีวีซี เป็นรูปสี่เหลี่ยม ซึ่งสามารถสร้างความหนาแน่น สนามแม่เหล็ก B สม�ำ่ เสมอเป็นปริมาตรทรงกลม รัศมี 30 cm จากจุดกึ่งกลางของขดลวดเฮล์มโฮลทซ์ และปรับค่า ได้ถึง 2000 mG ที่กระแสป้อนไม่เกิน 1.5 A [22] ท�ำ การทดลองโดยน�ำคอมพิวเตอร์ไปตัง้ ในบริเวณกึง่ กลางของ
รูปที่ 5 ตัวอักษรบนหน้าจอคอมพิวเตอร์สั่น เมื่อถูกสนามแม่เหล็กรบกวน ขณะไม่มีกล่องชีลด์
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 4) การป้องกันสนามแม่เหล็กด้วยกล่องชีลด์ การศึ ก ษาพบว่ า สนามแม่ เ หล็ ก รบกวนอุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จึ ง ต้ อ งป้ อ งกั น สนามแม่ เ หล็ ก เพื่ อ ให้ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท�ำงานได้ตามปกติในสถานที่ที่มี สนามแม่เหล็กระดับปกติ [22] การป้องกันสนามแม่เหล็กอาจท�ำได้โดยการก�ำบัง หรือการชีลด์ (Shielding) ด้วยโลหะที่มีค่าเปอร์มีบิลิตี้ (µ) สูง มีคุณสมบัติการปิดกั้นสนามแม่เหล็กได้ท�ำเป็น กล่องชีลด์ครอบจอคอมพิวเตอร์ ดังรูปที่ 6
รูปที่ 6 การติดตั้งกล่องชีลด์ครอบจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งป้องกันการรบกวนบนจอคอมพิวเตอร์ได้
ปัญหาเดียวกันนี้ก็เกิดกับจอคอมพิวเตอร์ในห้อง ควบคุมและสัง่ การ ทีส่ ถานีไฟฟ้าย่อยหนองจอก การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตฯ (EGAT) [23] และที่สถานีไฟฟ้าย่อยชิดลม การไฟฟ้านครหลวง (MEA) จึงติดตั้งกล่องชีลด์ครอบจอ คอมพิวเตอร์เช่นกัน ดังรูปที่ 7 พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
75
รูปที่ 7 การติดตั้งกล่องชีลด์ครอบจอคอมพิวเตอร์ ที่ห้องควบคุมและสั่งการของ EGAT และ MEA
5) การพัฒนากล่องชีลด์ขึ้นเอง การรบกวนจากสนามแม่เหล็กนั้นป้องกันได้ด้วย กล่องชีลด์ ซึ่งต้องสั่งน�ำเข้าราคาสูงมาก จึงถามว่าท�ำไม ไม่พัฒนาท�ำกล่องชีลด์นั้นขึ้นใช้เอง เริ่มต้นการศึกษาทดลองเพื่อหาว่า โลหะอะไรที่ ป้องกันสนามแม่เหล็กได้ดีที่สุดที่หาได้ภายในประเทศ พบว่าเหล็กกล้าซิลิคอนสามารถปิดกั้นสนามแม่เหล็กได้ ดีที่สุด เนื่องจากเป็นโลหะที่มีค่าเปอร์มีบิลิตี้สูงกว่าโลหะ อื่นที่ท�ำการทดลอง เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลการปิด กั้นสนามแม่เหล็กของกล่องชีลด์ที่สร้างเองกับกล่องชีลด์ ของต่างประเทศ ปรากฏว่าผลการปิดกั้นสนามแม่เหล็ก ของกล่องชีลด์ทั้งสองมีค่าใกล้เคียงกัน [23] 6) ประโยชน์สืบเนื่องของผลงาน ความรู้ ความเข้าใจ จากการศึกษาถึงผลกระทบ ของสนามแม่ เ หล็ กต่ออุป กรณ์อิเล็ก ทรอนิก ส์แ ละการ ป้องกัน นอกจากช่วยแก้ปญ ั หาดังกล่าวให้แก่การไฟฟ้าทัง้ สอง EGAT และ MEA ได้สำ� เร็จแล้ว ยังได้ใช้ความรู้ช่วย แก้ปัญหาการรบกวนของสนามแม่เหล็กต่อคอมพิวเตอร์ แก่หน่วยงานเอกชนอีกหลายราย [23] และก่อให้เกิด การพัฒนาเทคโนโลยีต่อได้เอง
2) นักวิจัยรุ่นใหม่ควรมีพี่เลี้ยงหรือปรึกษานักวิจัย อาวุโสผู้มีประสบการณ์สูง มีตัวอย่างผลงานที่เด่นชัด ควรท�ำในเรือ่ งทีเ่ ป็นไปได้ อาจเริม่ ต้นทีป่ ญ ั หา หรือเริม่ ต้น ด้วยทฤษฎีน�ำหน้าก็ได้ 3) การเริ่มท�ำวิจัยหน้าใหม่ ควรศึกษาค้นหาดู โครงการวิจยั ทีป่ ระสบผลส�ำเร็จมีคณ ุ ค่าเป็นตัวอย่าง ศึกษา ถึงกลยุทธ์ กระบวนการ และขั้นตอนที่ท�ำให้งานวิจัย ประสบผลส�ำเร็จ 4) ต้องค้นคว้าหาข้อมูลให้มากพอก่อนเริ่มลงมือ ท�ำวิจัย มีข้อมูลถูกต้องตรงประเด็น จะช่วยให้เกิดแนวคิด วางแผนด�ำเนินการได้ง่ายและเร็วขึ้น วารสารต่าง ๆ จะเป็นแหล่งข้อมูลที่ดี 5) การขอรั บ ทุ น ควรเสนอโครงการวิ จั ย ที่ ดี มีคณ ุ ภาพ น่าเชือ่ ถือ มีคณ ุ ค่า มองเห็นประโยชน์ได้ชดั เจน และมีความเป็นไปได้สูง 6) ท�ำวิจัยในเรื่องที่ตนเองถนัด มีความรู้ความ สามารถ ท�ำในเรื่องเดียวกันนั้นอย่างจริงจังและต่อเนื่อง แบบกัดไม่ปล่อย หากเป็นไปได้ควรให้รู้ซึ้งถึงระดับอย่าง ผู้เชี่ยวชาญ 7) การเป็นนักวิจัยที่ดี ต้องมีใจรักทุ่มเทต่อเนื่อง มีความสุขและสนุกกับการท�ำวิจัย ช่างสังเกต ใฝ่รู้ค้นคว้า เสมอ และท� ำ วิ จั ย เพราะอยากเรี ย นรู ้ มิ ใ ช่ ท� ำ เพราะ ค่าตอบแทนเป็นแรงจูงใจ 8) การพิ จ ารณาผลงาน ให้ ใ ช้ ม าตรฐานเป็ น ตัววัดหรือประเมินผล ผลงานมีคุณค่า ใช้งานได้จริง หรือมีประโยชน์ต่อวิชาการ ต่อการพัฒนาเทคโนโลยี ต่ออุตสาหกรรม และต่อสังคมชาติโดยรวม 9) กรณี ศึ ก ษาที่ ใ ห้ เ ป็ น ตั ว อย่ า งโครงการวิ จั ย ที่ เริ่มต้นจากปัญหา และจบลงที่แก้ปัญหาได้ส�ำเร็จอย่าง สมบูรณ์ มีคณ ุ ค่าและประโยชน์ตอ่ อุตสาหกรรมและสังคม นักวิจัยมือใหม่น่าจะพิจารณาศึกษา อาจจะได้แนวคิดเป็น แรงจูงใจให้อยากท�ำวิจัยบ้าง
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
5. สรุป
บทความที่น�ำเสนอในที่นี้พอสรุปได้ คือ 1) การศึกษาในสถาบันการศึกษา ควรมีการสนับสนุน * ข้อสังเกตและค�ำแนะน�ำ ตัวอย่างกรณีศกึ ษาทีน่ ำ� เสนอในบทความนี้ ผูส้ นใจ ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักการวิจัยว่าคืออะไร ให้เข้าใจว่า สามารถค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากบทความที่อ้างถึงใน การวิจัยมิใช่สิ่งลึกลับแต่ประการใด เอกสารอ้างอิงนั้น ๆ
76
เอกสารอ้างอิง [1] พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หน้า 742 [2] ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) “แบบเสนอ โครงการวิจัยประจ�ำปี 2552” [3] ส�ำรวย สังข์สะอาด “คุณสมบัตแิ ละการใช้ประโยชน์ของ ก๊าซ SF6” บทความประชุมวิชาการ 8 สถาบัน หน้า 22--26 [4] ส�ำรวย สังข์สะอาด, “การฉนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง ด้วยก๊าซ SF6” สัมมนาวิชาการ วสท. ประจ�ำปี 2526 เทคโนโลยี ใหม่ในงานวิศวกรรม 25 – 27 พฤศจิกายน 2526 ณ โรงแรม เอเชีย, กรุงเทพฯ หน้า 36-1---36-21 [5] Prinz, H., “Lightning in History”, Lightning Vol. I, Physics of Lightning, Academic Press Inc., Ltd., London, 1977, p 28 – 36 [6] Berger, K., Methoden und Resultate der Blitzforschung auf den Monte San Salvatore bei Lugano in den Jahren 1963 – 1971, Bull. SEV 63, 1972, pp 1403 – 1422 [7] ณรงค์ ทองฉิม, พงศ์ภัทร อะสีติรัตน์ และ ส�ำรวย สังข์สะอาด “การพัฒนาการออกแบบสร้างเครื่องนับฟ้าผ่าซ�้ำ” สัมมนาวิชาการเรื่อง วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูงและอีเอ็มซี 21–22 พฤศจิกายน 2543 [8] ส�ำรวย สังข์สะอาด วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง มีนาคม 2549 หน้า 1-43 และ 5-47 [9] ส�ำรวย สังข์สะอาด “ฟ้าผ่าลงรถยนต์” จดหมายข่าว วสท. ฉบับที่ 7: กรกฎาคม 2552 หน้า 10-11 [10] ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ค�ำอธิบาย ข้อเสนอโครงการวิจัย ประจ�ำปี 2552 [11] ส�ำรวย สังข์สะอาด “การพัฒนาออกแบบลูกถ้วย แขวนคอตันพอร์ซเลน เพื่อแก้ปัญหาการเจาะทะลุในระบบส่งจ่าย ไฟฟ้าแรงสูง” วารสารไฟฟ้าสาร วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2553 หน้า 55-66 [12] Naito, K., Susuki, Y., “Insulators Selection Criteria for Transmission Line Reliability”, NGK Review, Overseas Edition No. 14, Dec. 1990 [13] IEC 1211-1994, Insulators of ceramic material or glass for above 1000 volt overhead lines with a nominal voltage greater than 1000 V - Puncture testing, Technical report-type 2, 1994-06 [14] Australian Standard, AS 2947-1989, Insulators Porcelain and glass for overhead power line voltage greater than 1000 V.a.c. Part 1 Test methods [15] Canadian standard, CAN/CSA-C411.1-M1989, AC Suspension insulators [16] Nikolopoloulos, P.N., “On the Generation of Steep Front High Voltage Impulse”, 4th International Symposium on High Voltage Engineering, Athens-Greece, Sept 5-9, 1983
[17] ส�ำรวย สังข์สะอาด และวีระพันธ์ รังสีวิจิประภา, “เครื่องก�ำเนิดแรงดันอิมพัลส์ 1000 V 30 kJ”, รายงานโครงการ สิ่งประดิษฐ์ ทุนอุดหนุนโครงการสิ่งประดิษฐ์ เสนอฝ่ายวิจัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พฤษภาคม 2538 [18] ส�ำรวย สังข์สะอาด “การพัฒนาออกแบบและสร้างชุด ก�ำเนิดแรงดันอิมพัลส์หน้าคลื่นชัน” รายงานวิจัย ทุนรัชดาภิเษก สมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรกฎาคม 2541 [19] ส�ำรวย สังข์สะอาด, ณรงค์ชยั ลิม่ เศรษฐกานต์, โตมร สุนทรนภา, วิทวัส งามประดิษฐ์, “ผลของแรงดันเกินอิมพัลส์ หน้าคลื่นชันต่อลูกถ้วยฉนวนพอร์ซเลน” รายงานการวิจัยเสนอ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั โครงการเมธีวจิ ยั อาวุโส สกว., มิถุนายน 2544 [20] ส�ำรวย สังข์สะอาด, โตมร สุนทรนภา, ประเสริฐ รังสีโสภณอาภรณ์, “การออกแบบสร้างลูกถ้วยแขวนคอตันชัน้ เดียว” รายงานการวิจยั เสนอส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั โครงการ เมธีวิจัยอาวุโส (สกว.) มกราคม 2547 [21] ปิยะบุตร พฤกษานุบาล, “การศึกษาผลกระทบของ สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็กที่มีต่อเครื่องวัดอิเล็กทรอนิกส์ ในสถานีไฟฟ้า” วิทยานิพนธ์ปริญญาโท ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2541 [22] ปิยะบุตร พฤกษานุบาล, และส�ำรวย สังข์สะอาด “การส� ำ รวจคลื่ น รบกวนสนามแม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า ความถี่ ต�่ ำ และ การป้องกันคลื่นรบกวนสนามแม่เหล็กไฟฟ้าแก่คอมพิวเตอร์” บทความวิชาการ วิศวกรรมสาร กุมภาพันธ์ 2542 หน้า 53 – 76 [23] พรเทพ เชาวนโอภาส, ส�ำรวย สังข์สะอาด และวิทวัส งามประดิษฐ์ “การป้องกันคลืน่ รบกวนสนามแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ ต�ำ่ ด้วยกล่องชีลด์” สัมมนาวิชาการเรือ่ ง วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูงและ อีเอ็มซี 21–22 พฤศจิกายน 2543, EMC - 4
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ประวัติผู้เขียน
รศ.ดร.ส�ำรวย สังข์สะอาด • ข้าราชการบ�ำนาญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • 2534 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สภาวิจัย แห่งชาติ • 2536 วิศวกรดีเด่น สมาคมนิสิตเก่า วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • 2539 เมธีวิจัยอาวุโส สกว. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย • 2006 (ปี 2549) PES Chapter Out standing Engineer Award by Power Engineering Society, IEEE
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
77
Variety ปกิณกะ น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล อีเมล : noppada@hotmail.com
สวัสดีคะ่ ผูอ้ า่ นทุกท่าน เรือ่ งราวท้ายเล่มไฟฟ้าสารฉบับประจ�ำเดือนพฤษภาคม-มิถนุ ายนนี้ ผูเ้ ขียนขอต้อนรับ วันแรงงานแห่งชาติ 1 พฤษภาคม 2555 ด้วยการรวบรวมข้อมูลเรื่องอัตราค่าจ้าง และฐานเงินเดือนในส่วนที่มี ความเกี่ยวข้องกับวิศวกรไทย จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ มาฝากกันนะคะ ประกอบกับมติคณะกรรมการค่าจ้างวันที่ 17 ตุลาคม 2554 ที่กำ� หนดอัตราค่าจ้างขั้นต�ำ่ เป็นเงินวันละ 300 บาทใน 7 จังหวัดน�ำร่อง คือ กรุงเทพฯ นนทบุรี นครปฐม ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร และภูเก็ต โดยมีผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการตัง้ แต่วนั ที่ 1 เมษายน 2555 ที่ผ่านมา จึงเป็นที่มาของบทความที่มีชื่อตอนว่า “300” นี้ค่ะ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
1. ค่าจ้างขั้นต�่ำ
78
ประเทศแรกที่มีกฎหมายก�ำหนดค่าจ้างขั้นต�่ำคือ นิวซีแลนด์ โดย ก�ำหนดไว้ในปี 1894 ส่วนอัตราค่าจ้างขั้นต�่ำในประเทศไทย ก�ำหนด โดยคณะกรรมการค่าจ้างภายใต้ระบบไตรภาคี ซึ่งประกอบด้วยตัวแทน ฝ่ายลูกจ้าง ฝ่ายนายจ้าง และตัวแทนจากภาครัฐ โดยสถิติอัตราค่าจ้าง ขั้นต�ำ่ ที่แท้จริง (ปรับด้วยอัตราเงินเฟ้อ ตามค่าเงินบาทปี 2552) เฉลี่ยทั่ว ประเทศตั้งแต่ปี 2529 ถึง 2553 หรือใน 25 ปีที่ผ่านมา แสดงดังรูปที่ 1 ซึ่งสามารถเห็นได้ถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนหลังช่วงวิกฤต เศรษฐกิจปี 2540
ในปั จ จุ บั น ค่ า จ้ า งขั้ น ต�่ ำ เฉลี่ ย เท่ากับ 175.8 บาท ซึ่งการปรับอัตรา ค่าจ้างขั้นต�ำ่ ที่มีผลเมื่อวันที่ 1 เมษายน ทีผ่ า่ นมานัน้ เป็นการปรับให้สงู ขึน้ เฉลีย่ 6.4% รูปที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบ อัตราค่าจ้างขั้นต�่ำ ระหว่างประเทศ ต่าง ๆ ในแถบอาเซียน
รูปที่ 1 อัตราค่าจ้างขั้นต�่ำเฉลี่ยทั่วประเทศ (ค่าเงินบาทปี 2552)
รูปที่ 2 ค่าแรงขั้นต�่ำ ของประเทศต่าง ๆ ในอาเซียน
2. ค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน
มติคณะกรรมการค่าจ้าง วันที่ 1 มีนาคม 2555 เห็นชอบปรับอัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือใน 22 สาขา อาชีพ เริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายนที่ผ่านมา เช่นกัน ซึ่งอัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือของสาขาอาชีพ ดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 1
3. ฐานเงินเดือนวิศวกรไทย
ฐานเงินเดือนของวิศวกรไทยทีผ่ เู้ ขียนได้รวบรวม มาเสนอต่อไปนี้ น�ำมาจากแหล่งข้อมูลสองแหล่งคือ Kelly Services ปี 2009/2010 และ Adecco ปี 2011 ดังตารางที่ 2 และ 3 ตามล�ำดับ และในรูปที่ 3 และ รูปที่ 4 แสดงแผนภูมิเปรียบเทียบฐานเงินเดือนกับ วิชาชีพอื่น ๆ
ตารางที่ 1 อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ (บาท)
สาขาอาชีพ / ระดับ
ค่าจ้างไม่น้อยกว่าวันละ 1
2
3
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 1. ช่างสีรถยนต์ 2. ช่างเคาะตัวถังรถยนต์ 3. ช่างซ่อมรถยนต์ 4. ผู้ประกอบอาหารไทย 5. พนักงานนวดไทย 6. สปาตะวันตก (หัตถบ�ำบัด) 7. ช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์ 8. ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร 9. ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม 10. ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้าน 11. ช่างอิเล็กทรอนิกส์ (โทรทัศน์) 12. ช่างเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ 13. ช่างเชื่อมแม็ก 14. ช่างเชื่อมทิก 15. ช่างไม้ก่อสร้าง 16. ช่างก่ออิฐ 17. ช่างฉาบปูน 18. ช่างอะลูมิเนียมก่อสร้าง 19. ช่างเย็บ 20. ช่างเครื่องประดับอัญมณี 21. ช่างเครื่องเรือนไม้ 22. ช่างบุครุภัณฑ์
400 420 360 400 420 490 400 400 400 400 400 460 400 455 385 345 385 365 320 400 335 320
465 505 445 510 580 650 500 500 500 500 500 530 500 615 495 465 495 475 370 550 385 370
530 590 530 720 600 600 600 600 670 600 715 605 585 605 585 500 750 435 420
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
79
ตารางที่ 2 ฐานเงินเดือนของวิศวกรและบุคลากรด้านเทคนิควิศวกรรม ปี 2552/2553 (Thailand Employment Outlook and Salary Guide 2009/2010)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3 ฐานเงินเดือนของบุคลากรในวิชาชีพต่าง ๆ ที่มีประสบการณ์ตั้งแต่ 0-5 ปี
80
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 4 ฐานเงินเดือนของบุคลากรในวิชาชีพต่าง ๆ ที่มีประสบการณ์ตั้งแต่ 5-10 ปี
ตารางที่ 3 ฐานเงินเดือนวิศวกรและบุคลากรด้านเทคนิควิศวกรรม ปี 2554 (Thailand Salary Guide 2011)
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
81
ร า ส า ้ ฟ ไฟ 82
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
เอกสารอ้างอิง [1] http://en.wikipedia.org/wiki/Minimum_wage [2] ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต�่ำ (ฉบับที่ 6), ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 128 ตอนพิเศษ 144 ง วันที่ 29 พฤศจิกายน 2555. [3] ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ (ฉบับที่ 3) วันที่ 6 มีนาคม 2555. [4] เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว, http://www.bangkokbiznews.com / home/detail/ politics/opinion/keatanun/, 6 เมษายน 2555. [5] ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์, การศึกษาผลกระทบของการด�ำเนินนโยบายรายได้ค่าแรงไม่น้อยกว่า 300 บาทต่อวัน, TDRI. [6] Thailand Employment Outlook and Salary Guide 2009/ 2010, www.kellyservices.co.th [7] Thailand Salary Guide 2011, www.adecco.co.th เกี่ยวกับผู้เขียน น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล • กรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. • อนุกรรมการมาตรฐานการติดตัง้ ทาง ไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย • กองบรรณาธิการนิตยสารไฟฟ้าสาร
เก็บตกจากชื่อตอน “300”
ภาพยนตร์เรื่อง 300 หรือชื่อไทยว่า ขุนศึก พันธุ์สะท้านโลก เล่าเรื่องราวการสู้รบอย่างกล้าหาญ ของกองทัพนักรบสปาตันเพียง 300 นาย กับทัพ เปอร์เ ซียนับ หมื่น ภาพยนตร์เ รื่องนี้เ ข้าฉายเมื่อปี 2006 น�ำแสดงโดยเจอร์ราด บัตเลอร์ ซึ่งเรื่องนี้มี ความโดดเด่นในด้านภาพกราฟิกที่สวยงามแปลกตา หากท่านใดชื่นชอบภาพเสมือนจริงในลักษณะนี้ ผู้เขียนขอแนะน�ำให้ ชมละครชุด Spartacus ซึ่งมีเทคนิคด้านภาพใกล้เคียงกันค่ะ
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
83
Engineering Vocabulary ศัพท์วิศวกรรมน่ารู้ นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
“EARTHQUAKE” ประเทศไทยเรา ในน�ำ้ มีปลา ในนามีขา้ ว ก็คงยังเป็น ค�ำกล่าวที่ยังใช้ได้ และยิ่งที่จังหวัดภูเก็ต ถือว่าเป็นไข่มุก แห่งอันดามัน นานาประเทศต่างก็มีความฝันว่าครั้งหนึ่ง ในชีวิตจะได้มีโอกาสมาเที่ยวชายทะเล รวมถึงผู้สูงอายุ ชาวต่างชาติก็อยากใช้ชีวิตวัยเกษียณอยู่ในจังหวัดภูเก็ต ดังนั้น ตลอดระยะเวลากว่า 10 ปีที่ผ่านมานั้นมีการลงทุน อย่างสูงในพื้นที่นี้ แต่หลังจากเหตุการณ์สึนามิในวันที่ 26 ธันวาคม 2004 กว่า 8 ปี ความไม่แน่นอนก็เกิดขึ้น และ ข่าวล่าสุดที่ว่าภูเก็ตเป็นศูนย์กลางในการเกิดแผ่นดินไหว สูงถึง 3.3 ริกเตอร์ หลายต่อหลายครั้ง
ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปการทดสอบแผงสวิตช์แรงต�่ำที่ 7.2 ริกเตอร์
ดังนัน้ ทางแวดวงวิศวกรรมฯ รวมถึงทางวิศวกรรม ไฟฟ้ า เราก็ ไ ด้ มี ก ารเตรี ย มพร้ อ มกั บ ภาวะการเกิ ด แผ่นดินไหวด้วยเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นแผงสวิตช์ไฟฟ้า (MDB, DB เป็นต้น) บัสเวย์ และเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า เป็นต้น ได้มกี ารทดสอบภายใต้สภาวะการเกิดแผ่นดินไหว ถึง 7.2 ริกเตอร์ ตามรูปประกอบดังต่อไปนี้ รูปการทดสอบบัสเวย์ที่ 7.2 ริกเตอร์
84
รูปการเร่งวิจัยเสริมฐานอาคารสูง-ลดสูญเสีย ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ได้ศึกษาค้นคว้าและ วิจัยร่วมกับหลายองค์กร ศึกษาความก้าวหน้าทางด้านวิศวกรรมจากหลายประเทศทั่วโลก เพื่อน�ำมาพัฒนากับสภาพปัญหา ของประเทศไทย เพื่อหาแนวทางในการลดความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นกับอาคารสูงเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยงานวิจัยล่าสุด ได้แก่ งานวิจัยชุด “การเสริมก�ำลังโดยรวมให้กับอาคาร”
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ส� ำ หรั บ ค� ำ ศั พ ท์ ใ นครั้ ง นี้ ข อน� ำ เสนอค� ำ ว่ า EARTHQUAKE [N] แผ่นดินไหว Syn. quake “EARTHQUAKE” [N] แผ่นดินไหว เรามาพิจารณาดู (แผ่นดินไหว ไหว สั่น ยวบ), seism (แผ่นดินไหว), ความหมายของค�ำว่า “EARTHQUAKE” กัน ดังนี้ temblor (แผ่นดินไหว)
Easy Easy Think Part. +++++ Don’t worry to practice and speak English
“Just Quick speak and Repeat many times.”
The below several samples are for your practicing. “EARTHQUAKE”
ระบบไฟฟ้า หรือ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ ยังคงท�ำงานได้อย่างปกติ Electrical Systems or facilities continue to function normally เพราะมีแผงสวิตช์บอร์ดที่ผ่านการทดสอบสภาวะ เมื่อเกิดแผ่นดินไหวขึ้น because the switchboard panels have passed the test ถึง 6 ริกเตอร์ conditions. When earthquakes up to magnitude 6. Many electrical products have been tested in earthquake อุปกรณ์ไฟฟ้าหลาย ๆ ผลิตภัณฑ์ที่ได้ผ่านการทดสอบในสภาวะแผ่นดินไหว conditions. The installation and maintenance must be done แล้ว โครงสร้างการติดตั้งรวมถึงการบ�ำรุงต้องท�ำอย่างถูกต้อง correctly.
ปัจจุบันทุกครั้งที่เข้าในทุกอาคารต้องสังเกตทางหนีภัยไว้เสมอ ไม่ว่าจะเกิด Current time in all buildings must be noted that the exit ปัญหาไฟไหม้ เกิดแผ่นดินไหว หรือสถานการณ์ที่ต้องออกจากอาคารให้เร็ว way. Whether due to fire, earthquake or the situation as ที่สุดอย่างปลอดภัย soon as possible to leave the building safely.
ประวัติผู้เขียน
นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล • คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี • เลขาฯ และกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. • ทีป่ รึกษา สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครือ่ งกลไทย
เอกสารอ้างอิง 1. Thai Software Dictionary 4. 2. Google แปลภาษา 3. LONGDO Dict. 4. ภาพและข้อมูลจาก บริษัท อาซีฟา จ�ำกัด 5. ภาพและข้อมูลจาก บริษัท ชไนเดอร์ จ�ำกัด
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
85
Innovation News ข่าวนวัตกรรม น.ส.กัญญารัตน์ เอี่ยมวันทอง
แบตเตอรี่รุ่นใหม่ ใช้ได้หมดจนหยดสุดท้าย แบตเตอรี่ อุปกรณ์ให้พลังงานไฟฟ้าทีส่ ามารถน�ำไปใช้กบั อุปกรณ์เครือ่ งใช้ตา่ ง ๆ ได้หลากหลาย ไม่วา่ จะเป็น นาฬิกาแขวนบอกเวลาหรือนาฬิกาปลุกที่หัวเตียง ไฟฉาย รีโมตคอนโทรล ของเล่นเด็ก และอื่น ๆ อีกมากมาย อุปกรณ์เครื่องใช้ต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนต้องการพลังงานจากแบตเตอรี่เพื่อการท�ำงาน และต้องเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ เพื่อให้ทำ� งานต่อไปได้ รู้หรือไม่ว่าแบตเตอรี่ที่เราคิดว่าหมดพลังงานแล้วทิ้งไปนั้นจริง ๆ ยังมีพลังงานอยู่ แต่เราจะ ท�ำอย่างไรจึงใช้พลังงานในแบตเตอรีไ่ ด้หมดจนไม่มเี หลือ ด้วยเหตุนี้ จึงมีผคู้ ดิ ค้นและสร้างแบตเตอรีร่ นุ่ ใหม่ขนึ้ มา ซึ่งสามารถใช้ได้หมดจนหยดสุดท้าย มาดูกันว่าแบตเตอรี่ที่ว่านี้มีหน้าตาและความพิเศษอย่างไร
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
แบตเตอรี่รวมพล
มองดูเผิน ๆ แบตเตอรี่รวมพลก็มีหน้าตาเหมือน แบตเตอรี่ทั่วไป แต่มีความพิเศษอยู่ที่แบตเตอรี่รวมพล ไม่มีพลังงานในตัวเอง แต่มีความสามารถในการรวบรวม พลังงานจากแบตเตอรี่ที่ใช้แล้วและสะสมไว้เพื่อใช้งาน ต่อไปได้ แบตเตอรีร่ วมพลมีฝาส�ำหรับเปิด-ปิด ภายในมีชอ่ ง 3 ช่องส�ำหรับใส่แบตเตอรี่ที่ใช้แล้ว ซึ่งใส่ได้ 2 ขนาด คือ AA และ AAA เมื่อใส่แบตเตอรี่ครบทั้ง 3 ช่องก็จะได้ ออกมาเป็ น แบตเตอรี่ ก ้ อ นใหม่ ที่ มี พ ลั ง งานมากพอจะ น�ำไปใช้งานได้อกี เราสามารถดูปริมาณพลังงานทีแ่ บตเตอรี่ รวมพลสะสมไว้ได้ด้วยแถบไฟ LED ซึ่งอยู่ด้านข้างของ ก้อนแบตเตอรี่
86
แบตเตอรี่ ร วมพลเป็ น นวั ต กรรมที่ มี ป ระโยชน์ อย่างมาก เพราะช่วยให้เราได้ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ อย่างคุม้ ค่าและไม่ทงิ้ พลังงานไปโดยเปล่าประโยชน์ ดังนัน้ อย่ า เพิ่ ง น� ำ แบตเตอรี่ ที่ ใ ช้ แ ล้ ว ไปทิ้ ง ให้ น� ำ มารวมกั น ในแบตเตอรี่รวมพลเพื่อให้เกิดคุณค่าและน�ำไปใช้ได้อีก
แบตเตอรี่ 4 สหาย
แบตเตอรี่ 4 สหายจะมี ลั ก ษณะแปลกไปจาก แบตเตอรี่ ธ รรมดา คือ เป็นก้อนเล็ก ๆ ด้านหนึ่งมี รูเกลียว และอีกด้านหนึง่ มีเดือยเกลียว เวลาจะใช้ตอ้ งน�ำมา ประกอบกันให้ได้ 4 ส่วน จึงใช้งานได้ ซึ่งนี่ก็คือที่มาของ ชื่อที่ตั้งไว้
แต่ ล ะส่ ว นของแบตเตอรี่ จ ะมี พ ลั ง งานและ ประสิ ท ธิ ภ าพในการให้ พ ลั ง งานเท่ า ๆ กั น สาเหตุ ที่ อ อกแบบมาให้ แ ยกออกและประกอบกั น ได้ ก็ เ พื่ อ ความสะดวกในการทิ้ง โดยสามารถเลือกทิ้งเฉพาะส่วนที่ พลั ง งานหมดแล้ ว และน� ำ ส่ ว นใหม่ ที่ มี พ ลั ง งานเต็ ม มาแทนที่ ด้วยเหตุนี้ เราจึงไม่ต้องทิ้งแบตเตอรี่ไปทั้งก้อน ซึง่ จะมีพลังงานบางส่วนถูกทิง้ ไปด้วย นอกจากนี้ แบตเตอรี่ 4 สหายยังบอกปริมาณพลังงานที่เหลืออยู่ได้ โดยสีของ ตัวแบตเตอรี่จะจางลงตามพลังงานที่ลดลงจนไม่มีสีเมื่อ พลังงานหมด
ร า ส า ้ ฟ ไฟ แบตเตอรี่ 4 สหายจะช่วยเราใช้พลังงานได้คุ้มค่า แบบสุ ด ๆ ไม่ สิ้ น เปลื อ งหรื อ สู ญ เสี ย พลั ง งานไปจาก การทิ้ ง แบตเตอรี่ ทั้ ง ก้ อ น และยั ง ช่ ว ยลดปริ ม าณขยะ แบตเตอรี่ให้น้อยลงด้วย
เป็ น อย่ า งไรบ้ า งกั บ แบตเตอรี่ รุ ่ น ใหม่ ทั้ ง สองรุ ่ น เรี ย กได้ ว ่ า เป็ น แบตเตอรี่ที่คุ้มค่าต่อการน�ำมาใช้อย่างมาก เพราะช่วยให้เราได้ประหยัด พลังงาน ได้ใช้พลังงานในแบตเตอรี่จนหมดเกลี้ยงทุกก้อน และช่วยลด อัตราการทิ้งขยะซึ่งเป็นขยะอันตรายให้แก่บ้านเมืองด้วย แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม www.gearmag.info
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
87
Variety ปกิณกะ
ข่าวประชาสัมพันธ์ สัมมนาการค�ำนวณกระแสลัดวงจรตามมาตรฐาน IEC 60909
นายลือชัย ทองนิล ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. จัดการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การค�ำนวณกระแสลัดวงจร ตามมาตรฐาน IEC 60909 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2555 ที่ผ่านมา ณ วสท. โดยมี ผศ.ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์ เป็นวิทยากร
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
แสดงความยินดีกับนายกสมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทยท่านใหม่
นายลือชัย ทองนิล ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ขอแสดงความยินดีกบั นายกสมาคมช่างเหมา ไฟฟ้าและเครือ่ งกลไทยท่านใหม่ คุณทักษิณ วัชระวิทยากุล นายกสมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครือ่ งกลไทย และอุปนายก ปี 2555-2556 ดังนี้ คุณฉัตรชัย มงคลวิเศษไกวัล อุปนายกฝ่ายกฎระเบียบการค้า คุณสมศักดิ์ วัฒนศรีมงคล อุปนายกฝ่ายวิชาการและพัฒนาฝีมอื ช่าง คุณอนันต์ กิตติวทิ ยากุล อุปนายก ฝ่ายต่างประเทศ คุณอุทศิ ต่อวิรยิ ะตระกูล อุปนายกฝ่ายผลประโยชน์สมาชิก คุณไพบูลย์ อังคณากรกุล อุปนายกฝ่ายประชาสัมพันธ์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คุณพงษ์พันธ์ ไชยะค�ำ อุปนายกฝ่ายกิจกรรม พิเศษ และคุณสุจิ คอประเสริฐศักดิ์ เลขาธิการ
วสท. น�ำคณะเข้าเยี่ยมชมโรงงานไทยออยล์ จ.ชลบุรี
วสท. โดยคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า เข้าเยี่ยมชมเพื่อศึกษาและดูงาน บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด เมื่อวันศุกร์ที่ 2 มีนาคม 2555 ที่ผ่านมา เกี่ยวกับกระบวนการกลั่น การผลิตน�้ำมัน และการติดตั้งทางไฟฟ้าที่เกี่ยวกับสถานที่อันตราย (Hazardous Area) ในอุตสาหกรรมน�้ำมัน ณ โรงกลั่นน�้ำมัน ศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงจากผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรขนาดใหญ่ และเป็นข้อมูลในการปรับปรุงมาตรฐานการติดตั้ง ทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย โดยมี คุณณรงค์ฤทธิ์ ถาวรวิศิษฐพร ผู้ช่วยกรรมการอ�ำนวยการด้านโรงกลั่น รักษาการผู้จัดการ ฝ่ายบริหารคุณภาพองค์กร ได้มอบหมายให้ คุณพรอินทร์ แม้นมาลัย ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาสินทรัพย์ คุณเกรียงไกร กิตติวราวุฒิ ผู้จัดการแผนกวิศวกรรมไฟฟ้า คุณอธิคม แซ่ลิ้ม ผู้จัดการแผนกพัฒนาหน่วยพลังงาน และคณะวิศวกรที่เกี่ยวข้องรวมทั้ง ฝ่ายประชาสัมพันธ์ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น และเป็นวิทยากรบรรยายในการเยี่ยมชมครั้งนี้
88
มอบรางวัลมาตรฐานสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน ปี 2554 (Energy Mind Award 2011)
เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2555 มูลนิธิอุตสาหกรรมก่อสร้างไฟฟ้าและเครื่องกล ร่วมกับ สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและ เครื่องกลไทย ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการเสริมสร้างสุขอนามัย อุปกรณ์การศึกษาของเยาวชน จึงได้จัดกิจกรรม แจกอุปกรณ์การศึกษา อุปกรณ์กีฬาให้กับโรงเรียนในจังหวัดอ่างทอง 10 โรงเรียน ดังนี้ โรงเรียนชุมชนวัดวิเศษชัยชาญ โรงเรียนวัดขุมทอง โรงเรียนวัดราชสกุณา โรงเรียนวัดแปดแก้ว โรงเรียนวัดหัวตะพาน โรงเรียนวัดท�ำนบ โรงเรียนวัดวันอุทศิ โรงเรียนบ้านไผ่หมูขวิด โรงเรียนเทศบาลวัดป่าโมก โรงเรียนชุมชนวัดศีลขันธาราม ทัง้ 10 โรงเรียนทีก่ ล่าวมานัน้ จะมอบผ่าน โรงเรียนชุมชนวิเศษชัยชาญ โรงเรียนไผ่หมูขวิด เป็นศูนย์กระจายต่อไปยังโรงเรียนต่าง ๆ โดยมีคุณภูเธียร พงษ์พิทยาภา รองประธานมูลนิธิฯ และที่ปรึกษาสมาคมฯ คุณเชิดศักดิ์ วิทูราภรณ์ นายกสมาคมฯ และกรรมการสมาคมฯ พร้อมบริษัท ที่ให้การสนับสนุน ร่วมเดินทางไปแจกในครั้งนี้ ซึ่งได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากคณะครูและนักเรียน พร้อมกันนี้ คุณวชิระ ศิริเทียนทอง เหรัญญิกสมาคมฯ และกรรมการผู้จัดการ บ.ติยะมาสเตอร์ ได้มอบเงิน ให้กบั โรงเรียนทัง้ 10 โรงเรียน โรงเรียนละ 10,000 บาท เป็นเงินทัง้ สิน้ 100,000 บาท จากการจัดการแข่งขันกอล์ฟการกุศล เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยน�้ำท่วมเมื่อเร็ว ๆ นี้
ร า ส า ้ ฟ ไฟ ลงนามสัญญาให้ใช้บริการโครงข่ายระบบเส้นใยแก้วน�ำแสง
นายอาทร สินสวัสดิ์ ผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง และ พันเอก เรืองทรัพย์ โฆวินทะ กรรมการผู้จัดการบริษัท ยูไนเต็ด อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จ�ำกัด ร่วมลงนามสัญญาให้ใช้บริการโครงข่ายระบบเส้นใยแก้วน�ำแสงของ กฟน. ความเร็ว 1 Gbps จ�ำนวน 3 วงจร โดยมีระยะเวลาการเช่า 3 ปี ณ ห้องประชุมผู้ว่าการ เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2555 ที่ผ่านมา
พฤษภาคม - มิถุนายน 2555
89
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กระทรวงมหาดไทย เปิด “ศูนย์การเรียนรู้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”
เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2555 นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ ประธานกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เป็นประธานพิธีเปิด ศูนย์การเรียนรู้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมี นายณรงค์ศักดิ์ ก�ำมเลศ ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ให้การต้อนรับ และนายชวน ศิลปสุวรรณ รองผูว้ า่ การจ�ำหน่ายและบริการภาค 2 การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ ณ บริเวณชั้น 8 ส�ำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดนครราชสีมา ศูนย์การเรียนรูก้ ารไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นหนึง่ ในกลยุทธ์การขับเคลือ่ นองค์กรสูก่ ารเป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ ภายใต้นโยบายของกระทรวงมหาดไทย ในการให้บริการของสังคม ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม (CSR) ใช้งบประมาณในการก่อสร้าง 30 ล้านบาท เพือ่ เป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรูด้ า้ นพลังงานครบวงจร และบริการฝึกอบรม การใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างประหยัด ปลอดภัย ให้แก่ประชาชน ผู้ใช้ไฟฟ้า นักเรียน นักศึกษา ได้ศึกษาค้นคว้าน�ำไปใช้ประโยชน์ กับตนเองและแนะน�ำผู้อื่นได้ ภายในศูนย์การเรียนรู้ฯ เน้นการน�ำเสนอความรู้ในด้านเทคโนโลยี การจัดการพลังงานเทคโนโลยีในด้านการผลิต และการส่งจ่ายก�ำลังไฟฟ้าและศูนย์การประชุม โดยใช้แนวคิดแบบ Interactive approach เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ชม และสิ่งแสดง ณ ส�ำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดนครราชสีมา บนอาคารชั้น 5-7 ใช้พื้นที่ทั้งสิ้น 2,850 ตารางเมตร ประกอบไปด้วย 3 โซน ดังนี้ โซนที่ 1 เทคโนโลยีไฟฟ้า ตัง้ อยูบ่ นชัน้ ที่ 7 เป็นพืน้ ทีแ่ สดงพัฒนาการเกีย่ วกับไฟฟ้าตัง้ แต่เริม่ ค้นพบจนถึงปัจจุบนั โดยจัดแสดง เป็นนิทรรศการประกอบด้วยสิ่งประดิษฐ์ทางไฟฟ้า นักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของโลก เทคโนโลยีการผลิตพลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้และบ้านประหยัดพลังงาน โซนที่ 2 วิวฒ ั นาภารกิจ ตัง้ อยูบ่ นชัน้ ที่ 6 จัดแสดงประวัตคิ วามเป็นมาของการมีไฟฟ้าใช้ในประเทศไทย และพัฒนาการของ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ทั้ง 5 ทศวรรษ โครงการส�ำคัญตามแผนพัฒนาระบบไฟฟ้า ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า การใช้พลังงาน ทดแทนเพื่อลดภาวะโลกร้อน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคกับกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการจ�ำลองปรากฏการณ์ฟ้าผ่า โดยใช้หม้อแปลงเรโซแนนซ์ ชนิดขดลวดเทสล่า โซนที่ 3 เสริมแนวคิดบุคลากร ตั้งอยู่บนชั้นที่ 5 ให้บริการความรู้ด้วยการจัดฝึกอบรมให้แก่หน่วยงานทั้งภายในและ ภายนอกองค์กร ด้วยห้องฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ ทันสมัยและได้มาตรฐาน รวมทั้งห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ครบวงจร ผู้สนใจเข้าชมสามารถแจ้งความประสงค์ได้ที่ศูนย์การเรียนรู้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส�ำนักงาน การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค จังหวัดนครราชสีมา ในวัน-เวลาราชการได้ทโี่ ทรศัพท์ 0 4421 4334-5 หรือ 0 4421 4337-8 ต่อ 23053
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
กฟผ. และ จีอี เอนเนอร์ยี ร่วมลงนามข้อตกลง การบริการด้านการบ�ำรุงรักษาเครื่องกังหันแก๊ส ระยะเวลา 7 ปี
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) โดย นายพิษณุ ทองวีระกุล รองผูว้ า่ การ พัฒนาธุรกิจ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และ จีอี เอนเนอร์ยี โดย นายณัฐ หุตานุวตั ร คันทรี่ เอ็กเซ็กคูทฟี จีอี ประเทศไทย ได้รว่ มลงนามในข้อตกลงการบริการด้านการบ�ำรุงรักษา เครื่องกังหันแก๊ส ระยะเวลา 7 ปี โดย จีอี เป็นผู้จัดหาอะไหล่ ซ่อมบ�ำรุง และบริการ ทางเทคนิคให้แก่เครื่องกังหันแก๊ส รุ่น 9FA+e DLN2.0+ จ�ำนวน 2 เครื่อง ที่ติดตั้งอยู่ ณ โรงไฟฟ้าพระนครเหนือของ กฟผ. ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้าขนาด 700 เมกะวัตต์ ข้อตกลง ดังกล่าวเป็นการเพิ่มเติมจากเดิมที่มีสัญญาให้บริการเครื่อง 9FA จ�ำนวน 2 เครื่องกับ กฟผ. อยู่ก่อนหน้านี้แล้ว ทั้งนี้ กฟผ. และ จีอี เอนเนอร์ยี เป็นพันธมิตรกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน ตั้งแต่การติดตั้งเครื่องกันหันแก๊ส เฟรม 5 เครื่องแรกของจีอี ในปี 2513 ณ โรงไฟฟ้าลานกระบือ การลงนามครัง้ นีจ้ งึ เป็นเครือ่ งยืนยันความไว้วางใจที่ กฟผ. มีตอ่ ผลิตภัณฑ์และบริการของจีอี ทั้งยังเป็นการตอกย�ำ้ ความเป็นพันธมิตรที่แน่นแฟ้นของคู่สัญญาทั้งสอง
90
ปฏิทินกิจกรรม ก�ำหนดการอบรมสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) พ.ศ. 2555 ล�ำดับ กิจกรรม วันที่ สถานที่ 1 อบรม การเลื อ กใช้ การออกแบบ การติ ด ตั้ ง และการบ� ำ รุ ง รั ก ษา 1 มิถุนายน 2555 วสท. หม้อแปลงไฟฟ้า 2 มิถุนายน 2555 วสท. 2 อบรม การเลือกใช้ การออกแบบ การติดตั้ง และการบ�ำรุงรักษาแผง สวิตช์แรงต�ำ่ 3 International Program : The Inspection, Testing, and Maintenance 5-6 มิถุนายน 2555 วสท. of Water-Based Fire Protection Systems 4 อบรม การเพิม่ ประสิทธิภาพและลดค่าใช้จา่ ยไฟฟ้าโดยการเพิม่ ค่าเพาเวอร์ 7-8 มิถุนายน 2555 ระยอง แฟกเตอร์ และการกรองกระแสฮาร์มอนิก 5 อบรม การวัดวิเคราะห์และควบคุมเสียงในอาคาร (ทฤษฎีและปฏิบัติ) 8-9 มิถุนายน 2555 วสท. รุ่นที่ 3 6 อบรม ผู้ตรวจสอบอาคาร รุ่นที่ 38 9, 10, 16, 17, 23, 24, วสท. 30 มิถุนายน และ 7 กรกฎาคม 2555 7 อบรม การออกแบบ ติดตัง้ และทดสอบ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ รุน่ ที่ 14 16-17 มิถุนายน 2555 วสท. วสท. 8 อบรม การออกแบบระบบดับเพลิงส�ำหรับคลังสินค้าและระบบสารสะอาด 29-30 มิถุนายน 2555 ดับเพลิง 9 อบรม การใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายความร้อนอินฟราเรดอย่างมืออาชีพ 6-7, 13-14 กรกฎาคม วสท. ระดับ 1 รุ่นที่ 7 2555 10 อบรม ระบบการต่อลงดิน (Grounding System) 7 กรกฎาคม 2555 วสท. 11 อบรม Transmission and Distribution System 7-8 กรกฎาคม 2555 วสท. 12 วิศวกรรมแห่งชาติ ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 (National Engineering 2012) 12-15 กรกฎาคม 2555 วสท. 13 อบรม Lightning Discharge and Surge Voltage Protections 19-20 กรกฎาคม 2555 วสท. 14 อบรม Substation Equipment and Protective Relaying 21-22 กรกฎาคม 2555 วสท. 15 อบรม มาตรฐานติดตัง้ ไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย และออกแบบระบบไฟฟ้า 27-29 กรกฎาคม 2555 วสท. 16 อบรม การป้องกันฟ้าผ่าส�ำหรับสิง่ ปลูกสร้างและการป้องกันแม่เหล็กไฟฟ้า 18-19 สิงหาคม 2555 วสท. จากฟ้าฝ่า 17 อบรม มาตรฐานแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และมาตรฐานไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน 25 สิงหาคม 2555 วสท. และป้ายทางออกฉุกเฉิน
ร า ส า ้ ฟ ไฟ หมายเหตุ : วัน/เวลาอบรม อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม และสมัครได้ที่ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) 487 ซอยรามค�ำแหง 39 ถ.รามค�ำแหง แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ : 0 2319 2410-3, 0 2319 2708-9, 0 2184 4600-7 ต่อ 520, 521, 522, 524 Homepage : www.eit.or.th E-mail : eit@eit.or.th
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ใบสั่งจองโฆษณา (Advertising Contract) นิตยสารไฟฟ้าสาร (Electrical Engineering Magazine) กรุณาส่งใบสั่งจองทางโทรสาร 0 2247 2363
ข้อมูลผู้ลงโฆษณา (Client Information)
วันที่.............................................. บริษัท / หน่วยงาน / องค์กร ผู้ลงโฆษณา (Name of Advertiser) :........................................................................................... ที่อยู่ (Address) :........................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... โทรศัพท์/Tel :............................................................................โทรสาร/Fax :............................................................................ ชื่อผู้ติดต่อ/Contact Person :............................................................อีเมล/E-mail :.................................................................... ฉบับที่ต้องการลงโฆษณา (Order)
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ฉบับเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 55 ฉบับเดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ 56
ฉบับเดือนกันยายน–ตุลาคม 55 ฉบับเดือนมีนาคม-เมษายน 56
อัตราค่าโฆษณา (Order) (กรุณาท�ำเครื่องหมาย
ในช่อง
ต�ำแหน่ง (Position)
ปกหน้าด้านใน (Inside Front Cover)
ปกหลัง (Back Cover) ปกหลังด้านใน (Inside Back Cover) ตรงข้ามสารบัญ (Before Editor - lift Page) ตรงข้ามบทบรรณาธิการ (Opposite Editor Page) ในเล่ม 4 สี เต็มหน้า (4 Color Page) ในเล่ม 4 สี 1/2 หน้า (4 Color 1/2 Page) ในเล่ม 4 สี 1/3 หน้าแนวตั้ง (4 Color 1/3 Page) ในเล่ม ขาว-ด�ำ เต็มหน้า (1 Color Page) ในเล่ม ขาว-ด�ำ สี 1/2 หน้า (1 Color 1/2 Page ) ในเล่ม ขาว-ด�ำ สี 1/3 หน้า (1 Color 1/3 Page ) ในเล่ม ขาว-ด�ำ สี 1/4 หน้า (1 Color 1/4 Page )
ฉบับเดือนพฤศจิกายน–ธันวาคม 55 ฉบับเดือนพฤษภาคม–มิถุนายน 56
มีความประสงค์สั่งจองโฆษณา “นิตยสารไฟฟ้าสาร”) อัตราค่าโฆษณา (Rates)
55,000 บาท 60,000 บาท 50,000 บาท 48,000 บาท 47,000 บาท 45,000 บาท 23,000 บาท 16,500 บาท 23,000 บาท 12,000 บาท 7,700 บาท 7,000 บาท
(Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht)
รวมเงินทั้งสิ้น (Total).......................................................บาท (......................................................................................)
ผู้สั่งจองโฆษณา (Client)......................................................... ผู้ขายโฆษณา (Advertising Sales)..........................................
ต�ำแหน่ง (Position).......................................................... วันที่ (Date)............./......................../.............
วันที่ (Date)............./......................../.............
หมายเหตุ - อัตราค่าโฆษณานี้ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม - เงื่อนไขการช�ำระเงิน 15 วัน นับจากวันวางบิล ทางบริษัทฯ จะเรียกเก็บเป็นรายฉบับ - โปรดติดต่อ คุณสุพจน์ แสงวิมล ประชาสัมพันธ์ นิตยสารไฟฟ้าสาร ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) โทรศัพท์ 0 2642 5241-3 ต่อ 113-115 โทรสาร 0 2247 2363 E-mail : EE.mag01@gmail.com เจ้าของ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) 487 รามค�ำแหง 39 (ซอยวัดเทพลีลา) วังทองหลาง กทม. 10310 ผู้จัดท�ำ : บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด 539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม ชั้น 22A ถ.ศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400
ใบสมัครสมาชิก/ใบสั่งซื้อนิตยสาร
นิตยสารไฟฟ้าสาร (Electrical Engineering Magazine) วันที่................................... ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................................................................................... บริษัท/หน่วยงาน ............................................................................................................................................................ เลขที่......................................................อาคาร.......................................................ซอย................................................. ถนน.......................................................ต�ำบล/แขวง.......................................................................................................
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
อ�ำเภอ/เขต..............................................จังหวัด......................................................รหัสไปรษณีย์...................................
โทรศัพท์..................................................โทรสาร....................................................E-mail:.............................................
ที่อยู่ (ส�ำหรับจัดส่งนิตยสาร กรณีที่แตกต่างจากข้างต้น).................................................................................................
....................................................................................................................................................................................... กรุณาท�ำเครื่องหมาย ในช่อง มีความประสงค์สมัครสมาชิกนิตยสาร “ไฟฟ้าสาร” มีความประสงค์สมัครเป็นสมาชิกนิตยสารไฟฟ้าสาร ในประเภท : 1. บุคคลทั่วไป ครึ่งปี 3 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 1 เล่ม ราคา 220 บาท 1 ปี 6 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 1 เล่ม ราคา 440 บาท 2. นิติบุคคล ครึ่งปี 3 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 3 เล่ม ราคา 660 บาท 1 ปี 6 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 3 เล่ม ราคา 1,320 บาท แถมฟรี หนังสือเทคโนโลยีสะอาด จ�ำนวน 3 เล่ม มูลค่า 320 บาท 3. นิติบุคคลขนาดใหญ่ ครึ่งปี 3 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 5 เล่ม ราคา 1,100 บาท 1 ปี 6 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 3 เล่ม ราคา 2,200 บาท แถมฟรี หนังสือเทคโนโลยีสะอาด จ�ำนวน 3 เล่ม มูลค่า 320 บาท และเสื้อ PREclub 1 ตัว มูลค่า 550 บาท ต้องการนิตยสารตั้งแต่ฉบับที่/เดือน................................................ถึงฉบับที่/เดือน...................................................... ช�ำระเงินโดย เช็คธนาคาร...............................................สาขา...........................................เลขทีเ่ ช็ค................................................ โอนเงินเข้าบัญชีประเภทออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด” ธนาคารกสิกรไทย สาขาถนนรางน�ำ้ เลขที่บัญชี 052-2-56109-6 หมายเหตุ
• กรุณาส่งหลักฐานการโอนเงินและใบสมัครสมาชิกมาที่ โทรสาร 0 2247 2363 โดยระบุเป็นค่าสมาชิก “นิตยสารไฟฟ้าสาร” เจ้าของ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) 487 รามค�ำแหง 39 (ซอยวัดเทพลีลา) วังทองหลาง กทม. 10310 ผู้จัดท�ำ : บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด 539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม ชั้น 22A ถ.ศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ
ร า ส า ้ ฟ ไฟ