ไฟฟ้าสาร ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 ม.ค.-ก.พ.56

Page 1


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556 E-mail : eemag@eit.or.th, eit@eit.or.th

ส า ร บั ญ

14

สัมภาษณ์พิเศษ

14

นายน�ำชัย หล่อวัฒนตระกูล ผู้ว่าการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

มาตรฐานและความปลอดภัย

17

ขยายความมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 ตอน สายไฟฟ้าตามมาตรฐานใหม่ มอก.11-2553 พร้อมใช้งานแล้ว : นายลือชัย ทองนิล เต้ารับที่อยู่อาศัย ควรติดตั้งระยะห่างและความสูงเท่าใด ? อีกทั้งมีวิธีป้องกันอย่างไร ? : รศ.ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช หลักปฏิบัติด้านการตรวจสอบ และการทดสอบการติดตั้งระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย (ตอนที่ 6) : นายมงคล วิสุทธิใจ

39 46 53

การป้องกันสายส่งแบบมีสายแยก : ดร.วิวัฒน์ ทิพจร การวิเคราะห์เรโซแนนซ์ของวงจร : ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ มาตรฐานคุณภาพบริการไฟฟ้าทางเทคนิคในประเทศไทย : ดร.สุรชัย ชัยทัศนีย์

57

แบบจ�ำลองและขั้นตอนการค�ำนวณการสูญเสียเส้นทางของ สหภาพโทรคมนาคมระหว่าง ประเทศ (ITU) ที่ใช้กับโครงข่ายปลายทางของสมาร์ทกริด : นางอรดี มุสิกานนท์

17

23

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

32

ไฟฟ้าก�ำลังและอิเล็กทรอนิกส์กำ� ลัง

53

ไฟฟ้าสื่อสารและคอมพิวเตอร์

62

พลังงาน

62

การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในพื้นที่นอกชายฝั่งทะเล ตอนที่ 1 ฟาร์มกังหันลมนอกชายฝั่งทะเลในทวีปยุโรป : นายศุภกร แสงศรีธร

เทคโนโลยีและนวัตกรรม

68 72

72

77

ปกิณกะ

80 86

89

92 94

การลดกระแสลัดวงจรในระบบไฟฟ้าก�ำลัง : ดร.สุรชัย ชัยทัศนีย์ การปรับปรุงความถูกต้องของ Microsoft Kinect ในการสร้างพื้นผิว 3D และ แอพพลิเคชันทางการแพทย์ : มิติ รุจานุรักษ์ และอมรรัตน์ คงมา อุปกรณ์สั่งปลดเซอร์กิตเบรกเกอร์ Under Voltage Release หรือ Under Voltage Coil จะมีวิธีการอย่างไรในการออกแบบและการใช้งานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด : นายวิทยา ธีระสาสน์ The Town : น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล ศัพท์วิศวกรรมน่ารู้ International Electrotechnical Commission - IEC : นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล Innovation News โซลาร์เซลล์ อีกหนึ่งทางเลือกผลิตพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม : น.ส.วิไลภรณ์ ชัชวาลย์ ข่าวประชาสัมพันธ์ สรุปกิจกรรมของคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ประจ�ำปี พ.ศ. 2555

ความคิดเห็นและบทความต่าง ๆ ในนิตยสารไฟฟ้าสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผูเ้ ขียน ไม่มสี ว่ นผูกพันกับวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


บ ท บ ร ร ณ า ธิ ก า ร สวัสดีทกุ ท่านครับ สวัสดีปใี หม่ปี 2556 นิตยสารไฟฟ้าสารฉบับนีเ้ ป็นฉบับแรก ของปี 2556 กองบรรณาธิการทุกท่านจึงหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าในปีนนี้ ติ ยสารไฟฟ้าสาร จะมีเนือ้ หาสอดคล้องตามความต้องการของท่านผูอ้ า่ นส่วนใหญ่มากยิง่ ขึน้ แน่นอนว่า กองบรรณาธิการไฟฟ้าสารจะเน้นย�้ำเจตจ�ำนงเดิม คือ นิตยสารไฟฟ้าสารเป็นแหล่ง ในการให้ความรู้ การถ่ายทอดประสบการณ์ และการแนะน�ำข้อมูลจากผูเ้ ขียนสูผ่ อู้ า่ น ซึ่งได้แบ่งบทความออกเป็น 5 หมวด มาตรฐานและความปลอดภัย ไฟฟ้าก�ำลัง และอิเล็กทรอนิกส์กำ� ลัง ไฟฟ้าสื่อสารและคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม และปกิณกะ รวมทั้งมีบทสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรชั้นน�ำที่อยู่ในแวดวงด้านวิศวกรรมไฟฟ้า

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

ในปี 2556 นี้จะเป็นอีกปีหนึ่งที่ประเทศของเราต้องรีบด�ำเนินการเพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC อย่างเต็มรูปแบบในปี 2558 โดยหน่วยงานทัง้ ทางภาครัฐและภาคเอกชนจะต้องรีบด�ำเนินการ ให้เป็นรูปธรรมมากยิง่ ขึน้ หลาย ๆ โครงการทีเ่ คยได้หารือกันไว้บา้ งแต่ยงั ไม่มแี ผนงานอย่างชัดเจนก็คงต้องรีบด�ำเนินการ โดยเร็ว โครงการหนึ่งที่หากด�ำเนินการได้จะเกิดประโยชน์ต่อประเทศอย่างยิ่งนั่นคือ โครงการการพัฒนาระบบรถไฟ ความเร็วสูง ทั้งนี้เพื่อลดต้นทุนทางด้าน Logistics ที่ประเทศของเรามีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง ท� ำให้ลดความสามารถ ในการแข่งขันทางการค้าในเวทีระดับประเทศของภาคเอกชน ซึ่งในเรื่องนี้ทางภาครัฐได้เริ่มประกาศนโยบายที่มี ความชัดเจนยิ่งขึ้นว่าจะเริ่มด�ำเนินการสายใดและเมื่อใดก่อน หลาย ๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงเริ่มมีการเตรียม ความพร้อมไว้รองรับบ้างแล้ว เช่น ระบบไฟฟ้าทีจ่ ะจ่ายไฟให้แก่ระบบรถไฟความเร็วสูง ทางการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคได้สง่ ผู้บริหารระดับสูงไปศึกษาดูงาน ณ ประเทศเยอรมนี เพื่อเตรียมความพร้อมในเรื่องดังกล่าว ซึ่งผมได้มีโอกาสร่วม คณะไปศึกษาดูงานในครั้งนี้ด้วย จากการไปศึกษาดูงานพบว่า ยังมีงานที่ทางการไฟฟ้าจะต้องรีบเตรียมการปรับปรุง ระบบไฟฟ้าให้มคี วามเชือ่ ถือได้ทเี่ หมาะสมกับระบบรถไฟความเร็วสูงอีกหลายประการ นีเ่ ป็นเพียงตัวอย่างเดียวเท่านัน้ ในการเตรียมความพร้อม ยังมีงานอีกหลากหลายด้านทีท่ างวิศวกรไฟฟ้าสามารถเป็นส่วนหนึง่ ในการด�ำเนินการได้ ดังนัน้ ผมจึงขอฝากให้ทุกท่านได้ขวนขวายศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อจะได้เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาประเทศของเรา ให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมนานาอารยประเทศอื่น ๆ ต่อไป นิตยสารไฟฟ้าสารฉบับนีไ้ ด้รบั เกียรติจาก นายน�ำชัย หล่อวัฒนตระกูล ผูว้ า่ การ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค คนใหม่ ให้เกียรติสัมภาษณ์ถึงทิศทางการด�ำเนินงานของ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ Provincial Electricity Authority (PEA) ในอนาคต รวมถึงการเตรียมความพร้อมของ PEA ในการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 นอกจากนีย้ งั มี บทความวิชาการหลายบทความที่น่าสนใจ ข่าวประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ของ วสท.และหน่วยงานต่าง ๆ เช่นเดิม

สุดท้ายนีใ้ นวารดิถขี นึ้ ปีใหม่ ผมขออวยชัยให้ทา่ นผูอ้ า่ นทุกท่านจงสุขสันต์สขุ เกษมเปรมปรีดทิ์ กุ คืนวัน หฤหรรษ์ ปรีดากันทัว่ ทุกคนครับ อนึง่ หากท่านผูอ้ า่ นท่านใดมีขอ้ แนะน�ำ หรือติชมใด ๆ แก่กองบรรณาธิการ ท่านสามารถมีสว่ นร่วม กับเราได้โดยส่งเข้ามาทางไปรษณีย์ หรือที่ Email: eemag@eit.or.th นอกจากนี้ท่านสามารถ Download หรืออ่าน นิตยสารไฟฟ้าสารในรูปของ E-Magazine ที่เป็นแบบ 4 สี่ทั้งเล่มได้ที่ http://www.eit.or.th/ee-mag/ และสุดท้าย ผมขอขอบคุณผู้สนับสนุนนิตยสาร “ไฟฟ้าสาร” ทุกท่านที่ช่วยให้เรายังคงสามารถท�ำนิตยสารวิชาการให้ความรู้และ ข่าวสารแก่ท่านผู้อ่านทุกท่านในช่วงที่ผ่านมา และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะให้การสนับสนุนตลอดไปครับ

สวัสดีครับ ดร.ประดิษฐ์ เฟื่องฟู


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


เจ้าของ : สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 487 รามค�ำแหง 39 (ซอยวัดเทพลีลา) ถนนรามค�ำแหง แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2319 2410-13 โทรสาร 0 2319 2710-11 http://www.eit.or.th e-mail : eit@eit.or.th

คณะกรรมการที่ปรึกษา

ฯพณฯ พลอากาศเอก ก�ำธน สินธวานนท์ ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ศ.อรุณ ชัยเสรี รศ.ดร.ณรงค์ อยู่ถนอม รศ.ดร.ไกรวุฒิ เกียรติโกมล รศ.ดร.ต่อตระกูล ยมนาค ดร.การุญ จันทรางศุ นายเรืองศักดิ์ วัชรพงศ์ พล.ท.ราเมศร์ ดารามาศ นายอ�ำนวย กาญจโนภาศ

จันทร์เจนจบ, อาจารย์สุพัฒน์ เพ็งมาก, นายประสิทธ์ เหมวราพรชัย, นายไชยวุธ ชีวะสุทโธ, นายปราการ กาญจนวตี, นายพงษ์ศักดิ์ หาญบุญญานนท์, รศ.ศุลี บรรจงจิตร, รศ.ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช, นายเกียรติ อัชรพงศ์, นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์, นายเชิดศักดิ์ วิทูราภรณ์, ดร.ธงชัย มีนวล, นายโสภณ สิกขโกศล, นายทวีป อัศวแสงทอง, นายชาญณรงค์ สอนดิษฐ์, นายธนะศักดิ์ ไชยเวช

ประธานกรรมการ นายลือชัย ทองนิล

รองประธานกรรมการ นายสุกิจ เกียรติบุญศรี นายบุญมาก สมิทธิลีลา

คณะกรรมการอ�ำนวยการ วสท.

นายสุวัฒน์ เชาว์ปรีชา นายไกร ตั้งสง่า รศ.ดร.หรรษา วัฒนานุกิจ ศ.ดร.ต่อกุล กาญจนาลัย นายธเนศ วีระศิริ นายทศพร ศรีเอี่ยม นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ นายธีรธร ธาราไชย รศ.ดร.วันชัย เทพรักษ์ รศ.ดร.วิชัย กิจวัทวรเวทย์ นายชัชวาลย์ คุณค�้ำชู รศ.ดร.อมร พิมานมาศ ผศ.ดร.วรรณสิริ พันธ์อุไร ดร.ชวลิต ทิสยากร รศ.ดร.พิชัย ปมาณิกบุตร นายชูลิต วัชรสินธุ ์ รศ.ดร.ทวีป ชัยสมภพ นายนินนาท ไชยธีรภิญโญ นายประสิทธิ์ เหมวราพรชัย นางอัญชลี ชวนิชย์ ดร.ประวีณ ชมปรีดา รศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายลือชัย ทองนิล นายจักรพันธ์ ภวังคะรัตน์ รศ.ด�ำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย รศ.ดร.ขวัญชัย ลีเผ่าพันธุ์ นายเยี่ยม จันทรประสิทธิ์ ผศ.ยุทธนา มหัจฉริยวงศ์ ผศ.ดร.ก่อเกียรติ บุญชูกุศล นายกุมโชค ใบแย้ม รศ.ดร.เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง รศ.วิชัย ฤกษ์ภูริทัต รศ.ดร.สมนึก ธีระกุลพิศุทธิ์ ผศ.ดร.สงวน วงษ์ชวลิตกุล รศ.ดร.จรัญ บุญกาญจน์

นายก อุปนายกคนที่ 1 อุปนายกคนที่ 2 อุปนายกคนที่ 3 เลขาธิการ เหรัญญิก นายทะเบียน ประชาสัมพันธ์ โฆษก สาราณียกร ประธานกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ ประธานกรรมการโครงการ ประธานสมาชิกสัมพันธ์ ปฏิคม ประธานกรรมการต่างประเทศ ประธานกรรมการสวัสดิการ กรรมการกลาง 1 กรรมการกลาง 2 ประธานวิศวกรอาวุโส ประธานวิศวกรหญิง ประธานยุววิศวกร ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ประธานสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ประธานสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ประธานสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ โลหการ และปิโตรเลียม ประธานสาขาวิศวกรรมเคมี ประธานสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ประธานสาขาวิศวกรรมยานยนต์ ประธานสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ประธานสาขาภาคเหนือ 1 ประธานสาขาภาคเหนือ 2 ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 ประธานสาขาภาคใต้

กรรมการ

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

รายนามคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. 2554-2556 ที่ปรึกษา

นายอาทร สินสวัสดิ์, ดร.ประศาสน์ จันทราทิพย์, นายเกษม กุหลาบแก้ว, ผศ.ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์, นายโสภณ ศิลาพันธ์, นายภูเธียร พงษ์พิทยาภา, นายอุทิศ

ผศ.ถาวร อมตกิตติ ์ ดร.เจน ศรีวัฒนะธรรมา นายสมศักดิ์ วัฒนศรีมงคล นายพงศ์ศักดิ์ ธรรมบวร นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ นายสุธี ปิ่นไพสิฐ ดร.ประดิษฐ์ เฟื่องฟู นายกิตติศักดิ์ วรรณแก้ว นายสุจิ คอประเสริฐศักดิ์ นายภาณุวัฒน์ วงศาโรจน์ นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

คณะท�ำงานกองบรรณาธิการนิตยสารไฟฟ้าสาร คณะที่ปรึกษา

นายลือชัย ทองนิล, นายปราการ กาญจนวตี, ผศ.ดร.วชิระ จงบุรี, นายยงยุทธ รัตนโอภาส, นายสนธยา อัศวชาญชัยสกุล, นายศุภกิจ บุญศิริ , นายวิชยั จามาติกลุ

บรรณาธิการ

ดร.ประดิษฐ์ เฟื่องฟู

กองบรรณาธิการ

ผศ.ถาวร อมตกิตติ์, นายมงคล วิสุทธิใจ, นายชาญณรงค์ สอนดิษฐ์, นายวิวัฒน์ อมรนิมิตร, นายสุเมธ อักษรกิตติ์, ดร.ธงชัย มีนวล, ผศ.ดร.ปฐมทัศน์ จิระเดชะ, ดร.อัศวิน ราชกรม, นายบุญถิ่น เอมย่านยาว, นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล, นายกิตติศักดิ์ วรรณแก้ว, อาจารย์ธวัชชัย ชยาวนิช, นายมนัส อรุณวัฒนาพร, นายประดิษฐ์พงษ์ สุขสิริถาวรกุล, นายจรูญ อุทัยวนิชวัฒนา, น.ส.เทพกัญญา ขัติแสง, น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล

ฝ่ายโฆษณา

สุพจน์ แสงวิมล, กฤษณะ หลักทรัพย์, วีณา รักดีศิริสัมพันธ์

จัดท�ำโดย

บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด

539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม ชั้น 22 A ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2247 2330, 0 2247 2339, 0 2642 5243, 0 2642 5241 (ฝ่ายโฆษณา ต่อ 112-113) โทรสาร 0 2247 2363 www.DIRECTIONPLAN.org E-mail : DIRECTIONPLAN@hotmail.com


Interview สัมภาษณ์พิเศษ

น�ำชัย หล่อวัฒนตระกูล

กับภารกิจน�ำ PEA สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

นายน�ำชัย หล่อวัฒนตระกูล นับเป็นผู้ว่าการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) หรือ Provincial Electricity Authority (PEA) คนที่ 12 ต่อจากนายณรงค์ศักดิ์ ก�ำมเลศ ผู้ว่าการคนก่อน เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2555 ที่ผ่านมา การเข้ามารับต�ำแหน่งของนายน�ำชัย นับเป็นก้าวทีท่ า้ ทายและมีความส�ำคัญยิง่ ต่อการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค เพราะเป็นช่วงที่ ต้องปรับตัวและพัฒนาในหลาย ๆ ด้าน เพื่อเตรียมความพร้อมส�ำหรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC นิตยสารไฟฟ้าสารได้รบั เกียรติจากท่านผูว้ า่ การคนล่าสุดทีจ่ ะมาเปิดเผยถึงทิศทางการก้าวเดินของการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ทิศทางต่อจากนี้ไปจึงเป็นก้าวที่น่าจับตาเป็นอย่างยิ่ง

เป้าหมายเชิงกลยุทธ์เพื่อก้าวที่มั่นคงของ องค์กร

นายน�ำชัย หล่อวัฒนตระกูล ผู้ว่าการ การไฟฟ้า ส่ ว นภู มิ ภ าค เปิ ด เผยถึ ง ทิ ศ ทางการด� ำ เนิ น งานของ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค หรือ PEA ในอนาคตว่า ได้กำ� หนด เป้าหมายเชิงกลยุทธ์เพื่อให้องค์กรก้าวไปข้างหน้าอย่าง มั่นคง ครอบคลุมการด�ำเนินงาน 6 ด้าน ประกอบด้วย 1. ด้านโครงสร้างองค์กร ก�ำลังพิจารณาปรับปรุง เพื่อให้องค์กรมีโครงสร้างที่ค่อนข้างแบนราบ เพื่อให้ สั่งการได้อย่างรวดเร็ว 2. ด้านบุคลากร PEA ได้แยกสายงานบริหารกับ สายงานวิชาการออกจากกันอย่างชัดเจน 3. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่ง PEA ค่อนข้างมี ความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ด้านการรองรับ AEC ซึ่ง PEA มีแผนค่อนข้าง ชัดเจน ประกอบกับไทยอยูช่ ายแดนและจ�ำหน่ายไฟฟ้า จึง ต้องวางแผนตัง้ สถานีไฟฟ้าทีร่ องรับนิคมอุตสาหกรรมทีจ่ ะ เกิดขึ้น รวมทั้งเตรียมรองรับรถไฟฟ้าความเร็วสูง (High Speed Train) ซึ่งในอนาคตต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน

14

5. ด้านสังคมและสิง่ แวดล้อม เพือ่ สร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่องค์กร 6. เรือ่ งความโปร่งใส มีคณ ุ ธรรม ซึง่ ทุกองค์กรต้อง มีและถือเป็นหลักในการท�ำงาน

ส� ำ หรั บ นโยบายหลั ก ในการบริ ห ารงานผู ้ ว ่ า การ คนใหม่ได้กำ� หนดไว้รวม 10 ด้าน ดังนี้ 1. Beyond to Smart Grid ประกาศเป็น Roadmap ในการท�ำโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) ที่มี ศักยภาพและทันสมัย โดยในปี 2557 จะด�ำเนินการให้เป็น รูปธรรมมากทีส่ ดุ การพัฒนาระบบมิเตอร์อจั ฉริยะ (AMI) ระบบ Micro GRID และระบบ Energy Storage เพิ่ม เสถียรภาพของระบบไฟฟ้า เพื่อรองรับพลังงานทดแทนที่ จะเพิ่มขึ้น รวมถึงธุรกิจด้านสถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า 2. Road to LED คือ PEA จะเป็นผู้น�ำด้านการ ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ การประหยัดพลังงาน โดยใช้เทคโนโลยีหลอด LED ในทุกภาคส่วน


3. Green Investment โดย PEA จะลงทุนในธุรกิจ ด้านพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นต้นทางของแหล่งพลังงาน สะอาด แสวงหาการลงทุนในธุรกิจพลังงานสีเขียว และ การลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานเพื่ออนาคต ผ่านบริษัท PEA ENCOM 4. Green Office พัฒนาจุดบริการลูกค้าหรือ Front Office ให้เป็น Smart Front Office โดยแยก Front Office กับ Back Office ออกจากกัน และพัฒนา Back Office ให้เป็น Green Office 5. 100% Electrified ขยายเขตระบบไฟฟ้าให้ ครอบคลุ ม ทุ ก ครั ว เรื อ นทั่ ว ประเทศ เพิ่ ม คุ ณ ภาพและ ความเชือ่ ถือได้ของระบบไฟฟ้าทัง้ พืน้ ทีใ่ นเขตเมือง ชนบท การเกษตร และพื้นที่ห่างไกลทั่วประเทศให้ได้ 100% ตามนโยบายรั ฐ บาล และหลั ง จากที่ จ ่ า ยไฟฟ้ า ให้ แ ก่ ครัวเรือนครบ 100% แล้วจะด�ำเนินการเรื่องไฟเกษตร ขณะเดียวกันก็จะมองในภาพเมืองใหญ่ ซึ่งไม่ใช่การขยาย เขตไฟฟ้าเพียง 100% เท่านั้น แต่ต้องท�ำอย่างไรไม่ให้ ไฟดับหรือไฟดับน้อยที่สุด พัฒนาความมั่นคงระบบไฟฟ้า มีระบบไฟฟ้าส�ำรอง ตลอดจนมาตรการป้องกันการเกิด ปัญหาไฟดับทั้งเมืองและมีแผนการแก้ไขที่ชัดเจน

7. Community Partnership เนือ่ งจาก PEA เติบโต มากับชุมชน การท�ำ CSR จึงมุ่งเชื่อมโยงเข้าไปหาชุมชน ให้มากที่สุด 8. Moving to AEC มุ่งยกระดับคุณภาพแรงงาน ของ PEA ให้สามารถแข่งขันกับแรงงานแถบชายแดนให้ ได้ และต้องมีการเตรียมความพร้อมบุคลากรด้านภาษา อังกฤษเพื่อรองรับ AEC 9. High Quality & Qualified Labor มุ่งยกระดับ แรงงาน โดยการจดทะเบียนแรงงานเป็นแรงงานพื้นฐาน แรงงานทักษะ และแรงงานที่มีความช�ำนาญสูง ซึ่งต้อง รี บ ด� ำ เนิ น การเพราะมี ผ ลกั บ รายได้ แ ละคุ ณ ภาพชี วิ ต ของแรงงาน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้เรื่องความปลอดภัย ให้มากที่สุด 10. PEA Rebranding จะด�ำเนินการสร้างความรู้ ความเข้าใจในภาพลักษณ์ใหม่เพือ่ ให้การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค แตกต่างจากองค์กรอื่นในด้านการแข่งขัน ไม่ให้ลูกค้า สับสน และรู้จัก PEA มากขึ้น

ร า ส า ้ ฟ ไฟ PEA รุ ก สู ่ พ ลั ง งานสี เ ขี ย วและประหยั ด พลังงาน

จากนโยบายหลัก 10 ด้านข้างต้น มีภารกิจเร่งด่วน ที่ต้องด�ำเนินการ 3 เรื่องประกอบด้วย 1. ด้านพลังงานทดแทน มีแผนส่งเสริมโครงการ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ไบโอแก๊ส ไบโอแมส จากชุมชนและเกษตรกรโดยจัดท�ำโครงการ 1 ต�ำบล 1 MW ซึ่งเป็นนโยบายของรัฐบาล เป้าหมาย 800 แห่ง รวม 800 MW

2. Beyond To Smart Grid คือการพัฒนาโครงข่าย ไฟฟ้ า ให้ เ ป็ น โครงข่ า ยไฟฟ้ า อั จ ฉริ ย ะที่ มี ศั ก ยภาพ และทันสมัย โดยจะพัฒนาระบบมิเตอร์อัจฉริยะ (AMI) ระบบ Micro Grid และระบบ Energy Storage เพื่อเพิ่ม 6. Zero Accident ยกระดับเรือ่ งความปลอดภัยให้ ความเสถียรของระบบไฟฟ้าเพื่อรองรับพลังงานทดแทน เป็นยุทธศาสตร์ ปลูกฝังและมุง่ เน้นการฝึกอบรมบุคลากร ที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 11 PEA มีการพัฒนาระบบไฟฟ้าให้มี โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัยในทุกด้าน มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

15


ประสิทธิภาพและตอบสนองความต้องการของประชาชน ให้เกิดความพึงพอใจสูงสุดและมุง่ เน้นการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานระบบไฟฟ้าในรูปแบบใหม่ เพื่อรองรับพลังงาน ทดแทน และเทคโนโลยีการบริหารจัดการการใช้พลังงาน ที่มีประสิทธิภาพที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยได้จัดท�ำ PEA Smart Grid Roadmap มีระยะเวลาด�ำเนินงาน 15 ปี 3. Road to LED หรือ PEA LED เป็นผู้นำ� เรื่อง การใช้เทคโนโลยีหลอด LED ที่สามารถเปลี่ยนหลอดไฟ ให้ลดการใช้พลังงานได้ 50% โดยขณะนี้ได้เริ่มเปลี่ยน หลอดไฟฟ้า LED ณ อาคารส�ำนักงานใหญ่ จ�ำนวน 5,000 หลอด และส�ำนักงานอาคาร 900 กว่าแห่งของ PEA ทั่วประเทศ จ�ำนวน 200,000 หลอด และอยู่ระหว่าง ขออนุมัติคณะรัฐมนตรีเพื่อเปลี่ยนหลอดไฟทางหลวงอีก 400,000 หลอด นอกจากนี้ ปัจจุบัน PEA ยังรับภาระ ค่าไฟฟ้าสาธารณะพื้นที่เทศบาลและองค์การบริหารส่วน ต�ำบล ปีละประมาณ 6,000 ล้านบาท หากเปลี่ยนมาใช้ หลอด LED จะช่วยประหยัดค่าไฟได้ถึง 3,000 ล้านบาท

การเข้าสู่ AEC ในอนาคตได้ โดยปัจจุบัน PEA ได้เปิด ศูนย์ฝึกปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูง อ�ำเภอนครชัยศรี จังหวัด นครปฐม อย่างเป็นทางการตั้งแต่วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 เพือ่ จัดฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรทางด้านเทคนิค ให้แก่พนักงานของ PEA และบุคคลภายนอกด้วย รวมทั้ง การฝึกอบรมพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานและให้การรับรอง ฝีมือแรงงาน

ความร่ ว มมื อ กั บ วสท.ในกิ จ กรรมด้ า น วิศวกรรมไฟฟ้า

นายน�ำชัยกล่าวว่า เนือ่ งจาก PEA เป็นองค์กรใหญ่ ที่มีวิศวกรและช่างท�ำงานด้านวิศวกรรมอยู่เป็นจ�ำนวน มาก ต้องใช้ความรู้และมาตรฐานวิศวกรรมในการปฏิบัติ งาน ขณะที่ วสท.เป็นองค์กรวิชาชีพที่มีบทบาทส�ำคัญ ด้านมาตรฐานวิศวกรรม ที่ผ่านมา PEA ได้มอบหมายให้ พนักงานเข้าร่วมท�ำงานและร่วมกิจกรรมของ วสท.อย่าง ต่อเนื่อง ปัจจุบัน PEA มุ่งมั่นพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) จึงต้องร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ รวมทั้ง วสท. เพื่อจัดท�ำ พัฒนา และปรับปรุงแก้ไขมาตรฐานที่ เกี่ยวข้องต่อไป

ร า ส า ้ ฟ ไฟ เร่งพัฒนาฝีมือแรงงาน เสริมสร้างความ ปลอดภัยครัวเรือน

PEA เตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC

ส�ำหรับการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 นายน�ำชัยกล่าวว่า ได้เตรียม การพัฒนาศักยภาพและความพร้อมในทุกด้าน ไม่ว่าจะ เป็นความรูค้ วามช�ำนาญด้านเทคนิคหรือความรูด้ า้ นภาษา เพือ่ รองรับการเข้าสู่ AEC ในอีก 2 ปีขา้ งหน้า เช่น การเพิม่ ทักษะฝีมอื แรงงาน แสวงหาโอกาสในการลงทุนและพัฒนา ธุรกิจ การสร้างพันธมิตรในกลุ่ม AEC โดยการลงทุน ในประเทศเพื่ อ นบ้ า นที่ มี ศั ก ยภาพ เช่ น พม่ า ลาว กัมพูชา ฯลฯ มุ่งผลักดันและเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนา ศักยภาพแรงงานและจดทะเบียนแรงงาน สนับสนุนให้ ช่างฝีมือแรงงานของประเทศไทยมีทักษะคุณภาพพร้อม แข่งขันในระดับสากล สามารถโยกย้ายแรงงานรองรับ

16

แม้ทผี่ า่ นมาจะมีความพยายามในการพัฒนาทักษะ ฝีมือแรงงานในภาคไฟฟ้ามาอย่างต่อเนื่อง แต่ยังมีปัญหา ด้านความปลอดภัยจากการใช้ไฟฟ้า ดังจะเห็นปัญหา การเกิดไฟฟ้าลัดวงจรที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดเพลิงไหม้ สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

“ท�ำอย่างไรจึงจะสามารถสร้างความปลอดภัย จากการใช้ไฟฟ้าในระดับครัวเรือนได้ การพัฒนาฝีมือ แรงงานช่างติดตั้งทางไฟฟ้ามีส่วนส�ำคัญที่จะท�ำให้เกิด ความปลอดภัยจากการใช้ไฟฟ้าในบ้านเรือนประชาชน ซึ่งจ�ำเป็นต้องมีการฝึกอบรมพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน และให้การรับรองฝีมือแรงงาน นอกจากจะเป็นการยก ระดับแรงงานในประเทศแล้ว ยังสามารถสร้างมาตรฐาน และความปลอดภัยจากการใช้ไฟฟ้าให้แก่ประชาชนได้ อี ก ทางหนึ่ ง ซึ่ ง สิ่ ง นี้ เ ป็ น อี ก ภารกิ จ หนึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ของ การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคที่ จ ะมุ ่ ง มั่ น ด� ำ เนิ น การต่ อ ไป” ผู้ว่าการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคกล่าวทิ้งท้าย


Standard & Safety มาตรฐานและความปลอดภัย นายลือชัย ทองนิล อีเมล : luachai@yahoo.com

ขยายความมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า ส�ำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 ตอน สายไฟฟ้าตามมาตรฐานใหม่ มอก.11-2553 พร้อมใช้งานแล้ว

ร า ส า ้ ฟ ไฟ ขยายความมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าฉบับนี้ แตกต่ า งไปจากบทความที่ ผ ่ า นมา เพราะมาตรฐาน สายไฟฟ้า มอก.11-2553 ประกาศเป็นมาตรฐานบังคับแล้ว ตามพระราชกฤษฎีกาก�ำหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สายไฟฟ้าหุ้มฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด์ แรงดันไฟฟ้าที่ ก�ำหนดไม่เกิน 450/750 โวลต์ ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน พ.ศ. 2555 ให้ไว้ ณ วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2555 พระราชกฤษฎีกานีใ้ ห้ใช้บงั คับเมือ่ พ้นก�ำหนดสองร้อยเจ็ด สิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป จึงมีค�ำเรียกร้องจากหลายฝ่ายให้ผู้เขียนน�ำบทความที่ได้ เคยเผยแพร่ไปแล้วมาลงอีกเพื่อทวนความจ�ำ จึงเป็นไป ตามค�ำขอโดยมีการปรับปรุงเนื้อหาที่จ�ำเป็นบางส่วนตาม ความจ�ำเป็น

ตัวอย่างสายไฟฟ้าตามมาตรฐานเดิม

สายไฟฟ้าตามมาตรฐานใหม่นจี้ ะเปลีย่ นไปจากเดิม มากทีเดียว จ�ำเป็นที่ผู้ที่เกี่ยวข้องก็จะต้องเรียนรู้และตาม ให้ทันเพื่อจะได้เลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม และเพื่อการ วางแผนส�ำหรับโครงการที่ต้องใช้เวลาติดตั้งนาน ซึ่งอาจ ต้องใช้สายทีผ่ ลิตตามมาตรฐานเดิมและมาตรฐานใหม่ปน กัน สายไฟฟ้าตามมาตรฐานใหม่นี้อ้างอิงตามมาตรฐาน IEC 60227 แต่ก็ยังคงสายตามมาตรฐานเดิมอยู่บ้าง เนื่องจากยังเป็นที่นิยมใช้งานอยู่

ความเป็นมา

มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรมสายไฟฟ้ า หุ้มฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด์ แรงดันไฟฟ้าที่ก�ำหนดไม่ เกิน 450/750 โวลต์ นี้ ได้ประกาศใช้เป็นครั้งแรกเป็น มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสายไฟฟ้าชนิดตัวน�ำ ทองแดงกลม หุม้ ด้วยฉนวนและเปลือกนอกโพลีไวนิลคลอไรด์ มาตรฐานเลขที่ มอก.11-2513 ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 88 ตอนที่ 136 วันที่ 7 ธันวาคม พุทธศักราช 2514 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

17


และได้ประกาศยกเลิกและก�ำหนดใหม่เป็นมาตรฐานเลขที่ มอก.11-2518 ในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 92 ตอนที่ 210 วันที่ 10 ตุลาคม พุทธศักราช 2518 ต่อมาได้ประกาศ ยกเลิกและก�ำหนดใหม่ครัง้ ทีส่ องเป็นมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมสายไฟฟ้าทองแดงหุม้ ด้วยโพลิไวนิลคลอไรด์ มาตรฐานเลขที่ มอก.11-2531 ในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 106 ตอนที่ 14 วันที่ 26 มกราคม พุทธศักราช 2532 ต่ อ มาได้ ป ระกาศยกเลิ ก และก� ำ หนดใหม่ ค รั้ ง ที่ ส าม เป็นมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมสายไฟฟ้าหุม้ ฉนวน พอลิไวนิลคลอไรด์ แรงดันไฟฟ้าทีก่ ำ� หนดไม่เกิน 450/750 โวลต์ ขึ้นมาใหม่ โดยแยกเป็น 6 เล่ม ดังนี้ 1. มอก.11 เล่ม 1 สายไฟฟ้าหุ้มฉนวนพอลิไวนิล คลอไรด์ แรงดันไฟฟ้าที่ก�ำหนดไม่เกิน 450/750 โวลต์ เล่ม 1 ข้อก�ำหนดทั่วไป 2. มอก.11 เล่ม 2 สายไฟฟ้าหุ้มฉนวนพอลิไวนิล คลอไรด์ แรงดันไฟฟ้าที่ก�ำหนดไม่เกิน 450/750 โวลต์ เล่ม 2 วิธีทดสอบ 3. มอก.11 เล่ม 3 สายไฟฟ้าหุ้มฉนวนพอลิไวนิล คลอไรด์ แรงดันไฟฟ้าที่ก�ำหนดไม่เกิน 450/750 โวลต์ เล่ม 3 สายไฟฟ้าไม่มีเปลือกส�ำหรับงานติดตั้งยึดกับที่ 4. มอก.11 เล่ม 4 สายไฟฟ้าหุ้มฉนวนพอลิไวนิล คลอไรด์ แรงดันไฟฟ้าที่ก�ำหนดไม่เกิน 450/750 โวลต์ เล่ม 4 สายไฟฟ้ามีเปลือกส�ำหรับงานติดตั้งยึดกับที่ 5. มอก.11 เล่ม 5 สายไฟฟ้าหุ้มฉนวนพอลิไวนิล คลอไรด์ แรงดันไฟฟ้าที่ก�ำหนดไม่เกิน 450/750 โวลต์ เล่ม 5 สายอ่อน 6. มอก.11 เล่ม 101 สายไฟฟ้าหุ้มฉนวนพอลิไวนิล คลอไรด์ แรงดันไฟฟ้าที่ก�ำหนดไม่เกิน 450/750 โวลต์ เล่ม 101 สายไฟฟ้ามีเปลือกส�ำหรับงานทั่วไป

ให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ต่อมาเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2555 มีพระราชกฤษฎีกาก�ำหนดให้ผลิตภัณฑ์ อุ ต สาหกรรมสายไฟฟ้ า หุ ้ ม ฉนวนพอลิ ไ วนิ ล คลอไรด์ แรงดันไฟฟ้าที่ก�ำหนดไม่เกิน 450/750 โวลต์ ต้องเป็น ไปตามมาตรฐาน ดังนั้นมาตรฐาน มอก.11-2553 จึงมี ผลบังคับใช้ ซึง่ ก็จะมีชว่ งเวลาให้เตรียมการระยะหนึง่ ตาม ที่กล่าวแล้วข้างต้น

ชนิดของสายไฟฟ้าตามมาตรฐานใหม่

ในมาตรฐานใหม่นี้ การแบ่งชนิดของสายไฟฟ้าจะ เลียนแบบมาตรฐาน IEC 60227 เรียกว่ารหัสชนิด การก�ำหนดรหัสชนิดจะใช้หมายเลข 2 ตัว ตามหลัง มาตรฐานอ้างอิง IEC หมายเลขแรก เป็นการระบุชั้น พื้นฐานของสายไฟฟ้า และหมายเลขที่สองเป็นการระบุ แบบเฉพาะที่อยู่ในชั้นพื้นฐานของสายไฟฟ้านั้น ขนาดของสายไฟฟ้าตามมาตรฐานใหม่ก็ต่างไป จากเดิมบ้าง ส�ำหรับแรงดันใช้งานนั้น แม้ในมาตรฐาน จะก�ำหนดแรงดันของสายไฟฟ้าไว้ เรียกว่าแรงดันไฟฟ้าที่ ก�ำหนดไม่เกิน 450/750 โวลต์ ก็ตาม แต่ในรายละเอียด ของสายไฟฟ้าแต่ละชนิดอาจมีแรงดันใช้งานต�่ำกว่าได้ ซึง่ ต้องดูรายละเอียดเพิม่ เติมในรายละเอียดต่อไป มาตรฐาน เล่ม 1 เป็นข้อก�ำหนดทั่วไป เล่ม 2 เป็นวิธีทดสอบ และส�ำหรับสายไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ จะเริ่มจากเล่ม 3 ดังนี้

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

สายไฟฟ้ า ทองแดงหุ ้ ม ฉนวนพี วี ซี ที่ มี ใ ช้ ง านเดิ ม เป็นสายที่ผลิตตามมาตรฐาน มอก.11-2531 ซึ่งเป็น มาตรฐานบังคับ ต่อมาเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2553 ได้มีการประกาศมาตรฐานสายไฟฟ้าฉบับใหม่คือ มอก. 11-2553 ใช้ชื่อว่า สายไฟฟ้าหุ้มฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด์ แรงดันที่ก�ำหนด 450/750 โวลต์ แต่ถึงแม้จะประกาศ เป็นมาตรฐานตั้งแต่ พ.ศ. 2553 แล้วก็ตาม แต่ก็ยังไม่มี ผลบังคับใช้ เนื่องจากยังไม่มีพระราชกฤษฎีกาก�ำหนด

18

1. มอก.11-2553 เล่ม 3 สายไฟฟ้าไม่มี เปลือกส�ำหรับงานติดตั้งยึดกับที่

เป็นสายชนิดไม่มเี ปลือก ส�ำหรับงานทัว่ ไป ก�ำหนด รหั ส ตั ว แรกเป็ น 0 โดยมาตรฐานของสายเล่ ม นี้ มี จุดประสงค์ส�ำหรับงานติดตั้งยึดกับที่ แบ่งเป็น 8 แบบ (ชนิด) คือ • 01 หมายถึง สายไฟฟ้าแกนเดี่ยวไม่มีเปลือก ชนิดตัวน�ำสายแข็ง (rigid) ส�ำหรับงานทัว่ ไป อุณหภูมขิ อง ตัวน�ำ 70 องศาเซลเซียส ฉนวนเป็นสารประกอบพอลิไวนิล คลอไรด์ประเภท PVC/C ก�ำหนดรหัสชนิดเป็น 60227 IEC 01 มีขนาดตั้งแต่ 1.5 ตร.มม. จนถึง 400 ตร.มม. แรงดันใช้งาน 450/750 โวลต์


• 02 หมายถึง สายไฟฟ้าแกนเดี่ยวไม่มีเปลือก 2. มอก.11-2553 เล่ม 4 สายไฟฟ้ามีเปลือก

ชนิดตัวน�ำสายอ่อน (flexible conductor) ส�ำหรับงาน ทั่วไป อุณหภูมิของตัวน�ำ 70 องศาเซลเซียส ฉนวนเป็น สารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ประเภท PVC/C ก�ำหนด รหัสชนิดเป็น 60227 IEC 02 มีขนาดตั้งแต่ 1.5 ตร.มม. จนถึง 240 ตร.มม. แรงดันใช้งาน 450/750 โวลต์ • 05 หมายถึง สายไฟฟ้าแกนเดี่ยวไม่มีเปลือก ชนิดตัวน�ำเส้นเดี่ยว ส�ำหรับงานเดินสายไฟฟ้าภายใน อุ ณ หภู มิ ข องตั ว น� ำ 70 องศาเซลเซี ย ส ฉนวนเป็ น สารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ประเภท PVC/C ก�ำหนด รหัสชนิดเป็น 60227 IEC 05 มีใช้งานเพียง 3 ขนาด คือ 0.5, 0.75 และ 1.0 ตร.มม. แรงดันใช้งาน 300/500 โวลต์ • 06 หมายถึง สายไฟฟ้าแกนเดี่ยวไม่มีเปลือก ชนิดตัวน�ำสายอ่อน ส�ำหรับงานเดินสายไฟฟ้าภายใน อุ ณ หภู มิ ข องตั ว น� ำ 70 องศาเซลเซี ย ส ฉนวนเป็ น สารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ประเภท PVC/C ก�ำหนด รหัสชนิดเป็น 60227 IEC 06 มีใช้งานเพียง 3 ขนาด คือ 0.5, 0.75 และ 1.0 ตร.มม. แรงดันใช้งาน 300/500 โวลต์ • 07 หมายถึง สายไฟฟ้าแกนเดี่ยวไม่มีเปลือก ชนิดตัวน�ำเส้นเดี่ยว ส�ำหรับงานเดินสายไฟฟ้าภายใน อุ ณ หภู มิ ข องตั ว น� ำ 90 องศาเซลเซี ย ส ฉนวนเป็ น สารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ประเภท PVC/E ก�ำหนด รหัสชนิดเป็น 60227 IEC 07 มีใช้งาน 5 ขนาดคือ 0.5, 0.75, 1.0, 1.5 และ 2.5 ตร.มม. แรงดันใช้งาน 300/500 โวลต์ • 08 หมายถึง สายไฟฟ้าแกนเดี่ยวไม่มีเปลือก ชนิดตัวน�ำสายอ่อน ส�ำหรับงานเดินสายไฟฟ้าภายใน อุ ณ หภู มิ ข องตั ว น� ำ 90 องศาเซลเซี ย ส ฉนวนเป็ น สารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ประเภท PVC/E ก�ำหนด รหัสชนิดเป็น 60227 IEC 08 มีใช้งาน 5 ขนาดคือ 0.5, 0.75, 1.0, 1.5 และ 2.5 ตร.มม. แรงดันใช้งาน 300/500 โวลต์

ส�ำหรับงานติดตั้งยึดกับที่

เป็ น สายชนิ ด มี เ ปลื อ ก ส� ำ หรั บ งานติ ด ตั้ ง ถาวร ก� ำ หนดรหั ส ตั ว แรกเป็ น 1 ส� ำ หรั บ งานติ ด ตั้ ง ถาวรมี 1 ชนิดคือ • 10 หมายถึง สายไฟฟ้ามีเปลือกพอลิไวนิลคลอไรด์ เบา อุณหภูมิของตัวน�ำ 70 องศาเซลเซียส ฉนวนเป็น สารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ประเภท PVC/C เปลือก ที่หุ้มทับเปลือกในเป็นสารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ ประเภท PVC/ST4 ก�ำหนดรหัสชนิดเป็น 60227 IEC 10 เป็นสายชนิดหลายแกน มีตั้งแต่ 2 ถึง 5 แกน มีขนาดตั้งแต่ 1.5 ตร.มม. ถึง 35 ตร.มม. แรงดันใช้งาน 300/500 โวลต์

ร า ส า ้ ฟ ไฟ 3. มอก.11-2553 เล่ม 5 สายอ่อน ประกอบ ด้วยสาย 2 กลุม่ ดังนี้

หมายเลขแรกเป็น 4 หมายถึง สายไฟฟ้าอ่อน ส�ำหรับงานตกแต่งภายใน ไม่มีเปลือกส�ำหรับงานเบา 2 ชนิดคือ • 41 หมายถึง สายอ่อนทินเซลแบน อุณหภูมิของ ตัวน�ำ 70 องศาเซลเซียส ฉนวนเป็นสารประกอบพอลิไวนิล คลอไรด์ประเภท PVC/D ก�ำหนดรหัสชนิดเป็น 60227 IEC 41 เป็นสายชนิด 2 แกน มีขนาดเดียวคือ 0.8 ตร.มม. แรงดันใช้งาน 300/300 โวลต์ • 43 หมายถึง สายอ่อนส�ำหรับไฟประดับตกแต่ง ภายใน อุณหภูมิของตัวน�ำ 70 องศาเซลเซียส ฉนวนเป็น สารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ประเภท PVC/D ก�ำหนด รหัสชนิดเป็น 60227 IEC 43 เป็นสายชนิดแกนเดี่ยว มี 2 ขนาด คือ 0.5 และ 0.75 ตร.มม. แรงดันใช้งาน 300/300 โวลต์ หมายเลขแรกเป็น 5 หมายถึง สายไฟฟ้าอ่อน มีเปลือกพอลิไวนิลคลอไรด์เบา ส�ำหรับการใช้งานปกติ 4 ชนิดคือ

มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

19


• 52 หมายถึ ง สายอ่ อ นมี เ ปลื อ กพอลิ ไ วนิ ล

คลอไรด์เบา อุณหภูมขิ องตัวน�ำ 70 องศาเซลเซียส ฉนวน เป็ น สารประกอบพอลิ ไ วนิ ล คลอไรด์ ป ระเภท PVC/D เปลือกเป็นสารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ชนิด PVC/ ST5 ก�ำหนดรหัสชนิดเป็น 60227 IEC 52 เป็นสายชนิด 2 และ 3 แกน มี 2 ขนาด คือ 0.5 และ 0.75 ตร.มม. แรงดันใช้งาน 300/300 โวลต์ • 5 3 หมายถึ ง สายอ่ อ นมี เ ปลื อ กพอลิ ไ วนิ ล คลอไรด์ธรรมดา อุณหภูมิของตัวน�ำ 70 องศาเซลเซียส ฉนวนเป็นสารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ประเภท PVC/D เปลือกเป็นสารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ชนิด PVC/ST5 ก�ำหนดรหัสชนิดเป็น 60227 IEC 53 เป็นสายชนิดหลาย แกน มีตั้งแต่ 2 ถึง 5 แกน มี 4 ขนาดคือ 0.75, 1.0, 1.5 และ 2.5 ตร.มม. แรงดันใช้งาน 300/500 โวลต์ • 5 6 หมายถึ ง สายอ่ อ นมี เ ปลื อ กพอลิ ไ วนิ ล คลอไรด์ เ บา ทนความร้ อ น อุ ณ หภู มิ ข องตั ว น� ำ 90 องศาเซลเซียส ฉนวนเป็นสารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ ประเภท PVC/E เปลื อ กเป็ น สารประกอบพอลิ ไ วนิ ล คลอไรด์ชนิด PVC/ST10 ก�ำหนดรหัสชนิดเป็น 60227 IEC 56 เป็นสายชนิด 2 และ 3 แกน มี 2 ขนาด คือ 0.5 และ 0.75 ตร.มม. แรงดันใช้งาน 300/300 โวลต์ • 5 7 หมายถึ ง สายอ่ อ นมี เ ปลื อ กพอลิ ไ วนิ ล คลอไรด์ธรรมดา ทนความร้อน อุณหภูมิของตัวน�ำ 90 องศาเซลเซียส ฉนวนเป็นสารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ ประเภท PVC/E เปลื อ กเป็ น สารประกอบพอลิ ไ วนิ ล คลอไรด์ชนิด PVC/ST10 ก�ำหนดรหัสชนิดเป็น 60227 IEC 57 เป็นสายชนิดหลายแกน มีตั้งแต่ 2 ถึง 5 แกน มี 4 ขนาดคือ 0.75, 1.0, 1.5 และ 2.5 ตร.มม. แรงดัน ใช้งาน 300/500 โวลต์

• สาย VAF เป็นสายไฟฟ้าหุ้มด้วยฉนวนและ

เปลือก อุณหภูมิของตัวน�ำ 70 องศาเซลเซียส ฉนวนเป็น สารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ประเภท PVC/C เปลือก เป็ น สารประกอบพอลิ ไ วนิ ล คลอไรด์ ช นิ ด PVC/ST4 ก�ำหนดรหัสชนิดเป็น VAF กรณีมีสายดินใช้รหัสชนิดเป็น VAF-G หรือ VAF/G ชนิดสายแบน มีทั้งชนิด 2 แกน และ 2 แกนมีสายดิน ขนาดตั้งแต่ 1.0 ตร.มม. ถึง 16 ตร.มม. สายดินมีขนาดเท่ากับสายเส้นไฟ แรงดันใช้งาน 300/500 โวลต์ • สาย NYY เป็นสายไฟฟ้าหุ้มด้วยฉนวนและ เปลือก อุณหภูมิของตัวน�ำ 70 องศาเซลเซียส ฉนวนเป็น สารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ประเภท PVC/C เปลือก เป็ น สารประกอบพอลิ ไ วนิ ล คลอไรด์ ช นิ ด PVC/ST4 ก�ำหนดรหัสชนิดเป็น NYY กรณีมีสายดินใช้รหัสชนิด เป็น NYY-G หรือ NYY/G ชนิดสายกลม มีชนิดแกนเดี่ยว 2 แกน 3 แกน และ 4 แกน และหลายแกนมีสายดินด้วย แรงดันใช้งาน 450/750 โวลต์ มีหลายขนาดดังนี้ n สายแกนเดี่ยว มีขนาดตั้งแต่ 1.0 ถึง 500 ตร.มม. n สายหลายแกน มีขนาดตั้งแต่ 50 ถึง 300 ตร.มม. n สายหลายแกนมีสายดิน มีขนาดตั้งแต่ 25 ถึง 300 ตร.มม. • สาย VCT เป็นสายไฟฟ้าหุ้มด้วยฉนวนและ เปลือก อุณหภูมิของตัวน�ำ 70 องศาเซลเซียส ฉนวนเป็น สารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ประเภท PVC/D เปลือก เป็ น สารประกอบพอลิ ไ วนิ ล คลอไรด์ ช นิ ด PVC/ST5 ก�ำหนดรหัสชนิดเป็น VCT กรณีมีสายดินใช้รหัสชนิดเป็น VCT-G หรือ VCT/G ชนิดสายกลม มีชนิดแกนเดี่ยว 2 แกน 3 แกน และ 4 แกน และหลายแกนมีสายดินด้วย 4. มอก.11-2553 เล่ม 101 สายไฟฟ้ามี แรงดันใช้งาน 450/750 โวลต์ มีตั้งแต่ขนาด 4 ตร.มม. เปลือกส�ำหรับงานทั่วไป ถึง 35 ตร.มม. ทั้งชนิดแกนเดี่ยวและชนิดหลายแกน แม้มาตรฐาน มอก.11-2531 จะยกเลิก แต่จะ รวมทั้งหลายแกนที่มีสายดินด้วย ยังคงสายไฟฟ้าบางชนิดที่นิยมใช้งานไว้ในมาตรฐานใหม่ โดยจะลดสายบางขนาดลง พร้อมทั้งสีของสายจะเปลี่ยน ไปตามมาตรฐานใหม่ปี 2553 และจะเปลี่ยนมาตรฐาน ไปเป็นมาตรฐานฉบับใหม่ ดังนี้

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

20


การเปลี่ยนแปลงที่สำ� คัญ

1. แรงดันไฟฟ้าที่ก�ำหนด สายไฟฟ้าตามมาตรฐาน มอก.11-2553 ก�ำหนด แรงดันไฟฟ้าใช้งานเป็นค่า U0/U ไว้ไม่เกิน 450/750 โวลต์ แรงดัน U0 หมายถึงแรงดันไฟฟ้าวัดเทียบกับดิน เป็นค่า รากของก�ำลังสองเฉลี่ย (r.m.s.) และ U หมายถึงแรงดัน ไฟฟ้าระหว่างตัวน�ำ เป็นค่ารากของก�ำลังสองเฉลีย่ เช่นกัน ในระบบไฟฟ้ากระแสสลับ แรงดันไฟฟ้าระบุของ ระบบต้องมีคา่ ไม่เกินแรงดันไฟฟ้าทีก่ ำ� หนดของสายไฟฟ้า ในระบบไฟฟ้ากระแสตรง แรงดันไฟฟ้าระบุของระบบ ต้องมีค่าไม่เกิน 1.5 เท่าของแรงดันไฟฟ้าที่ก�ำหนดของ สายไฟฟ้า แรงดันตามมาตรฐานใหม่นี้มีข้อดีกว่ามาตรฐาน เดิ ม เนื่ อ งจากสายไฟฟ้ า ตามมาตรฐานเดิ ม ก� ำ หนด แรงดันใช้งานไว้ค่าเดียว แต่แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ 300 โวลต์ และ 750 โวลต์ จึงมีปัญหาว่าสายที่มีแรงดัน ที่กำ� หนด 300 โวลต์ เช่น สาย VAF ตาม มอก.11-1531 จะไม่สามารถน�ำไปใช้ในระบบ 3 เฟส 4 สาย ที่เป็นระบบ แรงดัน 230/400 โวลต์ ได้ แต่สาย VAF ตามมาตรฐาน มอก.11-2553 ก�ำหนดแรงดันใช้งาน 300/500 โวลต์ จึงหมดปัญหา 2. อุณหภูมิที่กำ� หนด สายไฟฟ้าตามมาตรฐานเดิมก�ำหนดอุณหภูมใิ ช้งาน ไว้ที่ 70OC ค่าเดียว แต่สายตามมาตรฐานใหม่นี้กำ� หนด อุณหภูมิใช้งานของสายไว้สองค่าคือ 70OC และ 90OC ข้อแนะน�ำการใช้งาน 1. สายที่ระบุอุณหภูมิของตัวน�ำ 70OC แนะน�ำให้ อุณหภูมิสูงสุดของตัวน�ำในการใช้งานปกติเท่ากับ 70OC 2. สายที่ระบุอุณหภูมิของตัวน�ำ 90OC แนะน�ำว่า สารประกอบ PVC ที่เหมาะสมในการใช้งานอย่างต่อเนื่อง ที่อุณหภูมิของตัวน�ำ 90OC และสามารถใช้งานสูงถึง 105OC ได้เมื่อลดระยะเวลาการใช้งานลง ทั้งนี้เพื่อป้องกัน ฉนวนไหล (thermoplastic flow) และค่าความต้านทาน ของฉนวนลดลง

3. ชนิดของฉนวนและเปลือก ฉนวนและเปลื อ กของสายไฟฟ้ า ตามมาตรฐาน มอก.11-2553 เป็นพอลิไวนิลคลอไรด์ หรือ PVC แต่ชนิด ของ PVC จะต่างไปจากเดิม คือจะมีทงั้ ชนิดทีม่ อี ณ ุ หภูมใิ ช้ O O งาน 70 C และ 90 C และในรายละเอียดของฉนวนและ เปลือกจะต่างกัน แบ่งเป็น 3 ชนิดคือ ฉนวน ฉนวนต้องเป็นสารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ ตามชนิดของสายไฟฟ้าที่ระบุในข้อก�ำหนดเฉพาะ ดังนี้ • PVC/C ส�ำหรับสายไฟฟ้าใช้งานติดตั้งยึดกับที่ • PVC/D ส�ำหรับสายไฟฟ้าอ่อน (flexible cable) • PVC/E ส�ำหรับสายทนความร้อนที่ใช้เดินภายใน อาคาร เปลือก เปลือกต้องเป็นสารประกอบพอลิไวนิล คลอไรด์ตามชนิดของสายไฟฟ้าทีร่ ะบุในข้อก�ำหนดเฉพาะ ดังนี้ • PVC/ST4 ส�ำหรับสายไฟฟ้าในงานติดตั้งถาวร ตั้งยึดกับที่ • PVC/ST5 ส�ำหรับสายไฟฟ้าอ่อน (flexible cable) • PVC/ST9 ส�ำหรับสายไฟฟ้าอ่อนทนน�้ำมัน • PVC/ST10 ในกรณีเปลือกนอกเป็นสารประกอบ PVC ประเภท 90OC สารประกอบพอลิไวนิลคลอไรด์ หรือ PVC (polyvinyl chloride compound) หมายถึ ง ส่ ว นผสมของสาร พอลิไวนิลคลอไรด์กบั สารอืน่ ทีป่ ระกอบขึน้ เพือ่ ให้มสี มบัติ ตามต้องการ ซึ่งอาจเป็นพลาสโตเมอร์พอลิไวนิลคลอไรด์ หรื อ มี โ คโพลิ เ มอร์ ผ สมอยู ่ ด ้ ว ย หรื อ เป็ น ส่ ว นผสมที่ ประกอบด้วยสารพอลิไวนิลคลอไรด์และโพลิเมอร์บางตัว ของสารพอลิไวนิลคลอไรด์ 4. สีของสายไฟฟ้าก็เปลี่ยนไปด้วย มาตรฐานฉบับใหม่ก�ำหนดให้สายดินเป็นสีเขียว แถบเหลือง สายนิวทรัลเป็นสีฟ้า ส�ำหรับสายเส้นไฟจะใช้ สีนำ�้ ตาล สีดำ� และสีเทา ตามล�ำดับ การท�ำสีจะท�ำทีฉ่ นวน ของสาย ดังนั้นสีของสายไฟฟ้าจะเป็นดังนี้ • สายแกนเดี่ยว ไม่ก�ำหนดสี • สาย 2 แกน สีฟ้า และสีน�้ำตาล • สาย 3 แกน สีเขียวแถบเหลือง สีฟ้า สีนำ�้ ตาล หรือสีนำ�้ ตาล สีด�ำ สีเทา

ร า ส า ้ ฟ ไฟ มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

21


• สาย 4 แกน สีเขียวแถบเหลือง สีนำ�้ ตาล สีด�ำ

สีเทา หรือสีฟ้า สีนำ�้ ตาล สีดำ� สีเทา • สาย 5 แกน สีเขียวแถบเหลือง สีฟ้า สีนำ�้ ตาล สีด�ำ สีเทา หรือสีฟ้า สีน�้ำตาล สีดำ� สีเทา สีดำ� สี ข องสายไฟฟ้ า มี ค วามส� ำ คั ญ มาก โดยเฉพาะ โครงการระยะยาวที่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ส ายที่ ผ ลิ ต ทั้ ง 2 มาตรฐานในอาคารหรือโครงการเดียวกัน ตัวอย่างข้อควร ระวังที่สำ� คัญคือ สายตามมาตรฐานเดิม ถ้าเป็นสาย VAF จะใช้ สีเทาเป็นสายนิวทรัลหรือสายศูนย์ และสีดำ� เป็นสายเส้น ไฟหรือเฟส แต่มาตรฐานใหม่จะใช้สีฟ้าเป็นสายนิวทรัล หรือสายศูนย์ ดังนั้นในสายชนิดหลายแกนที่มีสีเทาด้วย สีเทาจะต้องใช้เป็นสายเส้นไฟ หรือ ในการติดตั้งเดิมที่ใช้สายสีฟ้าเป็นสายเส้นไฟ แต่ สายตามมาตรฐานใหม่สีฟ้าจะกลายเป็นสายนิวทรัลหรือ สายศูนย์ การติดตั้งจึงต้องวางแผนและท�ำเครื่องหมาย ให้ดี เพื่อป้องกันความสับสนและอันตรายจากการบ�ำรุง รักษาในอนาคต

จากการทีโ่ ครงสร้างของสายไฟฟ้าเปลีย่ นไป ขนาด กระแสของสายไฟฟ้ารวมถึงข้อก�ำหนดการติดตั้งก็จะ เปลี่ยนตามไปด้วย ซึ่งต้องคอยติดตามต่อไป แต่อย่างไร ก็ตามในการเดินสายและติดตั้งจริงก็ไม่ได้ใช้สายครบทุก รหัสชนิด ปัจจุบันมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าส�ำหรับ ประเทศไทยอยู่ระหว่างการปรับปรุงเพื่อให้ทันใช้งาน ผู้เขียนหวังว่าบทความนี้จะเป็นข้อมูลส�ำหรับผู้ออกแบบ ผู้รับเหมาติดตั้ง และผู้ที่สนใจ ที่จะสามารถใช้ประโยชน์ วางแผนและเตรียมการได้ โดยเฉพาะช่วงเวลาทีค่ าบเกีย่ ว ในการเปลี่ยนแปลงจากสายไฟฟ้าตามมาตรฐานเดิมไป ใช้สายตามมาตรฐานใหม่ เพื่อให้การท�ำงานราบรื่นและ ไม่มีปัญหา

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

22

ประวัติผู้เขียน

นายลือชัย ทองนิล • ผูอ้ ำ� นวยการไฟฟ้าเขตมีนบุรี การไฟฟ้า นครหลวง • ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. • กรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 5


Standard & Safety มาตรฐานและความปลอดภัย รศ.ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมล : s.tanaboon@hotmail.com

เต้ารับที่อยู่อาศัย

ควรติดตั้งระยะห่างและความสูงเท่าใด ? อีกทั้งมีวิธีป้องกันอย่างไร ?

ร า ส า ้ ฟ ไฟ เต้ารับที่อยู่อาศัยควรมีอยู่ที่ใดบ้าง ? ห้องครัว ห้องอาหาร ห้องโถง ห้องรับแขก ห้องสมุด ห้องนั่งเล่น ห้องที่ออกแบบให้รับแสงแดด ห้องนอน ห้องนันทนาการ หรือพื้นที่อื่นที่เป็นส่วนหนึ่งของที่อยู่อาศัย ดังรูปที่ 1

รูปที่ 2 เต้ารับที่เป็นส่วนหนึ่งของโคมไฟฟ้า หรือเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องใช้ไฟฟ้า หรืออยู่สูงจากพื้นเกิน 1.70 เมตร เต้ารับดังกล่าวยังไม่นับว่าเป็นเต้ารับที่อยู่อาศัยตามที่ต้องการ

รูปที่ 1 ห้องโถง ห้องครัว ห้องอาหาร หรือห้องนอน ส�ำหรับที่อยู่อาศัยต้องการเต้ารับ

1. วงจรย่อยขนาดไม่เกิน 15 A และขนาด 20 A ส�ำหรับวงจรย่อยเต้ารับทั่วไป

ส�ำหรับเต้ารับที่เป็นส่วนหนึ่งของโคมไฟฟ้า หรือ จ� ำ นวนเต้ า รั บ สู ง สุ ด ของวงจรย่ อ ยเต้ า รั บ ขนาด เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องใช้ไฟฟ้า หรืออยู่สูงจากพื้นเกิน 10 A ถึง 15 A จ�ำนวนเต้ารับสูงสุด 10 ตัว (เต้ารับ 1.70 เมตร เต้ารับดังกล่าวยังไม่นบั ว่าเป็นเต้ารับทีอ่ ยูอ่ าศัย เดีย่ ว, เต้ารับคูห่ รือชนิดสามเต้าคิดเป็นหนึง่ ตัว) ดังรูปที่ 3 ตามที่ต้องการดังรูปที่ 2 ใช้สายขนาดไม่ต�่ำกว่า 2.5 mm2 และขนาดสายดินไม่ต�่ำ กว่า 1.5 mm2 ส่วนวงจรย่อยเต้ารับขนาด 20 A จ�ำนวน เต้ารับสูงสุด 13 ตัวใช้สายขนาดไม่ต�่ำกว่า 4 mm2 และขนาดสายดินไม่ตำ�่ กว่า 2.5 mm2 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

23


รูปที่ 3 จ�ำนวนเต้ารับสูงสุดของวงจรย่อยขนาดไม่เกิน 15 A และ 20 A ส�ำหรับวงจรย่อยเต้ารับทั่วไป

2. วงจรย่อยขนาด 30 A, 40 A และ 50 A ส�ำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ติดตั้งถาวร

เช่น เครื่องท�ำน�้ำร้อน, เครื่องปรับอากาศหรือ เตาหุงต้ม จะต้องใช้สาย 6 mm2, 10 mm2 หรือ 16 mm2 ตามล�ำดับ กับเต้ารับแบบพิเศษเท่านั้นหรืออาจต่อผ่าน เซอร์กิตเบรกเกอร์วงจรย่อยโดยตรง ดังรูปที่ 4 ห้ามต่อ เครื่องท�ำความร้อน, เครื่องท�ำน�้ำร้อน, เครื่องปรับอากาศ หรือเตาหุงต้ม เข้ากับวงจรย่อยเต้ารับทั่วไปโดยตรง

3.60 เมตร ดังรูปที่ 5 เต้ารับอาจติดตั้งสูงจากพื้น 30 เซนติเมตร แต่ถ้าเป็นพื้นชั้นที่ 1 หรือชั้นกราวด์ ผู้เขียน ขอแนะน�ำให้ติดตั้งสูงจากพื้น 1.0 เมตรหรือ 1.20 เมตร หรือมิฉะนั้นเต้ารับพื้นชั้นที่ 1 หรือชั้นกราวด์ ทุกตัวให้ต่อ ผ่านเครื่องตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI หรือ RCBO) เพราะ ประเทศไทยมีโอกาสเกิดน�ำ้ ท่วม (รัฐบาลเอา.....ไม่อยู่ ?) มีโอกาสเสียชีวิตจากไฟรั่วไฟดูดได้ ส�ำหรับรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง เครื่องป้องกัน ตัดไฟรั่วไฟดูดควรติดตั้งที่ใดบ้าง ? ท่านสามารถอ่านได้ ในนิตยสารไฟฟ้าสาร ปีที่ 19 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน – ธันวาคม 2555 การติดตั้งเต้ารับส�ำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้า ทัว่ ไปหรือดวงโคมตัง้ โต๊ะ เพือ่ ส�ำหรับเสียบต่อเข้ากับคอร์ด ต่อสายอ่อน โดยปกติภายในระยะ 1.80 เมตรถือว่าเหมาะสม เต้ารับที่ใช้ภายในห้องโถงก็เพื่อใช้เสียบต่อสายเข้ากับ อุปกรณ์ไฟฟ้าเพื่อการบันเทิง อุปกรณ์เครื่องใช้สำ� นักงาน อาจวางเต้ารับที่ตำ� แหน่งมุมห้อง หรือวางอยู่ในต�ำแหน่งที่ คิดว่าสะดวกสบาย หรือเต้ารับอาจติดตัง้ อยูใ่ ต้หน้าต่างก็ได้

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 5 การติดตั้งเต้ารับทั่วไปส�ำหรับที่อยู่อาศัย ต้องติดตั้งในระยะห่างที่เหมาะ

4. ระยะห่างเต้ารับจากผนัง

การติดตัง้ เต้ารับทีอ่ ยูอ่ าศัยต้องมีระยะเพียงพอและ เหมาะสม ทั้งนี้มีข้อพิจารณาเป็นพิเศษดังต่อไปนี้ 1. แต่ละผนังต้องมีความกว้างมากกว่า 0.60 เมตร 3. ระยะที่ เ หมาะในการติ ด ตั้ ง เต้ า รั บ ทั่ ว ไป โดยวัดจากมุมขอบผนังไปสูป่ ระตู เตาผิง และตูต้ ดิ ตัง้ ถาวร ส�ำหรับที่อยู่อาศัย 2. บางระยะถูกยึดเป็นผนังถาวรภายนอกอาคาร เต้ารับจะต้องติดตัง้ ไปตามแนวยาวตามพืน้ ในระยะ รวมทั้งผนังบานเลื่อน มากกว่า 1.80 เมตร โดยการวัดไปตามแนวยาวจากขอบ 3. บางระยะที่ถูกจัดแบ่งตายตัวไว้เป็นรางเลื่อน หน้าต่างหรือประตู ส่วนระยะห่างระหว่างเต้ารับสูงสุด รูปที่ 4 วงจรย่อยขนาด 30 A, 40 A และ 50 A

24


เต้ารับที่อยู่อาศัยที่จ่ายไฟฟ้าให้กับเครื่องซักผ้า ส่วนรูปที่ 7 แสดงรูปแบบของเต้ารับชนิดเต้ารับ เครื่องอบผ้า จะต้องมีเต้ารับภายในระยะ 1.80 เมตร เดี่ยวและเต้ารับคู่ชนิดต่าง ๆ รูปที่ 8 แสดงการก�ำหนด ถ้าห่างมากเกินไปสายเต้าเสียบอาจยาวไม่ถึง ดังรูปที่ 6 สายมีไฟ (hot) สายศูนย์ (neutral) และสายดิน (ground) และรูปที่ 9 แสดงวงจรการเดินสายไฟเข้าสู่เต้ารับ

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 6 การติดตั้งเต้ารับเครื่องซักผ้า เครื่องอบผ้า ภายในระยะ 1.80 เมตร

รูปที่ 7 แสดงรูปแบบของเต้ารับชนิดเต้ารับเดี่ยว และเต้ารับคู่ชนิดต่าง ๆ

รูปที่ 8 แสดงการก�ำหนดสายมีไฟ (hot) สายศูนย์ (neutral) และสายดิน (ground)

รูปที่ 9 แสดงวงจรการเดินสายไฟเข้าสู่เต้ารับ

มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

25


5. เต้ารับฝังพื้น (Floor Receptacles)

เต้ารับฝังพื้นจะนับเป็นส่วนหนึ่งเต้ารับที่อยู่อาศัย ชั้นที่ 1 หรือชั้นกราวด์ไม่ควรติดตั้งเต้ารับฝังพื้นซึ่งอาจมี พื้นที่ทั่วไป ก็ต่อเมื่อการติดตั้งต้องห่างจากผนังภายใน ความชื้นหรือน�ำ้ ท่วม แต่ถ้าต้องการติดตั้งเต้ารับฝังพื้นจะ ระยะ 0.45 เมตร (450 มม.) (ผู้เขียนแนะน�ำว่ากรณี ต้องติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่วไฟดูดร่วมด้วย) ดังรูปที่ 10

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 10 เต้ารับฝังพื้น (floor receptacles) การติดตั้งต้องห่างจากผนังภายในระยะ 0.45 เมตร (450 มม.)

6. เต้ารับเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็ก (small appliance receptacles) 6.1 เต้ารับเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กที่เคาน์เตอร์ ท�ำครัวและห้องอาหาร ดังรูปที่ 11 แสดงเป็น 2 รูปแบบ ส�ำหรับตัวอย่างเครือ่ งใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กในห้องครัว ดังรูปที่ 12 เพื่อจ่ายโหลดให้กับวงจรย่อยเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็ก ขนาดวงจรย่อย 15 A ย่อย ขนาดสายต้องมีขนาดไม่เล็ก กว่า 2.5 มม.2 แต่ถ้าขนาดวงจรย่อย 20 A ขนาดสาย

วงจรย่อยต้องมีขนาดไม่ใช้เล็กกว่า 4 มม.2 วงจรย่อยอาจ มีอย่างน้อย 2 วงจร เพือ่ จ่ายไฟให้กบั ห้องอาหาร ห้องครัว ตูเ้ ย็น และเคาน์เตอร์ทำ� ครัว ส่วนวงจรเครือ่ งใช้ไฟฟ้าทัว่ ไป อีกหนึ่งวงจรเลือกใช้วงจรย่อยขนาด 10-15 A ขนาดสาย วงจร วงจรย่อยไม่ควรใช้สายเล็กกว่า 2.5 มม.2 เพื่อจ่าย โหลดให้กับวงจรเต้ารับเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไปและแสงสว่าง

รูปที่ 11 เต้ารับเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กที่เคาน์เตอร์ท�ำครัวและห้องอาหาร โดยแสดงเป็น 2 รูปแบบ

26


6.3 ระยะเต้ารับเคาน์เตอร์ทำ� ครัวทีย่ นื่ ออก (peninsular countertop receptacles spaces) ต้องติดตั้งเต้ารับ ส�ำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กอย่างน้อยหนึ่งตัวจาก เคาน์เตอร์ท�ำครัวที่ยื่นออกไปแต่ละด้านภายในระยะ 60 เซนติเมตร หรือมากกว่า และยอมให้ส่วนขนาดแคบสุด เคาน์เตอร์ทำ� ครัวที่ยื่นออกไปต้องเท่ากับ 30 เซนติเมตร หรือมากกว่า นอกจากนี้ เต้ารับจะต้องมีระยะห่างจากผนัง เป็นระยะ X ดังรูปที่ 14 ส่วนรูปที่ 15 แสดงระยะเต้ารับ เคาน์เตอร์ทำ� ครัวที่ยื่นออก เมื่อวางซิงค์ล้างจานที่มุมห้อง

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 12 ตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กในห้องครัว

6.2 ระยะเต้ารับเคาน์เตอร์ทำ� อาหาร (countertop receptacles spaces) เต้ารับจะต้องติดตั้งที่ผนังเมื่อ ขนาดเคาน์เตอร์ทำ� ครัวยื่นด้านกว้างออกไปในระยะ 0.30 เมตร (30 เซนติเมตร) เต้ารับจะต้องติดตั้งไปตามแนว ยาวของเคาน์เตอร์ท�ำครัวในระยะมากกว่า 0.60 เมตร (60 เซนติเมตร) ดังรูปที่ 13 ทั้งนี้เต้ารับแต่ละตัวจะต้อง ติดตั้งอยู่สูงจากเคาน์เตอร์ทำ� ครัวไม่เกิน 0.50 เมตร (50 เซนติเมตร)

รูปที่ 14 มีเต้ารับเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กอย่างน้อย ด้านละตัวภายในระยะ 60 เซนติเมตร หรือมากกว่า

(ก.) มีเต้ารับอย่างน้อย 1 ตัว

รูปที่ 15 ระยะเต้ารับเคาน์เตอร์ท�ำครัวที่ยื่นออก เมื่อวางซิงค์ล้างจานที่มุมห้อง

(ข.) เหลือด้านกว้างน้อยกว่า 30 ซม. ไม่ต้องมีเต้ารับ รูปที่ 13 เต้ารับจะต้องติดตั้งที่ผนังเมื่อขนาดเคาน์เตอร์ ท�ำครัวยื่นด้านกว้างออกไปในระยะ 0.30 เมตร

นอกจากนี้เต้ารับไม่ควรติดตั้งอยู่ด้านหลังตรงกับ เตาหุงต้ม เครื่องท�ำครัว และซิงค์ล้างจาน ทั้งนี้เต้ารับต้อง อยู่ห่างจากเตาหุงต้ม (range) และซิงค์ล้างจานไม่ต�่ำกว่า 60 เซนติเมตร ดังรูปที่ 16 ส่วนรูปที่ 17 แสดงการติดตั้ง เต้ารับเคาน์เตอร์ทำ� ครัว ส�ำหรับที่อยู่อาศัย มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

27


หรือมากกว่า และพื้นเคาน์เตอร์ต้องมีส่วนยื่นคลุมเต้ารับ ไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร ส่วนพื้นบนเคาน์เตอร์ต้องไม่ ติดตั้งเต้ารับ ดังรูปที่ 18

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 18 ต�ำแหน่งเต้ารับเคาน์เตอร์เกาะกลาง

รูปที่ 16 เต้ารับต้องอยู่ห่างจากซิงค์ล้างจานไม่ต�่ำกว่า 60 เซนติเมตร

เต้ า รั บ แต่ ล ะตั ว ที่ จ ่ า ยไฟฟ้ า ให้ กั บ เคาน์ เ ตอร์ ท�ำครัว ที่ประกอบด้วยอ่างล้างจานหรืออ่างล้างมือที่มี การติดตั้งเต้ารับภายในระยะ 1.80 เมตร ห่างจากขอบ ด้านนอกอ่าง ต้องเป็นชนิดเครื่องป้องกันตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI) หรือ (RCBO) แสดงในรูปที่ 19

รูปที่ 17 แสดงการติดตั้งเต้ารับเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็ก เคาน์เตอร์ทำ� ครัวส�ำหรับที่อยู่อาศัย

6.4 ระยะเต้ารับเคาน์เตอร์ทำ� ครัวเกาะกลาง (peninsular รูปที่ 19 แสดงระยะเต้ารับเคาน์เตอร์ท�ำครัว countertop receptacles spaces) อย่ า งน้ อ ยต้ อ ง เต้ารับเป็นชนิดเครื่องป้องกันตัดไฟรั่วไฟดูด ติดตั้ง 1 เต้ารับ ส�ำหรับเคาน์เตอร์ท�ำครัวเกาะกลางที่มี ขนาดด้านกว้าง 30 เซนติเมตร หรือมากกว่า และด้าน รูปที่ 20 แสดงเครื่องตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI หรือ ยาว 60 เซนติเมตร หรือมากกว่า เต้ารับเครื่องใช้ไฟฟ้า RCBO) ชนิด และใช้ CB หางหมู ร่วมกับเต้ารับทั่วไป ขนาดเล็กให้ติดตั้งใต้เคาน์เตอร์ในระยะ 30 เซนติเมตร ส่วนรูปที่ 21 แสดงเต้ารับชนิดที่มีเครื่องตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI หรือ RCBO) อยู่ในตัว

28


รูปที่ 20 เครื่องตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI หรือ RCBO) ชนิด และใช้ CB หางหมู ร่วมกับเต้ารับทั่วไป

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 21 เต้ารับชนิดที่มีเครื่องตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI หรือ RCBO) อยู่ในตัว

รูปที่ 22 วงจรการต่อเต้ารับชนิดทีม่ เี ครือ่ งตัดไฟรัว่ ไฟดูด (GFCI หรือ RCBO) อยู่ในตัวทุกตัวเป็นอิสระ และ รูปที่ 23 แสดงการต่อเต้ารับชนิดที่มีเครื่องตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI หรือ RCBO) อยู่ในตัวทุกตัวเฉพาะเต้ารับ GFCI เท่านั้น ส่วนเต้ารับถัดไปเป็นเต้ารับชนิดทั่วไปและจะตัด ไฟรัว่ ไฟดูด ไฟเกิน ไฟช็อต พร้อมกันกับเต้ารับ GFCI และ รูปที่ 24 แสดงการติดตั้งเต้ารับเคาน์เตอร์ท�ำครัวส�ำหรับ ที่อยู่อาศัย มีเครื่องตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI)

รูปที่ 23 การต่อเต้ารับชนิดที่มีเครื่องตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI หรือ RCBO) อยู่ในตัวเฉพาะเต้ารับ GFCI เท่านั้น

รูปที่ 22 วงจรการต่อเต้ารับชนิดที่มีเครื่องตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI หรือ RCBO) อยู่ในตัวทุกตัวเป็นอิสระ มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

29


รูปที่ 24 แสดงการติดตั้งเต้ารับเคาน์เตอร์ท�ำครัว ส�ำหรับที่อยู่อาศัย มีเครื่องตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI)

รูปที่ 26 เต้ารับติดผนังมีเครื่องป้องกันตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI หรือ RCBO)

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

7. เต้ารับส�ำหรับห้องน�ำ้

ห้องน�ำ้ อย่างน้อยต้องมีเต้ารับติดผนัง 1 ตัว ในระยะ 90 เซนติเมตร (900 มม.) โดยวัดจากขอบด้านนอกของ อ่างล้างหน้า และเต้ารับต้องมีเครือ่ งป้องกันตัดไฟรัว่ ไฟดูด (GFCI หรือ RCBO) ดังรูปที่ 25 ส่วนรูปที่ 26 เต้ารับติด ผนังมีเครื่องป้องกันตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI หรือ RCBO)

8. เต้ารับส�ำหรับโรงแรมและเกสต์เฮาส์

เต้ารับส�ำหรับโรงแรมและเกสต์เฮาส์ต้องมีจ�ำนวน ให้เพียงพอและต้องมีจำ� นวนไม่ตำ�่ กว่าจ�ำนวนอุปกรณ์ไฟฟ้า ทีม่ อี ยูใ่ นห้อง เต้ารับเหล่านีจ้ ะต้องอยูใ่ นต�ำแหน่งตามแบบ ที่อุปกรณ์ไฟฟ้านั้นจัดวางอยู่อย่างถาวร และอย่างน้อย ควรจะมีเต้ารับ 2 ตัวที่ผู้มาพักอาศัยเข้าถึงสะดวกใช้ได้ เต้ารับติดอยู่ที่หัวเตียงนอนต้องอยู่ในต�ำแหน่งไม่กีดขวาง เตียงจากการเสียบปลั๊กเข้ากับเต้ารับ นอกจากนี้ภายใน ห้องน�้ำต้องจัดให้มีเต้ารับอีก 1 ตัว และเต้ารับในห้องน�ำ้ ต้องเป็นชนิดทีม่ เี ครือ่ งตัดไฟรัว่ ไฟดูด (GFCI หรือ RCBO) ดังรูปที่ 27

รูปที่ 25 ห้องน�้ำอย่างน้อยต้องมีเต้ารับติดผนัง 1 ตัว ในระยะ 90 เซนติเมตร (900 มม.)

รูปที่ 27 เต้ารับส�ำหรับโรงแรมและเกสต์เฮาส์

30


9. เต้ารับที่อยู่อาศัยภายนอกอาคาร

เต้ า รั บ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ภายนอกอาคาร เต้ า รั บ ที่ อ ยู ่ ภายนอกอาคารหรืออยู่ในสถานที่เปียกชื้น ต้องเป็นชนิด ภายนอกอาคารอย่างต�ำ่ IP 34 และต้องมีเครื่องตัดไฟรั่ว และไฟดูด (GFCI หรือ RCBO) เต้ารับภายนอกอาคาร

ต้องติดตั้งอยู่ด้านหน้าและด้านหลังที่อยู่อาศัย อยู่สูงจาก พื้นไม่ควรต�ำ่ กว่า 1.20 เมตร (มีโอกาสถูกน�้ำท่วม) แต่ไม่ เกิน 2.00 เมตร ดังรูปที่ 28 รูปที่ 29 เต้ารับทีใ่ ช้ภายนอก อาคารชนิดทนสภาพอากาศ (weatherproof)

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 28 เต้ารับที่ใช้ภายนอกอาคาร อย่างต�่ำ IP 34 และต้องมีเครื่องตัดไฟรั่วไฟดูด (GFCI หรือ RCBO)

เอกสารอ้างอิง 1. NEC, National Electrical Code Handbook, National Fire Protection Association, Quincy Massachusetts : 2011 2. Charles M. Trout . Electrical Installation and Inspection, National Electrical Code : 2002 3. http://www.jeffco.us/jeffco/.../Electrical_Wiring_Guide_ final. pdf, Electrical Wiring Guide Final-Jefferson County Government 4. www.esasafe.com/pdf/Sample.../26-23-2.pdf, Bulletin 26-23-2 - Electrical Safety Authority 5. www.jade1.com/.../JADE_HS_PDFbuilder.php?... Residential Wiring According to the 2011 NEC ... JADE Electric 6. tools.passandseymour.com/2008neccodebook.pdf, 1-800-223-4185 - Legrand Pass & Seymour Tools

ประวัติผู้เขียน

รศ.ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช • มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล ธัญบุรี • วุฒิวิศวกร แขนงไฟฟ้าก�ำลัง (วฟก.457) • กรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. 2554-2556

รูปที่ 29 เต้ารับที่ใช้ภายนอกอาคารชนิดทนสภาพอากาศ (weatherproof) มีเครื่องตัดไฟรั่วไฟดูด มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

31


Standard & Safety มาตรฐานและความปลอดภัย นายมงคล วิสุทธิใจ

หลักปฏิบตั ดิ า้ นการตรวจสอบ และการทดสอบ

การติดตั้งระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย (ตอนที่ 6)

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

ปัญหาการป้องกันอัคคีภัยอาคารประการหนึ่ง คือปัญหางานระบบวิศวกรรมความปลอดภัยจากอัคคีภัย โดยเฉพาะงานระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั ทีม่ กั พบว่าระบบไม่ทำ� งานในบางส่วน หรือทัง้ ระบบ หรือท�ำงานตรวจจับ อัคคีภัยในระยะเริ่มต้นช้าจนไม่สามารถเตือนภัยได้ทัน ทั้งนี้เพราะปัญหาการติดตั้งที่ไม่ได้มาตรฐาน และที่ส�ำคัญ คือระบบขาดการบ�ำรุงรักษาตามมาตรฐานก�ำหนด

การทดสอบระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย

อุปกรณ์ บริภณ ั ฑ์ และระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั เมือ่ ท�ำการติดตัง้ แล้วเสร็จ ทัง้ ทีต่ ดิ ตัง้ ใหม่ ทีต่ ดิ ตัง้ เพิม่ เติม หรือปรับปรุงจากที่ติดตั้งอยู่เดิม และเพื่อการบ�ำรุงรักษา จะต้องท�ำการทดสอบการท�ำงานเพื่อยืนยันว่าอุปกรณ์ บริภัณฑ์ หรือระบบที่ผ่านการทดสอบนั้นมีสมรรถนะที่ดี และมีการท�ำงานที่ถูกต้องตามที่ก�ำหนด

ทดสอบหลังการเปลี่ยนแปลงแล้วเสร็จ

1. เมื่อท�ำการติดตั้งหรือปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ซ่อมแซม แก้ไขอุปกรณ์ บริภัณฑ์ หรือระบบที่ติดตั้ง อยู่เดิมจนแล้วเสร็จ ต้องท�ำการทดสอบการท�ำงานของ อุปกรณ์และบริภัณฑ์ส่วนที่ติดตั้งใหม่เพิ่มเติม ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขนั้น ๆ ก่อนท�ำการเชื่อมต่อเข้ากับ ระบบ และภายหลังท�ำการเชื่อมต่อเข้ากับระบบแล้วต้อง ปฏิบัติการทดสอบการท�ำงานของระบบในส่วนที่เกี่ยวข้อง ด้วย 2. เมื่อท�ำการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ซ่อมแซม แก้ไขบริภัณฑ์แผงควบคุม รวมถึงการแก้ไขข้อมูล หรือ โปรแกรมควบคุ ม การท� ำ งานอุ ป กรณ์ หรื อ บริ ภั ณ ฑ์ ที่ ระบุตำ� แหน่งได้ หรือรหัสผ่านเข้าสู่โปรแกรมการควบคุม (ส�ำหรับระบบที่สามารถระบุต�ำแหน่งได้) จนแล้วเสร็จ ทดสอบหลังการติดตั้งแล้วเสร็จ ต้องท�ำการสุม่ ตัวอย่างทดสอบอุปกรณ์ และบริภณ ั ฑ์แต่ละ เมื่อท�ำการติดตั้งระบบจนแล้วเสร็จ ต้องท� ำการ ชนิด หรือประเภทอย่างน้อยร้อยละ 10 แต่ไม่น้อยกว่า ทดสอบการท� ำ งานของอุ ป กรณ์ แ ละบริ ภั ณ ฑ์ ใ นระบบ 1 ชุดจากจ�ำนวนอุปกรณ์และบริภัณฑ์นั้น ๆ ในแต่ละวงจร ทั้งหมดทันที และน�ำผลการทดสอบมาใช้เป็นส่วนหนึ่ง ของระบบ ของบันทึกประกอบเอกสารเพื่อการรับมอบงานติดตั้งนั้น

32


ทดสอบเพื่อการบ�ำรุงรักษา

ต้ อ งทดสอบการท� ำ งานของอุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ใน ระบบให้ได้ทกุ ชุดภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี และทดสอบ การท� ำ งานของอุ ป กรณ์ แ ละบริ ภั ณ ฑ์ ใ นระบบทั้ ง หมด ตามก�ำหนดหลังจากท�ำการตรวจสอบแล้ว โดยใช้ผลการ ทดสอบนี้เป็นส่วนหนึ่งของบันทึกประกอบเอกสารประวัติ ของระบบ

ขั้นตอนการทดสอบ และหลักปฏิบัติ

อุปกรณ์ บริภณ ั ฑ์ และระบบทีจ่ ะท�ำการทดสอบจะ ต้องท�ำการปรับปรุง แก้ไขให้อยู่ในสภาพที่ดี กระทั่งผ่าน การตรวจสอบมาก่อนแล้ว และปลดแยกระบบเตือนภัย อืน่ ๆ ระบบควบคุมการท�ำงานอืน่ ๆ เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบลิฟต์ ฯลฯ ออกจากการควบคุมของระบบสัญญาณ เตือนอัคคีภัย เว้นแต่จะท�ำการทดสอบที่เกี่ยวข้องกับ การควบคุมระบบเหล่านัน้ ก่อนท�ำการทดสอบ โดยเจ้าของ อาคารหรือตัวแทนเจ้าของอาคารต้องแจ้งก� ำ หนดการ ทดสอบให้ผู้ที่อยู่ในอาคารนั้นทราบเป็นระยะ ๆ ดังนี้ 1. แจ้งพนักงานความปลอดภัยในพืน้ ทีแ่ ละบุคคลที่ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบระบบร่วมท�ำงานให้ความปลอดภัย เพือ่ เตรียมพร้อมเข้าท�ำหน้าที่ประสานงานเมื่อท�ำการทดสอบ ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย 2. แจ้ ง ผู ้ ที่ อ ยู ่ ใ นอาคารนั้ น ทั้ ง หมดด้ ว ยประกาศ ข้อความ หรือด้วยเสียงประกาศเพื่อรับทราบ และแจ้งต่อ ไปยังผู้ที่นัดจะเข้ามาติดต่อที่อาคารในช่วงเวลาปฏิบัติการ ทดสอบนั้นได้รับทราบด้วย 3. แจ้ ง สถานี เ ฝ้ า ตรวจการท� ำ งานแจ้ ง สั ญ ญาณ (alarm monitoring station) (ถ้ามี) 4. หลังการทดสอบแล้วเสร็จ จะต้องแจ้งให้บุคคล ทัง้ หมดในอาคารทีไ่ ด้รบั ประกาศเตือนก่อนหน้านีใ้ ห้ทราบ ถึงการทดสอบได้สิ้นสุดลงแล้ว

ร า ส า ้ ฟ ไฟ ทดสอบการท�ำงานอื่น ๆ ตามก�ำหนด

1. ทดสอบระบบร่วมกับระบบร่วมท�ำงานให้ความ ปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งบริภัณฑ์ต่อร่วม (interface equipment) การสื่อสารที่ต่อเชื่อมอยู่กับระบบสัญญาณ เตือนอัคคีภยั ณ จุดเชือ่ มต่อระบบ หลังจากท�ำการตรวจสอบ ระบบแล้วเสร็จ โดยต้องท�ำการทดสอบระบบที่ต่อเชื่อม การท�ำงานนั้น ๆ ตามหลักปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง 2. ทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดท�ำงานด้วย แบตเตอรี่ใช้สำ� หรับบ้านตามที่ผู้ผลิตแนะน�ำ

ข้อจ�ำกัดส�ำหรับการทดสอบ

1. การทดสอบตามก�ำหนดในแต่ละครั้งที่ต้องใช้ ช่วงเวลาด�ำเนินการมากกว่า 1 วัน สามารถท�ำการหยุด พักการทดสอบได้ไม่เกิน 24 ชั่วโมง 2. การทดสอบในพืน้ ทีห่ วงห้าม พืน้ ทีเ่ สีย่ งอันตราย หรื อ พื้ น ที่ ก ารผลิ ต ที่ ต ่ อ เนื่ อ ง สามารถเลื่ อ นก� ำ หนด การทดสอบออกไปได้เพือ่ รอให้หยุดการใช้งานในพืน้ ทีน่ นั้ ก่อน แต่ต้องไม่เกิน 1 รอบของการทดสอบ 3. เครื่องมือ เครื่องวัดส�ำหรับใช้ปฏิบัติการทดสอบ อุปกรณ์และบริภัณฑ์ ต้องเป็นชนิดที่ได้มาตรฐานสากล ตามค�ำแนะน�ำ หรือข้อก�ำหนดของผู้ผลิตอุปกรณ์และ บริภัณฑ์นั้น ๆ

มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

33


ข. แผงควบคุมระบบสุ่มตัวอย่างอากาศ ต้อง ทดสอบการท�ำงานของอุปกรณ์และบริภณ ั ฑ์ทงั้ หมด ท�ำงานเริม่ สัญญาณการตรวจจับควันตามการ โดยพิจารณาความถูกต้องตามมาตรฐานและข้อก�ำหนด ทดสอบข้างต้นจากอากาศที่ถูกดูดผ่านรูสุ่ม ตัวอย่างอากาศที่จุดไกลสุดได้ภายในเวลาไม่ ของผู้ผลิต ด้วยหลักปฏิบัติโดยสังเขปดังต่อไปนี้ เกิน 90 วินาที 1. การทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดจุด ก. ต้องทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับควันที่ต�ำแหน่ง ติดตั้ง ข. ทดสอบโดยท�ำให้เกิดควัน หรือใช้พ่นแก๊ส เสมื อ นควั น ที่ ผู ้ ผ ลิ ต อุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ควั น ยอมรับ ให้เข้าไปยังช่องรับควันที่ตัวอุปกรณ์ ค. อุปกรณ์ตรวจจับควัน ต้องท�ำงานเริม่ สัญญาณ การตรวจจับควันตามการทดสอบข้างต้นได้ ภายในเวลาไม่เกิน 10 วินาที 4. การทดสอบอุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ควั น ชนิ ด กล้ อ ง โทรทัศน์ ก. ทดสอบโดยท� ำ ให้ เ กิ ด ควั น ในพื้ น ที่ ที่ อ ยู ่ ใ น มุมมองของกล้อง ในปริมาณและความเข้มข้น ตามผู้ผลิตก�ำหนด ข. บริภณ ั ฑ์ควบคุมระบบตรวจจับควันชนิดกล้อง โทรทัศน์ ต้องท�ำงานเริม่ สัญญาณการตรวจจับ ควันตามการทดสอบข้างต้นได้ภายในเวลา ไม่เกิน 10 วินาที

การทดสอบอุปกรณ์และบริภัณฑ์ในระบบ

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

5. การทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนแบบผสม อุณหภูมิคงที่ กับอัตราการเพิ่มอุณหภูมิ (combination rate of rise and fixed temp) และแบบอัตราการชดเชย อุณหภูมิ (rate of compensation) ชนิดจุด หรือชนิดเส้น ที่สามารถกลับคืนสภาพเดิมได้ ก. ต้ อ งทดสอบอุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ความร้ อ นที่ ต�ำแหน่งติดตั้ง ข. ทดสอบโดยท� ำ ให้ เ กิ ด ความร้ อ นในอากาศ บริเวณใกล้กบั ส่วนตรวจจับของอุปกรณ์ตรวจจับ ความร้อน ด้วยอุปกรณ์ให้ความร้อนและวิธี การให้ความร้อนกับอุปกรณ์ตรวจจับ ตามค�ำ แนะน�ำของผู้ผลิต โดยไม่ท�ำให้ส่วนตรวจจับ 3. การทดสอบอุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ควั น ชนิ ด สุ ่ ม ความร้อนแบบอุณหภูมิคงที่เสียหาย ค. อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน ต้องท�ำงานเริ่ม ตัวอย่างอากาศหลายจุด ก. ทดสอบการท�ำงานโดยท�ำให้เกิดควันในพื้นที่ สั ญ ญาณการตรวจจั บ ความร้ อ นตามการ ทดสอบข้างต้นได้ ภายในเวลาไม่เกิน 1 นาที ที่ติดตั้งท่อสุ่มตัวอย่างอากาศ 2. การทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดล�ำแสง ก. ต้องทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับควันที่ต�ำแหน่ง ติดตั้ง ข. ทดสอบโดยท�ำให้เกิดควัน หรือใช้พ่นแก๊ส เสมื อ นควั น ที่ ผู ้ ผ ลิ ต อุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ควั น ยอมรับ หรือใช้แผ่นกรองแสงทีผ่ ผู้ ลิตก�ำหนด ขวางล�ำแสงระหว่างจุดก�ำเนิดแสง และจุดรับ แสงของอุปกรณ์ ค. อุปกรณ์ตรวจจับควัน ต้องท�ำงานเริม่ สัญญาณ การตรวจจับควันตามการทดสอบข้างต้นได้ ภายในเวลาไม่เกิน 10 วินาที

34


9. การทดสอบอุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือ ก. ต้ อ งทดสอบการท� ำ งานตามค� ำ แนะน� ำ ของ ผู้ผลิต ข. อุปกรณ์แจ้งเหตุทมี่ สี วิตช์กญ ุ แจไขส�ำหรับการ แจ้งเหตุ ต้องทดสอบการท�ำงานสวิตช์กญ ุ แจด้วย

6. การทดสอบอุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ความร้ อ นแบบ อุณหภูมิคงที่ชนิดจุด ที่ไม่สามารถกลับคืนสภาพเดิมได้ ก. ต้องทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนตาม ข้อก�ำหนดนีใ้ นห้องปฏิบตั กิ าร หลังการติดตัง้ ใช้ งานมาแล้ ว 15 ปี หรื อ เปลี่ ย นอุ ป กรณ์ ตรวจจับใหม่ทั้งหมด ข. ทดสอบตามข้างต้นโดยการสุ่มตัวอย่างอุปกรณ์ ตรวจจับจ�ำนวนร้อยละ 2 จากจ�ำนวนทีใ่ ช้ตดิ ตัง้ ทั้งหมด ค. ต้องสุ่มตัวอย่างอุปกรณ์ตรวจจับจ�ำนวนร้อยละ 2 จากจ�ำนวนทีใ่ ช้ตดิ ตัง้ ทัง้ หมดมาท�ำการทดสอบ ตามข้อ ก. ใหม่ หากมีอุปกรณ์ตรวจจับตาม ข้อ ข. จ�ำนวน 1 ชุดไม่ผ่านการทดสอบ

ร า ส า ้ ฟ ไฟ 7. การทดสอบอุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ความร้ อ นแบบ อุณหภูมิคงที่ ชนิดเส้น ที่ไม่สามารถกลับคืนสภาพเดิมได้ ก. ต้องไม่ทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับโดยใช้ความร้อน ข. ให้ทดสอบการท�ำงานโดยทางกลและไฟฟ้า ตามค�ำแนะน�ำของผู้ผลิต ค. วัดค่าความต้านทานวงจร เปรียบเทียบกับค่าที่ วัดได้ในครั้งแรกหลังการติดตั้ง

10. การทดสอบสวิตช์ควบคุมประตูน�้ ำ ในระบบ ดับเพลิงด้วยน�ำ้ ก. ทดสอบโดยหมุนเปิดประตูน�้ำไม่เกิน 2 รอบ หรือท�ำให้ประตูนำ�้ เลือ่ นเปิด 1 ใน 5 ของระยะ เปิดทั้งหมด ข. สวิ ต ช์ จ ะต้ อ งเริ่ ม สั ญ ญาณทั น ที เ มื่ อ ท� ำ การทดสอบข้างต้น

11. การทดสอบสวิตช์ตรวจความดันน�้ำในระบบ ดับเพลิงด้วยน�ำ้ ชนิดตรวจความดันสูงหรือต�ำ่ ก. ทดสอบโดยเพิม่ หรือลดความดันน�ำ้ 10 ปอนด์ ต่อตารางนิ้ว จากความดันตามมาตรฐาน ระบบดับเพลิงด้วยน�้ำ ส�ำหรับสวิตช์ตรวจ ความดันสูงหรือต�ำ่ ตามล�ำดับ ข. สวิ ต ช์ จ ะต้ อ งเริ่ ม สั ญ ญาณทั น ที เ มื่ อ ท� ำ การทดสอบข้างต้น

8. การทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลิง ก. ทดสอบโดยท�ำให้เกิดประกายไฟ เปลวไฟ หรือ เชือ้ เพลิงคุไฟ หรือใช้อปุ กรณ์กำ� เนิดแสงในพืน้ ที่ ที่อยู่ในมุมมองของอุปกรณ์ตรวจจับ ข. อุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ต้ อ งท� ำ งานเริ่ ม สั ญ ญาณ การตรวจจับตามการทดสอบข้างต้นภายในเวลา ไม่เกิน 10 วินาที มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

35


12. การทดสอบสวิ ต ช์ ต รวจระดั บ น�้ ำ ในระบบ ดับเพลิงด้วยน�้ำ ก. ทดสอบโดยเพิ่มหรือลดระดับน�้ำ 75 มม. จากระดับน�ำ้ ตามมาตรฐานก�ำหนด ส�ำหรับ ถังอัดความดัน หรือ 300 มม. ส�ำหรับถังที่ ไม่มีความดันภายใน ข. สวิ ต ช์ จ ะต้ อ งเริ่ ม สั ญ ญาณทั น ที เ มื่ อ ท� ำ การทดสอบข้างต้น

ง. ในพื้ น ที่ ห ลั บ นอน ค่ า ความดั ง ของเสี ย ง สัญญาณทีว่ ดั ได้ในข้อ b. นานไม่นอ้ ยกว่า 60 วินาที ต้องมากกว่าค่าความดังของเสียง แวดล้อมเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 15 dBA หรือดัง มากกว่าความดังสูงสุดของเสียงแวดล้อมไม่ น้อยกว่า 5 dBA และดังไม่นอ้ ยกว่า 75 dBA

15. การทดสอบอุปกรณ์แสงแจ้งสัญญาณ ก. ทดสอบโดยท�ำให้เกิดการแจ้งสัญญาณ ข. ดวงไฟแจ้งสัญญาณจะต้องติดกะพริบสว่าง 13. การทดสอบสวิตช์ตรวจการไหลของน�ำ้ ในระบบ สามารถเห็นได้ชัดเจนโดยง่าย ดับเพลิงด้วยน�ำ้ ก. ทดสอบโดยเปิดให้มนี ำ�้ ไหลในระบบดับเพลิง ด้วยน�ำ้ ข. สวิ ต ช์ จ ะต้ อ งเริ่ ม สั ญ ญาณทั น ที เ มื่ อ ท� ำ การทดสอบข้างต้น 16. การทดสอบแผงควบคุมระบบ แผงแสดงผล 14. การทดสอบอุ ป กรณ์ เ สี ย งแจ้ ง สั ญ ญาณและ เพลิงไหม้ และแผงโมดูล ก. การทดสอบการท�ำงานแผงควบคุมระบบ เสียงประกาศ แผงแสดงผลเพลิงไหม้ และแผงโมดูล ก. ทดสอบโดยท�ำให้เกิดการแจ้งสัญญาณ a. พิสจู น์การตอบรับการเริม่ สัญญาณตรวจจับ ข. วัดค่าระดับความดังของเสียง a. วัดทีจ่ ดุ ใด ๆ สูงจากระดับพืน้ 1.50 เมตร สัญญาณตรวจคุม และสัญญาณขัดข้อง ในพื้นที่ป้องกันภายในอาคาร จากการ พร้อมกับกระตุ้นการท�ำงานอุปกรณ์แจ้ง ทดสอบข้างต้นด้วยเครือ่ งวัดความดังทีไ่ ด้ สั ญ ญาณ และอุ ป กรณ์ ช ่ ว ยเชื่ อ มโยง มาตรฐาน เช่น ANSI การท�ำงานอื่น ๆ b. วัดทีต่ ำ� แหน่งทีใ่ ช้หลับนอน เช่น ทีห่ มอน b. แผงควบคุมตอบรับการทดสอบโดยดวง ส�ำหรับห้องนอนภายในอาคาร จากการ ไฟแสดงผลทีเ่ กีย่ วข้องติด และเสียงสัญญาณ ทดสอบข้างต้นด้วยเครื่องวัดความดังที่ เตือนในแผงดังขึน้ เมือ่ เกิดการเริม่ สัญญาณ ได้มาตรฐาน เช่น ANSI ภายในเวลาที่กำ� หนด ค. ใ นพื้ น ที่ ส าธารณะ ค่ า ความดั ง ของเสี ย ง c. แผงควบคุ ม ตอบรั บ การทดสอบโดย สัญญาณทีว่ ดั ได้ในข้อ a. นานไม่นอ้ ยกว่า 60 ดวงไฟแสดงผลที่เกี่ยวข้องติด และเสียง วินาที ต้องมากกว่าค่าความดังของเสียง สัญญาณเตือนในแผงดังขึ้นเมื่อเกิดการ แวดล้อมเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 15 dBA หรือดัง ขัดข้อง ภายในเวลาไม่เกิน 10 วินาที มากกว่าความดังสูงสุดของเสียงแวดล้อมไม่ d. แผงโมดูลแสดงการตอบรับการทดสอบ น้อยกว่า 5 dBA โดยดวงไฟติดค้างที่โมดูล

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

36


e. แผงแสดงผลเพลิ ง ไหม้ แ สดงการตอบ รับการทดสอบการเริ่มสัญญาณตรวจจับ และการแจ้งสัญญาณ โดยดวงไฟติดแสดง ต�ำแหน่งโซนทีก่ ำ� หนด และเสียงสัญญาณ เตือนในแผงดังขึ้น ข. การทดสอบแผงควบคุมการสื่อสารฉุกเฉิน 1. การท�ำงานของเครื่องก�ำเนิดเสียงสัญญาณ และเครื่องขยายเสียง ก. ทดสอบเครื่ อ งโดยท� ำ ให้ เ กิ ด การแจ้ ง สัญญาณที่แผงควบคุมระบบ ข. ไมโครโฟนใช้ประกาศข้อความ จะต้อง สามารถตัดแซงเสียงสัญญาณในขณะใช้ ประกาศ โดยเสียงประกาศจะต้องต่อเนือ่ ง ไม่ ข าดเป็ น ช่ ว งหรื อ มี เ สี ย งอื่ น แทรก รบกวน ในขณะที่ใช้พูดต่อเนื่อง ค. เมื่ อ เปิ ด ใช้ ว งจรล� ำ โพงกระจายเสี ย ง ทั้ ง หมดในระบบ เครื่ อ งขยายเสี ย งจะ ต้องสามารถใช้งานได้โดยต่อเนื่องตลอด เวลา โดยเสียงสัญญาณหรือเสียงประกาศ จะต้องให้ความดังได้ตามมาตรฐานอย่าง สม�ำ่ เสมอ

ข. ทดสอบสมรรถนะของโทรศัพท์ฉุกเฉิน โดยใช้การสือ่ สารระหว่างโทรศัพท์แม่ขา่ ย ทีแ่ ผงควบคุมการสือ่ สารกับเครือ่ งลูกข่าย ในพื้นที่ป้องกันต้องสามารถท�ำได้ตั้งแต่ 1 ถึง 5 เครื่องพร้อมกัน

ร า ส า ้ ฟ ไฟ 17. การทดสอบบริ ภั ณ ฑ์ ต ่ อ ร่ ว ม (interface equipment) ก. ท ดสอบการท� ำ งานของบริ ภั ณ ฑ์ ต ่ อ ร่ ว ม ระหว่างบริภัณฑ์แผงควบคุมระบบสัญญาณ เตือนอัคคีภัย กับระบบร่วมท�ำงานให้ความ ปลอดภัย โดยท�ำให้เกิดการแจ้งสัญญาณที่ แผงควบคุมระบบ ข. พิสจู น์การตอบรับการแจ้งสัญญาณทีส่ ง่ ผ่าน บริภัณฑ์ต่อร่วมโดยการตรวจวัดการท�ำงาน ของหน้าสัมผัส (relay หรือ magnetic contactor)

18. การทดสอบแหล่งจ่ายก�ำลังไฟฟ้าส�ำหรับระบบ a. ทดสอบแหล่งจ่ายก�ำลังไฟฟ้าหลัก ก. ต้องปลดขั้วแบตเตอรี่จ่ายไฟส�ำรองออก ก่ อ นท� ำ การทดสอบ และต่ อ กลั บ เมื่ อ ท�ำการทดสอบแล้วเสร็จ ข. ทดสอบแหล่งจ่ายก�ำลังไฟฟ้าหลักโดย ท�ำให้ระบบเกิดการแจ้งสัญญาณทัว่ ไปขึน้ 2. ก ารทดสอบการท� ำ งานของแผงควบคุ ม กระทัง่ อุปกรณ์และบริภณ ั ฑ์แจ้งสัญญาณ การสื่อสารฉุกเฉิน ทุกชุดในระบบท�ำงาน ในขณะที่อุปกรณ์ ก. แผงควบคุ ม การสื่ อ สารฉุ ก เฉิ น ที่ ผ ่ า น ตรวจจับทุกชุดยังคงท�ำงานตามปกติ การทดสอบ จะต้องสามารถท�ำงานได้ในกรณี ดังต่อไปนี้ (1) ใช้ประกาศผ่านวงจรล�ำโพงทีต่ อ้ งการ ได้ตลอดเวลาตามต้องการ (2) เริม่ ท�ำงานก�ำเนิดสัญญาณเสียง หรือ เสียงทีบ่ นั ทึกล่วงหน้าผ่านวงจรล�ำโพง ที่กำ� หนดได้ภายในเวลาที่ก�ำหนด มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

37


b. ทดสอบแหล่งจ่ายก�ำลังไฟฟ้าส�ำรอง ก. ทดสอบให้แบตเตอรี่จ่ายไฟฟ้าส�ำรองให้ กับระบบ ในสภาวะปกตินาน 5 ชั่วโมง ข. ทดสอบต่อเนื่องจากข้างต้นดังต่อไปนี้ (1) ท� ำ ให้ ร ะบบเกิ ด การแจ้ ง สั ญ ญาณ ทั่วไปขึ้น นานไม่น้อยกว่า 5 นาที (2) ใช้ ง านระบบการสื่ อ สารฉุ ก เฉิ น ประกอบด้วยเสียงแจ้งสัญญาณทัว่ ไป ผ่านวงจรล�ำโพง การกระจายเสียง ประกาศฉุกเฉิน และโทรศัพท์ฉกุ เฉิน นานไม่น้อยกว่า 15 นาที

2. ทดสอบสายสัญญาณชนิดสายใยแก้วน�ำแสง (fiber optic) สายสัญญาณชนิดสายใยแก้วน�ำแสงที่ถือว่า ผ่านการทดสอบจะต้องมีแสงที่ขั้วต่อปลาย สาย และมีค่าสูญเสียในสายที่วัดได้จาก การทดสอบข้างต้นต้องไม่เพิ่มขึ้นมากกว่า ร้อยละ 2 เมือ่ เปรียบเทียบกับค่าทีว่ ดั ได้จาก การทดสอบครัง้ ก่อน และค่านัน้ จะต้องอยูใ่ น เกณฑ์ที่ผู้ผลิตบริภัณฑ์เชื่อมต่อสัญญาณ ก�ำหนด หมายเหตุ ดูข้อก�ำหนดที่สมบูรณ์ทั้งหมดในประมวลหลัก ปฏิบตั วิ ชิ าชีพฯ ของสภาวิศวกร พ.ศ. 2553 ดูตวั อย่างแบบรายงาน และแบบบันทึกการทดสอบทั้งหมดได้ ในประมวลหลักปฏิบัติ วิชาชีพฯ ของสภาวิศวกร พ.ศ. 2553

ร า ส า ้ ฟ ไฟ อ้างอิงเอกสาร ประมวลหลั ก ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ ด้ า นการตรวจสอบ และ การทดสอบการติดตั้งระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย สภาวิศวกร พ.ศ. 2553

19. การทดสอบสายสัญญาณ ประวัติผู้เขียน 1. ทดสอบสายสัญญาณชนิดสายโลหะ เช่น นายมงคล วิสุทธิใจ สายทองแดงหุ้มฉนวน • ประธานกรรมการ ร่ า งมาตรฐาน ก. ทดสอบสายสั ญ ญาณด้ ว ยการวั ด ค่ า ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ วสท. ความต้านทานฉนวนเทียบกับดิน ด้วย • ประธานกรรมการร่างประมวลหลัก เมกะโอห์มมิเตอร์จะต้องอยูใ่ นเกณฑ์ทผี่ ผู้ ลิต ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ ด้ า นการตรวจสอบ และการทดสอบระบบสัญญาณเตือน แผงควบคุมระบบก�ำหนด อัคคีภัย สภาวิศวกร ข. ค่าความต้านทานที่ได้จากการทดสอบ • ประธานผู ้ เ ชี่ ย วชาญตรวจสอบ ข้างต้นวัดระหว่างคูส่ ายของแต่ละวงจรโซน จะต้องอยู่ในเกณฑ์ที่ผู้ผลิตแผงควบคุม ความปลอดภัยด้านอัคคีภัย อาคาร ผู้โดยสารสนามบินสุวรรณภูมิ ระบบก�ำหนด และไม่ลัดวงจร

38


Power Engineering & Power Electronics ไฟฟ้าก�ำลังและอิเล็กทรอนิกส์กำ� ลัง ดร.วิวัฒน์ ทิพจร

การป้องกันสายส่งแบบมีสายแยก การก่อสร้างระบบไฟฟ้าระดับ แรงดัน 115 เควี ทีผ่ า่ นมาพิจารณาถึง ค่าใช้จ่ายในการลงทุนต�่ำสุดเป็นหลัก โดยเห็นได้จากระบบไฟฟ้าโดยทั่วไป ประกอบไปด้วยสายแยกจ�ำนวนมาก มีทั้งสายแยกที่จ่ายให้กับสถานีไฟฟ้า ย่อย และสายแยกที่จ่ายให้กับผู้ใช้ไฟ รายใหญ่ ที่ รั บ ไฟฟ้ า ระดั บ แรงดั น 115 เควีโดยตรง ช่วยในการประหยัด ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างสถานีไฟฟ้า เชื่อมต่อ (Terminal Substation) และประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง อุปกรณ์ปอ้ งกัน เช่น เซอร์กติ เบรกเกอร์ และหม้ อ แปลงทดกระแส แต่ ก็ มี

ผลกระทบที่เป็นปัญหาตามมา เช่น มีข้อจ�ำกัดในการป้องกันระบบไฟฟ้า ซึ่งท�ำให้การแยกส่วนตัดตอนฟอลต์ทำ� ได้ยาก การจัดรูปแบบระบบการจ่ายไฟฟ้าใหม่ทไี่ ม่มสี ายแยกนับว่าเป็นรูปแบบ ในอุดมคติทจี่ ะได้ระบบทีม่ คี วามมัน่ คงสูง แต่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ยในการลงทุนสูง และยังมีปญ ั หาทีด่ นิ ทีม่ นี อ้ ยและมีราคาแพง โดยเฉพาะในย่านนิคมอุตสาหกรรม แต่ถา้ ใช้วธิ กี ารป้องกันทีส่ ามารถป้องกันสายส่งแบบมีสายแยกโดยไม่ตอ้ งสร้าง สถานีไฟฟ้า และยังคงสามารถแยกเขตการป้องกันของสายส่งและสายแยกได้ ก็จะท�ำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก บทความนีแ้ สดงการป้องกันสายส่งแบบมีสายแยกโดยไม่ตอ้ งสร้างสถานี ไฟฟ้าเพิม่ โดยวิธกี ารป้องกันแบบผสมผสาน ประกอบด้วย การป้องกันแบบวัด ระยะทาง รีเลย์วดั ระยะทางควบคุมรีเลย์กระแสเกิน รีเลย์วดั ระยะทางควบคุม รีเลย์วัดค่าผลต่างกระแส และรีเลย์วัดผลต่างกระแสควบคุมรีเลย์กระแสเกิน ซึ่งแต่ละวิธีใช้ข้อดีของรีเลย์ต่าง ๆ ท�ำงานร่วมกันในการป้องกันและแยกส่วน ที่เกิดฟอลต์ออกได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 1 ตัวอย่างระบบไฟฟ้าที่มีสายแยกจ�ำนวนมาก มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

39


1. การป้องกันแบบวัดระยะทาง

สายส่ง ส่วน 10-20% ทีเ่ หลือของสายส่งช่วงแรก ถูกป้องกัน โดยโซน 2 ของรีเลย์วัดระยะทางซึ่งท�ำงานด้วยเวลา T2 ซึ่งเซตให้ท�ำงานช้ากว่าเวลาที่โซน 1 ท�ำงาน โดยทั่วไป เซตให้มีค่า 300 มิลลิวินาที โซน 3 ท�ำงานด้วยเวลา T3 โดยจัด ล� ำ ดับการท� ำงานช้ากว่าการท� ำ งานของโซน 2 จัดเตรียมไว้เพื่อเป็นระบบป้องกันส�ำรองระยะไกลของ สายส่งช่วงถัดไป

รีเลย์วัดระยะทางถูกน�ำมาใช้ในการป้องกันระบบ ไฟฟ้าอย่างแพร่หลายทั่วโลก เป็นรีเลย์ที่มีข้อได้เปรียบ ทั้งทางด้านราคาและเทคนิค การท�ำงานด้วยความเร็วสูง เป็นทัง้ รีเลย์หลักและรีเลย์สำ� รองในตัวเดียวกัน การเปลีย่ น แปลงของโหลดไม่ มี ผ ลต่ อ สมรรถนะการท� ำ งานของ รีเลย์ และมีราคาถูกเมื่อเทียบกับรีเลย์ป้องกันแบบวัดค่า ผลต่างของกระแส การป้องกันวัดระยะทางไม่ขึ้นอยู่กับ การเปลี่ ย นแปลงของโหลด และการจั ด ล� ำ ดั บ เวลา การท�ำงานของรีเลย์วัดระยะทางก�ำหนดจุดที่รีเลย์ท�ำงาน (Reach) และเวลาการท�ำงานคงที่ ท�ำให้การจัดล�ำดับ การท�ำงานง่ายกว่ารีเลย์กระแสเกิน การใช้งานรีเลย์วดั ระยะทางโดยทัว่ ไปใช้การป้องกัน รูปที่ 3 สายส่งแบบมีสายแยก แบบ 3 โซน เป็นการป้องกันที่ประกอบด้วยส่วนประกอบ การใช้รีเลย์วัดระยะทางมาป้องกันสายส่งแบบมี 3 ส่วน คือ โซน 1 โซน 2 และโซน 3 ซึ่งตั้งไว้ให้ทำ� งานที่ สายแยกเริ่มต้นพิจารณาจากรูปที่ 3 เป็นตัวอย่างของ ค่าอิมพีแดนซ์และเวลาที่ต่างกันซึ่งแสดงไว้ในรูปที่ 2 สายส่งแบบมีหม้อแปลงแยกประกอบด้วยสถานีไฟฟ้า G และสถานีไฟฟ้า H โดยมีการส่งจ่ายไฟฟ้าผ่านสายส่ง GH และในระหว่างสายส่งมีสายแยกจ่ายให้หม้อแปลง 1 ตัว หรือเรียกว่าหม้อแปลงแยก สถานีไฟฟ้า G และ H สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ทงั้ คู่ ดังนัน้ ท�ำให้เกิดผลกระทบ ของแหล่งจ่ายไฟใกล้เคียงท�ำให้รเี ลย์ทตี่ ำ� แหน่ง G มองเห็น อิมพีแดนซ์ปรากฏ มากกว่าอิมพีแดนซ์จริงในขณะเกิด ฟอลต์บริเวณสายแยก เช่น ในรูปที่ 3 หากมีการเกิดฟอลต์ขนึ้ ที่ตำ� แหน่ง F ทางด้านแรงต�่ำของหม้อแปลง และก�ำหนด กระแส IG และ IH คือกระแสที่ไหลมาจากสถานีไฟฟ้า G และ H ตามล�ำดับ ดังนี้รีเลย์ G มองเห็นอิมพีแดนซ์ เท่ากับสมการ (1)

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

รูปที่ 2 การป้องกันแบบ 3 โซนของรีเลย์วัดระยะทาง

(1)

เมือ่ กระแสฟอลต์ IF มีคา่ เท่ากับ IG+IH และก�ำหนดให้ โดยทั่วไปโซน 1 ถูกเซตให้ท�ำงานแบบฉับพลัน (Instantaneous) และค่าอิมพีแดนซ์เซตไว้ที่ค่า 80-90% k มีค่าเท่ากับ เมื่อแทนค่าเข้าไปในสมการ (1) ของสายส่งช่วงที่ 1 เพื่อไม่ให้รีเลย์มองเลยข้ามไปยังช่วง จะได้ตามสมการ (2) ถัดไป ค่า 10-20% เป็นค่าที่เผื่อไว้เพื่อให้แน่ใจว่าระบบ ป้องกันมีความมั่นคง (Security) ทั้งนี้เป็นการเผื่อไว้ ส�ำหรับค่าความผิดพลาดในตัวรีเลย์ ค่าความผิดพลาด (2) ในหม้อแปลงทดกระแส ค่าความผิดพลาดในหม้อแปลง ทดแรงดัน และค่าความผิดพลาดของค่าอิมพีแดนซ์ของ

40


ค่า k มีค่าน้อยกว่า 1 ถ้ากระแส IH มีค่ามากกว่า 2. การป้องกันโดยใช้รเี ลย์วด ั ระยะทางควบคุม 0 ท�ำให้ ZG-apparent มีค่ามากกว่าอิมพีแดนซ์จริงที่ตำ� แหน่ง รีเลย์กระแสเกิน เกิดฟอลต์ คล้ายกันรีเลย์ต�ำแหน่ง H มองเห็นอิมพีแดนซ์ วิธีการป้องกันใช้รีเลย์วัดระยะทางควบคุมรีเลย์ ปรากฏ ตามสมการ (3) คือ กระแสเกินหรือเรียกว่า Inverse Time Distance Relay วิธีการดังกล่าวนี้ประกอบด้วย รีเลย์กระแสเกิน โซน 1 (3) ของรีเลย์วัดระยะทาง และโซน 2 ของรีเลย์วัดระยะทาง ที่สามารถควบคุมการท�ำงานของรีเลย์กระแสเกินแบบ การเซตโซน 1 ของรีเลย์ ณ ต�ำแหน่ง G ควรเซตให้มอง Torque Control คือถ้าโซน 2 ของรีเลย์วดั ระยะทางไม่ทำ� งาน 80-90% ของค่าทีน่ อ้ ยทีส่ ดุ ของอิมพีแดนซ์จริงของ ZG+ZH รีเลย์กระแสเกินก็ไม่สามารถท�ำงานได้ วิธีการนี้น�ำข้อดี หรือ ZG+ZT ไม่ใช้คา่ อิมพีแดนซ์ปรากฏ ถ้า ZT มีคา่ น้อยกว่า ของรี เ ลย์ วั ด ระยะทางที่ ไ ม่ ขึ้ น อยู ่ กั บ การเปลี่ ย นแปลง ZH รีเลย์ ไม่สามารถป้องกันได้ตลอดทั้งสายส่ง แต่ในทาง อิมพีแดนซ์ของแหล่งจ่ายและเป็นอิสระจากค่ากระแสโหลด ปฏิบตั ิ ZT มีคา่ สูงกว่า ZG+ZH มาก ดังนัน้ สามารถเซตโซน 1 มาควบคุมการท�ำงานของรีเลย์กระแสเกิน ท�ำให้สามารถ ให้มอง 80-90% ของสายส่ง GH ได้โดยมองเข้าไปใน เซตค่าการท�ำงานของรีเลย์กระแสเกินได้ตำ�่ กว่าค่ากระแส ด้านแรงสูงของหม้อแปลงแต่ไม่เลยไปถึงด้านแรงต�่ำของ โหลดสูงสุดได้ หม้อแปลง โซน 2 ของรีเลย์ ณ ต�ำแหน่ง G ควรเซตให้ ป้องกันสายส่งทั้งหมด เซตโซน 2 ให้มอง 100% ของ สายส่ง GH และ 40% ของสายช่วงถัดไป

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 4 การป้องกันของโซน 1 ของรีเลย์วัดระยะทาง

รูปที่ 4 แสดงการป้องกันของโซน 1 ของรีเลย์ที่ ต�ำแหน่ง G และต�ำแหน่ง H ซึ่งเห็นได้ว่าสามารถเซต การท�ำงานของโซน 1 เพือ่ ท�ำการป้องกันแบบฉับพลันไว้ได้ 90% เหมือนกับการป้องกันแบบไม่มหี ม้อแปลงแยก และ รูปที่ 5 แสดงการป้องกันของโซน 1 ของรีเลย์วัดระยะทาง ใช้กบั หม้อแปลงแยกหลายจุด ก็ยงั สามารถเซตการท�ำงาน ของโซน 1 ให้ท�ำการป้องกันแบบฉับพลันไว้ได้เหมือนกับ การป้องกันแบบหม้อแปลงแยกจุดเดียวและยังสามารถ ใช้โซน 2 และโซน 3 ของรีเลย์วดั ระยะทางเป็นการป้องกัน ส�ำรอง แต่วิธีการป้องกันแบบนี้มีข้อจ�ำกัดคือไม่สามารถ แยกโซนป้องกันของสายส่งและหม้อแปลงได้

รูปที่ 6 การป้องกันแบบรีเลย์วัดระยะทางควบคุมรีเลย์ กระแสเกิน

โซน 1 ของรีเลย์วดั ระยะทางเซตค่าไว้ให้ปอ้ งกัน 90% ของสายส่งช่วงแรก โดยท�ำงานแบบฉับพลันโซน 2 ของ รีเลย์วัดระยะทางเซตค่าให้ป้องกันให้มองสายส่งช่วงแรก รวมไปจนถึง 120% ของสายส่งช่วงถัดไป โดยให้ไปควบคุม การท�ำงานของรีเลย์กระแสเกินไม่ให้ท�ำงานจนกว่ารีเลย์ วัดระยะทางตรวจจับฟอลต์ได้ รูปที่ 6 แสดงให้เห็นระบบ ป้องกันแบบรีเลย์วดั ระยะทางควบคุมรีเลย์กระแสเกินโดย 90% ของสายส่งช่วงแรกได้รบั การป้องกันแบบความเร็วสูง โดยโซน 1 ของรีเลย์วดั ระยะทาง ทีเ่ หลืออีก 10% ของสายส่ง ได้รับการป้องกันด้วยรีเลย์กระแสเกิน ซึ่งใช้เงื่อนของ การเกิดกระแสฟอลต์สงู สุดในการจัดล�ำดับเวลาการท�ำงาน

รูปที่ 5 การป้องกันของโซน 1 แบบหม้อแปลงแยกหลายจุด มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

41


สามารถเซตให้ท�ำงานได้อย่างรวดเร็วเพราะการจัดล�ำดับ เวลากับเวลาของโซน 1 ของช่วงถัดไป และยังเป็นระบบ ป้ อ งกั น ส� ำ รองถั ด จากรี เ ลย์ ก ระแสเกิ น ช่ ว งถั ด ไปด้ ว ย ดังแสดงตัวอย่างจุด A และจุด S ตามรูปที่ 6 รีเลย์กระแสเกินอาจมีการเซตค่าให้ท�ำงานต�่ำกว่า ค่าของกระแสโหลดสูงสุดได้เพราะถูกควบคุมการท�ำงาน โดยโซน 2 ของรีเลย์วัดระยะทางซึ่งไม่ทำ� งานโดยผลของ กระแสโหลด เป็นการป้องกันส�ำรองทีร่ วดเร็วเมือ่ เทียบกับ การใช้รีเลย์กระแสเกินแบบรู้ทิศทาง

ไม่มหี ม้อแปลงแยก แต่รเี ลย์กระแสเกินต้องจัดล�ำดับเวลา การท� ำ งานให้ สั ม พั น ธ์ กั บ ระบบป้ อ งกั น ของหม้ อ แปลง ดังแสดงในรูปที่ 7 ปัญ หาของการป้องกันแบบมีหม้อแปลงแยกคื อ เมื่ อ เกิ ด ฟอลต์ ขึ้ น ในสายส่ ง หรื อ ทางด้ า นแรงสู ง ของ หม้ อ แปลงแยกโซน 1 ของรี เ ลย์ ท� ำ งานแบบฉั บ พลั น ท�ำให้ไม่สามารถแยกเขตการป้องกันระหว่างสายส่งและ หม้อแปลงทางด้านแรงสูงได้ วิธีหนึ่งที่สามารถท�ำได้ก็คือ ให้โซน 1 ท�ำงานแบบฉับพลันแล้วให้สับกลับ (Reclose) และล็อกตัวเองปล่อยให้ระบบป้องกันของหม้อแปลงท�ำงาน และให้รเี ลย์รเี ลย์กระแสเกินทีค่ วบคุมโดยโซน 2 ของรีเลย์ วัดระยะทางเป็นระบบป้องกันส�ำรองก็สามารถแยกเขต การป้องกันหม้อแปลงและสายส่งได้

ร า ส า ้ ฟ ไฟ 3. การป้องกันแบบรีเลย์วัดระยะทางควบคุม รีเลย์วัดค่าผลต่างของกระแส

รูปที่ 7 การป้องกันแบบรีเลย์วัดระยะทางควบคุมรีเลย์ กระแสเกินใช้ป้องกันสายส่งแบบมีหม้อแปลงแยก

หากพิ จ ารณาการป้ อ งกั น ระบบไฟฟ้ า แบบมี หม้อแปลงแยก ท�ำได้โดยโซน 1 ของรีเลย์เซตให้ทำ� งาน ด้วยความเร็วสูงและให้ป้องกันในช่วง 90% ของสายส่ง ช่วงแรก แต่ไม่มองทะลุเข้าไปทางด้านแรงต�ำ่ ของหม้อแปลง เพราะโดยทั่วไปอิมพีแดนซ์ของหม้อแปลงมีค่าสูงมากเมื่อ เทียบกับอิมพีแดนซ์ของสายส่ง โซน 2 ของรีเลย์วดั ระยะทาง เซตค่ า ให้ ป ้ อ งกั น ให้ ม องสายส่ ง ช่ ว งแรกรวมไปจนถึ ง 120% ของสายส่งช่วงถัดไป เหมือนกับการป้องกันแบบ

42

รีเลย์วัดค่าผลต่างของกระแสถือกันว่าเป็นอุปกรณ์ ป้องกันทีด่ ี ในการป้องกันสายส่งไฟฟ้าก�ำลัง ข้อดีทเี่ หนือกว่า รีเลย์วัดระยะทางคือ ความไวในการรับรู้ที่ดีกว่าส�ำหรับ ฟอลต์ ค วามต้ า นทานสู ง สามารถป้ อ งกั น ได้ ต ลอดช่ ว ง ความยาวสาย มีสมรรถภาพทีด่ กี ว่าในการท�ำงานทริปเฟส เดียว และสามารถแยกแยะฟอลต์แบบ Cross - Country Faults ได้ ในการประยุกต์การป้องกันแบบวัดค่าผลต่างของ กระแสในการป้องกันสายส่งแบบมีสายแยกนัน้ เพราะรีเลย์ วัดค่าผลต่างของกระแสต้องการการติดต่อสือ่ สารทีร่ วดเร็ว และต้องการการสุ่มตัวอย่างของสัญญาณที่สอดคล้องกัน กระแสทั้งหมดในวงจรถูกตรวจสอบเพื่อป้องกันสายส่ง รวมทั้งกระแสในสายแยก หรือหม้อแปลงแยกด้วย ดังนั้น การใช้รีเลย์วัดค่าผลต่างของกระแสป้องกันสายส่งที่มี สายแยกอาจท�ำให้เกิดปัญหาในการป้องกันได้ เพราะ สายแยกสร้างขึ้นเนื่องจากต้องการประหยัดค่าใช้จ่าย มักจะสร้างขึน้ ภายนอกสถานีไฟฟ้าและไม่ได้ตดิ ตัง้ อุปกรณ์ ป้องกัน เช่น เซอร์กิตเบรกเกอร์และหม้อแปลงทดกระแส จึงไม่มีการติดต่อสื่อสารจากจุดของสายแยกและรีเลย์ ป้องกันสายส่งหลัก ท�ำให้เป็นข้อจ�ำกัดในการป้องกัน แบบวัดค่าผลต่างของกระแสในการป้องกันสายส่งแบบมี สายแยก


สาเหตุของความผิดพลาดในการวัดค่าผลต่างของ สัญญาณอาจเกิจจากสาเหตุหลายประการ เช่น กระแสโหลด ทั้งหมดของหม้อแปลงแยกและสายแยก ฟอลต์ทางด้าน แรงดั น ต�่ ำ ของหม้ อ แปลง สนามแม่ เ หล็ ก พุ ่ ง เข้ า ของ หม้อแปลงแยก กระแสลัดวงจรลงดินทางด้านแรงดันสูง เนื่องมาจากกระแสล�ำดับศูนย์ป้อนเข้าจากขดลวดของ หม้อแปลงแยกที่ต่อแบบวายลงดินทางด้านแรงสูง ระบบป้องกันทีด่ จี ำ� เป็นต้องแยกแยะระหว่างฟอลต์ ทีเ่ กิดทางด้านแรงต�ำ่ หรือกระแสทีจ่ า่ ยย้อนจากหม้อแปลง กับฟอลต์ในเขตป้องกัน โดยตรวจจับกระแสในสถานีไฟฟ้า หลักอย่างเดียว กระแสในสายแยกไม่มีผลต่อการท�ำงาน ของรีเลย์

ร า ส า ้ ฟ ไฟ สายส่งแบบมีสายแยก อย่างไรก็ตามถ้ามีปัญหาดังกล่าว ก็ จ� ำ ต้ อ งตั ด สิ น ใจยอมให้ ฟ อลต์ ท างด้ า นแรงต�่ ำ ของ หม้อแปลงแยกตัวที่อยู่ใกล้สุดรวมอยู่ในเขตการท�ำงาน ของระบบป้องกันวัดค่าผลต่าง เพื่อให้สามารถเซตให้ มองครอบคลุมสายส่งทั้งหมดและโหลดหม้อแปลงตัวอื่น ในสายส่ง แต่โดยทั่วไปแล้วหม้อแปลงแยกมีพิกัดก�ำลัง ไฟฟ้าต�่ำปัญหานี้จึงไม่ค่อยเกิดขึ้น

รูปที่ 8 ขอบเขตการป้องกันของฟังก์ชันตรวจสอบระยะทาง

วิธีการหนึ่งส�ำหรับแก้ปัญหาความผิดพลาดของ สั ญ ญาณวั ด ค่ า ผลต่ า งที่ ไ ม่ มี อุ ป กรณ์ ต รวจกระแสที่ หม้อแปลงแยก คือ ใช้รีเลย์วัดระยะทางในการตรวจสอบ เพือ่ หลีกเลีย่ งการท�ำงานจากผลของกระแสโหลด หลักการ ของวิธีนี้ คือ การใช้สมบัติของรีเลย์วัดระยะทางช่วย ตรวจสอบการเกิดฟอลต์ ท�ำให้สามารถแยกแยะการเกิด ฟอลต์ได้แม่นย�ำขึ้น โดยถึงแม้อาจจะเกิดความผิดพลาด ในการวัดค่าผลต่างของกระแส แต่ถ้ารีเลย์วัดระยะทาง ตรวจสอบแล้วไม่เจอการเกิดฟอลต์ รีเลย์วดั ค่าผลต่างของ กระแสไม่สามารถท�ำงานได้ ในการเซตรีเลย์วัดระยะทาง ให้เซตมองเผื่อข้ามออกไปนอกโซนของรีเลย์วัดค่าผลต่าง ของกระแสเล็กน้อย ดังรูปที่ 8 อาจจะเกิดปัญหาขึ้นมาบ้างถ้าหม้อแปลงมีพิกัด ก�ำลังไฟฟ้าสูงและตัง้ อยูใ่ กล้สถานีไฟฟ้ามาก ๆ ดังรูปที่ 9 ซึง่ เป็นสถานการณ์ทยี่ ากในการป้องกันแบบวัดค่าผลต่างของ

รูปที่ 9 แผนภาพปัญหาการป้องกัน เมื่อมีหม้อแปลงแยกขนาดใหญ่และส่ายส่งมีระยะไกลมาก

กระแสสนามแม่เหล็กพุ่งเข้าเป็นปัญหาหนึ่งซึ่งอาจ จะท�ำให้รีเลย์วัดค่าผลต่างเกิดการพิคอัพ (Pickup) เพื่อ ให้เกิดความมัน่ คงของระบบไฟฟ้าระบบป้องกันแบบวัดค่า ผลต่างควรจะไม่พคิ อัพขณะเกิดกระแสจากสนามแม่เหล็ก พุ่งเข้าของหม้อแปลงแยก ในกรณีเมื่อเกิดฟอลต์นอกโซน แล้วจ่ายกลับเข้ามาใหม่สามารถค�ำนวณหาค่าสูงสุดที่ ยอมรับได้ในการมองเห็นค่ารูปคลื่นกระแสพุ่งเข้าโดย มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

43


ข้อมูลที่ต้องการบางข้อมูลอาจได้มาจากการทดสอบหรือ สามารถเซตโหมดการท�ำงานของรีเลย์ให้ตอบสนองเฉพาะ จากผู้ขายตัวอย่างของอิมพีแดนซ์โดยประมาณระหว่าง กระแสล�ำดับบวกหรือล�ำดับลบหรือทั้งสองรวมกันได้โดย การเกิดกระแสพุ่งเข้าตามสมการ (4) ไม่ตอบสนองกับกระแสล�ำดับศูนย์ อย่างไรก็ตามการขจัด กระแสศูนย์ท�ำให้ความไวในการป้องกันฟอลต์แบบเฟส (4) เดียวลงดินภายในเขตป้องกันลดลง เพราะกระแสผลต่าง ที่นำ� มาค�ำนวณมีค่าลดลงถึง 2/3 เท่าของกระแสค่าเดิม กรณีหม้อแปลงแยกติดตัง้ อยูใ่ นช่วงของสายส่งและ โซนของรีเลย์วัดระยะทางมองเข้าไปในหม้อแปลงไม่เกิน 0.75 เท่าของอิมพีแดนซ์หม้อแปลง สมมติคา่ กระแสพุง่ เข้า สู ง สุ ด มี ค ่ า เท่ า กั บ k เท่ า ของกระแสพิ กั ด หม้ อ แปลง สามารถหาค่าของ k ได้ดังสมการ (5) รูปที่ 10 กระแสล�ำดับศูนย์ป้อนเข้าของหม้อแปลง ต่อแบบวายลงดินทางด้านแรงสูง

ร า ส า ้ ฟ ไฟ (5)

สมมติค่าแรงดันลัดวงจรทดสอบของหม้อแปลง เท่ากับ 10% ได้คา่ k= 57.7 ความหมายคือ ถ้าค่ากระแสพุง่ เข้า มีค่าน้อยกว่า 57 เท่าของกระแสพิกัดและเซตรีเลย์วัด ระยะทางให้มองเห็นที่ 75% ของอิมพีแดนซ์หม้อแปลงท�ำให้ รีเลย์ไม่เกิดการพิคอัพเมื่อเกิดกระแสพุ่งเข้า ซึ่งค่ากระแส สนามแม่เหล็กพุ่งเข้าโดยทั่วไปมีค่าน้อยกว่า 50 เท่าของ พิกัดดังนั้นรีเลย์จึงท�ำงานได้อย่างถูกต้อง ทางเลื อ กอี ก ทางหนึ่งส� ำ หรับ ป้องกันการท�ำ งาน ผิดพลาดของวงจรวัดค่าผลต่างในกรณีเกิดกระแสพุ่งเข้า คือใช้การรั้งฮาร์มอนิก (Harmonic restrain) วิธีการนี้ ใช้วธิ กี ารตรวจสอบปริมาณของฮาร์มอนิกทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ เกิด สนามแม่เหล็กพุ่งเข้า ซึ่งโดยทั่วไปเมื่อเกิดสนามแม่เหล็ก พุ่งเข้าท�ำให้เกิดปริมาณฮาร์มอนิกสูง ท�ำให้รีเลย์สามารถ แยกแยะกระแสพุ่งเข้าและกระแสฟอลต์ได้ รีเลย์บางตัว อาจจะมีฟังก์ชันนี้อยู่ภายในหรืออาจจะหาเพิ่มเติมจาก ภายนอกได้ กรณี ห ม้ อ แปลงแยกต่ อ แบบวายลงดิ น ทางด้ า น แรงสูง รีเลย์วัดค่าผลต่างอาจจะพิคอัพเมื่อเกิดฟอลต์ ภายนอกโซน กระแสนิวทรัลจ่ายจากหม้อแปลงถูกตรวจจับ โดยรีเลย์ขา้ งใดข้างหนึง่ ตามรูปที่ 10 และเกิดความไม่สมดุล ของสัญญาณค่าผลต่างและท�ำให้เกิดการทริปผิดพลาดได้ เพือ่ ความมัน่ ใจในการท�ำงานทีถ่ กู ต้อง ในกรณีนรี้ เี ลย์แบบ วัดค่าผลต่างจ�ำเป็นต้องไม่ตอบสนองกับกระแสล�ำดับศูนย์ ดิ จิทั ล รี เ ลย์ แ บบวั ดค่าผลต่างโดยทั่ว ไปออกแบบมาให้

44

4. การป้องกันด้วยรีเลย์วัดค่าผลต่างของ กระแสควบคุมรีเลย์ป้องกันกระแสเกิน

วิ ธี ก ารใช้ รี เ ลย์ วั ด ค่ า ผลต่ า งของกระแสควบคุ ม การท�ำงานของรีเลย์ปอ้ งกันกระแสเกิน ใช้ฟงั ก์ชนั ควบคุม การท�ำงานแบบ Torque Control ของรีเลย์มาช่วย คือรีเลย์ ป้องกันกระแสเกินไม่ท�ำงานจนกว่ารีเลย์วัดค่าผลต่างของ กระแสท�ำงาน ถือเป็นการรวมข้อดีของรีเลย์ทงั้ สองแบบเข้า ด้วยกัน ข้อดีของรีเลย์แบบวัดค่าผลต่างคือสามารถป้องกัน ได้ตลอดช่วงความยาวสาย มีเขตการป้องกันทีช่ ดั เจน และ มีความไวสูงในการท�ำงาน ข้อดีของรีเลย์ปอ้ งกันกระแสเกิน คือสามารถจัดล�ำดับเวลาการท�ำงานให้สัมพันธ์กับระบบ ป้องกันของหม้อแปลงแยกได้ การเซตค่ารีเลย์วัดค่าผลต่างเซตให้มีค่ามากกว่า กระแสสูงสุดของโหลดของหม้อแปลงแยก เพื่อใช้เป็น ตัวควบคุมรีเลย์กระแสเกิน และรีเลย์กระแสเกินเป็น การตรวจวัดค่าผลรวมทางเวกเตอร์ของกระแสจากสถานี A และสถานี B รวมกัน โดยเซตให้จดั ล�ำดับเวลาการท�ำงานกับ รีเลย์ป้องกันหม้อแปลงแยก การท�ำงานเมื่อเกิดฟอลต์ขึ้น ในหม้อแปลง รีเลย์วัดค่าผลต่างท�ำงานและรีเลย์ป้องกัน กระแสเกินท�ำงานด้วยโดยรอให้รีเลย์ป้องกันหม้อแปลง ท�ำงานก่อน ถ้ารีเลย์ป้องกันหม้อแปลงเกิดความผิดพลาด ในการท�ำงานรีเลย์ป้องกันกระแสเกินที่ควบคุมด้วยรีเลย์ วัดค่าผลต่างเป็นระบบป้องกันส�ำรองให้ ถ้าเกิดฟอลต์ขึ้น ในสายส่ง รีเลย์ป้องกันกระแสเกินที่ควบคุมรีเลย์วัดค่า ผลต่างของกระแสท�ำงานเป็นรีเลย์หลัก


รูปที่ 11 แสดงวิธีการใช้รีเลย์วัดค่าผลต่างควบคุมรีเลย์ป้องกันกระแสเกินในการป้องกันสายส่งแบบมีสายแยก รีเลย์ที่ใช้งานประกอบด้วยรีเลย์แบบวัดค่าผลต่างและรีเลย์ป้องกันกระแสเกิน

รูปที่ 11 การใช้รีเลย์วัดค่าผลต่างของกระแสควบคุมรีเลย์ป้องกันกระแสเกิน เพื่อป้องกันสายส่งแบบมีหม้อแปลงแยกหลายจุด

ร า ส า ้ ฟ ไฟ สรุป

จากวิ ธี ก ารป้ อ งกั น สายส่ ง แบบมี ส ายแยกหรื อ หม้อแปลงแยกที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น ได้แสดงให้เห็นว่า สามารถเลือกวิธีก ารป้องกันได้หลายแบบ ที่สามารถ แยกโซนป้องกันบริเวณสายส่งและหม้อแปลงออกจากกัน และมี ก ารจั ด ล� ำ ดั บ เวลาการท� ำ งานได้ อ ย่ า งเหมาะสม นอกจากนั้นแล้วยังอาจจะประยุกต์ใช้งานผสมผสาน เช่น ใช้รีเลย์วัดค่าผลต่างกระแสควบคุมรีเลย์กระแสเกินเป็น ระบบป้องกันหลักและใช้รีเลย์วัดระยะทางควบคุมรีเลย์ กระแสเกินเป็นระบบป้องกันส�ำรอง ซึ่งทั้งสองสามารถ จัดล�ำดับเวลากับอุปกรณ์ป้องกันหม้อแปลงได้ ปัจจุบัน ไมโครโปรเซสเซอร์รเี ลย์ ได้จดั เตรียมรีเลย์หลายแบบรวมไว้ ในตัวเดียวกัน เหมาะส�ำหรับการประยุกต์ใช้งานทีก่ ล่าวมา โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม และเวลาการท�ำงานเร็วเมื่อ เทียบกับการเพิ่มรีเลย์จากภายนอก

เอกสารอ้างอิง 1. สันติ อัศวศรีพงศ์ธร. 2526. รีเลย์ป้องกันกับการป้องกัน ระบบก�ำลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 2. สันติ อัศวศรีพงศ์ธร. 2544. Non-Directional Overcurrent and Earth Fault Protection. โครงการร่วมมือระหว่างการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 3. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. 2534. มาตรฐานแบบ ระบบควบคุมและป้องกันสถานีไฟฟ้า. 4. Walter A. Elmore. 1994, Protective Relaying Theory and Applications. Marcel Dekker Inc., New York. 5. B.Kasztenny, I.Voloh, M.Adamiak and J.Zeek. 1999. Application of Current Differential Protection to Tapped Transmission Lines. Technical Publications. 6. SEL-311L Line Current Differential Protection and Automation system Instruction manual. 2003-2011. Schweitzer Engineering Laboratories.

ประวัติผู้เขียน ดร.วิวัฒน์ ทิพจร ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี จ ากสถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ปริญญาโทและปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปั จ จุ บั น ท� ำ งานเป็ น อาจารย์ ส าขาวิ ช าวิ ศ วกรรมไฟฟ้ า คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย

มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

45


Power Engineering & Power Electronics ไฟฟ้าก�ำลังและอิเล็กทรอนิกส์ก�ำลัง ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

การวิเคราะห์ เ ร โ ซ แ น น ซ์ ข อ ง ว ง จ ร

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

บทคัดย่อ

ในการท�ำงานของอุปกรณ์และวงจรไฟฟ้าทีเ่ กิดภาวะ เรโซแนนซ์ขึ้นซึ่งท�ำให้เกิดผลกระทบตามมาเป็นจ�ำนวน มากนัน้ ความเข้าใจในลักษณะคุณสมบัตแิ ละวงจรทีจ่ ะเกิด เรโซแนนซ์ถือว่ามีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง การวิจัยนี้ได้มี การพิจารณาถึงลักษณะของการเกิดเรโซแนนซ์ รวมทั้ง การประเมินตัวประกอบคุณภาพและความถี่เรโซแนนซ์ เพื่อจะได้น�ำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป

การคายประจุขนึ้ ซึง่ ได้ตพี มิ พ์เป็นบทความใน พ.ศ. 2430 เรือ่ ง “On Very Rapid Electric Oscillations” โดยมีหวั ข้อ “Resonance Phenomena” ตามรูปที่ 1 ทีเ่ ป็นการตรวจจับ ในลูปสายที่มีความยาวต่าง ๆ

บทน�ำ

เรโซแนนซ์ (Resonance) เป็นปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ ทีค่ วามถีเ่ ฉพาะค่าหนึง่ ซึง่ ส่งผลให้อมิ พีแดนซ์มากทีส่ ดุ หรือ น้อยที่สุดได้ ท�ำให้เกิดการถ่ายทอดพลังงานอย่างต่อเนื่อง ที่อาจเกิดประโยชน์หรืออาจเกิดปัญหาตามมาได้ วงจรทีม่ คี า่ รีแอกแตนซ์ XL เท่ากับ XC เรียกว่าวงจร เรโซแนนซ์ ซึ่งอาจจะเป็นวงจร RLC หรือ LC แบบขนาน หรือแบบอนุกรมก็ได้ แต่โดยส่วนใหญ่แล้ววงจรเรโซแนนซ์ มักจะเป็นวงจร LC Heinrich Hertz ชาวเยอรมันซึง่ เป็นผูค้ น้ พบความถี่ ไฟฟ้า (เฮิรตซ์ – Hz) เป็นผู้ตรวจจับการเรโซแนนซ์ ในคลืน่ ไฟฟ้าได้เป็นครัง้ แรกจากการคายประจุอย่างรวดเร็ว ที่ท�ำให้เกิดการกระเพื่อมขึ้นในคลื่นไฟฟ้า โดยใช้อุปกรณ์ อย่ า งง่ า ย ๆ ที่ มี สายพร้อมช่องอากาศและท� ำให้เกิด

46

รูปที่ 1 เส้นโค้งเรโซแนนซ์ทางไฟฟ้าครั้งแรก โดย Hertz พ.ศ. 2430


ต่ อ มามี ก ารศึ ก ษาการเรโซแนนซ์ ใ นวงจรไฟฟ้ า มากขึ้น และขยายไปยังระบบโทรศัพท์ โดย Stanley, Jr., และ John F. Kelley เรื่อง “Mean for Preventing the Interference with Speech on Telephone Circuits by Induced or Other Currents” ใน U.S. Patent No. 464, 529 ใน พ.ศ. 2434 ซึ่งเป็นการแสดงวิธี ป้องกันการรบกวนในโทรศัพท์ โดยใช้อินดักเตอร์และ คาปาซิเตอร์ตามรูปที่ 2

รูปที่ 3 การลากเส้น XL และ XC ตามความถี่ ซึ่งเรโซแนนซ์ จะเกิดที่ XL = XC

ร า ส า ้ ฟ ไฟ จะเห็นได้ว่า L C มีเรโซแนนซ์ได้ที่ความถี่หนึ่งค่า

รูปที่ 2 การใช้องค์ประกอบเรโซแนนซ์ศึกษาการรบกวนทาง เท่านั้น แต่ L และ C 1ที1่ค่าอื่น ๆ ก็เรโซแนนซ์ได้ที่ความถี่ โทรศัพท์ โดย Stanley และ Kelley พ.ศ. 2434

เดียวกับ L1C1 สมมุติว่าในรูปที่ 3 มีอินดักแตนซ์สูงขึ้น (XL เพิม่ ขึน้ ) เป็น L2 และคาปาซิแตนซ์ตำ�่ ลง (XC เพิม่ ขึน้ ) ความถี่เรโซแนนซ์ เป็น C2 ก็จะมีเรโซแนนซ์ที่ความถี่เดียวกับ L1C1 ในระบบหรือวงจรไฟฟ้าที่มีค่าอินดักแตนซ์ (L) ในรูปที่ 3 หากอินดักแตนซ์เพิ่มขึ้น (XL เพิ่มขึ้น) และคาปาซิแตนซ์ (C) นั้น จะมีความถี่ค่าหนึ่งที่ท�ำให้ เป็น L2 และคาปาซิแตนซ์ยังคงค่าที่ C1 จะมีความถี่ ค่ารีแอกแตนซ์ XL เท่ากับ XC ซึ่งความถี่ดังกล่าวเรียกว่า เรโซแนนซ์ลดมาอยู่ที่จุด A ส่วนกรณีที่อินดักแตนซ์ยังคง ความถี่เรโซแนนซ์ (fr) โดยค�ำนวณได้ดังนี้ ค่าที่ L1 และคาปาซิแตนซ์ลดลง (XC เพิ่มขึ้น) เป็น C2 ก็จะมีความถี่เรโซแนนซ์เพิ่มไปอยู่ที่จุด B

วงจรเรโซแนนซ์ขนาน

เมื่อ fr มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ L มีหน่วยเป็นเฮนรี่ C มีหน่วยเป็นฟารัด

รูปที่ 3 อธิบายหลักการของความถีเ่ รโซแนนซ์ โดย ลากเส้นรีแอกแตนซ์ตามความถี่ เส้นตรงรีแอกแตนซ์ XL1 ได้จากอินดักแตนซ์ L1 ตามความถี่ ส่วนเส้นโค้งรีแอกแตนซ์ XC1 ได้จากคาปาซิแตนซ์ C1 ตามความถี่ ซึง่ ความถีเ่ รโซแนนซ์ ของ L1C1 เป็นความถี่ที่เส้น XL1 ตัดกับเส้น XC1

จากทีก่ ล่าวมาข้างต้นว่า เรโซแนนซ์เกิดได้จากค่า R, L และ C อนุกรมหรือขนานกัน ซึ่งในการทดลองท�ำได้ โดยต่อองค์ประกอบทางไฟฟ้าให้ขนานกันตามรูปที่ 4 เพือ่ ให้เกิดภาวะเรโซแนนซ์ขนาน

รูปที่ 4 การต่อวงจรเรโซแนนซ์ขนาน มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

47


เฟเซอร์ไดอะแกรมในรูปที่ 5 แสดงคุณลักษณะหลัก ของวงจรเรโซแนนซ์ขนาน ซึ่งกระแสอินดักทีฟจะหักล้าง กระแสคาปาซิทฟี ดังนัน้ กระแสไฟฟ้ารวมจะเท่ากับกระแส รีซิสทีฟ นั่นคือกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้าของแหล่ง ก�ำเนิดจะร่วมเฟสกันโดยมีมมุ θ เป็นศูนย์ และมีตวั ประกอบ ก�ำลัง (cosθ) เป็น 1 กล่าวได้วา่ วงจรเรโซแนนซ์ขนานจะเป็น รีซิสทีฟอย่างสมบูรณ์

กระแสไฟฟ้าทีไ่ หลจากแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้าในรูปที่ 5 จะเป็นกระแสไฟฟ้าทีไ่ หลผ่านรีซสิ เตอร์เท่านัน้ โดยแรกเริม่ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านคาปาซิเตอร์และอินดักเตอร์ แต่การที่อินดักเตอร์และคาปาซิเตอร์ถ่ายโอนพลังงาน ไป-กลับระหว่างตัวเองตามรูปที่ 6 ท�ำให้คาปาซิเตอร์และ อินดักเตอร์ถูกเอาออกจากวงจรอย่างช้า ๆ

อธิบายการท�ำงานของวงจรเรโซแนนซ์ขนานใน รูปที่ 6 ได้ดังนี้ - สมมุตวิ า่ คาปาซิเตอร์และอินดักเตอร์ถกู เอาออก ทันทีทคี่ าปาซิเตอร์อดั ประจุเต็ม คาปาซิเตอร์จะกลายเป็น แหล่งก�ำเนิดพลังงานและเริ่มคายประจุผ่านอินดักเตอร์ ตามรูปที่ 6(ก) ท�ำให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้นในอินดักเตอร์ และเก็บพลังงานที่ถ่ายโอนจากคาปาซิเตอร์ - เมือ่ คาปาซิเตอร์ได้คายประจุไปแล้ว สนามแม่เหล็ก ของอินดักเตอร์จะเริ่มลดลง ภาวะนี้อินดักเตอร์จะเป็น แหล่งก�ำเนิดพลังงานไปอัดประจุคาปาซิเตอร์ใหม่ในสภาพ กลับขั้วตามรูปที่ 6(ข) - หลังจากที่สนามแม่เหล็กของอินดักเตอร์ลดลง และอัดประจุคาปาซิเตอร์ใหม่แล้ว คาปาซิเตอร์จะเป็น แหล่งก�ำเนิดพลังงาน โดยคายประจุตามรูปที่ 6(ค) และ ถ่ายโอนพลังงานไปยังสนามแม่เหล็กของอินดักเตอร์ - เมื่ อ สนามแม่ เ หล็ ก ที่ ล ดลงของอิ น ดั ก เตอร์ ได้อัดประจุคาปาซิเตอร์ใหม่ จะเป็นวัฏจักรที่สมบูรณ์ตาม รูปที่ 6(ง) ซึ่งวัฏจักรนี้จะเริ่มต้นอีกครั้งตามรูปที่ 6(ก) วงจรเรโซแนนซ์ ข นานสร้ า งคลื่ น ไชน์ ต ามรู ป ที่ 7 โดยคาปาซิ เ ตอร์ อั ด ประจุ แ ละคายประจุ ห ลายครั้ ง ถ้าคาปาซิเตอร์และอินดักเตอร์เป็นองค์ประกอบอุดมคติ (ไม่มีรีซิสแตนซ์) ก็จะมีผลให้วงจรเรโซแนนซ์ขนานสร้าง คลืน่ ไซน์ตอ่ ไปตามรูปที่ 7(ก) แต่วงจรเรโซแนนซ์ขนานจริง จะสร้างรูปคลื่นหน่วง (Damped) ตามรูปที่ 7(ข)

รูปที่ 6 วงจรเรโซแนนซ์ขนาน

รูปที่ 7 รูปคลื่นของวงจรเรโซแนนซ์ขนาน

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

รูปที่ 5 วงจร RLC เรโซแนนซ์ขนาน โดยมี IC = IL

48


สมมุติว่าวงจร LC ในรูปที่ 6 ต่อกับแหล่งก�ำเนิด ไฟฟ้า AC ตามรูปที่ 8(ก) โดยความถี่ของแหล่งก�ำเนิด ไฟฟ้าเท่ากับความถี่เรโซแนนซ์ของวงจร LC ซึ่งหาก L และ C เป็นองค์ประกอบอุดมคติ ก็จะไม่มีกระแสไฟฟ้า ไหลจากแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้าและอิมพีแดนซ์ของวงจรจะมี ค่าอนันต์ แต่ในองค์ประกอบจริงจะมีกระแสไฟฟ้าไหล จากแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้าเพียงเล็กน้อย ซึง่ เมือ่ รวมกับแรงดัน ไฟฟ้าของแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้าแล้ว จะได้ก�ำลังไฟฟ้าต�่ำมาก ที่ ใ ช้ โ ดยรี ซิ ส แตนซ์ ข องอิ น ดั ก เตอร์ แ ละคาปาซิ เ ตอร์ ในเฟเซอร์ไดอะแกรมรูปที่ 8 จะมีกระแสไฟฟ้าต�่ำ (IR) ที่เกิดจากรีซิสแตนซ์ของ L และ C ซึ่งในองค์ประกอบ ที่มีคุณภาพสูงจะมีกระแสไฟฟ้าของแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้า ต�ำ่ มากและอิมพีแดนซ์สูงมาก

รูปที่ 8(ค) แสดงความถี่ไฟฟ้าที่สูงกว่าความถี่ เรโซแนนซ์ วงจรจะเป็นคาปาซิทีฟและอิมพีแดนซ์จะลด จากค่าอิมพีแดนซ์ที่ความถี่เรโซแนนซ์เช่นกัน กล่าวได้วา่ วงจร LC เรโซแนนซ์ขนานมีคณ ุ ลักษณะ หลักดังนี้ 1. อิมพีแดนซ์สูงสุด 2. กระแสไฟฟ้าของแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้ามีค่าต�่ำสุด 3. มุมเฟสเกือบเป็นศูนย์ 4. กระแสไฟฟ้าอินดักทีฟและคาปาซิทีฟมีค่าสูง

วงจรเรโซแนนซ์อนุกรม

ในการทดลองเกี่ยวกับเรโซแนนซ์อนุกรม ท�ำได้ โดยต่อองค์ประกอบทางไฟฟ้าให้อนุกรมกันตามรูปที่ 9 เพื่อให้เกิดภาวะเรโซแนนซ์อนุกรม

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 9 การต่อวงจรเรโซแนนซ์อนุกรม

รูปที่ 8 วงจร LC ขนาน ซึ่งมีอิมพีแดนซ์มากที่สุดที่ภาวะ เรโซแนนซ์

สมมุ ติ ว ่ า ความถี่ ข องแหล่ ง ก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า ต�่ ำ กว่ า ความถี่เรโซแนนซ์ของวงจร LC ในรูปที่ 8(ข) จะมี XL น้อยกว่า XC และ IL มากกว่า IC ความแตกต่างระหว่าง IL กับ IC จะเป็นกระแสไฟฟ้าที่ต้องการจากแหล่งก�ำเนิด ไฟฟ้า ซึง่ วงจรจะเป็นอินดักทีฟและอิมพีแดนซ์จะลดลงจาก ค่าอิมพีแดนซ์ที่ความถี่เรโซแนนซ์

วงจร RLC อนุกรมในรูปที่ 10 จะมีความถีไ่ ฟฟ้าของ แรงดันไฟฟ้าแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้าอยูท่ คี่ วามถีเ่ รโซแนนซ์ของ L และ C ซึ่งหมายถึง XL = XC และ VL = VC เนื่องจาก VL และ VC ห่างกัน 180o จึงหักล้างกัน แรงดันตกรวม จึงเป็นแรงดันไฟฟ้าคร่อมรีซิสแตนซ์ แรงดันไฟฟ้าและ กระแสไฟฟ้าของแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้าจะร่วมเฟสกัน และ วงจรมีตวั ประกอบก�ำลังเป็น 1 การที่ XL และ XC หักล้างกัน ท�ำให้กระแสไฟฟ้าในวงจรขึ้นกับรีซิสแตนซ์เท่านั้น

รูปที่ 10 วงจร RLC เรโซแนนซ์อนุกรม มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

49


สมมุตวิ า่ รีซสิ เตอร์ในรูปที่ 10 ถูกลัดผ่านได้เป็นวงจร แรงดันไฟฟ้าคร่อมอินดักเตอร์คือ LC เหมือนรูปที่ 11(ก) ถ้า L และ C เป็นองค์ประกอบ อุดมคติ XL จะหักล้าง XC และวงจรเรโซแนนซ์อนุกรมนีจ้ ะมี อิมพีแดนซ์เป็นศูนย์ ซึง่ เป็นการลัดวงจรคร่อมแหล่งก�ำเนิด ดังนั้นแรงดันไฟฟ้าคร่อมอินดักเตอร์และคร่อม กระแสไฟฟ้าจึงขึน้ กับรีซสิ แตนซ์ภายในแหล่งก�ำเนิดเท่านัน้ คาปาซิเตอร์จะสูงกว่าแรงดันไฟฟ้าของแหล่งก� ำเนิดถึง แต่ ใ นความเป็ น จริ ง อิ น ดั ก เตอร์ แ ละคาปาซิ เ ตอร์ จ ะมี 33 เท่า (168V ต่อ 5V) รีซิสแตนซ์อยู่ด้วย จึงป้องกันวงจรเรโซแนนซ์อนุกรมจาก รูปที่ 11(ข) และ 11(ค) แสดงผลจากการท�ำงาน การลัดวงจรที่รุนแรง ของวงจร LC อนุกรมที่ความถี่ต�่ำกว่าความถี่เรโซแนนซ์ และสูงกว่าความถีเ่ รโซแนนซ์ ซึง่ เมือ่ ความถีต่ ำ�่ กว่าความถี่ เรโซแนนซ์ วงจรอนุกรมจะเป็นคาปาซิทีฟเพราะ V C มากกว่า VL ส่วนในวงจรขนานที่ความถี่ต�่ำกว่าความถี่ เรโซแนนซ์ตามรูปที่ 8(ข) จะเป็นอินดักทีฟ คุณลักษณะหลักของวงจร LC เรโซแนนซ์อนุกรม เป็นดังนี้ 1. อิมพีแดนซ์ต�่ำสุด 2. กระแสไฟฟ้าของแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้ามีค่าสูงสุด 3. มุมเฟสเกือบเป็นศูนย์ 4. แรงดันไฟฟ้าอินดักทีฟและคาปาซิทีฟมีค่าสูง

ร า ส า ้ ฟ ไฟ เส้นโค้งตอบสนอง, แบนด์วิดช์ และการเลือก

รูปที่ 11 วงจร RLC อนุกรม ซึ่งมีอิมพีแดนซ์เป็นศูนย์ ที่ภาวะเรโซแนนซ์

แรงดันไฟฟ้าคร่อมคาปาซิเตอร์และอินดักเตอร์ จะใหญ่ ก ว่ า แรงดั น ไฟฟ้ า ของแหล่ ง ก� ำ เนิ ด ในวงจร เรโซแนนซ์ อ นุ ก รมหลายเท่ า เช่ น รี ซิ ส แตนซ์ ข อง อินดักเตอร์และคาปาซิเตอร์ในรูปที่ 11(ก) ทีม่ คี า่ ประมาณ 20 โอห์ม จะได้กระแสไฟฟ้าในวงจรเป็น

พฤติกรรมของวงจร LC สามารถแสดงด้วย “เส้นโค้ง ตอบสนอง” (Response curve) ตามรูปที่ 12 ซึง่ ท�ำได้โดย ค�ำนวณหรือวัดกระแสไฟฟ้า, แรงดันไฟฟ้า หรืออิมพีแดนซ์ ที่ความถี่ต่าง ๆ ซึ่งสูงกว่าความถี่เรโซแนนซ์ และต�ำ่ กว่า ความถี่เรโซแนนซ์ เส้นโค้งในรูปที่ 12(ก) และ 12(ข) แสดงถึงความแตกต่างหลักระหว่างวงจร LC อนุกรมและ วงจร LC ขนาน

กระแสไฟฟ้า 0.25A จะไหลผ่านอินดักเตอร์และ คาปาซิเตอร์ ซึ่งรีแอกแตนซ์ของอินดักเตอร์จะเป็น

รูปที่ 12 เส้นโค้งตอบสนองของวงจรเรโซแนนซ์

50


“แบนด์วิดช์” (Bandwidth - BW) ของวงจร LC มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ โดยมีช่วงความถี่ที่วงจรให้การตอบสนอง สูงสุดอย่างน้อย 70.7% สมมุติว่าวงจร LC ขนานในรูปที่ 12(ก) ถูกเรโซแนนซ์ที่ 500kHz และมีอมิ พีแดนซ์เรโซแนซ์ 100kΩ เมื่ออิมพีแดนซ์ลดลงเป็น 70.7kΩ ที่ 495kHz [flow ในรูปที่ 12(ก)] และที่ 505kHz [fhigh ในรูปที่ 12(ก)] จะได้แบนด์วดิ ช์ของวงจรเป็น 10MHz (505 ถึง 495kHz) แบนด์วดิ ช์ของวงจรอนุกรมหาได้จากเส้นโค้งกระแสไฟฟ้าความถี่ตามรูปที่ 12(ข) ขอบแบนด์วิดช์ (flow และ fhigh) เป็นความถี่ที่กระแสไฟฟ้าของวงจรเป็น 70.7% ของ กระแสไฟฟ้าที่เรโซแนนซ์ “การเลือก” (Selectivity) ของวงจรหาได้จาก แบนด์ วิ ด ช์ ข องวงจร ซึ่ ง เป็ น ความสามารถของวงจร ในการเลื อ กค่ า ความถี่ ห นึ่ ง จากกลุ ่ ม ของความถี่ เช่ น เสาอากาศของตัวรับวิทยุได้รับสัญญาณจากสถานีวิทยุ ทัง้ หมด ซึง่ สัญญาณของแต่ละสถานีจะมีความถีแ่ ตกต่างกัน วงจรเรโซแนนซ์ในตัวรับจะเลือกความถีจ่ ากหนึง่ สถานีและ ขจัดความถีข่ องสถานีอนื่ ทัง้ หมด นัน่ คือการจูนตัวรับจะเป็น การเปลี่ยนค่าคาปาซิเตอร์หรืออินดักเตอร์เพื่อปรับค่า ความถีเ่ รโซแนนซ์ของวงจรตัวรับ หากแบนด์วดิ ช์ของวงจร ตัวรับกว้างเกินไป ก็จะได้ยนิ เสียงจากหลายสถานีพร้อมกัน ซึ่งหมายถึงตัวรับนั้นมีความไวไม่ดี

ร า ส า ้ ฟ ไฟ คุณภาพของวงจรเรโซแนนซ์

ค�ำว่า “คุณภาพ” ในวงจรเรโซแนนซ์คอื อัตราส่วนของ รีแอกแตนซ์ของอินดักเตอร์หรือคาปาซิเตอร์ตอ่ รีซสิ แตนซ์ อนุกรมขององค์ประกอบทั้งคู่ คุณภาพของวงจรเรโซแนนซ์มีความส�ำคัญดังนี้ 1. คุณภาพ (Q) จะก�ำหนดค่า Z ต�ำ่ สุดของวงจร เรโซแนนซ์อนุกรมและค่า Z สูงสุดของวงจรเรโซแนนซ์ ขนานตามรูปที่ 13 ซึง่ ในรูปที่ 13(ก) จะเห็นว่าวงจรอนุกรม คุณภาพสูงจะให้ Z ต�ำ่ สุด ส่วนวงจรขนานคุณภาพสูงจะให้ Z สูงสุดตามรูปที่ 13(ข) วงจรอนุกรม :

รูปที่ 13 ผลของคุณภาพ (Q) ที่ Z เรโซแนนซ์

2. คุ ณ ภาพจะก� ำ หนดแบนด์ วิ ด ช์ ข องวงจร เรโซแนนซ์ได้ วงจรที่มีคุณภาพสูงกว่าจะมีแบนด์วิดช์แคบกว่า ซึ่งแบนด์วิดช์ที่แคบกว่าจะเปลี่ยนอิมพีแดนซ์ได้มากกว่า ตามรูปที่ 14 เฟเซอร์ไดอะแกรมในรูปที่ 14(ก) เป็นวงจร LC ขนานสองวงจรที่ความถี่เรโซแนนซ์เดียวกัน วงจร คุณภาพต�่ำจะมีกระแสไฟฟ้ารีซิสทีฟมากถึงสองเท่าของ วงจรคุณภาพสูง ส่วนรูปที่ 14(ข) แสดงผลจากการเพิ่ม ความถี่ของแหล่งก�ำเนิดในแต่ละวงจร ซึ่งอิมพีแดนซ์ของ วงจรคุณภาพสูงลดลงจาก 100kΩ เป็น 35kΩ ถือว่า เปลี่ ย นไปประมาณ 65% ส่ ว นอิ ม พี แ ดนซ์ ข องวงจร คุณภาพต�่ำจะเปลี่ยนไปประมาณ 40% (50kΩ เป็น 30kΩ)

ในวงจรขนาน :

มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

51


ความสัมพันธ์ของความถี่เรโซแนนซ์ (fr), คุณภาพ (Q) และแบนด์วิดช์ (BW) คือ คุณภาพของวงจรเรโซแนนซ์อนุกรมคือ ดังนั้น VL = QVT แสดงว่าแรงดันไฟฟ้าอินดักทีฟ ใหญ่กว่าแรงดันไฟฟ้าของแหล่งก�ำเนิดเป็นจ�ำนวนเท่าของ คุณภาพ เนื่องจาก VL = VC จึงหาค่าของแรงดันไฟฟ้า คาปาซิทีฟได้

สรุป

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

รูปที่ 14 ผลของคุณภาพ (Q) ที่ Z ไม่เรโซแนนซ์

การเปลีย่ นอิมพีแดนซ์ทมี่ ากกว่าในวงจรคุณภาพสูง ในรูปที่ 14 แสดงผลได้ในรูปที่ 15 ซึ่งวงจร LC อนุกรม หรือขนานที่มีคุณภาพสูง จะมีแบนด์วิดช์แคบกว่า ดังนั้น จากรูปที่ 15 จะเห็นว่ามีการเลือกวงจรคุณภาพสูงมากกว่า วงจรคุณภาพต�่ำ

รูปที่ 15 เส้นโค้งตอบสนองในวงจรคุณภาพ (Q) สูงและต�ำ่

52

วงจร LC อนุกรมหรือขนานที่มีคุณภาพสูงจะมี แบนด์วิดช์แคบกว่า ดังนั้นจึงควรเลือกวงจรคุณภาพสูง มากกว่าวงจรคุณภาพต�ำ่ ทั้งนี้วงจรอนุกรมที่มีคุณภาพสูง จะให้อมิ พีแดนซ์ตำ�่ สุด ส่วนวงจรขนานทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงจะให้ อิมพีแดนซ์สูงสุด

เอกสารอ้างอิง 1. P.J. Petersan, S.M. Anlage, “Measurement of Resonant Frequency and Quality Factor of Microwave Resonators : Comparison of Methods”, Journal Applied Physics, vol.84, no. 5, 1998. 2. A. J. Estin, M. D. Janezic, “Improvements in Dielectric Measurements with a Resonance Cavity”, in Proceeding 8th IEEE Instrumentation and Measurement Technology Conference, 1991. 3. Kevin J. Coakley, Jolene D. Splett, Michael D. Janezic, Raian F. Kaiser, Estimation of Q-Factors and Resonant Frequencies, IEEE Transactions on Microwave Theory and Techniques, vol. 51, no. 3, March 2003. 4. Daniel W. Hart, “Introduction to Power Electronics”, Prentice Hall, 1997. 5. John A. DeDad, “Practical Guide for Quality Power for Sensitive Electrical Equipment”, EC & M, 1996. 6. Stephanic Kelly, NJATC, “Fundamentals of Instrumentation”, Second Edition, Delmar Cengage Learning, 2008.


Power Engineering Standard & Power & Electronics Safety ไฟฟ้าก�มาตรฐานและความปลอดภั ำลังและอิเล็กทรอนิกส์กำ� ลัยง ดร.สุรชัย ชัยทัศนีย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มาตรฐานคุณภาพ บริการไฟฟ้าทางเทคนิคในประเทศไทย 1. บทน�ำ

ในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ห ารนโยบาย พลังงาน (กบง.) ครั้งที่ 6/2552 (ครั้งที่ 43) เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2552 ได้พิจารณาเรื่องการปรับปรุงมาตรฐาน คุณภาพบริการของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่ายทั้งสอง (กฟน. และ กฟภ.) โดยได้มมี ติมอบหมายให้สำ� นักงานคณะกรรมการ ก�ำกับกิจการพลังงาน (สกพ.) เป็นผู้ด�ำเนินการก�ำกับ ดูแลมาตรฐานคุณภาพบริการของ กฟผ.และการไฟฟ้า ฝ่ายจ�ำหน่ายตามนโยบายมาตรฐานคุณภาพบริการดังนี้ 1) ประเมินมาตรฐานคุณภาพบริการของ กฟผ. และการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่าย ตลอดจนส�ำรวจความพึงพอใจ ของผู้ใช้ไฟฟ้าต่อการให้บริการของ กฟผ.และการไฟฟ้า ฝ่ายจ�ำหน่าย ตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นไป และรายงานผล การด�ำเนินการให้ กบง.ทราบเป็นระยะตามความเหมาะสม 2) เสนอแนะการปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพบริการ ของ กฟผ.และการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่าย ตลอดจนการก�ำหนด บทปรับให้มคี วามเหมาะสมยิง่ ขึน้ ต่อ กบง.เพือ่ พิจารณาให้ ความเห็นชอบต่อไป ในการประเมินมาตรฐานคุณภาพบริการของการ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตและการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่าย จะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลัก คือ (1) มาตรฐานด้านเทคนิค (Technical Standards) และ (2) มาตรฐานการให้บริการลูกค้า (Customer Service Standards) โดยในบทความฉบับนี้ จะน�ำเสนอในส่วนของมาตรฐานด้านเทคนิคเป็นส�ำคัญ โดย มาตรฐานทางด้านเทคนิคของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตมีทั้งสิ้น 7 ดัชนี คือ ค่าเฉลี่ยของจ�ำนวนครั้งที่ไฟฟ้าดับ (System Average Interruption Frequency Index: SAIFI), ค่าเฉลีย่ ของระยะเวลาทีไ่ ฟฟ้าดับ (System Average Interruption Duration Index: SAIDI), ความมั่นคงในการจ่ายกระแส ไฟฟ้า (System Minutes: SM), ปริมาณไฟฟ้าทีไ่ ม่สามารถ

จ่ายให้ลูกค้าได้ (Estimated Unsupplied Energy: EUE), ปัจจัยความพร้อมจ่ายไฟฟ้า (Gross Weighted Equivalent Availability Factor: GWEAF), การเบี่ยงเบนแรงดันจาก ช่วงการยอมรับ (Voltage Deviation: VD), และการเบีย่ งเบน ความถี่จากช่วงการยอมรับ (Frequency Deviation: FD) โดยในส่วนของมาตรฐานทางด้านเทคนิคของการไฟฟ้า ฝ่ายจ�ำหน่ายประกอบด้วย ค่าเฉลีย่ ของจ�ำนวนครัง้ ทีไ่ ฟฟ้าดับ (SAIFI) และค่าเฉลี่ยของระยะเวลาที่ไฟฟ้าดับ (SAIDI) ทั้งนี้การประเมินมาตรฐานคุณภาพบริการไฟฟ้า ในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่ อ ประเมิ น และปรั บ ปรุ ง มาตรฐานคุ ณ ภาพ บริการของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตและการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่าย 2) เพื่อเสนอแนะแนวทางการก�ำหนดคุณภาพและ มาตรฐานการให้บริการไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตและ การไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่ายที่สอดคล้องกับนโยบายการก�ำกับ ดูแลของคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) โดยสะท้อนถึงการด�ำเนินงานทีแ่ ท้จริงและมีความเหมาะสม ในทางปฏิบตั ิ เพือ่ ใช้สำ� หรับการประเมินผลการด�ำเนินงาน ตามมาตรฐานคุณภาพบริการทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว และเพือ่ เป็นการกระตุน้ ส่งเสริมให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตและ การไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่ายปรับปรุงคุณภาพให้ดียิ่งขึ้น

ร า ส า ้ ฟ ไฟ 2. มาตรฐานด้านเทคนิค

ดังทีไ่ ด้กล่าวข้างต้น มาตรฐานคุณภาพบริการไฟฟ้า ทางเทคนิคของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตประกอบไปด้วย 7 ดัชนี ซึ่งครอบคลุมด้านความเชื่อถือได้ ด้านแรงดันไฟฟ้า และ ด้านความถี่ไฟฟ้า ในขณะที่มาตรฐานทางเทคนิคของ การไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่ายประกอบไปด้วย 2 ดัชนี และ ครอบคลุมด้านความเชื่อถือได้เท่านั้น โดยรายละเอียด สามารถสรุปได้ดังตารางที่ 1 และตารางที่ 2 ดังนี้ มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

53


ตารางที่ 1 มาตรฐานคุณภาพการบริการไฟฟ้าทางเทคนิคของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต ล�ำดับที่ 1 2 3 4 5 6 7

ชื่อดัชนีวัดผลการด�ำเนินงานหลัก ค่าเฉลี่ยของจ�ำนวนครั้งที่ไฟฟ้าดับ ค่าเฉลี่ยของระยะเวลาที่ไฟฟ้าดับ ความมั่นคงในการจ่ายกระแสไฟฟ้า ปริมาณไฟฟ้าที่ไม่สามารถจ่ายให้ลูกค้าได้ ปัจจัยความพร้อมจ่ายไฟฟ้า การเบี่ยงเบนความถี่จากช่วงการยอมรับ การเบี่ยงเบนแรงดันไฟฟ้าจากช่วงการยอมรับ

เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการบริการ ไม่เกิน 0.331 ครั้ง/ปี/จุดจ่ายไฟ ไม่เกิน 9.528 นาที/ปี/จุดจ่ายไฟ ไม่เกิน ร้อยละ 2.9717 ไม่เกิน ร้อยละ 0.001 เกิน ร้อยละ 84.72 ไม่เกิน ร้อยละ 0.054 ไม่เกิน ร้อยละ 2.852

ตารางที่ 2 มาตรฐานคุณภาพการบริการไฟฟ้าทางเทคนิคของการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่าย ดัชนีวัดผลการด�ำเนินงาน กฟน. ล�ำดับที่ ของการไฟฟ้า เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการบริการ ฝ่ายจ�ำหน่าย 2.79 ครั้ง/ปี/ผู้ใช้ 1 ค่าเฉลี่ยของจ� ำนวนครั้งที่ รวม ไฟฟ้ า ดั บที่ยอมให้เ กิด ขึ้น เขตนิคมอุตสาหกรรม 2.63 ครั้ง/ปี/ผู้ใช้ ได้ตอ่ ลูกค้าหนึง่ รายในหนึง่ เขตเมืองและย่านธุรกิจ 2.46 ครั้ง/ปี/ผู้ใช้ ปี (SAIFI) เขตชานเมือง 4.32 ครั้ง/ปี/ผู้ใช้ 2 ค่ า เฉลี่ ย ของระยะเวลาที่ รวม 62.07 นาที/ปี/ผู้ใช้ ไฟฟ้ า ดั บที่ยอมให้เ กิด ขึ้น เขตนิคมอุตสาหกรรม 54.23 นาที/ปี/ผู้ใช้ ได้ตอ่ ลูกค้าหนึง่ รายในหนึง่ เขตเมืองและย่านธุรกิจ 54.86 นาที/ปี/ผู้ใช้ ปี (SAIDI) เขตชานเมือง 100.37 นาที/ปี/ผู้ใช้

กฟภ.

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

3. ข้อมูลตัวอย่างในการประเมิน

ในการประเมินมาตรฐานคุณภาพบริการของการ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตและการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่ายนั้น แนวทาง การสุ่มตรวจและประเมินผลข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบ คุ ณ ภาพบริ ก ารการไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต และการไฟฟ้ า ฝ่ า ย จ�ำหน่ายประกอบด้วย (1) การสอบทานข้อมูล และ (2) การตรวจสอบวิธกี ารปฏิบตั งิ านของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต และการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่าย ซึ่งวิธีการที่ได้รับการยอมรับ ในระดับสากล ได้แก่ การสอบทานข้อมูลซึ่งต้องอาศัย หลักการทางสถิตริ ว่ มในการก�ำหนดจ�ำนวนตัวอย่าง ส�ำหรับ รายละเอียดของแนวทางและการก�ำหนดจ�ำนวนตัวอย่าง ในการสอบทานข้อมูลมีดังต่อไปนี้ หลั ก การก� ำ หนดจ� ำ นวนตั ว อย่ า งอย่ า งน้ อ ยที่ การไฟฟ้ า แต่ ล ะแห่ ง จะต้ อ งท� ำ การสุ ่ ม ตรวจวั ด เพื่ อ ใช้ ในการตรวจสอบคุณภาพบริการทางด้านเทคนิคนี้ จะอาศัย

54

เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการบริการ

รวม 15.42 ครั้ง/ปี/ผู้ใช้ เขตนิคมอุตสาหกรรม 4.85 ครั้ง/ปี/ผู้ใช้ เขตเมืองและเทศบาล 10.95 ครั้ง/ปี/ผู้ใช้ เขตชนบท 17.34 ครั้ง/ปี/ผู้ใช้ รวม 1,063.32 นาที/ปี/ผู้ใช้ เขตนิคมอุตสาหกรรม 237.75 นาที/ปี/ผู้ใช้ เขตเมืองและเทศบาล 620.19 นาที/ปี/ผู้ใช้ เขตชนบท 1,173.35 นาที/ปี/ผู้ใช้

วิ ธี ก ารประมาณค่ า ทางสถิ ติ จ ากโค้ ง การแจกแจงปกติ (Normal Distribution Curve) โดยก�ำหนดช่วงความเชือ่ มัน่ 1 - α และก�ำหนดให้ค่าตัวแปรทางสถิติที่คำ� นวณได้จาก ตัวอย่างสุ่มและค่าตัวแปรทางสถิติที่แท้จริงของประชากร มีความแตกต่างกันไม่เกิน ε ดังนั้นจะสามารถประมาณ ค่าจ�ำนวนประชากรที่ใช้ในการสุ่มตัวอย่างได้ดังต่อไปนี้

รูปที่ 1 เส้นโค้งการแจกแจงปกติ


ตารางที่ 3 จ�ำนวนข้อมูลที่ต้องการส�ำหรับ กฟผ. จ�ำนวนข้อมูลทีต่ อ้ งการ ใช้ในการประเมิน ความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า 82 (จุดจ่ายไฟ) ความมั่นคงในการจ่ายกระแสไฟฟ้า 82 (จุดจ่ายไฟ) ปัจจัยพร้อมจ่ายไฟฟ้า 23 (โรงไฟฟ้า) การเบี่ยงเบนแรงดัน 82 (จุดจ่ายไฟ) การเบี่ยงเบนความถี่ 82 (จุดจ่ายไฟ) ปริมาณไฟฟ้าที่ไม่สามารถจ่าย 82 (จุดจ่ายไฟ) มาตรฐานทางเทคนิค

โดย X คือ ค่าตัวแปรทางสถิตขิ องข้อมูลตัวอย่าง μ คือ ค่าตัวแปรทางสถิติของประชากร ε คือ ความคลาดเคลือ่ นสูงสุดในการประมาณ ที่ยอมรับได้ คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปร ทางสถิติของข้อมูลตัวอย่าง ซึ่งสามารถ

ตารางที่ 4 จ�ำนวนข้อมูลที่ต้องการส�ำหรับ กฟน. มาตรฐานทางเทคนิค

จ�ำนวนข้อมูลที่ต้องการใช้ใน การประเมิน จ�ำนวนเหตุการณ์ไฟฟ้าดับ 25 203 174

ร า ส า ้ ฟ ไฟ ค�ำนวณได้จาก

โดย คือ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของ ตัวแปรทางสถิติของประชากร N คือ จ�ำนวนประชากรทั้งหมด n คือ จ�ำนวนข้อมูลตัวอย่างที่ถูกสุ่มเลือก คือ ค่ามาตรฐานจากการแจกแจงแบบ ปกติที่สอดคล้องกับระดับความเชื่อมั่น

ดัชนีความเชื่อถือได้ - เขตนิคมอุตสาหกรรม - เขตเมืองและย่านธุรกิจ - เขตชานเมือง

ตารางที่ 5 จ�ำนวนข้อมูลที่ต้องการส�ำหรับ กฟภ.

มาตรฐานทางเทคนิค

ถ้าหากมีจ�ำนวนประชากรมาก ( ) อาจ จะประมาณได้ว่าจ�ำนวนตัวอย่างที่จะต้องถูกสุ่มจะเท่ากับ

อย่างไรก็ตาม จ�ำนวนสุม่ ทีค่ ำ� นวณได้เป็นจ�ำนวนสุม่ ทีท่ ำ� ให้ความน่าจะเป็นทีค่ า่ เฉลีย่ ของตัวอย่างมีคา่ อยูใ่ นช่วง ที่เรายอมรับได้ ซึ่งเป็นเพียงจ�ำนวนสุ่มขั้นต�่ำที่สุดเท่านั้น โดยในทางปฏิ บั ติ ห ากต้ อ งการความถู ก ต้ อ งมากขึ้ น ก็ สามารถท�ำการเพิ่มจ�ำนวนตัวอย่างสุ่มได้ โดยอาศั ย หลั ก การดั ง กล่ า วหากทราบจ� ำ นวน ประชากรทั้งหมด (N) เช่น จ�ำนวนจุดจ่ายไฟ (กฟผ.) จ�ำนวนโรงไฟฟ้า (กฟผ.) จ�ำนวนเหตุการณ์ไฟฟ้าดับ (กฟน. และ กฟภ.) จะสามารถทราบจ�ำนวนข้อมูลตัวอย่าง (n) ได้ดังแสดงในตารางที่ 3, 4 และ 5 ส�ำหรับการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตและการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่ายตามล�ำดับ

ดัชนีความเชื่อถือได้ - เขตนิคมอุตสาหกรรม - เขตเมืองและย่านธุรกิจ - เขตชานเมือง

จ�ำนวนข้อมูลที่ต้องการใช้ใน การประเมิน จ�ำนวนเหตุการณ์ไฟฟ้าดับ 132 230 309

4. สรุป

คุณภาพการบริการทางด้านเทคนิคของการไฟฟ้า ทั้งสามแห่งของประเทศไทยอยู่ภายใต้การก�ำกับดูแลของ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน (สกพ.) โดยในปัจจุบันมาตรฐานคุณภาพบริการไฟฟ้าด้านเทคนิค ส�ำหรับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตมีทั้งสิ้น 7 ดัชนี ในขณะที่ การไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่ายมีทั้งสิ้น 2 ดัชนี โดยดัชนีข้างต้น ทั้งหมดสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ ดัชนีที่เกี่ยวกับ ความเชื่อถือได้ ดัชนีที่เกี่ยวกับแรงดันไฟฟ้า และดัชนีที่ เกี่ยวกับความถี่ไฟฟ้า โดยการประเมินมาตรฐานคุณภาพ บริการไฟฟ้าทางเทคนิคจะสามารถกระท�ำได้โดยอาศัย หลักการทางสถิติในการก�ำหนดจ�ำนวนข้อมูลตัวอย่างที่ ต้องการสุ่มตรวจว่าเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหรือไม่ มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

55


5. การวิเคราะห์และข้อเสนอแนะ

ในหัวข้อนีจ้ ะแบ่งการน�ำเสนอออกเป็น 2 ด้าน ดังนี้ 1) การเลือกดัชนีของมาตรฐานคุณภาพบริการไฟฟ้า โดยทั่วไปดัชนีที่ดีควรมีความเหมาะสม มีจ�ำนวน ไม่มากเกินไป และสามารถที่จะโน้มน้าวให้บุคคลหรือ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งให้ เ ชื่ อ ถื อ ผลงานที่ วั ด จากดั ช นี เหล่านีไ้ ด้ โดยลักษณะของดัชนีทดี่ นี นั้ โดยทัว่ ไปควรจะต้อง มีคุณลักษณะ S-M-A-R-T ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ - Specific: ดัชนีมีความเฉพาะเจาะจง - Measurable: ดัชนีสามารถตรวจวัดได้จริง - Attainable: ดัชนีสามารถบรรลุผลส�ำเร็จได้ - Realistic: ดัชนีมีความสมจริงและเหมาะสม - Timely: ดัชนีวัดผลได้ภายในเวลาที่ก�ำหนด หากน�ำหลักการดังกล่าวพิจารณาร่วมกับมาตรฐาน คุณภาพบริการไฟฟ้าทางเทคนิคข้างต้น จะพบว่าในกรณี ดัชนีมาตรฐานด้านความเชื่อถือได้โดยมากจะไม่มีปัญหา เนือ่ งจากเป็นดัชนีทสี่ ามารถบรรลุคณ ุ ลักษณะ S-M-A-R-T ได้ อย่างไรก็ตาม ในส่วนของดัชนีมาตรฐานด้านแรงดัน และความถี่อาจต้องระมัดระวังเป็นพิเศษเนื่องจากเป็น ค่าดัชนีทางไฟฟ้าที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (Time Variant/Real Time) ดังนัน้ จ�ำนวนข้อมูลอาจมีเป็นปริมาณ มากและอาจส่งผลต่อการตรวจวัดได้จริงและความเหมาะสม ได้ (คุณลักษณะ M และ R) 2) การประเมินคุณภาพบริการไฟฟ้าส�ำหรับการไฟฟ้า เริม่ จากข้อเสนอแนะส�ำหรับการประเมินมาตรฐาน ในส่วนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต โดยเนื่องจากการประเมิน มาตรฐานเพิ่งเริ่มต้นได้ไม่นาน การด�ำเนินการจัดเตรียม ข้อมูลเพือ่ การสุม่ ตรวจและการประเมินจึงอาจมีความล่าช้า เช่น การเตรียมข้อมูลให้อยูใ่ นรูปแบบทีส่ ามารถเข้าใจและ ประเมินได้ส�ำหรับ สกพ. หรือผู้ประเมิน อย่างไรก็ตาม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตรวมถึงการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่ายทั้งสอง หากมีระบบการเก็บข้อมูลทีด่ ี คาดว่าในอนาคตจะสามารถ ด�ำเนินการได้อย่างรวดเร็วมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ข้อมูลสถิตคิ วามขัดข้องของโรงไฟฟ้าและ ข้อมูลความถีท่ างไฟฟ้าของจุดจ่ายไฟ (สถานีไฟฟ้าแรงสูง) นัน้ โดยทัว่ ไปจะเหมือนกับข้อมูลส่วนกลางของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต เนือ่ งจากข้อมูลทัง้ สองดังกล่าวจะถูกบันทึกเข้าไปในระบบ คอมพิวเตอร์ซึ่งต่อเชื่อมกับฐานข้อมูลที่ส่วนกลางของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต ดังนัน้ ข้อมูลส�ำหรับการประเมินมาตรฐาน ทั้งสองดังกล่าวอาจไม่จ�ำเป็นที่จะต้องขอรับและประเมิน จากโรงไฟฟ้าและสถานีไฟฟ้าแรงสูงที่ท�ำการสุ่มตรวจ

ส�ำหรับข้อเสนอแนะส�ำหรับการประเมินมาตรฐาน ในส่วนของการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่าย คือ โดยทัว่ ไปมาตรฐาน คุณภาพบริการไฟฟ้าจะถูกแบ่งออกแบ่ง 3 เขต (ดังแสดงใน ตารางที่ 2) อย่างไรก็ดี ในส่วนของการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคเอง นั้นจะท�ำการค�ำนวณค่าดัชนีมาตรฐานคุณภาพบริการ ภายในองค์กรออกเป็น 5 เขต ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรม เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลต�ำบล และชนบท ด้วย เหตุผลนีท้ ำ� ให้เมือ่ ท�ำการประเมินมาตรฐานคุณภาพบริการ ของการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคต้องน�ำข้อมูลดิบ เช่น จ�ำนวนครัง้ ที่ไฟฟ้าดับ มาค�ำนวณค่าดัชนีใหม่เพื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑ์ทกี่ ำ� หนดไว้เป็น 3 เขต ซึง่ อาจเกิดความคลาดเคลือ่ น ในการเปรียบเทียบได้ นอกจากข้อเสนอแนะดังกล่าว ประเด็นต่าง ๆ ทีน่ า่ จะ สามารถพัฒนาเพื่อน�ำไปสู่คุณภาพบริการไฟฟ้าที่ดีและ เหมาะสมขึ้นได้มีดังนี้ (1) ระบบของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต จะเชื่อมโยงกับระบบของการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่ายทั้งสอง การพัฒนาระบบไฟฟ้า ณ จุดใดจุดหนึ่งจึงสามารถส่งผล ต่ อ กั น ได้ เช่ น การติ ด ตั้ ง คาปาซิ เ ตอร์ เ พื่ อ ปรั บ ปรุ ง ตัวประกอบก�ำลังของระบบไฟฟ้า อย่างไรก็ตาม พบว่า ณ ปัจจุบนั ยังขาดการประสานงานการพัฒนาระบบไฟฟ้า ดังกล่าวอย่างเหมาะสม ซึง่ อาจน�ำไปสูก่ ารลงทุนทีซ่ ำ�้ ซ้อนได้ (2) ส่วนของพืน้ ทีก่ ารให้บริการทีอ่ ยูใ่ นเขตของความเสีย่ ง ภัยธรรมชาติหรือในพืน้ ทีท่ เี่ กิดความไม่สงบ เช่น สามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ควรได้รับการพิจารณาเพิ่มเติม เช่น การก�ำหนดเกณฑ์มาตรฐานพิเศษ เป็นต้น ทั้งนี้รวมถึง เหตุการณ์ผิดปกติและเหตุการณ์ฉุกเฉินในสภาวะและ ต�ำแหน่งต่าง ๆ ของระบบไฟฟ้าด้วย

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

56

เอกสารอ้างอิง [1] สถาบันวิจัยพลังงาน, รายงานฉบับสมบูรณ์การศึกษา แนวทางการปรั บ ปรุ ง มาตรฐานคุ ณ ภาพบริ ก ารของการไฟฟ้ า ฝ่ายผลิตและการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่าย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551. [2] สถาบันวิจยั พลังงาน, รายงานฉบับสมบูรณ์ผลการประเมิน มาตรฐานคุณภาพบริการไฟฟ้า, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553. [3] Wayne A. Fuller, Sampling Statistics, John Wiley & Sons, Inc. 2009. [4] Doran, G. T., There’s A S.M.A.R.T. Way to Write Management’s Goals and Objectives, Management Review, Vol. 70, Issue 11 (AMA FORUM), pp. 35-36, 1981. [5] Council of European Energy Regulators, Second Benchmarking Report on Quality of Electricity Supply, September 2003.


Communication Engineering & Computer ไฟฟ้าสื่อสารและคอมพิวเตอร์ นางอรดี มุสิกานนท์

แบบจ�ำลองและขั้นตอนการค�ำนวณการสูญเสียเส้นทาง ของ สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) ที่ใช้กับโครงข่ายปลายทางของสมาร์ทกริด บทน�ำ

ระบบสื่ อ สารมี บ ทบาทที่ ส� ำ คั ญ ในระบบไฟฟ้ า สมัยใหม่ โดยความสามารถในการติดต่อสื่อสารท�ำให้ การบริหารจัดการเป็นไปได้อย่างง่ายขึ้น สามารถเชื่อมต่อ ระบบไอทีเข้าด้วยกันได้ ท�ำให้เกิดระบบทีเ่ รียกว่า สมาร์ทกริด โดยทัว่ ไปแล้วระบบสือ่ สารแบ่งได้สองส่วน ได้แก่ ส่วนทีเ่ ป็น โครงสร้างพื้นฐานหลัก (Infrastructure) หรือ Backbone กั บ ส่ ว นที่ เ ป็ น การเชื่ อ มต่ อ โครงข่ า ยปลายทาง (Last mile link) ระบบเครือข่ายใยแก้วน�ำแสงเป็นระบบสื่อสาร ที่เป็นธรรมชาติที่สุดระบบหนึ่งในโครงสร้างพื้นฐานหลัก ส่วนการเชื่อมต่อโครงข่ายปลายทางมีตัวเลือกหลาย ๆ แบบทั้งแบบมีสาย (Wireline) และไม่มีสาย (Wireless) ซิกบี (ZigBee) เป็นเทคโนโลยีเครือข่ายระบบ สื่อสารไร้สายในย่านความถี่ 2.4 GHz เทคโนโลยีหนึ่ง ส�ำหรับเชื่อมต่อโครงข่ายปลายทางในระบบสมาร์ทกริด ซึง่ เชือ่ มต่อระหว่างมิเตอร์ของผูใ้ ช้งานกับอุปกรณ์รวบรวม ข้อมูล (Data Concentrator Unit, DCU) ซิกบีสามารถ ติดตั้งง่าย บ�ำรุงรักษาง่าย ขยายเครือข่ายได้รวดเร็ว และ ไม่มีค่าใช้จ่ายในการใช้ย่านความถี่เนื่องจากเป็นความถี่ ในย่านที่เรียกว่า ISM band ปัจจุบันนี้มีผู้ผลิตหลายราย ที่ได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนจนมีประสิทธิภาพที่มีความ เชื่อถือได้ ในการออกแบบเครือข่ายระบบสื่อสารไร้สายเพื่อ ประยุกต์ใช้กับมิเตอร์ไฟฟ้านั้น มีข้อที่ต้องค�ำนึงหลาย อย่าง ๆ เช่น จะต้องรองรับกับปริมาณมิเตอร์จำ� นวนมาก จะต้องมีระดับสัญญาณทีเ่ พียงพอต่อการรับข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง ซึง่ ขึน้ กับพืน้ ทีท่ ตี่ ดิ ตัง้ ซึง่ โดยปกติแล้วมีความแตกต่าง หลากหลายทางภูมศิ าสตร์ แบบจ�ำลองหรือโมเดลของการ

แพร่กระจายคลื่นจึงเป็นเครื่องมือที่ส�ำคัญที่ช่วยลดข้อผิด พลาดและประหยัดเวลาในการวางแผนออกแบบระบบ ได้เป็นอย่างมาก แบบจ�ำลองแยกออกเป็นหลัก ๆ ได้สองชนิด ได้แก่ แบบจ�ำลองส�ำหรับการแพร่กระจายภายในอาคาร (Indoor Propagation Model) และแบบจ�ำลองส�ำหรับการแพร่ กระจายกลางแจ้ง (Outdoor Propagation Model) แบบจ�ำลองที่คุ้นเคยกันเป็นอย่างดีและได้ถูกน�ำมาใช้ใน การออกแบบการแพร่ ก ระจายกลางแจ้ ง ส� ำ หรั บ ระบบ โทรศัพท์เคลื่อนที่ เช่น แบบจ�ำลองโอคุมูระ เป็นต้น อย่างไรก็ตามแบบในย่านความถี่อื่น ๆ ยังไม่มีเผยแพร่ อย่างแพร่หลายมากนัก ในบทความนี้จึงขอกล่าวถึงแบบ จ�ำลอง ITU-R P1411-6 ซึ่งภาคการสื่อสารวิทยุ สหภาพ โทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU-R) ได้จัดท�ำเป็น แนวทาง ข้อเสนอแนะส�ำหรับการออกแบบ ซึง่ ได้พจิ ารณา ยอมรับแล้วว่ามีความเหมาะสมกับการใช้งาน แบบจ�ำลอง นี้ครอบคลุมข้อก�ำหนดต่าง ๆ ซึ่งสอดคล้องกับสภาพ แวดล้อมการติดตั้งสมาร์ทมิเตอร์ และสามารถน�ำมา ประยุกต์ใช้ในการออกแบบการเชื่อมต่อสมาร์ทมิเตอร์ใน ระบบสมาร์ทกริด โดยเฉพาะของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ตามโครงการสมาร์ทกริดที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ ได้เป็นอย่างดี

ร า ส า ้ ฟ ไฟ สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ

สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International Telecommunication Union, ITU) มี ห น้ า ที่ ใ นการ พัฒนามาตรฐานและกฎระเบียบส�ำหรับการสื่อสารวิทยุ มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

57


และโทรคมนาคมระหว่างประเทศ การก�ำหนดแถบคลื่น ความถี่วิทยุ และบริหารจัดการ กรณีที่จำ� เป็นส�ำหรับการ เชื่อมโยงโครงข่ายระหว่างประเทศ เช่น บริการโทรศัพท์ ระหว่างประเทศ อันเป็นภารกิจในเชิงโทรคมนาคม ใน ลักษณะเดียวกับการปฏิบตั งิ านของสหภาพสากลไปรษณีย์ ในกรณีของงานบริการไปรษณีย์มีส�ำนักเลขาธิการใหญ่ ซึ่งมีเลขาธิการเป็นผู้บริหารสูงสุด ในการบริหารจัดการ งานรายวันของสหภาพฯ และภาคส่วนต่าง ๆ แบ่งเป็น 5 ส่วนดังนี้ (1) ภาคการสื่ อ สารวิ ท ยุ (ITU-R, Radio communication Sector) มีหน้าที่บริหารแถบคลื่น ความถี่วิทยุระหว่างประเทศและทรัพยากรต่าง ๆ ส�ำหรับ การโคจรของดาวเทียม ITU-R มีสำ� นักเลขาธิการเรียกว่า ส�ำนักการสื่อสารวิทยุ (Radiocommunication Bureau, BR) ซึ่งเดิมเรียกว่า คณะกรรมการที่ปรึกษาการวิทยุ ระหว่างประเทศ (International Radio Consultative Committee, CCIR) (2) ภาคการก� ำ หนดมาตรฐานโทรคมนาคม (ITU-T, Telecommunication Standardization Sector) การก�ำหนดมาตรฐานโทรคมนาคม เป็นกิจกรรม ที่มีมาช้านานของสหภาพฯ และเป็นภารกิจที่รู้จักกันเป็น อย่างดี ในระดับสากล ITU-T มีส�ำนักเลขาธิการเรียกว่า ส� ำ นั ก มาตรฐานโทรคมนาคม (Telecommunication Standardization Bureau, TSB) ซึ่งก่อน ค.ศ. 1992 เป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาโทรเลขและโทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ (International Telephone and Telegraph Consultative Committee, CCITT) (3) ภาคการพั ฒ นาโทรคมนาคม (ITU-D, Telecommunication Development Sector) จัดตั้ง ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1992 เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศในนานาประเทศอย่างเท่าเทียม พอเพี ย ง และด้ ว ยค่ า ใช้ จ ่ า ยที่ ย อมรั บ ได้ ITU-D มีส�ำนักเลขาธิการเรียกว่า ส�ำนักพัฒนาโทรคมนาคม (Telecommunication Development Bureau, BDT) (4) ภาคการจัดงาน ไอทียู เทเลคอม (ITU TELECOM) เป็นการจัดงานแสดงสินค้า การประชุม และนิทรรศการ ระหว่างประเทศ โดยน�ำเทคโนโลยีชนั้ น�ำจากอุตสาหกรรม ไอซีทีมาจัดแสดง รวมทั้งเชิญรัฐมนตรี ผู้บริหารระดับ สูงของหน่วยงาน และผู้ก�ำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม ของประเทศต่าง ๆ มาร่วมการประชุม เพื่อน�ำเสนอและ อภิปรายปัญหาการสื่อสารในระดับโลกด้วย

แบบจ�ำลองการแพร่คลื่นของ ITU

ภาคการสื่อสารวิทยุ (ITU-R, 2012) ได้สรุปข้อมูล การแพร่กระจายคลื่นและวิธีการท�ำนาย ส�ำหรับใช้ในการ วางแผนระบบวิทยุสื่อสารระยะสั้น (Short Range) และ วิทยุสื่อสารในเครือข่ายท้องถิ่น ในย่านความถี่ตั้งแต่ 300 MHz ถึง 100 GHz แบบจ�ำลองทีเ่ สนอโดย ITU ครอบคลุม ความถี่และลักษณะการติดตั้งใช้งานของสมาร์ทมิเตอร์ใน ระบบสมาร์ทกริด แบบจ�ำลอง ITU-R P.1411 เป็นแบบจ�ำลองการ สูญเสียเส้นทาง (Path loss) ทีม่ คี วามสอดคล้องกับสภาพ แวดล้อมในการติดตัง้ สมาร์ทมิเตอร์ กล่าวคือ มีการติดตัง้ ทีร่ ะยะความสูง 1.9-3.0 เมตร จากระดับพืน้ ดิน (ทัง้ เครือ่ ง ส่งและเครื่องรับ) ความถี่ใช้งาน 2.4 GHz และระยะห่าง ระหว่างภาคส่งกับภาครับประมาณ 3000 เมตร ITU-R P.1411 ได้นิยามระยะทางระหว่างภาคส่งกับภาครับเป็น 2 แบบ คือ ระยะสายตาและไม่ใช่ระยะสายตาจากภาพ ที่ 1 B1, B2 แทนสถานีฐาน R1-R4 แทนสถานีลูกข่าย การส่งข้อมูลระหว่าง B1–R2 และ B2-R4 เป็นระยะสายตา และ B1-R1 และ B2-R3 เป็นไม่ใช่ระยะสายตา

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

58

(ก)

(ข) รูปที่ 1 การนิยามระยะสายตาและไม่ใช่ระยะสายตา (ก) ระยะทางระหว่าง B1–R2 และ B2-R4 เป็นระยะสายตา (LoS) ส่วนระยะทางระหว่าง B1-R1 และ B2-R3 ไม่ใช่ระยะ สายตา (NLoS) (ข) แสดงตัวอย่างเมื่อเทอร์มินัลระหว่าง ภาคส่งและภาครับไม่ใช่ระยะสายตาในพื้นที่ชุมชนหนาแน่น


กรอบของการสูญเสียเส้นทางในกรณีระดับสายตา ค่าทีน่ อ้ ยทีส่ ดุ ของการสูญเสียเส้นทาง เมือ่ เทอร์มนิ ลั อยูใ่ นระยะสายตา ตามแบบจ�ำลองจะแบ่งการพิจารณาเป็น สองช่วง โดยมีระยะทางจุดเบรก (Break Point) 1 จุดคั่น ขอบเขตล่างของค่าการสูญเสียเส้นทางหาได้จากสมการ

(1) และขอบเขตบนของค่าการสูญเสียเส้นทางได้จากสมการ (2)

ร า ส า ้ ฟ ไฟ โดยที่

เป็นระยะทาง Break Point หาได้จากสมการ

(3)

เป็นค่าความสูญเสีย ณ จุด Break Point มีค่า

(4)

เมื่อ λ คือความยาวคลื่น และ ht และ hr เป็นความสูงของเครื่องส่งและเครื่องรับตามล�ำดับ ในขอบเขตของการ สูญเสียนี้มีสรุปได้ว่าการสูญเสียจะน้อยสุดที่ 20 dB/decade และมากสุดถึง 40 dB/decade

การแพร่ ก ระจายคลื่ น ระหว่ า งภาคส่ ง กั บ ภาครั บ ที่ ติ ด ตั้ ง ต�่ ำ กว่ า ความสู ง ของหลั ง ค่ า ย่านความถี่ UHF แบบจ�ำลองได้อธิบายการค�ำนวณการสูญเสียเบือ้ งต้น ระหว่างภาคส่งกับภาครับในสภาพแวดล้อมแบบในเมือง (Urban) ซึ่งรวมทั้งระยะสายตาและไม่ใช่ระยะสายตา ในแบบจ�ำลองได้รวมเอาสถิติของสถานที่ที่แตกต่างกันใน ไม่ใช่ระยะสายตา จัดท�ำจากสถิติ แบบจ�ำลองนี้แนะน�ำ ส�ำหรับการแพร่กระจายคลื่นระหว่างเทอร์มินัลที่มีความ

สูงระดับเดียวกับถนน อยูต่ ำ�่ กว่าระดับความสูงของหลังคา และเฉพาะความถี่ย่าน 300-3000 MHz เท่านั้น พื้นฐาน ของแบบจ�ำลองได้จากการวัดในย่านความถี่ UHF ความสูง ของสายอากาศระหว่าง 1-9 ถึง 3.0 เมตร จากระดับพืน้ ดิน ระยะทางระหว่างภาคส่งกับภาครับได้ไกลถึง 3000 เมตร

มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

59


ขั้นตอนการหาการสูญเสียเส้นทาง 1. ค�ำนวณ Median path loss ทั้งกรณีที่ถือว่าเป็นระยะสายตาและไม่ใช่ระยะสายตา โดยก�ำหนดระยะทาง d และความน่าจะเป็นของการครอบคลุมพื้นที่ ρ (%) (1) การหาการสูญเสียเส้นทางเมื่ออุปกรณ์ภาคส่งและรับอยู่ในระยะสายตา ค�ำนวณจากสมการ (5) (2) การหาการสูญเสียเส้นทางเมื่ออุปกรณ์ภาคส่งและรับไม่อยู่ในระยะสายตา หรือ NLoS ค�ำนวณจากสมการ (6)

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

คือค่าการสูญเสียเส้นทางตาม โดยที่ สภาพพื้นที่ขึ้นอยู่กับลักษณะของเมือง ส�ำหรับพื้นที่ชานเมืองมีค่าเท่ากับ 0 dB ส�ำหรับพื้นที่ในเมืองมีค่าเท่ากับ 6.8 dB และส�ำหรับ พื้นที่ในเมืองที่หนาแน่นเท่ากับ 3.2 dB

และ เป็ น ค่ า ตั ว แปรการแก้ ไ ขสถานที่ (Location Variable Correction) ซึ่งขึ้นกับค่าความน่า จะเป็นของการครอบคลุมพื้นที่ ρ (%) เมื่อค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน δ=7dB ส�ำหรับกรณี LOS ค�ำนวณได้จาก สมการ

(7)

และส�ำหรับ NLOS

โดยที่ N-1(.) เป็น inverse normal cumulative distribution function ค่าตัวอย่างของ ∆PL (ρ) แสดงในตารางที่ 1

2. หาระยะทาง dLOS โดย

otherwise 3. หาก d < dLos ให้ใช้ ระหว่างกลางให้ใช้ Interpolation

60

แต่หาก d > dLos + 20 เมตร ให้ใช้

ถ้าอยู่


ตารางที่ 1 ตารางแสดงค่าแก้ไขสถานที่เมื่อภาคส่งและภาครับ LoS และ NLoS ที่เปอร์เซ็นต์การครอบคลุมพื้นที่ค่าต่าง ๆ

ตามรูปที่ 2 ITU ได้แสดงกราฟการสูญเสียการ ส่งพื้นฐานที่ระยะทางต่าง ๆ ย่านความถี่ 400 MHz ใน พืน้ ทีช่ านเมือง เมือ่ ก�ำหนดเปอร์เซ็นต์การครอบคลุมพืน้ ที่ 1, 10, 50, 90 และ 99% ในช่วง Break Point จะเห็น ว่า Path loss เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อเปลี่ยนจากระยะ สายตาไปสู่ไม่ใช่ระยะสายตา

การสร้างแบบจ�ำลองระบบสือ่ สารไร้สายช่วยอ�ำนวย ความสะดวกในการวางแผน ออกแบบ ลดข้อผิดพลาด ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้เมื่อมีการติดตั้งจริง แบบจ�ำลอง การแพร่กระจายคลืน่ ย่านความถี่ 300 MHz ถึง 100 GHz ส�ำหรับระบบสื่อสารระยะสั้น ตาม Rec. ITU-R P.1411 นั้นความสูงของสายอากาศที่ก�ำหนดระหว่าง 1.9-3.0 เมตร สอดคล้องกับต�ำแหน่งการติดตั้งสมาร์ทมิเตอร์ของ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ในแบบจ�ำลองได้ก�ำหนดค่าการ สูญเสียเส้นทางเนือ่ งจากสภาพพืน้ ทีใ่ นสภาพแวดล้อมแบบ ต่าง ๆ เช่น พืน้ ทีใ่ นเมือง ในเมืองทีห่ นาแน่น และชานเมือง และยังได้กำ� หนดค่าแก้ไขสถานทีท่ คี่ วามน่าจะเป็นของการ ครอบคลุมพืน้ ทีค่ า่ ต่าง ๆ ทัง้ ในระยะสายตาและไม่ใช่ระยะ สายตา การออกแบบติดตัง้ อุปกรณ์รวบรวมข้อมูลเพือ่ เป็น สถานีแม่ข่าย โดยมีสมาร์ทมิเตอร์เป็นลูกข่ายสามารถน�ำ แบบจ�ำลองนี้มาใช้ในการหาการสูญเสียเส้นทาง หาพื้นที่ ครอบคลุมของสถานีแม่ข่ายแต่ละตัว เพื่อ ก� ำหนดจุ ด ติดตั้งที่เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพทางภูมิศาสตร์ ได้เป็นอย่างดี ผลการศึกษาในกรณี 2.4 GHz ส�ำหรับ สมาร์ทมิเตอร์จะน�ำเสนอในล�ำดับต่อไป

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 2 แสดงการสูญเสียการส่งพื้นฐานที่ระยะทางต่าง ๆ ย่านความถี่ 400 MHz ในพื้นที่ชานเมือง เมื่อก�ำหนดเปอร์เซ็นต์การครอบคลุมพื้นที่ 1, 10, 50, 90 และ 99%

ประวัติผู้เขียน

นางอรดี มุสิกานนท์ การศึกษา วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบัน วิศวกร ระดับ 9 กองออกแบบและบริการ ฝ่ายสื่อสารและโทรคมนาคม การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

61


Energy พลังงาน นายศุภกร แสงศรีธร กองพัฒนาระบบไฟฟ้า ฝ่ายวิจัยและพัฒนาระบบไฟฟ้า การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อีเมล : supakorn.sae@pea.co.th

การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในพื้นที่นอกชายฝั่งทะเล ตอนที่ 1 ฟาร์มกังหันลมนอกชายฝั่งทะเลในทวีปยุโรป 1. บทน�ำ

เมื่ อ ฉบั บ ที่ แ ล้ ว ได้ ก ล่ า วถึ ง การผลิ ต ไฟฟ้ า จาก พลังงานลมในพื้นที่ชายฝั่งทะเล โดยยกตัวอย่างกังหันลม ผลิตไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคทีไ่ ด้ดำ� เนินการติดตัง้ ไปแล้ว ณ บริเวณอ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ซึ่ง ผลจากการด�ำเนินการที่ผ่านมาพบว่าบริเวณชายฝั่งทะเล อ่าวไทยมีศักยภาพของพลังงานลมที่จะผลิตไฟฟ้าได้ โดย อ้างอิงจากการประเมินความสามารถในการผลิตไฟฟ้า (Capacity Factor) ของกังหันลมขนาด 1.5 MW ทีอ่ ำ� เภอ สทิงพระ จังหวัดสงขลา ซึง่ มีคา่ อยูป่ ระมาณ 15% ซึง่ นัน่ ก็ หมายถึงหากพิจารณาน�ำกังหันลมไปติดตัง้ ในทะเลซึง่ ไม่มี สิ่งกีดขวางทางลม พลังงานไฟฟ้าที่กังหันลมสามารถผลิต ได้น่าจะสูงกว่าการผลิตไฟฟ้าในพื้นที่ชายฝั่งทะเล ส� ำ หรั บ ในฉบั บ นี้ จ ะกล่ า วถึ ง การผลิ ต ไฟฟ้ า จาก พลังงานลมในต่างประเทศ โดยเฉพาะในประเทศเดนมาร์ก ที่ทางผู้เขียนได้ไปศึกษาดูงานมา และได้น�ำมาเล่าสู่กันฟัง เพื่อเป็นประสบการณ์แก่ท่านผู้อ่านทั้งหลาย

ลมนอกชายฝั่งทะเลที่มีขนาดก�ำลังผลิตติดตั้งใหญ่ที่สุด เท่ากับ 1.3 GW ในเดือนกันยายน 2555 ที่ผ่านมาฟาร์ม กังหันลมนอกชายฝั่งทะเล Greater Gabbard ในประเทศ อังกฤษ เป็นฟาร์มกังหันลมนอกชายฝัง่ ทะเลทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ใน โลก ด้วยก�ำลังผลิตติดตั้ง 504 MW รองลงมาเป็นฟาร์ม กังหันลมนอกชายฝั่งทะเล Walney ในประเทศอังกฤษมี ก�ำลังผลิตติดตั้ง 367 MW ส่วนในปี 2554 ฟาร์มกังหัน ลมนอกชายฝั่งทะเล Horns Rev 2 ในประเทศเดนมาร์ก เป็นฟาร์มกังหันลมที่มีการผลิตพลังงานไฟฟ้าได้สูงสุด ที่ 911.03 GWh รองลงมาเป็นฟาร์มกังหันลม Rodsand 2 สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ 833.47 GWh รูปที่ 1 แสดงให้เห็นถึงก�ำลังผลิตติดตัง้ ของฟาร์มกังหันลมในพืน้ ที่ นอกชายฝั่งทะเลในทวีปยุโรปและนอกพื้นที่ทวีปยุโรปใน ช่วงเวลา 20 ปีที่ผ่านมา และรูปที่ 2 เป็นต�ำแหน่งที่มีการ ติดตั้งฟาร์มกังหันลมนอกชายฝั่งทะเลในทวีปยุโรป ส่วน ตารางที่ 1 แสดงให้เห็นถึง 25 ฟาร์มกังหันลมนอกชายฝัง่ ทะเลที่จ่ายไฟแล้วและมีกำ� ลังผลิตติดตั้งสูงสุด ณ ปัจจุบัน

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

2. การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในพื้นที่ นอกชายฝัง่ ทะเลทั่วโลก

ทวีปยุโรปเป็นผู้น�ำของการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงาน ลมในพื้นที่นอกชายฝั่งทะเล โดยในปี 2534 ประเทศ เดนมาร์กเป็นประเทศแรกที่มีการติดตั้งฟาร์มกังหันลม นอกชายฝั่งทะเล ในปี 2551 มีการติดตั้งฟาร์มกังหันลม ในทวีปยุโรปรวมทั้งสิ้น 28 GW ซึ่งเป็นขนาดก�ำลังผลิต ติดตั้งของกังหันลมนอกชายฝั่งทะเลเท่ากับ 0.8 GW และในปี 2553 ประเทศอังกฤษมีการติดตั้งฟาร์มกังหัน

62

รูปที่ 1 ก�ำลังผลิตติดตั้งฟาร์มกังหันลมนอกชายฝั่งทะเล


และตารางที่ 2 แสดงให้เห็นถึง 10 ฟาร์มกังหันลมนอกชายฝั่งทะเลที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 2 ต�ำแหน่งที่มีการติดตั้งฟาร์มกังหันลมนอกชายฝั่งทะเล

ตารางที่ 1 25 ฟาร์มกังหันลมนอกชายฝั่งทะเลที่จ่ายไฟแล้วและมีก�ำลังผลิตติดตั้งสูงสุด ณ ปัจจุบัน

Wind farm

Total (MW)

Country

Coordinates

Turbines & model

Official Start

Refs

มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

63


ตารางที่ 1 25 ฟาร์มกังหันลมนอกชายฝั่งทะเลที่จา่ ยไฟแล้วและมีก�ำลังผลิตติดตั้งสูงสุด ณ ปัจจุบัน (ต่อ) Wind farm

Total (MW)

Country

Coordinates

Turbines & model

Official Start

Refs

ร า ส า ้ ฟ ไฟ ตารางที่ 2 10 ฟาร์มกังหันลมนอกชายฝั่งทะเลที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง

Wind farm

64

Total (MW)

Country

Coordinates

Turbines & model

Completion

Refs


ตารางที่ 2 10 ฟาร์มกังหันลมนอกชายฝั่งทะเลที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง (ต่อ) Wind farm

Total (MW)

Country

Coordinates

Turbines & model

Completion

Refs

ร า ส า ้ ฟ ไฟ 3. การพัฒนาการผลิตไฟฟ้าด้วยฟาร์มกังหันลมในพืน้ ทีน่ อกชายฝัง่ ทะเลในประเทศเดนมาร์ก

ประวัติการก่อสร้างฟาร์มกังหันลมในพื้นที่นอก ชายฝั่งทะเลในประเทศเดนมาร์กได้มีการก่อสร้างฟาร์ม กังหันลมในพืน้ ทีน่ อกชายฝัง่ ทะเลแห่งแรกเมือ่ ปี 2534 ใน ปี 2550/2551 มีการประเมินกลยุทธ์ใหม่โดยมีแผนที่จะ ติดตัง้ โรงไฟฟ้าพลังงานลม 5,200 MW ในปี 2554 มีการ ติดตัง้ ฟาร์มกังหันลมในพืน้ ทีน่ อกชายฝัง่ ทะเล ขนาดก�ำลัง การผลิต 868 MW ปี 2555 มีการติดตั้งฟาร์มกังหันลม ในพื้นที่นอกชายฝั่งทะเล ที่ Anholt ขนาดก�ำลังการผลิต ติดตั้ง 400 MW และในปี 2556 จะมีการติดตั้งฟาร์ม กังหันลมในพื้นที่นอกชายฝั่งทะเลเพิ่มอีก 1,300 MW ประเทศเดนมาร์กมีแผนในการพัฒนาฟาร์มกังหัน ลมในพื้นที่นอกชายฝั่งทะเล โดยมีการออก The Danish Energy Agency acts ที่เรียกว่า one-stop shop ซึ่ง เป็นการรวมหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการขออนุญาตด�ำเนิน โครงการฟาร์มกังหันลมในพื้นที่นอกชายฝั่งทะเลไว้ในที่ เดียวกันเพื่อให้ง่ายและสะดวกต่อผู้พัฒนาโครงการ โดย มีนโยบายที่ช่วยสนับสนุนการด�ำเนินงานของฟาร์มกังหัน ลมในพืน้ ทีน่ อกชายฝัง่ ทะเลอยูส่ องทางเลือกคือ open-door procedure และ tendering for FIT ซึ่งทั้งสองทางเลือก แตกต่างกันคือ open-door procedure เริ่มด�ำเนินการ

โดยเอกชนส่ ง ใบสมั ค รเพื่ อ ขอรั บ อั ต ราค่ า ขายไฟฟ้ า โครงการที่เลือกด�ำเนินการในทางเลือกนี้จะเป็นโครงการ ขนาดเล็ก มีค่าไฟฟ้าส่วนเพิ่มพิเศษให้ การเชื่อมต่อกับ ระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าบนฝัง่ ผูพ้ ฒ ั นาโครงการจะเป็นผูล้ งทุน และช่วงเวลาการจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบมีความยืดหยุ่นปรับ เปลี่ยนได้ ส่วน tendering for FIT เริ่มด�ำเนินการโดย มีข้อตกลงกับภาครัฐ โครงการที่เลือกด�ำเนินการในทาง เลือกนี้จะเป็นโครงการขนาดใหญ่ ค่าขายพลังงานไฟฟ้า จะถูกก�ำหนดที่อัตราคงที่ การเชื่อมต่อกับระบบจ�ำหน่าย ไฟฟ้าบนฝั่งผู้พัฒนาโครงการต้องจ่ายเงินให้กับผู้ดูแล สายส่งไฟฟ้า และช่วงเวลาการจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบจะต้อง มีความแน่นอน ประเทศเดนมาร์กมีฟาร์มกังหันลมนอกชายฝัง่ ทะเล จ�ำนวนทัง้ สิน้ 4 ฟาร์ม ได้แก่ Nysted Horns Rev I Horns Rev II Rødsand I และ Rødsand II โดยฟาร์มที่มีความ สามารถในการผลิตไฟฟ้าสูงสุด ได้แก่ Horns Rev II มี ค่าความสามารถในการผลิตไฟฟ้า 50% เมื่อพิจารณาถึง ต้นทุนของการก่อสร้างฟาร์มกังหันลมพบว่าในปี 2555 จะ มีค่าต้นทุนเฉลี่ยอยู่ที่ 5,000 US$/kW ส่วนในปี 2556 ค่าต้นทุนเฉลีย่ จะสูงขึน้ เป็น 5,750 US$/kW และหลังจาก

มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

65


นั้นค่าต้นทุนเฉลี่ยจะลดลงมาอยู่ที่ 5,000 US$/kW โดย สามารถแบ่งสัดส่วนต้นทุนการผลิตไฟฟ้าฟาร์มกังหันลม นอกชายฝัง่ ทะเลออกได้เป็น ค่ากังหันลมคิดเป็น 32% ค่า ขนส่งและติดตั้งคิดเป็น 20% ค่าเชื่อมโยงระบบจ�ำหน่าย 10% ค่าฐานราก 18% และค่าอื่น ๆ 20% การศึกษาดูงานฟาร์มกังหันลมนอกชายฝั่งทะเลที่ Rødsand II ซึ่งติดตั้งอยู่ในประเทศเดนมาร์ก ด�ำเนินการ ก่อสร้างและควบคุมการผลิตไฟฟ้าโดยบริษัท E.ON โดย ติดตั้งกังหันลมขนาด 2.3 MW จ�ำนวนทั้งสิ้น 90 ตัว มี ก�ำลังการผลิตรวมทัง้ สิน้ 207 MW คาดว่าจะสามารถผลิต ไฟฟ้าได้ 800 GWh/ปี มีคา่ ความสามารถในการผลิตไฟฟ้า 44% ใช้พื้นที่ในการติดตั้งทั้งสิ้น 34 ตารางกิโลเมตร ที่ ระดับความลึกน�้ำทะเล 5.5-12 เมตร ระยะเวลาในการ ด�ำเนินการก่อสร้างติดตั้งทั้งสิ้น 2 ปี ใช้เงินลงทุนมากกว่า 400 ล้านยูโร รูปที่ 3 แสดงต�ำแหน่งของฟาร์มกังหันลม นอกพื้นที่ชายฝั่งทะเล Rødsand II ส่วนรูปที่ 4 จะเป็น ต�ำแหน่งการวางกังหันลมแต่ละตัว

ในการก่อสร้างติดตั้งฟาร์มกังหันลมในพื้นที่นอก ชายฝั่งทะเลจะต้องมีการพิจารณาถึงพื้นที่ที่เหมาะสม ในการติ ด ตั้ ง การขออนุ ญ าตในการด� ำ เนิ น โครงการ การวางต�ำแหน่งกังหันลมในทะเลจะต้องมีการตรวจสอบ เส้นทางเดินเรือ ระดับความลึกของท้องทะเล ซึ่งระดับ ความลึกของท้องทะเลนี้มีผลโดยตรงกับเงินลงทุนของ โครงการ เนื่องจากยิ่งท้องทะเลมีความลึกมาก เงินลงทุน ของโครงการก็ จ ะสู ง ขึ้ น ไปด้ ว ย นอกจากนี้ ใ นระหว่ า ง การก่อสร้างจะต้องมีการจัดหาพื้นที่ในการวางวัสดุ การ ก่อสร้างตอม่อด้วย รูปที่ 5 แสดงพืน้ ทีก่ อ่ สร้างตอม่อ และ วางวัสดุของโครงการ Rødsand II และรูปที่ 6 จะเป็น ขั้นตอนการก่อสร้างและติดตั้งตอม่อในพื้นที่โครงการ

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 5 พื้นที่ก่อสร้างตอม่อ และวางวัสดุของโครงการ

รูปที่ 3 ต�ำแหน่งของฟาร์มกังหันลมนอกพื้นที่ชายฝั่งทะเล Rødsand II

รูปที่ 4 ต�ำแหน่งการวางกังหันลม

66


ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 6 ขั้นตอนการก่อสร้างและติดตั้งตอม่อ

ในรูปที่ 7 จะแสดงให้เห็นถึงการขนส่งและติดตั้ง กังหันลม โดยจะด�ำเนินการประกอบใบพัดบนฝั่ง ก่อนที่ จะขนย้ายไปติดตั้งในทะเลพร้อมเสา และ nacelle ของ กังหันลม ส่วนรูปที่ 8 เป็นฟาร์มกังหันลมทีต่ ดิ ตัง้ แล้วเสร็จ

รูปที่ 7 การขนส่งและติดตั้งกังหันลม

เอกสารอ้างอิง 1) http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_offshore_ wind_farms 2) Bjarne Haxgart Construction and Operation of Rødsand 2 Offshore Wind Farm, E.ON Company 3) Edward James-Smith Cost of Wind Power and the value of wind power, Ea Energy Analyses

รูปที่ 8 ฟาร์มกังหันลมเมื่อติดตั้งแล้วเสร็จ มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

67


Technology & Innovation เทคโนโลยีและนวัตกรรม ดร.สุรชัย ชัยทัศนีย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การลดกระแสลัดวงจรในระบบไฟฟ้าก�ำลัง 1. บทน�ำ

การเพิม่ ขึน้ ของความต้องการใช้ไฟฟ้าท�ำให้มคี วาม จ�ำเป็นในการขยายระบบไฟฟ้าทั้งในส่วนของระบบผลิต ไฟฟ้า ระบบส่งไฟฟ้า และระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้า โดยการ เพิ่มขึ้นของระบบผลิตไฟฟ้ามีความชัดเจนว่าระดับของ กระแสลัดวงจร (Short-circuit current) ในระบบไฟฟ้า จะเพิ่มขึ้นตามปริมาณขนาดก�ำลังผลิตไฟฟ้า ส�ำหรับการ ขยายระบบส่งและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจะส่งผลให้วงจรไฟฟ้า มีการเชื่อมต่อโครงข่ายแบบขนาน (Parallel network) มากขึ้ น ซึ่ ง ท� ำ ให้ ค ่ า อิ ม พี แ ดนซ์ ส มมู ล (Equivalent impedance) ของระบบไฟฟ้ามีค่าต�ำ่ ลง และส่งผลต่อการ เพิ่มขึ้นของกระแสลัดวงจร ดังนั้นในเขตพื้นที่ที่มีความ ต้องการใช้ไฟฟ้าเป็นปริมาณมากมักประสบปัญหากระแส ลัดวงจรค่าสูง ซึ่งปัญหาดังกล่าวพบได้ทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ โดยผลกระทบที่ส�ำคัญประการหนึ่ง ได้แก่ ปริมาณกระแสลัดวงจรค่าสูงนี้อาจเกินพิกัดการตัด กระแสลัดวงจร (Interrupting capacity) ของอุปกรณ์ ป้องกันไฟฟ้าได้ ตัวอย่างปัญหาดังกล่าวในประเทศไทย ได้แก่ ระบบไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนั่นเอง ในบทความนีจ้ ะได้กล่าวถึง (1) ความรูพ้ นื้ ฐานเกีย่ วกับ กระแสลัดวงจร (2) วิธีการลดกระแสลัดวงจร และ (3) การวิเคราะห์ขอ้ ดีและข้อเสียของวิธกี ารลดกระแสลัดวงจร

ท�ำให้ขนาดมุมของกระแสหรือแรงดันเฟสแตกต่างกันไม่ เท่ากับ 120 องศา โดยแบ่งเป็น การลัดวงจรเฟสเดียวลง ดิน (Single line to ground fault) การลัดวงจรสองเฟส ลงดิน (Double line to ground fault) และการลัดวงจร สองเฟส (Double line fault) โดยการลั ด วงจรส่ ว นใหญ่ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระบบจะ เป็นการลัดวงจรแบบไม่สมมาตรแบบการลัดวงจรเฟสเดียว ลงดิน อย่างไรก็ตาม การลัดวงจรแบบสมมาตรแม้ว่าจะมี โอกาสเกิดขึ้นน้อย แต่เมื่อเกิดแล้วจะมีความรุนแรงของ ปัญหาสูงทีส่ ดุ ดังนัน้ ในการพิจารณาผลกระทบของกระแส ลัดวงจรที่มีค่าสูงเกินพิกัดของอุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าโดย ทั่วไปมักจะพิจารณากระแสลัดวงจรแบบสามเฟสสมดุล

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

2. ความรู้พื้นฐานส�ำหรับกระแสลัดวงจร

การลั ด วงจรไฟฟ้ า ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระบบไฟฟ้ า ก� ำ ลั ง สามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ (1) การลัดวงจรแบบ สมมาตร (Symmetrical fault) จะเป็นการลัดวงจรแบบ 3 เฟสพร้อมกัน หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าการลัดวงจร แบบสามเฟสสมดุล (2) การลัดวงจรแบบไม่สมมาตร (Unsymmetrical fault) จะเป็นการลัดวงจรที่เกิดขึ้นแล้ว

68

3. วิธีการลดกระแสลัดวงจร

เมื่อเกิดปัญหาขนาดของกระแสลัดวงจรในระบบ ไฟฟ้าก�ำลังสูงเกินพิกัดของอุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้า เช่น เซอร์กติ เบรกเกอร์ การแก้ปญ ั หาด้วยวิธกี ารเปลีย่ นอุปกรณ์ ป้องกันไฟฟ้าให้มีพิกัดของกระแสลัดวงจรสูงขึ้นอาจไม่ใช่ วิ ธี ก ารที่ เ หมาะสม เนื่ อ งจากการเพิ่ ม ขนาดพิ กั ด ของ อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าอาจส่งผลกระทบต่อขนาดพิกัดของ อุปกรณ์ปอ้ งกันไฟฟ้าทีเ่ ชือ่ มต่อในระดับชัน้ ถัด ๆ ไป ท�ำให้ เกิดผลกระทบเป็นวงกว้าง นอกจากนี้ต้องมีการลงทุน ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องหาวิธีการลด ค่ากระแสลัดวงจรค่าสูงที่เกิดขึ้น โดยที่ระบบยังสามารถ ท�ำงานได้ภายใต้เงื่อนไขที่ต้องการ วิธลี ดค่ากระแสลัดวงจรสูงในระบบไฟฟ้าในปัจจุบนั มีหลายวิธี โดยสามารถแบ่งตามลักษณะของค่าอิมพีแดนซ์ ทีส่ ามารถเปลีย่ นแปลงตามสภาวะการท�ำงานของระบบได้ เป็น 3 ประเภทหลัก ๆ ดังแสดงในรูปที่ 1


รูปที่ 1 วิธีการลดกระแสลัดวงจรในระบบไฟฟ้าก�ำลัง

3.1 วิธีการลดกระแสลัดวงจรแบบแอคทีฟ วิธีการแบบแอคทีฟ คือ การประยุกต์ใช้อุปกรณ์ที่ มีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษในการจ�ำกัดกระแสลัดวงจร ในสภาวะที่ ระบบท�ำงานปกติ (Normal condition) อุปกรณ์ดังกล่าว จะมีค่าอิมพีแดนซ์น้อยมากจนไม่ส่งผลต่อการท�ำงานของ ระบบ ส่วนในสภาวะที่ระบบเกิดการลัดวงจร (Shortcircuited condition) อุปกรณ์จะมีคา่ อิมพีแดนซ์เพิม่ ขึน้ อย่าง รวดเร็วเพือ่ จ�ำกัดกระแสลัดวงจรทีเ่ กิดขึน้ ให้มคี า่ ลดลง ซึง่ ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงค่าอิมพีแดนซ์นี้เองเป็น จุดเด่นของวิธีการลดกระแสลัดวงจรแบบแอคทีฟ วิธีการ ลดกระแสลัดวงจรแบบแอคทีฟที่นิยมใช้ในปัจจุบันมีดังนี้ (1) Superconductor Fault Current Limiter Superconductor Fault Current Limiter (SCFCL) เป็นอุปกรณ์จ�ำกัดกระแสลัดวงจรที่อาศัยหลักการท�ำงาน ของวัสดุตัวน�ำยิ่งยวด (Superconductor) ซึ่งเป็นวัสดุ ที่มีสภาพการน�ำไฟฟ้าโดยปราศจากความต้านทาน ณ อุณหภูมทิ ตี่ ำ�่ กว่าอุณหภูมคิ า่ หนึง่ ทีเ่ รียกว่า อุณหภูมวิ กิ ฤต รวมถึงปัจจัยของปริมาณกระแสและสนามแม่เหล็ก ซึง่ ต้อง มีค่าต�่ำกว่าค่ากระแสและค่าสนามแม่เหล็กวิกฤต โดยถ้า อุปกรณ์มีค่าใดค่าหนึ่งเกินค่าวิกฤตจะท�ำให้อุปกรณ์เกิด การเปลีย่ นสภาวะ (Quenching) จากสภาวะตัวน�ำยิง่ ยวด (Superconductor state) เป็นสภาวะความต้านทาน (Resistive state) ซึ่งเป็นการเพิ่มอิมพีแดนซ์ให้กับระบบ ไฟฟ้าและสามารถลดขนาดของกระแสลัดวงจรได้ (2) Solid-State Fault Current Limiter Solid-State Fault Current Limiter (SSFCL) เป็นอุปกรณ์จ�ำกัดกระแสลัดวงจรที่มีโครงสร้างโดยทั่วไป ประกอบด้วยส่วนทีท่ ำ� หน้าทีจ่ ำ� กัดกระแสและแรงดัน และ ส่วนทีท่ ำ� หน้าทีค่ วบคุมการท�ำงานของอุปกรณ์ซงึ่ ประกอบ

ด้วย Solid-state switch เช่น GTO (Gate Turn-off) หรือ Thyristor ซึง่ สามารถควบคุมการท�ำงานของสวิตช์ได้อย่าง รวดเร็วเมื่อเกิดการลัดวงจรขึ้นในระบบ ดังนั้นจึงไม่ส่ง ผลกระทบต่อระบบในสภาวะการท�ำงานปกติ ส่วนใน สภาวะทีเ่ กิดการลัดวงจร กลไกการควบคุมการท�ำงานของ อุปกรณ์จะท�ำงานอย่างรวดเร็วโดยจะมีสวิตช์ท�ำการสลับ วงจรภายในระดับมิลลิวินาที ซึ่งจะท�ำให้กระแสลัดวงจร ที่เกิดขึ้นไหลผ่านอิมพีแดนซ์อีกค่าหนึ่งที่สูงขึ้นส่งผลให้ กระแสลัดวงจรมีค่าลดลง 3.2 วิธีการลดกระแสลัดวงจรแบบพาสซีฟ วิธกี ารแบบพาสซีฟมีคณ ุ สมบัติ คือ จะท�ำให้คา่ อิมพีแดนซ์ ของระบบเปลี่ยนแปลงไปทั้งในสภาวะที่ระบบท�ำงานตาม ปกติและสภาวะทีร่ ะบบเกิดการลัดวงจร โดยค่าอิมพีแดนซ์ ของระบบจะเพิ่มขึ้นเพื่อจ�ำกัดกระแสลัดวงจรที่เกิดขึ้น ให้มีค่าลดลง การเพิ่มขึ้นของอิมพีแดนซ์อย่างถาวรส่ง ผลให้ต้องพิจารณาการท�ำงานของระบบที่จะเปลี่ยนแปลง ไปอย่ า งรอบคอบก่ อ นน� ำ มาใช้ ง าน วิ ธี ก ารลดกระแส ลัดวงจรแบบพาสซีฟมีดังต่อไปนี้ (1) การแบ่งแยกบัส การแบ่งแยกบัส (Bus splitting) สามารถลดกระแส ลัดวงจรไฟฟ้าได้โดยการเพิ่มค่าอิมพีแดนซ์โดยรวมของ ระบบ การแบ่งแยกบัสเป็นการลดการเชื่อมต่อแบบขนาน ของสายส่งหรือหม้อแปลงไฟฟ้าลง ท�ำให้ค่าอิมพีแดนซ์ บริเวณจุดที่เกิดการลัดวงจรมีค่าเพิ่มขึ้นภายหลังจากการ แบ่งแยกบัส รูปที่ 2 แสดงตัวอย่างการแบ่งแยกบัสโดย ไม่มีและมีเซอร์กิตเบรกเกอร์เชื่อมต่ออยู่ส�ำหรับการแบ่ง แยกบัสแบบถาวรและแบบชั่วคราว ตามล�ำดับ

ร า ส า ้ ฟ ไฟ มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

69


(4) วิธีการลดกระแสลัดวงจรแบบพาสซีฟอื่นๆ ส� ำ หรั บ วิ ธี ก ารลดกระแสลั ด วงจรแบบพาสซี ฟ ประเภทอืน่ ๆ จะประกอบด้วย การประยุกต์ใช้หม้อแปลง อิมพีแดนซ์สูง และการเพิ่มอิมพีแดนซ์สายดิน เป็นต้น

รูปที่ 2 การแบ่งแยกบัสแบบถาวรและชั่วคราว

(2) การปลดวงจรสายไฟฟ้า การปลดวงจรสายไฟฟ้า (Line disconnecting) เป็ น วิ ธี ก ารแก้ ป ั ญ หากระแสลั ด วงจรค่ า สู ง ในระยะสั้ น และ/หรือในสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยมีจุดประสงค์เพื่อลด การเชื่อมต่อขนานของวงจรในระบบไฟฟ้า ซึ่งส่งผลท�ำให้ ค่ากระแสลัดวงจร ณ จุดต่าง ๆ ในระบบลดลง (3) Current Limiting Reactor Current Limiting Reactor (CLR) เป็นอุปกรณ์ จ�ำกัดกระแสลัดวงจรที่ท�ำให้ระบบไฟฟ้ามีความต้านทาน โดยรวมสูงขึ้น นอกจากนี้การใช้งานของ CLR สามารถ ใช้งานโดยมุ่งหมายวัตถุประสงค์เฉพาะ เช่น เพื่อป้องกัน กระแสลัดวงจรลงดิน เพื่อป้องกันกระแสลัดวงจรระหว่าง เฟส เป็นต้น การใช้งาน CLR จะต้องเลือกต�ำแหน่งในการ ติดตัง้ เข้ากับระบบไฟฟ้าอย่างเหมาะสมทีส่ ดุ และสามารถ ต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าได้หลายลักษณะ ดังตัวอย่างในรูปที่ 3 ซึ่งเป็นการต่อ CLR เชื่อมต่อบัสบาร์และการต่อ CLR อนุกรมกับสายป้อนไฟฟ้าฝั่งขาเข้า

3.3 วิธีการลดกระแสลัดวงจรแบบอื่น ๆ วิธีการลดกระแสลัดวงจรแบบอื่น ๆ เป็นวิธีการที่มี จุดประสงค์หลักในการน�ำมาประยุกต์ใช้ไม่ใช่เพื่อการลด กระแสลัดวงจร แต่สามารถท�ำให้กระแสลัดวงจรลดลงได้ เช่น การใช้สายส่ง HVDC และการยกระดับแรงดันของ ระบบ ซึง่ ทัง้ สองวิธมี จี ดุ ประสงค์หลักเพือ่ ยกระดับคุณภาพ ในการส่งจ่ายก�ำลังของระบบไฟฟ้า แต่ในขณะเดียวกัน ก็สามารถท�ำให้ค่ากระแสลัดวงจรลดลงได้เช่นกัน โดยมี รายละเอียดดังนี้ (1) High Voltage Direct Current (HVDC) HVDC เป็ น อุ ป กรณ์ FACT (Flexible AC Transmission) ประเภทหนึ่งซึ่งใช้ในการส่งก�ำลังไฟฟ้า แรงสูงในระยะทางไกล ๆ โดยมีหลักการคือ การเปลี่ยน ไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ากระแสตรงส่งผ่านสายไฟฟ้า HVDC แล้วจึงเปลีย่ นกลับเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ นอกจากนี้ ยังมีฟังก์ชันเสริมอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น การควบคุม การไหลของก�ำลังไฟฟ้าในสายส่งของตนเอง การควบคุม แรงดั น และการจ� ำ กั ด ค่ า กระแสลั ด วงจรโดยฟั ง ก์ ชั น VDCOL เป็นต้น (2) การยกระดับแรงดัน การยกระดั บ แรงดั น ของระบบส่ ง ก� ำ ลั ง ไฟฟ้ า มีจุดประสงค์เพื่อให้คุณภาพในการส่งจ่ายก�ำลังไฟฟ้าดี ขึ้น คือ มีการสูญเสียน้อยลง และมีความสามารถใน การจ่ า ยระยะทางไกลได้ ดี ขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง ช่ ว ยให้ ค่ากระแสลัดวงจรทั้งระบบลดลงเนื่องจากค่าแรงดันของ ระบบที่เพิ่มขึ้นนั่นเอง (S=VI)

ร า ส า ้ ฟ ไฟ 4. การวิเคราะห์ขอ้ ดีและข้อเสียของวิธกี ารลด กระแสลัดวงจร

รูปที่ 3 การเชื่อมต่อ CLR

70

ส�ำหรับวิธีการลดกระแสลัดวงจรแบบแอคทีฟใน ภาพรวมจะมีข้อดี คือ ไม่มีการรบกวนระบบในสภาวะ ปกติ ส่งผลให้ก�ำลังไฟฟ้าสูญเสียและความเชื่อถือได้ของ ระบบไฟฟ้าไม่เปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามจะมีข้อเสียคือ เป็นเทคโนโลยีใหม่และยังคงมีราคาสูง ส�ำหรับวิธีการ ลดกระแสลัดวงจรแบบพาสซีฟในภาพรวมจะมีข้อดีคือ สามารถกระท�ำได้งา่ ยในทางปฏิบตั แิ ละมีตน้ ทุนต�ำ่ อย่างไร ก็ตามเนื่องจากวิธีการในกลุ่มนี้จะท�ำให้ค่าอิมพีแดนซ์ของ


ระบบสูงขึน้ แม้ในสภาวะปกติ ดังนัน้ จะส่งผลให้กำ� ลังไฟฟ้า แตกต่างกัน รวมถึงวิธกี ารลดกระแสลัดวงจรประเภทอืน่ ๆ สูญเสียมีค่าสูงขึ้นและความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้าลด จะสามารถน�ำเสนอได้ดังตารางที่ 1 ลงด้วย โดยรายละเอียดข้อดีและข้อเสียเฉพาะวิธีการที่ ตารางที่ 1 วิธีการลดกระแสลัดวงจรในระบบไฟฟ้าก�ำลัง วิธีการ

ข้อดี (เฉพาะส�ำหรับแต่ละวิธีการ)

ข้อเสีย (เฉพาะส�ำหรับแต่ละวิธีการ)

Superconductor Fault Current Limiter

มีประสิทธิภาพในการลดกระแสลัดวงจรได้ดี

ปัจจุบนั ระดับแรงดันในช่วงท�ำงานสูงสุดเท่ากับ 145 kV จึงท�ำให้ไม่สามารถ ใช้ในระดับแรงดัน 230 kV หรือมากกว่านั้นได้

Solid-State Fault Current Limiter

ท� ำ ให้ คุ ณ ภาพไฟฟ้ า ดี ขึ้ น จากการช่ ว ยลดกระแสไหลพุ ่ ง มีความซับซ้อนในการควบคุมการท�ำงานของอุปกรณ์ (Inrush current) ที่เกิดจากปลดสับวงจรต่าง ๆ

การแบ่งแยกบัส

สามารถประยุกต์ใช้ได้จริง โดยใช้เวลาด�ำเนินการสั้น

อาจมีค่าใช้จ่ายสูงส�ำหรับชุดบัสบาร์ใหม่ หากชุดบัสบาร์เดิมไม่สามารถ ท�ำการแบ่งแยกได้

การปลดวงจรสายส่ง

สามารถประยุกต์ใช้ได้จริง โดยใช้เวลาด�ำเนินการสั้น

วงจรไฟฟ้าทีป่ ลดเปรียบเสมือนการหายไปของวงจรไฟฟ้า นอกจากผลกระทบ ต่อก�ำลังไฟฟ้าสูญเสียและความเชื่อถือได้ อาจส่งผลกระทบด้านอื่น ๆ ได้ เช่น เสถียรภาพแรงดันไฟฟ้า เป็นต้น

ร า ส า ้ ฟ ไฟ Current Limiting Reactor

การเพิ่มขึ้นของอิมพีแดนซ์เป็นส่วนของรีแอคแทนซ์

CLR บางประเภทก่อให้เกิด Magnetic flux ซึ่งส่งผลต่อสุขภาวะของ สิ่งมีชีวิต และสภาวะการท�ำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ที่อยู่ ใกล้เคียงได้

High Voltage Direct Current อิมพีแดนซ์เพิ่มสูงขึ้นเฉพาะขณะเกิดการลัดวงจร (เช่นเดียวกับ DC ต้องมีสถานีเปลี่ยนระบบแรงดันเป็น AC คือ Inverter station ซึ่งมี (HVDC) วิธกี ารแอคทีฟ) และยังใช้งานเพือ่ วัตถุประสงค์อนื่ ในระบบไฟฟ้า ราคาแพงและอาจเป็นแหล่งก�ำเนิด Harmonics ทางไฟฟ้า เช่น การส่งผ่านก�ำลังไฟฟ้าเป็นระยะทางไกล ๆ การยกระดับแรงดัน

สามารถแก้ปัญหากระแสลัดวงจรสูงในระยะยาวได้ และยังเพิ่ม ใช้เงินลงทุนสูงมาก จึงต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบ และไม่สามารถ ประสิทธิภาพการส่งจ่ายก�ำลังไฟฟ้าได้ด้วย ใช้ได้ในกรณีที่เป็นปัญหาที่มีกรอบระยะเวลาสั้น

5. สรุปและข้อเสนอแนะการใช้งานในระบบไฟฟ้าก�ำลังของประเทศไทย ความรุนแรงของปัญหากระแสลัดวงจรโดยทัว่ ไปจะ เกิดขึ้นในระบบส่งไฟฟ้า เนื่องจากระบบมีจ�ำนวนเครื่อง ก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า เชื่ อ มต่ อ เป็ น จ� ำ นวนมากและระบบมี ก าร เชื่อมต่อในลักษณะวงรอบ (Mesh) การแก้ไขปัญหาใน ประเทศไทยควรให้ความส�ำคัญแก่ระบบไฟฟ้าของการ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ซึ่งดูแลระบบส่ง ไฟฟ้า จากข้อดีและข้อเสียของวิธีการลดกระแสลัดวงจร ที่น�ำเสนอจะพบว่า ในหลาย ๆ วิธีอาจไม่สามารถน�ำมา ประยุกต์ใช้กับระบบส่งก�ำลังไฟฟ้าของ กฟผ.ได้ โดย ปัญหาอุปสรรคที่สำ� คัญ คือ เรื่องของระดับแรงดันการที่ ใช้งานที่สูงกว่า 230 kV และหลาย ๆ เทคโนโลยียังอยู่ ในระหว่างการศึกษาและพัฒนา จึงยังไม่เหมาะส�ำหรับ น�ำมาใช้ในเชิงอุตสาหกรรม โดยวิธีการที่ กฟผ.พิจารณา

อยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ การแบ่งแยกบัสและการปลดวงจร สายส่ง อย่างไรก็ตามจากข้อเสียของวิธีการทั้งสองที่ได้ กล่าวข้างต้น กฟผ.ควรพิจารณาวิธีการอื่นร่วมด้วย เช่น การประยุกต์ใช้สายส่ง HVDC ซึง่ ไม่รบกวนระบบในสภาวะ ปกติและเป็นเทคโนโลยีที่มีแนวโน้มการใช้งานเพิ่มมาก ขึ้นในระบบไฟฟ้าก�ำลังอยู่แล้ว นอกจากนี้ยังอาจสามารถ พิจารณาวิธีการใช้งาน CLR เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีที่มี การใช้งานมานานและเชื่อถือได้ ประการส�ำคัญที่สุด คือ การเลือกใช้วิธีต่าง ๆ โดย พิจารณาถึง (1) ประสิทธิภาพการลดกระแสลัดวงจร (2) ผลกระทบอื่น ๆ ที่จะเกิดขึ้นตามมา และ (3) ความยั่งยืน และความคุ้มค่าการลงทุน

เอกสารอ้างอิง [1] Adapa, R. Fault Current Management Guidebook, EPRI Solutions Inc., 2006. [2] Taylor, T., Hanson, A., Lubkeman, D. and Mousavi, M., Fault Current Review Study, ABB Inc., 2005. [3] Sarmiento, H. G., Castellanos, R., Pampin, G., Tovar, C. and Naude, J., An Example in Controlling Short Circuit Levels in a Large Metropolitan Area, IEEE Power Engineering Society General Meeting, 13-17. July 2003. [4] Power, A. J., An Overview of Transmission Fault Current Limiters, Leatherhead: The National Grid Company plc., 2002. [5] Neumann, A., Application of Fault Current Limiters, BERR Department for Business Enterprise & Regulatory Reform, 2007. [6] Wu, X., Mutale, J., Jenkins, N., and Strbac, G., An Investigation of Network Splitting for Fault Level Reduction, Working Paper 25 Tyndall Centre for Climate Change Research Manchester, 2003. มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

71


Technology & Innovation เทคโนโลยีและนวัตกรรม มิติ รุจานุรักษ์ และอมรรัตน์ คงมา

การปรับปรุงความถูกต้องของ Microsoft Kinect ในการสร้างพื้นผิว 3D และแอพพลิเคชันทางการแพทย์ บทน�ำ

เราเคยน� ำ เสนอบทความว่ า ด้ ว ยการปรั บ เที ย บ จะมีขนาด 640 x 480 พิกเซลที่เฟรมเรต 30 fps ระยะ Kinect ในฐานะอุปกรณ์สร้างเมฆจุด 2½D ไปในไฟฟ้าสาร ทีต่ รวจจับความลึกได้นนั้ จะอยูป่ ระมาณ 500 – 5000 ซม. ฉบับ พ.ค.-มิ.ย. 55 ไปแล้ว ส�ำหรับวันนี้จะสนุกมาก คือ เราจะเพิ่มเติมเทคนิคในการท�ำให้ Kinect ซึ่งมีราคาถูก แต่ความถูกต้องก็น้อยให้มีความถูกต้องมากขึ้น เพื่อสร้าง พื้นผิว 3D เทคนิคที่ว่านี้จะท�ำให้สามารถน�ำ Kinect ไป ทดแทนเซนเซอร์ตวั เป็นแสนได้ในบางสถานการณ์ (Kinect ราคาไม่ถึง 5,000 บาท) Kinect ประกอบด้วย กล้องสี กล้องความลึก และ มัลติอาเรย์ไมโครโฟน ดังรูปที่ 1 กล้องสี (Color CMOSVNA38209015) นั้นมีความละเอียดระดับ VGA 8 บิต รูปที่ 1 Kinect ส่ วนตั ว กล้ อ งความลึก นั้นประกอบด้ว ยตัว ส่งสัญญาณ อินฟราเรด (IR Projector-OG12 / 0956 / D306 / JG05A) และตัวรับสัญญาณอินฟราเรด (IR CMOSMicrosoft / X853750001 / VCA379C7130) ที่มีความ ละเอียดระดับ VGA 11 บิต ตัวส่งจะส่งสัญญาณอินฟราเรด ออกไปเป็นกลุ่มจุด เราคงเดาได้ว่าหากตัวรับจับภาพกลุ่ม จุดที่กระจุกตัวกัน ย่อมหมายความว่าบริเวณนั้นอยู่ใกล้ กล้อง ในขณะที่หากตัวรับจับภาพกลุ่มจุดที่กระจายตัวกัน ย่อมหมายความว่าบริเวณดังกล่าวอยู่ห่างจากกล้อง ดังนี้ ท�ำให้เราสามารถรูร้ ะยะห่างจากกล้องได้โดยระยะห่างนีจ้ ะ ถูกบันทึกไว้เป็นสัญญาณที่เรียกว่าเมฆจุด (Point cloud) รูปที่ 2 ตัวอย่างภาพความลึกของวัตถุระนาบ ซึง่ เรียกว่ามีมติ ิ 2½D เนือ่ งจากไม่เห็นทุกมุมมอง ดังแสดง ซึ่งก็คือเมฆจุดนั่นเอง ในภาพที่ 2 คูก่ บั ภาพสี ภาพสีและภาพความลึกนีส้ ามารถ น�ำเข้าที่คอมพิวเตอร์ได้โดยสาย USB ผ่านโอเพ่นซอร์ส ไลบรารีหลายเจ้าในอินเทอร์เน็ต ซึ่งท�ำให้ใช้ Kinect กับ วินโดวส์ ไลนุกซ์ หรือแม็คได้ ภาพความลึกจาก Kinect นัน้

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

72


พื้นผิว 3D จะต่างจากเมฆจุด 2½D อันที่จริงแล้ว ตัวพืน้ ผิวก็สร้างมาจากเมฆจุดดังกล่าวนัน่ เอง วิธกี ารสร้าง พื้นผิวก็จะกล่าวถึงไว้ในบทความนี้ด้วย พอสร้างเสร็จแล้ว หากเราไม่ใช้เทคนิคพิเศษ (แต่ง่ายมาก) ที่จะน�ำเสนอ เราจะพบว่าพื้นผิวจะผิดพลาด ความผิดพลาดดังกล่าวจะมีลักษณะ เช่น วัตถุ ระนาบธรรมดา เมือ่ ผ่านการเก็บข้อมูลจาก Kinect แล้วไป สร้างพื้นผิว จะพบว่าเกิดพื้นผิวซ้อนกันหลายชั้นซับซ้อน ซึ่งไม่เหมาะที่จะน�ำไปประมวลผลต่อ เทคนิคที่จะใช้แก้ปัญหาที่ว่าคือการใช้ Spatial filter กรองเมฆจุดก่อนที่จะสร้างพื้นผิว ฟิลเตอร์ที่ใช้มีชื่อ ว่า Average filter หลายท่านคงรู้จัก ง่ายใช่ไหมล่ะครับ จากการค้ น พบอั น ง่ า ยดายแต่ มี ป ระโยชน์ ม าก นี้ ท� ำ ให้ ผ ลงานนั ก ศึ ก ษาของคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ Best paper award (Young investigator award) [1] จากการประชุมวิชาการ International Conference on Computational Vision and Robotics 2012 และได้รางวัลซิว กาญจนารีด้วย ในที่นี้นอกจากจะกล่าวถึงเทคนิคแล้ว เราอยาก จะน�ำเสนอแอพพลิเคชันหนึ่งของงาน อันคงจะน่าสนใจ ส� ำ หรั บ หลายท่ า นไม่ น ้ อย นั่ น คื อ การใช้ Kinect หา อัตราส่วนระหว่างพื้นที่ผิวไฟไหม้และพื้นที่ผิวโดยรวม ของร่างกาย ซึ่งเป็นงานวิจัยที่เราท�ำร่วมกับโรงพยาบาล นพรัตนราชธานี ภายใต้การประสานงานของนายแพทย์ ทวีทอง กออนันตกูล ท่านเป็นแพทย์ที่กระฉับกระเฉง มาก และยังเป็นโปรแกรมเมอร์ตวั ยงด้วย ระบบหนึง่ ทีท่ า่ น พยายามพัฒนาคือ ฐานข้อมูลทางการแพทย์ คุณหมอทวีทองแนะน�ำให้เรารู้จักกับกลุ่มพยาบาล ของโรงพยาบาลช่วงปี 2554 ท�ำให้เราได้เรียนรู้ว่า อัตรา การเสียชีวิตของผู้ป่วยแผลไฟไหม้ 50% ของร่างกายคือ 52% แพทย์และพยาบาลสามารถช่วยรักษาชีวติ ของผูป้ ว่ ย เหล่านี้ได้ดีขึ้นได้ หากให้สารน�้ำในปริมาณที่เหมาะสม ดังสมการด้านล่างนี้

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3 วิธีการดั้งเดิมในการหา %Burn

ทางคณะวิ จั ย เห็ น ความบกพร่ อ งของระบบที่ ต่างชาติคดิ นี้ กล่าวคือ รูปร่างของแต่ละคนนัน้ ต่างกัน และ การแรเงาก็อาจไม่แม่นย�ำได้ เราจึงเสนอให้น�ำเจ้า Kinect มาใช้วัดพื้นที่ครับ การวัดพืน้ ทีจ่ ะค�ำนวณจากส่วนย่อย ๆ ในพืน้ ผิว 3D ซึ่ ง อั น ที่ จ ริ ง ก็ เ ป็ น แผ่ น สามเหลี่ ย มหลายชิ้ น ต่ อ กั น ด้วยอัลกอริทึม Marching cubes แล้วแบ่งพื้นที่เป็น สามส่วน คือ แผลไฟไหม้ ผิวทั้งหมด และฉากหลัง แล้วหาค�ำนวณสองพื้นที่แรกด้วย Heron’s formula อย่ า งที่ ก ล่ า วว่ า การสร้ า งพื้ น ผิ ว 3D มี ค วาม ผิดพลาด สงสัยไหมครับว่าท�ำไม สาเหตุเพราะความ ผิดพลาดในการหาระยะของ Kinect จะขึน้ อยูก่ บั ระยะห่าง จากตัวกล้องยกก�ำลังสอง (2)

เช่น ที่ระยะต�่ำสุด 50 ซม. จะมีความผิดพลาด F(50) = 0.0375 ซม. ส่วนที่ระยะสูงสุด 500 ซม. จะมี ความผิดพลาด F(500) = 3.75 ซม. ความผิดพลาดนี้ท�ำให้เมฆจุดอยู่ในต�ำแหน่งที่ผิด (1) จากความจริงใช่ไหมครับ เมื่อต�ำแหน่งผิด พื้นผิวที่สร้าง ขึ้นจึงซ้อนกันหลายชั้น ยกตัวอย่างเมฆจุดของพื้ น ผิ ว จากสมการจะเห็นได้ว่าเราจ�ำเป็นต้องรู้ %Burn ระนาบธรรมดาดังรูปที่ 4 จะเห็นว่ามีส่วนยื่นออกมาซึ่ง แต่เดิมพยาบาลจะใช้ชาร์ตตัวหนึ่งชื่อว่า Rule of nine ซึ่ง ไม่ถูกต้องเลย ต่างชาติคิดค้นขึ้น แล้วแรเงาบนชาร์ตนี้ หลังจากนั้นก็ใช้ สูตรค�ำนวณจากพื้นที่ที่แรเงาเป็น %Burn มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

73


รูปที่ 4 ตัวอย่างเมฆจุดของพื้นผิวระนาบ เมื่อมองจากด้านข้างของระนาบ

ขั้นตอนวิธี

ในบทความนี้ ข ออธิ บ ายจากตั ว แอพพลิ เ คชั น ดังนั้นเราจะไม่เริ่มที่การสร้างพื้นผิว 3D หากจะเริ่มจาก การแบ่งพืน้ ทีเ่ ป็นสามส่วน คือ แผลไฟไหม้ ผิวทัง้ หมด และ ฉากหลัง การแบ่งพื้นที่เป็นสามส่วน เราจะแบ่ง พื้นที่โดยใช้ภาพสีแ ต่ค�ำ นวณพื้นที่ใน ภาพความลึก ที่ท�ำเช่นนี้ได้เนื่องจากภาพสีกับภาพความ ลึกมีการปรับเทียบให้อยู่ในมุมมองเดียวกัน ดังแสดงใน บทความก่อนหน้าดังกล่าว หากเราหาพื้นที่แต่ละส่วนใน ภาพสีได้ ย่อมแปลงไปหาพื้นที่ดังกล่าวในภาพความลึก ได้เช่นกัน การแบ่งพืน้ ทีส่ ามส่วนในภาพสียอ่ มท�ำได้ดกี ว่าภาพ ความลึก เนื่องจากมีข้อมูลสีของแผลไฟไหม้และผิวปกติ จริงไหมครับ เราใช้เทคนิค Region growing ประกอบกับ Watershed algorithm และ Chebyshev’s inequality ดังปรากฏใน [2] ในการสร้ า งสามพื้ น ที่ จ ะมี ส องขั้ น ตอนด้ ว ยกั น หนึ่ ง คื อ แบ่ ง ระหว่ า งผิ ว ทั้ ง หมดกั บ ฉากหลั ง สองคื อ แบ่งระหว่างผิวไฟไหม้กับผิวปกติ

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 5 การแบ่งพื้นที่เป็นสามส่วน บน ภาพต้นฉบับ กลาง ภาพฉากหน้า และ ล่าง ภาพแผลไฟไหม้

ตอนนี้เราก็พร้อมแล้วที่จะน�ำภาพดังกล่าวไปแปลง สู่ภาพความลึกแล้ว ดังรูปที่ 6 ซึ่งในที่นี้เราใช้โปรแกรม ชื่อ OpenGL แสดงผล ท�ำให้ได้เมฆจุดเฉพาะของส่วนขา ดังแสดงในรูปที่ 7

74


รูปที่ 6 ภาพความลึกเฉพาะส่วนพื้นที่ผิว

รูปที่ 8 Marching cubes

จากรูปนี้คงเห็นแล้วว่าท�ำไมถึงเรียกว่า Marching cubes นะครับ และจะเห็นได้ว่ามีจุดอินเทอร์โพเลตอยู่ ซึ่งจะเป็นการอินเทอร์โพเลตต�ำแหน่งของเมฆจุด ผลการใช้ Marching cubes แสดงในรูปที่ 9

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 7 เมฆจุดเฉพาะส่วนพื้นที่ผิว

การสร้างพืน้ ผิว 3D ด้วย Marching cubes

Marching cubes เป็นอัลกอริทึมพื้นฐานที่โด่งดัง มาก จัดอยู่ในจ�ำพวก High resolution 3D surface construction algorithm แต่ก็ยังสร้างพื้นผิวจากข้อมูล เมฆจุดของ Kinect ได้ไม่ดี ดังกล่าวแล้วว่า พื้นผิวระนาบ ธรรมดากลับกลายเป็น Triangular mesh ซ้อนกันหลายชัน้ เรามาดู Marching cubes กันหน่อยไหมครับ อั ล กอริ ทึ ม นี้ จ ะสร้ า งแผ่ น สามเหลี่ ย มต่ อ เนื่ อ งกั น เพื่ อ ประมาณ iso-surface ด้วยการค�ำนวณเส้นตั้งฉากกับ แผ่นสามเหลี่ยมในแต่ละส่วนของภาพความลึก ดังแสดง ในรูปที่ 8

รูปที่ 9 ผลการใช้ Marching cubes บน อินพุตเมฆจุด และ ล่าง เอาต์พุต Triangular mesh

มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

75


การกรองเมฆจุดด้วย Average ffiilter การค�ำนวณพื้นที่ด้วย Heron’s formula ก่อนสร้าง Triangular mesh จากพื้นที่ผิว 3D ที่ประกอบด้วยสามเหลี่ยมเล็ก ๆ

และนี่คือการค้นพบสั้น ๆ แต่มีประโยชน์มากของ จ�ำนวนมาก ถ้าเราใช้สตู รหาพืน้ ทีส่ ามเหลีย่ มดังกล่าว แล้ว เราครับ เราเฉลี่ยค่าความลึกของแต่ละเมฆจุดกับเมฆจุด รวมพื้นที่หลายส่วน เราก็จะได้พื้นที่ทั้งหมดจริงไหมครับ รอบข้างดังสมการด้านล่าง นี่ท�ำให้เมฆจุดเรียบขึ้นมาก ที่น่าสนใจมากไม่ใช่ว่า Heron’s formula คืออะไร และพร้อมส�ำหรับ Marching cubes อันได้กล่าวไปแล้ว เพราะสามารถหาได้จากอินเทอร์เน็ต แต่คือประเด็นด้าน ความถูกต้องก่อนและหลังใช้ Average filter ว่าเป็นเท่าใด (3) เราขอยกตัวอย่างด้วยตารางที่ 1 โดยวิธีที่เราใช้เรียกว่า Marching cubes (Normalized) ซึ่งการ Normalize ในที่ นี้หมายถึง Average filter นั่นเอง ตารางที่ 1 ผลการหาขนาดพื้นที่

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

เห็นได้ชัดเลยใช่ไหมครับว่าความถูกต้องเพิ่มขึ้น มากหลังจากใช้ฟลิ เตอร์ ท�ำให้นา่ จะใช้ประโยชน์ได้ในหลาย แอพพลิเคชันเลยทีเดียว อย่างการหาอัตราส่วนพื้นที่แผล ไฟไหม้กใ็ ช้ได้ เนือ่ งจากแม้จะดูเหมือนว่ามีความผิดพลาด ถึง 6-8% แต่อย่าลืมว่าเราหาอัตราส่วนไม่ได้หาพื้นที่ โดยตรง อัตราส่วนย่อมหักล้างความผิดพลาดของพื้นที่ ผิวแผลไฟไหม้ต่อความผิดพลาดของพื้นที่ผิวทั้งหมดออก ไป จริงไหมครับ

บทสรุป

เราสามารถปรับปรุงความถูกต้องของการสร้าง Triangular mesh จากข้อมูลเมฆจุดของ Kinect ได้ด้วย Average filter ท�ำให้ความถูกต้องสูงกว่า 90% จากกรณีที่ ไม่ใช้ซงึ่ ถูกต้องเพียงประมาณ 50% เท่านัน้ แอพพลิเคชัน ที่ เ ราเล็ งเห็ น ว่ า ใช้ได้คือกรณีใช้กับ พื้นที่ผิว มนุษ ย์ครับ

76

อุปสรรคที่เราพบอยู่ในปัจจุบันนี้คือเรายังไม่สามารถหา พื้นที่ของทั้งร่างกายของผู้ป่วยได้ (กรณีคนแข็งแรงดีเรา คงขอให้เขายืนขึ้นแล้วใช้ Kinect หลายตัวถ่ายจากหลาย มุม โดยปรับเทียบ Kinect เหล่านั้นไว้ล่วงหน้า) เพราะ ผู้ป่วยอาจไม่สามารถขยับร่างกายให้ถ่ายภาพได้เนื่องจาก ความเจ็บปวด ท่านผู้อ่านมีความคิดเห็นอะไรบ้าง ติดต่อ เราได้นะครับ

เอกสารอ้างอิง 1. A. Khongma, M. Ruchanurucks, P. Rakprayoon, T. Phatrapornnant, and Y. Koike, “Kinect Quality Enhancement for Triangular Mesh Reconstruction with a Medical Image Application,” International Conference on Computational Vision and Robotics, 2012. (Young Investigator Award) 2. M. Ruchanurucks, K. Ogawara, and K. Ikeuchi, “Integrating Region Growing and Classification for Segmentation and Matting,” IEEE International Conference on Image Processing, 2008.


Technology & Innovation เทคโนโลยีและนวัตกรรม นายวิทยา ธีระสาสน์ Quality Control Department / ASEFA CO., LTD.

อุปกรณ์สั่งปลดเซอร์กิตเบรกเกอร์ Under Voltage Release หรือ Under Voltage Coil จะมีวิธีการอย่างไรในการออกแบบและการใช้งาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ร า ส า ้ ฟ ไฟ ปัญหาของผู้ใช้งานส่วนใหญ่ ที่ มั ก พบอยู ่ บ ่ อ ยครั้ ง เมื่ อ เกิ ด ปั ญ หา ไฟกะพริบช่วงสั้นขึ้นในระบบไฟฟ้า ซึ่งจะต้อง Reclose Main Circuit Breaker อยู่บ่อย ๆ ท�ำให้ระบบไฟฟ้า ไม่มีเสถียรภาพและความน่าเชื่อถือ ของระบบ อุปกรณ์สั่งปลดเซอร์กิต เบรกเกอร์ Under Voltage Release หรือ Under Voltage Coil จะมีวธิ กี าร อย่างไรในการออกแบบและการใช้งาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด Under Voltage Release หรือ Under Voltage Coil เป็นอุปกรณ์ ประกอบเสริม ส�ำหรับช่วยในการปลด วงจรของเซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ อี ก ประเภทหนึ่ ง ซึ่ ง โดยปกติ จ ะสั่ ง ให้ เซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ ป ลดวงจรได้ ก็ ต ่ อ เมื่ อ แรงดั น ไฟฟ้ า อยู ่ ใ นระดั บ ในช่วง 35%-70% ของพิกัดแรงดัน ไฟฟ้าปกติ หากค่าแรงดันไฟฟ้ามีค่า ต�่ำกว่าค่าดังกล่าวนี้ จะไม่มีแรงดัน ไฟฟ้ามากพอไปสร้างสนามแม่เหล็ก ไฟฟ้าภายในตัว Under Voltage Coil จึ ง ส่ ง ผลท� ำ ให้ เ ซอร์ กิ ต เบรกเกอร์

รูปที่ 1 แสดง Under Voltage Release และ Diagram การต่อวงจร

ปลดวงจร และจะไม่สามารถที่จะสับ ACB เข้าไปได้จนกว่าค่าแรงดันไฟฟ้าที่ ตกคร่อมจะมีค่าเพิ่มขึ้นจนถึงค่า Pickup Voltage หรือถึงค่าแรงดันไฟฟ้า เริ่มตอบสนองของ Coil Under Voltage (85%) แล้ว เซอร์กิตเบรกเกอร์จึง สามารถปิดวงจรได้ (Close Circuit)

ซึ่งในการท�ำงานจะต้องอาศัย Auxiliary Contact จากอุปกรณ์ภายนอก เช่น Transformer Trip, Phase Protection Relay, Emergency Switch มาต่อ อนุกรมกับชุด Coil ของ Under Voltage Release ซึ่งหมายความว่าในขณะที่ แรงดันไฟฟ้าอยูใ่ นระดับปกติจะต้องมีแรงดันไฟฟ้าจ่ายให้แก่ชดุ Under Voltage Release หรือ Under Voltage Coil อยู่ตลอดเวลา แต่เมื่อเกิดแรงดันไฟฟ้าต�่ำ (Under Voltage) กว่าค่าทีก่ ำ� หนด ขัว้ ของ Auxiliary Contact จะเปลีย่ นสถานะ จาก NC เป็น NO ซึ่งเป็นผลท�ำให้ชุด Under Voltage Release ไม่มีแรงดัน ไฟฟ้ามาจ่ายให้ Under Voltage Coil สร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้าเหนี่ยวน�ำขึ้น มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

77


เพื่อผลักดันให้ระบบกลไกภายใน (Mechanism) ของเซอร์กิตเบรกเกอร์ปลดวงจรออกทันที และจะไม่สามารถท�ำการ สั่งสับเซอร์กิตเบรกเกอร์ได้แต่อย่างไรในกรณีที่แรงดันไฟฟ้าไม่เป็นไปตามที่กำ� หนด

ข้อจ�ำกัดในการใช้งาน Under Voltage Release หรือ Under Voltage Coil ร่วมกับ เซอร์กิตเบรกเกอร์

Under Voltage Release จะท�ำงานได้กต็ อ่ เมือ่ มีแรงดันไฟฟ้าตกคร่อม Coil อยูท่ รี่ ะดับมากกว่า 85% ขึน้ ไปของ แรงดันไฟฟ้าพิกัด ท�ำให้เซอร์กิตเบรกเกอร์สามารถปิดวงจร (Close Circuit) ได้ แต่เมื่อมีแรงดันไฟฟ้าตกมีค่าแรงดัน ไฟฟ้าต�่ำกว่า 70% ของค่าแรงดันไฟฟ้าพิกัด ด้วยสาเหตุนี้จึงท�ำให้เซอร์กิตเบรกเกอร์เปิดวงจร (Open Circuit) ได้ ในทีส่ ดุ ซึง่ จะพบว่าผูใ้ ช้งานหลายรายทีเ่ ลือกใช้งาน Under Voltage Release ในการป้องกันปัญหาจากแรงดันไฟฟ้าตก มักทีจ่ ะประสบปัญหาเป็นอย่างยิง่ ในกรณีทเี่ กิดแรงดันไฟฟ้าตกชัว่ ขณะ (Voltage Dips) หรือไฟฟ้าดับช่วงสัน้ (Voltage Interruptions) ขึ้นในระบบไฟฟ้า จะส่งผลกระทบท�ำให้เซอร์กิตเบรกเกอร์ปลดวงจรอยู่บ่อยครั้ง ถึงอย่างไรก็ตาม การใช้งาน Under Voltage Release มีความจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องติดตัง้ อุปกรณ์หน่วงเวลา (Time Delay) เพือ่ ใช้งาน ควบคู่กับ Under Voltage Release เพื่อป้องกันไม่ให้เซอร์กิตเบรกเกอร์ปลดวงจรออกบ่อยครั้งเมื่อเกิดแรงดันไฟฟ้า ตกชัว่ ขณะ หรือไฟฟ้าดับช่วงสัน้ ขึน้ ในระบบไฟฟ้า ท�ำให้สามารถใช้งานโหลดในระบบได้อย่างต่อเนือ่ งและเป็นการเพิม่ ความเชื่อมั่นให้แก่ระบบไฟฟ้ามากที่สุด

ร า ส า ้ ฟ ไฟ (a) Without Phase Selection Circuit

(b) With Phase Selection Circuit

รูปที่ 2 แสดงการใช้งาน Under Voltage Release ร่วมกับ Time Delay

จากรูปที่ 2 (a) คือวงจรส่วนใหญ่ที่มีใช้งานอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งมักจะมีปัญหาดังต่อไปนี้ กรณีที่เกิดแรงดันไฟฟ้า ตกชั่วขณะ และกรณีแรงดันไฟฟ้าขาดเฟส เช่น R-Loss, S-Loss หรือ T-Loss ขาดหายไปชั่วขณะ จะไม่มีแรงดัน ไฟฟ้าจ่ายไปยัง Coil ของ Under Voltage Release จึงท�ำให้เซอร์กิตเบรกเกอร์ปลดวงจร จากรูปที่ 2 (b) คือ เมื่อน�ำอุปกรณ์หน่วงเวลา (Time Delay) ใช้งานร่วมกับ Under Voltage Release ดังนั้น ในกรณีที่เกิดแรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะ และกรณีแรงดันไฟฟ้าขาดเฟส เช่น R-Loss, S-Loss หรือ T-Loss ขาดหายไป ชั่วขณะ จะมีแรงดันไฟฟ้าจากอุปกรณ์หน่วงเวลา (Time Delay) จ่ายไปยัง Coil ของ Under Voltage Release จึงท�ำให้เซอร์กิตเบรกเกอร์ไม่ปลดวงจร

78


รูปที่ 3 อุปกรณ์หน่วงเวลา (Time Delay) ใช้งานกับ Under Voltage Release

อุปกรณ์หน่วงเวลา (Time Delay) คือ อุปกรณ์ทที่ ำ� หน้าทีจ่ า่ ยพลังงาน ไฟฟ้าให้แก่ Coil ของ Under Voltage Release ซึ่งจะสามารถหน่วงเวลาได้ 0.5 ~ 3.0 วินาที ดังนั้นในกรณีที่เกิดปัญหาเนื่องจากแรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะ ก็จะไม่ทำ� ให้เซอร์กติ เบรกเกอร์ปลดวงจร (Open Circuit) ได้แต่อย่างใด แต่ถา้ แรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะเกินระยะเวลาที่อุปกรณ์หน่วงเวลาได้ก�ำหนดไว้ เช่น เกินกว่า 3 วินาที ก็จะส่งผลกระทบที่ท�ำให้ไม่มีแรงดันไฟฟ้าจ่ายไปเลี้ยง Coil ของ Under Voltage Release จึงเป็นผลที่ท�ำให้เซอร์กิตเบรกเกอร์ปลดวงจร ได้ในที่สุด จากข้อมูลในการออกแบบข้างต้นเมื่อเลือกใช้งาน Under Voltage Release ท�ำงานร่วมกับเซอร์กิตเบรกเกอร์ในการสั่งปลดวงจรนั้นจะต้อง ให้ความส�ำคัญกับการออกแบบวงจรควบคุมเป็นอย่างยิ่งซึ่งจะมีข้อสรุปได้ดังนี้ 1. จ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งมี แ หล่ ง จ่ า ยพลั ง งานไฟฟ้ า จากอุ ป กรณ์ หน่วงเวลา (Time Delay) เพื่อจ่ายไฟแช่ Coil ของ Under Voltage Release อยู่ตลอดเวลา เพื่อป้องกันเซอร์กิตเบรกเกอร์ปลดวงจรเมื่อเกิดความผิดปกติ ของแรงดันไฟฟ้าในช่วงสั้น 2. ไม่ต้อง Reclose Main Circuit Breaker ซ�้ำอยู่บ่อย ๆ เมื่อเกิดไฟฟ้า ตกชั่วขณะ (Voltage Dips) ท�ำให้ระบบไฟฟ้ามีความคล่องตัว (Flexibility)

และมีความน่าเชื่อถือ (Reliability) ในระบบมากยิ่งขึ้นในการจ่ายโหลด 3. ลดความเสีย หายที่ เกิ ด ขึ้ น กับโหลดประเภทมอเตอร์ไฟฟ้าสาม เฟส อันเนื่องมาจากแรงดันไฟฟ้าตก ชั่วขณะได้ จากบทสรุปทัง้ 3 ข้อทีไ่ ด้กล่าว มาแล้วนี้คงจะเป็นข้อมูลขั้นพื้นฐาน เบื้ อ งต้ น ที่ ท� ำ ให้ ผู ้ อ อกแบบหรื อ วิ ศ วกรไฟฟ้ า ได้ น� ำ ไปพิ จ ารณาถึ ง การออกแบบวงจรที่ถูกต้อง เมื่อมี การติดตั้ง Under Voltage Release ภายในเซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ ท� ำ งาน ควบคู่กับอุปกรณ์ป้องกัน เพื่อเพิ่ม ความน่ า เชื่ อ ถื อ ให้ แ ก่ ส วิ ต ช์ บ อร์ ด ไฟฟ้าในการใช้งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

ร า ส า ้ ฟ ไฟ ประวัติผู้เขียน

นายวิทยา ธีระสาสน์ จบการศึ ก ษาครุ ศ าสตร์ อุ ต สาหกรรมบั ณ ฑิ ต คณะ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี ใน พ.ศ. 2546 (เกียรตินิยมอันดับ 2) และศึ ก ษาอยู ่ ที่ ค ณะครุ ศ าสตร์ อุ ต สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สนใจทางด้าน Power Quality and Harmonics System ขอขอบพระคุณทาง บริษัท อาซีฟา จ�ำกัด ที่ให้การสนับสนุนอย่างดี ทางด้าน วิศวกรรมฯ ภาพประกอบบทความ และการอ�ำนวยความสะดวกด้านต่าง ๆ ในการเขียน บทความนี้ มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

79


Variety ปกิณกะ น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล

ความเดิมตอนที่แล้ว ผู้เขียนน�ำเสนอพื้นฐานที่ ควรทราบเกี่ยวกับความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า โดยได้ กล่าวถึงในรายละเอียดไปแล้ว 3 หัวข้อ คือ

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

สวั ส ดี ป ี ใ หม่ ค ่ ะ ผู ้ อ ่ า นไฟฟ้ า สารทุ ก ท่ า น เรื่องราวท้ายเล่มไฟฟ้าสารฉบับส่งต้อนรับปีใหม่นี้ ผูเ้ ขียนขอน�ำเสนอข้อมูลดัชนีความเชือ่ ถือได้ของระบบ ไฟฟ้าต่อจากฉบับทีแ่ ล้ว โดยเป็นค่าดัชนี SAIFI SAIDI ของเมืองต่าง ๆ เท่าทีผ่ เู้ ขียนพอจะรวบรวมได้ในปีปจั จุบนั ภายใต้ชื่อตอนว่า “The Town” นี้ค่ะ

ระยะเวลาไฟดับชั่วครู่ที่นิยามไว้ในบางประเทศ ประเทศ

ไทย ลาว มาเลเซีย ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกา อินเดีย ฟิลิปปินส์ กลุ่มประเทศยุโรป

80

ระยะเวลาไฟดับชั่วครู่ 1 นาที 1 นาที 1 นาที 1 นาที 5 นาที 1 นาที หรือ 5 นาที 5 นาที 10 นาที 3 นาที

1. ดัชนีความเชื่อถือได้ที่นิยมใช้ 1.1 SAIFI 1.2 SAIDI 1.3 CAIDI 1.4 CTAIDI

1.5 CAIFI 1.6 MAIFI 1.7 ASIFI 1.8 ASIDI

2. นิยามที่เกี่ยวข้องในการค�ำนวณค่าดัชนี ที่ควรทราบ

2.1 ไฟดับชั่วครู่ (Momentary Interruption) 2.2 ไฟดับใหญ่ (Major Events) (กล่าวรายละเอียด เพิ่มเติมไว้ในข้อ 3.3)

3. ปัจจัยที่ท�ำให้ค่าดัชนีมีความแตกต่างกัน

3.1 รูปแบบระบบและลักษณะการจ่ายไฟพืน้ ฐาน ของระบบ ตัวอย่างค่าดัชนีดังตารางที่ 3.1 ซึ่งจะเห็นว่า ค่า SAIDI ของระบบใต้ดนิ อยูท่ ปี่ ระมาณ 1-40 นาที/ราย/ปี ในขณะที่ค่า SAIDI ของระบบเหนือดินอยู่ที่ประมาณ 400–1,800 นาที/ราย/ปี ส่วนค่า SAIFI ของระบบใต้ดิน อยูท่ ปี่ ระมาณ 0-0.5 ครัง้ /ราย/ปี ในขณะทีค่ า่ SAIFI ของ ระบบเหนือดินอยู่ที่ประมาณ 4–12 ครั้ง/ราย/ปี ซึ่งหากจะ เปรียบเทียบค่าดัชนีเพื่อน�ำมาใช้เป็นบรรทัดฐานหรือเป็น Benchmark นัน้ ควรพิจารณาระบบทีม่ รี ปู แบบการจ่ายไฟ ใกล้เคียงกัน


ตารางที่ 3.1 ตัวอย่างค่าดัชนี SAIDI และ SAIFI เปรียบเทียบ ระหว่างประเทศที่จ่ายไฟด้วยระบบใต้ดินกับระบบเหนือดิน ประเทศ (การไฟฟ้า, ปี) ระบบใต้ดิน สิงคโปร์ (EMA, 2011) ญี่ปุ่น (Tokyo, 2008) อังกฤษ (London, 2008) เนเธอร์แลนด์ (ENBU) ระบบเหนือดิน ไทย (PEA, 2011) มาเลเซีย (SESB, 2011) อินโดนีเซีย (PLN, 2005) แอฟริกาใต้ (1999)

SAIDI

SAIFI

0.23 2.00 34.44

0.01 0.05 0.32

33.40

0.46

319.41 442.58 946.20 1,796.40

8.43 N/A 12.68 12.97

รูปที่ 3.2 ค่าดัชนี SAIFI และ SAIDI ของระบบสายใต้ดิน ในประเทศสิงคโปร์ ระหว่าง ค.ศ. 2007–2011

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3.1 ถึงรูปที่ 3.3 แสดงตัวอย่างแนวโน้มค่าดัชนี ของระบบสายใต้ดินในยุโรปและสิงคโปร์ และระบบสาย เหนือดินในพื้นที่ชนบทของประเทศมาเลเซีย ตามล�ำดับ

รูปที่ 3.1 ค่าดัชนีของระบบสายใต้ดินในกลุ่มประเทศยุโรป เทียบกับค่าดัชนีของระบบสายเหนือดินในประเทศ แอฟริกาใต้ ระหว่าง ค.ศ. 1997–2004

3.2 การนับจ�ำนวนผู้ใช้ไฟ • นับตามจ�ำนวนผู้ใช้ไฟจริง • ใช้ค่าเฉลี่ยผู้ใช้ไฟตามโหลดที่สูญเสีย • ใช้จำ� นวนผูใ้ ช้ไฟเท่า ๆ กันในทุกสายจ�ำหน่าย 3.3 การนับรวมหรือไม่นับรวมเหตุการณ์ไฟดับ ชั่วครู่/เหตุการณ์ไฟดับใหญ่ ตัวอย่างดังรูปที่ 3.4 เป็น สถิติค่า Delivery Point Unreliability Index : DPUI หรือระยะเวลาไฟดับ ย้อนหลัง 5 ปี ของระบบสายส่ง ในประเทศมาเลเซีย ซึง่ พบว่าในบางปีคา่ DPUI กรณีนบั รวม เหตุการณ์ไฟดับใหญ่มคี า่ สูงกว่ากรณีไม่นบั รวมถึง 13 เท่า 3.4 พืน้ ทีก่ ารจ่ายไฟ ความส�ำคัญ และความหนาแน่น ของโหลด ตัวอย่างดังรูปที่ 3.5 ซึ่งจะเห็นว่าแนวโน้ม การเปลีย่ นแปลงของค่าดัชนี SAIDI ส�ำหรับผูใ้ ช้ไฟในเขต ชนบท (Rural) ของประเทศนิวซีแลนด์ มีความผันผวน อย่างมากและมีค่าสูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับเขตเมือง (Urban) และเขตเมืองหลวง (CBD) ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากรูปแบบ การจ่ า ยไฟที่ มี ค วามอ่ อ นแอกว่ า และพื้ น ที่ ก ารจ่ า ยที่ กว้างขวางกว่า เมือ่ พิจารณาแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของ ค่าดัชนี SAIDI เส้นรวม (Total) จะเห็นว่ามีแนวโน้ม ที่ลดลงเรื่อย ๆ ในอัตราการเปลี่ยนแปลงความชันที่เริ่ม น้อยลงจนเกือบคงที่ ทีค่ า่ ประมาณ 50 นาที และรูปที่ 3.6 แสดงตัวอย่างค่าดัชนี SAIFI และ SAIDI ในพืน้ ทีก่ ารจ่ายไฟ ต่าง ๆ ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคใน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2554 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

81


ร า ส า ้ ฟ ไฟ

รูปที่ 3.3 ค่าดัชนี SAIDI ของระบบสายเหนือดินของพื้นที่ชนบทในประเทศมาเลเซีย ระหว่าง ค.ศ. 2006-2012 บริษัท Sabah Electricity Sdn. Bhd. (SESB)

รูปที่ 3.4 ระยะเวลาไฟดับของระบบส่งจ่ายไฟฟ้าในประเทศมาเลเซีย (บริษัท Sabah Electricity Sdn. Bhd.) กรณีนับรวมและไม่นับรวมเหตุการณ์ไฟดับใหญ่

82


รูปที่ 3.5 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของค่าดัชนี SAIDI ของระบบสายจ�ำหน่ายเหนือดินระดับแรงดัน 11 kV ส�ำหรับพื้นที่การจ่ายไฟต่าง ๆ ในประเทศนิวซีแลนด์ ระหว่าง ค.ศ. 1992–2005

ร า ส า ้ ฟ ไฟ รูปที่ 3.6 ค่าดัชนี SAIFI และ SAIDI ในพื้นที่การจ่ายไฟต่าง ๆ ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคใน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2554

4. ดัชนีความเชื่อถือได้แยกตามระดับแรงดัน

ในบางประเทศได้มีการพิจารณาค่าดัชนีความเชื่อถือได้ แยกตามระดับแรงดันด้วย ดังตัวอย่างค่าดัชนีในระดับ แรงดันสูง แรงดันปานกลาง และแรงดันต�ำ่ ของประเทศเนเธอร์แลนด์ ในรูปที่ 4.1

ตารางที่ 4.1 แสดงค่า SAIDI ของระบบจ�ำหน่าย ระดับแรงดัน 33 kV 22 kV และ 11 kV ในพื้นที่เมือง ของประเทศมาเลเซีย ตารางที่ 4.1 ค่าดัชนี SAIDI ของระบบจ�ำหน่ายในพื้นที่เมือง ของประเทศมาเลเซีย แยกตามระดับแรงดัน รูปที่ 4.1 ค่าดัชนี SAIDI ระหว่าง ค.ศ. 1995-2004 ของประเทศเนเธอร์แลนด์ แยกตามระดับแรงดัน มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

83


5. ค่าดัชนีความเชื่อถือได้ของเมืองต่าง ๆ

ตารางที่ 5.1 เป็นการรวบรวมข้อมูลค่าดัชนี SAIFI และ SAIDI ของเมืองในประเทศต่าง ๆ มาน�ำเสนอพร้อมกับ ข้อมูลค่าไฟฟ้าต่อหน่วย และความหนาแน่นของประชากรในแต่ละเมือง โดยได้น�ำมาแสดงให้เห็นเฉพาะเมืองที่มี คุณลักษณะใกล้เคียงกัน กล่าวคือ มีระบบจ�ำหน่ายใต้ดินเป็นบางส่วนหรือเป็นส่วนใหญ่ มีความหนาแน่นของโหลด หรือในที่นี้แทนด้วยความหนาแน่นของประชากรในเขตเมืองไม่น้อยกว่า 3,000 คนต่อตารางกิโลเมตร ทั้งนี้เพื่อให้เกิด การเปรียบเทียบที่มีความยุติธรรมสูงสุด และสามารถน�ำข้อมูลต่าง ๆ ข้างต้นไปใช้ในการวิเคราะห์หาค่าที่เหมาะสม ที่จะน�ำมาใช้เป็นบรรทัดฐานหรือเป็นค่าเป้าหมายของดัชนีความเชื่อถือได้ต่อไป ตารางที่ 5.2 แสดงข้อมูลสรุปเงื่อนไขการค�ำนวณค่าดัชนีของการไฟฟ้าต่าง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน ตารางที่ 5.1 ค่าดัชนี SAIFI และ SAIDI ของเมืองต่าง ๆ

SAIFI (ครั้ง/ราย/ปี)

SAIDI (นาที/ราย/ปี)

Copenhagen

0.510[7]

35.60[7]

40.53[8]

ความ หนาแน่น ประชากร ปี 2012[15] (คน ต่อ ตร.กม.) 6,300

Paris

0.300[1]

17.00[1]

16.17[8]

Berlin Hong Kong Tokyo Kuala Lumpur Singapore Stockholm Taipei MEA London New York City Washington D.C. San Francisco

2.080[10] 0.093[1] 0.050[1] 0.840[12] 0.010[13] 0.220[9] 0.190[11] 1.837[14] 0.320[1]

118.24[10] 5.37[1] 2.00[1] 99.00[12] 0.23[13] 16.40[9] 17.66[11] 58.798[14] 34.44[1]

0.139[1]

ค่าดัชนีความเชื่อถือได้ ประเทศ

ราคาค่าไฟฟ้า (cent($)/ kWh)

ค่าดัชนี

ค่าไฟฟ้า

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

Denmark France

Germany Hong Kong Japan Malaysia Singapore Sweden Taiwan Thailand UK USA

เมือง หรือ การไฟฟ้า

ค.ศ. ที่บันทึกข้อมูล

2011

2012

21,196

2008

2010

27.90[8] 14.00[11] 21.00[11] 10.60[11] 20.00[11] 18.03[8] 12.00[11] 11.80[14] 18.28[8]

3,939 6,480 6,000 6,696 7,315 4,600 9,600 5,300 5,206

2011 2008 2008 2004 2011 2011 2010 2011 2008

2012 2012 2011 2011 2012 2012 2012 2012 2012

16.6[1]

20.30[2]

10,519

2010

2012

0.180[3]

7.99[3]

12.40[4]

3,886

2010

2012

0.550[5]

45.90[5]

21.80[6]

6,633

2011

2012

แหล่งอ้างอิงส�ำหรับข้อมูลในตารางที่ 5.2 [1] Tom Adams Energy. 2011. Tokyo Electric Power Corp.’s Remarkable Smart Grid Achievement. Available Source: www.tomadamsenergy.com/2011/03/15/tokyos-remarkable-smart-grid-achievement/, March 15, 2011. [2] U.S. Bureau of Labor Statistics. 2012. Average Energy Prices in the New York Area – June 2012. 25 July 2012. [3] Deb A. Scheidt. 2011. Financial Statements and Staff Reports. Water and Light Commission Minutes Regular Meeting. 18 January 2011. [4] Pacific Gas and Electric Company. 2012. Pacific Gas and Electric Division Reliability Indices 2006-2011(Excluding Major Events). 2011 Annual Electric Distribution Reliability Report. 1 March 2012. [5] Pacific Gas and Electric Company. 2012. Division Reliability Indices. 2011 Annual Electrical Distribution Reliability Report. 1 March 2012. [6] U.S. Bureau of Labor Statistics. 2012. Average Energy Prices in the San Francisco Area – August 2012. 19 September 2012. [7] DONG Energy GRI. 2011. Responsibility 2011. 75p. [8] Vaasaett Global Energy. 2009. European household Electricity Price Index for Europe (HEPI). 16 June 2009. [9] Jose’ G. P.. 2011. Improved Electric Service Reliability and Quality Benefit Estimation. Electric Energy Storage in the Stockholm Royal Seaport. 2011.

84


[10] Choptank Electric Cooperative. 2012. Choptank electric Cooperative’s Service Reliability Indices. 2011. [11] Department of Corporate Planning. 2012. Taiwan Power Company Sustainability Report 2011. 99p. [12] Suruhanjaya Tenega. 2006. Report on the Performance of the Electricity Supply Services in Malaysia 2005. 54p. [13] Energy Market Authority (EMA) Annual report 2011/2012. 82p. [14] การไฟฟ้านครหลวง. 2555. ดัชนีความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า. แหล่งที่มา: www.mea.or.th. [15] Wikipedia. Population Density of Urban and Metropolitan Area. Available Source: en.wikipedia.org

ตารางที่ 5.2 ค่าดัชนี SAIFI และ SAIDI ของการไฟฟ้าต่าง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน พร้อมเงื่อนไขการค�ำนวณค่าดัชนี

ร า ส า ้ ฟ ไฟ เอกสารอ้างอิง 1. Summary of ASEAN’s Utilities Statistics 2006, The 4th meeting of The HAPUA Working Group No.7 – Power Reliability and Quality, Bali, Indonesia. 2. Experience with Regulation of Network Quality in Italy, UK and Netherlands, Electrical Power Quality and Utilization, Magazine, Vol. II, No.1, 2006. 3. The first application of resonant earthing with residual compensation to a New Zealand distribution network, EESA Energy NSW Conference paper, 2007 4. World Bank Policy Research Working Paper 4197, April 2007 5. Annual Report 2012, Tanega Nasional Berhad (TNB), Malaysia. เกี่ยวกับผู้เขียน น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล

- กรรมการสาขาไฟฟ้า วสท. - กองบรรณาธิการนิตยสารไฟฟ้าสาร

6. Annual Report 2011/12, Energy Market Authority (EMA), Singapore. 7. นพดา ธีรอัจฉริยกุล, รายงานสรุปผลการศึกษาเปรียบเทียบ ค่าดัชนี SAIFI และ SAIDI ของต่างประเทศ, โครงการวิจยั เพือ่ ศึกษาวิธกี ารทีเ่ หมาะสมในการตัง้ ค่าเป้าหมายด้านความเชือ่ ถือ ได้ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค, 2551. 8. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, รายงานการวิเคราะห์ความเชื่อถือได้ของเมือง ใหญ่ในต่างประเทศ, งานศึกษาความเหมาะสมโครงการพัฒนา ระบบไฟฟ้าในเมืองใหญ่ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค, 2555. 9. ช�ำนาญ ห่อเกียรติ, ความเชื่อถือได้และการบ�ำรุงรักษาระบบ จ�ำหน่ายไฟฟ้า, พิมพ์ครั้งที่ 2, จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, 2553.

เก็บตกจากชื่อตอน “The Town”

ภาพยนตร์เรื่อง “The Town” หรือชื่อไทยว่า “ปล้นสะท้านเมือง” เป็นภาพยนตร์แนว DramaAction (Rate 18+) ผลงานการก�ำกับและน�ำแสดง โดย Ben Affleck เข้าฉายเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2553 เล่าเรือ่ งราวของเมืองหนึง่ ในบอสตัน ชือ่ เมือง ชาร์ลทาวน์ ซึง่ มีการปล้นธนาคารมากกว่าปีละ 300 ครั้ง และครั้งนี้เป็นการปล้นที่อุกอาจโดยโจรได้จับ พนักงานธนาคารสาวไปเป็นตัวประกัน มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

85


Engineering Vocabulary ศัพท์วิศวกรรมน่ารู้ นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

International Electrotechnical Commission :

IEC

สวัสดีปีมะเส็ง 2556 กับสมาชิกของไฟฟ้าสาร ปีนี้จะเป็นปีครบรอบ 70 ปี วสท. ที่จะมีการจัดตั้ง พระวิษณุฯ ทีด่ า้ นหน้าของทางตึก วสท. ด้วย และขอประชาสัมพันธ์ให้ทกุ ๆ ท่านทราบเกีย่ วกับเรือ่ งมาตรฐานใหม่ของ สายไฟฟ้า ที่ทาง สมอ. ได้ประกาศ มอก 11-2553 เมื่อวันที่ 2 พ.ย. 2555 ว่าหลังจากนี้อีก 270 วันหลังประกาศ คือ วันที่ 30 ก.ค. 2556 ทางโรงงานผลิตสายไฟฟ้าจะต้องผลิตตามมาตรฐานใหม่เท่านั้น ซึ่งมาตรฐานสายไฟฟ้า ใหม่นี้มีความแตกต่างไปจากสายเดิมในเรื่องประเภท สี ฉนวนของสายไฟฟ้า เป็นต้น ดังนั้นอยากจะขอเชิญชวน ทางสมาชิกไฟฟ้าสาร วิศวกร ช่าง ผู้ผลิต ผู้ขายและผู้เกี่ยวข้องเตรียมรับมาตรฐานสายไฟฟ้าใหม่กัน เพื่อ การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ผมขออนุญาตให้ข้อมูลเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ส�ำคัญตามมาตรฐานใหม่ ในส่วนสีฉนวนของสายไฟฟ้าใหม่ตามจ�ำนวนของแกนสายไฟฟ้า ดังนี้

ร า ส า ้ ฟ ไฟ สายแกนเดี่ยว สาย 2 แกน สาย 3 แกน สาย 4 แกน สาย 5 แกน

ไม่ก�ำหนด สีฟ้า (N) และสีน�้ำตาล (L) สีเขียวแถบเหลือง (PE) สีฟ้า (N) และสีน�้ำตาล (L) สีเขียวแถบเหลือง (PE) สีนำ�้ ตาล (L1) สีด�ำ (L2) และสีเทา (L3) สีเขียวแถบเหลือง (PE) สีฟ้า (N) สีน�้ำตาล (L1) สีด�ำ (L2) และสีเทา (L3)

ทั้งนี้ทางสาขาไฟฟ้าวิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จะมีการจัดงาน สัมมนาเรื่องมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทยใช้ส่วนที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานของสายไฟฟ้าใหม่ ตาม มอก.11-2555 โดยในการสัมมนาครัง้ นีค้ าดว่าจะมีการจัดสัมนาวันพฤหัสบดีที่ 25 เดือนเมษายน 2556 ทีศ่ นู ย์นทิ รรศการ และการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ และอาจมีการจัดสัมมนาสัญจรไปในแต่ละภูมิภาค น่าจะเป็น 4 ภาคด้วยกัน ทั้งนี้ ขอทราบข้อมูลเป็นที่แน่ชัดก่อน ขอให้ทุกท่านติดตามการจัดสัมมนาของทางสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าได้ตามเว็บไซต์ www.eit.or.th บ่อย ๆ ในช่วงต้นปี และเรื่อย ๆ เพื่อติดตามข่าวสัมมนาดี ๆ สู่แวดวงวิศวกรรมไฟฟ้ากัน รวมถึง ข่าวสารในแวดวงวิศวกรรมด้วย ส�ำหรับค�ำศัพท์ในไฟฟ้าสารฉบับนี้ขอน�ำเสนอค�ำว่า International Electrotechnical Commission : IEC เป็นองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ ที่ก่อตั้งมาเมื่อ พ.ศ. 2449 เพื่อจุดประสงค์ในการพัฒนามาตรฐาน ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ร่วมกัน โดยมีสมาชิกเป็นหน่วยงานระดับประเทศจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก โดย IEC ได้มีการพัฒนาและตีพิมพ์มาตรฐานที่หน่วยงานจากประเทศต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาออกมามากมาย (http://en.wikipedia.org) ข้อดีของการมีมาตรฐานร่วมกันคือ จะท�ำให้การออกแบบ การผลิต การใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งจะช่วยอ�ำนวยความสะดวกในทางการค้า และขจัดการกีดกันทางการค้า ที่มาในรูปแบบของข้อก�ำหนดมาตรฐานต่าง ๆ ส�ำหรับทางราชอาณาจักรไทย (ประเทศไทย) หน่วยงาน สมอ. (TISI)

86


เข้าร่วมเป็นสมาชิกประเภท Full member กับ IEC เมื่อ พ.ศ. 2534 ดูรายละเอียดจาก app.tisi.go.th ซึ่งในหลาย ประเทศได้น�ำมาตรฐาน IEC ไปประยุกต์ใช้ในประเทศของตน ซึง่ อาจจะเป็นประยุกต์ใช้แบบเต็มรูปแบบหรือประยุกต์ ใช้บางส่วน แล้วแต่ความเหมาะสมของแต่ละประเทศ ส�ำหรับค�ำศัพท์ในครั้งนี้ขอน�ำเสนอค�ำว่า “International Electrotechnical Commission” [N] กัน ซึ่งมี ความหมายแยกและรวมกันดังนี้ international [ADJ] ระหว่างประเทศ, See also: สากล, นานาชาติ, เกีย่ วกับประชากรหลายประเทศ, เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ, Syn. global, worldwide international [N] องค์กรระหว่างประเทศ internationally [ADV] ระหว่างประเทศ, See also: โดยเป็นสากล, นานาชาติ, Syn. globally internationalism [N] นโยบายความร่วมมือระหว่างประเทศ, See also: นโยบายเกีย่ วกับความสัมพันธ์ อันดีระหว่างประเทศ internationalist [N] ผู้สนับสนุนหลักการร่วมมือระหว่างประเทศ internationalize [VT] ท�ำให้เป็นสากล, Syn. globalize internationalization [N] การท�ำให้เป็นสากล, Syn. globalization Electrotechnical ยังไม่มีการแปลความหมายเป็นทางการ ซึ่งอาจแปลได้ว่า เป็นเทคนิคทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (แปลโดยผู้เขียนเอง)

ร า ส า ้ ฟ ไฟ commission [N] ค่านายหน้า, See also: ค่าคอมมิชชั่น commission [N] งานที่รับผิดชอบ, Syn. duty, work, abligation commission [N] อ�ำนาจที่จะท�ำ commissioned [N] ซึ่งได้รับหน้าที่ commissionaire [N] ผู้ที่รับจ้างท�ำงานเล็ก ๆ น้อย ๆ commission 1. คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ, คณะมนตรี 2. การเข้าประจ�ำการ 3. การขึ้นระวาง [รัฐศาสตร์ 17 ส.ค. 2544] commission ค่าบ�ำเหน็จ [ประกันภัย 2 มี.ค. 2545] commission 1. ค่าป่วยการ, ค่าบ�ำเหน็จ (ก. แพ่ง) 2. คณะกรรมการ, คณะข้าหลวง (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ 11 มี.ค. 2545] commission agent ตัวแทนค้าต่าง [ดู factor] [นิติศาสตร์ 11 มี.ค. 2545] commission of inquiry คณะกรรมการสืบสวน [รัฐศาสตร์ 17 ส.ค. 2544] commission plan เทศบาลแบบคณะกรรมาธิการ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ 17 ส.ค. 2544] commission to examine witnesses คณะผู้เดินเผชิญสืบพยาน [นิติศาสตร์ 11 มี.ค. 2545] commission, advisory คณะกรรมาธิการที่ปรึกษา, คณะกรรมการที่ปรึกษา [รัฐศาสตร์ 17 ส.ค. 2544] Commission, Civil Service; คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ 17 ส.ค. 2544] Civil Service Commission commission, joint

คณะกรรมาธิการร่วม (ระหว่างประเทศ) [รัฐศาสตร์ 17 ส.ค. 2544]

กันยายน - ตุลาคม 2555

87


ทั้งนี้ ได้มีการให้ความหมายของค�ำว่า International Electrotechnical Commission คือ องค์กรความร่วม มือระหว่างประเทศ (นานาชาติ) ว่าด้วยเรื่องทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (แปลโดยผู้เขียนเอง)

Easy Easy Think Part. +++++ Don’t worry to practice and speak English.

“Just say it and repeat several times.”

The below several samples are for your practicing. “International Electrotechnical Commission” มาตรฐาน IEC เป็นมาตรฐานกลางทีจ่ ะสามารถใช้ทงั้ หมด IEC standards are neutral standards that can be ของมาตรฐานหรื อ ในบางส่ ว นของมาตรฐานตามที่ use all of standard or in some parts of the standard เหมาะสมกับแต่ละประเทศ as appropriate to each country.

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

วสท. ได้ น� ำ มาตรฐาน IEC หลายหั ว ข้ อ มาใช้ เ พื่ อ ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับการใช้งานด้านวิศวกรรมใน ประเทศไทย เช่น มาตรฐานสายไฟฟ้า มาตรฐานติดตั้ง ทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย

ประวัติผู้เขียน

88

EIT has adopted IEC standards are used to modify the destination of choice for applications in engineering, such as electrical wiring standards. Electrical installation standards for Thailand.

นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล • คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี • เลขาฯ และกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท.

เอกสารและข้อมูลอ้างอิง 1. Google แปลภาษา 2. LONGDO Dict.


Innovation News ข่าวนวัตกรรม นางสาววิไลภรณ์ ชัชวาลย์

โซลาร์เซลล์

อีกหนึ่งทางเลือกผลิตพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม

ร า ส า ้ ฟ ไฟ พลังงานไฟฟ้าทีเ่ ราใช้กนั ตามอาคารบ้านเรือนต่าง ๆ นัน้ คงปฏิเสธไม่ได้วา่ กระบวนการได้มาของพลังงานไฟฟ้า มีสว่ นต่อการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อนั เป็นสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อนให้แก่โลก ยิง่ มีการผลิตไฟฟ้ามาก เพียงใด ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซเรือนกระจกอื่น ๆ ก็ยิ่งเพิ่มปริมาณมากขึ้นเท่านั้น การผลิตไฟฟ้ายุคใหม่ จึงมีความพยายามทีจ่ ะลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกทีเ่ กิดจากการผลิตไฟฟ้าให้ได้มากทีส่ ดุ รวมถึงการหันมาใช้พลังงาน ทดแทนเพื่อการผลิตไฟฟ้ามากขึ้น อาทิ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ซึ่งเป็นพลังงานที่มีศักยภาพมาก แม้ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์จะมีราคาค่อนข้างสูง แต่ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีโซลาร์เซลล์ในปัจจุบันท�ำให้ราคาแผงโซลาร์เซลล์ถูกลงกว่าแต่ก่อน น�ำไปสู่ การตั้งโรงไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ขนาดใหญ่ในหลาย ๆ ประเทศรวมถึงประเทศไทยด้วย นอกจากนั้นยังมีการน�ำไปติดตั้ง ตามอาคาร บ้านเรือน โรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เพื่อผลิตพลังงานใช้เองด้วย...และนี่คือบางส่วนที่มีการน�ำ โซลาร์เซลล์มาใช้เพื่อผลิตพลังงาน

ศูนย์คลังอะไหล่ปอร์เช่ผลิตพลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์

Porsche Automobile Holding ผู้ผลิตรถยนต์ปอร์เช่ ประเทศเยอรมนี มีเป้าหมายส�ำคัญในการพัฒนาการใช้พลังงานและการเพิม่ ประสิทธิภาพพลังงาน ในโรงงานผลิตรถยนต์ Wolfgang Leimgruber ซึ่งเป็นโรงงานปอร์เช่ ตั้งอยู่ที่ Zuffenhausen และ Sachsenheim โดยได้ท�ำการพัฒนาประสิทธิภาพของ พลังงานมาอย่างต่อเนื่อง และได้จัดตั้งศูนย์การจัดการพลังงานและก่อสร้าง โรงงานไฟฟ้าเพือ่ ควบคุมระบบพลังงานในโรงงาน เพือ่ ให้เกิดการใช้พลังงานอย่าง มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้หลังคาของศูนย์ที่ Sachsenheim ยังได้ติดตั้งแผง โซลาร์เซลล์ที่สามารถผลิตพลังงานได้ถึง 2 ล้านกิโลวัตต์ต่อปี ส่วนศูนย์โรงงาน พ่นสีที่เมือง Zuffenhausen ยังได้ติดตั้งเทคโนโลยีเพื่อป้องกันการท�ำลาย สิง่ แวดล้อม ท�ำให้เห็นว่านอกจากปอร์เช่จะให้ความส�ำคัญในการอนุรกั ษ์พลังงาน แล้ว ยังให้ความส�ำคัญแก่สิ่งแวดล้อมด้วย และนี่ท�ำให้ปอร์เช่เป็นโรงงานผลิตรถยนต์แห่งแรกในประเทศเยอรมนีที่ ผ่านการตรวจสอบเกี่ยวกับมาตรฐานการบริหารจัดการพลังงาน หรือ Energy Management Standard ISO 50001 อันเป็นมาตรฐานที่ทั่วโลกให้การยอมรับว่าเป็นระบบการจัดการพลังงาน อย่างเป็นระบบ เพื่อให้การใช้พลังงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

89


Al Bahar Tower แผงหุม้ ผนังอาคารประหยัดพลังงาน

Al Bahar Tower เป็นอาคารแฝดส�ำนักงานใหญ่แห่งใหม่ของ Abu Dhabi Investment Council ตั้งอยู่ที่ Al Qurum Beach ประเทศ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซึง่ ประเทศเขตร้อนในตะวันออกกลางการป้องกัน แสงแดดและความร้อนที่จะเข้าสู่ตัวอาคารเป็นเรื่องส�ำคัญที่วิศวกรและ สถาปนิกผู้ออกแบบต้องค�ำนึงถึง เพราะจะส่งผลโดยตรงต่อการใช้ พลังงานเพื่อปรับอุณหภูมิในอาคาร Aedas architecture firm บริษัทสถาปนิกผู้ออกแบบอาคาร จึงแก้ปัญหานี้ด้วยการออกแบบ “แผงอาคาร” หรือเปลือกหุ้มอาคาร ให้ ส ามารถเปิ ด -ปิ ด ได้ อั ต โนมั ติ ต ามการเคลื่ อ นที่ ข องดวงอาทิ ต ย์ เพื่อลดปริมาณแสงแดดและความร้อนที่จะเข้าสู่ตัวอาคารและลดการ ใช้พลังงานในอาคาร ท�ำให้ Al Bahar Tower ได้รับการกล่าวขานว่า เป็น “Green Facade” หรือแผงหุ้มอาคารสีเขียวที่มีส่วนอย่างมากต่อ การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

Al Bahar Tower เป็นตึกแฝดความสูง 145 เมตร มี 29 ชัน้ ใช้เป็น ส�ำนักงานที่รองรับคนท�ำงานได้กว่า 2,000 คน โครงสร้างภายในจ�ำลอง รูปแบบมาจากรังผึง้ ผสานเข้ากับสถาปัตยกรรมแบบตะวันออกกลาง โดย แผงบังแดดออกแบบเป็นรูปสามเหลี่ยมท�ำมาจากไฟเบอร์กลาสประกอบ เข้าด้วยกัน และติดตัง้ ตัวแผงบังแดดให้ยนื่ ออกมาจากตัวอาคารประมาณ 2 เมตร โดยจะห่อหุ้มตัวอาคารไว้เกือบทั้งหมด เว้นทางด้านทิศใต้ของ ตัวอาคารเพื่อติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ไว้สำ� หรับผลิตพลังงาน แผงบังแดดจะถูกตัง้ โปรแกรมเอาไว้ลว่ งหน้าให้สามารถหุบหรือเปิด เองได้อตั โนมัตเิ มือ่ มีแสงจากดวงอาทิตย์พาดผ่าน เพือ่ ให้ภายในอาคารได้ รับแสงสว่างจากธรรมชาติอย่างพอเพียง โดยไม่จำ� เป็นต้องใช้แสงสว่างจาก ไฟฟ้า นอกจากนัน้ ในยามกลางคืนแผงบังแดดนีจ้ ะกางออกเพือ่ หุม้ อาคาร เอาไว้ ป้องกันไม่ให้ละอองเม็ดทรายปลิวเข้าสู่ตัวอาคาร

การก่อสร้างอาคารบ้านเรือนยุคใหม่นอกจากความสวยงามแล้ว ยังต้องค�ำนึงถึงการอนุรักษ์พลังงาน ลดการใช้ทรัพยากรให้ได้มาก ที่สุด เพื่อให้เรายังมีทรัพยากรใช้ต่อไปถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน และไม่เป็น การท�ำร้ายธรรมชาติจนเกินไปนัก

แหล่งข้อมูลอ้างอิง 1. www.porsche.co.th 2. http://inhabitat.com/abu-dhabis-stunning-al-behar-towers-are-shaded-by-a-transforming-geometric-facade/ 3. http://www.designboom.com/architecture/aedas-al-bahar-towers/

90


ปฏิทินกิจกรรม ก�ำหนดการอบรมสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) พ.ศ. 2556 อัตราค่าลงทะเบียน

ล�ำดับ

กิจกรรม

วันที่

สถานที่

1

การอบรมเรือ่ ง "มาตรฐานติดตัง้ ไฟฟ้าส�ำหรับ ประเทศไทย และออกแบบระบบไฟฟ้า"

15-16-17 ก.พ.56

วสท.

4500

2

การอบรมเรื่อง "Substation Equipment and Protective Relaying"

2-3 มี.ค.56

วสท.

2,800

3

การอบรมเรื่ อ ง "Transmission and 9-10 มี.ค.56 Distribution System"

วสท.

2,800

4

การอบรมเรื่อง "การป้องกันฟ้าผ่าส�ำหรับ สิ่งปลูกสร้าง และการป้องกันแม่เหล็กไฟฟ้า จากฟ้าผ่า"

22-23 มี.ค.56

วสท.

2,800

5

การอบรมเรื่ อ ง "มาตรฐานระบบแจ้ ง เหตุ เพลิงไหม้ และมาตรฐานไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน และป้ายทางออกฉุกเฉิน"

30 มี.ค.56

วสท.

1,700

6

การอบรมเรือ่ ง การจัดการไฟฟ้าและพลังงาน ส�ำหรับระบบ ICT ในอาคาร

14 พ.ค.56

วสท.

2,000/2,500

สมาชิก/ข้าราชการ/บุคคลทั่วไป

ร า ส า ้ ฟ ไฟ หมายเหตุ : วัน/เวลาอบรม อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม และสมัครได้ที่ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) 487 ซอยรามค�ำแหง 39 ถนนรามค�ำแหง แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2184 4600-9, 0 2319 2410-13 โทรสาร 0 2319 2710-11 Homepage : www.eit.or.th E-mail : eit@eit.or.th


Variety ปกิณกะ

ข่าวประชาสัมพันธ์ วสท.จัดอบรมเชิงวิชาชีพ เรื่อง “การใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายความร้อนอินฟราเรดอย่างมืออาชีพ”

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดอบรมเชิงวิชาชีพ เรื่อง “การใช้เทคโนโลยีภาพถ่าย ความร้อนอินฟราเรดอย่างมืออาชีพ : ระดับ 1” รุ่นที่ 8 ระหว่างวันที่ 16–17, 23–24 พฤศจิกายน 2555 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ซอยรามค�ำแหง 39 ซึง่ ผูเ้ ข้าร่วมอบรมได้เรียนรูท้ ฤษฎีของคลืน่ อินฟราเรด หลักการถ่ายภาพความร้อนเพือ่ ให้ บันทึกข้อมูลได้อย่างถูกต้อง การวิเคราะห์ภาพถ่ายความร้อน เพือ่ การประยุกต์ใช้กบั งานแต่ละประเภท นอกจากนัน้ ผูเ้ ข้าอบรม ครบตามระยะเวลาที่ก�ำหนด และผ่านการทดสอบประเมินผลตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดจะได้รับประกาศนียบัตรการฝึกอบรม ในหลักสูตรนี้ด้วย

สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. เข้าอวยพรปีใหม่ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

นายลือชัย ทองนิล ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. ร่วมกับ นายประสิทธิ์ เหมวราพรชัย (ที่ปรึกษา) และนายเตชทัต บูรณะอัศวกุล (เลขาฯ) ได้เข้าพบและอวยพรปีใหม่แด่ นายสุทศั น์ ปัทมสิรวิ ฒ ั น์ ผูว้ า่ การการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ในวารดิถี ขึ้นปีใหม่ 2556 ทั้งนี้ ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้มีดำ� ริและแจ้งเจตจ�ำนงในการสนับสนุนกิจกรรมทางวิชาการ ด้านวิศวกรรมฯ ของ วสท.

92


คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคคนที่ 12 เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแต่งตั้ง นายน�ำชัย หล่อวัฒนตระกูล รองผู้ว่าการวางแผนและพัฒนาระบบไฟฟ้า การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) ให้ดำ� รงต�ำแหน่งผูว้ า่ การ กฟภ. ตัง้ แต่วนั ที่ 8 ธันวาคม 2555 เป็นต้นไป

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเปิดศูนย์ฝึกปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูง อ�ำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม

ร า ส า ้ ฟ ไฟ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ท�ำพิธีเปิดศูนย์ฝึกปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูง ณ อ�ำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยมีนายน�ำชัย หล่อวัฒนตระกูล เป็นประธาน เพื่อเป็นสถานที่ฝึกอบรมพัฒนา ด้านเทคนิควิศวกรรมให้แก่บุคลากรของ กฟภ.และบุคคลภายนอกทั่วไป

กฟภ.เซ็นสัญญาซื้อหลอด LED ประหยัดไฟจาก L&E

นายน�ำชัย หล่อวัฒนตระกูล ผูว้ า่ การการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) ถ่ายภาพเป็นทีร่ ะลึกร่วมกับ นายปกรณ์ บริมาสพร ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไลท์ติ้ง แอนด์ อีควิปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ L&E ผู้นำ� ในธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่าย โคมไฟฟ้าและอุปกรณ์แสงสว่างรายใหญ่ของประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน ในโอกาสที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคลงนาม ในสัญญาซื้อหลอดประหยัดพลังงานแบบ LED และอุปกรณ์ประกอบ พร้อมติดตั้งภายในส�ำนักงานใหญ่ กฟภ.จ�ำนวน 5,000 หลอด จากบริษัท ไลท์ติ้ง แอนด์ อีควิปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) ณ ห้องประชุมคณะกรรมการ ส�ำนักงานใหญ่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

93


สรุปกิจกรรม ของคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ประจ�ำปี 2555 จ�ำนวนผู้เข้าร่วม กิจกรรม (คน)

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

ล�ำดับที่

กิจกรรม

การอบรม สัมมนา 1 อบรม การใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายความร้อนอินฟราเรด อย่างมืออาชีพ: ระดับ 1 รุ่นที่ 6 2 อบรม การควบคุ ม คุ ณ ภาพไฟฟ้ า และระบบสนั บ สนุ น ส� ำ หรั บ ระบบ คอมพิวเตอร์ 3 อบรม การตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟ้าอาคาร (เพื่อการบ�ำรุงรักษา และความปลอดภัย) ทฤษฎีและปฏิบัติ รุ่นที่ 27 4 อบรม ระบบการต่อลงดิน 5

อบรม Transmission and Distribution System

6

อบรม Substation Equipment and Protective Relaying

7

อบรม การวัดวิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้าและวิธีแก้ไขปัญหา (ทฤษฎีและ ปฏิบัติ) อบรม การป้องกันฟ้าผ่าส�ำหรับสิง่ ปลูกสร้างและการป้องกันแม่เหล็กไฟฟ้า จากฟ้าผ่า อบรม มาตรฐานติดตัง้ ไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทยและออกแบบระบบไฟฟ้า

8 9

10 11

94

อบรม มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และมาตรฐานไฟฟ้าแสงสว่าง ฉุกเฉินและป้ายทางออกฉุกเฉิน อบรม การเลือก การใช้งาน การทดสอบตามมาตรฐานใหม่ และการบ�ำรุง รักษาแผงสวิตช์แรงต�่ำ

วันที่

13, 14, 20, 21 มกราคม 2555 20 มกราคม 2555 4 กุมภาพันธ์ 2555 11 กุมภาพันธ์ 2555 10-11 มีนาคม 2555 17-18 มีนาคม 2555 23-24 มีนาคม 2555 23-24 มีนาคม 2555 30, 31 มีนาคม, 1 เมษายน 2555 31 มีนาคม 2555 21 เมษายน 2555

21

80 33

54

69

117 20

50

113 41 54


ล�ำดับที่

กิจกรรม

วันที่

12 13

อบรม การตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟ้าอาคาร (เพื่อการบ�ำรุงรักษา และความปลอดภัย) ทฤษฎีและปฏิบัติ รุ่นที่ 28 สัมมนา การค�ำนวณกระแสลัดวงจร ตามมาตรฐาน IEC 60909

14

อบรม การสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือวัด

15

สัมมนา การตรวจสอบระบบไฟฟ้าเพื่อความปลอดภัย

21 เมษายน 2555 25 เมษายน 2555 24 พฤษภาคม 2555 26 พฤษภาคม 2555 1-2 มิถุนายน 2555 7-8 มิถุนายน 2555 8-9 มิถุนายน 2555 30 มิถุนายน 2555 6, 7, 13, 14 กรกฎาคม 2555 7-8 กรกฎาคม 2555 19-20 กรกฎาคม 2555 21-22 กรกฎาคม 2555 27, 28, 29 กรกฎาคม 2555 16 สิงหาคม 2555 18-19 สิงหาคม 2555 25 สิงหาคม 2555

จ�ำนวนผู้เข้าร่วม กิจกรรม (คน) 29 77 25 70

ร า ส า ้ ฟ ไฟ 16 17

18

อบรม การเลื อ กใช้ การออกแบบ การติ ด ตั้ ง และการบ� ำ รุ ง รั ก ษา หม้อแปลงไฟฟ้าและแผงสวิตช์แรงต�ำ่ อบรม การเพิม่ ประสิทธิภาพและลดค่าใช้จา่ ยไฟฟ้าโดยการเพิม่ ค่าเพาเวอร์ แฟกเตอร์และการกรองกระแสฮาร์มอนิก ณ โรงแรมคันทารี เบย์ จ.ระยอง อบรม การวัดวิเคราะห์และควบคุมเสียงในอาคาร (ทฤษฎีและปฏิบัติ)

21

อบรม การตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟ้าอาคาร (เพื่อการบ�ำรุงรักษา และความปลอดภัย) ทฤษฎีและปฏิบัติ รุ่นที่ 29 อบรม การใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายความร้อนอินฟราเรด อย่างมืออาชีพ: ระดับ 1 รุ่นที่ 9 อบรม Transmission and Distribution System

22

อบรม Lightning Discharge and Surge Voltage Protections

23

อบรม Substation Equipment and Protective Relaying

24

อบรม มาตรฐานติดตัง้ ไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทยและออกแบบระบบไฟฟ้า

25

อบรม การเลือก การใช้งาน การบ�ำรุงรักษา Motor และ Starter

26

อบรม การป้องกันฟ้าผ่าส�ำหรับสิง่ ปลูกสร้างและการป้องกันแม่เหล็กไฟฟ้า จากฟ้าผ่า อบรม มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และมาตรฐานไฟฟ้าแสงสว่าง ฉุกเฉินและป้ายทางออกฉุกเฉิน

19

20

27

85

100 9

22 23 27

45 57

112 40 45 70

มกราคม - กุมภาพันธ์ 2556

95


ล�ำดับที่ 28

กิจกรรม อบรม ระบบการต่อลงดิน

วันที่

26 สิงหาคม 2555 1 กันยายน 2555 29 อบรม ความปลอดภัยในการท�ำงานกับไฟฟ้า 30 อบรม In-house training ให้กับ บมจ. โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น หลักสูตร 7, 8, 9 กันยายน มาตรฐานติดตั้งไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทยและออกแบบระบบไฟฟ้า 2555 31 อบรม Substation Equipment and Protective Relaying 6-7 ตุลาคม 2555 32 อบรม มาตรฐานติดตัง้ ไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทยและออกแบบระบบไฟฟ้า 12, 13, 14 ตุลาคม 2555 33 อบรม การตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟ้าอาคาร (เพื่อการบ�ำรุงรักษา 13 ตุลาคม 2555 และความปลอดภัย) ทฤษฎีและปฏิบัติ รุ่นที่ 30 34 อบรม การเพิม่ ประสิทธิภาพและลดค่าใช้จา่ ยไฟฟ้าโดยการเพิม่ ค่าเพาเวอร์ 8-9 พฤศจิกายน แฟกเตอร์และการกรองกระแสฮาร์มอนิก ณ โรงแรมมิราเคิล สุวรรณภูมิ 2555 แอร์พอร์ต จ.สมุทรปราการ 35 อบรม การใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายความร้อนอินฟราเรด อย่างมืออาชีพ: 16, 17, 23, 24 ระดับ 1 รุ่นที่ 8 พฤศจิกายน 2555 การศึกษาและดูงานของคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า 2 มีนาคม 2555 1 โรงงานไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) จ.ชลบุรี 14 กันยายน 2 บริษัท ไทยโซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด จ.กาญจนบุรี 2555

จ�ำนวนผู้เข้าร่วม กิจกรรม (คน) 41 83 57 77 109

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

96

40

120

16

16 13


รับจ�ำนวนจ�ำกัด PDU/CPD 6 หน่วย

การสัมมนาเรื่อง

เตรียมพร้อมรับสายไฟฟ้า ตาม มอก.ใหม่ และ มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าที่ปรับปรุงใหม่ วันพฤหัสบดีที่ 25 เมษายน 2556 เวลา 09.00-16.00 น. ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา (ห้อง GH 201-202) จัดโดย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ร่วมกับ สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย (Temca) หลักการและเหตุผล

ร า ส า ้ ฟ ไฟ เนือ่ งจากมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 มีการปรับปรุงใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การปรับปรุงเพือ่ ให้ สอดคล้องกับมาตรฐานสายไฟฟ้าใหม่ ตาม มอก.11-2553 ซึ่งอ้างตามมาตรฐาน IEC การเปลี่ยนแปลงที่สำ� คัญคือข้อก�ำหนดการใช้งาน การเดินสาย และขนาดกระแสของสายไฟฟ้า อีกทั้งเพิ่มข้อก�ำหนดการติดตั้งส�ำหรับสถานที่เฉพาะและบทอื่น ๆ ซึ่งจะมีผลกระทบกับ การออกแบบ การติดตั้ง และการตรวจสอบ เมื่อมาตรฐานฯ ดังกล่าวประกาศใช้ ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงต้องทราบรายละเอียดเพื่อให้สามารถ ปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้รว่ มกับสมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครือ่ งกลไทย จัดสัมมนา ขึน้ เพือ่ เผยแพร่มาตรฐานฯ ดังกล่าว โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ผทู้ เี่ กีย่ วข้องมีความรูแ้ ละความเข้าใจตรงกัน ซึง่ จะสามารถประยุกต์ใช้งาน ได้อย่างถูกต้อง

คณะวิทยากร

นายลือชัย ทองนิล • ผศ.ประสิ • นายกิตติพทงษ์ธิ์ พิวีทรยพัะโพธิฒน์​์ป ระสิทธิ์ • นายสุธี ปิ่นไพสิฐ • รศ.ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช • นายกิตติศักดิ์ วรรณแก้ว •

การไฟฟ้านครหลวง / ประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท., / กรรมการสภาวิศวกร อาจารย์พิเศษภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าก�ำลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร การไฟฟ้านครหลวง กรมโยธาธิการและผังเมือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

ค่าลงทะเบียน

ประเภทสมาชิก จ่ายภายในวันที่ 2 เมษายน 2556 จ่ายหลังวันที่ 2 เมษายน 2556 สมาชิก วสท./Temca/ราชการ/รัฐวิสาหกิจ/นิสิต นักศึกษา 700 บาท/คน 1,000 บาท/คน บุคคลทั่วไป 1,000 บาท/คน 1,500 บาท/คน พิเศษส�ำหรับวิศวกร วิศวกรที่ยังไม่เป็นสมาชิก วสท. สามารถสมัครและรับสิทธิลงทะเบียนในอัตราสมาชิกตามประเภททันที วสท.ขอสงวนสิทธิ์ส�ำหรับผู้ที่ชำ� ระเงินก่อนเท่านั้น หากกรณีที่นั่งเต็ม

• •

สนใจติดต่อได้ที่ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)

487 ซอยรามค�ำแหง 39 ถ.รามค�ำแหง แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 02 319 2410-3, 02 319 2708-9, 02 184 4600-9 ต่อ 520, 521, 522 โทรสาร 02 319 2710-1 Homepage : www.eit.or.th ผู้ให้การสนับสนุน


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ใบสั่งจองโฆษณา (Advertising Contract) นิตยสารไฟฟ้าสาร (Electrical Engineering Magazine) กรุณาส่งใบสั่งจองทางโทรสาร 0 2247 2363

ข้อมูลผู้ลงโฆษณา (Client Information)

วันที่.............................................. บริษัท / หน่วยงาน / องค์กร ผู้ลงโฆษณา (Name of Advertiser) :........................................................................................... ที่อยู่ (Address) :........................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... โทรศัพท์/Tel :............................................................................โทรสาร/Fax :............................................................................ ชื่อผู้ติดต่อ/Contact Person :............................................................อีเมล/E-mail :.................................................................... ฉบับที่ต้องการลงโฆษณา (Order)

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

ฉบับเดือนมีนาคม-เมษายน 56 ฉบับเดือนกันยายน–ตุลาคม 56

ฉบับเดือนพฤษภาคม–มิถุนายน 56 ฉบับเดือนพฤศจิกายน–ธันวาคม 56

อัตราค่าโฆษณา (Order) (กรุณาท�ำเครื่องหมาย

ในช่อง

ต�ำแหน่ง (Position)

ปกหน้าด้านใน (Inside Front Cover)

ปกหลัง (Back Cover) ปกหลังด้านใน (Inside Back Cover) ตรงข้ามสารบัญ (Before Editor - lift Page) ตรงข้ามบทบรรณาธิการ (Opposite Editor Page) ในเล่ม 4 สี เต็มหน้า (4 Color Page) ในเล่ม 4 สี 1/2 หน้า (4 Color 1/2 Page) ในเล่ม 4 สี 1/3 หน้าแนวตั้ง (4 Color 1/3 Page) ในเล่ม ขาว-ด�ำ เต็มหน้า (1 Color Page) ในเล่ม ขาว-ด�ำ สี 1/2 หน้า (1 Color 1/2 Page ) ในเล่ม ขาว-ด�ำ สี 1/3 หน้า (1 Color 1/3 Page ) ในเล่ม ขาว-ด�ำ สี 1/4 หน้า (1 Color 1/4 Page )

ฉบับเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 56 ฉบับเดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ 57

มีความประสงค์สั่งจองโฆษณา “นิตยสารไฟฟ้าสาร”) อัตราค่าโฆษณา (Rates)

55,000 บาท 60,000 บาท 50,000 บาท 48,000 บาท 47,000 บาท 45,000 บาท 23,000 บาท 16,500 บาท 23,000 บาท 12,000 บาท 7,700 บาท 7,000 บาท

(Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht) (Baht)

รวมเงินทั้งสิ้น (Total).......................................................บาท (......................................................................................)

ผู้สั่งจองโฆษณา (Client)......................................................... ผู้ขายโฆษณา (Advertising Sales)..........................................

ต�ำแหน่ง (Position).......................................................... วันที่ (Date)............./......................../.............

วันที่ (Date)............./......................../.............

หมายเหตุ - อัตราค่าโฆษณานี้ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม - เงื่อนไขการช�ำระเงิน 15 วัน นับจากวันวางบิล ทางบริษัทฯ จะเรียกเก็บเป็นรายฉบับ - โปรดติดต่อ คุณสุพจน์ แสงวิมล ประชาสัมพันธ์ นิตยสารไฟฟ้าสาร ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) โทรศัพท์ 0 2642 5241-3 ต่อ 110, 133 โทรสาร 0 2247 2363 E-mail : EE.mag01@gmail.com เจ้าของ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) 487 รามค�ำแหง 39 (ซอยวัดเทพลีลา) วังทองหลาง กทม. 10310 ผู้จัดท�ำ : บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด 539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม ชั้น 22A ถ.ศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400


ใบสมัครสมาชิก/ใบสั่งซื้อนิตยสาร

นิตยสารไฟฟ้าสาร (Electrical Engineering Magazine) วันที่................................... ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................................................................................... บริษัท/หน่วยงาน ............................................................................................................................................................ เลขที่......................................................อาคาร.......................................................ซอย................................................. ถนน.......................................................ต�ำบล/แขวง.......................................................................................................

ร า ส า ้ ฟ ไฟ

อ�ำเภอ/เขต..............................................จังหวัด......................................................รหัสไปรษณีย์...................................

โทรศัพท์..................................................โทรสาร....................................................E-mail:.............................................

ที่อยู่ (ส�ำหรับจัดส่งนิตยสาร กรณีที่แตกต่างจากข้างต้น).................................................................................................

....................................................................................................................................................................................... กรุณาท�ำเครื่องหมาย ในช่อง มีความประสงค์สมัครสมาชิกนิตยสาร “ไฟฟ้าสาร” มีความประสงค์สมัครเป็นสมาชิกนิตยสารไฟฟ้าสาร ในประเภท : 1. บุคคลทั่วไป ครึ่งปี 3 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 1 เล่ม ราคา 220 บาท 1 ปี 6 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 1 เล่ม ราคา 440 บาท 2. นิติบุคคล ครึ่งปี 3 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 3 เล่ม ราคา 660 บาท 1 ปี 6 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 3 เล่ม ราคา 1,320 บาท แถมฟรี หนังสือเทคโนโลยีสะอาด จ�ำนวน 3 เล่ม มูลค่า 320 บาท 3. นิติบุคคลขนาดใหญ่ ครึ่งปี 3 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 5 เล่ม ราคา 1,100 บาท 1 ปี 6 ฉบับ รับนิตยสารฉบับละ 3 เล่ม ราคา 2,200 บาท แถมฟรี หนังสือเทคโนโลยีสะอาด จ�ำนวน 3 เล่ม มูลค่า 320 บาท และเสื้อ PREclub 1 ตัว มูลค่า 550 บาท ต้องการนิตยสารตั้งแต่ฉบับที่/เดือน................................................ถึงฉบับที่/เดือน...................................................... ช�ำระเงินโดย เช็คธนาคาร...............................................สาขา...........................................เลขทีเ่ ช็ค................................................ โอนเงินเข้าบัญชีประเภทออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด” ธนาคารกสิกรไทย สาขาถนนรางน�ำ้ เลขที่บัญชี 052-2-56109-6 หมายเหตุ

• กรุณาส่งหลักฐานการโอนเงินและใบสมัครสมาชิกมาที่ โทรสาร 0 2247 2363 โดยระบุเป็นค่าสมาชิก “นิตยสารไฟฟ้าสาร” เจ้าของ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) 487 รามค�ำแหง 39 (ซอยวัดเทพลีลา) วังทองหลาง กทม. 10310 ผู้จัดท�ำ : บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จ�ำกัด 539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม ชั้น 22A ถ.ศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


ร า ส า ้ ฟ ไฟ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.