ASPIRATION by Thongchai Srisukprasert 1981-2020

Page 1

1


Director: Thavorn Ko-udomvit Manager: Lawan Meesang Assistant Director: Hassapop Tangmahamek • This catalogue has been published on the occasion of the exhibition “ASPIRATION” by Thongchai Srisukprasert • Written by Hassapop Tangmahamek • Designed and produced by Thavorn Ko-udomvit and Pinploy Promduang • All photos courtesy of the artist • Translation by Orawan Khonwittayayothin, Manita Srisitanont, Ingprapa Boonsrisirithai • Proofreading by Orawan Khonwittayayothin, Lawan Meesang, Chutima Meesang • Printed by Amarin Printing and Publishing Public Company Limited • Copyright ARDEL Gallery of Modern Art 2020 • Printed and bound in Thailand • 1,000 copies ARDEL Gallery (Headquarters): 99/45 Moo 18 Boromrachachonnanee Road (Km 10.5) Salathammasob, Taveewattana, Bangkok 10170 THAILAND Tel: 0-2422-2092 E-mail: ardelgallery@gmail.com Website: www.ardelgallery.com Facebook: ARDEL Gallery of Modern Art

2


3


ปณิธานแห่งศิลปะ จากความเข้าใจเพียงเล็กน้อย บนโลกศิลปะอันยิ่งใหญ่

ศิลปะเป็นงานสร้างสรรค์ของมนุษย์ แสดงถึงอารยะแห่งจิตตานุภาพทีอ่ ยูเ่ หนือ สัตว์เดรัจฉาน ศิลปะเป็นจินตภาพของความคิดค�ำนึงทางสุนทรียะ ที่แสดงออกผ่าน ทักษะความสามารถ บนการงานทางด้านทัศนศิลป์ ศิลปะบ่งบอกพืน้ ภูมแิ ห่งสติปญ ั ญา และสภาวะจิตใจบน “ทัศนะ” ที่เป็น “คติ” แห่งตน ศิลปะนั้นไม่มีอยู่ในจิตใจที่ “อคติ” ศิลปะจึงเป็นสิ่งเดียวที่สามารถผลักดันความดี ความงาม ให้มีความหมาย ให้มีนัยยะ ให้ปรากฏเป็นรูปธรรมที่จับต้องได้ (Tangible) ซึ่งออกมาจากความเป็นนามธรรม ภายในจิตใจที่ไม่สามารถจับต้องได้ (Intangible) โดยสิ่งที่เราเรียกว่าศิลปะนั้น ได้เริ่มต้นตั้งแต่มีมนุษย์ก�ำเนิดขึ้นบนโลก ปณิธานแห่งศิลปะ เป็นการตั้งความปรารถนาและความมุ่งมั่นที่จะท�ำตามสิ่ง ที่ตั้งใจไว้หลังจากที่ได้รู้จักกับ “ศิลปะ” อาจจะเป็นความหลงใหลในศาสตร์ศิลป์ และกระบวนแห่งศิลปะวิทยาในเบื้องต้นจากที่เติบโตมา ไม่ทันได้รฦกรู้เลยว่ามีใจ ใฝ่ ห าขึ้ น มาเมื่ อ ใด แต่ จ� ำ ความได้ ว ่ า เกิ ด อภิ ร มย์ ที่ ไ ด้ รั บ รู ้ พ บเห็ น ศิ ล ปกรรมอั น ทรงคุณค่าในรูปลักษณ์ต่าง ๆ ที่เข้ามา ต้องสัมผัสกับอายตนะ อันมี ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แล้วเกิดเป็นความคิดอารมณ์ความรูส้ กึ ทีอ่ รรถาธิบายเป็นภาษาพูดและภาษา เขียนได้ไม่ทงั้ หมด แต่สามารถเข้าใจได้ในมิตขิ องทัศนศิลป์ ศิลปะทีท่ รงพลังเป็นเหมือน ดั่งมงคลชีวิตของมนุษย์ผู้เจริญ ถึงแม้ว่าในบางโอกาสจะน�ำมาแสดงออกจากความ เก็บกดอัดอัน้ ของชีวติ หรือบางครัง้ ได้นำ� มาแสดงออกถึงความศรัทธาต่อธรรมชาติและ มนุษย์ดว้ ยกัน ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งวิถชี วี ติ สังคม สิง่ แวดล้อม ศาสนา หรือแสดงภูมปิ ญ ั ญา ด้านใดด้านหนึ่งของผู้คน บนแนวทางในการท�ำงานศิลปะตามปณิธานของตนเองที่มีอยู่ ณ ขณะนี้ คือ “ใคร่ได้” ท�ำงานศิลปะออกมาในทุกเมื่อเชื่อวัน ทุกเวลานาที ให้เต็มที่เพียงพอ เหมาะสมกับชีวิต อยากให้คนได้พบเห็นศิลปะของเราแล้วเกิดความปิติสุข เกิดความ ฝันและจินตนาการทีไ่ ม่รจู้ บ เพือ่ คลีค่ ลายก้อนทุกข์ ปุม่ ปมแห่งความอัดอัน้ จากสามัญ ภาระของชีวติ ทุกขณะจิต ทุกลมหายใจเข้า ทุกลมหายใจออกอันแสนบอบบาง ส�ำหรับ ความมุ่งหมายในเวลาที่มีเหลืออยู่เพียงน้อยนิดหลังจากลาสอนก่อนเกษียณ หากได้ ค้นพบผลงานที่เป็นชิ้นส�ำคัญของตนเอง (Masterpiece) และสามารถท�ำให้ผู้คน ตราตรึงจดจ�ำศิลปะที่ได้สร้างท�ำนั้น ยืนยาวออกไป “เพียงสักชิน้ หนึง่ ” ก็คงอิม่ เอิบใจ ทีไ่ ด้เกิดมาเป็นคนท�ำงานศิลปะแล้ว

ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ ๓.๑๑.๒๕๖๓

4


The Aspiration of Art A mere understanding of the enormous world of aesthetics

Art is human creations representing the civilized willpower that transcends the beast. Art is a visual representation of an aesthetic idea expressed through cultivated skills. Art indicates the ground of wisdom and the state of mind based on the “attitude” that is one’s “motto.” It does not exist in the mind full of “prejudice.” Art, therefore, is the only thing that can define and transform intangibility like goodness and beauty into tangible objects. The thing we call art began ever since the birth of man on earth. The aspiration of art is the desire and determination to follow what I intended to do right after getting acquainted with “art.” It was perhaps an initial fascination toward art itself and its creative process I had experienced while growing up. I did not realize when I had developed a passion for art, but I remembered that it was a pleasure to have seen such precious creations in various forms. They came in contact with my eyes, ears, nose, tongue, body, and mind before proceeding into emotions and feelings, that although were indescribable through the use of spoken or written language, it was understandable in the dimension of visual arts. Robust art is like the promising symbol of a civilized person. Occasionally, it is expressed by the repression in life. Sometimes, it expresses faith in nature and fellow human beings as well as way of life, society, environment, religion, or the wisdom of a person. My aspiration at the moment is I “desire” to make art every day and every minute. I want people to see my art and be happy with the endless fantasy and imagination. I want my art to unravel the lump of suffering and the knot of oppression from the burden in life that keep piling up every moment and every wimpy breath. For the little time remaining after my resignation, I wish to create “one masterpiece.” If I can do it while my art can impress people, I will be completed and content as an artist.

Thongchai Srisukprasert 3.11.2020

5


6


เป็นเวลากว่าทศวรรษ ธงชัย ศรีสุขประเสริฐกระโจน ลงมาในสระศิ ล ปะไทยร่ ว มสมั ย กระฉอกพะเนี ย งพลั ง กระเพื่อมไหว ไปในกระแสของการรังสรรค์ และคงยัง กระหึ่มขับขานเป็นต�ำนานชีวิต อีกหนึ่งเอตะทัตคะของ จิตรกรไทยทีส่ มบูรณ์ดว้ ยความรูป้ ระสบการณ์ ความมุง่ มัน่ มนสิการ และการบรรลุนิติภาวะของความเป็นศิลปินไทย ร่วมสมัย ที่มีจิตวิญญาณไทย ลมหายใจตะวันออก และ ความเป็ น สากลที่ ตั้ ง รากฐานอยู ่ บ นรากเหง้ า ของ อู่อารยธรรมตะวันออก เมื่อมองดูรูปแบบงานของธงชัย แสดงทักษะทัง้ ฝีมือเชิงช่างทุกสกุลตะวันออก รูจ้ ักวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ จนแตกมุตโต เป็นปัจเจกภาพ ในด้านเนื้อหา น�ำเอาพุทธปรัชญา คติกรรมของ จักรวาล ตลอดจนปกิรณัมเชิงสัญลักษณ์ มาสอดประสาน กั น อย่ า งกลมกลื น ลงตั ว งดงามทั้ ง ทางทั ศ นศิ ล ป์ ทรงคุณค่าในการน�ำเสนอชาติพันธุ์วิทยา สุนทรียภาพ อารมณ์ ความรู้สึกสะเทือนใจ นับได้ว่าเป็นคุณสมบัติวิเศษ ของจิตรกรไทยร่วมสมัย เหนือสิ่งอื่นใด ธงชัยเข้าใจสมดุล ในศักยภาพและวจนะภาพ ได้หลอมรวมความเร็ว ความ ฉับไว เด็ดขาดเฉียบพลัน มาบรรสานสอดร้อยเข้ากัน ความ เป็นระบบระเบียบแห่งจิต วางเป็นทิพย์กาละที่แสดงให้เห็น ถึงการเข้าถึงแก่นแกนของจิตวิญญาณศิลปะร่วมสมัย อีกทั้งการเป็นครูในศาสตร์และศิลป์ที่ได้ร�่ำเรียนมา ตลอดจนการประลอง ฝึกฝนเคี่ยวกร�ำมาตลอดทั้งในและ นอกประเทศจนตกผลึก งานแสดงศิลปะของธงชัยจึงเป็น ผลงานที่ทรงคุณ ค่า ให้ความหวังแก่วงการศิลปะไทย ร่ ว มสมั ย เป็ น เข็ ม ทิ ศ น� ำ วิ ถี เป็ น ธงชั ย แก่ ว งการศิ ล ปะ ศิษยานุศิษย์ และผู้เสพศิลป์ ถ้าท่านได้พบครูบาวัดพรหมมินทร์ น่าน ถ้าท่านใคร่ แจ้งประจักษ์ ครูวัดเชิงหวาย อยุธยา ถ้าท่านอยากสัมผัส วั ด โลธาระ ธิ เ บต ถ้ า ท่ า นอยากฟั ง กั ง สดาลเพรี ย ก เภรีขับขานกระหึ่มก้อง และแสงแห่งดาวในกาลจักร ธงชัย วางเวิ้งกาลเวลาให้ท่านได้เข้ามาดื่มด�่ำ สัมผัส และรู้สึก ร่วมกันในร่มแก้วแห่งศิลปไทย บัดนี้

For decades, Thongchai Srisukprasert has jumped into the pond of contemporary Thai art. The ripples of his creativity have been spreading across the art field and still showing the existence of a living legend. He is one of Thai talented artists who is full of knowledge, experience, determination, and maturity of being contemporary Thai artist. He can express Thai spirit, Eastern breath, and universality into his delicate artworks. Also, he can analyze, merge, and create every aspect of Eastern art by using his uniqueness. In his works, he gather Buddhist philosophy, nature of the universe, and symbolic myths harmoniously and artistically. These works can depict ethnology, aesthetics, emotions, and sensitive feeling that is a special quality of contemporary Thai artists. Above all, Thongchai is able to understand the balance of potential and how artworks tell a story. Speed and sharpness of works that go together with organized thoughts and calmness show the understanding of the core content of contemporary art. As a teacher, he uses his knowledge and experiences that have been learning to train himself both in the country and foreign countries. As a result, he can create valuable artworks that are the hope and compass for all art students, art appreciating people, and art society. If you want to see the beauty of old art with the sound and feelings coming from the artworks, Thongchai has already opened the door traveling through time for you to sense and absorb those feelings of Thai art.

ถวัลย์ ดัชนี ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ บ้านด�ำ นางแล

Thawan Duchanee 4th February 2006 at Baan Dam, Nang Lae

7


ความรู้สึกจากครูทั้งสองที่มีต่อศิษย์ ผู้มีปณิธานในการครองตน “ปณิธาน” คือการตั้งความปรารถนา ความมุ่งมั่น ท�ำตามสิ่งที่ได้ต้ังใจไว้ จนส�ำเร็จ ศิษย์ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ ได้ท�ำตามสิ่งที่ได้ตั้งไว้ ทั้งในช่วงร�่ำเรียนศึกษา ในด้านศิลปะจนจบการศึกษาระดับปริญญาตรีและโท เอกศิลปไทย จากคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จนคณาจารย์เห็นในความสามารถ จึงชักชวนให้สอบบรรจุเป็นอาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาศิลปไทย ได้รับราชการเป็น อาจารย์อยู่ได้ ๒๖ ปี จึงลาก่อนเกษียณออกมาเป็นศิลปินอิสระโดยใช้ชีวิตบั้นปลาย อยูท่ บี่ า้ นเกิด อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยให้รางวัลตัวเองด้วยการสร้างหอศิลป์ เทาขึ้น ขณะนี้จวนเสร็จสมบูรณ์แล้ว นับเป็นปณิธานเบื้องต้นที่ธงชัยได้สร้างขึ้น หลังจากลาออกจากราชการ อาจารย์ศรีวรรณา และอาจารย์สรุ สิทธิ์ เสาว์คง จึงขอเล่าความเป็นมาของธงชัย ให้ทุกท่านได้รับทราบพอสังเขป ช่วงธงชัยเป็นนักศึกษาในแผนกวิชาศิลปกรรม วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ (มทร. ล้านนาในปัจจุบัน) จะบอกว่าเป็นรุ่นที่พระเจ้าส่งมาเรียนพร้อมกันก็ว่าได้ เพราะรุ่นนี้มีนักศึกษาที่โดดเด่นเรียนเก่งร่วมสิบกว่าคน ในนั้นประกอบด้วย ธงชัย ศรีสขุ ประเสริฐ ธวัชชัย สมคง อลงกรณ์ หล่อวัฒนา ถนอมจิตร์ ชุม่ วงค์ ฯลฯ ที่ยกตัวอย่าง มานี้ ล้ ว นแล้ ว แต่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ กั น ทุ ก คน ในที่ นี้ ข อกล่ า วเฉพาะธงชั ย เพราะเป็นการรวมผลงานและประวัตใิ นการใช้ชวี ติ สร้างสรรค์ศลิ ปะของเขา ธงชัยเป็น คนมีบุคลิกที่คล่องแคล่ว ท�ำอะไรรวดเร็ว มีรูปร่างสันทัด พูดจาฉะฉาน ชอบเล่นกีฬา โดยเฉพาะวิ่งระยะสั้น เช่น ๑๐๐ เมตร เป็นแชมป์ของกีฬาวิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ ติดต่อกัน ๒ ปี ที่ส�ำคัญคือได้คว้ารางวัลเหรียญทองยิงปืนระดับมหาวิทยาลัยจนได้ ครอบครองเสือ้ สามารถ แสดงให้เห็นถึงความมุง่ มัน่ และสมาธิทนี่ งิ่ จึงท�ำให้ยงิ ปืนแม่น ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะก็เช่นกัน สุขุมลุ่มลึกละเอียดหนักแน่น ผลงานเรียน จึงอยู่ระดับแนวหน้าของชั้น อาจารย์ศรีวรรณา เสาว์คง ผู้บุกเบิกก่อตั้งแผนกวิชาศิลปกรรม โดยได้น�ำ หลักสูตรมาจากโรงเรียนช่างศิลป์ที่ขึ้นอยู่กับกรมศิลปากร มาปรับใช้ในการเรียนการ สอนในแผนกวิชาศิลปกรรมฯ ท�ำให้มีความเข้มข้นในการเรียนการสอนของหลักสูตร จนหัวหน้าฝ่ายวิชาการเรียกไปพบ แล้วถามว่า “หลักสูตรที่ใช้สอนในแผนกวิชา ศิลปกรรมท�ำไมมีมากมายหลายวิชา มันไม่มากไปหรือ อาจารย์ศรีวรรณา แล้วเด็ก จะเรียนไหวหรือครับ” อาจารย์ศรีวรรณาได้ตอบท่านไปทันทีว่า “ต้องเรียนไหวซิคะ เพราะสมัยดิฉันเรียนยังไหวเลย” (เพราะใช้หลักสูตรนี้เช่นกัน) อาจารย์ศรีวรรณาได้ท�ำการสอนในวิชาทฤษฎีสี วิชาจิตรกรรมสีน�้ำ และวิชา จิตรกรรมสีน�้ำมันในระดับชั้น ปวช. และ ปวส. (หัวหน้าแผนกต้องท�ำการสอนและ บริหารงานไปด้วยพร้อมกัน) ธงชัยเป็นคนที่มีผลงานเรียนดี โดยเฉพาะวิชาวาดเส้น และวิชาจิตรกรรมสีน�้ำ ผลงานจึงได้ติดบอร์ดเสมอมา บอร์ดจะติดตั้งตามผนังทางขึ้น บันไดชั้นสองของตึกเรียน บรรยากาศแบบนี้ช่วยให้เกิดแรงกระตุ้นการแข่งขันกัน ท�ำงานขึ้นในชั้นเรียน ส่วนอาจารย์สุรสิทธิ์จ�ำได้ว่า มีวิชาที่สอนถึง ๕ วิชา คือ วิชาวาดเส้น วิชา จิตรกรรมสีฝนุ่ วิชาเขียนแบบโปรเจ็คชัน่ วิชาวิจยั ศิลปะไทยโบราณ และวิชาภาพพิมพ์ (สอนร่วมกับอาจารย์ปราโมช) เมือ่ มีวชิ ามากท�ำให้ได้เจอกับนักศึกษาบ่อย ความผูกพัน จึงเกิดขึ้นกับบรรดาลูกศิษย์ในรุ่นนี้

8


ธงชัยเป็นหัวหน้าห้อง เพราะว่าอาจารย์ได้มองเห็นว่ามีความรับผิดชอบสูงและ เพื่อน ๆ ในห้องก็เกรงใจเพราะขยันเรียน รักเพื่อนและมีน�้ำใจ ธงชัยมีโอกาสได้เรียน ที่แผนกวิชาศิลปกรรมระดับ ปวช. หลังจากนั้นก็สอบเข้าเรียนต่อที่คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ เมือ่ เข้าไปเรียนทีม่ หาวิทยาลัย ธงชัยยังคอยส่งข่าวการเรียนมาให้ตลอด โดยเฉพาะส่งแบบร่างองค์ประกอบงาน จิตรกรรมมาปรึกษาถึง ๓-๔ ครั้ง ก่อนเกิดความมั่นใจในตัวเองในการสร้างสรรค์ ผลงาน ที่น่าประทับใจมากคือ เขาส่งข่าวการสอบเข้าเรียนต่อในคณะจิตรกรรมฯ โดยเปิดโอกาสให้รุ่นน้องและเพื่อน ๆ ไปนอนพักที่ห้องและติวให้จนสอบเข้าได้ทุกปี นับเป็นตัวอย่างที่ดีส�ำหรับนักศึกษาแผนกวิชาศิลปกรรมในสมัยนั้น ช่วงที่ธงชัยขึ้นเรียนในชั้นปีที่ ๒ อาจารย์ สุรสิทธิ์ ได้เสนอชื่อธงชัยให้เข้าเป็น สมาชิกของกลุ่มศิลปะไทย ๒๓ โดยมีเฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ เป็นประธานกลุม่ และได้ ร่วมแสดงผลงานร่วมกันอีกหลายครั้ง ที่ส�ำคัญคือ เฉลิมชัยได้ชักชวนให้เป็นศิลปิน อาสาเดินทางไปประเทศอังกฤษเพือ่ ร่วมเขียนภาพจิตรกรรมเรือ่ งราวของพุทธประวัติ ของพระพุทธเจ้า บนฝาผนังในอุโบสถทรงจตุรมุข ที่วัดไทยพุทธปทีป ถือว่าเป็น การสร้างประสบการณ์ที่ส�ำคัญยิ่งให้กับตัวเองที่ได้ร่วมฝากผลงานจิตรกรรมบน ฝาผนังในอุโบสถวัดพุทธปทีปที่กรุงลอนดอน เมื่อธงชัยเรียนจบระดับปริญญาตรีก็ได้ศึกษาต่อระดับปริญญาโท ภาควิชา ศิลปไทย ที่สุด ได้บรรจุเป็นอาจารย์สอนในภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรมฯ เป็น อาจารย์ที่ปรึกษา และได้ใช้เวลาว่างสร้างสรรค์ผลงานควบคู่กับการสอนมาอย่าง สม�่ำเสมอ สร้างลูกศิษย์ให้ได้เป็นศิลปินกันหลายรุ่น เมื่อธงชัย ได้ลาออกจากราชการ ก่อนวาระเกษียณ มาเป็นศิลปินอาชีพโดยได้ใช้ชีวิตอยู่ที่เชียงใหม่ อ�ำเภอสารภี และ ได้อทุ ศิ ก�ำลังใจ ก�ำลังกาย ก�ำลังปัญญา ก�ำลังทรัพย์ สร้างเสนาสนะ ซุม้ ประตู หอไตร หอบ�ำเพ็ญฯ และน�ำผลงานประติมากรรมธรรมศิลป์ตงั้ ไว้ทวี่ ดั น�ำ้ โจ้ อ�ำเภอสารภี ถือว่า เป็นวัดที่สวยงามแห่งหนึ่งในเชียงใหม่ ภารกิจอีกอย่างหนึ่งที่ธงชัยได้ท�ำหน้าที่มา ตลอด ๔-๕ ปี คือการเป็นประธานชมรมศิษย์ศิลปกรรม มทร.ล้านนา จนสามารถ จัดตัง้ กองทุนการศึกษาให้นกั ศึกษาได้มโี อกาสรับทุนการศึกษาทีเ่ รียนดีแต่ยากจนมา ติดต่อกันหลายรุ่นจนถึงปัจจุบัน จากความมีปณิธานที่แน่วแน่ของธงชัย ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม ทัง้ ผลงานจิตรกรรม ประติมากรรม และพุทธปฏิมากรรมในปางต่าง ๆ ที่ได้คิดรูปแบบ และสร้างสรรค์ที่มีเอกลักษณ์ของตัวเอง ท�ำให้เกิดความส�ำเร็จและเป็นที่ยอมรับกับ นักสะสมผลงานหลายต่อหลายคน จนสร้างชื่อเสียงแพร่กระจายไปทั่วประเทศไทย และต่างประเทศ ยุคทองของธงชัย นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ - ๒๕๓๕ ธงชัยได้สร้างสรรค์ผลงาน และเข้าร่วมประกวดในสถาบันต่าง ๆ เช่น รางวัล ยอดเยีย่ มจากการประกวดศิลปกรรม ร่วมสมัย ของธนาคารกสิกรไทย ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ รางวัลศิลปกรรมยอดเยีย่ ม “ศิลปกรรม น�ำสิ่งที่ดีสู่ชีวิต” ของบริษัทโตชิบาประเทศไทย ครั้งที่ ๒ รางวัลเหรียญทองบัวหลวง ประเภทแนวไทยประเพณีไทย นิทรรศการจิตรกรรมบัวหลวงครั้งที่ ๑๔ และรางวัล เหรียญทองแดงในการประกวด ศิลปกรรมแห่งชาติครัง้ ที่ ๓๗, ๓๙, ๔๐ ฯลฯ การได้รบั รางวัลใหญ่ ๆ ในปีเดียวกันนี้ นับว่าเป็นปีทองส�ำหรับศิลปิน น้อยคนนักที่จะมีโอกาส และโชคดีเช่นนี้ ผลงานที่ได้รับรางวัลดังกล่าวจึงตกเป็นสมบัติของสถาบันนั้นไป

9


นอกจากนี้ ผลงานทั้งจิตรกรรมและประติมากรรมในชุดต่าง ๆ ได้ไปติดตั้งถาวรที่ พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะไทยร่วมสมัย (MOCA) กรุงเทพมหานคร ถือว่าเป็นผูท้ ไี่ ด้รบั การยอมรับ อย่างยิ่งในวงการศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทย ผลงานที่ได้สร้างสรรค์เพื่อการกุศล ธงชัยได้มีโอกาสร่วมท�ำบุญไว้มากมาย เมื่อมีการประมูลผลงาน และมักจะได้รับการประมูลที่ราคาของผลงานที่สูงเป็น อันดับต้น ๆ ของการประมูล และมีผลงานที่ธงชัยได้จ�ำหน่ายในราคา ๑ ล้านบาท คือ ภาพวาดพอร์ทเทรทท่านอาจารย์ศลิ ป์ พีระศรี ซึง่ ธงชัยได้บริจาคให้เป็นทุนการศึกษา แก่คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ทงั้ หมด จึงนับได้วา่ เป็นบุคคลตัวอย่าง ในวงการศิลปินเมืองไทย สรุปปณิธานของธงชัย ศรีสุขประเสริฐ ๑. เป็นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษาศิลปะ ๒. เป็นตัวอย่างของอาจารย์ที่ปรึกษา หรือศิลปินที่มีคุณภาพ ๓. เป็นผู้น�ำที่เต็มเปี่ยมด้วยความมีเมตตาและเสียสละเพื่อผู้อื่นโดยไม่หวัง ผลตอบแทน ๔. เป็นศิลปินทีม่ คี วามซือ่ สัตย์ตอ่ ตัวเองและการสร้างสรรค์ผลงานอย่างต่อเนือ่ ง มีการพัฒนาคลี่คลายให้ผลงานก้าวหน้าอย่างมีคุณภาพ ๕. เป็นผู้ที่มีความรักและกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ มีปณิธานที่แน่วแน่และมีศิลปะ ต่อการครองชีพที่มีคุณภาพของความเป็นมนุษย์ ๖. เป็นผูท้ สี่ ร้างสรรค์ผลงานทีม่ อี งค์ประกอบครบถ้วนในความเป็นเอกภาพของ ทัศนธาตุทางศิลปะ และความคิดสร้างสรรค์ทเี่ ต็มเปีย่ มไปด้วยความคิดค�ำนึง มีสุนทรียภาพ นัยยะที่แฝงไปด้วยคุณธรรม พุทธธรรม รวมทั้งพุทธปรัชญา ที่เฉียบแหลม คมคาย ที่ลึกซึ้ง มีรูปลักษณ์ที่เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อความหมาย ได้ตรงกับความคิด อารมณ์ มีรูปแบบที่เป็นทั้งรูปธรรมและนามธรรมที่ เรียบง่ายต่อการสือ่ สาร ควบคุมในด้านเทคนิควิธกี ารทีม่ คี วามประณีตบรรจง แต่งแต้มด้วยสีสนั และน�ำ้ หนักทีเ่ รียบง่ายหนักแน่น น่าทึง่ อัศจรรย์ยงิ่

ครูทั้งสองมีความภูมิใจในศิษย์ศิลปกรรมคนนี้

ด้วยรักและผูกพันตลอดไป ศรีวรรณา เสาว์คง, ผศ. สุรสิทธิ์ เสาว์คง ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ หอศิลป์ความสงบ

10


Messages to my Student Talking about the word ‘determination’, which means the ability to continue trying to do something to succeed, Thongchai Srisukprasert is one who holds this quality. He has shown his great determination since he studied in the major of Thai Art, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts at Silpakorn University. Therefore, all teachers noticed his potential and suggested that he take a test for a teacher position in Thai Art major. Having been teaching for 26 years, he decided to retire early and become an independent artist in Saraphi District, Chiang Mai province - his hometown. He rewarded himself by building an art gallery called ‘Hall Zin Tao’, which basically has been one of his goals after retirement. Having been his teachers, we would like to present our student’s interesting story. When Thongchai studied in the Faculty of Fine Arts and Architecture at Rajamangala University of Technology Lanna, we would say that he was one of the gifted students in that year, including Tawatchai Somkong, Alongkorn Lauwatthana, Thanomchit Chumwong, etc. And they all are successful in their careers. When he was a student, Thongchai was very confident and active. He was a talented athlete who won in 100m running for 2 rounds consecutively on the university’s sports day. He also won a gold medal in a shooting competition and was given a victory jacket. Because shooting is a sport that requires determination and concentration, we think Thongchai must use these qualities to create his artworks and becomes one of the distinguished students in the class. Ajarn Sriwanna Saokong, who is a founder of the Faculty of Fine Arts and Architecture, adapted the curriculum from the School of Fine Arts under the Fine Arts Department. As a result, teaching and studying of the Faculty of Fine Arts and Architecture were so intense that the Head of Academic Department had to ask that ‘With a lot of subjects to learn in the faculty, do you think your students can handle them?’. Ajarn Sriwanna answered at once, ‘They will definitely. When I was a student, I studied in the intense curriculum too.’ Ajarn Sriwanna taught Color Theory, Watercolor Painting, and Oil Painting. She noticed that Thongchai’s artworks both drawing and watercolor painting had been showing on a board of the building. She saw that with this atmosphere, students would be more active to create their better artworks.

11


Ajarn Surasit Saokong added that he taught 5 subjects, including Drawing, Colored Powder Painting, Projection Drawing, Ancient Thai Art Research, and Printmaking (Ajarn Pramote as a co-teacher). With many subjects, students and teachers were very close. Thongchai was selected to be the head of the class because of his responsibility, diligence, and kindness. After studying Fine Arts for Vocational Certificate Program, he entered the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University. During his university student life, he always told Ajarn Surasit about his study and used to send him outlines of his artworks for suggestions 3-4 times before Thongchai could gain his confidence to create artworks by himself. What Thongchai impressed him was that he always sent the Faculty’s entrance news to his friends and juniors, and he also provided them accommodations and trained them for the entrance exam every year. This was a good example for other students. When Thongchai was studying in a second year in university, Ajarn Surasit nominated him for a member of Thai Art Group 23 with Chalermchai Kositpipat as a president. There were many times that Thongchai had opportunities to exhibit their artworks together with Chalermchai Kositpipat. Also, he was invited by Chalermchai to be a volunteer artist in England to draw mural paintings about Lord Buddha’s life in a chapel of Buddhapadipa Temple. That was one of his great experiences. After graduating, he studied for a master’s degree in Thai Art and finally became a teacher in that major at Silpakorn University. In his teaching life, he created artworks along with teaching. Moreover, he also was a good mentor who created many good artists over generations. After his retirement, he went back to Saraphi district, Chiang Mai – his hometown. He devoted his life and money to build monk’s residences, temple gates, scripture halls and brought his paintings to be shown in Nam Cho Temple, which is one of the most beautiful temples in Chiang Mai. One of his duties that he has done for 4-5 years is the alumni president of the Faculty of Fine Arts and Architecture, Rajamangala University of Technology Lanna. Because of his position, he can set up a scholarship for students who have good school records but lack financial support. There have been students for generations who are advantageous from the scholarship. With his determination, Thongchai has been creating a lot of works of art in various fields such as painting and sculpture including postures of Buddha sculptures. His artworks are nationally and internationally well-known and accepted by art collectors.

12


Thongchai’s Golden Age From 1990 to 1992, Thongchai won awards in many art competitions such as a Grand Prize, Contemporary Art Competition Promoted by Thai Farmers Bank., a Top Award Winner, 2nd Toshiba “Brings Good Things to Life” Art Competition, 1st Prize, Gold Medal, Thai Traditional Art Section, the 14th Bualuang Art Exhibition, and Bronze Medals from the 37th, 39th, 40th, etc. National Exhibition of Art. There are not many artists who can win awards in big art competitions for several years in a row. Moreover, various kinds of his work both painting and sculpture are permanently installed at the Museum of Contemporary Art, Bangkok. This can be a great honor for an artist in the contemporary Thai art field. Artworks for Charity Thongchai’s artworks are often offered at the highest prices, for example, his Silpa Bhirasri (Corrado Feroci)’s portrait was offered for one million baht. All of the money from the art auction has been given to the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts. Summary of Thongchai Srisukprasert 1. A good example of art students 2. A good advisor and artist with potential 3. A kind and devoted leader 4. An artist who is honest to himself and determined to develop his work for better quality. 5. A person who is grateful to those having done to him, and takes art and determination as a component in his life 6. A creator who gathers all fields of art and creates work carefully and artistically. Moreover, his work is beautifully created with simple colors but certainly presents Buddhist philosophy that can be perceived directly and easily. created with simple colors but certain presenting Buddhist philosophy that can perceive directly and easily. We, as Thongchai’s teachers, are really proud of him.

Always love and care Sriwanna Saokong and Asst. Prof. Surasit Saokong. 20 October 2020 at Peaceful Art Gallery

13


ธงชัยผู้มีชัย ไอ้เจง... คือชื่อเรียกจากคนคุ้นเคยสนิทสนมรักชอบ ผมรู้จักไอ้เจง หรือ อาจารย์เจงมาแต่เมื่อเขาเป็น เด็กนักศึกษาอยู่คณะจิตรกรรมฯ (จ�ำปีเรียนเขาไม่ได้) ด้วยความเก่งของเขาจึงได้รับการคัดเลือกเพื่อให้ไปช่วย งานเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธปทีป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ หนึ่งปีที่เราอยู่ด้วยกัน ผมจึงรัก ไอ้เจงเป็นที่สุดเพราะมันมีอะไรหลาย ๆ อย่างที่เหมือนผม ขยัน ตั้งใจ มุ่งมั่นไม่ย่อท้อถอยหลัง มีวิสัยทัศน์ที่ จะต้องไปสู่ความส�ำเร็จร�่ำรวยอยู่ในหัวใจเสมอ ณ วันนั้นผมมีความเชื่อว่าไอ้เด็กคนนี้จะต้องเป็นศิลปินอาชีพ ที่ยิ่งใหญ่ของประเทศอย่างแน่นอน กลับจากร่วมวาดภาพกับผม ไอ้เจงกลับมาเรียนต่อด้วยความเก่ง ความเอาจริงเอาจังให้ได้ตามฝัน ยังไม่ทนั จบการศึกษา เจงก็ได้รบั รางวัลมากมายจากการประกวดศิลปกรรมของสถาบันทีน่ า่ เชือ่ ถือระดับชาติ จบการศึกษา ผมหวังว่าเจงจะยึดอาชีพเป็นศิลปินอิสระ แต่ก็ผิดหวังเพราะอาจารย์ใหญ่ในคณะจิตรกรรมฯ อยากให้เป็นอาจารย์สอนในภาควิชาศิลปไทย เจงตัดสินใจเลือกทางเดินที่เขาคิดว่าน่าจะเรียบง่ายกว่า การเป็นศิลปินอาชีพที่จะต้องสู้กับความยากจนที่อาจยาวนานเกินทนได้ ผมเห็นด้วยกับเจง แต่แอบเสียใจ เพราะจริง ๆ แล้วเขาเป็นคนที่พร้อมมากกว่าใคร ๆ ในรุ่นเดียวกัน อาจารย์เจงผู้มากด้วยความรู้ ความสามารถ จึงเหมาะสมอย่างยิ่งกับการเป็นผู้สอน วันเวลาผ่านไป อาจารย์เจงยังนึกเสมอทีจ่ ะลาออกเพือ่ มาด�ำรงชีวติ เป็นศิลปินอิสระตามฝัน นานหลายปี กว่าสิบปี หรือ ยี่สิบ ผมจ�ำไม่ได้ เขาบอกผมว่า “อ้ายครับ ผมจะลาออกแล้วเน้อ” ผมดีใจมากที่เขาตัดสินใจ เดินทางตามฝัน แม้จะช้าแต่ก็สมบูรณ์แบบ เพราะเขาพร้อมทุกอย่างแล้ว เวลามีมาก ผลงานมีมากขึ้น ความส�ำเร็จก็มากขึ้นตาม อาจารย์เจงจึงกลายมาเป็นศิลปินอาชีพที่ประสบความส�ำเร็จสูงมากที่สุดคนหนึ่ง ที่นักสะสมรุ่นใหม่ ๆ ให้ความยกย่องชื่นชม ผมเองแอบเฝ้ามองและส่งเสริมน้องคนนี้อยู่เสมอ หวังว่าเขาจะ ก้าวไปสู่ความส�ำเร็จได้เป็นศิลปินแห่งชาติในอนาคตอย่างแน่นอน ธงชัยผู้มีชัย จึงเป็นค�ำจั่วหัวที่ผมเห็นชีวิตของอาจารย์ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ มาแต่เด็ก เห็นความทุ่มเท ความเพียร ความอดทน และการไม่ละทิ้งเป้าหมายของเขาด้วยชัยชนะต่อตนเองจึงน�ำไปสู่ชัยชนะทางโลก (ส�ำเร็จรวย) ได้อย่างง่าย ๆ หนังสือรวมผลงานทัง้ หมดทุกยุคทุกสมัยของอาจารย์ธงชัย ศรีสขุ ประเสริฐ เล่มนี้ จึงเป็นหนังสือทีแ่ สดง ให้เห็นถึงชีวิตและงานศิลปะที่ทรงคุณค่าของมนุษย์พิเศษคนหนึ่ง ที่ทุ่มเทชีวิตให้กับการสร้างสรรค์งานศิลปะ ที่ประณีตงดงาม ฝากไว้ให้เป็นสมบัติของแผ่นดิน ผมดีใจกับทุกความส�ำเร็จของไอ้เจงน้องรักคนนี้ และขอให้มงึ จงเดินทางต่อไปเพือ่ ตามความฝันอันสูงสุด ที่มึงปรารถนา พี่เชื่อแน่ว่า มันจะไม่รอดไปจากความเพียรของมึง

ด้วยความรักและชื่นชม

ศาสตรเมธี ดร.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ศิลปินแห่งชาติ

14


Thongchai the Conqueror Jeng is the name called by those who love and are close to him. I knew Jeng or Teacher Jeng when he was an art student (can’t remember his year of study). With his talent, he was selected to help me in a mural painting project at Buddhapadipa Temple in London, England. A year in London, I really loved Jeng because we have a lot in common such as diligence, determination, and vision. He always wants to be successful and prosperous like me. From the day we got to know each other, I believe that this guy will definitely be a great artist in the country. After London, Jeng continued pursuing his dream by studying for a master’s degree. During his study, he still got many awards from art competitions held by national institutions. I hoped that he would become an independent artist after graduation, but I was mistaken. A senior teacher wanted him to teach Thai Art, so he chose his path as a university teacher, which he thought was a better way to struggle with his long hardship in life. I deeply regretted but agreed with his decision. With his outstanding talent and knowledge, it was good for him to be a teacher. As time went by, Teacher Jeng had been thinking of retiring and going back to independent life. After 10 or 20 years of thinking I am not sure, he said to me, ‘Bro, I will quit.’ I was delighted that he turned to follow his dreams even though it was quite late. Nevertheless, his decision was at perfect timing because he was already prepared. The more time has spent, the more his artworks and success. Jeng has become one of the professional artists who are highly successful and admired by new art collectors. I always watch and support him with the hope that someday I can be a national artist. ‘Thongchai the Conqueror’ therefore is the name I gave him. As I have been watching every step of his life, I see his determination, perseverance, feeling of not letting his goals disappear. These can simply lead him to victory in his life. This Thongchai Srisukprasert’s art collection book, therefore, depicts his life and valuable artworks. You can see that there is a distinguished man who has been devoting his life creating these beautiful artworks to be, in the future, national treasures. I am truly happy with Jeng’s success. I hope that you can reach the goals that you have always dreamed of. With your determination and perseverance, you cannot miss your dreams. All love and admiration

Chair Professor Chalermchai Kositpipat National Artist

15


ปลูกศิลปะไว้ในใจของทุกคน ธงชัย ศรีสขุ ประเสริฐ เป็นศิลปินกลุม่ สุดท้ายทีไ่ ด้รบั เชิญไปเขียนภาพจิตรกรรม ฝาผนังวัดพุทธปทีป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ธงชัยไปเขียนภาพที่วัด ซึ่งยังเป็น นักศึกษาที่คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร การไปร่วมงานขณะที่ยังเป็นนักศึกษาอยู่ จึงเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ส�ำหรับการ เรียนรู้ประสบการณ์การท�ำงานศิลปะจากรุ่นพี่ และธงชัย ยังได้มีโอกาสดูงานศิลปะ ชิ้ น ส� ำ คั ญ ๆ ของโลกตามพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ร ะดั บ โลกในประเทศอั ง กฤษ การสั่ ง สม ประสบการณ์ทั้งสองดังที่กล่าวข้างต้นนั้น เพียงพอให้ธงชัยเป็นศิลปินได้ นอกเหนือ จากนี้ อยูท่ ตี่ วั ศิลปินเอง มีความมุง่ มัน่ อดทน ขยันหมัน่ เพียร ทุม่ เทเวลาและการสร้าง โอกาสให้ความมุ่งหวัง สมดังใจหมายมากน้อยเพียงใด ณ วันนี้ เวลาผ่านไปแล้ว ๓๐ ปี ธงชัยได้พิสูจน์ความเป็นศิลปินด้วยผลงานที่ เป็นประจักษ์ชดั ต่อสังคมจนได้รบั การชืน่ ชมและยอมรับแล้ว ลักษณะโดดเด่นในผลงาน ของธงชัย ไม่ว่างานศิลปะแบบรูปธรรม (Figurative Art) และศิลปะแบบนามธรรม (Abstract Art) ของธงชัย เปี่ยมด้วยความประณีต ละมุนละไมเสมือนดอกไม้ก�ำลัง เบ่งบาน เป็นประกาย จรรโลงสังคมให้ดสู ดใสในท่ามกลางความสับสนของวัฒนธรรม ทางวัตถุของโลก วันและเวลาของโลกศิลปะยังมีอกี ยาวไกล ธงชัยย่อมเข้าใจโลกใบนี้ ได้ดี เหลือเพียงการหล่อเลี้ยงให้ผลงานศิลปะของตนเบ่งบานตราบนานเท่านาน เป็นที่จดจ�ำอยู่ในหัวใจของคนทุกคน

ปัญญา วิจินธนสาร ศิลปินแห่งชาติ

16


Planting Art in Everyone’s Heart Thongchai Srisukprasert was in the last group of artists invited to paint murals of Buddhapadipa Temple in London, England. Still being a student at the Faculty of Painting Sculptures and Graphic Arts, Silpakorn University, Thongchai went there and made the most out of it by learning from his seniors. He also had the opportunity to see some of the world’s most important art pieces in the world-class museums in England. Building on the experiences mentioned above is enough for Thongchai to be qualified as an artist, other than that depends on his willingness, patience, diligence, and devotion to create art and opportunities to meet his goals. As of today, 30 years have passed, Thongchai has proven to be a well-deserved artist with artworks admired by many. Distinctive features in Thongchai’s work, whether it is figurative or abstract art, are elaborate and tender as a blooming flower that sparkles and brightens up society in the midst of confusion among these materialistic cultures. There are still days and times ahead in the art world and Thongchai would be the person who understands it well. He only needs to nurture his art so that it will keep blooming in people’s hearts for as long as possible.

Panya Vijinthanasarn National Artist

17


ปณิธาน ของ ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ เมื่อเริ่มได้รู้จักอาจารย์ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ หลังกลับมาจากการร่วมวาดภาพ จิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธปทีป ซึ่งขณะนั้นอาจารย์ยังศึกษาอยู่ปีที่ ๔ คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผมมีความชื่นชมและประทับใจในผลงานชุด “สภาวะจิตใน ห้วงทุกข์” ซึ่งศิลปินวาดสัตว์หิมพานต์ ก�ำลังติดอยู่ในบ่วงบาศก์ ตามเรื่องราว ในวรรณคดี รูปสัญลักษณ์ศิลปะนั้นสะท้อนสภาวะจิตของตนเองที่ก�ำลังเป็นทุกข์ จากพันธนาการภาระของชีวิต ผลงานมีลักษณะเป็นแบบศิลปะไทยร่วมสมัยที่มีสีสัน โดดเด่นอย่างมาก ซึ่งผลงานช่วงนั้นคล้ายชีวิตจริงของผม จนต้องติดตามผลงาน เรือ่ ยมา กระทัง่ งานได้คลีค่ ลายออกไปเป็นจิตรกรรมกึง่ นามธรรม สีขาว สีดำ� และการ ใช้ทองค�ำเปลวในชุด ”พลังจักรวาล” เมื่อวันเวลาผ่านไป ได้มีโอกาสพบอาจารย์อีก ครัง้ ในนิทรรศการศิลปะของลูกศิษย์ปริญญาโท ภาควิชาศิลปไทย บทบาทนอกเหนือ จากท�ำงานศิลปะ คือการท�ำหน้าทีเ่ ป็นอาจารย์ผสู้ อน ซึง่ ในนิทรรศการครัง้ นัน้ มีศษิ ย์ ของอาจารย์ธงชัยหลายคน ต่อมากลายเป็นศิลปินผูม้ ชี อื่ เสียงในปัจจุบนั อาทิ อนุพงษ์ จันทร วีระศักดิ์ สัสดี เป็นต้น ครั้งนั้นได้มีโอกาสสนทนากันถึงเรื่องโครงการสร้าง พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะ และแจ้งความจ�ำนงว่าอยากเห็นผลงานแสดงเดีย่ วของอาจารย์อกี ครัง้ หลั ง จากนั้ น ไม่ น าน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ผมได้ รั บ เกี ย รติ ใ ห้ เ ป็ น ประธาน เปิดนิทรรศการเดี่ยวของอาจารย์ธงชัย ภายใต้ชื่อนิทรรศการ มหาวิเนษกรมณ์ โดยจัดขึน้ ทีอ่ าร์เดล เธิรด์ เพลส แกลเลอรี นับเป็นครัง้ แรกทีผ่ ลงานจิตรกรรมสีนำ�้ เงินอัลตร้ามารีน ถูกน�ำมาจัดแสดง และได้รบั ความสนใจอย่างมาก ผลงานชุดนีไ้ ด้ประจักษ์ ถึงการอุทิศเวลาให้กับการสร้างงานจิตรกรรมอย่างมุ่งมั่น เป็นจุดเริ่มต้นสู่การสร้าง ผลงานชิ้นส�ำคัญอีกหลายชิ้น อาทิ ภาพพระโพธิญาณ ซึ่งเป็นผลงานจิตรกรรม สีน�้ำเงิน-อัลตร้ามารีนขนาดใหญ่ และในระหว่างการสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้ ผมได้ หารือกันว่า อยากให้อาจารย์ได้เดินทางไปบ้านเกิดท่านศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี พร้อมกับคุณสุริยา นามวงษ์ ซึ่งเป็นภัณฑารักษ์ตัวแทนของผม และได้ชวนให้ใส่เสื้อ เชิ้ตสีขาว สวมสูทลินินอิตาเลียนสีกากีอ่อน สวมรองเท้าคัทชูสีน�้ำตาล แต่ไม่ใส่ถุงเท้า จิบเอสเพรสโซ นั่งร้านคาเฟ่ริมทาง เฝ้าดูผู้คนเดินเข้าออกพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ขณะ เดียวกันก็ให้สังเกตอุปนิสัยคนฟลอเรนซ์ และพลังชีวิตที่ก่อเกิดการสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะชิ้นส�ำคัญมากมายในมหานครส�ำคัญของโลก

18


เมื่อกลับมาจากท่องโลกศิลปะแล้ว ก็ได้เห็นการบันทึกความประทับใจในนคร ฟลอเรนซ์และกรุงวาติกนั ถูกสอดแทรกเข้าไปในภาพพระโพธิญาณ ในภาพมีการวาด บุคคลส�ำคัญ และยังมีผลงานสีน�้ำเงินอัลตร้ามารีนต่อเนื่องออกมาอีกหลายชุด เรียก ได้ว่าเป็นศิลปะไทยร่วมสมัยที่มีกลิ่นอายของ ฟลอเรนเทียร์ เลยทีเดียว หลังจากนั้น ยังได้ชื่นชมผลงานประติมากรรมชิ้นส�ำคัญ จากเหตุการณ์น�้ำท่วมกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นงานชุด “โลกียธรรม” ซึ่งจัดแสดง ณ หอศิลป์ร่วมสมัยอาร์เดล ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ในขณะทีโ่ ครงการก่อสร้างอาคารพิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะไทยร่วมสมัย (MOCA BANGKOK) ก�ำลังด�ำเนินการอยู่นั้น ผมมีความคิดผุดขึ้นมาว่า ที่นิวยอร์คมีประติมากรรมเทพี เสรีภาพเป็นแลนด์มาร์ค พิพิธภัณฑ์ของเราก็น่าจะต้องมีประติมากรรมขนาดใหญ่ ทีจ่ ะสามารถเป็นสัญลักษณ์ให้คนทัว่ โลกได้จดจ�ำเมือ่ ได้มาเยีย่ มชม จึงมีโครงการร่วม กับอาจารย์ธงชัย เพื่อขยายประติมากรรม “นางนกเงือก” สัญลักษณ์แห่งรักนิรันดร์ ขนาดความสูง ๓ เมตร เป็นประติมากรรมโลหะส�ำริดรูปผูห้ ญิงเปลือยมีหวั เป็นนกเงือก นกสายพันธุข์ นาดใหญ่ของไทย ทีม่ สี ญ ั ชาตญาณในการครองคูผ่ วั เดียวเมียเดียวตลอด ชีวติ ทว่า “นกเงือกเป็นสัตว์สญ ั ชาติญาณรักเดียว ถ้านางนกมีหนุ่ ดีแบบนีก้ ค็ งล�ำบาก นิดนึง ฮาฮาฮา” และในช่วงเวลานัน้ ยังมีผลงานประติมากรรมธรรมศิลป์ ชือ่ “กามา” ร่างกายท่อนล่างเป็นสิงห์ มีหางเป็นงู มีช่วงบนจนถึงหัวเป็นคน มือซ้ายชูดอกบัว ติดตั้งหน้าอาคารพิพิธภัณฑ์ฯ อีกด้วย จากเรื่องราวดังนี้จะเห็นได้ว่า อาจารย์ธงชัยมีปณิธานมุ่งมั่นที่จะสร้างสรรค์ ผลงานอย่างเต็มก�ำลัง โดยมุง่ เน้นความส�ำเร็จของผลงานให้เป็นทีป่ ระจักษ์ตอ่ สายตา ผูช้ ม ไม่วา่ ผลงานสร้างสรรค์จะอยูใ่ นรูปแบบประติมากรรม หรือจิตรกรรม เมือ่ ผลงาน นั้นได้ถูกจัดแสดงเผยแพร่สู่สายตาสาธารณชน มักจะมีความโดดเด่น ทั้งในด้าน รูปลักษณ์อันน่าสนใจ ทักษะการสร้างสรรค์ที่น่าทึ่ง และยังได้น�ำพุทธปรัชญาอัน ลุ่มลึกมาสอดแทรกในผลงาน ดังนั้นผมจึงเชื่อว่า จะมีโอกาสได้เห็นผลงานศิลปะ มาสเตอร์พชี ของอาจารย์ธงชัยอีกหลายชิน้ ซึง่ เป็นไปตามเจตนารมณ์ทมี่ งุ่ มัน่ ดังเป็น ที่ประจักษ์จากผลงานที่ได้สร้างสรรค์ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมานี้

คุณบุญชัย เบญจรงคกุล ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA BANGKOK)

19


Thongchai Srisukprasert’s Aspiration I knew Ajarn Thongchai Srisukprasert after he had returned from volunteering for a mural painting project at Buddhapadipa Temple. At that time, he was still a 4th-year student at the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University. I admired and was impressed by his “State of Sorrow” series in which the artist painted creatures from the Himmapan forest trapped in a lasso as written in the literature. The symbolism in this contemporary Thai art reflects the state of one’s mind that is suffering from bondage and burden of life, while at the same time striking viewers with its colors. The content resonated with my life at that moment so much that I became a follower of his art. His works later branched out into semi-abstract painting where white, black, and gold leaves were used as shown in the series “The Power of the Universe”. As time went by, I had the opportunity to meet him again at an art exhibition of the graduate students at the Department of Thai Arts. I learned that besides creating art, Thongchai was also an instructor, teaching students such as Anupong Chantorn and Weerasak Sassadee whose works were exhibited in that exhibition as well, and later became famous artists. I chatted with him, telling him about my art museum project and that I would like to see his solo show once again. Not long after, I was given the honor to preside over Ajarn Thongchai’s solo exhibition Mahabhinishkramana held at ARDEL’s Third Place Gallery in 2008. It was the first time that ultramarine blue paintings were on display while the show was well-received with a lot of attention. This collection revealed a commitment and devotion to creating paintings which was a starting point of many important works such as a large ultramarine blue painting of the Bodhinyana. While creating this piece of art, I discussed with Ajarn Thongchai about a trip to Professor Silpa Bhirasri’s hometown, in which he would travel along with Mr. Suriya Namwong, my representative curator. I suggested that he wear a white shirt and light khaki linen suit, sitting in a pair of brown cut shoes without socks while sipping an espresso at an outdoor cafe, and watch people stroll in and out of museums. Simultaneously, I would like him to observe the characters of local people in Florence and the life forces that produced many important works of art in the world’s major cities.

20


Once returning from the trip in the art world, I noticed some traces of impressions in Florence and the Vatican in his paintings together with the image of Bodhinyana, other influential figures, and many series of ultramarine blue works. It could be said that they showed the world the works of contemporary Thai art with Florentine vibes. I also had a chance to see a sculpture series Logiyadhamma inspired by the great floods of Bangkok in 2011. The exhibition was on view at ARDEL Gallery of Modern Art in 2012. While the construction project of the Museum of Contemporary Art (MOCA BANGKOK) was underway, I came up with the idea to install a large sculpture in our museum as a landmark, the one that would remind visitors of the place they have visited like the Statue of Liberty in New York. Thus, I decided to collaborate with Ajarn Thongchai to enlarge “Hornbill”, a sculpture of a bird that symbolizes eternal love, measuring 3 meters in height. The bronze statue stands a naked woman with the head of a hornbill, one of the largest species of birds in Thailand and an icon of a monogamous relationship. However, I had this funny thought in my head that “if the nymph had a good figure like this, it would have been a little difficult (laughing)”. There was also a sculpture called “Kama”, an assembly of the lower body of a lion, the tail of a snake, and the upper part of a human with a lotus in his left hand, placed in front of the museum building. From the stories above, we can see that Ajarn Thongchai is determined to create art with his full potential. Whenever his works are on display, whether it is sculpture or painting, they always catch the public eyes as they are attractive in terms of appearance, creative technical skills, and profound content incorporated with Buddhist philosophy. Therefore, I believe that I will have the opportunity to see many more masterpieces from Ajarn Thongchai, who has always aspired to create quality works of art as evident in his collections throughout his career.

Boonchai Bencharongkul Founder of Museum of Contemporary Art (MOCA BANGKOK)

21


ผมรูจ้ กั กับอาจารย์ธงชัยมานาน ตัง้ แต่สมัยทีอ่ าจารย์ธงชัยยังเป็นนักศึกษาและ ผมเป็นอาจารย์ใหม่ ๆ อาจารย์ธงชัยเป็นศิลปินคนหนึ่งที่สามารถผสานสร้างผลงาน ศิลปะไทยแบบร่วมสมัยในเชิงพุทธศิลป์ได้อย่างโดดเด่นเป็นที่น่าชื่นชม แนวความคิด เกี่ยวกับหลักธรรมค�ำสอนทางพระพุทธศาสนา สอดแทรกปรัชญาหลอมรวมกับ องค์ความรูใ้ นโลกสมัยใหม่ เกิดกลายเป็นผลงานศิลปะทีท่ รงคุณค่า มีอตั ลักษณ์พเิ ศษ อันโดดเด่น มีนักสะสมจ�ำนวนมากให้ความชื่นชมและติดตามผลงานอยู่เสมอ ผลงานในแต่ละช่วงยุคของอาจารย์ธงชัย มีทั้งความแตกต่างและสอดคล้องกัน ไม่ว่าจะเป็นผลงานนามธรรมในชุดพลังความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ พลังจักรวาล มาจนถึงช่วงยุคแห่งการกลับมาสร้างงานแบบเหมือนจริงในชุดมหาวิเนษกรมณ์ โลกียธรรม และปณิธาน รูปแบบของผลงานชุดนามธรรมกับชุดงานเหมือนจริงอาจ มีการแสดงออกทางทัศนธาตุที่แตกต่างกัน หากแต่สิ่งหนึ่งที่เหมือนกัน คือความ สมบูรณ์พร้อม ประณีต ละเอียดอ่อนที่มีอยู่ในผลงานทุกชิ้น ผมได้มีโอกาสจัดแสดงนิทรรศการ มหาวิเนษกรมณ์ ให้กับอาจารย์ธงชัย ในช่วงเวลาที่เขาหวนกลับมาสู่แนวทางการสร้างสรรค์งานศิลปะรูปลักษณ์ภายหลัง จากสร้างสรรค์งานแบบนามธรรมมาอย่างต่อเนือ่ งเป็นเวลายาวนาน จากนัน้ ก็ได้เห็น พัฒนาการในผลงานประติมากรรมชุด โลกียธรรม ซึ่งจัดแสดงกับอาร์เดลเธิร์ดเพลส แกลเลอรี อีกครั้ง รูปแบบการสร้างงานจิตรกรรมที่คลี่คลายมาสู่การสร้างงาน ประติมากรรมยังคงมีโดดเด่นด้วยอัตลักษณ์เฉพาะตัว มีความงดงามทีก่ า้ วล่วงออกมา จากงานจิตรกรรม ๒ มิติ มาสู่ผลงานประติมากรรมซึ่งกินพื้นที่ในอากาศแบบ ๓ มิติ โดยยังคงแก่นแกนของเรื่องราวอันลุ่มลึกมากกว่าแค่ลวดลาย หากแต่มีความหมาย แฝงซ่อนไว้ในรูปทรงเชิงสัญลักษณ์ อาจารย์ธงชัยตัดสินใจเกษียณอายุราชการก่อนก�ำหนดเพราะต้องการใช้เวลา ในการสร้างสรรค์งานศิลปะ ตามปณิธานที่ตั้งใจจะเป็นศิลปินอิสระ และ ณ วันนี้ ผมแน่ใจว่าเป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องในแนวทางของบุคคลที่เกิดมาเพื่อเป็นศิลปิน เป็นผู้สร้างสรรค์ศิลปะที่ดีงาม และเชื่อมั่นว่าการสร้างสรรค์ของเขาจะยังคงก้าวหน้า ต่อไปในเส้นทางที่เขาตั้งปณิธานไว้อย่างแน่นอน

ด้วยมิตรภาพ

ศาสตราจารย์ถาวร โกอุดมวิทย์ ผู้อ�ำนวยการหอศิลป์ร่วมสมัยอาร์เดล

22


I have known Ajarn Thongchai since he was a first-year student while I was a newly hired teacher. Ajarn Thongchai is an artist who has created outstanding works of contemporary Thai art with a mix of Buddhist art. His works mostly deal with Buddhist doctrine and a combination of philosophy and knowledge in the modern world. They have become valuable works of art with unique identities in which have been supported by many art collectors who appreciate his effort. Ajarn Thongchai’s works in each stage of his career possess both difference and harmony, whether it is from the abstracts in the series The Power of Change in Nature to The Power of the Universe or Mahabhinishkramana where he began drawing realistic art once again, to Logiyadhamma and Aspiration respectively. The style of the abstract series and the realistic one may express diversely in terms of visual elements. Yet, one thing these works have in common is perfection, meticulousness, and sophistication. I had the opportunity to organize an exhibition Mahabhinishkramana for Ajarn Thongchai after he had spent time creating abstract works for so long. I also noticed the improvement in his sculpture skill from the series Logiyadhamma, exhibited at ARDEL’s Third Place Gallery once again. The style of 2D painting that has evolved into 3D sculpture still stands out as it takes up space while retaining the core of the story much more profound than not just patterns, but patterns with a hidden meaning in symbolic shapes. Ajarn Thongchai decided to take early retirement as he wanted to spend time creating works of art to fulfill his aspiration of becoming an independent artist. As of today, I am sure he has made the right decision for someone who was born to be an artist and a good art creator. I am convinced that he will continue to advance in the path that he has planned. With love and friendship

Professor Thavorn Ko-udomvit Director of ARDEL Gallery of Modern Art

23



ชีวิตและผลงาน

ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ 2524 - 2563

Life and Works of

Thongchai Srisukprasert 1981 - 2020


ว่าด้วยชีวิต หากกล่าวถึงวิถีชีวิตของคนเป็นศิลปิน จุดเริ่มต้นที่แท้จริงมักเกิดขึ้นตั้งแต่ ยามเยาว์ เนื่องเพราะด้วยพื้นฐานความคิดของคนท�ำงานศิลปะโดยส่วนใหญ่จะ แตกต่างจากคนทัว่ ๆ ไป ความชืน่ ชอบในการสร้างสรรค์จะผลักดันให้เกิดการขีดเขียน วาดรูปตั้งแต่เด็ก อุปนิสัยในการใช้จินตนาการจะขับเคลื่อนความคิดจนน�ำไปสู่ พฤติกรรมในการริเริ่มอะไรใหม่ ๆ ที่สนุกสนานเสมอ ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ เกิดเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๐๖ ที่ต�ำบลช้างคลาน จังหวัดเชียงใหม่ เขาเป็นบุตรคนสุดท้องในหมูพ่ นี่ อ้ งชาย ๒ หญิง ๓ ของคุณพ่อเซียซง แซ่จัง ชายต่างด้าวชาวจีนแผ่นดินใหญ่ที่เดินทางมาท�ำงานและสร้างครอบครัวที่สอง บนแผ่นดินไทย วัยเด็กของเขามีการโยกย้ายที่อยู่อาศัยหลายครั้งเนื่องจากการแยกทางกัน ชั่วคราวของพ่อและแม่ (ภายหลังได้กลับมาอยู่ร่วมกันในบั้นปลายชีวิต) เป็นเหตุให้ ต้องไปอาศัยอยู่กับญาติผู้ใหญ่ที่เป็นครูตั้งแต่ ๒ - ๓ ขวบ และการอาศัยอยู่กับญาติ ที่เป็นครู อีกทั้งบ้านครูยังอยู่ใกล้โรงเรียนมาก ๆ เป็นเหตุให้ถูกพาไปเข้าโรงเรียน อนุบาลเร็วกว่าเกณฑ์ ธงชัยเข้าศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนไชยโรจน์วิทยา ตั้งแต่ ป.๑ - ๗ เขาเหมือน เด็กมือซนทัว่ ไปทีช่ อบขีดเขียนการ์ตนู ลงในหนังสือเรียน ชอบเอามีดเอาไม้ไปบากโต๊ะ เรียนเล่น ส่วนวีแ่ ววทางศิลปะอืน่ ๆ ยังไม่ปรากฏให้เห็นมากนัก วิชาที่ได้คะแนนดีมาก คือ วิชาพละศึกษา เพราะถนัดเล่นกีฬาแทบทุกชนิด ส่วนวิชาอื่น ๆ นั้นจัดอยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่อจบการศึกษาชั้นประถม ต้องไปอาศัยอยู่กับญาติอีกฝ่ายหนึ่งที่มีอาชีพขาย ก๋วยเตี๋ยว เพื่อไปเรียนต่อชั้น ม.ศ. ๑ - ๔ ที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เนื่องจากบ้าน ของญาติคนนั้นอยู่ติดกับโรงเรียน ทักษะความสามารถด้านกีฬายังคงโดดเด่นจนได้ เป็นนักกีฬาระดับตัวแทนโรงเรียนไปแข่งขันได้แชมป์ระดับจังหวัด ไม่ว่าจะเป็น บาสเกตบอล กรีฑา กระโดดไกล วิ่งข้ามรั้ว วิ่งร้อยเมตร วิ่งเขย่งก้าวกระโดด กีฬา ทุกชนิดแข่งขันชนะได้เหรียญทองจนโรงเรียนออกโล่ประกาศเกียรติคุณนักกีฬา ยอดเยี่ยมของโรงเรียนให้ ๒ ปีซ้อน นอกเหนือจากทักษะด้านกีฬา ความสามารถด้านศิลปะเริม่ ฉายแววเมือ่ สโมสร นักเรียนให้วาดปกและการ์ตูนเพื่อตีพิมพ์ลงในวารสาร ช้างเรือนแก้ว วารสารประจ�ำ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยซึ่งมียอดตีพิมพ์หลักพันเล่ม มีการน�ำภาพวาดของเขาไป ตีพิมพ์เป็นภาพปกวารสาร อีกทั้งยังมีเพื่อนออกทุนให้วาดรูปบนแผ่นกระเบื้องแล้ว เอาไปวางขายอีกด้วย อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากทักษะด้านกีฬาอันโดดเด่นและศิลปะทีเ่ ริม่ ฉายแวว แล้ว คะแนนเรียนวิชาอื่น ๆ ของธงชัยร่วงกราวจนเกรดเฉลี่ยเหลือเพียง ๐.๓๔ เมื่อขึ้น ชั้นเรียน ม.ศ ๔ เทอม ๒ นอกจากวิชาพละศึกษาที่ได้ A แล้ว วิชาอื่น ๆ ตกหมด โดย เฉพาะวิชาคณิตศาสตร์ทที่ ำ� ได้ดี แต่ไม่ชอบวิชานีเ้ พราะครูประจ�ำวิชาดุมาก ตีเจ็บมาก จนกระทั่งฝังใจว่าครูสอนคณิตศาสตร์เป็นแบบนี้ทุกคน และพาลเกลียดการเรียน วิชานี้ไปโดยปริยาย

26


จิตรกรรมไทยประเพณี (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๔ สีฝุ่นบนกระดาษผนึกบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด Traditional Thai Painting (study work), 1981 colored powder on paper attached on canvas unknown size

มารผจญ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๕ สีฝุ่นบนกระดาษ, ไม่ทราบขนาด Temptation (study work), 1982 colored powder on paper, unknown size

เมื่อผลการเรียนปรากฏออกมาไม่ค่อยดีจนคิดว่าคงจะสอบซ่อมไม่ไหว ธงชัย จึงชักชวนเพื่อนที่มีผลการเรียนย�่ำแย่พอกันไปสอบเข้าที่วิทยาลัยเทคโนโลยีและ อาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคภาคพายัพ (ปัจจุบนั คือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา ภาคพายัพเชียงใหม่) เพื่อนที่ชักชวนกันไปเลือกเรียนสาขาการออกแบบ แต่เมื่อธงชัยเห็นว่าสาขาการออกแบบต้องเรียนวิชาคณิตศาสตร์ด้วย จึงมองหาสาขา วิชาอื่นที่ไม่ต้องเรียนคณิตศาสตร์แทน และในที่สุดก็เลือกเรียนสาขาศิลปกรรม ซึ่งไม่ ต้องเรียนวิชาคณิตศาสตร์ นี่เองเป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษาศิลปะอย่างจริงจัง ของ ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ เมื่อได้มาเรียนศิลปะที่วิทยาเขตเทคนิคภาคพายัพ แม้จะมิได้ใส่ใจต่อการเรียน มากนักเพราะความสนใจยังคงอยู่ที่การเล่นกีฬา ในฐานะนักกรีฑาระดับแชมป์ แต่ผลการเรียนก็อยู่ในระดับที่ดีเพราะทักษะฝีมือที่มีเริ่มฉายแวว เข้าเรียนเทอมแรกก็ มีคนชม อาจารย์ชม ทั้ง ๆ ที่เรียนบ้างเล่นบ้าง ไม่ได้ตั้งใจมากนัก แต่ค�ำชมและ ผลการเรียนที่ดีก็น�ำพาไปสู่การตั้งใจเรียนมากขึ้นเพราะอยากได้ค�ำชมมากขึ้นเรื่อย ๆ คะแนนเรียนและเกรดเฉลี่ยตลอด ๓ ปีอยู่ในระดับดี จนท�ำให้รู้สึกดีเพราะชอบใจที่ ค้นพบสิ่งที่ตัวเองท�ำได้ดี จนรู้สึกมีความมุ่งหมายที่จะเรียนศิลปะต่อไป คุณพ่อของธงชัยเคยปรารภไว้ว่า “อาปาเป็นคนต่างด้าว อาปาไม่มีบ้าน ไม่มี ที่ดิน อาปาจึงไม่มีมรดกใด ๆ จะมอบให้ลูก แต่อาปามีเงินใช้ สามารถส่งเสียให้เรียน อะไรก็ได้ที่ลูกอยากเรียน อาปาให้สติปัญญาได้ ขอแค่ลูกอย่าโง่” เมื่อค้นพบสิ่งที่ตนเองท�ำได้ดีและตัดสินใจที่จะเลือกเรียนต่อทางด้านศิลปะ ธงชัยจึงไปขอค�ำปรึกษาจากอาจารย์สุรสิทธิ์ เสาว์คง อาจารย์ผู้สอนประจ�ำสาขา ศิลปกรรม ขอค�ำแนะน�ำเพื่อไปเรียนต่อแบบที่อาจารย์เรียนมา แม้ว่าในตอนแรกจะ คิดง่าย ๆ เพียงว่า อยากหาทีเ่ รียนใหม่เพือ่ ไปเล่นกีฬาต่อ อีกทัง้ ยังเบือ่ สภาพแวดล้อม เดิม ๆ ที่เชียงใหม่ อยากออกไปแสวงหาประสบการณ์ใหม่ ๆ ที่อื่นบ้าง อาจารย์สรุ สิทธิแ์ นะน�ำให้มาสอบเข้าเรียนทีก่ รุงเทพฯ ทัง้ เพาะช่างและศิลปากร ผลปรากฏว่าสอบติดทั้งสองที่ และในเบื้องแรกก็คิดว่าจะเรียนที่เพาะช่างด้วย แต่เมื่อ ลงทะเบียนเรียนที่เพาะช่างเสร็จเรียบร้อยจนกลับไปถึงเชียงใหม่แล้ว พออาจารย์ สุรสิทธิ์ทราบเข้าว่าเลือกเพาะช่างแทนที่จะเป็นศิลปากร อาจารย์จงึ ดุแล้วสัง่ ให้รบี กลับ ลงไปจัดการลงทะเบียนเรียนทีศ่ ลิ ปากรทันที เมื่อแรกมาเรียนที่คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร อาจารย์สรุ สิทธิใ์ ห้ถอื จดหมายมามอบให้รนุ่ พีศ่ ลิ ปากรจากเชียงรายทีส่ ำ� เร็จ การศึกษาไปแล้วคนหนึ่ง คือ เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ อาจารย์สุรสิทธิ์เขียนจดหมาย ฝากฝังให้อาจารย์เฉลิมชัยช่วยดูแลลูกศิษย์คนนี้ และตัง้ แต่นนั้ เป็นต้นมาอาจารย์เฉลิมชัย ก็คอยดูแลสั่งสอน ให้ค�ำแนะน�ำรุ่นน้องเมืองเหนือด้วยความเมตตามาโดยตลอด อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากที่ธงชัยมาฝากฝังตัวอยู่กับอาจารย์เฉลิมชัยได้ ไม่นาน อาจารย์เฉลิมชัยก็ริเริ่มโครงการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังพระอุโบสถ วั ด พุ ท ธปที ป และเดิ น ทางจากเมื อ งไทยไปสร้ า งสรรค์ ผ ลงานเป็ น พุ ท ธบู ช าที่ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ

27


ชีวิตในรั้วศิลปากรสอนให้ธงชัยเริ่มต้นเส้นทางสู่การเป็นศิลปินมืออาชีพ ด้วย หลักสูตรการเรียนการสอนที่หนักหนาสาหัส เข้มข้น เหน็ดเหนื่อยจริงจัง นักศึกษา ต้องเรียนทุกเทคนิคทั้งจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ศิลปะไทย ทฤษฎีศิลป์ วาดเส้น องค์ประกอบศิลป์ กายวิภาคศาสตร์ และเป็นที่น่ายินดีว่าด้วยทักษะความ สามารถที่มีมาแต่เดิมของธงชัย ท�ำให้สามารถต่อยอดพัฒนาการสู่การศึกษาในโลก แห่งศิลปะที่ทวีความลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นในรั้วมหาวิทยาลัย ความตั้งใจและพากเพียรอุตสาหะท�ำให้คะแนนเรียนของเขาอยู่ในเกณฑ์ที่ น่าพอใจ ธงชัยท�ำได้ดีในทุก ๆ วิชาที่เรียน มีศักยภาพในทุกสาขาวิชา ทั้งเพ้นท์ ปัน้ พิมพ์ ไทย เพือ่ นนักศึกษารุน่ เดียวกันก็มหี ลายคนทีป่ จั จุบนั เป็นศิลปินและอาจารย์ ร่วมสถาบันกันอยู่ อาทิ ศาสตราจารย์พัดยศ พุทธเจริญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อภิชัย ภิรมย์รกั ษ์ อาจารย์สาครินทร์ เครืออ่อน อาจารย์วชั ระ ประยูรค�ำ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ วิมลมาลย์ ขันธะชวนะ ฯลฯ หลังจากเรียนจบชัน้ ปีที่ ๓ ธงชัยขอพักการศึกษาทีศ่ ลิ ปากรเพือ่ บินไปเป็นศิลปิน อาสาช่วยอาจารย์เฉลิมชัย เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังพระอุโบสถ วัดพุทธปทีป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ซึ่งอาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ อาจารย์ปัญญา วิจินธนสาร และพี่น้องศิลปินอีกส่วนหนึ่งได้เดินทางมาเขียนภาพกันตั้งแต่ ๒ ปีก่อน แล้ว การท�ำงานที่วัดพุทธปทีปเต็มไปด้วยเรื่องราวหลากหลาย มีรายละเอียดใน การท�ำงาน การด�ำเนินชีวิตที่แตกต่างมากมาย และภายหลังจากทีมงานชุดสุดท้าย เดิ น ทางไปท� ำ งานได้ ร าวหนึ่ ง ปี การเขี ย นภาพจิ ต รกรรมฝาผนั ง พระอุ โ บสถ วัดพุทธปทีป ก็ส�ำเร็จเสร็จสิ้นพอดี หลังกลับมาจากอังกฤษ ธงชัยเริ่มต้นศึกษาต่อชั้นปีที่ ๔ ที่ศิลปากร โดยเลือก วิชาเอกศิลปไทย ทั้งที่ตนเองสามารถท�ำคะแนนได้ดีทั้งจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ เนื่องเพราะค�ำแนะน�ำจากรุ่นพี่คนสนิทคืออาจารย์เฉลิมชัยที่ส่งเสริมว่า “ถ้ามึงอยากดัง มึงต้องเรียนกับอาจารย์ชลูด” (ศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ ชลูด นิม่ เสมอ)

ชาวนา (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๔ สีโปสเตอร์บนกระดาษ, ๓๕ x ๕๕ ซม. Farmer (study work), 1981 poster color on paper, 35 x 55 cm

28

ชีวิตชาวนา (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๔ สีน�้ำบนกระดาษ, ๓๘ x ๕๕ ซม. Farmer’s Life (study work), 1981 watercolor on paper, 38 x 55 cm

ต้นไม้ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๔ สีโปสเตอร์บนกระดาษ, ๓๕ x ๕๕ ซม. Tree (study work), 1981 poster color on paper, 35 x 55 cm


ปรัชญาชีวิต ๒ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๕ สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๖๐ x ๘๐ ซม. Philosophy of Life 2 (study work), 1982 oil on canvas, 60 x 80 cm

ปรัชญาชีวิต ๑ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๖ สีโปสเตอร์บนกระดาษ, ไม่ทราบขนาด Philosophy of Life 1 (study work), 1983 poster color on paper, unknown size

จากชั้นปีที่ ๔ จนกระทั่งส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี คือช่วงเวลาแห่ง การแสวงหาตัวตนทางศิลปะของธงชัย ควบคู่ไปกับการเริ่มต้นท�ำงานเป็นอาจารย์ พิเศษเมื่อขึ้นเรียนในชั้นปีที่ ๕ และน�ำไปสู่การบรรจุเป็นอาจารย์ประจ�ำเมือ่ ส�ำเร็จ การศึกษาในระดับปริญญาตรี พร้อมกับการศึกษาต่อในระดับปริญญาโท การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของธงชัยมีพัฒนาการสืบเนื่องกันมาตลอดระยะ เวลาในชี วิ ต ผลงานหลายชิ้ น ได้ รั บ รางวั ล จากการประกวดศิ ล ปกรรมบนเวที การประกวดระดับประเทศ อีกทั้งผลงานจ�ำนวนมากยังเป็นที่ต้องการของนักสะสม งานศิลปะ ตลอดจนหน่วยงานราชการและองค์กรเอกชนหลายแห่ง นอกจากนั้น ยังเคยรับต�ำแหน่งบริหาร อาทิ กรรมการสภาคณาจารย์ หัวหน้าภาควิชาศิลปไทย ควบคู่ไปกับการสอนด้วย ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ธงชัย ศรีสขุ ประเสริฐ ป่วยกะทันหันด้วยอาการเส้นเลือดในสมอง แตกและต้องเข้ารับการรักษาด้วยการผ่าตัดอย่างเร่งด่วน เขาอธิษฐานจิตขอให้อาการ ป่วยทุเลาลงโดยไม่หลงเหลืออาการผิดปกติใด ๆ ของร่างกายทั้งสิ้น ภายหลังจาก ผ่านพ้นการผ่าตัดมาได้ด้วยดี จึงเริ่มต้นสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม พระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์จักรี จ�ำนวน ๓ พระบรมรูป และสร้างพระพุทธรูปอีก ๓ องค์ รายได้ จ ากการสร้ า งรู ป ในหลวงและสร้ า งพระ เขาน� ำ ไปสร้ า งหอไตร พระโพธิญาณ หอกลอง หอระฆัง และหอศิลป์เทา ที่บ้านเกิด จังหวัดเชียงใหม่ ธงชัย ศรีสขุ ประเสริฐ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะควบคูก่ บั การเป็นอาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นเวลากว่า ๒๖ ปี ๔ เดือน ๖ วัน จากนั้นจึงขอลาออกก่อนเกษียณ เพื่อใช้เวลาใน การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะให้เต็มที่ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ธงชัยออกมาเป็นศิลปินอิสระ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะส่วนตนทั้งจิตรกรรม ประติมากรรม ปฏิมากรรม และยังคง สร้างสรรค์ผลงานศิลปะอย่างต่อเนื่องตราบจนปัจจุบัน

ปรัชญาชีวิต ๑ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๕ สีน�้ำบนกระดาษ, ๓๘ x ๕๕ ซม. Philosophy of Life 1 (study work), 1982 watercolor on paper, 38 x 55 cm

29


About Life If talking about the life of an artist, most of the time, the stories begin early during childhood. That is because the ideas of most art creators that usually surpass normality need a driving force from passion as well as a practice of building creativity, which leads to new initiatives that are always fun. Thongchai Srisukprasert was born on June 21, 1963, in Chang Khlan Subdistrict, Chiang Mai Province. He is the youngest of 2 male and 3 female siblings of Father Xia Song Saechang, an alien man from mainland China who came for a new life and created a second family on Thai land. During childhood, he had to move quite often due to his parents’ temporary separation (they reconciled and lived together in the end). Therefore, when he was about 2-3 years old, he had to live with a relative, who was a teacher, in a house near a school. By living in a good location with a teacher, he started kindergarten earlier than the fundamental education criterion. Thongchai attended elementary school at Chaiyarot Witthaya School. During grade 1-7, he was like any other naughty kids who loved drawing cartoons on textbooks and notching school desks. There was not yet any evidence of his talents in other types of art because the majority of his good grades were from Physical Education as he was good at playing almost all sports. His scores were moderate when it came to other subjects. Upon completing elementary school, he moved again to further his study in grades 8-12 at Yupparaj Wittayalai School, by living with another relative, who owned a noodle stall. His athletics skills continued to stand out so much that he represented his school to compete for a provincial championship. Whether it is basketball, athletics, long jump, hurdles, 100-meter sprint, triple jump, he won gold medals. The school later awarded him a plaque for the best athlete for two consecutive years. His artistic talent began to shine as the student club asked him to draw covers and cartoons for Chang Ruean Kaew, the Yupparaj Wittayalai School journal, having published for thousands of copies. His picture was on the journal cover while his friend also commissioned him to draw on tiles and put them for sale. However, aside from outstanding sports skills and art, Thongchai failed in other subjects, especially Mathematics, the subject he was good at but hated to learn because the teacher was very ill-tempered and aggressive. He then had this belief that every math teacher was the same, thus hated the subject by default. His GPA dropped to 0.34 points when he was in the 2nd semester of 10th grade. Physical Education was the only subject that he earned an A.

30

ปรัชญาชีวิต ๑ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๖ สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๑๘๐ x ๑๒๐ ซม. Philosophy of Life 1 (study work), 1983 oil on canvas, 180 x 120 cm

ปรัชญาชีวิต ๒ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๖ สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๘๐ ซม. (จิตรกรรมที่สูญหาย) Philosophy of Life 2 (study work), 1983 oil on canvas, 120 x 180 cm (The Lost Painting)


ทางสายกลาง ๒ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗ สีโปสเตอร์บนกระดาษ, ๕๐ x ๖๐ ซม. Moderate Practice2 (study work), 1984 poster color on paper, 50 x 60 cm

His final grades were so bad that he thought he would not be able to retake the exam. Therefore, Thongchai convinced his fellow classmates with equally bad grades to take the entrance exam to the College of Technology and Vocational Education Payap Technical Campus (now Rajamangala University of Technology Lanna (Payap), Chiang Mai). His friends chose to study design; however, he realized that he would have to study math. So, to avoid that subject, he finally decided to study fine arts. That was the beginning of an intensive art study of Thongchai Srisukprasert. Although he did not pay much attention to his studies because he still focused on sports, his grades were quite good because of his improving artistic skills. During the first semester, praises came from people around him as well as teachers despite his lack of concentration. It encouraged him to focus on the study as he wanted more and more compliments. His academic scores and GPA over 3 years were good, giving him the satisfaction of discovering what he could do well and the desire to walk on this art journey. Thongchai’s father once said that “Apa (meaning father in Chinese) is an alien. Apa had no home, no land, so Apa has no inheritance to give to my children. But, Apa has money. Apa can support anything that my children want to learn. Apa can give them wisdom, Apa don’t want them to be stupid.”

ทางสายกลาง ๑ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗ สีฝุ่นบนกระดาษ, ๕๐ x ๗๐ ซม. Moderate Practice 1 (study work), 1984 colored powder on paper, 50 x 70 cm

ปรัชญาชีวิต ๒ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗ สีโปสเตอร์บนกระดาษ, ๕๐ x ๗๐ ซม. Philosophy of Life 2 (study work), 1984 poster color on paper, 50 x 70 cm

งานออกแบบฉากละครเวที (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗ สีโปสเตอร์บนกระดาษ, ไม่ทราบขนาด Stage Design (study work), 1984 poster color on paper, unknown size

31


Once discovered what he did well and decided to pursue an art degree, Thongchai sought advice from a fine arts instructor Ajarn Surasit Saokong. The reason at first was quite simple: he wanted to find a new school to continue playing sports and was bored of the same environment in Chiang Mai that he wanted to explore elsewhere. Ajarn Surasit suggested that he took the entrance exam to enter Poh Chang and Silpakorn University. It turned out he got accepted in both academies where he decided to enroll at Poh Chang before going back to Chiang Mai. However, when Ajarn Surasit realized that he chose Poh Chang instead of Silpakorn University, he got scolded and ordered to return to Bangkok and register at Silpakorn University immediately. He arrived at the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, bringing with him a letter from Ajarn Surasit to a senior friend from Chiang Rai who had already graduated, that was Chalermchai Kositpipat. The letter was to ask Ajarn Chalermchai to take care of this student. Since then, Ajarn Chalermchai had always taken care of and advised the young lad from the north with kindness.

ปั้นรูปเหมือนครึ่งตัวผู้หญิงสูงวัย (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗ ปั้นดินลอยตัว, ไม่ทราบขนาด An Old Lady Portrait (study work), 1984 round-relief clay sculpture, unknown size

32

ปั้นรูปเหมือนครึ่งตัวชายหนุ่ม (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗ ปั้นดินลอยตัว, ไม่ทราบขนาด A Man Portrait (study work), 1984 round-relief clay sculpture, unknown size

รูปร่าง ลีลา (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ แกะสลักปูนปลาสเตอร์, ไม่ทราบขนาด Grace (study work), 1985 plaster carving, unknown size

รูปปั้นผู้หญิงครึ่งตัว (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗ ปั้นดินนูนสูง, ไม่ทราบขนาด Lady Portrait (study work), 1984 high-relief clay sculpture, unknown size


Subsequently, Ajarn Chalermchai initiated a mural painting project for the ubosot of Buddhapadipa Temple and went with his team to create Buddhist worship in London, England. Life at Silpakorn University taught Thongchai the path to becoming a professional artist. With a very serious, demanding, and intensive curriculum, students were required to study all techniques, including painting, sculpture, printmaking, Thai art, art theory, drawing, art composition, and anatomy. And it is appreciated that Thongchai’s original skills and abilities enable him to develop his education in the world of art that has become more profound while being in the university. Willingness and perseverance resulted in satisfying grades. Thongchai did well in every subject he had studied as his potential showed in painting, sculpture, printmaking, and Thai art. His classmates of the same generation who are currently artists and teachers in the same institute, such as Professor Phatyos Buddhacharoen, Assistant Professor Apichai Piromrak, Sakarin Krue-On, Watchara Prayoonkam, Assistant Professor Vimonmarn Khanthachavana, etc.

งานคอลลาจปี ๑ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗ เทคนิคปะติด, ๖๖ x ๕๑ ซม. สมบัติของศิลปิน Collage Work as 1st Year Student (study work), 1984 collage, 66 x 51 cm Collection of the artist

ภาพเหมือนครึ่งตัวผู้หญิง (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. Woman Portrait (study work), 1985 oil on canvas, 100 x 80 cm

ภาพเหมือนครึ่งตัวผู้หญิง (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีฝุ่นบนผ้าใบ, ๘๐ x ๖๐ ซม. Lady Portrait (study work), 1985 colored powder on canvas, 80 x 60 cm

33


After finishing the 3rd year, Thongchai requested a break from his studies at Silpakorn to volunteer for Ajarn Chalermchai’s mural painting project, which had already been in progress for two years by joining Ajarn Panya Vijinthanasarn and other artists at Buddhapadipa Temple in London, England. There were many stories to be told, the details at work, and the different lifestyles he experienced. After the arrival of the final team, they spent another year to complete the mural of the Ubosot at Buddhapadipa Temple. Thongchai reenrolled his fourth year after coming back from England, choosing Thai arts as his major despite the fact that he was able to score well in all disciplines. He chose Thai arts because of Ajarn Chalermchai’s advice, who said that “If you want to be famous, you have to study with Ajarn Chalood (Professor Emeritus Chalood Nimsamer).” From the 4th year until the graduation of his higher education was the time of experimenting and discovering his artistic identity. It was also the beginning of his academic career as a special lecturer at the start of the fifth year, leading to the placement of a full-time teacher upon completion of his first degree, along with a continual study for a master’s degree. Thongchai’s art creation has developed continuously throughout his life while earning several awards from national contests. Also, a large number of his works are in high demand by art collectors as well as many government sectors and private organizations. He previously held administrative positions such as a member of the teacher committee and Head of the Department of Thai Arts. In 2013, Thongchai Srisukprasert had a stroke and went into urgent surgery. He prayed that his illness should be alleviated without any abnormalities. The medical procedure went well and after that, he began creating three sculptures of His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great and three Buddha images. The proceeds from this exclusive series was used to build a scripture hall, belfry, and Hall Zin Tao in his hometown of Chiang Mai. Thongchai Srisukprasert had lectured at the Department of Thai Arts, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University for 26 years, 4 months, and 6 days while also producing memorable artworks before deciding to resign in 2018. He reasoned that he wanted to dedicate his time to art completely. He is now an independent artist whose works encompass painting, sculpture, and buddha images.

34

หุ่นนิ่ง (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗ สีน�้ำบนกระดาษ, ๖๐ x ๔๒ ซม. Still Life (study work), 1984 watercolor on paper, 60 x 42 cm

หุ่นนิ่ง (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘, สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๘๐ x ๑๐๐ ซม. Still Life (study work), 1985, oil on canvas, 80 x 100 cm


หุ่นนิ่ง (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีฝุ่นบนผ้าใบ, ๘๐ x ๖๐ ซม. Still Life (study work), 1985 colored powder on canvas, 80 x 60 cm

หุ่นนิ่ง (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีฝุ่นบนผ้าใบ, ๖๐ x ๘๐ ซม. Still Life (study work), 1985 colored powder on canvas, 60 x 80 cm

35


รูปเปลือย (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๘๐ x ๑๐๐ ซม. Nude (study work), 1985 oil on canvas, 80 x 100 cm

รูปเปลือย (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. Nude (study work), 1985 oil on canvas, 100 x 80 cm

36


สวนรมณีนาถ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗, สีฝุ่นบนผ้าใบ, ๖๐ x ๘๐ ซม. Rommaninat Park (study work), 1984 colored powder on canvas, 60 x 80 cm

วัดเฉลิมพระเกียรติ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗ สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๖๐ x ๘๐ ซม. Wat Chaloem Phra Kiat (study work), 1984 oil on canvas, 60 x 80 cm

37


ทางสายกลาง ๑ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีฝุ่นบนกระดาษ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. Moderate Practice 1 (study work), 1985 colored powder on paper, 100 x 80 cm

ทางสายกลาง ๔ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗ สีฝุ่นบนกระดาษสาผนึกบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๙๐ ซม. Moderate Practice 4 (study work), 1984 colored powder on Sa-paper attached on canvas 120 x 90 cm

38


ปรมัตถสัจจะ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีอะคริลิคบนกระดาษสาผนึกบนผ้าใบ, ๑๘๐ x ๑๒๐ ซม. ผลงานในสะสมของธนาคารกสิกรไทย The Ultimate Truth (study work), 1985 acrylic on Sa-paper attached on canvas, 180 x 120 cm Collection of Kasikorn Bank

โลกสีน�้ำเงิน (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๙ สีฝุ่นบนกระดาษสาผนึกบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๙๐ ซม. The Blue Planet (study work), 1986 colored powder on Sa-paper attached on canvas, 120 x 90 cm

39


ประตูแห่งธรรม ๕ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีฝุ่นบนกระดาษ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. The Gate of Dhamma 5 (study work), 1985 colored powder on paper, 100 x 80 cm

40


ทางสายกลาง ๓ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗ สีอะคริลิคบนกระดาษ, ๘๐ x ๑๐๐ ซม. Moderate Practice 3 (study work), 1984 acrylic on paper, 80 x 100 cm

ทางสายกลาง ๖ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗, สีอะคริลิคบนกระดาษ, ๘๐ x ๑๐๐ ซม. Moderate Practice 6 (study work), 1984 acrylic on paper, 80 x 100 cm

ประตูแห่งธรรม ๒ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีฝุ่นบนกระดาษ, ๕๐ x ๗๐ ซม. The Gate of Dhamma 2 (study work), 1985 colored powder on paper, 50 x 70 cm

41


ทางสายกลาง ๓ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีฝุ่นบนกระดาษสาผนึกบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. Moderate Practice 3 (study work), 1985 colored powder on Sa-paper attached on canvas, 100 x 80 cm

42


ทางสายกลาง ๒ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีฝุ่นบนกระดาษสาผนึกบนผ้าใบ, ๑๘๐ x ๑๒๐ ซม. Moderate Practice 2 (study work), 1985 colored powder on Sa-paper attached on canvas, 180 x 120 cm

43


ครุฑยุดนาค (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๙ สีอะคริลิคบนกระดาษสาผนึกบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Garuda and Naga (study work), 1986 acrylic on Sa-paper attached on canvas, 120 x 120 cm

44


โลกสีน�้ำเงิน (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๙ สีฝุ่นบนกระดาษสาผนึกบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. The Blue Planet (study work), 1986 colored powder on Sa-paper attached on canvas, 130 x 130 cm

45


ทางสายกลาง ๕ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๗ สีฝุ่นบนกระดาษสาผนึกบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. ผลงานในสะสมของ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ Moderate Practice 5 (study work), 1984 colored powder on Sa-paper attached on canvas, 130 x 130 cm Collection of THAIRAT NEWS

ประตูธรรม (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีฝุ่นบนกระดาษสาผนึกบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. The Gate of Dhamma (study work), 1985 colored powder on Sa-paper attached on canvas, 120 x 120 cm

46


ประตูแห่งธรรม (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๒๘ สีฝุ่นบนกระดาษสาผนึกบนผ้าใบ, ๑๘๐ x ๑๒๐ ซม. The Gate of Dhamma (study work), 1985 colored powder on Sa-paper attached on canvas, 180 x 120 cm

47


ว่าด้วยผลงาน ธงชั ย ศรี สุ ข ประเสริ ฐ เริ่ ม ต้ น เส้ น ทางบนถนนสายศิ ล ปะที่ วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคภาคพายัพ (ปัจจุบนั คือ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา) การได้เป็นลูกศิษย์ของอาจารย์สุรสิทธิ์ เสาว์คง น�ำมาสู่ค�ำแนะน�ำเรื่องการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยที่ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และที่นี่เองคือจุดเริ่มต้น แห่งการแสวงหาเพือ่ เข้าถึงคุณค่าของงานศิลปะในโลกแห่งงานศิลป์อนั ลึกซึง้ และ กว้างไกลไร้ขอบเขต การเรียนการสอนตลอด ๓ ปีแรกที่คณะจิตรกรรมฯ ได้เคี่ยวกร�ำฝึกฝน จนเกิดทักษะความเชี่ยวชาญและท�ำคะแนนได้ดีในทุกสาขาวิชา ไม่ว่าจะเป็น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ศิลปะไทย ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ได้ก่อตั้งภาควิชาศิลปไทย ขึ้นมาในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ โดยมีอาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ เป็นนักศึกษาเอกศิลปไทยรุ่นแรก และอาจารย์เฉลิมชัย ผูซ้ งึ่ อาจารย์สรุ สิทธิไ์ ด้ฝากฝังลูกศิษย์ไว้กอ็ อกแรงสนับสนุน ให้เขาเลือกเรียนวิชาเอกศิลปไทย ด้วยเหตุผลว่า “ถ้าอยากดัง ต้องเรียนกับ อาจารย์ชลูด” ในสมั ย นั้ น คณาจารย์ ที่ ค ณะจิ ต รกรรมฯ มี ด ้ ว ยกั น หลายท่ า น อาทิ ศาสตราจารย์ชลูด นิม่ เสมอ อาจารย์จลุ ทัศน์ พยาฆรานนท์ ศาสตราจารย์สรุ ศักดิ์ เจริญวงศ์ ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง ศาสตราจารย์ปริญญา ตันติสุข ฯลฯ ศาสตราจารย์ชลูดขึ้นชื่อว่าเป็นอาจารย์ผู้ใหญ่ที่ท่าทางดุ เอาจริงเอาจัง ไม่ค่อย ยิ้ม นักศึกษาส่วนใหญ่จะเกรง ๆ ท่านมาก ธงชัยเองก็เกรงอาจารย์ชลูดมาก แต่ในขณะเดียวกันก็อยากขอความรูจ้ ากท่าน อยากเรียนรู้ อยากก้าวหน้า อยากได้ รับค�ำชม เมื่อถูกต�ำหนิก็จะพยายามคิดค้นแก้ไข พยายามตีโจทย์ที่อาจารย์ชี้แนะ ให้แตก

48

ไม่มีชื่อ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๒ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ ๒๐ x ๑๕ ซม. Untitled (study work), 1989 photo transfering and gold leaf on paper 20 x 15 cm


ไม่มีชื่อ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๒ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ ๒๒ x ๑๕ ซม. Untitled 2 (study work), 1989 photo transfering and gold leaf on paper 22 x 15 cm

ไม่มีชื่อ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๒ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ ๒๒ x ๑๕ ซม. Untitled (study work), 1989 photo transfering and gold leaf on paper 22 x 15 cm

ไม่มีชื่อ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๒ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ ๒๒ x ๑๒ ซม. Untitled (study work), 1989 photo transfering and gold leaf on paper 22 x 12 cm

49


ขัดแย้ง (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๒๕ x ๓๐ ซม. Paradox (sketch - study work), 1988 pen on paper, 25 x 30 cm

50


ติดขวาก (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๑๘ x ๒๕ ซม. In the Face of Obstacles (sketch - study work), 1988 pen on paper, 18 x 25 cm

51


ในระหว่างการเรียนชั้นปีที่ ๔ - ๕ ธงชัยก�ำลังสร้างสรรค์ ผลงานชุด “สภาวะจิตในห้วงทุกข์” หรือทุกรกิรยิ า เป็นผลงานชุดศิลปนิพนธ์ เขาเลือก หยิ บ ยกเอาเรื่ อ งราวในพุ ท ธประวั ติ ต อนที่ พ ระพุ ท ธองค์ ท รงบ� ำ เพ็ ญ ทุ ก รกิ ริ ย าเพื่ อ แสวงหาหนทางหลุ ด พ้ น โดยการสร้ า งสรรค์ ภ าพ พระพุทธองค์ ซึ่งมีพระวรกายผ่ายผอม สีสันหม่นหมองเข้มขรึม รูปร่าง รูปทรงในผลงานมีความเป็นฟิกเกอเรทีฟ (Figurative) เนื่องจากความ สนใจส่วนตนที่ชื่นชอบงานศิลปะรูปลักษณ์มาก ๆ ลักษณะของเส้นสายที่ ละเอียดอ่อนมีอทิ ธิพลของงานศิลปะไทยอันอ่อนช้อยปรากฏให้เห็นชัดเจน แนวความคิดเกี่ยวกับ สภาวะจิตในห้วงทุกข์ สอดรับกับความเป็น จริงในชีวิตเมื่อเพียรพยายามที่จะศึกษาและสร้างสรรค์ศิลปะให้ดียิ่งขึ้น ตลอดเวลา แต่ก็ดูราวกับจะยังค้นหาไม่พบทางออก ส่งงานประกวดก็ไม่ เคยได้รางวัล การครุ่นคิด ลงมือท�ำ คิดและท�ำซ�้ำ ๆ ด้วยความพยายาม ของนักศึกษาศิลปะทีอ่ ยากประสบความส�ำเร็จ มีความหมายในนัยเดียวกัน กับพระพุทธองค์ที่เพียรพยายามบ�ำเพ็ญเพื่อการหลุดพ้นสู่การตรัสรู้

สภาวะจิตในห้วงทุกข์ (ภาพร่าง ๑ งานศึกษาค้นคว้า) ๒๕๓๑, สีฝุ่นบนกระดาษ, ๙๐ x ๑๐๐ ซม. State of Sorrow (sketch 1 - study work) 1988, colored powder on paper, 90 x 100 cm

52

สภาวะจิตในห้วงทุกข์ (ภาพร่าง ๓ - งานศึกษาค้นคว้า) ๒๕๓๑, สีฝุ่นบนกระดาษ, ๙๐ x ๑๐๐ ซม. State of Sorrow (sketch 3 - study work) 1988, colored powder on paper, 90 x 100 cm

สภาวะจิตในห้วงทุกข์ (ภาพร่าง ๒ - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ สีฝุ่นบนกระดาษสาผนึกบนผ้าใบ, ๙๐ x ๑๐๐ ซม. State of Sorrow (sketch 2 - study work), 1988 colored powder on Sa-paper attached on canvas, 90 x 100 cm


สภาวะจิตในห้วงทุกข์ หรือ ทุกรกิริยา เป็นผลงานที่สร้างสรรค์ขึ้น ด้วยความทุกข์ เพราะแม้จะพากเพียรท�ำงานหนักเพียงใดก็ดูเหมือนจะไม่ ส�ำเร็จ ไม่ตื่นรู้ ไม่เบิกบานเสียที ความปรารถนาที่จะรู้และเข้าใจว่าศิลปะ ที่ แ ท้ จ ริ ง คื อ อะไรก็ เ หมื อ นจะยั ง ไม่ ไ ด้ ค� ำ ตอบ แม้ จ ะท� ำ งานหนั ก ไม่ หยุดหย่อนเพียงไหนก็ไม่เข้าใจเสียที หลักธรรมทีว่ า่ ด้วยการไม่เดินบนทาง สายกลางจึงสะท้อนออกมาจากความรูส้ กึ ส่วนตัวจนสามารถเทียบเคียงได้ กับเรื่องราวเนื้อหาภายในผลงาน รู ป ร่ า งรู ป ทรงที่ ศิ ล ปิ น เลื อ กน� ำ มาใช้ ใ นผลงานชุ ด นี้ มี ทั้ ง ภาพ พระพุทธองค์ในขณะบ�ำเพ็ญทุกรกิริยาอยู่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ภาพสัตว์ หิมพานต์ ภาพพุทธต�ำนานผสมผสานกับลวดลายคดโค้งวงก้นหอย และ เส้นสายที่เกาะเกี่ยวรัดรึงเสมือนหนึ่งพันธนาการ ความบิดเบี้ยวผ่ายผอม ของร่างกายและองค์ประกอบของมวลปริมาตรซึง่ ทิม่ แทงเข้าสูต่ วั ภาพ แสดง ให้เห็นถึงความเจ็บปวดที่แฝงซ่อนอยู่ภายในจิตใต้ส�ำนึกของศิลปิน ในระหว่างที่สร้างสรรค์ผลงานชุด “สภาวะจิตในห้วงทุกข์” เขาวาด ภาพ วาดเส้น และเขียนงานในชุดนี้ไว้เป็นจ�ำนวนมาก

กินรี ๑, ๒๕๓๑, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๒๐๐ x ๑๖๐ ซม. Kinnaree 1, 1988, acrylic on canvas, 200 x 160 cm

กินรี ๓, ๒๕๓๑, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๒๐๐ x ๑๖๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Kinnaree 3, 1988, acrylic on canvas, 200 x 160 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

53


About Work Thongchai Srisukprasert established his artistic career path when he was in the College of Technology and Vocational Education Payap Technical Campus (now Rajamangala University of Technology Lanna). Being taught by Ajarn Surasit Saokong led to advice on higher education as the teacher told him to enroll for an art degree at the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University. There he commenced his quest for artistic value and profound knowledge in the boundless world of art. The first three years at the Faculty allowed him to master his skills so much that it resulted in his high marks in all subjects, whether it was painting, sculpture, printmaking, or Thai art. Professor Chalood Nimsamer founded the Department of Thai Arts in 1976, having Ajarn Chalermchai Kositpipat as his first student. As an entrusted friend of Ajarn Surasit, Ajarn Chalermchai was also the one who encouraged Thongchai to major in Thai art, telling the young man that if he wanted to be famous, he should study with Ajarn Chalood. At that time, there were many teachers at the Faculty namely Professor Chalood Nimsamer, Ajarn Chunlatat Phayakharanon, Professor Surasak Charoenwong, Professor Preecha Thaothong, Professor Parinya Tantisuk, etc. Known for his stern and serious character, Professor Chalood, a rarely smiled teacher, was quite a respected figure as most students, including Thongchai, were afraid of him. Yet, at the same time, he wanted to learn from him, to progress, and to be praised by him. Whenever the teacher gave him harsh criticism, he would try to improve and crackdown on the suggestion. During the 4th and 5th year, Thongchai was developing a series “State of Sorrow” or Self-Mortification as his art thesis. He brought up the story when Lord Buddha practiced self-mortification to find a way to nirvana by creating a picture of the Lord Buddha with a skinny body, using dull colors and figurative shapes due to personal interest in figurativism. The delicate lines showed an unmistakable influence of Thai art. The concept of State of Sorrow was consistent with the realities of his life as he always strived to better his study and art. Still, it seemed too difficult to reach the exit as he never won any awards. The process of contemplating and acting over and over again by an art student who wanted to be successful is similar to the Lord Buddha who had tried to practice liberation toward enlightenment.

54

ก้อนทุกข์ (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๒๕ x ๒๐ ซม. The Mass of Sorrow (sketch - study work), 1988 pen on paper, 25 x 20 cm


ครุฑยุดนาค, ๒๕๓๑ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๒๒๐ x ๑๗๕ ซม. Garuda and Naga, 1988 acrylic on canvas, 220 x 175 cm

ฉันกับยาย, ๒๕๓๑ วาดเส้นบนกระดาษ, ๗๐ x ๔๕ ซม. Grandma and I, 1988 drawing on paper, 70 x 45 cm

State of Sorrow or Self-Mortification was created with suffering because it was about a fruitless attempt of a lost person. The desire to know and understand true art seemed to be in question as he still could not find the right answer. Breaking the principle of the Middle Path, therefore, reveals his personal feelings that were comparable to the story and content within the works. The shapes and forms applied to this series include the image of the Lord Buddha while performing self-mortification under the Bodhi tree. There are fantastic animals from Himmapan forest, Buddhist legend combined with curves, spirals, and lines that bound together. The distortion of the body and the composition of the mass and volume that penetrate the image depicts the pain hidden within the artist’s subconscious. During the creation of the series “State of Sorrow,” he painted and drew many drawings.

55


นรสิงห์, ๒๕๓๑, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๒๐๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Norasing, 1988, acrylic on canvas, 160 x 200 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

56


ความประทับใจในศิลปะลานนา (ภาพร่าง), ๒๕๓๑ สีน�้ำบนกระดาษ, ๒๔ x ๓๐ ซม. The Impression from Lanna Art (sketch), 1988 watercolor on paper, 24 x 30 cm

นรสิงห์ (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๑๗ x ๒๕ ซม. Norasing (sketch - study work), 1988 pen on paper, 17 x 25 cm

57


ติดขวาก (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ สีน�้ำบนกระดาษ, ไม่ทราบขนาด In the Face of Obstacles (sketch - study work), 1988 watercolor on paper, unknown size

ห้วงทุกข์, ๒๕๓๑ สีอะคริลิคบนกระดาษ, ไม่ทราบขนาด Sorrow, 1988 acrylic on paper, unknown size

58


ความประทับใจในศิลปะลานนา (ภาพร่าง), ๒๕๓๑ สีน�้ำบนกระดาษ, ๓๘ x ๒๕ ซม. The Impression from Lanna Art (sketch), 1988 watercolor on paper, 38 x 25 cm

ความประทับใจในศิลปะลานนา (ภาพร่าง), ๒๕๓๑ สีน�้ำบนกระดาษ, ๓๕ x ๒๕ ซม. The Impression from Lanna Art (sketch), 1988 watercolor on paper, 35 x 25 cm

59


ความประทับใจในศิลปะลานนา (ภาพร่าง), ๒๕๓๑ สีน�้ำบนกระดาษ, ๒๕ x ๒๕ ซม. The Impression from Lanna Art (sketch), 1988 watercolor on paper, 25 x 25 cm

60

ความประทับใจในศิลปะลานนา (ภาพร่าง), ๒๕๓๑ สีน�้ำบนกระดาษ, ๒๕ x ๒๕ ซม. The Impression from Lanna Art (sketch), 1988 watercolor on paper, 25 x 25 cm


ความประทับใจในศิลปะลานนา, ๒๕๓๑, สีอะคริลิคบนไม้อัด ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) The Impression from Lanna Art, 1988, acrylic on wood, 120 x 120 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

61


บ่วง (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๒๘ x ๒๕ ซม. Lasso (sketch - study work), 1988 pen on paper, 28 x 25 cm

62

ทุกข์ (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๒๕ x ๒๕ ซม. Sorrow (sketch - study work), 1988 pen on paper, 25 x 25 cm


ครุฑยุดนาค (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๓๐ x ๒๕ ซม. Garuda and Naga (sketch - study work), 1988 pen on paper 30 x 25 cm

ติดขวาก (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๓๖ x ๒๕ ซม. In the Face of Obstacles (sketch - study work), 1988 pen on paper, 36 x 25 cm

63


สภาวะจิตในห้วงทุกข์ ๑, ๒๕๓๑ สีอะคริลิคบนกระดาษ, ๓๕ x ๒๕ ซม. ผลงานสะสมของศิลปิน State of Sorrow 1, 1988 acrylic on paper, 35 x 25 cm Collection of the artist

64

สภาวะจิตในห้วงทุกข์ ๒, ๒๕๓๑ สีอะคริลิคบนกระดาษ, ๖๐ x ๔๐ ซม. ผลงานสะสมของศิลปิน State of Sorrow 2, 1988 acrylic on paper, 60 x 40 cm Collection of the artist


ติดขวาก (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๒๕ x ๒๒ ซม. In the Face of Obstacles (sketch - study work), 1988 pen on paper, 25 x 22 cm

ติดขวาก (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๒๕ x ๒๐ ซม. In the Face of Obstacles (sketch - study work), 1988 pen on paper, 25 x 20 cm

65


ห้วงทุกข์ (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปะติดภาพถ่ายเอกสาร, ไม่ทราบขนาด Sorrow (sketch - study work), 1988 photo copying collage, unknown size

66

ไม่มีชื่อ (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๒๕ x ๒๕ ซม. Untitled (sketch - study work), 1988 pen on paper, 25 x 25 cm


สภาวะจิตในห้วงทุกข์ (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๔๐ x ๒๘ ซม. State of Sorrow (sketch - study work), 1988 pen on paper, 40 x 28 cm

สภาวะจิตในห้วงทุกข์ (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๓๘ x ๒๘ ซม. State of Sorrow (sketch - study work), 1988 pen on paper, 38 x 28 cm

สภาวะจิตในห้วงทุกข์ ๓, ๒๕๓๑ สีอะคริลิคบนกระดาษ, ๖๐ x ๔๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม State of Sorrow 3, 1988 acrylic on paper, 60 x 40 cm Collection of Khao Yai Art Museum

67


สภาวะจิตในห้วงทุกข์ (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๓๘ x ๒๘ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) State of Sorrow (sketch - study work), 1988 pen on paper, 38 x 28 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

สภาวะจิตในห้วงทุกข์, ๒๕๓๑ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๒๐๐ x ๑๖๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม State of Sorrow, 1988 acrylic on canvas, 200 x 160 cm Collection of Khao Yai Art Museum

68


69


70


ห้วงตัณหา, ๒๕๓๑, วาดเส้นบนกระดาษ, ๓๘ x ๒๘ ซม. Lust, 1988, drawing on paper, 38 x 28 cm

ทุกรกิริยา, ๒๕๓๘ วาดเส้นบนกระดาษ, ๑๐๐ x ๗๐ ซม. Severe Asceticism, 1995 drawing on paper, 100 x 70 cm

71


องคุลีมาล (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ วาดเส้นปากกาบนกระดาษ, ๑๘ x ๒๔ ซม. Angulimaal (study work), 1988 drawing on paper, 18 x 24 cm

ไม่มีชื่อ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๒ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๑๕ x ๒๒ ซม. Untitled (study work), 1989 photo transfering and gold leaf on paper, 15 x 22 cm

ทุกรกริยา (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๒ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ไม่ทราบขนาด Severe Asceticism (study work), 1989 photo transfering and gold leaf on paper, unknown size

72


ห้วงทุกข์ (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ สีฝุ่นบนกระดาษ, ๓๐ x ๓๐ ซม. Sorrow (sketch - study work), 1988 colored powder on paper, 30 x 30 cm

ห้วงทุกข์ (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ สีฝุ่นบนกระดาษ, ๔๐ x ๓๐ ซม. Sorrow (sketch - study work), 1988 colored powder on paper, 40 x 30 cm

สภาวะจิตในห้วงทุกข์ (ภาพร่าง ๒ - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ สีฝุ่นบนกระดาษสาผนึกบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๙๐ ซม. Sorrow (sketch - study work), 1988 colored powder on Sa-paper attached on canvas, 100 x 90 cm

73


สู่สัมปรายภพ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๒ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๑๕ x ๒๒ ซม. To Heaven (study work), 1989 photo transfering and gold leaf on paper, 15 x 22 cm

ไม่มีชื่อ ๒ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๒ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๑๔ x ๒๒ ซม. Untitled 2 (study work), 1989 photo transfering and gold leaf on paper, 14 x 22 cm

74


ธงชัย (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๒๔ x ๒๔ ซม. Thongchai (study work), 1988 photo transfering and gold leaf on paper, 24 x 24 cm

75


ความขัดแย้งภายใน (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๔ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๒๘ x ๓๘ ซม. Internal Paradox (study work), 1991 photo transfering and gold leaf on paper, 28 x 38 cm

ติดขวาก (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ ปากกาบนกระดาษ, ๒๒ x ๒๒ ซม. In the Face of Obstacles (sketch - study work), 1988 pen on paper, 22 x 22 cm

76


ครุฑยุดนาค (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๑ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ไม่ทราบขนาด Garuda and Naga (study work), 1988 photo transfering and gold leaf on paper, unknown size

ไม่มีชื่อ (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๒ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๒๘ x ๒๘ ซม. Untitled (study work), 1989 photo transfering and gold leaf on paper, 28 x 28 cm

77


บ่วงบาศก์, ๒๕๓๗ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๑๖๐ ซม. Lasso, 1994 acrylic on canvas, 160 x 160 cm

78


ติดขวาก, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๘๐ ซม. In the Face of Obstacles, 2006 acrylic on canvas, 120 x 180 cm

79


กินรี, ๒๕๓๘, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๐๐ ซม. Kinnaree, 1995, acrylic on canvas, 120 x 100 cm

กินรี, ๒๕๔๐, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๗๐ x ๑๒๕ ซม. Kinnaree, 1997, acrylic on canvas, 170 x 125 cm

บ่วงบาศก์, ๒๕๔๐ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๗๐ x ๑๒๕ ซม. Lasso, 1997 acrylic on canvas, 170 x 125 cm

80


81


อรหัน, ๒๕๔๖-๒๕๕๕, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๖๐ x ๖๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Orahan, 2003-2012, acrylic on canvas, 60 x 60 cm, Collection of Khao Yai Art Museum

82


กินรี, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๑๖๐ ซม. Kinnaree, 2005 acrylic on canvas, 160 x 160 cm

83


พลังความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ ภายหลังจากช่วงเวลาสร้างสรรค์ผลงานชุด “สภาวะจิตในห้วงทุกข์” จุดเปลีย่ น ส�ำคัญในเส้นทางการสร้างงานศิลปะก็เกิดขึ้นเมื่อศาสตราจารย์ชลูดเรียกไปพบ ก่อนทีจ่ ะส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ท่านอาจารย์ชลูดกล่าวว่า “ธงชัย ถ้าเธอท�ำงานแบบนีม้ าส่ง (หมายถึงผลงานชุด “สภาวะจิตในห้วงทุกข์”) แล้วถึงเวลาต้องจบการศึกษา ฉันให้จบได้นะ แต่ธงชัยอยากจะได้อะไรมากกว่านีไ้ หม” “อยากได้ครับ” “งั้นอะไรพวกนี้เลิกท�ำก่อน ค้นหาอะไรใหม่ดีกว่า ท�ำไปมันเสียเวลาและ กลายเป็นไม่เข้าใจศิลปะ ธงชัย ถ้าวันไหนทีส่ ำ� เร็จแล้ว เข้าใจศิลปะแล้ว เธอจะกลับมา ท�ำพวกนี้ก็ได้ ฉันไม่ได้ว่าอะไร” “แล้วผมจะท�ำอะไรดีครับอาจารย์” “ไปท�ำอะไรก็ได้ที่เป็นศิลปะมาให้ฉันดู โดยที่เธอต้องไม่ใช้พู่กัน ไม่ใช้สี ไม่ใช้ อะไร ๆ ที่เธอถนัด ดูงานตัวเองแล้วไปคิดมา” “ครับ” แรงกระตุน้ ของศาสตราจารย์ชลูด นิม่ เสมอ ทีอ่ ยากให้ลกู ศิษย์ได้พฒ ั นารูปแบบ การสร้างสรรค์ผลงานให้ดียิ่งขึ้น หลุดออกไปจากกรอบกฎเดิม ๆ มากขึ้น และเข้าใจ ความจริงแท้ของความเป็นศิลปะได้อย่างชัดเจนขึ้น ผลักดันให้ต้องทบทวนความคิด ทบทวนการท�ำงาน และพยายามฉีกตนเองออกไปจากรูปแบบการสร้างสรรค์เดิม ๆ ที่เคยท�ำมา อาจารย์ชลูดอธิบายไว้ว่า การท�ำงานศิลปะแบบฟิกเกอเรทีฟ (Figurative) ในช่วงวัยวุฒิ คุณวุฒิ ณ ขณะนั้นต้องใช้ทักษะฝีมือสูง ใช้เวลานานต่อการศึกษาเพื่อ การสร้างงาน ๑ ชิน้ บางครัง้ อาจจะ ๒ - ๓ เดือน กว่าจะได้ผลงานทีส่ ำ� เร็จแล้วสัก ๑ ชิน้ เป็นงานที่ต้องอาศัยการเรียนรู้อันยาวนาน ขณะเดียวกัน ถ้าหากเราได้ทดลอง ให้เข้าใจในการแสดงออกทางศิลปะ ท�ำงานชิน้ ละวันหรือสองวัน สองเดือนจะได้งาน กี่ชิ้น กี่ความคิด เมื่อได้รับการกระตุ้นความคิด ได้รับโจทย์ให้ไปท�ำอะไรก็ได้ที่แตกต่างจากเดิม มาส่ง ธงชัยกลับไปครุ่นคิดและเพ่งมองผลงานของตนเองอยู่นาน ทดลองเอางาน สเก็ตช์มาย่อ ขยาย ถ่ายเอกสาร ปิดทอง สลับตัดต่อปะติดรูปทรงจนกลายเป็นผลงาน กึ่งนามธรรม เมื่อเอาไปให้อาจารย์ชลูดดู ท่านจึงถามว่า “เธอนึกถึงอะไร” “ผมนึกถึงภาพจับ บนงานจิตรกรรมฝาผนัง มารผจญครับ” “ยังเห็นเป็นเรื่องอยู่เลย ไปนึกถึงอย่างอื่นบ้าง” “ผมนึกอะไรไม่ออก เห็นเป็นแค่กองขี้เถ้า” “น่าสนใจ” “ขี้เถ้าน่าสนใจตรงไหนครับอาจารย์” “ขี้เถ้ามันเปลี่ยนรูปมาจากรูปทรงธรรมชาติทั่วไป กลายมาเป็นขี้เถ้ากองหนึ่ง มันเปลี่ยนไปได้ยังไง ลองคิดดู”

84


พลังความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ ๒, ๒๕๓๒ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๗๕ x ๒๒๕ ซม. The Power of Change in Nature 2, 1989 acrylic and gold leaf on canvas, 175 x 225 cm

85


การเปลี่ยนรูปของสรรพสิ่งในธรรมชาติ เกิดขึ้นด้วยพลังงานที่สอดรับกันใน ธรรมชาติ ประเด็นของความคิดเหล่านี้เป็นที่มาของค�ำว่า “พลังความเปลี่ยนแปลงใน ธรรมชาติ” หรือ “พลังอ�ำนาจของจักรวาล” เมื่อการเผาไหม้ของดินน�้ำลมไฟ ก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงของธาตุ กิ่งไม้เผาไหม้กลายเป็นเถ้าธุลี ขี้เถ้ากลับคืนสู่ดินกลาย เป็นแร่ธาตุให้พชื พรรณต้นไม้เติบโต ผลิใบออกผลเป็นธัญญาหาร เป็นต้นไม้ให้รม่ เงา แนวความคิดเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงของพลังงานและธาตุต่าง ๆ เหล่านี้ น�ำมาซึ่ง การทดลองสร้างสรรค์ผลงานแบบกึ่งนามธรรมและผลงานนามธรรม ซึ่งได้รับการ พัฒนาต่อยอดมาอีกยาวนาน ค�ำกล่าวของอาจารย์ชลูดที่เน้นย�้ำว่า “ทักษะดั้งเดิมที่มีอยู่มันช่วยนะธงชัย ฉะนั้น ฉันจึงเห็นว่าถ้าใครท�ำเยอะ ๆ ใครขยัน ๆ มันก็จะได้ไปเอง” เป็นความจริงแท้ ทีค่ นขยันจะได้เปรียบกว่า ความเพียรพยายามในการทดลองสร้างสรรค์ผลงานชุดใหม่ ท�ำให้ธงชัยประสบความส�ำเร็จในเส้นทางศิลปะของเขาอย่างงดงาม ผลงานหลายชิน้ ในชุดนี้ได้รับรางวัลจากการประกวดระดับประเทศมากมายหลายเวที ผลงานชุด พลังความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ หรือ พลังอ�ำนาจของจักรวาล มีลกั ษณะเด่นจากการใช้รปู ทรงอิสระผสมผสานกับรูปทรงวงก้นหอยเพือ่ สร้างทิศทาง ความเคลื่อนไหวให้เกิดขึ้นในต�ำแหน่งต่าง ๆ ภายในภาพ สีสันของสีขาว เทา และ ทอง โดดเด่นขึ้นมาจากพื้นหลังสีด�ำ ลวดลายไทยที่เขียนประดับไว้ในองค์ประกอบ ต่าง ๆ สร้างความรูส้ กึ อ่อนช้อยละเมียดละไม ย้อนแย้งกับเส้นโค้งหมุนวน ซึง่ ท�ำให้เกิด พลังความเคลือ่ นไหว เลือ่ นไหลไปในทิศทางต่าง ๆ รูปทรงวงกลมที่ถูกน�ำมาใช้เป็น โครงสร้างหลักในผลงานจ�ำนวนมากก่อให้เกิดพลังของการหมุนวนแบบไม่มีที่ส้ินสุด สอดรับกับทฤษฎีการขยายตัวของจักรวาล (Big Bang) แรงดึงดูดของหลุมด�ำ (Black Hole) นอกจากนั้นยังเชื่อมโยงกับแก่นแกนในพระพุทธศาสนาที่ว่าด้วยเรื่องวัฏจักร แห่งสรรพสิ่งที่มีความเปลี่ยนแปลงหมุนวนไม่จบสิ้นจนกว่าจะถึงพระนิพพานด้วย นอกเหนือจากรูปทรงกลมกับวงก้นหอยแล้ว รูปทรงสามเหลี่ยมก็เป็นอีกหนึ่ง รูปทรงที่ถูกน�ำมาใช้ในผลงานชุดนี้ไม่น้อย อีกทั้งยังมีรูปทรงสี่เหลี่ยมขนาดต่าง ๆ สื่อแสดงให้เห็นถึงการเลือกใช้รูปทรงเรขาคณิต (Geomatric form) ในฐานะตัวแทน ของความคิด สติปัญญา และการไตร่ตรองอย่างละเอียดรอบคอบ (Intelligent) มา ผสมผสานกับรูปทรงธรรมชาติ (Natural form) ซึ่งเป็นตัวแทนของอารมณ์ความรู้สึก (Emotional) และรูปทรงอิสระ (Free form) ได้อย่างไร้ข้อจ�ำกัด ตั้งแต่ราวปี พ.ศ. ๒๕๓๑ - ๒๕๔๕ ธงชัยสร้างสรรค์ผลงานชุด “พลังความ เปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ” พัฒนามาสู่ผลงานชุด “พลังอ�ำนาจของจักรวาล” ไว้เป็น จ�ำนวนมาก มีทั้งผลงานวาดเส้น จิตรกรรม สื่อผสม ผลงานติดตั้งจัดวางเฉพาะพื้นที่ ในอาคารของหน่วยงานเอกชนอื่น ๆ บทบาทความเป็นอาจารย์สอนศิลปะท�ำให้ สามารถน�ำเอาองค์ประกอบต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบของผลงาน ให้มคี วามแตกต่างหลากหลายไปได้อย่างกว้างขวางมาก และถือเป็นผลงานอีกชุดหนึง่ ที่สร้างชื่อเสียงให้เป็นที่รู้จักในวงการศิลปะร่วมสมัยของไทย

86

เถ้าธุลี ๓, ๒๕๓๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๒๐๐ ซม. Ashes 3, 1990 acrylic and gold leaf on canvas, 160 x 200 cm


เถ้าธุลี (ภาพร่าง - งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๒ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๒๘ x ๒๘ ซม. Ashes (sketch - study work), 1989 acrylic and gold leaf on canvas, 28 x 28 cm

เถ้าธุลี, ๒๕๓๒ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๑๖๐ ซม. Ashes, 1989 acrylic and gold leaf on canvas, 160 x 160 cm

87


เถ้าธุลี ๑, ๒๕๓๔, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๒๐๐ ซม. รางวัลชนะเลิศ ศิลปกรรมน�ำสิ่งที่ดีสู่ชีวิต ครั้งที่ ๑ Ashes 1, 1991, acrylic and gold leaf on canvas, 160 x 200 cm The 1st Toshiba “Brings Good Things to Life” Art Competition, 1st Prize

88


The Power of Change in Nature After the series “State of Sorrow,” there was a turning point in his creative route when Professor Chalood called for him before the completion of his bachelor’s degree. He said: “Thongchai, if you hand in this kind of work (State of Sorrow series), I can give you a pass and you can graduate. But, do you want to learn something more?” “I do, sir.” “Then stop doing this kind of thing. Invent something new. Doing this is such a waste of time, plus it turns out that you don’t understand art. Someday when you truly understand art, you can come back and do this, Thongchai. I wouldn’t mind at all.” “So, what should I do, Ajarn?” “Do whatever is art and bring it to me. You must not use brushes, paint, or anything that you are good at. Take a look at your work and think about it.” “Yes, sir.” Professor Chalood Nimsamer’s encouragement for his students to develop a better style of creativity by breaking out of the traditional rules to understand art more profoundly has pushed him to review his ideas and work process. Ajarn Chalood explained that working on figurative art during that age with limited qualifications would require advanced skills. It would take a long time to create a piece of work. Sometimes, it took 2-3 months to finish just one. On the contrary, if we experimented and realized the artistic expression, we could create a piece of art in a day or two. How many would it be in two months? How many ideas would come across? Rekindled by Professor Chalood’s words, Thongchai went back to ponder over and concentrate on his own works of art for a long while. He experimented by minimizing and maximizing his sketch, photocopying, gilding with gold leaves, editing, and patching shapes until it became semi-abstract works. When he presented it to Ajarn Chalood, he asked: “What did you think of when you’re painting this?” “I thought of the capture of Mara on the murals, sir.” “I still see it as too objective. Think about something else.” “I can’t. To me, it’s just a pile of ashes.” “Interesting.” “What is so interesting about the ashes, sir?” “Ashes have been transformed from their natural form into a pile of ashes. How did it change? Think about it.”

89


พลังจักรวาล, ๒๕๓๓, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๙๐ x ๑๙๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) The Power of Universe, 1990, acrylic and gold leaf on canvas, 190 x 190 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

90


นักษัตรบริวาร, ๒๕๓๔, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๒๐๐ ซม. รางวัลศิลปกรรมยอดเยี่ยม ศิลปกรรมน�ำสิ่งที่ดีสู่ชีวิต ครั้งที่ ๒ Constellation Families, 1991, acrylic and gold leaf on canvas, 160 x 200 cm The 2nd Toshiba “Brings Good Things to Life” Art Competition, Grand Prize

91


Transformation in nature occurs with energies that exist in accordance with one another. These points support the origin of the word “power of change in nature” or “power of the universe”. When the burning of the four elements: earth, water, wind, fire, causes elemental changes; twigs burn to dust, dust returns to the soil, fertilizing plants and trees so that they grow into food and provide shelter. The concepts of dynamic energy and elements have led to the experimentation of semi-abstract and abstract creations, which has been further developed for a long time. Ajarn Chalood also emphasized that “The traditional skills can help you Thongchai. That’s why I think whoever works hard will get the reward” and diligent people would indeed have an advantage. Finally, the persistence in experimenting had earned Thongchai the first success of his artistic journey with many pieces in this collection also won awards from several national competitions. The Power of Change in Nature or The Power of the Universe is characterized by the use of free forms combined with spiral shapes to create directional movements transpiring in different positions within the work. White, gray, and gold stand out from the black background. Thai patterns drawn to decorate various elements generate a feeling of tenderness that contradicts the whirlpool curves of motions and flowing energy. The circular shape, which has been employed as the main structure in many paintings, produces the power of infinite rotation. It is in line with the Big Bang theory and the gravitation of the black hole as well as the core of Buddhism about the cycle of life that moves in constant rotation until reaching nirvana. In addition to the sphere and spiral, triangular shapes are also one of the most used in this series, not to mention multiple sized rectangles. The medium illustrates the combination of geometric forms as representatives of thought, wisdom, and thorough intelligence with natural shapes that express emotions and free forms that are endless. From around the year 1988-2002, Thongchai has created a number of artworks for the series “The Power of Change in Nature” which later developed into “The Power of the Universe”. There were drawings, paintings, mixed media, and installation art set up in the building of private organizations. The role of the art teacher helped make it possible to utilize different components to modify and elevate the formats of his creation. This series, therefore, has opened a new door and awarded him a reputation in the Thai contemporary art scene.

92

พลังความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ ๔, ๒๕๓๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๒๐๐ ซม. The Power of Change in Nature 4, 1990 acrylic and gold leaf on canvas, 160 x 200 cm

พลังอ�ำนาจแห่งจักรวาล, ๒๕๓๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๑๖๐ ซม. The Power of the Universe, 1990 acrylic and gold leaf on canvas, 160 x 160 cm


พลังความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ, ๒๕๓๓, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๑๖๐ ซม. รางวัลยอดเยี่ยม ศิลปกรรมร่วมสมัยโดยธนาคารกสิกรไทย The Power of Change in Nature, 1990, acrylic and gold leaf on canvas, 160 x 160 cm Contemporary Art Competition by Kasikorn Bank

93


ด้วยรากฐานทางวัฒนธรรมที่ซึมซับสั่งสมเป็นประสบการณ์ ปลูกฝังทัศนคติ และจิตส�ำนึกให้ข้าพเจ้าเล็งเห็นคุณค่าของศิลปะที่มีเอกลักษณ์ไทยและด้วย ถิ่นก�ำเนิด อันมีสิ่งแวดล้อมทางศิลปะวัฒนธรรมที่งดงามประกอบด้วย คติ ความเชื่ อ วิ ถี ชี วิ ต ขนบประเพณี ท ้ อ งถิ่ น รวมถึ ง ศิ ล ปะพื้ น บ้ า น งาน สถาปัตยกรรมทีอ่ ยูอ่ าศัยและสถาปัตยกรรมศาสนสถานต่าง ๆ เป็นแรงผลักดัน ให้มีศิลปะนิสัยรักการท�ำงานสร้างสรรค์ด้านทัศนศิลป์ ผลงานทุกกระบวนวิธี ทีส่ ร้างขึน้ มีความมุง่ หมายทีจ่ ะแสดงออกทางความคิด อารมณ์ และความรูส้ กึ จากความอัดอั้นภายในใจ เนื่องด้วยสภาวะต่าง ๆ ภายใต้ปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ ดิน น�้ำ ลม ไฟ พลังอ�ำนาจแห่งสรรพสิ่งที่เป็นสามัญลักษณะ และสิง่ ทีเ่ หนือธรรมชาติ ทัง้ ทีม่ เี หตุผล และทีไ่ ม่สามารถอ้างอิง น�ำมาผสานรวม กับความสะเทือนใจจากสภาวะสังคม วิถีชีวิตของคนไทยในปัจจุบัน ซึ่งถูก กระแสอารยธรรมต่างชาติเข้ามามีอทิ ธิพลต่อการด�ำเนินชีวติ ความเป็นอยู่ ตลอด จนเศรษฐกิจ และทีส่ ำ� คัญคือวัฒนธรรมไทยทีด่ งี ามถูกเปลีย่ นแปลงไปสูร่ ปู แบบ ของความเจริญทางด้านวัตถุ ซึ่งเป็นเครื่องอ�ำนวยความสุขในรูปแบบต่าง ๆ ได้ส่งผลกระทบต่อชีวิต และส่งผลถึงภาพลักษณ์คนไทย รวมถึงศิลปะโดยรวม ของไทย ท�ำให้ดูคล้ายขาดปัจเจกภาพ และมีความเสื่อมถอยจากสุนทรียภาพ ประกอบด้วยความงดงามที่ทรงคุณค่าในอดีต เป็นความแปรเปลี่ยนในโลก ปัจจุบัน ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ข้าพเจ้าจึงน�ำความคิดและความรู้สึก ทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด มาร่วมสร้างกับการแสดงออกทางศิลปะ ทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะตัว ให้ผสานเชื่อมโยงกับศิลปะประเพณีไทย โดยใช้รูปร่างและรูปทรงทั้งที่เป็น รูปธรรมและนามธรรมมาเป็นสือ่ มุง่ เน้นรูปทรงทีม่ เี อกลักษณ์ไทยด้วยการผสม ผสานลวดลายทางอุดมคติกับความคิดที่มาจากธรรมะและธรรมชาติ ให้เกิด ความงาม ด้านความขัดแย้งที่กลมกลืน

94


With cultural roots that absorb into experiences, cultivating my attitude and consciousness to appreciate the unique arts of Thailand and their origin. It has a beautiful cultural environment consisting of beliefs, ways of life, local traditions, including folk art, architecture, residence, and religious architecture. It also acts as a driving force for art enthusiasts to love creating visual arts even more. Every piece aims to express thoughts, emotions, and feelings from the repression in my heart due to various conditions under natural phenomena, land, water, wind, fire, power of all things that are common characteristic and supernatural. They either have a reason or none at all before combining with the shock from the social state that Thai way of life today which was influenced by the foreign civilized flow of life as well as the economy. Most importantly, the good Thai culture has been transformed into a form of material prosperity that is a means of happiness in various designs. It had an impact on life and affect the image of Thai people including Thai art that makes it look like they lack of individuality while deteriorating from aesthetics, including the beauty that is valuable in the past; still, change is inevitable. Therefore, I used all thoughts and feelings that arise to create a work of art with unique artistic expression by linking traditional Thai arts and concrete and abstract shapes and forms together as media. I focused on Thai uniqueness by mixing ideological patterns with ideas derived from dharma and nature to create the contrastive beauty that is well-blended.

95


สิบสองนักษัตร, ๒๕๓๓, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๒๐๐ ซม. รางวัลที่หนึ่ง เหรียญทอง แบบไทยประเพณี จิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ ๑๔ 12 Zodiac Signs, 1990, acrylic and gold leaf on canvas, 160 x 200 cm 1st Prize, Bualuang Gold Medal, Traditional Thai Painting Category, the 15th Bualuang Painting Competition

96


จักรวาล ๙, ๒๕๓๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๖๐ x ๖๐ ซม./ชิ้น Universe 9, 1990 acrylic and gold leaf on canvas, 60 x 60 cm/each

97


นักษัตร, ๒๕๓๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๖๐ ซม. Zodiac, 1992 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 160 cm

กายา, ๒๕๓๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๖๐ ซม. ผลงานในสะสมของศิลปิน Body, 1992 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 160 cm Collection of the artist

98


พลังความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ ๑, ๒๕๓๒ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๒๐๐ ซม. The Power of Change in Nature, 1992 acrylic and gold leaf on canvas, 160 x 200 cm

99


ไตร ๑, ๒๕๓๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. Tri 1, 1991 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm

100

ไตร ๒, ๒๕๓๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. Tri 2, 1991 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm

ไตร ๓, ๒๕๓๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. Tri 3, 1991 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm


สังสารวัฏขาด ก., ๒๕๓๔, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๙๐ x ๑๙๐ ซม. รางวัลเกียรตินิยมอันดับสาม เหรียญทองแดง การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ The End of Samsara A., 1991, acrylic and gold leaf on canvas, 190 x 190 cm The National Exhibition of Art, 3rd Prize: Bronze Medal

101


สังสารวัฏขาด ข., ๒๕๓๔, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๙๐ x ๑๙๐ ซม. รางวัลที่สอง เหรียญเงิน จิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ ๑๕ แบบไทยประเพณี The End of Samsara B., 1991, acrylic and gold leaf on canvas, 190 x 190 cm 2nd Prize, Bualuang Silver Medal, Traditional Thai Painting Category, the 15th Bualuang Painting Competition

102


สังสารวัฏ, ๒๕๓๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๙๐ x ๑๙๐ ซม. Samsara, 1991 acrylic and gold leaf on canvas, 190 x 190 cm

103


เถ้าธุลี ๓, ๒๕๓๔, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๕๐ x ๑๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Ashes 3, 1991, acrylic and gold leaf on canvas, 150 x 180 cm Collection of Chulalongkorn University

104


105


รูปกาย, ๒๕๓๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๙๐ x ๑๙๐ ซม. Body, 1991 acrylic and gold leaf on canvas, 190 x 190 cm

106


107


รูปหน้าบัน, ๒๕๓๖, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๑๖๐ ซม. Gable, 1993, acrylic and gold leaf on canvas, 160 x 160 cm ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมแสดง โอซากาไตรนาเล่ ๑๙๙๓ Selected work, Osaka Triennale 1993

108


109


หน้าบัน, ๒๕๔๘, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. ผลงานในสะสมของบริษัท Olympia Thai Gable, 2005, acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm Collection of Olympia Thai

110


111


พลังแห่งจักรวาล, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. The Power of the Universe, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

112


พลังจักรวาล, ๒๕๔๗, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๑๑๐ x ๑๔๐ ซม. ผลงานสะสมของศิลปิน The Power of the Universe, 2014, acrylic and gold leaf on canvas 110 x 140 cm, Collection of the artist

113


วัฏสงสาร, ๒๕๔๘, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๔๕ x ๑๔๕ ซม. Samsara, 2005, acrylic and gold leaf on canvas, 145 x 145 cm

114


สังสารวัฏ, ๒๕๔๘, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๔๕ x ๑๔๕ ซม. Samsara, 2005, acrylic and gold leaf on canvas, 145 x 145 cm

115


พลังอ�ำนาจแห่งจักรวาล, ๒๕๕๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๒๓๐ x ๑๖๐ ซม. The Power of the Universe, 2014 acrylic and gold leaf on canvas, 230 x 160 cm

116


117


ภาพบรรยากาศนิทรรศการเดี่ยวครั้งแรก ๒๕๓๕ Installation view from the first solo exhibition in 1992

118


119


ไตรลักษณ์ ๓, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๔๐ x ๑๔๐ ซม./ชิ้น Tilakkhana 3, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 140 x 140 cm/each

120


ไม่มีชื่อ, ๒๕๕๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม./ชิ้น Untitled, 2007 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm/each

ไตรลักษณ์, ๒๕๓๖ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม./ชิ้น Trilakkana, 1993 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm/each

121


ประตูจักรวาล, ๒๕๔๕ เทคนิคผสม, ไม่ทราบขนาด The Gate of the Universe, 2002 mixed techniques, unknown size

122


123


จิตรกรรม นามธรรมจากรูปลักษณ์ไทยประเพณี ๑, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Abstract Image of Traditional Thai Painting 1, 1995 acrylic and gold leaf on canvas 120 x 120 cm

จิตรกรรม นามธรรมจากรูปลักษณ์ไทยประเพณี ๒, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Abstract Image of Traditional Thai Painting 2, 1995 acrylic and gold leaf on canvas 120 x 120 cm

จิตรกรรม นามธรรมจากรูปลักษณ์ไทยประเพณี ๓, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Abstract Image of Traditional Thai Painting 3, 1995 acrylic and gold leaf on canvas 120 x 120 cm

จิตรกรรม นามธรรมจากรูปลักษณ์ไทยประเพณี ๖, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Abstract Image of Traditional Thai Painting 6, 1995 acrylic and gold leaf on canvas 120 x 120 cm

จิตรกรรม นามธรรมจากรูปลักษณ์ไทยประเพณี ๗, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Abstract Image of Traditional Thai Painting 7, 1995 acrylic and gold leaf on canvas 120 x 120 cm

จิตรกรรม นามธรรมจากรูปลักษณ์ไทยประเพณี ๘, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Abstract Image of Traditional Thai Painting 8, 1995 acrylic and gold leaf on canvas 120 x 120 cm

124


จิตรกรรม นามธรรมจากรูปลักษณ์ไทยประเพณี ๔, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Abstract Image of Traditional Thai Painting 4 1995, acrylic and gold leaf on canvas 120 x 120 cm

จิตรกรรม นามธรรมจากรูปลักษณ์ไทยประเพณี ๕, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Abstract Image of Traditional Thai Painting 5 1995, acrylic and gold leaf on canvas 120 x 120 cm

จิตรกรรม นามธรรมจากรูปลักษณ์ไทยประเพณี ๙, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Abstract Image of Traditional Thai Painting 9 1995, acrylic and gold leaf on canvas 120 x 120 cm

จิตรกรรม นามธรรมจากรูปลักษณ์ไทยประเพณี ๑๐, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Abstract Image of Traditional Thai Painting 10 1995, acrylic and gold leaf on canvas 120 x 120 cm

125


126


ภาพไทย

จักรวาลในย่อมุมไม้สิบสอง, ๒๕๔๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๘๐ x ๑๘๐ ซม. The Universe in the Twelve Indented Corners Form, 2000 acrylic and gold leaf on canvas, 180 x 180 cm

ภายหลั ง จากปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ผลงานชุ ด พลั ง ความเปลี่ ย นแปลง ในธรรมชาติ เริ่มถึงจุดอิ่มตัวเนื่องจากศิลปินได้สร้างสรรค์ต่อเนื่องกันมาเป็น จ�ำนวนมากในเวลานานพอสมควรจนแตกฉานชัดเจนหมดแล้ว ไม่มีความ ท้าทายใด ๆ หลงเหลือแล้ว ธงชัยเริม่ ค่อย ๆ วางมือจากการสร้างงานนามธรรม และหันกลับมาสนใจงานฟิกเกอเรทีฟ (Figurative) อีกครั้ง รูปทรงของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ อาทิ รูปช้าง รูปควาย และรูปทรงจาก ธรรมชาติ เช่น เมล็ดข้าว ต้นโพธิ์ ต้นกล้วย ใบไม้ ถูกน�ำมาสร้างสรรค์ให้เป็น ภาพผลงานแบบไทยประเพณี โดยยังคงมีเอกลักษณ์ของลวดลาย วงก้นหอย และการใช้สเี พียงไม่กสี่ ปี รากฏให้เห็นชัดเจน เช่นเดียวกันกับสีขาวและสีทองบน พื้นหลังสีด�ำหรือสีเข้มที่มักเป็นแนวทางหลักในการสร้างงาน ความแตกต่างของผลงานชุดใหม่นี้ คือ ความนิ่งสงบของจิตวิญญาณที่ แฝงฝังอยู่ในภาพ เห็นได้ชัดเจนจากรูปทรงหลักในผลงานส่วนใหญ่ซึ่งจะให้ อารมณ์สงบนิง่ ร่มเย็น ครุน่ คิด และสุขสงบ ผิดแผกกันอย่างสิน้ เชิงกับพลังแห่ง ความเคลื่อนไหวอันไม่มีที่สิ้นสุดในผลงานชุด พลังความเปลี่ยนแปลงของ จักรวาล จนดูราวกับว่าศิลปินผู้สร้างงานอันเต็มไปด้วยความเคลื่อนไหวมา อย่างยาวนาน เริ่มรู้สึกเหนื่อยล้าจากการเดินทางจนปรารถนาจะหยุดนั่งพัก เพื่อแสวงหาความสุขสงบสักชั่วครู่ยาม ภายหลังจากหวนกลับมาท�ำงานฟิกเกอเรทีฟ (Figurative) ได้พกั ใหญ่ ธงชัยค่อย ๆ เปิดเผยผลงานให้ทา่ นอาจารย์ชลูดได้เห็นบ้างเล็กน้อย แบบแอบ ๆ ให้เห็น ไม่กล้าให้ดตู รง ๆ เพราะกลัวโดนท่านดุวา่ กลับไปท�ำงานแบบสมัยก่อน เมื่อท่านอาจารย์ชลูดเห็นผลงาน ท่านจึงเอ่ยถามว่า “ธงชัย ท�ำไมเปลี่ยนมาท�ำแบบนี้เสียล่ะ ท�ำไมเลิกท�ำแอปสแตรคแล้วล่ะ มันยังพัฒนาต่อไปอีกเยอะเลยนะ” “อาจารย์ครับ ผมท�ำแอปสแตรคมาเยอะมากแล้วครับ” “เยอะที่ไหน ฉันยังไม่เห็นเลย” “อาจารย์ครับ เดี๋ยวผมเอามาให้ดู อาจารย์ไม่เคยเห็นงานผมเลย” เมือ่ ธงชัยน�ำภาพผลงาน ๒๐๐ - ๓๐๐ ชิน้ ในชุด “พลังความเปลีย่ นแปลง ของจักรวาล” ที่ท�ำไว้มาให้ท่านอาจารย์ชลูดดู ท่านก็ตกใจและกล่าวว่า “มิน่าล่ะ งั้นเปลี่ยน ๆ บ้างก็ดี” ธงชัยสร้างสรรค์ผลงานชุด ภาพไทย นี้ ติดต่อกันอยู่ไม่กี่ปี หากแต่ก็มี ผลงานปรากฏให้เห็นอยู่ไม่น้อย ทั้งยังเป็นผลงานที่มีความละเมียดละไมใน แบบฉบับที่เขาชื่นชอบ มีความละเอียดด้วยลวดลายไทยอันอ่อนหวาน และ แฝงซ่อนไว้ด้วยคติธรรมตามความเชื่อในพระพุทธศาสนาตามแบบอย่าง ธรรมศิลป์ด้วย

127


Thai Imagery Thongchai concluded the series The Power of Change in Nature in 2002 when he felt that there were no challenges left. He had gradually withdrawn from abstract art and diverted more to the figurative side once again. For this series, the artist uses natural forms of living creatures such as elephants and buffaloes and plants such as rice grains, Bodhi trees, banana trees, and leaves to create traditional Thai paintings while maintaining the uniqueness of the spiral patterns and the limited use of colors. The same goes for white and gold on a black or dark background that is often the primary guideline when creating a work of art. The new series differs from the previous ones for the stillness of the soul embedded in the picture. The main shapes in most of the works evidently imply calm, thoughtfulness, and peace, demonstrating a complete contrast from the infinite dynamic energy of the series The Power of Change in Nature. It is as if the artist who has worked with movements for a long time has begun to feel tired from the journey that he wishes to stop and rest to breathe in a brief moment of happiness. Afterward, Thongchai slowly revealed his figurative works for Ajarn Chalood to see. However, he did it very subtly since he was too afraid of being scolded by the Master for returning to the old style of art he once practiced. When Ajarn Chalood saw the results, he asked:

ข้าวไทย, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๐ x ๙๐ ซม. Thai Rice, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, 70 x 90 cm

“Thongchai, why did you change your style? Why did you quit doing abstract? I saw that there’s a lot more to be developed.” “I have created too many abstracts, sir.” “Too many? Where are they? I haven’t seen any of them.” “I’ll show you, sir. You have never seen my works.” When Thongchai showed Ajarn Chalood the series “The Power of Change in Nature” consisting of 200-300 pieces of art that he had made, the teacher was shocked and said, “No wonder. Well, change is good.” Thongchai had created Thai Imagery series for a few years; fortunately, some works were still left to be seen. These works show tenderness in a way that was his favorite. They are delicate with a sweet touch of Thai patterns and hidden morals according to Buddhist beliefs normally found in Dhamma art.

128

ข้าวไทย, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Thai Rice, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm


ข้าวไทย ๒, ๒๕๔๗, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Thai Rice 2, 2004, acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

129


ข้าวไทย, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Thai Rice, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

ข้าวไทย ๔, ๒๕๔๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Thai Rice 4, 2004 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

องค์ ๙, ๒๕๔๖ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๔๐๐ x ๒๐๐ ซม. ศิลปกรรมประดับในพระต�ำหนักจักรีบงกช Element 9, 2003 acrylic and gold leaf on canvas, 400 x 200 cm Collection of Phra Tamnak Chakkri Bongkot

130


131


โพธิบัลลังก์, ๒๕๔๖ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Bodhi Throne, 2003 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

โพธิบัลลังก์ (วัดปงยางคก), ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๒ x ๗๒ ซม. Bodhi Throne (Wat Pong Yang Kok), 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 72 x 72 cm

132


โพธิบัลลังก์, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๒๐๐ ซม. Bodhi Throne, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 100 x 200 cm

133


ควายไทย, ๒๕๔๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Thai Buffalo, 2004 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

ร�ำลึกถึงข้าวหอมมะลิและควายไทย, ๒๕๔๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๘๐ x ๑๒๐ ซม. Recollection of Jasmine Rice and Thai Buffaloes, 2001 acrylic and gold leaf on canvas, 180 x 120 cm

134


พ่อมหาจ�ำเริญ, ๒๕๔๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๘๐ x ๙๐ ซม. Bullcrap, 2001 acrylic and gold leaf on canvas, 180 x 90 cm

ดั่งสายฝนหลั่งล้นชโลมดิน, ๒๕๔๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๘๐ x ๙๐ ซม. Pouring Rain, 2001 acrylic and gold leaf on canvas, 180 x 90 cm

135


ดอกไม้ร่วง, ๒๕๔๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Falling Flowers, 2004 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

136

ดอกไม้ร่วง ๒, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๘๐ x ๘๐ ซม. Falling Flowers 2, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, 80 x 80 cm


ดอกไม้ร่วง ๓, ๒๕๔๘, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Falling Flowers 3, 2005, acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

137


ช้างต้น ๔, ๒๕๔๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. The Royal Elephant 4, 2004 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

ช้างต้น, ๒๕๔๖ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด The Royal Elephant, 2003 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

ช้างต้น , ๒๕๔๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด The Royal Elephant, 2001 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

138


ช้างต้น ๓ (ต�ำราช้างต้น), ๒๕๔๘, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. The Royal Elephant 3 (The Royal Elephant Treatise), 2005, acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

139


ภาพไทย มีที่มาจากนามและรูปทางงานจิตรกรรมแบบประเพณี โดยได้รับความบันดาลใจในรูปลักษณ์งานพุทธศิลป์อันทรงคุณค่า ของไทย เป็นงานแบบอุดมคติ ทั้งเบื้องนอก ทั้งภายใน ทั้งทาง รูปธรรม และนามธรรม โดยบรมครูช่างในอดีตได้สร้างสรรค์งานที่ มีลักษณะพิเศษ ที่ส�ำคัญ ท่านมีความคิดค�ำนึงถึงเอกลักษณ์ทาง เชื้อชาติ ซึ่งเต็มเปี่ยมไปด้วยความเลื่อมใส ศรัทธาบนทัศนคติอัน ดี ง าม และศิ ล ปะที่ รั ง สรรค์ เ หล่ า นั้ น เป็ น สิ่ ง ที่ ป รากฏขึ้ น ในบวร พระพุทธศาสนา ข้าพเจ้าได้ซึมซับ สุนทรียภาพและการแสดงออก ทางศิ ล ปะในหลากหลายกระบวนวิ ธี ที่ สื่ อ สารผ่ า นผลงานของ บรมครูออกมา เกิดความสะเทือนอารมณ์ และเกิดแรงบันดาลใจที่ จะน�ำเอาพลังแห่งความงดงามจากรูปลักษณ์ต้นแบบ อันเป็นงาน ชิน้ ส�ำคัญ มาสเตอร์พซี ทีก่ อ่ ให้เกิดจินตนาการและการคลีค่ ลายการ สร้างสรรค์อย่างไม่รู้จบ โดยน�ำมาสร้างสรรค์ใหม่ในแนวทางศิลปะ ร่วมสมัยที่ยังคงเอกลักษณ์ไทย

ช้างต้น , ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด The Royal Elephant, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

140

จักรวาลในเงาช้างไทย, ๒๕๔๒ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๖๐ x ๖๐ ซม. The Universe under the Elephant’s Shadow, 1999 acrylic and gold leaf on canvas, 60 x 60 cm

ช้างต้น, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด The Royal Elephant, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size


Inspired by Thailand’s valuable Buddhist art, The series Thai Imagery is the ideal works expressed both in terms of abstraction and objectification by Thai masterful artisans of the past. However, most importantly they highly respect national identity while having faith on the basis of a good attitude and this beautifully created art exists in Buddhism. I have absorbed the aesthetics and several artistic expressions communicated through the works of art by these masters. The original beauty and endless creativity found in these masterpieces have moved me emotionally and inspired me to create contemporary art that still preserves Thai identity. ช้างต้น, ๒๕๔๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. The Royal Elephant, 2004 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

ช้างต้น, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๒ x ๗๒ ซม. The Royal Elephant, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 72 x 72 cm

ช้างต้น ๑ (ต�ำราช้างต้น), ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๒ x ๗๒ ซม. The Royal Elephant 1 (The Royal Elephant Treatise), 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 72 x 72 cm

141


พ่อมหาจ�ำเริญ (วัดสุวรรณาราม), ๒๕๔๙, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๒ x ๗๒ ซม. Bullcrap (Wat Suwannaram), 2006, acrylic and gold leaf on canvas, 72 x 72 cm

142


เมล็ดข้าว, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด Rice, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

ข้าวไทย, ๒๕๕๒ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๘๐ x ๑๐๐ ซม. Thai Rice, 2009 acrylic and gold leaf on canvas, 80 x 100 cm

143


รูปธรรมไทย ในความหมายของผู้สร้างงานศิลปะคือการน�ำเสนอรูปทรง รูปร่าง และรายละเอียด ที่มาจากงานศิลปกรรมไทยในอดีต หรือการใช้รูปทรง สิง่ แวดล้อม ทีอ่ ยูอ่ าศัย สิง่ ของเครือ่ งใช้ ฯลฯ ซึง่ มีรปู แบบเป็นทีย่ อมรับว่ามีความเป็นไทย น�ำมาคลีค่ ลาย สร้างสรรค์ โดยจะยังคงรักษารูปทรง รูปร่าง และรายละเอียดทัง้ หมดไว้ หรือย่อยสลายรูปทรงให้เหลือบางส่วน หรือน�ำเสนอในรูปทรงใหม่ ทีม่ พี นื้ ฐานมาจาก การเรียนรู้ในแบบไทย เพือ่ ให้การสร้างผลงาน เป็นไปตามจุดหมายในการแสดงออก ทางศิลปะ ค�ำว่านามธรรมไทย โดยความเข้าใจทั่วไป ไม่มีรูป จับต้องไม่ได้ รู้สัมผัสด้วย ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก และจินตนาการที่เป็นไทย ซึ่งมีอิทธิพลทางศาสนา จริยธรรม วัฒนธรรม รวมถึงวิถีชีวิตแบบไทย

Thai concrete art is a presentation of shapes, forms, and details of ancient Thai art or the use of shapes found in living environments, objects, appliances, etc. which have been recognized as Thai forms in their originality. The artist utilized these concepts by either retaining all shapes, forms, and details, minimizing some parts, or presenting newly created figures based on knowledge of Thai style in order to meet the objective of artistic expression. The term Thai abstract, in general, refers to intangible forms that their presence can be felt with thoughts, emotions, and imaginations that were considered Thai, including religion, ethics, culture, and the Thai way of life.

144


พ่อมหาจ�ำเริญ (สมุดข่อยอยุธยา), ๒๕๔๙, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๒ x ๗๒ ซม. Bullcrap (Ayutthaya folded book), 2006, acrylic and gold leaf on canvas, 72 x 72 cm

145


แม่ญิง ป้อจาย (วัดภูมินทร์), ๒๕๔๙, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๒ x ๗๒ ซม. Lady – Gentleman (Wat Phumin), 2006, acrylic and gold leaf on canvas, 72 x 72 cm

146


แม่ญิง ป้อจาย (วัดภูมินทร์), ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๖๐ x ๘๐ ซม. Lady - Gentleman (Wat Phumin), 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 60 x 80 cm

แม่ญิง, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๓๐ x ๓๐ ซม. Lady, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 30 x 30 cm

147


ซากสงคราม (วัดภูมินทร์), ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๒ x ๗๒ ซม. War Ruins (Wat Phumin), 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 72 x 72 cm

เทวดา (วัดสะแล่ง), ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๒ x ๗๒ ซม. Angel (Wat Sa Lang), 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 72 x 72 cm

กอกล้วย (วัดภูมินทร์), ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๒ x ๗๒ ซม. Banana Trees (Wat Phumin), 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 72 x 72 cm

148


โพธิ, ๒๕๔๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๔๐ x ๑๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของโรงแรมบันยันทรี Bodhi, 2001 acrylic and gold leaf on canvas, 140 x 180 cm Collection of Banyan Tree Hotel

ดวงตาเห็นธรรม, ๒๕๕๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๒ x ๗๒ ซม. Enlightened Eyes, 2007 acrylic and gold leaf on canvas, 72 x 72 cm

149


สองง่าม – สามแง่, ๒๕๕๔ สื่อผสม, ไม่ทราบขนาด Bident - Trident, 2011 mixed media, unknown size

หน้าบัน, ๒๕๓๘ แกะไม้, ไม่ทราบขนาด Gable, 1995 wood carving, unknown size

150


เปิดโลก, ๒๕๔๓ สื่อผสม, ๑๘๐ x ๙๐ ซม. Eye-Opener, 2000 mixed media, 180 x 90 cm

151


วงกลม, ๒๕๓๘ สื่อผสม, ๑๕ x ๓๐ ซม. Circle, 1995 mixed media, 15 x 30 cm

ไม่มีชื่อ ๓, ๒๕๔๐ สื่อผสม, ๓๐ x ๓๐ ซม. Untitled 3, 1997 mixed media, 30 x 30 cm

๑๐, ๒๕๓๕ สื่อผสม, ๕๐ x ๕๐ ซม. Ten, 1992 mixed media, 50 x 50 cm

พระหัตถ์ เมล็ดข้าว และเคียว, ๒๕๔๗ สื่อผสม, ๕๐ x ๓๐ ซม. Hands, Rice, and Sickle, 2004 mixed media, 50 x 30 cm

152


ไม่มีชื่อ ๑, ๒๕๔๐ สื่อผสม, ๔๐ x ๓๐ ซม. Untitled 1, 1997 mixed media, 40 x 30 cm

ไม่มีชื่อ ๒, ๒๕๔๐ สื่อผสม, ๔๐ x ๓๐ ซม. Untitled 2, 1997 mixed media, 40 x 30 cm

เปิดโลก, ๒๕๔๓ สื่อผสม, ๒๔๐ x ๑๘๐ ซม. Eye-Opener, 2000 mixed media, 240 x 180 cm

นรก สวรรค์, ๒๕๔๗ สื่อผสม, ๕๐ x ๓๐ ซม. Hell - Heaven, 2004 mixed media, 50 x 30 cm

153


สัญลักษณ์แห่งจักรวาล, ๒๕๓๗ ประติมากรรม, ๒๐๐ x ๒๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสม OLYMPIA Thai The Symbol of the Universe, 1994 sculpture, 200 x 200 x 80 cm, Collection of OLYMPIA Thai

ไม่มีชื่อ, ๒๕๔๐ สื่อผสม, ๖๐ x ๖๐ ซม. Untitled, 1997 mixed media, 60 x 60 cm

154


ต้นไม้, ๒๕๓๘ สื่อผสม, ๙๐ x ๑๒๐ ซม. Tree, 1995 mixed media, 90 x 120 cm

โพธิ์, ๒๕๓๘ สื่อผสม, ๘๗ x ๙๖ ซม. Bodhi, 1995 mixed media, 87 x 96 cm

155


สามโลก, ๒๕๔๓, สื่อผสม, ๑๘๐ x ๑๔๐ ซม. Three Worlds, 2000, mixed media, 180 x 140 cm

156


รูปเหมือนตัวเอง, ๒๕๔๓ หล่อเทียน, ๕๐ x ๓๐ x ๒๕ ซม. Self-Portrait, 2000 candle, 50 x 30 x 25 cm

มือและเท้า, ๒๕๔๓ สื่อผสม, ๘๐ x ๘๐ ซม. Hand and Foot, 2000 mixed media, 80 x 80 cm

157


มหาวิเนษกรมณ์ หลังปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ธงชัยเลิกสร้างผลงานนามธรรมที่สืบเนื่องมาจากชุด “พลังความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ” และ “พลังอ�ำนาจของจักรวาล” หวนกลับมา สร้างงานฟิกเกอเรทีฟ (Figurative) อย่างเต็มที่จนพัฒนามาสู่การสร้างสรรค์ ผลงานชุด “มหาวิเนษกรมณ์” ผลงานจิตรกรรมและวาดเส้นที่ว่าด้วยเรื่องราวเนื้อหา ของการเสด็จออกบวชของพระพุทธองค์ ผลงานชุด “มหาวิเนษกรมณ์” น�ำเสนอผลงานจิตรกรรมแนวไทยประเพณีที่ สร้างสรรค์ด้วยความละเอียดอ่อนบรรจงในการแต่งแต้มสีสันและเส้นสายอันประณีต เรือ่ งราวเนือ้ หาทางพระพุทธศาสนาจาก “ปางมหาวิเนษกรมณ์” หรือ “การเสด็จออก บรรพชาของพระพุทธเจ้า” แสดงให้เห็นความศรัทธาและนัยยะแห่งความปรารถนาถึง การตัดกิเลส ละความวุน่ วาย และความมุง่ มัน่ ในการสร้างสรรค์งานศิลปะทีล่ กึ ซึง้ จับตา ในการสร้างสรรค์ผลงานชุดนี้ ธงชัยหวนกลับไปสู่แนวทางการสร้างงานที่ ชื่นชอบมาตั้งแต่สมัยเริ่มต้นการศึกษาศิลปะอย่างจริงจัง นั่นคือ การเขียนภาพ เหมือนจริง การเขียนภาพบุคคล และการใส่รูปทรงเชิงสัญลักษณ์ลงไปเพื่อชี้ให้เห็น ความหมายแฝงซ่อนในภาพ ลั กษณะเด่ นในผลงานจากผลงานทุก ชุด ที่ผ่า นมาถูกน�ำมาผสานรวมเข้า ด้วยกันจนเกิดเป็นงานศิลปะชุดใหม่ ที่แสดงให้เห็นถึงตัวตนอันเป็นอัตลักษณ์ของ ศิลปินได้อย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นการเลือกใช้สีน้อย ๆ ใช้สีเพียงไม่กี่สีในภาพ การเขียนภาพคนเหมือนให้มคี วามเหมือนจริงได้อย่างละเอียดยิบ การเลือกใช้รปู ทรง เชิงสัญลักษณ์เพื่อบอกเล่าเรื่องราวเนื้อหาที่ต้องการ การใช้หลักคิดจากหลักธรรม แห่งพระพุทธศาสนา เป็นต้น มหาวิเนษกรมณ์, ๒๕๓๘ วาดเส้นทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ไม่ทราบขนาด Mahabhinishkramana, 1995 drawing and gold leaf on paper, unknown size

ตรัสรู้, ๒๕๓๙ ปากกาบนกระดาษ, ๙๐ x ๗๐ ซม. Enlightenment, 1996 pen on paper, 90 x 70 cm

158

ตรัสรู้, ๒๕๓๙ ปากกาบนกระดาษ, ๔๕ x ๓๕ ซม. Enlightenment, 1996 pen on paper, 45 x 35 cm


มหาวิเนษกรมณ์ นับเป็นจุดเริม่ ต้นของการเขียนภาพด้วยสีหลักเพียงสีเดียวของ ธงชัย โดยเฉพาะสีน�้ำเงิน-อัลตร้ามารีน ซึ่งเป็นสีโปร่งแสงใสสว่าง เขาเลือกใช้สีฟ้า น�้ำเงินนี้ด้วยรสนิยมความชื่นชอบส่วนตัว อีกทั้งยังเป็นสีประจ�ำวันเกิดคือวันศุกร์ นอกจากนัน้ ยังมีนยั ยะของแผ่นฟ้ากับมหาสมุทรในแง่ของ Blue Planet - โลกสีนำ�้ เงิน อีกด้วย สัญลักษณ์ทนี่ า่ สนใจอีกรูปหนึง่ ทีเ่ คยปรากฏในผลงานของเขามาตัง้ แต่ผลงาน ชุดก่อนหน้า และได้กลับมาปรากฏอีกครั้งในผลงานชุดนี้ คือ บันได ธงชัยใช้บันได ในความหมายของการแสวงหา การปีนป่ายขึ้นที่สูง แต่ในขณะเดียวกัน ความหมาย แฝงซ่อนที่ศิลปินจงใจเขียนรูปบันได คือ เรื่องราวฝังใจจากวันแรกเกิดของเขา เมื่อ คุณแม่ที่ก�ำลังเจ็บท้องใกล้คลอดลูกอยู่ที่ชั้นบนของบ้าน พยายามพาตนเองลงมา ชั้นล่างเพื่อจะได้เดินทางไปโรงพยาบาล แต่ทารกในครรภ์ไม่ยอมทนรั้งรออีกต่อไป เป็นเหตุให้ธงชัยคลอดออกมาจากครรภ์มารดาตรงบันไดขั้นที่ ๒ ของบ้านนั่นเอง การใช้ สั ญ ลั ก ษณ์ ใ นผลงานเป็ น จ� ำ นวนมาก แสดงนั ย ยะแบบซิ ม โบลิ ส ม์ (Symbolism) บ่งบอกถึงอารมณ์ ความรู้สึกในการแสดงออกแบบนิ่งสงบ ไม่โผงผาง ไม่ออกอาการมากจนผิดสังเกต คล้ายกับสติและจิตส�ำนึกทีค่ อยควบคุมพฤติกรรมของ มนุษย์ให้มคี วามสุขมุ แตกต่างจากการสร้างงานศิลปะแบบเอ็กเพรซชัน่ นิสม์ (Expressionism) หรืออิมเพรชชั่นนิสม์ (Impressionism) ซึ่งเรียกร้องพลังความรู้สึกมากกว่า ซิมโบลิสม์ ผลงานชุด “มหาวิเนษกรมณ์” มีหลายชิ้นงานที่มีความโดดเด่น สวยงาม ละเอียดลออ ลึกซึง้ แสดงให้เห็นถึงศักยภาพในการสร้างงานแบบเหมือนจริงของศิลปิน ได้อย่างน่าชื่นชม

ไม่มีชื่อ, ๒๕๔๙ ปากกาบนกระดาษ, ๗๐ x ๓๕ ซม. Untitled, 2006 pen on paper, 70 x 35 cm

ก้อนหิน, ๒๕๕๖ ปากกาบนกระดาษ, ๒๕ x ๔๕ ซม. A Stone, 2009 pen on paper, 25 x 45 cm

มารผจญ, ๒๕๓๙ ปากกาบนกระดาษ, ไม่ทราบขนาด Temptation, 1996 pen on paper, unknown size

159


มหาวิเนษกรมณ์, ๒๕๔๒ ปากกาบนกระดาษ, ๙๐ x ๗๐ ซม. Mahabhinishkramana, 2009 pen on paper, 90 x 70 cm

มหาวิเนษกรมณ์ ๓, ๒๕๔๐ ปากกาบนกระดาษ, ๑๐๐ x ๗๐ ซม. Mahabhinishkramana 3, 1997 pen on paper, 100 x 70 cm

160

มหาวิเนษกรมณ์ (ภาพร่าง), ๒๕๕๑ ปากกาบนกระดาษ, ๙๐ x ๗๐ ซม. Mahabhinishkramana (sketch), 2008 pen on paper, 90 x 70 cm

กาล, ๒๕๔๕ ปากกาบนกระดาษ, ๙๐ x ๗๐ ซม. Time, 2002 pen on paper, 90 x 70 cm


The series Mahabhinishkramana

มหาวิเนษกรมณ์, ๒๕๔๔ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๙๐ ซม. Mahabhinishkramana, 2001 acrylic on canvas, 120 x 90 cm

มหาวิเนษกรมณ์ ๔, ๒๕๔๔ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๙๐ ซม. Mahabhinishkramana 4, 2003 acrylic on canvas, 120 x 100 cm

After 2006, Thongchai stopped creating abstract work which was a continuation from the series “The Power of Change in Nature” and “The Power of the Universe” meanwhile fully returning to drawing figurative art. It was then evolved into the series “Mahabhinishkramana”, a new collection of paintings and drawings that retell the story of the Lord Buddha’s ordination. The series “Mahabhinishkramana” presents traditional Thai paintings created with the crafty use of colors and elaborate lines. Buddhist stories from the “Mahabhinishkramana” gesture or “The ordination of the Lord Buddha” gesture manifest the faith and eagerness to cut off all desires, leave the chaos, and a commitment to creating profound and fascinating art. Thongchai returns to the old style that he has always loved since the beginning, which is realism and portraiture with the addition of symbolic forms to reveal hidden connotations. The artist has merged all distinctive features from the previous series to form a new set of art that depicts his identity, whether it is the use of only a few colors, the meticulous portrait drawing, the narration of a story through symbolic shapes, or the application of ideas from Buddhist principles. Mahabhinishkramana, therefore, marked the beginning of Thongchai’s nouveau artistic approach by applying only one main color, especially the ultramarine blue. He prefers this transparent and bright shade of blue due to his personal taste and that it is the color of his birthday, Friday. There are also implications for the sky and the ocean in terms of the blue planet. Another thought-provoking symbol that appeared in his previous works also revisits this series. Thongchai uses a ladder to symbolize a quest and a climb. Yet, at the same time, he deliberately draws a staircase to reminisce about the event on the day that he was born. When his mother, who was at the brink of giving birth, tried to climb down the stairs so that she could travel to the hospital, the unborn baby was no longer patient. That was when Thongchai came out of his mother’s womb, right on the second step of the stairs. The use of symbols in several works implies Symbolism that indicates the stillness of emotion, calm, unflattering, and indifferent expression similar to consciousness that controls human behavior with sobriety. It is different from Expressionism or Impressionism, which demands more powerful and expressive, intense delivery. Many pieces from the “Mahabhinishkramana” series are outstanding, beautiful, and detailed, impressively depicting the artist’s ability in realistic art.

161


“มหาวิเนษกรมณ -์ ความงาม บนวิถีทางแห่งสุนทรียภาพและสุนทรียธรรม” ในวิถีแห่งพุทธปรัชญา ความงามอันใดซึ่งบังเกิดขึ้นกับสิ่งทั้งหลายทั้งปวงบน โลกใบนีน้ นั้ ย่อมประกอบไปด้วยสองสิง่ คือ ความงามภายนอกและความงามภายใน อันเกิดจากภาวะของกายสัมผัสและมโนสัมผัสที่ไปกระทบกับ ‘รูป’ และ ‘นาม’ ของสิ่ง ๆ นั้น ความงามแห่งรูปและนามเหล่านี้ไม่เพียงแต่ก่อให้เกิดสุนทรียภาพขึ้น ภายในจิ ต ใจของผู ้ ดู เ ท่ า นั้ น หากแต่ ใ นงานศิ ล ปะประเภทหนึ่ ง มั น ยั ง ก่ อ ให้ เ กิ ด สุนทรียธรรม เป็นความงามในทางธรรมะที่มิได้มีเพียงความรู้สึกอันรื่นรมย์ใจ แต่มัน ยังมีผลต่อลักษณะทางการประพฤติตนของมนุษย์ในทางศีลธรรมหรือเรียกง่าย ๆ ว่า เป็นความงามที่ท�ำให้มนุษย์และสังคมนั้น ด�ำรงตนอยู่ด้วยความปกติสุขนั่นเอง การก้าวเดินไปในวิถีทางแห่งพุทธปรัชญา ได้ก่อเกิดแรงบันดาลใจในการ สร้างสรรค์งานของศิลปินจ�ำนวนมาก และภาพจิตรกรรม “มหาวิเนษกรมณ์” ก็คือ ฉากตอนหนึง่ แห่งความประทับใจของศิลปิน ธงชัย ศรีสขุ ประเสริฐ ภายใต้การปรากฏ ตัวของรูปและนามอันแฝงไว้ด้วยคุณค่าทางความงามแบบร่วมสมัยและสาระทาง ค�ำสอนเชิงพุทธในห้วงชีวิตหนึ่งของบรมมหาศาสดาผู้ยิ่งใหญ่ ธงชัยสร้าง ‘รูป’ ใน งานศิลปะขึ้น จากการหวนกลับไปหาบทเริ่มต้นในชีวิต การสร้างสรรค์ของตนเอง ทั ก ษะทางฝี มื อ ชั้ น สู ง ถู ก น� ำ มาผสมผสานเข้ า กั บ เรื่ อ งราวในพุ ท ธประวั ติ ที่ เ ขา ประทับใจ ประสบการณ์ในการรับรูค้ วามงามจากงานศิลปะตะวันตกทีแ่ สดงความงาม แห่งมวลปริมาตรได้ถูกน�ำมาปรับเปลี่ยนเข้ากับรูปแบบในงานศิลปะไทยประเพณี จนเกิดเป็นศิลปะไทยร่วมสมัยภายใต้ภาษาสากลที่เต็มไปด้วยสุนทรียภาพและ สุนทรียธรรมอันงดงาม ภาพจิตรกรรมอันแสดงรูปของพระพุทธองค์ในลักษณะต่าง ๆ ขณะทรงใช้ พระหัตถ์ขวาทรงพระขรรค์ตัดพระเมาลี ด้วยทรงเห็นว่าพระเมาลีไม่เหมาะแก่เพศ บรรพชิตนั้น เป็นเสมือนสัญลักษณ์แห่งการสละชีวิตทางโลกและความเพลิดเพลิน ในกามสมบัติทั้งหลาย รูปทรงอันเกิดจากการรวมตัวกันของเส้นนับแสนนับล้าน ค่อย ๆ ปรากฏชัดขึ้น เฉกเช่นเดียวกับธรรมะของพระพุทธองค์ที่เริ่มก่อรูปขึ้นในห้วง สมาธิและสติอันตั้งมั่นอยู่ด้วยความเพียร ในห้วงเวลานั้น ธงชัยมีโอกาสได้เรียนรู้ ความว่างและภาวะตัดขาดจากโลกภายนอกอันสับสนวุ่นวายช่วงขณะหนึ่ง เป็นห้วง ขณะที่ได้ระลึกถึงชีวิต ชีวิตอันเจือปนไปด้วยรูป รส กลิ่น เสียง ท่ามกลางรูปทรงและ องค์ประกอบที่แตกต่างมีเพียงใบหน้าและแววพระเนตรของเจ้าชายสิทธัตถะเท่านั้นที่ ปรากฏให้เห็นในลักษณะเดียวกัน ความงามในการเข้าถึงภาวะทางอารมณ์ความรูส้ กึ เหล่านี้ คือ ภาพสะท้อนอันดีของภาวะแห่งความสงบซึ่งเกิดขึ้นภายในจิตใจอัน ว่างเปล่าของศิลปิน มิติทางรูปทรงที่ถูกสร้างขึ้น คล้ายมิติในงานประติมากรรม ซึ่งหลงเหลือเพียง เสี้ยวส่วนของใบหน้าอันสมบูรณ์ของเจ้าชายสิทธัตถะ ผู้ก�ำลังสละเพศครองเรือนนี้ เป็นเสมือนการแสดงสาระของความเสื่อมสลายในรูปหรือสังขารอันไม่จีรังยั่งยืน ภาพเทวทูตทั้งสี่ที่ปรากฏอยู่ภายในกรอบสี่เหลี่ยมเบื้องหลัง คือ ภาวะของความ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ที่เวียนว่ายอยู่ในสังสารวัฏและก�ำแพงแห่งอวิชชาอันแน่นหนา โดยมีบันไดไม่กี่ขั้นทอดยาวออกไปสู่ดินแดงแห่งความหลุดพ้นเบื้องนอก ลวดลายเดิมของศิลปะไทยประเพณีแบบสองมิติ ถูกน�ำมาประยุกต์เข้ากับการ สร้างมิติทางรูปทรงในงานศิลปะแบบตะวันตกที่ก่อให้เกิดรูปลักษณ์ทางจินตนาการ

162

มหาวิเนษกรมณ์, ๒๕๔๖ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๑๒๐ x ๑๐๐ ซม. Mahabhinishkramana, 2003 acrylic and gold leaf on canvas 120 x 100 cm

อนิจจตา ๑, ๒๕๕๓, สีอะคริลิคบนผ้าใบ ๑๗๕ x ๑๒๕ ซม., ผลงานในสะสมของ พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Anicca 1, 2010, acrylic and gold leaf on canvas 175 x 125 cm, Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)


มหาวิเนษกรมณ์ ๒, ๒๕๕๑, ๑๗๕ x ๒๕๐ ซม. สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Mahabhinishkramana 2, 2008 acrylic and gold leaf on canvas, 175 x 250 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

มหาวิเนษกรมณ์, ๒๕๕๑ ปิดทองบนวัสดุสังเคราะห์ ๑๗๕ x ๑๒๕ ซม. Mahabhinishkramana, 2008 gold leaf on synthetic material 175 x 125 cm

ในพุทธประวัติแบบร่วมสมัย ภาพเจ้าชายสิทธัตถะขณะปลงพระเกศา ณ ริมฝั่งแม่น�้ำ อโนมา คือ การถ่ายทอดความงามของลวดลายและลีลาอันอ่อนช้อยของศิลปะไทย ประเพณี ในลักษณะของภาพสัญลักษณ์ที่ถูกจัดวางไว้ภายใต้กรอบสี่เหลี่ยมที่ผุพัง เบื้องหลังปรากฏให้เห็นดวงตาขนาดใหญ่ที่บรรจุไว้ด้วยเรื่องราว และรูปทรงอัน เกี่ยวเนื่องไปด้วยเหตุแห่งการเสด็จออก เพื่อคุณอันยิ่งใหญ่ซึ่งแทรกตัวอยู่ระหว่าง เสี้ยนหนามอันแหลมคม หากพิจารณาให้ดีภาวะต่าง ๆ เหล่านี้ ก็ย่อมไม่ต่างอะไร ไปจากโซ่ตรวนแห่งความทุกข์ทรมานอันยากจะหลุดพ้น นอกจากภาพการเสด็ จ มหาวิ เ นษกรมณ์ แ ล้ ว ผลงานสร้ า งสรรค์ ใ นชุ ด นี้ ยังประกอบไปด้วย ภาพสัญลักษณ์อย่างดอกบัวและภาพการตรัสรู้ของพระพุทธองค์ ในลักษณะของการวาดเส้นขาวด�ำที่แสดงสารัตถะในฉากตอนส�ำคัญแห่งการเกิดขึ้น ของพระพุทธศาสนาและความศรัทธาของพุทธศาสนิกชน ภาพดอกบัวบานท่ามกลาง พื้นที่ขาวบริสุทธิ์นั้นได้แสดงภาวะของความดีและความงามในสิ่งที่ก่อเกิดขึ้นจาก โคลนตมอันสกปรก ในขณะที่ภาพการตรัสรู้ของพระพุทธองค์ก็ได้แสดง ภาวะแห่ง ความรูแ้ จ้งเห็นชัดด้วยลมหายใจแห่งอานาปานสติ พระองค์ได้ละวางการปรุงแต่งและ แลเห็นความจริงของสิ่งทั้งปวงในห้วงเวลาแห่งความว่างนั้น เค้าโครงของกรอบ สามเหลี่ยมที่ปรากฏให้เห็น คือ พระรัตนตรัย อันเป็นเสมือนกรงขังแห่งอวิชชาหรือ พญามารในรู ป ของกิ เ ลสตั ณ หาที่ ย อมศิ โ รราบอยู ่ ภ ายใน ขณะที่ ล วดลายของ ศิลปะไทยที่โอบล้อมพระพุทธองค์อยู่สองข้างนั้น ก็คือ การผสมผสานความงามแห่ง โลกตะวันออกเข้ากับมิติของกายภาพทางรูปทรงในโลกตะวันตกอย่างลงตัว การหวนกลับไปหารูปและเรือ่ งทีเ่ ป็นดัง่ จุดเริม่ ต้นของงานสร้างสรรค์ในอดีตของ ธงชัย ภายหลังจากที่ประสบความส�ำเร็จอย่างสูงกับภาพจิตรกรรมนามธรรมใน ยุคหนึ่ง รูปและเรื่องเหล่านั้นยังคงดึงดูดให้เขากลับไปพบกับมันอีกครั้ง แม้จะได้ พิจารณาความงามจากงานศิลปะหลากหลายรูปแบบ แต่หลักธรรมในพุทธศาสนา และความงามในพุ ท ธศิ ล ป์ ไ ทยก็ ยั ง คงเป็ น สิ่ ง ที่ ช วนให้ ร ะลึ ก ถึ ง อยู ่ ต ลอดเวลา “มหาวิเนษกรมณ์” จึงเป็นเสมือนบทเริ่มต้นอันคุ้นเคยที่จะได้หวนกลับเข้าหาธรรมะ ของพระพุทธองค์อย่างเป็นรูปธรรมอีกครั้งหนึ่ง เป็นบททดสอบของความอดทน และ ความเพียรพยายามในการหวนกลับมาสร้างสุนทรียภาพแห่งรูปและเรื่องที่ประณีต บรรจง เส้นเล็ก ๆ นับล้านเส้นที่แทรกตัวอยู่ทั่วทั้งภาพนั้น เมื่อรวมตัวกันเข้าก็กลาย เป็น ‘รูปแห่งความศรัทธา’ ที่เป็นเสมือนบทเริ่มต้นแห่งการก้าวเดินไปในวิถีทางของ พระพุทธองค์ เป็นการก้าวเข้าสู่ดินแดนแห่งสมาธิและความว่างจากโลกภายนอก ชั่วขณะหนึ่ง ที่แม้มิอาจเทียบเทียมภาวะแห่งความรู้แจ้งในพระพุทธองค์ แต่ภาวะ แห่งการเพ่งพิจารณาจิตอยู่กับรูปที่ปรากฏอยู่เบื้องหน้านั้น ก็เป็นภาวะแห่งความ สุขสงบที่ยากจะปฏิบัติได้บ่อยครั้งนัก การจารึกวิถีแห่งพระพุทธองค์ไว้ด้วยภาพจิตรกรรมแนวอุดมคติของธงชัยนั้น จึงนอกจากจะเป็นการถ่ายทอดเรื่องราวทางพุทธประวัติในลักษณะของงานศิลปะ ร่วมสมัยทีบ่ ริบรู ณ์ไปด้วยสุนทรียภาพแห่งการรวมตัวกันของทัศนะธาตุทางศิลปะหรือ ความงามแห่งรูปแล้ว ในสิ่งอันเป็น นาม หรือ สาระที่สอดแสดงอยู่ภายใต้ความงาม แห่งรูปนัน้ ยังเต็มไปด้วยสุนทรียะทางธรรม เป็นความงามทีซ่ อ่ นตัวอยูใ่ นรูปของธรรมะ เป็นธรรมะที่สอดแทรกมาในรูปของความงาม ซึ่งสุนทรียภาพเหล่านี้ ล้วนแต่เกิดจาก จิตอันรับรู​ู้ธรรมขึ้นภายในใจนั่นเอง บุษราพร ทองชัย (จากบทความประกอบนิทรรศการชุด “มหาวิเนษกรมณ์“ จัดแสดง ณ อาร์เดลเธิร์ดเพลส แกลเลอรี พ.ศ. ๒๕๕๑)

163


Mahabhinishkramana - the Beauty of Aesthetics and Moral According to Buddhist philosophy, the beauty of all things comes from the appearance and the mind. The ‘form’ and ‘name’ are perceived by our physical and conceptual abilities. The beauty of ‘form’ and ‘name’ does not only bring aesthetics to the viewers, for some particular artworks, it also creates aesthetic moral which, besides the pleasant feeling, has an effect on human behaviors in terms of conforming to morality. In short, it is a beauty that makes human beings and society continue happily. Thongchai Srisukprasert is the artist who created the ‘form’ of his art work based on his pondering back to the beginning of his artistic path. His excellent skills and experiences gained from the witnessing the aesthetics of western art revealing the beauty of mass and volume were applied to created Thai traditional art. His art works communicated the story of the life of Buddha that he felt impressed with. They were considered as Thai-universal contemporary art full of beauty and aesthetic moral. Once, Thongchai created the “Mortification” and “Misery Mind” to present the story of the life of Buddha; the conditions of mind during mortification by refraining from food, water and breathing. Thongchai presented the image of the Buddha through human body that was very thin with the hair spreading around the background. It represented the chain of misery locking the blind mind. The drawing patterns on his body and hair were the condition of the mind that was in the misery cycle and the body that decayed all the time.

สังสารวัฏ, ๒๕๕๑, สีอะคริลิค ทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๒๑๗ x ๑๐๘ ซม., ผลงานในสะสมของหอศิลป์ไร่เชิญตะวัน Samsara, 2008, acrylic and gold leaf on canvas 217 x 108 cm, Collection of Rai Chern Tawan

164

มหาวิเนษกรมณ์, ๒๕๔๖ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๗๐ x ๙๐ ซม. Mahabhinishkramana, 2003 acrylic on canvas, 70 x 90 cm


มหาวิเนษกรมณ์ ๑, ๒๕๕๑, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๗๕ x ๑๒๕ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Mahabhinishkramana 1, 2008, acrylic and gold leaf on canvas, 175 x 125 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

165


Besides the images of Buddha looking for Mahabhinishkramana, mortifying and enlightening that were the important moments in the life of Buddha that reminded the artist of the aesthetics of Thai traditional art and the aesthetic moral found in Buddhism, Thongchai also created the paintings representing the Buddhist philosophy through the symbols of “Gate of Dharma”, “Impression with Lanna Art” and “Self-Portrait.” His Thai contemporary artworks, “Self-Portrait”, presented the combination of Lanna architectural patterns and the antique craftsman’s technique of gliding through the dimensional form, as well as the modern technique of photography. All techniques were intervened with the beauty and Buddhist philosophy. In addition to the story of the life of Buddha and Buddhist philosophy, Thongchai also presented the “name” in terms of art through the two-dimensional and three-dimensional fine arts on canvas. Although they did not present the Buddhist story directly, the imaginative artworks that were created according to his interpretation of Buddhist philosophy became the new symbol of Thai contemporary art that still maintained complete and original message of Buddhist philosophy, as well as revealed the artist’s original thought. The image of Buddha’s enlightenment in black and white drawing presented the important moment of his enlightenment, after considering on the cause of misery for years. Thongchai presented the image of happiness of discovering the sublime path of holy life through the drawing of lotus and papal. The triangular shape around the Buddha was the Buddhist three gems. It locked up the ignorance or evil inside. The Thai drawing style around the Buddha revealed the artist’s efforts in integrating the eastern beauty with the western forms harmoniously. The paintings of “Mahabhinishkramana” with different dimensions of form and composition revealed his action while cutting his topknot with the knife in his right hand. This was because he thought that the topknot was inappropriate for monk. Cutting the topknot was considered a symbol of leaving the worldly conditions behind. Siddhartha’s calm face and eyes revealed the indifference for the properties. The doorway at the center of his chest was the palace of emptiness. It was the final gate to disengagement. The drawing patterns on his hair were the image of the life cycle that he wished to be free from. The background was the picture of living things in the cycle of misery. The dimensional form that was similar to sculptural work and only revealed the complete part of Siddhartha’s face and the ruined square frame in the background represented the ephemeral form or body. At the same time, it also presented the decay of ignorance. Further to it, the mountain signifying the peaceful land was found. It took only a few steps to reach it.

166

อภิเนษณ์กรม ๑, ๒๕๕๑ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๗๐ x ๑๒๕ ซม. Abhinishkramana 1, 2008 acrylic and gold leaf on canvas, 170 x 125 cm


พระโพธิญาณ, ๒๕๕๔, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๒๐๐ x ๓๐๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Enlightenment, 2011, acrylic on canvas, 200 x 300 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

“Mahabhinishkramana” is the collection of Thongchai’s artistic story. The exhibition is another new beginning to his familiar path that always reminds him of the path. The Buddha’s Dharma became clearer when he was considering it in the meditating and conscious state with the canvas in front of him. At that moment, Thongchai learned the emptiness and disengagement from the tumultuous world. It was the moment that he could reflect on life that was still intervened with body, taste, smell and sound. It was a test for his effort and internal struggling with external stimulant that led him consider the truth of Buddha’s Dharma once again. In the meantime, his faith became clearer. The life of Buddha recorded by Thongchai’s imaginative fine art does not only communicate the Buddhist philosophy that is beautiful with aesthetic form, the artwork also reveals substantial truth that is aesthetic moral. In this context, the beauty is concealed in the form of Dharma and vice versa. It shall enhance the human soul that is compared to four kinds of lotus when perceiving the beauty and aesthetic moral. This will lead to enlightenment to a greater extent. Bussaraporn Thongchai From ‘Mahabhinishkramana’ exhibition at ARDEL’s Third Place Gallery (2008)

167


นับตั้งแต่ภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในปีพุทธศักราช ๒๕๑๙ ศิลปะไทยประเพณี มรดกทางวัฒนธรรมอันล�้ำค่าของชาติก็ได้ถูกน�ำมาศึกษาค้นคว้าและรวบรวมไว้ใน รูปของข้อมูลอันเป็นประโยชน์ ทั้งในแง่ของการอนุรักษ์ และสานต่อ บุคลิกภาพของ ความเป็นไทยโดยแท้จริงถูกตั้งค�ำถามขึ้นเมื่อศิลปะตะวันตกเริ่มเข้ามามีบทบาทและ มีอทิ ธิพลเช่นเดียวกับทีศ่ ลิ ปะไทยซึง่ เคยปรากฏตัวอยูใ่ นโบสถ์วหิ ารได้เยือ้ งย่างน�ำพา เอกลักษณ์ทางรูปแบบอันงดงามเหล่านั้นออกมาพร้อม ๆ กับเหล่าบรรดาศิลปินซึ่ง ต่างก็ก�ำลังตั้งค�ำถามต่อบุคลิกภาพในการสร้างงานศิลปะของตนเอง ศิลปินจ�ำนวน มากได้น�ำเอารูปแบบแห่งความเป็นไทยดังกล่าวผสมผสานเข้ากับเนื้อหาเรื่องราว ทางสังคมปัจจุบนั รวมถึงเทคนิควิธกี ารทางการสร้างสรรค์ใหม่ ๆ เข้าไปในการท�ำงาน กระทั่งเกิดกลุ่มศิลปินร่วมสมัยส�ำคัญหลายคน อย่าง ปรีชา เถาทอง, เฉลิมชัย โฆษิตพิพฒ ั น์, ปัญญา วิจนิ ธนสาร, สมภพ บุตราช และศิลปินคนอืน่ ๆ อีกเป็นจ�ำนวน มากที่สร้างสรรค์ผลงานขึ้นจากความบันดาลใจในพุทธศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม ท้องถิ่น หรือเรื่องราวอันเกี่ยวเนื่องทางสังคมในช่วงเวลานั้น ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ คือหนึ่งในบรรดาศิลปินผู้สืบทอดอัตลักษณ์แห่งความ เป็นไทยแบบร่วมสมัยไทยในยุคต่อมาที่สร้างผลงานขึ้นจากความบันดาลใจในพุทธ ศาสนาและการผสมผสานคุณค่าทางวิวัฒนาการในศิลปะร่วมสมัยไทยเข้าไว้ด้วยกัน อย่างกลมกลืน เรื่องราวทางพุทธประวัติซึ่งเคยปรากฏบนฝาผนังของอดีตกาลอัน ยาวนาน ได้ถูกน�ำมาประมวลและร้อยเรียงขึ้นใหม่ในรูปของสัญลักษณ์ทางพุทธศาสนาที่มิได้ปรากฏให้เห็นเพียงเส้นรอบนอกและระนาบสีแบนเรียบ ธงชัยสร้างมิติ ในงานจิตรกรรมพุทธประวัติขึ้นใหม่ด้วยน�้ำหนักของแสงเงาซึ่งอาบไล้ไปตามรูปทรง แห่งสัญลักษณ์นั้น ขณะที่เส้นทัศนียภาพก็ได้น�ำสายตาของผู้ดูออกไปสู่มิติทางการ เห็นใหม่ที่รอบล้อมไปด้วยการรวมตัวกันขององค์ประกอบแห่งเรื่องราว ซึ่งเชื่อมโยง และเปิดมิตทิ างจินตนาการของคนดูออกไปสูเ่ นือ้ หาทางพุทธปรัชญาทีใ่ กล้ชดิ กับระดับ มิติแห่งความเป็นมนุษย์มากขึ้น

อภิเนษกรมณ์ ๒, ๒๕๕๑ ปากกาบนกระดาษ, ๑๗๕ x ๑๒๕ ซม. Abhinishkramana 2, 2008 pen on paper, 175 x 125 cm

168


เมื่อสมาธิมา ปัญญาก็เกิด การจดจ่ออยู่กับรูปเบื้องหน้าและการร้อยเรียง เส้นพู่กันในภาพเหล่านั้น หากพิจารณาให้ดีก็อาจเป็นเสมือนการท�ำสมถะกรรมฐาน หรือการฝึกจิตให้ตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว ครั้งหนึ่งธงชัยได้เคยกล่าวถึงผลงานของ ตนเองไว้ว่า “ผลงานของเขาจะยังคงร้อยต่อไปกับชีวิตที่ด�ำเนินไปอยู่เช่นนั้น ไม่มีวัน จบสิ้น...” จึงไม่แปลกที่เราจะได้เห็นภาพมหาวิเนษกรมณ์ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน หลายภาพปรากฏในนิทรรศการชุดนี้ เพราะเขาเชือ่ อยูเ่ สมอว่า ทุกครัง้ ทีเ่ ขาสร้างภาพ เหล่านั้นขึ้นมา ย่อมมีสิ่งใหม่ หรือทรรศนะใหม่ ๆ เกิดขึ้นให้ได้เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา ไม่มีวันจบสิ้น สิ่งใหม่ ๆ หรือทรรศนะใหม่ ๆ เหล่านี้ก็คือสิ่งที่เรียกว่า ความรู้หรือ ปัญญา อันเป็นผลพวงจากสมาธิที่เกิดขึ้นในใจของเขานั่นเอง “มหาวิเนษกรมณ์” จึงเปรียบเสมือนตัวแทนของห้วงเวลา ยุคสมัย และ การตอบค�ำถามต่อบุคลิกภาพของความเป็นไทยที่มิได้พูดถึงเพียงรูปลักษณ์ภายนอก แต่มันยังบอกเล่าความสัมพันธ์ระหว่างศิลปิน ศาสนา และอัตลักษณ์ของความเป็น ไทยได้อย่างลึกซึ้ง ทักษะทางการสร้างสรรค์อันประณีตและละเอียดอ่อนของศิลปิน อย่างเขายังคงเป็นเสน่ห์อันงดงามของศิลปะแห่งโลกตะวันออก ความผูกพันอย่าง ลึกซึ้งกับศาสนา รวมถึงการผสมผสานเนื้อหาและรูปลักษณ์ความงามแบบไทยเข้าไว้ กับเทคนิควิธีการสร้างสรรค์แบบตะวันตกผสมผสานกับเทคนิคไทยโบราณนั้น ก็คือ วิวฒ ั นาการอันทรงคุณค่าของศิลปะไทยประเพณีทแี่ สดงอัตลักษณ์ของความเป็นไทย โดยแท้จริง ถาวร โกอุดมวิทย์ (ค�ำนิยมประกอบนิทรรศการชุด “มหาวิเนษกรมณ์“ จัดแสดง ณ อาร์เดลเธิร์ดเพลส แกลเลอรี พ.ศ. ๒๕๕๑)

พุทธะ สว่าง - มืด, ๒๕๕๒ ดิจิตอลอาร์ต, ไม่ทราบขนาด Buddha: Light - Shadow, 2009 digital art, unknown size

169


Since the foundation of the Thai Art Department, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts in 1976, Thai traditional art and cultural heritage have been studied and collected in data format. This is useful for conserving and maintaining the actual Thai characteristics that are being questioned since the western art has become more influential. Likewise, the Thai art that once could be found in the temples are becoming more widely prominent. At the same time, the artists are also questioning about the personal characteristic of their artworks. There are many artists who integrate Thai identity with the current social happenings and new techniques into their works. They are considered the contemporary artists which include Preecha Thaothong, Chalermchai Kositpipat , Panya Vijinthanasarn, Sompop Budtarad and etc. These artists create the artworks according to the inspiration of Buddhism, traditions, local cultures and the social events at that particular time. Thongchai Srisukprasert is the artist who preserves Thai identity in contemporary style. He created the artworks based on his inspiration from Buddhism and the combination of the evolution of Thai contemporary art harmoniously. The story of Buddha that was once recorded as mural painting for a long time are recomposed in symbolic style that does not only include the drawing shape and colors without any dimension, Thongchai also creates the dimensional fine art presenting the life of Buddha by shading the symbolic forms. At the same time, the drawing line leads the viewers’ sight to the new perception. His artworks compose of the stories which will lead the viewers to the imagination of Buddhist philosophy that is easier for understanding. When the consciousness settles, wisdom occurs. Concentrating on the picture in front of him and painting the canvas is similar to meditating. ธงชัย once said about his artworks that: “my artworks shall be kept going along with my life without ending…” Unsurprisingly, we will see the similar image of Mahabhinishkramana in this collection. It is because he always believes every time that he creates those images, there always new things or perspectives for learning endlessly. These new things or perspectives are knowledge or wisdom which is the result of concentration. “Mahabhinishkramana” represents the period of time and the answer to the question of Thai identity. It does not only present the image of Thai identity, but also comprehensively communicates the relationship between the artist, religion and Thai identity. The artist’s elaborative expertise is always rendering the beauty of the eastern art, the tight bond with religion, as well as the combination of the Thai characteristics and the techniques of western and ancient Thai art. These are considered the valuable evolution of Thai traditional art that conveys actual Thai identity. Thavorn Ko-udomvit From ‘Mahabhinishkramana’ exhibition at ARDEL’s Third Place Gallery (2008) 170

พระพักตร์ พระโพธิญาณ, ๒๕๕๘ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๗๑ x ๕๑ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม The Face - Enlightenment, 2015 acrylic on canvas, 71 x 51 cm Collection of Khao Yai Art Museum

พระพุทธบ�ำเพ็ญ - ทุกรกิริยา, ๒๕๖๓ สีน�้ำบนกระดาษ, ๔๐.๗ x ๒๗.๒ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Buddha Practice - Asceticism, 2020 watercolor on paper, 40.7 x 27.2 cm Collection of Khao Yai Art Museum


พระพักตร์พระโพธิญาณ ๒, ๒๕๖๑ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบและกรอบไม้, ๔๐ x ๔๐ ซม. The Face - Enlightenment 2, 2018 acrylic and gold leaf on canvas and wooden frame 40 x 40 cm

171


พระโพธิญาณ, ๒๕๖๒ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบและกรอบไม้ ๘๑.๕ x ๘๑.๕ ซม. Enlightenment, 2019 acrylic and gold leaf on canvas and wooden frame 81.5 x 81.5 cm

พระพุทธบ�ำเพ็ญทุกรกริยา, ๒๕๖๓ สีน�้ำมันบนกระดาษ, ๔๐.๗ x ๒๗.๒ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Buddha Practiced Severe Asceticism, 2020 oil on paper, 40.7 x 27.2 cm Collection of Khao Yai Art Museum

172


173


พระพุทธบ�ำเพ็ญ - ทุกรกิริยา, ๒๕๖๓ สีอะคริลิคและลายรดน�ำ้ บนผ้าใบ, ๑๘๐ x ๑๒๐ ซม. Buddha Practice - Asceticism, 2020 acrylic and lacquer work on canvas, 180 x 120 cm

174


175


พระพักตร์พระโพธิญาณ, ๒๕๖๒ สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๑๘๐ x ๑๘๐ ซม. The Face - Enlightenment, 2019 oil on canvas, 180 x 180 cm

พระพักตร์พระโพธิญาณ, ๒๕๖๒ สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๑๔๐ x ๑๐๐ ซม. The Face - Enlightenment, 2019 oil on canvas, 140 x 100 cm

176


ในอดีต โลกศิลปะมีกลุ่มลัทธิต่าง ๆ ที่ศิลปินกล่าวอ้างว่าผลงานศิลปะที่สร้างสรรค์ขึ้นนั้น จรรโลงใจ สร้างศิลปะเพื่อประเทืองปัญญา สร้างศิลปะเพื่อเป็นการค้นหา สร้างศิลปะเพื่อแสดง ทัศนะและประสบการณ์ใหม่ สร้างศิลปะเพื่อเป็นสิ่งที่ให้ข้อคิดเห็นอันเกี่ยวข้องกับธรรมชาติ รวมไปถึงการปฏิรปู สังคมและสิง่ แวดล้อม จวบจนถึงปัจจุบนั ศิลปะมากมายหลายแขนงคละเคล้า ในองค์รวมของสังคมให้ศิลปะเป็นสื่อแสดงออกทางด้านสุนทรียภาพของมนุษย์ ศิลปะเกิดขึ้นมา จากวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี คติ ความเชื่อ ความคิดและจิตวิญญาณ ผูกผสานเชื่อมโยง ระหว่างความงามทางจิตใจและความเจริญทางวัตถุ ที่ศิลปินได้กลั่นกรองออกมาจากทัศนคติ ส่วนลึกภายใน ผ่านพื้นฐานทักษะที่มีอยู่ และสิ่งที่เรียกว่า “ทักษะ” นี้มีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อ การสร้างสรรค์ผลงานเพราะเป็นสิ่งหลอมรวมความรู้ความสามารถที่จะตอบสนองความคิดและ จินตนาการ และยังเป็นตัวน�ำให้เกิดการสร้างงานศิลปะในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงการที่จะส่งเสริม ผลักดันจุดหมายในการสร้างสรรค์ให้บรรลุความส�ำเร็จ ในผลงานชุด “มหาวิเนษกรมณ์” นี้ เป็นการรวบรวมชุดผลงานในแนวทางพุทธศิลป์ซึ่งใช้ ระยะเวลาในการสร้างสรรค์ไม่ตอ่ เนือ่ งกัน แรงบันดาลใจส่วนใหญ่คอื ความปรารถนาในการเขียน รูปทีม่ คี วามละเอียดประณีต ใช้ทกั ษะฝีมอื และใช้สมาธิ โดยไม่ได้คำ� นึงถึงการแสดงออกทางศิลปะ ในแนวทางที่ตนเองพบความส�ำเร็จจากการศึกษาและการที่ได้รับรางวัล ผลงานชุดนี้จึงเป็นไป โดยความตั้งใจจะท�ำงานในแนวความคิดที่เกี่ยวข้องกับพุทธปรัชญา โดยมีเนื้อหาจากเรื่องราว ในพุทธประวัติ ซึ่งไม่ได้มุ่งเล่าเรื่องตามแบบแผนดั้งเดิม สิ่งที่ปรากฏในผลงานค่อนข้างโน้มเอียง มาทางการแสดงออกด้วยทัศนคติและจินตนาการส่วนตน เป็นความสนใจตั้งแต่เมื่อครั้งที่ได้ เริ่มต้นเรียนศิลปะและจากประสบการณ์ที่ได้เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนัง ณ วัดพุทธปทีป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ร่วมกับ อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ และ อาจารย์ปัญญา วิจินธนสาร เมื่อประมาณ ๒๐ ปีที่ผ่านมา ความหมายของค�ำ “อภิเนษกรมณ์” หรือ “มหาวิเนษกรมณ์” คือ การออกบวชเพื่อคุณ อันยิ่งใหญ่ เป็นการเสียสละความสุขเพื่อค้นหาทางดับทุกข์ให้แก่มวลมนุษย์จนกระทั่งเข้าสู่การ “ตรัสรู้” ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งรูปแบบของภาพจิตรกรรมโบราณได้กระทบใจทั้ง รูปทรงและเนือ้ หาซึง่ ก็เชือ่ มโยงไปถึงความคิดทีใ่ นบางเวลาได้ดำ� เนินชีวติ ผิดพลาดหรือตามใจตน จนเสียกิจวัตรอันมีค่าที่จะเป็นประโยชน์ต่อหน้าที่ ที่พึงกระท�ำ และการที่เกิดส�ำนึกเกิดเป็น ภาพสะท้อนให้คิด จึงได้รวบรวมน�ำมาสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งในแต่ละชิ้นที่สร้างใช้เวลาอยู่ กับงาน อยูก่ บั ความปิตทิ ไี่ ด้สร้างสรรค์งานด้านทัศนศิลป์ จนบางเวลาได้ตดั ขาดจากวังวนทีท่ ำ� ให้ ต้องออกไปเผาผลาญกิเลสมารที่รุมเร้าซ่องสุมภายในจิตใจ

177


In the past, there were many art movements who claimed that their art encouraged people. They created the artworks to maintain wisdom; discover something new; express perspectives and create new experiences; leave a message about nature for consideration; and reform the society. At present, art is considered the media for expressing human aesthetics. Art is derived from the ways of life, cultures, traditions, principles, believes, and souls. Art is connected with the beauty of the mind and the material evolution that are analyzed according to the artist’s attitude and presented through the artist’s skill. The “skill” is very important for creating the artworks. It is because the skill is the accumulation of knowledge and competence to respond to the idea and imagination. It also leads to the creation of artwork in different styles, as well as support for the achievement of the artist’s aim. The “Mahabhinishkramana” is the collection of my Buddhistic art that took some incoherent times for creation. Most of the inspiration comes from my desire to create the elaborate artwork that I can perform my expertise and concentration without considering expressing the art pattern that I succeeded from education and competitions. This collection of artworks was created with the intention to present the ideas relating to Buddhist philosophy. I captured the story of the life of Buddha. However, I did not intend to tell the story according to the traditional pattern. My artworks revealed the expression of my personal attitudes and imagination that I have been interested in ever since I began studying art and gained experiences from mural painting at Buddhapadipa Temple, London, England with Chalermchai Kositpipat and Panya Vijinthanasarn about 20 years ago. The meaning of “Abhinishkramana” or “Mahabhinishkramana” is to ordain. It is the great sacrifice of the Buddha to seek for the sublime path for holy life of humanity until he reaches “enlightenment.” I am moved by the forms and contents of the ancient fine art. It makes me realize and reminds me of the moments that I made mistakes or indulged myself too much to miss the obligations and the good opportunities for my work. I, therefore, collected my thoughts and created this collection of artworks. Each one of them took a long time to complete. It allowed me to linger with happiness and disengage the lustful desires for sometimes.

178


179


ภาพบรรยากาศจากนิทรรศการ มหาภิเนษกรมณ์ จัดแสดง ณ อาร์เดลเธิร์เพลส แกลเลอรี พ.ศ. ๒๕๕๑ Installation view from the exhibition Mahabhinishkramana at ARDEL’s Third Place Gallery in 2008

180


181


กามา, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของ เขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Kama, 2012, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

ผลงานชุด โลกียธรรม ธงชัย ศรีสขุ ประเสริฐ เคยกล่าวไว้วา่ สมัยเรียนทีม่ หาวิทยาลัยศิลปากร ตนเองเป็นนักศึกษาทีส่ ามารถสร้างสรรค์ผลงานได้ทกุ เทคนิคทีม่ ใี นการเรียน การสอน เพ้นท์ ปั้น พิมพ์ ไทย ท�ำได้ดีทุกกระบวน ศักยภาพในข้อนี้ได้รับ การพิสูจน์เมื่อประเทศไทยโดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร เกิดมหาอุทกภัย ครั้งใหญ่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔ มวลน�้ำจ�ำนวนมหาศาลที่ไหลบ่าเข้าท่วม บ้านเรือน ถนนหนทาง ส่งผลให้เขา “ติดเกาะ” อยูใ่ นบ้าน แต่ในขณะเดียวกัน การต้องอยู่กับบ้านนาน ๆ กลับส่งเสริมให้มีเวลาในการพิจารณาความคิด มีเวลาว่างส�ำหรับการท�ำงานกับดินน�้ำมันที่ซื้อมาเตรียมอุดท่อกันน�้ำท่วม มีเวลาหวนกลับไปสรรสร้างผลงานประติมากรรมจนกระทัง่ กลายเป็นผลงาน ชุด โลกียธรรม

182

สามขุม, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของ เขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Three Worlds, 2012, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum


อรหัน, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Orahan, 2012, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

โลกียธรรม มีความหมายถึงความข้องเกี่ยวในกามารมณ์ ความสุข ทางโลก และความเพลิดเพลินตามวิถีคนที่ยังมีกิเลส และด้วยแนวความคิดนี้ เขาได้ก้าวข้ามมิติของการแสดงออกทางจินตนาการในงานจิตรกรรมไปสู่ การสร้างสรรค์เป็นงานประติมากรรมที่จับต้องได้ อารมณ์แฝงเร้นในผลงาน หลายชิ้นบอกเล่าถึงความปรารถนา ความต้องการจะมีจะเป็น แสดงรูปลักษณ์ ของร่างมนุษย์ที่ถูกผสมผสานด้วยร่างของสรรพสัตว์ที่แฝงซ่อนความหมาย จั บ คู ่ ต รงกั น ข้ า มของสิ่ ง อ่ อ นโยนสอดรั บ กั บ สิ่ ง ดุ ร ้ า ย ความละมุ น แย้ ง กั บ การกร้าวแกร่งส�ำแดงพลัง การประสานรวมเรือนร่างระหว่างมนุษย์และ สรรพสัตว์จากแดนหิมพานต์ บ่งชีถ้ งึ จินตนาการและแนวความคิดทีห่ ลุดพ้นไป จากโลกแห่งความเป็นจริง รายละเอียดในผืนภาพโทนสีนำ�้ เงินท่ามกลางพืน้ หลังเข้มขรึมเต็มไปด้วย สัญลักษณ์ของความสุขและความทุกข์ในวิถีแห่งโลกีย์ ซึ่งมิได้มีความหมาย แต่ในทางกามารมณ์ หากแต่ครอบคลุมไปถึงความสุขในโลกทั้งหลายทั้งปวง วงกลมสีน�้ำเงินที่ซับซ้อนไปด้วยเรือนร่างหญิงชายบิดเอี้ยวทอดผ่าน ลวดลาย กนกเปลวและการผูกลายอันละเอียดอ่อนซึ่งจ�ำเป็นต้องอาศัยทักษะและเวลา ในการบรรจงแตะแต้มปลายพู่กัน เป็นสัญลักษณ์ที่หล่อรวมขึ้นจากความ หลากหลายของเหตุการณ์ รวมถึงสถานการณ์มากมายที่ผู้คนจ�ำเป็นต้อง เวียนว่ายพานพบ ความหลงใหลในความงามของอิสตรี แรงปรารถนาของบุรษุ พลังอ�ำนาจ สัญชาตญาณ ตลอดจนอารมณ์ความรู้สึกจากการพุ่งกระทบของ สภาวะแวดล้อม เกิดเป็นผลงานที่ลึกล�้ำทั้งในด้านการสร้างสรรค์ สื่อแสดงถึง ความรู้สึกเบื้องลึกภายใน และสะท้อนสะเทือนถึงความเป็นไปในเหตุการณ์ บ้านเมืองยุคปัจจุบัน ผลงานของธงชั ย ศรี สุ ข ประเสริ ฐ ทั้ ง จิ ต รกรรมและประติ ม ากรรม ล้ ว นนั บ เนื่ อ งเป็ น มิ ติ ใ หม่ ที่ ก ้ า วข้ า มมาจากการพั ฒ นาความคิ ด และการ แสดงออกที่ เ ปลี่ ย นผั น รุ ด หน้ า ไปตามกาลเวลาและประสบการณ์ รวมถึ ง แรงบันดาลใจของศิลปินผู้ซึ่งมีความอ่อนไหวและมีความรู้สึกรับรู้ได้ไวกว่า บุคคลอื่น ส่งผลต่อแนวความคิดและการสร้างสรรค์ที่ชี้เฉพาะถึงอัตลักษณ์ของ ตนเองได้อย่างชัดแจ้ง แม้ในท่ามกลางความขัดแย้ง ความหมกมุ่นครุ่นคิด ความปรารถนา ก็ยงั สามารถแสดงออกซึง่ ความงามและสุนทรียภาพแห่งศาสตร์ และศิลป์ไว้ได้ เฉกเช่นเดียวกันกับความเป็นไปในโลกสัพเพ ทีม่ ที งั้ สิง่ พึงใจและ ไม่พอใจหลอมรวมอยู่ด้วยกันเสมอ “โลกียธรรม” หากมองในมุมกว้างก็อาจตีความได้ถงึ ความสุขในทางโลก ที่มนุษย์แสวงเสพดาษดื่นสามัญ ต่างปรารถนาเพื่อสนองอายตนะ อาทิ สัมผัส ลิ้มรสทางกาย ด้วยการกินดื่ม การสนองกิเลส ตัณหา ความปรารถนาทั้งใน ทางจิต ด้วยการยลยินมธุรสวาจา เฝ้ากอดรัดอัตตามุ่งหมายไขว่คว้าชัยชนะ แห่งชีวิตในด้านต่าง ๆ ความยึดมั่นถือมั่นเหล่านี้นับเป็นวิถีทางโลกที่เพศ ฆราวาสทั้งหลายต่างต้องเวียนว่ายพบเผชิญ ในอีกแง่หนึ่ง “โลกียธรรม” อาจจะเป็นต้นเค้าให้ผู้คนได้ออกเดินทางเพื่อแสวงหา โลกุตรธรรม เพื่อ หลุดพ้นไปสู่ความว่าง เพราะเมื่อชีวิตที่ด�ำเนินอยู่ล้วนเต็มไปด้วยความวุ่นวาย การหลบหลี ก ปลี ก เร้ น เพื่ อ สงบว่ า งทางจิ ต ใจก็ อ าจเป็ น สิ่ ง ที่ ใ ครหลายคน ปรารถนา เฉกเช่นเดียวกันกับความมืดอาจเป็นที่อยู่ของประกายแสง ไม่ แตกต่างจากเสียงอึกทึกครึกโครมทีโ่ น้มน�ำให้เราโหยหาความสงบเย็นก็เป็นได้

183


The series Logiyadhamma Thongchai Srisukprasert once said that he could work and did well with every technique taught at Silpakorn University, be it painting, sculpture, printmaking, or Thai art. This potential was proven when Thailand, especially Bangkok, was hit by the great flood in 2011. The deluge of water drowned homes and roads, leaving him ‘stranded’ in the house. However, staying at home for a long time encouraged him to ponder over his ideas by toying with the plasticine he had prepared for blocking the pipes to prevent the flood. As a result, he got time to sculpt and create a new series that was Logiyadhamma. Logiyadhamma involves lust, worldly happiness, and enjoyment of laypeople who are still tainted with sins. With this concept, he has transcended imaginary expressions in painting to the tangible sculptures. The hidden emotions in many works speak of the desire, the need to own and to be through the form of semi-human beings and beasts by matching two oppositions such as kindness and ferocity. The physical fusion of human bodies and Himmapan creatures points out the imagination and ideas that go beyond the real world. The details in a blue-toned picture among a dark background full of symbols of happiness and suffering do not only express mundane desires of carnality, but they also cover every happiness in this world. A complex blue circle with women and men twisting through Kranok Plaew, a delicately bound pattern that requires skill and time to compose, is a symbol made up of a variety of events and situations in everyday life. Fascination with women’s beauty, the desire of men, power, intuition, as well as the emotional impact from the surrounding all played their part in conceiving a profound piece of art that expresses feelings deep within meanwhile reflecting the current scenes of the country. Both paintings and sculptures in this series are considered the next step of innovative thinking and execution that improved over time with experiences. Moreover, the inspiration of the artist, who is more sensitive and mentally moved by the circumambient than others, influences ideas and creative processes that clearly signify his personality. Even amid conflicts, obsession, and yearning, the beauty and aesthetics of science and arts can still be equally expressed, just like the possibility of a world that both satisfaction and dissatisfaction coexist.

184

ภาระ, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของ เขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Burden, 2012, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum


นางนกเงือก, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของ เขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Great Hornbill Lady, 2012, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

หลง, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของ เขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Enchantment, 2012, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

“Logiyadhamma”, if viewed from a broader perspective, can refer to the mundane pleasure that human beings indulge themselves in to respond to their physical and mental desires via senses such as touching, tasting, hearing while embracing their ego and the need for success in life. These attachments are the worldly way that all secular lives must be facing. On the other hand, “Logiyadhamma” may be the beginning of a journey in search of Lokutara. Escaping to emptiness when life continues to be so full of turmoil may be the answer for those who want to break away to calm their mind, just as darkness may be the shelter of light, the bustling noise may as well leave us to yearn for peace.

185


มนุสสานัง, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Manussanung, 2012, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

186


กิเลส, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Desire, 2012, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

187


กาเม, ๒๕๖๓, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Kama, 2020, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

ตัวกินฝัน, ๒๕๖๓, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Dream Eater, 2020, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

อรหัน, ๒๕๖๓, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Orahan, 2020, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

นั่งพนมมือ, ๒๕๖๓, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Pay Respect with Hands, 2020, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

188


ฮันเตอร์ โมเดล, ๒๕๖๓, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Hunter Model, 2020, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

โลภะ, ๒๕๖๓, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Greed, 2020, acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

อาสวะกิเลส, ๒๕๖๓ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Asava, 2020 acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

อโศกานุสาวรีย์, ๒๕๖๓ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Monument of Ashoka the Great, 2020 acrylic on canvas, 100 x 80 cm Collection of Khao Yai Art Museum

189


กามา - ตัณหา, ๒๕๕๕, หล่อส�ำริด, ๗๒ x ๕๐ x ๗๕ ซม. Kama – Tanha, 2012, bronze, 72 x 50 x 75 cm

190


โลกียธรรม: ความดี ความงาม และความจริงแห่งกามา หากจะกล่าวถึงแก่นแกนแห่งพุทธปรัชญากับวิถีการด�ำเนินชีวิตในปัจจุบันของผู้คน การกระท�ำ ที่แสดงออกกับแนวคิดที่แฝงอยู่ภายใต้อ�ำนาจควบคุมแห่งจิต ล้วนมีเนื้อหาสาระที่สามารถตีความผูกโยง เข้ากับค�ำสอนของบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนาได้ทงั้ สิน้ แม้แต่พฤติกรรมดาษดืน่ สามัญอย่างการกินดืม่ เสพสม วิถีคิดกระบวนงาน กระทั่งวิธีการจัดการกับสภาวะรอบกายในสังคม หลักการแห่งการด�ำเนินชีวิต ในเพศฆราวาสทีจ่ ารึกในคัมภีรต์ ำ� ราเล่มหนา อาจเป็นสิง่ ทีใ่ ครหลายคนไม่เคยสนใจจะอ่านผ่านตาแม้เพียง บรรทัด ในแง่ของความเป็นจริงสิ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ในช่วงชีวิตหนึ่งของเราล้วนเกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยงกับทางแห่งโลกียธรรม อันหมายถึง ความข้องเกี่ยวในกามารมณ์ ความสุขทางโลก และความ เพลิดเพลินตามวิถีคนที่ยังมีกิเลส ประเด็นคือ ผู้ใดจะสามารถมองเห็นธรรมชาติแห่งจิตและการกระท�ำที่ เชื่อมร้อยรัดกับความปกติแห่งโลกอันเป็นสังสารวัฏได้ เฉกเช่นผลงานศิลปะในนิทรรศการ “โลกียธรรม” โดย ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ ศิลปินและอาจารย์ประจ�ำภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและ ภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ธงชัย ศรีสขุ ประเสริฐ นับเป็นศิลปินมากความสามารถคนหนึง่ ทีส่ ร้างสรรค์ผลงานศิลปะไทยมาอย่าง ต่อเนือ่ งยาวนาน รูปแบบการสร้างสรรค์ทโี่ ดดเด่นเป็นทีร่ จู้ กั อย่างกว้างขวาง คืองานจิตรกรรมกึง่ นามธรรม ที่งดงามด้วยรูปทรงและเส้นสีขรึมขลัง ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ เป็นหนึ่งในกลุ่มศิลปินที่อาสาเขียน ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ณ วัดพุทธปทีป ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ร่วมกับศิลปินชั้นครูหลายท่าน อาทิ เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์, ปัญญา วิจินธนสาร และสมภพ บุตราช นอกจากนั้น ยังนับเป็นศิลปิน รุน่ บุกเบิกเส้นทางของการสร้างสรรค์ศลิ ปะไทยให้ปรากฏเป็นศิลปะร่วมสมัยได้อย่างสง่างามและทรงคุณค่า ผลงานของเขาก้าวหน้าไปทั้งในแนวทางกึ่งนามธรรมและต่อยอดไปถึงงานรูปแบบศิลปะรูปลักษณ์ (Figurative) ที่เปี่ยมด้วยรูปทรงและเส้นสายจากทักษะสูงและความละเอียดอ่อน ผลงานของเขาเคยได้รับ รางวัลระดับประเทศมามากมาย ทั้งยังมีนิทรรศการแสดงผลงานร่วมกับศิลปินชั้นแนวหน้าหลายครั้ง และ ในนิทรรศการ โลกียธรรม ครั้งนี้ นับเป็นนิทรรศการเดี่ยวครั้งที่ ๕ ผลงานส่วนใหญ่ของ ธงชัย ศรีสขุ ประเสริฐ เป็นทีร่ จู้ กั อย่างกว้างขวางในวงการศิลปะเมืองไทย เป็น ผลงานจิตรกรรมแนวพุทธศิลป์หรือจิตรกรรมแบบไทยประเพณี แต่สำ� หรับนิทรรศการครัง้ นี้ เขาได้กา้ วข้าม มิตขิ องการแสดงออกในงานจิตรกรรมไปสูก่ ารสร้างสรรค์เป็นงานประติมากรรม ซึง่ นับได้วา่ เป็นการแสวงหา เส้นทางการน�ำเสนอของศิลปินทีม่ คี วามสามารถเชีย่ วชาญทัง้ ทางด้านจิตรกรรมและประติมากรรมได้อย่าง น่ า สนใจ ซึ่ ง ผลงานในนิ ท รรศการมี เ นื้ อ หาเกี่ ย วกั บ จิ น ตนาการจากโลกี ย ะ สิ่ ง ที่ ก ่ อ รู ป ขึ้ น ด้ ว ยจิ ต เป็นนามธรรมเหนือความจริงแต่ได้สรรสร้างออกมาให้เป็นรูปธรรมสัมผัสจับต้องได้ จากแนวความคิดและ การแสดงออกทีเ่ ปลีย่ นผันรุดหน้าไปตามกาลเวลาและประสบการณ์ รวมถึงแรงบันดาลใจของศิลปินผูซ้ งึ่ มี ความอ่อนไหวและมีความรู้สึกรับรู้ได้ไวกว่าบุคคลอื่น ส่งผลต่อแนวความคิดและการสร้างสรรค์ที่ชี้เฉพาะ ถึงอัตลักษณ์ของตนเองได้อย่างชัดแจ้ง แม้ในท่ามกลางความขัดแย้ง ความหมกมุน่ ครุน่ คิด ความปรารถนา ก็ยงั สามารถแสดงออกซึง่ ความงามและสุนทรียภาพแห่งศาสตร์และศิลป์ไว้ได้ เฉกเช่นเดียวกันกับความเป็น ไปในโลกสัพเพ ที่มีทั้งสิ่งพึงใจและไม่พอใจหลอมรวมอยู่ด้วยกันเสมอ หัสภพ ตั้งมหาเมฆ (จากบทความประกอบนิทรรศการ โลกียธรรม จัดแสดง ณ อาร์เดลเธิร์ดเพลส แกลเลอรี พศ. ๒๕๕๕)

191


Logiyadhamma: Righteousness, Beauty and Truth of Lust (Kama) Mindful or profane action such as eating, drinking, thinking or handling with surroundings can be related to Buddha’s teaching. Many people never pay attention to the book on principles for secular life, not even reading a line. Existence and death are included in the path of Mundane States called Logiyadhamma. They are lust, worldly happiness and pleasure desired by many people. What is more important is that who can perceive nature of mind and action in the midst of transmigration. Thongchai Srisukprasert, artist and art instructor for Thai Art Department, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University is reflecting his insight in his latest exhibition titled “Logiyadhamma.” Thongchai Srisukprasert is one of the prominent artists who has constantly created outstanding art work. His artistic style is widely recognized since it is a semi abstract work beautiful for its powerful shapes, lines and colors. Thongchai Srisukprasert is one of the artists volunteering in mural painting project for Wat Buddhapadipa in London, England in collaboration with many senior artists such as Chalermchai Kositpipat, Panya Vijinthanasarn and Sompop Budtarad. In addition, he is the pioneering artist who paved way for Thai art in contemporary style. His work is progressive both for semi-abstract and figurative approaches. The excellent and meticulous works have brought him many awards and opportunities to join group exhibitions with leading artist. “Logiyadhamma” is his 5th solo exhibition. Thongchai Srisukprasert is widely recognized in Thailand for his Buddhist art or Traditional Thai art. However, for this exhibition, he created sculptural works as creative approach to present his concept interestingly. He is skilled at both painting and sculpture. The works illustrate. Thongchai Srisukprasert’s fine art and sculptures reflect his progressive concepts and expression accumulated through time and experience. The artist’s sensitivity and inspiration also have impact on his unique concept and creative approach. Even in the midst of conflict, obsession and desire, he can present beauty and aesthetics of art and science. Similarly, we can find both satisfaction and disappointment in this profane world. Hassapop Tangmahamek From ‘Logiyadhamma’ Exhibited At ARDEL’s Third Place Gallery (2012)

192

มนุษภูมิ, ๒๕๕๕ หล่อส�ำริด, ๓๖ x ๙๕ x ๘๗ ซม. Beyond the Human Realm, 2012 bronze, 36 x 95 x 87 cm

อรหัน, ๒๕๕๕, หล่อส�ำริด, ๗๐ x ๘๒ x ๔๕ ซม. Orahan, 2012, bronze, 70 x 82 x 45 cm


สามขุม, ๒๕๕๕, หล่อส�ำริด, ๖๐ x ๒๓ x ๕๕ ซม. Three Worlds, 2012, bronze, 60 x 23 x 55 cm

193


194


ภาระ, ๒๕๕๕, หล่อส�ำริด, ๑๒๐ x ๖๕ x ๓๕ ซม. Burden, 2012, bronze, 120 x 65 x 35 cm

นางนกเงือก, ๒๕๕๕, หล่อส�ำริด, ๘๗ x ๖๓ x ๖๐ ซม. Great Hornbill Lady, 2012, bronze, 87 x 63 x 60 cm

หลง, ๒๕๕๕, หล่อส�ำริด, ๔๓ x ๗๐ x ๔๓ ซม. Enchantment, 2012, bronze, 43 x 70 x 43 cm

195


ราคะ, ๒๕๕๕, หล่อส�ำริด, ๔๘ x ๓๕ x ๒๓ ซม. Lust, 2012, bronze, 48 x 35 x 23 cm

196


กิเลส, ๒๕๕๕, หล่อส�ำริด, ๕๔ x ๓๐ x ๕๐ ซม. Desire, 2012, bronze, 54 x 30 x 50 cm

197


การพนมมือของพุทธศาสนิกชนคนไทย เป็นไปเพื่อแสดงตน เสมือนเป็น ดอกบัว ซึง่ หมายถึง “ผูร้ ู้ ผูต้ นื่ ผูเ้ บิกบาน” สมัยก่อนเมือ่ ผูเ้ ยาว์พนมมือไหว้ทกั ทาย สวัสดี ผู้ใหญ่ก็พนมมือรับไหว้สวัสดี เป็นวัฒนธรรมอันดีงามของไทยที่มีมา แต่อดีต สมัยใหม่ความเข้าใจคลาดเคลือ่ น ผูใ้ หญ่ไม่ไหว้เด็ก คนชังกันไม่ชอบกัน พาลไม่ไหว้กัน ท�ำให้จริยวัตรอันงดงามของคนไทยเสื่อมถอยจางหาย ที่น่า สะเทือนใจ ในบางอวิชาไปเคารพกราบไหว้สิ่งของแปลกประหลาด มากกว่าที่ จะให้เกียรติเคารพมนุษย์ด้วยกัน รูปปั้นคล้ายรูปร่างคนนั่งพนมมือจึงเป็นศิลปะ ที่สื่อถึงสุนทรียภาพ ความงดงาม จากรูปทรงสัญลักษณ์ของการนั่งพนมมือ

Thai Buddhists’ Wai is the act of putting their palms together to imitate the form of a lotus, which means “the awakened one”. Back when younger people greeted or paid respect to adults, they would receive the same gesture back. It is a good Thai culture that has existed until today. Nowadays, some adults are misunderstanding by not respecting children. People who hate each other do not greet one another with this gesture, making the beautiful behavior of Thai people fade away. It is even more heartbreaking that someone chooses to worship strange objects rather than honor and respect fellow human beings. The sculpture that resembles a person sitting with his palms closed together in the Wai gesture, therefore, represents aesthetics and beauty from such a symbolic act.

198


นั่งพนมมือชาย – หญิง, ๒๕๖๓ หล่อส�ำริด, ๑๑๘ x ๔๐ x ๖๐ ซม. (ชาย ๔๔ x ๓๐ x ๒๕ ซม. หญิง ๔๔ x ๒๘ x ๒๕ ซม.) Pay Respect with Hands (Male - Female), 2020 bronze, 118 x 40 x 60 cm (Male: 44 x 30 x 25 cm / Female: 44 x 28 x 25 cm)

199


อรหัน องค์ ๘, ๒๕๕๖, หล่อส�ำริด, ๑๑๕ x ๕๙ x ๕๙ ซม. Orahan 8, 2013, bronze, 115 x 59 x 59 cm

นางนกเงือก, ๒๕๖๓ หล่อเหล็กกล้า, ๑๙๐ x ๑๒๐ x ๑๓๐ ซม. Great Hornbill Lady, 2020 stainless steel, 190 x 120 x 130 cm

200


201


กาเม, ๒๕๖๓, หล่อส�ำริด, ๑๑๘ x ๔๐ x ๖๐ ซม. Kama, 2020, bronze, 118 x 40 x 60 cm

ตัวกินฝัน, ๒๕๖๑, หล่อส�ำริด, ๙๕ x ๓๙ x ๘๖ ซม. Dream Eater, 2018, bronze, 95 x 39 x 86 cm

202


203


พรหมวิหาร, ๒๕๖๑ หล่อเหล็กกล้า, ๒๔๙ x ๗๐ x ๗๐ ซม. Brahmavihara, 2018 stainless steel, 249 x 70 x 70 cm

204


205


ฮันเตอร์ โมเดล, ๒๕๖๑, หล่อส�ำริด, ๘๙ x ๕๐ x ๗๒ ซม. Hunter Model, 2018, bronze, 89 x 50 x 72 cm

206


อาสวะกิเลส, ๒๕๕๗, หล่อส�ำริด, ๙๕ x ๓๖ x ๘๗ ซม. Avasa, 2014, bronze, 95 x 36 x 87 cm

207


208


209


มนุสสภูมิ, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๒๐๐ x ๓๐๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Beyond the Human Realm, 2012, acrylic on canvas, 200 x 300 cm Collection of Khao Yai Art Museum

210


โลกียธรรม ๑, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๒๘๓ x ๒๘๓ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Logiyadhamma 1, 2012, acrylic on canvas, 283 x 283 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

211


ภาพบรรยากาศจากนิทรรศการ โลกียธรรม จัดแสดง ณ อาร์เดลเธิร์เพลส แกลเลอรี พ.ศ. ๒๕๕๕ Installation view from the exhibition Logiyadhamma at ARDEL’s Third Place Gallery in 2012

212


โลกียธรรม ๓, ๒๕๕๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๒๐๐ x ๒๐๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Triangle Logiyadhamma, 2012 acrylic and gold leaf on canvas, 200 x 200 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

213


214


ภาพบรรยากาศจากนิทรรศการ โลกียธรรม จัดแสดง ณ อาร์เดลเธิร์เพลส แกลเลอรี พ.ศ. ๒๕๕๕ Installation view from the exhibition Logiyadhamma at ARDEL’s Third Place Gallery in 2012

215


ภาพบรรยากาศจากนิทรรศการ โลกียธรรม จัดแสดง ณ อาร์เดลเธิร์เพลส แกลเลอรี พ.ศ. ๒๕๕๕ Installation view from the exhibition Logiyadhamma at ARDEL’s Third Place Gallery in 2012

216


โลกียธรรม, ๒๕๕๕, ภาพพิมพ์โลหะ, ๒๕ x ๕๙ ซม. Logiyadhamma, 2012, etching, 25 x 59 cm

โลกียธรรม ๒, ๒๕๕๕, ภาพพิมพ์สกรีน, ๖๐ x ๖๐ ซม. Logiyadhamma, 2012, silkscreen, 60 x 60 cm

โลกียธรรม ๓, ๒๕๕๕, ภาพพิมพ์เมซโซทินท์, ๑๕ x ๑๕ ซม. Logiyadhamma, 2012, mezzotint, 15 x 15 cm

217


218


อโศกานุสาวรีย์, ๒๕๕๙, หล่อส�ำริด, ๑๒๐ x ๒๙ x ๑๑๓ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Monument of Ashoka the Great, 2016, bronze, 120 x 29 x 113 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

อโศกานุสาวรีย์, ๒๕๖๓, สีอะคริลิคบนผ้าใบ ๑๐๐ x ๘๐ ซม., ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Monument of Ashoka the Great, 2020, acrylic on canvas 100 x 80 cm, Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

219


พระพุทธศาสนา ถือเป็นหนึ่งในศาสนาที่มีความเก่าแก่ยาวนานและมีผู้คนเลื่อมใสให้ความศรัทธา มากที่สุดอีกศาสนาหนึ่งของโลก ปรัชญาค�ำสอนที่ว่าด้วยหนทางดับทุกข์ การปล่อยวาง การด�ำรงตนใน ทางสายกลาง หรือศีลสัจจะ ตลอดจนแก่นแกนในวจนะแห่งพระพุทธองค์ได้รบั การบันทึก เล่าขาน ส่งทอด และเผยแผ่ออกไปอย่างกว้างขวางในหมู่พุทธศาสนิกชนทุกชาติภาษาทุกเพศวัย ตัวอักษร ภาพเขียน รูปปั้น และมนุษย์มากมายท�ำหน้าที่เป็นสื่อในการบอกเล่าขยายความหลักธรรมมาตั้งแต่อดีตกาล ตราบจนปัจจุบัน ในแง่หนึง่ เราอาจกล่าวได้วา่ เราเรียนรูเ้ รือ่ งราวทางศาสนาผ่านศิลปะมาเนิน่ นาน ไม่วา่ จะเป็นภาพ จิตรกรรมฝาผนังเก่าแก่ทรงค่าในวัดวาอารามที่จารึกพุทธประวัติแห่งการประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน หรือรูปองค์พระปฏิมากรรมทีแ่ สดงให้เห็นถึงมหาบุรษุ ลักษณะอันเปีย่ มด้วยเมตตาให้ผคู้ นทีเ่ ข้าไปกราบไหว้ บูชาได้พบความสงบเงียบเยียบเย็น กระทั่งจารึกใบลาน ศิลาหลัก หรือพระไตรปิฎกที่บันทึกตัวอักษร ละลานตาในเชิงบอกเล่าแก่นธรรม สิง่ เหล่านีแ้ สดงให้เห็นว่า ศิลปะท�ำหน้าทีเ่ ป็นสือ่ เพือ่ ให้ผคู้ นเข้าถึงศาสนา มาตลอดระยะเวลา ๒,๖๐๐ ปี แห่งพุทธชยันตี (Sambuddha jayanthi) และในอีกมุมหนึง่ ศาสนาก็สามารถ ท�ำหน้าที่เป็นสื่อเพื่อให้ผู้คนเข้าถึงศิลปะได้เฉกเช่นผลงานในนิทรรศการ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ที่จะจัดขึ้นในช่วงปลายปี พ.ศ. ๒๕๕๕ นี้ ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ ศิลปินและอาจารย์สอนศิลปะมากความสามารถ เลือกน�ำเสนอแนวความคิด เกีย่ วกับพระธรรมในผลงานจิตรกรรมและประติมากรรมทีง่ ดงามเปีย่ มล้นด้วยจินตนาการ พระธรรมค�ำสอน ซึง่ เป็นแนวทางแห่งการพ้นทุกข์ถกู ตีความผ่านรูปลักษณ์ของสิง่ มีชวี ติ ทีว่ ปิ ริตบิดเบีย้ ว แสดงให้เห็นถึงกิเลส ตัณหา ความปรารถนา และอวิชชาในจิตใจมนุษย์ซึ่งปกคลุมไปด้วยโลกียะสุขจนกลายเป็นความทุกข์ ในมุมมองเช่นนี้ พระธรรมจึงเป็นเสมือนแสงสว่างแห่งปัญญาที่ส่องให้เห็นความอัปลักษณ์และความไม่รู้ ดุจดอกบัวจมตม

อุปาทาน, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๒๐๐ ซม. ผลงานในสะสมของเขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Delusion, 2012, acrylic on canvas, 100 x 200 cm Collection of Khao Yai Art Museum

220


ภวจักร, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบและกรอบไม้, ๑๗๖ x ๑๗๖ ซม. Circle Has No End, 2012 acrylic and gold leaf on canvas with wooden frame, 176 x 176 cm

โลกธรรม ๘, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ๑๘๐ x ๑๘๐ ซม., สมบัติของศิลปิน Normality, 2012, acrylic and gold leaf on canvas 180 x 180 cm, Collection of the artist

ผลงานจิตรกรรมสีอะคริลิคชื่อ “อุปาทาน” สร้างสรรค์ขึ้นบนกรอบภาพ แนวนอนขนาดใหญ่ ครึ่งหนึ่งของภาพเป็นกรอบสี่เหลี่ยมที่มีธรรมจักรและดอกบัว แห่งการรูแ้ จ้งเบ่งบานอยูภ่ ายใน อีกครึง่ หนึง่ เป็นพืน้ ทีพ่ ลุกพล่านสับสนของสรรพสัตว์ พันธุ์ผสม อาทิ งู หอย นก ม้า และหัวกะโหลกมนุษย์ รายละเอียดในชิ้นงานสองฟาก บ่งบอกถึงความสงบนิ่งของจิตที่รู้ซึ้งในรสพระธรรมกับความอัปลักษณ์วุ่นวายของ จิตที่ยึดติดอยู่ในมายาอุปาทาน ขณะที่ผลงานภาพ “ภวะจักร” ก็แสดงให้เห็นถึง วงวัฏจักรแห่งสรรพชีวติ ทีเ่ วียนว่ายในสังสารวัฏอย่างไม่รจู้ บ หนทางแห่งการดับทุกข์ เพื่อหลุดพ้นจากการเกิดดับคือมรรค ๘ ซึ่งถูกแทนค่าด้วยธรรมจักรแปดทิศ ตรง กลางธรรมจักรคือดอกบัวอันเป็นสัญลักษณ์ของแสงสว่างแห่งปัญญาทีร่ อให้สรรพชีวติ ได้เรียนรู้และมุ่งหน้าไปสู่ความสงบอันจริงแท้ในบั้นปลาย นอกจากผลงานจิตรกรรม ธงชัยยังสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมด้วย รูปลักษณ์ของสัตว์พันธุ์ผสมหลากหลายชนิดในผลงานชื่อ “ราคะ” ซึ่งปรากฏใบหน้า มนุษย์บนเรือนกายไร้แขนขา ช่วงตัวเป็นหน้าอกของสตรีเพศ ส่วนฐานกลับกลายเป็น วงขดคล้ายงู เหนือศีรษะเป็นวงก้นหอยที่หมุนวนขึ้นสู่เบื้องบน นัยยะของวงก้นหอย บนศีรษะนีเ้ ปรียบได้กบั เม็ดพระศกจ�ำนวนมหาศาลของพระพุทธองค์อนั เป็นสัญลักษณ์ แห่ ง ปั ญ ญาและความรู ้ แ จ้ ง ซึ่ ง หากมนุ ษ ย์ ยั ง ยึ ด ติ ด หลงใหลในกิ เ ลสตั ณ หา ความปรารถนาแห่งเพศรสราคะ วงก้นหอยหนึ่งเดียวเหนือศีรษะก็ย่อมไม่สามารถจะ น้อมน�ำคุณค่าแห่งธรรมะมาสูจ่ ติ ของตนเองได้ ขณะทีผ่ ลงานประติมากรรมชือ่ “โลภะ” ก็ ส ร้ า งสรรค์ ขึ้ น ภายใต้ แ นวความคิ ด เกี่ ย วกั บ ความอยากได้ อ ยากมี ความโลภ ความต้องการอันเป็นทุจริต ธงชัยใช้รูปทรงใบหน้ายักษ์ก�ำลังอ้าปากอวดเขี้ยวแหลม แสดงความหิวกระหายราวกับก�ำลังจะเขมือบกินทุกสิ่งที่ขวางหน้า ด้านตรงข้าม ปรากฏรูปทรงของมนุษย์เพศชายในท่วงท่าประกอบกามกิจอย่างหลงใหลคลั่งไคล้ ส่ ว นบนของชิ้ น งานเป็ น วงก้ น หอยที่ ท อดขึ้ น สู ่ ด ้ า นบน ความหมายของผลงาน ประติมากรรมทีง่ ดงามด้วยจินตนาการผสมผสานกับแก่นธรรม จึงชีใ้ ห้เราได้พจิ ารณา ถึงกิเลสตัณหาในจิตใจซ่อนลึกของสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า คน ศาสนาและศิลปะ แน่นอนว่าสองสิ่งนี้มีเป้าประสงค์เดียวกัน นั่นคือการ กล่อมเกลาให้ดวงจิตของผูค้ นสูงขึน้ ละเอียดอ่อนขึน้ และเกิดประกายแห่งพุทธิปญ ั ญา มากขึ้น ศาสนาและศิลปะที่ดีงามจะท�ำให้ผู้คนนิ่งเย็น สุขสงบ สมดังค�ำสอนในเรื่อง มงคล ๓๘ ประการ ซึ่งจารึกไว้ว่า การรอบรู้ในศิลปะ ถือเป็นมงคลข้อที่ ๘ ส�ำหรับ มนุษย์ ดังนั้น หมุดหมายของการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในครั้งนี้ จึงมีทั้งในแง่ของ การขยายขอบข่ายจากปรัชญาค�ำสอนในพระพุทธศาสนาตามจินตนาการของศิลปิน ให้แผ่กว้างเป็นที่รับรู้และเข้าใจแก่ผู้คน อีกทั้งยังเป็นการแสดงออกเชิงสุนทรียศาสตร์ แห่งความงามในทัศนธาตุของศิลปะร่วมสมัยไทย ซึง่ แน่นอนว่า หากผูช้ มงานได้ศกึ ษา และซาบซึง้ กับผลงานเหล่านีอ้ ย่างละเอียดชิดใกล้ ความงดงามของศิลปะแห่งไตรสรณะ อาจสามารถท�ำให้กากตะกอนฟ่องฟุ้งในจิตใจสงบลงบ้างก็เป็นได้เช่นกัน หัสภพ ตั้งมหาเมฆ (บางส่วนจากบทความประกอบนิทรรศการ “พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์” จัดแสดง ณ หอศิลป์ร่วมสมัยอาร์เดล พ.ศ. ๒๕๕๕)

221


Buddhism is a religion with a long history and the one with the most followers. The philosophies of way to end suffering, letting go and middle path as well as the Lord Buddha’s sayings have been narrated, passed down and disseminated to all Buddhists of all ages and genders. The letters, paintings, sculptures and human beings have been acting as a medium spreading Buddhist philosophies from past to present. We might say that we have learned about Buddhism through art including mural paintings in temples denoting the birth, the enlightenment and the nirvana of the Lord Buddha; the Buddha image representing the great and merciful man permeating calm and serenity to his followers; scripts in palm leaves, stone inscription and the Tripitaka, Pali Buddhist scripture, narrating Buddhist essence. All of these indicate that art has taken its role as a media encouraging people to appreciate religion throughout 2,600 years of Sambuddha jayanthi. On the other hand, religion is also a media encouraging people to appreciate art. This is the aim of the “Buddha Dharma Ecclesiastic” exhibition. Thongchai Srisukprasert, artist and art instructor, opts to present concept about Dharma through his imaginative paintings and sculptures. Dharma is a way to escape from misery. It is interpreted and presented through deformed life implying lust, passion, desire and indifference of human being. All of these lead to misery. Dharma is therefore a way to enlighten our wisdom so we can recognize viciousness and indifference. The acrylic painting called “Delusion” is created in horizontal dimension. Half of the work is the square frame with the Wheels of the Law and blooming lotus, a symbol of enlightenment, inside. Many animals such as snake, shell, bird, horse and human skull are found in another frame. The details of the 2 sets of art imply serenity of mind after appreciating Dharma and confusion of mind stuck to all of these attachments. The “Circle Has No End” presents cycle of lives that has carried on endlessly. The only way to end all these miseries is the Noble Eightfold Path representing through the 8 Wheels of the Law with the lotus, a symbol of wisdom, at the center. It is the destiny for everyone to achieve in order to find the real happiness at the end of the journey.

222


หลัก (เม็ดเงินเม็ดทอง), ๒๕๕๕, หล่อส�ำริดและหินอ่อน, ขนาดแปรผันตามพื้นที่ Backbone (Silver and Gold), 2012 bronze and marble, dimensions variable

In addition to painting, Thongchai has also created sculptures of hybrid animals. The “Lust” presents image of human being without limbs on the boat. Its torso is female while its foundation looks like a snake lying curled up. The circular pattern on the head symbolizes the Lord Buddha’s wisdom and enlightenment. If we still hold on to lust and sexual desire, our wisdom cannot bring Dharma to our mind. The “Backbone (Silver and Gold)” is created based on the concept of sinful self-indulgence. Thongchai communicates his concept through the sculpture of a man in sexual action. The head is found with the circular pattern curling upward. This beautiful work encourages us to examine lust in the mind of human being. Religion and art share the same goal, refining human mind and enlightening their wisdom. The good religion and art will keep people calm and serene as Mongkol 38 Prakarn (38 blessing ways to happiness) says that knowledge of art is the 8th blessing for human being. Therefore, the ultimate goals of this artistic creation are to broaden knowledge of Buddhist philosophies based on artist’s imagination and to express aesthetics of Thai contemporary art. If the viewers deeply examine and appreciate the works, the beauty of “Buddha Dharma Ecclesiastic” might help calm down the confusing mind. Hassapop Tangmahamek An Excerpt from Buddha Dharma Ecclesiastic Exhibition, at ARDEL Gallery of Modern (2012)

ภาพบรรยากาศจากนิทรรศการ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จัดแสดง ณ หอศิลป์ร่วมสมัยอาร์เดล พ.ศ. ๒๕๕๕ Installation view from the exhibition Buddha Dharma Ecclesiastic at ARDEL Gallery of Modern Art in 2012

223


อรหัน องค์ ๘, ๒๕๕๕, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๓๐ x ๓๐ ซม. Orahan 8, 2012, acrylic on canvas, 30 x 30 cm

224


225


โลกธรรม, ๒๕๕๗ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๗๖ x ๑๗๖ ซม. Worldly Certainties, 2012 acrylic on canvas, 176 x 176 cm

หลง, ๒๕๕๖ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๓๗ x ๑๐๓.๕ ซม. Enchantment, 2013 acrylic on canvas, 137 x 103.5 cm

226


227


อาสวะกิเลส หมายถึงกิเลสที่บ่มเพาะอยู่ในส่วนลึกของก้นบึ้งจิตใจของ คนเรา มีทั้งรัก โลภ โกรธ หลง มันบ่มซ่อนอยู่ในอารมณ์ความรู้สึกแห่งปุถุชน สามัญ ไม่มีรูปลักษณ์อันใดที่จะอธิบายออกมาได้ รูปทรงเกิดจากการพยายามปั้นออกมาให้เป็นชิ้นส่วน รูป ร่าง ก้อนเนื้อ ปะติดปะต่อ เป็นส่วนต่าง ๆ อวัยวะที่ผุดขึ้นในใจน�ำมาประกอบกัน ไม่มีรูปทรง ที่แน่นอน ขึ้นอยู่กับสภาวะที่อาสวะอันนั้นจะไปตะครุบ จับต้อง อะไรมาได้ จิตแห่งอาสวะจึงแปรรูปเป็นอะไรก็ได้ตามความปรารถนาของมนุษย์ ที่มาของรูปอาสวะนี้ มาจากการเรียนธรรมะเรื่องกิเลสต่าง ๆ ซึ่งเป็น นามธรรม จับต้องไม่ได้ ดั่งเช่นค�ำเรียกชื่อว่ากิเลสตัณหาราคะ ที่หาตัวตนไม่ได้ จึ ง น� ำ ความหมายเหล่ า นี้ ม าสร้ า งเป็ น ตั ว อาสวะกิ เ ลส หนึ่ ง ผลงานในชุ ด โลกียธรรม

Asava means the desire that cultivates in the depths of a human’s heart. There is love, greed, and anger hidden in the emotions of common people in which are amorphous and indescribable. The forms of this artwork arose from trying to shape them into pieces before assembling them as each organ that popped up in mind. There was no exact shape, depending on the state in which Asava was able to snap and touch. The mind of Asava, therefore, could transform into anything according to a human’s desire. The foundation of this painting comes from learning dhamma about various desires, which are intangible. Similarly, the word desire itself also owns an invisible character. Therefore, I employed these definitions to create Asava as part of the series Logiyadhamma.

228


อาสวะกิเลส ๑, ๒๕๕๖ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๓๗.๕ x ๑๐๓.๕ ซม. Asava 1, 2013 acrylic on canvas, 137.5 x 103.5 cm

229


ตัวกินฝัน, ๒๕๖๑ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. Dream Eater, 2018 acrylic and gold leaf on canvas, 100 x 80 cm

230


231


ประติมากรรมชุด พระโพธิญาณ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ธงชัยล้มป่วยกะทันหันด้วยอาการเส้นเลือดใน สมองแตกและต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยการผ่าตัด อย่างเร่งด่วน อาการในขณะนัน้ ไม่สดู้ แี ละมีความสุม่ เสีย่ งอย่างมาก ต่อความผิดปกติหลังการผ่าตัด อีกทั้งยังมีคณาจารย์ตลอดจน คนรู้จักหลายคนที่มีอาการป่วยแบบเดียวกัน แต่ไม่สามารถกลับมา เป็นปกติเหมือนเดิมหลังการผ่าตัดได้ ความเจ็บป่วยและความ หวัน่ เกรงต่อความผิดปกติของร่างกายสร้างความกังวลให้อย่างมาก ธงชัยอธิษฐานต่อพระพุทธรูปและพระบรมฉายาลักษณ์ของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ขอให้อาการป่วยทุเลาลงโดยไม่หลงเหลืออาการ ผิดปกติใด ๆ ของร่างกายทั้งสิ้น ขอให้ร่างกายปลอดภัยครบ ๓๒ ประการ หากเป็นจริงได้ดังนั้น ขอปฏิญาณที่จะปั้นพระบรมรูป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ และพระพุทธรูปที่ งามทีส่ ดุ เพือ่ ถวายเป็นพุทธบูชา อธิษฐานจิตเช่นนีท้ กุ วันก่อนผ่าตัด เป็นเวลา ๓ วัน ด้วยความตั้งใจที่จะท�ำรูปปั้น ๓ ชุด ตามจ�ำนวน วันที่อธิษฐาน ธงชัยพักรักษาตัวอยูใ่ นโรงพยาบาลเป็นเวลา ๘ วัน ภายหลัง จากผ่านพ้นการผ่าตัดมาได้ด้วยดี จึงเริ่มต้นสร้างสรรค์ผลงาน ประติมากรรม พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์จักรี จ�ำนวน ๓ พระบรมรูป และสร้างปฏิมากรรม พระพุทธรูปอีก ๓ องค์ รายได้จากการสร้างรูปในหลวงและสร้างพระ มีมามาก จนคาดไม่ถึง เพราะไม่ได้ตั้งใจจะให้เกิดการจัดจ�ำหน่ายมาตั้งแต่ แรก แต่เมื่อมีนักสะสมงานศิลปะให้ความสนใจอย่างต่อเนื่อง จึงน�ำ เงินที่ได้มาจากงานปั้นในหลวงและพระพุทธรูปนี้ไปสร้างหอไตร พระโพธิญาณ หอพระพุทธบ�ำเพ็ญ หอกลอง หอระฆัง และหอศิลป์ เทาที่บ้านเกิด จังหวัดเชียงใหม่ การก่อสร้างศาสนสถานแต่ละ แห่งแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ ตามล�ำดับ

232


พระโพธิญาณ, ๒๕๕๖ - ๒๕๕๗ หล่อส�ำริด, ๗๒ x ๒๙ x ๒๓ ซม. Enlightenment of Lord Buddha 2013 - 2014 bronze, 72 x 29 x 23 cm

พระพุทธบ�ำเพ็ญทุกรกิริยา, ๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ หล่อส�ำริด, ๗๒ x ๒๗ x ๒๓ ซม. Buddha Practiced Severe Asceticism 2015 - 2016 bronze, 72 x 27 x 23 cm

พระพุทธลีลา เสด็จลงจากดาวดึงส์, ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ หล่อส�ำริด, ๗๒ x ๒๕ x ๒๓ ซม. Lord Buddha Descending from Tavatimsa Heaven, 2016 - 2017 bronze, 72 x 25 x 23 cm

233


The Sculpture Series Enlightenment In 2013, Thongchai suddenly fell ill with a stroke and had to be hospitalized with urgent surgery. The symptoms at that time were not very favorable and he was at high risk of postoperative abnormalities. Many teachers at the faculty and acquaintances had confronted the same illness and were unable to return to normal afterward. The sickness and the fear of bodily disorders caused him great concern. Thongchai prayed to the Buddha statues and the image of His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great, wishing that the symptoms could alleviate without leaving any abnormal conditions. He asked for his body to be completely safe and solemnly vowed to sculpt the image of King Rama IX and the most beautiful Buddha images as an offering if his wish came true. Before the surgery, he prayed for three days straight, keeping in mind that if survived, he would make three sculpture series to meet the number of days that he had prayed. Thongchai stayed in the hospital for 8 days once going through the surgery. He, therefore, commenced his project to create three sculptures of His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great and three Buddha images. The proceeds from the sculpture project were unexpectedly overwhelming since he did not intend to sell them in the first place. Still, as art collectors continue to be interested in the works, he decided to produce more of them and use the earnings to build a scripture hall, belfry, bell tower, and Hall Zin Tao in his hometown of Chiang Mai. The construction of each place was completed in 2015, 2016, and 2017 respectively.

234

พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร (พระราชพิธีรัชดาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๑๔), ๒๕๕๗ หล่อส�ำริด, ๗๕ x ๔๕ x ๒๗ ซม. His Majesty King Maha Bhumibol Adulyadej the Great Borommanat Bophit (Silver Jubilee Ceremonial 1971), 2014 bronze, 75 x 45 x 27 cm


พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร (พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๓๙), ๒๕๕๖ หล่อส�ำริด, ๖๘ x ๕๙ x ๓๕ ซม. His Majesty King Maha Bhumibol Adulyadej the Great Borommanat Bophit (Gold Jubilee Ceremonial 1996), 2013 bronze, 68 x 59 x 35 cm

พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร (พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๔๙๓), ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐ หล่อส�ำริด, ๑๓๕ x ๕๙ x ๓๖ ซม. His Majesty King Maha Bhumibol Adulyadej the Great Borommanat Bophit (The Royal Coronation Ceremony 1950), 2015 - 2017 bronze, 135 x 59 x 36 cm

235


พระจันทกุมาร, ๒๕๖๓, หล่อส�ำริด, ๖๕ x ๓๐ x ๒๐ ซม. Canda-Kumara, 2020, bronze, 65 x 30 x 20 cm

236

พระนารถพรหม, ๒๕๖๓, หล่อส�ำริด, ๖๖ x ๓๖ x ๒๕ ซม. Narada, 2020, bronze, 66 x 36 x 25 cm


พระเนมิราช, ๒๕๖๓, หล่อส�ำริด, ๕๘ x ๒๓ x ๕๒ ซม. Nimi, 2020, bronze, 58 x 23 x 52 cm

พระภูริทัต, ๒๕๖๓, หล่อส�ำริด, ๖๘ x ๒๒ x ๒๔ ซม. Bhuridatta, 2020, bronze, 68 x 22 x 24 cm

237


พระมหาชนก, ๒๕๖๓, หล่อส�ำริด, ๕๑ x ๓๒ x ๓๕ ซม. Mahajanaka, 2020, bronze, 51 x 32 x 35 cm

238

พระมโหสถ, ๒๕๖๓, หล่อส�ำริด, ๕๘ x ๑๙ x ๓๒ ซม. Mahosadha, 2020, bronze, 58 x 19 x 32 cm


พระวิฑูรบัณฑิต, ๒๕๖๓, หล่อส�ำริด, ๕๘ x ๒๐ x ๓๕ ซม. Vidhura-Pandita, 2020, bronze, 58 x 20 x 35 cm

239


พระเวสสันดร, ๒๕๖๓, หล่อส�ำริด, ๕๖ x ๓๐ x ๓๐ ซม. Vessantara, 2020, bronze, 56 x 30 x 30 cm

240


พระสุวรรณสาม, ๒๕๖๓, หล่อส�ำริด, ๕๘ x ๓๗ x ๒๒ ซม. Sama, 2020, bronze, 58 x 37 x 22 cm

พระเตมีย์, ๒๕๖๓, หล่อส�ำริด, ๕๗ x ๒๑ x ๔๔ ซม. Temiya, 2020, bronze, 57 x 21 x 44 cm

241


นักษัตรบริวาร “ฉกามาพจร“, ๒๕๖๓ หล่อส�ำริด, ๗๘ x ๗๓ x ๔๐ ซม. Zodiac in Six Heavens of the Desire Realm, 2020 bronze, 78 x 73 x 40 cm

242


243


หอศิลป์เทา จังหวัดเชียงใหม่ ตลอดระยะเวลาการเป็นอาจารย์สอนศิลปะควบคู่กับการเป็น ศิลปิน ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ ถูกย�้ำเตือนจากรุ่นพี่ที่เคารพนับถือกันมา ช้านานอย่าง อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ มาโดยตลอดว่า เขาควร เป็นศิลปินอิสระเพือ่ จะได้ใช้เวลาในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะได้อย่าง เต็มที่ การเป็นอาจารย์นั้นบดบังเวลาจากการเป็นศิลปิน ธงชัยเองก็คิด เช่นนั้น เพราะได้ตั้งปณิธานที่จะเป็นศิลปินมาตั้งแต่เริ่มต้นเรียนศิลปะ แล้ว แต่เคยจะขอลาออกหลายครั้งแล้วไม่เคยส�ำเร็จ เนื่องจากการ ทัดทานของศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ธงชัยเคยกล่าวเปรย ๆ เป็นเชิงขออนุญาตจากอาจารย์ชลูดว่าจะ ขอลาออก แต่ท่านอาจารย์ชลูดบอกว่า “ไม่ได้นะธงชัย” “ท�ำไมครับอาจารย์” “มันเป็นบาป” “บาปยังไงครับ” “ก็ ค นที่ อ ยากมาเรีย นกับ เธอ เขาก็จ ะเสีย ความตั้งใจ แบบนี้ เป็นบาปไหมล่ะ” ศาสตราจารย์ชลูด ไม่ยนิ ยอมให้ธงชัยลาออกจากการเป็นอาจารย์ แต่ในขณะเดียวกัน เมื่ออาจารย์ชลูดเปรย ๆ ว่า ท่านอายุมากแล้ว น่าจะพักผ่อน เลิกสอนที่คณะจิตรกรรมฯ ได้แล้ว ธงชัยก็ทัดทานไว้ เช่นกัน “ฉันว่า ฉันจะหยุดสอนแล้วนะ ธงชัย” “ไม่ได้ครับอาจารย์” “ท�ำไมเหรอ พวกเธอเก่ง ๆ ขึ้นมาหมดแล้ว ฉันควรจะพักได้แล้ว” “ไม่ใช่ว่าเกี่ยวกับอาจารย์เก่งนะครับ ศิษย์ทุกคนที่อยากมาเรียน กับอาจารย์ เขาจะผิดหวัง ลายเซ็นของอาจารย์เวลาที่เซ็นลงไปในสมุด หนังสือวิทยานิพนธ์ มันเป็นมงคลชีวิตแก่ลูกศิษย์ทุกคนครับ” อาจารย์ชลูดมองหน้าแล้วรับค�ำแค่ “อืมม” แต่จากนั้นก็ไม่เคย ปฏิเสธการสอนอีกเลย ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อเช้าวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๘ ที่โรงพยาบาลศิริราช สิริรวมอายุรวม ๘๖ ปี ภายหลัง จากนัน้ ๓ ปี ธงชัยก็ขอลาออกก่อนเกษียณจากคณะจิตรกรรมฯ เพือ่ ออก มาใช้เวลาสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามปณิธานอย่างเต็มที่ เขากลับไป สร้างศาสนสถานที่บ้านเกิด จังหวัดเชียงใหม่ และในที่สุดก็ตัดสินใจ สร้าง หอศิลป์เทา เพื่อให้เป็นสถานที่เก็บรักษาผลงานศิลปะ โดยเฉพาะ งานประติมากรรมที่ตนเองสร้างไว้ ด้วยการรวบรวมผลงาน A.P. ของ ตนเอง มาเก็ บ รั ก ษาไว้ เ ป็ น เกี ย รติ เ ป็ น ศรี แ ก่ ต นเองและวงศ์ ต ระกู ล ตามความฝันสุดท้าย รวมทั้งให้เป็นสถานที่แห่งการแบ่งปันองค์ความรู้ ทางศิลปะในชนบท บ้านเกิดของตนเอง

244


หอศิลป์เทา จังหวัดเชียงใหม่ Hall Zin Tao, Chiang Mai

245


วัดน�้ำโจ้ บ้านน�้ำโจ้ อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ Wat Nam Cho, Ban Nam Cho, Saraphi District, Chiang Mai

246


Hall Zin Tao Chiang Mai Province As an art teacher and an artist, Thongchai Srisukprasert has always been reminded by his senior friend Ajarn Chalermchai Kositpipat that he should be an independent artist to contribute his time creating works of art to the fullest. Being a teacher took all the time he should have spent as an artist. Thongchai himself thought so because he was determined to be an artist ever since he began studying art. He had asked to resign many times, but it was never successful due to Professor Chalood Nimsamer’s objection. Thongchai used to imply in a manner of asking for Ajarn Chalood’s permission to quit. But. Ajarn Chalood said “No, Thongchai” “Why, Ajarn?” “It’s a sin.” “How is it a sin?” “The students who want to study with you will lose their will. Isn’t that a sin?” Professor Chalood disagreed with Thongchai’s resignation. But, at the same time, when Ajarn Chalood hinted that he was too old to teach, that he should rest and stop teaching at the Faculty, Thongchai then opposed him as well. “I think I will stop teaching, Thongchai.” “No, Ajarn you can’t.” “Why? They all come up. I should have been able to rest.” “It’s not about proficient teachers. The students who want to study with you will be disappointed. Your signature when signing on the thesis booklet is sacred to all students.” Ajarn Chalood looked at him and uttered only “Mmm,” but after that, he never refused to teach again. At the age of 86, Professor Chalood Nimsamer passed away on the morning of June 4, 2015, at Siriraj Hospital. Thongchai resigned from teaching at the Faculty to fulfill his will by spending full time creating works of art. He went back to build a religious place in his home town in Chiang Mai province and subsequently founded Hall Zin Tao as a place to preserve art, especially the sculptures he has created. Reaching his last goal, he has collected his works of A.P. as an honor for himself and his family, while intending to operate it as a knowledge sharing center of art in the countryside, in his hometown.

247


248


ผลงานชุดปัจจุบัน

สร้างสรรค์ขน ึ้ ระหว่างปี ๒๕๕๑ - ๒๕๖๓

Recent Works 2002 - 2020


พระโพธิญาณ, ๒๕๕๙ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๐๐ ซม. Enlightenment, 2016 acrylic on canvas, 120 x 100 cm

250


พระพักตร์ พระพรหม, ๒๕๖๑, สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๒๐๐ x ๓๐๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) The Face of Brahma, 2018, oil on canvas, 200 x 300 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

251


พระพักตร์, ๒๕๖๐ วาดเส้น สีอะคริลิค และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๒๖ x ๒๓ ซม. The Face, 2017 drawing, acrylic and gold leaf on paper, 26 x 23 cm

พระพักตร์ พระโพธิญาณ, ๒๕๕๙ สีฝุ่นบนพื้นดินสอพอง กาวเม็ดมะขาม, ๖๐ x ๔๐ ซม. The Face - Enlightenment, 2016 colored powder on soft-prepared chalk with tamarind seed glue, 60 x 40 cm

252


253


พระบรมสาทิสลักษณ์แห่งความศรัทธาต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ในช่วงบรมราชาภิเษกขึ้นครองสิริราชสมบัติ โดยทรงมี พระปฐมบรมราชโองการว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข แห่งมหาชนชาวสยาม”

The portrait shows faith in His Majesty the King during his coronation ceremony of his ascent to the throne where he delivered his first pledge, “I would reign the kingdom with righteousness for the happiness and benefits of the Siamese people”.

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช, ๒๔๘๙ สีอะคริลิค และทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๗๕ x ๑๔๐ ซม. His Majesty King Maha Bhumibol Adulyadej the Great, 1946 acrylic and gold leaf on canvas, 175 x 140 cm

254


255


รอยยิ้มสยามบรมราชกุมารี, ๒๕๕๘ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๕๐ x ๔๐ ซม. Royal Princess’s Smile, 2015 acrylic on canvas, 50 x 40 cm

256


ผีเสื้อสิรินธร, ๒๕๕๘ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๗๑ x ๕๑ ซม. Butterflies - Sirindhorn, 2015 acrylic on canvas, 71 x 51 cm

257


ตู้พระธรรม “เผาราคะ”, ๒๕๕๔, ลายรดน�้ำ ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Buddhist Scripture Cabinet “Overcoming Lust”, 2011, lacquer work Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

ตู้พระธรรม “เผาราคะ” (รายละเอียด) Buddhist Scripture Cabinet “Overcoming Lust” (details)

258


259


RED CROSS 2008 According to ancient Chinese beliefs (my father was an alien migrating from mainland China), the red thread is a cure and a blessing to prevent misfortune and evils. Some people may have received the red thread from the cremation ceremony of someone who has passed away too early at an unfavorable time. I applied such an idea to create a Red Cross by stretching the thread into organized lines to symbolize treatment, rescue, resuscitation, or protection. The crisscrossing was my intention to invade the empty spaces to stimulate the imagination of each individual.

260


RED CROSS, ๒๕๕๑, เส้นด้ายสีแดง และกระจกเงา, ขนาดแปรผันตามพื้นที่ RED CROSS, 2008, red thread and mirror, dimensions variable

ตามคติความเชื่อของจีนโบราณ (คุณพ่อเป็นต่างด้าวมาจากจีนแผ่นดินใหญ่) เส้นด้ายสีแดง เป็นเครือ่ งแก้เคล็ด และเป็นศิรมิ งคล เอาไว้ปอ้ งกันสิง่ อวมงคล สิง่ ชัว่ ร้าย บางท่านอาจจะมีประสบการณ์ จากการได้รบั เส้นด้ายสีแดงมาจากงานพิธฌ ี าปนกิจ สวดพระอภิธรรม บุคคลผูล้ ว่ งลับจากไปในเวลา ที่ยังไม่สมควร จึงได้น�ำเป็นแรงบันดาลใจมาสร้างสรรค์เป็นรูปทรง กาชาด Red Cross โดยการขึง ให้ตึงเป็นแนว จัดเป็นระเบียบ เพื่อสื่อสัญลักษณ์ถึงการรักษา การช่วยเหลือ การกู้ชีพ หรือ ปกป้อง ผลงานชิ้นนี้ตั้งใจให้เส้นด้ายตัดผ่านกัน กินระวางพื้นที่ว่าง เพื่อสร้างความตื่นตัว และกระตุ้น จินตนาการ ตามประสบการณ์ของแต่ละบุคคล ผลงานติดตั้ง ณ มหาวิทยาลัยซานโฮเซ่ สหรัฐอเมริกา สร้างเมื่อปี ๒๕๕๑ ในโครงการ ศิลปะ เพื่อสิ่งแวดล้อม “Art for Environment” เวิร์คชอปแลกเปลี่ยนระหว่างสถาบันศิลปะ สถานะอาจารย์ ประจ�ำที่คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร

261


ดิน น�้ำ ลม ไฟ, ๒๕๕๖ สีอะคริลิค, ไม่ทราบขนาด, ผลงานในสะสมของ PEAK Earth - Water - Wind - Fire, 2013 acrylic, unknown size, Collection of PEAK

262


ตาลปัตร, ๒๕๕๖ สีอะคริลิคบนตาลปัตร, ขนาดเท่าจริง Talipot Fan, 2013 acrylic on Talipot fan, life size

263


RMUTL INTERNATIONAL ART WORKSHOP 2014, ๒๕๕๙ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. ผลงานในสะสมของมหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา RMUTL INTERNATIONAL ART WORKSHOP 2014, 2016 acrylic on canvas, 120 x 120 cm Collection of Rajamangala University of Technology Lanna

ดอกบัวตอง, ๒๕๕๕ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๓๐ x ๓๐ ซม. Mexican Sunflower, 2012 acrylic on canvas, 30 x 30 cm

264


สังสารวัฏ (สีเหลือง, สีน�้ำเงิน, สีแดง), ๒๕๕๔ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๒๗ x ๒๗ ซม./ชิ้น Samsara (Yellow, Blue, Red), 2011 acrylic on canvas, 27 x 27 cm/each

265


ศิลปะบนจานสี, ๒๕๕๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนไม้, ขนาดเท่าจริง Art on the Palette, 2012 acrylic and gold leaf on wood, life size

266


หน้ากากกะโหลกเสือ, ๒๕๕๕ หล่อส�ำริด กะโหลกเสือ, ขนาดเท่าจริง Tiger Skull Mask, 2012 bronze, tiger skull, life size

267


รัชกาลที่ ๙ เสด็จเปิดงานศิลปกรรมแห่งชาติพร้อมสมเด็จพระบรมราชชนนี, ๒๕๕๖ ปากกาบนกระดาษ, ๓๙.๕ x ๖๐.๕ ซม. ต้นแบบศิลปะสะสมของภาควิชาภาพพิมพ์ คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร King Rama IX accompanying by the Royal Grandmother presided over the National Exhibition of Art 2013, pen on paper, 39.5 x 60.5 cm sketch of art collection of Department of Graphic Arts, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University

น�้ำตกตาดโตน, ๒๕๕๑ ปากกาบนกระดาษ, ไม่ทราบขนาด Tad Ton Waterfall, 2008 pen on paper, unknown size

268


ถิ่นกาขาวชาววิไล, ๒๕๖๒ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๖๑ x ๘๑ ซม. The Reverse Land - Cilivilzed People, 2019 acrylic on canvas, 61 x 81 cm

269


ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, ๒๕๕๑ ปากกาบนกระดาษ, ไม่ทราบขนาด The Awakened One, 2008 pen on paper, unknown size

270


ดอกบัวบูชา, ๒๕๕๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๖๐ x ๘๐ ซม. Worship Lotus, 2016 acrylic and gold leaf on canvas, 60 x 80 cm

271


จิตรกรรมบนตุ๊กตาวิเศษ, ๒๕๖๒ ปูนปลาสเตอร์, ไม่ทราบขนาด Painting on the Magic Doll, 2019 plaster, unknown size

ความประทับใจในศิลปะลานนา (ภาพร่างที่ไม่ได้วาด), ๒๕๖๒ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๕๐ x ๑๒๐ ซม. The Impression from Lanna Art (unpainted sketch), 2019 acrylic and gold leaf on canvas, 150 x 120 cm

272


273


274


Face Blue, ๒๕๕๓, สื่อผสม ขนาดแปรผันตามพื้นที่ Face Blue, 2010, mixed media dimensions variable

275


พิมฐา, ๒๕๕๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด Pimtha, 2016 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

น�้ำฝน, ๒๕๕๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๐๐ ซม. Namfon, 2016 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 100 cm

276


277


278


ผีเสื้อ นางฟ้า, ๒๕๕๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๖๐ x ๔๐ ซม. Butterflies and Angel, 2016 acrylic and gold leaf on canvas, 60 x 40 cm

คุณหมอปอม, ๒๕๕๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. Dr. Pom, 2016 acrylic and gold leaf on canvas, 100 x 80 cm

ญีนา ซาลาส, ๒๕๖๒ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๔๐ x ๑๐๐ ซม. Yeena Salas, 2019 acrylic and gold leaf on canvas, 140 x 100 cm

279


ไนน์, ๒๕๖๐ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. NINE, 2017 acrylic on canvas, 100 x 80 cm

เบลล่า ราณี แคมเปน, ๒๕๕๗ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๗๕ x ๑๒๕ ซม. Bella - Ranee Campen, 2014 acrylic on canvas, 175 x 125 cm

280


281


282


น้องญิ๋ง, ๒๕๖๑ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๐๐ ซม. Nong Ying, 2018 acrylic on canvas, 120 x 100 cm

โดนัท มนัสนันท์ พันเลิศวงศ์สกุล, ๒๕๖๐ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. Donut - Manatsanun Panlertwongskul, 2017 acrylic on canvas, 100 x 80 cm

283


มีตัวตน - ไม่มีตัวตน, ๒๕๕๙ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๔๐ x ๔๐ ซม. Tangible - Intangible, 2016 acrylic on canvas, 40 x 40 cm

ผีเสื้อสมุทร, ๒๕๖๓ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๘๐ x ๑๕๐ ซม. Ocean Butterfly, 2020 acrylic on canvas, 180 x 150 cm

284


285


Tangible - Intangible (หัวกะโหลก), ๒๕๕๘ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๕๐ x ๔๐ ซม. Tangible - Intangible (Skull), 2015 acrylic on canvas, 50 x 40 cm

286


287


“พุทธะ” ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, ๒๕๕๙ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๖๐ x ๔๐ ซม. “Buddha” The Awakened One, 2016 acrylic on canvas, 60 x 40 cm

“พุทธะ” ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, ๒๕๕๗ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. “Buddha” The Awakened One, 2014 acrylic on canvas, 100 x 80 cm

288


289


หน้าหนังสือ, ๒๕๖๐ หล่อส�ำริด, ๒๒.๕ x ๒๘ x ๑๙ ซม. ผลงานในสะสมของมหาวิทยาลัยศิลปากร FACE - BOOK, 2017 bronze, 22.5 x 28 x 19 cm Collection of Silpakorn University

290


ใบหน้ามนุษย์แสดงออกทางความคิด อารมณ์ และความรู้สึก เป็นภาษาสากล ทีส่ อื่ สารได้ในหมูม่ วลมนุษย์ เสมือนใบหน้ามีตวั หนังสือให้ได้อา่ น ใบหน้าเป็นรูปธรรม ที่จับต้องได้ (Tangible) สภาวะอารมณ์และความรู้สึกที่เกิดขึ้นบนใบหน้าจะสื่อไปถึง สิง่ ทีเ่ ป็นนามธรรมภายในจิตใจ ซึง่ เป็นสิง่ ทีไ่ ม่สามารถจับต้องได้ (Intangible) ใบหน้า จึงแสดงทั้งรูปธรรมและนามธรรมของคน

A human can express his or her facial expressions, representing his or her thoughts, moods, and feelings. Facial expression is an international language communicated through humans. It is as though a human face had some readable letters written on it. A human face is tangible, and the facial expressions on it would refer to the abstract subjects in the mind, which are intangible. A human face, therefore, represents the concrete aspects and the abstract aspects of the owner.

291


หมู่มวลวิหคบินผกมาแต่รังนอน เฝ้าเชยชิดช้อน ลิ้มชมบัวบาน ๒๕๕๘, สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๙๐ x ๑๓๐ ซม. A Flock of Birds Awakes from Sleep, Caressing the Lotus 2015, acrylic on canvas, 90 x 130 cm

292


ชะตาชีวิต, ๒๕๖๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๘๐ x ๑๐๐ ซม. Fate, 2017 acrylic and gold leaf on canvas, 80 x 100 cm

293


คู่รักกินฝันกันเอง พ่อแม่กินฝันของลูก ครูกินความฝันของเด็ก ปากท้องกินฝันอุดมการณ์ การเมืองกินฝันของประเทศ สัตว์ในจินตนาการมีที่มาจากพญาคชสีห์ สัตว์ในป่าหิมพานต์ตามอุดมคติ ความเชื่ อ ของไทย และตั ว บาคุ สั ต ว์ ใ นความเชื่ อ ของญี่ ปุ ่ น ซึ่ ง เป็ น ตัวกินฝันร้ายของเด็ก เวลาเด็กนอนไม่หลับอาจจะฝันร้าย พ่อแม่จะน�ำ บาคุ ที่แกะสลักด้วยงาช้าง มาแขวนให้เด็ก ซึ่งมีความเชื่อว่าตัว บาคุ มีหัวเป็นช้าง มีตัวเป็นเสือหรือสิงห์ จะมาช่วยให้เด็กนอนหลับสบาย ส�ำหรับตัวกินฝัน ที่สร้างสรรค์ใหม่ สร้างขึ้นตามความเชื่อดั้งเดิม อาจจะ กินทั้งฝันร้ายและฝันดี น�ำมาผสมผสานกับสภาวะการณ์ปัจจุบันเพื่อให้เป็น งานร่วมสมัย ตัวกินฝันนี้ มีความคิดเป็นตัวกินฝันของคนทั่วไป

Lovers eat each other’s dreams Parents eat their children’s dreams Teachers eat their students’ dreams Hunger eats ideology’s dreams Politics eat the country’s dreams This imaginary animal originates from a fusion between Phaya Kodchasri, a living creature in Himmapan forest according to Thai ideology and beliefs and Baku, a Japanese fantasy animal who would eat children’s nightmares. The Japanese believe that when children cannot sleep, they may be having bad dreams. Thus, the parents will hang a model of Baku, a halfelephant, half-lion, or tiger beast, carved in ivory to help them sleep better. I have reinvented the original dream eater based on traditional belief and combined it with the current situation to make it more contemporary. This dream eater eats commoners’ dreams, be it good or bad.

294


ตัวกินฝัน, ๒๕๖๑ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๒๔ x ๑๒๔ ซม. Dream Eater, 2018 acrylic on canvas, 124 x 124 cm

295


ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี, ๒๕๖๒ ปากกาบนกระดาษ, ไม่ทราบขนาด Professor Silpa Bhirasri, 2019 pen on paper, unknown size

ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี, ๒๕๖๒ สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. Professor Silpa Bhirasri, 2019 oil on canvas, 100 x 80 cm

296


297


คอร์ราโด เฟโรจี (ศิลป์ พีระศรี), ๒๕๖๓, สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๑๕๐ x ๑๒๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Corrado Feroci (Silpa Bhirasri), 2020, oil on canvas, 150 x 120 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

298


299


ไม่มีตัวตน, ๒๕๖๓ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๘๑ x ๖๗ ซม. Faceless, 2020 acrylic on canvas, 81 x 67 cm

ตัวกู ของกู, ๒๕๕๗ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. Me, Myself, 2014 acrylic on canvas, 100 x 80 cm

300


301


โควิด-19 ตัวกู ของกู ๔, ๒๕๖๓ จิตรกรรมบนภาพพิมพ์อิงค์เจ็ท, ๕๐ x ๕๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) COVID-19 Me, Myself 4, 2020 painting on inkjet print, 50 x 50 cm Collection of Museum aof Contemporary Art (MOCA)

302

โควิด-19 ตัวกู ของกู ๑, ๒๕๖๓ จิตรกรรมบนภาพพิมพ์อิงค์เจ็ท, ๕๐ x ๕๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) COVID-19 Me, Myself 1, 2020 painting on inkjet print, 50 x 50 cm Collection of Museum aof Contemporary Art (MOCA)


โควิด-19 ตัวกู ของกู ๒, ๒๕๖๓ จิตรกรรมบนภาพพิมพ์อิงค์เจ็ท, ๕๐ x ๕๐ ซม. COVID-19 Me, Myself 2, 2020 painting on inkjet print, 50 x 50 cm

โควิด-19 ตัวกู ของกู ๓, ๒๕๖๓ จิตรกรรมบนภาพพิมพ์อิงค์เจ็ท, ๕๐ x ๕๐ ซม. COVID-19 Me, Myself 3, 2020 painting on inkjet print, 50 x 50 cm

303


มีตัวตน ไม่มีตัวตน, ๒๕๖๑ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๕๙ x ๑๕๙ ซม. สมบัติของศิลปิน Exist - Not Exist, 2018 acrylic on canvas, 159 x 159 cm Collection of the artist

304


ผีเสื้อสมุทร ๒, ๒๕๖๓ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. Ocean Butterflies 2, 2020 acrylic on canvas, 100 x 80 cm

305


คุณวิชัย, ๒๕๖๓ สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๗๐ ซม. Mr. Vichai, 2020 oil on canvas, 100 x 70 cm

คุณแป้ง นวลพรรณ ล�่ำซ�ำ, ๒๕๖๒ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๗๐ x ๑๒๕ ซม. Mrs. Pang - Nualphan Lamsam, 2019 acrylic and gold leaf on canvas, 170 x 125 cm

306


307


ญาญ่า อุรัสยา เสปอร์บันด์, ๒๕๕๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๗๕ x ๑๒๐ ซม. Yaya - Urassaya Sperbund, 2015 acrylic and gold leaf on canvas, 175 x 120 cm

แต้ว ณฐพร, ๒๕๖๑ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๐๐ ซม. Taew - Natapohn, 2018 acrylic on canvas, 120 x 100 cm

308


309


ไตรลักษณ์, ๒๕๖๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๑๐๐ ซม. Tilakkhana, 2020 acrylic and gold leaf on canvas, 100 x 100 cm

310


เปิดโลก ๓ โลก (เสด็จลงจากดาวดึงส์), ๒๕๕๒, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๒๐๐ x ๒๐๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) The Three Worlds (Descending from Tavatimsa Heaven), 2009, acrylic and gold leaf on canvas 200 x 200 cm, Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

311


โลกธรรม, ๒๕๖๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๒๐๐ x ๒๐๐ ซม. The Dharma World, 2020 acrylic and gold leaf on canvas, 200 x 200 cm

312


โลกธรรม หน้าบันเกียรติมุข, ๒๕๖๒, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๒๐๐ x ๒๐๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) The Dharma World: Gable of Kala, 2019, acrylic and gold leaf on canvas, 200 x 200 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

313


ตัวกู ของกู, ๒๕๖๓ สีน�้ำมันบนผ้าใบ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนไม้, ๘๑.๗ x ๘๑.๗ ซม. Mine, Myself, 2020, oil on canvas and acrylic and gold leaf on wood, 81.7 x 81.7 cm

314


โลกธรรม, ๒๕๖๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๑๐๐ ซม. The Dharma World, 2020 acrylic and gold leaf on canvas, 100 x 100 cm

315


พระพักตร์ศิวะเทพ, ๒๕๖๓ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๑๘๐ x ๑๒๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) The Face of Shiva, 2020 acrylic on canvas, 180 x 120 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

316


317


318


โลกธรรม, ๒๕๖๒ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, ๕๐ x ๕๐ ซม. The Dharma World, 2019 acrylic on canvas, 50 x 50 cm

พระพักตร์นารายณ์, ๒๕๖๓ สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๑๔๕ x ๙๕ ซม. The Face of Narayana, 2020 oil on canvas, 145 x 95 cm

319


ปรัชญาชีวิต ๒๕๒๖ จิตรกรรมที่สูญหายหลังปี ๒๕๖๒, ๒๕๖๒ สีน�้ำมันบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๘๐ ซม. สมบัติของศิลปิน Life Philosophy 1983: The Lost Painting after 2019, 2019 oil on canvas, 120 x 180 cm Collection of the artist

320


321


ผลงานติดตั้ง ณ ธนาคารแห่งประเทศไทย Art Installation at Bank of Thailand

322


ประตูจักรวาล, ๒๕๔๙, ดุนโลหะ ปิดทองบนบานประตู, ๒๔๐ x ๒๔๐ ซม. ผลงานติดตั้ง ณ ธนาคารแห่งประเทศไทย The Gate of the Universe, 2006, sheet metal embossing and gold leaf on door 240 x 240 cm, Art installation at Bank of Thailand

323


324


ประตูเงินทอง ๑ -๒, ๒๕๔๙, เทคนิคผสม, ๖๗๐ x ๔๒๐ ซม. ผลงานติดตั้ง ณ ธนาคารแห่งประเทศไทย Golden and Silver Door 1 -2, 2006, mixed technique, 670 x 420 cm Art installation at the Bank of Thailand

325


326


ผลงานสร้างสรรค์ชิ้นอื่น ๆ Other Works

327


ชมพูทวีป, ๒๕๓๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๒๐๐ ซม. Jambudvipa, 1991 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 200 cm

ไม่มีชื่อ, ๒๕๓๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๒๐๐ ซม. Untitled, 1991 acrylic and gold leaf on canvas, 160 x 200 cm

328


จักรวาล, ๒๕๔๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๙๐ ซม. Universe, 2004 acrylic and gold leaf on canvas, 100 x 90 cm

เงาจักรวาล, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๐๐ x ๘๐ ซม. The Shadow of Universe, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, 100 x 80 cm

รอยตีน รอยมือ, ๒๕๔๑ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Footprint and Handprint, 1998 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

329


สังสารวัฏ ๑ (ภาพร่าง – งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๔ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๓๖ x ๓๖ ซม. Samsara 1 (sketch – study work), 1991 photo transfering and gold leaf on paper, 36 x 36 cm

สังสารวัฏ ๔ (ภาพร่าง – งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๔ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๓๕ x ๓๕ ซม. Samsara 4 (sketch – study work), 1991 photo transfering and gold leaf on paper, 35 x 35 cm

สังสารวัฏ (ภาพร่าง – งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๔ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๓๕ x ๓๕ ซม. Samsara (sketch – study work), 1991 photo transfering and gold leaf on paper, 35 x 35 cm

จิตรกรรม นามธรรม รูปลักษณ์ไทยประเพณี, ๒๕๓๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๕๐ x ๑๕๐ ซม. Abstract Image of Traditional Thai Painting, 1992 acrylic and gold leaf on canvas, 150 x 150 cm

สังสารวัฏขาด, ๒๕๓๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๒๐๐ x ๒๐๐ ซม. The End of Samsara, 1996 acrylic and gold leaf on canvas, 200 x 200 cm

วงวัฏฏะ, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Circle, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

วงวัฏฏะ, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๘๐ x ๘๐ ซม. Cycle, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, 80 x 80 cm

สังสารวัฏ, ๒๕๕๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Samsara, 2011 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

สังสารวัฏ, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Samsara, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

330


สังสารวัฏ ๒, ๒๕๕๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Samsara 2, 2010 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

สังสารวัฏ ๑, ๒๕๕๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Samsara 1, 2010 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

สังสารวัฏ ๓, ๒๕๕๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Samsara 3, 2010 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

สังสารวัฏ, ๒๕๔๙, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม./ชิ้น Samsara, 2006, acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm/each

สังสารวัฏ ๔, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๒ x ๗๒ ซม./ชิ้น Samsara 4, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 72 x 72 cm/each

331


สังสารวัฏ, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๖๐ x ๖๐ ซม./ชิ้น Samsara, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 60 x 60 cm/each

องค์ ๓, ๒๕๕๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๐๘ x ๑๐๘ ซม./ชิ้น Element 3, 2007 acrylic and gold leaf on canvas, 108 x 108 cm/each

องค์ ๕, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๓๕ x ๓๕ ซม./ชิ้น Element 5, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 35 x 35/each

332

องค์ ๘, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๓๕ x ๓๕ ซม./ชิ้น Element 8, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 35 x 35 cm/each

จักรวาล ๓, ๒๕๓๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Universe 3, 1996 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm


จิตรกรรม นามธรรมรูปลักษณ์ไทยประเพณี, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ไม่ทราบขนาด Abstract Image of Traditional Thai Painting, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

จักรวาล, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Universe, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

จักรวาล ๘, ๒๕๔๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Universe 8, 2004 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

วงวัฏฏะ ๑, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๒ x ๗๒ ซม. Cycle 1, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 72 x 72 cm

วงวัฏฏะ ๒, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๒ x ๗๒ ซม. Cycle 2, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 72 x 72 cm

จักรวาล, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Universe, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

จักรวาล ๗๒๙, ๒๕๕๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๐๘ x ๑๐๘ ซม. Universe 729, 2007 acrylic and gold leaf on canvas, 108 x 108 cm

จักรวาล ๔๑, ๒๕๕๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๐๘ x ๑๐๘ ซม. Universe 41, 2007 acrylic and gold leaf on canvas, 108 x 108 cm

จักรวาล ๓, ๒๕๔๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๔๕ x ๑๔๕ ซม. Universe 3, 2004 acrylic and gold leaf on canvas, 145 x 145 cm

333


ไตรลักษณ์ ๑, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๐ x ๗๐ ซม./ชิ้น Tilakkhana 1, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 70 x 70 cm/each

ไตรลักษณ์ ๒, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๖๐ x ๖๐ ซม./ชิ้น Tilakkhana 2, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 60 x 60 cm/each

สามเหลี่ยม, ๒๕๓๖ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Triangle, 1993 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

334

ความขัดแย้งภายใน ๑, ๒๕๓๖ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Internal Paradox 1, 1993 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

ความขัดแย้งภายใน ๒, ๒๕๓๖ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Internal Paradox 2, 1993 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm


รูปหน้าบัน ๙, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. ผลงานในสะสมของ เขาใหญ่ อาร์ตมิวเซียม Gable 9, 1995, acrylic and gold leaf on canvas 130 x 130 cm, Collection of Khao Yai Art Museum

รูปหน้าบัน ๘, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. Gable 8, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm

รูปหน้าบัน ๖, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. Gable 6, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm

จักรวาลในหน้าบัน, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Universe in the Gable, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

รูปหน้าบัน, ๒๕๔๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๖๐ x ๖๐ ซม. The Gable, 1997 acrylic and gold leaf on canvas, 60 x 60 cm

รูปหน้าบัน, ๒๕๔๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๖๐ x ๖๐ ซม. Gable, 1997 acrylic and gold leaf on canvas, 60 x 60 cm

วงกลมภายใน (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๔ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๓๕ x ๓๘ ซม. Inner Circle (study work), 1991 photo transfering and gold leaf on paper, 35 x 38 cm

จักรวาลในหน้าบัน, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Universe in the Gable, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

รูปหน้าบัน ๒, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. Gable 2, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm

335


รูปหน้าบัน ๗, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. Gable 7, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm

รูปหน้าบัน, ๒๕๓๖ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. Gable, 1993 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm

รูปหน้าบัน ๔, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. Gable 4, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm

รูปหน้าบัน ๑, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. Gable 1, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm

Inner Conflict, ๒๕๓๒ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๒๔ x ๒๔ ซม. Inner Conflict, 1989 photo transfering and gold leaf on paper, 24 x 24 cm

รูปหน้าบัน ๕, ๒๕๓๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. Gable 5, 1994 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm

จักรวาลในหน้าบัน, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด Universe in the Gable, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

หน้าบันในจักรวาล, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด Gable in the Universe, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

336


ในหน้าบัน, ๒๕๔๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. In the Gable, 1997 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

รูปหน้าบัน ๓, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๔๕ x ๑๔๕ ซม. Gable 3, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 145 x 145 cm

ความขัดแย้ง (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๔ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๓๘ x ๓๘ ซม. Paradox (study work), 1991 photo transfering and gold leaf on paper, 38 x 38 cm

ความขัดแย้ง (งานศึกษาค้นคว้า), ๒๕๓๔ โฟโต้ทรานส์เฟอร์และทองค�ำเปลวบนกระดาษ, ๓๘ x ๓๘ ซม. Paradox (study work), 1991 photo transfering and gold leaf on paper, 38 x 38 cm

ไม่มีชื่อ, ๒๕๔๗, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๐ x ๑๔๐ ซม. ผลงานในสะสมของ บริษัท โตชิบา ไทยแลนด์ จํากัด Untitled, 2004, acrylic and gold leaf on canvas, 70 x 140 cm, Collection of Toshiba Thailand Co., Ltd.

337


วงกลม ๑, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๔๐ x ๔๐ ซม. Circle 1, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, 40 x 40 cm

วงกลม ๒, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๔๐ x ๔๐ ซม. Circle 2, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, 40 x 40 cm

ก้นหอย, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๔๐ x ๔๐ ซม. Spiral, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, 40 x 40 cm

จักรวาล, ๒๕๔๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Universe, 2000 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

อนันตภาวะ, ๒๕๕๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๐๘ x ๑๐๘ ซม. Infinite, 2007 acrylic and gold leaf on canvas, 108 x 108 cm

พลังอ�ำนาจแห่งจักรวาล, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๒๐๐ x ๒๐๐ ซม. The Power of the Universe, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 200 x 200 cm

วงวัฏฏะ, ๒๕๔๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๔๐ x ๔๐ ซม. Circle, 2004 acrylic and gold leaf on canvas, 40 x 40 cm

สังสารวัฏ, ๒๕๕๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๘๐ x ๘๐ ซม. Samsara, 2011 acrylic and gold leaf on canvas, 80 x 80 cm

338


ไม่มีชื่อ ๒, ๒๕๔๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Untitled 2, 1997 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

จักรวาล ๓, ๒๕๔๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Universe 3, 1997 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

วงวัฏฏะ, ๒๕๓๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Circle, 1994 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

พลังอ�ำนาจแห่งจักรวาล, ๒๕๔๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. The Power of the Universe, 2000 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

พลังแห่งจักรวาล ๑, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. The Power of the Universe 1, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

พลังแห่งจักรวาล ๒, ๒๕๔๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. The Power of the Universe 2, 1997 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

ไม่มีชื่อ, ๒๕๓๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Untitled, 1996 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

จักรวาล, ๒๕๕๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Universe, 2012 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

339


ประตูจักรวาล, ๒๕๔๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. The Gate of the Universe, 2001 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm

ประตูจักรวาล, ๒๕๓๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๘๐ ซม. The Gate of the Universe, 1994 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 180 cm

เงาจักรวาล, ๒๕๓๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๐ x ๗๐ ซม. The Shadow of the Universe, 1996 acrylic and gold leaf on canvas, 70 x 70 cm

340

ประตูจักรวาล ๒, ๒๕๔๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๑๐ ซม. The Gate of the Universe 2, 2004 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 110 cm

ประตูจักรวาล ๑, ๒๕๔๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๔๐ x ๑๔๐ ซม. The Gate of the Universe 1, 2004 acrylic and gold leaf on canvas, 140 x 140 cm

ประตูจักรวาล, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด The Gate of the Universe, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

รูปลักษณ์จักรวาล, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๐ x ๑๔๐ ซม. Aspect of the Universe, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, 70 x 140 cm


ประตูจักรวาล ๓, ๒๕๔๖ ลายรดน�้ำบนผ้าใบ, ๑๑๐ x ๙๐ ซม. The Gate of the Universe 3, 2003 lacquer work on canvas, 110 x 90 cm

ประตูจักรวาล ๕, ๒๕๔๖ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. The Gate of the Universe 5, 2003 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

อกเลา, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๕๗ x ๑๕๗ ซม. Middle Frame, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, 157 x 157 cm

ประตูจักรวาล ๑, ๒๕๔๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๔๐ x ๑๑๐ ซม. The Gate of the Universe 1, 2004 acrylic and gold leaf on canvas, 140 x 110 cm

ประตูจักรวาล, ๒๕๕๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๕๑ x ๑๔๑ ซม. The Gate of the Universe, 2010 acrylic and gold leaf on canvas, 151 x 141 cm

ประตูจักรวาล, ๒๕๕๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๕๒ x ๑๔๐ ซม. The Gate of the Universe, 2007 acrylic and gold leaf on canvas, 152 x 140 cm

อกเลา ขาว – ด�ำ, ๒๕๔๖ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. Middle Frame (Light and Shadow), 2003 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm

ประตูจักรวาล ๕, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๔๐ x ๑๔๐ ซม. The Gate of the Universe 5, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, 140 x 140 cm

ประตูจักรวาล, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด The Gate of the Universe, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

341


จักรวาล, ๒๕๔๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๗๐ x ๗๐ ซม. Universe, 2001 acrylic and gold leaf on canvas, 70 x 70 cm

หยิน – หยาง, ๒๕๓๖ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๖๐ x ๖๐ ซม. Yin - Yang, 1993 acrylic and gold leaf on canvas, 60 x 60 cm

จักรวาล, ๒๕๓๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด Universe, 1996 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

พลังอ�ำนาจแห่งจักรวาล, ๒๕๔๕, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด The Power of the Universe, 2002, acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

จักรวาลก้นหอย, ๒๕๔๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด Spiral Universe, 2000 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

หนึ่ง, ๒๕๔๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด One, 2000 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

จักรราศี, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด Zodiac, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

จักรวาลก้นหอย, ๒๕๔๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด Spiral Universe, 1997 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

พลังความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ (ภาพร่าง), ๒๕๓๒ เทคนิคผสม, ๑๕ x ๒๒ ซม. The Power of Change in Nature (sketch), 1989 mixed technique, 15 x 22 cm

342


สามเหลี่ยมและวงรี, ๒๕๔๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Triangle and Ellipse, 2000 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

จักรวาลและรอยเท้า, ๒๕๔๑ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๖๐ x ๖๐ ซม. Universe and Footprint, 1998 acrylic and gold leaf on canvas, 60 x 60 cm

วงรี, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Ellipse, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

รูปก้นหอย, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Spiral, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

อนันตภาวะ ๒, ๒๕๕๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๐๘ x ๑๐๘ ซม. Infinite 2, 2007 acrylic and gold leaf on canvas, 108 x 108 cm

รูปก้นหอย, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Spiral, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

พลังความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ ๒ (ภาพร่าง), ๒๕๓๒ เทคนิคผสม, ๑๕ x ๒๒ ซม. The Power of Change in Nature 2 (sketch), 1989 mixed technique, 15 x 22 cm

นักษัตรบริวาร, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด Zodiac Families, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

จักรวาลนักษัตร, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด The Constellations, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

343


นักษัตร, ๒๕๔๐ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด Zodiac, 1997 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

ร่องรอยจักรวาล, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๒๐๐ x ๒๘๐ ซม. ผลงานในสะสมของโรงแรมบันยันทรี Universe’s Trace, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, 200 x 280 cm Collection of Banyan Tree Hotel

ก้นหอย, ๒๕๓๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๔๐ x ๑๘๐ ซม. Spiral, 1994 acrylic and gold leaf on canvas, 140 x 180 cm

รูปกาย, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Body, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

สังขาร, ๒๕๔๑ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Constitution, 2541 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

จักรลิขิต, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Wheel of Destiny, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

ไตร, ๒๕๓๒, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม./ชิ้น Tri, 1989, acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm/each

344


ไม่มีชื่อ, ๒๕๓๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Untitled, 1992 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

อริยสัจ, ๒๕๔๒ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๕๐ ซม. The Noble Truths, 1999 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 150 cm

ไม่มีชื่อ, ๒๕๓๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๕๐ ซม. Untitled, 1996 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 150 cm

สังสารวัฏ ๑, ๒๕๓๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Samsara 1, 1992 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

สังสารวัฏ, ๒๕๔๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด Samsara, 2005 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

ไตรลักษณ์, ๒๕๓๔, สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม./ชิ้น Tilakkhana, 1991, acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm/each

345


เกิด ดับ, ๒๕๓๔ - ๒๕๓๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม./ชิ้น Birth - Death, 1991 - 1992 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm/each

วัฏฏะและเวลา ๒, ๒๕๓๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Cycle and Time 2, 1991 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

ไม่มีชื่อ, ๒๕๓๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๙๐ x ๙๐ ซม. Untitled, 1992 acrylic and gold leaf on canvas, 90 x 90 cm

346


นักษัตร, ๒๕๓๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๖๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Zodiac, 1992 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 160 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

นักษัตร, ๒๕๓๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ ไม่ทราบขนาด Zodiac, 1992, acrylic and gold leaf on canvas unknown size

จิตรกรรม นามธรรม รูปลักษณ์ไทยประเพณี, ๒๕๓๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๕๐ ซม. Abstract Image of Traditional Thai Painting, 1992 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 150 cm

นักษัตรบริวาร ๑, ๒๕๓๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๖๐ x ๒๐๐ ซม. ผลงานในสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) Zodiac Families, 1992 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 160 cm Collection of Museum of Contemporary Art (MOCA)

ไม่มีชื่อ, ๒๕๓๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๓๐ x ๑๓๐ ซม. Untitled, 1991 acrylic and gold leaf on canvas, 130 x 130 cm

จักรวาล, ๒๕๓๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Universe, 1992 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

พลังจักรวาล, ๒๕๓๔ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๙๐ x ๑๙๐ ซม. The Power of the Universe, 1991 acrylic and gold leaf on canvas, 190 x 190 cm

347


พลังจักรวาล, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด The Power of the Universe, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

พลังอ�ำนาจแห่งจักรวาล, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด The Power of the Universe, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

สิบสองนักษัตร, ๒๕๔๓ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด 12 Zodiac Signs, 2000 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

พลังอ�ำนาจแห่งจักรวาล, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด The Power of the Universe, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

พลังแห่งจักรวาล, ๒๕๔๙ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด The Power of the Universe, 2006 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

จักรวาล, ๒๕๓๕ ดุนโลหะ ปิดทองบนบานประตู, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. ผลงานสะสมของธนาคารแห่งประเทศไทย The Cosmos, 1992, sheet metal embossing and gold leaf on door, 120 x 120 cm Collection of Bank of Thailand

๑๐, ๒๕๓๗ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม. Ten, 1994 acrylic and gold leaf on canvas, 120 x 120 cm

แสงแห่งจักรวาล, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด Light of the Universe, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

พลังอ�ำนาจแห่งจักรวาล, ๒๕๔๕ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ไม่ทราบขนาด The Power of the Universe, 2002 acrylic and gold leaf on canvas, unknown size

348


ไตร, ๒๕๓๘ สีอะคริลิคและทองค�ำเปลวบนผ้าใบ, ๖๐ x ๖๐ ซม./ชิ้น Tri, 1995 acrylic and gold leaf on canvas, 60 x 60 cm/each

349


350


ประวัติศิลปิน Biography


THONGCHAI SRISUKPRASERT ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ

352


เกิด ปัจจุบัน การศึกษา

๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๖ ตําบลช้างคลาน จังหวัดเชียงใหม่ ศิลปินอิสระ - โรงเรียนไชยโรจน์วิทยา เชียงใหม่ - โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่ - สถาบันเทคโนโลยีและอาชีวะ วิทยาเขตเทคนิคภาคพายัพ เชียงใหม่ - ศบ. (ศิลปไทย) คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ - ศม. (ศิลปไทย) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ

เกียรติประวัติและรางวัล ๒๕๒๘ ๒๕๓๑ ๒๕๓๒ ๒๕๓๓

- - - - - - - -

๒๕๓๔ ๒๕๓๕ ๒๕๓๖ ๒๕๓๗

- - - - - -

รางวัลพิเศษ การประกวดภาพถ่ายนิตยสารโฟโต้ ได้รับเลือกเข้าร่วมแสดงนิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย ภาพถ่ายและศิลปะเด็ก อาเซียนครั้งที่ ๑ ได้รับเลือกร่วมเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธปทีป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ รางวัลศิลปกรรมดีเด่น นิทรรศการศิลปกรรม “นําสิ่งที่ดีสู่ชีวิต” ครั้งที่ ๑ ของบริษัท โตชิบา ไทยแลนด์ จํากัด ได้รับเลือกเข้าร่วมแสดงผลงาน นิทรรศการจิตรกรรมนานาชาติโอซาก้าไตรนาลเล ’๙๐ โอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น รางวัลศิลปกรรมยอดเยี่ยม การประกวดศิลปกรรมร่วมสมัย ประจําปี ๒๕๓๓ ของธนาคารกสิกรไทย รางวัลศิลปกรรมยอดเยี่ยม นิทรรศการศิลปกรรม “นําสิ่งที่ดีสู่ชีวิต” ครั้งที่ ๒ ของบริษัท โตชิบา ไทยแลนด์ จํากัด รางวัลทุนศึกษาดูงานศิลปะ ณ ประเทศฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และเนเธอร์แลนด์ โดย บริษัท โตชิบา ไทยแลนด์ จํากัด รางวัลที่ ๑ เหรียญทองจิตรกรรมบัวหลวง จิตรกรรมแนวไทยประเพณี นิทรรศการจิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ ๑๔ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓ เหรียญทองแดง สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๗ รางวัลที่ ๒ เหรียญเงินจิตรกรรมบัวหลวง จิตรกรรมแนวไทยประเพณี นิทรรศการจิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ ๑๕ ได้รับเลือกเข้าร่วมแสดงผลงาน นิทรรศการจิตรกรรมนานาชาติโอซาก้าไตรนาลเล ’๙๓ โอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓ เหรียญทองแดง สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๙ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓ เหรียญทองแดง สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๔๐

นิทรรศการเดี่ยว ๒๕๓๕ ๒๕๓๘ ๒๕๔๙ ๒๕๕๑ ๒๕๕๕

- นิทรรศการศิลปไทยร่วมสมัยของ ธงชัย ศรีสขุ ประเสริฐ ณ พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติหอศิลป ถนนเจ้าฟ้า กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปไทยร่วมสมัยของ ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ ณ หอศิลป์คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปไทยร่วมสมัย “นาม-รูป” ณ หอศิลป์ 9 Art Gallery เชียงราย - นิทรรศการศิลปไทยร่วมสมัย “มหาวิเนษกรมณ์” ของธงชัย ศรีสุขประเสริฐ ณ อาร์เดลเธิร์ดเพลส แกลเลอรี กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปไทยร่วมสมัย “โลกียธรรม” ของธงชัย ศรีสุขประเสริฐ ณ อาร์เดลเธิร์ดเพลส แกลเลอรี กรุงเทพฯ

นิทรรศการกลุ่ม ๒๕๔๐ - “SYMBOLIST” โดย ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ, สมภพ บุตรราช, มิเชล จอห์น บาเรทท์ ณ เพลสออฟอาร์ต กรุงเทพฯ ๒๕๔๔ - “รูปธรรม-นามธรรมไทย” โดย ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ, เกรียงไกร วงษ์ปิติรัตน์ ณ โอเพนอาร์ตสเปซ กรุงเทพฯ ๒๕๕๔ - “ขณะหนึ่ง...เวนิส” นิทรรศการภาพถ่าย ณ อาร์เดลเธิร์ดเพลส แกลเลอรี กรุงเทพฯ - “เห็น ๔” นิทรรศการภาพถ่าย ณ ดีโอบีหัวลําโพงแกลเลอรี กรุงเทพฯ ๒๕๕๖ - “พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์” โดย ปัญญา วิจินธนสาร, ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ, อนุพงษ์ จันทร ณ หอศิลป์ร่วมสมัยอาร์เดล กรุงเทพฯ ๒๕๕๙ - “ขออัญเชิญบทเพลงพระราชนิพนธ์ ใกล้รุ่ง” ร่วมบรรเลงโดย ๘ จิตรกรไทย ณ หอศิลป์ร่วมสมัยอาร์เดล กรุงเทพฯ ๒๕๖๓ - นิทรรศการ The Self-Portrait โดย ๒๔ ศิลปิน ณ หอศิลป์ร่วมสมัยอาร์เดล กรุงเทพฯ นิทรรศการทั่วไป ๒๕๒๗-๒๕๓๙ - การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๑, ๓๕, ๓๖, ๓๗, ๓๙, ๔๐ ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ ๒๕๒๗-๒๕๓๓ - จิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ ๘, ๑๐, ๑๑, ๑๒, ๑๓, ๑๔ ณ ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ ผ่านฟ้า กรุงเทพฯ ๒๕๒๘ - การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ ๒ ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ - ศิลปกรรมเยาวชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๒ ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ

353


๒๕๒๘, ๓๓, ๓๔ - นิทรรศการศิลปะร่วมสมัยของธนาคารกสิกรไทย ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์เจ้าฟ้า กรุงเทพฯ ๒๕๒๙-๒๕๓๐ - การแสดงผลงานศิลปกรรมของนักศึกษาคณะจิตรกรรมฯ ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ ๒๕๒๙/๒๕๓๓ - นิทรรศการศิลปไทยโดยกลุ่ม “ศิลปไทย’๒๓” ครั้งที่ ๔, ๕ ธนาคารไทยพาณิชย์ กรุงเทพฯ ๒๕๒๙ - นิทรรศการจิตรกรรมสีน�้ำ “Seascape” ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ ๒๕๓๐ - นิทรรศการศิลปไทย “อาร์ตออฟอาร์ต” ณ โรงแรมรีเจนท์ กรุงเทพฯ - นิทรรศการจิตรกรรม “คนเมือง” ณ พระที่นั่งทับขวัญ นครปฐม ๒๕๓๑ - นิทรรศการศิลปไทยโดยศิลปินอาสาฯ วัดพุทธปทีป พิคคาเดลลี กรุงลอนดอน อังกฤษ - นิทรรศการศิลปกรรม “ภาพถ่ายและศิลปะเด็กแห่งอาเซียนครั้งที่ ๑” ณ ประเทศบรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปินส์ สิงคโปร์และไทย ๒๕๓๒ - นิทรรศการศิลปกรรม ๑๐๐ ปี พระยาอนุมานราชธนฯ ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ - นิทรรศการจิตรกรรมไทยของศิลปินอาสาเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธปทีป ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่ง ประเทศไทย - นิทรรศการศิลปกรรมขนาดเล็กของเยาวชนไทย ในโครงการมิตรภาพสําหรับศตวรรษที่ ๒๑ ฟูจิโยชิดะ ประเทศญี่ปุ่น ๒๕๓๒, ๓๔, ๓๖ - นิทรรศการศิลปไทยร่วมสมัยของกลุ่มไทย ครั้งที่ ๑, ๒, ๓ ณ วิฌวลธรรมแกลลอรี่ หอศิลป์มหาวิทยาลัย ศิลปากร โรงแรมอิมพีเรียลควีนสปาร์ค กรุงเทพฯ ๒๕๓๓ - นิทรรศการศิลปะ อาร์ตคอมเพลกซ์ โยโกฮามา ประเทศญี่ปุ่น - นิทรรศการศิลปนิพนธ์ของนักศึกษาปริญญาตรีคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ - นิทรรศการจิตรกรรมนานาชาติโอซาก้าไตรนาลเล ’๙๐ โอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น ๒๕๓๓-๒๕๕๔ - นิทรรศการศิลปกรรมของอาจารย์คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ ครั้งที่ ๗ - ๒๘ ณ หอศิลป์คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ ๒๕๓๔ - นิทรรศการศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมายุครบ ๓๖ พรรษา โดยธนาคารกสิกรไทย ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปไทยร่วมสมัยของศิลปินไทย ณ กรุงเมลเบิร์น ออสเตรเลีย ๒๕๓๕ - นิทรรศการศิลปะ “Small Works” ณ สีลมอาร์ตสเปซ กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปะร่วมสมัย “ศิลปินส่งใจช่วยบ้านฉุกเฉิน” ณ โรงแรมฮิลตัน กรุงเทพฯ - นิทรรศการมหกรรมศิลปกรรมในโอกาสครบรอบ ๕๐ ปี ของธนาคารแห่งประเทศไทย ณ ตําหนักวังบางขุนพรหมและศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ ๒๕๓๖ - นิทรรศการศิลปกรรม Aspace ณ หอศิลป์คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปะ เนื่องในโอกาสการประชุมเรื่องการศึกษาศิลปะ ในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก ครั้งที่ ๗ ณ หอศิลป์คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ - ศิลปินรับเชิญ นิทรรศการจิตรกรรมไทยในวาระครบรอบ ๖๐ ปี ธนาคารนครธน ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ - ศิลปินรับเชิญ นิทรรศการศิลปกรรมอลังการแห่งศิลปะ #๑ ฮอลล์ ออฟ เฟรม เดอะลิเบอร์ตี ออฟ อาร์ต กรุงเทพฯ - ศิลปินรับเชิญ นิทรรศการศิลปะ “ก้าวแรกสู่เส้นทางลานนา” ของ พรชัย ใจมา ณ อหิงสาแกลเลอรี่ เชียงราย - นิทรรศการศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ณ หอศิลป์คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ ๒๕๓๙ - นิทรรศการศิลปไทย โดยมหาบัณฑิตและนักศึกษามหาบัณฑิต สาขาศิลปไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ หอศิลป์คณะจิตรกรรมฯ กรุงเทพฯ ๒๕๔๐ - ศิลปินรับเชิญ นิทรรศการศิลปะร่วมสมัย ครั้งที่ ๑๙ โดยธนาคารกสิกรไทย ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์เจ้าฟ้า กรุงเทพฯ ๒๕๔๑ - ศิลปินรับเชิญ มหกรรมศิลปกรรมแห่งเอเชีย (ศิลปะกับสิ่งแวดล้อม) เอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ ๑๓ กรุงเทพเมืองฟ้าอมร กรุงเทพฯ - โครงการ Bangkok Art Project 1998 ๒๕๔๒ - นิทรรศการศิลปไทย Thai Art Exhibition ณ หอศิลป์คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ ๒๕๔๔ - นิทรรศการศิลปะเพื่อพระธรรม ในวาระประชุมองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ณ โรงแรมแอทธินีพลาซ่าและศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย - นิทรรศการศิลปไทยร่วมสมัยของศิลปินไทย ณ มหานครนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา ๒๕๔๖ - นิทรรศการ ๖๐ ปี ศิลปะไทยร่วมสมัย โดยคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถนนเจ้าฟ้า กรุงเทพฯ ๒๕๔๗ - นิทรรศการศิลปกรรมเนื่องในโอกาสเปิด หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพฯ ๒๕๔๘ - นิทรรศการศิลปินไทยรวมใจช่วยภัยพิบัติภาคใต้ ณ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปกรรม ทัศนศิลป์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในวโรกาสที่ทรงมีพระชนมายุ ครบ ๕๐ พรรษา ณ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปไทย โดยมหาบัณฑิตศิลปไทย คนเมืองเจียงใหม่ แกลเลอรี่ ปาณิศา เชียงใหม่

354


๒๕๕๐

- นิทรรศการศิลปกรรมศิลปะกับสิ่งแวดล้อมโลก ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรและหอศิลป์จิมทอมสัน กรุงเทพฯ และมหาวิทยาลัยแห่งรัฐซานโฮเซ แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ๒๕๕๑ - นิทรรศการศิลปกรรม “ศิลปินรักษ์โลก โลกรักษ์ศิลปิน” โดยคณาจารย์คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ ๒๕๕๒ - นิทรรศการศิลปไทย ครั้งที่ ๓ โดยมหาบัณฑิตศิลปไทย ฅนลานนา แกลเลอรี่ ปาณิศา เชียงใหม่ ๒๕๕๓ - นิทรรศการ งอกเงยด้วยธรรม งดงามด้วยศิลป์ของกลุ่มจิตรกรไทย หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพฯ ๒๕๕๔ - นิทรรศการศิลปไทย ครั้งที่ ๔ พลานุภาพแห่งจุลศิลป์ แกลเลอรี่ ปาณิศา เชียงใหม่ ๒๕๕๕ - นิทรรศการภาพพิมพ์ริมน่าน สัมนาเชิงปฏิบัติการศิลปะ หอศิลป์ริมน่าน น่าน - นิทรรศการ ๕๕ คน ๕๕ ศรัทธา แกลเลอรี่ ปาณิศา เชียงใหม่ - นิทรรศการ Love Story ณ พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย MOCA กรุงเทพฯ ๒๕๕๖ - นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ จากดวงใจ ถวายพ่อหลวง ๘๖ พรรษา กรุงเทพฯ - นิทรรศการ การประชุมศิลปะแห่งชาติ ครั้งที่ ๑ พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย กรุงเทพฯ ๒๕๕๗ - นิทรรศการ Double Great for Charity กรุงเทพฯ - นิทรรศการ กิจกรรมศิลปินทัศนศิลป์ มอบผลงานให้สภากาชาดไทย กรุงเทพฯ - นิทรรศการ Bronze World ณ HOF Art Space กรุงเทพฯ ๒๕๕๘ - The Greatest Art 2015 Evening Auction Bangkok โรงแรมอนันตรา สยาม กรุงเทพฯ - ศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยนิตยสารแพรว สยามพารากอน กรุงเทพฯ - นิทรรศการ Thai Neo Traditional Art พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย กรุงเทพฯ ๒๕๕๙ - โครงการจิตรกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสทรงเจริญ พระชนมายุ ๖๐ พรรษา โดยกลุ่มจิตรกรไทย ณ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพฯ - นิทรรศการภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ๗ ทศวรรษ โดยคณาจารย์คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ - นิทรรศการ Under Her Graciousness ใต้ร่มพระบารมี การเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ ๗๐ ปี ณ หอศิลป์คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ - นิทรรศการภาพพิมพ์ประวัติศาสตร์ ๓ มหาราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ กรุงเทพฯ ๒๕๕๙-๒๕๖๓ - นิทรรศการและการประมูลผลงานศิลปะของพิพิธภัณฑ์ศิลปะเชียงใหม่ ครั้งที่ ๑-๕ พิพิธภัณฑ์ศิลปะเชียงใหม่ เชียงใหม่ ๒๕๖๐ - นิทรรศการ เสียงศิลป์ แผ่นดินทอง Music & Art From the Land of Prosperity ดิเอ็มโพเรียม กรุงเทพฯ - นิทรรศการ หนังสือศิลปิน : ความรู้จากภายในสู่ภายนอก Artist’s Book : Knowledge Inside - Out หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร กรุงเทพฯ ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ - Great Stars Charity 2017 - 2019 การประมูลศิลปะเพื่อการกุศล โดย GREAT STAR เซนทาราแกรนด์ กรุงเทพฯ ๒๕๖๐, ๒๕๖๒ - ART AUCTION FOR REFUGEES งานประมูลศิลปะเพื่อผู้ลี้ภัย UNHCR พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย กรุงเทพฯ ๒๕๖๑ - นิทรรศการ ศรัทธา Faith Beyond Earth, Friens of Bangkok ART BIENNALE 2018 พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย กรุงเทพฯ - นิทรรศการ The Masterpieces Art Exhibition พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย กรุงเทพฯ - นิทรรศการ Legend of Elephants Art Exhibition พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย กรุงเทพฯ ๒๕๖๒ - นิทรรศการ What’s Thai Art Exhibition. The Art Club Bangkok สยามพารากอน กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปกรรม “นําสิ่งที่ดีสู่ชีวิต” พ.ศ. ๒๕๖๒ เนื่องในโอกาสฉลองครบรอบ ๕๐ ปี กลุ่มบริษัทโตชิบา ประเทศไทย - นิทรรศการ Art For Refugees Exhibition ๒ พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย กรุงเทพฯ ๒๕๖๓ - นิทรรศการศิลปะ รูปเปลือย ณ พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย MOCA กรุงเทพฯ - นิทรรศการโครงการศิลปินร่วมสมัยสู่ภัยโควิดด้วยจิตส�ำนึก สาขาทัศนศิลป์ หอศิลป์ราชด�ำเนิน ส�ำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กรุงเทพฯ

355


Born June 21, 1963 Chiang Mai Profession Independent artist Education - Chai Rot Vittaya School, Chiang Mai - Yupparaj Vittayalai School, Chiang Mai - Rajamangala Institute of Technology Northern Campus, Chiang Mai - B.F.A. (Thai Art), Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University - M.F.A. (Thai Art), The Graduate School, Silpakorn University Honors and Awards 1985 1988 1989 1990 1991 1993 1994

- Special Prize, Photographic Contest by Photo Magazine. - 1st Asian Traveling Exhibition of Art, Photography and Children's Art. Brunei Darussalam, Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore and Thailand. - Working on Buddhapadipa temple mural painting. - Award Winner, 1st Toshiba “Brings Good Things to Life” Art Competition. - Participated in “The International Osaka ’90 Triennial of Painting”, Osaka, Japan. - Grand Prize, Contemporary Art Competition Promoted by Thai Farmers Bank. - Top Award Winner, 2nd Toshiba “Brings Good Things to Life” Art Competition. - 1st Prize, Gold Medal, Thai Traditional Art Section, the 14th Bualuang Art Exhibition. - Granted a scholarship from Toshiba (Thailand) to visit France, Germany, Italy, Switzerland, Austria, and Netherland. - 3rd Prize, Bronze Medal, Painting, the 37th National Exhibition of Art. - 2nd Prize, Silver Medal, Thai Traditional Art Section, the 15th Bualuang Art Exhibition. - 3rd Prize, Bronze Medal, Painting, the 39th National Exhibition of Art. - Participated in “The International Osaka ’93 Triennial of Painting”, Osaka, Japan. - 3rd Prize, Bronze Medal, Painting, the 40th National Exhibition of Art.

Solo Exhibitions 1992 - Thai Contemporary Art Exhibition by Thongchai Srisukprasert, The National Gallery, Chao-Fa Road, Bangkok. 1995 - Thai Contemporary Art Exhibition by Thongchai Srisukprasert, Art Gallery of Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok. 2006 - Thai Contemporary Art Exhibition “Intangible - Tangible”, 9 Art Gallery, Chiang Rai. 2008 - Thai Contemporary Art Exhibition “Mahabhinishkramana”, ARDEL’s Third Place Gallery, Bangkok. 2012 - Thai Contemporary Art Exhibition “Logiyadhamma”, ARDEL’s Third Place Gallery, Bangkok. Selected Group Exhibitions 1997 2001 2011 2012

- Art Exhibition “SYMBOLIST”, Place of Art, Bangkok. - “Ruppadham-Nammadham Thai” open artspace, Bangkok - “Once in Venice”, ARDEL's Third Place Gallery, Bangkok - “See Saw Seen IV”, DOB Hualamphong Gallery, Bangkok - “Buddha Dharma Ecclesiastic” By Panya Vijinthanasarn, Thongchai Srisukprasert and Anupong Chantorn, ARDEL Gallery of Modern Art, Bangkok 2016 - “Drawn to the Near Dawn” Composed by 8 Thai Artists ARDEL Gallery of Modern Art, Bangkok 2020 - “The Self-portrait” by 24 Artists, ARDEL Gallery of Modern Art, Bangkok Other Exhibitions

- The 31st, 35th, 36th, 37th, 39th, 40th National Exhibition of Art, Silpakorn University Art Gallery, Bangkok. 1984-1990 - The 8th, 10th, 11th, 12th, 13th, 14th Bualuang Art Exhibition, Musical Art Centre, Bangkok. 1985 - The 2nd Exhibition of Contemporary Art by Young Artists on the Occasion of “Silpa Bhirasri Day”, Silpakorn University Art Gallery, Bangkok. - The 2nd Youth's Art Exhibition of Thailand, Silpakorn University Art Gallery, Bangkok. 1985/1990-91 - Contemporary Art Exhibition Promoted by Thai Farmers Bank, The National Gallery, Chao-Fa Road, Bangkok. 1986-1987 - Art Exhibition by students of Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University Art Gallery, Bangkok. 1984-1996

356


1986 1986/1990

- Water Color Painting Exhibition “Seascape”, Silpakorn University Art Gallery, Bangkok. - 4th, 5th Exhibition of Thai Art by Thai Art 23 Group, Bhirasri Institute of Modern Art & Siam Commercial Bank, Bangkok. 1987 - Thai Art Exhibition by Art of Art Group, Regent Hotel, Bangkok. - Painting Exhibition “Khon Mueng”, Tab Kwan Palace, Nakhon Pathom 1988 - Thai Art Exhibition by Thai Artist at Buddhapadipa Temple, Piccadilly, London, England. - 1st Asian Traveling Exhibition of Art, Photography and Children’s Art. Brunei Darussalam, Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore and Thailand. 1989 - Art Exhibition on the Occasion of Phaya Anuman Rajathon’s 100th Birthday Anniversary, Silpakorn University Art Gallery, Bangkok. - Painting Exhibition by artists working on Buddhapadipa mural painting, Thailand Cultural Centre, Bangkok. - Art Exhibition by Thai Youth in the Friendship Programme for the 21st Century, Fuji Yoshida, Japan 1989/’91/93 - 1st, 2nd, 3rd Thai Contemporary Art Exhibition by Thai Group, Silpakorn University Art Gallery, Visual Dhamma Art Gallery, the Imperial Queen’s Park, Bangkok. 1990 - Contemporary Art “Art Complex” [Think Future, Art Now] Yokohama, Japan - Art Thesis Exhibition by the Graduating Class of Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University Art Gallery, Bangkok. - The International Osaka ’90 Triennial of Painting, Osaka, Japan 1990-2011 - 7th-28th Art Exhibition by Members of the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Art Gallery of the Faculty, Silpakorn University, Bangkok 1991 - Thai Farmers Bank’s Art Contest in the Celebration Marking the Auspicious Occasion of the 36th Birthday Anniversary of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn in the Year 1991, Thailand Cultural Centre, Bangkok. - Thai Art Exhibition, Melbourne, Australia 1992 - Thai Contemporary Art Exhibition “Art at Heart for Emergency Home”, Hilton Hotel International, Bangkok. - “Small Works” Art Exhibition, Silom Art Space, Bangkok. - Invited Artist, Art Exhibition on the Occasion of Bank of Thailand’s 50th Anniversary, Bang Kun Prom Palace and Thailand Cultural Centre, Bangkok. 1992-1994 - Invited Artist, Contemporary Art Exhibition Promoted by Thai Farmers Bank, The National Gallery, Chao-Fa Road, Bangkok. 1993 - Art Exhibition on the occasion of His Majesty the King’s 50th Anniversary Succession to the Throne, art gallery of the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok. - Art Exhibition 7th Asian-Pacific Conference on Arts Education, art gallery of the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok. - Art Exhibition “Escape”, art gallery of the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok. - Invited Artist, Na-Korn-Thon Bank Public Company Limited Exhibition of Painting, Thailand Cultural Centre, Bangkok. - Invited Artist, Art Exhibition “An Adornment of Art #1”, Hall of Frame, The Liberty of Art, Bangkok. - Invited Artist, Art Exhibition “First Step to be Lan-Na Artists” by Pornchai Jaima, Ahingsa Art Gallery, Chiang Rai 1996 - Art Exhibition by the graduate and graduate students from Thai Art Department, art gallery of the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok. 1997 - Invited Artist, 19th Contemporary Art Exhibition Promoted by Thai Farmers Bank, The National Gallery, Chao-Fa Road, Bangkok. 1998 - Bangkok Art Project 1998 Public Art in Community Lives Across the Rattanakosin Island, Bangkok. - Invited Artist, Art Exhibition “Art and Environment” on the occasion of 13th Asian Games, Bangkok. 2001 - “Art for Dhamma” Exhibition, Plaza Athenee Hotel and Thailand Cultural Centre, Bangkok. - Thai Contemporary Art Exhibition “Ruppadham-Nammadham Thai”, Open Art Space, The Silom Galleria, Bangkok. - Thai Contemporary Art Exhibition by Thai artists, New York, USA. 2003 - 60 Years of Thai Contemporary Arts by Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, The National Gallery, Chao-Fa Road, Bangkok. 2004 - Invited Artist, The Art Exhibition on the Occasion of The Queen’s Gallery Grand Opening, The Queen’s Gallery, Bangkok.

357


2005

- The Exhibition of art Auction in support of the Project “Artist’s Hearts for TSUNAMI”, The Queen’s Gallery, Bangkok. - The Art Exhibition on the Occasion of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn’s 50th Birthday Anniversary by Members of the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, The Queen’s Gallery, Bangkok. 2007 - Art Exhibition “World Environment” Silpakorn University Art Gallery and Jim Thomson House, Bangkok / San Jose State University, USA. 2008 - Art Exhibition “The Earth Loves Artists: Artists Love the Earth” by Members of the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, art gallery of the Faculty, Silpakorn University, Bangkok. 2009 - Art Exhibition “The 3rd Thai Art” by Lanna Thai Art Graduates, Galerie Panisa, Chiang Mai. 2010 - Art Exhibition “Blooming with Dhamma, Beautified with Art” by Thai Painters Group, The Queen’s Gallery, Bangkok. 2011 - Art Exhibition “The 4th Thai Art”, The Power of Miniature Art, Galerie Panisa, Chiang Mai. 2012 - “Prints Rim Nan”, an art workshop, Nan Riverside Art Gallery, Nan. - Art Exhibition “55 Persons, 55 Faiths”, Galerie Panisa, Chiang Mai. - Art Exhibition “Love Story”, Museum of Contemporary Art MOCA, Bangkok. 2013 - Art Exhibition “The Royal Father in Our Heart”, Bangkok. - The “1st National Art Meeting”, Museum of Contemporary Art MOCA, Bangkok. 2014 - Art Exhibition “Double Great for Charity”, Bangkok. - Visual Art Artists give Thai Red Cross their Art, Bangkok. - Bronze World, HOF Art Space, Bangkok. 2015 - The Greatest Art 2015 Evening Auction, Bangkok Anantara Siam Bangkok Hotel, Bangkok. - Art Exhibition to Celebrate Princess Maha Chakri Sirindhorn’s 60th Birthday by Praew Magazine, Siam Paragon, Bangkok. - Art Exhibition Thai Neo Traditional Art, Museum of Contemporary Art MOCA, Bangkok. 2016 - Art Exhibition Celebrate Princess Maha Chakri Sirindhorn’s 60th Birthday, The Queen’s Gallery, Bangkok. - Art Exhibition 7 Years under Gracious Protection by members of Faculty of Painting Sculpture and Grphic Art, Silpakorn University, Bangkok. - Under Her Graciousness to commemorate King Bhumibhol 70th Year Accession to the Throne, PSG Art Gallery, Silpakorn University, Bangkok. - Art Exhibition “Three Historical Regions of Art.”, The Great King of Rattanakosin, Bangkok. 2016-2020 - 1st-5th Art Exhibition and Art Auction of Chiang Mai Art Museum. 2017 - Art Exhibition “Music & Art From the Land of Prosperity” The Emporium, Bangkok. - Art Exhibition “Artist’s Book : Knowledge Inside - Out, Bangkok Art and Culture Centre, Bangkok. 2017 - 2019 - Art Exhibition “Great Stars Charity 2017 - 2019”, an art auction for sharity by GREAT STAR, Sentara Grand Hotel, Bangkok. 2017, 2019 - ART AUCTION FOR REFUGEES, UNHCR Museum of Contemporary Art MOCA, Bangkok. 2018 - Faith Beyond Earth, Friends of Bangkok ART BIENNALE 2018, Museum of Contemporary Art MOCA, Bangkok. - “The Masterpieces Art Exhibition”, Museum of Contemporary Art MOCA, Bangkok - Art Exhibition “Legend of Elephants Art Exhibition”, Museum of Contemporary Art MOCA, Bangkok. 2019 - Art Exhibition “What’s Thai Art Exhibition”, The Art Club Bangkok, Siam Paragon, Bangkok. - Toshiba “Brings Good Things to Life,” to celebrate 50th Year Anniversary of Toshiba Group Thailand. - Art Exhibition “Art For Refugees” Exhibition 2, Museum of Contemporary Art MOCA, Bangkok. 2020 - Art Exhibition “Nyde”, Museum of Contemporary Art MOCA, Bangkok. - Art Project by Thai artists to fight Covid-19 at Ratchadamnoen Contemporary Art Center, Bangkok.

358


ขอน้อมรฦกถึง และ ขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ศิลปินแห่งชาติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรสิทธิ์ อาจารย์ศรีวรรณา เสาว์คง ดร.ถวัลย์ ดัชนี ศิลปินแห่งชาติ ศาสตรเมธี ดร.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ศิลปินแห่งชาติ อาจารย์ปัญญา วิจินธนสาร ศิลปินแห่งชาติ ศาสตราจารย์ถาวร โกอุดมวิทย์ คุณบุญชัย เบญจรงคกุล คุณฐาปน สิริวัฒนภักดี คุณวรเทพ สุวรรณวนิชกิจ คุณพงษ์ชัย จินดาสุข คุณวีระยุทธ โชติวิจิตร คุณนิติกร กรัยวิเชียร นายแพทย์สมรัช หิรัญยะวะสิต คุณสุริยา นามวงษ์ คุณอุกฤษฏ์​วงศ์ส​ ัมพันธ์​ คุณไพอัส เช็ง คุณหัสภพ ตั้งมหาเมฆ คุณบุษราพร ทองชัย คุณลาวัลย์ มีแสง คุณพิณพลอย พรหมดวง คุณอรวรรณ กรวิทยโยธิน คุณชุติมา มีแสง คณาจารย์ภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA) เขาใหญ่อาร์ตมิวเซียม หอศิลป์ร่วมสมัยอาร์เดล

Special Thanks Professor Emeritus Chalood Nimsamer, National Artist Assistant Professor Surasit Saokong and Mrs.Sriwanna Saokong Ph.D. Thawan Duchanee, National Artist Chair Professor Dr.Chalermchai Kositpipat, National Artist Mr. Panya Vijinthanasarn, National Artist Professor Thavorn Ko-udomvit Mr. Boonchai Bencharongkul Mr. Thapana Sirivadhanabhakdi Mr. Vorathep Suwanvanichkij Mr. Pongchai Chindasook Mr. Werayouth Chotvijit Mr. Nitikorn Kravixien Dr. Somratch Hiranyawasit Mr. Suriya Namwong Mr. Ukrit Wongsamphan Mr. Pius Cheng Miss Hassapop Tangmahamek Miss Bussaraporn Thongchai Miss Lawan Meesang Miss Pinploy Promduang Miss Orawan Khonwittayayothin Miss Chutima Meesang Instructors at Thai Art, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University Museum of Contemporary Art (MOCA) Khao Yai Art Museum ARDEL Gallery of Modern Art

359


360


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.