รายงานการวิจัย
“ชีวิต : ไม่กัดด้วยน�้ำกรด” Life : No Nitric Acid
ศาสตราจารย์พงศ์เดช ไชยคุตร คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
"ได้รับทุนสนับสนุนการท�ำวิจัยจากส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ" พ.ศ. 2560
กิติกรรมประกาศ งานวิจัยเรื่อง “ชีวิต : ไม่กัดด้วยน�้ำกรด” ผู้วิจัย ศาสตราจารย์ พงศ์เดช ไชยคุตร นี้ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากส�ำนักกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจ�ำปีงบประมาณ 2560
งานวิจัยเรื่อง “ชีวิต : ไม่กัดด้วยน�้ำกรด” ผู้วิจัย ศาสตราจารย์พงศ์เดช ไชยคุตร ปี พ.ศ. 2560
บทคัดย่อ
การเสียชีวิตของจันทร์แจ่ม บุญมา (มุกดาปกรณ์) (พ.ศ.2498-2540) ภรรยาของมณเฑียร บุญมา ด้วยโรคมะเร็งปอด ท�ำให้เกิดข้อสงสัยว่า จันทร์แจ่มเป็นมะเร็งในปอด เนื่องจากการศึกษาศิลปะภาพพิมพ์แม่ พิมพ์กัดกรด (Etching) เป็นระยะเวลานานทั้งในระดับปริญญาตรีและปริญญาโทหรือไม่ เทคนิคแม่พิมพ์โลหะ (Intaglio) นั้นมีมาตั้งแต่คริสตวรรษที่ 16 เกิดขึ้นในยุโรป พัฒนามาจากการสลัก นูน (Engraving) ของช่างเงิน และช่างทอง เทคนิคแม่พิมพ์กัดกรด (Etching) เป็นส่วนหนึ่งของเทคนิคแม่พิมพ์โลหะ ที่ใช้กรดไนตริค (Nitric) กัดแม่พิมพ์โลหะให้เป็นร่องลึก เพื่อจับหมึกพิมพ์ การใช้กรดไนตริค ของศิลปินภาพพิมพ์ เป็นความเสี่ยงที่ต้องสูดดมสารระเหยพิษ ทั้งทางตรงและทาง อ้อม ในช่วงปี คศ.1980 เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการกัดแม่พิมพ์จากกรรมวิธีดั้งเดิม เนื่องจากผลของปัญหา สุขภาพและมลพิษที่มีต่อสิ่งแวดล้อม มีการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ เช่นการทดลองใช้ซัลเฟต (Sulfate) และเกลือ (Sodiumehloride) ในการกัดกร่อน แทนการใช้น�้ำกรดไนตริค การใช้สเปรย์อคราลิค (Acrylic spray) แทน การใช้ยางสน (Rosin) หรือผงแอสฟัลตัม (Asphantum) การใช้สารท�ำความสะอาดที่ท�ำจากผัก เช่น น�้ำมันพืช มาท�ำความสะอาดแม่พิมพ์ ส�ำหรับการท�ำแม่พิมพ์กัดกรดโดยใช้กระแสไฟฟ้าต�่ำจากแบตเตอร์รี่ เริ่มมีการค้นคิดขึ้นในคริสต์วรรษ ที่ 19 โดยโทมัส สเปนเซอร์ (Thomas Spencer) แต่ไม่เป็นที่สนใจชอบ ศิลปินภาพพิมพ์แต่อย่างใด ในประเทศไทยยังไม่เคยมีการน�ำกระแสไฟฟ้าต�่ำจากแบตเตอร์รี่มาทดลองใช้แต่อย่างใด การวิจัย เรื่อง “ชีวิต : ไม่กัดด้วยน�้ำกรด” ในครั้งนี้ ต้องการให้เกิดการตระหนักในเรื่องสุขภาพของศิลปินภาพพิมพ์และสิ่ง แวดล้อมในประเทศไทยโดยเฉพาะ ค�ำส�ำคัญ: กรดไนตริค / กระแสไฟฟ้าต�่ำจากแบตเตอรี่ / ชีวิต
Research Topic: Life : No Nitric Acid Researcher: Prof. Pongdej Chaiyakut Year : 2017
Abstract
The departure of Mrs. Chanchaem (Mukdapakon) Bunma (A.D. 1955 – 1997), the wife of Mr. Manthian Bunma, with lung cancer leads to the question whether Mrs. Chanchaem has died of lung cancer because of the long study on etching works in the bachelor’s degree and master’s degree levels or not. Intaglio technique has been introduced since 16th century in Europe, which was evolved from engraving technique by silver and gold craftsmen. Etching is a type of intaglio technique by which nitric acid is used for creating deep nooks on metal molds in order to hold ink. Using nitric acid, etching artists have high risks from inhaling toxic vapor directly and indirectly. In A.D.1980, there has been change in etching technique because the original technique causes problems that are related to health and pollution to the environment. There are research works on this matter such as the use of sulfate acid Sodium chloride instead of nitric acid for creating etching works and the use of acrylic spray instead of resin and asphaltum powder, and the use of substances from vegetables such as vegetable oil to lean molds. As for the making of etching molds from low electricity current from battery, this technique has been invented since 19th century by Thomas Spencer, but this technique is not popular among etching artists. In Thailand, there has not been any experiment on the use of low electricity current from battery at all. Thus, this research on ‘Life is not etched by a acid fluid’ research project is conducted in order to urge etching artists in Thailand to be concerned about health and environment issues. Key word: Nitric acid / electric curren from battery / life
สารบัญ บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ Abstract สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทน�ำ 1.1 ที่มาและความส�ำคัญของปัญหา 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ 1.4 ขอบเขตของการวิจัย
หน้า ข ฃ ค ฆ ง 1 1 2 2 2
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 การทบทบทวนวรรณกรรม 2.2 เทคนิคภาพพิมพ์โลหะกัดกรด (Etching) 2.3 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ คริสต์ศตวรรษที่ 16 2.4 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะในสหรัฐอเมริกา 2.5 คริสต์ศตวรรษที่ 15 ภาพพิมพ์แกะสลักลายเส้น 2.6 คริสต์ศตวรรษที่ 16 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ 2.7 คริสต์ศตวรรษที่ 17 ภาพพิมพ์ร่องลึกและภาพพิมพ์กัดกรด
3 3 3 4 9 16 17 17
บทที่ 3 วิธีการด�ำเนินการวิจัย 3.1 วิธีการด�ำเนินการวิจัย 3.2 การท�ำแม่พิมพ์กัดกรดด้วยกระแสไฟฟ้า 3.3 ความรู้พื้นฐานของกระบวนการไฟฟ้าและการใช้กระแสไฟฟ้าในการกัดแม่พิมพ์ 3.4 การต่ออุปกรณ์การกัดโลหะด้วยกระแสไฟฟ้า 3.5 สารละลายอิเล็กโตรไลท์ (Electrolyte) 3.6 ข้อควรค�ำนึง
19
บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล 4.1 การสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยไม่ใช้น�้ำกรด 4.2 ความรู้พื้นฐานของกระบวนการไฟฟ้าและการใช้กระแสไฟฟ้า ในการกัดแม่พิมพ์กระบวนการไฟฟ้า 4.3 ข้อควรค�ำนึง 4.4 การเตรียมวัสดุอุปกรณ์
31 31
20 21 22 22 23
35 37 37
4.5 การสกัดไขมันออกจากแม่พิมพ์ 4.6 ขั้นตอน การสกัดไขมันออกจากแม่พิมพ์ 4.7 การเคลือบสารกันการกัดกร่อนของแม่พิมพ์โลหะ 4.9 กระบวนการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยใช้ไฟฟ้า 4.10 การสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้า 4.11 สารละลายอิเล็กโทรไลท์ (Electrolyte) 4.12 ข้อควรค�ำนึง 4.14 ขั้นตอนการท�ำ Contact-strip 4.15 การสกัดไขมันบนเพลท 4.16 ขั้นตอนการสกัดไขมันออกจากเพลท 4.17 การเคลือบกันการสึกกร่อน 4.18 ขั้นตอนการเคลือบเพลท 4.19 กระแสไฟฟ้า (Voltage) 4.20 กระบวนการกัดโดยใช้กระแสไฟฟ้า 4.21 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ในกระบวนการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยใช้ไฟฟ้า 4.22 ขั้นตอน และเทคนิคการสร้างอุปกรณ์ต้นแบบ ในการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้า
หน้า 37 38 38 38 39 40 42 43 44 44 44 44 45 45 48 49
บทที่ 5 อภิปรายผลและผลงานศิลปะภาพพิมพ์เทคนิคกัดด้วยไฟฟ้า 5.1 ผลการทดลองการสร้างแม่พิมพ์สังกะสีร่องลึกด้วยไฟฟ้า 5.2 วิเคราะห์ผลการทดลอง 5.3 สรุปผลการทดลอง 5.4 ข้อเสนอแนะ 5.5 ข้อดีของการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้า 5.6 ข้อด้อยของการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้า
51 51 52 52 53 55
บทที่ 6 สรุปผลการวิจัย และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งต่อไป
56 56 61 61
บรรณานุกรม
79
ประวัติผู้วิจัย
81
ภาคผนวก
85
สารบัญ ตาราง หน้า ตาราง สารกัด (SOLVENTS) 33 ตารางเปรียบเทียบการใช้น�้ำกรดและการใช้ไฟฟ้า (ของ Leonard 025 CHEMTECH) 46 การใช้ไฟฟ้ากัด (Electro Etch) ความแรงขนาด 6 Volts (ที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง) (จากบริษัท) 47 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบวิธีการ ระยะเวลา และผลการทดลองจากการสร้างแม่พิมพ์ร่องลึก ด้วยไฟฟ้าและการกัดกรดแบบดั้งเดิม 59
สารบัญ รูปภาพ ภาพที่ หน้า 1 อัลแบร์ ดูเรอร์ (Albrecht Durer) Knight, Death and the devil คศ. 1513 เทคนิค Engraving ขนาด 97/8 x 73/7 นิ้ว British Museum, London 4 2 จิโอวันนี่ บาติสตา พิรานซี่ (Giovanni Battista Piranesi) ค.ศ.1750 Rijksmuseum Amsterdam 5 3 แอนโทนี แวนไดค์ (Antony van Dyck) ภาพเหมือน แจน แวน เดนโวร์เวอร์ (Jan van den Wouwer)ค.ศ.1641 ภาพพิมพ์ Engraving, Rijksmuseum Amsterdam 5 4 จาคส์ คอลลอต (JaequesCallot) “ตลาดนัด อิมพรูเนตา” (The Fair at Imprunets) ค.ศ.1620, ภาพพิมพ์ แม่พิมพ์โลหะ Metropolitan Museum of art, New York 6 5 จาคส์ คอลลอต (JaequesCallot) “การแขวนคอ” The Miseries of war ค.ศ. 1633, ภาพพิมพ์ แม่พิมพ์โลหะ Metropolitan Museum of art, New York 6 6 เรมบรันต์ แวน ริจน์ (Rembrandt Van Rijn) พระเยซูบนไม้กางเขน ค.ศ.1653 ภาพพิมพ์ Drypoint และ Engraving ขนาด 151/4 x 1713/16 นิ้ว National Gallery of Art, Washington D.C. 7 7 อัลแบร์ ดูเรอร์ (Albrecht Durer) The Four Horsemen of Apocalypse, from the Apocalypse series. คศ.1497 – 1498 เทคนิค แกะไม้ ขนาด 151/2 x 11 นิ้ว British Museum, London 7 8 พาโบลปิคัสโซ่ (Pablo Picasso) Still Lift with Glass under the Lamp ค.ศ.1962 ภาพพิมพ์แกะกระเบื้องยาง The Museum of Modern Art New York 8 9 พอล โกแกง (Paul Gaugain) Te Atua (พระเจ้า) ค.ศ.1891 – 1893 ภาพพิมพ์แกะไม้ ขนาด 81/2 x 141/8 นิ้ว Art Institute of Chicago 8 10 บาโบล ปิคัสโซ่ (Pablo Picasso) The Frugal Repast ค.ศ.1904 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ ขนาด 181/4 x 143/4 นิ้ว Metropolitan Museum of Art, New York 9 11 เอ็ดวาร์ด ฮอปเปอร์ (Edward Hopper) Night Shadow ค.ศ.1921 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ ขนาด 67/8 x 8 นิ้ว, Library of Congress, Washinton, D.C. 10 12 เฮนรี มาติส (Henri Matisse) Charles Baudelaire ภาพประกอบหนังสือ ค.ศ.1930 – 1932 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ, Museum of Modern Art, New York 10 13 เอ็ดวาร์ด ฮอปเปอร์ (Edward Hopper) Night Shadow ค.ศ.1921 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ ขนาด 67/8 x 8 นิ้ว, Library of Congress, Washinton, D.C. 11 14 จิม ไดน์ (Jim Dine) Saw, ค.ศ.1976 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ ขนาด 327/18 x 225/8 นิ้ว Library of Congress, Washinton, D.C. 11 15 ผลงานภาพเหมือนตนเอง ของ เรมบรันต์ (Rambrandt) ค.ศ.1630 ภาพพิมพ์ แกะลายเส้น (Engraving) ขนาดเล็ก 12
ภาพที่ หน้า 16 สิทธิชัย ปรัชญารัตน์ติกุล, Dedicated to Pornsiri no:21/99, Intaglio 68 x 97 cm, 1991 17 พงศ์เดช ไชยศุตร, Chiangmai Creature, Etching 65 x 95 cm, 1990 18 มิชิโอ ฮิเดฮารุ (Mishio Hideharu), “Untitled” Etching 60 x 80 cm, 1991 19 สตูดิโอภาพพิมพ์ ศตวรรษที่ 17 พิมพ์ใน ค.ศ.1640โดยศิลปินฝรั่งเศส Abraham Bosse 20 เรมบรันต์ (Rembrandt) Aolom and Eve, ค.ศ.1638 ภาพพิมพ์ Engraving 21 แท่นพิมพ์ในศตวรรษที่ 17 22 แท่นพิมพ์ในศตวรรษที่ 17 23 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Relife 24 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint 25 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint 26 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint 27 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint 28 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint 29 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint 30 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint 31 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint 32 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint 33 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint 34 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint 35 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint 36 การจัดวางอุปกรณ์ (Alfonso Crujera, 2010) 37 ตัวอย่างภาพพิมพ์กัดโดยใช้กระแสไฟฟ้า (Alfonso Crujera, 2010) 38 อุปกาณ์การกัดโลหะด้วยกระแสไฟฟ้า 39 สารละลายอิเล็กโทรไลท์ (Electrolyte) 40 แผ่นทองแดงและตะแกรง 40 แผ่นทองแดงและตะแกรง 42 การกัดโลหะด้วยกระแสไฟฟ้า 43 เตรียมอุปกรณ์ 44 แม่พิมพ์ทองแดง (Copper) 45 กันด้านหลังแม่พิมพ์ทองแดง เพื่อไม่ให้ไฟฟ้ากัดกร่อน 46 ละลายสารอิเล็กโทรไลท์ ลงในน�้ำแล้วจึงท�ำแม่พิมพ์ลงกัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอรี่
13 14 14 15 16 18 18 24 25 25 26 26 27 27 28 28 29 29 30 30 36 36 40 41 41 41 41 43 43 43 43
ภาพที่ หน้า 47 ภาพพิมพ์กัดด้วยไฟฟ้าจากแบตเตอร์รี 48 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี 49 แนวเรื่องจาก ชีวิตสัตว์ น�ำมาแสดงออกด้วยเทคนิคภาพพิมพ์กัดด้วยแบตเตอร์รี 50 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด 51 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี 52 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด 53 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี 54 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด 55 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี 56 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด 57 ภาพพิมพ์กัดด้วยไฟฟ้าจากแบตเตอร์รี 58 แนวเรื่องจาก ชีวิตสัตว์ น�ำมาแสดงออกด้วยเทคนิคภาพพิมพ์กัดด้วยแบตเตอร์รี 59 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี 60 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด 61 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี 62 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด 63 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี 64 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด 65 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี 66 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด 67 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี 68 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด 69 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี 70 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด 71 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี 72 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด 73 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ในกระบวนการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยใช้ไฟฟ้า ขนาด 20 x 90 x 100 ซ.ม. 74 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ในกระบวนการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยใช้ไฟฟ้า ขนาด 20 x 90 x 100 ซ.ม. 75 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยใช้ไฟฟ้า 76 แท่นพิมพ์ที่ แพรวาสตูดิโอ สถานท่ีทดลองงานวิจัยและพิมพ์ผลงาน
62 62 63 63 64 64 65 65 66 66 67 67 68 68 69 69 70 70 71 71 72 72 73 73 74 74 75 76 77 78
บทที่ 1 บทน�ำ 1.1 ที่มาและความส�ำคัญของปัญหา การเสียชีวิตของศิลปินหลายๆราย จากสารพิษที่สะสมสู่ร่างกาย โดยการสูดดม หรือโดยการซึมซับเข้าสู่ ร่างกาย ในขณะสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม มีการกล่าวถึงกันมากว่า 30 ปี เป็นที่น่าแปลกใจว่า ยังคงมีศิลปินที่ ต้องเสียชีวิตเช่นเดิม อาจเนื่องจากหลายกรณี เช่น ศิลปินไม่ทราบถึงผลเสียที่จะตามมาในการสูดดมสารพิษหรือ โดยการซึมซับ โดยคิดว่าไม่น่าจะมีผลกระทบที่เป็นอันตรายถึงชีวิต อีกประการหนึ่งคือ ความเคยชินที่ได้สร้าง ผลงานโดยการไม่ป้องกัน เช่น ไม่ใส่หน้ากากกันสารพิษเนื่องจากไม่ถนัดในการปฏิบัติงาน ไม่ใส่ถุงมือที่หนาพอ ในการป้องกันสารพิษ ศิลปินภาพพิมพ์ จันทร์แจ่ม บุญมา (มุกดาปกรณ์) (พ.ศ.2498-2540) ภรรยาของมณเฑียร บุญมา (ศิลปินนานาชาติของประเทศไทย ซึ่งมีบทบาทในการเริ่มต้นสร้างสรรค์ศิลปกรรมแนวทางใช้วัสดุ นักเรียนทุน ก.พ. ด้านศิลปะ จบการศึกษาปริญญาโทจาก “École des Beaux-Arts” ปาริส ฝรั่งเศส) เสียชีวิตด้วยมะเร็ง ในปอด ซึ่งอาจจะเกิดจากการที่เธอสร้างผลงานศิลปะภาพพิมพ์เทคนิคกัดโลหะด้วยกรดไนตริค (Etching) เป็น เวลานาน เนื่องจากเธอศึกษาทั้งระดับปริญญาตรี และปริญญาโท ในเทคนิควิธีการนี้ ตลอดจนได้สอนเทคนิควิธี การนี้แก่นักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระนครเหนือเป็นเวลากว่า 20 ปี การเสียชีวิตของ มณเฑียร บุญมา (พ.ศ.2496-2543) ด้วยมะเร็งในปอด เช่นเดียวกัน สร้างความเศร้า โศรกเสียใจแก่วงการศิลปกรรมของประเทศไทยอย่างยิ่ง มณเฑียรเป็นศิลปินที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ เป็น ตัวอย่างของศิลปินที่มีความมุ่งมั่นในการสร้างผลงาน และเป็นนักเรียนทุน ก.พ. ด้านศิลปกรรม ที่มิได้มีมากนัก เนื่องจากประเทศไทยยังเป็นประเทศที่ต้องการเน้นการศึกษาด้านอื่นๆ มากกว่าศิลปกรรม การเสียชีวติ ของมณเฑียร บุญมานัน้ อาจมีสาเหตุอนื่ เนือ่ งจากเขาสร้างผลงานศิลปะ ด้วยการใช้สมุนไพร และกลิ่นสมุนไพร ซึ่งสะสมในปอด จากการสูดดมกลิ่นสมุนไพรมายาวนาน อันตรายที่เกิดจากการปฏิบัติงานของศิลปินภาพพิมพ์เกิดจากสารพิษต่างๆ หลายชนิด เอนุช เกวิช (Anuch Kevick) (ค.ศ.1930-1980) ศิลปินภาพพิมพ์ชาวอเมริกัน สร้างผลงานด้วยเทคนิคภาพพิมพ์ตะแกรง ไหม (Silksereen) เสียชีวิตด้วยมะเร็งปอดเช่นกัน การสร้างผลงานด้วยเทคนิคกัดแม่พิมพ์โลหะด้วยกรดไนตริค (Nitric acid) ที่เรียกกันว่าภาพพิมพ์แม่ พิมพ์โลหะ (Etching) นั้น การใช้น�้ำกรดไนตริค นับว่าเป็นอันตรายและเสี่ยงต่อสุขภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม ทางตรง คือ น�้ำกรดสามารถกัดผิวหนัง เข้าตา ท�ำให้ตาบอดได้หากล้างท�ำความสะอาดไม่ทัน ทางอ้อม คือ การ หายใจเอาสารพิษจากระอองของน�้ำกรด สะสมในปอดจนเกิดเป็นมะเร็งในปอด
-1-
1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างผลงานศิลปะภาพพิมพ์ จ�ำนวน 10 ชิ้น ด้วยเทคนิคการใช้กระแสไฟต�่ำจากแบตเตอร์รี่เผย แพร่สู่สาธารณชน ให้เกิดผลในทางทัศนศิลป์และให้ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากสารพิษที่มีต่อร่างกายและ สิ่งแวดล้อม 2. เพื่อศึกษาเทคนิคการสร้างแม่พิมพ์โลหะกัดกรด (Etching) โดยใช้กระแสไฟต�่ำจากแบตเตอร์รี่หลีก เลี่ยงการใช้น�ำกรดไนตริค (Nitric acid) ซึ่งมีสารระเหยที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 3. เพื่อสร้างต้นแบบ เครื่องมือในการกัดแม่พิมพ์โลหะ ด้วยกระแสไฟต�่ำจากแบตเตอร์รี่ 1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้สร้างต้นแบบเครื่องมือในการกัดแม่พิมพ์โลหะ ด้วยกระแสไฟต�่ำจากแบตเตอร์รี่ หลีกเลี่ยงการ ใช้น�้ำกรดไนตริค (Nitric acid) 2. ได้สร้างผลงานศิลปะภาพพิมพ์ ด้วยการใช้กระแสไฟต�่ำจากแบตเตอร์รี่ 3. สร้างความตระหนักในเรื่องของผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม 4. เพือ่ ให้ศลิ ปินด้านทัศนศิลป์ตระหนักถึงอันตรายทีเ่ กิดขึน้ จากสารพิษในการสร้างสรรค์งานศิลปกรรม 1.4 ขอบเขตของการวิจัย 1. สร้างต้นแบบเครื่องมือในการกัดแม่พิมพ์โลหะด้วยกระแสไฟต�่ำจากแบตเตอร์รี่ 1 เครื่อง 2. ผลงานศิลปะภาพพิมพ์ ด้วยการใช้เทคนิคการกัดแม่พิมพ์โลหะด้วยกระแสไฟต�่ำจากแบตเตอร์ร่ี จ�ำนวน 10 ชิ้น 3. จัดแสดงผลงาน ณ หอศิลป์ 14 วัน พร้อมสาธิตเทคนิคการกัดแม่พิมพ์โลหะด้วยกระแสไฟต�่ำจาก แบตเตอร์รี่
-2-
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 การทบทวนวรรณกรรม ประวัติภาพพิมพ์โลหะ (History of Intaglio) ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ (Intaglio) นั้น ความหมายชัดเจนในตัวเอง คือเป็น “โลหะ” สมัยคริสต์ศตวรรษ ที่ 16 – 17 ในประเทศเยอรมันใช้ “เหล็ก” เป็นวัสดุส�ำหรับท�ำแม่พิมพ์ ในปัจจุบันนิยมใช้โลหะเพียงสองชนิด คือ ทองแพง (Copper) และสังกะสี (Zine) มีการทดลองใช้ทองเหลือง (Bra) อะลูมิเนียม (Aluminium) และ เงิน (Silver) อลูมิเนียมนั้นใช้ได้ในบางเทคนิคเท่านั้น เช่น แกะลายเบา (Engraving) ส่วนเงินมีราคาแพงและ อ่อนตัวมากกว่าวัสดุอื่น จึงไม่นิยมน�ำมาใช้ส่วนทองเหลือง มีความหนาแน่นมากจนสร้างเป็นแม่พิมพ์ได้ยาก เหล็กกล้านั้นเป็นที่นิยมของช่างแกะสลักลายเส้น (Engraving) ซึ่งต้องการความตื้นลึกของรอยแกะที่ แตกต่างกันเพื่อใช้เป็นบุคลิกของงานที่มีความเฉพาะ มีลักษณะพิเศษที่แตกต่าง จากวิธีการอื่นความเข็งแรงของ เหล็กกล้าท�ำให้แม่พิมพ์มีความคงทน (เหล็กที่เคลือบนี้เรียกว่า Steel หรือเหล็กกล้าในทางเคมี เหล็กถูกน�ำไป เคลือบโลหะอื่นด้วยไฟฟ้าจะสูญเสียคาร์บอน และกลายเป็นเหล็กบริสุทธิ์ที่แข็งมาก) ซึ่งสร้างปัญหาให้กับศิลปิน ภาพพิมพ์ จึงหันมาใช้แม่พิมพ์ทองแดงที่มีความอ่อนกว่า สามารถขูดขีด กัดด้วยกรดและมีความคงทน น�ำไป พิมพ์งานได้ จ�ำนวนมาก 2.2 เทคนิคภาพพิมพ์โลหะกัดกรด (Etching) การกัดกรดนั้นมีการใช้กรด หลายชนิด เช่น กรดไนตริค (Nitric) กรดซัลเฟอร์ (Sulfer) เช่น กรดไนตริค (Nitric) กรดซัลเฟอร์ (Sulfer) กรดจะกัดบริเวณที่ต้องการออก เช่น ต้องการให้เป็นเส้นบนแม่พิมพ์ก็จะเคลือบ ด้วยน�้ำยาวานิช (Vanish) แล้วใช้เหล็กแหลม ( Needle) ขีดบนแม่พิมพ์ให้เป็นเส้น แล้วน�ำไปแช่ในน�้ำกรด ให้ น�้ำกรดวัดให้เป็นเส้นลึกในแม่พิมพ์ซึ่งเป็นที่มาของภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะวัดกรด (Etching) นอกจากการกัดด้วยน�้ำกรดให้เป็นเส้นลึกแล้ว ยังมีวิธีการอื่นๆ ที่จะสร้างความลึกบนแม่พิมพ์ให้เป็นจุด (Dot) ให้เป็นพื้นผิวต่างระดับ (Relief) ให้มีค่าน�้ำหนักที่แตกต่างกันไป
-3-
2.3 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ คริสต์ศตวรรษที่ 16 อัลแบร์ ดูเรอร์ (Albrecht Durer) คศ.1471 – 1528 มีความสามารถในเชิงช่างสูงมากในยุคนั้นเขา เป็นทั้งช่างทอง ช่างเงิน และช่างแกะภาพพิมพ์ไม้ ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็นภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ
1 อัลแบร์ ดูเรอร์ (Albrecht Durer) Knight, Death and the devil คศ. 1513 เทคนิค Engraving ขนาด 97/8 x 73/7 นิ้ว British Museum, London
ผลงานภาพพิมพ์แกะไม้ของดูเรอร์ ชื่อ “Knight, Death and the Devil” คศ.1513 เป็นผลงานที่มีราย ละเอียดของเส้น แสง เงา บรรยายให้เห็นมารร้ายในคริสต์ศาสนาความตาย อัศวิน และคม ดูเรอร์ได้รับอิทธิพล จากผลงานของ ชองเกอร์ (Sehougauer) โดยน�ำเอาวาทะกรรมของกวีชาวเยอรมันชื่อ อีราสมุส (Erasmus) ที่ กล่าวว่า “จงมองไปข้างหน้า”
-4-
2 จิโอวันนี่ บาติสตา พิรานซี่ (Giovanni Battista Piranesi) ค.ศ.1750 Rijksmuseum Amsterdam
ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ คริสต์ศตวรรษที่ 17 แอนโทนี แวนไดค์ (Antony van Dyck) สร้างผลงานอย่างละเอียดอ่อน ทั้งน�้ำหนัก บรรยากาศ และ มิติของภาพ
3 แอนโทนี แวนไดค์ (Antony van Dyck) ภาพเหมือน แจน แวน เดนโวร์เวอร์ (Jan van den Wouwer) ค.ศ.1641 ภาพ พิมพ์ Engraving, Rijksmuseum Amsterdam
-5-
แจ๊คคอลลอต (JaequesCallot) คศ. 1633 สร้างผลงานชื่อ “The at Impruneta” คศ.1620 ภาพ ผู้คนมากมายในงานตลาดนัด มีกลุ่มคนในเงามืดกลุ่มคนในที่สว่าง ท่าทางของผู้คนที่แตกต่างกัน มีระยะจากใกล้ จนไกลสุดสายตา
4 จาคส์ คอลลอต (JaequesCallot) “ตลาดนัด อิมพรูเนตา” (The Fair at Imprunets) ค.ศ.1620, ภาพพิมพ์ แม่พิมพ์โลหะ Metropolitan Museum of art, New York
ผลงานอีกชิ้นหนึ่งของคอลลอต เป็นภาพสงครามชื่อ “Hanging” ค.ศ.1633 การแขวนคอผู้แพ้สงครามบนต้นไม้ ศพห้อยต่องแต่ง มีกองทหารอื่นมองอยู่ด้านล่าง เป็นแสดงให้เห็นถึงความสยดสยองของสงคราม
5 จาคส์ คอลลอต (JaequesCallot) “การแขวนคอ” The Miseries of war ค.ศ. 1633, ภาพพิมพ์ แม่พิมพ์โลหะ Metropolitan Museum of art, New York
-6-
ศิลปินภาพพิมพ์อีกท่าน คือ เรมบรันต์ แวน ริจน์ (Rembrandt Van Rijn) คศ. 1606 – 1669 ชาว เนเทอร์แลน์ สร้างผลงานภาพพิมพ์โลหะกว่า 300 ชิ้น ค้นหาวิธีการใหม่ๆ ทั้งการแกะลายเส้นบนแผ่นทองแดง หรือเทคนิคพิเศษต่างๆ สามารถขูดขีดครั้งเดียวได้ผลเป็นเส้นหลายเส้น
6 คือ เรมบรันต์ แวน ริจน์ (Rembrandt Van Rijn) พระเยซูบนไม้กางเขน ค.ศ.1653 ภาพพิมพ์ Drypoint และ Engraving ขนาด 151/4 x 1713/16 นิ้ว National Gallery of Art, Washington D.C.
7 คือ อัลแบร์ ดูเรอร์ (Albrecht Durer) The Four Horsemen of Apocalypse, from the Apocalypse series. คศ.1497 – 1498 เทคนิค แกะไม้ ขนาด 151/2 x 11 นิ้ว British Museum, London
-7-
พาโบลปิคัสโซ่ (Pablo Picasso) คศ.1881 – 1973 ศิลปินสเปนผู้นี้สร้างสรรค์ผลงานทุกด้าน ทั้ง จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ เซอรามิค เขาสร้างผลงานภาพพิมพ์กว่า 2,000 ชิ้น เลยทีเดียว
8 พาโบลปิคัสโซ่ (Pablo Picasso) Still Lift with Glass under the Lamp ค.ศ.1962 ภาพพิมพ์แกะกระเบื้องยาง The Museum of Modern Art New York
9 พอล โกแกง (Paul Gaugain) Te Atua (พระเจ้า) ค.ศ.1891 – 1893 ภาพพิมพ์แกะไม้ ขนาด 81/2 x 141/8 นิ้ว Art Institute of Chicago
-8-
2.4 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะในสหรัฐอเมริกา วิสเลอร์ (Whistler) ศิลปินอเมริกัน ได้น�ำเทคนิคทางภาพพิมพ์โลหะจากที่เขาเคยสร้างผลงานในปารีส และประสบการณ์ที่ได้ร่วมกับศิลปินภาพพิมพ์ในยุโรป เขาเรียนรู้เทคนิควิธีการทางภาพพิมพ์หลายเทคนิค ในปี คศ.1911 จอห์น มาริน (John Marin) ศิลปินอเมริกันอีกท่านหนึ่งได้น�ำวิธีการทางภาพพิมพ์แม่ พิมพ์โลหะไปเผยแพร่ในนิวยอร์ค ได้สร้างผลงานภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ ชื่อ สะพานบรูคลิน (Brooklyn Bridge) คศ.1913 ใน คศ.1919 เอ็ดวาร์ฮอปเปอร์ (Edward Hopper) ได้สร้างภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ ชื่อ เงากลางคืน (Night Shadows) แสดงถึงความเงียบเหงาความโดดเดี่ยวของสังคม
10 บาโบล ปิคัสโซ่ (Pablo Picasso) The Frugal Repast ค.ศ.1904 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ ขนาด 181/4 x 143/4 นิ้ว Metropolitan Museum of Art, New York
-9-
11 เอ็ดวาร์ด ฮอปเปอร์ (Edward Hopper) Night Shadow ค.ศ.1921 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะขนาด 67/8 x 8 นิ้ว, Library of Congress, Washinton, D.C.
ปี คศ.1920 แสตนเลย์ วิลเลียมเฮย์เตอร์ (Stanley William Hayter) ศิลปินภาพพิมพ์ชาวอังกฤษ เข้า มาท�ำงานในกรุงปารีส ได้สร้างห้องปฏิบัติการชื่อ วตาลิเย 17 (Atelier 17) ขึ้นโดยรับพิมพ์ผลงานของศิลปิน เช่น ชาร์กาล (Chagall) ปิกัสโซ่ (Picasso) มิโร (Miro) และคนอื่นๆ อีกหลายท่าน ในปี ค.ศ.1940 อตาลิเย 17 ได้ย้ายไปยังนิวยอร์คเฮเตอร์ และช่างพิมพ์ของเขาประจ�ำอยู่ที่นั่น เพื่อ รับพิมพ์ผลงานของศิลปินในนิวยอร์ค ต่อมา การ์เบอร์ เพตเตอร์ดี (Gabor Peterdi) และ เมาริโอ ลาซานสกี (MavieioLansansky) เข้ามาช่วยงานของเฮย์เตอร์ ผลงานภาพพิมพ์จึงได้เผยแพร่สู่สหรัฐอเมริกา และขยายวง อย่างกว้างขวาง
12 เฮนรี มาติส (Henri Matisse) Charles Baudelaire ภาพประกอบหนังสือ ค.ศ.1930 – 1932 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ, Museum of Modern Art, New York
- 10 -
13 เอ็ดวาร์ด ฮอปเปอร์ (Edward Hopper) Night Shadow ค.ศ.1921 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะขนาด 67/8 x 8 นิ้ว, Library of Congress, Washinton, D.C.
14 จิม ไดน์ (Jim Dine) Saw, ค.ศ.1976 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ ขนาด 327/18 x 225/8 นิ้ว Library of Congress, Washinton, D.C.
- 11 -
15 ผลงานภาพเหมือนตนเอง ของ เรมบรันต์ (Rambrandt) ค.ศ.1630 ภาพพิมพ์ แกะลายเส้น (Engraving) ขนาดเล็ก
- 12 -
ศิลปินภาพพิมพ์โลหะในประเทศไทย ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ได้บรรจุหลักสูตรวิชาภาพพิมพ์ขึ้นในคณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากรมีศิลปินสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์ส่งผลงานเข้าประกวดในงานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 6 พ.ศ.2498 ปรากฏว่าไม่มีผู้ใดได้รับรางวัล ต่อมาในปี พ.ศ.2548 มีผู้ได้รับรางวัลประเภทเอกรงค์ เป็น ผลงานภาพพิมพ์แกะไม้สีเดียว ศิลปินภาพพิมพ์ยุคบุกเบิก เช่น ชะลูด นิ่มเสมอ มานิต ภู่อารีย์ ประหยัด พงษ์ด�ำ อินสนธ์ วงศ์สาม สันต์ สารากรบริรักษ์ เป็นต้น ชะลูด นิ่มเสมอ เป็นศิลปินคนแรกที่สร้างผลงานศิลปะภาพพิมพ์อย่างจริงจัง ทั้งภาพพิมพ์แกะไม้ (Wood eut) และภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ ปี พ.ศ.2509 ท่านได้รับทุนรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเป็นเวลา 6 เดือน ใน ช่วงที่สหรัฐอเมริกาสนับสนุนประเทศไทยต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์จากจีนและสหภาพโซเวียต ซึ่งชะลูด มีความ ตั้งใจในเรื่องศิลปะสูง และได้รับความรู้เรื่องศิลปะ ตลอดจนศิลปะภาพพิมพ์ด้านเทคนิคภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ เทคนิคภาพพิมพ์แม่พิมพ์หิน ได้เข้ารวมปฏิบัติงานกับลาซานสกี (Lasansky) ด้านเทคนิคภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ ซึ่งลาซานสกีผู้ที่เป็นผู้ร่วมมือกับ แสตนเลย์ วิลเลี่ยมเฮย์เตอร์ และการ์เบอร์ เตเตอร์ดิ ผู้ก่อตั้งอตาลิเย 17 ใน นิวยอร์ค ปี พ.ศ. 2511 คณะวิจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร จึงได้เปิดการเรียนการสอนด้านศิลปะภาพพิมพ์ เป็นสาขาขึ้นมีนักศึกษาเพียง 4 คน ได้แก่ ทวน ธีระพิจิตร ถกลปรียา คณิตพงศ์ พงษ์ศักดิ์ ภู่อารีย์ และสัญญา วงศ์อร่าม และทั้งสี่ท่านนั้นเป็นศิลปินภาพพิมพ์ที่มีชื่อเสียงของประเทศต่อมา ศิลปินภาพพิมพ์รุ่นต่อมาใช้เทคนิคภาพพิมพ์โลหะ เช่น อิทธิพล ตั้งโฉลก พิษณุศุภนิมิต ศีวรรณ เจน หัตถการกิจ วัชรี ธีระพิจิตร พงศ์เดช ไชยคุตรอารยาราฎร์จ�ำเริญสุข คามินเลิศชับ ประเสริฐ อาภรณ์ สิงห์เรือง นัยนา โชติสุข ปรัชญาสัตจกุล อนุพงษ์คชาชีวะ สุรพงษ์ สมสุข ทินกร เกสร สุวรรณ ยุพา ชั่งกุล เป็นต้น
16 สิทธิชัย ปรัชญารัตน์ติกุล, Dedicated to Pornsiri no:21/99, Intaglio 68 x 97 cm, 1991
- 13 -
17 พงศ์เดช ไชยศุตร, Chiangmai Creature, Etching 65 x 95 cm, 1990
18 มิชิโอ ฮิเดฮารุ (Mishio Hideharu), “Untitled” Etching 60 x 80 cm, 1991
- 14 -
ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะนัน้ ความหมายชัดเจนในตัวเองว่าต้องเป็น “โลหะ” สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16-17 ในเยอรมันใช้ “เหล็ก” เป็นวัสดุส�ำหรับท�ำแม่พิมพ์ ปัจจุบันนิยมใช้โลหะเพียงสองชนิด คือ ทองแดงกับสังกะสี เคยมีการทดลองใช้ทองเหลือง อะลูมิเนียม และเงิน อะลูมิเนียมนั้นใช้ได้ในบางเทคนิคเท่านั้น เช่น Engrave ส่วนเงินมีราคาแพงและอ่อนตัวมากกว่าวัสดุอื่น จึงไม่นิยมน�ำมาใช้ ทองเหลืองมีความหนาแน่นมากจนสร้างเป็น แม่พิมพ์ได้ยาก เหล็กกล้านั้นเป็นที่นิยมของช่างแกะสลักลายเส้น (Engraving) ซึ่งต้องการความตื้นลึกของรอยแกะที่ แตกต่างกันเพื่อใช้เป็นบุคลิกของงานที่มีความเฉพาะ มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากวิธีการอื่น ความแข็งของ เหล็กกล้าท�ำให้แม่พิมพ์มีความคงทน (เหล็กที่เคลือบนี้เรียกว่า Steel หรือเหล็กกล้า ในทางเคมีเมื่อเหล็กกล้า ถูกน�ำไปเคลือบโลหะอื่นด้วยไฟฟ้าจะสูญเสียคาร์บอนไป และกลายเป็นเหล็กบริสุทธิ์ที่แข็งผิดปกติ) ซึ่งท�ำให้ ศิลปินต้องหันมาใช้เพลททองแดงที่มีความอ่อนกว่าเหล็กกล้า สามารถขูดขีดลงบนเพลท กัดด้วยกรด และน�ำ ไปพิมพ์งานได้จ�ำนวนมาก การกัดด้วยกรดนั้นมีหลายชนิดด้วยกัน เช่น กรดไนตริก, กรดซัลเฟอร์ กรดจะกัดผิวบริเวณที่ต้องการ ออก เช่น ต้องการให้เป็นเส้นบนเพลท ในลักษณ์ของเทคนิคกัดกรด (Etching) หรือต้องการให้เป็นจุดๆ อย่าง ละเอียดของเทคนิคโรยยางสน (Aquatint) หรือเป็นพื้นราบในกรณีของบล็อกพื้นนูนแบบผลงานของวิลเลียม เบลค (Williem Blake) เมื่อสร้างแม่พิมพ์เสร็จ ภาพนั้นจะถูกพิมพ์ลงบนวัสดุ เช่น กระดาษ หนังเทียม หนังผ้า ไหม ผลงานทุกชิ้น และพิมพ์จ�ำนวนจ�ำกัด\
19 สตูดิโอภาพพิมพ์ ศตวรรษที่ 17 พิมพ์ใน ค.ศ.1640โดยศิลปินฝรั่งเศส Abraham Bosse
- 15 -
2.5 คริสต์ศตวรรษที่ 15 ภาพพิมพ์แกะสลักลายเส้น (Engraving) ในยุโรป
ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะเกิดขึ้นในยุคกลาง (Middle Ages) จากช่างทอง ช่างท�ำอาวุธ ช่างท�ำเกราะ คริสต์ศตวรรษที่ 15 เมื่อการท�ำกระดาษแพร่หลายสู่ยุโรป การบันทึก การพิมพ์หนังสือ ต�ำราเป็นการบันทึก บนกระดาษ ซึ่งแตกต่างจากที่เคยบันทึกบนหนังสัตว์ บนใบลาน จนเป็นวัฒนธรรมของยุโรปในการบันทึกข้อมูล ต่างๆ การท�ำหนังสือ ภาพพิมพ์แกะไม้ เป็นเทคนิคของการท�ำภาพประกอบหนังสือ ด้วยการแกะลายเส้น (Engraving) ภาพ พิมพ์แกะไม้ที่นิยมกันมากในคริสต์ศตวรรษที่ 15 คือ “ไพ่” ที่มีภาพประกอบลายเส้น ภาพดอกไม้ ผลไม้ มาร์ติน ชองเกอร์ (Martin Schongauer) เป็นช่างทอง ช่างเงิน มีความรู้ในการคนทอง คนเงิน ซึ่งมี ลักษณะของช่างฝีมอื การแกะภาพพิมพ์ลายเส้นจึงเป็นวิธกี ารทีไ่ ม่แตกต่างกันมากนัก ผลงาน The Temptation of Saint Anthony ค.ศ. 1480-1490 เรื่องราวของปิศาจรุมทึ้ง เซนต์ แอนโทนี่ ลวดลายเส้นชัดเจน มีน�้ำหนัก และรายละเอียดชัด ภาพพิมพ์แกะไม้ในอิตาลี ในยุคการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการของอิตาลี (Italian Renaissance) ฟลอเรนซ์ (Florence) เป็นเมืองที่มีศิลปวิทยาการที่ฟื้นฟูมาก ช่างแกะภาพพิมพ์ไม้ เช่น แอนโทนีโอ โฟลเลาโล (Antonio Pollauolo) แกะ Battle of Naked Men ค.ศ. 147, แอนดรู แมนเทยา (Andrea Mantegna) แกะ Battle of the Sea Gods ค.ศ. 1493 ภาพทั้งสองมีรายละเอียดและน�้ำหนักที่งดงามของสรีระมนุษย์
20 เรมบรันต์ (Rembrandt) Aolom and Eve, ค.ศ.1638 ภาพพิมพ์ Engraving
- 16 -
2.6 คริสต์ศตวรรษที่ 16 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ (Intaglio Printing) อัลแบร์ ดูเรอร์ (Albrecht Durer) ค.ศ. 1471-1528 เมื่อกล่าวถึงอัลแบร์ ดูเรอร์ (Albrecht Durer) มีความสามารถในเชิงช่างสูงมากในยุคนั้น เป็นช่างทอง ช่างเงิน ช่างแกะภาพพิมพ์ไม้ ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็นภาพ พิมพ์แม่พิมพ์โลหะ ปี ค.ศ. 1594 ดูเรอร์ (Albrecht Durer) สร้างนวัตกรรมคือ ปากกาและใช้ปากกาวาดภาพ ได้อย่างงดงาม ก่อนที่แมนเทยา (Mantegna) จะสร้างผลงานชื่อ Battle of the Sea Gods ด้วยเทคนิคภาพ พิมพ์แกะไม้ และผลงานภาพพิมพ์แกะไม้ของ ดูเรอร์อีกชิ้นชื่อ “Knight, Death, and the Devil”, ค.ศ. 1513 เป็นผลงานที่มีความละเอียดของเส้น แสงเงา ชัดเจน บรรยากาศของภาพมีสัตว์ประหลาด และมารร้ายในศาสนาคริสต์ ความตาย และคมดาบ ดูเรอร์ น�ำ อิทธิพลจากผลงานของชองเกอร์ (Schougauer) และน�ำวาทะของอีราสมุส (Erasmus) กวีชาวเยอรมันที่กล่าว ว่า “จงมองไปข้างหน้า” ดูเรอร์ (Albrecht Durer) สร้างผลงานที่มีชื่อเสียงอีกหลายชิ้น เช่น St. Jerome in His Study ค.ศ. 1514 The Cannon ค.ศ. 1518 ทั้งภาพพิมพ์แกะไม้และภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ
2.7 คริสต์ศตวรรษที่ 17 ภาพพิมพ์ร่องลึกและภาพพิมพ์กัดกรด (Engraving and Etching) เฮนดริก โกลเซียส (Hendrik Goltzius) ศิลปินฝรั่งเศส เฮนดริก โกลเซียส (Hendrik Goltzius) สร้าง ผลงานภาพพิมพ์อย่างละเอียดอ่อน น�้ำหนัก บรรยากาศและมิติของ ภาพชายถือธงผืนใหญ่โบก ค.ศ. 1587 รอย ยับของผ้าสร้างได้อย่างอัศจรรย์ Standard Bearer ศิลปินอีกท่านหนึ่ง โคลด เมลลาน (Claude Mellan) เป็น ภาพใบหน้าของ “Ha Sainte” ค.ศ. 1649 เป็นภาพพิมพ์แกะโลหะที่ละเอียดอ่อนเหมือนเช่นผลงานจิตรกรรม ผลงานภาพหน้าพระเยซู (Portrait of J.B. Colbert) ค.ศ. 1668 การแกะภาพพิมพ์โลหะที่มีเรื่องมือคนลายเส้น ที่งดงาม เรียงกันเป็นระเบียบ ผลงานของโรเบริตร์ นานทิวล์ (Robert Nanteuil) แจ็ค คอลลอต (Jacques Callot) สร้างผลงานภาพพิมพ์กัดกรดขึ้นชื่อ The Fair at Impruneta ค.ศ. 1620 ภาพผู้คนมากมายในงานตลาดนัด มีกลุ่มคนในเงามืด กลุ่มคนในที่สว่าง ท่าทางของผู้คนที่แตกต่างกัน มี ระยะจากใกล้จนไกลสุดตา ผลงานอีกชิ้นหนึ่งของคอลลอต คือภาพของสงครามชื่อ Hanging ค.ศ. 1633 เป็น ภาพการแขวนคอ ผู้แพ้สงครามบนต้นไม้ สภาพศพห้อยต่องแต่ง มีกองทหารอื่นมองอยู่ด้านล่าง เป็นสยดสยอง มาก แอนโทนี แวน ไดค์ (Anthony van Dyek) สร้างผลงานภาพพิมพ์กัดกรด ชิ้นที่งดงามคือภาพใบหน้าของ Jan van den Wouwer ค.ศ. 1641 เส้นที่สานกันมีความอิสระ เป็นดูมีชีวิตคล้ายผลงานจิตรกรรม เรมบรันต์ ฟาน ริเจน (Rembrandt Van Rijn) ค.ศ. 1606-1669 ศิลปินชาวเนเธอร์แลนด์ สร้างผล
- 17 -
งานภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ กว่า 300 ชิ้น เริ่มต้นสร้างงานภาพพิมพ์โลหะในเมืองที่ศิลปินภาพพิมพ์ เลย์เดน (Leyden) เขาค้นหาวิธีการใหม่ๆ ทั้งการแกะลายเส้นบนแผ่นทองแดง การใช้เครื่องมือพิเศษ สามารถขูดขีด ครั้งเดียวได้ผลเป็นเส้นหลายเส้น ในปี ค.ศ. 1631 เรมบรันต์ย้ายไปอาศัยยังเมืองอาร์มสเตอร์ดัม (Amsterdam) ศูนย์กลางเมืองศิลปะของประเทศ อิทธิพลที่ได้รับในเรื่องแสง เงา จากศิลปินอิตาลี คาร์ลาวัคจิโอ (Caravuggio) และรูเบนส์ (Rubens) ซึ่งท�ำให้เขาสร้างผลงานทั้งด้านจิตรกรรมและภาพพิมพ์ได้อย่างลึกซึ้ง มีบรรยากาศมีชีวิต ทั้งภาพตัวบุคคลและใบหน้า
21 แท่นพิมพ์ในศตวรรษที่ 17
22 แท่นพิมพ์ในศตวรรษที่ 17
- 18 -
บทที่ 3 วิธีการด�ำเนินการวิจัย 3.1 วิธีการด�ำเนินการวิจัย การศึกษาวิจัยนี้เป็นรูปแบบการวิจัยประยุกต์ (Applied Research) ต่อยอดพัฒนาทางเทคนิค วิธีการ ใหม่ เพื่อนวัตกรรม (Innovation) ในงานสร้างสรรค์ด้านทัศนศิลป์โดย หลอมรวมศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัย เพื่อสรุปผลงานศิลปะภาพพิมพ์จ�ำนวน 10 ชิ้น เพื่อให้การวิจัยบรรลุตามวัตถุประสงค์ ผู้วิจัยได้จ�ำแนกวิธีการ ด�ำเนินการวิจัยโดยรวบรวมข้อมูล น�ำเสนอผลการวิจัยโดย นวัตกรรมและผลงานศิลปะภาพพิมพ์ ที่สร้างขึ้นจาก นวัตกรรมซึ่งผู้วิจัยด�ำเนินการวิจัยดังนี้ 1. การศึกษารวบรวมข้อมูล 2. การศึกษาข้อมูลและขอบของการศึกษา 3. เครื่องมือในการวิจัย 4. การสร้างเครื่องมือที่ใช้วิจัย 5. การด�ำเนินการวิจัย 6. การวิเคราะห์ข้อมูล 7. การเผยแพร่ข้อมูล เพื่อสร้างจิตส�ำนึกให้สถาบันการศึกษา 1. การศึกษารวบรวมข้อมูล การศึกษาวิจัยนี้มีขั้นตอนในการศึกษา และรวบรวมข้อมูลทั้งในภาคเอกสาร การหาข้อมูลใน Internet และการทดลองจากนวัตกรรม 2. การศึกษาข้อมูลและขอบเขตการศึกษา ศึกษาจากเอกสารห้องสมุดของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ข้อมูลออนไลน์ 3. เครื่องมือในการวิจัย เครื่องมือการเก็บข้อมูล สร้างกล่องพลาสติกทรงสูง เพื่อการกัดด้วยไฟฟ้า แบตเตอรรี่ 6-12 โวลต์ และ สารเคมีที่ไม่มีผลข้างเคียง 4. การสร้างเครื่องมือในการวิจัย สร้างกล่องพลาสติกทรงสูง บรรจุน�้ำได้ไม่รั่ว และแบตเตอร์รี่ขนาด 6 – 12 โวลต์ ขนาด 20 x 90 x 100 ซม. เก็บข้อมูล สัดส่วนของเวลาในการกัดด้วยไฟฟ้าเปรียบเทียบผลของการกัด ด้วยการทดลองต่างๆ และ เสนอความคิดเห็น
- 19 -
5. การด�ำเนินการวิจัย สร้างผลงานศิลปะภาพพิมพ์ ด้วยวิธีการกัดด้วยไฟฟ้าจากแบตเตอร์รี่ 10 ชิ้น 6. การวิเคราะห์ข้อมูล เปรียบเทียบผลงานภาพพิมพ์ทสี่ ร้างด้วยวิธกี ดั ด้วยไฟฟ้า ข้อดี ข้อเสีย และข้อเสนอแนะจากผลงาน 10 ชิน้ 7. การเผยแพร่ข้อมูล เพื่อสร้างจิตส�ำนึกแก่สถาบันการศึกษาด้านศิลปะ 4 แห่ง 1. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 5 มีนาคม 2560 2. คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 15 มีนาคม 2560 3. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 20 พฤษภาคม 2560 4. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 1 – 15 พฤศจิกายน 2560
การกัดกรดด้วยกระแสไฟฟ้า (Steel Facing) 3.2 การท�ำแม่พิมพ์กัดกรดด้วยกระแสไฟฟ้า ในช่วงปี ค.ศ. 1980 ได้เริ่มมีการเปลี่ยนกรรมวิธีการกัดแม่พิมพ์จากกรรมวิธีดั้งเดิม นักท�ำภาพพิมพ์ เริ่มให้ความส�ำคัญกับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการภาพพิมพ์ เนื่องจากมีความเป็นห่วงในเรื่องมลพิษทาง สิ่งแวดล้อมและด้านปัญหาสุข มีการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้มากมาย เช่นการใช้ซัลเฟตและเกลือในการกัดกร่อน แทนการใช้กรด การใช้กระแสไฟฟ้าในการกัดกรดซึ่งจะไม่ท�ำให้เกิดก๊าซพิษ การใช้อะคริลิคและน�้ำมันแทนการ ใช้ Methanal Based Varnishes การใช้สเปรย์อคริลิค แทนการใช้ เรซิ่น (Rasin) และผง Asphaltum ตลอด จนการใช้สารท�ำความสะอาดที่ท�ำมาจากผัก และน�้ำมันเมล็ดพืชราคาถูกแทนการใช้สารละลายไฮโดรคาร์บอน ในการท�ำความสะอาดเพลทและน�้ำหมึก ได้มกี ารน�ำวัสดุอปุ กรณ์ทที่ นั สมัยเข้ามาประยุกต์ใช้ในกระบวนการท�ำภาพพิมพ์ เช่นการใช้สารโพลิเมอร์ การใช้กระบวนการทางดิจติ อลและเลเซอร์ เป็นต้น ซึง่ กรรมวิธเี หล่านีน้ กั ท�ำภาพพิมพ์ทมี่ คี วามใส่ใจและตระหนัก ในเรื่องสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ได้มีการทดลองและน�ำไปใช้บ้างแล้ว เป็นทางเลือกหนึ่งของการท�ำภาพพิมพ์ ซึ่ง ได้มีการน�ำไปประยุกต์ใช้กันอย่างแพร่หลาย ส�ำหรับการท�ำแม่พิมพ์กัดกรดโดยใช้กระแสไฟฟ้านี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่ง ถูกค้นพบโดย Thomas Spencer และหลังจากนั้นก็ได้ถูกลืมเลือนกันไป จนกระทั่งได้มีการรื้อฟื้นวิธีการนี้อีก ครั้งโดยกลุ่มนักท�ำภาพพิมพ์ที่ตระหนักในเรื่องสุขภาพและสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นการลดความเสี่ยงและเพื่อความ ปลอดภัยในการท�ำงานภาพพิมพ์ ซึ่งได้มีการท�ำงานวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดย Nik Semenoff Cedric Green
- 20 -
Marion และ Omri Behr และห้องปฏิบัติการของ Ole Larsen ซึ่งนักวิจัยกลุ่มนี้ได้มีการทดลองและสาธิตวิธี การท�ำภาพพิมพ์โดยกระบวนการกัดกรดโดยใช้กระแสไฟฟ้าซึ่งปลอดภัยและไม่ท�ำให้เกิดมลพิษ เทคนิคการกัดกรดโดยใช้กระแสไฟฟ้านี้เป็นทางเลือกหนึ่ง เป็นนวัตกรรมที่มีความเป็นไปได้ แต่อย่างไร ก็ตาม ยังไม่เป็นทีน่ ยิ มกันมากนัก อาจเพราะเกรงในเรือ่ งของกระแสไฟฟ้า หรืออาจเป็นเพราะเห็นว่ากระบวนการ ท�ำค่อนข้างยุ่งยาก และอุปกรณ์ท่ีติดตั้งมีราคาสูง ยุ่งยากกว่าวิธีดั้งเดิม ซึ่งโดยความจริงแล้วการใช้กระแสไฟฟ้า เป็นวิธีการที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และไม่ต้องใช้อุปกรณ์ราคาแพงเลย อย่างไรก็ตาม ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 นี้ การใช้กระแสไฟฟ้าในการท�ำแม่พิมพ์จะได้รับความนิยมขึ้นมา อีกครั้งด้วยวิธีการง่ายๆ ดังนี้ 3.3 ความรู้พื้นฐานของกระบวนการไฟฟ้าและการใช้กระแสไฟฟ้าในการกัดแม่พิมพ์ การวางเพลทสองแผ่นในลักษณะคูข่ นานโดยไม่ให้เพลททัง้ สองแผ่นสัมผัสกันและกัน ในสารละลายเกลือ (น�้ำผสมกับเกลือ) ซึ่งเป็นสารละลายที่เป็นสื่อน�ำไฟฟ้า จากนั้นต่อปลายเพลททั้งสองแผ่นโดยตรงกับแหล่งจ่าย ไฟฟ้า หรือพาวเวอร์ซัพพลายโดยตรง หรือต่อกับแบตเตอร์รี่ กระแสไฟฟ้าก็จะไหลผ่านจากเพลทหนึ่งไปยังอีก เพลทหนึ่ง โดยผ่านสารละลายเกลือนั้น ซึ่งจะเรียกสารละลายนี้ว่า อิเล็กโตรไลท์ (Electrolyte) อิเล็กโตรไลท์ (Electrolyte) ประกอบไปด้วยประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบ การไหลของกระแสไฟฟ้า อิออนบวกและอิออนลบจะอาศัยหลักความต่างของขั้ว คือ อิออนบวกจะไหลไปที่ขั้วลบ ส่วนอิออนลบจะไหล ไปที่ขั้วบวก โดยแรงดึงดูด และท�ำปฏิกิริยากับพื้นผิวโลหะออกซิไดซ์และเกิดการกัดเซาะ ผลจากกระบวนการ นี้คือจะเกิดการกัดโลหะที่เทียบเท่ากับการกัดโลหะโดยใช้กรดที่มี ซึ่งอาจจะแตกต่างกันบ้าง แต่เป็นความแตก ต่างที่เป็นประโยชน์มาก แผ่นโลหะที่ต้องการให้เกิดการกัดโลหะต้องวางไว้แนบกับขั้วบวก (แอโนด) และให้ขนานกับเพลทอื่น ที่อยู่ในขั้วลบ (แคโทด) ระยะห่างระหว่างเพลทสองแผ่นประมาณ 6-10 เซนติเมตร ในขณะที่อิออนประจุบวก ก�ำลังเคลื่อนที่เปลี่ยนเป็นโลหะที่ขั้วลบ (แคโทด) โลหะก็จะเกิดการแยกตัวออกจากขั้วบวก (แอโนด) ในขณะที่ ปริมาณความเข้มข้นของสารละลายซัลไฟด์จะมีค่าเท่าเดิม ไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่งเราสามารถจะน�ำความสมดุลของปฏิกิริยานี้มาค�ำนวณหาค่า bite -time ได้อย่างถูกต้อง การใช้สารละลายอิเล็กโตรไลท์ (Electrolyte) ความเข้มข้นเท่าเดิม เวลาเท่าเดิม และใช้ Voltage เท่า เดิม ผลที่ได้จากการกัดโลหะด้วยกระแสไฟฟ้าจะออกมาใกล้เคียงกัน กระบวนการนี้จะไม่ท�ำให้เกิดการปล่อยก๊าซพิษออกมาเหมือนการกัดเหล็กและทองแดงด้วยกรดไนตริ กหรือกรดไฮโดรคลอลิค
- 21 -
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการกัดโลหะโดยใช้กระแสไฟฟ้า (The Electrolytic Process) ถังในแนวตั้ง (Vertical Tank) ควรใช้ถังที่เป็นภาชนะพลาสติก ห้ามใช้ถังโลหะ โดยอาจเริ่มจากการใช้ถังพลาสติกขนาดเล็กก่อน เช่น ขวดน�้ำพลาสติกที่ตัดส่วนฝาด้านบนออก เมื่อมีความช�ำนาญในการใช้แล้วจึงค่อยเปลี่ยนเป็นภาชนะที่มีขนาด ใหญ่ขึ้นไป
3.4 การต่ออุปกรณ์การกัดโลหะด้วยกระแสไฟฟ้า พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) ควรใช้วิธีการที่ต่อกระแสตรง (Direct Current : DC) โดยใช้กระแสไฟฟ้าขนาด 5 โวลต์ และระหว่าง 3–5 แอมป์ เป็นอย่างน้อย ตะแกรงแคโทด (Cathode Grid) ในกระบวนการ Electrolytic นั้นแผ่นโลหะจะต้องจุ่มอยู่ในถัง โดยแผ่นโลหะนั้นด้านหนึ่งจะมีสภาวะ เป็นขั้วลบ (แคโทด) และ ปลายอีกด้านหนึ่งจะเป็นขั้วบวก (แอโนด) โดยที่แผ่นโลหะที่สัมผัสกับขั้วบวก (แอโนด) จะเป็นส่วนที่ถูกกัดกร่อน เราสามารถใช้แผ่นตะแกรงสแตนเลส ที่มีขนาดพอดีเท่ากับขนาดของถัง แผ่นตะแกรง แสตนเลสนี้ สามารถหาได้ไม่ยาก เช่น ตะแกรงส�ำหรับปิ้งย่างเนื้อ เป็นต้น ซึ่งควรจะทดลองกับแผ่นตะแกรงที่ มีลักษณะและขนาดที่แตกต่างกันในแต่ละโลหะที่ต้องการจะท�ำการกัดกร่อน แผ่นตะแกรงแคโทด Stainless Steel 3.5 สารละลายอิเล็กโตรไลท์ (Electrolyte) สารละลายอิเล็กโตรไลท์ (Electrolyte) เป็นสายละลายเกลือกับน�้ำ ท�ำหน้าที่เป็นสื่อน�ำกระแสไฟฟ้า ควรใช้เกลือโลหะที่เป็นชนิดเดียวกันกับโลหะที่ต้องการกัด เช่น Copper Sulphate (Cu SO4) ส�ำหรับแผ่น ทองแดง Zinc Sulphate (Zn SO4) ส�ำหรับแผ่นสังกะสี และใช้ Ferrous Sulfate (Fe SO4) ส�ำหรับแผ่น เหล็กและเหล็กกล้า ซัลเฟตเหล่านี้สามารถหาซื้อได้จากที่จ�ำหน่ายสารเคมีอุตสาหกรรม ซึ่งควรใช้ซัลเฟตบริสุทธิ์ ปราศจากสิ่งเจือปนใดๆ ที่สามารถ ก่อให้เกิดของเสียและผลกระทบทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ในการก�ำจัด แต่หากซือ้ ซัลเฟตในร้านค้าทัว่ ไปต้องระวังว่าซัลเฟต อาจถูกผสมด้วยสิ่งเจือปนอื่น ซึ่งอาจจะท�ำให้สารละลายอิเล็กโตรไลท์ (Electrolyte) ไม่มีประสิทธิ ดังนั้นเพื่อ ให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดควรใช้สารซัลเฟตที่มีความบริสุทธิ์สูงสุด ความเข้มข้นของไอออนโลหะในสารละลายอิเล็กโทรไลท์จะส่งผลถึงอัตราการไหลของกระแสไฟฟ้าดัง นั้นปริมาณของโลหะที่จะละลายจากเพลทที่ก�ำลังกัด ความเข้มข้นต�่ำจะท�ำให้การกัดเป็นไปอย่างช้าๆ การกัดจะ มีประสิทธิ หากใช้ความเข้มข้นสูง การท�ำงานจะเร็วขึ้น แต่ต้องใช้แหล่งจ่ายไฟที่มีกระแสมากขึ้น ความเข้มข้น สูงร่วมกับโวลท์ที่สูงจะกระตุ้นให้เกิดการสร้างออกซิเจนที่ขั้วบวก - 22 -
ถ้าหากใช้ Copper เป็นแผ่นเพลท ซึ่งจะมีลักษณะบางแต่มีชั้นของ Solid Oxide ที่ซึ่งไม่เป็นอันตราย แต่สามารถเป็นสาเหตุให้การกัดหยุดลง เนื่องจาก Copper Oxide นั้นไม่สามารถเป็นตัวน�ำกระแสไฟฟ้า ซึ่งถ้า เกิดสภาวะนี้ข้ึนต้องท�ำการเจือจางสารละลาย ถ้าแผ่นเพลทเป็นสังกะสี และสารละลายอิเล็กโตรไลท์ (Electrolyte) มีความเข้มข้นเหมาะสม และใช้ในสภาวะกระแสไฟฟ้าที่มีปริมาณสูง (High Voltage) สารละลาย จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ เนื่องจากสังกะสีนั้น จะมีคุณสมบัติเพิ่ม PH ในสารละลาย ดังนั้น จ�ำเป็นที่จะ ต้องใช้กรดในการท�ำให้เป็นกลาง โดยการเติมกรดซัลฟิวริกในปริมาณน้อย (0.03 ต่อลิตรของสารละลาย) ลงใน สารละลาย Copper Sulfate เพื่อป้องกันการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น บางสิ่งสามารถใช้ได้ดีกับแผ่น Copper แต่ไม่แนะน�ำให้เติมกรดซัลฟิวริกลงในสารละลาย Zinc Sulfate เนื่องจากจะท�ำให้เกิดแก๊สขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก Copper Sulfate และ Zinc Sulfate คือเกลือซึ่งอยู่ในรูปของผลึก บางครั้งอาจแตกเป็นเม็ดผงเล็กๆ เมื่อสัมผัสผลึกหรือผงเหล่านี้จึงควรระวัง หลีกเลี่ยงการสูดดมเข้าไปและการสัมผัสโดนผิวหนัง อย่างไรก็ตาม ควรป้องกันตัวเองจากสารเคมีเหล่านี้โดยใช้ผ้าปิดจมูกและใส่ถุงมือก่อนหยิบจับสารเคมีเหล่านี้ ในขณะที่มันเป็น ของแข็ง แต่หากเป็นสารละลายแล้วจะไม่มีอันตรายหากสูดดมเข้าไป สารละลายไม่อันตรายเนื่องจากมันจะไม่ ปล่อยก๊าซพิษออกมาในขณะที่เป็นสารละลาย อย่างไรก็ตาม ไม่ควรที่จะสัมผัสสารละลายดังกล่าวโดยตรง และ ควรระมัดระวังในขณะท�ำการกัดโลหะ เนื่องจากอาจเกิดการกระเด็นของสารละลายออกมาจากถังพลาสติกได้ ดังนั้น จึงควรใส่แว่นตากันสารเคมีด้วยเพื่อความปลอดภัยที่สุด 3.6 ข้อควรค�ำนึง • สารละลายอิเล็กโตรไลท์ควรท�ำในสภาวะที่มีค่า pH เป็นกลาง ซึ่งจะเกิดความสมดุลมากที่สุด • การผสมสารละลายควรใช้ไม้ ไม่ควรใช้โลหะ • ก่อนเติมสารละลายลงไปในภาชนะพลาสติก หากจ�ำเป็นต้องกรองสารละลายก็สามารถท�ำได้ • การเติมเกลือซัลเฟตให้ค่อยๆ เติมลงไป ในปริมาณน้อยไปก่อน แล้วจึงเพิ่มปริมาณมากขึ้นตามที่ต้องการ • ความเข้มข้นของสารละลายมีหน่วยวัดเป็นปริมาณเกลือต่อปริมาณน�้ำ 1 ลิตร • อุณหภูมิที่ใช้กับสารละลายมีความส�ำคัญ ซึ่งควรใช้อุณหภูมิต�่ำกว่า 32 องศาเซลเซียส ป้องกันการระเหย ของสารละลาย
- 23 -
ผลงานที่สร้างจากแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้า
23 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Relife
- 24 -
24 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint
25 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint
- 25 -
26 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint
27 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint
- 26 -
28 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint
29 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint
- 27 -
30 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint
31 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint
- 28 -
32 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint
33 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint
- 29 -
34 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint
35 การกัดกรดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เทคนิค Aquatint
- 30 -
บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล 4.1 การสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยไม่ใช้น�้ำกรด (Etching without Acid Green Prints) ในประเทศสหรัฐอเมริกาและยุโรป ต่างก็มีความเห็นว่า เทคนิคการกัดกรดซึ่งมีมามากกว่า 500 ปีนั้น เป็นอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจากการใช้กรดเป็นการใช้สารเคมีในการสร้างสรรค์งาน ศิลปินภาพ พิมพ์แม่พิมพ์โลหะจึงมีความกังวลเกี่ยวกับการใช้สารเคมีที่ใช้ในกระบวนการท�ำงาน เช่น น�้ำกรด น�้ำยากันการ กัดกร่อนจากกรด น�้ำมันสนส�ำหรับล้าง ทั้งยังได้ปรากฏว่าโรคมะเร็งปอดเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของศิลปิน หลายท่าน ยิ่งไปกว่านั้นสารเคมีเหล่านี้ยังก่อให้เกิดมลพิษในสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นปัญหาส�ำคัญที่ทั่วโลกก�ำลัง ตระหนักอยู่ในขณะนี้ การสร้างผลงานศิลปะภาพพิมพ์โลหะร่องลึกจึงต้องหาแนวทางในการลดมลพิษเพื่อไม่ ก่อให้เกิดผลเสียทั้งต่อชีวิตของศิลปินและสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันมีวิธีการใหม่ส�ำหรับการสร้างแม่พิมพ์ร่องลึก โดยไม่ใช้กรด หรือที่เรียกว่าภาพพิมพ์ที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม (Green Prints) โดยเริ่มแรกกระบวนการนี้ถูกคิดค้นขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ด้วยการใช้ ไฟฟ้ากระแสตรงที่มีค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าต�่ำ เช่น ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่รถยนต์ ซึ่งสามารถน�ำมาใช้ในการสร้าง ร่องลึกบนผิวหน้าแม่พิมพ์โลหะได้ โดยการใช้ตัวท�ำละลายโลหะซัลเฟตแทนการใช้น�้ำกรด จากนั้นใช้ไฟฟ้าจาก แห่งก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current; DC) ในการสร้างร่องลึกแทนกระบวนการกัดกร่อนแม่พิมพ์ของ กรด ส่วนสารที่ใช้เคลือบในการกัดกร่อนของกรดจะถูกแทนที่ด้วยอะคลิลิกเชื้อน�้ำมัน และแทนที่ยางสนกับ แอนฟัลตัม (Asphaltum) ซึ่งเป็นสารที่ใช้ในการสร้างน�้ำหนักบนร่องลึกของแม่พิมพ์ด้วยละอองอะคลิลิก แล้ว น�ำน�้ำยาล้างผักกับน�้ำมันจากเมล็ดพืชราคาถูกมาใช้แทนสารที่ใช้ในการล้างคราบกรดและหมึกพิมพ์บนโลหะ ภายหลังเทคนิคนี้ถูกน�ำมาพัฒนาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยนายโทมัส สเปนเซอร์ แต่ก็กลับไม่เป็นที่สนใจใน วงการศิลปะภาพพิมพ์มากนัก ปัจจุบันกระบวนการนี้ถูกน�ำมาผสมผสานกับเทคนิคและวัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัย เช่น โพลิเมอร์ ระบบ ดิจิตอล และเลเซอร์ เป็นต้น เทคนิคนี้ถูกน�ำมาวิจัยถึงประโยชน์และความปลอดภัยในกระบวนการสร้างแม่พิมพ์ ร่องลึกด้วยไฟฟ้าโดยนายนิค เซเมนอฟ นายซีดริค กรีน และนายโอเล ลาร์เซน ซึ่งนักวิจัยกลุ่มนี้ได้มีการทดลอง และสาธิตวิธีการท�ำภาพพิมพ์โดยกระบวนการสร้างร่องลึกบนแม่พิมพ์ด้วยไฟฟ้าซึ่งปลอดภัยและไม่ท�ำให้เกิด มลพิษ กระบวนการเหล่านี้อาจถูกมองข้ามเนื่องมาจากความหวาดกลัวในเรื่องของอันตรายจากไฟฟ้าและค่าใช้ จ่ายในการสร้างอุปกรณ์ที่อาจมีราคาสูง แต่อันที่จริงแล้วการศึกษาเกี่ยวกับการท�ำภาพพิมพ์ร่องลึกโดยใช้ไฟฟ้า ควรถูกศึกษาในส่วนของเทคนิคกระบวนการหรือที่เรียกว่า Know-how แล้วน�ำไปประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มี
- 31 -
คุณสมบัติร่วมกันแต่มีราคาถูกและหาได้ง่าย เนื่องจากอุปกรณ์ส�ำคัญในการท�ำแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้ามี เพียงอุปกรณ์ส�ำคัญอยู่ 4 ส่วน (Alfonso Crujera, 2010) นั่นคือ 1. ถาดพลาสติกส�ำหรับบรรจุสารละลาย 2. ตะแกรงโลหะส�ำหรับน�ำมาท�ำเป็นตะแกรงขั้วลบ (Cathode grid) เพื่อต่อวงจรไฟฟ้า 3. เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงและตัวแปลงสัญญาณไฟ หรือแบตเตอรี่ 4. สารละลายน�ำไฟฟ้า (Electrolyte) รวมถึงแม่พิมพ์โลหะที่ด้านหลังไม่ต้องเคลือบสารกัดกร่อนของ กรด หากต้องการใช้แม่พิมพ์โลหะเป็นแผ่นโลหะทองแดงจะต้องใช้ส่วนผสมของสารละลายน�ำไฟฟ้าเป็นเกลือ ทองแดง (Copper Sulfate) ส�ำหรับแม่พิมพ์โลหะสังกะสีจะใช้เกลือสังกะสี (Zinc Sulfate) เป็นสารละลาย น�ำฟ้า ในขณะที่แม่พิมพ์เหล็กก็จะใช้เกลือเหล็ก (Ferrous Sulfate) หรือแอมโมเนียเฟอรัสซัลเฟตผสมน�้ำเป็น สารละลายน�้ำไฟฟ้า โดยที่สารละลายเหล่านี้ไม่มีปฏิกิริยาที่จะท�ำให้เกิดพิษต่อร่างกายแต่อย่างใด สัดส่วนของ สารละลายน�ำไฟฟ้านั้นขึ้นอยู่กับขนาดของแม่พิมพ์โดยควรทดลองหาสัดส่วนของสารเคมีกับน�้ำในหลายๆ ค่า แล้วจดบันทึกเป็นสัดส่วนของตนเอง อาจท�ำเป็นแผนภูมิของน�้ำหนักที่พิมพ์บนกระดาษรวมทั้งบันทึกช่วงเวลา ของการท�ำปฏิกิริยาของแม่พิมพ์กับไฟฟ้า (Donald Saff and Deli Saciloto, 1937) มีการน�ำแม่พิมพ์โลหะที่กัดด้วยกรดไนตริกมาเปรียบเทียบกับการใช้ไฟฟ้าในการท�ำร่องลึก พบว่าผล ของการใช้ไฟฟ้าสร้างร่องลึกแทนกรดเป็นที่พอใจของศิลปินภาพพิมพ์ ซึ่งสถาบัน Smithsonian ในกรุงวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกาได้เก็บผลงานที่สร้างด้วยเทคนิคการใช้ไฟฟ้าเป็นจ�ำนวนมากกว่า 50 ชิ้น และโดยการ ยืนยันของเจ้าของห้องแสดงงานศิลปะ บาบาร์รา คราโคว ในเมืองบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นห้อง แสดงงานศิลปะภาพพิมพ์ที่มีชื่อเสียงเคยกล่าวถึงความพอใจต่อความงามและคุณภาพของผลงานจากเทคนิค การสร้างแม่พิมพ์ร่องลึกด้วยไฟฟ้า และยังถือว่าเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของ ศิลปินภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะในขณะเดียวกัน อย่างไรก็ตามในคริสต์ศตวรรษที่ 21 นี้ การใช้กระแสไฟฟ้าใน การท�ำแม่พิมพ์จะได้รับความนิยมขึ้นมาอีกครั้งด้วยวิธีการง่ายขึ้น (Donald Saff and Deli Saciloto, 1937)
- 32 -
- 33 -
ชื่อทางเคมี
Acetone
Ammonia
Ethyl Alcohol
Isopropyl Alcohol
Methy Alcohol
Benzol
Petroleum Distillate
Ether
Petroleum Distillate
Petroleum Distillate
ชื่อ
อวิโตน
แอมโมเนีย
แอลกอฮอล์ เอทเธอนอล
แอลกอฮอล์ ใช้ลอกลาย
แอลกอฮอล์ ทาไม้
เบนซิน
เบินซิน
อีเธอร์
แกสโซลีน
เคโรซีน
4
5
5
4
5+
4
2-3
2
5
2
-10
200
400
1000
1000
100° F - 165° F
-50° F
20 ° F 55 ° F
12 ° F
60 ° F
60 ° F
61° F
15° F
ผสมล้าง
เคลือบ ผสม ล้าง
ระบบระบายอากาศที่ดี
ควรปฏิบัติ
ท�ำลายระบบ การหายใจ
ท�ำลายกระดูก
ท�ำลายตับ ท�ำให้ตาบอด
ท�ำให้ ตา จมูก คอ ระคายเคือง
จมูก ท�ำลายตับ
ติดไฟ
ติดไฟง่าย
ระบบระบายอากาศที่ดี
งดใช้ naphtha
ระบบระบายอากาศที่ดี
ระบบระบายอากาศที่ดี สวมถุงมือ
ไม่ควรใช้
และมีระบบระบายอากาศทีด่ ี
ใช้แอลกอฮอล์ชนิดอื่น
และมีระบบระบายอากาศทีด่ ี
ระบบระบายอากาศที่ดี
ใช้ถุงมือ ระบบระบายอากาศที่ดี
เป็นอันตรายต่อตา ระบบระบายอากาศที่ดี
ติดไฟง่าย
อันตรายที่จะเกิด
ท�ำพืน้ ส�ำหรับ Etching อันตรายสูง
ผสม ทา ล้าง
เคลือบ ล้าง ผสม
เคลือบ ทา ผสม
เคลือบ ทา ผสม
เคลือบ ทา ผสม
ท�ำความสะอาด
ใช้ทาเคลือบ
ระดับ Toxic ไม่ควรใช้เกิน อุณหภูมิปกติ การใช้
ตาราง สารกัด (SOLVENTS)
- 34 4+ 4
Methyl Ethyl Ketone
Toluene, Xylene, Xylol
Petroleum Distillate
Petroleum Distillate
Petroleum Distillate
Hexane, Naphtha Benzol
แลคเกอร์ ผสม
แลคเกอร์ ทินเนอร์
ลิโทติน
วาโนลีน วาร์โซล
นาฟตา
ทินเนอร์ รับเบอร์ ซีเมนต์
เทอร์เพนไตน์ Spint of กาวเม็ด turpentine
4
4
4
4+
4
5
Methyl Cellosolve Acetate Xylene
โกดัก โฟโต รีซิส
100
100
100
95° F
-50° F - -9° F
20° F - 55° F
90° F
90° F
45° F - 75° F
22° F
25- 100
ทา
ผสม
ล้าง ทา ผสม
ล้าง ทา
ล้าง ผสม ทา
ผสม ล้าง ทา
น�้ำยาผสม เทคนิคพิมพ์หิน
น�้ำยา Photo Etching
ระดับ Toxic ไม่ควรใช้เกิน อุณหภูมิปกติ การใช้
ชื่อทางเคมี
ชื่อ
สารกัด (SOLVENTS)
ระบบระบายอากาศที่ดี
ควรปฏิบัติ
ระบบระบายอากาศที่ดี
ท�ำลายปอด
ท�ำลายผิว
ระบบระบายอากาศที่ดี
หลีกเลี่ยงการใช้
ท�ำลายผิว ตา จมูก ระบบระบายอากาศที่ดี
ท�ำลายผิว ตา จมูก ระบบระบายอากาศที่ดี
ท�ำลายผิว ตา จมูก ระบบระบายอากาศที่ดี
ท�ำลายไต
มีผลต่อระบบหายใจ ระบบระบายอากาศที่ดี
ท�ำลายตับ ไต ท�ำลายผิวหนัง
อันตรายที่จะเกิด
4.2 ความรู้พื้นฐานของกระบวนการไฟฟ้าและการใช้กระแสไฟฟ้า ในการกัดแม่พิมพ์กระบวนการไฟฟ้า กระบวนการเริ่มจากการวางแผ่นโลหะชนิดเดียวกันสองแผ่นในลักษณะขนานกันโดยไม่ท�ำให้ทั้งสอง แผ่นสัมผัสกันในสารละลายน�ำไฟฟ้าที่มีสารตั้งต้นเป็นโลหะชนิดเดียวกันกับแผ่นโลหะที่ใช้ในตอนต้น ส่วน ปลายอีกข้างหนึ่งของแผ่นโลหะทั้งสองแผ่นที่ไม่อยู่ในสารละลายน�ำไฟฟ้าต่อโดยตรงเข้ากับแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้า หรือแบตเตอร์ร่ี กระแสไฟฟ้าก็จะไหลผ่านจากโลหะแผ่นหนึ่งไปยังอีกแผ่นหนึ่งโดยผ่านสารละลายตัวน�ำที่เป็น สารประกอบเกลือนั้น (Alfonso Crujera, 2010) สารละลายน�ำไฟฟ้าประกอบไปด้วยประจุบวกของโลหะและประจุลบของเกลือในสารละลายน�ำไฟฟ้า เมือ่ ปล่อยกระแสไฟฟ้าลงไปในวงจรประจุบวกของโลหะและประจุลบของเกลือในสารละลายน�ำไฟฟ้า เมือ่ ปล่อย กระแสไฟฟ้าลงไปในวงจรประจุบวกของโลหะและประจุลบของเกลือในสารละลายน�ำไฟฟ้าจะแตกตัวและถูกดูด ไปที่แผ่นโลหะแต่ละข้าง โดยประจุบวกของโลหะในสารละลายจะไปเกาะอยู่ที่แผ่นโลหะที่ต่อเข้ากับขั้วลบของ แหล่งก�ำเนิดไฟฟ้า (Cathode) และประจุลบของเกลือจะไปเกาะกันที่แผ่นโลหะที่ท�ำหน้าที่เป็นขั้วบวก (Anode) และท�ำปฏิกิริยากับพื้นผิวโลหะโดยกระบวนการแลกเปลี่ยนออกซิเจนจนผิวโลหะเกิดการกัดกร่อน ซึ่งผลลัพธ์ที่ ได้มีผลเทียบเท่าการกัดผิดหน้าแน่นโลหะด้วยกรดโดยที่มีประโยชน์แตกต่างกันไป แผ่นโลหะที่ต้องการใช้เป็น แม่พิมพ์จะถูกต่อเป็นขั้วบวกและให้ขนานกับแผ่นโลหะอีกแผ่นหนึ่งที่อยู่ในขั้วลบด้วยระยะห่างประมาณ 6 - 10 เซนติเมตร ซึ่งในขณะที่ประจุบวกของโลหะในสารละลายเคลื่อนที่ไปยังขั้วลบนั้น ประจุบวกบนผิวโลหะในขั้ว บวกก็จะถูกดึงจากผิวหน้าแผ่นโลหะไปในจ�ำนวนประจุที่เท่ากันเพื่อรักษาสมดุลเคมี จึงท�ำให้เกิดการกัดกร่อน บนผิวหน้าแผ่นโลหะขึ้น เนื่องจากปริมาณของเกลือในสารละลายตัวน�ำจะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งยังสามารถ น�ำสารละลายดังกล่าวกลับมาใช้ได้ใหม่ จากสมดุลดังกล่าวจึงท�ำให้เราสามารถค�ำนวณเวลาที่แผ่นโลหะจะถูก กัดกร่อนได้แม่นย�ำกว่าการใช้กรด การใช้สารละลายน�ำไฟฟ้าที่มีความเข้มข้นเท่ากัน จะได้ผลจากการสร้างร่อง ลึกบนผิวโลหะด้วยกระแสไฟฟ้าออกมาใกล้เคียงกัน นอกจากนั้นกระบวนการนี้ยังไม่ท�ำให้เกิดมลพิษเหมือนการสร้างร่องลึกให้แม่พิมพ์เหล็กและแม่พิมพ์ ทองแดงด้วยกรดไนตริก หรือกรดไฮโดรคลอลิค
- 35 -
36 การจัดวางอุปกรณ์ (Alfonso Crujera, 2010)
37 ตัวอย่างภาพพิมพ์กัดโดยใช้กระแสไฟฟ้า (Alfonso Crujera, 2010) จาก 37 เป็นภาพพิมพ์ที่ใช้อะคลิลิคเป็นสารเคลือบกันการกัดกร่อนผิวบนแผ่นทองแดง แล้วใช้กระแส ไฟฟ้าความต่างศักย์ต�่ำที่ 0.5 โวลต์ ด้วยสารละลายน�ำไฟฟ้าที่มีความเข้มข้นของสารละลาย 250 กรัมละลายใน น�้ำ 1 ลิตร ท�ำปฏิกิริยาเป็นเวลา 15 นาทีก็จะสามารถเห็นเส้นที่จะน�ำไปพิมพ์บนกระดาษได้ และหากใช้มากกว่า 60 นาที จะเกิดเส้นทีล่ กึ มากขึน้ ตามทีต่ อ้ งการ กระบวนการนีส้ ามารถท�ำด้วยกระแสไฟฟ้าทีม่ คี วามต่างศักย์ไฟฟ้า 1.0 โวลต์ได้ เนื่องจากไม่มีความจ�ำเป็นที่จะต้องใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่มีค่าสูง ซึ่งอาจจะท�ำให้สารเคลือบผิวบน แผ่นโลหะหลุดออกไปจากผิวหน้าได้
- 36 -
4.3 ข้อควรค�ำนึง 1. สารละลายน�ำไฟฟ้าควรท�ำในสภาวะที่มีค่า pH เป็นกลาง ซึ่งจะเกิดความสมดุลมากที่สุด 2. การผสมสารละลายควรใช้ไม้ ไม่ควรใช้โลหะในการคน 3. ก่อนเติมสารละลายลงไปในภาชนะพลาสติก หากจ�ำเป็น ต้องกรองสารละลายก็สามารถท�ำได้ 4. การเติมสารประกอบโลหะซัลเฟตให้ค่อยๆ เติมลงไปในปริมาณน้อยไปก่อน แล้วจึงเพิม่ ปริมาณมากขึน้ ตามทีต่ อ้ งการ 5. ความเข้มข้นของสารละลายมีหน่วยวัดเป็นปริมาณสาร ประกอบต่อปริมาณน�้ำ 1 ลิตร 6. อุ ณ หภู มิ ที่ ใ ช้ กั บ สารละลายมี ค วามส� ำ คั ญ ซึ่ ง ควรใช้ อุณหภูมิต�่ำกว่า 32 องศาเซลเซียส เพื่อ ป้องกันการระเหยของสารละลาย 4.4 การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การท�ำแถบโลหะสัมผัส ท�ำหน้าที่เป็นสื่อน�ำไฟฟ้าไปยังแม่พิมพ์ที่ต้องการให้เกิดการกัดกร่อน วิธีการท�ำแถบโลหะสัมผัส เริ่ม จากน�ำโลหะชนิดเดียวกับแม่พิมพ์มาตัดให้ได้ขนาดหนา 1 เซนติเมตร กว้าง 1.5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 12 เซนติเมตร จากนั้นให้เตรียมชิ้นส่วนของสติกเกอร์พลาสติกที่มีขนาดใหญ่กว่าขนาดของแผ่นแม่พิมพ์เล็กน้อย วางแถบโลหะสัมผัสลงบนส่วนด้านหลังของแม่พิมพ์และปิดทับด้วยสติกเกอร์ ซึ่งวิธีการนี้จะท�ำให้แถบสัมผัส ยึดติดกับแม่พิมพ์ และเป็นการป้องกันการกัดกร่อนที่ด้านหลังของแม่พิมพ์โดยกระแสไฟฟ้าอีกด้วย ขั้นตอนการท�ำ Contact-strip 1. ขัดแถบโลหะสัมผัสด้วยกระดาษทราย 2. ประกอบแถบสัมผัสกับแผ่นแม่พิมพ์ทองแดงเข้าด้วยกัน 3. กั้นด้านหลังของแม่พิมพ์ทองแดง ด้วยการติดแถบสัมผัสกับแม่พิมพ์ด้วยสติกเกอร์พลาสติกให้เต็ม ด้านหลังแม่พิมพ์ 4. ตัดพลาสติกส่วนที่เกินออกแล้วม้วนส่วนปลายของแถบสัมผัส เพื่อให้เป็นส่วนที่คล้องไว้กับขอบของ ตัวภาชนะ 5. หุ้มก้านทองแดงส่วนที่ติดกับแม่พิมพ์ด้วยพลาสติกอีกชั้น เพื่อป้องกันการกัดกร่อนโดยกระแสไฟฟ้า 4.5 การสกัดไขมันออกจากแม่พิมพ์ การสกัดไขมันออกจากแม่พิมพ์จะใช้ส่วนผสมของน�้ำส้มสายชูและเกลือ ในประเทศสเปน จะใช้วัสดุที่ เรียกว่า Blanco de Espana (Bismuth Oxychloride) ซึ่งมีลักษณะเป็นผงที่ผสมด้วยน�้ำส้มสายชูและน�ำไป ถูลงบนแม่พิมพ์ด้วยผ้าฝ้าย จากนั้นจึงล้างแม่พิมพ์ด้วยน�้ำและท�ำให้แห้งด้วยกระดาษหรือผ้าก่อนแล้วเป่าด้วย ลมร้อนจนกระทั่งไขมันถูกสกัดออกจากแม่พิมพ์จนหมด หรืออาจจะใช้กรดซิตริกและโซเดียมไตรคาร์บอเนต
- 37 -
(NaHCO3) ปริมาณ 1 ช้อนชา ผสมกับน�้ำเล็กน้อย และถูบนแม่พิมพ์ด้วยผ้าจนกระทั่งแม่พิมพ์ปราศจากไขมัน ล้างด้วยน�้ำและท�ำให้แห้งสนิท สิ่งที่ควรค�ำนึงคือ ต้องระวังไขมันที่อาจจะติดอยู่บนแม่พิมพ์จากการสัมผัส เช่น การใช้น�้ำมือจับบนแม่พิมพ์ 4.6 ขั้นตอนการสกัดไขมันออกจากพิมพ์ เริม่ จากน�ำน�ำ้ ส้มสายชูเทลงบนแม่พมิ พ์ทขี่ ดั ด้วยกระดาษทรายเรียบร้อยแล้ว จากนัน้ โรยด้วยผง Blanco de Espana ผสมกับน�้ำส้มสายชูลงบนแผ่นพิมพ์ และถูด้วยผ้าฝ้ายแล้วล้างออกด้วยเปล่า ล้างด้วยน�้ำเปล่าอีก ครั้งจนหมด - การเทน�้ำส้มสายชูลงบนแม่พิมพ์ที่ขัดด้วยกระดาษทรายแล้ว - การโรยด้วยผง Blanco de Espana - การผสมผง Blanco de Espana กับน�้ำส้มสายชู และถูด้วยผ้าฝ้าย - ล้างออกด้วยน�้ำเปล่าให้สะอาด 4.7 การเคลือบสารกันการกัดกร่อนของแม่พิมพ์โลหะ การป้องกันการแม่พิมพ์โลหะถูกกัดกร่อน อาจใช้หมึกภาพพิมพ์ร่องลึกเชื้อน�้ำมันเจือจาง ด้วยผงถ่าน เล็กน้อย กลิ้งด้วยบนแม่พิมพ์ สารเคลือบผิวนี้จะแห้งเองบนแม่พิมพ์โลหะ เป่าด้วยลมร้อนก่อนหรือหลังวาดเส้น ลงบนแม่พิมพ์ เราสามารถใช้อคลิลิคทนการกัดกร่อนของกรดตามต�ำราของ Friedhard Kiekeben ที่ชื่อ “Intaglio Manual of Acrylic Resist Etching” หรือ “The BEGINNERS COMPENDIUM” โดย Donna Adams ซึ่ง ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อะคลิลิคไว้เป็นจ�ำนวนมาก การใช้ขี้ผึ้งอะคลิลิคประสบความส�ำเร็จในการใช้โดยการ ประยุกต์จากวิธีเคลือบด้วยน�้ำยาขัดเงาและท�ำให้แห้งโดยใช้อากาศร้อนระหว่างชั้นที่ประกบกัน 4.8 ขั้นตอนการเคลือบสารกันกัดกร่อนของกรดบนแม่พิมพ์โลหะ เริ่ ม จากการเทสารเคลื อ บกั น การกั ด กร่ อ นของกรดหรื อ อะคลิลิคลงไปบนแม่พิมพ์ เกลี่ยให้ทั่ว จาก นั้นเป่าให้แห้งโดยลมร้อน - การเทสารเคลือบผิวลงบนแม่พิมพ์ - การเทสารเคลือบผิวจากด้านหนึง่ ไปยังอีกด้านหนึง่ ของแม่พมิ พ์ 4.9 กระบวนการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยใช้ไฟฟ้า 1. เติมสารละลายน�ำ้ ไฟฟ้าทีเ่ ป็นเกลือโลหะชนิดเดียวกันกับโลหะของแม่พมิ พ์ทเี่ ตรียมไว้ ลงไปในภาชนะ พลาสติกโดยให้มีระดับสารละลายต�่ำกว่าขอบภาชนะไปประมาณ 5 เซนติเมตร
- 38 -
2. เตรียมแม่พิมพ์พร้อมแถบสัมผัสที่ล้างไขมันออกจนหมดและเทสารเคลือบกันการกัดกร่อนจาก กรดที่วาดลายเส้นเรียบร้อยแล้วจุ่มลงไปในภาชนะพลาสติกที่มีสารละลายอยู่ 3. แม่พิมพ์จะอยู่ในด้านตรงกันข้ามกับขั้วลบด้วยระยะห่างกัน 6 เซนติเมตร จ�ำไว้เสมอว่าแม่พิมพ์และ โลหะในขั้วลบจะต้องวางเป็นคู่ขนานกัน 4. ต่อสายโลหะขั้วลบกับแหล่งก�ำเนิดกระแสไฟฟ้าที่เตรียมไว้ เข้ากับคลิปลวดปากจระเข้ (Crocodile Clip) ที่เป็นสีด�ำ และต่อเมื่อพิมพ์ที่ต้องการสร้างร่องลึก ที่ท�ำหน้าที่เป็นขั้วบวกเข้ากับคลิปลวกขั้วบวกสีแดง 5. จากนั้นเปิดปุ่มจ่ายกระแสไฟฟ้า โดยปรับควบคุมความต่างศักย์ไฟฟ้าจาก 0 โวลต์ จนกระทั่งถึง ปริมาตรความต่างศักย์ที่ต้องการ ซึ่งจะเห็นปริมารของกระแสไฟที่เพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ โดยจะขึ้นกับปริมาณ โลหะที่ไม่ถูกเคลือบด้วยสารกัดกร่อนจากกรดบนแม่พิมพ์ ให้คงความต่างศักย์ไฟฟ้าไว้และทิ้งไว้เป็นเวลา 15 นาที 6. เมื่อได้เวลาตามที่ต้องการแล้ว ปิดแหล่งก�ำเนิดกระแสไฟฟ้า จากนั้นย้ายแม่พิมพ์ออกจากภาชนะ พลาสติก แล้วปล่อยน�้ำไหลผ่านแม่พิมพ์เพื่อล้างสารละลายที่ค้างอยู่ 7. ปิดส่วนที่ไม่ต้องการให้เกิดการกัดกร่อนเพิ่มอีก ด้วยสารเคลือบกันการกัดกร่อนและน�ำแม่พิมพ์ลง ไปแช่ในภาชนะพลาสติกที่บรรจุสารละลายน�ำไฟฟ้า แล้วด�ำเนินการตามกระบวนการเดิมตั้งแต่เริ่มต้นซ�้ำอีก รอบ โดยทิ้งระยะเวลาให้เกิดการกัดกร่อนไว้อีกประมาณ 15 นาที 4.10 การสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้า การศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยไม่เกิดมลพิษ จะท�ำการศึกษาเทคนิคการ สร้างร่องลึกแก่แม่พิมพ์โลหะด้วยกระแสไฟฟ้า (Electro-Etching) เริ่มจากการสร้างอุปกรณ์ต้นแบบในการสร้าง ร่องลึกด้วยกระแสไฟฟ้าจากเครื่องมือที่หาซื้อได้ง่ายในประเทศจากนั้นจะเปรียบเทียบวิธีการ ระยะเวลา และ ผลที่ได้จากการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้า และการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยกรดเมื่อพิมพ์ตาม เทคนิคต่างๆ โดยมีกระบวนการดังต่อไปนี้ การต่ออุปกรณ์การกัดโลหะด้วยกระแสไฟฟ้า พาวเวอร์ซัพพลาย (Power supply) ควรใช้วิธีการที่ต่อกระแสตรง (Direct Current : DC) โดยใช้กระแสไฟฟ้าขนาด 5 โวลท์ และระหว่าง 3 – 5 แอมป์เป็นอย่างน้อย ดังภาพ ตะแกรงแคโทด (Cathode Grid) ในกระบวนการ electrolytic นั้นแผ่นโลหะจะต้องจุ่มอยู่ในแท๊งค์ โดยแผ่นโลหะนั้นด้านหนึ่งจะมี สภาวะเป็นขั้วลบ (แคโทด) และ ปลายอีกด้านหนึ่งจะเป็นขั้วบวก (แอโนด) โดยที่แผ่นโลหะที่สัมผัสกับขั้วบวก (แอโนด) จะเป็นส่วนที่ถูกกัดกร่อน เราสามารถใช้แผ่นตะแกรงสแตนเลสสตีล ที่มีขนาดพอดีเท่ากับขนาดของ แท๊งค์ แผ่นตะแกรงแสตนเลสนี้สามารถหาได้ไม่ยาก เช่น ตะแกรงส�ำหรับปิ้งย่างเนื้อ เป็นต้น ซึ่งควรจะทดลอง
- 39 -
กับแผ่นตะแกรงที่มีลักษณะและขนาดที่แตกต่างกันในแต่ละโลหะที่ต้องการจะท�ำการกัดกร่อนแผ่นตะแกรง แคโทด Stainless steel
38 อุปกาณ์การกัดโลหะด้วยกระแสไฟฟ้า
4.11 สารละลายอิเล็กโทรไลท์ (Electrolyte) สารละลายอิเล็กโทรไลท์ เป็นสายละลายเกลือกับน�้ำ ท�ำหน้าที่เป็นสื่อน�ำกระแสไฟฟ้า ควรใช้เกลือ โลหะที่เป็นชนิดเดียวกันกบโลหะที่ต้องการกัด เช่น Copper sulphate (Cu SO4) ส�ำหรับแผ่นทองแดง Zinc sulphate (Zn SO4) ส�ำหรับแผ่นสังกะสี และใช้ Ferrous sulfate (Fe SO4) ส�ำหรับแผ่นเหล็กและเหล็กกล้า ซัลเฟตเหล่านี้สามารถหาซื้อได้จากที่จ�ำหน่ายสารเคมีอุตสาหกรรม ซึ่งควรใช้ซัลเฟตบริสุทธิ์ปราศจากสิ่งเจือปน ใด ๆ ที่สามารถก่อให้เกิดของเสียและผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์ในการก�ำจัด แต่หากซื้อซัลเฟตในร้านค้าทั่วไป ต้องระวังว่าซัลเฟตอาจถูกผสมด้วยสิ่งเจือปนอื่น ซึ่งอาจะท�ำให้สารละลายอิเล็กโทรไลท์ไม่มีประสิทธิ ดังนั้น เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดควรใช้สารซัลเฟตที่มีความบริสุทธ์สูงสุด ความเข้มข้นของไอออนโลหะในสารละลายอิเล็กโทรไลท์จะส่งผลถึงอัตราการไหลของกระแสไฟฟ้าดังนัน้ ปริมาณของโลหะที่จะละลายจากเพลทที่ก�ำลังกัด ความเข้มข้นต�่ำจะท�ำให้การกัดเป็นไปอย่างช้าๆ แต่การกัดจะ มีประสิทธิ แต่หากใช้ความเข้มข้นสูงการท�ำงานจะเร็วขึ้น แต่ต้องใช้แหล่งจ่ายไฟที่มีกระแสมากขึ้น ความเข้มข้น สูงร่วมกับโวลท์ที่สูงจะกระตุ้นให้เกิดการสร้างออกซิเจนที่ขั้วบวก ถ้าหากใช้ copper เป็นแผ่น plate ซึ่งจะมีลักษณะบางแต่มีชั้นของ solid oxide ที่ซึ่งไม่เป็นอันตราย แต่สามารถเป็นสาเหตุให้การกัดหยุดลง เนื่องจาก copper oxide นั้นไม่สามารถเป็นตัวน�ำกระแสไฟฟ้า ซึ่งถ้า เกิดสภาวะนี้ข้ึนต้องท�ำการเจือจางสารละลาย
- 40 -
ถ้าแผ่นเพลทเป็นสังกะสี และสารละลาย electrolytic มีความเข้มข้นเหมาะสม และใช้ในสภาวะ กระแสไฟฟ้าที่มีปริมาณสูง (high voltage) สารละลายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ เนื่องจากสังกะสีนั้น จะ มีคุณสมบัติเพิ่ม PH ในสารละลาย ดังนั้นจ�ำเป็นที่จะต้องใช้กรดในการท�ำให้เป็นกลาง โดยการเติมกรดซัลฟิวริก ในปริมาณน้อย (0.03/ลิตรของสารละลาย) ลงในสารละลาย copper sulfate เพื่อป้องกันการเกิดปฏิกิริยาออก ซิเดชั่น บางสิ่งสามารถใช้ได้ดีกับแผ่น copper แต่ไม่แนะน�ำให้เติมกรดซัลฟิวริกลงในสารละลาย zinc sulfate เนื่องจากจะท�ำให้เกิด gas ขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก Copper sulfate และ zinc sulfate คือเกลือซึ่งอยู่ในรูปของผลึก บางครั้งอาจแตกเป็นเม็ดผงเล็กๆ เมื่อสัมผัสผลึกหรือผงเหล่านี้จึงควรระวัง หลีกเลี่ยงการสูดดมเข้าไปและการสัมผัสโดนผิวหนัง อย่างไรก็ตาม ควรป้องกันตัวเองจากสารเคมีเหล่านี้โดยใช้ผ้าปิดจมูกและใส่ถุงมือก่อนหยิบจับสารเคมีเหล่านี้ ในขณะที่มันเป็น ของแข็ง แต่หากเป็นสารละลายแล้วจะไม่มีอันตรายหากสูดดมเข้าไป สารละลายไม่อันตรายเนื่องจากมันจะไม่ ปล่อยก๊าซพิษออกมาในขณะที่เป็นสารละลาย อย่างไรก็ตามก็ไม่ควรที่จะสัมผัสสารละลายดังกล่าวโดยตรง และ ควรระมัดระวังในขณะท�ำการกัดโลหะ เนื่องจากอาจเกิดการกระเด็นของสารละลายออกมาจากแท๊งค์พลาสติค ได้ ดังนั้นจึงควรใส่แว่นตากันสารเคมีด้วยเพื่อความปลอดภัยที่สุด
39 สารละลายอิเล็กโทรไลท์ (Electrolyte)
40 แผ่นทองแดงและตะแกรง
40 แผ่นทองแดงและตะแกรง
42 การกัดโลหะด้วยกระแสไฟฟ้า
- 41 -
4.12 ข้อควรค�ำนึง • สารละลายอิเล็กโทรไลท์ควรท�ำในสภาวะที่มีค่า pH เป็นกลาง ซึ่งจะเกิดความสมดุลมากที่สุด • การผสมสารละลายควรใช้ไม้ ไม่ควรใช้โลหะ • ก่อนเติมสารละลายลงไปในภาชนะพลาสติค หากจ�ำเป็นต้องกรองสารละลายก็สามารถท�ำได้ • การเติมเกลือซัลเฟตให้ค่อยๆ เติมลงไป ในปริมาณน้อยไปก่อน แล้วจึงเพิ่มปริมาณมากขึ้นตามที่ ต้องการ • ความเข้มข้นของสารละลายมีหน่วยวัดเป็นปริมาณเกลือต่อปริมาณน�ำ ้ 1 ลิตร • อุณหภูมิที่ใช้กับสารละลายมีความส�ำคัญ ซึ่งควรใช้อุณหภูมิต�่ำกว่า 32 องศาเซลเซียส ป้องกันการ ละเหยของสารละลาย ความเข้มข้นของสารละลายอิเล็กโทรไลท์ส�ำหรับเพลททองแดง Weak: 160g COPPER SULFATE to 1 liter of WATER Medium: 200g COPPER SULFATE to 1 liter of WATER Strong: 250g COPPER SULFATE to 1 liter of WATER ความเข้มข้นของสารละลายอิเล็กโทรไลท์ส�ำหรับเพลทสังกะสี Weak: 160g ZINC SULFATE to 1 liter of WATER Medium: 300g ZINC SULFATE to 1 liter of WATER Strong: 500g ZINC SULFATE to 1 liter of WATER ความเข้มข้นของสารละลายอิเล็กโทรไลท์ส�ำหรับเพลทเหล็ก Medium: 200g FERROUS SULFATE to 1 liter of WATER Strong: 250g FERROUS SULFATE to 1 liter of WATER 4.13 การเตรียมเพลท การท�ำ Contact-Strip contact-strip เป็นตัวที่ท�ำหน้าที่เป็นสื่อน�ำไฟฟ้าไปยังเพลทที่ต้องการให้เกิดการกัดสลัก วิธีการท�ำ strip เริ่มจาก น�ำโลหะชนิดเดียวกับที่ต้องการให้เกิดการกัดมาตัดให้ได้ขนาดความหนา 1 เซนติเมตร กว้าง 1.5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 12 เซนติเมตร จากนั้นให้เตรียมชิ้นส่วนของ self-stick plastic ที่มีขนาด ใหญ่กว่าขนาดของเพลทเล็กน้อย วาง contact-strip ลงบนส่วนด้านหลังของเพลทและปิดทับด้วย self-stick plastic ซึ่งวิธีการนี้จะท�ำให้ contact-strip ยึดติดและเป็นการป้องกันการย้อนกลับของเพลทจากการกัดกร่อน โดยกระแสไฟฟ้า
- 42 -
43 เตรียมอุปกรณ์
44 แม่พิมพ์ทองแดง (Copper)
45 กันด้านหลังแม่พิมพ์ทองแดง เพื่อไม่ให้ไฟฟ้ากัดกร่อน
46 ละลายสารอิเล็กโทรไลท์ ลงในน�้ำแล้วจึงท�ำ แม่พิมพ์ลงกัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอรี่
4.14 ขั้นตอนการท�ำ Contact-strip 1. เตรียมอุปกรณ์ ได้แก่ Self-stick plastic (แผ่นสี่เหลี่ยมสีเหลือง), contact-strip หรือแท่งทองแดง (แท่งยาวสีน�้ำตาล) และเพลททองแดง (แผ่นสี่เหลี่ยมสีน�้ำตาล) 2. ขัด contact-strip ด้วยกระดาษทราย 3. Contact-strip และเพลททองแดง 4. ป้องกันด้านหลังของเพลททองแดง ด้วยการติด contact-strip ด้วย self-stick plastic 5. การป้องกันส่วนด้านหลัง 6. ตัดพลาสติคส่วนที่เกินออกและม้วนส่วนปลายของ contact-strip เพื่อให้เป็นส่วนที่ห้อยกับตัวถัง ภาชนะ 7. หุ้มก้านทองแดงส่วนที่ติดกับเพลทด้วยพลาสติคเพื่อ ป้องกันการกัดโดยกระแสไฟฟ้า 8. เพลทที่พร้อมน�ำไปใช้
- 43 -
4.15 การสกัดไขมันบนเพลท การสกัดไขมันออกจากเพลท จะใช้ส่วนผสมของน�้ำส้มสายชูและเกลือ ในประเทสเปนเราจะใช้วัสดุที่ เรียกว่า Blanco de Espana (bismuth oxychloride) ซึ่งมีลักษณะเป็นผงที่ผสมด้วยน�้ำส้มสายชูและน�ำไป ถูลงบนเพลทด้วยผ้าคอตตอน จากนั้นจึงล้างเพลทด้วยน�้ำและท�ำให้แห้งด้วยกระดาษหรือผ้าก่อน และเป่าด้วย ลมร้อน จนกระทั่งไขมันถูกสกัดออกจากเพลทออกจนหมด หรืออาจจะใช้กรดซิตริคและโซเดียมไปคาร์บอเนต (NaHCO3) ปริมาณ 1 ช้อนชา ผสมกับน�้ำเล็กน้อยและถูบนเพลทด้วยผ้าจนกระทั่งเพลทปราศจากไขมัน ล้าง ด้วยน�้ำ และท�ำให้แห้ง สิ่งที่ควรค�ำนึง คือ ต้องระวังไขมันที่อาจจะติดอยู่บนเพลทจากการสัมผัส เช่น การใช้นิ้วมือจับบนเพลท 4.16 ขั้นตอนการสกัดไขมันออกจากเพลท 1. เทน�้ำส้มสายชูลงบนเพลทที่ขัดด้วยกระดาษทรายแล้ว 2. โรยด้วย Blanco de Espana (bismuth oxychloride) 3. ผสม Blanco de Espana (bismuth oxychloride) ด้วยน�้ำส้มสายชูและถูลงบนเพลทด้วยผ้าคอตตอน 4. ล้างออกด้วยน�้ำเปล่า 5. ชะล้างด้วยน�้ำอีกครั้ง 4.17 การเคลือบกันการสึกกร่อน การป้องกันการเพลทถูกกัดกร่อนอาจใช้ oil-based intaglio ink เจือจางด้วยน�้ำมันและ cobalt dryer เล็กน้อย กลิ้งด้วยลูกกลิ้งลงไปบนเพลท น�้ำหมึก/สารเคลือบผิวจะแห้งเองบนเพลท เป่าด้วยลมร้อนก่อนหรือ หลังวาดลงบนเพลท เราสามารถใช้ ACRYLIC RESIST ETCHING ตามคู่มือของ Friedhard kiekeben ที่ชื่อ “Intaglio Manual of Acrylic Resist Etching” หรือ “the BEGINNERS COMPENDIUM” โดย Donna Adams ที่ซึ่งให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ acrylic ไว้เป็นจ�ำนวนมาก เราประสบความส�ำเร็จในการใช้ acrylic wax โดยการประยุกต์ใช้วิธีเคลือบด้วยน�้ำยาขัดเงาและท�ำให้แห้งโดยใช้อากาศร้อนระหว่างชั้นที่ประกบกัน 4.18 ขั้นตอนการเคลือบเพลท 1. เทอะคลิลิคลงไปบนเพลท 2. เทสารเคลือบผิวให้ทั่วเพลทจากด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง เป่า ให้แห้งด้วยลมร้อน
- 44 -
4.19 กระแสไฟฟ้า (Voltage) จากภาพข้างต้น เป็นภาพพิมพ์ที่ใช้ acrylic เป็นสารเคลือบผิวบนแผ่นทองแดง แล้วสกัดด้วยกระแส ไฟฟ้าแรงต�่ำที่ 0.5 โวลต์ ความเข้มข้นของสารละลายอิเล็กโทรไลท์ 250 กรัม ในน�้ำ 1 ลิตร สกัดด้วยช่วงเวลา 2 ครั้ง ที่เวลา 10 นาที และ 15 นาที ซึ่งจะสามารถเห็นเส้นที่สกัดได้เมื่อน�ำไปท�ำภาพพิมพ์ ซึ่งหากกัดเพลทที่ เวลามากกว่า 60 นาที จะเห็นเส้นได้ขัดและลึกกว่านี้ มีขอ้ แนะน�ำผูท้ จี่ ะทดลองสกัดด้วยกระแสไฟฟ้า ให้เริม่ ต้นช่วงเวลาในการสกัดที่ 15 นาทีขนึ้ ไปจนกระทัง่ ถึงนาทีที่ 120 จะได้เส้นสกัดที่พอดีส�ำหรับการน�ำแม่พิมพ์ไปท�ำงานภาพพิมพ์ การสกัดด้วยกระแสไฟฟ้าที่ความแรงไฟฟ้า 1.0 โวลต์ก็สามารถท�ำได้ อย่างไรก็ตาม ควรจะใช้กระแส ไฟฟ้าโวลต์ต�่ำจะดีที่สุด เพราะไม่มีความจ�ำเป็นที่จะต้องใช้โวลต์สูงๆ ซึ่งการใช้โวลต์สูงก็อาจจะท�ำให้สารเคลือบ ผิวบนเพลทหลุดออกไปจากเพลทได้ 4.20 กระบวนการกัดโดยใช้กระแสไฟฟ้า 1. เตรียมเพลทพร้อม contact strip จากนั้นล้างไขมันออกให้หมด ปิดทับด้วยสารเคลือบผิว Varnish เติมสารละลายอิเล็กโทรไลท์ลงไปในภาชนะพลาสติค ให้สูงขึ้นมาประมาณ 5 เซนติเมตรจากขอบภาชนะ 2. เมื่อวาดภาพเสร็จเรียบร้อยแล้ว ใส่เพลทลงไปในภาชนะที่มีสารละลายอิเล็กโทรไลท์อยู่ 3. เพลทซึ่งถูกจุ่มแช่อยู่ในภาชนะ จะอยู่ในด้านตรงกันข้ามกับขั้วแคโทด ด้วยระยะห่าง 6 เซนติเมตร จากขั้วแคโทด จ�ำไว้เสมอว่า เพลทและขั้วแคโทดจะต้องวางเป็นคู่ขนานกัน 4. ต่อสายโลหะกับแห่งจ่ายกระแสไฟฟ้า (power supply) ด้วยคลิปลวดปากจระเข้ (crocodile clip) ขั้วแคโทด จะถูกเชื่อมต่อกับขั้วลบสีด�ำ ขั้วแอโนด จะถูกเชื่อมต่อกับขั้วบวกสีแดง 5. จากนั้นเปิดปุ่มจ่ายกระแสไฟฟ้า ปรับปุ่มควบคุมกระแสไฟฟ้าจาก 0 โวลต์ จนกระทั่งถึง 0.5 โวลต์ ซึ่งจะเห็นปริมาณกระแสไฟที่เพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ โดยจะขึ้นกับปริมาณโลหะที่โล่งๆ บนเพลท ให้คงกระแสไฟฟ้า ไว้ที่ 0.5 โวลต์ ใช้เวลาในการสกัด 15 นาที 6. เมื่อเวลาผ่านไปตามที่ต้องการแล้ว ปิดแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้า (power supply) ย้ายเพลทจากถัง ภาชนะ แล้วปล่อยน�้ำไหลผ่านเพลทเพื่อชะล้าง 7. Cover any area with stop-out varnish และน�ำเพลทลงไปจุ่มแช่ในภาชนะ และด�ำเนินการตาม กระบวนการเดิมซ�้ำอีก ทิ้งระยะเวลาให้เกิดการสกัดไว้ประมาณ 15 นาที
- 45 -
ตารางเปรียบเทียบการใช้น�้ำกรดและการใช้ไฟฟ้า (ของ Leonard 025 CHEMTECH) วิธีการกัดเพลทด้วย
กรด Nitric
สารกัดกร่อน กัดด้วยไฟฟ้า Duth Merdant Zine sulfate
กัดด้วยไฟฟ้า Copper Sulfate
ไอจากกรด
มี
มี
ไม่มี
ไม่มี
ไอจากขั้นตอนสร้างเพลท
มี
มี
ไม่มี
ไม่มี
ป้องกันการกัดกรดที่เข้มข้น (ส่วนผสมที่เข้มข้น)
ไม่มี
ไม่มี
มี
มี
ป้องกันการเทกรดทิ้ง (ในท่อน้ำ�ทิ้ง)
ไม่มี
ไม่มี
มี
มี
ป้องกันการถ่ายเทกรดทิ้ง
ไม่มี
ไม่มี
มี
มี
กำ�หนดเวลาได้ (เวลากัด)
ไม่
ไม่
ได้
ได้
ใช้น้ำ�ยา soft ground ที่บางได้
ไม่
ไม่
ได้
ได้
กำ�หนดเวลาการกัดในการสร้าง embossing
ไม่
ไม่
ได้
ได้
เส้นจะนุ่มไม่กระด้าง
ใช่
ใช่
ไม่
ไม่
น้ำ�หนักจากยางสน
ดี
ดี
ดี
ดี
ไม่ดี
ไม่ดี
ปานกลาง
ดี
น้ำ�หนักจาก Open bite
- 46 -
การใช้ไฟฟ้ากัด (Electro Etch) ความแรงขนาด 6 Volts (ที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง) (จากบริษัท) การใช้ไฟฟ้าของเครื่อง (Electro Etch)
6 โวลต์ ที่ประดิษฐ์ขึ้น
Soft Ground ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ใช้ Soft ground ดีกว่าหมึก (ink) (สามารถแช่ได้ นาน soft ground ไม่หลุด)
Soft ground : จะหลุดภายใน 2 วินาที
หมึก : ดีสำ�หรับเวลาเกิน 1 ชั่วโมง (แช่ได้นาน หมึกไม่หลุด)
หมึก : เริ่มหลุดภายใน 2 นาที, หลุดมากภายใน 4 นาที และหลุดหมดภายใน 10 นาที
หมึกที่ผสมใน Soft ground และแห้งแล้ว 1 อาทิตย์ ดีสำ�หรับการแช่ที่นานกว่า 1 ชั่วโมง (ไม่หลุดเร็ว) เส้นที่สร้างด้วยเข็มจาร (Needle) จะกัดได้นาน 5 นาทีถึง 30 นาที หรือ 80 นาที (เคลือบจะไม่ หลุด)
เส้นที่สร้างด้วยเข็มจาร (Needle) จะกัดได้เพียง 12 นาที
เส้นที่ตัดกันไปมา (Cross-Hatch) จะไม่แตกหาก กัดเป็นเวลา 40 นาที
เส้นที่ตัดไปมา (Cross-Hatch) จะแตกภายใน 10 นาที
Open Bite บนแผ่นทองแดงโดยใช้ทำ�ยาเคลือบ บางจะกัดได้นาน 5 ถึง 150 นาที
Open Bite บนแผ่นทองแดงโดยน้ำ�ยาเคลือบ บาง จะกัดได้เพียง 20 นาทีเท่านั้น
- 47 -
4.21 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ในกระบวนการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยใช้ไฟฟ้า 1. วัสดุอุปกรณ์ ภาชนะพลาสติก (Vertical Tank) ใช้ภาชนะที่เป็นพลาสติกในการบรรจุสารละลายน�ำไฟฟ้า โดยอาจเริ่มจากการใช้ภาชนะที่มีขนาดเล็ก ก่อน เช่น ขวดน�้ำพลาสติกที่ตัดเป็นส่วนฝาด้านบนออก แล้วจึงค่อยเปลี่ยนเป็นภาชนะที่มีขนาดใหญ่ข้ึนไป ข้อส�ำคัญคือไม่ควรใช้ภาชนะที่เป็นโลหะ แหล่งก�ำเนิดไฟฟ้า (Power supply) ใช้วิธีการต่อกระแสตรง โดยใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้าขนาด 6-12 โวลต์และใช้กระแสไฟฟ้า 3-5 แอมแปร์ เป็นอย่างน้อย ตะแกรงขั้วลบ (Cathode Grid) ในกระบวนการแลกเปลี่ยนอิเลคตรอนในสารละลายน�ำไฟฟ้านั้น แผ่นโลหะจะต้องสัมผัสกับสารละลาย ที่อยู่ในภาชนะพลาสติก เราจะใช้แผ่นตะแกรงขั้วลบที่มีขนาดพอดีกับขนาดของภาชนะพลาสติก แผ่นตะแกรงนี้ สามารถประยุกต์ได้จากตะแกรงส�ำหรับปิ้งย่างเนื้อแทน ซึ่งควรจะทดลองกับแผ่นตะแกรงที่มีลักษณะและขนาด ที่แตกต่างกันในแต่ละโลหะที่ต้องการจะท�ำการกัดกร่อน แม่พิมพ์โลหะ ในงานวิจยั ชิน้ นี้ ผูว้ จิ ยั ได้ใช้สงั กะสีเป็นแม่พมิ พ์โลหะในการทดสอบอุปกรณ์ตน้ แบบ และใช้แผ่นทองแดง เป็นแม่พิมพ์ในการสร้างผลงานภาพพิมพ์ผ้าขาวบางและกระดาษลอกลายใช้ส�ำหรับเช็ดหมึกพิมพ์ส่วนที่ไม่ ต้องการ
กระดาษทราย ส�ำหรับขัดผิวหน้าแผ่นแม่พิมพ์ทองแดง ก่อนเริ่มกระบวนการทั้งหมด สารเคมี
สารละลายน�ำไฟฟ้า (Electrolyte) ประกอบด้วยเกลือโลหะกับน�้ำบริสุทธิ์ สารละลายน�้ำไฟฟ้าที่ท�ำหน้าที่เป็นสื่อน�ำในการแลกเปลี่ยนอิเล็กตรอนระหว่างแผ่นทองแดงทั้งสองขั้ว สารละลายน�ำไฟฟ้าที่ใช้ในการวิจัยนี้เป็นสารผสมระหว่างเกลือสังกะสีกับน�้ำบริสุทธิ์ในกรณีของแผ่นแม่พิมพ์ สังกะสี และเกลือทองแดงกับน�้ำบริสุทธิ์ส�ำหรับแผ่นแม่พิมพ์ทองแดง ซึ่งเกลือสังกะสีจะมีลักษณะเป็นผลสีขาว ในขณะที่เกลือทองแดงนี้มีลักษณะเป็นผงสีฟ้า โดยสามารถหาซื้อได้จากร้านจ�ำหน่ายสารเคมีทั่วไป ซึ่งควรจะ เป็นเกลือโลหะที่บริสุทธิ์ปราศจากสิ่งเจือปนใดๆ ที่จะก่อให้เกิดของเสียที่ก�ำจัดยาก หากมีสิ่งเจือปนอื่นอยู่อาจ จะท�ำให้กระบวนการแลกเปลี่ยนอิเลคตรอนของสารละลายตัวน�ำไม่มีประสิทธิภาพ
- 48 -
ความเข้มข้นของไอออนโลหะในสารละลายน�ำไฟฟ้าจะส่งผลถึงอัตราการไหลของกระแสไฟฟ้า กับ ปริมาณของโลหะที่จะถูกสกัดออกจากแผ่นโลหะ หากใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่มีค่าสูงขึ้นการกัดกร่อนก็จะเร็ว ขึ้น แต่ต้องใช้สารละลายน�ำไฟฟ้าที่มีความเข้มข้นสูงร่วมด้วย ซึ่งจะกระตุ้นให้เกิดการสร้างออกซิเจนที่ขั้วบวก ในขณะที่ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่มีความเข้มข้นสูงร่วมด้วย ซึ่งจะกร่อนเป็นไปอย่างช้าๆ แต่จะมีประสิทธิภาพ มากกว่า ถ้าหากใช้ทองแดงเป็นแม่พิมพ์ซึ่งจะมีลักษณะบางแต่มีชั้นของออกไซด์ของแข็งซึ่งไม่เป็นอันตราย แต่ อาจท�ำให้การกร่อนของแผ่นทองแดงหยุดลงเนื่องจากออกไซด์ทองแดงนั้นไม่สามารถเป็นตัวน�ำกระแสไฟฟ้าได้ ซึ่งถ้าเกิดสภาวะนี้ขึ้นต้องท�ำการเจือจางสารละลายน�ำไฟฟ้าลง หมึกพิมพ์ร่องลึกเชื้อน�้ำมัน ใช้ในการอัดลงในร่องลึกบนผิวหน้าแผ่นแม่พิมพ์โลหะ สารเคลือบผิวหน้าแม่พมิ พ์ ซึง่ มีสว่ นประกอบเป็นวาณิช ทินเนอร์ น�ำ้ มันสน โดยสารทีใ่ ช้เคลือบผิวหน้านี้ จะใช้เคลือบบนผิวหน้าของแผ่นแม่พมิ พ์โลหะเพือ่ กันในบริเวณทีไ่ ม่ตอ้ งการ ให้เกิดร่องบนแม่พิมพ์ มีด้วยกันสองส่วนผสม คือ ส่วนผสมของวาณิชกับน�้ำมันสนจะมีลักษณะนุ่มจึงง่ายต่อการ เขียนเส้นเพื่อขึ้นโครงสร้างของต้องการ ในขณะที่ส่วนผสมระหว่างวาณิชกับทินเนอร์จะมีลักษณะที่แตกต่างไป คือ แห้งเร็วซึ่งจะใช้ปิดผิวหน้าหลังจากได้ภาพบนแม่พิมพ์ที่เราต้องการ จึงท�ำให้ใช้เวลาน้อยลง น�้ำมันพืช และน�้ำยาล้างจาน ใช้ส�ำหรับล้างแผ่นแม่พิมพ์โลหะ หลังจากที่ได้ความลึกของร่องบนแม่พิมพ์ตามที่เราต้องการ ก่อนที่น�ำ ไปอัดหมึกพิมพ์เพื่อพิมพ์ภาพลงบนกระดาษตามขั้นตอนของเทคนิคภาพพิมพ์ 4.22 ขั้นตอน และเทคนิคการสร้างอุปกรณ์ต้นแบบในการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้า การเตรียมแม่พิมพ์ ในการทดลองนีใ้ ช้แผ่นโลหะขนาด 5 x 6 ตารางนิว้ เป็นแม่พมิ พ์ น�ำแม่พมิ พ์มาขัดผิวหน้าไปมาทุกทิศทาง ด้วยกระดาษทรายน�้ำส�ำหรับขัดโลหะเบอร์ 1000 ในขณะที่แม่พิมพ์เปียกอยู่ จากนั้นน�ำน�้ำยาล้างมาหยดลงบน แม่พิมพ์เล็กน้อย เพื่อให้เกิดฟองแล้วล้างให้สะอาด จากนั้นน�ำกระดาษหนังสือพิมพ์มาซับน�้ำให้แห้งเพื่อไม่ให้เกิด รอยและคราบน�้ำบนผิวหน้าแม่พิมพ์ เมื่อแน่ใจว่าแม่พิมพ์แห้งดีแล้วให้สังเกตว่ายังมีคราบไขมันที่อาจเกิดจาก การสัมผัสจากมือผู้ทดลองหลงเหลืออยู่หรือไม่ หากมีจะล้างด้วยน�้ำส้มสายชูแล้วตามด้วยน�้ำสะอาด จากนั้นน�ำ กระดาษหนังสือพิมพ์มาเช็ดคราบน�้ำในลักษณะเดิมอีกครั้งจนแน่ใจว่าแม่พิมพ์จะสะอาดเป็นอย่างดี
- 49 -
การทาสารเคลือบกันการกัดกร่อน การป้องกันแม่พิมพ์ถูกกัดกร่อนจะใช้วาริณผสมกับน�้ำมันในอัตราส่วน 2:1 คนส่วนผสมให้เข้ากันแล้ว ทาด้วยแปรงลงบนแม่พิมพ์ เมื่อทาจนทั่วแล้วให้น�ำมาผึ่งลมให้แห้งโดยวางลงในแนวระนาบทิ้งไว้ 1 คืนจนผิว หน้าแห้งสนิท ใช้ผงแป้งฝุ่นโรยลงบนผิวหน้าบางๆ เพื่อลดความหนืดของสารกันการสึกกร่อนที่ใช้ก่อนที่จะสร้างเส้น โครงสร้างของงานภาพพิมพ์ที่ต้องการ แล้วน�ำไปสร้างร่องลึกบนแม่พิมพ์ด้วยไฟฟ้าในขั้นตอนต่อไป การท�ำตะแกรงขั้วลบและแถบโลหะสัมผัส ตะแกรงขั้วลบท�ำหน้าที่เป็นสื่อน�ำไฟฟ้าให้กระแสไหลครบวงจร ซึ่งจะถูกต่อเข้ากับขั้วลบของแหล่ง ก�ำเนิดไฟฟ้า โดยน�ำตะแกรงอีกข้างหนึ่งจุ่มลงไปในสารละลายน�ำไฟฟ้า แผ่นสัมผัสท�ำขึ้นจากแผ่นโลหะชนิดเดียวกันกับแม่พิมพ์อีกหนึ่งแผ่นมาตัดเป็นแถบให้ได้ขนาดความ 1 x 6 ตารางนิ้วจากนั้นให้ขัดในลักษณะเดียวกันกับแผ่นโลหะที่ใช้เป็นแม่พิมพ์ วางแถบสัมผัสลงบนส่วนด้านหลัง ของแม่พิมพ์และปิดทับด้วยสติกเกอร์พลาสติกให้เต็มพื้นที่ด้านหลังแม่พิมพ์ เพื่อยึดแถบสัมผัสและการกัดกร่อน โดยไฟฟ้าที่บริเวณด้านหลังแม่พิมพ์ การต่อวงจรเพื่อสร้างอุปกรณ์ต้นแบบ เตรียมสารละลายน�ำไปไฟฟ้าที่ผสมแล้วลงไปในภาชนะพลาสติก แล้วน�ำแม่พิมพ์ที่ติดแถบสัมผัส เรียบร้อยแล้วจุ่มลงไปในสารละลาย ต่อแถบสัมผัสเข้ากับคลิปลวดขั้วบวกสีแดงของแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้า จากนั้น จุ่มตะแกรงขั้วลบลงในสารละลายและต่อส่วนที่ไม่ถูกสารละลายเข้ากับคลิปลวดของขั้วลบสีดำ� ของแหล่งก�ำเนิด ไฟฟ้า โดยให้พิมพ์อยู่ในด้านตรงกันข้ามกับตะแกรงด้วยระยะห่าง 6 เซนติเมตร โดยวางเป็นแนวคูข่ นานกัน จากนัน้ เปิดการท�ำงานของแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้าเพือ่ จ่ายกระแสไฟฟ้า โดย ปรับปุ่มควบคุมความต่างศักย์จาก 6 โวลต์จนกระทั่งถึงปริมาณโวลต์ที่ต้องการ ซึ่งจากการทดลองเราสามารถใช้ ความต่างศักย์ได้สูงสุดถึง 12 โวลต์โดยใช้เวลาในการกัดกร่อน 15 นาทีจึงจะเห็นร่องลึกเกิดขึ้นบนผิวหน้าแม่ พิมพ์ สังเกตจากผิวหน้าของแม่พิมพ์หากได้ร่องลึกในน�้ำหนักแรกตามต้องการให้ทาปิดด้วยวาณิชกับทินเนอร์ ที่ผสมจนเข้ากันแล้วเพื่อหยุดการสึกกร่อนบนผิวหน้าของแม่พิมพ์ จากนั้นน�ำแม่พิมพ์มาผึ่งจนแห้ง แล้วน�ำกลับไปเริ่มขั้นตอนตั้งแต่การเตรียมแม่พิมพ์อีกครั้งหนึ่ง จนได้ ร่องลึกในน�้ำหนักที่สอง ท�ำซ�้ำอย่างนี้ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้แม่พิมพ์ร่องลึกตามต้องการ แล้วน�ำขึ้นมาล้างคราบ ของสารเคลือบกันการสึกหรอให้สะอาดด้วยน�้ำมันพืชในขั้นตอนสุดท้ายก่อนที่จะน�ำไปพิมพ์บนกระดาษ ขั้นตอนการพิมพ์ น�ำแม่พิมพ์ที่ได้ไปอัดร่องลึกด้วยหมึกพิมพ์แล้วพิมพ์ลงบนกระดาษส�ำหรับงานศิลปะภาพพิมพ์ ตามขั้น ตอนของการท�ำภาพพิมพ์ร่องลึกปกติ
- 50 -
บทที่ 5 อภิปรายผลและผลงานศิลปะภาพพิมพ์เทคนิคกัดด้วยไฟฟ้า 5.1 ผลการทดลองการสร้างแม่พิมพ์สังกะสีร่องลึกด้วยไฟฟ้า ชุดทดลองที่ 1 ผลการทดลองจากการน�ำแม่พิมพ์สังกะสีที่ไม่มีสารเคลือบกันการกัดกร่อนไปสร้างร่องลึกด้วยกระแส ไฟฟ้าตามวิธีการทดลองข้างต้นโดยใช้น�้ำเปล่า โดยใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้า 12 โวลต์ เป็นเวลา 5-10 ชั่วโมง มี ผลการสร้างร่องลึกบนแม่พิมพ์สังกะสีด้วยไฟฟ้าโดยใช้น�้ำเปล่าเป็นสารละลายตัวน�ำ ชุดทดลองที่ 2 ทดลองน�ำแม่พิมพ์สังกะสีที่ท�ำลายเส้นดั้วยเหล็กแหลมขีดลงบนแม่พิมพ์ที่เคลือบสารกันการกัดกร่อน ไปท�ำการกัดกร่อนด้วยไฟฟ้า โดยใช้สารละลายน�ำไฟฟ้าที่ผสมเกลือกสังกะสีและน�้ำบริสุทธิ์ด้วยอัตราส่วน 3 : 10 ซึ่งผู้ทดลองได้ใช้น�้ำในปริมาณ 1000 มิลลิลิตร เมื่อน�ำไปกัดกร่อนด้วยไฟฟ้าโดยใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ 6 โวลต์และ 12 โวลต์ เป็นเวลา 5 นาที 15 นาที 30 นาที 1 ชั่วโมง 2 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง และ 4 ชั่วโมง ตามล�ำดับ มีผลการกัดกร่อนลายเส้นด้วยไฟฟ้าด้วยความต่างศักย์ไฟฟ้า 6 โวลต์ ชุดทดลองที่ 3 ทดลองน�ำแม่พิมพ์สังกะสีที่ท�ำลายเส้นและลายนูนไปท�ำการกัดกร่อนด้วยไฟฟ้า ด้วยสารละลายไฟฟ้าที่ ผสมเกลือสังกะสีและน�้ำในอัตราส่วน 3:10 โดยใช้น�้ำปริมาณ 1000 มิลลิลิตร ด้วยความต่างศักย์ไฟฟ้า 12 โวลต์ เป็นเวลา 5 นาที 15 นาที 30 นาที 1 ชั่วโมง 2 ชั่วโมง และ 3 ชั่วโมง ตามล�ำดับ ได้ผลการกัดกร่อนแม่พิมพ์ลาย เส้นและลายนูนด้วยความต่างศักย์ไฟฟ้า 12 โวลต์ 5.2 วิเคราะห์ผลการทดลอง การวิเคราะห์ผลการศึกษาเทคนิคการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้าจากอุปกรณ์ต้นแบบในการ กัดกร่อนแม่พิมพ์ด้วยไฟฟ้าจากอุปกรณ์ที่หาซื้อได้ง่าย และการเปรียบเทียบวิธีการระยะเวลา และผลการสร้าง แม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้าเมื่อพิมพ์เป็นผลงานศิลปะภาพพิมพ์กับวิธีการตามเทคนิคดั้งเดิม เป็นดังนี้
การวิเคราะห์ผลการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้าจากอุปกรณ์ต้นแบบที่สร้างขึ้น
การเปรียบเทียบวิธีการ ระยะเวลา และผลการกัดกรดด้วยไฟฟ้า เมื่อพิมพ์ในกระดาษส�ำหรับพิมพ์งาน ศิลปะภาพพิมพ์
- 51 -
วิธีการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยการกัดกรดไนตริก ชุดควบคุม แม่พิมพ์สังกะสีสร้างร่องลึกโดยการกัดด้วยกรดไนตริก จะพบว่า กรดสามารถกัดกร่อนแม่ พิมพ์สังกะสี ได้โดยเห็นลายเส้นที่ชัดเจน ซึ่งลายเส้นที่ชัดเจนขึ้นเมื่อทิ้งไว้ในระยะเวลาที่นานขึ้น วิธีการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้า จากการใช้อุปกรณ์ต้นแบบ ชุดการทดลองที่ 1 แม่พิมพ์สังกะสีในน�้ำบริสุทธิ์ จะพบว่า ไฟฟ้าสามารถท�ำให้แผ่นโลหะที่อยู่ในน�้ำเปล่าเกิดการกัดกร่อนได้ แสดงให้เห็นว่าน�้ำบริสุทธิ์ นั้นสามารถเป็นสื่อน�ำไฟฟ้านั้นได้ จึงเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนอิเลคตรอนระหว่างกันได้ แต่ความสามารถ ในการสร้างร่องลึกนั้น จะน้อยมากเมื่อเทียบกับการใช้กรดไนตริกในการสร้างร่องลึก ชุดการทดลองที่ 2 แม่พิมพ์สังกะสีลายเส้นในสารละลายน�้ำไฟฟ้าซิงค์ซัลเฟตที่ความต่างศักย์ไฟฟ้าแตก ต่างกัน ซึ่งใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่แตกต่างกัน คือ 6 และ 12 โวลต์ ตามล�ำดับในการสร้างร่องลึกบนแม่พิมพ์ สังกะสีที่มีลายเส้น จะพบว่า เมื่อใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่สูงขึ้น รวมทั้งระยะเวลาที่นานขึ้นจะท�ำให้เกิดการ กัดกร่อนบนผิวโลหะที่มากขึ้นด้วย ชุดการทดลองที่ 3 แม่พิมพ์สังกะสีลายเส้นและลายนูนในสารละลายน�ำไฟฟ้าซิงค์ซัลเฟต พบว่ากระแส ไฟฟ้าสามารถกัดกร่อนแม่พิมพ์ทั้งที่เป็นลายเส้นและลายนูนได้ โดยเมื่อทิ้งไว้เป็นเวลานานขึ้นก็มีความสามารถ ในการกัดกร่อนที่มากขึ้น 5.3 สรุปผลการทดลอง จากการทดลองสร้างอุปกรณ์ต้นแบบในการกัดแม่พิมพ์โลหะด้วยไฟฟ้าจากเครื่องมือที่หาซื้อได้ ท�ำให้ ทราบว่ามีความเป็นไปได้ในการใช้ไฟฟ้าในการสร้างร่องลึกบนแม่พิมพ์โลหะ และเป็นวิธีการที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน โดยไม่ต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีราคาแพง ทั้งยังเป็นอุปกรณ์ที่หาซื้อได้ง่าย จากการทดลองใช้ไฟฟ้าในการสร้างร่องลึกบนแม่พิมพ์โลหะที่มีลายเส้นและลายนูน พบว่ากระแสไฟฟ้า จะสามารถท�ำให้แผ่นแม่พมิ พ์สงั กะสีให้เห็นลวดลายบนแม่พมิ พ์ได้ชดั เจน โดยจะให้ผลชัดเจนขึน้ หากใช้ความต่าง ศักย์ไฟฟ้าที่มีค่าสูงและใช้ระยะเวลาที่นานขึ้น เทคนิคการสร้างร่องลึกบนพิมพ์โลหะโดยใช้ไฟฟ้าเป็นเทคนิคที่มี ความเป็นไปได้ และสามารถน�ำมาใช้เป็นทางเลือกในการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกแทนการใช้กรดในการสร้าง ร่องลึกตามกรรมวิธีดั้งเดิมได้ 5.4 ข้อเสนอแนะ การสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยใช้ไฟฟ้ามีข้อควรระวัง ดังนี้ 1. หลีกเลี่ยงการสูดดม และสัมผัสผลึกซัลเฟต หรือผงซัลเฟต โดยตรงกับผิวหนังโดยเฉพาะระวังอย่า ให้เข้าตา หากสารเคมี ถูกผิวหนังให้รีบล้างออกทันที - 52 -
2. ควรสวมหน้ า กากและสวมถุ ง มื อ ป้ อ งกั น ในขณะละลาย เกลือซัลเฟตในน�ำ้ จนกระทัง่ เกลือซัลเฟต ละลายจนหมด 3. สวมถุงมือที่กันน�้ำได้ หากจ�ำ เป็ นต้ อ งสั ม ผั ส กั บสารละลายน�ำไฟฟ้าโดยตรง 4. ควรใส่แว่นตาป้องกันสารละลายน�ำไฟฟ้ากระเด็นเข้าตา หากสารละลายดังกล่าวกระเด็นเข้า ตา ให้ ล ้ างตาด้ วยน�้ ำ หลายๆ ครั้ง แล้วควรไปพบแพทย์ 5. ควรเก็บสารละลายน�ำไฟฟ้าไว้ ในภาชนะพลาสติ ก ปิ ดฝาด้วยพลาสติกและระบุฉลากให้ชัดเจน ที่ส�ำคัญควรเก็บไว้ในที่ปลอดภัยและห่างจากเด็ก 6. ควรใช้ ส ารละลายน� ำ ไฟฟ้ า ให้ เ หมาะกั บ ประเภทของแม่ พิมพ์โลหะที่ต้องการสร้างแม่พิมพ์ โลหะร่องลึก นั่นคือเป็นสารละลายจากเกลือโลหะชนิดเดียวกันกับโลหะของแม่พิมพ์ 7. ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าระบบไฟฟ้ า ได้ ต่ อ วงจรอย่ า งถู ก ต้อง ก่อนเปิดแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้า โดย ตัวหนีบสีแดงคือขั้วบวกและตัวหนีบสีด�ำคือขั้วลบ 8. เมื่อเตรียมแม่พิมพ์เสร็จจนพร้อมที่จะน�ำไปกัดกร่อนด้วยไฟฟ้ า แล้ ว ขั้ น แรกให้ ใ ส่ แ ม่พิม พ์ ล ง ไปในภาชนะพลาสติ ก ที่บรรจุด้วยสารละลายน�ำไฟฟ้า จากนั้นเชื่อมต่อกับขั้วของแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้า แล้วจึง เปิดสวิซต์แหล่งก�ำเนิดไฟฟ้า 9. หมั่นตรวจดูปริมาณกระแสไฟฟ้ า และค่ า ความต่ า งศั ก ย์ ไฟฟ้าที่ปรากฏบนจอของแหล่งก�ำเนิด ไฟฟ้าให้อยู่ในช่วงที่ตรงกับที่ตั้งไว้ 10. ปิดแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้าก่อนที่ จะน� ำ แม่ พิ ม พ์ โ ลหะออกจากภาชนะพลาสติก 11. ปริ ม าณความต่ า งศั ก ย์ ไ ฟฟ้ า ที่ สู ง เกิ น ไปจะท� ำ ให้ เ กิ ด ระเบิดได้ ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงโดย เริ่มด้วยการใช้ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่มีค่าต�่ำ 12. ควรใช้ ค ่ า ความต่ า งศั ก ย์ ไ ฟฟ้ า และความเข้ ม ข้ น ของสารละลายน�ำไฟฟ้าในระดับต�่ำ หาก ความเข้มข้นของสารละลายน�ำไฟฟ้าสูงประกอบกับความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงด้วย จะท�ำให้เกิดการฟอร์มตัวของ ออกซิเจนที่ขั้วแอโนดซึ่งจะท�ำให้การสร้างร่องลึกเป็นไปอย่างช้าๆ 5.5 ข้อดีของการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้า การสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้าเป็นอีกเทคนิคหนึ่งของการท�ำศิลปะภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะที่ เป็นทางเลือกนอกเหนือจากการสร้างแม่พิมพ์โลหะด้วยวิธีการกัดกรดแบบดั้งเดิม ซึ่งข้อดีของการสร้างแม่พิมพ์ โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้านั้น มีดังต่อไปนี้ 1. มีลวดลายเส้นที่สมบูรณ์ไม่บกพร่อง และละเอียด 2. ร่องรอยกัดกร่อนเกิดขึ้นในแนวตั้งฉากต่อพื้นผิวของแผ่นแม่พิมพ์โลหะ ดังนั้นผลที่ได้จึงท�ำให้ได้ ลายเส้นที่สะอาดและชัดเจน
- 53 -
3. ไม่ท�ำให้เกิดการกัดกร่อนของโลหะที่ถูกเคลือบอยู่ใต้ชั้นสารเคลือบผิวกับการกัดกร่อน และหลีก เลี่ยงความเสียหายต่อโลหะที่อยู่บริเวณขอบริม 4. ลายเส้นตามแนวตารางหมากรุกยังคงมีลายเส้นที่มีความแข็งแรง และลายเส้นจะไม่ไหลรวมเข้า ด้วยกันเมื่อทิ้งไว้ในระยะเวลาที่นานขึ้น 5. สามารถควบคุ ม ได้ สู ว กว่ า วิ ธี ก ารกั ด กรดแบบดั้ ง เดิ ม ดั ง นั้ น จึ ง ให้ ผ ลที่ แ ม่ น ย� ำ กว่ า ในขณะ เดี ย วกั น สามารถควบคุ ม การท�ำงานของเครือ่ งมือด้วยการใช้สภาวะเดียวกัน เช่น การใช้คา่ ความต่างศักย์ไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้าที่ระดับเดียวกันก�ำหนดระยะห่างระหว่างขั้วบวกและขั้วลบในระยะที่เท่ากัน ด้วยระยะเวลาที่ เท่ากัน ด้วยระยะเวลาที่เท่ากันจะได้ความลึก และลักษณะของลายเส้นมีความแม่นย�ำในลักษณะเด่นที่ต้องการ 6. การกั ด กร่ อ นแม่ พิ ม พ์ ด ้ ว ยไฟฟ้ า จะหยุ ด ลงเมื่ อ เราตั ด กระแสไฟฟ้า แผ่นแม่พมิ พ์โลหะสามารถ อยู่ในสารละลายได้ใ นช่ ว งเวลาสั้ น ๆ แต่ ก ารกั ด กร่ อ นจะไม่ ด� ำ เนิ น ต่ อ ไป เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ การกั ด กรด แบบเดิ ม นั้ น มี ค วามจ� ำ เป็ น ที่ จะต้องหยุดการท�ำงานของกรดบนผิวแม่พิมพ์ทันทีเพื่อที่จะหยุดกระบวนการกัด กรดลง 7. ในส่วนที่ลึกที่สุดของลายเส้น ปฏิกิริยาของไฟฟ้าท�ำให้เกิดพื้นผิวที่ขรุขระในเหล็ก ซึ่งท�ำให้สามารถ ดูดซึมและอุ้มน�้ำหมึกได้ดีอย่างดี 8. ท�ำให้เกิดรูปแบบโครงสร้างของรูพรุนชนพื้นผิวเรียบของแผ่นเหล็กซึ่งพื้นผิวของโลหะที่ไม่มีแรง ต้านไฟฟ้ า ซึ่ ง ท� ำหน้าที่อุ้มน�้ำหมึก เอาไว้ เราเรี ย กผลเช่ นนี้ ว่ า จุ ดละเอี ย ด (Micro Dot) ซึ่งจะท�ำให้งานมี ความคล้ายคลึงกับภาพพิมพ์สีน�้ำ ในขณะที่การกัดกรดแบบเดิมนั้น จะต้องใช้สารพิษอื่น เช่น สเปรย์ภาพพิมพ์ สีน�้ำ ผง ชันสน และผงแร่ ในการสร้างจุดละเอียดนี้ 9. สารละลายน�ำไฟฟ้าไม่ท�ำให้เกิดควันหรือแก๊สพิษระหว่างการสร้ า งร่ อ งลึ ก ให้ กั บ แม่ พิ ม พ์ หรื อ เมื่ อ น� ำ ไปเก็ บ ไว้ ใ นภาชนะพลาสติกเมื่อไม่ได้ใช้งาน 10. ประหยัดต้นทุนในการก�ำจัดควันพิษเพื่อป้องกันอันตรายต่อศิลปิน ซึ่งต่างจากการกัดกรดด้วยวิธี ดั้งเดิม 11. ไม่ท�ำให้เกิดฟองแก๊สที่อาจมีผลท�ำให้หยุดกระบวนการกัดกร่อน ดังนั้นจึงไม่จ�ำเป็นต้องเฝ้าระวัง เหมือนกับการกัดกรดศิลปินจึงสามารรถย้ายไปท�ำงานกับแผ่นแม่พิมพ์อื่นได้ 12. ไม่ท�ำให้สิ้นเปลืองแผ่นโลหะที่อาจสะสมเป็นรอยบากและเป็นอุปสรรคต่อกระบวนการกัดกรด 13. ไม่ท�ำให้เกิดความอ่อนแรงในการกัดเพื่อประสิทธิภาพของร่องลึกบนแม่พิมพ์ที่เราต้องการ จึง เป็นการง่ายที่จะค�ำนวณเวลาในการท�ำงานในแต่ละครั้ง ทั้งยังท�ำให้ประหยัดขั้นตอนและกระบวนการมากขึ้น เมือ่ เปรียบเทียบกับการกัดกรดแบบเดิมซึง่ ก�ำลังการกัดกร่อนโลหะของกรดจะอ่อนแรงลงทุกครัง้ ที่ใช้ จึงสามารถ จ�ำกัดปัญหาความอ่อนแรงของฤทธิ์ในการกัดกรดได้อย่างสมบูรณ์
- 54 -
5.6 ข้อด้อยของการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้า อย่างไรก็ตามการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้า ยังมีข้อด้อยบางประการดังนี้ 1. ศิลปินยังคงต้องระวังเกี่ยวกับการใช้สารประกอบโลหะซัลเฟต 2. เป็ น การกั ด กร่ อ นเส้ น เดี่ ย วๆ ให้ มี ร ่ อ งลึ ก ขึ้ น ให้ เ ห็ น ชั ด กว่าเส้นที่อยู่ติดๆ กันหลายเส้นหรือเส้น ในแนวตาหมากรุกยิ่งไปกว่านั้นแนวโน้มของแนวการกัดกร่อนยังกินบริเวณภายนอกของแผ่นแม่พิมพ์โลหะนอก เหนือไปจากส่วนกลางของแผ่นแม่พิมพ์ที่เกิดขึ้นบริเวณขอบโลหะ โดยขอบริมของลายเส้นจะถูกกัดกร่อนให้มี ขนาดกว้างขึ้นและขอบริมของพื้นที่ที่เหลือก็จะโดนกัดกรดไปด้วย จะเห็นได้ชัดเมื่อทิ้งระยะเวลาให้นานขึ้นไป อีก อย่างไรก็ตามข้อเสียนี้สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยการใช้ตะแกรงเป็นขั้วลบในการสร้างร่องลึกด้วยไฟฟ้า แทนการใช้แผ่นโลหะ 3. อันตรายในระหว่างการท�ำงานสามารถเกิดขึ้นได้ ตราบใดที่มี ไ ม่ มี ค วามระมั ด ระวั ง เกี่ ย วกั บ การ ใช้ ไ ฟฟ้ า ผู ้ ใ ช้ ง านไม่ ประมาทไปสัมผัสกับตัวน�ำไฟฟ้าในขณะท�ำงาน และอาจยังเป็นสาเหตุที่ทำ� ให้เกิดกระแส ไฟฟ้าลัดวงจรจากการต่อไฟฟ้า หรือจากอุบัติเหตุที่ไม่คาดคิดได้ 4. ศิลปินภาพพิมพ์ไม่ควรใช้ผงชันหรือผงแร่เพือ่ ให้ระดับและรูปแบบในน�ำ้ หมึกที่ต่างกันนั้นสมบูรณ์ ซึ่ง มีลักษณะเช่นเดียวกับการท�ำภาพพิมพ์สีน�้ำ อย่างไรก็ตาม การสร้างแม่พมิ พ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้านัน้ เป็นแนวคิดเริม่ ต้นทีห่ าวิธกี ารทีช่ ว่ ยลดปัญหา ความเสี่ยงจากสารพิษ ที่จะท�ำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพของศิลปินภาพพิมพ์และสิ่งแวดล้อม การท�ำการทดลอง ซ�้ำหลายครั้งจนเชี่ยวชาญจะช่วยท�ำให้ศิลปินแก้ไขปัญหาจากข้อบกพร่องเล็กน้อยของวิธีเหล่านี้ได้ และอาจต้อง ใช้ระยะเวลาการศึกษาเพื่อให้เห็นผลที่เป็นประโยชน์เพิ่มมากขึ้น
- 55 -
บทที่ 6 สรุปผลการวิจัย และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย การศึกษาวิจัยเรื่อง “ชีวิต ไม่กัดด้วยน�้ำกรด” เป็นการศึกษาต่อยอดพัฒนาเทคนิค วิธีการใหม่ เพื่อนวัต กรรม (Innovation) ในงานสร้างสรรค์ด้านทัศนศิลป์ (ศิลปะภาพพิมพ์) โดยน�ำผลของการทดลองด้านเทคนิค แม่พิมพ์ทองแดง ด้วยกระแสไฟต�่ำจากแบตเตอร์รี่ เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาการเสียชีวิตของศิลปินภาพ พิมพ์หลายท่านจาก “มะเร็งปอด” เนื่องจากการสูดดม “มลพิษ” จากสารระเหยของกรดไนตริค ผู้วิจัยน�ำเรื่อง “ชีวิต” มาด�ำเนินเรื่องราวสะท้อนให้รู้สึกถึงอารมณ์สะเทือนใจโดยใช้รูปของ “สัตว์” เป็นสัญญะ อาการ “ป่วย” ของ “มนุษย์” ไม่ต่างจากอาการ “ป่วย” ของ “สัตว์” เมื่อสัตว์มีอาการป่วย หาก ด�ำรงชีวิตอยู่ในป่า หรือธรรมชาติอาการเหล่านั้นจะค่อยทุเลาไปเองอย่างสมดุล แต่มนุษย์ด�ำรงชีวิตอยู่ในเมือง “มลพิษ” ต่างๆ มีมากมาย สมดุลจากธรรมชาติจึงเกิดขึ้นไม่ได้ สรุปผล 1. สร้างกล่องพลาสติกทรงสูง ขนาด บรรจุน�้ำได้ - แบตเตอร์รี่ ขนาด 6 – 12 โวลต์ ขนาด 20 x 90 x 100 ซม.
- 56 -
ตารางเปรียบเทียบการใช้น�้ำกรดและการใช้ไฟฟ้า (ของ Leonard 025 CHEMTECH) วิธีการกัดเพลทด้วย
กรด Nitric
สารกัดกร่อน กัดด้วยไฟฟ้า Duth Merdant Zine sulfate
กัดด้วยไฟฟ้า Copper Sulfate
ไอจากกรด
มี
มี
ไม่มี
ไม่มี
ไอจากขั้นตอนสร้างเพลท
มี
มี
ไม่มี
ไม่มี
ป้องกันการกัดกรดที่เข้มข้น (ส่วนผสมที่เข้มข้น)
ไม่มี
ไม่มี
มี
มี
ป้องกันการเทกรดทิ้ง (ในท่อน้ำ�ทิ้ง)
ไม่มี
ไม่มี
มี
มี
ป้องกันการถ่ายเทกรดทิ้ง
ไม่มี
ไม่มี
มี
มี
กำ�หนดเวลาได้ (เวลากัด)
ไม่
ไม่
ได้
ได้
ใช้น้ำ�ยา soft ground ที่บางได้
ไม่
ไม่
ได้
ได้
กำ�หนดเวลาการกัดในการสร้าง embossing
ไม่
ไม่
ได้
ได้
เส้นจะนุ่มไม่กระด้าง
ใช่
ใช่
ไม่
ไม่
น้ำ�หนักจากยางสน
ดี
ดี
ดี
ดี
ไม่ดี
ไม่ดี
ปานกลาง
ดี
น้ำ�หนักจาก Open bite
- 57 -
การใช้ไฟฟ้ากัด (Electro Etch) ความแรงขนาด 6 Volts (ที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง) (จากบริษัท) การใช้ไฟฟ้าของเครื่อง (Electro Etch)
6 โวลต์ ที่ประดิษฐ์ขึ้น
Soft Ground ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ใช้ Soft ground ดีกว่าหมึก (ink) (สามารถแช่ได้ นาน soft ground ไม่หลุด)
Soft ground : จะหลุดภายใน 2 วินาที
หมึก : ดีสำ�หรับเวลาเกิน 1 ชั่วโมง (แช่ได้นาน หมึกไม่หลุด)
หมึก : เริ่มหลุดภายใน 2 นาที, หลุดมากภายใน 4 นาที และหลุดหมดภายใน 10 นาที
หมึกที่ผสมใน Soft ground และแห้งแล้ว 1 อาทิตย์ ดีสำ�หรับการแช่ที่นานกว่า 1 ชั่วโมง (ไม่หลุดเร็ว) เส้นที่สร้างด้วยเข็มจาร (Needle) จะกัดได้นาน 5 นาทีถึง 30 นาที หรือ 80 นาที (เคลือบจะไม่ หลุด)
เส้นที่สร้างด้วยเข็มจาร (Needle) จะกัดได้เพียง 12 นาที
เส้นที่ตัดกันไปมา (Cross-Hatch) จะไม่แตกหาก กัดเป็นเวลา 40 นาที
เส้นที่ตัดไปมา (Cross-Hatch) จะแตกภายใน 10 นาที
Open Bite บนแผ่นทองแดงโดยใช้ทำ�ยาเคลือบ บางจะกัดได้นาน 5 ถึง 150 นาที
Open Bite บนแผ่นทองแดงโดยน้ำ�ยาเคลือบ บาง จะกัดได้เพียง 20 นาทีเท่านั้น
- 58 -
- 59 -
สังกะสี ไม่เคลือบสารกัดกร่อน
สังกะสี ไม่เคลือบสารกัดกร่อน
ชุดควบคุม
1
2
3
สังกะสี ที่มีลายนูน
สังกะสี ที่มีลายเส้น
สังกะสี ที่มีลายเส้น
สังกะสี ที่มีลายเส้น
แม่พิมพ์
ชุดการ ทดลองที่
ไฟฟ้า
ไฟฟ้า
ไฟฟ้า
ไฟฟ้า
ไฟฟ้า
กรดไนตริก
วิธีการสร้างร่อง ลึกบนแม่พิมพ์
สารละลายนำ� ไฟฟ้าซิงค์ซัลเฟต
สารละลายนำ� ไฟฟ้าซิงค์ซัลเฟต
สารละลายนำ� ไฟฟ้าซิงค์ซัลเฟต
สารละลายนำ� ไฟฟ้าซิงค์ซัลเฟต
น้ำ�เปล่า
กรดไนตริก
สารละลาย
ซิงค์ซัลเฟตต่อน้ำ� 3 : 10
ซิงค์ซัลเฟตต่อน้ำ� 3 : 10
ซิงค์ซัลเฟตต่อน้ำ� 3 : 10
ซิงค์ซัลเฟตต่อน้ำ� 3 : 10
-
กรดไนตริกต่อน้ำ� 1 : 30
อัตราส่วนที่ใช้
12
12
12
6
12
-
ความต่างศักย์ไฟฟ้า (โวลต์)
การเปรียบเทียบผลของการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกด้วยไฟฟ้าจากอุปกรณ์ต้นแบบที่สร้างขึ้นและด้วยการกัดกรดแบบดั้งเดิม ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบวิธีการ ระยะเวลา และผลการทดลองจากการสร้างแม่พิมพ์ร่องลึกด้วยไฟฟ้าและการกัดกรดแบบดั้งเดิม
5 นาที – 3 ชั่วโมง
5 นาที – 3 ชั่วโมง
5 นาที – 4 ชั่วโมง
5 นาที – 4 ชั่วโมง
5 ชั่วโมง –1 สัปดาห์
5 นาที – 8 ชั่วโมง
ระยะเวลาในการกัด (ต่ำ�สุด-สูงสุด)
2. ผลงานศิลปะภาพพิมพ์กัดด้วยไฟฟ้าจากแบตเตอร์รี่ จ�ำนวน 9 ชิ้น
- 60 -
3. แสดงนิทรรศการ “ชีวิต : ไม่กัดด้วยน�้ำกรด” 1 – 15 พฤศจิกายน 2560 ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี (สูจิบัตรในภาคผนวก) 4. การเผยแพร่ความรู้ “ กัดกรดด้วยกระแสไฟฟ้าจากแบตเตอร์รี่ แก่มหาวิทยาลัยศิลปะ 4 แห่ง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 5 มีนาคม 2560 คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 15 มีนาคม 2560 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 20 พฤษภาคม 2560 คณะศิลป์กรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 1 พฤศจิกายน 2560 ข้อเสนอแนะ 1. ความเคยชินกับเทคนิคที่ใช้น�้ำกรดกัดด้วยเทคนิค (Etehing) ซึ่งศิลปินภาพพิมพ์ยังนิยมสร้างผลงาน ด้วยเทคนิคนี้ แม้จะทราบว่ามีผลต่อสุข มีสารก่อมะเร็งปอดก็ตาม 2. เทคนิคกัดด้วยไฟฟ้าจากแบตเตอร์รี่ มีจุดอ่อน คือ การใช้เวลามากไม่รวดเร็ว เช่น กรดไนตริค 3. ต้องสร้างอุปกรณ์ใหม่ซึ่งเดิมใช้เพียงถาดใบเดียวแช่น�้ำกรด 4. เทคนิคกัดด้วยไฟฟ้า จากแบตเตอร์รี่ สร้างพื้นผิวที่แตกต่างได้ดี ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งต่อไป 1. สร้างอุปกรณ์ต้นแบบ ให้มีมาตรฐานและสะดวกกับการสร้างเทคนิค ทั้งความงามและการน�ำไปใช้ 2. แนะน�ำให้สถาบันการศึกษาน�ำอุปกรณ์ต้นแบบไปใช้ 3. เผยแพร่ความส�ำนึกให้ตระหนักถึงเรื่องสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจากการสร้างศิลปะ
- 61 -
ผลการกัดกรดด้วยไฟฟ้าจากแบตเตอรี่
47 ภาพพิมพ์กัดด้วยไฟฟ้าจากแบตเตอร์รี
48 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี
- 62 -
49 แนวเรื่องจาก ชีวิตสัตว์ น�ำมาแสดงออกด้วยเทคนิคภาพพิมพ์กัดด้วยแบตเตอร์รี
50 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด
- 63 -
51 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี
52 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด
- 64 -
53 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี
54 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด
- 65 -
55 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี
56 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด
- 66 -
57 ภาพพิมพ์กัดด้วยไฟฟ้าจากแบตเตอร์รี
58 แนวเรื่องจาก ชีวิตสัตว์ น�ำมาแสดงออกด้วยเทคนิคภาพพิมพ์กัดด้วยแบตเตอร์รี
- 67 -
59 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี
60 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด
- 68 -
61 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี
62 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด
- 69 -
63 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี
64 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด
- 70 -
65 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี
66 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด
- 71 -
67 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี
68 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด
- 72 -
69 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี
70 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด
- 73 -
71 พื้นผิว (texture) กัดด้วยกระแสไฟจากแบตเตอร์รี
72 พื้นผิว (texture) มีลักษณะพิเศษ แตกต่างจากการกัดด้วยน�้ำกรด
- 74 -
เครื่องมือในการวิจัย
73 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ในกระบวนการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยใช้ไฟฟ้า ขนาด 20 x 90 x 100 ซ.ม.
- 75 -
74 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ในกระบวนการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยใช้ไฟฟ้า ขนาด 20 x 90 x 100 ซ.ม.
- 76 -
75 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการสร้างแม่พิมพ์โลหะร่องลึกโดยใช้ไฟฟ้า
- 77 -
76 แท่นพิมพ์ที่ แพรวาสตูดิโอ สถานท่ีทดลองงานวิจัยและพิมพ์ผลงาน
- 78 -
บรรณานุกรม ก่องแก้ว วีระประจักษ์. การท�ำสมุดไทยและการเตรียมใบลาน. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: หอสมุดแห่งชาติ, 2530. จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. โลกศิลปะศตวรรษที่ 20. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2545. เบญจพล สิทธิประณีต. ตุง. เชียงใหม่: นพบุรีการพิมพ์, 2549. วิโชค มุกดามณี. ศิลปะรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 9. เล่ม 2. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับลิชชิ่ง, 2540. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. ศิลปะในประเทศไทย: จากศิลปะโบราณในสยามถึงศิลปะสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือลาดพร้าว, 2548. Adhe’mar, Jean. Graphic Art of the 18th Century. New York: McGraw-Hill, 1964. Allen, Bryan. Print Collecting. London: Frederick Muller, 1970. American Paper and Pulp Association. The Dictionary of Paper. New York: APPA., 1951. Anthony, Kinsey. Introduction Screen Printing. New York: Watson Guptill, 1968. Bennett, Paul A. Books and Printing. New York: World Publishing Company, 1963. Blum, Andre. The Origins of Printing and Engraving. New York: C. Scribner’s Sons, 1940. Buchholz, Elke Linda. Francisco de Goya: Life and Work. Cologne: Konemann, 1999. Cahn, Joshua Binion. What Is an Orginal Print?. New York: Print Council of America, 1964. Castleman, Riva. Modern Art in Prints. New York: Museum of Modern Art, 1973. Chamberlain, Walter. The Thames & Hudson Manual of Etching and Engraving. London: Thames & Hudson, 1972. Chiba, Reiko. The Making of a Japanese Print, Harunobu’s Heron Maid. 4th edition. Tokyo: Charles E. Tuttle, 1965. Coldwell, Paul. Printmaking: A Contemporary Perspective. London: Black Dog, 2010. Concept and Design Magazine. PAPER WORKS. Sandu Publishing China, 2012. Fine, Ruth E. and Gemini G.E.L. Art and Collaboration. New York: Abbeville Press, 1985. Gilmour, Pat. Modern Prints. London: Studio Vista, 1970. Hanga 4 kinds Woodblock Etching, Lithograph, Screenprint. Tokyo: Bunyusha, 2007. Hayter, Stanley William. New Ways of Gravure. New York: Pantheon, 1949. Hodge, Nicola, and Libby Anson. The A-Z of Art. London: Carlton Books Limited, 2004. Hunter, Dard. Papermaking: The History and Technique of an Ancient Craft. New York: Dover, 1967.
- 79 -
Lieberman, William S. “The Abby Aldrich Rockefeller Print Room: Master Prints from the Museum Collection.� Museum of Modern Art Bulletin 16, (4), 1949. Lumsden, E.S. The Art of Etching. New York: Dover, 1962. Marsh, Roger. Silk Screen Printing for the Artist. London: Transatlantic Arts, 1968. Maxwell, William C. Printmaking: A Beginning Handbook. New Jersey: Prentice-Hall, 1970. Museum of Graphic and Finch College Museum of Art. Five Centuries of Graphic Art. New York: Museum of Graphic Art, 1966. Norris, F.H. Paper and Paper Making. New York: Oxford University Press, 1952. Osterwold, Tilman. Pop Art. Koln: Taschen, 2003. Papermaking: Art and Craft; an Account Derived from the Exhibition Presented in the Library of Congress, Washington, D.C., and opened on April 21, 1968. Washington, D.C.: Washington, 1968. Peterdi, Gabor. Printmaking: Methods Old and New. New York: Macmillan, 1980. Platt, John. Colour Woodcuts. New York: Pitman, 1938. Reinke, William A. Silk Screen Printing. Chicago: Oil Color Litho Co., N.d. Ross, John and Clare Romano. The Complete Printmaker. New York: The Free Press, 1972. Rumpel, Heinrich. Wood Engraving. Geneva: Bonvent, 1972. Saff, Donald and Deli Saciloto. Printmaking: History and Process. Vermont: Capital City Press, 1937. Statler, Oliver. Modern Japanese Prints: An Art Reborn. Rutland, Vb: Charles E. Tuttle, 1956. Takahashi, Sei-ichiro. The Japanese Wood-Block Prints Through Two Hundred and Fifty Years. Tokyo: Chou-Koron Bijutsu 1965. The 2nd Bangkok Triennale International Print and Drawing Exhibition, 2008. 14 May-14 June 2009, The Bangkok Art and Culture Centre. Bangkok: Silpakorn University, 2009. The 3rd Bangkok Triennale International Print and Drawing Exhibition,Thailand, 17 May-29 July 2012, The Bangkok Art and Culture Centre. Bangkok: Silpakorn University, 2012. The 20th Century Art Book. London: Phaidon Press, 1996. The International Print and Drawing Exhibition on the Occasion of 60th Anniversary Celebration Of Silpakorn University, Thailand. Bangkok: Silpakorn University, 2003. Wallace, Robert. The World of Rembrandt 1606-1669. Amsterdam: Time-Life Books, 1968. Yunnan Cultural Heritage Research Centre. Proceedings of the International Seminar of Handmade Paper in Mekong Region, 2005.
- 80 -
ประวัติผู้วิจัย ศาสตราจารย์พงศ์เดช ไชยคุตร ประวัติการศึกษา 2530 Certificate of Printmaking Academy of Fine Art, Krakow, Poland. 2527 ปริญญาโท (ภาพพิมพ์) คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2522 ปริญญาตรี (ภาพพิมพ์) คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร งานบริหาร 2536-2544 คณบดีคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2545-2548 ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2553-2557 คณบดีคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลงานวิจัย 2545 สร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพพิมพ์และวาดเส้นแรงบันดาลใจจากเส้น สีและ รูปทรงมนุษย์ (หัวหน้าโครงการ) ทุนวิจัยจากคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2548 ปัญหาและแนวทางการแก้ไขสภาพการด�ำเนินงานของสภาวัฒนธรรม ศูนย์วัฒนธรรม และ ส�ำนักงานวัฒนธรรมในเขตภาคเหนือ (หัวหน้าโครงการ) ทุนวิจัยจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม 2550 โครงการวิจัย การสร้างกระบวนการในการวิจัยสร้างสรรค์ศิลปะ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ผู้ร่วมวิจัย) ทุนวิจัยจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2554 ความเป็นไปได้ในการสร้างแม่พิมพ์กัดกรด (Etching) โดยไม่เกิดมลพิษ (Nontoxic) (หัวหน้าโครงการ) ทุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2554 แนวทางการพัฒนางานวิจัยและสร้างสรรค์ศิลปะในภาคเหนือ (หัวหน้าโครงการ) ทุนวิจัยจากสถาบันคลังสมองของชาติ 2556 การสร้างสรรค์งานศิลป์ “ทางไหนดี” (หัวหน้าโครงการ) ทุนวิจัยจากส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
- 81 -
การเผยแพร่ผลงาน 2522-2532 National Art Exhibition Bangkok 2525-2530 Thai Farmer Bank Contemporary Art Exhibition, Bhirasri Bangkok 2526 7th International Triennial of Graphic Art, Frechen,w. Germany 2526 Premio International Biella per Lincisione Italy 2527 10th International Biennial of Graphic Art, Krakow Poland 2527 16th International Biennial of Graphic Art, Ljubjana Yugoslavia 2528 10th International Triennial of Original Prints, Grechen Switzerland 2528 Kuala Lumper Art Festival Malaysia 2529 International Biennial of Print Exhibition 1986, 88, 90 Taipei, Taiwan, R.O.C. 2529 The Contemporary art from Asia Fuguoka, Japan 2530 4th Master Piece Art Gallery Exhibition Bangkok 2530 Youth Art Gallery, Hiroshima Perfecture Japan (Three places) 2531 “Ecole des Krakowie” Krakow, Poland 2531 Three man show. Artist Gallery Warsow, Poland 2531 International Biennial of Graphic Arts, Contemporains Paris 2532 “From the outside looking in “ Usis Chiang Mai 2533 1st Kochi International Exhibition of Print 1990 Japan 2534 International of Graphic Art Soul, Korea 2535 “A Decade of Printmaking”/ “New Part” Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok 2535 5th International Biennial of Graphic Art Taipei, Taiwan 2536 Art Forum Bangkok 2537 Exhibition by the staff of Hue University and Chiang Mai University at National Gallery Bangkok 2537 Exhibition by Kamol Tassanachalee and his artist friends at National Gallery Bangkok 2539 “Contemporary Prints from Thailand by Pongdej and Bannarak” Bathurst Regional Art Gallery Australia 2540 “Thai - Vietnamese Art Exhibition” Hue, Hanoi, Vietnam 2541 Vermont Studio Center Art Gallery USA. 2541 150 Northern Artist at CMU Art Museum, Chiang Mai
- 82 -
2541 2542 2542 2542 2542 2543 2543 2543 2545 2545 2545 2546 2555 2556 2557
Exhibition of Northern Artists at National Art Gallery Bangkok and Chiang Mai University 80 Northern Artists for the celebration of His Majesty the King’s 72 birthday Contemporary Arts Exhibition by the 4 Universities of Fine Arts Thailand – Vietnam Invited artist “The 45th National Exhibition of arts” Bangkok Art Exhibition of The Association of Silpakorn University Alumni Chiang Mai University Art Museum Num Thong Gallery Bangkok Vietnam - Thailand - Japan Contemporary Art Exchange Exhibition In Funabashi Bangladej International Contemporary Art National Art Gallery, Chao - Fa Bangkok Exhibition of Printmaking by Japanese and Thai artist Siplakorn University “Message from Chiang Mai Thai contemporary art” Tokyo, Japan The Exhibition of Art’s Instructors Faculty of Fine Art, Chiang Mai University Confluence of 9 at the national gallery of Thailand, Choa - fa road, Bangkok. International Contemporary Art Exhibition SO MANY MINEDS 2 “Chat” 6 Thai and 6 Australian at Canberra School of Art, A.N.U., Australia
นิทรรศการเดี่ยว 2531 Youth Art Gallery, Hiroshima Prefecture Japan (Three places) 2536 Art Forum Bangkok 2541 Vermont Studio Center Art Gallery, U.S.A. 2543 Num Thong Gallery, Bangkok 2545 National Art Gallery, Chao-Fa,Bangkok 2545 Chiang Mai University Art Museum, Chiang Mai 2546 9 Art Gallery, Chiang Rai 2549 Royal college of Fine art Konsthogskolan Stokholm, Sweden 2550 The Office of the E.U. deligation, Bangkok 2550 “ J Q K ” Chamchuri Art Gallery, Chulalongkorn University 2551 9 Art Gallery, Chiang Rai 2551 Faculty of Fine Art Chiang Mai University 2552 Rim Suan Gallery, Grand Mercure Fortune Bangkok Hotel, Bangkok
- 83 -
2553 2553 2555 2557
Chamchuri Art Gallery Chulalongkorn University, Bangkok “The Darkness of Braegel” Chamchuri Art Gallery, Chulalongkorn University “To be or not to be” Chiang Mai University Art Center “Where are we Going?” Chamchuri Art Gallery, Chulalongkorn University
รางวัลที่ได้รับ 2527 3rd Prize (Print), 29th National Art Exhibition Bangkok. 2528 Honorable Prize, International Art Exhibition from Bata, Co., Ltd. 2547 Selected Artist for Art Project in celebration of king 6th cycle birthday anniversary, 1999 2548 Silpa Bhirasri Grant 2003 ทุนที่ได้รับ 2530 2542 2549
ทุนรัฐบาลโปแลนด์, KRAKOW, POLAND. ทุน Freeman Fellowship, Vermont Studio Center, Vermont, USA ทุนรัฐบาลสวีเดน, SIDA
- 84 -
ภาคผนวก
- 85 -
พิธีเปิดนิทรรศการ “ชีวิตไม่กัดด้วยน�้ำกรด” Life : No Nitric Acid 1 - 15 พฤศจิกายน 2560 ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
- 86 -
พิธีเปิดนิทรรศการ “ชีวิตไม่กัดด้วยน�้ำกรด” Life : No Nitric Acid 1 - 15 พฤศจิกายน 2560 ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
- 87 -
พิธีเปิดนิทรรศการ “ชีวิตไม่กัดด้วยน�้ำกรด” Life : No Nitric Acid 1 - 15 พฤศจิกายน 2560 ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
- 88 -
พิธีเปิดนิทรรศการ “ชีวิตไม่กัดด้วยน�้ำกรด” Life : No Nitric Acid 1 - 15 พฤศจิกายน 2560 ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
- 89 -
พิธีเปิดนิทรรศการ “ชีวิตไม่กัดด้วยน�้ำกรด” Life : No Nitric Acid 1 - 15 พฤศจิกายน 2560 ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
อุปกรณ์สาธิตในนิทรรศการ
- 90 -
พิธีเปิดนิทรรศการ “ชีวิตไม่กัดด้วยน�้ำกรด” Life : No Nitric Acid 1 - 15 พฤศจิกายน 2560 ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
- 91 -
พิธีเปิดนิทรรศการ “ชีวิตไม่กัดด้วยน�้ำกรด” Life : No Nitric Acid 1 - 15 พฤศจิกายน 2560 ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
- 92 -
พิธีเปิดนิทรรศการ “ชีวิตไม่กัดด้วยน�้ำกรด” Life : No Nitric Acid 1 - 15 พฤศจิกายน 2560 ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
- 93 -
พิธีเปิดนิทรรศการ “ชีวิตไม่กัดด้วยน�้ำกรด” Life : No Nitric Acid 1 - 15 พฤศจิกายน 2560 ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
- 94 -
มหาวิทยาลัยมาชมการสาธิตที่แพรวาสตูดิโอ สถานที่ท�ำงานวิจัย
- 95 -
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตุปัตตานี มาชมการสาธิตการกัดกรดด้วยไฟฟ้า 5 มีนาคม 2560
- 96 -
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตุปัตตานี มาชมการสาธิตการกัดกรดด้วยไฟฟ้า 5 มีนาคม 2560
- 97 -
คณะจิตรกรรมประติมากรรมภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มาชมการสาธิต การกัดกรดด้วยไฟฟ้า 15 มีนาคม 2560
- 98 -
คณะจิตรกรรมประติมากรรมภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มาชมการสาธิต การกัดกรดด้วยไฟฟ้า 15 มีนาคม 2560
- 99 -
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มาชมการสาธิต กัดกรดด้วยไฟฟ้า 20 พฤษภาคม 2560
- 100 -
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มาชมการสาธิต กัดกรดด้วยไฟฟ้า 20 พฤษภาคม 2560
- 101 -