บทสรุปผู้บริหาร ด้านรายได้ เดือนมีนาคม 2557 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 129,363 ล้านบาท ต่ากว่าประมาณการ 19,838 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.3 โดย 3 กรมจัดเก็บภาษีสังกัดกระทรวงการคลังจัดเก็บได้ต่ากว่าประมาณการ 19,869 ล้านบาท ส่าหรับภาษีทีจัดเก็บได้ตา่ กว่าเป้าหมายทีส่าคัญ ได้แก่ ภาษีมูลค่าเพิม ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา อากรขาเข้า ภาษีสรรพสามิตรถยนต์และภาษีน่ามัน อย่างไรก็ดี รัฐวิสาหกิจน่าส่งรายได้ สูงกว่าประมาณการ 1,377 ล้านบาท ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 935,921 ล้านบาท ต่ากว่าประมาณการ 20,828 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.2 เนื่องจากภาษีที่จัดเก็บ จากฐานการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ ภาษีมูลค่าเพิ่มจากการนาเข้าและอากรขาเข้าจัดเก็บได้ ต่ากว่าเป้าหมาย สาหรับภาษีที่จัดเก็บจากฐานการอุปโภคบริโภค โดยเฉพาะภาษีน้ามันและ ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ยังจัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมาย ซึ่งเป็นผลจากการขยายระยะเวลาปรับลด ภาษีน้ามันดีเซลเพื่อช่วยเหลือค่าครองชีพของประชาชน และอุปสงค์รถยนต์ในประเทศที่ชะลอตัวลง นอกจากนี้ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมายเช่นกัน เนื่องจากผลกระทบของ การปรับลดอัตราภาษีที่สูงกว่าที่คาดการณ์ไว้ อย่างไรก็ดี การน่าส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจและ หน่วยงานอืนทีสูงกว่าประมาณการ 17,914 และ 11,389 ล้านบาท ตามล่าดับ
ด้านรายจ่าย เดือนมีนาคม 2557 รัฐบาลเบิกจ่ายเงินรวมทังสิน 165,457 ล้านบาท ประกอบด้วย การเบิกจ่ายจากปีงบประมาณปีปัจจุบัน 142,036 ล้านบาท (รายจ่ายประจ่า 128,728 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 13,308 ล้านบาท) และการเบิกจ่ายของปีก่อนจ่านวน 23,421 ล้านบาท ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) รัฐบาลเบิกจ่าย เงินรวมทังสิน 1,384,103 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจ่าปีงบประมาณ 2557 จ่านวน 1,243,364 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจ่า 1,092,420 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 150,944 ล้านบาท) คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 49.2 ของวงเงินงบประมาณ (2,525,000 ล้านบาท) และมีการเบิกจ่ายของปีก่อนจ่านวน 140,739 ล้านบาท เมือรวมกับเงินกูเ้ พือฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพืนฐาน (DPL) จ่านวน 3,918 ล้านบาท เงินกู้ภายใต้ พรก.บริหารจัดการน่าฯ จ่านวน 4,102 ล้านบาท และการเบิกจ่ายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จ่านวน 1,112 ล้านบาท ส่งผลให้ในช่วงครึ่งแรก ของปีงบประมาณ 2557 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 1,393,235 ล้านบาท
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในช่วงครึงแรกของปีงบประมาณ 2557 รัฐบาลมีรายได้ น่าส่งคลัง 923,782 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ปีปัจจุบันและปีก่อน) รวม 1,384,103 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุล 460,321 ล้านบาท เมือรวมกับดุลเงินนอก -1-
งบประมาณทีขาดดุล 60,096 ล้านบาท ท่าให้ดุลเงินสดขาดดุลทังสิน 520,417 ล้านบาท และรัฐบาล ชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตร 130,160 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสดหลังการกู้เงินขาดดุล ทังสิน 390,257 ล้านบาท เงินคงคลัง ณ สินเดือนมีนาคม 2557 มีจ่านวน 213,667 ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในช่วงครึงแรกของปีงบประมาณ 2557 รัฐบาล มีรายได้ทังสิน 994,454 ล้านบาท และมีรายจ่ายทังสิน 1,418,179 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงิน งบประมาณขาดดุลทังสิน 423,725 ล้านบาท เมือรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณทีขาดดุล 21,331 ล้านบาท และหักรายจ่ายเพือวางระบบบริหารจัดการน่า รายจ่ายเงินกู้เพือฟื้นฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสร้างพืนฐาน (DPL) รายจ่ายตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง และเงินกู้ต่างประเทศ จ่านวน 4,102 3,918 1,112 และ 619 ล้านบาท ตามล่าดับแล้ว ท่าให้ดุลการคลังของรัฐบาล ขาดดุลทังสิน 454,807 ล้านบาท
ฐานะการคลัง อปท.
ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน ณ ไตรมาสที 1 ประจ่าปีงบประมาณ 2557 คาดว่า จะมีรายได้รวม 191,611 ล้านบาท (รายได้ทีจัดเก็บเอง 5,799 ล้านบาท รายได้ภาษีทีรัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 42,102 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 143,710 ล้านบาท) และคาดว่า มีรายจ่ายจ่านวน 120,136 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 71,475 ล้านบาท
สถานะหนี้สาธารณะ หนีสาธารณะคงค้างของรัฐบาล ณ สินเดือนกุมภาพันธ์ 2557 มีจ่านวน 5,530,363.9 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 46.1 ของ GDP ประกอบด้วยหนีระยะยาว 5,422,468.8 ล้านบาท และหนีระยะสัน 107,895.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 98.1 และ 1.9 ของหนีสาธารณะคงค้างตามล่าดับ โดยร้อยละ 93.2 ของหนีสาธารณะคงค้างเป็นหนีในประเทศและส่วนทีเหลือร้อยละ 6.8 เป็นหนีต่างประเทศ
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)
กระทรวงการคลังได้ก่าหนดกรอบความยังยืนทางการคลัง โดยมีตัวชีวัดประกอบด้วย ยอดหนีสาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนีต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 จัดท่างบประมาณสมดุล และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ากว่าร้อยละ 25 การวิเคราะห์กรอบความยังยืนในระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ 2557 – 2561) - สัดส่วนหนีสาธารณะคงค้างต่อ GDP ในปีงบประมาณ 2557 อยู่ทีร้อยละ 46.2 และลดลงเป็นร้อยละ 42.9 ในปีงบประมาณ 2561 - ระดับภาระหนีต่องบประมาณอยู่ในระดับร้อยละ 7.4 ในปีงบประมาณ 2557 และเพิมขึนเป็นร้อยละ 9.5 ในปีงบประมาณ 2561 - รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยก่าหนดให้ปีงบประมาณ 2557 - 2559 250,000 150,000 และ 75,000 ล้านบาท ตามล่าดับ และจัดท่างบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2560 เพือรักษาวินัยการคลังและขับเคลือนเศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ - สัดส่วนรายจ่ายลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายคาดว่าจะอยู่ในระดับเฉลีย ร้อยละ 14.3 ต่อ งบประมาณรายจ่ายตลอดช่วงปีงบประมาณ 2557 – 2561 ซึงต่ากว่าระดับทีก่าหนดไว้ อย่างไรก็ดี -2-
รัฐบาลได้พยายามทีจะด่าเนินโครงการลงทุนทังในส่วนของ พรก. ให้อ่านาจกระทรวงการคลังกู้เงิน เพือบริหารจัดการน่าฯ และการกู้เงินเพือลงทุนโครงสร้างพืนฐานฯ ในปี 2557 – 2561 ซึงเมือรวม การลงทุนดังกล่าวจะท่าให้สัดส่วนรายจ่ายลงทุนต่องบประมาณเพิมขึนอยู่ในระดับเฉลีย ร้อยละ 21.5 ต่องบประมาณรายจ่าย
การดาเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล
ยอดสินเชื่อคงค้างของโครงการตามนโยบายรัฐที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมการดาเนินงานตาม นโยบายรัฐ (PSA) ณ สินไตรมาสที 4 ปี 2556 มีจ่านวน 1,128,028.37 ล้านบาท ขณะที ยอด NPLs เท่ากับ 15,887.44 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนีทีไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชือ คงค้าง (NPLs Ratio) ร้อยละ 1.41 รัฐบาลมีภาระความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึงสามารถประมาณการ ความเสียหายทีต้องได้รับการชดเชยตังแต่เริมจนถึงสินสุดโครงการจ่านวนทังสิน 91,926.07 ล้านบาท โดยรัฐบาลได้ชดเชยความเสียหายให้แล้วทังสิน 46,652.44 ล้านบาท และคงเหลือ ความเสียหายทีรอการชดเชยจากรัฐบาลอีกจ่านวน 45,273.63 ล้านบาท
การกระจายอานาจทางการคลังให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กรอบแนวทางการบริหารเงินสะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรอบแนวทางการบริหารเงินสะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน (อปท.) เป็นไปตามระเบียบ กระทรวงมหาดไทย ดังนี 1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษา เงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2548 ออกตามความในมาตรา 6 และมาตรา 76 แห่งพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 69 และมาตรา 77 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 5 และมาตรา 88 แห่งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 ซึงสรุปสาระส่าคัญได้ดังนี 1.1) กิจการตามข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ่าปี แต่ระยะสามเดือนแรกของปีงบประมาณ อปท. ไม่สามารถจัดเก็บรายได้เพียงพอ อปท. อาจน่าเงินสะสมทดรองจ่ายไปก่อนได้ 1.2) อปท. อาจใช้เงินสะสมได้ โดยได้รับการอนุมัติจากสภาท้องถิน 1.3) กรณีทีงบประมาณรายจ่ายบังคับใช้แล้ว มีงบประมาณไม่เพียงพอ ทีจะจ่าย หรือไม่ได้ตังงบประมาณเพือการนันไว้ ให้ อปท. จ่ายขาดเงินสะสมได้ โดยได้รับอนุมัติจากผู้บริหาร ท้องถิน 1.4) ในกรณีฉุกเฉินทีมีสาธารณภัยเกิดขึน โดยผู้บริหารท้องถินอนุมัติให้จ่ายขาดเงินสะสมได้ตามความจ่าเป็น ในขณะนัน โดยให้ค่านึงถึงฐานะการเงินการคลังของ อปท. นัน และ 1.5) การจ่ายเงินทุนส่ารองเงินสะสม จะกระท่าได้ต่อเมือยอดเงินสะสมในส่วนทีเหลือมีไม่เพียงพอต่อการบริหาร ให้ขอความเห็นชอบจากสภาท้องถิน และขออนุมัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด 2. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินทุนสะสมขององค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2541ออกตามความในมาตรา 6 และมาตรา 76 แห่งพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 ก่าหนดให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ทุกแห่งจัดส่งเงินจ่านวนร้อยละสิบของเงินสะสม ประจ่าทุกปีไปให้ประธานคณะอนุกรรมการเงินทุนสะสมองค์การบริหารส่วนจังหวัดภายในเดือนธันวาคม ของทุกปี โดยให้คณะอนุกรรมการฯ น่าฝากไว้กับธนาคาร -3-
3. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินทุนส่งเสริมกิจการเทศบาล พ.ศ. 2552 ออกตาม ความในมาตรา 69 และมาตรา 77 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และมาตรา 6 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 ก่าหนดให้เทศบาลทุกแห่งและเมืองพัทยา จัดส่งเงินจ่านวนร้อยละสิบของเงินสะสมประจ่าทุกปี ไปให้ประธานคณะอนุกรรมการเงินทุนส่งเสริมกิจการ เทศบาลภายในเดือนธันวาคมของทุกปี โดยให้คณะอนุกรรมการฯ น่าฝากไว้กับธนาคาร 4. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินทุนส่งเสริมกิจการองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2540 ออกตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 และมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ก่าหนดให้ องค์การบริหารส่วนต่าบล (อบต.) ทุกแห่งจัดส่งเงินสะสมในอัตราร้อยละยีสิบของเงินสะสมประจ่าปี งบประมาณทุกปีไปให้ประธานคณะอนุกรรมการด่าเนินการเงินทุนส่งเสริมกิจการองค์การบริหารส่วนต่าบล เว้นแต่อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถินจะได้สังการเป็นอย่างอืน โดยให้คณะอนุกรรมการฯ ฝากไว้ ณ ธนาคารออมสิน หรือธนาคารอืนซึงอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถินเห็นชอบ
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สาคัญ ประจาเดือนเมษายน 2557 1. เรื่อง ร่างประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ ..) คณะรัฐมนตรีมีมติเมือวันที 4 เมษายน 2557 เห็นชอบให้ขยายเวลาการปรับลดอัตราภาษี สรรพสามิตน่ามันดีเซลทีมีปริมาณก่ามะถันไม่เกินร้อยละ 0.005 โดยน่าหนัก ในอัตราภาษี 0.005 บาท ต่อลิตร และน่ามันดีเซลทีมีไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอร์ของกรดไขมันผสมอยู่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 ในอัตราภาษี 0.005 บาทต่อลิตร ออกไปอีก1 เดือน คือ ตังแต่วันที 1 พฤษภาคม 2557 ถึงวันที 31 พฤษภาคม 2557
-4-
สถานการณ์ดา้ นการคลัง หน่วย : พันล้านบาท
รวมทั้งปี งบประมาณ 2556 I รายได้ 1. ตามหน่วยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.5 หน่วยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) - ส่วนราชการอื่น - กรมธนารักษ์ 1.6 รวมรายได้จดั เก็บ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.7 รวมรายได้สุทธิ (หลังหักการจัดสรรให้ อปท.) (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 ฐานจากเงินได้ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.2 ฐานจากการบริโภค (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.3 ฐานจากการค้าระหว่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) II รายจ่าย 1.รายจ่ายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.1 งบประมาณปีปจั จุบนั (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 งบประมาณปีกอ่ น 2. รายจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจ่าย - เงินให้กู้ยมื สุทธิ 3. รายจ่ายจากเงินกู้ตา่ งประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 4. รายจ่ายของอปท. 5. รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ IV ยอดหนีส้ าธารณะ 1. หนีร้ ัฐบาลกู้ตรง 2. หนีร้ ัฐวิสาหกิจ 3. หนีข้ องหน่วยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนีค้ งค้าง/GDP (ปีปฏิทิน)% 7. หนีท้ ี่เป็นภาระงบประมาณ/GDP (ปีปฏิทิน)%
Q1
ม.ค. 57
ปีงบประมาณ 2557 ก.พ. 57
มี.ค. 57
รวม ต.ค.56 - มี.ค. 57
Q2
1,764.7 9.1 432.9 14.0 113.4 (4.7) 101.4 (17.4) 159.0 36.3 152.6 6.4 2,571.4 9.2 2,161.3 9.4
356.8 2.9 104.3 (12.4) 27.2 (12.5) 47.3 123.3 38.2 (40.1) 35.8 2.5 573.9 (1.4) 503.4 (1.0)
120.6 (2.8) 33.3 (12.3) 9.6 (2.9) 14.6 60.6 6.5 10.9 6.2 0.3 184.7 (1.2) 156.1 (4.5)
115.8 0.3 31.4 (12.9) 8.0 (7.1) 7.8 43.7 19.0 (4.4) 18.3 0.7 181.9 (1.9) 147.0 (5.8)
112.4 (3.6) 36.1 (5.2) 8.9 (1.7) 12.2 (19.0) 5.5 (16.2) 5.3 0.3 175.2 (5.5) 129.4 (13.8)
348.8 0.4 100.8 (11.3) 26.5 (8.4) 25.3 61.4 37.3 (28.0) 29.7 1.3 541.8 (2.1) 432.5 (4.3)
705.6 0.4 205.1 (11.3) 53.7 (8.4) 81.9 61.4 69.3 (28.0) 65.5 3.8 1,115.7 (2.1) 935.9 (4.3)
1,004.8 11.0 1,130.4 8.8 110.9 (5.0)
161.7 5.7 282.0 (5.0) 26.8 (12.1)
50.9 (11.3) 97.9 (2.1) 9.4 (4.5)
54.5 1.2 87.6 (5.7) 7.9 (5.2)
49.7 (8.1) 93.3 (2.0) 8.6 (3.2)
155.1 (0.5) 278.8 (4.1) 25.9 (8.4)
316.8 (0.5) 560.9 (4.1) 52.7 (8.4)
2,402.5 4.7 2,171.4 1.0 231.0 381.4 357.1 24.3 22.2 27.8
831.0 5.7 760.8 8.7 70.2 178.7 170.6 8.1 2.4 (1,962.9)
213.2 2.4 186.4 2.9 26.8 20.2 18.3 1.9 0.9 (694.9)
174.4 14.7 154.1 18.1 20.3 20.7 17.9 2.9 0.5 (923.1)
165.5 -26.6 142.0 -29.4 23.4 30.0 28.1 1.9 0.7 (540.1)
553.1 -5.6 482.5 -5.9 70.5 71.0 64.3 6.7 2.1 (2,157.1)
1,384.1 0.9 1,243.3 2.5 140.7 249.7 234.9 14.8 4.5 (47.6)
(238.4) (136.6)
(342.5) (376.7)
(90.6) (24.1)
(54.6) (26.4)
(32.8) (27.4)
(177.9) (78.1)
(520.4) (454.8)
603.9
324.7
254.3
236.6
213.7
213.7
213.7
3,774.8 1,655.0 0.8 5,430.6 45.5
3,827.1 1,621.9 0.8 5,449.8 45.7
3,838.4 1,627.0 0.8 5,466.2 45.8
3,905.9 1,623.7 0.8 5,530.4 46.1
หมายเหตุ 1/ ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้้ามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการท้าของ กองทุนเงินให้กยู้ ืมเพือ่ การศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจ กองทุนอ้อยและน้้าตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพือ่ การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจยั 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพือ่ การศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) เป็นผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแต่ปงี บประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไม่รวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จ้ากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
-5-
สถานการณ์ด้านรายได้ เดือนมีนาคม 2557 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 129,363 ล้านบาท ต่ากว่าประมาณการ 19,838 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.3 (ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีทีแล้วร้อยละ 13.8) ตารางสรุปรายได้รัฐบาลเดือนมีนาคม 2557* หน่วย: ล้านบาท เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว (%) (%) กรมสรรพากร 112,395 (11.3) (3.6) กรมสรรพสามิต 36,126 (7.8) (5.2) กรมศุลกากร 8,948 (21.5) (1.7) รัฐวิสาหกิจ 12,183 12.7 (19.0) หน่วยงานอื่น 5,547 (8.5) (16.2) รายได้สุทธิ ** 129,363 (13.3) (13.8) หมายเหตุ * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 8 เมษายน 2557 ** รายได้สุทธิหลังหักการจัดสรรให้ อปท.
เดือนมีนาคม 2557 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 129,363 ล้านบาท ต่ากว่าประมาณการ 19,838 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.3 (ต่ากว่าเดือนเดียวกัน ปีทีแล้วร้อยละ 13.8) โดย 3 กรมจัดเก็บภาษีสังกัด กระทรวงการคลังจัดเก็บรายได้ต่ากว่าประมาณการ 19,869 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.2 ส่าหรับภาษีที่จัดเก็บ ได้ต่ากว่าเป้าหมายที่ส่าคัญ ได้แก่ 1) ภาษีมูลค่าเพิ่มจัดเก็บ ได้ต่ากว่าเป้าหมาย 7,557 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.7 สาเหตุจากภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการน่าเข้าจัดเก็บได้ ต่่ากว่าเป้าหมาย เนื่องจากมูลค่าน่าเข้าต่่ากว่าที่คาดการณ์ไว้ ในขณะที่ภาษีมลู ค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการบริโภคภายใน ประเทศยังจัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย บ่งชี้ถึงอุปสงค์ภายใน ประเทศที่ยังคงขยายตัว 2) ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจัดเก็บ ได้ต่ากว่าเป้าหมาย 6,159 ล้านบาท หรือร้อยละ 17.0 สาเหตุหลักมาจากการช่าระภาษีรอบสิ้นปีปฏิทิน (ภ.ง.ด. 90 และ ภ.ง.ด. 91) และภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (ภ.ง.ด. 1) จัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมาย เนื่องจากการปรับลดอัตราภาษี ส่งผลกระทบมากกว่าที่คาดการณ์ไว้ ประกอบกับมีการใช้ สิทธิลดหย่อนภาษีจากการลงทุนในกองทุนรวมและประกัน ชีวิตที่เพิ่มขึ้น 3) อากรขาเข้าจัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมาย 2,608 ล้านบาท หรือร้อยละ 23.3 ซึ่งสอดคล้องกับมูลค่า การน่าเข้าที่ขยายตัวต่่ากว่าที่คาดการณ์ไว้ 4) ภาษี สรรพสามิตรถยนต์จัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมาย 2,378 ล้านบาท หรือร้อยละ 22.0 สาเหตุมาจากอุปสงค์รถยนต์ ในประเทศที่หดตัวมากกว่าที่คาดการณ์ไว้จากภาวะเศรษฐกิจ ที่ชะลอตัวและการใช้สิทธิส่วนใหญ่ในโครงการรถยนต์ คันแรกเกือบครบทั้งโครงการแล้วในปีงบประมาณก่อนหน้า และ 5) ภาษีน้่ามันจัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมาย 2,126 ล้านบาท หรือร้อยละ 29.0 สาเหตุมาจากการขยายเวลา ปรับลดภาษีน้่ามันดีเซลเพื่อช่วยเหลือค่าครองชีพ ของประชาชน อย่างไรก็ดี รัฐวิสาหกิจน่าส่งรายได้สูงกว่า ประมาณการ 1,377 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.7
-6-
โดยรัฐวิสาหกิจที่น่าส่งรายได้สูงกว่าประมาณการที่ส่าคัญ ได้แก่ ธนาคารออมสิน และการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (รายละเอียดตามตารางที่ 1) ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลในช่วงครึงแรกของปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557)
ล้านบาท 400,000 350,000 300,000 250,000 200,000
178,561
166,478
158,410
150,000
156,146
146,962
129,363
100,000 50,000 0 ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
จัดเก็บ 56
เม.ย.
ปมก. 57
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
จัดเก็บ 57
ในช่วงครึงแรกของปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 935,921 ล้านบาท ต่ากว่าประมาณการ 20,828 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.2 (ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีทีแล้วร้อยละ 4.3) ตารางสรุปรายได้รัฐบาล ปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557)* หน่วย: ล้านบาท
เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ประมาณการ ปีที่แล้ว (%) (%) กรมสรรพากร 705,613 (3.2) 0.4 กรมสรรพสามิต 205,097 (10.5) (11.3) กรมศุลกากร 53,733 (18.5) (8.4) รัฐวิสาหกิจ 81,931 28.0 61.4 หน่วยงานอื่น 69,300 19.7 (28.0) รายได้สุทธิ ** 935,921 (2.2) (4.3) หมายเหตุ: * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 8 เมษายน 2557 ** รายได้สุทธิหลังหักการจัดสรรให้ อปท ที่มาของรายได้
ปีนี้
ผลการจัดเก็บรายได้ตามหน่วยงานจัดเก็บ สรุปได้ ดังนี้ กรมสรรพากร จัดเก็บรายได้รวม 705,613 ล้านบาท ต่่ากว่าประมาณการ 23,451 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 3.2 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 0.4) โดยภาษีที่จัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมายที่ส่าคัญ ได้แก่ 1) ภาษีมูลค่าเพิ่มจัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมาย 14,049 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.8 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 0.6) เป็นผลจากภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจาก การน่าเข้าจัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมาย 18,768 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.7 (ต่่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 7.0) สาเหตุมาจากมูลค่าการน่าเข้าต่่ากว่าที่คาดการณ์ไว้ ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการบริโภคในประเทศ ยังคงจัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย 4,719 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 2.4 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 7.4) สะท้อนการบริโภคในประเทศที่ยังคงขยายตัว 2) ภาษี เงินได้บุคคลธรรมดาจัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมาย 7,551
-7-
ผลการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ในช่วงครึงแรกของปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557) ล้านบาท 1,200,000
จัดเก็บ 56 ประมาณการ 57 จัดเก็บ 57
1,000,000 800,000
703,016
1,024,115 992,855 964,443
729,064 705,613
600,000
400,000 231,171 229,151
200,000
205,097 58,668 65,900 53,733
0
กรมสรรพากร
กรมสรรพสามิต
กรม ุลกากร
รวม 3 กรม
สัดส่วนผลการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพากรแยกตามราย า ี ในช่วงครึงแรกของปีง บประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557) า เี งินได้บุคคล ธรรมดา 20.34
า ีเงินได้ป โตรเลียม า ีธุรกิ จเฉพาะ อากรแสตมป รายได้อืน 3.77 0.02 0.82 1.69
า มี ูลค่าเพิม 50.48
า ีเงินได้นิติบุคคล 22.87
สัดส่วนผลการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพสามิตแยกตามราย า ี ในช่วงครึงแรกของปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557) า ีสุรา 17.40
า ีอืน 5.72
า ีน่ามัน 15.28
า ียาสูบ 14.63
า ีเบียร์ 21.37
า ีรถยนต์ 25.59
สัดส่วนผลการจัดเก็บรายได้ของกรม ุลกากรแยกตามราย า ี ในช่วงครึงแรกของปีง บประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557) อากรขาออก รายได้อืน 1.93 0.20
อากรขาเข้า 97.88
ล้านบาท หรือร้อยละ 5.0 (ต่่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 6.1) เนื่องจากการปรับลดอัตราภาษีที่ส่ง ผลกระทบมากกว่าที่คาดการณ์ไว้ ประกอบกับมีการใช้ สิทธิลดหย่อนภาษีจากการลงทุนในกองทุนรวมและ ประกันชีวิตที่เพิ่มขึ้น 3) ภาษีเงินได้นิติบุคคลจัดเก็บได้ ต่่ากว่าเป้าหมาย 2,932 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.8 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 6.0) เนื่องจากภาษี หัก ณ ที่จ่ายภาคเอกชน (ภ.ง.ด. 53) และภาษีจาก ประมาณการก่าไรสุทธิ (ภ.ง.ด. 51) จัดเก็บได้ต่ากว่า เป้าหมาย อย่างไรก็ดี ภาษีธุรกิจเฉพาะจัดเก็บได้สูงกว่า เป้าหมาย 2,394 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.9 (สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 10.5) เป็นผลจากธุรกรรม ภาคอสังหาริมทรัพย์ยังคงมีการขยายตัว กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายได้รวม 205,097 ล้านบาท ต่่ากว่าประมาณการ 24,054 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 10.5 (ต่่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 11.3) โดยภาษีที่จัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมายที่ส่าคัญ ได้แก่ 1) ภาษีสรรพสามิตรถยนต์จัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมาย 15,079 ล้านบาท หรือร้อยละ 22.3 (ต่่ากว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 39.6) สาเหตุมาจากอุปสงค์รถยนต์ ในประเทศที่หดตัวมากกว่าที่คาดการณ์ไว้จาก ภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวและการใช้สิทธิส่วนใหญ่ ในโครงการรถยนต์คันแรกเกือบครบทั้งโครงการแล้ว ในปีงบประมาณก่อนหน้า 2) ภาษีน้่ามันจัดเก็บได้ต่ากว่า เป้าหมาย 14,113 ล้านบาท หรือร้อยละ 31.0 (ต่่ากว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 0.5) เป็นผลจากการขยาย เวลาปรับลดภาษีน้่ามันดีเซลเพื่อช่วยเหลือค่าครองชีพ ของประชาชน และ 3) ภาษียาสูบจัดเก็บได้ต่ากว่า เป้าหมาย 4,626 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.4 (ต่่ากว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 10.6) ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก ปริมาณบุหรี่ที่ช่าระภาษีต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้ อย่างไรก็ดี ภาษีเบียร์และภาษีสุราจัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย 6,345 และ 4,952 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.9 และ 16.1 ตามล่าดับ (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 14.9 และ 29.3 ตามล่าดับ) เป็นผลจากการปรับโครงสร้าง ภาษีสุราเมื่อเดือนกันยายน 2556
-8-
สัดส่วนการน่าส่งรายได้รัฐวิส าหกิจแยกตามสาขา ในช่วงครึงแรกของปีง บประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557) สถาบันการเงิน 23.13
กิจการทีกระทรวงการคลังถือ หุ้นต่ากว่าร้อยละ 50 0.65
พลังงาน 30.58
พาณิชย์และบริการ 9.44 เก ตรและ ทรัพยากรธรรมชาติ 0.01 อุตสาหกรรม 9.45
สาธารณูปการ 9.09
สือสาร 6.08
ขนส่ง 11.56
กรม ุลกากร จัดเก็บรายได้รวม 53,733 ล้านบาท ต่่ากว่าประมาณการ 12,167 ล้านบาท หรือร้อยละ 18.5 (ต่่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 8.4) สาเหตุส่าคัญมาจากอากรขาเข้าที่จัดเก็บได้ ต่่ากว่าเป้าหมาย 12,168 ล้านบาท หรือร้อยละ 18.8 เป็นผลจากการขยายตัวของมูลค่าการน่าเข้าสินค้า ต่่ากว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยมูลค่าการน่าเข้าในรูป ดอลลาร์สหรัฐฯ และเงินบาทในช่วง 5 เดือนแรกของ ปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 -กุมภาพันธ์ 2557) หดตัวร้อยละ 11.2 และร้อยละ 6.7 ตามล่าดับ รัฐวิสาหกิจ น่าส่งรายได้รวม 81,931 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 17,914 ล้านบาท หรือร้อยละ 28.0 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยล 61.4) โดยรัฐวิสาหกิจ ที่น่าส่งรายได้/เงินปันผลสูงกว่าประมาณการที่ส่าคัญ ได้แก่ การประปาส่วนภูมิภาค บมจ.ท่าอากาศยานไทย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บมจ.กสท โทรคมนาคม และ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย หน่วยงานอืน จัดเก็บรายได้รวม 69,300 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 11,389 ล้านบาท หรือร้อยละ 19.7 (ต่า่ กว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 28.0) สาเหตุ ส่าคัญมาจากการน่าส่งคืนรายได้ที่กันไว้เพื่อชดเชยให้แก่ ผู้ส่งออกสินค้าจ่านวน 5,929 ล้านบาท และการน่าส่งรายได้ จากค่าต่ออายุสัมปทานการผลิตปิโตรเลียมจ่านวน 2,368 ล้านบาท ส่าหรับกรมธนารักษ์จดั เก็บรายได้รวม 3,775 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมายจ่านวน 504 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 15.4 (ต่่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 13.0) เนื่องจากการจัดเก็บรายได้จากที่ราชพัสดุที่สูงกว่าเป้าหมาย การคืน า ีของกรมสรรพากร จ่านวน 140,627 ล้านบาท ต่่ากว่าประมาณการ 8,353 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.6 ประกอบด้วยการคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม 111,374 ล้านบาท ต่่ากว่าประมาณการ 12,626 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.2 และการคืนภาษีอื่นๆ (ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์) จ่านวน 29,253 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 4,273 ล้านบาท หรือร้อยละ 17.1
-9-
เงินกันชดเชย า ีส่าหรับสินค้าส่งออก จ่านวน 6,845 ล้านบาท ต่่ากว่าประมาณการ 1,096 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.8 การจัดสรร า ีมูลค่าเพิมให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน จ่าแนกเป็น (1) การจัดสรร า ีมูลค่าเพิมให้กับองค์การบริหารส่วนจังหวัด จ่านวน 7,855 ล้านบาท ต่่ากว่าประมาณการ 888 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.2 และ (2) การจัดสรร า ีมูลค่าเพิมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน ตาม พ.ร.บ.ก่าหนดแผนและขันตอนการกระจาย อ่านาจ จ่านวน 3 งวด เป็นเงิน 24,426 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 796 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.4 เป็นผลจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มสุทธิที่สูงกว่า ประมาณการ (ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้หักด้วย การคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม) (รายละเอียดตามตารางที่ 2)
- 10 -
ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบื้องต้น เดือนมีนาคม 2557
1/ หน่วย : ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว ที่มาของรายได้
ปีนี้
ปีที่แล้ว
จานวน
ร้อยละ
ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม. งปม.ทั้งปีเท่ากับ
จานวน
ร้อยละ
2,275,000 ล้านบาท
112,395
116,606
(4,211)
(3.6)
126,770
(14,375)
(11.3)
57,243 19,538 30,165 4,421 997 31 36,126
57,134 18,220 35,874 9 4,240 1,103 26 38,109
109 1,318 (5,709) (9) 181 (106) 5 (1,983)
0.2 7.2 (15.9) 4.3 (9.6) 19.2 (5.2)
64,800 20,171 36,324 4,225 1,227 23 39,168
(7,557) (633) (6,159) 196 (230) 8 (3,042)
(11.7) (3.1) (17.0) 4.6 (18.7) 34.8 (7.8)
2.10 ภาษีอื่น 2/
5,208 8,425 8,795 5,641 5,751 1,728 211 161 41 107
5,211 13,284 6,816 5,640 4,637 1,816 258 192 96 113
(3) (4,859) 1,979 1 1,114 (88) (47) (31) (55) (6)
(0.1) (36.6) 29.0 0.0 24.0 (4.8) (18.2) (16.1) (57.3) (5.3)
7,334 10,803 6,999 5,836 5,803 1,767 214 200 77 105
(2,126) (2,378) 1,796 (195) (52) (39) (3) (39) (36) 2
(29.0) (22.0) 25.7 (3.3) (0.9) (2.2) (1.4) (19.5) (46.8) 1.9
2.11 รายได้อื่น
58
46
12
26.1
30
28
93.3
8,948 8,602 28 318
9,107 8,897 16 194
(159) (295) 12 124
(1.7) (3.3) 74.4 63.8
11,400 11,210 25 165
(2,452) (2,608) 3 153
(21.5) (23.3) 11.6 92.5
157,469
163,822
(6,353)
(3.9)
177,338
(19,869)
(11.2)
4. รัฐวิสาหกิจ
12,183
15,034
(2,851)
(19.0)
10,806
1,377
12.7
5. หน่วยงานอื่น
5,547
1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีมลู ค่าเพิ่ม 1.2 ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 1.3 ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา 1.4 ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ามันฯ 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9
ภาษีรถยนต์ ภาษีเบียร์ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม
5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)
6,622
(1,075)
(16.2)
6,060
(513)
(8.5)
5,262 285 175,199
3/
6,376 246 185,478
(1,114) 39 (10,279)
(17.5) 15.9 (5.5)
5,778 282 194,204
(516) 3 (19,005)
(8.9) 1.1 (9.8)
35,300 22,100 13,200 1,300 1,200 137,399
4/
32,749 21,995 10,754 1,326 1,276 150,127
2,551 105 2,446 (26) (76) (12,728)
7.8 0.5 22.7 (2.0) (6.0) (8.5)
33,610 22,650 10,960 1,473 1,400 157,721
1,690 (550) 2,240 (173) (200) (20,322)
5.0 (2.4) 20.4 (11.7) (14.3) (12.9)
8,520
(484)
(5.7)
149,201
(19,838)
(13.3)
หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสาหรับสินค้าส่งออก
รวมรายได้สุทธิ (Net) หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ.ก้าหนดแผนฯ
รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรรแล้ว หมายเหตุ
8,036 129,363
4/ 4/
150,127
8,036
-
(20,764)
(13.8)
1/
ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 8 เมษายน 2557
2/
ภาษีไพ่ แก้วฯ เครื่องหอม เรือ พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด
3/
ตัวเลขจากระบบ GFMIS
4/
ตัวเลขคาดการณ์ จัดท้าโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 11 -
ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2557
1/
( ตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557 ) หน่วย : ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว ที่มาของรายได้ 1. กรมสรรพากร
ปีนี้
ปีที่แล้ว
จานวน
ร้อยละ
ปมก.ตามเอกสาร งปม.ทั้งปีเท่ากับ 2,275,000 ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.
จานวน
ร้อยละ
705,613
703,016
2,597
0.4
729,064
(23,451)
(3.2)
356,225 161,351 143,522 11,955 26,600 5,815 145 205,097
354,203 152,223 152,807 13,259 24,080 6,317 127 231,171
2,022 9,128 (9,285) (1,304) 2,520 (502) 18 (26,074)
0.6 6.0 (6.1) (9.8) 10.5 (7.9) 14.2 (11.3)
370,274 164,283 151,073 12,170 24,206 6,947 111 229,151
(14,049) (2,932) (7,551) (215) 2,394 (1,132) 34 (24,054)
(3.8) (1.8) (5.0) (1.8) 9.9 (16.3) 30.6 (10.5)
31,344 52,487 43,837 30,008 35,693 8,125 1,252 999 279 609 464
31,500 86,883 38,145 33,582 27,606 9,294 1,394 1,146 565 648 408
(156) (34,396) 5,692 (3,574) 8,087 (1,169) (142) (147) (286) (39) 56
(0.5) (39.6) 14.9 (10.6) 29.3 (12.6) (10.2) (12.8) (50.6) (6) 13.7
45,457 67,566 37,492 34,634 30,741 9,297 1,282 1,248 478 602 354
(14,113) (15,079) 6,345 (4,626) 4,952 (1,172) (30) (249) (199) 7 110
(31.0) (22.3) 16.9 (13.4) 16.1 (12.6) (2.3) (20.0) (41.6) 1.2 31.1
4. รัฐวิสาหกิจ
53,733 52,592 105 1,036 964,443 81,931
58,668 57,446 101 1,121 992,855 50,760
(4,935) (4,854) 4 (85) (28,412) 31,171
(8.4) (8.4) 4.0 (7.6) (2.9) 61.4
65,900 64,760 150 990 1,024,115 64,017
(12,167) (12,168) (45) 46 (59,672) 17,914
(18.5) (18.8) (30.0) 4.6 (5.8) 28.0
5. หน่วยงานอื่น
69,300
1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ามันฯ 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9
ภาษีรถยนต์ ภาษีเบียร์ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2/
2.10 ภาษีอื่น 2.11 รายได้อื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม
5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)
96,261
(26,961)
(28.0)
57,911
11,389
19.7
65,525 3,775 1,115,674
3/
91,924 4,337 1,139,876
(26,399) (562) (24,202)
(28.7) (13.0) (2.1)
54,640 3,271 1,146,043
10,885 504 (30,369)
19.9 15.4 (2.6)
140,627 111,374 29,253 7,855 6,845 960,347
4/
146,606 121,231 25,375 7,868 7,236 978,166
(5,979) (9,857) 3,878 (13) (391) (17,819)
(4.1) (8.1) 15.3 (0.2) (5.4) (1.8)
148,980 124,000 24,980 8,743 7,941 980,379
(8,353) (12,626) 4,273 (888) (1,096) (20,032)
(5.6) (10.2) 17.1 (10.2) (13.8) (2.0)
หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสาหรับสินค้าส่งออก
รวมรายได้สุทธิ (Net) 6/ หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. ก้าหนดแผนฯ
รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ
1/ 2/
24,426 935,921
5/ 5/
978,166
24,426
-
(42,245)
(4.3)
23,630
796
3.4
956,749
(20,828)
(2.2)
ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 8 เมษายน 2557 ภาษีไพ่ เครื่องแก้ว เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด
3/
ตัวเลขจากระบบ GFMIS
4/
เดือนตุลาคม 2556 - มกราคม 2557 เป็นตัวเลขจริง เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2557 เป็นตัวเลขคาดการณ์
5/
เดือนตุลาคม 2556 - กุมภาพันธ์ 2557 เป็นตัวเลขจริง เดือนมีนาคม 2557 เป็นตัวเลขคาดการณ์
6/
รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้ อปท. ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง ส้านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดท้าโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 12 -
สถานการณ์ด้านรายจ่าย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2557 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 130 ตอนที่ 93 ก เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2556 กาหนดวงเงินงบประมาณรายจ่ายจานวน 2,525,000 ล้านบาท สูงกว่าวงเงินปีงบประมาณ 2556 ร้อยละ 5.2 โดยแบ่งเป็นรายจ่ายประจา 2,017,244 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่เเล้วร้อยละ 6.1 รายจ่ายลงทุน 441,510 ล้านบาท ลดลงจาก ปีที่เเล้วร้อยละ 2.0 รายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ 52,822 ล้านบาท และรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 13,424 ล้านบาท โครงสร้างงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2557
โครงสร้างงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจ่าย (สัดส่วนต่อ GDP) - รายจ่ายประจา (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. รายรับ (สัดส่วนต่อ GDP) - รายได้ - เงินกู้ 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)
ปีงบประมาณ 2556 เพิ่ม/ลด จานวน ร้อยละ 2,400,000 0.8 19.5 1,900,477 3.2 79.2 -100.0 450,374 2.7 18.7 49,150 4.9 2.1 2,400,000 0.8 19.5 2,100,000 6.1 300,000 -25.0 12,295,000 8.2
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
- 13 -
หน่วย : ล้านบาท
ปีงบประมาณ 2557 เพิ่ม/ลด จานวน ร้อยละ 2,525,000 5.2 19.1 2,017,244 6.1 79.9 13,424 100.0 0.5 441,510 -2.0 17.5 52,822 7.5 2.1 2,525,000 5.2 19.1 2,275,000 8.3 250,000 -16.7 13,242,000 7.7
คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2556 เห็นชอบการกาหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2557 ที่อัตราร้อยละ 95.0 และกาหนดเป้าหมายการเบิกจ่าย รายจ่ายรายจ่ายลงทุนไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 82.0 ของวงเงินงบรายจ่ายลงทุน โดยได้กาหนดเป้าหมาย การเบิกจ่ายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่
เป้าหมายการเบิกจ่าย สะสม ณ สิ้นไตรมาส
1 2 3 4
555,500 1,161,500 1,767,500 2,398,750
เป้าหมายอัตราการ เบิกจ่ายสะสม ณ สิ้นไตรมาส (%) 22 46 70 95
เบิกจ่ายสะสม
อัตราการเบิกจ่าย (%)
760,825 1,243,364
30.1 49.2
เดือนมีนาคม 2557 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 165,457 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 60,020 ล้านบาท หรือร้อยละ 26.6 เดือนมีนาคม ปีงบประมาณ 1.รายจ่ายปีปจั จุบนั 1.1รายจ่ายประจา 1.2รายจ่ายลงทุน 2.รายจ่ายปีกอ่ น รวม
2557
2556
142,036 128,728 13,308 23,421 165,457
201,278 125,923 75,355 24,199 225,477
เปรียบเทียบ งปม. 2556 จานวน ร้อยละ (59,242) (29.4) 2,805 2.2 (62,047) (82.3) (778) (3.2) (60,020) (26.6)
ประกอบด้วย 1) การเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2557 จานวน 142,036 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้ว 59,242 ล้านบาท หรือร้อยละ 29.4 แบ่งเป็น รายจ่ายประจา 128,728 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 13,308 ล้านบาท โดยมีการเบิกจ่ายรายการที่สาคัญ คือ เงินอุดหนุนเฉพาะกิจกรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น 12,352 ล้านบาท รายจ่ายงบกลาง รายการเงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญ 11,694 ล้านบาท และเงินอุดหนุนกระทรวงศึกษาธิการ 7,717 ล้านบาท 2) การเบิกจ่ายรายจ่ายปีก่อน จานวน 23,421 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 778 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.2
ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) รัฐบาลได้เบิกจ่ายแล้วจานวนรวมทั้งสิ้น 1,384,103ล้านบาท สูงกว่าปีที่แล้ว 12,525 หรือร้อยละ 0.9
ประกอบด้วย 1) การเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2557 จานวน 1,243,364 ล้านบาท คิดเป็นอัตรา การเบิกจ่ายร้อยละ 49.2 ของวงเงินงบประมาณ 2,525,000 ล้านบาท สูงกว่าปีที่แล้ว 30,677 หรือร้อยละ 2.5 แบ่งเป็นรายจ่ายประจา 1,092,420 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 52.1 ของวงเงินงบประมาณ - 14 -
ต้นแต่ตน้ ปีงบประมาณจนถึงสิ้นเดือนมีนาคม 2557 ปีงบประมาณ 1.รายจ่ายปีปจั จุบนั 1.1รายจ่ายประจา 1.2รายจ่ายลงทุน 2.รายจ่ายปีกอ่ น รวม
2557
2556
1,243,364 1,092,420 150,944 140,739 1,384,103
1,212,687 1,063,598 149,089 158,891 1,371,578
เปรียบเทียบ งปม. 2556 ร้อยละต่อวงเงิน จานวน ร้อยละ งปม. 2557 30,677 2.5 49.2 28,822 2.7 52.1 1,855 1.2 35.2 (18,152) (11.4) 46.7 12,525 0.9 49.0
รายจ่ายประจาหลังโอนเปลี่ยนแปลง (2,096,645 ล้านบาท) รายจ่ายลงทุน 150,944 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 35.2 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน หลังโอนเปลี่ยนแปลง (428,355 ล้านบาท) โดยมี การเบิกจ่ายรายการที่สาคัญ ได้แก่ เงินอุดหนุน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น 163,919 ล้านบาท เงินอุดหนุนของกระทรวงการศึกษาธิการ 105,693 ล้านบาท และรายจ่ายอื่นธนาคาร เพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 82,770 ล้านบาท - การเบิกจ่ายงบกลาง มีจานวน 130,821 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 38.1 ของงบประมาณกลาง (343,131 ล้านบาท) โดยมีการเบิกจ่ายรายการที่สาคัญ ได้แก่ - เงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญ 73,560 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 55.6 - ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้าง 30,001 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 50.0 - เงินสารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของข้าราชการ 20,962 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.6 - เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงาน 2,163 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 45.6 -เงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น 3,564 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.9 2) การเบิกจ่ายรายจ่ายปีก่อน มีจานวน 140,739 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 46.7 ของวงเงินรายจ่ายปีก่อน (301,093 ล้านบาท) ต่ากว่าปีที่แล้ว 18,152 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.4
การเบิกจ่ายงบประมาณในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2557
ล้านบาท
2,500,000
2,500,000
2,000,000
2,000,000
1,500,000
1,500,000
1,000,000
1,000,000
500,000
500,000
0
0 ต.ค. 56 พ.ย. 56 ธ.ค. 56 ม.ค. 57 ก.พ. 57 มี.ค. 57 เม.ย. 57 พ.ค. 57 มิ.ย. 57 ก.ค. 57 ส.ค. 57 ก.ย. 57
ต.ค. 56 พ.ย. 56 ธ.ค. 56 ม.ค. 57 ก.พ. 57 มี.ค. 57 เม.ย. 57 พ.ค. 57 มิ.ย. 57 ก.ค. 57 ส.ค. 57 ก.ย. 57 ปีปจจุบัน(รายเดือน) 244,001 232,568 284,256 186,395 154,109 142,036 สะสม 2556 290,631 561,444 699,779 880,872 1,011,409 1,212,687 1,382,955 1,508,665 1,663,938 1,822,344 1,952,643 2,171,459 สะสม 2557 244,001 476,569 760,826 947,220 1,101,328 1,243,364
- 15 -
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในเดือนมีนาคม 2557 จานวน 211 ล้านบาท
- เดือนมีนาคม 2557 มีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จานวน 211 ล้านบาท ส่งผลให้ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึง เดือนมีนาคม 2557 มีการเบิกจ่ายทั้งสิ้น 1,112 ล้านบาท และตั้งแต่เริ่มโครงการ (เดือนตุลาคม 2552) เบิกจ่าย ไปแล้ว 328,802 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 94.2 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 348,940 ล้านบาท
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) ในเดือน มีนาคม 2557 จานวน 620 ล้านบาท
- เดือนมีนาคม 2557 มีการเบิกจ่ายเงินกูเ้ พื่อฟื้นฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) 620 ล้านบาท ส่งผลให้ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือน มีนาคม 2557 มีการเบิกจ่ายทั้งสิ้น 3,918 ล้านบาท และตั้งแต่เริ่มโครงการ (เดือนเมษายน 2554) เบิกจ่าย ไปแล้ว 26,584 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 67.7 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 39,285 ล้านบาท
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พรก.บริหาร - เดือนมีนาคม 2557 มีการเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พรก.บริหารจัดการน้าฯ 842 ล้านบาท ส่งผลให้ จัดการน้าฯ ในเดือนมีนาคม 2557 จานวน ตัง้ แต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือนมีนาคม 2557 842 ล้านบาท มีการเบิกจ่ายทั้งสิ้น 4,102 ล้านบาท และตั้งแต่ เริ่มโครงการ (เดือนกุมภาพันธ์ 2555) เบิกจ่ายไปแล้ว 19,604 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.6 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัตจิ านวน 350,000 ล้านบาท หน่วย: ล้านบาท
ปีงบประมาณ 2557 โครงการ
วงเงินทีไ่ ด้รับ อนุมัติ
2553
2554
2555
เบิกจ่าย 1/
1.โครงการภายใต้ปฏิบตั กิ ารไทยเข้มแข็ง 2. เงินกูเ้ พือ่ ฟืน้ ฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้าง พืน้ ฐาน (DPL) 2/ 3. เงินกูภ้ ายใต้ พรก. บริหารจัดการน้าฯ
348,940 39,285 350,000
234,369
ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ จนถึงสิ้ นเดือน มี.ค.57
มี.ค. 57
2556
ร้อยละของวงเงินที่ ได้รบั อนุมัติ
เบิกจ่าย
ร้อยละของวงเงินที่ ได้รบั อนุมัติ
ตั้งแต่เริ่มโครงการ จนถึงสิ้ นเดือน มี.ค.57 เบิกจ่าย
61,391
24,420
7,509
211
0.06
1,112
0.3
328,802
94.2
286
7,382
14,998
620
1.6
3,918
10.0
26,584
67.7
1,762
13,740
842
0.2
4,102
1.2
19,604
5.6
1/
หมายเหตุ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ยกเลิกวงเงินเหลือจ่ายคงเหลือ จานวน 1,020 ล้านบาท ทาให้เหลือวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 348,940 ล้านบาท (วงเงินที่ได้รับอนุมัติเดิม 349,960 ล้านบาท) 2/
ร้อยละของวงเงินที่ ได้รบั อนุมัติ
วงเงินกู้ DPL 1,300 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเทียบเท่า 39,285 ล้านบาท (อัตราแลกเปลีย่ นประมาณ 1 เหรียญสหรัฐฯ เท่ากับ 30 บาท) จากธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) จานวน 300 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นจานวนเงิน 9,209 ล้านบาท (เบิกครบแล้ว) จากธนาคารโลก (World Bank) จานวน 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเทียบเท่า 30,076 ล้านบาท (อัตราแลกเปลีย่ นประมาณ 1 เหรียญสหรัฐฯ เท่ากับ 30 บาท)(อยูร่ ะหว่างเบิก)
- 16 -
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ ทั้งสิ้น 1,393,235 ล้านบาท
- ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2557 มีการเบิกจ่าย เงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจจานวนทั้งสิ้น 1,393,235 ล้านบาท แบ่งเป็นงบประมาณรายจ่ายประจา ปีงบประมาณ 2557 จานวน 1,243,364 ล้านบาท รายจ่ายปีก่อน 140,739 ล้านบาท โครงการภายใต้ พรก. บริหารจัดการน้าฯ 4,102 ล้านบาท โครงการ เงินกูเ้ พื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) จานวน 3,918 ล้านบาท และโครงการลงทุน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 1,112 ล้านบาท
- 17 -
การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ ผลการเบิกจ่าย - เดือนมีนาคม 2557 มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ 703 ล้านบาท ตา่ กว่าเดือนเดียวกันปีทีแล้ว 540 ล้านบาท - ในช่วงครึงแรกของปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) มีการเบิกจ่ายเงินกูต้ ่างประเทศ 4,536.6 ล้านบาท ตา่ กว่าช่วงเดียวกันปีทีแล้ว 4,120.7 ล้านบาท สรุปการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ เดือนมีนาคม 2557 และในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2557 มีนาคม รายการ 1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL) 3. Development Policy Loan (DPL)* รวม
2557 83.0 620.0 703.0
เปลี่ยนแปลง จานวน ร้อยละ 8.5 74.5 876.5 1,234.5 -614.5 -49.8 1,243.0 -540.0 -43.4 2556
หน่วย : ล้านบาท ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ เปลี่ยนแปลง 2557 2556 จานวน ร้อยละ 618.6 530.8 87.8 16.5 183.0 -183.0 3,918.0 7,943.5 -4,025.5 -50.7 4,536.6 8,657.3 -4,120.7 -47.6
ทีมา : ส่านักงานบริหารหนีส้ าธารณะ, กรมบัญชีกลาง หมายเหตุ : * วงเงินกู้ DPL 1,300 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือ 39,284.50 ล้านบาท (อัตราแลกเปลียน 1 USD = 30 บาท) วงเงินที ครม. อนุมัติแล้ว 37,928.54 ล้านบาท ประกอบด้วยเงินกู้ภายใต้ TKK 17,684.99 ล้านบาท และนอก TKK 20,243.55 ล้านบาท
- 18 -
การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค.1/ เดือนมีนาคม 2557 กองทุนนอกงบประมาณเบิกจ่าย 30,055.2 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีทีแล้ว 2,388.5 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.4 เป็นผลจากการลดลงของรายจ่ายกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติเป็นส่าคัญ ในช่วงครึงแรกของปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) กองทุนฯ เบิกจ่าย 249,713.9 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีทีแล้ว 5,584.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.2 สาเหตุหลัก มาจากกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง มีรายจ่ายลดลง
เดือนมีนาคม 2557 มีการเบิกจ่ายรวม 30,055.2 ล้านบาท ต่า้ กว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 2,388.5 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.4 ประกอบด้วยรายจ่าย 28,147.3 ล้านบาท ต่า้ กว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 1,745.8 ล้านบาท และการให้กู้ยืม สุทธิ 1,907.9 ล้านบาท ต่า้ กว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 642.7 ล้านบาท ในช่วงครึงแรกของปีงบประมาณ 2557 มีการเบิกจ่ายรวม 249,713.9 ล้านบาท ต่า้ กว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 5,584.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.2 ประกอบด้วย 1) รายจ่าย 234,861.6 ล้านบาท ต่า้ กว่าช่วงเดียวกันของ ปีที่แล้ว 3,218.1 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.4 เป็นผลมาจากกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมื องมีรายจ่ายเพื่อการด้าเนินงานลดลง 8,308.8 ล้านบาท และกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีรายจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ลดลง 3,657.2 ล้านบาท แต่อย่างไรก็ดี กองทุนประกันสังคมมีการจ่ายผลประโยชน์ เพื่อสังคมเพิ่มขึ้น 4,620.7 ล้านบาท 2) เงินให้กู้ยืมสุทธิ 14,852.3 ล้านบาท ต่า้ กว่าช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 2,366.5 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.7 เป็นผลมาจาก กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษามีรายจ่ายเพื่อการกู้ยืมลดลง การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนมีนาคม 2557 และในช่วงครึงปีแรกของปีงบประมาณ 2557 มีนาคม
รายการ
เปรียบเทียบ
2557*
2556
1. รายจ่าย
28,147.3
29,893.1
-1,745.8
2. เงินให้กู้ยมื สุทธิ
1,907.9
2,550.6
-642.7
30,055.2
32,443.7
-2,388.5
รวม
จ่านวน
ร้อยละ
หน่วย : ล้านบาท ในช่วงครึงแรกของปีงบประมาณ เปรียบเทียบ 2557* 2556 จ่านวน ร้อยละ
-5.8 234,861.6 238,079.7 -25.2
14,852.3
17,218.8
-3,218.1
-1.4
-2,366.5 -13.7
-7.4 249,713.9 255,298.5 -5,584.6
-2.2
หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง 1/
การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ 14 กองทุน (จากกองทุนทั้งหมด 110 กองทุน) ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้้ามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการท้าของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนอ้อยและน้้าตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจยั
- 19 -
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2557 ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2557 รัฐบาล มีรายได้นาส่งคลัง 923,782 ล้านบาท และมีการเบิกจ่าย ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ กระแสเงินสดขาดดุล 520,417 ล้านบาท งบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อนรวม 1,384,103 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุล คิดเป็นร้อยละ 4.1 ของ GDP2 จานวน 460,321 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอก งบประมาณที่ขาดดุล 60,096 ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสด ขาดดุลทั้งสิ้น 520,417 ล้านบาท รัฐบาลชดเชยการขาดดุล โดยการออกพันธบัตร 130,160 ล้านบาท ส่งผลให้ เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2557 มีจานวน 213,667 ล้านบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด หน่วย: ล้านบาท
รายได้ รายจ่าย ปีปัจจุบัน ปีก่อน ดุลเงินงบประมาณ ดุลเงินนอกงบประมาณ ดุลเงินสดก่อนกู้ เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล ดุลเงินสดหลังกู้ เงินคงคลังปลายงวด
ครึ่งแรกของ ปีงบประมาณ 2557 ปีงบประมาณ 2556 923,782 978,883 1,384,103 1,371,578 1,243,364 1,212,687 140,739 158,891 (460,321) (392,695) (60,096) (137,247) (520,417) (529,942) 130,160 163,758 (390,257) (366,184) 213,667 194,153
เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ (55,101) (5.6) 12,525 0.9 30,677 2.5 (18,152) (11.4) (67,626) 17.2 77,151 (56.2) 9,525 (1.8) (33,598) (20.5) (24,073) 6.6 19,514 10.1
ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1
ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เป็นดุลการคลังที่แสดงให้เห็นผลกระทบต่อเงินคงคลังและการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปีปฏิทิน 2556 เท่ากับ11,897พันล้านบาท และคาดการณ์ GDP ปีปฏิทนิ 2557 เท่ากับ12,599พันล้านบาท
2
- 20 -
ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.)3 ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) รัฐบาลขาดดุล 454,807 ล้านบาท โดยขาดดุลงบประมาณ 423,725 ล้านบาท ในขณะที่ดุลบัญชีเงินนอก งบประมาณขาดดุล 21,331 ล้านบาท นอกจากนี้ มีรายจ่ายเพื่อวางระบบ การบริหารจัดการน้้า จ้านวน 4,102 ล้านบาท รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน (DPL) จ้านวน 3,918 ล้านบาท รายจ่ายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็ง จ้านวน 1,112 ล้านบาท
ด้านรายได้ รัฐบาลมีรายได้รวมทั้งสิ้น 994,454 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีทแล้ ี ว 13,679 ล้านบาท ประกอบด้วย รายได้ในงบประมาณ (ก่อนจัดสรรภาษีมูลค่าเพิมให้ อปท.) 991,701 ล้านบาท และเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 2,753 ล้านบาท ด้านรายจ่าย รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 1,418,179 ล้านบาท รายจ่ายสูงกว่าช่วงเดียวกันปีทีแล้ว 43,125 ล้านบาท ประกอบด้วยรายจ่าย (ไม่รวมรายจ่ายช่าระต้นเงินกู้ การถือครองสินทรัพย์ทางการเงิน รายจ่ายเงินกู้เพือฟื้นฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) รายจ่ายเพือวาง ระบบการบริหารจัดการน้่า เงินกู้ต่างประเทศ และรายจ่ายตาม แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง) จ่านวน 1,415,426 ล้านบาท และเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 2,753 ล้านบาท ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 423,725 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีทแล้ ี ว 56,804 ล้านบาท บัญชีเงินนอกงบประมาณ มีรายได้รวมทั้งสิ้น 221,773 ล้านบาท ตา่ กว่าช่วงเดียวกันปีทีแล้วร้อยละ 20.1 ในขณะที มีรายจ่ายจ่านวน 234,409 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกัน ปีทีแล้วร้อยละ 1.5 และมีเงินให้กู้หักช่าระคืน 8,695 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลบัญชีนอกงบประมาณขาดดุล 21,331 ล้านบาท ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล มีสาเหตุมาจากดุลเงิน งบประมาณทีขาดดุลเป็นส่าคัญ โดยเมือรวมกับดุลเงิน นอกงบประมาณทีขาดดุล รายจ่ายเพือวางระบบการบริหาร จัดการน้่า รายจ่ายเงินกู้เพือฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน (DPL) รายจ่ายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็ง และเงินกู้ต่างประเทศ จ่านวน 4,102 3,918 1,112 และ 619 ล้านบาท ตามล่าดับ ท่าให้ดุลการคลัง รัฐบาลขาดดุลจ่านวน 454,807 ล้านบาท
3
ดุลการคลังตามระบบ สศค. เป็นดุลการคลังทีสะท้อนเม็ดเงินทีแท้จริงทีส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ
-21-
ดุลการคลังเบื้องต้นของรัฐบาล (Primary Balance) ซึงเป็นดุลการคลังทีสะท้อนถึงผลการด่าเนินงานของรัฐบาล และทิศทางของนโยบายการคลังรัฐบาลอย่างแท้จริง (ไม่รวมรายได้ และรายจ่ายจากดอกเบี้ยและการช่าระ คืนต้นเงินกู้) ขาดดุลทั้งสิน้ 403,750 ล้านบาท ในขณะที ช่วงเดียวกันปีทแล้ ี วขาดดุล 313,929 ล้านบาท ดุลการคลังเบื้องต้นตามระบบ สศค. หน่วย : ล้านบาท เดือนมีนาคม ปีงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได้ 2. รายจ่าย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. แผนปฎิบัติการไทยเข้มแข็ง (TKK) 5. รายจ่ายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้า 6. รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) 7. เงินกู้ต่างประเทศ 8. ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ (8.1-8.2-8.3) 8.1 รายได้ 8.2 รายจ่าย 8.3 เงินให้กู้หักชาระคืน 9. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+8-4-5-6-7) 10. ดุลการคลังเบื้องต้นของรัฐบาล
ครึ่งแรกของปีงบประมาณ
2557
2556
เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ
147,950 179,509 (31,559) 211 842 620 83 5,820 34,775 28,147 808 (27,495) (19,657)
155,860 231,130 (75,270) 685 888 1,235 3 2,792 35,236 29,893 2,551 (75,289) (65,200)
(7,910) (51,621) 43,711 (474) (46) (615) 80 3,028 (461) (1,746) (1,743) 47,794 45,543
จัดท้าโดย : ส่านักนโยบายการคลัง ส่านักงานเศรษฐกิจการคลัง
-22-
(5.1) (22.3) (58.1) (69.2) (5.2) (49.8) 2,666.7 108.5 (1.3) (5.8) (68.3) (63.5) (69.9)
2557 994,454 1,418,179 (423,725) 1,112 4,102 3,918 619 (21,331) 221,773 234,409 8,695 (454,807) (403,750)
% of GDP 7.9 11.3 (3.4) 0.0 0.0 0.0 0.0 (0.2) 1.8 1.9 0.1 (3.6) (3.2)
2556 1,008,133 1,375,054 (366,921) 2,871 5,196 7,944 1,036 22,254 277,390 238,083 17,053 (361,714) (313,929)
% of GDP 8.5 11.6 (3.1) 0.0 0.0 0.1 0.0 0.2 2.3 2.0 0.1 (3.1) (2.6)
เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ (13,679) 43,125 (56,804) (1,759) (1,094) (4,026) (417) (43,585) (55,617) (3,674) (8,358) (93,093) (89,821)
(1.4) 3.1 15.5 (61.3) (21.1) (50.7) (40.3) (195.9) (20.1) (1.5) (49.0) 25.7 28.6
ดุลการคลังของภาคสาธารณะตามระบบงบประมาณ ระบบกระแสเงินสด และตามระบบ สศค. ปีงบประมาณ 2556 - 2557 ปีงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได้ - รายได้สุทธิ - จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. - จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ - เงินช่วยเหลือต่างประเทศ - อื่นๆ 2. รายจ่าย - รายจ่ายปีปจั จุบน ั (อัตราการเบิกจ่าย : %) - รายจ่ายปีกอ ่ น - จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. - จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ - เงินช่วยเหลือต่างประเทศ - หัก ส่วนเกินพันธบัตรรัฐบาล - อื่นๆ 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. ดุลนอกงบประมาณ 5. รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ 6. รายจ่ายจากไทยเข็มแข็ง (TKK) 7.รายจ่ายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้า 8.รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) 9. บัญชีนอกงบประมาณ(9.1-9.2-9.3) 9.1 รายได้ 9.2 รายจ่าย 9.3 เงินให้กู้หก ั ชาระคืน 10. การหับนับซ้าของรัฐบาล 10.1 รายได้ 10.2 รายจ่าย 11. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+4-5-6-7-8+9-10)
จานวน
% of GDP
เอกสารงบประมาณ
จานวน
2556
% of GDP
17.1
2,163,469.0
18.2
2,400,000.0 2,400,000.0
19.5 19.5
2,402,481.0 2,171,459.0 90.5 231,022.0
20.2 18.3
(300,000.0)
(2.4)
(2.4)
(239,012.0) 6,510.0
(232,502.0)
% of GDP
ระบบ สศค.
2,100,000.0
(300,000.0)
จานวน
ระบบกระแสเงินสด
1.9
(2.0) 0.1
จานวน
% of GDP
เอกสารงบประมาณ
2557e จานวน
หน่วย: ล้านบาท % of GDP
ระบบกระแสเงินสด
19.6 18.1 0.1 0.8 0.0
2,275,000.0
18.5
2,221,380.0
18.7
21.2 18.0
2,525,000.0 2,525,000.0
20.5 20.5
2,613,789.1 2,398,750.0 95.0 215,039.1
22.0 20.2
3,015.1 7,509.9 13,737.8 14,997.8 97,174.2 475,563.2 354,398.5 23,990.5 199,048.0 199,048.0 (136,616.5)
0.0 0.1 0.1 0.1 0.8 4.0 3.0 0.2 1.7 1.7 (1.1)
(2.0)
(1.6)
(250,000.0)
(250,000.0)
(2.0)
(1.9)
(392,409.1) 8,807.2
(383,601.9)
1.8
(3.3) 0.1
(3.0)
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 12. รายรับ (12.1+12.2) 533,227.6 4.5 12.1 รายได้ 304,696.6 2.6 12.2 เงินช่วยเหลือจากรัฐบาล 228,531.0 1.9 13 รายจ่าย 521,130.3 4.4 14. ดุลการคลัง (12-13) 12,097.3 0.1 15. การหักนับซ้าของภาครัฐบาล 15.1 รายได้ 228,531.0 1.9 15.2 รายจ่าย 228,531.0 1.9 16. ดุลการคลังของภาครัฐบาล (11+14-15) (124,519.2) (1.0) GDP (ล้านบาท) 12,295,000 11,897,449 11,897,449 13,242,000 12,599,000 หมายเหตุ 1. ดุลการคลังตามระบบงบกระแสเงินสดเป็นการแสดงรายได้ (รวมค่า Premium และรายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แต่ไม่รวมรายรับจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลและรายได้จากภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่โอนให้แก่อปท.) และรายจ่ายทั้งหมดจากบัญชีเงินคงคลัง 2. ระบบ สศค. มีรายการปรับปรุงรายได้เพิ่มเติมจากระบบกระแสเงินสด คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร่,ภาคหลวงปิโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,การชาระต้นเงินกู้พันธบัตร FIDF,เงินช่วยเหลือต่างประเทศ หัก การขายสินทรัพย์,เงินเหลือจ่าย,เงินกู้รับคืน รายได้เงินกู้รับคืน และรวมเงินภาษีที่จัดสรรให้ อปท. และเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ ตั้งแต่ปงี บประมาณ 2546 เป็นต้นมา 3. ระบบ สศค. มีการปรับปรุงทางด้านรายจ่าย คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร่,ภาคหลวงปิโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,เงินช่วยเหลือต่างประเทศ หัก ส่วนเกินพันธบัตร,การขายสินทรัพย์,เงินเหลือจ่าย,เงินให้กู้รับคืน และเงินภาษีที่จัดสรรให้อปท. 4. บัญชีนอกงบประมาณประกอบด้วย เงินทุนหมุนเวียน และกองทุนนอกงบประมาณ ทั้งนี้ ได้บน ั ทึกข้อมูลตามเกณฑ์คงค้าง สาหรับกองทุนน้ามันได้เริ่มบันทึกรายจ่ายชดเชยน้ามันตามเกณฑ์คงค้างตั้งแต่เดือนมกราคม 2547 เป็นต้นมา 5. รายได้ตามระบบกระแสเงินสดบันทึกอยู่ในระบบ cash basis ส่วนรายได้ตามระบบ สศค. บันทึกอยู่ในระบบ acrual basis 6. ข้อมูล GDP ปี 2557 อ้างอิงจากข้อมูลประมาณการจากสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557 จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมบัญชีกลาง สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ธนาคารแห่งประเทศไทย และ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันที่บน ั ทึกข้อมูล : 23 เมษายน 2557
-23-
% of GDP
ระบบ สศค.
2,329,778.4 2,157,471.7 9,420.9 93,613.5 2,161.2 67,111.3 2,524,308.5 2,137,999.4 89.1 237,555.5 9,420.9 93,613.5 2,161.2 2,161.5 45,719.7 (194,530.1)
2.0 0.1 0.8 0.0 0.0
จานวน 2,431,670.0 2,221,380.0 10,320.0 109,000.0 5,370.0 85,600.0 2,914,679.1 2,398,750.0 95.0 215,039.1 10,320.0 109,000.0 5,370.0 3,000.0 179,200.0 (483,009.1)
19.3 17.6 0.1 0.9 0.0
3,033.0 4,616.5 7,269.7 8,538.7 103,386.0 444,868.0 316,482.0 25,000.0 155,200.0 155,200.0 (403,081.0)
0.0 0.0 0.1 0.1 0.8 3.5 2.5 0.2 1.2 1.2 (3.2)
599,809.0 348,109.0 251,700.0 599,809.0 -
4.8 2.8 2.0 4.8 2.0 2.0 (3.2)
251,700.0 251,700.0 (403,081.0) 12,599,000
23.1 19.0 1.7 0.1 0.9 0.0 0.0 (3.8)
ฐานะการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556) 1. ด้านรายได้ อปท. จานวน 7,853 แห่ง มีรายได้รวม 191,611 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ปีที่แล้ว 52,243 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 37.5 โดย อปท. มีรายได้จากเงินอุดหนุน เพิ่มขึ้นมากที่สุด 51,658 ล้านบาท รองลงมาคือ รายได้จัดเก็บเองเพิ่มขึ้น 591 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.4 ทั้งนี้ รายได้ จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ลดลง 6 ล้านบาท (รายละเอียดตามตารางที่ 1) ตารางที่ 1 รายได้ของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2557 ประเภท 1. รายได้จดั เก็บเอง 1/ (ร้อยละของรายได้รวม) 1.1 รายได้จากภาษีอากร 1.2 รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 2. รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รฐั บาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ (ร้อยละของรายได้รวม) 3. รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (ร้อยละของรายได้รวม) รวม (ร้อยละของรายได้รวม)
ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2557 ปีงบประมาณ 2556 5,799 5,208 3.0 3.7 2,658 2,043 3,141 3,165 42,102 42,108 22.0 30.2 143,710 92,052 75.0 66.0 191,611 139,368 100.0 100.0
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จานวน 591
ร้อยละ 11.4
615 (24) (6)
30.1 (0.8) (0.01)
51,658
56.1
52,243
37.5
หมายเหตุ : ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2557 ที่มา : 1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก กรมการปกครอง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง รวบรวมโดย : ส่วนระบบสถิติการคลัง สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
รายได้ของ อปท. จาแนกตามแหล่งที่มาได้ ดังนี้ 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง จานวน 5,799 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 591 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.4 ประกอบด้วยรายได้จากภาษีอากร 2,658 ล้านบาท และรายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 3,141 ล้านบาท 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จานวน 42,102 ล้านบาท ลดลง จากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 6 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.01 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จานวน 143,710 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 51,658 ล้านบาท หรือร้อยละ 56.1
- 24 -
2. ด้านรายจ่าย อปท.1 จานวน 7,853 แห่ง มีรายจ่ายทั้งสิ้น 120,136 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 17,728 ล้านบาท หรือร้อยละ 17.3 โดยมีรายจ่ายพิเศษหมวดเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เพิ่มขึ้น 4,394 ล้านบาท 3. ดุลการคลัง อปท.2 71,475 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 34,515 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 93.4 (รายละเอียดตามตารางที่ 2 และแผนภูมิที่ 1) ตารางที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2557 ประเภท 1. รายได้
ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2557 ปีงบประมาณ 2556 191,611 139,368
1.1 รายได้ที่จดั เก็บเอง 1/ 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง
4/
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ 52,243 37.5
5,799
5,208
591
11.4
42,102
42,108
(6)
(0.01)
143,710
92,052
51,658
56.1
120,136
102,408
17,728
17.3
71,475
36,960
34,515
93.4
หมายเหตุ : ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2557 ที่มา : 1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก กรมการปกครอง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. รวบรวมโดย : ส่วนระบบสถิติการคลัง สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2557
1
โดยพิจารณาจากผลต่างของรายได้กับดุลการคลังของ อปท. (การเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM)) จากธนาคารแห่งประเทศไทย 2 ดุลการคลัง อปท. พิจารณาจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) . จากธนาคารแห่งประเทศไทย
- 25 -
สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2557 หน่วย : ล้านบาท
หนี้สาธารณะคงค้าง จานวน 5,530,363.9 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 46.1 ของ GDP เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้ว 64,165.9 ล้านบาท ประกอบด้วย หนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 93.2 ส่วนที่เหลือร้อยละ 6.8 เป็นหนี้ต่างประเทศ หนี้คงค้างที่เพิ่มขึ้น มีสาเหตุหลักมาจากหนี้ของ รัฐบาลเพิ่มขึ้น 67,464.3 ล้านบาท ในขณะที่หนี้รัฐวิสาหกิจลดลง 3,298.4 ล้านบาท หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง เพิ่มขึ้น 67,464.3 ล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว โดยมีสาเหตุหลักจากการกู้เงิน เพื่อชดเชยการขาดดุล งบประมาณ 36,870.3 ล้านบาท รวมทั้งหนี้เงินกู้ล่วงหน้า เพื่อปรับโครงสร้างหนี้เพิ่มขึ้น 29,000 ล้านบาท
1. รวมหนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง-ต่างประเทศ หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ
ณ 31 ม.ค. 57 3,838,401.41 71,901.38 3,766,500.03 1,626,961.97 117,332.22 859,162.42 186,481.25 463,986.08 834.69 0 834.69 0 5,466,198.07
หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน-ต่างประเทศ หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกัน-ต่างประเทศ** หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกัน-ในประเทศ** 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น * หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างรวม (1+2+3+4) GDP*** 11,947,480.00 หนี้สาธารณะคงค้างรวมต่อ GDP (%) 45.75 หมายเหตุ * หน่วยงานภาครัฐอื่น เช่น ส้านักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
ณ 28 ก.พ. 57 3,905,865.68 72,366.69 3,833,498.99 1,623,663.57 118,242.42 853,512.42 185,638.65 466,270.08 834.69 0 834.69 0 5,530,363.94 11,997,510.00 46.10
และชุมชนเมืองแห่งชาติ และสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน เป็นต้น ** ไม่รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน *** ส้านักงานบริหารหนีส้ าธารณะได้ปรับวิธีการค้านวณ GDP ในแต่ละเดือน โดย GDP ของเดือนมกราคม 2557 ค้านวณดังนี้ [GDP ไตรมาส 1 ป 56/3]*2 + [GDP ไตรมาส 2 - 4 ปี 56] + [(ประมาณการ GDP ปี 57)/12] เท่ากับ 11,947.48 พันล้านบาท และของเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ค้านวณดังนี้ [GDP ไตรมาส 1 ป 56/3] + [GDP ไตรมาส 2 - 4 ปี 56] + [(ประมาณการ GDP ปี 57)/12]*2 เท่ากับ 11,997.51 พันล้านบาท
- -26-
หนี้ของรัฐวิสาหกิจลดลง 3,298.4 ล้านบาท เมื่อเทียบ กับเดือนที่แล้ว โดยมีสาเหตุหลัก จากธนาคารอาคารสงเคราะห์ ไถ่ถอนพันธบัตรที่ครบก้าหนด 3,000 ล้านบาท หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว
สัดส่วนหนี้ในประเทศและหนี้ต่างประเทศ หนี้ในประเทศ หนี้ต่างประเทศ จ้านวน (ล้านบาท) 5,154,116.2 376,247.8 ร้อยละ (%) 93.2 6.8 สัดส่วนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น หนี้ระยะยาว 5,422,468.8 98.1
จ้านวน (ล้านบาท) ร้อยละ (%)
-27-
หนี้ระยะสั้น 107,895.1 1.9
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังได้กาหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคล้องกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเป้าหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพด้านการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบด้วยตัวชี้วัดและเป้าหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 การจัดทางบประมาณสมดุล สัดส่วนรายจ่ายลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายไม่ต่ากว่าร้อยละ 25 สานักงานเศรษฐกิจการคลังได้จัดทาการวิเคราะห์ความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะห์ระหว่าง ปีงบประมาณ 2557 – 2561 ซึ่งสรุปได้ดังนี้ สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ในปีงบประมาณ 2557 อยู่ที่ร้อยละ 46.2 และลดลง เป็นร้อยละ 42.9 ในปีงบประมาณ 2561 ระดับภาระหนี้ต่องบประมาณอยู่ในระดับร้อยละ 7.4 ในปีงบประมาณ 2557 และ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 9.5 ในปีงบประมาณ 2561 รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยกาหนดให้ปีงบประมาณ 2557 ถึง 2559 ขาดดุลงบประมาณ 250,000 150,000 และ 75,000 ล้านบาท ตามลาดับ และ จัดทางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2560 เพื่อรักษาวินัยการคลังและขับเคลื่อน เศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ สัดส่วนรายจ่ายลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายคาดว่าจะอยู่ในระดับเฉลี่ย ร้อยละ 14.3 ต่องบประมาณรายจ่ายตลอดช่วงปีงบประมาณ 2557 – 2561 ซึ่งต่ากว่าระดับที่กาหนดไว้ อย่างไรก็ดี รัฐบาลได้พยายามที่จะดาเนินโครงการลงทุนทั้งในส่วนของ พรก. ให้อานาจ กระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อบริหารจัดการน้าฯ และการกู้เงินเพื่อลงทุนโครงสร้างพื้นฐานฯ ในปี 2557 - 2561 ซึ่งเมื่อรวมการลงทุนดังกล่าวจะทาให้สัดส่วนรายจ่ายลงทุนต่อ งบประมาณเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับเฉลี่ย ร้อยละ 21.5 ต่องบประมาณรายจ่าย
- 28 -
ผลการวิเคราะห์การดาเนินงานตามกรอบความยั่งยืนทางการคลัง 1)
1. หนี้สาธารณะคงค้าง /GDP (FY) (1.2/1.1) 1.1 nominal GDP (FY)1) 1.2 หนี้สาธารณะคงค้าง 2. ภาระหนี้/งบประมาณ2) ( 2.1/3.2) 2.1 ภาระหนี้ (2.1.1 + 2.1.2) 2.1.1 ชาระต้นเงินกู้ 2.1.2 ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม 3. ดุลงบประมาณ (3.1 - 3.2) 3.1 รายได้รัฐบาลสุทธิ3) 3.2 งบประมาณรายจ่าย4) 4. รายจ่ายลงทุน/งบประมาณ (4.1/3.2) 4.1 รายจ่ายลงทุน ที่มา: 1) 2) 3) 4)
2557 46.2 12,696,050 5,870,270 7.4 185,862 52,822 133,040 -250,000 2,275,000 2,525,000 17.5 441,029
2558 45.4 13,699,038 6,220,277 9.5 241,335 76,300 165,035 -150,000 2,389,000 2,539,000 12.3 311,209
2559 44.9 14,726,466 6,612,603 9.7 257,086 79,402 177,684 -75,000 2,577,000 2,652,000 13.9 368,202
หน่วย : ล้านบาท 2560 2561 44.0 42.9 15,830,950 17,018,272 6,970,222 7,295,218 9.7 9.5 270,974 285,353 84,714 90,418 186,260 194,935 0 0 2,780,000 2,999,000 2,780,000 2,999,000 13.3 14.8 368,580 443,925
ข้อสมมติฐานเศรษฐกิจปี 2557 – 2561 จากสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ข้อมูลภาระหนี้ต่องบประมาณปี 2557 จากเอกสารงบประมาณ และปี 2558 – 2561 ตัวเลขเบื้องต้นภายใต้สมมติฐานรายได้ และรายจ่าย ของ สศค. ประมาณการรายได้รัฐบาลสุทธิ ปี 2557 จากเอกสารงบประมาณ และปี 2558 จากมติคณะทางานติดตามผลการจัดเก็บรายได้ของรัฐบาล สาหรับประมาณการายได้รัฐบาลสุทธิ ปี 2559 – 2561 ประมาณการโดย สศค. ข้อมูลงบประมาณรายจ่ายปี 2557 จากเอกสารงบประมาณ และปี 2558 – 2561 ประมาณการโดย สศค.
- 29 -
การดาเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ปี 2556 (ณ 31 ธันวาคม 2556) โครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมเชิงนโยบายรัฐ (Public Service Account) จาแนกตามสถาบันการเงิน หน่วย : ล้านบาท
สถาบันการเงิน เฉพาะกิจ ธ. ออมสิน ธ.ก.ส. ธอส. ธสน. ธพว. บสย. ธอท. รวมทุกสถาบัน การเงินเฉพาะกิจ
ณ 31 ธ.ค. 2556 เฉพาะกิจ* ประมาณการความเสียหาย ประมาณการภาระ ที่ต้องได้รับการชดเชยจาก ความเสียหายคงเหลือ NPLs Ratio รัฐบาล ตั้งแต่เริ่ม - สิน้ สุด รอการชดเชยจาก สินเชื่อคงค้าง NPLs (%) โครงการ รัฐบาล 25,847.25 0.00 0.00 12,121.76 9,227.48 853,593.37 1,047.77 0.12 51,104.15 12,011.45 20,812.69 426.83 2.05 4,306.72 3,377.93 4,561.01 0.00 0.00 1,050.00 996.12 34,468.00 4,668.00 13.54 7,901.05 6,380.97 186,045.58 8,704.83 4.57 14,131.24 12,173.95 2,700.47 1,040.01 38.51 1,311.15 1,105.73 1,128,028.37
15,887.44
1.41
91,926.07
45,273.63
หมายเหตุ * สถาบันการเงินเฉพาะกิจในที่นี้ ยกเว้น บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (บตท.) เนื่องจากไม่มีรายการธุรกรรมนโยบายรัฐ ** ในกรณีของ บสย. เป็นภาระค้้าประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) และอัตราส่วนภาระค้้าประกันสินเชื่อต่อเงินกองทุน (Gearing Ratio) ที่มา สถาบันการเงินเฉพาะกิจ
สินเชื่อคงค้างและหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ยอดสินเชื่อคงค้างของโครงการตามนโยบายรัฐที่มีการแยกบัญชี PSA มีจ้านวนทั้งสิ้น 1,128,028.37 ล้านบาท ในขณะที่ยอด NPLs เท่ากับ 15,887.44 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อคงค้างร้อยละ 1.41 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ธนาคารออมสิน มียอดสินเชื่อคงค้าง 25,847.25 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.29 ของสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ลดลงจากไตรมาสก่อนที่มียอดสินเชื่อคงค้างจ้านวนทั้งสิ้น 41,236.53 ล้านบาท สาเหตุเกิดจาก การสิ้นสุดโครงการ Soft loan ที่ให้การช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ประกอบกิจการใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ แทนธนาคารแห่งประเทศไทย โดยธนาคารออมสินไม่มีหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ เนื่องจากโครงการ Soft Loan ของธนาคารออมสินเป็นการปล่อยสินเชื่อให้แก่ธนาคารพาณิชย์ในรูปเงินฝาก ในขณะที่บางโครงการเป็นโครงการ ที่เริ่มด้าเนินการปล่อยกู้ เช่น โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาระบบป้องกันอุทกภัย และโครงการสินเชื่อเพื่อก่อสร้างระบบ ป้องกันอุทกภัยในนิคมอุตสาหกรรม เป็นต้น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เป็น SFIs ที่มีการด้าเนินโครงการ PSA และ ยอด NPLs คิดเป็นมูลค่ามากที่สุด โดยยอดสินเชื่อคงค้างมีจ้านวนทั้งสิ้น 853,593.37 ล้านบาท ในขณะที่ มี NPLs 1,047.77 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสก่อนที่มี NPLs 23,421.27 ล้านบาท สาเหตุหลักเกิดจาก -30-
โครงการรักษาเสถียรภาพราคายาง ปี 54/55 คณะรัฐมนตรีได้ขยายอายุโครงการแล้ว ดังนั้น ธ.ก.ส. จึงไม่ต้อง จัดชั้นให้ยอดสินเชื่อคงค้างของโครงการดังกล่าวเป็น NPLs อีกต่อไป ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) มียอดสินเชื่อคงค้างโครงการแยกบัญชี PSA 20,812.69 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 1.85 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs 426.83 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อคงค้างเท่ากับร้อยละ 2.05 ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) มียอดสินเชื่อคงค้างของโครงการ PSA เท่ากับ 4,561.01 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.40 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่ไม่มีมูลค่าหนี้ ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ เนื่องจากมีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการประมาณ 20 ราย รวมถึงหลักเกณฑ์การปล่อยสินเชื่อของ โครงการที่ค่อนข้างเข้มงวด ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) มียอดสินเชื่อคงค้างโครงการ แยกบัญชี PSA 34,468.00 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.06 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs 4,668.00 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อคงค้างเท่ากับ ร้อยละ 13.54 บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) มียอดสินเชื่อคงค้างโครงการแยกบัญชี PSA จ้านวน 186,045.58 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 16.49 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะ ที่ มียอด NPGs1 จ้านวน 8,704.83 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ NPGs ต่อยอดภาระค้้าประกันคงเหลือเท่ากับ ร้อยละ 4.57 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (ธอท.) มียอดสินเชื่อคงค้างรวมทุกโครงการ 2,700.47 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 0.24 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs 1,040.01 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อคงค้างเท่ากับร้อยละ 38.51 และเป็นสัดส่วนสูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกับ SFIs อื่น ๆ สาเหตุส่วนหนึ่งเกิดจากการพิจารณาปล่อยสินเชื่อที่ไม่รอบคอบ การประเมินหลักประกันไม่ถูกต้อง จนส่งผลให้ ยอดสินเชื่อสูงกว่าหลักประกัน และการติดตามดูแลลูกหนี้ไม่ดีพอ ประมาณการความเสียหายจากโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมเชิงนโยบายรัฐ (PSA) ส้าหรับภาระการชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA นั้น สามารถประมาณการความเสียหาย ที่สถาบันการเงินเฉพาะกิจต้องได้รับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จ้านวนทั้งสิ้น 91,926.07 ล้านบาท โดยรัฐบาลชดเชยไปแล้ว 46,652.44 ล้านบาท คงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 45,273.63 ล้านบาท ธนาคารออมสิน รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึง สิ้นสุดโครงการ จ้านวนทั้งสิ้น 12,121.76 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาลมีการชดเชยแล้ว 2,894.28 ล้านบาท คงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 9,227.48 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 20.38 ของประมาณการ ภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
1
NPG คือภาระค้้าประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพของ บสย.
-31-
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจาก โครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึง 31 ธันวาคม 2556 จ้านวนทั้งสิ้น 51,104.15 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาล ชดเชยไปแล้ว 39,092.70 ล้านบาท คงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 12,011.45 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 26.53 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จ้านวนทั้งสิ้น 4,306.72 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาลชดเชยแล้ว 928.79 ล้านบาท คงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 3,377.93 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.46 ของประมาณการ ภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจาก โครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จ้านวนทั้งสิ้น 1,050.00 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาลชดเชย แล้ว 53.88 ล้านบาท คงเหลือความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 996.12 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.20 ของ ประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) รัฐบาลมีภาระชดเชย ความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จ้านวนทั้งสิ้น 7,901.05 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาลชดเชยแล้ว 1,520.08 ล้านบาท คงเหลือความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 6,380.97 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.09 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจาก โครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จ้านวนทั้งสิ้น 14,131.24 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาล ชดเชยแล้ว 1,957.29 ล้านบาท คงเหลือความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 12,173.95 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 26.89 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ทั้งนี้ บสย. มีความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาลมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โครงการ Portfolio Guarantee Scheme ระยะที่ 1 – 52 ที่มีความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาล 7,073.31 ล้านบาท (จากประมาณการความเสียหาย ของโครงการดังกล่าว 9,007.41 ล้านบาท) ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (ธอท.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จ้านวนทั้งสิ้น 1,311.15 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาลชดเชยแล้ว 205.42 ล้านบาท คงเหลือความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 1,105.73 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.44 ของประมาณการ ภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
2
โครงการ Portfolio Guarantee Scheme เป็นโครงการเพื่อช่วยเหลือ SMEs ในทุกกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และต้องการสินเชื่อแต่ขาด หลักประกัน ให้มีโอกาสเข้าถึงสินเชื่อจากสถาบันการเงิน ซึ่งสินเชื่อที่ได้รับการค้้าประกันจาก บสย. ตามโครงการ Portfolio Guarantee Scheme นั้น สถาบันการเงินต่าง ๆ สามารถถือเสมือนว่าได้รับการค้้าประกันโดยทางอ้อมจากรัฐบาล
-32-
การกระจายอานาจทางการคลัง ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรอบแนวทางการบริหารด้านรายจ่ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรอบแนวทางการบริ หารเงินสะสมขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น (อปท.) เป็นไปตามระเบียบ กระทรวงมหาดไทย ดังนี้ 1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับ เงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และ การตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2548 ออกตามความในมาตรา 6 และมาตรา 76 แห่งพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 69 และมาตรา 77 แห่งพระราชบัญญัติเ ทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 5 และมาตรา 88 แห่ง พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 สรุปสาระสาคัญ ดังนี้ 1) เงินสะสม หมายถึง เงินที่เหลือจ่ายจากเงินรายรับตามงบประมาณรายจ่ายประจาปีและหรืองบประมาณ รายจ่ายเพิ่มเติม และให้หมายความรวมถึงรายรับอื่นๆ ที่ อปท. ได้รับไว้ภายในสิ้นปีงบประมาณหลังจากที่ได้ หักทุนสารองเงินสะสมไว้แล้วและรวมทั้งเงินสะสมปีก่อนๆ ด้วย 2) ทุนสารองเงินสะสม หมายถึง ยอดเงินสะสมที่กันไว้จานวนร้อยละ 25 ของยอดเงินสะสมประจาปี โดยที่ทุนสารองเงินสะสมนี้ให้เพิ่มขึ้นร้อยละ 25 ของทุกปี 3) หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายเงินสะสมและเงินทุนสารองสะสม 3.1) กิจการตามข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี แต่ระยะสามเดือนแรกของปีงบประมาณ อปท. ไม่สามารถจัดเก็บรายได้เพียงพอ อปท. อาจนาเงินสะสมทดรองจ่ายไปก่อนได้ กรณี ที่ อปท. ได้ รั บ แจ้ ง การจัด สรรเงิ นอุ ดหนุนที่ รัฐ บาลระบุวั ตถุป ระสงค์ ให้ ไปดาเนิน การ ตามอานาจหน้าที่ยกเว้นงบลงทุน แต่ยังมิได้รับเงิน หากมีความจาเป็นต้องใช้เงินก่อน อปท. อาจยืมเงินสะสม ทดรองจ่ า ยไปก่ อ น เมื่ อ ได้ รั บ เงิ น งบประมาณดั ง กล่ า วแล้ ว ให้ ท าบั น ทึ ก ส่ ง ใช้ เ งิ น สะสมที่ ยื มตามวิ ธี ก าร ที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกาหนด กรณีที่ อปท. ใดมีกิจการพาณิชย์ หากมีความจาเป็นกิจการพาณิชย์อาจขอยืมเงินสะสมของ อปท. ไปทดรองจ่ายเพื่อบริหารกิจการไปก่อนได้ โดยความเห็นชอบจากสภาท้องถิ่นและให้ส่งชดใช้เงินสะสม เมื่อสิ้นปีงบประมาณ กรณีที่ อปท. ใด มีผู้รับบานาญที่ย้ายภูมิลาเนาและประสงค์จะโอนการรับเงินบานาญไปรับ ใน อปท. ประเภทเดียวกันในท้องที่ที่ย้ายไปอยู่ใหม่ อปท. อาจยืมเงินสะสมของ อปท. ใหม่ทดรองจ่ายให้กับ ผู้รับบานาญนั้นได้โดยอานาจของผู้บริหารท้องถิ่น และเมื่อได้รับเงินคืนให้ทาบัญชีส่งใช้เงินสะสมตามวิธีการ ที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกาหนด
-33-
3.2) อปท. อาจใช้เงินสะสมได้โดยได้รับการอนุมัติจากสภาท้องถิ่นภายใต้เงื่อนไข ดังนี้ 3.2.1) ให้กระทาได้ในกิจการที่อยู่ในอานาจหน้าที่ของ อปท. เกี่ยวกับบริการชุมชนและสังคม หรือกิจการที่เพิ่มพูนรายได้หรือเพื่อบาบัดความเดือดร้อนของประชาชน ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามแผนพัฒนาของ อปท. 3.2.2) ได้ส่งเงินสมทบกองทุนส่งเสริมกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท เรียบร้อยแล้ว (ร้อยละ 10 ของเงินสะสม) 3.2.3) เมื่อได้รับอนุมัติให้ใช้เงินสะสมแล้ว อปท. ต้องดาเนินการก่อหนี้ผูกพันให้เสร็จสิ้นภายใน ระยะเวลาไม่เกินหนี่งปีของปีถัดไป หากไม่ดาเนินการภายในกาหนดให้การใช้จ่ายสะสมนั้นเป็นอันพับไป ทั้งนี้ ให้ อปท. มียอดเงินสะสมคงเหลือเพียงพอที่จะจ่ายค่าใช้จ่ายประจาและกรณีฉุกเฉินที่มี สาธารณภัยเกิดขึ้น โดยการจ่ายเงินสะสมให้คานึงถึงฐานะการคลังและเสถียรภาพระยะยาว 3.3) กรณี ที่ ง บประมาณรายจ่ า ยบั ง คั บ ใช้ แ ล้ ว มี ง บประมาณไม่ เ พี ย งพอที่ จ ะจ่ า ย หรื อ ไม่ ไ ด้ ตั้งงบประมาณเพื่อการนั้นไว้ ให้ อปท. จ่ายขาดเงินสะสมได้ โดยได้รับอนุมัติจากผู้บริห ารท้องถิ่นในกรณี ต่อไปนี้ 3.3.1) รับโอน เลื่อนระดับ เลื่อนขั้นเงินเดือนพนักงานส่วนท้องถิ่น 3.3.2) เบิ ก เงิน ให้ ผู้ บ ริ ห ารท้ องถิ่น ผู้ ช่ว ยผู้ บ ริห ารท้อ งถิ่ น สมาชิก สภาท้ องถิ่ น เลขานุก าร ผู้บริหารท้องถิ่น เลขานุการสภาท้องถิ่น ที่ปรึกษาผู้บริหารท้องถิ่น พนักงานส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีสิทธิได้รับเงิน ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้ง อปท. นั้น ตลอดจนลูกจ้างซึ่งมีสิทธิได้รับเงินอื่นตามกฎหมาย ระเบียบ คาสั่ง หรือหนังสือกระทรวงมหาดไทย ในระหว่างปีงบประมาณนั้น 3.4) ภายใต้บังคับข้อ 3.2) ในกรณีฉุกเฉินที่มีสาธารณภัยเกิดขึ้น โดยผู้บริหารท้องถิ่นอนุมัติให้จ่ายขาด เงินสะสมได้ตามความจาเป็นในขณะนั้น โดยให้คานึงถึงฐานะการเงินการคลังของ อปท. นั้น 3.5) การจ่ายเงินทุนสารองเงินสะสมจะกระทาได้ต่อเมื่อยอดเงินสะสมในส่วนที่เหลือมีไม่เพียงพอต่อ การบริหาร ให้ขอความเห็นชอบจากสภาท้องถิ่น และขออนุมัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด ในกรณีที่ปีใด อปท. มียอดเงินทุนสารองเงินสะสมเกินร้อยละ 25 ของงบประมาณรายจ่าย ประจาปีนั้น หากมีความจาเป็น อปท. อาจนาเงินยอดส่วนที่เกินไปใช้จ่ายได้โดยได้รับอนุมัติจากสภาท้องถิ่น ภายใต้เงื่อนไขให้กระทาได้ในกิจการที่อยู่ในอานาจหน้าที่ของ อปท. เกี่ยวกับบริการชุมชนและสังคม หรือ กิจการที่เพิ่มพูนรายได้หรือเพื่อบาบัดความเดือดร้อนของประชาชน ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามแผนพัฒนาของ อปท. 2. ระเบี ย บกระทรวงมหาดไทยว่ า ด้ ว ยเงิ น ทุ น สะสมขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด พ.ศ. 2541 ออกตามความในมาตรา 6 และมาตรา 76 แห่งพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 สรุปสาระสาคัญ ดังนี้ 1) การนาส่งเงินสะสม 1.1) เงินสะสม หมายถึง เงินที่เหลือจ่ายจากเงินรายรับของงบทั่วไป ตามงบประมาณรายจ่ายประจาปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม และให้หมายความถึงเงินรายรับอื่นที่ อปท. ได้รับไว้ภายในสิ้นปีงบประมาณ หลังจากที่ได้หักทุนสารองเงินสะสม และลูกหนี้ที่เกิดจากรายได้ค้างชาระประจาปีแล้ว 1.2) กาหนดให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ทุกแห่งจัดส่งเงินจานวนร้อยละสิบของเงินสะสม ประจาทุกปีไปให้ประธานคณะอนุกรรมการเงินทุน สะสมองค์การบริห ารส่วนจังหวัด ภายในเดือนธัน วาคม ของทุกปี โดยให้คณะอนุกรรมการฯ นาฝากไว้กับธนาคาร -34-
2) การบริหารเงินสะสมและดอกผลรวมทั้งเงินที่มีผู้อุทิศให้ 2.1) กาหนดให้มีคณะกรรมการควบคุมเงินทุนสะสมองค์การบริห ารส่ วนจังหวัด ที่มีปลัดกระทรวง มหาดไทยเป็นประธาน โดยมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ 2.1.1) กาหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อใช้ในการดาเนินกิจการ การบริห ารเงินทุน และควบคุม การดาเนินการ 2.1.2) พิจารณาอนุมัติให้ อบจ. กู้ยืมเงิน เพื่อดาเนินกิจการอันเป็นการลงทุนตามอานาจหน้าที่ ของ อบจ. 2.1.3) พิ จ ารณาอนุ มั ติ ง บประมาณรายจ่ า ยของส านั ก งานเงิ น ทุ น สะสมองค์ ก ารบริ ห าร ส่วนจังหวัด 2.1.4) พิจารณาอนุมัติให้กองเงินทุนส่งเสริมกิจการเทศบาล กองเงินทุนส่งเสริมกิจการสุขาภิบาล กองเงินทุนส่ งเสริมกิจการองค์การบริ หารส่ วนตาบล สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการส่วนจังหวัด จากัด และ สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการกรมการปกครอง จากัด กู้ยืมเงินจากรายได้หลังจากมีการกันเงินสารองไว้ร้อยละ ยี่สิบของเงินรายได้สะสมแล้ว 2.1.5) ให้ ความเห็ น ชอบในการกาหนดหลั ก เกณฑ์ เ กี่ ยวกั บ การบริ ห ารงานบุค คล การคลั ง การงบประมาณ การรักษาประโยชน์ทรัพย์สิน การจัดหาพัสดุ การก่อหนี้ผูกพัน การอนุมัติการจ่ายเงินทุน เงินรายได้และอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารเงินทุนสะสมองค์การบริหารส่วนจังหวัด 2.2) หลักเกณฑ์การให้กู้เงินและผลตอบแทนต่อ อบจ. 2.2.1) ให้ อบจ. กู้ไปดาเนิ นการตามอานาจหน้าที่โ ดยชาระเงินต้นคืนพร้อมดอกเบี้ยภายใน ระยะเวลาไม่เกินสิบห้าปี 2.2.2) อบจ. สามารถกู้เงินทุนสะสมได้ภายในวงเงินทุ นสะสมของ อบจ. ผู้ขอกู้เป็นหลั กโดย คานึงถึงฐานะการคลังของตนเองเป็นสาคัญ 2.2.3) เกณฑ์ คิ ด อั ต ราดอกเบี้ ย เงิ น กู้ เ ป็ น ไปตามที่ ค ณะกรรมการฯ ก าหนด แต่ ต้ อ งไม่ เ กิ น ร้อยละแปดต่อปี 2.2.4) ผลตอบแทน ให้ จ่ า ยดอกเบี้ ย ให้ แ ก่ อบจ. ที่ ส่ ง เงิ น ฝากเงิ น ทุ น ในอั ต ราตามที่ คณะกรรมการฯ กาหนด แต่ต้องไม่เกินร้อยละห้าต่อปี 3. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินทุนส่งเสริมกิจการเทศบาล พ.ศ. 2552 ออกตามความในมาตรา 69 และมาตรา 77 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 สรุปสาระสาคัญ ดังนี้ 1) การนาส่งเงินสะสม 1.1) เงินสะสม หมายถึง เงินที่เหลือจ่ายจากเงินรายรับของงบทั่วไป ตามงบประมาณรายจ่ายประจาปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม และให้หมายความถึงเงินรายรับอื่นที่ อปท. ได้รับไว้ภายในสิ้นปีงบประมาณ หลังจากที่ได้หักทุนสารองเงินสะสม และลูกหนี้ที่เกิดจากรายได้ค้างชาระประจาปีแล้ว 1.2) กาหนดให้เทศบาลทุกแห่งและเมืองพัทยาจัดส่งเงินจานวนร้อยละสิบของเงินสะสมประจาทุกปี ไป ให้ ป ระธานคณะอนุ ก รรมการเงิ น ทุ น ส่ ง เสริ ม กิ จ การเทศบาลภายในเดื อ นธั น วาคมของทุ ก ปี โดยให้ คณะอนุกรรมการฯ นาฝากไว้กับธนาคาร
-35-
2) การบริหารเงินสะสมและดอกผลรวมทั้งเงินที่มีผู้อุทิศให้ 2.1) กาหนดให้มีคณะกรรมการเงินทุนส่งเสริมกิจการเทศบาลที่มีปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นประธาน โดยมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ 2.1.1) กาหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อใช้ในการดาเนินกิจการ การบริห ารเงินทุ น และควบคุม การดาเนินการ 2.1.2) พิจารณาอนุมัติให้เทศบาลกู้ยืมเงิน เพื่อดาเนินกิจการอันเป็นการลงทุนตามอานาจหน้าที่ ของเทศบาล 2.1.3) พิจารณาอนุมัติงบประมาณรายจ่ายของสานักงานเงินทุนส่งเสริมกิจการเทศบาล 2.1.4) ให้ ความเห็ น ชอบในการกาหนดหลั ก เกณฑ์ เ กี่ ยวกั บ การบริ ห ารงานบุค คล การคลั ง การงบประมาณ การรักษาประโยชน์ทรัพย์สิน การจัดหาพัสดุ การก่อหนี้ผูกพัน การอนุมัติการจ่ายเงินทุน เงินรายได้และอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารเงินทุนส่งเสริมกิจการเทศบาล 2.2) หลักเกณฑ์การให้กู้เงินและผลตอบแทนต่อเทศบาล 2.2.1) ให้เทศบาลกู้ไปดาเนินการตามอานาจหน้าที่โดยชาระเงินต้นคืนพร้อมดอกเบี้ยภายใน ระยะเวลาไม่เกินสิบห้าปี 2.2.2) เทศบาลซึ่งมีสิทธิที่จะกู้เงินทุนได้ จะต้องเป็นเทศบาลซึ่งได้ฝากเงินกับเงินทุนและให้กู้ได้ ไม่เกินสิบเท่าของจานวนเงินที่เทศบาลนั้นได้ฝากไว้กับเงินทุน เว้นแต่คณะกรรมการฯ จะพิจารณาเห็นสมควร เป็นอย่างอื่น 2.2.3) เกณฑ์ คิ ด อั ต ราดอกเบี้ ย เงิ น กู้ เ ป็ น ไปตามที่ ค ณะกรรมการฯ ก าหนด แต่ ต้ อ งไม่ เ กิ น ร้อยละเจ็ดต่อปี 2.2.4) ผลตอบแทน ให้ จ่ า ยดอกเบี้ ย ให้ แ ก่ เ ทศบาลที่ ส่ ง เงิ น ฝากเงิ น ทุ น ในอั ต ราตามที่ คณะกรรมการฯ กาหนด แต่ต้องไม่เกินร้อยละสี่ต่อปี 4. ระเบีย บกระทรวงมหาดไทยว่ า ด้ ว ยเงิน ทุ น ส่ ง เสริ มกิ จ การองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตาบล พ.ศ. 2540 ออกตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริ หารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 และมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 สรุปสาระสาคัญ ดังนี้ 1) การนาส่งเงินสะสม กาหนดให้องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) ทุกแห่งจัดส่งเงินสะสมในอัตราร้อยละยี่สิบของเงินสะสม ประจาปีงบประมาณทุกปีไปให้ประธานคณะอนุกรรมการดาเนินการเงินทุนส่งเสริมกิจการองค์การบริหาร ส่วนตาบล เว้นแต่อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จะได้สั่งการเป็นอย่างอื่น โดยให้คณะอนุกรรมการฯ ฝากไว้ ณ ธนาคารออมสิน หรือธนาคารอื่นซึ่งอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นเห็นชอบ 2) การบริหารเงินทุน ส่งเสริ มกิจการองค์การบริห ารส่วนตาบล ซึ่ งประกอบด้ว ยเงินสะสมและดอกผล รวมทั้งเงินอื่นๆ ซึ่งปลัดกระทรวงมหาดไทยเห็นสมควรจะจัดการเพื่อสั่งให้สมทบ 2.1) กาหนดให้มีคณะกรรมการเงินทุนส่งเสริมกิจการองค์การบริหารส่วนตาบล มีหน้าที่เกี่ยวกับ การอานวยการโดยทั่วไป จัดหาเงินทุนและพิจารณาอนุมัติเงินให้ อบต. กู้ไปเพื่อใช้จ่ายในกิจการสาธารณูปโภค หรือกิจการอย่างอื่นของ อบต. กับควบคุมการดาเนินการใดๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์แห่งระเบียบนี้
-36-
2.2) หลักเกณฑ์การกู้เงินและผลตอบแทนแก่ อบต. 2.2.1) กู้เงินได้เฉพาะเพื่อไปดาเนินกิจการสาธารณูปโภค หรือกิจการอื่นตามอานาจหน้าที่ และให้ชาระคืนภายในระยะเวลาไม่เกินสิบห้าปี 2.2.2) ต้องเป็น อบต. ซึ่งได้ส่งเงินสะสม และจะกู้ได้ไม่เกินสิบเท่าของจานวนเงินสะสม เว้นแต่ คณะกรรมการฯ ได้พิจารณากาหนดเป็นอย่างอื่น 2.2.3) อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ให้คิดได้ไม่เกินอัตราร้อยละสิบต่อปี และยกเว้นการคิดดอกเบี้ยสาหรับ การกู้ในส่วนของเงินสะสมของ อบต. นั้น 2.2.4) ผลตอบแทน ให้จ่ายดอกเบี้ยให้แก่ อบต. ที่ส่งเงินฝากเงินทุน ในอัตราที่คณะกรรมการฯ กาหนด อย่างไรก็ดี ในกรณีของ อบต. กระทรวงมหาดไทยได้ผ่อนผันไม่ต้องส่งเงินสะสมเข้า เงินทุน ส่งเสริมกิจการองค์การบริหารส่วนตาบล
-37-
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สาคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สาคัญ เดือนเมษายน 2557 4 เมษายน 2557 1. เรื่องร่างประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ ..) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ ..) ให้ ข ยายเวลาการปรั บ ลดอั ต ราภาษี ส รรพสามิ ต น้้ า มั น ดี เ ซลที่ มี ป ริ ม าณก้ า มะถั น ไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 0.005 โดยน้้าหนัก ในอัตราภาษี 0.005 บาทต่อลิตร และน้้ามันดีเซลที่มีไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอร์ของ กรดไขมันผสมอยู่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 ในอัตราภาษี 0.005 บาทต่อลิตร ออกไปอีก 1 เดือน คือ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2557 ถึง วันที่ 31 พฤษภาคม 2557
-38-
สถิติด้านการคลัง
ผลการจัดเก็บ รายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บค ุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิตบ ิ ค ุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อน ื่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดืม ่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอน ื่ ๆ รายได้อน ื่ ๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหน ิ อ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ ภาษีไม้ขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุล กากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อน ื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน ่ ส่วนราชการอืน ่ กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน ้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จด ั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอน ื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทน ิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทน ิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)
2535 261,042 52,945 87,273 2,884 37,783 66,614 9,629 3,781 134 102,028 41,346 15,490 15,247 7,818 15,713 5,125 301 695 294 7 38 1 2 621 19 8 86,246 85,082 11 1,153 449,316 76,048 42,896 33,152 525,364
2536 300,805 57,237 103,975 3,448 2,739 112,582 16,764 3,876 184 125,789 43,711 15,638 16,679 9,478 34,350 5,158 546 73 157 10 56 2 6 105,910 104,651 11 1,247 532,504 75,603 36,701 38,902 608,106
2537 366,957 67,651 133,268 3,603 1,441 134,791 21,227 4,752 224 138,670 46,131 19,708 19,272 12,262 34,515 5,636 899 136 111 11 64 2 52 7 116,872 115,540 14 1,318 622,499 85,047 41,794 43,253 707,546
2538 444,512 86,190 157,078 3,196 1,082 163,122 28,311 5,284 249 155,308 53,501 20,717 19,759 15,131 38,147 6,598 1,190 156 109 12 69 59 16 128,548 127,124 9 1,415 728,368 86,775 41,250 45,525 815,143
2539 508,832 109,396 172,235 3,430 572 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729 153 119 10 75 2 55 12 129,543 128,212 6 1,324 805,535 89,756 40,650 49,106 895,291
41,432 48,723 38,354 45,330 3,078 3,393 10,348 6,262 525,364 556,326 652,561 525,364 556,326 652,561 2,830,914 3,165,222 3,629,341 18.6 17.6 18.0 2,749,800 3,034,300 3,496,880 19.1 18.3 18.7
52,937 49,143 3,794 7,108 755,098 755,098 4,681,212 16.1 4,068,515 18.6
37,813 34,148 3,665 7,473 850,005 850,005 4,611,041 18.4 4,510,055 18.8
หน่วย : ล้านบาท 2540 2541 518,620 498,966 115,137 122,945 162,655 99,480 5,322 5,316 264 342 195,813 232,388 34,286 35,241 4,734 2,992 408 263 180,168 155,564 63,983 65,373 29,816 28,560 22,763 20,257 21,383 23,191 32,295 8,557 7,519 7,023 1,765 1,003 129 538 168 442 204 481 142 139 126 11 163 91 103 7 11 17 19 59 56 19 3 0.5 104,160 69,338 102,704 67,108 8 17 1,448 2,213 802,947 723,868 106,101 91,813 38,102 42,518 68,000 49,295 909,049 815,681 58,400 55,313 3,087 7,073 843,576 843,576 4,732,610 17.8 4,699,943 17.9
74,660 63,858 10,802 7,559 733,462 733,462 4,626,447 15.9 4,666,795 15.7
ผลการจัดเก็บ รายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บค ุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิตบ ิ ค ุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อน ื่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดืม ่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอน ื่ ๆ รายได้อน ื่ ๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหน ิ อ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ ภาษีไม้ขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อน ื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน ่ ส่วนราชการอืน ่ กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน ้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จด ั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอน ื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทน ิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทน ิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)
2542 452,317 106,071 108,820 10,872 186 201,976 21,311 2,824 258 163,892 66,584 26,655 22,800 24,992 13,941 6,484 904 482 419 474 158 114 191 87 6 24 49 3 68,095 66,994 36 1,064 684,303 109,042 52,679 56,364 793,346
2543 461,322 91,790 145,554 10,739 126 192,510 17,015 3,351 236 168,822 64,832 28,134 8,276 26,438 26,781 7,444 1,104 791 444 579 3,999 97 218 127 11 20 55 53 87,195 85,338 75 1,782 717,338 100,257 56,182 44,075 817,595
2544 499,711 101,136 149,677 17,154 84 215,158 12,852 3,408 242 177,600 64,124 32,310 8,933 29,991 30,330 8,100 1,429 932 713 525 213 62 246 112 14 26 59 5 92,838 91,359 82 1,397 770,149 104,617 45,482 59,135 874,766
75,325 64,655 10,670 2,994 5,916 709,111 709,111 4,637,079 15.3 4,607,310 15.4
57,036 47,358 9,679 3,198 7,278 750,082 750,082 4,922,731 15.2 4,849,547 15.5
77,920 65,682 12,239 3,732 7,698 785,416 785,416 5,133,502 15.3 5,101,367 15.4
2545 544,281 108,371 170,415 19,128 99 228,196 13,715 4,122 236 208,153 68,840 31,697 22,290 31,650 41,560 7,748 1,793 1,224 582 556 212 45 268 126 15 23 60 5 15 98,629 96,326 163 2,139 851,062 108,375 46,965 2,483 1,065 57,862 959,437
2546 627,682 117,309 208,859 21,773 45 261,306 12,757 5,348 286 246,641 73,605 33,289 25,676 36,987 56,474 8,621 2,347 1,581 591 6,420 813 239 68 299 145 22 26 65 19 54 38 78 111,819 110,054 216 1,549 986,142 118,485 50,772 3,599 64,114 1,104,627
หน่วย : ล้านบาท 2547 2548 772,236 937,149 135,155 147,352 261,890 329,516 31,935 41,178 316,134 385,718 20,024 26,304 6,820 6,816 278 266 275,773 279,395 76,996 76,458 36,325 38,193 26,181 28,620 42,749 45,483 65,012 58,760 9,350 10,106 2,859 3,712 1,641 1,849 763 762 12,625 13,935 993 1,121 280 398 97 86 332 372 167 179 34 40 23 38 44 74 5 48 53 82 92 161 185 106,122 110,403 103,635 106,917 267 285 2,220 3,202 1,154,132 1,326,948 135,747 147,472 49,086 60,664 2,976 3,210 25,075 6,000 1,484 52,611 82,114 1,289,880 1,474,420
79,902 80,150 115,574 131,220 65,769 69,261 96,947 109,625 14,133 10,888 18,627 21,594 4,109 5,042 6,368 7,451 8,234 10,501 11,226 12,421 867,192 1,008,934 1,156,713 1,323,328 16,525 40,604 47,726 58,400 850,667 968,330 1,108,986 1,264,928 5,450,643 5,917,369 6,489,476 7,092,893 15.6 16.4 17.1 17.8 5,345,826 5,780,452 6,321,068 6,920,178 15.9 16.8 17.5 18.3
ผลการจัดเก็บ รายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บค ุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิตบ ิ ค ุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อน ื่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดืม ่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอน ื่ ๆ รายได้อน ื่ ๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหน ิ อ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ ภาษีไม้ขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อน ื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน ่ ส่วนราชการอืน ่ กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน ้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จด ั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอน ื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทน ิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทน ิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)
2549 1,057,200 170,079 374,689 56,524 417,772 30,623 7,268 244 274,095 70,742 35,657 29,143 44,207 59,810 10,765 3,525 2,010 1,178 15,523 1,169 367 87 425 185 56 39 52 26 104 196 96,232 93,633 314 2,285 1,427,528 153,996 73,500 3,330 77,165 1,581,524
2550 1,119,194 192,795 384,619 65,735 434,272 34,406 7,137 230 287,231 76,944 41,824 33,298 52,088 55,844 11,735 3,727 1,665 1,426 7,229 1,183 269 87 447 177 68 29 46 16 111 202 90,625 88,169 345 2,112 1,497,050 206,724 80,593 3,052 36,951 86,129 1,703,775
2551 1,276,080 204,847 460,650 74,033 503,439 25,133 7,724 254 278,303 67,211 41,832 36,816 53,465 57,822 12,391 3,769 1,673 1,708 111 1,196 309 84 490 167 63 44 37 6 111 192 99,602 96,944 501 2,157 1,653,985 183,659 77,546 4,682 101,430 1,837,643
2553 1,264,584 208,374 454,565 67,599 502,176 22,892 8,735 243 405,862 152,825 53,381 42,398 58,831 77,202 14,245 1,615 1,979 1,947 1,039 400 64 452 190 39 27 26 0.107 3 95 141 97,148 93,512 169 3,467 1,767,594 235,453 140,031 3,868 91,553 2,003,047
หน่วย : ล้านบาท 2554 1,515,666 236,339 574,059 81,444 577,632 35,614 10,299 279 399,779 117,914 57,197 48,624 61,498 92,844 14,526 1,183 2,284 2,197 1,088 424 62 494 201 22 24 29 0.030 0.039 113 143 102,882 99,968 241 2,673 2,018,326 206,051 102,687 4,569 98,795 2,224,377
162,951 138,206 24,745 9,172 12,399 1,397,002 57,312 1,339,691 7,844,939 17.1 7,699,350 17.4
181,793 150,035 31,758 9,514 10,416 1,502,051 57,592 1,444,460 8,525,197 16.9 8,301,652 17.4
202,716 199,408 208,733 173,994 157,838 160,052 28,723 41,570 48,681 11,625 9,040 11,096 12,044 11,160 13,005 1,611,258 1,464,690 1,770,213 65,420 53,832 65,736 1,545,837 1,410,858 1,704,477 9,080,466 9,041,551 10,104,821 17.0 15.6 16.9 9,145,520 8,850,552 9,921,040 16.9 15.9 17.2
230,014 188,471 41,543 12,677 14,813 1,966,873 74,556 1,892,317 10,540,134 18.0 10,669,300 17.7
2552 1,138,565 198,095 392,172 90,712 431,775 18,099 7,488 223 291,221 91,059 43,936 37,982 48,993 49,278 12,186 3,111 1,608 1,479 1,062 528 73 428 183 43 31 42 7 91 164 80,288 77,187 404 2,697 1,510,074 174,224 83,761 3,822 86,641 1,684,297
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบคุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายได้อื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหนิ อ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ ภาษีไม้ขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อื่นๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอื่น ส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภกั ษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จดั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทนิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทนิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)
2555 1,617,293 266,203 544,591 94,097 659,804 41,057 11,180 362 379,652 61,061 59,915 53,500 64,893 117,145 16,208 977 2,318 2,126 1,099 411 57 476 221 23 40 35 0.026 2 104 140 118,973 116,325 323 2,326 2,115,919 239,391 112,268 4,374 122,749 2,355,310
หน่วย : ล้านบาท 2556 2557 (6 เดือน) 1,764,706 705,613 299,034 143,522 592,499 161,351 113,291 11,955 698,087 356,225 48,771 26,600 12,735 5,815 290 145 432,868 205,097 63,532 31,344 67,891 30,008 52,671 35,693 69,086 43,837 153,874 52,487 17,838 8,125 1,002 279 2,909 1,252 2,294 999 1,207 609 564 464 58 21 565 307 236 106 32 16 39 22 27 13 107 56 143 69 113,381 53,733 110,618 52,592 254 105 2,510 1,036 2,310,955 964,443 260,465 151,231 152,568 65,525 6,448 3,775 101,448 81,931 2,571,420 1,115,674
260,374 216,012 44,362 14,815 15,280 2,064,841 88,965 1,975,876 11,375,349 17.4 11,840,800 16.7
283,471 228,941 54,530 15,476 16,946 2,255,527 94,256 2,161,271 11,897,449 18.2 11,843,330 18.2
140,627 111,374 29,253 7,855 6,845 960,347 24,426 935,921 12,599,000 N/A 12,372,000 N/A
หมายเหตุ : ข้อมูล GDP (ปีปฏิทนิ ) ปี 2557 เป็นตัวเลขประมาณการ จากส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557 : ข้อมูล GDP (ปีงบประมาณ) ปี 2557 ใช้ตัวเลข GDP ปีปฏิทนิ จากแถลงข่าวของ สศช. ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557 และประมาณการโดยส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และส้านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดท้าโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2557 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ
2532
2533
2534
2535
2536
285,500.0
335,000.0
387,500.0
460,400.0
560,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
16.9
16.7
16.1
17.6
17.9
(อัตราเพิ่ม) (%)
17.2
17.3
15.7
18.8
21.6
210,571.8
227,541.2
261,932.2
301,818.2
351,060.8
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
12.5
11.3
10.9
11.5
11.2
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
73.8
67.9
67.6
65.6
62.7
(อัตราเพิม่ ) (%)
13.3
8.1
15.1
15.2
16.3
53,592.4
82,043.2
105,647.6
130,652.6
171,606.7
3.2
4.1
4.4
5.0
5.5
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
18.8
24.5
27.3
28.4
30.6
(อัตราเพิม่ ) (%)
32.9
53.1
28.8
23.7
31.3
21,335.8
25,415.6
19,920.2
27,929.2
37,332.5
7.5
7.6
5.1
6.1
6.7
22.9
19.1
(21.6)
40.2
33.7
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
262,500.0
310,000.0
387,500.0
460,400.0
534,400.0
15.5
15.5
16.1
17.6
17.1
9.4
18.1
25.0
18.8
16.1
(23,000.0)
(25,000.0)
0.0
0.0
(25,600.0)
(1.4)
(1.2)
0.0
0.0
(0.8)
1,690,500.0
2,005,254.0
2,400,000.0
2,620,000.0
3,130,000.0
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP) (%)
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2557 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2533 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 1,507.5 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2557 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ
2537
2538
2539
2540
2541
625,000.0
715,000.0
843,200.0
944,000.0
830,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
17.9
17.4
18.0
18.1
16.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
11.6
14.4
17.9
12.0
(10.3)
376,382.3
434,383.3
482,368.2
528,293.4
519,505.8
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
10.8
10.6
10.3
10.1
10.2
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
60.2
60.8
57.2
56.0
62.6
7.2
15.4
11.0
9.5
(0.2)
212,975.6
253,839.8
327,288.6
391,209.7
279,258.1
6.1
6.2
7.0
7.5
5.5
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
34.1
35.5
38.8
41.4
33.6
(อัตราเพิม่ ) (%)
24.1
19.2
28.9
19.5
(26.5)
35,642.1
26,776.9
33,543.2
24,496.9
31,236.1
5.7
3.7
4.0
2.6
3.8
(4.5)
(24.9)
25.3
(27.0)
27.5
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
600,000.0
715,000.0
843,200.0
925,000.0
782,020.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
17.1
17.4
18.0
17.8
15.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
12.3
19.2
17.9
9.7
(15.5)
(25,000.0)
0.0
0.0
(19,000.0)
(47,980.0)
(0.7)
0.0
0.0
(0.4)
(0.9)
3,499,000.0
4,099,000.0
4,684,000.0
5,205,500.0
5,073,000.0
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจ่ายประจา
(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP) (%)
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2557 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 เป็นตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จานวน 984,000 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 เป็นตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จานวน 923,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2557 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ
2542
2543
2544
825,000.0
860,000.0
910,000.0
1,023,000.0
999,900.0
16.5
16.7
17.5
19.3
17.2
3.1
4.2
5.8
12.4
(2.3)
586,115.1
635,585.1
679,286.5
773,714.1
753,454.7
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
11.7
12.4
13.0
14.6
13.0
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
71.0
73.9
74.6
75.6
75.4
(อัตราเพิม่ ) (%)
14.4
8.4
6.9
13.9
(2.6)
233,534.7
217,097.6
218,578.2
223,617.0
211,493.5
4.7
4.2
4.2
4.2
3.6
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
28.3
25.2
24.0
21.9
21.2
(อัตราเพิม่ ) (%)
(8.9)
(7.0)
0.7
2.3
(5.4)
5,350.2
7,317.3
12,135.3
25,668.9
34,951.8
0.6
0.9
1.3
2.5
3.5
(82.9)
36.8
65.8
111.5
36.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
800,000.0
750,000.0
805,000.0
823,000.0
825,000.0
16.0
14.6
15.5
15.5
14.2
2.3
(6.3)
7.3
2.2
0.2
(25,000.0)
(110,000.0)
(105,000.0)
(200,000.0)
(174,900.0)
(0.5)
(2.1)
(2.0)
(3.8)
(3.0)
5,002,000.0
5,137,000.0
5,208,600.0
5,309,200.0
5,799,700.0
1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
2545
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2557 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
2546
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2557 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ
2547
2548
2549
2550
2551
1,163,500.0
1,250,000.0
1,360,000.0
1,566,200.0
1,660,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
18.0
17.4
17.5
18.6
18.0
(อัตราเพิ่ม) (%)
16.4
7.4
8.8
15.2
6.0
836,544.4
881,251.7
958,477.0
1,135,988.1
1,213,989.1
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
12.9
12.2
12.3
13.5
13.1
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
71.9
70.5
70.5
72.5
73.1
(อัตราเพิม่ ) (%)
11.0
5.3
8.8
18.5
6.9
292,800.2
318,672.0
358,335.8
374,721.4
400,483.9
4.5
4.4
4.6
4.5
4.3
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
25.2
25.5
26.3
23.9
24.1
(อัตราเพิม่ ) (%)
38.4
8.8
12.4
4.6
6.9
34,155.4
50,076.3
43,187.2
55,490.5
45,527.0
2.9
4.0
3.2
3.5
2.7
(2.3)
46.6
(13.8)
28.5
(18.0)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
1,063,600.0
1,250,000.0
1,360,000.0
1,420,000.0
1,495,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
16.4
17.4
17.5
16.9
16.2
(อัตราเพิ่ม) (%)
28.9
17.5
8.8
4.4
5.3
(99,900.0)
0.0
0.0
(146,200.0)
(165,000.0)
(1.5)
0.0
0.0
(1.7)
(1.8)
6,476,100.0
7,195,000.0
7,786,200.0
8,399,000.0
9,232,200.0
1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2557 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 135,500 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2548 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติม จานวน 50,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2557 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ
2552
2553
2554
1,951,700.0 1,700,000.0
2555
2556
2557
2,169,967.5 2,380,000.0 2,400,000.0
2,525,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
22.4
17.5
20.0
20.7
19.3
19.1
(อัตราเพิ่ม) (%)
17.6
(12.9)
27.6
9.7
0.8
5.2
1,667,439.7 1,840,672.6 1,900,476.7
2,017,244.0
1.1 รายจ่ายประจา
1,411,382.4 1,434,710.1
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
16.2
14.8
15.3
16.0
15.3
15.2
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
72.3
84.4
76.8
77.4
79.2
79.9
(อัตราเพิม่ ) (%)
16.3
1.7
16.2
10.4
3.2
6.1
429,961.8
214,369.0
355,484.6
438,555.4
450,373.8
441,510.4
4.9
2.2
3.3
3.8
3.6
3.3
22.0
12.6
16.4
18.4
18.7
17.5
7.4
(50.1)
65.8
23.4
2.7
(2.0)
63,676.1
50,920.9
32,554.6
46,854.0
49,149.5
52,821.9
3.3
3.0
1.5
2.0
2.1
2.1
39.9
(20.0)
(36.1)
43.9
4.9
7.5
46,679.7
-
114,488.6
53,918.0
-
13,423.7
2.4
-
5.3
2.2
-
0.5
1,770,000.0 1,980,000.0 2,100,000.0
2,275,000.0
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
1,604,639.5 1,350,000.0
18.4
13.9
16.3
17.2
16.9
17.2
7.3
(15.9)
31.1
11.9
6.1
8.3
(399,967.5) (400,000.0) (300,000.0)
(250,000.0)
(347,060.5) (350,000.0) (4.0)
(3.6)
(3.7)
(3.5)
(2.4)
(1.9)
8,712,500.0 9,726,200.0 10,867,600.0 11,478,600.0 12,442,800.0 13,242,000.0
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2557 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 116,700 ล้านบาท และเป็นปีแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จานวน 46,679.7 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 99,967.5 ล้านบาท
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2549
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)
ต.ค. 48 พย. 48 ธ.ค. 48 ม.ค. 49 ก.พ. 49 มี.ค. 49 1,360,000 1,508,592 1,526,126 1,526,642 1,527,243 1,528,823 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 148,592 166,126 166,642 167,243 168,823 122,209 127,243 112,309 116,800 112,468 127,437 116,991 111,573 83,444 110,090 100,881 109,598 8.6 8.2 6.1 8.1 7.4 8.1 99,728 78,860 66,634 89,768 74,638 87,879 10.2 8.0 6.8 9.2 7.6 9.0 17,263 32,713 16,810 20,322 26,243 21,719 4.5 8.6 4.4 5.4 6.9 5.7 5,218 15,670 28,865 6,710 11,587 17,839 10.5 17.4 4.0 6.9 10.6
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2549 เม.ย. 49 พ.ค. 49 มิ.ย. 49 ก.ค. 49 ส.ค. 49 ก.ย. 49 รวม 1,528,840 1,528,778 1,529,524 1,529,771 1,529,898 1,529,571 1,529,571 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 1,007,032 1,006,090 1,010,489 1,010,489 379,506 379,506 379,506 352,968 353,910 349,511 349,511 168,840 168,778 169,524 169,771 169,898 169,571 169,571 99,960 88,993 117,304 98,591 116,508 154,750 1,394,572 96,123 82,286 110,650 92,368 111,095 144,929 1,270,028 7.1 6.1 8.1 6.8 8.2 10.7 93.4 72,008 68,998 95,519 75,520 84,487 112,842 1,006,881 7.3 7.0 9.7 7.5 8.4 11.2 99.6 24,115 13,288 15,131 16,848 26,608 32,087 263,147 6.4 3.5 4.0 4.8 7.5 9.2 75.3 3,837 6,707 6,654 6,223 5,413 9,821 124,544 2.3 4.0 3.9 3.7 3.2 5.8 73.4
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2550 ต.ค. 49 พย. 49 ธ.ค. 49 ม.ค. 50 ก.พ. 50 มี.ค. 50 1. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 1,515,327 1,515,622 1,515,769 1,722,023 1,722,021 1,722,389 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,566,200 1,566,200 1,566,200 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 980,482 980,637 983,670 1,230,747 1,227,904 1,246,571 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 379,518 379,363 376,330 335,453 338,296 319,629 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 155,327 155,622 155,769 155,823 155,821 156,189 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 89,559 111,439 99,181 97,054 200,314 139,900 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 81,266 93,466 83,126 87,123 191,229 127,872 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 6.0 6.9 6.1 5.6 12.2 8.2 - รายจ่ายประจา 75,534 84,896 77,650 74,971 136,792 106,881 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 7.7 8.7 7.9 6.1 11.1 8.6 - รายจ่ายลงทุน 5,732 8,570 5,476 12,152 54,437 20,991 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 1.5 2.3 1.5 3.6 16.1 6.6 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 8,293 17,973 16,055 9,931 9,085 12,028 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 5.3 11.5 10.3 6.4 5.8 7.7 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2550 เม.ย. 50 พ.ค. 50 มิ.ย. 50 ก.ค. 50 ส.ค. 50 ก.ย. 50 รวม 1,722,287 1,722,271 1,722,266 1,722,241 1,722,322 1,722,364 1,722,364 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1566200 1,246,335 1,245,965 1,245,109 1,244,236 1,242,815 1,239,641 1239641 319,865 320,235 321,091 321,964 323,385 326,559 326559 156,087 156,071 156,066 156,041 156,122 156,164 156164 115,830 137,086 164,381 146,556 122,778 150,888 1,574,966 111,216 131,311 158,603 142,784 118,609 144,234 1,470,839 7.1 8.4 10.1 9.1 7.6 9.2 93.9 97,682 90,381 126,402 119,440 101,347 116,157 1,208,133 7.8 7.3 10.2 9.6 8.2 9.4 97.5 13,534 40,930 32,201 23,344 17,262 28,077 262,706 4.2 12.8 10.0 7.3 5.3 8.6 80.4 4,614 5,775 5,778 3,772 4,169 6,654 104,127 3.0 3.7 3.7 2.4 2.7 4.3 66.7
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2551
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)
ต.ค. 50 1,769,427 1,660,000 1,295,140 364,860 109,427 155,389 147,936 8.9 121,123 9.4 26,813 7.3 7,453 6.8
พ.ย. 50 ธ.ค. 50 ม.ค. 51 ก.พ. 51 1,809,505 1,810,026 1,810,883 1,812,516 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,295,113 1,327,235 1,327,187 1,327,191 364,887 332,765 332,813 332,809 149,505 150,026 150,883 152,516 127,018 110,867 158,402 118,658 112,113 97,846 146,917 108,633 6.8 5.9 8.9 6.5 93,861 88,182 93,934 97,960 7.2 6.6 7.1 7.4 18,252 9,664 52,983 10,673 5.0 2.9 15.9 3.2 14,905 13,021 11,485 10,025 10.0 8.7 7.6 6.6
ปีงบประมาณ มี.ค. 51 เม.ย.51 1,811,083 1,811,181 1,660,000 1,660,000 1,327,071 1,327,087 332,929 332,913 151,083 151,181 125,147 154,636 113,533 150,029 6.8 9.0 100,423 104,918 7.6 7.9 13,110 45,111 3.9 13.6 11,614 4,607 7.7 3.0
หน่วย : ล้านบาท 2551 พ.ค.51 มิ.ย.51 ก.ค.51 ส.ค.51 ก.ย.51 รวม 1,811,408 1,811,408 1,811,408 1,811,940 1,812,063 1,812,063 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,326,271 1,326,029 1,326,205 1,325,380 1,319,724 1,319,724 333,729 333,971 333,795 334,620 340,276 340,276 151,408 151,667 151,925 151,940 152,063 152,063 126,767 143,198 138,838 124,629 149,856 1,633,405 119,962 137,088 134,497 120,424 143,501 1,532,479 7.2 8.3 8.1 7.3 8.6 92.3 108,354 107,295 115,870 107,822 125,248 1,264,990 8.2 8.1 8.7 8.1 9.5 95.9 11,608 29,793 18,627 12,602 18,253 267,489 3.5 8.9 5.6 3.8 5.4 78.6 6,805 6,110 4,341 4,205 6,355 100,926 4.5 4.0 2.9 2.8 4.2 66.4
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2552 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2552 ต.ค.51 พ.ย.51 ธ.ค.51 ม.ค.52 ก.พ.52 มี.ค.52 เม.ย.52 พ.ค.52 1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 2,009,163 2,026,393 2,026,061 2,026,212 2,026,408 2,143,222 2,143,223 2,143,228 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,951,700 1,951,700 1,951,700 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 1,481,992 1,481,939 1,481,885 1,481,864 1,481,268 1,573,602 1,578,601 1,576,929 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 353,008 353,062 353,115 353,136 353,732 378,098 373,045 374,771 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 174,163 191,393 191,061 191,212 191,408 191,522 191,523 191,528 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 93,718 165,200 145,422 192,417 179,679 195,346 141,681 161,006 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 85,193 149,303 127,825 178,000 166,569 178,473 137,194 154,745 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 4.6 8.1 7.0 9.7 9.1 9.1 7.0 7.9 - รายจ่ายประจา 84,630 131,280 118,357 125,971 132,739 164,251 117,227 114,772 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 5.7 8.9 8.0 8.5 9.0 10.4 7.4 7.3 - รายจ่ายลงทุน 563 18,023 9,468 52,029 33,830 14,222 19,966 39,973 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 0.2 5.1 2.7 14.7 9.6 3.8 5.4 10.7 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 8,525 15,898 17,596 14,417 13,110 16,873 4,487 6,261 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 4.9 8.3 9.2 7.5 6.8 8.8 2.3 3.3 หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2552 ได้มกี ารจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติมจานวน 116,700 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วันที่ 8 มีนาคม 2552 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555
มิ.ย. 52 2,143,228 1,951,700 1,575,694 376,006 191,528 139,498 131,026 6.7 110,789 7.0 20,237 5.4 8,472 4.4
ก.ค. 52 2,143,240 1,951,700 1,574,977 376,723 191,540 164,118 158,730 8.1 128,632 8.2 30,098 8.0 5,388 2.8
ส.ค. 52 2,143,240 1,951,700 1,574,085 337,615 191,540 142,162 136,915 7.0 119,691 7.6 17,224 5.1 5,247 2.7
ก.ย. 52 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552 196,842 186,851 9.6 159,555 10.2 27,336 7.2 9,991 5.2
รวม 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552 1,917,089 1,790,823 91.8 1,507,894 96.1 282,969 74.1 126,266 65.9
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2553
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)
ต.ค.52 พ.ย.52 ธ.ค.52 ม.ค.53 ก.พ.53 มี.ค.53 1,927,800 1,941,156 1,941,859 1,942,592 1,942,939 1,943,152 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,485,631 1,481,529 1,480,072 1,479,996 1,479,954 1,479,843 214,369 218,471 219,928 220,004 220,046 220,157 227,800 241,156 241,859 242,592 242,939 243,152 90,339 188,614 172,221 150,008 182,850 149,981 80,143 166,116 149,895 133,986 169,382 129,653 4.7 9.8 8.8 7.9 10.0 7.6 79,470 160,782 112,293 128,316 117,878 119,986 5.3 10.9 7.6 8.7 8.0 8.1 673 5,334 37,602 5,670 51,504 9,667 0.3 2.4 17.1 2.6 23.4 4.4 10,196 22,498 22,326 16,022 13,468 20,328 4.5 9.3 9.2 6.6 5.5 8.4
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2553 เม.ย.53 พ.ค.53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 รวม 1,943,152 1,943,152 1,943,174 1,943,255 1,943,505 1,943,547 1,943,547 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,479,558 1,479,100 1,476,716 1,474,315 1,472,692 1,468,655 1,468,655 220,442 220,900 223,284 225,685 227,308 231,345 231,345 243,152 243,152 243,174 243,255 243,505 243,547 243,547 145,528 123,967 135,455 142,627 110,118 192,704 1,784,412 136,587 118,059 123,196 135,128 103,322 182,407 1,627,874 8.0 6.9 7.2 7.9 6.1 10.7 95.8 125,819 110,268 111,500 124,850 92,492 161,105 1,444,760 8.5 7.5 7.6 8.5 6.3 11.0 98.4 10,768 7,791 11,696 10,278 10,830 21,302 183,115 4.9 3.5 5.2 4.6 4.8 9.2 79.2 8,941 5,908 12,259 7,499 6,796 10,297 156,538 3.7 2.4 5.0 3.1 2.8 4.2 64.3
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2554 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2554 ต.ค.53 พ.ย.53 ธ.ค.53 ม.ค.54 ก.พ.54 มี.ค.54 เม.ย.54 พ.ค.54 มิ.ย. 54 ก.ค. 54 ส.ค. 54 ก.ย. 54 รวม 1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 2,230,628 2,233,968 2,249,378 2,252,646 2,252,896 2,253,208 2,353,188 2,353,189 2,353,191 2,353,192 2,353,202 2,353,202 2,353,202 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 1,725,583 1,725,423 1,725,489 1,725,245 1,725,191 1,725,003 1,724,938 1,813,687 1,810,757 1,808,951 1,806,977 1,806,977 1,806,977 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 344,417 344,577 344,511 344,755 344,809 344,997 345,062 356,280 359,211 361,017 362,991 362,991 362,991 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 160,628 163,968 179,378 182,646 182,896 183,208 183,221 183,221 183,224 183,225 183,235 183,235 183,235 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 207,452 223,152 167,767 235,191 154,689 170,913 139,705 211,446 187,593 143,032 143,543 193,411 2,177,895 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 194,118 207,201 152,004 220,657 139,464 157,010 135,081 205,223 181,250 138,411 135,473 184,648 2,050,539 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 9.4 10.0 7.3 10.7 6.7 7.6 6.2 9.5 8.4 6.4 6.2 8.5 94.5 - รายจ่ายประจา 189,957 196,444 133,696 146,289 122,765 141,375 120,855 188,690 161,493 120,305 113,041 152,068 1,786,978 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 11.0 11.4 7.7 8.5 7.1 8.2 7.0 10.4 8.9 6.7 6.3 8.4 98.9 - รายจ่ายลงทุน 4,161 10,757 18,308 74,368 16,699 15,635 14,225 16,533 19,757 18,105 22,431 32,579 263,558 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 1.2 3.1 5.3 21.6 4.8 4.5 4.1 4.6 5.5 5.0 6.2 9.0 72.6 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 13,334 15,951 15,763 14,534 15,225 13,903 4,625 6,223 6,343 4,621 8,070 8,763 127,355 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 8.3 9.7 8.8 8.0 8.3 7.6 2.5 3.4 3.5 2.5 4.4 4.8 69.5 หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติมจานวน 99,968 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วนั ที่ 18 เมษายน 2554 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)
ต.ค. 54 2,271,861 2,070,000 1,706,509 363,491 201,861 166,954 155,910 7.5 136,594 8.0 19,316 5.3 11,044 5.5
พ.ย. 54 2,278,511 2,070,000 1,725,733 344,267 208,511 150,234 131,863 6.4 127,201 7.4 4,662 1.4 18,371 8.8
ธ.ค. 54 2,282,250 2,070,000 1,720,592 349,408 212,250 172,628 151,587 7.3 137,437 8.0 14,150 4.0 21,041 9.9
ม.ค. 55 2,285,784 2,070,000 1,714,147 355,853 215,784 150,463 135,611 6.6 131,401 7.7 4,210 1.2 14,852 6.9
ก.พ. 55 2,597,224 2,380,000 1,976,557 403,443 217,224 259,062 244,073 10.3 235,123 11.9 8,950 2.2 14,989 6.9
มี.ค. 55 2,595,716 2,380,000 1,973,811 406,189 215,716 369,978 351,873 14.8 283,286 14.4 68,587 16.9 18,105 8.4
ปีงบประมาณ 2555 เม.ย. 55 พ.ค. 55 2,595,703 2,595,707 2,380,000 2,380,000 1,973,465 1,971,729 406,535 408,271 215,703 215,707 157,569 144,922 150,279 135,051 6.3 5.7 135,231 113,242 6.9 5.7 15,048 21,810 3.7 5.3 7,290 9,871 3.4 4.6
มิ.ย. 55 2,595,893 2,380,000 1,969,865 410,135 215,893 157,415 150,381 6.3 127,772 6.5 22,609 5.5 7,034 3.3
ก.ค. 55 2,596,094 2,380,000 1,968,353 411,647 216,094 179,248 171,242 7.2 146,783 7.5 24,460 5.9 8,006 3.7
ส.ค. 55 2,596,251 2,380,000 1,966,525 413,475 216,251 159,508 152,964 6.4 125,741 6.4 27,223 6.6 6,544 3.0
ก.ย. 55 2,596,564 2,380,000 1,964,439 415,561 216,564 227,347 217,642 9.1 173,258 8.8 44,384 10.7 9,705 4.5
หมายเหตุ พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2555 (วงเงิน 2,380,000 ล้านบาท) มีผลบังคับในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2555 ทาให้ในช่วงตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2555 ต้องใช้งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณที่ล่วงแล้ว (ปีงบประมาณ 2554) ไปพลางก่อน ตาม พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 16
ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555
รวม 2,596,564 2,380,000 1,964,439 415,561 216,564 2,295,327 2,148,475 90.3 1,873,067 95.3 275,408 66.3 146,852 67.8
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2556 หน่วย : ล้านบาท
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ นสะสม
ต.ค. 55 2,622,170 2,400,000 1,941,257 458,743 222,170 312,152 290,631 12.1 286,670 14.8 3,961 0.9 21,521 9.7 312,152 290,631 286,670 3,961 21,521
ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที่ : 17 กันยายน 2556
พ.ย. 55 2,650,593 2,400,000 2,000,816 399,184 250,593 299,828 270,813 11.3 223,583 11.2 47,229 11.8 29,015 11.6 611,980 561,444 510,254 51,190 50,536
ธ.ค. 55 2,696,798 2,400,000 2,000,584 399,416 296,798 173,933 138,335 5.8 131,112 6.6 7,224 1.8 35,598 12.0 785,914 699,780 641,366 58,414 86,134
ม.ค. 56 2,699,332 2,400,000 2,000,565 399,435 299,332 208,114 181,092 7.5 173,709 8.7 7,383 1.8 27,022 9.0 994,027 880,871 815,074 65,797 113,156
ก.พ. 56 2,699,423 2,400,000 2,000,146 399,854 299,423 152,074 130,538 5.4 122,601 6.1 7,937 2.0 21,536 7.2 1,146,101 1,011,409 937,675 73,734 134,692
มี.ค. 56 2,700,236 2,400,000 1,999,867 400,133 300,236 225,477 201,278 8.4 125,923 6.3 75,355 18.8 24,199 8.1 1,371,578 1,212,687 1,063,598 149,089 158,891
ปีงบประมาณ 2556 เม.ย. 56 พ.ค. 56 2,700,230 2,700,247 2,400,000 2,400,000 1,999,020 1,997,524 400,980 402,476 300,230 300,247 180,364 135,275 170,268 125,710 7.1 5.2 156,669 108,997 7.8 5.5 13,599 16,713 3.4 4.2 10,096 9,565 3.4 3.2 1,551,941 1,687,216 1,382,955 1,508,665 1,220,267 1,329,264 162,688 179,401 168,986 178,551
มิ.ย. 56 2,700,255 2,400,000 1,996,729 403,271 300,255 166,398 155,273 6.5 135,424 6.8 19,849 4.9 11,125 3.7 1,853,614 1,663,938 1,464,688 199,250 189,676
ก.ค. 56 2,602,357 2,400,000 1,995,740 404,260 202,357 171,087 158,406 6.6 137,824 6.9 20,582 5.1 12,681 6.3 2,024,701 1,822,344 1,602,512 219,832 202,357
ส.ค. 56 2,700,727 2,400,000 1,995,847 404,153 300,727 143,446 130,299 5.4 106,333 5.3 23,966 5.9 13,147 4.4 2,168,147 1,952,643 1,708,845 243,798 215,504
ก.ย. 56 2,701,010 2,400,000 1,991,899 408,101 301,010 234,333 218,816 9.1 186,040 9.3 32,776 8.0 15,517 5.2 2,402,481 2,171,459 1,894,885 276,574 231,022
รวม 2,701,010 2,400,000 1,991,899 408,101 301,010 2,402,481 2,171,459 90.5 1,894,885 95.1 276,574 67.8 231,022 76.7 2,402,481 2,171,459 1,894,885 276,574 231,022
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2557 หน่วย : ล้านบาท
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินรายจ่ายประจา) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินรายจ่ายลงทุน) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณปีกอ่ น) 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ นสะสม
ต.ค. 56 2,767,610 2,525,000 2,097,308 427,692 242,610 258,272 244,001 9.7 241,304 11.5 2,697 0.6 14,271 5.9 258,272 244,001 241,304 2,697 14,271
ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที่ : 21 เมษายน 2557
พ.ย. 56 2,806,747 2,525,000 2,097,273 427,727 281,747 255,803 232,568 9.2 227,852 10.9 4,717 1.1 23,235 8.2 514,076 476,569 469,155 7,414 37,507
ธ.ค. 56 2,826,083 2,525,000 2,097,101 427,899 301,083 316,983 284,256 11.3 175,107 8.3 109,149 25.5 32,727 10.9 831,059 760,826 644,283 116,543 70,233
ม.ค. 57 2,826,091 2,525,000 2,097,053 427,947 301,091 213,209 186,395 7.4 177,496 8.5 8,898 2.1 26,814 8.9 1,044,267 947,220 821,778 125,441 97,047
ก.พ. 57 2,826,093 2,525,000 2,096,723 428,277 301,093 174,379 154,109 6.1 141,914 6.8 12,195 2.8 20,270 6.7 1,218,646 1,101,328 963,692 137,636 117,318
มี.ค. 57 2,826,093 2,525,000 2,096,645 428,355 301,093 165,457 142,036 5.6 128,728 6.1 13,308 3.1 23,421 7.8 1,384,103 1,243,364 1,092,420 150,944 140,739
ปีงบประมาณ 2557 เม.ย. 57 พ.ค. 57
มิ.ย. 57
ก.ค. 57
ส.ค. 57
ก.ย. 57
รวม
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 11 มกราคม 2556
2524 110,392 132,212
2525 113,848 155,281
2526 136,608 171,033
2527 147,872 187,024
2528 159,199 209,830
หน่วย: ล้านบาท 2529 166,123 211,968
-21,820 8,940 -12,880 14,682 1,802 6,333 8,135
-41,433 15,404 -26,029 26,422 393 8,135 8,528
-34,425 3,838 -30,587 34,082 3,495 8,528 12,023
-39,152 5,498 -33,654 30,000 -3,654 12,023 8,369
-50,631 7,568 -43,063 47,000 3,937 8,369 12,306
-45,845 -1,512 -47,357 46,000 -1,357 12,306 10,949
2534 464,900 362,464 316,509 45,955 102,436 -51,816 50,620 0 50,620 130,258 180,878
หน่วย: ล้านบาท 2535 499,004 448,322 386,246 62,076 50,682 -7,086 43,596 0 43,596 180,878 224,474
2530 193,525 223,746 203,043 20,703 -30,221 -11,624 -41,845 42,000 155 8,528 8,683
2531 245,030 220,694 198,687 22,007 24,336 -56,780 -32,444 42,660 10,216 8,683 18,899
2532 309,536 269,351 247,401 21,950 40,185 -13,471 26,714 12,981 39,695 18,899 58,594
2533 394,509 312,320 280,841 31,479 82,189 -35,525 46,664 25,000 71,664 58,594 130,258
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve)
2536 557,783 529,619 462,744 66,875 28,164 -12,375 15,789 0 15,789 226,895 242,684
2537 655,989 598,798 511,937 86,861 57,191 -61,898 -4,707 0 -4,707 242,684 237,977
2538 760,138 670,553 569,384 101,169 89,585 -7,647 81,938 0 81,938 237,977 319,915
2539 850,177 777,246 652,261 124,985 72,931 5,897 78,828 0 78,828 319,915 398,743
2540 844,249 906,641 742,598 164,043 -62,392 -52,753 -115,145 0 -115,145 398,743 283,598
หน่วย: ล้านบาท 2541 727,393 848,029 687,102 160,927 -120,636 -18,565 -139,201 0 -139,201 283,598 144,397
ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 11 มกราคม 2556
2542 709,927 838,711 710,262 128,449 -128,784 30,827 -97,957 40,000 -57,957 144,397 86,440
2543 748,105 859,761 760,863 98,898 -111,656 -9,759 -121,415 107,925 -13,490 86,440 72,950
2544 769,448 901,529 812,044 89,485 -132,081 30,736 -101,345 104,797 3,452 72,950 76,402
2545 848,707 1,003,600 917,767 85,833 -154,893 4,471 -150,422 170,000 19,578 76,402 95,980
2546 966,841 979,506 898,300 81,206 -12,665 -28,098 -40,763 76,000 35,237 95,980 131,217
หน่วย: ล้านบาท 2547 1,127,153 1,140,110 1,052,660 87,450 -12,957 -55,018 -67,975 90,000 22,025 131,217 153,242
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปจั จุบนั (Current Year) - ปีกอ่ น (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กูเ้ พื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve)
2548 1,264,928 1,244,063 1,139,775 104,288 20,865 -56,181 -35,316 0 -35,316 153,242 117,926
2549 1,339,691 1,395,283 1,270,739 124,544 -55,592 93,090 37,498 0 37,498 117,926 155,424
2550 1,444,718 1,574,967 1,470,839 104,127 -130,249 -28,483 -158,732 146,200 -12,532 155,424 142,892
หน่วย: ล้านบาท 2551 2552 1,545,837 1,409,653 1,633,404 1,917,129 1,532,479 1,790,862 100,925 126,266 -87,568 -507,476 8,736 131,190 -78,832 -376,286 165,000 441,061 86,168 64,775 142,892 229,060 229,060 293,835 หน่วย: ล้านบาท
ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปจั จุบนั (Current Year) - ปีกอ่ น (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กูเ้ พื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผูร้ ับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 11 เมษายน 2557
2553
2554
2555
2556
1,708,625 1,784,413 1,627,875 156,538 -75,788 -21,301 -97,088 232,575 135,487 293,835 429,322
1,892,047 2,177,895 2,050,540 127,355 -285,848 177,150 -108,698 200,666 91,968 429,322 521,290
1,980,644 2,295,327 2,148,475 146,852 -314,683 9,645 -305,038 344,084 39,047 521,290 560,337
2,163,469 923,782 2,402,481 1,384,103 2,171,459 1,243,364 231,022 140,739 -239,011 -460,321 650 -60,097 -238,362 -520,417 281,949 130,160 43,587 -390,257 560,337 603,924 603,924 213,667
ครึ่งปีแรก 2557
สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2540-2543
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
ปี 2540 จานวนเงิน สัดส่วน 93,879 100.00 16,986 18.09 47,386 50.48 29,508 843,576
31.43
ปี 2541 จานวนเงิน สัดส่วน 96,056 100.00 16,759 17.45 48,667 50.67
30,630
31.89
733,462 11.13
ที่มา : กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและสานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 27 มีนาคม 2556
หน่วย : ล้านบาท ปี 2542 ปี 2543 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 100,805 100.00 94,721 100.00 17,808 17.67 17,404 18.37 44,870 44.51 45,096 47.61
38,127
37.82
709,111 13.10
14.22
32,222 749,949
34.02 12.63
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2549
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรทีร่ ัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมลู ค่าเพิม่ ทีร่ ัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1/ 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน 2. รายได้สทุ ธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
ปี 2544 ปี 2545 ปี 2546 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 159,753 100.00 175,850 100.00 184,066 100.00 17,702 11.08 21,084 11.99 22,258 12.09 55,652 34.84 58,144 33.07 60,218 32.72 12,669 7.93 19,349 11.00 35,504 19.29 73,730 772,574
46.15 20.68
77,273 803,651
43.94 21.88
66,086 829,496
35.90
ปี 2547 จานวนเงิน สัดส่วน 241,948 100.00 24,786 10.24 82,623 34.15 43,100 17.82 91,438 1,063,600
22.19
หมายเหตุ : 1/ ในปีงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงานซึ่งตัง้ อยูท่ สี่ ว่ นราชการทีถ่ า่ ยโอนงานให้ อปท. แต่นบั รวมในสัดส่วนรายได้ของ อปท. เป็นจานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลาดับ
37.79 22.75
ปี 2548 จานวนเงิน สัดส่วน 293,750 100.00 27,019 9.20 102,520 34.90 49,000 16.68 115,211 1,250,000
39.22 23.50
หน่วย : ล้านบาท ปี 2549 จานวนเงิน สัดส่วน 327,113 100.00 29,110 8.90 110,190 33.69 61,800 18.89 126,013 1,360,000
38.52 24.05
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2550-2557
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิม่ ที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 357,424 100.00 376,740 100.00 414,382 100.00 340,995 100.00 431,305 100.00 529,979 100.00 32,021 8.96 35,224 9.35 38,746 9.35 29,110 8.54 38,746 8.98 46,530 8.78 120,729 33.78 128,676 34.16 140,679 33.95 126,590 37.12 148,109 34.34 175,457 33.11 65,300 18.27 65,000 17.25 71,900 17.35 45,400 13.31 70,500 16.35 86,900 16.40 139,374 1,420,000
38.99 25.17
147,840 1,495,000
39.24 25.20
163,057 1,604,640
139,895 41.03 173,950 2/ 1,350,000 1,650,000 25.82 25.26 39.35
40.33
221,092 41.72 236,500 41.30 1,980,000 2,100,000 26.14 26.77 27.27
หมายเหตุ : 2/เป็นตัวเลขก่อนการจัดทางบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลเพิม่ เติมระหว่างปี 99,967.5 ล้านบาท ซึ่งได้จดั สรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท . เพิม่ เติม 5,957 .4 ล้านบาท ทั้งนี้ เงินอุดหนุนให้แก่ อปท . เมื่อรวมกับที่ได้รับการจัดสรรเพิม่ เติมระหว่างปีแล้ว เท่ากับ 179,907.4 ล้านบาท ที่มา : สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และสานักงบประมาณ รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 14 สิงหาคม 2556
หน่วย : ล้านบาท ปี 2556 ปี 2557 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 572,670 100.00 622,625 100.00 50,282 8.78 56,306 9.04 187,988 32.83 203,819 32.74 97,900 17.10 109,000 17.51 253,500 2,275,000
40.71 27.37
เปรียบเทียบประมาณการรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2557 กรณีทปี่ รับปรุงการจัดเก็บรายได้ของ อปท. เพิ่มขึ้นจากประมาณการจัดเก็บในปัจจุบันอีกร้อยละ 10-30 กับภาระการจัดสรรเงินอุดหนุนทีล่ ดลง ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรทีร่ ฐั บาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิม่ ทีร่ ฐั บาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
สานักงบฯ จานวนเงิน สัดส่วน 620,625 100.00 56,306 9.07 203,819 32.84 109,000 17.56 251,500 2,275,000
จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 31 พฤษภาคม 2556
40.52 27.28
สศค. จานวนเงิน สัดส่วน 594,070 52,566 181,004 109,000
100.00 8.85 30.47 18.35
251,500 2,275,000
42.34 26.11
หน่วย : ล้านบาท กรณีรายได้จดั เก็บเองเพิม่ ขึ้น 10 % กรณีรายได้จดั เก็บเองเพิม่ ขึ้น 20 % กรณีรายได้จดั เก็บเองเพิม่ ขึ้น 30 % จานวนเงิน เพิม่ /ลด จานวนเงิน เพิม่ /ลด จานวนเงิน เพิม่ /ลด จานวน % จานวน % จานวน % 594,070 0.00 594,070 0 0.00 594,070 0 0.00 57,823 5,257 10.00 63,079 10,513 20.00 68,336 15,770 30.00 181,004 0.00 181,004 0 0.00 181,004 0 0.00 109,000 0.00 109,000 0 0.00 109,000 0 0.00 246,243 2,275,000 26.11
-5,257
-2.09
240,987 -10,513 2,275,000 26.11
-4.18
235,730 -15,770 2,275,000 26.11
-6.27
เปรียบเทียบประมาณการรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2557 กรณีทปี่ รับปรุงการจัดเก็บรายได้ของ อปท. เพิ่มขึ้นจากประมาณการจัดเก็บในปัจจุบันอีกร้อยละ 10-30 กับภาระการจัดสรรเงินอุดหนุนทีล่ ดลง เอกสาร งปม. จานวนเงิน สัดส่วน
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง1/
620,625 100.00
67,568 11,261
20.00
73,198 16,892
30.00
312,819 0.00 312,819 0 1.3 เงินอุดหนุน 245,869 -5,631 -2.24 240,239 -11,261 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 2,275,000 2,275,000 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%) 27.28 27.28 27.28 1/ หมายเหตุ : ได้แก่ รายได้จากภาษี เช่น ภาษีโรงเรือนและที่ดนิ ภาษีบารุงท้องที่ ภาษีปา้ ย ภาษีบารุง อบจ . จากยาสูบและน้ามัน เป็นต้น
0.00 -4.48
312,819 0 234,608 -16,892 2,275,000 27.28
0.00 -6.72
1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้
2/
56,306
9.07
312,819 251,500 2,275,000
50.40 40.52
หน่วย : ล้านบาท กรณีรายได้จัดเก็บเองเพิ่มขึน้ 10 % กรณีรายได้จัดเก็บเองเพิ่มขึน้ 20 % กรณีรายได้จัดเก็บเองเพิ่มขึน้ 30 % จานวนเงิน เพิ่ม/ลด จานวนเงิน เพิ่ม/ลด จานวนเงิน เพิ่ม/ลด จานวน % จานวน % จานวน % 620,625 0.00 620,625 0 0.00 620,625 0 0.00 61,937
5,631
10.00
รายได้ที่ไม่ใช่ภาษี เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ ใบอนุญาต รายได้จากทรัพย์สินและสาธารณูปโภค เป็นต้น ได้แก่ ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีสุรา ภาษีสรรพสามิต ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลือ่ น และค่าธรรมเนียมจดทะเบียนอสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น
2/
จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 31 พฤษภาคม 2556
เรื่อง
ผู้รับผิดชอบ
โทรศัพท์
บทสรุปผู้บริหาร สถานการณ์ด้านรายได้ สถานการณ์ด้านรายจ่าย การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ การเบิกจ่ายของกองทุนนอก งบประมาณตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง - ดุลการคลังตามระบบ กระแสเงินสด - ดุลการคลังตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง อปท. สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ กรอบความยั่งยืนทางการคลัง การดาเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ของรัฐบาล การกระจายอานาจการคลังให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มติคณะรัฐมนตรี สถิติด้านการคลัง - รายได้รัฐบาล - โครงสร้างงบประมาณ - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - สัดส่วนรายได้ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อัจฉรา ชิดเครือ อัจฉรา ชิดเครือ วิธีร์ พานิชวงศ์ ไพลิน ช่างภิญโญ ไพลิน ช่างภิญโญ
3555 3555 3565 3595 3595
c.ajchara@gmail.com c.ajchara@gmail.com withee@mof.go.th pailin@fpo.go.th pailin@fpo.go.th
ณัฐพล สุภาดุลย์
3558
nattapol.s@fpo.go.th
กวิน เอี่ยมตระกูล
3551
kawin.iamtrakul@gmail.com
กิจจา ยกยิ่ง สิทธิรัตน์ ดรงคมาศ วิธีร์ พานิชวงศ์ กุสุมา บุญแทน
3590 3558 3565 3533
kitchar@fpo.go.th sitthirat.d@mof.go.th withee@mof.go.th nanpiaoliang@hotmail.com
พรทิพา ศรีขจรวุฒิศักดิ์
3317
porntipa@mof.go.th
ณัฐพล สุภาดุลย์
3558
nattapol.s@fpo.go.th
อัจฉรา ชิดเครือ วิธีร์ พานิชวงศ์ สิทธิรัตน์ ดรงคมาศ
3555 3565 3558
c.ajchara@gmail.com withee@mof.go.th sitthirat.d@mof.go.th
พรทิพา ศรีขจรวุฒิศักดิ์
3575
porntipa@mof.go.th