Cnt0012822 1

Page 1

บทสรุปผูบริหาร ดานรายได

• เดือนกันยายน 2557 รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 192,065 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 32,959 ลานบาท หรือรอยละ 14.6 โดย 3 กรมจัดเก็บภาษีสังกัดกระทรวงการคลังจัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 40,761 ลานบาท สําหรับภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีสรรพสามิตรถยนต และภาษีน้ํามัน อยางไรก็ดี สวนราชการอื่นจัดเก็บรายไดสูงกวา ประมาณการ 1,876 ลานบาท • ในปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – กันยายน 2557) รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 2,073,912 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 201,088 ลานบาทหรือรอยละ 8.8 โดย 3 กรม จัดเก็บภาษีสังกัด กระทรวงการคลังจัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 264,659 ลานบาท ภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปา ที่สําคัญ ไดแก ภาษีเงินไดนติ ิบุคคล ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีสรรพสามิตรถยนต ภาษีน้ํามัน และอากร ขาเขา อยางไรก็ดี ภาษีที่จัดเก็บไดสูงกวาเปาที่สําคัญ ไดแก ภาษีเบียรและสุรา ทั้งนี้ การนําสงรายได ของรัฐวิสาหกิจและหนวยงานอื่นยังสูงกวาประมาณการ 20,690 และ 19,704 ลานบาท ตามลําดับ

ดานรายจาย

• เดือนกันยายน 2557 รัฐบาลเบิกจายเงินรวมทั้งสิ้น 228,864 ลานบาท ประกอบดวยการเบิกจาย งบประมาณประจําปงบประมาณ 2557 จํานวน 212,182 ลานบาท (รายจายประจํา 174,107 ลานบาท และรายจายลงทุน 38,075 ลานบาท) และการเบิกจายรายจายปกอนจํานวน 16,682 ลานบาท • ในปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – กันยายน 2557) รัฐบาลเบิกจายเงิน รวมทั้งสิ้น 2,459,990 ลานบาท แบงเปนการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2557 จํานวน 2,246,306 ลานบาท (รายจาย ประจํา 1,962,257 ลานบาท และรายจายลงทุน 284,049 ลานบาท) คิดเปนอัตราเบิกจายรอยละ 89.0 ของ วงเงินงบประมาณ (2,525,000 ลานบาท) และการเบิกจายรายจายปกอน 213,684 ลานบาท • เมื่อรวมกับการเบิกจายเงินจากเงินกูภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 6,793 ลานบาท เงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 6,646 ลานบาท และโครงการ ลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 4,597 ลานบาท สงผลให ปงบประมาณ 2557 รัฐบาลมีการเบิกจายเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 2,245,239 ลานบาท

ฐานะการคลังรัฐบาล

• ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ปงบประมาณ 2557 รัฐบาลมีรายไดนําสงคลัง 2,070,018 ลานบาท และมีการเบิกจายงบประมาณ (ปปจจุบันและปกอน) รวม 2,459,990 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลจํานวน 389,972 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 30,666 ลานบาท ทําให ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 359,306 ลานบาท ทั้งนี้รัฐบาลไดชดเชยการขาดดุล โดยการออกพันธบัตร 250,000 ลานบาท สงผลใหดุลเงินสดหลังการกูเงินขาดดุลทั้งสิ้น 109,306 ลานบาท • เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2557 มีจํานวน 495,746 ลานบาท -1-


• ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในปงบประมาณ 2557 รัฐบาลมีรายไดทั้งสิ้น 2,260,792 ลานบาท และมีรายจายทั้งสิ้น 2,547,940 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 287,148 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 39,989 ลานบาท และหักรายจาย เพื่อวางระบบ การบริหารจัดการน้ํา เงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) เงินกูตางประเทศ และ รายจายตามแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง จํานวน 6,793 6,646 4,597 และ 2,415 ลานบาท ตามลําดับแลว ทําใหดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 267,610 ลานบาท

ฐานะการคลัง อปท.

• ฐานะการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ณ ไตรมาสที่ 3 ประจําปงบประมาณ 2557 (เดือนเมษายน – มิถุนายน 2557) คาดวาจะมีรายไดรวม 107,055 ลานบาท (รายไดที่จัดเก็บเอง 16,337 ลานบาท รายไดภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 65,586 ลานบาท และรายไดจาก เงินอุดหนุน 25,132 ลานบาท) และคาดวามีรายจายจํานวน 129,473 ลานบาท สงผลใหดุลการคลัง ของ อปท. ขาดดุล 22,419 ลานบาท • ฐานะการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในชวง 9 เดือนแรกของปงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556 – มิถุนายน 2557) คาดวาจะมีรายไดรวม 438,810 ลานบาท (รายได ที่จัดเก็บเอง 36,390 ลานบาท รายไดภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 174,823 ลานบาท และรายได จากเงินอุดหนุน 227,597 ลานบาท) และคาดวามีรายจายจํานวน 370,772 ลานบาท สงผลให ดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 68,038 ลานบาท

สถานะหนี้สาธารณะ

• หนี้สาธารณะคงคางของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนสิงหาคมคม 2557 มีจํานวน 5,650,141.2 ลานบาท คิดเปนรอยละ 46.5 ของ GDP ประกอบดวยหนี้ในประเทศคิดเปนรอยละ 93.6 สวนที่เหลือรอยละ 6.4 เปนหนี้ตางประเทศ และเมื่อแบงตามอายุเครื่องมือการกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปนรอยละ 97.2 และหนี้ระยะสั้นรอยละ 2.8 สําหรับกรณีแบงตามอายุคงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปนรอยละ 85.6 สวนที่เหลือรอยละ 14.4 เปนหนี้ระยะสั้น

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)

• กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบดวย ยอดหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 จัดทํางบประมาณสมดุล และสัดสวนงบลงทุนตองบประมาณไมต่ํากวารอยละ 25 • การวิเคราะหกรอบความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง (ปงบประมาณ 2558 – 2562) - สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 47.1 และลดลงเปนรอยละ 42.6 ในปงบประมาณ 2562 - ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 8.9 ในปงบประมาณ 2562 - รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยกําหนดใหงบประมาณสมดุลในปงบประมาณ 2560 เพื่อรักษาวินัยการคลังและขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหขยายตัวอยางมีเสถียรภาพ -2-


- สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 14.3 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดพยายามที่จะดําเนินโครงการลงทุนทั้งในสวนของ พรก. ใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงิน เพื่อบริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพื่อลงทุนโครงสรางพื้นฐานฯ ในป 2558 – 2562 ซึ่งเมื่อรวม การลงทุนดังกลาวจะทําใหสัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณเพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ยรอยละ 22.5 ตองบประมาณรายจาย

การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล

• ผลการดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ที่ยอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ป 2557 มีจํานวน 980,505.04 ลานบาท ขณะทีย่ อดหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) เทากับ 30,742.41 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 3.14 • รัฐบาลมีภาระความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึ่งสามารถประมาณการ ความเสียหาย ที่ตองไดรับการชดเชยตั้งแตเริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 97,985.96 ลานบาท และคงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล อีกจํานวน 45,546.49 ลานบาท

การกระจายอํานาจทางการคลังใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น

• การจัดสรรเงินอุดหนุนใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ปงบประมาณ 2558 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2558 เงินอุดหนุนที่จัดสรรให อปท. ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558 จํานวน 257,663.78 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากเงินอุดหนุนที่จัดสรรใหแก อปท. ในปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ที่มีจํานวน 253,500 ลานบาทหรือเพิ่มขึ้นจํานวน 4,167.78 ลานบาท คิดเปนรอยละ 1.64

มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ ประจําเดือนตุลาคม 2557

1. เรื่อง รางระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการกําหนดนโยบายและกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. …. คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการรางระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการกําหนดนโยบาย และกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. …. ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ โดยใหยกเลิกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการติดตามการดําเนินงานตามนโยบายการพัฒนารัฐวิสาหกิจฉบับเดิมซึ่งใชมาเปนเวลานาน และเห็นควร ใหมีกฎหมายกําหนดองคประกอบและอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (คนร.) ใหมใหชัดเจน โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานกรรมการและรองนายกรัฐมนตรี (ดานเศรษฐกิจ) เปนรองประธานกรรมการ และให คนร. มีหนาที่ เสนอแนะนโยบาย แผนการบริหารและมาตรการในการพัฒนารัฐวิสาหกิจตอ คณะรัฐมนตรี กํากับดูแลและติดตามผลการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ เพื่อใหการบริหารงานของรัฐวิสาหกิจ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด 2. เรื่อง ขออนุมัติขยายระยะเวลาดําเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพื่อรักษาเสถียรภาพ ราคายาง คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการขยายระยะเวลาดําเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกร เพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง ตามความเห็นของสํานักงบประมาณ จากเดิมสิ้นสุดในวันที่ 31 มีนาคม 2556 -3-


เปนสิ้นสุดในวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และเห็นชอบแหลงเงินทุนสําหรับคาใชจายที่คางชําระ และคาใชจาย ในการขยายเวลาโครงการ 3. เรื่อง การดําเนินการแกไขปญหายางพารา คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแนวทางแกไขปญหายางพาราตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอ โดยขยายกรอบความชวยเหลือเกษตรกรตามโครงการสนับสนุนสินเชื่อเปนเงินทุนหมุนเวียนแกสถาบัน เกษตรกรเพื่อรวบรวมยาง จากเดิม ที่กําหนดใหธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ใหสินเชื่อแกสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคลเทานั้น เปน ใหครอบคลุมสหกรณทุกประเภท กลุมเกษตร และวิสาหกิจชุมชนที่มีการประกอบธุรกิจเกี่ยวกับยางพารา ทั้งนี้ ยังมีมติเห็นชอบใหปรับปรุงองคประกอบ และอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.) เพิ่มเติม 4. เรื่อง มาตรการแกไขปญหาผลกระทบจากภัยแลง ป 2557/2558 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบสถานการณน้ําในลุมน้ําเจาพระยา ลุมน้ําแมกลองและลุมน้ําอื่น ๆ และ เห็นชอบการงดสงน้ําเพื่อการเพาะปลูกขาวนาปรังในพื้นที่ลุมน้ําเจาพระยาและลุมน้ําแมกลอง ทั้งนี้ยัง เห็นชอบ แนวทางการดําเนินงานตามโครงการชวยเหลือเกษตรกรที่ไดรับผลกระทบจากภัยแลง ป 2557/2558 ตามมาตรการหลัก มาตรการเสริม มาตรการชวยเหลือและมาตรการสนับสนุนตางๆ โดยใชงบประมาณ รายจายประจําปงบประมาณ 2558 และขอสนับสนุนงบกลาง รายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือ จําเปน ประจําปงบประมาณ 2558 5. เรื่อง รางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการปรับปรุง การจัดเก็บภาษีเงินไดหางหุนสวนสามัญและคณะบุคคลที่มิใชนิติบุคคล) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการปรับปรุงการจัดเก็บภาษีเงินไดหางหุนสวนสามัญและคณะบุคคลที่มิใชนิติบุคคล) ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวสงใหคณะกรรมการ ประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป 6. เรื่อง การแกไขปญหายางพารา ตามมติคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.) คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบ เห็นชอบ และอนุมัติ ตามมติคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.) ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2557 ตามที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ (กษ.) เสนอ ดังนี้ 1. รับทราบแนวทางการบริหารจัดการยางขององคการสวนยาง 2. เห็นชอบการดําเนินงานตามโครงการสรางมูลภัณฑกันชนรักษาเสถียรภาพราคายาง โครงการ ชดเชยรายไดแกเกษตรกรชาวสวนยาง โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายยอยเพื่อประกอบ อาชีพเสริม และโครงการสนับสนุนสินเชื่อเปนเงินทุนหมุนเวียนแกผูประกอบการยาง 3. อนุมัติกรอบวงเงินเพื่อดําเนินการ ดังนี้ 3.1 อนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณเพื่อดําเนินการตลอดระยะเวลาโครงการรวม จํานวน 10,806.46 ลานบาท 3.2 อนุมัติงบกลางประจําปงบประมาณ พ.ศ.2558 รายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉิน หรือจําเปน จํานวน 1,229.46 ลานบาท เพื่อใชสําหรับดําเนินการในปแรก ทั้งนี้การเบิกจายใหเปนไปตาม ภาระที่เกิดขึ้นจริงแตไมเกินกรอบวงเงินที่กําหนด

-4-


7. เรื่อง รายงานการเงินรวมภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบรายงานการเงินรวมภาครัฐสําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ตามที่ กระทรวงการคลัง เสนอ ประกอบดวย งบแสดงฐานะทางการเงิน งบรายไดและคาใชจายของรัฐบาลกลาง และหนวยงานภาครัฐ กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน รัฐวิสาหกิจ และ อปท. จํานวน 8,188 หนวยงาน จากทั้งหมด 8,388 และขอเสนอแนะแนวทางในการในการจัดทํารายงานการเงินรวมภาครัฐ 8. เรื่อง การกําหนดแนวทางการจัดทํางบประมาณและปฏิทินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการกําหนดแนวทางการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 และการกําหนดปฏิทินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 ตามที่สํานัก งบประมาณ (สงป.) เสนอ

-5-


สถานการณดานการคลัง

I รายได 1. ตามหนวยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.5 หนวยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) - สวนราชการอื่น - กรมธนารักษ 1.6 รวมรายไดจัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.7 รวมรายไดสุทธิ (หลังหักการจัดสรรให อปท.) (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 ฐานจากเงินได (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.2 ฐานจากการบริโภค (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.3 ฐานจากการคาระหวางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) II รายจาย 1.รายจายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.1 งบประมาณปปจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 งบประมาณปกอน 2. รายจายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจาย - เงินใหกูยืมสุทธิ 3. รายจายจากเงินกูตางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 4. รายจายของอปท. 5. รายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกูตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหนวยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงคาง/GDP (ปปฏิทิน)% 7. หนี้ที่เปนภาระงบประมาณ/GDP (ปปฏิทิน)%

รวมทั้งป งบประมาณ 2556

Q1

ปงบประมาณ 2557 Q3 Jul-57

Q2

หนวย : พันลานบาท

Aug-57

Sep-57

รวม ต.ค.56 - ก.ย. 57

1,764.7 9.1 432.9 14.0 113.4 (4.7) 101.4 (17.4) 159.0 36.3 152.6 6.4 2,571.5 9.2 2,161.6 9.4

356.8 2.9 104.3 (12.4) 27.2 (12.5) 47.3 123.3 38.2 (40.1) 35.8 2.5 573.9 (1.4) 503.4 (1.0)

349.0 0.4 100.8 (11.3) 26.5 (8.4) 34.6 61.4 31.2 (27.8) 29.9 1.3 542.2 (2.1) 437.2 (3.8)

544.0 (2.2) 91.5 (11.9) 25.8 (6.4) 37.5 39.3 34.0 (18.9) 32.8 1.2 732.8 (3.4) 608.3 (4.4)

110.0 4.9 27.8 (12.6) 10.0 2.9 9.2 (10.7) 6.3 3.6 6.1 0.1 163.2 0.3 129.5 (0.8)

175.7 (3.4) 28.0 (14.8) 9.1 (5.8) 3.3 5.2 18.8 4.1 18.7 0.2 235.0 (4.3) 203.3 (5.8)

194.2 (2.7) 30.4 (4.5) 10.3 13.3 4.7 111.3 7.4 1.3 7.2 0.2 247.0 (1.3) 192.1 (1.6)

1,729.8 (2.0) 382.7 (11.6) 108.8 (4.0) 136.7 34.7 136.0 (14.5) 130.5 5.4 2,494.0 (3.0) 2,073.9 (4.1)

1,004.8 11.0 1,191.9 9.2 110.9 (4.9)

161.7 5.7 299.0 (4.4) 26.8 (12.1)

155.3 (0.4) 294.3 (3.6) 25.9 (8.4)

352.0 (5.2) 283.3 (3.5) 25.4 (6.4)

45.0 3.1 92.8 (0.3) 9.3 (1.2)

110.1 (5.6) 93.6 (4.5) 8.9 (3.4)

129.2 (6.9) 95.3 2.8 9.8 10.3

953.2 (5.1) 1,158.3 (2.8) 106.0 (4.4)

2,402.5 4.7 2,171.4 1.0 231.0 381.4 357.1 24.3 22.2 27.8

831.0 5.7 760.8 8.7 70.2 195.7 189.4 6.3 2.4 (45.1)

553.1 (5.6) 482.5 (5.9) 70.5 71.3 68.9 2.4 2.1 (50.2)

514.7 6.8 476.7 5.6 38.0 59.3 62.4 (3.1) 3.0 (67.9)

200.2 17.0 189.4 19.6 10.8 38.8 27.8 11.0 0.6 (11.9)

132.1 (7.9) 124.7 (4.3) 7.5 18.8 20.4 (1.6) 0.2 (83.2)

228.9 (2.3) 212.2 (3.0) 16.7 28.9 30.0 (1.1) 0.7 (67.7)

2,460.0 2.4 2,246.3 3.4 213.5 412.8 398.9 13.9 9.0 (59.2)

(238.2) (136.6) (136.6)

(342.6) (388.2) (388.2)

(178.0) (72.0) (72.0)

119.0 153.9 153.9

(80.9) (48.2) (48.2)

3.4 94.8 94.8

119.8 (8.0) (8.0)

(359.3) (267.6) (267.6)

605.1

325.7

214.6

391.3

346.7

3,774.8 1,655.0 0.8 5,430.6 45.5

3,827.1 1,621.9 0.8 5,449.8 45.7

3,919.4 1,624.1 6.9 5,550.4 46.5

3,933.2 1,718.5 3.7 5,655.4 47.1

3,924.7 1,710.8 17.8 5,653.3 46.8

หมายเหตุ 1/ ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจ กองทุนออยและน้ําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนชวยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) เปนผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแตปงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไมรวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : สวนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

-6-

3,924.4 1,710.4 15.3 5,650.1 46.5

n/a n/a n/a n/a n/a n/a

n/a n/a n/a n/a n/a n/a


สถานการณดานรายได  เดือนกันยายน 2557 รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 192,065 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 32,959 ลานบาท หรือรอยละ 14.6 (ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 1.6) ตารางสรุปรายไดรัฐบาลเดือนกันยายน 2557* หนวย: ลานบาท

เทียบปนี้กับ เทียบปนี้กับ ประมาณการ ปที่แลว (%) (%) กรมสรรพากร 194,245 (13.8) (2.7) กรมสรรพสามิต 30,364 (22.2) (4.5) กรมศุลกากร 10,263 (10.0) 13.3 รายได 3 กรม 234,872 (14.8) (2.4) รัฐวิสาหกิจ 4,717 (53.8) 111.3 สวนราชการอื่น 7,204 35.2 14.7 กรมธนารักษ 172 22.9 (82.7) รายไดสุทธิ ** 192,065 (14.6) (1.6) หมายเหตุ * ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 6 ตุลาคม 2557 ** รายไดสุทธิหลังหักการจัดสรรให อปท. ที่มาของรายได

ปนี้

เดือนกันยายน 2557 รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 192,065 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 32,959 ลานบาท หรือรอยละ 14.6 (ต่ํากวาเดือนเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 1.6) โดย 3 กรมจัดเก็บภาษีสังกัด กระทรวงการคลังจัดเก็บรายไดต่ํากวาประมาณการ 40,761 ลานบาท หรือรอยละ 14.8 สําหรับภาษีที่จัดเก็บ ไดต่ํากวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก ภาษีเงินไดนิติบุคคล จัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 19,278 ลานบาท หรือ รอยละ 15.3 เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ทําใหผลประกอบการของภาคเอกชนไมขยายตัวเทาที่ ประมาณการ ภาษีมูลคาเพิ่มจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 9,948 ลานบาท หรือรอยละ 14.4 เนื่องจากมูลคา การนําเขาที่หดตัวเปนสําคัญ ภาษีสรรพสามิตรถยนต จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 5,239 ลานบาท หรือรอยละ 43.8 เปนผลจากอุปสงครถยนตในประเทศที่ชะลอตัว มากกวาที่ประมาณการไว และภาษีน้ํามันจัดเก็บได ต่ํากวาเปาหมาย 1,680 ลานบาท หรือรอยละ 21.6 สาเหตุจากการขยายระยะเวลาปรับลดอัตราภาษีน้ํามัน ดีเซลเพื่อชวยเหลือคาครองชีพของประชาชน อยางไรก็ดี สวนราชการอื่นจัดเก็บไดสูงกวาประมาณการ 1,876 ลานบาท หรือรอยละ 35.2 เนื่องจากรายไดจาก คาขายทรัพยสินและบริการอื่นๆ และรายไดเบ็ดเตล็ดอื่นๆ จัดเก็บไดสูงกวาที่ประมาณการไวเปนสําคัญ (รายละเอียดตามตารางที่ 1)

-7-


400,000

ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ปง บประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556 - กันยายน 2557)

ลานบาท

350,000 300,000

278,598

250,000 200,000

178,567 166,450

150,000

203,344

193,368 158,439 156,131

149,041

132,035

136,331

192,065

129,543

100,000 50,000 0 ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ. จัดเก็บ 56

มี.ค.

เม.ย.

ปมก. 57

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

จัดเก็บ 57

 ปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – กันยายน 2557) รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 2,073,912 ลานบาท ผลการจัดเก็บรายไดตามหนวยงานจัดเก็บ ต่ํากวาประมาณการ 201,088 ลานบาท หรือรอยละ สรุปได ดังนี้ 8.8 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 4.1)  กรมสรรพากร จัดเก็บรายไดรวม 1,729,819 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 160,731 ลานบาท ตารางสรุปรายไดรัฐบาล หรือรอยละ 8.5 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 2.0) ปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556–กันยายน 2557)* หนวย: ลานบาท โดยภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก เทียบปนี้กับ เทียบปนี้กับ - ภาษีเงินไดนิติบุคคลจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย ที่มาของรายได ปนี้ ประมาณการ ปที่แลว 74,882 ลานบาท หรือรอยละ 11.6 (ต่ํากวาชวงเดียวกัน (%) (%) กรมสรรพากร 1,729,819 (8.5) (2.0) ปที่แลวรอยละ 3.8) เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว กรมสรรพสามิต 382,731 (17.5) (11.6) ทําใหผลประกอบการของภาคเอกชนขยายตัวต่ํากวา กรมศุลกากร 108,841 (17.4) (4.0) รายได 3 กรม 2,221,391 (10.6) (3.9) ที่ประมาณการไว สงผลใหการจัดเก็บภาษีจากกําไรสุทธิ รัฐวิสาหกิจ 136,690 17.8 34.7 ของผลประกอบการรอบปบัญชี 2556 (ภ.ง.ด. 50) สวนราชการอื่น 130,527 17.0 (14.4) และจากประมาณการกําไรสุทธิครึ่งรอบระยะเวลาบัญชี กรมธนารักษ 5,427 15.5 (15.8) (ภ.ง.ด.51) ต่ํากวาประมาณการเปนสําคัญ รายไดสุทธิ** 2,073,912 (8.8) (4.1) - ภาษีมูลคาเพิ่มจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย หมายเหตุ: * ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 6 ตุลาคม 2557 ** รายไดสุทธิหลังหักการจัดสรรให อปท. 70,944 ลานบาท หรือรอยละ 9.1 (แตสูงกวาชวงเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 1.9) เปนผลจากภาษีมูลคาเพิ่มที่จัดเก็บ จากการนําเขาต่ํากวาเปาหมาย 67,675 ลานบาท หรือ รอยละ 17.9 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 3.5)

-8-


ผลการจัดเก็บรายไดของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ปงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556 - กันยายน 2557) ลานบาท จัดเก็บ 56 ประมาณการ 57 จัดเก็บ 57

3,000,000 2,500,000 2,000,000

2,310,997

2,486,050 2,221,391

1,890,550 1,764,707 1,729,819

1,500,000 1,000,000 432,897 463,700 382,731

500,000 0

กรมสรรพากร

113,393 131,800 108,841

กรมสรรพสามิต

กรมศุลกากร

รวม 3 กรม

สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพากรแยกตามรายภาษี ปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 - กันยายน 2557) ภาษีธุรกิ จเฉพาะ ภาษีเงินไดป โตรเลียม 3.07% อากรแสตมป รายไดอื่น 0.67% 0.02% 5.91% ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 16.24%

ภาษีมูลคาเพิ่ม 41.13%

ภาษีเงินไดนิติบุคคล 32.96%

สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพสามิตแยกตามรายภาษี ปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 - กันยายน 2557) ภาษีสุราฯ 16.89%

ภาษีอื่นๆ 6.18%

ภาษีน้ํามันฯ 16.57%

ภาษียาสูบ 15.94% ภาษีเบียร 20.00%

สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรแยกตามรายภาษี ปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 - กันยายน 2557) อากรขาออก รายไดอื่น 0.25% 2.58%

อากรขาเขา 97.17%

ภาษีรถยนต 24.42%

ประกอบกับภาษีมูลคาเพิ่มที่จัดเก็บจากการบริโภค ในประเทศจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 3,270 ลานบาท หรือรอยละ 0.8 แตสูงกวาชวงเดียวกันของปที่แลวรอยละ 6.6 ซึ่งสะทอนถึงการบริโภคในประเทศที่ยังคงมี การขยายตัวเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน - ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจัดเก็บไดต่ํากวา เปาหมาย 13,055 ลานบาท หรือรอยละ 4.4 (ต่ํากวา ชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 6.0) เนื่องจากการปรับ โครงสรางภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาที่มีผลกระทบมากกวา ที่คาดไว อยางไรก็ดี ภาษีธุรกิจเฉพาะจัดเก็บไดสูงกวา เปาหมาย 3,234 ลานบาท หรือรอยละ 6.5 (สูงกวา ชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 8.7) เปนผลจากธุรกรรม ภาคการเงินและภาคอสังหาริมทรัพยที่ยังคงขยายตัวดี  กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายไดรวม 382,731 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 80,969 ลานบาท หรือ รอยละ 17.5 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 11.6) โดยภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก - ภาษีสรรพสามิตรถยนตจัดเก็บไดต่ํากวา เปาหมาย 45,127 ลานบาท หรือรอยละ 32.6 (ต่ํากวา ชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 39.3) สาเหตุมาจากอุปสงค รถยนตในประเทศที่หดตัวมากกวาที่คาดการณไว จากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว และการสงมอบรถยนต โครงการรถยนตคันแรกเกือบครบทั้งโครงการแลวใน ปงบประมาณกอนหนา - ภาษีน้ํามันจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 28,597 ลานบาท หรือรอยละ 31.1 (ต่ํากวาชวงเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 0.2) เปนผลจากการขยายเวลาปรับลด อัตราภาษีน้ํามันดีเซลเพื่อชวยเหลือคาครองชีพของ ประชาชน และการเปลีย่ นไปใชน้ํามันแกสโซฮอลซึ่งมีอัตรา ภาษีต่ําและกาซ NGV ซึ่งไมเสียภาษี ทดแทนการใช น้ํามันเบนซิน - ภาษียาสูบจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 11,799 ลานบาท หรือรอยละ 16.2 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว รอยละ 10.2) สวนหนึ่งเปนผลจากผูบริโภคหันมาบริโภค บุหรี่ที่มีราคาถูกลง ประกอบกับปริมาณการบริโภคบุหรี่ที่ ชะลอตัวลง อยางไรก็ดี ภาษีเบียรและภาษีสุราจัดเก็บได สูงกวาเปาหมาย 4,559 และ 1,954 ลานบาท หรือรอยละ

-9-


สัดสวนการนําสงรายไดรัฐวิส าหกิจแยกตามสาขา ปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 - กันยายน 2557)

พาณิชยและบริการ 11.28% เกษตรและ ทรัพยากรธรรมชาติ 0.09%

สถาบันการเงิน 15.72%

กิจการที่กระทรวงการคลัง ถือหุนต่ํากวารอยละ 50 1.06%

พลังงาน 39.69%

อุตสาหกรรม 7.74% สาธารณูปการ 8.16%

สื่อสาร 7.34%

ขนสง 8.92%

6.3 และ 3.1 ตามลําดับ (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว รอยละ 10.8 และ 22.8 ตามลําดับ) เปนผลจากการปรับ โครงสรางภาษีสุราเมื่อเดือนกันยายน 2556  กรมศุลกากร จัดเก็บรายไดรวม 108,841 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 22,959 ลานบาท หรือรอยละ 17.4 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 4.0) สาเหตุสําคัญ มาจากอากรขาเขาที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 23,739 ลานบาท หรือรอยละ 18.3 เปนผลจากมูลคาการนําเขา ที่หดตัว โดยมูลคาการนําเขาในรูปดอลลารสหรัฐฯ และเงินบาทในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – สิงหาคม 2557) หดตัวรอยละ 11.3 และรอยละ 5.8 ตามลําดับ ทั้งนี้ สินคาที่จัดเก็บอากรขาเขา ไดสูงสุด 5 อันดับแรก ไดแก ยานบกและสวนประกอบ เครื่องจักรและเครื่องใชกล เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณ ประกอบ ของทําดวยเหล็กหรือเหล็กกลา และพลาสติก  รัฐวิสาหกิจ นําสงรายไดรวม 136,690 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 20,690 ลานบาท หรือรอยละ 17.8 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 34.7) โดยรัฐวิสาหกิจ ที่นําสงรายได/เงินปนผลสูงกวาประมาณการที่สําคัญ ไดแก การไฟฟาสวนภูมิภาค การประปาสวนภูมิภาค บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย และการไฟฟานครหลวง  หนวยงานอื่น จัดเก็บรายไดรวม 135,954 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 19,704 ลานบาท หรือ รอยละ 16.9 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 14.5) สาเหตุสําคัญมาจากรายไดจากสัมปทานปโตรเลียม ที่สูงกวาประมาณการ จํานวน 9,107 ลานบาท การสงคืน รายไดที่กันไวเพื่อชดเชยใหแกผูสงออกสินคาที่สูงกวา ประมาณการ จํานวน 5,929 ลานบาท เงินเหลือจาย ปเกาสงคืนที่สูงกวาประมาณการ จํานวน 2,956 ลานบาท และคาขายทรัพยสินและบริการอื่นๆ ที่สูงกวาประมาณการ 1,352 ลานบาท สําหรับกรมธนารักษจัดเก็บรายไดรวม 5,427 ลานบาท สูงกวาเปาหมายจํานวน 727 ลานบาท หรือรอยละ 15.5 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 15.8) เนื่องจากการจัดเก็บรายไดจากที่ราชพัสดุ ที่สูงกวาเปาหมาย

- 10 -


 การคืนภาษีของกรมสรรพากร จํานวน 292,597 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 5,903 ลานบาท หรือ รอยละ 2.0 ประกอบดวยการคืนภาษีมูลคาเพิ่ม 227,078 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 16,522 ลานบาท หรือ รอยละ 6.8 และการคืนภาษีอื่นๆ (ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป) จํานวน 65,519 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 10,619 ลานบาท หรือรอยละ 19.3  เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก จํานวน 15,779 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 2,821 ลานบาท หรือรอยละ 15.2  การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหองคกรปกครอง สวนทองถิ่น - การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหกับองคการ บริหารสวนจังหวัด จํานวน 15,360 ลานบาท ต่ํากวา ประมาณการ 1,840 ลานบาท หรือรอยละ 10.7 - การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหองคกร ปกครองสวนทองถิ่นตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนและ ขั้นตอนการกระจายอํานาจฯ จํานวน 96,387 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 12,613 ลานบาท หรือรอยละ 11.6 (รายละเอียดตามตารางที่ 2)

- 11 -


ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลเบื้องตน เดือนกันยายน 2557

1/ หนวย : ลานบาท

เปรียบเทียบปนี้กับปที่แลว ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม. ที่มาของรายได

ปนี้

ปที่แลว

จํานวน

รอยละ

งปม.ทั้งปเทากับ

จํานวน

รอยละ

2,275,000 ลานบาท

194,245

199,722

(5,477)

(2.7)

225,215

(30,970)

(13.8)

59,049 106,500 21,038 1,649 4,864 1,113 32 30,364

55,862 115,157 21,795 1,774 4,040 1,067 27 31,803

3,187 (8,657) (757) (125) 824 46 5 (1,439)

5.7 (7.5) (3.5) (7.0) 20.4 4.3 18.5 (4.5)

68,997 125,778 23,348 1,510 4,409 1,152 21 39,018

(9,948) (19,278) (2,310) 139 455 (39) 11 (8,654)

(14.4) (15.3) (9.9) 9.2 10.3 (3.4) 52.4 (22.2)

2.10 ภาษีอื่น 2/

6,099 6,709 5,333 5,244 5,045 1,348 203 187 58 99

5,249 8,716 5,406 7,594 2,885 1,375 213 182 68 92

850 (2,007) (73) (2,350) 2,160 (27) (10) 5 (10) 7

16.2 (23.0) (1.4) (30.9) 74.9 (2.0) (4.7) 2.7 (14.7) 7.6

7,779 11,948 5,691 6,508 5,186 1,325 195 179 99 90

(1,680) (5,239) (358) (1,264) (141) 23 8 8 (41) 9

(21.6) (43.8) (6.3) (19.4) (2.7) 1.7 4.1 4.5 (41.4) 10.0

2.11 รายไดอื่น

39

23

16

69.6

18

21

116.7

10,263 9,724 47 492

9,060 8,833 27 200

1,203 891 20 292

13.3 10.1 75.1 146.0

11,400 11,210 25 165

(1,137) (1,486) 22 327

(10.0) (13.3) 89.1 198.2

234,872

240,585

(5,713)

(2.4)

275,633

(40,761)

(14.8)

4. รัฐวิสาหกิจ

4,717

2,232

2,485

111.3

10,208

(5,491)

(53.8)

5. หนวยงานอื่น

7,376

1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7

ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น

2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9

ภาษีรถยนต ภาษีเบียร ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครื่องไฟฟา

3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่น

รวมรายได 3 กรม

5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ

รวมรายไดจัดเก็บ (Gross)

7,279

97

1.3

5,468

1,908

34.9

7,204 172 246,965

3/

6,283 996 250,096

921 (824) (3,131)

14.7 (82.7) (1.3)

5,328 140 291,309

1,876 32 (44,344)

35.2 22.9 (15.2)

20,300 17,000 3,300 1,200 1,800 223,665

4/

20,478 17,677 2,801 1,224 2,152 226,242

(178) (677) 499 (24) (352) (2,577)

(0.9) (3.8) 17.8 (2.0) (16.4) (1.1)

23,210 20,460 2,750 1,361 2,364 264,374

(2,910) (3,460) 550 (161) (564) (40,709)

(12.5) (16.9) 20.0 (11.8) (23.9) (15.4)

31,600

31,067

533

1.7

39,350

(7,750)

(19.7)

192,065

195,175

(3,110)

(1.6)

225,024

(32,959)

(14.6)

หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่น 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ให อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก

รวมรายไดสุทธิ (Net) หักเงินจัดสรรจาก VAT ให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ

รวมรายไดสุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ

5/

4/ 4/

1/

ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 6 ตุลาคม 2557

2/

ภาษีไพ แกวฯ เครื่องหอม พรม สนามมา สนามกอลฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนทคลับและดิสโกเธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด

3/

ขอมูลจากระบบ GFMIS

4/

ตัวเลขคาดการณ

5/

การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหแก อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ งวดที่ 9 - 12 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 12 -


ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ปงบประมาณ 2557

1/

( ตุลาคม 2556 - กันยายน 2557 ) หนวย : ลานบาท

เปรียบเทียบปนี้กับปที่แลว ที่มาของรายได

ปนี้

1. กรมสรรพากร

ปที่แลว

จํานวน

รอยละ

ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม งปม.ทั้งปเทากับ 2,275,000 ลานบาท

จํานวน

รอยละ

1,729,819

1,764,707

(34,888)

(2.0)

1,890,550

(160,731)

(8.5)

711,556 570,118 280,945 102,165 53,034 11,663 338 382,731

698,087 592,499 299,034 113,291 48,771 12,735 290 432,897

13,469 (22,381) (18,089) (11,126) 4,263 (1,072) 48 (50,166)

1.9 (3.8) (6.0) (9.8) 8.7 (8.4) 16.6 (11.6)

782,500 645,000 294,000 105,000 49,800 14,000 250 463,700

(70,944) (74,882) (13,055) (2,835) 3,234 (2,337) 88 (80,969)

(9.1) (11.6) (4.4) (2.7) 6.5 (16.7) 35.2 (17.5)

63,403 93,473 76,559 61,001 64,654 16,622 2,585 2,074 519 1,157

63,532 153,874 69,119 67,893 52,640 17,838 2,933 2,294 1,003 1,208

(129) (60,401) 7,440 (6,892) 12,014 (1,216) (348) (220) (484) (51)

(0.2) (39.3) 10.8 (10.2) 22.8 (6.8) (11.9) (9.6) (48.3) (4)

92,000 138,600 72,000 72,800 62,700 18,000 2,530 2,370 1,075 1,150

(28,597) (45,127) 4,559 (11,799) 1,954 (1,378) 55 (296) (556) 7

(31.1) (32.6) 6.3 (16.2) 3.1 (7.7) 2.2 (12.5) (51.7) 0.6

684

563

121

21.5

475

209

44.0

108,841 105,761 269 2,811 2,221,391

113,393 110,628 254 2,511 2,310,997

(4,552) (4,867) 15 300 (89,606)

(4.0) (4.4) 5.9 11.9 (3.9)

131,800 129,500 300 2,000 2,486,050

(22,959) (23,739) (31) 811 (264,659)

(17.4) (18.3) (10.3) 40.6 (10.6)

4. รัฐวิสาหกิจ

136,690

101,448

35,242

34.7

116,000

20,690

17.8

5. หนวยงานอื่น

135,954

1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7

ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น

2. กรมสรรพสามิต 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9

ภาษีน้ํามันฯ ภาษีรถยนต ภาษีเบียร ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครื่องไฟฟา

2.10 ภาษีอื่น

2/

2.11 รายไดอื่น

3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่น

รวมรายได 3 กรม

5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ

รวมรายไดจัดเก็บ (Gross)

159,016

(23,062)

(14.5)

116,250

19,704

16.9

130,527 5,427 2,494,035

3/

152,568 6,448 2,571,461

(22,041) (1,021) (77,426)

(14.4) (15.8) (3.0)

111,550 4,700 2,718,300

18,977 727 (224,265)

17.0 15.5 (8.3)

292,597 227,078 65,519 15,360 15,779 2,170,299

4/

283,471 228,941 54,530 15,476 16,946 2,255,568

9,126 (1,863) 10,989 (116) (1,167) (85,269)

3.2 (0.8) 20.2 (0.7) (6.9) (3.8)

298,500 243,600 54,900 17,200 18,600 2,384,000

(5,903) (16,522) 10,619 (1,840) (2,821) (213,701)

(2.0) (6.8) 19.3 (10.7) (15.2) (9.0)

96,387

93,967

2,420

2.6

109,000

(12,613)

(11.6)

2,073,912

2,161,601

(87,689)

(4.1)

2,275,000

(201,088)

(8.8)

หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ให อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก

รวมรายไดสุทธิ (Net)

6/

หักเงินจัดสรรจาก VAT ให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ

รวมรายไดสุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ

1/ 2/

4/ 5/

ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 6 ตุลาคม 2557 ภาษีไพ เครื่องแกว เครื่องหอม พรม สนามมา สนามกอลฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนทคลับและดิสโกเธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด

3/

ตัวเลขจากระบบ GFMIS

4/

เดือนตุลาคม 2556 - กรกฎาคม 2557 เปนตัวเลขจริง เดือนสิงหาคม - กันยายน 2557 เปนตัวเลขคาดการณ

5/

เดือนตุลาคม 2556 - สิงหาคม 2557 เปนตัวเลขจริง เดือนกันยายน 2557 เปนตัวเลขคาดการณ

6/

รายไดสุทธิกอนการจัดสรรให อปท. ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 13 -


สถานการณดานรายจาย • พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2557 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 130 ตอนที่ 93 ก เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2556 กําหนดวงเงินงบประมาณรายจายจํานวน 2,525,000 ลานบาท สูงกวาวงเงินปงบประมาณ 2556 รอยละ 5.2 โดยแบงเปนรายจายประจํา 2,017,626 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่เเลวรอยละ 6.2 รายจายลงทุน 441,129 ลานบาท ลดลงจาก ปที่เเลวรอยละ 2.1 รายจายชําระคืนตนเงินกู 52,822 ลานบาท และรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง 13,424 ลานบาท โครงสรางงบประมาณประจําปงบประมาณ 2557

โครงสรางงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจาย (สัดสวนตอ GDP) - รายจายประจํา (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายลงทุน (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายชําระคืนตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) 2. รายรับ (สัดสวนตอ GDP) - รายได - เงินกู 3. ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP)

ปงบประมาณ 2556 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,400,000 0.8 20.1 1,900,477 3.2 79.2 -100.0 450,374 2.7 18.7 49,150 4.9 2.1 2,400,000 0.8 20.1 2,100,000 6.1 300,000 -25.0 11,922,000 4.8

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557

- 14 -

หนวย : ลานบาท

ปงบประมาณ 2557 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,525,000 5.2 20.3 2,017,626 6.2 79.9 13,424 100.0 0.5 441,129 -2.1 17.5 52,822 7.5 2.1 2,525,000 5.2 20.3 2,275,000 8.3 250,000 -16.7 12,424,000 4.4


• คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2556 เห็นชอบการกําหนดเปาหมายการเบิกจายงบประมาณ รายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557 ที่อัตรารอยละ 95.0 และกําหนดเปาหมายการเบิกจาย รายจายลงทุนไวไมนอยกวารอยละ 82.0 ของวงเงินงบรายจายลงทุน โดยไดกําหนดเปาหมาย การเบิกจายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่

เปาหมายการเบิกจาย สะสม ณ สิ้นไตรมาส

1 2 3 4

555,500 1,161,500 1,767,500 2,398,750

เปาหมายอัตราการ เบิกจายสะสม ณ สิ้นไตรมาส (%) 22 46 70 95

เบิกจายสะสม

อัตราการเบิกจาย (%)

760,825 1,243,364 1,720,033 2,246,306

30.1 49.2 68.1 89.0

• เดือนกันยายน 2557 รัฐบาลมีการเบิกจายเงินงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 228,864 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 5,469 ลานบาท หรือรอยละ 2.3 ปงบประมาณ 1. รายจายปปจจุบัน 1.1 รายจายประจํา 1.2 รายจายลงทุน 2. รายจายปกอน รวม

2557 212,182 174,107 38,075 16,682 228,864

เดือนกันยายน 2557 เปรียบเทียบ 2556 จํานวน รอยละ 218,816 (6,634) (3.0) 186,040 (11,933) (6.4) 32,776 5,299 16.2 15,517 1,165 7.5 234,333 (5,469) (2.3)

ประกอบดวย 1) การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2557 จํานวน 212,182 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกัน ปที่แลว 6,634 ลานบาท หรือรอยละ 3.0 แบงเปน รายจายประจํา 174,107 ลานบาท และรายจายลงทุน 38,075 ลานบาท โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ คือ รายจายชําระหนี้ของกระทรวงการคลัง 23,334 ลานบาท เงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน 9,057 ลานบาท รายจายใหกองทุนเงินใหกูยืม เพื่อการศึกษา 8,700 บาท และเงินอุดหนุนของ กระทรวงศึกษาธิการ 8,117 ลานบาท 2) การเบิกจายรายจายปกอน มีจํานวน 16,682 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 1,165 ลานบาท หรือรอยละ 7.5

• ในปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – กันยายน 2557) รัฐบาลไดเบิกจายแลวจํานวนรวมทั้งสิ้น 2,459,990 ลานบาท สูงกวาปที่แลว 57,509 หรือรอยละ 2.4

- 15 -

ประกอบดวย 1) การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2557 จํานวน 2,246,306 ลานบาท คิดเปนอัตรา การเบิกจายรอยละ 89.0 ของวงเงินงบประมาณ 2,525,000 ลานบาท สูงกวาปที่แลว 74,847 หรือรอยละ 3.4 แบงเปน รายจายประจํา 1,962,257 ลานบาท คิดเปนรอยละ 93.7 ของวงเงินงบประมาณ


ตนแตตนปงบประมาณจนถึงสิ้นเดือนกันยายน2557

ปงบประมาณ

2557

1. รายจายปปจจุบัน 1.1 รายจายประจํา 1.2 รายจายลงทุน 2. รายจายปกอน รวม

2556

2,246,306 2,171,459 1,962,257 1,894,885 284,049 276,574 213,684 231,022 2,459,990 2,402,481

เปรียบเทียบ งปม. 2556 รอยละตอวงเงิน จํานวน รอยละ งปม. 2557 74,847 3.4 89.0 67,372 3.6 93.7 7,475 2.7 65.8 (17,338) (7.5) 70.7 57,509 2.4 87.0

รายจายประจําหลังโอนเปลี่ยนแปลง (2,093,452 ลานบาท) รายจายลงทุน 284,049 ลานบาท คิดเปน รอยละ 65.8 ของวงเงินงบประมาณรายจายลงทุน หลังโอนเปลี่ยนแปลง (431,548 ลานบาท) โดย มีการเบิกจายรายการที่สําคัญ ไดแก เงินอุดหนุน กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 200,696 ลานบาท รายจายชําระหนี้ของกระทรวงการคลัง 162,331 ลานบาท และเงินอุดหนุนของกระทรวงศึกษาธิการ 154,447 ลานบาท - การเบิกจายงบกลาง มีจํานวน 288,868 ลานบาท คิดเปนรอยละ 85.8 ของวงเงินงบกลาง (336,531 ลานบาท) โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ ไดแก - เงินเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ 142,774 ลานบาท คิดเปนรอยละ 107.9 - คาใชจายในการรักษาพยาบาลขาราชการ ลูกจาง 62,353 ลานบาท คิดเปนรอยละ 103.9 - เงินสํารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของขาราชการ 48,785 ลานบาท คิดเปนรอยละ 103.8 - เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจาง และพนักงาน 4,545 ลานบาท คิดเปนรอยละ 95.9 - เงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน 27,162 ลานบาท คิดเปนรอยละ 37.5 2) การเบิกจายรายจายปกอน มีจํานวน 213,684 ลานบาท คิดเปนรอยละ 70.7 ของวงเงินรายจายปกอน (302,340 ลานบาท) ต่ํากวาปที่แลว 17,338 ลานบาท หรือรอยละ 7.5

การเบิกจายงบประมาณในปงบประมาณ 2557

ลานบาท

2,500,000

2,500,000

2,000,000

2,000,000

1,500,000

1,500,000

1,000,000

1,000,000

500,000

500,000

0

ต.ค. 56 พ.ย. 56 ธ.ค. 56 ม.ค. 57 ก.พ. 57 มี.ค. 57 เม.ย. 57 พ.ค. 57 มิ.ย. 57 ก.ค. 57 ส.ค. 57 ก.ย. 57

ต.ค. 56 พ.ย. 56 ธ.ค. 56 ม.ค. 57 ก.พ. 57 มี.ค. 57 ปปจจุบัน(รายเดือน) 244,001 232,568 284,256 186,395 154,109 142,036 สะสม 2556 290,631 561,444 699,779 880,872 1,011,409 1,212,687 สะสม 2557 244,001 476,569 760,826 947,220 1,101,328 1,243,364

- 16 -

เม.ย. 57 179,780 1,382,955 1,423,144

พ.ค. 57 142,463 1,508,665 1,565,607

มิ.ย. 57 154,426 1,663,938 1,720,033

ก.ค. 57 189,421 1,822,344 1,909,453

ส.ค. 57 124,671 1,952,643 2,034,124

0 ก.ย. 57 212,182 2,171,459 2,246,306


• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินจากโครงการลงทุน - เดือนกันยายน 2557 มีการเบิกจายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน ภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ในเดือนกันยายน 2557 จํานวน 2,686 ลานบาท 2,686 ลานบาท สงผลใหตั้งแตตนปงบประมาณจนถึง เดือนกันยายน 2557 มีการเบิกจายทั้งสิ้น 4,597 ลานบาท และตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนตุลาคม 2552) เบิกจาย ไปแลว 332,286 ลานบาท คิดเปนรอยละ 95.2 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท - เดือนกันยายน 2557 มีการเบิกจายเงินกูเพื่อฟนฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 630 ลานบาท สงผลใหตั้งแตตนปงบประมาณจนถึง เดือนกันยายน 2557 มีการเบิกจายทั้งสิ้น 6,646 ลานบาท และตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนเมษายน 2554) เบิกจายไปแลว 29,307 ลานบาท คิดเปนรอยละ 74.6 ของวงเงิน ที่ไดรับอนุมัติ 39,285 ลานบาท

• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) ในเดือน กันยายน 2557 จํานวน 630 ลานบาท

• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูภายใต พรก.บริหาร - เดือนกันยายน 2557 มีการเบิกจายเงินกูภายใต พรก.บริหารจัดการน้าํ ฯ จํานวน 636 ลานบาท จัดการน้ําฯ ในเดือนกันยายน 2557 จํานวน สงผลใหตั้งแตตนปงบประมาณจนถึงเดือนกันยายน 636 ลานบาท 2557 มีการเบิกจายทั้งสิ้น 6,793 ลานบาท และตั้งแต เริ่มโครงการ (เดือนกุมภาพันธ 2555) เบิกจายไปแลว 22,295 ลานบาท คิดเปนรอยละ 6.4 ของวงเงินที่ไดรับ อนุมัติจํานวน 350,000 ลานบาท หนวย: ลานบาท

ปงบประมาณ 2557 โครงการ

วงเงินที่ไดรับ อนุมัติ

2553

2554

2555

เบิกจาย

รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ

เบิกจาย

รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ

4,597

1.3

332,286

95.2

7,382 14,993

630

1.6

6,646

16.9

29,307

74.6

1,762 13,740

636

0.2

6,793

1.9

22,295

6.4

3. เงินกูภายใต พรก. บริหารจัดการน้ําฯ

350,000

286

เบิกจาย

0.8

348,940 234,369 61,391 24,420 39,285

รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ

ตั้งแตเริ่มโครงการ จนถึงสิ้นเดือน ก.ย.57

7,509 2,686

1.โครงการภายใตปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2. เงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสราง 2/ พื้นฐาน (DPL)

1/

ตั้งแตตนปงบประมาณ จนถึงสิ้นเดือน ก.ย.57

ก.ย. 57

2556

1/

หมายเหตุ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหยกเลิกวงเงินเหลือจายคงเหลือ จํานวน 1,020 ลานบาท ทําใหเหลือวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท (วงเงินที่ไดรับอนุมัติเดิม 349,960 ลานบาท) 2/

วงเงินกู DPL 1,300 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือเทียบเทา 39,285 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 1 เหรียญสหรัฐฯ เทากับ 30 บาท) จากธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) จํานวน 300 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนจํานวนเงิน 9,209 ลานบาท จากธนาคารโลก (World Bank) จํานวน 1,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือเทียบเทา 30,076 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 1 เหรียญสหรัฐฯ เทากับ 30 บาท)

- 17 -


• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจ - ในปงบประมาณ 2557 มีการเบิกจาย เงินเขาสูระบบ เศรษฐกิจจํานวนทั้งสิ้น 2,478,026 ลานบาท แบงเปน ทั้งสิ้น 2,478,026 ลานบาท งบประมาณรายจายประจํา ปงบประมาณ 2557 จํานวน 2,246,306 ลานบาท รายจายปกอน 213,684 ลานบาท โครงการภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 6,793 ลานบาท โครงการเงินกูเพื่อฟนฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 6,646 ลานบาท และโครงการลงทุนภายใตแผน ปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 4,597 ลานบาท

- 18 -


การเบิกจายเงินกูตางประเทศ ผลการเบิกจาย - เดือนกันยายน 2557 มีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ 722.3 ลานบาท ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลว 1,508 ลานบาท - ในปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – กันยายน 2557) มีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ 9,060.7 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 13,147.3 ลานบาท สรุปการเบิกจายเงินกูตางประเทศ เดือนกันยายน 2557 และปงบประมาณ 2557

รายการ 1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL) 3. Development Policy Loan (DPL)* รวม

กันยายน 2557

2556

92.3 630.0 722.3

69.3 2,161.0 2,230.3

เปลี่ยนแปลง จํานวน รอยละ 23.0 33.2 -1,531.0 -70.8 -1,508.0 -67.6

หนวย : ลานบาท ปงบประมาณ 2557 เปลี่ยนแปลง 2557 2556 จํานวน รอยละ 1,679.9 7,019.2 -5,339.3 -76.1 734.8 195.8 539.0 275.3 6,646.0 14,993.0 -8,347.0 -55.7 9,060.7 22,208.0 -13,147.3 -59.2

ที่มา : สํานักงานบริหารหนีส้ าธารณะ, กรมบัญชีกลาง หมายเหตุ : * วงเงินกู DPL 1,300 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ 39,284.50 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยน 1 USD = 30 บาท) วงเงินที่ ครม. อนุมัติแลว 37,928.54 ลานบาท ประกอบดวยเงินกูภายใต TKK 17,684.99 ลานบาท และนอก TKK 20,243.55 ลานบาท

- 19 -


การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค.1/ • เดือนกันยายน 2557 กองทุนนอกงบประมาณเบิกจาย 28,878 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 1,926 ลานบาท หรือรอยละ 7.1 สวนหนึ่ง เปนผลจากกองทุนสนับสนุนการสรางเสริม สุขภาพและกองทุนออยและน้ําตาลทราย มีการเบิกจายเพิ่มขึ้น • ปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – กันยายน 2557) กองทุนฯ เบิกจาย 412,845 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 23,283 ลานบาท หรือรอยละ 6.0 สาเหตุหลัก มาจากกองทุนประกันสังคมมีการเบิกจาย เพิ่มขึ้น

เดือนกันยายน 2557 มีการเบิกจายรวม 28,878 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 1,926 ลานบาท หรือรอยละ 7.1 ประกอบดวยรายจาย 29,973 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกัน ปที่แลว 5,783 ลานบาท โดยเปนการเบิกจายเพิ่มขึ้นของกองทุน สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพและกองทุนออยและน้ําตาลทราย จํานวน 4,316 และ 3,222 ลานบาท ตามลําดับ สําหรับการใหกูยืม สุทธิมีการคืนเงินจํานวน 1,095 ลานบาท ปงบประมาณ 2557 มีการเบิกจายรวม 412,845 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 23,283 ลานบาท หรือรอยละ 6.0 ประกอบดวย 1) รายจาย 398,912 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 41,879 ลานบาท หรือรอยละ 11.7 เปนผลมาจากกองทุน ประกันสังคมและกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพมีรายจาย เพิ่มขึ้น 29,250 และ 11,774 ลานบาท ตามลําดับ อยางไรก็ดี กองทุนหมูบานและชุมชนเมืองมีรายจายลดลง 13,315 ลานบาท 2) เงินใหกูยืมสุทธิ 13,933 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกัน ของปที่แลว 18,596 ลานบาท หรือรอยละ 57.2 เปนผลมาจาก กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษาและกองทุนออยและน้ําตาลทราย มีการใหกูยืมลดลง

การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนกันยายน และปงบประมาณ 2557 กันยายน รายการ

2557*

2556

หนวย : ลานบาท

ปงบประมาณ เปรียบเทียบ

จํานวน

รอยละ

2557*

2556

เปรียบเทียบ จํานวน

รอยละ

1. รายจาย

29,973 24,190

5,783

23.9

398,912

357,033

41,879

11.7

2. เงินใหกูยืมสุทธิ

-1,095

2,762

-3,857

-139.6

13,933

32,529

-18,596

-57.2

28,878

26,952

1,926

7.1

412,845 389,562

23,283

6.0

รวม

หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 1/

การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณ 14 กองทุน (จากกองทุนทั้งหมด 110 กองทุน) ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนออยและน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจยั

- 20 -


ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 ปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – กันยายน 2557) ปงบประมาณ 2557 รัฐบาลมีรายไดนําสงคลัง 2,070,018 • ปงบประมาณ 2557 ดุลการคลัง ของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสด ลานบาท และมีการเบิกจายงบประมาณจากงบประมาณป ขาดดุล 359,306 ลานบาท คิดเปน ปจจุบันและปกอนรวม 2,459,990 ลานบาท สงผลใหดุล เงินงบประมาณขาดดุลจํานวน 389,972 ลานบาท เมื่อรวม รอยละ 2.9 ของ GDP 2 กับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 30,666 ลานบาท ทําใหดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 359,306 ลานบาท ทั้งนี้ รัฐบาลไดชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตร 250,000 ลานบาท สงผลใหเงินคงคลัง ณ สิ้น ปงบประมาณ 2557 มีจํานวน 495,746 ลานบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ปงบประมาณ

รายได รายจาย - ปปจจุบัน - ปกอน ดุลเงินงบประมาณ ดุลเงินนอกงบประมาณ ดุลเงินสดกอนกู เงินกูเพื่อชดเชยการขาดดุล ดุลเงินสดหลังกู เงินคงคลังปลายงวด

2557 2,070,018 2,459,990 2,246,306 213,684 (389,972) 30,666 (359,306) 250,000 (109,306) 495,746

ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1

2556 2,163,469 2,402,481 2,171,459 231,684 (239,012) 845 (238,167) 281,949 43,782 605,052

หนวย: ลานบาท

เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ (93,451) (4.3) 57,509 2.4 74,847 3.4 (17,338) (7.5) (150,960) 63.2 29,821 3,529.1 (121,139) 50.9 (31,949) (11.3) (153,088) (349.7) (109,306) (18.1)

ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เปนดุลการคลังที่แสดงใหเห็นผลกระทบตอเงินคงคลังและการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปปฏิทิน 2556 เทากับ 11,898,710 ลานบาท และคาดการณ GDP ปปฏิทิน 2557 เทากับ 12,364,000 ลานบาท

2

-21-


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) 3 ปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – กันยายน 2557) • ปงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – กันยายน 2557) รัฐบาลขาดดุล 253,348 ลานบาท โดยขาดดุล งบประมาณ 267,610 ลานบาท ในขณะที่ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ เกินดุล 39,989 ลานบาท นอกจากนี้ มีรายจายเพื่อวางระบบการบริหาร จัดการน้ําจํานวน 6,793 ลานบาท รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและ พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 6,646 ลานบาท รายจายตาม แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง จํานวน 4,597 ลานบาท เงินกูตางประเทศ 2,415 ลานบาท

ดานรายได รัฐบาลมีรายไดรวมทั้งสิ้น 2,260,792 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 68,986 ลานบาท ประกอบดวย รายไดในงบประมาณ (กอนจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท.) 2,255,424 ลานบาท และเงินชวยเหลือตางประเทศ 5,368 ลานบาท ดานรายจาย รัฐบาลมีรายจายทั้งสิ้น 2,547,940 ลานบาท รายจายสูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 23,631 ลานบาท ประกอบดวยรายจาย (ไมรวมรายจายชําระตนเงินกู การถือครองสินทรัพยทางการเงิน รายจายเงินกูเพื่อฟนฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวาง ระบบการบริหารจัดการน้ํา เงินกูตางประเทศ และรายจายตาม แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง) จํานวน 2,542,572 ลานบาท และเงินชวยเหลือตางประเทศ 5,368 ลานบาท ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 287,148 ลานบาท ขาดดุลมากกวาชวงเดียวกันปทแี่ ลว 92,617 ลานบาท บัญชีเงินนอกงบประมาณ มีรายไดรวมทั้งสิ้น 452,807 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 4.8 ในขณะที่ มีรายจายจํานวน 398,912 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 12.6 และมีเงินใหกูหักชําระคืน 13,906 ลานบาท สงผลใหดุลบัญชีนอกงบประมาณเกินดุล 39,989 ลานบาท ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล มีสาเหตุมาจากดุลเงิน งบประมาณที่ขาดดุลเปนสําคัญ โดยเมื่อรวมกับดุลเงิน นอกงบประมาณที่เกินดุล รายจายเพื่อวางระบบการบริหาร จัดการน้ํา รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายตามแผนปฏิบัติการไทย เขมแข็ง และเงินกูตางประเทศ จํานวน 6,793 6,646 4,597 และ 2,415 ลานบาท ตามลําดับ ทําใหดุลการคลัง รัฐบาลขาดดุลจํานวน 267,610 ลานบาท

3

ดุลการคลังตามระบบ สศค. เปนดุลการคลังที่สะทอนเม็ดเงินที่แทจริงที่สงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจ

- 23-


ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเปนดุลการคลังที่สะทอนถึงผลการดําเนินงานของรัฐบาล และทิศทางของนโยบายการคลังรัฐบาลอยางแทจริง (ไมรวมรายได และรายจายจากดอกเบี้ยและการชําระ คืนตนเงินกู) ขาดดุลทั้งสิน้ 163,181 ลานบาท ในขณะที่ ชวงเดียวกันปที่แลวขาดดุล 41,149 ลานบาท ดุลการคลังเบื้องตนตามระบบ สศค. หนวย : ลานบาท ปงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได 2. รายจาย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. แผนปฎิบัติการไทยเขมแข็ง (TKK) 5. รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 6. รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 7. เงินกูตางประเทศ 8. ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ (8.1-8.2-8.3) 8.1 รายได 8.2 รายจาย 8.3 เงินใหกูหักชําระคืน 9. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+8-4-5-6-7) 10. ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล

เดือนกันยายน 2557

2556

238,314 250,371 (12,057) 2,686 636 630 92 8,039 36,926 29,973 (1,086) (8,062) 171

235,258 253,433 (18,175) 1,994 1,292 2,161 1,277 (4,386) 20,385 21,517 3,254 (29,285) (21,137)

เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ

จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 24 -

3,056 (3,062) 6,118 692 (656) (1,531) (1,185) 12,425 16,541 8,456 (4,340) 21,223 21,308

1.3 (1.2) (33.7) 34.7 (50.8) (70.8) (92.8) (283.3) 81.1 39.3 (133.4) (72.5) (100.8)

ปงบประมาณ 2557 2,260,792 2,547,940 (287,148) 4,597 6,793 6,646 2,415 39,989 452,807 398,912 13,906 (267,610) (163,181)

% of GDP 18.3 20.6 (2.3) 0.0 0.1 0.1 0.0 0.3 3.7 3.2 0.1 (2.2) (1.3)

2556 2,329,778 2,524,309 (194,531) 7,510 13,738 14,998 3,015 97,175 475,563 354,398 23,990 (136,617) (41,149)

% of GDP

เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ

19.6 (68,986) 21.2 23,631 (1.6) (92,617) 0.1 (2,913) 0.1 (6,945) 0.1 (8,352) 0.0 (600) 0.8 (57,186) 4.0 (22,756) 3.0 44,514 0.2 (10,084) (1.1) (130,993) (0.3) (122,032)

(3.0) 0.9 47.6 (38.8) (50.6) (55.7) (19.9) (58.8) (4.8) 12.6 (42.0) 95.9 296.6


ดุลการคลังของภาคสาธารณะตามระบบงบประมาณ ระบบกระแสเงินสด และตามระบบ สศค. ปงบประมาณ 2556 - 2557 ปงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได - รายไดสุทธิ - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - อื่นๆ 2. รายจาย - รายจายปปจจุบัน (อัตราการเบิกจาย : %) - รายจายปกอน - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - หัก สวนเกินพันธบัตรรัฐบาล - อื่นๆ 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. ดุลนอกงบประมาณ 5. รายจายจากเงินกูตางประเทศ 6. รายจายจากไทยเข็มแข็ง (TKK) 7.รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 8.รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 9. บัญชีนอกงบประมาณ(9.1-9.2-9.3) 9.1 รายได 9.2 รายจาย 9.3 เงินใหกูหักชําระคืน 10. การหับนับซ้ําของรัฐบาล 10.1 รายได 10.2 รายจาย 11. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+4-5-6-7-8+9-10)

จํานวน

% of GDP

เอกสารงบประมาณ

จํานวน

2556

% of GDP

ระบบกระแสเงินสด

2,100,000.0

17.1

2,163,469.0

18.2

2,400,000.0 2,400,000.0

19.5 19.5

2,402,481.0 2,171,459.0 90.5 231,022.0

20.2 18.2

(300,000.0)

(300,000.0)

(2.4)

(2.4)

1.9

(239,012.0) 6,510.0

(2.0) 0.1

(232,502.0)

(2.0)

จํานวน

% of GDP

ระบบ สศค. 2,330,422.4 2,157,609.0 9,285.0 94,256.0 2,161.2 67,111.3 2,524,815.2 2,137,999.4 89.1 237,555.5 9,285.0 94,256.0 2,161.2 2,161.5 45,719.7 (194,392.8) 3,015.1 7,509.9 13,737.8 14,997.8 97,174.2 475,563.2 354,398.5 23,990.5 199,048.0 199,048.0 (136,479.2)

จํานวน

% of GDP

เอกสารงบประมาณ

2557 จํานวน

หนวย: ลานบาท % of GDP

ระบบกระแสเงินสด

19.6 18.1 0.1 0.8 0.0

2,275,000.0

18.5

2,070,018

17.4

21.2 18.0

2,525,000.0 2,525,000.0

20.5 20.5

2,459,990 2,246,306 89.0 213,684.0

20.7 18.9

(389,972.0) 8,161.7

(3.3) 0.1

(381,810.3)

(3.1)

2.0 0.1 0.8 0.0 0.0 (1.6) 0.0 0.1 0.1 0.1 0.8 4.0 3.0 0.2 1.7 1.7 (1.1)

(250,000.0)

(250,000.0)

(2.0)

(2.0)

1.8

องคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. รายรับ (12.1+12.2) 536,116.7 4.5 12.1 รายได 307,585.6 2.6 12.2 เงินชวยเหลือจากรัฐบาล 228,531.0 1.9 13 รายจาย 500,675.1 4.2 14. ดุลการคลัง (12-13) 35,441.5 0.3 15. การหักนับซ้ําของภาครัฐบาล 15.1 รายได 228,531.0 1.9 15.2 รายจาย 228,531.0 1.9 16. ดุลการคลังของภาครัฐบาล (11+14-15) (101,037.6) (0.8) GDP (ลานบาท) 12,295,000 11,898,710 11,898,710 12,424,000 12,364,000 หมายเหตุ 1. ดุลการคลังตามระบบงบกระแสเงินสดเปนการแสดงรายได (รวมคา Premium และรายไดจากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แตไมรวมรายรับจากการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุลและรายไดจากภาษีมูลคาเพิ่ม ที่โอนใหแกอปท.) และรายจายทั้งหมดจากบัญชีเงินคงคลัง 2. ระบบ สศค. มีรายการปรับปรุงรายไดเพิ่มเติมจากระบบกระแสเงินสด คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,การชําระตนเงินกูพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินกูรับคืน รายไดเงินกูรับคืน และรวมเงินภาษีที่จัดสรรให อปท. และเงินชวยเหลือจากตางประเทศ ตั้งแตปงบประมาณ 2546 เปนตนมา 3. ระบบ สศค. มีการปรับปรุงทางดานรายจาย คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก สวนเกินพันธบัตร,การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินใหกูรับคืน และเงินภาษีที่จัดสรรใหอปท. . 4. บัญชีนอกงบประมาณประกอบดวย เงินทนหมนเวียน และกองทนนอกงบประมาณ ทั้งนี้ ไดบันทึกขอมูลตามเกณฑคงคาง สําหรับกองทุนน้ํามันไดเริ่มบันทึกรายจายชดเชยน้ํามันตามเกณฑคงคางตั้งแตเดือนมกราคม 2547 เปนตนมา 5. รายไดตามระบบกระแสเงินสดบันทึกอยูในระบบ cash basis สวนรายไดตามระบบ สศค. บันทึกอยูในระบบ acrual basis 6. ขอมูล GDP ป 2557 อางอิงจากขอมูลประมาณการจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2557 จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมบัญชีกลาง สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ธนาคารแหงประเทศไทย และ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ วันทีบันทึกขอมูล : 28 ตุลาคม 2557

- 23-

-24-

จํานวน

% of GDP

ระบบ สศค. 2,210,544.0 2,070,018.0 9,216.0 96,387.0 5,368.0 29,555.0 2,627,590.2 2,246,306.0 89.0 213,684.0 9,216.0 96,387.0 5,368.0 5,857.8 62,487.0 (417,046.2)

21.3 18.2

3,033.0 4,597.0 6,793.0 6,646.0 39,989.0 452,807.0 398,912.0 13,906.0 183,450.0 183,450.0 (398,126.2)

0.0 0.0 0.1 0.1 0.3 3.7 3.2 0.1 1.5 1.5 (3.2)

554,959.1 199,941.0 355,018.1 533,120.2 21,838.9

4.5 1.6 2.9 4.3 0.2 2.9 2.9 (3.0)

355,018.1 355,018.1 (376,287.3) 12,364,000

17.9 16.7 0.1 0.8 0.0

1.7 0.1 0.8 0.0 0.0 (3.4)


ฐานะการคลังองคกรปกครองสวนทองถิ่น ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ของปงบประมาณ 2557 (เดือนเมษายน – มิถุนายน 2557) 1. ดานรายได อปท. จํานวน 7,853 แหง มีรายไดรวม 107,055 ลานบาท ลดลงจากชวงเดียวกัน ปที่แลว 37,277 ลานบาท หรือรอยละ 25.8 ซึ่งเปนการลดลงของรายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาล จัดเก็บและแบงใหและรายไดจากเงินอุดหนุนจํานวน 23,502 ลานบาท หรือรอยละ 26.4 และ 16,243 ลานบาท หรือรอยละ 39.3 ตามลําดับ ในขณะที่รายไดจัดเก็บเองเพิ่มขึ้น 2,468 ลานบาท หรือรอยละ 17.8 เนื่องจากในปงบประมาณ 2556 เริ่มจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มตาม พรบ. กําหนดแผนฯ ในไตรมาสที่ 3 เพราะตองรอประกาศจากคณะกรรมการกระจายอํานาจฯ สงผลใหในชวงไตรมาสที่ 3 ปงบประมาณ 2556 มีการจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท. จํานวน 5 งวด (39,635 ลานบาท) ในขณะที่ไตรมาสที่ 3 ปงบประมาณ 2557 จัดสรรตามปกติเพียง 3 งวด เทานั้น (24,426 ลานบาท) สําหรับเงินอุดหนุน (ขอมูล จากกรมบัญชีกลาง) นั้นในปงบประมาณ 2557 ไดรับจัดสรรเงินอุดหนุนในไตรมาสที่ 1 สูงกวาปกติแลว ทําใหไตรมาสที่ 2 และ 3 รายไดจากเงินอุดหนุนจึงลดลง(รายละเอียดตามตารางที่ 1) ตารางที่ 1 รายไดของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ของปงบประมาณ 2557 ประเภท

ไตรมาส 3 ปงบประมาณ 2557 ปงบประมาณ 2556 16,337 13,870 15.3 9.6 12,085 10,345 4,252 3,525 65,586 89,088 61.3 61.7 25,132 41,374 23.5 28.7 107,055 144,331 100.00 100.00

หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 2,468 17.8

1. รายไดจัดเก็บเอง 1/ (รอยละของรายไดรวม) 1.1 รายไดจากภาษีอากร 1,740 16.8 1.2 รายไดที่ไมใชภาษีอากร 727 20.6 2/ 2. รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให (23,502) (26.4) (รอยละของรายไดรวม) 3. รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (16,243) (39.3) (รอยละของรายไดรวม) รวม (37,277) (25.8) (รอยละของรายไดรวม) หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2557 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง รวบรวมโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

รายไดของ อปท. จําแนกตามแหลงที่มาได ดังนี้ 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง จํานวน 16,337 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 2,468 ลานบาท หรือรอยละ 17.8 ประกอบดวย รายไดจากภาษีอากร 12,085 ลานบาท และรายไดที่ไมใชภาษีอากร 4,252 ลานบาท 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให จํานวน 65,586 ลานบาท ลดลงจากชวงเดียวกันปที่แลว 23,502 ลานบาท หรือรอยละ 26.4 - 25 -


1.3 รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จํานวน 25,132 ลานบาท ลดลงจากชวงเดียวกันปที่แลว 16,243 ลานบาท หรือรอยละ 39.3 2. ดานรายจาย อปท. 1 จํานวน 7,853 แหง มีรายจายทั้งสิ้น 129,473 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก ชวงเดียวกันปที่แลว 8,034 ลานบาท หรือรอยละ 6.6 เนื่องจาก อปท. มีรายจายจากเงินกันไวเบิกเหลื่อมป เพิ่มขึ้น 15,635 ลานบาท หรือรอยละ 331.2 ไดแก คาตอบแทนใชสอยและวัสดุ และคาครุภัณฑที่ดินและ สิ่งปลูกสราง เปนตน (รายละเอียดตามตารางที่ 2) ตารางที่ 2 รายจายของ อปท. ไตรมาส 3 ของปงบประมาณ 2557 ประเภท

ไตรมาส 3 ปงบประมาณ 2557 ปงบประมาณ 2556 5,287 5,538 62,249 66,672 9,811 9,175 31,770 35,335 20,356 4,721 129,473 121,440

1. รายจายงบกลาง 2. รายจายประจํา 3. รายจายเพื่อการลงทุน 4. รายจายพิเศษ 5. รายจายจากเงินกันไวเบิกเหลื่อมป รวม หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2557 รวบรวมโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ (250) (4.5) (4,422) (6.6) 636 6.9 (3,565) (10.1) 15,635 331.2 8,034 6.6

3. ดุลการคลัง 2 อปท. ขาดดุล 22,419 ลานบาท ในขณะที่ชวงเดียวกันปที่แลวที่เกินดุลถึง 22,892 ลานบาท (รายละเอียดตามตารางที่ 3 และแผนภูมิที่ 1) ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ของปงบประมาณ 2557 ประเภท

ไตรมาส 3 ปงบประมาณ 2557 ปงบประมาณ 2556 107,055 144,331 16,337 13,870

หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ (37,277) (25.8) 2,468 17.8

1. รายได 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง 1/ 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บ 65,586 89,088 (23,502) (26.4) และแบงให 2/ 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุน 3/ 25,132 41,374 (16,243) (39.3) 2. รายจาย 129,473 121,440 8,034 6.6 4/ 3. ดุลการคลัง (22,419) 22,892 (45,310) (197.9) หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2557 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากขอมูลการเปลีย่ นแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. และเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง รวบรวมโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1

โดยพิจารณาจากผลตางของรายไดกับดุลการคลังของ อปท. การเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จาก ธนาคารแหงประเทศไทยและเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง 2 ดุลการคลัง อปท. พิจารณาจากขอมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จากธนาคารแหงประเทศไทย และเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง

- 26 -


แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ของปงบประมาณ 2557 ลานบาท

ฐานะดุลการคลังของ อปท. ในชวง 9 เดือนแรกของปงบประมาณ 2557 1. ดานรายได อปท. มีรายไดจํานวน 438,810 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 16,758 ลานบาท หรือรอยละ 4 โดยมีรายไดที่ อปท. จัดเก็บเอง 36,390 ลานบาท เพิ่มขึ้น 4,167 ลานบาท หรือ รอยละ 12.9 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 174,823 ลานบาท เพิ่มขึ้น 1,102 ลานบาท หรือรอยละ 0.6 และรายไดจากเงินอุดหนุน 227,597 ลานบาท เพิ่มขึ้น 11,489 หรือรอยละ 5.3 2. ดานรายจาย อปท. มีรายจายรวมทั้งสิ้น 370,772 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 40,627 ลานบาท หรือรอยละ 12.3 เนื่องจากเปนการเพิ่มขึ้นของรายจายจากเงินกันไวเบิกเหลื่อมป จํานวน 15,287 ลานบาท หรือรอยละ 48 รายจายเพื่อการลงทุนจํานวน 5,343 ลานบาท หรือรอยละ 39 และ รายจายประจํา จํานวน 22,556 ลานบาท หรือรอยละ 13.7 3. ดุลการคลัง อปท. เกินดุล 68,038 ลานบาท ลดลงจากชวงเดียวกันปที่แลวที่เกินดุล ถึง 91,908 ลานบาท

- 27 -


ตารางที่ 4 ดุลการคลังของ อปท. ในชวง 9 เดือนแรก ปงบประมาณ 2557 ประเภท

สะสม 9 เดือนแรก ปงบประมาณ ปงบประมาณ 2557 2556 438,810 422,052 36,390 32,222 174,823 173,722 227,597 216,109 370,772 330,145 68,038 91,908

หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน

รอยละ

1. รายได 16,758 4 1/ 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง 4,167 12.9 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 2/ 1,102 0.6 3/ 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุน 11,489 5.3 2. รายจาย 40,627 12.3 3. ดุลการคลัง 4/ (23,870) (26) หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2557 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครองและสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากขอมูลการเปลีย่ นแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท.และเงิน ฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง รวบรวมโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

แผนภูมิที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ในชวง 9 เดือนแรก ปงบประมาณ 2557 ลานบาท

- 28 -


สถานการณดานหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2557 หนวย : ลานบาท

• หนี้สาธารณะคงคางจํานวน 5,650,141.2 ลานบาท คิดเปน รอยละ 46.5 ของ GDP ลดลง จากเดือนที่แลว 3,188.2 ลานบาท ประกอบดวย หนี้ในประเทศ คิดเปนรอยละ 93.6 สวนที่เหลือ รอยละ 6.4 เปนหนี้ตางประเทศ และเมื่อแบงตามอายุเครื่องมือ การกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 97.2 และหนี้ระยะสั้น รอยละ 2.8 กรณีแบงตามอายุ คงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 85.6 สวนที่เหลือรอยละ 14.4 เปนหนีร้ ะยะสั้น • หนี้คงคางทีล่ ดลง มีสาเหตุหลักมาจากหนี้ของ หนวยงานอื่นของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หนี้ของรัฐบาล ลดลง 2,455.8 451.3 และ 281.1 ลานบาท ตามลําดับ

1. รวมหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ตางประเทศ หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ

หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ตางประเทศ หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ตางประเทศ** หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ** 3. หนี้ของหนวยงานภาครัฐอื่น * หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงคางรวม (1+2+3+4) GDP*** หนี้สาธารณะคงคางรวมตอ GDP (%) หมายเหตุ

ณ 31 ก.ค. 57 3,924,656.1 75,541.9 3,849,114.2 1,710,847.6 113,912.6 935,182.4 181,731.0 480,021.6 17,825.7 0.0 17,852.7 0.0 5,653,329.4

ณ 31 ส.ค. 57 3,924,375.0 75,677.2 3,848,697.8 1,710,396.3 113,060.4 940,697.9 175,235.9 481,402.1 15,369.9 0.0 15,369.9 0.0 5,650,141.2

12,087,621.0 46.8

12,161,935.0 46.5

* หนวยงานภาครัฐอื่น ไดแก สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไมรวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน *** สํานักงานบริหารหนีส้ าธารณะไดปรับวิธีการคํานวณ GDP ในแตละเดือน โดย GDP ของเดือนกรกฎาคม 2557 คํานวณดังนี้ (GDP ไตรมาส 3 ป 56/3)*2 + (GDP ไตรมาส 4 ป 56) + (GDP ไตรมาส 1 – 2 ป 57) + [(ประมาณการ GDP ป 57 – GDP ไตรมาส 1 - 2 ป 57)/6] เทากับ 12,087.62 พันลานบาท และของเดือนสิงหาคม 2557 คํานวณดังนี้ (GDP ไตรมาส 3 ป 56/3) + (GDP ไตรมาส 4 ป 56) + (GDP ไตรมาส 1 – 2 ป 57) + [(ประมาณการ GDP ป 57 – GDP ไตรมาส 1 - 2 ป 57)/6]*2 เทากับ 12,161.94 พันลานบาท ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ รวบรวมโดย สวนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 29 -


• หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรงลดลง 281.1 ลานบาท เมื่อเทียบกับ เดือนที่แลว โดยมีสาเหตุหลักจาก การชําระหนี้เงินกูเพื่อชดเชย ความเสียหายใหแกกองทุนเพื่อ การฟนฟูฯ 10,738.8 ลานบาท ในขณะที่การเบิกจายเงินกูจาก โครงการตางๆ เพิ่มขึ้นจากเดือน ที่แลวสุทธิ 10,400.7 ลานบาท • หนี้ของรัฐวิสาหกิจลดลง 451.3 ลานบาท เมื่อเทียบกับ เดือนที่แลว มีสาเหตุหลักจาก การเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนทําใหยอดคงคางใน รูปเงินบาทลดลง • หนี้หนวยงานอื่นของรัฐ ลดลง 2,455.79 ลานบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แลว เนื่องจากกองทุนออยและ น้ําตาลทรายเบิกจายจากแหลง เงินกูตางๆนอยกวาชําระคืน ตนเงินกู

สัดสวนหนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศ หนี้ในประเทศ หนี้ตางประเทศ จํานวน (ลานบาท) 5,286,167.8 363,973.5 รอยละ (%) 93.6 6.4 สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุของเครื่องมือการกูเงิน) หนี้ระยะยาว 5,494,122.6 97.2

จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)

หนี้ระยะสั้น 156,018.6 2.8

สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุคงเหลือ) หนี้ระยะยาว 4,835,153.5 85.6

จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)

- 30 -

หนี้ระยะสั้น 814,987.7 14.4


กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเปนแนวทางในการดําเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคลองกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเปาหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพดานการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบดวยตัวชี้วัดและเปาหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 • ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 • การจัดทํางบประมาณสมดุล • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายไมต่ํากวารอยละ 25 สํานักงานเศรษฐกิจการคลังไดจัดทําการวิเคราะหความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใชเปนแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะหระหวาง ปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งสรุปไดดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 47.1 และลดลง เปนรอยละ 42.6 ในปงบประมาณ 2562 • ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และ เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 8.9 ในปงบประมาณ 2562 • รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยกําหนดใหปงบประมาณ 2558 ถึง 2559 ขาดดุลงบประมาณ 250,000 และ 100,000 ลานบาท ตามลําดับ และจัดทํา งบประมาณสมดุลในปงบประมาณ 2560 เพื่อรักษาวินัยการคลังและขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ใหขยายตัวอยางมีเสถียรภาพ • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 14.3 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดมีการดําเนินโครงการลงทุนผานเงินนอกงบประมาณ (พ.ร.ก. ให อํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อบริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพื่อลงทุนโครงสราง พื้นฐานฯ ในป 2558 - 2562) ซึ่งเมื่อรวมการลงทุนจากเงินนอกงบประมาณดังกลาว จะทําสัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณเพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 22.5 ตองบประมาณรายจาย

- 31 -


ผลการวิเคราะหการดําเนินงานตามกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 หนวย: ลานบาท 1)

1. หนี้สาธารณะคงคาง /GDP (FY) (1.2/1.1) 1.1 nominal GDP (FY)1) 1.2 หนี้สาธารณะคงคาง 2. ภาระหนี/้ งบประมาณ2) ( 2.1/3.2) 2.1 ภาระหนี้ (2.1.1 + 2.1.2) 2.1.1 ชําระตนเงินกู 2.1.2 ดอกเบี้ยและคาธรรมเนียม 3. ดุลงบประมาณ (3.1 - 3.2) 3.1 รายไดรัฐบาลสุทธิ3) 3.2 งบประมาณรายจาย4) 4. รายจายลงทุน/งบประมาณ (4.1/3.2) 4.1 รายจายลงทุน

2558 47.1 13,010,100 6,134,205 7.1 183,271 55,700 127,571 -250000 2,325,000 2,575,000 17.5 449,476

2559 46.3 13,920,807 6,450,752 9.3 239,885 76,854 163,031 -100000 2,487,800 2,587,800 13.9 358,771

2560 45.3 14,895,263 6,745,318 9.4 249,327 78,965 170,362 2,661,900 2,661,900 13.3 354,287

2561 44.1 15,937,932 7,034,173 9.2 261,742 85,154 176,588 2,848,200 2,848,200 13.0 370,266

2562 42.6 17,053,587 7,260,294 8.9 271,941 92,133 179,808 3,047,600 3,047,600 13.6 415,163

ที่มา : 1) ขอสมมติฐานเศรษฐกิจป 2558 – 2562 จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2) ขอมูลภาระหนี้ตองบประมาณป 2558 จากเอกสารงบประมาณรายจายประจําป 2558 และป 2559– 2562 จากสํานักงานบริหาร หนี้สาธารณะ ณ วันที่ 3 ตุลาคม 2557 3) ประมาณการรายไดรัฐบาลสุทธิ ป 2558 ตามเอกสารงบประมาณ และป 2559 – 2562 ประมาณการโดย สศค. 4) ขอมูลงบประมาณรายจายป 2558 จากเอกสารงบประมาณป 2558 และป 2559 – 2562 ประมาณการโดย สศค.

- 32 -


การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ป 2557 ( 30 มิถุนายน 2557)

ผลการดําเนินงานในภาพรวม 1. ผลการดําเนินงานของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA การดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA มียอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ป 2557 จํานวนทั้งสิ้น 980,505.04 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 0.40 จากไตรมาสที่ผานมา แสดงใหเห็นวาสถาบันการเงินเฉพาะกิจในภาพรวม มีการปลอยสินเชื่อเพิ่มขึ้นเล็กนอย ประชาชนสามารถเขาถึงแหลงเงินทุนไดมากขึ้น ขณะที่หนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) ของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 30,742.41 ลานบาท คิดเปน สัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 3.14 ทั้งนี้ จากการพิจารณาพบวา NPLs Ratio ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2556 มีสัดสวนที่คอนขางสูง เนื่องจากโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางป 2554/2555 ของ ธ.ก.ส. สิ้นสุดระยะเวลาดําเนินการและอยูระหวางการเสนอขยายอายุโครงการตอคณะรัฐมนตรี ดังนั้น ในเบื้องตน ธ.ก.ส. จึงมีการจัดชั้นใหยอดสินเชื่อคงคางของโครงการดังกลาวเปน NPLs ทั้งนี้ เมื่อคณะรัฐมนตรีไดอนุมัติการขยาย อายุโครงการแลว NPLs Ratio ในภาพรวมของสถาบันการเงิน ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2556 จึงลดลง อยางไรก็ดี ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 และ 2 ป 2557 NPLs Ratio ในภาพรวมมีสัดสวนที่เพิ่มขึ้นอีก เนื่องจากอยูระหวางการเสนอขยาย อายุโครงการดังกลาวตอคณะรัฐมนตรี (แผนภาพที่ 1) แผนภาพที่ 1

ลานบาท % 1,100,000 4 3.07 3.14 1,000,000 1,032,420.41 1,022,604.86 3 900,000 941,982.79 976,575.97 980,505.04 2.82 800,000 3 700,000 2 600,000 500,000 2 400,000 1 300,000 0.76 200,000 0.54 30,742.41 1 28,877.30 7,182.61 29,988.83 100,000 5,626.53 0 0 Q2/56 Q3/56 Q4/56 Q1/57 Q2/57 NPLs NPLs Ratio สินเชื่อคงคาง

2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA แมวาการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐ จะสงผลดีตอระบบเศรษฐกิจ แตขณะเดียวกันก็กอใหเกิดภาระ ทางการคลังของรัฐบาลในการชดเชยความเสียหายจากการดําเนินโครงการตาง ๆ ดังจะเห็นไดจากประมาณการ ความเสียหายของสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล (โครงการที่มีการแยกบัญชี PSA) ตั้งแต เริ่มตนจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 97,985.96 ลานบาท และคงเหลือภาระ 1/

การรายงานการดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังในที่นี้ พิจารณาเฉพาะโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมการดําเนินงานตามนโยบายรัฐ (PSA) ผานสถาบัน การเงินเฉพาะกิจ (SFIs) 6 แหง ไดแก ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) ธนาคาร เพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (ธสน.) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธพว.) และธนาคารอิสลามแหง ประเทศไทย (ธอท.) ยกเวนบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) ที่เปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ ขณะที่บรรษัทตลาด รองสินเชื่อที่อยูอาศัย (บตท.) ไมมีการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐ ทั้งนี้ หลักเกณฑในการพิจารณาโครงการ PSA ของสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กําหนดใหนับเฉพาะโครงการที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลังวันที่ 4 สิงหาคม 2552 เปนตนไป

-33-

1/


ความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาลจํานวน 45,546.49 ลานบาท ทั้งนี้ สัดสวนความเสียหายคงเหลือ รอการชดเชยจากรัฐบาลตอประมาณการความเสียหายโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทั้งหมด คิดเปนรอยละ 46.48 เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากไตรมาสที่ผานมา เนื่องจากโครงการอุทกภัยป 2554 ของ ธ.ก.ส. มีประมาณการ ความเสียหายเพิ่มขึ้น (แผนภาพที่ 2) ลานบาท 120,000 100,000

แผนภาพที่ 2 50.10

%

50.00 46.48

80,000

Q2/56

97,985.96 45,546.49

79,456.61 34,361.89

0

77,794.83 33,099.68

20,000

43.25

42.55

70,270.91 35,135.72

40,000

59,197.23 29,656.16

60,000

Q3/56 Q4/56 Q1/57 Q2/57 ประมาณการความเสียหายทั้งหมดที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาล สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมด

52 50 48 46 44 42 40 38

ผลการดําเนินงานรายสถาบัน 1. ผลการดําเนินงานรายสถาบันของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ป 2557 ธ.ก.ส. มียอดสินเชื่อคงคางสูงที่สุดจํานวน 882,843.52 ลานบาท รองลงมา คือ ธนาคารออมสินที่มียอดสินเชื่อคงคางจํานวน 39,750.30 ลานบาท ขณะที่ NPLs พบวา ธ.ก.ส. มีมูลคาสูงที่สุด เทากับ 22,791.62 ลานบาท ลดลงเล็กนอยจากไตรมาสที่ผานมา ซึ่งสาเหตุสําคัญที่ NPLs ของ ธ.ก.ส. ยังคงอยู ในระดับสูง เนื่องจากโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางป 2554/2555 สิ้นสุดระยะเวลาดําเนินการและอยูระหวาง การเสนอขยายอายุโครงการตอคณะรัฐมนตรี ดังนั้น ในเบื้องตน ธ.ก.ส. จึงมีการจัดชั้นใหยอดสินเชื่อคงคางของ โครงการดังกลาวเปน NPLs นอกจากนี้ หากพิจารณา NPLs Ratio พบวา ธอท. และ ธพว. มีสัดสวนคอนขางสูง เนื่องจากกลุมลูกคา จะเปนผูประกอบการรายยอยที่มีความสามารถในการชําระหนี้ต่ํา ไมมีหลักประกัน และเปนผูประกอบการที่ไดรับ ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจหรือภัยธรรมชาติ รวมทั้งบางโครงการมีเงื่อนไขที่ไมตองตรวจเครดิตบูโรกอน การปลอยกู ซึ่งแตกตางจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่นที่ทําหนาที่เปนตัวกลางในการจายเงินแทนรัฐบาลและ การปลอยกูระหวางรัฐบาลกับรัฐบาล ทั้งนี้ หากสถาบันการเงินเฉพาะกิจมี NPLs Ratio สูง รัฐบาลอาจมีความเสี่ยง ในการพิจารณาเพิ่มทุนตอไป (แผนภาพที่ 3) แผนภาพที่ 3

ออมสิน

ธ.ก.ส.

NPL

5,290.00

2.82 ธอส.

ธสน.

-34-

17.44 0.00

ธพว. NPL Ratio

% 100 80 60

2,092.94

2.58

0.00

0.00

567.85

0

0.00

20,000 10,000

84.19

22,791.62

30,000ลานบาท

ธอท.

40 20 0


2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA 2/ ประมาณการความเสียหายที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล และความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจาก รัฐบาลพบวา ธ.ก.ส. มีมูลคาดังกลาวมากที่สุดจํานวน 69,345.96 และ 23,712.81 ลานบาท ตามลําดับ หรือคิดเปน สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมดของ ธ.ก.ส. รอยละ 34.19 รองลงมาคือธนาคารออมสินที่มี ประมาณการความเสียหายและความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาลจํานวน 13,114.26 และ 9,745.27 ลานบาท ตามลําดับ นอกจากนี้ หากพิจารณา ธสน. ธอท. และ ธพว. ซึ่งมีสัดสวนความเสียหายคงเหลือตอ ความเสียหายทั้งหมดอยูในระดับสูงเทากับรอยละ 91.94 81.65 และ 81.19 ตามลําดับแลว พบวา สัดสวน ความเสียหายคงเหลือดังกลาวของ ธสน. ไมสงผลกระทบตอการดําเนินงานตามปกติหรือสภาพคลอง เนื่องจาก ธสน. มีโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA เพียงโครงการเดียว และมีหลักเกณฑการปลอยสินเชื่อที่เขมงวด ดังนั้น คาดวาโครงการดังกลาวมีโอกาสเสียหายคอนขางนอย ขณะที่ ธอท. และ ธพว. แมวามูลคาความเสียหายคงเหลือรอ การชดเชยจากรัฐบาลคอนขางนอยเมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น ๆ แตจากสัดสวนความเสียหาย คงเหลือตอความเสียหายทั้งหมด และผลการดําเนินงานที่มีสัดสวน NPLs Ratio อยูในระดับสูง อาจสงผลใหรัฐบาล ตองรับภาระชดเชยความเสียหายเพิ่มขึ้น และกระทบตอการดําเนินงานและสภาพคลองของ ธอท. และ ธพว. ในที่สุด (แผนภาพที่ 4) สําหรับ บสย. แมวาจะเปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ แตการค้ําประกันดังกลาวสวนหนึ่ง เปนการค้ําประกันโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทําใหรัฐบาลมีภาระในการชดเชยความเสียหายเชนเดียวกับ สถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น ๆ โดยประมาณการความเสียหายที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาลของ บสย. มีจํานวน ทั้งสิ้น 14,131.24 ลานบาท ขณะที่มีความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยอีกจํานวน 10,884.70 ลานบาท

0

ออมสิน

ธ.ก.ส.

ธสน.

81.19

ธพว.

81.65

100 80 60 40

1,311.15 1,070.54

ธอส.

%

8,857.87 7,191.91

91.94

1,050.00 965.32

20,000

34.19

66.42

4,306.72 2,860.64

40,000

69,345.96 23,712.81

60,000

74.31

13,114.26 9,745.27

80,000

แผนภาพที่ 4

ลานบาท

ธอท.

20 0

ประมาณการความเสียหายทั้งหมดที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาล สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมดแตละ SFI

2/

การประมาณการความเสียหายที่ตองไดรับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแต เริ่ม - สิ้นสุดโครงการ มีรูปแบบการชดเชยตามขอตกลงซึ่งแตกตางกันตาม SFIs แตละแหง ทั้งนี้ ธ.ก.ส. เปนการประมาณการความเสียหายตั้งแตเริ่มโครงการถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2557

-35-


การกระจายอํานาจทางการคลัง ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น การจัดสรรเงินอุดหนุนใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นในปงบประมาณ พ.ศ. 2558 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2558 เงินอุดหนุนที่จัดสรรใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558 จํานวน 257,663.78 ลานบาท เพิ่มขึ้น จากเงินอุดหนุนที่จัดสรรใหแก อปท. ในปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ที่มีจํานวน 253,500 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นจํานวน 4,167.78 ลานบาท คิดเปนรอยละ 1.64 โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. การจัดสรรเงินอุดหนุนใหแก อปท. แตละประเภท ใหแบงเปน 3 กลุม คือ กลุมที่ 1 กรุงเทพมหานคร (กทม.) กลุมที่ 2 เมืองพัทยา และกลุมที่ 3 องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล และองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) โดย อปท. แตละกลุมไดรับการจัดสรรเงินอุดหนุน ดังนี้ 1.1 กทม. จํานวน 14,670.00 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2557 ที่มีจํานวน 14,614.64 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นจํานวน 55.36 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 0.38 1.2 เมืองพัทยาจํานวน 1,499.00 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2557 ที่มีจํานวน 1,492.90 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นจํานวน 6.10 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 0.41 1.3 อบจ. เทศบาล และ อบต. จํานวน 241,494.78 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2557 ที่มีจํานวน 237,392.46 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นจํานวน 4,102.32 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1.73 รวมเปนเงินอุดหนุนที่จัดสรรใหแก อปท. จํานวน 257,667.78 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากเงินอุดหนุน ที่จัดสรรใหแก อปท. ในปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ที่มีจํานวน 253,500.00 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นจํานวน 4,167.78 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1.64 2. การจัดสรรเงินอุดหนุนใหแก อบจ. เทศบาล และ อบต. จํานวน 241,494.78 ลานบาท ตั้งงบประมาณ ไวที่ 3 หนวยงาน ดังนี้ 2.1 กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นจํานวน 240,601.55 ลานบาท 2.2 สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีจํานวน 205.00 ลานบาท 2.3 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจํานวน 688.23 ลานบาท • การจัดสรรเงินอุดหนุนใหแก อบจ. เทศบาล และ อบต. ในปงบประมาณ พ.ศ. 2558 จํานวน 241,494.78 ลานบาท สวนที่กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นไดตั้งงบประมาณจํานวน 240,601.55 ลานบาท แบงเงินอุดหนุนเปน 2 ประเภท ไดแก เงินอุดหนุนทั่วไป และเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ โดยมีรายละเอียดการจัดสรรเงินอุดหนุนแตละประเภท ดังนี้ 1. เงินอุดหนุนทั่วไปจํานวน 189,051.06 ลานบาท ใหจัดสรรตามรายการดังตอไปนี้ 1.1 เงินอุดหนุนสําหรับดําเนินการตามอํานาจหนาที่และภารกิจถายโอนจํานวน 37,350.09 ลานบาท 1.2 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนการถายโอนบุคลากรจํานวน 1,167.98 ลานบาท - 36 -


ลานบาท

1.3 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนอาหารเสริม (นม) จํานวน 10,558.43 ลานบาท 1.4 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนอาหารกลางวันจํานวน 24,409.23 ลานบาท 1.5 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนการจัดการศึกษา (เงินเดือนครูและคาจางประจํา) จํานวน 15,413.89

1.6 เงินอุดหนุนสําหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับ (เงินชวยเหลือบุตร) จํานวน 214.60 ลานบาท 1.7 เงินอุดหนุนสําหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับ (คาเชาบาน) จํานวน 126.31 ลานบาท 1.8 เงินอุดหนุนสําหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับ (บําเหน็จบํานาญ) จํานวน 2,691.95 ลานบาท 1.9 เงินอุดหนุนคาใชจายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานจํานวน 3,258.97 ลานบาท 1.10 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนศูนยพัฒนาเด็กเล็กจํานวน 9,726.74 ลานบาท 1.11 เงินอุดหนุนสําหรับสงเสริมศักยภาพการจัดการศึกษาของทองถิ่นจํานวน 1,230.34 ลานบาท 1.12 เงินอุดหนุนสําหรับสงเสริมศักยภาพการจัดการศึกษาทองถิ่น (คาปจจัยพื้นฐานสําหรับนักเรียน ยากจน) จํานวน 129.61 ลานบาท 1.13 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนการจัดการศึกษาแกเด็กดอยโอกาสจํานวน 18.66 ลานบาท 1.14 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนคาใชจายเพื่อการรักษาพยาบาลของขาราชการ/พนักงานสวนทองถิ่น จํานวน 4,061.95 ลานบาท 1.15 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนการบริการสาธารณสุขจํานวน 700.87 ลานบาท 1.16 เงินอุดหนุนคาใชจายสนับสนุนการดําเนินงานของ อสม. จํานวน 7,544.16 ลานบาท 1.17 เงินอุดหนุนคาใชจายสนับสนุนการสงเคราะหเบี้ยยังชีพผูสูงอายุจํานวน 56,950.05 ลานบาท 1.18 เงินอุดหนุนคาใชจายสนับสนุนการสงเคราะหเบี้ยยังชีพคนพิการจํานวน 9,731.57 ลานบาท 1.19 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนการสงเคราะหเบี้ยยังชีพผูปวยเอดสจํานวน 457.10 ลานบาท 1.20 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนการบริหารสนามกีฬาจํานวน 118.03 ลานบาท 1.21 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนศูนยบริการทางสังคมจํานวน 1.85 ลานบาท 1.22 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนสถานสงเคราะหคนชราจํานวน 82.08 ลานบาท 1.23 เงินอุดหนุนสําหรับปองกันและแกไขปญหายาเสพติดจํานวน 552.50 ลานบาท 1.24 เงินอุดหนุนสําหรับคาตอบแทนพิเศษรายเดือนสําหรับเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต จํานวน 404.10 ลานบาท 1.25 เงินอุดหนุนสําหรับชดเชยรายไดใหแก อปท. ในจังหวัดชายแดนภาคใตจํานวน 1,013.03 ลานบาท 1.26 เงินอุดหนุนการศึกษา อปท. ในจังหวัดชายแดนภาคใตจํานวน 109.81 ลานบาท 1.27 เงินอุดหนุนสําหรับงานสูบน้ําดวยไฟฟาจํานวน 1,027.16 ลานบาท 2. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจจํานวน 51,550.49 ลานบาท จัดสรรใหแก อปท. เพื่อดําเนินการตามวัตถุประสงค การใชจายเงินที่กําหนด ตามรายการดังตอไปนี้ 2.1 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนการกอสรางถนนจํานวน 20,680.79 ลานบาท

- 37 -


ลานบาท

2.2 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนการถายโอนภารกิจการกอสรางและบํารุงรักษาถนนจํานวน 10,000

2.3 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนการแกไขปญหาการขาดแคลนน้ําอุปโภคบริโภค (ประปาหมูบาน) จํานวน 6,800.06 ลานบาท 2.4 เงินอุดหนุนสําหรับการบริหารจัดการน้ําเพื่อสนับสนุนงานฎีกาจํานวน 200 ลานบาท 2.5 เงินอุดหนุนเปนคาปรับปรุงซอมแซมสถานีสูบน้ําดวยไฟฟาจํานวน 950 ลานบาท 2.6 เงินอุดหนุนคาครุภัณฑ คากอสราง และปรับปรุงศูนยบริการทางสังคมจํานวน 2.83 ลานบาท 2.7 เงินอุดหนุนคาครุภัณฑ คากอสราง และปรับปรุงสถานสงเคราะหคนชราจํานวน 47.82 ลานบาท 2.8 เงินอุดหนุนคาครุภัณฑกลองโทรทัศนวงจรปด (CCTV) จํานวน 450 ลานบาท 2.9 เงินอุดหนุนคากอสรางลานกีฬาจํานวน 750 ลานบาท 2.10 เงินอุดหนุนคาครุภัณฑ คากอสราง และปรับปรุงสถานีอนามัยจํานวน 125.06 ลานบาท 2.11 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนการกอสรางศูนยพัฒนาเด็กเล็กจํานวน 5,598 ลานบาท 2.12 เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนการกอสรางอาคารเรียนและอาคารประกอบจํานวน 5,945.93 ลานบาท • สวนที่สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีไดตั้งงบประมาณจํานวน 205 ลานบาท เพื่อเปนรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทองถิ่น โดย ก.ก.ถ. ไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการ กําหนดการจัดสรรเงินอุดหนุนเพื่อใชเปนรางวัลสําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทําหนาที่กําหนดหลักเกณฑ วิธีการคัดเลือก อปท. ที่สมควรไดรับรางวัล • สวนที่สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดตั้งงบประมาณจํานวน 668.23 ลานบาท เพื่อดําเนินโครงการสนับสนุนแผนปฏิบัติการเพื่อจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมในระดับจังหวัดตามโครงการดังนี้ 1. โครงการจัดการขยะมูลฝอย จํานวน 21 โครงการ เปนเงิน 616.79 ลานบาท โดยแบงเปนโครงการผูกพัน ตอเนื่อง จํานวน 12 โครงการ เปนเงิน 451.56 ลานบาท และโครงการใหม จํานวน 9 โครงการ เปนเงิน 165.23 ลานบาท 2. โครงการจัดการน้ําเสีย จํานวน 3 โครงการ เปนเงิน 71.43 ลานบาท โดยแบงเปนโครงการผูกพันตอเนื่อง จํานวน 2 โครงการ เปนเงิน 66.32 ลานบาท และโครงการใหม จํานวน 1 โครงการ เปนเงิน 5.11 ลานบาท

- 38 -


- 39 -


มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญ เดือนตุลาคม 2557 1 ตุลาคม 2557 1. เรื่อง รางระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการกําหนดนโยบายและกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. …. คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการรางระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการกําหนดนโยบาย และกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. …. ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ โดยใหยกเลิกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการติดตามการดําเนินงานตามนโยบายการพัฒนารัฐวิสาหกิจฉบับเดิมซึ่งใชมาเปนเวลานาน ซึ่งสมควร มีกฎหมายกําหนดองคประกอบและอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (คนร.) ใหมใหชัดเจน มีนายกรัฐมนตรีเปนประธานกรรมการและรองนายกรัฐมนตรี (ดานเศรษฐกิจ) เปนรองประธานกรรมการ และให คนร. มีหนาที่ เสนอแนะนโยบาย แผนการบริหารและมาตรการในการพัฒนารัฐวิสาหกิจตอคณะรัฐมนตรี กํากับดูแลและติดตามผลการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ เพื่อใหการบริหารงานของรัฐวิสาหกิจเปนไปอยาง มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงสุด สาระสําคัญของรางระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี 1. ใหยกเลิก 1.1 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการติดตามการดําเนินงานตามนโยบายการพัฒนารัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2546 1.2 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการติดตามการดําเนินงานตามนโยบายการพัฒนารัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 1.3 คําสั่งคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ 75/2557 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการนโยบายและกํากับ ดูแลรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ 26 มิถุนายน พุทธศักราช 2557 และ 1.4 คําสั่งคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ 97/2557 เรื่อง แกไข เพิ่มเติมอํานาจหนาที่ของ คณะกรรมการนโยบายและกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ 21 กรกฎาคม พุทธศักราช 2557 2. ใหมีคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ เรียกโดยยอวา “คนร.” โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน กรรมการ และรองนายกรัฐมนตรี (ดานเศรษฐกิจ) เปนรองประธานกรรมการ 3. กําหนดอํานาจหนาที่ของ คนร. ในการเสนอแนะนโยบาย แผนการบริหารและมาตรการในการพัฒนา รัฐวิสาหกิจตอคณะรัฐมนตรี กํากับดูแลและติดตามผลการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ เพื่อใหการบริหารงานของ รัฐวิสาหกิจเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงสุด กําหนดแนวทางการบูรณาการการดําเนินงาน ของรัฐวิสาหกิจใหมีความเปนเอกภาพเสนอแนะแนวทางในการแกไขปญหาดานตาง ๆ ของรัฐวิสาหกิจ ทั้งในดาน การบริหาร การดําเนินงานและดานการเงิน ตอคณะรัฐมนตรี และพิจารณากลั่นกรองและเสนอความเห็นตอ คณะรัฐมนตรีในโครงการที่เกี่ยวกับการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ เปนตน 2. เรื่อง ขออนุมัติขยายระยะเวลาดําเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพื่อรักษาเสถียรภาพ ราคายาง คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการขยายระยะเวลาดําเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกร เพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง ตามความเห็นของสํานักงบประมาณ (สงป.) ดังนี้ 1. เห็นชอบการขยายระยะเวลาการดําเนินโครงการฯ จากเดิม สิ้นสุดในวันที่ 31 มีนาคม 2556 เปน สิ้นสุดในวันที่ 31 ธันวาคม 2557 เพื่อให อ.ส.ย. บริหารจัดการยางพาราที่รับซื้อไว และชําระคืนเงินกูตอ ธ.ก.ส. -40-


จนเสร็จสิ้นโครงการฯ ที่ขยายออกไป สําหรับการขยายระยะเวลาค้ําประกันเงินกูที่ อ.ส.ย. กูจาก ธ.ก.ส. เห็นควรให คิดคาใชจายภาระดอกเบี้ยตามสัญญาเงินกูจริง ทั้งนี้ ในกรณีเงินทุน ธ.ก.ส. เห็นควรชดเชยตนทุนเงินในอัตรา FDR+1 ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2555 2. ในสวนของคาใชจายตาง ๆ ที่คางชําระ จํานวน 182.255 ลานบาท ให อ.ส.ย. นําเงินคาสินไหมทดแทน ที่ไดรับจากบริษัท ทิพยประกันภัย จํากัด กรณีไฟไหมโรงงานบริษัท มิตรไทยโฮลดิ้ง จํากัด จํานวน 235.335 ลานบาท ไปใชจายตามภาระที่เกิดขึ้นจริงได 3. สําหรับคาใชจายที่เกิดขึ้นในสวนที่ขยายระยะเวลาโครงการจากเดือนกรกฎาคม –ธันวาคม 2557 ไดแก คาดําเนินการ คาบริหารโครงการ และคาเบี้ยประกันวินาศภัย เห็นควรให อ.ส.ย. ใชจายจากวงเงินคงเหลือ จํานวน 142.10 ลานบาท เปนคาใชจายในสวนที่ขยายระยะเวลาโครงการฯ ไปกอน หากไมเพียงพอเห็นสมควร ให อ.ส.ย. ใชจายจากงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557 งบกลาง รายการเงินสํารองจาย เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน โดยขอทําความตกลงกับ สงป. ตามขั้นตอนอีกครั้งหนึ่ง 4. ขออนุมัติงบประมาณรายจายให ธ.ก.ส. เพื่อชําระดอกเบี้ยคืนแหลงเงินกูในชวงการขยายระยะเวลา ดําเนินโครงการออกไป นั้น เห็นควรให ธ.ก.ส. ใชเงินทุน ธ.ก.ส. สํารองจายเปนคาใชจายดอกเบี้ยดังกลาวเบื้องตน กอน และให ธ.ก.ส. เสนอ ขอตั้งงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 ตามความเหมาะสมตอไป ทั้งนี้ ให อ.ส.ย. รีบดําเนินการบริหารจัดการระบายยางในสตอกใหเปนไปตามระยะเวลาดําเนินโครงการฯ เพื่อลดภาระคาใชจายดอกเบี้ยเงินกู และคาใชจายตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการรักษายางตอไป 3. เรื่อง การดําเนินการแกไขปญหายางพารา คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแนวทางแกไขปญหายางพาราตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอ โดยขยายกรอบความชวยเหลือเกษตรกรตามโครงการสนับสนุนสินเชื่อเปนเงินทุนหมุนเวียนแกสถาบันเกษตรกร เพื่อรวบรวมยาง จากเดิม ที่กําหนดใหธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ใหสินเชื่อแกสถาบัน เกษตรกรที่เปนนิติบุคคลเทานั้น เปน ใหครอบคลุมสหกรณทุกประเภท กลุมเกษตรและวิสาหกิจชุมชนที่มี การประกอบธุรกิจเกี่ยวกับยางพารา ทั้งนี้ ไดมีมติเห็นชอบใหปรับปรุงองคประกอบและอํานาจหนาที่ของ คณะกรรมการ นโยบายยางธรรมชาติ (กนย.) เพิ่มเติม ดังนี้ 1. เพิ่มปลัดกระทรวงมหาดไทย เปนกรรมการ 2. ปรับเปลี่ยนอธิบดีกรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย เปน อธิบดีกรมสงเสริมการคาระหวาง ประเทศ 3. ปรับปรุงชื่อองคกรจากประธานเครือขายยางพาราแหงประเทศไทย เปนประธานคณะกรรมการ เครือขายชาวสวนยางระดับประเทศ 14 ตุลาคม 2557 4. เรื่อง มาตรการแกไขปญหาผลกระทบจากภัยแลง ป 2557/2558 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบและเห็นชอบตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ เสนอ ดังนี้ 1. รับทราบสถานการณน้ําในลุมน้ําเจาพระยา ลุมน้ําแมกลอง และลุมน้ําอื่น ๆ 2. เห็นชอบการงดสงน้ําเพื่อการเพาะปลูกขาวนาปรังในพื้นที่ลุมน้ําเจาพระยาและลุมน้ําแมกลอง โดยใหมีการออกประกาศทางราชการแจงพื้นที่ที่ใหงดการสงน้ําและงดการทํานาปรังในพื้นที่จังหวัดตาง ๆ รวม 26 จังหวัด ทั้งนี้ การชวยเหลือเกษตรกรผูประสบภัยในพื้นที่งดสงน้ําและงดทํานาปรังใหเปนไปตาหลักเกณฑ การใหความชวยเหลือตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยเงินทดรองราชการเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติ กรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556

-41-


3. เห็นชอบแนวทางการดําเนินงานตามโครงการชวยเหลือเกษตรกรที่ไดรับผลกระทบจากภัยแลง ป 2557/2558 3.1 เกษตรกรที่ปลูกขาวนาปรังในเขตชลประทานของลุมน้ําเจาพระยาและลุมน้ําแมกลอง จะไมไดรับการชวยเหลือ กรณีเกิดภัยพิบัติดานการเกษตร 3.2 เกษตรกรทั้งในลุมน้ําเจาพระยาและลุมน้ําแมกลองในเขตชลประทานและนอกเขตชลประทาน ไดรับมาตรการชวยเหลือเหมือนกัน 3.3 มาตรการหลัก โดยกรมชลประทานดําเนินการจางแรงงานเพื่อซอมคูคลองในฤดูแลงจํานวน 7.54 ลานคนตอวัน 3.4 มาตรการเสริม จะดําเนินการโดยใชงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2558 และขอ สนับสนุน งบกลาง รายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน ประจําปงบประมาณ 2558 เพื่อใชใน การอบรมและสนับสนุนปจจัยการผลิตแกเกษตรกรดานประมงและปศุสัตว การฝกอบรมอาชีพนอกภาคเกษตร และสนับสนุน ใหปลูกพืชปุยสด 3.5 เกษตรกรเลือกมาตรการชวยเหลือตามความสมัครใจ โดยนอกจากจะไดรับความเหลือ ตามมาตรการหลักและมาตรการเสริมเพิ่มเติมได โดยมาตรการเสริมเลือกไดเพียงมาตรการเดียว เพื่อกระจาย การชวยเหลือไปใหเกษตรกรรายอื่น ๆ อยางเปนธรรม 3.6 มาตรการสนับสนุนอื่น ๆ ประกอบดวย การแจงเตือนภัยเกี่ยวกับสถานการณน้ําผานผูวาราชการ จังหวัด สภาเกษตรกร รวมถึงกลไกระดับพื้นที่ อาทิ การสนับสนุนเครื่องสูบน้ําและรถบรรทุกน้ํา การเรงรัดขุดลอก คลองระบายน้ํา การจัดทําแกมลิง การเตรียมสํารองเมล็ดพันธุพืชและการสนับสนุนเสบียงสัตวและเวชภัณฑ ฯลฯ เพื่อบรรเทาความเดือดรอนของเกษตรกร เกษตรกรที่ไดรับผลกระทบจากภัยแลงจําเปนตองไดรับการชวยเหลือ ทันตอฤดูเพาะปลูกพืชฤดูแลงป 2557/58 โดยเริ่มตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 ถึง 30 เมษายน 2558 21 ตุลาคม 2557 5. เรื่อง รางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการปรับปรุงการจัดเก็บ ภาษีเงินไดหางหุนสวนสามัญและคณะบุคคลที่มิใชนิติบุคคล) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการปรับปรุงการจัดเก็บภาษีเงินไดหางหุนสวนสามัญและคณะบุคคลที่มิใชนิติบุคคล) ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวสงใหคณะกรรมการ ประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ 1. กําหนดใหคณะบุคคลที่มิใชนิติบุคคลเสียภาษี โดยการใหบุคคลแตละคนในคณะบุคคลที่มิใช นิติบุคคล นําเงินไดพึงประเมินของคณะบุคคลที่มิใชนิติบุคคลนั้น ไปถือเปนเงินไดพึงประเมินของแตละคนตามสัดสวน และ ใหบุคคลแตละคนดังกลาวนําเงินไดพึงประเมินไปรวมคํานวณกับเงินไดพึงประเมินอื่นของตน เพื่อเสียภาษีเงินได ในนามของแตละคน 2. กําหนดใหหางหุนสวนสามัญคํานวณเงินไดสุทธิดวยวิธีการหักคาใชจายตามความจําเปนและสมควร โดยไมใหสิทธิเลือกหักคาใชจายเปนการเหมา 6. เรื่อง การแกไขปญหายางพารา ตามมติคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.) คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบ เห็นชอบ และอนุมัติ ตามมติคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.) ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2557 ตามที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ (กษ.) เสนอ ดังนี้ 1. รับทราบแนวทางการบริหารจัดการยางขององคการสวนยาง เพื่อให อ.ส.ย. สามารถปดบัญชีโครงการ พัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายางไดตามกรอบระยะเวลา (ภายในวันที่ 31 ธันวาคม

-42-


2557) โดยอาศัยหลักการปรับสตอกใหเปนสตอกเคลื่อนที่ มีการซื้อขายหมุนเวียน โดยบริหารจัดการสตอกยางเดิม จํานวน 2.1 แสนตัน ควบคูกับการซื้อและระบายยางใหม ทั้งนี้ ตองเปนการระบายยางออกนอกประเทศเพื่อไมให เพิ่มปริมาณ Supply ยางในตลาด เวนแตเปนการนํามาใชในประเทศเพื่อกิจการของสวนรวมโดยการระบายสตอก เดิมใหขายในราคาไมต่ํากวา 60 บาทตอกิโลกรัม (ยางแผนรมควันชั้น 3) สวนการซื้อยางใหมจะซื้อในราคา นําตลาดจนเขาสูราคาเปาหมายที่ 60 บาทตอกิโลกรัม ซึ่งการซื้อยางใหมเขาเก็บในสตอกใหมีปริมาณเทาหรือ ใกลเคียงกับการระบายสตอกเดิมในแตละครั้ง และใหองคการสวนยาง (อ.ส.ย.) เปนผูดําเนินการ โดยการกําหนด ราคาซื้อขายยางใหม ใหคณะกรรมการบริหารกิจการ อ.ส.ย. แตงตั้งคณะกรรมการ ประกอบดวย หนวยงาน ที่เกี่ยวของ คือ กรมวิชาการเกษตร สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง และ อ.ส.ย. เปนผูรับผิดชอบใน การดําเนินการ 2. เห็นชอบการดําเนินงานตามโครงการเพื่อการแกไขปญหายางพารา 2.1 โครงการสรางมูลภัณฑกันชนเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง โดย อ.ส.ย. จะใชเงินกูจาก ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) เพื่อรับซื้อยางในราคาชี้นําตลาดสูราคาเปาหมายที่ 60 บาท/ กิโลกรัม (ยางแผนรมควันชั้น 3) โดย ธ.ก.ส. สํารองจายเงินใหกับ อ.ส.ย. เพื่อใชเปนมูลภัณฑกันชนในการซื้อชาย ยางพารา วงเงินสินเชื่อ 6,000 ลานบาท รวมระยะเวลา 18 เดือน โดยรัฐบาลชดเชยตนทุนเงินให ธ.ก.ส. ในอัตรา FDR+1 ในวงเงินรวมจํานวน 270 (ป 2558 จํานวน 180 ลานบาท และป 2559 จํานวน 90 ลานบาท ) และ กระทรวงการคลัง ค้ําประกันเงินที่ ธ.ก.ส. สํารองจายทั้งจํานวน สวนคาใชจายของ อ.ส.ย. ในการบริหารจัดการ โครงการอยูที่รอยละ 2.25 ของวงเงินกูที่ใชจายจริงในวงเงินไมเกิน 202 ลานบาท แยกเปนคาใชจายป 2558 จํานวน 135 ลานบาท และป 2559 จํานวน 67.5 ลานบาท วงเงินที่รัฐรับภาระรวม 472 ลานบาท วงเงินใชจาย ในปแรกรวมจํานวน 315 ลานบาท ทั้งนี้ ให สํานักงบประมาณ (สงป.) ตั้งงบประมาณชดเชยการขาดทุน กรณีดําเนินโครงการประสบภาวะขาดทุนเนื่องจากเปนการดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาล 2.2 โครงการชดเชยรายไดแกเกษตรกรชาวสวนยาง ใชสินเชื่อจาก ธ.ก.ส. จายเงินชดเชยรายไดใหแก เกษตรกรซึ่งมีพื้นที่สวนยางเปดกรีดที่ตั้งอยูในพื้นที่ที่มีเอกสิทธิ รวมทั้งเอกสารสิทธิ 46 รายการตามหนังสือ ของกรมปาไม ในอัตราไรละ 1,000 บาท ครัวเรือนละไมเกิน 15 ไร เปาหมาย 850,000 ครัวเรือน ระยะเวลา ดําเนินการ 6 เดือน วงเงินที่รัฐรับภาระรวม 8,453.99 ลานบาท แยกเปน วงเงินจายชดเชยเกษตรกร 8,200 ลานบาท (ใชเงินทุนของ ธ.ก.ส.และธ.ก.ส. คิดตนทุนในอัตรา FDR+1 และให ธ.ก.ส. จัดสรรงบประมาณจาก รัฐบาลเพื่อชําระคืนตนเงินจากการดําเนินงานตามโครงการ) และคาชดเชยดอกเบี้ย ธ.ก.ส. และคาบริหารจัดการ ของหนวยงานที่รับผิดชอบจํานวน 253.99 ลานบาท วงเงินใชจายปแรก จํานวน 253.99 ลานบาท 2.3 โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายยอยเพื่อประกอบอาชีพเสริม โดยสนับสนุนสินเชื่อแกเกษตรกรสวนยางรายยอยเพื่อประกอบอาชีพเสริมดานการเกษตรหรือเกี่ยวเนื่อง การเกษตรตามศักยภาพของตนเองและตามสภาพพื้นที่ที่เหมาะสม วงเงินสินเชื่อครัวเรือนละไมเกิน 100,000 บาท อัตราดอกเบี้ยละ 2 ตอป เปาหมายเกษตรกร 100,000 ครัวเรือน แหลงเงินคือ สินเชื่อจาก ธ.ก.ส. จํานวน 10,000 ลานบาท คิดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 5 ตอป (เกษตรกรรับภาระดอกเบี้ยรอยละ 2 รัฐชดเชยดอกเบี้ยรอยละ 3) ระยะเวลาการชําระเงินกูไมเกิน 5 ป ทั้งนี้ หากเกษตรกรไมสามารถชําระเงินกูไดในเวลาที่กําหนดให ธ.ก.ส สามารถปรับเงื่อนไขการกูเงิน และการเรียกเก็บดอกเบี้ยไดตามขอบังคับและวิธีปฏิบัติของธนาคาร และให ธ.ก.ส. แยกบัญชีออกจากการดําเนินงานปกติ เปนการดําเนินงานตามนโยบายรัฐ วงเงินที่รัฐรับภาระในการจายชดเชย ดอกเบี้ย ธ.ก.ส. และคาบริหารจัดการของหนวยงานที่รับผิดชอบในระยะเวลา 5 ป (ป 2558 - 2562) รวม 1,579.47 ลานบาท วงเงินใชจายปแรกจํานวน 359.47 ลานบาท 2.4 โครงการสนับสนุนสินเชื่อเปนเงินทุนหมุนเวียนแกผูประกอบการยาง โดยสนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ย อัตรารอยละ 2 ตอป แกผูประกอบการยางผานกลไกธนาคารพาณิชย ไดแก ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารไทยพาณิชย ธนาคารทหารไทย ธนาคารธนชาติ และธนาคารอื่น ๆ ที่ อก. เห็นสมควร วงเงินสินเชื่อ 10,000 ลานบาท

-43-


3. อนุมัติกรอบวงเงินเพื่อดําเนินการตลอดระยะเวลาโครงการรวม จํานวน 10,806.46 ลานบาท และอนุมัติงบกลางประจําปงบประมาณ พ.ศ.2558 รายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน จํานวน 1,229.46 ลานบาท เพื่อใชสําหรับดําเนินการในปแรก ทั้งนี้การเบิกจายใหเปนไปตามภาระที่เกิดขึ้นจริงแตไมเกิน กรอบวงเงินที่กําหนด 7. เรื่อง รายงานการเงินรวมภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบรายงานการเงินรวมภาครัฐสําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 2556 และขอเสนอแนะ การจัดทํารายงานการเงินภาครัฐ ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ 1. รายงานการเงินรวมภาครัฐประกอบดวย งบแสดงฐานะทางการเงิน งบรายไดและคาใชจายของรัฐบาล กลางและหนวยงานภาครัฐ กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน รัฐวิสาหกิจ และ อปท. จํานวน 8,188 หนวยงาน จากทั้งหมด 8,388 หนวยงาน คิดเปนรอยละ 97.80 ซึ่งผลการวิเคราะหพบวา กลุมรัฐวิสาหกิจมีสินทรัพยรวมมาก ที่สุด 11.81 ลานลานบาท รองลงมา เปนของรัฐบาลกลางและหนวยงานภาครัฐมีสินทรัพยรวม 9.12 ลานลานบาท เงินกูในภาพรวม 7.43 ลานลานบาท เปนของรัฐบาลกลาง 3.72 ลานลานบาท และเปนของรัฐวิสาหกิจ 3.67 ลานลานบาท รายไดในภาพรวมเปนของรัฐวิสาหกิจ 4.98 ลานลานบาท รองลงมาเปนรายไดของรัฐบาลกลางและ หนวยงานภาครัฐ 2.80 ลานลานบาท 2. ขอเสนอแนะในการจัดทํารายงานการเงินรวมภาครัฐในประเด็นสําคัญเพิ่มเติม โดยใหหนวยที่เกี่ยวของรับ ไปพิจารณาดําเนินการ ดังนี้ 2.1 รายงานการเงินรวมภาครัฐเปนรายงานที่แสดงขอมูลฐานะการเงินและการใชจายเงินของหนวยงาน ภาครัฐ และเปนขอมูลของผูบริหารระดับหนวยงานและระดับรัฐบาลในการกําหนดนโยบายดานการคลังที่มี ประสิทธิภาพจําเปนตองมีความสมบูรณ จึงใหหนวยงานภาครัฐที่ยังไมไดจัดสงรายงานการเงินใหกรมบัญชีกลาง จํานวน 210 หนวยงาน สงรายงานการเงินใหกรมบัญชีกลาง เพื่อใหรายงานการเงินรวมภาครัฐมีความครบถวน 2.2 สินทรัพยของรัฐบาลกลางและหนวยงานภาครัฐรอยละ 54.45 เปนที่ดิน อาคาร และอุปกรณ เพื่อใหการบริหารทรัพยสินของหนวยงานภาครัฐเกิดประโยชนสูงสุด เห็นควรใหผูบริหารของหนวยงานให ความสําคัญในการบริหารทรัพยสินใหเกิดประสิทธิภาพและคุมคา รวมถึงการทบทวนงบประมาณในการซื้อหรือเชา อาคารและที่ดินของหนวยงานภาครัฐ 2.3 การจัดสรรเงินงบประมาณอุดหนุนแกกองทุนและเงินกองทุนหมุนเวียนควรพิจารณาตามความ จําเปนและเหมาะสม โดยพิจารณาฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของหนวยงาน เพื่อประโยชนในการบริหาร งบประมาณของแผนดินในภาพรวม 2.4 ปจจุบันองคกรปกครองสวนทองถิ่น บันทึกบัญชีตามระเบียบกรมการปกครองวาดวยการบันทึก บัญชี การจัดทําทะเบียน และรายงานการเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2543 ซึ่งยังไมเปนไปตาม หลักการบัญชีที่ยอมรับทั่วไป เชน ยังไมมีการบันทึกสินทรัพยถาวรในระบบบัญชี ทําใหไมสามารถรายงานมูลคา สินทรัพยถาวรของ อปท. ที่ถูกตองได เห็นควรให อปท. บันทึกบัญชีใหเปนไปตามระบบบัญชีที่ กค. กําหนด ซึ่งจะเปนมาตรฐานเดียวกันกับหนวยงานภาครัฐอื่น เพื่อใหเกิดความโปรงใสและตรวจสอบไดของขอมูล ทางการเงิน 2.5 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2555-2556 อปท. มีคาใชจายนอยกวารายได สงผลใหมีเงินสะสมเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่อง ซึ่งสวนใหญเก็บอยูในรูปของเงินสดและเงินฝากธนาคาร ดังนั้น อปท. ควรมีการเรงรัดการเบิกจาย ตามแผนงาน/โครงการที่ไดกําหนดไว รวมถึงจัดทํางบประมาณรายจายใหสอดคลองกับรายไดที่ไดรับการจัดสรร ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เพื่อใหเม็ดเงินที่รัฐบาลจัดสรรเขาสูระบบเศรษฐกิจในระดับทองถิ่นอยางแทจริง

-44-


8. เรื่อง การกําหนดแนวทางการจัดทํางบประมาณและปฏิทินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการกําหนดแนวทางการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 และการกําหนดปฏิทินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 ตามที่สํานักงบประมาณ เสนอ ทั้งนี้ เพื่อใหการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 สามารถขับเคลื่อนนโยบายสําคัญ ของรัฐบาลไดอยางตอเนื่องและไดรับผลสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไว เห็นควรใหกระทรวง สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่น ดําเนินการ ดังนี้ 1. ใหความสําคัญกับการจัดทํางบประมาณในลักษณะบูรณาการทั้งมิตินโยบายสําคัญของรัฐบาลและมิติ ของพื้นที่ เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ประหยัด และประสานสอดคลองกัน โดยหนวยงาน ที่เกี่ยวของรวมกันกําหนดเปาหมายการดําเนินงานและติดตามผลการดําเนินงาน เพื่อมาปรับปรุงวิธีการดําเนินงาน ใหเหมาะสมมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การบูรณาการตามนโยบายสําคัญ เห็นควรกําหนดประเด็นขั้นตอนการปฏิบัติงานและการมอบหมาย รองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรี เพื่อกํากับการจัดทํางบประมาณในลักษณะบูรณาการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 จํานวน 18 เรื่อง คือ 1.1. การเตรียมความพรอมประเทศไทยในการเขาสูประชาคมอาเซียน 1.2 การสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม 1.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการขนสงสินคาและบริการของประเทศ 1.4 การบูรณาการเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 1.5 การขับเคลื่อนการแกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต 1.6 การจัดการปญหาแรงงานตางดาวและการคามนุษย 1.7 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา 1.8 การสงเสริมการวิจัยและพัฒนา 1.9 การสรางรายไดจากการทองเที่ยวและบริการ 1.10 การสรางความปรองดองและสมานฉันท 1.11 การพัฒนาคนตลอดชวงชีวิต 1.12 การปองกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด 1.13 การฟนฟู ปองกัน และจัดการภัยพิบัติ 1.14 การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดลอม 1.15 การปองกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ 1.16 การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานอยางยั่งยืน 1.17 การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและแกปญหาที่ดินทํากิน 1.18 การจัดระเบียบการคาในที่สาธารณะ 2. มีการจัดทําแผนความตองการงบลงทุนเบื้องตนประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 ตามหลักเกณฑ พิจารณาและปฏิทินการจัดทําแผนความตองการงบลงทุนในขั้นตอนการวางแผนงบประมาณเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการงบลงทุนใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 นโยบายความมั่นคง แหงชาติ และนโยบายรัฐบาล 3. มีการจัดทําแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณที่ชัดเจนในขั้นตอนการจัดทําคําขอ งบประมาณ โดยพิจารณาถึงความพรอม ขีดความสามารถในการใชจายงบประมาณ และแหลงเงิน เพื่อให การดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว

-45-


สถิติดานการคลัง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.