วิธีคิดแบบเท็ดกับนกแก้ววิกิ

Page 1

All Around Me

+ เรือ่ ง สฤณี อาชวานันทกุล

วิธแบบเท็ คี ดิ ด

ตอนที่โซเชียลมีเดียเริ่มฮิตใหม่ๆ (ซึ่งจะว่าไปก็ไม่ก่ีปีมานี้เอง) หลายคนเกิดอาการ “เห่อ” เทคโนโลยี เชือ่ ว่าการทีค่ นจำ�นวนมากได้เข้าถึง และสือ่ สารกันเองผ่านเน็ตจะนำ�มาแต่สง่ิ ดีๆ ในชีวติ ใครอยากรูอ้ ะไร ก็ถามวิกพิ เี ดียกับกูเกิลได้ ไม่เห็นต้องไปค้นคว้าหาอ่านหนังสือให้เสียเวลา อย่างไรก็ดี พอของใหม่กลายเป็นของเก่า เราก็เริม่ มองเห็นสีซดี เทา ของมัน ค่อยๆ ตระหนักว่าอินเทอร์เน็ตกับโซเชียลมีเดียอาจไม่ได้ท�ำให้ เราและสังคมของเราฉลาดและใจกว้างกว่าเดิมโดยอัตโนมัติ เผลอๆ อาจ มีสว่ นท�ำให้เราโง่ลงและใจแคบกว่าเดิมด้วยซำ�้ ถ้าไม่ตงั้ สติให้ดี อูแมร์ เฮก (Umair Haque) อาจารย์และนักเขียนประจำ�วารสาร ฮาร์วาร์ด บิสซิเนส รีววิ (Harvard Business Review) แสดงทัศนะใน บทความเรือ่ ง “Let’s Save Great Ideas from the Ideas Industry” ว่า วันนีเ้ รากำ�ลังถูกครอบงำ�ด้วย “วิธคี ดิ แบบเท็ด” (TED thinking) คำ�ว่า “เท็ด” มาจากชือ่ งานถ่ายทอดความคิดชือ่ ดัง ผูพ้ ดู มีเวลาเพียง 18 นาที เท่านัน้ ทีจ่ ะสรุปความคิดของเขา (ดูออนไลน์ได้จาก www.ted.com) เฮกอธิบายว่า “วิธคี ดิ แบบเท็ด” สามารถแก้ปญั หาทีซ่ บั ซ้อนได้อย่าง รวดเร็วและราคาถูกด้วยส่วนผสมระหว่างเทคโนโลยี การศึกษา และดีไซน์ ซึง่ เชือ่ ว่าส่วนผสมนีจ้ ะแก้ปญั หาได้ทกุ อย่าง แทบไม่ให้ความสำ�คัญกับ สถาบันต่างๆ และสังคมเลย กลายเป็นว่าเรามอง “ทางออก” เหล่านีว้ า่ เป็นความคิดเพียงแบบเดียวที่ “มีคา่ ควรกระจาย” (สโลแกนของงาน TED) เฮกบอกว่าวิธคี ดิ แบบนีห้ ลงประเด็นและมองไม่เห็นพลังของความคิด เขายกตัวอย่างสมการ E=MC2 ของไอน์สไตน์วา่ ไม่ใช่ “ทางออก” แต่เป็น ทฤษฎี ซึง่ การอธิบายทฤษฎีนก้ี น็ �ำ ไปสูป่ ริศนาและคำ�ถามอืน่ ๆ ตามมา E=MC2 ไม่ได้เสนอ “วิธปี ระยุกต์ใช้” ใน “โลกจริง” ใดๆ ทีง่ า่ ยดาย เหมือนเปิดกระป๋อง แต่มนั ท้าทายให้เราจินตนาการใหม่วา่ “โลกจริง” คืออะไร ทฤษฎีนข้ี องไอน์สไตน์เข้าข่าย “ความคิดทีย่ ง่ิ ใหญ่” เพราะมัน ส่งมอบสิง่ ทีใ่ หญ่กว่า อยูย่ ง้ั ยืนยงกว่า และสำ�คัญกว่า “ทางออก” (ซึง่ อย่างหลังทำ�ให้รสู้ กึ ว่าใครๆ ก็น�ำ ไปใช้ได้ทนั ที) ในสายตาของวิธีคิดแบบเท็ด ทฤษฎีสัมพัทธภาพมีคุณค่าเพียง น้อยนิด ถ้าไอน์สไตน์คน้ พบทฤษฎีในยุคนีแ้ ละได้รบั เชิญให้ไปพูดเรือ่ ง E=MC2 ทีง่ าน TED คนฟังคงสงสัยว่า “อ้าว แล้วประเด็นอยูต่ รงไหน? เราใช้เจ้านีท่ �ำ อะไรได้บา้ ง? ปีหน้าเราจะทำ�เงินมหาศาลจากมันได้ยงั ไง?” เมื่อ ใดก็ ต ามที่เ ราลดทอนความคิ ด ลงมาเหลื อ เพี ย งความท้ า ทาย ทางวิศวกรรม จุดสนใจก็ยอ่ มย้ายมาอยูท่ ป่ี ระโยชน์ระยะสัน้ ในโลกจริง เราเน้นว่าจะใช้มนั ทำ�อะไรได้บา้ งโดยไม่เคยหยุดตัง้ คำ�ถามกับสมมติฐาน ของเรา แต่ความคิดทีย่ ง่ิ ใหญ่ไม่ได้กอ้ งกังวานเพราะมันมี “ประโยชน์” ในโลกจริง – มันยิ่งใหญ่เพราะมันท้าทายให้เรานิยามความจริงของ โลกใหม่ นิยาม “ประโยชน์” ของตัวเราใหม่ เฮกสรุปว่า ความคิดทีย่ ง่ิ ใหญ่ไม่ได้เป็นแค่ “ทางออก” แต่แท้จริง หลายความคิดเป็นปัญหาที่ท้าทายให้ขบคิด ตอนนี้เราตกกับดักทาง

กับนกแก้ววิกิ

ทุกวันนีก้ ารตืน่ มาเช็กเฟซบุก๊ อีเมล อินสตาแกรม ทวิตเตอร์ และ อีกสารพัดสารพันแอพได้กลายเป็น วิถีชีวิตของคนไทยหลายล้านคนไปแล้ว ผู้เขียนก็ ไม่เว้น วันไหนเข้าเน็ตไม่ได้ก็รู้สึก ตะหงิดๆ ว่ากำ�ลังตามไม่ทนั โลก ทัง้ ทีโ่ ลกก็ยงั หมุนด้วยความเร็วเท่าเดิม และรอบตัวเราก็มี เรื่องราวน่าสนใจมากมายไม่แพ้โลกในจอ

28

TRUST Magazine


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.
วิธีคิดแบบเท็ดกับนกแก้ววิกิ by Sarinee Achavanuntakul - Issuu