ว่าด้วยทุน

Page 1

มาร่วมก ันอ่าน

“ว่าด้วยทุน” ของ คาร์ล มาร์คซ ์ ฉบ ับย่อ-ภาษาง่าย แนะนำาโดย ใจ อึง๊ ภากรณ์

1


คำำนำำของ ใจ อึง๊ ภำกรณ์ หนังสือ “ ว่ าด้ วยทุน ” ของ คาร์ ล มาร์ คซ์ เป็ นหนังสือเศรษฐศาสตร์ การเมืองที่สำาคัญยิ่ง เพราะเป็ นหนังสือที่วิเคราะห์ไส้ พุงและเนื ้อในของระบบทุนนิยม และมีอิทธิพลต่อคนจำานวนมากในขบวนการสังคมนิยมและขบวนการแรงงานตังแต่ ้ ตี พิมพ์ครัง้ แรกในปี ค.ศ. 18671 ในคำานำาสำาหรับการตีพิมพ์ครัง้ ที่สองในปี 1873 มาร์ คซ์อธิบายว่า “การขึ้นมามีอำานาจของชนชัน้ นายทุนในอังกฤษและฝรัง่ เศสหลังยุค 1830 ได้ทำาลายความเป็ นวิ ทยาศาสตร์ ของเศรษฐศาสตร์ การเมื องกระแสหลัก และเปลี ย่ นมันเป็ นศาสตร์ สำาหรับการปกป้ องผลประโยชน์ของนายทุนเท่านัน้ ” เศรษฐศาสตร์ การเมืองกระแสหลักที่เขาสอนกันในมหาวิทยาลัย ยืนอยู่บนพื ้นฐาน “ความเชื่อ” มากกว่าการพิสจู น์ ความจริ งตามหลักวิทยาศาสตร์ เช่นความเชื่อว่า “กลไกตลาดมีประสิทธิภาพสูงสุด” หรื อ “อุปสงค์ย่อมคานกับอุปทาน” หรื อ “นายทุนและเครื่องจักรสร้ างมูลค่าได้ ” เพราะในโลกแห่งความจริ งข้ อมูลพื ้นฐานพิสจู น์ว่าสิ่งเหล่านี ้เป็ นแค่ความเชื่อ เท็จ หรื อไม่ใช่ทงหมดของความจริ ั้ งเท่านัน้ หนังสือ “ ว่ าด้ วยทุน ” เป็ นหนังสือพิเศษที่เต็มไปด้ วยสำานวนงดงาม และมาจากการค้ นคว้ าอ่านงานวิชาการมากมาย ซึง่ ชัดเจนจากการอ้ างอิง อย่างไรก็ตาม มันเป็ นหนังสือที่อาจอ่านยากสำาหรับคนที่ไม่มีเวลาและความอดทนในการอ่าน ดังนันผมจึ ้ งตัดสินใจสรุปความสำาคัญๆ ของหนังสือ เพื่อมานำาเสนอให้ ท่านผู้อา่ นในภาษาไทยที่เข้ าใจง่าย แน่นอนนี่ไม่ใช่ การแปลงานของมาร์ คซ์แต่อย่างใด และท่านที่สนใจศึกษาลึกๆ ควรไปอ่านต้ นฉบับเป็ นภาษาไทยหรื อภาษาอื่น แต่สิ่งที่ ผมทำา ไม่ ขัด ต่ อ แนวคิ ด ของมาร์ ค ซ์ เ อง เพราะเขาเชื่ อ ว่ า กรรมาชี พ หรื อ คนทำา งานธรรมดาสามารถยึ ด อำา นาจและ เปลี่ยนแปลงโลกได้ ถึงกระนันก็ ้ คงมีพวกโอ้ อวดปากหมาที่มองว่าตนเก่งคนเดียว ที่โจมตีหนังสือเล่มเล็กเล่มนี ้ว่า “บิดเบือ นมาร์ คซ์” หรื อ “ทำาให้ แนวมาร์ คซิสต์ด้อยค่า” ผมไม่สนใจเสียงเห่าหอนแบบนี ้ เพราะเป็ นเสียงเห่าหอนของคนเพี ้ยนหลง ตัวเองที่ไม่อยากให้ มวลชนเข้ าใจทฤษฏีมาร์ คซ์เท่านันเอง ้ วิธีกำรของมำร์ คซ์ หนังสือ “ ว่ าด้ วยทุน ” เป็ นหนังสือที่แสดงให้ เราเห็น “วิธีการของมาร์ คซ์” ได้ อย่างชัดเจนดังนี ้คือ 1. มาร์ คซ์เสนอว่าภาพผิวเผินของกระบวนการหรื อสิ่งต่างๆในโลก บ่อยครัง้ เป็ นภาพลวงตา เราต้ องเจาะลงไปลึกๆ ถึงจะเห็นภาพจริง วิธีที่จะพบภาพจริงคือการมองแบบ “วิภาษวิธี” (ซึง่ เห็นได้ จากข้ อ 2-4 ดังต่อไปนี ้) 2. ในประการแรกเราต้ องพยายามค้ นหาความสัมพันธ์ หลักๆ โดยทัว่ ไป ที่เป็ นหัวใจหรื อรากฐานกระบวนการใน สังคม หลังจากนันเราต้ ้ องนำารายละเอียดปลีกย่อยต่างๆ มาประกอบกันเป็ นชันๆ ้ เพื่อสร้ างภาพรวมที่มีลกั ษณะ 1

ว่าด้ วยทุนเล่มสองตีพิมพ์ในปี 1885 และเล่มสามในปี 1894

2


ซับซ้ อน เหมือนการสร้ างหัวหอมใหญ่จากเนื ้อในแล้ วประกอบเปลือกมันเป็ นชันๆ ้ ทับกัน 3. สภาพสังคมที่เห็นอยู่ไม่ใช่เรื่ องธรรมชาติแต่อย่างใด เพราะถูกสร้ างขึ ้นโดยมนุษย์ และเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มี การเกิดขึ ้นใหม่และล่มสลายของสิ่งต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 4. ถ้ าจะเข้ าใจทุนนิยม หรื อกระบวนการทางสังคมอื่นๆ เราต้ องดูภาพรวมของรายละเอียด และในรายละเอียดเรา จะเห็นสิ่งที่ขดั แย้ งกัน ซึง่ เราต้ องมีคำาอธิยายว่าทำาไมสิ่งที่ขดั แย้ งกันอยู่ด้วยกันได้ เช่น มาร์ คซ์เสนอว่า “นายทุน คือร่างมนุษย์ของทุน ดังนันการแข่ ้ งขันเพื่อแสวงหากำาไรสูงสุดคือสิ่งที่ขบั เคลื่อนนายทุนมากกว่าความโลภส่วน ตัว แต่ในขณะเดียวกันนายทุนคือคน ซึ่งมีความโลภหรื อความโหดร้ ายได้ และความรู้ สึกดังกล่าวมาจากความ จำาเป็ นที่จะต้ องแข่งขัน” 5. มาร์ คซ์เน้ นข้ อมูลจากโลกจริ งเสมอ มีการนำาข้ อมูลทางเศรษฐศาสตร์ การเมือง และวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ มาร องรับทฤษฏีตลอด นี่คือสิ่งที่เราเรียกว่า “วัตถุนิยมประวัติศาสตร์ ” 6. งานของมาร์ คซ์ ไม่ใช่งานประเภท “เล่าเรื่ อง” ของนักวิชาการที่ไม่กล้ าแสดงจุดยืน มันเป็ นงานที่ฟันธงอย่าง ชัดเจนว่าเข้ าข้ างชนชันกรรมาชี ้ พและผู้ที่ถกู กดขี่เสมอ และพร้ อมที่จะพิสจู น์มาตรฐานทางวิชาการของจุดยืนนี ้ ตลอด มาร์ คซ์อ่านงานของฝ่ ายตรงข้ ามและวิจารณ์ ด้วยความซื่อสัตย์ ส่วนไหนดี ก็ชมและนำา มาใช้ ส่วนไหน บกพร่องก็วิจารณ์และเสนอแนวคิดที่ดีกว่า สำาหรับมาร์ คซ์ ชนชันกรรมาชี ้ พไม่ใช่แค่เหยื่อ เขาเชื่อมัน่ ว่ารวมตัวกัน ปลดแอกสังคมได้ และจุดยืนนี ้ถูกสะท้ อนในงาน “ ว่ าด้ วยทุน ” 7. หลายคนเข้ าใจผิดว่า มาร์คซ์ ไม่เคยพูดถึงรายละเอียดของ “สังคมนิยม” ไม่จริ ง ! หนังสือ “ ว่ าด้ วยทุน ” นี ้เต็มไป ด้ วยคำาอธิบายว่าสังคมในอนาคตควรจะเป็ นอย่างไร ในหนังสือเล่มนี ้ บางครัง้ จะข้ ามบางบทไป ถ้ ามองว่ามีความสำาคัญน้ อย

ขออุทศิ หนังสือเล่ มนีใ้ ห้ สหำยบุญผิน ใจ อึง๊ ภากรณ์ อังกฤษ 1 มิ.ย.2553

3


ว่ ำด้ วยทุนเล่ มหนึ่ง กระบวนกำรผลิตทุน

ภำคที่ 1 สินค้ ำและเงิน 4


บทที่1: สินค้ ำ

ถ้ าพิจารณาสินค้ าอย่างผิวเผิน มันจะมีภาพง่ายๆ คือมันเป็ นผลผลิตที่เป็ นประโยชน์ตอ่ ชีวิต ไม้ เมื่อถูกแปรรู ปเป็ นโต๊ ะ ก็ยงั เป็ นไม้ ที่จบั ต้ องได้ แต่เมื่อมันกลายเป็ นสินค้ า มีเหตุการณ์ มหัศจรรย์เกิดขึ ้น ซึ่งน่าทึ่ง กว่าภาพฝั นของโต๊ ะที่เดินเองหรื อเต้ นรำาเองได้ คือโต๊ ะในฐานะสินค้ า กลายเป็ นสิ่งที่มีค่าในฐานะที่แลกเปลี่ยนกับสินค้ า อื่นได้ เหมือนกับว่ามันเป็ นคุณสมบัติ “ธรรมชาติ” ของโต๊ ะ การมองว่าสินค้ ามีค่าแลกเปลี่ยนในตัวมันเอง ซึ่งนำาไปสู่การแลกเปลี่ยนในตลาด และนำาไปสู่ความสัมพันธ์ ระหว่าง มนุษย์ผ้ แู ลกเปลี่ยนนัน้ เป็ นการมองทุกอย่างกลับหัวกลับหาง หรื อที่เรี ยกว่าความคิด “คลัง่ สินค้ า” เพราะสินค้ าไม่ใช่จดุ เริ่ มต้ น แต่เรากลับนำาสินค้ าหรื อวัตถุมากำาหนดและควบคุมมนุษย์ เรามองว่าความสัมพันธ์หลักคือการแลกเปลี่ยนสินค้ า โดยที่มนุษย์เป็ นแค่เครื่องพ่วง แทนที่จะยอมรับว่าสิ่งที่เรากำาลังแลกเปลี่ยนแบ่งปั นคือ “กำรทำำงำนของคน” • ผลผลิตจะไม่เป็ นสินค้ าโดยอัตโนมัติ การผลิตเพื่อใช้ เองในครอบครัว หรื อการผลิตเพื่อยกให้ เจ้ านาย ไม่ได้ ทำาให้ สินค้ าเกิดขึ ้น • สินค้ าเกิดจากการแลกเปลี่ยนระหว่างสินค้ า • วัตถุบางอย่างไม่มีมลู ค่าแลกเปลี่ยน เช่นอากาศที่เราหายใจ วัตถุทกุ ชนิด รวมถึงสินค้ า มีมลู ค่าสองชนิดที่ดำารงอยูใ่ นตัวมันเอง แต่แตกต่างกันคือ 1. มูลค่ ำใช้ สอย คือความเป็ นสิ่งที่ใช้ เป็ นประโยชน์ได้ ซึง่ ขึ ้นอยูก่ บั ลักษณะทางวัตถุของมัน เราวัดประโยชน์ใช้ สอย เป็ นหน่วยทางวิทยาศาสตร์ ไม่ได้ เพราะใช้ สอยในลักษณะต่างกัน เรารู้ แค่ว่ามันมีประโยชน์ในด้ านใดด้ านหนึ่ง ของชีวิต และมูลค่าใช้ สอยนี ้อิสระจากการทำางานของมนุษย์ (เช่นไม่วา่ เราจะขยันแค่ไหนในการทำาอาหารชิ ้นหนึง่ ถ้ ามันเน่าก็ใช้ สอยไม่ได้ ) 2. มูลค่ ำแลกเปลี่ยน ซึง่ เป็ นลักษณะพิเศษของการเป็ นสินค้ า ถ้ าอะไรไม่ใช่สินค้ าจะไม่มีมลู ค่าแลกเปลี่ยน และถ้ า อะไรไม่มีมลู ค่าใช้ สอยก็แลกเปลี่ยนไม่ได้ เช่นกัน มาร์ คซ์ ศึกษาเรื่ องนี เ้ พื่อตอบคำา ถามว่า “กำรแลกเปลี่ ยนสินค้ ำในระบบทุ นนิ ยม กระทำำ ไปบนบรรทัดฐำน อะไร?” นี่คือหัวใจของเรื่อง มาร์ คซ์เสนอว่า • มูลค่าแลกเปลี่ยน มีความหมายในบริ บทสังคม และภาพรวมเท่านัน้ การดูแค่การแลกเปลี่ยนระหว่างสินค้ าสอง ชิ ้นไม่อธิบายอะไร หรือการไม่มองว่ามนุษย์อยูใ่ นสังคมที่มีมนุษย์อื่น ทำาให้ มองไม่เห็นความจริ ง • มูลค่าเกิดจากการทำางานของมนุษย์เพื่อเปลี่ยนทรัพยากรธรรมชาติให้ เป็ นสิ่งใช้ สอย • มูลค่าแลกเปลี่ยน ถูกกำาหนดจาก “ปริมำณแรงงำนทำงสังคม” ซึง่ เป็ นการกลัน่ งานชนิดต่างๆ ของทุกสังคมใน ปั จจุบัน มาเป็ นหน่วยแรงงานเดียว เป็ น “พลังแรงงาน” ซึ่งย่อมเป็ นหน่วยสมมุติฐานนามธรรม เพราะกลั่น แรงงานชนิดต่างๆ ของคนและผลผลิตที่หลากหลาย ลงมาเป็ นหน่วยเดียว เพื่อให้ เทียบกันได้ และปริ มาณของ 5


แรงงานทางสังคมในสินค้ าแต่ละชนิดจะกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนของมันกับสินค้ าอื่น ดังนันมาร์ ้ คซ์เถียงกับพวกเศรษฐศาสตร์ กระแสหลักว่า มูลค่าไม่ได้ เกิดจากการแลกเปลี่ยนอย่างที่พวกนันว่ ้ า แต่การ แลกเปลี่ยนสินค้ าในปริมาณต่างๆ กำาหนดจากมูลค่าของสินค้ าที่นำามาแลกกันต่างหาก 2 และมูลค่าแลกเปลี่ยนไม่ได้ เป็ นการแลกเปลี่ยน “ความเป็ นประโยชน์ ” ของสินค้ าประเภทต่างๆ เลย บางอย่างมี ประโยชน์กบั ชีวิตพื ้นฐาน เช่นน้ำ าหรืออากาศ แต่ไม่แพง • การทำางาน ในความคิดของมาร์ คซ์ เป็ นการทำางานของ กล้ ามเนื ้อ เส้ นประสาท และสมอง เราแยกส่วน “งาน สมอง”ออกจาก “งานกล้ ามเนื ้อ” ไม่ได้ แม้ แต่คนที่แบกกระสอบข้ าวก็ต้องใช้ สมอง • เงินวิวฒ ั นาการจากทองคำา ซึง่ เดิมเป็ นสินค้ า แต่ถกู แยกออกจากการเป็ นสินค้ าทัว่ ไป เพื่อมาเป็ นมาตรฐานใน การแลกเปลี่ยน

บทที่ 2: เงิน

“นำยทุนที่เคยมืนเมำในควำมเจริญ และเคยมั่นใจพูดว่ ำ เงินเป็ นแค่ สัญลักษณ์ ของสินค้ ำ หันมำพูดว่ ำเงินเท่ ำนัน้ ที่มีควำมสำำคัญ”

“เงิน” เดิมทีเดียวเป็ นสินค้ า เช่นทองคำา โลหะเงิน หรื อทองแดง ซึง่ มีมลู ค่าเท่ากับปริ มาณแรงงานที่ใช้ ในการสกัดและถลุง เมื่อเริ่ มใช้ เป็ นเงินตราเพื่อแลกเปลี่ยนในตอนแรก หน่วยเงินตรานัน้ มักจะเป็ นน้ำ า หนักของโลหะดังกล่าว เช่นน้ำ า หนัก ทองคำา แต่ตอ่ มามันเริ่มถูกแยกออกมาเป็ นอิสระ เป็ นสัญลักษณ์ของมูลค่า จนรัฐสามารถบังคับใช้ เงินกระดาษได้ เมื่อเครื อข่ายการซื ้อขายขยายตัว • ปริ มาณเงินในเศรษฐกิจ มีความสัมพันธ์ระหว่างราคารวมของสินค้ าทังหมด ้ และความรวดเร็ วในการหมุนเวียน สินค้ าในรู ปแบบ “สินค้ า-เงิน-สินค้ า” แต่ นักเศรษฐศาสตร์ กระแสหลัก เข้ าใจผิดว่าเมื ่อสิ นค้าเข้าสู่ตลาดใน ขั้นตอนแรกมัน ไม่ มีมู ล ค่ า หรื อราคา ซึ่ ง มู ล ค่ า หรื อ ราคาจะถู ก กำ า หนดจากการแลกเปลี ่ย นอย่ า งเดี ย ว หรื อ อุปสงค์-อุปทาน • เมื่อมี “สัญญาว่าจะจ่ายในอนาคต” มันทำาให้ เกิด “สินเชื่อ” ซึง่ ไม่ใช่เงินที่จบั ต้ องได้ ประเด็นนี ้นำา “มิติเวลา” เข้ า มาในระบบการเงิน • เมื่อมีปัญหาในระบบ จะเกิดวิกฤตการขาดแคลนเงินที่จบั ต้ องได้ • การแปรภาษี หรื อส่วยเป็ นเงิน แทนสินค้ าที่จะจ่ายให้ เจ้ านาย มันทำา ให้ เกิดปั ญหาสำา หรั บคนจนที่ผลิตเองใน 2

ตัวอย่างเช่น ปากกา ไม่ว่าจะขาดตลาดแค่ไหน ไม่มีวนั มีราคาหรื อมูลค่าจะเพิ่มขึ ้นจนเท่ากับเครื่ องบิน (ใจ)

6


สภาพความไม่แน่นอนของดินฟ้าอากาศ เพราะเวลาตังอั ้ ตราภาษี เป็ นเงินมันไม่ยืดหยุน่ เหมือนสมัยก่อน 3

ภำคที่ 2 กำรแปรเงินเป็ นทุน บทที่ 4: สูตรทั่วไปของทุน

เงื่อนไขของการกำาเนิดทุน คือการค้ าขายและการหมุนเวียนของสินค้ า “เงิน” กับ “ทุน” ต่างกันอย่างไร? ต่างกันตรงระบบหมุนเวียน ระบบหมุนเวียนมีสองชนิดคือ C-M-C กับ M-C-M4 • C-M-C เป็ นการผลิตของนักหัตกรรม ผลิตเพื่อขาย ได้ เงินเพื่อซื ้อสินค้ ามาใช้ มันมีจดุ จบคือการใช้ มลู ค่าใช้ สอยที่ ซื ้อมาด้ วยเงิน เงินนี ้ไม่ถือว่าเป็ น “ทุน” • M-C-M ไม่มีจดุ จบ เป็ นกระบวนการสะสมเคลื่อนไหวต่อเนื่อง ลงทุนด้ วยเงิน เพื่อผลิต เพื่อขาย เพื่อสะสมทุนต่อ เงินที่เป็ นทุนแบบนีเ้ พิ่มมูลค่าผ่านการหมุนเวียน มูลค่าที่เพิ่มขึ ้นเรี ยกว่า “มูลค่าส่วนเกิน” ซึง่ มาจากการทำางาน เป้ำหมำยของนำยทุนไม่ ใช่ กำรได้ มูลค่ ำใช้ สอยมำ แต่ เป้ำหมำยคือกำำไร เงิน/ทุนแปรร่ างเป็ นสินค้ า สินค้ าแปรร่างเป็ นเงิน /ทุน มันมีทงความขั ั้ ดแย้ งเปลี่ยนแปลงตลอด เพราะ “ทุน” เป็ นทัง้ “เงิน” และ “สินค้ า” ได้ และเรามีความจำาเป็ นที่จะมองภาพรวมของสิ่งนี ้ – เป็ นองค์รวมเสมอ

บทที่ 5: ควำมขัดแย้ งในสูตรทั่วไป

มาร์ คซ์พิสจู น์ไปแล้ วว่ามูลค่าและมูลค่าส่วนเกินไม่ได้ มาจากการแลกเปลี่ยนในตลาด (เหมือนที่นกั เศรษฐศาสตร์ กระแส หลักอ้ าง) • ผู้ที่เชื่อว่าเกิดจากการแลกเปลี่ยน สับสนระหว่าง “มูลค่าใช้ สอย” กับ “มูลค่าแลกเปลี่ยน” 5 • สินค้ าย่อมมาสูต่ ลาด โดยมีมลู ค่าแลกเปลี่ยนอยูใ่ นตัวล่วงหน้ า แล้ วพอถึงตลาดจะมีการแลกเปลี่ยนกับสินค้ าอื่น ตามสัดส่วนของมูลค่านัน้ แต่ “ราคา” อาจขึ ้นลง เหนือหรื อต่าำ กว่ามูลค่าแลกเปลี่ยนนี ้ได้ บ้างเล็กน้ อย • มนุษย์เป็ นทังผู ้ ้ ซื ้อและผู้ขาย ไม่มีใครเป็ นผู้ซื ้อฝ่ ายเดียว เพราะนอกจากการปล้ นธนาคารแล้ วจะเอาเงินที่ไหนมา 3

ดูกรณีเกษตรกรเวียดนามในสมัยวิกฤต 1930 (ใจ) 4 M=เงินหรื อทุน C=สินค้ า 5 บางสิ่งที่เป็ นประโยชน์ในการใช้ สอย เช่นอากาศ ไม่มีมลู ค่าแลกเปลี่ยน (ใจ)

7


ซื ้อของ? ต้ องมาจากการขายพลังการทำางาน • ผู้ที่ขายสินค้ าในราคาสูงกว่ามูลค่าแลกเปลี่ยน ไม่ได้ เพิ่มมูลค่าของสินค้ านันเลย ้ เป็ นเพียงการเอาเปรี ยบและ ย้ ายสัดส่วนมูลค่าจากคนอื่นมาสูต่ วั เองเท่านัน้

บทที่ 6: กำรซือ้ ขำย “พลังกำรทำำงำน” การเพิ่มมูลค่าของทุน เกิดจากตัวเงินทุนเองไม่ได้ เงินเป็ นเพียงค่าเปรี ยบเทียบระหว่างสินค้ า เงื่อนไขที่ต้องมีเพื่อให้ เกิดการขายพลังการทำางานโดยกรรมาชีพคือ 1. ต้ องมีแรงงานเสรี พร้ อมจะขายพลังการทำางานในเวลาจำากัด 2. ผู้ขายต้ องไม่สามารถขายสินค้ าที่ตนเองผลิตเองได้ เพราะไม่มีปัจจัยการผลิต (เครื่ องจักร,วัตถุดิบฯลฯ) แต่ธรรมชาติไม่ได้ ก่อให้ เกิดนายทุน กับผู้ไร้ ปัจจัยการผลิตแต่อย่างใด และทุนนิยมคือระบบแรกที่ • การผลิตส่วนใหญ่นำาไปสูส่ ินค้ า (แทนการบริ โภคเอง) • มีการแยกมนุษย์ระหว่างนายทุนกับผู้ไร้ ปัจจัยการผลิต มูลค่าของสินค้ าที่กรรมาชีพขายให้ นายทุน หรื อ “พลังการทำางาน” = ปริ มาณแรงงานเพื่อผลิตมูลค่าเพียงพอสำาหรับการ เลี ้ยงชีพ และผลิตซ้ำ าคนงานกับลูกหลาน • ระดับสิ่งของที่จำาเป็ นสำาหรับการเลี ้ยงชีพ เปลี่ยนตามยุคสมัย เป็ นผลของประวัติศาสตร์ และสังคม

ภำคที่ 3 กำรผลิตมูลค่ ำส่ วนเกินสุทธิ บทที่ 7: กระบวนกำรทำำงำน

กระบวนการทำางานคือกระบวนการระหว่างมนุษย์กบั ธรรมชาติ • มนุษย์เผชิญหน้ ากับวัตถุในธรรมชาติในรู ปแบบพลังธรรมชาติ (เพราะมนุษย์คือส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ) พลังนี ้ เปลี่ยนทังธรรมชาติ ้ และเปลี่ยนมนุษย์เอง ท่ามกลางการทำางานของมนุษย์ • มนุษย์ ต่างจากสัตว์ ตรงที่นึกคิดภาพผลงานตนเองในหัวได้ ก่อนที่มนั จะเกิด คือสร้ างสรรค์ อย่างเสรี ไม่ใช่แค่ สัญชาติญาณ(เหมือนผึง่ ทำารัง) นอกจากนี ้มนุษย์สามารถใช้ เครื่ องมืออย่างเป็ นระบบ • ผลผลิตของมนุษย์คือการทำาให้ “การทำางาน” กลายเป็ นวัตถุ • เครื่ องไม้ เครื่องมือ เป็ นวัตถุดิบที่สกัดมาด้ วยการทำางานในอดีต 8


เป้าหมายของนายทุน ผู้เป็ นเจ้ าของพลังการทำางานที่ซื ้อมาจากกรรมาชีพ และเป็ นเจ้ าของวัตถุดิบ และผลผลิต ...คือ 1. ผลิตสินค้ าที่มีมลู ค่าใช้ สอยเพื่อแลกเปลี่ยน 2. ผลิตสินค้ าที่มีมลู ค่ามากกว่ามูลค่าวัตถุดิบ และพลังการทำางาน ... ส่วนเกินที่ได้ คือ “มูลค่าส่วนเกิน” นำยทุนมักจะซือ้ พลังกำรทำำงำนจำกกรรมำชีพในอัตรำที่ใกล้ เคียงมูลค่ ำพืน้ ฐำนสำำหรั บกำรเลีย้ งชีพและ ผลิตซ้ำ ำกรรมำชีพ แต่ พอซือ้ มำได้ แล้ ว จะบังคับให้ กรรมำชีพผู้เป็ นลูกจ้ ำงทำำงำนนำนกว่ ำเวลำจำำเป็ นที่จะผลิต มูลค่ ำเลีย้ งชีพ/ผลิตซ้ำ ำดังกล่ ำว นัน้ คือที่มำของมูลค่ ำส่ วนเกิน

บทที่ 8: “ทุนคงที่” กับ “ทุนแปรผัน”

ในกระบวนการผลิตคนงานจะใช้ ปัจจัยการผลิตที่เป็ น • วัตถุดิบ (ซึง่ คนงานอื่นเคยสกัดมาจากธรรมชาติ) และ • จะใช้ เครื่ องจักรหรือเครื่องมือ (ที่คนงานสร้ างในอดีต) มูลค่ ำของผลผลิต = ปริ มาณแรงงานใหม่ที่คนงานลงแรงด้ วย “พลังการทำางาน” (ทุนแปรผัน) + ปริ มาณแรงงานที่เคยใช้ ในการสกัดวัตถุดิบ + สัดส่วนปริ มาณแรงงานที่เคยใช้ สร้ างเครื่ องจักร6 (ทุนคงที่) ทุนแปรผัน สร้ างมูลค่าได้ เป็ นทุนที่ใช้ ซื ้อพลังการทำางานจากกรรมาชีพในปั จจุบนั ทุนคงที่ สร้ างมูลค่าไม่ได้ เป็ นทุนที่ใช้ ซื ้อวัตถุดิบและเครื่ องจักรหรื อเครื่ องมือ • มีการโยกย้ ายมูลค่าเดิมที่ฝังอยู่ในปั จจัยการผลิตในรู ปแบบต่างๆ ผ่านการทำา งานของกรรมาชีพ สู่ผลผลิต ใหม่ • เครื่ องจักรไม่สามารถสร้ างมูลค่าใหม่หรื อเพิ่มมูลค่าได้ เอง และมูลส่วนเกินมาจากการทำางานของกรรมาชีพ เท่านัน้

บทที่ 9: อัตรำกำรขูดรี ด อัตราการขูดรี ด = มูลค่าส่วนเกิน ÷ มูลค่าพื ้นฐานในการเลี ้ยงชีพ(ค่าจ้ างนันเอง) ้

6

สัดส่วนนี ้คำานวณจาก มูลค่าทังหมดที ้ ่กรรมาชีพสร้ างโดยใช้ เครื่ องจักรนี ้ หาญด้ วยจำานวนผลผลิตทังหมดที ้ ่ออกมาในชีวิตของเครื่ องจักร

9


บทที่ 10: ชั่วโมงกำรทำำงำนในหนึ่งวัน “เวลำกรรมำชีพเลิกทำำงำน เขำจึงเป็ นเจ้ ำของเวลำของตนเองอย่ ำงแท้ จริง” “นำยทุนคือแค่ ทุน ในร่ ำงมนุษย์ วิญญำณเขำคือวิญญำณของ ทุน แต่ วิญญำณของทุน ต้ องกำรเพิ่มมูลค่ ำให้ ตนเองเสมอ ผ่ ำนกำรสะสมมูลค่ ำส่ วนเกิน” “ทุน คือแรงงำนในอดีต ซึ่งเป็ นปี ศำจดูดเลือดจำกแรงงำนที่มีชีวิตในปั จจุบัน มันยิ่งดูดเลือดมำกแค่ ไหน มันยิ่งเจริญเท่ ำนัน้ ” นายทุนต้ องการขยายเวลาทำางานต่อวัน (โดยจ่ายแค่คา่ จ้ างพื ้นฐานพอยังชีพ) เพื่อขยายมูลค่าส่วนเกิน/กำาไร • ในยุคแรกๆ ของทุนนิยม มีการออกกฎหมายบังคับการขยายเวลาทำางาน • แต่การขยายเวลาทำางานขยายเกิน 24 ชม. ต่อวันไม่ได้ ! และถ้ าคนงานไม่ได้ พกั ผ่อนก็จะตาย ทำางานต่อไม่ได้ • ระบบการทำางานกะ เพื่อให้ เครื่องจักรเดิน 24 ชม. ถูกนำามาใช้ เพื่อเพิ่มความคุ้มในการซื ้อเครื่ องจักร • การกำาหนดชัว่ โมงการทำางานเป็ นสมรภูมิรบทางชนชันระหว่ ้ างนายทุนกับกรรมาชีพ เรื่ องนี ้ในที่สดุ ใช้ เหตุผลและ ปั ญญาในการต่อรองไม่ได้ ต้ องใช้ กำาลัง มาร์ คซ์เล่าถึงการต่อสู้ของคนงานอังกฤษในศตวรรษที่ 19 เพื่อลดเวลา ทำางาน ซึ่งมีผลดีต่อเนื่องไปสู่คนงานยุโรปและสหรัฐ (ในกรณีสหรัฐ มาร์ คซ์ เสนอว่าคนงานสหรัฐไม่สามารถสู้ เต็มที่เพื่อผลประโยชน์ตนเองตราบใดที่แรงงานผิวดำายังมีอยู่ในระบบทาส เพราะทำาให้ จิตสำานึกคนงานผิวขาว อ่อนแอ) • การเพิ่มเวลาว่าง ลดเวลาทำางาน มีความสำาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาชีวิตมนุษย์อย่างรอบด้ าน ทังกายและใจ ้ ในสังคมที่เน้ นมูลค่ ำใช้ สอยเหนือมูลค่ ำแลกเปลี่ยน (สังคมนิยม) เรื่ องนีจ้ ะแก้ ได้ • ดูเหมือนว่าในระยะยาวการลดชัว่ โมงการทำางานจะเป็ นประโยชน์ต่อนายทุน เพราะทำาให้ ลกู จ้ างพัฒนา แต่ใน บริ บทของการแข่งขันระหว่างนายทุนกันเองเพื่ อกำา ไร นายทุนจะยอมลดชั่วโมงการทำา งานต่อเมื่อมีการต่อสู้ กดดันของกรรมาชีพผ่านการกดดันรัฐให้ เข้ ามาจัดการ เพื่อให้ นายทุนทุกคนใช้ มาตรฐานเดียวกัน 7

“ในกำรปั่ นหุ้นเล่ นหุ้นทุกครั ง้ ทุกคนรู้ดีว่ำฟองสบู่จะแตกในที่สุด เรื่ องนี ้คล้ ายปั ญหาโลกร้ อน การแก้ ปัญหานี ้น่าจะเป็ นประโยชน์ต่อนายทุนด้ วย แต่นายทุนไม่ยอมทำาอะไรเพราะมัวแต่แข่งกันเอง ต้ องมี อำานาจอื่นในสังคมมากกดดัน 7

10


แต่ ทุกคนภวนำว่ ำจะแตกหลังจำกที่ตนเองขำยหุ้น ได้ กำำ ไร และถอนทุนไปแล้ ว” “สัญญำกำรจ้ ำงงำนระหว่ ำงกรรมำชีพและนำยทุน ดูเหมือนว่ ำเป็ นสัญญำระหว่ ำงคนอิสระที่เท่ ำเทียมกันสองฝ่ ำย ในเงื่อนไขควำมสมัครใจ แต่ พอตกลงกันเรี ยบร้ อยไปแล้ ว กรรมำชีพพบว่ ำตนเองถูกบังคับให้ ขำยพลังกำรทำำงำนตำมเวลำที่นำยทุนกำำหนดและบังคับ”

บทที่ 11: กำำเนิดมูลค่ ำส่ วนเกินของสังคม

• ในระบบทุนนิยม มีแนวโน้ มจะลดคนงาน แต่จะชดเชยการลดลงของมูลค่าส่วนเกินที่จะเกิด ด้ วยการเพิ่มอัตรา การขูดรี ดกรรมาชีพ อย่างไรก็ตามการเพิ่มอัตราการขูดรี ดโดยไม่มีที่สิ ้นสุดทำาไม่ได้ เช่นการเพิ่มชัว่ โมงการทำางาน ต่อวันมีขอบเขตที่เกินเลยไม่ได้ เป็ นต้ น • นายทุนน้ อยเป็ น “กึ่งนายทุน กึ่งกรรมาชีพ” เพื่อเปลี่ยนฐานะ(ในเชิงคุณภาพ) เขาต้ องเพิ่มปริ มาณการขูดรี ดให้ เพียงพอที่จะ 1. อยูอ่ ย่างสบายกว่าคนงาน และ 2. มีกำาไรเพื่อลงทุนต่อ • การเป็ นเจ้ าของปั จจัยการผลิต เท่ากับการเป็ นเจ้ าของการทำางานของกรรมาชีพ • ปั จจัยการผลิต แทนที่จะเป็ นเครื่องมือของผู้ทำางาน มันกลายเป็ น “นาย” เหนือชีวิตเขา เพราะปั จจัยการผลิตเป็ น สิ่งที่ “ดูด” การทำางานของกรรมาชีพไปเพื่อสร้ างผลผลิต

ภำคที่ 4 อัตรำและปริมำณมูลค่ ำส่ วนเกิน บทที่ 12: กำรเพิ่มควำมเข้ มข้ นของกำรขูดรีด

1. ถ้ านายทุนขยายเวลาทำางาน (โดยอย่างอื่นไม่เปลี่ยน) ถือว่าขยายปริ มาณมูลค่าส่วนเกิน 2. ถ้ านายทุนพัฒนาเทคโนโลจีและประสิทธิภาพการผลิต เขาจะ • ขยายความเข้ มข้ นของการขูดรี ดมูลค่าส่วนเกินจากแรงงาน • ลดเวลาการทำา งานที่จำา เป็ นสำา หรั บการเลี ้ยงชีพกรรมาชี พ คือลดค่าจ้ างแรงงานได้ และเพิ่ม มูลค่าส่วนเกิน (เพราะสินค้ าบริ โภคของคนงานถูกลง) แต่ถ้าดูภาพรวมของสังคม... 3. การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตจะแพร่กระจายไปสูน่ ายทุนอื่น เนื่องจากมีการแข่งขัน 4. เมื่อขยายประสิทธิภาพการผลิตไปทัว่ จะมีการลดค่าครองชีพลงทังสั ้ งคม (ลดเวลาที่กรรมาชีพต้ องผลิตมูลค่า 11


เพื่อเลี ้ยงชีพ) ซึง่ เปิ ดทางให้ ขดู รีดแรงงานมากขึ ้น8 นี่คือสาเหตุที่นายทุนถูกกดดันจากการแข่งขันให้ พฒ ั นาเทคโนโลจีและประสิทธิภาพการผลิตเสมอ คือมันเพิ่มมูลค่าส่วน เกิน นายทุนไม่สนใจราคาสินค้ าเท่าไร เพราะไม่ได้ กอบโกยกำาไรจากการ “ซื ้อถูกขายแพง”

บทที่ 13: กำรร่ วมมือกัน

ระบบทุนนิยมพัฒนาในขันตอนดั ้ งต่อไปนี ้ ในลักษณะปริ มาณสูค่ ณ ุ ภาพ 1. การกำาเนิดกรรมาชีพที่แยกออกจากปั จจัยการผลิต และต้ องขายพลังการทำางานให้ นายทุน 2. การขยายจำานวนลูกจ้ างและมูลค่าส่วนเกิน เพื่อให้ นายทุนเลิกทำางานการผลิตเองเหมือนที่เคยต้ องทำาเมื่อเป็ น นายทุนน้ อย 3. การขยายจำานวนลูกจ้ าง จนมีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ซึง่ อาศัยการมีนายทุนที่มี “ทุนหนาขึ ้น” การขยายกิจการให้ ใหญ่โต ประหยัดค่าใช้ จ่ายหลายอย่าง เช่นค่าเช่า ค่าโรงงาน และเปลี่ยนคุณภาพการทำา งานด้ วย เพราะสามารถทำางานที่ซบั ซ้ อนมากขึ ้น เร็วขึ ้นอีกด้ วย ผลคือการเพิ่มมูลค่าส่วนเกิน (แต่ดผู ลการแบ่งงานกันทำาในบทต่อไป) “เมื่อแรงงำนร่ วมมือกันทำำงำน เขำจะปลดควำมเป็ นปั จเจกออกไป และพัฒนำควำมสำมำรถของมนุษย์ ” และ • ควำมขัดแย้ งจำกกำรกบฏของแรงงำนที่เป็ นกลุ่ม จะเพิ่มในลักษณะคุณภำพอีกด้ วย • นายทุนต้ องจ้ างแรงงานพิเศษมาเป็ น “หัวหน้ างาน” สรุ ปแล้ ว.... ระบบทุนนิยมพัฒนำกำรทำำงำนให้ เป็ นกระบวนกำรของสังคม แทนกระบวนกำรปั จเจก ผ่ ำนกำร พัฒนำประสิทธิภำพกำรผลิตและกำรขูดรีด

บทที่ 14: กำรแบ่ งงำนกันทำำในระบบกำรผลิต (ยุคริเริ่มอุตสำหกรรม)

ก่อนปี ค.ศ. 1770 มีการเปลี่ยนแปลงดังนี ้ 1. รวบรวมช่างฝี มือประเภทต่างๆ ไว้ ในโรงงานเดียวกัน เช่นเพื่อสร้ างและประกอบส่วนต่างๆ ของรถม้ าเป็ นต้ น 2. มีการรวบรวมช่างฝี มือที่ทำางานประเภทเดียวกันไว้ ในโรงงาน แล้ วแยกหน้ าที่ของแต่ละคนให้ ทำางานอย่างเดียว อย่างซ้ำ าซาก 8

นายทุนในประเทศพัฒนาขูดรี ดมูลค่าจากกรรมาชีพในอัตราสูงกว่าในประเทศด้ อยพัฒนา

12


ทังนี ้ ้เพื่อประหยัดเวลาทำางานและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต ในที่สดุ ก่อให้ เกิดการแบ่งแยกคนงานระหว่าง 1.คนงานที่ใช้ ฝีมือ กับ 2.คนงานที่ไม่ต้องใช้ ฝีมือ “กำรเปลี่ยนคนงำนปั จเจก เป็ นคนงำนที่ต้องร่ วมมือกันในโรงงำน เป็ นกำรสร้ ำงเครื่ องจักรจำกคน” • ในด้ านการผลิตมูลค่า คนงานฝี มือสูง มี “พลังการทำางาน” ที่เข้ มข้ นกว่าคนที่ไม่มีฝีมือ (ค่าการฝึ กฝนเป็ นองค์ ประกอบหนึง่ ) และความแตกต่างนี ้ถูกสะท้ อนในอัตราค่าจ้ างที่ตา่ งกัน ผลคือ นายทุนทังระบบ ้ พยายาม ลดการศึกษาฝึ กฝนฝี มือ ของแรงงานส่วนที่ไม่ต้องใช้ ฝีมือ9 • อดัม สมิท เขียนว่าระบบการผลิตแบ่งงานกันทำา ที่ทำาให้ งานเป็ นเรื่ องซ้ำ าซาก ทำาให้ คนงานหมดสภาพทางปั ญญา • มาร์ คซ์ ต่อยอดว่า... ระบบการผลิตแบ่งงานกันทำา ลดมนุษย์ลงจนเหลือแค่เศษของความเป็ นคน กลายเป็ นสิ่ง พ่วงของเครื่ องจักร กลายเป็ นคนไม่มีอำานาจที่ถูกครอบงำาโดยระบบ นี่คือ “โรคแห่ งระบบกำรผลิต” แต่ ในมุม กลับมันพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต และประสิทธิภาพการขูดรี ด ดังนันเครื ้ ่ องจักรเป็ นสิ่งที่ทำาลายอำานาจของ ช่างฝี มือเดิม • ก่อนที่ทนุ นิยมจะเกิดได้ ต้ องมีการแลกเปลี่ยนสินค้ าในระบบพาณิชย์ • ก่อนที่ระบบการผลิตแบบแบ่งงานกันทำาจะเกิดได้ ต้ องมีการแบ่งงานกันทำาระดับหนึ่งในสังคมอยู่แล้ ว แต่พอมัน เกิดขึ ้นในระบบทุนนิยม มันจะสะท้ อนกลับลงไปในสังคม ให้ มีการแบ่งงานกันทำาอย่างเป็ นระบบ “พวกเสรีนิยมคัดค้ ำนกำรควบคุมและกำรวำงแผนในสังคม โดยอ้ ำงว่ ำทำำลำยเสรี ภำพของปั จเจก แต่ พวกนีส้ นับสนุนเผด็จกำรในโรงงำน” • เมื่อมีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ผ่านการแบ่งงานกันทำา ผลคือแรงงานแต่ละคนจะใช้ วตั ถุดิบและเครื่ องจักร มากขึ ้น ซึ่งเพิ่มสัดส่ วน “ทุนคงที่”

บทที่ 15: เครื่องจักรในระบบอุตสำหกรรมขนำดใหญ่

“เครื่องจักร” ต่างจาก “เครื่องมือ” เพราะเครื่องจักรประกอบไปด้ วยเครื่ องมือหลายชนิดที่ทำางานพร้ อมกัน ระบบการผลิตแบบอุตสาหกรรมใหญ่ใช้ เครื่องจักรอย่างต่อเนื่องเป็ นระบบในลักษณะที่เพิ่มประสิทธิภาพ ลดความสำาคัญ ดังนันชนชั ้ นปกครองในระบบทุ ้ นนิยมสนับสนุนการศึกษาระดับสูงให้ บางคนเท่านัน้ ที่เหลือให้ การศึกษาพืน้ ฐาน นี่คือที่มาของการสอบ นักเรี ยน และการแบ่งประเภทโรงเรี ยนและวิทยาลัย(ใจ) 9

13


ของพลังกล้ ามเนื ้อ และถือได้ ว่าเป็ นการรวบรวมเครื่ องมือต่างๆ มาทำางานแบบรวมหมู่ เหมือนกับที่รวบรวมคนมาทำางาน รวมหมู่ • เป้าหมายในการใช้ เครื่องจักร ในการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตคือ 1. ทำาให้ สินค้ าถูกลงเพราะลดปริมาณแรงงานที่ใช้ สร้ างสินค้ าแต่ละชิ ้น 2. เพิ่มมูลค่าส่วนเกินต่อหัวคนงาน โดยลดชัว่ โมงการทำางานที่ใช้ ในการผลิตมูลค่ายังชีพพื ้นฐาน และ เพิ่มสัดส่วนเวลาที่คนงานทำางานฟรีให้ นายทุน การวิวฒ ั นาการของสังคมยุโรปต.ต. 1. จากหัตถกรรม  อุตสาหกรรมเล็ก  อุตสาหกรรมใหญ่ 2. จากเครื่ องมือ  เครื่องจักร  ระบบเครื่องจักร ต้ องอาศัยการพัฒนาทัง้ คน และเทคโนโลจี ของทังสั ้ งคม (ฐานวัตถุ) ซึง่ นำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงในรู ปแบบการผลิตของ สังคม (โครงสร้ างส่วนบน) • เครื่ องจักรไม่ได้ สร้ างมูลค่า • มูลค่าของเครื่องจักรคือปริ มาณแรงงานในอดีตที่ใช้ สร้ างมัน • มูลค่าสินค้ าที่ใช้ เครื่องจักรใหญ่ = ปริมาณแรงงานที่มีชีวิต + สัดส่วนมูลค่าเครื่ องจักรที่คอ่ ยๆละลายไปใน ผลผลิตตามอายุการทำางานของเครื่ องจักร • ถ้ าเครื่ องจักรใช้ ทดแทนคนงาน หรื อใช้ ผลิตสินค้ าเร็ วขึ ้น ผลคือปริ มาณแรงงานที่มีชีวิตในสินค้ าแต่ละชิ ้นนันลด ้ ลง และมูลค่าเครื่ องจักรเพิ่มขึ ้นในเชิงเปรี ยบเทียบ (ทุนคงที่เพิ่มเร็ วกว่ ำทุนแปรผัน ) และมูลค่าสินค้ าทังหมด ้ ลดลง • ถ้ าค่าซื ้อเครื่องจักร สูงกว่า ค่าจ้ างแรงงานที่ถกู ทดแทนและตัดออกไป มันไม่ค้ มุ ในระยะสัน้ ผลของเครื่ องจักรต่อคนงาน 1. เนื่องจากลดความสำาคัญของพลังกล้ ามเนื ้อ จ้ างเด็กและสตรี ได้ นำาไปสู่การทำาลายชีวิตเด็ก เด็กถูกขาย และแม่ ไม่มีเวลาดูแลเด็กเล็ก10 2. ก่อให้ เกิดแรงกดดันให้ ยืดชัว่ โมงการทำางานต่อวันเพราะ • จะได้ ใช้ เครื่องจักรให้ ค้ มุ กับมูลค่าที่ใช้ ซื ้อในเวลาที่น้อยที่สดุ • เพื่อเร่งผลิตสินค้ าก่อนที่เครื่องจักรรุ่นใหม่จะวางตลาด หรื อคูแ่ ข่งจะซื ้อเครื่ องจักรประเภทเดียวกัน

10

อย่างที่เห็นในช่วงปฏิวตั ิอตุ สาหกรรมใหม่ๆในอังกฤษและยุโรป(ใจ)

14


“ในระบบทุนนิยมเครื่องจักรลดชั่วโมงกำรทำำงำนของมนุษย์ ได้ แต่ กลับถูกใช้ เพื่อเพิ่มกำรทำำงำนของคนที่มีงำนทำำ พร้ อมกับบังคับให้ คนงำนอีกส่ วนตกงำน” ความขัดแย้ งระหว่างการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต กับ อัตรากำาไร 1. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของคนงาน เพิ่มปริ มาณมูลค่าส่วนเกิน แต่ 2. ลดสัดส่วนการจ้ างคน เมื่อเทียบกับการลงทุนทังหมด ้ คือเพิ่มสัดส่วนทุนคงที่ ซึง่ ลดอัตรากำาไร 11 ดังนัน้ นายทุนพยายามเพิ่มชั่วโมงการทำา งานต่อวันของคนงานที่ ยังมีงานทำา และเพิ่มคนตกงาน(แรงงานส่วนเกิ น ) ที่ พร้ อมจะยอมจำานนต่อเงื่อนไขการจ้ างงานของนายทุน (เช่นในกรณีที่กดค่าแรงลง) การเพิ่มความเข้ มข้ นของแรงงาน เมื่อการกบฏของกรรมาชีพบังคับให้ มีการออกกฎหมายโดยรัฐเพื่อจำากัดชัว่ โมงการทำางาน นายทุนในระบบทุนนิยมจะหัน มาเพิ่มความเข้ มข้ นของการทำางานโดย 1. การเร่งความเร็วของเครื่องจักร 2. การพัฒนาประสิทธิภาพการทำางาน ทังหมดเพื ้ ่อ “ดูด” พลังการทำางานของกรรมาชีพได้ ดีขึ ้นในเวลาจำากัด • กฎหมายลดชัว่ โมงการทำางานที่เกิดจากการต่อสู้ของกรรมาชีพ ตอนแรกถูกคัดค้ านโดยนายทุนที่อ้างว่าจะทำาให้ ธุรกิจเขาถูกทำาลาย แต่ไม่เป็ นจริงตามที่เขาอ้ างเลย มันกลับกระตุ้นให้ นายทุนใช้ เครื่ องจักรเพื่อขูดรี ดแรงงานเข้ ม ข้ นมากขึ ้น วิภาษวิธีของการพัฒนาเครื่องจักร 1. ทำาให้ คนงานใช้ ปริมาณแรงงานเดิมในการเพิ่มผลผลิต ซึง่ ทำาให้ มลู ค่าผลผลิตลดลง แต่ 2. เพิ่มความเข้ มข้ นของการทำางานในชัว่ เวลาหนึง่ ซึง่ ถือว่าเพิ่มปริ มาณแรงงานในการสร้ างผลผลิต

โรงงาน “กำรทำำงำนในโรงงำน ทำำลำยสภำพจิตใจและลดควำมสำำคัญของร่ ำงกำยและกล้ ำมเนือ้ มันขโมยเสรีภำพทุกเม็ดทุกหน่ วยทัง้ กำยและสมอง 11

ดูรายละเอียดในบทต่อๆ ไป

15


ในกำรลดภำระแรงงำน เครื่ องจักรแปรตัวไปเป็ นเครื่ องทรมำน เพรำะเครื่องจักรไม่ ได้ ทำำ ให้ คนงำนมีเสรี ภำพ มันทำำให้ กำรทำำงำนไร้ เนือ้ หำที่มีค่ำ” และเครื่ องจักร ซึง่ เป็ นผลของการทำางานของคนในอดีต กลายเป็ นเจ้ านายแรงงานที่มีชีวิต คนงานกลายเป็ นแค่เครื่ องพ่วง • มันเป็ นระบบที่เปลี่ยนแปลงล้ มระบบการทำางานเก่าและระบบช่างฝี มือ ล้ มระบบการแบ่งงานกันทำาตามความ ถนัด เพื่อสร้ างการแบ่งงานกันทำาในสิ่งซ้ำ าซาก • การลดฝี มือการทำางาน อันมาจากเครื่ องจักร ประหยัดการฝึ กฝี มือคนงาน หรื อความจำา เป็ นในการศึกษา และ แบ่งคนงานออกเป็ นสองชัน้ คือคนที่ต้องใช้ ฝีมือ (นายสิบ) กับคนงานที่ไม่ต้องใช้ ฝีมือ (พลทหารธรรมดา) • ภายในโรงงาน นายทุนคือเผด็จการเบ็ดเสร็ จที่ไม่ต้องอ้ างถึงความชอบธรรมของประชาธิปไตยหรื อการมีสว่ นร่วม ในการตัดสินใจอะไรเลย • โรงงานคือการปล้ นความเป็ นมนุษย์อย่างเป็ นระบบ ปล้ นพื ้นที่ แสงแดด อากาศบริ สทุ ธ์ และชีวิตที่ปลอดภัย นอกจากนี ้ มาร์ คซ์ พูดถึงระบบการเหมาช่วง และระบบการรับงานไปทำาที่บ้านและการที่ครอบครัวเกษตรกรรับงานจาก โรงงานไปทำาที่บ้าน สรุปแล้ ว เครื่ องจักร.... • เพิ่มการบริ โภคของคนรวย • เพิ่มประสิทธิภาพการทำางาน ซึง่ ทำาให้ สงั คมมีคนที่ไม่ได้ ผลิตโดยตรงมากขึ ้นได้ • ขยาย “โลกาภิวตั น์” , เพิ่มความไร้ เสถียรภาพ และวิกฤตเศรษฐกิจ สำาหรับคนงาน • เครื่ องจักรทำาลายอาชีพคนทอผ้ าในอังกฤษและอินเดีย • นายทุนใช้ เครื่องจักรใหม่ไว้ ขคู่ นงานให้ เกรงกลัวไม่กล้ านัดหยุดงาน เพราะกลัวจะโดนทดแทนด้ วยเครื่ องจักร การต่อสู้ของกรรมาชีพ ตอนแรกกรรมาชีพมองว่าแค่เครื่ องจักรเท่านัน้ ที่เป็ นศัตรู ของเขา เพราะทำา ให้ เขาตกงาน แต่ต่อมาเขาเข้ าใจว่ามันเป็ น ปั ญหาของระบบทุนนิยมทังระบบ ้ สุขภาพและการศึกษาที่กำาหนดในกฎหมายโรงงานของอังกฤษ • ระบบโรงงานมีผลขัดแย้ งในตัวเอง เกี่ยวกับการศึกษาและการฝึ กฝี มือ คือ 1. ทำาลายแรงงานฝี มือเก่าผ่านการนำาเครื่ องจักรเข้ ามา พร้ อมกับทำาลายความมัน่ คงในชีวิตและการพัก ผ่อนของคนงาน 16


2. ระบบโรงงานต้ องการแรงงานที่มีความสามารถหลากหลายและปรับตัวกับสภาพการผลิต จึงต้ องมีการ สร้ างโรงเรียนอาชีวะ สถานการณ์ดงั กล่าวไม่คงถาวรที่เพราะมีการปฏิวตั ิระบบการผลิตอย่างต่อเนื่อง มาร์ คซ์ เชื่อว่าในระบบสังคมนิยม ภายใต้ การปกครองตนเองของกรรมาชี พ โรงเรี ยนจะฝึ กทัง้ ทฤษฏีและฝี มือในการ ปฏิบตั ิงานพร้ อมกัน ไม่ใช่แค่สอนให้ คนท่องจำาทฤษฏีเท่านัน้ • พอมีกฎหมายควบคุมโรงงาน นายทุนก็เรี ยกร้ องให้ ชดเชยผลประโยชน์ที่เสียไป และเรี ยกร้ องให้ ใช้ กติการ่ วมกัน ทังประเทศเพื ้ ่อไม่ให้ คแู่ ข่งคนอื่นได้ เปรียบ • ระบบโรงงำนรวมศูนย์ กำรผลิต และรวมศูนย์ กำรต่ อสู้ของกรรมำชีพต่ อทุนนิยม ในชนบท การนำาระบบอุตสาหกรรมเข้ ามา • ทำาลายเกษตรกรรายย่อย ทำาให้ เขากลายเป็ นกรรมาชีพ ทำาให้ ชนบทมีลกั ษณะเหมือนเมืองมากขึ ้น • ทำาลายความสัมพันธ์เก่าแก่ระหว่าง คนกับดิน ทำาลายการหมุนเวียนของสารอินทรี ย์ และทำาให้ คณ ุ ภาพดินเสื่อม พร้ อมกับทำาลายภูมิปัญญาเกษตรกร • ระบบเกษตรแบบทุนนิยม ปล้ นทัง้ มนุ ษย์ ผ้ ูเป็ นกรรมำชีพ และปล้ นควำมอุ ดมสมบูรณ์ จำกดิน คื อ ทำำลำยแหล่ งผลิตมูลค่ ำ ทัง้ คนและทรัพยำกรธรรมชำติ “กำรที่นำยทุนคัดค้ ำนกฎหมำยที่ควบคุมโรงงำนอย่ ำงถึงที่สุด พิสูจน์ ว่ำพวกเสรี นิยมโกหกเวลำเขำเสนอว่ ำ ในสังคมที่มีกำรแข่ งขันขัดแย้ งระหว่ ำงกลุ่มผลประโยชน์ ในรู ปแบบชนชัน้ กำรกอบโกยผลประโยชน์ ส่วนตน แบบตัวใครตัวมัน จะสร้ ำงประโยชน์ ให้ ทงั ้ สังคมได้ ”

ภำคที่ 5 กำรผลิตมูลค่ ำส่ วนเกินสุทธิและเปรียบเทียบ บทที่ 16: มูลค่ ำส่ วนเกิน ในรูปแบบ “สุทธิ” กับ “เปรียบเทียบ”

• กรรมาชีพในแง่ของผู้ผลิตในระบบทุนนิยม คือผู้ผลิตมูลค่าส่วนเกิน • ครูผลิตมูลค่าส่วนเกินให้ เจ้ าของโรงเรียนเอกชน เหมือนคนงานในโรงงานไส้ กรอกผลิตมูลค่าส่วนเกิน • การขโมยมูลค่าส่วนเกินโดยคนคนหนึง่ จากอีกคน อาศัยเงื่อนไขว่าจะต้ องมีการทำางานเป็ นระบบแบบนี ้ทังสั ้ งคม 17


• สิ่งก่อสร้ างมหัศจรรย์ในอดีต เช่นบิรามิดในอียิปต์ ต้ องอาศัยสังคมที่การทำางานเพื่อยังชีพใช้ เวลาน้ อย และคน สามารถถูกบังคับให้ ก่อสร้ างในเวลา “ส่วนเกิน” ได้ • ปั ญหาของนักเศรษฐศาสตร์ การเมืองกระแสหลักของฝ่ ายทุน อย่าง David Ricardo หรื อ John Stuart Mill คือ เขากลัวไม่กล้ าและไม่เคยตังคำ ้ า ถามเพื่อศึกษาเรื่ อง “ต้ นกำา เนิดมูลค่าส่วนเกิน” คนอย่าง Ricardo ดีกว่าพวก “พาณิชย์นิยม” ที่เน้ นว่ามูลค่ามาจากการแลกเปลี่ยน เพราะ Ricardo มองว่ามูลค่ามาจากการทำางาน แต่ปัญหา ของเขาคือเขาเริ่ มจากสมมุติฐานว่าทุนนิยมคือ “ธรรมชาติ” Mill ยังมองอีกว่ากรรมาชีพคือ “นายทุนชนิดหนึ่ง” เพราะ “ลงทุนแรงงาน”!! “ในพืน้ ที่รำบ เนินเล็กๆ จะดูเหมือนเป็ นภูเขำลูกใหญ่ พืน้ ที่รำบเรียบอันไร้ ปัญญำของวิชำกำรฝ่ ำยทุน ทำำให้ นักคิดสำมัญดูย่ งิ ใหญ่ ”

บทที่ 17: ควำมสัมพันธ์ ระหว่ ำงค่ ำแรงทำำงำน กับมูลค่ ำส่ วนเกิน

ค่าแรงทำางาน = ปริ มาณแรงงานจำาเป็ นที่คนงานต้ องทำาเพื่ออยูร่ อดและผลิตซ้ำ าคนงานรุ่นต่อไป ศึกษากรณีตา่ งๆ 1. กรณีประสิทธิภาพการผลิตเพิ่ม -ถ้ าวันทำางานไม่เปลี่ยนแปลง จะผลิตมูลค่าเท่าเดิม แม้ วา่ ประสิทธิภาพการผลิต จะพัฒนาหรือไม่ -ถ้ าความเข้ มข้ นของการทำางานยังไม่เปลี่ยน • เพียงแต่ปริ มาณสินค้ าที่ผลิตจะเพิ่มขึ ้น และมูลค่าแรงงานในสินค้ าจะกระจายไปในจำานวนสินค้ า มากขึ ้น สินค้ าจึงมีราคาถูกลง • การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มีแนวโน้ มที่จะทำา ให้ เพิ่มปริ มาณมูลค่าส่วนเกินที่นายทุนเอาไป เพราะมันจะลดปริ มาณแรงงานจำาเป็ นเพื่อเลี ้ยงชีพฯลฯ เนื่องจากสินค้ าบริ โภคของคนงานถูกลง ในขณะที่ไม่เพิ่มค่าแรง • มูลค่าส่วนเกินที่นายทุนเอาไป เปลี่ยนไปในทิศทางตรงกันข้ ามกับ ปริ มาณแรงงานจำา เป็ นฯ (ถ้ า ค่าแรงลด มูลค่าส่วนเกินเพิ่ม ) แต่ในรู ปธรรมเรื่ องนี ้ขึ ้นอยู่กับอำานาจต่อรองระหว่างกรรมาชีพกับ นายทุนด้ วย • ถ้ าเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต นายทุนสามารถเพิ่มมูลค่าส่วนเกิน และกรรมาชีพอาจเพิ่มค่าแรงได้ พร้ อมกัน แต่จะเป็ นสัดส่วนที่ตา่ งกัน นายทุนมักได้ เพิ่มในสัดส่วนสูงกว่าแรงงาน 12 • อัต รากำา ไร ไม่ เ หมื อ น อัต รามูล ค่ า ส่ ว นเกิ น -ริ ค าโด (David Ricardo) ไม่ เ ข้ าใจตรงนี ้ เพราะอัตรำกำำ ไรคือ กำำ ไรหรื อมูลค่ ำส่ วนเกิน / ทุนที่ใช้ ในกำรลงทุนทัง้ หมด และ อัตรำมูลค่ ำส่ วนเกินคือ กำำไรหรื อมูลค่ ำส่ วนเกิน / ทุนแปรผัน (จ้ ำงงำน) 12

ดังนันกรรมาชี ้ พในประเทศพัฒนาจะมีคา่ จ้ างสูงกว่ากรรมาชีพในประเทศด้ อยพัฒนา แต่ถกู ขูดรี ดมูลค่าส่วนเกินมากกว่า (ใจ)

18


2. กรณีการเพิ่มความเข้ มข้ นของการทำางาน จะไม่ได้ ลดราคาสินค้ า ทังๆ ้ ที่ผลิตในปริ มาณมากขึ ้น เพราะปริ มาณ แรงงานที่ใช้ ในการผลิตสินค้ าแต่ละชิ ้นจะมากขึ ้น(เพราะทำางานเข้ มข้ นขึ ้น) และมันไม่ลดปริ มาณแรงงานจำาเป็ น ในการเลี ้ยงชีพฯอีกด้ วย • ในกรณี นีอ้ าจมีการเพิ่มค่าจ้ างให้ กรรมาชี พ แต่อาจไม่ค้ ุมกับ “ค่าสึกหรอ” “ค่าเครี ยด” ที่ เกิ ดกับ ร่างกายคนงาน ซึง่ มีผลในการผลิตซ้ำ าคนงานในอนาคต ดังนันพอบวกลบคู ้ ณหาญแล้ ว อาจเป็ นการ จ่ายค่าจ้ างต่าำ กว่าปริมาณแรงงานจำาเป็ นในการเลี ้ยงชีพฯ 3. กรณีขยายชัว่ โมงการทำางาน จะมีผลให้ ผลิตมูลค่ามากขึ ้น อาจเพิ่มทังค่ ้ าจ้ างและปริ มาณมูลค่าส่วนเกิน แต่ใน สัดส่วนที่ตา่ งกัน (แล้ วแต่อำานาจต่อรองระหว่างกรรมาชีพและนายทุน) • อาจทำา ให้ ค่าจ้ า งตกต่าำ กว่า ปริ มาณแรงงานจำา เป็ นในการเลีย้ งชี พฯ ถ้ าทำา ให้ ร่างกายกรรมาชี พ สึกหรอ 4. ถ้ าลดชัว่ โมงการทำางาน นายทุนจะกดค่าแรงจนต่าำ กว่าปริ มาณแรงงานจำาเป็ นในการเลี ้ยงชีพฯ หรื อ นายทุนอาจเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ซึง่ อันหลังเป็ นกรณีสว่ นใหญ่ในโลกจริ ง สังคมนิยม 1. การยกเลิกทุนนิยมจะทำาให้ ลดชัว่ โมงการทำางานให้ ใกล้ เคียงที่สดุ กับปริ มาณแรงงานจำาเป็ นในการเลี ้ยงชีพฯ และ ส่วนเกินที่เราผลิต จะนำามาใช้ โดยสังคมร่วมกันเพื่อลงทุนต่อและพัฒนาสังคม 2. จะมีการเพิ่มเวลาสำาหรับกิจกรรมทางสังคมและการพัฒนาปั ญญาของกรรมาชีพอย่างเสรี

บทที่ 18: สูตรของอัตรำมูลค่ ำส่ วนเกิน อัตรามูลค่าส่วนเกิน = มูลค่าส่วนเกิน / ปริมาณแรงงานจำาเป็ นในการเลี ้ยงชีพฯ แต่นกั เศรษฐศาสตร์ การเมืองฝ่ ายทุนพยายามปกปิ ดการขูดรี ดแรงงานที่เกิดในทุนนิยม โดยเสนอว่าแรงงานกับทุน “ร่ วม กันลงทุน” และ “ร่วมกันได้ คา่ ตอบแทน” โดยเสนอสูตร อัตรามูลค่าส่วนเกิน = มูลค่าส่วนเกิน / มูลค่าสินค้ า ทำาให้ มองไม่เห็นว่า แรงงานฟรีของกรรมาชีพที่ถกู ขโมยไปอยูภ่ ายใต้ การควบคุมของนายทุน

ภำคที่ 6, บทที่ 19-22: ค่ ำจ้ ำง 19


ภาพผิวเผินของสภาพการจ้ างทำา ให้ เราคิดว่า “ค่าจ้ าง” คือ “ค่าซื ้อปริ มาณแรงงาน” ในขณะเดียวกันมีการพูดโดยนัก เศรษฐศาสตร์ บางคนว่า ค่าจ้ างในตลาดแรงงานถูกกำาหนดจากความสัมพันธ์ระหว่างความต้ องการแรงงาน กับจำานวน คนงานที่กำาลังหางานทำา และนักเศรษฐศาสตร์ การเมืองฝ่ ายทุนเช่น David Ricardo และ Adam Smith เสนอว่าเราไม่ สามารถวิเคราะห์เรื่ องค่าจ้ างลึกกว่านี ้ได้ เพราะเขาไม่ยอมตังคำ ้ าถามกับปรากฏการณ์ผิวเผิน แต่ ในความเป็ นจริ ง • กรรมาชีพขาย “พลังการทำางาน” และมันเป็ นสินค้ ำพิเศษเพราะมันคือสิ่งที่สร้ ำงมูลค่ ำได้ • ตลาดแรงงานทำาให้ ค่าจ้ างขึ ้นลงได้ จากจุดเฉลี่ย แล้ วแต่ว่าขาดแรงงานหรื อมีแรงงานเกิน แต่ตลาด แรงงานไม่ได้ กำาหนดจุดเฉลี่ยดังกล่าว • จุดเฉลี่ยของระดับค่าจ้ างคือ มูลค่ ำพืน้ ฐำนในกำรดำำรงชีพและกำรผลิตซ้ำ ำแรงงำน มาตรฐานความยุติธรรมทางเศรษฐกิจของทุนนิยม และภาพของ “แรงงานเสรี ” • อาศัยภาพลวงตาว่า ค่าจ้ าง = ค่าพลังการทำางานทังหมด ้ ที่ถกู ซื ้อ • หรื อนิยายว่า คนงานได้ คา่ ตอบแทนสำาหรับการทำางานทังหมดที ้ ่เขาทำา • ในขณะที่ความจริงคือ คนงำนได้ ค่ำตอบแทนกำรทำำงำนส่ วนหนึ่ง และอีกส่ วนเขำทำำงำนฟรี ให้ นำยทุน “ความสัมพันธ์ทางทรัพย์สิน” ปกปิ ดความจริง • ในระบบทาส มีการสร้ างภาพว่าทาสถูกบังคับให้ ทำางานให้ นายจ้ าง 100% แต่สว่ นหนึง่ ของงานทาสก็ต้องทำาเพื่อ เลี ้ยงชีพ ถ้ าทาสจะไม่ตาย • ในทุนนิยมมีการสร้ างภาพว่ากรรมาชีพทำางานโดยได้ คา่ ตอบแทน 100% ค่าจ้ างรายวัน • คือค่าจ้ าง/หน่วยชัว่ โมง • ทุกวัน หรื อทุกชัว่ โมง กรรมาชีพถูกจ้ างให้ ทำางานสองส่วนคือ 1. เพื่อเลี ้ยงชีพตนเอง 2. เพื่อทำางานฟรีให้ นายทุน • เวลาเพิ่มชัว่ โมงการทำางานแบบจ่าย “โอที” อาจเพิ่มสัดส่วนในการเลี ้ยงชีพต่อสัดส่วนที่ทำาฟรี เพราะอัตราค่าจ้ าง ต่อชัว่ โมงเพิ่ม แต่บอ่ ยครัง้ นายทุนจะกดค่าจ้ างปกติ เพื่อบังคับให้ คนงานทำาโอที • สถานที่ทำางานใดมีชวั่ โมงการทำางานสูง อัตราค่าจ้ างต่อชัว่ โมงมีแนวโน้ มว่าจะต่าำ • การแข่งขันระหว่างกรรมาชีพ นำาไปสูก่ ารกดค่าจ้ าง 20


• การแข่งขันระหว่างนายทุน นำาไปสูก่ ารกดราคาสินค้ า (โดยนายทุนเสียสละมูลค่าบางส่วนเพื่อลดราคา จากส่วน ที่แรงงานทำางานให้ ฟรี ) • ผลคือค่าจ้ างโดยทัว่ ไปถูกกดลง ค่าจ้ างแบบเหมาจ่ายตามชิ ้นส่วน • ค่าจ้ างแบบนี ไ้ ม่ต่างจากค่าจ้ างรายวันในลักษณะพื น้ ฐานของมัน ทัง้ ๆที่ ดูเหมือ นต่า งกัน เพราะโดยพืน้ ฐานมัน เป็ นการจ้ างกรรมาชีพให้ ใช้ พลังการทำางานเพื่อเลี ้ยงชีพส่วนหนึง่ และเพื่อทำางานฟรี ให้ นายทุนอีกส่วนหนึง่ • แต่ลกั ษณะพิเศษของการจ้ างแบบเหมาจ่ายคือ มันกดดันให้ คนงานเร่ งการทำางานและเพิ่มคุณภาพผลผลิต โดยไม่ ต้ องมีหวั หน้ างานคอยบังคับ มันเพิ่มการขูดรี ด และเพิ่มการแข่งขันระหว่างคนงาน แต่ในขณะเดียวกันทำาให้ คนงาน “รู้สกึ ” ว่ามี “อิสรภาพ” ที่จะใช้ ฝีมือ และแรงงานของตนเอง ฯลฯ • บ่อยครัง้ ถ้ ามีการเพิ่มประสิทธิภาพการทำางาน ผ่านเครื่ องจักรสมัยใหม่ ซึง่ ทำาให้ ผลิตสินค้ ามากขึ ้นในเวลาจำากัด การ กดค่าแรงเหมาจ่าย หรือการรักษาระดับค่าแรงเหมาจ่ายเหมือนเดิม ทำายาก เพราะคนงานจะสู้ เพราะคนงานรู้ สกึ ว่า “ถูกโกงชัดๆ” ซึง่ แตกต่างกับกรณีคา่ จ้ างรายวัน ถ้ าจ่ายตามเดิมในเวลาทำางานเดิม เพราะคนงานมองว่า “ยุติธรรม” ในระบบโลกาภิวตั น์ ประเทศที่มีประสิทธิภาพการผลิตสูงจะจ่ายค่าจ้ างสูง แต่เมื่อเปรี ยบเทียบสัดส่วนค่าจ้ าง กับ มูลค่าส่วนเกินที่ขดู รี ดไป จะ พบว่าประเทศที่ด้อยพัฒนามีอตั ราการขูดรีดต่าำ กว่า ทังๆ ้ ที่จ่ายค่าจ้ างต่าำ

ภำคที่ 7 กระบวนกำรสะสมทุน นายทุนต้ องแบ่งมูลค่าส่วนเกินกับนายทุนอื่นที่ทำาหน้ าที่แตกต่างกัน เช่น เจ้ าของที่ดิน (ค่าเช่า) นายธนาคาร (ดอกเบี ้ย) และพ่อค้ าแม่ค้า (กำาไรจากการขาย)

บทที่ 23: กำรผลิตซ้ำ ำแบบพืน้ ฐำน ถ้ าจะเข้ าใจลักษณะทุนนิยมต้ องดูภาพรวม ในภาพรวมจะเห็นเงื่อนไขของการสะสมส่วนเกิน ที่ถกู ผลิตซ้ำ าอยูต่ ลอดเวลา • นายทุนเป็ นนายทุนต่อเมื่อเงินเขาถูกแปรเป็ นทุนอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนที่ถกู แปรเป็ นทุนไม่ได้ ถกู บริ โภค • กรรมาชีพได้ รับเงินค่าแรงจากมูลค่าที่มาจากการทำางานของเขาหรื อกรรมาชีพอื่นในอดีต เพราะจ่ายหลังทำางาน เสร็ จไปแล้ ว ความจริงนี ้ถูกปกปิ ด • ทุนที่นายทุนนำามาลงทุนต่อ มาจากการทำางานของกรรมาชีพ ไม่ได้ มาจากนายทุน 21


• ทุน “ดังเดิ ้ ม” แต่แรกของนายทุน อาจมาจากการขยันทำางานของนายทุน13 แต่หลังจากที่มนั ถูกใช้ ไปแล้ วมันหมด ไป ทุนใหม่ที่เพิ่มขึ ้นมา มาจากการขโมยมูลค่าส่วนเกินจากการทำางานของคนอื่น (กรรมาชีพ) • กรรมาชีพจะออกจากวงจรการผลิตในสภาพเดียวกับที่เขาเข้ ามาแต่แรก คือไร้ ปัจจัยการผลิต ถูกใช้ งานอย่าง เดียว • กรรมาชีพผลิตมูลค่าอย่างต่อเนื่องในรูปแบบทุน (เช่นสินค้ า) แต่ทนุ นี ้แปลกแยกจากตัวเขา ทุนนี ้ไม่ใช่สมบัติของ เขา และยิ่งกว่านันมั ้ นกลับมาครอบงำาชีวิตและขูดรี ดเขาอีก • นายทุนต้ องผลิตซ้ำ าการจ้ างงานเสมอ มันเป็ นเงื่อนไขของการดำาเนินงานของทุนนิยม • นายทุนใช้ “ทุน” เพื่อขูดรี ดส่วนเกินจากกรรมาชีพ และในการจ่ายค่าจ้ าง ซึง่ การจ่ายค่าจ้ างนี ้เปิ ดโอกาสให้ เขา ขูดรี ดกรรมาชีพต่อในอนาคต • การปกป้องชนชันกรรมาชี ้ พให้ ดำารงอยู่ต่อไป เป็ นเงื่อนไขของการดำาเนินงานของระบบทุนนิยม ทังๆ ้ ที่นายทุน พยายามกดค่าจ้ างให้ ถึงระดับต่าำ สุดที่จะดำารงชีพคนงานได้ “ทำสโรมันถูกล่ ำมโซ่ ไว้ ไม่ ให้ หนีงำน แต่ กรรมำชีพรั บจ้ ำง มัดตัวไว้ กับนำยทุน ด้ วยเชือกที่มองไม่ เห็น” • การยึดผลผลิตของกรรมาชีพโดยนายทุนอย่างต่อเนื่อง ทำาให้ กรรมาชีพต้ องวิ่งกลับมาขายแรงงานอีกเสมอ • นายทุนต้ องผลิตซ้ำ าสินค้ า มูลค่าส่วนเกิน และควำมสัมพันธ์ ระหว่ ำงนำยทุนกับกรรมำชีพเสมอ

บทที่ 24: กำรแปรมูลค่ ำส่ วนเกินเป็ นทุน

• ถ้ ามูลค่าส่วนเกินที่นายทุนยึดมา จะกลายเป็ นทุนได้ ต้ องมีการใช้ กรรมาชีพ /แรงงานเพิ่มขึ ้น • การสะสมทุนต้ องอาศัยการขยายการผลิตอย่างต่อเนื่อง • ทุนที่นำามาลงทุนจากมูลค่าส่วนเกิน มาจากการทำางานของกรรมาชีพในส่วนที่ไม่ได้ รับค่าจ้ างทังสิ ้ ้น • การอ้ างความเป็ นเจ้ าของ ของมูลค่าส่วนเกิน ที่มาจากการทำางานฟรี ของกรรมาชีพ เป็ นเงื่อนไขของการขยาย การขูดรี ดอย่างต่อเนื่อง -แต่ความสัมพันธ์ระหว่างกรรมาชีพกับนายทุนอันนี ้ถูกปกปิ ด การมีทรัพย์สินของนายทุนจึงกลายเป็ น “สิทธิ์” ที่จะขโมยแรงงานของคนอื่น -สภาพเช่นนี ้เกิดขึ ้นเมื่อกรรมาชีพมี “เสรี ภาพ” ที่จะขาย “พลังการทำางาน” เป็ นสินค้ า Adam Smith, David Ricardo, John Stuart Mill ต่างอ้ างว่ามูลค่าส่วนเกินที่สะสมในที่สดุ ถูกจ่ายเป็ นค่าจ้ างให้ กรรมาชีพ ผ่านค่าจ้ าง และการซื ้อเครื่ องจักรฯลฯ แต่เขา พิสจู น์ไม่ได้ ในรูปธรรม มันเป็ นเพียงข้ ออ้ างเพื่อสร้ างความชอบธรรมกับระบบทุนนิยม 13

หรื ออาจมาจากการปล้ นไพร่ฯลฯ (ใจ)

22


การแบ่งมูลค่าส่วนเกินเป็ น “ทุน” กับ “รายได้ ” ในยุคแรกๆ ของทุนนิยมที่มีแต่นายทุนน้ อย ความคิดกระแสหลักจะให้ ความสำาคัญกับ “การออม” และ “ความมัธยัสถ์ ” เพราะนายทุนต้ องเลือกแบ่งส่วนหนึง่ ของมูลค่าส่วนเกินไว้ ใช้ เอง และอีกส่วนเพื่อการลงทุนต่อ การบริ โภคส่วนเกินเอง ถือ เป็ น “การขโมย” จากทุนที่จะลงทุนต่อ • แต่ความมัธยัสถ์ ไม่ได้ มาจากความโลภส่วนตัวที่จะสะสมทุนต่อ หรื อสำา นึกอะไร มันมาจากกระบวนการ แข่งขันในตลาด • พอทุนนิยมพัฒนามากขึ ้น มีการสะสมทุนมากขึ ้น มีแหล่งสร้ างความร่ำารวยผ่านการปั่ นหุ้นในระบบธนาคาร ฯลฯ “สองวิญญาณของนายทุน” จึงเริ่ มปรากฏ คือความมัธยัสถ์ กับความต้ องการที่จะแสวงหาความสุข สบาย “สะสม สะสม คือพระเจ้ ำของทุนนิยม”

ความคิดเรื่ องความมัธยัสถ์นำาไปสู่... 1. นิยายว่าการสะสมมาจากความมัธยัสถ์ ในขณะที่มนั มาจากการขูดรี ดแรงงานต่างหาก 2. การกดดันให้ กรรมาชีพที่ยากจนอยูแ่ ล้ วต้ อง “หักมัธยัสถ์” 14 3. ปฏิกิริยาโต้ ตอบของฝ่ ายทุนบางคน ที่มองว่า “การถูกบังคับให้ มธั ยัสถ์ ” ผ่านการเก็บภาษี โดยรัฐ จะทำาลายแรง จูงใจในการทำาธุรกิจ ซึง่ เป็ นคำาอธิบายที่ง่ายเกินไป การสะสมที่เกิดขึ ้นไม่ว่าจะแบ่งส่วนเกินอย่างไรระหว่างการลงทุนต่อกับรายได้ • การทำาให้ อาหารถูกลง ทำาให้ กดค่าแรงได้ นำาไปสูก่ ารลดคุณภาพของอาหารสำาหรับคนจนด้ วยระบบอุตสาหกรรม • การเพิ่มประสิทธิภาพการทำางานของกรรมาชีพ - อาจมาจากการใช้ เครื่องจักรคุ้มมากขึ ้น โดยขยายเวลาทำางานและจำานวนคนงาน - จะเพิ่มมูลค่าส่วนเกิน คือทังส่ ้ วนที่นำามาลงทุนต่อ และรายได้ ของนายทุนพร้ อมกัน - ทำาให้ ค่าจ้ างถูกลง เพราะสินค้ าที่ต้องซื ้อเพื่อยังชีพราคาถูกลง หรื ออาจนำา ไปสู่การเพิ่มค่าจ้ างบ้ าง แต่ ปริ มาณส่วนเกินจะเพิ่มเร็วกว่าค่าจ้ าง • การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของแรงงาน เป็ นสิ่งที่คนงานทำาผ่านการทุ่มเทของร่ างกายตนเอง แต่ถกู ปกปิ ดจน กลายเป็ นว่า “ทุนเพิ่มประสิทธิภาพการทำางาน” ดังนันฝ่ ้ ายทุนจะอ้ างว่าคนที่ลงทุน “มีสิทธิ” ในค่าตอบแทนหรื อ กำาไร 14

เศรษฐกิจพอเพียง (ใจ)

23


เงินสำาหรับการจ้ างงาน นักเศรษฐศาสตร์ การเมืองฝ่ ายทุน Jeremy Bentham, Thomas Malthus, James Mill, MacCulloch ต่างอ้ างว่าในสังคม หนึ่ง มีเงินสำา หรั บการจ้ างงานจำา กัด “ตามธรรมชาติ” โดยไม่มีการพิสูจน์ แต่นัน้ เป็ นแค่ข้ออ้ างสำา หรั บพวกที่ มองว่า กรรมาชีพไม่มีสิทธิ์ที่จะกำาหนดว่ามูลค่าในสังคมจะแบ่งกันอย่างไรเท่านัน้

บทที่ 25: กฎโดยทั่วไปของกำรสะสมทุน

• ถ้ าสัดส่วน ทุนคงที่ ต่อ ทุนแปรผัน ไม่เปลี่ยน เมื่อมีการสะสมทุน ต้ องมีการเพิ่มจำา นวนกรรมาชีพ [Organic Composition of Capitalism/องค์ ป ระกอบอิ น ทรี ย์ ข องทุ น นิ ย ม = สัด ส่ ว น ทัง้ ในมูล ค่ า และปริ ม าณ ของ เครื่องจักร/คน ของทุนที่ประกอบไปด้ วยทุนคงที่ และทุนแปรผัน] • ถ้ าสะสมเรื่ อยๆ ตามกระบวนการของทุนนิยม ในที่สดุ จะขาดกรรมาชีพ และค่าแรงจะเพิ่มขึ ้น • การเพิ่มค่าแรง เพิ่มความสามารถของกรรมาชีพที่จะบริ โภคอาหาร เสื ้อผ้ า เครื่ องใช้ แต่ ไม่ยกเลิกการขูดรี ด แรงงานแต่อย่างใด การมีคา่ จ้ าง = การเป็ นลูกจ้ าง = การทำางานฟรี สว่ นหนึง่ ให้ นายจ้ าง • การเพิ่มค่าแรงอาจไม่มีผลเสียต่อการสะสมทุนต่อไปหรื อกำาไร • การเพิ่มค่าแรงอาจกลายเป็ นสิ่งที่ถ่วงการสะสมทุนและกำาไร จนมีการชะลอการผลิต ค่าแรงก็จะตกต่าำ ลง เพราะ ความต้ องการกรรมาชีพโดยนายจ้ างลดลง • สิ่งที่กำาหนดการขึ ้นลงของค่าแรง คืออัตราการสะสมทุน ไม่ใช่วา่ ค่าแรงกำาหนดอัตราการสะสมทุน • การสะสมทุนคือการสะสมแรงงานฟรีที่นายทุนได้ มาโดยไม่จ่ายค่าแรง • การขึ ้นลงของค่าจ้ างอยูใ่ นระหว่างขันที ้ ่เอื ้อกับการคงอยูข่ องระบบทุนนิยมเสมอ • กำรสะสมทุนที่เพิ่มขึน้ เรื่อยๆ มีผลให้ เพิ่มสัดส่ วนทุนคงที่ และลดสัดส่ วนทุนแปรผัน - เพราะต้ องมีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อแข่งขัน โดยใช้ เครื่ องจักรมากขึ ้น - อาจมีการจ้ างกรรมาชีพเพิ่ม แต่ในอัตราที่เพิ่มน้ อยกว่าทุนคงที่ - ทุนที่ใช้ กบั กรรมาชีพจำานวนหนึ่ง เพิ่มเพราะต้ องซื ้อเครื่ องจักรที่ซบั ซ้ อนมากขึ ้น มีมลู ค่ามากขึ ้น และ เต็มไปด้ วยแรงงำนอดีตในตัวมันเองอีกด้ วย • การสะสมทุนทำาให้ ความเข้ มข้ นของการผลิตเพิ่ม อำานาจของทุนเหนือกรรมาชีพก็เพิ่ม และการแข่งขันระหว่าง นายทุนเพิ่มขึ ้นอีกด้ วย • การแข่งขัน คือการแข่งกันผลิตสินค้ าราคาถูก โดยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต - ทุนใหญ่ได้ เปรียบทุนเล็ก - นายทุนน้ อยล้ มละลายเป็ นประจำา - แนวโน้ มคือ การกดค่าแรง การเพิ่มการขูดรี ด และการนำาแรงงานฝี มือต่าำ มาใช้ แทนแรงงานฝี มือ 24


สูง • ระบบการกู้ยืมเงิน(ธนาคาร) ช่วยหล่อลื ้นกระบวนการนี ้ • เกิด “ปลาใหญ่กินปลาเล็ก” การรวมศูนย์กิจกรรม ภายใต้ การแข่งขันและระบบธนาคาร การรวมศูนย์ (เกิดเร็ว) ไม่ เหมือน การเพิ่มความเข้ มข้ นของการผลิต (เกิดช้ า) แต่ทงสองเป็ ั้ นส่วนสำาคัญของการสะสมทุน “ระบบกู้ยมื เงิน เริ่มต้ นด้ วยกำรแอบเข้ ำมำเป็ นผู้ช่วยต้ อยต่ำ ำในกระบวนกำรสะสม โดยเชื่อมโยงเงินต่ ำงๆ ที่กระจัดกระจำยในสังคม ให้ เข้ ำมำผูกพันกับนำยทุน แต่ ในไม่ ช้ำ ระบบกู้ยมื เงินกลำยเป็ นอำวุธอันน่ ำกลัวของทุนใหญ่ ในกำรรวมศูนย์ ทุนภำยใต้ กำรแข่ งขัน” กองทัพสำารองของคนงานอุตสาหกรรม • การสะสมทุนลดปริ มาณแรงงาน เมื่อเทียบกับเครื่ องจักร แต่ในขณะเดียวกัน มีการขยายพื ้นที่การผลิตไปสู่ภาค การผลิตใหม่ๆ “กองทัพสำำรองของคนตกงำน อำจเป็ นผลจำกกำรสะสมทุนก็จริง แต่ มันกลำยเป็ นเงื่อนไขและเครื่ องมือในกำรสะสมต่ อไป เพรำะเป็ นมวลชนที่พร้ อมจะเข้ ำมำในภำคกำรผลิตใหม่ ๆ เร็วกว่ ำกำรที่นำยทุนจะต้ องรอให้ มีกำรขยำยจำำนวนประชำกร” • เมื่อมีวิกฤตเศรษฐกิจ หรื อมีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลจี ทุนนิยมต้ องขับคนงานออกจากการผลิตอย่างรวดเร็ ว (วัฎจักรวิกฤตไม่เคยเกิดแบบนี ้ในระบบก่อนทุนนิยม) “เศรษฐศำสตร์ กำรเมืองกระแสหลักแสดงควำมด้ อยทำงวิชำกำร เพรำะพยำยำมอธิบำยวิกฤตว่ ำมำจำกปั ญหำในวงจรกำรเงิน แท้ ท่จี ริงแล้ วปั ญหำวงจรกำรเงิน เป็ นแค่ อำกำรของวิกฤตภำคกำรผลิต” • เมื่อมีการเพิ่มการผลิต ทุนนิยมต้ องการคนงานสำารองเหล่านี ้มาใช้ งาน โดยไม่มีผลกระทบที่จะทำาให้ ขาดแรงงาน ในภาคการผลิตอืน่ “กำรทำำงำนหนักและนำนเกินไปของผู้มีงำนทำำ ทำำให้ คนงำนตกงำนมำกขึน้ แต่ กำรมีคนงำนตกงำนจำำนวนมำกกดดันให้ ลูกจ้ ำงที่ยังมีงำนทำำก้ มหัวยอมรั บสภำพกำรจ้ ำงที่แย่ ลง กำรบังคับให้ ส่วนหนึ่งของแรงงำนทำำงำนมำกเกินไป และอีกส่ วนไม่ มีงำนทำำ กลำยเป็ นวิธีเพิ่มควำมร่ำ ำรวยให้ นำยทุน” 25


• ในที่สดุ คนงานกรรมาชีพอาจรู้ ตวั ว่ายิ่งทำางานเท่าไร ผลผลิตของตนเองก็ตกในมือของคนอื่น และยิ่งทำางานมาก เท่าไร ความเสี่ยงกับการตกงานก็ยิ่งเพิ่ม เพราะมีการพัฒนาเทคโนโลจีมากขึ ้น ดังนันอาจมี ้ ความพยายามจัดตัง้ องค์กรร่วมระหว่างคนมีงานทำากับคนตกงาน ซึง่ จะถูกต่อต้ านอย่างถึงที่สดุ โดยนายทุน [ในบทนีม้ ีการบรรยายสภาพความจริ งและรายงานสถิติของคนงานในยุคนัน้ จากอังกฤษ เบลเยี่ยม และ ไอร์ แลนด์ ตามภาคต่างๆ รวมถึงภาคเกษตร ในภาคเกษตรการพัฒนาของระบบทุนนิยมทำาให้ คนงานภาคเกษตรลดลง แต่ มำร์ คซ์ ไม่ เคยมองว่ ำคนงำนเป็ นแค่ เหยื่อ] การที่คนไอร์ แลนด์ต้องอพยพไปอเมริ กาจำานวนมาก เพื่อการสะสมความร่ำารวยของนายทุนการเกษตร ในที่สดุ สร้ าง สถานการณ์ให้ มีการรวมตัวกันในอเมริกาของคนที่จะกบฏต่อการปกครองของอังกฤษในไอร์ แลนด์ในอนาคต

ในระบบทุนนิยม... “กำรสะสมควำมทุกข์ ยำก เป็ นเงื่อนไขของกำรสะสมควำมร่ำ ำรวย”

ภำคที่ 8 กำรสะสมทุนบุพกำล บทที่ 26: ควำมลับเกี่ยวกับกำรสะสมทุนบุพกำล

• การสะสมทุนบุพกาล คือการสะสมทุนที่เกิดจากระบบก่อนทุนนิยม เป็ นจุดเริ่ มต้ นของทุนนิยม • นิยายของชนชัน้ ปกครองคือ “ในยุคอดี ตมี คนสองประเภท ประเภทแรกขยัน ฉลาด และรู้ จักออม คนเหล่านี ้ กลายเป็ นชนชัน้ ปกครอง อี กประเภทคื อพวกไม่ได้เรื ่ อง ขี ้เกี ยจ หลังยาว ใช้จ่ายสิ้ นเปลื อง พวกนี ้กลายเป็ น คนจน” • แต่การสะสมทุนบุพกาลจริ ง คือประวัตศิ ำสตร์ ของกำรยึดครองด้ วยกองกำำลัง กำรจับคนมำเป็ นทำส กำร ปล้ น ฆ่ ำ ฯลฯ ภำยใต้ กำรใช้ อำำ นำจและควำมรุ นแรงทัง้ สิน้ • “แรงงานเสรี ” ที่เกิดในทุนนิยม เป็ นแรงงานที่ไม่เป็ นส่วนหนึ่งของปั จจัยการผลิตเหมือนที่ทาสเคยเป็ น และไม่มี ปั จจัยการผลิตของตนเอง • โครงสร้ างเศรษฐกิจของทุนนิยม เติบโตมาจากยุคขุนนางฟิ วเดิล แต่เกิดได้ หลังจากที่ปัจจัยการผลิตของสังคม และปั จจัยการผลิตของมนุษย์ ถูกปล้ นไปและตกอยู่ในมือนายทุน มันคือประวัติศาสตร์ ที่เขียนด้ วยเลือด และ 26


ประวัตศิ ำสตร์ และขัน้ ตอนต่ ำงๆ ของกำรกำำเนิดทุนนิยมจะแตกต่ ำงออกไปแล้ วแต่ ประเทศ 15

บทที่ 27: กำรไล่ ประชำกรออกจำกที่ดนิ

[เป็ นการเล่าว่าที่ดินถูกยึดไปจากประชากรในอังกฤษอย่างไร ทังที ้ ่ดินของเกษตรกรรายย่อย และที่ดินของชุมชนที่ใช้ ร่วม กัน]16 การยึดที่ดนิ นี ้เกิดจากหลายปั จจัย • การเปลี่ยนการผลิตเกษตรทัว่ ไป ไปเป็ นการผลิตขนแกะเพื่อป้อนโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ • การล้ อมรัว้ ที่ดินชุมชน แล้ วยึดมาเป็ นของนายทุน • การทำาลายระบบฟิ วเดิลและการครอบครองที่ดินจำานวนมากของสถาบันศาสนาและกษัตริ ย์ • การทำาให้ เกษตรกรรายย่อยล้ มละลาย • การใช้ ความรุ นแรงในการไล่เกษตรกรรายย่อยออกจากพื ้นที่ (นักวิชาการฝ่ ายทุนยุคนันอ้ ้ างว่า “เพื่อประโยชน์ ของประเทศชาติ” -ดังนันเขาไม่ ้ ถือว่าเกษตรกรรายย่อยคือพลเมืองของชาติ) • การยึดที่ดนิ ที่ถือร่วมกันโดยเผ่าต่างๆ (clans) ใน สก็อตแลนด์ มาเป็ นทรัพย์สินส่วนตัวของหัวหน้ าเผ่า สรุปแล้ วกรรมาชีพที่ต้องขายแรงงานก็เกิดขึ ้น ท่ามกลาง “กำรก่ อกำรร้ ำยอย่ ำงโหดเหีย้ ม”

บทที่ 28: กฎหมำยโหดที่กดค่ ำแรง

ตังแต่ ้ ยคุ กษัตริ ย์เฮนรี่ ที่ 7 ของอังกฤษในปี ค.ศ. 1530 เป็ นต้ นไป ชนชันปกครองอั ้ งกฤษเริ่ มออกกฎหมายโหดเพื่อบังคับ คนที่ถกู ไล่ออกจากที่ดนิ ให้ ต้องไปรับจ้ างภายใต้ คา่ แรงที่ถกู กดต่าำ ลงอย่างต่อเนื่อง • ใครที่เป็ นคนเร่ร่อนจะถูกโบยและขัง • ใครรับเงินค่าจ้ างสูง “เกินไป” จะถูกลงโทษมากกว่าผู้จ่ายค่าจ้ าง(ซึง่ ถือว่าทำาผิดกฎหมายด้ วย) • มีกฎหมายห้ ามการรวมตัวกันตังสหภาพแรงงาน ้ • นายทุนตามพื ้นที่ตา่ งๆ เป็ นผู้พิพากษาท้ องถิ่นเอง • ศาลชันสู ้ ง.... “พร้ อมจะกระดิกหำงให้ ชนชัน้ ปกครองเสมอ”

บทที่ 29: ที่มำของนำยทุนภำคเกษตร ทุนบุพกาลของไทยกำาเนิดจากการใช้ แรงงานบังคับ การบังคับเก็บส่วย และการทำาสงครามในระบบศักดินา นายทุนใหญ่คนสำาคัญของ ไทยจึงเป็ นกษัตริย์(ใจ) 16 เกษตรกรรายย่อยในไทยไม่ได้ ถกู ขับไล่ออกจากที่ดิน แต่ถกู ดึงไปทำางานในภาคอุตสาหกรรมเพราะรายได้ ดีกว่า (ใจ) 15

27


มาจากอดีตหัวหน้ างานที่คมุ เกษตรกร ของขุนนางยุคฟิ วเดิล ซึง่ แปรธาตุไปเป็ นเจ้ าของฟาร์ ม นอกจากนี ้การปฏิวตั ิระบบ การผลิตในภาคเกษตร และการขโมยที่ดินชุมชนก็มีสว่ นสำาคัญ

บทที่ 30: กำรปฏิวัตเิ กษตร และกำรสร้ ำงตลำดสำำหรับทุนอุตสำหกรรม

การไล่เกษตรกรรายย่อยออกจากที่ดินทำาให้ 1. เกิดกรรมาชีพ 2. เกิ ดตลาดในผลผลิตอุตสาหกรรมที่กรรมาชี พต้ องซือ้ เพราะระบบการผลิตแบบหัตถกรรมของเกษตรกรถูก ทำาลาย

บทที่ 31: กำำเนิดทุนนิยมอุตสำหกรรม

• ช่างหัตถกรรมจำานวนไม่น้อย แม้ แต่กรรมาชีพบางคน แปลงตัวเป็ นนายทุนน้ อย ในยุคเริ่ มต้ นของทุนนิยม • การทำาลายระบบฟิ วเดิลทำาลายอุปสรรคต่อการพัฒนาของเงินทุนที่มาจากการปล่อยกู้และการค้ า • การปล้ นทองคำาและเงิน จากทวีปอเมริ กา ผ่านการทำาให้ คนพื ้นเมืองในลาตินอเมริ กากลายเป็ นทาสในเหมืองแร่ การยึดอินเดีย การปล้ นอินเดีย การล่ามนุษย์ผิวดำาในอัฟริ กาเพื่อมาเป็ นทาสในไร่ เกษตร นันคื ้ อปรากฏการณ์ใน ยุคต้ นๆ ของทุนนิยม (เมือง Liverpool ของอังกฤษ ในฐานะเมืองท่า ร่ำารวยจากการค้ าทาส) • การทำาสงครามระหว่างมหาอำานาจยุโรป ที่ขยายไปทัว่ โลก เป็ นสิ่งที่ช่วยในการสะสมทุน • รัฐมีบทบาทสำาคัญในการเร่งกระบวนการดังกล่าว “กำรใช้ กำำ ลังคือหมอตำำแยในสังคมเก่ ำที่ช่วยให้ คลอดสังคมใหม่ ” “กำรใช้ กำำ ลังทหำรเป็ นอำำนำจทำงเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง • ระบบอาณานิคมของชาวคริ สต์จากยุโรป เป็ นระบบที่ป่าเถื่อน: ฮอลแลนด์ในอินโดนีเซีย อังกฤษในอินเดีย ล้ วน แต่ปล้ นฆ่าคนพื ้นเมืองและนำาเขามาเป็ นทาส นี่คือการสะสมทุนบุพกาลของพวกที่อ้างอารยะธรรมคริ สต์เตียน • ในช่วงกำาเนิดทุนนิยม มันมีสว่ นเดียวเท่านันของทรั ้ พย์สินชาติ ที่กลายเป็ นของส่วนรวม นันคื ้ อหนี ้สาธารณะ ที่รัฐ ยืมมาเพื่อดำาเนินการต่างๆ • ธนาคารใหญ่ๆ เริ่ มต้ นจากการเป็ นนักเล่นหุ้นเล่นพนัน แต่เนื่องจากความสัมพันธ์ ที่ดีกบั รัฐ เขาจึงได้ อภิสิทธิ ์ใน การปล่อยกู้ให้ รัฐ • ต่อจากนันก็ ้ เกิดระบบกู้ยืมข้ ามชาติ ซึง่ บ่อยครัง้ ปกปิ ดกำาเนิดของการสะสมทุนบุพกาลในหลายสังคม 28


“ทุนจำำนวนมำกที่ไปโพล่ ท่ สี หรั ฐ โดยดูเหมือนไร้ สูตบิ ัตร แท้ จริงมำจำกกำรขูดรีดเลือดเนือ้ เด็กในโรงงำนอุตสำหกรรมของอังกฤษ” “ทุนคลอดมำในโลกนีท้ ่ ำมกลำงครำบเลือด และควำมโสโครก จำกหัวจดเท้ ำ”

บทที่ 32: แนวโน้ มทำงประวัตศิ ำสตร์ ของกำรสะสมทุน

• ในขันตอนแรก ้ การสะสมทุนจะยึดทรัพย์สินส่วนตัวของผู้ทำางานเองแบบเลี ้ยงชีพตนเอง เพื่อมาเป็ นทรัพย์สินทาง สังคมภายใต้ นายทุน มีการทำาลายปั จจัยการผลิตที่กระจัดกระจาย เพื่อรวมศูนย์เป็ นปั จจัยการผลิตทางสังคม 17 (นี่คือกำรปฏิเสธรอบที่หนึ่ง) • หลังจากนันมี ้ การยึดปั จจัยการผลิตจากนายทุนเล็กหลายคน โดยคูแ่ ข่งใหญ่ เพื่อรวมศูนย์ตอ่ ไปอีกระดับหนึง่ แต่ ในขณะเดียวกันเกิดกบฏของชนชันกรรมาชี ้ พที่เพิ่มจำานวนอย่างต่อเนื่องจากการพัฒนาของทุนนิยม มีการเพิ่ม ฝี มือและการรวมศูนย์ของคนงานในที่ทำางาน กรรมาชีพกลายเป็ นแรงงานทางสังคม ไม่ใช่ของปั จเจก • ความขัดแย้ งทวีคณ ู จนระเบิดออกมา ผู้ที่เคยยึดทรัพย์ประชาชน จะถูกยึดทรัพย์เอง “กำรปฏิเสธสิ่งที่ปฏิเสธ” เกิดการร่วมมือกันและการเป็ นเจ้ าของร่วมในที่ดินและปั จจัยการผลิตทังหมดโดยชนชั ้ นกรรมาชี ้ พ 18 • การเปลี่ยนแปลงไปสู่ทุนนิยมใช้ เวลานาน และมีความรุ นแรงโหดร้ าย เพราะเป็ นการปล้ นคนส่วนใหญ่โดยคน ส่วนน้ อย แต่การเปลี่ยนแปลงไปสูส่ งั คมนิยม จะเป็ นการปล้ นคืนจากโจรที่เป็ นคนส่วนน้ อย โดยคนส่วนใหญ่

บทที่ 33: ควำมคิดเกี่ยวกับกำรบุกเบิกที่ดนิ ใหม่

การบุกเบิกพื ้นที่ ทีมีที่ดินฟรี มากมาย เช่นที่เกิดหลังการยึดทวีปอเมริ กา หรื อออสเตรเลีย จากคนพื ้นเมือง สร้ างปั ญหาให้ ระบบทุนนิยม เพราะผู้อพยพบุกเบิกต้ องการเป็ นเกษตรกรรายย่อยอิสระ ไม่ใช่ลกู จ้ างใคร จึงต้ องมีการใช้ รัฐเพื่อจำา กัด เกษตรกรรายย่อย เศรษฐศาสตร์ การเมืองกระแสหลักมักสับสนระหว่างทรัพย์สินส่วนตัวสองชนิดคือ ทรัพย์สินที่มาจากการทำางานของผู้ ผลิตเสรี และทรัพย์สินที่มาจากการขูดรีดการทำางานของผู้อื่น

คือมีสภาพเหมือนกันทางสังคมและมีผลต่อสังคมโดยรวม(ใจ) 18 สังคมนิยม(ใจ) 17

29


ว่ ำด้ วยทุนเล่ มสอง กำรหมุนเวียนของทุน

30


ภำคที่ 1 กำรเปลี่ยนรูปของทุนและวงจรของมัน

[มาร์ คซ์ พิจารณาการหมุนเวียนของทุนสามชนิดในบทที่ 1-3 เพื่อแยกส่วน และศึกษา แต่ถ้าจะเข้ าใจภาพรวม เขาเน้ นว่า เราต้ องดูการหมุนเวียนของทุนทังสามชนิ ้ ดร่วมกัน ... ในบทที่ 4]

บทที่ 1: วงจรของ “ทุนเงิน”

“ทุน” จะเปลี่ยน “ชุดเสื ้อผ้ า” หรือ “หน้ าตา” ตามขันตอนการหมุ ้ นเวียนอย่างต่อเนื่อง สูตรการหมุนเวียนของ “ทุนเงิน” (M) คือ L M  C ............... P.......C’  M’  mp C=ทุนสินค้ า P=ทุนการผลิต L=พลังการทำางานของกรรมาชีพ mp=ปั จจัยการผลิต(เครื่ องจักรและวัตถุดิบฯลฯ) C’ = ทุนสินค้ าใหม่ที่ผลิตจากกระบวนการผลิต M’= ทุนเงินใหม่ที่ได้ จากการขายสินค้ า ดังนัน้ “ทุน” จะผ่านขันตอน ้ ทุนในรู ปแบบเงิน ทุนในรู ปแบบสินค้ าทุนในกระบวนการผลิต(ซึง่ ประกอบไปด้ วยพลัง การทำางานและเครื่ องจักร/วัตถุดิบทุนในรูปแบบสินค้ าที่ผลิตใหม่กลับมาเป็ นทุนในรูปแบบเงิน • มันดูเหมือนเป็ นการหมุนเวียนของ “ทุนเงิน” เพราะเงินเป็ นจุดเริ่ มและจุดจบ และเราเห็นชัดว่า M’ > M • เงื่อนไขในการหมุนเวียนดังกล่าว - ต้ องมีกรรมาชีพที่แยกออกจากปั จจัยการผลิตแต่แรก ซึง่ นำามารวมกับปั จจัยการผลิตภายใต้ การ ควบคุมของนายทุน = ควำมสัมพันธ์ ทำงชนชัน้ - ปั จจัยการผลิตต้ องมีเพียงพอที่ จะใช้ “พลังการทำา งาน” ของกรรมาชี พให้ ค้ ุม คืองานจำา เป็ น สำาหรับการเลี ้ยงชีพ + งานที่กรรมาชีพทำาฟรี ให้ นายทุน(งานส่วนเกิน) - ระบบการแลกเปลี่ยนสินค้ าต้ องเจริ ญ เพื่อขายสินค้ าจากการผลิต และเพื่อมีสินค้ าไว้ เลี ้ยงชีพ คนงาน เมื่อระบบทุนนิยมเข้ ามาในสังคมที่ยงั ไม่เป็ นทุนนิยม มันจะเน้ นการขายสินค้ าก่อน แต่ในไม่ช้ามันจะทำาลายการผลิตพื ้น เมืองแบบเก่าและเปลี่ยนมันมาเป็ นทุนนิยม เช่นกรณี จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง ข้ อสังเกต • M มูลค่าเท่ากับ P แต่มีรูปแบบแตกต่างกัน • L (พลังการทำางานของกรรมาชีพ ) เป็ นสินค้ าก็จริ ง แต่เนื่องจากเป็ นสิ่งที่ก่อให้ เกิดมูลค่า มันมี “มูลค่า” ที่ตา่ งจาก 31


“ราคา” ราคาซื ้อ L ที่นายทุนจ่ายให้ กรรมาชีพเป็ นค่าแรง เป็ นการซื ้อพลังการทำางานที่ผลิต = มูลค่าจำาเป็ นใน การเลี ้ยงชีพคนงาน + มูลค่าส่วนเกิน • กรรมาชีพที่ถกู แยกจากปั จจัยการผลิต ไม่สามารถใช้ L เองได้ ต้ องขายให้ นายทุน • นายทุนปรากฏต่อหน้ ากรรมาชีพในรู ปแบบคนมี เงิน แต่เงินไม่ใช่สิ่งที่กำาหนดความสัมพันธ์ ทางชนชันหรื ้ อการ ผลิต • การผลิตสินค้ าแบบทุนนิยมมีพลังมหาศาล (จากการขูดรี ด) เหนือพลังของระบบเก่าก่อนหน้ าทุนนิยม • C’ คือ C บวกกับมูลค่าส่วนเกิน • การหมุนเวียนตามสูตรต้ องหมุนเวียนให้ ครบ ถึงจะเกิดรอบใหม่ได้ ทุนในรู ปแบบต่างๆ... M มีบทบาทในการซื ้อ L + mp ที่เป็ นสินค้ า C’ มีบทบาทที่จะถูกขาย และ P มีบทบาทในการผลิต • ทุนสามชนิด M, C, P เรียกรวมว่า “ทุนอุตสำหกรรม” ทุนแต่ละชนิดนี ้ ไม่มีความอิสระจากกันเลย • ท่ามกลางการผลิต ปั จจัยการผลิต mp จะค่อยๆ ถูกใช้ ดังนัน้ มันจะค่อยๆ ละลายมูลค่าลงไปในสินค้ าในช่วง เวลานาน ซึง่ ต่างจาก L พลังการทำางาน • ในอุตสาหกรรมสื่อสารขนส่ง ไม่มีการสร้ างสินค้ าใหม่ (C’) แต่มีการโยกย้ ายที่ตงของสิ ั้ นค้ าที่มีอยู่แล้ ว –ไม่ว่าจะ เป็ นการขนส่ง หรือการส่งข้ อมูล ในกรณีนี ้สูตรคือ L M  C ............... P M’  mp

บทที่ 2: กำรหมุนเวียนของ “ทุนกำรผลิต” เราสามารถมองการหมุนเวียนของทุนซึง่ เป็ นกระบวนการต่อเนื่องที่ไม่มีจดุ จบ โดยเริ่ มที่ “ทุนการผลิต” (P) P...... C’M’C.....P เวลาเราพิจารณาส่วนนี ้ เราต้ องทราบว่าทุนเงินเดิม M กับทุนเงินส่วนเกิน m (ที่รวมกันเป็ น M’) ถูกลงทุนใหม่อีกรอบ พร้ อมกันหรื อไม่ เพราะอาจถูกใช้ ในการบริโภคโดยนายทุน หรื ออาจถูกนำามาลงทุนในที่อนื่ ก็ได้ • สินค้ าที่ถกู บริโภค ต่างจากสินค้ าที่เป็ นทุนในการหมุนเวียนของทุน • เศรษฐศาสตร์ กระแสหลักมองว่าทุนนิยมเป็ นแค่ระบบการผลิตสินค้ าเพื่อตอบสนองความต้ องการ แต่ทุนนิยม ผลิตเพื่อสะสมและเป็ นระบบหมุนเวียน • ปริ ม าณสิ น ค้ า ที่ ถูก ผลิ ต ขึ น้ ถู ก กำา หนดจากอัต ราการขยายของกระบวนการผลิ ต ไม่ ไ ด้ ถู ก กำา หนดจาก อุปสงค์ (ความต้ องการ)ในตลาด ในขัน้ ตอนแรกการที่ สินค้ า จะถูก บริ โภคหรื อ ไม่ มิ ได้ เกี่ ย วกับกระบวนการ หมุนเวียน เพราะประเด็นหลักคือการขาย 32


• สถานการณ์นี ้นำาไปสู่ การผลิตล้ นเกิน การตัดราคา การล้ มละลาย และวิกฤตเศรษฐกิจ วิกฤตเศรษฐกิจไม่ได้ มา จากการลดลงของอุปสงค์ในขันตอนแรก ้ แต่มนั มาจากการที่สนิ ค้ าขายไม่ออก ซึง่ ไม่เหมือนกัน • การที่สินค้ าจากการผลิตจะตกอยู่ในมือพ่อค้ าคนกลาง ไม่มีผลอะไรต่อการหมุนเวียนของทุนในเบื ้องต้ น เพราะ นายทุนไม่สนใจว่าสินค้ าจะถูกบริโภคหรือไม่ แค่ให้ ความสำาคัญตรงที่มนั ถูกขายหรื อไม่ • ทุนเงินหรื อเงิน ไม่ใช่จดุ เริ่มต้ นและจุดจบของการหมุนเวียน • ทุนเงินที่จ่ายเป็ นค่ ำจ้ ำงให้ กรรมาชีพ เป็ นทุนที่นำามาแลกเปลี่ยนจากสินค้ าที่กรรมาชีพเคยผลิตเองแต่แรก ไม่ ใช่ เงินของนำยทุน แต่มนั อยูใ่ นมือนายทุน • ทุนที่เกิดจากระบบการผลิต แปรรูปจากสินค้ าที่ถกู ผลิต และเป็ นตัวแทนของการทำางานในอดีต • ในขณะเดียวกัน ทุนเงินที่เป็ นตัวแทนของการทำางานในอดีต เป็ นตัวแทนของสินค้ าที่จะผลิตในอนาคตด้ วย (ภาพ รวมแบบวิภาษวิธีคือ: อดีต ปั จจุบนั อนาคต) • ค่าจ้ างเป็ นเงินจากการทำางานของคนงานในอดีต และ เป็ นตัวแทนของสินค้ าที่คนงานจะซื ้อในอนาคตเพื่อเลี ้ยง ชีพ • ทุนเงินมีหน้ าที่ในการเปลี่ยนแปลงสินค้ า ให้ เป็ นปั จจัยการผลิตใหม่ และแรงงานรับจ้ างใหม่ • อย่าลืมว่ามูลค่าของปั จจัยการผลิตเปลี่ยนแปลงตามประสิทธิภาพการผลิตด้ วย มันไม่คงที่ • ถ้ า “ทุนเงิน” ค้ างอยูใ่ นสภาพเงิน หรื อถูกใช้ ในการบริ โภค โดยไม่หมุนเวียนเปลี่ยนแปลง มันถือว่าเป็ น “ทุน” ไม่ ได้ มันเป็ นแค่ “เงิน” หรือในกรณีที่ยงั ไม่นำามาใช้ เป็ น “ทุนเงินที่จะใช้ ในอนาคต” • ถ้ านายทุนใช้ ทนุ เงินทีละนิดทีละหน่อยในกระบวนการผลิต จะมีการสะสมเงิน นี่คือบทบาทของทุนเงิน คือเป็ น ทุนที่ออมไว้ ได้ บทบาทอีกอันคือใช้ ซื ้อปั จจัยการผลิตและพลังการทำางาน(สินค้ า) • เราไม่สามารถเห็น ทุนเงิน ทุนสินค้ า และทุนการผลิต แบบแยกส่วนโดดเดี่ยวได้ • เราจะเห็นปรากฏการณ์ของ “ทุนเงิน” เมื่อมีการหยุดพัก ชะลอ กระบวนการผลิต ไม่ว่าการหยุดนี ้จะเป็ นเรื่ องดี หรื อไม่ดี หรือจะมาจากเจตนาของนายทุนหรื อไม่ • ทุนเงินอาจใช้ ในรูปแบบ “สัญญาที่จะจ่ายในอนาคต” ผ่านการกู้ยืม แต่สญ ั ญาดังกล่าวไม่ใช่ทนุ เงินจนกว่ามันจะ เข้ าไปในกระบวนการผลิต • เวลามีการลงทุนรอบต่อไป L M’  C’  mp สัดส่วน L : mp จะมีแนวโน้ มลดลง ไม่คงที่ • มูลค่าส่วนเกินที่แปรไปเป็ นทุนเงิน อาจไม่นำามาลงทุนใหม่ทนั ที อาจต้ องรอเพื่อสะสมให้ เพียงพอก่อน ดังนันอาจ ้ ถูกนำามาฝากในธนาคาร หรือนำาไปซื ้อหุ้น ซึง่ ไม่เกี่ยวกับระบบการผลิตเดิม • เงินออมบางส่วน ที่เก็บไว้ ใช้ ในยามลำาบากของธุรกิจ ไม่เหมือนทุนเงินที่รอการสะสมเพื่อลงทุนต่อ เพราะมันจะ ไม่นำาไปสูก่ ารขยายการผลิต 33


บทที่ 3: กำรหมุนเวียนของ “ทุนสินค้ ำ” C’ M’ C .....P ....C’ • เวลาเราพิจารณาการหมุนเวียนของ “ทุนสินค้ า” จะเห็นว่าทุนสินค้ าที่นายทุนคนหนึ่งผลิต กลายเป็ น “ต้ นทุน สินค้ า” ของนายทุนอีกคน เช่นเครื่องจักร • ซึง่ แปลว่าเราต้ องมองการหมุนเวียนของทุนสินค้ าในระดับสังคมโดยรวม มองแค่ในระบบหมุนเวียนของนายทุน หนึง่ คนไม่ได้

บทที่ 4: สำมวงจรของทุน สามวงจรของทุน คือการหมุนเวียนของ “ทุนอุตสาหกรรม” คือ ทุนเงิน -ทุนการผลิต-ทุนสินค้ า ในกระบวนการเพิ่มมูลค่า ซึง่ แรงผลักดันหลักคือการพยายามเพิ่มมูลค่า ไม่ใช่การตอบสนองความต้ องการของมนุษย์ • ทุนอุตสาหกรรมประกอบไปด้ วยสามวงจรที่พดู ถึงในบทที่ 1-3 และในสังคมโดยรวมทุนอุตสาหกรรมปรากฏในรูป แบบสามวงจรดังกล่าวในขันตอนต่ ้ างๆ ตลอดเวลา • ทุนแยกเป็ นส่วนต่างๆ ตามขันตอนดั ้ งกล่าว แต่ในขณะเดียวกันเป็ นองค์รวมของสามวงจรเสมอ • ระบบทุนนิยมไม่ใช่ภาพนิ่ง มันอธิบายด้ วยภาพนิ่งไม่ได้ ต้ องมองเป็ นภาพเคลื่อนไหวที่เปลี่ยนแปลงเสมอ ส่วน ต่างๆเปลี่ยนไปเป็ นรูปแบบอื่นเสมออย่างต่อเนื่อง • ต้ องมองทังส่ ้ วนแยกและองค์รวมพร้ อมกัน เช่นนายทุนในฐานะปั จเจก และนายทุนทังหมดพร้ ้ อมกัน • การหมุนเวียนนี ้ดำาเนินต่อได้ ตอ่ เมื่อมีการเพิ่มมูลค่าของทุน แต่ถ้ามีปัญหาตรงนี ้ จะเริ่ มขาดเสถียรภาพ • เนื่องจากการเพิ่มมูลค่าเป็ นแรงขับเคลื่อนหลัก “อัตรากำาไร” ของนายทุนเป็ นเรื่ องสำาคัญ เพราะการเพิ่มกำาไรเป็ น เป้าหมาย.... และสัดส่วนทุนแปรผันที่ใช้ จ้างงานจะลดลง เมื่อเทียบกับทุนคงที่ “ระบบทุนนิยมดำำรงอยู่ไม่ ได้ ถ้ ำกำรบริโภคเสพสุขส่ วนตัวของนำยทุนเป็ นเป้ำหมำยในกำรผลิต” • ระบบทุนนิยมเป็ นระบบโลก มีตลาดโลก มีเงินโลก • ในยุคเริ่ มต้ น สินค้ าบางอย่างที่ใช้ ในระบบทุนนิ ยม ผลิตในระบบอื่น (เช่นจากทวีปอื่น ) แต่มันกลายเป็ น “ทุน สินค้ า” เมื่อเข้ ามาในระบบการผลิตทุนนิยม • เงินให้ ก้ ู กับเงินจริง ไม่ตา่ งกัน เพียงแต่ใช้ โดยนายทุนในระยะเวลาต่างกันของวงจรการผลิตเท่านัน้ 34


• “เงิน” เกิดขึน้ แต่แรกในระบบพาณิชย์ ก่อนทุนนิ ยม แต่ทุนนิ ยมพิเศษตรงที่นำา “แรงงาน” มาเป็ นสินค้ า เพื่ อ พัฒนาระบบการผลิตอย่างรวดเร็ว • ถ้ าวงจรการหมุนเวียนของทุนเร็วขึ ้น เงินจำานวนหนึง่ สามารถขับเคลื่อนการหมุนเวียนของทุนในปริ มาณที่มากขึ ้น • ถ้ าในการผลิต เครื่องจักรใช้ ได้ 10 ปี มูลค่ามันจะค่อยๆถูกทำาลายผ่านความสึกหรอปี ละ 10%

บทที่ 5: เวลำในกำรหมุนเวียน “เวลำทัง้ หมดในกำรผลิตของทุน” ต้ องรวมเวลาที่ทนุ ไม่มีสว่ นในการผลิต เช่นการหยุดการผลิตตอนกลางคืน หรื อช่วง ที่กำาลังเตรี ยมการผลิต หรื อรอให้ ผลผลิตสุกงอม(เช่นในภาคเกษตร) ซึง่ ต่างจาก “เวลำที่ทุนมีบทบำทโดยตรงในกำร ผลิต” ประเด็นสำาคัญคือ มูลค่าถูกสร้ างโดยกรรมาชีพในช่วง “เวลำที่ทุนมีบทบำทโดยตรงในกำรผลิต” เท่านัน้ เพราะ เครื่องจักร ฯลฯ ทำางานเองไม่ได้ ต้ องมีมนุษย์มาเริ่มกระบวนการ การ “ทำางาน” ของกรรมาชีพ อาจจะมีรูปแบบการลงมือกระทำาต่อวัตถุหรื อเครื่ องจักรตลอดเวลาอย่างต่อเนื่อง หรื อ อาจลงมือเป็ นระยะๆ ในขณะที่เครื่องจักรเดินอยู่ นันไม่ ้ สำาคัญ เพราะทังสองกรณี ้ ถือว่าเป็ นการทำางานอย่างต่อเนื่อง • การที่ “เวลำทัง้ หมดในกำรผลิตของทุน” ต่างจาก “เวลำที่ทุนมีบทบำทโดยตรงในกำรผลิต” แปลว่ามนุษย์ ที่เป็ นกรรมาชีพเป็ นผู้สร้ างมูลค่า • และนายทุนจะพยายามตลอดเวลา ที่จะลดช่วงเวลาที่ไม่ใช่ “เวลำที่ทุนมีบทบำทโดยตรงในกำรผลิต” • ระยะเวลาที่ใช้ ในการหมุนเวียนของทุนสามชนิด (ในบทที่ 4) มีผลกับเวลาในการผลิต ถ้ าหมุนเวียนเร็ ว การผลิต จะเพิ่มขึ ้นได้ • หลังจากการผลิตเสร็ จสิ ้น ทุนสินค้ าที่ถกู ผลิตขึ ้น จะต้ องถูกแปรรู ปไปเป็ นทุนเงิน (ขาย) แต่กระบวนการนี ้ไม่สร้ าง มูลค่าเลย เป็ นเพียง “การได้ มาของมูลค่าที่อยูใ่ นสินค้ า” แต่ นักเศรษฐศาสตร์ การเมืองกระแสหลักเชื่อนิยายว่า การเกิดขึ ้นของมูลค่ามาจากการซื ้อขาย ซึง่ เป็ นวิธีปกปิ ดความจริ งเกี่ยวกับการขูดรี ดแรงงานในกระบวนการผลิต • ค่าใช้ จ่ายในการซื ้อขาย ต้ องหักจากกำาไร (เช่นการจ้ างตัวแทนเพื่อจำาหน่ายหรื อซื ้อ) และสินค้ าบางอย่าง โดย เฉพาะอาหาร อาจต้ อ งรี บ ขายก่ อ นที่ มัน จะเสี ย ดั ง นั น้ นายทุ น ต้ อ งพิ จ ารณา (1)ระยะทางในการขนส่ ง และ(2)ขนาดของตลาด โดยที่ตลาดในเมืองมักจะใหญ่กว่าตลาดในชนบทที่กระจัดกระจาย

บทที่ 6: ค่ ำใช้ จ่ำยในกำรหมุนเวียน

การซื ้อขาย คือการแปรเปลี่ยนระหว่างทุนสินค้ ากับทุนเงิน • ค่าใช้ จา่ ยในการซื ้อขายนี ้ ไม่ เพิ่มมูลค่ ำของสินค้ ำแต่ อย่ ำงใดทังๆ ้ ที่กระบวนการซื ้อขายต้ องใช้ แรงงาน เพื่อให้ 35


มีการหมุนเวียนของทุน และการ “ได้ มาของมูลค่า” • การซื ้อขายไม่ใช่การผลิต และค่าใช้ จ่ายในการซื ้อขาย ถือว่าเป็ นค่าใช้ จ่ายนอกการผลิต • ถ้ ามีการจ้ างงานในระบบซื ้อขาย จะมีการขูดรี ดมูลค่าส่วนเกิน คือคนงานจะได้ ค่าจ้ างต่าำ กว่า “ค่าใช้ จ่ายในการ ซื ้อขาย” นายทุนค้ าขายก็จะได้ กำาไรตรงนี ้ มันคุ้มที่นายทุนภาคการผลิตจะจ่ายค่าใช้ จ่ายนี ้ เพื่อให้ สินค้ าขายออก ไปและมีการหมุนเวียนของทุน19 การทำาบัญชี การทำาบัญชีเกี่ยวกับรายรับ รายจ่าย ขันตอนการผลิ ้ ต ราคาวัตถุดิบฯลฯ ถือว่าเหมือนค่าใช้ จ่ายในการซื ้อขาย ไม่ มีกำร เพิ่มมูลค่ ำให้ สินค้ ำเลย และมีความสำาคัญมากขึ ้นเมื่อทุนนิยมพัฒนา เราควรมองว่าค่าใช้ จา่ ยเหล่านี ้เหมือนค่าซื ้อเครื่ องจักรในแง่ที่มนั เพิ่มประสิทธิภาพการทำางาน เงิน เมื่อทุนนิยมพัฒนามากขึ ้น ปริมาณสินค้ าจะเพิ่ม และปริ มาณเงินในเศรษฐกิจก็เพิ่ม เงินเอง ธนบัตร หรือเหรียญ เป็ นผลของการทำางานเพื่อผลิตเงิน แต่เราต้ องมองว่าเป็ น “ค่าใช้ จา่ ยของสังคม” เพราะไม่ ได้ เป็ นส่วนของกระบวนการผลิตสินค้ า ค่าใช้ จา่ ยในการเก็บสินค้ า มองจากแง่ของสังคม ค่าเก็บสินค้ าในโกดังหรือคลัง หรื อการจ้ างงานในการเก็บสินค้ า ดูเหมือนจะไม่เกี่ยวกับการผลิต • แต่มองจากมุมมองนายทุนแต่ละคน งานนีม้ ีส่วนในการสร้ างมูลค่าสำา หรั บสินค้ า คือเป็ นการทำา งานเพื่ อ ทดแทนความเสื่อมของมูลค่าสินค้ าซึง่ จะเกิดขึ ้นถ้ าไม่มีการเก็บรักษาไว้ • งานนี ้มีส่วนในกำรสร้ ำงมูลค่ ำ แต่ จะไม่ เพิ่มมูลค่ ำแลกเปลี่ยน และนายทุนจะมีปัญหาในการเพิ่มราคา สินค้ านี ้โดยการอ้ างว่าต้ องเก็บไว้ ในคลัง ถ้ านายทุนอื่นไม่ต้องทำา • ค่าใช้ จ่ายตรงนี ้ แบ่งกันจ่ายระหว่างผู้ซื ้อกับผู้ขาย หรื อเป็ นการขาดทุนของนายทุน • คนงานในโกดังจะถูกขูดรีดแรงงานด้ วย เหมือนพนักงานซื ้อขาย • ในกรณีที่สินค้ าอาจขาดตลาดในขณะที่ลกู ค้ าต้ องการซื ้ออย่างสม่าำ เสมอ นายทุนอาจต้ องมีคลังสะสมสินค้ า เพื่อให้ สง่ ลูกค้ าได้ อย่างต่อเนื่อง • คลังสินค้ าในรูปแบบทุนการผลิต (สินค้ าวัตถุดิบที่รอเข้ าสู่กระบวนการผลิต ) อาจเพิ่มขึ ้นในปริ มาณสุทธิของ มัน ในขณะที่มีการลดลงถ้ าเทียบกับปริ มาณสินค้ าที่ป้อนเข้ าสูก่ ระบวนการผลิต ถ้ ากระบวนการผลิตและการ ส่งวัตถุดิบเพิ่มความรวดเร็วและประสิทธิภาพตามการพัฒนาของทุนนิยมและตลาดโลก

19

ในระบบทุนนิยมสมัยใหม่ปัจจุบนั ค่าใช้ จา่ ยนอกระบบการผลิตมีมากขึ ้น เช่นการโฆษณา หรื อการบริการของภาครัฐ (ใจ)

36


การสะสมผลผลิตในรูปแบบสินค้ า สัดส่วนการสะสมผลผลิตในรูปแบบสินค้ าจะเพิ่มขึ ้น เมื่อระบบทุนนิยมพัฒนา ในขณะที่สดั ส่วนการสะสมผลผลิตเพื่อการ บริโภคโดยตรงของผู้ผลิตลดลง แนวโน้ มคือ ปริ มาณการผลิตจะขึ ้นอยู่กับความสามารถของนายทุนในการลงทุนและสะสมทุนเพิ่ม ในขณะที่ความ ต้ องการในการบริ โภคสินค้ ากลายเป็ นเรื่องรอง “ค่าใช้ จา่ ยในการเก็บสินค้ า” ประกอบไปด้ วย 1. การลดลงของปริมาณสินค้ าที่สญ ู เสียไป 2. การเสื่อมคุณภาพของสินค้ า 3. การจ้ างแรงงานเพื่อรักษาสินค้ า การขนส่ง การทำางานของกรรมาชีพในการขนส่งมีผลในการเพิ่มมูลค่าของสินค้ า เพราะถ้ ำไม่ มีกำรขนส่ ง สินค้ ำจะไม่ พร้ อมที่จะ ถูกขำย • ภาคขนส่งในแง่หนึ่ง “อิสระ” เป็ นภาคการผลิตที่อิสระจากการสร้ างสินค้ าแต่แรก แต่อยู่ในระบบหมุนเวียนของ ทุนอันเดียวกัน20 • มีการขูดรี ดแรงงานของกรรมาชีพขนส่ง และมีการพยายามเพิ่มประสิทธิภาพการทำางานโดยนายทุน

ภำค 2 รอบของกำรหมุนเวียนของทุน บทที่ 7: เวลำที่ใช้ ในวงจรของทุน และจำำนวนรอบที่หมุนเวียน

เวลาที่ใช้ ในวงจรของทุน คือเวลาที่ทนุ ต้ องหมุนเวียนหนึง่ รอบในกระบวนการสร้ างมูลค่าเพิ่ม เพื่อกลับมาสูจ่ ดุ เริ่ มต้ น ส่วน ใหญ่นบั เป็ นปี สำาหรับนายทุนแต่ละคน มันคือเวลาที่ต้องลงทุนไป ก่อนที่จะได้ ทนุ และกำาไรกลับมา

บทที่ 8: “ทุนอยู่กับที่” กับ “ทุนไหลเวียน”

ทุนกำรผลิต(P) แบ่งเป็ น ทุนอยูก่ บั ที่ และ ทุนไหลเวียน ดังนันกรรมาชี ้ พในระบบขนส่งทางบก ทางน้ำ าและทางอากาศ ซึ่งจัดอยู่ในภาคบริ การในเศรษฐศาสตร์ กระแสหลัก ต้ องถือว่าเป็ นส่วน หนึง่ ของภาคการผลิต(ใจ) 20

37


“ทุนอยู่กับที่” คือทุนที่นายทุนต้ องลงทุนเป็ นก้ อนใหญ่ เมื่อเริ่ มกระบวนการผลิต เช่นตึกโรงงาน เครื่ องจักร ทางรถไฟ ฯลฯ • “ทุนอยูก่ บั ที่” ไม่เหมือน “ทุนคงที่” เพราะ “ทุนคงที่” คือทุนการผลิตทังหมดที ้ ่ไม่ได้ สร้ างมูลค่า (หรื อที่ไม่ใช้ ในการ จ้ างงาน) “ทุนคงที่”มันรวมวัตถุดิบที่ไม่ได้ อยูก่ บั ที่ แต่จะเคลื่อนไปในระบบการผลิต • มูลค่าของ “ทุนอยูก่ บั ที่” จะค่อยๆ ละลายไปเป็ นส่วนของมูลค่าของผลผลิตทีละนิดทีละหน่อยตลอดอายุงานของ ทุนนี ้ โดยที่ตวั ตนของมันในฐานะวัตถุจะอยูท่ ี่จดุ การผลิตเดิมเสมอ • ทุนทุกชนิดเป็ นทุนที่ต้องหมุนเวียนในที่สดุ แต่ “ทุนอยูก่ บั ที่” มีลกั ษณะพิเศษที่แตกต่างจาก “ทุนไหลเวียน” “ทุนไหลเวียน” ประกอบไปด้ วย (1)ทุนคงที่ในรู ปแบบวัตถุดิบ ที่ผ่านไปในระบบการผลิต และ (2)ทุนแปรผัน ในรู ป แบบพลังการทำางาน ซึง่ ทังสองส่ ้ วนจะผ่านเข้ าสูผ่ ลผลิตและหมดไป จึงต้ องมีการซื ้อใหม่อย่างต่อเนื่อง • ทุนแปรผันที่หมุนเวียนในวงจรทุนการผลิตนี ้คือ “พลังการทำางาน” ของกรรมาชีพ ส่วนมูลค่าพื ้นฐานในการเลี ้ยง ชีพของกรรมาชีพที่ถูกจ้ างมา(ค่าจ้ างนัน้ เอง) จะไม่หมุนเวียนในวงจรนี ้ แต่จะหมุนเวียนในอีกวงจรหนึ่ง -เวลา กรรมาชีพซื ้อสินค้ าเพื่อยังชีพ • กว่า “ทุนอยูก่ บั ที่” จะหมุนเวียนได้ รอบหนึง่ มันต้ องหมดอายุการทำางาน ดังนันนายทุ ้ นจะค่อยๆ สะสมส่วนที่เป็ น เงินที่ตกตะกอนมาจากทุนนี ้จากการขายสินค้ า จนมีเพียงพอที่จะซื ้อ “ทุนอยู่กับที่” ชุดใหม่เป็ นก้ อนใหญ่อีกครัง้ จะเห็นว่ามูลค่าของ “ทุนอยู่กับที่” จะปรากฏในสองรู ปแบบพร้ อมกันคือ ในรู ปแบบ “ทุนการผลิต”(ที่ค่อยๆลด มูลค่าลง) และรูปแบบ “ทุนเงิน”(ที่กำาลังสะสมออมไว้ ) • “ทุนคงที่” ในส่วนที่เป็ น “ทุนไหลเวียน” (วัตถุดิบ) จะเป็ นส่วนหนึง่ ของสภาพทางวัตถุของผลผลิตใหม่ • “ทุนคงที่” ที่เป็ น “ทุนอยูก่ บั ที่” จะไม่เป็ นส่วนหนึง่ ของสภาพทางวัตถุของผลผลิตใหม่ • “ทุนคงที่” อีกชนิดหนึ่งที่เป็ น “ทุนไหลเวียน” เช่นเชื ้อเพลิง ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของมูลค่าผลผลิตใหม่ ก็จะไม่กลาย สภาพไปเป็ นส่วนหนึง่ ของสภาพวัตถุของผลผลิตใหม่ เพราะถูกใช้ จนหมดในกระบวนการผลิต • “ทุนอยู่กบั ที่” ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของ “ทุนการผลิต” (P) เท่านัน้ ดังนันในการเป็ ้ นสินค้ ามันถูกบริ โภคโดยปั จเจก ไม่ได้ แต่การจำาแนกว่าเป็ น “ทุนอยู่กบั ที่” หรื อไม่ จำาแนกตามบทบาทของมันในกระบวนการผลิต ไม่ได้ จำาแนก ตามลักษณะทางวัตถุของมัน (วัตถุแบบนี ้ในกรณีที่ไม่ใช้ ในการผลิต อาจถูกบริ โภคโดยปั จเจกได้ เช่นตึก ) • ระบบการขนส่ง เป็ นกรณีพิเศษ เพราะ “รถคันเดียวกัน” อาจใช้ เป็ นทุนการผลิต และใช้ เพื่อขนส่ง (บริ โภค)ของ ปั จเจกได้ • เส้ นแบ่งระหว่าง “ทุนอยูก่ บั ที่” กับ “ทุนไหลเวียน” อาจไม่ชดั เจนในกรณี ปุ๋ย ที่ใช้ ในการเกษตร คือมันคงอยูใ่ นดิน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพส่วนหนึง่ และถูกดูดขึ ้นไปเป็ นส่วนหนึง่ ของพืชผลผลิตได้ • การเป็ น “ทุนอยูก่ บั ที่” ไม่ได้ แปลว่าเคลื่อนไหวไม่ได้ เรื อขนสินค้ า เป็ น “ทุนอยู่กบั ที่” เพราะมันไม่หมุนเวียนหมด ไปทันทีในระบบ • วัวที่ลากเกวียน เป็ น “ทุนอยูก่ บั ที่” แต่ถ้าถูกกิน จะเป็ นผลผลิต !! 38


• ทุนที่แค่เก็บไว้ นานๆ ไม่ใช่ “ทุนอยูก่ บั ที่” • ระยะเวลาที่ “ทุนอยู่กับที่” ใช้ ในการหมุนเวียนจะแตกต่างกันไปแล้ วแต่คุณสมบัติของมัน รางรถไฟ ท่อนไม้ ยึด ราง และตึกสถานี มีอายุงานต่างกัน และการซ่อมแซม และการซื ้อใหม่ของ “ทุนอยู่กบั ที่” ไม่เหมือนกัน ทำาให้ ซบั ซ้ อนมากขึ ้น • “ทุนอยูก่ บั ที่” บางชนิด มีผลต่อเศรษฐกิจชาติในแง่ที่ถกู โยกย้ ายไปหมุนเวียนที่อื่นไม่ได้ แต่เปลี่ยนเจ้ าของได้ เช่น ท่าเรื อ ที่ดิน ทางรถไฟ • วงจรของทุน “ทุนไหลเวียน” จะหมุนเวียนบ่อยกว่า “ทุนอยูก่ บั ที่” • ความเสื่อมของ “ทุนอยูก่ บั ที่” มีสองชนิด 1. เสื่อมทางราคา เพราะของใหม่ผลิตในราคาถูกกว่าเนื่องจากมีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 2. เสื่อมจากการสึกหรอ • การที่นายทุนต้ องซ่อมแซมและซื ้อใหม่บางชิ ้นส่วนของ “ทุนอยูก่ บั ที่” อาจทำาให้ - ต้ องจ้ างคนงานชุดพิเศษเพื่อทำา หน้ าที่ซ่อมแซม ตรงนีถ้ ือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของมูลค่าการผลิต เฉลี่ยตามอายุงานของเครื่ องจักร แรงงานี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของแรงงานการผลิต - ต้ องออมเงินไว้ เพื่อซ่อมแซม หรื อยืมเงินคนอื่นจากธนาคาร การจำาแนกระหว่างการซ่อมแซมหรือการซื ้อใหม่ของนักบัญชีในธุรกิจต่างๆ บ่อยครัง้ ไม่เป็ นไปตามสภาพความจริ ง สรุ ปทุนชนิดต่ ำงๆ ที่พจิ ำรณำมำถึงจุดนี ้ ทุนคงที่ (Constant Capital)=ทุนวัตถุดิบ เชื ้อเพลิง และปั จจัยการผลิตอื่นๆ เช่นเครื่ องจักร ตึก ทุนแปรผัน (Variable Capital)=ทุนที่สร้ างมูลค่าเพราะใช้ ซื ้อพลังการทำางานของกรรมาชีพ ทุนอุตสำหกรรม (Industrial Capital) อันประกอบไปด้ วย ทุนเงิน M (Money Capital), ทุนกำรผลิต P (Productive Capital), ทุนสินค้ ำ C (Commodity Capital) ทุนอยู่กับที่ (Fixed Capital)=ทุนที่ใช้ เวลาหมุนเวียนช้ าเพราะเป็ นตึกหรื อเครื่ องจักร ทุนไหลเวียน (Circulating Capital)=ทุนที่หมุนเวียนเร็ วและต้ องหาเพิ่มตลอด เพราะเคลื่อนไปหมดกับการผลิต เช่นทุน แปรผันหรื อวัตถุดิบ

บทที่ 9: วงจรของกำรลงทุน

เราสามารถคำานวณระยะเวลาในการโคจรของทุนหนึ่งรอบได้ ในลักษณะที่เป็ นค่าการลงทุนเฉลี่ยต่อปี และระยะเวลา เฉลี่ยในการหมุนเวียนของทุน ดังนี ้... • สมมุติวา่ นายทุนลงทุน $25,000 ในทุนอยูก่ บั ที่ (ตึก เครื่ องจักร) ซึง่ มีอายุงาน 10 ปี และ $12,500 ในทุนอยูก่ บั ที่ 39


ประเภทเครื่ องมือ ที่มีอายุงาน 2 ปี และทุนไหลเวียน (จ้ างงาน วัตถุดิบ) $ 12,500 ที่ต้องลงทุนใหม่ทุก 6 เดือน คือจะใช้ ทุนทัง้ หมด $50,000 • ตามคำาอธิบายของ Scrope นักเศรษฐศาสตร์ สหรัฐ ค่าลงทุนเฉลี่ยต่อปี คือ o $25,000÷ 10 = $2,500 o $12,500 ÷ 2 = $6,250 o $12,500 x 2 = $25,000 รวม = $33,750 และเวลาเฉลี่ยทีทนุ $50,000 จะใช้ ในการหมุนเวียนหนึง่ รอบคือ 18 เดือน • จะเห็นว่าความรวดเร็วของการหมุนเวียนของทุนชนิดต่างๆ จะไม่เหมือนกัน แล้ วแต่คณ ุ สมบัติ • ถึงแม้ ว่าการลงทุนใน “ทุนอยู่กับที่” จะเป็ นก้ อนใหญ่สดุ แต่ “ทุนไหลเวียน” จะหมุนหลายรอบจนมูลค่าของทุน ส่วนนี ้ที่หมุนในหนึง่ ปี อาจมากกว่า “ทุนอยูก่ บั ที่” ได้ • แนวโน้ มที่ มากับการพัฒนาระบบทุน นิย มคื อ เครื่ องจัก รจะทนทานกว่า เดิ ม อายุงานจะยาวขึน้ แต่ในขณะ เดียวกัน เนื่องจากมีการพัฒนาเทคโนโลจีท่ามกลางการแข่งขัน อายุงานที่ใช้ จริ งอาจสันลง ้ เพราะนายทุนต้ องซื ้อ เครื่ องจักรสมัยใหม่บอ่ ยขึ ้นเพื่อแข่งกับคูแ่ ข่ง

บทที่ 12: ช่ วงเวลำทำำงำน

• กระบวนการผลิตสินค้ าที่แตกต่างกัน จะใช้ “เวลาทำางาน” ที่แตกต่างกัน เช่นถ้ าเราเปรี ยบเทียบการปั่ นด้ ายกับ การสร้ างหัวจักรรถไฟ • ในกรณี การปั่ นด้ าย การทำา งานเพียงหนึ่งวันจะได้ ผลผลิตสมบูรณ์ มาส่วนหนึ่ง แต่ในกรณี หัวจักรรถไฟ ต้ อง ทำางานอย่างต่อเนื่องเป็ นเดือนกว่าจะได้ หวั จักรสมบูรณ์ • ระยะเวลาที่เราพูดถึงคือ “เวลำทำำงำน” ซึง่ มันจะมีผลกับความเร็ วในการหมุนเวียนของทุน

อะไรเกิดขึ ้นกับ “ทุนอยูก่ บั ที่” และ “ทุนไหลเวียน” ? • “ทุนอยู่กบั ที่” จะค่อยๆละลายมูลค่าไปกับผลผลิตตามอายุงานของมัน ไม่ว่าเรากำาลังพิจารณาการปั่ นด้ ายหรื อ การสร้ างหัวจักร • แต่ “ทุนไหลเวียน” ในกรณีการสร้ างหัวจักรรถไฟ จะถูกสะสมอยูใ่ นหัวจักรขณะกำาลังสร้ างเป็ นเวลาหลายวัน จน หัวจักรเสร็ จสมบูรณ์ ในเวลานีน้ ายทุนต้ องซื ้อวัตถุดิบและจ้ างงานอย่างต่อเนื่อง โดยไม่มีการหมุนเวียนของทุน ส่วนนี ้กลับมา ซึง่ ไม่เหมือนกรณีการปั่ นด้ ายที่ผลผลิตเอาไปขายได้ ทกุ วัน • ดังนันกรณี ้ ที่การผลิตมี “เวลาทำางาน” นาน นายทุนต้ องใช้ “ทุนไหลเวียน” ในปริ มาณสูง และการผลิตแบบนี ้ที่ใช้ เวลานาน เสี่ยงกับการเปลี่ยนแปลงในตลาดและการขึ ้นลงของเศรษฐกิจมากกว่า 40


• เมื่อทุนนิยมยังไม่เจริ ญเท่าไร งานที่ใช้ “เวลาทำางาน” นานๆ เช่นการสร้ างระบบถนน คลอง ฯลฯ นายทุนเอกชน มักจะมีทนุ ไม่พอที่จะผูกมัดไว้ กบั การผลิตนานๆ รัฐจึงเข้ ามาทำาแทน 21 • แต่พอมีการขยายและรวมศูนย์ของทุนพร้ อมกับตังบริ ้ ษัทร่ วมหุ้นขนาดใหญ่ และมีระบบกู้ยืมเงินผ่านธนาคาร มากขึ ้น นายทุนเอกชนเริ่มทำากิจการเหล่านี ้ได้ • การผลิตในภาคเกษตร มีลกั ษณะ “เวลาทำางาน” ยาว (เช่น หนึง่ ฤดู) ซึง่ สร้ างปั ญหาให้ กบั เกษตรกรรายย่อยมาก

บทที่ 13: เวลำในกำรผลิต “เวลาทำางาน” ย่อมเป็ นส่วนหนึ่งของ “เวลำในกำรผลิต” เสมอ แต่ “เวลาในการผลิต” มีบางช่วงที่ไม่ใช่การทำางาน เช่น กรณีการทำา ไวน์ อาจต้ องรอการหมัก การทำา เครื่ องปั น้ ดินเผาอาจต้ องรอให้ ดินเหนียวแห้ ง เวลาที่ต้นข้ าวจะเติบโตจน พร้ อมจะถูกเก็บเกี่ยวก็มีการรอด้ วย และ “เวลาในการผลิต” นี ้เป็ นเวลาที่นายทุนต้ องรอเพื่อให้ การลงทุนสุกงอม • ข้ อแตกต่างระหว่าง “เวลาทำา งาน” กับ “เวลาในการผลิต” มีผลมากต่อเกษตรกร โดยเฉพาะเกษตรกรรั บจ้ าง เพราะจะมีบางช่วงที่ต้องไปหางานอื่นทำา • นี่คือสาเหตุสำาคัญที่ชมุ ชนเกษตรกรรายย่อย ย่อมอาศัยหลากหลายอาชีพพร้ อมกัน เช่นหัตถกรรม การซ่อมแซม ฯลฯ • มันนำาไปสูส่ ถานการณ์ที่เกษตรกรรายย่อยต้ องพึง่ พาเงินกู้จากพ่อค้ ารายใหญ่

บทที่ 14: เวลำในกำรหมุนเวียน

“เวลำในกำรหมุนเวียน” เป็ นเวลาหลังการผลิตจบสิ ้น ที่สินค้ าอันเป็ นผลผลิต กำาลังถูกแปรรู ปไปเป็ นทุนเงิน ผ่านการ ขาย และเป็ นเวลาที่ทนุ เงินกำาลังแปรกลับมาเป็ นทุนสินค้ า (วัตถุดิบ แรงงานฯลฯ) เพื่อเริ่ มการผลิตรอบใหม่ • “เวลำในกำรขำย” มีอิทธิพลสูงต่อนายทุนปั จเจกในรูปแบบที่แตกต่างกัน และเกี่ยวข้ องกับสภาพตลาด • ถ้ าใช้ เวลาขายนาน จะมีคา่ เก็บสินค้ าเพิ่มมา • ระยะห่างและเวลาในการขนส่งสินค้ าจากจุดผลิตสู่ตลาด มีผลกับ “เวลาในการขาย” ซึง่ สิ่งนี ้มีผลในการกำาหนด จุดผลิตสินค้ าทัว่ โลก แต่เวลาในการขายสามารถลดได้ โดย 1. การพัฒนาประสิทธิภาพการขนส่ง 2. การผลิตแบบต่อเนื่อง เพื่อขนสิ ้นค้ าอย่างต่อเนื่ องโดยไม่มีช่องว่าง แต่ในกรณี นีต้ ้ องผลิตสินค้ าใน ปริมาณสูง [ในสมัยมาร์ คซ์ เวลาในการส่งเงินจากจุดขายกลับสู่ผ้ ผู ลิต โดยเฉพาะในกรณีการค้ าขายระหว่างประเทศ เป็ นเรื่ องใหญ่ ใช้ เวลาหลายสัปดาห์ ซึง่ มีผลกับเวลาหมุนเวียน แต่ในปั จจุบนั การส่งเงินทำาได้ อย่างรวดเร็ ว ] 21

สาธารณูปโภคแรกเริ่มของไทยใช้ รัฐลงทุนทังนั ้ น(ใจ) ้

41


• เวลาที่ใช้ ในการซื ้อวัตถุดิบเพื่อผลิตรอบใหม่ มีผลต่อเวลาในการหมุนเวียนด้ วย

บทที่ 15: ผลของเวลำในกำรหมุนเวียนต่ อปริมำณกำรลงทุน

• ในระบบทุนนิยม พลังสำาคัญอันหนึ่งคือความสามารถในการผลิตอย่างต่อเนื่อง โดยไม่ต้องรอให้ สินค้ าถูกขาย หมดก่อนที่จะลงทุนต่อไป • เวลำในกำรหมุนเวียน = เวลาในการผลิต + เวลาในการแจกจ่ายจำาหน่าย • ดังนันต้ ้ องมีการลงทุนอย่างต่อเนื่อง ซึง่ โดยทัว่ ไป แปลว่าต้ องเพิ่มปริ มาณทุน • ในทุกเวลานายทุนต้ องมีทนุ ในรูปแบบเงินอยูใ่ นมือ เพื่อลงทุนต่อ เงินที่รอการลงทุนนี ้ช่วยพัฒนาระบบธนาคาร • เมื่อมีการผลิตอย่างต่อเนื่อง ถ้ ามีการตัดเวลาแจกจ่ายจำา หน่ายเกิดขึ ้น จะมีการเพิ่มขึ ้นของทุนในรู ปแบบเงิน เพราะไม่ต้องรีบลงทุนส่วนนัน้ เนื่องจากเวลาในการหมุนเวียนสันลง ้  เงินในตลาดเงินจะเพิ่ม • ถ้ าเวลาแจกจ่ายจำาหน่ายเพิ่มขึ ้น นายทุนต้ องหาเงินทุนมาลงทุนมากขึ ้น เพื่อรักษาการผลิตอย่างต่อเนื่องก่อนที่ เงินทุนจะหมุนเวียนกลับมา  เงินในตลาดเงินจะลดลง • ถ้ าราคาวัตถุดิบลดลง เงินที่ต้องนำามาลงทุนแต่แรกจะลดลง  เงินในตลาดเงินจะเพิ่ม หรื ออาจมีการขยายการ ผลิต • ถ้ าราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ ้น ความต้ องการเงินทุนจะเพิ่ม  เงินในตลาดเงินจะลดลง • ถ้ าราคาผลผลิตจากกระบวนการผลิตลดลง เงินทุนที่หมุนเวียนกลับมาจะลดลง ต้ องใช้ ทุนเพิ่มขึ ้นในการผลิต อย่างต่อเนื่อง  เงินในตลาดเงินจะลดลง • ถ้ าราคาผลผลิตเพิ่ม เงินทุนที่หมุนเวียนกลับมาจะเพิ่ม  เงินในตลาดเงินจะเพิ่ม • ถ้ านายทุนจำาเป็ นต้ องหาเงินเพิ่มในการผลิต แต่ได้ วตั ถุดิบมาล่วงหน้ าก่อนจ่าย ผลต่อตลาดเงินจะน้ อยลง

บทที่ 16: กำรหมุนเวียนของทุนแปรผัน(จ้ ำงงำน)

ถ้ าเปรี ยบเทียบกระบวนการผลิตสองชนิดที่มีเวลาการหมุนเวียนต่างกัน เช่น “ก” หมุนเวียนหนึ่งรอบในห้ าสัปดาห์ และ “ข” หมุนเวียนหนึง่ รอบในหนึง่ ปี .... • กระบวนการผลิตที่หมุนเวียนหลายรอบต่อปี สามารถผลิตมูลค่าส่วนเกินในสัดส่วนสูงถ้ าเทียบกับต้ นทุนการจ้ าง พลังการทำางาน เพราะมีการหมุนเวียนและสร้ างมูลค่าส่วนเกินหลายรอบ • มูลค่าส่วนเกินที่มาจากการทำางานของลูกจ้ าง สามารถนำามาลงทุนในรอบต่อไป โดยไม่ต้องหาทุนมาลงทุนอีก ซึง่ ต่างจากกรณีที่มีเวลาหมุนเวียนยาว • ในการลงทุนครัง้ ที่สองเป็ นต้ นไป เงินทุนที่นำา มาลงทุนไม่ได้ มาจากนายทุนเองแต่อย่างใด แต่มาจากมูลค่าที่ แรงงานสร้ าง เงินทุนที่นายทุนนำามาลงทุนแต่แรกในการจ้ างงานมันหมดไปกับการจ้ างงานรอบแรก ซึง่ กรรมาชีพ 42


ใช้ เงินนี ้ในการซื ้อสินค้ าเพื่อยังชีพ/ผลิตซ้ำ าตัวเอง • ในกระบวนการผลิตที่ใช้ เวลานาน หมุนเวียนช้ า กรรมาชีพยังถูกจ้ าง และต้ องซื ้อสินค้ ายังชีพอย่างต่อเนื่อง ใน ขณะที่กรรมาชีพเหล่านันยั ้ งไม่ได้ ผลิตสินค้ าสมบูรณ์ที่จะวางขายในตลาดได้ เงินที่กรรมาชีพจ่ายให้ พ่อค้ าแม่ค้า เพื่อซื ้อสินค้ ายังชีพจึงมีแนวโน้ มว่าไม่สามารถหมุนเวียนกลับไป ผ่านขันตอนต่ ้ างๆ เพื่อเพิ่มการผลิตใหม่ได้ ทนั ที  ราคาสินค้ าจะเพิ่มเพราะสินค้ าขาดตลาดแต่มีเงินสะสมเพิ่มขึ ้น  อาจมีการนำาเข้ าสินค้ าจากต่างประเทศ  อาจมีการ ปั่ น/พนัน ราคาสินค้ า  เสี่ยงกับวิกฤตที่มาจากความไร้ เสถียรภาพของระบบมากขึ ้น แต่ วิกฤตนี ้ มีภำพว่ ำเป็ นวิกฤตกำรเงิน ทัง้ ๆ ที่เป็ นวิกฤตในระบบกำรผลิต • ถ้ าสินค้ าขาดตลาด อาจทำาให้  การลงทุนในระบบการผลิตเพิ่ม  การจ้ างงานจะเพิ่ม ค่าจ้ างจะเพิ่มขึ ้น แต่พอเงินเริ่มขาดตลาด  มีการลอยแพคนงาน  ค่าจ้ างตกต่าำ • ประเด็นสำาคัญในกรณีนีค้ ือ สังคมทุนนิยมไม่สามารถประเมินว่าจะใช้ แรงงานและทรัพยากรในปริ มาณเท่าใด โดยไม่มีผลเสียต่อเศรษฐกิจโดยรวม ถ้ าการผลิตใช้ เวลานาน • ในระบบสังคมนิยม จะยกเลิกเงิน เพราะเงินเป็ นภาพลวงตาที่ทำาให้ มองไม่เห็นการผลิตพื ้นฐาน และทำาให้ สงั คม ไม่สามารถวางแผนการผลิตได้

บทที่ 17: กำรหมุนเวียนของมูลค่ ำส่ วนเกิน

• ในกระบวนการผลิตที่หมุนเวียนเร็ว การลงทุนเพิ่มในการซ่อมแซมเครื่ องจักรจะมาจากมูลค่าส่วนเกินที่ผลิตขึ ้นได้ แต่ในกระบวนการผลิตที่หมุนเวียนช้ า นายทุนต้ องลงทุนเพิ่มเพื่อซ่อมแซมเครื่ องจักรด้ วยการเพิ่มทุนเอง • เมื่อระบบธนาคารเกิดขึ ้น นายทุนสามารถกู้เงินจากธนาคาร เงินดังกล่าวมาจากมูลค่าส่วนเกินที่นายทุนคนอื่น ฝากไว้ นายทุนที่ก้ เู งินแบบนี ้ เสมือนตัวแทนของนายทุนคนอื่นที่ฝากเงินไว้ ในธนาคาร เป็ นตัวแทนที่นำาเงินนันไป ้ เพิ่มมูลค่าในกระบวนการผลิต • เมื่อมูลค่าส่วนเกินเพิ่ม นายทุนสามารถ 1. ลงทุนขยายกิจการ 2. พัฒนาระบบการผลิตที่มีอยูแ่ ล้ ว 3. ขยายเวลาทำางาน โดยไม่เพิ่มการลงทุนในเครื่ องจักร 4. นำามูลค่าส่วนเกินไป “พนัน” ปั่ นหุ้น หรื อปั่ นราคาของวัตถุดิบ • การสะสมมูลค่าส่วนเกินในมือนายทุนมีหลายรูปแบบคือในรูปแบบ เงิน หรื อทุนในการผลิตต่อ • การสะสมเงินในรู ปแบบ “คลังเงิน” เป็ นสิ่งจำา เป็ นสำา หรั บการผลิต เพื่อให้ มีความยืดหยุ่น แต่จากมุมมองของ ระบบการผลิต มันยังไม่เป็ นทุนการผลิต มันเป็ นเพียง “สัญญา” หรื อเอกสารเพื่อ “อ้ างกรรมสิทธิ ์ในการผลิตใน อนาคต” • บางคนอาจสงสัยว่าเมื่อนายทุนมีระบบการผลิต และผลิตมูลค่าส่วนเกินขึ ้นมาด้ วยการทำา งานของกรรมาชีพ 43


“เงินเพิ่ม” มันมาจากไหน? แต่อย่าลืมว่าเรากำาลังพูดถึง “มูลค่า” และ “เงิน” เป็ นแค่สญ ั ลักษณ์ของมูลค่า ดังนัน้ เราตังคำ ้ าถามนี ้ไม่ได้ • กฎของการหมุนเวียนของสินค้ ากำาหนดว่า ในสังคมต้ องมี “เงิน” เพียงพอที่จะออมไว้ เป็ นคลังส่วนหนึ่ง และอีก ส่วนหล่อลื ้นการหมุนเวียนของสินค้ าทังหมดในสั ้ งคม มันเป็ นเงื่อนไขพื ้นฐานของระบบทุนนิยม • ผู้ผลิต “เงิน” ในรูปแบบเดิม คือทองคำาหรื อโลหะเงิน จะลงทุนเพื่อสกัด ถลุง และผลิตโลหะมีค่า เหมือนนายทุน อื่นที่ผลิตสินค้ า แต่ตา่ งจากการผลิตทัว่ ไปเพราะเขาไม่ต้องขายผลผลิตเพื่อได้ “เงิน” มา เขาผลิต “เงิน” โดยตรง มันเป็ น “เงิน” แต่แรก กระบวนการนี ้จะเพิ่มปริ มาณเงินในระบบเศรษฐกิจ • การค้ นพบแหล่งเงินแหล่งทองในทวีปอเมริ กา ในศตวรรษที่ 16 เป็ นเครื่ องกระตุ้นสำา คัญสำา หรั บการกำา เนิ ด ทุนนิยม • เงินออมที่เป็ นคลัง “รอการลงทุน” มีหลายรูปแบบคือ 1. เงินออมในธนาคาร แต่เงินจริ งๆ ที่จบั ต้ องได้ ในธนาคารมีน้อย เพราะธนาคารนำาไปปล่อยกู้อีกที ดัง นันเงิ ้ นออมนี ้กองอยูใ่ นธนาคารในรูปแบบ “สัญญาจ่าย” 2. เงินที่เอกชนให้ รัฐบาลกู้ 3. หุ้น ในทังสามกรณี ้ ไม่มีการเก็บเงินจริงไว้ เท่าไร • การผลิต “เงิน” ในรูปแบบโลหะมีคา่ ทองคำาหรื อเงิน เป็ นสิ่งที่เพิ่ม “ค่าใช้ จ่าย” ของสังคมให้ กบั ระบบทุนนิยม ดัง นันจึ ้ งมีการประหยัดค่าใช้ จา่ ยนี ้ผ่านระบบกู้ยืมเงินที่ไม่ต้องใช้ เงินสดจริ งทุกครัง้ “แต่ เรำไม่ ควรหลงคิดว่ ำระบบกู้ยืมหรื อ ‘เครดิด-สินเชื่อ’ มีอำำ นำจวิเศษในกำรผลิต” • กำรเพิ่มค่ ำจ้ ำงไม่ ได้ ทำำ ให้ ปริ มำณเงินในสั งคมลดลงแต่ อย่ ำงใด และไม่ ใช่ เหตุผลของกำรขึน้ รำคำ สินค้ ำ(เงินเฟ้อ) อย่ ำงที่นำยทุนและนักวิชำกำรที่รับใช้ -เลียก้ นนำยทุนชอบอ้ ำง แต่ มันนำำไปสู่ - กำรลดกำำไร - เพิ่มกำรผลิต เพรำะกรรมำชีพซือ้ สินค้ ำเพิ่มขึน้

ภำคที่ 3 กำรผลิตซ้ำ ำและหมุนเวียนของทุนสังคม 44


บทที่ 18: คำำแนะนำำ

การหมุนเวียนของทุนของนายทุนปั จเจกแต่ละคน หรื อกลุ่มทุนแต่ละกลุ่ม เชื่อมโยงกัน เมื่อมองภาพรวมของสังคมเราจะ เห็นการเคลื่อนไหวของทุนสังคมทังหมด ้ มันเป็ นส่วนสำาคัญในการผลิตซ้ำ า เงิน การหมุนเวียนของสินค้ า และการใช้ เงินเป็ นสัญลักษณ์ของมูลค่าสินค้ า คือเงื่อนไขในการกำาเนิดระบบการผลิตสินค้ าแบบ ทุนนิยม 1. สัดส่วนของทุนในรูปแบบเงิน มีความสัมพันธ์ในด้ านตรงข้ าม กับสัดส่วนทุนที่เป็ นทุนการผลิต ถ้ าทุนส่วนใหญ่มี รูปแบบชัว่ คราวเป็ นทุนการผลิต ทุนส่วนน้ อยจะมีรูปแบบเป็ นทุนเงิน ฯลฯ 2. เงินทุนก้ อนหนึง่ ที่นายทุนลงทุน ไม่มีผลในการกำาหนดองค์ประกอบต่างๆ ของการผลิต เช่นความเข้ มข้ นของการ ใช้ วตั ถุดิบ แรงงาน เครื่องจักร และมูลค่าที่ถกู ผลิตขึ ้นแต่อย่างใด สิง่ เหล่านี ้ขึ ้นอยูก่ บั กระบวนการผลิตเท่านัน้ 3. แรงงานของสังคมที่ใช้ ผลิต “เงิน” เป็ นค่าใช้ จา่ ยของสังคมที่ลดแรงงานที่ใช้ ในการผลิตทัว่ ไป 4. ระบบกู้ยืม ทำาให้ ปริมาณเงินในสังคมยืดหยุน่ 5. วิกฤตในตลาดการเงิน มีผลต่อระบบการผลิต และวิกฤตในระบบการผลิตมีผลต่อตลาดการเงิน 6. ในสังคมที่ทกุ คนร่วมกันผลิต (สังคมนิยม) เราไม่จำาเป็ นต้ องมีเงิน เพราะสังคมจะกำาหนดว่า ปั จจัยการผลิตและ พลังการทำางานจะใช้ ในสัดส่วนใด ในภาคต่างๆ ของกระบวนการผลิต และผู้ผลิตสามารถบริ โภคส่วนหนึ่งของ ผลผลิต เขาอาจใช้ “คูปอง” เพื่อเป็ นสิทธิที่จะได้ สนิ ค้ า แต่นนไม่ ั ้ ถือว่าเป็ น “เงิน” เพราะมันไม่หมุนเวียน 22

บทที่ 19: วิจำรณ์ นักเศรษฐศำสตร์ กำรเมืองอื่นๆ

อดัม สมิท (Adam Smith) ยืนยันความเชื่อว่า “มูลค่าสินค้ าประกอบไปด้ วย 1. ค่าจ้ าง – ที่กรรมาชีพได้ 2. กำาไร – ที่นายทุนได้ 3. ค่าเช่า – ที่เจ้ าของที่ดินได้ โดยที่ Smith เสนอว่า กำาไร และค่าเช่าคือ “ส่วนเกิน” และมูลค่าสินค้ าที่คนงานเพิ่มให้ กบั วัตถุดิบ เกิดผ่านการทำางาน แต่ 1. Smith เริ่ มต้ นจากวิธีการแบ่งมูลค่าสินค้ าที่เห็นอยู่ในสังคม (ระหว่าง กรรมาชีพ นายทุน และเจ้ าของที่ดิน ) โดย อ้ างว่ามันเป็ น “ธรรมชาติ”23 แล้ ววกกลับมาใช้ ปรากฏการณ์นี ้เพื่อคำานวณมูลค่า มันไม่สมเหตุสมผล 2. การผลิตในระบบทุนนิยมมีเป้าหมายเดียวคือ การผลิตมูลค่าส่วนเกินที่นายทุนยึดเอาไป และมันเกิดขึ ้นได้ ตอ่ เมื่อ ปั จจัยการผลิตอยูใ่ นมือคนส่วนน้ อย คือนายทุนที่ไม่ได้ ทำางาน ไม่มีการ “ซื ้อขาย” แต่มีการแจกจ่ายตามแผนที่กำาหนดร่วมกัน (ใจ) 23 ซึง่ สอดคล้ องกับผลประโยชน์นายทุน(ใจ) 22

45


3. มูลค่าคือปริมาณแรงงานที่ใช้ ในการผลิต มันไม่มีสิ่งอื่นเกี่ยวข้ อง มูลค่าของสินค้ าที่ใช้ ปริ มาณแรงงานหน่วยหนึ่ง จะไม่เปลี่ยนแปลงเลย ไม่ว่ามูลค่าทังหมดจะตกในมื ้ อผู้ผลิต เช่นในกรณี ช่างหัตถกรรม หรื อต้ องแบ่งระหว่าง กรรมาชีพ นายทุน และเจ้ าของที่ดิน หรือต้ องแบ่งกันระหว่างไพร่กบั เจ้ านาย 4. Smith มองข้ ามส่วนของมูลค่าสินค้ า ที่มาจากการทำางานของกรรมาชีพในอดีต คือมูลค่าของปั จจัยการผลิตที่ แรงงานสร้ างแต่แรกและค่อยๆ ละลายไปในผลผลิตตามอายุงานของเครื่ องจักร หรื อส่วนเกินในอดีตที่ใช้ ในการ ลงทุนใหม่ Smith มองข้ ามมิติประวัติศาสตร์ และเลือกภาพนิ่งของปั จจุบนั อย่างเดียว เดวิด ริ คาโด (David Ricardo) คล้ อยตาม Adam Smith ในข้ อผิดพลาดตรงนี ้หมดเลย ยกเว้ นแต่ว่า Ricardo มองว่า ค่าเช่าไม่มีสว่ นในมูลค่า24 ฉอน บับทิ สต์ เซ (Jean-Baptiste Say) นำา ข้ อผิดพลาดของ Smith มาขยายให้ แย่มากขึน้ หลายเท่า โดยเสนอว่า “มูลค่าคือ ‘กำาไร’ ของนายทุน กรรมาชีพ และ เจ้ าของที่ดิน” สรุปแล้ วทุกฝ่ ายมีสว่ นในการผลิต ปิ แอร์ โจเซฟ พรูดอง (Pierre-Joseph Proudhon)25 คล้ อยตาม Say จอห์น เสตียวอาร์ด มิล (John Stuart Mill) คล้ อยตาม Smith “แต่เพิ่มเติมท่าทีที่ให้ ความสำาคัญกับตัวเอง”

บทที่ 20: กำรผลิตซ้ำ ำพืน้ ฐำน –มองจำกมุมมองสังคมทัง้ หมด

ในการพิจารณา “การผลิตซ้ำ าพื ้นฐาน” ตอนนี ้ มาร์ คซ์ใช้ สมมุติฐานว่ามูลค่าส่วนเกินทังหมดถู ้ กบริ โภคไป เพื่อง่ายกับการ ศึกษา ซึง่ ในโลกจริ งมาร์ คซ์มองว่าไม่ได้ เป็ นอย่างนัน้ • ถ้ าพิจารณาทุนสังคม26และการเคลื่อนไหวของทุนนี ้ จะเห็นว่าประกอบไปด้ วยทุนปั จเจกของนายทุนแต่ละคน และความสัมพันธ์ระหว่างทุนเหล่านันในสั ้ งคมโดยรวม • การผลิตในรอบปี หนึง่ ซึง่ ขึ ้นลงตามสภาพเศรษฐกิจ ประกอบไปด้ วย สองภำคของกำรผลิตในสังคม คือ 1. กำรผลิตปั จจัยกำรผลิต (ภำคที่ 1) เครื่ องจักรและวัตถุดิบ 2. กำรผลิตเพื่อบริโภค โดยกรรมาชีพและนายทุน (ภำคที่ 2) การแลกเปลี่ยนระหว่างสองภาคการผลิต • ค่าจ้ างแรงงานที่ภาค 1 จ่ายให้ กรรมาชีพ ถูกนำามาซื ้อผลผลิตจากภาค 2 และเงินนี ้นายทุนภาค 2 ใช้ ในการซื ้อ ปั จจัยการผลิต(เครื่องจักร)จากภาค 1 • ทุนแปรผัน(ค่าจ้ าง) ที่ภาค 1 จ่าย ต้ องผ่านภาค 2 ถึงจะกลับมาสูภ่ าค 1 ได้ ซึง่ สะท้ อนจุดยืนนายทุนสมัยใหม่ที่มีอคติกบั เจ้ าของที่ดิน (ใจ) 25 นักอนาธิปไตยฝรั่งเศส(ใจ) 26 ความหมายไม่เหมือนทุนทางสังคมที่ธนาคารโลกพูดถึงในยุคนี ้ มันหมายถึงทุนทังหมดในสั ้ งคม(ใจ) 24

46


การแลกเปลี่ยนภายในภาค 2: สินค้ าจำาเป็ น และสินค้ าฟุ่ มเฟื อย • ค่ า จ้ างที่ น ายทุ น ภาค 2 จ่ า ยให้ กรรมาชี พ ภาค 2 จะถู ก ใช้ โดยกรรมาชี พ ในการซื อ้ สิ น ค้ า ที่ ต นเองผลิ ต ทุนหมุนเวียนกลับภายในภาคเดียวกัน • สินค้ าบริ โภคที่ผลิตโดยภาค 2 แบ่งเป็ น: 1. สินค้ าจำาเป็ นในการเลี ้ยงชีพ (แผนก 2A) 2. สินค้ าฟุ่ มเฟื อยที่คนรวย(นายทุน)เท่านันซื ้ ้อได้ (แผนก 2B) • คนงานในภาค 2 ในแผนกผลิตสินค้ าฟุ่ มเฟื อย (2B) ไม่ได้ ซื ้อสินค้ าที่ตนเองผลิต แต่ไปซื ้อจากแผนก 2A (สินค้ า จำาเป็ น) เงินที่นายทุนในแผนกนี ้ได้ นายทุนนำาไปซื ้อสินค้ าฟุ่ มเฟื อยเพื่อใช้ เอง • โดยทั่วไปแล้ ว ทุนแปรผัน (ค่าจ้ าง) และมูลค่าส่วนเกิน ที่ผลิตในภาค 1 (ปั จจัยการผลิต )จะต้ องสอดคล้ องกับ มูลค่าที่ผลิตในภาค 2 (ปั จจัยการบริโภค) ไม่เช่นนันการผลิ ้ ตซ้ำ าจะมีปัญหา • มูลค่าส่วนเกินในมือขอนายทุนส่วนหนึง่ ในภาค 2A (สินค้ าจำาเป็ น) ต้ องนำามาซื ้อสินค้ าฟุ่ มเฟื อย • Adam Smith ไม่เข้ าใจว่าทุนต้ องแลกเปลี่ยนกันข้ ามภาคแบบนี ้ และมองว่ามูลค้ าสินค้ ามาจากการแลกเปลี่ยน ในตลาด และมีผลซึง่ กันและกันระหว่างสินค้ าและค่าจ้ าง โดยไม่เข้ าใจบทบาทของมูลค่าส่วนเกิน • ในวิกฤตเศรษฐกิจ สินค้ าฟุ่ มเฟื อยจะขายไม่ออก ทำาให้ คนงานส่วนนี ้ถูกเลิกจ้ าง ซึง่ มีผลต่อการขายสินค้ าจำาเป็ น เพราะคนงานขาดรายได้ แต่ถ้าเศรษฐกิจขยายตัว คนงานบางคนอาจซื ้อสินค้ าฟุ่ มเฟื อยได้ และราคาสินค้ าโดย ทัว่ ไปจะเพิ่ม • การพูดว่าวิกฤตเกิดเพราะ “ไม่มีความต้ องการในตลาดที่จะบริ โภค” เป็ นการพูดวนซ้ำ าที่ไม่อธิบายอะไร และถ้ ามี การอธิบายต่อไปว่าการเพิ่มค่าจ้ างจะมีผลในการเพิ่มกำาลังซื ้อ ซึง่ จะทำาให้ วิกฤตไม่เกิดแต่แรก มันก็ไม่จริ ง เพราะ บ่อยครัง้ มีการเพิ่มค่าจ้ างก่อนเกิดวิกฤต และกรรมาชีพได้ สว่ นแบ่งจากการผลิตมากขึ ้น แต่วิกฤตก็เกิดอยูด่ ี การหมุนเวียนของเงินในฐานะตัวกลางในการแลกเปลี่ยน • การแลกเปลี่ยนระหว่างภาคการผลิตปั จจัยการผลิต (1) และภาคการผลิตปั จจัยการบริ โภค (2) อาศัยเงินเป็ น ตัวกลาง แต่กระบวนการเปลี่ยนรูปแบบของทุนอย่างนี ้ ไม่ได้ สร้ างมูลค่าเพิ่มให้ นายทุนแต่อย่างใด • ส่วนสำาคัญในก้ อนเงินทังหมดของชาติ ้ ที่หมุนเวียนอยูค่ ือเงินค่าจ้ าง • ถ้ าการหมุนเวียนของทุนมีความรวดเร็ว ปริ มาณเงินที่จำาเป็ นสำาหรับการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้ าจะน้ อยลง • นายทุนอุตสาหกรรมเป็ นผู้ลงทุนด้ วยเงินแต่แรก แต่การมีนายทุนธนาคาร และการแบ่งมูลค่าส่วนเกินกับเจ้ าของ ที่ดิน นายธนาคาร หรือเจ้ าหน้ าที่รัฐ ทำาให้ ภาพดูซบั ซ้ อน ทุนคงที่ในการผลิตภาคปั จจัยการผลิต (ภาค 1) • ถ้ ามองจากสังคมทัง้ หมด แทนการดูแค่นายทุนปั จเจก สินค้ าใหม่ที่ผลิตในภาคปั จจัยการผลิต จะถูกใช้ โดย นายทุนภาคนี ้เอง และทุนคงที่ที่ฝังอยู่ในมูลค่าสินค้ าภาคนี ้ ไม่ต้องแปลงกายผ่านการแลกเปลี่ยน เพราะใช้ ผลิต 47


ต่อได้ เพียงแต่มีการสลับที่ระหว่างนายทุน ซึง่ สภาพเช่นนี ้ (การสลับตำาแหน่ง)ของสินค้ าผลผลิตจากภาค 1 ก็ต้อง เกิดในสังคมนิยมด้ วย • มูลค่าของทุนคงที่ ที่ละลายไปในสินค้ าใหม่ของการผลิตภาค 2 (บริ โภค) ไม่สามารถนำามาใช้ ในกระบวนการผลิต อีก ถ้ าไม่นำาไปแลกเปลี่ยนกับผลิตผลจากภาค 1 ทุนแปรผันและมูลค่าส่วนเกินในสองภาคการผลิต [สมมุติฐานว่ามูลค่าส่วนเกินทังหมดถู ้ กบริโภคไป] • มูลค่าทังหมดของการผลิ ้ ตในภาค 1 ที่ผลิตขึ ้นในหนึง่ ปี = มูลค่าใหม่ที่ผลิตขึ ้นในสังคม หรื อ = ผลรวมของ ทุนแปรผัน + มูลค่าส่วนเกินในภาคการผลิต 1+2 และทุนคงที่ ที่ใช้ ในการผลิตในภาค 1 จะถูกนำามาผลิตต่อไปในรูปแบบ เครื่ องจักรและวัตถุดิบใหม่ • ถ้ ามองจากมุมมองสังคม ส่วนหนึ่งของวันทำางาน ต้ องใช้ ในการผลิตมูลค่าทุนคงที่ใหม่ (เครื่ องจักร และวัตถุดิบ) ที่ใช้ ในการบริโภคไม่ได้ • และการทำา งานในแต่ละภาค (1,2) เกิดขึน้ ไม่ได้ ถ้ าไม่ใช้ ผลผลิตของแรงงานในอดีตในรู ปแบบเครื่ องจักรและ วัตถุดิบ(ที่สกัดมาจากธรรมชาติ) • แต่ Adam Smith มองข้ ามมูลค่าที่แรงงานในอดีตผลิตขึ ้นมา เมื่อเขาพยายามคำานวณมูลค่าการผลิตใน 1 ปี ทุนคงที่ในสองภาค เนื่องจากการทำางานของกรรมาชีพในภาคการผลิตปั จจัยการผลิต (1) ....ในที่สดุ ผลิตซ้ำ าเครื่ องจักร(ทุนคงที่)ที่สกึ หรอ [ถ้ า ใช้ สมมุติฐานว่ามูลค่าส่วนเกินทังหมดถู ้ กบริ โภคไปและไม่ลงทุนเพิ่ม ] มันดูเหมือนว่ามูลค่าที่ถูกสร้ างขึ ้นในแต่ละปี เป็ น แค่มลู ค่าที่ใช้ ในการบริโภค แต่มนั เป็ นภาพลวงตา Adam Smith และคนอื่น มองข้ ามการผลิตซ้ำ าของทุนคงที่ในกระบวนการผลิตภาค 1 เสมอ โดยอ้ างว่าผู้บริ โภคต้ อง จ่ายมูลค่าทังหมดที ้ ่ผลิตขึ ้นในแต่ละปี เพราะมองว่ามูลค่าทังหมดคื ้ อมูลค่าปั จจัยการบริ โภค ทุนและรายได้ ; ทุนแปรผัน และค่าจ้ าง • ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อปี มาจากการทำา งานของกรรมาชีพในปี นัน้ ๆ แต่มลู ค่าของมันย่อมมากกว่าแค่ปริ มาณ แรงงานที่ใช้ ในปี นัน้ เพราะส่วนหนึ่งของมูลค่ามาจากการทำางานในปี ก่อนๆ ที่มีรูปแบบเป็ นทุนคงที่ไปแล้ ว มัน ไม่ใช่มลู ค่าที่ถกู ผลิตซ้ำ าอีกรอบ แต่มนั ปรากฏขึ ้นในรูปแบบใหม่เท่านัน้ 48


• มูลค่าที่ถกู ผลิตในรอบหนึง่ ปี = ค่าจ้ างและมูลค่าส่วนเกินในปี นนั ้ • ระบบทุนนิยมต่างจากระบบก่อน ตรงที่สดั ส่วนของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในแต่ละปี ที่ใช้ ผลิตปั จจัยการผลิตแทนการ บริ โภค จะสูงกว่า • ทุนคงที่ มีตวั ตนในรู ปแบบทุนเงินในมือนายทุน หลังจากนันมั ้ นแปรรู ปไปเป็ นทุนคงที่จริ งๆ หลังจากที่มีการซื ้อ พลังการทำางานจากกรรมาชีพ ต่อจากนันมั ้ นจะถูกแปรรูปเป็ นทุนสินค้ าหรื อผลผลิต • เงินค่าจ้ างในมือกรรมาชีพ ไม่ใช่ทนุ คงที่ แต่เป็ นเงินที่มีมลู ค่าเท่ากับพลังการทำางานที่กรรมาชีพขาย เงินนี ้ไม่ได้ มี กำาเนิดจากนายทุน แต่มาจากมูลค่าที่กรรมาชีพสร้ างผ่านการทำางาน และกรรมาชีพมักได้ เงินนี ้หลังจากทำางาน เสร็ จไปแล้ ว • นักเศรษฐศาสตร์ การเมืองกระแสหลัก เข้ าใจผิดว่า เงินค่าจ้ างทำาหน้ าที่สองอย่างพร้ อมกันคือ 1. ถูกใช้ ในการซื ้อ พลังการทำางานของกรรมาชีพ และ 2. ถูกใช้ โดยกรรมาชีพในการเลี ้ยงชีพและผลิตซ้ำ าตนเอง ดังนันพวกนั ้ นมองว่ ้ า กรรมาชีพก็ “ลงทุน” ในการผลิต “พลังการทำางาน” และกรรมาชีพจึง “เป็ นนายทุนไปด้ วย” แต่ถ้าใช้ ตกั กะแบบนี ้ ทาสก็เป็ นนายทุนด้ วย เพียงแต่ในกรณีทาส แรงงานเขาถูกขายเป็ นก้ อนเดียวตลอดชีวิต การทดแทน “ทุนอยูก่ บั ที่” • เวลามีการผลิต “ทุนอยูก่ บั ที่” จะค่อยๆ ละลายมูลค่าลงไปในผลผลิตในรูปแบบการสึกหรอ • เมื่อ “ทุนอยู่กับที่” เช่นตึก เครื่ องจักร ฯลฯ หมดสภาพในการใช้ งาน มูลค่าของมันจะปรากฏอยู่ควบคู่กันกับตึก และเครื่ องจักรที่หมดอายุ ในลักษณะเงินทุน ที่มาจากการขายผลผลิตทังหมดในส่ ้ วนที่เป็ นมูลค่าจาก “ทุนอยูก่ บั ที่” ดังนันมั ้ นต้ องมีการค่อยๆ ออมเงินนี ้ในสังคมจนกว่าจะครบถ้ วน เพื่อซื ้อใหม่ • การทดแทน “ทุนอยูก่ บั ที่” เนื่องจากการสึกหรอ จะใช้ เวลาแตกต่างกันไปแล้ วแต่ลกั ษณะของมัน • แต่เนื่องจากการทดแทนนี ้เกิดเป็ นจังหวะๆ ไม่สม่าำ เสมอ จึงต้ องมีการผลิตเกินความต้ องการของตลาดช่วงหนึ่ง เพื่อนำามาใช้ ในอนาคต ในระบบทุนนิยมการผลิตเกินเพื่อใช้ ในอนาคต มีลกั ษณะวุ่นวายที่ไม่มีการวางแผน นัก เศรษฐศาสตร์ กระแสหลักมองว่าความไม่สมดุลระหว่าง “ทุนอยู่กับที่” กับ “ทุนไหลเวียน” คือต้ นเหตุของวิกฤต แต่มนั เป็ นสถานการณ์ปกติและจำาเป็ นสำาหรับการผลิตในระบบทุนนิยม

การผลิตซ้ำ า “เงิน” การผลิตซ้ำ าทองคำาหรื อเงิน มีความพิเศษ เพราะส่วนสำาคัญคือการผลิตซ้ำ าเงินตรา 27 การผลิตเงินหรื อทองถือว่าเป็ นการ ผลิตภาค 1 (ปั จจัยการผลิต) • นายทุนที่ผลิตทองหรื อเงิน จะจ้ างแรงงานกรรมาชีพจากเงินตราที่มีอยู่ในสังคม กรรมาชีพจะใช้ ค่าจ้ างนี ้เพื่อซื ้อ 27

สมัยนันเงิ ้ นตราส่วนใหญ่เป็ นทองคำาหรื อเงินแท้ (ใจ)

49


ผลผลิตในการบริโภคจาก ภาค 2 และนายทุนภาค 2 นี ้จะได้ เงินตราหรื อทองคำาจากการขายผลผลิตของเขา หรื อ นายทุนที่ผลิตทองหรือเงินจะใช้ ทองหรือเงินที่ผลิต เพื่อซื ้อสินค้ าบริ โภคเอง • จะเห็นว่าปริมาณทองหรือเงินจะเพิ่มขึ ้นตลอดเวลาตามการพัฒนาของระบบทุนนิยม • ทองหรื อเงินนี ้มีบทบาทในการเปลี่ยนทุนสินค้ าเป็ นเงินในมือของนักลงทุน เพื่อการผลิตรอบต่อไป • แต่ ป ริ ม าณทองหรื อ เงิ น ในสัง คมไม่จำา เป็ นต้ อ งเท่ า กับ มูล ค่ า ทัง้ หมดที่ ผ ลิ ต ขึ น้ เพราะเงิ น หรื อ ทองเป็ นแค่ สัญลักษณ์ของมูลค่า และการแลกเปลี่ยนหมุนเวียนอาจไม่ใช้ เงินเสมอไป • Adam Smith เข้ าใจผิดว่ามูลค่าทังหมด ้ =มูลค่าแปรผัน (ค่าจ้ าง) + มูลค่าส่วนเกิน โดยลืมมูลค่าคงที่ ที่มาจาก การทำางานในอดีต และเขาเสนออย่างผิดพลาดว่า “ปริ มาณเงินตราหรื อทองคำาในสังคมต้ องเท่ากับมูลค่าทังหมด ้ ในสังคม” • ในระบบทุนนิยม เนื่องจากมีการจ้ างงานด้ วยเงิน เงินมีความสำาคัญมากกว่าในยุคโบราณ

บทที่ 21: กำรขยำยกำรสะสม และหมุนเวียน ในโลกแห่ งควำมเป็ นจริง กำรสะสมและกำรหมุนเวียนของทุน เกิดขึน้ ในปริมำณที่ขยำยใหญ่ ขนึ ้ อย่ ำงต่ อเนื่อง ไม่ ใช่ ว่ำมูลค่ ำส่ วนเกินทัง้ หมดถูกบริโภค • ซึง่ แปลว่ามูลค่าส่วนเกินส่วนหนึง่ ของการผลิตภาค 1 (ปั จจัยการผลิต ) และภาค 2 (ปั จจัยการบริ โภค) ต้ องนำามา ลงทุนต่อเพื่อสะสม จึงบริโภคไม่ได้ • สำาหรับภาค 1 มูลค่าส่วนเกินในส่วนที่จะนำามาลงทุนต่อ มีรูปร่ างเป็ นปั จจัยการผลิตอยู่แล้ ว นำามาใช้ งานได้ เลย เพื่อขยายการสะสมหมุนเวียน • สำาหรับภาค 2 มูลค่าส่วนเกินที่จะลงทุนต่อ ต้ องนำามาซื ้อปั จจัยการผลิตจาก ภาค 1 • ดังนันภาค ้ 1 มีหน้ าที่ในการขยายปั จจัยการผลิตของทังสองภาค ้ • สำาหรับภาค 2 การเพิ่มการบริ โภคผลผลิตที่เกิดขึ ้นต้ องมาจากภาคนีท้ งหมด ั้ และต้ องอาศัยค่าจ้ างของภาค 1 และภาค 2 รวมกับการบริ โภคส่วนตัวของนายทุน ซึง่ การเพิ่มขึ ้นตรงนี ้อาจมาจากการเพิ่มจำานวนคนงานหรื อค่า จ้ างตามการขยายของการผลิต • นายทุนภาค 2 ต้ องออกเงินซื ้อปั จจัยการผลิตเพิ่มจากภาค 1 ในขณะที่ “การลงทุนต่อ” ในทังสองภาค ้ ต้ องกิน ส่วนแบ่งมูลค่าส่วนเกินจากการบริโภค การเพิ่มปริ มาณเงินจากการผลิตอาจช่วย และสำาหรับนายทุนปั จเจก เขา อาจพยายามลดค่าจ้ างของลูกจ้ างเขาผ่านระบบร้ านค้ าของบริ ษัทที่บงั คับให้ ลกู จ้ างใช้ ซื ้อสินค้ าในราคาแพง เพื่อ เพิ่มเงินในมือนายทุน • การขยายการหมุน เวี ย นและสะสม ต้ องขยายทัง้ ระบบ เพราะทัง้ เงิ น และเครื่ อ งจัก รต้ อ งมี เพิ่ ม ขึน้ ในสัง คม (แรงงานด้ วย) แต่เงินไม่ใช่ตวั กระตุ้นหลักในการขยาย มันเป็ นเพียงน้ำ ามันหล่อลื ้น • การหมุนเวียนของทุนในสังคมโดยรวม เป็ นภาพของการแปรตัวกลับไปกลับมาระหว่างทุนเงิน ทุนสินค้ า และทุน 50


การผลิตตลอดเวลา โดยมีทนุ ในแต่ละรูปแบบดำารงอยูพ่ ร้ อมๆ กัน • การขยายการหมุนเวียนและสะสม อาศัยการออมเงินของนายทุนเพื่อรอวันลงทุนเพิ่ม แต่ระบบธนาคารทำาให้ เงิน ออมของนายทุนคนหนึง่ กลายเป็ นทุนเงินเพื่อการผลิตของนายทุนอีกคนได้ • ระบบสินเชื่อ ลดการหมุนเวียนของเงินจริง • เวลาทุนนิยมพัฒนามากขึ ้น ปริมาณมูลค่าส่วนเกินที่จะมาลงทุนเพิ่มย่อมมากขึ ้นเรื่ อยๆ

51


ว่ ำด้ วยทุนเล่ มสำม กระบวนกำรผลิตทุนนิยมในภำพรวม

ภำคที่ 1 กำรแปรรูปมูลค่ ำส่ วนเกินเป็ นกำำไร และอัตรำมูลค่ ำส่ วนเกินเป็ นอัตรำกำำไร บทที่ 1: “รำคำค่ ำผลิต” และกำำไร

ใน “ว่าด้วยทุน” เล่มหนึง่ เราพิจารณากระบวนการผลิตในตัวมันเอง แต่ในโลกจริ ง การหมุนเวียนของทุนมีมากกว่านี ้ ดัง นัน้ ในเล่มสองเราจึง พิจารณากระบวนการหมุน เวี ย นของทุน สำา หรั บเล่มสามนี จ้ ะพิ จ ารณาผลในรู ป ธรรมของการ เคลื่อนไหวของทุนในภาพรวม 52


• จากมุมมองนายทุน “รำคำค่ ำผลิต ” (k) คือ ค่าซื ้อเครื่ องจักร + วัตถุดิบ +พลังการทำา งานของกรรมาชี พ แต่ “รำคำค่ ำผลิต” ที่นำยทุนจ่ ำย ไม่เหมือนมูลค่าผลิตสินค้ าจริ ง (ราคาการผลิต ) เพราะมูลค่าสินค้ าดังกล่าว ประกอบไปด้ วย “มูลค่าส่วนเกิน” ที่นายทุนได้ ฟรี แต่กรรมาชีพต้ อง “จ่าย” ด้ วยการทำางาน คือ มูลค่าสินค้ า /ราคา การผลิต C = k + s (s คือมูลค่าส่วนเกิน) • “ราคาค่ า ผลิ ต ” (k) คื อ มูล ค่า ของทุน ที่ น ายทุ น ต้ อ งลงทุน เพื่ อ ทำา การผลิ ต สิ น ค้ า และต้ อ งได้ ก ลับ มาผ่ า น กระบวนการหมุนเวียน เพื่อซื ้อวัตถุดิบ เครื่ องจักร และพลังการทำางาน ในการผลิตซ้ำ าอีกรอบ • “มูลค่าผลผลิต” คือปริมาณแรงงานที่ใช้ ในการผลิต • ในระบบทุนนิยม จะเกิดภาพลวงตาเกี่ยวกับ “ราคาค่าผลิต” และมูลค่าส่วนเกิน • ถ้ าค่าจ้ าง (ทุนแปรผัน) เพิ่มขึ ้น มูลค่าผลผลิตจะไม่เพิ่มแต่อย่างใด มันเพียงแต่ไปกินส่วนของมูลค่าส่วนเกินที่อยู่ ในมือนายทุนเท่านัน้ 28 เพราะมูลค่าสินค้ า C = ทุนคงที่ c + ทุนแปรผัน V + มูลค่าส่วนเกิน S และทุนคงที่ประกอบไปด้ วยปริ มาณแรงงานในอดีตที่ใช้ ในการสกัดวัตถุดิบหรื อสร้ างเครื่ องจักร • เวลานายทุนจ่าย “ราคาค่าผลิต” มันจะมีภาพว่าเป็ นการซื ้อ “สินค้ า” ไม่ว่าจะเป็ น วัตถุดิบ เครื่ องจักร หรื อ พลัง การทำา งาน แต่การซือ้ พลังการทำา งานเป็ นการซือ้ สินค้ า พิเศษที่ สร้ างมูลค่าได้ ไม่เหมื อนเครื่ อ งจักรฯลฯ มัน เป็ นการซื ้อแรงงานมีชีวิตซึง่ ไม่ใช่ทนุ ที่จะถูกเพิ่มมูลค่าในกระบวนการผลิต • ดังนัน้ มูลค่าส่วนเกินที่เกิดจากการที่นายทุนจ่าย “ราคาค่าผลิต” ดูเหมือน ว่าเกิดจากทุนทุกชนิด (เครื่ องจักร วัตถุดิบ พลังการทำา งาน) ในขณะที่มนั เกิ ดจากพลังการทำา งานเท่านัน้ ในด้ านหนึ่ง ทุนคงที่ แบบวัตถุดิบและ เครื่ องจักร ในลักษณะที่เป็ นวัตถุ มีส่วนในกระบวนการผลิต แต่มนั ไม่ได้ สร้ างมูลค่า ภาพลวงตานี ้ปกปิ ดที่มาอัน แท้ จริ งของมูลค่าส่วนเกิน • สำาหรับนายทุน มูลค่าสินค้ าดูเหมือนว่า = “ราคาค่าผลิต” + กำาไร กำาไรนี ้คือมูลค่าส่วนเกินดีๆ นี ้เอง • นำยทุนสำมำรถขำยสินค้ ำในรำคำที่ตำ ่ ำกว่ ำมูลค่ ำจริ งได้ โดยที่ยังได้ กำำ ไร ถ้ ำรำคำขำยสินค้ ำไม่ ตกต่ำ ำ กว่ ำ “รำคำค่ ำผลิต” เพรำะนำยทุนได้ มูลค่ ำส่ วนเกินมำฟรี ๆ • นายทุนมองแบบผิดๆ ว่า “มูลค่าจริ ง” หรื อ “มูลค่าเนื ้อแท้ ” ของสินค้ าคือ “ราคาค่าผลิต” และสิ่งที่เข้ าใจผิดตาม มาอีกคือ ความเชื่อว่ากำาไรเกิดจากการขายสินค้ าในราคาที่สงู กว่า “ราคาค่าผลิต” นี่คือที่มาของข้ อเสนอของนัก นักเศรษฐศาสตร์ กระแสหลัก และคนอย่าง Pierre-Joseph Proudhon ว่ากำาไรมาจากการซื ้อขาย แต่ในความ เป็ นจริ งกำาไรมาจากการขูดรีดแรงงาน ความคิดผิดๆ แบบนี ้เท่ากับเสนอว่ามูลค่าที่เป็ นกำาไร เกิดขึ ้นเองจากความ ว่างเปล่าเมื่อมีการซื ้อขาย

บทที่ 2: อัตรำกำำไร 28

ดังนันเมื ้ ่อกรรมาชีพสู้เพื่อขึ ้นค่าแรง มันไม่ทำาให้ สินค้ าแพงขึ ้นโดยอัตโนมัติ มันไปลดกำาไรนายทุน (ใจ)

53


สูตรของทุนคือ M-C-M’ (M=ทุนเงิน C=ทุนสินค้ า) กระบวนการที่ สร้ างมูลค่าคือกระบวนการผลิต และกระบวนการที่ ทำา ให้ นายทุนได้ ทุนกลับมาในมือคื อกระบวนการ หมุนเวียน • ในโลกจริ งนายทุนไม่สนใจผลผลิตเป็ นหลัก แต่สนใจการเพิ่มมูลค่าจากการลงทุนเท่านัน้ 29 • นายทุนเพิ่มทุนของตนเองได้ ก็ตอ่ เมื่อขูดรีดแรงงาน แต่การขูดรี ดแรงงานเกิดขึ ้นได้ เพราะมีการนำาพลังการทำางาน ไปทำางานกับปั จจัยการผลิต นายทุนเลยไม่แยกแยะว่าเขาลงทุนในพลังการทำางานหรื อปั จจัยการผลิต นายทุน มองว่าเป็ นต้ นทุนทังนั ้ น้ • สิ่งสำำคัญที่นำยทุนจ้ องมองและให้ ควำมสำำคัญเหนืออื่นใดคือ “อัตรำกำำไร” “อัตรำกำำไร” (P’) คือมูลค่าส่วนเกิน (S) ที่ได้ มาจากการลงทุนทัง้ หมด (ทัง้ ทุนคงที่แบบวัตถุดบิ และเครื่ องจักร c และทุนแปรผัน –ค่ ำจ้ ำง V ) P’ = S/c+V มันเกิดภาพลวงตาว่าทุกส่วนของต้ นทุน (คงที่และแปรผัน) มีส่วนในการสร้ างกำาไร และนักเศรษฐศาสตร์ กระแสหลัก เช่น Ramsay, Malthus, Senior, Torrens ฯลฯ เชื่ออย่างผิดๆ ว่า “ทุนในตัวมันเอง อิสระจากความสัมพันธ์ กับแรงงาน และสามารถสร้ างมูลค่าได้ เอง” อย่างไรก็ตาม มูลค่าส่วนเกินที่กรรมาชีพสร้ าง ย่อมอิสระโดยสิ ้นเชิงจากปริ มาณมูลค่า คงที่ที่กรรมาชีพใช้ มันขึ ้นอยูก่ บั ว่ากรรมาชีพทำางานฟรีให้ นายทุนแค่ไหนเท่านัน้ พวกสำานักคิดแบบ David Ricardo คิดว่า “อัตรากำาไร” เหมือนกับ “อัตรามูลค่าส่วนเกิน” แต่อตั รากำาไรต่างจาก “อัตรามูลค่าส่วนเกิน” (S’) ซึง่ เป็ นสัดส่วนมูลค่าส่วนเกิน (S) ต่อทุนแปรผัน(ค่าจ้ าง) หรื ออาจ พูดได้ ว่าเป็ นสัดส่วนมูลค่าที่กรรมาชีพสร้ างให้ นายทุนฟรี เมื่อเทียบกับค่าจ้ าง S’ = S/V • สำาหรับนายทุน “ราคา” ของสินค้ าดูเหมือนว่าประกอบไปด้ วยราคาวัตถุดิบ /เครื่ องจักร และส่วนของพลังการ ทำางานของกรรมาชีพที่นายทุนต้ องซื ้อด้ วยค่าจ้ าง มันไม่รวมมูลค่าส่วนเกินที่กรรมาชีพผลิตให้ นายทุน • แต่มลู ค่าของสินค้ า (ซึง่ กำาหนดราคา) ย่อมประกอบไปด้ วยราคาวัตถุดิบ /เครื่ องจักร +ส่วนของพลังการทำางาน ของกรรมาชีพที่นายทุนต้ องซื ้อด้ วยค่าจ้ าง+ส่วนของพลังการทำางานของกรรมาชีพที่นายทุนได้ ฟรี (มูลค่าส่วน เกิน) 29

นี่คือสาเหตุที่นายทุนไม่สนใจว่าตนเองผลิตสิ่งที่เป็ นประโยชน์หรื อไม่ หรื อแค่เอาทุนไปปั่ นหุ้นจนเกิดฟองสบู่ (ใจ)

54


• กำา ไรของนายทุนจึงมาจากการที่เขาขายส่วนของสินค้ าที่เขาไม่ต้องซือ้ เลยคือได้ ฟรี จากงานส่วนเกินของ กรรมาชีพ • กำาไรและอัตรากำาไรคือสิ่งที่มองเห็นในระบบทุนนิยม • มูลค่าส่วนเกินและอัตรามูลค่าส่วนเกิ นคือสิ่งที่ถูกปกปิ ด และการปกปิ ดนีส้ อดคล้ องกับผลประโยชน์ ของ ชนชันนายทุ ้ น มันปกปิ ดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ในระบบทุนนิยม • นายทุนเห็นกำาไรตกอยู่ในมือตนเองเมื่อมีการขายสินค้ า (ซึ่งจริ งๆ แล้ วเป็ นแค่กระบวนการหมุนเวียน) ดังนัน้ เลยเชื่อว่ากำาไรมาจากการค้ าขายในตลาด แต่ความจริ งคือ กำาไรมาจากการขูดรี ดในระบบการผลิตที่เกิดขึ ้น ก่อนที่จะมีการขายสินค้ า • การค้ าขายสินค้ าในราคาสูงหรื อต่าำ ไม่มีผลในการเพิ่มหรื อลดมูลค่าของสินค้ าเลย มันเพียงแต่กำา หนดว่า มูลค่าสินค้ าถูกแบ่งระหว่างผู้ขายกับผู้ซื ้อในสัดส่วนใดเท่านัน้ ดังนันสำ ้ าหรับนายทุนปั จเจก การได้ กำาไรขึ ้นอยู่ กับการขูดรีดแรงงานและปริมาณการโกงเอารัดเอาเปรี ยบกันระหว่างผู้ซื ้อขายสินค้ า

บทที่ 3: ควำมสัมพันธ์ ระหว่ ำงอัตรำกำำไรกับอัตรำมูลค่ ำส่ วนเกิน ถ้ า S คือมูลค่าส่วนเกิน S’ คืออัตรามูลค่าส่วนเกิน V คือทุนแปรผัน P’ คืออัตรากำาไร C คือต้ นทุนสินค้ าทังหมด ้ และ c คือทุนคงที่ อัตรามูลค่าส่วนเกิน S’ = S/V ดังนัน้ S= S’V อัตรากำาไร P’ = S/C = S/c+V ดังนัน้ P’ = S’V/c+V และ สัดส่วน P’: S’ = S/C : S/V หรือ = V:C (ตามคณิตศาสตร์ ) เนื่องจาก V เป็ นส่วนหนึง่ ของ C และเล็กกว่า... อัตรากำาไรย่อมน้ อยกว่าอัตรามูลค่าส่วนเกิน เงื่อนไขอะไรบ้ างที่มีผลกระทบต่ออัตรากำาไร P’ ? มีสองสิ่งที่มีผลกระทบต่ออัตรากำาไร P’ พร้ อมๆ กันในด้ านบวกคือ 1. อัตรามูลค่าส่วนเกิน S’ 2. สัดส่วนทุนแปรผันต่อทุนคงที่ (Value Composition of Capital) V/c คือถ้ า S’ เพิ่มหรื อลดลง P’จะเพิ่มหรือลดลง ถ้ า V/c เพิ่มหรื อลด P’จะเพิ่มหรื อลด แต่ต้องพิจารณาสองเงื่อนไขนี ้พร้ อมกัน ตลอดเวลา [ในบทนี ้มาร์ คซ์พิสจู น์หลักพื ้นฐานนี ้โดยการพิจารณาหลายๆ กรณีที่ S’, c หรื อ V คงที่หรื อเปลี่ยนแปลง]

55


บทที่ 4: ผลของควำมเร็วในกำรหมุนเวียนต่ ออัตรำกำำไร

[บทนี ้เขียนโดยเองเกิลส์] เราเห็นได้ จาก ว่าด้วยทุน เล่ม๒ ว่าการลดเวลาหมุนเวียนของทุนนำาไปสู่การเพิ่มมูลค่าส่วนเกิน อัตรามูลค่าส่วนเกิน และ อัตรากำาไร วิธีการที่ใช้ ในการลดเวลาดังกล่าว ก็เช่นการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต (โดยไม่เพิ่มการลงทุนในเครื่ องจักร มากเกินไป) หรื อการพัฒนาระบบขนส่งให้ ดีขึ ้น เนื่องจาก “อัตรากำาไร” คำานวณจากมูลค่าส่วนเกินที่ผลิตเมื่อเทียบกับต้ นทุนทังหมด(คงที ้ ่และแปรผัน) และเนื่องจาก ทุนแปรผัน(พลังการทำางานของคนงาน) อาจหมุนเวียนหลายครัง้ ในรอบหนึ่งปี ในขณะที่ทนุ อยู่กับที่ (เครื่ องจักร โรงงาน) ใช้ ได้ นานและค่อยๆละลายมูลค่าไปกับสินค้ า จึงหมุนเวียนช้ ากว่าทุนแปรผัน และเนื่องจากทุนที่ใช้ จ้างงานกลับมาอยู่ใน มือนายทุนหลายครัง้ เพื่อจ้ างงานรอบต่อไป .... สัดส่วนค่าจ้ างต่อทุนอยู่กบั ที่อาจดูเล็กกว่าที่เป็ นจริ ง เพราะใช้ หมุนเวียน หลายรอบ สูตรอัตรากำาไร P’ = S’ V/c+V (ดูบทที่แล้ ว) จะเป็ นจริ งต่อเมื่อ V ทุนแปรผัน, S’ อัตรามูลค่าส่วนเกิน P’ อัตรากำาไร และ c ทุนคงที่ คำานวณในเวลาการผลิตหนึ่งรอบเต็มๆ หรื อถ้ าคำานวณในเวลาหนึ่งปี ต้ องคูณ V หรื อ S’ กับ จำานวนรอบที่มนั หมุนเวียนในเวลาหนึง่ ปี

บทที่ 5: กำรประหยัดต้ นทุนคงที่ในกำรผลิต (กำรใช้ เครื่องจักร ฯลฯ ให้ ค้ ุมค่ ำที่สุด)

นายทุนให้ ความสำาคัญกับการใช้ เครื่ องจักรให้ ค้ ุมค่าที่สดุ (จะพิจารณากรณีที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในอัตรามูลค่าส่วน เกิน) การขยายชัว่ โมงการทำางานในหนึ่งวัน โดยไม่เพิ่มค่าแรงหรื อทุนแปรผัน (V) ทำาให้ มีการเพิ่มมูลค่าส่วนเกิน (S) จาก การทำางานฟรี ที่เพิ่มขึ ้น และทำาให้ มีการลดสัดส่วนการลงทุนในมูลค่าของทุนคงที่ (c) หรื อเครื่ องจักร/อาคาร เมื่อเทียบกับ ต้ นทุนทังหมด ้ เพราะเครื่องจักรหรืออาคารจะถูกใช้ อย่างต่อเนื่อง และจะถูกใช้ เพื่อผลิตปริ มาณสินค้ าเพิ่มขึ ้นต่อวัน ดังนัน้ มีการละลายมูลค่าเครื่ องจักรหรื ออาคารนีล้ งไปในผลผลิตแต่ละชิ ้นน้ อยลง พูดง่ายๆ จะมีการนำา พลังการทำา งานของ กรรมาชีพปริ มาณเดิม มาใช้ กับทุนคงที่ในการผลิตที่นานขึ ้นและผลิตสินค้ ามากขึ ้น คือใช้ เครื่ องจักรฯลฯ ให้ ค้ มุ มากขึ ้น ประหยัดต้ นทุนคงที่ในการผลิต ผลคืออัตรำกำำไร(P’)จะเพิ่ม ซึง่ เห็นได้ จากสูตรที่เคยพิจารณา P’ = S/c+V • นอกจากนี ้การหมุนเวียนของทุนคงที่ กลับมาสูน่ ายทุน จนได้ ต้นทุนกลับมาเร็ วขึ ้น • การขยายชัว่ โมงการทำางานต่อวันมีผลในการเพิ่มอัตรากำาไร ไม่ว่าจะจ่ายค่า โอที (OT) หรื อไม่ และไม่วา่ OT นัน้ จะสูงกว่าค่าแรงปกติหรื อไม่ เพราะค่า OT ยังต่าำ กว่ามูลค่าที่แรงงานผลิตและนายทุนยังเพิ่มปริ มาณมูลค่าส่วน เกินได้ จากการทำางานนานขึ ้น • การที่นายทุนต้ องเพิ่มทุนคงที่ในการซือ้ เครื่ องจักรสมัยใหม่ที่แพงขึ ้นเพื่ อมาใช้ ท่ามกลางการแข่งขัน เป็ นแรง กดดันให้ นายทุนขยายเวลาทำางานที่ใช้ กบั เครื่ องจักรนันๆ ้ ก่อนที่มนั จะหมดยุค และเพื่อใช้ ให้ ค้ มุ ที่สดุ • โดยทัว่ ไป การเพิ่มปริ มาณมูลค่าส่วนเกินในการผลิต ต้ องมีการเพิ่มทุนคงที่ ไม่ว่าจะเป็ นวัตถุดิบ หรื อเครื่ องจักร 56


ซึง่ สิ่งนี ้ทำาให้ นายทุน “คลั่งในกำรพยำยำมใช้ ทุนคนที่ให้ ค้ ุมที่สุด” • วิธีอื่นในการใช้ เครื่ องจักรหรือทุนคงที่ให้ ค้ มุ ค่ามากขึ ้น ถ้ าไม่เพิ่มชัว่ โมงการทำางาน ก็เช่นการนำาแรงงานมาใช้ กบั เครื่ องจักรที่มีอยู่มากขึ ้นในเวลาเดียวกัน ซึง่ จะเพิ่มมูลค่าส่วนเกินจากการขูดรี ดมวลแรงงานที่มีจำานวนสูงขึ ้น แต่ ต้ องซื ้อวัตถุดิบมากขึ ้นตามลำาดับ • ถ้ านายทุนเพิ่มปริมาณลูกจ้ างกรรมาชีพ เพื่อรวมศูนย์การผลิตในโรงงานที่ใหญ่ขึ ้นทุกวัน จะมีการประหยัดการใช้ เครื่ องจักรหรื อทุนคงที่ ถ้ าเทียบกับโรงงานที่มีคนงานน้ อย และเมื่อสถานการณ์ แบบนี ้แพร่ ขยายไปทัว่ สังคม จน เป็ นระบบที่พบทัว่ ไป เราพูดได้ ว่ามีการทำาให้ แรงงานมีลกั ษณะเป็ น “แรงงำนสังคม” ไม่ใช่แค่ลกู จ้ างไม่กี่คนของ นายทุนเล็กๆในรูปแบบปั จเจก • เมื่อกระบวนการผลิตมีขนาดใหญ่และแรงงานมีลกั ษณะเป็ นแรงงานสังคม และนายทุนต้ องเพิ่มการลงทุนในทุน คงที่เพื่อแข่งกับคูแ่ ข่ง วิธีการประหยัดต้ นทุนคงที่ในการผลิตมีหลายวิธี เช่น 1. การเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพของเครื่ องจักร ลดการสึกหรอ เพิ่มอายุการทำางาน และเพิ่มพลังการ ทำางานของเครื่องจักร เพื่อรวมศูนย์เครื่ องจักรใหญ่แทนที่จะมีจกั รเล็กๆ 2. เพิ่มคุณภาพการผลิตวัตถุดิบ 3. ใช้ “ของเสีย” จากการผลิตให้ เป็ นประโยชน์ ซึ่งทำาได้ เมื่อ (ก)มีของเสียมากขึ ้นจากการผลิตที่ขยายตัว ใหญ่ขึ ้น (ข)มีการพัฒนาเครื่ องจักรเพื่อใช้ ของเสีย และ (ค) มีการพัฒนากระบวนการทางเคมีเพื่อแปร เปลี่ยนของเสีย การใช้ ของเสียธรรมชาติจากสัตว์หรื อคน ใช้ กนั อย่างกว้ างขวางในภาคเกษตรในกรณี ปุ๋ย แต่ในเมืองใหญ่มีแต่การเทขี ้และของเสียจากประชาชนลงในแม่น้ำาจนน้ำ าเสียไปหมด 30 4. พัฒนาฝี มือแรงงาน และควบคุมแรงงานให้ มีวินยั มากขึ ้น 5. พัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลจี ซึง่ อาศัย (ก)การทำางานรวมหมูท่ ี่แลกเปลี่ยนประสบการณ์เพื่อคิดค้ น วิธีการใหม่ๆ และ (ข) การสะสมองค์ความรู้จากผู้ทำางานคิดค้ นในอดีต มาเสริ มการคิดค้ นในปั จจุบนั • เมื่อมีการผลิตขนาดใหญ่ในรูปแบบแรงงานสังคม การเพิ่มอัตรากำาไรและการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในสาขา หนึ่งของกระบวนการผลิต มีผลต่อสาขาอื่นๆ เช่นการผลิตถ่านหินและเครื่ องจักรด้ วยประสิทธิภาพหรื อการเพิ่ม คุณภาพของสิ่งเหล่านี ้ มีผลต่อภาคการผลิตสิ่งทอ เป็ นต้ น • นายทุนปั จเจกย่อมมอง “การใช้ เครื่ องจักรให้ ค้ มุ ค่า” ว่าเป็ นการ “ลดต้ นทุนค่าจ้ าง” เพราะใช้ คนงานเพื่อเพิ่ม มูลค่าส่วนเกิน • ความขัดแย้ งในตัวและความโหดร้ ายของทุนนิยมแปลว่า ในขณะที่นายทุนแข่งกันประหยัดต้ นทุนคงที่ในการผลิต มีการใช้ ชีวิต เลือดเนือ้ ร่ างกาย ประสาท และสมองของคนงานอย่างสิ ้นเปลืองที่สดุ โดยไม่คำานึงถึงความเป็ น มนุษย์ “ไม่ ว่ำนำยทุนจะงกและวิ่งเต้ นอย่ ำงบ้ ำคลั่งเพื่อประหยัดต้ นทุนคงที่เท่ ำไร 30

ลอนดอนสมัยมาร์ คซ์(ใจ)

57


แต่ สำำ หรับชีวิตมนุษย์ ท่เี ป็ นลูกจ้ ำง นำยทุนใช้ อย่ ำงสิน้ เปลืองเหมือนไร้ ค่ำ ไม่ ต่ำงจำกระบบแจกจ่ ำยสินค้ ำผ่ ำนกำรค้ ำขำยในตลำด ที่สนิ ้ เปลืองทรั พยำกรและไร้ ประสิทธิภำพ ทัง้ หมดนี ้ ผู้สูญเสียคือสังคม และผู้มีส่วนได้ คือนำยทุนปั จเจก” • วิธีที่นายทุนใช้ ชีวิตกรรมาชีพเสมือนไร้ คา่ เช่น ....(มาร์ คซ์ นำาตัวอย่างมาให้ ดจู ากโลกจริ งในอังกฤษ) - การสร้ างสภาพการทำา งานในเหมืองแร่ ที่อันตราย เพราะนายทุน “ประหยัด” ในเครื่ องไม้ เครื่ องมือที่ รักษาความปลอดภัย31 - โรงงานที่เต็มไปด้ วยฝุ่ นและมลพิษเพราะไม่มีระบบถ่ายเทอากาศบริ สุทธิ ์ เช่นในอุตสาหกรรมการปั่ น ด้ าย - การนำาเครื่องจักรจำานวนมากมาอัดไว้ ในโรงงานจนไม่มีพื ้นที่ปลอดภัย

บทที่ 6: ผลของกำรเปลี่ยนแปลงของรำคำ ราคาวัตถุดิบ • วัตถุดิบในที่นี ้รวมถึงเชื ้อเพลิงด้ วย • วัตถุดิบเป็ นส่วนสำาคัญที่สดุ ของมูลค่าคงที่ในสินค้ าแต่ละชิ ้น • ถ้ ำรำคำวัตถุดบิ เปลี่ยนแปลง อัตรำกำำไรจะเปลี่ยนแปลงตำมไปในทิศทำงตรงข้ ำม • การค้ าขายในตลาดโลกมีผลสำาคัญต่อราคาวัตถุดิบ และภาษี นำา เข้ าก็มีผลด้ วย ดังนันนายทุ ้ นที่นำา เข้ าวัตถุดิบ ย่อมชื่นชม “การค้ าเสรี” • เศรษฐศาสตร์ กระแสหลักไม่ยอมรับความจริ งที่ว่า “อัตรากำาไร” แตกต่างจาก “อัตรามูลค่าส่วนเกิน” • การขึ ้นลงของราคาวัตถุดิบมีผลทันทีตอ่ มูลค่าสินค้ าที่ผลิต ซึง่ ต่างจากกรณีการขึ ้นลงของราคาเครื่ องจักร • แต่การขึ ้นลงของราคาวัตถุดิบ มีผลต่อราคาซื ้อขายสินค้ าน้ อยกว่าที่มีผลต่ออัตรากำาไร ทังนี ้ ้เพราะราคาสินค้ าถูก กำาหนดจากหลายสิ่งรวมถึงสภาพตลาด • เมื่อประสิทธิภาพการใช้ แรงงานในการผลิตเพิ่มขึ ้น จำานวนสินค้ าที่ผลิตในเวลาหนึ่ง ด้ วยแรงงานจำานวนหนึ่ง จะ เพิ่มขึน้ ซึ่งทำา ให้ มลู ค่าวัตถุดิบมีอิทธิพลต่อมูลค่าสินค้ ามากขึ ้น ทำา ให้ สดั ส่วนมูลค่าวัตถุดิบเพิ่ม เมื่อเทียบกับ เครื่ องจักรและแรงงาน • การเพิ่มขึ ้นของราคาวัตถุดิบ อาจทำาให้ เงินทุนเดิมที่หมุนเวียนกลับมา ไม่พอสำาหรับการซื ้อวัตถุดิบเพื่อผลิตรอบ ใหม่ สิง่ ที่อาจตามมาคือการหยุดชะงักของกระบวนการผลิต • การเพิ่มขึ ้นของราคาวัตถุดิบ ทำาให้ เศษที่ตกหล่นจากการผลิตอย่างสิ ้นเปลือง มีความสำาคัญมากขึ ้นและถูกนำามา ใช้ 31

ในยุคมาร์ คซ์เหมืองแร่องั กฤษอันตรายมากและมีอบุ ตั ิเหตุตลอดเวลา ไม่ตา่ งจากสภาพเหมืองแร่ในจีนปั จจุบนั (ใจ)

58


การเพิ่มหรื อลดมูลค่าของทุน และการ “ปล่อย” หรือ “ผูกมัด” ทุน • ถ้ าราคาวัตถุดิบเพิ่ม ในขณะที่นายทุนมีสินค้ าที่ยงั ไม่ขายมากพอสมควร และมีวตั ถุดิบเก่าในคลัง มูลค่าของทุน สินค้ าและวัตถุดิบจะเพิ่มขึ ้นทันที ซึง่ มีผลในการเพิ่มมูลค่าของทุนในระบบของนายทุน ปรากฏการณ์ นี ้สามารถ คานการลดลงของอัตรากำาไรได้ ในกรณีตรงข้ ามที่มีการลดลงของราคาวัตถุดิบ อาจมีการคานการเพิ่มขึ ้นของ อัตรากำาไรเช่นกัน • การลดลงของมูลค่าทุนคงที่(เครื่องจักร)ในมือนายทุน เกิดขึ ้นอย่างรวดเร็ วได้ ในกรณีที่ยงั มีการพัฒนาเทคโนโลจี ในเครื่ อ งจัก รแบบนัน้ อย่า งต่อเนื่ อง ซึ่งทำา ให้ เ ครื่ อ งจัก รเดิ ม ล้ า สมัย ก่ อ นอายุ ดัง นัน้ นายทุน จะพยายามใช้ เครื่ องจักรให้ ค้ มุ ที่สดุ ด้ วยการยืดชัว่ โมงการทำางาน ก่อนที่เครื่ องจักรจะหมดมูลค่าใช้ สอย • อีกกรณีที่ทำาให้ มีการลดลงของมูลค่าทุนคงที่ (เครื่ องจักร)ในมือนายทุน คือการที่มีการปรับปรุงวิธีผลิตเครื่ องจักร ชนิดเดียวกันให้ ราคาถูกลง • สำาหรับนายทุนที่กำาลังผลิตอยูอ่ ย่างต่อเนื่อง ถ้ ามีการลดลงของค่าจ้ าง ด้ วยสาเหตุอะไรก็ตาม ทุนแปรผันที่จำาเป็ น ในการผลิตจะลดลง ดังนัน้ มีการ “ปล่อย” ทุนนี ้ไปส่วนหนึ่ง นำาไปใช้ ในที่อื่นได้ แต่ถ้าค่าจ้ างเพิ่ม ทุนแปรผันที่ จำาเป็ นจะเพิ่มขึ ้น มีการ “ผูกมัด” ทุนเพิ่มขึ ้นกว่าเดิม • การ “ปล่อย” ทุนแปรผันบางส่วนอาจเกิดขึ ้นได้ จากการเพิ่มประสิทธิภาพการทำางานและลดจำานวนคนงาน • เมื่อระบบทุนนิยมพัฒนำและขยำยมำกขึน้ มีกำรใช้ เครื่ องจักรมำกขึน้ และสะสมมำกขึน้ แนวโน้ มที่จะ ผลิตล้ นเกินมีมำกขึน้ และเสถียรภำพของระบบจะลดลง • มีการเพิ่มความต้ องการในวัตถุดิบอย่างรวดเร็ ว ซึง่ ทำาให้ ราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ ้นมาก มีการซื ้อวัตถุดิบจากที่ห่างไกล มีการเพิ่มการผลิตวัตถุดิบ และนำาสิ่งอื่นมาใช้ แทน ในที่สดุ ราคาวัตถุดิบก็ดิ่งลงอย่างกระทันหัน เกิดวิกฤตจาก การผลิตวัตถุดิบล้ นเกิน นี่คือธรรมชาติของระบบทุนนิยม [ซึ่ง มาร์ คซ์ นำาตัวอย่างผลกระทบของตลาดต่อการ ผลิตฝ้ายในอเมริกาและอินเดียมาบรรยาย]32 “ระบบทุนนิยมขัดแย้ งกับกำรเกษตรที่ใช้ เหตุผลโดยสิน้ เชิง .... วิธีแก้ ไขปั ญหำคือกำรควบคุมและวำงแผนกำรผลิต”

บทที่ 7: ข้ อสังเกตเพิ่ม ชนชันนายทุ ้ นและนักวิชาการของมัน จะไม่ยอมรับความจริ งว่า “กำาไร” คือ “มูลค่าส่วนเกิน” นันเอง ้ และมาจากการขูดรี ด แรงงานฟรี จากกรรมาชีพ ..... ทังนี ้ ้เพราะ 1. มันดูเหมือนกำาไรปรากฏในมือนายทุนหลังการขายสินค้ า กำาไรเลยดูเหมือนว่ามาจากการค้ าขาย มีการมองข้ าม 32

เกิดขึ ้นกับเกษตรกรเวียดนามที่ถกู ชักชวนโดยไอเอ็มเอฟให้ ผลิตกาแฟเพื่อป้อนตลาดโลกในยุคปั จจุบนั (ใจ)

59


การผลิต 2. กำาไรขึ ้นลงเมื่อราคาวัตถุดิบเปลี่ยนแปลง ทำาให้ ดเู หมือนว่าความสามารถของนายทุนในการบริ หาร และตัดสินใจ เกี่ยวกับธุรกิจมีสว่ นในการสร้ างกำาไร

ภำคที่ 2 กำรแปรกำำไรเป็ นกำำไรเฉลี่ยของสังคม บทที่ 8: ส่ วนประกอบของทุนที่แตกต่ ำงกัน ในสำขำกำรผลิตต่ ำงๆ และผลต่ ออัตรำกำำไร

สำาหรับบทนี ้ มีการใช้ สมมุติฐานสำาหรับทังสั ้ งคมว่าอัตราการขูดรี ด อัตรามูลค่าส่วนเกิน และชัว่ โมงการทำางานในทุกสาขา การผลิตเท่ากันหมด ซึง่ อดัม สมิท (Adam Smith) เคยพิสจู น์ไปแล้ วว่าถ้ าพิจารณาทังสั ้ งคม ความแตกต่างในอัตราการ ขูดรีดจะคานกันจนได้ อตั ราทัว่ ไปของสังคม (ในหนังสือ Wealth of Nations บทที่ 10) • เมื่อพิจารณาส่วนประกอบหรื อสัดส่วนของทุนระหว่าง ทุนแปรผัน กับทุนคงที่ จะพบว่ามันมีความสัมพันธ์กัน ในสองรูปแบบที่ผกู พันกันคือ 1. ความสัมพันธ์ในเชิงจำานวน คือจำานวนคนงานกับจำานวนเครื่ องจักร มาร์ คซ์เรี ยกว่า “สัดส่วนองค์ประกอบใน เชิงเทคนิคของทุน” (Technical Composition of Capital) 2. ความสัมพัน ธ์ ใ นเชิง มูล ค่า คื อมูล ค่า ทุน แปรผัน เที ย บกับ มูล ค่า ทุน คงที่ มาร์ ค ซ์ เรี ย กว่ า “สัด ส่ว นองค์ ประกอบในเชิงมูลค่า” หรื อ “สัดส่วนองค์ประกอบอินทรี ย์ของทุน” (Organic Composition of Capital)หรื อ “สัดส่วนแรงงานมีชีวิตของทุน” • กระบวนการผลิตที่มี “สัดส่วนแรงงานมีชีวิต” สูง จะมีอตั รากำาไรสูงกว่ากระบวนการผลิตที่มีสดั ส่วนต่าำ เพราะ กำาไร/มูลค่าส่วนเกินมาจากกรรมาชีพ • ยกตัวอย่าง: ถ้ าเราเปรี ยบเทียบประเทศในยุโรปที่พฒ ั นา ซึ่งมีสดั ส่วนทุนคงที่สงู ทุนแปรผันต่าำ และอัตราการ ขูดรี ดมูลค่าส่วนเกินสูง กับประเทศในเอเชี ย ที่ ด้อยพัฒนา และมี ประสิ ทธิ ภาพการผลิตต่าำ ซึ่ง มีสัดส่ว นทุน แปรผันสูง ทุนคงที่ตา่ำ และอัตราการขูดรี ดมูลค่าส่วนเกิ นต่าำ จะพบว่ านายทุนในเอเชี ย ได้ อัต รากำา ไรสูง กว่า นายทุนในยุโรป • อัตรากำาไรขึ ้นลงได้ ตามความเร็ วของการหมุนเวียนของทุน (ดูบทที่ 4) ซึ่งการขึ ้นลงของอัตรากำาไรตรงนี ้ไม่มีผล จากสัดส่วนหรือปริมาณของ “ทุนอยูก่ บั ที่” เมื่อเทียบกับ “ทุนไหลเวียน” • “ราคาค่าผลิต” ไม่วา่ จะในสาขาการผลิตใด (ราคาค่าผลิต = ปริ มาณต้ นทุนทังหมดที ้ ่นายทุนออก ทังทุ ้ นคงที่และ ทุนแปรผัน) จะไม่ได้ ผลกระทบอะไรจาก “สัดส่วนแรงงานมีชีวิต” 60


• กำรแข่ งขันระหว่ ำงนำยทุนในสังคม เกิดขึน้ บนพืน้ ฐำน “รำคำค่ ำผลิต” ซึ่งนำำไปสู่กำรเฉลี่ยอัตรำกำำไร ในสังคม

บทที่ 9: กำรกำำเนิดอัตรำเฉลี่ยของกำำไรในสังคม และกำรแปร “มูลค่ ำสินค้ ำ” เป็ น “รำคำสินค้ ำ” • การผลิตที่มี “สัดส่วนแรงงานมีชีวิต” สูง จะมีอตั รากำาไรสูง ถ้ าเริ่ มจากสมมุติฐานว่าอัตราการขูดรี ดเท่ากัน [เรากำาลังพิจารณาแรงงานและทุนในรูปแบบสังคมทังหมด] ้ • เมื่อมีการเฉลี่ยอัตรากำาไรทัว่ สังคม ซึง่ เกิดจากการแข่งขันระหว่างนายทุน “ราคาสินค้ า” = “ราคาค่าผลิต” + (อัตรากำาไรเฉลี่ย X ปริ มาณต้ นทุน) ราคาสินค้ านี ้ไม่เหมือน “มูลค่าสินค้ า” มันเป็ นราคาซื ้อขายในตลาด • อัตรากำาไรเฉลี่ยของสังคม หรือ “อัตรากำาไรทัว่ ไป” ถูกกำาหนดโดย 1. “สัดส่วนแรงงานมีชีวิต”ของทุนในสาขาการผลิตต่างๆ ซึง่ กำาหนดอัตรากำาไรที่แตกต่างกัน 2. สัดส่วนการกระจายปริมาณของ “ทุนทังสั ้ งคม” ในสาขาการผลิตดังกล่าว

• ถ้ ากำาหนดว่ามีอตั รากำาไรทัว่ ไป กระบวนการผลิตที่ใช้ แรงงานมาก จะผลิตสินค้ ามูลค่าสูงกว่ากระบวนการผลิตที่ ใช้ แรงงานน้ อย (ถ้ า “ราคาค่าผลิตเท่ากัน”) แต่ “ราคาสินค้ า” จะเท่ากัน จึงมีความแตกต่างเกิ ดขึน้ ระหว่าง “มูลค่าสินค้ า” กับ “ราคาสินค้ า” • เนื่องจากอัตรากำาไรขึ ้นลงได้ โดยที่อตั รามูลค่าส่วนเกินคงที่ (ดูบทก่อนๆ) มันเกิดภาพลวงตาเรื่ องต้ นกำาเนิดของ กำาไร ว่าไม่ได้ มาจากการขูดรีดแรงงาน • เมื่อมีอตั รากำาไรเฉลี่ย/ทัว่ ไปของสังคม มูลค่าส่วนเกินจากการผลิตสินค้ า (ซึง่ ในปริ มาณเหมือนกับกำาไร) ในสาขา การผลิตสาขาหนึง่ จะไม่กำาหนด “ราคาสินค้ า” เพราะ “ราคาสินค้ า” ถูกกำาหนดจากอัตรากำาไรเฉลี่ย (ในสูตรข้ าง บน)

บทที่ 10: กำรแข่ งขันนำำไปสู่อัตรำกำำไรเฉลี่ยของเศรษฐกิจ

• ถ้ าดูเศรษฐกิจทุนนิยมภาพรวม จะเห็นว่ามีการเฉลี่ยอัตรากำา ไรตามภาคส่วนต่างๆ จนเกิด “อัตรากำา ไรเฉลี่ย” ของเศรษฐกิจ • ปรากฏการณ์นีม้ าจากการที่กลไกตลาดและการแข่งขัน ทำาให้ มีการหลัง่ ไหลของทุนทังหมดของสั ้ งคม จากจุด กำา ไรต่าำ ไปสู่จุดที่กำา ไรสูง มันเป็ นการแบ่งสัดส่วนทุนสังคมจนเกิ ดอัตรากำา ไรเฉลี่ย สิ่งนีย้ ่อมเกิ ดขึน้ ในระบบ ทุนนิยมที่พฒ ั นา ที่มีการค้ าเสรี และมีระบบธนาคารที่พฒ ั นา ผลคือ นายทุนทุกคนมีส่วนในการขูดรี ดแรงงาน กรรมาชีพทังสั ้ งคม และมีผลประโยชน์ร่วมในการกดขี่กรรมาชีพทังสั ้ งคม ทังๆ ้ ที่นายทุนเป็ นคูแ่ ข่งกันเอง • ถ้ าดูภาพรวมของเศรษฐกิจ ถ้ ารวมกำาไรในทุกภาคส่วนเข้ าด้ วยกัน เราจะได้ “มวลรวมของมูลค่าส่วนเกิน” และ

61


มวลรวมของ “ราคาการผลิต33” จะเท่ากับ “มวลรวมของมูลค่าสินค้ า • เราต้ องเข้ าใจว่า “อัตรากำาไรเฉลี่ย” เป็ นแค่แนวโน้ มในเศรษฐกิจที่เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มันเป็ น จุดในรูปแบบอุดมคติ ไม่มีจริง • นอกจากการแข่งขันระหว่างนายทุนแล้ ว การแข่งขันระหว่างกรรมาชีพเพื่ อได้ ค่าจ้ างที่สูงขึน้ นำา ไปสู่การย้ าย เปลี่ยนงานจากจุดค่าจ้ างต่าำ ไปสูจ่ ดุ ค่าจ้ างสูง • ถ้ าอุปสงค์(ความต้ องการ)ในสินค้ าหนึ่งลดลง ราคาสินค้ านันในตลาดจะตกต่ ้ าำ ดังนันมี ้ การถอนทุนจากการผลิต สินค้ าประเภทนี ้ และในทางกลับกัน ถ้ าอุปสงค์เพิ่มก็จะมีการแห่กนั ไปลงทุนในสินค้ าประเภทนี ้ แต่สว่ นใหญ่การ ถอนทุนและการแห่กนั ไปลงทุน ไม่มีการวางแผนในสังคม ซึง่ ทำาให้ ผลิตสินค้ าน้ อยเกินไปหรื อมากเกินไป • ถ้ าพิจารณาภาคการผลิตภาคเดียว ในกรณีที่อปุ สงค์เพิ่มในสินค้ าประเภทหนึ่ง จะมีการซื ้อสินค้ าที่ผลิตภายใต้ เงื่อนไขการผลิตที่ด้อยประสิทธิภาพมากขึ ้น ได้ กำาไรน้ อยกว่าและปกติไม่ค้ มุ ค่าในการผลิต ซึ่งมีผลทำาให้ อตั รา กำาไรในภาคการผลิตนันลดลง ้ ในทางกลับกันการลดลงของอุปสงค์จะทำาให้ ผลิตสินค้ าในอัตรากำาไรสูงเท่านัน้ อันนี ้เป็ นรายละเอียดปลีกย่อยที่เพิ่มความซับซ้ อน • อุปสงค์และอุปทานในสินค้ า มีความสัมพันธ์กบั ราคาในท้ องตลาดในลักษณะสองทิศทางคือ ถ้ ามูลค่าสินค้ าเพิ่ม ขึ ้น ความต้ องการของสังคมในสินค้ านันจะลดลง ้ แต่ในขณะเดียวกัน สัดส่วนอุปสงค์ต่ออุปทานที่เปลี่ยนไปจะมี ผลต่อราคาสินค้ านันๆ ้ โดยกำาหนดว่ามันจะขึ ้นสูงกว่าหรื อลดต่าำ กว่ามูลค่าจริ งแค่ไหน • ความต้ องการในสินค้ าของสังคม เป็ นสิ่งที่ถกู กำาหนดโดยความสัมพันธ์ทางชนชัน้ และจุดยืนของชนชันต่ ้ างๆ ใน เศรษฐกิจ เช่นเรื่ องของสัดส่วนมูลค่าที่แบ่งระหว่างมูลค่าส่วนเกิน (ในมือนายทุน) กับค่าจ้ าง และการแบ่งมูลค่า ส่วนเกินระหว่าง รัฐที่เก็บภาษี กำาไรของนายทุน ดอกเบี ้ยของนายธนาคาร และค่าเช่าของเจ้ าของที่ดิน ฯลฯ ดัง นัน้ “อุปสงค์ -อุปทำน” ไม่ ได้ อธิบำยอะไรเลย ถ้ ำไม่ พิจำรณำควำมสัมพันธ์ ทำงชนชัน้ และนอกจากนัน้ ในกรณีท่ อี ุปสงค์ คำนกับอุปทำนพอดี (อย่ ำงที่นักเศรษฐศำสตร์ กำรเมืองกระแสหลักชอบพูด ) มันจะหัก ล้ ำงกันพอดีจนอธิบำยอะไรต่ อไปไม่ ได้ เลย เพรำะจะไม่ มีผลต่ อรำคำสินค้ ำ แต่ในความเป็ นจริ งสองสิ่งนี ้ ไม่เคยเท่ากันหรือคานกัน • ในระบบทุนนิยม อุปสงค์หรือความต้ องการในสินค้ ามีสองชนิดคือ 1. ความต้ องการของประชาชนผู้บริโภค 2. ความต้ องการของนายทุนที่จะใช้ สินค้ าเพื่อทำาการผลิต • อุปสงค์ในตลาด ไม่สอดคล้ องกับความต้ องการจริ งของสังคม เพราะมันเป็ นการวัดความสามารถในการซื ้อ เท่านัน้ และถ้ าค่าจ้ างเพิ่มหรือสินค้ าราคาลดลง อุปสงค์ก็จะเพิ่ม มันยืดหยุน่ ตลอดเวลา • อุปสงค์ของนายทุนที่จะซื ้อสินค้ าเพื่อผลิตต่อ เช่นซื ้อวัตถุดิบ หรื อซื ้อเครื่ องจักร เป็ นความต้ องการเพื่อผลิตมูลค่า ส่วนเกินหรื อกำาไรเท่านัน้ นายทุนไม่สนใจว่าจะผลิตอะไร ขอให้ ได้ กำาไรก็พอ

33

ดูบทที่ 1 ในเล่ม 3 นี ้

62


“ควำมต้ องกำรของนำยทุนในฝ้ำยดิบ เป็ นควำมต้ องกำรเพื่อมำปกคลุมกำรสร้ ำงกำำไร ไม่ ใช่ ควำมต้ องกำรที่จะนำำมำปกคลุมร่ ำงกำย”

บทที่ 11: ผลกระทบของค่ ำจ้ ำงต่ อ “มูลค่ ำกำรผลิต” ในสังคมโดยรวม

เมื่อพิจารณาสังคมโดยรวม ถ้ าค่าจ้ างเพิ่ม อัตรากำาไรจะลดลง ถ้ าค่าจ้ างลดลง อัตรากำาไรจะเพิ่มขึ ้น แต่ “ราคาค่าผลิต” หรื อ “ราคาการผลิต” อาจขึ ้นหรื อลงก็ได้ เมื่อค่าจ้ างเพิ่มหรื อลด ในทิศทางใดก็ได้ ขึ ้นอยู่กบั สัดส่วนทุนคงที่ต่อทุนแปรผัน (ดูบทที่ 1 ในเล่ม 3 นี ้)

บทที่ 12: ข้ อสังเกตเพิ่ม

การแข่งขันในตลาด ปกปิ ดสภาพจริงของเศรษฐกิจ เช่นทำาให้ เกิด “อัตรากำาไรเฉลี่ย” และปกปิ ดที่มาของ “มูลค่า”

ภำคที่ 3 กฎแห่ งแนวโน้ มในกำรลดลงของอัตรำกำำไร34 บทที่ 13: ตัวกฎ

มูลค่าส่วนเกิน อัตรากำาไร = ___________________________________________ มูลค่าทุนคงที่ + มูลค่าทุนแปรผัน

• เมื่อระบบทุนนิยมพัฒนำ มันจะมีกำรเพิ่มขึน้ ของมูลค่ ำทุนคงที่ (เครื่ องจักรฯลฯ)ผ่ ำนกำรสะสมทุน ซึ่ง 34

กฎนี ้อธิบายว่าทำาไมระบบทุนนิยมเกิดวิกฤตเป็ นประจำา (ใจ)

63


เป็ นกำรสะสมของแรงงำนในอดี ต ในขณะเดี ย วกั น กำรแข่ งขั น ในตลำดทำำ ให้ มี ก ำรพั ฒ นำ ประสิทธิภำพกำรทำำงำน คือปริมำณแรงงำนที่ใช้ กับเครื่ องจักรชิน้ ใหม่ เพื่อผลิตสินค้ ำใหม่ ชนิ ้ หนึ่ง จะ ลดลง ผลคือสัดส่ วนของทุนคงที่จะเพิ่ม เมื่อเทียบกับทุนแปรผัน (ทุนที่ใช้ จ้ำงแรงงำน) มันนำำไปสู่กำร ลดลงของอัตรำกำำไร ดูได้ จากสูตรข้ างบน • สถานการณ์นี ้เกิดขึ ้น ไม่ว่าจะมีการเพิ่มปริ มาณสุทธิของกำาไรหรื อไม่ และไม่ว่าจะมีการเพิ่มจำานวนคนงานหรื อ ไม่ และไม่ว่าการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตจะทำาให้ สินค้ ามีมลู ค่าถูกลงหรื อไม่ (สินค้ าจะถูกลงเพราะปริ มาณ แรงงานที่ใช้ ในการผลิตลดลง) • การแบ่งส่วนของกำาไรระหว่างส่วนต่างๆ ของชนชันนายทุ ้ นไม่มีผลอะไรทังสิ ้ ้นต่อกฎหรื อแนวโน้ มนี ้ • ในประเทศด้ อยพัฒนา อัตรากำาไรมักจะสูงกว่าประเทศพัฒนา แต่ไม่จำาเป็ น...ถ้ าประเทศด้ อยพัฒนามีแรงงานที่ ทำางานด้ วยประสิทธิภาพต่าำ มาก(เพราะเครื่ องไม้ เครื่ องมือไม่ทนั สมัย) • การพัฒนาของทุนนิยม ขยายปริมาณสุทธิของกำาไรในสังคม พร้ อมๆ กันนันมั ้ นลดอัตรากำาไรในการผลิตด้ วย มัน เป็ นกฎประเภท “ดาบสองคม” นอกจากนี ้มีการรวมศูนย์ของทุน และท่ามกลางการลดลงของอัตรากำาไร ทุนใหญ่ อยูร่ อดได้ ง่ายกว่าทุนเล็ก • เราต้ องเข้ าใจว่าระบบการผลิตทุนนิยม เป็ น ระบบกำรผลิตเพื่อกำรสะสม เมื่อทุนนิยมพัฒนา มวลทังหมดของ ้ มูลค่าที่ต้องผลิตซ้ำ าทุกครัง้ เพิ่มขึ ้น เพราะมีการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต กระบวนการนี ้ดึงประชากรเข้ ามาใน ระบบทุนนิยมมากขึ ้น โดยเพิ่มค่าจ้ าง (ดึงคนที่เคยเป็ นผู้ประกอบการรายย่อยเข้ ามา) และมีการเพิ่มโอกาสให้ กรรมาชีพแต่งงาน มีครอบครัว และมีลกู อีกด้ วย • แต่ในขณะเดียวกัน การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต ทำาให้ มีการเลิกจ้ างหรื อลดจำานวนลูกจ้ างได้ การเพิ่มขึ ้น ของปั จจัยการผลิต ไปด้ วยกันกับการสร้ างกำาลังงานส่วนเกินสำาหรับการขูดรี ด (คนตกงานหรื อคนรองาน) • การลดลงของอัตรากำาไรจะช้ าลง เพราะการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทำาให้ ปัจจัยการผลิตแบบเดิมมีราคาถูก ลง

บทที่ 14: ปั จจัยที่คอยคำนแนวโน้ มกำรลดลงของอัตรำกำำไรในลักษณะชั่วครำว

• เงื่อนไขที่ทำาให้ มีการเพิ่มอัตรามูลค่าส่วนเกิน (อัตราการขูดรี ด) คือการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต แต่เงื่อนไขนี ้ มีผลทำาให้ ทุนไม่สามารถถูกนำามาใช้ กบั แรงงานในสัดส่วนเดิมได้ คือทุนคงที่จะเพิ่มเร็ วกว่าทุนแปรผัน ซึง่ ทำาให้ อัตรากำาไรลดลง แต่ในเวลาเดียวกัน มันก่อให้ เกิดปั จจัยที่จะมาคานการลดลงของอัตรากำาไรชัว่ คราวระดับหนึง่ • การเพิ่มความเข้ มข้ นของการขูดรี ดแรงงาน เช่นการเพิ่มความเข้ มข้ นของการทำางาน (เร่ งเครื่ องจักร ฯลฯ) หรื อ การขยายชัว่ โมงการทำางาน จะมีผลในการเพิ่มมูลค่าส่วนเกินโดยไม่เพิ่มค่าแรง (ทุนแปรผัน) และลดสัดส่วนของ ทุนคงที่(เครื่ องจักร)ที่ใช้ ผลิตสินค้ าชิ ้นหนึ่ง แต่มนั มีข้อจำากัดเพราะนายทุนไม่สามารถขยายเวลาการทำางานของ กรรมาชี พ ไปสู่ 24 ชั่วโมงโดยไม่มีการพักผ่ อน นายทุน อาจต้ อ งซือ้ เครื่ องใหม่ที่ เร็ วขึน้ มัน เป็ นการคานแบบ 64


ชัว่ คราวเท่านัน้ • การประดิษฐ์ คิดค้ นกระบวนการผลิตใหม่ๆ ที่เพิ่มอัตรากำาไรในภาคหนึง่ ของเศรษฐกิจโดยนายทุนคนหนึ่ง ก่อนที่ นายทุนคนอื่นจะทำาตาม เป็ นการชะลอการลดลงของอัตรากำาไรชัว่ คราว แต่ในที่สดุ มีผลในการเร่ งการลดลงของ อัตรากำาไรทัว่ เศรษฐกิจ สิ่งอืน่ ที่ช่วยคานการลดลงของอัตรากำาไรชัว่ คราวคือ • การกดค่าแรงให้ ตา่ำ กว่าระดับเลี ้ยงชีพชัว่ คราว • การที่ปัจจัยการผลิตมีราคาถูกลง อันเนื่องจากการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต ทังปั ้ จจัยการผลิตเก่าและใหม่ • การใช้ แรงงานส่วนเกิน เพื่อผลิตสินค้ าฟุ่ มเฟื อยด้ วยมือเพื่อคนรวย โดยจ่ายค่าจ้ างต่าำ และใช้ เครื่ องจักรน้ อย • การค้ าขายทัว่ โลก อาจทำาให้ วตั ถุดิบและสินค้ าบริ โภคถูกลง แต่ผลคือการพัฒนาประสิทธิภาพและปริ มาณการ ผลิตในระยะยาว ซึง่ ลดอัตรากำาไร สรุ ปแล้ ว ปั จจัยที่ทำำ ให้ อัตรำกำำไรมีแนวโน้ มลดลง มีส่วนในกำรคำนควำมเร็วของกำรลดลงดังกล่ ำวพร้ อมๆ กัน

บทที่ 15: ควำมขัดแย้ งภำยในที่เห็นในกฎแห่ งแนวโน้ มในกำรลดลงของอัตรำกำำไร

• การลดลงของอัตรากำา ไร และการเร่ งการสะสมคือปรากฏการณ์ ของกระบวนการเดียวกัน นัน้ คือ การพัฒนา ประสิทธิภาพการผลิต • การลดลงของอัตรากำาไร มีผลให้ มีการรวมศูนย์ของทุน เพราะช่วยทำาลายทุนเล็กๆ น้ อยๆ และทำาให้ ทนุ ใหม่อิสระ ขนาดเล็กเกิดยากขึ ้น • การลดลงของอัตรากำาไรก่อให้ เกิดการผลิตล้ นเกิน ก่อให้ เกิดการปั่ นหุ้นจนเกิดฟองสบู่ และก่อให้ เกิดวิกฤต ทำาให้ มีทนุ ล้ นเกิน และคนงานล้ นเกิน พร้ อมๆกัน แทนที่จะนำาทุนนันมาใช้ ้ งานกับคนงาน • พวกนักเศรษฐศาสตร์ การเมืองแบบ Ricardo มองว่าระบบทุนนิยมเป็ น “ธรรมชาติ” เขาจึงพยายามหาคำาตอบใน การข้ ามพ้ นปั ญหาแนวโน้ มการลดลงของอัตรากำา ไรภายในกรอบของทุนนิยม ซึ่งทำา ไม่ได้ เขาควรจะมองว่า ทุนนิยมเป็ นแค่ขนตอนหนึ ั้ ง่ ชัว่ ขณะหนึง่ ในประวัติศาสตร์ มนุษย์ • เรำไม่ ควรมองว่ ำทุนนิยมเป็ นสิ่งอื่นใดนอกเหนื อจำกระบบที่มีไว้ ผลิตมูลค่ ำส่ วนเกิน เพื่อแปรรู ปไป เป็ นทุนในกระบวนกำรสะสมทุน มันไม่ ใช่ ระบบที่มีไว้ เพื่อตอบสนองกำรบริ โภคของประชำชน หรื อ ตอบสนองควำมสุขสบำยของนำยทุน • ระบบทุนนิยมอาจแบ่งเป็ นสองขันตอนคื ้ อ 1. การขูดรีดแรงงาน – การผลิตสินค้ า – ซึง่ ข้ อจำากัดคือแค่ระดับการพัฒนาของพลังการผลิต 2. การได้ มาของดอกผลจากการขูดรี ด – การขายสินค้ า – ซึง่ ข้ อจำากัดคือการแบ่งสัดส่วนการผลิตตามภาค ต่างๆ และพลังการบริโภค 65


แต่ “พลังการบริ โภค” นี ้ ถูกกำาหนดโดยระบบชนชันในสั ้ งคม ที่มีผลให้ การบริ โภคของคนส่วนใหญ่อยู่ในอัตราที่ ต่าำ สุด เพื่อนำามูลค่าที่เหลือมาสะสมต่อภายใต้ การแข่งขันในตลาดระหว่างนายทุน • ตลาดต้ องขยายตลอดอย่างต่อเนื่อง จนกลไกมันห่างเหินจากผู้ผลิต และถูกควบคุมยากขึ ้น • ยิ่งมีการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตมากเท่าใด มันยิ่งขัดแย้ งกับเงื่อนไขในการบริ โภค และไม่สอดคล้ องกับ ความต้ องการจริง • เวลาทุนนิ ยมพัฒนา ต้ องมีการเพิ่มขึน้ ของแรงงานเพื่ อใช้ ในการผลิต แต่ในขณะเดี ยวกันทุนนิ ยมก่อให้ เกิ ด แรงงานส่วนเกิน • ขณะที่อตั รากำาไรลดลง มวลรวมของทุนเพิ่มขึ ้น แต่มลู ค่าของทุนที่มีอยูจ่ ะถูกลง ซึง่ คานการลดลงของอัตรากำาไร และเพิ่มแรงกดดันให้ สะสมทุนต่อไป • การเดินหน้ าสู่การเพิ่มมูลค่าให้ มากที่สดุ /พัฒนาประสิทธิภาพการผลิต ในระบบทุนนิยม ถูกแลกกับการลดลง ของอัตรากำาไร การลดลงของมูลค่าทุนคงที่ที่มีอยู่ และวิกฤตเศรษฐกิจ • เงื่อนไขในการฟื น้ ฟูเศรษฐกิจหลังวิกฤต คือการทำาลายบางส่วนของทุน หรื อบังคับให้ มีการพักการผลิต พร้ อมกัน นัน้ มีการตกงานและกดค่าแรงของคนที่มีงานทำา “ อุปสรรค์ แท้ ของกำรผลิตแบบทุนนิยมคือตัวทุนเอง” • เป้าหมายของทุนนิยมคือการสะสมมูลค่ากับทุน ไม่ใช่เพื่อพัฒนาความเป็ นอยูข่ องสังคม • การขยายและสะสมของทุน ตัง้ อยู่บนเงื่อนไขการยึดขโมยมูลค่าจากแรงงานกรรมาชี พ จนแรงงานส่วนใหญ่ ยากจน ซึง่ สร้ างอุปสรรค์ในการขยายของทุนอย่างต่อเนื่อง เพราะกดการบริ โภค และกดอัตรากำาไร • ระบบทุนนิยมมีความสำาคัญในทางประวัติศาสตร์ ในการพัฒนาพลังการผลิตและตลาดโลก แต่ในขณะเดียวกัน มันขัดแย้ งกับความสัมพันธ์ทางสังคมที่ทำาให้ ทนุ นิยมพัฒนา จนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ • การรวมศูนย์ของทุน ทำาให้ ทนุ ใหญ่มีอำานาจมากกว่านายทุนปั จเจก มันกลายเป็ น “อำานาจทางสังคม” ที่มีนายทุน ปั จ เจกเป็ นแค่ “เจ้ าหน้ าที่ ” ของทุน มัน เป็ นอำา นาจที่ ห่างเหิ นจากมนุษ ย์ ปัจเจกมากขึน้ แต่ในขณะเดี ย วกัน ปรากฏการณ์นี ้ เปิ ดทางให้ เราแก้ ปัญหาของทุนนิยมได้ ในอนาคต ด้ วยการยึดปั จจัยการผลิตมาเป็ นของส่วนรวม • ผลของการแข่งขันในตลาด: “ไม่ มีนำยทุนคนไหนที่อำสำจะใช้ ระบบกำรผลิตใหม่ ท่ มี ีประสิทธิภำพสูงและสำมำรถเพิ่มมูลค่ ำส่ วนเกิน ถ้ ำระบบใหม่ นัน้ นำำไปสู่กำรลดลงของอัตรำกำำไร แต่ ในขัน้ ตอนแรก กำรใช้ กำรผลิตแบบใหม่ จะลดค่ ำใช้ จ่ำยสำำหรั บนำยทุนคนหนึ่งได้ ตรำบใดที่เขำสำมำรถ ขำยสินค้ ำในรำคำเก่ ำได้ และมันจะเพิ่มกำำไรให้ นำยทุนคนนัน้ เพรำะกำรผลิตของเขำก้ ำวหน้ ำกว่ ำคู่แข่ ง แต่ พอคู่แข่ งของเขำเริ่มปรับตัวหันมำใช้ กำรผลิตแบบใหม่ บ้ำง เพื่อเท่ ำเทียมกับเขำ อัตรำกำำไรทั่วภำคกำรผลิตนีจ้ ะลดลง” 66


• เวลาเราพูดถึงการผลิตล้ นเกิน มันไม่ใช่แค่ในการบริ โภคสินค้ าโดยคน แต่มนั ล้ นเกินสำาหรับการนำาสินค้ าประเภท เครื่ องจักรมาใช้ เป็ นปั จจัยการผลิตด้ วย เพราะการผลิตชะลอตัว • การผลิตล้ นเกินในสินค้ าบริ โภค ไม่เคยแปลว่ามีของเกินความต้ องการของประชาชน ตรงกันข้ าม ประชาชนไม่ เคยมีสินค้ าบริโภคเพียงพอต่อชีวิตที่ดี • สิ่งที่ กำา หนดว่าจะมีการขยายหรื อลดลงของการผลิต ไม่ใช่ความต้ องการแท้ ของประชาชน แต่เป็ นเรื่ องของ “อัตรากำาไร” การผลิตทุนนิยมมีสามลักษณะที่สำาคัญ 1. มีการรวมศูนย์ปัจจัยการผลิตในมือของคนไม่กี่คน มีการเปลี่ยนแปลงการผลิตไปสู่การผลิต “แบบสังคม” แทนที่ จะเป็ นการผลิตของปั จเจกนายทุน นายทุนจึงกลายเป็ น “ผู้ดแู ลทรัพย์สมบัติของสังคม” 2. แรงงานกรรมาชีพ แปรตัวจากแรงงานปั จเจก ไปเป็ นแรงงานของสังคมแบบรวมหมู่ โดยการแบ่งงานกันทำาภาย ใต้ การใช้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลจี 3. มีตลาดโลกเกิดขึ ้น

ภำคที่ 4 กำรแปรรูป “ทุนสินค้ ำ” และ “ทุนเงิน” เป็ น “ทุนพำณิชย์ ” และ”ทุนธุรกิจกำรเงิน” (ทุนพ่ อค้ ำ) บทที่ 16: ทุนพำณิชย์

• เวลาเราพูดถึงทุนพาณิชย์หรื อนายทุนพาณิชย์ เรากำา ลังพูดถึงการแยกตัวเป็ นอิสระของกระบวนการค้ าขาย สินค้ าจากกระบวนการผลิต เพื่อเอื ้ออำานวยความสะดวกให้ กบั นายทุนการผลิต และประหยัดเวลาของการผลิต โดยแยกภาระการขายสินค้ าให้ ผ้ อู ื่น • ทุนพาณิชย์อาจเชื่อมโยงกับทุนการผลิตหลายกลุม่ ในภาคการผลิตเดียวกัน หรื อในภาคการผลิตอื่นๆ ที่แตกต่าง กันได้ • นายทุนพาณิชย์ จะซื ้อสินค้ าผลผลิตจากผู้ผลิต และขายต่อให้ ผ้ บู ริ โภค หรื อผู้ที่จะนำาไปผลิตต่อ (เช่นผ้ า อาจขาย ต่อให้ กิจกรรมการตัดเย็บเสื ้อผ้ า) M-C-M35 • นายทุนพาณิชย์อาจอยู่ในขันตอนการซื ้ ้อสินค้ า และการขายสินค้ าต่อ พร้ อมๆ กันได้ ซึ่งประหยัดทุนทังหมดที ้ ่ ต้ องใช้ • ธุรกิจการพาณิชย์ไม่ได้ สร้ างมูลค่า และไม่ได้ สร้ างมูลค่าส่วนเกินแต่อย่างใด แต่ช่วยให้ นายทุน “ได้ ” มูลค่าส่วน

35

M คือทุนเงิน C คือสินค้ า

67


เกินในสินค้ ามาในมือ ผ่านการค้ าขาย • การอำานวยความสะดวกให้ นายทุนการผลิต ช่วยเพิ่มปริ มาณมูลค่าส่วนเกินที่เกิดขึ ้นในกระบวนการผลิต และ ช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและการค้ าขาย

บทที่ 17: กำำไรจำกกำรพำณิชย์ ในเมื่อการพาณิชย์ไม่ได้ สร้ างมูลค่า และมูลค่าส่วนเกิน .... กำาไรในธุรกิจการพาณิชย์มาจากไหน? • ภาพที่ปรากฏคือกำาไรพาณิชย์มาจากการซื ้อสินค้ าแล้ วขายในราคาที่แพงกว่าราคาซื ้อ แต่มนั เป็ นภาพลวงตาที่ ทำาให้ เราไม่เข้ าใจต้ นกำาเนิดของกำาไรในธุรกิจพาณิชย์ • กำาไรจากการพาณิชย์ มาจากการแบ่งส่วนหนึ่งของมูลค่าส่วนเกินที่นายทุนการผลิตได้ มาให้ กบั นายทุนพาณิชย์ นายทุนการผลิตจะขายสินค้ าให้ นายทุนพาณิ ชย์ ในราคาที่ตา่ำ กว่ามูลค่าจริ ง แต่ยังสูงกว่า “ราคาค่าผลิต” ที่ นายทุนการผลิตจ่ายแต่แรก ทุกฝ่ ายจึงได้ กำาไร • ราคาขายของสินค้ า ที่ขายให้ ผ้ ูบริ โภคหรื อ ผู้ที่ จะนำา ไปผลิตต่อ จะถูก กำา หนดจากมูล ค่าของสินค้ า (ปริ มาณ แรงงาน) • แล้ วลูกจ้ างในธุรกิจพาณิชย์ ?? เขาไม่ได้ สร้ างมูลค่าอะไร หรื อมูลค่าส่วนเกิน ให้ กับสินค้ าที่กำาลังถูกค้ าขาย แต่ ลูกจ้ างเหล่านันเป็ ้ นกรรมาชีพที่ถกู ขูดรีด • นายทุนพาณิชย์ได้ กำาไรจากการซื ้อขายสินค้ าที่นายทุนการผลิต ผลิตแต่แรก เขาซื ้อสินค้ าในราคาที่ตา่ำ กว่ามูลค่า จริ ง แต่ที่สำาคัญคือการทำางานของลูกจ้ างพาณิชย์ทำาให้ เขาได้ กำาไรนี ้มา • การทำา งานของกรรมาชีพพาณิชย์ สร้ าง “ความสามารถในการขายสินค้ า” ทำา ให้ นายทุนพาณิชย์ ได้ กำา ไร แต่ นายทุนพาณิชย์ไม่ได้ แบ่งกำาไรทังหมดนี ้ ้ให้ ลกู จ้ างในรูปแบบค่าจ้ างแต่อย่างใด มีการขโมยขูดรี ดส่วนเกินไป

บทที่ 18: กำรหมุนเวียนของทุนพำณิชย์ : รำคำ

• การหมุนเวียนของทุนพาณิชย์ คือการแปลงร่ างระหว่าง เงินที่ใช้ ซื ้อสินค้ า ไปสู่เงินอีกครัง้ เวลามีการขายสินค้ า ต่อ แต่มนั แตกต่างจากการที่เงินเปลี่ยนจากมือคนหนึง่ ไปสูม่ ืออีกคนตรงที่ เงินที่กลับมาสูน่ ายทุนพาณิชย์ จะเพิ่ม ขึน้ จากปริ มาณเดิมที่ใ ช้ ซือ้ สินค้ า แต่แรก การหมุน เวี ย นของทุนพาณิ ช ย์ จึง ทำา ให้ มีก ารเบิ ก เงิ น เพิ่ ม จากเงิ น หมุนเวียนที่อยูใ่ นสังคม • ทุนพาณิชย์ พึง่ พาทุนการผลิตและกระบวนการผลิตเสมอ แต่อาจมีลกั ษณะที่ดเู หมือนอิสระ • ทุนพาณิชย์จะหมุนเวียนเร็วแค่ไหน ขึ ้นอยูก่ บั การบริ โภคในสังคม • ระบบธนาคารช่วยให้ ทนุ พาณิชย์ใช้ ทนุ เงินของสังคมในปริ มาณสูงขึ ้น เพื่อให้ สามารถซื ้อขายสินค้ าอย่างต่อเนื่อง โดยไม่ต้องรอให้ ขายสินค้ าทังหมดก่ ้ อนที่จะซื ้อสินค้ าใหม่ 68


• ความกึ่งอิสระของทุนพาณิชย์ สามารถกระตุ้นการผลิตเกินขอบเขตจริ งได้ อาจเกิดปรากฏการณ์ฟองสบู่ แต่ใน ที่สุดการที่ นายทุน “ขายส่ง” เริ่ มขายสินค้ าไม่ออก จะมีผลพวงไปยังระบบธนาคาร และระบบการผลิต และ ควำมสัมพันธ์ แท้ ระหว่ ำงทุนพำณิชย์ กับทุนกำรผลิต จะถูกเปิ ดโปงให้ เห็นชัดในวิกฤตเศรษฐกิจ “ วิกฤตเกิดเมื่อพ่ อค้ ำที่ขำยสินค้ ำในที่ห่ำงไกล เริ่มขำยสินค้ ำไม่ ออก และผลตอบแทนจำกกำรลงทุนลดลง ต่ อมำธนำคำรจะรีบกดดันให้ จ่ำยหนีท้ ่ นี ำยทุนกู้มำเพื่อซือ้ ขำยสินค้ ำแต่ แรก”36 • เมื่อระบบทุนนิยมพัฒนา มันจะมีผลต่อทุนพาณิชย์ดงั นี ้คือ 1. เนื่องจากการหมุนเวียนสินค้ าเร็วขึ ้น สัดส่วนทุนพาณิชย์ที่ต้องใช้ เมื่อเทียบกับทุนการผลิตจะลดลง 2. แต่เนื่องจากการผลิตขยายตัว ปริมาณสุทธิของทุนพาณิชย์จะเพิ่มขึ ้น 3. การลงทุนในการหมุนเวียนของสินค้ า เช่นระบบการขนส่ง ท่าเรื อ รถไฟ หรื อการสื่อสาร จะต้ องเพิ่มขึ ้น • สำาหรับนายทุนการผลิตโดยรวมแล้ ว ถ้ ามีการหมุนเวียนเร็ วขึ ้น อัตรากำาไรจะเพิ่ม แต่สำาหรับทุนพาณิชย์ อัตรา กำาไรถูกกำาหนดมาแล้ วจากการผลิต ดังนันปริ ้ มาณกำาไรของทุนพาณิชย์ขึ ้นอยูก่ บั ปริ มาณทุนที่นำามาลงทุน • เนื่ องจากอัต รากำา ไรเฉลี่ย ต่อปี ของสัง คม ถูก กำา หนดจากการผลิต และการแข่ง ขัน ถ้ า ทุน พาณิ ช ย์ ก้ อ นหนึ่ง หมุนเวียนเร็ว หลายรอบต่อปี สัดส่วนของกำาไรสำาหรับทุนพาณิชย์ในสินค้ าแต่ละชิ ้นจะต้ องลดลง (ถ้ าไม่เช่นนันก็ ้ จะเกิดอัตรากำาไรเฉลี่ยของสังคมไม่ได้ –ดูภาคสองของเล่มสาม) ดังนันราคาขายที ้ ่นายทุนพาณิชย์เพิ่มจากราคา ซื ้อเดิม จะน้ อย เพราะข้ อแตกต่างระหว่างราคาขายกับราคาซื ้อ เป็ นวิธีที่นายทุนพาณิชย์ได้ ส่วนแบ่งของมูลค่า ส่วนเกินในระบบการผลิต • จากมุมมองของนายทุน พาณิ ชย์ ความเร็ ว ในการหมุน เวี ย น ดูเหมื อ นว่า จะกำา หนดราคาสิ น ค้ า แต่มัน เป็ น ภาพลวงตา และในที่สดุ พ่อค้ าแม่ค้าไม่สามารถเลือกที่จะเพิ่มหรื อลดความเร็ วของการหมุนเวียนได้ ตามใจชอบ

บทที่ 20: ประวัตศิ ำสตร์ ของทุนพำณิชย์

• ทุนพาณิชย์ไม่ใช่สว่ นหนึง่ ของทุนการผลิต แต่ทงั ้ Smith กับ Ricardo วิเคราะห์ลกั ษณะของทุนพาณิชย์ไม่ได้ • ทุนพาณิชย์เป็ นทุนเก่าแก่ที่สดุ และเกิดขึ ้นมาในยุคที่ยงั ไม่มีระบบการผลิตแบบทุนนิยม • พ่อค้ าพาณิชย์ เป็ นผู้สะสมเงินและใช้ เงินในลักษณะ “ทุน” เพื่อเพิ่มทุน ตังแต่ ้ สมัยบุพกาล ทาส หรื อฟิ วเดิล • เมื่อทุนนิยมพัฒนา ระบบการผลิตจะขึ ้นมาเป็ นเจ้ านายครอบงำาระบบพาณิชย์ และอัตรากำาไรในระบบพาณิชย์ จะถูกกำาหนดโดยระบบการผลิต • ในระบบการผลิตที่ด้อยพัฒนา ทุนพาณิชย์จะมีอิทธิพลสูง และเงินจะอยูใ่ นมือพ่อค้ าเป็ นส่วนใหญ่

36

วิกฤตที่มาจากการลดลงของสินค้ าส่งออก เช่นวิกฤตไทยปี ๒๕๓๙ (ใจ)

69


• ทุนพาณิชย์เป็ นเงื่อนไขในการกำาเนิดระบบการผลิตแบบทุนนิยม เพราะมีการรวมศูนย์ทนุ และมีการค้ าขาย • กำาไรของทุนพาณิชย์ในระบบก่อนการผลิตแบบทุนนิยม มาจากการปล้ นขโมยจากผู้ผลิตและผู้ซื ้อที่อยู่ในระบบ ด้ อยพัฒนา มีการซื ้อถูกขายแพง • การพัฒนาของการค้ าขายและทุนพาณิชย์ทำาให้ การผลิตมีแนวโน้ มที่จะผลิตเพื่อตลาดมากขึ ้น แต่มนั ไม่นำาไปสู่ การเปลี่ยนในระบบการผลิต จากรูปแบบเก่าสูร่ ะบบใหม่ของทุนนิยม โดยอัตโนมัติ เพราะการเปลี่ยนแปลงขึ ้นอยู่ กับความเหนียวแน่นของระบบเก่า • การที่มีเมืองแยกออกจากชนบท ช่วยให้ มีการผลิตเพื่อขายเป็ นสินค้ า เพราะประชากรในเมืองต้ องซื ้อสินค้ าที่ผลิต เองไม่ได้ • การปล้ นทรัพยากรจากทวีปอเมริกา และระบบล่าอาณานิคม ช่วยเร่งการทำาลายระบบฟิ วเดิลในยุโรป • โดยส่วนใหญ่ สิ่งที่เร่ งการพัฒนาระบบการผลิตแบบทุนนิยม คือการที่ผ้ ผู ลิตรายย่อยแปรตัวเป็ นนายทุนและ พ่อค้ า ท่ามกลางการพัฒนาเทคโนโลจี • กรณี ที่ พ่อ ค้ าพาณิชย์ ขยายตัว และควบคุมการผลิต ส่ว นใหญ่ จ ะไม่นำา ไปสู่ก ารเปลี่ ย นแปลงของระบบไปสู่ ทุนนิยม เพียงแต่เป็ นการครอบงำาระบบเก่า โดยที่สถานภาพผู้ผลิตเดิมจะยิ่งแย่ลง

บทที่ 21: ทุนที่ได้ ดอกเบีย้

• “ทุนที่ได้ ดอกเบี ้ย” เป็ นเงินพิเศษ ที่มีความสามารถที่จะถูกใช้ สอยเป็ น “ทุน” ได้ โดยที่เจ้ าของนำาไปให้ ผ้ ูอื่นยืม เพื่อไปใช้ แล้ วต้ องคืนเจ้ าของพร้ อมกับดอกเบี ้ย • ดอกเบี ้ยเป็ นแค่สว่ นแบ่งของมูลค่าส่วนเกินหรื อกำาไร ที่นายทุนการผลิต ผู้ก้ เู งินมา ได้ จากการขูดรี ดแรงงาน • ผู้ให้ ก้ ู เป็ น “ผู้ให้ ก้ ทู นุ ” เขาไม่ได้ เป็ นคนที่ขายอะไร และทุนนี ้แค่เปลี่ยนมือ ไม่ได้ เปลี่ยนร่างไปเป็ นอย่างอื่น

บทที่ 22: กำรแบ่ งกำำไร, อัตรำดอกเบีย้ , อัตรำดอกเบีย้ “ธรรมชำติ”

• ดอกเบี ้ย คือส่วนหนึ่งของกำาไรที่นายทุนการผลิตต้ องจ่ายให้ นายทุนการเงิน ดังนันอั ้ ตรากำาไรเฉลี่ยของสังคม จะ กำาหนดขอบเขตของอัตราดอกเบี ้ย แต่ความสัมพันธ์ระหว่างดอกเบี ้ยกับกำาไรมันซับซ้ อน • เราพบว่าเศรษฐกิจขยายตัวเวลาอัตราดอกเบี ้ยต่าำ แต่เราพบด้ วยว่าในช่วงวิกฤต อัตราดอกเบี ้ยอาจต่าำ อีกด้ วย • ในด้ านประวัติศาสตร์ การขยายตัวของระบบธนาคารในช่วงแรก ทำาให้ มีการรวมศูนย์ของเงินออม ซึง่ มีแนวโน้ ม ในการกดอัตราดอกเบี ้ย • ขอบเขตการขึ ้นลงของอัตราดอกเบี ้ย ถูกกำาหนดแต่แรกจากอัตรากำาไรเฉลี่ยของสังคม แต่นอกจากนันมี ้ เงื่อนไข อื่นๆ เข้ ามาที่แตกต่างกัน เช่น ความสามารถในการพิสจู น์หลักประกันในการกู้เงิน และระยะเวลาในการกู้ • ทุนที่ได้ ดอกเบี ้ย เป็ น “สินค้ า” ชนิดหนึง่ ในแง่ที่ “ดอกเบี ้ย” เป็ น “ราคา” ของมัน ซึง่ ขึ ้นลงตามอุปสงค์ -อุปทาน 70


• ในสังคมหนึง่ และในตลาดโลก จะมีอตั ราดอกเบี ้ยที่ชดั เจนสำาหรับยุคหนึง่ เพราะในตลาดการเงิน ธนาคารผู้ให้ ก้ ู เงิน ได้ รวมศูนย์ทนุ สังคมของนายทุนทังชนชั ้ นมาปล่ ้ อยกู้ โดยลักษณะปั จเจกของเจ้ าของทุนนี ้ถูกปิ ดบังไว้ และ การปล่อยกู้จะใช้ อตั ราดอกเบี ้ยดังกล่าว ไม่ว่าผู้ยืมเงินนำาเงินนี ้ไปใช้ เป็ น “ทุน” หรื อไม่

บทที่ 23: ดอกเบีย้ และกำำไรของกิจกำร

• การแบ่งนายทุนออกเป็ นนายทุนการผลิตและนายทุนการเงิน และการแข่งขันระหว่างนายทุนสองประเภทนี ้ ทำาให้ เกิดอัตราดอกเบี ้ย และดอกเบี ้ยที่แยกตัวออกจากกำาไร • ผู้เป็ นเจ้ าของทุน ไม่ว่าจะเป็ นนายทุนการผลิตหรื อนายทุนการเงิน ไม่สามารถใช้ “ทุน” ของเขาในรู ปแบบอื่น นอกจากการผลิต และการขูดรีดแรงงาน ถ้ าไม่เช่นนันก็ ้ ถือว่าไม่ใช่ “นายทุน” • จากมุมมองนายทุนการผลิตที่ก้ ูเงินจากนายทุนการเงิน สิ่งที่เขาเห็นเป็ น “กำา ไร” แท้ จริ งแล้ วคื อ “กำา ไรที่ หัก ดอกเบี ้ยไปแล้ ว” • ในโลกแห่งความเป็ นจริง นายทุนส่วนใหญ่ใช้ ทนุ ของตนเองผสมกับทุนอีกส่วนหนึง่ ที่ก้ มู า เพื่อมาลงทุนพร้ อมกัน ดังนันนายทุ ้ นในระบบการผลิตทุนนิยม จะแยกดอกเบี ้ยออกจากกำาไรสุทธิหลังหักดอกเบี ้ย เวลาทำาบัญชี • ในประวัติศาสตร์ ก่อนกำาเนิดระบบการผลิตทุนนิยม มีการปล่อยกู้และกินดอกเบี ้ยโดยนายทุนการเงินมานาน และดอกเบี ้ยนี ้จะได้ มา ไม่ว่าจะเป็ นการปล่อยกู้เพื่อการบริ โภค ซื ้อขาย หรื อการสร้ างกำาไร • ทังๆ ้ ที่นายทุนปั จเจกในโลกจริ ง อาจเลือกได้ ระหว่างการนำาทุนไปลงทุนเพื่อการผลิต หรื อการนำาทุนไปปล่อยกู้ ถ้ าดูภาพรวมของสังคม มันเป็ นไปไม่ได้ ที่ทนุ ทังหมดของสั ้ งคมจะนำามาปล่อยกู้ได้ เพื่อกินดอกเบี ้ย โดยไม่มีการ ผลิตและสร้ างกำาไร • กำรที่นำยทุนกำรผลิต ทำำบัญชีแยกดอกเบีย้ ออกจำกกำำไร นำำไปสู่ควำมคิดในเศรษฐศำสตร์ กระแส หลัก ที่ไม่ ตรงกับควำมจริงว่ ำ “กำำไรนัน้ คือค่ ำแรงที่นำยทุนได้ เพรำะทุ่มเทในกำรบริหำรทุน โดยเฉพำะ ในกำรควบคุมแรงงำน” • ในกระบวนการผลิต นายทุนผู้ผลิตคือตัวแทนของทุนที่เผชิญหน้ ากับแรงงานกรรมาชีพที่ถกู ขูดรี ด และนายทุน การเงินร่วมขูดรีดแรงงานด้ วย โดยที่นายทุนผู้ผลิตเป็ นตัวแทนของเขา • งานบริ หารและควบคุมแรงงาน ไม่ได้ เกิดมาจากกระบวนการผลิตแบบรวมหมูแ่ ต่อย่างใด มันเกิดขึ ้นเพราะผู้คมุ ปั จจัยการผลิตขัดแย้ งกับผู้เป็ นเจ้ าของพลังการทำางาน (นายทุนเผชิญหน้ าขัดแย้ งกับกรรมาชีพนันเอง) ้ มันมา จากระบบที่มีการขโมยแรงงานของคนอื่น ดังนัน้ “ความจำาเป็ น” ของงานนี ้ถูกใช้ เป็ นข้ ออ้ างว่าทำาไมนายทุนควร จะได้ กำาไร เพื่อเป็ น “ค่าจ้ าง” ในการบริ หารควบคุมแรงงาน แต่มนั เป็ นการเริ่ มต้ นจากสมมุติฐานจอมปลอมว่า การมีผ้ ขู ดู รีด และผู้ถกู ขูดรีด เป็ น “ธรรมชาติ” - ในระบบบริษัทร่วมหุ้นขนาดใหญ่ ผู้บริ หารเป็ นเพียงลูกจ้ างของนายทุน ... และ - ในระบบสหกรณ์การผลิต จะไม่มีนายทุนเลย 71


- ซึง่ ทังสองกรณี ้ พิสจู น์ว่าไม่มีความจำาเป็ นที่จะต้ องมีนายทุนในการผลิต แต่พวกที่มองอะไรแบบหยาบๆ ไม่สามารถนึกออกได้ ว่าระบบการผลิตสมัยใหม่ในอนาคต ที่จะเกิ ดขึน้ จากระบบทุนนิ ยม สามารถ ปลดแอกและแยกการผลิตออกจากการกดขี่ขดู รี ดได้ • ในบริ ษัทร่วมหุ้นขนาดใหญ่ เกิดโจรและกาฝากชนิดใหม่ขึ ้นมาเสริ มนายทุนผู้ถือหุ้น นันคื ้ อพวกกรรมการบริ หาร บอร์ ดของบริษัท ที่กินเงินเดือนสูง

บทที่ 24: ทุนที่ได้ ดอกเบีย้ ในลักษณะภำพลวงตำของควำมสัมพันธ์ ของทุน

• พวกนักเศรษฐศาสตร์ การเมืองหยาบๆ มักเสนอว่า ทุนการเงิน หรื อ “ทุนที่ได้ ดอกเบี ้ย” เป็ นทุนที่ผลิตมูลค่าเอง หรื อเขาชอบพูดว่า “เงินผลิตมูลค่าเอง” มันกลายเป็ นว่าการผลิตเป็ นสิ่งปลีกย่อย นันคื ้ อการสร้ างภาพลวงตาครัง้ ยิ่งใหญ่ • ในความเป็ นจริ ง การปกป้อง และเพิ่มมูลค่า เกิ ดได้ เฉพาะในกรณี ที่ผ ลของการทำา งานในอดี ตไปสัมผัส กับ แรงงานปั จจุบนั เท่านัน้

บทที่ 25: ระบบสินเชื่อ และ “ทุนมำยำ” เมื่อระบบทุนนิยมพัฒนา • สินค้ าถูกขายบนพื ้นฐานคำามัน่ สัญญาว่าจะจ่ายเงินในอนาคต (สินเชื่อ) เราเรี ยกสิ่งนี ้ว่า “บัตรแลกเปลี่ยน” • มีการหมุนเวียนของ “บัตรแลกเปลี่ยน” ซึง่ กลายเป็ นลักษณะของเงินส่วนใหญ่ในระบบพาณิชย์ • “บัตรแลกเปลี่ยน”ที่หมุนเวียนอยูใ่ นเศรษฐกิจ จะบวกลบกัน คานกัน คือมีการคานหนี ้ กับการเก็บหนี ้ • การค้ าขายและธุรกิจจึงไม่ต้องใช้ เงินจริงโดยตรง • ธนาคารกลายเป็ นแหล่งรวมศูนย์ทนุ เงินเพื่อปล่อยกู้ และแหล่งรวมศูนย์ผ้ กู ้ ู และกำาไรของธนาคารมาจากความ แตกต่างระหว่างดอกเบี ้ยที่จ่ายให้ ผ้ ฝู าก และดอกเบี ้ยที่เก็บจากผู้ก้ ู • เงินทุนของธนาคารมาจาก 1. คลังทุนของนายทุนการผลิตที่ยงั ไม่ได้ นำาไปใช้ 2. การฝากเงินโดยตรงของนายทุนการเงิน 3. การออมเงินเล็กๆ น้ อยๆ ของพลเมืองธรรมดา ซึง่ ปกติแล้ วน้ อยเกินไปที่จะเป็ น “ทุน” ได้ • ธนาคารจะปล่อยกู้ในลักษณะสินเชื่อ เป็ นบัตรสินเชื่อ หรื อในบางกรณี อาจมีสิทธิ ์ พิมพ์ ธนบัตรเอง (โดยรั ฐค้ำ า ประกัน) • การขยายตัวของระบบสินเชื่อ เปิ ดโอกาสให้ เกิดฟองสบู่และการปั่ นราคาเกิ นความจริ ง 37 คือเกิด “ทุนมายา” 37

ซึง่ เราเห็นในวิกฤตไทยปี ๒๕๓๙ และวิกฤต subprime 2009 (ใจ)

72


(และมาร์ คซ์ยกตัวอย่างจากโลกจริงในบทนี ้และบทต่อไป)

บทที่ 26: กำรสะสมของทุนเงิน และอิทธิพลต่ ออัตรำดอกเบีย้

• อัตราดอกเบี ้ยมีสว่ นเกี่ยวข้ องกับระบบการผลิต แต่อตั ราดอกเบี ้ยขึ ้นลงในหลายๆ สถานการณ์ที่แตกต่างกันได้ • อัตราดอกเบี ้ยจะไม่ขึ ้นลงตามการขึ ้นลงของอัตรากำาไร • อัตราดอกเบี ้ยขึ ้นลงตามความต้ องการเงินในสังคม ถ้ าความต้ องสูงอัตราดอกเบี ้ยจะสูง

บทที่ 27: บทบำทของสินเชื่อในกำรผลิตทุนนิยม ข้ อสังเกตเกี่ยวกับระบบสินเชื่อมีดงั นี ้ 1. ระบบสินเชือ้ มีควำมจำำเป็ นเพื่อให้ อัตรำกำำไรเฉลี่ยเกิดขึน้ ในสังคมได้ 2. ระบบสินเชื่อลดค่ ำใช้ จ่ำยในกำรหมุนเวียนของทุน เพรำะ 2.1 ลดการใช้ “เงิน” จริง 2.1.1 ธุรกิจหลายชนิดยกเลิกการใช้ เงินโดยตรง 2.1.2 ทำาให้ การหมุนเวียนของทุนเร็ วขึ ้น 2.1.3 มีการใช้ กระดาษแทนทองคำา 2.2 มีการเร่งการแปรรูปทุนในขันตอนต่ ้ างๆ ของการผลิต แต่ในขณะเดียวกันมีการยืดเวลาซื ้อขายจริ ง เปิ ดช่องให้ มีการปั่ นราคา มีการลดปริ มาณคลังออมของสังคมที่จำาเป็ นต้ องมี 3. ทำำให้ เกิดบริษัทร่ วมหุ้น 3.1 มีการขยายขนาดการผลิต ในลักษณะที่นายทุนปั จเจกไม่สามารถทำาได้ 3.2 ทุนกลายเป็ น “ทุนของสังคม” ใน “กิจการการผลิตของสังคม” พูดง่ายๆ เป็ นการยกเลิกทรัพย์สิน ส่วนตัวของนายทุนปั จเจก แต่ภายในกรอบของระบบการผลิตแบบทุนนิยม 3.3 นายทุนการผลิต ถูกแปลงร่ างไปเป็ น “ผู้บริ หารทุนของคนอื่น” และเจ้ าของทุนแปลงร่ างไปเป็ นแค่ นายทุนการเงิน ทังๆ ้ ที่มีการกินส่วนแบ่งเป็ นกำาไรหรื อดอกเบี ้ย ขัน้ ตอนสูงสุดของทุนนิยมในรู ปแบบบริษัทร่ วมหุ้น เป็ นขัน้ ตอนที่จะนำำไปสู่กำรยึดปั จจัยกำรผลิตมำเป็ นของส่ วนรวม [เองเกิลส์ เพิ่มเติมว่า ภายหลังจากที่ มาร์ คซ์ เขียนบทนี ้ เราเห็นชัดว่าทุนนิยมขยายตัวจนไม่มีการแข่งขันเสรี จริ งใน โลก เพราะเกิดปรากฏการณ์การผูกขาดมากขึ ้น] 73


• นี่คือการยกเลิกการผลิตแบบทุนนิยมภายในกรอบของทุนนิยมเอง มันคื อความขัดแย้ ง มันเปิ ดทางให้ มีการ ผูกขาด การก้ าวเข้ ามาของรัฐ การกำาเนิด “ขุนนางการเงิน” ที่เป็ นกาฝาก พวกที่ปั่นหุ้น เล่นพนัน โกงกิน มันคือ การผลิตเอกชนที่ไม่ได้ ถกู ควบคุมโดยการเป็ นเจ้ าของโดยปั จเจกเอกชน 4. ระบบสินเชื่อเปิ ดโอกำสให้ คนที่ตัง้ ตัวเป็ นนำยทุนบำงคน ที่อำจไม่ มีทุนอะไรมำกมำย สำมำรถ ควบคุมทุนและทรั พย์ สินของคนอื่นๆ และแรงงำนของคนอื่นๆ ในสั งคมได้ ผ่ ำนอำำ นำจในกำร ควบคุมทุน • ดังนัน้ นายทุนประเภทนี ้เวลาลงทุนจะนำาทุนของสังคมมาเสี่ยงกับความล้ มเหลวได้ 38 • ไม่ว่ากิจการต่างๆ จะประสบผลสำาเร็ จหรื อความล้ มเหลว ก็จะนำาไปสู่การรวมศูนย์ ขนาดใหญ่ของทรัพย์ สินใน สังคม ในมือของคนไม่กี่คน • ระบบสหกรณ์ การผลิตเติบโตจากระบบการผลิตทุนนิยมและระบบสินเชื่อ แต่จะเริ่ มกำาจัดความขัดแย้ งระหว่าง ทุนกับแรงงาน อย่างไรก็ตาม มันยังไม่ได้ หลุดพ้ นจากทุนนิยม เพราะแรงงำนกลำยเป็ นนำยทุนที่ขูดรี ดตนเอง เราต้ องมองว่าเป็ นเพียงขันตอนไปสู ้ ่การที่ปัจจัยการผลิตทังหมดจะเป็ ้ นของส่วนรวม คล้ ายๆ กับที่บริ ษัทร่ วมหุ้น เป็ นขันตอนหนึ ้ ง่ ด้ วย • ถ้ าระบบสินเชื่อดูเหมือนว่ากระตุ้นการผลิตล้ นเกิน และการปั่ นราคาในภาคพาณิชย์ สถานการณ์ สุดขัวนี ้ เ้ กิด เพราะผู้ควบคุมการลงทุนในสังคม ไม่ใช่เจ้ าของของทุนเอง จึงเกิดความประมาทได้ และนำา ไปสู่วิกฤตอย่าง รุนแรง [บทที่ 28 ข้ ามไป]

บทที่ 29: องค์ ประกอบของทุนธนำคำร

• ทุนธนาคารประกอบไปด้ วย เงินสดกับบัตรสินเชื่อ และไม่สำาคัญว่าเป็ นทุนส่วนตัวของใคร • การที่ทนุ ธนาคารได้ ดอกเบี ้ยมา ทำาให้ สร้ างภาพว่าทุนชนิดนี ้ถูกใช้ เพื่อสร้ างมูลค่า ไม่วา่ จะจริ งหรื อไม่ • เวลารัฐกู้เงินจากนายทุนหรื อตลาดการเงิน รัฐจะออกพันธบัตร ผู้ซื ้อพันธบัตรจะไม่ได้ “ทุน” กลับมาในลักษณะ ของการหมุนเวียนของทุนในระบบการผลิต เพราะเงินทุนนี ้รัฐเอาไปใช้ จ่ายแล้ ว มันหมดสูญไป แต่พนั ธบัตรคือ เอกสารที่ให้ ผ้ ถู ือเป็ นเจ้ าของส่วนหนึ่งของเงินภาษี ที่รัฐเก็บเป็ นรายได้ ของรั ฐในอนาคต (ปริ มาณที่ได้ คือ ราคา พันธบัตร บวกดอกเบี ้ย) นอกจากนี ้ผู้ถือพันธบัตรสามารถขาย “ความเป็ นเจ้ าของ” นี ้ต่อให้ ผ้ อู ื่นได้ แต่เงินที่ใช้ ซื ้อ พันธบัตรไม่ถือว่าเป็ น “การลงทุน” มันเป็ น “ทุนมายา” การเป็ นเจ้ าหนี ้ของหนี ้สาธารณะทำาให้ ดเู หมือนเป็ นการ

38

ดังที่เกิดขึ ้นในวิกฤตโลกปี 2009 (ใจ)

74


ลงทุน • ทุนที่ได้ ดอกเบี ้ย เป็ นแม่กำาเนิดของรูปร่างเพี ้ยนๆ ทังหลาย ้ หนี ้สินกลายเป็ นสินค้ าที่ซื ้อขายกันได้ ในความคิดของ นายธนาคาร39 • การถือหุ้นในรถไฟ เหมืองแร่ หรื อบริ ษัทเดินเรื อ เป็ นการถือหุ้นใน “ทุนจริ ง” ซึ่งอยู่ในกระบวนการผลิต อย่างไร ก็ตาม มันเป็ นแค่เอกสารที่ให้ สิทธิ์ในส่วนแบ่งของมูลค่าส่วนเกินที่จะเกิดขึ ้นในอนาคต (และบางครัง้ มีการขาย หุ้นปลอมด้ วย) เวลามีการซื ้อขายหุ้น มันไม่ใช่การซื ้อขายทุนที่ไปลงทุน เพราะทุนจริ งมันผูกมัดในกระบวนการ ผลิตแล้ ว • การซื ้อขายความเป็ นเจ้ าของในหุ้น หรือพันธบัตรรัฐบาล ทำาให้ เกิดภาพลวงตาว่ามันเป็ นทุนจริ ง เพราะสิ่งเหล่านี ้ กลายเป็ นสินค้ าที่ราคาขึ ้นลงได้ โดยที่ทนุ จริ งไม่เปลี่ยนมูลค่าเลย มันเป็ นทุนมายาที่ใช้ ในการพนันของนักเล่นหุ้น เท่านัน้ • พอเกิดปั ญหาทางเศรษฐกิจ คนถือหุ้นหรื อพันธบัตร จะพยายามรี บขายเอกสารเหล่านี ้ เพื่อได้ เงินสด ซึ่งทำาให้ ราคามันตกต่าำ ลง • ทุนส่วนใหญ่ในระบบธนาคารเป็ น “ทุนมายา” การซื ้อขายทุนมายานี ้ในลักษณะหลายๆ ต่อ ทำาให้ ดเู หมือนว่าทุน จริ งเดิมถูกผลิตซ้ำ าหลายครัง้ แต่มนั เป็ นภาพลวงตาอีก

บทที่ 30: ทุนเงิน และทุนจริง (I)

• การสะสมทุนเงิน เป็ นเพียงการสะสมความเป็ นเจ้ าของในผลผลิตของแรงงาน การสะสมทุนเงินจากการให้ รัฐกู้ เป็ นเพียงการสะสมความเป็ นเจ้ าของในรายได้ จากภาษี มันเป็ นตัวอย่างของการบิดเบือนความจริ งโดยระบบสิน เชื่อ • การถือหุ้นในบริ ษัทรถไฟหรื อเหมืองแร่ เป็ นเอกสารที่ให้ ความเป็ นเจ้ าของในทุนจริ ง แต่ผ้ เู ป็ นเจ้ าของแบบนี ้ไม่มี อำานาจในการควบคุมทุนดังกล่าว เพราะถอนทุนไม่ได้ มันผูกกับระบบการผลิต เขาได้ แต่กินส่วนแบ่งของมูลค่า ส่วนเกิน • การเล่นการพนันในการซื ้อขายหุ้น ทำาให้ ดูเหมือนว่าความร่ำารวยเกิดจากการซื ้อขายหุ้น แต่แท้ จริ งแล้ วมันเกิด จากการทำา งานของกรรมาชีพ ความร่ำา รวยแบบนีม้ ีความสำา คัญมากสำา หรั บเศรษฐี และธนาคารในทุนนิ ยมที่ พัฒนา • การที่ทนุ เงินในสังคมเพิ่มขึ ้น ไม่ได้ แปลว่ามีการสะสมของทุนจริ งในสังคม การขาดแคลนทุนเงินในสังคม ไม่ได้ แปลว่าทุนจริ งขาดแคลน เช่นเวลาเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ทุนจริ งจะมีเกินความสามารถที่จะใช้ ในการผลิต แต่ทุน เงินจะขาดแคลนเพราะทุกคนต้ องการขายหุ้นและขายสินค้ า เพื่อได้ เงินสดมา และจะไม่มีการไว้ ใจระบบสินเชื่อ

39

เช่นกรณีการขายต่อหนี ้คนจนที่เป็ นจุดเริ่มต้ นของวิกฤตธนาคารปี 2009 (ใจ)

75


• บ่อยครัง้ บริ ษัทต่างๆ จะสร้ างภาพลวงตาให้ ผ้ ปู ล่อยกู้ว่า บริ ษัทนันอุ ้ ดมสมบูรณ์ และประสบความสำาเร็ จในช่วง ก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ • การเพิ่มขึ ้นของทุนเงิน อาจเกิดจากวิกฤต เพราะคนไม่ก้ เู งินไปทำาการผลิตก็ได้ “ในระบบกำรผลิตที่ผูกมัดเชื่อมโยงกับระบบสินเชื่อธนำคำร วิกฤตเศรษฐกิจจะปรำกฏขึน้ ในขัน้ ตอนแรก เหมือนกับว่ ำมันเป็ นวิกฤตกำรเงิน แต่ รำกฐำนต้ นกำำเนิดแท้ ของวิกฤตอยู่ท่ รี ะบบกำรผลิต เมื่อเกิดวิกฤตแล้ ว กำรทำำธุรกิจหลอกลวงคดโกงและกำรพนันต่ ำงๆ บนพืน้ ฐำนเงินกู้ จะถูกเปิ ดโปงให้ เห็น จะมีกำรโทษระบบธนำคำร แต่ มันไม่ มีกฎหมำยใดที่ใช้ ควบคุมระบบกำรเงิน ที่จะสำมำรถห้ ำมไม่ ให้ เกิดวิกฤตได้ ” • เมื่อเกิดวิกฤต “ทุนมายา” และทุนสินค้ า จะแลกเป็ นเงินยากขึ ้น ราคาหุ้นก็จะตกและปริ มาณ “ทุนมายา” ก็จะลด ลง แต่นนไม่ ั ้ ได้ แปลว่าทุนจริงหายไปแต่อย่างใด

บทที่ 31: ทุนเงินและทุนจริง (II)

• เราเห็นในบทก่อนหน้ านีว้ ่า การสะสมทุนให้ ก้ ูเกิดขึ ้นในหลายสถานการณ์ ที่ไม่สอดคล้ องกับการสะสมทุนจริ ง และการขึ ้นลงของอัตรากำาไร • การสะสมเงินเป็ นทุนให้ ก้ ู อาจมาจากการที่นายทุนฝากเงินทุนที่กำาลังจะใช้ ไว้ ในธนาคารชัว่ คราว หรื ออาจเกิด จากการที่กำาไรของนายทุนไม่ได้ นำาไปลงทุนใหม่ทนั ที แต่ฝากไว้ ในธนาคาร ทังๆ ้ ที่อัตรากำา ไรกำา ลังลดลง (ซึ่ง ทำาให้ นายทุนลังเลใจในการลงทุนแต่แรก)

บทที่ 32: ทุนเงินและทุนจริง (III ตอนจบ)

• การสะสมทุนเงิน เป็ นสิ่งที่เกิดขึ ้นชัว่ คราว ก่อนที่เงินทุนจะถูกนำา ไปลงทุนต่อ ส่วนหนึ่งจะใช้ ในการแทนที่ “ทุน คงที่” ที่สกึ หรอ เวลามีการสะสมทุนเงิน มันย่อมสะสมในปริ มาณสูงกว่าการสะสมทุนจริ งในโลกจริ ง • ทุนเงินอาจถูกปลดปล่อยจากการที่ราคาสินค้ าตกต่าำ (ปริ มาณเงินที่ใช้ ซื ้อจะน้ อยลง) หรื อการหยุดชะงักของการ ผลิต ทังสถานการณ์ ้ ดีและสถานการณ์แย่ก่อให้ เกิดการสะสมของทุนเงินได้ • การขึ ้นลงของอัตราดอกเบี ้ย ขึ ้นอยูก่ บั ความต้ องการในทุนเงิน ซึง่ อาจไม่สอดคล้ องกับการขึ ้นลงของการผลิตเลย • เวลาภาคเกษตรมีปัญหา การพนันในสินค้ าเกษตร อาจทำาให้ มีการกวาดซื ้อสินค้ าเกษตร ซึง่ ทำาให้ ดอกเบี ้ยเพิ่มได้ • ในยามวิกฤต ธุรกิจต่างๆ สัญญาต่างๆ ที่เคยพึง่ พาระบบสินเชื่อ จะวิ่งเข้ าหาเงินสด ทำาให้ ความต้ องการในเงินสด เพิ่มขึ ้น 76


บทที่ 33: ปั จจัยกำรหมุนเวียนของทุนภำยใต้ ระบบสินเชื่อ

• ระบบสินเชื่อทำาให้ มีการประหยัดปั จจัยการหมุนเวียนของทุน (เงิน) เพราะระบบสินเชื่อและธนาคารที่ทำาหน้ าที่ รวมศูนย์สินเชื่อ จะทำา การบวกลบรายรับรายจ่าย หรื อการฝากและการปล่อยกู้ในบัญชีใหญ่ของธนาคาร จน “เงิน” ถูกใช้ ในการจ่ายยอดที่เหลือเท่านัน้ • ตังแต่ ้ ปี ค.ศ. 1844 ถึง 1857 ปริ มาณธนบัตรราคาสูงที่หมุนเวียนในสังคมมีน้อยลง ทังๆ ้ ที่การค้ าขายเพิ่มขึ ้น และตังแต่ ้ ปี 1792 ถึง 1856 เวลาที่ใช้ ในการหมุนเวียนของธนบัตรก็ลดลง (มาร์ คซ์เสนอข้ อมูลจากระบบธนาคาร ในอังกฤษในยุคนัน) ้ • การรวมศูนย์ของทุนเงิน ภายใต้ ระบบสินเชื่อ ทำาให้ นายทุนการเงิน (ชนชันกาฝากและโจร) ้ มีอำานาจมากขึ ้นอย่าง น่ากลัว อำานาจนี ้อาจทำาลายนายทุนการผลิตและระบบการผลิตได้ [บทที่ 34 พูดถึงกฎหมายธนาคารในอังกฤษ ปี 1844]

บทที่ 35: โลหะมีค่ำ และอัตรำแลกเปลี่ยน [ในสมัยมาร์ คซ์ ทองคำาและเงิน -โลหะมีค่า เป็ นมาตรฐานของเงินตรา และธนาคารกลางกับธนาคารอื่นๆ จะถือทองคำา เป็ นคลังเพื่อค้ำ าประกันราคาของธนบัตร แต่ในปี 1944 หลังสงครามโลกครัง้ ที่สอง ภายใต้ ข้อตกลง Bretton Woods เงิน ดอลล่าสหรัฐกลายเป็ นหลักค้ำ าประกันเงินตราทัว่ โลก ในฐานะที่สหรัฐเป็ นมหาอำานาจยิ่งใหญ่ อย่างไรก็ตามเงินดอลล่ายัง มีทองคำาค้ำ าประกันอยู่ จนในปี 1971 รัฐบาลสหรัฐประกาศว่าจะไม่ผกู ค่าเงินดอลล่ากับทองคำาอีกต่อไป – (ใจ)] • โลหะมีคา่ จะย้ ายเข้ าย้ ายออกจากประเทศที่ไม่ได้ ผลิตโลหะเหล่านี ้เอง เมื่อมีการค้ าขายระหว่างประเทศ • โลหะมีคา่ ในคลังของธนาคาร มีไว้ เพื่อค้ำ าประกันการซื ้อขายระหว่างประเทศในตลาดโลก และเพื่อค้ำ าประกันการ หมุนเวียนของเงินภายในประเทศ ขนาดของคลังโลหะมีค่าของแต่ละประเทศขึ ้นอยู่กบั ความสำาคัญของประเทศ นันในตลาดโลก ้ • อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ สะท้ อนดุลการค้ าระหว่างประเทศดังกล่าว ถ้ าค่าเงินของประเทศหนึ่ง สูงเพราะได้ เปรี ยบในดุลการค้ า ประเทศที่เสียเปรี ยบอาจจ่ายเงินในรูปแบบทองคำาแทน ซึง่ มีผลเสียต่อคลังโลหะ มีคา่ ธนาคารกลางจึงต้ องหาทางเพิ่มอัตราดอกเบี ้ยเพื่อค้ำ าประกันอัตราแลกเปลี่ยน

บทที่ 36: ควำมสัมพันธ์ ก่อนยุคทุนนิยม

• “ทุนที่ได้ ดอกเบี ้ย” หรื อที่โบราณเขาเรี ยกว่า “การปล่อยกู้” มีมานานก่อนระบบทุนนิยม และเจริ ญเติบโต/เป็ น 77


ลูกพี่ลกู น้ อง มากับ “ทุนพาณิชย์” • พ่อค้ าพาณิชย์จะยืมเงินจากผู้ปล่อยกู้ เพื่อสร้ างกำาไร ดังนันความสั ้ มพันธ์ระหว่างพ่อค้ ากับผู้ปล่อยกู้ คล้ ายๆ กับ ความสัมพันธ์ระหว่างนายทุนการผลิตกับนายทุนธนาคาร คือเงินที่ให้ ก้ เู ป็ นวิธีเพิ่มทุนโดยการขูดรี ดแรงงานคน อื่น -ในระบบทาส มีการใช้ เงินเพื่อซื ้อทาส ซึง่ เป็ นการใช้ เงินเพื่อปล้ นพลังแรงงานของคนอื่น • ในอดีต ผู้ปล่อยกู้ จะปล่อยกู้กบั 1. ขุนนางเจ้ าของที่ดนิ ที่ใช้ เงินฟุ่ มเฟื อย 2. เกษตรกรรายย่อย หรื อช่างหัตถกรรม บ่อยครัง้ การติดหนี ้ทำาให้ เขาล้ มละลาย และในกรณีเกษตรกรราย ย่อย ทำาให้ กลายเป็ นทาสหนี ้สินของผู้ให้ ก้ ู • สถาบันศาสนาคริ สต์ มักจะประณามการปล่อยกู้ และการคิดดอกเบี ้ย (ในนามธรรม แต่ในรู ปธรรมสถาบันนี ้ได้ ประโยชน์ทางอ้ อมจากระบบนี ้) อัตราดอกเบี ้ยในยุคกลางที่ยโุ รปอาจสูงถึง 200% • ระบบการปล่อยกู้อาจมีผลในการรวมศูนย์ทุนเงินที่อิสระจากผู้ปกครองเจ้ าที่ดินเก่า และอาจทำา ให้ ขุนนางเจ้ า ที่ดินในระบบฟิ วเดิล ล้ มละลาย ซึ่งอาจเปิ ดทางให้ มีก ารพัฒนาของระบบทุน นิ ย มได้ ถ้ า เงื่ อนไขสำา คัญ อื่น ๆ อำานวย แต่ไม่มีอะไรอัตโนมัติ เพราะในกรณี ส่วนใหญ่ระบบปล่อยกู้จะไม่นำา ไปสู่การเปลี่ยนระบบการผลิตแต่ อย่างใด และอาจทำาให้ การพัฒนาระบบการผลิตยากขึ ้น และด้ อยพัฒนาเต็มไปด้ วยการคอร์ รับชัน่ เพราะมีการ ดูดทรัพย์และความเจริญออกไป และทำาให้ เกษตรกรล้ มละลายเป็ นทาสหนี ้สิน มันเป็ นระบบกาฝากที่ฉวยโอกาส เมื่อเกษตรกร หรือคนอืน่ ๆ มีวิกฤตชีวิตที่บงั คับให้ เขาต้ องกู้เงิน • การปล่อยกู้ในระบบก่อนทุนนิยมไม่ได้ ขดู รี ดประชาชนมากกว่าระบบทุนนิยม เพราะในระบบทุนนิยมมีการขูดรี ด แรงงานส่วนเกิน/มูลค่าส่วนเกินทังหมด ้ จากกรรมาชีพ • การปล่อยกู้ก่อนยุคทุนนิยมเป็ นการให้ ยืมเงิน โดยที่ การเก็ บดอกเบี ้ยทำา ให้ เงินนัน้ เป็ น “ทุน” ในมือผู้ปล่อยกู้ เพราะสามารถเพิ่มมูลค่าได้ • การพัฒนาระบบธนาคารและระบบสินเชื่อในยุคแรกๆ ของทุนนิยม(ศตวรรษที่ 18) เป็ นวิธีที่นายทุนการผลิตและ นายทุนพาณิชย์จะบังคับให้ ระบบการเงิน /สินเชื่อ/การปล่อยกู้ ตกอยู่ภายใต้ อำานาจของระบบการผลิต ซึ่งทำาให้ อัตราดอกเบี ้ยลดลงจากเดิม และทำา ลายพวกปล่อยกู้โบราณ การให้ ก้ ใู นระบบทุนนิยม เป็ นการให้ คนที่จะทำา หน้ าที่เป็ นนายทุน ยืมเงินเพื่อขูดรีดกรรมาชีพ • ระบบสินเชื่อทุนนิยมเกิดได้ เมื่อปั จจัยการผลิตของสังคมถูกผูกขาดในมือนายทุน • ระบบสินเชื่อจะยิ่งมีบทบาทในช่วงรอยต่อระหว่างทุนนิยมกับสังคมนิยม แต่เมื่อมีการยกเลิกทุนนิยม ปั จจัยการ ผลิต รวมถึงที่ดิน จะยุติบทบาทในการเป็ น “ทุน” และระบบสินเชื่อจะไม่มีความหมาย (Proudhon ไม่เข้ าใจตรง นี ้)

78


ภำคที่ 6 กำรแปรกำำไรส่ วนเกินเป็ นค่ ำเช่ ำที่ดนิ

มาร์ คซ์ พิจารณาค่าเช่าที่ดินในระบบทุนนิยม ที่มีการทำาลายระบบขุนนางฟิ วเดลไปแล้ ว และมีการแยกเกษตรกรรายย่อย ที่เคยเป็ นเจ้ าของที่ ดินแปลงเล็กๆ ออกจากที่ดินด้ ว ย เกษตรจึง เป็ นเกษตรทุน นิ ย ม และเกษตรกรเป็ นนายทุน ที่ จ้า ง กรรมาชีพมาทำาการเกษตร ในขณะเดียวกันเกษตรกรนายทุนเหล่านี ้ต้ องเช่าที่ดินจากเจ้ าของที่ดินรายใหญ่ • ค่าเช่าที่ดินนี ้ไม่ใช่สิ่งเดียวกับ “ดอกเบี ้ย” แต่มนั เป็ นการได้ ผลประโยชน์จากการเป็ นเจ้ าของที่ดิน • ระดับค่าเช่า อาจเพิ่มขึน้ จากการที่เกษตรกรไปปรั บปรุ งที่ดินเอง เช่นด้ วยการสร้ างระบบชลประทาน หรื อตึก สำาหรับการเก็บผลผลิต ทังๆที ้ ่ผ้ เู ป็ นเจ้ าของที่ดินไม่ได้ ทำาอะไรเลย • ที่ดินไม่ใช่สินค้ าเหมือนสินค้ าอื่น เพราะที่ดินมาจากลักษณะธรรมชาติของโลก เดิมมันไม่มีเจ้ าของ และมันไม่ได้ กำาเนิดจากแรงงานมนุษย์ การอ้ างความเป็ นเจ้ าของของพื ้นผิวโลก มาจากการใช้ กำาลังยึดมา มันไม่ต่างจากการ ใช้ กำาลังในการจับทาสแล้ วอ้ างความเป็ นเจ้ าของเหนือมนุษย์ผ้ อู ื่น

บทที่ 38-47: ว่ ำด้ วยค่ ำเช่ ำที่ดนิ

• การเก็บค่าเช่าที่ดนิ มาจากการที่คนบางคนอ้ างสิทธิผกู ขาดในการเป็ นเจ้ าของส่วนต่างๆ ของพื ้นผิวโลก • ค่าเช่าไม่ได้ เกิดจากการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และไม่ได้ มาจากการมีส่วนในการสร้ างกำาไรหรื อมูลค่าส่วน เกินแต่อย่างใด • ค่าเช่าเป็ นการยึดส่วนหนึง่ ของกำาไรจากผู้ผลิต • ถ้ าเปรี ยบเทียบที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่แตกต่างกัน (ไม่ว่าจะมาจากสภาพธรรมชาติ หรื อการพัฒนาที่ดิน ) ค่าเช่าย่อมสูงในที่ดินที่อดุ มสมบูรณ์ที่สดุ และต่าำ สุดจนไม่สามารถเก็บค่าเช่าในที่ที่ขาดความอุดมสมบูรณ์ ทังนี ้ ้ เพราะในที่ที่อดุ มสมบูรณ์มากกว่าที่ดินทัว่ ไป การเกษตรจะได้ กำาไรมากกว่ากำาไรเฉลี่ยของเศรษฐกิจ และเจ้ าของ ที่ดินสามารถยึดส่วนต่างจากผู้ผลิตได้ บ้าง • ระบบการเป็ นเจ้ าของที่ดินโดยผู้ที่ไม่ใช่นายทุนการผลิต เป็ นอุปสรรค์ตอ่ การพัฒนาระบบทุน • ถ้ านายทุนเป็ นเกษตรกร และเป็ นเจ้ าของที่ดินเอง ก็ไม่ต้องจ่ายค่าเจ้ าที่ดนิ เขาจะได้ สว่ นที่เป็ นกำาไรทังหมดเอง ้ • ผู้ที่เป็ นเจ้ าของที่ดิน ไม่ต้องทำาอะไร แค่อ้างความเป็ นเจ้ าของส่วนหนึง่ ของพื ้นผิวโลก และเมื่อเจ้ าของที่ดินจับมือ กับนายทุนการผลิต มันมีอำานาจล้ นฟ้าที่จะปิ ดกันกรรมาชี ้ พและคนจนจากสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่บนผิวโลกโดยไม่ ต้ องจ่ายส่วย นอกจากนี ้คนพวกนี ้ยังอ้ าง “สิทธิ” ในอากาศเหนือผิวโลก และทรัพยากรใต้ ดินอีกด้ วย • การเก็บค่าเช่าบ้ านหรือตึกโรงงาน ต้ องแยกจากค่าเช่าที่ดิน ที่เป็ นที่ตงของโรงงานหรื ั้ อบ้ านนันๆ ้ • นักเศรษฐศาสตร์ กระแสหลักมักเข้ าใจผิด หรื อจงใจเข้ าใจผิดว่า ค่าเช่าที่ ดินเกิดจากคุณสมบัติของที่ ดินหรื อ คุณสมบัติของส่วนหนึง่ ของโลก แต่แท้ จริงแล้ วค่าเช่าที่ดินเก็บจากมูลค่าส่วนเกินที่เกิดขึ ้นจากกิจกรรมของมนุษย์ บนที่ดินเหล่านัน้ มันเกิดจากความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างมนุษย์ในสังคมชนชัน้ 79


• ค่าเช่าที่ดินมีหลายรูปแบบ เช่นการส่งส่วย ส่งส่วนหนึง่ ของผลผลิต หรื อจ่ายเป็ นเงิน ฯลฯ • “ราคาที่ดิน” ในตลาด มาจากการประเมิน “ค่าเช่า” ที่อาจสามารถเก็บจากที่ดินแปลงนัน้ ๆ ได้ เท่านัน้ “ราคา ที่ดิน” จริ งๆ แล้ วในตัวมันเองไม่มี มันเป็ นภาพลวงตา ระบบเกษตรกรรายย่อยที่มีที่ดินของตนเอง • เกษตรกรรายย่อยย่อมมีขีดจำากัดในการพัฒนาพลังการผลิตด้ วยแรงงานรวมหมูข่ องสังคม หรื อด้ วยการระดมทุน และเทคโนโลจี อย่างที่ทนุ ใหญ่ทำาได้ ถือว่าในยุคนี ้เป็ นการสิ ้นเปลืองทรัพยากรมนุษย์ • ระบบนี ้ย่อมถูกทำาให้ ลม่ จม เกษตรกรทุกข์ร้อนจากการปล่อยกู้ของพวกหน้ าเลือดและจากการเก็บภาษี ของรัฐ • ถ้ าเกษตรกรรายย่อยต้ องซื ้อที่ดินมาใช้ เอง ราคาที่ดินจะเป็ นอุปสรรค์ตอ่ การพัฒนาการผลิต เพราะเป็ นการลงทุน ที่ดงึ เงินจากการลงทุนที่น่าจะนำามาพัฒนาเทคโนโลจีการผลิต ทรัพย์สนิ เอกชนในที่ดิน • การอ้ างทรัพย์สินเอกชนในที่ดิน หรือส่วนหนึง่ ของพื ้นผิวโลก ไม่มีความชอบธรรมอะไรจากประวัติศาสตร์ • ทรั พย์ สินเอกชนในที่ดิน ไม่ว่าจะเป็ นของเกษตรกรรายย่อย หรื อเจ้ าของที่ ดินรายใหญ่ เป็ นอุปสรรค์ ต่อการ วางแผนการผลิตในภาคเกษตร เพื่อให้ ประชากรโลกได้ บริ โภคผลผลิตอย่างทัว่ ถึง มันเป็ นอุปสรรค์ตอ่ การร่ วมกัน อยู่ ร่ วมกันใช้ ร่ วมกันเป็ นเจ้ าของ ในพืน้ ผิวโลกโดยมวลมนุษย์ มันนำา ไปสู่การใช้ ทรั พยากรธรรมชาติอย่างสิ ้น เปลือง • ระบบเกษตรขนาดใหญ่ของทุนนิยม ทำาลายอาชีพเกษตรกร ผลักดันมนุษย์เข้ าไปในเมืองอย่างแออัด มันทำำให้ สำยสัมพันธ์ ระหว่ ำงมนุษย์ กับโลกธรรมชำติถ ูกทำำลำยไป จนมนุษย์ ห่ำงเหินจำกโลกธรรมชำติ ผลคือ กำรทำำลำยสิ่งแวดล้ อม

ภำคที่ 7 รำยได้ และต้ นกำำเนิดรำยได้ บทที่ 48: สูตรรัตนตรัย

• อดัม สมิท (Adam Smith) กล่าวว่า สูตรรัตนตรัยคือ 1. ทุน – ได้ กำาไร 2. ที่ดิน – ได้ คา่ เช่า 3. แรงงาน – ได้ คา่ แรง 80


ทังนี ้ เ้ พื่อ “อธิบาย” ที่มาของรายได้ ของชนชันต่ ้ างๆ เหมือนว่าเป็ นการแบ่งมูลค่าระหว่างชนชัน้ แต่มนั เป็ นสูตรที่ เต็มไปด้ วยปริ ศนาเกี่ยวกับระบบการผลิตทางสังคม และปกปิ ดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ • ทุน ไม่ใช่ “สิ่งของ” มันเป็ นความสัมพันธ์ทางการผลิตในสังคมยุคหนึ่ง ที่มีร่างเหมือนสิ่งของ มันเป็ นปั จจัยการ ผลิตที่ผกู ขาดในมือของคนกลุม่ หนึง่ ในสังคม • ที่ดินหรื อผิวโลก เป็ นวัตถุ ความอุดมสมบูรณ์ของดินเพียงแต่เอื ้อกับการทำางานของมนุษย์ มันไม่มีมลู ค่าในตัวมัน เอง มันไม่ใช่สว่ นหนึง่ ของมูลค่าส่วนเกิน แต่มนั เอื ้อกับการผลิตมูลค่า • แรงงาน ในตัวมันเองแรงงานไม่มีตวั ตน มันคือการทำางานของมนุษย์ในการใช้ ทรัพยากรของโลก • โลกธรรมชาติกบั แรงงาน เป็ นองค์ประกอบของการผลิต ไม่วา่ ความสัมพันธ์ทางสังคมจะเป็ นอย่างไร • เศรษฐศาสตร์ กระแสหลักแบบกลไก นำาเอา รัตนตรัย ทุน -กำาไร, ที่ดิน-ค่าเช่า, แรงงาน-ค่าแรง มาเป็ นสูตรรวม แต่ มันไม่ใช่การรวมสิ่งที่เหมือนกันหรื อรวมสิ่งที่อยู่ในมิติเดียวกัน สามสิ่งนีเ้ ทียบกันไม่ได้ เป็ นการสร้ างสูตรจอม ปลอม • “ราคาแรงงาน” ที่เศรษฐศาสตร์ กระแสหลักชอบพูดถึงว่าเป็ น “ค่าจ้ าง” ไม่มีจริ ง เพราะแรงงานไม่ได้ มีมลู ค่า จึง ไม่มี “ราคา” แต่แรงงานผลิตมูลค่าต่างหาก • ทุนนิยมต่างจากระบบการผลิตที่มาก่อนเพราะพัฒนาการผลิตจนมนุษย์สามารถนำาผลผลิตส่วนเกินมาใช้ เพื่อ ส่วนรวมได้ – ถ้ าในอนาคตเราเปลี่ยนทุนนิยมเป็ นสังคมนิยม “เสรีภำพ” ของมนุษย์ ท่ แี ท้ จริง เริ่มตรงจุดที่ “แรงงำนจำำเป็ นสำำหรั บกำรเลีย้ งชีพ” จบลง มันเป็ นจุดที่เกินเลยจุดแห่ งกำรผลิตวัตถุ –เรำกำำลังพูดถึงเสรีภำพแท้ ในกิจกรรมของมนุษย์ หลังจำกที่เรำได้ ส่ งิ จำำเป็ นสำำหรั บกำรเลีย้ งชีพ • สิ่งที่เรามองว่า “จำาเป็ น” ในการเลี ้ยงชีพ สิ่งที่เรา “ต้ องมี” มักจะขยายตัวตามการพัฒนา แต่ความสามารถของ สังคมที่จะผลิตสิ่งเหล่านี ้ก็พฒ ั นาตามไปด้ วย “เสรีภำพที่จะเลีย้ งชีพตำมควำมต้ องกำรในสิ่งจำำเป็ น... ย่ อมเกิดขึน้ ได้ ... เมื่อเรำมีระบบกำรผลิตแบบรวมหมู่ท่มี นุษย์ ทุกคนมีอำำ นำจร่ วมกันที่จะกำำหนดกิจกรรมต่ ำงๆ และกำำหนดควำมสัมพันธ์ กับโลกธรรมชำติด้วยเหตุผล แทนที่มนุษย์ จะตกเป็ นทำสของระบบกำรผลิต” “ระบบกำรผลิตแบบใหม่ ท่จี ะเกิด ย่ อมสอดคล้ องที่สุดกับธรรมชำติมนุษย์ และย่ อมประหยัดพลังกำรทำำงำนให้ มำกที่สุด แต่ นัน้ ยังอยู่ในขอบเขต “ควำมจำำเป็ น” 81


“อนำคตแห่ งเสรี ภำพแท้ จริง คือกำรพัฒนำพลังและควำมสำมำรถของมนุษย์ เพื่อตัวเรำเอง ไม่ ใช่ เพื่อควำมจำำเป็ นในกำรเลีย้ งชีพเท่ ำนัน้ และสิ่งเหล่ ำนีย้ ่ อมเกิดขึน้ ได้ เมื่อเรำลดชั่วโมงกำรทำำงำนเพื่อผลิตสิ่งจำำเป็ น”

บทที่ 49/50: วิเครำะห์ กระบวนกำรผลิต และภำพลวงตำของกำรแข่ งขัน

• มวลรวมการผลิตของกรรมาชีพในหนึง่ ปี คือมูลค่า ใหม่ ที่เขาผลิตเพิ่ม ซึง่ แบ่งเป็ นมูลค่าที่เขาได้ เป็ นค่าแรง และ มูลค่าส่วนเกินที่แบ่งเป็ น “รายได้ ” ของนายทุน (กำาไร) และรายได้ ของเจ้ าของที่ดิน (ค่าเช่า) แต่มลู ค่า ทัง้ หมด ที่ ผลิตขึ ้นประกอบไปด้ วยมูลค่า “ทุนคงที่” ที่มีการผลิตซ้ำ าทดแทนสิ่งที่ใช้ ไป • แต่นกั เศรษฐศาสตร์ กระแสหลักตังแต่ ้ ยคุ อดัม สมิท เข้ าใจผิดว่ามูลค่าของสินค้ าประกอบไปด้ วย ค่าแรง + กำาไร + ค่าเช่า การคำานวณ “รายได้ ” ทังหมดของแต่ ้ ละชนชัน้ ไม่ใช่วิธีคำานวณมูลค่าสินค้ า • ส่วนหนึง่ ของกำาไร ต้ องนำาไปลงทุนต่อเพื่อการสะสมต่อ • การแข่งขันในตลาด อาจทำาให้ ค่าแรง ขึ ้นหรื อลง ระหว่างจุดสมดุลจุดหนึ่ง แต่มนั ไม่ใช่สิ่งที่กำาหนดจุดสมดุลดัง กล่าว เพราะค่าแรงกำาหนดจากมูลค่าต่าำ สุดในการผลิตซ้ำ าและเลี ้ยงชีพของแรงงานกรรมาชีพ

บทที่ 51: ควำมสัมพันธ์ ในกำรแจกจ่ ำย และควำมสัมพันธ์ ในกำรผลิต

• มูลค่าใหม่ที่แรงงานผลิต จะถูกแจกจ่ายไปเป็ น ค่าแรง กำาไร และค่าเช่า โดยที่จะมีการชักชวนให้ เราคิดว่าการ แจกจ่ายแบบนี ้มาจากความสัมพันธ์ “ธรรมชาติ” ของสังคมมนุษย์ที่พฒ ั นาถึงจุดสูงสุด • แต่มนั มีสิ่งเดียวที่เป็ น “ธรรมชาติ” ในระบบการผลิตของสังคมทุกยุคทุกสมัย นันคื ้ อ เมื่อมนุษย์ ผ้ ูผลิตได้ สิ่งที่ จำาเป็ นแล้ ว มันจะมี “ส่วนเกิน” ที่ตกอยูใ่ นมือของสังคม เพื่อการผลิตต่อไป • ในระบบทุนนิยม ส่วนเกินนีถ้ กู ควบคุมโดยนายทุน แต่ระบบทุนนิยมเป็ นเพียงระบบหนึ่งของสังคมมนุษย์ในยุค หนึง่ เท่านัน้ มันไม่ใช่จดุ สุดยอดหรือธรรมชาติทงหมดของสั ั้ งคมมนุษย์ และเป็ นเพียงทางผ่านในการพัฒนาสังคม • ระบบการผลิตทุนนิยม ปรากฏตัวต่อหน้ ากรรมาชีพในรู ปแบบเผด็จการเหนือชีวิต แต่ไม่ใช่ในรู ปแบบเผด็จการ ทางการเมืองอย่างตรงไปตรงมาเหมือนในยุคก่อนทุนนิยม เผด็จการทางการเมืองมันแอบแฝง • เผด็จการทุนนิยม เป็ นเผด็จการของระบบเศรษฐกิจที่ว่นุ วายไม่มีการวางแผน เต็มไปด้ วยความขัดแย้ งและการ แข่งขันระหว่างนายทุนเอง มันเป็ นเงื่อนไขของการเกิดกำาไรในมือนายทุน โดยสร้ างภาพว่าเป็ นเรื่ อง “ธรรมชาติ” • ถ้ าพิจารณากำาไรในระบบทุนนิยม นายทุนไม่สามารถนำามันมาบริ โภคเองหมด เพราะต้ องแข่งขันกับนายทุนอื่น โดยการลงทุนเพื่อสะสมต่อ • การแจกจ่ายส่วนแบ่งของมูลค่าเป็ น ค่าจ้ าง กำาไร และค่าเช่า มีจดุ กำาเนิดจากความสัมพันธ์ทางการผลิตในสังคม มนุษย์ มันไม่ใช่กฎเหล็กของธรรมชาติ เมื่อระบบทุนนิยมหมดยุค การแจกจ่ายส่วนแบ่งในรู ปแบบนี ้จะสูญหาย 82


ไป • ความสัมพันธ์ในการแจกจ่าย กับความสัมพันธ์ทางการผลิต แยกออกจากกันไม่ได้ • การเปลี่ยนแปลงไปสูข่ นตอนของสั ั้ งคมที่สงู ส่งกว่าทุนนิยม จะเกิดขึ ้นเมื่อความสัมพันธ์ทางการผลิตและการแจก จ่าย ขัดแย้ งอย่างรุนแรงกับพลังการผลิตและขบวนการของชนชันกรรมาชี ้ พ มันกลายเป็ นความขัดแย้ งระหว่าง โลกแห่งความเป็ นจริง (โลกวัตถุ) กับโครงสร้ างเดิมของสังคม

บทที่ 52: ชนชัน้

ชนชันใหญ่ ้ ในสังคมสมัยใหม่ของทุนนิยม (ในยุคมาร์ คซ์) มี: 1. ชนชันกรรมาชี ้ พ –เจ้ าของพลังการทำางาน 2. ชนชันนายทุ ้ น –เจ้ าของปั จจัยการผลิต 3. ชนชันเจ้ ้ าของที่ดิน แต่ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่ไม่เคยหยุดนิ่ง เส้ นแบ่งทางชนชันอาจไม่ ้ ชดั เจนและสมบูรณ์แบบเสมอไป แนวโน้ มที่เห็นคืออะไร? จะจำาแนกอย่างไร? แน่นอน เราไม่สามารถจำาแนกชนชันตามรายได้ ้ ทังกำ ้ าเนิดรายได้ และ ลักษณะรายได้ ถ้ าทำา แบบนัน้ หมอ ข้ าราชการ คนปลูกองุ่น คนที่ เป็ นเจ้ าของเหมืองแร่ คนที่ควบคุมที่ นา คนที่ เป็ น เจ้ าของป่ า... คงต้ องมีชนชันเฉพาะของตนเองหมด.... ้ [ ต้ นฉบับจบอย่ างไม่ สมบูรณ์ – เองเกิลส์ ]

จบ

เองเกิลส์ อธิบำยว่ ำ “ว่ าด้ วยทุนเล่ มสาม” เป็ นกำรรวบรวมต้ นฉบับของ มำร์ คซ์ มำเสนอหลังจำกที่ มำร์ คซ์ เสีย ชีวิตไปแล้ ว และบำงบทอำจไม่ สมบูรณ์ แต่ เองเกิลส์ จะไม่ ทำำ ให้ สมบูรณ์ และได้ รักษำลักษณะหยำบๆไว้ เพรำะถ้ ำไปแก้ ไขเขียนเอง จะไม่ เป็ นผลงำนแท้ ของ มำร์ คซ์ ผู้เป็ นมิตรสหำยใกล้ ชดิ ของเขำ

83


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.