แนะนำำ ทฤษฎี ทุ น นิ ยมโดยรั ฐของ โทนี่ คลิ ฟ โดย ใจ อึ๊ งภำกรณ์ ทฤษฎี ทุ นนิ ยมโดยรั ฐของโทนี่ คลิ ฟ เป็ นทฤษฎี ที่ มี ความสำา คั ญ อย่ า งยิ่ งกั บ แนวทางลั ท ธิ มาร์ คซ์ ในยุ คปั จจุ บั น เพราะทฤษฎี นี้ จะเปรี ยบเสมื อนสะพานที่ เชื่ อมโยงความคิ ดเดิ มของ มาร์ คซ์ , เองเกิ ลส์ , เลนิ น, และตรอทสกี กั บ การต่ อ สู้ เพื่ อสั ง คมนิ ยมในอนาคต หลั ง การล่ ม สลายของระบบลั ท ธิ สตาลิ น ในรั สเซี ยและยุ โ รปตะวั น ออก และการล่ ม สลายของพรรค คอมมิ ว นิ สต์ ต่ า งๆ ทั่ วโลก รวมถึ ง พรรคคอมมิ ว นิ สต์ ข องไทยเอง อดี ตนั ก เคลื่ อนไหวฝ่ ายซ้ า ยทั้ งหลายแหล่ พากั น หมดกำา ลั ง ใจ เพราะหลงคิ ดว่ าสิ่ งที่ ล่ มสลายไปคื อ“สั งคมนิ ยม” มี กลุ่ มนั ก เคลื่ อนไหวกลุ่ มเดี ยว เท่ า นั้ น ที่ มี ป ฏิ กิ ริ ยาตรงกั น ข้ า ม กลุ่ มนั ก สั ง คมนิ ยมมาคซิ สต์ สาำ นั ก โทนี่ คลิ ฟ ที่ ปั จจุ บั น กำา ลั ง สร้ างองค์ ก ร ในสากลสั ง คมนิ ยม (International Socialist Tendency) ทั่ วโลก ซึ่ งรวมถึ งกลุ่ มประชาธิ ปไตยแรงงานใน ประเทศไทย เข้ า ใจว่ า การล่ มสลายของการปกครองแนวสตาลิ น-เหมาเป็ นเรื่ องดี เนื่ องจากเป็ นการเปิ ด โอกาสให้ ก รรมาชี พโลกเริ่ มสร้ างสั ง คมนิ ยมจริ งๆใหม่ ไ ด้ สาเหตุ ที่ สำา นั ก มาร์ คซิ สต์ โทนี่ คลิ ฟ เชื่ อว่ า สั ง คมนิ ยมมี อนาคตก็ เ พราะ โทนี่ คลิ ฟ ได้ เ สนอว่ า ประเทศต่ างๆ ที่ ปกครองโดยระบบลั ท ธิ สตาลิ นเป็ นประเทศ “ทุ นนิ ยมโดยรั ฐ” (State Capitalist) ไม่ ใช่ สั ง คมนิ ยม ฉนั้ นสิ่ งที่ ล่ ม สลายไปคื อ ระบบเผด็ จ การสตาลิ น ของทุ น นิ ยมโดยรั ฐเท่ า นั้ น บทความของ โทนี่ คลิ ฟ ที่ รวบรวมมาในหนั ง สื อเล่ มนี้ ได้ ม าจากสามแหล่ ง ส่ วนแรกมาจาก หนั งสื อ State Capitalism in Russia (ทุ นนิ ยมโดยรั ฐในรั สเซี ย) ของ คลิ ฟ ที่ ตี พิ มพ์ เ ป็ นครั้ งแรกในปี 1948 (ฉบั บ ที่ ใช้ แ ปลเป็ นไทยคื อฉบั บ ตี พิ มพ์ ปี 1974 ของ Pluto Press) ส่ วนที่ สองเป็ นส่ วนที่ เกี่ ยวกั บ ประเทศจี นภายใต้ ก ารปกครองของเหมาเจ๋ อตุ ง ซึ่ งคลิ ฟเขี ยนในปี 1957 ในวารสาร Socialist Review ซึ่ ง วารสารนี้ เป็ นวารสารรายเดื อนของพรรคสั ง คมนิ ยมกรรมาชี พอั ง กฤษที่ คลิ ฟเป็ นผู ้ ก่ อตั้ ง ส่ วนสุ ดท้ า ยมา จากบทสั ม ภาษณ์ โ ทนี่ คลิ ฟ ในวารสาร Socialist Review เดื อน กรกฎาคม/สิ งหาคม 1998 ถ้ า เราเชื่ อหลั ก สำา คั ญ ของลั ท ธิ มาร์ คซ์ ว่ า สั ง คมนิ ยมต้ อ งมาจากการกระทำา ของชนชั้ นกรรมาชี พพื้ น ฐานเอง การที่ รั ฐสตาลิ น ของรั สเซี ยลงโทษการนั ด หยุ ด งานของกรรมกรด้ ว ยการประหารชี วิ ต น่ าจะพิ สู จน์ ว่ ารั ฐนั้ นไม่ ใช่ รั ฐของกรรมาชี พ แต่ สิ่ งที่ โทนี่ คลิ ฟ ได้ ให้ กั บ เราคื อพื้ นฐานข้ อ มู ลทางเศรษฐกิ จ ที่ สนั บ สนุ นหลั ก ฐานทางการเมื องเกี่ ยวกั บ เผด็ จการลั ท ธิ สตาลิ น ข้ อ มู ลทางเศรษฐกิ จนี้ พิ สู จน์ ว่ าความป่ า เถื่ อนของเผด็ จ การรั สเซี ยและจี นดำา รงอยู่ บนพื้ นฐานการผลิ ตที่ มี การกดขี่ ขู ด รี ดส่ วนเกิ นแบบทุ นนิ ยม แต่ ในกรณี นี้ กระทำา โดยรั ฐ ไม่ ใช่ นายทุ นเอกชน งานของคลิ ฟเป็ นการนำา วิ ธี การมาร์ คซิ สต์ มาใช้ ในการ วิ เ ค ร า ะ ห์ สั ง ค ม ป ร ะ เ ท ศ เ ห ล่ า นั้ น เ พ ร า ะ แ น ว ค ว า ม คิ ด ม า ร์ ค ซิ ส ต์ จ ะ ป ฏิ เ ส ธ ก า ร แ บ่ ง แ ย ก ระหว่ าง“เศรษฐศาสตร์ ” กั บ “การเมื อง” ฉนั้ นนั ก “มาร์ คซี สต์ ” ทั้ งหลายที่ อ้ า งว่ า“รั สเซี ยกั บ จี นเป็ น
สั ง คมนิ ยมแต่ อาจมี ปั ญหาทางการเมื องเกี่ ยวกั บ ผู ้ นำา ที่ บ้ า อำา นาจเผด็ จ การเท่ านั้ น” เป็ นคนที่ ลื มหลั ก การ สำา คั ญ ของลั ท ธิ มาร์ คซ์ จุ ดยื น ของโทนี่ คลิ ฟ เริ่ มต้ น จากจุ ดยื น ของสำา นั ก คิ ด ตรอทสกี ที่ มองเห็ นความชั่ วร้ ายของการปก ครองลั ท ธิ สตาลิ นอย่ า งชั ด เจน ตรอทสกี ก่ อนที่ จะถู กลู กน้ อ งสตาลิ นฆ่ าตาย ได้ วิ เคราะห์ ว่ า รั สเซี ยเป็ น "รั ฐกรรมาชี พที่ เสื่ อมโทรม " ฉนั้ นลู ก ศิ ษ ย์ ของตรอทสกี ในขบวนการ “สากลที่ สี่ ” (Fourth International) จะยึ ด ติ ดกั บ การวิ เ คราะห์ แ บบนี้ แต่ โทนี่ คลิ ฟ ได้ พ ั ฒ นาทฤษฎี ของเขาเพื่ อทำา ความเข้ า ใจกั บ ปั ญหาการปก ครองลั ท ธิ สตาลิ น ไปถึ ง อี ก ระดั บ หนึ่ ง
1. ทฤษฎีทุนนิยมโดยรัฐ (The Theory of State Capitalism) โดย โทนี่ คลิ ฟ แปลจากหนั งสื อ State Capitalism in Russia โดย Tony cliff (1974) Pluto Press, London โดย ใจ อึ๊ งภากรณ์
เศรษฐกิ จ และสั งคมในรั สเซี ย สมั ย สตำลิ น (1) กำรควบคุ ม กำรผลิ ต ( หน้ า 11) หลั ง จากการปฏิ วั ติ รั สเซี ย 1917 การบริ หารโรงงานอุ ต สาหกรรมทุ ก แห่ งอยู่ ภายใต้ ก ารควบคุ ม ของ สหภาพแรงงาน โดยรวมแล้ ว ภาคอุ ตสาหกรรมทั้ งภาคจะควบคุ มโดยคณะกรรมการไตรภาคี (Troika) ระหว่ า งสหภาพแรงงาน พรรค และผู้ เชี่ ยวชาญ แต่ เมื่ อกลุ่ มข้ า ราชการในพรรคและในสหภาพมี บทบาท มากขึ้ นไตรภาคี น้ ี เริ่ มเป็ นเพี ย งภาพพจน์ ข องการควบคุ ม การผลิ ตโดยคนงาน เพราะข้ า ราชการเริ่ มมี อาำ นาจ มากกว่ า แรงงานพื้ นฐาน อย่ า งไรก็ ตามคนงานพื้ นฐานยั ง กดดั น องค์ ก รนี้ ได้ ร ะดั บ หนึ่ ง แต่ หลั ง จากแผน เศรษฐกิ จห้ า ปี แผนแรกของสตาลิ น องค์ ก รไตรภาคี เริ่ มเป็ นอุ ป สรรค์ ต่ อนโยบายเร่ งรั ดพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม ที่ มุ่ งการสะสมทุ นเป็ นหลั ก โดยไม่ คำา นึ งถึ งความต้ อ งการของกรรมกร ฉนั้ นในเดื อนกุ มภาพั น ธ์ 1928 กรรมการเศรษฐกิ จสู งสุ ดได้ พิ มพ์ เ อกสารออกมาชื่ อ “ระเบี ยบพื ้ นฐานเกี่ ยวกั บสิ ทธิ และหน้ าที่ ของ พนั กงานบริ หาร พนั กงานผู้ เชี่ ยวชาญ และพนั กงานซ่ อมบำา รุ งใน ธุ รกิ จอุ ต สาหกรรม” ซึ่ งมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ จะทำา ลายระบบควบคุ ม โดยไตรภาคี และเปลี่ ยนไปเป็ นระบบควบคุ ม โดยผู ้ จ ั ด การฝ่ ายบริ หารฝ่ ายเดี ยว (1) ในเดื อนกั น ยายน 1929 คณะกรรมการกลางของพรรคมี มติ ออกมาว่ า กรรมการคนงาน “ต้ อ งไม่ แทรกแซงการทำา งานโดยตรงของโรงงานอุ ต สาหกรรม หรื อพยายามเปลี่ ยนคณะบริ หารโรงงาน และจะต้ อ ง ช่ ว ยส่ งเสริ มระบบบริ หารที่ มี ผู้ บ ริ หารเพี ย งคนเดี ยว ช่ วยเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพในการผลิ ต ช่ ว ยพั ฒ นาการผลิ ต เพื่ อสร้ างฐานะที่ ดี ขึ้ นทางวั ต ถุ ให้ ช นชั้ นกรรมาชี พ” (2) ฉนั้ นผู ้ บริ หารผู ้ เดี ยวกลายเป็ น ผู ้ ควบคุ มโรงงาน และคำา สั่ งของเขาเกี่ ยวกั บ เรื่ องเศรษฐกิ จทุ ก คำา สั่ งเป็ นสิ่ งที่ “พนั ก งานและคนงานทุ ก คนต้ อ งทำา ตาม” (3) ระบบไตรภาคี เพื่ อควบคุ มการผลิ ตถู ก ฝั งดิ นเป็ นทางการในปี 1937 ในการประชุ มกรรมการกลาง เมื่ อ ซาดานอฟ ผู ้ นำา ที่ มี อำา นาจรองลงมาจาก สตาลิ น พู ด ว่ า “ระบบควบคุ มไตรภาคี เป็ นระบบที่ เราต้ อ ง ปฏิ เสธ ระบบไตรภาคี เป็ นระบบบริ หารแบบคณะ แต่ ระบบบริ หารเศรษฐกิ จของเราสร้ างขึ้ นในรู ปแบบ อื่ น” (2) คนงำนไม่ มี สิ ทธิ ร วมตั ว เพื่ อปกป้ องผลประโยชน์ ( หน้ า 15) ภายใต้ ก ารนำา ของเลนิ นและตรอทสกี กรรมกรมี สิ ทธิ ที่ จะป้ องกั น ตั ว จากรั ฐของตนเอง เลนิ นเคย พู ด ว่ า “รั ฐเราปั จจุ บั นเป็ นรั ฐกรรมาชี พที่ พิ การไปในรู ปแบบรั ฐข้ าราชการ รั ฐเรามี รู ปแบบที่ บั งคั บให้ ชนชั้ นกรรมาชี พต้ องรวมตั ว กั น เพื่ อปกป้ องผลประโยชน์ ตั ว เอง และเราจำา เป็ นต้ องใช้ องค์ กรของการรวม ตั ว อย่ างเสรี ของกรรมกรเหล่ านี ้ เพื่ อปกป้ องกรรมกรจากรั ฐของเขาเอง เพื่ อที่ จะปกป้ องรั ฐกรรมาชี พของ เราในที่ สุ ด” (5)
ทุ กคนยอมรั บว่ าไม่ ควรมี การปราบปรามการนั ด หยุ ด งาน ในการ ประชุ มสภาพรรคครั้ งที่ 8 มี ผู้ นำา คนเดี ยว ชื่ อ มิ ลิ ยู ทิ นที่ เสนอว่ า ควรมี การห้ า มปรามการนั ด หยุ ด งานในรั ฐวิ สาหกิ จ คนอื่ นเสนอว่ า เป็ นหน้ า ที่ ของสมาชิ กพรรคทุ กคนที่ จะมี ส่ วนร่ วมในการนั ด หยุ ด งาน ถึ งแม้ ว่ า สมาชิ กพรรคอาจไม่ เห็ น ด้ ว ยกั บ เสี ยงส่ วนใหญ่ ที่ ต้ อ งการนั ด หยุ ด งาน ดั ง นั้ นในช่ วงหลั ง การปฏิ วั ติ 1917 มี การนั ด หยุ ด งานบ่ อย ครั้ ง เช่ น ในปี 1922 คนงาน 192,000 คนหยุ ด งานในรั ฐวิ ส าหกิ จ หลั ง จากนั้ นในปี 1923 มี ก รรมกรหยุ ด งาน 165,000 คน ในปี 1924 หยุ ด งาน 43,000 คน ในปี 1925 หยุ ด งาน 34,000 คน ในปี 1926 หยุ ด งาน 32,900 คน ในปี 1927 หยุ ด งาน 20,100 คน และในครึ่ งปี แรกของ 1928 หยุ ด งาน 8,900 คน ถ้ า นั บ คนงานทั้ งหมด นอกเหนื อจากรั ฐวิ ส าหกิ จแล้ ว ในปี 1922 มี คนงานหยุ ด งาน 3.5 ล้ า นคน และใน ปี 1923 หยุ ด งานถึ ง 1.5 ล้ า นคน (6) ปั จจุ บั น ( * ) สหภาพแรงงาน ซึ่ งอาจเรี ยกเป็ นสหภาพจริ งๆไม่ ได้ ไม่ เ คยปกป้ องผลประโยชน์ ของ กรรมกร ซึ่ งเห็ นได้ ชั ด จากการที่ เวลาผ่ า นไป 17 ปี (1932-1947) ระหว่ า งการประชุ มใหญ่ ค รั้ งที่ 9 และครั้ ง ที่ 10 ของสภาแรงงาน ทั้ งๆ ที่ ช่ วงเวลานี้ เป็ นช่ วงที่ มี การเปลี่ ยนแปลงอั น ใหญ่ หลวงในสภาพการจ้ า งงาน เช่ นการยกเลิ กการจำา กั ด เวลาการทำา งานในกรอบ 7 ชั่ วโมงต่ อวั น การใช้ วิ ธี รณรงค์ สตาคานอฟ เพื่ อให้ กรรมกรทำา งานหนั ก ขึ้ น และการนำา กฎหมายกดขี่ แรงงานต่ างๆ มาใช้ เมื่ อการประชุ มสภาแรงงานมี ขึ้ นใน ปี 1949 ปรากฏว่ า 41.5% ของผู้ แทนเป็ นเจ้ า หน้ า ที่ ประจำา ของสหภาพ 9.4% เป็ นผู ้ เชี่ ยวชาญ และเพี ยง 23.5% เป็ นคนงานพื้ นฐาน (7) ถ้ า เที ยบกั บ การประชุ มครั้ งก่ อนที่ มี ผู ้ แทนที่ เป็ นคนงานพื้ นฐาน 84.9% จะ เห็ นภาพชั ด นอกจากนี้ สหภาพแรงงานจะไม่ มี สิ ทธิ ในการกำา หนดระดั บ ค่ า จ้ า งแต่ อย่ า งใด และในปี 1934 ข้ อ ตกลงร่ วมกั บ ฝ่ ายแรงงานถู ก ยกเลิ ก (8) * ผู้ เขี ยนเขี ยนเมื่ อปี
1948
(3) กำรปฏิ เ สธ สิ ทธิ พื้ นฐำนของกรรมำชี พ ( หน้ า 23) ในปี 1931 กรรมกรไม่ มี สิ ทธิ์ ที่ จะย้ า ยถิ่ นออกจากเมื องเลนิ นกราด ถ้ า ไม่ ไ ด้ รั บอนุ ญาต จากวั น ที่ 27 ธั น วาคม 1932 ระบบนี้ ถู ก นำา มาใช้ ท ั่ วรั สเซี ยโดยที่ คนงานต้ อ งถื อ หนั ง สื อเดิ นทางเพื่ อเดิ นทางจากเมื อ ง หนึ่ งไปยั ง อี ก เมื อ งหนึ่ ง ระบบนี้ ทารุ ณกว่ า ระบบภายใต้ พ ระเจ้ า ซาร์ เสี ยอี ก ตั้ งแต่ วั น ที่ 15 ธั น วาคม 1930 โรงงานอุ ต สาหกรรมทุ กแห่ งต้ อ งไม่ จ้ า ง คนงานที่ ออกจากโรงงาน อื่ นโดยไม่ ไ ด้ รั บอนุ ญาต และตั้ งแต่ วั น ที่ 11 กุ ม ภาพั น ธ์ 1931 เริ่ มมี ระบบสมุ ดทะเบี ยนงานซึ่ งทะเบี ยนนี้ จะบั น ทึ กประวั ติ การทำา งานของคนงาน ใครที่ ต้ อ งการสมั ค รงานจะต้ อ งเอาสมุ ดทะเบี ยนงานของตนไป แสดงกั บ ผู ้ อาำ นวยการงาน ความโหดร้ า ยของระบบนี้ เห็ นได้ ชั ด จากคำา เขี ย นของวิ ค เตอร์ เซอร์ ช “ทะเบี ยน งานจะบั น ทึ กเหตุ ผ ลของการเปลี่ ยนงานของคนงานทุ กคน ผมรู้ จั กคนงานที่ ถู ก ไล่ ออกเพราะไม่ ยอมอาสา สมั ค รทำา งานในวั น หยุ ด โดยไม่ รั บค่ าจ้ าง และในทะเบี ยนงานของเขาจะเขี ยนไว้ ว่ าถู ก ไล่ ออกเพราะทำา ลาย แผนการผลิ ต (9) กฎหมายแรงงานวั น ที่ 15 พฤศจิ กายน 1932 ระบุ ว่ า ถ้ า คนงานคนใด ขาดงานเพี ย งวั น เดี ยวโดยไม่ มี เหตุ ผ ลดี จะถู ก ไล่ อ อก และจะถู ก ไล่ อ อกจากบ้ า นพั ก ของโรงงานด้ ว ย
ในวั น ที่ 4 ธั น วาคม 1932 รั ฐบาลได้ ป ระกาศมาตราอี กมาตราหนึ่ ง เพื่ อยั บ ยั้ งปั ญหาการขาดงาน คื อ ให้ ฝ่ ายบริ หารโรงงานเป็ นผู้ ค วบคุ ม การแจกจ่ า ยอาหารและสิ ่ งจำา เป็ นทั้ งหมด (4) กำรกดขี่ แรงงำนภำยใต้ เงื่ อนไขกำรผลิ ตและกำรลดควำมสำ ำ คั ญของกำรผลิ ตเพื่ อตอบสนองควำม ต้ องกำร เพื่ อเป้ ำหมำยในกำรผลิ ต เพื่ อสะสมทุ น ( หน้ า 34) ในระบบทุ นนิ ยม การบริ โภคของมวลชนเป็ นเรื่ องรอง และการผลิ ตเพื่ อสะสมทุ นเป็ นเรื่ องหลั ก บางครั้ งระดั บ การบริ โภคและการผลิ ต เพื่ อสะสม จะขยายตั ว พร้ อมๆกั น แต่ ใ นเวลาอื่ นระดั บ การบริ โภคจะ ลดลงในขณะที่ การ สะสมเพิ่ มขึ้ น สิ่ งที่ สำา คั ญ คื อ ในระบบทุ น นิ ยมการสะสมมี ฐ านะสำา คั ญ กว่ า การบริ โภค ถ้ า เราติ ดตามประวั ติ ศาสตร์ รั สเซี ย หลั ง ตุ ลาคม 1917 จะพบว่ า ก่ อนที่ จะมี แผนห้ า ปี แผนแรก การ สะสมไม่ ไ ด้ อ ยู่ เหนื อการบริ โภค แต่ ห ลั ง จากนั้ นการสะสมมี ฐ านะเหนื อกว่ า อย่ า งโหดร้ า ยทารุ ณ ตำรำงที่ (1) ผลผลิ ต รวมจำกภำคอุ ต สำหกรรม แบ่ งเป็ นสั ดส่ วนที่ นำำ มำบริ โภคและ ผลิ ต เพื่ อสะสมต่ อ ปี 1913 1927-8 1932 สะสม 44.3 32.8 53.3 บริ โภค 55.7 67.2 46.7 ที่ มา :
1937 1940 1942 (คำด) 57.8 61 62.2 42.2 39 37.8
แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จแผนแรก Moscow 1930 เล่ ม I หน้ า 132, แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จแผนสอง Moscow 1932 เล่ ม I หน้ า 429 และ Pravda 19 ก.พ. 1941
(5) กำรสะสมทุ น ในขณะที่ ควำมยำกจนเพิ่ มขึ้ น ( หน้ า 38) ก่ อน 1928 ถึ งแม้ ว่ า รั ฐเริ่ มมี รู ปแบบของรั ฐราชการ แต่ การสะสมทุ น ไม่ ได้ เ กิ ดขึ้ น พร้ อมๆ กั บ การเพิ่ มขึ้ นของความยากจน ตำรำงที่ (2) ปี 1921 1922 1923 1924 1925 1927 1928 ที่ มา :
ดั ช นี ข องทุ น
ปี
100 100.1 100.5 101.1 102.2 115.4 124.1
1913 1922/3 1823/4 1924/5 1925/6 1926/7 1927/8 1928/9
ดั ช นี ค่ ำจ้ ำง 100 47.3 69.1 85.1 96.7 108.4 111.1 115.6
(ก่ อนสงครามโลก)
Socialist Construction 1936 p.3, SN Prokoporicz, Russlands Volkswirtschaft unter den Sowjets, Zurich 1944 p.302
ฉนั้ นแม้ แ ต่ ศาสตราจารย์ โพรคอพโพวิ ค อดี ตรั ฐมนตรี ในรั ฐบาล คาเรนสกี ซึ่ งไม่ มี ใครเชื่ อว่ า เข้ า ข้ า งบอลเชอร์ วิ ด ยอมรั บว่ าค่ าจ้ า งจริ งของคนงานรั สเซี ยระหว่ างปี 1928-1929 สู งกว่ าค่ าจ้ า งก่ อน สงครามโลกครั้ งที่ หนึ่ งถึ ง 15.6% ในขณะเดี ยวกั นชั่ วโมงการ ทำา งาน ถู กตั ด 22.3% และถ้ าเ รารว ม สวั ส ดิ การต่ างๆ ค่ า จ้ า งจะมี อั ต ราสู งกว่ า นั้ นอี กด้ ว ยซ้าำ แต่ หลั ง การขึ้ นมามี อำา นาจของข้ า ราชการแดงภาย ใต้ ส ตาลิ นอย่ า งสมบู รณ์ ก่ อนที่ จะมี แผนห้ า ปี แรกอั ต ราการเพิ่ มของค่ าจ้ า งเกื อบจะไม่ เกิ ดขึ้ น ในขณะที่ การสะสมทุ น ยั ง ดำา เนิ นไปโดยดี สถานการณ์ หลั ง จากที่ นำา แผนห้ า ปี แรกมาใช้ เ ปลี่ ยนแปลงอย่ า งสิ ้ นเชิ ง หลั ง จากนั้ นการสะสมทุ น ขยายตั ว อย่ า งรวดเร็ วในขณะที่ ฐานะทางเศรษฐกิ จของ มวลชนตามไม่ ท ั น และลดต่าำ ลงถ้ า เที ยบกั บ ปี 1928 ตำรำงที่ (3) กำรลงทุ น ( พั น ล้ ำน รู เบิ ล ส์ ) ปี 1923/4-1927/8 1928/9-1932 1933-1937 1938-1942
ทั้ งหมด ภำคอุ ต สำหกรรม 26.5 52.5 114.7 192.0
4.4 24.8 แผนห้ า ปี แรก 1928 58.6 111.9
ที่ มา: แผนห้ าปี แรก
ตำรำงที่ (4) กำำ ลั ง ซื้ อของค่ ำจ้ ำงเมื่ อเที ย บกั บ รำคำอำหำร ปี 1913 1928 1932 1935 1937 1940 ที่ มา :
ดั ช นี 100 151.4 129.7 51.4 64.9 54.1
(ก่ อนสงครามโลก)
Prokopovicz 1944 อ้ า งแล้ ว หน้ า 306 ดู ตารางที่ 2
(6) ประสิ ทธิ ภ ำพของแรงงำน กั บ กรรมกร ( หน้ า 47) ในรั ฐกรรมาชี พถ้ า มี ก ารเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการทำา งานก็ ต ้ อ งมี ก ารเพิ่ ม ฐานะความเป็ นอยู่ ของกรรม ชี พควบคู่ กั น ไป ในปี 1928 ตรอทสกี เคยพู ด ไว้ ว่ า “ระดั บ ค่ าจ้ า งของกรรมาชี พจะต้ อ งเป็ นเครื่ องวั ด ความ สำา เร็ จของการวิ วั ฒ นาการในทิ ศทางสั งคมนิ ยม ” และ “เครื่ องวั ด การพั ฒ นาของระบบสั งคมนิ ยมคื อการ พั ฒ นาอั น ไม่ หยุ ด ยั้ งของฐานะคนงานกรรมาชี พ” เราควรตรวจสอบดู ว่ า การพั ฒ นาประสิ ทธิ ภาพแรงงาน และฐานะความเป็ นอยู่ ของกรรมาชี พรั สเซี ยมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น อย่ า งไร
จากข้ อ มู ลในตารางที่ (5) จะเห็ นได้ ว่ าระหว่ างการปฏิ วั ติ 1917 และปี 1928 ระดั บ ของค่ าจ้ า ง แรงงานเพิ่ มขึ้ นจากระดั บ ก่ อ นสงครามโลก (1914-18) ในขณะที่ ประสิ ทธิ ภาพแรงงานเพิ่ มเล็ ก น้ อ ย ตำรำงที่ (5) ปี ดั ช นี ป ระสิ ทธิ ภ ำพแรงงำน 1913 1928 1936
100 106 331.9
ดั ช นี ร ะดั บ ค่ ำจ้ ำง 100 151.4 64.9
ที่ มา : A.A Arutinian & B.L. Markus (eds) Development of Soviet Economy, Moscow 1940 p.492 แ ล ะ Prokopovicz อ้ า งแล้ ว หน้ า 306
แต่ ร ะหว่ า ง 1928 กั บ 1936 ถึ ง แม้ ว่ า ประสิ ทธิ ภาพการทำา งานจะขยายตั ว สามเท่ า ค่ า จ้ า งกลั บ ลดลง มากกว่ า 50% ถ้ า เราเปรี ยบเที ยบความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งประสิ ทธิ ภาพแรงงานและระดั บ รายได้ ข องกรรมกรใน ประเทศอื่ นๆ เที ยบกั บ สภาพในรั สเซี ยก็ จ ะต้ อ งมี ข ้ อ สรุ ปว่ า คล้ า ยๆ กั น ในปี 1913 ประสิ ทธิ ภาพการทำา งานของอุ ตสาหกรรมรั สเซี ยจะอยู่ ในระดั บ ประมาณ 25% ของ ประสิ ทธิ ภาพอุ ต สาหกรรมสหรั ฐอเมริ กา 35% ของเยอรมั น และ 40% ของระดั บ ในอั ง กฤษ ข้ อ มู ล จากคณะ กรรมการกอสแพลนซึ่ งอาจลำา เอี ยงไปในด้ า นที่ ชมรั สเซี ยบ้ า ง เสนอว่ า ในปี 1937 อุ ตสาหกรรมรั สเซี ยมี ระดั บ ประสิ ทธิ ภาพแรงงานประมาณ 40.5% ของระดั บ สหรั ฐ และ 97% ของระดั บ เยอรมั น (10) ถ้ า เราคำา นึ ง ถึ งความลำา เอี ยงของสถิ ติ นี้ และปรั บระดั บ ประสิ ทธิ ภาพของรั สเซี ยลงให้ ตรงกั บ ความเป็ นจริ งมากขึ้ น อุ ตสาหกรรมรั สเซี ยคงจะมี ประสิ ทธิ ภาพแรงงานประมาณ 30% ของสหรั ฐ และ 70%ของเยอรมั น หรื อ อั ง กฤษ แต่ ถ้ า เที ยบฐานะความเป็ นอยู่ ของกรรมาชี พรั สเซี ยจะพบว่ า ต่ าำ กว่ า กรรมาชี พอั ง กฤษอย่ า งมาก เช่ นในอั ง กฤษคนงานสามรถใช้ ค่ าจ้ า งหนึ่ งสั ป ดาห์ ซื้ อขนมปั งในจำา นวนสิ บเท่ าตั ว ของขนมปั งที่ คนงานรั สเซี ยซื้ อได้ และถ้ า เราใช้ ข ้ อ มู ล จากสิ นค้ า จำา เป็ นหลายชนิ ดมารวมกั น (11) จะพบว่ า คนงานรั สเซี ยมี ประสิ ทธิ ภาพการทำา งานประมาณ 4/5 ของคนงานอั ง กฤษ แต่ รายได้ จ ะต่าำ กว่ า คนงานอั ง กฤษถึ ง 1/4 หรื อ 1/3 เมื่ อเป็ นเช่ น นี้ แล้ ว เราน่ าจะสรุ ปได้ ว่ า ถ้ า คนงานอั ง กฤษถู ก ขู ด รี ด พี่ น้ อ งของเขาที่ เป็ นคนงานรั สเซี ยน่ า จะถู ก ขู ด รี ดหนั ก ยิ่ งกว่ า หนั ง สื ออ้ ำงอิ ง 1. A Baykov, The Development of the Soviet Economic System, London 1946 p.116. 2. All - Union Communist Party (Bolsheviks) in Resolutions and Decisions of the Congresses, Conferences and Plenums of the Central Committee. Moscow 1941 6 th edition Volume II page 811. 3. เรื่ องเดี ยวกั น p.812 4. Pravda 11 มี นาคม 1937 5. V.I. Lenin “works” ภาษารั สเซี ย 4 th edition Vol XX pp.6-7
6. Wage Labour in Russia. Moscow 1924 p.160. Trade Unions in USSR 1926-1928 Moscow 1928 p.358 7. Trud 23 เมษายน 1949 8. G.N. Aleksandrov (ed) Soviet Labour Law, Moscow 1949 p.166 9. V. Serge, Russia Twenty Years After, New York 1937 p.68 10.USSR and The Capitalist Countries, Statistical Handbook, Moscow 1939. p.75-80. 11.Soviet Weekly, Supplement 18 December 1947 & Ministry of Labour “Labour survey of British workers” April 1947.
ลั ก ษณะของรั ฐกรรมำชี พ ( หน้ า 140) เศรษฐกิ จของรั ฐกรรมาชี พกั บ เศรษฐกิ จทุ นนิ ยมมี รู ปแบบที่ คล้ า ยกั น หลายอย่ า ง รั ฐของชนชั้ น กรรมาชี พซึ่ งเป็ นทางผ่ า นระหว่ า งทุ นนิ ยมกั บ ระบบคอมมิ วนิ สต์ โ ดยสมบู ร ณ์ ที่ ไม่ มี รั ฐ ย่ อ มจะมี ส่ วนที่ มา จากซากเก่ าของสั ง คมทุ นนิ ยม และส่ วนที เป็ นหน่ ออ่ อนของสั ง คมใหม่ องค์ ป ระกอบสององค์ ป ระกอบที่ ขั ด แย้ ง เหล่ านี้ จะผู กมั ด ด้ วยกั น ในยุ คแห่ งทางผ่ าน โดยที่ องค์ ประกอบจากอดี ตถู กครอบงำา โดยองค์ ประกอบจากอนาคต สิ่ งที่ รั ฐกรรมชี พและทุ นนิ ยมมี ที่ เหมื อนกั น คื อการแบ่ งแยกหน้ า ที่ ในการทำา งาน โดยเฉพาะการ แบ่ ง แยกระหว่ า งแรงงานกายกั บ งานสมอง แต่ สิ่ งที่ แยกรั ฐกรรมาชี พออกจากระบบทุ น นิ ยม คื อ การควบคุ ม การผลิ ต โดยชนชั้ นกรรมาชี พ การควบคุ ม การผลิ ต โดยกรรมาชี พเป็ นเสมื อ นสะพานแคบๆ ที่ จะนำา ไปสู่ การ ทำา ลายความแตกต่ า งระหว่ า งงานกายกั บ งานสมองซึ่ งจะเกิ ดขึ้ นในสั ง คมคอมมิ ว นิ สต์ รั ฐกรรมาชี พและระบบทุ นนิ ยมจะมี กลุ่ มคนที่ เป็ นผู ้ เชี่ ยวชาญซึ่ งมี ตำา แหน่ งเหนื อคนงานธรรมดา ถึ งแม้ ว่ า ในรั ฐกรรมาชี พตำา แหน่ งนั้ นจะมี ความหมายต่ างออกไป สิ่ งที่ สำา คั ญ ในการแยกรั ฐกรรมาชี พออก จากระบบทุ นนิ ยมคื อ ผู้ เ ชี่ ยวชาญที่ เคยขึ้ นอยู่ กั บ เงื่ อนไขของทุ นจะต้ อ งเปลี่ ยนมาเชื่ อฟั งนโยบายของรั ฐ กรรมาชี พ ซึ่ งเป็ นนโยบายผู้ ผ ลิ ต โดยรวม นี่ คื อ สิ่ งที่ เริ่ มทำา ลายตำา แหน่ งสู งต่าำ ในระบบการผลิ ต ภายใต้ ร ะบบรั ฐกรรมาชี พชี วิ ต การทำา งานจะต้ อ งมี ร ะเบี ยบวิ นั ย ในการทำา งานเช่ น เดี ยวกั บ ในระบบ ทุ น นิ ยม แต่ แทนที่ วิ นั ย นี้ จะเป็ นสิ่ งเดี ยวที่ บั ง คั บ ให้ ค นงานทำา งานภายใต้ ร ะบบทุ น ในระบบรั ฐกรรมาชี พ จะมี สิ่ งอื่ นที่ เข้ า มามี ความสำา คั ญ มากขึ้ น และระเบี ยบวิ นั ย นี้ จะขึ้ นอยู่ กั บ จิ ตสำา นึ กมากกว่ า การให้ โ ทษมาก ขึ้ นเรื่ อยๆ จนในที่ สุ ดไม่ จำา เป็ นที่ จะต้ อ งมี ระเบี ยบวิ นั ยเลยเมื่ อคนส่ วนใหญ่ มี การศึ กษา และมี ความ สั ม พั น ธ์ แ บบสมานฉั น ท์ ในรั ฐกรรมาชี พและในเศรษฐกิ จทุ นนิ ยมจะมี การแลกเปลี่ ยนสิ นค้ า ตามมู ล ค่ า ของแรงงานสะสมที่ ใช้ ในการผลิ ตสิ นค้ า เหล่ านั้ น แต่ ในรั ฐกรรมาชี พ สิ นค้ า เหล่ านั้ นเป็ นผลมาจากการวางแผนนโยบาย ควบคุ ม การผลิ ต ที่ ชั ด เจน แทนที่ จะเป็ นผลมาจากพลั ง ของตลาดเสรี ที่ ไร้ ทิ ศทาง และสิ่ งที่ สำา คั ญ ยิ่ งกว่ า นั้ น ก็ คื อ การแลกเปลี่ ยนสิ นค้ า ดั ง กล่ า วเกิ ดขึ้ นบนพื้ นฐานของการร่ วมถื อ กรรมสิ ทธิ์ ในปั จจั ย การผลิ ตทั้ งหมด โดยผู ้ ผ ลิ ต พื้ นฐาน สิ ทธิ ของนายทุ นภายใต้ ก ารปกครองของนายทุ นคื อสิ ทธิ ที่ จะขู ด รี ด สิ ทธิ ในการแลกเปลี่ ยนแจก จ่ า ยผลผลิ ต ในรั ฐกรรมาชี พจะเป็ นสิ ทธิ ในรู ปแบบ "สั ง คมนิ ยม" คื อ จะยอมรั บว่ า ทุ กคนจะได้ รั บผลผลิ ต ไม่
เท่ า เที ยมกั น ตามความ สามารถในการผลิ ต แต่ ใ นเวลาเดี ยวกั น ทุ กคนที่ เป็ นผู ้ ผ ลิ ตจะมี สิ ทธิ เท่ าเที ยมกั น ใน การครองปั จจั ย การผลิ ต และสิ ทธิ แลกเปลี่ ยนจั ด จ่ ายผลผลิ ตในรั ฐกรรมาชี พจะต้ อ งเกิ ดขึ้ นภายใต้ เ งื่ อนไข ที่ กำา หนดว่ า จะไม่ มี ก ารขู ด รี ดใดๆ ทั้ งสิ้ น นอกจากนี้ แล้ ว รั ฐกรรมาชี พจะต้ อ งพั ฒ นาระบบไปในทิ ศทางที่ ก่ อให้ เ กิ ดความเท่ าเที ยมกั น ทาง เศรษฐกิ จที่ สมบู ร ณ์ ซึ่ งไม่ คาำ นึ งถึ ง ความแตกต่ า ง ตามธรรมชาติ ร ะหว่ า งมนุ ษย์ ในที่ สุ ด ควำมสั มพั น ธ์ ในรู ปแบบวิ ภ ำษวิ ธี ระหว่ ำง ทุ น นิ ย มโดยรั ฐ กั บ รั ฐกรรมำชี พ ( หน้ า 162) ทุ น นิ ยมโดยรั ฐคื อ สิ่ งตรงข้ า มโดยสิ้ นเชิ งของรั ฐกรรมาชี พ (หรื อเผด็ จ การ ชนชั้ นกรรมาชี พ) ภายใต้ ร ะบบทุ นนิ ยมโดยรั ฐระบบแรงงานรั บจ้ า งอิ สระถู ก ปฏิ เสธไประดั บ หนึ่ ง เนื่ องจากแรงงานไม่ มี สิ ทธิ เลื อ กนายจ้ า ง แต่ ภ ายใต้ เผด็ จ การชนชั้ นกรรมาชี พแรงงานรั บจ้ า งอิ ส ระถู ก ปฏิ เสธไประดั บ หนึ่ งเพราะ กรรมาชี พไม่ ไ ด้ มี อิ สระภาพจากปั จจั ย การผลิ ตที่ ตนเองครอบครอง ในเวลาเดี ยวกั น แรงงานก็ แ ปรสภาพไป จากสภาพเดิ มที่ เป็ นสิ นค้ า ชนิ ดหนึ่ ง การขายแรงงานไม่ เ หมื อ นการขายแรงงานในระบบทุ น นิ ยม เพราะภาย ใต้ ร ะบบรั ฐกรรมาชี พกรรมกรจะไม่ ขายแรงงาน แต่ จะนำา แรงงานของตนมาใช้ เ พื่ อประโยชน์ ของตนใน สั ง คมที่ มี ลั ก ษณะส่ วนรวม ฉนั้ นแรงงานจึ งไม่ ใช่ สิ นค้ า เพราะการแลกเปลี่ ยนเกิ ดขึ้ นระหว่ า งกรรมกรที่ เป็ นปั จเจกชนกั บ กรรมกรคนเดี ยวกั น ที่ เป็ นส่ วนขององค์ กรส่ วนรวม และจะไม่ เป็ นการแลกเปลี่ ยน ระหว่ า งสองส่ วนที่ แตกต่ า งกั น ร ะ บ บ ทุ น นิ ย ม โ ด ย รั ฐ ทำา ใ ห้ ส ห ภ า พ แ ร ง ง า น กั บ รั ฐ เ ข้ า เ ป็ น อ ง ค์ ก ร เ ดี ย ว กั น จ น ค ว า ม เ ป็ น สหภาพแรงงานสู ญหายไป แต่ ใ นรั ฐกรรมาชี พจะมี ก ารเพิ่ มบทบาทของสหภาพแรงงานถึ ง ระดั บ สู งสุ ด ระบบทุ นนิ ยมโดยรั ฐ ถ้ า ดู จ ากกรอบของประวั ติ ศาสตร์ จะเป็ นการทำา ให้ รั ฐเป็ นเผด็ จ การ แต่ รั ฐ กรรมาชี พเป็ นการสร้ างประชาธิ ปไตยสู งสุ ดที่ ไม่ เ คยมี ม าก่ อน ระบบทุ น นิ ยมโดยรั ฐ คื อ การกดขี่ กรรมาชี พ อย่ า งหนั ก โดยชนชั้ นนายทุ น ที่ คุ มปั จจั ย การผลิ ต แต่ รั ฐกรรมาชี พคื อ การกดขี่ นายทุ น โดยชนชั้ นกรรมาชี พ ที่ ควบคุ ม ปั จจั ย การผลิ ต
2. ทุ นนิ ยมโดยรั ฐในประเทศจี น (State Capitalism in China) [บทความชิ้ นนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของบทความที่ โทนี่ คลิ ฟ เขี ยนในวารสาร Socialist Review เมษายน ค.ศ. 1957 สมั ย ที่ เหมายั ง มี ชี วิ ตอยู่ ตี พิ มพ์ ใ หม่ ใน Tony Cliff (1982) “Neither Washington nor Moscow” หน้ า 137] แปลโดย ใจ อึ๊ งภากรณ์
กำรบริ โภคต้ องก้ มหั ว ให้ กำรลงทุ น การที่ สิ นค้ า บริ โภคมี ความสำา คั ญ น้ อยกว่ าการผลิ ตเพื่ อสะสมทุ น เห็ นได้ จ ากข้ อ มู ลกำา ไรจาก อุ ตสาหกรรมเบาระหว่ าง 1952-1955 อุ ตสาหกรรมเหล่ านี้ ได้ กาำ ไรมากกว่ าจำา นวนเงิ นที่ ลงทุ นประมาณ 10.8 ล้ า นยวน ส่ วนที่ เหลื อ ได้ ถู ก นำา มาลงทุ น ในอุ ต สาหกรรมหนั ก (Statistical Bulletin, Peking 14 November 1956) ในเมื่ อรายได้ ข องชาติ ต่าำ สั ด ส่ วนของรายได้ น้ี ที่ นำา ไปลงทุ นจึ งสู ง มี การ คาดว่ า ในปี 1952 การ ลงทุ นได้ ใ ช้ ร ายได้ ข องชาติ ประมาณ 15.7% ปี 1953 ใช้ 18.3% ปี 1954 ใช้ 21.6% ปี 1955 ใช้ 20.5% และ ปี 1956 ใช้ 22.8 % (Jen Min Jih Pao, People’s 20 September 1956) อั ต รานี้ ไม่ ต่าำ กว่ า อั ต ราการลงทุ นในรั สเซี ยภาย ใต้ แผนห้ าปี แผนแรกมากเท่ าไร แต่ ในเมื่ อระดั บ รายได้ ข องประเทศจี นต่าำ กว่ าประเทศรั สเซี ยในเวลา เดี ยวกั น ถึ ง 3 เท่ า ตั ว ภาระการลงทุ น 20% ของรายได้ ช าติ จะเป็ นภาระที่ สู งกว่ า 30% ของรั สเซี ย
ภำระในกำรผลิ ต อำวุ ธ ภาระในการป้ องกั น ประเทศใช้ 18.1% ของรายได้ ช าติ ใ นปี 1952 ในปี 1953 ใช้ 15.9% ในปี 1954 ใช้ 15.2% และในปี 1955 ใช้ 16.2% (Wang Tzu-ying, OnPublic Finance, Ta Kung pao, Tientsin , 20 Jaunary 195) ถ้ า เที ยบกั บ รั สเซี ยในปี 1928 จะเห็ นว่ า รั สเซี ยใช้ ร ายได้ ช าติ 2% ในด้ า นการทหารเท่ า นั้ น ในเมื่ อจี นมี ภาระในการลงทุ นทางอุ ตสาหกรรมและการลงทุ นทางทหารสู ง แน่ นอนรายได้ ข อง กรรมาชี พย่ อ มเพิ่ มช้ า กว่ า อั ต ราการผลิ ต ซึ่ งถื อว่ า การขู ด รี ดแรงงานในยุ ค นี้ ค่ อนข้ า งจะสู ง และกำา ลั ง เพิ่ ม ขึ้ นทุ ก วั น ความจริ งตรงนี้ ถู ก ชู ขึ้ นในบทบรรณาธิ การของ น.ส.พ. People’s Daily ที่ กล่ าวว่ า “ใน 1952 คน งานในรั ฐวิ สาหกิ จผลิ ตมู ลค่ าโดยเฉลี่ ยปี ละ 100 ล้ า นเหรี ยญประชาชนต่ อหั ว จากส่ วนนี้ ถ้ า ยกเว้ น เงิ น 5 แสนเหรี ยญที่ เป็ นเงิ นเดื อนคนงาน 94%เป็ นทุ นสะสมโดยรั ฐ” (People’s Daily, 13 December, 1953) ตั ว เลขนี้ อาจสู งกว่ า ความเป็ นจริ งบ้ า งแต่ เ ราต้ อ งยอมรั บว่ า ระดั บ การขู ด รี ดมี สู ง
กำรขู ด รี ดเพิ่ มขึ้ น ถ้ า เราตรวจดู ข ้ อ มู ล ที่ เปรี ยบเที ยบประสิ ทธิ ภาพการทำา งานกั บ รายได้ ข องคนงาน 19 June 1956) จะเห็ นว่ า อั ต ราการขู ด รี ดกำา ลั ง เพิ ่ มขึ้ น
(จาก People’s Daily,
ปี อั ต รำกำรเพิ่ มขึ้ นของ ประสิ ทธิ ภ ำพแรงงำน (%) 1953 1954 1955 เกิ นไป
13 15 10
อั ต รำกำรเพิ่ มขึ้ น ของค่ ำแรง (%) 5 2.6 0.6
ผู ้ เ ขี ย นยั ง ไม่ แ น่ ใจว่ า สถิ ติ เ กี่ ยวกั บ ค่ า แรงในตารางนี้ ตรงกั บ ความจริ งแค่ ไ หน เพราะคาดว่ า อาจสู ง
การขู ดรี ดชาวนายิ่ งหนั ก กว่ าการขู ดรี ดแรงงานอุ ตสาหกรรมอี ก เราขอ ยกตั ว อย่ า งมาคร่ าวๆ เท่ านั้ นรองนายก เชนยู แจ้ ง ว่ า ในหนึ่ งปี ระหว่ า งกรกฎาคม 1954 ถึ ง มิ ถุ นายน 1955 รั ฐได้ เ ก็ บ ภาษี ในรู ป แบบข้ า วสารและผลิ ตผลอื่ นๆ 52 ล้ า นต้ น หรื อ 30% ของผลิ ตผลเกษตรทั้ งหมดของชาติ (New China News Agency,30 April 1955) ตั ว เลขนี้ ไม่ น้ อยกว่ าสั ดส่ วนที่ รั ฐรั สเซี ยยึ ดจากชาวนาใน 1938 (33%) มากเท่ าไร (A. Arina, Sotsialisticheskoe Selskokhozyaistvo, Moscow, December, 1939) สั ด ส่ วนผลิ ต ผลเกษตรที่ ยึ ด จากชาวนาในจี น ตอนนี้ มากกว่ า สั ด ส่ วน ที่ รั ฐบาลกั ว มิ น ตั๋ งยึ ด ในอดี ต คื อ 30 ล้ า นตั น (Chen Han-seng ‘Industrialisation Begins’ China Reconstructs, Peking, Jan - Feb, 1953)
ลั ท ธิ ส ตำลิ น ในจี น ระบบการปกครองแบบสตาลิ นมี อ งค์ ป ระกอบสำา คั ญ ดั ง นี้ คื อ การเน้ น การผลิ ตเพื่ อสะสมทุ นเหนื อ การผลิ ตเพื่ อบริ โภค การบริ การอุ ตสาหกรรมโดยระบบข้ า ราชการ การจำา กั ด สิ ทธิ ชนชั้ นกรรมาชี พ การ บั ง คั บ ให้ ช าวนาใช้ ร ะบบกรรมสิ ทธิ์ ร่ วม การแยกสั ง คมเป็ นชนชั้ นระหว่ า งผู ้ มี อภิ สิ ทธิ กั บ คนชั้ นต่าำ และ ระบบเผด็ จ การแบบตำา รวจ องค์ ป ระกอบเหล่ านี้ ทุ กองค์ ป ระกอบ จะพบในจี นของเหมา และการที่ จี นด้ อ ย พั ฒ นากว่ า รั สเซี ยก็ มี ผ ลทำา ให้ มี ก ารกดขี่ ขู ด รี ดที่ ยิ ่ งหนั ก กว่ า รั สเซี ยภายใต้ ส ตาลิ น เสี ยอี ก ภาระหน้ า ที่ ทางประวั ติ ศาสตร์ ของชนชั้ นข้ า ราชการแดงของพรรคคอมมิ วนิ สต์ คื อการสะสมทุ น และการสร้ างชนชั้ นกรรมาชี พขึ้ นมา (ในตะวั น ตกหน้ า ที่ นี้ ทำา โดยชนชั้ นนายทุ นเอกชน) ถ้ า ประเทศไหนมี ทุ น น้ อ ยและมี ช นชั้ นกรรมาชี พที่ มี ขนาดเล็ ก ระบบทุ น นิ ยมโดยรั ฐของข้ า ราชการจะฝั งรากลึ กลงไปและจะ อยู่ รอดได้ น านกว่ า ที่ อื่ น ฉนั้ นเมื่ อจี นด้ อ ยพั ฒ นากว่ า ยุ โ รปตะวั น ออกและรั สเซี ย และมี ชนชั้ นกรรมาชี พขาดเล็ ก ที่ แตกแยก แรงผลั ก ดั นที่ จะผลั ก ดั นให้ ชนชั้ นข้ า ราชการแดงยอมยกผลประโยชน์ ให้ กรรมาชี พบ้ า ง หรื อทำา ให้ ข้ า ราชการกลั ว การปฏิ วั ติ ย่ อ มจะอ่ อ นแอกว่ า ในรั สเซี ย หรื อยุ โ รปตะวั น ออก ดั ง นั้ นถ้ า ไม่ มี กระแสปฏิ วั ติ จากข้ า งนอก จี นจะต้ อ งผ่ า นระยะเวลาประมาณหนึ่ งหรื อสองรุ่ นชี วิ ต คนจนกว่ า ชนชั้ นกรรมาชี พ จะรวมตั ว
กั น พอที่ จะท้ า ทายชนชั้ นข้ า ราชการ และชนชั้ นปกครองจี นคงจะโหดร้ ายและมี อายุ ยื น นานกว่ า ชนชั้ นปก ครองสายสตาลิ น ของรั สเซี ย สาเหตุ นี้ เองเป็ นสาเหตุ ที่ รั ฐบาลจี นที่ ปั กกิ่ งไม่ ช อบพวก “ปฏิ รู ป”ระบบ ในยุ โ รปตะวั น ออก และ ตบมื อเมื่ อ “ปฏิ กิ ริ ยา เนกี ” * ถู ก ทำา ลาย มี อี กสาเหตุ หนึ่ งที่ เหมาต้ อ งสนั บ สนุ นแนวสตาลิ นอย่ า งสุ ดขั้ ว ใน กรณี ที่ มี ข้ อ ขั ด แย้ ง เกี่ ยวกั บ แนวทางในรั สเซี ยเอง สาเหตุ นี้ ผู ก พั น กั บ สาเหตุ แรก คื อในเมื่ อเหมาต้ อ งการ พั ฒ นาให้ จี นเป็ นยั ก ษ์ ใ หญ่ ทางอุ ตสาหกรรมและทหาร เหมาไม่ สามารถละเลยที่ จะต่ อต้ า นนโยบายใน รั สเซี ยหรื อยุ โ รปตะวั น ออกที่ จะนำา ไปสู่ การลดหย่ อ นการเน้ น อุ ตสาหกรรมหนั ก เพื่ อเพิ ่ มการบริ โภคของ ประชาชน เพราะเหมาต้ อ งการเหล็ ก กล้ า เครื่ องจั ก ร และกั ง หั น ฯลฯ มากกว่ า ที่ จะให้ ค นรั สเซี ย หรื อคน ฮั ง การี่ มี บ ้ า น อาหารหรื อเครื่ องนุ่ งห่ มที่ ดี ขึ้ น จี นของเหมาเสมื อนก้ อ นหิ นที่ ใหญ่ โต ซึ่ งจะสามารถดำา รงอยู่ ได้ ถึ งแม้ จ ะมี คลื่ นต่ อต้ า นลั ท ธิ สตา ลิ นซั ด มาหลายครั้ ง แต่ ในที่ สุ ดหลั ง จากเวลาหลายสิ บปี ก้ อ นหิ นอั น นี้ คงจะเริ่ มแตกสลายเนื่ องจากการ ปฏิ วั ติ ล้ ม ระบบสตาลิ น ในยุ โ รป และเหตุ ก ารณ์ ใ นจี นเอง
* (ผู้ นำา ปฏิ รู ปฮั งการี่ ที่ ถู กกองทั พรั สเซี ยปลดออกเมื่ อปี
1956)
3. เวลำเป็ นเครื่ องพิ สู จน์ โทนี่ คลิ ฟ (Tony Cliff)เป็ นผู้ พั ฒ นาทฤษฏี “ทุ นนิ ยมโดยรั ฐ” หลั ง สงครามโลกครั้ งที่ สอง บทความนี้ ของ คลิ ฟ แปลจากวารสาร Socialist Review ฉบั บ ก.ค./ส.ค. 1998 โดย ใจ อึ๊ งภากรณ์
ผ่ ำศพ กำา แพงเมื องเบอร์ ลิ น ระหว่ า งเยอรมั น ตะวั น ออกกั บ ตะวั น ตก ล้ ม ไปเมื่ อประมาณสิ บปี แล้ ว หลั ง จากนั้ นไม่ น านรั ฐบาลลั ท ธิ สตาลิ น ต่ า งๆ ในยุ โ รปตะวั น ออกและรั สเซี ยก็ พ ั ง ลงมาด้ ว ย ในปี 1947 ห้ า สิ บปี ก่ อนหน้ า นั้ น ผมมี ข้ อ สรุ ปว่ า ระบบการเมื อง การปกครองภายใต้ ล ั ท ธิ สตาลิ น เป็ น “ระบบทุ นนิ ยมโดยรั ฐ” (State Capitalism) ผมเขี ยนหนั ง สื อสองเล่ มเพื่ อพั ฒ นาทฤษฏี นี้ แต่ แน่ นอน เราไม่ สามารถมี ความมั่ นใจในความคิ ดของเราเองได้ น อกเหนื อจากจะถู กทดสอบจากเหตุ การณ์ จริ งใน ประวั ติ ศาสตร์ ความล้ ม เหลวของระบบการปกครองแบบสตาลิ นในประเทศทั้ งหลายทำา ให้ เราทดสอ บทฤษฏี น้ ี ได้ แ ล้ ว ความล้ ม เหลวของรู ปแบบการปกครองสตาลิ น เปิ ดโอกาสให้ เ ราศึ ก ษา ผ่ า ศพ ของมั น ได้ ถ้ า รั สเซี ย เป็ นประเทศสั ง คมนิ ยมจริ ง และรั ฐลั ท ธิ สตาลิ น เป็ นรั ฐของชนชั้ นกรรมาชี พจริ ง (ถึ งแม้ ว่ า อาจเป็ น “รั ฐ กรรมาชี พแบบเสื่ อมโทรม หรื อพิ ก าร” ตามที่ พวกสายลู ก ศิ ษย์ ต รอทสกี เสนอ) การล้ ม สลายของระบบลั ท ธิ สตาลิ นต้ อ งถื อว่ าเป็ นการปฏิ วั ติ ซ้ อนของฝ่ ายปฏิ กิ ริ ยาที่ ทำา ลายรั ฐกรรมาชี พ ในสถานการณ์ แบบนี้ กรรมาชี พรั สเซี ยและที่ อื่ น น่ าจะออกมาต่ อสู ้ ปกป้ องรั ฐดั ง กล่ าว เหมื อนกั บ ที่ กรรมกรย่ อมต่ อสู ้ เพื่ อ ปกป้ องสหภาพแรงงานเมื่ อมี คนคิ ดจะทำา ลาย ไม่ ว่ า สหภาพนั้ นจะอนุ รั กษ์ นิ ยมหรื อน้าำ เน่ าแค่ ไหน ทั้ งนี้ เพราะ คนงานรู ้ จากประสบการณ์ ประจำา วั น ว่ าสหภาพแรงงาน ไม่ ว่ าจะอ่ อนแอแค่ ไหน ก็ ยั ง ถื อว่ าเป็ น องค์ ก รที่ ปกป้ องกรรมกรจากนายจ้ า ง ซึ่ งดู ได้ จ ากการที่ คนงานในสถานที่ ทำา งานที่ มี สหภาพแรงงาน โดย รวมแล้ ว มั ก จะมี ค่ า จ้ า งสวั ส ดิ การดี กว่ า ในสถานที่ ทำา งานที่ ขาดสหภาพ ต้ อ งถามว่ า เมื่ อรั ฐลั ท ธิ สตาลิ น ในรั สเซี ยและยุ โ รปตะวั น ออกล่ ม สลาย ไปในปี 1989-1991 คนงาน ออกมาต่ อสู ้ เพื่ อปกป้ องรั ฐไหม? ไม่ มี เลย! ไม่ เกิ ดขึ้ นเลย! คนงานในประเทศเหล่ านี้ หยุ ดนิ่ ง มี ความ รุ นแรงเกิ ดขึ้ นน้ อ ยกว่ า ในการนั ด หยุ ด งานธรรมดาเสี ยอี ก มี แห่ งเดี ยวเท่ านั้ นที่ มี คนออกมาต่ อสู ้ กั น อย่ า ง รุ นแรงเพื่ อปกป้ องรั ฐเก่ า นั้ นคื อประเทศโรมเมเนี ย แต่ คนที่ ออกมาต่ อสู ้ ปกป้ องรั ฐในครั้ งนั้ นคื อ พวก ตำา รวจลั บ “เซคิ ว ริ ตาเต้ ” ถ้ า ในรั สเซี ยหรื อยุ โ รปตะวั น ออกมี การปฏิ วั ติ ซ้ อ นจริ งๆผู ้ ปกครอง เก่ า ก็ น่ าจะถู ก โค่ นล้ ม ไปหมด แต่ แ ท้ จ ริ งแล้ ว เมื่ อรั ฐลั ท ธิ สตาลิ น ล้ ม ไป ปรากฏว่ า ชนชั้ นผู ้ ป กครองเดิ ม (หรื อที่ เรี ยกว่ า “โนเมนคลาตู ร า” Nomenklatura ) ยั ง เป็ นผู้ นาำ และผู้ ป กครองต่ อ ไป พวกนี้ ไม่ ต ้ อ งก้ า วลงจากเวที ชั้ นนำา แต่ อ ย่ า งใดเลย เพี ย ง แต่ ก้ า ว เข้ า ไปถื อ ตำา แหน่ งในรู ปแบบใหม่ ห ลั ง การเปลี่ ยนแปลง (เช่ นเป็ นนั ก ธุ รกิ จเอกชน)
ฉนั้ นต้ อ งสรุ ปว่ าไม่ มี การเปลี่ ยนแปลงในระดั บ คุ ณภาพลึ กๆ เท่ าไร ระหว่ า งรั ฐลั ท ธิ สตาลิ นใน อดี ต กั บ รั ฐที่ พบอยู่ ในปั จจุ บั น ในรั สเซี ยหรื อยุ โ รปตะวั น ออก และถ้ า ทุ กคนยอมรั บว่ า ปั จจุ บั น นี้ ประเทศ เหล่ า นี้ เป็ นทุ น นิ ยม ก็ ต้ อ งสรุ ปว่ า รั ฐลั ท ธิ สตาลิ น ในอดี ตเป็ นรั ฐทุ น นิ ยมด้ ว ย ระบบ “ ทุ น นิ ย มโดยรั ฐ ” เกิ ด ขึ้ นอย่ ำงไร ? การปฏิ วั ติ รั สเซี ยเดื อนตุ ลาคม 1917 ได้ ส ถาปนาชนชั้ นกรรมาชี พขึ้ นมาเป็ นชนชั้ นปกครองใน รั สเซี ย ผลกระทบจากการปฏิ วั ติ ครั้ งนี้ กว้ า งขวาง และใหญ่ หลวงมาก เช่ น มี การปฏิ วั ติ กรรมาชี พเกิ ดขึ้ น ในเยอรมั น ออสเตรี ย และ ฮั ง การี่ และในฝรั่ งเศส อิ ตาลี่ และที่ อื่ นๆ มี การตั้ งพรรคคอมมิ วนิ สต์ ที่ มี มวลชน มหาศาล เลนิ น กั บ ตรอทสกี เชื่ อมั่ น ว่ า ชะตากรรมของการปฏิ ว ั ติ รั สเซี ยขึ้ นอยู่ กั บ ชั ย ชนะของการ ปฏิ วั ติ เ ยอรมั น ถ้ า ไม่ มี ชั ย ชนะนี้ คงไปไม่ ร อดแน่ เป็ นที่ น่ าเศร้ าใจที่ การปฏิ วั ติ เยอรมั น 1918-1923 ล้ ม เหลว สาเหตุ หลั ก คื อ การที่ ขาดพรรคปฏิ วั ติ ที่ มี ผู ้ ปฏิ บั ติ การที่ มี ประสบการณ์ พอที่ จะนำา กรรมาชี พส่ วนที่ ก้ า วหน้ า ที่ สุ ดได้ ในช่ วงประวั ติ ศาสตร์ หลั ง จากนั้ นเราเห็ นการปฏิ วั ติ ข องชนชั้ นกรรมาชี พหลายต่ อ หลายแห่ งที่ จบลงด้ ว ยความพ่ า ยแพ้ เ พราะขาดพรรค ปฏิ วั ติ เช่ น สเปญ และ ฝรั่ งเศส 1936 อิ ตาลี่ และ ฝรั่ งเศส 1944-45 ฮั ง การี่ 1956 ฝรั่ งเศส อี กใน 1968 ปอร์ ตุ เ กส 1974-75 อี ห ร่ าน 1979 และโปแลนด์ 1980-81 ความพ่ า ยแพ้ ข องการปฏิ วั ติ เยอรมั น 1923 มี ผลกระทบล้ น ฟ้ าในรั สเซี ย มั น นำา ไปสู่ การเสี ยขวั ญ และการปรั บตั ว ไปในทิ ศทางของฝ่ ายขวา การรณรงณ์ ข อง สตาลิ น ในการต่ อ ต้ า นตรอทสกี ในปี 1923 ทำา ได้ เพราะเลนิ นป่ วยหนั ก และทำา อะไรไม่ ไ ด้ แต่ ต รอทสกี เองอธิ บายความสำา เร็ จของสตาลิ น ว่ า มาจากการที่ การ ปฏิ วั ติ รั สเซี ยถู กทอดทิ้ งอยู่ โดดเดี่ ยวกลางกระแสทุ นนิ ยมโลก และผมเห็ นด้ ว ยกั บ คำา อธิ บายนี้ ฉนั้ นการ มองรั สเซี ยในสมั ย นั้ นว่ า เป็ น “รั ฐกรรมาชี พเสื่ อมโทรม” ของตรอทสกี น่ าจะถู ก ต้ อ งสำา หรั บยุ ค นั้ น ในช่ วงเวลาที่ รั สเซี ยถู กรุ กรานและเกิ ดสงครามกลางเมื องหลั ง การปฏิ วั ติ รั ฐโซเวี ยดถู กกองทั พ จากเยอรมั น อั ง กฤษ สหรั ฐ ฝรั่ งเศส อิ ต าลี่ ญี่ ปุ่ น โรเมเนี ย ฟิ นแลนด์ แลทเวี ย ลิ ทู เ อเนี ย และเตอรกี โจมตี ดิ นแดน กองทั พ ทั้ งหมดเหล่ านี้ และกองทั พ รั สเซี ยขาวไม่ ส ามารถเอาชนะกองทั พ แดงได้ แต่ รั ฐปฏิ วั ติ โซ เวี ย ดก็ เ อาชนะรั ฐทุ นนิ ยมทั่ วโลกไม่ ไ ด้ เ หมื อนกั น ฉนั้ นในที่ สุ ดแรงกดดั น จากกระแสทุ นนิ ยมโลกสามารถ หล่ อ หลอมรั ฐสตาลิ นไปในรู ปแบบที่ คล้ า ยรั ฐในโลกทุ นนิ ยมได้ ดั ง นั้ นกฏการเคลื่ อนไหวเปลี่ ยนแปลงที่ ผลั ก ดั น เศรษฐกิ จและกองทั พ รั สเซี ยเหมื อ นกฎการเคลื่ อนไหวเปลี่ ยนแปลงของทุ น นิ ยมโลก เมื่ อสตาลิ นประกาศ ในปี 1928 ว่ า ในระยะเวลา 15 หรื อ 20 ปี ข้ า งหน้ า รั สเซี ยจะพั ฒ นาให้ ทั น ประเทศตะวั น ตก ก็ แ ปลว่ า รั สเซี ยจะใช้ เ วลาเพี ยงระยะอั น สั้ นเท่ านั้ น เพื่ อทำา ในสิ่ งที่ อั ง กฤษต้ อ งใช้ เ วลา 100 ปี ของการปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรม ในอั ง กฤษก่ อนที่ จะมี ก ารปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมได้ ชนชั้ นปกครองต้ อ งใช้ มาตรการต่ า งๆเป็ นเวลา 300 ปี เพื่ อทำา ลายสิ ทธิ การใช้ ที่ ดิ นของชาวนารายย่ อ ย ในรั สเซี ยสิ ทธิ การใช้ ที่ ดิ น ของชาวนารายย่ อ ยถู กทำา ลายในเวลาเพี ยง 3 ปี โดยมาตรการที่ รั ฐบาลอ้ า งว่ าเป็ นการสร้ าง “กรรมสิ ทธิ์ ร่ วม” เมื่ อสตาลิ น เริ่ มสร้ างโครงสร้ างอุ ต สาหกรรมหนั ก ทางทหาร เขาต้ อ งเริ่ มต้ น จากพื้ นฐานที่ ด้ อ ยกว่ า ประเทศมหาอำา นาจที่ เป็ นคู่ แข่ ง แต่ เ ขามี เ ป้ าหมายในระดั บ เดี ยวกั น ถ้ า เยอรมั น ภายใต้ พ วกนาซี มี ร ถถั ง และ เครื่ องบิ น กองทั พ ที่ สตาลิ น สร้ างไม่ ส ามารถสะท้ อ นระดั บ การพั ฒ นาของระบบการผลิ ต รั สเซี ยได้ (เช่ น ใน
ปี 1928 ชาวนาไม่ มี รถไถนาและต้ อ งใช้ ไ ถที่ ทำา ด้ ว ยไม้ ) แต่ ต้ อ งสะท้ อ นระดั บ การผลิ ตของเยอรมั น ผู ้ เ ป็ นคู่ แข่ ง การพั ฒ นาอุ ตสาหกรรมรั สเซี ยเน้ น อุ ตสาหกรรมหนั ก เพื่ อผลิ ตอาวุ ธ ชิ้ นงานการวิ จั ย ของผมชิ้ น หนึ่ งที่ ผมคิ ด ว่ า น่ าสนใจมากคื อการเปรี ยบเที ยบการผลิ ตภายใต้ แ ผนการผลิ ตทุ กห้ า ปี (ในรั สเซี ยเองสมั ย ส ตาลิ นคงไม่ มี ใครกล้ า ทำา ) ถ้ า ดู อุ ตสาหกรรมหนั ก เช่ นเหล็ กกล้ า เป้ าหมายการผลิ ตในห้ าปี แรกคื อ 10.4 ล้ า นตั น ห้ า ปี ที่ สอง 17 ล้ า น ห้ า ปี ที่ สาม 28 ล้ า น ห้ า ปี ที่ สี่ (ยุ ค สงครามโลกครั้ งที่ สอง) 25.4 ล้ า น และห้ า ปี ที่ ห้ า 44.2 ล้ า น สิ่ งที่ ชั ด เจนก็ คื อการผลิ ตมุ่ งจะพุ่ งสู งขึ้ นอย่ า งรวดเร็ ว กรณี ไฟฟ้ า ถ่ านหิ น และ เหล็ ก ธรรมดา ก็ เ ช่ นกั น แต่ พอมาดู ผลิ ตผลที่ ประชาชนบริ โภคจะต่ างกั น โดยสิ ้ นเชิ ง ตั ว อย่ า งเช่ น ผลิ ตภั ณ ฑ์ สิ่ งทอฝ้ ายใน แผนห้ า ปี สี่ แผนแรกมี เป้ าหมายดั ง นี้ คื อ 4.7 5.1 4.9 และ 4.7 พั น ล้ า นเมตรตามลำา ดั บ ฉนั้ นในระยะเวลา 20 ปี เป้ าหมายเกื อบจะไม่ ได้ เ ปลี่ ยนเลย กรณี ผลิ ตภั ณ ฑ์ ข นแกะยิ่ งร้ ายกว่ านั้ นคื อ 270 227 177 และ 159 ล้ า นเมตร ตามลำา ดั บ คื อ มี ก ารลดปริ มาณการผลิ ต 40% ในระยะเวลา 20 ปี รั สเซี ยมี ความสามารถสู งในการผลิ ตดาวเที ยม “สปุ ตนิ ค” แต่ ผลิ ตรองเท้ า ไม่ ค่ อยสำา เร็ จ ระบบ ทุ น นิ ยมถู ก ครอบงำา โดยความต้ อ งการที่ จะสะสมทุ น บริ ษั ท ฟอร์ ดต้ อ งลงทุ น เสมอ มิ ฉ นั้ นจะถู ก เจนเนอร์ รั ล มอเตอร์ สแซง การแข่ งขั น ในระบบทุ นบั ง คั บ ให้ แต่ ละบริ ษั ท แข่ งกั น ลงทุ นและสะสมทุ น การแข่ งขั น ระหว่ า งทุ นบั ง คั บ ให้ แ ต่ ละบริ ษั ท เพิ่ มอั ต ราการขู ด รี ดแรงงานด้ ว ย การใช้ อาำ นาจข่ มเหงกดขี่ กรรมกรเป็ น อี กด้ า นหนึ่ งของเหรี ยญเดี ยวกั น กั บ การแข่ งขั น ระหว่ า งทุ น การใช้ อาำ นาจข่ มเหงกดขี่ กรรมกรและชาวนา ของรั ฐบาลสตาลิ นในรั สเซี ยก็ เ ช่ นเดี ยวกั น การขู ด รี ดแรงงานซึ่ งต้ อ งรวมถึ งระบบค่ ายแรงงานบั ง คั บ เป็ น ผลผลิ ตของการแข่ งขั น ระหว่ างทุ นนิ ยมรั สเซี ยกั บ มหาอำา นาจทุ นนิ ยมอื่ นๆ โดยเฉพาะเยอรมั น ภายใต้ รั ฐบาลนาซี ข้ อโต้ เถี ย งกั บ ทฤษฎี ทุ น นิ ย มโดยรั ฐ ข้ อ โต้ เ ถี ย งที่ มี ผู้ เ สนอมาเพื่ อปฏิ เสธทฤษฎี ทุ น นิ ยมโดยรั ฐ มี ส ามข้ อ หลั ก คื อ ( 1 ) ข้ อ เสนอที่ ว่ า ระบบทุ น นิ ยมต้ อ งมี ก รรมสิ ทธิ์ ส่ วนบุ ค คล “ในรั สเซี ย รั ฐเป็ นเจ้ า ของปั จจั ย การผลิ ตทั้ งหมด ไม่ มี ปั จจั ย ของเอกชน ฉนั้ นรั สเซี ยเป็ นทุ นนิ ยม ไม่ ไ ด้ ” ในปี 1847 พรู ดอง นั ก อนาธิ ปไตยชาวฝรั่ งเศสที่ ค่ อนข้ า งจะสั บ สน เขี ยนไว้ ใ นหนั ง สื อของเขาที่ ชื่ อ “ปรั ชญำแห่ งควำมอั บจน” ว่ าระบบทุ นนิ ยมคื อระบบกรรมสิ ทธิ์ ส่ วนบุ คคล แต่ ในหนั ง สื อ “ควำม อั บ จนของปรั ชญำ” มาร์ คซ์ โจมตี ความคิ ดนี้ โดยเขี ยนว่ า “ทรั พย์ สิ นส่ วนบุ คคลเพี ยงแต่ เป็ นความจริ งใน แง่ กฏหมายเท่ านั้ น” ถ้ า ทรั พย์ สิ นส่ วนบุ คคลคื อทุ นนิ ยม ระบบทาสก็ เป็ นทุ นนิ ยม ระบบขุ นนางก็ เป็ น ทุ น นิ ยม เพราะในระบบเหล่ า นี้ มี ท รั พย์ สิ นส่ วนบุ ค คลทั้ งนั้ น รู ปแบบของทรั พย์ สิ นไม่ ใ ช่ เรื่ องหลั ก มั น ไม่ ชี้ ถึ ง กลไกภายใน ถ้ า มี ค นบอกเราว่ า “ฉั น มี ข วดเต็ ม ไปด้ ว ยอะไรสั กอย่ าง” เขาไม่ ไ ด้ บ อกว่ า อะไรสั กอย่ าง คื ออะไร มั น อาจเป็ นเหล้ า น้าำ หรื อของเสี ย เนื่ องจากสิ่ งบรรจุ ต่ างกั บ สิ่ งที่ ถู กบรรจุ เราสามารถมี สิ่ งที่
แตกต่ างกั น ในภาชนะชนิ ดเดี ยวกั น ได้ ถ้ า ทรั พย์ สิ นส่ วนบุ คคลสามารถบรรจุ ใน ระบบทาส ระบบขุ น นาง และระบบทุ นนิ ยมได้ ระบบทาส ก็ มี ขึ้ นโดยที่ มี ทั้ งทรั พย์ สิ นส่ วนบุ คคลและทรั พย์ สิ นรั ฐได้ ในระบบ ขุ น นางความ สั ม พั น ธ์ หลั ก จะเป็ นความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งขุ น นางกั บ เกษตรกรในหมู่ บ้ า น แต่ ในระบบนี้ มี ความสั ม พั น ธ์ อี ก ชนิ ดหนึ่ งคื อ เกษตรกรที่ ทำา งานให้ กั บ โบสถ์ การที่ โบสถ์ ไม่ ไ ด้ เ ป็ นทรั พย์ สิ นส่ วนบุ ค คล ไม่ ไ ด้ ทาำ ให้ ภ าระของเกษตรกรเบาลงแต่ อ ย่ า งใด ( 2 ) ในระบบทุ น นิ ยมไม่ มี ก ารวางแผน “ในรั สเซี ยมี ก ารวางแผนทางเศรษฐกิ จแต่ ใ นระบบทุ น นิ ยมไม่ มี ” ข้ อ เสนอนี้ ไม่ จ ริ ง ในระบบทุ น นิ ยมจะมี ก ารวางแผนในแต่ ละหน่ วยงาน แต่ จะไม่ ว างแผนระหว่ า ง หน่ วยงาน ในโรงงานรถยนต์ ข องฟอร์ ดมี ก ารวางแผน เพราะเขาจะไม่ ผ ลิ ต จำา นวนเครื่ องยนต์ ต่ อ รถมากกว่ า หนึ่ งเครื่ อง หรื อลู ก ล้ อ สองลู ก ต่ อหนึ่ งคั น มี แผนรวมศู น ย์ ที่ กำา หนดว่ า จะผลิ ตเครื่ องยนต์ กี่ เครื่ อง ลู ก ล้ อ กี่ ลู ก ในระบบนี้ มี แผน แต่ มี อ นาธิ ปไตยระหว่ า งบริ ษั ท ฟอร์ ดกั บ บริ ษั ท เจนเนอรรั ลมอเตอร์ ส ในรั สเซี ยสมั ย สตาลิ น มี แ ผนสำา หรั บเศรษฐกิ จรั สเซี ย แต่ ไ ม่ มี แ ผนระหว่ า ง เศรษฐกิ จรั สเซี ยกั บ เศรษฐกิ จเยอรมั น ( 3 ) ถ้ า เราจะทำา ให้ ร ะบบในรั สเซี ยสมั ย สตาลิ น ดี ขึ้ น เราเพี ย งแต่ ป ฏิ วั ติ ก ารเมื อ งเท่ า นั้ นก็ สาำ เร็ จ แต่ ใ นระบบ ทุ น นิ ยมต้ อ งเปลี่ ยนทั้ งการเมื อ งและเศรษฐกิ จ ข้ อ เสนอนี้ ไม่ มี น้าำ หนั ก เลยในเมื่ อรั ฐเป็ นผู ้ ครอบครองทรั พย์ สิ นทั้ งหมด ในฝรั่ งเศสในปี 1830 มี การปฏิ วั ติ ทางการเมื องที่ ล้ ม ระบบกษั ต ริ ย์ และตั้ งระบบกษั ต ริ ย์ ภ ายใต้ รั ฐธรรมนู ญขึ้ นมาแทน อย่ า งไร ก็ ต ามการเปลี่ ยนแปลงครั้ งนั้ นไม่ ได้ เ ปลี่ ยนรู ปแบบของสั งคมเลย เพราะผู ้ ถื อครองทรั พย์ สิ นคื อนายทุ น เอกชนไม่ ใ ช่ รั ฐ แต่ ในกรณี ที่ รั ฐครอบครองทรั พย์ ท้ ั งหมดการปฏิ วั ติ การเมื องเป็ นการปฏิ วั ติ ทางเศรษฐกิ จ ไปในตั ว เอง ควำมสำ ำ คั ญ ของทฤษฏี ทุ น นิ ย มโดยรั ฐ ในช่ วงเวลา 60 ปี ที่ ผ่ านมาลั ท ธิ สตาลิ นเป็ นที่ ยอมรั บในขบวนการแรงงานสากล ส่ วนลั ท ธิ สั ง คมนิ ยมปฏิ วั ติ หรื อ ลั ท ธิ ตรอทสกี ถู ก ผลั ก ดั น ออกไปอยู่ ในหมู่ คนส่ วนน้ อ ย การที่ คนยอมรั บลั ท ธิ สตาลิ นมี ผ ลกระทบอั น ใหญ่ ห ลวงแต่ ห ลั ง จากการล่ ม สลายของระบบลั ท ธิ สตาลิ น ในรั สเซี ยก็ เ กิ ดการเปลี่ ยนแปลง ใน ปี 1990 มี คน ตั้ ง คำา ถา ม กั บ เ อ ริ ค ฮอ บ ส์ บ อม นั กป ร ะ วั ติ ศา สต ร์ ที่ เ ป็ น อ า จ า ร ย์ ใ ห ญ่ ข อง พร ร ค คอมมิ ว นิ สต์ อ ั ง กฤษว่ า “ในรั สเซี ยทำา ไมชนชั้ นกรรมาชี พถึ งปฏิ วั ติ ล้ มรั ฐกรรมาชี พ ?” ฮอบส์ บอม ตอบว่ า “ ก็ เ พราะเห็ นได้ ชั ดว่ ามั น ไม่ ใช่ รั ฐกรรมาชี พ ทุ กคนในโซเวี ยตก็ ร้ ู ว่ ามั น ไม่ ใช่ กรรมาชี พก็ ร้ ู ว่ าไม่ ใช่ ” แต่ ทำา ไม ฮอบส์ บอม รอมา 50 กว่ า ปี ถึ ง จะกล้ า พู ด แบบนี้ ? เลขาธิ การพรรคคอมมิ วนิ สต์ อั ง กฤษ ชื่ อ นิ นา เทมเบิ ล ก็ พู ดว่ า “ฉั นคิ ดว่ าพรรคสั งคมนิ ยม กรรมกร (พรรคของ โทนี่ คลิ ฟ ในอั ง กฤษ) ถู กต้ องแล้ ว พวกสำา นั กตรอทสกี ก็ คิ ดถู กแล้ วเวลาเสนอว่ า ยุ โ รปตะวั น ออกไม่ ใช่ สั งคมนิ ยม และฉั นคิ ดว่ าเราน่ าจะยอมรั บตรงนี ้ นานแล้ ว”
เวลาฟั ง นิ นา เทมเบิ ล พู ด ก็ พ าให้ เ ราคิ ดถามต่ อว่ า ถ้ า สั น ตะปาปาประกาศออกมาว่ า “พระเจ้ า ไม่ มี แล้ ว ” จะเกิ ดอะไรขึ้ น สถาบั น ศาสนาคริ สต์ นิ กายแคทอลิ ค คงอยู่ ไม่ ร อด ความสั บ สนในหมู่ พรรคสายสตา ลิ น ขณะนี้ เป็ นเรื่ องใหญ่ มาก แต่ ใ นหมู่ พวกเราที่ เคยประกาศว่ า รั สเซี ยเป็ นทุ น นิ ยมโดยรั ฐ ก่ อนที่ โซเวี ย ด จะพั ง หลายๆปี เราสามารถสร้ างสะพานไปสู่ อนาคตและรั กษาประเพณี มาร์ คซิ สต์ แ ท้ ข องสั ง คมนิ ยมจาก เบื้ องล่ า งได้