ค.ศ. 2012 ผ่านพ้นไปโดยที่โลกก็ยังไม่ถึงแก่กาลอวสาน ซึง่ เป็นข้อยืนยันอย่างดีส�ำหรับพวกเราชาวโลกว่า อย่าเชือ่ อย่าง งมงายโดยไม่มีสมมติฐานที่น่าเชื่อถือหรือที่พิสูจน์ได้ สิ่งที่พึง ระวังและควรหาทางรับมือกับมัน น่าจะเป็นเรื่องภัยพิบัติต่างๆ ที่นับวันจะทวีความรุนแรงและถี่ขึ้นกว่าแต่ก่อน อาทิ น�้ำท่วม ครัง้ ใหญ่ แผ่นดินไหว คลืน่ ยักษ์ ฯลฯ กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี โดย GISTDA เป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีภารกิจในการ บริหารจัดการทรัพยากร ซึ่งครอบคลุมทั้งบนบกและในทะเล ดังจะเห็นได้จากการที่รัฐบาลมอบให้กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ/ GISTDA ด�ำเนินโครงการเรดาร์ชายฝั่งเพื่อการเตือนภัยทางบก และทางทะเล ส�ำหรับตรวจวัดกระแสน�้ำและคลื่น ในลักษณะ Near - Real Time เพื่อให้การบริหารจัดการน�้ำในภาพรวม ของประเทศเป็นไปอย่างมีระบบ สร้างความมัน่ ใจในการจัดการ ภัยพิบัติและจัดการพื้นที่ชายฝั่ง ทั้งนี้ สถานีตรวจวัดเรดาร์ดัง กล่าวได้มีพิธีเปิดขึ้นแล้ว เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2555 โดยมี ดร. ปลอดประสพ สุรัสวดี รองนายกรัฐมนตรีและนายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เป็นประธานในพิธี ข้อมูลที่ตรวจวัดได้จากระบบ เรดาร์ชายฝั่งเพื่อการเตือนภัยทางบกและทางทะเล เป็นข้อมูล สาธารณะทีผ่ สู้ นใจ สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์พฒ ั นาต่อยอดใน งานด้านต่างๆ ได้ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ท่านสามารถเข้าดูข้อมูล เบื้องต้นได้ทางเว็บไซต์ http://coastalradar.gistda.or.th เป็นทีท่ ราบกันโดยทัว่ ไปว่า GISTDA ให้บริการข้อมูลจาก ดาวเทียมแก่หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มาอย่างต่อเนื่อง เป็นเวลานาน อย่างไรก็ตาม ปัญหาหรืออุปสรรคในการได้ภาพ ที่ปลอดเมฆก็ยังเป็นปัญหาส�ำคัญส�ำหรับทั้งผู้ให้บริการอย่าง GISTDA และผูใ้ ช้งานภาพ แม้จะมีขอ้ มูลจากดาวเทียมในระบบ เรดาร์ที่สามารถทะลุทะลวงเมฆได้ กระนั้นก็ยังต้องยอมรับว่า ข้อมูลจากระบบเรดาร์ยังเป็นเครื่องมือที่ใช้งานยาก ผู้ใช้ต้อง มีความรู้ประสบการณ์ตลอดจนโปรแกรมใช้งานที่เหมาะสม ดังนั้น ภาพจากอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle :UAV) จะเป็นอีกหนึง่ ทางเลือกที่ GISTDA ก�ำลังพัฒนา ขึน้ มาใช้เพือ่ การบริการในอนาคตอันใกล้ เนือ่ งจากมีเพดานบิน ที่ต�่ำกว่าเมฆ และมีค่าใช้จ่ายต�่ำมากเมื่อเทียบกับการถ่ายภาพ ทางอากาศและภาพจากดาวเทียม ขอเชิญอ่านเรื่องราวเกี่ยว กับ UAV ได้ภายในเล่มนะคะ ล�ำไยเป็นไม้ผลเศรษฐกิจทีส่ �ำคัญของประเทศไทย มีมลู ค่า การส่งออกไม่ต�่ำกว่า 2-3 พันล้านบาทต่อปี แล้วเทคโนโลยี อวกาศและภูมิสารสนเทศมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไรกับล�ำไย? น่าสนใจไหมคะ
สำ�นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทอภ. มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Geo-Informatics and Space Techonogy Development Agency (Public Organization) หรือ GISTDA ในกำ�กับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2543 โดยมีภารกิจหลักในการให้บริการข้อมูลดาวเทียมและข้อมูลภูมิสารสนเทศทั้งภายในและต่าง ประเทศ การกำ�หนดมาตรฐานกลางสำ�หรับระบบภูมิสารสนเทศ ส่งเสริมการประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียมในหลายสาขา รวมถึงการถ่ายทอดเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ และพัฒนาบุคลากร คณะผู้จัดทำ� ที่ปรึกษา ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ดร.สุรชัย รัตนเสริมพงศ์ บรรณาธิการ นายสามารถ ดวงวิจิตรกุล บรรณาธิการ นางนิรมล ศรีภูมินทร์ กองบรรณาธิการ นายปัญญา สงวนสุข, นายชัยยันต์ เมาลานนท์, น.ส.นวนิตย์ อภิชลติ, ดร.เชาวลิต ศิลปทอง, น.ส.สุภาพิศ ผลงาม, นางรำ�พึง สิมกิ่ง, นายรุ่งอนันต์ ศิรินิยมชัย, ดร.พรสุข จงประสิทธิ์, น.ส.พิมพ์นภัส เกิดผล จัดทำ�โดย สำ�นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิ สารสนเทศ ( องค์การมหาชน ) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 เลขที่ 120 หมู่ 3 อาคารรวมหน่วยราชการ (อาคารรัฐประศาสนภักดี) ชั้น 6 และ ชั้น 7 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2141-4470 โทรสาร 0-2143-9586-87 Website : www.gistda.or.th, E-mail: pr@gistda.or.th
2
สร้างสรรค์โดย บริษัท ดับบลิวพี ครีเอชั่น กรุ๊ป จำ�กัด www.wpcreation.com
อากาศยานไร้คนขับ (UAV) กับการพัฒนาภูมิสารสนเทศ GISTDA นอกจากเราจะมีภารกิจหลัก คือ ด้านการประยุกต์ ใช้ เ ทคโนโลยี อ วกาศจากดาวเที ย ม นำ � มาใช้ ป ระโยชน์ แ ละพั ฒ นา ประเทศ GISTDA ยั ง มี อี ก เทคโนโลยี ห นึ่ ง ที่ อ ยากให้ ท ราบกั น คื อ การนำ� “อากาศยานไร้นักบิน หรือที่เรียกกันว่า Unmanned Aerial Vehicles : UAV” มาประยุกต์ใช้ ซึ่งเป็นอีกเทคโนโลยีที่มีบทบาท เพื่อช่วยในการวางแผนและบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมได้ นอกจากใช้ดา้ นการทหารแล้ว อากาศยานไร้นกั บินเริม่ มีการนำ�มาใช้งาน ในเชิงพาณิชย์มากขึ้น มันถูกพัฒนาให้เล็กลงและเหมาะสมกับงานที่ใช้ อาทิเช่น การถ่ายภาพพืน้ ทีเ่ กิดภัยพิบตั ิ งานด้านอุตสาหกรรมการเกษตร (Agricultural industry) ติดตามแนวชายฝัง่ (Coast watch) การควบคุม การจราจรทางบก (Ground traffic control) การเฝ้าระวัง (Surveillance) การค้นหาเป้าหมาย (Target acquisition) ช่วยสังเกตการณ์ไฟ ป่า (Fire fighting monitoring ) ตรวจสภาพสิง่ แวดล้อม (Environment monitoring ) ประเมินสถานการณ์ผู้ก่อการร้าย (Terrorist disaster) และภารกิจทางด้านการทำ�แผนที่ (Mapping) ซึ่งเป็นภารกิจหลักของ GISTDA
และในระยะที่ 2 และ 3 เราเลือกใช้อากาศยานแบบประเภท เครื่องบินไฟฟ้า (Electric Plane) และ เครื่องบินที่ใช้เครื่องยนต์ (Engine Plane) ซึ่งทั้งสองประเภทนี้มีสมรรถนะการบินที่ไกลกว่า และนานกว่าประเภทที่เป็นแบบ Multirotor หรือเครื่องบินแบบ หลายใบพัด ซึง่ สามารถใช้งานในพืน้ ทีท่ ไี่ ม่สามารถเข้าถึงได้และเป็น พืน้ ทีผ่ นื ใหญ่เพือ่ สำ�รวจและถ่ายภาพทางอากาศ โดยสามารถบินได้ นานไม่นอ้ ยกว่า 2 ชัว่ โมง และไปได้ไกลกว่า 50 กิโลเมตรเพือ่ ปฏิบตั ิ ภารกิจ
เครื่องบินไฟฟ้า (Electric Plane)
ทำ�ไมเราจึงเลือกใช้อากาศยานไร้นักบิน? นอกจากข้อมูลภาพถ่ายที่เราได้จากดาวเทียมไทยโชตแล้ว ซึ่ง เป็นข้อมูลภาพถ่ายที่ได้จากระยะไกล (Remote Sensing) ภาพถ่าย ที่ได้จากข้อมูลดาวเทียมก็ยังมีข้อจำ�กัดบางประการคือ ภาพที่ได้จาก ดาวเทียมอาจถ่ายติดเมฆมากเกินไป ทำ�ให้เราไม่สามารถมองเห็นพื้นที่ ที่จะศึกษาและนำ�มาใช้งานได้ อากาศยานไร้นักบิน (UAV) จึงเป็นอีก เทคโนโลยีหนึ่งที่สามารถช่วยตอบสนองความต้องการได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพในการได้ข้อมูล และยังสามารถช่วยประหยัดงบ ประมาณ เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายน้อยมากหากเทียบกับการนำ�เครื่องบิน จริงบินถ่ายภาพทางอากาศ สามารถลดความเสีย่ งในการสูญเสียบุคลากร ในการปฏิบตั หิ น้าที่ ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมน้อย ใช้เวลาน้อยในการ ปฏิบัติงาน มีความคล่องตัวสูง ปัจจุบัน GISTDA ได้ดำ�เนินการศึกษาอากาศยานไร้นักบิน (UAV) โดยในระยะที่ 1 เราเลือกใช้อากาศยานแบบประเภท Multirotor หรือ เครื่องบินแบบหลายใบพัด มีขนาดเล็กสามารถบินขึ้นลงแบบแนวดิ่งใช้ พื้นที่น้อยในการบินขึ้น ลง สะดวกต่อการปฏิบตั ิ งานในพื้ น ที่ ที่ เ ป็ น เขต ชุมชน
เครื่องบินเครื่องยนต์ (Engine Plane) อนาคต GISTDA เรายังมีแผนในการให้บริการถ่ายภาพทาง อากาศจากอากาศยานไร้ ค นขั บ (UAV) สู่ ห น่ ว ยงานภาครั ฐ และ ประชาชนทั่วไปที่สนใจและต้องการภาพถ่ายทางอากาศด้วย สนใจ สามารถติดต่อได้ที่ศูนย์พัฒนาภูมิสารสนเทศ โทร 02-143-0560
3
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล การเกษตรด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล การเกษตรด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ GISTDA ได้ ดำ � เนิ น การโครงการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิ ท ธิ ผ ลการเกษตรด้ ว ยเทคโนโลยี ภู มิ ส ารสนเทศตามแผน ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อสนับสนุน ยุทธศาสตร์การวิจัยเร่งด่วน ด้วยการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร โดย พัฒนาระบบฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศที่สนับสนุนข้อมูลแก่เกษตรกร และหน่วยงานในพื้นที่ในด้านการตรวจสอบติดตามการปลูกพืช การ เฝ้าระวังโรคระบาดและแมลง การถ่ายทอดเทคโนโลยีสชู่ มุ ชน การคาด การณ์สภาพภูมอิ ากาศ และการประเมินผลผลิต โดยใช้ขอ้ มูลดาวเทียม ไทยโชต (Thaichote) ร่วมกับข้อมูลดาวเทียมจากดาวเทียมสำ�รวจ ทรัพยากรดวงอื่นเป็นแผนที่ฐานในการจัดทำ�แผนที่พืชรายแปลง ภายใต้โครงการปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มผลผลิตลำ�ไยเพื่อการ ส่งออก ของสำ�นักนายกรัฐมนตรี GISTDA ได้มีบทบาทในการจัดทำ� แผนที่เพาะปลูกลำ�ไยรายแปลงสำ�หรับเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ ใน 4 จังหวัดภาคเหนือ คือ เชียงราย เชียงใหม่ ลำ�พูนและพะเยา
ขั้นตอนการจัดทำ�แผนที่เพาะปลูกลำ�ไยรายแปลง
ก
ข
ค
ง (ก) การจำ�แนกพื้นที่ลำ�ไยจากข้อมูลดาวเทียม (ข) การประชุมกับเกษตรกรผู้ปลูกลำ�ไยในพื้นที่
4
(ค) การระบุแปลงลำ�ไยของเกษตรกร (ง) ฐานข้อมูลพื้นที่เพาะปลูกลำ�ไยรายแปลง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล การเกษตรด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
ผูต้ รวจการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตรวจเยีย่ ม ความก้าวหน้าของโครงการฯ พื้นที่จังหวัดเชียงราย
โดยแผนที่ เ พาะปลู ก พื ช รายแปลงเป็ น ข้ อ มู ล ที่ สำ�คัญสำ�หรับการติดตามการเพาะปลูกของเกษตรกร การเฝ้าระวังการระบาดของโรคพืชและศัตรูพืช รวม ถึงการประเมินผลผลิต เพื่อให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ ดำ�เนินการในการเฝ้าระวัง และการจัดหาตลาดสำ�หรับ รองรับผลผลิตทีจ่ ะเกิดขึน้ อันเป็นการบริหารจัดการด้าน การเกษตรอย่างครบวงจร ผลจากการดำ�เนินการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี โดย GISTDA ได้เล็งเห็นความสำ�คัญของ การนำ�เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในด้าน เกษตร จึงได้เสนอโครงการความร่วมมือไทย-อินเดีย ภาย ใต้ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลอินเดีย ใน การใช้ประโยชน์เทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศเพือ่ พัฒนาท้อง ถิ่น โดย ฯพณฯ เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอินเดีย H.E. Mr. Anil Wadhwa และทีป่ รึกษา Dr.Jaideep Nair ได้ให้ ความสนใจในการเยีย่ มชมศึกษาดูงานโครงการฯ ในพืน้ ที่ อำ�เภอแม่สรวย และอำ�เภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 27-28 สิงหาคม
ฯพณฯ เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอินเดียและทีป่ รึกษาถ่ายภาพร่วมกับคณะ ผู้บริหาร GISTDA และเกษตรกรผู้ปลูกลำ�ไย อำ�เภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
5
QR Code นวัตกรรมใหม่สำ�หรับการยกระดับ สินค้าเกษตร เพื่อรับมือการเข้าร่วม AEC ของไทย
QR Code คืออะไร? หากจะมีใครสักคนกล่าวขึ้นมาว่า “นวัตกรรมใหม่ๆ ช่วยให้ ชีวิตของผู้คนสะดวกสบายขึ้น” คงจะไม่มีใครกล้าปฏิเสธคำ�พูดข้าง ต้น โดยเฉพาะในปัจจุบัน ที่วิถีชิวิตของผู้คนต้องถูกโยงยึดกับความ เจริญทางวัตถุ และการแข่งขันกับเวลา นวัตกรรมด้านระบบโทรศัพท์ เคลือ่ นทีแ่ บบสมาร์ทโฟน (Smart Phone) และแท็บเล็ต พีซี (Tablet PC/Tab) เป็นตัวอย่างที่ใกล้ตัวและเห็นได้ชัดเจนที่สุด ที่จะช่วยทำ�ให้ ผู้คนสามารถทำ�งานและสื่อสารข้อมูลต่างๆ ถึงกันได้ง่ายและรวดเร็ว โดยไม่มีข้อจำ�กัดทั้งสถานที่ เวลาและโอกาส และสิ่งหนึ่งที่เราพบได้ว่าพัฒนามาพร้อมๆกัน กับการพัฒนา ระบบสมาร์ทโฟน ก็คือ ลูกเล่นหรือแอพพลิเคชั่นต่างๆ ซึ่งจะมีทั้ง เพื่อการทำ�งาน การศึกษา การบันเทิงใจ ที่กำ�ลังเป็นกระแสนิยมและ กำ�ลังแพร่หลายในปัจจุบนั ซึง่ หากผูใ้ ดเป็นคนทีช่ า่ งสังเกตสักหน่อย จะ พบเห็นสัญลักษณ์รูปทรงสี่เหลี่ยมมีลวดลายแปลกๆ เป็นจุดสีดำ�สลับ กับขาวคล้ายกับแผนที่เขาวงกต ปรากฎบนฉลากสินค้า ป้ายโฆษณา นิตยสาร นามบัตรหรือสื่อโฆษณาต่างๆ และสามารถใช้โทรศัพท์มือ ถือทีม่ กี ล้องถ่ายภาพเพือ่ อ่านหรือสแกนข้อมูลออกมาได้ บางท่านอาจ นึกสงสัยว่าสัญลักษณ์นี้คืออะไร แล้วจะใช้ทำ�ประโยชน์อะไรได้บ้าง สัญลักษณ์ที่ได้กล่าวถึงในข้างต้น มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า รหัสคิวอาร์ หรือ QR Code ซึง่ รายละเอียดทีไ่ ปทีม่ า และการประยุกต์ ใช้งาน จะได้นำ�เสนอต่อไป
6
รหัสคิวอาร์ หรือ QR Code เป็นบาร์โค้ดอีกชนิดหนึ่ง ที่ ถูกคิดค้นและออกแบบขึ้นเป็นพิเศษเมื่อปี 1994 โดยบริษัทชื่อ Denso-Wave ซี่งเป็นบริษัทลูกของ Toyota ประเทศญี่ปุ่น เพื่อ ใช้ในการตรวจสอบชิน้ ส่วนอะไหล่รถยนต์ทมี่ หี ลากหลายชนิดและ มีจำ�นวนมาก ให้มีความถูกต้องและรวดเร็วสูง ในบางทีก็มีผู้เรียก สัญลักษณ์แบบนี้ว่า 2D bar code หรือ บาร์โค้ด 2 มิติ ทั้งนี้คำ� ว่า “QR” ย่อมาจากคำ�ว่า Quick Response ซึ่งจะหมายถึงการ ตอบสนองที่รวดเร็วและใช้งานสะดวก เพียงแต่ผู้ใช้งานมีโทรศัพท์ มือถือทีม่ กี ล้องถ่ายภาพ และติดตัง้ ซอฟต์แวร์ส�ำ หรับอ่าน หรือ QR Code Scanner ไว้ก็สามารถใช้งานได้ โดยยกกล้องขึ้นมาและจ่อ ไปที่ QR code ก็จะได้ข้อมูลที่ซ่อนไว้ในรหัสปรากฎขึ้นทันที ไม่ ต้องคอยจดหรือจำ�ให้เสียเวลาอีกต่อไป QR Code มีความพิเศษที่โดดเด่นมากในด้านการเก็บข้อมูล เนื่องจากสามารถเก็บข้อมูลในรูปของรหัสได้หลายรูปแบบ เช่น ข้อมูล URLของเว็บไซต์ ข้อความ เบอร์โทรศัพท์ พิกดั ตำ�แหน่งทีต่ งั้ และข้อมูลที่เป็นตัวอักษรอย่างเดียวได้ถึง 4,296 ตัวอักษร ทำ�ให้ QR Code ถูกนำ�มาใช้เพื่อเก็บรายละเอียดของวัตถุหรือสิ่งของ นัน้ ๆ เพือ่ แจ้งให้กบั ผูท้ ตี่ อ้ งการทราบข้อมูล โดยใช้พนื้ ทีใ่ นการพิมพ์ หรือแสดงผลที่น้อยกว่ากันหลายเท่า นอกจากนี้แล้ว ระบบ QR Code ยังมีความสามารถในการ ส่งต่อข้อมูลได้ โดยที่จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรหัสที่เก็บซ่อนไว้ เนื่องจากในตัวของ QR Code เองจะมีการออกแบบระบบตรวจ สอบความถูกต้องอยู่ด้วย ทำ�ให้สามารถอ่านบาร์โค้ดประเภทนี้ได้ ถึงแม้ภาพเอียงหรือเบี้ยว หรือป้ายฉีกขาดไม่ครบส่วน
สินค้าด้านเกษตรและอาหาร กับ QR Code การเปิดเสรีทางการค้า ทำ�ให้แนวโน้มของการส่งออกสินค้า เกษตรและอาหารของไทย มีเพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี จนทำ�ให้ ประเทศคูค่ ้าทีส่ �ำ คัญของไทยได้หยิบยกเอามาตรการด้านอืน่ ๆ ที่ ไม่ใช่มาตรการทางภาษี เพื่อเป็นเงื่อนไขทางการค้ามากขึ้น อาทิ มาตรการด้านสุขอนามัย และมาตรฐานด้านการปฏิบตั กิ ารเกษตร ที่ดี (Good Agricultural Practice : GAP) ซึ่งส่งผลให้หน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น สำ�นักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่ง ชาติ (มกอช.) ต้องเร่งขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ทจี่ ะสร้างแรงจูงใจให้ เกษตรกร ผลิตสินค้าเกษตรและอาหารทีไ่ ด้คณ ุ ภาพตามมาตรฐาน ที่ตลาดต้องการ QR Code จึงถูกเสนอให้ใช้เป็นรหัสมาตรฐาน สำ�หรับ ติดบนฉลากหรือกล่องบรรจุสินค้า ร่วมกับการจัดทำ�ฐานข้อมูล ทะเบียนเกษตรกรและแหล่งที่ตั้งของแปลง เพื่อติดตามตรวจ สอบย้อนกลับถึงการดำ�เนินงานของเกษตรกรที่สมัครใจเข้าร่วม โครงการ ทำ�ให้ทราบถึงแหล่งที่มาหรือแหล่งผลิตสินค้า ขั้นตอน ผลิตและการใช้สารเคมี ซึ่งนับเป็นเครื่องมือสำ�คัญที่จะช่วยเพิ่ม ความเชื่อมั่นให้กับประเทศผู้นำ�เข้าและผู้บริโภคทั่วไป โดยได้มี การทดลองใช้งานแล้วกับสินค้าเกษตรเพือ่ การส่งออก และสินค้าระดับพรีเมียมในซุปเปอร์มาร์เก็ต ชั้นนำ� ได้แก่ มะม่วง ส้มหวาน เชียงใหม่ ลิ้นจี่ ผลิตภัณฑ์ จากสุกรและไก่
บทส่งท้าย รหัสคิวอาร์ หรือ QR Code จึงถือเป็นนวัตกรรมใหม่รปู แบบ หนึ่ง ที่กำ�ลังจะเข้ามามีบทบาทในสินค้าเกษตรและอาหารของ ไทย ซึ่งนอกจากจะช่วยสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพและความ ปลอดภัยของสินค้าเกษตร แล้วยังจะช่วยเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร ของไทยให้แข่งขันกับต่างชาติได้ โดยเฉพาะการเข้าร่วม AEC ใน ปี พ.ศ. 2558 ทั้งยังทำ�ให้เกิดความเชื่อมโยงที่ใกล้ชิด ระหว่าง เกษตรกร ผู้ประกอบการแปรรูปสินค้าและบรรจุภัณฑ์ และผู้ บริโภคอีกด้วย ในอนาคตอันใกล้นี้ ผู้บริโภคอย่างเราๆ ท่านๆ คงคาดหวัง ว่าทีจ่ ะได้เห็น QR Code ไปปรากฎอยูบ่ นสลากสินค้าเกษตรและ อาหารของไทย ถึงแม้จะไม่ได้คาดหวังถึงมาตรฐานที่สูงลิบลิ่วเมื่อ เทียบกับสินค้าที่นำ�เข้ามาจากต่างประเทศก็ตาม แต่อย่างน้อยก็ ทำ�ให้สบายใจทีจ่ ะซือ้ หาและบริโภคสินค้า ทีเ่ ราสามารถตรวจสอบ ขัน้ ตอนการผลิตทุกระยะได้ดว้ ยตัวเอง โดยไม่ตอ้ งห่วงว่าอาจจะมี ของแถมเป็นสารเคมีตกค้างเหมือนในปัจจุบัน
7
GISTDA ร่วมจัดนิทรรศการในการประชุมสัมมนา เพื่อขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่
GISTDA ได้รว่ มจัดนิทรรศการ ในการประชุมสัมมนาเพือ่ ขับเคลือ่ น นโยบายไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่และการประชุมมอบนโยบายและ แนวทางการปฏิบัติราชการกับผู้ว่าราชการจังหวัด โดยฯพณฯ นายก รัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทาราดวงตะวัน จ.เชียงใหม่ โดยนิทรรศการที่ GISTDA นำ�ไปจัดแสดงมีเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้ ดาวเทียมดวงต่างๆ และระบบภูมสิ ารสนเทศเพือ่ แก้ไขปัญหาและติดตาม สถานการณ์ด้านต่างๆ เช่น ด้านไฟป่าและภัยแล้ง, GIS จังหวัด, การเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเกษตร และมีระบบศูนย์ประมวลผล และบริการภาพถ่ายจากดาวเทียมและภูมิสารสนเทศเคลื่อนที่ รวมถึง สาธิตการแสดงอากาศยานไร้คนขับ (UAV) ทีศ่ นู ย์ประชุมและแสดงสินค้า จังหวัดเชียงใหม่อีกด้วย 8
การประชุมวิชาการ นานาชาติ Asian Conference on Remote Sensing ครั้งที่ 33
การประชุมวิชาการนานาชาติ Asian Conference on Remote Sensing (ACRS) จัดขึน้ เป็นประจำ�ทุกปีโดยประเทศต่างๆ หมุนเวียนกัน เป็นเจ้าภาพ ซึง่ ในครัง้ ที่ 33 นีจ้ ดั ขึน้ ทีป่ ระเทศไทย โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้นกั วิจยั นักวิชาการและผูเ้ กีย่ วข้องได้น�ำ เสนอและเผยแพร่ผลงานทาง วิชาการและผลงานวิจัยรวมถึงการเรียนรู้แลกเปลี่ยนด้านการประยุกต์ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศในหลายสาขาและการสร้างเครือ ข่ายในการทำ�งานทัง้ ในระดับชาติและนานาชาติ ตลอดจนส่งเสริมให้น�ำ เทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานต่างๆ มาก ยิง่ ขึน้ อีกทัง้ ยังเป็นการพัฒนาและเพิม่ ศักยภาพบุคลากรในสาขานีอ้ กี ด้วย GISTDA ร่วมกับ Asian Association on Remote Sensing (AARS) มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต ศรีราชา และเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี เป็นเจ้าภาพจัดงานครั้งที่ 33 ประจำ�ปี 2555 หรือ The 33rd ACRS 2012 ระหว่างวันที่ 26 – 30
ธันวาคม 2555 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน พัทยา จังหวัด ชลบุรีการจัดประชุมในครั้งนี้ ได้รับเกียรติจาก รศ.ดร.สมเจตน์ ทิณพงษ์ ประธานกรรมการบริหาร สทอภ. เป็นประธานเปิดการประชุม ทัง้ นีม้ ผี ทู้ ี่ ร่วมงานจำ�นวน 1,104 คน จาก 50 ประเทศทั่วโลก ประกอบด้วยหน่วย งานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา สาระของการประชุมวิชาการนานาชาติครั้งนี้ ประกอบด้วย,การ บรรยายพิเศษจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้งในและต่างประเทศ การนำ�เสนอ บทความวิ ช าการด้ า นเทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศ ด้ า น กระบวนการและการประมวลผลภาพ, แผนที่, การเกษตร, ป่าไม้, ข้าว, ทรัพยากรธรรมชาติ, สิ่งแวดล้อม และภัยพิบัติ รวมถึงมีหน่วยงานของ ไทยและต่างประเทศ จำ�นวน 32 หน่วยงาน จัดแสดงนิทรรศการเกี่ยว กับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ตลอดจน การประยุกต์ใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศ 9
พิธีเปิดสถานีเรดาร์ชายฝั่ง “โครงการพัฒนาระบบ เรดาร์ชายฝั่งเพื่อการเตือนภัยทางบกและทางทะเล”
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย GISTDA ได้จดั พิธเี ปิดสถานีตรวจวัดเรดาร์ “โครงการเรดาร์ชายฝัง่ เพื่อการเตือนภัยทางบกและทางทะเล” ในวันพฤหัสบดี ที่ 13 ธันวาคม 2555 โดยมี ดร. ปลอดประสพ สุรัสวดี รองนายกรัฐมนตรีและนายวรวัจน์ เอือ้ อภิญญกุล รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นประธาน ในพิธีเปิด และ ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อ�ำนวย การ สทอภ. เป็นผูก้ ล่าวรายงานความเป็นมาของโครงการ “โครงการพัฒนาระบบเรดาร์ชายฝัง่ เพือ่ การเตือน ภัยทางบกและทางทะเล” มีการด�ำเนินงานติดตั้งระบบ เรดาร์ชายฝั่ง ส�ำหรับตรวจวัดกระแสน�้ำและคลื่น ใน ลักษณะ Near - Real Time เพื่อให้การบริหารจัดการ น�้ำในภาพรวมของประเทศเป็นไปอย่างมีระบบ เพื่อสร้าง ความมั่นใจในการจัดการภัยพิบัติและจัดการพื้นที่ชายฝั่ง คลอบคลุมพื้นที่มากกว่า 1 หมื่นตารางกิโลเมตร รวมทั้ง สิ้น 18 จุด ประกอบด้วย สถานี HF – RADAR 13 สถานี และ X BAND 5 สถานีในพื้นที่ชายฝั่งอ่าวไทย ซึ่งคาดว่า ในอนาคต 2 - 3 ปีนี้ ข้อมูลที่ได้รับจากสถานีระบบเรดาร์ ชายฝั่งทั้งหมดนี้ จะสามารถบริหารจัดการน�้ำในภาพ รวมของประเทศดียิ่งขึ้น รวมทั้งยังสามารถน�ำข้อมูลมา วิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ที่เกิดผลกระทบทางชายฝั่งทะเล ทัง้ ภัยทางธรรมชาติ และการกระท�ำทีเ่ กิดจากมนุษย์ โดย เป็นการให้บริการผ่านระบบ และเป็นข้อมูลสาธารณะ เพือ่ ให้ทนั ต่อการรับมือและวางแผนปฏิบตั กิ ารทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อไป โดยผู้ใช้สามารถเข้าดูข้อมูลได้ทางเว็บไซต์ http://coastalradar.gistda.or.th 10
วันเด็กแห่งชาติ 2556
GISTDA ร่วมจัดงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำ�ปี 2556 ในปีนี้ตรงกับวันเสาร์ที่ 12 มกราคม 2556 GISTDA จัดกิจกรรมใน 5 พื้นที่ด้วยกัน ดังนี้
1. ท�ำเนียบรัฐบาล GISTDA ได้น�ำรถปฏิบัติการที่แสดงระบบ ประมวลผลและบริการภาพถ่ายจากดาวเทียมและภูมิสารสนเทศ เคลื่อนที่ไปจัดแสดงให้น้องๆ ได้เห็นถึงระบบที่ใช้ในการติดตาม และเฝ้าระวังภัยพิบัติ
3. บริเวณองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ GISTDA ได้น�ำยานยนต์ แห่งการเรียนรูถ้ า่ ยทอดเทคโนโลยีอวกาศเพือ่ ถ่ายทอด ความรูด้ า้ น เทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศให้กบั น้องๆ และแผนทีภ่ าพจากดาวเทียม บริเวณพื้นที่ จ. แพร่ รวมถึงเกมส์ต่างๆ ให้น้องๆ ได้ร่วมสนุก
2. ถนนสายวิทยาศาสตร์ ทีก่ ระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย งานถนนสายวิทยาศาสตร์นไี้ ด้รบั เกียรติจาก นายวรวัจน์ เอือ้ อภิญญกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เป็นประธานในพิธเี ปิด โดย GISTDA ได้จดั เตรียมกิจกรรมเพือ่ ส่ง เสริมให้นอ้ งๆได้รบั ความรูแ้ ละแสดง ความสามารถในด้านต่างๆ รวมทัง้ ร่วมสนุกกับเกมส์ตา่ งๆ อย่างเต็มที่ อาทิ เกมส์โยนห่วงทีส่ อดแทรกความ รูเ้ กีย่ วกับคุณลักษณะของดาวเทียม แต่ละดวง รวมถึงการโชว์อากาศยานไร้ คนขับ (UAV) ให้นอ้ งๆ ได้รบั ชม
4. สถานีรับสัญญาณดาวเทียมภาคพื้นดิน ลาดกระบัง ประกอบด้วยกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้น้องๆได้ร่วมสนุก มากมายทั้งกิจกรรมภายใน อาคารและกิจกรรมกลางแจ้ง อาทิ การฉายภาพยนตร์การ์ตูน วาดภาพระบายสี เกมส์ X- BOX การแข่งขันยิงจรวดขวดนำ�้ บ้านลม เป็นต้น อีกทัง้ ยังมีกิจกรรม สันทนาการ และภายในงานมีของขวัญ ของ รางวัล อาหารและขนมแจกเด็กที่มาร่วมงานมากมาย
5. สถานีควบคุมดาวเทียมไทยโชต อ. ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ซึง่ ในปีนถี้ อื เป็นปีแรก ทีจ่ ดั งานวันเด็กขึน้ โดยภายในงานมีกจิ กรรมทีส่ อดแทรกความรูใ้ ห้นอ้ งๆ เช่น เกมส์ ประกอบชิ้นส่วนดาวเทียม ซึ่งท�ำให้น้องๆได้รู้ว่าดาวเทียมไทยโชต มีส่วนประกอบ อะไรบ้างที่ส�ำคัญ การแข่งขันยิงจรวดน�้ำ การฉายภาพยนตร์การ์ตูน “คู่ซ่า ท้า ส�ำรวจ” ที่สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับภูมิสารสนเทศ รวมถึงกิจกรรมสันทนาการ บนเวทีให้น้องๆแสดงความกล้าแสดงออก และภายในงานมีของขวัญ ของรางวัล อาหารและขนมแจกเด็กที่มาร่วมงานอีกด้วย
11
จะเกิดอะไรขึ้น
หากไม่มีดวงจันทร์ เราทราบกันดีว่าดวงจันทร์มีอิทธิพลต่อโลกในเรื่องของแรงโน้ม ถ่วง ท�ำให้เกิดปรากฏการณ์น�้ำขึ้นน�้ำลง ซึ่งปรากฏการณ์นี้ส่งผลถึง ระบบนิเวศที่เปิดโอกาสให้สัตว์น�้ำวิวัฒนาการมาเป็นสัตว์บกได้ สัตว์ที่ โดนกระแสน�้ำพัดขึ้นมาบนชายฝั่งที่แห้งบ้างเปียกบ้างเริ่มปรับตัวใช้ ชีวิตบนบก เช่น แมลงและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำ เป็นต้น สิ่งส�ำคัญที่สุดของดวงจันทร์ คือ ช่วยสร้างความเสถียรให้
สมศักดิ์ ปูอบ
เวลาเปิด – ปิด : เปิดอังคาร – อาทิตย์ เวลา 17.30 – 23.00 น. หยุดทุกวันจันทร์
1 ถนนเจริญรัถ ทีต่ งั้ : บรเิ วณวงเวียนใหญ่ ซอยเจริญรัถ ฯ 10600 แขวงคลองต้นไทร เขตคลองสาน กรุงเทพ เบอร์โทร : 081-823-9706 ั้งสองข้างทาง ที่จอดรถ : จอดรถริมถนนหน้าร้านได้ทให้เข้าซอยสารภี การเดินทาง : จาก BTS วงเวียนใหญ่ ห็นร้านอยู่ทาง 3 เดินตรงลึกไปเรื่อยๆ จนถึง 4 แยก จะเ ขวามือ
แกนโคจรของโลกเอียง 23.5 องศาจากระนาบแกนโคจร ท�ำให้โลก มีฤดูกาลเปลี่ยนผันอย่างสม�่ำเสมอ หากดวงจันทร์หายไป โลกจะเอียง กลับไปกลับมาได้มากถึง 45 องศา ท�ำให้อากาศในแต่ละฤดูกาลแตก ต่างกันอย่างสุดขั้ว เช่น เขตป่าศูนย์สูตรอาจจะมีหิมะปกคลุมในฤดู หนาว เป็นต้น ในสภาวะเช่นนี้ สิ่งมีชีวิตคงมีการด�ำเนินชีวิตที่ยาก ล�ำบากอย่างที่สุด
ร้านนี้ สมศักดิ์ กุ้ง+ปู อบวุ้นเส้น รอคิวนาน แต่อร่อย สามารถจองอาหารไว้ก่อนได้ ถ้าจอง แล้วรับรองว่าได้กินแน่นอน แต่ไม่รับจองโต๊ะ อาจจะต้องรอคิวโต๊ะนาน พิกัดร้านอยู่แถว คลองสาน ที่ปากซอยเจริญรัถ 1 ร้านนี้ขึ้นชื่อเรื่องรอนานมากๆๆ แต่ก็ยังมารอชิมกัน อย่าง แรกไปดูบรรยากาศร้านกันก่อน ก็เป็นร้านรถเข็นข้างทางทัว่ ๆ ไปทีเ่ ปิดขายตอนเย็น แต่ปริมาณ โต๊ะที่กางที่ทางเท้าก็มีมากพอสมควร วิธีกินที่ได้รสชาติขอแนะน�ำให้แยกกุ้ง และ ปู มีเมนูแค่ 4 อย่างเท่านั้น ออกมาข้างๆก่อน แล้วคลุกวุ้นเส้นร้อนๆ กับ เครือ่ งปรุงในหม้อให้ทวั่ แล้วทานวุน้ เส้นก่อน หรือ ทานวุน้ เส้นสลับกับปูกงุ้ เพราะถ้าปล่อยให้อดื เย็น แล้ววุ้นเส้นจะตึงๆ และจะรู้สึกว่าก้นหม้อเครื่อง เค้าจะเค็มๆ เรื่ อ งรสชาติ ก็ วุ ้ น เส้ น เหนี ย วนุ ่ ม ร้ อ นๆ รสชาติกลมกล่อมอร่อยจริงๆ ปูและกุ้งเค้าก็สดดี ปูอบวุ้นเส้น ของเค้าดีจริงอย่างนี้นี่เองถึงรอนานแต่คนก็เต็ม ร้านทุกวัน แต่ขอเตือนส�ำหรับผูไ้ ม่ตอ้ งการรอนาน กุ้งอบวุ้นเส้น ให้มาก่อน 1 ทุ่ม เพราะหลังจาก 1 ทุ่มจะรอนาน มาก ต้องลองไปทาน ถ้าตัดเรื่องรอนานออกไป ราคาและความอร่อยคุ้มค่าแน่นอน
หอยแครงลวก
12
หอยแมลงภู่ลวก
ดาวเทียม
ส่งภาพกลับมายังโลกได้อย่างไร???
หลังจากที่ดาวเทียมถูกส่งขึ้นสู่อวกาศแล้ว การสื่อสารติดต่อกับ ดาวเที ย มจะถู ก จ� ำ กั ด เพี ย งการใช้ สั ญ ญาณคลื่ น วิ ท ยุ เ พี ย งอย่ า งเดี ย ว เนื่องจากดาวเทียมโคจรอยู่บนอวกาศเหนือพื้นโลกหลายร้อยกิโลเมตร ระบบสื่อสารดาวเทียมของดาวเทียมแต่ละดวงจะมีความซับซ้อนแตกต่าง กัน โดยขึ้นอยู่กับจุดประสงค์การใช้งานของดาวเทียมดวงนั้นๆ องค์ประกอบของระบบสื่อสารดาวเทียมโดยทั่วไป ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก ได้แก่ สถานีฐาน และ ดาวเทียม การติดต่อสื่อสารระหว่าง ดาวเทียมกับสถานีตา่ งๆ อาจจะเป็นไปได้ทงั้ การสือ่ สารแบบทางเดียว (รับ สัญญาณเพียงอย่างเดียว) และการสื่อสารแบบสองทาง (ทั้งรับและส่ง สัญญาณ) โดยสือ่ กลางทีเ่ ป็นคลืน่ ความถีว่ ทิ ยุ แต่การติดต่อสือ่ สารระหว่าง สถานีฐานกับเครือข่ายของผู้ใช้งาน อาจเป็นได้ทั้งผ่านคลื่นวิทยุและสาย เคเบิล ข้อมูลหรือข่าวสารที่ต้องการสื่อสารผ่านดาวเทียมมีทั้งข้อมูลที่เป็น แอนาลอก เช่น ภาพและเสียงของสัญญาณโทรทัศน์วิทยุ และข้อมูลที่เป็น ดิจิทัล เช่น ไฟล์ข้อมูลดิจิทัล ภาพถ่ายจากดาวเทียม เป็นต้น ข้อมูลที่ ต้องการสือ่ สารเหล่านัน้ อาจจะถูกส่งจากสถานีภาคพืน้ ดินไปยังดาวเทียม โดย ผ่านทางช่องความถีว่ ทิ ยุขาขึน้ (Uplink) ดาวเทียมจะท�ำหน้าทีค่ ล้ายๆ กับ ตัวสะท้อนสัญญาณกลับมายังอีกจุดหนึ่งบนพื้นโลก แต่จะเปลี่ยนช่อง ความถีว่ ทิ ยุไปเป็นความถีว่ ทิ ยุขาลง (Downlink) โครงสร้างของระบบสื่อสารดาวเทียม โดยทั่วไปมักจะประกอบด้วย สายอากาศส�ำหรับรับส่งสัญญาณ ตัวแยกสัญญาณรับส่ง ชุดขยายก�ำลัง ชุ ด ขยายสั ญ ญาณแบบสั ญ ญาณรบกวนต�่ ำ ชุ ด แปลงความถี่ สายส่ ง สัญญาณ ท่อน�ำสัญญาณ เครื่องรับส่งสัญญาณวิทยุ โมเด็ม ชุดเข้ารหัส สัญญาณ ชุดควบคุมทิศทางของจานสายอากาศ มัลติเพล็กเซอร์ 1. สายอากาศ (antenna) เป็นอุปกรณ์ที่เห็นเด่นชัดที่สุดของสถานีฐาน และมีความส�ำคัญมาก เพราะเป็นตัวก�ำหนดความสามารถในการรับส่งสัญญาณของระบบรับส่ง สัญญาณ โดยทัว่ ไปแล้วสายอากาศทีม่ ขี นาดใหญ่จะมีก�ำลังการขยายดี เพราะ มีพื้นที่ในการรับส่งสัญญาณกว้าง สายอากาศมีหลายชนิด มีหน้าที่โฟกัส สัญญาณให้มีทิศทางเพื่อที่จะเพิ่มความเข้มของสัญญาณในทิศทางที่ต้องการ สือ่ สาร ความเข้มของสัญญาณทีเ่ พิม่ ขึน้ ก็คอื สัญญาณมีความแรงขึน้ นัน่ เอง และเมือ่ เราเปรียบเทียบความเข้มของสัญญาณทีไ่ ด้จากสายอากาศทีใ่ ช้กบั สาย อากาศแบบรอบทิศทาง( isotropic antenna) เราก็จะได้อัตราขยายก�ำลัง
ของสายอากาศที่ใช้ ดังนั้นสายอากาศจึงมีส่วนช่วยในการเพิ่มก�ำลังของ สัญญาณในการรับส่งสัญญาณในทิศทางที่ต้องการ 2. ชุดขยายสัญญาณแบบสัญญาณรบกวนต�ำ่ (Low Noise Amplifier - LNA) LNA มักจะต่อไว้ใกล้กับตัวสายอากาศ เป็นอุปกรณ์ที่ก�ำหนดคุณสมบัติ ความสามารถในการรับสัญญาณ ชุดขยายสัญญาณนี้มีหน้าที่ขยายสัญญาณ วิทยุหรือไมโครเวฟที่รับมาได้จากสายอากาศให้มีความแรงเพิ่มขึ้น โดยให้ ก�ำเนิดสัญญาณรบกวนออกมาต�่ำมาก สัญญาณที่เดินทางมาจากระยะไกล หลายร้อยกิโลเมตรจะมีขนาดลดลงอย่างมาก และอาจจะมีค่าใกล้เคียงกับ สัญญาณรบกวนทีม่ อี ยูห่ รือทีว่ งจรขยายสร้างขึน้ ดังนัน้ การขยายสัญญาณโดย ไม่สร้างสัญญาณรบกวนเพิ่มขึ้นมาจึงมีความส�ำคัญมากๆ และในกรณีที่ ต้องการให้สัญญาณรบกวนต�่ำมาก อาจจ�ำเป็นต้องควบคุมอุณหภูมิของวงจร ขยายและเครือ่ งรับ ให้มคี า่ ตำ�่ ๆ โดยใช้เครือ่ งปรับอากาศ หรือการหล่อเย็นชุด ขยายสัญญาณนีอ้ าจจะรวมชุดแปลงความถีข่ องสัญญาณเอาไว้ในตัวด้วยซึง่ จะ เรียกว่า LNB (Low noise block) ท�ำหน้าที่ขยายสัญญาณและแปลงความถี่ ให้ต�่ำลง ท�ำให้สามารถใช้ระบบสายส่งสัญญาณที่มีราคาถูกลง และมีการสูญ เสียของสัญญาณในสายส่งน้อยลงเพื่อน�ำสัญญาณจากสายอากาศมายังชุด เครื่องรับสัญญาณที่อยู่ในห้องภายในอาคาร 3. ท่อน�ำคลื่น (Wave Guide) เป็นอุปกรณ์ที่น�ำสัญญาณไมโครเวฟจากจานสายอากาศมายังอาคารที่ เครื่องรับส่งวิทยุติดตั้งอยู่ ท่อน�ำคลื่นโดยทั่วไปสร้างจากแผ่นโลหะและมีรูป ทรงเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า และมีขนาดที่เหมาะสมกับค่าความถี่ของสัญญาณที่ ต้องการล�ำเลียง ซึ่งควรจะมีการสูญเสียในท่อน�ำคลื่นไม่มาก 4. เครื่องรับวิทยุ จะท�ำหน้ า ที่ แ ยกข้ อ มู ล ข่ า วสารหรื อ สั ญ ญาณที่ ส ่ ง มากั บ สั ญ ญาณ ดาวเทียม ในกรณีทเี่ ป็นข้อมูลดิจทิ ลั ก็จะมีโมเด็มท�ำการแปลงสัญญาณให้เป็น ข้อมูลดิจิทัล 5. เครื่องส่งวิทยุ ท�ำหน้าทีต่ รงข้ามกับเครือ่ งรับวิทยุ ในกรณีทเี่ ป็นข้อมูลดิจทิ ลั โมเด็มจะ ท�ำการเข้ารหัสสัญญาณและปรับแต่งสัญญาณก่อนทีเ่ ข้ามายังเครือ่ งส่ง ข้อมูล ข่าวสารที่จะส่งออกไปจะถูกผสมกับความถี่วิทยุหรือไมโครเวฟ ก่อนที่จะถูก ขยายด้วยวงจรขยายก�ำลังและผ่านไปยังสายอากาศต่อไป
ที่มา : สำ�นักกิจการอวกาศแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 13
คู่ซ่า...ท้าสำ�รวจ
14
คู่ซ่า...ท้าสำ�รวจ
15
4G
QR Code? สนุกง่ายๆ ทายสิคำ�ว่าอะไร? กติกา...ท่านผู้อ่าน สแกน QR Code แล้วตอบคำ�ถามว่าคำ�ที่อยู่ใน QR Code คือคำ�ว่าอะไร จากนั้นส่งคำ�ตอบมาที่ E-mail : pr@gistda.or.th สำ�หรับ 5 ท่านแรก ที่ทายถูก
รับไปเลย!
หมอนสุดฮิป จาก GISTDA ไปนอนกอดแบบชิลล์ๆ ก่อนใคร
หมดเขตภายในวันที่ 30 เม.ย. 2556
ประกาศรายชื่อผู้โชคดี จากฉบับที่ 10 ประจำ�เดือน พฤศจิกายน 2555 1 นายธนายุทธ ยุวรรณบูรณ์ 2.นางสนธยา บราวน์ 3.นายพรชัย อ่อนน้อม 4.นายชิงชัย หุมห้อง 5. นายสมทรรศน์ ทัตตะวร
กทม. กทม. ประจวบคีรีขันธ์ พิษณุโลก กทม.
คำ�เฉลยฉบับที่แล้ว เกาะกระเต็น สุราษฎร์ธานี