GISTDA Magazine ฉบับที่ 13

Page 1

นำ�คุณค่าจากอวกาศเพื่อพัฒนาประเทศชาติและสังคม

Delivering Value from Space ตุลาคม 2556 ปีที่ 3 ฉบับที่ 13 ISSN : 1906-8719

ดาวเทียม

ท�ำงานอย่างไร???

ท�ำไมเราไม่รู้สึกว่า โลกก�ำลังหมุนอยู่???

เปิดทัวร์ขอบอวกาศใหม่ ไม่ต้องขี่จรวด

www.gistda.or.th


CONTENTS

GISTDA มีเรื่องเล่า

3

ตะลุยน�ำเทคโนโลยีสู่ชุมชน โคจรรอบโลก

ว่าวที่นิยมใช้ในการถ่ายภาพทางอากาศ

4

6

เปิ ดทัวร์ขอบอวกาศใหม่ ไม่ต้องขี่จรวด

เรื่องเล่านอกกรอบ

GISTDA ON TOUR

8

GISTDA ร่วมกับ MDA ลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) ด้านการประยุ กต์ใช้ข้อมูลจากดาวเทียม

14 ถามมาตอบไป ดาวเทียม

ท�ำงานอย่างไร???

ท�ำไม เราไม่รู้สึกว่า โลกก�ำลังหมุ นอยู ่??? GPS

12

กับร้านเด่นโดนใจ

13

บทบรรณาธิการ เผลอแป๊ ป เดี ย วก็ เข้ า สู ่ เ ดื อ นสุ ด ท้ า ยของ ปี พ.ศ. 2556 แล้ว เดือนธันวาคมมีวันแห่งการ เฉลิ ม ฉลองส� ำ คั ญ หลายวั น ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ วั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช ห รื อ วั น พ่ อ แห่ ง ชาติ ซึ่ ง เป็ น ที่ รั ก ยิ่ ง ของเราและมี คุณเอนกอนันต์ต่อประชาชนชาวไทย หลังจาก นั้นก็เข้าสู่การฉลองคริสต์มาส และก้าวสู่ปีใหม่ ปี 2557 ใ น ป ี ที่ ผ ่ า น ม า G I S T D A ไ ด ้ มี ก า ร เปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลาทัง้ ในระดับนโยบายจาก คณะกรรมการบริหารชุดใหม่ การปรับโครงสร้าง องค์ ก รให้ ส อดรั บ กั บ ภารกิ จ ที่ เ ปลี่ ย นไปของ GISTDA การเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ ข้อมูลแก่สังคม ที่รวดเร็วและทันเหตุการณ์ส�ำหรับ การบริหารจัดการในทุกระดับ เพือ่ ตอกย�ำ้ วิสยั ทัศน์ ของ GISTDA “การน�ำคุณค่าจากอวกาศ เพือ่ พัฒนา ชาติและสังคม” ก้ า วต่ อ ไป GISTDA จะน� ำ เทคโนโลยี จากอวกาศและภู มิ ส ารสนเทศ ถ่ า ยทอดลงสู ่ สังคม ชุมชน มากยิ่งขึ้น เพื่อให้เห็นว่า “อวกาศ และ ภูมิสารสนเทศ เป็นเรื่องใกล้ตัว” สุ ด ท้ า ยขอเชิ ญ ชวนร่ ว มงาน “ประชุ ม วิ ช าการ เทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศ ประจ�ำปี 2556” หรือ Geo-Infotech 2013 ซึ่ง เกาะติ ด ความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี อ วกาศ และภูมิสารสนเทศของประเทศไทย ระหว่างวันที่ 25 - 27 ธันวาคม 2556 ณ อิมแพค คอนเวนชัน่ เซ็นเตอร์ เมืองทองธานี“ แล้วเจอกันนะคะ

ดร. พรสุข จงประสิทธิ์ บรรณาธิการ

GISTDA for Fun

15

คณะผู ้จัดท�ำ ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทอภ. มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Geo-Informatics and Space Techonogy Development Agency (Public Organization) หรือ GISTDA ในก�ำกับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2543 โดยมีภารกิจหลักในการให้บริการข้อมูลดาวเทียมและข้อมูลภูมิสารสนเทศทั้งภายในและ ต่างประเทศ การก�ำหนดมาตรฐานกลางส�ำหรับระบบภูมสิ ารสนเทศ ส่งเสริมการประยุกต์ใช้ขอ้ มูลดาวเทียมในหลายสาขา รวมถึงการถ่ายทอดเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ และพัฒนาบุคลากร คณะ ผู้จัดท�ำที่ปรึกษา ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ดร.สุรชัย รัตนเสริมพงศ์ บรรณาธิการ นายสามารถ ดวงวิจิตรกุล บรรณาธิการ นางนิรมล ศรีภูมินทร์ กองบรรณาธิการ นายปัญญา สงวนสุข, นายชัยยันต์ เมาลานนท์, น.ส.นวนิตย์ อภิชลติ, ดร.เชาวลิต ศิลปทอง, น.ส.สุภาพิศ ผลงาม, นางร�ำพึง สิมกิง่ , นายรุง่ อนันต์ ศิรนิ ยิ มชัย, นางสุนทรี ศรีสวุ รรณ, น.ส.พิมพ์นภัส เกิดผล จัดท�ำโดย ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยี อวกาศและภูมิสารสนเทศ ( องค์การมหาชน ) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 เลขที่ 120 หมู่ 3 อาคารรวมหน่วยราชการ (อาคารรัฐประศาสนภักดี) ชั้น 6 และ ชั้น 7 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2141-4470 โทรสาร 0-2143-9586-87 Website : www.gistda.or.th, E-mail: pr@gistda.or.th สร้างสรรค์โดย บริษัท มายด์ มีเดีย เซ็นเตอร์ จ�ำกัด


GISTDA มีเรื่องเล่า

ตะลุยน�ำเทคโนโลยีสู่ชุมชน หลั ง จากการด� ำ เนิ น งานในจั ง หวั ด น่ า น เห็นผลความส�ำเร็จในระดับชุมชนอยู่รอดได้ และ เริ่มมีความพอเพียงแล้ว มูลนิธิปิดทองหลังพระ จึ ง ขยายผลมาสู ่ พื้ น ที่ อ ่ า งเก็ บ น�้ ำ ห้ ว ยคล้ า ย อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ อ.หนองวั ว ซอ จ.อุ ด รธานี ตามข้ อ เสนอของมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา ที่ ใ ห้ พิ จ ารณาเลื อ กอ่ า งเก็ บ น�้ ำ อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด� ำ ริ ที่ ยั ง ใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ อ ย่ า งไม่ เ ต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพมาเป็ น พื้ น ที่ ต ้ น แบบการพั ฒ นา ในรูปแบบใหม่ คือ ท�ำเล็ก ประหยัด เกิดการขยาย ผลเร็วในวงกว้าง และได้ประโยชน์สูงสุด

16 10 9 6 5 4 8 7

บ้ า นโคกล่ า มและบ้ า นแสงอร่ า ม ต.กุ ด หมากไฟ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี คือพืน้ ทีซ่ ง่ึ มูลนิธปิ ดิ ทองหลังพระ เลือก เป็นต้นแบบในการพัฒนา ในรูปแบบใหม่ โดยด�ำเนินการร่วมกับ มูลนิธแิ ม่ฟา้ หลวงฯ ในการพัฒนาระบบน�ำ้ โครงการฟาร์มตัวอย่าง ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ในการพัฒนาการเกษตร ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ในเรื่อง การปศุสัตว์ และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ซึ่งนั่นก็รวมถึง ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การ มหาชน) หรือ GISTDA ที่ให้การสนับสนุนในเรื่องการใช้ประโยชน์

จากข้ อ มู ล ดาวเที ย มมาช่ ว ยในเรื่ อ งของการบริ ห ารจั ด การ แปลงที่ดิน และน�้ำเพื่อการเกษตรในพื้นที่อีกด้วย ท�ำให้เกษตรกร สามารถตกกล้าและปลูกข้าวได้เต็มพืน้ ที่ โดยไม่ตอ้ งรอน�ำ้ ฝน และ ผลผลิตข้าวในพื้นที่โครงการเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการบริหารจัดการ น�้ำที่ดีและมีประสิทธิภาพ ท�ำให้ข้าวเมล็ดไม่ลีบและมีรายได้ที่ เพิ่มขึ้น จนปัจจุบันมีการขยายผลหลายร้อยครัวเรือน มีน�้ำพอ กินพอใช้ มีรายได้จากการเกษตรและปศุสัตว์ตลอดปี ส่งผลมีชีวิต ความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ ครอบครัวอบอุน่ ชุมชนมีความเข้มแข็งมากขึน้ นอกจากนี้ยังมีกองทุนต่างๆ ที่มูลนิธิปิดทองหลังพระ ให้การสนับสนุนและส่งเสริม เพื่อให้ชาวบ้านอยู่ได้อย่างยั่งยืน มั่นคงในอนาคต เช่นกองทุนหมู กองทุนเป็ด กองทุนปุ๋ย กองทุน เมล็ดพันธุข์ า้ ว กองทุนเมล็ดพันธุผ์ กั กองทุนการตลาด และกองทุน แม่บ้านศึกษาดูงาน เป็นต้น จากการด� ำ เนิ น งานที่ ป ระสบความส� ำเร็จ ท�ำให้ เกิดการขยายผลการด�ำเนินงานในจังหวัดกาฬสินธุ์ ภายใต้ โครงการแก้มลิงหนองเลิงเปือย อ.ร่องค�ำ จ.กาฬสินธุ์ เพื่อ การบริ ห ารจั ด การและพั ฒ นาแหล่ ง น�้ ำ เพิ่ ม เติ ม บริ เ วณ หนองเลิงเปือย ซึ่งขณะนี้ GISTDA ได้ด�ำเนินการให้ความ รู ้ เ กี่ ย วกั บ เทคนิ ค และวิ ธี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล แปลงที่ ดิ น ให้ กั บ อาสาสมัครของมูลนิธิปิดทองหลังพระเพื่อน�ำไปจัดท�ำข้อมูล พื้ น ที่ ร ายแปลงให้ กั บ ชุ ม ชนเพื่ อ น� ำ ไปวางแผนการบริ ห าร จัดการน�้ำและการใช้ประโยชน์ในอนาคต DELIVERING VALUE FROM SPACE

3


โคจรรอบโลก

เปิ ดทัวร์ขอบอวกาศใหม่ไม่ต้องขี่จรวด

แต่พาลูกทัวร์น่ังบอลลูนสู่บรรยากาศชั้นบนของโลก

ให้เห็นบรรยากาศขอบโลกสีน้�ำเงินตัดสีอวกาศอันมืดมิด

บริการใหม่นี้ www.space.com ระบุว่าเป็นของ บริษัทเวิลด์วิวเอนเตอร์ไพรส์ (World View Enterprises) ที่จะพาคุณไปสัมผัสมุมมองจากบรรยากาศชั้นบนที่ความสูง 30 กิโลเมตรจากพื้นที่ แม้ยังไปไม่ถึงอวกาศที่ความสูง 100 กิโลเมตรตามนิยามทีย่ อมรับโดยทัว่ ไป แต่กจ็ ะได้เห็นขอบโลก ตัดสีอวกาศอันมืดมิด เพียงคุณมีเงินจ่าย 2.25 ล้านบาท เจน พอยน์เตอร์ (Jane Poynter) ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารของเวิล์ดวิวกล่าวว่า การได้เห็นโลกแขวนอยู่ผืนอวกาศ อันมืดมิด จะช่วยให้คนได้ตระหนักถึงความเชื่อมโยงระหว่าง ดาวเคราะห์ที่เป็นบ้านของเรากับเอกภพที่อยู่รอบ และเชื่อว่า จะให้ประสบการณ์ที่เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิงแก่ลูกค้าของบริษัทได้ โดยเป้าหมายคือการเปิดไปสู่อาณาจักรใหม่ที่บริหารความใคร่รู้ ของมนุษย์ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์และการศึกษา ผู้โดยสารบอลลูนยักษ์ของเวิล์ดวิวจะโดยสารอยู่ใน แคปซูลทีอ่ อกแบบโดยบริษทั พารากอนสเปซเดเวลอปเมนต์คอร์ป (Paragon Space Development Corp.) ซึ่งได้เริ่มทดสอบชิ้นส่วน แคปซูล และคาดว่าจะเริม่ สาธิตประสิทธิภาพของเทีย่ วบินทัง้ ระบบ ได้ในไม่ช้า ทั้งนี้ พารากอนสเปซเดเวลอปเมนต์ยังมีส่วนร่วมใน การพัฒนาเที่ยวบินเอกชนที่ต้องการไปดาวอังคาร 2 ภารกิจ คือปฏิบัติการอินสไปเรชันมาร์ส (Inspiration Mars) ที่ต้ังเป้า ส่งมนุษย์อวกาศ 2 คนไปโคจรรอบดาวอังคารในปี 2018 และปฏิบตั ิ การมาร์สวัน (Mars One) อันลือเลื่องที่ต้องการส่งมนุษย์ 4 คน ไปตั้งรกรากถาวรอยู่บนดาวอังคารในปี 2023 พอยน์เตอร์ยังเป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทพารากอนร่วมกับ เทเบอร์ แมคแคลลัม (Taber MacCallum) หัวหน้าฝ่ายเทคโนโลยี

ของเวิ ล ์ ด วิ ว ส่ ว นประธานนั ก วิ ท ยาศาสตร์ ข องเวิ ล ์ ด วิ ว คื อ อลัน สเติร์น (Alan Stern) อดีตหัวหน้าแผนกวิทยาศาสตร์ของ องค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐ (นาซา) ซึ่งเคยท�ำหน้าที่ หัวหน้าปฏิบัติการส่งยานนิวออไรซอนส์ (New Horizons) ไปยัง ดาวเคราะห์แคระพลูโต บอลลู น ของเวิ ล ์ ด วิ ว จะไต่ สู ่ ร ะดั บ สู ง สู ด ด้ ว ยเวลา ประมาณ 2 ชัว่ โมง ซึง่ ต่างจากบริษทั ทัวร์อวกาศรายอืน่ ๆ อย่างเช่น เวอร์จินกาแล็กติค (Virgin Galactic) และ เอ็กซ์คอร์แอโรสเปซ (XCOR Aerospace) ที่เสนอเที่ยวบินวงโคจรต�่ำเป็นเวลาสั้นๆ สู่ระดับความสูง 100 กิโลเมตร ด้วยเครื่องบินอวกาศที่น�ำส่ง โดยจรวด ซึง่ จะให้ผโู้ ดยสารได้สมั ผัสกับสภาพไร้นำ�้ หนักไปพร้อมๆ กับวิวที่ยอดเยี่ยมด้วย ส�ำหรับ Virgin Galactic ติคเก็บค่าตัว๋ ทีน่ งั่ ละ 7.5 ล้านบาท ซึง่ จะโดยสารไปบนสเปซชิปทู (SpaceShipTwo) ยานอวกาศ 6 ทีน่ งั่ ส่วนเอกซ์คอร์จะน�ำผู้โดยสารเดินทางไปบนยานลิงซ์ (Lynx) ด้วย ราคาตั๋ว 2.85 ล้านบาท แต่ยังไม่มียานอวกาศของรายใดที่พร้อม ท่องอวกาศได้อย่างเต็มรูปแบบในขณะนี้ แม้วา่ ทัง้ สองบริษทั ระบุวา่ จะน�ำผู้โดยสารขึ้นไปท่องอวกาศในปีหน้าหรือหลังจากนั้น

ที่มา : http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9560000134516

4

GISTDA AROUND THE WORLD


DELIVERING VALUE FROM SPACE

5


GISTDA การประยุ กต์ใช้เทคโนโลยี

ว่ในการถ่ าวที่นิยามใชยภาพทางอากาศ ้ ว่าว : การเลือกว่าวที่ดีสักตัว นับเป็นหัวใจส�ำคัญอันหนึ่ง ของการถ่ายภาพทางอากาศจากว่าว ครับ เพราะถึงแม้จะมีกล้อง และระบบกล้องทีด ่ ขี นาดไหนก็ตาม ถ้าไม่มวี า่ วทีด ่ ท ี จี่ ะยกกล้องและ ระบบกล้องขึ้นไปในที่สูงละก็ โครงการทั้งหมดก็เจ๊งอยู่ดีแหละ :-(

ลักษณะของว่าวที่ใช้ในการถ่ายภาพทางอากาศจากว่าว :

1 2 3

ว่าวสายเดี่ยว (Single Line Kites) : ว่าวสายเดี่ยวจะมีความเสถียรในการบิน มากกว่า ว่าวที่มีสายบังคับ 2,3,4 เส้น มีความเสถียรค่อนข้างมาก : ไม่ส่ายไปมา หรือ ขึ้นๆ ลงๆ ได้ง่าย มีแรงยกสูง : ข้อนี้ คงต้องค�ำนึงถึงน�ำ้ หนักของกล้องและระบบกล้องเป็นหลัก หากน�ำ้ หนัก ไม่มาก ก็สามารถใช้วา่ วตัวเล็กหน่อยได้ แต่หากน�ำ้ หนักมาก ก็ตอ้ งใช้วา่ วตัวทีใ่ หญ่ขนึ้ เพือ่ เพิ่มความสามารถในการยกน�้ำหนักขึ้นไปอีก บางท่านอาจคิดว่า ถ้าเช่นนั้น ก็หาซื้อว่าว ที่ มี ข นาดใหญ่ ไ ว้ ก ่ อ นเลย เพื่ อ ให้ ย กกล้ อ งได้ หลายๆ แบบ แต่ว่าวขนาดใหญ่ก็มีปัญหาเช่นกัน คื อ ขึ้ น และควบคุ ม ได้ ย าก บางครั้ ง ถ้ า มี ล มแรง หรื อ ลมกระโชก จะท� ำ ให้ ขึ้ น ว่ า วและควบคุ ม ว่ า ว (คนเดียว) ได้ยากครับ ว่าวโดเพโร (Dopero)

6

GISTDA AROUND THE WORLD


ว่าวที่นิยมใช้ในการถ่ายภาพทางอากาศจากว่าว ว่าวเดลต้า (Delta) ว่าวเดลต้าแกน 3 เหลี่ยม (Delta-Conynes)

ว่าวโฟลฟอร์ม (Flowform)

ว่าวโดเพโร (Dopero)

ว่าวเลื่อนแบบดับเบิ้ลพารา (Double Parasled)

ว่าวรกกากุ (Rokkaku)

ตัวอย่างถ่ายภาพทางอากาศจากว่าว :

บริเวณสนามหน้าเมือง, เมืองนครศรีธรรมราช มิถุนายน 2551

บริเวณอ่าวมะนาว จ.ประจวบคีรีขันธ์ พฤษภาคม 2550 ที่มา : ดร.พิธาน สิงเสน่ห์ http://sci4fun.com/kap/kap.html

บริเวณพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ชะอ�ำ กุมภาพันธ์ 2551 DELIVERING VALUE FROM SPACE

7


GISTDA ON TOUR

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย GISTDA ร่วมกับ MDA

ลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) ด้านการประยุ กต์ใช้ขอ้ มูลจากดาวเทียม GISTDA (ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศ องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จับมือส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติแห่งชาติ (NRCan) และบริ ษั ท MacDonald, Dettwiler and Association Corporation (MDA) ร่วมลงนามความร่วมมือ ด้านการประยุกต์ใช้ขอ้ มูลจากดาวเทียม พร้อมลงนามเปิด ส�ำนักงานผูแ้ ทน MDA ณ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ (SKP) หวังต่อยอดงานวิจัยด้านเทคโนโลยีอวกาศร่วมกัน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย GISTDA ร่วมกับ MDA ลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) ด้านการประยุกต์ ใช้ข้อมูลจากดาวเทียม พร้อมกับลงนามเปิดส�ำนักงานผู้แทน MDA ณ อุ ท ยานรั ง สรรค์ น วั ต กรรมด้ า นอวกาศ (Space Krenovation Park: SKP) ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณสถานีควบคุม และรับสัญญาณดาวเทียมไทยโชต อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เมือ่ วันจันทร์ที่ 7 ตุลาคม 2556 ณ โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการ และคอนเวนชั่ น เซ็ น เตอร์ โดยหลั ง พิ ธี ล งนามจะมี ก ารฝึ ก อบรมเชิงปฏิบตั กิ ารระดับผูบ้ ริหารเรือ่ ง Value from Space : A Preliminary Analysis of Critical Thai End User Application เพื่อให้ผู้บริหารในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงแนวทาง การประยุ ก ต์ ใช้ ข ้ อ มู ล ดาวเที ย มที่ เ ป็ น ปั จ จุ บั น รวมทั้ ง ความก้าวหน้าเชิงวิชาการในด้านนี้ และเป็นเวทีในการแลก เปลีย่ นความรู้ ประสบการณ์ ระหว่างผูแ้ ทนของหน่วยงานต่าง ๆ กับวิทยากรอีกด้วย GISTDA และ NRCan เคยมีการลงนามความร่วมมือ ด้ า นการประยุ ก ต์ ใช้ ข ้ อ มู ล จากดาวเที ย ม การท� ำ แผนที่ มาตรฐานข้อมูล รังวัด ระบบปฏิบัติการภาคพื้นดิน และระบบ คลังข้อมูล เมื่อปี 2546 ซึ่งการลงนามความร่วมมือดังกล่าว

8

GISTDA AROUND THE WORLD

มีระยะเวลา 5 ปี และได้สิ้นสุดลงตั้งแต่ปี 2551 ทั้งสองฝ่าย จึงเห็นชอบร่วมกันในการจัดท�ำบันทึกความเข้าใจฉบับใหม่ขึ้น เพื่อให้มีผลเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น จึงได้ก�ำหนดการลงนาม ในบันทึกความเข้าใจครั้งใหม่นี้ขึ้น โดยมี ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ เป็นผู้แทนของ GISTDA และ H.E. Mr. Mr. Philip Calvert เอกอัครราชทูตแคนาดาประจ�ำประเทศไทย เป็นผู้แทนของ NRCan ส�ำหรับการลงนามกับบริษทั MDA นัน้ เป็นการลงนาม ในการจั ด ตั้ ง ส� ำ นั ก งานผู ้ แ ทน MDA ณ อุ ท ยานรั ง สรรค์ นวัตกรรมอวกาศ โดยมีวตั ถุประสงค์หลักเพือ่ เป็นพันธมิตรหลัก ของ GISTDA ในการสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาต่อยอด งานวิจัยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ด้านเทคโนโลยี อวกาศและภู มิ ส ารสนเทศในเชิ ง พาณิ ช ย์ ให้ ข ยายไปยั ง ภาคธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องทั้งในระดับผู้ประกอบการขนาดเล็ก ขนาดกลาง และระดับอุตสาหกรรม รวมทัง้ อยูใ่ นกลุม่ ผูน้ ำ� ของ การพัฒนาธุรกิจบนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งขณะนี้ พันธมิตรของ GISTDA ที่ใช้ พื้นที่ ใน SKP มีจ�ำนวน 11 หน่วยงาน ประกอบไปด้วย บริษัท อธิ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด, บริษัท พรีไซส์สตีล แอนด์ คอนสตรัคชั่น จ�ำกัด, บริษัท ดีเวล กรุ๊ป จ�ำกัด, บริษัท ซิงเกิ้ล พอยท์ พาร์ท (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน), ห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัด วิธ ฟาร์ อีสท์, AWR Lloyd, EADS Astrium, MacDonald Dettwiler and Association Corporation, Skymap Global, Wuhan Information Technology และ Swedish Space Corporation


GISTDA เข้าร่วมจัดงานนิทรรศการในงานวันจัดการภัยพิบตั ขิ องอาเซี ยน (ASEAN DAU for Disaster Management : ADDM) ประจ�ำปี 2556 GISTDA เข้าร่วมจัดงานนิทรรศการในงาน วั น จั ด การภั ย พิ บั ติ ข องอาเซี ย น (ASEAN DAU for Disaster Management : ADDM) ประจ�ำปี 2556 ในวันที่ 12 ตุลาคม 2556 ณ บริเวณลานด้านหน้า หอศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพมหานคร โดย ม.ล.ปนัดดา ดิศกุล ปลัดกระทรวงมหาดไทย นายพรพจน์ เพ็ญพาส รองอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พลโท นายแพทย์อ�ำนาจ บาลี ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน บรรเทาทุกข์และประชานามัยพิทักษ์ ร่วมเป็นประธาน ในพิธีเปิด ทั้งนี้ GISTDA ได้น�ำเสนอโปสเตอร์เกี่ยวกับ เรือ่ ง ‘การบูรณการเทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศเพือ่ ติดตาม และประเมินผลกระทบจากสถานการณ์น�้ำท่วม’ และ ‘การส�ำรวจพื้นที่ประสบภัยพิบัติโดยใช้ระบบส�ำรวจ ด้วยกล้อง 360 องศา (Mobile Mapping System) และ เครือ่ งบินบังคับขนาดเล็กโดยปราศจากการบังคับมนุษย์ (Unman Aerial Vehicle : UAV)’

DELIVERING VALUE FROM SPACE

9


GISTDA ON TOUR GISTDA ร่วมกับ

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู ้องค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบู รณ์

เปิ ดศูนย์เรียนรู ้ภูมิสารสนเทศชุมชน GISTDA ร่วมกับ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ เปิดศูนย์ เรียนรูภ้ มู สิ ารสนเทศชุมชน ( Geoinfomatics Learning Center : GLC ) เมือ่ วันพฤหัสบดีที่ 19 กันยายน 2556 ณ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ เพื่อการเรียนรู้องค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัด เพชรบูรณ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม พัฒนาและสร้าง ความตระหนั ก ให้ ชุ ม ชนเห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของข้ อ มู ล เทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศซึ่ ง ใช้ ฐ านข้ อ มู ล จาก ดาวเที ย ม รวมถึ ง มี ส ่ ว นร่ ว มในการสร้ า งและใช้ ข ้ อ มู ล ภู มิ ส ารสนเทศในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมในชุ ม ชน ให้ยั่งยืน ส�ำหรับงานเปิดศูนย์เรียนรู้ภูมิสารสนเทศชุมชนใน ครั้งนี้ได้รับเกียรติจากพลโท นพดล โชติศิริ กรรมการบริหาร

10

GISTDA AROUND THE WORLD

สทอภ. เจ้ากรมแผนที่ทหารและประธานคณะอนุกรรมการ ด�ำเนินงานจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ เป็นประธานในพิธีเปิด และ นายคณีธิป บุณยเกตุ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ ร่วม ตัดริบบิ้นเปิดศูนย์เรียนรู้ภูมิสารสนเทศชุมชน โดยมีนางสาว สุภาพิศ ผลงาม ผู้อ�ำนวยการสถาบันพัฒนาและถ่ายทอด องค์ ค วามรู ้ เ ทคโนโลยี ภู มิ ส ารสนเทศ ผู ้ แ ทนจาก สทอภ. ให้การต้อนรับ ภายในงานมีนอ้ งๆ เยาวชนในจังหวัดเพชรบูรณ์ เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 600 คน ซึ่งทาง สทอภ. ได้เตรียม เกมส์และนิทรรศการต่างให้น้องๆได้ทดสอบความสามารถ ทางด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ พร้อมรับของ ที่ระลึกกันอย่างสนุกสนาน


รายชื่ อหลักสูตรการฝึ กอบรมฯ ปี 2557 หลักสูตรการฝึ กอบรมเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจ�ำปี งบประมาณ 2557 ชื่อหลักสูตร

ระดับ

จำ�นวนวันตลอดหลักสูตร

วัน เดือน ปี

ค่าลง ทะเบียน

5

24–28 กุมภาพันธ์ 2557

9,500

บรรยายและ ฝึกปฏิบัติ (วัน)

ภาคสนาม (วัน)

รวม (วัน)

5

-

มิศาสตร์สำ�หรับผู้เริ่มต้นใช้งาน 1 ระบบสารสนเทศภู (GIS for Beginners)

พื้นฐาน

มิสารสนเทศผู้บริหาร 2 ภู(Geo-Informatics for Executives)

4 3 ประยุกต์ (ในประเทศ) (ต่าง ประเทศ)

7

26 – 28 มีนาคม 2557 (ในประเทศ) 1 – 4 เมษายน 2557 (ต่างประเทศ)

การประมวลผลและแปลความหมายข้อมูลจาก 3 ดาวเทียม (Satellite Image Processing and Interpretation)

พื้นฐาน

6

2

8

20 – 29 พฤษภาคม 2557

งวัดด้วย GNSS 4 การรั (GNSS Surveying)

ประยุกต์

5

-

5

9 – 13 มิถุนายน 2557

15,000

13,000 (3 วัน) 88,000 (จำ�นวน 7 วัน) 1. ลง ทะเบียน รับฟรี ภาพ 19,800 ดาวเทียม ไทยโชต 5 ภาพ (ที่มีใน 10,900 คลังข้อมูล)

การเผยแพร่ข้อมูลภูมิสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต 5 และ Mobile web ประยุกต์ (Internet GIS Web Map Server and Mobile web)

5

-

5

30 มิถุนายน– 4 กรกฎาคม 2557

การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่และการสร้างแบบ 6 จำ�ลองในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Spatial Analysis and Modeling in GIS)

ประยุกต์

5

-

5

28 กรกฎาคม– 1 สิงหาคม 2557

10,900

การเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาระบบ 7 สารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยภาษา Python (GIS Programming using Python)

ประยุกต์

5

-

5

18–22 สิงหาคม 2557

10,900

หมายเหตุ:

โปรโมชั่น

2. ลง ทะเบียน 2 หลักสูตร ลดพิเศษ 5% *ยกเว้น หลักสูตรที่ 2

1. ค่ า ลงทะเบี ย นได้ ร วมค่ า ใช้ จ ่ า ยตลอดหลั ก สู ต รแล้ ว คื อ ค่ า เอกสารทางวิ ช าการ ค่ า กระเป๋ า เอกสาร ค่ า อาหารว่ า ง-เครื่ อ งดื่ ม และ ค่าอาหารกลางวัน หลักสูตรทีม่ กี ารออกส�ำรวจภาคสนามได้รวมค่าใช้จา่ ย คือ ค่ารถ ค่าทีพ่ กั ค่าอาหารกลางวัน และอาหารเย็น (ในวันทีค่ า้ งคืน) 2. ค่าลงทะเบียนได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มเรียบร้อยแล้ว 3. ราคา ชื่อหลักสูตร และวันเวลาในตารางอบรม ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลง โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า และทุกหลักสูตรอบรม เวลา 09:00-16:00 น.

DELIVERING VALUE FROM SPACE

11


เรื่องเล่านอกกรอบ

ท�ำไม

เราไม่รู้สึกว่า

โลกก�ำลังหมุ นอยู ่??? โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 3 ของสุรยิ ะจักรวาล มีขนาดใหญ่มาก เพราะถ้าเราขุดอุ โมงค์ให้ลกึ ลงไปจากผิวโลกด้านหนึ่งผ่านจุ ดศูนย์กลาง ของโลกและไปออกทางผิวโลกในด้านตรงกันข้ามแล้ว จะได้อุโมงค์ท่ี ยาวถึง 8,000 ไมล์ และถ้าจะเดินทางให้รอบโลกโดยไม่กลับหลังเลย จะต้องสิน้ ระยะทางถึง 25,000 ไมล์ และหากยกโลกทัง้ โลกไปชั่ งก็จะได้ น�้ำหนักรวม 5,883,000,000,000,000,000,000,000 ตัน แต่กระนัน้ ก็ตามเมื่อเปรียบเทียบกับดาวเคราะห์บางดวงแล้ว โลกก็เป็นดาวเคราะห์ ดวงเล็กๆ ดวงหนึ่งของระบบสุริยะจักวาลเท่านัน้ โลกมีลักษณะทรงกลม มีการเคลื่อนไหว 2 อย่าง คือ หมุนรอบตัวเองกินเวลา23 ชัว่ โมง 56 นาที 4.09 วินาที แต่เพือ่ ไม่ให้ วุ่นวายจึงต้องปัดเศษเป็น 24 ชั่วโมงเต็มและใช้เวลาโคจรรอบดวง อาทิตย์หนึ่งรอบเท่ากับ 365.24 วัน แต่ปัดเศษเหลือแค่ 365 วันเต็ม นัน่ จึงเป็นเหตุผลว่า ท�ำไมทุกๆ 4 ปี เดือนกุมภาพันธ์จะต้องมี 29 วัน ก็เพราะบวกเศษที่เหลืออีกปีละ 0.24 วัน รวมเข้าด้วย ในการหมุนรอบตัวเองนั้นในบริเวณเส้นศูนย์สูตรผิวโลก จะเคลื่อนที่ไปด้วยอัตราเร็ว 1,000 ไมล์ต่อชั่วโมง และในการหมุน

รอบดวงอาทิตย์นั้นมีอัตราเร็ว 18 ไมล์ต่อวินาที การที่เราไม่รู้สึกว่า โลกหมุนรอบตัวเองและหมุนรอบดวงอาทิตย์นั้น เป็นเพราะโลก มีขนาดใหญ่ และทุกๆ สิง่ ทีอ่ ยูร่ อบตัวเราต่างก็หมุนรอบดวงอาทิตย์ ไปด้วยตลอดจนอากาศที่ล้อมรอบตัวก็เคลื่อนที่ไปด้วยเช่นกัน การสั ง เกตการเคลื่ อ นไหวของโลกจึ ง ต้ อ งสั ง เกต จากดวงดาวในท้องฟ้า ที่เปลี่ยนต�ำแหน่งไปเป็นจักรราศีเวียน เป็นรอบๆ ในเวลาอันจ�ำกัด

ที่มา : กฤษณา ชุติมา. “รู้ไว้ใช่ว่า ประสาวิทยาศาสตร์ เล่ม 1”.กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2543 http://www.islammore.com/main/content.php?page=sub&category=51&id=2101 http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/eclipse/index20.htm

12

GISTDA AROUND THE WORLD


GPS

กับร้านเด่นโดนใจ

ร้านป้าเอื้อง-ป้าอิ้ง ที่อยู่ร้าน : สามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์ 77120 โทร : 08-7167-0401, 08-5182-2161

เริ่ ม เข้ า สู ่ ช ่ ว งวั น หยุ ด ยาว

ปีใหม่กันแล้ว วางแผนไปเที่ยวกัน ที่ไหนรึยังคะ หากยังนึกไม่ออก ช้างชมพู ขอแนะน�ำ “สามร้อยยอด ปราณบุรี” ค่ะ ที่นั่นมี หาดทรายสวยน�้ำทะเลใส และอาหารทะเลสดๆ ร้านทีอ่ ยากแนะน�ำ “ร้านป้าเอือ้ ง-ป้าอิง้ ” บรรยากาศ ภายในร้าน สบายๆ บ้านๆ ร้านนี้มีดีที่ตรงไหน ลูกค้าจึงเต็มร้าน ตลอดเวลา อย่างแรกเลยค่ะ ร้านนีอ้ าหารทะเลสดมาก ปูมา้ เป็นๆ กุ้งตัวโตๆ ไม่ว่าจะน�ำไปนึ่ง ไปเผา จิ้มน�้ำจิ้มรสชาติจี๊ดจ๊าด ก็อร่อยไปซะหมดเลยค่ะ และอีกอย่างที่ไม่แพ้กัน ที่ปราณบุรีนี่ เค้าเด็ดเรื่องปลาหมึกค่ะ โดยเฉพาะปลาหมึกแดดเดียวเด็ด อย่าบอกใคร ที่ส�ำคัญเลยค่ะอาหารที่นี่จานใหญ่ทีเดียว ไม่ใช่ ใหญ่ แต่ จานนะคะ อาหารในจานก็ เ ยอะด้ ว ย และราคา เหมาะสมเป็นกันเองคุ้มค่ากับอาหาร เรามาพูดถึงทางไปกันดีกว่าค่ะ .. เดินทางจาก ถนนเพชรเกษมมุ่งหน้าสู่จังหวัดประจวบคีรีขันธุ์ ไปทาง ถนนบายพาส เลีย้ วซ้ายทีแ่ ยกศูนย์ราชการอ�ำเภอปราณบุรี ขั บ ตามทางผ่ า นโรงพยาบาลปราณบุ รี มุ ่ ง หน้ า ไป สามร้ อ ยยอด ให้ สั ง เกตทางด้ า นซ้ า ยมื อ จะเห็ น ป้ า ย บ้านหนองแขมน้อยเราก็ถึงจุดหมายค่ะ แต่ถ้าอยาก เดินทางแบบไม่หลง ไม่งง ไม่เสียเวลา ไม่ไปแล้ว อ๊ะๆๆๆ ไม่ใช่ๆ ... อยากไปอย่างง่ายๆ เราก็แค่ระบุพิกัดร้าน ลงใน GPS เลยค่ะ ช้างชมพู

GPS : 12.286076, 99.966268 DELIVERING VALUE FROM SPACE

13


ถามมาตอบไป

ดาวเทียม

ท�ำงานอย่างไร???

ดาวเทียมจะถูกส่งขึน้ ไปลอยอยูใ่ นต�ำแหน่ง วงโคจรค้างฟ้า ซึง่ มีระยะห่างจากพืน้ โลก ประมาณ 36,000-38,000 กิโลเมตร และโคจรตามการหมุนของโลก โดยมีระบบเชื้อเพลิง เพือ่ ควบคุมต�ำแหน่ง ให้อยูใ่ นต�ำแหน่งองศาทีไ่ ด้สมั ปทานเอาไว้กบั หน่วยงานทีด่ แู ลเรือ่ งต�ำแหน่ง วงโคจรของดาวเทียมคือ IFRB ( International Frequency Registration Board)

ดาวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า จะท�ำหน้าที่รับสัญญาณ ที่ยิงขึ้นมาจากสถานีภาคพื้นดิน เรียกว่าสัญญาณขาขึ้น (Uplink) ขยายสั ญ ญาณพร้ อ มทั้ ง แปลงสั ญ ญาณให้ มี ค วามถี่ ต่� ำ ลง เพื่ อ ป้องกันการรบกวนกันระหว่างสัญญาณขาขึน้ และส่งลงมา โดยมีจาน สายอากาศท�ำหน้าที่รับและส่งสัญญาณ ส่วนสัญญาณในขาลงเรียกว่า (Downlink) วงโคจรดาวเทียม เมื่อแบ่งตามระยะความสูงจากพื้นโลกแบ่งเป็น 3 ระยะคือ

1. วงโคจรระยะต�่ำ

อยูส่ งู จากพืน้ โลกไม่เกิน 1,000 กม. ใช้ในการสังเกตการณ์ ส�ำรวจสภาวะแวดล้อม ถ่ายภาพ ไม่สามารถใช้งานครอบคลุม บริ เวณใดบริ เวณหนึ่ ง ได้ ต ลอดเวลา เพราะมี ค วามเร็ ว ในการ เคลือ่ นทีส่ งู แต่จะสามารถบันทึกภาพคลุมพืน้ ทีต่ ามเส้นทางวงโคจร ที่ผ่านไป ตามที่สถานีภาคพื้นดินจะก�ำหนดเส้นทางโคจรอยู่ใน แนวขั้วโลก (Polar Orbit) ดาวเทียมวงโคจรระยะต�่ำขนาดใหญ่ บางดวงสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าในเวลาค�่ำ หรือก่อนสว่าง เพราะดาวเทียมจะสว่างเป็นจุดเล็กๆ เคลื่อนที่ผ่านในแนวนอน อย่างรวดเร็ว

2. วงโคจรระยะปานกลาง

อยู่ที่ระยะความสูงตั้งแต่ 1,000 กม.ขึ้นไป ส่วนใหญ่ ใช้ในด้านอุตุนิยมวิทยา และสามารถใช้ในการติดต่อสื่อสารเฉพาะ

พื้นที่ได้ แต่หากจะติดต่อให้ครอบคลุมทั่วโลก จะต้องใช้ดาวเทียม หลายดวงในการส่งผ่าน

3. วงโคจรประจ�ำที่

เป็นดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเป็นส่วนใหญ่ อยู่สูงจาก พืน้ โลกประมาณ 35,780 กม. เส้นทางโคจรอยูใ่ นแนวเส้นศูนย์สตู ร ดาวเทียมจะหมุนรอบโลกด้วยความเร็วเชิงมุมเท่ากับโลกหมุน รอบตั ว เองท� ำ ให้ ดู เหมื อนลอยนิ่ งอยู ่ เ หนื อจุ ด จุ ด หนึ่ง บนโลก ตลอดเวลา เรียกทัว่ ๆ ไปว่า “ดาวเทียมค้างฟ้า” หรือ “วงโคจรคลาร์ก” (Clarke Belt) เพือ่ เป็นเกียรติแก่ นายอาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก ผูน้ ำ� เสนอ แนวคิดเกี่ยวกับวงโคจรนี้ เมื่อ เดือนตุลาคม ค.ศ.1945 ดาวเที ย มจะอยู ่ กั บ ที่ เ มื่ อ เที ย บกั บ โลก มี ว งโคจร อยู่ในระนาบเดียวกันกับเส้นศูนย์สูตร อยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 35,786 กม. วงโคจรคลาร์ก เป็นวงโคจรในระนาบเส้นศูนย์สูตร (EQUATOR) ทีม่ คี วามสูงเป็นระยะทีท่ ำ� ให้ดาวเทียมทีเ่ คลือ่ นที่ ด้วยความเร็วเชิงมุม เท่ากันกับการหมุนของโลก แล้วท�ำให้ เกิดแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางมีค่าพอดีกับค่าแรงดึงดูดของโลก เป็นผลให้ดาวเทียมดูเหมือนคงอยู่กับที่ ณ ระดับความสูงนี้ ดาวเทียมค้างฟ้าส่วนใหญ่ใช้ในการสื่อสารระหว่างประเทศ และภายในประเทศ เช่น ดาวเทียมอนุกรม อินเทลแซต ฯลฯ ที่มา : http://www.zone7countryclub.com/index.php?topic=25199.0

14

GISTDA AROUND THE WORLD


GISTDA for Fun

สนุกง่ายๆ ่

ทายสิทีไหนเอ่ย?

ส�ำหรับ ท่านแรกที่ทายถูก รับไปเลยหมอน 2in1 สุดน่ารัก จาก GISTDA หมดเขตภายใน วันที่ 1 มกราคม 2557

5

Where is it

???

กติกา... แค่ดูภาพถ่ายจากดาวเทียม

แล้วทายว่าเป็นภาพถ่ายจากสถานที่ใด จากนั้นส่งค�ำตอบ พร้อมทั้ง ชื่อ นามสุกล ที่อยู่ ที่พร้อมจัดส่ง มาที่ E-mail: pr@gistda.or.th

DELIVERING VALUE FROM SPACE

15



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.