GISTDA Magazine ฉบับที่ 14

Page 1

นำ�คุณค่าจากอวกาศเพื่อพัฒนาประเทศชาติและสังคม

Delivering Values from Space มกราคม 2557 ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 ISSN : 1906-8719

อุณหภูมิในอวกาศ กี่องศา?

ตามรอยเทคโนโลยี การสร้างดาวเทียมขนาดเล็ก (ตอนที่ 1)

การจบภารกิจของดาวเทียมส�ำรวจโลก ที่มีอายุการใช้งานมายาวนาน www.gistda.or.th


CONTENTS

GISTDA มีเรื่องเล่า

3

โซนนิ่งภาคเกษตร โคจรรอบโลก

6

ตามรอยเทคโนโลยี

การสร้างดาวเทียมขนาดเล็ก (ตอนที่ 1)

การจบภารกิจของ ดาวเทียมส�ำรวจโลก ที่มีอายุ การใช้งาน มายาวนาน

7 เรื่องเล่านอกกรอบ

GISTDA ON TOUR

10

สทอภ. เป็นเจ้าภาพจัด การประชุมเชิ งปฏิบัติการ The 2nd ASEAN Workshop on Ground Station Experts Exchange

14 ถามมาตอบไป

อุ ณหภูมิในอวกาศ กี่องศา?

12

GPS

กับร้านเด่นโดนใจ

13

เทคโนโลยีอวกาศ คือ อะไร???

GISTDA for Fun

15

บทบรรณาธิการ สวั ส ดี ค ่ ะ คุ ณ ผู ้ อ ่ า น

ทุกท่าน ผ่านไปแล้วกับเทศกาล ปี ใ หม่ หวั ง ว่ า ผู ้ อ ่ า นทุ ก ท่ า น จะมีความสุขและโชคดีตลอดปี 2557 นี้นะคะ คุณรู้หรือไม่ว่าเมื่อปีที่ผ่านมามีดาวเทียม ส�ำรวจโลก Landsat 5, Radarsat 1 และ SPOT 4 ได้ จ บภารกิ จ ดาวเที ย มส� ำ รวจโลกลงเนื่ อ งจาก ครบก�ำหนดอายุการใช้งาน แต่ GISTDA ของเรา ยั ง คงทุ ่ ม เทท� ำ งานหนั ก อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ในการ แสวงหาเทคโนโลยีอวกาศใหม่ๆ ทัง้ ในและต่างประเทศ เพือ่ น�ำมาพัฒนาต่อยอดในการพัฒนาประเทศชาติ อย่างไม่หยุดยั้ง ซึ่งการแสวงหาในครั้งนี้ ท�ำให้เรา ได้คน้ พบเทคโนโลยีในการผลิตดาวเทียมขนาดเล็ก ที่ จ ะน� ำ มาใช้ เ พื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในภารกิ จ ส� ำ รวจโลก แต่ ด าวเที ย มขนาดเล็ ก ที่ ว ่ า นั้ น จะมี ประโยชน์อย่างไร ติดตามชมได้ในเล่มค่ะ และภารกิ จ หนึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ที่ GISTDA ได้ ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่องคือการน�ำเทคโนโลยี จากอวกาศและภูมิสารสนเทศถ่ายทอดลงสู่ชุมชน และแน่นอนว่าในปี 2557 เราจะเข้ามามีบทบาท ในการน�ำเทคโนโลยีเหล่านี้ลงสู่ชุมชนมากยิ่งขึ้น ดังจะเห็นได้จากการสนับสนุนข้อมูลเพื่อโซนนิ่ง การเกษตรเพือ่ เพิม่ ผลผลิตและความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ ของเกษตรกรไทย เป็นต้น ท้ า ยสุ ด นี้ … ขอเชิ ญ ชวนน้ อ งๆ ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาประกวดสื่ อ ภู มิ ส ารสนเทศครั้ ง ที่ 3 หรือ GMC 2014 Contest เพื่อชิงเงินทุนผลิตสื่อฯ มูลค่ารวม 150,000 บาท โดยออกแบบสือ่ การเรียน การสอนทางด้านภูมิศาสตร์ ไม่จ�ำกัดรูปแบบและ เนื้อหา ขอเพียงให้มีความน่าสนใจและสามารถ น�ำไปใช้งานได้จริง ซึ่งเป็นโอกาสท้าทายที่น้องๆ ไม่ควรพลาดนะคะ

ดร. พรสุข จงประสิทธิ์ บรรณาธิการ

ผอ. ส�ำนักยุทธศาสตร์ GISTDA: ส�ำนักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) โทร 02-141-4406, 081-816-4280

คณะผู ้จัดท�ำ ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทอภ. มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Geo-Informatics and Space Techonogy Development Agency (Public Organization) หรือ GISTDA ในก�ำกับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2543 โดยมีภารกิจหลักในการให้บริการข้อมูลดาวเทียมและข้อมูลภูมิสารสนเทศทั้งภายในและ ต่างประเทศ การก�ำหนดมาตรฐานกลางส�ำหรับระบบภูมสิ ารสนเทศ ส่งเสริมการประยุกต์ใช้ขอ้ มูลดาวเทียมในหลายสาขา รวมถึงการถ่ายทอดเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ และพัฒนาบุคลากร คณะ ผู้จัดท�ำที่ปรึกษา ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, ดร.สุรชัย รัตนเสริมพงศ์ บรรณาธิการ นายสามารถ ดวงวิจิตรกุล บรรณาธิการ นางนิรมล ศรีภูมินทร์ กองบรรณาธิการ นายปัญญา สงวนสุข, นายชัยยันต์ เมาลานนท์, น.ส.นวนิตย์ อภิชลติ, ดร.เชาวลิต ศิลปทอง, น.ส.สุภาพิศ ผลงาม, นางร�ำพึง สิมกิง่ , นายรุง่ อนันต์ ศิรนิ ยิ มชัย, นางสุนทรี ศรีสวุ รรณ, น.ส.พิมพ์นภัส เกิดผล จัดท�ำโดย ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยี อวกาศและภูมิสารสนเทศ ( องค์การมหาชน ) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 เลขที่ 120 หมู่ 3 อาคารรวมหน่วยราชการ (อาคารรัฐประศาสนภักดี) ชั้น 6 และ ชั้น 7 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2141-4470 โทรสาร 0-2143-9586-87 Website : www.gistda.or.th, E-mail: pr@gistda.or.th สร้างสรรค์โดย บริษัท มายด์ มีเดีย เซ็นเตอร์ จ�ำกัด


GISTDA มีเรื่องเล่า

โซนนิ่งภาคเกษตร เพิ่มมูลค่าผลผลิต

เติมคุณภาพชี วิตเกษตรกรให้ดีขึ้น

ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อ�ำนวยการ สทอภ.

แม้ประเทศไทยจะส่งออกสินค้าทางด้าน เกษตรเป็นจ�ำนวนมากต่อปี สร้างรายได้มหาศาล ให้กับประเทศ แต่เกษตรกรไทยก็ยังคงมีฐานะที่ ไม่ค่อยสู้ดีนัก นั่นเพราะขาดการบริหารจัดการ ทีด ่ ี สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัด คือ เมื่อผลผลิตชนิดใด ให้ก�ำไรดี เกษตรกรจะแห่กันไปปลูกพืชชนิดนั้น จนล้นตลาดกระทั่งราคาตกในที่สุด บางรายยัง ไม่ทน ั เก็บเกีย่ วด้วยซํา้ จึงเกิดปัญหาหนีส้ น ิ ตามมา เช่น ยางพาราให้กำ� ไรงาม ชาวนาก็เลิกท�ำนา หันมา ปลู ก ยางพาราแทน เป็ น ต้ น ด้ ว ยเหตุ นี้ จึ ง เกิ ด แนวคิด จัดโซนนิ่ง ภาคเกษตรขึ้นมา

ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อ�ำนวยการ ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาเทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทอภ. ได้เปิดเผยถึงการจัดท�ำโซนนิ่ง ภาคเกษตร ที่ผ่านมาเกษตรกรมีต้นทุนสูงและได้ผลผลิตต่อไร่ตํ่า จนขาดทุนต่อเนือ่ งทุกปี ด้วยความเคยชินกับการเพาะปลูกแบบเดิมๆ รวมถึงคุณภาพของดินที่ปลูกอาจไม่เหมาะสมกับพืชชนิดนั้นๆ สทอภ. และหน่วยงานต่างๆ จึงร่วมจัดท�ำโซนนิ่งภาคเกษตร โดย ศึกษาว่าพืชชนิดใดเหมาะสมกับการปลูกในพื้นที่ หรือดินลักษณะ เช่นไร เพื่อช่วยให้เกษตรกรมีเสถียรภาพ มีทิศทางการปลูกพืช ชนิดต่างๆ ทีไ่ ด้ผลผลิตต่อไร่สงู ขึน้ ชัดเจน ช่วยลดต้นทุนค่าเมล็ดพันธุ์ และค่าปุย๋ ลง โดยหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องจะให้คำ� แนะน�ำและความรู้ เกี่ยวกับการปลูกพืชแต่ละชนิดให้แก่เกษตรกร “ประเทศไทยปลูกข้าวทั้งประเทศอยู่ที่ประมาณ 70 ล้านไร่ ได้ผลผลิตประมาณ 35-40 ล้านตันต่อปี ซึ่งเกิน ความต้องการ ประกอบกับแนวโน้มการบริโภคข้าวของคนไทย ก็ลดน้อยลง และที่ส�ำคัญ เกษตรกรได้รายได้น้อย ต้นทุนสูง กว่าก�ำไร จึงได้ด�ำเนินการศึกษาเพื่อแก้ไข โดยเริ่มจากการท�ำ โซนนิ่งที่เหมาะสมส�ำหรับการเพาะปลูก เพื่อช่วยให้เกษตรกร มีทศิ ทางการเพาะปลูกพืชแต่ละชนิดได้เหมาะสมและมีผลผลิต ต่อไร่ต่อปีสูงขึ้น”

DELIVERING VALUES FROM SPACE

3


GISTDA มีเรื่องเล่า

แนวความคิดในการจัดท�ำโซนนิ่งภาคเกษตรไทย ทาง หน่วยงานจะแนะน�ำพืน้ ทีเ่ พาะปลูกทีเ่ หมาะสม และให้ผลตอบแทน แก่ประชากรภาคเกษตรให้มากทีส่ ดุ โดยก�ำหนดชนิดพืชเศรษฐกิจ (Crop Type) นอกจากข้าวแล้ว ยังมีพืชเศรษฐกิจอีก 5 ชนิดของ ประเทศ ที่สามารถปลูกทดแทนข้าวได้ เช่น อ้อย มันส�ำปะหลัง ข้าวโพด ยางพารา และปาล์มนาํ้ มัน หรือ อาจปลูกพืชพลังงานทดแทน เช่น หญ้าเนเปียร์ เป็นต้น แต่ในการน�ำร่องจะใช้พืช 3 ชนิด คือ ข้าว อ้อย และมันส�ำปะหลัง โดยค�ำนึงถึงความเหมาะสมของพืน้ ที่ ด้านกายภาพ หรือ พืน้ ทีเ่ พาะปลูกนัน้ ๆ เหมาะสมกับพืชพันธุอ์ ะไร และพื ช พั น ธุ ์ แ ต่ ล ะชนิ ด มี ค วามต้ อ งการของตลาดภายในและ ตลาดโลกมากน้ อ ยเพี ย งใด ราคาผลผลิ ต ต่ อ หน่ ว ยเหมาะสม หรือไม่ และให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมด้วยหรือไม่ ก�ำหนดจ�ำนวนเนือ้ ทีป่ ลูกพืชแต่ละชนิด (Crop Area) ชาวเกษตรกรจะต้องใช้ความช�ำนาญและความเชี่ยวชาญในการ เพาะปลูกตั้งแต่แรกเริ่ม โดยอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในด้าน การผลิต หรือพัฒนาสายพันธุก์ ารป้องกันโรคระบาด ภัยธรรมชาติ รวมถึงการศึกษาและพัฒนาพืน้ ทีเ่ พาะปลูกให้มศี กั ยภาพมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ให้ได้ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพทีด่ ี ให้ปริมาณทีม่ าก ทัง้ นีใ้ นหนึง่ พืน้ ที่ อาจปลูกพืชอื่นร่วมได้อีก ซึ่งขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของพื้นที่ และความเชี่ยวชาญของเกษตรกร จากนัน้ ก�ำหนดเขตปลูกพืชเศรษฐกิจ (Crop Zoning) ในความเหมาะสมของพื้นที่ด้านกายภาพ จะต้องศึกษาก่อนว่า สภาพของดินในปัจจุบัน สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้มากน้อย เพียงใด บริเวณพื้นที่ใกล้เคียงเป็นพื้นที่ป่าอนุรักษ์ เขตชุมชน โรงงาน หรือสถานที่สาธารณะหรือไม่มีเส้นทางคมนาคมอย่างไร มีระบบสาธารณูปโภคและระบบชลประทานที่เอื้ออ�ำนวยต่อการ เพาะปลูกหรือไม่

4

GISTDA AROUND THE WORLD

“การจัดท�ำโซนนิง่ จะต้องท�ำงานแบบบูรณาการร่วม กัน โดยเฉพาะหน่วยงานภาครัฐต่างๆ เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง อย่างแน่นอน เพราะจากทีไ่ ด้กล่าวแนวความคิดในการจัดท�ำ โซนนิ่งไปแล้วข้างต้น จ�ำเป็นต้องอาศัยข้อมูลเชิงกายภาพ ข้อมูลโครงสร้างพืน้ ฐาน ข้อมูลเศรษฐกิจ หรือข้อมูลอืน่ ๆ จาก หน่วยงานต่างๆ ด้วย เพือ่ ส่งเสริมการเพาะปลูกของเกษตรกร ให้ มีคุณภาพและได้ ผ ลผลิ ต ที่ ดี มากยิ่ งขึ้ น รวมถึง ส่ง เสริม คุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่เกษตรกรด้วยเช่นกัน” กระบวนการการจัดโซนนิ่งว่า พื้นที่ใดเหมาะกับพืช ชนิดใดนั้น ทาง สทอภ. มีหลักการดังนี้ ข้อมูลเชิงกายภาพ ศึกษาพื้นที่ลักษณะทางธรรมชาติ ที่ เ ป็ น ส่ ว นประกอบของเปลื อ กโลกที่ เ ป็ น องค์ ป ระกอบทาง ภูมิศาสตร์ เช่น ขนาด ที่ตั้งภูมิประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ ฯลฯ และวิเคราะห์วา่ เป็นพืน้ ทีท่ เี่ หมาะสมกับการเพาะปลูกหรือไม่ หรือ เป็นพืน้ ทีเ่ ขตป่าอนุรกั ษ์หรือไม่ ซึง่ ข้อมูลเหล่านีจ้ ะต้องมีความร่วมมือ จากหน่วยงานต่างๆ เช่น ข้อมูลแผนทีค่ วามเหมาะสมในการเพาะปลูก จากกรมพัฒนาที่ดิน ข้อมูลพื้นที่เขตป่าอนุรักษ์ จากกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทีต่ งั้ โรงงานหรืออุตสาหกรรม จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ข้อมูลโครงสร้างพืน้ ฐาน เป็นโครงสร้างทางกายภาพที่ รองรับการท�ำงานของประชาชน เช่น ถนน ระบบชลประทาน ระบบ การจัดการนํ้า ฯลฯ เพื่อศึกษาว่าพื้นที่นั้นๆ มีเส้นทางคมนาคม อย่างไร เช่น แผนที่ทางรถไฟ ท่าเรือ และถนน จากกระทรวง คมนาคม เป็นต้น โดยเฉพาะพื้นที่ที่แห้งแล้งระบบชลประทาน เข้าไม่ถึง หน่วยงานจะแนะน�ำชนิดหรือพันธุ์พืชใช้นํ้าน้อยแทนพืช ที่ปลูกอยู่ในปัจจุบัน


เขตพื้นทีป ่ ลูกข้าวของประเทศ

Rice Zoning

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ เช่น พืชเศรษฐกิจทีป่ ลูกแต่ละชนิด ให้ผลผลิตในปริมาณเท่าใด ได้ราคาทีเ่ หมาะสมและมีกำ� ไรมากน้อย เพียงใดและเป็นที่ต้องการของตลาด ณ ในขณะนั้นหรือไม่ รวมถึง หาโรงงานหรือแหล่งรับซื้อผลผลิต ซึ่งแน่นอนว่ากระทรวงเกษตร และสหกรณ์ จะต้องให้ความร่วมมือในเรื่องปริมาณและราคา ผลผลิตของพืชแต่ละชนิด ประกอบกับใช้ข้อมูลรูปแปลงที่ดิน จาก กระทรวงมหาดไทยในการวิเคราะห์ด้วย เมื่ อ ได้ ข ้ อ มู ล ครบถ้ ว นแล้ ว สทอภ.จะน�ำ ข้ อ มู ล มา ก�ำหนดเขตพืน้ ทีป่ ลูกพืชเศรษฐกิจหลักทัง้ 6 ชนิดของประเทศ โดย เริ่มจากการโซนนิ่งพืชเศรษฐกิจรายชนิด เพื่อหาขนาดพื้นที่ที่ปลูก

ที่เหมาะสมและปลูกจริง รวมถึงพื้นที่เหมาะสมที่สามารถปลูก เพิ่มเติมได้ โดยดูจากปัจจัยโรงงานและเส้นทางคมนาคม จากนั้น จะน�ำเขตพื้นที่ปลูก หรือ โซน (zone) ของพืชแต่ละชนิดมาลงบน

แผนที่ประเทศไทย แล้วแปลงข้อมูลการใช้ที่ดินปัจจุบันและแปลงเขตพื้นที่ ปลูกพืชเศรษฐกิจทั้ง 6 ชนิด จากนั้นจะน�ำข้อมูลที่ได้มาเปรียบเทียบเพื่อ หาขนาดพื้นที่และผลตอบแทนต่อหน่วยในลักษณะแผนภูมิแท่ง นอกจาก การโซนนิ่งด้วยวิธีนี้แล้ว ยังสามารถวิเคราะห์พื้นที่ทับซ้อนโดยดูจากการใช้ ที่ดินในปัจจุบันจากภาพถ่ายดาวเทียมได้เช่นกัน การน� ำ ผลการโซนนิ่ ง ภาคเกษตรมาสู ่ ภ าคปฏิ บั ติ จะท� ำ ให้ ทุกหน่วยงานได้ร่วมกันช่วยผลักดันให้เกษตรกรปลูกพืชในพื้นที่ที่เหมาะสม มากขึ้น ได้ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น อีกทั้งหน่วยงานต่างๆ ยังได้พัฒนาประเทศ ให้ดีขึ้น เช่น ระบบชลประทาน การพัฒนาสายพันธุ์พืชอื่นๆ การพัฒนา ปรับปรุงพื้นที่ได้เหมาะสมทั้งพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์ และพื้นที่อื่นๆ ส�ำหรับใช้ ประโยชน์สาธารณะ เป็นต้น ทัง้ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องจะต้องสร้างความเข้าใจ และลงมื อ ปฏิ บั ติ ใ ห้ ป ระชาชนเห็ น ผลจริ ง ส่ ว นประชาชนภาคเกษตรกร ก็ต้องท�ำความเข้าใจและปรับเปลี่ยนทัศนคติใหม่ เพราะจะช่วยให้กระบวน การเพาะปลูกมีเสถียรภาพ รูท้ ศิ ทางการปลูกทีช่ ว่ ยลดภาระหนีจ้ ากการลงทุน ในแต่ละปี โซนนิ่ ง ภาคเกษตร จึ ง เป็ น อี ก วิ ธี ห นึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยพั ฒ นา ภาคเกษตรให้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งเป็นการเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีแก่เกษตรกร อย่างยิ่ง เพราะการควบคุมพื้นที่ปลูก นอกจากจะเหมาะกับการเจริญ เติบโตของพืชนั้นๆ แล้ว ยังท�ำให้ได้ผลผลิตที่ดี ราคาไม่ตกตํ่าอย่าง ปัจจุบัน ที่แห่ปลูกพืชชนิดเดียวกันทั้งๆ ที่ภูมิภาคไม่เอื้ออ�ำนวย DELIVERING VALUES FROM SPACE

5


โคจรรอบโลก ปี 2556 นี้ เรียกได้เป็นปี ท่ีน่าจดจ�ำ กับการจบภารกิจของ

ดาวเทียมส�ำรวจโลก

ที่มีอายุ การใช้งานมายาวนาน ดาวเทียม Landsat 5 เมือ่ 5 มิถนุ ายน 2556 ทาง USGS ได้สงั่ ยกเลิกภารกิจดาวเทียม Landsat 5 ซึง่ ปฏิบตั ภิ ารกิจมาแล้ว 29 ปี 3 เดือน 4 วัน หลังจากถูกส่งขึน้ สูอ่ วกาศ โดยองค์การ อวกาศแห่งสหรัฐ หรือนาซ่า (NASA) จากฐานทัพอวกาศ Vandenberg ในวันที่ 1 มีนาคม 2527 ทีผ่ า่ นมาดาวเทียม Landsat 5 ประสบความส�ำเร็จ ในการบันทึกภาพ การเปลี่ยนแปลงของพื้นโลก โดยทาง USGS ได้พยายามแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับ ดาวเทียมหลายครั้ง เพื่อที่จะได้กลับน�ำกลับมาใช้อีก แต่ก็ไม่ส�ำเร็จ จึงได้ยกเลิก ภารกิจของดาวเทียม Landsat 5 ในที่สุด เป็นเวลามากกว่าหนึ่งในสี่ของศตวรรษ ที่ดาวเทียม Landsat 5 ได้สังเกตการเปลี่ยนแปลงของพื้นผิวโลก อาทิเช่น ไฟไหม้ ในประเทศคูเวต ภัยพิบัติที่เชอร์โนปิ และการเปลี่ยนแปลงของพื้นน�้ำแข็งในเขต แอนตาร์กติก เป็นต้น ดาวเทียม Landsat 5 เป็นที่ยอมรับโดยกินเนสส์บุ๊คให้เป็น ดาวเทียมส�ำรวจทรัพยากรที่มีอายุการใช้งานยาวนานที่สุด เวลาที่ปฏิบัติภารกิจในอวกาศ : 29 ปี 3 เดือน 4 วัน จำ�นวนการโคจรรอบโลกของ Landsat 5 : มากกว่า 150,000 ครัง้ จำ�นวนการถ่ายภาพพื้นโลก : มากกว่า 2.5 ล้านภาพ

ดาวเทียม RADARSAT-1 เป็นดาวเทียมส�ำรวจทรัพยากรดวงแรกของ ประเทศแคนนาดา ซึ่งถูกส่งให้ไปปฏิบัติภารกิจในการ ตรวจสอบการเปลี่ ย นแปลงทางด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและ ทรัพยากรธรรมชาติของโลก แต่เมือ่ วันที่ 29 มีนาคม 2556 ก็ประสบปัญหาด้านเทคนิคจนท�ำให้ไม่สามารถปฏิบัติ ภารกิจได้อีกต่อไป ส่งขึ้นสู่อวกาศที่ฐานทัพอวกาศ Vandenberg ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ของสหรัฐ : 4 พฤศจิกายน 2538 อายุการใช้งาน : 5 ปี เวลาในการบันทึกภาพทั่วโลก : 24 วัน

6

GISTDA AROUND THE WORLD

ดาวเทียม SPOT 4 ดาวเทียม SPOT 4 ขึ้นสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2541 เป็น ดาวเทียมรุน่ ที่ 2 ของ โครงการ SPOT ที่ออกแบบ โดย CNES เวลาในการปฏิบัติภารกิจ : 177 เดือน จำ�นวนภาพที่ได้บันทึก : มากกว่า 6.8 ล้านภาพ ยกเลิกภารกิจ : 11 มกราคม 2556

ที่มา : นิตยาสาร Geospatial World ผู้แปล : พิณัฐ ค�ำภีระ http://igkd.gistda.or.th/2014/01/the-year-of-adieus/


GISTDA การประยุ กต์ใช้เทคโนโลยี

ตามรอยเทคโนโลยีการสร้าง ดาวเทียมขนาดเล็ก (ตอนที่ 1) การสร้ า งดาวเที ย มเป็ น ภารกิ จ หนึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ของ GISTDA ในปัจจุบันประเทศไทยมีดาวเทียมไทยโชต ที่ได้ด�ำเนินการมากว่า 5 ปีแล้ว เพื่อเตรียมความพร้อม ในการสร้ า งความต่ อ เนื่ อ งของการพั ฒ นาและสร้ า ง ศั ก ยภาพซึ่ ง ทางเลื อ กที่ เ หมาะสมคื อ การพั ฒ นา ดาวเทียมขนาดเล็กน�้ำหนักไม่เกิน 100 กิโลกรัม ที่มี ต้ น ทุ น การผลิ ต ที่ ต�่ ำ และสามารถใช้ Payload ได้ ห ลากหลาย การสร้ า งท� ำ ได้ เ ร็ ว กว่ า ดาวเที ย ม ขนาดใหญ่ แ ละสามารถเข้ า ร่ ว มเป็ น กลุ ่ ม ดาวเที ย ม (Constellation) เพื่ อ ให้ มี ก ารครอบคลุ ม พื้ น ที่ ไ ด ้ ก ว ้ า ง ขึ้ น แ ล ะ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร เ ข ้ า ถึ ง พื้ น ที่ เ ป้ า หมายได้ ถี่ ขึ้ น ด้ ว ยเทคโนโลยี ที่ ก ้ า วหน้ า ท�ำให้ดาวเทียมขนาดเล็กมีความน่าเชื่อถือสูงขี้น ทั้งนี้ Payload ที่ ติ ด ตั้ ง ในดาวเที ย มขนาดเล็ ก ยั ง มี ประสิทธิภาพเทียบเคียงได้กับ Payload ของดาวเทียม ขนาดใหญ่ ประจวบเหมาะกับที่ ศาสตราจารย์ Dr. Takahashi Yukihiro, Director of Space Mission Center, Hokkaido University ได้มาเสนอ แนวทางในการพัฒนาดาวเทียมขนาดเล็กและการใช้ประโยชน์ขอ้ มูล รวม Dr. Takahashi Yukihiro ถึงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการสร้างดาวเทียมและพัฒนา optical payload แบบ multi/hyper spectral โดยใช้ Liquid crystal tunable filter (LCTF) ให้กับเรา จึงท�ำให้คณะเดินทางของ GISTDA ซึ่งประกอบด้วย ดร.พรสุข จงประสิทธิ์ (ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักยุทธศาสตร์) และวิศวกรอีก 4 ท่านคือ ดร.ทิพวรรณ วันวิเวก ดร.ชยพล อินอาน นายนิรันดร์ เตชาธาราทิพย์ และนายดิศพัฒน์ สวัสดิส์ ขุ ติ กุล ได้จดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ เดินทางไปประเทศญีป่ นุ่ โดยมีเป้าหมายในการไปประเมินศักยภาพและความพร้อมของเครือ่ งมือ ในการพัฒนาดาวเทียมของ Hokkaido University ณ เกาะฮอกไกโด Dr. Takahashi ได้พาคณะของเราได้เข้าเยีย่ ม ชม Space Mission Center ซึ่งตั้งอยู่ใน Creative Research Institution ซึ่งชิ้นส่วน Payload และระบบควบคุมพลังงานความร้อนได้ถูกออกแบบ

DELIVERING VALUES FROM SPACE

7


GISTDA การประยุ กต์ใช้เทคโนโลยี

Clean booth

และพัฒนาขึ้นที่นี่ โดย มี ก ารท� ำ งานแบบครบวงจร ภายในศูนย์ ตัง้ แต่ออกแบบประกอบ และ ทดสอบ เพื่อให้ได้ชิ้นส่วนในระดับ Flight model ในการติดตัง้ บนดาวเทียม ในห้องปฏิบตั กิ ารมีเครือ่ งมือ ในการพัฒนา อาทิเช่น Clean booth (class 100) ส�ำหรับ ประกอบชิ้นส่วนดาวเทียม Thermal chamber ส�ำหรับทดสอบ ระบบควบคุมความร้อน

Dr. Takahshi ให้จัดทีมงานมาเล่า แนวทางการพัฒนาดาวเทียมให้เราฟังด้วย โดย Dr. Totani จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาระบบ Thermal control บน Micro-Sat และ Dr. Kurihara ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านระบบ Payload ได้เล่าเกี่ยวกับ Liquid Crystal Tunable Filter (LCTF) ซึ่ง LCTF นี้ใช้ส�ำหรับพัฒนา Satellite Payload แบบ Multi-spectrum และ Hyper-spectrum จุดเด่นของ LCTF คือการเลือกแถบสเปคตรัมตามที่ต้องการ (400-1000 นาโนเมตร: nm) ได้ 8

GISTDA AROUND THE WORLD

Clean booth

Thermal Chamber ขนาดเล็ก


Thermal Chamber

GIS ในกิจการประมง

GIS for Carbon Management

หลั ง จากที่ เราได้ พู ด คุ ย กั บ ที ม พั ฒ นาดาวเที ย มแล้ ว เรายังได้พบกับทีมพัฒนาแอพลิเคชั่นด้วย ศาสตราจารย์ Sei-Ichi Saitoh ผู้เชี่ยวชาญด้านการประมงของมหาวิทยาลัยฮอกไกโด เล่าให้ฟังเกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าและแนะน�ำชาวประมงในแถบ ตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะฮอกไกโดในการออกหาปลาโดยอาศัย ข้อมูล GIS มาช่วยสนับสนุน ด้วยการใช้ข้อมูลจากดาวเทียมเป็น ข้อมูลน�ำเข้าแล้วประมวลผลด้วยโปรแกรม TOREDAS เพือ่ ประเมิน ต�ำแหน่งของกลุ่มปลา (Potential fishing zone prediction) ติดตาม ทิศทางที่ฝูงปลาว่ายจะไปเพื่อการเพิ่มโอกาสในการจับปลาได้ มากขึ้ น โดยศึ ก ษาการเปลี่ ย นแปลงของตั ว แปรอุ ณ หภู มิ ที่ เหมาะสมส�ำหรับการท�ำนายทิศทางการว่ายของปลาชนิดต่างๆ และข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการวิ เ คราะห์ จ ะถู ก ตรวจสอบกั บ ข้ อ มู ล ที่ เก็บได้จากทุ่น (Buoy) อีกด้วย นอกจากนี้ยังมีศูนย์วิจัยด้านอื่นๆ ทีป่ ระยุกต์ใช้ขอ้ มูลภาพถ่ายดาวเทียมเพือ่ จัดการปัญหาด้านต่างๆ เช่น การจัดการไฟป่าโดยใช้ขอ้ มูลจาก Multi-spectral/Hyper-spectral Camera การบริหารจัดการการปล่อยสารประกอบคาร์บอนในป่าพรุ โดยใช้ GIS จากหลายแหล่งประกอบกัน รวมถึงคิดค้นนวัตกรรม ที่มีพื้นฐานมาจากการประมวลข้อมูลขนาดมหาศาล (Big data) เพือ่ น�ำมาใช้ในการประมวลผลข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจากกล้อง Hyper-spectral ที่มีปริมาณข้อมูลจ�ำนวนมากได้ ตัวอย่างเช่น ผลงาน Laboratory Media dynamics ของ ศาสตราจารย์ Miki Haseyama

Media dynamics

ตามรอยเทคโนโลยี ก ารพั ฒ นาดาวเที ย ม ขนาดเล็กยังไม่จบนะครับ โปรดติดตามต่อในฉบับหน้า

DELIVERING VALUES FROM SPACE

9


GISTDA ON TOUR

สทอภ. เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ The 2nd ASEAN Workshop on Ground Station Experts Exchange สทอภ. เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร The 2nd ASEAN Workshop on Ground Station Experts Exchange เมือ่ วันที่ 28-29 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุม อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ สทอภ. อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยมีผแู้ ทนจากประเทศอาเซียน ประกอบด้วย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม กัมพูชา บรูไน และประเทศไทย จ�ำนวน 50 คน เข้าร่วมประชุม การประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารดังกล่าว มีวตั ถุประสงค์เพือ่ การแลกเปลีย่ นประสบการณ์ในการปฏิบตั กิ ารสถานีภาคพืน้ ดิน ดาวเทียมส�ำรวจระยะไกล การบ�ำรุงรักษา การวิจัยและพัฒนา รวมถึงการประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียมของประเทศต่างๆ ใน ภูมภิ าคอาเซียน ซึง่ ผูแ้ ทนจากประเทศอาเซียนผูเ้ ข้าร่วมประชุม ได้น�ำเสนอความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการส�ำรวจโลกและ การประยุกต์ข้อมูลดาวเทียมของแต่ละประเทศ จากผลการประชุมหารือ ที่ประชุมได้มีมติร่วมกัน ที่จะยกระดับความร่วมมือในการส�ำรวจโลกด้วยดาวเทียม ของภูมภิ าค เพือ่ การใช้ประโยชน์จากดาวเทียมส�ำรวจโลกร่วมกัน

10

GISTDA AROUND THE WORLD

The 2nd ASEAN Workshop on Ground Station Experts Exchange organized at Space Krenovation Park, GISTDA, Thailand GISTDA hosted The 2nd ASEAN Workshop on Ground Station Experts Exchange on November 28-29, 2013. The venue of the workshop was Space Krenovation Park, Siracha, Chonburi Province, Thailand. 50 participants included delegates from some ASEAN countries: Malaysia, Indonesia, Vietnam, Cambodia, Brunei Darussalam and Thailand. Exchange of experiences in the operation of Remote Sensing satellite ground station, maintenance, R&D as well as the utilization of the satellite data from each country were discussed. In conclusion, the participants agreed to cooperate more in order to co-create value from earth observation satellites.


ฝ่ าความหนาว เพื่อค้นหาเทคโนโลยีดาวเทียมที่ซ่อนตัวอยู ่ ณ เมืองซั ปโปโร เช้าวันที่ 5 มกราคม 2557 คณะเดินทางน�ำโดย ดร.พรสุ ข จงประสิ ท ธิ์ ก็ ไ ด้ เ ดิ น ทางมาถึ ง ท่ า อากาศยาน New Chitose, Sapporo ทันทีที่ก้าวถึงแผ่นดินแดนปลาดิบ เราก็คน้ พบว่าต้องเผชิญกับความหนาวมากกว่าทีค่ ดิ ไว้ อากาศเย็น ซึมผ่านเสือ้ กันหนาวของเรามาอย่างง่ายดาย ด้านนอกของสนามบิน มีหิมะปกคลุมไปทั่ว ซึ่ง Yahoo weather ได้ให้ข้อมูลว่าวันนี้ อุณหภูมิสูงสุดไม่เกิน -1 องศาเซลเซียสแน่นอน หนาวนะเนี่ย แต่ถึงจะหนาวแค่ไหนเป้าหมายของเราจะต้องส�ำเร็จ....พรุ่งนี้ เจอกัน!!!

Clean Booth

พื้นที่ท�ำงานใน Clean Booth

Thermal Chamber

ตู้ทดสอบอุณหภูมิรุ่นเก่า

วันที่ 6 มกราคม 2557 คณะฯ ออกเดินทางไปยัง Hokkaido University เพื่ อ พบกั บ บุ ค คลซึ่ ง เป็ น กุ ญ แจส� ำ คั ญ ที่จะน�ำเราไปรู้จักกับเทคโนโลยีดาวเทียม ขนาดเล็กที่ซ่อนตัวอยู่ในเกาะเหนือของ ประเทศญี่ปุ่น ด้วยระยะทางประมาณ 1,200 เมตร ไม่ใกล้และไม่ไกลจนเกินไป ประกอบกับไม่มีหิมะตกและลมแรง เราจึงออกเดินฝ่าหิมะ ไปยังจุดหมาย ข้อมูลใหม่ที่ได้รู้มาคือ หิมะเพิ่งตกมาได้ ไม่นานยังไม่หนามาก เพียงแค่ 50 ซม. ซึ่งช่วงที่หิมะตก มากที่สุด สามารถหนาได้ถึง 2 เมตร !!! แล้ ว เราก็ ไ ด้ ม าพบกั บ คนที่ เราตามหา Prof. Takahashi Yukihiro, Director of Space Mission Center, Creative Research Institution, Hokkaido University เจอกั น ก็ จั บ มาเลคเชอร์ ถึ ง เรื่ อ งดาวเที ย มขนาดเล็ ก ที่ Hokkaido University และพั น ธมิ ต รร่ ว มกั น พั ฒ นานั้ น เป็นดาวเทียม Micro-Satellite ขนาด 50 กิโลกรัม แบบ ควบคุมการวางตัว 3 แกน (3 axis attitude control) มี Payload เป็นกล้อง Liquid Crystal Tunable Filter - LCTF Telescope สามารถถ่ายภาพได้หลายช่วงคลื่นโดยอาศัย LCTF เป็นเครื่องมือแย่งช่วงคลื่นของแสง Bus หรื อ ตั ว ดาวเที ย ม พั ฒ นาโดย Tohoku University ซึง่ ได้รบั การถ่ายทอดเทคโนโลยีมาจากบริษทั NEC และ Payload พัฒนาโดย Hokkaido University อาจารย์ อาจจะเกรงว่าเราจะไม่เชื่อว่าทางมหาวิทยาลัยสามารถ พัฒนาดาวเทียมได้เอง จึงได้พาเราเข้าไปเยี่ยมชม Space Mission Center ด้ ว ย ซึ่ ง ภายในจะมี ห ้ อ งปฏิ บั ติ ก าร ในการพัฒนาชิ้นส่วนต่างๆ ของดาวเทียม ซึ่งมีเครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่จ�ำเป็นในการท�ำงาน เช่น Thermal Chamber ใช้ส�ำหรับทดสอบเกี่ยวกับอุณหภูมิ เป็นต้น และ ในห้องยังมี Clean Booth ไว้สำ� หรับการประกอบชิน้ ส่วนต่างๆ อีกด้วย DELIVERING VALUES FROM SPACE

11


เรื่องเล่านอกกรอบ

อุณหภูมิ ในอวกาศ กี่องศา

?

การวัดค่าอุ ณหภูมใิ นอวกาศเป็นเรื่องที่ยุง่ ยาก ซั บซ้อน เนื่องจากอุ ณหภูมิเป็ นค่าที่มีความหมายเพียง เมื่อความร้อนสามารถถ่ายโอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง

ในอวกาศ ในขณะที่อุณหภูมิของอนุภาคมีค่าสูงมากๆ ความหนาแน่น ของอนุภาคจะมีค่าต�่ำ ดังนั้นความสามารถในการถ่ายโอนความร้อนจะอยู่ในระดับ ต�่ำสุด ทั้งนี้อุณหภูมิของอนุภาคเหล่านี้อาจจะมีค่าเป็นล้านองศาเคลวิน แต่เนื่องจาก อนุภาคเหล่านีอ้ ยูห่ า่ งกันจนแทบจะไม่มโี อกาสชนกัน ผลก็คอื ปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ จริง ของอุณหภูมิ หรือการแลกเปลี่ยนความร้อนจึงไม่เกิดขึ้น ดังนั้นอุณหภูมิในอวกาศ จึงเป็นเรื่องของการเคลื่อนไหวและความหนาแน่นของโมเลกุล โดยจะพิจารณาถึง ความถี่ของการชนกันของโมเลกุลเพื่อรับหรือสูญเสียพลังงาน การหาค่าอุณหภูมิจะต้องใช้กฎของพลังค์ (Planck’s law) ซึ่งกล่าวไว้ว่า ทุกวัตถุในจักรวาลปลดปล่อยรังสีตามอุณหภูมิของมัน จากการเฝ้าสังเกตรังสีที่ถูก ปลดปล่อยออกมาจากอวกาศและใช้สมการของพลังค์ นักวิทยาศาสตร์พบว่าค่า อุณหภูมิดังกล่าวมีค่า 2.725 องศาเคลวิน ทั้งนี้แต่ละส่วนของอวกาศจะมีค่าอุณหภูมิ ทีแ่ ตกต่างกันออกไป ส�ำหรับกาแล็คซีท่ างช้างเผือกทีซ่ งึ่ มีโลกอยูจ่ ะมีอณ ุ หภูมคิ อ่ นข้าง อุ่นกว่าอวกาศในส่วนอื่นๆ

ที่มา : http://www.space.mict.go.th/knowledge.php?id=temperatureinspace

12

GISTDA AROUND THE WORLD


GPS ร้านแม่เล็ก เต้าหู้ด�ำ เจ้าแรกโพธาราม ที่อยู่ร้าน : 17 ถ. ราษฎรอุทิศ หรือ ซอยจับกัง ต.โพธาราม อ.โพธาราม จ.ราชบุรี 70120 โทร : 032-231-429 Taohoodum.Lek

กับร้านเด่นโดนใจ

มพู ช้างช

สวัสดีปี ม.ม้าคึกคัก

นะคะคุณผู้อ่าน ปีใหม่หยุดยาว ช้างชมพูก็คึกคักตามประสาคน ปีม้า ออกท่องเที่ยวเป็นว่าเล่น ตะลอนมาจนถึ ง อ.โพธาราม จ.ราชบุ รี ก็ บ ่ า ยโมงกว่ า แล้ ว ความหิวก็เข้าสิงสิคะ หันซ้ายแลขวา ป๊ะเข้าให้กับป้าย “เต้าหู้ด�ำ ร้าน แม่เล็ก” .. เอ๊ะ !! เต้าหู้ด�ำ?? อะไร อ่ ะ ท� ำ ไมด� ำ ?? กิ น ได้ ? ? อร่ อ ยมั๊ ย ?? พลันไม่ชกั ช้าร�ำ่ ไรเลีย้ วปร๊าดจอดหน้าร้าน หาโต๊ะนัง่ ได้เมนูมา ว๊ายท�ำไมเต้าหู้ด�ำเอามาท�ำอาหารได้เยอะและน่ากินอย่างนี้ล่ะ

“เต้าหู้ด�ำ ร้านแม่เล็ก” เป็นร้านท�ำเต้าหู้ด�ำเจ้าแรก และเป็น

สูตรดัง้ เดิม ตัง้ อยูท่ ี่ อ.โพธาราม จ.ราชบุรี ด�ำเนินกิจการมามากกว่า 50 ปีแล้วค่ะ ลักษณะของเต้าหู้ด�ำนั้น ไม่ต่างจากเต้าหู้ขาวสักเท่าไหร่ เพราะท�ำมาจาก เต้าหูข้ าวนั่นเอง โดยน�ำไปต้มในน�ำพะโล้พร้อมสมุนไพรชนิดอื่นนาน 3 วัน ก็จะได้เต้าหู้ด�ำที่แสนอร่อย ส่วนรสชาติของเต้าหู้ด�ำจะออกหวานเค็มนุ่ม ละมุนลิ้น สามารถทานเล่นเปล่าๆได้เลย หรือใครอยากน�ำไปปรุงอาหารเพิ่ม ก็ได้หลากหลายสารพัดเมนูค่ะ ไม่ว่าจะเป็น ทอด ผัด ย�ำ ท�ำแกง และมื้อนี้ ช้างชมพูได้สั่งเมนูที่ขึ้นชื่อลือชาของร้านเลยค่ะ ใครมาเป็นต้องสั่ง นั่นก็คือ ย�ำเต้าหู้ด�ำ, เต้าหู้ด�ำผัดกระเพรา, แกงป่าเต้าหู้ด�ำ, เต้าหู้ด�ำผัดถั่วงอก และ ที่ขาดไม่ได้เลยค่ะคือพะโล้นั่นเอง เมนูฟังดูอาจดูธรรมดาโลกมาก แต่รสชาติ นั้นไม่ธรรมดาเลยค่ะ ( .. อ๊ะๆๆๆ คุณผู้อ่านคงคิด ช้างชมพูจ๊ะหล่อนจะสั่ง อะไรเยอะแยะตัง้ 6 อย่าง?? ขอบอกตรงนีเ้ ลยนะคะว่า มันเป็นเรือ่ งธรรมชาติ ของช้างชมพูม๊ากมากค่ะ) โอย .. อิม่ มาก แถมยังได้รคู้ วามลับของร้านนีอ้ กี อย่างนะคะ ลูกค้า บางคนก็ขอน�้ำที่ต้มเต้าหู้เพื่อน�ำกลับไปท�ำพะโล้ ซึ่งทางร้านก็ไม่หวงลูกค้า เลยค่ะ เพราะน�้ำที่เหลือจากการต้มเต้าหู้ ร้านเค้าไม่ได้น�ำไปต้มต่อ เพราะจะ ท�ำให้รสชาติของเต้าหูด้ ำ� เปลีย่ นไปจากสูตรดัง้ เดิม เค้ายังแอบบอกอีกนะคะว่า การท�ำเต้าหู้ด�ำแต่ละครั้งต้องปรุงรสและท�ำน�้ำใหม่ทุกครั้งด้วยสูตรเฉพาะ ของทางร้านค่ะ ... นั่นแน่ หิวกันแล้วสิคะ เสาร์ อาทิตย์ไหนว่างๆ ก็ขับรถพา ครอบครัวมาเที่ยว จ.ราชบุรี และอย่าลืมแวะทานเต้าหู้ด�ำกันนะคะ เป็นอาหารดีของไทยอีกอย่างเลยทีเดียวค่ะ เต้าหู้ด�ำผัดกระเพรา เต้าหู้ด�ำใส่เห็ดฟางหมูสับผัดน�้ำมันหอย

ที่มา : http://ww w oodta.co m/info/ ร้านแม่เล็ก-เ.sตad ้าหู้ด�ำ-เจ้าแรก http://www.man โพธาราม ViewNews.aspx?ager.co.th/iBizchannel/ NewsID=95500 00100331

DELIVERING VALUES FROM SPACE

13


ถามมาตอบไป เทคโนโลยีอวกาศ คือ อะไร???

ความหมายของเทคโนโลยีอวกาศ อวกาศ หมายถึง อาณาบริวเวณอันกว้างใหญ่ที่อยู่เลย ชั้ น บรรยากาศของโลกออกไป ไม่ ส ามารถระบุ ถึ ง ขอบเขตได้ อย่างชัดเจน โดยปกติอวกาศเป็นที่ว่างเปล่า มีความหนาแน่นน้อย การศึกษาความรูเ้ กีย่ วกับอวกาศจ�ำเป็นต้องใช้ความรู้ เครือ่ งมือ และ กลวิธีทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ ดังนั้น เทคโนโลยีอวกาศ จึงหมายถึง ระเบียบการน�ำ ความรู้ เครื่องมือและวิธีการต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์มาปรับใช้ให้ เหมาะสมกับการศึกษาทางด้านดาราศาสตร์ และอวกาศ ตลอดจน สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติ และ การด�ำรงชีวิตของมนุษย์ด้วย เช่น การน�ำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ ส�ำรวจและตรวจสอบสภาพอากาศของโลก เป็นต้น ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ ปัจจุบันสิ่งประดิษฐ์ที่อาศัยความรู้ทางด้านเทคโนโลยี อวกาศมีมากมายหลายชิน้ โดยเฉพาะการสร้างดาวเทียมประเภทต่างๆ ขึน้ มาช่วยอ�ำนวยประโยชน์ตอ่ การด�ำรงชีวติ ของมนุษย์ในหลายๆ ด้าน ที่ส�ำคัญ ได้แก่ การสื่อสาร ดาวเทียมสื่อสาร เป็นดาวเทียมที่ท�ำหน้าที่เป็นสถานี รับส่งคลืน่ วิทยุเพือ่ การสือ่ สารและโทรคมนาคม ทัง้ ทีเ่ ป็นการสือ่ สาร ภายในประเทศและระหว่างประเทศ ส่วนใหญ่ใช้ส�ำหรับกิจการ โทรศัพท์ โทรเลข โทรสาร รวมทั้งการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ และสัญญาณวิทยุ

14

GISTDA AROUND THE WORLD

การพยากรณ์อากาศ ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ท�ำหน้าที่ส่งสัญญาณภาพถ่าย ทางอากาศทีป่ ระกอบด้วยข้อมูลทางอุตนุ ยิ มวิทยา เช่น จ�ำนวนและ ชนิดของเมฆ ความแปรปรวนของอากาศ ความเร็วลม ความชื้น อุณหภูมิ ท�ำให้สามารถเตือนภัยที่เกิดจากธรรมชาติต่างๆ โดย เฉพาะการเกิดลมพายุ การส�ำรวจทรัพยากรธรรมชาติ ดาวเทียมส�ำรวจทรัพยากรธรรมชาติ เป็นดาวเทีย่ มที่ ถูกใช้เป็นสถานีเคลื่อนที่ส�ำรวจดูพื้นที่ผิวโลกและการเปลี่ยนแปลง ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ท�ำให้ทราบข้อมูลทัง้ ทางด้านธรณีวทิ ยา นิเวศวิทยา เป็นประโยชน์ด้านการเกษตรและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ตัวอย่างดาวเทียมส�ำรวจทรัพยากร ได้แก่ ดาวเทียม IKONOS, ดาวเทียม QUICKBIRD, ดาวเทียม RADARSAT-1, ดาวเที ย ม LANDSAT-5, ดาวเที ย ม SPOT-5, ดาวเที ย ม LANDSAT-7, ดาวเทียม Thaichote เป็นต้น ดาวเทียม RADARSAT-1 ดาวเทียม Thaichote ดาวเทียม IKONOS


GISTDA for Fun

สนุกง่ายๆ่

ทายสิทไี หนเอ่ย?

ส�ำหรับ ท่านแรกที่ทายถูก รับไปเลยหมอน 2in1 สุดน่ารัก จาก GISTDA หมดเขตภายใน วันที่ 1 พฤษภาคม 2557

5

Where is it

???

กติกา... แค่ดูภาพถ่ายจากดาวเทียม

แล้วทายว่าเป็นภาพถ่ายจากสถานที่ใด จากนั้นส่งค�ำตอบ พร้อมทั้ง ชื่อ นามสุกล ที่อยู่ ที่พร้อมจัดส่ง มาที่ E-mail: pr@gistda.or.th

เฉลยค�ำถ

“สนามบ ามครั้งท่แี ล้ว ินสุวรรณ ภูมิ”

รายชื่อผู้โชคดี ที่ได้รับรางว ัล 1. ธัญลักษณ์ เอี่ยมณรงค์ ฤทธิ์ 2. ชนินทร์ ทรงชน 3. วีระ คุรุวิจักษณ์ 4. อาทิตย์ สมวาที 5. วิจิตรา คณโฑแก้ว

DELIVERING VALUES FROM SPACE

15


GISTDA ร่วมกับ ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ทัง้ 5 แห่งทั่วประเทศ (ม.เชี ยงใหม่ ม.นเรศวร ม.ขอนแก่น ม.บู รพา และ ม.สงขลานครินทร์)

ขอเชิ ญชวนน้องๆ ระดับมัธยมศึกษารวมกลุ่มกันไม่เกินทีมละ 10 คน ส่งผลงานการออกแบบสื่อการเรียนการสอนทางด้านภูมศิ าสตร์ ไม่จ�ำกัดรู ปแบบและเนื้อหา ขอเพียงมีความน่าสนใจและน�ำไปใช้งาน ได้จริง ในการประกวดสื่อภูมสิ ารสนเทศครัง้ ที่ 3 หรือ GMC 2014 Contest เพื่อชิ งเงินทุนผลิตสื่อฯ มู ลค่ารวม 150,000 บาท พร้อม โอกาสเข้ามาฝึ กอบรมการสร้างสื่อภูมสิ ารสนเทศ ที่กรุ งเทพมหานคร เป็นเวลา 1 สัปดาห์ เริ่มเปิ ดรับสมัครตัง้ แต่วันที่ 1 ก.พ. – 31 พ.ค. 57 ดาวน์โหลดใบสมัครและรายละเอียดเพิ่มเติมอื่น ที่ www.facebook.com/gmc2014 ส�ำหรับใครที่ยังไม่มีไอเดีย สามารถติดตามตัวอย่างสื่อการสอนภูมิศาสตร์ท่นี ่าสนใจ จากต่างประเทศได้จากแฟนเพจนี้ท่ีเดียวเท่านัน้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.