หลักสูตรฝึกอบรม เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจำปี 2556

Page 1




ที่ วท 5309/ว 4267 21 ธันวาคม 2555 เรื่อง ขอเชิญเข้ารับการฝึกอบรมเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจำาป 2556 เรียน ลูกค้าผู้มีอุปการคุณ สิ่งที่ส่งมาด้วย 1. เอกสารการฝึกอบรมเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจำาป 2556 จำานวน 1 เล่ม สิ่งที่ส่งมาด้วย 2. แบบฟอร์มสมัครเข้ารับการฝึกอบรมฯ ประจำาป 2556 จำานวน 1 ชุด สิ่งที่ส่งมาด้วย 3. โปรโมชั่นการฝึกอบรมฯ ประจำาป 2556 จำานวน 1 แผ่น สำานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทอภ. ได้เล็งเห็นความสำาคัญของ การนำาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาประเทศ ซึ่งขณะนี้มีความก้าวหน้าและมีเทคโนโลยีใหม่เกิดขึ้น อย่างหลากหลาย สทอภ. จึงได้กำาหนดหลักสูตรการฝึกอบรมเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจำาป 2556 ให้มีความรู้ ความสามารถในการนำาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ไปใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากร สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติและสนับสนุน ภารกิจของหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้ง เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับงานด้านภูมิสารสนเทศ อันจะเปน ประโยชน์อย่างสูงต่อการพัฒนาประเทศ และประชาชนโดยรวมต่อไป สทอภ. จึงใคร่ขอเชิญหน่วยงานพิจารณาส่งบุคลากรเข้ารับการฝึกอบรมฯ ประจำาปงบประมาณ 2556 ซึ่งสามารถ ศึกษารายละเอียดและเนื้อหาแต่ละหลักสูตรตามสิ่งที่ส่งมาดวย 1-3 และสามารถส่งแบบฟอร์มสมัคร เข้ารับการฝึกอบรมฯ ตามสิ่งที่ ส่งมาดวย 2 หรือสมัครแบบออนไลน์ผ่านทาง Website http://training.gistda.or.th ที่ได้ชำาระเงินค่าลงทะเบียนเรียบร้อยแล้ว โดย กำาหนดรับหลักสูตรละ 30 คน สำาหรับผู้สมัครหลังจากมีผู้สนใจสมัครครบจำานวนในแต่ละหลักสูตรแล้ว สทอภ. จะพิจารณาเปด หลักสูตรนั้นๆ ในโอกาสต่อไป และจะแจ้งให้ทราบก่อน การเปดฝึกอบรมฯ ประมาณ 4 สัปดาห์ ทั้งนี้ สำาหรับปงบประมาณ 2556 มีโปรโมชั่นการฝกอบรมฯ พิเศษ ดังมีรายละเอียดตามโปรโมชั่นตามสิ่งที่ส่งมาดวย 3 อนึ่ง ผู้เข้ารับการฝึกอบรมฯ สามารถเบิกจ่าย ค่าลงทะเบียน ค่าเดินทาง และอื่นๆ ได้ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ในอัตราค่าใช้จ่ายจริงที่หน่วยงานผู้จัดฝึกอบรมเรียกเก็บ โดยเบิกจ่ายจากต้นสังกัด เมื่อได้รับอนุญาต จากผู้บังคับบัญชาแล้ว จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาส่งผู้สนใจเข้ารับการฝึกอบรมฯ ดังกล่าวข้างต้น และใคร่ขอขอบคุณ มา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนับถือ

(นายสุรชัย รัตนเสริมพงศ์) รองผู้อำานวยการ ปฏิบัติงานแทนผู้อำานวยการ สำานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ โทร. 0 2141 4597 และ 0 2141 4608 โทรสาร 0 2143 9594-5 E-mail: training@gistda.or.th Website: www.gistda.or.th


ส�รจ�กผูอำ�นวยก�ร ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผูอำ�นวยก�รสำ�นักง�นพัฒน�เทคโนโลยีอวก�ศ และภูมิส�รสนเทศ (สทอภ.)

สำา

นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทอภ. ได้เล็งเห็นความสำาคัญ ของการนำาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาประเทศ ซึ่งขณะนี้ มีความ ก้าวหน้าและมีเทคโนโลยีใหม่เกิดขึ้นอย่างหลากหลาย ประกอบกับปจจุบันรัฐบาล มีนโยบายในการส่งเสริมและ สนับสนุนให้ใช้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศทั้งในภาครัฐ และภาคเอกชน ในการวางแผนยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ บริหารจัดการทรัพยากร สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น สทอภ. จึงได้กำาหนดหลักสูตรการฝึก อบรมเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ประจำาปงบประมาณ 2556 มีหลักสูตรตั้งแต่ระดับพื้นฐานไป จนถึงการใช้ประโยชน์ รวม 7 หลักสูตร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากร ให้มีความรู้ความสามารถในการนำา เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ไปใช้ในการบริหารจัดการ ทรัพยากร สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ และสนับสนุน ภารกิจของหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้ง เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับงานด้าน เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ อันจะเปนประโยชน์อย่างสูงต่อการพัฒนาประเทศ และประชาชนโดยรวม ต่อไป สทอภ. จึงใคร่ขอต้อนรับและขอบพระคุณทุกท่านที่เข้ารับการฝึกอบรมฯ ประจำาปงบประมาณ 2556 และหวังเปนอย่างยิ่งว่าการฝึกอบรมฯ ดังกล่าว จะบรรลุวัตถุประสงค์ที่หวังไว้ทุกประการ

ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำานวยการสำานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ


ส�รบัญ หน้า ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำาหรับผูเริ่มตนใชงาน (GIS for Beginners)

7

เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรสิ่งแวดลอมและภัยพิบัติ สำาหรับผูบริหารประจำาป 2556 (Geo-Informatics for Environment, Natural Resources and Disaster Management for Executives)

11

การจัดการฐานขอมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ดวย OGC/ISO Spatial Database (GIS Database Management with OGC/ISO Spatial Database)

17

การวิเคราะห์ขอมูลเชิงพื้นที่และการสรางแบบจำาลองในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Spatial Analysis and Modeling in GIS)

21

การประมวลผลและแปลความหมายขอมูลจากดาวเทียม (Satellite Image Processing and Interpretation)

25

การพัฒนาและเผยแพร่ขอมูลภูมิสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต (Internet GIS and Web Map Server Development)

31

การประยุกต์ภูมิสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการภัยพิบัติ (Applied Geo-Informatics for Disaster Management)

35

แบบฟอร์มสมัครเขารับการฝกอบรมเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศประจำาป 2556

42

6

Space & Geo-Informatics Training 2013


GIS for Beginners ระบบส�รสนเทศภูมิศ�สตรสำ�หรับผูเริ่มตนใชง�น

11 – 15 กุมภ�พันธ 2556 ระยะเวล�ก�รฝึกอบรม 5 วัน ณ หองฝึกอบรม ชั้น 3 อ�ค�ร สทอภ. ถนนพหลโยธิน แขวงล�ดย�ว เขตจตุจักร กทม.

เนื้อห�หลักสูตร

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) เปนเครื่องมือที่มีบทบาทสำาคัญในการสนับสนุน การตัดสินใจและวิเคราะห์ปญหาในเชิงพื้นที่ สามารถนำาเข้า ปรับปรุง แก้ไข วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ประกอบกับปจจุบันระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ถูกนำามาใช้ประโยชน์ในงานด้านต่างๆอย่างแพร่หลาย เช่น การจัดการสิ่งแวดล้อม การวางผังเมือง การจัดการชุมชนและการจัดการภัยพิบัติ ฯลฯ การเข้าใจกระบวนการทำางาน ของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จึงเปนสิ่งสำาคัญ สทอภ. เล็งเห็นความสำาคัญของความต้องการดังกล่าว จึงเปดการฝึกอบรม หลักสูตร ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำาหรับผูเริ่มตนใชงาน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจการทำางานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ขั้นพื้นฐาน สามารถนำา ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับงานของตนเองได้ เนื้อหาภายในหลักสูตรจะทำาให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการทำางานของระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ เข้าใจวิธีการสร้างการจัดการข้อมูล เข้าใจการเชื่อมโยงระหว่างระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กับ การรับรู้จากระยะไกลและระบบกำาหนดตำาแหน่งบนโลก ตลอดจนการใช้ประโยชน์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในด้านต่างๆ ผ่านการฝึกปฏิบัติการใช้งานโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่ทันสมัยเพื่อเปนพื้นฐานในการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ ในระดับสูงต่อไป

ผูทรงคุณวุฒิ ประจำ�หลักสูตร

รศ. ดร.สุระ พัฒนเกียรติ ผู้อำานวยการศูนย์วิจัยและฝึกอบรมภูมิสารสนเทศสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

สิ่งที่ผูเข�รับก�รฝึกอบรมจะไดรับ

• เข้าใจหลักการพื้นฐานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ • เข้าใจกระบวนการทำางาน วิธีการและเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ • เข้าใจความสัมพันธ์และความเชื่อมโยง ตลอดจนประโยชน์ของเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (GIS RS และ GPS) • สามารถใช้งานโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อสร้าง ปรับปรุง แก้ไข จัดการ วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูล เชิงพื้นที่ได้

Space & Geo-Informatics Training 2013

7


หลักสูตรเหม�ะสำ�หรับ

ผู้ที่ต้องการเรียนรู้การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ พื้ น ฐานและผู้ที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับการใช้งานข้อมูลภูมิ สารสนเทศในด้านต่างๆ เช่น การบริหารจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม การใช้ที่ดิน การเกษตร การจัดทำาแผนที่ รวมถึงบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครู อาจารย์ นิสิต นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป

วิธีก�รฝึกอบรม

• การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ • การสร้างแบบจำาลองเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ เบื้องต้นโดยใช้ Model Builder • การแสดงผลและการจัดทำาแผนที่ • การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านต่างๆ

ซอฟตแวรที่ใช ArcGIS

การบรรยาย • หลักการพื้นฐานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ • ระบบพิกัดและหลักการอ่านแผนที่เบื้องต้น • ระบบการจัดการฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ • การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ • การสร้างแบบจำาลองเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ เบื้องต้นโดยใช้ Model Builder • โครงสร้างพื้นฐานภูมิสารสนเทศของประเทศ (National Spatial Data Infrastructure: NSDI)

คุณสมบัติของผูเข�รับก�รฝึกอบรม :

การปฏิบัติการ • การสร้างความคุ้นเคยกับโปรแกรมและข้อมูลระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ • การอ่านแผนที่ ระบบพิกัด มาตราส่วน ทิศทาง ระยะทางในแผนที่ • การนำาเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย • การปรับปรุงแก้ไขและการจัดการฐานข้อมูลระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ • การสืบค้นข้อมูลเชิงพื้นที่จากฐานข้อมูลระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์

ก�รประเมินผล

8

Space & Geo-Informatics Training 2013

สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในระดับพื้นฐานได้ดี

จำ�นวนผูเข�รับก�รฝึกอบรม :

ผู้เข้ารับการฝึกอบรมไม่เกิน 30 คน โดยพิจารณาตาม คุณสมบัติและเกณฑ์การคัดเลือกของ สทอภ.

ค่�ลงทะเบียน

9,100 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 %) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้รับเกียรติบัตร โดยต้องผ่านเกณฑ์ การประเมินผลการฝึกอบรม ดังนี้ • เข้ารับการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด • ผ่านการทดสอบตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด • ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้ครบถ้วนและมีผลงาน ผ่านตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด


GIS for Beginners กำ�หนดก�ร วันจันทร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2556 08:30 - 09:00 ลงทะเบียน 09:00 - 09:15 แบบฝึกหัดทดสอบความเข้าใจก่อนการฝึกอบรม (Pre-Test) 09:15 - 10:20 บรรยาย: หลักการพื้นฐานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย: หลักการพื้นฐานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (ต่อ) ปฏิบัติการ: การสร้างความคุ้นเคยกับโปรแกรมและข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย: หลักการอ่านแผนที่ ระบบพิกัด มาตราส่วน ทิศทาง ระยะทางในแผนที่ 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การอ่านแผนที่ ระบบพิกัด มาตราส่วน ทิศทาง ระยะทางในแผนที่ วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: การนำาเข้า ปรับปรุง และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเชิงพื้นที่ 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: การนำาเข้า ปรับปรุง และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเชิงพื้นที่ 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย: การนำาเข้า ปรับปรุง ข้อมูลเชิงบรรยายและการเชื่อมโยงฐานข้อมูล 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การนำาเข้า ปรับปรุง ข้อมูลเชิงบรรยายและการเชื่อมโยงฐานข้อมูล วันพุธที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การสืบค้นข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยาย 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: การสืบค้นข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยาย 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ (Spatial Relationship and Spatial Analysis) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ (Spatial Relationship and Spatial Analysis)

Space & Geo-Informatics Training 2013

9


GIS for Beginners กำ�หนดก�ร (ต่อ) วันพฤหัสบดีที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 09:00 - 09:30 บรรยาย: โครงสร้างพื้นฐานภูมิสารสนเทศของประเทศ (National Spatial Data Infrastructure : NSDI) และ GISTDA Metadata and Clearinghouse 09:30 - 10:20 ปฏิบัติการ: การประยุกต์ใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: การประยุกต์ใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (ต่อ) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การประยุกต์ใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (ต่อ) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การประยุกต์ใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (ต่อ) วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การสร้างแบบจำาลองอย่างง่าย (Model Builder) 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: การสร้างแบบจำาลองอย่างง่าย (Model Builder) (ต่อ) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การสร้างและนำาเสนอแผนที่ในรูปแบบต่างๆ 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 15:40 ปฏิบัติการ: การสร้างและนำาเสนอแผนที่ในรูปแบบต่างๆ (ต่อ) 15:40 - 15:50 แบบฝึกหัดทดสอบความเข้าใจหลังการฝึกอบรม (Post-Test) 15:50 - 16:00 อภิปราย/สรุป และให้ข้อเสนอแนะการฝึกอบรม หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงกำาหนดการตามความเหมาะสมและสามารถตรวจสอบ รายละเอียดกำาหนดการล่าสุด ได้ทางเว็บไซต์ http://www.gistda.or.th

10

Space & Geo-Informatics Training 2013


Geo-Informatics for Environment, Natural Resources and Disaster Management for Executives เทคโนโลยีภูมิส�รสนเทศเพื่อก�รบริห�รทรัพย�กรสิ่งแวดลอมและภัยพิบัติ สำ�หรับผูบริห�ร ประจำ�ป 2556 26 - 29 มีน�คม 2556 (ฝึกอบรมในประเทศ)

ระยะเวล�ก�รฝึกอบรม 4 วัน ณ หองฝึกอบรม ชั้น 3 อ�ค�ร สทอภ. ถนนพหลโยธิน แขวงล�ดย�ว เขตจตุจักร กทม.

2 - 5 เมษ�ยน 2556 (ศึกษ�ดูง�นต่�งประเทศ) ระยะเวล�ก�รฝึกอบรม 4 วัน ณ ประเทศญี่ปุ่น

เนื้อห�หลักสูตร

เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo-Informatics) เปนการบูรณาการเทคโนโลยีการรับรู้จากระยะไกล (Remote Sensing: RS) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) และระบบกำาหนดตำาแหน่งบนโลก (Global Positioning System: GPS) เข้าด้วยกัน เทคโนโลยีดังกล่าวมีบทบาทสำาคัญอย่างยิ่งในปจจุบัน โดยเปนเครื่องมือช่วย สนับสนุนการปฏิบัติงานการบริหารงานในหน่วยงาน การวางแผนและการตัดสินใจของทั้งระดับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานและ ผู้บริหารทั้งภาครัฐและเอกชนมากขึ้น ก่อให้เกิดความคล่องตัวในหน่วยงาน ตลอดจนอำานวยความสะดวกให้กับหน่วยงานอื่น หรือบุคคลภายนอก ผู้เกี่ยวข้องกับองค์กรยิ่งขึ้น จากความสามารถและประสิทธิภาพของเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ผู้บริหารที่ เปนนักพัฒนาจำาเปนต้องนำาเทคโนโลยีดังกล่าวมาปรับใช้ อย่างไรก็ตามการใช้งานเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศอย่างเหมาะสม จำาเปนต้องมีการวางแผน กำาหนดกลยุทธ์และบริหารจัดการความเสี่ยงการใช้งานเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการองค์กรในองค์รวมได้ หลักสูตรนี้จึงตอบสนองความต้องการดังกล่าวเพื่อเตรียมความพร้อมสำาหรับผู้บริหาร ในการวางแผนเชิงกลยุทธ์ในการนำาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ และให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อประเทศ

ผูทรงคุณวุฒิ ประจำ�หลักสูตร

ดร.สุรชัย รัตนเสริมพงศ์ รองผู้อำานวยการสำานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ

สิ่งที่ผูเข�รับก�รฝึกอบรมจะไดรับ

• การแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้งานเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • การเตรียมความพร้อมในการวางแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อใช้ประโยชน์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการบริหารจัดการ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติและใช้ประโยชน์ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด • การรับทราบความก้าวหน้า ประโยชน์และประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองค์กรด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ โดยสามารถใช้เปนต้นแบบเพื่อนำามาปรับใช้กับองค์กรของตนได้อย่างเหมาะสม

Space & Geo-Informatics Training 2013

11


หลักสูตรเหม�ะสำ�หรับ

ผู้ บ ริ ห ารหน่ ว ยงานทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนที่ มี บ ทบาท ในการวางแผนและกำาหนดนโยบายการบริหารงานภายใน องค์กร

วิธีก�รฝึกอบรม การบรรยาย ระยะเวลา 2 วัน ณ สทอภ. ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. การศึกษาดูงาน • ในประเทศ 2 วัน ณ สถานีควบคุมและรับสัญญาณ ดาวเทียมไทยโชต จังหวัดชลบุรี การไฟฟ้านครหลวง และ สทอภ. ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ • ต่างประเทศ (ประเทศญี่ปุ่น) 4 วัน

12

Space & Geo-Informatics Training 2013

ค่�ลงทะเบียน

• การฝึกอบรมและศึกษาดูงานภายในประเทศ 15,000 บาท • การฝึกอบรมและศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ 89,000 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 %)


Geo-Informatics for Environment, Natural Resources and Disaster Management for Executives

กำ�หนดการฝึกอบรมในประเทศ วันอังคารที่ 26 มีนาคม 2556 08:30 - 09:00 ลงทะเบียน 09:00 - 09:15 ต้อนรับผู้เข้ารับการฝึกอบรมและแนะนำ�หลักสูตร 09:15 - 10:15 บรรยายพิเศษ เรื่อง “การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบในทศวรรษหน้า” 10:15 - 10:30 พักรับประทานอาหารว่าง 10:30 - 11:30 บรรยายพิเศษ เรื่อง “ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของไทยวันนี้และอนาคต” 11:30 - 12:00 แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:00 บรรยาย เรื่อง “โครงสร้างพื้นฐานภูมิสารสนเทศของประเทศ” (National Spatial Data Infrastructure: NSDI) 14:00 - 14:20 แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 15:40 บรรยาย เรื่อง “การจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติด้วยเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ” 15:40 - 16:00 แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น วันพุธที่ 27 มีนาคม 2556 09:00 - 10:00 บรรยาย เรื่อง “การใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศแบบออนไลน์” 10:00 - 10:20 แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 11:40 บรรยาย เรื่อง “ผลิตภัณฑ์และการให้บริการภูมิสารสนเทศแบบครบวงจร” 11:40 - 12:00 แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 15:30 การเสวนา เรื่อง “ความต้องการและแนวทางการใช้งานเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในองค์กร” วันพฤหัสบดีที่ 28 มีนาคม 2556 08:30 ออกเดินทางจาก สทอภ. บางเขน ถนนพหลโยธิน กทม. ไปจังหวัดชลบุรี 08:30 - 12:00 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดิน เส้นทาง กทม. จังหวัดสมุทรปราการและชลบุรี 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:00 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดิน เส้นทางชลบุรี - อำ�เภอศรีราชา 14:00 - 15:30 ศึกษาดูงานการรับสัญญาณและผลิตข้อมูลจากดาวเทียมสำ�รวจทรัพยากร สทอภ. ณ สถานีควบคุมและรับสัญญาณดาวเทียมไทยโชต อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 15:30 - 17:30 เดินทางกลับ สทอภ. บางเขน ถนนพหลโยธิน กทม.

Space & Geo-Informatics Training 2013

13


Geo-Informatics for Environment, Natural Resources and Disaster Management for Executives

กำ�หนดการฝึกอบรมในประเทศ (ต่อ) วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม 2556 09:30 - 12:00 ศึกษาดูงานการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการไฟฟ้าครบวงจร ณ การไฟฟ้านครหลวง ถนนเจริญกรุง เขตยานนาวา กทม. 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 13:30 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดิน บริเวณ กทม. 13:30 - 15:00 การศึกษาดูงาน การใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศกับการจัดการภัยพิบัติ ณ สทอภ. ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ กทม. 15:00 - 15:30 ชี้แจงรายละเอียดการเดินทางศึกษาดูงาน ณ ประเทศญี่ปุ่น หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงกำ�หนดการตามความเหมาะสมและสามารถตรวจสอบ รายละเอียดกำ�หนดการล่าสุด ได้ทางเว็บไซต์ http://www.gistda.or.th

กำ�หนดการศึกษาดูงานต่างประเทศ (ประเทศญี่ปุ่น) วันจันทร์ที่ 1 เมษายน 2556 21:00 คณะพร้อมกันที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ชั้น 4 เจ้าหน้าที่อำ�นวยความสะดวกในการเช็คอินสัมภาระและเอกสารการเดินทาง 23:00 ออกเดินทางสู่ เมืองนาริตะ ประเทศญี่ปุ่นโดยสายการบินไทย (เวลาเดินทางประมาณ 6 ชั่วโมงบริการอาหารและเครื่องดื่มบนเครื่อง) วันอังคารที่ 2 เมษายน 2556 (นาริตะ-สึกุบะ) 07:30 เดินทางถึง ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ เมืองนาริตะ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น 07:30 - 08:30 พักผ่อนอิริยาบถและทำ�ภารกิจส่วนตัว รับประทานอาหารเช้า 08:30 เดินทางสู่เมืองสึกุบะ (Tsukuba) เมืองวิทยาศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น (เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโมง) 08:30 - 09:30 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดิน เส้นทางนาริตะ-สึกุบะ ด้วยข้อมูลจากดาวเทียม และ GPS 10:30 - 12:00 ศึกษาดูงาน ณ JAXA’s Tsukuba Space Center (TKSC) เมืองสึกุบะ 12:00 - 13:30 รับประทานอาหารกลางวัน 13:30 - 14:30 ศึกษาดูงานด้านการติดตามและวางแผนป้องกันภัยพิบัติ ณ National Research Institute for Earth Science and Disaster Prevention (NIED) เมืองสึกุบะ 14:30 - 15:30 เดินทางเข้าที่พัก ณ กรุงโตเกียว 18:00 รับประทานอาหารค่ำ�

14

Space & Geo-Informatics Training 2013


Geo-Informatics for Environment, Natural Resources and Disaster Management for Executives

กำ�หนดการศึกษาดูงานต่างประเทศ (ประเทศญี่ปุ่น) (ต่อ) วันพุธที่ 3 เมษายน 2556 (โตเกียว-โยโกฮาม่า-เกียวโต) 07:00 รับประทานอาหารเช้า ณ ห้องอาหารของโรงแรม 09:30 - 11:00 ศึกษาดูงาน ณ Remote Sensing Technology Center of Japan (RESTEC) 12:00 - 13:00 รับประทานอาหารกลางวัน 13:30 - 15:00 ศึกษาดูงาน ณ Japan Agency for Marine-Earth Science and Technology (JAMSTEC) เมืองโยโกฮาม่า 15:00 - 18:00 เดินทางเข้าที่พัก ณ กรุงเกียวโต 19:00 รับประทานอาหารค่ำ� วันพฤหัสบดีที่ 4 เมษายน 2556 (เกียวโต-นารา) 07:00 รับประทานอาหารเช้า (ห้องอาหารของโรงแรม) 09:00 - 10:30 ศึกษาดูงานด้านภูมิอากาศ ธรณีวิทยาและชีววิทยา ณ Department of Information and Computer Science, Nara women’s university เมืองนารา 12:00 - 13:00 รับประทานอาหารกลางวัน 13:30 - 17:30 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดินและการตั้งถิ่นฐานเมืองนารา ด้วยข้อมูลจากดาวเทียม และ GPS 17:30 เดินทางกลับเข้าที่พักเมืองเกียวโต 19:00 รับประทานอาหารค่ำ� วันศุกร์ที่ 5 เมษายน 2556 (เกียวโต-โอซาก้า-สนามบินคันไซ) 07:00 รับประทานอาหารเช้า ณ ห้องอาหารของโรงแรม 09:00 - 11:00 ศึกษาดูงาน ณ Research Institute of Humanity and Nature เมืองเกียวโต 11:00 - 12:00 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดินและการตั้งถิ่นฐานเมืองโอซาก้า ด้วยข้อมูลจาก ดาวเทียมและ GPS 12:00 - 13:30 รับประทานอาหารกลางวัน 13:30 - 17:00 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดินและการตั้งถิ่นฐานเมืองโอซาก้า ด้วยข้อมูลจาก ดาวเทียมและ GPS 18:00 รับประทานอาหารค่ำ� 20:30 เดินทางไปท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ 23:30 เดินทางกลับประเทศไทย จากท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ เมืองโอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น โดยสายการบินไทย 06:00 (วันเสาร์) เดินทางถึงท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยสวัสดิภาพ

Space & Geo-Informatics Training 2013

15


Geo-Informatics for Environment, Natural Resources and Disaster Management for Executives หมายเหตุ: 1. กําหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม 2. เวลาเดินทางเปนเวลาประมาณซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

การบริการ 1. ค่าตั๋วเครื่องบินไป-กลับ สายการบินไทย (ชั้นประหยัด) ค่าตั๋วเครื่อง ชั้นธุรกิจ เพิ่มท่านละ 46,500 บาท (ขอมูล ณ เดือนธันวาคม 2555) 2. ค่าอาหารทุกมื้อ ตามที่ระบุในรายการ 3. ค่าที่พักตามระบุในรายการ พักหองละ 2 ท่าน ตามโรงแรมที่ระบุ (พักเดี่ยวเพิ่มท่านละ 8,500 บาท) 4. ค่ารถ รับ-ส่ง ในการศึกษาดูงาน 5. ค่าประกันอุบัติเหตุระหว่างเดินทาง (เงื่อนไขตามกรมธรรม์)

การบริการไมรวม 1. ค่าใชจ่ายส่วนตัว อาทิ ค่าทำาหนังสือเดินทาง ค่าโทรศัพท์ส่วนตัว ค่าซักรีด มินิบาร์ในหอง รวมถึงค่าอาหาร และเครื่องดื่มที่สั่งเพิ่มนอกเหนือรายการ 2. ค่าพาหนะ (แท็กซี่) ภายในประเทศ จากบานหรือหน่วยงาน - สนามบินสุวรรณภูมิ (ไป-กลับ) 3. ค่าน้ำาหนักกระเปาสัมภาระ ที่หนักเกินสายการบินกำาหนด (ปกติ 20 กก.)

หนังสือเดินทาง 1. หนังสือเดินทาง ตองมีอายุเหลือใชงานไม่นอยกว่า 6 เดือน 2. ตั๋วเครือ่ งบินเป็นตั๋วราคาหมู่คณะ กรณีที่ท่านไม่เดินทางพรอมคณะไม่สามารถนำาวันมา เลื่อนหรือคืนเงินได

การยกเลิกเดินทาง 1. ยกเลิกก่อนการเดินทาง ล่วงหนา 45 วัน เก็บค่าใชจ่าย 50% ของราคาค่าลงทะเบียน 2. สทอภ. ขอสงวนสิทธิ์ในการคืนเงินค่าลงทะเบียนในทุกกรณี (ยกเวนตามขอ1) 3. ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงเที่ยวบินทั้งไปและกลับโดยมิตองแจงล่วงหนา

16

Space & Geo-Informatics Training 2013


GIS Database Management with OGC/ISO Spatial Database ก�รจัดก�รฐ�นขอมูลระบบส�รสนเทศภูมิศ�สตรดวย OGC/ISO Spatial Database 29 เมษ�ยน - 3 พฤษภ�คม 2556

ระยะเวล�ก�รฝึกอบรม 5 วัน ณ หองฝึกอบรม ชั้น 3 อ�ค�ร สทอภ. ถนนพหลโยธิน แขวงล�ดย�ว เขตจตุจักร กทม.

เนื้อห�หลักสูตร

ปจจุบันการบริหารจัดการปญหาด้านต่างๆ เช่น การบริหารจัดการชุมชน การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม การจัดการด้านสาธารณสุขและการจัดการด้านสาธารณูปโภค ล้วนใช้ข้อมูลเชิงพื้นที่ช่วยในการวิเคราะห์ และจัดการปญหาทั้งสิ้น แต่ข้อมูลเชิงพื้นที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มักขาดการจัดระเบียบข้อมูลที่ดี มีการซ้ำาซ้อนกัน ของข้อมูลหรือมีการขัดแย้งกันของข้อมูล ส่งผลให้ข้อมูลเชิงพื้นที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เหล่านั้นไม่สามารถนำามาใช้ ช่วยตัดสินใจได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ดังนั้นการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่มีคุณภาพ ไม่มีการซ้ำาซ้อนของข้อมูลหรือเกิดความขัดแย้งของข้อมูลและสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายจึงเปนสิ่งสำาคัญ สทอภ. เล็งเห็นความสำาคัญของปญหาดังกล่าว จึงเปดการฝึกอบรม หลักสูตร การจัดการฐานขอมูลระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ดวย OGC/ISO Spatial Database เพื่อรองรับกระแสการใช้งานข้อมูลเชิงพื้นที่ที่เพิ่มมากขึ้นในปจจุบัน เนื้ อ หาภายในหลั ก สู ต รเน้ น ให้ ผู้ เ ข้ า รั บ การฝึ ก อบรมเข้ า ใจในหลั ก การของฐานข้ อ มู ล เชิ ง พื้ น ที่ ส ามารถออกแบบ และสร้างฐานข้อมูล เชิงพื้นที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ตลอดจนสามารถสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่เบื้องต้น และแสดงผลข้ อ มู ล เชิ ง พื้ น ที่ จ ากฐานข้ อ มู ล ได้ โ ดยรู ป แบบของการฝึ ก อบรมมี ทั้ ง ภาคทฤษฎี แ ละปฏิ บั ติ ค วบคู่ กั น ไป ความรู้ที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับจากหลักสูตรการฝึกอบรม สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาและจัดการฐานข้อมูล เชิงพื้นที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อหน่วยงานต่อไป

ผูทรงคุณวุฒิ ประจำ�หลักสูตร

รศ. ดร.ไพศาล สันติธรรมนนท์ อาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมสำารวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สิ่งที่ผูเข�รับก�รฝึกอบรมจะไดรับ

• ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถสร้างฐานข้อมูลเชิงพื้นที่และจัดการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ได้ • สามารถนำาเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่รูปแบบต่างๆ สู่ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ได้ • สามารถสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่เบื้องต้นผ่านฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ได้ • สามารถแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่จากฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และ Web Map Service ได้ • สามารถปรับแต่ง Web Map Service เบื้องต้นได้ Space & Geo-Informatics Training 2013

17


หลักสูตรนี้เหม�ะสำ�หรับ

ผู้ที่ต้องการเรียนรู้การจัดการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่หรือผู้ที่มี ภารกิจรับผิดชอบด้านการพัฒนาและบริหารจัดการฐานข้อมูล เชิงพื้นที่ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป

วิธีก�รฝึกอบรม การบรรยาย • หลักการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ • การออกแบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ • มาตรฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ (OGC-SFS/SFA /WKT/ WKB) • การสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่เบื้องต้นด้วย PostGIS • หลักการ Internet GIS/ OGC Web Service (OWS) Web Map Service (WMS) Web Feature Service (WFS) Mash-up Map Service: Google Maps • การสร้างและปรับแต่ง Web Map Service เบื้องต้น ด้วย DHTML XHTML XML/XHTMLCSS JAVA และ Python • การใช้งาน Google Map API และ OpenLayers ร่วมกันเพื่อปรับแต่งการใช้งาน Web Map Service การปฏิบัติการ • การติดตั้งโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล Postgre SQL/PostGIS และการอนุญาตใช้งานฐานข้อมูล Database Administration using pgAdmin-III • การสร้าง PostGIS Tables (Insert geometry Add a constraint based on geometry type Populate geometry columns table และ Add geometry record to table) • การนำาเข้าข้อมูลรูปแบบต่างๆ เช่น Shape file และ Map file สู่ PostGIS ด้วย shp2pgsql pgsql2shp ogr2ogr และ spit • การสร้าง Shapefile และ Spatial Indexes ด้วย PostGIS • การสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่เบื้องต้นด้วย PostGIS (Simple spatial queries and simple spatial analysis with SQL Spatial operators) 18

Space & Geo-Informatics Training 2013

• Spatial Database Access and Visualization: GIS Desktop (QGIS and ArcGIS) • การติดตั้ง/เชื่อมต่อ/กำาหนด PostGIS Sources ให้กับ WMS • การแสดง PostGIS Data (Raster และ Vector) บน WMS • การสร้างและปรับแต่ง Web Map Service เบื้องต้น ด้วย DHTML XHTML XML/XHTML CSS JAVA และ Python • การใช้งาน Google Map API และ OpenLayers ร่วมกันเพื่อปรับแต่งการใช้งาน Web Map Service

ซอฟตแวรที่ใช

PostgreSQL/ PostGIS, QGIS, ArcGIS และ MapServer

คุณสมบัติของผูเข�รับก�รฝึกอบรม

• มีความรู้พื้นฐานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ • มีความรู้พื้นฐานการจัดการฐานข้อมูล • มีความรู้พื้นฐาน Web programming

จำ�นวนผูเข�รับก�รฝึกอบรม

ผู้เข้ารับการฝึกอบรมไม่เกิน 30 คน โดยพิจารณาตาม คุณสมบัติและเกณฑ์การคัดเลือกของ สทอภ.

ค่�ลงทะเบียน

10,170 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 %)

ก�รประเมินผล

ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้รับเกียรติบัตร โดยต้องผ่านเกณฑ์ การประเมินผลการฝึกอบรม ดังนี้ • เข้ารับการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด • ผ่านการทดสอบตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด • ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้ครบถ้วนและมีผลงาน ผ่านตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด


GIS Database Management with OGC/ISO Spatial Database กำ�หนดการ วันจันทร์ที่ 29 เมษายน 2556 08:30 - 09:00 ลงทะเบียน 09:00 - 09:30 บรรยาย: โครงสร้างพื้นฐานภูมิสารสนเทศของประเทศ (National Spatial Data Infrastructure: NSDI) และ GISTDA Metadata and Clearinghouse 09:30 - 10:20 บรรยาย: หลักการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Database: Concept / Architecture/ Database Models and Data Modeling / Commercial and FOSS Spatial Database / Trends and Applications) 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย: การออกแบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ (Database Design and Analysis: Normalization / ER Diagram / UML / Optimization) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย: มาตรฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data Standards and Metadata: Simple Feature WKT/WKB etc.) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การติดตั้งโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล PostgreSQL / PostGIS และการอนุญาต ใช้งานฐานข้อมูล Database Administration using pgAdmin-III วันอังคารที่ 30 เมษายน 2556 09:00 - 10:20 ปฏิบัติการ: การสร้าง PostGIS Tables (Insert geometry Add aconstraint based on geometry type Populate geometry columns table และ Add geometry record to table) 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: การสร้าง PostGIS Tables (Insert geometry Add aconstraint based on geometry type Populate geometry columns table และ Add geometry record to table) (ต่อ) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การนำ�เข้าข้อมูลรูปแบบต่างๆ เช่น Shapefile และ Map file สู่ PostGIS ด้วย shp2pgsql pgsql2shp ogr2ogr และ spit etc. 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 -16:00 ปฏิบัติการ: การสร้าง Shapefile และ Spatial Indexes ด้วย PostGIS วันพุธที่ 1 พฤษภาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: หลักการ SFA (Simple Feature Access) 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย / ปฏิบัติการ: การสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่เบื้องต้นด้วย PostGIS (Simple spatial queries and simple spatial analysis with SQL Spatial operators)

Space & Geo-Informatics Training 2013

19


GIS Database Management with OGC/ISO Spatial Database กำ�หนดการ (ต่อ) วันพุธที่ 1 พฤษภาคม 2556 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่เบื้องต้นด้วย PostGIS (Simple spatial queries and simple spatial analysis with SQL Spatial operators) (ต่อ) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 -16:00 ปฏิบัติการ: Spatial Database Access and Visualization: GIS Desktop (QGIS and ArcGIS) วันพฤหัสบดีที่ 2 พฤษภาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: หลักการ Internet GIS / OGC Web Service (OWS) Web Map Service (WMS) Web Feature Service (WFS) และ Mash-up Map Service: Google Maps 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: การติดตั้ง/เชื่อมต่อ/กำ�หนด PostGIS Sources ให้กับ WMS 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การแสดง PostGIS Data (Raster และ Vector) บน WMS 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 -16:00 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การสร้างและปรับแต่ง Web Map Service เบื้องต้นด้วย DHTML XHTML XML/XHTML CSS JAVA และ Python วันศุกร์ที่ 3 พฤษภาคม 2556 09:00 - 10:20 ปฏิบัติการ: การสร้างและปรับแต่ง Web Map Service เบื้องต้นด้วย DHTML XHTML XML/XHTML CSS JAVA และ Python (ต่อ) 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: การสร้างและปรับแต่ง Web Map Service เบื้องต้นด้วย DHTML XHTML XML/XHTML CSS JAVA และ Python (ต่อ) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การใช้งาน Google Map API และ OpenLayers ร่วมกันเพื่อปรับแต่ง การใช้งาน Web Map Service 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 15:40 ปฏิบัติการ: การใช้งาน Google Map API และ OpenLayers ร่วมกันเพื่อปรับแต่งการใช้งาน Web Map Service (ต่อ) 15:40 -16:00 อภิปราย/สรุป และให้ข้อเสนอแนะการฝึกอบรม หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงกำ�หนดการตามความเหมาะสมและสามารถตรวจสอบ รายละเอียดกำ�หนดการล่าสุด ได้ทาง เว็บไซต์ http://www.gistda.or.th 20

Space & Geo-Informatics Training 2013


Spatial Analysis and Modeling in GIS ก�รวิเคร�ะหขอมูลเชิงพื้นที่และก�รสร�งแบบจำ�ลองในระบบส�รสนเทศภูมิศ�สตร 27 – 31 พฤษภ�คม 2556

ระยะเวล�ก�รฝึกอบรม 5 วัน ณ หองฝึกอบรม ชั้น 3 อ�ค�ร สทอภ. ถนนพหลโยธิน แขวงล�ดย�ว เขตจตุจักร กทม.

เนื้อห�หลักสูตร

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information Systems: GIS) เปนเครื่องมือสำาคัญที่หลายหน่วยงานนำามา ประยุกต์ใช้งานในการจัดการและการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ โดยระบบดังกล่าวสามารถนำาเข้าข้อมูล ปรับปรุง แก้ไข วิเคราะห์และแสดงผลข้อมูล ซึ่งสามารถนำาผลการวิเคราะห์มาประยุกต์สำาหรับงานด้านต่างๆ ได้ เช่น การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการภัยพิบัติ การเกษตร การใช้ที่ดิน การวางผังเมือง/ชุมชน รวมถึงภาคธุรกิจอื่นๆ แต่เนื่องจากปจจุบัน สภาพปญหา เชิงพื้นที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น ทำาให้กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่มีความจำาเปนต้องทำาการวิเคราะห์ที่หลากหลาย เพื่อช่วยให้การตอบปญหามีความละเอียดถูกต้องมากยิ่งขึ้น การเข้าใจถึงกระบวนการทำางานด้านการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ จึงเปน สิ่งสำาคัญที่ช่วยให้การตัดสินสินใจเชิงพื้นที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น หลักสูตร การวิเคราะห์ขอมูลเชิงพื้นที่และการสรางแบบ จำาลองในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เปนหลักสูตรที่มุ่งเน้นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่รองรับการคิดวิเคราะห์ที่หลากหลาย เช่น การวิเคราะห์การซ้อนทับรูปแบบต่างๆ การวิเคราะห์ระยะกันชน การวิเคราะห์หลักเกณฑ์หลายตัวแปร การวิเคราะห์ สถิติเชิงพื้นที่ การประมาณค่าเชิงพื้นที่และการสร้างแบบจำาลองเพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ เปนต้น เนื้อหาหลักสูตร และรู ป แบบการเรี ย นการสอนประกอบไปด้ ว ยการบรรยายและการฝึ ก ปฏิ บั ติ เ พื่ อ ให้ ผู้ เ ข้ า รั บ การฝึ ก อบรมเข้ า ใจ และมีทักษะในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังได้เพิ่มเติมเนื้อหา ด้านการวิเคราะห์ภูมิประเทศและการวิเคราะห์โครงข่ายเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำาความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลายยิ่งขึ้น อีกด้วย

ผูทรงคุณวุฒิ ประจำ�หลักสูตร

รศ. ดร.สุระ พัฒนเกียรติ ผู้อำานวยการศูนย์วิจัยและฝึกอบรมภูมิสารสนเทศสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

สิ่งที่ผูเข�รับก�รฝึกอบรมจะไดรับ

• ได้เรียนรู้และเข้าใจในหลักการการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ • เข้าใจกระบวนการทำางาน วิธีการ และฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือต่างๆ ในขั้นตอนของการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ • เข้าใจและสามารถปฏิบัติการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ได้อย่างเปนระบบด้วยการปฏิบัติการจริง • สามารถนำาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ในงานด้านต่างๆ ที่รับผิดชอบ Space & Geo-Informatics Training 2013

21


หลักสูตรเหม�ะสำ�หรับ

ผู้ ที่ ต้ อ งการเรี ย นรู้ ก ารวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ระบบสารสนเทศ ภู มิ ศ าสตร์ ใ นระดั บ สู ง หรื อ ผู้ ที่ ทำ า งานเกี่ ย วข้ อ งกั บ การใช้ ข้อมูลภูมิสารสนเทศด้านการบริหารจัดการทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม การใช้ที่ดิน การเกษตร บุคลากรองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ครู อาจารย์ นิสิต นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไป

วิธีก�รฝึกอบรม การบรรยาย • การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial analysis) • การวิเคราะห์การซ้อนทับและการวิเคราะห์ สิ่งใกล้เคียง (Overlay and Proximity Analysis) โดยใช้ข้อมูลเวคเตอร์และข้อมูลราสเตอร์ • การวิเคราะห์การประมาณค่าเชิงพื้นที่ (Spatial Interpolation) • การวิเคราะห์สถิติเชิงพื้นที่ (Spatial Statistics) • การประยุกต์แบบจำาลองในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Modeling) • การวิเคราะห์ภูมิประเทศ (Terrain Analysis) • การวิเคราะห์โครงข่าย (Network Analysis) การปฏิบัติการ • การวิเคราะห์การซ้อนทับและการวิเคราะห์ สิ่งใกล้เคียง (Overlay and Proximity Analysis) โดยใช้ข้อมูล เวคเตอร์และข้อมูลราสเตอร์ • การวิเคราะห์การประมาณค่าเชิงพื้นที่ (Spatial Interpolation) ด้วยวิธีการ IDW Kriging และ Spline • การวิเคราะห์สถิติเชิงพื้นที่ (Spatial Statistics) • การประยุกต์แบบจำาลองในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Modeling) • การวิเคราะห์ภูมิประเทศ (Terrain Analysis) • การวิเคราะห์โครงข่าย (Network Analysis)

22

Space & Geo-Informatics Training 2013

ซอฟตแวรที่ใช ArcGIS

คุณสมบัติของผูเข�รับก�รฝึกอบรม

มีความรู้พื้นฐานการใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

จำ�นวนผูเข�รับก�รฝึกอบรม

ผู้เข้ารับการฝึกอบรมไม่เกิน 30 คน โดยพิจารณาตาม คุณสมบัติและเกณฑ์การคัดเลือกของ สทอภ.

ค่�ลงทะเบียน

10,170 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 %)

ก�รประเมินผล

ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้รับเกียรติบัตรโดยต้องผ่านเกณฑ์ การประเมินผลการฝึกอบรม ดังนี้ • เข้ารับการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด • ผ่านการทดสอบตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด • ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้ครบถ้วนและมีผลงาน ผ่านตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด


Spatial Analysis and Modeling in GIS กำ�หนดการ วันจันทร์ที่ 27 พฤษภาคม 2556 08:30 - 09:00 ลงทะเบียน 09:00 - 10:20 บรรยาย: การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย: การวิเคราะห์การซ้อนทับและการวิเคราะห์สิ่งใกล้เคียง (Overlay and Proximity Analysis) • ข้อมูลเวคเตอร์ • ข้อมูลราสเตอร์ 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์การซ้อนทับและการวิเคราะห์สิ่งใกล้เคียง (Overlay and Proximity Analysis) • ข้อมูลเวคเตอร์ • ข้อมูลราสเตอร์ 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์การซ้อนทับและการวิเคราะห์สิ่งใกล้เคียง (Overlay and Proximity Analysis) (ต่อ) • ข้อมูลเวคเตอร์ • ข้อมูลราสเตอร์ วันอังคารที่ 28 พฤษภาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: การวิเคราะห์การประมาณค่าเชิงพื้นที่ (Spatial Interpolation) 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์การประมาณค่าเชิงพื้นที่ (Spatial Interpolation) ด้วยวิธี IDW 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์การประมาณค่าเชิงพื้นที่ (Spatial Interpolation) ด้วยวิธี Kriging 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์การประมาณค่าเชิงพื้นที่ (Spatial Interpolation) ด้วยวิธี Spline วันพุธที่ 29 พฤษภาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: การวิเคราะห์สถิติเชิงพื้นที่ (Spatial Statistics) ด้วยวิธีการ Geographic Distributions 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์สถิติเชิงพื้นที่ด้วยวิธีการ Geographic Distributions 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย: การวิเคราะห์สถิติเชิงพื้นที่ด้วยวิธีการ Geographic Patterns and Clusters 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์สถิติเชิงพื้นที่ด้วยวิธีการ Geographic Patterns and Clusters Space & Geo-Informatics Training 2013

23


Spatial Analysis and Modeling in GIS กำ�หนดการ (ต่อ) วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤษภาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: การประยุกต์แบบจำ�ลองในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Modeling) 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: การประยุกต์แบบจำ�ลองในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Modeling) (ต่อ) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การประยุกต์แบบจำ�ลองในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Modeling) (ต่อ) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การประยุกต์แบบจำ�ลองในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Modeling) (ต่อ) วันศุกร์ที่ 31 พฤษภาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์ภูมิประเทศ (Terrain Analysis) • แบบจำ�ลองความสูงภูมิประเทศ (Digital Elevation Model: DEM) • การวิเคราะห์ความลาดชันและทิศด้านลาด (Slope and Aspect Analysis) 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์ภูมิประเทศ (Terrain Analysis) (ต่อ) • การวิเคราะห์มุมมองภูมิประเทศ (View Shed Analysis) • การคำ�นวณพื้นที่ ปริมาตร และการสร้างโปรไฟล์ (Area & Volume Calculations and Profile Creations) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์โครงข่าย (Network Analysis) • การสร้างชุดข้อมูลโครงข่าย (Building a Network Dataset) • การค้นหาเส้นทางที่เหมาะสม (Finding the Best Route) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 15:40 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์โครงข่าย (Network Analysis) (ต่อ) • การค้นหาสถานที่ใกล้เคียง (Finding the Closest Facilities) • การสร้างพื้นที่ให้บริการ (Calculating the Service Area) 15:40 - 16:00 อภิปราย/สรุป และให้ข้อเสนอแนะการฝึกอบรม หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงกำ�หนดการตามความเหมาะสมและสามารถตรวจสอบ รายละเอียดกำ�หนดการล่าสุด ได้ทางเว็บไซต์ http://www.gistda.or.th

24

Space & Geo-Informatics Training 2013


Satellite Image Processing and Interpretation ก�รประมวลผลและแปลคว�มหม�ยขอมูลจ�กด�วเทียม 19 - 28 มิถุน�ยน 2556 (ไม่รวมวันหยุดเส�ร-อ�ทิตย)

ระยะเวล�ก�รฝึกอบรม 8 วัน ณ หองฝึกอบรม ชั้น 3 อ�ค�ร สทอภ. ถนนพหลโยธิน แขวงล�ดย�ว เขตจตุจักร กทม.

เนื้อห�หลักสูตร

ปจจุบันเทคโนโลยีการรับรู้จากระยะไกล (Remote Sensing: RS) มีความก้าวหน้าและทันสมัย ทั้งในด้านความหลากหลาย ของรายละเอียดภาพและความถี่ในการบันทึกซ้ำาที่เดิมที่มากขึ้น ข้อได้เปรียบนี้ทำาให้ได้ข้อมูลจากดาวเทียมที่รวดเร็ว ตอบสนองความต้องการได้เปนอย่างดี เปนประโยชน์อย่างยิ่งต่อการนำามาประยุกต์ใช้ในงานด้านการสำารวจทรัพยากร ธรรมชาติและการเกษตรของประเทศไทย หลักสูตร การประมวลผลและแปลความหมายขอมูลจากดาวเทียม มุ่งให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้เทคโนโลยีการรับรู้จากระยะไกลแบบครบวงจร ตั้งแต่การรับสัญญาณภาพดาวเทียม การจัดเตรียมข้อมูล การประมวลผล การแปลความหมายข้อมูลจากดาวเทียมด้วยสายตาและคอมพิวเตอร์ การตรวจสอบผลการจำาแนกข้อมูล รวมถึงเทคนิค และวิธีการสำารวจข้อมูลภาคสนาม ตลอดจนการจัดทำาแผนที่เพื่อใช้ประโยชน์ในการติดตามการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้ได้ข้อมูลเพื่อใช้ในการประกอบการตัดสินใจและวางแผนบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อไป

ผูทรงคุณวุฒิ ประจำ�หลักสูตร

สุภาพิศ ผลงาม ผู้อำานวยการสถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สำานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

สิ่งที่ผูเข�รับก�รฝึกอบรมจะไดรับ

• เข้าใจหลักการพื้นฐานเทคโนโลยีการรับรู้จากระยะไกล • เข้าใจขั้นตอนและกระบวนการการประมวลผลและแปลความหมายข้อมูลจากดาวเทียมสำารวจทรัพยากร เพื่อการวางแผนจัดการด้านต่างๆ ได้ • สามารถใช้เครื่องมือและอุปกรณ์เพื่อการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หลักสูตรเหม�ะสำ�หรับ

ผู้ที่ต้องการเรียนรู้การใช้งานข้อมูลจากดาวเทียม เพื่อการสำารวจและติดตามทรัพยากร ตลอดจนผู้ที่มีภารกิจรับผิดชอบ ด้านการติดตามและจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้สนใจทั่วไป

Space & Geo-Informatics Training 2013

25


วิธีก�รฝึกอบรม การบรรยาย • หลักการพื้นฐานการรับรู้จากระยะไกล • หลักการวิเคราะห์และแปลตีความข้อมูลจากดาวเทียม ด้วยสายตา • หลักการประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียม ด้วยคอมพิวเตอร์ • การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนเชิงเรขาคณิต • การปรับปรุงคุณภาพข้อมูลจากดาวเทียม • การจำาแนกประเภทข้อมูลแบบไม่กำากับ (Unsupervised Classification) • การจำาแนกประเภทข้อมูลแบบกำากับ (Supervised Classification) • การประเมินความถูกต้องจากการจำาแนกประเภทข้อมูล จากดาวเทียมด้วยคอมพิวเตอร์ (Post-Classification) และการวางแผนการสำารวจภาคสนาม • เทคนิคการทำา Pansharpened image • หลักการผลิตภาพ Orthophoto • การปรับแก้ความเคลื่อนภาพ Orthophoto ด้วยวิธีการ Orthorectification การปฏิบัติการ • การวิเคราะห์และแปลตีความข้อมูลจากดาวเทียม ด้วยสายตา • การจัดเตรียมข้อมูลก่อนการประมวลผล (Pre-processing: การนำาเข้าข้อมูล การแสดงผลภาพ และการตัดต่อภาพ) • การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) • การปรับปรุงคุณภาพข้อมูลจากดาวเทียม (Image Enhancement) • การจำาแนกประเภทข้อมูลแบบไม่กำากับ (Unsupervised Classification) • การจำาแนกประเภทข้อมูลแบบกำากับ (Supervised Classification) • การประเมินความถูกต้องจากการจำาแนกประเภทข้อมูล จากดาวเทียมด้วยคอมพิวเตอร์ (Post-Classification) 26

Space & Geo-Informatics Training 2013

• การปรับปรุงแก้ไขการจำาแนกประเภทข้อมูลด้วย ข้อมูลภาคสนาม • การส่งออกข้อมูลที่ได้จากการจำาแนกประเภทข้อมูล สู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และการจัดทำาแผนที่ ด้วยโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ • เทคนิค Pansharpened image • การผลิตภาพ Orthophoto • การปรับแก้ความเคลื่อนภาพ Orthophoto ด้วยวิธีการ Orthorectification การออกสำารวจขอมูลภาคสนาม ระยะเวลา 2 วัน บริเวณจังหวัดสมุทรปราการ - ฉะเชิงเทรา - ชลบุรี

ซอฟตแวรที่ใช

ERDAS IMAGINE และ THEOS2GO

คุณสมบัติของผูเข�รับก�รฝึกอบรม สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในระดับพื้นฐานได้ดี

จำ�นวนผูเข�รับก�รฝึกอบรม

ผู้เข้ารับการศึกษาอบรมไม่เกิน 30 คน โดยพิจารณาตาม คุณสมบัติและเกณฑ์การคัดเลือกของ สทอภ.

ค่�ลงทะเบียน

18,800 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 %)

ก�รประเมินผล

ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้รับเกียรติบัตร โดยต้องผ่านเกณฑ์ การประเมินผลการฝึกอบรม ดังนี้ • เข้ารับการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด • ผ่านการทดสอบตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด • ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้ครบถ้วนและมีผลงาน ผ่านตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด


Satellite Image Processing and Interpretation กำ�หนดการ วันพุธที่ 19 มิถุนายน 2556 08:30 - 09:00 ลงทะเบียน 09:00 - 09:15 แบบฝึกหัดทดสอบความเข้าใจก่อนการฝึกอบรม (Pre-Test) 09:15 - 10:20 บรรยาย: หลักการพื้นฐานการรับรู้จากระยะไกล 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย: หลักการพื้นฐานการรับรู้จากระยะไกล(ต่อ) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย: หลักการวิเคราะห์และแปลตีความข้อมูลจากดาวเทียมด้วยสายตา 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์และแปลตีความข้อมูลจากดาวเทียมด้วยสายตา (ต่อ) วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน 2556 09:00 - 10:20 ปฏิบัติการ: การจัดเตรียมข้อมูลก่อนการประมวลผล (Pre-processing: การนำ�เข้าข้อมูลและ การแสดงผลข้อมูล) 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) (ต่อ) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 บรรยาย/ปฏิบัติการ: เทคนิคการเชื่อมต่อภาพ (Image Mosaic) และการตัดภาพ (Subset Image) วันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การปรับปรุงคุณภาพข้อมูลจากดาวเทียม (Image Enhancement) 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: การปรับปรุงคุณภาพข้อมูลจากดาวเทียม (Image Enhancement) (ต่อ) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย: หลักการจำ�แนกประเภทข้อมูลแบบไม่กำ�กับ (Unsupervised Classification) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การจำ�แนกประเภทข้อมูลแบบไม่กำ�กับ (Unsupervised Classification)

Space & Geo-Informatics Training 2013

27


Satellite Image Processing and Interpretation กำ�หนดการ (ต่อ) วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: หลักการจำ�แนกประเภทข้อมูลแบบกำ�กับ (Supervised Classification) 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: หลักการจำ�แนกประเภทข้อมูลแบบกำ�กับ (Supervised Classification) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การประเมินความถูกต้องจากการจำ�แนกประเภทข้อมูลจากดาวเทียมด้วย คอมพิวเตอร์และการวางแผนการสำ�รวจภาคสนาม 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การส่งออกข้อมูลที่ได้จากการจำ�แนกประเภทเข้าสู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และการจัดทำ�แผนที่ วันอังคารที่ 25 มิถุนายน 2556 09:00 - 12:00 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดินด้วยข้อมูลจากดาวเทียมและ GPS (เส้นทาง: สมุทรปราการ - ฉะเชิงเทรา - ชลบุรี) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:30 ศึกษาดูงาน ณ สถานีควบคุมและรับสัญญาณดาวเทียมไทยโชต อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 14:30 - 16:30 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดินด้วยข้อมูลจากดาวเทียมและ GPS (เส้นทาง: ศรีราชา - บางละมุง) 17:00 เดินทางเข้าที่พัก วันพุธที่ 26 มิถุนายน 2556 09:00 - 12:00 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดินด้วยข้อมูลจากดาวเทียมและ GPS (เส้นทาง: บางละมุง - พนัสนิคม) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 16:00 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดินด้วยข้อมูลจากดาวเทียมและ GPS (เส้นทาง: พนัสนิคม - ฉะเชิงเทรา - กรุงเทพฯ) วันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน 2556 09:00 - 10:20 ปฏิบัติการ: เทคนิคการทำ� Pansharpened image ด้วยซอฟต์แวร์ THEOS2GO 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การผลิตภาพ Orthophoto ด้วยซอฟต์แวร์ THEOS2GO 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนข้อมูลภาพ Orthophoto (Orthorectification) ด้วยซอฟต์แวร์ THEOS2GO

28

Space & Geo-Informatics Training 2013


Satellite Image Processing and Interpretation กำ�หนดก�ร (ต่อ) วันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน 2556 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนข้อมูลภาพ Orthophoto (Orthorectification) ด้วยซอฟต์แวร์ THEOS2GO (ต่อ) วันศุกร์ที่ 28 มิถุนายน 2556 09:00 - 10:20 ปฏิบัติงานกลุ่ม 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติงานกลุ่ม (ต่อ) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติงานกลุ่ม (ต่อ) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 15:30 นำาเสนอผลการปฏิบัติงานกลุ่ม 15:30 - 15:45 แบบฝึกหัดทดสอบความเข้าใจหลังการฝึกอบรม (Post-Test) 15:45 - 16:00 อภิปราย/สรุป และให้ข้อเสนอแนะการฝึกอบรม หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงกำาหนดการตามความเหมาะสมและสามารถตรวจสอบ รายละเอียดกำาหนดการล่าสุด ได้ทางเว็บไซต์ http://www.gistda.or.th

Space & Geo-Informatics Training 2013

29


NIR Red Blue © GISTDA_2010

ภาพจากดาวเทียม THAICHOTE ระบบ MS บันทึกเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2553 THAICHOTE MS acquired on May 30, 2010 Coordinate : 31.19 °N 35.45 °E ทะเลเดดซี เป็นทะเลสาบน้ำ�เค็ม อยู่ระหว่างเขตราชอาณาจักรฮัซไมต์จอร์แดนและรัฐอิสราเอล The Dead Sea is a salt lake bordering Hashemite Kingdom of Jordan and the Stage of Israel.


Internet GIS and Web Map Server Development ก�รพัฒน�และเผยแพร่ขอมูลภูมิส�รสนเทศท�งอินเทอรเน็ต 15 - 19 กรกฎ�คม 2556

ระยะเวล�ก�รฝึกอบรม 5 วัน ณ หองฝึกอบรม ชั้น 3 อ�ค�ร สทอภ. ถนนพหลโยธิน แขวงล�ดย�ว เขตจตุจักร กทม.

เนื้อห�หลักสูตร

การเข้าถึงข้อมูลภูมิสารสนเทศผ่านระบบอินเทอร์เน็ตมีการให้บริการอย่างแพร่หลาย เช่น Google Earth ซึ่งผู้ใช้บริการ สามารถค้นหาข้อมูลจากดาวเทียมรายละเอียดสูง และข้อมูล GIS ได้ทั่วโลก หน่วยงานที่จัดทำาข้อมูลภูมิสารสนเทศจึงมุ่งเน้น การแลกเปลี่ยนและให้บริการข้อมูล ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเปนการประยุกต์ใช้เครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สามารถเชื่อมต่อผู้ใช้กับผู้ให้บริการข้อมูลในระบบ ที่เรียกว่า Geospatial Data Clearinghouse โดยผู้ใช้สามารถเข้าถึง ข้อมูลได้หลายระดับตามที่เจ้าของข้อมูลกำาหนด สามารถดูคำาอธิบาย หรือ Metadata ของข้อมูล สามารถดูภาพ (Bitmap) ของข้อมูลภูมิสารสนเทศที่วาด (Render) แล้วผ่าน Web ด้วย Raster Format ต่างๆ และสามารถใช้ฟงก์ชั่นของการดูข้อมูล GIS เพื่อแสดงผลข้อมูลต่างๆ การฝึกอบรม หลักสูตร การพัฒนาและเผยแพร่ขอมูลภูมิสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต เปนการเรียนรู้มาตรฐาน OGC (Open Geospatial Consortium) และ ISO (International Standard Organization) และเรียนรู้ การให้บริการแผนที่บนอินเทอร์เน็ต การจัดสร้างระบบการให้บริการข้อมูลที่เรียกว่า OGC Web Map Service โดยใช้ซอฟต์แวร์รหัสเปด (Open Source Software) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้เข้าใจในหลักการพื้นฐานของระบบ Web Map Service (WMS) และสามารถนำาไปประยุกต์ใช้ในการจัดทำาระบบการให้บริการข้อมูลได้ รวมทั้งได้ทราบถึง เทคโนโลยี Wireless and Mobile GIS และ Internet GIS Application

ผูทรงคุณวุฒิ ประจำ�หลักสูตร

รศ. ดร.ไพศาล สันติธรรมนนท์ อาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมสำารวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สิ่งที่ผูเข�รับก�รฝึกอบรมจะไดรับ

• สามารถค้นหา เข้าถึง และใช้ประโยชน์ข้อมูลภูมิสารสนเทศที่จัดทำาและเผยแพร่เปนไป ตามมาตรฐาน OGC และ ISO • เข้าใจเทคนิคการออกแบบเบื้องต้นและจัดสร้าง OGC Web Map Service โดยการใช้ซอฟต์แวร์ที่เปนทั้งซอฟต์แวร์ รหัสเปดและซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ • สามารถใช้งานระบบให้บริการแผนที่ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (Mainstream Map Service) เช่น Google Earth NASA Word Wind Digital Thailand และการใช้งาน Mash-Up Map Application ได้​้

Space & Geo-Informatics Training 2013

31


หลักสูตรเหม�ะสำ�หรับ

ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านด้ า นภู มิ ส ารสนเทศหรื อ ได้ รั บ มอบหมายให้ ดูแลระบบงานด้านภูมิสารสนเทศและการให้บริการข้อมูล ภูมิสารสนเทศผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของหน่วยงาน หรือผู้สนใจทั่วไปที่ต้องการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูล ภูมิสารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

วิธีก�รฝึกอบรม การบรรยาย • หลักการพื้นฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต และมาตรฐานระบบ OGS (Introduction to Internet GIS และ OGC Standard) • การออกแบบและพั ฒ นาระบบการให้ บ ริ ก ารแผนที่ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Hardware & Software) • Introduction to OGC Web Service (OWS) Web Map Service (WMS) Web Feature Service (WFS) • การให้บริการ Web Map Service ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต • การให้บริการข้อมูลแผนทีจ่ ากข้อมูล Raster และ Vector • ความรู้เบื้องต้นในการพัฒนาระบบการให้บริการแผนที่ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (DHTML XHTML XML) • เรียนรู้และเข้าใจ JavaScript Document Object Model (DOM) และ Object Oriented Programming (OOP) ด้านภูมิสารสนเทศ • การให้พัฒนา Web Map Application เพื่อให้บริการ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • โครงสร้างพื้นฐานภูมิสารสนเทศของประเทศ (National Spatial Data Infrastructure: NSDI) และ GISTDA Metadata and Clearinghouse การปฏิบัติการ • การติดตั้งและใช้งาน Web Server GeoServer และ OpenLayers • การใช้งาน Web Service และ Web Application ตามมาตรฐาน OGC • การติดตั้งและใช้งาน Map Server

32

Space & Geo-Informatics Training 2013

• สร้างและปรับแต่ง Web Map Service ด้วย XHTML CSS และ JavaScript DOM • การใช้งานและปรับแต่งเพื่องานเฉพาะด้าน Google Map API และ OpenLayers ร่วมกันเพื่อใช้งาน Web Map Service • การแสดงแผนที่ไปยังตำาแหน่งที่ต้องการ การแสดงแผนที่ ร่วมกับข้อมูลจากฐานข้อมูลและอื่นๆ

ซอฟตแวรที่ใช

MapServer GeoServer และ OpenLayers

คุณสมบัติของผูเข�รับก�รฝึกอบรม

• มีความรู้พื้นฐานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ • สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในระดับพื้นฐานหรือ เขียนโปรแกรมได้ • มีประสบการณ์ที่เกี่ยวกับการจัดทำา Web Page หรือการบริหารเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

จำ�นวนผูเข�รับก�รฝึกอบรม

ผู้เข้ารับการศึกษาอบรมไม่เกิน 30 คน โดยพิจารณาตามคุณสมบัติและเกณฑ์การคัดเลือกของ สทอภ.

ค่�ลงทะเบียน

10,170 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 %)

ก�รประเมินผล

ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้รับเกียรติบัตร โดยต้องผ่านเกณฑ์ การประเมินผลการฝึกอบรม ดังนี้ • เข้ารับการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด • ผ่านการทดสอบตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด • ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้ครบถ้วนและมีผลงาน ผ่านตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด


Internet GIS and Web Map Server Development กำ�หนดการ วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม 2556 08:30 - 09:00 ลงทะเบียน 09:00 - 09:30 บรรยาย: โครงสร้างพื้นฐานภูมิสารสนเทศของประเทศ (National Spatial Data Infrastructure: NSDI) และ GISTDA Metadata and Clearinghouse 09:30 - 10:20 บรรยาย: Internet GIS 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย: Internet GIS (ต่อ) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย: Mapping and Standard 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 บรรยาย: Mapping and Standard (ต่อ) วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: หลักการพื้นฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ตและมาตรฐานระบบ OGS (Introduction to Internet GIS and OGC Standard) Space Geo-Informatics าTraining 2013 10:20 - 10:40 พักรั&บประทานอาหารว่ ง 10:40 - 12:00 บรรยาย: Introduction to OGC Web Service (OWS) Web Map Service (WMS) Web Feature Service (WFS) Simple Feature SQL (SF-SQL) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การใช้งาน Web Service และ Web Application ตามมาตรฐาน OGC 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การใช้งาน Web Service และ Web Application ตามมาตรฐาน OGC (ต่อ) วันพุธที่ 17 กรกฎาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: การให้บริการ Web Map Service ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: การติดตั้งและใช้งาน MapServerGeoServer และ OpenLayer 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย: การให้บริการข้อมูลแผนที่จากข้อมูล Raster และ Vector 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การสร้างและปรับแต่ง Web Map Service

33


Internet GIS and Web Map Server Development กำ�หนดก�ร (ต่อ) วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: ความรู้เบื้องต้นในการพัฒนาระบบการให้บริการแผนที่ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (DHTML XHTML และ XML) 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: XHTML CSS 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย: เรียนรู้และเข้าใจ JavaScript Document Object Model (DOM) และ Object Oriented Programming (OOP) ด้านภูมิสารสนเทศ 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: JavaScript DOM วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: การให้พัฒนา Web Map Application เพื่อให้บริการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติการ: การใช้งานและปรับแต่งเพื่องานเฉพาะด้าน Google Map API และOpenLayers ร่วมกัน เพื่อใช้งาน Web Map Service 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การแสดงแผนที่ไปยังตำาแหน่งที่ต้องการการแสดงแผนที่ร่วมกับข้อมูลจากฐานข้อมูล และอื่นๆ 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 15:45 ปฏิบัติการ: การแสดงแผนที่ไปยังตำาแหน่งที่ต้องการการแสดงแผนที่ร่วมกับข้อมูลจากฐานข้อมูล และอื่นๆ (ต่อ) 15:45 - 16:00 อภิปราย/สรุปและให้ข้อเสนอแนะการฝึกอบรม หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงกำาหนดการตามความเหมาะสมและสามารถตรวจสอบ รายละเอียดกำาหนดการล่าสุด ได้ทางเว็บไซต์ http://www.gistda.or.th

34

Space & Geo-Informatics Training 2013


Applied Geo-Informatics for Disaster Management ก�รประยุกตภูมิส�รสนเทศเพื่อก�รบริห�รจัดก�รภัยพิบัติ 20 – 29 สิงห�คม 2556 (ไม่รวมวันหยุดเส�ร-อ�ทิตย)

ระยะเวล�ก�รฝึกอบรม 8 วัน ณ หองฝึกอบรม ชั้น 3 อ�ค�ร สทอภ. ถนนพหลโยธิน แขวงล�ดย�ว เขตจตุจักร กทม.

เนื้อห�หลักสูตร

ปจจุบันปญหาภัยพิบัติเปนปญหาที่สำาคัญและทวีความรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปญหาภัยพิบัติน้ำาท่วม ภัยแล้ง และไฟป่า ข้อมูลจากดาวเทียมถือเปนเครื่องมือหนึ่งที่มีความสามารถในการติดตามสถานการณ์ต่างๆได้รวดเร็วและ มีประสิทธิภาพ จากข้อได้เปรียบดังกล่าวทำาให้หน่วยงานต่างๆนำาข้อมูลจากดาวเทียมมาช่วยในการแก้ปญหาตลอดจนวางแผน ป้องกันภัยพิบัติล่วงหน้าได้ อย่างไรก็ตามการใช้งานข้อมูลจากดาวเทียมให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดนั้น จำาเปนต้องมีบุคลากร ที่มีความเชี่ยวชาญ สามารถนำาข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการวิเคราะห์และประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว และมีความถูกต้อง สทอภ. ในฐานะหน่วยงานหลักที่นำาข้อมูลจากดาวเทียมมาใช้งานเพื่อการจัดการภัยพิบัติอย่างเปนรูปธรรมเล็งเห็นความสำาคัญ ของการพัฒนาบุคลากรเพื่อให้ใช้งานข้อมูลจากดาวเทียมได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงเปดการฝึกอบรม หลักสูตรการประยุกต์ ภูมิสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการภัยพิบัติ เพื่อให้ผู้เข้าฝึกอบรมสามารถวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียม เพื่อการติดตามและวางแผนการจัดการภัยพิบัติน้ำาท่วม ภัยแล้งและไฟป่าได้ หลักสูตรนี้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้เรียนรู้ เทคนิควิธีการวิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมขั้นสูงที่หลากหลาย รวมถึงการบูรณาการเทคโนโลยีการรับรู้จากระยะไกล (RS) ร่วมกับเทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อจัดการปญหาภัยพิบัติน้ำาท่วม ภัยแล้งและไฟป่าได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และสามารถนำาไปใช้สนับสนุนการตัดสินใจและวางแผนเพื่อการบริหารจัดการภัยพิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน

ผูทรงคุณวุฒิ ประจำ�หลักสูตร

รศ. ดร.ชรัตน์ มงคลสวัสดิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ อดีตนายกสมาคมสำารวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย

สิ่งที่ผูเข�รับก�รฝึกอบรมจะไดรับ

• สามารถวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียมเพื่อติดตามภัยพิบัติน้ำาท่วม ภัยแล้งและไฟป่าได้ • สามารถนำาข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลมาจัดทำาแผนที่เพื่อใช้เปนข้อมูลสนับสนุนการบริหารจัดการภัยพิบัติได้ • เข้าใจความสัมพันธ์และความเชื่อมโยงของเทคโนโลยีการรับรู้จากระยะไกล (RS) และเทคโนโลยีระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ (GIS) ในการวางแผนจัดการภัยพิบัติ

Space & Geo-Informatics Training 2013

35


หลักสูตรเหม�ะสำ�หรับ

ผู้ที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม การจัดการภัยพิบัติ การวางผังเมือง การเกษตร การชลประทาน การบริหารจัดการน้ำาและงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนบุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาจารย์ นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป

วิธีก�รฝึกอบรม การบรรยาย • การประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียมสำารวจทรัพยากร กับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติ ในประเทศไทย • หลักการเบื้องต้นดาวเทียมระบบเรดาห์เพื่อติดตาม พื้นที่น้ำาท่วม • หลักการเบื้องต้นดาวเทียมระบบช่วงคลื่นแสง เพื่อติดตามพื้นที่น้ำาท่วม • หลักการวิเคราะห์และแปลตีความข้อมูลจากดาวเทียม ด้วยสายตา • หลักการเบื้องต้นดาวเทียมระบบช่วงคลื่นละเอียดสูง TERRA/AQUA (MODIS) เพื่อการติดตามพื้นที่เสี่ยง ต่อการเกิดไฟป่า • หลักการเบื้องต้นดาวเทียมระบบช่วงคลื่นแสง เพื่อประเมินพื้นที่ป่าถูกเผา • หลักการเบื้องต้นดาวเทียมระบบช่วงคลื่นละเอียดสูง TERRA/AQUA (MODIS) เพื่อประเมินพื้นที่ เสี่ยงภัยแล้ง การปฏิบัติการ • การประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2 เพื่อติดตามพื้นที่น้ำาท่วม • การประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียมไทยโชต เพื่อติดตามพื้นที่น้ำาท่วม • การประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียมระบบ MODIS เพื่อการติดตามพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่า (การวิเคราะห์ HOTSPOT) • การประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียมไทยโชต เพื่อประเมินพื้นที่ป่าถูกเผา • การประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียมระบบ MODIS เพื่อประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง 36

Space & Geo-Informatics Training 2013

ก�รออกสำ�รวจขอมูลภ�คสน�ม

ระยะเวลา 2 วัน บริเวณจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง

ซอฟตแวรที่ใชง�น

ArcGIS ERDAS IMAGINE ENVI Geomatica PCI eCognitionDeveloper ScanEX และ Nest

คุณสมบัติของผูเข�รับก�รฝึกอบรม

• สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในระดับพื้นฐานได้ดี • มีประสบการณ์การใช้งานเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

จำ�นวนผูเข�รับก�รฝึกอบรม

ผู้เข้ารับการฝึกอบรมไม่เกิน 30 คน โดยพิจารณาตาม คุณสมบัติและเกณฑ์การคัดเลือกของ สทอภ.

ค่�ลงทะเบียน

19,800 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 %)

ก�รประเมินผล

ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้รับเกียรติบัตรโดยต้องผ่านเกณฑ์ การประเมินผลการฝึกอบรม ดังนี้ • เข้ารับการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด • ผ่านการทดสอบตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด • ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้ครบถ้วนและมีผลงาน ผ่านตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด


Applied Geo-Informatics for Disaster Management กำ�หนดการ วันอังคารที่ 20 สิงหาคม 2556 08:30 - 09:00 ลงทะเบียน 09:00 - 10:20 บรรยาย: การประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียมสำ�รวจทรัพยากรกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติ ในประเทศไทย 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย: หลักการเบื้องต้นดาวเทียมระบบเรดาห์เพื่อติดตามพื้นที่น้ำ�ท่วม 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2 เพื่อติดตามพื้นที่น้ำ�ท่วม • การจัดเตรียมข้อมูลก่อนการประมวลผล (Pre-processing) • การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนข้อมูลภาพ (Orthorectification) • เทคนิคการกรองสัญญาณภาพ (Image Filtering) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2 เพื่อติดตามพื้นที่น้ำ�ท่วม • การจำ�แนกประเภทข้อมูลพื้นที่น้ำ�ท่วม (Image Classification) • การส่งออกข้อมูลที่ได้จากการจำ�แนกประเภทเข้าสู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) • การจัดทำ�แผนที่ วันพุธที่ 21 สิงหาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: หลักการเบื้องต้นดาวเทียมระบบช่วงคลื่นแสงเพื่อติดตามพื้นที่น้ำ�ท่วม 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย: หลักการวิเคราะห์และแปลตีความข้อมูลจากดาวเทียมด้วยสายตา 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียมไทยโชตเพื่อติดตามพื้นที่น้ำ�ท่วม • การจัดเตรียมข้อมูลก่อนการประมวลผล (Pre-processing) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียมไทยโชตเพื่อติดตามพื้นที่น้ำ�ท่วม • การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) • การจำ�แนกประเภทข้อมูลพื้นที่น้ำ�ท่วม (Image Classification) • การส่งออกข้อมูลที่ได้จากการจำ�แนกประเภทเข้าสู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) • การจัดทำ�แผนที่

Space & Geo-Informatics Training 2013

37


Applied Geo-Informatics for Disaster Management กำ�หนดการ (ต่อ) วันพฤหัสบดีที่ 22 สิงหาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: หลักการเบื้องต้นดาวเทียมระบบช่วงคลื่นละเอียดสูง TERRA/AQUA (MODIS) เพื่อการติดตามพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่า 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียมระบบ MODIS เพื่อการติดตาม พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่า (การวิเคราะห์ HOTSPOT) • การจัดเตรียมข้อมูลก่อนการประมวลผล (Pre-processing) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียมระบบ MODIS เพื่อการติดตามพื้นที่เสี่ยง ต่อการเกิดไฟป่า (การวิเคราะห์ HOTSPOT) • การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย MOD14 (Thermal Anomalies & Fire) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และการจัดทำ�แผนที่ วันศุกร์ที่ 23 สิงหาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: หลักการเบื้องต้นดาวเทียมระบบช่วงคลื่นแสงเพื่อประเมินพื้นที่ป่าถูกเผา 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียมไทยโชตเพื่อประเมินพื้นที่ป่าถูกเผา • การจัดเตรียมข้อมูลก่อนการประมวลผล (Pre-processing) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การจำ�แนกข้อมูลด้วยเทคนิค Segmentation/การวิเคราะห์พื้นที่ป่าถูกเผาด้วยเทคนิค Object-Based และ Pixel-Based Classification 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การประเมินพื้นที่ป่าถูกเผาด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และการจัดทำ�แผนที่ วันจันทร์ที่ 26 สิงหาคม 2556 09:00 - 10:20 บรรยาย: หลักการเบื้องต้นดาวเทียมระบบช่วงคลื่นละเอียดสูง TERRA/AQUA (MODIS) เพื่อประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 บรรยาย/ปฏิบัติการ: การประมวลผลข้อมูลจากดาวเทียมระบบ MODIS เพื่อประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง • การจัดเตรียมข้อมูลก่อนการประมวลผล (Pre-processing) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน

38

Space & Geo-Informatics Training 2013


Applied Geo-Informatics for Disaster Management กำ�หนดการ (ต่อ) วันจันทร์ที่ 26 สิงหาคม 2556 13:00 - 14:20 ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งด้วยเทคนิค Band Ratio (NDVI NDWI และ NDDI) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 16:00 ปฏิบัติการ: การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งด้วยเทคนิค Band Ratio (MCI และ VCI) และอภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูล วันอังคารที่ 27 สิงหาคม 2556 09:00 - 12:00 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดิน ด้วยข้อมูลจากดาวเทียมและ GPS (เส้นทาง: กทม. - ฉะเชิงเทรา) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 16:00 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดิน ด้วยข้อมูลจากดาวเทียมและ GPS (เส้นทาง: ชลบุรี - ระยอง) 17:00 เดินทางเข้าที่พัก (จังหวัดระยอง) วันพุธที่ 28 สิงหาคม 2556 09:00 - 12:00 ศึกษาสภาพแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ที่ดิน ด้วยข้อมูลจากดาวเทียมและ GPS (เส้นทาง: ระยอง - ชลบุรี) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 15:00 ศึกษาดูงาน ณ สถานีควบคุมและรับสัญญาณดาวเทียมไทยโชต อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 15:00 - 17:30 เดินทางกลับ สทอภ. กทม. วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม 2556 09:00 - 10:20 ปฏิบัติงานกลุ่ม: การประยุกต์ใช้ข้อมูลจากดาวเทียมเพื่อการจัดการภัยพิบัติ 10:20 - 10:40 พักรับประทานอาหารว่าง 10:40 - 12:00 ปฏิบัติงานกลุ่ม: การประยุกต์ใช้ข้อมูลจากดาวเทียมเพื่อการจัดการภัยพิบัติ (ต่อ) 12:00 - 13:00 พักกลางวัน 13:00 - 14:20 ปฏิบัติงานกลุ่ม: การประยุกต์ใช้ข้อมูลจากดาวเทียมเพื่อการจัดการภัยพิบัติ (ต่อ) 14:20 - 14:40 พักรับประทานอาหารว่าง 14:40 - 15:40 การนำ�เสนอผลงานกลุ่ม 15:40 - 16:00 สรุป/อภิปราย และให้ข้อเสนอแนะการฝึกอบรม หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงกำ�หนดการตามความเหมาะสมและสามารถตรวจสอบ รายละเอียดกำ�หนดการล่าสุด ได้ทางเว็บไซต์ http://www.gistda.or.th

Space & Geo-Informatics Training 2013

39


Red Green Blue © GISTDA_2009

ภาพจากดาวเทียม THAICHOTE ระบบ MS บันทึกเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2552 THAICHOTE MS acquired on May 3, 2009 Coordinate : 43.75 °S 170.33 °E ภูเขาคุก (ออรากิ) เป็นภูเขาที่สูงที่สุดของประเทศนิวซีแลนด์ เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาแอลปตอนใต ซึ่งทอดยาวผ่านเกาะใตของนิวซีแลนด์ ซึ่งเป็นที่นิยมในหมู่นักไต่เขา Mount Cook (Aoraki) is the highest mountain of New Zealand. This is part of southern Alps insouth island. It is famous among the mountain climbers. 40

Space & Geo-Informatics Training 2013


หลักสูตร ต�มหน่วยง�นรองขอ เพื่อตอบสนองก�รพัฒน�บุคล�กร ต�มวัตถุประสงคของแต่ละองคกร

สทอภ. (GISTDA) ยินดีให้คำาปรึกษาด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ในทุกระดับ ตามความต้องการของแต่ละองค์กร โดยเน้นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศให้สอดคล้อง กับการปฏิบัติงานและหน้าที่ ที่องค์กรรับผิดชอบโดยตรง ที่ผ่านมา สทอภ. ได้จัดหลักสูตรให้กับองคืกรและหน่วยงานมากมาย เช่น กรมธนารักษ์ กองบัญชาการตำารวจตระเวนชายแดน กรมศิลปากร กรมทรัพยากรน้ำา ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา กรมทางหลวง กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริม การเกษตร อบจ.บุรีรัมย์ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย เปนต้น Space & Geo-Informatics Training 2013

41


แบบฟอรมสมัครเข�รับก�รฝึกอบรมเทคโนโลยีอวก�ศและภูมิส�รสนเทศ ประจำ�ป 2556 1. ชื่อ – สกุล (ตัวบรรจง) นาย/ นาง/ น.ส. อื่นๆ .......................................................................................................................................................................................................... Mr./ Mrs./ Miss Others ..................................................................................................................................................................................................... ตำาแหน่ง: ................................................................................................................................................................................................. กอง / บริษัท : ..................................................................................................................................................................................... กรม : ............................................................................................. กระทรวง : .................................................................. ที่อยู่ : .......................................................................................................................................................................................... : ............................................................................................... รหัสไปรษณีย์ : ................................................ โทรศัพท์ : .............................................. โทรสาร : .............................................. มือถือ : ................................................. e-mail : ........................................................................................................................................................................................... 2. หลักสูตรที่ท่านสนใจ (กรุณาใส่เครื่องหมาย ไดมากกว่า 1 หลักสูตร) ลำาดับ

ชื่อหลักสูตร

ลอมรอบตัวเลขลำาดับหลักสูตรที่ท่านสนใจและสามารถเลือก

ระดับ

วัน เดือน ป

พื้นฐาน

จำานวน ชำาระค่าลงทะเบียน ค่าลงทะเบียน (วัน) ภายในวันที่ (บาท)

1

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำาหรับผู้เริ่มต้นใช้งาน (GIS for Beginners)

11-15 ก.พ. 2556

5

22 ม.ค. 2556

9,100

2

เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ประยุกต์ อบรมในประเทศ เพื่อการบริหารทรัพยากร 26 - 21 มี.ค. 2556 สิ่งแวดล้อม และภัยพิบัติ ศึกษาดูงาน สำาหรับผู้บริหาร ประจำาป 2556 ต่างประเทศ (Geo-Informatics for Environณ ประเทศญี่ป่นุ ment, Natural Resources and 2 - 5 เม.ย. 2556 Disaster Management for Executives)

8

31 ม.ค. 2556

89,000 (15 คนขึ้นไป)

การจัดการฐานข้อมูลระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วย OGC/ISO Spatial Database (GIS Database Management with OGC/ISO Spatial Database)

5

3

42

ประยุกต์

Space & Geo-Informatics Training 2013

29 เม.ย. - 3 พ.ค. 2556

อบรมเฉพาะ ในประเทศ 15,000

19 เม.ย. 2556

10,170


ลำาดับ

จำานวน ชำาระค่าลงทะเบียน ค่าลงทะเบียน (วัน) ภายในวันที่ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่และ ประยุกต์ 27 - 31 พ.ค. 2556 5 30 เม.ย. 2556 10,170 การสร้างแบบจำาลองในระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ (Spatial Analysis and Modeling in GIS) ชื่อหลักสูตร

ระดับ

วัน เดือน ป

5

การประมวลผลและแปล ความหมายข้อมูลจากดาวเทียม (Satellite Image Processing and Interpretation)

พื้นฐาน

19 - 28 มิ.ย. 2556 ไม่รวมวันหยุด เสาร์-อาทิตย์

8

17 พ.ค. 2556

18,800

6

การพัฒนาและเผยแพร่ข้อมูล ภูมิสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต (Internet GIS and Web Map Server Development)

ประยุกต์ 15 - 19 ก.ค. 2556

5

31 พ.ค. 2556

10,170

7

การประยุกต์ภูมิสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการภัยพิบัติ (Applied Geo-Informatics for Disaster Management)

ประยุกต์ 20 - 29 ส.ค. 2556 ไม่รวมวันหยุด เสาร์-อาทิตย์

8

31 พ.ค. 2556

19,800

4

ออกใบเสร็จรับเงิน ชื่อ – สกุล :............................................................................................................................................... ที่อยู่ :........................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... (กรุณากรอกข้อมูลให้ชัดเจน) หมายเหตุ ค่าลงทะเบียนนี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ลายมือชื่อ................................................................... (ผู้สมัคร) (........................................................................) ................./................./....2556..... Space & Geo-Informatics Training 2013

43


ข้อมูล การฝกอบรม ประชุม สัมมนา 3. ประสบการณ์ดานภูมิสารสนเทศ การรับรู้จากระยะไกล (RS)

ไม่มี

พอใช้

ดี

ดีมาก

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)

ไม่มี

พอใช้

ดี

ดีมาก

ระบบกำาหนดตำาแหน่งบนโลก (GPS)

ไม่มี

พอใช้

ดี

ดีมาก

ไม่มี

พอใช้

ดี

ดีมาก

4. ประสบการณ์ดานการใชซอฟต์แวร์

5. ซอฟต์แวร์ภูมิสารสนเทศที่ท่านใชงานปจจุบันเป็นซอฟต์แวร์ใด 5.1 ArcView

5.5 PCI Geomatica

5.2 ArcGIS

5.6 Auto Cad Map

5.3 Mapinfo

5.7 อื่นๆ โปรดระบุ.......................................

5.4 ERDAS IMAGINE 6. หน่วยงานของท่านดำาเนินงานใชเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศดานใด 6.1 การวางผังเมือง

6.8 การทำาแผนที่

6.2 การใช้ที่ดิน

6.9 ธรณีวิทยา

6.3 ทรัพยากรน้ำา

6.10 สิ่งแวดล้อม/ภัยพิบัติ

6.4 ทรัพยากรชายฝง

6.11 การจัดการท้องถิ่น

6.5 ทรัพยากรป่าไม้

6.12 โครงสร้างพื้นฐาน

6.6 เกษตร

6.13 การจราจรและการขนส่ง

6.7 การศึกษา

6.14 อื่นๆ โปรดระบุ.....................................

7. ท่านเคยเขาอบรมหลักสูตรภูมิสารสนเทศที่ สทอภ. จัดหรือไม่ 7.1 ไม่เคย

7.4 เคย 3 หลักสูตร

7.2 เคย 1 หลักสูตร

7.5 เคย มากกว่า 3 หลักสูตร

7.3 เคย 2 หลักสูตร หลักสูตร

พื้นฐาน

กลาง

สูง

โปรดระบุหลักสูตร.................................................................................................................................... 44

Space & Geo-Informatics Training 2013


8. ท่านเคยเขาร่วมอบรม ประชุม สัมมนา ที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศหรือไม่ 8.1 ไม่เคย

8.3 เคย 3-4 ครั้ง/ ป

8.2 เคย 1-2 ครั้ง/ ป

8.4 เคย มากกว่า 5 ครั้ง/ ป

จากหน่วยงานใด สทอภ.

ราชการ

เอกชน

สถานศึกษา

อื่นๆ............................................

9. ท่านมีความสนใจเพิ่มเติมอื่น ๆ (เช่น เนื้อหา หลักสูตร หัวขอ และระดับหลักสูตรที่สนใจเขาอบรมเพิ่มเติม) โปรดระบุ .......................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

หมายเหตุ: 1. ค่าลงทะเบียนได้รวมค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตรแล้ว คือ ค่าเอกสารทางวิชาการ ค่ากระเปาเอกสาร ค่าอาหารว่าง – เครื่องดื่มและค่าอาหารกลางวัน หลักสูตรที่มีการออกภาคสนามได้รวมค่าใช้จ่าย คือ ค่ารถ ค่าที่พัก ค่าอาหารกลางวัน และอาหารเย็น (ในวันที่ค้างคืน) 2. ค่าลงทะเบียนได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% 3. วัน เวลาและสถานที่ในการฝึกอบรมทุกหลักสูตรขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม และสามารถตรวจสอบรายละเอียดล่าสุด ได้ทาง website: http://www.gistda.or.th หรือวัน เวลา ราชการ ติดต่อโดยตรงที่หมายเลขโทรศัพท์ 0 2141 4608 0 2141 4601 และ 0 2141 4597

ขอมูลผูบังคับบัญชา ในการส่งตัวผูเขารับการฝกอบรม กลับตนสังกัด (หลังจบการฝึกอบรม) ชื่อ – สกุล : ..................................................................................................................................................................... ตำาแหน่ง :

.....................................................................................................................................................................

ที่อยู่ :

..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... (กรุณากรอกข้อมูลให้ชัดเจน) Space & Geo-Informatics Training 2013

45


วิธีการสมัคร หลักสูตรฝกอบรม เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําป 2556

1. ตรวจสอบที่ว่าง หลักสูตรฝกอบรม เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจำาป 2556 ได 2 วิธี ดังนี้ • ทางเว็บไซต์ http://training.gistda.or.th • ทางโทรศัพท์ที่เบอร์ 0 2141 4597 0 2141 4608 และ 0 2141 4602 2. แจงความประสงค์การสมัครได 3 วิธี ดังนี้ • สมัครแบบออนไลน์ ผ่านทางเว็บไซต์ http://training.gistda.or.th • ส่งใบสมัครเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตรฝึกอบรม เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจำาป 2556 • ส่งทางโทรสารหมายเลข 0 2143 9594 และ 0 2143 9595 • ส่งด้วยตัวเองที่ สทอภ. ติดต่อ คุณปราณปริยา วงค์ษา หรือ คุณมยุรา ทุ่มแก้ว • สถาบันพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (สพอ.) อาคารรัฐประศาสนภักดี อาคาร B (ฝงตะวันตก) ชั้น 6 สำานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 • ทาง e-mail training@gistda.or.th 3. ชำาระค่าลงทะเบียน ท่านสามารถชำาระได 2 วิธี ดังนี้ • โอนเงินเข้าบัญชี ชื่อ สำานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ธนาคารกรุงไทย จำากัด (มหาชน) ประเภทออมทรัพย์ สาขาศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ อาคารรัฐประศาสนภักดี อาคาร B (ฝงตะวันตก) เลขที่บัญชี 955-0-01944-6 • ชำาระด้วยเงินสด ติดต่อ คุณมยุรา ทุ่มแก้ว (ตามที่อยู่ข้างต้น) *** กรณีโอนเงินเข้าบัญชี ให้ท่านส่งหลักฐานการโอนเงินพร้อมใบสมัคร ทางโทรสาร 0 2143 9594 และ 0 2143 9595 พร้อมโทรศัพท์แจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบด้วยตัวเอง ติดต่อ คุณมยุรา ทุ่มแก้ว หรือ คุณปราณปริยา วงค์ษา (ตามที่อยู่ข้างต้น) 4. ตรวจสอบรายชื่อผูเขารับการฝกอบรม ไดทางเว็บไซต์

http://training.gistda.or.th

หมายเหตุ 1. การพิจารณารับสมัคร จะพิจารณาผู้ที่สมัคร จากคุณสมบัติของผู้สมัครและได้ชำาระเงินค่าลงทะเบียนเรียบร้อยแล้ว ตามลำาดับก่อนหลัง ผู้สมัครที่ประสงค์จะยกเลิกการฝึกอบรม จะต้องแจ้งการยกเลิกล่วงหน้าก่อนฝึกอบรมอย่างน้อย 3 สัปดาห์ หากเกินกำาหนด สทอภ. ขอสงวนสิทธิ์ในการคืนเงินค่าลงทะเบียนในทุกกรณี 2. ระหว่างการฝึกอบรม สทอภ. ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนตัวผู้เข้ารับการฝึกอบรม (สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติม และ download ใบสมัครไดจากเว็บไซต: http://training.gistda.or.th) 46

Space & Geo-Informatics Training 2013


Space & Geo-Informatics Training 2013

47


48

Space & Geo-Informatics Training 2013


Space & Geo-Informatics Training 2013

49


50

Space & Geo-Informatics Training 2013


Space & Geo-Informatics Training 2013

51


52

Space & Geo-Informatics Training 2013


Space & Geo-Informatics Training 2013

53


54

Space & Geo-Informatics Training 2013


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.