สกู๊ปพิเศษ
เรื่อง : กองบรรณาธิการ
โซนนิ่งภาคเกษตร
ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำ�นวยการ สทอภ.
เพิ่มมูลค่าผลผลิต เติมคุณภาพชีวิตเกษตรกรให้ดีขึ้น
22
แม้ประเทศไทยจะส่งออกสินค้าทางด้านเกษตรเป็นจำ�นวนมาก ต่อปี สร้างรายได้มหาศาลให้กบั ประเทศ แต่เกษตรกรไทยก็ยงั คงมีฐานะทีไ่ ม่ ค่อยสูด้ นี กั นัน่ เพราะขาดการบริหารจัดการทีด่ ี สิง่ หนึง่ ทีเ่ ห็นได้ชดั คือ เมือ่ ผลผลิตชนิดใดให้กำ�ไรดี เกษตรกรจะแห่กันไปปลูกพืชชนิดนั้นจนล้นตลาด กระทั่งราคาตกในที่สุด บางรายยังไม่ทันเก็บเกี่ยวด้วยซํ้า จึงเกิดปัญหา หนี้สินตามมา เช่น ยางพาราให้กำ�ไรงาม ชาวนาก็เลิกทำ�นา หันมาปลูก ยางพาราแทน เป็นต้น ด้วยเหตุนจ้ี งึ เกิดแนวคิด จัดโซนนิง่ ภาคเกษตรขึน้ มา โดย ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทอภ. ได้เปิดเผยถึงการจัดทำ�โซนนิง่ ภาคเกษตร ทีผ่ า่ นมาเกษตรกรมีตน้ ทุน สูงและได้ผลผลิตต่อไร่ตํ่าจนขาดทุนต่อเนื่องทุกปี ด้วยความเคยชินกับการ เพาะปลูกแบบเดิมๆ รวมถึงคุณภาพของดินที่ปลูกอาจไม่เหมาะสมกับพืช
ชนิดนั้นๆ สทอภ. และหน่วยงานอื่นๆ จึงร่วมจัดทำ�โซนนิ่งภาคเกษตร โดย ศึกษาว่าพืชชนิดใดเหมาะสมกับการปลูกในพืน้ ที่ หรือดินลักษณะเช่นไร เพือ่ ช่วยให้เกษตรกรมีเสถียรภาพ มีทิศทางการปลูกพืชชนิดต่างๆ ที่ได้ผลผลิต ต่อไร่สูงขึ้นชัดเจน ช่วยลดต้นทุนค่าเมล็ดพันธุ์และค่าปุ๋ยลง โดยหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องจะให้ค�ำ แนะนำ�และความรูเ้ กีย่ วกับการปลูกพืชแต่ละชนิดให้แก่ เกษตรกร “ประเทศไทยปลูกข้าวทัง้ ประเทศอยูท่ ปี่ ระมาณ 70 ล้านไร่ ได้ ผลผลิตประมาณ 35-40 ล้านตันต่อปี ซึง่ เกินความต้องการ ประกอบกับ แนวโน้มการบริโภคข้าวของคนไทยก็ลดน้อยลง และทีส่ �ำ คัญ เกษตรกรได้ รายได้นอ้ ย ต้นทุนสูงกว่ากำ�ไร จึงศึกษาปัญหา โดยเริม่ จากการทำ�โซนนิง่ ทีเ่ หมาะสมสำ�หรับการเพาะปลูก เพือ่ ช่วยให้เกษตรกรมีทศิ ทางการเพาะ ปลูกพืชแต่ละชนิดได้เหมาะสมและมีผลผลิตต่อไร่ต่อปีสูงขึ้น”
23
แนวความคิดในการจัดทำ�โซนนิ่งภาคเกษตร ทางหน่วยงานจะ แนะนำ�พื้นที่เพาะปลูกที่เหมาะสม และให้ผลตอบแทนแก่ประชากรภาค เกษตรให้มากที่สุด โดยกำ�หนดชนิดพืชเศรษฐกิจ (Crop Type) นอกจาก ข้าวแล้ว ยังมีพืชเศรษฐกิจอีก 5 ชนิดของประเทศ ที่สามารถปลูกทดแทน ข้าวได้ เช่น อ้อย มันสำ�ปะหลัง ข้าวโพด ยางพารา และปาล์มนํ้ามัน หรือ อาจปลูกพืชพลังงานทดแทน เช่น หญ้าเนเปียร์ เป็นต้น แต่ในการนำ�ร่องจะ ใช้พืช 3 ชนิด คือ ข้าว อ้อย และมันสำ�ปะหลัง โดยคำ�นึงถึงความเหมาะสม ของพืน้ ทีด่ า้ นกายภาพ หรือ พืน้ ทีเ่ พาะปลูกนัน้ ๆ เหมาะสมกับพืชพันธุอ์ ะไร และพืชพันธุ์แต่ละชนิดมีความต้องการของตลาดภายในและตลาดโลกมาก น้อยเพียงใด ราคาผลผลิตต่อหน่วยเหมาะสมหรือไม่ และให้ผลตอบแทนที่ เหมาะสมด้วยหรือไม่ กำ�หนดจำ�นวนเนื้อที่ปลูกพืชแต่ละชนิด (Crop Area) ชาว เกษตรกรจะต้องใช้ความชำ�นาญและความเชี่ยวชาญในการเพาะปลูกตั้งแต่ แรกเริม่ โดยอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในด้านการผลิต หรือพัฒนาสายพันธุ์ การป้องกันโรคระบาด ภัยธรรมชาติ รวมถึงการศึกษาและพัฒนาพื้นที่เพาะ ปลูกให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพที่ดี ให้ปริมาณที่ มาก ทั้งนี้ในหนึ่งพื้นที่อาจปลูกพืชอื่นร่วมได้อีก ซึ่งขึ้นอยู่กับความเหมาะสม ของพื้นที่ และความเชี่ยวชาญของชาวเกษตรกร จากนั้น กำ�หนดเขตปลูกพืชเศรษฐกิจ (Crop Zoning) ใน ความเหมาะสมของพื้นที่ด้านกายภาพ จะต้องศึกษาก่อนว่าสภาพของดิน ในปัจจุบัน สามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ได้มากน้อยเพียงใด บริเวณพื้นที่ใกล้ เคียงเป็นพื้นที่ป่าอนุรักษ์ เขตชุมชน โรงงาน หรือสถานที่สาธารณะหรือไม่ มีเส้นทางคมนาคมอย่างไร มีระบบสาธารณูปโภคและระบบชลประทานที่ เอื้ออำ�นวยต่อการเพาะปลูกหรือไม่
24
“การจัดทำ�โซนนิ่งจะต้องทำ�งานแบบบูรณาการร่วมกัน โดย เฉพาะหน่วยงานภาครัฐต่างๆ ต้องมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างแน่นอน เพราะ จากทีไ่ ด้กล่าวแนวความคิดในการจัดทำ�โซนนิง่ ไปแล้วข้างต้น จำ�เป็นต้อง อาศัยข้อมูลเชิงกายภาพ ข้อมูลโครงสร้างพืน้ ฐาน ข้อมูลเศรษฐกิจ หรือข้อ มูลอื่นๆ จากหน่วยงานร่วมด้วย เพื่อส่งเสริมการเพาะปลูกของเกษตรกร ให้มคี ณ ุ ภาพและได้ผลผลิตทีด่ มี ากยิง่ ขึน้ รวมถึงส่งเสริมคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ให้แก่เกษตรกรด้วยเช่นกัน” กระบวนการการจัดโซนนิง่ ว่า พืน้ ทีใ่ ดเหมาะกับพืชชนิดใดนัน้ ทาง สทอภ. มีหลักการดังนี้ ข้อมูลเชิงกายภาพ ศึกษาพื้นที่ลักษณะทางธรรมชาติที่เป็นส่วน ประกอบของเปลือกโลกที่เป็นองค์ประกอบทางภูมิศาสตร์ เช่น ขนาด ที่ตั้ง ภูมปิ ระเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ ฯลฯ และวิเคราะห์วา่ เป็นพืน้ ทีท่ เี่ หมาะสม กับการเพาะปลูกหรือไม่ หรือเป็นพื้นที่เขตป่าอนุรักษ์หรือไม่ ซึ่งข้อมูลเหล่า นี้จะต้องมีความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ เช่น ข้อมูลแผนที่ความเหมาะ สมในการเพาะปลูก จากกรมพัฒนาที่ดิน ข้อมูลพื้นที่เขตป่าอนุรักษ์ จาก กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทีต่ งั้ โรงงานหรืออุตสาหกรรม จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน เป็นโครงสร้างทางกายภาพที่รองรับ การทำ�งานของประชาชน เช่น ถนน ระบบชลประทาน ระบบการจัดการนํา้ ฯลฯ เพือ่ ศึกษาว่าพืน้ ทีน่ นั้ ๆ มีเส้นทางคมนาคมอย่างไร เช่น แผนทีท่ างรถไฟ ท่าเรือ และถนน จากกระทรวงคมนาคม เป็นต้น โดยเฉพาะพืน้ ทีท่ แี่ ห้งแล้ง ระบบชลประทานเข้าไม่ถึง หน่วยงานจะแนะนำ�ชนิดหรือพันธุ์พืชใช้นํ้าน้อย แทนพืชที่ปลูกอยู่ในปัจจุบัน
ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ เช่น พืชเศรษฐกิจที่ปลูกแต่ละชนิดให้ ผลผลิตในปริมาณเท่าใด ได้ราคาที่เหมาะสมและมีกำ�ไรมากน้อยเพียงใด และเป็นที่ต้องการของตลาด ณ ในขณะนั้นหรือไม่ รวมถึงหาโรงงานหรือ แหล่งรับซื้อผลผลิต ซึ่งแน่นอนว่ากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จะต้องให้ ความร่วมมือในเรื่องปริมาณและราคาผลผลิตของพืชแต่ละชนิด ประกอบ กับใช้ข้อมูลรูปแปลงที่ดิน จากกระทรวงมหาดไทยในการวิเคราะห์ด้วย เมือ่ ได้ขอ้ มูลครบถ้วนแล้ว สทอภ.จะนำ�ข้อมูลมากำ�หนดเขตพืน้ ที่ ปลูกพืชเศรษฐกิจหลักทั้ง 6 ชนิดของประเทศ โดยเริ่มจากการโซนนิ่งพืช เศรษฐกิจรายชนิด เพือ่ หาขนาดพืน้ ทีท่ ปี่ ลูกทีเ่ หมาะสมและปลูกจริง รวมถึง พืน้ ทีเ่ หมาะสมทีส่ ามารถปลูกเพิม่ เติมได้ โดยดูจากปัจจัยโรงงานและเส้นทาง คมนาคม จากนั้นจะนำ�เขตพื้นที่ปลูก หรือ โซน (zone) ของพืชแต่ละชนิด
มาลงบนแผนที่ประเทศไทย แล้วแปลงข้อมูลการใช้ที่ดินปัจจุบันและแปลง เขตพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจทั้ง 6 ชนิด จากนั้นจะนำ�ข้อมูลที่ได้มาเปรียบ เทียบเพื่อหาขนาดพื้นที่และผลตอบแทนต่อหน่วยในลักษณะแผนภูมิแท่ง นอกจากการโซนนิ่งด้วยวิธีนี้แล้ว ยังสามารถวิเคราะห์พื้นที่ทับซ้อนโดยดู จากการใช้ที่ดินในปัจจุบันจากภาพถ่ายดาวเทียมได้เช่นกัน การนำ�ผลการโซนนิ่งภาคเกษตรมาสู่ภาคปฏิบัติ จะทำ�ให้ทุก หน่วยงานได้ร่วมกันช่วยผลักดันให้เกษตรกรปลูกพืชในพื้นที่ที่เหมาะสม มากขึน้ ได้ผลผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ อีกทัง้ หน่วยงานต่างๆ ยังได้พฒ ั นาประเทศให้ดี ขึน้ เช่น ระบบชลประทาน การพัฒนาสายพันธุพ์ ชื อืน่ ๆ การพัฒนาปรับปรุง พืน้ ทีไ่ ด้เหมาะสมทัง้ พืน้ ทีเ่ พือ่ การอนุรกั ษ์ และพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ สำ�หรับใช้ประโยชน์ สาธารณะ เป็นต้น ทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องสร้างความเข้าใจและ ลงมือปฏิบัติให้ประชาชนเห็นผลจริง ส่วนประชาชนภาคเกษตรกรก็ต้อง ทำ�ความเข้าใจและปรับเปลี่ยนทัศนคติใหม่ เพราะจะช่วยให้กระบวนการ เพาะปลูกมีเสถียรภาพ รู้ทิศทางการปลูกที่ช่วยลดภาระหนี้จากการลงทุน ในแต่ละปี โซนนิ่งภาคเกษตร จึงเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาภาคเกษตร ให้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งเป็นการเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีแก่เกษตรกรอย่างยิ่ง เพราะ การควบคุมพื้นที่ปลูก นอกจากจะเหมาะกับการเจริญเติบโตของพืชนั้นๆ แล้ว ยังทำ�ให้ได้ผลผลิตที่ดี ราคาไม่ตกตํ่าอย่างปัจจุบัน ที่แห่ปลูกพืชชนิด เดียวกันทั้งๆ ที่ภูมิภาคไม่เอื้ออำ�นวย
25