CITY MAGAZINE WEEKLY
FREE
WWW. 247FREEMAG.COM MAGAZINE OF THE GM GROUP VOL.8 NO.238 21 - 27 MAY 2015
U p d a t e s & A c t i v i t i e s • Tre n d & Ta s t e • Tr a v e l & L e i s u re • E a t & D r i n k • L i v i n g & M o re
THE THOUGHT
จักรยาน จักรยานอาจไม่ใช่เรือ่ งซับซ้อน แต่ ‘วิถจี กั รยาน’ นัน้ ซับซ้อนแน่, และซับซ้อนมากเสียด้วย ความซับซ้อนทีว่ า่ นี ้ บางทีอาจจะมากเกินกว่าทีส่ งั คมทีม่ วี ธิ คีิ ดิ แบบ ‘สุดแค้นแสนรัก’ หรือทวิลกั ษณ์ขาวด�า จะท�า ความเข้าใจได้ และนัน่ แหละครับ-คือปัญหาใหญ่ของเราทีน่ า� พาเราเข้าสูว่ ธิ แี ก้ปญ ั หาแบบ ‘ทางตัน’ ในทุกๆ เรือ่ ง ตัง้ แต่เรือ่ ง (ทีบ่ างคนเห็นว่าเป็นเรือ่ ง) เล็กขีป้ ะติว๋ -อย่างการสัญจรในเมือง หรือกระทัง่ เรือ่ งใหญ่ๆ อย่างการสืบทอดอ�านาจในทุกระดับชัน้ พูดได้วา่ -เราชอบแก้ปญ ั หากันด้วย ‘ทางตัน’ โดยแท้! ผมคิดว่าทีเ่ ป็นอย่างนัน้ ก็เพราะเราเป็นสังคมทีไ่ ม่มหี ลักใดๆ ทัง้ นัน้ ไม่ม ี ‘จุดยืน’ ของตัวเองทีจ่ ะเอาไว้ ‘จับ’ หรือ ‘มอง’ ประเด็นปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ พูดอีกอย่างให้ยากขึน้ ก็คอื เราไม่ม ี ‘องค์ความรูพ้ นื้ ฐาน’ อยูใ่ นตัวมากพอทีจ่ ะใช้เป็นหลักยึด ในการมองปัญหา เมือ่ ไม่มหี ลัก เราจึงเหมือนคนนุง่ กระโจมอกตีโป่งเล่นหมาเน่าลอยอยูใ่ นแม่นา�้ ถ้าคลืน่ ไม่ปน่ั ป่วนก็แล้วไป เราก็นอนลอยคอดูฟา้ ชมนกชมไม้ของเราไปเรือ่ ยๆ แต่ถา้ เมือ่ ไหร่มเี รือล�าใหญ่แล่นผ่านมา ท�าให้กระแสน�า้ ปัน่ ป่วน เราก็จะ เท้งเต้งถูกน�า้ ซัดพลิกคว�า่ พลิกง่ายให้เป็นทีส่ มเพชเวทนาเพราะเราหา ‘หลัก’ ทีจ่ ะ ‘เกาะ’ เอาไว้ให้หยุดกับที ่ เพือ่ พิจารณา เรือล�าทีก่ อ่ ให้เกิดกระแสน�า้ ปัน่ ป่วนไม่ได้ ถ้าเราไม่มีหลักยึดแล้วลอยอยู่ในแม่น�้าคนเดียวก็คงไม่กระไร จะถูกน�้าซัดจนตายท้องกลมหรือถูกใบพัดเรือตี จนกลายเป็นผีตายโหงก็คงไม่กระไรนัก แต่เมื่อเราอยู่ในสังคม ก็เหมือนเราลอยตัวอยู่ด้วยกันในน�้าเป็นแสนเป็นล้านคน ดังนัน้ เมือ่ คลืน่ ปัน่ ป่วน การลอยตัวของเราจึงกระทบกระแทกกันท�าให้เราเจ็บ แต่เมือ่ ไม่ม ี ‘หลัก’ ให้ยดึ อยูน่ งิ่ กับทีเ่ สียแล้ว เราก็เลยมัวแต่พลิกคว�า่ พลิกหงาย มองไม่เห็นหรอกว่ามีเรือแล่นผ่าน เราจะ ‘เห็น’ ก็แต่ปัญหาเฉพาะหน้า คือคนที่เพิ่งกระแทกเราไปเมื่อกี้ เพราะฉะนั้นเราก็ต้องตอบโต้มันกลับไป ท�าให้เรา ชอบกระโจนเข้าไปฟัดกัน ถกเถียงกันในทุกเรื่อง อารมณ์มักจะปะทุแบบสุดแค้นแสนรัก เหวี่ยงไปมาได้โดยไม่จ�าเป็น ต้องรูเ้ ลยว่าตัวเองยืนอยูบ่ นหลักไหน แต่ทจี่ ริงแล้ว ทุกการถกเถียงนัน้ ถ้าได้รงั้ ตัวเองออกมานอกวงเสียหน่อย เพือ่ ดูวา่ เรายืนอยูต่ รงไหน ใช้หลักอะไร ในการถกเถียง การถกเถียงนัน้ คงสนุกและให้ประโยชน์ได้มากกว่าสภาพน่าสังเวชอย่างทีเ่ ป็นอยู่ ยิง่ เมือ่ สภาพไร้หลักของเรา ถูกเสริมสร้างพลังให้เข้มแข็งข้นคลัก่ ขึน้ ด้วย Social Media นัน้ -ทีส่ ดุ ก็เละเทะยิง่ กว่าซอมบีถ้ กู ยิงหัวกระจุยเสียอีก ที่แย่มากก็คือ คนที่มีอ�านาจทั้งหลายในสังคมนี้ก็เป็นผลผลิตของสังคมแบบนี้ด้วย ไม่ว่าจะมีอ�านาจล้นท้นฟ้า มากมายแค่ไหน ก็มกั ไม่ม ี ‘หลัก’ ในการแก้ปญ ั หาใดๆ ทัง้ สิน้ เวลามีปญ ั หาอะไรก็มกั จะได้แต่ดนิ้ พล่านแก้ปญ ั หากันไปวันๆ (เพราะปัญหาใหม่ๆ เกิดขึน้ เสมอๆ) หลักที่ว่า ไม่จ�าเป็นต้องเป็นหลักการยิ่งใหญ่สูงส่งอะไร เอาแค่ให้เรารู้ก็พอครับ ว่าเราอยู่ตรงไหนในประเด็น ปัญหานั้นๆ เราอาจจะใช้หลักการแบบชาวพุทธก็ได้ เป็นมาร์กซิสต์ก็ได้ เป็นเฟมินิสต์ก็ได้ เป็นนักมังสวิรัติก็ได้ เป็นนักประชาธิปไตยก็ได้ เป็นนักศีลธรรมนิยมก็ได้ เป็นอะไรก็ได้ทงั้ นัน้ แล้วใช้หลักนัน้ ในการมองปัญหา ถ้าเรารู้เสียก่อนแล้วว่า ‘หลัก’ ของเราคืออะไร เราก็จะรู้ว่าเราเกาะอยู่ตรงไหนในแม่น�้าสายนั้น แล้วเราก็จะรู้ว่า เรา ‘เห็น’ เรือล�าทีท่ า� ให้นา�้ ปัน่ ป่วนนัน้ จาก ‘มุม’ ไหน แต่ถา้ เราไม่เห็นแม้กระทัง่ หลักของตัวเอง ก็เป็นไปไม่ได้เลยนะครับ ที่เราจะเห็นหลักของผู้อื่น เพราะเราจะมัวแต่พลิกคว�่าพลิกหงายอยู่ในน�้าจนมึนงงไปหมด การถกเถียงหรือแก้ปัญหา จึงเลือ่ นลอยบ้าง คับแคบบ้าง โง่เขลาบ้าง ทีส่ ดุ สังคมนีก้ ว็ นเวียนอยูก่ บั วิธกี ารแก้ปญ ั หาทีล่ า้ หลังทัง้ หลาย ก่อให้เกิดวิธแี ก้ปญ ั หา ทีน่ า� พาเราไปสู ่ ‘ทางตัน’ ในหลายระดับ โปรดอย่าลืมว่า หลักการของเราจะบอกวิธมี อง ‘ราก’ ของปัญหา ยิง่ ถ้าใจกว้าง สามารถเอาหลักของเราไปเทียบกับ หลักของคนอืน่ ๆ ได้ ก็จะยิง่ เห็นรากและวิธแี ก้ปญ ั หาทีห่ ลากหลาย และเลือกใช้ให้เหมาะสมกับปัญหาได้ แต่เมือ่ ไม่มหี ลัก เสียแล้วก็ไม่มที างมองเห็นรากของปัญหา อย่าว่าแต่จะพูดเรือ่ งเปรียบเทียบหลักของตัวเองกับหลักของคนอืน่ เลยครับ เรือ่ งจักรยานก็เป็นแบบนีด้ ว้ ยเหมือนกัน พูดแล้วทัง้ เหนือ่ ย เบือ่ ร�าคาญ และเศร้าครับ!
COFFEE
&BAKERY
BEAUTY &SPA
HOSPITAL
OTHERS
SHOPPING MALL
เข�ใหญ่ Sheep Land Primo-Posto Palio Moon Dance Cofee Memory
หัวหิน Salon De Guru สตาร์บัคส์ (ใกล้หอนาฬิกา) สตาร์บัคส์ หัวหิน มาร์เก็ต วิลเลจ
ภูเก็ต
โตมร ศุขปรีชา • • • • • • • • • • • • • •
สตาร์บัคส์ ศูนย์การค้า จังซีลอน ป่าตอง สตาร์บัคส์ เซ็นทรัล เฟสติวลั ภูเก็ต
บรรณ�ธิก�รที่ปรึกษ� ณิพรรณ กุลประสูตร, โตมร ศุขปรีชา บรรณ�ธิก�รบริห�ร อรรถสิทธิ์ เหมือนมาตย์ • ผูช้ ว่ ยบรรณ�ธิก�ร/Interview พลสัน นกน่วม ผูช้ ว่ ยบรรณ�ธิก�ร/Lifestyle สิรญ ิ า ใจบุญ • ผูช้ ว่ ยบรรณ�ธิก�ร/Feature เพลงมนตรา บุบผามาศ บรรณ�ธิก�รอำ�นวยก�รศิลปกรรม ประทีป ปัจฉิมทึก บรรณ�ธิก�รศิลปกรรม กมลศักดิ์ เสียงสนั่น • ศิลปกรรม ณัฐพงษ์ กำาเนิดทิม • บรรณ�ธิก�รศิลปกรรมโฆษณ� สันติจิต ไวยากรณ์ กร�ฟิกดีไซน์ ประสิทธิ์ เอนกอนันตพันธุ์ • พิสูจน์อักษร ดวงใจ เข็มแดง, วิกานดา ธรรมพากรณ์ • เจ้�หน้�ทีเ่ ว็บไซต์ ดำารงพล อ้วนเจริญ บรรณ�ธิก�รฝ่�ยภ�พ ดำารงค์ฤทธิ์ สถิตดำารงธรรม • หัวหน้�ช่�งภ�พ กฤตพล วิทย์วอ่ งไว • ฝ่�ยภ�พ พิชญุตม์ คชารักษ์, กฤตธี อ้วนอร่ามวิไล ผู้จัดก�รฝ่�ยโฆษณ�/ก�รตล�ด สุขฤทัย เอนกวศินชัย ฝ่�ยโฆษณ�/ก�รตล�ด รังสิพรรณ พุกจรูญ, จินดาวรรณ สิรทิ วีสทิ ธิ,์ ธนิษา สุขสมบูรณ์, พิชชาณันท์ นิธกิ รณ์จริ โชติ เลข�นุก�รฝ่�ยโฆษณ�และกองบรรณ�ธิก�ร กวินพิตรา บุรานนท์ • ฝ่�ยบุคคล รุจพี ชั ร เครือภูงา, เตือนใจ พรหมจรรย์ ผูจ้ ดั ก�รทัว่ ไป ภานุวชั ร พงศ์วราภา • ผูจ้ ดั ก�รฝ่�ยพัฒน�ก�รตล�ด ขนิษฐา เผือกผ่องใส • รองผูจ้ ดั ก�รฝ่�ยพัฒน�ก�รตล�ด กานต์ชนก มูณเี กิด ผูอ้ �ำ นวยก�รฝ่�ยนิวมีเดีย พีศลิ ป์ พงศ์วราภา • ผูจ้ ดั ก�รฝ่�ยก�รเงิน วิมลลักษณ์ อาศัยพานิชย์ • ผูจ้ ดั ก�รฝ่�ยบัญชี ณิชาภา บุพรานนท์ ผูจ้ ดั ก�รฝ่�ยตรวจสอบภ�ยใน ธิรนันท์ เครือภูงา • หัวหน้�ฝ่�ยบัญชี ปราณีวรรณ ตระการพฤกษ์ ฝ่�ยบัญชี นุชนารถ ใจประสาท, ขนิษฐา รักษ์ศิริ • ผู้จัดก�รฝ่�ยผลิต อุดมทรัพย์ ก๋องชัย
สำ�นักง�น 24/7 : บริษัท จีเอ็ม มัลติมีเดีย จำ�กัด (มห�ชน) อาคาร GM Group 914 ถนนพระราม 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ : 02 241 8000 แฟกซ์ : 02 241 8008 แฟกซ์ฝา่ ยโฆษณา : 02 241 6886 แฟกซ์กองบรรณาธิการ : 02 241 2333 E-mail : 247@gmgroup.in.th บรรณ�ธิก�ร ผู้พิมพ์ผู้โฆษณ� : พีศิลป์ พงศ์วราภา ประธ�นกรรมก�รบริห�ร/กรรมก�รผู้จัดก�ร : ปกรณ์ พงศ์วราภา รองประธ�นกรรมก�รบริห�ร ส�ยง�นก�รเงิน : พรจิตต์ พงศ์วราภา ส�ยง�นนิตยส�ร : ณิพรรณ กุลประสูตร ส�ยง�นพัฒน�ธุรกิจ : ฤทธิณรงค์ กุลประสูตร ส�ยง�นก�รตล�ด : สืบวงศ์ แก้วทิพรัตน์
เชียงใหม่ เวียงจูมออน Salon De Guru สตาร์บัคส์ เซ็ลทรัล แอร์พอร์ต สตาร์บัคส์ นิมมานเหมินทร์ สตาร์บัคส์ เชียงใหม่-ท่าแพ สตาร์บัคส์ ศูนย์การค้า กาดสวนแก้ว
GM MULTIMEDIA PUBLIC COMPANY LIMITED 24/7 OFFICE : GM GROUP BLDG., 914 RAMA 5 RD., DUSIT, BANGKOK 10300 THAILAND TEL. : (+66) 2241 8000 FAX : (+66) 2241 8008
www.gmgroup.in.th
CHAIRMAN/CEO : PAKORN Pongvarapa EXECUTIVE VICE PRESIDENT : PORNJITT Pongvarapa : FINANCE NIPHAN Kulprasoot : EDITORIAL RITNARONG Kulprasoot : BUSINESS DEVELOPMENT SUEBWONG Kaewthipharat : MARKETING 24/7 GROUP EDITORS : TOMORN Sookprecha, ATTHASIT Mueanmart GENERAL MANAGER : PANUWAT Pongvarapa EXECUTIVE ART DIRECTOR : PRATEEP Patchimtuck ART DIRECTOR : KAMONSAK Siangsanun ADVERTISING & MARKETING MANAGER : SUKRUETHAI Anekwasinchai
HOTEL
ดาวน์โหลด E-Magazine ในเครือ GM ในรูปแบบเวอร์ชัน Interactive ได้ที่ หรือเวอร์ชันปกติผ่านแอพฯ แผงหนังสือออนไลน์ชั้นน�า และ TrueBook, Dtac, BookSmile, Bookdose, NaiinPann
CTextITY MOVEMENT : เพลงมนตรา ปริมำณขยะบนเกำะรำวี เขตอุทยำนแห่งชำติ หมู่เกำะตะรุเตำ จังหวัดสตูล ที่เหล่ำอำสำสมัครจำกทั่วโลกในโครงกำร Trash Hero Thailand ร่วมกันเก็บออกจำกเกำะ โดยใช้ เวลำกว่ำ 2,000 ชั่วโมง ทีม่ า : www.trashhero.org
ภาพ : www.designboom.com
Xi’an oFFice building
อาคารส�านักงานในซีอาน เมืองขนาดใหญ่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน ออกแบบโดย บริษัทสถาปัตยกรรม Michael Sorkin อาคารแห่งนี้เป็นที่ท�าการหลักของส�านักงานศุลกากร การขนส่งสินค้า ส�านักงานให้เช่า ตลอดจนพื้นที่สัมมนา เป็นต้น ยุทธศาสตร์ที่ตั้งของอาคารตั้งอยู่ ใกล้กับแม่น�้าเหว่ย การออกแบบก่อสร้างเปรียบเหมือนการเปลี่ยนผ่านระหว่างการพัฒนาสิ่งเก่า ท่ามกลางย่านธุรกิจเกิดใหม่ โครงสร้างเป็นทรงกลมเสมือนวงแหวนคอนกรีต มีสนามหญ้าอยูบ่ ริเวณ ใจกลาง และด้วยลักษณะทรงกลมนีท้ า� ให้พนื้ ทีภ่ ายในได้รบั แสงและลมจากธรรมชาติอย่างทัว่ ถึง
ประเทศ
จ�ำนวนประเทศที่ยกเลิก โทษประหำรส�ำหรับควำมผิด ทำงอำญำทุกประเภท ทีม ่ า : www.amnesty.or.th
ภาพ : www.bachor.com
Filling potholes with wonderFul mosaics
Jim Bachor ศิลปินสตรีทอาร์ตที่สร้างชื่อเสียงจากการสร้างสรรค์ศิลปะโมเสก หรือการปะติดปะต่อภาพจาก ชิ้นวัสดุขนาดเล็กเพื่อประชดประชันสภาพผิวถนนที่ขรุขระ ยังคงเดินหน้าสะท้อนปัญหาสังคมด้วยความ กล้าหาญ จากโปรเจกต์แรกเริม่ ทีเ่ กิดขึน้ ในนครชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐฯ ซึง่ เขาเลือกใช้ความถนัด ของตัวเองแก้ไขปัญหาถนนสึกหรอเป็นหลุมเป็นบ่อด้วยการปูกระเบื้องโมเสกลวดลายดอกไม้ลงไป ส่งผลให้ ประชาชนจ�านวนมากหันมาใส่ใจปัญหาสภาพถนนมากขึน้ และเวลานีเ้ ขายังได้ออกเดินทางไปเติมเต็มหลุมบ่อ ที่ไม่มีใครเหลียวแลในประเทศฟินแลนด์ โดยน�ากระเบื้องโมเสกลวดลายไอศกรีมทั้งแบบโคน แบบแท่ง หรือแบบแซนด์วชิ ไปชุบชีวติ พืน้ ทีส่ าธารณะทีเ่ คยเป็นหลุมบ่อรบกวนใจให้กลายเป็นงานศิลปะแสนสดใสขึน้ มา
ภาพ : www.designboom.com
the seoul skygarden
ขณะที่ ม หานครใหญ่ ข องโลกต่ า งประสบกั บ ความท้าทายจากการด�ารงอยูอ่ ย่างเมือง การฟืน้ ฟู เมืองเลยกลายเป็นทางออกที่ดูเหมือนจะตอบรับ การขยายตัวของประชากรได้ดีกว่าการขยายพื้นที่ ออกไป ทางการเกาหลีจงึ เริม่ หันมาทบทวนวิธกี าร พลิกฟื้นพื้นที่ชั้นในของเมืองให้มีคุณภาพ และ สามารถตอบรับกับความต้องการของผู้ใช้สอย MVRDV สตูดิโอออกแบบสัญชาติเนเธอร์แลนด์ จึงได้รับการคัดเลือกให้น�าทางหลวงที่ถูกสร้างขึ้น ในปี 1970 และปัจจุบันถูกปล่อยปละละเลยมาเนรมิตเป็นสวนสาธารณะลอยฟ้าที่สามารถช่วย ประหยัดเวลาในการเดินทางเชื่อมต่อไปยังสถานีรถไฟที่อยู่ใกล้เคียงได้ และยังเป็นพื้นที่สีเขียว ทีเ่ หมาะแก่การพักผ่อน เพราะเป็นแหล่งรวบรวมความหลากหลายทางธรรมชาติไว้มากมาย เพือ่ แสดง ให้เห็นถึงความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะน�าเมืองไปสูค่ วามยัง่ ยืน โดยมีตน้ ไม้มากกว่า 254 สายพันธ์ุ ทีน่ า� มาสร้างสรรค์ เป็นสวนรุกขชาติทคี่ นเมืองสามารถมาใช้ประโยชน์รว่ มกันได้อย่างเต็มที่
04 - 24 7
มาร์น ลา วัลเลย์ เมืองใหม่ในประเทศฝรั่งเศส อยู่ห่างจากกรุงปารีสไปประมาณ 20 กม. เป็ น ที่ ตั้ ง ของศู น ย์ วิ จั ย และวิ ท ยาเขตวิ ศ วกรรมโยธาที่ ส ร้ า งขึ้ น บนพื้ น ที่ 40,000 ตร.ม. ผลงานการออกแบบของบริษทั สถาปนิกฝรัง่ เศส Jean-Philippe Pargade ซึง่ มีความโดดเด่น อยู่ที่หลังคาคอนกรีตสีเขียวผืนใหญ่ ที่ได้รับการออกแบบเป็นเกลียวคลื่น และถูกน�ามาใช้ ประโยชน์สา� หรับการเพาะปลูก และยังเป็นพืน้ ทีส่ ร้างกิจกรรมนันทนาการคุณภาพดี เพราะ มาพร้อมกับแนวคิดการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม ภายใต้หลังคาสีเขียวประกอบไปด้วย ห้องทดลอง ส�านักงาน ห้องเรียน ห้องประชุม รวมไปถึงศูนย์กฬี า ตัวอาคารหันหน้าสูท่ ศิ ตะวันออก รับความอบอุ่นจากแสงแดดอย่างเต็มที่ ขณะเดียวกันก็สามารถถ่ายเทลมได้ดี ตลอดจนใช้ เทคนิคในการเก็บกักน�า้ ฝนเพือ่ น�ามาใช้ประโยชน์ ภาพ : www.pargade.com
ภาพ : www.telegraph.co.uk
ภาพ : www.guyhollaway.co.uk
กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ต้อนรับ เทศกาลประกวดร้ อ งเพลงยู โ รวิ ชั่ น ครั้ ง ที่ 60 ด้ ว ยการเปลี่ ย นสั ญ ญาณ ไฟจราจรธรรมดาจากที่ เ คยเป็ น ภาพ คนเดินข้ามถนนเพียงคนเดียวให้กลาย เป็นเครื่องมือส�าหรับสื่อสารสัญลักษณ์ ความหลากหลายทางเพศ ซึง่ ขณะนีก้ า� ลัง ท�าการทยอยติดตั้งให้ครบ 120 แห่ง ทั่ ว เมื อ ง โดยไฟจราจรรู ป แบบใหม่ ได้ รั บ การออกแบบให้ แ สดงภาพคู ่ รั ก จับมือกันทัง้ คูช่ าย หญิง และรักร่วมเพศ เพือ่ ชีน้ า� ให้ประชาชนเปิดใจกว้างยอมรับ เพศทางเลือก พร้อมกับมองเห็นคุณค่าของความเท่าเทียม และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสัญญาณไฟ แห่งความรักนีจ้ ะช่วยปรับปรุงให้ผใู้ ช้ถนนค�านึงถึงความปลอดภัยมากขึน้ ด้วย
World’S firST mulTi-STorey SkaTe park
ทีมสถาปนิกจาก Guy Hollaway ก�าลัง มองหาวิธสี ร้างสรรค์ลานเล่นสเกตบอร์ด ที่แปลกใหม่ และท้าทายผู้ชื่นชอบกีฬา เอ็กซ์ตรีมมากขึ้นอีกระดับ โดยน�าเสนอ การออกแบบอาคารเล่ น สเกตบอร์ ด หลายชัน้ แต่ละชัน้ มีฟงั ก์ชนั ทีแ่ ตกต่างกัน ออกไป และยังมีลานโบว์ลงิ่ ทีไ่ ด้มาตรฐาน สากล ซึ่ ง มี พื้ น ที่ ร วมประมาณ 1,000 ตารางเมตร ก่อสร้างขึ้นในโฟล์คสโตน ประเทศอั ง กฤษ ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ การฟื้นฟูเมืองระดับภูมิภาค เพื่อรองรับ วัฒนธรรมการเล่นกีฬาที่ก�าลังเติบโต อย่างรวดเร็ว นับเป็นอีกหนึง่ สถานทีท่ ถี่ กู ออกแบบเพือ่ ดึงดูดทัง้ เยาวชนท้องถิน่ และการแข่งขัน ระหว่างประเทศ โดยเหล่าสถาปนิกเชือ่ ว่ามันอาจจะเป็นครัง้ แรกของโลกทีม่ ลี านเล่นสเกตบอร์ด หลายชั้นเกิดขึ้นจริง นอกจากนั้นยังมีสิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับรองรับความหลากหลาย ของกิจกรรมกีฬาทีอ่ าจจะขึน้ ในอนาคต เช่น ขีจ่ กั รยาน ชกมวย และปีนเขา
ภาพ : www.leinsterrugby.ie
The redevelopmenT of The rdS arena
สถาบันสถาปนิกไอร์แลนด์ ประกาศผล การประกวดการออกแบบนานาชาติ เพื่ อ เฟ้ น หาผู ้ ม าปรั บ ปรุ ง สนามกี ฬ า RDS Arena กรุงดับลิน โดยผู้ชนะเลิศ ในครัง้ นีค้ อื Grimshaw และ Newenham Mulligan ที่ ร ่ ว มกั น ดี ไ ซน์ ส เตเดี ย ม ส�าหรับรองรับการแข่งขันกีฬาและการจัด กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง ผลงานการออกแบบ ปรับปรุงโฉมสนามกีฬาเอื้อให้สามารถ รองรับการแข่งขันกีฬารักบี้ และการแข่งม้า ประจ�าปี โดยคณะกรรมการให้เหตุผลว่า คอนเซ็ปต์การออกแบบของผูช้ นะเป็นดีไซน์ทมี่ คี วามตืน่ ตา ตอบโจทย์วตั ถุประสงค์ในการใช้งานอย่างหลากหลาย โดยเฉพาะการรองรับการแข่งขันกีฬารักบี้ ขีม่ า้ และยังสามารถจัดอีเวนต์ของเมืองได้มากมาย ทัง้ นี้ การก่อสร้าง เพือ่ ปรับปรุงคาดว่าจะเริม่ ต้นในปี 2016
จากกรณีอบุ ตั เิ หตุรถยนต์ชนกลุม่ นักปัน่ จักรยานจนมีผเู้ สียชีวติ และบาดเจ็บหลายราย ทาง กทม. จึงเร่งพิจารณามาตรการดูแลความปลอดภัย โดยหันมาท�าการส�ารวจจ�านวน นักปัน่ ใน 50 เขต รวมทัง้ เส้นทางทีน่ ยิ มใช้ เพือ่ ก�าหนดมาตรการดูแลความปลอดภัย พร้อมทัง้ หารือกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ ก�าหนดความเร็วของรถยนต์ โดยหาทางออก ด้วยกฎหมายควบคุมความเร็วในเส้นทางทีม่ เี ลนจักรยาน ให้ลดเหลือ 50 กม./ชม. และใน ซอยย่อยใช้ความเร็วได้ไม่เกิน 30 กม./ชม. ส่วนเส้นทางทีย่ งั ไม่มเี ลนจักรยานก็จะจัดท�าเพิม่ เติม นอกจากนีย้ งั เตรียมปรับปรุงเส้นทางจักรยานด้วยการติดตัง้ สัญลักษณ์ให้ชดั เจนยิง่ ขึน้ เนือ่ งจาก กทม. มีนโยบายเพิม่ เส้นทางจักรยานให้ครอบคลุม และเชือ่ มต่อกันในพืน้ ที่ กรุงเทพฯ พร้อมทัง้ รณรงค์ให้ประชาชนหันมาใช้จกั รยานเพือ่ เป็นทางเลือกในการเดินทาง
24 7 - 05
CTextalendar : รุง่ วิสาข์
22-31 May 2015
power Buy Expo 2015 Bitec Bang-Na เพาเวอร์บายขนสินค้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ไอที มาลดราคากันกระหน�่าอย่างยิ่งใหญ่ โดยในงานจะได้พบกับสินค้า ราคาพิเศษที่ไม่ควรพลาดซึ่งราคาถูกกว่าปกติ และไม่สามารถ หาซื้อสินค้าในราคานี้ได้ที่ไหน อีกทั้งยังมีโปรโมชั่นพิเศษรายวัน กับสินค้านาทีทองราคาพิเศษสุดๆ
23 May 2015
SangSom presents Single Festival Bitec Bang-Na เทศกาลดนตรีทชี่ วนชาวโสดทัง้ หลายมาร่วมโดดไปกับคอนเสิรต์ มันๆ ที่คัดสรรศิลปินมาแล้วเพื่อคนโสด โดย 7 ศิลปินสุดพีคที่จะมาร่วม เขย่าความโสดทั้ง THAITANIUM, SLOTMACHINE, LOMOSONIC, PARADOX, POLYCAT, BOOM BOOM CASH และ ELECTRIC NEON LAMP ซือ้ บัตรได้แล้วที่ ไทยทิกเก็ตเมเจอร์ บัตรส�าหรับสาวโสดราคา 399 บาท และบัตรหนุม่ โสดราคา 499 บาท
30-31 MaY 2015
Cat TShirt ตอน เสื้อหน้าเนื้อ Airport Rail Link Makkasan เทศกาลเสื้อยืดประจ�าปีของชาวแคทเรดิโอ ที่ให้คุณเพลินไปกับ การช้อปปิง้ ในตลาดนัดเสือ้ ยืดมากมายกว่า 200 ร้านค้า 2,000 ลาย พิเศษปีนี้ยังมีเสื้อยืดลายเนื้อเพลง ที่คนทางบ้านส่งเข้าประกวด มาขายด้วย และยังมีคอนเสิรต์ จากศิลปินมากหน้าหลายวงมาสร้างสีสนั รวมถึ ง เชิ ญ ชม cat Walk แฟชั่ น โชว์ เ สื้ อ ยื ด จากศิ ล ปิ น และ นางแบบนายแบบเพียบ บัตรเข้างานราคา 200-300 บาท ซือ้ บัตรได้ที่ ไทยทิกเก็ตเมเจอร์
28 June 2015
Unique Running Sukhothai Marathon 2015 Sukhothai Historical Park งานวิ่งมาราธอนในบรรยากาศเมืองเก่าของจังหวัดสุโขทัย โดยการแข่งขันนั้นจะแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ มาราธอน, ฮาล์ฟมาราธอน, มินิมาราธอน และเดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ โดยผู้สมัครทุกท่านจะได้รับ เสือ้ วิง่ 1 ตัว และเหรียญทีร่ ะลึกส�าหรับผูเ้ ข้าเส้นชัย พร้อมทัง้ รางวัลพิเศษเพียบ สนใจสมัครลงแข่ง หรือสอบถาม รายละเอียดเพิม่ เติม ได้ที่ โทร. 02 949 2855 goodsportsthailand.com หรือ FB : uniquerunning รายได้สว่ นหนึง่ ของกิจกรรมนีจ้ ะน�าไปสมทบทุนสนับสนุนอุปกรณ์ดแู ลรักษาพืน้ ทีอ่ ทุ ยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย
2-6 June 2015
CompuTex 2015 Taipei World Trade Center, Taiwan
งานทีร่ วบรวมเทคโนโลยีในหมวดหมูข่ องสินค้า ไอทีทนี่ า่ สนใจจากแบรนด์ดงั ต่างๆ จากทัว่ โลก มาไว้ในงานเดียวกัน ซึง่ จัดขึน้ เป็นประจ�าทุกปี โดยในงานมีทงั้ การเปิดตัวผลิตภัณฑ์สนิ ค้าไอที ใหม่ๆ รวมไปถึงมีการจ�าหน่ายสินค้าไอทีในราคา พิเศษ และยังมีนทิ รรศการทีโ่ ชว์นวัตกรรม รวม ไปถึงเทรนด์ใหม่ๆ ในแวดวงไอทีทนี่ า่ สนใจ ให้ได้ชมกันอีกด้วย
EXHIBITION UpdaTE Text : Ti-na
นิทรรศการ ‘พรรฦก’
นิทรรศการภาพถ่ายเสียดสีสงั คมไทย ‘พรรฦก’ หรือ ‘Bizarre Land’ เป็นผลงานการถ่ายภาพ ของ ‘ชฤต ภูศ่ ริ ’ิ ช่างภาพมืออาชีพทีไ่ ด้แรงบันดาลใจในการคิดธีมของนิทรรศการภาพถ่าย ในครั้งนี้มาจากการเฝ้าสังเกตสังคม แล้วมองเห็นภาพชินตาที่แสดงถึงความเรื่อยเฉื่อย และมักง่ายในสังคมไทย ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นภาพชินตาที่ใครๆ ก็มองเห็นทั้งนั้น เช่น ความปลอดภัยในการเดินทางด้วยจักรยานยนต์โดยไม่สวมหมวกกันน็อก, การเปิดเผย สื่อลามกอนาจารให้เข้าถึงเด็กและเยาวชนอย่างง่ายดาย หรือการปล่อยปละละเลย ให้ภาพการข่มขืน ใช้กา� ลังรุนแรงในครอบครัว กลายเป็นภาพชินตาในละครโทรทัศน์
06 - 24 7
นิ ท รรศการนี้ ไ ด้ รั บ เสี ย งตอบรั บ ที่ ดี ม ากๆ โดยเฉพาะบนโลกออนไลน์ ผลงานภาพถ่ายหลายภาพ ถูกกดไลค์และแชร์กันสนั่น เนื่องจากผลงานของเขา มองเพียงไม่นานก็รู้สึกได้ถึงความจุกคล้ายโดนใคร เอาอะไรมาทุบ ซึ่งก็คือ ‘ความจริง’ ที่ทุบเราจนจุก ขณะเดียวกันภาพถ่ายก็สวยงามจนดูคล้ายกับภาพวาด มากกว่าภาพถ่าย นัน่ เป็นความตัง้ ใจของช่างภาพหนุม่ ทีจ่ งใจแต่งภาพเพือ่ ให้งานออกมาคล้ายภาพเขียนทีส่ ดุ ส่วนจุดประสงค์ของเขาในการจัดนิทรรศการครั้งนี้ อาจไม่ ไ ด้ ห วั ง ที่ จ ะเปลี่ ย นแปลงสั ง คม เพี ย งแต่ เ ขา ต้องการเป็นหนึ่งในคนที่ช่วยสะกิดชี้ชวนให้เราหันมามองภาพชินตาเหล่านี้ใหม่ ว่าแท้ที่จริงแล้วภาพชินตา ทีเ่ ราเห็นนัน้ มันไม่ควรจะปล่อยผ่าน และถ้าเป็นเราจะท�าอะไรกับความชาชินเหล่านีบ้ า้ งไหม นิทรรศการ ‘พรรฦก’ จัดแสดงจนถึง 30 พฤษภาคม 2558 ที่ อาร์เดลเธิรด์ เพลสแกลเลอรี่ (ทองหล่อ ซอย 10) เปิดให้บริการวันอังคาร-เสาร์ เวลา 10.30-19.00 น. และวันอาทิตย์เปิดให้บริการตัง้ แต่ 10.30-17.30 น. สอบถามข้อมูลเพิม่ เติม โทร. 02 714 7929 www.ardelgallery.com
Text : อรรถสิทธิ์ เหมือนมาตย์
ออสเตรเลียดับฝันแบ็คแพ็คเกอร์
จ�านวนนักท่องเทีย่ วแบ็คแพ็คเกอร์ทเี่ ดินทางไปออสเตรเลียอาจลดลง เมือ่ รัฐบาลประกาศ มาตรการจัดเก็บภาษีเพิม่ จากกลุม่ แบ็คแพ็คเกอร์ทเี่ ดินทางเข้าไปท่องเทีย่ วและท�างานใน ออสเตรเลีย ซึง่ จะมีผลบังคับใช้ตงั้ แต่เดือนกรกฎาคมปีหน้าเป็นต้นไป โดยผูถ้ อื วีซา่ ท่องเทีย่ ว และท�างานจะต้องเสียภาษี 35 เซนต์ ในทุกๆ เหรียญออสเตรเลียทีห่ าได้ ขณะทีใ่ นปัจจุบนั ชาวต่างชาติทเี่ ดินทางไปท่องเทีย่ วและท�างานทีน่ นั่ ไม่ตอ้ งเสียภาษีเงินได้หากมีรายได้ ไม่เกิน 20,000 เหรียญออสเตรเลีย หรือราว 542,000 บาท จากมาตรการใหม่นคี้ าดว่า จะท�าให้มีแบ็คแพ็คเกอร์จ�านวนไม่น้อยเลือกที่จะเดินทางไปท่องเที่ยวและท�างานใน จุดหมายปลายทางอืน่
เลอค่า! ประมูล ‘ทับทิมเมียนมาร์’ แพงทีส ่ ด ุ ในโลก ข่าวใหญ่ในแวดวงจิลเวลรีป่ ระจ�าปีนกี้ ค็ อื การประมูลทับทิมเมียนมาร์สแี ดงเลือดนกทีม่ ชี อื่ ว่า ‘ทับทิมรุง่ อรุณ’ ของคาร์เทียร์ ซึง่ เป็นทับทิมน�า้ งามหมดจดทีห่ ายากมาก ด้วยน�า้ หนัก 25.59 กะรัต โดยผูช้ นะการประมูลทีไ่ ม่เปิดเผยชือ่ คว้าอัญมณีเลอค่านีไ้ ปครองจากการประมูลทางโทรศัพท์ ด้วย วงเงินสูงถึง 30.33 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือราว 1,018 ล้านบาท จากตอนแรกทีค่ าดว่าจะถูกประมูล ไปในราคา 12-18 เหรียญสหรัฐฯ ซึง่ งานประมูลอัญมณีครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ โดย สถาบันโซธบีส์ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
จีนขึน ้ บัญชีดา� นักท่องเทีย ่ วไร้วน ิ ย ั
ชราอย่างสุขท ี ส ี่ วีเดน
สวีเดนครองอันดับ 1 ประเทศทีด่ แู ลผูส้ งู อายุดที สี่ ดุ ในอียู จากการจัดอันดับของ Active Aging Index (AAI) โดยพิจารณา จาก 4 ปัจจัย ได้แก่ การจ้างงาน การมีส่วนร่วมในสังคม การเข้าถึงหลักประกันสุขภาพ และการกระท�ากิจกรรมต่างๆ อย่างกระฉับกระเฉง ส่วนอันดับ 2-10 ได้แก่ เดนมาร์ก, เนเธอร์แลนด์, สหราชอาณาจักร, ฟินแลนด์, ไอร์แลนด์, ฝรัง่ เศส, ลักเซมเบิร์ก, เยอรมนี และเอสโทเนีย โดยสวีเดนเป็นประเทศที่บังคับใช้กฎหมายรับรองสวัสดิการ เงินบ�านาญ และ นโยบายดูแลผูส้ งู อายุอย่างเป็นระบบมายาวนานทีส่ ดุ นอกจากนีย้ งั มีสภาพแวดล้อมในการด�าเนินชีวติ ทีป่ ลอดภัย และ มีอตั ราการก่ออาชญากรรมต�า่
08 - 24 7
ทางการจีนเข้มงวดกวดขันกับนักท่องเทีย่ ว จีนมากขึน้ เพือ่ ไม่ให้ภาพลักษณ์ของนัก ท่องเทีย่ วจีนย�า่ แย่ลง โดยมุง่ ขจัดพฤติกรรม ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ตา่ งๆ ทัง้ ในและนอกประเทศ เช่น วัยรุน่ รายหนึง่ ปีนป่ายขึน้ ไปบนรูปปัน้ ทหารทีอ่ นุสรณ์สถานของกองทัพแดงในเมืองหย่าอันด้วยความคึกคะนอง แถมยังเผยแพร่ ภาพในโลกออนไลน์ ซึง่ ทางการจีนเห็นว่าเป็นพฤติกรรมทีด่ หู มิน่ วีรชน ต้องโทษขึน้ บัญชีดา� เป็นเวลา 10 ปี ส่วนนักท่องเทีย่ วอีก 3 คนทีถ่ กู แบนก็คอื นักท่องเทีย่ วชาวจีนคูห่ นึง่ ซึง่ สาด น�า้ ร้อนในถ้วยบะหมีก่ งึ่ ส�าเร็จรูปใส่พนักงานต้อนรับบนเครือ่ งบินสายการบินแอร์เอเชีย และอีกคนนัน้ เป็นนักท่องเทีย่ วทีพ่ ยายามเปิดประตูฉกุ เฉินบนเทีย่ วบินภายในประเทศ ของจีน ผลจากการขึน้ บัญชีดา� ดังกล่าวจะท�าให้พวกเขามีปญ ั หาในการขอสินเชือ่ ธนาคาร รวมถึงการขอวีซา่ เพือ่ เดินทางไปยังต่างประเทศ ทัง้ นีใ้ นปีทผี่ า่ นมามีนกั ท่องเทีย่ วจีน เดินทางท่องเทีย่ วต่างประเทศจ�านวน 109 ล้านคน เพิม่ ขึน้ จากเดิม 20%
ETextntErtainmEnt : พลสัน 2538 อัลเทอร์มาจีบ : บันทึกของส้ม
หนั ง สื อ กำร์ ตู น ที่ ต ่ อ ยอดมำจำก ภำพยนตร์ไทยสุดน่ำรัก ‘2538 อัลเทอร์ มำจีบ’ ซึ่งเล่ำเรื่องควำมรักของ ‘ก้อง’ เด็กหนุ่มจำกปี 2558 ที่ข้ำมเวลำมำปี 2538 แล้วหลงรัก ‘ส้ม’ สำวในยุคนั้น แต่กำร์ตูนเรื่องนี้จะเล่ำเรื่องในมุมมอง ของ ‘ส้ม’ นำงเอกของเรือ่ งบ้ำง ส�ำหรับ คนที่ไม่ได้ชมภำพยนตร์ก็สำมำรถอ่ำนได้รู้เรื่อง เพรำะในกำร์ตูนเล่มนี้ เป็นเสมือนภำคขยำยที่จะท�ำให้เห็นควำมน่ำรักและควำมรู้สึกอีกด้ำนหนึ่ง ของส้มได้มำกขึ้น โดยมีเรื่องรำวรวมถึงตอนจบที่ไม่เหมือนกับภำพยนตร์ แต่สนุกและประทับใจไม่แพ้กัน 2538 อัลเทอร์มำจีบ : บันทึกของส้ม ฉบับกำร์ตนู เป็นผลงำนของ ไอริน บุญนิมติ ภักดี หรือ ‘Irin’ นักวำดกำร์ตนู คลืน่ ลูกใหม่ทนี่ ำ่ จับตำมองทีส่ ดุ คนหนึง่ ทัง้ ลำยเส้น และเรือ่ งรำวในกำร์ตนู เล่มนี้ จะท�ำให้คณ ุ อิน!
UnfrIended
ข้อมูลต่ำงๆ ที่อยู่บนโลกออนไลน์หำกโพสต์ไปแล้วสิ่งนั้น จะยังคงอยูต่ ลอดไป ไม่มวี นั สูญหำยไปไหน หำกเป็นเรือ่ งดีๆ มันก็คงจะไม่ใช่เรื่องที่น่ำกังวลใจ แต่ถ้ำมันเป็นควำมลับ ทีเ่ รำไม่อยำกให้ใครรู้ และมันถูกเผยแพร่ออกไปล่ะ มันคง เป็นสิ่งที่ไม่มีใครปรำรถนำแน่นอน หนึ่งในผู้เครำะห์ร้ำย ที่ บั ง เอิ ญ ถู ก มื อ ดี ป ล่ อ ยคลิ ป ลั บ ออกไปบนเน็ ต ก็ คื อ ลอร่ำ บำร์น (เชลลี เฮนนิก) นักเรียนไฮสคูลที่ฆ่ำตัวตำย เพรำะอับอำยจำกคลิปหลุด โดยทีไ่ ม่มใี ครรูเ้ ลยว่ำคลิปนัน้ ใครเป็นคนปล่อย หนึ่งปีผ่ำนไปหลังจำกลอร่ำเสียชีวิต กลุ่มเพื่อนๆ ของลอร่ำที่อยู่ในเหตุกำรณ์ก่อนคลิปลอร่ำหลุดสไกป์คุยกัน จู่ๆ ก็มีบุคคลลึกลับโผล่มำแจมในสไกป์นี้ด้วย โดยที่ไม่มีใครสำมำรถไล่ออกไปจำกกำรสนทนำนั้นได้ และบุคคลลึกลับคนนั้น ก็เริม่ ถำมทีละคนว่ำใครเป็นคนทีป่ ล่อยคลิปลับของลอร่ำ พร้อมกับค่อยๆ ไล่ฆำ่ ทีละคนๆ ด้วยสำรพัดวิธี ส่วนคนทีเ่ หลือท�ำได้แค่ เพียงมองเพือ่ นตำยผ่ำนสไกป์ แล้วรอว่ำเมือ่ ไหร่จะถึงคิวตัวเอง ควำมน่ำสนใจของภำพยนตร์สยองขวัญเรือ่ งนีค้ อื ผูก้ ำ� กับพยำยำมเล่ำเรือ่ งด้วยวิธที ที่ ำ� ให้เรำรูส้ กึ เหมือนก�ำลังเฝ้ำจอคอมพ์ แบบเรียลิตี้ไปด้วย ซึ่งยังไม่เคยมีใครท�ำมำก่อน หำกใครที่เคยตื่นเต้นกับวิธีเล่ำเรื่องแปลกๆ แบบที่ The Blair Witch Project เคยท�ำมำก่อนน่ำจะถูกใจ หนังเข้ำฉำยวันที่ 21 พฤษภำคมนี้
โก๋ แ ก่ preSenTS - BAngKOK 1 ST TIMe : ตอนเจอผีครัง ้ แรก
ตอนสุดท้ำยของลุงเนลสัน ในซีรีส์ Bangkok 1st Time ซึ่งลุงเนลสันได้พูดถึง ควำมประทับใจในตัวผีของไทย ในสำยตำของเรำอำจมองว่ำผีไทยนั้นน่ำกลัว แต่ ใ นสำยตำลุ ง เนลสั น นั้ น พู ด ได้ เ ลยว่ ำ เรื่ อ งผี ไ ทยเป็ น สิ่ ง ที่ อั ด แน่ น ด้ ว ย ควำมครีเอทีฟ และควำมเซอร์เรียลที่เหนือกว่ำผีฝรั่งที่บ้ำนลุงเนลสันซะอีก อย่ำงเช่น ผีกระสือ ที่ท�ำลำยทุกกฎเกณฑ์ของธรรมชำติ ทั้งกำรถอดหัวกับไส้ แล้วบินไปในสภำวะต้ำนแรงโน้มถ่วงของโลก แถมไส้กระสือยังเรืองแสงได้ด้วย อะไรไม่รู้ แต่เป็นนวัตกรรมที่ NASA ยังต้องกรำบ ส่วนทีเด็ดของคลิปนี้ ลุงเนลสัน มำแชร์ประสบกำรณ์ที่เจอผีไทยครั้งแรก ไม่ขอสปอยล์ว่ำคลิปนี้จะจบอย่ำงไร ที่แน่ๆ ฝรั่งคะนองกรุงคนนี้เจอประสบกำรณ์ผีๆ ที่คุณจะไม่มีทำงเดำถูกเลยว่ำ ลุงไปเจออะไรมำ!
ทนไว้ - SOMKIAT
ซิงเกิลล�ำดับที่ 4 ของวงสมเกียรติ (Somkiat) ทีป่ ล่อยเพลงช้ำออกมำ ให้ฟังกันบ้ำงแล้ว โดยเพลงนี้พูดถึงควำมเจ็บปวดของควำมรัก ทีผ่ ดิ หวัง และเรำท�ำอะไรไม่ได้ นอกจำกอดทนให้ไหว แล้วปล่อยให้เธอ มีควำมสุขกับชีวติ ทีเ่ ธอเลือกเดินทำงใหม่ ส่วนท่วงท�ำนองก็เศร้ำไม่ตำ่ ง อะไรกับเนือ้ เพลง (ฟังตอนอกหักมีปำดน�ำ้ ตำแน่) เพลงนีไ้ ด้รบั กระแส ตอบรับเป็นอย่ำงดี ถึงขัน้ ถูกจัดขึน้ ชำร์ตวิทยุ CAT RADIO ในอันดับที่ 3 หลังจำกปล่อยเพลงออกมำได้ไม่ถงึ 2 สัปดำห์ แถม MV เพลงนีย้ งั ได้ ‘บิง๊ โกะ’ หรือบิง๊ -ภำพฟ้ำ พุทธรักษำ ศิลปินนักออกแบบและเนตไอดอล ชื่อดังมำร่วมถ่ำยทอดควำมรู้สึกของเพลงนี้ยิ่งชวนให้อยำกกดยูทูบ เข้ำไปเสิรช์ เพลงนีฟ้ งั เพิม่ ขึน้ อีก 65.97% เลยละ
ลูกค้าคือบร๊ะเจ้า - fAceBOOK
เห็นด้วยไหมกับค�ำกล่ำวที่ว่ำ ‘ลูกค้ำคือพระเจ้ำ’ ค�ำกล่ำวมันหมำยควำมว่ำ ‘สิ่งมีชีวิตที่เป็นลูกค้ำท�ำอะไรก็ไม่ผิด’ เพรำะถ้ำเรำไม่ตำมใจ นั่นหมำยถึงรำยได้ ที่จะหำยไปพร้อมกับลูกค้ำตลอดกำล ซึ่งในฐำนะคนท�ำมำค้ำขำย ผู้มีชีวิตอยู่ ได้ด้วยเงินของลูกค้ำจึงท�ำอะไรไม่ได้ นอกจำกเก็บควำมอึดอัดนั้นไว้ แล้วน�ำมำ ระบำยควำมอัดอั้นในใจต่อตัวลูกค้ำออกไปที่ไหนสักทำง ไม่กระสอบทรำย ก็ต้นกล้วย หรือระบำยลงเพจนี้ เพจที่เป็นดั่งกระบอกเสียงของบรรดำผู้ที่โดน ลูกค้ำท�ำร้ำยจิตใจสำรพัด (สะอื้น) พวกเขำและเธอมำรวมตัวกันเพื่อแบ่งปัน ประสบกำรณ์สดุ จีด๊ ทีเ่ จอลูกค้ำจัดใส่ เพือ่ ให้อนุชนออนไลน์รนุ่ หลังได้ศกึ ษำ มีครบ ทุกรสชำติ ทัง้ โหด มัน ฮำ น�ำ้ ตำไหล เรำจะเข้ำใจคนท�ำมำค้ำขำยมำกขึน้ ก็วนั นีแ้ หละ
24 7 - 09
Jane Birkin ไอคอนยุค 60s ภาพ : rdujour.com
ภาพ : Glamourfeel.com
ภาพ : thefashiontag.com
FTextASHION UPDATE : Ti-na
“I always find beauty in things that are odd and imperfect They are much more interesting.” “ฉันพบความงามอยูใ่ นสิง ่ ทีอ ่ อกจะดูแปลก และไม่เพอร์เฟ็กต์อยูเ่ สมอ - มันน่าสนใจกว่ามาก” ~ Marc Jacobs
แว่นกันแดด จาก H&M
มันกลับมาแล้ว! แฟชั่นย้อนยุคช่วงปี 70’s สมัยคุณแม่ยังสาว กับกางเกงขาบาน โดยเฉพาะทรงขาม้าและขากระดิ่ง ตอกย�้าทุกรันเวย์ ในงานแฟชั่นวีค Spring/Summer 2015 ที่ผ่านมา ด้วยผลงานการ ออกแบบในคอลเลคชั่นล่าสุดจากเแบรนด์ดังอย่าง House of Holland, Balmain และ Celine ซึ่งแรกเริ่มเดิมทีนั้น กางเกงขาบานถูกผลิตขึ้น เพื่อทหารเรือในศตวรรษที่ 19 ก่อนจะมีการน�าไปปรับใส่ ให้ดูร่วมสมัยมากขึ้นโดยเหล่าไอคอนยุค 60’s อาทิ Jimi Hendrix, Mick Jagger และ Jane Birkin ใครที่ยังนึกไม่ออกว่าจะแต่งกางเกงขาบานอย่างไรให้เปรี้ยวเก๋ ลองดูอดีตไอคอนตัวแม่อย่าง Jane Birkin นักร้องและนักแสดงสาวชาวอังกฤษ เธอมักเลือกใส่กางเกงขาบานเอวสูงกับเสื้อแขนกุดสไตล์ยิปซี หรือไม่กจ็ บั คูก่ บั เสือ้ ยืดหลวมๆ แบบเรียบง่าย แล้วเอาชายเสือ้ เข้าในกางเกง ในขณะที่ Kate Moss นางแบบชือ่ ดัง แห่งยุค ปรากฏตัวในงานแคตวอล์กของ Topshop เมือ่ ปี 2006 ด้วยกางเกงยีนส์ขาบานและเสือ้ ยืดแขนยาว ตัวหลวม ม้วนแขนขึน้ เหนือข้อศอก สวมชายเสือ้ เข้าในกางเกง รัดด้วยเข็มขัดหนังสีนา�้ ตาลและรองเท้าส้นสูง พร้อมปล่อยผมยาวสยาย ดูแคชวลแต่กลับทรงเสน่หส์ ดุ ๆ ทัง้ นีก้ ารใส่กางเกงขาบานก็ใช่วา่ จะให้ลคุ ทีด่ แู กลม (Glam) ไม่ได้ ดูอย่าง Victoria Beckham เจ้าแม่แฟชัน่ ทีเ่ คยปรากฏตัวด้วยกางเกงขาบานสีสม้ จับคูก่ บั เชิต้ ขาวชายเสือ้ เข้าข้างในกางเกง สวมทับด้วยโอเวอร์โค้ต สีนา�้ เงินอินดิโก้ (Indigo) ยาวเลยหัวเข่า พร้อมแว่นกันแดดเก๋ๆ มีหรือทีใ่ ครจะไม่เหลียวมอง รับรองเถอะว่า สิ่งใดที่เธอจับใส่มักจะดูแกลมขึ้นได้อย่างไม่น่าเชื่อ รวมถึงดาราสาว Katie Holmes ก็เป็นแฟนคลับ กางเกงขาบานกับเขาด้วยเหมือนกัน เพราะมักปรากฏตัวด้วยกางเกงขาบานกับเสื้อเชิ้ตสีขาวแขนยาว ให้บรรดาแฟนๆ เห็นอยูบ่ อ่ ยครัง้ ใครทีอ่ ยากได้ลคุ แบบ 60’s - 70’s อย่าลืมจับคูก่ บั รองเท้าส้นเตารีด หรือจะเป็นรองเท้าส้นตึกสูงๆ ไปเลย ยิง่ ดี โดยเฉพาะสาวทีไ่ ม่สงู มากและค่อนข้างท้วม แนะน�าว่าต้องใส่กบั ส้นสูงเท่านัน้ เพราะปลายขาทีบ่ านออก จะท�าให้ช่วงขาดูสั้นลงได้ ส่วนใครที่อยากได้ลุคแบบสบายๆ จะลองใส่กับรองเท้าผ้าใบ หรือรองเท้าแตะ แนว Gladiator ก็โอเคอยูท่ เี ดียว
10 - 24 7
กระเป๋าคลัตช์ Candy Bangkok จาก Jimmy Choo กางเกงขาบาน ผ้าวูลตัดต่อลาย จาก Peter Pilotto
ก�าไลข้อมือสีทอง จาก H&M
เสือ้ ครอปสายเดีย่ วไขว้หลังสีดา� ตกแต่งลูกไม้ ด้านหลังเว้าลึก จาก Topshop รองเท้าส้นตึกไม้ หนังสีนา�้ ตาล จาก Topshop
LOCATION IS EVERYTHING ชีวติ จะเป็นชีวติ ทีถ่ งึ พร้อม ต่อเมือ่ อยูใ่ นโลเกชัน่ ทีใ่ ช่ ซึง่ มีรศั มีแวดล้อมไปด้วย นานาไลฟ์สไตล์ที่จะทำาให้ทุกลมหายใจของคุณรื่นรมย์สมกับเป็นคนเมืองผู้มี ศิลปะการใช้ชีวิต 14
ประดิพทั ธ์ ซอย 12-14
15
16
13 11
01 Coffee Model ลานกาแฟ หรือ ร้านกาแฟขนาดใหญ่ มีบรรยากาศ ให้ เ ลื อ กสั ม ผั ส หลากหลายรู ป แบบ แถมที่ นี่ ยั ง เป็ น ถ้ำ า ยุ ค ใหม่ ข องคนที่ หลงใหลในสิ่งของสไตล์วินเทจ
12 10 09
ประดิพทั ธ์ ซอย 23
08
02 Mushroom Co-Working Space พื้ น ที่ แ ห่ ง ใหม่ ข องคนเมื อ ง วัยทำางานที่ต้องการอิสระ ไม่ผูกติด อยู่กับสำานักงาน
02 01 07
06 05
04 03
01 Coffee Model 02 Mushroom Co-Working Space
ย่านสะพานควาย (1 สถานีจาก รถไฟฟ้าบีทเี อสหมอชิต)
03 Fab Cafe 04 Salt Smoke 05 Tokyo Bike
06 Summer Street 07 Fat Bird 08 JJ Weekend Market 09 JJ Green 10 สวนจตุจักร 11 สวนวชิรเบญจทัศ (สวนรถไฟ)
12 สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ 13 หอจดหมายเหตุพุทธทาส 14 Tuscany Thai Cuisine 15 Bangkok Brass 16 REC.
ย่านอารีย์ (2 สถานีจาก รถไฟฟ้าบีทเี อส หมอชิต)
อารีย์ ซอย 1 03 Fab Cafe โคเวิรค์ กิง้ สเปซขวัญใจ เหล่าฟรีแลนซ์และดีไซเนอร์ เพียบพร้อม ไปด้วยอุปกรณ์และเทคโนโลยีสุดล้ำา แถมยั ง มี ร้ า นกาแฟพร้ อ มสรรพใน ที่เดียว
อารีย์ ซอย 2 04 Salt Smoke ร้ า นอาหาร บรรยากาศเป็นมิตร สื่อสารความ เรี ย บเท่ จนทำ า ให้ ผู้ค นที่ ม าชิ ม อาหารตะวั น ตกที่ ร้ า นพลอยเป็ น คนเท่ๆ ไปด้วย
05 Tokyo Bike ชุมชนของคนรักการ ปั่นจักรยาน สามารถมาแลกเปลี่ยน ข้อมูล พลางจิบกาแฟดีๆ กับเมนูโปรด
อารีย์ ซอย 5 06 Summer Street วัฒนธรรม ใหม่ของนักชิมที่มีรสนิยมคลับคล้าย คลับคลาว่าจะเป็นฮิปสเตอร์
07 Fat Bird หนึ่ ง ในตั ว เลื อ กของ แหล่งแฮงเอาท์ดีๆ สำาหรับคนที่ชอบ อยู่ ท่ า มกลางความคิ ด สร้ า งสรรค์ และอยูน่ อกกรอบ คล้ายกับนกตัวอ้วน ผู้รักอิสระ
จตุจกั ร
พหลโยธิน 23
08 JJ Weekend Market ศูนย์กลาง ของนักช้อป ทั่วโลก ไม่ว่าจะต้องการ อะไร หรื อ หาสิ่ ง ใดอยู่ จตุ จั ก รคื อ ขุมสมบัติของคุณ
14 Tuscany Thai Cuisine ร้าน อาหารบรรยากาศทัสคานีแต่จัดสรร ความย้อนแย้งด้วยการเสิรฟ์ อาหารไทย เพื่อเซอร์ ไพรส์ผู้มาเยือน
09 JJ Green เครื อ ญาติ ข อง ตลาดนัดจตุจักร แหล่งแฮงเอาท์ที่มี สีสนั ในยามค่าำ คืน ทีน่ เี่ ต็มไปด้วยร้าน ขวงเก๋ๆ โดดเด่นทีส่ นิ ค้าแฮนด์เมดและ สินค้าวินเทจ มุ่งกลุ่มเป้าหมายเป็น กลุ่มคนอินดี้มีสไตล์
10 สวนจตุจักร สวนสาธารณะของ คนเมือง อยู่ใกล้กับสถานีรถไฟฟ้า จตุจักรที่สุด ไม่ว่าจะเช้าตรู่ หรือหลัง เลิกงาน จตุจักรก็พร้อมเป็นฟิตเนส ธรรมชาติเพื่อคืนสุขภาพที่ดีให้คุณ
15 Bangkok Brass ร้านนั่งชิลใน ยามราตรี ถูกใจคอดนตรี แถมที่นี่ ยังอยู่ในดินแดนที่เคยมีความทรงจำา แห่งความสุข นั่นก็คือ แดนเนรมิต
ถนนพหลโยธิน
ลาดพร้าว ซอย 15 (200 เมตร จากสถานี รถไฟฟ้าใต้ดนิ ลาดพร้าว) 11 สวนวชิรเบญจทัศ (สวนรถไฟ) อาณาจักรสีเขียวทีย่ ง่ิ ใหญ่ในเมืองกรุง ทีน่ ค่ี อื ปอดของคนกรุงเทพฯ เป็นหมุด หมายทีด่ ใี นวันหยุดของทุกครอบครัว
16 REC. ความสุ ข ของคนรั ก เสียงดนตรีและแผ่นไวนิล แค่คิดว่า อยากฟั ง ดนตรี ดี ๆ แล้ ว แวะมา ความสุขก็เริ่มต้น
12 สวนสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ สวนสาธารณะอีกหนึ่งแห่งที่ตอกย้ำา ว่ า เขตจตุ จั ก รแห่ ง นี้ น่ า อยู่ เ พี ย งใด ภายในมีสวนพฤกษศาสตร์รวบรวม พั น ธุ์ ไ ม้ ห ายากเพื่ อ เพิ่ ม ออกซิ เ จน ให้แก่คนกรุง 13 หอจดหมายเหตุพุทธทาส หรือ อีกชื่อ หนึ่ งว่า ‘สวนโมกข์กรุ งเทพ’ ทีต่ งั้ แห่งความสงบร่มเย็น เป็นสถานที่ ดี ท็ อ กซ์ ก ายและใจยามเวิ ร์ ค ฮาร์ ด และเพลย์ฮาร์ดมาจนอิ่มหนำาสำาราญ เพียงแค่เข้ามาในอาณาเขตก็สัมผัส ได้ถึงความสุข
ย่านจตุจกั ร (จุดเริม่ ต้นของชีวติ รืน่ รมย์ ใกล้กบั สถานีรถไฟฟ้าบีทเี อสหมอชิต, สถานีรถไฟฟ้าใต้ดนิ จตุจกั ร และสถานีรถไฟฟ้าใต้ดนิ กำาแพงเพชร)
ย่านลาดพร้าว (2 สถานีจาก รถไฟฟ้าใต้ดนิ จตุจกั ร)
Cover Story
Text : พลสัน นกน่วม, อรรถสิทธิ์ เหมือนมาตย์
นับตัง้ แต่ 4 ปีเศษทีผ่ า่ นมา กระแสการปัน่ จักรยาน ในประเทศไทยได้รบั ความนิยมมากขึน้ เรือ่ ยๆ และนัน่ ท�าให้ประชากรนักปัน่ ในเมืองไทยเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะกลุม่ ชนชัน้ กลาง ในกรุงเทพฯ ทีเ่ ลือกใช้จกั รยานเป็นพาหนะ เพือ่ หลีกเลีย่ งปัญหาการจราจรทีต่ ดิ ขัด เมือ่ จักรยานมีจา� นวนเพิม่ มากขึน้ สิง่ ทีต่ ามมาคือจ�านวนประชากรจักรยานทีใ่ ช้ถนนร่วมกับ ยานพาหนะอืน่ ๆ ก็เพิม่ ขึน้ เป็นเงาตามตัว ต่อให้คณุ ไม่ใช่คนช่างสังเกตก็ยงั รับรูไ้ ด้วา่ บนถนน ในทุกวันนีม้ สี มาชิกทีเ่ ป็นจักรยานรูปทรงต่างๆ เพิม่ ขึน้ อย่างชัดเจน คงไม่ตอ้ งหาเหตุผล มาอธิบายว่าท�าไมจักรยานถึงฮิตในเมืองไทย เพราะนักปัน่ ทีเ่ ราเห็นต่างคนต่างก็มี วัตถุประสงค์ในการปัน่ ทีแ่ ตกต่างกัน แต่ทไี่ ม่ตา่ งกันเลยคือนักปัน่ ทุกคนอยากจะมี
เลนทีส่ ร้างขึน้ มาเพือ่ จักรยานโดยเฉพาะ โดยอ้างอิงกรุงอัมสเตอร์ดมั เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ ทีป่ ระชาชน ใช้จกั รยานสัญจรกันจนเป็นเรือ่ งปกติ ส่งผลให้ปญ ั หารถติดขัด และมลพิษในเมืองหลวงลดลงอย่างเห็นได้ชดั สวนทาง กับจ�านวนประชากรจักรยานทีเ่ พิม่ ขึน้ ทว่าทีเ่ มืองไทย การจะท�าให้วฒ ั นธรรมจักรยานกลมกลืนไปกับวิถชี วี ติ เหมือนอัมสเตอร์ดมั โคเปนเฮเกน พอร์ตแลนด์ หรือเกียวโต อาจเป็นเรือ่ งทีเ่ กินจริง และไกลเกินฝัน ถึงจะเคยมีนโยบายทีป่ ลุกปัน้ ให้กรุงเทพฯ เป็นเมือง จักรยานมาแล้วก็ตาม แต่จนถึงตอนนีเ้ รายังมองไม่เห็นว่ากรุงเทพฯ จะมีความใกล้เคียงกับเมืองจักรยานตรงไหน และอาจดูเป็นปฏิปกั ษ์กบั จักรยานด้วยซ�า้ ไป ด้วยเหตุนเี้ องท�าให้เราได้พบเจอข่าวเศร้าอย่างต่อเนือ่ ง เมือ่ นักปัน่ โดนรถใหญ่ชนอยูบ่ อ่ ยครัง้ บ้างบาดเจ็บ บ้างก็เสียชีวติ หากสังเกตกระแสทีเ่ กิดขึน้ ในโซเชียลมีเดีย เราจะเห็นทัง้ คอมเมนต์ทสี่ าปส่งรถยนต์ทขี่ บั ด้วยความ เร็วสูง ประมาท หรือเมาแล้วขับ รวมถึงความเห็นทีบ่ อกให้นกั ปัน่ หยุดปัน่ เพือ่ ความปลอดภัยของตัวเอง เนือ่ งจาก เป็นเรือ่ งทีเ่ สีย่ งเกินไป เพราะสติ ส�านึก วินยั และความรับผิดชอบของผูใ้ ช้รถบนท้องถนนมีไม่เท่ากัน หรือบ้างก็ บอกว่านักปัน่ บางส่วนไม่มรี ะเบียบ ปัน่ เกะกะ และไม่ให้ความส�าคัญกับกฎจราจร การทีส่ งั คมมีความเห็นแตกเป็นหลายเสียง นัน่ แสดงว่าประเด็นเรือ่ งการแบ่งปันถนนเพือ่ จักรยานมีทงั้ คน ทีเ่ ห็นด้วยและไม่เห็นด้วย และได้กลายเป็นประเด็นทีถ่ กเถียงกันอย่างไม่สนิ้ สุด และหาข้อยุตไิ ม่ได้จนถึงวันนี้ ว่าจักรยานควรจะมีทที่ างบนถนนหรือไม่? และในความเป็นจริงถนนเมืองไทยเป็นมิตรกับจักรยานแค่ไหน หรือ นักปัน่ จะต้องท�าใจยอมรับความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ โดยไม่อาจเรียกร้องอะไรได้
24 7 - 15
พื้นที่ของนักปั่น อุบัติเหตุบนท้องถนนไม่ใช่สิ่งที่นานๆ จะเกิดที อุบัติเหตุระหว่าง จักรยานกับยานพาหนะอืน่ ๆ ก็ไม่ใช่เรือ่ งทีเ่ พิง่ เกิดขึน้ มาเมือ่ วันสองวัน ที่แล้ว จักรยานเกิดอุบัติเหตุบนถนนเสมอ อยู่ที่ว่ามันจะเป็นข่าว หรือเปล่า แต่ทกุ ครัง้ ทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุสงิ่ ทีต่ ามมาคือความดราม่า และ การเรียกร้องให้เกิดการออกกฎหมายบังคับเอือ้ ประโยชน์ให้นกั ปัน่ ทุกครั้งที่มีนักปั่นเสียชีวิต สังคมก็จะโหมกระพือลุกฮือทีนึง ในการเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก้ไขให้จักรยานมีความ ปลอดภัยอย่างที่ควรจะเป็น ล่าสุดกระแสสังคมระหว่างคนปั่น จักรยานกับผูร้ ว่ มใช้รถใช้ถนนกระพือขึน้ มาอีกเมือ่ มีนกั ปัน่ เสียชีวติ ในเวลาไล่เลีย่ กัน 4 คน ด้วยสาเหตุจากความประมาทของรถยนต์ การตัง้ ค�าถามต่อสังคมและการใช้ถนนของไทยจึงถูกกระพือขึน้ มาอีก ครัง้ ว่าเมือ่ ไหร่ทยี่ านพาหนะทุกประเภทบนถนนจะใช้รว่ มกันได้ และ เมือ่ ไหร่ทจี่ กั รยานจะได้รบั การสนับสนุนอย่างจริงจัง ไม่ใช่แค่นโยบาย บนป้ายบิลบอร์ด ทัง้ ในแง่ของความสะดวกสบายเหมือนทีร่ ถยนต์ได้ อภิสทิ ธิ์ และในแง่ความปลอดภัยทีน่ กั ปัน่ ควรจะได้รบั การคุม้ ครอง ‘ลู ก ปลา-ธั ญ ญารั ต น์ ดอกสน’ แห่ ง เฟซบุ ๊ ค แฟนเพจ Bike to Work-BKK’ ซึ่งเป็นผู้ใช้จักรยานในชีวิตประจ�าวัน โดยขี่ จักรยานไปท�างาน แสดงความเห็นเรือ่ งการมีไบค์เลนว่า “หากมีกด็ ี เพราะช่วยกระตุน้ ให้คนกล้าออกมาปัน่ แต่คนทีท่ า� ไบค์เลนก็ควรจะ ศึกษาลักษณะถนนก่อนท�าด้วย” “มองจากมุมของคนที่ใช้จักรยานในชีวิตประจ�าวัน หรือคนที่ ปั่นจักรยานไปท�างานจะมีทักษะในการปั่นที่พอจะรู้ว่าต้องระวัง ตรงไหน จังหวะไหน เอาจริงๆ แล้วถนนใหญ่แทบจะไม่ได้ใช้เลย เราปั่นในเมือง หรือย่านชุมชนมากกว่า นี่จึงเป็นสิ่งที่การันตีความ ปลอดภัย แต่ถ้ามีไบค์เลนมันก็ดี เพราะจะช่วยให้คนที่ไม่กล้าปั่น ได้ลองเข้ามาใช้งานมากขึ้น แต่ก็ไม่ใช่ว่าเขาจะต้องขี่ในไบค์เลน อย่างดียว ไบค์เลนเมืองไทยก็ไม่ได้ดขี นาดนัน้ มันมีสงิ่ กีดขวาง มีฝาท่อ มีอะไรต่างๆ ขวางอยู่ ฉะนัน้ ไบค์เลนไม่ควรจะมีแบบเดียว ไม่ควรมี ข้อจ�ากัด มันควรจะพลิกแพลงไปตามจังหวะของลักษณะถนน” “ถ้าจะอยากท�าไบค์เลนเพือ่ สนับสนุนให้คนปัน่ จักรยาน ควรจะ มีอะไรที่มากกว่าไปตีเส้นแล้วบอกว่า ปั่นตรงนี้นะ นี่คือไบค์เลน
16 - 24 7
ของพวกเธอ มันคงจะท�าไม่ได้ทงั้ หมด เพราะถนนกรุงเทพฯ ก็ไม่ได้ เอือ้ ขนาดนัน้ ทัง้ เส้นทาง อยากจะให้ศกึ ษาให้ดกี อ่ นท�าเลนจักรยาน แล้วไม่ใช่ท�าเลนจักรยานแค่ในโซนที่ปั่นเพื่อท่องเที่ยว เพราะ สุดท้ายแล้วมันไม่ยงั่ ยืน คนทีไ่ ม่รอู้ าจจะมองว่าก็นไี่ งท�าเลนจักรยาน ให้แล้วท�าไมไม่มาใช้ ทัง้ ทีจ่ ริงๆ แล้วมันผิดวัตถุประสงค์ในการสัญจร” ‘ณัฐพงศ์ ไชยวานิชย์ผล’ นักปัน่ จักรยาน ครีเอทีฟ นักเขียน ล่ามภาษาญี่ปุ่น และแฟนพันธุ์แท้ประเทศญี่ปุ่นปี 2012 ได้ให้ ความเห็นในฐานะคนที่ปั่นจักรยานทั้งในไทยและเคยปั่นจักรยาน ในชีวติ ประจ�าวันสมัยเรียนอยูญ ่ ปี่ นุ่ ว่า “ถ้าจะถามจากมุมมองของคนปั่นจักรยานจริงๆ การจะท�าให้ กรุงเทพฯ เหมาะกับการปั่นจักรยานนั้น ไม่ได้หมายถึงต้องมี เลนจักรยานเต็มเมือง แต่ควรจะเป็นเมืองที่เต็มไปด้วยความร่มรื่น ของต้นไม้ เพราะแม้วา่ ถนนเส้นนัน้ จะมีเลนจักรยานยาวจนสุดทาง แต่ถ้าอากาศร้อนคนก็ไม่อยากออกมาปั่นอยู่ดี จึงคิดว่านี่คือความ ต้องการทีแ่ ท้จริงส�าหรับนักปัน่ อย่างน้อยก็สา� หรับผมคนหนึง่ ” ขณะที่นักปั่นบางกลุ่มไม่ไว้ใจเลนจักรยานในกรุงเทพฯ ก็ขอ เลือกทีจ่ ะมาปัน่ จักรยานในพืน้ ปิดอย่าง สนามเขียว รอบสนามบิน สุวรรณภูมเิ พือ่ ความปลอดภัย หนึง่ ในนัน้ คือ ‘ม.ล. กัลยกร เกษมศรี’ ผู้จัดการทีมจักรยาน W2 แสดงความเห็นว่า เลนจักรยานบ้านเรา ไม่ปลอดภัย บางทีมีมอเตอร์ไซค์ขี่มาเบียด หรือสวนทางมาใน เลนจักรยาน แต่ทตี่ า่ งประเทศเลนจักรยานคือเลนจักรยาน จึงกังวลถึง ความไม่ปลอดภัย และขอเปลีย่ นมาปัน่ ทีส่ นามเขียวแทน
Share the roaD
โครงการของ UNEP (United Nation Environmental Programme) เริม่ มาตัง้ แต่ปี 2008 เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ และความปลอดภัยบนท้องถนนส�าหรับคนเดินเท้าและนักปัน่ ควบคูไ่ ปกับการรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมในหลายประเทศ ในทวีปแอฟริกา เช่น เคนยา ยูกนั ดา บุรนุ ดี และรวันดา
DiD you know?
ประเทศไทยมีกฎหมายเกีย่ วกับจักรยานโดยตรงตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2460 ในชือ่ ว่าพระราชบัญญัตลิ อ้ เลือ่ น พ.ศ. 2460 ในสมัยนัน้ ผูป้ น่ั จักรยานจะต้องจดทะเบียนท�าใบขับขี่ และต้องผ่านการทดสอบเหมือนเวลาเราไปท�าใบขับขี่ รถยนต์และรถจักรยานยนต์ดว้ ย แต่ พ.ร.บ. ดังกล่าว ก็ถกู ยกเลิกไปเมือ่ ประมาณ 50 ปีกอ่ น ล่าสุดกฎหมาย ทีเ่ กีย่ วข้องกับนักปัน่ ตอนนี้ ก็คอื พระราชบัญญัตจิ ราจร ทางบก พ.ศ. 2522
ส่วนนักปั่นคนอื่นๆ ก็แสดงความเห็นในทิศทางเดียวกันว่า มีไบค์เลนก็ดี ส�าหรับรถจักรยานนัน้ มีความระวังตัวอยูแ่ ล้ว และจะขี่ ชิดซ้ายเสมอถ้าต้องปัน่ ไปในพืน้ ทีท่ ใี่ ช้รว่ มกับยานพาหนะอืน่ ๆ ส่วน เลนจักรยานที่มีอยู่ในปัจจุบันบางจุดไม่ได้ตอบโจทย์นักปั่นเลย อย่างเช่น เลนจักรยานที่พิษณุโลกบางจุดมีเสาไฟส่องสว่างโผล่มา กลางเลนจักรยาน แสดงให้เห็นถึงความไม่เข้าใจในการท�าเลนจักรยาน แต่ สั ง คมอี ก ด้ า นก็ ไ ม่ ไ ด้ ม องว่ า จั ก รยานสมควรจะอยู ่ บ น ท้องถนน ประชาชนบางส่วนมองด้วยความหวังดีวา่ ถนนเมืองไทย ไม่เหมาะกับจักรยาน ถ้าอยากปัน่ จริงๆ ควรจะไปปัน่ ในทีท่ เี่ หมาะสม กับการปั่นมากกว่า เช่น สวนสาธารณะ หรือสนามที่ท�าขึ้นมาเพื่อ จักรยาน ขณะทีบ่ างคนก็ให้ความเห็นว่า ถนนเมืองไทยไม่ได้มมี ากพอ ที่จะเจียดพื้นที่ไปท�าเลนจักรยาน หรือเอางบประมาณในการท�า เลนจักรยานไปพัฒนาด้านอื่นของประเทศดีกว่า กลายเป็นเกิด การตีกนั ทางคอมเมนต์ให้เห็นอย่างดุเดือดในช่วงทีผ่ า่ นมา
ภาครัฐฯ ตื่นตัว เร่งสร้าง ไบค์เลนให้นักปั่น จากปัญหา และข้อเรียกร้องที่เกิดขึ้นในหมู่คนปั่น ท�าให้ภาครัฐฯ หลายหน่วยงานเองก็รับลูกความต้องการนี้ ออกมาบอกว่าจะสร้าง เลนจักรยานเพิม่ ขึน้ ให้ครอบคลุมเท่าทีจ่ า� เป็นเพือ่ สนับสนุนให้คนปัน่ จักรยานทุกคนทุกชนชัน้ มีพนื้ ทีใ่ นการเดินทางด้วยจักรยาน ต้นปีที่ผ่านมา อัยยณัฐ ถินอภัย ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่ง ประเทศไทย (กทพ.) ให้สมั ภาษณ์ไว้กบั ทางหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ และ Voice News ว่า กทพ. เตรียมเปิดโครงการทางจักรยานในเขตทางพิเศษ (คาดว่าจะแล้วเสร็จในเดือนพฤษภาคมนี้) ซึ่งทางจักรยานในเขต ทางพิเศษที่ท�าจากยางพาราแห่งแรกของประเทศจะเริ่มต้นตั้งแต่ บริเวณถนนงามวงศ์วานไปจนถึงถึงถนนสามัคคี ระยะทาง 2.7 กม. และเพิม่ อีก 2 กม. จากถนนสามัคคีไปถนนแจ้งวัฒนะ เมือ่ สร้างเสร็จ จะสามารถปัน่ จักรยานจากถนนงามวงศ์วานไปถนนแจ้งวัฒนะด้วย ระยะทางเพียง 4.75 กม. ซึง่ โครงการ ‘ทางจักรยานในเขตทางพิเศษ’ เป็นโครงการของกระทรวงคมนาคมทีส่ งั่ ให้ กทพ. ด�าเนินการ โดยหวังว่า อนาคตโครงการนีจ้ ะเป็นทางจักรยานเต็มรูปแบบ มีบริการอ�านวย ความสะดวกครบวงจร ทัง้ จุดให้บริการจักรยาน ศูนย์บริการร้านค้า ห้องสุขา จุดต่อรถโดยสารเพือ่ เดินทางเข้าเมือง และหลังจากนีจ้ ะมี การขยายโครงการเส้นทางอืน่ ต่อไป ซึง่ กระทรวงคมนาคมตัง้ เป้าว่า ในอนาคตจะสร้างอีก 1,000 แห่งทัว่ ประเทศ รวมกว่า 3,000 กิโลเมตร ในเวลาไล่เลีย่ กัน นพ.พรเทพ ศิรวิ นารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย ให้สัมภาษณ์กับผู้จัดการออนไลน์ว่า ตอนนี้มีแผนเตรียมสร้าง เลนจักรยานรอบกระทรวงสาธารณสุข ระยะทางไป-กลับ 15 กม. รองรับ การตัดผ่านรถไฟฟ้าโดยใช้งบประมาณ 21 ล้านบาท ซึ่งจะของบ จาก ‘กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา’ หากเป็นไปตามเป้าหมาย สิน้ ปีนเี้ ราจะมีเลนจักรยานรอบกระทรวงฯ ครัง้ แรกในประเทศ แต่ถา้ ไม่มงี บก็ตอ้ งขยับแผนไปเป็นปีงบประมาณ 2559 โดยจะขอระดมทุน
จากทุ ก กระทรวงมาเพื่ อ สร้ า ง โปรเจกต์นี้ ล่าสุดหลังจากทีม่ ขี า่ วนักปัน่ เสียชีวติ ทีเ่ ชียงใหม่ และกรุงเทพฯ ทาง พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และ ม.ร.ว.สุขมุ พันธ์ บริภทั ร ผูว้ า่ ราชการกรุงเทพฯ ก็มี แอ็ ค ชั่ น กั บ เรื่ อ งนี้ ด ้ ว ย เริ่ ม ที่ นายกฯ ตู่ สั่งคุมเข้มสถานบันเทิง และบังคับใช้กฎหมายจราจรให้ เข้มงวด โดยเฉพาะเรือ่ งเมาแล้วขับ และให้ กทม. รวมถึงหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องจัดการเรื่องเหล็กกั้นเส้นทางจักรยานให้ชัดเจนในส่วนที่ สามารถท�าได้ พร้อมให้ตอ้ งเร่งท�าความเข้าใจเรือ่ งการใช้รถใช้ถนน ให้มากขึน้ ทัง้ นักปัน่ และผูใ้ ช้รถยนต์ ส่วนผูว้ า่ ฯ กทม. นอกจากจะสัง่ การให้มกี ารตรวจสอบไบค์เลน ซ่อมแซมป้ายบอกทาง ป้ายแจ้งเตือนผู้ใช้จักรยานให้สวมอุปกรณ์ ป้องกันพืน้ ฐาน ป้ายแจ้งเตือนการระมัดระวังเมือ่ ใช้ถนนทีม่ รี ถยนต์ จ�านวนมาก ก็ยงั ประสานเจ้าหน้าทีต่ า� รวจในการควบคุมความเร็วของ ผูข้ บั ขีร่ ถยนต์ หากเป็นถนนทีม่ ที างจักรยาน และยังสัง่ การให้สา� นัก การจราจรและขนส่งส�ารวจความพร้อมของถนนที่ยังไม่มีไบค์เลน เพือ่ เตรียมพัฒนาเพิม่ เส้นทางจักรยานในอนาคตอีกด้วย ก่อนหน้านัน้ กทม. ก็มกี ารพัฒนาเลนจักรยาน เพือ่ ให้สอดคล้อง กับนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการส่งเสริมให้มีเส้นทางจักรยาน ที่ปลอดภัย โดยปลายปี 2557 กทม. ได้พัฒนาเส้นทางจักรยาน รอบเกาะรัตนโกสินทร์ และเปิดใช้งานไปแล้ว จ�านวน 12 เส้นทาง
ระยะทางรวม 8 กม.ได้ แ ก่ ถนนมหาไชย ถนนตะนาว ถนน กัลยาณไมตรี ถนนสนามไชย ถนนท้ายวัง ถนนมหาราช ถนน หน้าพระลาน ถนนหน้าพระธาตุ ถนนราชินี ถนนพระอาทิตย์ ถนนพระสุเมรุ ถนนบวรนิเวศ ส่วนภายในปีนี้ กทม. จะปรับปรุง เพิ่มเติมอีก 5 เส้นทาง รวมระยะทาง 10 กม.ได้แก่ บริเวณถนน สมเด็จพระปิ่นเกล้า ถนนอรุณอัมรินทร์ ถนนพระสุเมรุ (ต่อขยาย) ถนนสนามไชย (ต่อขยาย) และถนนราชด�าเนิน วิธีการปรับปรุง เส้นทางจักรยานของ กทม. คือปรับผิวจราจรให้มคี วามเรียบ ปรับระดับ รางรับน�า้ และฝาท่อระบายน�า้ ปรับช่องทางเดินให้มคี วามเหมาะสม ปรับช่องทางจักรยานให้มีความชัดเจน เปลี่ยนตะแกรงฝาบ่อพัก เป็นแนวขวาง ตีเส้นจราจรช่องทางจักรยานเป็นเส้นคู่ และทาสีพนื้ ผิว ช่องจักรยานเป็นสีเขียว ติดตั้งสัญลักษณ์ทางจักรยานและอุปกรณ์ เพิม่ ความปลอดภัย และอีกหลายอย่างที่ กทม. เตรียมปรับปรุงไบค์เลน เพือ่ ขยายให้ครอบคลุมจุดทีจ่ า� เป็น
เลนจักรยาน หรือทางจักรยานในประเทศทีใ่ ห้ความ ส�าคัญกับนักปัน่ โดยมากจะแบ่งออกเป็น 3 แบบ ดังนี้
สวนสาธารณะ ทางที่ต้องเลือก? ส�าหรับนักปั่นที่ใช้จักรยานในชีวิตประจ�าวัน ทั้งปั่นไปท�างาน ปั่น ไปท�ากิจกรรมต่างๆ ดูจะเดือดดาลไม่น้อย เมื่อถูกฝ่ายที่เห็นต่าง ผลักไสให้ไปปั่นในสวนสาธารณะ หรือเส้นทางที่จัดไว้โดยเฉพาะ แทนทีจ่ ะออกมาปัน่ บนท้องถนนร่วมกับยานพาหนะอืน่ ๆ ทีแ่ ม้ตอ่ ให้ นักปั่นระมัดระวังเพียงใด ก็อาจจะเกิดอุบัติเหตุที่ไม่คาดคิดได้ เช่นเดียวกัน ทั้งจากพื้นถนนที่ขรุขระเป็นหลุมเป็นบ่อ และผู้ใช้ รถยนต์ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร หรือขับด้วยความเร็วสูง เพราะ ส�าหรับนักปั่นในเมืองหลายคนแล้ว สุขภาพดีและการลดมลพิษ เป็นเพียงผลพลอยได้ แต่การท�าเวลาเพือ่ ไปให้ถงึ ทีห่ มายโดยติดขัด น้อยทีส่ ดุ ต่างหากทีเ่ ป็นวัตถุประสงค์สา� คัญ เพราะนัน่ เท่ากับเป็นการ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตในการเดินทางให้ดียิ่งขึ้น แต่ส�าหรับนักปั่น ทัว่ ไปแล้ว ต่อไปนีค้ อื อิทธิพลทีม่ ผี ลต่อการตัดสินใจเลือกใช้วธิ กี าร เดินทางด้วยจักรยาน อันดับ 1. ได้ออกก�าลังกาย ร่างกายแข็งแรง 2. เพือ่ การท่องเทีย่ วและพักผ่อนในชีวติ ประจ�าวัน 3. ประหยัดค่าใช้จา่ ย กว่าการเดินทางแบบอืน่ 4. อากาศไม่มมี ลพิษหรือมีนอ้ ย 5. เส้นทาง ร่มรื่น 6. คนขับรถอื่นๆ มีวินัยจราจรและเห็นใจคนใช้รถจักรยาน 7. มีเส้นทางจักรยานและทีจ่ อดทีป่ ลอดภัยและสะดวก
DiD you know?
ในทวีปเอเชีย ประเทศเกาหลีใต้ อินเดีย และอินโดนีเซีย มีนโยบายระดับชาติทสี่ ง่ เสริมการเดิน และ/หรือ ใช้รถจักรยานซึง่ เป็นทางเลือกของผูใ้ ช้รถยนต์
ทางจักรยานแบบปันส่วน (Share Bikeway) จะแบ่งส่วนมาจากช่องจราจรของรถยนต์ โดยการ ตีเส้นหรือท�าเครือ่ งหมายบนผิวจราจร เหมาะส�าหรับใน บริเวณทีเ่ ป็นย่านพักอาศัย หรืออาจจะประยุกต์กบั ถนน ในเมืองก็ได้ หากปริมาณการจราจรไม่สงู มากนัก มีตน้ ทุน ก่อสร้างต�า่ ให้ความปลอดภัยและสะดวกสบายแก่ผขู้ บั ขี่ พอสมควร แต่อาจมีปญ ั หาเรือ่ งการจอดพาหนะประเภท อืน่ ๆ กีดขวางการสัญจร รวมถึงปัญหาหาบเร่ แผงลอย ทางจักรยานแบบแยกส่วน (Restricted Bikeway) ใช้สา� หรับถนนทีม่ ผี วิ จราจรหรือเขตทางกว้างพอ โดยก�าหนดให้มชี อ่ งทางจักรยานอยูข่ า้ งใดข้างหนึง่ หรือ ทัง้ สองข้างของถนนก็ได้ โดยอยูร่ ะหว่างทางเท้ากับช่อง จอดรถยนต์ มีทกี่ นั้ ระหว่างช่องทางจักรยานกับช่องจราจร ออกเด็ดขาดจากกัน พร้อมทัง้ มีปา้ ยจราจรประกอบด้วย ให้ความปลอดภัยแก่ผขู้ จี่ กั รยานสูงกว่าแบบแรก แต่ บริเวณทางแยกหรือทางข้ามอาจจ�าเป็นต้องเป็นแบบ Share Bikeway ความสับสนและอุบตั เิ หตุอาจเกิดขึน้ ได้ ณ บริเวณนี้ จึงจ�าเป็นต้องใช้ปา้ ยเตือนหรือป้ายบังคับ ควบคูก่ นั ไปด้วย ทางจักรยานเฉพาะ (Exclusive Bikeway) เป็นการแยกทางจักรยานออกจากถนนทัว่ ไปอย่าง เด็ดขาด ให้ความปลอดภัยแก่ผขู้ บั ขีจ่ กั รยานสูงสุด เหมาะ ส�าหรับบริเวณทีม่ ปี ริมาณการขีจ่ กั รยานสูง หรือสถานที่ ท่องเทีย่ ว สถานทีพ่ กั ผ่อน สวนสาธารณะ ฯลฯ แต่อาจให้ มีทางคนเดินร่วมด้วยก็ได้ โดยใช้เครือ่ งหมายจราจรหรือ ทาสีบนผิวจราจรนัน้ ทีม่ า : www.thaicyclingclub.org
24 7 - 17
แนวทางแก้ปัญหาที่อาจไม่ใช่แค่ ‘ไบค์เลน’
ดูเหมือนว่าถ้าเรามีไบค์เลนกันทั่วกรุงเทพฯ (รวมถึงพื้นที่อื่นๆ) แล้วคนใช้จักรยานจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปั่นจักรยานได้อย่าง ปลอดภัย ไร้อุบัติเหตุจากรถยนต์กวนใจ แต่ท� าไมอัมสเตอร์ดัม เมืองหลวงแห่งจักรยานไม่มไี บค์เลนทัว่ เมือง แต่จกั รยานกับรถยนต์ ก็ยังอยู่ร่วมกันได้ นั่นแสดงว่า ไบค์เลนอาจไม่ใช่ต้นตอของการ แก้ปญ ั หาทีถ่ กู จุดซะทีเดียว ‘โตมร ศุขปรีชา’ นักคิด นักเขียน บรรณาธิการอ�านวยการ นิตยสารจีเอ็ม และผู้ใช้จักรยานแทนรถยนต์มากว่า 8 ปี บอกกับ 24/7 ว่า เขาก็เป็นคนหนึง่ ทีป่ น่ั จักรยานบนถนน และใช้เป็นพาหนะ ในชี วิ ต ประจ� า วั น โดยคิ ด ว่ า ยานพาหนะทุ ก ชนิ ด มี สิ ท ธิ ที่ จ ะใช้ ถนนร่วมกัน เพราะถนนใช้ภาษีส่วนกลางมาสร้าง โดยไม่คิดว่า จะต้องเรียกร้องไบค์เลน เพราะไบค์เลนไม่ใช่สิ่งที่จะท�าให้ปัญหา ระหว่างรถยนต์กบั จักรยานหมดไป “เมืองที่มีวิถีจักรยานไม่ใช่แค่เมืองที่มาเรียกร้องเลนจักรยาน แต่เมืองทีม่ วี ถิ จี กั รยานได้ คือเมืองทีม่ วี ถิ อี ารยธรรมทีศ่ วิ ไิ ลซ์ อย่างเช่น เมืองอัมสเตอร์ดัม หรือหลายเมืองในยุโรป โดยเขาสร้างพื้นที่ด้วย คอนเซ็ปต์ Shared Space เราจะเห็นว่าเมืองจ�านวนมากในยุโรปจะมี เซ็นเตอร์ของเมืองในหลายจุด แต่สา� หรับกรุงเทพฯ ไม่มเี ลยนะ ขอยก ตัวอย่างทีอ่ มั สเตอร์ดมั บริเวณทีเ่ ป็นพืน้ ที่ Shared Space จะมีโบสถ์ อยู่ตรงกลาง และมีลานกว้างรอบๆ พื้นที่นั้นทุกคนสามารถใช้งาน ร่วมกันได้โดยไม่แบ่งว่านี่เป็นทางคนเดิน เป็นไบค์เลน หรือทาง รถยนต์ ทุกคนใช้พนื้ ทีร่ ว่ มกันหมด รถแล่นไปตรงไหนก็ได้ จักรยาน ก็ปน่ั ไป คนก็เดินไป ฟังดูมนั วุน่ วายนะ แต่เมือ่ สังคมมันเติบโต และ มีการเรียนรู้ในเรื่องสิทธิและหน้าที่ของตัวเองจนมีวุฒิภาวะพอแล้ว มันไม่โกลาหลเลย มันอยูด่ ว้ ยกันได้ รถยนต์ในพืน้ ทีน่ กี้ แ็ ล่นได้ดว้ ย ความเร็วไม่เกินความเร็วสูงสุดของจักรยาน เช่น จักรยานท�าความเร็ว ได้ 30 กม./ชม. รถยนต์ก็จะถูกจ�ากัดความเร็วไม่เกินนี้ เพื่อไม่ให้ เกิดการชนกัน หรือถ้าชนมันจะไม่อนั ตรายมาก ส่วนบริเวณอืน่ นอก เหนือจากนีร้ ถยนต์กแ็ ล่นด้วยความเร็วตามปกติ ขณะทีพ่ นื้ ทีอ่ นื่ ๆ ก็
EuroVelo Routes เป็นเส้นทางจักรยาน และเป็นโครงข่ายทางจักรยานทีเ่ ชือ่ มต่อ กันระหว่างท้องถิน่ ภูมภิ าค และประเทศ ทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ สหภาพยุโรป ปัจจุบนั มีทงั้ หมด 15 เส้นทาง ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ 20 ปีทผี่ า่ นมา ใน 42 ประเทศทัว่ ทวีปยุโรป รวมระยะทาง กว่า 70,000 กม. โดยเส้นทางทีย่ าวทีส่ ดุ คือ EuroVelo13Iron Curtain Trail ระยะทาง 10,400 กม. ปัน่ ผ่าน 20 ประเทศ และสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วส�าคัญซึง่ เป็นมรดกโลก 14 แห่ง
18 - 24 7
อาจจะมีไบค์เลน หรือเส้นทางทีแ่ ยกเฉพาะเพือ่ จักรยานสลับกันไป แต่สงั คมไทยไม่มคี วามเข้าใจถึงความซับซ้อนเหล่านี”้ “เราอาจคิ ด ว่ า ท� า ไบค์ เ ลนก็ ต ้ อ งท� า ให้ ห มดทั้ ง กรุ ง เทพฯ มันไม่ใช่ เราไม่มพี นื้ ทีแ่ ชร์สเปซในลักษณะนีเ้ ลย เพราะว่ากรุงเทพฯ ไม่ใช่เมืองเก่า มันเป็นเมืองใหม่ทถี่ กู สร้างโดยจ�าลองถนนคล้ายกับ ลอสแอนเจลิส ทีว่ ฒ ั นธรรมรถยนต์แข็งแรง สังคมไทยก็มวี ฒ ั นธรรม รถยนต์ทแี่ ข็งแรง ถ้าจะมาจ�ากัดพืน้ ทีข่ องรถยนต์ตอ้ งโดนประท้วงแน่ๆ แต่อย่างในเขตเมืองเก่ารถยนต์จะถูกบังคับให้ท�าตามกฎอย่างเป็น ธรรมชาติ เช่นที่ ซานฟานซิสโก เป็นเมืองจักรยานทีป่ ลอดภัย ส่วนหนึง่ เพราะรถท�าความเร็วไม่คอ่ ยได้ เนือ่ งจากถนนทีค่ ดเคีย้ วนัน้ ถูกสร้าง มาตั้งแต่ดั้งเดิม ซึ่งปัจจุบันลักษณะถนนก็กลายเป็นสิ่งที่จ�ากัด ความเร็วของรถยนต์ไว้โดยปริยาย ฉะนั้นก็ต้องย้อนกลับไปดูว่า รากของเราคืออะไร วิธีคิดของคุณคืออะไร วัฒนธรรมของคุณ คืออะไร ความเป็นมาทัง้ หมดของคุณคืออะไรด้วยความเข้าใจตัวเอง แต่สงั คมไทย รากก็ไม่มี เข้าใจตัวเองก็ไม่มี หลักการพัฒนาอะไรก็ไม่มี เรือ่ งความเข้าใจในวิถจี กั รยานกับเมืองก็ไม่มี เราไม่ยอ้ นมาดูเลยว่า วิถจี กั รยานของเราควรจะเกิดขึน้ มาแบบไหน” “หากสังเกตดูในอัมสเตอร์ดมั รถยนต์กบั จักรยานแทบจะใช้ทาง ผสมผสานกันไป มันมีเลนจักรยานนะ แต่ไม่ได้บังคับว่าจักรยาน ห้ามลงมาปัน่ บนถนน แต่สงั คมเราคิดว่าแค่มเี ลนจักรยานก็เท่าเทียม กันแล้วนี่ จักรยานก็อยู่ในเลนจักรยานไง แต่อย่าออกมานะ ซึ่งวิธี แบ่งแยกแบบนีม้ นั เหมือนในสังคมอเมริกนั ยุคหนึง่ ทีม่ กี ารเรียกร้อง ‘พืน้ ที’่ ให้คนผิวสี ส่งผลให้เกิดนโยบาย Segregation หรือการแบ่งแยก พืน้ ทีร่ ะหว่างคนขาวกับคนด�า ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้ชดั ทีส่ ดุ ก็คอื หนังเรือ่ ง The Help ทีก่ อ่ ให้เกิดความร้าวลึกระหว่างคนสองสีผวิ โดยคนขาวนัน้ อ้างว่าการแบ่งแยกพืน้ ทีร่ ะหว่างคนขาวกับคนด�า ไม่วา่ จะในสระว่ายน�า้ ในโบสถ์ หรือแม้กระทั่งบนรถเมล์ ก็คือการยอมรับว่าคนด�านั้นมี ความเสมอภาคเท่าเทียมกับคนขาว แต่แกก็ตอ้ งอยูใ่ นพืน้ ทีข่ องแกนะ ฉันก็จะอยู่ในพื้นที่ของฉัน ผมคิดว่าการเรียกร้องทางจักรยานใน เมืองไทยนัน้ หากประสบความส�าเร็จโดยไม่ผา่ นการสร้างความเข้าใจ ในเรือ่ งสิทธิทลี่ กึ ซึง้ ในทีส่ ดุ ก็อาจก่อให้เกิดผลเชิง Segregation หรือ การ ‘แบ่งแยก’ พืน้ ทีเ่ หมือนกรณีคนด�าคนขาวได้ไม่ยากนัก นัน่ ก็คอื หลายคนอาจมีความเห็นว่าเมื่อมีเลนจักรยานแล้ว จักรยานก็ควร จะอยูส่ ว่ นจักรยาน รถยนต์กค็ วรจะอยูส่ ว่ นรถยนต์ ใครอยูต่ รงไหน ก็อยูต่ รงนัน้ เมือ่ ฉันแบ่งทีใ่ ห้แกแล้ว ก็อย่าได้ลว่ งล�า้ เข้ามาในพืน้ ที่ ของฉันอีก แต่ทตี่ า่ งจากกรณี Segregation เรือ่ งสีผวิ ในอเมริกาก็คอื ข้ออ้างในเรือ่ งนีจ้ ะวางอยูบ่ นฐานเรือ่ ง ‘ความหวังดี’ ทีจ่ ะสร้าง ‘ความ ปลอดภัย’ ให้เกิดแก่ทงั้ จักรยานและรถยนต์ ซึง่ ฟังดูดไี ม่นอ้ ย แต่วธิ คี ดิ ทีซ่ อ่ นอยูก่ ค็ อื การบอกว่าจักรยานต้องอยูเ่ ฉพาะในทีท่ จี่ ดั ให้เท่านัน้ ซึง่ ผมอยากจะเรียกวิธคี ดิ นีว้ า่ Absolute Segregation”
กว่าอัมสเตอร์ดมั จะเป็นเมืองจักรยาน
ขาปัน่ ทราบกันดีวา่ เมืองอัมสเตอร์ดมั เมืองหลวงของ เนเธอร์แลนด์ เป็นเมืองทีใ่ ช้จกั รยานมากทีส่ ดุ ปัจจุบนั อัมสเตอร์ดมั มีเลนจักรยานรวม 35,000 กม. ประชากรกว่า 38% ในอัมสเตอร์ดมั เดินทางด้วยจักรยาน แต่กอ่ นหน้านัน้ อัมสเตอร์ดมั ไม่ได้เป็นเมืองทีเ่ ป็นมิตรกับจักรยานเหมือนใน ทุกวันนี้ ช่วงต้นศตวรรษที่ 19 อัมสเตอร์ดมั มีคนใช้จกั รยาน ในการสัญจรเยอะมากเนือ่ งจากราคาถูก กระทัง่ ปี 19501960 เศรษฐกิจในประเทศแถบนีด้ ขี นึ้ มาก และหลายบ้าน ทีพ่ อมีรายได้กซ็ อื้ รถมาใช้สว่ นตัว เมือ่ รถมากขึน้ จ�านวนคนใช้จกั รยานก็นอ้ ยลง อีกทัง้ อุบตั เิ หตุมากขึน้ ในปี 1971 มีผเู้ สียชีวติ บนถนนมากกว่า 3,300 คน และกว่า 400 คนเป็นเด็ก จึงเกิดการรวมตัวกัน รณรงค์เพือ่ สร้างถนนส�าหรับจักรยาน น�าโดย Maartje van Putten เป็นตัวตัง้ ตัวตี และใช้ชอื่ โครงการว่า Stop de Kindermoord หรือแปลว่า ‘หยุดท�าร้ายเด็ก’ ระหว่าง การรณรงค์มคี นเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย คนทีไ่ ม่เห็นด้วย ให้เหตุผลว่ารถยนต์ยงั จ�าเป็น เลยเกิดการประท้วงด้วย การกีดขวางถนน เช่น การเอาโต๊ะกินข้าวมาตัง้ แล้วกินข้าว กลางถนน บางส่วนก็ให้เด็กๆ มาวิง่ เล่นบนถนนเพือ่ ต่อต้าน เงียบๆ โดยมีตา� รวจดูแลความปลอดภัย จนปี 1973 เกิด ปัญหาด้านเศรษฐกิจ จักรยานจึงกลับมาได้รบั ความนิยม อีกครัง้ จนถึงปัจจุบนั
“วิธีคิดเรื่องไบค์เลนไม่ได้มีแบบเดียว มันมีทั้งแบบที่ไปกับ ถนน ไม่ ต ้ อ งไปกั บ ถนน เกี่ ย วเนื่ อ งตี คู ่ ไ ปกั บ ถนนในบางช่ ว ง มีทางด่วนจักรยาน ความคิดผมไบค์เลนที่อยู่บนถนนมันเหมาะสม น้อยทีส่ ดุ ด้วยซ�า้ ทว่าแต่ละประเทศก็พฒ ั นาไบค์เลนตามภูมศิ าสตร์ และพืน้ ฐานสังคมของตัวเอง สมมุตวิ า่ ท�าไบค์เลนให้เข้ากับคนไทย ผมคิดว่ามันต้องมีทางด่วนจักรยานหรือเปล่า มีทางจักรยานใต้ BTS ทีป่ น่ั แล้วเข้าตึกเลยได้ไหม โดยทีไ่ ม่ตอ้ งลงไปปะปนกับรถยนต์เลย ในเมือ่ วัฒนธรรมรถยนต์เราแข็งแรงขนาดนี้ มันต้องมีวธิ ที จี่ ะท�าให้ จักรยานใช้ชีวิตร่วมกับวัฒนธรรมรถยนต์ให้ได้ โดยที่มันไม่ฝืน เกินไป ถ้าจะท�าไบค์เลนต้องเข้าใจภูมศิ าสตร์ รากเหง้า และหลักการ ของตัวเอง”
ย้อนรอย 4 เหตุการณ์ สะเทือนใจนักปัน่ 13 FEB 2013 : ปีเตอร์ รูท และแมรี่ ทอมสัน 2 นักปัน่ จักรยานคูส่ ามีภรรยาชาวอังกฤษ ‘ปีเตอร์ รูท และ ‘แมรี่ ทอมสัน’ ปัน่ จักรยานรอบโลกในชือ่ โครงการ Two on four wheels ทัง้ คูเ่ ริม่ ปัน่ มาตัง้ แต่กรกฎาคม 2554 ทว่าน่าเสียดายทีท่ งั้ คูถ่ กู รถกระบะชนเสียชีวติ ใน เขต อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา ทัง้ ๆ ทีฝ่ นั ยังไม่เป็นจริง
21 FEB 2015 : ฮวน ฟรานซิสโก
นักปัน่ ชาวชิลวิ ยั 48 ปี ‘ฮวน ฟรานซิสโก’ อยูใ่ นระหว่าง สร้างสถิตโิ ลกปัน่ จักรยาน 5 ทวีป ภายใน 5 ปี ระยะทาง 250,000 กม. โดยเริม่ ต้นตัง้ แต่พฤศจิกายน 2553 จนถึง พฤศจิกายน 2558 โดยไม่มสี ปอนเซอร์ ซึง่ จักรยานทีเ่ ขาปัน่ มีภรรยาและลูกชายซ้อนมาด้วย แต่มรี ถกระบะชนจน เขาเสียชีวติ บริเวณรอยต่อระหว่างจังหวัดขอนแก่นและ นครราชสีมา ส่วนภรรยาและลูกบาดเจ็บทัง้ กายและใจ
4 MAY 2015 : ชัยรัตน์ ย่องลัน่ , สมาน กันธา และพงษ์เทพ ค�าแก้ว
กลุม่ นักปัน่ จักรยานเพือ่ สุขภาพเกิดอุบตั เิ หตุโดนรถเก๋ง ชนบริเวณ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ ช่วงเช้ามืด ซึง่ คูก่ รณี เป็นนักศึกษาสาวทีม่ อี าการเมา แล้วเกิดเสียหลักพุง่ ชน กลุม่ นักปัน่ ส่งผลให้ 3 นักปัน่ โชคร้ายต้องจบชีวติ ลง
4 MAY 2015 : ธัญญกร เด่นสิริมงคง
หัวค�า่ วันเดียวกันหลังเกิดเหตุทเี่ ชียงใหม่ กลุม่ นักปัน่ เพือ่ สุขภาพกลุม่ หนึง่ โดนรถเก๋งเฉีย่ วชนบริเวณ ถ.รัชดารามอินทรา ส่งผลให้นกั ปัน่ สาววัย 31 ปี ผูเ้ คราะห์รา้ ย บาดเจ็บสาหัส ก่อนจะเสียชีวติ ในเวลาต่อมา ขณะที่ เพือ่ นทีไ่ ปปัน่ ด้วยกันบาดเจ็บ 2 คน
ขณะที่ ‘ค�า ผกา’ นักคิดและนักเขียนอีกคน ก็เขียนบทความ เรื่อง ‘จักรยาน เมือง วัฒนธรรม’ ในมติชนสุดสัปดาห์ฉบับวันที่ 8-14 พฤษภาคม 2558 ข้อเขียนบางส่วนของ ค�า ผกา แสดงความเห็นว่า การสร้างเลนจักรยานให้ได้ผลไม่ใช่แค่การตีเส้น แบ่งอาณาเขต บอกว่านี่คือเลนจักรยาน ถ้าจะได้ผล ต้องมี ‘การจูงใจให้ชาวบ้าน รูส้ กึ คล้อยตามวิถจี กั รยานจนอยากจะใช้จกั รยาน’ โดยทีน่ กั วางผังเมือง ต้องท�างานร่วมกับสถาปนิก นักประวัตศิ าสตร์ รวมถึงนักวิจยั เรือ่ งเมือง ต้องท�าการพัฒนาเมืองร่วมกัน เพือ่ ร่วมจูงใจชาวบ้านให้มาใช้จกั รยาน ฉะนั้ น การสร้ า งเมื อ งที่ ผู ้ ค นหั น มาเดิ น ทางด้ ว ยจั ก รยานต้ อ ง manipulate หรือการจัดแจง หลอกล่อ ทัง้ ทางกาย ทางใจ หรือทาง วัฒนธรรมจิตส�านึกไปพร้อมๆ กันเพื่อสร้างวัฒนธรรมจักรยาน ซึง่ คียเ์ วิรด์ ส�าคัญทีว่ ฒ ั นธรรมจะเกิดขึน้ ได้หรือไม่อยูท่ ี่ ‘การออกแบบ เมืองให้เป็นมิตรกับจักรยาน’ เธอเสนอแนะว่า สามารถท�าให้กรุงเทพฯ เป็นเมืองจักรยานได้ ด้วยการรื้อเส้นทางคลองทุกสายในกรุงเทพฯ และคลองที่เชื่อมกับ จังหวัดใกล้เคียง แล้วบูรณะคลองให้สะอาด ปรับภูมทิ ศั น์สองข้างทาง ปลูกต้นไม้ใหญ่ แล้วท�าเส้นทางจักรยานเชื่อมกันทั้งหมด ขณะที่ พื้นที่รอบทางจักรยานที่บูรณะพัฒนาจากคลองก็เพิ่มร้านหนังสือ ร้านกาแฟ หรือจุดแวะพัก เส้นทางจักรยานของกรุงเทพฯ ตาม แนวคิดของ ค�า ผกา อาจไม่เหมาะส�าหรับทุกคน แต่เธอก็เชื่อว่า วิธนี จี้ ะช่วยเพิม่ ทางเลือกในการเดินทาง และแบ่งเบาการใช้รถยนต์ ลงได้ ขณะเดียวกันรถเมล์ ก็ปรับปรุงคุณภาพเพื่อให้เชื่อมโยงกับ เส้นทางจักรยานตามคูคลอง ทุกจุดที่เป็นทางเชื่อมต่อมีที่รับฝาก จักรยาน เพือ่ ให้คนจอดจักรยานแล้วใช้ระบบขนส่งสาธารณะเดินทาง ไปยังทีอ่ นื่ ต่อ จักรยานในมุมมองของ ค�า ผกา อาจไม่ได้ใช้ทดแทน รถยนต์ แต่เป็นพาหนะทีช่ ว่ ย ‘ลด’ การพึง่ พารถยนต์ หรือเป็นพาหนะ ทีช่ ว่ ยพาเราไปท�าธุระปะปังทีไ่ ม่ได้ไกลมากนัก ถ้าเมืองถูกออกแบบ ให้เข้ากับจักรยาน ถึงวันนั้นเราก็ไม่ต้องเดินทางไปท� าธุระใกล้ๆ ด้วยรถยนต์ ก็คงไม่ใช่เรือ่ งยาก
24 7 - 19
TASTE
เชิญแนะนำ�ร้�นอ�ห�รเก๋ๆ เข้�ม�ได้ที่ 247@gmgroup.in.th
Text : iD11 Photo : กฤตธี
Text : iD11 Photo : กฤตพล
La Monita Urban Cantina
bLUe Sky
ร้านอาหารเม็กซิกนั สไตล์เออร์เบิน้ ไดนิง่ ส�าหรับคนเมือง ทีม่ ไี ลฟ์สไตล์ทนั สมัย ในบรรยากาศสบายๆ ทีไ่ ด้กลิน่ อาย แบบเม็กซิกนั ให้ชว่ งเวลาแห่งการทานอาหารของคุณ เต็มไปด้วยความสนุกสนานแบบละตินปาร์ตี้ ตกแต่งในสไตล์ Modern Mexican ในโทนสีสม้ สดใส เสริมความเก๋ดว้ ยเฟอร์นเิ จอร์ไม้ และเพดานลวดลายกราฟิก พร้อมบาร์ไม้ขนาดใหญ่ ได้อารมณ์สนุกสนาน อบอุน่ และ สบายๆ อีกทัง้ ยังมีเทอร์เรซไว้ให้นงั่ รับลมชิลๆ ชมวิวทิวทัศน์ ใจกลางกรุง เน้นอาหารเม็กซิกนั สมัยใหม่สไตล์แคลิฟอร์เนีย เมนู แนะน�าคือ Queso Fundido เป็น cheese dip ทีท่ า� จากชีส ใส่ไส้กรอกหมู chorizo และ longaniza ของเม็กซิกนั จิม้ กิน กับแป้งตอร์ตญ ิ า่ ต่อด้วยเมนูยอดฮิตอย่าง Guacamole ผลอะโวคาโดบด เพิม่ ความเปรีย้ วหวานด้วยสับปะรด เสิรฟ์ พร้อม tortilla chips และสุดท้าย Surf & Turf Alambres สเต๊กเนือ้ Rip Eye จากนิวซีแลนด์ น�ามาย่างจนหอม เนือ้ นุม่ แทบละลายในปาก เสิรฟ์ พร้อมกับ Shrimp, Pancetta, Pepper, หอมหัวใหญ่ และ Roasted Salsa ในส่วนของเครือ่ งดืม่ ทีน่ เี่ น้นละตินค็อกเทลสดใหม่โดยมิกโซโลจิสต์มอื ฉมัง อย่าง อัลเบอร์โต้ การ์เซีย ดริงค์ตอ้ งลองคือ Mexican Mule ดีกรีเบาๆ ทีม่ สี ว่ นผสมหลักเป็น Tequila Reposado เพิม่ ความพิเศษด้วย Ginger และน�า้ มะนาว รสออกเปรีย้ วหวาน หรือจะเป็นดริงค์สสี วยอย่าง Avocado Margarita ทีม่ ี Tequila เป็นตัวชูโรง ผสมด้วยอะโวคาโด แต่หากใครชอบดีกรีรอ้ นแรง ต้องนีเ่ ลย Rosita จิบแรกออกหวาน แต่จบิ ต่อมาขมได้ใจ ประมาณ 500 บาท (ไม่รวมเครือ่ งดืม่ )
ห้องอาหารฝรัง่ เศสในสไตล์ French Bistro บนชัน้ 24 ของโรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ โดดเด่นด้วยวิวอันสวยงามของมหานครในยาม ค�า่ คืนแบบ 360 องศา จนถูกขนานนามให้เป็น 1 ใน 15 บาร์ววิ ระฟ้าทีน่ า่ ตืน่ ตาตืน่ ใจทีส่ ดุ จากการส�ารวจของ เว็บไซต์ Architecture Art Design Website เน้นสไตล์เรียบหรูทนั สมัย เด่นด้วยโทนสีฟา้ และน�า้ เงิน เพิม่ ความชิคด้วยแสงไฟสีนา�้ เงิน ช่วยขับให้บรรยากาศ ภายในร้านดูโรแมนติกอย่างมีสไตล์ ในส่วนของพืน้ ที่ สามารถเลือกนัง่ ได้ทงั้ อินดอร์และเอาท์ดอร์ เน้นอาหารฝรัง่ เศสในสไตล์เฟรนช์บสิ โทรทีย่ กชุดใหม่ ทัง้ หมด เมนูแนะน�าต้องลองคือ ไข่ออนเซ็นราดซอสเห็ด และไส้กรอกสเปน จุดเด่นอยูท่ กี่ ารน�าไข่มาต้มในน�า้ ร้อน อุณหภูมคิ งทีท่ ี่ 62.5 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชม. จะท�าให้ ได้ไข่ออนเซ็นทีม่ ลี กั ษณะลูกสวยงาม เนือ้ นวล ละมุนลิน้ เพิม่ ความกลมกล่อมด้วยไส้กรอกสเปน (Spanish Chorizo Julienne) และซอสเห็ด ตามด้วย Stir-Fried Snails หอยทาก ฝรัง่ เศสผัดผักปรุงรสเสิรฟ์ พร้อมผักโขมและ Beurre Blanc Sauce รสชาติออกหวานมันกลมกล่อม ตัดด้วยรสเปรีย้ วนิดๆ จากมะเขือเทศหัน่ ไซซ์ลกู เต๋า ตบท้ายด้วยของหวาน Crème Brûlée Tart ครีมไข่วานิลลาใส่ในแป้งหวานอบกรอบ ราด ด้วยซอสสตรอเบอรีร่ สเปรีย้ วอมหวาน เสิรฟ์ พร้อมผลเบอรี่ และสตรอเบอรีส่ ด ประมาณ 1,000-2,000 บาท ชัน้ 24 โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ เปิด 18.00-02.00 น. (รับออเดอร์ อาหารถึงเวลา 23.00 น.) โทร. 02 541 1234 ต่อ 4151
ชัน้ 7 Helix Quartier, EmQuartier Shopping Complex ถนนสุขมุ วิท เปิด 10.00-22.00 น. โทร. 02 003 6238 หรือคลิก www.facebook.com/LaMonitaThailand ส�ำหรับเมนูซิกเนเจอร์จำนเด็ด ต้องยกให้ Seared Japanese Miyazaki
20 - 24 7
อำหำรที่นี่เน้นคุณภำพและควำมสดใหม่ของวัตถุดิบ ปรุงจำกเชฟมืออำชีพ
Striploin A4 เนื้อวัววำกิวชั้นเยี่ยม น�ำเข้ำจำกเมืองมิยำซำกิ ประเทศญี่ปุ่น
ที่เป็นทั้งเชฟและเจ้ำของร้ำนเองอย่ำง คุณบิลลี่ บำวทิสต้ำ โดยใช้ศิลปะแห่ง
น�ำมำย่ำงจนสุกปำนกลำง เสิร์ฟบนกระทะร้อน เพิ่มควำมอร่อยด้วยซอส
กำรปรุงอำหำรเม็กซิกันดั้งเดิมมำประยุกต์เข้ำกับเทคนิคสมัยใหม่ ลบภำพ
ไวน์แดง เคียงด้วยผัดผักสไตล์เอเชียและมันฝรั่งอบ รังสรรค์จำกเชฟมืออำชีพ
ควำมเป็นอำหำรฟำสต์ฟด ู้ และยกระดับให้อำหำรเม็กซิกน ั ในเอเชียขึน ้ เทียบชัน ้
ที่สั่งสมประสบกำรณ์มำกว่ำ 30 ปี เชฟอีริค เบริโกด์ เชฟผู้คร�่ำหวอด
ควำมเป็นที่นิยมแบบอำหำรฝรั่งเศสและอำหำรอิตำเลียน
ในวงกำรอำหำรทั้งในประเทศและระดับนำนำชำติ
S POT-L IGHT Text : ญามินทร์
เราชอบเห็นการเติบโตของคน เพราะมันคือเงาสะท้อนให้เห็นถึงความไม่หยุดนิ่งในการพัฒนา ตัวเอง แน่นอนว่า เกร็ดชีวิตจากการเติบโตของแต่ละบุคคลนั้น สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้ใคร แถวนีไ้ ด้ และครัง้ นีเ้ ป็นคิวของพระเอกหนุม่ ล�า่ หน้าใส และมาดแมน ไรอัน เรย์โนลด์ส ผูท้ กี่ า� ลังจะมี บทบาทในภาพยนตร์เรื่อง The Voices ซึ่งเจ้าตัวบอกว่า นี่คือบทที่ท้าทายที่สุดในชีวิตการแสดง เพราะเขาแสดงเป็นฆาตกรต่อเนื่อง เห็นบทแบบนี้หลายคนคงเดาทางว่าหนังเรื่องดังกล่าวคงจะเป็น สายดาร์ค สยองขวัญ สั่นประสาท แต่เปล่าเลย นี่คือหนังตลกร้ายเสียดสีสังคม ในชีวิตนักแสดง ไรอัน ปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่อง hillside (1990) เมื่อครั้งยังเด็ก และมีบทบาทอีกประปรายในเวลาต่อมา แต่ก็ยัง ไม่ประสบความส�าเร็จเท่าที่ควร ถึงขนาดที่เจ้าตัวตัดสินใจแคนเซิล ชีวิตการแสดง แต่แล้วโชคชะตาก็บันดาลให้เขาได้มาพบกับ คริส วิลเลียม มาร์ติน ซึ่งต้องนับว่าบุคคลผู้นี้คือผู้ตัดสายสะดือในวงการ ให้เขา ทัง้ คูช่ วนกันไปยังลอสแอนเจลิสเพือ่ โอกาสทีด่ ใี นชีวติ ในช่วงนั้นเริ่มมีบทเข้ามาเสนอให้เขาเล่นเรื่อยๆ จนในที่สุด เขาก็ได้มารับบท ราชาฮานนิบาล ใน Blade : Trinity (2004) หลังจากนัน้ ชือ่ ของ ไรอัน เรย์โนลด์ส ก็อยูใ่ นความสนใจ เขาได้รบั ความไว้วางใจ ให้เล่นเป็นฮีโร่ จากคอมิคส์คา่ ย Marvel และ Dc ซึง่ น้อยคนนักทีจ่ ะได้ เล่นเป็นฮีโร่ขา้ มค่าย ทัง้ บท เดธพูล ใน X-Men origins : Wolverine (2009), Green Lantern (2011) และ Deadpool (2016) ทว่าบทบาทที่ท�าให้เขาถูกกล่าวขวัญสุดๆ ในฐานะนักแสดง เจ้าบทบาทกลับไม่ใช่หนังบล็อกบลัสเตอร์ทงั้ หลายแหล่ แต่เป็นเรือ่ ง Buried (2010) หนังอินดี้ทุนสร้างต�่าที่มีตัวละครเพียงแค่หนึ่งตัว กับสถานที่แคบๆ ซึ่งถูกจ�าลองสถานการณ์ให้ถูกกลบฝังอยู่ใต้ดิน เขาต้องเล่นบทคนที่ถูกฝังทั้งเป็นซึ่งพยายามเอาชีวิตรอดทุกวิถีทาง ตามสัญชาตญาณมนุษย์ น่าเสียดายที่หนังเรื่องดังกล่าวไม่ใช่หนัง กระแสหลัก แต่ตอ้ งยอมรับว่า ในเวทีรางวัลส�าหรับภาพยนตร์อนิ ดีน้ นั้ Buried คือตัวเต็งส�าคัญ ท�าให้เขาเดินทางไปรับรางวัลในฐานะ นักแสดงน�าอยูห่ ลายเวที แต่ต้องยอมรับว่า ในแง่ของชื่อเสียงเขาท�าให้ผู้คนส่วนใหญ่ รูจ้ กั เขาในฐานะซูเปอร์ฮโี ร่ โดยเฉพาะ Green Lantern ทัง้ ทีต่ อ้ งกระซิบ บอกว่า หนังฮีโร่เรื่องนี้คล้ายเป็นตราบาปแห่งความล้มเหลวของเขา เกิดปัญหาอุปสรรคมากมายระหว่างถ่ายท�า ตัวเขาเองก็ไม่ลงรอยกับ ผู้ก�ากับของเรื่อง ซึ่งส่งผลให้หนังไม่ประสบความส�าเร็จเท่าที่ควร (แฟนคอมมิคส์ก็ด่ายับ) กระนั้น ไรอัน ก็ไม่ได้ปิดโอกาสของตัวเอง เขายอมรับบทบาทใหม่ๆ ให้เข้ามาในชีวิตเรื่อยมา จนกระทั่งมาถึง
22 - 24 7
เรือ่ ง The Voices ทีเ่ รือ่ งนี้ ไรอัน รับบทเป็น ‘เจอร์ร’ี่ หนุม่ ฆาตกรจิตวิปลาส ซึง่ ไรอัน บอกว่าเขาชอบตัวละครตัวนีม้ าก “ผมคิดว่าเจอร์รี่ เป็นฆาตกรต่อเนื่องที่ไม่เหมือนใคร ตอนที่ เราดูขา่ วเกีย่ วข้องกับฆาตกร พวกเราจะเติมความคิดว่า ฆาตกรต้องเป็น พวกซาดิสต์ มีความลุม่ หลง แต่ผมคิดว่ามันไม่จา� เป็นต้องเป็นแบบนัน้ เสมอไป ผมผิดหวังกับหนังทีน่ า� เสนอภาพผูร้ า้ ยทีก่ อ่ คดีดว้ ยแรงผลักดัน อันชัว่ ร้าย ซึง่ นัน่ ไม่เป็นจริงเสมอไป เขาอาจกระท�าการด้วยความเชือ่ มัน่ อีกด้าน ซึ่งนั่นโดนใจผมมาก ผมอ่านสคริปต์ แล้วผมรู้สึกเห็นใจ ตัวเจอร์รี่ ผมไม่เคยเห็นใครทีต่ นื่ ขึน้ มาในตอนเช้าและคิดว่าจะฆ่าใครดี ผมเห็นผูช้ ายทีม่ บี าดแผลในใจตัง้ แต่ตอน 11 ขวบ และเขาไม่เคยเติบโต ทางอารมณ์ผา่ นช่วงเวลานัน้ มาได้เลย ซึง่ น่าสนใจส�าหรับผม ผสมกับที่ มาร์จานี่ตั้งใจท�าหนังเรื่องนี้ออกมาให้บ้าและสนุกในเวลาเดียวกัน และคุณจะได้รบั บางสิง่ ทีพ่ เิ ศษมาก” นอกเหนือจากการแสดงซึ่งเป็นงานที่เขารักเป็นชีวิตจิตใจ หนุม่ มาดแมนคนนีย้ งั มีงานอดิเรกลุยๆ ตามประสาของคนรักกีฬาและ การผจญภัย ไม่วา่ จะเป็นท่องเทีย่ ว, ด�าน�า้ , ตกปลา, ว่ายน�า้ และการวิง่ ไรอันเป็นนักวิ่งมาราธอนตัวยง ซึ่งจุดเริ่มต้นในการวิ่งของเขาหาใช่ การออกก�าลังกาย หรือตามเทรนด์ใดๆ แต่เขาวิ่งเพื่อพ่อ ผู้ป่วยเป็น โรคพาคินสัน ทุกวันนี้หากมีเวลาไรอันก็จะลงแข่งรายการมาราธอน อยูไ่ ม่ขาด ส�าหรับเรือ่ งราวความรัก ไรอันเรียนรูค้ วามรูส้ กึ นีจ้ ากคนส�าคัญใน ชีวติ 3 คน คนแรกเป็นอดีตคูห่ มัน้ ของเขา คือ อลานิส โมริสเสตต์ คนถัดมา คือนางเอกหุน่ สะบึม สกาเล็ต สการ์เลตต์ โจแฮนส์สนั ซึง่ เคยเป็นข่าว ฮือฮาเรือ่ งวิวาห์สายฟ้าแลบ แต่แล้วชีวติ คูข่ องเขาและเธอก็ตอ้ งล้มพับไป จนสุดท้ายไรอันก็ได้พบกับ เบลค ไลฟ์ลี แม้จะมีอายุห่างกันถึงสิบปี แต่ เ บลคก็ ส ามารถเติ ม เต็ ม ทุ ก ช่ อ งว่ า งของไรอั น ด้ ว ยการมอบ สถานภาพของความเป็ นพ่อคนครั้งแรกให้กับ หนุ่มคนนี้ได้เ ป็น ผลส�าเร็จ
All About Him
• มีชอื่ เต็มๆ ว่า Ryan Rodney Reynolds • เกิดเมือ่ วันที ่ 23 ตุลาคม 1976 ในแวนคูเวอร์, บริตชิ โคลัมเบีย ขณะนีเ้ ขาเป็นชาวแคนาดาทีม่ อี ายุ 38 ปี • เป็นนักแสดงทีเ่ คยสอบตกวิชาการแสดงสมัยไฮสคูล • รักการขีบ่ กิ๊ ไบค์มาก เขาเป็นเจ้าของมอเตอร์ไซค์ถงึ 3 คัน ได้แก่ ฮาร์เลย์ เดวิดสัน สปริงเกอร์ ซอท์เทล, ดูคาติ พานิกาเล 1199 และคอนเฟเดอเรท • เขาชอบสีเหลืองมากจนถึงขัน้ บอกว่ามันคือ สีประจ�ากายของเขา • ไรอันเป็นคนกลัวการบิน เพราะเขาเคยตกพาราชูต มาก่อน • เขาผ่านเหตุการณ์เฉียดตายมาแล้วหลายรอบ แทบไม่ น่าเชือ่ ว่า สึนามิครัง้ ยิง่ ใหญ่ทเี่ กิดขึน้ ในเอเชียอาคเนย์ นัน้ เขาอยูท่ อี่ นิ โดนีเซีย และอยูท่ นี่ นั่ จนเหตุการณ์สงบ โดยไม่ได้รบั อาการบาดเจ็บใดๆ • เป็นแฟนพันธุแ์ ท้ของทีมอเมริกนั ฟุตบอล กรีน เบย์ แพ็คเกอร์ส • ได้ชอื่ ว่าเป็นผูช้ ายทีเ่ ซ็กซีท่ สี่ ดุ ในโลกทีย่ งั มีชวี ติ อยู ่ จัดอันดับโดยนิตยสารพีเพิล ในช่วงนัน้ เขายังคบอยูก่ บั สการ์เลตต์ โจแฮนส์สนั ไรอัน ผ่านการเติบโตมาอย่างรอบด้านในทุกช่วงวัย เท่ากับ ที่มนุษย์คนนึงจะได้เรียนรู้มัน เราสามารถเห็นการเติบโตของเขา ได้ทั้งในฐานะที่เขาเป็นนักแสดงเจิดจรัสเป็นที่จับตามองในทุกครั้ง และในภาพทีเ่ ขาเป็นเพียงผูช้ ายคนหนึง่
78,853 People like this
www.facebook.com/247FreeMagazine นิตยสาร Unisex ส�ำหรับคนเมือง ทีเ่ ป็นเหมือนไกด์ไลน์สำ� หรับหนุม่ สาว ในคอนซ็ปต์ Work Hard, Play Hard อั พ เดททุ ก ความทั น สมั ย ตอบสนอง ความสุขในการใช้ชีวิตแบบเต็มดีกรี ทั้ ง วิ สั ย ทั ศ น์ ค วามคิ ด ศั ก ยภาพ การท�ำงาน และไลฟ์สไตล์อินเทรนด์ เพื่อให้คุณเป็น ‘คุณ’ ได้เต็มพิกัด เจิดจรัสในดาวน์ทาวน์ ทุก 24 ชั่วโมง ตลอด 7 วัน