247#401

Page 1

28

th

e

l

e

c -

t

i

o

n

city magazine : biweekly www.gmlive.com/247 MAGAZINE

free

OF THE GM Group VOL.12 NO.401 16 - 31 march 2019


28th election หากจะนับเวลาดูแล้ว ประเทศไทยว่างเว้นจากการเลือกตั้งมาประมาณ 5 ปี โดยการเลือกตั้งครั้ง ล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 แต่การเลือกตั้งครั้งนั้นศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยว่า พระราชกฤษฎีกายุบสภาฯ ก�ำหนดให้เลือกตั้งครั้งนี้ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ เพราะไม่สามารถเลือกตั้ง ให้แล้วเสร็จทัว่ ประเทศได้ภายในวันเดียวตามทีร่ ฐั ธรรมนูญก�ำหนดไว้ แต่ไม่ถอื ว่าการเลือกตัง้ เป็นโมฆะ จึงนับรวมได้วา่ ประเทศไทยเรามีการเลือกตัง้ มาแล้ว 27 ครัง้ นับจากการเปลีย่ นแปลงการปกครองเมือ่ ปี พ.ศ. 2475 โดยในการเลือกตัง้ ทีจ่ ะมีขนึ้ ในวันอาทิตย์ที่ 24 มีนาคม 2562 นี้ เป็นการจัดการเลือกตัง้ ครัง้ ที่ 28 มีความน่าสนใจหลายอย่างในการเลือกตั้งครั้งนี้ ทั้งเป็นการจัดการเลือกตั้งภายใต้กฎกติกาใหม่ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 โดยรูปแบบการเลือกตั้งระบบใหม่นี้ เรียกกันสั้นๆ ว่า ‘แบบจัดสรรปันส่วนผสม’ มีพรรคการเมืองมากที่สุด (โดยเฉพาะพรรคการเมือง ใหม่ๆ) มีผู้สมัคร หรือ ส.ส. เยอะที่สุด (โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ หน้าใหม่ๆ) มีการขยายเวลา ลงคะแนนเสียงนานทีส่ ดุ (9 ชัว่ โมง ตัง้ แต่ 08.00-17.00 น. เดิม 08.00-15.00 น.) ขณะเดียวกันก็มเี หตุการณ์ เหนือความคาดหมายและเหตุการณ์ตา่ งๆ เกิดขึน้ มากมายจนต้องบันทึกไว้ในหน้าประวัตศิ าสตร์ความทรงจ�ำ กันเลยทีเดียว แต่การเลือกตัง้ ส�ำหรับ 24 7 City Magazine นับเป็นทัง้ ความหวังและความท้าทายของทุกภาคส่วน ของสังคม เพราะเราต่างอยูใ่ นองคาพยพของความเปลีย่ นแปลงดุจเดียวกัน การมองสังคม และเมือง ผ่านการเลือกตัง้ จึงกลายเป็นกรอบคิดทีไ่ ม่อาจมองข้าม

• บรรณาธิการที่ปรึกษา ณิพรรณ กุลประสูตร • บรรณาธิการอำ�นวยการ โตมร ศุขปรีชา • บรรณาธิการบริหาร ขนิษฐา เผือกผ่องใส • กองบรรณาธิการ สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์ • ทป่ี รึกษาศิลปกรรม ประทีป ปัจฉิมทึก • บรรณาธิการศิลปกรรม ธนพงษ์ ผดุงกิจ • ศิลปกรรม มนตรี ฤทธิ์น้อย • พิสูจน์อักษร ลัมภนีย์ ธรรมพากรณ์ • บรรณาธิการฝ่ายภาพ ดำ�รงค์ฤทธิ์ สถิตดำ�รงธรรม • หวั หน้าช่างภาพ พิชญุตม์ คชารักษ์ • ผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด ปาริชาติ เชือ้ รังสรรค์, อรกัญญา เบญจมณีโชค • รองผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด กรองทอง สันดุษฎี, • ฝ่ายโฆษณา / การตลาด ปัณณภัสร์ เลาพิทกั ษ์กลู • ผูจ้ ดั การฝ่ายสร้างสรรค์การตลาด ณัฐพล ขุนเจริญ • ผจู้ ดั การทัว่ ไป ภานุวชั ร พงศ์วราภา • ผจู้ ดั การฝ่ายการเงิน วิมลลักษณ์ อาศัยพานิชย์ • หัวหน้าฝ่ายบัญชี ปราณีวรรณ ตระการพฤกษ์ • ฝ่ายบัญชี นุชนารถ ใจประสาท • ผู้จัดการฝ่ายผลิต รัตนา โค้ว

พื้นที่ของทรรศนะจากเหล่าผู้รู้ และนักวิชาการจากหลากหลายแวดวงในฉบับนี้จึงถูกเปิดขึ้น เพื่ อ สะท้ อ นภาพของ ‘สิ่ ง ที่ ร อเราอยู ่ ห ลั ง การเลื อ กตั้ ง ’ ให้ ชั ด เจนขึ้ น ในมิ ติ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เรา ทัง้ ทางตรง และทางอ้อม ไม่วา่ จะเป็น สังคมและเมือง : ความเปลี่ยนแปลงของสังคม และเมืองที่เป็นเรื่องพื้นฐานในชีวิตของผู้คน โดย ผศ.ดร.นิรมล เสรีสกุล ผอ.องค์กร UddC เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี : เทรนด์ของเศรษฐกิจไทยที่รออยู่หลังเลือกตั้ง อะไรเป็นโอกาส อะไร คือความท้าทาย โดย ดร.อาร์ม ตั้งนิรันดร อาจารย์ด้านกฎหมายระหว่างประเทศกับการพัฒนา คณะนิตศิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผูอ้ ำ� นวยการศูนย์วจิ ยั ยุทธศาสตร์ไทยจีนส�ำนักงาน คณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ ศิลปะ-วัฒนธรรม : พืน้ ทีข่ องความคิดสร้างสรรค์ทจี่ ะน�ำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงสังคม โดย นักรบ มูลมานัส ศิลปินภาพประกอบแนวคอลลาจ เด็กและเยาวชน : ปฏิรูปการศึกษา ไปจนถึงอันดับคุณภาพที่รั้งท้ายอาเซียน โดย ดร.สรวงมณฑ์ สิทธิสมาน กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ กองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ด้านการศึกษา สิ่ ง แวดล้ อ ม : ขยะทะเลถึ ง ควั น และฝุ ่ น ละอองที่ นั บ วั น ยิ่ ง ใกล้ ตั ว เรามากขึ้ น เรื่ อ ยๆ โดย ทอม-ธีระฉัตร โพธิสทิ ธิ์ ไม่ว่าผลการเลือกตั้งจะออกมาแบบไหน พรรคไหนจะได้เป็นรัฐบาลบริหารประเทศ พรรคไหน จะได้ เ ป็ น ฝ่ า ยค้ า นคอยตรวจสอบ และใครจะได้ เ ป็ น นายกรั ฐ มนตรี ค นที่ 30 ของประเทศไทย เราในฐานะคนไทยมี ส ่ ว นในการตั ด สิ น ใจ ฉะนั้ น อย่ า ลื ม ออกไปใช้ สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง ในวั น อาทิ ต ย์ ที่ 24 มีนาคม 2562 ทีจ่ ะถึงนี้ เพราะถ้าพลาดครัง้ นีก้ ไ็ ม่รวู้ า่ ต้องรออีกถึงเมือ่ ไหร่

บริษัท จีเอ็ม มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) อาคาร GM Group 914 ถนนพระราม 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ : 02 241 8000 แฟกซ์ : 02 241 8008 แฟกซ์ฝา่ ยโฆษณา : 02 241 5888 E-mail : freemag.247@gmail.com ประธานกรรมการบริหาร / กรรมการผู้จัดการ : ปกรณ์ พงศ์วราภา รองประธานกรรมการบริหาร สายงานการเงิน : พรจิตต์ พงศ์วราภา สายงานการตลาด : อัญริยา มีเขตกิจ สายงานนิวมีเดีย : พีศิลป์ พงศ์วราภา GM MULTIMEDIA Group PUBLIC COMPANY LIMITED 24 7 OFFICE : GM Group BLDG., 914 RAMA 5 RD., DUSIT,

BANGKOK 10300 THAILAND

TEL. : (+66) 2241 8000 FAX : (+66) 2241 8008

www.gmgroup.in.th, www.gmlive.com/247 CHAIRMAN / CEO : PAKORN Pongvarapa EXECUTIVE VICE PRESIDENT FINANCE : PORNJITT Pongvarapa MARKETING : ANRIYA Meeketkit NEW MEDIA : PEESILP Pongvarapa

แยกสี : บริษัท กนกศิลป์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด โทร. 02 215 1588 พิมพ์ที่ : บริษัท โอเอส พริ้นติ้งเฮ้าส์ จำ�กัด โทร. 02 433 3653 บรรณาธิการ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : พีศิลป์ พงศ์วราภา

- ขนิ ษ ฐา เผื อ กผ่ อ งใส

U p d at e s & A c t i v i t i e s • T r e n d & Ta s t e • T r av e l & L e i s u r e • E at & D r i n k • L i v i n g & M o r e

11,181

คน

: จำ�นวนผูส้ มัครสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรแบบ บัญชีรายชือ่ ครัง้ ล่าสุด

81

พรรค

: จำ�นวนพรรคการเมืองทีไ่ ด้การ รับรองจาก กกต. ในการเลือกตัง้ ล่าสุด

7

ปี

: ระยะเวลาทีว่ า่ งเว้นจากการเลือกตัง้ ของประเทศไทย

55

ล้านบาท

: จำ�นวนงบประมาณของการ เตรียมการเลือกตัง้ ครัง้ ล่าสุด

9

ชัว่ โมง

: ระยะเวลาช่วงเปิดจนถึง ปิดคูหาเลือกตัง้ (08.00-17.00 น.)



มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ต้นแบบวิธก ี ารเรียนแบบ

Active Learning

ดร.สุวมาลย์ ม่วงประเสริฐ รองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

เมือ่ สังคมโลกไม่เคยหยุดนิง่ ทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงไปตามกาลเวลา การศึกษาซึง่ ถือเป็นรากฐานทีสำ่ �คัญของมนุษย์ ก็ไม่ควรทีจ่ ะหยุดนิง่ อยูก่ บั รูปแบบหรือวิธกี ารเดิมๆ ด้วยเช่นกัน นัน่ จึงเป็นทีม่ าของการได้มานัง่ พูดคุย เปิดมุมมองวิสยั ทัศน์ในเรือ่ งของการเรียนการสอนกับสถานศึกษา ทีเ่ รียกว่า สามารถปรับตัวให้ทนั ยุคทันสมัยกับผูเ้ รียนหรือนักศึกษาได้อย่างมีนยั ยะสำ�คัญ

มหาวิทยาลัยสวนดุสติ สถาบันการศึกษาทีพ่ วกเราต่างรูจ้ กั และคุน้ เคยกันดี ว่ามีจดุ แข็งในเรือ่ งของเบเกอรีแ่ ละอาหาร เพียงแต่วนั นีเ้ ราขอยกให้ มหาวิทยาลัย สวนดุสติ เป็นอีกหนึง่ สถาบันการศึกษาทีม่ คี วามเข้มแข็งในเรือ่ งของการปรับเปลีย่ น ปรับตัว ปรับวิธกี าร เพือ่ เดินหน้าไปสูเ่ ส้นชัยของความส�ำเร็จ ทีว่ ดั ผลได้จากคุณภาพ ของนักศึกษาทุกคนทีก่ า้ วเท้าออกจากรัว้ มหาวิทยาลัยด้วยอาวุธทางความรูท้ เี่ พียบพร้อม และความสามารถทีบ่ คุ คลภายนอกต่างยอมรับ ดร.สุวมาลย์ ม่วงประเสริฐ รองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ กล่าวว่า “นับตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2548 ทีเ่ ริม่ ท�ำงานกับมหาวิทยาลัยสวนดุสติ ได้มองเห็น ถึงพัฒนาการและวิสยั ทัศน์ในการบริหารงานทีส่ ามารถปรับตัวได้อย่างรวดเร็ว ทันยุคทันสมัย เข้าใจว่าสังคมภายนอกก�ำลังเดินหน้าไปในทิศทางไหน ขณะเดียวกัน ก็พร้อมทีจ่ ะก�ำหนดนโยบายและแนวทางในเรือ่ งของการเรียนการสอนเพือ่ ให้สามารถ ตอบสนองกับความต้องการของผูเ้ รียนได้มากทีส่ ดุ วิถใี นการพัฒนาตัวเองของมหาวิทยาลัยสวนดุสติ แตกต่างจากทีอ่ นื่ เพราะเรา พัฒนามาจากรากเหง้าของตัวเอง ทีเ่ กิดมาจากการเป็นโรงเรียนการเรือน เลือกใช้สงิ่ ทีเ่ ป็นรากเหง้าของตัวเองมาเป็นเครือ่ งมือในการพัฒนา จนกลายเป็น ความเข้มแข็ง ความแข็งแกร่งของสวนดุสติ ไม่ใช่มแี ค่เรือ่ งเบเกอรี่ อาหาร การบริการ การศึกษาปฐมวัยเท่านัน้ เนือ่ งจากเรามีการพัฒนาสิง่ ทีเ่ ราคิดว่าสามารถสร้าง ความโดดเด่นได้อยูเ่ สมอ เราสร้างอัตลักษณ์ใหม่ๆ อาทิ ทางด้านพยาบาลศาสตร์ ทีเ่ ริม่ ต้นมาไม่กปี่ ี แต่ปจั จุบนั ประสบความส�ำเร็จมาก เช่นเดียวกับนโยบายทางด้านการเรียนการสอนทีเ่ ราปรับเปลีย่ นไปตาม สถานการณ์ทเ่ี กิดขึน้ จริง ไม่ใช่แค่ในระดับประเทศไทยเท่านัน้ แต่เราพยายาม พัฒนารูปแบบให้กา้ วทันกับความเปลีย่ นแปลงของโลก เราปรับการเรียนการสอน

่ ก่อนคนอาจจะสนใจมหาวิทยาลัยในฐานะ เมือ ทีเ่ ป็นแหล่งเรียนรู้ จะต้องเข้ามาพั ฒนาตัวเอง แต่ปจ ั จุบน ั ไม่ใช่แล้ว เด็กๆ มองว่ามหาวิทยาลัย คือแหล่งที่จะเข้ามาหาประสบการณ์เพื่ อความ มั่นคงในวิชาชีพ เพราะฉะนั้นคุณค่าของ มหาวิทยาลัยในสายตาของกลุม ่ เป้าหมายเรา ่ นไปแล้ว เราก็ตอ ่ สถานการณ์ เปลีย ้ งมาคิดว่าเมือ ่ นเป็นแบบนี้ เราจะให้อะไรกับเขาได้บา้ ง ทีเ่ ปลีย

ไปตามกลุ่มเป้าหมายของเราที่เป็นผู้เรียน ซึ่งตอนนี้ผู้เรียนยุคใหม่ทุกคน คือผู้ที่เกิดในยุคดิจิทัล (Digital Native) คือ เกิดมาก็รู้เรื่องเทคโนโลยีแล้ว ดังนัน้ เขาสามารถแสวงหาความรูจ้ ากทีไ่ หนเมือ่ ไรก็ได้ ดังนัน้ มหาวิทยาลัยจึงใช้ นโยบาย BYOD: Bring Your Own Device เพื่อสนับสนุนผู้เรียนทุกคนที่น�ำ เครือ่ งมือของตัวเองมาใช้ควบคูก่ บั การเรียน มีการจัดเตรียมระบบ e-Learning ในทุกรายวิชาของหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป รวมทัง้ ก�ำลังจัดท�ำสือ่ การสอน ในระบบ MOOC อยูห่ ลายวิชาทีใ่ ห้ผเู้ รียนสามารถแสวงหาความรูไ้ ด้ดว้ ยตัวเอง ในรูปแบบต่างๆ บางหลักสูตร เช่น การศึกษาปฐมวัยใช้ iPad และ Smart Classroom ในการจัดการเรียนการสอน และยังได้จดั สิง่ แวดล้อมการเรียนรูใ้ นรูปแบบ Library Cafe หลายจุดในมหาวิทยาลัย เพือ่ ส่งเสริมการเรียนรูข้ องนักศึกษา ตลอดเวลา ปัจจุบนั เราเน้นเรือ่ งให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วม (Active Learning) หมายถึง อาจารย์ตอ้ งสร้างกิจกรรมให้เด็กลงมือปฏิบตั ไิ ด้ ส�ำหรับรูปแบบของ Active Learning มีหลายรูปแบบ ขึน้ อยูก่ บั ว่าอาจารย์จะถนัดแบบไหน บางคนถนัด การใช้เกมเพือ่ การเรียนรู้ (Game Based Learning) เอาเกมเข้ามาใช้ในการเรียน การสอน ซึง่ เราได้ตามดูผลตอบรับจากการเรียนรูแ้ บบนี้ ปรากฏว่านักศึกษา พอใจมาก เพราะไม่เหมือนเรียนหนังสือ บรรยากาศทีไ่ ด้มคี วามสนุกสนาน แต่กไ็ ด้ความรูด้ ว้ ย ในบางสาขาวิชาอาจจะต้องเป็นการเรียนรูโ้ ดยการใช้ การท�ำงานเป็นฐาน (Work Based Learning) เด็กลงมือปฏิบตั ทิ ำ� งานได้เลย เพราะฉะนัน้ ไม่วา่ จะสาขาไหน ถ้าอาจารย์ใช้ Active Learning ในการสอนก็นา่ จะ รับประกันได้วา่ เด็กพร้อมทีจ่ ะเข้าสูก่ ารท�ำงานเมือ่ จบการศึกษา สถานประกอบการ ไม่จำ� เป็นต้องมานัง่ สอนงานใหม่”


ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ฉต ั รชนก บุญไชย ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการก�ำหนดและการประกอบอาหาร

“วันนีม้ หาวิทยาลัยสวนดุสติ มีความพร้อม ในด้านต่างๆ มากขึน้ เช่น สถานทีเ่ รียน อุปกรณ์ในการเรียน โดยเฉพาะเรือ่ งนโยบาย การเรียนการสอน ทีม่ เี ป้าหมายให้อาจารย์ ค้นหาและปรับการสอนให้เข้ากับยุคสมัย อาจารย์จำ� เป็นต้องรูว้ า่ นักศึกษาต้องการอะไร ต้องรูว้ า่ เด็กๆ ชอบตัง้ ค�ำถามและต้องการ ค�ำตอบทีช่ ดั เจน หากอาจารย์สามารถให้ ค�ำตอบทีช่ ดั เจนในเรือ่ งทีน่ กั ศึกษาอยากรูไ้ ด้ เขาก็จะรูส้ กึ อยากเรียน ไม่เบือ่ หน่ายกับ ห้องเรียน จนต้องไปแสวงหาค�ำตอบทีอ่ นื่ จนไม่อยากเข้าชัน้ เรียน การสอนแบบให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วม (Active Learning) เป็นวิธสี ำ� คัญ เพราะท�ำให้ผเู้ รียน ได้ลงมือปฏิบตั จิ ริงๆ โดยเฉพาะในสาขา การก�ำหนดและการประกอบอาหารทีส่ อนอยู่ การลงมือปฏิบตั เิ ป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญมาก การลงมือ ปฏิบตั จิ ะท�ำให้นกั ศึกษามีความเข้าใจใน องค์ความรูท้ างทฤษฎีมากขึน้ แต่หากอาจารย์ ผูส้ อนเน้นเรือ่ งทฤษฎีในต�ำราเพียงอย่างเดียว โดยให้นำ�้ หนักกับการลงมือปฏิบตั นิ อ้ ย อาจจะ ท�ำให้ผลลัพธ์ทนี่ กั ศึกษา "ควรต้องได้รบั " ไม่เต็มทีเ่ ท่าทีค่ วร นักศึกษาจะขาดความเข้าใจ อย่างแท้จริงในเรือ่ งนัน้ ๆ การลงมือปฏิบตั จิ ริง เพือ่ ต้องการให้นกั ศึกษาได้คน้ หาค�ำตอบด้วย ตัวเอง และเมือ่ พบปัญหา นักศึกษาสามารถ เข้ามาสอบถามกับอาจารย์ในตอนนัน้ ได้ทนั ที

จากจุดเริม่ ต้นในฐานะ ศิษย์ของมหาวิทยาลัย สวนดุสติ สูก่ ารทำ�งาน ในฐานะอาจารย์ผสู้ อน ในสาขาวิชาการกำ�หนด และการประกอบอาหาร ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2547 ทำ�ให้ อาจารย์ฉตั รชนกเข้าใจ ถึงความแตกต่างในเรือ่ ง ของการเรียนการสอนที่ เปลีย่ นไปอย่างแท้จริง และ เข้าใจว่าผูเ้ รียนต้องการ วิธใี นการแสวงหาความรู้ อย่างไร

นางสาวปนัดดา พลแสง ้ ปีท่ี 4 นักศึกษาชัน สาขาวิชาโภชนาการและการประกอบอาหาร

ซึง่ ตรงนีเ้ องทีท่ ำ� ให้ผเู้ รียนได้ทงั้ ความรูแ้ ละ ความเข้าใจ รูป้ ญ ั หา และรูว้ ธิ กี ารแก้ปญ ั หา เมือ่ นักศึกษามีความเข้าใจในเรือ่ งนัน้ จริง ก็สามารถน�ำความรูไ้ ปใช้ในการประกอบอาชีพได้ อย่างมีประสิทธิภาพและมีคณ ุ ภาพ มหาวิทยาลัย จะได้รบั เสียงสะท้อนจากสถานประกอบการทีร่ บั นักศึกษาไปท�ำงานว่า เด็กๆ ของเราท�ำงานได้ ท�ำงานดี มีความเข้าใจในสิง่ ทีท่ ำ� ตรงนีค้ อื ความภาคภูมใิ จในสิง่ ทีม่ หาวิทยาลัย ผูส้ อน ผูเ้ รียน ได้รว่ มกันพยายามสร้างการเรียนรูใ้ ห้เกิดขึน้ อย่างจริงจัง นอกจากนีก้ ารใช้ Free Application ประเภท ต่างๆ มาสนับสนุนการเรียนการสอน ก็เป็นสิง่ ที่ อาจารย์ไม่ควรมองข้าม เราจะมีการบ้านให้นกั ศึกษา ส่งงานผ่านเฟซบุก๊ เมือ่ งานทีน่ กั ศึกษาสร้างสรรค์ขนึ้ เผยแพร่ผา่ นสือ่ สาธารณะ ทุกคนสามารถมองเห็น ผลงานของเพือ่ นๆ นัน่ ท�ำให้เกิดความตืน่ ตัวและ ความตัง้ ใจทีจ่ ะสร้างงานของตัวเองให้ออกมาดีทสี่ ดุ เราจึงได้เห็นความคิดสร้างสรรค์ทที่ กุ คนตัง้ ใจท�ำ ขณะเดียวกันตัวเด็กๆ เองก็มคี วามสนุกสนาน และพยายามสร้างผลงานของตัวเองให้ออกมาดีขนึ้ เรือ่ ยๆ รูจ้ กั วางแผน จัดเตรียมขัน้ ตอนก่อนทีจ่ ะ ลงมือท�ำ เพือ่ ให้ผลลัพธ์ออกมาสมบูรณ์แบบทีส่ ดุ ตามทีต่ อ้ งการ จุดนีก้ เ็ ป็นสิง่ ทีผ่ เู้ รียนได้รบั จาก การลงมือท�ำด้วยตนเอง โดยทีอ่ าจารย์ทำ� หน้าที่ เพียงผูแ้ นะน�ำช่องทางทีด่ ที สี่ ดุ ”

“ อาจารย์จำ� เป็น

ต้องรูว ้ า่ นักศึกษา ต้องการอะไร ต้อง รูว ้ า่ เด็กๆ ชอบ ้ ค�ำถามและ ตัง ต้องการค�ำตอบ ่ ด ทีช ั เจน หาก อาจารย์สามารถ ่ ด ให้คำ� ตอบทีช ั เจน ่ งทีน ่ ก ในเรือ ั ศึกษา อยากรูไ้ ด้ เขาก็จะ รูส ้ ึกอยากเรียน ่ หน่ายกับ ไม่เบือ ห้องเรียน

“เหตุผลที่ ตัดสินใจเข้ามาเรียน ทีน่ ี่ เพราะสนใจทีจ่ ะ เป็นนักโภชนาการ โดยสามารถท�ำอาหาร ทีช่ ว่ ยดูแลสุขภาพ และอาหารทีด่ แู ล ผูป้ ว่ ย จึงอยากเข้าใจ ถึงกระบวนการท�ำ อาหารทีม่ ปี ระโยชน์ ส�ำหรับผูป้ ว่ ยจริงๆ ซึง่ การตัดสินใจเข้ามาเรียนที่ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ ก็ไม่ผดิ หวัง เพราะความรู้ ทีไ่ ด้รบั สามารถตอบโจทย์สงิ่ ทีอ่ ยากเรียนได้ เดิมคิดว่าทีส่ วนดุสติ น่าจะสอนเกีย่ วกับเรือ่ งของ Chemical แต่พอได้เรียนจริงๆ มันมีอะไรมากกว่า นัน้ มาก เราได้เรียนเรือ่ งการท�ำอาหารทีห่ ลากหลาย ทัง้ อาหารไทย อาหารยุโรป การท�ำขนมไทย เบเกอรี่ และอาหารเอเชีย ไม่ใช่แค่การเรียนแต่อาหารส�ำหรับ ผูป้ ว่ ยเพียงอย่างเดียว ส�ำหรับวิธกี ารสอน อาจารย์จะคอยให้คำ� แนะน�ำ อย่างใกล้ชดิ สิง่ ไหนทีเ่ ราไม่รู้ หรือรูแ้ ล้วแต่ยงั ไม่ลกึ ซึง้ อาจารย์จะคอยเพิม่ เติมความรูใ้ ห้อยูเ่ สมอ ตรงไหนทีเ่ ราท�ำพลาด ท�ำไม่ถกู ต้อง อาจารย์จะ แนะแนวทางแก้ไขเพือ่ ให้เราน�ำไปปรับปรุงส�ำหรับ การท�ำครัง้ ต่อๆ ไป จากทีไ่ ม่มพี นื้ ฐานทางด้าน การท�ำอาหารเลย จนเรียนมาถึงวันนีส้ ามารถพูด ได้เลยว่า ความรูท้ ไี่ ด้รบั ทัง้ หมดมาจากอาจารย์ และมหาวิทยาลัยสวนดุสติ จริงๆ หลักสูตรทีเ่ รียนต้องฝึกงานทัง้ 4 ปี ช่วงปิดเทอม อาจารย์จะให้นกั ศึกษาเข้าไปฝึกงานจริง ท�ำงานจริง ตอนนีก้ ก็ ำ� ลังฝึกงานอยูท่ โี่ รงพยาบาล ซึง่ ได้ใช้ ความรูท้ เี่ รียนมาจริงๆ บางคนอาจจะมองว่าเรา ต้องใช้เวลาช่วงปิดเทอมมาฝึกงาน มาท�ำงานจริงๆ ไม่มโี อกาสได้เทีย่ วเล่นสนุกสนาน แต่ชว่ งเวลา แบบนีเ้ ป็นสิง่ ทีด่ มี าก โชคดีทไี่ ด้ลงมือปฏิบตั จิ ริง ทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ซึ่งการที่เราได้ เรียนรูง้ านจากการลงมือท�ำจริงด้วยตัวเองท�ำให้ เราได้เปรียบกว่าคนอืน่ เวลาไปท�ำงานข้างนอก คนเดียวก็ไม่ประหม่า สามารถท�ำงานคนเดียวได้ รุน่ พีท่ ที่ ำ� งานก็ไว้ใจเรา เพราะเห็นว่าเราสามารถ ท�ำงานได้จริง”


GBL

Latest Trend Education 2019

Game Based Learning Latest trend

นางสาวจีรวรรณ เจสกุล ้ ปีที่ 4 นักศึกษาชัน คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชานิเทศศาสตร์

ด้วยความทีเ่ ราติดภาพจากการเรียน ระดับชัน้ มัธยมว่าเมือ่ อาจารย์ เข้าชัน้ เรียนก็จะมาบรรยาย เราก็มหี น้าทีน่ งั่ ฟัง บรรยาย 3 ชม. ซึง่ เป็นแบบวิธเี ดิมๆ ในความ เป็นจริง ระยะเวลานานขนาดนัน้ เป็นไปไม่ได้ ทีจ่ ะมีสมาธิอยูก่ บั เนือ้ หาตลอดเวลา ถ้าเรียน ในลักษณะนี้ สิง่ ทีค่ ดิ หลังจากเรียนผ่านไป สักระยะคือ เมือ่ ไรจะเลิกเรียน เมือ่ ไรอาจารย์ จะปล่อย เราเบือ่ เราง่วง แต่พอได้เจอ วิธกี ารสอนโดยใช้เกมเป็นเครือ่ งมือ ท�ำให้เรา มีความสุขกับการเรียนมากขึน้ เกมบางเกม ท�ำให้เราได้ไปเจอเพือ่ นกลุม่ ใหม่ ได้สร้าง มิตรภาพกับเพือ่ นคนอืน่ ๆ เปิดใจให้ทกุ คน เข้ามาแลกเปลีย่ นความคิด แลกเปลีย่ นความรู้ ซึง่ กันและกัน เวลาทีเ่ รียนรูผ้ า่ นเกมจึงไม่มี ความน่าเบือ่ เลย วิธกี ารทีอ่ าจารย์นำ� เกมเข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ของการเรียนรู้ มันจะสร้างความตืน่ เต้น อยูต่ ลอดเวลา เพราะเราไม่รวู้ า่ นาทีตอ่ ไปจะเจอ กับโจทย์อะไร บางครัง้ คิดว่าแก้โจทย์นไี้ ด้แล้ว กลายเป็นว่าโจทย์ทแี่ ก้ไป เป็นแค่จดุ เริม่ ต้น ของการหาค�ำตอบทีใ่ หญ่ขนึ้ กว่าเดิม เป็นห้องเรียนทีม่ คี วามสุขเกินกว่าทีเ่ ราคิดไว้มาก วิธกี ารสอนของอาจารย์แบบนี้ ท�ำให้เราอยูน่ งิ่ ไม่ได้ ต้องพัฒนาตัวเองเรือ่ ยๆ ทัง้ ในห้องเรียน และนอกห้องเรียน ทีส่ ำ� คัญอีกเรือ่ งหนึง่ คือ ระหว่างการเรียนเราไม่มคี วามเครียดเลย ความรูก้ ไ็ ด้รบั ตามทีค่ วรจะได้รบั ไม่ได้นอ้ ยลง ไปกว่าวิธกี ารบรรยาย แต่เรามีความสุข ในการเรียนมากกว่า”

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรัตต์ อินทสระ ซึง่ หมายความว่าอาจารย์จะได้ใช้ความสามารถ ในการย่อยสลายความรูย้ ากๆ ให้กลายเป็น ความรูท้ ผี่ เู้ รียนเข้าใจได้งา่ ยขึน้ เกมเพือ่ อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต การเรียนรู้ อาจจะมีปญ ั หาเล็กน้อยตรงทีจ่ ะ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ “นักออกแบบเกมเพื่ อการเรียนรู”้ ประเมินผลการเรียนรูอ้ ย่างไร? การประเมินผล ผศ.ดร.วรัตต์ อินทสระ ใช้ชวี ติ อยูใ่ นรัว้ จากเกม จ�ำเป็นที่ผู้สอนต้องใช้วิธีการ สวนดุสติ ตัง้ แต่เรียนชัน้ อนุบาล ปริญญาตรี ทีห่ ลากหลายในการประเมิน เช่น และปริญญาเอก เป็นผูส้ อนทีส่ วนดุสติ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2543 ประเมินความรูก้ อ่ นเล่น เทียบกับหลังการเล่น ท�ำให้มองเห็นการเปลีย่ นแปลงด้านต่างๆ ของมหาวิทยาลัย หรือใช้วธิ สี มุ่ สัมภาษณ์หลังจบชัน้ เรียนทันที ตลอดระยะเวลากว่าครึง่ ชีวติ เป็นคนทีช่ อบเรียกตัวเอง หรือให้ผเู้ รียนเขียนอธิบายสิง่ ทีร่ มู้ ากทีส่ ดุ ว่า ‘ผูแ้ นะน�ำแนวทาง’ มากกว่า ‘อาจารย์’ เขียนข้อค�ำถามในสิง่ ทีย่ งั ไม่เข้าใจ เพือ่ ให้ “ผมอยูใ่ นยุคทีก่ ารสอนเป็นแบบวางแผ่นใส แล้ว ผูส้ อนได้มองเห็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จาก พัฒนามาเป็นพาวเวอร์พอ้ ยต์ ทัง้ สองรูปแบบนักศึกษา การเล่นเกม โดยเฉพาะจุดประสงค์การเรียนรู้ จะนัง่ จดบันทึก ผูส้ อนก็ใช้วธิ กี ารบรรยายไป 2-3 ชม. ในแต่ละสัปดาห์ทตี่ อ้ งไปให้ถงึ ให้ได้ แต่การเรียนสมัยนีต้ อ้ งเปลีย่ น ความรูเ้ กือบทัง้ หมดที่ ถ้าผูเ้ รียนสามารถสะท้อนประเด็น เราจะน�ำเข้าไปสอน สามารถค้นหาจากอินเทอร์เน็ตได้ การเรียนรูด้ ว้ ยวิธกี ารใดๆ ได้ตรงกับจุดประสงค์ จึงแทบจะไม่มปี ระโยชน์เลย ทีจ่ ะน�ำความรูท้ ผี่ เู้ รียน อาจจะแปลได้วา่ เราประสบความส�ำเร็จ สามารถหาเองได้มาสอน ผูส้ อนยุคใหม่จงึ ต้องเหนือกว่า ในการสอน แต่ถา้ ไม่ตรงกับจุดประสงค์ กูเกิลให้ได้ ผมจะไม่ยอมให้งานหรือให้การบ้าน ทีส่ ามารถ ให้ถอื ว่าเป็นความผิดของผูส้ อน ทีไ่ ม่สามารถ หาทุกค�ำตอบได้จากอินเทอร์เน็ต เราจะต้องเป็นอาจารย์ ท�ำให้ผเู้ รียนได้รใู้ นสิง่ ทีเ่ ราต้องการ ต้องหา ทีเ่ หนือกว่ากูเกิล อ่านหนังสือให้มากขึน้ ฟังคนทีม่ คี วามรู้ วิธใี หม่ ต้องสอนใหม่ หากลยุทธ์ใหม่ ให้มากขึน้ มีงานสัมมนาหรือจัดอบรมในหัวข้อทีเ่ ป็น และต้องเปิดใจเพือ่ แก้ไขและยอมรับ ประโยชน์กจ็ ะไปนัง่ ฟัง เพือ่ น�ำข้อมูลทีไ่ ด้มาวิเคราะห์ การเปลีย่ นแปลงได้ตลอดเวลา ว่าจะน�ำไปใช้กบั วิชาไหน ตอนไหน หน่วยการเรียนไหน ห้องเรียนของผมเกือบทุกครัง้ แล้วค่อยๆ ออกแบบวิธกี ารทีจ่ ะสือ่ สารกับผูเ้ รียน ตรงนี้ จะเต็มไปด้วยการเล่นเกมทีห่ ลากหลาย คือความเหนือกว่า เพราะกูเกิลไม่มปี ระสบการณ์เหมือน มีเกมเล่นคนเดียว เกมทีเ่ ล่นเป็นคู่ ทีเ่ รามี ซึง่ ผมมัน่ ใจว่าหลายเรือ่ งทีไ่ ด้ถา่ ยทอดออกไป เกมทีเ่ ล่นเป็นทีม หรือเกมทีส่ ามารถเล่น ผูเ้ รียนไม่สามารถหาจากแหล่งข้อมูลทีไ่ หนได้เลย พร้อมกันทัง้ ชัน้ เรียนได้ เมือ่ ผูเ้ รียนสนุก ส่วนการถ่ายทอดความรูไ้ ปยังผูเ้ รียน ก็ยงั คงใช้วธิ ี และมีความสุขกับกิจกรรมในห้องเรียน การบรรยายแบบเดิมอยูบ่ า้ ง เพราะท�ำให้ทงั้ ผูเ้ รียน หมายความว่า เราประสบความส�ำเร็จไป และผูส้ อนมีปฏิสมั พันธ์รว่ มกันหลายมิติ และ ส่วนหนึง่ แล้ว ทีเ่ หลือคือการพัฒนา ทีส่ ำ� คัญคือทัง้ สองฝ่ายมีความสุขกับกิจกรรม รูปแบบการสอน วิธกี ารสอน ในห้องเรียน เทคนิคการสอน วิธกี ารประเมินผล วิธที ผี่ มเลือกใช้บอ่ ยทีส่ ดุ คือ การเรียนรู้ ให้มคี วามถูกต้องและแม่นย�ำมากขึน้ ” ผ่านการเล่นเกม (Game Based Learning) เกมจะท�ำให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูอ้ ย่างลึกซึง้ เพราะเป็นการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง เจอปัญหาเอง “ รูปแบบการ บรรยาย (Lecture) แก้ปญ ั หาด้วยตัวเอง บางเกม ยังมีความจ�ำเป็นอยู่ ต้องการทักษะเรือ่ งการวาง เพี ยงแต่ตอ ้ งลด กลยุทธ์ บางเกมต้องการ ความส� ำ คั ญ ให้เหลือ ทักษะคิดวิเคราะห์และตัดสินใจ ้ เรียน แค่ ช ว ่ งเปิ ด ชั น บางเกมต้องการทักษะ และช่วงสรุปประเด็น การท�ำงานเป็นทีม ทักษะหลายๆ การเรียนรู้ แต่ตอ ้ ง อย่างทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับ ่ ธ ให้นำ้� หนักไปทีว ิ ก ี าร การใช้ชวี ติ ในศตวรรษที่ 21 เรียนแบบให้ผเู้ รียน จะรวมอยูใ่ นวิธกี ารเรียน มีส่วนร่วม (Active การสอนแบบใช้เกมเป็นฐาน ่ Learning) ซึง ทัง้ สิน้ ้ า่ จะเป็น ณ เวลานีน จะเป็นการดีเป็นอย่างมาก ่ ี กลยุทธ์การสอนทีด ถ้าผูส้ อนสามารถออกแบบเกม ่ ุด” ทีส ได้เอง


@ THAILAND

Text: ล่องเมือง

@ Denmark

The Wave, Vejle เป็นทีร่ บั รูแ้ ละเข้าใจกันดีสำ� หรับงานอาคารและสิง่ ก่อสร้าง ว่ามักใช้เวลาในการสร้างสรรค์ ทีย่ าวนาน ผ่านกระบวนการคิดตามระบบและขัน้ ตอนต่างๆ มากมาย แต่สำ� หรับโปรเจกต์ The Wave ของ Henning Larsen Architects ส�ำนักสถาปัตย์ชอื่ ดังสาย โคเปนเฮเกนนัน้ น่าจะเรียกว่าเป็นงานระดับข้ามทศวรรษ เพราะอาคาร ทีพ่ กั อาศัยแห่งนี้ เริม่ ต้นก่อสร้างในปี 2006 ก่อนจะพักช่วงในปี 2008 จากปัญหาเศรษฐกิจของประเทศเดนมาร์ก แล้วค่อยๆ ด�ำเนินการจน แล้วเสร็จเมือ่ ปี 2018 ทีผ่ า่ นมา แต่ผลลัพธ์นนั้ คุม้ ค่า เพราะเป็นแลนด์มาร์ก ทีพ่ กั อาศัยริมชายฝัง่ Velje ในรูปแบบของคลืน่ เน้นสีขาวสะอาดตา และ ความโค้งมนทีม่ ไี ดนามิกเข้ากับบริบทรอบข้างของริมชายฝัง่ กลายเป็น อีกหนึง่ ความส�ำเร็จทีน่ า่ ภาคภูมใิ จของชาวเดนมาร์ก และของส�ำนักสถาปัตย์ ในเวลานี้

ระบบขนส่งมวลชนแบบรางเป็นสิง่ ทีจ่ ำ� เป็นอย่างยิง่ ส�ำหรับชีวิตคนเมือง ซึ่งรถไฟฟ้ามหานคร หรือ MRT พร้อมเปิดส่วนต่อขยายสายสีน�้ำเงิน จาก หัวล�ำโพงยาวถึงหลักสอง ระยะทาง 14 กิโลเมตร รวม 11 สถานี เริ่มจากสถานีหัวล�ำโพง เป็นเส้นทางใต้ดินตามแนวถนน พระรามที่ 4 เข้าสูถ่ นนเจริญกรุง ผ่านวัดมังกรกมลาวาส วังบูรพา ถนนสนามไชย (เป็นสถานีทสี่ วยทีส่ ดุ ) แล้วลอดใต้ แม่นำ�้ เจ้าพระยาทีป่ ากคลองตลาดลอดใต้คลองบางกอกใหญ่ สูถ่ นนอิสรภาพ แล้วเปลีย่ นเป็นโครงสร้างทางวิง่ ยกระดับบน เกาะกลางถนนเข้าสูส่ แี่ ยกท่าพระ (มีสถานีรว่ มกับโครงการ รถไฟฟ้าสายสีนำ�้ เงิน ช่วงบางซือ่ -ท่าพระ) วิง่ ไปตามถนน เพชรเกษม ผ่านบางไผ่ บางหว้า ภาษีเจริญ บางแค สิน้ สุดที่ วงแหวนรอบนอกถนนกาญจนาภิเษก ซึง่ จะเปิดให้ทดลองใช้ 'ฟรี' เพือ่ ทดสอบระบบในเดือนเมษายน ก่อนการเปิดใช้งานจริงใน เดือนกันยายนนี้

(ขอขอบคุณข้อมูลจาก รถไฟฟ้ามหานคร)

MRT เปิดทดสอบเดินรถไฟฟ้าสายสีน�้ำเงิน ส่วนต่อขยาย


my work

Text: สุพรรณนา Photo: พิชญุตม์ คชารักษ์

Be My

G u e s t

จิตศักดิ์ หลิมภากรกุล

หากชีวต ิ คือการประกอบสร้างของปัจจัยอันหลากหลายไม่สน ิ้ สุด ่ ะท�ำให้หยุดมองหาสิง คงไม่มข ี อ ้ จ�ำกัดใดๆ ทีจ ิ ่ ใหม่ๆ เข้ามาเติมเต็มชีวต ่ ่ คือสิง ให้หลากหลาย มีสส ี น ั นัน ที ท ำ � ให้ คุ ณ จี โ น่ จิ ต ศั ก ดิ หลิ ม ภากรกุ ล ่ ์ Group Director of Marketing Communications MIDA HOTELS ่ ยูก AND RESORTS สนุกกับการท�ำงานและการใช้ชวี ต ิ ตลอดเส้นทางทีอ ่ บ ั ธุรกิจโรงแรม บนหลักแนวคิด ‘เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา’ 24 7 City Magazine จึงขอจูงมือคุณผูอ ้ า่ นมาร่วมเป็น ‘แขก’ ่ งราวของคุณจีโน่ไปด้วยกัน… ท�ำความรูจ ้ ก ั เข้าพักและรับฟังเรือ

His PROFILE

247 008

ได้รบั ทุนรัฐบาลอิตาลีเพือ่ ศึกษา ต่อในหลักสูตรอบรมภาษาและ วัฒนธรรมอิตาลี ที่ University of Milan (Gargnano di Garda) เมืองเบรชชา ประเทศอิตาลี เข้าอบรมด้านการออกแบบแฟชัน่ จาก Lasalle-SIA College of the Arts และศึกษาต่อยอดด้านดิจทิ ลั มาร์เกตติง้ ในหลักสูตร DNAbySPU รุน่ ที่ 1 ของมหาวิทยาลัยศรีปทุม กำ�ลังศึกษาการออกแบบตกแต่ง ภายในและผลิตภัณฑ์ ทีส่ ถาบัน ออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์ และได้ รางวัลรองชนะเลิศจากการออกแบบ หมากกระดาน ‘หมูปา่ ’ (Wild Boars Rescuers) จากการเข้าประกวด ออกแบบของเล่นสำ�หรับผูส้ งู วัย ในโครงการ T-STYLE: Big Toy Design 2018 จัดโดยกรมส่งเสริม การค้าระหว่างประเทศ (DITP) และ สมาคมอุตสาหกรรมของเล่นไทย เป็นหนึง่ ในผูเ้ ข้าแข่งขันในรายการ มาสเตอร์เชฟ ประเทศไทย ซีซนั่ 3

AFTER WORK เรียนรูส้ งิ่ ใหม่ๆ รวมถึงชืน่ ชอบการ ทำ�อาหาร ซึง่ คงมีเรือ่ งราวเกีย่ วกับ อาหารให้ได้ตดิ ตามกัน

ก่ อ นที่ จ ะมาอยู ่ ตำ�แหน่ ง นี้ เ คยทำ� อะไรมาก่อนหน้านั้นบ้าง อยูใ่ นวงการโรงแรมมาสิบเก้าปี จริงๆ ไม่ตรงกับที่ส�ำเร็จการศึกษามาเลย จี โ น่ จ บจากคณะอั ก ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เอกภาษา อิตาเลียน แต่เนือ่ งจากตอนเรียนจบ ได้ทุนไปเรียนที่อิตาลี และได้ท�ำงาน ด้ า นบริ ก ารบนเรื อ ส� ำ ราญ Costa Cruise เป็นระยะเวลาหนึ่งปีตาม สั ญ ญา พอกลั บ มาที่ ป ระเทศไทย ก็ ตั ด สิ น ใจท� ำ งานในโรงแรมที่ ภู เ ก็ ต ด้ ว ยความเป็ น เด็ ก จบใหม่ ไฟแรง ก็สมัครต�ำแหน่งผู้จัดการ ไม่มที ไี่ หนรับเลย มี GM ของโรงแรม ดั ง แห่ ง หนึ่ ง บอกว่ า นี่ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ไม่ใช่สถานที่เล่นๆ จะเข้ามาท�ำงาน คุมคนในต�ำแหน่งต่างๆ คุณต้อง ไต่ ขึ้ น มา จี โ น่ ก็ เ ก็ บ มาคิ ด แล้ ว ไป สมัครท�ำงานที่ใหม่ ลดระดับลงมา เหลื อ Guest Service Officer เป็นต�ำแหน่งใหม่ ซึง่ เป็นการรวมทุก บริการของโรงแรมเอาไว้ในที่เดียว แต่ ต� ำ แหน่ ง เต็ ม ผู ้ จั ด การที่ เ ป็ น คนออสเตรียก็บอกว่า โอเคมั้ยที่จะ เริ่ ม จากศู น ย์ คื อ เป็ น Service Attendant ยกกระเป๋าสิบห้าวัน ท�ำรูม เซอร์วสิ อีกสิบห้าวัน แอบคิดหนักนะ ว่าจะท�ำได้รึเปล่า ก็นึกถึงคุณแม่ ว่ า แม่ ท� ำ งานในห้ อ งอาหารจี น ใน โรงแรม เสิร์ฟอาหารยี่สิบปีเลี้ยงดู เรามา ถ้าแม่ท�ำได้ เราก็ต้องท�ำได้ พอคิดได้กต็ ดั หัวโขนทิง้ ท�ำทุกอย่าง กลายเป็นว่า นี่คือการลองใจ ท�ำแค่ เดือนเดียว ก็ได้ต�ำแหน่งที่สมัครไว้ ทันที นั่นคือจุดเริ่มต้นที่ท�ำงานสาย โรงแรมมาจนถึงปัจจุบัน แล้วการถูกปฏิเสธจากการสมัคร งานแรกๆ ให้ข้อคิดอะไรบ้าง เป็นมุมมองของนักเรียน นักศึกษา ว่าถ้าจบจากสถาบันดี ต้องได้งานทีด่ ี จริ ง ๆ การท� ำ งานอย่ า งเต็ ม ที่

การซื่อสัตย์กับตัวเอง ความตั้งใจ ส�ำคัญสุด อยากจะฝากน้องๆ ว่า ถ้า ต้องการได้งานที่ดีน้ัน ต้องมองดูว่า ตัวเราต้องท�ำสิ่งใดเพื่อให้เหมาะสม กับงานที่หวังไว้ ซึ่งถ้ารู้ว่าจุดเริ่มต้น และปลายทางคื อ อะไร ท� ำ ให้ เ กิ ด การเรียนรู้อย่างมีพื้นฐาน และไปได้ รวดเร็วมัน่ คง ส่วนประสบการณ์อนื่ ๆ ทีเ่ รามีมากกว่า จะส่งเราถัดจากนัน้ สิบเก้าปีในธุรกิจโรงแรม ได้เรียนรู้ สิ่งใดบ้าง งานโรงแรมเป็นธุรกิจทีน่ า่ สนใจ คนที่ ท�ำงานโรงแรม อาจจะไม่รตู้ วั ว่า ชอบที่ จะให้บริการเอาใจเขามาใส่ใจเรา และ เป็นงานทีไ่ ด้ทงั้ ท�ำงานจริงและเรียนรู้ ไปพร้อมๆ กัน ซึง่ นับว่าโชคดีทจี่ โี น่ได้ เข้าไปในองค์กรที่มีระบบการพัฒนา บุคลากรทีด่ มี ากๆ และถ้าคุณเป็นคนที่ คว้าทุกโอกาสที่เข้ามา คุณจะเรียนรู้ ได้เร็ว เหตุผลที่ต้องเรียนรู้สิ่งๆ ใหม่อยู่ ตลอด ถือเป็นการเปิดโลกที่ดีมากๆ รวมถึง พยายามท�ำสิ่งใหม่ๆ ที่สามารถท�ำได้ เพราะการทีอ่ ยูก่ บั อะไรนานๆ จะท�ำให้ ติดกับ Comfort Zone ในจุดนี้ จีโน่ เรียนรู้จาก GM ที่เราเคยท�ำงานด้วย ท่านหนึง่ ชือ่ David เป็นชาวออสเตรเลีย เป็นต้นแบบของจีโน่มากๆ คือเขา สามารถท�ำได้ทุกอย่าง ถ้าขาดคน เป็น Bellman ก็ได้ เสิร์ฟอาหารก็ได้ เวลาท�ำงานบริหารก็มวี สิ ยั ทัศน์ ให้คำ� แนะน�ำและวิเคราะห์ได้ถกู จุด รวมทัง้ การทีเ่ ขาบอกว่า “แม้จะชืน่ ชอบเรา แต่ ก็อยากท�ำงานกับคนใหม่ๆ ได้เรียนรู้ สิ่งใหม่ๆ และพัฒนาคนกลุ่มใหม่ๆ ไปพร้อมกัน” ท�ำให้จีโน่ตื่นรู้เลยนะ ว่านี่คือเรื่องจริงมากๆ ท�ำให้เปลี่ยน ตัวเอง คือไม่ปิดกั้น รับทุกโอกาส เรียนรู้ทุกสิ่ง ซึ่งต้องขอบคุณ GM ท่านนั้น

อะไรคื อ เหตุ ผ ลที่ ตั ด สิ น ใจมา ทำ�งานที่ MIDA นี่ต้องถือว่าเป็นการกระโดดจาก สายงานอีกครั้งที่ส�ำคัญ เพราะที่ ผ่านมาท�ำงานโรงแรมก็จริง แต่ท�ำ ด้านปฏิบัติการมาโดยตลอด พอมี โอกาสเข้ า มาให้ ท� ำ งานด้ า นการ บริหาร การตลาดและแบรนด์ ซึ่ง จีโน่มีความสนใจอยู่แล้ว และทาง ผูบ้ ริหาร MIDA เชือ่ ใจว่าจีโน่สามารถ ท�ำได้ รับมือได้ และมีวิสัยทัศน์ กับความรูใ้ นเชิงปฏิบตั กิ าร ทีจ่ ะช่วย ธุรกิจเดินหน้าต่อไป ก็คิดว่าน่าจะ ลองดู หลักของการทำ�งาน ในทุกๆ ก้าว ของชีวิตที่ผ่านมา สิง่ ส�ำคัญคือ คุณต้องรูต้ วั ก่อนว่า คุณ ท�ำอะไรได้ ท�ำอะไรไม่ได้ ต้องซือ่ สัตย์ กับตัวเอง และซื่อสัตย์กับองค์กร ที่อยู่ เพราะถ้าสองสิ่งนี้มาเจอกัน จะท�ำให้เราชัดเจนถึงเป้าหมาย ว่า จะต้องท�ำสิ่งใด แล้วองค์กรที่เราอยู่ จะได้อะไร ชัดเจนกับตัวเอง แล้ว สื่อสารสิ่งที่คิดออกไปตรงๆ ไม่ใช่ว่า คิดอย่างหนึง่ แล้วท�ำอีกอย่างหนึง่ ซึง่ ถ้าเจอองค์กรที่ยอมรับในความคิด และคุณบอกสิง่ ทีค่ ดิ ออกไป ก็จบั มือ และเดินหน้าไปด้วยกันได้ แนวทางในการจัดการกับปัญหา เป็ น คนที่ ช อบแก้ ไ ขปั ญ หาด้ ว ย ตัวเองนะ เพราะปัญหา ถ้าเรามองว่า มันแย่ มันยาก มันก็จะเป็นอย่างนัน้ แต่ถ้ามองว่า นี่คือสิ่งที่ต้องผ่านไป ให้ได้ จะวิเคราะห์อย่างมีสติ สมัยเด็กๆ เคยอ่านหนังสือรวมบทกลอน ทีบ่ อกว่า 'ก�ำลังใจให้คนอืน่ ได้งา่ ย แต่ให้ตวั เอง ได้ยาก' ก็เลยรูส้ กึ ว่านีเ่ ป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญ มากเลย


Escape

Mida De Sea Hua Hin

Text: สรพันธ์ สัญจร Photo: พิชญุตม์ คชารักษ์

C oz y a n d L u x u ry b y t h e S e a

หากจะกล่าวกันถึงนิยามแห่ง การ ‘พั ก ผ่ อ น’ แน่ น อนว่ า ย่อมแตกต่างกันไปตามความ พึงพอใจของแต่ละคน บ้างก็ ่ ชอบการอยูใ่ นบรรยากาศ ชืน ที่สุขสงบร่มรื่นห่างไกลจาก ความครึกครื้นของกลุ่มคน บ้ า งก็ ช อบความโลดโผน ผจญภัยในทุกที่ หรือบ้างก็มี ่ ะให้เวลากับ ความปรารถนาทีจ ่ ก ครอบครัวและคนทีร ั

Mida Hotel Group เข้าใจใน ความแตกต่างของนิยามการพักผ่อน จึงเป็นทีม่ าสูก่ ารสร้างสรรค์ Mide De Sea สถานทีพ่ กั แรมแห่งใหม่ ซึง่ ผนวก เอาความสบายอย่างมีระดับ เคียงคู่ กับบริการอันดีเยี่ยม ที่จะช่วยให้ทุก ความต้องการของผูม้ าเยือนนัน้ เป็น เวลาสุดพิเศษครัง้ ใหม่ทยี่ ากจะหาทีใ่ ด มาเทียบเคียง ด้วยพื้นที่แม้จะไม่ติดกับริมหาด แต่ ก็ ม ากพอที่ จ ะได้ เ ห็ น ภาพของ ท้องทะเลที่สวยงามและเชื่อมต่อกับ สถานที่ส�ำคัญต่างๆ ของเมืองชะอ�ำ อย่างทัว่ ถึง Mida De Sea เลือกทีจ่ ะ น�ำเสนอโลกแห่งการพักผ่อน ผ่าน

สถาปั ต ยกรรมในสไตล์ Modern Comtemporary ร่วมสมัย จัดแบ่ง โซนการใช้งานที่แตกต่างตามความ ต้องการของผูเ้ ข้าพัก ไม่วา่ จะเป็นห้อง เดีย่ วแบบ Deluxe Room ขนาดย่อม, ห้องแบบ Duplex ระเบียงลอยสองชัน้ สุดหรู จนถึงห้องแบบ Royal Suite Three Bedroom และ Pool Villa แยก สัดส่วนขนาดกว้างขวางเหมาะส�ำหรับ ครอบครัว ในโทนสีขาวสะอาดตา ดูนา่ สบาย เชือ้ เชิญให้เอนกายและใจ สูก่ ารพักผ่อน

ความสบายของสถานทีพ่ กั อย่างเรียบง่ายแต่มากมายด้วย ประสิทธิภาพกับสาธารณูปโภค ทีท่ าง Mida De Sea จัดเตรียม เอาไว้ ทั้งสระว่ายน�้ำส่วนตัว, ฟิตเนสเซ็นเตอร์, ศูนย์จดั ประชุม ไปจนถึ ง ห้ อ งอาหารหลั ก M’cafe แบบบุ ฟ เฟต์ หรื อ Delizioso ภัตตาคารร่วมสมัย ไทย-สากล ทั้ ง เส้ น สายการ ตกแต่ ง และรสชาติ อ าหารที่ ไม่เป็นสองรองใคร ให้อมิ่ อร่อย อย่างหลากหลาย แน่นอนว่า นิยามของการ พั ก ผ่ อ นของแต่ ล ะคนย่ อ ม แตกต่างกัน แต่ความสบาย ท่ า มกลางความสวยงามที่ Mida De Sea Hua Hin แห่งนี้ ได้สร้างความผ่อนคลาย ซึง่ จะ ท�ำให้ผมู้ าเยือนวางใจ สบายกาย เพราะไม่วา่ จะเป็นความชืน่ ชอบ ของการพักผ่อนแบบใด สถานที่ แห่งนีพ้ ร้อมรองรับเสมอ

Mida De Sea Hua Hin 1349 ซ.ชะอำ� 53 ถ.เพชรเกษม อ.ชะอำ� จ.เพชรบุรี โทร. 032-771-976, 081-981-3508 Email: info_mdhh@midahotelsandresorts.com Facebook: Mida De Sea Hua Hin

247 009


2 8

th

e

l

e

t

i

o


e

c-

o

n cover story

Text: ธนกร ตติปาณิเทพ Photo: ฝ่ายภาพ 24 7 City Magazine

การมุง ่ หน้าสู่รม ่ เงาของธง ประชาธิปไตยผืนใหม่ ่ จะถูกชูขน ซึง ึ้ ภายหลัง ่ ะเกิดขึน ้ ใน ้ ทีจ การเลือกตัง ้ วันที่ 24 มีนาคม 2562 นัน ่ อง นอกจากจะเป็นพื้ นทีข โอกาส และความหวัง ่ องค�ำถาม ยังเป็นพื้ นทีข และความท้าทายทีร่ ออยูด ่ ว้ ย 24 7 City Magazine ขอท�ำหน้าทีเ่ ปิดพื้ นที่ ่ นกับผูร้ ู้ เพื่ อแลกเปลีย และนักคิด-นักวิชาการ จากหลากหลายแวดวง เพื่ อสะท้อนภาพของ ่ นแปลง หรือ ความเปลีย โจทย์ทรี่ อสังคมไทยอยู่ ้ ในมิติ หลังการเลือกตัง ่ ่งผลกระทบกับผูค ทีส ้ น ้ ทางตรงและทางอ้อม ทัง ่ วกับ ้ แต่วาระหลักเกีย ตัง การพัฒนาและสังคมเมือง ่ ง การศึกษาทีเ่ ป็นเรือ ฐานรากของสังคม มุมมองสมการเศรษฐกิจ ่ ำ� ลังคุกรุน ระหว่างประเทศทีก ่ ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม ทีร่ อความชัดเจน หรือ ่ วาระของคนท�ำงาน กระทัง ่ี ง สร้างสรรค์ทย ั เป็นค�ำถาม และข้อสงสัย เพื่ อให้ธง ประชาธิปไตยผืนใหม่ท่ี ้ ก�ำลังจะปักลงในสังคมนัน สามารถน�ำไปสู่ ่ นแปลง ความเปลีย ได้อย่างแท้จริง


City for decentraliz a t i o n เมืองเพื่อการกระจายอ�ำนาจ

ผศ.ดร.นิรมล เสรีสกุล

ผูอ ้ ำ� นวยศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง (UddC) และอาจารย์ประจ�ำภาควิชา การวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

247 012

ผศ.ดร.นิรมล เสรีสกุล ผู้อ�ำนวย ศู น ย์ อ อกแบบและพั ฒ นาเมื อ ง (UddC) และอาจารย์ประจ�ำภาควิชา การวางแผนภาคและเมื อ ง คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มองทิศทางของความ เปลี่ยนแปลง และเป็นไปของสังคม และเมืองทีร่ ออยูห่ ลังเลือกตัง้ ในหลาก หลายมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่อง การกระจายอ�ำนาจสูท่ อ้ งถิน่ “ตัง้ แต่มสี ทิ ธิเลือกตัง้ มา ก็เพิง่ เห็น ครั้งนี้ที่นโยบายหาเสียงของหลาย พรรคพร้อมเพรียงชูประเด็นเรือ่ งเมือง ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งการเคลือ่ นทีใ่ นเมือง เมืองเดินได้ เมืองกระชับ เมืองแบ่งปัน อย่างไรก็ตาม แม้วา่ นโยบายเหล่านี้ ส่วนใหญ่เป็นนโยบายที่ดี แต่ก็เป็น เรือ่ งของท้องถิน่ เมือ่ การเลือกตัง้ ครัง้ นี้ เป็นการเลือกตัง้ ระดับประเทศ ข้อเสนอ ทีส่ ามารถปลดล็อกแก้ปญ ั หาของเมือง ในระดับโครงสร้าง ก็คอื การกระจาย อ�ำนาจการปกครองสูท่ อ้ งถิน่ ให้ทอ้ งถิน่ มีอ�ำนาจและศักยภาพในการบริหาร จัดการเมืองเอง โดยทัว่ ไปแล้ว การพัฒนาฟืน้ ฟูเมือง มักเป็นงานขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ ซึง่ มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ในการพัฒนาเมือง สร้างสรรค์สภาพ แวดล้ อ มเมื อ ง และจั ด หาบริ ก าร สาธารณะที่ได้คุณภาพและเพียงพอ แก่ประชาชน ในกรณีของ กทม. แม้จะเป็นหน่วย การปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่ ผูว้ า่ ราชการมาจากการเลือกตัง้ โดยตรง อีกทัง้ มีงบประมาณมหาศาลเทียบเท่า บางกระทรวง แต่แท้จริงแล้ว การบริหาร จัดการของ กทม. ก็ยงั ขาดอิสระ ไม่ได้ มีอำ� นาจเต็มในการพัฒนาพืน้ ทีต่ วั เอง แต่ตอ้ งประสานหรือขออนุญาตหน่วยงาน อื่นๆ ยกตัวอย่าง พื้นที่ใต้ทางด่วน ใจกลางเมือง ซึ่งคิดเป็นเนื้อที่กว่า 600 ไร่ หรือเท่ากับสวนลุมพินี 2 สวน ปัจจุบันมีสภาพเสื่อมโทรม หากเป็น

เมืองอืน่ ก็คงเอาไปพัฒนาเป็นพืน้ ทีส่ าธารณะ ทางจักรยาน High Line Low Line อะไรสวยงามไปนานแล้ว แต่ กทม. ไม่สามารถท�ำได้โดยอิสระ ต้องขออนุญาตจากหน่วยงานเจ้าของทีด่ นิ ก่อน เช่นเดียวกันกับพืน้ ทีภ่ าครัฐ แปลงใหญ่แห่งอืน่ ๆ หรือแม้กระทัง่ อยากจะปรับปรุงทางเท้าให้เมืองเดิน ได้เดินดี แต่กไ็ ม่สามารถท�ำได้ทนั ที เพราะต้องอาศัยความร่วมมือจาก หลายหน่วยงานในการเคลื่อนย้ายเสาไฟฟ้าระบบสายส่ง การวางท่อ สาธารณูปโภค ตูโ้ ทรศัพท์ สายโทรศัพท์ อินเทอร์เน็ตต่างๆ นอกจากการขาดอิสระแล้ว ปัญหาส�ำคัญคือโครงสร้างการบริหาร จัดการทีร่ วมศูนย์ไปที่ กทม. ท�ำให้การปกครองท้องถิน่ ระดับเขตทีใ่ กล้ชดิ กับประชาชนทีส่ ดุ แทบไม่มบี ทบาทในการพัฒนาฟืน้ ฟูเมือง ผูอ้ ำ� นวยการเขต ซึ่งเป็นผู้บริหารของส�ำนักงานเขตไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง แต่เป็น ข้าราชการประจ�ำของ กทม. ทีม่ าจากการแต่งตัง้ และขึน้ ตรงกับปลัด กทม. และผูว้ า่ กทม. รวมทัง้ งบประมาณและอ�ำนาจหน้าทีก่ ม็ จี ำ� กัด เช่น บ�ำรุงรักษา หรือโครงสร้างพืน้ ฐานขนาดเล็กๆ เช่น การรักษาความสะอาด การปลูกต้นไม้ การจัดเก็บรายได้ แต่ไปไม่ถงึ การพัฒนาฟืน้ ฟูเมืองทีเ่ ป็นภาพอนาคตระยะยาว ของเขตของย่าน ซึง่ กลับตาลปัตรกับเมืองในจังหวัดอืน่ ๆ ทีม่ กี ารเลือกตัง้ ระดับเทศบาล แต่ในระดับจังหวัดมีผบู้ ริหารมาจากการแต่งตัง้ จะพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน ในท้องถิน่ ก็ตอ้ งรอความเห็นชอบจากภาครัฐส่วนกลาง เราจึงเป็นประเทศ ที่มีจังหวัดเดียวมีระบบขนส่งมวลชนสาธารณะ น�ำมาซึ่งปรากฏการณ์ การรวมกลุ่มกันของนักธุรกิจหรือสมาคมผู้ประกอบการที่มีศักยภาพ ในเมืองใหญ่ของภูมิภาคหลายเมือง ร่วมกันจัดตั้งองค์กรรูปแบบใหม่ๆ เช่น บริษทั พัฒนาเมือง เพือ่ พัฒนาฟืน้ ฟูเมือง พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต สังคม และเศรษฐกิจของท้องถิ่น หากเรา ศึกษาเบือ้ งหลังความส�ำเร็จเหล่านี้ พบว่าไม่ได้เกิดขึน้ โดยง่าย แต่ตอ้ งใช้ ทรัพยากร ความพยายาม ความอึดมหาศาล จึงอาจเกิดขึน้ ได้ยากหรือไม่ได้ เลยในเมืองเล็กๆ ทีม่ ปี จั จัยและทรัพยากรจ�ำกัด ดังนัน้ สิง่ ทีอ่ ยากเห็นในการเลือกตัง้ ระดับประเทศครัง้ นี้ คือ ข้อเสนอ เชิงโครงสร้างทีม่ งุ่ กระจายอ�ำนาจและเสริมสมรรถนะแก่ทอ้ งถิน่ ให้สามารถ พัฒนาฟื้นฟูเมืองได้เอง เช่น การผลักดันการออกกฎหมายเพื่อจัดตั้ง องค์การหรือบรรษัทพัฒนาเมือง การออกกฎหมายฟืน้ ฟูเมือง ดังทีเ่ คยมี การศึกษากันหลายครัง้ ในอดีตทีผ่ า่ นมา การปฏิรปู ระบบราชการเพือ่ ยกระดับ บทบาทงานผังเมืองให้เป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาทีบ่ รู ณาการหน่วยงาน ต่างๆ เข้าไว้ดว้ ยกัน การปรับปรุงโครงสร้างการปกครองท้องถิน่ ระดับเขต โดยเพิ่มบทบาทของเขตให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Government) ทีส่ ามารถตอบสนองประชาชนได้มากยิง่ ขึน้ แทนทีจ่ ะเป็น หน่วยงานบริหารท้องถิ่น (Local Administration) ดังในปัจจุบัน ปราศจากการปลดล็อกเพือ่ การกระจายอ�ำนาจสูท่ อ้ งถิน่ นโยบายต่างๆ คงจะยากในการสร้างให้เกิดเป็นรูปธรรม หรือหากเกิดก็จะเกิดเป็น จุดๆ หย่อมๆ ตามที่ ส.ส. จะสามารถดึงเอางบหรือโครงการลงไป แต่จะไม่สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในเมืองในภาพใหญ่ ระดับประเทศได้”

สิง่ ทีอ่ ยากเห็นในการเลือกตัง้ ระดับประเทศครัง้ นี้ คือ ข้อเสนอ เชิงโครงสร้างทีม่ งุ่ กระจายอำ�นาจและเสริมสมรรถนะแก่ทอ้ งถิน่ ให้สามารถพัฒนาฟืน้ ฟูเมืองได้เอง


economic e q uat i o n

ดร.อาร์ม ตัง้ นิรนั ดร

อาจารย์ดา้ นกฎหมายระหว่างประเทศกับการพัฒนา คณะนิตศ ิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สมการเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ดร.อาร์ม ตั้งนิรันดร อาจารย์ด้าน กฎหมายระหว่ า งประเทศกั บ การ พัฒนา คณะนิตศิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และอดีตผู้อ�ำนวยการ ศูนย์วจิ ยั ยุทธศาสตร์ไทยจีนส�ำนักงาน คณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ ชวนมอง 3 เรือ่ งส�ำคัญในมิตเิ ศรษฐกิจทีย่ นื รอ อยูห่ ลังการเลือกตัง้

สร้างภาคการ ท่องเทีย่ วให้มรี ะบบ และครบวงจร

ช่างภาพ

ทอม ธีระฉัตร โพธิสทิ ธิ์

“ต้องเข้าใจว่าภาคการท่องเที่ยวมี ความส�ำคัญมากส�ำหรับเศรษฐกิจไทย ในปัจจุบนั การบริโภคโดยคนต่างชาติ เป็นสัดส่วนส�ำคัญของการบริโภครวม ภายในประเทศ คิดเป็นเกือบ 12% ของ GDP ยิง่ ในเวลาทีเ่ ศรษฐกิจโลก และการส่ ง ออกมี ป ั ญ หา รวมทั้ ง การลงทุนชะลอตัว ภาคการท่องเทีย่ ว จะยิ่งทวีความส�ำคัญมากขึ้น ถ้ายิ่ง เครือ่ งจักรด้านการท่องเทีย่ วชะลอไป ด้วย ก็กระทบเศรษฐกิจทัง้ หมด ทีนี้ การท่องเที่ยวที่ผ่านมามีปัญ หาคือ นักท่องเที่ยวจีนลดลง ส่งผลกระทบ ต่อรายได้ภาคการท่องเที่ยวของเรา ดังนัน้ โจทย์ใหญ่แรก คือ จะฟืน้ ภาค การท่องเทีย่ วได้อย่างไร รวมทัง้ ต้องหา วิธที จี่ ะดึงดูดนักท่องเทีย่ วในระดับทีม่ ี รายได้สงู ให้มากขึน้ หลายครั้ง เราเน้นเรื่องปริมาณ นักท่องเที่ยวแต่เพียงอย่างเดียว แต่ ไม่ได้มองว่าเราควรเจาะนักท่องเทีย่ ว ระดั บ บนเป็ น พิ เ ศษ นอกจากนั้ น

เราควรต้องมองเรื่องการท่องเที่ยว อย่างครบวงจรมากขึน้ กระทรวงการ ท่องเทีย่ วจะต้องประสานกับกระทรวงอืน่ ๆ เป็นภาพบูรณาการเลย ท�ำอย่างไร ให้ระบบขนส่งมวลชนมีประสิทธิภาพ นักท่องเที่ยวไม่ถูกแท็กซี่โกง เข้าถึง สินค้า และบริการที่เขาสนใจได้ง่าย ฯลฯ มากกว่ามองเรือ่ งการท่องเทีย่ ว แยกส่ ว นออกไปหรื อ โฟกั ส แค่ ท� ำ อย่างไรให้คนมาเทีย่ วเมืองไทยเยอะๆ”

แปลงสงครามการค้า เป็นโอกาส “ตอนนี้ เรือ่ งทีก่ ระทบถึงไทยทีส่ ำ� คัญ อีกเรื่องหนึ่ง คือ สงครามการค้า ระหว่างจีนและสหรัฐอเมริกา ซึง่ เรือ่ งนี้ กระทบถึงผูป้ ระกอบการทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของห่วงโซ่การผลิตทีม่ จี นี และสหรัฐฯ อยูด่ ว้ ย ในขณะเดียวกัน ภาคการลงทุน อาจได้ประโยชน์จากสงครามการค้า มีแนวโน้มว่าคนสนใจมาลงทุน หรือ ย้ายฐานการผลิตมาไทยมากขึน้ เพราะ ผลิตทีจ่ นี โดนตัง้ ก�ำแพงภาษี ในเชิงนโยบาย อันดับแรก รัฐบาล ต้ อ งช่ ว ยผู ้ ป ระกอบการในการหา โอกาส จากการท�ำสัญญาระยะยาว กับคูค่ า้ ทัง้ ฝัง่ สหรัฐฯ และจีน รวมทัง้ ถ้ารัฐบาลสามารถท�ำความเข้าใจ และ ให้ความรู้กับผู้ประกอบการในการท�ำ สัญญาระยะยาว ก็จะเป็นประโยชน์มาก อี ก เรื่ อ งที่ ต ้ อ งพยายามท� ำ คื อ ดึ ง ดู ด การลงทุ น เข้ า มาในประเทศ โดยเฉพาะบริษัทจากจีน และบริษัท

ข้ามชาติทลี่ งทุนในจีนทีม่ คี วามสนใจ จะขยายฐานการผลิตไปยังประเทศอืน่ เพือ่ รองรับความเสีย่ งของสงครามการค้า แต่ เ ราต้ อ งตอบให้ ไ ด้ ว ่ า ในภาค อุตสาหกรรมใด มีความเหมาะสมที่ นักลงทุนจะมาลงทุนมากกว่าประเทศ ที่ ก� ำ ลั ง เนื้ อ หอมอย่ า งเวี ย ดนาม การดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติจะ ตอบโจทย์ยุทธศาสตร์อีอีซีของเรา รั ฐ บาลใหม่ จ ะต้ อ งมี ก ลยุ ท ธ์ แ ปลง วิกฤติสงครามการค้าให้เป็นโอกาส”

รักษาสมดุล ระหว่าง 2 ขัว้ อำ�นาจ “เรือ่ งใหญ่อกี เรือ่ งทีร่ ฐั บาลใหม่จะต้อง คิดให้แตก คือยุทธศาสตร์ของไทยต่อ ภูมิรัฐศาสตร์โลกที่เปลี่ยนแปลงไป วันนี้ โลกแบ่งเป็น 2 ขัว้ เศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญ คื อ สหรั ฐ ฯ กั บ จี น เราจะด� ำ เนิ น ยุทธศาสตร์อย่างไรภายใต้โลกใหม่ เช่นนี้ ขณะเดียวกันก็มคี ำ� วิจารณ์เยอะ ว่าทีผ่ า่ นมา เราใกล้ชดิ กับจีนมากเกินไป แต่ความร่วมมือกับทางตะวันตก ไม่วา่ จะเป็นทางสหรัฐฯ หรือทางอียูกลับ ไม่ได้มมี ากหรือโดดเด่นเท่าไหร่ ทีผ่ า่ นมา การเมืองซึง่ ยังไม่มกี ารเลือกตัง้ ถือเป็น ข้อจ�ำกัดอย่างหนึ่งที่ท�ำให้ตะวันตก ลดระดับความสัมพันธ์กบั เรา ดังนัน้ หลั ง จากเลื อ กตั้ ง แล้ ว จึ ง ควรต้ อ ง เดินหน้าฟื้นฟูความสัมพันธ์กับทาง ตะวันตก และเล่นเกมเชิงยุทธศาสตร์ รักษาสมดุลในการคบกับทัง้ 2 ขัว้ อ�ำนาจ เพือ่ ผลประโยชน์ของเรา อย่างประเทศ

อีกเรือ่ งทีร่ ฐั บาล ใหม่จะต้องคิดให้แตก คือยุทธศาสตร์ของไทย ต่อภูมริ ฐั ศาสตร์โลก ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป มาเลเซีย ออสเตรเลีย หรือสิงคโปร์ เขาจะมี จุดยืนในเชิงยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน ว่าจะ ไม่โอนอ่อน หรือใกล้ชดิ ฝัง่ ใดฝัง่ หนึง่ มาก จนเกินไป นโยบายต่างประเทศของเราเอง ก็ตอ้ งรักษาสมดุลให้ได้ ขณะเดียวกันก็ตอ้ ง ใช้ประโยชน์ให้เป็นจาก ‘การเล่นตัว’ กับ มหาอ�ำนาจทัง้ 2 ฝ่าย”

with love &

247 013

plastic ด้วยรัก และพลาสติก


จริงๆ คนเราชอบ มองเรือ่ งทะเลเป็น เรือ่ งไกลตัว ทัง้ ๆ ทีท่ ะเลเป็นเรือ่ งใกล้ ตัวเรามาก

247 014

ทอม ธีระฉัตร โพธิสทิ ธิ์ เป็นช่างภาพ มากฝีมืออีกคนที่มักเชื่อมโลก ของแฟชั่นเข้ากับการสื่อสาร ประเด็นสังคม โดยเฉพาะการใช้ มุมมองด้านภาพถ่ายมาเป็น สะพานในการบอกเล่าเรือ่ งราว ของสิง่ แวดล้อมให้กบั ผูค้ นได้รบั รู้ ในฐานะพลเมื อ งไทยที่ มี สิทธิ์มีเสียงไม่ต่างจากคนอื่นๆ เขาก็เป็นอีกคนหนึ่งที่มุ่งหวัง อยากเห็นความเปลี่ยนแปลง เกิดขึน้ กับสังคมไทย โดยเฉพาะ ประเด็นสิง่ แวดล้อม “เรื่องหลักๆ ส�ำหรับผมก็ ยังคงเป็นระบบนิเวศทางทะเล และขยะพลาสติกครับ” เขายืนยันว่า ตลอดระยะ เวลาที่ผ่านมา ท้องทะเลกับ ขยะพลาสติกนัน้ ไม่เคยถูกหยิบ ขึน้ มาขับเคลือ่ นอย่างจริงจังใน ฐานะ ‘วาระแห่งชาติ’ นับตัง้ แต่ที่ เราได้ พ บเห็ น ข่ า วแพขยะใน ทะเล หรือแม้แต่อันดับโลกใน การปล่อยขยะลงทะเลมากทีส่ ดุ ของเมืองไทยเมื่อไม่นานมานี้ ท�ำให้เรื่องของทะเล และขยะ พลาสติกถูกหยิบยก และ ‘เฮโล’ รณรงค์ ผ ่ า นแคมเปญต่ า งๆ ออกมา ทัง้ ภาครัฐ และเอกชน แต่ เ มื่ อ เวลาผ่ า นไปสั ก พั ก ประเด็นรณรงค์เหล่านี้ก็ค่อยๆ เบาเสียงลงตามกาลเวลา “ครั้งหนึ่งผมเคยพูดไว้ว่า คอยดู เ ถอะครั บ ว่ า วั น หนึ่ ง พลาสติกจะกลายมาเป็นส่วนหนึง่ ของระบบนิเวศ ซึ่งมาถึงวันนี้ มันก็เป็นอย่างนัน้ แล้วจริงๆ เรา มีงานวิจัยที่ค้นพบผลกระทบ ของพลาสติกต่อระบบนิเวศทาง ทะเลอยู่มากมาย โดยเฉพาะ พลาสติกจิว๋ หรือไมโครพลาสติก ที่มาถึงวันนี้ มันเข้าไปสะสม และปนเปือ้ นอยูใ่ นตัวสัตว์ทะเล เรียบร้อยแล้ว” ทั้ ง ระบบนิ เ วศทางทะเล และขยะพลาสติ ก กลายเป็ น

เรื่องที่มีความใกล้ชิดกันอย่างแยก ไม่ออก แน่นอนว่า การติดอันดับ 6 ของประเทศที่ปล่อยขยะลงสู่ทะเล มากที่สุดในโลกมากถึง 1 ล้านตัน ต่ อ ปี ยั ง มี ข ้ อ มู ล จากกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ชี้ว่า พลาสติกเหล่านี้คือต้นเหตุ ส�ำคัญทีน่ ำ� ความตายมาสูส่ ตั ว์ทะเล หายากอย่าง พะยูน วาฬ โลมา และ เต่าทะเลนับร้อยตัวต่อปี เมือ่ ขยะเหล่านีเ้ กิดการย่อยสลาย จนกลายเป็นไมโครพลาสติก นัน่ คือ ความหนักหนาของปัญหาที่จะยิ่ง ท�ำให้ทกุ อย่างแย่ลงไปอีก “ถ้าจูๆ่ วันหนึง่ มันเกิดสะสมกัน อยูใ่ นระบบนิเวศมากๆ แล้วเกิดการ บูมขึน้ มาเหมือนอย่างฝุน่ PM2.5 ก็ จะยิง่ วิกฤติเข้าไปใหญ่ นีจ่ งึ ควรเป็น เรือ่ งทีไ่ ม่วา่ กรมป่าไม้ หรือกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ตลอดจนหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ต้ อ งมี ส ่ ว นร่ ว มในการแก้ ป ั ญ หา จริงๆ สิ่งแวดล้อมเป็นอีกประเด็น ที่ควรจะมีนโยบาย และแผนการ ด�ำเนินงานที่ชัดเจน ซึ่งจนถึงวันนี้ ก็ยงั ไม่มพี รรคไหนทีม่ กี ารพูดถึงเรือ่ งนี้ อย่างเป็นรูปธรรม” อีกเรื่องหนึ่งที่ส่วนตัวของเขา มองว่ามีความส�ำคัญไม่แพ้กับ 2 ประเด็นแรกเลยก็คอื พ.ร.บ.สงวน และคุม้ ครองสัตว์ปา่ ฉบับใหม่ ทีค่ วร จะ ‘ปลดล็อก’ ปมปัญหาการเสนอชือ่ สั ต ว์ ป ่ า สงวน 4 ชนิ ด อั น ได้ แ ก่ วาฬบรูดา้ วาฬโอมูระ ปลาฉลามวาฬ และเต่ามะเฟือง ไม่ผ่านเนื่องจาก ข้อจ�ำกัดของกฎหมาย ซึง่ กฎหมาย ดังกล่าวจนถึงตอนนี้ก็ยังคงอยู่ใน ขัน้ ตอนของการปรับปรุง ไม่ได้ประกาศ ใช้ออกมาอย่างเป็นเรื่องเป็นราว เสียที (หมายเหตุ : เป็นการสัมภาษณ์กอ่ น พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าผ่านมติ สนช. ในวันที่ 7 มีนาคม 2562)

“ตัง้ แต่ผมสือ่ สารเรือ่ งนีม้ าจนถึง วันนีก้ ็ 5 ปีแล้ว แต่กย็ งั ไม่มอี ะไรคืบหน้า เลย จริงๆ คนเราชอบมองเรือ่ งทะเล เป็นเรื่องไกลตัว ทั้งๆ ที่ทะเลเป็น เรื่องใกล้ตัวเรามาก อย่างบรรดา สัตว์ทะเลหายาก หากพวกมันสูญพันธุ์ ไปแล้วคือสูญพันธุ์เลย ไม่สามารถ สร้างใหม่ทดแทนได้ ประเด็นการ ขับเคลือ่ นด้านสิง่ แวดล้อมจึงถือเป็น สัญลักษณ์ทดี่ สี ำ� หรับนักการเมืองด้วย เพราะหากสิ่งเหล่านี้ถูกขับเคลื่อน และก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง อย่ า งรวดเร็ ว ก็ จ ะยิ่ ง สร้ า งความ น่าเชื่อถือให้เกิดขึ้นหมู่คนท�ำงาน ในพืน้ ทีต่ า่ งๆ และเป็นแรงสนับสนุน ให้คนทีอ่ ยากท�ำงานอนุรกั ษ์กลุม่ เล็กๆ ทีก่ ระจายอยูท่ วั่ ประเทศมาร่วมเป็น ส่ ว นหนึ่ ง ของการสร้ า งความ เปลีย่ นแปลงให้เกิดขึน้ กับสังคมด้วย” ประเด็นสิง่ แวดล้อมหลังเลือกตัง้ ส�ำหรับทอมจึงถือเป็นทัง้ โจทย์ และ ความท้าทายทีร่ อรัฐบาลใหม่อยูอ่ ย่าง แท้จริง

การศึกษาทีร่ อวันปฎิรป ู

reform educa tion ดร.สรวงมณฑ์ สิทธิสมาน

่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ด้านการศึกษา กรรมการผูท ้ รงคุณวุฒิ กองทุนพัฒนาสือ


ลดความเหลือ่ มล�ำ้ บ้านเราพูดเรือ่ งนีม้ านานมากแล้ว ปัญหาก็ไม่ได้หายไป ‘ปฏิ รู ป การศึ ก ษา’ ถื อ เป็ น หั ว ข้ อ ส� ำ คั ญ อี ก เ รื่ อ ง ที่ ถู ก พู ด ถึ ง ม า ตลอดเวลาเรามองหาความหวังของ วันพรุง่ นี้ ซึง่ ในมุมมองของผูท้ คี่ ลุกคลี อยู่กับแวดวงการศึกษาไทยมาตลอด อย่าง ดร.สรวงมณฑ์ สิ ท ธิ ส มาน กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ กองทุนพัฒนา สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ด้านการ ศึกษา ยอมรับว่า นับตัง้ แต่ พ.ร.บ.การ ศึกษาทีอ่ อกมาตัง้ แต่ปี 2542 ทีด่ จู ะเป็น แสงสว่าง และความหวังทีเ่ ป็นรูปธรรมทีส่ ดุ ครัง้ หนึง่ ของวงการการศึกษาบ้านเรา จนวันนี้ 20 ปีผา่ นไป การศึกษาไทยดู เหมือนจะย�ำ่ อยูก่ บั ที่ หรือค่อนๆ ไปทาง ถดถอยลงเสียด้วยซ�ำ้ ‘พ.ร.บ.การศึกษา ปี 2542 ถือเป็นอะไรทีใ่ หม่ และเป็น รูปธรรมทีส่ ดุ แล้ว และมันก็กอ่ ให้เกิด การศึกษาทางเลือกทีห่ ลากหลายเกิด ขึน้ ตามมา แล้วจูๆ่ ก็หายไป จนถึงวันนี้ เราสามารถพูดได้เต็มปากว่า มันยังไป ไม่ถงึ ไหน เรายังวนเวียนอยูก่ บั สภาพ ปัญหาเดิมทีไ่ ม่ได้กา้ วย่างไปไหนเลย”

เธอมองว่า โจทย์ใหญ่ทที่ ำ� ให้การ ศึกษาไทยมีสภาพไม่ต่างจากการพา เรือวนในอ่างนัน้ มี 2 ปมหลักๆ คือ เรือ่ ง ความเหลือ่ มล�ำ้ และโจทย์ของประเทศ “ลดความเหลือ่ มล�ำ้ บ้านเราพูด เรือ่ งนีม้ านานมากแล้ว ปัญหาก็ไม่ได้ หายไป เราพูดถึงรวยกระจุก จนกระจาย เราพูดถึงการศึกษาทีม่ นั เหลือ่ มล�ำ้ แต่ เอาเข้าจริงปัญหาดูเหมือนจะหนักขึน้ เสียด้วยซ�ำ้ เมือ่ ก่อนเวลาเราพูดเรือ่ งนี้ เราจะมองภาพความเหลือ่ มล�ำ้ เด็กใน ชนบท เด็กด้อยโอกาส เด็กเมือง แต่วนั นี้ ไม่ใช่ ปัจจุบนั เราบอกว่าเราพัฒนาขึน้ แต่ เ รากลั บ ท� ำ ให้ ค วามเหลื่ อ มล�้ ำ กลายเป็นความเฉพาะทางลงไปอีก เช่นแต่ก่อน ในโรงเรียน เด็กเก่ง อย่ า งมากก็มีแค่ห้องคิง ห้องควีน ห รื อ จ ะ ใ ช ้ ค� ำ ว ่ า อ ะ ไ ร ก็ ต า ม แต่ วั น นี้ แ ต่ ล ะโรงเรี ย นลองไปดู สิ ห้องกิฟต์ ห้องอัจฉริยะ ห้องวิชาการ เราก�ำลังท�ำอะไรกับระบบการศึกษา

ไม่ใช่เฉพาะเรื่องปลีกย่อยอย่างนี้นะ การแต่งกายในสถานศึกษาบางแห่ง ชุดยังต่างกันน่ะ พ่อแม่ก็อยากให้ ลู ก ได้ เ รี ย นห้ อ งอะไรก็ ไ ด้ ยกเว้ น ห้องปกติ นีเ่ ฉพาะแค่ในโรงเรียนนะ” แม้แต่การปฏิรูปการศึกษาที่ถูก หมายมั่ น ปั ้ น มื อ ว่ า จะช่ ว ยลดทอน ช่องว่างให้หดแคบลง แต่สงิ่ ทีเ่ กิดขึน้ ก็คอื วันนี้ ช่องว่างตรงนีย้ งิ่ ถูกถ่างให้หา่ ง และกว้างขึน้ ไปอีก “จะมาบอกว่าเรามีนโยบายเรียน ฟรี 12 ปี มันก็มเี ครือ่ งหมายค�ำถาม ตามมาว่าเรียนฟรีมอี ยูจ่ ริงไหม” อีกประเด็นหนึ่งที่ นักการศึกษา อย่าง ดร.สรวงมณฑ์มองเห็นก็คือ เรือ่ งของ ‘โจทย์ประเทศ’ เพือ่ ก�ำหนด สเปก หรือคุณลักษณะพึงประสงค์ของ ทรัพยากรบุคลในอนาคต แต่ความ จริงวันนี้ก็คือ ประเทศไทยยังไม่มี โจทย์ที่ชัดเจนว่า เราต้องการคนรุ่น ใหม่แบบไหนเพือ่ เติบโตขึน้ มาเติมการ ขับเคลือ่ นประเทศต่อไป

“เมือ่ คุณมีโจทย์ชดั การมอง ไปข้างหน้าก็จะเกิดกระบวนการ หรือวิธกี ารตามมา แต่ปจั จุบนั เรามีแต่การซ่อมปัญหา หรือ การแก้ ป ั ญ หา เพราะฉะนั้ น มันก็จะย�ำ่ อยูแ่ ค่นี้ เหมือนอย่าง ห้องเรียนของศตวรรษที่ 21 หรือห้องเรียนเออีซที ที่ ำ� ผ่านมา ซึ่ ง มี แต่ ข ้ อความบนกระดาษ ที่สวยหรู แต่กรอบคิด และ กระบวนการไม่ได้ลงรายละเอียด ไปถึงไหน สุดท้ายปลายทาง เราเอาแต่เปลือก แต่ไม่ได้สนใจ แก่น มันไม่นำ� ไปสูก่ ารออกแบบ ว่า เราต้องการทักษะแบบไหนที่ เหมาะกับบริบทของสังคมบ้าน เราอย่างแท้จริง”

vo i c e o f c o n t e m p o r a ry เสียงสะท้อนจากความร่วมสมัย

นักรบ มูลมานัส นักวาดภาพประกอบ

ถึ ง จะมี ก ารหยิ บ ยกประเด็ น ด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรม และความคิ ด สร้ า งสรรค์ ม า เป็นหนึ่งในวาระหลักของการเลือกตั้ง แต่ หากถามความรู้สึกของคนในแวดวงอย่าง นักรบ มูลมานัส นักวาดภาพประกอบ ทีม่ กั หยิบจับบางประเด็นของสังคมมาชวนคิดตาม ในชิ้นงานของตัวเองเขายังรู้สึกว่าแง่มุมของ ศิลปวัฒนธรรม และความคิดสร้างสรรค์นั้น มีประเด็นให้แลกเปลี่ยนอยู่หลายแง่มุมหลัง การเลือกตัง้ ครัง้ นี้ “ที่ผ่านมาเรื่องงานสร้างสรรค์หรือศิลปวัฒนธรรมไม่ได้ถูกปลดล็อก” นั่นถือเป็น ประเด็นหลักของเรื่องนี้ สิ่งที่เขาหมายถึงก็คือ การมองเพียงมิติ เดียวของศิลปวัฒนธรรมทีม่ คี ณ ุ ค่า และควร อนุรักษ์ไว้ ท�ำให้คนท�ำงานสร้างสรรค์ไม่ สามารถหยิบเอาวัตถุดบิ ทีม่ อี ยูม่ ากมายมาใช้ ประโยชน์ได้เต็มศักยภาพ “จริงๆ ถ้าเรามองวัฒนธรรมในแง่มุมที่ มันหลากหลาย แล้วก็รอบด้านมากขึน้ ทัง้ ยัง มองเห็นศิลปะเป็นของทีใ่ กล้ตวั มากขึน้ อย่าง วิถชี วี ติ การท�ำอาหาร มุมมอง รสนิยมในการ ดูหนังฟังเพลง เราก็จะสามารถสร้างสรรค์ อะไรได้มากขึ้นเหมือนกับว่า เรามีทรัพยากร เหมือนด้านอืน่ ๆ มากมาย เพียงแต่เราไม่ได้ ถูกน�ำมาใช้อย่างเต็มที่ หรือถูกวิธี ตามวิถขี อง โลกร่วมสมัย”

ทีผ่ า่ นมาเรือ่ ง งานสร้างสรรค์หรือ ศิลปวัฒนธรรมไม่ได้ ถูกปลดล็อก

เขาสะท้อนความแตกต่าง จากการเกิดขององค์กร หรือ หน่วยงานที่เกี่ยวกับความคิด สร้างสรรค์ทผี่ า่ นมา ไม่วา่ จะเป็น ห อ ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม แ ห ่ ง กรุงเทพมหานคร (BCC) หรือ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) ซึง่ ในปัจจุบนั หน่วยงาน เหล่านีค้ อ่ นข้างมีบทบาทมากกับ กลุม่ คนท�ำงานสร้างสรรค์ “ถ้าภาครัฐสนับสนุน หรือ มีด�ำริที่จะท�ำสิ่งนี้ให้มันเกิดขึ้น ก็สามารถที่จะเป็นสถาบันอะไร สั ก อย่ า งที่ จ ะรวมพลั ง หรื อ อย่างน้อยก็จะเป็นสถานทีเ่ รียนรู้ ของเด็กๆ หรือคนที่ต้องการ เจริญรอยตามขึน้ มาเป็นศิลปิน หรื อ นั ก ออกแบบ หรื อ จริ ง ๆ ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นนักออกแบบ ก็ได้ แต่หน่วยงานอย่างนี้ก็ส่ง ผลกระทบ ให้แรงบันดาลใจ หรือความรูอ้ นั หลากหลายให้แก่ คนทัว่ ไปด้วย” อีกสิง่ หนึง่ ทีส่ ำ� คัญ และน่า จะเป็นประโยชน์กับสาธารณะ ส�ำหรับตัวนักรบที่อยากจะเห็น

เกิดขึน้ หลังการเลือกตัง้ ก็ คื อ พื้ น ที่ ส าธารณะ ในการสร้างสรรค์งาน ศิลปะหรือวัฒนธรรม “ในบ้านเราเรื่องนี้ ไม่ค่อยมีพื้นที่ให้คนมา มีส่วนร่วมให้เกิดงาน หรือกิจกรรมสร้างสรรค์ ซึ่งจริงๆ ก็เกิดขึ้น แต่ ไม่ ใ ช่ ภ าครั ฐ ท� ำ เป็ น เพียงกลุ่มคนในแวดวง สร้างสรรค์จดั ขึน้ มาเอง ถ้ า มี พื้ น ที่ ลั ก ษณะนี้ เพิม่ มากขึน้ ก็นา่ จะน�ำ ไปสูก่ ารสร้างสรรค์อะไร ใหม่ๆ ที่เกิดประโยชน์ กับสังคมได้อกี มากมาย ก็ได้” ถือเป็นอีกหมุดหมาย ของความเปลีย่ นแปลง ที่คนท�ำงานสร้างสรรค์ อยากเห็นก็วา่ ได้

247 015


taste

เชิญแนะนำ� ร้านอาหารเก๋ๆ เข้ามาได้ที่ freemag.247@gmail.com

d e l i z i os o by m i da d e s e a Text: เพลินรส Photo: พิชญุตม์ คชารักษ์

‘ความอร่อย’ นัน้ เป็น นิยามอย่างอัตวิสัย ขึน้ กับความชืน่ ชอบ และพึ ง พอใจของผู ้ ลิ้ ม รส แต่ละคน ซึ่ง Delizioso ห้อง อาหารสุ ด หรู แ ห่ ง โรงแรม Mida de Sea Hua Hin แห่งนี้ ไม่เพียงมุ่งหมายที่จะเข้าถึง ความ ‘อร่ อ ย’ ในแง่ ข อง รสชาติอาหารเท่านั้น แต่ยัง รวมถึ ง การบริ ก ารที่ ดี เ ยี่ ย ม บรรยากาศที่ เ พลิ น ตาน่ า สบาย อันเป็นความตระการ แห่ ง รสชาติ ใ นรากภาษา อิตาเลียน แรกสัมผัส Delizioso พบ ความโดดเด่นด้วยสไตล์การ ออกแบบสาย Contemporary โทนสี ไ ม้ เ ข้ ม ขรึ ม สุ ข สงบ สบายตา เล่ น ไล้ กั บ การ ตกแต่ ง แสงไฟและการใช้ วัสดุกระจกเพื่อให้บริบทจาก ภายนอกเข้ า มาสร้ า งการ เชื่อมโยงกับพื้นที่ภายในให้ เป็นเนื้อเดียวกัน ในส่วนของเมนูอาหารนัน้ หลากหลายในรูปแบบทัง้ ไทย

247 016 • Delizioso by Mida de Sea Hua Hin • โรงแรม Mida de Sea Hua Hin ซ.ชะอำ� 53 จ.เพชรบุรี โทร. 081-981-3508 • www.midahotelsandresorts.com

ACE of Hua Hin at The IVY

ใครทีไ่ ด้มาเยือน Delizioso แห่งนี้ จะต้องตืน่ ตาตืน่ ใจกับเส้นสายการออกแบบ ของกำ�แพงแบบกระดาน Chalk Board ทีต่ กแต่งให้ดเู หมือนกับแผ่นกระดาน ของร้านอาหารสไตล์อติ าเลียน พร้อม ลวดลายของเมนูอาหารและสูตรวิธกี ารทำ� ต่างๆ ทีเ่ รียกได้วา่ เป็นจุดเด่นหลักของ ร้านอาหารแห่งนีเ้ ลยก็วา่ ได้

และสากล ครบพร้อมทัง้ บุฟเฟ่ตม์ อื้ เช้า, อาหารจานหลักในตอนกลางวัน และคาเฟ่เครื่องดื่มในยามค�่ำคืน ที่ผู้เข้าพักจะได้รับประทานอาหาร ที่ผ่านการปรุงอย่างช�ำนาญจาก เชฟมากฝีมือ กับเมนูอาหารเด็ด ทั้ ง แซลมอนราดซอสมะม่ ว ง, สเต๊กจานใหญ่, ผัดไทยกุง้ สด และ เมนูอนื่ อีกมากมายทีร่ อการลิม้ ลอง ของผู้มาเยือน

อีกหนึง่ ความสวยงามทีเ่ ชิญชวน ให้ ม าพั ก ผ่ อ น และลิ้ ม ลอง อาหารอร่อย โดยเฉพาะเมนูสุดพิเศษ ที่ห้องอาหาร The Ivy ที่จะน�ำพาคุณ ดื่ ม ด�่ ำ ไปกั บ มื้ อ อาหารแห่ ง ความสุ ข พร้ อ มเมนู อ าหารประเภทของย่ า ง

เสน่หข์ อง The IVY คือ บรรยากาศท่ามกลาง ธรรมชาติทสี่ ามารถ เอกเขนกชืน่ ชมวิวทิวทัศน์ ผืนน�ำ้ จากสะว่ายน�ำ้ และ ท้องทะเลได้ทงั้ วัน

พาสต้ า สลั ด ภายใต้ บรรยากาศริมสระน�้ำ ที่ สามารถนั่งทอดอารมณ์ ชื่นชมวิว ทั้งสระว่ายน�้ำ และทะเลงดงามได้ทั้งวัน อย่างไม่รู้เบื่อ นอกจากเมนู อ าหาร จานหลั ก แล้ ว ยั ง มี ของ ทานเล่น รวมทั้งไอศกรีม และเครื่องดื่มคลายร้อน ให้ลิ้มลองอีกด้วย

• ACE of Hua Hin at The IVY • โรงแรม ACE of Hua Hin ซ.ชะอำ� 53 จ.เพชรบุรี โทร. 032-421-777

• Email: reservation@aceofhuahinresort.com Website: www.aceofhuahinresort.com


News UPDATE

society Text: AuuIn

WHAT: อีซูซุพร้อมร่วมมือภาครัฐ เผยรถบรรทุก อีซูซุมากกว่า 400 รุ่น ปรับใช้ B20 ได้เน้นย�้ำ เตรียมรถก่อนใช้อย่างถูกต้อง เพื่อคงสมรรถนะ การใช้งานที่ดี WHERE: BANGKOK HOW: นางปนัดดา เจณณวาสิน

กรรมการรองผูจ้ ดั การ บริษทั ตรีเพชรอีซซู เุ ซลส์ จ�ำกัด เปิดเผยว่า “อีซซู พุ ร้อมให้ความร่วมมือกับภาครัฐอย่างเต็มที่ กับโครงการ ส่งเสริมการใช้นำ�้ มันไบโอดีเซล B20 ในภาคคมนาคมขนส่ง เพือ่ เพิม่ โอกาสในการน�ำน�ำ้ มันปาล์มทีม่ รี าคา ตกต�ำ่ มาใช้เป็นส่วนผสม เพือ่ ช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนปาล์ม โดยรถบรรทุกขนาดกลางและขนาดใหญ่ อีซซู สุ ามารถรองรับการใช้นำ�้ มัน B20 ได้มากกว่า 400 รุน่ แต่ตอ้ งเตรียมความพร้อมรถแต่ละรุน่ ซึง่ อาจมี การเปลี่ยนแปลงชิ้นส่วนและเพิ่มความถี่ในการบ�ำรุงรักษา โดยลูกค้าอีซูซุสามารถติดต่อและน�ำรถ เข้าศูนย์บริการมาตรฐานอีซูซุทั่วประเทศที่มีมากกว่า 300 แห่งทั่วประเทศได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป เพือ่ ไม่ให้กระทบกับการใช้งานในภายหลัง กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ดัน 77 สินค้า ชุมชนต้นแบบ ‘ไทยเด่น’ เป็นผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเชิงพาณิชย์

นายกอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์ อธิบดีกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม (กสอ.) เปิดเผยผลความก้าวหน้า โครงการ ‘ไทยเด่น’ 77 ผลิตภัณฑ์ 77 จังหวัด คั ด เลื อ กผู ้ ป ระกอบการผลิ ต สิ น ค้ า ที่ มี อัตลักษณ์เชิงพืน้ ทีใ่ นแต่ละจังหวัดทัว่ ประเทศ รวมทัง้ สิน้ 231 ราย จึงจัดเวิรก์ ช็อปติวเข้มข้น เพิม่ หลักสูตรด้านบริหารจัดการต้นทุน เพือ่ ลด ต้นทุนของผลิตภัณฑ์ตน้ แบบ การันตีผลิตภัณฑ์ สูม่ าตรฐานสากล ทัง้ นี้ นางสาวนันทินา เชียงทอง เจ้าของผลิตภัณฑ์ผ้าขาวม้าแปรรูป แบรนด์ ‘โชคกิตติ’ ได้รบั ค�ำแนะน�ำเพือ่ ไปท�ำการแปรรูป และผลักดันการผลิต ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ให้มี ความโดดเด่น มีเอกลักษณ์มากกว่าเดิม และ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั สินค้าได้มากขึน้ อีกด้วย

WHAT: GM Inter Foods ร่วมแสดงความยินดีในงานเปิดตัว The Legend Siam Pattaya WHERE: PATTAYA HOW: บริษท ั จีเอ็ม อินเตอร์ ฟูด้ ส์ จ�ำกัด ในเครือบริษทั

จีเอ็ม มัลติมเี ดีย กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมแสดงความยินดี ในงานเปิ ด ตั ว สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วแห่ ง ใหม่ เ มื อ งพั ท ยา The Legend Siam ของบริษทั ณุศาศิริ จ�ำกัด (มหาชน) โดยมี คุณปกรณ์ และคุณพรจิตต์ พงศ์วราภา พร้อมทัง้ คุณเอกระพีร์ สุขกุลพิพฒ ั น์ ทีมผูบ้ ริหารระดับสูง ร่วมแสดง ความยินดีมอบช่อดอกไม้และของขวัญให้กับคุณศิริญา เทพเจริญ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฝ่ายการตลาด และขาย บริษทั ณุศาศิริ จ�ำกัด (มหาชน) ในงานครัง้ นี้

WHAT: ฟูจิฟิล์มฉลองครบรอบ 30 ปี เปิดนิทรรศการภาพถ่าย ‘Power of Print ให้รูปนี้มีความหมาย’ Global Photo Exhibition ครั้งยิ่งใหญ่ครั้งแรกในประเทศไทย

WHERE: BANGKOK HOW: บริษทั ฟูจฟ ิ ลิ ม์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ฉลองครบรอบ

30 ปี ตอกย�ำ้ การเป็นผูน้ ำ� ธุรกิจด้านการถ่ายภาพแบบครบวงจร เปิดนิทรรศการภาพถ่าย ‘Power of Print ให้รปู นีม้ คี วามหมาย’ เพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปได้บอกเล่าเรื่องราวสะท้อน ผ่านภาพถ่าย กระตุน้ ให้คนไทยรักการพรินต์ภาพเพือ่ เก็บ บันทึกเรือ่ งราวทีผ่ า่ นมา และยังเป็นการสร้างแรงบันดาลใจ ถึงคุณค่าของภาพถ่าย ซึ่งนิทรรศการ Power of Print ได้รวบรวมผลงานภาพถ่ายของศิลปิน ดารา เซเลบริตี้ ทีม่ ี ชือ่ เสียง ช่างภาพระดับแถวหน้าของเมืองไทย และผูท้ รี่ กั การถ่ายภาพมาถ่ายทอดผลงานมากกว่า 5,000 ภาพ นับเป็นครั้งแรกของฟูจิฟิล์มประเทศไทยที่ได้ เปิดโอกาสให้ผทู้ หี่ ลงใหลการถ่ายภาพได้แสดงผลงานของตัวเองผ่านนิทรรศการภาพถ่ายในครัง้ นี้ จิบชายามบ่ายกับอาฟเตอร์นนู ที โรงแรมเมอร์เคียว กรุงเทพ มักกะสัน

โรงแรมเมอร์เคียว กรุงเทพ มักกะสัน ชวนคุณ มาจิบชายามบ่ายผ่อนคลายความเมือ่ ยล้า นัง่ จิบ ชาสบายๆ ยามบ่ายพร้อมขนมอร่อยหลากหลาย ในเซตเดียวทั้ง สโคน แซนด์วิช และผลไม้ จิบชาร้อนๆ ในบรรยากาศสบายเป็นกันเองได้ ทัง้ ทีล่ อ็ บบี้ บาร์ ชัน้ 8 หรือบรรยากาศชิลๆ วิวสระน�ำ้ ทีช่ นั้ 10 ของโรงแรม แวะมาจิบชากับอาฟเตอร์นนู ที ได้ทกุ วัน ตัง้ แต่เวลา 14.00-17.00 น. สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมโทร. 02-155-3333 ต่อ 5304, 5306 Email: H8422-MK@accor.com

WHAT: เปิดพื้นที่ความสุขแห่งใหม่ 101 The Third Place @True Digital Park ไลฟ์สไตล์คอมเพล็กซ์แห่งแรกของกรุงเทพฯ WHERE: BANGKOK HOW: คุณณิชา ศรีสงวนสกุล ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส ฝ่ายงานบริหาร

พื้นที่พาณิชย์ และค้าปลีก ภายใต้การพัฒนาโครงการของ บริษทั แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด หรือ MQDC เปิดพืน้ ทีค่ วามสุขแห่งใหม่ 101 The Third Place @True Digital Park ไลฟ์สไตล์คอมเพล็กซ์ทคี่ รบวงจรแห่งแรก ของกรุงเทพฯ ที่จะเป็น ‘สถานที่สุดโปรด’ ส�ำหรับทุกคน ณ สุขมุ วิท 101/1 BTS ปุณณวิถี อยูภ่ ายในโครงการ ทรู ดิจทิ ลั พาร์ค เพือ่ รองรับการท�ำงาน พักอาศัย หรือแม้แต่การพักผ่อน ภายใต้ชอื่ 101 @True Digital Park

247 017


Text: วิทวัส ปัญญาเลิศวุฒิ

filmography

The Hummingbird

Project ปล่อยตัวอย่างแรกออกมา เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ส�ำหรับ ภาพยนตร์เกี่ยวกับการเชือด เฉือนในวงการตลาดหุน้ อย่าง ‘The Hummingbird Project’ เรือ่ งราวของสองพีน่ อ้ ง วินเซนต์ เซเลสกี้ (เจสซี่ ไอเซนเบิร์ก) และแอน ทอน เซเลสกี้ (อเล็กซานเดอร์ สการ์สการ์ด) กั บ การบรรลุ ค วามฝั น ด้ ว ย ความเร็วดุจการขยับปีกของ นกแฮมมิง่ เบิรด์ เพือ่ คว้าราคา ของหุน้ ให้ไวกว่าทุกคน ซึง่ รวมถึง เจ้านายเก่าของพวกเขา เอวา ตอร์เรส (ซัลม่า ฮาเย็ค) ผู้ที่ พยายามท� ำ ทุ ก อย่ า งเพื่ อ ให้ ได้ความเร็วนั้นมาครอบครอง

trivia

จากตัวอย่างเผยให้เห็นถึงความ สามารถของนักแสดงน�ำอย่าง ซัลม่า ฮาเย็ค ในบทเอวา ตอร์เรส นักลงทุน สาวสุ ด เซ็ ก ซี่ แ ละชายผู ้ โ ชคร้ า ยที่ อยูใ่ นอุง้ มือของเธอ อย่าง อเล็กซานเดอร์ สการ์สการ์ด (จาก The Legend of Tarzan) ในบทบาทแอนทอน เซเลสกี้ ห นุ ่ ม สุ ด เ นิ ร ์ ด ที่ ม า พ ร ้ อ ม กั บ มั น สมองระดั บ อั จ ฉริ ย ะ และลู ก พี่ ลูกน้องของเขา วินเซนต์ เซเลสกี้ รับบทโดย เจสซี่ ไอเซนเบิร์ก (จาก The Social Network) เรื่ อ งราวเริ่ ม ขึ้ น เมื่ อ วิ น เซนต์ ชั ก ชวนแอนทอนเข้ า ร่ ว มแผนการ ที่ จ ะน� ำ พาพวกเขาไปสู ่ ค วามมั่ ง คั่ ง กอบโกยรายได้ ม ากถึ ง 500 ล้ า น

ดอลลาร์ ต ่ อ ปี จากการ ลงทุนในตลาดหุ้น โดยใช้ วิธีการเทรดหุ้นด้วยความ เร็วสูง การวางสายไฟเบอร์ ระหว่ า งรั ฐ แคนซั ส และ นิวยอร์ก ซึ่งเป็นระยะทาง ที่ยาวเกือบครึ่งหนึ่งของ ทวี ป อเมริ ก า จะท� ำ ให้ พวกเขารับรู้ราคาของหุ้น ได้ไวกว่าผู้เล่นคนอื่นๆ ก�ำกับโดย คิม เหงียน มีกำ� หนดฉายในโรงภาพยนตร์ วันที่ 21 มี.ค. นี้

bookshelf เพี ยงชั่วเวลา กาแฟยังอุ่น

โดย - แพรวส�ำนักพิมพ์

must see

เจสซี่ ไอเซนเบิร์ก จ�ำบทได้ ทัง้ หมดก่อนจะเริม่ ถ่ายท�ำเสียอีก แว่ น ตาที่ อเล็ ก ซานเดอร์ สการ์สการ์ด สวมใส่นนั้ มีการใช้ เครื่องส�ำอางช่วยไม่ให้เกิดการ หักเหของแสง

247 018

‘The Tag-Along: The Devil Fish’ ในช่วงฤดูรอ้ น กลุม่ เด็กนักเรียนออกไปตกปลากันและจับปลา รูปร่างหน้าตาประหลาดขึน้ มา แต่กลับกลายเป็นว่านีค่ อื ปลาปีศาจ ทีพ่ ร้อมทีจ่ ะท�ำร้ายมนุษย์ทกุ คน อาถรรพ์จงึ เกิดขึน้ โดยเฉพาะกับ แม่ของเด็กคนหนึง่ (วิเวียน ซู) จึงมีเพียงหนุม่ หมอผี (เจิง้ เหรินชัว) เท่านั้นที่จะหยุดยั้งเหตุร้ายนี้ได้

“หากย้อนเวลากลับไปได้ คุณจะเลือกท�ำ สิ่งใด?” นี่อาจเป็นค�ำถามระดับคลาสสิก ส�ำหรับนวนิยายที่ถูกกล่าวถึงกันอยู่หลาย ครั้ง เช่นเดียวกับ Kohi Ga Samenai Uchi Ni หรือ ‘เพียงชั่วเวลากาแฟยังอุ่น’ นวนิยายอบอุ่นหัวใจจากปลายปากกาของ คาวางุจิ โทชิคาซึ ซึ่งบอกเล่าเรื่องราวของ ร้านกาแฟลึกลับ Cafe Funiculi Funicula โดยมี คาซุ หญิงสาวบาริสต้าผู้สามารถ พาผู ้ ค นย้ อ นเวลากลั บ ไปด้ ว ยเงื่ อ นไข อันตายตัวกับสีเ่ หตุการณ์ สีก่ ลุม่ คน ทีไ่ ด้รบั พรแห่งการย้อนเวลา อันอบอุ่นจนได้รับ การดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ขึ้นฉายไปเมื่อ ไม่นานมานี้


Spotlight Text: สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์

Quote

“ความส�ำเร็จ คือการเดินจาก หนึ่งความล้มเหลวไปสู่อีก หนึ่งความล้มเหลว โดยไม่ สูญเสียความกระตือรือล้น ที่จะไปถึงเส้นชัย” - Winston Churchill

music corner

เจ้าแม่เพลงหม่น ‘Lana Del Rey’ ปล่อยเพลงใหม่

‘Lana Del Rey’ ปล่ อ ย แฟนแทร็ ก ใหม่ ที่ ม าพร้ อ มชื่ อ แสนยาวเหยียด ‘Hope is a dangerous thing for a woman like me to have - but I have it’ ซึ่งโปรดิวซ์โดย Jack Antonoff เนื้ อ หาของเพลงพู ด ถึ ง การ แสดงความเห็นต่องานศิลปะ นิยาย และกวีทมี่ ชี อื่ เสียงของอเมริกา ผ่านมุมมองความคิด ในแบบผู้หญิงของเธอ โดยสตูดโิ ออัลบัม้ ใหม่ชดุ ที่ 6 ของเธอ ‘Norman Fucking Rockwell’ มีก�ำหนดปล่อยในช่วงกลางปี 2019 นี้

‘bury a friend’ Billie Eilish

หลังประสบความส�ำเร็จเป็นพลุแตกกับเพลง ‘Ocean Eyes’ ชื่อของ Billie Eilish ก็ค่อยๆ เป็นที่รู้จักในฐานะ ศิลปินเพลงป๊อบ และด้วยพลังของแฟนๆ ทีต่ ดิ ตามเธออยู่ ท�ำให้ EP ของเธอติดอันดับใน Billboard Top 200 นานมากกว่า 18 เดือน และมียอดสตรีมทัว่ โลก รวมกันมากกว่า 5 พันล้านสตรีม อีกทั้งบัตรคอนเสิร์ตก็ขายหมด เกลี้ยงทั่วโลก ทั้ ง นี้ เ ธอเลื อ กปล่ อ ยมิ ว สิ ก วิดีโอเพลงที่มีแนวคิดสุดแปลก ประหลาดเพลงล่าสุดอย่าง ‘Bury a friend’ เพลงที่เธอ และ Finneas O’Connell พี่ชายร่วมกันแต่ง Billie Eilish เป็นศิลปินหน้าใหม่ที่ก้าวกระโดด และ น่าจับตามองที่สุดไม่แพ้ศิลปินรุ่นพี่จริงๆ

Marshmello

Jiggly and Chewiness ส�ำหรับดาวรุ่งพุ่งแรงในโลกแห่งดนตรีเส้นสีอิเล็กทรอนิกส์ ในชั่วโมงนี้หนีไม่พ้น ‘Marshmello’ ศิลปินหนุ่มชาวอเมริกันผู้มาพร้อมหมวกกันน็อกสี่เหลี่ยม และดนตรี รสเยีย่ มแบบนุม่ เหนียว เคีย้ วหนึบ สไตล์ Future Bounce และ House แบบ Progressive ซึง่ แรงกระเพือ่ มนัน้ มากพอทีจ่ ะส่งเขาไปสูค่ วามเป็นนักดนตรีแถวหน้า มาสร้างความ สนุกสนานในคอนเสิรต์ Marshmello in Thailand เมือ่ กุมภาพันธ์ทผี่ า่ นมา รวมถึง มีควิ ร่วม Featuring กับศิลปินชือ่ ดังคับคัง่ ตลอดปี 2019 จนเราอดสงสัยไม่ได้วา่ อะไร คือเคล็ดลับของความแน่นหนึบนุม่ เหนียวเคีย้ วสนุกของเขาคนนี้ Marshmello หรือในชือ่ จริงตามใบเกิด คือ Christopher Comstoc เกิดเมือ่ วันที่ 19 พฤษภาคม 1992 เป็นนักดนตรีสายอิเล็กทรอนิกส์ หนุม่ จากฟิลาเดลเฟีย ประเทศ สหรัฐอเมริกา ผูเ้ ริม่ ต้นเส้นทางสายดนตรีของตนเองด้วยเพลง ‘Wavez’ บนแพลตฟอร์ม Soundcloud ช่วงต้นปี 2015 และเริม่ ท�ำดนตรีอย่างสม�ำ่ เสมอ เพิม่ ฐานผูฟ้ งั และชือ่ เสียง ขึน้ มาตามล�ำดับ โชคเข้าข้าง Marshmello เมือ่ Skrillex ศิลปินสายอิเล็กทรอนิกส์เจ้าพ่อเพลงแนว Dubstep เกิดติดใจเพลงของเขาเข้าอย่างจัง และผลักดันให้เขาขึน้ แสดงสดครัง้ แรก ทีม่ หกรรม Pier 94 นิวยอร์ก ก่อนจะตามมาด้วยงานใหญ่อย่าง HARD Day of the Dead ทีแ่ คลิฟอร์เนีย และ Miami Music Week สวรรค์ของเหล่าศิลปินสายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการก้าวไปสูแ่ สงไฟอย่างต่อเนือ่ ง รวมถึงภาพลักษณ์ทมี่ าพร้อมหมวกกันน็อกสีขาว หน้ายิม้ อันเป็นทีม่ าของชือ่ Marshmello ในเวลาต่อมา Marshmello บิวอัลบัม้ แรก ‘Joytime’ ในปี 2016 มีศลิ ปินชือ่ ดังร่วมผลงานอย่าง คับคัง่ อาทิ Anne-Marie, Omar Linx และ Khalid และแน่นอนว่า ทะยานขึน้ ติดอันดับ หนึง่ ในสิบ Billboard ในสายดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ รวมถึงได้การันตีดนตรีทองค�ำจาก สถาบัน Recording Industry Association of America (RIAA) ยิง่ ส่งให้เขาก้าวจาก นักดนตรีทอ้ งถิน่ สูก่ ารเป็นศิลปินระดับโลก ส่งผลต่อยอดขายของอัลบัม้ ถัดๆ ไปอย่าง ‘Joytime II’ และ ‘Joytime III’ กับเพลงทีเ่ หล่านักฟังสายอิเล็กทรอนิกส์จะต้องคุน้ เคย เช่น ‘Silence’, ‘Wolves’, ‘Together’ หรือ ‘Alone’ ด้วยดนตรีจงั หวะหนึบชวนเด้ง และสไตล์อนั ร่าเริงพร้อมให้ความสนุก แก่ผชู้ มยามแสดงสด ดูจะไม่นา่ แปลกใจ ที่ Marshmello ชิน้ นี้ จะเข้า ครองใจผูฟ้ งั จากทัว่ ทุกมุมโลก ก็ของมันอร่อยขนาดนี้ จะให้เสพกีท่ ี ก็รบั ไหว

All About

ห ม ว ก กั น น็ อ ก สี ข า ว กั บ หน้ า ยิ้ ม ที่ Marshmello ใส่ ยามแสดงสดและเป็ น ที่ ม า ของชื่อ รวมถึงแนวทางดนตรี นั้ น ได้ รั บ แรงบั น ดาลใจจาก Joel Thomas Zimmerman หรือ ‘Deadmau5’ ศิ ล ปิ น ชื่ อ ดั ง ชาวแคนาดา ที่ ใ ส่ ห น้ า กากหั ว หนู จนเป็นลายเซ็นเฉพาะตัว เป็ น ศิ ล ปิ น คนแรกของโลก ที่ จั ด แสดงแบบ Virtual Concert ในเกม Fortnite และได้รว ่ มกับ Tyler Blevins หรือ Ninja นักเล่นเกมอีสปอร์ต มืออาชีพในงานการกุศลต่างๆ

HIM

247 019


buzz feed

อาร์แซน เวนเกอร์

มูรนิ โญพิสจู น์

ชัดเจนว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้

แล้วว่าเขาเป็นผูจ้ ดั การ ทีมทีเ่ ก่งมากๆ และมัก ใช้เรือ่ งระเบียบวินยั กับ ทุกๆ คนเสมอ รวมถึง ป็อกบา เป็นนักเตะที่ มหัศจรรย์ แต่บางครัง้ ก็ขาดเรือ่ งระเบียบวินยั

มีปญ ั หาตัง้ แต่ทมี่ า ทัง้ เนือ้ หา และกระบวนการ ดังนัน้ ใครทีม่ อง ไม่ออกว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้ไม่เป็น ประชาธิปไตย ไม่มคี วามเชือ่ มัน่ และศรัทธาในระบอบ อย่างทีก่ ล่าวอ้าง” ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ ธนาธร จึงรุง่ เรืองกิจ หัวหน้าพรรคอนาคตใหม่ กล่าวถึงปัญหาของรัฐธรรมนูญ และ สว.สรรหา ทีก่ ำ� ลังเป็นปัญหาในขณะนี้

จอมขวัญ หลาวเพ็ชร์

คนก�ำหนด กติกา แต่ลง มาเล่นเอง เนีย่ นะคะ?

• let mar 2019

r te

love

จอมขวัญ หลาวเพ็ชร์ กล่าวในรายการ ดีเบตของตัวแทนจากพรรคการเมือง กล่าวถามกลางวงสนทนา

‘ดีกว่า ไม่ได้เลือก’

247 020

คุณคงรูจ้ กั ระบอบประชาธิปไตยดีใช่มยั้ คะ มันไม่ใช่หมายถึงแค่การเลือกตัง้ ตามหน้าที่ได้ดี จากนั้นอีกข้อส�ำคัญ นะคะ แต่ระบอบนี้ การเลือกตัง้ นอกจากการถ่ ว งดุ ล อ� ำ นาจของ เป็นเครือ่ งมือหนึง่ ของระบบค่ะ คนบริหารแล้ว เราสามารถปลดและไล่ อธิบายง่ายๆ ระบอบนี้ มี เขาออกได้ เพราะถ้าคนท�ำงานแทน สิ่งส�ำคัญอยู่ 2-3 สิ่ง หนึ่งคือ ท�ำได้ไม่ดี ก็ไม่รู้จะเอาไว้ท�ำไมนะคะ อ�ำนาจใหญ่สดุ จะอยูท่ ปี่ ระชาชน เนือ่ งจากเงินเดือนพวกเขาคือภาษีของ ในการตัดสินใจบริหารประเทศ เราค่ะ เราไม่ได้เลือกคนมาปกครองเรา ภาษีมนั ไม่ใช่แค่ ภาษีรายได้สว่ นบุคคล นะคะ เราเลือกคนมาท�ำงานแทน นะคะ แต่ในขณะทีเ่ ราใช้ชวี ติ เราก็เสีย เรา นัน่ คือการเลือกผูแ้ ทนค่ะ ภาษีกนั ทุกคนตลอดเวลา เช่น ฉันไปกิน สอง สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ คือ ความ อาหารนอกบ้าน ซือ้ ของตามมินมิ าร์ท โปร่งใส ตรวจสอบได้ เราเลือก ฉันก็จ่ายภาษีมูลค่าเพิ่ม ถ้าฉันเติม คนมาบริ ห ารประเทศของเรา น�ำ้ มันรถ ฉันก็เสียภาษีคะ่ แทนเรา เพราะเราไม่มีเวลาไป เคยมีคนถามฉันเหมือนกัน ว่าไอ้ บริหารเองค่ะ เราจึงต้องเลือกคน การเลือกอะไรได้เองนีม่ นั ส�ำคัญสักแค่ มาท� ำ งานแทน และเราต้ อ ง ไหน ส�ำหรับฉัน ฉันเปรียบเทียบให้เขาฟัง ตรวจสอบเขาได้ว่าเขาท�ำงาน แบบนีค้ ะ่

อาร์แซน เวนเกอร์ กุนซือทีมอาร์เซนอล กล่าวถึงความผิดพลาดของโชเซ มูรนิ โญ ในฐานะผูจ้ ดั การทีมแมนเชสเตอร์ยไู นเต็ด

นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา

รายงานทีต ่ รงกัน

พบว่า ความส�ำคัญของมัน (พาราควอต) อยูท ่ ก ี่ ารได้ รับบ่อยๆ ถึงจะปริมาณ น้อย แต่เข้าไปสม�ำ่ เสมอ ก็ทำ� ให้เกิดโรคขึน ้ ได้ นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผูอ้ ำ� นวยการ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพโรคอุบตั ใิ หม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึง อันตรายของสารพาราควอตทีใ่ ช้ในการเกษตร

พอดีฉนั มีคอนโดฯ อยูก่ ลางเมือง ที่หนึ่งค่ะ แต่ฉันไม่มีเวลาว่างจะมา คอยดูแลซ่อมบ�ำรุง ความสะอาดของ ส่วนกลาง ฉันไม่มีเวลามาดูแลความ ปลอดภัย ฉันเลยจ้างนิตบิ คุ คลมาดูแล แทน ซึง่ นิตบิ คุ คลนีจ้ ะรับเงินจากการที่ ฉันจ่ายค่าส่วนกลางค่ะ ถ้านิติบุคคลยักยอกเงินส่วนกลาง ฉันก็ไล่ออกได้ ถ้านิตบิ คุ คลท�ำงานไม่ดี เช่น ไม่ตอ่ ประกันคอนโดฯ ก็โดนไล่ได้ นะคะ แต่การจะไปตรวจสอบนิตบิ คุ คล หรือดูแลการท�ำงานของนิติ ฉันก็ไม่มี เวลามากขนาดนั้น เราเลยคัดเลือก กรรมการของคอนโดฯ ขึ้นมา เพื่อ คอยดูแลการท�ำงานของนิตอิ กี ทีคะ่ ซึง่ กรรมการนีก่ ค็ อื พวกลูกบ้านทีอ่ าสามา ท�ำงานค่ะ แต่ฉนั ก็หา้ มไว้ใจกรรมการคอนโดฯ เช่นกันค่ะ ถ้ามีการสมรูร้ ว่ มคิดกับนิติ เพือ่ ยักยอกเงินส่วนกลาง หรือท�ำงานไม่ดี ก็สามารถโหวตเปลีย่ นกรรมการ หรือ ไปเป็นกรรมการเองก็ได้ ถ้าจ�ำเป็นนะคะ เห็นหรือยังคะ ว่าการเลือกตัง้ ส�ำคัญ แค่ไหน ฉันเลือกกรรมการ หรือเลือก นิตบิ คุ คลมาคอยดูแลคอนโดฯ ของฉัน เพราะไม่มีคนดูแลก็จะพังทลายเอง ง่ายๆ จะไปดูแลเองก็ไม่สะดวก ให้คอย จ้าง รปภ. เอง หรือท�ำความสะอาดทัง้ ตึก ซ่อมบ�ำรุงทัง้ ตึกก็ไม่ไหว ประเทศเราก็เช่นกันค่ะ มันต้องมีคน มาท�ำงานคอยดูแล บริหาร แทนพวกเรา

ทีเ่ ป็นประชาชนทุกคน ค�ำถามคือ ถ้าฝ่ายบริหาร เรา ไม่ได้เลือก อยูๆ่ เข้ามาเป็นนิตเิ อง เขาจะแคร์คอนโดฯ เราเท่ากับเรา ไหมคะ เขาอาจจะแคร์กไ็ ด้ หรือไม่ แคร์กไ็ ด้ ไอ้การไปฝากความหวัง ว่า คนที่เราไม่ได้เลือกเข้ามาจะ ท�ำงานได้ดี ไม่โกงเรา ก็ดมู องโลก ง่ายไปนิดหนึง่ นะคะ อยูๆ่ มีใครมาเลือกสามีให้ฉนั ฉันก็คงไม่พอใจเท่าไรหรอกนะคะ เลือกมาเองแล้วได้ไม่ดี ก็เปลีย่ น สามีคะ่ แต่สามีทคี่ ลุมถุงชนเลือก ให้ฉนั มา จะด่าก็ดา่ ไม่ได้เต็มปาก ต้องไปด่าคนเลือกมาให้ ดีเลวยังไง เราก็ไม่ได้ศกึ ษาเอง ฉันว่ามันหมดสมัย ไปแล้วนะคะ ก า ร เ ลื อ ก ตั้ ง ใ น ร ะ บ อ บ ประชาธิปไตยจึงส�ำคัญแบบนี้ค่ะ ฉันรูว้ า่ คุณจะออกไปเลือกตัง้ แน่ๆ แต่ จ ะเลื อ กใคร ก็ แ ล้ ว แต่ วิจารณญาณเลยค่ะ เลือกคนทีค่ ณ ุ คิดว่าดีทสี่ ดุ เข้ามาท�ำงานแทนเรา ไว้ใจตัวเอง เลือกเองดีกว่า ไม่ตอ้ งไปสนใจว่ามันประชาธิปไตย หรือเปล่า การเลือกด้วยตัวเอง ดีกว่าเอา ชะตากรรมตัวเองไปฝากกับสิ่งที่ เราไม่ได้เลือกค่ะ

รักนะคะ Miss Daisy


สถิตผ ิ ล ู้ งคะแนนเสียง

สถิตพ ิ รรคการเมือง

่ เฉลีย

จ�ำนวน พรรคการเมือง ่ รงคุณสมบัติ : ทีต

พรรค

พรรค

ล้านคน

81

106

51.4

ล้านคน

ปี 2554

ปี 2550

ล้านคน

ล้านคน

5

่ ด ้ ) (มากทีส ุ กว่าทุกครัง

ยอดผูส ้ มัครสมาชิกสภาผูแ ้ ทนราษฏร :

ปัจจัยในการตัดสินใจ เลือกพรรคการเมือง

10,792

นโยบายทีใ่ ช้หาเสียง

คน

: 58.4%

่ ด (มากทีส ุ ในรอบ 20 ปีทผ ี่ า่ นมา)

87.4) ร้อยละ 73.36

(คิดเป็นร้อยละ

คิดเป็นสิทธิ นอกราชอาณาจักร :

46.9 44

จ�ำนวนผูล ้ งทะเบียน ขอใช้สท ิ ธิลว ่ งหน้า :

จ�ำนวน ้ แต่ พรรคการเมืองตัง วันเปิดรับสมัคร :

้ ล่วงหน้ามากทีส ่ ด ปีทม ี่ ผ ี ข ู้ อใช้สท ิ ธิเลือกตัง ุ :

้ นี้ : จ�ำนวนผูม ้ ส ี ท ิ ธิลงคะแนนเสียงในครัง

่ า่ จะมีสท ่ นายกรัฐมนตรี : จ�ำนวนพรรคการเมืองทีน ิ ธิเสนอชือ

่ ค พรรคทีม ี นท�ำงานช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาชุมชน

่ ที่ เฉลีย

4-5

: 57.5%

พรรค

่ ค พรรคทีม ี วามรู้ ความสามารถ มีวส ิ ย ั ทัศน์

้ ต�ำ่ 25 เสียง) (เสียงสมาชิกขัน

: 53.3%

พรรคทีไ่ ม่มป ี ระวัติ ด่างพร้อยด้านทุจริต

: 39.3%

่ ค พรรคทีม ี นรุน ่ ใหม่

: 27.5%

่ า: โพลมหาวิทยาลัยกรุงเทพ) (ทีม

5

้ ของประเทศไทยทีใ่ กล้เข้ามา สถิตแ ิ ห่งสิทธิและประชาธิปไตย ในการเลือกตัง

9 7

ชัว่ โมง (08.00-17.00 น.) เวลาเข้าคูหาเดิม : ชัว่ โมง (08.00-15.00 น.) ่ าของข้อมูล : เพจ BBC ไทย, ข้อมูลจากคณะกรรมการการเลือกตัง ้ , (ทีม ้ , ประชาชาติธร ส�ำนักประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง ุ กิจ)

่ ง ้ ใหม่ (ใบเหลือง) : 800 เรือ เลือกตัง

ระยะเวลา ในการเข้าคูหา :

่ ง เพิกถอนสิทธิ (ใบแดง) : 1,167 เรือ

้ าดคัดค้าน สถิตก ิ ารวินจ ิ ฉัยชีข ้ (จากปี 2543 ถึง 2558) การเลือกตัง

3 อันดับสถิตเิ งินบริจาค ให้พรรคการเมือง (ปี 2553 และ 2554)

ความวิตกกังวลของ ้ ประชาชนช่วงเลือกตัง

พรรคประชาธิปต ั ย์ : 81,819 ราย/96,616 ราย

้ ทุจริตการเลือกตัง : 39.49%

พรรคเพื่อไทย :

22,400 ราย/30,707 ราย พรรคการเมืองใหม่ (2553) : 20,495 ราย พรรคเพื่อฟ้าดิน (2554) : 2,328 ราย 1 รายต่อจ�ำนวนเงิน 100 บาท

รัฐประหาร ปฏิวต ั ซ ิ อ ้ น : 31.98%

สถิตผ ิ ส ู้ มัคร

่ ง จ�ำนวนพรรคทีส ่ ครบ :

4

พรรค

จ�ำนวนสมาชิก

อนาคตใหม่, รวมพลัง

สภาผูแ ้ ทนราษฎร

่ ผ จังหวัดทีม ี ส ู้ มัคร

แบ่งเขตเต็ม

ประชาชาติไทย,

่ แบบบัญชีรายชือ

่ ด ส.ส. มากทีส ุ :

จ�ำนวน

พลังประชารัฐ)

เต็มจ�ำนวน

ขอนแก่น (สูงสุด

ครบ : จ�ำนวนสมาชิก

6 พรรค

(ประชาธิปต ั ย์,

สภาผูแ ้ ทน

ภูมใิ จไทย, เสรีรวมไทย,

ราษฎรแบบ

247 021

่ ะมาเป็นนายกรัฐมนตรี ใครทีจ : 20.52%

• • • •

่ ง จ�ำนวนพรรคทีส ่

อนาคตของประเทศ ้ หลังเลือกตัง : 27.41%

ประชาธิปต ั ย์, ภูมใิ จไทย, เพื่อชาติ, รวมพลังประชาชาติไทย

้ จ�ำนวนบัตร วิธเี ลือกตัง การลงคะแนน : 14.21%

44 คน/เขต)

่ า : สวนดุสต (ทีม ิ โพล)


tidbits

WHERE TO FIND COFFEE

& BAKERY

Visit Our www.gmlive.com/247

SHOPPING MALL

HOSPITAL

ฟัง

OTHERS

BEAUTY &SPA

247 022

ยิ่งพูดมากขึ้นเท่าไหร่ โอกาสในการฟังก็ยิ่งน้อยลงเท่านั้น การพูดท�ำให้เสียงของเราเปล่งออกไปเขย่าโมเลกุลของอากาศ เรามักพูดเพือ่ หวังว่าคลืน่ ที่มีโมเลกุลของอากาศเป็นตัวกลางนั้นจะแล่นไปถึงหู สมอง และหัวใจของเป้าหมายของเรา และท�ำให้เขา ‘เปลี่ยน’ ความคิด ความเชื่อ มาเป็นเหมือนกันกับเรา ยิง่ อยากให้อกี ฝ่ายเชือ่ และฟังเรา บ่อยหนทีเดียวทีเ่ ราพยายามพูดด้วยเสียงที่ ‘ดัง’ มาก ขึ้นเรื่อยๆ เพราะเราหวังว่าเสียงที่ดังนั้นจะปลุกเร้าความสนใจของเขา แต่ยิ่งเสียงดังมากเท่าไหร่ ยิ่งมีจ�ำนวนค�ำในหนึ่งวินาทีมากเท่าไหร่ ยิ่งหมายมาดมุ่งหวัง จะให้อีกฝ่าย ‘ต้องฟัง’ เรามากเท่าไหร่ ส่วนใหญ่ผลลัพธ์มักออกมาตรงข้าม ในโลกยุคใหม่ การพูดไม่ ได้เกิดผ่านคลื่นที่มีโมเลกุลของอากาศเป็นตัวกลางเท่านั้น แต่ เราสามารถพูดผ่านตัวอักษรและการเขียนได้ด้วย แต่ตัวอักษรและการเขียนก็คล้ายการพูด และเปล่งเสียงอีกนัน่ แหละ เพราะตัวอักษรของบางคนก็สามารถ ‘ดัง’ ได้มากกว่าของบางคน ไม่ ได้ ‘ดัง’ เพราะเสียงนั้นเปล่งออกมาจากหน้าจอจริงๆ หรอกนะครับ แต่ความ ‘ดัง’ ของ เสียงเกิดขึ้นก็เพราะมีคน ‘ฟัง’ และมอบอ�ำนาจแห่งการฟังนั้นกลับมา ทั้งในรูปของค�ำชื่นชม และวิพากษ์วิจารณ์ด่าทอ ซึ่งก็เป็นธรรมดาโลก - ที่จะมีทั้งสองฝั่ง แต่กระนั้น เรื่องส�ำคัญที่สุดก็ยังเป็นอย่างที่เขียนไว้ในบรรทัดแรกนั่นแหละครับ นั่นคือ - ยิ่งพูดมากขึ้นเท่าไหร่ โอกาสในการฟังก็ยิ่งน้อยลงเท่านั้น ใครคนหนึง่ เคยบอกไว้วา่ คนส่วนใหญ่ไม่ได้ฟงั เพือ่ มุง่ หวังจะเข้าใจ แต่ฟงั เพือ่ มุง่ หวังจะ ตอบโต้ การฟังเพื่อเข้าใจและฟังเพื่อตอบโต้นั้น ท�ำให้กลไกการท�ำงานในสมองของเราท�ำงาน คนละแบบกัน การฟังเพื่อท�ำความเข้าใจ คือการสร้างบทสนทนาที่ละเอียดอ่อน ลึกซึ้ง และ ต่อให้มีความขัดแย้งในข้อเสนอก็ยังมีความหวัง แต่การฟังเพื่อมุ่งหวังจะตอบโต้นั้น เรามัก ปล่อยให้สมองส่วนดึกด�ำบรรพ์ของเราท�ำงาน ท�ำให้เกิดกลไก Fight หรือ Flight คือสู้หรือหนี ขึ้นมา นั่นคือถ้าเราไม่เห็นด้วย เราก็จะอยากโต้แย้งอย่างรุนแรงระเบิดออกไปอย่างผลีผลาม หรือไม่อีกที เราก็เก็บง�ำกดเงียบเอาไว้ภายใน ซึ่งก็คือการยอมจ�ำนนหรือ ‘หนี’ นั่นเอง การฟังด้วยเป้าหมายเพื่อท�ำความเข้าใจ ฟังเพราะพร้อมจะรับฟัง จึงเป็นการฟังที่ก่อให้ เกิดประโยชน์ ในระยะยาว ต่อทั้งผู้พูดและผู้ฟังมากกว่าการฟังเพื่อเตรียมโต้แย้ง แต่ในโลกทุกวันนี้ ดูเหมือนผู้ท�ำหน้าที่ ‘ฟัง’ ด้วยเป้าหมายที่ว่า กลับน้อยลงทุกที ที่จริงแล้ว มนุษย์เรามีหูสองข้าง แต่มีปากเพียงปากเดียว และหูนั้นใช้ส�ำหรับฟังเพียง อย่างเดียว ในขณะที่ปากต้องใช้ท�ำทั้งพูดและกิน และในขณะกิน - เราก็พูดไม่ ได้ ค�ำถามก็คือ เป็นไปได้ ไหม ที่เราได้รับการออกแบบมาเพื่อให้ใช้เวลาของชีวิตเพื่อเป็น ผู้ฟังมากกว่าผู้พูด แต่เราก�ำลังใช้เวลาของชีวิตไปกับการเป็นสิ่งมีชีวิตแบบไหนกันหนอ

โ ต ม ร ศุ ข ป รี ช า

HOTEL

ดาวน์โหลด E-Magazine ในเครือ GMG ได้ที่ App Store และ Play Store ios

Android

Apple Store

Google Play

AIS Book Store

Ookbee

Ookbee Buffet

Magzter


CURRENT PEOPLE BIZ LIFE STYLE View



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.