247#404

Page 1

Smiling and Keep going Forward ศาสตราจารย์วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์

ciTy MaGaziNE : biwEEkLy www.GMLiVE.cOM/247 MaGaziNE

free

OF THE GM Group VOL.12 NO.404 1 - 30 juNE 2019




Smiling and Keep going Forward ผู้ที่เกิดมาแล้วต้องประสบกับภาวะความไม่สมบูรณ์แบบทางกายภาพ หรือที่เรา เรียกกันว่า ‘ความพิการ’ ไม่วา่ จะเป็นด้านการมองเห็น ด้านการเคลือ่ นไหว หรือแม้แต่ ปราศจากแขน-ขา คนทีข่ าดสิง่ เหล่านี้ ไม่ได้แปลว่าคนคนนัน้ เป็นคนไม่มคี ณ ุ ภาพ มีผพู้ กิ ารหลายคนทีก่ ลายเป็นต้นแบบของคนปกติ หลายคนอาจมองว่า คนที่ ‘ขาด’ บางสิ่งไป ก็จะได้รับการชดเชยบางอย่างมาทดแทน เป็นความสามารถพิเศษหรือที่ เรียกกันว่า ‘พรสวรรค์’ แต่น่ันไม่เพียงพอที่จะท�าให้เห็นถึงศักยภาพที่มีอยู่ ต้องมี แรงบันดาลใจ มีกา� ลังใจ มีพลังแห่งความมุง่ มัน่ เพราะทัง้ หมดทีก่ ล่าวมาคือสิง่ ส�าคัญ ส่งผลต่อความหวังและความรักในการใช้ชวีิ ติ ของคนเรา ดังเช่น อาจารย์วริ ยิ ะ นามศิร-ิ พงศ์พนั ธุ์ ทีค่ วามมืดมิดจากดวงตาทัง้ สองข้างไม่ได้เป็นอุปสรรคใดส�าหรับอาจารย์เลย ทุกวันนีใ้ นวัย 67 ปี อาจารย์ยงั สนุกกับการท�างานในฐานะผูใ้ ห้ ทัง้ การเป็นอาจารย์ ประจ�ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ผูก้ อ่ ตัง้ มูลนิธสิ ากลเพือ่ คนพิการ รวมถึงการท�าร้าน กาแฟ Yimsoo Cafe ทีข่ บั เคลือ่ นด้วยพลังด้านบวกของเพือ่ นๆ ผูอ้ าจจะพิการทางร่างกาย แต่หวั ใจสมบูรณ์เต็มเปีย่ ม

• • • • • • • • • • • • • • • • • •

บรรณาธิการที่ปรึกษา ณิพรรณ กุลประสูตร บรรณาธิการอำานวยการ โตมร ศุขปรีชา บรรณาธิการบริหาร ขนิษฐา เผือกผ่องใส กองบรรณาธิการ สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์ ทีป่ รึกษาศิลปกรรม ประทีป ปัจฉิมทึก บรรณาธิการศิลปกรรม ธนพงษ์ ผดุงกิจ ศิลปกรรม มนตรี ฤทธิ์น้อย หัวหน้าพิสูจน์อักษร เจนจิรา ต่ายเทศ บรรณาธิการฝ่ายภาพ ดำารงค์ฤทธิ์ สถิตดำารงธรรม หัวหน้าช่างภาพ พิชญุตม์ คชารักษ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด ปาริชาติ เชือ้ รังสรรค์, อรกัญญา เบญจมณีโชค รองผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด กรองทอง สันดุษฎี, ฝ่ายโฆษณา / การตลาด ปัณณภัสร์ เลาพิทกั ษ์กลู ผูจ้ ดั การฝ่ายสร้างสรรค์การตลาด ณัฐพล ขุนเจริญ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป ภานุวชั ร พงศ์วราภา ผูจ้ ดั การฝ่ายการเงิน วิมลลักษณ์ อาศัยพานิชย์ ฝ่ายบัญชี นุชนารถ ใจประสาท ผู้จัดการฝ่ายผลิต รัตนา โค้ว

บริษัท จีเอ็ม มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำากัด (มหาชน) อาคาร GM Group 914 ถนนพระราม 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ : 02 241 8000 แฟกซ์ : 02 241 8008 แฟกซ์ฝา่ ยโฆษณา : 02 241 5888 Email : freemag.247@gmail.com

ซึง่ เมือ่ ต้นปี 2560 ทางมูลนิธสิ ากลเพือ่ คนพิการ ได้รว่ มกับกระทรวงพัฒนาสังคม และความมัน่ คงของมนุษย์ ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมจัดโครงการปัน่ ไปไม่ทงิ้ กัน สานต่องานทีพ่ อ่ ท�า No One Left Behind ครัง้ แรกของ ประเทศไทยทีค่ นตาบอดจะปัน่ จักรยานพิชติ เส้นทาง 9 วัน 9 จังหวัด ระยะทาง 867 กิโลเมตร จากกรุงเทพฯ ถึง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ เพือ่ หาทุนสนับสนุนการจัดสร้าง ‘ศูนย์ฝกึ อาชีพคนพิการอาเซียน’ และกิจกรรมนีก้ ย็ งั มีตอ่ เนือ่ งจนถึงปัจจุบนั นี้ และการทีท่ มี งาน 24 7 City Magazine ได้มโี อกาสพูดคุยกับอาจารย์ ท�าให้สมั ผัส ได้ถงึ น�า้ เสียงแห่งความหวัง พลังแห่งความกระตือรือร้น และความปรารถนาดีในฐานะ ผู้ให้อย่างเต็มเปี่ยม มาร่วมสัมผัสกับบทสัมภาษณ์ ที่ช่วยเติมเต็มพลังแห่งหัวใจ ให้ ‘ยิม้ สู’้ ไปพร้อมกันในฉบับนี…้

ประธานกรรมการบริหาร / กรรมการผู้จัดการ : ปกรณ์ พงศ์วราภา รองประธานกรรมการบริหาร สายงานการเงิน : พรจิตต์ พงศ์วราภา สายงานการตลาด : อัญริยา มีเขตกิจ สายงานนิวมีเดีย : พีศิลป์ พงศ์วราภา GM MULTIMEDIA GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED 24 7 OFFICE : GM Group BLDG., 914 RAMA 5 RD., DUSIT,

BANGKOK 10300 THAILAND

TEL. : +66 2241 8000 FAX : +66 2241 8008

www.gmgroup.in.th, www.gmlive.com/247 CHAIRMAN / CEO : PAKORN Pongvarapa EXECUTIVE VICE PRESIDENT FINANCE : PORNJITT Pongvarapa MARKETING : ANRIYA Meeketkit NEW MEDIA : PEESILP Pongvarapa

- ขนิ ษ ฐา เผื อ กผ่ อ งใส

แยกสี : บริษัท กนกศิลป์ (ไทยแลนด์) จำากัด โทร. 02 215 1588 พิมพ์ที่ : บริษัท โอเอส พริ้นติ้งเฮ้าส์ จำากัด โทร. 02 433 3653 บรรณาธิการ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : พีศิลป์ พงศ์วราภา

U p d at e s & a c t i v i t i e s • t r e n d & ta s t e • t r av e l & l e i s U r e • e at & d r i n k • l i v i n g & M o r e

12.6%

34.9%

: จำ�นวนผูพ้ กิ ารทัง้ หมดในสหรัฐอเมริกา : จำ�นวนผูพ้ กิ ารทีไ่ ด้รบั การจำ้างงาน จำากผลส�รวจำในปี 2015 ในขอบเขตอายุระหว่าง 18-64 ปี (ทีเ่ พิม่ ขึน้ จำาก 11.9% ในปี 2010)

41.1%

: ช่องว่างของจำ�นวนผูพ้ กิ ารทีไ่ ด้รบั การจำ้างงาน และผูท้ ไี่ ม่พกิ ารทีไ่ ด้รบั การ จำ้างงาน ในรอบ 8 ปี

1,000

ล้านคน

: จำ�นวนผูพ้ กิ ารทัง้ หมดในโลก (คิดเป็น 15% ของประชากรโลก)

40.31%

: ของผูพ้ กิ ารในประเทศไทยทีไ่ ม่ได้รบั การว่าจำ้างงานหรืออยูใ่ นตลาดแรงงาน


my work

Text: สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์ Photo: พิชญุตม์ คชารักษ์

A Cup from the Writer

รุ่งวิสาข์ รุ่งธนพั ฒน์

่ แล้ว คุณจะนึกถึงสิง หากจะกล่าวกันถึงกาแฟสักแก้วหนึง ่ ใดเป็นล�าดับแรก ่ ก ้ ทีผ ่ า่ นเข้ามาในล�าคอ? หรือว่าจะเป็น รสชาติทป ี่ ลายลิน ึ ซึง ้ สัมผัส? ความขมทีล ่ า� ให้ได้มาซึง ่ กาแฟแก้วนัน ้ ๆ แต่ไม่วา่ จะนึกถึงสิง กระบวนการทีท ่ ใด ไม่อาจปฏิเสธได้วา่ ทุก ่ งราวทีซ ่ อ ่ จิง กระบวนการมีเรือ ่ นอยูภ ่ ายใน ซึง ่ วิสาข์ รุง ่ ธนพัฒน์ ๋ -รุง อดีตนักเขียน และเจ้าของร้านกาแฟ CoffeeWriter ได้พาให้เราไปสัมผัสกับประสบการณ์ชวี ต ิ ่ ผลลัพธ์แห่งกาแฟทีเ่ ปี่ ยมล้นไปด้วยเรือ ่ งราว ของเธอ อันน�ามาซึง ้ นี้ ทีเ่ ราพร้อมใจน�าเสนอในหน้า My Work ครัง

HER PROFILE ปริญญาตรี คณะสังคมศาสตร์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาโท Events Management มหาวิทยาลัย Bournemouth University คนชงกาแฟ และเจ้าของร้านกาแฟ CoffeeWriter นักเขียนอิสระ และครูสอนเปียโน

AFTER WORK ถ้ามีเวลาว่างก็จะแวะเวียนไปร้าน กาแฟต่างๆ เพือ่ ดูไอเดียการน�เสนอ แลกเปลีย่ นความรู้ หรือไม่กอ็ า่ น หนังสือทีเ่ กีย่ วข้องกับการท�ธุรกิจและ การพัฒนาตัวเอง แล้วก็ซอ้ มเปียโน เพราะเป็นครูสอนด้วยค่ะ

จุดเริ่มต้นของการสนใจในกาแฟ มันเริม่ จากตอนทีเ่ ราเป็นผูจ้ ดั การสตูดโิ อ ศิ ล ปะที่ เ ชี ย งใหม่ ซึ่ ง เราก็ ท� า ในส่ ว น ของ Catering เสริม แล้วเกิดความ สนใจว่า ท�าไมที่เชียงใหม่ คนกินกาแฟ กั น เยอะมาก ไปที่ ไ หนก็ มี แ ต่ ก าแฟ ก็เริ่มจากดื่มกาแฟนม จนกลายมาเป็น กาแฟด�า สักพักก็เริ่มคิดว่ามีกาแฟด�า แบบที่ไม่ต้องเติมน�้าตาลมั้ย เลยนึกถึง กาแฟดริปขึน้ มา เพราะกาแฟดริปบางตัว ดื่มง่าย ก็เริ่มตระเวนหาดื่มไปเรื่อยๆ ก่อนจะตัดสินใจเรียนท�ากาแฟดริปเพือ่ ชง กินเอง แล้วก็เสิร์ฟในสตูดิโอ จนมีคนทัก ว่า น่าจะเปิดร้านกาแฟเป็นของตัวเองนะ ก็คิดว่าจะเปิดจริงจัง เลยเกิดเป็นร้าน CoffeeWriter ขึ้นมา เหตุผลที่เลือกเปิดร้านในหมู่บ้าน สัมมากร ง่ายๆ เลยก็คือ เรามีความคุ้นเคยกับ พื้นที่เหล่านี้อยู่เป็นทุนตั้งแต่เด็กๆ เลย คิดว่า ถ้าจะเปิด ก็เปิดในพื้นที่ที่เรา คุ้นเคย อีกอย่าง ร้านกาแฟในหมู่บ้าน สัมมากรส่วนใหญ่จะเป็น Speed Bar คือมีเครื่องชงเอสเปรสโซ ซึ่งของเรา จะเป็นแบบกาแฟดริป Slow Bar ซึ่งจะ เป็นการชงด้วยมือเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็น กาแฟดริป, เฟรนช์เพรส หรือ ไซฟอน ซึ่ง CoffeeWriter คือโลกของจิ๋งที่อยาก ให้ทุกคนเข้ามาสัมผัส มาเป็นเพื่อนกัน ผ่านกาแฟดริปค่ะ ที่มาของชื่อ CoffeeWriter จิ๋ ง เคยเป็ น นั ก เขี ย นมาก่ อ น ปั จ จุ บั น ก็ยงั รับงานเป็นนักเขียนอิสระอยู่ บวกกับ ความชอบในเรื่องกาแฟ เลยจับเอาทั้ง สองสิ่งที่เรารักมารวมกัน ซึ่งมันมีที่มา มาจากค�าว่า Copywriter เลยบิดค�า อีกนิดจนกลายเป็น CoffeeWriter ค่ะ

คิดว่าอะไรเป็นจุดเด่นของ CoffeeWriter โดยส่วนตัว อยากให้ลูกค้าได้มา สั ม ผั ส ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ร ว ม ถึ ง กระบวนการแต่ ล ะขั้ น ตอนที่ จ ะ ออกมาเป็ น กาแฟสั ก แก้ ว หนึ่ ง ได้ รั บ รู ้ ค วามพิ ถี พิ ถั น ความ สวยงามของการชงกาแฟแบบนี้ ถ้าสังเกตในรูปแบบการตกแต่งร้าน จะเห็นว่าไม่ได้ท�าไว้แบบนั่งเก้าอี้ สูง แต่ให้อยู่ในระดับเดียวกับบาร์ ให้ ลู ก ค้ า ที่ แ วะมารู ้ สึ ก ผ่ อ นคลาย สบายๆ เป็นกันเอง อุ ป สรรคในธุ ร กิ จ กาแฟ โดย เฉพาะกับร้านแบบ Slow Bar อย่างหนึ่งที่ชัดเจนเลยคือเราเริ่ม จากอะไรที่ค่อนข้างยาก (หัวเราะ) หลายคนทัก ว่า Slow Bar มันยากนะ เพราะลู ก ค้ า นั้ น ค่ อ นข้ า งมี ค วาม เฉพาะกลุ่ม รวมถึงความพยายาม ที่ จ ะสื่ อ สารกั บ ลู ก ค้ า ที่ อ าจจะยั ง ไม่คุ้นเคยกับรูปแบบของร้าน ซึ่ง ต้องใช้เวลาสักนิดเพื่อให้พวกเขา เปิดใจ และที่ส�าคัญคือ ท�าเลที่ตั้ง ทีค่ อ่ นข้างลึกเข้ามา และตัวเองก็ทา� ร้านเพียงคนเดียว ซึ่งก็ต้องอาศัย การบอกปากต่อปากของลูกค้า ในฐานะที่เป็นคนชงกาแฟ และ เคยเป็นนักเขียน มีประสบการณ์ ที่น�มาใช้ร่วมกันมากน้อย แค่ไหน มั น คื อ การถ่ า ยทอดเรื่ อ งราว เพราะการเขียนกับกาแฟ มันคือ กระบวนการเดียวกัน อย่างเรารู้จัก กาแฟชนิดนี้ เราก็อยากจะชงและ แนะน�า เพื่อให้คนที่ได้สัมผัสได้รู้ถึง เรือ่ งราว ทีม่ าทีไ่ ป จนถึงรสชาติของ มัน คือเรื่องราวดีๆ ที่เกิดจากการ รวมกันของกลุ่มคนที่ได้มารู้จักกัน ผ่านกาแฟของเรา ตรงกับ Motto ร้ า นที่ ว ่ า “Coffee write good stories.” (ยิ้ม)

การชงกาแฟคืออะไร ส�าหรับตัวจิง๋ เอง มองว่าการชงกาแฟ มันคือการ Healing ตัวเองเหมือนการ ท�าสมาธิอย่างหนึ่ง เพราะขั้นตอน ของการชงกาแฟดริ ป ต้ อ งควบคุ ม ตัวแปรหลายๆ อย่างในเวลาเดียวกัน เช่น ระยะเวลาในการชง ระดับการ บดเมล็ดกาแฟ หรืออุณหภูมิในการ ชงกาแฟ ต้องมีปฏิสัมพันธ์ พูดคุย สื่อสารกับลูกค้าอยู่ตลอด ซึ่งมันก็ คล้ายๆ กับงานบาร์เทนเดอร์อยู่นะ คือเราเป็นได้ทั้งผู้ฟังที่ดี และผู้ให้ ค�าแนะน�าเมื่อลูกค้าต้องการ ดูเป็นคนที่ท�อะไรหลากหลายสิ่ง มีแนวคิดในการก้าวข้ามความ คุ้นชินเดิมๆ อย่างไร ในยุคนีส้ มัยนี้ ต้องยอมรับว่าทุกอย่าง เปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก อาจจะด้วย การใช้ชีวิต หรือเทคโนโลยี อย่าง ถ้าเป็นเมื่อก่อน เปิดร้านกาแฟก็คง มีเท่านั้น แต่ตอนนี้ก็ต้องคิดเผื่อไว้ ว่าเราจะไปสู่ตลาดออนไลน์อย่างไร ซึ่งการอยู่กับอะไรเดิมๆ มันก็ถือเป็น ความเสีย่ งอย่างหนึง่ ถ้าเรามีชอ่ งทาง และเรามั่ น ใจในสิ่ ง นั้ น ก็ น ่ า จะท� า ควบคู่กันไปได้ ค�ถามสุดท้าย ถ้าให้เปรียบตัวเอง เหมือนกาแฟสักชนิดหนึ่ง คิดว่าคุณเป็นกาแฟแบบไหน จิง๋ คงเป็นเมล็ดกาแฟไทยนัน่ แหละค่ะ เป็ น กาแฟไทยที่ ค่ั ว แบบหม้ อ ดิ น เพราะจิ๋ ง เองเป็ น คนไทย ก็ ย ่ อ มมี คาแรคเตอร์ในแบบไทย แต่ที่เสริม ว่าเป็นหม้อดิน เพราะส่วนตัวเป็น คนเรียบง่าย ชิลล์ๆ ในขณะเดียวกัน ก็ มี ความผันแปรเช่นเดียวกับมนุษย์ ทุกคน ที่มีความเปลี่ยนแปลงตลอด เวลา ถ้าเทียบให้เห็นคาแรคเตอร์ ภายนอกที่ชัดเจนขึ้น จิ๋งเองก็ไม่ได้ เปรี้ยวจี๊ดจ๊าดเหมือนกาแฟเคนยา หรือเอธิโอเปีย และก็ไม่ได้เข้ม ขรึม เหมือนกาแฟบราซิล แต่จงิ๋ เป็นกาแฟ ไทยที่คั่วแบบหม้อดินค่ะ (ยิ้ม)

247 005


InclusIve DesIgn :

การออกแบบที่ใช้ เพื่ อผู้พิการและทุพพลภาพ ในความพยายามจะไปให้ถงึ การก่อสร้างหรือสถาปัตยกรรมทีด่ นี น้ั แน่นอนว่าความสวยงามและการออกแบบทีเ่ หมาะสมส�หรับ ผูใ้ ช้งานย่อมเป็นสิง่ ทีไ่ ม่อาจหลีกเลีย่ งได้ โดยเฉพาะในปัจจุบนั ทีแ่ นวคิดการออกแบบในเชิง Inclusive หรือสถาปัตยกรรม ทีค่ �นึงถึงทุกสภาวะของผูใ้ ช้งาน รวมทัง้ ผูพ้ กิ ารและผูท้ พุ พลภาพ ก�ลังเป็นสิง่ ทีต่ อ้ งให้ความส�คัญอย่างยิง่ แม้เป็นโจทย์ทยี่ าก แต่ผลงานสถาปัตยกรรมทีผ่ นวกแนวทางแบบ Inclusive ทีด่ ี ให้ผลลัพธ์การใช้งานและภาพลักษณ์ทน่ี า่ พึงพอใจ ซึง่ 24 7 City Magazine ขอเชิญผูอ้ า่ นทุกท่าน ร่วมสัมผัสกับ 5 สิง่ ก่อสร้างทีโ่ ดดเด่นท้าสายตา ไม่วา่ จะด้วยในแง่ของสถาปัตยกรรม หรือความถึงพร้อมส�หรับผูท้ พุ พลภาพก็ตาม @ P h o e n i x , U n i t e d S tat e S

Sport and FitneSS Center For diSabled people

ผลงานชิน้ นีค้ อื ความท้าทายทัง้ การออกแบบและความหมายทางการใช้งานกับศูนย์กฬี า มาตรฐานครบวงจรส�าหรับผูพ้ กิ ารเมืองฟีนกิ ซ์ สหรัฐอเมริกา ทีท่ ลายข้อจ�ากัดเดิมๆ ทีว่ า่ กีฬาส�าหรับผูพ้ กิ ารนัน้ เป็นสิง่ ทีเ่ ป็นไปไม่ได้ เพราะนอกจากจะสวยงามในเชิงสถาปัตย์จาก การจัดวางฟังก์ชนั และออกแบบตัวอาคารแล้ว สภาพภายในและ Flow ของตัวอาคารยังเอือ้ ให้กบั แนวทางแบบ Inclusive Design เชือ้ เชิญให้ผมู้ าใช้ได้ทา้ ทายตนเอง ไปให้ไกลเกินกว่าค�าว่าพิการ จะก�ากับเอาไว้

@ S Pa i n

247 006

aSpaYM Center For perSonS with diSabilitieS

โจทย์ทที่ า้ ทายย่อมเป็นทีห่ มายตาของเหล่าสถาปนิก นั ก ออกแบบ ซึ่ ง งานศู น ย์ ชุ ม ชนส� า หรั บ ผู ้ พิ ก าร ASPAYM Center for Persons with Disabilities ประเทศสเปนแห่งนี้ ได้รับการประกอบสร้างอย่างประณีต ภายใต้พนื้ ทีม่ มุ สามเหลีย่ มทีจ่ า� กัด จัดสรรพืน้ ทีก่ ารใช้งานให้เป็น ศูนย์ประชุมและศูนย์กฬี าส�าหรับผูพ้ กิ าร โดดเด่นใน Façade ด้วยวัสดุจา� พวกไฟเบอร์, ปูนดิบ, โพลีคาร์บอเนต ทีท่ มี ท้องถิน่ อย่าง Amas4arquitectura จัดมาไว้ได้อย่างน่าดูชม


Text: สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์

@ tehran, iran

Sport CoMplex For diSabled

ท่ า มกลางสมรภู มิ แ ละ สงครามที่โหมกระหน�่าใน ภู มิ ภ าคตะวั น ออกกลาง ท� า ให้ ศู น ย์ พั ก พิ ง ส� า หรั บ ผูท้ พุ พลภาพในกรุงเตหะราน ประเทศ อิหร่าน ทวีความส�าคัญขึน้ อย่างไม่อาจ เลีย่ ง และ Sport Complex for Disabled ในการสนับสนุนของภาครัฐ เป็นอีกหนึง่ งานสถาปัตย์ทนี่ า่ สนใจ เพราะนอกจาก ท�าเลทีเ่ หมาะสม ติดข้างสนามฟุตบอล เพือ่ ผูพ้ กิ ารแล้ว งานออกแบบอาคารที่ โดดเด่นด้วยวัสดุกระจก กับทางลาด ส�าหรับผูพ้ กิ ารทีท่ อดยาวม้วนตัวตลอด ความสูงของอาคาร ก็ตอกย�า้ ถึงความ เป็น Inclusive ได้อย่างชัดเจนไม่มี ปิดบัง

@ w e t t e r e n , B e lg i U m

@ Switzerland

la branCh hoMe For diSabled

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์นนั้ ได้ชอ่ื ว่ามีระดับคุณภาพชีวติ ของประชากรทีด่ เี ป็น ล�าดับต้นๆ ของโลก นัน่ ท�าให้การออกแบบในสาย Inclusive ถูกผนวกเข้ามา เป็นค่ามาตรฐาน ซึ่งผลงานของทีม Boegli Kramp Architekten แห่งนี้ ก็โดดเด่นท้าสายตาด้วย Façade จากไม้ตลอดอาคาร จัดแบ่งฟังก์ชนั พืน้ ฐาน เรียบง่ายดูนา่ สบาย เป็นมิตรต่อทัง้ สิง่ แวดล้อมและผูใ้ ช้ สมตามแนวทางเพือ่ คนทุกสภาวะ ทุกประการ

daY Care Centre For people with a Mental diSabilitY

ความพิการไม่ได้มแี ต่เพียงทางด้านกายภาพ แต่รวมถึง ความทุพพลภาพทางด้านจิตใจและการเรียนรู้ ท�าให้ การออกแบบอาคารเพือ่ กลุม่ คนดังกล่าว ต้องมีสภาพ ที่น่าสบายและเป็นมิตร ผลงานจากทีมสถาปนิก สัญชาติเบลเยียมชิน้ นี้ ค�านึงถึงเงือ่ นไข โดยไม่ละเลยถึงหัวใจ ของงานสถาปัตย์ ทัง้ Façade ไม้ ให้ความรูส้ กึ สบายตาในช่องว่าง ระหว่างฟังก์ชนั และวัสดุกระจกทีเ่ ชือ่ มโยงให้แสงภายนอกเข้ามา เล่นไล้กบั พืน้ ทีภ่ ายใน เปิดโปร่งชวนให้เกิดปฏิสมั พันธ์โดยไม่มี เงือ่ นไขทางความทุพพลภาพใดๆ มาเหนีย่ วรัง้ เอาไว้

247 007


Living

Text: สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์ Photo: พิชญุตม์ คชารักษ์

The Serene Spac พื้นที่สงบ ตอบโจทย์ทุกความต้องการ ของนักเขียน หนุ่ม-โตมร ศุขปรีชา

หากกล่าวถึงผูท้ ที่ �อาชีพ ‘นักเขียน’ คุณจะจินตนาการถึงพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์ผลงานของพวกเขาอย่างไร จะเป็นห้องทีต่ ดิ เลียบกับตัวเมือง มีแป้นพิมพ์ดดี หนึง่ อัน พร้อมไวน์อกี หนึง่ ขวดเหมือนตัวเอกในภาพยนตร์ เรือ่ ง Moulin Rouge หรือจะเป็นโต๊ะตัวเก่ากับเวลานับสิบปีที่ กาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ ใช้เขียน ผลงานอย่าง ‘หนึง่ ร้อยปีแห่งความโดดเดีย่ ว’ แต่ไม่วา่ จะอย่างไร ‘ความสงบ’ ก็นา่ จะเป็นจุดร่วมเดียวกัน ส�หรับพวกเขา และเมือ่ 24 7 City Magazine ได้มโี อกาสไปเยือนบ้านของ หนุม่ -โตมร ศุขปรีชา นักเขียน นักแปล และพิธกี รรายการเป็นเมือง ก็ยงิ่ ตอกย�า้ อย่างชัดเจนในจินตภาพดังกล่าว

247 008

“อยูอ่ าศัยทีน่ มี่ ากว่ายีส่ บิ ปีแล้ว ช่ ว งแรกก็ เ ช่ า อพาร์ ต เมนต์ ใกล้ ที่ ท� า งาน เพราะการซื้ อ คอนโดมิเนียมนั้นถือเป็นภาระที่ ผูกพันระยะยาวอย่างหนึ่ง แต่พอ เพื่อนชวนให้มาซื้อที่นี่ ก็รู้สึกว่า ทุกอย่างลงตัว มีความเป็น ‘จุด ซ่อนเร้น’ ทั้งในแง่การเดินทาง ที่ใกล้กับขนส่งมวลชน มีความ หลากหลายเรื่ อ งอาหารการกิ น ค่อนข้างมาก รวมถึงความเงียบ สงบ ไม่พลุกพล่าน” คุณหนุ่ม กล่าวถึงจุดเริ่มต้น ความเงี ย บสงบเป็ น ส่ ว นตั ว ดูจะเป็นปัจจัยที่คุณหนุ่มให้ความ ส�าคัญเป็นอย่างมาก เพราะเมื่อ เข้าสู่ภายในห้อง สิ่งแรกที่เรียกได้ ว่าเป็นส่วนต้อนรับคือบรรดาชั้น วางหนังสือที่เต็มไปด้วยหนังสือ ที่ ห ลากหลาย ควบคู ่ ไ ปกั บ การ จัดวางชุดโต๊ะรับประทานอาหาร ซึ่งใช้รับรองผู้มาเยือนเสมือนเป็น ส่ ว นของห้ อ งรั บ แขกด้ ว ยในตั ว พร้อมเปียโนและออร์แกนไฟฟ้า ที่ คุ ณ หนุ ่ ม ใช้ เ วลาว่ า งหลั ง จาก การพรมนิ้วจรดอักษร มาสู่การ สร้ า งสรรค์ บ รรเลงเพลงดนตรี ที่น่าจับใจ เพื่อเป็นการพักผ่อน พร้อมพื้นที่ส่วนครัวเล็กๆ ที่ใช้ ส�าหรับท�าอาหารในยามที่เพื่อนๆ มารวมตัวเพื่อการสังสรรค์ จากส่วนห้องนั่งเล่น สู่ห้อง ท�างาน จินตภาพของพื้นที่แห่ง นักเขียนก็ยิ่งแจ่มชัด ตู้ไม้ที่ยังคง มากหลายไปด้วยหนังสือกินพื้นที่ ส่วนใหญ่ภายในห้อง จัดสรรอย่าง เรี ย บง่ า ยในพื้ น ที่ ท� า งานซึ่ ง เป็ น สั ด ส่ ว น พร้ อ มโซฟาหนานุ ่ ม ดูนา่ สบายชวนให้เอนกายพักผ่อน และหยิบหนังสือสักเล่มมาใช้เวลา ละเลียดรสอักษร และสามารถ เปิดออกไปยังระเบียงขนาดเล็ก ที่ ป ลู ก พื ช ผั ก สวนครั ว เช่ น ต้ น กะเพราส� า หรั บ ใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ในการท�ากับข้าว


ce of The WriTer “ในตอนแรกหนังสือก็ไม่ได้เต็ม อย่างที่เห็น เช่นเดียวกันกับพื้นที่ ส่ ว นโถงต้ อ นรั บ ก็ เ ป็ น ห้ อ งว่ า งๆ มาพร้อมกับบริเวณท�าครัว แล้วมัน ก็ค่อยๆ เพิ่มขึ้น จากสามตู้ แล้วก็ มาตู้แบบ Built-In” คุณหนุ่มกล่าว ถึงชั้นหนังสือที่ประหนึ่งห้องสมุด ขนาดใหญ่ ห้องท�างานแห่งนี้ ยังถูกขับเน้น ให้อบอุ่นน่าสบายด้วยการเล่นไล้ ของแสงจากภายนอกที่ เ ข้ า มา สัมผัสกันในบริเวณพื้นที่ แต่ทั้งนี้ คุ ณ หนุ ่ ม เองก็ ไ ม่ ไ ด้ จ� า กั ด ตั ว เอง ว่าการตกแต่งภายในจะต้องเป็น สิ่งที่ตายตัว ทุกอย่างสามารถปรับ เปลี่ยน เคลื่อนย้าย เพื่อหามุมสงบ และสบายส� า หรั บ การท� า งานได้ ตลอดเวลา เช่นเดียวกับที่ได้กล่าวไปก่อน หน้า นักเขียนแต่ละท่าน มีรูปแบบ ของมุมสงบที่แตกต่างกันออกไป ส�าหรับมุมสงบของคุณหนุ่ม-โตมร ศุขปรีชา ที่ได้มาสัมผัสครั้งนี้ ไม่ได้ เพียงสะท้อนถึงความชื่นชอบ หาก แต่ ยั ง เป็ น ภาพของกระบวนการ ท�างานที่ชัดเจน รายล้อมไปด้วย หนังสือและเล่มอ้างอิง คือ แก่นแท้ และที่มา ที่ท�าให้เรารู้จักตัวตนของ เขา ไม่ว่าจะจากสไตล์การแต่งห้อง หรือแม้แต่คณ ุ ภาพงานเขียนอันเป็น ที่ประจักษ์กันแล้วก็ตาม

จริงๆ นอกเหนือจากปัดฝุน่ แล้ว สิง่ ทีอ่ าจจะต้องระวังคือพวกมอดหรือปลวก เพราะแม้จะอาศัยอยู่ที่ชั้น 5 ก็ยังวางใจไม่ได้ว่าแมลงเหล่านี้จะไม่เข้ามา ต้อง คอยดูบ่อยๆ นอกเหนือจากนั้นก็มีเอาหนังสือเก่าที่เราไม่จ�าเป็นต้องใช้แล้ว ไปบริจาคให้องค์กรอย่างมูลนิธิกระจกเงา

ส�หรับคุณหนุ่มแล้ว บ้านกับ คอนโดมิเนียม ในมุมมองของ นักเขียน ชอบแบบไหนมากกว่ากัน

โดยส่วนตัวคือแบบไหนก็ได้นะ ที่ ส งบๆ ซึ่ ง คอนโดมิ เ นี ย มแห่ ง นี้ ก็ ต อบรั บ กั บ ความต้ อ งการได้ ค่อนข้างดี ทั้งที่มีส่วนกลางคอย ดู แ ลสาธารณู ป โภค หรื อ ไม่ อ ยู ่ ในจุดที่คนพลุกพล่านมากนัก คอนโดมิเนียมกับความเป็นเมือง ในมุมมองของคุณหนุม่

มองว่าในปัจจุบัน คนรุ่นใหม่ จะค่ อ นข้ า งชอบความส� า เร็ จ รู ป ด้วยโครงสร้างของที่พักที่ออกแบบ มาเพื่อรองรับกับทุกฟังก์ชัน อันนี้ อาจจะรวมถึ ง ส� า นึ ก สาธารณะ ที่ค่อนข้างมากกว่า เพราะต้องใช้ พื้นที่ส่วนกลางร่วมกัน ใช้เวลาในตอนทีอ่ ยูใ่ นห้องท�อะไรบ้าง

ท�างานเป็นหลักนะ บางทีก็ผ่อน คลายด้ ว ยการดู ภ าพยนตร์ บ ้ า ง เล่นเกมบ้าง ปาร์ตี้กับเพื่อนที่มา ด้วยบอร์ดเกมบ้างนานๆ ที ก็เป็น โมเมนต์ที่สนุกอยู่ หนังสือเยอะแบบนี้ มีวิธีในการดูแล รักษาอย่างไร

Trio oak

STackable TableS

เพิ่ มเสน่ห์ให้กับบ้านด้วยโต๊ะข้างดีไซน์เก๋

่ ะช่วยให้หอ ่ เล่น โต๊ะข้าง Trio สุดเก๋จากฮาบิแทท ทีจ ้ งนัง ของคุณดูสวยงาม ด้วยการออกแบบที่ดูเรียบง่าย ในรูปทรงเพรียวบาง และดูออ ่ นนุม ่ จากดีไซน์โค้งมน ในโทนสีธรรมชาติ ท�าจากวัสดุไม้ปาร์ตเิ คิลบอร์ดปิดผิว ไม้โอ๊ค ขนาดกว้าง 41 x ยาว 56 x สูง 46 เซนติเมตร โดย 1 เซต มี 3 ชิน ั ทุกสไตล์การตกแต่ง ้ เข้าได้กบ ราคา 16,880 บาท

247 009



ศาสตราจารย์วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์

cover story

ใ น ชี วิ ต ข อ ง ค น ค น ห นึ่ ง ย่ อ มเป็ น ธรรมดาที่ จ ะต้ อ งมี ทั้ ง เ ว ล า ที่ ส ด ใ ส เ ต็ ม เ ปี่ ย ม ไ ป ด้ ว ย เ รื่ อ ง ดี ๆ แ ล ะ วั น ที่ เศร้ า หมองมองไปก็ เ ห็ น แต่ ปั ญ หา ประหนึ่ ง ว่ า โลกทั้ ง ใบ ได้ ก ลายเป็ น สถานที่ อั บ แสง ไร้เรี่ยวแรง หมดซึ่งความหวัง และในสถานการณ์เช่นนั้นเอง ที่จะเป็นสิ่ งพิ สูจน์ว่า คนผู้น้ัน จะก้าวต่อไปในหนทางไหน และ ด้วยวิธก ี ารใด ส� า หรั บ ศาสตราจารย์ วิ ริ ย ะ นามศิรพ ิ งศ์พันธุ์ ความมืดมิด ไม่ได้เป็นเพี ยงนิยาม หากแต่ ้ ในทางกายภาพ เป็นสิ่งทีเ่ กิดขึน เมื่ อ สองดวงตาต้ อ งอั บ แสง ตั้งแต่วัยเยาว์ จากอุบัติเหตุที่ แก้ไขย้อนคืนไม่ได้… แ ต่ ค ว า ม มื ด มิ ด ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น อุ ป สรรคใดส� า หรั บ อาจารย์ เพราะตลอดเวลาที่ 24 7 City Magazine ได้รับเกียรติร่วม พู ดคุ ย กั บ อาจารย์ ผู้ มี เ มตตา ท�าให้สัมผัสได้ถึงน�้าเสี ยงแห่ง ความหวั ง พลั ง แห่ ง ความ กระตือรือร้น ความปรารถนาดี ที่ พ ร้ อ มจะมอบให้ กั บ ทุ ก คน ่ ยูเ่ คียงข้าง ผ่านการอุทศ ทีอ ิ ตน ทั้ ง ใ น ฐ า น ะ อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ� า มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ , ผู้ ก่ อ ตั้ ง มู ล นิ ธิ ส ากลเพื่ อคน พิ ก า ร ร ว ม ถึ ง ร้ า น ก า แ ฟ Yimsoo Cafe ที่ ขั บ เคลื่ อ น ด้วยพลังด้านบวกของเพื่ อนๆ ผูอ ้ าจจะพิ การทางร่างกาย แต่ หัวใจสมบูรณ์เต็มเปี่ ยม อ ะ ไ ร คื อ พ ลั ง ที่ ผ ลั ก ดั น ใ ห้ ่ คง อาจารย์เดินหน้าได้อย่างมัน แนวคิ ด ใดที่ เ ป็ น หลั ก ยึ ด อั น เหนียวแน่นในใจ และสิ่งใดคือ เป้าหมายสูงสุดที่ท�าให้อาจารย์ ่ ย ยังคงเดินหน้าอย่างไม่รเู้ หนือ มาร่วมสั มผัสกับบทสั มภาษณ์ ที่ เ ติ ม เต็ ม พลั ง แห่ ง หั ว ใจ ให้ ‘ยิม ้ สู้’ ไปพร้อมกัน… Text: สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์ Photo: พิชญุตม์ คชารักษ์


ถ้าเราสามารถท�ให้คนอื่นมองเห็นศักยภาพแลำะ ชีวติ ในช่วงวัยเด็กของอาจารย์ ศ.วิริยะ : ผมเติบโตมาแบบ

ปกติ ทั่ ว ไป แต่ ต อนอายุ 15 ประสบอุบัติเหตุ โดนลูกหลง ของระเบิดไดนาไมต์ เพราะ ตอนนั้ น เป็ น ช่ ว งสงคราม เวี ย ดนาม ท�าให้สูญ เสียการ มองเห็น แต่โชคดีได้เข้าฝึกที่ โรงเรียนสอนคนตาบอด ซึ่งมี Miss Genevieve Caulfield สตรี ตาบอดชาวอเมริ กั น อุ ป ถั ม ภ์ เป็นผูท้ มี่ อี ทิ ธิพลกับชีวติ ของผม อย่างมาก ท่านจะย�้าเสมอว่า “ถึงจะตาบอด แต่เราสามารถ ท� า ได้ ทุ ก อย่ า ง และเป็ น คน ตาบอด ต้องรู้จักให้” ตอนนั้น ผมเถียงคุณครูเลยนะว่าเราเอง ก็พิการ จะไปช่วยอะไรใครได้ แต่ ท ่ า นตอบผมหนั ก แน่ น ว่ า ท�าได้ ขอเพียงใจเรามุง่ มัน่ ยิม้ ไว้ แล้วมอบสิ่งดีๆ ออกไป

ต้องสูญเสียการมองเห็น สร้าง ความลำ�บากให้อาจารย์มาก น้อยเพียงใด ศ.วิรยิ ะ : ต้องยอมรับว่า ในช่วง

แรกๆ ก็ยากและมีทอ้ อยูไ่ ม่นอ้ ย จนทุกวันนี้ ทักษะบางอย่างของ ผมก็ อ าจจะไม่ ไ ด้ ดี เ ที ย บเท่ า กับคนที่ตาบอดมาตั้งแต่เกิด เช่ น การอ่านอัก ษรเบรลล์ ที่ ผมอ่านได้ค่อนข้างช้า ก็เลยใช้ เทคนิคอืน่ ๆ ประกอบ อย่างการ จดชวเลขเข้ า มาช่ ว ย หรื อ แม้แต่การใช้เทคโนโลยีเข้ามา ช่วย ก็ท�าให้อะไรๆ นั้นง่ายขึ้น (อาจารย์สาธิต Application อ่านตัวอักษรของโทรศัพท์มอื ถือ) ที่ ม าที่ ไ ปของการตั ด สิ น ใจ มาเป็นอาจารย์ ศ.วิรยิ ะ : ก็เป็น Miss Genevieve

247 012

อีกเช่นเคยที่บอกว่า ถ้าเราช่วย ตัวเองได้ เรียนรู้ที่จะท้าทาย ตั ว เอง ก็ อ ยากจะให้ ส ่ ง มอบ สิ่งดีๆ เพราะเป็นคนตาบอด ต้ อ งรู ้ จั ก ให้ ท� า ให้ เ กิ ด เป็ น สมาคมคนตาบอด อั น เป็ น สมาคมคนพิ ก ารแห่ ง แรกๆ ของประเทศไทย ได้อานิสงส์ ข อ ง รุ ่ น พี่ ใ น ก า ร ผ ลั ก ดั น กฎหมายเพือ่ ผูพ้ กิ าร อันน�าไปสู่ กฎหมายข้ า ราชการพลเรื อ น ในช่ ว งที่ ผ มส� า เร็ จ การศึ ก ษา จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พอดี ซึ่งเลขาธิการ ก.พ. ท่าน ค่อนข้างใกล้ชดิ กับผูพ้ กิ าร และ ได้รับรู้ว่าคนกลุ่มนี้ไม่สามารถ รั บ ราชการได้ แม้ จ ะส� า เร็ จ การศึกษาและมีความรู้ความ สามารถเหมื อ นคนอื่ น ทั่ ว ไป จากเดิมในข้อกฎหมายที่ห้าม ผู้พิการ ทุพพลภาพ ท่านก็เติม ในส่ ว นวลี ‘จนไม่ ส ามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้’ ซึ่งช่วยเปิด โอกาสให้กบั ผูพ้ กิ าร ส�าหรับผม ต้องบอกว่าโชคดีที่ ดร.ปรีดี เกษมทรั พ ย์ คณะบดี ส มั ย ที่

ผมเรียน และ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เห็นว่าผมมีความสามารถ สอบได้ ที่ 1 ของรุ่น เลยให้โอกาสผมมาเป็น อาจารย์ จ นปั จ จุ บั น และมี โ อกาส ได้ ร ่ ว มบริ ห ารมู ล นิ ธิ ค นตาบอด ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ของประเทศอย่ า ง Christian Foundation for the Blind หรือมูลนิธิธรรมิกชนเพื่อคนตาบอด อีกด้วย

แลำ้วผู้พิการที่ไม่ได้มีความสามารถ ที่โดดเด่นจนเป็นที่สะดุดตา จะติด ปัญหาในการใช้ชวี ติ อย่างไร

ศ.วิรยิ ะ : มันจะเกีย่ วเนือ่ งกับทีผ่ มบอก

ว่า ถ้าเราแสดงศักยภาพบางอย่างไป คนอื่นจะมองข้ามความพิการ นั่น หมายถึงในภาพรวมด้วย อย่างผม ที่ได้เข้าไปเป็นอาจารย์ ก็เป็นการ แสดงตัวอย่างให้เห็นว่า ดูสิ ขนาด ธรรมศาสตร์ ยั ง รั บ อาจารย์ วิ ริ ย ะ เข้าสอนเลย แล้วท�าไมทีอ่ นื่ ๆ จะไม่ให้ โอกาสผู้พิการบ้าง ความท้าทายทีอ่ าจารย์พดู ถึง อยาก ให้ชว่ ยขยายความในจุดนี้ ศ.วิ ริ ย ะ : ในจุ ด นี้ ก็ ไ ด้ จ าก Miss

Genevieve อีกเช่นกัน ท่านบอกผมว่า

ถ้าจะให้ศักยภาพของเราออกมาได้ เราต้องหาเรือ่ งทีท่ า้ ทายท�า มองวิกฤติ ให้เป็นโอกาส ซึ่งในตะวันตก เขา พยายามอย่ า งมากที่ จ ะเปลี่ ย น จุดอ่อนเช่นการสูญเสียการมองเห็น ให้เป็นจุดแข็ง อย่างเช่นทีต่ า่ งประเทศ จะมีร้านอาหารแบบ Dinner in the Dark ที่รับประทานในห้องมืด ให้ คนตาบอดปรุ ง คนตาบอดเสิ ร ์ ฟ และผู ้ รั บ ประทานอยู ่ ใ นความมื ด ได้ สั ม ผั ส ประสบการณ์ ที่ แ ตกต่ า ง ราคาสู ง และมี ค นให้ ค วามสนใจ อย่างมาก นี่คือการท�าจุดอ่อนให้เป็น


ความสามารถได้ เขาก็จะมองข้ามความพิการไปเอง จุดแข็ง เช่นเดียวกับที่ผมอยากให้ น้ อ งๆ ผู ้ พิ ก ารได้ เ รี ย นรู ้ จ ากร้ า น Yimsoo Cafe แห่งนี้ มุมมองของอาจารย์ทมี่ ตี อ่ ช่องแบ่ง แยกระหว่างผูพ ้ กิ ารแลำะคนทัว่ ไป ศ.วิรยิ ะ : เรือ่ งช่องแบ่งเหล่านีเ้ ป็นสิง่

ที่ธรรมดานะ แต่ถ้าเราสามารถท�าให้ คนอื่นมองเห็นศักยภาพและความ สามารถได้ เขาก็จะมองข้ามความ พิ ก ารไปเอง เรื่ อ งเหล่ า นี้ ส ามารถ เกิดขึ้นได้ ถ้าเราให้โอกาสคนพิการ ได้ใช้ชีวิตอย่างคนปกติทั่วไป อย่างปี พ.ศ. 2561 นั้น ที่สหรัฐอเมริกา การ แข่งขันเชฟ คนตาบอดชนะได้เป็น อันดับ 1 เพราะแม้ว่าจะตาบอด แต่ สัมผัสด้านรสชาติของเขานั้นได้รับ การฝึกฝนเป็นอย่างดี หรือผู้พิการ บางคน แค่เพียงดีดนิ้ว ก็สามารถวัด ระยะ รับรู้ต�าแหน่งของสิ่งต่างๆ ใน ห้องได้ทันที แบบเสียงสะท้อนก้อง แบบค้างคาว แม้แต่คนตาบอดกับ วงการแพทย์ ก็พบว่ามีความสามารถ ในการตรวจหามะเร็ ง เต้ า นมได้ ดี จากการสัมผัส แม้วา่ จะยังไม่มอี าการ ก็ตาม นี่เป็นตัวอย่างที่ท�าให้เห็นว่า คนพิการก็ใช้ชีวิตอย่างปกติได้ อาจารย์คิดเห็นอย่างไรกับแนวคิด ที่ว่า ‘ผู้พิการถูกท�ให้พิการด้วย สภาพแวดลำ้อม’ แลำะแนวทางการ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของผู ้ พิ ก าร ในประเทศไทย ศ.วิริยะ : มันเริ่มจากแนวคิดก่อน

เลยครับ อย่างประเทศแถบตะวันตก เขาเริ่ ม ต้ น จากแนวคิ ด ที่ ว ่ า ถึ ง จะ พิการ ก็ยังมีความสามารถ หาเรื่อง ท้าทายให้ลองท�า อย่างคนตาบอด ท� า อาหารที่ ก ล่ า วไป หรื อ ผู ้ พิ ก าร ตาบอดบางคนอยากปีนเขา เอาสิ สนับสนุนเต็มที่ แต่กลับกัน พอเป็น สังคมไทย มีความเชื่อที่ตรงกันข้าม ว่า ถ้าพิการ คงท�าอะไรไม่ได้หรอก ก็เลยเป็นการท�าลายสองสิ่งที่ส�าคัญ ของมนุษย์ คือ โอกาสในการพัฒนา ตนเอง หรือ Empowerment ไม่ให้ เรียนหนังสือ ไม่ให้ท�างาน ไม่ให้ท�า อะไรเลย และอย่างที่สอง คือ สภาพ แวดล้อมที่ไม่ No Barrier หรือที่ ต่ า งประเทศเรี ย กว่ า Inclusive Society เป็นสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ส�าหรับทุกคน ต้องไม่มีก�าแพงกีดกั้น ใดๆ ซึ่งถ้าสองข้อที่ว่ามาถูกท�าให้ หายไป ผู้พิการได้รับโอกาส สภาพ แวดล้อมไม่เป็นอุปสรรค ความพิการ หรือ Impairment นั้นไม่ใช่เรื่องใหญ่ ก็แค่ความไม่สะดวกเพียงเล็กๆ น้อยๆ เท่านั้น และแนวคิดเหล่านี้ไม่ได้มี แต่เฉพาะผู้พิการ แต่รวมถึงคนใน ภาคส่วนอืน่ ๆ ทีค่ รบถ้วนทางร่างกาย ด้วย อย่างชาวเขาชาวดอย เราไป ท�าให้เขาล�าบาก ไม่ให้โอกาสในการ เรียนรู้ การพัฒนาตนเอง แล้วไป สร้างความรังเกียจ ก็เลยยิ่งห่างไกล เข้าไปทุกที

247 013


ประเทศแถบตะวันตก เขาเริ่มต้นจากแนวคิดที่ว่า ถึงจะพิการ ที่ตรงกันข้ามว่า ถ้าพิการ คงท�อะไรไม่ได้หรอก

247 014


ก็ยังมีความสามารถ แต่กลำับกัน พอเป็นสังคมไทย มีความเชื่อ ถ้าเทียบระดับการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของผู้พิการในประเทศไทยกับ ต่างประเทศ ศ.วิริยะ : ต้องยอมรับว่าประเทศไทย

ยังห่างไกล คือในตัวเมืองเราอาจจะ ค่ อ นข้ า งใกล้ เ คี ย งกั บ ระดั บ สากล แต่ในชนบทนั้นยังเหมือนเดิม นั่น ท�าให้ผพู้ กิ ารในประเทศไทยประมาณ 800,000 คนทีอ่ ยูใ่ นวัยท�างาน มีงานท�า แค่ เ พี ย งหนึ่ ง ในสี่ เ ท่ า นั้ น อย่ า ง ล่าสุดที่ผมเอาโควตาของบริษัทที่จะ รับผู้พิการ เปิดโครงการฝึกอบรม มีค่าใช้จ่ายให้ มีรายได้รับประกัน แน่ น อน บอกไป 100 ครอบครั ว มาเพียง 4 ครอบครัว เพราะลึกๆ แล้วเขาไม่เชื่อว่าผู้พิการจะสามารถ ท�าอะไรได้ แต่เราก็ฝึก 4 ครอบครัว ที่มาให้เป็นต้นแบบในชุมชน เพื่อไป ต่อยอดในภายหลัง ก็เริ่มประสบผล มี ค รอบครั ว ที่ ม าสมั ค รเพื่ อ ฝึ ก ฝน มากขึ้น แต่ในต่างประเทศ อย่างที่ ผมไปเรียนที่สหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2524 ที่ Perkins School for the Blind โรงเรียนสอนคนตาบอดที่มีชื่อเสียง ที่รัฐแมสซาชูเซตส์ ได้มีโอกาสปั่น จักรยานอาสาสมัครไปตามที่ต่างๆ ในช่วงฤดูร้อน รวมถึงสถาบันการ ศึ ก ษาเอง มี ผู ้ พิ ก ารเข้ า มาเรี ย น ร่ ว มกั บ คนปกติ เ ป็ น เรื่ อ งที่ พ บเห็ น ทั่วไป ถ้าไม่รวมผู้พิการซ�้าซ้อนที่จะมี โรงเรียนแยกออกมาต่างหาก

ดู อ าจารย์ เ น้ น ความส�คั ญ ของ Inclusive Society ค่อนข้างมาก ศ.วิรยิ ะ : แน่นอนครับ เพราะแนวคิด

เหล่านี้ ไม่ได้มีแต่เฉพาะผู้พิการ แต่ รวมถึงคนในภาคส่วนอืน่ ๆ ทีค่ รบถ้วน ทางร่างกายด้วย เราจ�าเป็นอย่างยิ่ง ที่ จ ะต้ อ งผลั ก ดั น ให้ สั ง คมเป็ น Inclusive Society เพื่อให้ทุก คน ได้รับโอกาสเท่าเทียมกัน บางคนที่ เริม่ ต้นมีไม่มาก ก็อาจจะต้องมีแต้มต่อ นิ ด หนึ่ ง อย่ า งผมที่ พิ ก ารตาบอด ก็ต้องการสื่ออักษรเบรลล์ ซึ่งแม้ว่า จะแพงสักหน่อย แต่ก็เป็นสิ่งจ�าเป็น หรืออย่างชาวดอยบางส่วนที่ยังเข้า ไม่ ถึ ง การศึ ก ษา เราต้องยอมให้มี โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ หรือพัฒนา คุณครูขึ้นไปสอน มีค่าตอบแทนที่ มากพอ ที่ก่อให้เกิดความพยายาม ในเรื่องกองทุนเสมอภาค แลำ้ ว ในส่ ว นกองทุ น เสมอภาคนั้ น มีทมี่ าทีไ่ ปอย่างไร ศ.วิรยิ ะ : กองทุนนี้ ซึง่ ในปัจจุบนั ได้รบั

การผลักดันให้ขึ้นเป็น พ.ร.บ. ใน รัฐธรรมนูญฉบับใหม่แล้วนั้น เกิดขึ้น จากแนวคิดที่ว่า การศึกษาเป็นส่วน ส�าคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และกองทุนนี้คือสิ่งที่ต้องมีเพื่อให้ถึง เป้าประสงค์ดงั กล่าว โดยจะให้โอกาส ทั้งเด็กในการศึกษา และการพัฒนา ครูให้มีศักยภาพที่จะมอบการศึกษา ที่ดีแก่เยาวชนไทย ซึ่งผมเองก็มีส่วน ในการพัฒนา พ.ร.บ. ฉบับนี้ในส่วน การศึกษาของเด็กเล็ก ผลักดันให้

เสร็ จ ทั น หลั ง รั ฐ ธรรมนู ญ ประกาศ ใช้เป็นเวลา 1 ปี ซึ่งได้ผ่านถึงการ พิจารณาวาระสาม น่าจะเสร็จสิ้น อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม และผมย�้ า ใน เนื้ อ หาว่ า ห้ า มเลยนะ ห้ า มสอบ เด็ ก อนุ บ าลขึ้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 1 เพราะนี่ ถื อ ว่ า เป็ น ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น สร้ า งความเครี ย ดและก่ อ ให้ เ กิ ด ปมด้อยอย่างที่ไม่ควรจะเป็น และ นี่ ไ ม่ ใ ช่ ค วามท้ า ทายที่ จ ะพั ฒ นา ศักยภาพในแบบที่ถูกทางเลย

ในส่วนของบริบทผู้พิการในเมือง ไทย ยังมีส่วนไหนที่อาจารย์คิดว่า ยังขาดอยู่ ศ.วิ ริ ย ะ : ผมมองว่ า เรื่ อ งของ

Awareness หรือการรับรู้เป็นเรื่อง ที่ ส� า คั ญ เราพยายามเน้ น ให้ เ ห็ น ตัวอย่างว่า ผู้พิการสามารถใช้ชีวิต ได้อย่างปกติ ซึง่ น�าไปสูแ่ นวทางอย่าง เป็นรูปธรรม เช่นโครงการฝึกอบรม หรื อ การจั ด กิ จ กรรมปั ่ น จั ก รยาน ทีจ่ ะท�าให้ทกุ คนตัง้ ค�าถาม สนใจ และ ตระหนักรู้ ในส่ ว นของกิ จ กรรมปั ่ น จั ก รยาน ถือว่าค่อนข้างน่าทึ่งทีเดียว อยาก ทราบรายลำะเอียดในจุดนี้ ศ.วิริยะ : จริงๆ แล้วนี่เป็นกิจกรรม

ที่จัดขึ้นหลายครั้งใน 1 ปี แต่ถ้าปั่นฯ ใหญ่จะมี 2 ครั้ง ซึ่งปีนี้เป็นปีที่ 2 แต่เป็นจักรยานสองตอน คือให้คน ตาดีปั่นอยู่ข้างหน้า และคนตาบอด คอยปั ่ น สนั บ สนุ น ด้ า นหลั ง ซึ่ ง มา รวมพลที่ร้าน Yimsoo Cafe กันก่อน เพราะเราตั้งใจว่าจะไปร่วมลงนาม ถวายพระพรพระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้ า โสมสวลี กรมหมื่ น สุทธนารีนาถ ที่โรงพยาบาลจุฬาฯ เนื่องจากพระองค์ภาฯ ทรงร่วมปั่น จักรยานกับเราเมื่อปีที่ผ่านมา โดย ในปีนี้ จะปั่นขึ้นไปที่เชียงดาว เพื่อ เปิ ด ศู น ย์ ฝ ึ ก วิ ช าชี พ เกษตรแปรรู ป ส่ ง เสริ ม อาชี พ ให้ กั บ ชาวดอยให้ มี อาชีพ และผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน

แลำ้ ว จุ ด ก�เนิ ด ของร้ า นกาแฟ Yimsoo Cafe ศ.วิรยิ ะ : ในส่วนของร้านกาแฟแห่งนี้

เกิ ด ขึ้ น ด้ ว ยความตั้ ง ใจที่ อ ยากจะ หาความท้าทายใหม่ เพราะหลังจาก ท�าหลายๆ สิ่ง อย่างเช่นศูนย์การ ศึกษาพิเศษ ที่เตรียมความพร้อม ส�าหรับเด็กเล็กก่อนไปเรียนร่วมกับ เด็ ก คนอื่ น ๆ รวมถึ ง เตรี ย มความ พร้อมส�าหรับคุณครู ซึ่งร้านกาแฟ Yimsoo Cafe ก็เกิดขึ้นด้วยแนวคิด แบบเดี ย วกั น โจทย์ ข องที่ แ ห่ ง นี้ คือท�าอย่างไรให้คนพิการที่ว่างงาน อยู ่ 6 แสนกว่ า คน ให้ มี อ าชี พ มีรายได้ ซึ่งถ้าจะฝึกอาชีพป้อนเข้า สู่ระบบบริษัท ก็จะใช้เวลาค่อนข้าง นาน และจะซ�้ากับหน่วยงานภาครัฐ ก็มองมาทางอาชีพอิสระ มาพิจารณา ว่ า อาชี พ แบบใดที่ ผู ้ พิ ก ารสามารถ ท�าได้ และท�าได้ดี มีค่าตอบแทนที่ เพียงพอ ก็มาลงที่ร้านอาหารและ

ร้านกาแฟ เริม่ ต้นด้วยแนวคิดเหล่านี้ ลงทุนทัง้ การจัดตัง้ ร้าน จนถึงการจ้าง ผู้เชี่ยวชาญมามอบความรู้ ให้แน่ใจ ว่าน้องๆ ที่ท�างานในร้าน สามารถ ชงกาแฟได้มาตรฐาน ตอนนีม้ ี 2 สาขา คือที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ที่ขายดีมากๆ กับที่นี่ (มูลนิธิสากลเพื่อคนตาบอด) ซึ่งจะ เป็นศูนย์ฝึกเป็นหลัก แต่ช่วงหลังก็ เริม่ มีคนแวะเวียนมากขึน้ จากบรรดา Hostel ที่พักที่เริ่มเกิดขึ้นในย่านนี้ รวมทั้ ง เป็ น จุ ด ที่ จ ะสนั บ สนุ น พั น ธุ ์ เมล็ดกาแฟของชาวเขาในโครงการ ที่กล่าวไป มีโครงการใดทีอ่ าจารย์ตงั้ ใจจะท�ให้ เกิดขึน้ อีกบ้าง ศ.วิ ริ ย ะ : ถั ด จากนี้ เรามองไว้ ที่

แนวคิด Tourism for All ครับ ที่ไป ปัน่ จักรยานก็เพือ่ ส�ารวจแนวทางเพือ่ เริ่ ม ต้ น โครงการโรงแรมต้ น แบบ ร่วมกับคุณกฤษนะ ละไล (นักข่าวและ พิธีกรรายการ ‘กฤษนะล้วงลูก’) ให้ คนได้เห็นว่าอาคารแบบ Inclusive ที่เอื้อส�าหรับทุกคนนั้นเป็นอย่างไร ก่อให้เกิดเป็นเครือข่ายส�าหรับผู้ที่ สนใจอยากจะเริ่มธุรกิจเหล่านี้ ว่ามัน เป็นไปได้นะ ก่อให้เกิดแนวทางที่จะ สร้างรายได้และอาชีพให้กับผู้พิการ ในทางหนึ่งด้วย ความคาดหวังของอาจารย์ที่มีต่อ สังคมผูพ ้ กิ ารในอนาคต ศ.วิริยะ : (นิ่งคิด) คาดหวังไว้ว่า

จากสิ่งต่างๆ ที่ได้ท�าไป จะก่อให้เกิด แรงกระเพื่อม ส่งต่อเป็นพลัง และ เมื่อมันมากพอ จะก่อให้เกิดความ เปลี่ ย นแปลงในทางที่ ดี ใ นอนาคต ที่ สั ง คมมองผู ้ พิ ก ารเหมื อ นทาง

ตะวันตก ซึ่งมองว่ามีศักยภาพ สภาพแวดล้อมไม่เป็นอุปสรรค และเอื้อส�าหรับทุกคน ไม่ทิ้ง ใครไว้ ข ้ า งหลั ง ส่ ง เสริ ม ให้ เข้าหาความท้าทายใหม่ๆ แต่ ถ้ า ถามว่ า จุ ด ไหนที่ จ ะก่ อ ให้ เกิดการขับเคลื่อนนั้น ตอนนี้ ก็ยังไม่รู้แน่ชัด แต่ก็ต้องท�าไป เรื่อยๆ (หัวเราะ) ระยะเวลำาหลำายปี ที่ ท�งาน เพื่อผู้พิการ มีโมเมนต์ไหนที่ อาจารย์รสู้ กึ ภูมใิ จ แลำะคิดว่า มาถูกทาง ศ.วิ ริ ย ะ : อย่ า งที่ ก ล่ า วไป

ผมเองเป็นคนที่ค่อนข้างโชคดี ที่ ไ ด้ เ จอและได้ รั บ ความ อนุเคราะห์จากคนดีๆ มาโดย ตลอด แต่ มี โ มเมนต์ ห นึ่ ง ที่ จดจ� า ได้ ดี ม ากๆ คื อ ตอนไป สอบสัมภาษณ์ที่มหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา เขา ถามผมว่ า ท� า ไมเราถึ ง ต้ อ ง รับคุณเข้าเรียน ผมตอบไปว่า ผมได้ รั บ โอกาสจากคนดี ๆ มากมาย และที่นี่มอบทุนการ ศึกษาส�าหรับผู้พิการ ซึ่งผม อยากจะมาเรียนเพือ่ เอาความรู้ ไปต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนของ ทุ ก คนในภายหลั ง นั่ น เป็ น ค�าตอบที่ออกมาจากใจ เป็น ค�าตอบที่ท�าให้ผมได้เข้าเรียน เพราะที่ นั่ น สร้ า งคนเพื่ อ สาธารณประโยชน์ เป็นสิ่งที่ ท� า ให้ รู ้ สึ ก ภู มิ ใ จ และคิ ด ว่ า เรามาถูกทางแล้ว

247 015


taste ถ ้ า มี ค� า ถ า ม ที่ ว ่ า เอกลักษณ์อันแท้จริง ของอาหารไทยคืออะไร บางที ค�าตอบทีไ่ ด้อาจจะไปสอดคล้อง กับอาหารจากประเทศเพือ่ นบ้าน เพราะแท้จริงนัน้ ประเทศรอบด้าน ของเรา ต่างมีจุดร่วมในการ ประกอบอาหาร ทัง้ การปรุงรส วัตถุดบิ ทีใ่ ช้ จนถึงสไตล์การจัดแต่ง

เชิญแนะนำ� ร้�นอ�ห�รเก๋ๆ เข้�ม�ได้ที่ freemag.247@gmail.com

ซึง่ ถ้ายังไม่เห็นภาพละก็ ขอชวนให้คณ ุ มาที่ So Asean ร้านอาหารอาเซียน ทีน่ า� จุดเด่นของอาหารแต่ละประเทศมาจัด แต่งและเสิรฟ์ ให้เห็นกับตา และลิม้ ลอง ให้สนิ้ สงสัยในความอร่อยทีอ่ าจจะท�าให้ ลืมค�าถามดังกล่าวไปเลยก็เป็นได้ ความน่าสนใจของเมนูอาหาร คือ การน�าอาหารของแต่ละชาติในภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาปรุงแต่ง

Text: เพลินรส Photo: พิชญุตม์ คชารักษ์

247 016

• สาขา FYI Center : เปิดบริการวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 07.00-20.00 น. และ วันเสาร์ เวลา 07.00-18.30 น. • ข้อมูลเพิม่ เติมทุกสาขา ที่ Facebook: SO asean Cafe` & Restaurant

และเสิร์ฟในสไตล์ร่วมสมัย และ เอกลักษณ์ทใี่ ช่แบบเฉพาะตัว ตัง้ แต่ เส้นญวนต้มย�าไข่ไหลหมูสบั รสชาติ เข้มข้นถึงเครือ่ ง, หมูมว้ นหนานุม่ ทีเ่ สิรฟ์ พร้อมผักแนมสด, มันหวาน ทอดชิน้ ใหญ่ กินคูก่ บั ซอสมะเขือเทศ หรือมายองเนส, ย�ายกสมุทรปลีกล้วย ที่เหมาะจะเป็นของกินเล่นแบบ จริงจัง จนถึงเมนูเฉพาะของประเทศ เช่น ลักซาของมาเลเซีย และข้าวมันไก่ ของสิงคโปร์ ฯลฯ ทั้งหมดได้รับ การปรุงรสด้วยฝีมอื ของเชฟทีผ่ า่ น ประสบการณ์ทั้งอาหารไทยและ นานาชาติ ภายในร้านตกแต่งด้วย บรรยากาศสบายๆ ของโทนสีออ่ น เชิญชวนให้ผมู้ าเยือนรูส้ กึ ผ่อนคลาย และใช้เวลานัง่ ลิม้ รสละเลียดอาหาร อย่างค่อยเป็นค่อยไป เอกลักษณ์อาจจะเป็นตัวบ่งชี้ ถึงตัวตนของแต่ละสิง่ แต่บางครัง้ โดยเฉพาะกับเรื่องอาหารการกิน และรสชาติ ถ้าหากผสมผสานกัน จนได้ที่ และน�าเสนอออกมาได้อย่างดี ก็เรียกได้วา่ เป็นคุณลักษณะทีต่ น้ ทาง โดยไม่ตอ้ งน�าพาถึงทีม่ าทีไ่ ป และ So Asean ก็พร้อมที่จะจูงมือคุณ ไปรับประสบการณ์นดี้ ว้ ยกัน

เมนูทนี่ า่ สนใจของ So Asean สาขา ตึก FYI (ตรงข้ามศูนย์ฯ สิรกิ ติ )ิ์ เห็นจะหนี ไม่พน้ สปาเกตตีเส้นญวนซอสเพสโต้ ทีป่ รุงด้วยเส้นญวนบางนุม่ ชวนรับประทาน เข้าคูก่ นั ดีกบั ซอสเพสโต้สไตล์ยโุ รป และเต็มอิม่ ด้วยเครือ่ งทัง้ กุง้ และหอยชิน้ โต เรือ่ งรสชาติ นัน้ หายห่วง เพราะจัดเต็มโดย เชฟวุฒ-ิ วุฒพิ งศ์ หมูเ่ ก็บ ผูส้ งั่ สมหลักไมล์ดา้ นอาหาร ทัง้ ไทยและต่างประเทศมาอย่างช�นาญมือ


society

News UPDate

Text: AuuIn

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่ 110 รูป เฉลิมพระเกียรติในหลวง รัชกาลที่ 10 เนื่องในโอกาสมหามงคล พระราชพิธีบรมราชาภิเษก

WHERE: BANGKOK HOW: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

chocotoss แฟรนไชส์เครือ่ งดืม่ โกโก้ เสริมขนมผักกรอบ DeeDy เป็นทางเลือกลูกค้าสายเฮลธ์ตี้

ChocoToss แฟรนไชส์เครือ่ งดืม่ โกโก้ จับมือ กับบริษทั จีเอ็ม อินเตอร์ ฟูด้ ส์ จ�ากัด น�าขนม ผักกรอบ DEEDY มาเป็นอีกหนึง่ ทางเลือกให้กบั ลูกค้าทีร่ กั สุขภาพ ซึง่ เป็นสแน็กเฮลธ์ตที้ ไี่ ม่ได้ มีเพียงความอร่อยเท่านั้น แต่ยังมีประโยชน์ ต่อสุขภาพ โดยเฉพาะคนไม่ชอบรับประทานผัก ลูกค้าที่ต้องการหาซื้อขนมผักกรอบ DEEDY สามารถหาซือ้ ได้ทรี่ า้ น ChocoToss หรือสอบถาม รายละเอียดเพิม่ เติมได้ทบี่ ริษทั จีเอ็ม อินเตอร์ ฟูด้ ส์ จ�ากัด โทร. 09 8026 6636 Facebook: @DEEDYVeggies / Line@: @deedyveggies และหากท่ า นใดสนใจเปิ ด ร้ า นแฟรนไชส์ เครือ่ งดืม่ โกโก้ ChocoToss สามารถติดต่อได้ที่ Facebook: @ChocoTossFranchise

จัดโครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่ รุน่ ที่ 17 จ�านวน 110 รูป เพือ่ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 10) เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก และเปิดโอกาสให้ นักศึกษา คณาจารย์ พนักงาน และศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย รวมถึงผูม้ จี ติ ศรัทธาทัว่ ไป ได้มโี อกาสบรรพชาอุปสมบทหมู่ เพือ่ ร่วมกันแสดงความจงรักภักดี ความกตัญญูกตเวที และส�านึกใน พระมหากรุณาธิคณ ุ ทัง้ ยังเป็นการสืบทอดประเพณีวฒ ั นธรรมไทยอันงดงาม

แกรนด์ ยูนิตี้ เปิดตัวโครงการไฮไลต์ของปี อนิล สาทร 12 (aNiL sathoRN 12) WHERE: BANGKOK HOW: แกรนด์ ยูนต ิ ี้ เปิดตัวโครงการไฮไลต์

ของปี อนิล สาทร 12 (ANIL Sathorn 12) ระดับ Super Luxury บนท�าเลทองสาทร ชูจุดเด่นโครงการที่พัก อาศัยตามมาตรฐาน WELL Building Standard กับ คอนโดมิเนียมสูง 42 ชัน้ ติดสถานี BTS สายสีเขียว สถานีศึกษาวิทยา ซึ่งเป็น CBD ของกรุงเทพฯ เป็น โครงการทีพ่ กั อาศัยแห่งแรกของไทยทีผ่ า่ นการรับรอง WELL PrecertifiedTM for Multifamily Residential Project, Gold Level ยกระดับคุณภาพชีวติ ของผูพ้ กั อาศัยให้ได้อยูใ่ นสิง่ แวดล้อมทีด่ ตี อ่ สุขภาพ ภายในอาคาร ภายใต้แนวคิด ‘Luxury Redefined’ ในราคาเริม่ ต้น 11 ล้านบาท

อีซูซุเดินหน้าส่งมอบโครงการ ‘อีซูซุให้น�้า...เพื่อชีวิต’ แห่งที่ 33 WHERE: SI SA KET

oPPo ส่งมอบประสบการณ์สดุ พรีเมียม ด้วยสมาร์ทโฟนไฮเอนด์รนุ่ ล่าสุด oPPo Reno 10x Zoom เหนือกว่าด้วยทีส่ ดุ ของกล้องถ่ายภาพ

OPPO พร้อมแล้วที่จะส่งมอบแรงบันดาลใจ ในการสร้างสรรค์ผลงานทีเ่ หนือกว่าด้วย OPPO Reno 10x Zoom สมาร์ทโฟนระดับพรีเมียม มาพร้อมเทคโนโลยีและดีไซน์อนั ทันสมัย ทีจ่ ะ มาสัน่ สะเทือนเหล่า Style Seekers ให้ได้สมั ผัส ประสบการณ์ เ หนื อ ระดั บ ไปกั บ เทคโนโลยี อันเป็นนวัตกรรมใหม่ พร้อมก้าวข้ามขีดจ�ากัด ของทุกการถ่ายภาพ สามารถซูมได้มากถึง 60 เท่า ให้คุณเปิดประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์ อย่างไร้ขดี จ�ากัด ภายใต้แนวคิด ‘Further Your Vision’ ทัง้ ยังสามารถซูม 10 เท่าแบบไม่สญ ู เสีย รายละเอียด ด้วยเทคโนโลยีลา่ สุด OPPO 10x Lossless Zoom เทคโนโลยีการซูมของ OPPO ที่เปิดตัวเป็นครั้งแรกในงาน Mobile World Congress 2019 พบกับ OPPO Reno 10x Zoom พร้อมกันได้ ในวันที่ 4 มิถนุ ายนนี้

HOW:

ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ปลัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม พร้อมด้วยกลุม่ อีซซู ใุ นประเทศไทย โดย มร.โทชิอากิ มาเอคาวะ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ตรีเพชรอีซซู เุ ซลส์ จ�ากัด ร่วมส่งมอบระบบน�้าดื่มสะอาดในโครงการ ‘อีซูซุ ให้นา�้ ...เพือ่ ชีวติ ’ แห่งที่ 33 ณ โรงเรียนด่านอุดมศึกษา ต�าบลด่าน อ�าเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ เพือ่ แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน�า้ ดืม่ สะอาดของโรงเรียน อย่างยั่งยืน ต่อเนื่องเป็นปีที่ 7 ตามปณิธานที่ว่า ‘อีซูซุจะด�าเนินโครงการนี้จนกว่าจะไม่มีโรงเรียน ในประเทศไทยประสบปัญหาน�า้ ดืม่ สะอาดอีกต่อไป”

นีโอ แถลงข่าวเตรียมจัด BicycLe sUPeR saLe 2019 มหกรรมสินค้าจักรยาน ลดราคาครั้งยิ่งใหญ่

WHERE: BANGKOK HOW: ศักดิ์ชัย ภัทรปรีชากุล

กรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบชิ นั่ ออกาไนเซอร์ จ�ากัด (นีโอ) พร้อมด้วยผูป้ ระกอบการแบรนด์ชนั้ น�า Bike Zone, F2P, Bike & Body ร่วมแถลงข่าวเตรียม จัดงาน 13th International Bangkok Bike present Bicycle Super Sale 2019 มหกรรมสินค้าจักรยาน ลดราคาครัง้ ยิง่ ใหญ่ ซึง่ มีกา� หนดจัดขึน้ ระหว่างวันที่ 20-23 มิถนุ ายน 2562 เวลา 10.00-21.00 น. ณ ฮอลล์ 7-8 อิมแพ็ค เมืองทองธานี เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการ ปัน่ จักรยานในทุกไลฟ์สไตล์ ทัง้ การแข่งขัน การท่องเทีย่ ว และการปัน่ จักรยานเพือ่ สุขภาพ ณ ลานเอเทรียม 1 ชัน้ G สยามเซ็นเตอร์

247 017


Text: วิทวัส ปัญญาเลิศวุฒิ

trivia

หนังเรื่องนี้ถูกพัฒนำมำจำกหนังสั้นของ เคลฟเบิรก์ เมือ่ ปี 2015 หนังเรือ่ งนีม้ คี วิ เข้ำฉำยช่วงสิน้ ปี 2017 แต่ ถูกพักไว้หลังบริษทั Lantern Entertainment ประสบปัญหำข่ำวฉำวของหนึง่ ในเจ้ำของหลัก อย่ำง ฮำร์วยี ์ ไวน์สไตน์

filmography กล้องโพลารอยด์อาถรรพ์ที่คร่าทุกชีวิต ที่มันถ่าย! คือประเด็นส�าคัญที่ผู้ก�ากับชาว นอร์เวย์ ลาร์ส เคลฟเบิร์ก ต้องการถ่ายทอด ออกมาใน ‘Polaroid’ หนังสยองขวัญเรือ่ งใหม่ ที่มีคิวเข้าฉายในบ้านเราเร็วๆ นี้ แท้จริงหนังเรือ่ งนีฉ้ ำยเป็นครัง้ แรกเมือ่ ปี 2015 ในรูปแบบหนังสัน้ ซึง่ ท้ำยทีส่ ดุ ผลงำนนี้ กลำยเป็ น ประเด็ น ที่ ดึ ง ดู ด ผู ้ ส ร้ ำ งหนั ง ฮอลลีวดู อย่ำง รอย ลี โปรดิวเซอร์เจ้ำของ แฟรนไชส์หนังสยองระดับต�ำนำน อย่ำง ‘The Ring’, ‘The Grudge’ และล่ำสุด ‘It’ เล็งเห็น ถึงศักยภำพของตัวหนังว่ำมีควำมแข็งแรง พอทีจ่ ะหยิบยกมำสร้ำงเป็นภำพยนตร์ขนำด ควำมยำวปกติ “พักหลังนีม้ นั ยำกมำกทีจ่ ะท�ำให้ผมรูส้ กึ กลัว นั่นเป็นเพรำะว่ำผมเป็นคนหนึ่งที่ได้ รับชมหนังสยองขวัญทัง้ แบบหนังสัน้ และหนัง ควำมยำวปกติมำมำกกว่ำใครๆ ในฮอลลีวดู ในฐำนะของแฟนผู้ชื่นชอบหนังประเภทนี้ และเพรำะด้ ว ยประเภทของงำนที่ ผ มท� ำ ซึ่ง Polaroid เป็นหนังสั้นที่ท�ำให้ผมรู้สึก ขนหัวลุกตอนที่ได้ดูมันจำกแล็ปท็อปของ ออฟฟิศผม ผมเชื่อว่ำหำกสำมำรถสร้ำงให้

bookshelf

เป็นหนังควำมยำวปกติได้ ก็จะสำมำรถถ่ำยทอด ประสบกำรณ์ ค วำมสยองได้ เ หมื อ นกั บ The Grudge หรือ The Ring ทีเ่ คยท�ำมำก่อน” รอย ลี ผูอ้ ำ� นวยกำรสร้ำงกล่ำว นอกจำกนี้ ลีได้ตดั สินใจเลือก ลำร์ส เคลฟเบิรก์ ผู ้ ก� ำ กั บ เวอร์ ชั น ตั ว หนั ง สั้ น มำเป็ น ผู ้ ส ่ ง มอบ ประสบกำรณ์สุดสยองลงจอภำพยนตร์ “ลำร์ส เป็นคนที่วำงแนวคิดและประกอบมันขึ้นมำเป็น หนังสัน้ ทีย่ อดเยีย่ ม จึงไม่มใี ครอีกแล้วทีเ่ หมำะสม กับกำรเปลีย่ นหนังสัน้ เรือ่ งนีใ้ ห้กลำยเป็นหนังควำม ยำวปกติ เขำมีควำมสำมำรถในกำรสร้ำงบรรยำกำศ อันน่ำสะพรึงกลัวและควำมตึงเครียดให้กบั หนังสัน้ ที่มีเวลำอันจ�ำกัด และคงเป็นเรื่องที่น่ำสนใจมำก หำกได้มโี อกำสเห็นสิง่ ทีเ่ ขำท�ำ เมือ่ เขำได้ทำ� หนัง ทีม่ คี วำมยำวมำกกว่ำเดิม” ‘Polaroid’ คือเรื่องรำวของ เบิร์ด ฟิทเชอร์ (แคทรีน เพรสคอตต์) นักเรียนมัธยมปลำยผู้ที่ บังเอิญพบกับกล้องโพลำรอยด์เก่ำตัวหนึง่ ไม่นำนนัก เธอก็พบว่ำกล้องตัวนี้มีพลังงำนชั่วร้ำยบำงอย่ำง อำศัยอยู่ ผู้ที่ถูกถ่ำยด้วยกล้องตัวนี้ล้วนต้องตำย อย่ำงน่ำสยดสยอง เธอและเพือ่ นๆ จึงต้องร่วมมือ กันเพือ่ หำทำงออกจำกสถำนกำรณ์นกี้ อ่ นทีพ่ วกเธอ ทุกคนจะถูกมันฆ่ำ ‘Poraloid’ มีควิ เข้ำฉำย 13 มิถนุ ำยนนี้ ในโรง ภำพยนตร์

De ProfunDis ที่ใดมีความเศร้า โดย Oscar Wilde

247 018

หากว่าอารมณ์แห่งความเกษมส�าราญนัน้ เปรียบได้ดงั่ หน้ากากทีเ่ คลือบทับห้วงยามอันหลากหลาย บ้างหยาบช้า ต�่าทราม บ้างเมินเฉยเย็นชา แต่ส�าหรับความเศร้านั้น คืออารมณ์อันจริงแท้ ไม่มีเบื้องหน้าเบื้องหลังแต่อย่างใด และหนังสือความเรียงของปัญญาชนยุคคลาสสิกเช่น Oscar Wilde อย่าง De Profundis ก็คือบันทึกแห่งความ โศกเศร้าอันจริงแท้ เป็นความเรียงทีเ่ ขียนขึน้ จากเบือ้ งหลัง ลูกกรง ในโทษทัณฑ์ทสี่ าหัสทีส่ ดุ ส�าหรับยุคนัน้ อย่างการ เป็นคนรักเพศเดียวกัน อาชญากรรมทีท่ า� ให้ยอดนักเขียน ต้องตรอมตรมเพราะมิอาจแก้ ไขสิ่งที่เป็นตนเองได้ เป็นรักที่ไม่กล้าเอ่ยนาม แต่กท็ า� ให้เขาได้คน้ พบบางสิง่ ที่ ละเมียดภายใต้ความเศร้านั้น

must see ‘My Best Friend’s Wedding’

หนังเน็ตฟลิกซ์ แนะน�ำประจ�ำเดือนนี้ อีกหนึ่งในหนังคลำสสิกโรแมนติกคอเมดี้ แห่งยุค 90 ทีโ่ ดนใจคนเคยแอบรักเพือ่ นสนิท เรือ่ งรำวของจูเลียน นักเขียนวิจำรณ์อำหำร สำวสวย กับไมเคิล นักข่ำวกีฬำผู้เป็นอดีต คนรัก และกลำยมำเป็นเพื่อนสนิทของเธอ ทัง้ สองเคยพูดกันว่ำ หำกอำยุครบ 28 ปีแล้ว ต่ำงคนยังโสด ทัง้ สองจะแต่งงำนกัน แต่เมือ่ จูเลียนก�ำลังจะอำยุครบ 28 ไมเคิลกลับบอก เธอว่ำเขำก�ำลังจะแต่งงำนกับคิมมี่ และ ต้องกำรให้จเู ลียนเป็นเพือ่ นเจ้ำสำว แผนกำร ทวงคืนผูช้ ำยทีร่ กั จึงเริม่ ต้นขึน้


music corner

hozier - waSteLand, BaBy!

Hozier นักร้อง นักแต่งเพลง และเจ้ำของรำงวัลแพลทินมั ปล่อย อัลบั้มใหม่ ‘Wasteland, Baby!’ โดยมีซงิ เกิลหลักเพลง Movement ที่ปัจจุบันมียอดสตรีมเกิน 20.8 ล้ำนแล้ว โดยเพลง ‘Nina Cried Power (Ft. Mavis Staples)’ ทีเ่ ป็นเพลง แรกใน EP. ชุดนี้ และเป็นเพลงเปิดอัลบัม้ ‘Wasteland, Baby!’ ยังอยูใ่ นเพลย์ลสิ ต์เพลงโปรดของ บำรัค โอบำมำ อดีตประธำนำธิบดีสหรัฐฯ อีกด้วย “ผมรูส้ กึ ตืน่ เต้นมำกทีอ่ ลั บัม้ นีเ้ สร็จแล้ว ผมใช้เวลำ นำนในกำรท�ำอัลบัม้ นี้ และอยำกขอบคุณแฟนๆ ทุกคน ทีใ่ ห้กำรสนับสนุนและต้อนรับผมเป็นอย่ำงดีตลอดมำ” อัลบัม้ ชุดแรก ‘Hozier’ ในปัจจุบนั มียอดสตรีมมิง่ บน Spotify ทีเ่ ดียวทัง้ หมดเกินกว่ำ 2.1 พันล้ำนสตรีม มียอด ขำยทัง้ หมดมำกกว่ำ 850,000 ก๊อบปีใ้ นสหรำชอำณำจักร และ 4 ล้ำนชุดทัว่ โลก แถม Hozier ยังเคยได้รบั กำรเสนอชือ่ เข้ำชิงรำงวัล ‘Best International Male’ จำกเวที BRIT Awards ในปี 2015

JameS Bay - Peer PreSSure

ศิลปินหนุม่ สุดเท่ ‘James Bay’ กลับมำอีกครัง้ พร้อมกับผลงำนใหม่ ‘Peer Pressure’ ซึง่ เป็นกำรร่วมงำน กับศิลปินสำวมำกควำมสำมำรถ อย่ำง ‘Julia Michaels’ อีกด้วย นักร้องหนุ่มเล่ำถึงเนื้อหำของ เพลงนี้ ว ่ ำ เป็ น กำรทลำยก� ำ แพง ทำงควำมรู้สึกของคน “เมื่อคนที่ เหมำะสมหรือคนทีใ่ ช่เข้ำมำ เขำสำมำรถข้ำมก�ำแพงหรือ พื้นที่ส่วนตัวด้วยควำมรัก ไม่ว่ำคุณจะปิดเท่ำไรก็ตำม สุดท้ำยคนคนนัน้ ก็จะโผล่เข้ำมำในชีวติ คุณได้ในทีส่ ดุ ” ‘James Bay’ เตรียมเดินสำยทัวร์คอนเสิรต์ ในแถบ อเมริกำเหนือโดยเริ่มที่แนชวิลล์ รัฐเทนเนสซี ณ หอ ประชุม Ryman ต่อด้วยทีโ่ รงละคร New York’s Beacon และในช่วงฤดูรอ้ นเขำจะร่วมกับ ‘Ed Sheeran’ ในกำรทัวร์ คอนเสิรต์ แถบยุโรปอีกด้วย

Quote

“ฐานรากของระบบ การเมืองของเรา ก็คอ ื สิทธิของ ่ ะสร้าง ประชาชนทีจ ่ นแปลง หรือเปลีย รัฐธรรมนูญทีใ่ ช้ใน การปกครอง” - George Washington

spotlight Text: สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์

Katie L. Bouman She who StareS on the event horizon

ในช่วงที่ผ่านมา นอกจากสภาพอากาศที่ร้อนอบอ้าวจะเป็นประเด็นที่ทุกคน ให้ความใส่ใจ (อย่างไม่สู้จะเต็มใจรับเท่าใด) แล้วนั้น แวดวงวิทยาศาสตร์เองก็ ทวีความร้อนแรงไม่แพ้กัน เมื่อภาพของ ‘หลุมด�า’ ในบริเวณขอบฟ้า เหตุการณ์ (Event Horizon) ได้ถูกรวบรวมและเปิดเผยเป็นครั้งแรก นับเป็นความก้าวหน้า แห่งแวดวงดาราศาสตร์ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ไม่ได้ ถ้าหากไม่ใช่เพราะนักวิทยาศาสตร์สาว อย่าง Katie L. Bouman กุมบังเหียนในการค้นพบครั้งส�าคัญนี้ จำกเด็กสำวแห่งมลรัฐอินดีแอนำในครอบครัวนักวิทยำศำสตร์ Katie L. Bouman ส�ำเร็จกำรศึกษำระดับมัธยมศึกษำจำกโรงเรียน West Lafayette ในปี 2007 รวมทั้งเป็นครั้งแรกที่เธอได้สัมผัสกับงำนด้ำน ‘Images Processing’ ที่มหำวิทยำลัย Purdue University และเรียนรู้ถึงสิ่งที่เรียกว่ำขอบฟ้ำ เหตุกำรณ์ อันเป็นเข็มทิศส�ำคัญที่น�ำชีวิตเธอในเวลำต่อมำ ด้ ว ยเป้ ำ หมำยอั น แน่ ชั ด มุ ่ ง มั่ น เธอส� ำ เร็ จ กำรศึ ก ษำจำก University of Michigan ระดับเกียรตินยิ มในสำขำวิทยำศำสตร์ คอมพิวเตอร์ และต่อยอดไปสู่ Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT สถำบันของเหล่ำหัวกะทิด้ำน วิทยำศำสตร์ ภำยหลังจำกคว้ำดีกรีปริญญำเอกทำงด้ำนวิทยำศำสตร์ คอมพิวเตอร์ เธอท�ำงำนร่วมกับสถำบัน Harvard University เพื่อพัฒนำกล้องดูดำวที่มีเป้ำหมำยจับภำพของหลุมด�ำ ในขอบฟ้ำโดยเฉพำะ จนในทีส่ ดุ ปี 2019 ด้วยกำรประมวลผล และกำรเขียนโปรแกรมอย่ำงเข้มข้น หลุมด�ำอันมืดมิด ในฟำกฟ้ ำ อั น ห่ ำ งไกลก็ ไ ด้ ป รำกฏสู ่ ส ำยตำชำวโลก รวมถึงประกำศควำมส�ำเร็จของนักวิทยำศำสตร์หญิงที่สู้ ไม่เคยถอย เพือ่ ไปให้ถงึ ร่องรอยอีกฟำกหนึง่ ทีย่ งั ไม่เคยมีใคร ไปถึงมำก่อนในครั้งนี้

All About

Katie L. Bouman สมรสกับ Joe Leong คนรักที่คบหาดูใจ กันมานานในปี 2018 และพ�านัก อาศัยอยู่มลรัฐมิชิแกน จ� า นวนฮาร์ ด ดิ ส ก์ ที่ เ ก็ บ ภาพ จากกล้ อ งโทรทรรศน์ ข อบฟ้ า เหตุการณ์นั้น มีความจุถึง 5 เพตาไบต์ (5000 เทราไบต์ หรือ 5 ล้านกิกะไบต์) ้ ชาวโซเชียลมีเดีย ความส�าเร็จของ Katie L. Bouman นัน สายวิทยาศาสตร์ให้ดก ี รีเทียบได้กบ ั Magaret Hamilton นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ห ญิ ง ผู้ เ ขี ย นโค้ ด การร่ อ นลงจอดของ กระสวยอวกาศ Apollo และเป็นตัวแทนของสตรีในโลก แห่งวิทยาศาสตร์ จากทักษะอันไม่ธรรมดาของเธอ

Her

247 019


ผศ.แจนนิส เอ็ม.

love

er

buzz feed

• lett e jun 9 201

เราควรภูมิ ใจนะ เพราะประเทศไทย เป็นประเทศแรก ในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ ที่ใช้ระบอบ ประชาธิปไตย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ แจนนิส เอ็ม. วงศ์สรุ วัฒน์ คุณแม่ของ จอห์น วิญญู กล่าวถึงประวัตศิ าสตร์การเมืองของประเทศไทย

ปาวัน กุมาร

ผมตัง้ ใจจะลง คะแนนให้ชำ้ ง แต่พลำดลงคะแนน ให้ดอกไม้

ปาวัน กุมาร ประชาชนชาวอินเดีย ผูต้ ดั นิว้ ตัวเอง หลังลงคะแนนเลือกตัง้ ผิด โดยเผลอให้คะแนนพรรค ภารติยะ ชนะตะ ทีเ่ ป็นพรรครัฐบาลในปัจจุบนั

เดชา ศิริภัทร

ชีวต ิ

คนนัน ้ ตีเป็น มูลค่าไม่ ได้ เดชา ศิรภิ ทั ร ผูบ้ กุ เบิกเกษตรกรรม ทางเลือก กล่าวถึงการศึกษา ความเป็นไปได้ในการใช้กัญชา เพือ่ การแพทย์

247 020

Volodymyr Zelenskiy

แม้จะยังไม่ได้ ด�รงต�แหน่งอย่ำงเป็น ทำงกำร แต่ในฐำนะ ประชำชนชำวยูเครน ผมขอส่งเสียงไปยัง ประเทศอดีตสหภำพ โซเวียต ให้มองดูเรำว่ำ ทุกสิง่ นัน้ เป็นไปได้ !

Volodymyr Zelenskiy นักแสดงตลกชาวยูเครน ผูล้ งสมัครชิงต�าแหน่งประธานาธิบดี ทีม่ ผี ลู้ งคะแนน ถึง 73 เปอร์เซ็นต์

‘น�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิ’์

คุณรูใ้ ช่ไหมคะว่า ในปี พ.ศ. 2562 นี้ ประเทศไทยจะมีเหตุการณ์สา� คัญ เหตุการณ์หนึง่ ในหน้าประวัตศิ าสตร์ ทีต่ อ้ งขอบอกตรงๆ ว่า ชัว่ ชีวติ หนึง่ ไม่ใช่วา่ จะได้พบได้เจอกันง่ายๆ นะคะ เพราะบางคนเกิดมาก็ไม่ทนั เหตุการณ์นี้ แถมอาจจะหมดลมหายใจ ไปก่อนได้พบเห็นเหตุการณ์นนี้ ะคะ เรียกได้วา่ เป็นเหตุการณ์ทยี่ ง่ิ ใหญ่ ทีส่ ดุ เหตุการณ์หนึง่ ในไทยเลยค่ะ นัน่ คือพระราชพิธบี รมราชาภิเษกยังไงล่ะคะ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ถ้าพูดให้เข้าใจง่ายขึ้นก็คือ เป็น พระราชพิธที กี่ ษัตริยจ์ ะเสด็จขึน้ ครองราชย์คะ่ ประเทศไทยปกครอง ด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข และ ตอนนีก้ ถ็ งึ เวลาของพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ในรัชกาลที่ 10 แล้วค่ะ ครัง้ ล่าสุด ทีป่ ระเทศไทยมีพระราชพิธบี รมราชาภิเษก คือ พระราช พิธบี รมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เมือ่ วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 หรือเรียกได้วา่ เมือ่ ราวๆ 69 ปีกอ่ นนีเ้ ลยค่ะ เห็นมั้ยคะว่านานขนาดชั่วอายุคนคนหนึ่งอาจไม่ได้อยู่ร่วมกับ เหตุการณ์ในประวัตศิ าสตร์ครัง้ นีเ้ ลยนะคะ ดังนัน้ ฉันถือว่าเป็นบุญ ครัง้ ใหญ่จริงๆ ทีไ่ ด้มโี อกาสอยูใ่ นช่วงเวลาประวัตศิ าสตร์ครัง้ นี้ แต่ขนั้ ตอนหนึง่ ทีส่ า� คัญและน่าสนใจในพระราชพิธบี รมราชาภิเษก คือ พิธสี รงพระมุรธาภิเษก (หรือการรดน�า้ ทีพ่ ระเศียร) ซึง่ เป็นการ เปลีย่ นพระราชสถานะสูค่ วามเป็นพระมหากษัตริย์ และอีกพิธหี นึง่ คือ พิธรี บั น�า้ อภิเษก (หรือการรดน�า้ ทีพ่ ระหัตถ์) ซึง่ แต่เดิมผูท้ ปี่ ระกอบพิธคี อื ราชบัณฑิตและพราหมณ์ เป็นผูถ้ วายน�า้ อภิเษก แต่ในรัชกาลที่ 9 ทรงเป็นพระองค์แรกทีท่ รงรับน�า้ อภิเษกจาก ผูแ้ ทนสมาชิกรัฐสภาประจ�าทิศทัง้ แปด ตีความถึงการเป็นพระมหากษัตริย์ ในระบอบประชาธิปไตยค่ะ อันดับแรก น�า้ มุรธาภิเษก หรือน�า้ ทีใ่ ช้รดทีพ่ ระเศียร จะมาจาก สระน�า้ 4 สระ อยูใ่ นจังหวัดสุพรรณบุรี และน�า้ จากแม่นา�้ ส�าคัญทัง้ 5 ของไทย หรือทีเ่ รียกว่า ‘เบญจสุทธคงคา’ นัน่ คือ แม่นา�้ บางปะกง แม่นา�้ ป่าสัก แม่นา�้ เจ้าพระยา แม่นา�้ ราชบุรี และแม่นา�้ เพชรบุรี ส่วนน�า้ อภิเษก มาจากแหล่งน�า้ ศักดิส์ ทิ ธิข์ อง 76 จังหวัด (ตรงนี้ อาจจะยากทีจ่ ะบอกทัง้ หมดนะคะ คุณรูแ้ ค่นพี้ อแล้ว) และน�า้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ จากหอศาสตราคม ในพระบรมมหาราชวัง 1 แหล่งน�า้ ค่ะ พิธีรดน�้าเหล่านี้ก็อยู่คู่สังคมไทยมานานนะคะ เพราะคนไทยก็ ใกล้ชดิ กับน�า้ ด้วย อีกทัง้ ตามความเชือ่ โบราณต่างๆ ก็มกั มีนา�้ เข้ามา เกี่ยวข้องเสมอ ตอนปีใหม่ไทย ยังมีการรดน�้าด�าหัวผู้ใหญ่เลยค่ะ ซึง่ ในพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ก็ยงั มีการใช้นา�้ จากแหล่งน�า้ ส�าคัญๆ ในพิธดี ว้ ยนะคะ ฉันเองยอมรับว่าตืน่ เต้นและอยากมีสว่ นร่วมกับเหตุการณ์สา� คัญ ในประวัตศิ าสตร์ ทีอ่ าจจะเอาไปเล่าให้ลกู หลานฟังตอนแก่กไ็ ด้นะคะ ถือเป็นบันทึกหน้าหนึง่ ทีส่ า� คัญของไทยจริงๆ เลยค่ะ คุณล่ะ ตืน่ เต้นเหมือนฉันหรือเปล่า ฉันว่าคุณก็นา่ จะสนอกสนใจ พอๆ กับฉันนะคะ

รักนะคะ คนดี เดซี่


(ข้อมูลจาก Greenpeace)

โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น จำกยุคเริ่มต้นอุตสำหกรรม

1C � 0.17

เฉลี่ย

สถิตเิ ดือดเมือ่ อุณหภูมโิ ลกร้อนแตะเลข 4

คิดเฉลี่ยเป็นทศวรรษละ

3 อันดับอำกำศร้อนจัดระดับสำกล

เนิน Death Valley แคลิฟอร์เนีย

56.7 องศา ตูนิเซีย 55 องศา แอลจีเรีย 51.3 องศา

องศาเซลเซียส

จะเกิดอะไรขึ้น ถ้ำโลกร้อนขึ้น

พื้นที่เขตร้อนจะระอุ จนประชากรกว่า

420 ล้านคน เผชิญคลื่นความร้อน

องศา ภูเขาน�้าแข็งขั้วโลกจะละลาย จนหมดภายใน

10

ปี เชื้อโรคโบราณที่อยู่ในขั้วน�้าแข็ง จะแพร่กระจาย

ask guru Text: สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์

Heatstroke

ภัยร้ำยในวันทีอ่ ำกำศร้อนเหมือนเตำอบ ในวันที่อากาศร้อนอบอ้าวทะลุองศา การ เดิ น ออกนอกบ้ า นจึ ง เปรี ย บได้ กั บ การ นัง่ อยูบ่ นกระทะหรือหม้อน�า้ ทีพ่ ร้อมจุดไฟ ต้ม สิ่งหนึ่งที่ไม่ควรจะประมาทอย่างยิ่ง คือ สภาพอุณหภูมขิ องร่างกาย โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง เมื่อภัยร้ายอย่างโรคลมแดด หรือ Heatstroke นั้น สามารถเกิดขึ้นได้ โดยง่าย และมีอันตรายถึงชีวิต จึงควร ท�าความเข้าใจกับโรคนี้เสียแต่เนิ่นๆ โรคลมแดด เกิดจากสภาวะทีร่ า่ งกาย ไม่สามารถปรับตัวกับความร้อนที่เกิดขึ้น จนเกิดเป็นสภาวะวิกฤติ ซึ่งโดยปกติแล้ว ร่างกายจะมีการปรับตัวตามสภาพอากาศ ที่เปลี่ยนแปลงไป แต่ถ้าอากาศร้อนจัด การปรั บ ตั ว อั น เกิ ด จากการท� า งานของ ต่อมใต้สมองไฮโปทาลามัสไม่เกิดสมดุล ย่อมส่งผลเสียตามมา อาการของโรคลมแดดนั้นมีอยู่หลาย แบบ ทั้งการเพ้อ ความดันเลือดลดต�่า

3 อันดับอำกำศร้อนจัด แห่งประเทศไทย (ตรวจวัดโดยกรมอุตุนิยมวิทยำ วันที่ 18 เมษำยน 2562) ล�ปำง

ตำก

43 องศำ

43 องศำ

แม่ฮ่องสอน

42 องศำ

องค์กำรสหประชำชำติประเมินเวลำที่จะแก้ไข สภำวะเรือนกระจกเอำไว้ที่

12 ปี

เพื่อให้ประสบควำมส�เร็จ ในกำรแก้ไขสภำวะเรือนกระจก ทั่วโลกต้องลดกำรใช้ถ่ำนหิน

2 ใน 3 ของปริมำณทั้งหมด

แนวปะการังจะเสียหายจนหมด สัตว์และพืชพรรณ กว่าร้อยละ

25 จะสูญพันธุ์

เกิดอาการมึนงง สับสน จนถึง ชักเกร็ง หมดสติ และร้ายแรง สุด เช่น การท�างานของอวัยวะ ภายในล้มเหลว เป็นต้น โรคลมแดดไม่ จ� า เป็ น ว่ า จะต้ อ งมี เ หงื่ อ ออก เพราะ ถ้าหากอยู่ในสถานที่ที่มีอากาศ ไม่ถ่ายเท มีความอับชื้น หรือ ผูท้ มี่ สี ภาวะของโรคอืน่ แทรกซ้อน

กำรน�พลังงำนหมุนเวียน (เช่น พลังงำนลม พลังงำนแสงอำทิตย์) เพียง

1 ใน 3 และต้องท�ให้เสร็จสิ้น ในปี 2573 ก็สำมำรถชะลอ สภำวะเรือนกระจกได้

เช่ น โรคความดั น เบาหวาน ผู้ที่กินยาคลายกล้ามเนื้อ ยาแก้ อักเสบ หรือเด็กเล็กที่ช่วยตัวเอง ไม่ได้ ก็มโี อกาสเกิดโรคลมแดดได้ การปฐมพยาบาลผู้ป่วยก็มี อยู ่ ห ลายวิ ธี ทั้ ง การนอนราบ ยกเท้าสูงเพื่อเพิ่มการไหลเวียน ของเลือด การถอดเสื้อผ้าเพื่อให้ อากาศถ่ายเท ใช้ผ้าเย็นประคบ เพื่ อ ระบายความร้ อ นและลด อุณหภูมิร่างกายให้เร็วที่สุด แต่ วิ ธี ที่ ดี แ ละเหมาะสมที่ จะสู ้ กั บ อาการลมแดดนั้ น คื อ การท�าให้ร่างกายมีความชุ่มชื้น อย่างต่อเนื่อง ใส่เสื้อผ้าที่โปร่ง ระบายอากาศได้ ดี และหมั่ น ดื่ ม น�้ า เป็ น ประจ� า ก็ จ ะช่ ว ย ป้องกันไม่ให้โรคลมแดดเข้ามา เยือนถึงตัว หน้ า ร้ อ นปี นี้ อากาศร้ อ น ทะลุจุดเดือด และไม่มีทีท่าว่าจะ จากลากันได้งา่ ยๆ อย่าลืมป้องกัน และดูแลตัวเองให้ดี เพราะโรค ลมแดด จัดว่าเป็นกลุ่มอาการ ที่ เ ป็ น สาเหตุ ข องการเสี ย ชี วิ ต ของผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่เขตร้อน ที่ต้องพึงระวังให้จงหนักกันเลย ทีเดียว

247 021


TRENDY BIZ

Text: Couching Economist

อย่ ำ งไรก็ ดี สิ ท ธิ ทั้ ง สองแบบ ส�ำหรับผู้พิกำรนั้น มีทั้งข้อดีและข้อ เสีย และกำรจ่ำยเงินเพื่อช่วยเหลือ ในเงื่อนไขที่แตกต่ำงกัน ซึ่งผู้พิกำร สำมำรถตรวจสอบได้จำกส�ำนักงำน หลักประกันสุขภำพแห่งชำติ (สปสช.) หรือกองทุนประกันสังคม ที่พร้อมให้ ค�ำตอบและอธิบำยถึงสิทธิทพี่ งึ ได้รบั นอกเหนือจำกประกันสังคมและ ประกันสุขภำพแล้ว กำรลงทุนในประกัน ชีวิต ที่ให้ค วำมช่วยเหลือก็ เป็ นสิ่ งที่ ผู้พิกำรควรพิจำรณำ เพรำะสำมำรถ น�ำมำสมทบเพื่อให้เกิดสภำพคล่อง ทำงกำรเงิ น ที่ จ ะช่ ว ยให้ ชี วิ ต ของ ผู ้ พิ ก ำรได้ รั บ ควำมสะดวกและ ปรำศจำกภำวะขำดไร้ในยำมฉุกเฉิน ซึง่ นับว่ำเป็นอีกหนทำงทีน่ ำ่ สนใจ และ

ประกำรสุดท้ำย คือกำรศึกษำ ทำงด้ำนกำรเงินกำรลงทุนใน รู ปแบบอื่ นๆ เพรำะเป็ นสิ่ งที่ สำมำรถท�ำได้ โดยไม่มขี อ้ จ�ำกัด ทำงด้ำนควำมทุพพลภำพเข้ำมำ เป็นเงือ่ นไข ผู้พิกำรอำจจะมีข้อติดขัดที่ แตกต่ำงจำกคนอื่นๆ แต่ไม่ได้ หมำยควำมว่ำจะต้องยอมรับและ จ�ำนนต่อโชคชะตำ โดยเฉพำะ กับเรือ่ งสิทธิทพี่ งึ ได้ และอิสรภำพ ทำงกำรเงิน ทีน่ อกจำกจะช่วยยก ระดับคุณภำพชีวิตของผู้พิกำร ให้ดีขึ้นแล้ว ยังเป็นแรงหนุนส่ง ให้ผพู้ กิ ำรภูมใิ จในฐำนะพลเมือง และมนุษย์ที่มีศักดิ์ศรีและสิทธิ ทีเ่ ทียบเท่ำกัน…

สวัสดิการสำหรับผูท้ พ ุ พลภาพทีน่ า่ สนใจ

Disability

but not without Rights:

กองทุนหลักประกันสุขภาพ (สปสช.)

สวัสดิการเบีย้ ความพิการ

เป็นหนึง่ ในกองทุนหลักทีค่ รอบคลุมผูท้ ี่ ทำงานในทุกเพศทุกวัยและทุกสภาวะ รวมถึงผูท้ ที่ พ ุ พลภาพตามเงือ่ นไข ซึง่ มี งบประมาณจัดสรรเอาไว้ที่ 126,533.13 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 4.36 ของงบ ประจำปี) ซึง่ กองทุนหลักประกันสุขภาพ นี้ จะใช้งบประมาณแผ่นดินอุดหนุน 100% ควบคูก่ บั ค่าธรรมเนียม 30 บาท สำหรับด้านรายละเอียด สามารถติดต่อ สอบถามหรืออ่านรายละเอียดเพิม่ เติม ได้ทเ่ี ว็บไซต์ของ สปสช.

เป็ น สวั ส ดิ ก ารสำหรั บ ผู ้ ที่ มี บั ต ร ประจำตั ว คนพิ ก าร และเป็ น หนึ่ ง สวั ส ดิ ก ารหลั ก ของผู ้ ทุ พ พลภาพ ซึ่งจะจ่ายให้กับผู้ที่ลงทะเบียนเป็น รายเดือน เดือนละ 500 บาท ซึ่ง สามารถใช้ร่วมกับสิทธิอื่นๆ เพื่อ การเกือ้ หนุนกันได้ เช่น บัตรผูส้ งู อายุ หรือกองทุนให้กยู้ มื เงินเพือ่ ประกอบ อาชีพ เป็นหนึง่ ในสิทธิทผ ี่ ทู้ พ ุ พลภาพ ต้องมีไว้ตดิ ตัว

สิทธิทางการเงินทีพ ่ งึ ได้ สำหรับผูพ ้ ก ิ ารและทุพพลภาพ

247 022

ในการใช้ชวี ติ ของคนหนึง่ คนนัน้ เรื่ อ งเงิ น ทองส� า หรั บ ใช้ จ ่ า ย ด้านต่างๆ ย่อมไม่อาจมองข้าม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับผู้พิการ ทีม่ เี งือ่ นไขทางด้านทุพพลภาพ ท�าให้ ปัจจัยด้านการเงินนัน้ ทวีความส�าคัญ ขึน้ อย่างช่วยไม่ได้ ส�ำหรับประเทศไทยที่มีกฎหมำย ว่ำด้วยสิทธิทำงด้ำนพลเมือง ย่อม ครอบคลุมในส่วนของควำมช่วยเหลือ ทำงด้ำนกำรเงิน ซึ่งส�ำหรับผู้พิกำร นัน้ สำมำรถขอใช้สทิ ธิในด้ำนดังกล่ำว ได้จำกสองช่องทำงด้วยกัน คือ สิทธิ หลักประกันสุขภำพผูพ้ กิ ำร และสิทธิ ประกันสังคมผูพ้ กิ ำร ทั้งนี้ ผู้พิกำรที่เข้ำรับประกันตน ในสิทธิที่ทำงหน่วยงำนภำครัฐได้จัด เตรียมไว้ สำมำรถรับควำมช่วยเหลือ

ทำงด้ำนกำรเงินในกรณีตำ่ งๆ ทีจ่ ำ� เป็น ตั้ ง แต่ ก รณี เ จ็ บ ป่ ว ย, คลอดบุ ต ร, สงเครำะห์บุตร, ว่ำงงำน, ชรำภำพ จนถึงเสียชีวติ โดยเงือ่ นไขทีจ่ ะได้รบั สิทธิ คือ กำรจ่ำยเงินสมทบเพือ่ เป็นกำร ประกันตน เป็นอัตรำ 5% ของค่ำจ้ำง หรือถ้ำหำกผู้พิกำรจะเลือกใช้สิทธิ ประกันสุขภำพ หรือบัตรทอง จะต้อง ตรวจสอบให้แน่ใจว่ำตรงกับเงื่อนไข ผูพ้ กิ ำรทีพ่ งึ ได้รบั สิทธิทงั้ 6 ข้อด้วยกัน คือ พิกำรทำงกำรเห็น พิกำรทำงกำรได้ยนิ หรือสือ่ ควำมหมำย พิกำรทำงกำรเคลือ่ นไหวทำงร่ำงกำย พิกำรทำงจิตใจหรือออทิสติก พิกำรทำงสติปญ ั ญำ พิกำรทำงกำรเรียนรู้

กองทุนประกันสังคม เป็นหนึง่ ในกองทุนหลักทางด้านสุขภาพ ของประเทศไทย มีงบประมาณจาก รายจ่ายเพือ่ การจ่ายประโยชน์ทดแทน ที่ 48,544 ล้านบาท และมีจำนวนผูท้ ี่ ประกันตนไปแล้วกว่า 14.47 ล้านคน ทั้งนี้ กองทุนประกันสังคม ภาครัฐ จะอุดหนุนที่อัตราส่วน 33.33% หรือ 1 ใน 3 และเงินส่วนทีเ่ หลือจะหักจาก การสมทบของนายจ้างและผู้ประกัน ตน และสามารถเลือกได้วา่ จะรักษาที่ โรงพยาบาลใด เป็นกองทุนสำคัญที่ เกีย่ วข้องกับชีวติ การทำงานเลยก็วา่ ได้

โปรแกรมประกันชีวติ ส�หรับผูท้ พุ พลภาพ แม้ว่าประกันชีวิตโดยทั่วไปนั้นจะ ครอบคลุ ม ถึ ง การบาดเจ็ บ และ ทุพพลภาพไว้เป็นเงือ่ นไข แต่สำหรับ ผู ้ ที่ ทุ พ พลภาพมาตั้ ง แต่ แ รกเริ่ ม ก็สามารถได้รบั ความคุม้ ครองและ บริการทางด้านสิทธิได้ ซึ่งบริษัท ประกันเองก็มโี ปรแกรมทีค่ รอบคลุม ในความต้ อ งการต่ า งๆ เหล่ า นี้ ขอให้ติดต่อสอบถามกับบริษัทเพื่อ รับทราบเงือ่ นไข และเลือกใช้บริการ ทีเ่ หมาะสม

** ข้อมูลเกีย่ วกับสิทธิทผ่ี พู้ กิ ารพึงได้รบั สามารถตรวจสอบได้ที่ ** - ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) : www.nhso.go.th/FrontEnd/index.aspx - กองทุนประกันสังคม : www.sso.go.th/wpr/


tidbits

WHERE TO FIND COFFEE

& BAKERY

VIsIT OuR www.gmlive.com/247

SHOPPING MALL

HOSPITAL

OTHERS

Learning Curve คุณเคยได้ยินค�ำว่ำ Learning Curve ไหมครับ

ค�ำนี้แปลเป็นไทยได้ง่ำยๆ ว่ำ เส้นโค้งแห่งกำรเรียนรู้ ซึ่งก็ต้องแปลให้เข้ำใจอีกทีหนึ่ง ว่ำมันคือ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง ‘ควำมรู’้ กับ ‘ประสบกำรณ์’ นัน่ แหละครับ พูดให้งำ่ ยเข้ำก็คอื มันคือกำรสัง่ สม ประสบกำรณ์ ในกำรท�ำงำน ท�ำให้เรำได้เรียนรู้เรื่องต่ำงๆ และเชี่ยวชำญกับเรื่องนั้นๆ มำกขึ้น ตัวอย่ำง เช่น คนสองคนเริ่มงำนแบบเดียวกัน พอผ่ำนไปหนึ่งเดือน คนหนึ่งอำจจะท�ำงำนนั้นได้คล่องปรื๋อแล้ว แต่อีกคนหนึ่งยังมะงุมมะงำหรำอยู่เลย ก็แปลว่ำคนแรกเรียนรู้จำกประสบกำรณ์กำรท�ำงำนได้ดีกว่ำ Learning Curve ของคนแรกจึงพุ่งสูงกว่ำ ฟังดูคล้ำยกับว่ำ Learning Curve เป็นเรื่องที่เปลี่ยนแปลงไม่ ได้ แต่ที่จริงแล้วไม่เป็นอย่ำงนั้น นะครับ เพรำะ Learning Curve ของคนเรำเปลี่ยนได้ตลอดเวลำ แถมยัง ‘แซง’ กันได้อยู่ตลอดเวลำ อีกด้วย แน่นอนว่ำ กับหลำยเรื่อง เรำอำจเพิ่มกำรเรียนรู้ ไปสัก 1,000% ภำยในเวลำอันสั้นไม่ ได้ (เพรำะยังไม่ ได้ฝึกฝนจนมีประสบกำรณ์) แต่กระนั้นเรำก็สำมำรถ ‘เร่ง’ Learning Curve ของเรำได้ ด้วยหลำยวิธี อย่ำงเช่น ศึกษำจำกตัวอย่ำงที่ดี ตัวอย่ำงที่ดีก็คือ Best Practices หมำยถึงเคยมีใครท�ำอะไรบำงอย่ำงเอำไว้แล้วดีงำม ได้ผล สัมฤทธิ์ เรำก็ใช้วิธีเรียนรู้จำก Best Practices ได้ เพรำะเมื่อเรำเริ่มเรียนรู้ทักษะอะไรสักอย่ำง ตั้งแต่ กำรถักโครเชต์ เริ่มเขียนหนังสือ ไปจนถึงกำรลงทุน เรำไม่จ�ำเป็นต้องไปเริ่มต้นจำกศูนย์เสมอไป แต่ ให้ดูว่ำคนที่เรำชื่นชอบนั้น เขำท�ำอย่ำงไรบ้ำง เช่น ถ้ำจะเขียนหนังสือ ก็ลองดูว่ำนักเขียนอย่ำงสตีเฟน คิง เขียนอย่ำงไร เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ ท�ำอย่ำงไรในกำรเขียน หรือถ้ำจะลงทุนในตลำดหลักทรัพย์ ก็มี Best Practices มำกมำยให้เรียนรู้ กำรเรียนรู้เหล่ำนี้เท่ำกับกำร ‘รับ’ ประสบกำรณ์ของผู้มำก่อนเข้ำมำสู่ตัวเรำ โดยที่เรำไม่ต้องเสียเวลำ ไปค่อยๆ งมท�ำเอง Learning Curve ของเรำจึงพุ่งสูงขึ้นได้โดยใช้เวลำสั้นลง วัดและประเมินควำมก้ำวหน้ำของคุณทุกสัปดำห์ ถ้ำคุณประเมินตัวเองทุกวัน คุณอำจจะท้อเพรำะไม่ค่อยเห็นควำมเปลี่ยนแปลง แต่ถ้ำประเมิน ตัวเองทุกเดือน ก็อำจเป็นช่วงเวลำยำวนำนเกินไป ซึ่งก็จะท�ำให้คุณท้ออีกนั่นแหละ เพรำะมองไม่เห็น ควำมเปลี่ยนแปลงมำกนัก กำรทบทวนตัวเองทุกสัปดำห์คือระยะเวลำที่ดีที่สุด สิ่งที่ท�ำได้ก็คือกำรจดว่ำตัวเองได้เรียนรู้อะไรไปบ้ำง ท�ำอะไรผิดพลำดไปบ้ำง สิ่งไหนที่ต้อง หลีกเลี่ยง สิ่งไหนที่ต้องทุ่มเทเติมลงไป เหล่ำนี้จะช่วยให้ Learning Curve ของเรำเร่งเร็วขึ้นได้มำก ให้คนอื่นช่วยประเมิน : นั่นคือกำรเปิดรับ Feedback จำกคนอื่น แน่นอน, เรื่องนี้ไม่ง่ำยนักถ้ำคุณไม่เปิดใจ ตัวอย่ำงเช่น ถ้ำคุณก�ำลังฝึกเปียโน คุณอำจต้องลอง เล่นให้คนอื่นฟังบ้ำง โดยเฉพำะคนที่เป็นผู้รู้ผู้เชี่ยวชำญเรื่องนั้นๆ ถ้ำเขียนหนังสือ ลองส่งงำนไปให้ นักเขียนหรือบรรณำธิกำรเก่งๆ ช่วยอ่ำน หรือถกเถียงเรื่องโมเดลธุรกิจที่คุณอยำกท�ำกับเพื่อนที่เป็น ผู้ประกอบกำรที่ประสบควำมส�ำเร็จแล้ว คนเหล่ำนี้จะช่วย ‘ตบ’ ให้ทักษะของคุณกลมกล่อมขึ้นโดยใช้ประสบกำรณ์หรือ Learning Curve ของเขำ จึงเท่ำกับคุณได้ ‘เร่ง’ ตัวเองให้เร็วขึน้ โดยอัตโนมัติ ประเด็นก็คอื คุณต้องกล้ำเปิดรับค�ำวิจำรณ์ เหล่ำนี้ให้ ได้เสียก่อน อย่ำหยุด ปัญหำของ Learning Curve ก็คือคุณต้องหมั่นฝึกฝนไปเรื่อยๆ หยุดไม่ ได้ แต่หลำยคนอำจรู้สึก ท้อถอยเสียก่อน จึงเกิดแรงเร้ำที่จะหยุด ช่วงชวนท้อของ Learning Curve ก็คือเมื่อเส้นแห่งกำรเรียนรู้ ของคุณพุ่งขึ้นไป แต่แล้วมันกลับเดินไปข้ำงหน้ำเป็นแนวรำบ อย่ำงที่เรียกว่ำ Hit Plateau หรือไปชน กับ ‘ที่รำบ’ ซึ่งแปลว่ำต่อให้มีประสบกำรณ์เพิ่มขึ้น ท�ำสิ่งนั้นซ�้ำๆ แต่คุณก็ยังท�ำไม่ ได้ดีขึ้นอยู่นั่นเอง ตรงนี้คือส่วนที่หลำยคนท้อแล้วก็เลิกฝึกฝนไปเลย จริงๆ แล้ว ถึงแม้เรำจะ Hit Plateau แต่ไม่ได้แปลว่ำไม่เกิดกำรเรียนรู้นะครับ สมมุติคุณเล่น เปียโน แล้วฝึกท่อนที่เล่นไม่ ได้ซ�้ำๆ ไปเรื่อยๆ แม้จะยังเล่นไม่ ได้ แต่กล้ำมเนื้อของคุณอำจก�ำลัง ปรับตัว ก�ำลังเกิด ‘ควำมทรงจ�ำในกล้ำมเนื้อ’ (Muscle Memory) ที่แม้จะยังไม่สัมฤทธิผล แต่หำก หยุดลงไปก่อน ก็จะไม่มีวันประสบควำมส�ำเร็จได้เลย ฝึกให้หนักขึ้นไปอีก ฝึกหนักไม่ ได้แปลว่ำต้องใช้เวลำกับมันตลอดเวลำ เพียงแต่ต้องทุ่มเทอย่ำงจริงจัง และกำร ช่วยฝึกหรือให้ควำมรู้กับคนอื่น ก็เป็นเรื่องที่ท�ำให้ Learning Curve ของเรำเพิ่มขึ้นไปด้วยเหมือนกัน เหล่ำนี้คือวิธีต่ำงๆ ที่จะช่วยให้ Learning Curve ของคุณ ‘เร่ง’ ตัวได้เร็วขึ้น เพื่อรับมือกับชีวิต ยุคใหม่ที่คุณอำจต้องฝึกทักษะใหม่ๆ ให้ ได้อย่ำงรวดเร็ว มันเป็นชีวิตที่ไม่ง่ำยนัก แต่ถ้ำท�ำได้แล้วละก็ - รับรองได้ว่ำคุณจะสนุกกับชีวิตขึ้นอีกมำก

โ ต ม ร ศุ ข ป รี ช า

BEAUTY &SPA

HOTEL

247 023 ดาวน์โหลด E-Magazine ในเครือ GMG ได้ที่ App Store และ Play Store ios

Android

Apple Store

Google Play

AIS Book Store

Ookbee

Ookbee Buffet

Magzter


: e t i s b We ww. w roup gm.ign.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.