247#406

Page 1

MRT Blue line

มองกรุงเทพฯผ่านรถไฟฟ้า สายสีนํ้าเงิน

ciTy MaGaziNE : biwEEkLy www.GMLiVE.cOM/247 MaGaziNE

free

OF THE GM Group VOL.12 NO.406 1 - 31 auGusT 2019


MRT Blue line ชัว่ โมงนีห้ ากไม่พดู ถึงรถไฟฟ้าสายสีนา�้ เงินก็ดจู ะตกเทรนด์ไปสักหน่อย เพราะรถไฟฟ้า สายนี้เป็นสายประวัติศาสตร์เลยก็ว่าได้ เพราะทุกอย่างดูจะเป็นครั้งแรกไปซะหมด แต่จะเป็นครัง้ แรกอย่างไรนัน้ ก่อนอืน่ คงต้องมาท�าความรูจ้ กั รถไฟฟ้าสายสีนา�้ เงินกันก่อน รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล สายสีนา�้ เงิน (MRT Blue Line) นี้ ให้บริการ ระหว่างหัวล�าโพง - บางแค และเตาปูน - ท่าพระ โดยเปิดให้บริการเป็นช่วงๆ มาตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2547 สถานีหวั ล�าโพง - บางซือ่ และในปี พ.ศ. 2560 เปิดต่อไปถึงสถานี ปลายทางเตาปูน ล่าสุดเมือ่ ปลายเดือนกรกฎาคม 2562 ก็เปิดให้ทดลองโดยสารฟรี ช่วงสถานีวดั มังกร - สถานีทา่ พระ ระหว่างวันที่ 29 กรกฎาคม - 28 กันยายน 2562 ตัง้ แต่เวลา 10.00 - 16.00 น. ของทุกวัน และช่วงเตาปูน - ท่าพระ ในเดือนมีนาคม 2563 ซึง่ นับเป็นข่าวดีของเราชาวเมืองกรุงทีไ่ ม่ตอ้ งผจญรถติด โดยเฉพาะช่วงหน้าฝนแบบนี้ ทีก่ ารจราจรจะมาเป็นแพ็กเกจ ฝนตก - รถติด (หนัก) - น�า้ ท่วม และขอบอกเลยว่านับเป็นครัง้ แรกทีร่ ถไฟฟ้าเชือ่ มต่อการเดินทางระหว่างฝัง่ พระนคร กับฝั่งธนบุรี และเป็นการเชื่อมต่อด้วยอุโมงค์ลอดใต้แม่น�้าเจ้าพระยาแห่งแรกของ ประเทศไทย ผ่านเส้นทางสถานทีส่ า� คัญในย่านเมืองเก่า

• • • • • • • • • • • • • • • • • •

บรรณาธิการที่ปรึกษา ณิพรรณ กุลประสูตร บรรณาธิการอำานวยการ โตมร ศุขปรีชา บรรณาธิการบริหาร ขนิษฐา เผือกผ่องใส กองบรรณาธิการ สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์ ทีป่ รึกษาศิลปกรรม ประทีป ปัจฉิมทึก บรรณาธิการศิลปกรรม ธนพงษ์ ผดุงกิจ ศิลปกรรม มนตรี ฤทธิ์น้อย หัวหน้าพิสูจน์อักษร เจนจิรา ต่ายเทศ บรรณาธิการฝ่ายภาพ ดำารงค์ฤทธิ์ สถิตดำารงธรรม หัวหน้าช่างภาพ พิชญุตม์ คชารักษ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด ปาริชาติ เชือ้ รังสรรค์, อรกัญญา เบญจมณีโชค รองผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด กรองทอง สันดุษฎี ฝ่ายโฆษณา / การตลาด ปัณณภัสร์ เลาพิทกั ษ์กลู ผูจ้ ดั การฝ่ายสร้างสรรค์การตลาด ณัฐพล ขุนเจริญ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป ภานุวชั ร พงศ์วราภา ผูจ้ ดั การฝ่ายการเงิน วิมลลักษณ์ อาศัยพานิชย์ ฝ่ายบัญชี นุชนารถ ใจประสาท ผู้จัดการฝ่ายผลิต รัตนา โค้ว

บริษัท จีเอ็ม มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำากัด (มหาชน) อาคาร GM Group 914 ถนนพระราม 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ : 02 241 8000 แฟกซ์ : 02 241 8008 แฟกซ์ฝา่ ยโฆษณา : 02 241 5888 Email : freemag.247@gmail.com

ซึง่ ได้ใช้เทคนิคการก่อสร้างพิเศษและออกแบบสถานีให้มเี อกลักษณ์กลมกลืนกับ ประวัตศิ าสตร์ของพืน้ ที่ น�าไปสูค่ วามเป็นรถไฟฟ้าสายวัฒนธรรมสายแรกทีช่ ว่ ยเสริมส่ง การท่องเทีย่ ว เป็นแลนด์มาร์กดึงดูดทัง้ คนไทยและนักท่องเทีย่ วต่างชาติให้มาเช็กอินสถานี รถไฟฟ้าทีส่ วยไม่แพ้ประเทศใดในโลกถึง 4 สถานี ได้แก่ สถานีวดั มังกร สถานีสามยอด สถานีสนามไชย ในฝัง่ พระนคร แล้วลอดใต้แม่นา�้ เจ้าพระยาทีบ่ ริเวณปากคลองตลาด ไปยังสถานีอสิ รภาพ ฝัง่ ธนบุรี แต่ละสถานีจะมีความโดดเด่นสวยงามขนาดไหน และ มีไฮไลต์ทนี่ า่ สนใจอะไรบ้าง ทีมงาน 24 7 City Magazine ได้รวบรวมไว้ในฉบับนีเ้ พือ่ เป็น คูม่ อื การเดินทางแบบเข้าใจง่ายให้ได้อา่ นกัน นอกจากนี้ 24 7 City Magazine ยังได้รับเกียรติจาก ดร.ณัฐพงศ์ พันธ์น้อย อาจารย์ประจ�าภาควิ ช าการวางแผนภาคและเมื อ ง คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาให้มมุ มองถึงการอยูร่ ว่ มกันของคนเก่าทีอ่ ยูเ่ ดิม และคนใหม่ เข้ามา ในหัวข้อ ‘คนในอยากออก คนนอกอยากเข้า แต่...เราอยูร่ ว่ มกันได้!’ ซึง่ เป็นเรือ่ งที่ น่าสนใจและไม่ควรมองข้ามว่า เราจะสร้างระบบการอยูร่ ว่ มกันใหม่ให้มคี วามสุขได้อย่างไร

ประธานกรรมการบริหาร / กรรมการผู้จัดการ : ปกรณ์ พงศ์วราภา รองประธานกรรมการบริหาร สายงานการเงิน : พรจิตต์ พงศ์วราภา สายงานการตลาด : อัญริยา มีเขตกิจ สายงานนิวมีเดีย : พีศิลป์ พงศ์วราภา GM MULTIMEDIA GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED 24 7 OFFICE : GM Group BLDG., 914 RAMA 5 RD., DUSIT,

BANGKOK 10300 THAILAND

TEL. : +66 2241 8000 FAX : +66 2241 8008

www.gmgroup.in.th, www.gmlive.com/247 CHAIRMAN / CEO : PAKORN Pongvarapa EXECUTIVE VICE PRESIDENT FINANCE : PORNJITT Pongvarapa MARKETING : ANRIYA Meeketkit NEW MEDIA : PEESILP Pongvarapa

แยกสี : บริษัท กนกศิลป์ (ไทยแลนด์) จำากัด โทร. 02 215 1588 พิมพ์ที่ : บริษัท โอเอส พริ้นติ้งเฮ้าส์ จำากัด โทร. 02 433 3653 บรรณาธิการ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : พีศิลป์ พงศ์วราภา

- ขนิ ษ ฐา เผื อ กผ่ อ งใส

U P D AT E S & A C T I V I T I E S • T R E N D & TA S T E • T R AV E L & L E I S U R E • E AT & D R I N K • L I V I N G & M O R E

24

ชัว่ โมง

: ระยะเวลาทำการของ รถไฟใต้ดนิ ทีก่ รุงนิวยอร์ก และชิคาโก

3,710

ล้านคน

: จำนวนผูใ้ ช้ระบบขนส่งมวลชน รถไฟใต้ดนิ ต่อปีของกรุงเซีย่ งไฮ้ (ผลสำรวจจากปี 2018)

1863

: ปีทกี่ รุงลอนดอนเปิดทำการรถไฟ รางใต้ดนิ และถือว่าเป็นระบบขนส่งใต้ดนิ แห่งแรกของโลก

58.5

เมตร

: ระยะความลึกจากพืน้ ดินของ สถานีรถไฟใต้ดนิ Hampstead สายเหนือ ประเทศอังกฤษ

60.4

กิโลเมตร

: ระยะทางของรถไฟใต้ดนิ สายสาม จากสนามบินเหนือ ถึงจัตรุ สั ปันหยู่ กวางเจา ประเทศจีน ทีถ่ อื ว่ายาวทีส่ ดุ ในโลก



A MUST SEE ‘METRO’:

ความงดงามแห่งสถาปัตยกรรม ‘สถานีรถไฟใต้ดนิ ’

@ ta I w a n

FormoSa Boulevard meTro STaTion

แม้จะเป็นเกาะเล็กๆ ในเอเชียตะวันออก แต่ไต้หวันก็เป็นประเทศหนึง่ ทีม่ รี ะบบขนส่งมวลชน รวมถึงสาธารณูปโภคทีไ่ ด้รบั การพัฒนาเป็นอย่างดี และสถานีรถไฟใต้ดนิ a B ule a Met tati n ณ ย่าน ing ing เมือง a iung ก็เป็นอีกหนึง่ สถานีทไี่ ด้รบั การกล่าวถึงอย่าง กว้างขวาง เพราะนอกจากเป็นสถานีกลางทีเ่ ชือ่ มต่อสายรถไฟทีส่ า� คัญแล้ว ยังโดดเด่นด้วยการ ออกแบบงานศิลปะซึง่ ท�าจากกระจกสีทสี่ วยสดใสมากถึง 4 500 แผ่น เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทีผ่ คู้ นนิยมไป ถ่ายรูป รวมถึงมีบริการถ่ายภาพส�าหรับคูแ่ ต่งงานแบบ e e ing อีกด้วย

่ ี หากจะกล่าวถึงงานสถาปัตยกรรมทีม ่ ่ ความเกียวเนืองกับเมืองใหญ่อย่างแยก กันไม่ขาดในยุคปัจจุบน ั แล้วละก็ ‘สถานี ้ มาอยูใ่ นลําดับต้นๆ รถไฟใต้ดน ิ ’ คงขึน อย่างไม่สามารถปฏิเสธได้ เพราะนอกจาก จะสัมพั นธ์กบ ั คุณภาพชีวต ิ ของประชาชน ในฐานะสาธารณูปโภคเพื่ อคุณภาพชีวต ิ ่ วดสําแดง แล้ว ยังเป็นสิ่งปลูกสร้างทีอ ถึงพลังแห่งงานสถาปัตยกรรมและการ ออกแบบได้อย่างไม่แพ้ งานบนดินชิน ้ ใดๆ 24 7 City Magazine ขอนําทางลงสู่ ใต้ดน ิ เพื่ อสัมผัสกับ 5 สถานีรถไฟใต้ดน ิ ่ วรไปชืน ่ ชมสักครัง ้ ทีโ่ ดดเด่น ทีค ถ้ามีโอกาส

@RussIa

mayakovSkaya STaTion ถ้าจะพูดถึงประเทศทีม่ กี ารวางระบบรถรางสาธารณะ และรถไฟใต้ดนิ ทีเ่ ก่าแก่ของโลก คงหนีไม่พน้ ประเทศ รัสเซีย ซึง่ สถานีรถไฟใต้ดนิ Maya aya ก็เป็น อีกสถานทีห่ นึง่ ทีค่ วรไปสัมผัสดูสกั ครัง้ เมือ่ ได้ไปเยือน ประเทศนี้ เพราะนอกจากจะเก่าแก่ยาวนานตัง้ แต่สมัยเป็นสหภาพ โซเวียตแล้ว ยังได้เห็นถึงความงดงามของการผสมผสานระหว่าง สถาปัตยกรรมโมเดิรน์ และงานศิลปสไตล์อาร์ตเดโค พร้อมงาน ตกแต่งกระเบือ้ งโมเสกอันสวยงามน่าจับตา @ I ta ly

Toledo STaTion

247 004

ใครว่างานสถาปัตยกรรมทีอ่ ยูใ่ ต้ดนิ จะส�าแดง แผลง ทธิแสดงความงดงามไม่ได้ ขอให้ตตี วั จับเครื่องบินมาที่อิตาลี ดินแดนแห่งศิลปะ เป็นการด่วน เพราะสถานีรถไฟใต้ดนิ T le tati n นัน้ คือตัวอย่างแห่งความงามสมบูรณ์แบบทีแ่ ท้จริง ทั้งการตกแต่งด้วยกระเบื้องสีที่ไล่เฉดจากสีด�าไปสีทอง และตบท้ายด้วยสีนา�้ เงินทะเล การวางต�าแหน่งพืน้ ทีใ่ ช้งาน ทีเ่ นียนไปกับรูปทรงของอาคาร ไปจนถึงการผสมผสานกับ สถาปัตยกรรมเก่าแก่เช่นก�าแพงเมืองจากยุคสมัยราชอาณาจักรอารากอน นี่คือสถานีรถไฟใต้ดินแห่งความ บรรเจิดศิลป รับประกันด้วยรางวัล L a ในหมวด อาคารสาธารณะแห่งปี ในปี 2013 เลยทีเดียว


@russia Text: สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์

KoMsoMolsKAyA stAtion

@France

` Arts et Metiers stAtion

ประเทศฝรั่ ง เศสขึ้ น ชื่ อ เรื่ อ งความจุ ก จิ ก และการพิ นิ จ พิ จ ารณางานตกแต่ ง ค่อนข้างมาก อะไรที่ผิดหูผิดตาและอาจมีแนวโน้มท�าลายทัศนียภาพ ก็มีสิทธิ ที่จะไม่ได้เกิดในเมืองใหญ่อย่างกรุงปารีส ตั้งแต่อยู่ในขั้นตอนหน้ากระดาษ แต่สา� หรับสถานีรถไฟใต้ดนิ t et Metie ทีส่ ร้างขึน้ ในช่วงปี 1994 แห่งนี้ คือ ตัวอย่างของการสมาสกันทางสถาปัตยกรรมและงานศิ ` ลปทีแ่ ปลกประหลาดแต่เข้ากันได้ดี ด้วย การประดับแผ่นทองแดงในสไตล์ ‘ autilu ’ ตามแบบฉบับนวนิยายวิทยาศาสตร์ของ ule e ne อันเป็นผลจากการออกแบบโดยนักวาดการ์ตนู สัญชาติฝรัง่ เศส anç i uite an ซึง่ เป็นอีกหนึง่ สถานทีซ่ งึ่ ผูค้ นไปเยีย่ มเยียนและให้ความชืน่ ชมอยูไ่ ม่เสือ่ มคลาย

โดยปกติแล้วจะไม่แนะน�าสถานที่ในประเทศที่ซ�้ากัน แต่ ความงามของสถานีรถไฟใต้ดนิ l aya tati n ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซียนั้น ท�าให้ต้องยอมฝาฝน กฎเกณ ข์ องตัวเองสักครัง้ สถานีรถไฟใต้ดนิ แห่งนีต้ งั้ ชือ่ ตามกลุม่ l League กลุม่ แรงงานหนุม่ ผูล้ งแรงก่อสร้างสถานี ในช่วงเป็นสหภาพโซเวียต ตกแต่งด้วยกระเบือ้ งโมเสกสีทองอร่าม และ หินอ่อนทีส่ วยงามบาดตา รูปปันของเหล่าผูน้ า� และสหาย รวมถึงภาพ เหตุการณ์สา� คัญทางประวัตศิ าสตร์ ทุกสิง่ ท�ามาเพือ่ การโปรโมตและ โ ษณาชวนเชือ่ พรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียตอย่างจริงแท้


Text: สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์

อินเดียเดินหน้าส่งยานอวกาศ แล่นสูแ่ กนขัว้ ใต้ของดวงจันทร์

แวดวงดาราศาสตร์ถงึ คราวสัน่ สะเทือนอีกครัง้ เมือ่ ประเทศ อินเดีย ได้เริม่ ต้นส่งยานอวกาศ จากสถานีอวกาศ ati a an a e Cent e โดยมีจดุ มุง่ หมายทีแ่ กนขัว้ ใต้ของ ดวงจันทร์ ซึง่ เชือ่ ว่ามีแหล่งน�า้ ตามธรรมชาติอยู่ ทัง้ นี้ ยานได้ถกู ปล่อยออกไปเมือ่ วันที่ 22 กรกฎาคมทีผ่ า่ นมา หนึง่ วันหลังการเฉลิมฉลอง ครบรอบ 50 ปีของภารกิจ ll 11 ขององค์การ และถ้าทุกอย่าง เป็นไปตามแผนการทีว่ างไว้ ตัวยานจะไปถึงวงโคจรของดวงจันทร์ในวันที่ 6 กันยายน และจะเป็นความส�าเร็จครัง้ ส�าคัญของแวดวงเลยทีเดียว

GM W AUGUST 2019 ISSUE พบกั บ สุ ด ยอดนาฬิ ก า สมรรถนะสูงจาก B eitling 2019 e C lle ti n พร้อม ด้วยเรือ่ งราวของการถ่ายทอด วิถแี ห่งการสร้างสรรค์งานสไตล์ ‘M e n Ret ’ ของแบรนด์ รวมถึงเทรนด์นาฬิกา สีเขียวทีก่ า� ลังมาแรง และพาไปเจาะลึกถึง นวัตกรรมกลไกชุดใหม่ลา่ สุดของ M Ma te C n ete Cali e 3861

ALIBABA เปิดประตูให้ ผูป้ ระกอบการชาวสหรัฐฯ บนแพลตฟอร์ม ALIBABA.COM

ในขณะทีค่ วามขัดแย้งทางการค้าระหว่างจีนและสหรัฐ ยังคง ความตึงเครียดและหาข้อสรุปไม่ได้นนั้ ทาง li a a บริษทั -C e e ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของ a Ma มหาเศรษฐีชาวจีน ก็ได้เปิดประตูตอ้ นรับให้ผปู้ ระกอบการชาวสหรัฐ สามารถ เข้ามาท�าการค้าขายได้บนแพลตฟอร์ม li a a. เมือ่ วันที่ 23 กรกฎาคม ทีผ่ า่ นมา ทัง้ นีป้ ระมาณการกันว่าการเปิดโอกาสครัง้ นีจ้ ะช่วยสร้างรายได้ และสร้างงานให้กับสหรัฐอเมริกา รวมถึงกระชับความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ประเทศเป็นอย่างมากอีกด้วย

รองเท้า NIKE รุน่ คลาสสิกจากปี 1972 ทำยอดประมูลสูงถึง 350,000 ปอนด์

247 006

“I thInk beIng In love wIth lIfe Is a key to eternal youth.” “ผมคิดว่า การตกหลุมรัก กับชีวต ิ คือกุญแจส�าคัญ ่ า� ไปสูค ทีน ่ วามเยาว์วย ั นิรน ั ดร” - DOUG HUTCHISON, นักแสดงชาวอเมริกัน

ไม่ใช่เรือ่ งน่าแปลกใจถ้าจะกล่าวถึงมูลค่าของ รองเท้ากีฬารุน่ คลาสสิกทีส่ ามารถท�าราคา ได้สงู ในการประมูลส�าหรับนักสะสม แต่โลก แห่งรองเท้าผ้าใบจะต้องสะเทือนอีกครัง้ เมือ่ รองเท้า i e รุน่ วินเทจคลาสสิก M n e ทีอ่ อกแบบ โดย Bill B e an ผูร้ ว่ มก่อตัง้ บริษทั ในปี 1972 สามารถ ท�ายอดประมูลทีน่ วิ ยอร์กได้สงู ถึง 350 000 ปอนด์ โดย Mile a al นักสะสมชาวแคนาดา ยอมทุ่มไม่อั้น เพือ่ รองเท้ารุน่ คลาสสิกดังกล่าว ในฐานะสิง่ ส�าคัญใน ประวัตศิ าสตร์แห่งรองเท้ากีฬา



TRENDY BIZ

Text: Couching Economist

เป็นเจ้าของ ‘กิจการ’ กันอย่างง่ายๆ

ในหุน ้ ทรัสต์เพือ ่ สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์

247 008

ในโลกแห่งการลงทุนนั้น หนึ่งในสินทรัพย์ที่ดีเป็น ล� า ดั บ ต้ น ๆ ที่ ให้ ผ ล ตอบแทนอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย เชื่ อ ว่ า คงจะหนี ไ ม่ พ ้ น การมี ‘ทีด่ นิ ’ ซึง่ สามารถปล่อยให้เช่า แล้วเก็บเม็ดเงินเป็นรายเดือน เช่ น เดี ย วกั บ คนในสมั ย ก่ อ น ซึง่ นิยมซือ้ ทีด่ นิ และปล่อยขาย หรือให้เช่าทีด่ นิ ผืนทีต่ นมี สร้าง ความมั่ ง คั่ ง ให้ กั บ ลู ก หลาน รุน่ ถัดไป ก ร ะ นั้ น เ มื่ อ จ� า น ว น ประชากรเพิ่มสูงขึ้น สวนทาง กั บ ที่ ดิ น ที่ ล ดน้ อ ยลง พร้ อ ม กับราคาที่ทะยานขึ้นไปจนเกิน เอื้อม ท�าให้การลงทุนในที่ดิน หรือพืน้ ทีใ่ ห้เช่า ดูจะกลายเป็น เรือ่ งไกลตัว และเป็นการลงทุน ของคนที่มีสายปานที่ยาวมาก พอ โชคดีที่การมาถึงของการ ลงทุนในหุ้นตลาดหลักทรัพย์ และระบบเศรษฐกิจขนาดใหญ่ ก่อให้เกิดการลงทุนในรูปแบบ

ใหม่ เช่นหุน้ ทรัสต์หรือกองทุนในสิทธิ การเช่าอสังหาริมทรัพย์ขนึ้ ถ้าจะให้นิยามการลงทุนในหุ้น ทรัสต์ในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ คืออะไรนั้น สามารถอธิบายได้อย่าง ง่ายๆ ว่า เมื่อผู้ที่มีพื้นที่สาธารณะ ที่ปล่อยให้เช่าในรูปแบบหน่วยงาน หรือองค์กร เริ่มคิดหรือมีโปรเจกต์ อะไรก็ตาม จะมีการระดมทุนเพื่อใช้ ส�าหรับปรับปรุงพืน้ ทีห่ รือขยายต่อเติม ล�าพังด้วยต้นทุนหรือสายปานของ กลุม่ องค์กรนัน้ ๆ อาจจะเพียงพอได้ใน ระดับหนึง่ แต่การเปิดเป็นกองทุนหรือ ทรัสต์ให้ประชาชนได้เข้าไปจับจองใน รูปแบบหุน้ นัน้ จะช่วยลดภาระต้นทุน ส�าหรับโครงการที่จะเกิดขึ้น โดยให้ ผลตอบแทนในรูปแบบของเงินปันผล เป็นหุน้ แบบ alue n e t ent ( ) ที่จ่ายให้ตามรายไตรมาส ซึ่งขึ้นกับ ผู ้ ป ระกอบการนั้ น ๆ จะมี น โยบาย แบบใด หุ้นทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิ เช่าอสังหาริมทรัพย์เกิดขึน้ อย่างแพร่ หลายในต่างประเทศ เมือ่ มีการริเริม่

โครงการใหม่ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ u li a e หรือพื้นที่สาธารณะที่ก่อให้ เกิดประโยชน์ ซึ่งในประเทศไทยเอง ก็มกี ารลงทุนดังกล่าวมาแล้วนับสิบปี มีหุ้นที่น่าสนใจอยู่เป็นจ�านวนมาก ภายใต้ ห น่ ว ยงานหรื อ องค์ ก รที่ น ่ า เชือ่ ถือ อาทิ หุน้ C R T ของเครือ เซ็นทรัลพัฒนา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม หุน้ กองทุนประเภทนี้ จะต้ อ งศึ ก ษารู ป แบบการจ่ า ยผล ตอบแทนและเงือ่ นไขไม่แตกต่างอะไร กับหุ้นสามัญทั่วๆ ไป ไม่ว่าจะด้วย อัตราการจ่ายผลตอบแทนมีความ มัน่ คงสม�า่ เสมอหรือไม่ อัตราผันผวน ของตลาดโดยรวม ไปจนถึงท�าเลของ โครงการทีม่ กี ารเปิดให้จองซือ้ เพราะ ไม่ใช่ว่าหุ้นกองทุนอสังหาริมทรัพย์ ชนิดนี้ทุกตัว จะเป็นการประกันผล ก�าไรได้เสมอไป แต่ ทั้ ง นี้ ที่ ย กตั ว อย่ า งของหุ ้ น กองทุนอสังหาริมทรัพย์หรือ R T ขึ้นมานั้น เพราะเชื่อว่าจะต้องอยู่ใน ความสนใจของผู้คนและนักลงทุน อย่างแน่นอน จากการเปิดสถานีรถไฟ

หุน้ ทรัสต์เพือ่ การลงทุนในสิทธิ เช่าอสังหาริมทรัพย์นนั้ เกิดขึน้ อย่าง แพร่หลายในต่างประเทศ เมือ่ มีการ ริเริม่ โครงการใหม่ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ Public Space หรือพืน้ ทีส่ าธารณะ ทีก่ อ่ ให้เกิดประโยชน์ ซึง่ ในประเทศไทย ก็มกี ารลงทุนดังกล่าวมาแล้วนับสิบปี มีหนุ้ ทีน่ า่ สนใจอยูเ่ ป็นจำนวนมาก ภายใต้หน่วยงานหรือองค์กร ทีน่ า่ เชือ่ ถือ อาทิ หุน้ CPNREIT ของ เครือเซ็นทรัลพัฒนา เป็นต้น

ใต้ดินเพิ่มเติม ที่พื้นที่โดยรอบมีการ ปรับปรุง และแปลงสภาพให้กลายเป็น โครงการใหม่ๆ เช่นนัน้ แล้ว หุน้ กองทุน สิทธิในอสังหาริมทรัพย์ก็ถือเป็นอีก ทางเลือกหนึง่ ทีไ่ ม่ควรพลาด ส�าหรับ ผูท้ ตี่ อ้ งการจะลงทุน และพร้อมทีจ่ ะรอ ผลตอบแทนอย่างสม�า่ เสมอ สามารถ ส่งต่อให้รนุ่ ต่อไปได้



MRT Blue line

มองกรุงเทพฯ ผ่านรถไฟฟ้า สายสีนาํ้เงิน

COVER STORY Text: Photo: ก รร

กษณ์ ค กษณ์ ค ส

ิ ร

หลังจากให้บริการรถไฟฟ้า มหานคร สายเฉลิมรัชมงคล สายสี นํ้ า เงิ น (MRT Blue Line) จากสถานีหวั ลําโพง่ มาตัง ้ แต่ปี พ.ศ. 2547 บางซือ และต่อไปถึงสถานีปลายทาง ่ ปี 2560 รถไฟฟ้า เตาปูนเมือ มหานคร สายสีนาํ้ เงินส่วนต่อ ขยาย ช่วงหัวลําโพง-บางแค มี กํ า หนดเปิ ด ให้ บ ริ ก ารใน เดือนกันยายน 2562 และ ช่วงเตาปูน-ท่าพระ ในเดือน ้ แรก มีนาคม 2563 นับเป็นครัง ที่รถไฟฟ้าเชื่อมต่อการเดิน ทางระหว่างฝั่งพระนครกับ ฝั่งธนบุรี ด้วยอุโมงค์ลอดใต้ แม่ นํ้ า เจ้ า พระยาแห่ ง แรก ของประเทศไทย บนเส้นทาง ผ่ า นสถานที่ สํ า คั ญ ในย่ า น ่ ได้ใช้เทคนิคการ เมืองเก่า ซึง ก่อสร้างพิ เศษ และออกแบบ ส ถ า นี ใ ห้ มี เ อ ก ลั ก ษ ณ์ กลมกลืนกับประวัติศาสตร์ ข อ ง พื้ น ที่ ซึ่ ง ทํ า ใ ห้ เ ป็ น ร ถ ไ ฟ ฟ้ า ส า ย วั ฒ น ธ ร ร ม เสริมส่งการท่องเที่ยว เป็น ้ คนไทย แลนด์มาร์กดึงดูดทัง และนั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งชาติ ให้มาเช็กอินสถานีรถไฟฟ้า ่ วยไม่แพ้ ประเทศใดในโลก ทีส



ส่วนต่อขยายของรถไฟฟ้า สายสี น�้ า เงิ น ช่ ว งหั ว ล� า โพงบางแค มี ก� า หนดเปิ ด ให้ ประชาชนทดลองใช้ บ ริ ก าร ฟรี จากสถานี วั ด มั ง กรสถานีท่าพระ ตั้งแต่วันที่ 29 กรกฎาคม - 28 กั น ยายน 2562 และเปิดให้บริการเป็น ทางการเต็มรูปแบบและจัดเก็บ ค่าโดยสารตามปกติจากสถานี หั ว ล� า โพง-สถานี ห ลั ก สอง ในวันที่ 29 กันยายน 2562 นี้ เป็ น โครงสร้ า งทางวิ่ ง ใต้ ดิ น ที่เชื่อมต่อกับสถานีหัวล�าโพง ไปตามแนวถนนพระรามที่ 4 ผ่านถนนเจริญกรุง วังบูรพา ถนนสนามไชย โดยมี ส ถานี รถไฟฟ้าใต้ดิน 4 สถานี คือ สถานี วั ด มั ง กร สามยอด สนามไชย ในฝั ่ ง พระนคร แล้วลอดใต้แม่น�้าเจ้าพระยา ที่ บ ริ เ วณปากคลองตลาด ไปยั ง สถานี อิ ส รภาพ สถานี รถไฟฟ้าใต้ดินแรกและสถานี เดี ย วของฝั ่ ง ธนบุ รี จากนั้ น เป็นโครงสร้างทางวิ่งยกระดับ ไปถึงบางแค ปลายทางสถานี หลั ก สองด้ ว ยสถานี ร ถไฟฟ้ า ยกระดับ (ลอยฟ้า) 7 สถานี และเมื่ อ ส่ ว นต่ อ ขยาย ช่ ว งเตาปู น -ท่ า พระ ซึ่ ง เป็ น โครงสร้างทางวิ่ง และ 8 สถานี รถไฟฟ้าแบบยกระดับ เปิดให้ บริการทั้งระบบในปีหน้า จะ เชื่ อ มต่ อ ฝั ่ ง พระนครกั บ ฝั ่ ง ธนบุรีให้สามารถเดินทางเป็น วงกลมรอบกรุงเทพมหานคร อันท�าให้ประชาชนมีทางเลือก ในการเดินทางทีส่ ะดวกรวดเร็ว ประหยั ด เวลา วางแผนการ เดินทางได้ง่าย ปลอดภัย และ ลดการใช้รถยนต์ส่วนตัว ซึ่งก็ ส่งผลต่อเนื่องให้ความแออัด ของการจราจรลดลง ประหยัด

น�้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง และลดมลพิ ษ ใน อากาศจากการปล่อยควันของรถยนต์ บนท้องถนน เมื่ อ มองกรุ ง เทพมหานครผ่ า น เส้ น ขอบฟ้ า ไล่ ล งระดั บ พื้ น ถนน ดิ่งสู่ใต้ดิน ยามนี้โยงใยไว้ด้วยโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ทั้งที่ เปิดใช้บริการแล้วและก�าลังก่อสร้าง ในหลายพื้นที่ อาจารย์ประจ�าภาค วิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ดร.ณัฐพงศ์ พันธ์น้อย ให้ทัศนะว่า รถไฟฟ้าน�ามาซึ่งความ เปลี่ยนแปลงเชิงธุรกิจ สังคม และ ภาพรวมของเมืองที่ก้าวไปข้างหน้า โดยเฉพาะพื้นที่ที่ละเอียดอ่อนอย่าง สถานีรถไฟฟ้าใต้ดนิ วัดมังกร สามยอด และสนามไชย ซึ่งเป็นครั้งแรกที่มี ระบบรถไฟฟ้ า ขนาดใหญ่ ว างตั ว ในพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์เกาะรัตนโกสินทร์และ พื้นที่ต่อเนื่องกรุงรัตนโกสินทร์อย่าง ย่านเยาวราช วังบูรพา ที่มีโครงสร้าง ถนนค่อนข้างเล็กมาจากสมัยโบราณ เป็นตรอกซอกซอย เข้าถึงได้ยาก การจราจรแออัด ที่จอดรถแน่นขนัด ขณะเดียวกัน ผู้อยู่อาศัยในย่านนี้ ก็ไม่อยากเอารถออกมาเผชิญรถติด ถ้าไม่จ�าเป็น แม้จะมีพูดถึงการขยาย ทางเท้ า เพื่ อ ให้ เ กิ ด พื้ น ที่ กิ จ กรรม ต่างๆ แต่ยังไม่สามารถท�าได้ เพราะ พื้นที่ถนนของกรุงเทพ อยู่บนฐาน ของการแย่ ง กั น ใช้ พื้ น ที่ ร ะหว่ า ง คนเดินกับคนขับรถ แต่ เ มื่ อ ระบบขนส่ ง มวลชน เข้ามา ภูมิทัศน์หนึ่งที่จะเกิดขึ้นได้ ในระยะยาว คือปริมาณการสัญจร ทางรถยนต์น้อยลง ปริมาณคนใช้ ทางเท้ า เดิ น เพิ่ ม ขึ้ น อิ ส ระในการ ออกแบบและใช้ ป ระโยชน์ พื้ น ที่ สาธารณะให้กลายเป็นพื้นที่ที่น่าเดิน ส่งเสริมธุรกิจท่องเที่ยวที่มีสตรีทฟู้ด เป็นแกนน�าก็จะสูงขึน้ การเปลีย่ นถนน บางส่วนให้เป็นถนนคนเดินในวันหยุด ก็ อ าจเกิ ด ขึ้ น ได้ ใ นย่ า นเยาวราช

ต่อเนื่องไปถึงวังบูรพา ดิโอลด์สยาม มิวเซียมสยาม ท่าเตียน พื้นที่ริมน�า้ เจ้าพระยา เนื่องด้วยรถไฟฟ้าก�าลัง จะเปลีย่ นสมดุลใหม่ เมือ่ ท�าให้คนเดิน เยอะขึน้ การตัดสินใจของรัฐ หรือการ สนับสนุนภาคประชาชนก็มีแนวโน้ม และโอกาสที่ จ ะพลิ ก ให้ ก รุ ง เทพ เป็ น เมื อ งน่ า เดิ น โดยไม่ ไ ปท� า ลาย ทัศนียภาพและมรดกทางวัฒนธรรม อีกทั้งคนพื้นที่เดิมที่เคยย้ายออกไป อยู่ชานเมือง เมื่อได้เห็นบรรยากาศ ในเมื อ งดี ขึ้ น มลพิ ษ น้ อ ย มี พื้ น ที่ สีเขียวมากขึ้น อาชญากรรมน้อยลง ย่อมย้ายกลับเข้ามาอยู่ในเมืองเพิ่มขึ้น เนื่ อ งจากเดิ น ทางสะดวก จั บ จ่ า ย ใช้สอยสบาย มีพลังสร้างสรรค์ รวมถึง กลุ ่ ม ผู ้ สู ง อายุ ก็ จ ะมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ดีขนึ้ เพราะเข้าถึงโรงพยาบาล สถาน บริการสุขภาพ ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต ตลาด ออกก�าลังกายและ พบปะเพื่อนฝูงได้ง่าย ในมิ ติ ข องกิ จ กรรม พื้ น ที่ ที่ มี รถไฟฟ้าตัดผ่าน สิ่งที่เกิดตามมาคือ คอนโดมิเนียม ส�านักงาน คอมมูนิตี้ มอลล์ ห้างร้านค้าปลีก ด้วยสถานี รถไฟฟ้ า เปรี ย บเสมื อ นทางออก ของคนจ�านวนมาก โอกาสทางการ ค้าขายจึงเพิ่มขึ้น สิ่งที่เคยเป็นมา ย่อมเปลีย่ นไปเพือ่ ตอบโจทย์ทางด้าน เศรษฐกิจ อันจะเห็นปราก การณ์ ที่ เ รี ย กว่ า ent i i ati n (การ ดัดแปลงพื้นที่โดยคนนอกที่มีปัจจัย ทางเศรษฐกิ จ ดี ก ว่ า เข้ า มาอยู ่ จ น ผลักให้คนในพื้นที่เดิมต้องย้ายออก) ทีพ่ อเกิดขึน้ แล้วในย่านอย่างเยาวราช ตึกแถวร้างที่กลายเป็นไชน่าทาวน์ ไม่ มี ค นอยู ่ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นเป็ น โฮสเทล คาเฟ ร้านอาหาร ขณะที่ ร้านกวยเตียวดั้งเดิม ร้านขายยาจีน อาจจะอยู่ไม่ได้ ต้องเปลี่ยนเป็นร้าน ขายของช�าร่วย ของฝากนักท่องเทีย่ ว มากยิ่งขึ้น บางจุดที่เคยเป็นมุมมืด ดูน่ากลัว การเข้ามาด้วยรถไฟฟ้า

ท�าให้กลางคืนกลายเป็นสิ่งที่ภาษา การออกแบบเรียกว่ามี ye n t eet เป็นย่านที่มีตาของคนอยู่ตลอดเวลา มีกิจกรรม มีการเปิดร้าน มีคนเห็น ถื อ เป็ น มุ ม ดี ข อง ent i i ati n ที่ พ ลิ ก จากด้ า นหลั ง เป็ น ด้ า นหน้ า มีชีวิตชีวาขึ้น ในเชิงรูปลักษณ์อาคาร ตึกแถวบริเวณวังบูรพา ยาวไปถึงวัด มังกรกมลาวาส มาจากยุครัชกาล ที่ 5-6-7 แทรกตัวอยู่ราว 7 000 ตึก คือมรดกทางวัฒนธรรมที่ยังมีชีวิต อยู่ เป็นคุณค่าของเมืองที่ไม่ควรให้ สูญหาย เพราะกว่าจะสร้างได้ ใช้ เวลาเป็นร้อยปี การทุบท�าลายหรือ ปรั บ ปรุ ง อย่ า งไม่ ถู ก วิ ธี เป็ น สิ่ ง ที่ ต้องระมัดระวัง และมีวิธีการที่ท�าให้ เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงลั ก ษณะทาง กายภาพมีคุณค่ายังคงอยู่ต่อไปได้ การปรับเปลี่ยนอาคารที่มีคุณค่าทาง ประวัติศาสตร์เหล่านั้นไปสู่กิจกรรม อื่ น อย่ า งเหมาะสมควรท� า อย่ า งไร หรื อ ถ้ า มองไปที่ ย ่ า นสนามไชย มีสถานศึกษา เช่น โรงเรียนราชินี เด็กนักเรียนเดินทางได้สะดวกขึน้ แต่ ในขณะเดียวกัน คนมากหน้าหลายตา ที่เดินผ่านไปในชีวิตประจ�าวัน ความ ปลอดภัยของการดูแลเด็ก คือสิ่งที่ ต้องค�านึงและมีมาตรการดูแลด้วย เมื่ อ เห็ น ภาพรวมที่ ร ถไฟฟ้ า เข้ามาปรับภูมิทัศน์ฟ นฟูเมืองชั้นใน สร้ า งตรรกะใหม่ ข องการเดิ น ทาง การออกแบบพื้ น ที่ ร องรั บ การ เดิ น ทางด้ ว ยเท้ า และจั ก รยานได้ มากขึ้ น ลองมาดู กั น ว่ า รถไฟฟ้ า มหานคร สายสีน�้าเงินส่วนต่อขยาย ช่วงหัวล�าโพง-บางแค ที่มีจุดเด่น คือสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน 4 สถานี คือ วัดมังกร สามยอด สนามไชย และ อิสรภาพ จะพาเราไปรู้จักกรุงเทพ ย่านเดิมในมุมมองจากวิถีสัญจรใหม่ ได้สนุกขนาดไหน


M R T WAT M A N G KO N

สถานี วั ด มั ง กร บนถนนเจริ ญ กรุ ง บริ เ วณสี่ แ ยก แปลงนาม ใกล้วัดมังกรกมลาวาส (วั ด เล่ ง เน่ ย ยี่ ) ในย่ า นเยาวราช ออกแบบด้ ว ยสถาปั ต ยกรรมจี น ผสมสไตล์ชิโนโปรตุกีส สอดคล้อง กับวิถีชีวิต วิถีการค้าชาวจีน สภาพ แวดล้ อ มโดยรอบ โดยออกแบบ ทางขึ้น-ลงมีลักษณะเป็นท้องมังกร น� า พาผู ้ โ ดยสารไปสู ่ ชั้ น จ� า หน่ า ย บัตรโดยสาร ซึ่งฝ้าเพดานด้านหน้า ห้ อ งจ� า หน่ า ยบั ต รโดยสารตกแต่ ง ด้วยสถาปัตยกรรมนูนต�า่ รูปหัวมังกร บริเวณพื้นโดยรอบหน้าห้องจ�าหน่าย บัตรโดยสารตกแต่งพื้นหินแกรนิต ด้ ว ยลายประแจจี น ชั้ น ชานชาลา ออกแบบตกแต่งเสาและฝ้าเพดาน ด้วยโทนสีแดงและสีทอง สีมงคล ของชาวจีน สถานีวัดมังกรนับว่าตอบโจทย์ การเดิ น ทางมาย่านไชน่า ทาวน์อัน เต็มไปด้วยสีสันของอาหารการกิน ของใช้สารพันจากย่านการค้าอย่าง ส�าเพ็ง วรจักร เสือปา คลองถม ที่มีสินค้าตั้งแต่ไม้จิ้มฟันยันเรือรบ ของมื อ หนึ่ ง ไปจนถึ ง ของมื อ สอง มือสิบ ร้านค้าริมทางที่ขายป ิทินจีน ลูกแก้ว เกาลัด สมุนไพรจีน ของไหว้เจ้า

เพื่อน�าไปบูชาศาลเจ้าและวัด คาเฟ ร้านน�้าชาตกแต่งร่วมสมัย แบรนด์ กาแฟที่ ว างตั ว ในอาคารโบราณ ที่ ป รั บ ปรุ ง ทาสี เ หลื อ งพาสเทล ดู ส ดใส รวมถึ ง จุ ด ท่ อ งเที่ ย วทาง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม อาทิ พิ พิ ธ ภั ณ ์ ห้ า งขายยาเบอร์ ลิ น ตรงแยก เสือปา ที่ปรับปรุงชั้นล่างของอาคาร สถาปั ต ยกรรมยุ โ รปสร้ า งในสมั ย รัชกาลที่ 4 ซึ่งเคยเป็นคลินิกและ ผลิตยาแผนปัจจุบนั ให้เป็นพิพธิ ภัณ ์ ห้ า งขายยาเบอร์ ลิ น และหอศิ ล ป กรุงไทย ที่ธนาคารกรุงไทยปรับปรุง อาคารสาขาเยาวราช (ปากซอย เยาวราช 23) ซึ่งเป็นส�านักงานใหญ่ แห่งแรก มีอายุเก่าแก่กว่า 70 ปี มาเป็นแกลเลอรีศิลปะร่วมสมัย

M RT SAM YOT

สถานี ส ามยอด ตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุง จากแยก สามยอดถึ ง แยกอุ ณ ากรรณ ใน พื้นที่บริเวณเกาะรัตนโกสินทร์รอบ นอก ออกแบบสถานี ทั้ ง ภายนอก และภายในโดยได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร์ เพื่อคงความเป็นย่านวังบูรพาด้วย แนวอาคารสองชั้นในสถาปัตยกรรม ย้อนยุครัชกาลที่ 5-6 สไตล์ชิโนโปรตุกสี สอดคล้องกับอาคารริมถนน เจริญกรุงที่มีมาแต่เดิม ทาสีอาคาร ด้วยโทนสีเหลืองอ่อน ผนังโดยรอบ ขึ้นปูนเป็นประตูหน้าต่างทาสีขอบ เป็นสีเขียว ให้บรรยากาศสไตล์โคโลเนียล สัญลักษณ์ของสถานีเป็นซุ้ม ประตูสามยอด โดยเสาสถานีและ พื้ น ที่ จ� า หน่ า ยบั ต รโดยสารก็ น� า รู ป ทรงซุ้มประตูสามยอดมาใช้ เพื่อสื่อ ประวั ติ ศ าสตร์ ข องพื้ น ที่ ที่ ป ระตู สามยอดคือประตูเมืองเก่า ส่วนที่ โดดเด่นจากสถานีอื่นคือประตูทาง เข้า-ออก นอกจากแผงเหล็กกั้นยก ขึน้ -ลงเหมือนทุกสถานีรถไฟฟ้าใต้ดนิ ยังมีประตูบานเฟียมพับเปิด-ปิดแบบ ประตูบ้านสมัยก่อน เมื่อเปิดประตู ก็จะเห็นบานเฟี ยมเรียงเป็นแนวตั้ง มีความแวววาวของบานพับสีทองเหลือง ออกจากสถานีสามยอดที่ทาง เข้า-ออก 3 ข้ามถนนเจริญกรุงไปเดิน

ซื้อของอย่างชุดผ้าไทย ขนม หวานไทย หรือเอาทองไปเลีย่ ม และชุบ กระทั่งซื้อปนพกได้ที่ อาคารดิ โ อลด์ ส ยามพลาซ่ า หรือเดินต่อไปยังโรงภาพยนตร์ ศาลาเฉลิมกรุงที่มีการแสดง โขน ชุดหนุมาน ให้ชมทุกวัน จันทร์ถึงศุกร์ หรือเลือกไปสวนสาธารณะ ก็ เ ดิ น เลี ย บถนนอุ ณ ากรรณ ข้ามคลองหลอด วัดราชบพิธ ไปยังสวนรมณีนาถ อันร่มรื่น ด้วยสระน�า้ พุ สวนสุขภาพ และ มีพพิ ธิ ภัณ ร์ าชทัณ ท์ เี่ คยเป็น พื้นที่คุกเก่ามาก่อน ส่วนใครที่ อยากกินอาหารและขนมหวาน อินเดีย เดินลัดเลาะเข้าไปย่าน พาหุรัด กินขนมกุหลาบจามุน แล้ว ออกมาซื้อก�าไล เครื่องประดับ ผ้าจากชุมชนอินเดีย ที่ อ ยู ่ ร ่ ว มกั น กั บ ชุ ม ชนจี น มาช้านาน แต่ถา้ มาสายของเล่น ฟิกเกอร์ กล้องถ่ายรูปฟิลม์ และ อุปกรณ์กล้องต่างๆ ก็มุ่งหน้า ไปเมก้า พลาซ่า ในตึกหัวมุม สี่แยกวังบูรพาที่เคยเป็นห้าง สรรพสินค้าเมอร์รี่คิงส์ สาขา วังบูรพา ในต�านานโกหลังวัง

247 013


MRT SANAMCHAI

สถานี ส นามไชย

247 014

สถานี ร ถไฟฟ้ า ใต้ ดิ น เดี ย ว ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ เ กาะ รัตนโกสินทร์ ซึ่งมีกฎระเบียบ เกี่ย วกับสิ่งปลูก สร้า งภายใน เกาะรัตนโกสินทร์ที่ต้องเป็น แบบไทย จึงเชิญรองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป (สถาปั ต ยกรรม) ประจ� า ปี พ.ศ. 2537 ราชบัณ ิตส�านัก ศิลปกรรม ประเภทสถาปัตยศิลป สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ประจ�าปี พ.ศ. 2547 ผู้สร้างสรรค์งานสถาปัตยศิลปแบบ ไทยไว้มากมาย มาออกแบบ ตกแต่ง ภายในสถานีเป็นลักษณะ ศิลปกรรมของไทยที่เมื่อเดิน เข้ า ไปประหนึ่ ง เข้ า สู ่ ท ้ อ งพระโรงที่ ต ่ อ เนื่ อ งมาจาก พระบรมมหาราชวังด้านนอก ผนังอาคารสองด้านในชั้นโถง ผู้โดยสารจ�าลองจากก�าแพง พระบรมมหาราชวั ง โดย แนวก� า แพงอาคารซึ่ ง ต้ อ ง มี ช ่ อ งเซอร์ วิ ส ไว้ บ� า รุ ง รั ก ษา โครงสร้างแนวท่อต่างๆ ได้มี การท� า บางช่ อ งเซอร์ วิ ส เป็ น ประตู สี แ ดงเหมื อ นประตู ก�าแพงวัง กลมกลืนกับพื้นที่ อย่ า งชาญฉลาด ระหว่ า ง

ทางเดินประดับด้วยเสาสดมภ์ลายบัว จงกล ลายท้องไม้ ลายประจ�ายาม เพดานเป็ น ลายฉลุ ด าวล้ อ มเดื อ น โดยโทนสี ภ ายในสถานี คื อ สี ท อง และสีแดง ซึ่ง รศ.ดร.ภิญโญ สั่งให้ ผสมสีใหม่เป็นสีทองค� าและสีแดง น�้าหมาก อันแสดงถึงอัตลักษณ์ไทย ที่ใช้กันมาแต่โบราณ สังเกตได้ว่า เป็ น สี แ ดงที่ ต ่ า งจากสี แ ดงแบบจี น ในสถานีวัดมังกร ที่ตั้งที่อยู่ในเขตพระนครชั้นใน ที ม วิ ศ วกรคาดการณ์ กั น แล้ ว ว่ า ตอนเปิดหน้าดินก่อสร้างน่าจะเจอ โบราณวั ต ถุ จึ ง วางแผนก่ อ สร้ า ง อย่ า งระมั ด ระวั ง ซึ่ ง ก็ ขุ ด เจอวั ต ถุ โบราณในชั้ น ดิ น อาทิ กระเบื้ อ ง ดิ น เผา ถ้ ว ย ชาม เหรี ย ญโลหะ รวมถึงฐานรากโครงสร้างพระราชวัง จึ ง ด� า เนิ น การส่ ง มอบวั ต ถุ โ บราณ ให้กรมศิลปากรและมิวเซียมสยาม น� า ไปสื บ หาที่ ม าของวั ต ถุ อี ก ทั้ ง ปรับแบบให้ชั้นทางเดินระหว่างชั้น ระดับถนนกับชัน้ จ�าหน่ายบัตรโดยสาร เป็นชั้นจัดแสดงวัตถุโบราณที่ขุดค้น พบระหว่างการก่อสร้าง และสถานี ส นามไชยยั ง เป็ น สถานีที่มีทางออกตรงเข้าสู่สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วเลยอย่ า งมิ ว เซี ย มสยาม จึ ง ออกแบบให้ ท างออกนี้ เ ปิ ด โล่ ง เพือ่ ไม่ให้บดบังทัศนียภาพของอาคาร โบราณ เพิม่ บ่อพักน�า้ ฝน ท่อระบายน�า้

และติ ด ตั้ ง บั น ไดเลื่ อ นแบบ ใช้งานกลางแจ้ง เพื่อป้องกัน ไม่ให้เกิดปัญหาไฟฟ้ารั่ว สถานีที่ได้ชื่อว่าสวยที่สุด อย่ า งสถานี ร ถไฟฟ้ า ใต้ ดิ น สนามไชย มี ท างเข้ า -ออก ถึง 5 จุด คือ มิวเซียมสยาม โรงเรียนวัดราชบพิธ โรงเรียน ราชินี สถานีต�ารวจนครบาล พระราชวั ง และปากคลอง ตลาด นับว่าขยายทางเลือก ในการเข้ า ถึ ง จุ ด ท่ อ งเที่ ย ว ในเขตเกาะรั ต นโกสิ น ทร์ กั บ ริมแม่น�้าเจ้าพระยา ต ่ อ ไ ป นี้ วั ด พ ร ะ แ ก ้ ว พิพธิ ภัณ ผ์ า้ ในสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ พระบรมราชินีนาถ ในพระบรมมหาราชวัง วัดโพธิ ท่าเตียน ตลาดดอกไม้ ย่าน บ้ า นหม้ อ สวนสราญรมย์ ตลอดจนคลองคู เ มื อ งเดิ ม ก็ ไ ม่ ใ ช่ ส ถานที่ ไ กลเกิ น เอื้ อ ม ที่ ต ้ อ งวนหาที่ จ อดรถกั น อี ก แล้ว


ดร.ณั ฐ พงศ์ พั นธ์ น้ อ ย

อาจารย์ ป ระจํ า ภาควิ ช าการวางแผนภาคและเมื อ ง คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย

MRT ITSARAPHAP

สถานี อิ ส รภาพ

สถานีใต้ดนิ หนึง่ เดียวของฝัง่ ธนบุรี มีทางเข้า-ออก 2 ทาง ที่ปากซอยอิสรภาพ 23 และซอยอิสรภาพ 34 เป็นสถานี ถัดจากสถานีสนามไชย โดยเชื่อมต่อกันด้วยเทคโนโลยี ทางวิศวกรรมขัน้ สูงเพือ่ เอาชนะธรรมชาติคอื น�า้ ใช้หวั เจาะ อุโมงค์จากญี่ปุ นขุดเจาะอุโมงค์รถไฟฟ้าลอดใต้แม่น�้า เจ้าพระยาที่ระดับความลึกสูงสุด 40 เมตร ท�าโครงสร้าง ก�าแพงคันดินเป็นคอนกรีตก�าลังสูง กว้าง 1.50 เมตร ตอกเสาเข็มลึกลงไป 20 เมตร เพื่อป้องกันน�้าทะลัก และ ก่อผนังกัน้ กันน�า้ ซึม โดยมีการตรวจตรารอยรัว่ เพือ่ ความ ปลอดภัยอยูเ่ สมอ อีกทัง้ สร้างอุโมงค์รางคูใ่ ห้มี 2 ชานชาลา ส�าหรับขาไปและขากลับ จะได้ไม่ต้องรอสับราง ช่วย ประหยัดเวลาได้ 7-10 นาที การออกแบบตกแต่งภายในโดดเด่นด้วยเสา 4 ต้น เป็นลายหงส์ เป็นตัวแทนเชิงสัญลักษณ์ในพืน้ ทีใ่ กล้เคียง อย่างวัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร โดยภาพหงส์ท�าจาก วัสดุแผ่นอะคริลิคสีทอง และอะคริลิคใสฉลุลาย ซ้อน ทับกัน 5 ชั้น เพื่อให้เกิดมิติความลึก ชั้นบนสุดปิดทับ ด้วยกระจกนิรภัย (Te e e la ) หนา 6 มิลลิเมตร ประดั บ ดวงไฟไว้ ด ้ า นหลั ง ลายฉลุ เ พื่ อ เพิ่ ม ความงาม พื้นที่เสารอบๆ รูปหงส์กรุด้วยกระจกนิรภัยแบบอัดซ้อน (La inate la ) สีทองทั้งต้น เป็นลวดลายประดับ แนวผนัง ฝาตู้อุปกรณ์ ป้ายบอกทาง รวมถึงในลิฟต์ ประดับลายดอกที่น�าลายบริเวณก�าแพงผนังวัดหงส์ มาประยุกต์ โดยใช้เทคนิคการพ่นทรายให้เกิดลวดลาย

สลั ก ลงในเนื้ อ กระเบื้ อ งผนั ง ซึ่ ง หากได้ เ ดิ น ชมวัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร วัดจากสมัย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ริ ม คลองบางหลวง (คลอง บางกอกใหญ่) จะเห็นความละม้ายคล้ายคลึงของ ลวดลายปูนปันรูปหงส์รอบพระอุโบสถ ทางเข้า-ออก 2 ที่ซอยอิสรภาพ 23 น�าทาง ไปสูว่ ดั ราชสิทธารามราชวรวิหาร ทีม่ คี วามส�าคัญ ด้ ว ยมี พ ระต� า หนั ก จั น ทร์ แ ละพระต� า หนั ก เกง ซึ่งเคยเป็นที่ประทับจ�าพรรษาของรัชกาลที่ 3 และรัชกาลที่ 4 และมีพพิ ธิ ภัณ ก์ รรมฐาน คณะ 5 แสดงพระประวัติสมเด็จพระอริยวงษญาณ (สุก ญาณสังวร) และวิธีนั่งกรรมฐานตามแบบฉบับ วัดราชสิทธาราม โดยมีหุ่นขี้ผึ้งอดีตเจ้าอาวาส วั ด จั ด แสดง นอกจากนี้ ยั ง เดิ น ทางไปสถานที่ ส�าคัญของย่านฝัง่ ธนบุรี อาทิ วัดอรุณ หอประชุม กองทัพเรือ สถานีรถไฟธนบุรี โรงพยาบาลศิรริ าช พิพิธภัณ สถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี และ ตลาดวังหลัง ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เรี ย กได้ ว ่ า รถไฟฟ้ า มหานคร สายเฉลิ ม รัชมงคล สายสีน�้าเงิน คือตรรกะใหม่แห่งการ เดิ น ทางที่ เ ชื่ อ มฝั ่ ง พระนครกั บ ฝั ่ ง ธนบุ รี เ ป็ น วงแหวนให้กรุงเทพมหานครใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น

คนในอยากออก คนนอกอยากเข้ า แต่...เราอยู่ร่วมกันได้! การมีคนใหม่เข้ามา คนเก่าที่ อยู ่ เ ดิ ม รู ้ สึ ก ว่ า ชุ ด ความเป็ น อยู ่ ข อง ตัวเองเปลี่ยนแปลงไป เรื่องนี้เกิดขึ้น ทั่ ว โลก ยกตั ว อย่ า งเมื อ งเกี ย วโต ประสบปัญหาเรื่องนี้มากด้วยความที่ เป็นเมืองน่าอยู่ เป็นมรดกโลก เดินทาง สะดวก อาหารการกินอร่อย คอนโดมิเนียม ร้านอาหาร โรงแรม เกิดขึ้น มากมาย เมื่ อ มี ค นใหม่ เ ข้ า ไปหา ประโยชน์ แล้วก็สร้างผลกระทบ เช่น ขยะเพิ่มขึ้น รถติด หรือสร้างความ จอแจในพื้นที่ ย่อมเป็นเรื่องธรรมดา ที่คนอยู่แต่เดิมจะไม่พอใจคนที่มาอยู่ ใหม่ ซึ่งเขาอยู่ที่นั่น อยู่ดีๆ วันหนึ่ง การพัฒนาท�าให้คณ ุ ภาพชีวติ เขาแย่ลง ในมุมของเจ้าของที่ดิน ผู้ประกอบการ ก็ย่อมหาโอกาสที่ดีที่สุดในชีวิตเพื่อ ประกอบอาชีพ แล้วก็ลงมือท�า เมื่อ มองในเชิงตรรกะ ทั้งคู่ต่างอยากได้ คุณภาพชีวิตที่ดี ในมิติที่แตกต่างกัน เขาจึ ง ตั้ ง เป็ น องค์ ก รชุ ม ชนขึ้ น มา จัดท�าเทศกาลให้คนมารูจ้ กั กัน แล้วเกิด เอือ้ เฟอเผือ่ แผ่ในเรือ่ งทีช่ ว่ ยกันได้ เช่น มีการแชร์เงินกัน เพื่อมาดูแลความ สะอาดในซอย ร้านรวงท�าขยะมากกว่า ก็จ่ายมากกว่า ผลรวม ชาวบ้านก็ได้ ถนนสะอาด มีการให้บริการสามล้อปัน่ ช่วยให้คนเดินทางเข้าไปร้านอาหาร ที่อยู่ในตรอกซอกซอยได้โดยไม่ต้อง ใช้รถยนต์ แล้วคนที่อยู่ในซอยไกลๆ ก็ใช้ประโยชน์ในการนั่งกลับมาได้ด้วย ก็มีกลุ่มคนที่ท�าธุรกิจเพื่อสังคม เป็น บริการทีเ่ ก็บเงินจากทัง้ ชุมชนทัง้ ร้านค้า แล้ ว เอาก� า ไรนั้ น มาจั ด นิ ท รรศการ เทศกาลต่างๆ ทุกคนอยู่กันได้อย่างมี ความสุขในรูปแบบใหม่ขนึ้ มา ผมคิดว่า โจทย์สา� คัญเลยคือ ถึงเวลาทีเ่ ราน่าจะ หาระบบทางสังคมรูปแบบใหม่ที่กา� ลัง จะบาลานซ์ ค วามเป็ น อยู ่ ที่ ก ลุ ่ ม คน เริ่มเปลี่ยน จากคนที่เคยเหมือนๆ กัน อยู่รวมกันเป็นชุมชน กลายเป็นคน ที่ไม่เหมือนกันเลย ทั้งอาชีพ รายได้ พ ติกรรม อาจจะชนชาติและศาสนา แตกต่ า งกั น ด้ ว ย มาอยู ่ ใ นชุ ม ชน เดียวกัน เราจะสร้างระบบการอยู่ร่วม กันใหม่ให้มีความสุขได้อย่างไร

247 015

ขอบคุ ข้อมูลจากการรถไ าขนส่งมวลชนแห่งประเท ไทย และ ดร ั พง ์ พัน ์น้อย อาจารย์ประจ�า าควิชาการวางแผน าคและเมือง ค ะสถาปตยกรรม าสตร์ จุ าลงกร ์มหาวิทยาลัย


NEWS UPDATE

SOCIETY

Text: กรร

OPPO RENO SERIES สีใหม่ลา่ สุด ลิมเิ ต็ด อิดชิ นั่ WHERE: BANGKOK HOW: ‘ un et

THE CLOUD: SANSIRI X THE COFFEE CLUB พืน้ ทีแ่ ห่งประสบการณ์การใช้ชวี ติ แนวใหม่สาํ หรับคนรักสุขภาพ

T e CL พื้นที่มอบประสบการณ์รูปแบบใหม่ใจกลางเมือง เอาใจคนรัก สุขภาพภายใต้คอนเซ็ปต์ ‘ ealt y Lei u e a e’ ทีแ่ สนสิรติ งั้ ใจเปิดกว้าง ต้อนรับทุกคนได้เข้ามาสัมผัสประสบการณ์การใช้ชวี ติ ในแบบของแสนสิรริ ว่ มกัน เติมเต็มบรรยากาศแห่งการพักผ่อน เพิม่ พลังกับ eel Menu จาก เดอะ คอฟฟี่ คลับ และ an i i alle y ทีน่ า� เสนอการอยูอ่ าศัยทีใ่ ส่ใจสุขภาพและ สิง่ แวดล้อม จากการจับมือร่วมกันระหว่างแสนสิริ ผูน้ า� ด้านพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ของประเทศไทย กับ เดอะ คอฟฟี่ คลับ แบรนด์รา้ นกาแฟและอาหารชือ่ ดัง ของประเทศออสเตรเลีย ทีช่ นั้ 3 สยามพารากอน พบกับ 2 ไลฟสไตล์โซน ที่ T e CL ได้แก่ an i i alle y เซลส์เซ็นเตอร์รูปแบบใหม่แห่งแรก ในประเทศไทยของแสนสิริ ซึง่ น�าเอาเทคโนโลยีและดีไซน์ทรี่ งั สรรค์ขนึ้ ใหม่มาใช้ ในการน�าเสนอ 4 นวัตกรรมเพือ่ การอยูอ่ าศัยทีด่ ี ช่วยยกระดับคุณภาพชีวติ ให้ กับลูกบ้านของแสนสิริ Ca e` Re tau ant คอนเซ็ปต์รปู แบบใหม่ในบรรยากาศ สบายๆ ด้วยเฟอร์นิเจอร์ไม้โทนสีน�้าผึ้ง สร้างความรู้สึกอบอุ่นให้ผู้มาเยือน พร้อมเมนูตา่ งๆ ทีร่ งั สรรค์ใส่ใจอย่างพิถพี ถิ นั รวมถึงเน้นคุณภาพของวัตถุดบิ ทีน่ า� มาใช้ปรุงอาหาร ส�าหรับสายคลีนรักสุขภาพให้ลมิ้ ลอง อาทิ egan a en Bu ge เบอร์เกอร์มงั สวิรตั ถิ วั่ และผักโขมอบทีก่ า� ลังมาแรงในซีกโลกตะวันตก และสหรัฐอเมริกา และเมนูยอดนิยมจากเทรนด์ในออสเตรเลีย Me ai Latte เครือ่ งดืม่ ส�าหรับคนรักสุขภาพทีไ่ ม่ชอบดืม่ กาแฟ (Ca eine ee) มาพร้อมกับ หลากสีสนั สดใสของวัตถุดบิ จากธรรมชาติ 100 ต้านอนุมลู อิสระและวิตามิน นานาชนิด พร้อมเพลิดเพลินกับลาเต้อาร์ตสวยๆ โดยบาริสต้า สิทธิพเิ ศษส�าหรับลูกบ้านแสนสิริ สมาชิก an i i a ily รับทันทีสว่ นลด พิเศษ 10 และ an i i i ity ส่วนลดพิเศษ 300 บาท (ขัน้ ต�า่ 1 000 บาท 1 ใบเสร็จ) อัปเดตข้อมูลการรับสิทธิเพิม่ เติมได้ทแี่ อปพลิเคชัน an i i e e i e หรือทีห่ น้าร้าน T CL R T C CL B

R e’ เปิดตัวทั้ง 2 รุ่น คื อ Ren 10 ราคา 28 990 บาท และ Ren ราคา 16 990 บาท สามารถ จองได้ตงั้ แต่วนั นีถ้ งึ วันที่ 31 กรกฎาคม ที่ ผู ้ ใ ห้ บริการเครือข่ายทัว่ ประเทศในราคาเริม่ ต้น เพียง 13 990 บาท และสามารถจองได้ ตัง้ แต่วนั นีถ้ งึ วันที่ 1 สิงหาคม ที่ B an ทุกสาขา และร้านค้าทีร่ ว่ ม รายการ โดยจะเริม่ วางจ�าหน่ายพร้อมกัน ทัว่ ประเทศในวันที่ 2 สิงหาคมเป็นต้นไป

ตํามั่วร้านอาหารไทย-อีสาน ลงนามความร่วมมือ กับ บริษัท วี ฟู้ดส์ (ประเทศไทย) จํากัด

WHERE: BANGKOK

HOW

ต�ามัว่ ร้านอาหาร ไทย-อีสาน โดย บุญยง ตันสกุล ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บมจ. เซ็นคอร์ปอเรชั่ น กรุ ป ลงนาม ความร่วมมือกับ อภิรักษ์ โ ก ษ ะ โ ย ธิ น ป ร ะ ธ า น กรรมการบริหาร บริษทั วี ฟูด้ ส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด เจ้าของผลิตภัณ ์ข้าวโพดหวานพร้อมรับประทาน ตรา วี คอร์น เพือ่ ร่วมพัฒนาผลิตภัณ จ์ ากข้าวโพด พร้อมเปิดตัว ‘C azy C n’ ข้าวโพดปิง และข้าวโพดถ้วย มาพร้อมท็อปปิงหลากหลาย วางจ�าหน่าย ในรูปแบบ i ตามหน้าร้านต�ามัว่ ลาวญวณ และเขียง ณ สถานี ปัมน�า้ มัน ปตท. ทัว่ ประเทศ และอีกหนึง่ เมนูสดุ แซ่บ ต�าข้าวโพด วี คอร์น พร้อมรับประทาน สูตรต�ามัว่ โดยจะวางขาย ณ ร้านสะดวกซือ้

บีเอสเอช นําเครือ่ งใช้ไฟฟ้า ‘บ๊อช’ ร่วมกิจกรรม ปรุงอาหารเมนูพเิ ศษ ในงาน POWERMALL ELECTRONICA SHOWCASE 2019

WHERE: BANGKOK HOW: ประชา เวียงเพิม ่

247 016

MELLOW BED COLLECTION เรียบง่ายอย่างมีสไตล์ไปกับชุดห้องนอน ดีไซน์จากไม้โอ๊ก อวดเสน่หท์ เี่ ป็นธรรมชาติ

ด้วยผิวสัมผัสของไม้แท้ สร้างสรรค์ทกุ รายละเอียดให้โดดเด่นด้วยงานแฮนด์คราฟต์ โดยช่างฝมือ พร้อมสะท้อนกลิน่ อายของ Mi -Centu y M e n ผ่านรูปทรง เรขาคณิตและเส้นสายดีไซน์แบบมินิมอล ให้ห้องนอนสวยเท่ทันสมัยใน บรรยากาศอบอุน่ สัมผัสสินค้าจริงได้แล้ววันนีท้ ี่ a itat ทุกสาขา C C ตึก C ชัน้ 2 สยามดิสคัฟเวอรี่ ชัน้ 3 เดอะคริสตัล เอสบี ราชพ กษ์ ชัน้ 1 เอสบีดไี ซน์สแควร์ สาขาบางนา กม.4 ชัน้ 2 เอสบีดไี ซน์สแควร์ สาขาภูเก็ต ชัน้ 1

ผูอ้ า� นวยการฝายขายปลีก บริษทั บีเอสเอช โฮม แอ็พพลายแอ็นซ์ ประเทศไทย ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ B au ge ä te จาก ประเทศเยอรมนี ผู้ผลิต เครือ่ งใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน รายใหญ่ เ ป็ น อั น ดั บ 2 ของโลก ให้เกียรติขนึ้ กล่าวต้อนรับ พิมพ์ใจ ธิตชิ าญกุล ผูจ้ ดั การใหญ่ บริ ห ารสิ น ค้ า บริ ษั ท เดอะมอลล์ ก รุ ป จ� า กั ด เนื่ อ งในโอกาส ร่วมกิจกรรมปรุงอาหารเมนูพเิ ศษ กับ e uti e C e จาก gani u ly ทีบ่ ธู B ภายในงาน e Mall le t ni a ae 2019 โซน e Mall ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน ไฮไลต์ของงาน อยู่ที่การท�าเมนูพิเศษที่ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ‘บอช’ (B ) อาทิ เตาอบไฟฟ้ารุน่ ซีรสี ์ 8 ทีส่ ามารถปรับการตัง้ ค่าได้ในทุกความต้องการ และด้วยเทคโนโลยี e e t R a t ช่วยวัดอุณหภูมิและความชื้น ในอาหาร พร้อมกับเทคโนโลยี 4 t i ซึ่งจะช่วยกระจายลม ภายในเตาอบได้อย่างทัว่ ถึง สร้างสีสนั ให้กบั ลูกค้าทีเ่ ข้าร่วมงาน



filmography

‘ANGEL HAS FALLEN’ trivia

‘ ngel a allen’ ภาพยนตร์ภาคต่อ หนังแอคชัน่ บูระห�า่ เมือง อย่าง ‘ ly u a allen’ และ ‘L n n a allen’ เตรียมกลับมาระเบิดความมันส์อีกครั้ง แถมยังได้พระเอกของเรื่อง เจอราร์ด บัตเลอร์ กลับมารับบทเจ้าหน้าที่หน่วย ป ิบตั ิการพิเศษ ‘ไมค์ แบนนิ่ง’ อีกด้วย หลังมีการปล่อยตัวอย่างภาพยนตร์ ไปแล้ ว เมื่ อ หลายเดื อ นก่ อ น เผยให้ เห็นว่า มอร์แกน ฟรีแมน ในบทของ อั ล ลั น ทรั ม บู ล ผู ้ สื บ ทอดต� า แหน่ ง ประธานาธิบดีตอ่ จาก แอชเชอร์ (อารอน เอคฮาร์ท) ก�าลังจะแต่งตั้งไมค์ให้เป็น ผู้บัญชาการแห่งหน่วยป ิบัติการพิเศษ แต่ทว่าความสัมพันธ์ดังกล่าวกลับได้รับ การทดสอบ เมื่อฝูงโดรนลึกลับได้บุก เข้าโจมตีพวกเขา มิหน�าซ�้ามันยังท�าให้ ไมค์ตกเป็นผู้ต้องหาของเหตุการณ์ลอบ สังหารในครั้งนั้น และนี่คือการเปลี่ยน โฉมหน้าครั้งใหม่ของแฟรนไชส์นี้ นอกจาก เจอราร์ด บัตเลอร์ และ มอร์แกน ฟรีแมน ทีเ่ ป็นนักแสดงหัวแถว ของแฟรนไชส์แอคชัน่ สุดระห�า่ เรือ่ งนีแ้ ล้ว

“I AM MOTHER”

Text: ิ ส

ิ ุ ิ

ตั ว อย่ า งยั ง เผยให้ เ ห็ น ถึ ง นั ก แสดงที่ ตบเท้าเข้าร่วมถ่ายทอดความมันส์บท สรุ ป วิ น าศกรรมชนิ ด หยุ ด โลก อาทิ จาดา พิงเคทท์ สมิท นิค โนลเต้ และ แดนนี่ ฮุสตัน ที่จะมารับบทเป็น ตัวร้ายหลักของ a allen ภาคนี้ ซึ่ง เจอราร์ด บัตเลอร์ และผู้ก�ากับ ริค โรมัน วาฟ ( nit ) ได้กล่าวว่า เขาได้แรงบันดาลใจส่วนหนึ่งมาจาก ภาพยนตร์แนวไล่ลา่ ระดับต�านานอย่าง ‘T e ugiti e’ มาใช้กับตัวละครของ พิงเคทท์ สมิท คุณจะพบว่าตัวละคร ของเธอให้ความรูส้ กึ เหมือนกับตัวละคร ของ ทอมมี่ ลี โจนส์ ใน T e ugiti e นับตั้งแต่ก้าวแรกที่เธอเดินเข้าฉากเลย ครับ บัตเลอร์กล่าว เตรียมรับมือภารกิจส่งท้ายความ มันส์ของ ‘ไมค์ แบนนิ่ง’ กับบทสรุป แห่งวินาศกรรมหยุดโลก ‘ ngel a allen’ ซึ่งมีคิวเข้าฉาย 22 สิงหาคม ในโรงภาพยนตร์

must see

เมื่อในโลกอนาคต มนุษยชาติมี ‘แม่’ เป็น ‘หุ่นยนต์’ เพราะเกิดวิก ติการณ์สูญพันธุ์ของมนุษย์ ท�าให้ ‘มาเธอร์’ ซึง่ เป็นหุน่ ยนต์ทถี่ กู พัฒนามาเพือ่ ท�าหน้าทีเ่ พาะพันธุม์ นุษย์ ถือก�าเนิดขึ้น และ ดอเทอร์ (คลาร่า รูการ์ด) เป็นมนุษย์ รุน่ แรกทีถ่ กู เลีย้ งขึน้ มาในศูนย์หลบภัยใต้ดนิ เธอถูกปลูกฝัง มาตลอดว่าบนพื้นผิวโลกไม่สามารถอยู่อาศัยได้ ท�าให้ ดอเทอร์ไม่เคยได้ขึ้นไปบนพื้นโลกสักครั้ง ทว่าเหตุการณ์ ไม่คาดคิดก็เกิดขึ้น เมื่อมีผู้หญิงเลือดโชก (ฮิลารี สแวงก์) มาเคาะประตูขอความช่วยเหลือ หญิงแปลกหน้าผู้นี้ท�าให้ ความเชื่อของดอเทอร์ที่มีต่อโลกภายนอกเปลี่ยนไป ความ เชื่อมั่นที่เคยมีต่อมาเธอร์ของเธอถูกสั่นคลอน การเริ่มต้น ค้นหาความจริงสุดระทึกจึงเริ่มขึ้น

เจอราร์ด บัตเลอร์ ประสบ อุบัติเหตุมอเตอร์ไซค์คว�่า และ ท�าให้หนังถูกเลื่อนไปกว่า 3 เดือน เพราะต้องรอให้เขาหายดีเสียก่อน

นี่ เ ป็ น ครั้ ง ที่ ส องในชี วิ ต ของ มอร์แกน ฟรีแมน ที่ได้รับบทเป็น ประธานาธิบดี นับตั้งแต่ ee a t (1998)

music corner นั ก ร้ อ งสาวดาวรุ ่ ง พุ ่ ง แรง บิ ล ลี่ ไอลิ ช สร้ า งปราก การ ์ อี ก ครั้ ง หลังปล่อยซิงเกิลใหม่ ‘ ’ จากอัลบัม้ เดบิวต์เต็มชุดแรก ‘

247 018

‘BAD GUY’

BILLIE EILISH FT. JUSTIN BIEBER

’ ทีก่ วาดยอดผูช้ มบน สูงกว่า ล้านวิว และด้วยความที่ เพลงนี้อยู่ ในโหมดเพลง ิตมาแรง ท� า ให้ ไอลิ ช ซึ่ ง เป็ น ซู เ ปอร์ บิ กแ น ตัวยงของนักร้องหนุม่ จัสติน บีเบอร์ จึงชักชวนหนุ่มบีเบอร์ ให้มาร่วมแจม กับเ อในเพลง ‘ ’ เวอร์ชนั ซึง่ หลังปล่อยไปไม่นาน มียอด คน งกว่า ล้านวิว

‘YESTERDAY’

HIMESH PATEL

จะเกิดอะไรขึน้ ถ้าในโลกใบนีม้ ผี ชู้ ายเพียงคนเดียว ที่จ�าวง ได้ นี่คือเรื่องราวจากหนัง าพยนตร์แนว ‘’ คอเมดี้ ทีเ่ ล่าว่าจูๆ่ วง ก็หายไปจากประวัติ าสตร์ และแจ็ค เิ มช พาเทล ชายหนุม่ นักร้องกลายเป็น คนเดียวที่เล่นเพลงของวงในต�านานได้ นอกจาก ตัวหนังจะได้กระแสตอบรับดีแล้ว ด้านงานเพลงก็ดี ไม่แพ้กนั แดเนียล เพมเบอร์ตนั โปรดิวเซอร์ของอัลบัม้ นี้ เคยได้รบั การเสนอชือ่ เข้าชิงเวที ถึง ครัง้ ได้สร้างเพลงประกอบทีท่ งั้ สะท้อน าพยนตร์ เรือ่ งนีแ้ ละมอบประสบการ ์ให้กบั คน งเพลง โดยเขา เผยว่า สุดท้ายแล้ว าพยนตร์เรือ่ งนีเ้ ป็นตัวอย่าง ทีด่ ใี นเรือ่ งพลังของเพลง เพลงคือบางสิง่ ทีเ่ ชือ่ มกับคน หลายคน ซึง่ สามารถเปลีย่ นแปลงโลกได้


spotlight Text: สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์

bookshelf uncoMMon type : พิ มพ์ (ไม่) นิยม โดย TOM HANKS

หากกล่าวถึงชื่อของ T an แล้ว เชื่อว่าคงไม่มี ใครที่ไม่รู้จักดาราชายเจ้าบทบาท เจ้าของสองรางวัล ออสการ์ผู้มีฝีมือในการแสดงอันจัดจ้านหลากหลาย และเป็นที่รักของคนในและนอกวงการ แต่นอกเหนือ จากต�าแหน่งแห่งที่ที่หลายคนจ�าได้แล้ว เขายังมีงาน อดิเรกที่ไม่ธรรมดา นั่นคือการสะสม ‘แป้นพิมพ์ดีด’ ที่แม้ว่าโลกจะเดินทางไปสู่ยุคดิจิทัล แต่เขาก็ยังคง หลงในเสน่ห์ของน�้าหมึกและกระดาษอยู่ไม่เสื่อมคลาย ซึ่ง n n Ty e พิมพ์ (ไม่) นิยม เล่มนี้ คือการรวบรวมผลงานเรื่องสั้นทั้งหมด 17 เรื่อง ในหลากแนว มากสไตล์ ซึ่งแต่ละเรื่องก็จะมี ‘แป้นพิมพ์ดีด’ เข้ามาเป็นส่วนประกอบในเนื้อหาด้วยกัน แทบทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสั้นสไตล์วิทยาศาสตร์ บทความหนังสือพิมพ์ บทภาพยนตร์ ซึ่งการันตีได้ว่า จะสร้างความบันเทิงให้กับผู้อ่าน และตอกย�้าความ เป็นนักเขียนของดาราชายผู้นี้ได้อย่างชัดเจนยิ่ง

Quote “Don’t be too timiD anD squeamish about your actions. all life is an experiment. the more experiments you make the better.”

Ralph Waldo Emerson

RUTGER HAUER

LIKE A TEARDROPS IN THE RAIN การผลัดใบในแวดวงนักแสดงต่างประเทศเป็นเรื่องสามัญที่สามารถเกิดขึ้นได้ ไม่วา่ จะผลัดใบในขณะทีย่ งั มีชวี ติ อยู่ หรือสิน้ ชีพจากลาโลกนีไ้ ป แต่จะมีสกั กีค่ นทีพ่ นื้ เพ ไม่ได้เป็นอเมริกัน แต่ยังอยู่ในความทรงจ�าของผู้ชม รวมถึงสร้างชื่อเสียงแม้ว่าตน จะเสียชีวติ ไปแล้ว ซึง่ นักแสดงอาวุโสสัญชาติเนเธอร์แลนด์ เป็นหนึง่ ในจ�านวนน้อย ทีไ่ ด้ฝากผลงานในฐานะนักแสดงสมทบจากผลงานอันหลากหลาย และได้เสียชีวติ ไป ด้วยวัย 75 ปีเมือ่ เดือนกรกฎาคมทีผ่ า่ นมา Rutge el en aue เกิดเมือ่ วันที่ 23 มกราคม 1944 ทีป่ ระเทศเนเธอร์แลนด์ ช่วงกลางสงครามโลกครั้งที่สอง (ซึ่งในขณะนั้น ประเทศตกอยู่ภายใต้การปกครอง ของนาซีเยอรมัน) เป็นบุตรชายคนที่ 2 จากพีน่ อ้ งจ�านวน 4 คนของครอบครัวนักแสดง แน่นอนว่าการใช้ชวี ติ ในประเทศทีอ่ ยูภ่ ายใต้สงคราม ท�าให้เขาเกลียดและกลัวความ รุนแรง และเบนความสนใจมาที่การแสดง ซึ่งช่วยน�าพาให้พ้นจากสภาวะรอบตัว ทีไ่ ม่นา่ อภิรมย์ aue ออกจากการศึกษาภาคบังคับตอนอายุ 15 ปีและร่วมกับกองเรือนาวีพาณิชย์ ของประเทศเดินทางไปรอบโลก และกลับเข้าศึกษาต่อจนส�าเร็จภาคบังคับ ก่อนตัดสินใจ เบนเข็มมาทีก่ ารแสดงอย่างเต็มตัวจากการเข้าเรียนในสถาบัน a e y T eate an an e และส�าเร็จการศึกษาในปี 1967 ภายหลังส�าเร็จการศึกษา aue เริม่ เดินสายสูเ่ ส้นทางของนักแสดงอย่างจริงจัง เริม่ ต้นจากบทน�าใน l i ภาพยนตร์โทรทัศน์ของประเทศ และโด่งดังจากภาพยนตร์ เรือ่ ง Tu i elig t ในปี 1973 และ l ie ange ในปี 1977 แต่บทบาทที่ ท�าให้เขาเป็นทีจ่ ดจ�าคือบทของหุน่ ยนต์แอนดรอยด์ในภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์ Bla e Runne ทีร่ ว่ มแสดงกับ a i n ท�าให้เขาถูกจับตามองจากแวดวงฮอลลีวดู ในช่วงทศวรรษ 1990 นัน้ aue รับบทบาทประกอบในภาพยนตร์และทีวซี รี สี ห์ ลาก หลาย สร้างชือ่ เสียงขึน้ มาตามล�าดับ อาทิ Bu y t e a i e laye C n e i n a ange u Min in City และ Bat an Begin นอกจากนัน้ ยังรับหน้าทีพ่ ากย์ เสียงตัวละครในวิดโี อเกม e e ทีว่ างจ�าหน่ายในปี 2017 และ ing ea t (แทนที่ Le na i y ผูล้ ว่ งลับ) ในปี 2019 อีกด้วย ‘เมือ่ ถึงเวลาหนึง่ ความทรงจ�าจะเลือนรางจางประหนึง่ หยดน�้าตากลางสาย น’ คือวลีทองของ Rutge aue ในบทบาทแอนดรอยด์ของภาพยนตร์เรือ่ ง Bla e Runne แต่สา� หรับผลงานการแสดงทีเ่ ขาได้ผา่ นมาทัง้ หมดนัน้ เชือ่ ว่า จะอยูใ่ นความทรงจ�าของผูช้ ม และไม่เลือนรางจางหาย ไปง่ายๆ แม้เวลาจะผ่านไปนานเท่าใดก็ตาม Rutger Hauer เป็นนักเคลื่อนไหวเพื่อ ่ งโรค AIDS สิง ้ ณรงค์เรือ ่ แวดล้อมและผูร อย่างจริงจัง เขาก่อตั้งองค์กรการกุศล Rutger Hauer Starfish Association เพื่อสร้างการตระหนักรู้ถึงภัยของโรค Rutger Hauer ได้รับการประดับยศ เป็นอัศวินใน Order of the Netherlands Lion ในปี 2013 นอกจากบทบาทการแสดงแล้ ว เขายั ง ท�าหน้าที่เป็นกรรมการในเทศกาลประกวด หนังสั้น ShortCutz Amsterdam ในปี 2016 อีกด้วย

All About

HIM

247 019


love

er

BUZZ FEED

• lett

UST AUG 19 20

พลเอกอนุพงษ์ เผ่าจินดา

นีด่ ว้ ยความสัตย์ จริงนะ ผมน่ะทึ่งท่าน บางอันผมยังตอบไม่ได้ เพราะท่านทำการบ้าน มาเยอะนะครับ แต่เรือ่ ง ทีด่ นิ เนีย่ ผมตอบได้เลย ว่าเดี๋ยวลองไปช่วยหา กัน แล้วมันเป็นกระดุม เม็ดแรกจริง

บางเรือ่ งเกีย่ วกับรถไฟฟ้า ก ุ ษ์ ิ ก ริ ร ์ ก ร ร ุ ิ ร ส ก ร กษ ร สร สรรค์ ิ

ิ ิ ก กบ

นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ผมเห็นว่านโยบาย ไม่มีอะไรเลยครับ พู ดได้ว่า เป็นนโยบายที่เลื่อนลอย จะทําก็ได้ ไม่ทําก็ได้ แม้แต่ท่านนายกฯ เอง ซึ่งเป็นคนแถลงนโยบาย ก็มีความรู้สึกไม่อยากจะอ่าน ิ ร

กร

ผูแ้ ทน Cummings เป็นผูท้ ที่ มุ่ เทให้กบั ความ เสมอภาคและเศรษฐกิจ ทีเ่ ท่าเทียม และเป็นทีร่ กั ของชาวบัลติมอร์ และเรา ขอคัดค้านค�ากล่าวหาของ ประธานาธิบดี Trump พร้อมยืนหยัดเคียงข้างท่าน ก

รรค ร

รบ

NANCY PELOSI

e

ส กิ รรค คร ร บ ิ ร์ ิ ร์ส ก กบก รก ร บิ T ู รษ ร ิ สิ ิ ษุ

JEFF BEZOS

247 020

ร์

เรายังคงยืนยัน ในแนวทางการลงทุน เพือ่ ความเป็นผูน้ า� ตลาด ในระยะยาว มากกว่า ผลก�าไรระยะสัน้ หรือ ตอบสนองต่อความ เคลือ่ นไหวของตลาด หุน้ วอลล์สตรีท e e กร ุ

บริษ

กู ค ิ

ก ร

คุ คะ คุ ใช้รถไ าบ่อยใช่ไหมคะ ฉันรูว้ า่ คุณใช้บอ่ ยค่ะ เพราะคุณต้องเข้าเมืองไปท�างานตลอดเลย ช่วงนี้ ประเทศเรามีการก่อสร้างสถานีสว่ นต่อขยาย ทัง้ รถไฟฟ้า บนดินและใต้ดนิ หลายแห่ง ท�าให้การจราจรด้วยถนนบนดินเสมือน การจลาจลระดับย่อม เพราะทัง้ ติด ทัง้ ขัด ทัง้ อึดอัด และคับข้อง เอาเป็นว่า เลีย่ งถนนได้ชว่ งนี้ เลีย่ งๆ ไปก่อนเถอะค่ะ ลงเรือ ไม่กข็ นึ้ เครือ่ งบินเอาดีกว่า พูดถึงรถไฟฟ้า คุณรูไ้ หมคะว่า รถไฟฟ้าเนีย่ มันมีกรี่ ะบบ และ แตกต่างกันยังไง ไหนๆ ก็พดู ถึงแล้ว ฉันขอเล่าให้คณ ุ ฟังเสียหน่อย ดีกว่า ประดับความรูไ้ ป ไหนๆ ก็ใช้มนั แทบทุกวันแล้ว โดยทัว่ ไป รถไฟฟ้าระบบราง จะแบ่งตามขีดความสามารถในการ ขนส่งผูโ้ ดยสารนะคะ โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ก็คอื 1. ระบบขนส่งมวลชน (Lig t Rail T an it y te ) หรือ LRT เป็น ระบบขนส่งมวลชนเบา ใช้ขนส่งทางราง ขับเคลือ่ นด้วยไฟฟ้า วิง่ บน รางเหล็ก ในโลกนีม้ ที งั้ แบบทีว่ งิ่ บนท้องถนน และแบบวิง่ บนเขตทาง ของตัวเองโดยเฉพาะค่ะ ความจุของผูโ้ ดยสารของรถประเภทนี้ จะได้ ตัง้ แต่ประมาณ 20 000-40 000 คนต่อชัว่ โมงต่อทิศทาง 2. ระบบขนส่งมวลชนหนัก ( ea y Rail T an it y te ) หรือ RT เราอาจเรียกว่ารถไฟฟ้าขนส่งมวลชนหนักเป็นระบบหนึ่งของขนส่ง มวลชนทีม่ เี ส้นทางเป็นรางอยูใ่ ต้ดนิ หรือรางยกระดับ เราสามารถเรียก ว่ารถไฟฟ้าใต้ดนิ ( n e g un ) หรือ u ay ได้คะ่ ในประเภทนี้ ยังมีแบบระบบรางในอุโมงค์ (Tu e) หรือรถไฟลอยฟ้า ( le ate Rail) เป็นการขนส่งตามเส้นทางที่ไม่เปลี่ยนแปลง ยึดถือตาม ตารางเวลา ส�าหรับความจุของผูโ้ ดยสารประมาณราวๆ 40 000 คน ต่อชัว่ โมงต่อทิศทางค่ะ และคุ รู้ ไหมคะว่า รถไ าสายไหนเก่าแก่ทสี่ ดุ ในโลก ค�าตอบคือประเทศอังก ษค่ะ ทีล่ อนดอนอันเดอร์กราวด์ หรือ ทีเ่ รียกกันติดปากชาวลอนดอนว่า ‘ทิวบ์’ ซึง่ เป็นระบบรถไฟใต้ดนิ ทีเ่ ก่าแก่ทสี่ ดุ ในโลก โดยก่อสร้างรถไฟใต้ดนิ สายแรกในปี 1864 และ ถือเป็นต้นแบบให้ระบบขนส่งในแต่ละเมืองทัว่ โลกอีกด้วยค่ะ ปัจจุบนั ระบบรถไฟใต้ดนิ ของลอนดอน มีรถไฟทัง้ หมด 11 สาย 270 สถานี รองรับผูโ้ ดยสารมากกว่า 4.8 ล้านคนต่อวันค่ะ แต่หากอยากรู้ว่า รถไฟฟ้าของประเทศไหนมีสถานีเยอะที่สุด ในโลก คงต้องยกให้รถไฟใต้ดนิ ของนิวยอร์กค่ะ แถมยังเป็นหนึง่ ใน ไม่กร่ี ะบบขนส่งสาธารณะทัว่ โลกทีเ่ ปิดท�าการ 24 ชัว่ โมงต่อวัน 7 วัน ต่อสัปดาห์อกี ด้วยนะคะ ระบบซับเวย์ของนิวยอร์ก เปิดท�าการครัง้ แรกเมือ่ ปี 1904 ปัจจุบนั มีจ�านวนสถานีในระบบมากที่สุดในโลก โดยมีมากถึง 472 สถานี รองรับชาวนิวยอร์กกว่า 4.5 ล้านคนต่อวันค่ะ พอจะเห็นภาพเกีย่ วกับรถไฟฟ้ามากขึน้ มัย้ ล่ะคะ ไม่รวู้ า่ ไทยเรา ไอ้ทกี่ า� ลังก่อสร้างกันอยูเ่ นีย่ จะเปิดใช้ได้ตามก�าหนดแค่ไหน และใคร จะได้ใช้บา้ ง เพราะทัง้ ราคาและความสะดวก เรียกได้วา่ ยังห่างไกลกับ ค�าว่าสบายนะคะ เพราะกว่าจะถ่อไปถึงรถไฟฟ้าได้กเ็ หนือ่ ยพอสมควร แถมยังต้องลงมาเจอรถติดอีกด้วย ก็หวังว่า เมือ่ สร้างเสร็จตามแผนงานแล้ว คงท�าให้ประเทศดูเจริญ และดีขนึ้ ก็แล้วกัน

รักนะคะ คนดี เดซี่


สถิติการพั ฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

ด้านสิ่งแวดล้อม

ด้านพลังงาน อัตราการใช้พลังงาน ทดแทนเพิ่มขึ้นเป็น

อันดับเมืองที่สร้างขยะ ในระหว่างช่วงป

ร้อยละ

17.5 3,000 55 21

ระหว่างช่วงป

คิดเป็นอัตราส่วนที่

ล้านคน ที่ใช้พลังงานเชื้อเพลิงแบบเก่า

มีความพยายามที่จะให้อัตรา การใช้พลังงานทดแทนเพิ่มขึ้นเป็น

ร้อยละ

เปอร์เซ็นต์ ของพลังงานทั้งหมด

2001-2015

แต่กระนั้น ยังคงมีประชากรถึง

ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์

3 อันดับภูมิภาค ประชากรที่อาศัยอยู่ในสลัม เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 332 ล้านคน เอเชียกลางและใต้ 197 ล้านคน แอฟริกาและเขตรอบนอก ทะเลทรายซาฮารา 189 ล้านคน

ยุโรป และ อเมริกาเหนือ ลาตินอเมริกา และ แถบแคริบเบียน

ด้านการอยู่อาศัย

883 ล้านคน

จ�านวนประชากรโลกที่อา ัย อยู่ในเขตสลัม เนื่องจาก การพั นาเมืองไม่เพียงพอ ที่จะรองรับการขยายตัว

ร้อยละ

94 ร้อยละ

ร้อยละ

90 74 ร้อยละ

80

คิดเป็น

จ�านวนขยะ ที่เกิดขึ้นเ ลี่ย ทุกพื้นที่ทั่วโลก

2.5 เท่า

ของค่าความเสี่ยง ที่อยู่ในระดับรับได้โดยเ ลี่ย

มีการคาดการณ์กันว่า คนเมือง 9 จาก 10 คน มีความเสี่ยงต่อการรับอากาศเสียเข้าสู่ร่างกาย

ในป

ตัวอย่างการพัฒนาพื้นที่เมืองอย่างยั่งยืน คลอง เกาหลีใต้ งบประมา ที่ใช้ 10,000 ล้านบาท มูลค่าทางเ ร กิจ 750,000 ล้านบาท นิวยอร์ก สหรั อเมริกา งบประมา ที่ใช้ 150 ล้านเหรีย สหรั มูลค่าทางเ ร กิจ 2,000 ล้านเหรีย สหรั

CLAUSTROPHOBIA เมือ่ ความแคบขยับขยาย กลายเป็นความกลัว

พื้นที่สาธารณะและส่วนกลาง นักออกแบบเมืองแนะน�าว่า ควรมีการจัดสรรพื้นที่สา าร ะ ในอัตราส่วนร้อยละ 15 ถึง 20 ส�าหรับเมืองหนึ่งเมือง หรือคิดเป็นอัตราส่วนร้อยละ 30 ถึง 35 หากรวมพื้นที่ถนนสั จรเข้าไปด้วย ร้อยละ 59 ผลส�ารวจพื้นที่สา าร ะเ ลี่ยทั่วโลกจากการส�ารวจในป 2014

ASK GURU มนุ ย์ เ ป็ น สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ มี สั ชาต า ในการเอาตัวรอดในระดับสูงมากกว่า สัตว์ชนิดอื่นๆ กลไกการปองกันตนเอง จึงถูกสร้างขึ้นมาเพื่อปองกันและเป็น สั า เพื่ อ ให้ ห ลบเลี่ ย งอั น ตราย นัน้ ๆ เรากลัวไ ไหม้ เราหลีกหนีนา�้ หลาก แต่ บ างครั้ ง ความกลั ว ก็ ม าจาก ประสบการ ์หรือเหตุการ ์ที่แตกต่าง ซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ความกลั ว ที่ ส ร้ า งความ ล� า บากในการใช้ ชี วิ ต และ ‘โรคกลั ว ที่แคบ ’ ก็จัดว่าเป็น อี ก หนึ่ ง กลุ ่ ม อาการที่ มั ก จะพบเห็ นได้ บ่อยมากกว่าที่หลายคนคาดคิด โรคกลัวที่แคบ สามารถสรุปอาการ ได้อย่างคร่าวๆ คือ อาการของผู้ที่มี ความวิตกกังวล เมื่อต้องอยู่ในสถานที่ หรือสถานการณ์ทถี่ กู ปิดล้อม ถูกกักเอาไว้ ในพืน้ ทีม่ ดิ ชิด อยูใ่ นห้องขนาดเล็กทีไ่ ม่มี หน้าต่าง ไปจนถึงพื้นที่เปิดแต่แออัดไป ด้วยผูค้ น เป็นต้น โดยอาการของผูท้ กี่ ลัว ที่แคบนั้นก็มีหลากหลาย ตั้งแต่เหงื่อที่ ออกมากผิดปกติ หัวใจเต้นแรง ปากแห้ง ตัวสั่น ปั่นปวนในช่องท้อง ไปจนถึงราย ทีเ่ ป็นหนักมากๆ ก็อาจจะหน้ามืดเป็นลม

Text: สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์

ช็อกหมดสติ หรืออาจจะเสียชีวติ ได้ในรายทีม่ อี าการ อย่างร้ายแรง แพทย์และนักวิจัยเชื่อว่า อาการโรคกลัวที่แคบ มีสาเหตุมาจากประสบการณ์ที่ไม่ดีในช่วงวัยเด็ก จนติดตัวฝังใจกลายเป็นความทรงจ�าที่ส่งผลต่อ อาการ เช่น เคยพลัดหลงกับผู้ปกครองในสถานที่ ที่มีคนมาก เคยถูกขังในที่แคบเป็นระยะเวลาหนึ่ง หรือเคยเกือบจมน�้าในสระ ซึ่งสมองจะสั่งการให้ ต่อต้านและรู้สึกกลัว แม้ว่าจะเติบโตขึ้นมาและ สถานการณ์ไม่ได้ร้ายแรงอย่างที่เคยประสบมาแล้ว ก็ตาม อย่างไรก็ดี โรคกลัวที่แคบก็สามารถเกิดขึ้น จากการสืบทอดทางพันธุกรรม และความผิดปกติ ของส่วนสมองได้ แต่เป็นกรณีที่พบเจอได้ยากมากๆ แต่ก็ไม่ควรมองข้าม ส�าหรับการรัก าโรคกลัวที่แคบนั้น โดยมาก จะใช้ วิ ี ก ารแบบพ ติ ก รรมบ� า บั ด เพื่อค่อยๆ คลายความคิด ของผู ้ ป วยให้ เ ป็ นไปในทางที่ ผ ่ อ นคลายมากขึ้ น หรื อ อาจจะมีการใช้ยารัก าโรคตามกลุ่มอาการ แต่ ทั้ ง นี้ ถ้ า ใครที่ รู ้ สึ ก ว่ า ตนเองจะเป็ น โรคกลั ว ที่แคบแล้ว ลองไปพบแพทย์และปรึก า เพื่อหา แนวทางบ� า บั ด รั ก าที่ เ หมาะสม หากว่ า อาการ นั้นๆ รบกวนการใช้ชีวิตมากเกินไปก็จะดีที่สุด

247 021


TIDBITS

WHERE TO FIND COFFEE

& BAKERY

VIsIT OuR www.gmlive.com/247

SHOPPING MALL

HOSPITAL

นักเรียนมั ยมปลายคนนัน้ มากับเพือ่ นสามสีค่ น เขาไปสัง่ กาแ บาริสต้ายิม้ ทักทาย วันนีร้ บั อะไรครับ เด็กหนุม่ บอกเมนูไปสามสีอ่ ย่าง รวมถึงขนมด้วย ท่าทีของคนสองคนนีด้ กู า�้ กึง่ ระหว่าง ความสนิทสนมและเหินห่าง คล้ายมีประวัติ าสตร์ชวี ติ ร่วมบางอย่างทีค่ นอืน่ อาจมองไม่เห็น และไม่อาจเข้าใจ เมือ่ สัง่ กาแ และขนมเสร็จ เด็กหนุม่ ยังยืนอ้อยอิง่ อยูต่ รงเคาน์เตอร์รบั กาแ พลางบอก ให้เพือ่ นๆ ไปนัง่ ที่โตะก่อน เขาจะถือถาดกาแ และขนมไปให้เอง เมือ่ เพือ่ นๆ ผละไปแล้ว ผูท้ รี่ อกาแ อยู่ใกล้ๆ จึงเข้าใจ บาริสต้าและเด็กหนุม่ ยิม้ ให้กนั และข ะทีม่ อื ของบาริสต้าสาละวนอยูก่ บั กาแ เขาก็พดู คุยกับเด็กหนุม่ ด้วยความอ่อนโยน อย่างน้อยก็ออ่ นโยนกว่ากับลูกค้าอืน่

OTHERS

BEAUTY &SPA

โรงเรียนละแวกนัน้ ร้านกาแ ละแวกนัน้ ความสัมพัน ์ในละแวกนัน้

247 022

เรือ่ งราวของชีวติ เป็นอย่างนี้ เราพบกัน ข้องเกีย่ วกันด้วยวิ งี า่ ยๆ ด้วยการเป็นลูกค้า ด้วยการชงกาแ ที่อร่อยที่สุดในโลกให้กับใครบางคนโดยเ พาะ ด้วยการมอบรอยยิ้ม เหนือถ้วยกาแ เด็กหนุม่ อ้อยอิง่ อยูต่ รงเคาน์เตอร์กาแ นัน้ เนิน่ นาน พูดคุย ยิม้ กว้างสว่างไสวเช่นเดียว กับยิม้ ของบาริสต้า แต่มนั อาจนานเกินไปส�าหรับเพือ่ น เพือ่ นสองคนจึงเดินมาตาม พวกเขา ไม่ได้ตามเ ยๆ แต่สง่ เสียงแซวด้วยบางถ้อยค�าทีอ่ าจท�าให้เด็กหนุม่ เขิน บาริสต้าผละไป เด็กหนุม่ เดินจากมา เขาไม่ได้ถอื ถาดกาแ และขนม ทว่าเป็นเพือ่ นของเขาต่างหากทีต่ อ้ งท�า หน้าทีน่ นั้ ราวคือการลงโท ในค�าแซว ร้านกาแ มีลกู ค้ามาก และบางโตะก็ยงั ไม่ได้เก็บ หลายนาทีตอ่ มา บาริสต้าวนเวียน มาเก็บโตะ โตะนัน้ โตะนี้ ทีละโตะ ทีละโตะ ทว่าทุกครัง้ เขาจะผ่านมาที่โตะของเด็กหนุม่ คล้ายนกบินโ บผ่านผิวเผิน พลางส่งยิม้ ให้ ในทีส่ ดุ ก็เป็นเพือ่ นของเด็กหนุม่ นัน่ เองทีส่ ง่ เสียงเรียกบาริสต้า พีค่ รับ รบกวนพีเ่ ก็บแก้วนีห่ น่อยครับ มันไม่ใช่การใช้งาน และไม่ใช่การแซวอีกต่อไป แต่คอื การเรียกขาน เป็นการเปดโอกาส เป็นการบอกใบ้วา่ ไม่มเี พือ่ นคนไหนอยากกีดกันเพือ่ นคนไหนในความสัมพัน ์ใดๆ บาริสต้ายิม้ กว้าง แล้วพวกเขาก็สนทนากัน เรื่องเรียบง่าย เกิดขึ้นทุกเมื่อเชื่อวัน มันอาจจบลงเรียบง่ายหรือยั่งยืนชั่วกาลก็ได้ ข้างนอกนัน่ ลมพัดแรง พัดต้องผิวน�า้ ของสระเล็กๆ ทีป่ ระดับประดาร้านอยูจ่ นผืนน�า้ กระเพือ่ ม ไม่มีใครรูห้ รอกว่า พรุง่ นีจ้ ะเป็นอย่างไร กลุม่ เด็กหนุม่ ทีม่ าติวให้กนั และกันในร้านกาแ แห่งนี้ จะสอบผ่านและแยกย้ายกันไปร�า่ เรียนต่อที่ไหนบ้าง ไม่มีใครรูห้ รอกว่า ในอีกสามสิบปข้างหน้า ใครจะอยูท่ ี่ไหน และกระทัง่ จะมีใครร่วงหล่นจากชีวติ ไปแล้วบ้างหรือเปล่า และเมือ่ พวกเขา จากไป ความทรงจ�าถึงรอยยิม้ ของบาริสต้าจะยังคงด�ารงอยูต่ รงมุมไหนของอดีตอีกบ้าง บาริสต้าเดินจากไปแล้วเดินกลับมา จากไปแล้วเดินกลับมา และจากไปแล้วเดินกลับมา การอยากมีชวี ติ อยูอ่ าจเป็นอย่างนีน้ เี่ อง

HOTEL

ดาวน์โหลด E-Magazine ในเครือ GMG ได้ที่ App Store และ Play Store ios

Android

Apple Store

Google Play

AIS Book Store

Ookbee

Ookbee Buffet

Magzter



7/8/62

TF406006BO

260X340

3/8/62

KBKB


90,000+ People like this

www.facebook.com/247FreeMagazine นิตยสาร Unisex ส�าหรับคนเมืองที่เป็นเหมือน ไกด์ไลน์ส�าหรับหนุ่มสาวในคอนซ็ปต์ Work Hard, Play Hard อัพเดททุกความทันสมัยตอบสนอง ความสุขในการใช้ชีวิตแบบเต็มดีกรี ทั้งวิสัยทัศน์ ความคิ ด ศั ก ยภาพการท� า งาน และไลฟ์ ส ไตล์ อินเทรนด์ เพื่อให้คุณเป็น ‘คุณ’ ได้เต็มพิกัด เจิดจรัสในดาวน์ทาวน์ ทุก 24 ชั่วโมง ตลอด 7 วัน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.