247#403

Page 1

ทรงพระเจริญ

เนื่องในโอกาสพระราชพิ ธีบรมราชาภิเษก พุ ทธศักราช ๒๕๖๒

city magazine : biweekly www.gmlive.com/247 MAGAZINE

free

OF THE GM Group VOL.12 NO.403 16 - 31 MAY 2019


บรมราชาภิเษก บรมราชาภิเษกบรมกษัตริย์ เฉลิมสวัสดิร์ ฐั สีมา พระบารมีเกริกก้องฟ้า ปกประชาราษฏร์รม ่ เย็น

• บรรณาธิการที่ปรึกษา ณิพรรณ กุลประสูตร • บรรณาธิการอำ�นวยการ โตมร ศุขปรีชา • บรรณาธิการบริหาร ขนิษฐา เผือกผ่องใส • กองบรรณาธิการ สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์ • ทป่ี รึกษาศิลปกรรม ประทีป ปัจฉิมทึก • บรรณาธิการศิลปกรรม ธนพงษ์ ผดุงกิจ • ศิลปกรรม มนตรี ฤทธิ์น้อย • พิสูจน์อักษร ลัมภนีย์ ธรรมพากรณ์ • บรรณาธิการฝ่ายภาพ ดำ�รงค์ฤทธิ์ สถิตดำ�รงธรรม • หวั หน้าช่างภาพ พิชญุตม์ คชารักษ์ • ผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด ปาริชาติ เชือ้ รังสรรค์, อรกัญญา เบญจมณีโชค • รองผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด กรองทอง สันดุษฎี, • ฝ่ายโฆษณา / การตลาด ปัณณภัสร์ เลาพิทกั ษ์กลู • ผูจ้ ดั การฝ่ายสร้างสรรค์การตลาด ณัฐพล ขุนเจริญ • ผจู้ ดั การทัว่ ไป ภานุวชั ร พงศ์วราภา • ผจู้ ดั การฝ่ายการเงิน วิมลลักษณ์ อาศัยพานิชย์ • หัวหน้าฝ่ายบัญชี ปราณีวรรณ ตระการพฤกษ์ • ฝ่ายบัญชี นุชนารถ ใจประสาท • ผู้จัดการฝ่ายผลิต รัตนา โค้ว

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุ ทธเจ้า คณะผู้บริหารและพนักงาน นิตยสาร 24 7 บริษัท จีเอ็ม มัลติมีเดีย กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ในห้ ว งเดื อ นพฤษภาคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๖๒ เป็ น ช่ ว งเวลาที่ พ สกนิ ก รชาวไทย ต่างปีติยินดี เมื่อในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธี บรมราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี ระหว่างวันที่ ๔-๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึง่ ถือเป็นประวัตศิ าสตร์ครัง้ ส�ำคัญของประเทศไทยด้วยเป็นพระราชพิธสี ำ� คัญยิง่ ทีต่ อ้ งจารึก ไว้ในประวัติศาสตร์ของชาติอีกครั้ง และนับเป็นครั้งแรกที่มีการถ่ายทอดสดผ่านโทรทัศน์ รวมการเฉพาะกิจให้ได้รบั ชมกันทัว่ ประเทศ หนึง่ ในพิธกี ารส�ำคัญของพระราชพิธบี รมราชาภิเษก คือ ริว้ ขบวนพระบรมราชอิสริยยศ แบ่งเป็น ๓ ริว้ ขบวน ดังนี้ ริว้ ขบวนที่ ๑ แห่พระสุพรรณบัฏ ริว้ ขบวนที่ ๒ ทรงประกาศเป็นพุทธศาสนูปถัมภก ริว้ ขบวนที่ ๓ พยุหยาตราสถลมารค คุณค่าและความงามของริ้วขบวนที่ได้รับชมกันนั้น นอกเหนือจากความสมานสามัคคี ความพร้อมเพรียงของก�ำลังพลจ�ำนวนมากแล้ว ยังสื่อถึงการส่งผ่านอัตลักษณ์วัฒนธรรม อันเป็นรากเหง้าทางจิตวิญญาณของคนในชาติจากรุน่ สูร่ นุ่ มาจนถึงปัจจุบนั เป็น ‘มรดกทาง วัฒนธรรม’ เพือ่ การด�ำรงไว้ซงึ่ ขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงาม และเป็นการเฉลิมพระเกียรติ อย่างสูงสุดต่อพระมหากษัตริยซ์ งึ่ เป็นสถาบันหลักของชาติอนั เป็นทีเ่ คารพรักของคนไทยอีกด้วย

บริษัท จีเอ็ม มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) อาคาร GM Group 914 ถนนพระราม 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ : 02 241 8000 แฟกซ์ : 02 241 8008 แฟกซ์ฝา่ ยโฆษณา : 02 241 5888 E-mail : freemag.247@gmail.com ประธานกรรมการบริหาร / กรรมการผู้จัดการ : ปกรณ์ พงศ์วราภา รองประธานกรรมการบริหาร สายงานการเงิน : พรจิตต์ พงศ์วราภา สายงานการตลาด : อัญริยา มีเขตกิจ สายงานนิวมีเดีย : พีศิลป์ พงศ์วราภา GM MULTIMEDIA Group PUBLIC COMPANY LIMITED 24 7 OFFICE : GM Group BLDG., 914 RAMA 5 RD., DUSIT,

BANGKOK 10300 THAILAND

TEL. : (+66) 2241 8000 FAX : (+66) 2241 8008

www.gmgroup.in.th, www.gmlive.com/247 CHAIRMAN / CEO : PAKORN Pongvarapa EXECUTIVE VICE PRESIDENT FINANCE : PORNJITT Pongvarapa MARKETING : ANRIYA Meeketkit NEW MEDIA : PEESILP Pongvarapa

แยกสี : บริษัท กนกศิลป์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด โทร. 02 215 1588 พิมพ์ที่ : บริษัท โอเอส พริ้นติ้งเฮ้าส์ จำ�กัด โทร. 02 433 3653 บรรณาธิการ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : พีศิลป์ พงศ์วราภา

- ขนิ ษ ฐา เผื อ กผ่ อ งใส

U p d at e s & A c t i v i t i e s • T r e n d & Ta s t e • T r av e l & L e i s u r e • E at & D r i n k • L i v i n g & M o r e

8,155,000 0 คน

: จำ�นวนนักท่องเทีย่ วทีม่ าเยีย่ มชมวัดพระเชตุพน วิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร หรือวัดโพธิ์ ในปี 2549

22,000 300 คน

: หลักกิโลเมตรทีต่ งั้ : จำ�นวนแรงงาน, ช่างจิตรกรรม, ของมหาวิหารนอเตรอดาม ช่างแกะสลัก และนักทอผ้าทีใ่ ช้ใน กรุงปารีส การสร้างทัชมาฮาล อินเดีย

ปีกอ่ นคริสตกาล

: อายุทสี่ ถูปสาญจี รัฐมัธยประเทศ อินเดีย ถูกสร้างขึน้ และถือว่าเป็นสถูปทีเ่ ก่าแก่ทสี่ ดุ ในโลก ในการบันทึกมรดกโลกของยูเนสโก

1988

: ปีทพี่ รี ะมิดชีเชนอิตซา รัฐยูคาตัง ประเทศเม็กซิโก ได้ขนึ้ ทะเบียนเป็นมรดกโลก



สถานที่น่าสนใจในเส้นทางริ้วขบวนพระราชพิ ธี

บรมราชาภิเษกทางสถลมารค

เดือนพฤษภาคมนี้ นับเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ เป็นล้นพ้น ทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้พสกนิกรจากทัว่ ทุกสารทิศ ได้ชนื่ ชมพระบารมี อย่างใกล้ชดิ ในพระราชพิธบี รมราชาภิเษก เสด็จพระราชดำ�เนินเลียบพระนครโดยขบวน พยุหยาตราทางสถลมารค จากพระทีน่ งั่ อาภรณ์ภโิ มกข์ปราสาท วัดบวรนิเวศวิหาร วัดราชบพิธ สถิตมหาสีมาราม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยตลอดเส้นทางที่ริ้วขบวนเสด็จผ่าน มีสถานทีน่ า่ สนใจทีท่ าง 24 7 Magazine ขอนำ�เสนอในวาระอันเป็นมหามงคลนี้ @ BA N G KO K

วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร

วัดอารามหลวงชัน้ เอก ตัง้ อยูบ่ นถนนบวรนิเวศ และถนนพระสุเมรุ สถาปนาขึ้นโดยสมเด็จ พระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ กรมพระราชวัง บวรสถานมงคลในรัชกาลที่ 3 เป็นวัดทีม่ คี วามส�ำคัญอย่างสูง เพราะเคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราชถึง 4 พระองค์ รวมถึงเป็นทีต่ งั้ ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย อันเป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์แห่งแรกในประเทศ ทัง้ ยัง เป็ น ที่ ป ระทั บ ของ พระพุ ท ธชิ น สี ห ์ ซึ่ ง อั ญ เชิ ญ จาก วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก พระพุทธรูปคูบ่ า้ นคูเ่ มืองของไทยอีกด้วย

@ BA N G KO K

247 004

@ BA N G KO K

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

วัดอารามหลวงส�ำคัญในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ตั้งของ สุสานหลวง และอีกหนึ่งงานสถาปัตยกรรมร่วมสมัยของประเทศไทย เพราะเป็นวัดที่ ผสมผสานสถาปัตยกรรมแบบไทยจากภายนอก และภายในตกแต่งอย่างตะวันตก รวมถึงมหาสีมา อันเป็นเสาศิลาจ�ำหลักยอดเป็นรูปเสมาธรรมจักรแปดเสา ตั้งเป็นก�ำแพงแปดทิศอันมีเอกลักษณ์ และพระอารามทีม่ สี มี ากว้างใหญ่ เป็นมหาสีมาล้อมรอบอาณาเขตของวัด วัดราชบพิธแห่งนี้ นับเป็น พระอารามหลวงสุดท้าย ทีพ่ ระมหากษัตริยท์ รงสร้างตามโบราณราชประเพณีวดั ประจ�ำรัชกาลอีกด้วย

ศาลหลักเมือง

หนึง่ ในสถานทีส่ ำ� คัญทางประวัตศิ าสตร์ ของกรุงรัตนโกสินทร์ ตามธรรมเนียม พิธีก่อตั้งนครของพราหมณ์ ต้องวาง เสาหลักเมืองในชัยภูมอิ นั เป็นส�ำคัญเพือ่ ความเป็น สิริมงคลแก่บ้านเมือง โดยศาลหลักเมืองของ กรุ ง เทพฯ ได้ ผ ่ า นการบู ร ณะซ่ อ มแซม และ ออกแบบให้มคี วามสวยงามมาในทุกยุคสมัย ตัง้ อยู่ บริเวณมุมด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ของสนามหลวง ตรงข้ามพระบรมมหาราชวัง


Text: สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์

@ BA N G KO K

โลหะปราสาท

อี ก หนึ่ ง โบราณสถานส� ำ คั ญ อายุ ก ว่ า ร้ อ ยปี ข อง กรุงรัตนโกสินทร์ โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร สร้างขึน้ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั บริเวณพืน้ ทีว่ ดั ราชนัดดา ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ ผ่านการ ปรับปรุงมาโดยตลอด จนถึงปี 2560 ทีก่ รมศิลปากรได้รว่ มกับทางวัด บูรณะมณฑปให้เป็นสีทองอย่างทีเ่ ห็นอยูใ่ นปัจจุบนั

@ BA N G KO K

วัดพระเชตุพนวิมล มังคลาราม ราชวรมหาวิหาร

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร หรือวัดโพธิ์ เป็นอีกหนึง่ วัดอารามหลวงคูบ่ า้ นคูเ่ มืองของประเทศไทย มานับตัง้ แต่สมัยรัชกาลที่ 1 ถูกขึน้ ท�ำเนียบมรดกโลก จากองค์ ก ารยู เ นสโก ทั้ ง ยั ง เป็ น วั ด ที่ มี พ ระเจดี ย ์ ม ากที่ สุ ด ในประเทศไทย จ�ำนวน 99 องค์ และจัดเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วส�ำคัญ ล�ำดับที่ 24 ของโลก ทีต่ อ้ นรับนักท่องเทีย่ วและแขกบ้านแขกเมือง โดยตลอดมา


Escape

From Faith to Flourish

เยือนบ้านญวนชวนไปบ้านเขมร ตามรอยวัฒนธรรมทีส่ บื สานมากว่าร้อยปี

Text: สรพันธ์ สัญจร

่ ลุม ่ ๆ จะสามารถเรียกตนเองว่าเป็น ‘ชุมชน’ ได้นน ่ ทางวัฒนธรรม ้ั ไม่ได้เพี ยงแค่การอยูร่ วมกันทางกายภาพ หากแต่ตอ การทีก ่ สังคมหนึง ้ งมีจด ุ ร่วมของความเชือ ่ มเยือนชุมชนบ้านญวนและบ้านเขมร ย่านสามเสน ก็ชว่ ยเปิดหูเปิดตาและตอกย�ำ้ ประเพณี ศาสนา และการสืบทอดต่อกันมาจากรุน ่ สูร่ น ุ่ และการเดินทางไปเยีย ้ ไม่วา่ จะด้วยการร่วมกันของความเชือ ่ หรือระยะเวลาทีส ่ บ ้ ๆ ก็ตาม ถึงค�ำว่า ‘ชุมชน’ ได้อย่างชัดเจนมากยิง ื ทอดสิง ่ ขึน ่ นัน

ชุมชนบ้านญวนและบ้านเขมรในย่าน สามเสนนั้น สามารถสืบย้อนกลับไป ได้ถงึ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ทีช่ าวญวน ผู้นับถือคริสต์ศาสนา ได้ลี้ภัยอาญา แผ่ น ดิ น ของพระมหากษั ต ริ ย ์ ผู ้ ไ ม่ ทรงเปิดกว้างทางความคิด มาพึ่ง พระบรมโพธิสมภารพระเจ้าแผ่นดิน ของแผ่นดินสยามในเวลานั้น และ ค่อยๆ ตั้งรกราก สร้างเนื้อสร้างตัว สืบทอดความเชือ่ อย่างมัน่ คงมาจนถึง ปัจจุบัน นับอายุได้กว่าหลายร้อยปี โบสถ์หรือวัด คือ สถานที่ส�ำคัญ ซึ่ ง เป็ น แกนกลางหลั ก ของชุ ม ชน

247 006

ชาวคริสต์ไทยเชือ้ สายญวนและเขมร เป็นศูนย์รวมของชุมชน ดังเช่นวัด นักบุญฟรังซิสเซเวีย ที่สวยงามด้วย สถาปัตยกรรมแบบกึง่ โกธิค ตระการตา ด้วยกระจกสีทผี่ ลิตและติดตัง้ ประดับ ด้วยกรรมวิธีแบบโบราณ สะท้อนถึง ความศรั ท ธาของคริ ส ต์ ศ าสนิ ก ชน ชาวไทยเชื้อสายญวนและเขมรที่หยั่ง รากและสืบทอดกันมาอย่างงดงาม เปี่ยมล้นด้วยความเชื่อมั่นที่พร้อมส่ง ต่อไปสู่อนาคต จากโบสถ์ เ ซนต์ ฟ รั ง ซิ ส เซเวี ย เดินต่อมาอีกไม่ไกลนัก เป็นสถานที่

ตั้งของอีกหนึ่งสถานที่ส�ำคัญอย่าง วั ด คอนเซ็ ป ชั ญ (Conception Church) ที่นอกจากจะคงรูปแบบ งานสถาปัตยกรรมดัง้ เดิมทีแ่ ข็งแกร่ง ด้วยงานปูนเปลือยแล้ว ยังเป็นที่เก็บ รวบรวมบั ญ ชี ร ายชื่ อ ของลู ก หลาน ชาวไทยเชื้อสายญวนและเขมร นับ ตั้งแต่วันที่ตั้งรกราก จนถึงในห้วง เวลาปัจจุบันขณะ อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ท�ำให้ชุมชน ชาวไทยเชื้ อสายญวนและเขมรนั้ น ยื น ยาวมาจนถึ ง ปั จ จุ บั น คื อ กลุ ่ ม ลูกหลานที่ยังคงยึดมั่น และใช้ชีวิต ในความเชื่อทางศาสนาของตนอย่าง เหนียวแน่น ผ่านองค์ประกอบและ บริ บ ทปั จ จั ย ที่ แ ตกต่ า งกั น ไป ทั้ ง พิธกี รรม ทัง้ งานสถาปัตยกรรม ไปจน ถึงขนมและพื้นที่ส�ำหรับผู้ที่ล่วงลับ แม้ จ ะมี ค วามเปลี่ ย นแปลงไปตาม วันและเวลา แต่แก่นหลักนั้น ยังคง แน่นหนา และสืบย้อนกลับไปได้ บางทีทา่ มกลางความหลากหลาย ของเชือ้ ชาติพนั ธุ์ นอกเหนือจากระยะ เวลาแล้ว ความเป็นชุมชนทีแ่ ท้ อาจจะ วัดคุณค่าตรงที่พื้นที่นั้นๆ ซึ่งยังคง ตัวตน และไม่หลงลืมว่ามาจากทีแ่ ห่งใด และก�ำลังจะมุ่งหน้าไปในรูปแบบใด ก็เป็นได้ ขอขอบคุณ การสื่อสารการตลาดองค์กร/ สื่ อสารองค์กรสั มพั นธ์ บมจ.บัตรกรุงไทย ส�ำหรับทริปเยือนบ้านญวน เยือนบ้านเขมร มา ณ โอกาสนี้


New Deposit's Tax 101

TRENDY BIZ Text: Couching Economist

ในตอนนี้ ดูเหมือนประเด็นเรื่องภาษีดอกเบี้ยเงินฝาก ก�ำลังอยู่ในความสนใจและตื่นตัวของประชาชนอยู่ ไม่น้อย จากข้อมูลข่าวสารที่มีมาในหลากหลายทาง กระนัน้ แล้ว ภาษีดอกเบีย้ เงินฝาก ก็ไม่ใช่มาตรการที่ใหม่อะไร และมีรายละเอียดทีส่ ามารถท�ำความเข้าใจได้งา่ ยๆ ทีจ่ ะมาแจกแจงให้ฟงั กัน ในขัน้ ตอนของการฝากเงินนัน้ โดยหลัก แล้ว ถ้าหากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ได้รบั ดอกเบีย้ เกิน 20,000 บาท (สอง หมืน่ บาท จะต้องเสียภาษี ณ ทีจ่ า่ ย ในอัตรา 15% และถ้าไม่ถงึ จะได้รบั การยกเว้นอยูแ่ ล้วตามระเบียบปฏิบตั ิ ทั่วไป แต่ด้วยช่องโหว่ทางกฎหมาย ท�ำให้มีผู้อาศัยลู่ทางดังกล่าวแตก บั ญ ชี อ อกเพื่ อ หลี ก เลี่ ย งการจ่าย ภาษี ซึง่ มาตรการทีม่ ขี นึ้ 1ใหม่4/24/2562 นี้ ก็เพือ่ BE TF403002KB260X170.pdf การดังกล่าว

ทัง้ นี้ เมือ่ วันที่ 4 เมษายน 2562 อธิบดีกรมสรรพากรได้ออกมาแถลง แนวทางส�ำคัญของมาตรการจัดเก็บ ภาษีดอกเบีย้ เงินฝากเอาไว้ 4 ประการ ด้วยกันคือ ... 1 เจ้าของบัญชีตอ้ งยินยอมให้ธนาคาร ส่งข้อมูลให้สรรพากร 2 ดอกเบีย้ และผลตอบแทนเงินฝาก ‘ทุกบัญชี’ ต้องไม่เกิน 20,000 บาท 3 เจ้าของบัญชีจะต้องเป็นผูเ้ สียภาษี 9:31 AM

4 ต้องไม่นำ� ดอกเบีย้ หรือผลตอบแทน

จากเงินฝาก ไม่วา่ ทัง้ หมดหรือบางส่วน ไปค�ำนวณภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ซึง่ ในมาตรการทัง้ สีข่ อ้ นี้ ก็ไม่ได้ มีอะไรทีส่ ลับซับซ้อน หรือต้องพะวง กังวลใจแต่อย่างใด ขอเพียงแค่แจ้งกับ ทางธนาคารเพื่ อ ให้ ค วามยิ น ยอม สรรพากรตรวจสอบบัญชีแต่เพียงเท่านัน้ และถึงที่สุดบัญชีเงินฝากอาจจะ ไม่ใช่หนทางที่ก่อให้เกิดความมั่งคั่ง

แต่อย่างใด อาจลองพิจารณาทางเลือกอืน่ เพือ่ การลงทุน เช่น การซือ้ กองทุนรวม การซือ้ ตราสารหนี้ หรือการลงทุนใน หุน้ และทองค�ำ ทัง้ นีข้ นึ้ กับความพร้อม และต้นทุนที่มีเอาไว้เป็นอีกทางหนึ่ง ด้วยก็ได้



บรมราชาภิเษก

พระราชพิธีเฉลิมพระเกียรติ แด่ พระมหากษัตริย์ cover story เรือ่ ง : นรวัชร์ พันธ์บญ ุ เกิด ภาพ : พิชญุตม์ คชารักษ์ / www.phralan.in.th / หนังสือประมวลภาพประวัตศิ าสตร์ในพระราชพิธบี รมราชาภิเษก

ค�ำว่า “ราชาภิเษก” เป็นค�ำภาษาสันสกฤต สนธิคำ� ว่า “ราช” และ “อภิเษก” ซึง่ แปลว่า การรดน�ำ้ รวมค�ำศัพท์ทงั้ สอง แปลว่า “การถวายรดน�ำ้ แด่พระราชา” หรืออีกนัยหนึง่ คือ พระราชพิธีในการสถาปนาขึน้ เป็นพระมหากษัตริย์

“พิธรี าชสูรยะ” ทีม ่ าของ “พระราชพิธี บรมราชาภิเษก” พระราชพิธีบรมราชาภิเษกนี้เป็นพิธีเก่าแก่ตั้งแต่สมัยพระเวท (ประมาณว่า ๑,๕๐๐-๖๐๐ ปีกอ่ นคริสต์ศกั ราช) เริม่ ต้นทีก่ ารเลือก “ราชา” (Raja) เป็น “ผูน้ ำ� ” ในการรบพุง่ ก่อนจะผันตัวเองเป็นผูป้ กครองในฐานะ “กษัตริย”์ ในเวลาต่อมาได้ถกู ยก ให้อยูเ่ หนือบุคคลธรรมดาทัง้ หลาย ตามคติ “เทวราชา” (Deva Raja) ถืออาญาสิทธิ์ ประดุจ “เทพเจ้าอวตารลงมาเป็นกษัตริย”์ หน้าที่ของกษัตริย์ในสมัยโบราณมิเพียงแต่ปกป้องประชาชนจากการรุกราน ของศัตรูเท่านัน้ และต้องเป็นแบบอย่างในการเชิดชูความยุตธิ รรมในสังคม ส่วนฝ่าย พราหมณ์นอกจากเป็นผูป้ ระกอบพิธกี รรมทัง้ หลายแล้ว ยังมีหน้าทีเ่ ป็นปุโรหิตถวาย ค�ำแนะน�ำแก่กษัตริยอ์ กี ด้วย คราใด เมือ่ แผ่นดินว่างพระมหากษัตริยล์ ง เหล่าเสนาอ�ำมาตย์ทงั้ ๔ วรรณะ ได้แก่ พราหมณ์, กษัตริย,์ แพศย์, ศูทร จะท�ำการคัดเลือกผูเ้ หมาะสมขึน้ เป็นกษัตริยต์ อ่ ไป

และผู้ที่ได้รับการคัดเลือกจะต้องท�ำ “พิธีราชสูรยะ” (แปลว่า การบูชา บวงสรวงของพระราชา) ซึ่งเป็นพิธีส�ำคัญในการประกาศพระเกียรติยศ ของกษัตริย์พระองค์ใหม่ ทั้งนี้ในชมพูทวีปสมัยพระเวทนั้นประกอบด้วย ชนพืน้ เมืองดัง้ เดิม และชนใหม่ทเี่ ข้ามาคือ พวกอินโด-อารยัน เมือ่ ชนสองฝ่าย เข้าร่วมในพิธกี รรมนี้ ย่อมเป็นการชักจูงให้มไี มตรีตอ่ กัน เกิดความสงบ ระงับ ความแตกร้าว ไม่เฉพาะแต่ชนในชาติเท่านัน้ ชนต่างชาติ ต่างภาษาก็ได้มี โอกาสมาพบปะ รูจ้ กั และเชือ่ มสัมพันธไมตรีตอ่ กัน ในอดีต หากประเทศใด ไม่มาร่วมพิธจี ะถือว่าแข็งเมืองเป็นปรปักษ์

เส้นทาง “มุรธาภิเษก” จากอินเดียถึงไทย มุรธาภิเษก มาจากค�ำว่า “มุรธ” หมายถึงหัวหรือยอด , “อภิเษก” หมายถึง การรดอันยิง่ ใหญ่ ดังนัน้ “มุรธาภิเษก” หมายถึง การรดน�ำ้ อันศักดิส์ ทิ ธิเ์ หนือศีรษะ และหมายถึงน�ำ้ พระพุทธมนต์และเทพมนตร์ ส�ำหรับถวายพระมหากษัตริย์ เพือ่ สรงในพระราชพิธบี รมราชาภิเษกหรือพระราชพิธอี นื่ ๆ

247

00๙


หนังสือ “ประเพณีวงั และเจ้า” ของ หม่อม ราชวงศ์เทวาธิราช ป. มาลากุล ๒๔๙๒ ว่ า “เมื่อจะท�ำน�้ำพระมุรธาภิเษก เจ้าพนักงานตั้ง พระพุ ท ธรู ป เป็ น ประธานพร้ อ มด้ ว ย โต๊ ะ หมู ่ เป็ น แท่ น ที่ บู ช า และตั้ ง ภาชนะส� ำ หรั บ ใส่ น�้ำพระมุรธาภิเษกมีพานแว่นฟ้ารองรับภาชนะ ดังกล่าวเรียกว่า พระครอบมุรธาภิเษก ท�ำด้วย ทองสัมฤทธิ์ ด้านนอกหุม้ ทองลงยา พระครูปริตรไทย ๔ รูป และพระครูปริตรมอญ ๔ รูป เป็นผูส้ วด พระปริตร” ตามต�ำราโบราณของพราหมณ์นนั้ กล่าวถึง “ปัญจมหานที” คือ แม่นำ้� สายส�ำคัญทัง้ ๕ สาย ในดิ น แดนชมพู ท วี ป กล่ า วว่ า ไหลลงมาจาก เขาไกรลาส ที่สถิตแห่งพระศิวะ (พระอิศวร) พระเป็นเจ้า “ปัญจมหานที” ได้แก่ แม่นำ�้ คงคา, แม่นำ�้ ยมุนา, แม่นำ�้ มหิ, แม่นำ�้ อจิรวดี และแม่นำ�้ สรภู นอกจากนี้ ใ นแต่ ล ะคั ม ภี ร ์ ข องพราหมณ์ ทีแ่ ต่งขึน้ มีรายละเอียดของ “น�ำ้ ” แตกต่างกันไปใน การประกอบพิธบี รมราชาภิเษก เช่น คัมภีรศ์ ตปถ พราหมณะเรียก “พิธรี าชสูรยะ”, คัมภีรไ์ อตเรย พราหมณะ เรียก “พิธปี นุ รภิเษก” และ “พิธไี อนทร มหาภิเษก”

247

0๑0

น�้ำชนิดต่างๆ ที่ใช้ประกอบในพระราชพิธี บรมราชาภิเษกอาจจะคล้ายหรือแตกต่างกันไป บ้างตามแต่ละคัมภีร์ แต่ทั้ง ๓ พิธีนี้ ล้วนมี จุ ด ประสงค์ เ พื่ อ เสริ ม อ� ำ นาจ บารมี ใ ห้ กั บ พระมหากษัตริย์ ผูป้ กครองบ้านเมือง สร้างการ ยอมรับในหมูป่ ระชาชนทีแ่ ตกต่างกัน รวมถึงการ แสดงอานุภาพแก่กษัตริย์ ทูตานุทูตในประเทศ อื่นๆ ที่มาร่วมงาน เพื่อให้ความเป็นราชาธิบดี อันสมบูรณ์ได้ปรากฏแก่โลก สันนิษฐานว่า พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ตามคติและประเพณีแบบไทย น่าจะได้อิทธิพล ต้นแบบการสืบทอดมาจากอินเดีย ด้วยมีหลายอย่าง ทีค่ ล้ายคลึงกัน เว้นแต่รายละเอียดบางอย่างเท่านัน้

“พระราชพิธี บรมราชาภิเษก” ในประเทศไทย พิธบี รมราชาภิเษกเป็นพิธสี ำ� คัญของทุกประเทศ ทีม่ พี ระมหากษัตริยเ์ ป็นองค์พระประมุข เป็นการเฉลิม พระเกียรติยศแด่กษัตริย์พระองค์ใหม่ เพื่อแต่งตั้ง พระเจ้าแผ่นดิน หรือ พระราชาธิบดี พิธดี งั กล่าวใน ประเทศไทยได้ผสมผสานระหว่างศาสนาพราหมณ์ และศาสนาพุทธ นับตัง้ แต่การตัง้ ราชธานีกรุงสุโขทัย เรือ่ ยมาจนถึงปัจจุบนั ธรรมเนียมเดิมของประเทศไทย พระมหากษัตริย์ พระองค์ ใ ดขึ้ น ครองราชย์ ต้ อ งจั ด พระราชพิ ธี บรมราชาภิเษกภายใน ๗ วัน หรือถ้าจะล่าช้าต้อง ไม่เกิน ๑ เดือนเศษ และกระท�ำก่อนที่จะถวาย พระเพลิงพระบรมศพกษัตริย์พระองค์ก่อน แต่ใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว การจัดพระราชพิธีดังกล่าวได้ทอดเวลาออกไปจน เสร็จสิน้ งานถวายพระเพลิงพระบรมศพรัชกาลที่ ๕

กรุงสุโขทัย

กษั ต ริ ย ์ ใ นราชวงศ์ พ ระร่ ว ง กรุ ง สุ โ ขทั ย ทั้ ง ๙ พระองค์นั้น ปรากฏหลักฐานทางโบราณคดีว่า มีพระราชพิธบี รมราชาภิเษกเพียง ๒ พระองค์เท่านัน้ คือ พ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์ และพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไทย) เมื่อพ่อขุนบางกลางหาว ครองเมืองสุโขทัย พ่อขุนผาเมืองได้ท�ำการอภิเษกให้พระสหายโดย ๑. ใช้นำ�้ อภิเษกจาก “เขาลิงคบรรพต” ข้างบนวัดภูใต้ นครจ�ำปาศักดิ์ ๒. มอบพระนามที่พระองค์ได้จาก พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ให้ เรียก “กมรเตงอัญศรีอนิ ทร บดินทราทิตย์” (กมรเตงอัญ เป็นภาษาเขมรโบราณ ใช้น�ำหน้าพระนามกษัตริย์หรือเจ้านายชั้นสูง หรือ

พระมหาเถร) ๓. พระขรรค์ชัยศรี (ภาษาเดิม ใช้ “ขันไชยศรี”) สามสิ่ ง นี้ คื อ เครื่ อ งประกอบพระราชพิ ธี บรมราชาภิเษกในครัง้ แรกของไทย ต่อมาในสมัยพระยาลิไทย กษัตริยใ์ นล�ำดับที่ ๖ ของกรุงสุโขทัย ได้เปลี่ยนการเรียกพระนามเป็น “พระมหาธรรมราชา” แทน “พ่อขุน” เครื่องราชกกุธภัณฑ์ในสมัยพระยาลิไทยจึงมี มงกุฎ, พระขรรค์ชยั ศรี และเศวตฉัตร พระนาม “สุรยิ พงศรามธรรมราชาธิราช” ของ พระองค์มคี วามหมายว่า “วงศ์พระรามอันยิง่ ใหญ่ ผูเ้ ป็น พระเจ้าอันทรงธรรม” พระนามดังกล่าวมีความหมาย เกีย่ วข้องกับศาสนา ซึง่ ได้อทิ ธิพลความเชือ่ จากอินเดีย เป็นรากฐาน ทรงพระราชนิพนธ์ “ไตรภูมิพระร่วง” วรรณกรรมทีถ่ อื ว่า เก่าแก่ทสี่ ดุ เล่มหนึง่ ของประวัตศิ าสตร์ ชาติไทย อันว่าด้วยเรือ่ ง “สวรรค์ โลก และนรก”

กรุงศรีอยุธยา ประเทศไทยมีคำ� ศัพท์ทเี่ กีย่ วข้องกัน และได้ยนิ เสมอ คือ ราชาภิเษกและปราบดาภิเษก ความรุง่ เรือง ๔๑๗ ปีของกรุงศรีอยุธยา มีกษัตริย์ ทั้งสิ้น ๓๓ พระองค์ มีการประกอบ “พระราชพิธี ราชาภิเษก” และ “พระราชพิธปี ราบดาภิเษก” รวมทัง้ สิน้ ๑๔ พระองค์ ราชาภิเษก หมายถึง พระมหากษัตริย์ที่ขึ้น ครองราชย์ถูกต้องตามกฎมณเฑียรบาลมีทั้งสิ้น ๙ พระองค์ คือ ขุนวรวงศาธิราช, สมเด็จพระมหาธรรม ราชาธิราช, สมเด็จพระเอกาทศรถ, สมเด็จพระเชษฐา ธิราช, สมเด็จพระอาทิตยวงศ์, สมเด็จพระสรรเพชญ์ ที่ ๙ (สมเด็จพระทีน่ ง่ั ท้ายสระ), สมเด็จเจ้าฟ้าอภัยทศ, สมเด็จพระเจ้าอุทมุ พร (ขุนหลวงหาวัด, ในพงศาวดาร พม่า เรียก พระสุรประทุมราชา) และสมเด็จพระบรม ราชาที่ ๓ (สมเด็จพระทีน่ งั่ สุรยิ าศน์อมรินทร์) ค�ำว่า “ราชาภิเษก” ปรากฏในพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา มีข้อความเล่าถึงแผ่นดิน


เหตุผลทีม ่ พ ี ระราชพิธี บรมราชาภิเษก ๒ ครัง้

พระเจ้าท้ายสระ ตอนหนึง่ ว่า “มีพระราชโองการตรัสสัง่ พระมหาราชครู พระครูบุริโสดมพรหมพฤฒาจารย์ ให้จัดแจงการพระราชพิธีราชาภิเษกเฉลิมพระราช มณเฑียร” ปราบดาภิเษก หมายถึง พระมหากษัตริยท์ ขี่ นึ้ ครองราชย์โดยการช่วงชิงอ�ำนาจ โดยทีพ่ ระองค์ไม่ได้ อยู่ในฐานะที่จะขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์มีทั้งสิ้น ๕ พระองค์ คือ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ, สมเด็จพระเจ้า ปราสาททอง, สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๓ (สมเด็จ พระนารายณ์มหาราช) , สมเด็จพระมหาบุรษุ (สมเด็จ พระเพทราชา) และพระมหาธรรมราชา (สมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ) ในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ ปรากฏใน พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ตอนหนึง่ ว่ า “ถึ ง วั น ศุ ภ วารดิ ถี พิ ชั ย มงคลมหามหุ ติ ฤ กษ์ จึงกระท�ำการพิธปี ราบดาภิเษก” เป็นต้น

กรุงธนบุรี หลักฐานทีเ่ กีย่ วกับพระราชพิธบี รมราชาภิเษกใน สมัยกรุงธนบุรมี ไี ม่มากนัก พระนิพนธ์ “ไทยรบพม่า” ของกรมพระยาด�ำรง ราชานุภาพ กล่าวว่า “มีค�ำกล่าวกันแต่ก่อนมาว่า เมื่อเจ้าตากท�ำ พิธรี าชาภิเษกในปีกนุ พ.ศ. ๒๓๑๐ หาพราหมณ์ทำ� พิธรี าชาภิเษกไม่ได้ เห็นเป็นการบกพร่องไม่ตอ้ งตาม ราชประเพณี จึงทรงไม่ใช้พระราชโองการจนตลอด รัชกาล” แต่ความจริงหาเป็นเช่นนัน้ ไม่! ในหนังสือแต่งตัง้ เจ้านครฯ ซึง่ พบส�ำเนาเมือ่ สมัยรัชกาลที่ ๕ มีพระราช โองการตามแบบพระเจ้าแผ่นดินครัง้ กรุงเก่าทุกประการ โคลงยอพระเกียรติพระเจ้ากรุงธนบุรี ของ “นายสวน” มหาดเล็กของพระเจ้ากรุงธนบุรี ซึง่ แต่ง เมือ่ วันอังคาร เดือน ๙ ขึน้ ๑๐ ค�ำ่ จุลศักราช ๑๑๓๓ พุทธศักราช ๒๓๑๔ ได้กล่าวถึงการปราบดาภิเษกของ พระเจ้ากรุงธนบุรวี า่

“ใครอาตมตัง้ ตัวผจญได้ฤา พ่ายพระกุศลพล ทัง่ ด้าว ปราบดาภิเษกบน ภัทรบิฐ บัวแฮ สมบัตสิ มบูรณ์ดา้ ว แด่นฟ้ามาปาน” กรุงรัตนโกสินทร์ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในกรุงรัตนโกสินทร์ ทีผ่ า่ นมาทัง้ สิน้ รวม ๑๑ ครัง้ ดังนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ๒ ครัง้ (พ.ศ. ๒๓๒๕, พ.ศ. ๒๓๒๘) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ๑ ครัง้ (พ.ศ. ๒๓๕๒) พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ๑ ครั้ง (พ.ศ. ๒๓๖๗) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ๑ ครั้ง (พ.ศ. ๒๓๙๔) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ๒ ครัง้ (พ.ศ. ๒๔๑๑, พ.ศ. ๒๔๑๖) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ๒ ครั้ง (พ.ศ. ๒๔๕๓, พ.ศ. ๒๔๕๔) พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ๑ ครั้ง (พ.ศ. ๒๔๖๘) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล เสด็จ สวรรคตก่อนทรงรับพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุยเดช ๑ ครัง้ (พ.ศ. ๒๔๙๓) สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพย วรางกูรจะมีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกระหว่างวันที่ ๔-๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ห่างจากรัชกาลทีแ่ ล้ว ถึง ๖๙ ปี

จะเห็นว่า ในรัชกาลที่ ๑, ๕ และ ๖ มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ๒ ครั้ง เหตุผลเป็นดังนี้ หลังกรุงธนบุรเี ป็นราชธานีได้ ๑๕ ปี ก็เกิดเหตุวุ่นวายในพระนคร พระบาท สมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก ซึ่ ง ขณะนั้ น ด� ำ รงพระยศเป็ น สมเด็ จ เจ้าพระยาพระมหากษัตริย์ศึก ท�ำการ ปราบปรามแล้วทรง “ปราบดาภิเษก” เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ เป็นองค์ปฐมกษัตราธิราชแห่งราชวงศ์ จั ก รี มี พ ระนามว่ า “พระบาท สมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก” โปรดให้ ส ร้ า งพระบรมมหาราชวั ง เ รี ย ก สั้ น ๆ ต า ม ที่ รู ้ จั ก กั น ว ่ า “กรุ ง เทพมหานคร” เมื่ อ ราชธานี แล้วเสร็จจึงโปรดให้มี “พระราชพิธี บรมราชาภิเษก” ตามแบบแผนและ ประเพณีโบราณ เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๒๘ ปรากฏในพงศาวดารว่ า ปี จุ ล ศั ก ราช ๑๑๔๕ ทรงบั ญ ชาให้ เ จ้ า พระยา เพชรพิชัย, เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี, พระยาราชสงคราม และพระยาอุทยั มนตรี ซึง่ ทัง้ ๔ ท่านเคยเป็นขุนนางสมัยอยุธยา ในรัชสมัยพระเจ้าอุทมุ พรมาก่อน โปรดให้ ช่วยกันเรียบเรียง “ต�ำราราชาภิเษก ครั้งกรุงศรีอยุธยา” (หาอ่านได้จาก “ลัทธิธรรมเนียมต่างๆ ภาคที่ ๑๙”) และสร้างเครือ่ งเบญจราชกกุธภัณฑ์ขนึ้ เพื่อใช้ในงานราชาภิเษก ทั้งเบญจราช กกุธภัณฑ์และต�ำรานี้ได้เป็นต้นแบบ ในรัชกาลถัดๆ มาจนถึงปัจจุบนั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ครัง้ ที่ ๑ เมือ่ วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๔๑๑ ขณะนัน้ มีพระชนมายุเพียง ๑๕ พรรษา ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ และมีสมเด็จ เจ้าพระยามหาศรีสรุ ยิ วงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นผู้ส�ำเร็จราชการ เมื่อพระองค์มี พระชนมายุครบ ๒๐ พรรษา จึงมีการกระท�ำ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ครั้งที่ ๒ เมือ่ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๔๑๖ เมือ่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยูห่ วั ขึน้ ครองราชย์ตอ่ จากพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั และ ระหว่ า งพระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก ครัง้ แรก เมือ่ วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๔๕๓ นัน้ ยังอยูใ่ นช่วงไว้ทกุ ข์ตามราชประเพณี ดังนั้น พิธใี นครัง้ แรกจึงไม่มงี านรื่นเริง เฉลิมฉลอง แห่เลียบพระนคร แต่เป็น เพี ย ง “พระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก เฉลิมพระราชมณเฑียร” ตามโบราณ ราชประเพณี เ ท่ า นั้ น ในปี ถั ด มา เมื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้ว วันที่ ๒ ธันวาคม ๒๔๕๔ ได้จัดพิธี เฉลิ ม ฉลอง เรี ย กว่ า “พระราชพิ ธี บรมราชาภิเษกสมโภช” (หาอ่านได้จาก “จดหมายเหตุพระราชพิธบี รมราชาภิเษก สมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสินทรมหา วชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ”)

247

0๑๑


น�ำสรงพระมุรธาภิเษก ้ ของพระมหากษัตริย์ไทย

247

0๑๒

อย่างทีก่ ล่าวในข้างต้นว่า พระราชพิธบี รมราชาภิเษกของพ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์ ใช้น�้ำอภิเษกจาก เขาลิงคบรรพต ข้างบนวัดภูใต้ นครจ�ำปาศักดิ์ สมัยกรุงศรีอยุธยา ใช้นำ�้ จากสระส�ำคัญ ๔ แห่งแขวงเมืองสุพรรณบุรี คือ สระเกษ, สระแก้ว, สระคา, สระยมนา สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตงั้ แต่รชั กาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๔ เพิม่ น�ำ้ จากแม่นำ�้ ส�ำคัญของประเทศอีก ๕ สายเรียกว่า “เบญจสุทธิคงคา” อันได้แก่ แม่น�้ำ บางปะกง, แม่นำ�้ ป่าสัก, แม่นำ�้ เจ้าพระยา, แม่นำ�้ ราชบุร,ี แม่นำ�้ เพชรบุรี อนุโลมแทน “ปัญจมหานที” ในต�ำราฝ่ายพราหมณ์ ครัน้ ถึงรัชกาลที่ ๕ พระราชพิธบี รมราชาภิเษก ครัง้ ที่ ๒ เพิม่ น�ำ้ จากแม่นำ �้ ๕ สายในประเทศอินเดีย ซึง่ เรียกว่า “ปัญจมหานที” (แม่นำ�้ คงคา, แม่นำ้� ยมนา, แม่นำ้� มหิ, แม่นำ�้ อจิรวดี และแม่นำ�้ สรภู) รัชกาลที่ ๖ พระราชพิธบี รมราชาภิเษกเฉลิมพระราชมณเฑียร ทรงใช้นำ�้ เช่นเดียวกับสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั และครัง้ ที่ ๒ พระราชพิธี บรมราชาภิเษกสมโภช ทรงใช้นำ�้ จากแม่นำ�้ สายส�ำคัญของมหานครโบราณ ๗ แห่ง และตักน�ำ้ จากแหล่งน�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิไ์ ปตัง้ เสกในวัดต่างๆ อีก ๑๐ แห่ง รวม ๑๗ แห่ง รัชกาลที่ ๗ ท�ำพิธีเสกน�้ำเพิ่มจากที่ท�ำในรัชกาลที่ ๖ อีกหนึ่งแห่ง คือ พระลานชัย เมืองร้อยเอ็ด ตัง้ เสกทีพ่ ระธาตุชอ่ แฮ เมืองแพร่ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ทรงประกอบพระราชพิธบี รมราชาภิเษกเพียง ๒ วัน คือ วันที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ เป็นวันจุดเทียนชัย และวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ คือวันประกอบ พิธบี รมราชาภิเษก ได้ทำ� พิธเี สกน�ำ้ จากภูมภิ าคต่างๆ ทัง้ ๑๘ แห่งเท่าสมัยรัชกาลที่ ๗ เปลีย่ นจาก “มณฑล” เป็น “จังหวัด” และเปลีย่ นสถานทีจ่ ากเดิม ๒ แห่ง คือ เปลีย่ นจาก “วัดมหาธาตุเมืองเพชรบูรณ์และพระธาตุชอ่ แฮ จังหวัดแพร่” เป็น “บึงพลาญชัย จังหวัดร้อยเอ็ด และพระธาตุแช่แห้ง จังหวัดน่าน”

ในแต่ละจังหวัดประกอบพิธรี ะหว่างวันที่ ๑๘-๑๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ โดยมี ราชบุรษุ ไปพลีกรรมตักน�ำ ้ ณ สถานศักดิส์ ทิ ธิ์ แล้วน�ำเข้ามาในมณฑลพิธี ประธานสงฆ์ ประกาศเทวดา จุดเทียนชัย พระสงฆ์ ๓๐ รูป เจริญพระพุทธมนต์ แล้วผลัดเปลีย่ นกัน สวดภาณวาร และเมือ่ ตัง้ บายศรีเวียนเทียนสมโภชแล้วจัดส่งเชิญมายังกรุงเทพฯ การถวายน�้ำอภิเษกในรัชกาลต่างๆ รัชกาลที่ ๑-๓ พราหมณ์เป็นผู้ถวาย น�ำ้ อภิเษก น�ำ้ พระมหาสังข์ และน�ำ้ เทพมนต์ รัชกาลที่ ๔-๗ ราชบัณฑิตเป็นผูถ้ วาย น�ำ้ อภิเษก พราหมณ์พธิ ถี วายน�ำ้ พระมหาสังข์ และพราหมณ์พฤฒิบาศถวายน�ำ้ เทพมนต์ และรัชกาลที่ ๙ สมัยประชาธิปไตย สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร เป็นผูถ้ วายน�ำ้ อภิเษก

พระราชพิธบ ี รมราชาภิเษก ในรัชกาลปัจจุบน ั

สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เพื่อความเป็นสวัสดิมงคลของประเทศชาติ เป็นทีป่ ลาบปลืม้ ปีตยิ นิ ดีของพสกนิกรโดยทัว่ กัน มีกำ� หนดพระราชพิธเี ป็น ๓ ช่วงคือ ๑. พระราชพิธีเบื้องต้น ประกอบด้วย การเตรียมน�้ำอภิเษก การจารึก พระสุพรรณบัฏ ดวงพระบรมราชสมภพ และแกะพระราชลัญจกร ระหว่างวันที่ ๖-๒๓ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๒ ๒. พระราชพิธเี บือ้ งกลาง พระราชพิธบี รมราชาภิเษก ก�ำหนดวันที่ ๒-๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒ ๓. พระราชพิธเี บือ้ งปลาย คือ พระราชพิธที รงบ�ำเพ็ญพระราชกุศล ถวายผ้า พระกฐินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ไปยังวัดอรุณ ในปลายเดือนตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒


พระราชพิธบ ี รมราชาภิเษก เดือนเมษายน ๒๕๖๒

๖ ๘

เมษายน :

พลีกรรมตักน�ำ้ จากแหล่งศักดิส ์ ิทธิ์

เมษายน :

ประธานสงฆ์ประกาศชุมนุมเทวดาในการพิ ธท ี ำ� น�ำ้ อภิเษก และจุดเทียนชัย

๙ ๑๘

เมษายน :

ดับเทียนชัย เวียนเทียนสมโภชน�ำ้ อภิเษก

เมษายน :

- เสกน�ำ้ อภิเษกรวมจากกรุงเทพฯ และ ๗๖ จังหวัด - ประกาศชุมนุมเทวดา ท�ำน�ำ้ เทพมนตร์ เจริญพระพุ ทธมนต์ ท�ำน�ำ้ พระพุ ทธมนต์

๑๙

เมษายน :

แห่เชิญน�ำ้ อภิเษกจาก วัดสุทศ ั นเทพวราราม ไปยัง วัดพระศรีรต ั นศาสดาราม

๒๒ ๒๓

เมษายน :

พระสงฆ์ ๑๐ รูป เจริญพระพุ ทธมนต์

เมษายน :

จารึกพระสุพรรณบัฏ ดวงพระราชสมภพ และพระราชลัญจกร และจารึกพระสุพรรณบัฏพระบรมวงศ์ ณ วัดพระศรีรต ั นศาสดาราม

เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๒

๒ พิธท ี ำ� น�ำ้ อภิเษก ในการพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ต้องเตรียมท�ำน�ำ้ อภิเษก โดยท�ำพิธพี ลีกรรม ตักน�ำ้ จากแหล่งน�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิท์ วั่ ราชอาณาจักร จ�ำนวน ๑๐๗ แห่งตามโบราณราชประเพณี และท�ำพิธีพร้อมกันในวันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตั้งพิธีท�ำน�้ำอภิเษก ณ พระอารามส�ำคัญประจ�ำจังหวัดของแต่ละจังหวัด ๗๖ แห่ง ในวันที่ ๘ เมษายน เจริญพระพุทธมนต์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเป็นประธาน และเวียนเทียนสมโภชน�ำ้ อภิเษก ในวันที่ ๙ เมษายน ดับเทียนชัย จากนัน้ ทุกจังหวัด เชิญน�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิจ์ ากจังหวัดมาตัง้ ไว้ ในอุโบสถวัดสุทศั นเทพวราราม เพือ่ เสกน�ำ้ อภิเษก ประกาศชุมนุมเทวดา ท�ำน�ำ้ เทพมนตร์ เจริญพระพุทธมนต์ท�ำน�้ำพระพุทธมนต์ รวมกับน�้ำอภิเษกของกรุงเทพมหานคร (จากหอศาสตราคม พระบรมมหาราชวัง) ในวันที่ ๑๘ เมษายน และแห่เชิญน�ำ้ อภิเษก ของทุกจังหวัดทัง้ ๗๗ จังหวัด รวมทัง้ น�ำ้ เบญจสุทธคงคา (แม่นำ�้ บางปะกง, แม่นำ�้ ป่าสัก, แม่น�้ำเจ้าพระยา, แม่น�้ำราชบุรี และแม่น�้ำเพชรบุรี) จากวัดสุทัศนเทพวรารามไปยัง พระอุโบสถวัดพระศรีรตั นศาสดารามในวันที่ ๑๙ เมษายน เพือ่ พราหมณ์ประกอบพิธี แหล่งน�ำ ้ ๑๐๗ แห่ง (หาอ่านในรายละเอียดเรือ่ งสถานทีต่ งั้ แหล่งน�ำ ้ และสถานที่ ประกอบพิธเี สกน�ำ ้ ในหนังสือ “ประมวลองค์ความรู้ พระราชพิธบี รมราชาภิเษก”) สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้ตงั้ การพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ระหว่างวันที่ ๔-๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เพือ่ ความเป็นสวัสดิมงคลแก่บา้ นเมือง ซึง่ เป็นทีป่ ตี ยิ นิ ดีแก่ประชาชนทัว่ หล้า ถือเป็น เหตุการณ์สำ� คัญ และศักดิส์ ทิ ธิอ์ ย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องจารึกไว้ในประวัตศิ าสตร์ของชาติ ความส�ำคัญอันเกีย่ วเนือ่ งกับการเตรียม “น�ำ้ พระมุรธาภิเษก” ซึง่ เป็นพิธใี นเบือ้ งต้น และเป็นหนึ่งในหลายส่วนของพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ตลอดเวลาของสังคมไทย ทีผ่ า่ นมาได้เห็นความเป็นปึกแผ่นมัน่ คงของชาติไทย ซึง่ มีพระมหากษัตริยเ์ ป็นสถาบันหลัก อันเข้มแข็ง เป็นหลักชัยทีต่ งั้ มัน่ ปกครองแผ่นดินด้วยทศพิธราชธรรม ทรงเสียสละความสุข ส่วนพระองค์ เพือ่ บ�ำบัดทุกข์บำ� รุงสุขแก่อาณาประชาราษฎร์ เป็นศูนย์รวมใจของชาวไทย ทัง้ ชาติ ทีไ่ ด้เกิดมาและเติบโตใต้รม่ พระบารมี

พฤษภาคม :

เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงถวายราชสักการะ พระบรมราชานุสรณ์ ลานพระราชวังดุสิต ปฐมราชานุสรณ์ สะพานพระพุ ทธยอดฟ้า และเสด็จพระราชด�ำเนินบวงสรวงสิ่งศักดิส ์ ิทธิ์

พฤษภาคม :

- เชิญพระสุพรรณบัฏ ดวงพระราชสมภพ ่ ง และพระราชลัญจกร ไปยังพระทีน ั่ ไพศาลทักษิณ

พฤษภาคม :

- พระราชพิ ธบ ี รมราชาภิเษก - เสด็จออกมหาสมาคมรับการถวายพระพรชัยมงคล - ประกาศพระองค์เป็นพุ ทธศาสนูปถัมภก ถวายบังคมพระบรมอัฐิ สดับปกรณ์ - เฉลิมราชมณเฑียร

พฤษภาคม :

- พระราชพิ ธเี ฉลิมพระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย สถาปนาพระฐานันดรศักดิพ ์ ระบรมวงศ์ - เสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนคร โดยขบวนพยุหยาตราทางสกลมารค

พฤษภาคม :

่ ง - เสด็จออก ณ สีหบัญชร พระทีน ั่ สุทไธสวรรย์ ปราสาทให้ประชาชนเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล ่ ง - เสด็จออก ณ พระทีน ั่ จักรีมหาปราสาท ให้คณะทูตานุทต ู และกงสุลต่างประเทศเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล

247

0๑๓

หมายเหตุ: คณะกรรมการจัดการพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ได้มมี ติให้วนั ที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เป็นวันหยุด เพือ่ ให้การด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย


ริว้ ขบวนในพระราชพิธบ ี รมราชาภิเษก

๓ วันประวัตศ ิ าสตร์ในรัชกาลที่ ๑๐

247

0๑๔

วันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒

วันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒

วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒

ริว้ ขบวนที่ ๑ : ริว้ ขบวนแห่ พระสุพรรณบัฏ ดวงพระราชสมภพ และพระราชลัญจกร จากวัดพระศรีรต ั นศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง ไปยัง ่ ง พระทีน ั่ ไพศาลทักษิณ โดยใช้กำ� ลังพล ๑๓๓ นาย

่ เป็น ริว้ ขบวนที่ ๒ : ริว้ ขบวนราบใหญ่ ซึง ่ มเด็จพระเจ้าอยูห ริว้ ขบวนทีส ่ วั จะเสด็จจาก ่ ง พระทีน ั่ อมรินทรวินจ ิ ฉัย มายัง วัดพระศรีรต ั นศาสดาราม เพื่ อประกาศ พระองค์เป็นพุ ทธศาสนูปถัมภก และถวายบังคม พระบรมอัฐแ ิ ละพระอัฐท ิ ป ี่ ราสาทพระเทพบิดร ้ หมด ๒๓๔ นาย โดยใช้กำ� ลังพลทัง ส�ำหรับการเดินในริว้ ขบวนที่ ๑-๒ ่ ยูใ่ นพระบรมมหาราชวัง เป็นริว้ ขบวนทีอ จังหวะการเดินจึงใช้ตามเสียงกลองเป็นหลัก

ริว้ ขบวนที่ ๓ : ริว้ ขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค เลียบพระนครเส้นทางจากพระบรมมหาราชวัง วัดบวรนิเวศวิหาร วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ้ หมด ๑,๓๖๘ นาย เป็นการเดินประกอบเพลง ใช้กำ� ลังพลทัง ่ อัญเชิญบทเพลงพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จ ซึง พระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิ ตร บรรเลงโดยกองดุรย ิ างค์ จ�ำนวน ๖ เพลง ประกอบด้วย เพลงมาร์ชราชวัลลภ เพลงมาร์ชธงชัยเฉลิมพล เพลงใกล้รง ุ่ เพลงยามเย็น เพลงสรรเสริญเสือป่า และสรรเสริญพระนารายณ์ ่ นผูแ และจะมีการเปลีย ้ บกหามทุก ๕๐๐ เมตร โดยประมาณ


จดหมายเหตุ เรือง ่ พระราชพิธี บรมราชาภิเษก ในรัชกาลที่ ๖ อธิบายลักษณะพระราชพิธี บรมราชาภิเษก

พระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษกพระบาทสมเด็ จ พระรามาธิบดี ศรีสนิ ทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว ท�ำเป็น ๒ งาน คือ งานพระราชพิธี บรมราชาภิเษกเฉลิมพระราชมณเฑียร ท�ำเมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ปีจอ พ.ศ. ๒๔๕๓ งานพระราชพิธี บรมราชาภิเษกสมโภช ท�ำเมือ่ วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ปีกนุ พ.ศ. ๒๔๕๔ เหตุทที่ ำ� พระราชพิธบี รมราชาภิเษก เป็น ๒ งานนัน้ เนือ่ งจากรัชกาลที่ ๖ ทรงพระราชด�ำริวา่ “เมื่อคิดเทียบกับความนิยมของประเทศทั้งปวง ในสมัยนี้ มีขอ้ ขัดข้องอยู่ ๒ อย่าง คือ เหมือนหนึง่ ท�ำการรืน่ เริงในเวลาก�ำลังไว้ทกุ ข์อย่างหนึง่ รีบท�ำไม่ให้ เวลาแก่ราชตระกูล หรือประเทศที่เป็นสัมพันธมิตร มีโอกาสได้มาช่วยงานตามอัธยาศัยแลประเพณีทนี่ ยิ ม กันในประเทศนั้นๆ อย่างหนึ่ง เพราะฉะนั้นควรจะ แก้ไขระเบียบงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอย่าให้ ขัดขวางกับความนิยมในประเทศทัง้ ปวง ทรงปรึกษา กระแสพระราชด�ำริแก่พระบรมวงศานุวงศ์ แลเสนาบดี

ผูใ้ หญ่ ก็เห็นชอบพร้อมกันตามพระราชบริหาร เห็นว่า ควรจะจัดระเบียบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ท�ำเป็น ๒ ครั้ง ครั้งแรกให้เป็นการพระราชพิธี บรมราชาภิเษกเฉลิมพระราชมนเทียร ตามโบราณ ราชประเพณี แต่งดการแห่เสด็จเลียบพระนคร และ การรืน่ เริงอย่างอืน่ ๆ ไว้ เมือ่ ถวายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงแล้ว จึงท�ำพระราชพิธี บรมราชาภิเษกสมโภชอีกครั้งหนึ่ง ให้เป็นส่วนการ รื่ น เริ ง ส� ำ หรั บ ประเทศ แลให้ น านาประเทศที่ มี สัมพันธมิตรไมตรีมโี อกาสทีจ่ ะมาช่วยงาน และการทีท่ ำ� พระราชพิธบี รมราชาภิเษกเป็น ๒ ครัง้ เช่นนีก้ ไ็ ม่ผดิ โบราณราชประเพณี ด้วยเยีย่ งอย่างเคยมีมาในสมัย รัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เมือ่ แรกเสด็จปราบดาภิเษก ในปีขาล พ.ศ. ๒๓๒๕ ทรงท�ำพระราชพิธรี าชาภิเษกแต่พอเป็นสังเขปครัง้ หนึง่ ต่อมาเมือ่ ทรงสร้างพระนครกับทัง้ ปราสาทราชมนเฑียร เสร็ จ แล้ ว ก็ ท รงท� ำ พระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก เต็มตามต�ำรา เมือ่ ปีมะเส็ง พ.ศ. ๒๓๒๘ อีกครัง้ หนึง่

ต่อมาเมือ่ รัชกาลที่ ๕ เมือ่ แรกพระบาทสมเด็จฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลย ราชสมบัติ ทรงท�ำพระราชพิธบี รมราชาภิเษก เมือ่ ปีมะโรง พ.ศ. ๒๔๑๑ ครัง้ หนึง่ ครัน้ เมือ่ เสด็ จ ออกทรงผนวช ลาผนวชแล้วท�ำการ พระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก เมื่ อ ปี ร ะกา พ.ศ. ๒๔๑๖ อีกครัง้ หนึง่ อาศัยเหตุซงึ่ ทรง พระราชด�ำริดังกล่าวมาจึงด�ำรัสสัง่ ให้ทำ� การ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเฉลิมราชมนเฑียร เมื่อปีจอ พ.ศ. ๒๔๕๓ แลท�ำพระราชพิธี บรมราชาภิเษกสมโภช เมือ่ ปีกนุ พ.ศ. ๒๔๕๔ มีรายการดังจะปรากฏต่อไปในหนังสือนี”้

หมายเหตุ คัดลอกบางส่วนจากหนังสือ “จดหมายเหตุ พระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก สมเด็ จ พระรามาธิ บ ดี ศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว : จัดพิมพ์เป็นอนุสรณ์ ในงานพระราชทานเพลิงศพ “พลตรีดดั เดชะชาติ” ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรนิ ทราวาส วันที่ ๒๑ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘”

บรรณานุกรม

๑. เครือ่ งประกอบพระราชอิสริยยศ ส�ำหรับกษัตริยท์ ปี่ รากฏในพระราชพิธพี ระบรมราชาภิเษกสมัยรัตนโกสินทร์ : น.ส.บุรยา ศราภัยวาณิช ศิลปากร ๒๕๕๖ สาขาโบราณคดี สมัยประวัตศิ าสตร์ ๒. พิธรี าชาภิเษกในประเทศไทย : เติมศรี ลดาวัลย์ วิทยานิพนธ์ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๗ ๓. พระราชพิธบี รมราชาภิเษกสมัยรัตนโกสินทร์ : สุจรรยา เหลืองธาดา วิทยานิพนธ์ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๓ ๔. พระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ : ม.ร.ว.แสงสูรย์ ลดาวัลย์ เรียบเรียง คณะกรรมการจัดท�ำเอกสารภาษาไทย ในคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จัดพิมพ์เผยแพร่ พุทธศักราช ๒๕๒๖ ๕. เถลิงกษัตราธิราช บรมราชาภิเษก พระราชพิธีศักดิ์สิทธิ์ของแผ่นดิน : โรม บุนนาค ส�ำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ ๖. เครือ่ งเบญจราชกกุธภัณฑ์และเครือ่ งสูง : ยุพร แสงทักษิณ เรียบเรียง องค์การค้าคุรสุ ภา ๗. พระราชพิธบี รมราชาภิเษก : โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย (มรดกไทย) องค์การค้าคุรสุ ภา ๘. พิธรี าชาภิเษกในคติอนิ เดียและไทย : การศึกษาเปรียบเทียบ : นางสาวศรีนวล ภิญโญสุนนั ท์ วทิ ยานิพนธ์ ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕๒๘ ๙. จดหมายเหตุพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว : จัดพิมพ์เป็นอนุสรณ์ ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลตรีดดั เดชะชาติ ๑๐. ประมวลภาพประวัตศิ าสตร์ไทยในพระราชพิธบี รมราชาภิเษกสมัยรัตนโกสินทร์ : ส�ำนักหอจดหมายเหตุกรมศิลปากร ๒๕๕๐ ๑๑. ประมวลองค์ความรู้ พระราชพิธบี รมราชาภิเษก : กระทรวงวัฒนธรรม จัดพิมพ์ เนือ่ งในมหามงคลการพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒

247

0๑๕


ประชาปีติ เปล่ง “ทรงพร “ทรงพ เรือ่ ง : นรวัชร์ พันธ์บญ ุ เกิด ภาพ : เฟซบุก๊ สำ�นักข่าว กรมประชาสัมพันธ์, พิชญุตม์ คชารักษ์


พระเจริญ” ก้องแผ่นดิน


“เราจะสืบสาน รักษา และต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพือ ่ ประโยชน์สข ุ แห่งอาณาราษฎรตลอดไป” พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสน ิ ทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมพ ิ ลราชวรางกูร กิตส ิ ริ ส ิ มบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห ่ วั ทรงมีพระปฐมบรมราชโองการ ในพระราชพิธบ ี รมราชาภิเษก วันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒

247

0๑๘

พระราชพิธบี รมราชาภิเษก ในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ สุดยิ่งใหญ่ เป็นที่ประจักษ์แก่สายตาชาวโลก ประชาชนชาวไทยพร้อมใจกันใส่เสือ้ เหลือง เปล่งเสียง “ทรงพระเจริญ” ดังกึกก้องทัง้ แผ่นดิน ส่วนของ พิธกี ารในพระราชพิธนี นั้ มีรายละเอียดมาก ซึง่ ทาง นิตยสาร247 ขอน�ำเสนอเพียง “บางส่วน” เนือ่ งด้วย พืน้ ทีม่ จี ำ� กัด

ต้องมีการเฉลิมพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ พระองค์ใหม่ มีขั้นตอนการจารึกพระนามลงแผ่น พระสุพรรณบัฏเพื่อทูลเกล้าฯ ถวายในพระราชพิธี บรมราชาภิเษก ในการนีจ้ ะมีการจารึกดวงพระราชสมภพ ลงในแผ่นทองค�ำบรรจุดว้ ยพร้อมกัน รวมถึงการแกะสลัก พระราชลัญจกรประจ�ำรัชกาลใหม่ เพือ่ ใช้ประทับลงใน เอกสารส�ำคัญต่างๆ ในราชการแผ่นดิน

การจารึกพระสุพรรณบัฏ ดวงพระราชสมภพ พระราชลัญจกร

การสรงพระมุรธาภิเษกและทรงรับ น�ำอภิเษก ้

ตามโบราณราชประเพณี การเสด็จขึน้ ครอง พระราชสมบัติของกษัตริย์พระองค์ใหม่จ�ำเป็น

พระราชพิ ธี ส� ำ คั ญ ในการขึ้ น ครองราชย์ ข อง กษัตริย์พระองค์ใหม่ โดยใช้น�้ำศักดิ์สิทธิ์จากแหล่ง

ทีม่ าแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัดทัว่ ประเทศ ด้วยน�ำ้ เป็นสัญลักษณ์ของแหล่งชีวิตอันบริสุทธิ์ การใช้น�้ำ เท่ากับเป็นการช�ำระล้างร่างกายให้มีความบริสุทธิ์ เปลีย่ นแปลงสถานภาพและบทบาทหน้าทีข่ องผูด้ ำ� รง ในต�ำแหน่ง “พระมหากษัตริย”์ ให้ปรากฏในอาณาจักร และนอกอาณาจักร วันที่ ๔ พฤษภาคม เวลา ๑๐.๐๙-๑๒.๐๐ น. สรงพระมุรธาภิเษก (ชาลาพระที่นั่งจักรพรรดิ พิมาน) ทรงรับน�้ำอภิเษก (พระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราช อาสน์) ทรงรับเครื่องราชกกุธภัณฑ์ ขัตติยราชวราภรณ์ และพระแสง (พระทีน่ งั่ ภัทรบิฐ)


พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย และพระฐานันดรศักดิ์ พระบรมวงศ์ใหม่ ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒

พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส

วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เสด็จฯออก ออกณณห้อห้งองว.ป.ร. ว.ป.ร. พระที พระที่นน่ ั่งงั่ อัอัมมพรสถาน พรสถาน พระราชวังดุสติ พร้อมด้วย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และพลเอกหญิงสุทดิ า วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยา ในการสถาปนาสมเด็จพระราชินี ในการนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อารักษ์ อ่านประกาศสถาปนา พลเอกหญิงสุทดิ า วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยา เป็นสมเด็จพระราชินี ในการนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ทรงลงพระนามาภิไธย ในฐานะทรงเป็น สักขีพยาน และ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ประธาน องคมนตรี ลงนามในสมุดจดทะเบียนราชาภิเษกสมรส ในฐานะสักขีพยาน วันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม สถาปนา สมเด็จพระราชินีสุทิดา ขึ้นเป็น “สมเด็จ พระนางเจ้าาสุสุททดิ ดิ าาพัพัชชรสุรสุธดาพิาพิมมลลัลรักตษณ น์ พระบรมราชิ พระบรมราชิน”ี

การเฉลิมพระราชมณเฑียร

พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงประกอบ พระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร ณ หมู่พระราช มณเฑียร ภายในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และ สมเด็จพระนางเจ้าสุทดิ า พระบรมราชินี ประทับแรม ณ พระทีน่ งั่ จักรพรรดิพมิ าน ๑ คืน

๑. พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมพิ ลราชวรางกูร กิตสิ ริ สิ มบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราช วโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั ๒. สมเด็จพระนางเจ้ ธาพิธมาพิลลัมกลลั ษณก ๒.สมเด็ พระนางเจ้าสุาทสุดิทาดิ พัาชพัรสุชรสุ พระบรมราชิ นี นี ษณ พระบรมราชิ ๓. พระบาทสมเด็ พระบาทสมเด็ จพระบรมชนกาธิ จพระบรมชนกาธิ เบศรเบศร มหา มหาภู มพิ ลอดุ ลยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ภูมพิ ลอดุ ลยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ตร ตร ๔. สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรม ราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ๕. สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสริ นิ ธร มหา วชิราลงกรณวรราชภักดี สิรกิ จิ การิณพี รี ยพัฒน รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี ๖. สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬา ภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางค วัฒน วรขัตติยราชนารี ๗. ๘. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตยิ าภา นเรนทิราเทพยวดี ๘. ั ณวรี ๙. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรวิ ณ นารีรตั นราชกัญญา ๙. ๑๐.สมเด็ สมเด็จจพระเจ้ พระเจ้าาลูลูกกยาเธอ ยาเธอ เจ้าฟ้าทีปงั กร รัศมีโชติ มหาวชิโรตตมางกูร สิรวิ บิ ลู ยราชกุมาร ๑๐. ๑๑. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมืน่ สุทธนารีนาถ ๑๑. ๑๒. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิรภิ า จุฑาภรณ์ ๑๒. ๑๓. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยา ทรกิตคิ ณ ุ

247

0๑๙


การเลียบพระนคร

247

0๒0

การเสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนครเป็น ธรรมเนียมเก่า แบ่งเป็น การเลียบพระนครทาง สถลมารค (ทางบก) ในวันที่ ๕ พฤษภาคม และ การเลียบพระนครทางชลมารค (ทางเรือ) ซึง่ จะมี ขึน้ ในปลายเดือนตุลาคมนี้ วันที่ ๕ พ.ค. เวลา ๑๖.๔๙ น. พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเครื่องบรมขัตติยราช ภูษติ าภรณ์ ฉลองพระองค์ครุย สายสะพายมหาจักรี สายสร้อยจุลจอมเกล้า ทรงพระมาลาเส้าสูง และ ทรงพระแสงขรรค์ชัยศรี เสด็จพระราชด�ำเนิน เลียบพระนคร โดยขบวนพยุหยาตราสถลมารค เสด็จพระราชด�ำเนินจากพระบรมมหาราชวัง ไปยัง วัดบวรนิเวศวิหาร-วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม -วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม รวมระยะทาง ๗.๑๕ กม. และขบวนพยุหยาตราครัง้ นี้ พระบรม ราชิน-ี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตยิ าภา

นเรนทิราเทพยวดี ทรงร่วมพระด�ำเนินกระหนาบข้าง ยาตราคู่เคียงพระราชยาน ขณะที่ประชาชนต่างใส่ เสือ้ เหลืองเข้าเฝ้ารับเสด็จฯ ตลอดเส้นทาง พร้อมเปล่ง เสียงทรงพระเจริญ ลักษณะการเดินในริว้ ขบวนพระบรมราชอิสริยยศ เป็ น แบบกึ่ ง สวนสนาม ตามจั ง หวะดนตรี เ พลง พระราชนิพนธ์ ๖ เพลง ทีบ่ รรเลงโดยวงดุรยิ างค์ คือ มาร์ชราชวัลลภ, ยามเย็น, ใกล้รงุ่ , สรรเสริญเสือป่า, สรรเสริ ญพระนารายณ์, มาร์ชธงชัยเฉลิมพล พระราชพิธีเสด็จออกสีหบัญชร

วันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๖.๕๔ น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชด�ำเนิน พร้อมด้วย สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตยิ าภา นเรนทิรา เทพยวดี, สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี

นารีรัตนราชกัญญา และสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปงั กรรัศมีโชติ มหาวชิโรตตมางกูร สิรวิ บิ ลู ยราชกุมารเสด็จออกสีหบัญชร ให้ประชาชนเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล ณ พระทีน่ งั่ สุทไธสวรรย์ปราสาท ในพระราชพิธีดังกล่าว ทุกพระองค์ทรงโบก พระหัตถ์แย้มพระสรวล เหล่าพสกนิกรปลื้มปีติ เปล่งเสียง “ทรงพระเจริญ” ดังกึกก้อง เวลา ๑๗.๓๐ น. เสด็ จ ออกพระที่ นั่ ง จั ก รี มหาปราสาท ให้คณะทูตานุทตู แขกของรัฐบาล และ กงสุลต่างประเทศเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวาย พระพรชัยมงคล


เนื่องในโอกาสพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒

ทรงพระเจริญ

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหารและพนักงาน นิตยสาร 24 7 บริษัท จีเอ็ม มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)


tidbits

WHERE TO FIND COFFEE

& BAKERY

247 022

ความเหงาท�ำร้ายเราหลายระดับเหลือเกิน ที่จริงแล้ว ความเหงาคือการรู้สึกว่าตัวเองถูกตัดขาด ไม่เพียงจากคนรักเท่านั้น แต่ความเหงาในบางระดับ ความรู้สึกว่าถูกตัดขาดจากสังคม หรือเกิด Social Isolation ขึ้นมาด้วยซ�้ำ วิธบี ำ� บัดความเหงาไม่ใช่เรือ่ งง่าย หลายคนอาจจะบอกว่า เพียงแค่หายเหงาเราก็จะ ไม่เหงาแล้ว แต่ที่จริงแล้ว ความเหงาไม่เหมือนความหิว เมื่อหิว เรากินอะไรสักหน่อย ก็หายหิวแล้ว แต่ความเหงาต้องการ ‘คนอื่น’ เข้ามายุ่งเกี่ยวในสมการด้วย ถึงจะท�ำให้ เราหายเหงาได้ แต่กระนัน้ คนทีเ่ กิดความเหงาเรือ้ รัง มักจะมีอาการบางอย่างในชีวติ ที่ ‘ผลัก’ คนอืน่ ออกไปจากตัวเอง วงจรอุบาทว์แห่งความเหงาจึงเกิดขึน้ เพราะไม่สามารถมีความสัมพันธ์ กับคนอื่น ในอันที่จะท�ำให้ตัวเองหายเหงาได้ ความเหงาอาจคลายลงได้ก็ด้วยสัมพันธภาพกับคนอื่นที่ต้องตั้งใจจะต่อติดกับเรา ต้องไม่ถกู บังคับ และต้องมีชว่ งเวลาต้องตรงกัน แต่เมือ่ ไม่มีใครมาช่วยบ�ำบัดความเหงาให้ หลายคนจึงหาวิธีบ�ำบัดความเหงาในแง่ลบ ซึ่งก็มักยิ่งผลักคนอื่นออกไปอีก เคยมีการศึกษาความเหงาว่าเกี่ยวข้องกับสมองอย่างไร ผลลัพธ์ที่ออกมานั้น น่าหวาดหวั่นส�ำหรับคนเหงามาก เรารู้อยู่แล้วว่า สมองซีกซ้ายควบคุมร่างกายซีกขวา และสมองซีกขวาควบคุม ร่างกายซีกซ้าย คนส่วนใหญ่จะถนัดขวา ซึ่งแปลว่าสมองซีกซ้ายท�ำงานมากกว่าซีกขวา นักวิทยาศาสตร์พบว่า หูขวาก็เช่นเดียวกัน มันจะได้ยินค�ำต่างๆ และตีความค�ำเหล่านั้น ได้ดีกว่าหูซ้าย ทีนี้เขาก็เลยหาคนมาสามกลุ่ม โดยมีวิธีวัดค่าแล้วเลือกออกเป็นกลุ่มคนเหงา กลุ่มคนไม่เหงา และกลุ่มเหงาบ้างไม่เหงาบ้าง (ซึ่งก็คือกลุ่มคน ‘ปกติ’ ทั่วไปในสังคม) แล้วให้คนเหล่านีม้ าทดสอบการฟังเสียงจากหูสองข้างพร้อมๆ กัน โดยเป็นเสียงคนละเสียง หลังทดสอบ พบว่าทุกกลุม่ ใช้หขู วา (หรือสมองซีกซ้าย) ในการจับเสียงได้ดกี ว่าหูซา้ ย (หรือสมองซีกขวา) ทัง้ นัน้ นักวิทยาศาสตร์จงึ ทดลองต่อ โดยให้ลองใช้ ‘สติ’ ในการรับฟัง จากหูซ้าย โดยกั้นเสียงหูขวาทิ้งไปไม่ต้องสนใจ ปรากฏว่ากลุ่มคนไม่เหงากับคนทั่วไปนั้น สามารถ ‘บังคับ’ ตัวเองให้ฟังเสียงข้างซ้ายได้ แต่พอเป็นกลุม่ คนเหงาแล้ว กลับพบว่าคนกลุม่ นีเ้ ดาค�ำจากหูซา้ ยได้แม่นย�ำน้อยกว่า คนกลุ่มอื่น แต่เพราะการ ‘ควบคุม’ ตัวเองให้ต้องฟังเสียงในแบบที่ร่างกายไม่คุ้นเคยนั้น ต้องใช้สมองส่วนหน้าเพือ่ การบังคับควบคุม ดังนัน้ นักวิทยาศาสตร์จงึ ได้ขอ้ สรุปออกมาว่า คนเหงาจะมีความสามารถในการควบคุมสภาวะต่างๆ ในร่างกาย (อย่างน้อยก็เรื่องของ หูซ้ายหูขวา) ได้น้อยกว่า พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ ความเหงาท�ำให้คนเหล่านี้มีการจดจ่อที่พร่องลง อย่างน้อยก็ กับเรื่องนี้ ดังนัน้ ความเหงาจึงไม่ใช่เรือ่ งเล่นๆ เพราะมันส่งผลกับตัวเรามากกว่าทีเ่ ราคิด เพราะ วงจรความเหงาจะน�ำเราไปสู่การแยกขาดทางสังคม ซึ่งยิ่งท�ำให้เราเหงามากขึ้นไปอีก ความเหงาจึงท�ำร้ายเราได้หลายระดับอย่างทีเ่ ราอาจคิดไม่ถงึ แต่กระนัน้ - เราก็แทบ ไม่เคยหักห้ามความเหงาได้เลย บางทีนี่อาจเป็นค�ำสาปของการเกิดมาเป็นมนุษย์ก็ได้

โ ต ม ร ศุ ข ป รี ช า

Visit Our www.gmlive.com/247

SHOPPING MALL

HOSPITAL

OTHERS

BEAUTY &SPA

HOTEL

ดาวน์โหลด E-Magazine ในเครือ GMG ได้ที่ App Store และ Play Store ios

Android

Apple Store

Google Play

AIS Book Store

Ookbee

Ookbee Buffet

Magzter


society

News UPDATE

Text: AuuIn

บีเอสเอช เปิดตัว ‘Bosch Experience Centre’ โฉมใหม่

WHERE: BANGKOK HOW: นายชลวิทย์ ณ สงขลา กรรมการผูจ้ ด ั การ

ชาบูอดู๊ เป็นต่อ เอ็กซ์เพรส จับมือกับจีเอ็ม อินเตอร์ ฟูด้ ส์ เพิม่ ขนมผักกรอบ DEEDY เป็นเมนูสแน็กเฮลตีแ้ ก่ลกู ค้า

คุณอู๊ด-ธีระชาติ หรือคุณอชิต ธีระวิทยากุล นั ก แสดงที่ ส ร้ า งความบั น เทิ ง ผ่ า นผลงาน ละครและบทบาทพิธีกร ได้ผันตัวมาสร้างธุรกิจ อาหารในรูปแบบแฟรนไชส์ ร้านชาบู ภายใต้ชอื่ ‘ชาบูอดู๊ เป็นต่อ’ ปัจจุบนั มีมากกว่า 40 สาขา ทัว่ ประเทศ ทัง้ ในรูปแบบของร้าน ‘ชาบูอดู๊ เป็นต่อ เอ็กซ์เพรส และชาบูอดู๊ เป็นต่อ บุฟเฟต์’ พร้อม เปิดโอกาสให้กลั ยาณมิตรทัง้ ในและนอกวงการ บันเทิง เข้ามาเป็นพาร์ตเนอร์ทางธุรกิจโดย การน�ำผลิตภัณฑ์มาเป็นทางเลือกให้กบั ลูกค้า ซึง่ บริษทั จีเอ็ม อินเตอร์ ฟูด้ ส์ จ�ำกัด ได้นำ� ขนมผักกรอบ แบรนด์ DEEDY มาเป็นส่วนหนึง่ ของร้าน ชาบูอดู๊ เป็นต่อ เอ็กซ์เพรส เพือ่ เป็น เมนูสแน็กเฮลตี้ให้แก่ลูกค้าที่สั่งชาบูกลับไป รับประทานที่บ้านด้วย สนใจแฟรนไชส์ชาบู อูด๊ เป็นต่อ ติดต่อได้ทเี่ บอร์โทร. 085-965-4441 และผูท้ สี่ นใจขนมผักกรอบ DEEDY รายละเอียด ได้ที่ บริษัท จีเอ็ม อินเตอร์ ฟู้ดส์ จ�ำกัด โทร. 098-026-6636 หรื อ Facebook: @DEEDYVeggies / Line: @deedyveggies

บริษทั บีเอสเอช โฮม แอ๊พพลายแอ็นซ์ จ�ำกัด ประเทศไทย ผูผ้ ลิตและ จ�ำหน่ายเครือ่ งใช้ไฟฟ้าภายในบ้านชัน้ น�ำจากประเทศเยอรมนี ภายใต้แบรนด์ Bosch, Siemens, Gaggenau ได้เปิดตัว ‘Bosch Experience Centre’ โฉมใหม่ ศูนย์แสดงผลิตภัณฑ์ที่ลูกค้า สามารถสัมผัสนวัตกรรมชัน้ น�ำของ ‘เครือ่ งใช้ไฟฟ้าบ๊อช’ (Bosch) ในกรุงเทพฯ น�ำเสนอผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีชว่ ยให้งานบ้านกลายเป็นเรือ่ งง่าย ศูนย์ ‘Bosch Experience Centre’ สร้างขึน้ ตามหลัก 3 แนวทาง คือ บ้าน ชีวติ และเพือ่ น โดยในงานมีเชฟมือทอง ชุดารี เทพาค�ำ หรือเชฟตาม ท็อปเชฟ ไทยแลนด์คนแรกให้เกียรติมาสร้างสรรค์เมนูพเิ ศษเพือ่ ฉลองในโอกาสนี้

เมืองไทยประกันชีวิต Brightening the Brand ปรับโฉมองค์กร สู่โลกยุคใหม่

WHERE: BANGKOK HOW: นายสาระ ล�่ ำ ซ� ำ กรรมการ

ผู้จัดการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริ ษั ท เมื อ งไทยประกั น ชี วิ ต จ� ำ กั ด (มหาชน) น�ำทีมปรับภาพลักษณ์องค์กร ครัง้ ใหญ่ Brightening the Brand ในรอบ 15 ปี ให้มคี วามสดใส ทันสมัย และเป็น สากลมากยิง่ ขึน้ ภายใต้สโลแกน Happiness Means Everything เพราะความสุขคือ ทุกอย่าง โดยมุง่ เน้นเรือ่ งการส่งมอบความสุขในทุกด้านให้กบั ลูกค้า พนักงาน พันธมิตร และผูเ้ กีย่ วข้อง อย่างยัง่ ยืน

ธนาคารออมสินจัดงานครบรอบ 106 ปี WHERE: BANGKOK

HOW: ธนาคารออมสินจัดงานวันสถาปนา ธนาคารออมสิน 1 เมษายน 2562 รับกระปุกออมสิน ‘เครือ่ งแขวนไทย’ เมือ่ เปิดบัญชีใหม่หรือฝากเงิน ประเภทใดก็ได้ดว้ ยตัวเอง 500 บาทขึน้ ไป ทุกสาขา ทัว่ ประเทศ และพิเศษสุด...มอบเงินขวัญถุงเป็น ทุนประเดิมเริม่ ต้นการออมให้เด็กทีเ่ กิดในวันที่ 1 เมษายน 2562 จ�ำนวน 500 บาท และถ้าตัง้ ชือ่ ‘ออมสิน’ รับทุนประเดิม 5,000 บาท พร้อม เปิดรับฝากเงินฝากประเภทเผื่อเรียกพิเศษ 3 ประเภท ผลตอบแทนสูงพิเศษ บุคคลธรรมดา ยกเว้นภาษีดอกเบีย้ เปิดรับฝากตัง้ แต่บดั นีจ้ นถึง 30 มิถนุ ายน 2562

บัตรเครดิตธนชาตจัดโปรเอาใจสายกิน Let’s Enjoy EATING ยิง่ กิน ยิง่ คุม้ กินปุบ๊ รับปับ๊ รับเงินคืนสูงสุด 1,000 บาท

ธนาคารธนชาต จ�ำกัด (มหาชน) จัดโปรโมชัน่ เอาใจสายกิน Let’s Enjoy EATING ยิง่ กิน ยิง่ คุม้ กินปุบ๊ รับปับ๊ 3 ต่อ ต่อที่ 1 รับเครดิตเงินคืน สูงสุด 1,000 บาท ต่อที่ 2 รับเพิ่ม! ร่มยูวี มูลค่า 450 บาท เมือ่ ใช้จา่ ยสะสมต่อวันตัง้ แต่ 2,000 บาทขึน้ ไป ต่อที่ 3 รับสิทธิพเิ ศษจาก ร้านอาหารชัน้ น�ำหรือรับเมนูพเิ ศษ เพียงใช้จา่ ย ผ่านบัตรเครดิตธนชาตรับประทานอาหารทีร่ า้ น อาหารชัน้ น�ำในศูนย์การค้า Fashion Island, The Promenade และ Terminal 21 อโศก, โคราช และพัทยา ตัง้ แต่วนั นีถ้ งึ 31 พ.ค. 2562 รายละเอียดเพิม่ เติมทีธ่ นาคารธนชาต ทุกสาขา โทร. 1770 หรือ www.thanachartbank.co.th และ www.facebook.com/thanachartbank

HABITAT แบรนด์เฟอร์นิเจอร์ที่ครองใจคนทั่วโลก ฉลองครบรอบ 55 ปี มอบโปรโมชั่นพิเศษเป็นของขวัญแทนค�ำขอบคุณ

WHERE: BANGKOK, PHUKET HOW: ‘ฮาบิแทท’ เรียกว่าเป็นแบรนด์เฟอร์นเิ จอร์

ในต�ำนาน เพราะเกิดขึน้ ตัง้ แต่ปี 1964 ทีล่ อนดอน ประเทศอังกฤษ และปัจจุบันมีจ�ำหน่ายในหลาย ประเทศทั่วโลก เป็นแบรนด์ที่โดดเด่นด้วยดีไซน์ ทีส่ วยเรียบง่ายอย่างมีสไตล์ และมีสนิ ค้าให้เลือกครบ ทุกหมวดความต้องการในบ้าน และในโอกาสครบรอบ 55 ปี Habitat Thailand จึงจัดเซอร์ไพรส์สดุ พิเศษ แทนค�ำขอบคุณลูกค้า ด้วยโปรโมชัน่ ดีๆ Habitat 55th Anniversary มอบส่วนลด 55% ส�ำหรับ 9 สินค้าขายดี อาทิ ชัน้ วางทีว,ี เก้าอี,้ หมอนอิง และโคมไฟ เป็นต้น นอกจากนีย้ งั มีสนิ ค้าอืน่ ๆ อีกมากมาย ราคาพิเศษลด 30% ทัง้ ร้าน ตัง้ แต่วนั ที่ 1-31 พฤษภาคม 2562

247 023



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.