Gb#061

Page 1

CITIZEN BRAND เวทีนี้เพื่อสังคม

คอนโด ปี‘58 ยังต้องลุ้น ! รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ ฟันธงภาวะเศรษฐกิจโลก

ภาวุธ พงษ์วิทยภานุ

อีคอมเมิร์ชไทย ต้องถูกยกระดับ

THE BUSINESS NEWS MAGAZINE

VOL.6 NO.61

JANUARY 2015

กรณ์ จาติกวณิช

MISSION

POSSIBLE FREE MAGAZINE OF THE GM Group

เมื่ออดีตขุนคลัง กรณ์ จาติ ก วณิ ช ถอดสู ท ไป ท�านา อะไรคือแรงผลักดัน อะไรคือค�าตอบที่ได้ แล้ว อะไรคือผลลัพท์ที่ได้จาก ปฏิบตั กิ ารในมหาวิทยาลัย กลางทุง่ นา พลิกไปหน้า 4

มีคา� ตอบ


JA N UA RY 2 0 1 5

02 GMBiZ

database info THE POOL GMBiZ ขอสวัสดีปใี หม่ 2558 กับผูอ้ า่ น ทุกท่าน และนี่คือโฉมใหม่ บุคลิกใหม่ของ GMBiZ พร้อมกับวาระก้าวขึน้ ปีที่ 6 ด้วยเนือ้ หาเข้ม ข้นขึ้น คับคั่งด้วยคอลัมน์นิสต์ระดับแนว หน้าในโลกธุรกิจ ที่จะมาร่วมเปิดมุมมอง ทุกด้านธุรกิจให้กับผู้อ่านอย่างครบมิติ มากขึน้ พบกับเรื่องเด่น BiZ Talk ที่มีคุณกรณ์ จาติกวณิช อดีตขุนคลังและรองหัวหน้า พรรคประชาธิปตั ย์ทมี่ าเปิดใจถึงปฏิบตั กิ าร ถอดสูททำานาเพื่อค้นหาคำาตอบที่แท้จริง ให้กบั ปัญหาข้าวของชาวนาไทยว่าคืออะไร และ Feature เรื่อง Brand Citizen หรือ แบรนด์พลเมืองทีแ่ บรนด์วนั นีท้ าำ หน้าทีเ่ ป็น พลเมืองที่ดีของโลก ซึ่งนอกจากการทำา ธุรกิจแล้วยังมีสำานึกรักษ์สังคม ชุมชนและ สิ่งแวดล้อม และพบกับ รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์ววิ ฒ ั น์ กูรดู า้ นเศรษฐศาสตร์และ นักยุทธศาสตร์ในการรับมือกับปัจจัยเสีย่ ง ของเศรษฐกิจระดับโลกของปี 2558 เมือ่ พูดถึงเรือ่ งเศรษฐกิจในช่วงรอยต่อของ ปีเก่าขึน้ ปีใหม่นนั้ ตลอดชีวติ การทำางานใน แวดวงข่าว เรามักจะพบว่า การคาดการณ์ ภาวะเศรษฐกิจในช่วงดังกล่าวจะเป็นไปใน ทิศทางทีน่ า่ วิตกทุกปี สำาทับด้วยความเห็น จากผู้หลักผู้ใหญ่ที่ว่า ปีนี้เผาจริง ปีหน้า เผาหลอกมานานนับสิบปี แต่เมือ่ กาลเวลา ผ่านไปวงจรเผาจริงเผาหลอกก็ยังคงมีให้ ได้ยนิ กันทุกปี แต่กย็ งั ไม่ได้เผาจริงกันสักที ด้วยว่าการประเมินอนาคตภายใต้เลนส์ สีมืดครึ้มเช่นนั้นกลับกลายเป็นเกราะและ ปราการสำาคัญที่มีผลทำาให้นักธุรกิจและ ผูป้ ระกอบการระแวดระวังมากขึน้ มองหา ทางหนี ที ไ ล่ จ นสามารถเอาตั ว รอดได้ ทุกครัง้ การคาดการณ์ เ ศรษฐกิ จ ในช่ ว งรอยต่ อ เช่นนีส้ าำ หรับเราจึงอยากจะให้คา่ แค่เครือ่ ง เตือนสติ แต่กลับเป็นเข็มทิศทีต่ อ่ ลมหายใจ ให้กบั ชีวติ ธุรกิจมากกว่า ดังนัน้ ไม่วา่ จะมีการคาดการณ์วา่ เศรษฐกิจ ไทยจะฟืน้ ตัวได้อย่างเปราะบางและตามลุน้ กันว่า GDP จะเติบโตถึง 4%ได้หรือไม่ โดยมีงบลงทุนจากภาครัฐเป็นตัวชีข้ าด หรือ การคาดการณ์เชิงบวกที่มีต่อการส่งออก ในปีนที้ วี่ า่ จะฟืน้ ตัวได้ทกุ กลุม่ เราก็ยงั เชือ่ อยูเ่ ช่นเดิมว่า วัฏจักรเผาหลอก เผาจริ ง ที่ พู ด กั น ทุ ก ปี นั้ น เป็ น เพี ย งการ เตื อ นตน เพื่ อ รั บ มื อ ด้ ว ยการสร้ า ง สถานการณ์จาำ ลองทีเ่ ลวร้ายทีส่ ดุ ไว้กอ่ น แต่เอาเข้าจริงๆ แม้จะเป็นเรือลำาน้อยก็จะ สามารถฝ่าพายุคลื่นลมได้เช่นเดียวกับ เรือลำาใหญ่ หากว่าได้เรียนรูท้ ศิ ทางลมจน เข้าใจอย่างถ่องแท้

จุฑาทิพ อิงวัฒนโภคา บรรณาธิการบริหาร

where to find GMBiZ ทีม่ า : สวนดุสติ โพล

ผลงานอะไร? ของ ‘รัฐบาล’ ที่ประชาชนชื่นชอบ อันดับ 1

ของขวัญปีใหม่ให้ ประชาชนโดยเฉพาะ การลดราคาสินค้า ประชาชนได้รบั ประโยชน์โดยตรง ทำาให้ประหยัด มากขึน้

อันดับ 2

ลดราคาน้าำ มัน ช่วยลดภาระ ของประชาชน วางแผนเดินทางได้ดขี น้ึ น้าำ มันมีราคาแพง มานาน

พบกับนิตยสาร GMBiZ ได้เป็นประจำาที่ สนามบินสุวรรณภูม,ิ ศูนย์การค้า เซ็นทรัล พลาซา, โรบินสัน, บิ๊กซี ราชดำาริ, ตลาดต้นสน, Boomerang, UD Town, SCG และแหล่งธุรกิจชัน้ นำา

beauty &spa

coffee &bakery

อันดับ 3

ขึน้ เงินเดือนข้าราชการ รายได้เพิม่ ขึน้ เงินหมุนเวียน เป็นการกระตุน้ เศรษฐกิจ

78.56%

76.94%

สถานการณ์เศรษฐกิจ ที่ตกต่ำามาเป็นระยะเวลา ยาวนาน ส่งผลอะไรต่อ คนรุ่นใหม่บ้าง?

79%

กังวลเกีย่ วกับสถานภาพ ทางเศรษฐกิจของตัวเอง

50% มีรายได้ลดลง

vox pop

ทีม่ า : Initiative Thailand

29% ตกงาน

shopping mall

72.19%

สุรศักดิ์ ธรรมโม คอลัมนิสต์ : “ทิศทางราคานำ้ามัน ในปี 2558 ยังคงมาจากกลุ่มโอเปก หลังจากที่โอเปกใช้ กลยุทธ์รักษาส่วนแบ่งตลาดด้วยการคงปริมาณการผลิต และใช้ ‘กลยุทธ์ลดราคา’ บีบให้ผผู้ ลิตรายใหม่ อย่าง Shale Oil/Gas ในสหรัฐฯ ต้องเผชิญกับ ‘สงครามราคา’ เพือ่ ออกจาก การแข่งขัน ทัง้ นีค้ าดระดับราคานำา้ มันจะมีเสถียรภาพมากขึน้ ในครึง่ หลังปี 58 โดย ราคาจะอยูท่ ี่ 60-65 ดอลลาร์ตอ่ บาร์เรลหรือเพิม่ จากปัจจุบนั (ราคา ณ 25 ธ.ค.57) ประมาณ 7-16%” สมชาติ ลีลาไกรศร คอลัมนิสต์ : “บางทีเราก็คดิ และ ทำาตามกระแสกันมากไปจนลืมเรื่องพื้นฐานที่สำาคัญไป นั่นคือการทำาหน้าที่ของตัวเองให้ดีที่สุดโดยใช้เหตุผล มากกว่าอารมณ์ หากจะหวังพึง่ ใครคนใดคนหนึง่ เพือ่ เปลีย่ น ประเทศไทยให้ดีกว่านี้ สู้หันมาเปลี่ยนทัศนคติของตัวเอง แล้วทำาตัวให้เป็นทีพ่ งึ่ ได้ของคนในสังคม ก็คงจะดีไม่ใช่นอ้ ย” ศักดา โควิสทุ ธิ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั รอแยลเฮ้าส์ จำากัด : “ผมคาดหวังว่า ปีหน้าบ้านเมืองเราจะสงบอย่างนีแ้ ละ นักลงทุนจะกล้าลงทุนมากขึ้น ที่ผ่านมาคนที่มีเงินเหลือ นำาเงินไปลงทุนในตลาดหลักทรัพย์และไม่เกิดประโยชน์ ไม่เกิดการจ้างงาน ฉะนั้นในเมื่อบ้านเมืองสงบก็อยากเห็น การลงทุน การจับจ่ายใช้สอย ซึ่งจะช่วยประเทศชาติใน ระยะยาวได้ โดยส่วนตัวผมชอบรัฐบาลนีน้ ะ แต่ในเมือ่ บ้านเมืองสงบก็อยากให้ยกเลิก กฎอั ย การศึ ก เนื่ อ งจากต่ า งประเทศยั ง ไม่ ย อมรั บ และมี ก ฎระเบี ย บเกี่ ย วกั บ ประเด็นนี”้

showroom

hotel

bank

fitness

ทีม่ า : ศูนย์วจิ ยั กสิกรไทย

ความคาดหวัง ต่อปี 2558

ในช่วงเทศกาลปีใหม่ทผ่ี า่ นมา คนกรุงเทพฯ มีจดุ หมาย ปลายทางยอดนิยม 5 อันดับแรก คือ ชลบุร,ี ระยอง, เชียงใหม่, เพชรบุรี และเพชรบูรณ์ ขณะที่ บางคนเลือกเดินทางไป ต่างประเทศ ซึง่ ประเทศที่ ได้รบั ความนิยมคือเพือ่ นบ้าน ในภูมภิ าคอาเซียนอย่าง ลาว, มาเลเซีย, สิงคโปร์ ขยับ ออกไปหน่อยเป็น ญีป่ นุ่ และ จีน ก่อให้เกิดเงินสะพัดมูลค่า ถึง 11,120 ล้านบาท

hospital others

สามารถติดตามอ่าน e-Magazine หนังสือในเครือ GMGROUP ได้ที่

ทัง้ ในระบบปฏิบตั กิ าร iOS และ Android

บรรณาธิการบริหาร : จุฑาทิพ อิงวัฒนโภคา ผูช้ ว่ ยบรรณาธิการ/MARKETING : โชติ เวสสวานิชกูล ผูช้ ว่ ยบรรณาธิการ/ไลฟ์สไตล์ : รุจรดา วัฒนโกศัย บรรณาธิการอำานวยการศิลปกรรม : ประทีป ปัจฉิมทึก บรรณาธิการศิลปกรรม : ศุภฤกษ์ สมภมิตร บรรณาธิการศิลปกรรมโฆษณา : สันติจติ ไวยากรณ์ ศิลปกรรมโฆษณา : ศิรวิ ฒ ั น์ สำานองคำา กราฟิกดีไซน์ : ประสิทธิ์ เอนกอนันตพันธุ์ บรรณาธิการฝ่ายภาพ : ดำารงค์ฤทธิ์ สถิตดำารงธรรม หัวหน้าช่างภาพ : กิตตินนั ท์ จรรยางาม พิสจู น์อกั ษร : ดวงใจ เข็มแดง, วิกานดา ธรรมพากรณ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายผลิต : อุดมทรัพย์ ก๋องชัย ผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด : ก้องวรงค์ สมสา รองผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด : ภัสสร เทียมเนียม ฝ่ายโฆษณา / การตลาด : เกตุวดี แก้วลิม้ วัฒนา ผูจ้ ดั การทัว่ ไป : ภานุวชั ร พงศ์วราภา ผูอ้ าำ นวยการฝ่ายนิวมีเดีย และบรรณาธิการผูพ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา : พีศลิ ป์ พงศ์วราภา

แฟ็กซ์กองบรรณาธิการ : 02 241 4133 แฟกซ์ฝา่ ยโฆษณา / การตลาด : 02 2241 5888

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูจ้ ดั การ : ปกรณ์ พงศ์วราภา รองประธานกรรมการบริหารสายงานการเงิน : พรจิตต์ พงศ์วราภา สายงานนิตยสาร : ณิพรรณ กุลประสูตร สายงานพัฒนาธุรกิจ : ฤทธิณรงค์ กุลประสูตร สายงานการตลาด : สืบวงศ์ แก้วทิพรัตน์

สำานักงาน GMBiZ : บริษทั จีเอ็ม มัลติมเี ดีย จำากัด (มหาชน) อาคาร GM Group 914 ถนนพระราม 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 www.gmgroup.in.th E-mail : gm@gmgroup.in.th โทรศัพท์ : 02 241 8000 แฟกซ์ : 02 241 8008



JA N UA RY 2 0 1 5

เรือ่ ง : จุฑาทิพ อิงวัฒนโภคา ภาพ : กิตตินนั ท์ จรรยางาม ถอดความ : ภัทราพร บุญน�าอุดม

04 GMBiZ

กรณ์ จาติกวณิช

MISSION POSSIBLE

กรณ์ จาติกวณิช อดีตรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง และรองหัวหน้าพรรค ประชาธิปัตย์ ออกตัวปฏิบัติการ ‘ถอดสูทไปท�านา’ จนถึงการเปิดตัวข้าว บรรจุถุง แบรนด์ ‘อิ่ม’ เพื่อส่งตรงข้าว From Farm to Fork หรือ ‘จากนา สูจ่ าน’ ออกขายทางอี-คอมเมิรซ์ และอี-เพย์เม้นท์ในโลกไซเบอร์ โดยไม่ได้พงึ่ พา กับระบบค้าปลีกของโมเดิร์นเทรดนั้น สื่อนัยยะอะไร เพื่ออะไร ส�าหรับใคร เพือ่ สร้าง Role Model อะไรใหม่ เพือ่ ท้าทายตัวเอง หรือเพือ่ ท้าทายระบบ

โครงการข้าวบรรจุถงุ ปลอด สารเคมีแบรนด์ ‘อิ่ม’ นั้นเป็น ผลผลิตทีเ่ พิง่ ผ่านการเก็บเกีย่ ว มาสดๆ และส่งตรงจาก เกษตรกรหมู ่ บ ้ า นหนองหิ น จ.มหาสารคาม ที่กรณ์เป็นหัว เรือใหญ่ของ โครงการเกษตร เข้มแข็ง และทุม่ ทุนสร้าง เพือ่ การเข้าถึงวิถจี ากนาสูจ่ าน ด้วย ปฏิ บั ติ ก ารถอดสู ท ท� า นาทั้ ง ไถนา หว่ า นข้ า ว เกี่ ย วข้ า ว นวดข้าว จนถึงการหาตลาด การจ�าหน่าย โดยก่อนหน้านี้ ข้าวแบรนด์อมิ่ Soft Launching กั น เบาๆ ในกทม. ที่ ร ้ า น ‘โบราณ’ ในโครงการ ‘เพือ่ น ป ลู ก เ พื่ อ น กิ น ’ จ า ก นั้ น ก็มาที่ White Café ชัน้ G ห้าง เ ซ็ น ท รั ล ชิ ด ล ม ซึ่ ง เ ป ็ น ร้านค้าพันธมิตรในโครงการใน วันที่ 28 พ.ย. ก่อนมาเปิดตัว แถลงข่ า วกั น จริ ง ๆ ในวั น ที่ 5 ธ.ค. เพือ่ เปิดตัวข้าว ‘อิม่ ’ ที่ มุ ่ ง ส ่ ง เ ส ริ ม ก า ร ป ลู ก ข ้ า ว คุ ณ ภาพและเปิ ด ตั ว เว็ บ ไซต์ Rice.Tarad.com ซึ่ ง เป็ น ช่องทางการขายแบบ e-Commerce อย่างเป็นทางการ กรณ์ ก ล่ า วถึ ง ปรั ช ญาของ โครงการเกษตรเข้ ม แข็ ง ใน ช่ ว งหนึ่ ง ของการสนทนาว่ า เป็นโครงการที่ยึดประโยชน์ ของทั้ ง ผู ้ ผ ลิ ต และผู ้ บ ริ โ ภค เป็นทีต่ งั้ ด้วยสมมติฐานทีเ่ ป็น แรงบันดาลใจให้กบั พวกเราว่า “ชาวนาไทยมี ก� า ไรกั บ การ ปลูกข้าวพันธุด์ ี ด้วยการจัดการ ที่ เ ป็ น ธรรม” และจากนี้ คื อ ค� า ตอบที่ ม าอย่ า งพรั่ ง พรู เป็ น ล� า ดั บ ของ ‘กรณ์ ’ จาก ค�าถามเปิด


2 0 1 5 JA N UA RY

GMBiZ : การเริ่ ม ท� า ธุ ร กิ จ ข้ า วแบบนี้ รูส้ กึ ยาก หรือว่าดีกว่าการเป็นนักการเมือง ไหม? กรณ์ : เทียบกันไม่ได้หรอก ก่อนอืน่ ต้องขอ บอกว่า ภาระหน้าทีใ่ นการท�านาเป็นของชาวนา ผมเพี ย งแค่ เ ข้ า ไปมี ส ่ ว นร่ ว ม ความจริ ง ด้ มีโอกาสได้เรียนรูก้ นั ตัง้ แต่กระบวนการไถนา การหว่านข้าว จนถึงการเก็บเกี่ยว ซึ่งก็เป็น ประสบการณ์ใหม่ มีประโยชน์อย่างมากกับการ ท�าความเข้าใจชีวิตเกษตรกรและการท�าการ เกษตร โดยเฉพาะการท�านา แต่ภาระหน้าที่ เกือบ 100% ในช่วงการผลิตเป็นภารกิจของ เกษตรกร ซึง่ เขาเองก็ตอ้ งกลับมาเรียนรูว้ ธิ กี าร ท�าการเกษตรแนวอินทรียใ์ หม่ หลังจากทีไ่ ด้ไป ท�าการเกษตรโดยอาศัยทัง้ สารเคมี ทัง้ ปุย๋ เคมี มายาวนาน ต่างคนต่างก็มีอะไรใหม่ๆ ที่ต้อง เรียนรู้ ถามว่ายากมั้ย ก็ต้องบอกว่า โครงการนี้ ส�าหรับผมแยกออกมาเป็น 3 ส่วนหลักๆ ส่วนแรกคือ การผลิต ซึง่ เมือ่ เรารูว้ า่ มีกลุม่ เกษตรกรทีอ่ ยากจะหันกลับไปใช้การท�าเกษตร แนวอินทรีย์ แต่มีความกังวลใจเรื่องผลผลิต เรือ่ งรายได้ เรือ่ งราคาทีจ่ ะได้รบั เราก็เลยเข้ามา หาทางออกให้กับเกษตรกร เพื่อเขาจะได้มี ความมัน่ ใจมากยิง่ ขึน้ ในการทีจ่ ะเปลีย่ นแนววิถี ไปในทิศทางทีผ่ มคิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์กบั เขาในระยะยาว นัน่ ก็คอื การท�าเกษตรอินทรีย์ เพราะฉะนัน้ ขัน้ ตอนแรกการผลิตจึงเป็นหน้าที่ ของเกษตรกร ส่วนที่ 2 เป็นภารกิจของผมในส่วนของ การลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกรและทุน, การตลาด (การสร้างแบรนด์, บรรจุภัณฑ์ (แพ็คเกจจิง้ )) การเจาะตลาด ซึง่ ตรงนีส้ า� คัญ เพราะวัตถุประสงค์ของเราคือ เมื่อเขา ผลิตได้ เขาต้องได้ราคา แล้วการที่เกษตรกร จะขายได้ ร าคา เราก็ นั่ ง คิ ด กัน ว่ า เขาต้ อง สามารถขายเองได้ คือ ถ้าลดการพึง่ พาพ่อค้า คนกลางให้นอ้ ยลงเท่าไร เขาก็จะสามารถเก็บ ส่วนก�าไรไว้กบั ตัวเองได้มากขึน้ เท่านัน้ ฉะนัน้ การทีจ่ ะขายตรงได้กต็ อ้ งมีเรือ่ งการ สร้างแบรนด์ การท�าการตลาด การออกแบบ บรรจุภัณฑ์ซึ่งส่วนนั้นก็เป็นส่วนที่เราเข้ามา ช่วยเสริมส่วนสุดท้ายก็คอื การเข้าถึงตลาด ส�าหรับสินค้าทัว่ ๆ ไปนัน้ การสร้างแบรนด์ เป็นสิ่งส�าคัญ แต่ล�าพังเพียงแค่สร้างแบรนด์ ไม่มสี นิ ค้าตัวไหนอยูไ่ ด้ ส�าคัญด้วยก็คอื ช่องทาง กระจายสินค้าสู่ตลาดหรือที่ศัพท์การตลาด เรียกว่า Distribution นัน้ ส�าคัญมาก โดยเฉพาะ สินค้าอุปโภคบริโภคนั่นคือสาเหตุที่ท�าให้ สินค้าต่างๆ ต่างก็ชงิ ความได้เปรียบกันในเรือ่ ง ของการวางสินค้า ช่องทางโลจิสติกส์ การขนส่ง สินค้าและอืน่ ๆ ฉะนัน้ จะเห็นได้วา่ ช่องทางสู่ ตลาดเป็นเรือ่ งส�าคัญ เรามองว่า จะให้เกษตรกรมาลงทุนจะต้อง มีหา้ งร้าน มีชอ่ งทางกระจายสินค้า ซึง่ ประเด็นนี้ ก็จะเป็นตัวลดทอนส่วนก�าไรของเขาลงไป คือ ปกติการฝากขายก็ต้องเสียค่าฝาก 30-40% อยูแ่ ล้ว ดังนัน้ ถ้ามีวธิ อี นื่ ทีเ่ ขาสามารถขายตรง สูผ่ บู้ ริโภคได้ ตรงนีน้ า่ จะช่วยเกษตรกรได้ แล้วใน ส่วนที่ 3 จึงเป็นเรื่อง ช่องทาง กระจายสินค้าสู่ตลาด ซึ่งเราลองประยุกต์ใช้ ระบบ E-Commerce ซึง่ ก�าลังอยูใ่ นช่วงของการ พัฒนามาทดลองใช้กับสินค้าเกษตร นั่นก็คือ ‘ข้าว’ ว่าจะสามารถท�าให้เกษตรกรเข้าสูต่ ลาด ได้โดยตรงอย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ หรือไม่ GMBiZ : มองเห็นความเสี่ยงของการท�า โครงการนีไ้ หม ความเสีย่ งก็มอี ยูห่ ลายระดับนับตัง้ แต่ 1. เกษตรกรจะผลิตข้าวได้หรือไม่ เพราะ ในทางปฏิบัติมีความเสี่ยงที่ขึ้นอยู่กับดินฟ้า อากาศและอีกหลายๆ ปัจจัย

GMBiZ 05

2. เราสร้างแบรนด์ให้ขึ้นมาติดตลาดได้ หรือไม่ 3. เราจะมีช่องทางกระจายสินค้าสู่ตลาด ให้เขาสามารถเชื่อมโยงกับผู้บริโภคได้ส�าเร็จ หรือไม่ นั่นคือสิ่งที่เตรียมงานกันมาตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2557 พอมาถึงวันนีก้ ต็ อ้ งบอกว่า ไม่มเี รือ่ งไหนง่าย แต่ในขณะเดียวกัน ผมคิดว่า ทุกๆ สมมติฐานของเรานัน้ เป็นไปได้ แล้วก็มี การบ้านที่ต้องไปท�ากันเพิ่มเติมในอนาคต เพราะว่าเรามีบทเรียนจากปีแรกของกระบวน การนีพ้ อสมควร GMBiZ : สรุปบทเรียนทีพ่ บว่าเป็นอย่างไร กรณ์ : ประเด็นแรกคือ เรือ่ งของการผลิต เมื่อเกษตรกรเปลี่ยนกลับมาใช้แนวทาง เกษตรอินทรีย์ แน่นอนที่สุด ย่อมมีผลต่อ ผลผลิตในแง่ปริมาณ ซึง่ ตรงนีเ้ ป็นประเด็นแรก ทีเ่ กษตรกรต้องเข้าใจว่า เขาต้องให้เวลากับดิน ในการปรับตัว เพราะนีเ่ หมือนเป็นการ ‘หักดิบ’ กั น เลย เพราะที่ ผ ่ า นมา เกษตรกรเคยใช้ ปุย๋ เคมี, ยาฆ่าแมลง, สารเคมีกา� จัดวัชพืชเมือ่ ฤดูกาลทีแ่ ล้ว แต่พอถึงฤดูกาลนีอ้ ตั ราการใช้ เป็นศูนย์ทงั้ หมดเลย ซึง่ การหักดิบจะมีผลต่อ ปริมาณการผลิตอย่างแน่นอน บางกรณีอาจ ลดลงครึง่ หนึง่ บางกรณีอาจไม่ถงึ ครึง่ บางกรณี มากกว่าครึ่ง แล้วแต่ความพร้อมในการปรับ สภาพดินก่อนทีจ่ ะหว่านข้าว ประเด็นทีส่ องคือ พืน้ ทีน่ าทีเ่ ราไปช่วยเป็น พืน้ ทีท่ กี่ นั ดารทีส่ ดุ พื้นที่นาตรงนี้เป็นพื้นที่ดอน แล้วก็เป็น พืน้ ทีไ่ ม่อยูใ่ นระบบชลประทาน ฉะนัน้ ในการ ท�านาเกษตรกรเหล่านีจ้ งึ อาศัยธรรมชาติลว้ นๆ แล้วปีนนี้ า�้ มาช้ามากจึงมีผลกระทบโดยตรงต่อ ผลผลิต ประเด็นเหล่านีจ้ งึ เป็นการบ้านทีท่ า� ให้เรา มาคิดต่อกันว่า เราจะมีวธิ ไี หนทีจ่ ะช่วยลดความ เสี่ยงเหล่านี้ให้เกษตรกรได้บ้าง ซึ่งเราก็ช่วย เชือ่ มโยงให้ครับ เพราะเราพอรูว้ า่ องค์ความรู้ อยูท่ ไี่ หน เราเข้าใจวิธกี ารวิเคราะห์อย่างเป็น หลั ก วิ ท ยาศาสตร์ เรามี ผู ้ เ ชี่ ย วชาญและ ‘หมอดิน’ ที่สามารถให้ค�าแนะน�ากับกลุ่ม เกษตรกรได้วา่ การท�าเกษตรอินทรียแ์ บบนีจ้ ะ สามารถเพิม่ ผลผลิตได้อย่างไร ซึง่ ก็ชว่ ยท�าให้

เกษตรกรมั่ น ใจได้ ว ่ า เขาจะสามารถเพิ่ ม ผลผลิตได้แน่นอนในฤดูกาลถัดไป รวมทั้ง เก็บสถิติข้อมูล เนื่องจากในอดีตชาวนาจะ ท�านาตามธรรมชาติ ไม่ได้เก็บข้อมูลเป็น ระบบ ว่าแปลงนานี้เทียบกับปีที่แล้วผลผลิต ต่างกันเท่าไร แปลงนานี้เทียบกับแปลงนา ข้างเคียงทีย่ งั ใช้ปยุ๋ เคมีอยูม่ ผี ลผลิตแตกต่างกัน เท่าไร ซึ่งข้อมูลตรงนี้จะตัดตัวแปรเรื่องฝน ออกไป เพราะฝนเท่ากัน เพียงแต่ต่างกัน ตรงนานี้ใช้ปุ๋ย อีกนาไม่ใช้ปุ๋ย ซึ่งนี่คือข้อมูล ทีเ่ ราน�ามาประเมินได้ GMBiZ : ความเสีย่ งด้านทุนของโครงการนี้ มีมากน้อยเพียงใด กรณ์ : ความเสีย่ งของการใช้ทนุ ในครัง้ นีข้ อง ผมความจริงประเมินว่าไม่มาก เพราะราคาที่ เราซือ้ ข้าวเปลือกจากชาวนา เป็นราคาทีต่ อ้ ง ถือว่าค่อนข้างสูง วิธกี ารคือผมแค่ถามราคาใน ฝันของเขาว่าคือเท่าไร พอเขาบอกมา-ผมก็ ตกลงตามนั้น ไม่ได้ต่อรองอะไร เพราะเรา ค�านวณไว้แล้วว่า ในระดับราคานั้นถ้าเรา สามารถขายข้าวได้ในราคาที่เราคิดว่าขาย ไม่ใช่เพียงแค่ไม่ขาดทุน แต่จะมีกา� ไรด้วยซ�า้ เราเชือ่ ว่าอุตสาหกรรมข้าวเนีย่ ก�าไรมันมี เพียงแต่ทผี่ า่ นมาไม่ได้อยูใ่ นมือชาวนาเท่านัน้ เอง ฉะนัน้ เราก็เลยตกลงราคาแล้วแต่พนั ธุข์ า้ ว แต่เฉลีย่ ออกมา ประมาณตันละ 21,000 บาท ราคาตลาดข้าวประเภทเดียวกันตอนนี้เกือบ 15,000 บาท ผมจ่ายชาวนาล่วงหน้า 4,000 บาท/ไร่ตอนต้นฤดูแบบปลอดดอกเบีย้ เพราะ อยากให้เขาหลีกเลี่ยงการเป็นหนี้ ส่วนใหญ่ ชาวนาต้องกู้ช่วงต้นฤดูส�าหรับจ้างแรงงาน หว่ า นข้ า ว ไถนา ซื้ อ เมล็ ด พั น ธุ ์ ข ้ า ว ฯลฯ แม้ ทั้ ง ชาวนาและเราต่ า งก็ รู ้ ว ่ า ผลผลิ ต จะ น้อยลง แต่ผมก็มั่นใจว่า ถึงชาวนาผลิตข้าว น้อยลง ถ้าขายได้ในราคา 21,000 บาท ฉะนัน้ 4,000 บาทของผมได้คนื อยูแ่ ล้ว แต่เนื่องจากเราสังเกตพฤติกรรมชาวนา ยุคนี้ที่ต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ข้าวสวยๆ ไว้ส�าหรับ ฤดูกาลต่อไป เนื่องจากมีความกดดันเรื่อง รายได้ เมือ่ ผลิตข้าวออกมาได้เท่าไรก็ตอ้ งขาย เพราะต้องการใช้เงิน ดังนัน้ ข้อตกลงทีเ่ พิม่ เติม ก็คอื เราจะซือ้ ข้าวทัง้ หมดจากชาวนา เพียงแต่ ข้าวส่วนหนึง่ จะถูกเก็บเป็นธนาคารเมล็ดพันธุ์

ตามสูตรก็ประมาณไร่ละ 25 กิโลกรัม ซึง่ เราก็ จะเก็บส่วนนัน้ ไว้ โดยทีเ่ กษตรกรก็ตา่ งคนต่าง เก็บไว้ในยุง้ ฉางของตนเอง เพียงแต่วา่ ข้อแตก ต่างก็คอื เมือ่ ชาวนาได้เงินไป แล้วในฤดูกาลถัด ไปก็เพียงแค่มายืม ใช้คา� ว่า ‘ยืม’ เมล็ดพันธุจ์ าก ธนาคารเมล็ดพันธุไ์ ปปลูก สิน้ ฤดูกาลก็คดั ใหม่ ซึง่ ก็จะได้เมล็ดพันธุท์ ดี่ ขี นึ้ เรือ่ ยๆ ด้วย จากนัน้ ก็ส่งกลับคืนให้ธนาคารฯ ผมก็จะมีต้นทุนนี้ ครัง้ เดียวคือปีแรกเท่านัน้ นัน่ คือสิง่ ทีเ่ ราท�าให้ กับชาวนาด้วย ซึง่ เป็นการลดภาระค่าใช้จา่ ยให้ กับเขาในฤดูกาลหน้า นัน่ คือ ‘ส่วนของทุน’ GMBiZ : แล้วท�าไมจึงคิดสร้างแบนด์ให้ กับข้าว กรณ์ : เราคิดว่าข้าวควรจะมียหี่ อ้ มีการก�าหนด ที่มาที่ชัดเจนอยู่ในตัวยี่ห้อ ดังนั้นสุดท้ายเรา ก็ได้ยี่ห้ออิ่ม ซึ่งเราก็จะบอกว่า อิ่มเป็นข้าว ปลอดสารเคมีจากมหาสารคาม ผมจะเปรียบ เทียบกับเวลาเราไปซื้อไวน์หรือชีสหรือซื้อ กาแฟ อย่างเวลาเราไปซื้อไวน์เราไม่ได้บอก ซือ้ ไวน์ แต่เราบอกซือ้ ชาร์ดอนเน่ (Chardonnay) หรือโซวีญง บล็อง (Sauvignon Blanc) หรือซือ้ จากไร่ไหน จากจังหวัดไหนของฝรัง่ เศส ปีไหนอีกต่างหาก ส่วนราคานี่แตกต่างกัน มหาศาล ขวดละ 400-500 บาท กับขวดละ 4-5 แสนบาท


JA N UA RY 2 0 1 5

06 GMBiZ

เราไม่ได้คดิ ว่า ข้าวจะต้องเป็นถึงขนาดนัน้ แต่นเี่ ป็นตัวอย่างท�าให้เห็นภาพว่า ข้าวของเรา กลายเป็น Commodity (สินค้าโภคภัณฑ์) ข้ า วไทยมี พั น ธุ ์ อ ะไรบ้ า งยั ง ไม่ รู ้ จั ก กั น เลย อย่างเก่งก็รวู้ า่ มีขา้ วหอมมะลิ แต่ขา้ วหอมมะลิ ก็มีหลายพันธุ์ แล้วพื้นที่ปลูก ประเภทดิน ที่มาของข้าวก็ท�าให้รสชาติของข้าวต่างกัน แต่คนไทยกลับมีความรู้เรื่องเหล่านี้น้อยมาก ผมจึงคิดว่า สมมติวา่ เราสร้างความตืน่ ตัวให้กบั ผูบ้ ริโภคหลักก็คอื คนไทยด้วยกันเองก่อนเลย ในส่วนของคุณค่า ความแตกต่างของพันธุข์ า้ ว และทีม่ าของข้าว แค่นกี้ จ็ ะส่งผลต่อราคาและ ส่งผลต่อความยั่งยืนของเกษตรกร คือถ้าเรา มองเจ้าของไร่ไวน์เหมือนเป็นแค่ผู้ปลูกองุ่น มันก็จะได้แค่ราคาองุน่ แต่ตอนนีม้ นั ไม่ใช่ หรือ ชี ส ถ้ า เรามองแค่ รี ด นมวั ว มาสุ ด ท้ า ยแล้ ว ท�าเป็นเนยแข็ง ทุกอย่างเหมือนกันก็ไม่ใช่อกี กาแฟก็เป็นตัวอย่างทีด่ ี นัน่ คือมาจากคุณภาพ ไม่มีคุณภาพ สร้างแบรนด์เท่าไหร่ยังไงก็ ไม่ยงั่ ยืน ปัจจัยทีก่ า� หนดว่าอะไรเป็น Commodity หรือไม่ ไม่ใช่ปริมาณอย่างเดียว แต่ตัวชี้วัด เป็ น คุ ณ ภาพและภาพลั ก ษณ์ ม ากกว่ า นอกเสียจากว่าถึงจุดทีเ่ รียกว่าสินค้าล้นตลาด โดยปริยายก็กลายเป็น Commodity แต่เรายัง อยูไ่ กลจากจุดนัน้ ความจริงประเด็นทีท่ า้ ทายมากอีกประเด็น หนึ่งคือ สินค้าเกษตรจะไม่พอด้วย เพราะดู ในภาพใหญ่จากจ�านวนประชากรโลกทีเ่ พิม่ ขึน้ ซึ่งธนาคารโลกวิเคราะห์ว่า ปริมาณความ ต้ อ งการอาหารจะเพิ่ ม ขึ้ น ประมาณเท่ า ตั ว ระหว่างปีนี้กับอีก 30 ปีข้างหน้า ซึ่งจะเป็น จุ ด สู ง สุ ด ของจ� า นวนประชากรโลกตามที่ คาดการณ์ คื อ ประมาณ 9,000 ล้ า นคน ในจ�านวนนี้ราว 7,000 ล้านคนอยู่ในเอเชีย แต่ถา้ วัดโดยประสิทธิภาพ คือการเพิม่ ผลผลิต ต่อพื้นที่ไร่นั้นเพิ่มขึ้นแค่ปีละประมาณ 1% ซึง่ ภายใน 30 ปีนผี้ ลิตได้ไม่ถงึ ตรงนัน้ เราก็เลย มีความจ�าเป็นทีจ่ ะต้องหาวิธที จี่ ะกระตุน้ GMBiZ : แล้วแพ็คเกจจิง้ และขนาดบรรจุ ของข้างแบรนด์อมิ่ มีทมี่ าอย่างไร กรณ์ : แพ็คเกจจิ้ง (บรรจุภัณฑ์) ถือเป็น เรือ่ งส�าคัญ ซึง่ จะสังเกตได้วา่ ถุงบรรจุขา้ วขนาด 1 กิโลกรัมและ 4 กิโลกรัมเป็นถุงทีด่ ไี ซเนอร์ ออกแบบให้เป็นชุดของขวัญ โดยที่ทุกอย่าง

ของข้าวแบรนด์ ‘อิ่ม’ ล้วนเป็นผลผลิตของ หมู่บ้านเดียวกันที่ปลูกข้าวนี้ทั้งสิ้น อย่างผ้า ที่ ใ ช้ เ ย็ บ ถุ ง ก็เ ป็ น ของกลุ ่ ม แม่ บ ้ า นที่ ท อผ้ า อยูแ่ ล้ว เราก็ซอื้ ผ้ามาแล้วจ้างกลุม่ แม่บา้ นเย็บ หรือแม้แต่เชือกร้อยถุงก็ท� าจากหมู่บ้านนี้ ส่วนป้ายชือ่ ทีห่ อ้ ย เราต้องการบอกว่า ข้าวถุงนี้ ไม่ใช่เกิดขึน้ มาเฉยๆ เราพยายามทีจ่ ะเชือ่ มโยง ผู้ผลิต-ผู้บริโภคและต้องการให้เกษตรกรมี ตัวตน นีค่ อื ชาวนาทีร่ บั ผิดชอบข้าวในถุงจริงๆ เราเน้นว่าทุกอย่างต้องเป็นของจริง ไม่มี อะไรทีเ่ สแสร้ง เพราะว่านัน่ คือการสร้างแบรนด์ ทีม่ คี วามยัง่ ยืนจริงๆ ในส่วนของการออกแบบเป็น White Café พันธมิตรทีว่ า่ ทีม่ หี วั ทางด้านนี้ แล้วความจริง เขาเป็นคนริเริ่ม เขาไปเจอผ้าก่อนที่ผมจะไป เจอข้าว ทีม่ าของเรือ่ งนีก้ น็ า่ สนใจ เพราะเขาไป งาน OTOP ซึง่ เป็นวิวฒ ั นาการเมือ่ สิบปีทแี่ ล้ว สมัยนายกฯ ทักษิณ ซึง่ เป็นการยกระดับผลผลิต ระดับต�าบล ระดับหมู่บ้านขึ้นมาให้มีตัวตน มีราคา แต่กย็ งั มี 2 ข้อจ�ากัดส�าคัญ คือ 1. ชาวบ้ านไม่มี ค วามรู ้เ รื่อ งการสร้ า ง แบรนด์กบั แพ็คเกจจิง้ ทีด่ พี อ สังเกตว่าตัวสินค้า ยังขาดอะไรบางอย่าง 2. ปัญหาส�าคัญคือ การกระจายสินค้า ทีอ่ ย่างเก่งก็คอื จัดงาน OTOP ทีเ่ มืองทองธานี แล้วก็ฝากขายอยู่ตามห้างร้าน ซึ่งมันไม่ได้ มีเอกลักษณ์ของตนเอง เพราะฉะนั้น OTOP ส่วนใหญ่ก็เลยไปไม่รอดคือ ไม่มีช่องทาง ทางการตลาด ในยุคนี้ เราก็คดิ ว่า ด้วย e-Commerce เรา อาจจะสามารถที่จะท�าแบบ OTOP 2.0 ได้ คือมีทงั้ การสร้างแบรนด์ ทัง้ แพ็คเกจจิง้ แล้วก็ มีชอ่ งทางการเข้าสูต่ ลาดทัว่ ประเทศหรืออาจจะ ทัว่ โลกได้ โดยทีไ่ ม่ตอ้ งมีตน้ ทุนมากนัก GMBiZ : แปลว่าลงลึกไปมากกว่าระดับ ต�าบล แต่ลงลึกไปสูร่ ะดับบุคคล? กรณ์ : แต่นั่นมันเป็นส่วนหนึ่งของการสร้าง แบรนด์ เรามองว่า ตรงนีม้ ที กุ ๆ ฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องได้ ประโยชน์ จ�าได้มยั้ ครับว่า ปีทแี่ ล้วมีอยูช่ ว่ งหนึง่ ที่คนกรุงเทพฯ ตื่นตระหนกและขาดความ มัน่ ใจกับข่าวเรือ่ งข้าวทีถ่ กู รมด้วยยาฆ่าแมลง นั่นก็ท�าให้พวกเราคิดว่าความจริงผู้บริโภค พร้อมที่จะจ่ายเพิ่ม เพื่อให้ได้ของดี บางที ผมคิดว่าผมก็เข้าใจ ราคาข้าวที่เราเสนอขาย

เราพยายาม ทีจ่ ะเชือ่ มโยง ผูผ้ ลิต-ผูบ้ ริโภค และต้องการให้ เกษตรกรมีตวั ตน นีค่ อื ชาวนา ทีร่ บั ผิดชอบ ข้าวในถุงจริงๆ เราเน้นว่าทุกอย่าง ต้องเป็นของจริง ไม่มอี ะไรเสแสร้ง เพราะว่านัน่ คือ การสร้างแบรนด์ ทีม่ คี วามยัง่ ยืนจริงๆ มันก็ราคาสูงกว่าข้าวทัว่ ไปทีเ่ ราซือ้ ตามซูเปอร์ มาร์เก็ตนะ แต่ว่ามันก็เหมือนกันทุกๆ อย่าง ของดีพรีเมี่ยมกับของที่น�าเสนอท�าให้น่าซื้อ มันสามารถท�าให้เป็นพรีเมีย่ มได้ อย่างกระเป๋า ของสตรีทถี่ อื ๆนัน่ ก็ใส่ของได้เท่ากัน แต่ใบนึง 200 ใบนึง 200,000 ทุกอย่างมันเป็นไปได้ แต่ในกรณีนี้ เราพูดถึงส่วนต่างเพียงแค่ หลักสิบบาท ข้าวของเราอาจจะแพงกว่าคนอืน่ สัก 50-60 บาท หรือถ้าเทียบกับข้าวคุณภาพ มาตรฐานเดียวกันก็ถกู กว่าบางยีห่ อ้ ด้วย แล้ว ถ้าเทียบกับคนไทยที่พร้อมซื้อกาแฟถ้วยละ ร้อยกว่าบาท ทัง้ ๆ ทีช่ งเองดืม่ เองทีบ่ า้ น ต้นทุน อาจจะแค่ 5 บาทเองก็ได้ ผมคิ ด ว่ า บางที ก ารหยิ บ ยกประเด็ น นี้ ขึน้ มาอาจจะดัดจริตเกินไป

ข้าวราคาถูกส�าหรับคนทีจ่ า� เป็นต้องซือ้ ข้าว ราคาถูกก็มี เพียงแต่เราก�าลังบอกว่า เราควรที่ จะพยายามสร้างตลาดขึน้ มาใหม่สา� หรับคนที่ พร้อมจ่ายในราคาทีส่ งู ขึน้ แล้วถามว่าประโยชน์ นัน้ ไปทีไ่ หน ก็ไปทีเ่ กษตรกร ชาวไร่ชาวนาเอง เพราะบริษัทที่ตั้งขึ้นมาท�าเรื่องนี้ไม่ได้เป็น บริษัทที่หวังผลก�าไร ก�าไรทั้งหมดที่มีเราก็ ปันคืนกลับไปให้กบั ชาวบ้าน ฉะนั้นในส่วนนี้ ผมเชื่อว่ามีตลาดรองรับ พอท�าไปท�ามาน่าสนใจมาก โดยเฉพาะในส่วน ของขัน้ ตอน e-Commerce เราก็พบว่า มีผทู้ ี่ สนใจหรื อ อยากเข้ า มาเป็ น พั น ธมิ ต รใน โครงการเยอะเลยทีเดียว หลักๆ เลยก็คอื ผูท้ ที่ า� กิจการ e-Commerce อยูแ่ ล้วทีน่ า่ ทีจ่ ะมีชอื่ เสียง มากทีส่ ดุ นัน่ คือ tarad.com ก็เสนอตัว บอกว่า สนใจ เราก็คดิ ว่าน่าจะช่วยได้ แต่สงิ่ ทีท่ า้ ทาย ที่สุดคือ สิ่งที่ภาษา e-Commerce เรียกว่า Fulfillment นัน่ คือ การส่ง GMBiZ : นอกจาก tarad.com เรายังมี พันธมิตรรายอืน่ ๆ อีกหรือไม่ กรณ์ : มีอกี รายเป็นกลุม่ ธุรกิจคนจีนในบ้านเรา ทีก่ า� ลังสร้างแพลตฟอร์มขึน้ มา เพือ่ ขายสินค้า เกษตรไทยให้กบั ผูบ้ ริโภคจีนโดยตรง เนือ่ งจาก ตอนนีช้ นชัน้ กลางของจีนมีมากขึน้ เป็นหลาย สิบล้านแล้วและก็มคี วามกังวลต่อคุณภาพของ อาหารและเรือ่ ง Food Safety มากกว่าเราเยอะ ของเขาก็พบเยอะเลย อย่างไข่ปลอม ฯลฯ ซึง่ นักธุรกิจกลุม่ นีบ้ อกผมว่า คนจีนมีความเชือ่ มั่นกับสินค้าเกษตรจากไทยโดยทั่วไป แล้ว โดยเฉพาะสินค้าทีป่ ลูกในแนวเกษตรอินทรีย์ เขาก็บอกว่า เขามั่นใจว่าขายได้ เขาเลยขอ เข้ามาร่วมโครงการ ผมก็บอกว่าโอเค แล้วยิง่ เมือ่ เห็นแพ็คเกจจิง้ เขาก็ยงิ่ ชอบ บอกว่านีค่ อื ใช่เลย นัน่ คือจุดเริม่ ต้น e-Commerce กับอีกราย Thai One Mall ซึ่งเป็นร้านที่ไปเปิดอยู่บน Alibaba.com อีกที แต่ความจริง ณ จุดเริม่ ต้นที่ ไปคุยกับเขานัน้ ไม่ได้คยุ เรือ่ งข้าวด้วยซ�า้ ไป ผม ไปคุยเรือ่ งล�าไยอบแห้ง เพราะบริษทั ทีผ่ มตัง้ ขึน้ มาชือ่ ‘เกษตรเข้มแข็ง’ เราไม่ได้จา� กัดอยูท่ ขี่ า้ ว เท่านัน้ เรามองว่า ภาคการเกษตรมีจุดอ่อนอยู่ หลายจุด ยางก็มีปัญหา ผมรู้เพราะมีปัญหา ราคาล�าไยแย่ลงทุกปีแล้วปีนกี้ แ็ ย่กว่าทุกๆ ปี อ�านาจการต่อลองของชาวสวนล�าไยน้อยลงๆ แล้วมันก็เป็นทั้งวิถีชีวิตและรายได้หลักของพี่ น้องเกษตรกรชาวสวนทางภาคเหนือ อยูห่ ลาย จังหวัด ก็เลยคิดว่าล�าไยอบแห้งเป็นสินค้าที่ น่าสนใจ เพราะไทยเป็นผูผ้ ลิตเกือบจะเรียกว่า แต่เพียงผูเ้ ดียว ขณะทีจ่ นี เป็นผูซ้ อื้ เกือบจะเป็น แต่ผู้เดียว แต่ว่าด้วยอ�านาจการต่อรองของ พ่อค้าคนกลางของจีนเหนือกว่าของเรา ดังนัน้ จึงกดราคาชาวสวนของเราได้ตลอด สมมติว่าถ้าผมไปเชื่อมตรงกลางและช่วย ให้ชาวสวนสามารถที่จะรวมตัวกันในลักษณะ ของสหกรณ์ ซึง่ เขามีอยูแ่ ล้ว แล้วขายตรงผ่าน แพลตฟอร์มนีใ้ ห้กบั ผูบ้ ริโภคจริง ชาวสวนเรา น่ า จะได้ ร าคาที่ ดี ขึ้ น นั่ น คื อ สมมติ ฐ านที่ มี ก็เลยไปคุยกับเขา ก็เลยมาถึงข้าวด้วย นัน่ ก็คอื เรือ่ งที่ ‘เกษตรเข้มแข็ง’ จะท�า ตรงนีถ้ า้ เราท�าได้ เราจะไม่ได้ท�าตลาดแต่ข้าว แล้วผมมั่นใจว่า จะได้ตลาดใหญ่พอสมควร แล้วตอนนี้ก็เลย จะไปร่วมลงทุนกัน ซึง่ คิดว่ามีอนาคต นอกจากนัน้ ก็มพี นั ธมิตรต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ กับ โครงการ อย่างกลุ่มห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล ที่ มี e-Commerce บนแพลตฟอร์ ม ก็ ม า เสนอตัวว่า อยากมีส่วนร่วมช่วยขายสินค้านี้ แล้วก็มนี อ้ งกลุม่ นักศึกษาทีเ่ รียนมหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ด อเมริกา ทีส่ นใจเรือ่ ง Social Enterprise (กิจการเพือ่ สังคม) อยูแ่ ล้ว พอเขารูเ้ รือ่ ง ของเราจึงช่วยท�า e-Commerce ด้วยการสร้าง


2 0 1 5 JA N UA RY

เว็บไซต์ Happy Farmer เพือ่ ขายข้าวคุณภาพ ของเราและให้คา� มัน่ สัญญาว่า ทุก 1 กิโลกรัม จะบริจาคข้าว 1 กิโลกรัมให้กับผู้ยากจนหรือ กลุ่มผู้ยากไร้ โดยได้รับแรงบันดาลใจจาก รองเท้ายีห่ อ้ TOMS ซึง่ นอกจากจะเป็นรองเท้า ทีใ่ ส่สบายแล้วยังเป็น Social Enterprise ทีม่ ี ค�ามัน่ สัญญาว่า รองเท้าทุกหนึง่ คูท่ ลี่ กู ค้าซือ้ ไป เขาจะบริจาครองเท้าหนึ่งคู่ให้กับเด็กยากจน ทีแ่ อฟริกา GMBiZ : แล้วท�ำไมไม่เลือกผสมผสำน ระหว่ ำ งกำรวำงขำยในโมเดิ ร ์ น เทรด เพื่ อ ให้ Mass รู ้ จั ก ก่ อ น หรื อ อยำกจะ ทุบระบบ กรณ์ : ก็มมี าเสนอนะครับ 7-11, ท็อปซูเปอร์ มาร์เก็ตของเซ็นทรัลก็เสนอ, วิลล่า มาร์เก็ต ซึง่ เจ้าของเป็นเพือ่ นกันก็เสนอ แต่เป็นเพราะ ปริมาณสินค้าของเราไม่ได้มากขนาดนัน้ ผมไม่ อ ยากไปเลื อ กช่ อ งทางขายที่ ผ ม เข้าถึงได้ เพราะผมเป็น ‘นายกรณ์ จาติกวณิช’ ผมอยากทดลองระบบขายทีใ่ ครๆ ก็ใช้ได้ ไม่งนั้ โครงการนีจ้ ะต้อง Base On ผมไปตลอด ซึง่ ไม่ใช่ เป้าหมาย แต่เป้าหมายคือ ลองหาวิธที ใี่ ครก็ได้ หรื อ กลุ ่ ม เกษตรกรรวมตั ว กั น ขึ้ น มาสร้ า ง แบรนด์ขนึ้ มาแล้ว สามารถทีจ่ ะเข้าถึงตลาดได้ โดยตรงด้วยตัวเขาเอง ไม่ตอ้ งพึง่ พาอาศัยเส้น สายบารมีของใคร เพราะฉะนัน้ ก็เลยอยากจะลองเท่าทีท่ า� ได้ แหละครับ แต่สุดท้ายต้องปรับนิดเดียว คือเราจะ เปิดเป็นลักษณะ Pop-up Store ขึน้ มา โดยอาศัย พื้นที่ที่ K Village สุขุมวิท ซึ่งเริ่มตั้งแต่วันที่ 12 ธันวาคมทีผ่ า่ นมา เพราะเรายังจ�าเป็นต้อง เชื่ อ มโยงระหว่ า งการขายบนออนไลน์ กั บ ออฟไลน์ สาเหตุสว่ นหนึง่ ผมขอวกกลับมาใน ประเด็นที่ผมคิดว่า E-Commerce ของเรายัง ติ ด ขั ด อยู ่ คื อ Fulfillment ซึ่ ง เป็ น ประเด็ น การส่ ง สิ น ค้ า ถึ ง บ้ า นและยั ง เป็ น ประเด็ น ที่ ท้าทายอยูเ่ พราะต้นทุนสูง แต่ทงั้ นี้ ก็ยงั มีลกู ค้า จ� า นวนมากที่ พ ร้ อ มจะสั่ ง และจ่ า ยผ่ า น อินเทอร์เน็ต แต่ขอไปรับเอง เพราะด้วยปริมาณ 40-50 กิ โ ลกรั ม ถ้ า จะต้ อ งส่ ง ต้ น ทุ น การขนส่งมันจะสูง เขามารับเองก็คมุ้ กว่า หรือ ยังอาจจะมีบางคนไม่ถนัดทีจ่ ะท�าธุรกรรมผ่าน อินเทอร์เน็ตเลย อยากมาซือ้ หน้าร้าน ส่วนใหญ่ ความเคยชินในการซื้อผ่านอินเทอร์เน็ตก็มี แต่อาจจะสะดวกกว่าทีจ่ ะมารับเอง GMBiZ : เท่ำกับว่ำ E-Payment ไม่มปี ญ ั หำ แต่มปี ญ ั หำเรือ่ งกำรขนส่งมำกกว่ำ กรณ์ : ใช่ สิ น ค้ า มั น หนั ก ซึ่ ง ผมยั ง คิ ด ว่ า ทางไปรษณี ย ์ มี ค วามเป็ น ไปได้ ม ากที่ สุ ด เครือข่ายมีอยู่แล้ว ฉะนั้น ไม่จ�าเป็นต้องใช้ ต้ น ทุ น ในการสร้ า งเครื อ ข่ า ยขึ้ น มาใหม่ ณ ปัจจุบันต้นทุนของไปรษณีย์ต�่ากว่าของ เจ้าอื่นๆ ที่มาเสนอตัวส่งสินค้า แต่ก็ยังสูงอยู่ นี่จึงเป็นสาเหตุที่ว่า ท�าไมเราจึงต้องมีการ พั ฒ นาระบบราง พั ฒ นาระบบขนส่ ง เพื่ อ ลดต้นทุนการขนส่งลง ตอนนีก้ เ็ ข้ามาท�าเรือ่ งนี้ ตัง้ แต่ตน้ จนจบก็ได้เรียนรูอ้ ะไรเยอะมาก GMBiZ : แรกๆ คิดว่ำจะต้องโดดลงไป ท�ำนำขนำดนีเ้ ลยหรือเปล่ำ หรือตกกระได พลอยโจน กรณ์ : เราก็ตอ้ งช่วยเขา คือเวลาจะท�าอะไรเรา เกี่ยงไม่ได้ว่า เราจะท�าหรือไม่ท�าอะไร คือ เป้าหมายอยูท่ ผี่ ลส�าเร็จ ในเมือ่ เริม่ แล้วเราก็จะ ต้องท�าให้มันได้ เจอปัญหาตรงไหนก็ต้องแก้ ผมก็ตอ้ งไปหาผูเ้ ชีย่ วชาญ เช่น ผูเ้ ชีย่ วชาญด้าน กระบวนการปลูกข้าว พอดีการท�างานการเมือง มาสิบกว่าปี ท�าธุรกิจมาก่อนหน้านัน้ ด้วยก็ได้ รู ้ จั ก กั บ คนมาพอสมควร จนพอที่ จ ะรู ้ ว ่ า ตัวองค์ความรู้อยู่ที่ไหนก็เอามาเชื่อมโยงสู่กัน ใครจะไปรู ้ ว ่ า สุ ด ท้ า ย e-Commerce

GMBiZ 07

มาเชื่อมโยงกับชาวนาได้ ชาวนาเองก็ไม่ใช่ รู ้ วิ ธี ก ารท� า นาที่ ถู ก ต้ อ งไปทั้ ง หมด ก็ ยั ง มี เรื่องที่เขาเรียนรู้ได้จากผู้ที่มีประสบการณ์ มีความเชีย่ วชาญเฉพาะทาง หน้ า ที่ เ ราก็ คื อ เชื่ อ มโยงทุ ก อย่ า ง เอาเข้าจริงมันก็เป็นหน้าทีท่ างการเมืองด้วย พอมาถึงเรือ่ งนีเ้ ราก็เลยเห็นว่า จริงๆ แล้ว สิง่ ทีเ่ กษตรกรต้องการมากทีส่ ดุ เลย ทุกคนจะ ตอบเหมือนกัน ไม่ใช่เงินทุน หรือลดหนีอ้ ะไร แต่คอื ‘น�า้ ’ เขาพูดเลยว่าเอาน�า้ มาให้ผม ผมจะ ท�าให้ดวู า่ ชาวนาจะเป็นเศรษฐีได้อย่างไร แน่ น อนว่ า พื้ น ที่ ช ลประทานบ้ า นเรา มีไม่เยอะ มีแค่ 20% แล้วก็ไม่ใช่ทกุ ทีท่ ที่ า� ได้ แต่ โ ดยรวมๆ ประเทศไทยเราโชคดี ที่ จุดเริ่มต้นคือน�้าเราพอ ปริมาณน�้าที่มีไม่ว่า จะเป็นน�้าฝนหรือน�้าหลาก มันมีเกินความ ต้องการ เพียงแต่ว่าเราเก็บไม่เป็น เราจึงมี ทัง้ แล้งทัง้ ท่วม ช่วงน�้ามาก็ไหลออกทะเลหมด สุดท้ายพอไม่มนี า�้ ก็แล้ง นีค่ อื ปัญหา พวกเรา ทีมท�างานของส�านักนโยบายพรรคประชาธิปตั ย์ ตอนนั้ น เราได้ ไ ปดู ง านเรื่ อ งนี้ โ ดยเฉพาะ ที่อิสราเอลก็ได้เห็นอะไรมาก สิ่งหนึ่งที่เราได้ กลับมาทดลองใช้ดูและส่งผลอย่างมากคือ ระบบน�า้ หยด เราลองเอาไปใช้ในไร่มนั ส�าปะหลัง ทีอ่ บุ ลฯ และไร่ขา้ วโพดแถวสุโขทัย ปรากฏว่า ไร่มนั ทีอ่ บุ ลฯ ในปีแรกหลังระบบนีล้ ง ผลผลิต เพิม่ ขึน้ จากไร่ละ 4,500 ตัน เป็น 11,000 ตัน ด้วยการปรับระบบให้นา�้ เท่านัน้ เอง ท�าให้การ ใช้น�้ามีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม แต่ใช้น�้า ลดลง 40% การใช้ปยุ๋ ก็ลดลงด้วย นึ ก ภาพว่ า แทนที่ จ ะฉี ด น�้ า ลงไปทั่ ว เราหยดลงไปตรงราก ฉะนั้ น ปุ ๋ ย ที่ ใ ช้ น�้ า ทุกหยดที่ใช้ มันลงไปแล้วมันได้ใช้ และมี จังหวะเวลาทีเ่ ราบริหารได้ ทีนี้ ต้นน�า้ ยังไงมัน ก็ต้องมี แหล่งน�้ายังไงก็ต้องมีในระดับหนึ่ง เพียงแต่วา่ น้อยลงได้ เพราะปริมาณการใช้นา�้ ลดลง อย่างมันจะลดการใช้น�้าลงไป 40% ส่วนการท�านาข้าวด้วยระบบน�า้ หยด ซึง่ ตอนนี้ ท�าอยูท่ ปี่ ทุมธานี ผลเบือ้ งต้นสะท้อนให้เห็นว่า ใช้น�้าลดลง 70% ซึ่งจะมีผลอย่างมากเลย ส�าหรับพืน้ ทีท่ นี่ า�้ ไม่พอท�านาสองรอบ สมมติ รอบสองใช้แค่เหลือ 30% ของทีเ่ คยใช้อาจจะ ท�าได้กไ็ ด้ ซึง่ เท่ากับรายได้ของเกษตรกรมีสทิ ธิ์ เพิม่ ขึน้ ได้ถงึ 2 เท่า เราก็ ม านั่ ง ค� า นวณดู ต้ น ทุ น การวาง ระบบนีป้ ระมาณ 9,000 กว่าบาทต่อไร่ ส่วนต่าง รายได้ทไี่ ด้รบั จากผลผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ คืนทุนและ ก� า ไรในปี แ รก ขณะที่ ร ะบบนี้ ใ ช้ ง านดี ร าว 3-4 ปีกอ่ นทีจ่ ะต้องเปลีย่ น ตอนนีผ้ มก็คยุ กับ พรรคพวกว่า เราจะทดลองใช้ระบบน�า้ หยดนี้ กับเกษตรกร ไม่วา่ จะเป็นชาวสวนยาง, ปาล์ม, มัน ฯลฯ ภายใน 1 ปี เดีย๋ วจะเห็นผลในวงกว้าง GMBiZ : ถ้ำใช้ระบบนีแ้ ปลว่ำอีกหน่อยจะ ไม่มปี ระกำศห้ำมท�ำนำหรือเปล่ำ? กรณ์ : นีไ่ ง!! หรืออย่างน้อยการประกาศห้าม ท�านาอาจจะลดน้อยลง เพราะว่าปริมาณน�้า ที่ต้องใช้ในการท�านาลดน้อยลง ถูกต้องเลย เพราะฉะนัน้ ถึงได้บอกว่ามันเป็นเรือ่ งจ�าเป็น อีกอย่างที่เรามีปัญหาคือเรื่องของสังคม วัยชราโดยเฉพาะภาคการเกษตร เกษตรกร ของเราแก่ลงทุกปี ตัวเลขน่ากลัวมาก เมื่อ ประมาณ 25 ปีทแี่ ล้ว อายุเฉลีย่ เกษตรกรไทย เราประมาณ 32 ปี ตอนนี้อายุเฉลี่ย 51 ปี ความหมายคืออะไร ไม่มีเลือดใหม่เข้าไปท�าการเกษตรเลย ชาวไร่ชาวนาแก่ลงทุกปี เราไปชนบทก็จะเห็น ผมได้ถามชาวบ้านกลุม่ สารคามว่า อีก 10 ปีใคร จะท�านา ไม่มีใครตอบผมได้ และนี่เป็นอีก ประเด็ น ที่ ไ ม่ ค ่ อ ยมี ใ ครที่ รั บ ผิ ด ชอบเรื่ อ ง นโยบายตั้งค�าถามเลยว่าภาคการเกษตรของ เราจะเป็นอย่างไรในอีก 10 ปี เพราะอีก 10 ปี

อายุเฉลี่ยของเกษตรกรจะมากขึ้นอีก 10 ปี คืออย่างน้อย 60 ปี หรืออาจจะมากกว่าด้วย!! เพราะหลายคนออกไปจากอาชี พ นี้ คนใหม่ไม่เข้ามา แล้วอีก 15 ปี อายุเฉลีย่ ของ เกษตรกร 65 เนีย่ แล้วใครจะปลูกข้าวให้เรากิน GMBiZ : ก็จำ้ งแรงงำนต่ำงด้ำวเข้ำมำ กรณ์ : นี่ ก็ เ ป็ น ปั ญ หา มี ป ั ญ หาอื่ น ๆ อยู ่ ซึง่ ตอนนีเ้ ขาก็ทา� แบบนัน้ กันอยูแ่ ล้ว แต่มนั เป็น ปัญหาจริงๆ มันถึงมีความจ�าเป็นที่จะต้องมี ฐานนวัตกรรมและวิธที า� การเกษตรแบบใหม่ เพื่อตอบโจทย์ปัญหานี้ ซึ่งวันนี้ยังไม่มีความ ชัดเจนว่า จะตอบโจทย์ปญ ั หานีอ้ ย่างไร GMBiz : ปัญหำนีเ้ ป็นประเด็นระดับชำติ หรือยัง หรือว่ำคุณกรณ์แค่หยิบยกขึ้นมำ เท่ำนัน้ กรณ์ : ควรจะเป็น แต่ตอนนั้นยังถือเป็นแค่ ประเด็ น ที่ ผ มหยิ บ ยกขึ้ น มา หลายๆ คน ก็ ห ยิ บ ยก แต่ ยั ง ไม่ ไ ด้ เ ป็ น วาระแห่ ง ชาติ มีรัฐบาลไหนที่ผ่านมาพูดเรื่องแบบนี้บ้าง รั ฐ บาลนี้ ก็ ไ ม่ พู ด รั ฐ บาลที่ แ ล้ ว ก็ ไ ม่ พู ด แต่มนั เป็นประเด็นทีต่ อ้ งมีคา� ตอบ GMBiZ : ที่มำท�ำเรื่องนี้จริงจัง เพรำะ เห็นปัญหำกำรจ�ำน�ำข้ำวของรัฐบำลก่อน หรือเปล่ำ กรณ์ : ตอนนัน้ มีสว่ นเล็กน้อย มีสว่ นเพราะมี กระแสแรงว่าชาวนาเดือดร้อนมาก เนือ่ งจาก หลวมตัวไปเข้าโครงการแล้วก็ไม่ได้เงิน ท�าให้ คนทั่วไปคิดว่า มันน่าจะต้องมีวิธีที่ดีกว่านี้ ชาวนาเองก็คดิ ได้ดว้ ยว่า ศักดิศ์ รีกไ็ ม่มี เงินก็ ไม่มี มันน่าจะมีวธิ ที ดี่ กี ว่านีใ้ นการด�ารงชีวติ ของเขา อย่างทีผ่ มเล่าให้ฟงั ว่า มันยังมีปญ ั หา บางอย่างที่เขาเองยังตีโจทย์ไม่แตก เราก็ เข้าไปช่วย จากประสบการณ์ผมแยกเกษตรกรรมออก เป็น 2 ส่วน คือส่วนทีเ่ ป็นเกษตรอุตสาหกรรม ซึง่ ยังไงก็ตอ้ งมี แต่เกษตรอุตสาหกรรมจะอยูใ่ น พืน้ ทีท่ สี่ ามารถท�าอุตสาหกรรมได้ เช่น พืน้ ที่ ภาคกลางที่อยู่ในเขตชลประทานปลูกข้าว ได้ปลี ะ 4 รอบ นัน่ แบบหนึง่ นาแปลงขนาดใหญ่ เครือ่ งจักรลงได้เต็มที่ คุม้ ค่าต่อการลงทุน มีนา�้ มีทุกอย่างก็ว่ากันไป แต่ละนาอาจจะเป็น หลายร้อยหลายพันไร่ นั่นเป็นเกษตรกรรม ที่ผมจะไม่ไปแตะ และที่มาของการเป็นผู้ส่ง ออกอันดับ 1 ของโลกมาจากตรงนัน้ แต่พนื้ ทีต่ รงภาคอีสาน ตอนรัฐบาลทีแ่ ล้ว ทีม่ โี ครงการจ�าน�าข้าว ชาวนาอีสานแทบไม่ได้ เข้าโครงการเลย เพราะอย่าลืมว่าครอบครัว เกษตรกรมีทั้งหมด 4 ล้านครอบครัว เข้า โครงการจ�าน�าข้าวแค่ล้านเดียว อีก 3 ล้าน ไม่ได้เข้าเพราะเขาไม่ได้มีข้าวเจ้า เขาปลูก ข้าวเหนียว หรือข้าวเจ้าที่ปลูก เขาปลูกไว้ ทานเองหรื อ ไม่ มี ป ริ ม าณมากพอที่ จ ะเข้ า โครงการรั บ จ� า น� า ข้ า วได้ ฉะนั้ น เขาไม่ ไ ด้ ประโยชน์จากโครงการนี้ ความอยู่รอดของ เกษตรกรขนาดเล็ก ส�าหรับผมในแนวความ คิ ด นี้ มี อ ยู ่ ท างเดี ย ว คื อ เราต้ อ งยกระดั บ มาตรฐานคุณภาพ ต้องให้เขามีปริมาณการ ผลิตทีด่ พี อ คือพูดตามตรงเทียบปริมาณการ ผลิตในปีนี้ในโครงการของผมยังน้อยเกินไป ถ้ายังน้อยอยูอ่ ย่างนี้ โครงการไม่ยงั่ ยืน ถึงแม้

มันถึงมีความจ�าเป็น ทีจ่ ะต้องมี ฐานนวัตกรรม และวิธที า� การเกษตร แบบใหม่ เพือ่ ตอบโจทย์ ปัญหานี้ ซึง่ วันนี้ ยังไม่มคี วามชัดเจนว่า จะตอบโจทย์ปญ ั หานี้ อย่างไร ได้ราคา 21,000 ต่อตันก็ตาม ตราบใดทีป่ ริมาณ ยังไม่สงู ขึน้ ดังนัน้ ต้องไปแก้ไขระบบน�า้ วิธเี พาะ ปลูก การดูแลดิน ซึง่ นีก่ เ็ ป็นโครงการทีต่ อ้ งท�า กัน แต่ถา้ เราท�าตรงนัน้ แล้วแม้ปริมาณสินค้าที่ จะขายจ�านวนไม่มาก แต่ได้ราคาดี ต้นทุนไม่สงู ลดความเสี่ยงให้น้อยลง ผมว่านี่คือวิธีการ พัฒนาทีด่ ี ฉะนัน้ มันเหมือนกับเป็นนโยบายคู่ ขนาน ส่ ว นหนึ่ ง เป็ น เหมื อ นกั บ เกษตร อุตสาหกรรม ส่วนหนึง่ ส�าหรับเกษตรครัวเรือน ซึง่ ผมว่าต้องต่างกัน ทีผ่ า่ นมาเหมือนกับว่าเรา มีนโยบายเดียวเพือ่ ทุกคน ซึง่ มันผิดฝาผิดตัว !! GMBiZ : แสดงว่ำกำรท�ำโครงกำรที่มี นักธุรกิจมำช่วยแบบ Social Enterprise สำมำรถช่วยได้อย่ำงยัง่ ยืนจริงและลงลึกไป สูว่ ถิ ชี วี ติ ของเขำมำกกว่ำทีน่ กั กำรเมืองออก นโยบำย ไม่วำ่ จะประกันรำคำ จ�ำน�ำ หรือ อะไรก็ตำมใช่ไหม


JA N UA RY 2 0 1 5

08 GMBiZ

กรณ์ : ผมคิดว่า มันต้องทัง้ สองส่วน จากการท�า ตรงนีท้ า� ให้เห็นว่า เราก็ทา� ได้ในระดับหนึง่ แต่ จะไปถึ ง ฝั ่ ง หรื อ ไม่ หลายเรื่ อ งต้ อ งอาศั ย นโยบาย ซึ่งผมก็เป็นประธานคณะกรรมการ บริหารนโยบายพรรคประชาธิปตั ย์ดว้ ย ตรงนี้ ก็จะช่วยให้ผมและทีมงานตกผลึกทางความคิด ได้วา่ ในแง่นโยบายเราสามารถท�าอะไรเพือ่ ที่ จะท�าให้เรื่องที่เราพยายามท�าอยู่ในระดับ Social Enterprise ประสบความส�าเร็จ เช่น เรื่องระบบน�้า ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่และต้องเป็น ระดั บ รั ฐ บาลถึ ง จะท� า ได้ แม้ แ ต่ เ รื่ อ ง e-Commerce การแก้ปัญหาเรื่องโลจิสติกส์ นีก่ เ็ รือ่ งของรัฐบาล การเข้าถึงระบบอินเทอร์เนต ก็เป็นเรื่องของรัฐบาล แม้แต่เรื่องการสร้าง แบรนด์หรือการท�าการตลาด รัฐบาลสามารถ ท�าให้บริษัทที่เป็นกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) มีสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี เพราะไม่อย่างนั้นตอนนี้ผมก็ต้องไปเสียภาษี ทั้งที่จริงแล้ว เราไม่ได้ท�าก�าไร ดังนั้นมันจึง น่าจะมีหมวดภาษี Social Enterprise ทีม่ กี าร พิจารณาทางด้านภาษีที่แตกต่างกับบริษัท ทัว่ ไปเป็นต้น แต่สดุ ท้ายแล้วการทีเ่ ราได้เข้ามา ท�าตรงนี้ช่วยให้เราเห็นว่า จริงๆ นโยบาย ทีจ่ ะเป็นประโยชน์อย่างแท้จริงมีอะไรบ้าง แล้ว เราก็ทา� รายการไว้ เมือ่ มาเป็นรัฐบาลเราจะได้ เดินหน้าในการเสนอนโยบายทีต่ รงจุดและเป็น ประโยชน์ตอ่ ประชาชนได้ทนั ที GMBiZ : แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนกับ แนวคิดกิจการเพื่อสังคมขัดแย้งหรือว่า สอดคล้องกับกระแสโลก โลกเราก�าลัง มุง่ ไปสูท่ นุ นิยมเสรีหรืออะไรกันแน่ กรณ์ : มันตรงกันข้ามนะ โลกเรามุ่งไปสู่ ทุนนิยมเสรีแล้วก็ไปเจอปังตอ แม้แต่ในส่วน ของประเทศตะวันตกเอง ทั้งวิกฤติเศรษฐกิจ วิกฤติการเงิน ในช่วง 5-6 ปีทผี่ า่ นมา เขาเองก็ ไปวิเคราะห์แล้วพบว่า นีค่ อื ความล้มเหลวของ กลไกตลาด การพึง่ พากลไกตลาดโดยสิน้ เชิง น�ามาซึง่ ความล้มเหลวทางเศรษฐกิจ นีค่ อื มุม มองในการตีความ ยังไงก็แล้วแต่ ส่วนตัวผมโต มาในระบบทุนนิยม ผมเชือ่ ประโยชน์ของการ แข่งขัน ขณะเดียวกัน ผมคิดว่าเราต้องดูบริบท ให้ ดี การแข่ ง ขั น มี ผ ลทางบวกกั บ ระบบ เศรษฐกิจ ต่อเมื่อเป็นการแข่งขันที่เป็นธรรม ก็ไม่มที างทีช่ าวนามีที่ 20 ไร่ จะแข่งขันอย่าง เป็นธรรมกับนายทุนที่มีนา 2,000 ไร่ได้ คือ คุณปล่อยให้เขาแข่งยังไงก็สญ ู พันธุ์ เมือ่ บริบท ชีใ้ ห้เห็นว่า มันไม่เป็นการแข่งขันทีเ่ สมอภาค เราจะไปอาศัยกลไกตลาดให้เป็นผู้ตัดสินว่า ใครเป็นผูแ้ พ้ ผูช้ นะ ในกรณีนไี้ ม่ได้ซะทีเดียว จึงต้องท�า 2 ตลาดขึน้ มา

ลองนึกภาพกระเป๋า Louis Vuitton หรือ Hermèsทีส่ มมติวา่ ผลิตกระเป๋าเดือนละ 10 ใบ แต่โรงงานจีนผลิตได้วนิ าทีละ 10 ใบ คุณจะไป สูเ้ ขายังไง ถ้าเปรียบเทียบอย่างนัน้ ก็คงไม่มวี นั ทีจ่ ะมาสูไ้ ด้ แต่เขาสูไ้ ด้เพราะคุณภาพและการ สร้างแบรนด์ ฯลฯ ข้าวเรายังไงก็มคี นกิน แล้ว ผมก�าลังจะบอกว่า แนวโน้มประชากรของโลก ที่ จ ะมากขึ้ น จะท� า ให้ ป ริ ม าณการผลิ ต ข้ า ว ไม่พอด้วยซ�้า ฉะนั้นเรื่องผลิตแล้วขายไม่ได้ ไม่ต้องกังวล เพียงแต่ต้องขายในราคาที่เรา ไม่เสียเปรียบเท่านัน้ เอง แล้วผมก็ไม่ปฏิเสธว่า เราก� าลังพูดถึง การรักษาทางเลือก วิถชี วี ติ ของคนจ�านวนมาก ในประเทศเราพ้นรุน่ นีไ้ ปแล้วอาจจะหมด ไม่มี ใครทีส่ นใจวิถชี วี ติ นี้ แต่ผมยังเชือ่ ว่า นีเ่ ป็นวิถี ชี วิ ต ทางเลื อ กที่ ยั ง เป็ น ความต้ อ งการของ คนไทยจ�านวนมาก ผมคิดว่ายังเป็นวิถีที่น่า สนับสนุน เมือ่ เขาไปในร้านค้า ผูผ้ ลิตจะเป็นผูเ้ ลือก ให้เราว่าจะบริโภคอะไร แล้วก็ไม่ได้เป็นสิ่งที่ เป็ น ธรรมชาติ เ สี ย ที เ ดี ย ว ฉะนั้ น ในฐานะ ผูบ้ ริโภค ผมก็ยงั อยากมีทางเลือก เราจึงต้อง รักษากระบวนการผลิตทีห่ ลากหลายเอาไว้ ซึง่ ผมเชือ่ โดยสัญชาตญาณว่า มันน่าจะยัง่ ยืนและ มัน่ คงกว่าการพึง่ พาระบบการผลิตระบบเดียว ผู ้ บ ริ โ ภคเองก็ จ ะไม่ พ อใจต่ อ การถู ก ก�าหนดว่า จะต้องบริโภคอะไร โดยกลุม่ ผูผ้ ลิต เพียงไม่กรี่ าย แล้วก็โดยธรรมชาติของมนุษย์ ที่ แ สวงหาสิ่ ง ที่ ห ลากหลายและตอบสนอง ความต้องการของตน

GMBiZ : ทุกวันนีเ้ ดินเข้า 7-11 ก็มอี าหาร ส�าเร็จรูปขายแข่งกับร้านอาหารตามสั่ง ทัว่ ไป กรณ์ : ณ ปัจจุบัน ผมไม่ได้ว่าอะไรเขานะ กลุม่ ซีพเี ป็นคนก�าหนดว่าเรามีทางเลือกอะไร บ้าง เราทดสอบตัวเองดูสิ วันๆ คุณบริโภคของ ในเครือซีพกี เี่ ปอร์เซ็นต์ของทัง้ หมด คุณอาจจะ คิดว่าคุณมีทางเลือก แต่จริงๆ เป็นทางเลือก ทีจ่ า� กัดมาก ฝรัง่ ตระหนักในประเด็นนีม้ านาน แล้ว เมือ่ เข้าซูเปอร์มาร์เก็ตไม่วา่ จะเป็น 7-11 หรือ Wallmart สินค้าช่างดูละลานตา แต่ สุดท้ายเขาเลือกได้ตามที่ร้านพวกนี้วางไว้ให้ เขาเลือกเท่านัน้ นับวันมันก็มคี วามจ�ากัด แล้วบางทีมนั แตก ต่างกันแค่ยหี่ อ้ ไม่ได้แตกต่างกันทีแ่ หล่งทีม่ า ผมคิดว่าถ้าประเทศไทยเราสักประเทศหนึง่ ก็ได้ รั ก ษาความหลากหลายและความเป็ น ธรรมชาติในแหล่งทีม่ าของสินค้าเกษตร อาหาร ของเราในอนาคตเราจะเรียกราคาเท่าไหร่กไ็ ด้ นึกถึงอนาคตทีส่ นิ ค้าทุกทีเ่ หมือนกันหมด มีแต่ ประเทศเราที่เดียวที่มีความแตกต่าง คิดดูว่า เราจะขายได้ในราคาเท่าไหร่ วั น ก่ อ นผมทานละมุ ด ซึ่ ง หายากมาก ในปัจจุบันผลไม้บางชนิดที่เราทานกันบ่อย สมั ย เด็ ก ๆ แต่ ส มั ย นี้ เ ราจะไม่ ค ่ อ ยพบ ขณะเดียวกัน เมือ่ วานนีผ้ มไปเซ็นทรัล ยอมรับ ว่าซูเปอร์มาร์เก็ตของทางเซ็นทรัลค่อนข้าง ไฮเอนด์ ผมก็เห็นว่า เขามีแผนกออร์แกนิก ที่ขายแม้แต่ชมพู่ออร์แกนิก ซึ่งนี่ก็คือสินค้า ทางเลือกในวันนี้

GMBiZ : เมื่อประชาธิปัตย์เป็นรัฐบาล จะมีนโยบายอย่างไร จะ ‘ขายของ’ หรือไม่ แล้วขายอย่างไรให้คนมั่นใจ นโยบาย จ�าน�าข้าวจะยังอยูห่ รือไม่ กรณ์ : พูดถึงค�าว่า ‘ขายของ’ นิดนึงนะ ผมคิด ว่าเราต้องมองความเป็นจริง รัฐบาลมีหน้าทีท่ ี่ จะแก้ปญ ั หาเฉพาะหน้า ในขณะเดียวกับทีว่ าง ระบบให้อนาคตมัน่ คง ไม่มรี ฐั บาลไหนปฏิเสธ เรือ่ งนีไ้ ด้ รวมทัง้ รัฐบาลปัจจุบนั ทีไ่ ม่ตอ้ งอาศัย คะแนนเสียงเลยก็ยงั ต้องมีนโยบายแก้ปญ ั หา เฉพาะหน้า แจกเงินชาวนาอยู่ ผมคิดว่า ตราบใด ที่ ก ารช่ ว ยเหลื อ เฉพาะหน้ า อยู ่ ใ นระดั บ ที่ ไม่ได้มผี ลต่อเสถียรภาพทางการคลัง ในขณะ เดี ยวกัน มี นโยบายที่ชั ดเจนที่ จะลดความ จ�าเป็นในการพึง่ พารัฐในระยะยาวของกลุม่ ที่ ได้รบั ความช่วยเหลือ ส่วนการจ�าน�าข้าว พวกเราเคยยกเลิก จ�าน�าข้าวไปแล้วครัง้ หนึง่ ตอนปี 2551 ในยุค ทีเ่ ราเป็นรัฐบาล เรายกเลิกระบบจ�าน�าข้าวแล้ว เอาระบบประกันรายได้เข้ามาแทน ซึง่ ดีกว่ามาก ความจริง เราก็ไม่ได้คดิ เองทัง้ หมด ก็ฟงั ข้อเสนอ แนะจากนักวิชาการมาว่า ระบบนี้น่าจะสิ้น เปลืองน้อยกว่า ช่วยเหลือเกษตรกรทีย่ ากจน ได้มากกว่า แล้วก็เป็นเช่นนัน้ จริงๆ แต่รฐั บาล ที่แล้วมาสลับกลับไปเป็นจ�าน�าข้าวแถมเป็น ราคาจ�าน�าที่สูงกว่าตลาด ซึ่งไม่เคยปรากฏ มาก่อนก็สง่ ผลตามทีเ่ ห็น GMBiZ : สมมติเราจะมีนโยบายจ�าน�าข้าว ต้ อ งจ� า น� า แบบไหนที่ จ ะถู ก ต้ อ งอยู ่ บ น พืน้ ฐานของราคาทีเ่ ป็นจริง กรณ์ : มันก็ต้องเหมือนกับระบบจ�าน�าโดย ทัว่ ไป เวลาเราไปโรงรับจ�าน�า ทรัพย์สนิ ทีเ่ รา น�าไปจ�าน�า มันคือหลักประกันเพื่อรับเงิน แต่ไม่ใช่การเอาไปขายเพื่อเป็นหลักประกัน ความหมายก็คือ เรามีเจตนาที่จะมาไถ่ถอน เพื่ อ เอาของคื น แต่ ต อนนี้ เ ราต้ อ งการเงิ น ไปใช้กอ่ น นัน่ คือระบบจ�าน�า ส�าหรับเกษตรกร ที่ยังไม่ได้อยากขาย แต่ต้องการเอาข้าวของ ตนเองเป็ น หลั ก ประกั น เอาเงิ น สดไปใช้ เฉพาะหน้าก็เป็นเช่นนัน้ แต่มนั เสีย่ งต่อความ สามารถของเขาในการหาเงินมาซือ้ สินค้า ทีนี้จะหาเงินจากไหน ก็คือจากทรัพย์สิน ทีเ่ ขาเอาไปจ�าน�านัน่ แหละ ฉะนัน้ ผมถึงคิดว่า ระบบนีไ้ ม่เวิรก์ สูใ้ ห้เขาขายตามกลไกปกติ ถ้า เราอยากช่วยเขา เราก็ชดเชยส่วนต่างให้เขาดี กว่าและไม่มีการทุจริตรั่วไหล เพราะเราโอน เงินให้กบั บัญชีชาวนาโดยตรง นัน่ คือระบบที่ ใช้สมัยทีเ่ ราเป็นรัฐบาล GMBiZ : คุณคิดว่าประชาธิปัตย์จะได้ กลับมาเป็นรัฐบาลในสมัยต่อไปไหม กรณ์ : เรื่ อ งนี้ ก็ ขึ้ น กั บ ประชาชนและเป็ น เป้าหมายที่เราเองก็ไม่สามารถคาดการณ์ได้ ทั้งนี้ก็อยู่ที่ตัวเราเองก็ต้องปรับเปลี่ยน ต้อง สามารถน�าเสนอแนวทางให้กับประชาชนได้ สร้างความเชือ่ มัน่ ในสายตาของเขา ซึง่ ยังเป็น ภารกิจที่เราต้องท�า แต่ผมก็เชื่อว่าเราท�าได้ แต่กต็ อ้ งรอดู



JA N UA RY 2 0 1 5

10 GMBiZ

asian move

AEC

มองภาพใหญ่ แล้วไปด้วยกัน

อาเซียนมีการรวมตัวทางเศรษฐกิจที่เหนียวแน่นมากขึ้นเรื่อยๆ ตัง้ แต่ปี 2535 ทีผ่ า่ นมาประเทศสมาชิกพยายามก�าจัดอุปสรรค ทางภาษีศุลกากรลง ปรับปรุงกฎระเบียบมาตรฐานสินค้าให้ สอดคล้องกัน รวมถึงส่งเสริมและอ�านวยความสะดวกต่อการลงทุน ในภูมภิ าคมากยิง่ ขึน้ การปรับเปลีย่ นดังกล่าวได้เป็นพืน้ ฐานไปสู่ ก้าวใหม่ในเชิงสัญลักษณ์ที่ส�าคัญ คือการรวมตัวเป็นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 กระบวนการปรับเปลี่ยนนี้ใช้เวลากว่า 20 ปี ไม่ได้เกิดขึ้นอย่าง ฉับพลันจนตั้งตัวไม่ได้ เพราะฉะนั้นก็ไม่ใช่สิ่งที่ต้องตกใจกลัวมากนัก แน่นอนทีก่ ารเปิดเสรีการค้าการลงทุนมีทงั้ ผลบวกและลบ แต่หากมีการ สร้างความไว้เนือ้ เชือ่ ใจกันมากขึน้ ตลอดจนปรับทัศนคติแทนทีจ่ ะแข่งขัน กีดกันห�า้ หัน่ กัน ก็กลายมาเป็นประสานเชือ่ มโยงและร่วมมือกัน ทุกภาค ส่วนก็จะสามารถตักตวงประโยชน์ร่วมกันจากการเป็นตลาดเดียว ฐานการผลิตเดียวอย่าง AEC ได้มากขึน้ สัน้ ๆ ก็คอื ต้องพยายามเปลีย่ น จาก Competitors มาเป็น Collaborators นัน่ เอง ในปัจจุบันการผลิตสินค้าแต่ละอย่างนั้น จ�าเป็นต้องอาศัยห่วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain) ไม่ได้เป็นอย่างในอดีตทีท่ กุ ขัน้ ตอนการผลิต เกิดขึน้ ภายในประเทศเดียว ทุกวันนีข้ นั้ ตอนต่างๆ ในการผลิตกระจาย อยู่ในหลายประเทศทั้งในและนอกภูมิภาค จนกลายเป็นเครือข่าย ห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน วั ต ถุ ดิ บ จากแหล่ ง ต่ า งๆ ถู ก ส่ ง ไปใช้ ใ นการผลิ ต ส่ ว นประกอบแต่ ล ะชิ้ น ในแต่ ล ะประเทศ แล้ ว แต่ ว ่ า ที่ ไ หนจะมี ประสิทธิภาพการผลิตส่วนประกอบชิ้นใดสูงสุดและต้นทุนต�่ าสุด ต่อจากนั้นก็น�าชิ้นส่วนจากที่ต่างๆ มาประกอบเป็นสินค้าขั้นสุดท้าย ในอี ก ประเทศหนึ่ ง เพื่ อ ส่ ง ไปขายผู ้ บ ริ โ ภคในตลาดภู มิ ภ าคและ ตลาดโลกต่อไป เพราะฉะนัน้ การก�าจัดอุปสรรคทางภาษีในอาเซียนก็จะท�าให้ตน้ ทุน การผลิตลดลงเป็นทอดๆ ซึ่งจะส่งผลต่อต้นทุนและราคาของสินค้า ขั้นสุดท้าย ถือได้ว่าการประสานเชื่อมโยงในเครือข่ายห่วงโซ่อุปทาน จะน�าไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันร่วมกันของประเทศ สมาชิกอาเซียนในทีส่ ดุ อย่างไรก็ดี ขณะนี้อาเซียนยังเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากการเป็น เขตการค้าเสรีได้ไม่เต็มที่ ข้อจ�ากัดทีเ่ ห็นได้ชดั ก็คอื อุปสรรคทางการค้า ที่ไม่ใช่ภาษีในรูปแบบต่างๆ เช่น ระบบขนส่งโลจิสติกส์ที่ต้องได้รับ การพัฒนาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขั้นตอนการน�าเข้าสินค้าที่ยุ่งยาก และ มาตรฐานสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมบางอย่างทีเ่ ข้มงวดเกินความ จ�าเป็น นอกจากนีย้ งั มีปญ ั หาการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร องค์ความรูข้ อง ผู้ประกอบการเกี่ยวกับกฎระเบียบการน�าเข้าส่งออกอีกด้วย ซึ่งท�าให้ ผู้ประกอบการโดยเฉพาะ SME ไม่มีความเข้าใจถึงขั้นตอนที่ต้อง ด�าเนินการและประโยชน์ทางภาษีที่จะได้รับภายใต้กรอบข้อตกลง การค้าเสรีอาเซียน หากมีการเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้อง และการพัฒนาศักยภาพแก่ บุคลากรภาครัฐและภาคเอกชนในอาเซียน ก็จะสามารถกระตุน้ ความ ต้องการและเพิม่ ปริมาณการค้าในอาเซียนให้มากขึน้ ซึง่ จะเป็นกลไกที่ ท�าให้มีการพัฒนาร่วมกันและท�าให้ความเป็นอยู่ของประชากรใน ภูมภิ าคดีขนึ้ จะเห็นได้วา่ หัวใจหลักของการรวมตัวเป็น AEC อยูท่ คี่ วามจริงใจ ทีจ่ ะร่วมมือและเชือ่ มโยงกัน เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน ที่ จ ะขั บ เคลื่ อ นไปสู ่ ค วามรุ ่ ง เรื อ งเฟื ่ อ งฟู ใ นภู มิ ภ าคอาเซี ย น ในอนาคต ดร.วัชรัศมิ์ ลีละวัฒน์ : ผูอ้ า� นวยการสถาบันแม่โขง (Mekong Institute) หน่วยงานภายใต้องค์กรระหว่างรัฐบาล กลุม่ ประเทศลุม่ แม่นา�้ โขง

เพิม่ มูลค่าการค้าทวิภาคีอาเซียน-เกาหลีใต้

หลังจากเสร็จสิน้ การประชุมสุดยอดอาเซียน-เกาหลีใต้ทเี่ มืองปูซานเมือ่ ต้นเดือนธันวาคม สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) และเกาหลีใต้ตกลงทีจ่ ะเพิม่ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างกัน โดยตัง้ เป้าเพิม่ มูลค่าการค้าทวิภาคีเป็น 200,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ภายในปี 2563 เพิม่ จากปี 2556 ทีม่ มี ลู ค่าการค้าระหว่างกัน 135,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึง่ จะเป็นโอกาสต่อยอดการเปิดเสรีทางการค้าและ เศรษฐกิจทัง้ ภูมภิ าค ทีผ่ า่ นมาข้อตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลีใต้ทเี่ ริม่ ใช้ตงั้ แต่ปี 2550 ได้ชว่ ยกระตุน้ การค้า การลงทุนให้เพิม่ ขึน้ กว่า 2 เท่า และมีความเชือ่ มัน่ ว่าจะสามารถผลักดันมูลค่าการค้าให้เพิม่ ขึน้ ถึง 1.5 แสนล้าน เหรียญสหรัฐฯ ได้ในปีหน้า

02

ฟิลปิ ปินส์เปิดประมูลพัฒนาสนามบิน เตรียมดึงนักท่องเทีย่ วต่างชาติเพิม่

ฟิลปิ ปินส์เตรียมเปิดรับซองประมูลโครงการพัฒนา สนามบินถึง 6 แห่งในเมืองหลัก อาทิ สนามบิน นานาชาติ ด าเวา สนามบิ น นานาชาติ อิ ล อยโล สนามบินนานาชาติบาโคลอด ซิเลย์ สนามบิน ลากวินดินกัน และอีกสองแห่งในแหล่งท่องเทีย่ วทางภาคกลางและตอนใต้ของประเทศ เพราะทีผ่ า่ นมาสนาม บินเหล่านี้ต้องรองรับการใช้งานเกินความสามารถ รวมถึงต้องการปรับปรุงให้รองรับจ�านวนผู้ใช้บริการ ทัง้ ในและต่างประเทศทีก่ า� ลังเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ตามเป้าทีฟ่ ลิ ปิ ปินส์ตงั้ ไว้วา่ จะดึงดูดนักท่องเทีย่ วต่างชาติ ให้ได้ถงึ 10 ล้านคนภายในปี 2559 ซึง่ การเปิดประมูลครัง้ นีเ้ ป็นไปตามแผนการดึงเอกชนเข้าร่วมทุนในโครงการ ภาครัฐ (พีพพี )ี มูลค่า 116,000 ล้านเปโซ

เวียดนามกระตุน้ ภาคอสังหาฯ เปิดทาง ต่างชาติซอื้ บ้านในประเทศ

รั ฐ บาลเวี ย ดนามก� า ลั ง พิ จ ารณา นโยบายที่เปิดทางให้ชาวต่างชาติ ทั้งองค์กร บริษัท และบุคคลทั่วไป ทีม่ วี ซี า่ เข้าประเทศได้รบั อนุญาตให้ซอื้ บ้านและอพาร์ตเมนต์ในเวียดนามได้ เพือ่ ฟืน้ ฟูและกระตุน้ ความต้องการใน ตลาดอสังหาริมทรัพย์ให้เพิ่มสูงขึ้น รวมถึงต้องการดึงดูดการลงทุนจาก ต่างประเทศมากขึน้ ด้วย

ลาวพัฒนาชนบท ตามแนวทางเกาหลีใต้

กระทรวงเกษตรและป่าไม้ของลาวร่วมกับองค์การความร่วมมือ ระหว่างประเทศเกาหลี (KOICA) ท�าโครงการพัฒนาชนบทในชือ่ ‘ขบวนการหมูบ่ า้ นใหม่’ (The Saemaul Undong Movement -SMU) ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาของเกาหลีใต้ที่ได้รับการยอมรับให้ เป็นต้นแบบแก้ปญ ั หาความยากจนทัว่ โลกด้วยการสร้างศักยภาพ ให้เกษตรกร ปรับปรุงโครงสร้างพืน้ ฐาน เช่น ระบบไฟฟ้า ประปา และระบบสาธารณูปโภค ไปพร้อมกับการเปลีย่ นแปลงวิธคี ดิ ของ คนพื้ น ที่ รวมถึ ง น� า เทคโนโลยี ที่ เ หมาะสมมาใช้ ส ร้ า งรายได้ โดยเกาหลีใต้จะสนับสนุนเงิน 14.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส�าหรับ ด�าเนินการใน 50 หมูบ่ า้ นในกรุงเวียงจันทน์และแขวงสะหวันนะเขต ตัง้ แต่วนั นีจ้ นถึงปี 2562


2 0 1 5 JA N UA RY

GMBiZ 11

จีนเดินหน้าขยายเขต การค้าเสรีเพิม่ 3 แห่ง

ฝรัง่ เศสอัดฉีดเงินกระตุน้ แผนปฏิรปู พลังงานสีเขียว

ระหว่างการประชุมสุดยอดสิง่ แวดล้อม ทีก่ รุงปารีส ฟรังซัวส์ ออลลองด์ ประธานาธิบดีฝรัง่ เศสประกาศทุม่ งบประมาณ 1,500 ล้านยูโร เพือ่ กระตุน้ แผนปฏิรปู พลังงานสีเขียว ของรัฐบาลซึง่ จะสนับสนุนให้บริษทั ต่างๆ สามารถด�าเนินแผนน�าร่อง ด้านสิง่ แวดล้อมต่อไป และต้องการสร้างแบบพลังงานใหม่ในฝรัง่ เศส เพือ่ สร้างชีวติ ทีด่ กี ว่าในอนาคต รวมถึงจะสามารถสร้างงาน 15,000 ต�าแหน่งในอุตสาหกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อมได้ภายในปีหน้า ลดปัญหา การว่างงานในฝรัง่ เศสทีม่ อี ยูก่ ว่า 3.4 ล้านคนในปัจจุบนั นอกจากนี้ นายออลลองด์ยังประกาศจะลดสัดส่วนการใช้พลังงานนิวเคลียร์ เพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้าในประเทศให้เหลือ 50% ภายในปี 2568 และ ลดการใช้พลังงานทัว่ ประเทศลงอีก 50% ภายในปี 2593

รัฐบาลจีนตัง้ เขตการค้าเสรีแห่งแรก ทีน่ ครเซีย่ งไฮ้เมือ่ เดือนกันยายนปีทผี่ า่ นมา มีบริษทั ทีล่ งทะเบียน เปิดกิจการประมาณ 12,600 แห่ง แต่มเี พียง 1,784 แห่งทีเ่ ป็น บริษัทต่างชาติ รัฐบาลจีนจึงจะตั้งเขตการค้าเสรีเพิ่มอีก 3 แห่ง ในมณฑลกวางตุง้ ทางตอนใต้ของจีน มณฑลฝูเจีย้ นทางตะวันออก และเทศบาลนครเทียนจินทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงปักกิ่ง โดยยึดโครงการทดลองในเขตการค้าเสรีนครเซี่ยงไฮ้เป็นหลัก และน�าจุดเด่นทางภูมศิ าสตร์และอุตสาหกรรมเข้ามาพิจารณาด้วย การเปิดเขตการค้าเสรีเพิม่ เติมในครัง้ นีเ้ พือ่ ท�าให้เกิดแรงกระตุน้ ครั้งใหม่ส�าหรับการปฏิรปู และการเปิดท�าธุรกิจ รวมถึงเติมเต็ม เขตการค้าเสรีนครเซีย่ งไฮ้

อียจู ดั สรรเงินทุนพัฒนา พลังงานและสาธารณสุขเวียดนาม

ส�านักข่าวบิสซิเนส ไทม์ รายงานการพบกันระหว่างนายกรัฐมนตรีเวียดนาม และประธานคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป (อียู) เพื่อเจรจาเรื่องการ สนับสนุนเงินทุนช่วยเหลือการพัฒนาด้านพลังงานและสาธารณสุขของ เวียดนาม โดยอียูมอบเงินมูลค่า 514 ล้านยูโร โดยแบ่งเป็นทุนจ�านวน 400 ล้ านยู โรเพื่อใช้ใ นการพัฒนาภาคพลัง งานอย่ างยั่ งยืน ส่ง เสริ ม ประชาธิปไตย รวมทัง้ ระบบตุลาการและกฎหมายของประเทศจนถึงปี 2563 และอีก 114 ล้านยูโร ในการสนับสนุนการปฏิรปู ภาคสาธารณสุข

รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ เศรษฐกิจโลก ความเปราะบางทีย่ งั ไม่นา่ วางใจ

ว่ากันว่าฟ้าใหม่ของปี 2015 จะเป็นช่วงจังหวะดีในการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจโลก หลังจากอ่อนล้ากันแทบทุกโซน และต้องมีการปรับโครงสร้างเพือ่ ความอยูร่ อดกันอย่างเข้มข้น แต่ถงึ กระนัน้ ภาพของความเปราะบางในช่วงปีทแี่ ล้วก็นา่ จะยังเป็นตัวแปรส�าคัญให้เฝ้าจับตาดูถงึ ความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ อีกก็เป็นได้ รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์ววิ ฒ ั น์ กูรดู า้ นเศรษฐศาสตร์และ 3 ปีหลังที่ตัวเลขการเติบโตค่อนข้างทรงตัว เพราะเริ่มแข่งไม่ได้ จาก นักยุทธศาสตร์มองว่า ในปี 2015 แม้ภาพรวมของเศรษฐกิจโลก ต้นทุนแรงงานแพง และค่าเงินแข็งตัวขึน้ ทีม่ ผี ลให้การส่งออกล�าบาก จะเริม่ ไปในทิศทางทีด่ ขี นึ้ แต่กย็ งั คงมีปจั จัยเสีย่ งทีต่ อ้ งพึงระวัง ท�าให้จีนเริ่มปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจขนานใหญ่ ซึ่งหากปรับตัว ความเสีย่ งแรก : มาจากปัจจัยของสหภาพยุโรปมีความเสีย่ ง ครั้งนี้ ส่งผลให้การขยายตัวทางเศรษฐกิจตกลงไปถึง 5% ก็จะส่งผล ในแง่ของการเพิง่ ฟืน้ ตัวจากวิกฤติ แต่ยงั มีโรคแทรกซ้อนจากภาวะ กระทบต่อประเทศที่พึ่งพาจีนในเรื่องส่งออก หรือแม้แต่เรื่องของการ เงินฝืดส่งผลให้เศรษฐกิจขยายตัวช้ามากหลือเพียง 0.3% จากที่ ท่องเทีย่ วไม่มากก็นอ้ ย ตัง้ เป้าเงินเฟ้อไว้ 2% นีค่ อื ความเสีย่ งของสหภาพยุโรปในปีนยี้ งั อยู่ ความเสีย่ งที่ 4 : ซึง่ ยังไม่เกิดก็คอื ภูมริ ฐั ศาสตร์หรือเรือ่ งของชนวน ทีต่ รงนี้ แต่ปญ ั หานีจ้ ะสามารถเยียวยาได้จาก 4 มาตรการ สงคราม เช่น กรณียเู ครนกับรัสเซีย ทีส่ อ่ เค้าให้โลกเข้าสูภ่ าวะสงครามเย็น 1. เริม่ ตัง้ แต่กนั ยายนปีทแี่ ล้ว คือ การให้เงินฝากของธนาคาร รอบสอง โดยความตึงเครียดทางการเมืองจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ พาณิชย์ในธนาคารกลางออกมาเป็นติดลบ 0.25 เพื่อบอกกับ โดยอัตโนมัติ หรือแม้แต่ปญ ั หาก่อการร้ายจากกลุม่ ต่างๆ เช่น กลุม่ ไอซิส ธนาคารพาณิชย์วา่ อย่ามาฝากเลย เอาเงินไปปล่อยกู้ ก็อาจจะมีผลต่อเรือ่ งน�า้ มัน เป็นต้น 2. เราเรียกว่า LTRO (Long Term Refinancing Operation : เป็น ความเสีย่ งที่ 5 : โรคภัยไข้เจ็บทีเ่ ข้าใกล้มนุษย์มากขึน้ มีโรคใหม่ๆ เครือ่ งมือชนิดหนึง่ ในการด�าเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป) เช่น แบ่งเงิน จากสัตว์ทขี่ ยายตัว ไม่วา่ จะเป็นไข้หวัดนก อีโบลา ตรงนีเ้ ป็นประเด็นทีต่ อ้ งค�านึงเช่นกัน จ�านวนหนึง่ เอาไว้ให้ธนาคารพาณิชย์นา� ไปปล่อยกูใ้ นอัตราดอกเบีย้ ต�า่ 0.05 ความเสี่ยงสุดท้าย : เป็นความเสี่ยงจากอเมริกา เพราะอเมริกาฟื้นตัว จากปีที่แล้ว 3. มาตรการ QE (Quantitative Easing : มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ) คือนโยบาย โต 2.2% และปีนี้น่าจะไปได้ถึง 3% นั้น อาจจะท�าให้อเมริกาขึ้นดอกเบี้ยนโยบาย ทางการเงินแบบนึง โดยหลักการจะเป็นการน�าเงินเข้าสูร่ ะบบเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลจะเข้าไป ซึง่ อาจจะเป็นกลางปีนจี้ ะส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ในทางลบกับอีกหลายประเทศ เพราะนัน่ ซือ้ สินทรัพย์ของสถาบันการเงิน และจะให้สถาบันทางการเงิน ปล่อยกูใ้ ห้ภาคเอกชนต่อไป หมายความว่าเงินทุนจะไหลออกจากประเทศก�าลังพัฒนาและอีกหลายๆ ประเทศไปสู่ เพือ่ กระตุน้ ให้ ประชาชนในประเทศ มีการใช้จา่ ยมากขึน้ ด้วยการออกมาซือ้ พันธบัตรเอกชน เงินดอลลาร์นนั่ เอง เหล่านีค้ อื ความเสีย่ งจากภาพรวมของโลกในต่างประเทศ ดังนัน้ หากย้อนมามองในประเทศไทย สิง่ ทีน่ กั ธุรกิจในประเทศไทย ควรโฟกัส จึงมี 2 แบบ Covered Bond (ตราสารหนีป้ ระเภท Securitization ซึง่ น�าสินทรัพย์ประเภทสินเชือ่ เรือ่ งหลักๆ ดังนี้ ได้แก่ อสังหาริมทรัพย์มาเป็นหลักทรัพย์คา�้ ประกัน แต่ลกู หนีส้ นิ เชือ่ อสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวจะ ต้องเป็นลูกหนีช้ นั้ ดีเท่านัน้ ) Asset Back Security (ทัง้ 3 มาตรการนี้ เป็นบทบาทของ ECB 1. มองตัวเอง ท�าในสิง่ ทีต่ วั เองช�านาญ ท�าในสิง่ ทีเ่ ป็น Passion หรือธนาคารกลางยุโรป) 2. โลกมันเปลี่ยน วันนี้ประเทศไทยไม่ใช่แค่ประเทศไทย เรามีการเชื่อมต่อไปอีก 4. เป็นมาตรการของประธานคณะกรรมาธิการยุโรปคนใหม่ ฌ็อง-คล็อด ยุงเกอร์ 9 ประเทศ ผ่าน AEC และมีการเชือ่ มต่อไปอีก 6 ประเทศ ผ่านสิง่ ทีเ่ รียกว่า อาเซีย่ น +3 +6 ทีอ่ อกมาตรการ European Fund Strategic Investment หรือกองทุนยุโรปเพือ่ การลงทุน จีน เกาหลี ญีป่ นุ่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย รวมถึงในอนาคตจะมีการขยายตัวเข้าไปสู่ เชิงกลยุทธ์ ด้วยการตัง้ กองทุนขึน้ มาเป็นเหมือนเมล็ดพืช และสามารถต่อยอดเป็นมูลค่า ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Trans-Pacific Partnership : TPP) 2.1 หมืน่ ล้านยูโร โดยกองทุนนีจ้ ะท�าหน้าทีเ่ ป็นหลักประกันในการออกพันธบัตร เพือ่ จะกู้ ฉะนั้นสิ่งที่ควรจะท�าคือมองตัวเองให้กว้างกว่าประเทศไทย เราต้องปรับระบบคิดว่า จากประชาชน หรือสถาบันทางการเงิน เป็นเงินราว 3.25 แสนล้านยูโร โดยเอา 2.1 หมืน่ ประเทศไทยก็เป็นอีกเพียงแค่จงั หวัดหนึง่ ของภูมภิ าคและโลกไปแล้ว ล้านยูโรเป็นหลักประกัน และค่อยเอา 3.25 หมื่นล้านยูโรมาลงทุนในสาธารณูปโภค นอกจากนี้ ค วรจะหลี ก เลี่ ย งการท� า ธุ ร กิ จ แบบลอกเลี ย น ประมาณว่ า พอเห็ น พืน้ ฐานในประเทศทีค่ นยังไม่ไว้ใจทัง้ หลาย เช่น กรีซ เป็นต้น และนัน่ จะท�าให้ความเสีย่ ง ธุรกิจใด ประสบความส�าเร็จ ก็คดิ ท�าตาม แบบนีไ้ ม่ควรเป็นอย่างยิง่ ขณะเดียวกันในปัจจุบนั ของภาวะเงินฝืดลดลง ทุกคนก�าลังอยูใ่ นยุคของโลกทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา ซึง่ ขณะนีถ้ อื เป็นยุคของคลืน่ ความเสี่ ย งที่ 2 : เศรษฐกิจญี่ปุ่นปีที่แล้วย�่าแย่มาจากมาตรฐานขึ้นภาษีขาย ลูกที่ 3 (Third Wave) หรือสังคมข่าวสารความรู้ หรือที่ Thomas Friedman เรียกว่า (Sales Tax) จาก 5% เป็น 8% แต่ความเสีย่ งอันนีอ้ าจจะลดลงไป เพราะคาดว่านายกรัฐมนตรี ยุคโลกแบน (The World Is Flat) ที่อะไรก็สามารถเกิดขึ้นได้เสมอ อย่ามองโลกสวยจน อาเบะอาศัยการยุบสภาและกลับมาใหม่ โดยอาจอ้างว่าประชาชนเห็นด้วยกับนโยบายของ เกินไป มองในลักษณะทีเ่ ป็นบวกได้ แต่มองดีเกินไปไม่ได้ โดยยกเอาตัวอย่างจากการปรับ ตนและนโยบายหนึง่ ทีส่ อดคล้องกับเศรษฐกิจโลกคือ การเลือ่ นการขึน้ ภาษีขายในเดือน ตัวเลขเศรษฐกิจของธนาคารโลกทีม่ กี ารปรับตัว 4-5 ครัง้ ในรอบปีทแี่ ล้วเป็นทีต่ งั้ ก็ได้ ตุลาคมนี้ ซึ่งถ้าตัวนี้ไม่เลื่อนจะมีปัญหา ฉะนั้นถ้าเลื่อนก็จะท�าให้เศรษฐกิจญี่ปุ่นลด ฉะนั้นการปรับตัวให้ทันกับโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงจึงเป็นสาระส�าคัญที่ภาค ความเสีย่ งลงไป ธุรกิจไทยคงต้องใส่ใจกว่าเดิม ส่วนใครที่ยังมองโลกในระบบเก่า กรอบเก่า หรือยัง ความเสีย่ งที่ 3 : จีนก�าลังมองหาตัวตนใหม่ หลังจากตลอด 20-30 ปีทผี่ า่ นมา ได้เปรียบ ชอบมองคนอืน่ จากมุมของตัวเอง ก็คงจะต้องหลีกเลีย่ งตัง้ แต่บดั นี้ นีค่ อื การรับมือกับ เรือ่ งค่าแรงต�า่ มากส่งผลให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจร่วมๆ 10% ต่อปี จนมาถึงช่วง เศรษฐกิจในปีแพะ ทีใ่ ครไม่อยากเป็นแพะรับบาป ต้องตระหนัก


JA N UA RY 2 0 1 5

12 GMBiZ

: Grumpy Cat

: ASEAN Immigration Lane

สนามบินแห่งชาติกวั ลาลัมเปอร์เปิดช่องทาง พิเศษเพือ่ อ�านวยความสะดวกให้กบั นักเดิน ทางจากประเทศสมาชิกอาเซียนโดยเฉพาะ เริม่ เปิดให้บริการตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคมนี้ และจะเปิ ด ให้ บ ริ ก ารเลนอาเซี ย นนี้ ใ น สนามบินแห่งอื่นๆ รวมถึงตามด่านเข้า เมืองส�าคัญทัว่ ประเทศภายในไตรมาสแรก ของปี 2015 อีกด้วย

: Driver License

หน่ ว ยงานด้ า นการขนส่ ง รั ฐ ไอโอวา สหรัฐอเมริกาออกแอพพลิเคชั่นบนมือถือ ส�าหรับแสดงใบขับขี่แทนการพกพาใบขับขี่ จริงๆ ภายในแอพฯ จะมีระบบยืนยันตัวตน ผ่ า น PIN เพื่ อ บอกว่ า ผู ้ ถื อ โทรศั พ ท์ น ่ ะ เป็นเจ้าของใบขับขีต่ วั จริงนะ และในอนาคต อาจมีแอพพลิเคชันนีใ้ นนาฬิกาอัจฉริยะด้วย เช่นกัน

คงไม่มใี ครไม่รจู้ กั เจ้าเหมียวหน้าบึง้ ใน โซเชียลเน็ตเวิร์ค ชื่อจริงของมันคือ ทาร์ดา ซอร์ซ แต่เรารูจ้ กั กันในนาม Grumpy Cat รู้หรือเปล่าว่า ตั้งแต่เจ้าแมวตัวนี้โด่งดัง ภายใน 2 ปี ส ามารถสร้ า งรายได้ ม ากถึ ง 64 ล้านปอนด์ หรือราว 3,280 ล้านบาท จาก การถ่ายแบบ ถ่ายท�าภาพยนตร์และปรากฏ โฉมบนสินค้าอีกมากมาย

: Labour Law (Older Person)

ตัน ชวนจิน รัฐมนตรีกระทรวงแรงงานของ สิงคโปร์เผยว่าจะประกาศใช้กฎหมายขยาย อายุ ก ารจ้ า งงานลู ก จ้ า งจนถึ ง อายุ 67 ปี นัน่ เพราะสิงคโปร์กา� ลังเผชิญภาวะประชากร สูงอายุเพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ 65 ตัง้ แต่ปี 2556 ซึ่ ง ที่ ผ ่ า นมาพนั ก งานเอกชนที่ อ ายุ 62 ปี ในสิงคโปร์ยงั ได้รบั การว่าจ้างอยู่

: Baidu

แม้ ว ่ า ชื่ อ เสี ย งอู เ บอร์ ใ น ประเทศอืน่ ไม่คอ่ ยจะดีนกั แต่ ไป่ตกู๋ ย็ งั จะลงทุนในธุรกิจอูเบอร์อยูด่ ี ด้วย มูลค่าสูงถึง 600 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดย ไป่ตจู๋ ะเพิม่ ฟีเจอร์เรียกรถจากอูเบอร์เข้าไป ในแอพฯ Baidu Map และ Mobile Baidu เช่ นเดี ยวกับ ทางอู เบอร์ก็ จะได้ ช่องทาง ในการกระจายแอพพลิเคชัน่ ในจีนด้วย

: Coca-Cola

: Football Thai Fever

ถื อ ไ ด้ ว่ า ม า ถู ก ที่ ถู ก เ ว ล า และมอบความสุขให้กับคนไทยทั้งประเทศ อีกครัง้ กับการครองแชมป์ AFF SUZUKI CUP 2014 เป็นสมัยที่ 4 หลังจากห่างหายไปถึง 12 ปี ทั้งฟอร์มการเล่น และการเป็นสุภาพ บุรุษในสนาม ไม่ว่าคู่ต่อสู้จะเล่นแรง หรือ ยั่ ว โมโหแค่ ไ หน ก็ ไ ม่ เ กิ ด อาการ เล่ น ไป ตามเกมตั้งแต่รอบแรกจนถึงรอบชิงชนะเลิศ เรียกได้วา่ ชนะในการแข่งขัน และชนะใจผูช้ ม รอบสนามและทีเ่ ชียร์อยูห่ น้าจอทีวี

จะเป็ น อย่ า งไรถ้ า โค้ ก กระโดดมา ผลิตนมบ้างและไม่ใช่แค่นมธรรมดาทัว่ ไป แต่ เ ป็ น นมระดั บ พรี เ มี่ ย มราคาสู ง กว่ า ท้องตลาดถึง 2 เท่า ด้วยแบรนด์ Fairlife ท�าไมถึงขายราคานี้ได้น่ะหรือ? นั่นเพราะ สารอาหารที่มีโปรตีนมากกว่าปกติ 50% แคลเซียมสูงขึน้ 30% และน�า้ ตาลน้อยกว่า นมทัว่ ไปอีก 50%

: Hotel

เป็นสวรรค์สา� หรับเจ้าเหมียว และเจ้ า ตู บ แล้ ว ละ เมื่ อ โรงแรมวอชิงตันในสิงคโปร์เปิดตัวเป็นโรงแรม สุดหรูส�าหรับสัตว์เลี้ยงด้วยห้องรอยัลสูทที่มี อุปกรณ์อ�านวยความสะดวกครบทั้งโทรทัศน์ และเตี ย งกระดู ก หนั ง เที ย ม แถมยั ง มี ส ปา สระว่ายน�า้ สนามหญ้าและเครือ่ งออกก�าลังกาย ให้อกี ด้วย สนนราคาคืนละ 271 เหรียญสหรัฐฯ

: India

: Film

ผูผ้ ลิตภาพยนตร์ในกัมพูชาต้องจ่ายภาษีการ ผลิตและฉายภาพยนตร์ 10% และทุกเรือ่ งที่ เข้ า ฉายต้ อ งหั ก ก� า ไรถึ ง 50% ให้ กั บ โรงภาพยนตร์ ขณะทีต่ วั ภาพยนตร์มกั ไม่คอ่ ย ท�าเงิน นั่นท�าให้สามารถแข่งขันกับประเทศ อืน่ ๆ ในเอเชียได้ยากขึน้ กระทรวงวัฒนธรรม และวิจิตรศิลป์กัมพูชาจึงต้องขอให้รัฐบาล ลดภาษีดา้ นนีล้ ง

ข่ า วพนั ก งานขั บ รถแท็ ก ซี่ อู เ บอร์ ข่มขืนผู้โดยสาร หนึ่งในมาตรการ ที่ ท างการอิ น เดี ย น� า มาใช้ ป ้ อ งกั น การเกิ ด เหตุการณ์ซา�้ คือใช้อากาศยานไร้คนขับ หรือโด รนขนาดเล็ ก มาติ ด กล้ อ งจั บ ภาพออกลาด ตระเวนตามท้องถนนกรุงนิวเดลี โดยเฉพาะ เวลากลางคืนในพืน้ ทีเ่ ปลีย่ วทีเ่ สีย่ งต่อการเกิด อาชญากรรมด้วย

: Melayu

หลังจากประเมินบริบททาง เศรษฐกิ จ การเมื อ ง และ สังคมแล้ว ผูเ้ ชีย่ วชาญจากมหาวิทยาลัยภาษา ต่างประเทศปักกิง่ ประเมินว่า ภาษามลายูจะทวี ความส�าคัญจนกลายเป็นภาษาสากลที่ใช้ สื่อสารกันระหว่างประเทศ โดยเฉพาะเมื่อ โครงการรถไฟอาเซี ย นจากหนานจิ ง ถึ ง สิ ง คโปร์ เ สร็ จ สมบู ร ณ์ โดยปั จ จุ บั น มี ผู ้ ใ ช้ ภาษามลายูกว่า 300 ล้านคน


2 0 1 5 JA N UA RY

GMBiZ 13

: NIKE WOMEN

ไนกีม้ กี ลยุทธ์ใหม่บกุ ยึดครองใจสาวๆ ผูร้ กั การออกก�าลังกาย เปิด NIKE WOMEN คอนเซ็ปต์สโตร์สา� หรับผูห้ ญิงโดยเฉพาะ สาขาแรกเปิดทีแ่ คลิฟอร์เนียพืน้ ที่ 6,000 ตารางฟุต นอกจากจะขายชุดออกก�าลังกายและอุปกรณ์กฬี า แล้ว ยังมีฟติ เนส สตูดโิ อโยคะ คลับแนะน�าการออก-ก�าลังกายและ เทคโนโลยีการประเมินความพอดีขณะสวมรองเท้า

: Qrio

: Online Shopping

จากผลส�ารวจเรือ่ งทัศนคติในการ ใช้จา่ ยของผูบ้ ริโภคจากบริษทั วีซา่ พบว่า ชาวสิงคโปร์เป็นสุดยอดนักช้อปออนไลน์อนั ดับ หนึ่ ง ของอาเซี ย น โดยประชากร 26% ช้อปออนไลน์อาทิตย์ละครั้งเป็นอย่างน้อย และอี ก 58% ช็ อ ปออนไลน์ อ ย่ า งน้ อ ย เดือนละครัง้

โซนี่พัฒนาอุปกรณ์ใหม่ เป็นตัวล็อกประตูอจั ฉริยะ ทีค่ วบคุมได้ผา่ นแอพพลิ เคชัน่ ในสมาร์ทโฟน คนทีอ่ ยูใ่ น ห้ อ งก็ ใ ช้ ง านเหมื อ นลู ก บิ ด ธรรมดานีเ่ อง แต่สา� หรับคน ที่อยู่นอกห้องก็เพียงแค่เปิด แอพฯ แล้ ว กดปลดล็ อ ก Qrio ส่งสัญญาณผ่านบลูทูธเท่านั้นเอง แต่ไม่รู้ว่า การหยิบกุญแจแบบเดิม หรือคว้าสมาร์ทโฟนมาเปิดแอพฯ แบบไหนจะใช้เวลาน้อยกว่ากันแน่

: VISA Online

: Starbucks

แม้ ก าแฟสตาร์ บั ค ส์ จ ะเป็ น สุดยอดของการเป็น The Third Place แต่ก็ยังเข้าไม่ถึงลูกค้า ระดับไฮเอนด์อยู่ดี ล่าสุดเปิด Starbucks Reserve Roastery & Tasting Room ร้านกาแฟ โมเดลใหม่ร้านแรกที่ซีแอตเติล พร้อมเสิร์ฟ กาแฟไฮเอนด์ไลน์ใหม่ชอื่ Reserve ทีผ่ ลิตจาก โรงคัว่ กาแฟภายในร้าน พร้อมเสิรฟ์ อาหารของ เชฟชื่อดังของสหรัฐฯ ทอม ดักลาสอีกด้วย อีกสักพักก็จะได้เห็น Reserve Café’s สาขาอืน่ ๆ เพิม่ ขึน้

รู้หรือไม่ว่า นักท่องเที่ยวจาก 43 ประเทศรวมถึงประเทศไทยสามารถขอวีซา่ ท่องเทีย่ วเข้าประเทศอินเดียผ่านทางออนไลน์ ได้แล้ว ซึ่งใช้เวลาอนุมัติภายใน 4 วัน โดย ไปรับวีซา่ ทีด่ า่ นตรวจคนเข้าเมืองในสนามบิน ปลายทาง แต่ถงึ อย่างนัน้ นักท่องเทีย่ วสามารถ ขอวีซา่ ผ่านออนไลน์ได้เพียงครัง้ เดียว

: Transport

อาลีเพย์ ผู้ให้บริการช�าระเงิน ผ่านระบบออนไลน์ของจีนเปิด บริการใหม่ ‘อาลี เพย์ โอเวอร์ซสี ์ ทรานส์ปอร์ เทชั่น การ์ด’ ช่วยให้นักท่องเที่ยวจีนจ่าย ค่าใช้บริการรถขนส่งสาธารณะใน 3 ประเทศ เอเชีย คือ ไทย, สิงคโปร์ และมาเก๊า ได้ตงั้ แต่ ก่อนออกเดินทางจากจีนผ่านแอพพลิเคชั่น อาลีเพย์ วอลเลท เมื่อถึงสนามบินปลายทาง ก็แค่น�าโทรศัพท์มือถือไปสแกนบาร์โค้ดและ ใช้บริการรถโดยสารได้เลย

: Wi-Fi

ห้องสมุดนิวยอร์กไม่เพียง แต่ให้บริการยืมหนังสือ กลับบ้านเท่านั้น แต่ยังมีบริการใหม่ให้ยืม Pocket Wi-Fi ไปใช้ถึง 10,000 ตัว หลังจาก ที่เคยเปิดโครงการทดสอบแล้วพบว่าคนที่ มาใช้ อิ น เตอร์ เ น็ ต ในห้ อ งสมุ ด ส่ ว นใหญ่ ยังเป็นผู้มีรายได้น้อยและไม่มีอินเทอร์เน็ต บรอดแบนด์ใช้ในบ้าน

: Zero Motorcycles

มอเตอร์ ไ ซค์ ไ ฟฟ้ า ก็ แ รงได้ เ หมื อ นกั น นะ อย่างเจ้า ซีโร่ มอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าสมรรถนะสูง ที่ใช้ก�าลังจากมอเตอร์ไฟฟ้าแบบบรัสเลสส์ แม่เหล็กถาวร 50 กิโลวัตต์ หรือเทียบเท่า 67 แรงม้าเลยทีเดียว ใช้เวลาชาร์จไฟประมาณ 8 ชัว่ โมงก็สามารถวิง่ ได้ 185 กิโลเมตร แต่เห็น ราคาแล้วไม่เบาเหมือนกัน

: Rihanna

: Paris

กรุงปารีสเตรียมเสนอแผนเพื่อ สิ่งแวดล้อม ห้ามรถยนต์ที่ใช้ เชื้อเพลิงดีเซลเข้ามาในเขตเมืองหลวงตั้งแต่ ปี 2020 เป็นต้นไป เพือ่ ลดมลพิษบนท้องถนน แถมยังขยายทางเท้าและเพิม่ เส้นทางจักรยาน ขึ้นอีก จ�ากัดจ�านวนรถบัสรับส่งนักท่องเที่ยว ห้ามรถบรรทุก เพิ่มตู้รถไฟฟ้า และขยาย โครงการใช้รถร่วมกันเข้าเขตเมือง ถึงตอนนัน้ เมืองปารีสคงจะน่าเดินยิง่ ขึน้ ไปอีก

ริ ฮ านน่ า เซ็ น สั ญ ญาเป็ น หุ ้ น ส ่ ว น บ ริ ษั ท พู ม ่ า นั่ ง ต� า แ ห น ่ ง ค รี เ อ ที ฟ ไดเร็ ค เตอร์ ฝ่ า ยสิ น ค้ า ผู ้ ห ญิ ง โดยจะ Co-Design รองเท้าออกก�าลังกายคอลเลคชัน่ ใหม่ รวมถึงพูม่าคลาสสิกรุ่นพิเศษ แถมเป็น แบรนด์แอมบาสเดอร์ร่วมกับยูเซน โบลต์ นักวิง่ ซูเปอร์ลมกรดคนดัง, เซอร์จโิ อ อากูเอโร กองหน้ า จากที ม แมนแชสเตอร์ ยู ไ นเต็ ด อีกด้วย... รอลุน้ กันว่าพูมา่ ในคอลเลคชัน่ ใหม่ จะแซบเว่อร์เหมือนดีไซเนอร์ VIP คนนีม้ ยั้


JA N UA RY 2 0 1 5

14 GMBiZ

disruptive innovation strategy

นวัตกรรมฝ่าทะลวง ของผูน้ า� ตลาด : จุดจบหรือชัยชนะ ? ในโลกธุรกิจเรากลับพบว่าธุรกิจผูน้ า� ตลาดมีโอกาสพบจุดจบได้ เพราะการเปลีย่ นแปลงของ ‘เทคโนโลยีฝา่ ทะลวง’ (Disruptive Technologies) ซึ่งหมายถึงการที่คู่แข่งขันมีเทคโนโลยีใหม่ ในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ บริ ก ารเข้ า มาโจมตี ผู ้ น� า ตลาด เพราะ มีนวัตกรรมในผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ช้าและลูกค้าไม่พอใจใน ประสิทธิภาพการใช้งานของผลิตภัณฑ์ผนู้ า� ตลาด เราจะเห็นว่าอุตสาหกรรม PCs มีแนวโน้ม ล ด ล ง ม า ต ล อ ด ข ณ ะ ที่ อุ ป ก ร ณ ์ (Devices) ใหม่ๆ เช่น Tablets Mobile Phones และ Hybrids/Clamshells : ฝา และตัวผลิตภัณฑ์เป็นอัน เดียวกัน มีแนวโน้มสูง ขึ้ น ต ล อ ด G a r t n e r รายงานเมือ่ ตุลาคม 2014 ว่าปี 2014 อุปกรณ์ใหม่ๆ มีการ ผลิตส่งมอบ 2,409 พันล้านเครื่อง และปี 2015 จะมากถึง 2,535 พันล้านเครือ่ ง (ขณะที่ PCs จะเหลือแค่ 261 พันล้านเครือ่ ง) นวัตกรรมฝ่าทะลวง (Disruptive Innovation) มีผลกระทบต่อ อุตสาหกรรมใน 2 ลักษณะ อย่างแรก ภายในธุรกิจเป็น ‘การตายของ PCs’ หมายถึงว่าผู้น�าตลาด เช่น Dell HP Sony (Vaio) Acer และ ซัพพลายเออร์ เช่น Intel และ Microsoft ถูก Apple และ Samsung เข้ามาแย่งส่วนแบ่งตลาดด้วย Smartphones และ Tablets อีกลักษณะ การฝ่าทะลวงในตลาดแมสที่ยอมจ่ายแพงมากขึ้นเพื่อประสิทธิภาพ ทีด่ กี ว่าหรือเข้าไปสูก่ ลุม่ ทีไ่ ม่ใช่ลกู ค้ามาก่อน นวัตกรรมฝ่าทะลวงไม่ได้ฆา่ ผลิตภัณฑ์และอุตสาหกรรมเสมอไป เช่น สมาร์ทโฟนไม่ได้ฆา่ กล้อง DSLR แต่ทา� ให้ตลาดกล้องราคาถูกหายไป ในกรณีของตลาดพีซี PC ส�าหรับผูใ้ ช้ทบี่ า้ นเท่านัน้ ทีต่ าย แต่ PC ส�านักงานยังไปได้เพราะลักษณะการใช้งานต่างกัน เช่น Tablet ไม่สามารถท�ารายงานกราฟิกทีซ่ บั ซ้อน Intel เห็นการเปลี่ยนแปลงนี้และคิดนวัตกรรมฝ่าทะลวงเพื่อให้ PC ไม่ตาย และจะท�าให้ Intel ไม่ตายด้วย Intel NUC (Next Unit of Computing) เป็นนวัตกรรมฝ่าทะลวง ที่ผู้ใช้งาน PC ส�านักงานไม่ต้องการเครื่องขนาดใหญ่ หรืออาจรวม ผูใ้ ช้ทบี่ า้ นด้วย รวมถึงการน�า NUC ให้สามารถไปติดตัง้ กับจอในการ โฆษณาประชาสัมพันธ์ธรุ กิจภายนอกสถานทีไ่ ด้ สิ่งโดดเด่นของ Intel ในนวัตกรรมใหม่นี้ คือ NUC มีขนาดเล็ก 4x4 นิ้ว หน่วยประมวลผล (CPU) Intel Celeron, Core i3, i5, i7 ให้เลือกใช้ พร้อมการเชื่อมต่อผ่าน USB, 3.0 Micro HDMI และ Mini Display ต่อกับจอภาพ ช่องเสียบอะแดปเตอร์ไฟและ HDD 500GB DDR3 4GB ดังนัน้ หากผูน้ า� ตลาด เช่น Intel ไม่มนี วัตกรรมฝ่าทะลวง โดยรุก เข้าไปตลาด Mini PC : Intel NUC ตลาด CPU ส�าหรับ PC ดั้งเดิม ต้องลดลงไปเรือ่ ยๆ อย่างแน่นอน ขณะเดียวกันเท่ากับรุกเข้าไปยังตลาด PC แบบดัง้ เดิม ทีเ่ หนือกว่าด้วยขนาดเล็กพกพาได้ สามารถน�าไปใช้ ส�านักงานไหนก็ได้หากเชือ่ มต่อจอภาพ มีคยี บ์ อร์ดและเมาส์ (ซึง่ ปกติ มีทกุ ส�านักงานอยูแ่ ล้ว) จึงท้าทายต่อตลาด Tablet แบบ 2 in 1 ปี 2015 ต้องจับตาดูว่า Intel NUC จะชนะในเกมส์ด้วยการ ฝ่าทะลวงนวัตกรรมนีห้ รือไม่ ดร.ดนัย เทียนพุฒ : นักวิชาการผูท้ รงคุณวุฒิ และทีป่ รึกษา ด้านกลยุทธ์ธรุ กิจ ศูนย์พฒ ั นาทุนมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

มูลค่าโฆษณาผ่านสือ่ ต่างๆ มกราคม - พฤศจิกายน 2557 58,922

7.97

หน่วย : ล้านบาท เปลีย่ นแปลง (%) ทีม่ า : นีลเส็น

14.15

11,909

11.32

5,118

โทรทัศน์

หนังสือพิมพ์

วิทยุ

17.33

20.32

4.14

4,302

3,819

3,659

นิตยสาร โรงภาพยนตร์ ป้ายโฆษณา

6.15

28.50

6.79

3,417

1,789

865

สือ่ เคลือ่ นที่

อินสโตร์

อินเทอร์เน็ต

2558 แม้ดจิ ติ อลสกรีนยังแรง แต่บลิ บอร์ดแบบเดิมยังรอด ภาวะตลาดสือ่ นอกบ้าน (OOH : Out of Home) โดยเฉพาะสื่อบิลบอร์ดแบบดั้งเดิมนั้นโล่งโจ้ง ตัง้ แต่ชว่ งกลางปี 2557 เหตุจากธุรกิจชะลอจ่าย– หยุดซือ้ และปัจจัยทางการเมืองมาเริม่ กระเตือ้ งอีก ครัง้ ตอนปลายปี แต่ทแี่ รงไม่หยุดคือสือ่ ดิจติ อลสกรีน ทีม่ ขี อ้ ดีที่ สามารถเห็นได้ทงั้ กลางวันกลางคืน อีกทัง้ สามารถ เลือกท�าเลทีด่ ที สี่ ดุ ได้ แม้กบั ท�าเลสุดฮอตอย่างย่าน ราชประสงค์ พระราม 1 ด้วยราคาแบบแชร์โลเกชัน่ จากผูซ้ อื้ โฆษณาหลายรายในช่วงรอบเวลา 1 นาที ท�าให้คา่ โฆษณากับสือ่ ดิจติ อลสกรีนถูกลงอย่างมากๆ นีจ่ งึ ท�าให้สอื่ โฆษณาดิจติ อลสกรีนเติบโตอย่างสวน ทางกับป้ายโฆษณาดัง้ เดิมทีม่ อี ตั ราเติบโตลดลงจน ต้องปรับลดค่าเช่าลงกว่า 10% ในช่วง 1-2 ปี ทีผ่ า่ นมา ทั้ ง นี้ คุ ณ สุ ร เชษฐ์ บ� า รุ ง สุ ข ผู ้ จั ด การ บริ ษั ท คินเนติค เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จ�ากัด ชี้แจงถึง การเติบโตของสือ่ ดิจติ อลสกรีนทีม่ มี ากขึน้ ว่า เนือ่ งจาก เป็นการลงทุนทีค่ มุ้ ค่ากว่าการใช้บลิ บอร์ดแบบดัง้ เดิม อีกทัง้ ยังสามารถขยายและสร้างการรับรูไ้ ปสูก่ ลุม่ ลูกค้า ทีห่ ลากหลายมากขึน้ เมือ่ เทียบกับบิลบอร์ดเดิมทีจ่ บั เฉพาะกลุม่ ลูกค้าทีต่ อ้ งการเท่านัน้ แต่อย่างไรก็ตาม เชื่ อ ว่ า แนวโน้ ม การใช้ สื่ อ บิ ล บอร์ ด ยั ง คงมี อ ยู ่ โดยเฉพาะลู ก ค้ า ที่ ต ้ อ งการโฆษณาสิ น ค้ า ตลอด 24 ชัว่ โมงและพร้อมทีจ่ ะใช้เม็ดเงินสูงกว่าสือ่ ประเภท อื่นๆ หากเป็นท�าเลที่เหมาะสม เช่น ถนนเส้นหลัก ของกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด “แนวโน้มการใช้สอื่ โฆษณาปี 2558 เชือ่ ว่า ลูกค้า ยังคงใช้สอื่ ดิจติ อลสกรีนและสือ่ อินสโตร์อย่างต่อเนือ่ ง เพราะสามารถเข้าถึงลูกค้าได้หลากหลาย รวมถึง สือ่ ใหม่ๆ หรือสือ่ ทีไ่ ม่ใช่รปู แบบสีเ่ หลีย่ ม อาทิ การท�า กิจกรรมเพื่อสังคม (CSR) เพราะสามารถสื่อสารได้ ตรงกลุม่ มากกว่า ส�าหรับภาพรวมของสือ่ OOH ปี 2558 คาดว่าจะทรงตัวหรือติดลบราว 5% หรือมีมูลค่า

ประมาณ 9,760 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ขณะที่ปัจจุบันติดลบอยู่ราว 10% ส่วนการขยายตัว ของสือ่ OOH เชือ่ ว่าจะขยายไปตามเมืองใหญ่ เมืองโท และหั ว เมื อ งตามแนวชายแดน 30-50% และ การเปิ ด AEC ก็ เ ชื่ อ ว่ า จะท� า ให้ ต ลาดเติ บ โตขึ้ น คนต่างจังหวัดมีก�าลังซื้อมากขึ้นและหัวเมืองต่างๆ ก็จะเติบโตมากขึน้ ” ส�าหรับการท�าการสื่อสารกับสื่อดิจิตอลสกรีน ซึ่งมีการเวียนกันโฆษณาบนหน้าจอ ซึ่งอาจท�าให้ กลุม่ เป้าหมายไม่เห็นหรือส่งแมสเสจไม่ได้ครบถ้วนนัน้ คุณสุรเชษฐ์ได้กล่าวถึงทางออกส�าหรับปัญหานี้ว่า “เราสามารถเลือกไกด์ช็อตหรือท�าตัววิ่งเพื่อบอก แมสเสจได้ เพราะบางครั้ ง ตามสี่ แ ยกคนจะเห็ น ภาพป้ายแต่ไม่ได้ยินเสียง หรือท�าเป็นภาพนิ่ง/กึ่ง ภาพนิ่ ง เสมื อ นเป็ น ดิ จิ ต อลบิ ล บอร์ ด เพราะ ภาพเคลื่อนไหวอาจท�าให้กลุ่มเป้าหมายดูไม่ทัน เห็นไม่ครบ หรือเพิ่มความถี่โดยใช้กฎ 7 วินาทีที่จะ ท�าให้คนจดจ�าได้ ถ้าเกินต้องมาดูว่าแมสเสจมากไป หรือไม่ คุณสุรเชษฐ์กล่าว อนึ่ง การใช้จ่ายงบโฆษณาผ่านสื่อต่างๆ อยู่ที่ สื่ อ ที วี เ กิ น ครึ่ ง (58,922 ล้ า นบาท) จากมู ล ค่ า รวมทัง้ หมด 93,800 ล้านบาท แต่เติบโตในแดนลบที่ 7.97% ทั้ ง นี้ อ ้ า งอิ ง จากรายงานของนี ล เส็ น ถึงมูลค่าการใช้จ่ายงบโฆษณาผ่านสื่อต่างๆ ระหว่าง ม.ค.–พ.ย. 2557 ที่ ร ะบุ เ พิ่ ม เติ ม ว่ า งบใช้ จ ่ า ย กับหนังสือพิมพ์ วิทยุและนิตยสาร 11,909 ล้านบาท (-14.15%), 5,118 ล้ า นบาท (-11.32%) และ 4,302 ล้านบาท (-17.33%) ตามล�าดับ โดยสือ่ ทีเ่ ติบโต ในอัตราถดถอยมากที่สุดคือ สื่อโรงภาพยนตร์ และ สื่ อ อิ น สโตร์ 3,819 ล้ า นบาท (-20.32%), 1,789 ล้ า นบาท (-28.50%) ตามล� า ดั บ มี เ พี ย ง สื่ อ เคลื่ อ นที่ แ ละสื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต เท่ า นั้ น ที่ เ ติ บ โต ในแดนบวก 3,417 ล้ า นบาท (+6.15%) และ 865 ล้านบาท (+6.15%) เท่านัน้

Ubersexual

คงคุน้ เคยกันค�ำว่ำ metrosexual (เมโทรเซ็กช่วล) ชำยส�ำอำงองค์ทดี่ แู ลตนเองมำกกว่ำผูห้ ญิงหลำย เท่ำตัว ตัวอย่ำงชัดๆ เช่น โดม-ปกรณ์ ลัม แต่มอี กี ค�ำทีเ่ กิดมำไล่ๆกันคือ ubersexual (อูเบอร์เซ็กช่วล) ชำยแบบสมชำย แบบผู้ชำยจริงๆ แต่ก็อำจจะมีกำรดูแลตัวเองบ้ำงไม่มำก อำรมณ์ประมำณ โน้ต-อุดม แต้พำนิช ทีบ่ อกช่วยท�ำครีมทำกลำงวัน กลำงคืน ทำสิว หน้ำ ตำ คอ ฯลฯ อยูใ่ นขวดเดียวกันได้มยั้ ท�ำนองอยำกดูแลตัวเองแต่ของ่ำยหน่อย เพรำะอูเบอร์เซ็กช่วลไม่ใช่พวกแมนสกปรก ยังเป็นแมนแนวๆ แมนมีสตอรีก่ บั ของทีใ่ ช้ทชี่ อบ


2 0 1 5 JA N UA RY

ธศพงษ์ รังควร KTC X VISA SIGNETURE มาช้า แต่ (ดี) ชัวร์ ทีผ่ ำ่ นมำ บริษทั บัตรกรุงไทย จ�ำกัด (มหำชน) หรือ เคทีซี มุง่ เน้นจับกลุม่ ลูกค้ำทัว่ ไป และ มีสดั ส่วนลูกค้ำระดับไฮเอนด์เพียง 10% จำกกลุม่ ผูถ้ อื บัตรเคทีซี วีซำ่ อินฟินทิ และเคทีซี เวิลด์ มำสเตอร์กำร์ดซึง่ ต้องได้รบั เชิญจำกเคทีซเี ท่ำนัน้

เรือ่ ง : rujrada ภาพ : อนุวฒ ั น์ เดชธ�ารงค์วฒ ั น์

สภำวะเศรษฐกิจโดยรวมในปัจจุบันยังอยู่ในภำวะถดถอย ผู้คนจับจ่ำยใช้สอยกัน น้อยลงนั่นท�ำให้ยอดกำรใช้จ่ำยผ่ำนบัตรเครดิตลดลงไปด้วย เป็นที่มำที่ท�ำให้สถำบัน กำรเงินค่ำยต่ำงๆ ออกผลิตภัณฑ์เพื่อจับกลุ่มลูกค้ำไฮเอนด์กันมำกขึ้น เคทีซีเองไม่ได้ นิ่งนอนใจและได้ศึกษำตลำดอย่ำงถี่ถ้วนก่อนที่จะเปิดตัวบัตรเครดิตเคทีซี เอ็กซ์ วีซ่ำ ซิกเนเจอร์ มำขยำยตลำดกลุม่ ผูถ้ อื บัตรระดับบน

GMBiZ 15

ธศพงษ์ รังควร ผู้อ�ำนวยกำรธุรกิจบัตรเครดิตเคทีซี บอกว่ายังมีชอ่ งว่างทางการตลาดระหว่างบัตรแพลททินมั จนถึง บัตรเคทีซี วีซา่ อินฟินทิ และเคทีซี เวิลด์ มาสเตอร์การ์ด และ ทีผ่ า่ นมาเคทีซยี งั ไม่มผี ลิตภัณฑ์ทรี่ องรับคนกลุม่ นี้ ด้วยเหตุผล ทีว่ า่ ต้องการอยากศึกษาพฤติกรรมของลูกค้าให้มนั่ ใจก่อน “คิดว่าถึงเวลาแล้ว และเราพร้อมที่จะออกผลิตภัณฑ์มา ตอบสนองลูกค้ากลุม่ นีไ้ ด้ คนกลุม่ บนมีความต้องการค่อนข้างสูง ถ้าท�าออกไปไม่ดีก็จะมีผลกระทบกลับมาว่าเราท�าได้ไม่ดี จะเห็นว่าเราไม่ได้ออกบัตรระดับนี้เป็นค่ายแรก แต่จากการ ศึกษาของเราและดูคู่แข่งว่าเขาได้รับผลตอบรับจากลูกค้า อย่างไร ลูกค้าไม่ชอบตรงไหน เราก็ปรับแก้ไขในผลิตภัณฑ์ ซีอโี อของเรา (คุณระเฑียร ศรีมงคล) ให้นโยบายมาว่าเราต้อง ตอบสนองเร็ว ถ้ามีผลตอบรับอะไรกลับมาก็ตอบสนองให้กบั ลูกค้าไป ถ้าดีก็ท�าต่อ ถ้าไม่ดีก็หยุดแล้วท�าใหม่ เรำไม่ใช่ คนแรก แต่เรำเป็นคนทีด่ ที สี่ ดุ ณ ตอนนีแ้ น่นอน” ผลการศึกษาตลาดของเคทีซี พบว่า ลูกค้ากลุม่ บนชอบกิน ช้อป เทีย่ ว ชอบเดินทางไปต่างประเทศ บางคนเดินทางทุกเดือน หรืออย่างน้อยปีละ 2 ครัง้ ซึง่ คิดเป็นค่าใช้จา่ ยเกือบ 70% ของ ค่าใช้จ่ายทั้งหมด เคทีซีผนวกเอาจุดเด่นคือ เป็นบัตรเครดิต ทีม่ คี วามเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงสกุลเงินถูกทีส่ ดุ เมือ่ เทียบ กับค่ายอืน่ ๆ ในตลาดบัตรเครดิต นอกจากประสบการณ์การใช้งานบัตรเครดิตที่เหนือกว่า คูแ่ ข่งแล้ว เคทีซยี งั ให้คะแนนไปสะสมกันได้งา่ ยๆ ถึง 3 เท่า ให้ แ บบไม่ จ� า กั ด และไม่ มี วั น หมดอายุ ค� า ถามถั ด มาคื อ น�าคะแนนนี้ ไปท�าอะไรได้บา้ ง ธศพงษ์อธิบายให้เห็นภาพง่ายๆ ว่าหากน�าคะแนนไปแลกเป็นไมล์สะสมเพือ่ ใช้แลกบัตรโดยสาร เครือ่ งบิน ก็เปรียบเสมือน 16.67 บาท เท่ากับ 1 ไมล์ หรือใช้ 1 คะแนน บวกกับ เงิน 104,000 บาทก็สามารถแลกบัตรโดยสาร ชัน้ ธุรกิจไปยุโรปได้ 2 ทีน่ งั่ หรือหากลูกค้าท่านใดทีอ่ ยากนัง่ เฟิร์สคลาสของการบินไทย เพียงแค่ใช้ 1 คะแนน บวกกับ 150,000 บาท ก็จะได้บัตรโดยสารชั้นหนึ่ง 2 ที่นั่งไปยุโรป เช่นเดียวกัน แต่หากใครไม่ได้แลกคะแนนไปกับกิจกรรมไลฟ์สไตล์ ต่างๆ แล้วก็สามารถน�าคะแนนไปแลกเป็นเงินสดกลับคืนเข้า บัญชีได้ โดยทุก 100,000 คะแนนแลกได้ 15,000 บาท หรือ ทุก 300,000 คะแนนแลกได้ 60,000 บาท นืจ่ งึ ถือเป็นคะแนน จากบัตรเครดิตทีม่ คี า่ มากทีส่ ดุ “เรำใช้คอนเซ็ปต์วำ่ ‘ชีวติ มีแต่คำ� ว่ำมำกกว่ำ’ ได้คะแนน สะสมมำกกว่ำ และมีสทิ ธิประโยชน์ทมี่ ำกกว่ำ เป็น 3 สิทธิ ประโยชน์หลัก แต่ทงั้ นีล้ กู ค้าต้องมีประสบการณ์นา� ไปใช้จริง ก่อนจึงจะแน่ใจได้วา่ ดีกว่าจริงๆ” บัตรเครดิตเคทีซี เอ็กซ์ วีซา่ ซิกเนเจอร์เป็นบัตรเครดิตจาก เคทีซใี บแรกทีเ่ ก็บค่าธรรมเนียม 5,000 บาทต่อปี เพือ่ แลกกับ ประสบการณ์การใช้จา่ ยทีม่ ากกว่า แต่เงิน 5,000 บาททีจ่ า่ ย มานี้จะได้รับกลับไปเป็น Voucher ส�าหรับช้อปปิ้งมูลค่า 5,000 บาท หรือแลกเป็นบัตรสมาชิกโรงแรมมาริออท ฮิลตัน หรือสตาร์วูดได้ เช่นเดียวกับสามารถน�าคะแนนไปแลกไมล์ สะสมจาก รอยัล ออคิด พลัส ได้ 15,000 ไมล์ “เราศึกษาร่วมกับวีซา่ ว่าเราอยากได้คนทีต่ งั้ ใจอยากจะถือ บัตรนี้จริงๆ เมื่อเขาจ่าย 5,000 บาทแล้ว บัตรนี้จะเป็นบัตร ใบแรกในกระเป๋าที่เขาจะหยิบขึ้นมาใช้ เขาจะคิดว่าต้องใช้ ให้คุ้มค่าจริงๆ เป็นกลยุทธ์อย่างหนึ่งที่เราอยากจะให้ลูกค้า นึกถึงเรา” วันทีเ่ ราคุยกับธศพงษ์ เป็นเวลาเพียง 2 สัปดาห์หลังจาก เปิดตัวบัตรเคทีซี เอ็กซ์ วีซา่ ซิกเนเจอร์ แต่มลี กู ค้าน�าคะแนน มาแลกเป็นไมล์สะสมเพือ่ เดินทางไปยุโรป หรือพาเพือ่ นไปทาน บุฟเฟ่ตโ์ รงแรมและเกิดการบอกต่อ “เราค่อยๆ สร้างฐานลูกค้าไปเรือ่ ยๆ ไม่คอ่ ยรีบเร่ง เพราะ ต้องใช้เวลา เราไม่ได้อยากจะให้มียอดบัตรขึ้นมาเยอะอย่าง รวดเร็ว แต่เราอยากจะให้ลกู ค้ามีประสบการณ์ใช้จา่ ยมากกว่า และเชือ่ เพือ่ นทีไ่ ด้รบั บริการทีด่ จี ริงๆ” ธศพงษ์ เ ผยว่ ำ เคที ซี ตั้ ง เป้ ำ ให้ มี จ� ำ นวนบั ต รเคที ซี เอ็กซ์ วีซำ่ ซิกเนเจอร์ประมำณ 15-20% ของฐำนลูกค้ำสมำชิก เพื่อน�ำส่วนนี้มำสร้ำงสมดุลให้กับโครงสร้ำงลูกค้ำฐำน สมำชิก จะเห็นได้วำ่ ทีผ่ ำ่ นมำเคทีซมี ลี กู ค้ำอยูใ่ นกลุม่ ลูกค้ำ ทัว่ ไปค่อนข้ำงมำก แต่มลี กู ค้ำทีม่ ยี อดค่ำใช้จำ่ ยเยอะจริงๆ เพียง 20% ดังนั้นครั้งนี้เคทีซีจึงพยำยำมสร้ำงฐำนลูกค้ำ กลุ่มบนขึ้นมำ เมื่อเศรษฐกิจชะลอตัว ลูกค้ำกลุ่มนี้ยังคง ใช้จำ่ ย กิน ช้อป เทีย่ ว อยูเ่ ช่นเดิม


JA N UA RY 2 0 1 5

16 GMBiZ

เป็นอีกยุทธศาสตร์ในการเดินเกมของ กลุ่มธุรกิจค้าปลีกที่อยู่ภายใต้เครือทีซีซี ของ ‘เสีย่ เจริญ’ แห่งอาณาจักรช้าง ผ่าน การปรับกระบวนทัพใหม่เพื่อให้ง่ายต่อ การบริหารจัดการ และการสร้างทิศทาง การเติบโตตามโอกาสของแต่ละโมเดล ค้าปลีกของตน ล่าสุดยุบ 6 กลุ่มลงให้เหลือ 2 กลุ่ม ใหญ่ ๆ โดยกลุ ่ ม แรก ท� า หน้ า ที่ ดู แ ล ศูนย์การค้าพันธุ์ทิพย์พลาซ่า ประตูน�้า ตะวันนา ฯลฯ ส่วนกลุม่ ที่ 2 ท�าหน้าทีด่ แู ล เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์, ดิจิตอล เกทเวย์ เอกมัย และสยามสแควร์ มีผลตัง้ แต่ กลางปีทผี่ า่ นมา ซึง่ ในส่วนของกลุม่ ที่ 2 นี้ ดู จะเป็ น กลุ ่ ม ที่ ส ามารถสร้ า งความเป็ น มาสเตอร์แบรนด์ และแลนด์มาร์คย่อมๆ ได้ ในอนาคต งานนี้ ณภัทร เจริญกุล กรรมการ ผูจ้ ดั การกลุม่ รีเทล บริษทั ทีซซี ี แลนด์ จ�ากัด ผู้บริหารกลุ่มธุรกิจค้าปลีก ในเครือทีซีซี แลนด์ จึงได้เป็นผูด้ แู ลโดยตรง เพราะได้รบั ความเชื่อมั่นจากฝีมือตลอด 3 ปีที่บริหาร เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ จนท�าให้เป็นที่ รูจ้ กั และได้รบั การตอบรับอย่างดี

“ใน 5 ปี (2558-2562) ต่อจากนี้ ทางบริษทั จะรุกขยายและสร้างแบรนด์ ‘เอเชียทีค‘ กับ ‘เกทเวย์ ’ มากขึ้ น ยกตั ว อย่ า งการพั ฒ นา

TCC ปรับทัพ ปัน้ ค้าปลีกระดับมาสเตอร์ โครงการในเฟสที่ 2 ของ ‘เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ ฟร้อนท์’ ทีจ่ ะขยายไปยังบริเวณทีจ่ อดรถด้าน ข้างโครงการติดกับลานกิจกรรมใหญ่ริมน�้า โดยแนวคิดในการท�าเฟส 2 คือการเติมเต็มใน สิ่ ง ที่ ยั ง ขาดหาย เช่ น ร้ า นอาหารส� า หรั บ

มิติใหม่ของแบรนด์เกทเวย์

คราวนี้ ข้ า มจากฟากแม่ น�้ า เจ้ า พระยา มาในบริเวณเมืองของกลุม่ ทีซซี กี นั บ้าง จะพบว่า ทางกลุ่มยังมีแบรนด์เกทเวย์อยู่อีกตัว ซึ่งอยู่ที่ เอกมัย และ สยามสแควร์ แน่นอนโมเดลนี้ยัง ลุ่มๆ ดอนๆ หรืออาจจะยังไม่ได้รับผลตอบรับ ดีมากนัก ตัง้ แต่เปิดตัวโครงการมา ทางบริษทั จึง ปรับโพซิชนั่ ใหม่ เพือ่ ให้ตรงกับพฤติกรรมลูกค้า ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป โดยเริ่ ม แรกกั บ ดิ จิ ต อล เกทเวย์ เอกมั ย ที่ จ ะหยิ บ เอาคอนเซ็ ป ต์ “Community Shopping Center” มาใช้ โดย คอนเซ็ปต์นเี้ ป็นการผสมผสานระหว่างคอมมูนติ ี้ มอลล์ และช็อปปิ้ง เซ็นเตอร์ ซึ่งเป็นโมเดลที่ “กลุม่ บริษทั เฟรเซอร์ แอนด์ นีฟฯ” หรือ “F&N” ประสบความส�าเร็จอย่างสูงในสิงคโปร์มากกว่า 10 โครงการ เช่น เซ็นเตอร์ พ้อยท์ สิงคโปร์ และ เกทเวย์ พ้อยท์ เป็นต้น โดยใช้งบลงทุนราว 500 ล้านบาท เพื่อตอบโจทย์ลูกค้าที่อยู่ อาศัยโดยรอบ มีทงั้ ร้านอาหารซีฟดู้ อาหารญี่ ปุ ่ น ซู เ ปอร์ - มาร์ เ ก็ ต บริการด้านสุขภาพ ความงาม แฟชัน่ กีฬา การศึกษา และจะ มีพนั ธมิตรชาวญีป่ นุ่ มาพัฒนา สโนว์ทาวน์ พื้นที่ 4,000 ตารางเมตร รวมถึงก�าลัง เ จ ร จ า กั บ พั น ธ มิ ต ร อเมริ ก า พั ฒ นาด้ า น สปอร์ต แอดเวนเจอร์

พืน้ ที่ 3,000-4,000 ตารางเมตร ซึง่ เริม่ ด�าเนิน การก่อสร้างแล้ว คาดว่าจะแล้วเสร็จบางส่วน ในกลางปี 2558 และเสร็จทั้งหมดในปลายปี เดียวกัน เชือ่ ว่าจะช่วยเพิม่ จ�านวนลูกค้าทีเ่ ข้ามา ใช้ บ ริ ก ารให้ ม ากขึ้ น เป็ น 3 หมื่ น คนต่ อ วั น จากปัจจุบันที่มีจ�านวนแค่ 1.2 หมื่นคนต่อวัน เท่านัน้ ส่วนแผนการปรับปรุง “ดิจิตอล เกทเวย์ สยาม สแควร์” ณภัทร บอกว่า สิง่ แรกทีจ่ ะท�า ก็คงเป็นการเปลี่ยนชื่อแบบหมดจดให้เป็น “เซ็นเตอร์ พอยท์ ออฟ สยามสแควร์” (Center Point of Siam Square) เพือ่ ใช้เจาะกลุม่ วัยรุน่ และวัยเริม่ ท�างานเป็นหลัก ใช้งบลงทุนราว 150 ล้านบาท ในการปรับภาพให้กลายเป็น Beauty Fashion โดยรวมทุกสิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับความสวย ความงามเหมือนย่านฮาราจุกุ แทนที่จากเดิม ทีเ่ ป็นศูนย์รวม IT ซึง่ มีกา� ลังซือ้ ไม่แน่นอนตาม ภาวะเศรษฐกิจ และการเมือง แต่เรื่อง ของสินค้าความสวยความงามยังคงมี แต่เพิม่ ขึน้ โดยบริษทั จะทยอยเพิม่ พื้นที่ร้านค้าในหมวดบิวตี้ ตั้งแต่ กลางปีทผี่ า่ นมา จนปัจจุบนั มี สั ด ส่ ว นเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น 40% และจะกลายเป็น บิวตีท้ งั้ 100% หลังจาก ที่ ป รั บ โฉมใหม่ เ สร็ จ ในปลายปีหน้า

ครอบครัว ร้านค้าแฟชัน่ สินค้าดีไซน์สา� หรับ ลูกค้าคนไทย และสินค้าแบรนด์บางประเภทที่ เป็ น ที่ ต ้ อ งการของทั้ ง ลู ก ค้ า คนไทยและ นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวต่ า งชาติ ซึ่ ง อี ก นั ย หนึ่ ง จะส่งผลให้สัดส่วนลูกค้าคนไทยและต่างชาติ อยูท่ ี่ 50% เท่ากัน ท�าให้ลดความเสีย่ งจากเดิม ทีม่ ฐี านลูกค้าต่างชาติ 70% และไม่คอ่ ยกล้ามา เทีย่ วไทยในสถานการณ์บา้ นเมืองไม่นงิ่ นอกจากนี้ ในเฟส 2 ยังเตรียมสร้างโรงแรม เพื่อรองรับปริมาณนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ เดินทางเข้ามาพักริมแม่นา�้ เจ้าพระยาทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องด้วย โดยคาดว่าจะเป็นโรงแรม ขนาด 300-600 ห้อง ซึง่ ปัจจุบนั ก�าลังอยูร่ ะหว่าง เจรจาหากลุม่ โรงแรมทีจ่ ะมาบริหาร รวมไปถึง การเพิ่มเติมธุรกิจในส่วนของห้องจัดประชุม สัมมนา เพือ่ รองรับกลุม่ ลูกค้า MICE จากทัง้ ใน ประเทศและต่างประเทศ ทีต่ อ้ งการจัดกิจกรรม ทั้งในช่วงกลางวันและกลางคืนที่เอเชียทีค พร้อมทัง้ ปรับเพิม่ พืน้ ทีจ่ อดรถอีก 1,200 คัน คาดว่าทัง้ หมดจะก่อสร้างแล้วเสร็จ และเปิดให้ บริการได้ในปี 2559” ทว่า แผนการของเอเชียทีคยังไม่จบเพียง เท่านี้ เพราะทางบริษัทวางแผนยาวต่อไปถึง เฟส 3 ถนนเจริญนคร พืน้ ที่ 30 ไร่ ใช้เงินลงทุน 5 พันล้านบาท เพื่อพัฒนาพื้นที่ค้าปลีกเพิ่ม และโรงแรมอีก 2 แห่ง รวมถึงไฮไลท์อย่าง เคเบิลคาร์ขา้ มแม่นา�้ เชือ่ มต่อระหว่างเฟส 1-2 กับเฟส 3 ขณะเดียวกันก็ได้วางแผนเฟสที่ 4 ด้ ว ยการพั ฒ นาตรงข้ า มเอเชี ย ที ค เฟส 1 ถนนเจริญกรุง พืน้ ที่ 30 ไร่ แต่ยงั อยูร่ ะหว่าง การศึกษาว่าจะพัฒนาในรูปแบบใด ระหว่าง โรงแรม ค้าปลีก หรือที่อยู่อาศัย รวมไปถึง เตรียมรุกตลาดหัวหิน พัทยา และเชียงใหม่ ภายใต้แบรนด์ ‘เอเชียทีค ไพรม์’ ขนาดพืน้ ทีจ่ ะ เล็กกว่า ‘เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์’ เน้น จับกลุม่ ลูกค้าทีม่ กี า� ลังซือ้ สูง ลงทุนรวม 1,000 ล้านบาท ซึ่งบริษัทมีที่ดินอยู่แล้ว แห่งละ ประมาณ 15 ไร่ ขณะเดียวกัน ก็ได้รบั การติดต่อ จากนักลงทุนรายใหญ่ 4 ประเทศ คือ สหรัฐฯ จีน ญีป่ นุ่ และมาเลเซีย ทีม่ าเทีย่ วเอเชียทีคแล้ว ต้องการให้บริษัทร่วมลงทุนสร้างโครงการใน รูปแบบเดียวกับเอเชียทีคในประเทศนั้นๆ แต่ทางบริษัทมองว่ายังไม่ใช่ในช่วงเวลานี้ อาจจะเป็นอีก 5-10 ปี “เราอาจะไม่ได้ไปแข่งกับรีเทลรายใหญ่ๆ แต่เป้าหมายของเราชัดเจน ก็คือ ‘การสร้าง ไลฟ์ ส ไตล์ ใ นการช้ อ ปปิ ้ ง รู ป แบบใหม่ ’

ซึง่ ตลอดระยะเวลา 3 ปีในการพัฒนาเอเชียทีค บางคนมองว่ า มั น ไม่ น ่ า จะเวิ ร ์ ก ต้ อ งเป็ น โครงการทีล่ ม้ เหลวแน่ๆ แต่หากพิจารณาในเชิง ปริมาณจะพบว่า วันนีจ้ ากเดิมเราตัง้ เป้าจ�านวน ลูกค้าของเอเชียทีคในวันธรรมดาไว้สูงสุดที่ 15,000 คน ต่อวัน แต่ตัวเลขจริงที่เกิดขึ้นคือ 30,000 คนต่อวัน และพุง่ สูงถึง 200,000 คนต่อ วั น ในช่ ว งเทศกาลส� า คั ญ คื อ สงกรานต์ , ลอยกระทง และเคานท์ดาวน์ นอกจากนีเ้ รายัง ได้รับการยอมรับจากนักท่องเที่ยว องค์กร และนักลงทุนต่างประเทศ จนเป็นหนึ่งใน สถานที่ท่องเที่ยวที่ต้องระบุไว้ในตารางการ ท่องเทีย่ วของบริษทั ทัวร์ตา่ งๆ กว่า 300 บริษทั ในปัจจุบนั ท�าให้มปี ริมาณนักท่องเทีย่ วเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในส่วนของ Tour group, FIT และ MICE นอกจากนี้ ยั ง มี ห ลายๆ องค์ ก รจาก ต่างประเทศน�าเอเชียทีคไปประชาสัมพันธ์ ในทุ ก ทวี ป ของโลก โดยล่ า สุ ด เอเชี ย ที ค ได้รบั เลือกจาก Trip Advisor ในการเป็น First Shopping Partner แห่งแรกของโลก อีกทั้ง ทีผ่ า่ นมาเราได้มรี าชวงศ์ ผูบ้ ริหารประเทศจาก ทัว่ ทุกมุมโลกให้เกียรติมาเยือนอย่างต่อเนือ่ ง ตรงนี้ เ ป็ น ความพยายามของเรา แม้ บางคนจะมองว่าการพลิกโฉมการพัฒนา ที่ดินริมสองฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยาให้กลับมา มีคณ ุ ภาพทางเศรษฐกิจขึน้ อีกครัง้ เป็นเรือ่ ง ยาก โดยเฉพาะกับการสร้างโกดังเก่า รกร้าง ริมแม่นา�้ เจ้าพระยา บนถนน 4 ช่องจราจร ขนาดเล็ ก ที่ ป ระชาชนส่ ว นใหญ่ ลื ม เลื อ น ให้ก้าวมาถึงวันนี้ได้ แต่ถ้าจะพูดกันตรงๆ แล้วกลุ่ม TCC มีจุดแข็งที่เงินทุน เมื่อเรา เห็นว่าตรงไหน ต้องปรับ ต้องเพิ่ม ต้อง เปลีย่ น เราท�าได้ทนั ที ถ้าเราเห็นว่าทิศทาง ตลาดควรจะต้องไปทางไหน


2 0 1 5 JA N UA RY

GMBiZ 17

คอนโดมิเนียม ปี 2558 ยังต้องลุน้ ! ประเสริฐ แต่ดลุ ยสาธิต นายกสมาคมอาคารชุดไทย และรองกรรมการผูจ้ ดั การ บมจ.พฤกษา

“แนวโน้มความต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัยตามแนวรถไฟฟ้าเชือ่ ว่าจะเพิม่ มากขึน้ และสร้างอัตราการเติบโตให้กบั ธุรกิจอสังหาฯ ไปอีก 3-5 ปีนบั จากนี้ โดยเฉพาะในพืน้ ทีจ่ ดุ ตัดรถไฟฟ้าสายต่างๆ ทีป่ จั จุบนั ราคาทีด่ นิ ขยับ สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง”

ต้องบอกว่าตลาดคอนโดมิเนียมในช่วงปี 2557 ทีผ่ า่ นมาได้รบั ผลกระทบจากความวุน่ วายทางการเมืองทีท่ า� ให้ ก�าลังซือ้ เกิดการชะลอตัวและรายทีซ่ อื้ ไปแล้วก็มกี ารยกเลิกการจองเพราะไม่มนั่ ใจในรายได้ของตัวเอง ทัง้ นีแ้ ม้วา่ เหตุการณ์ดงั กล่าวจะคลีค่ ลายลงแล้วในช่วงกลางปีหลังจากทีล่ ากยาวมาตัง้ แต่ไตรมาส 3 ปี 2556 จนถึงกลางปี 2557 แต่ตลาดคอนโดมิเนียมในช่วงครึง่ ปีหลัง 2557 ยังคงต้องใช้ความพยายามอย่างยิง่ ในการสร้างยอดขาย ให้ ก ลั บ คื น มาเพื่ อ ชดเชยในช่ ว งที่ เ สี ย โอกาสทางธุ ร กิ จ ไป 7-8 เดื อ น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ผู ้ พั ฒ นา ทีจ่ ดทะเบียนอยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์ จากการจับชีพจรร้อนของตลาดคอนโดฯ จะพบว่าใน ช่วงไตรมาส 3 และ 4/2557 ก�าลังซื้ออยู่ในระดับฟื้นตัว เท่านั้น เหตุเพราะก�าลังซื้อในระดับกลาง-ล่าง ได้รับผล กระทบจากภาวะเศรษฐกิจทีห่ ยุดชะงักงันในช่วงการเมืองแรง เกิดหนี้สินต่อครัวเรือน จึงไม่มีก�าลังซื้อที่อยู่อาศัย และ บางส่วนก็ต้องการรอดูความชัดเจนทางการเมือง และ ทิศทางเศรษฐกิจทีย่ งั เปราะบางให้แน่นอนอีกที โครงการทีข่ ายดีในช่วงดังกล่าว จะพบว่าเป็นโครงการ ที่ อ ยู ่ ใ นท� า เลกลางเมื อ งที่ มี ค วามต้ อ งการสู ง เท่ า นั้ น อาทิ สุขมุ วิท พญาไท ราชเทวี และโครงการทีอ่ ยูต่ ดิ สถานี รถไฟฟ้าสายปัจจุบนั ส่วนโครงการทีก่ ล้าเปิดตัวขายก็จะ เป็นโครงการทีเ่ กาะแนวรถไฟฟ้าทัง้ สิน้ ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ระบุว่า ตลาด คอนโดฯ ในช่วง 10 เดือนทีผ่ า่ นมามีการขายคอนโดฯ ใหม่ 132 โครงการ รวมประมาณ 56,300 หน่วย ลดลงจาก ช่วงระยะเวลาเดียวกันของปีกอ่ นร้อยละ 25 และโดยมาก เกิดจากบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ถงึ ร้อยละ 60 และคาดการณ์ตลาดของปี 2557 ทั้งปีว่าจะมีการเปิด โครงการใหม่ประมาณ 6.5 หมืน่ หน่วยลดลงจากปี 2555 ซึง่ เป็นปีทองของคอนโดฯ ทีม่ กี ารเปิดถึงประมาณ 8.5 หมืน่ หน่วยหรือลดลงราวร้อยละ 20 อย่างไรก็ตาม ในปี 2558 คงต้องจับตาดูเรื่องภาระ หนีส้ นิ ต่อครัวเรือนของภาคประชาชนทีส่ งู ขึน้ ว่าจะบัน่ ทอน ก�าลังซือ้ ไปแค่ไหน อัตราดอกเบีย้ จะมีทศิ ทางเช่นไรเอือ้ ต่อ การจับจ่ายใช้สอยของประชาชนหรือไม่ การลงทุนของ ภาครัฐจะเกิดขึน้ จริงหรือไม่ ช้าหรือเร็ว เพราะส่งผลต่อจีดพี ี ของประเทศ เนื่องจากตลาดที่อยู่อาศัยนั้นจะเติบโตตาม จีดพี ี หากจีดพี หี ดตัวตลาดก็จะชะลอตัวตามด้วย นอกจากนัน้ แล้วการเปิดประชาคมอาเชียนเศรษฐกิจหรือ AEC จะส่งผล ดีตอ่ ตลาดคอนโดฯ อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจนหรือไม่ เพราะ หากมีการซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยจริง คอนโดฯ เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยประเภท เดียวที่ชาวต่างชาติมีสิทธิ์ถือครองถึงร้อยละ 49 ตาม กฎหมายจากจ� า นวนยู นิ ต ที่ เ ปิ ด ขายทั้ ง หมด แต่ ทั้ ง นี้ ในปีหน้าเราอาจจะเห็นตลาดคอนโดฯ ในรูปแบบของ โครงการมิกซ์ยสู มากขึน้ จากการทีใ่ นปี 2557 มีการควบรวม กิจการเพือ่ ให้ได้ทดี่ นิ แปลงใหญ่และรวมถึงเป็นการลงทุน อสังหาฯ ทีล่ ดอัตราความเสีย่ งลงของผูป้ ระกอบการคอนโดฯ จากทีม่ สี นิ ค้าทีห่ ลากหลายทัง้ ออฟฟิศ โรงแรม รีเทล และ คอนโดฯ ในโครงการเดียวกัน และเป็นการแข่งขันทีด่ เุ ดือด จากผู้ประกอบการรายใหญ่ อาทิ การเข้ามาถือหุ้นใหญ่ ของกลุ่มเบียร์สิงห์ใน ‘บมจ.รสา’ และเปลี่ยนชื่อเป็น ‘สิ ง ห์ เ อสเตท จ� า กั ด ’ และการจั บ มื อ ร่ ว มกั บ ระหว่ า ง บมจ.แสนสิริ กับ บีทเี อส ฯลฯ แต่ที่แน่ๆ ราคาคอนโดฯ นับจากนี้ไปไม่มีถูกลง อย่างแน่นอน

มุมมอง

LPN เจ้าพ่อคอนโดฯ

ปี ‘58 “สถานการณ์ต่างๆ เปลี่ยนแปลงอย่าง

รวดเร็ว ท�าให้ตอนนี้ไม่สามารถคาด การณ์ ต ลาดคอนโดฯ ในระยะยาว ได้ยกตัวอย่างเช่น ราคาน�า้ มันทีล่ ดลงถึง 10 บาทอย่างรวดเร็ว หรือตลาดหุ้นที่ ถูกทุบไปเมือ่ 15 ธ.ค.ทีผ่ า่ นมา ในส่วน ของ LPN คงต้องพิจารณาการลงทุนเป็น รายไตรมาสไป แต่สงิ่ ส�าคัญเราต้องปรับ ตั ว ให้ มี ค วามรวดเร็ ว เพื่ อ ให้ ทั น ต่ อ สถานการณ์และมีความยืดหยุน่ สูง เมือ่ มีโอกาสมาเราสามารถฉวยได้และวิกฤติ มาเราตั้งรับทัน” โอภาส ศรีพยัคฆ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บมจ.แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ ผูพ้ ฒ ั นาคอนโดมิเนียม ภายใต้แบรนด์ ‘ลุมพิน’ี กล่าว ถ้ า จะให้ เ รามองถึ ง ปั จ จั ย ลบใน ปีหน้า 1. เรื่องความเชื่อมั่นของผู้บริโภค เพราะการซือ้ อสังหาฯ เป็นการก่อหนีใ้ น ระยะยาว หากผูป้ ระกอบการ ขาดความ เชือ่ มัน่ ตลาดก็จะหยุดชะงัก 2. หนีส้ นิ ภาคครัวเรือน ก่อนหน้านี้ มองว่าไม่กระทบ แต่ในช่วงไตรมาส 4 เป็นต้นมาเห็นผลกระทบได้อย่างชัดเจน 3. ราคาทีด่ นิ ทีป่ รับตัวสูงขึน้ 4. เรือ่ งการเปิดประชาคมเศรษฐกิจ อาเชียนหรือ AEC มองว่ายังไม่เห็นผล อย่างชัดเจน ส่วนปัจจัยบวกคงเป็น 1. เรือ่ งของอัตราดอกเบีย้ ทีย่ งั อยูใ่ น ระดับต�า่ 2. ราคาน�า้ มันทีป่ รับตัวลดลงแต่ก็ ยังไม่แน่นอน ส�าหรับ LPN นัน้ ได้ปดิ การขายในปี 2557 เกือบหมดโครงการ ดังนั้นในปี 2558 จะเป็นปีทเี่ ราจะต้องมาพิจารณา ดู ว ่ า จะมี ป ั จ จั ย อะไรมากระทบกั บ ยอดโอนหรือไม่ ส่วนโครงการใหม่ หากซื้ อ ที่ ดิ น มาคงซื้ อ ในลั ก ษณะ แปลงใหญ่ เพื่ อ ให้ มี อ� า นาจต่ อ รอง เรื่ อ งราคาที่ ดิ น แต่ แ บ่ ง พั ฒ นาออก เป็นเฟสๆ เพื่อลดความเสี่ยงลง กรณี มีเหตุการณ์ทไี่ ม่ปกติ ขณะนีก้ รรมการบริหารได้นา� เสนอ แผนให้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เมือ่ กลาง เดือนธันวาคม ทีผ่ า่ นมาอาจต้องทบทวน แผนธุรกิจบางตัว เดิมผมเคยพูดไว้ว่า ปี 2558 เป้ารายได้อยูท่ ี่ 1.8 หมืน่ ล้าน บาทและเป้ายอดขาย 2.5 หมืน่ ล้านบาท ต้องไม่ตายตัว คืออยูภ่ ายใต้สถานการณ์ ทีด่ ที สี่ ดุ (Best Case) เทียบกับปี 2557 คือเติบโตทัง้ รายได้และยอดขาย 40% ขึ้นไป ซึ่งกรรมการบริหารให้ผมท�า 2 แผน คือ Base Case และ Worst Case หากเป็น กรณี Worst Case ว่าตัวเลข จะหายไปเท่าไหร่

โอภาส ศรีพยัคฆ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บมจ. แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์


JA N UA RY 2 0 1 5

18 GMBiZ

rich-onomics

วางแผนชีวติ ก่อนคิดวางแผน การเงิน เป้าหมายหนึง่ เมือ่ ตกปากรับค�าจะเขียนคอลัมน์นี้ คือหวังจะจุดไฟ ให้คนที่ยังไม่คิดจะเก็บสตางค์ได้ลงมือกับเขาสักที ส�าหรับคนที่ แอดวานซ์หน่อย ก็ตงั้ ใจจะเป็นฟันเฟืองเล็กๆ ให้ขนมทางความคิด ชวนคุย ชวนท�าให้เงินบนหน้าตักงอกเงย ด้วยเชื่อว่านักบริหาร ทีฉ่ ลาดต้องเอาเงินไปต่อเงินให้เป็น ผมเองท�ำงำนในแวดวงไฟแนนซ์มำนำน เคยเขียนทิปส์ และฮำวทู สำรพัด รวมถึงแนะให้ท�ำแผนกำรเงิน เพื่อน�ำทำงไปหำควำมมั่งคั่ง พ้นไปสักระยะ ผมเริม่ คิดว่ำ ‘แผนการเงินทีด่ ตี อ้ งมีแผนชีวติ เป็นเข็ม ทิศน�าทาง’ คล้ำยๆ กับจะท�ำอะไร ถ้ำไม่มธี งตัง้ ก็ออกอำกำรเป๋ ไปไม่ถงึ ดวงดำว หรือบำงคนก็อำจหยุดเฉยๆ ทิง้ ควำมตัง้ ใจกลำงทำง เพรำะไม่รู้ จะท�ำแผนกำรเงินท�ำไม ในเมื่อไม่เห็นปลำยทำง หรือท�ำแผนไปแล้ว ไม่สอดคล้องกับเป้ำหมำยของตนเอง ‘แผนชีวติ ’ ในภำพรวม มันคือพลัง หรือแรงบันดำลใจ ให้เรำคิด วำงแผน จำกจุดปัจจุบนั ไปยังเป้ำหมำยในอนำคต เป็นกำรมองตัวเอง เพือ่ หำจุดทีฝ่ นั หรืออยำกจะเป็น อิทธิพลทำงควำมคิด ควำมคำดหมำยจำกคนรอบข้ำง ส�ำหรับผม เป็นเพียงแค่องค์ประกอบ เพือ่ ไม่ให้เรำขำดสุข หรือทรยศควำมฝันตัวเอง ในภำยหลั ง ทั้ ง นี้ แผนชี วิ ต ที่ ดี ควรต้ อ งพิ จ ำรณำปั จ จั ย ด้ ำ นอำยุ ควบคู่กับทัศนคติในกำรด�ำเนินชีวิต อย่ำงคนจบใหม่ อำจจะมีฝัน อยำกต่อปริญญำโทเมืองนอก ด้วยเงินและล�ำแข้งตัวเอง ก็ถามซะให้รู้ จะเรียนอะไร หรือเรียนเพือ่ อะไร ตอนอายุเท่าไหร่ แล้วลงทุนคุม้ จริงหรือไม่? ถ้าเริม่ เก็บสตางค์ ในวันนีจ้ ะทันหรือเปล่า? ถ้ายังไม่ไหว ขยับไปสักนิดจะติดปัญหาอะไร? บำงคนอยำกเป็นนำยตัวเอง หำกมีแค่ไอเดียกับมือเปล่ำ เดินดุย่ ไป หำแบงก์ ก็คงได้กยู้ ำก หรือไม่เต็มร้อย เรำเองก็อำจต้องท�ำแผนกำรเงิน ควบคู่ เริ่มปรับขยับรำยจ่ำยลงบ้ำง หรือหำล�ำไพ่พิเศษ พร้อมๆ กับ เร่งปลูกเครดิต สร้ำงวินัยกำรเงิน ช�ำระบัตรเครดิต หนี้ที่มี ไม่ให้ติด แบล็กลิสต์ เพรำะเมื่อถึงเวลำลงสนำมกู้จริง ทุกอย่ำงจะได้รำบรื่น หลำยๆ คนเมือ่ แต่งงำนมีลกู ก็ฝนั จะมีบำ้ น แต่กว่ำจะได้บำ้ นมำสักหลัง ส่วนใหญ่ตอ้ งมีเงินก้อนเพือ่ ดำวน์กอ่ น ไล่หลังกำรดำวน์ไม่กเี่ ดือน ก็มี ค่ำใช้จำ่ ยจิปำถะ และต้องมีเงินเก็บยำมฉุกเฉิน ผมจึงเห็นบำงคนต้องท�ำแผนกำรเงิน และลงบัญชีรำยรับรำยจ่ำย ก็ ต อนที่ ว ำงแผนซื้ อ บ้ ำ นนี่ แ หละ เพรำะทั น ที ที่ เ ป้ ำ หมำยถู ก เซต กรอบกำรเงินจะต้องขยับโดยปริยำย เพือ่ นผมหลำยคนเริม่ ท�ำงำนเพิม่ เพือ่ ให้มรี ำยได้พเิ ศษ พร้อมๆ กับกำรปรับลดทอนควำมหรูหรำฟุม่ เฟือย เพือ่ ให้แผนชีวติ ทีต่ งั้ ไว้เป็นจริง ขณะเดียวกัน แผนกำรเงิน จะท�ำให้เรำรูว้ ำ่ แผนชีวติ นัน้ ๆ ต้องปรับ ด้วยหรือไม่ มันเป็นสมกำรสองตัวแปรทีต่ อ้ งสมดุลกัน ไม่ปรับอันหนึง่ ก็ต้องปรับอีกอันหนึ่ง อีกนัยยะ แผนชีวิตก็ไม่ใช่สิ่งที่ท�ำเป็นกิจวัตร ทีท่ กึ ทักเอำว่ำเป็นเป้ำทีต่ อ้ งมีแผนกำรเงินสนับสนุน มันต้องเป็นแผนใหญ่ที่จะมีผลต่ออนำคต เป็นหมุดปักที่อยำกจะ ท�ำให้ถงึ ส�ำคัญทีส่ ดุ ตรงทีไ่ ม่ใช่ฝนั ลมๆ ไปวันๆ ฉะนัน้ หำกใครจะทึกทักว่ำ แผนชีวติ ของตน คืออยำกมีสนิ ค้ำหรูหรำ และจะเริม่ บริหำรด้วยแผนกำรเงิน อย่ำงนีผ้ มว่ำไม่ใช่ครับ เพรำะทีส่ ดุ แล้ว มันไม่ได้ให้ควำมสุขทีแ่ ท้จริง และผมก็มองไม่เห็นประโยชน์ จำกกำร บริหำรจัดกำรเงินทุนเพือ่ อนำคตอะไรเลย ว่าแต่เรามีแผนชีวติ ของเราแล้วหรือยัง?

ชัยพล กฤตยาวาณิชย์ : ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ธุรกิจบัตรเครดิต ‘KTC’ บริษทั บัตรกรุงไทย จ�ากัด (มหาชน)

มุมมองการลงทุนปี 2558 ในปี 2558 นี้ความแตกต่างทางนโยบายการเงิน (Policy Divergence) ของประเทศขนาด เศรษฐกิจใหญ่ของโลก (G-3) จะเป็นปัจจัยหลักในการก�าหนดทิศทางตลาด โดยผมประเมินว่า ในปี 2558 นีผ้ ลตอบแทนของการลงทุนในดัชนีหนุ้ สหรัฐฯ ยุโรป และญีป่ นุ่ จะยังคงให้ผลตอบแทน เป็นบวก แต่ความผันผวนจะสูงในตลาดหุน้ ยุโรปและญีป่ นุ่ อันเนือ่ งมาจากผลของการกระตุน้ เศรษฐกิจ ในกรณีของยุโรปคำดว่ำ นโยบำยกระตุน้ ทำงกำรเงินเพิม่ เติมจะต้องได้รบั ควำมเห็นชอบจำกเยอรมนีทำ� ให้ กำรกระตุน้ เศรษฐกิจอำจจะไม่สำมำรถกระตุน้ ได้อย่ำงต่อเนือ่ ง ส�ำหรับญีป่ นุ่ กำรกระตุน้ เศรษฐกิจเพิม่ เติมจำก รัฐบำล ท�ำให้เริม่ มีควำมกังวลในปัญหำสัดส่วนหนีส้ ำธำรณะญีป่ นุ่ ต่อ GDP ทีย่ งั อยูใ่ นระดับสูง ในปีนี้ ค่ำเงินดอลลำร์สหรัฐฯ มีทศิ ทำงทีแ่ ข็งค่ำมำกขึน้ ท�ำให้อำจจะมีเม็ดเงินจำกต่ำงประเทศไหลเข้ำมำ ในตลำดหุ้นและสินทรัพย์ต่ำงๆ ในสหรัฐฯ เพื่อหวังผลตอบแทนในส่วนของอัตรำแลกเปลี่ยนที่เพิ่มขึ้น นอกจำกผลตอบแทนจำกกำรเปลีย่ นแปลงของรำคำสินทรัพย์ ซึง่ กำรไหลเข้ำเงินทุนจะมีสว่ นให้ตลำดหุน้ สหรัฐฯ จะยังคงเป็นตลำดทีส่ ร้ำงผลตอบแทนเป็นบวกต่อไป ตลำดหุ้นจีนน่ำจะได้ปัจจัยบวกจำกกำรด�ำเนินมำตรกำร กระตุ้นเศรษฐกิจของธนำคำรกลำงจีน ที่น่ำจะออกมำอย่ำง ต่อเนือ่ งในปี 2015 หลังจำกช่วงทีผ่ ำ่ นมำ ตลำดหุน้ จีนถูกคุมเข้ม ด้วยมำตรกำรลดควำมร้อนแรงเศรษฐกิจจีน และกังวลปัญหำ ธนำคำรเงำในจีน ประเทศตลำดเกิดใหม่ ที่เป็นประเทศผู้ส่งออกพลังงำน การแลกเปลีย่ น หากเป็นความ ได้รบั ผลกระทบเชิงลบจำกรำคำพลังงำนทีล่ ดลง ขณะทีป่ ระเทศ หมายในวงการหลักทรัพย์จะ ผูน้ ำ� เข้ำพลังงำนสุทธิจะได้ประโยชน์ ซึง่ หมำยถึงประเทศเอเชีย หมายถึงการแลกหุ้นระหว่าง ตะวันออก ได้แก่ เกำหลีใต้ และไทย ทีจ่ ะได้รบั ประโยชน์มำก บริ ษั ท แต่ จ ะมี เ งื่ อ นไขการ ในส่วนของหุ้นไทยนั้น บริษัทหลักทรัพย์ไทยพำณิชย์ จ่ า ยเงิ น สดเท่ า ใดหรื อ แลก คำดกำรณ์แนวโน้มตลำดหุน้ ไทยในปี 2015 จะสร้ำงสถิตใิ หม่ที่ เปลีย่ นด้วยสัดส่วนหุน้ เท่าใดนัน้ 1,800 จุด ซึง่ หมำยควำมว่ำตลำดหุน้ ไทยจะท�ำจุดสูงสุดใหม่เป็น แล้วแต่ตกลงกัน ตัวอย่างเช่น ประวัตกิ ำรณ์จำกกำรฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก การแลกหุน้ ระหว่าง บริษทั A อัตรำผลตอบแทนพันธบัตร (Yield) ในครึง่ แรกของปี 2015 กับบริษัท B โดยตกลงการ จะยังคงมีทศิ ทำงทีล่ ดลง ตำมอัตรำเงินเฟ้อทีอ่ ยูใ่ นระดับต�ำ่ และ แลกหุ้นตามมูลค่าของจ�านวน กำรด�ำเนินนโยบำยอัตรำดอกเบีย้ ต�ำ่ เพือ่ กระตุน้ เศรษฐกิจของ หุน้ นัน้ ๆ ธนำคำรกลำงหลำยแห่ง และในช่วงครึง่ หลังของปี 2015 Yield จะค่อยๆ ปรับเพิ่มขึ้น ตำมแนวโน้มกำรขึ้นอัตรำดอกเบี้ย ของ FED ซึง่ คำดว่ำ จะเป็นกำรทยอยปรับขึน้ อย่ำงค่อยเป็นค่อย ไป ผูล้ งทุนในกองทุนตรำสำรหนี้ ควรจะทยอยลดสัดส่วนกำร ลงทุนในพันธบัตรรัฐบำลในท้ำยๆ ของครึง่ ปีแรก (1H2015)

Swap

S&P 500 DJIA Nikkei 225 EU Stoxx 600 HSCEI SET WTI Gold

YEAR END 2014 2,058.90 17,823.07 17,450.77 342.54 11,984.69 1,497.67 54.12 1,183.55

ผลตอบแทนในปี 2014 11.39% 7.52% 7.12% 4.35% 10.80% 15.32% -45.01% -1.78%

ตลาดหุ้นสหรัฐฯ : ผมประเมินว่า การแถลงของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) ในการประชุม ครัง้ สุดท้ายของปี 2557 นัน้ ถือเป็นปัจจัยบวกทีส่ า� คัญมากต่อตลาดหุน้ ทัว่ โลก เพราะชีใ้ ห้เห็นถึงแนวโน้ม ของการขึ้นดอกเบี้ยว่า FED ยังคงสามารถใช้นโยบายอัตราดอกเบี้ยต�่าต่อไป อย่างน้อย 2-3 ประชุม จากนีไ้ ป ซึง่ เท่ากับ 3-4 เดือนของปีหน้า ทัง้ นี้ จำกแถลงกำรณ์ลำ่ สุดของ FED ยิง่ ท�ำให้ตลำดมัน่ ใจว่ำ FED จะไม่เปลีย่ นนโยบำยกำรเงินในครึง่ แรก ของปีหน้ำ ดังนัน้ มองไป 6 เดือนข้ำงหน้ำ จึงแนะน�ำให้ลงทุนในกองทุนตรำสำรทุนทีล่ งทุนในดัชนีตลำดหุน้ ประเทศพัฒนำแล้ว (Developed Market) ได้แก่ Nikkei 225, S&P500, STOXX Europe 600 และ China H-Share ทัง้ นี้ นักวิเครำะห์สว่ นใหญ่คำดกำรณ์ (Bloomberg Consensus) ดัชนี S&P 500 อีก 12 เดือนข้ำงหน้ำ ทีร่ ะดับ P/E 16 เท่ำทีร่ ะดับ 2,193 จุด หรือ Upside หรือผลตอบแทนทีค่ ำดจะอยูท่ ปี่ ระมำณ 9% (จำกระดับ ดัชนีปดิ ณ วันที่ 5 ม.ค.2015) ดังนัน้ ถ้ำท่ำนผูอ้ ำ่ นสนใจกำรลงทุนในกองทุนหุน้ สหรัฐฯ ผมคิดว่ำกองทุนของ บริษทั หลักทรัพย์จดั กำรกองทุนไทยพำณิชย์ทชี่ อื่ ว่ำ กองทุนเปิดไทยพำณิชย์เอสแอนด์พี 500 (SCBSP 500) เป็นกองทุนทีน่ ำ่ สนใจมำกในปีนี้ ซึง่ ท่ำนผูอ้ ำ่ นสำมำรถเข้ำไปดูรำยละเอียดเพิม่ เติมได้ใน www.scbam.com โดยท่ำนผูอ้ ำ่ นจะต้องเข้ำใจว่ำอำจจะต้องมีชว่ งระยะเวลำในกำรลงทุนประมำณ 6-12 เดือนจำกนีไ้ ป แต่ผทู้ ลี่ งทุน SCBSP500 ชช่ ว งก่ อ นหน้ ำ และยั ง มิ ไ ด้ ข ำย สำมำรถทยอยเข้ ำ ลงทุ น เพิ่ ม (Accumulate Buy) และ ใช้จงั หวะทีต่ ลำดปรับฐำนหรือดัชนีหนุ้ สหรัฐฯ ย่อตัว ซึง่ ถ้ำเกิดขึน้ เป็นจังหวะลงทุนเพิม่ (Buy on Dip) สุรศักดิ์ ธรรมโม : (surasak.d@finansa.com) *บทความนีเ้ ป็นทัศนะส่วนตัว ของผูเ้ ขียน


2 0 1 5 JA N UA RY

GMBiZ 19

ภาวุธ พงษ์วทิ ยภานุ

He’s the Role Model

ภาวุธ พงษ์วิทยภานุ ชื่อนี้น่าจะเริ่มเป็นที่คุ้นหูคุ้นตา แก่บรรดาบุคคลที่ชอบคลุกวงในโลกออนไลน์ โดยเฉพาะ โลกอีคอมเมิร์ซ เพราะนอกเหนือจากบทบาทส� าคัญในฐานะกรรมการผู้จัดการและผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ บริษัท TARAD.com เว็บไซต์อคี อมเมิรซ์ ระดับต้นแบบของไทย และประเทศเพือ่ นบ้านในปัจจุบนั จะเป็นผลให้เขาเป็นคนดัง ในพืน้ ทีน่ แี้ ล้ว เขาก็ยงั มีหมวกอีกหลายใบทีน่ า� ไปสูค่ วามรูจ้ กั ในวงกว้างอีกด้วย ไม่วา่ จะเป็นหมวกของการเป็นอุปนายก สมาคมผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไทย อาจารย์ ที่ปรึกษา นักเขียน วิทยากร คอลัมนิสต์ และ นักจัดรายการวิทยุและโทรทัศน์

ระดับนัน้ ก็เพราะเรามีทมี งานทีเ่ ซตอัพขึน้ มา ในชือ่ ‘ตลาดยูนเิ วอร์ซติ ’ี้ เป็นศูนย์กลางเพือ่ ให้ ความรู ้ แ ก่ ผู ้ ป ระกอบการในการท� า ตลาด ออนไลน์ และเราก็ มี ECC (Ecommerce Consultant) เป็นพีเ่ ลีย้ งประกอบกับฐานลูกค้า เราเป็นคนๆ ไป เพราะเราเข้าใจดีวา่ โอกาสที่ ผู้ประกอบการจะท�าอีคอมเมิร์ซแล้วไม่เกิด ก็มสี งู เปิดร้านค้าแล้วไปไม่เป็น ต้องท�าอะไร บ้าง บางคนไม่มยี อดขาย เพราะไม่มคี นเข้าเว็บ บางคนขายของแพงเกิน ข้อมูลสินค้าไม่ดี มันมีปญ ั หามากมาย ซึง่ เป็นบริการรวมของเรา เราเตรี ย มลู ก ค้ า เป็ น ล้ า นๆ คนให้ เ ขาใน แต่ละเดือน พูดง่ายๆ เรามีทกุ อย่างพร้อมให้ทงั้ ผู้ประกอบที่อยากขายสินค้าออนไลน์ รวมถึง ผู้ทอี่ ยากมีเว็บไซต์เกี่ยวกับอีคอมเมิร์ซได้ดูเป็น แบบอย่าง“

สนาม (ธุรกิจ) นี้ เล่นคนเดียวไม่มนั

แน่นอนว่า นีเ่ ป็นอีกครัง้ ทีเ่ รามีโอกาสได้ พูดคุยกับผู้ชายคนนี้ ในวันที่กล้าพูดได้ถึง บทบาทของการเป็น ‘บุคคลผู้ทรงอิทธิพล’ แห่งโลกธุรกิจอีคอมเมิรซ์ อย่างเต็มตัว

อีคอมเมิรซ์ ไทย ต้องถูกยกระดับ

ภาวุธในวันนี้ เขาคือบุคคลทีเ่ ป็นผูท้ รงอิทธิพล ในวงการธุรกิจอีคอมเมิร์ซ และโลกออนไลน์ หลังจากทีเ่ ขาน�าตลาดดอทคอมเข้าไปผนึกกับ Rakuten แพลตฟอร์มเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ ยักษ์ใหญ่แห่งญีป่ นุ่ “ผมจะปฏิวัติ อีคอมเมิร์ซไทย” นี่คือ ค� า พู ด ของ ภาวุ ธ ภายหลั ง จากที่ เ ขาได้ น� า ตลาดดอทคอมเข้าไปร่วมกับ Rakuten “ผมว่าช่วง 2-3 ปีมานี้ ตลาดดอทคอมได้ เปลีย่ นหลายๆ มิตใิ นวงการอีคอมเมิรซ์ ค่อนข้าง มากนะ โดยเฉพาะในแง่ของการสร้าง Role Model ทีถ่ กู ทางหลายๆ อย่างขึน้ มาแก่วงการนี้ จนหลายๆ ผูป้ ระกอบการ เว็บไซต์แพลตฟอร์ม เริม่ หันมาท�าตาม และหลายๆ คนก็กล้าเข้ามา ท�าธุรกิจในโลกออนไลน์มากขึน้ ซึง่ หากจะให้

ย้อนไปในอดีต ภาพเหล่านี้มันเหมือนฝัน เพราะสมัยก่อนอีคอมเมิร์ซดูจะเป็นอะไรที่ ไร้ ทิ ศ ทางมาก ทุ ก คนเปิ ด เว็ บ เอาของไป วางขายกัน ไม่มโี ปรโมชัน่ ไม่มกี ารตลาด ไม่มี การติดตามผลลัพธ์ หรือแม้แต่คาดเดาความ เป็นไปได้ทางธุรกิจ จนกระทั่ง ในวันที่เราได้รับโนฮาวที่มี มาตรฐานใหม่ๆ จากการร่วมทุนกับ Rakuten เข้ า มาประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ ธุ ร กิ จ ของเรา เช่ น การบริหารจัดการแพลตฟอร์มแบบเรียลไทม์ เรามีการอัพเดทข่าวสารความเคลือ่ นไหวของ สิ น ค้ า มี วิ ธี ก ารสร้ า งโปรโมชั่ น ส่ ว นลด การท�าตลาด และการสร้างระบบฐานสมาชิก เต็มรูปแบบ มันเป็นการเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ ทีท่ า� แล้วเวิรก์ จนผูค้ นในแวดวงก็ตา่ งจับตามอง แต่ที่ผมมองเป็นประเด็นส�าคัญที่สุดคือ เราสามารถสร้าง Success Case ขึ้นมาได้ มากมาย เรามี ผู ้ ป ระกอบการที่ ม าอยู ่ บ น แพลตฟอร์มธุรกิจของเรา และสามารถสร้าง โอกาสทางธุรกิจได้เป็นหลัก 10 ล้านบาท ต่ อ เดื อ น ซึ่ ง สิ่ ง ที่ ท� า ให้ พ วกเขาไปได้ ถึ ง

แม้บางคนจะบอกว่าการที่เขาไปร่วมกับทุนต่างชาติ ก็เพื่อต้องการยกระดับธุรกิจของตน และแสวงหาผลก�าไรแบบผูกขาด แต่เขามองว่า นัน่ เป็นเหตุผลรอง เพราะถึงแม้การร่วมมือกัน ครัง้ นัน้ จะท�าให้ตลาดดอทคอมสามารถเติบโต เป็นพันเปอร์เซ็นต์ จากรูปแบบโครงการรายได้ ใหม่ๆ แต่จริงๆ แล้ว เป้าหมายทีแ่ ท้จริงของเขา ก็คือการเป็น First Mover เพื่อให้คนไทยที่ มองเห็นโอกาส แต่ยงั ลังเล กล้าทีจ่ ะลุกขึน้ มา อยูใ่ นโลกใบนี้ “คุณรูห้ รือไม่วา่ 2-3 ปีทผี่ า่ นมาทุนต่างชาติ เข้ามาจับตลาดนีม้ ากขึน้ เพราะเขามองเห็นการ เติบโตของการใช้งานอินเทอร์เน็ตในบ้านเรา เขาเห็ น การกล้ า ใช้ เ งิ น ในระบบออนไลน์ พูดง่ายๆ ต่างชาติเขาเห็นโอกาส แต่บ้านเรา กลับมองไม่เห็น ฉะนัน้ เป้าหมายทีแ่ ท้จริงของผม นอกเหนือ จากการท�าให้ธุรกิจตัวเองโตก็คือ การเป็น ส่ ว นหนึ่ ง ในการผลั ก ดั น ให้ ทุ ก ๆ คนโตไป ด้วยกัน ไม่วา่ จะเป็นมุมของคูแ่ ข่งเว็บแพลตฟอร์ม หรือแม้แต่มมุ ของผูป้ ระกอบการ ทัว่ ไป เพราะ ผมมองว่าคุณรวยคนเดียวมันไม่มปี ระโยชน์นะ ตายไปก็เอาเงินไปไม่ได้ แต่ถ้าผมช่วยให้ คนอื่นๆ เติบโตด้วย มันส่งผลต่อระบบนิเวศ ของเศรษฐกิจ ซึง่ ผมว่ามันยอดมากเลยนะ” จากตรงนี้ เราจึงสามารถต่อจิ๊กซอว์ภาพ ในช่วง 5 ปีหลังจากการประกาศปฏิวตั วิ งการ อีคอมเมิร์ซของเขา และพบว่าการที่ภาวุธ ชอบคิดท�าอะไรใหม่ๆ เช่น การบุกเบิกรูปแบบ บริการอีคอมเมิร์ซแนวใหม่ หรือแม้แต่การ ออกมาชี้เทรนด์กระแสออนไลน์มาร์เก็ตติ้ง จนกลายเป็นกระแสข่าวในวงกว้างนัน้ ก็เพราะ เขาต้องการให้เกิดการลอกเลียนนัน่ เอง “ผมว่านิสัยส่วนตัวของผม เป็นพวกชอบ บอกต่อชอบแชร์ทกุ เรือ่ งทีร่ มู้ า พอพูด พอแชร์

มากๆ เข้า ก็ทา� ให้หลายๆ คนทีต่ ดิ ตาม เริม่ มอง ผมเป็นเทรนด์เซตเตอร์ไปโดยปริยาย ทั้งที่ จริ ง ๆ แล้ ว มี ห ลายๆ คนที่ เ ก่ ง ในเรื่ อ งราว เหล่านี้มากกว่าผม และนั่นก็ท�าให้ผมต้อง พยายามศึกษาทฤษฎีให้แม่นย�าขึน้ พยายาม น� า ประสบการณ์ ก ารท� า ธุ ร กิ จ ที่ เ วิ ร ์ ก ที่ สุ ด มาแชร์ ใ ห้ ม ากขึ้ น พอพู ด เรื่ อ งเหล่ า นี้ ซ�้ า ๆ เป็นร้อยๆ ครัง้ อยูก่ บั มันตลอด มันจึงมีความ น่าเชือ่ ถือ ท�าให้วนั หนึง่ จาก Nobody ก็กลาย เป็น Somebody ซึ่งผมว่ามันเป็นสิ่งที่ดีที่จะ สอดคล้องกับเป้าหมายของผมในการเป็น ส่วนหนึง่ ทีจ่ ะผลักดันธุรกิจอีคอมเมิรซ์ เข้าไปอยู่ ในวงจรคนไทยมากขึน้ ด้วย ดังนัน้ ถ้าจะพูดว่า ‘ธงหลัก’ ในชีวติ และ ‘ธงหลัก’ ในการท�าธุรกิจของผมตอนนี้ มันจึง เหมือนภาพทีซ่ อ้ นกันอยู่ ผมไม่ได้คดิ ว่าจะต้อง ร�่ารวยมหาศาล แล้วจบ แต่ผมอยากให้สิ่งที่ ผลั ก ดั น ให้ ผ มก้ า วขึ้ น มาได้ อ ย่ า งทุ ก วั น นี้ กลายเป็นข้อมูลที่มีอิทธิพลไปสู่ทุกภาคส่วน ทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ ผมรูส้ กึ ว่ามันดีนะ” ทั้งนี้หากมองถึงย่างก้าวในวงการธุรกิจ e-Commerce เขาได้บอกกับเราว่า ตอนนีก้ า� ลัง โฟกัสตัวธุรกิจในต่างแดนมากขึน้ โดยเฉพาะ แถบ AEC และ ASIA โดยเขามองว่าประเทศไทย เริ่มจะเล็กเกินไปส�าหรับตลาดดอทคอมแล้ว เขาจึงหวังที่จะดันตัวธุรกิจ และแชร์ประสบ การณ์ตา่ งๆ สูภ่ มู ภิ าคแห่งนี้ ซึง่ จะเป็นประโยชน์ ต่อคูค่ า้ ของเขาในเวลาเดียวกันด้วย โดยล่าสุด เขาได้เริม่ เข้าไปสิงคโปร์ และมาเลเซียบ้างแล้ว ภายใต้การด�าเนินการของกลุม่ บริษทั โซเชีย่ ล อิงค์ ซึ่งประเทศเหล่านั้นยังต้องการคนที่เป็น Role Model ในธุ ร กิ จ นี้ เ ข้ า มายกระดั บ พอสมควร แม้จะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ก็ตาม เนือ่ งจากประเทศเหล่านี้ การขยายตัว ด้านออนไลน์ยงั ไม่สงู มาก “สิ่งที่ผมท�าทุกวันนี้ ไม่ว่าจะธุรกิจ ไม่ว่า จะเป็นการชี้เทรนด์ การแชร์ข้อมูล หรือการ เข้าไปมีบทบาทกับทุกๆ ส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับโลก ออนไลน์ และอีคอมเมิรซ์ ไม่ใช่วา่ ผมอยากจะ โด่งดังเหมือนใครๆแต่ผมอยากเป็น Role Model ของวงการ” “และผมยังมีฝนั อีกเรือ่ งหนึง่ ทีอ่ าจจะ ขัดกับภาพของตัวเองในวันนีน้ ดิ นึง นัน่ ก็คอื อยากกลั บ ไปท� า เกษตรที่ ก าญจนบุ รี บ้านเกิด แบบเกษตรแบบผสมผสาน ที่ ประยุกต์เอาเทคโนโลยีต่างๆ เช่น โดรน เข้ า มาท� า ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพผลผลิ ต จากนั้นก็แบ่งปันไปสู่ชุมชนรอบข้างบ้าง หรือน�าบางส่วนไปจ�าหน่ายบ้าง แต่ก็จะยัง ไม่ทิ้งงานเดิมนะ แต่อาจจะท�างานแบบ นอกสถานที่มากขึ้น เช่น ลงทุนซื้อระบบ ด้านการสื่อสารมาไว้ที่นี่ และท�างานกับ ที ม งานได้ พ ร้ อ มๆ กั น มั น คงเป็ น ชี วิ ต ที่ โคตรชิล และคงมีความสุขสุดๆ เลยแหละ”


20 GMBiZ

JA N UA RY 2 0 1 5

CITIZEN BRAND เวทีนี้เพื่อสังคม

การด�าเนินธุรกิจในวันนีผ้ ลก�าไรไม่ใช่คา� ตอบสุดท้ายเช่นทีเ่ คยนิยามกันมาในยุคก่อนว่า ความ ยัง่ ยืนคือการเจริญเติบโตทางตัวเลข หากแต่ในยุคทีก่ ระแสการตลาด 3.0 ได้แพร่ขยายและ ผูบ้ ริโภคเองก็ขานรับกับกระแสรักษ์โลก รักษ์สงั คมและให้คณ ุ ค่ากับจิตวิญญาณมากขึน้ นัน้ ทิศทางการด�าเนินธุรกิจชที่ประสบความส�าเร็จอย่างยั่งยืนของแบรนด์จึงอยู่บนวงจรของ ตัวแปร 3Ps : PROFIT-PEOPLE-PLANET คือ นอกจากเม็ดเงินแล้วก็ต้องมีส�านึก ต่อสังคมและชุมชน/โลกด้วย ท�าให้วนั นีย้ ทุ ธศาสตร์ของความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR : Corporate Social Responsibility) กลายเป็นยุทธศาสตร์หนึง่ ทีบ่ รรจุในแผนหลักขององค์กร ทว่า แนวคิดดังกล่าวทีป่ จั จุบนั ได้ววิ ฒ ั น์ไปถึงการสร้างสรรค์คณ ุ ค่าของ (CSV : Creating Shared Value) ซึง่ องค์กรไม่ได้ให้เพียงอย่างเดียว แต่สอนให้สงั คมและชุมชน ‘จับปลาเป็น’ ไม่ใช่แค่เพียงเป็นผูร้ บั เท่านัน้ GMBiZ ฉบับมกราคม 2558 จึงได้เลือกหยิบยก ‘แบรนด์พลเมือง’ หรือ Citizen Brand ของสังคมไทยทีม่ สี า� นึกทีด่ ๆี ต่อสังคมและโลก ส�าหรับการเปิดรับศักราชใหม่ ด้วยแบรนด์ พลเมืองทีน่ า่ ยกย่องอย่างบริดจสโตน แบรนด์ทไี่ ม่ได้วางต�าแหน่งและพันธกิจแค่ยางรถยนต์ ซึ่งเป็นสื่อในการขับเคลื่อนของพาหนะเท่านั้น หากแต่มองถึงการสร้างสรรค์ประชากร นักขับทีม่ วี นิ ยั เพือ่ การขับขีอ่ ย่างปลอดภัย ขณะที่ แอดวานซ์ ไบโอ ผูผ้ ลิตพลาสติกแบบ ย่อยสลายได้นั้นถือเป็น CSR In-Process ที่บรรจุส�านึกรักษ์โลกและสิ่งแวดล้อมลงไปใน กระบวนการผลิตตัง้ แต่ตน้ เพือ่ ลดปริมาณขยะของพลาสติกในโลก นอกจากนี้ ยังมีแบรนด์พลเมืองอย่างดีแทคทีส่ ง่ เยาวชนต้นแบบในฐานะ ‘พลเมืองดิจทิ ลั ’ เพือ่ การหว่านเมล็ดพันธุพ์ ลเมืองดิจติ อลสูเ่ ศรษฐกิจดิจติ อลของไทย ขณะทีแ่ บรนด์พลเมืองอย่าง ‘เอ็กโก้กรุป๊ ’ ถือเป็นอีกหนึง่ แบรนด์ตน้ แบบทีด่ า� เนินโครงการ เพื่อสังคมอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งได้แบ่งปันคุณค่าขององค์กรต่อสังคมมาอย่างลึกซึ้งและ ได้นา� ส่งคุณค่านีใ้ ห้กบั เยาวชนไทย เพือ่ ต่อยอดกันสืบไป ส�าหรับแคมเปญต่างๆ ของตัวอย่างแบรนด์พลเมืองที่หยิบยกมาน� าเสนอในฉบับนี้ กล่าวได้ว่า นี่เป็นเพียงหนึ่งในหลายๆ แคมเปญของยุทธศาสตร์องค์กรที่มุ่งเดินหน้า เพือ่ ตอบโจทย์ 3Ps โดยแท้


2 0 1 5 JA N UA RY

GMBiZ 21

สร้างวินยั ให้นกั ขับขีม่ อื ใหม่ ส่งเสริมความปลอดภัยบน ท้องถนน ในฐานะที่บริดจสโตนเป็นผู้น�าทางการตลาดยางรถยนต์ ในประเทศมากว่า 45 ปี โดยมีแนวทางการท�างานคือ มุง่ มัน่ ริเริม่ สร้างสรรค์ คิดค้น วิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ทกุ ๆ ด้าน ให้ดที สี่ ดุ ในขณะเดียวกันยังใส่ใจในการท�ากิจกรรมเพือ่ สังคม ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ปรั ช ญาของบริ ษั ท คื อ ‘รั บ ใช้ สั ง คมด้ ว ย คุณภาพทีเ่ หนือกว่า’ (Serving Society with Superior Quality) เพราะบริดจสโตนตระหนักว่าความปลอดภัยจะเกิดขึ้นได้ ด้วยการดูแลรักษารถยนต์และอุปกรณ์ รวมถึงมารยาท การขับขี่ วินัยจราจร ความมีน�้าใจ และตระหนักถึงความ ปลอดภัยในการขับขีด่ ว้ ย

Tire Safety by

Bridgestone คุณสมบัตขิ องผูข้ อรับใบอนุญาต ขับรถยนต์ของกรมการขนส่งทางบก มีอายุไม่ตาำ่ กว่า 18 ปีบริบรู ณ์ มีความรูค้ วามสามารถในการขับรถ ไม่เป็นผูม้ รี า่ งกายพิการจนเป็นทีเ่ ห็นได้วา่ ไม่สามารถขับรถได้ ไม่มีโรคประจำาตัวทีผ ่ ปู้ ระกอบวิชาชีพ เวชกรรมเห็นว่าอาจเป็นอันตรายขณะขับรถ ไม่เป็นบุคคลวิกลจริตหรือจิตฟัน่ เฟือน

ไม่มีใบขับขีร่ ถชนิดเดียวกันอยูแ่ ล้ว ไม่เป็นผูอ้ ยูร่ ะหว่างถูกยึดหรือเพิกถอน ใบขับขี่

กิจกรรม Tire Safety by Bridgestone เป็ น กิ จ กรรมที่ บ ริ ษั ท บริ ด จสโตนเซลส์ (ประเทศไทย) จัดขึน้ ต่อเนือ่ งด้วยเหตุผลทีว่ า่ บริดจสโตนห่วงใยผูใ้ ช้รถใช้ถนน และอยากจะ มอบความปลอดภัยให้แก่ทุกเส้นทาง และ ภายใต้แคมเปญ Tire Safety by Bridgestone นีเ้ องมีหลากหลายกิจกรรมทีจ่ ดั ต่อเนือ่ งตลอด ทั้งปี ไม่ว่าจะเป็นการรณรงค์ให้ผู้ขับขี่หันมา ใส่ ใ จการตรวจเช็ ก สภาพยางและลมยาง เป็นประจ�าก่อนออกเดินทาง หรือคอยให้ ค� า แนะน� า ในการดู แ ลรั ก ษารถยนต์ จ าก ผูเ้ ชีย่ วชาญ หรือกิจกรรมอบรมแรลลีเ่ บือ้ งต้น และหนึ่งกิจกรรมไฮไลต์ที่บริดจสโตน ร่วมกับกรมการขนส่งทางบกจัดขึ้น นั่นคือ การจั ด อบรมเสริ ม ความรู ้ ใ ห้ แ ก่ ผู ้ ข อรั บ ใบอนุญาตรถยนต์ เพื่อความเข้าใจเรื่องการ ใช้รถใช้ถนนให้แก่เหล่านักขับมือใหม่ให้เป็น นักขับขี่ที่มีคุณภาพ กิจกรรมนี้บริดจสโตน ร่ ว มกั บ กรมการขนส่ ง ทางบกจั ด ขึ้ น ตั้ ง แต่ ปี 2533 ต่อเนือ่ งจนถึงตอนนีน้ บั ได้ถงึ 24 ปี มี ผู ้ ผ ่ า นการอบรมแล้ ว กว่ า 42,362 คน ทัว่ ประเทศ

ก�าหนดการอบรมปี 2558 ส่วนกลาง 14–15 กุมภาพันธ์ กรมขนส่งทางบก 25–26 เมษายน กรมขนส่งทางบก 19–20 กันยายน กรมขนส่งทางบก ส่วนภูมภิ าค 31 มกราคม–1 กุมภาพันธ์ จ.เชียงราย 29–30 สิงหาคม จ.ราชบุรี 19–20 ธันวาคม จ.บุรรี มั ย์

กิจกรรมแต่ละครัง้ นักขับมือใหม่ทขี่ บั รถเป็นแล้วแต่ยงั ไม่มใี บอนุญาต ขับรถยนต์ประมาณ 100-130 คน และมีคุณสมบัติที่จะขอรับใบอนุญาต ขับรถยนต์ได้จะเข้ารับการอบรมในวันเสาร์และอาทิตย์ดว้ ยเนือ้ หาสุดเข้ม ข้นจากวิทยากรผูเ้ ชีย่ วชาญจากกรมการขนส่งทางบกและบริดจสโตน ก่อน จะเข้าทดสอบขอรับใบอนุญาตขับรถยนต์ โดยเนื้อหาการอบรมนั้น ในวันแรกจะเป็นการอบรมภาคทฤษฎี เกีย่ วกับกฎหมายจราจร พระราชบัญญัตกิ ารจราจร การขับรถอย่างปลอดภัย มารยาทและจิ ต ส� า นึ ก ในการขั บ รถ รวมทั้ ง ความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ ยางรถยนต์ และการดูแล รวมทั้งการใช้ยางรถยนต์อย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ความปลอดภัย ทัง้ ยังต้องทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย อาทิ ทดสอบการมองเห็นสี ที่จ�าเป็นในการขับรถ ทดสอบสายตาทางลึก ทดสอบสายตาทางกว้าง ทดสอบปฏิกิริยาเท้า (ความสามารถในการใช้เบรกเท้า) แล้วเข้ารับ การทดสอบข้อเขียนผ่านระบบ Electronic Examination (E-exam) ส่ ว นในวั น ที่ ส อง จะเป็ น การทดสอบการขั บ รถในสนามจ� า ลอง ตามมาตรฐานของกรมการขนส่งทางบก ซึ่งหากสอบผ่านก็จะได้รับทั้ง ใบอนุญาตขับรถยนต์และวุฒิบัตรจากโครงการ ‘อบรมเสริมความรู้ แก่ผขู้ อรับใบอนุญาตขับรถยนต์’ การเกิดอุบตั เิ หตุบนท้องถนนนัน้ มีทงั้ ปัจจัยทีค่ วบคุมได้และปัจจัย ที่ควบคุมไม่ได้ ดังนั้น การใส่ใจดูแลในเรื่องที่เราสามารถควบคุมได้ อย่าง การหมัน่ ตรวจเช็กสภาพรถยนต์ ยางรถยนต์ และวินยั ในการขับขี่ ของตัวเอง นัน่ ก็จะช่วยให้ลดความเสีย่ งในการเกิดอุบตั เิ หตุบนท้องถนน ได้มากทีเดียว


22 GMBiZ

JA N UA RY 2 0 1 5

เอ็กโก กรุป๊ เปิดเวทีสร้างสรรค์

‘โครงงานวิทย์และสิง่ ประดิษฐ์’ หนุนเด็กไทยต่อยอดความรูด้ า้ นพลังงานและสิง่ แวดล้อม เพราะการเรียนรู้ไม่ได้จ�ากัดอยู่แค่ในห้องเรียน การส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนซึ่งเป็นต้นทาง ของอนาคตของชาติมีเวทีในการแสดงความรู้ ความสามารถ โดยการประมวลความรู้ด้านการ อนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ไ ด้ รั บ การ ถ่ายทอดจากครูออกมาเป็นโครงงาน เพือ่ สะท้อน ถึงผลการเรียนรูท้ สี่ ามารถเชือ่ มโยงไปสูก่ ารน�าไป ปฏิบัติได้จริงในวิถีชีวิตประจ�าวัน จึงนับเป็นอีก ภารกิ จ หนึ่ ง ของโครงการ ‘พลั ง งานเพื่ อ ชี วิ ต ลดโลกร้อน ด้วยวิถพี อเพียง’ ซึง่ จัดขึน้ โดยความ ร่วมมือระหว่างบริษทั ผลิตไฟฟ้า จ�ากัด (มหาชน) หรือ ‘เอ็กโก กรุป๊ ’ ส�านักงานนโยบายและแผน พลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน และส�านักงาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ เพือ่ ส่งเสริมการเรียนรูด้ า้ น พลังงานและสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ โดย มุ่งเน้นการท�างานร่วมกับ ‘ครู’ และ ‘โรงเรียน’ ซึ่งเป็นต้นทางในการให้การศึกษา โดยน้อมน�า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้


2 0 1 5 JA N UA RY

ดร.สกุล พจนารถ รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานกลยุทธ์และบริหารสินทรัพย์ เอ็กโก กรุป๊ กล่าวว่า “ในฐานะผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ แห่งแรกของไทย เอ็กโก กรุป๊ มุง่ มัน่ ใส่ใจด�าเนินธุรกิจ ผลิตไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเสริมสร้าง ความมั่นคงให้แก่ระบบไฟฟ้าของประเทศ ควบคู่ ไปกับการมีสว่ นร่วมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชมุ ชน และสังคม ตลอดจนร่วมดูแลสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน ส�าหรับโครงการ ‘พลังงานเพื่อชีวิต ลดโลกร้อน ด้วยวิถีพอเพียง’ นี้ เรามีเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริม การเรียนรูพ้ ลังงานและสิง่ แวดล้อม ด้วยการเผยแพร่ ความรู้ด้านการผลิตไฟฟ้า ให้เป็นประโยชน์ต่อ การเรียนรู้ของเยาวชน รวมทั้งสนองต่อนโยบาย ภาครัฐในเรื่องการสร้างความเข้าใจด้านพลังงาน ให้แก่ประชาชน” ภายใต้โครงการดังกล่าว เอ็กโก กรุป๊ ได้จดั ให้ มีการประกวด ‘โครงงานเยาวชนดีเด่น ประจ�าปี 2557’ ขึ้น เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนผลงาน การเรียนรู้ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมระหว่าง โรงเรียนทีเ่ ข้าร่วมโครงการและสนับสนุนให้เด็กและ เยาวชนมีเวทีในการแสดงความรูค้ วามสามารถ โดย โครงงานแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ โครงงาน ทดลอง และโครงงานสิง่ ประดิษฐ์ ซึง่ เป็นโครงงาน ทีเ่ ด็กและเยาวชนจะสามารถน�าความรูด้ า้ นพลังงาน และสิง่ แวดล้อมมาประยุกต์ใช้ได้อย่างหลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการคิดวิเคราะห์ เพื่อเชื่อมโยง ความรู้สู่การแก้ไขปัญหาที่แตกต่างกันไปตาม บริบทท้องถิ่น ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงผลงาน การ เรียนรูท้ สี่ ามารถน�าไปใช้ได้จริงในชีวติ ประจ�าวัน

GMBiZ 23

กิจกรรมการประกวด ‘โครงงานเยาวชนดีเด่น ประจ�า ปี 2557’ ได้จดั ขึน้ เป็นเวลา 3 วัน ณ พิพธิ ภัณฑ์การเกษตร เฉลิมพระเกียรติฯ จ.ปทุมธานี โดยมีเด็กและเยาวชน ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษา ตอนปลาย จาก 43 โรงเรียนทัว่ ประเทศทีเ่ ข้าร่วมโครงการฯ และส่งโครงงานเข้าประกวดทัง้ สิน้ 96 โครงงาน จากนัน้ คณะกรรมการได้พจิ าณาและคัดเลือกโครงงานทีผ่ า่ นเกณฑ์ ที่ก�าหนดในรอบแรก และมาร่วมจัดแสดงผลงานในรอบ ตัดสินทัง้ สิน้ 37 โครงงาน ซึง่ มี 24 โครงงานทัง้ ด้านการ ทดลองและสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ที่ ไ ด้ รั บ การพิ จ ารณาให้ เ ป็ น ‘โครงงานเยาวชนดีเด่น ประจ�าปี 2557’ โดยเป็น โครงงานที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ซึง่ มีการเชือ่ มโยงกับการเรียนการสอนของครูในห้องเรียน การน�าเครือ่ งมือของโครงการ ‘พลังงานเพือ่ ชีวติ ลดโลกร้อน ด้วยวิถพี อเพียง’ เช่น แนวคิด LCA (Life Cycle Assessment) หรือการประเมินวัฎจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ และแผนที่วิถี พอเพียง (S-Map) มาวิเคราะห์และประยุกต์ใช้ ในขณะ เดียวกันยังเป็นโครงงานที่สามารถน�าไปขยายผลสู่การ ปฏิบตั ไิ ด้จริงทัง้ ในโรงเรียนและชุมชนทีโ่ รงเรียนตัง้ อยู่ ด.ช.จั ก รพั น ธ์ กลอยค� า ชั้ น ป.6 โรงเรี ย นบ้ า น หนองกรดสามัคคี จ.สระบุรี นักเรียนชั้นประถมศึกษา กลุม่ เดียว ทีผ่ า่ นเข้ารอบมาเป็น 1 ใน 24 โครงงานดีเด่น กับผลงานโครงงานทดลอง ‘พลังงานความร้อนจาก แกนข้าวโพด’ เริม่ ต้นเล่าว่า “พวกผมใช้เวลาว่างจากการเรียนทัง้ ตอนพักกลางวัน และหลั ง เลิ ก เรี ย นมาช่ ว ยกั น ท� า ถ่ า นอั ด แท่ ง จาก แกนข้าวโพด เพราะในชุมชนของพวกเราท�าไร่ข้าวโพด เป็นอาชีพหลัก ก็จะมีแกนข้าวโพดเป็นจ�านวนมาก ผมก็มา ปรึกษาครูวา่ จะเอาแกนข้าวโพดไปใช้ประโยชน์อะไรได้บา้ ง ครูจึงให้พวกเราลองเอาแกนข้าวโพดมาทดลองเผาเป็น ถ่านอัดแท่งซึง่ ก็ให้ความร้อนดีใกล้เคียงกับถ่านไม้ สิง่ ทีผ่ ม ได้รบั จากการมาร่วมท�าโครงงานนีไ้ ม่เพียงความรูท้ ไี่ ด้จาก

การลงมื อ ปฏิ บั ติ จ ริ ง แล้ ว ที่ ส� า คั ญ ยั ง ได้ แ ลกเปลี่ ย น ประสบการณ์การท�าโครงงานกับพีๆ่ จากโรงเรียนอืน่ ด้วย” ในขณะที่ นั ก เรี ย นจากกลุ ่ ม โครงงานสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ก็มีไอเดียที่น่าสนใจในการสร้างสรรค์ผลงานไม่แพ้กับ กลุม่ โครงงานทดลอง ด.ช.ยุทธภูมิ ชัยสิทธิ์พนาลัย ชั้น ม.3 โรงเรียน บ้านสันป่าสัก จ.เชียงใหม่ ตัวแทนกลุม่ ผลงานสิง่ ประดิษฐ์ ‘จักรยานอเนกประสงค์ 3 in 1’ กับแนวคิดทีม่ าจากความ อยากช่วยแบ่งเบาภาระของคุณครูอนุบาล “พวกผมเห็น ครูอนุบาลต้องท�างานหนัก ไหนจะต้องช่วยซักผ้าอ้อม ให้น้องๆ ไม่ค่อยมีเวลาออกก�าลังกาย อีกทั้งในชุมชนผม ก็มีปัญหาไฟฟ้าตกบ่อยๆ ในช่วงฤดูฝน จึงเป็นที่มาของ การประดิ ษ ฐ์ จั ก รยาน 3 in 1 ที่ ส ามารถซั ก ผ้ า และ ผลิตกระแสไฟฟ้าไปพร้อมกันได้ แถมยังได้ออกก�าลังกาย ไปในตัวด้วย ผมก็นา� ความรูว้ ชิ าช่าง การงานอาชีพทีส่ นใจ เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว รวมทั้งวิชาวิทยาศาสตร์ในเรื่องการ ก�าเนิดกระแสไฟฟ้าเข้ามาใช้ ครูกช็ ว่ ยให้คา� แนะน�าในเรือ่ ง การน�าวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์และกระบวนการประดิษฐ์ จักรยานให้สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้” สิ่งเหล่านี้เป็นค�าบอกเล่าส่วนหนึ่งจากเด็กและ เยาวชนทีส่ ร้างสรรค์โครงงานด้านการอนุรกั ษ์พลังงาน และสิง่ แวดล้อมซึง่ ได้รบั รางวัลจากโครงการ ‘พลังงาน เพื่อชีวิต ลดโลกร้อน ด้วยวิถีพอเพียง’ แต่สิ่งส�าคัญที่ ท�าให้เด็กและเยาวชนได้มีโอกาสมาโชว์ไอเดียและ ผลงานความคิดสร้างสรรค์เหล่านี้ ก็คอื โรงเรียนและครู ซึ่งเป็นต้นทางของการเรียนรู้ ประกอบกับมีเวทีที่เปิด โอกาสให้เยาวชนได้มาแสดงความรูค้ วามสามารถและ แลกเปลีย่ นผลงานกัน โดยการประมวลความรูด้ า้ นการ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมที่ได้รับการถ่ายทอด จากครูออกมาเป็นโครงงาน เพื่อสะท้อนถึงผลลัพธ์ ปลายทางของการเรียนรู้ ที่เชื่อมโยงไปสู่การน�าไป ปฏิบตั ไิ ด้จริง


24 GMBiZ

JA N UA RY 2 0 1 5

Advance Bio เพือ่ สังคมและสิง่ แวดล้อม จากความตัง้ ใจไปจนถึงทุกกระบวนการ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม ขององค์ ก ร (CSR) ที่ เ ราคุ ้ น เคยกั น มั ก เป็ น กิจกรรมเพื่อสังคมแบบ After Process คือ กิจกรรมเพื่อสังคมที่ไม่เกี่ยวกับการด�าเนินงาน ขององค์กรโดยตรง อย่างการปลูกป่า การบริจาค เป็นต้น

ในขณะที่ยังมีกิจกรรมเพื่อสังคมแบบ In Process ที่ องค์ ก รมี วิ ธี ก ารด� า เนิ น งานด้ ว ยการค� า นึ ง ถึ ง สั ง คม และสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก เช่นเดียวกับบริษัท แอดวานซ์ โนวฮาว จ�ากัด ที่ก่อตั้งขึ้นจากวิสัยทัศน์ที่ต้องการสร้าง ต�านานสินค้าลดโลกร้อน จนกลายเป็นผูน้ า� ด้านบรรจุภณั ฑ์ พลาสติกย่อยสลายได้รายแรกของประเทศไทย ในชื่อ ‘แอดวานซ์ ไบโอ’ (Advance Bio) ทั้งวิธีคิด กระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ของ แอดวานซ์ โนวฮาว ล้วนเป็น CSR ทัง้ สิน้ แอดวานซ์ โนวฮาว น�านวัตกรรมด้านเทคโนโลยี ชีวภาพมาใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่ปลอดภัยจาก สารพิษและเป็นมิตรต่อสุขภาพและสิง่ แวดล้อม ด้วยการน�า แร่ธาตุธรรมชาติมาผสมกับพืชผลทางการเกษตร และ ขึน้ รูปด้วยโพลิเมอร์เป็นชิน้ งานต่างๆ ได้ตามต้องการ ตัง้ แต่ ถุง ถ้วยน�า้ ดืม่ หลอดดูดน�า้ กล่องอาหาร ช้อน-ส้อม ถุงขยะ เป็นต้น โดยที่ไม่เปลี่ยนแปลงโครงสร้างด้านโมเลกุล ในขั้นตอนการผลิต และได้ผลลัพธ์เป็นผลิตภัณฑ์ที่มี คุณลักษณะพิเศษคือ เมื่อน�าไปทิ้งจะสามารถย่อยสลาย กลั บ คื น สู ่ ธ รรมชาติ ไ ด้ เ องโดยที่ ไ ม่ มี ส ารพิ ษ ตกค้ า ง และที่ส�าคัญคือต้นทุนวัตถุดิบต�่ากว่าวัตถุดิบชีวภาพ ประเภทอืน่ ๆ แน่นอนว่าราคาขายย่อมคุม้ ค่าเมือ่ เทียบกับ บรรจุภณ ั ฑ์พลาสติกเกรด A คุณภาพรักษ์โลก ตรงตามโจทย์ของ คุณสิรปิ ระภา นิม่ กิตติกลุ ผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั ทีเ่ ขียนสโลแกนเอาไว้วา่ ‘เพิม่ คุณค่า...ไม่เพิม่ ราคา’ และเมื่อทายาทรุ่นที่สอง คือ จรัสพร นิ่มกิตติคุณ เข้ามาดูแลงานในต�าแหน่งผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ ก็สามารถต่อยอดผลิตภัณฑ์ขึ้นไปอีก ในเวอร์ชันใหม่ ‘รักษ์โลกแบบใสใสกับไบโอเคลียร์ (Bio Clear)’ จากความคิดที่ว่า ความใสคือความสวย และต้อง สามารถรักษ์โลกได้ด้วย จึงเกิดเป็นผลิตภัณฑ์พลาสติก ย่อยสลายได้แบบใส เพือ่ รองรับความต้องการของผูบ้ ริโภค ยุคใหม่ด้วยบรรจุภัณฑ์กล่องอาหาร Bio Clear และ ขวดน�้าดื่มย่อยสลายได้ Bio PET ซึ่งนอกจากผู้บริโภค จะได้ใช้ผลิตภัณฑ์สวยๆ จากทรัพยากรธรรมชาติแล้ว ยังมีโอกาสได้ตอบแทนคืนให้แก่แผ่นดิน แผ่นฟ้า และ แผ่นน�า้ ด้วย นอกจากนั้ น ยั ง น� า เข้ า บรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ผ ลิ ต จาก หัวมันส�าปะหลังที่ได้รับตรา Fair For Life จากประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ ในระดับ 5 ดาว (Highest Level) ด้วยวิสัยทัศน์และปณิธานอันแน่วแน่ในอันที่จะ น� า เสนอผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ดี ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ สั ง คม สิ่งแวดล้อม แอดวานซ์ โนวฮาว จึงสร้างสรรค์เป็น ผลิตภัณฑ์ดๆี ให้แก่ผบู้ ริโภค รวมถึงยังส่งผลดีตอ่ สังคม สิง่ แวดล้อม ในขณะเดียวกัน บริษทั เองก็ได้ประโยชน์ ในเชิงธุรกิจสามารถก้าวขึ้นเป็นผู้น�าด้านบรรจุภัณฑ์ พลาสติกย่อยสลายได้ในประเทศไทย


2 0 1 5 JA N UA RY

GMBiZ 25

ดีแทค ชูเยาวชนต้นแบบ พร้อมก้าวสูก่ ารเป็น

Digital Citizen โลกเดินทางมาถึงยุคดิจิตอลที่มีประชากรผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตทั่วโลกกว่า 3 พันล้านราย และ มีจา� นวนมากกว่า 50% ทีใ่ ช้งานอย่างสม�า่ เสมอ ซึ่ ง เยาวชนนั่ น เองเป็ น ผู ้ ที่ รั บ สื่ อ ทางด้ า นนี้ มากที่ สุ ด อย่ า งเด็ ก ไทยในปั จ จุ บั น ใช้ ง าน อิ น เทอร์ เ น็ ต คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นถึ ง 70% ของ ผูใ้ ช้สมาร์ทโฟนทัว่ ประเทศ

ดังนัน้ การส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนใช้อนิ เทอร์เน็ต มากกว่าแค่เล่นเกมหรือเสพสือ่ บันเทิง แต่ตอ้ งใช้ให้เป็น เกิดประโยชน์และสามารถน�าไปต่อยอดเชิงสังคมและ เศรษฐกิจได้ ซึง่ เป็นสิง่ ที่ บริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิ เคชัน่ จ�ากัด (มหาชน) หรือดีแทค ให้ความส�าคัญเป็นอย่าง ยิง่ ทีจ่ ะต้องสร้างการรับรูแ้ ละจิตส�านึกในเรือ่ งของการใช้ อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย (Safe Internet) โดยได้จัด โครงการ dtac & Telenor Youth Summit 2014 ขึน้ เพื่ อ สร้ า งกลุ ่ ม เยาวชนให้ เ ป็ น ผู ้ น� า ความคิ ด เรื่ อ ง Safe Internet อีกทัง้ ยังเป็นการเฟ้นหาตัวแทนเยาวชนไทย ทีม่ ไี อเดียเจ๋งๆ ไปร่วมงาน Telenor Youth Summit 2014 กับเยาวชนอีกหลายประเทศทัว่ โลก พร้อมยังได้รบั โอกาส พิเศษไปเข้าร่วมงานระดับโลกอย่าง Nobel Peace Prize 2014 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ ซึง่ สองคนรุน่ ใหม่คอื อัสมา นาคเสวี และ สิรพัชร บุณยะปาน คือ ‘ตัวแทนเยาวชนไทย’ แต่ โ อกาสนี้ ไ ม่ ไ ด้ ม าแบบง่ า ยๆ เพราะต้ อ งผ่ า น บททดสอบหลายขัน้ ตอน นับตัง้ แต่การคัดเลือกเข้าร่วม โครงการจากผู้สมัครกว่าร้อยคนให้เหลือเพียง 35 คน ก็ตอ้ งพิสจู น์ฝมี อื และความมุง่ มัน่ ให้กรรมการได้เห็นผ่าน ไอเดียการน�าเสนอแนวคิดเกี่ยวกับเรื่องการใช้ดิจิตอล ทีจ่ ะมาเปลีย่ นแปลงสังคมโลกในวิถขี องการใช้อนิ เทอร์เน็ต อย่างปลอดภัย โดยดีแทคได้จดั ให้ทงั้ 35 คนมาเข้าร่วม กิจกรรม ‘Safe Internet Workshop’ เพื่อให้ความรู้ และได้มมุ มองเกีย่ วกับการท�าธุรกิจภายใต้จริยธรรมและ การเป็นผูน้ า� ความคิดบนโลกออนไลน์ จากวิทยากรชือ่ ดัง ที่หลากหลาย อาทิ จอห์น วิญญู, หนุ่มเมืองจันท์, สิงห์ วรรณสิงห์, ป้อม ภาวุธ แห่งตลาดดอทคอม, เอกลักษณ์ หลุม่ ชมแข ผูอ้ า� นวยการมูลนิธกิ ระจกเงา, พนา จันทรวิโรจน์ จากเนชัน่ กรุป๊ , ชวรงค์ ลิมป์ปทั มปาณี จากไทยรัฐออนไลน์ และปฐมพงศ์ สิรชัยรัตน์ จาก MThai เป็นต้น

และวันสุดท้ายของกิจกรรมคือการน�าเสนอไอเดีย ซึ่งได้คัดเลือกรอบแรก 12 คนที่ได้น�าเสนอโครงการ ของตัวเองต่อหน้าคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ อย่าง สุทธิชยั หยุน่ ประธานกรรมการ บริษทั เนชัน่ มัลติมเิ ดีย จ�ากัด (มหาชน), ศรัณย์ เจริญสุวรรณ อธิบดีกรมยุโรป กระทรวงการต่างประเทศ, สุธิดา มาไลยพันธุ์ นายก สมาคมผูส้ อื่ ข่าวออนไลน์ และ Mr. Håkon Bruaset Kjøl ผู้บริหารจากเทเลนอร์ โดยที่กรรมการแต่ละท่านนั้น ตัง้ ค�าถามทีย่ ากและท้าทายให้กบั เยาวชน ดังนัน้ ระหว่าง การน�าเสนอจึงต้องมีความมุง่ มัน่ และมัน่ ใจในสิง่ ทีต่ วั เองพูด ซึ่งทั้ง อัสมา และสิรพัชร ต่างแสดงความมุ่งมั่นจนคว้า โอกาสนีไ้ ด้สา� เร็จ ในงานประชุมเยาวชนโลก Telenor Youth Summit 2014 ทั้งสองคนต่างน�าเสนอไอเดียและแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับเยาวชนทัว่ โลก 28 คนจาก 14 ประเทศ ทั้ ง ยั ง ได้ รั บ ความรู ้ จ ากบุ ค คลที่ มี ชื่ อ เสี ย งของโลกใน ประเด็น A Better Digital Future For All สร้างอนาคต โลกดิจิตอลที่ดีขึ้น ซึ่งก็ได้รับความรู้และประสบการณ์ ทีม่ ากมายจากงานนี้ และจะน�ามาพัฒนาต่อยอดเพือ่ เป็น เยาวชนต้นแบบให้ความรูแ้ ละแนวคิดเกีย่ วกับเรือ่ ง Safe Internet ให้กับเพื่อนๆ น้องๆ เยาวชนก้าวสู่การเป็น พลเมืองดิจติ อลทีม่ คี ณ ุ ภาพต่อไปได้ ซึง่ การจะเป็นพลเมืองดิจติ อลทีม่ คี ณ ุ ภาพ (A Good Digital Citizen) ได้นนั้ จะต้องมี ‘ความรูจ้ ริง’ เพือ่ น�าไป สู่การใช้งานที่ถูกต้อง และ ‘ใช้เป็น’ คือต้องรู้ว่าจะใช้ สือ่ ดิจติ อลให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไร ใช้อย่างไรให้ถกู วิธี ให้ปลอดภัยและไม่เป็นเหยื่อของอินเทอร์เน็ต มากไป กว่านั้นคือการ ‘พัฒนาสังคม’ ด้วยการน�าสื่อที่เรามี ไปพัฒนาสังคม หรือให้ความรูก้ บั ผูอ้ นื่ “เยาวชนรุ่นใหม่ที่จะเข้าถึงเทคโนโลยี จ�าเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องมี 3 ข้อนี้ และจากที่เราเข้าร่วมใน เวทีโลก เราสามารถรับรูไ้ ด้เลยว่าเยาวชนจากต่างประเทศ ทั่วโลกเขาให้ความส�าคัญกับการใช้อินเทอร์น็ตหรือ สื่อดิจิตอลเพื่อประโยชน์ต่อสังคม เพราะฉะนั้นจริงๆ แล้วในประเทศไทยยังมีช่องทางอีกมากมายที่เรา สามารถน�าอินเทอร์เน็ตเข้าไปใช้ประโยชน์ ถ้าเขามี ความรู้และมีการใช้งานที่ถูกต้อง ก็จะน�าไปสู่ความคิด สร้ า งสรรค์ การพั ฒ นาโครงการ และพั ฒ นาสิ่ ง ต่ า งๆ ที่เกิ ดขึ้น รอบตั ว เขา และเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ สั ง คม” อัสมากล่าว

ของวัยรุน่ ทัว่ โลก เคยคุยกับ คนแปลกหน้าบนโลกออนไลน์

ความพิ เ ศษสุ ด ของการเข้ า ร่ ว มงานในครั้ ง นี้ คื อ ได้ เข้าร่วมงานประกาศผลรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ ซึง่ เยาวชนต้นแบบทัง้ สองคน ต่างได้รบั แรงบันดาลใจ จากมาลาลา ยูซาฟไซ สาวน้อยยอดนักสูช้ าวปากีสถาน และ ไกลาศ สัตยาธี นักรณรงค์ดา้ นการศึกษาชาวอินเดีย

อัสมา กล่าวถึง มาลาลา ยูซาฟไซ ว่า “มาลาลาบอกว่า ที่เขามายืนได้ตรงนี้ไม่ใช่เพราะดวงดี แต่เป็นเพราะว่ามี คนสนับสนุนเขา คือมีครอบครัวที่ค่อนข้างมั่นคง เป็น แรงผลักดันที่จะท�าให้เขาลุกขึ้นสู้ ท�าให้เราคิดว่าขณะที่ มาลาลาก็เป็นเยาวชนเหมือนกับเรา ก็เป็นแรงบันดาลใจ ว่าเยาวชนอย่างเราก็สามารถที่จะสร้างการเปลี่ยนแปลง ทีจ่ ะท�าอะไรดีๆ ให้แก่คนอืน่ ได้” สิรพัชร ประทับใจค�ากล่าวของ ไกลาศ สัตยาธี ที่ว่า “Let us march from darkness to light. Let us march from mortality to divinity. Let us march!” “เขาพูดให้เราทุกคนในสังคมโลกเดินไปด้วยกัน แทนที่จะให้เด็กเข้าไปท�างานในโรงงาน แต่ต้องส่งเขา เข้ า ไปในการศึ ก ษา นี่ คื อ สิ่ ง ที่ ไ กลาศพยายามจะสื่ อ ผมคิดว่านี่เป็นสิ่งที่ส�าคัญมาก และเป็นสิ่งที่ผมจะไม่มี ทางลืมเลย”


26 GMBiZ

JA N UA RY 2 0 1 5

it trend

Sharing Economy เศรษฐกิจยุคแบ่งปัน ทรัพยากร

ค�าศัพท์ยอดฮิตอย่างหนึง่ ของวงการไอทีปนี ี้ คือ Sharing Economy ครับ

Sharing Economy หมายถึงเศรษฐกิจทีค่ นไม่เป็น เจ้าของทรัพย์สนิ เอง ‘ทัง้ หมด’ และน�าทรัพย์สนิ หรือ ทรัพยากรที่เหลือใช้มาแบ่งปันให้คนอื่นเช่าใช้งาน อธิบายเป็นหลักการอาจดูยากไปหน่อย ยกตัวอย่าง ง่ายๆ ว่า บ้านมีหอ้ งนอน 3 ห้อง ใช้เอง 2 ห้องทีเ่ หลืออยู่ แทนที่จะปิดไว้เฉยๆ ก็เอามาให้ ค นอื่ น เช่ า ดี ก ว่ า เจ้าของบ้านได้รายรับเพิ่ม ส่วนผู้เช่าก็ประหยัดเงินแทนการไปเช่า โรงแรมราคาแพง แนวคิ ด นี้ ไ ม่ ใ ช่ ข องใหม่ เ ลย แต่ มั น ฮิ ต ขึ้ น มาเพราะยุ ค ของ สมาร์ทโฟนและแอพพลิเคชันมือถือ กลายเป็น ‘ตัวช่วย’ ให้คนสามารถ แบ่งปันทรัพยากรได้งา่ ยขึน้ กว่าเดิมมากๆ ตัวอย่างยอดฮิตของธุรกิจแนวแบ่งปันทีค่ นไทยน่าจะเริม่ คุน้ เคยคือ Uber แอพเรียกรถแท็กซีแ่ นวใหม่นนั่ เอง แนวคิดของ Uber คือให้คนขับรถลีมูซีนที่ว่างงานอยู่ ไม่มีคิว รับผู้โดยสารในระบบปกติ สามารถรับ ‘งานนอก’ โดยว่าจ้างและ นัดหมายระหว่างคนขับกับผูโ้ ดยสารด้วยแอพพลิเคชัน ภายหลัง Uber ขยายแนวคิดจากแค่คนขับลีมูซีนเป็นคนทั่วไป ที่อยากหาล�าไพ่พิเศษด้วยการรับจ้างขับรถด้วย (ถือเป็นทรัพยากร บุคคล-รถยนต์ที่ว่างงานอยู่) แต่ก็ต้องเผชิญกับการต่อต้านของ หน่วยงานภาครัฐทีก่ า� กับดูแลด้านขนส่ง นอกจาก Uber แล้วเรายังมีธรุ กิจแบ่งปันผ่านแอพพลิเคชันอืน่ ๆ อีกมาก ที่ดังมากในต่างประเทศคือ Airbnb บริการแบ่งปัน ห้องพัก-ห้องเช่า (เมืองไทยอาจไม่คอ่ ยนิยมนักเพราะคนไทย ไม่คอ่ ยนิยมแบ่งบ้านให้เช่า) ซึง่ ก็ถกู ต่อต้านจากหน่วยงาน ภาครั ฐ บางแห่ ง ของสหรั ฐ อเมริ ก าเช่ น กั น เนื่ อ งจาก บริการนี้ซ้อนทับกับห้องพักระยะสั้นแบบโรงแรมที่มี มาตรฐานและการควบคุมดีกว่า บริการอื่นๆ ในท้องตลาดยังมี DogVacay รับจ้าง เลี้ยงหมาขณะไม่อยู่บ้าน, Lyft บริการรถรับจ้างแบบ เดียวกับ Uber, JuskPark แบ่งปันที่จอดรถที่เช่าเอาไว้ แต่อาจไม่ใช้งาน เป็นต้น อย่างที่เขียนไปนะครับว่า การแบ่งปันทรัพยากร แบบนี้ ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ อ งใหม่ แต่ ใ นอดี ต ติ ด ข้ อ จ� า กั ด ทาง กายภาพ การสือ่ สารระหว่างผูซ้ อื้ และผูข้ ายท�าได้ลา� บาก พอมาถึ ง ยุ ค ที่ แ ทบทุ ก คนมี ส มาร์ ท โฟนใช้ ง าน การสื่อสารเพื่อเชื่อมระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขายท�าได้ง่าย ขึ้นมาก เราจึงเห็นแอพพลิเคชันแบ่งปันลักษณะนี้ เกิดขึน้ มาในแทบทุกวงการ ข้อดีของ Sharing Economy คือเป็นการตัดตัวกลางทีค่ อย กินหัวคิวลงไป ผู้ซื้อและผู้ขายสมประโยชน์มากขึ้น จ่ายน้อยลง ได้ ค ่ า ตอบแทนดี ก ว่ า อยู ่ ว ่ า งๆ แต่ มั น ก็ มี ข ้ อ เสี ย ในด้ า นกลั บ คือหน่วยงานรัฐก�ากับดูแลล�าบาก อาจเกิดปัญหาฉ้อโกงกันได้ ง่ายขึน้ เอาผิดคนโกงได้ยากกว่าเดิม ซึง่ ตรงนีเ้ ป็นสิง่ ทีค่ นท�าธุรกิจ Sharing Economy ต้องหามาตรการแบบใหม่ๆ คอยป้องกันตัวเอง และลูกค้ากันต่อไปครับ

อิสริยะ ไพรีพา่ ยฤิทธิ์ : กูรดู า้ นไอทีและผูแ้ ต่งหนังสือขายดี ‘สร้างเว็บไซต์ให้ครบสูตร ด้วย Drupal’

Wearable Device Device Trend แห่งอนาคต ถ้าจะพูดถึงเทรนด์ Device ในระยะเวลา อันใกล้ อาจจะต้องยอมรับว่า เรือ่ งของเทรนด์ไอเดียในการ สร้าง Wearable Device หรือ ‘อุปกรณ์ทสี่ วมใส่ได้’ น่าจะเริม่ เห็นภาพชัดขึน้

หลังจากที่ Google ได้เข็น Google Glass แว่นตาอัจฉริยะ ออกมาเมือ่ ปีที่ แล้ว และหลังจากนัน้ ไม่นาน บรรดา Smart Watch หรือนาฬิกาหลากหลาย รู ป แบบบนพื้ น ฐานเดี ย วกั น ที่ เ รี ย ก ว่า Android Wear จากหลายผู้ผลิต เช่น Samsung Gear, Moto 360, LG G Watch ก็ตามเข้ามาติดๆ และสร้างความคึกคักให้กับ วงการ Device จน Apple ต้องกระโดดเข้ามาแจมด้วย Apple Watch ทันที ซึง่ ตรงนีก้ า� ลังส่งสัญญาณถึงการแข่งขันของบริษทั ไอทีทงั้ หลายทีจ่ ะไม่หยุดอยูเ่ พียงแค่การผลิต คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตอีกแล้ว แต่นคี่ อื ยุคทีเ่ ริม่ ล�า้ เข้ามาถึงอุปกรณ์ทเี่ ป็นส่วนตัวมากขึน้ มีหลายกูรใู นวงการไอทีพยายามจะชีใ้ ห้เห็นว่าการพัฒนาอุปกรณ์ Wearable Device ออกมานัน้ เป็นทิศทาง ของการก้าวไปอีกขัน้ ของตลาด Device ทีเ่ ริม่ จะหมดมุข แต่ถา้ จะลองโฟกัสสาเหตุหลักๆ แล้วละก็ น่าจะมาจาก การสร้างให้ Device รูปแบบนีเ้ ป็นส่วนขยายของโทรศัพท์สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ต เพือ่ ให้เข้ากับโมบิลติ เี้ ทรนด์ แบบเด่นชัดมากขึน้ ขณะเดียวกันก็เพือ่ ตอบโจทย์ Healthy Trend ในลักษณะของการเป็นอุปกรณ์ทคี่ อยตรวจสอบ และเก็บข้อมูลสภาวะร่างกายของผูส้ วมใส่ เช่น อัตราการเต้นของหัวใจ การเคลือ่ นไหว (จ�านวนก้าวหรือระยะทาง) เพือ่ น�ามาใช้วเิ คราะห์สขุ ภาพของผูส้ วมใส่ได้ทนั ทีหรือท�าเป็นสรุปข้อมูลภายหลังก็ได้ ดังนั้นจึงเชื่อว่า Wearable Device อาจจะเริ่มผลิบานความเป็นตัวเอกของวงการ Device และเป็น Inspiration ให้เกิดขึน้ กับอุปกรณ์สวมใส่ในรูปแบบอืน่ ๆ เพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ในอนาคต นอกเหนือจาก แว่นตา และนาฬิกา ซึง่ อาจจะมีแหวน แถบรัดข้อมือ สร้อยคอ ฯลฯ อีกมากมาย เตรียมใจเปิดรับ และเตรียมตังค์ รอเมือ่ มันมาให้ดลี ะกัน

product review

สมาร์ทโฟนทรง 8 เหลีย่ ม ต้องยอมรับว่า การค้นหาตลาดสมาร์ทโฟน ในปี ที่ มี ก ารเปิ ด ตั ว สิ น ค้ า รุ ่ น ใหม่ ๆ กั น จน เราๆ ท่านๆ แทบจะตามอัพเดทกันไม่ทนั นัน้

ถือเป็นเรือ่ งทีเ่ หนือ่ ยเอาการ โดยเฉพาะกับคนทีก่ า� ลัง มองหาสินค้ารุน่ ใหม่ๆ ทีม่ นั ‘ใช่เลย’ ทัง้ ดีไซน์ ฟังก์ชนั และ ราคาที่เหมาะกับตัวเอง ก็ใช่ว่าจะหาได้ตรงใจเป๊ะ! เพราะ ไอ้รนุ่ ทีด่ ไี ซน์โดนๆ สเปคแรงๆ ราคาก็เหยียบกันหลักหมืน่ ปลายๆ หรือไปแตะเอา 2 หมื่นอัพ ท�าให้ใครก็ตามที่ก�าลัง อยากจะพัฒนาจากการใช้สมาร์ทโฟนระดับแรกเริ่มมาสู่ สมาร์ทโฟนที่มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น ก็ต้องคิดแล้วคิดอีก พอสมควร แต่ไม่นานมานี้ มีข่าวคราวของสมาร์ทโฟนอยู่ 2 รุ่น ที่มีการพูดถึงอยู่พอสมควร โดยทั้ง 2 รุ่น ถือเป็นสมาร์ทโฟนที่ เรียกได้วา่ ‘สเปคเยีย่ ม’ ในราคาทีน่ า่ สัมผัส โดยตัวแรกเป็นสมาร์ทโฟน สเปคเทพจากแบรนด์นอ้ งใหม่ในประเทศเยอรมันอย่าง Linshof ทีเ่ พิง่ เปิดตัว ‘Linshof i8’ ไปหมาดๆ ซึง่ เจ้าสมาร์ทโฟนรุน่ นีม้ าพร้อมกับดีไซน์ สุดเฟีย้ วกับตัวเครือ่ งทรง 8 เหลีย่ มด้านไม่เท่า ต่างจากดีไซน์ทวั่ ๆ ไป ทีจ่ ะเน้นทรงโค้ง หรือการดีไซน์แบบบาง มาพร้อมหน้าจอขนาด 5 นิว้ ความละเอียด Full HD แบบ Super AMOLED ระบบปฏิบตั กิ ารตัวใหม่ ล่าสุด Android 5.0 Lollipop ครอบทับด้วย Linshof UI ซีพยี ู Octa-Core (8 Core) ความเร็ว 2.1GHz แรม 3GB พืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูล 80GB กล้องหลัง ความละเอียด 13 ล้านพิกเซล เซนเซอร์ Sony CMOS, รูรบั แสง F1.8 และ มุมกว้าง 28 มม. กล้องหน้าความละเอียด 8 ล้านพิกเซล รองรับ Wi-Fi, NFC, 4G LTE, GPS, Bluetooth v4.0, HDMI 1.4 ตัวเครือ่ งบาง มีนา�้ หนัก 140 กรัม และแบตเตอรี่ 3,100mAh ซึง่ ทีก่ ล่าวมานี้ หลายคนคงคิดว่า ‘แพง’ ชัวร์ แต่ราคาเปิดตัวอยู่ที่ 380 เหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 12,000 บาทเท่านัน้ คาดว่าจะเริม่ วางจ�าหน่ายในไตรมาสแรกของปี 2015 ตรงนีก้ ต็ อ้ งรออัพเดทกันดูวา่ จะมีใครน�ามาจ�าหน่ายหรือไม่

Urbanizm ถ้ า ว่ า ตามตรง Urban มีความหมายทีเ่ กีย่ วกับเมือง ในยุคบริโภคนิยม เมือ่ ไม่นาน มานี้ท�า ให้เกิดยุคของลัทธิ สังคมเมืองใหญ่ การอยาก เป็นคนเมือง ไลฟ์สไตล์แบบ คนเมือง ที่ ไม่เกี่ยวข้องกับ ขอบเขตของเมือง ว่าจะแผ่ ความเจริ ญ เข้ า มาหรื อ ไม่ และไม่เกี่ยวกับ ชัยภูมิที่ตั้ง แม้แต่น้อยว่าตรงนั้นจะเป็น เมืองหรือเปล่า ยุคของลัทธิ สังคมเมืองใหญ่ที่เห็นได้ชัด อาทิ คอนโด สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต บัตรเครดิตรถยนต์ ฯลฯ แต่ทบี่ อกว่าไม่เกีย่ วกับ พื้ น ที่ ท างภู มิ ศ าสตร์ เช่ น คนในชนบทก็ อ ยากซื้ อ สมาร์ทโฟนทั้งที่สัญญาณ โทรศั พ ท์ อ าจยั ง ไม่ เ สถี ย ร เป็นต้น


2 0 1 5 JA N UA RY

GMBiZ 27

think out loud

ตายแล้วเกิดใหม่

ในงานเลีย้ งขอบคุณทีมวิทยากรของสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย (IOD) ผมได้มโี อกาสฟังปาฐกถาพิเศษ จาก Prof. Dipak C. Jaine Ph.D. คณบดีของสถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจ ศศินทร์ ผมขอหยิบเนื้อหาบางส่วนที่ท่านได้ วิเคราะห์ไว้ได้อย่างน่าสนใจเกีย่ วกับวิวฒ ั นาการของธุรกิจทัง้ ในอดีตและอนาคตมาเล่าสูก่ นั ฟัง

หนึง่ ฤทัย ตวงโชคดี Giants Yakiniku เล่นในเกมทีถ่ นัด

ครัง้ หนึง่ คนเคยมองว่าอาหารปิง้ ย่างอาจจะเป็นแค่กระแสความฮิตไม่นานคนก็เลิกรากันไป แต่เวลาได้พสิ จู น์แล้วว่า ไม่วา่ จะย่านไหนหรือห้างสรรพสินค้าใดต้องมีรา้ นปิง้ ย่างเป็นไฮไลท์ หนึง่ เสมอ แถมยังมีคนต่อคิวรอเข้าร้านแทบทัง้ วัน อาหารปิง้ ย่างจึงครองใจคนไทยได้ไม่แพ้ อาหารญีป่ นุ่ หรือสุกชี้ าบูเลย และในบรรดาร้านปิง้ ย่างทีข่ นึ้ ชือ่ ว่าอร่อย คุม้ ราคา ต้องมีชอื่ ร้าน ไจแอนท์ส ยากินคิ ุ รวมอยูใ่ นนัน้ ด้วยแน่นอน หนึง่ -หนึง่ ฤทัย ตวงโชคดี กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ยากินคิ ุ ไจแอ้นท์ส (ประเทศไทย) จ�ากัด เล่าถึงต�านาน ร้านปิ้งย่างชื่อดัง ไจแอนส์มีมานานถึง 15 ปี โดยเริ่มจากเมนูอลาคาร์ทเสิร์ฟเป็นจานๆ จนกระทัง่ ปี 2554 จึงตัดสินใจท�าร้านอาหารแบบบุฟเฟ่ต์ เราอยูใ่ นเกมวัตถุดบิ หนึ่งเป็นทั้งเจ้าของร้านอาหารที่เติบโตขึ้นมาจากการเป็นพ่อครัว ดังนั้น ‘ไจแอนท์ส’ ที่เขาสร้างมา กับมือจึงเต็มไปด้วยวัตถุดบิ ทีถ่ กู คัดสรรมาอย่างดี “เกมของเราเป็นเกมวัตถุดบิ ความท้าทายคือใครทีถ่ อื ครองวัตถุดบิ รวมถึงความสามารถพัฒนาวัตถุดบิ ให้กลายเป็นอาหารได้ อย่างอาหารปิง้ ย่างคนอาจจะมองว่าไม่ใช่อาหารสุขภาพ แต่เราก็ดไี ซน์ให้เป็นอาหารสุขภาพได้ ด้วยการสร้าง สมดุลในการกิน เมื่อก่อนร้านอาหารยังไม่ใช้เห็ดออรินจิ เราเห็นว่าคนกินปิ้งย่างเยอะมากถึง 500-600 คน ในแต่ละสาขา เราก็เลยมองว่าถ้าเราเอาเห็ดออรินจิซึ่งในตอนนั้นยังแพงมากเข้ามาล่ะ เพราะเห็ดออรินจิ มีสารต้านอนุมลู อิสระสูง ส่วนกระเทียมสามารถดักจับไขมัน จับคอเรลเตอรอล เราก็ใช้กระเทียมสับ เสียค่าแรง ในการสับกระเทียมวันหนึง่ หลายร้อยบาท ต้องใช้แรงงาน 2-3 คนท�า นีค่ อื รูปแบบทีเ่ ราดีไซน์อาหารของเรา” เมื่อร้านหนึ่งประสบความส�าเร็จ ก็ถึงเวลาต้องเติบโต ไจแอนท์สสาขาสอง สาม สี่ เริ่มตามมา จึงต้อง ตัง้ ครัวกลางขึน้ มาเพือ่ คงคุณภาพวัตถุดบิ ให้เทียบเท่ากันทุกสาขา หนึ่งยอมรับว่าไม่มีพื้นฐานทางการตลาด หรือการเงิน แต่เขาเชี่ยวชาญเรื่องอาหาร จึงเน้นเรื่องอาหาร เป็นอันดับแรก ท�าอาหารเอง คัดเลือกวัตถุดิบเอง และเขาก็ไม่มีความรู้เรื่องการบริการแบบแบรนด์ใหญ่ๆ แต่เลือกให้บริการแบบล้นใจ เขาบอกว่าแค่ ‘ยิม้ -ถามลูกค้าว่ารับอะไรเพิม่ ไหม-เติมน�า้ -เปลีย่ นตะแกรง’ ก็บริการ ได้ถงึ ใจลูกค้าแล้ว ไจแอนท์สกลายเป็นผูช้ นะในเกมวัตถุดบิ เพราะหนึง่ ฤทัยเลือกทีจ่ ะเล่นเกมแบบทีเ่ ขาถนัด ยักษ์ขยายตัว แต่หลังจากทีผ่ คู้ นต่างยอมรับว่าถ้าอยากกินอาหารปิง้ ย่างก็ตอ้ ง ‘ไจแอนท์ส’ จนกลายเป็นร้านติดลมบนไป แล้ว เขาจึงต้องเล่นเกมในสนามใหม่ทใี่ หญ่ขนึ้ กว่าเดิม ในสนามทีเ่ รียกว่า เกมเรียล เอสเตท การจะขยายสาขาแต่ละครั้งต้องใช้เงินลงทุนที่ค่อนข้างสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าอยากได้ท�าเลทอง มาเป็นที่ตั้งร้าน ก็ต้องยอมแลกกับค่าเช่าที่แพงหูฉี่ ดังนั้นความสามารถในการบริหารพื้นที่เช่าต่อ ตร.ม. ให้ได้กา� ไรสูงสุดในแต่ละปีจงึ เป็นเรือ่ งส�าคัญ เกมล่าสุดทีไ่ จแอนท์สลงไปเล่น คือ เกมมูลค่าของแบรนด์ ทีไ่ ด้มาไม่ได้มาจากการขายอาหารอย่างเดียวแล้ว แต่เป็นมูลค่าทีไ่ ด้จากการซือ้ แฟรนไชส์ หนึง่ ฤทัยเริม่ วางระบบร้านทุกสาขาให้บริหารแบบแฟรนไชส์ตงั้ แต่ปี 2552 แม้วา่ ในขณะนัน้ เขายังไม่ได้คดิ ขายแฟรนไชส์กต็ าม “ตอนนัน้ ผมต้องการวางรูปแบบบริษทั หรือร้านอาหารให้เป็นระบบเหมือนกับแบรนด์ใหญ่ๆ เราจะเลือก วิธีไหนซึ่งมันครอบคลุมไปในอนาคต เราก็เลยเลือกระบบแฟรนไชส์ ซึ่งระบบแฟรนไชส์ละเอียดอ่อนกว่า ระบบทัว่ ไป เราเลียนแบบแบรนด์ใหญ่ๆ ทีไ่ ปได้ ทัว่ โลก ไม่วา่ จะเป็นแบรนด์แฮมเบอเกอร์หรือไก่ทอด เขาขายเป็น มาสเตอร์แฟรนไชส์ไป ซึง่ ขายได้ทวั่ โลก เมื่อเทียบกับแบรนด์ที่ขยายด้วยตัวเองจริงๆ การที่จะไปได้ทั่วโลกก็ไปได้แค่ประเทศละ 1-2 สาขา ซึง่ เราไม่อยากเป็นอย่างนัน้ เพราะฉะนัน้ ในเมือ่ ปัจจุบนั เราต้องการจะเป็นระบบอยูแ่ ล้ว เราจึงเลือกบริหารแบบ แฟรนไชส์เพือ่ เตรียมความพร้อม” จากการมองการณ์ไกลวางระบบงานของหนึ่งฤทัยในวันนั้น กลายเป็นแรงผลักให้ไจแอนท์สเปิด ให้บริการทัง้ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดได้เร็วยิง่ ขึน้ เขาตัง้ เป้าขยายให้ถงึ 40 สาขาในปลายปี 2558 แถมยังมีแผนโกอินเตอร์ให้ได้ในปีเดียวกัน โดยเริม่ จากญีป่ นุ่ อเมริกา ยุโรป ส่วนเพือ่ นบ้านในแถบประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนต้องรอไปก่อน เขาบอกว่ารอให้ตลาดนิง่ อีกสักหน่อยค่อยบุกแบบจัดเต็ม

• Colonialsm (ยุคของการไล่ลา่ อาณานิคม) ในยุคต้นจนถึงช่วงปี ค.ศ. 1900 การแข่งขันเกิดขึ้นในระดับประเทศ ประเทศมหาอ�านาจ ทั้งหลายต่างพยายามออกล่าหาเมืองขึ้นเพื่อสร้างอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ เพราะต่างก็เชือ่ ว่าขนาดของผืนดิน ผืนน�้า รวมถึงทรัพยากรต่างๆ ทัง้ ทีอ่ ยู่ บนผืนดินและใต้ทะเลนั้นคือดัชนีชี้วัดความเข้มแข็งระดับประเทศ ความได้เปรียบเชิงการแข่งขันในยุคนัน้ จึงถูกก�าหนดโดยความสามารถ ในการรวบรวมดินแดนให้เป็นปึกแผ่น • Capitalism (ยุคทุนนิยม) มาถึงในยุคปี ค.ศ. 1900-2000 จุดโฟกัส เริม่ เปลีย่ นไปอีกครัง้ กับการสร้างกลไกตลาดทีท่ า� ให้เกิดการแข่งขันอย่าง เสรี ความได้เปรียบเชิงการแข่งขันกลับไม่ได้อยู่ในมือของประเทศที่มี ทรัพยากรมากที่สุด แต่กลับไปอยู่ในมือของประเทศที่มีสาธารณูปโภค ขัน้ พืน้ ฐานทีเ่ พียบพร้อม และสามารถผลิตสินค้า/บริการเพือ่ การส่งออก จนมีดลุ การค้าระหว่างประเทศทีเ่ ป็นบวก พลวัตของการแข่งขันจึงพุง่ เป้า ไปทีร่ ะดับองค์กรมากกว่าระดับประเทศ ความส�าเร็จจึงถูกชีว้ ดั ด้วยขนาด ขององค์กรและความสามารถในการสร้างผลตอบแทนสูงสุดให้กบั ผูถ้ อื หุน้ • Entrepreneurialism (ยุคของการเป็นผูป้ ระกอบการ) ตัง้ แต่ ปี ค.ศ. 2000 เป็นต้นมา ระบบทุนนิยมเริ่มล่มสลาย บัลลังก์ที่เคยถูก ยึดครองโดยองค์กรยักษ์ใหญ่มอี นั ต้องสัน่ คลอนเพราะวิกฤติทางเศรษฐกิจ ผลประกอบการที่เคยเติบโตอย่างก้าวกระโดดกลับถอยหลังลงคลอง พลาดเป้ากันเสียยกใหญ่ ปัจจัยภายนอกต่างรุมเร้าท�าให้องค์กรทัง้ หลาย ต้องปรับขนาดให้เล็กลง กลับมาพิจารณาตัวเองใหม่วา่ จะต้องท�าอย่างไร ให้ธุรกิจเกิดความยั่งยืน ในเมื่อวงจรธุรกิจมันสั้นลง องค์กรจึงต้องการ ไอเดียในการสร้างนวัตกรรมทีต่ อบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภคทีม่ ี พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและยังต้องสร้างภาพลักษณ์ ให้กลายเป็นองค์กรที่ทรงคุณค่า จากที่เคยให้ความส�าคัญกับผลก�าไร เพียงอย่างเดียว ตอนนีจ้ งึ ต้องใส่ใจเรือ่ งสังคม สิง่ แวดล้อม และคุณภาพชีวติ ของผูบ้ ริโภคควบคูก่ นั ไปด้วย นับจากนีไ้ ป...เราจะเห็นธุรกิจเกิดใหม่มากมายในทวีปอเมริกาและ เอเชีย แต่ไม่ใช่ในยุโรป นับจากนีไ้ ป...ธุรกิจทีเ่ คยผูกขาดจะเริม่ อ่อนแรงลง ผูบ้ ริโภคจะเริม่ ออกมาเรียกร้องเพือ่ ขอความเป็นธรรมมากขึน้ นับจากนีไ้ ป...รอบหมุนของธุรกิจจะสัน้ ลงเหลือเพียง 3-5 ปี เท่านัน้ ถ้าไม่มนี วัตกรรมก็จงออกไปซะ นับจากนีไ้ ป...อายุเฉลีย่ ของนักธุรกิจทีป่ ระสบความส�าเร็จ ในระดับโลกจะน้อยลงไปเรือ่ ยๆ นับจากนีไ้ ป...เทคโนโลยีจะเข้ามาเปลีย่ นวิถชี วี ติ ของมนุษย์อย่างที่ ไม่เคยมีมาก่อน นับจากนีไ้ ป...คนจะให้ความสนใจเกีย่ วกับเรือ่ ง Healthcare และ Wealthcare กันมากขึน้ นับจากนีไ้ ป... มนุษย์จะมีความฉลาดมากขึน้ เห็นแก่ตวั มากขึน้ แต่จะจงรักภักดีตอ่ แบรนด์นอ้ ยลง ในทีส่ ดุ ค�าว่า Creative Destruction หรือการท�าลายล้างอย่าง สร้างสรรค์อาจเป็นค�าตอบสุดท้ายของการอยูร่ อด เมือ่ คุณยอมท�าลาย ความเชื่อดั้งเดิมที่ว่าธุรกิจถูกสร้างมาแบบ Built to Last คือไม่มี วันตาย ให้กลาย Destroy to Survive คือยอมฆ่าตัวเองตายแล้ว รีบเกิดใหม่กอ่ นทีจ่ ะมีใครบุกมาฆ่าโดยไม่ทนั ได้ตงั้ ตัว

สมชาติ ลีลาไกรศร : เจ้าของผลงานการแต่งหนังสือ ‘คิดออกนอกหน้า’, กูรกู ลยุทธ์และ ยุทธศาสตร์ของธุรกิจ SME


28 GMBiZ

JA N UA RY 2 0 1 5

know me more

ดร.สิงห์ อินทรชูโต เรารูจ้ กั ดร.สิงห์ อินทรชูโต ในฐานะนักออกแบบผลิตภัณฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อม และได้ชนื่ ชมกับผลงานแปรรูปขยะทีห่ ลายคนต้องถาม ออกมาว่า ‘คิดได้ไง’ แต่ครัง้ นีเ้ ราขอคุยกับ ดร.สิงห์ แบบ A Guy Next Door บ้างว่า อืมมม เป็นยังไงกันนะ !?!

idol place

PURE SUNSET BEACH

ในฐานะอาจารย์ ดร.สิงห์ชอบลูกศิษย์แบบไหน ดร.สิงห์ : ผมชอบลูกศิษย์ทกี่ ล้าเสีย่ ง ขยันทดลอง ช่างคิดแต่กเ็ ป็นผูฟ้ งั ทีด่ ี กล้าท�าอะไร ทีอ่ าจถูกด่าได้ แต่คอยรายงานให้ทราบอยูเ่ นืองๆ ผมจะได้ตงั้ หลักถูก บ้านของอาจารย์สงิ ห์มเี ฟอร์นเิ จอร์แบบอีโคอยูก่ ชี่ นิ้ ดร.สิงห์ : โอ้โห!! จะนับยังไงไหว พัฒนาขึน้ มาใหม่ตลอด คนยกไปจากบ้านบางทียงั ไม่เอะใจเลย (รูอ้ ย่างนีแ้ ล้ว อย่ามาบ้านผมนะครับ) ใช้ได้ดบี า้ ง แย่บา้ ง เป็นงานต้นแบบ ต้องใช้กบั บ้านตัวเองก่อน จะได้รวู้ า่ เป็นยังไง ใช้งานอย่างไร คิดว่าน่าจะมีมากกว่า 50 ชิน้ ถ้าไม่ใช่กรีนเฟอร์นเิ จอร์ อาจารย์สงิ ห์ออกแบบอะไรไว้อกี บ้าง ดร.สิงห์ : มากมาย ตัง้ แต่นามบัตร โลโก้สนิ ค้า ขวดแชมพู กระเป๋า หนังสือ ไปจนถึงบ้าน คอนโด คุก สถานพักฟืน้ นกทีเ่ พิง่ ไปรับรางวัล Holcim Gold Awards มากับสถาปนิก คิดดีทกี่ รุงจาการ์ตา เมือ่ เดือนทีแ่ ล้วนีเ่ อง อาจารย์สงิ ห์ออกแบบชีวติ ตัวเองยังไง ดร.สิงห์ : ลืมออกแบบชีวิตตัวเองไปสนิทเลย ถึงว่าแทบไม่มีชีวิตแล้วในช่วงอาทิตย์ ทีผ่ า่ นมา จริงๆ แล้วผมอยากมีชวี ติ ทีเ่ ต็มไปด้วยความเปลีย่ นแปลง ผมเลยท�าโน่นท�านี่ มากมายทีท่ กุ คนเห็น ท�างานเยอะและหลากหลาย ผมไม่ได้เครียดนะครับ แต่สนุกมาก กับการสร้างสรรค์ ผลงานต่างๆ โดยเฉพาะทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ สังคมและสิง่ แวดล้อมยิง่ ท�าให้ รูส้ กึ ดี ไม่เพ้อฝันออกแบบสนุกไปเรือ่ ย ขยะชิน้ ไหนทีม่ หัศจรรย์ทสี่ ดุ ดร.สิงห์ : ยากมากที่จะตอบครับ ชิ้นที่มหัศจรรย์คือชิ้นที่ยังท�าไม่ได้ ยังไม่พบวิธีน�า กลับมาใช้ พอท�าได้แล้ว ความมหัศจรรย์ก็ลดลง ตอนนี้ผมตื่นเต้นกับเศษจากกัญชง (ฟังดู ผิดกฎหมาย) เส้นใยปาล์ม และขยะจากโรงพยาบาล (น่ากลัวดี) เพราะมันยัง หาทางออกไม่ได้ มืดแปดด้าน

PURE SENSET BEACH ทีเ่ ราก�าลังพูดถึงนี้ เป็นโครงการทีเ่ กิดขึน้ จาก นิโคลัส บุชเชอร์ ผูล้ งทุนและสถาปนิกผูอ้ อกแบบตัง้ ใจจะใช้ ชีวิตวัยเกษียณในเมืองไทย โดยที่ไม่คิดจะเก็บความรื่นรมย์นี้ ไว้เพียงคนเดียว หนุม่ ใหญ่ชาวสวิสน�าประสบการณ์ในฐานะนักพัฒนอสังหาริมทรัพย์ และสถาปนิกผูอ้ อกแบบโครงการในต่างประเทศมาแล้วนับไม่ถว้ น มา ออกแบบโครงการระดับมาสเตอร์พชี ทีเ่ มืองไทยด้วยนิยาม ‘ความเป็น หนึง่ เดียวกับธรรมชาติ’ และเขาเลือกหาดตะวันรอน นาจอมเทียน อ�าเภอ สัตหีบ ซึ่งเป็นหนึ่งในหาดที่ได้ชื่อว่ามีพระอาทิตย์ตกดินที่สวยที่สุด แห่งหนึง่ ในเมืองไทยให้เป็นท�าเลทีต่ งั้ คอนโดมิเนียมอันเงียบสงบ สถาปัตยกรรมสีขาวสไตล์ยโู รเปียนตัง้ เรียงราย ลดหลัน่ กันตามแนว ลาดชันของทีด่ นิ ท�าให้ทกุ ห้องสามารถมองเห็นวิวทะเลได้แบบพาโนรามา โดยทีต่ วั อาคารไม่ได้แปลกแยกจากธรรมชาติโดยรอบแม้แต่นอ้ ย เพราะ การออกแบบทีใ่ ช้เส้นสายได้ตอ่ เนือ่ ง เห็นได้ชดั จากบันไดวนซึง่ มีทมี่ า จากปล่องประภาคาร ท�าให้ดกู ลมกลืนกับต้นไม้ ชายหาด ทะเล และเส้น ขอบฟ้า เกิดเป็นความรูส้ กึ โปร่ง โล่ง สบาย ซึง่ จะช่วยช�าระความเหนือ่ ยล้า และเติมเต็มพลังชีวติ ให้ในขณะเดียวกัน แต่การเป็นมิตรกับธรรมชาติไม่ได้จบลงตรงทีร่ ปู ทรงของตัวอาคาร แต่ยงั ครอบคลุมไปถึงระบบต่างๆ ทีช่ ว่ ยอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม ทัง้ ระบบ การหมุนเวียนน�้าใช้และน�้าเสีย ระบบกรองเก็บน�้าฝนส�าหรับดื่มใช้ ระบบไฟ LED ระบบลิฟท์ประหยัดพลังงานจากญีป่ นุ่ ระบบพลังงาน แสงอาทิตย์ ส�าหรับไฟส่องสว่าง ระบบพลังงานแสงอาทิตย์เพือ่ ท�าน�า้ อุน่ การออกแบบเพือ่ ลดการใช้เครือ่ งปรับอากาศ การค�านวณหาทิศทางลม ทีเ่ หมาะสม ผนังสองชัน้ คัน่ ฉนวนกันความร้อน ชายคากันแดด แม้จะยังไม่ถงึ วัยเกษียณก็อยากจะพักผ่อนท่ามกลางธรรมชาติ ของหาดตะวันรอนดูบา้ งแล้ว

www.pureNajomtien.com

038-238-538


2 0 1 5 JA N UA RY

GMBiZ 29

Eat & Drink เรือ่ ง : ปนิธติ า ภาพ : ยงยุทธ์ น้อมกลาง

Saka Ayutthaya

25th hour

เอกสิทธิ์ เข้มงวด

เดีย่ วจินตนาการบนรอยยับของกระดาษ

คุณเคยสนใจอะไรตัง้ แต่เด็กแล้วความสนใจนัน้ ยัง อยูม่ าจนถึงปัจจุบนั หรือเปล่า

ผู้ชายที่นั่งตรงหน้าเราในครั้งนี้ ชอบการพับกระดาษ มาตัง้ แต่อายุ 4 ขวบ จนถึงตอนนีใ้ นวัยเหยียบเลข 3 เขาก็ยงั ใช้เวลาว่างนอกเหนือจากการเป็นอาจารย์คณะบริหารธุรกิจ สถาบั น เทคโนโลยี ไ ทย-ญี่ ปุ ่ น ไปกั บ การหยิ บ กระดาษ สีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ขึน้ มาพับอะไรสักอย่าง ส�าหรับ ปอม-เอกสิทธิ์ เข้มงวด การพับกระดาษกลายเป็น มากกว่างานอดิเรกไปซะแล้ว ปอมเล่าว่าในวัยเด็กไม่มีของเล่นจึงต้องพับกระดาษ เล่ น เอง พอเริ่ ม โตขึ้ น ก็ อ ยากให้ ค นอื่ น มาชื่ น ชมผลงาน อยากได้รับการยอมรับจึงหาความรู้เรื่องการพับกระดาษ เพิม่ เติมจากห้องสมุดของมูลนิธญ ิ ปี่ นุ่ (Japan Foundation) และเมือ่ โตเป็นผูใ้ หญ่ การพับกระดาษไม่ใช่เป็นแค่ของเล่น อีกต่อไป แต่สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่านัน้ ทัง้ เป็น วิทยากรสอนพับกระดาษเพือ่ ให้คณ ุ ครูนา� ไปใช้เป็นสือ่ การ สอน หรือการสอนกลุม่ เด็กพิเศษเพือ่ เป็นกิจกรรมบ�าบัด หรือ หารายได้จากงานโฆษณา งานพับกระดาษของเขาถูกน�าไป ใช้ในโฆษณาเครื่องส�าอางโอเรนทอล พรินเซส ด้วยการ ส่งข้อความผ่านจดหมายทีพ่ บั เป็นกระต่ายทีส่ อื่ ถึงความซุกซน หรือแมงปอทีส่ อื่ ถึงความอิสระ เป็นต้น งานพับกระดาษของปอมเป็นงานทีเ่ รียกว่า Pure Origami มีธรรมเนียมทีว่ า่ ต้องใช้กระดาษสีเ่ หลีย่ ม จัตรุ สั เพียงแผ่นเดียว ไม่ตดั และไม่ใช้กาว “สมมติเราเลือกทีจ่ ะท�ายีราฟสักตัว ถ้าเรา เลือกไซส์กระดาษเอสี่ มันอาจจะดูขโี้ กงหรือ ง่ายเกินไป เพราะว่าคุณสามารถทีจ่ ะดีไซน์ ให้ ก ระดาษส่ ว นที่ ย าวกว่ า กลายเป็ น คอยีราฟ นักพับกระดาษทัว่ โลกเขาก็เลย ตกลงกันอย่างลับๆ ว่าถ้าจะให้ยตุ ธิ รรมต้อง จตุรัสเท่านั้น เป็นเกียรติยศของนักพับ กระดาษ!” กระดาษบวกกับจินตนาการก็ได้ออกมา ผลงานออกมาเป็นรูปเป็นร่างแล้ว แต่ปอม

ไม่เพียงแค่พบั ตามแบบคนอืน่ ผูช้ ายคนนีด้ ไี ซน์แบบพับ กระดาษเองด้วย ไม่วา่ จะเป็นพระพิฆเนศ หนุมาน เจ้าหุน่ ยนต์ บัมเบิลบี จากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ หรือเบย์แม็กซ์ หุน่ อ้วนน่ากอดจากภาพยนตร์บกิ๊ ฮีโร่ ซิกส์ “เวลาพูดถึงการดีไซน์ หลายคนชอบคิดว่ามันยุง่ ยาก ซับซ้อน แต่จริงๆ แล้ว ถ้าเราพับอะไรเป็นเราก็ดดั แปลงตัวนัน้ ล่ะให้เป็นแบบทีเ่ ราต้องการ สมมติเราอยากได้ไดโนเสาร์ เราก็ดดั แปลงจากนกก็ได้ บังเอิญผมรูจ้ กั แบบพับมากกว่า คนอืน่ ออพชัน ในการเลือกมาใช้กเ็ ลยเยอะกว่าคนอืน่ ” ข้างตัวปอมมีสมุดสไตล์ญปี่ นุ่ เล่มเล็กวางอยู่ เขาเปิด ให้ดูข้างในมีรูปแบบการพับนกแบบญี่ปุ่นที่ไม่ได้สอน ขัน้ ตอนการพับ แต่ให้เห็นแค่เส้นประเป็นรอยพับทีค่ นดู ต้องไปคิดเอาเองว่าจะต้องพับอย่างไร “ถ้าเราพับกระดาษเสร็จแล้วคลีม่ นั ออกมา เราจะเห็น รอยพับที่พุ่งสะเปะสะปะไปคนละทิศละทางเลย แต่พอ มั น มารวมตั ว กั น อยู ่ ใ นมุ ม หรื อ องศาที่ ส อดคล้ อ งกั น ก็สามารถสร้างงานทีม่ หัศจรรย์ได้ นีส่ อนว่าคนเราแตกต่าง กันได้ เราแค่ท�าหน้าที่บทบาทของเราให้ดี สังคมก็ สวยงามได้” ผลลัพธ์ของการพับกระดาษไม่ใช่แค่กระดาษทีเ่ ปลีย่ น รูปร่างไป แต่คนพับอย่างปอมก็ได้เรียนรูอ้ ะไรมากมาย “การพั บ กระดาษแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ปรั ช ญาที่ คนยุคใหม่น่าจะเข้าถึงได้ คือการใช้ทรัพยากรที่มี อยู่อย่างจ�ากัดด้วยการดึงพลังแฝงของมันออกมาใช้ เพือ่ ให้ได้ผลลัพธ์ทไี่ ม่จา� กัด เรามักมีขอ้ อ้างว่าเดีย๋ วเงินไม่พอ คนไม่พอ ทรัพยากรไม่พอ แต่การพับกระดาษถูก พิสจู น์แล้วว่ากระดาษแผ่นเท่าเดิม คุณจะพับ เป็นนกธรรมดาก็ได้ พับเป็นนกกระพือปีก ก็ได้ หรือพับเป็นนก 9 ตัวติดกันก็ได้ ผมว่า มันเป็นศิลปะที่ท�าให้เราเข้าถึง ความเป็นไปได้ ซึ่งค่อนข้าง ท้าทายโลกทุนนิยม”

ห้องอาหารนีอ้ ยูภ่ ายในโรงแรม Sala Ayutthaya เป็นร้านติดริมน�้าสามารถมองเห็นวิวฝั่งตรงข้ามซึ่งเป็น วัดพุทธไธศวรรย์ศาสนสถานในประวัติศาสตร์ที่ยังคงมีความสมบูรณ์ ทางสถาปัตยกรรมอย่างครบถ้วนสวยงาม ภายในร้านเน้นการตกแต่ง ทีเ่ ชือ่ มต่อความเป็นยุคสมัยอย่างลงตัว สร้างความอบอุน่ ด้วยการน�าอิฐ มาเป็นองค์ประกอบหลักในการดีไซน์ผนังในโซนต่างๆ ทัง้ ด้านในและ ด้านนอกให้มลี กั ษณะนูนต�า่ สลักค�าว่า Sala และ Onion ให้ความรูส้ กึ ไม่เป็นทางการ พร้อมสร้างมิติให้เพดานด้วยการน�าโคมไฟหินกลึง แกรนิตด�าทรงระฆังแขวน ซึง่ เข้ากับโต๊ะ เก้าอี้ โซฟา หลากดีไซน์ซงึ่ มี ทีม่ าต่างยุคสมัยมาจัดวางคูก่ นั อย่างลงตัว ขณะทีอ่ าหารก็เน้นแบบไทยๆ อย่างน�า้ พริกปลาทู ผัดฉ่าทะเลรวม กุง้ บัคเก็ต และกล้วยทอดเสิรฟ์ พร้อม ไอศกรีม Contact : Saka Ayutthaya เปิดทุกวันเวลา โทร. 035 242 588

Shopping

เรือ่ ง : ปนิธติ า ภาพ : บุษกร เบญจกุล

Levi’s® Vintage Clothing

คนไทยหัวใจยีนส์ตอ้ งกรีด๊ ดังๆ อีกครั้ง เมื่อลีวายส์น�ากางเกง ยี น ส์ สุ ด เก๋ า ระดั บ ต� า นาน Levi’s® Vintage Clothing (LVC) และยีนส์รุ่นพรีเมี่ยมสุดพิเศษ Levi’s® Made and Crafted™ (LMC) มาผลิ ต ใหม่ แ บบ เหมื อ นเก่ า ทุ ก กระเบี ย ดนิ้ ว ด้วยกรรมวิธตี ดั เย็บแบบดัง้ เดิม เพือ่ ให้เหล่าสาวกผูห้ ลงรักลีวายส์ได้จบั จองเป็นเจ้าของไอเท็มยีนส์ 501 สุดคลาสสิกโดยไม่ตอ้ งบินไกลถึงต่างแดน ครัง้ แรกในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายใต้เสน่หก์ ารตกแต่งร้านสไตล์วนิ เทจ ผสานกลิน่ อายคลาสสิก ขนานแท้ ด้วยความดิบของวัสดุที่เลือกน�ามาสร้างสรรค์ ไม่ว่าจะเป็น โครงเหล็กและไม้ ซึง่ ท�าหน้าทีเ่ ป็นไม้แขวนเท่ๆ และชัน้ วางกางเกงสุดเก๋ ท�าให้ไอเท็มยีนส์ทกุ ชิน้ โดดเด่น รวมถึงหินรูปเห็ดสุดน่ารัก ต้นไม้ไซส์จวิ๋ และหมวกชาวนา สามารถพาเรานึกย้อนกลับไปในช่วงประวัตศิ าสตร์ 124 ปีของลีวายส์ได้เป็นอย่างดี Contact : Levi’s® : ชัน้ 3 เซ็นทรัล เอ็มบาสซี่ เปิดให้บริการทุกวัน เวลา 10.00-22.00 น.

www.levisthailand.com


JA N UA RY 2 0 1 5

30 GMBiZ

biz buzz KTC : ระเฑียร Young Ever! : รูแ้ ล้วบอกต่อ เคล็ดลับหล่อหน้าใสของซีอโี อ KTC ระเฑียร ศรีมงคล ทีไ่ ม่วา่ งานจะหนักแค่ไหน เป็นตืน่ แต่เช้าเข้าฟิตเนสครึง่ ชัว่ โมงก่อนเข้าออฟฟิศทุกวัน แถมนัง่ สมาธิกอ่ นนอนทุกคืน เคลียร์สมองให้โปร่ง ทัง้ ทีเ่ ป็นคริสเตียน แต่รจู้ กั ศาสนาพุทธ ลึกกว่าคนพุทธค่อนประเทศ มีซอี โี อทีด่ แู ลกายใจดีแบบนี้ ไม่แปลกใจเลยทีแ่ ว่วๆ ว่า KTC ท�าก�าไรไม่นา่ ต�า่ กว่า 1,600 ล้านบาท นีว่ งการแบงก์คงร้อนๆ หนาวๆ เลยทีเดียว!! CTH : ณัฐวัชร์–ชนวัฒน์ Duo-Chief : ธรรมดาก็หวั ฟูอยูแ่ ล้ว ล่าสุดข่าวโยกผูบ้ ริหารระดับสูงใน CTH ท�าให้ ณัฐวัชร์ วรนพกุล Chief Operation Officer (COO) ทีเ่ ดิมดูดา้ นการตลาดต้องควบ ต�าแหน่ง Chief Channel Management Officer ด้วย คงต้อง รุกยุทธศาสตร์ CTH We share everywhere ไปได้ทกุ Device ทุกแพลตฟอร์ม ส่วนคูซ่ ี้ ชนวัฒน์ วาจานนท์ Chief Programming Officer : CTH ทีน่ งั่ ควบต�าแหน่ง COO ที่ GMMB ก็ใกล้จะได้ลกู ชาย ‘น้องปันกัน’ให้เชยชมเต็มทีม่ กรานีแ้ ล้ว แต่กเ็ ดินทางบ่อยเหลือเกิน เลยต้องไปไกลแต่ใจห่วงๆ DTAC : ซิคเว่ เซอร์ไพรส์! : ซิคเว่ เบรคเก้ รักษาการซีอโี อ ดีแทค หน้าแดงก�า่ และยิม้ ปลืม้ ปริม่ กลางงานประกาศผลมอบ รางวัล SMART Farmer 2014 เมือ่ กลางธันวาคมทีผ่ า่ นมา เพราะ คาดไม่ถงึ ว่า จะเจอม็อบแฟนคลับทัง้ สือ่ มวลชนและผูม้ าร่วมงาน ต่างโชว์ป้ายและร้องเพลง Happy Birthday ให้เสียงกระหึ่ม ลั่นห้องจัดงาน แถมต้นเสียงนี่ไม่ใช่ใครที่ไหน เจ้าสัวบุญชัย เบญจรงคกุล คนคุ้นเคยนั่นแหละที่ออกแรงเป็นต้นเสียงร้อง เพลงเบิรด์ เดย์และอวยพรอย่างเป็นล�า่ เป็นสัน

LPN ต่อจิก๊ ซอว์ ‘ชุมชนน่าอยู’่ สูส่ า� นักงาน เขตตลิง่ ชัน

บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จ�ากัด ในเครือแอลพีเอ็น เนรมิตพื้นที่ใน ส�านักงานเขตตลิง่ ชันให้เป็นศูนย์กลางแห่ง การเรียนรูด้ ว้ ยการจัดพืน้ ทีห่ อ้ งสมุดมีชวี ติ ไว้ คอยบริการแก่ประชาชนเพือ่ เป็นการส่งเสริม การอ่านหนังสือ ทั้งนี้ยังได้เสริมจุดบริการ คั ด แยกขยะแก่ เ จ้ า หน้ า ที่ แ ละประชาชน บริเวณใกล้เคียง เพื่อสร้างจิตส�านึกด้าน สิ่งแวดล้อม (CESR) ด้วยการคัดแยกขยะ ก่อนทิ้ง ซึ่ง LPN พร้อมเดินหน้าเชื่อมโยง แนวคิด ‘ชุมชนน่าอยู’่ สูส่ งั คมข้างเคียงอย่าง ต่อเนือ่ ง เพือ่ น�าคุณค่าการบริการของบริษทั ขยายต่อไปสูช่ มุ ชนรอบข้างอย่างยัง่ ยืน

กลุม่ SAMART กวาด 4 รางวัล SET AWARDS 2014

นายสมหมาย ภาษี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง การคลัง มอบรางวัลบริษัทจดทะเบียนด้าน นักลงทุนสัมพันธ์ยอดเยี่ยม (Best Investor Relations Awards) ให้แก่ นายวัฒน์ชัย วิไลลักษณ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. สามารถคอร์ปอเรชั่น ในงาน SET Awards 2014 จั ด โดยตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย นอกจากนี้บริษัทในเครือคือ บมจ.สามารถคอร์ปอเรชั่น, บมจ.สามารถ เทลคอม และ บมจ.สามารถ ไอ-โมบาย ยังได้รับรางวัลบริษัทจดทะเบียนด้านการ รายงาน บรรษัทภิบาลดีเยีย่ ม (Top Corporate Governance Report Awards) รวมทั้งสิ้น 4 รางวัล

ธนชาต : ศุภเดช Bike-Aholic : พลพรรคนักปัน่ ตัวจริงต้องยกให้ ศุภเดช พูนพิพฒ ั น์ ประธานกรรมการบริหาร ธนาคารธนชาต เพราะหาก เป็นวันท�างานเป็นต้องไปปั่นจักรยานที่ ดิโอลิมปิคคลับ รร.ปทุมวัน ปริน๊ เซส วันละไม่ตา�่ กว่า 2 ชัว่ โมง ส่วนวันหยุดถ้าเป็นช่วงสัน้ ก็จะเจอได้ แถวเชียงใหม่ ปัน่ ขึน้ ดอยสุเทพบ้าง ...ล�าพูนบ้าง ปัน่ ไปดูทดี่ นิ ทีโ่ น่น ที่นี่เผื่อลงทุนบ้าง ถ้าหยุดยาวก็ไปปั่นต่อในต่างประเทศกันเลย อย่างนี้เรียกว่าพลพรรครักปั่นตัวจริง มิน่า “ฟิตแอนด์เฟิร์ม” ยิง่ กว่าคนอายุ 40 เสียอีก

โครงการ วิคตอเรีย การ์เด้นส์ เปิดตัวอย่าง ยิง่ ใหญ่

ศูนย์การค้า วิคตอเรีย การ์เด้นส์ เพชรเกษม 69 คอมมูนิตี้มอลล์สไตล์ยุโรปบนถนน เพชรเกษม จัดงานแกรนด์โอเพนนิง่ ไปแล้วอย่างตระการตา โดยมี ดร.ปราณี เผอิญโชค ประธาน กรรมการบริหาร บริษทั สินธรณี พร็อพเพอร์ตี้ จ�ากัด คุณแก้วใจ เผอิญโชค แมคโดนัลด์ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและผู้บริหารโครงการ คุณวุฒิชัย เผอิญโชค กรรมการผู้จัดการ คุณประสงค์ ปิยะธนะศิริกุล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ และคุณสมพงษ์ เผอิญโชค กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยรุง่ ยูเนีย่ นคาร์ จ�ากัด (มหาชน) พร้อมด้วยนักแสดงชือ่ ดัง ‘อาเล็ก-ธีรเดช เมธาวรายุทธ’ และ ‘เดีย่ ว-สุรยิ นต์ อรุณ-วัฒนกูล’ มาร่วมเฉลิมฉลองในพิธเี ปิดอย่างเป็นทางการ

เทสโก้ โลตัส ขานรับ กระทรวงพาณิชย์ ขนทัพสินค้าลดสูงสุด 70%

เทสโก้ โลตัส เปิดโครงการ ‘เทใจ... คืนสุข...สู่ประชาชน’ โดยเทสโก้ โลตัส ได้ขนทัพสินค้าทุกแผนกรวม กว่า 5,000 รายการ มาลดราคาสูงสุด 70% พร้อมคัดกลุ่มสินค้าอุปโภค บริโภคราคาพิเศษสุดมาลดกระหน�า่ เพือ่ คืนความสุขให้แก่คนไทยทัว่ ประเทศ มอบความสุขให้ ลูกค้ามากขึน้ กว่าเดิม เมือ่ วันที่ 24-31 ธันวาคมทีผ่ า่ นมา ทีเ่ ทสโก้ โลตัส กว่า 1,800 สาขา ทัว่ ประเทศ

ชาร์ปไทยจัดแคมเปญ แจกรางวัลฉลองยอดขาย ชาร์ปพลาสมา คลัสเตอร์

มิสเตอร์มาซามิ โออุเอะ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ชาร์ป ไทย จ�ากัด ได้มอบรางวัลใหญ่ รถยนต์ฮอนด้า แจ๊ส รุ่น V-AT มูลค่ากว่า 600,000 บาท ให้แก่ผู้โชคดี คุณเกศกนก จงสุขสันติกลุ จากแคมเปญ ‘ชาร์ป ลุน้ สามต่อ ฉลองยอดขายชาร์ ป พลาสมาคลั ส เตอร์ ขายได้ แ ล้ ว กว่ า 50 ล้ า นเครื่ อ งทั่ ว โลก’ นอกจากนีย้ งั มีรางวัล LED TV SHARP ขนาด 60 นิว้ จ�านวน 42 รางวัล และ iPad Air จ�านวน 49 รางวัล รวมมูลค่าของรางวัลทั้งสิ้นจาก แคมเปญนีก้ ว่า 5 ล้านบาท

The Grand Opening of AIA Capital Center

ได้ฤกษ์ The Grand Opening of AIA Capital Center เพื่ อ เปิ ด ตั ว เอไอเอ แคปปิ ต อล เซ็นเตอร์ โครงการอสังหาริมทรัพย์ประเภท อาคารส�านักงานและรีเทลระดับพรีเมี่ยม เกรดเอ เมือ่ วันพฤหัสบดีที่ 4 ธันวาคม 2557 ณ อาคารเอไอเอ แคปปิ ต อล เซ็ น เตอร์ ถ.รัชดาภิเษก

Can’t Miss Deal บัตรเครดิต TMB รับเงินคืนเมือ่ จ่ายผ่านบัตรทีร่ า้ น อาหารในเครือ CRG

ลูกค้าบัตรเครดิต TMB พลาด ไม่ ไ ด้ กั บ แคมเปญ Can’t Miss Deal!! ทีม่ อบสิทธิพเิ ศษ ช่วงเทศกาลฉลองปีใหม่กับ ร้านอาหารชัน้ น�าในเครือ CRG เพียงจ่ายด้วยบัตรเครดิต TMB ทีร่ า้ น Pepper Lunch, Chabuton, Cold Stone Creamery, The Terrace, Yoshinoya และ Ootoya ภายในเดือนมกราคม 2558 แค่ 500 บาทขึน้ ไปต่อเซลส์สลิป รับเงินคืน 100 บาท




gmlive เป็นเว็บไซต์ในเครือ GM GROUP ที่ตอบโจทย์และสะท้อนตัวตนของ ผู้ชายได้อย่างครบถ้วน ไม่ว่าจะเป็น Gadget ใหม่ๆ หรือ Men Style นอกจากจะทันสมัยและมีไลฟ์สไตล์แล้ว ยังก้าวน�ำผู้อื่นไปข้างหน้า ด้วยความคิด ความรู้ และความเข้าใจโลกอีกด้วย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.