MBA New Age
ปั้นนักธุรกิจ ป้อนตลาดเออีซี
โอลิเวอร์ กิตติพงษ์ วีระเตชะ เมื่อวัฒนธรรมครองแบรนด์
พร้อมพงษ์ งามด�ำรงค์
จากมนุษย์เงินเดือนสู่นักธุรกิจ ร้อยล้าน
THE BUSINESS NEWS MAGAZINE
VOL.6 NO.62
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
FEBRUARY 2015
PROGRESSIVE EDUCATION FREE MAGAZINE OF THE GM Group
2 ประสาน 2 เจเนอเรชัน่ รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ และ ดร.ดาริกา ลัทธพิพฒ ั น์ ประสบการณ์รนุ่ ใหญ่+ ความมุง่ มัน่ รุน่ ใหม่ เพือ่ การศึกษาก้าวไกลไม่หยุดยัง้
F E B RUA RY 2 0 1 5
02 GMBiZ
database info. Progressive Education ที่ผ่านมา วัตรปฏิบัติของ GMBiZ ฉบับกุมภาพันธ์ คือ การน� ำ เสนอเนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ หลั ก สู ต รการศึ ก ษาของ สถาบันอุดมศึกษาต่างๆ เพือ่ อัพเดทหลักสูตรใหม่ๆ หรือ ความโดดเด่นของหลักสูตรนัน้ ๆ แต่ปี 2558 ปีที่ประเทศไทยอยู่ปากประตูของการเปิด เขตเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เราพบความเปลี่ยนแปลง ของหลักสูตรทีต่ า่ งก็ปรับตัวในอัตราเร่งเพือ่ รับมือกับ AEC ที่ ท� ำ ให้ บ ริ บ ทในโลกธุ ร กิ จ ของภู มิ ภ าคเปลี่ ย นแปลง เร็วมากขึน้ กว่าเดิม แม้วา่ อาเซียนจะเข้ามาอยูใ่ นไทยได้สกั พัก ไม่วา่ จะเป็น ด้านสินค้า บริการ ผูค้ น หรือแม้แต่การเดินทางกันไปมาได้ อย่างเสรีภายในภูมภิ าค แต่การเข้ามาอย่างเต็มรูปแบบของ AEC ในอนาคตก็ยงั เป็นความตืน่ เต้นและความท้าทายอยูด่ ี นอกจากนี้ ยังท�ำให้โลกการศึกษาแต่เดิมทีเ่ น้นทฤษฎี เน้นความเข้าใจกับเนือ้ หา แต่นำ� สิง่ ทีเ่ รียนรูท้ งั้ หมดไปปฏิบตั ิ ในชีวิตจริงไม่ได้ ซ�้ำยังเป็นหลักสูตรเพิ่มประชากรมนุษย์ เงินเดือนทีม่ เี งินเดือนแพงขึน้ เท่านัน้ มาบัดนี้ AEC ท�ำให้หลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาวันนี้ เร่งใส่เกียร์ตนเองให้วงิ่ ล�ำ้ น�ำหน้า ด้วยระบบการศึกษาแบบ Project-Based Learning ทีเ่ น้นให้ผเู้ รียนสามารถประยุกต์ สิง่ ทีเ่ รียนรูภ้ าคทฤษฎีมาใช้งานได้ในทางปฏิบตั ิ อีกทัง้ โฟกัส ทีก่ ารผลิตผูป้ ระกอบการ นักธุรกิจ ในอัตราทีส่ งู กว่าการผลิต มนุษย์เงินเดือนอัตราสูง หรือบางแห่งก็โฟกัสกับว่าทีเ่ ถ้าแก่ หรือผลิตมนุษย์เงินเดือนอัตราสูงทีม่ ชี ดุ ความคิดแบบเถ้าแก่ ซึ่งวันหนึ่งหากโอกาสเอื้ออ�ำนวยก็อาจเป็นเถ้าแก่ป้ายแดง ทีป่ ระสบความส�ำเร็จได้ในทีส่ ดุ Biz Talk ทีน่ ำ� โดย รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ อดี ต รั ฐ มนตรี ช ่ ว ยว่ า การ กระทรวงศึกษาธิการตีแผ่การศึกษาของไทย ความจริง ที่ปฏิเสธไม่ได้ พร้อมฉายทัศนะต่อเส้นทางสู่ Progressive Education ระบบการศึกษาที่พัฒนาไปข้างหน้าไม่หยุดนิ่ง ทัง้ วิชาการและระบบการเรียนการสอน แม้จะมีความรู้สึกลิงโลด ทดท้อเกิดขึ้นในบางช่วงของ การสนทนาก็เถิด แต่ทสี่ ดุ บทสรุปจากการสนทนากับผูบ้ ริหารมหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ ผูบ้ ริหารหลักสูตร MBA จากหลายๆ สถาบัน อย่างมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สถาบันการจัดการปัญญา ภิวฒ ั น์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ด้วยแนวคิดของ การศึกษาแบบ Progressive Education และ Project-Based Learning ที่จะช่วยน�ำพาให้การเรียนการสอนในระดับ อุดมศึกษามีผลสัมฤทธิท์ ดี่ ี ด้วยหลักสูตรที่มุ่งตอบโจทย์ความต้องการที่แท้จริง (Insight) ของตลาดแรงงานและโลกธุรกิจทีแ่ ปรเปลีย่ นจาก AEC และกลุม่ คนรุน่ ใหม่ โดยเฉพาะ Gen Y ด้วยความตระหนักต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเมือ่ มี AEC เราเชือ่ และมัน่ ใจเป็นอย่างยิง่ ว่า การศึกษาไทยมิได้ เลวร้ายดังทีส่ าธารณะเข้าใจกันและเอาอยูแ่ น่นอน
จุฑาทิพ อิงวัฒนโภคา บรรณาธิการบริหาร
where to find GMBiZ พบกับนิตยสาร GMBiZ ได้เป็นประจ�ำที่ สนามบินสุวรรณภูม,ิ By Hand : BTS (หมอชิต) เชือ่ มต่อ MRT (จตุจกั ร), BTS (ศาลาแดง) เชือ่ มต่อ MRT (สีลม), BTS (อโศก) เชือ่ มต่อ MRT (สุขมุ วิท) และ MRT (พระราม 9)
มุมมอง SME กับ ความเสี่ยงด้านการตลาด
beauty &spa
coffee &bakery
การรักษาฐานลูกค้าเดิม
51.3% การสูญเสียตลาดให้กบั คูแ่ ข่งภายในประเทศ 50.8% การสูญเสียตลาดให้กบั คูแ่ ข่งจากประเทศนอกกลุม่ อาเซียน 50.1% การสูญเสียตลาดให้กบั คูแ่ ข่งจากประเทศในกลุม่ อาเซียน 49.2% การหาตลาดใหม่ในประเทศ 32.2% การหาตลาดใหม่ในต่างประเทศ 31.7%
vox pop
สามารถติดตามอ่าน e-Magazine หนังสือในเครือ GMGROUP ได้ที่
@gmlive
fitness
shopping mall
others
showroom
ONAGLAIZNINEE M
gm live
http://biz.gmlive.com
ทัง้ ในระบบปฏิบตั กิ าร iOS และ Android
hotel
money &bank
/gmliveonline
วิทการ จันทวิมล รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ สายงานกลยุทธ์การตลาด บมจ.เอพี (ไทยแลนด์) ผูพ้ ฒ ั นาคอนโดฯ ภายใต้แบรนด์ แอสปาย, ริธมึ่ , แอดเดรส : “เชือ่ มัน่ ว่าตลาดคอนโดฯ ในปี 2558 นี้ จะฟื้นตัวต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมาจากมาตรการของ ภาครัฐโดยเฉพาะการลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานทีจ่ ะก่อเกิดเม็ดเงินในตลาด การจ้างงาน การสั่งซื้อวัสดุก่อสร้างส่งผลเชื่อมโยงเป็นลูกโซ่และจะท�ำให้ ตลาดที่อยู่อาศัยฟื้นตัวตามด้วย ซึ่งก็จะส่งผลให้ผู้ประกอบการเกิดความ มัน่ ใจทีจ่ ะลงทุนตามมา”
รัตน์ พานิชพันธ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู ้ จั ด การ บมจ.ควอลิ ตี้ เ ฮ้ า ส์ : “ยังคงต้องเฝ้าจับตามองทิศทางดอกเบีย้ ของธนาคาร กลางสหรัฐอเมริกา (เฟด) ว่าจะมีทิศทางอย่างไร เพราะจะส่งผลกระทบต่อตลาดอสังหาฯ อย่างชัดเจน โดยจะท�ำให้กำ� ลังซือ้ ลดลงจากทีค่ าดว่าจากนีไ้ ปถึง กลางปี 2558 ดอกเบีย้ จะมีทศิ ทางทีล่ ดลงแต่หากพ้นกลางปีไปแล้วดอกเบีย้ เพิม่ ขึน้ จะท�ำให้ผบู้ ริโภคชะลอการตัดสินใจซือ้ ”
ภาวะคอนโดฯ 2558
ดร.เกษรา ธัญลักษณ์ภาคย์ กรรมการ บริษทั เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ SENA ผู้พัฒนาคอนโดฯ ภายใต้แบรนด์ เดอะนิช : “ปัจจัยบวกทีจ่ ะช่วยผลักดันการฟืน้ ตัวคือ แนวโน้ม อัตราดอกเบีย้ ทีอ่ าจปรับลดลงตามความต้องการของ ภาครัฐเพือ่ กระตุน้ เศรษฐกิจ แต่ขณะเดียวกัน ยังมี แรงกดดันจากการฟื ้ น ตั ว เศรษฐกิ จ ที่ มี เ สถี ย รภาพมากขึ้ น และความ ไม่แน่นอนทางการเมืองยังเป็นสิ่งที่ต้องจับตาต่อไป รวมไปถึงปัญหาหนี้ ครัวเรือนทีย่ งั อยูใ่ นระดับค่อนข้างสูง”
university &institute
Money, Marketing & Management
บรรณาธิการบริหาร : จุฑาทิพ อิงวัฒนโภคา ผูช้ ว่ ยบรรณาธิการ/MARKETING : โชติ เวสสวานิชกูล ผูช้ ว่ ยบรรณาธิการ/ไลฟ์สไตล์ : รุจรดา วัฒนโกศัย บรรณาธิการอำ�นวยการศิลปกรรม : ประทีป ปัจฉิมทึก บรรณาธิการศิลปกรรม : ศุภฤกษ์ สมภมิตร บรรณาธิการศิลปกรรมโฆษณา : สันติจติ ไวยากรณ์ ศิลปกรรมโฆษณา : เอิกเกริก พันธุพ์ พิ ฒ ั น์ กราฟิกดีไซน์ : ประสิทธิ์ เอนกอนันตพันธุ์ บรรณาธิการฝ่ายภาพ : ดำ�รงค์ฤทธิ์ สถิตดำ�รงธรรม หัวหน้าช่างภาพ : กิตตินนั ท์ จรรยางาม พิสจู น์อกั ษร : ธนัทต์ ธีรทรัพย์ธรรม ผูจ้ ดั การฝ่ายผลิต : อุดมทรัพย์ ก๋องชัย ผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด : ก้องวรงค์ สมสา รองผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด : ภัสสร เทียมเนียม ฝ่ายโฆษณา / การตลาด : เกตุวดี แก้วลิม้ วัฒนา ผูจ้ ดั การทัว่ ไป : ภานุวชั ร พงศ์วราภา ผูอ้ ำ�นวยการฝ่ายนิวมีเดีย และบรรณาธิการผูพ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา : พีศลิ ป์ พงศ์วราภา
แฟกซ์กองบรรณาธิการ : 02 241 4133 แฟกซ์ฝา่ ยโฆษณา / การตลาด : 02 241 5888
ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูจ้ ดั การ : ปกรณ์ พงศ์วราภา รองประธานกรรมการบริหารสายงานการเงิน : พรจิตต์ พงศ์วราภา สายงานนิตยสาร : ณิพรรณ กุลประสูตร สายงานพัฒนาธุรกิจ : ฤทธิณรงค์ กุลประสูตร สายงานการตลาด : สืบวงศ์ แก้วทิพรัตน์
สำ�นักงาน GMBiZ : บริษทั จีเอ็ม มัลติมเี ดีย จำ�กัด (มหาชน) อาคาร GM Group 914 ถนนพระราม 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 www.gmgroup.in.th E-mail : gm@gmgroup.in.th โทรศัพท์ : 02 241 8000 แฟกซ์ : 02 241 8008
F E B RUA RY 2 0 1 5
04 GMBiZ
ภาพ : กิตตินนั ท์ จรรยางาม
เรือ่ ง : จุฑาทิพ อิงวัฒนโภคา
Progressive Education รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ
การเปิดประชาคมอาเซียน (AC) ในปี 2558 นี้ ภาคการศึกษาของประเทศไทยและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องได้เตรียมพร้อม เพือ่ รับมือกับการเปลีย่ นแปลงกันแค่ไหน อย่างไร รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) และอดีตรัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวง ศึกษาธิการได้ตแี ผ่ภาพเชิงโครงสร้างของการศึกษาไทยทีเ่ ราต้องยอมรับความจริงอย่างปฏิเสธไม่ได้ ภาคการศึกษาไทยจะเดินหน้าเพื่อเร่งสร้างอาวุธทางปัญญามิติใหม่ให้กับเยาวชนไทยในยุคเปิด AC ได้อย่างไร คุณภาพการศึกษาไทยและมาตรฐานการศึกษาไทยป่วยเรื้อรังจนรักษาไม่หายจริงหรือ เราจะยกเครื่องกันได้หรือไม่ เพื่อสร้างการศึกษาแบบใหม่ที่เรียกว่า Progressive Education (ระบบการศึกษาที่พัฒนาไปข้างหน้าไม่หยุดนิ่ง โดยหมายรวมทัง้ วิชาการและระบบการเรียนการสอน) ได้หรือไม่ ทีน่ มี่ คี ำ� ตอบ
2 0 1 5 F E B RUA RY
GMBiZ : การศึกษาของไทยยังทิง้ ห่างประเทศ อืน่ ๆ ใน AE ใช่หรือไม่ รศ.ดร.วรากรณ์ : จริงๆ แล้วไม่ใช่ เพราะการวัด การศึกษาของ World Economic Forum (WEF) นัน้ ประเมินการศึกษาในภูมภิ าคนีจ้ ากการสอบถาม นักธุรกิจประมาณ 50-70 คนแล้วแต่ขนาดของ ประเทศว่า การศึกษาในประเทศนัน้ ๆ เป็นอย่างไร แล้วใช้เป็นฐานในการประเมินคุณภาพการศึกษา ฉะนัน้ ผมจึงคิดว่า การวัดผลแบบนีไ้ ม่แม่นย�ำ GMBiZ : แล้วการวัดผลแบบทีเ่ รียกว่าแม่นย�ำ คืออะไร รศ.ดร.วรากรณ์ : ต้อง PISA (Programme for International Student Assessment) ขององค์กร ความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD : Organisation for Economic Co-operation and Development) ทีใ่ ช้ประเมินผลการจัดการศึกษา ของประเทศสมาชิก โดยเป็นการสอบวัดผลด้วย ภาษาของตนเอง เพื่อประเมินว่านักเรียนอายุ 15 ปีทจี่ บการศึกษาภาคบังคับจะได้รบั การเตรียม พร้อมความรูแ้ ละทักษะทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับการเป็น ประชาชนที่มีคุณภาพในอนาคตและมีส่วนร่วม สร้างสังคม GMBiZ : PISA วัดผลจากวิชาอะไร รศ.ดร.วรากรณ์ : จากการอ่าน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเพิ่มเติมด้านทักษะที่ต้องใช้ ในกระบวนการเรียนรู้ คือ การแก้ปญ ั หา แต่ PISA ประเมินจากการรู้เรื่อง (Literacy) ในด้านต่างๆ ไม่ใช่เนือ้ หาตามหลักสูตรในโรงเรียน เพียงแต่ใน อาเซียนไม่ได้สอบ PISA กันทุกประเทศ ส�ำหรับ การวัดผลของ PISA อันดับ 1 คือ สิงคโปร์, อันดับ 2 คือ มาเลเซีย GMBiZ : ประเทศไทยอยูอ่ นั ดับท้ายๆ หรือเปล่า รศ.ดร.วรากรณ์ : ประเทศไทยก็อยูใ่ นอันดับทีด่ ี ไม่ได้อยู่รั้งท้ายเหมือนที่อ้างอิงกันจาก WEF ฉะนัน้ เมือ่ เปิด AC การศึกษาของไทยก็ไม่ดอ้ ยกว่า คนอืน่ ในอาเซียนจนแข่งขันกับประเทศอืน่ ๆ ไม่ได้ GMBiZ : ในฐานะที่อยู่ในวงการศึกษามานาน มี ‘ระหว่างบรรทัด’ ทีย่ งั กังวลอะไรหรือไม่ รศ.ดร.วรากรณ์ : ผมเชื่อว่า เราจะต้องมีการ เปลีย่ นแปลงครัง้ ส�ำคัญ เพือ่ ยกระดับความส�ำคัญ ของการศึกษาขึน้ มา ทัง้ นี้ ทีผ่ มพูดไม่ใช่เพราะผม พอใจระดับการศึกษาที่เป็นอยู่ ณ ปัจจุบันใน ระยะสั้นเราก็พอไปได้ แต่ในระยะยาวที่จะต้อง เข้าไปแข่งขันในระดับโลก เราต้องยกเครื่อง การศึกษาของคนไทยให้มากกว่านีอ้ ย่างแน่นอน เรียกได้วา่ ขัน้ ปฏิรปู เลยทีเดียว GMBiZ : ถือว่าเป็น Big Change หรือไม่ รศ.ดร.วรากรณ์ : ต้องมี Big Change GMBiZ : Big Change ที่ว่าควรประกอบด้วย อะไรบ้าง รศ.ดร.วรากรณ์ : ผมว่า คนไทยรู้ว่าจะต้องท�ำ อย่างไรทีจ่ ะท�ำให้การศึกษาของคนไทยมีคณ ุ ภาพ สูงขึ้น ไอเดียจาก คสช. (คณะรักษาความสงบ แห่งชาติ), สนช. (สภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ) หรือ ไอเดียจากสปช. (สภาปฏิรปู แห่งชาติ), กระทรวง ศึกษาธิการ (ศธ.) ไอเดียจากผู้รู้ จากประชาชน ทัว่ ไป ฯลฯ ผมว่า คนเหล่านีร้ หู้ มดว่า จะต้องท�ำ อย่างไรให้การศึกษาของคนไทยดีขนึ้ เพียงแต่ยงั ไม่ตกลงปลงใจกันอย่างชัดเจนว่าจะท�ำอย่างไร GMBiZ : ประเด็นคือเกีย่ งกันหรือไม่มเี จ้าภาพ รศ.ดร.วรากรณ์ : ไม่ใช่เรื่องนั้น มีเจ้าภาพ คนเหล่านีร้ วู้ า่ ต้องท�ำอะไรบ้าง เพือ่ ให้การศึกษา มีคุณภาพสูงขึ้น แต่ไม่รู้ว่าจะต้องท�ำอย่างไร เปรียบเหมือนรู้ว่าจะไปไหน แต่ไม่รู้ว่าจะไป อย่างไร ตอนนีก้ ำ� ลังพิจารณาเพือ่ ด�ำเนินการ ส่ ว นค� ำ ถามที่ ว ่ า จะเปลี่ ย นแปลงอย่ า งไร ค�ำตอบสั้นๆ คือ กระทรวงศึกษาฯ จะต้องไม่ใช่ คนจัดการการศึกษาเพียงคนเดียว แต่จะต้องเป็น ความรับผิดชอบของทุกๆ คนในประเทศไทย
GMBiZ 05
พูดอย่างนี้อาจจะพูดกว้างไป แต่ผมหมายถึง ความเกี่ ย วพั น กั บ คนในท้ อ งถิ่ น ให้ ม ากที่ สุ ด เกี่ยวพันกับภาคประชาชน เกี่ยวพันกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ เกีย่ วพันกับหน่วยราชการ อืน่ ๆ ด้วย GMBiZ : ศธ.จั ด การแบบไม่ เ วิ ร ์ ค หรื อ เกา ไม่ถกู ทีค่ นั รศ.ดร.วรากรณ์ : คือ ผมมองว่า ถ้าปล่อยให้ การศึกษาไทยอยูใ่ นก�ำมือของ ศธ.เพียงคนเดียว อย่างทีเ่ ป็นมา มาตรฐานการศึกษาคงจะเพิม่ ขึน้ ได้ ยาก เพราะแม้จะเป็นกระทรวงทีไ่ ด้รบั งบประมาณ มากทีส่ ดุ ถึงปีละ 3-4 แสนล้านบาท แต่ผลทีไ่ ด้รบั กลับไม่เป็นที่พอใจ ถึงตอนนี้เราจึงต้องมองใน ลักษณะทีก่ ว้างกว่านัน้ เพราะการศึกษาไทยไม่ได้ อยูท่ ี่ ศธ.เท่านัน้ แต่ยงั มีการศึกษานอกโรงเรียน การศึกษาส�ำหรับพระสงฆ์ 1 แสนรูปในกระทรวง วัฒนธรรม สถานผลิตพยาบาลเพือ่ ผลิตบุคลากร ทางการแพทย์ ข องกระทรวงสาธารณสุ ข ฯลฯ ซึ่งกระจายอยู่มากมายหลายแห่งด้วยกัน ฉะนั้น การมองว่าการปฏิรปู การศึกษาจะต้องท�ำทีก่ ระทรวง ศึกษาธิการอย่างเดียวจึงไม่ถกู ต้อง GMBiZ : เชือ่ ว่า 1-2 ปีนจี้ ะได้เห็นเค้าลางของ Big Change กันหรือไม่ รศ.ดร.วรากรณ์ : เราก็คาดหวังว่า อย่างเร็วก็จะมี เงือ่ นไขเวลาทีต่ อ้ งท�ำกัน ผมเองก็มสี ว่ นร่วมบางส่วน ในเรื่องของการกระจายอ� ำนาจทางการศึกษา คิดว่าภายในปีนเี้ ราจะได้เห็นอะไรๆ ชัดเจนขึน้ มา แล้วสิ่งที่จะต้องชัดเจนในแง่ของการศึกษา ในระบบกระทรวงศึกษาธิการนั้นก็คือ เม็ดเงิน จะต้องถึงตัวเด็ก ถึงโรงเรียน ไม่ใช่เงินเดือนครู เพราะปัจจุบัน ศธ.ใช้จ่ายกับเงินเดือนครูกว่า 65% ที่เหลือเป็นการสร้างอาคารโรงเรียนหรือ สิง่ ปลูกสร้างอืน่ ๆ การก่อสร้าง การพัฒนาโรงเรียน และถึ ง ตั ว เด็ ก นั ก เรี ย นน้ อ ยจริ ง ๆ สั ก 15% โดยเป็นเงินในรูปของการอุดหนุนและเพิม่ มากขึน้ ในตอนที่แจกเครื่องแบบนักเรียนและอาหาร กลางวันฟรี ท�ำให้สดั ส่วนเงินตรงนีเ้ พิม่ ขึน้ มา GMBiZ : นี่เท่ากับใช้เงินกับเรื่องปลายเหตุ แล้วปัญหาเชิงโครงสร้างเป็นอย่างไร รศ.ดร.วรากรณ์ : ใช่ เพราะปัญหาของการศึกษา ในระบบของกระทรวงศึกษาฯ ยังมีมากกว่านั้น คือ นอกจากเรือ่ งเม็ดเงินแล้วก็ตอ้ งท�ำให้ครูมเี วลา สอนเด็กมากกว่าเดิม จากการวิจัยล่าสุดของ ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม สั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู ้ แ ละ คุณภาพเยาวชน (สสค.) พบว่า ในเวลาทัง้ หมด 200 วัน/ปีของครูสอนเด็กจริงๆ แค่ 44% ทีเ่ หลือ หมดไปกับการชี้วัด การประเมิน อบรมสัมมนา ประชุม ฯลฯ แล้วปัญหาก็ซับซ้อนลงไปอีก เมื่อโรงเรียน เล็กๆ ก็มีครูไม่ครบ การกระจายของครูก็ไม่เต็ม ไปตามโรงเรียนใน 3.5 หมืน่ โรง มี 1.5 หมืน่ โรง ที่มีนักเรียนต�่ำกว่า 120 คน และในจ�ำนวนนี้ มี 7,000 โรงที่มีนักเรียนต�่ำกว่า 60 คน และ ครูเหล่านีก้ ระจายตัวกันแบบไม่สง่ เสริมการศึกษา เมือ่ มองภาพรวมของครู 3.5 แสนคน เกือบ ครึง่ อายุ 50-60 ปี แน่นอนว่า ไฟในการท�ำงานย่อม น้อยลง นับวันเกษียณอายุ ฉะนั้น สถานะของ โรงเรียนใน สพฐ. (ส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน) ศธ.ก็ต้องรอวันบริหาร จัดการเกี่ยวกับแรงงานบุคคล การจัดสรรก�ำลัง ทีเ่ ปลีย่ นไปจากเดิม GMBiZ : ดูเหมือนการศึกษาไทยจะป่วยขัน้ โคม่า รศ.ดร.วรากรณ์ : ต้องเข้าใจว่า การศึกษาของไทย ในยุคมากกว่า 30 ปีที่แล้วเป็นแบบ Exclusive ทีเ่ อือ้ เฉพาะคนทีม่ ฐี านะเท่านัน้ จึงจะเรียนหนังสือ ได้ แต่เมือ่ 30 ปีกอ่ น การศึกษาของโลกเปลีย่ นเป็น แบบ Inclusive ทีร่ วมเด็กทุกคนเข้ามาในระบบ และในช่วงเวลานีเ้ องก็เป็นช่วงทีเ่ ด็กเกิด 1 ล้านคน ต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ปี 2513 ท�ำให้มจี ำ� นวนนักเรียน สะสมๆ เข้าสูโ่ รงเรียนมาก ขณะเดียวกัน การศึกษา
ภาคบังคับก็เปลี่ยนจาก 6 ปีเป็น 9 ปี จึงท�ำให้ มีการรับครูเพิ่มมากขึ้นเป็นหมื่นเป็น แสนคน เมื่ อ รั บ มากรั บ เร็ ว ก็ ท� ำ ให้ ไ ด้ ค รู จ� ำ นวนหนึ่ ง ที่ ไ ม่ อ ยากเป็ น ครู แต่ อ ยากเป็ น ข้ า ราชการ นอกจากนี้ ยังมีปญ ั หาทีค่ รูไม่ได้หว่ งเด็ก แต่หว่ ง วิทยฐานะของตนเอง วันศุกร์รบี เข้าเมืองไปเรียนต่อ ในเมือง หน�ำซ�ำ้ ศธ. ยังไม่สามารถย้ายครูจากโรงเรียน หนึ่งไปอีกโรงเรียนหนึ่งได้ ถ้าครูไม่ยอมให้ย้าย จะย้ า ยครู ก็ ไ ม่ ไ ด้ นี่ จึ ง ท� ำ ให้ ค รู ก ระจุ ก ตั ว ใน โรงเรียนใหญ่ๆ และท�ำให้โรงเรียนเกินกว่าครึ่ง ไม่มีครู เกิดปัญหาบางโรงเรียนมีนักเรียนน้อย แต่มีครูเยอะ บางโรงเรียนมีนักเรียนเยอะแต่มี ครูนอ้ ย เมือ่ เป็นเช่นนี้ ส�ำนักงบประมาณก็ไม่เพิม่ อัตราให้ เพราะเมือ่ ดูจากสัดส่วนครูแล้วเพียงพอ กับสัดส่วนของนักเรียน ศธ.ต้องไปจัดสรรเอง แต่ ศธ.ท�ำไม่ได้ในช่วง 20-30 ปีทผี่ า่ นมา
GMBiZ : แล้วจะปลดล็อกกันอย่างไร รศ.ดร.วรากรณ์ : ทัง้ หมดทีพ่ ดู นีต้ อ้ งบอกว่า ทีส่ ดุ แล้วปัญหาของประเทศไทยคือการบริหารจัดการ การที่ เ ราใส่ เ งิ น ไป 3-4 แสนล้ า นบาทต่ อ ปี เพือ่ การศึกษา แล้วได้คณ ุ ภาพออกมาเท่านี้ นีค่ อื ปัญหาของการบริหารจัดการโดยแท้ แล้วจัดการ อย่างไรก็ตอ้ งคิดว่า ท�ำให้ครูเป็นอย่างไร มีระบบ บริหารบุคคลเป็นอย่างไร โรงเรียนเป็นอย่างไร บทบาทของพ่อแม่เป็นอย่างไร รัฐต้องจัดสรรเงิน อย่างไร ผมมองว่านีค่ อื การบริหารจัดการ แล้วต้อง บริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากกว่านี้ GMBiZ : มุมมองตรงนี้ คนในแวดวงการศึกษา คิดอย่างไร รศ.ดร.วรากรณ์ : เดิมอาจจะแตกต่างกัน แต่ยคุ นี้ เห็นพ้องต้องกันว่า การศึกษาต้องเป็นความ รับผิดชอบของทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งของ ท้องถิน่ ทีค่ นในแต่ละจังหวัดอย่างประชาชนทัว่ ไป
ทีส่ ดุ แล้วปัญหาของประเทศไทยคือการบริหาร จัดการ การทีเ่ ราใส่เงินไป 3-4 แสนล้านบาทต่อปี เพือ่ การศึกษา แล้วได้คณ ุ ภาพออกมาเท่านี้ นีค่ อื ปัญหาของการบริหารจัดการโดยแท้
F E B RUA RY 2 0 1 5
06 GMBiZ
จุดอ่อนของตัวชีว้ ดั การศึกษาในไทย คือ ใช้ตวั ชีว้ ดั เหมือนกันหมด ตัง้ แต่ วิทยาลัยชุมชนทีม่ อี ายุแค่ 2 ปีจนถึงมหาวิทยาลัยชัน้ น�ำ เปรียบเหมือนวัดความ สามารถระหว่างลิงปีนขึน้ ต้นมะพร้าวกับจระเข้ปนี ขึน้ ต้นมะพร้าว เกษตรกร คหบดี องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ฯลฯ มาร่วมกันผลักดันการพัฒนาการศึกษาใน จังหวัดของตน และในสิบกว่าจังหวัดที่ทดลอง ผลตอบรับดีมาก เพราะเขาอยากให้ลูกหลานมี คุณภาพการศึกษาทีด่ ี จริงๆ ทีผ่ า่ นมาเขาก็อยาก มีสว่ นร่วมแต่ไม่มชี อ่ งทางให้รว่ ม GMBiZ : ปัญหาคือจิก๊ ซอว์ภาพการศึกษาทีเ่ ป็น ภาพใหญ่ไม่ได้กนั หรือไม่ รศ.ดร.วรากรณ์ : ไม่ขนาดนัน้ แต่เป็นเพราะมี ความเป็นรัฐเข้าไปอยู่ในการศึกษามากเกินไป สังเกตได้จากโรงเรียนรัฐจัดการศึกษามากกว่าภาค เอกชน จนสังเกตได้เลยว่า ภาคเอกชนตายเป็นแถว
เพราะโรงเรียนของรัฐขยายการรับผูเ้ รียนโดยไม่ บอกล่วงหน้า ไม่จำ� กัดและไม่มที ศิ ทางด้วย แม้แต่ โรงเรียนนานาชาติยังถูกก�ำกับดูแลอย่างเข้มข้น ทัง้ ทีม่ สี มาคมของตนเองคอยก�ำกับดูแล เช่นการเปิด ห้องเรียน ครูตอ้ งได้รบั การอบรมภาษาไทย ซึง่ จัดโดย ศธ. เท่านัน้ ฯลฯ ถ้าจะก�ำกับดูแลก็ไปเข้มงวดเรือ่ ง การสอนวัฒนธรรมไทย ภาษาไทย หรือการเรียน การสอนทีไ่ ม่บนั่ ทอนความมัน่ คงของชาติจะดีกว่า ผมดูแล้วขบขัน นีเ่ ป็นการใช้อำ� นาจรัฐเพือ่ เพิม่ อ�ำนาจให้กบั ตัวเอง แต่นเี่ ป็นวิธคี ดิ แบบเก่าศตวรรษ ทีแ่ ล้ว ศตวรรษใหม่ภาคประชาชนต้อง เป็นผูค้ วบคุม ภาครัฐ ไม่ใช่ให้ภาครัฐมาควบคุมโรงเรียนเหล่านี้
GMBiZ : การศึกษาในระดับอุดมศึกษามีจดุ อ่อน อะไรทีน่ า่ กังวล รศ.ดร.วรากรณ์ : ความเป็นทุนนิยม เพราะการ ศึ ก ษาไทยก็ เ หมื อ นทั่ ว โลกที่ มี ก ารเปิ ด เสรี ในยุ ค 2520 เป็ น ต้ น มา ใครๆ ก็ อ ยากเรี ย น มหาวิ ท ยาลั ย แล้ ว ใครที่ อ ยากลงเลื อ กตั้ ง รัฐธรรมนูญปี 2540 ก�ำหนดให้ผู้ที่จะลงสมัคร รับเลือกตั้งจะต้องจบปริญญาตรี ท�ำให้คนยิ่งบ้า กันใหญ่ ถนนทุกสายก็มุ่งไปสู่ปริญญาตรี ทีนี้ ตามกฎมหาวิทยาลัยของรัฐ ค่าเล่าเรียนเป็นของ มหาวิทยาลัยเองไม่ตอ้ งน�ำส่งเข้ากระทรวงการคลัง ฉะนั้ น มหาวิ ท ยาลั ย เหล่ า นี้ ก็ ต ้ อ งอยากรั บ
นักศึกษามาก เพื่อที่จะรับค่าเล่าเรียนมากขึ้น นี่ จึ ง เป็ น ปั ญ หาขั้ น พื้ น ฐานของโลกทุ น นิ ย ม ในระดับอุดมศึกษา GMBiZ : ผลิตกันเป็น ‘โรงงานการศึกษา’ ไม่ใช่ โรงเรียน รศ.ดร.วรากรณ์ : ใช่ แล้วมหาวิทยาลัยของรัฐ ก็มาเปิดหลักสูตรแพงๆ และท�ำได้งา่ ย โดยใช้อาคาร เรียนต่างๆ ซึง่ เป็นภาษีอากรของประชาชนมาเปิด เป็นเครือ่ งมือ แล้วก็จดั สรรรายได้ให้กบั อาจารย์ ซึง่ กลายเป็นปัญหาทุกวันนี้ เพราะบัณฑิตทีผ่ ลิต ออกมาเหมือนสินค้าโรงงาน แต่ไม่ได้คดั คุณภาพ GMBiZ : โรงงานการศึกษาผลิตสินค้ากันดุดนั แค่ไหน รศ.ดร.วรากรณ์ : ตอนนีก้ ำ� ลังผลิตเพิม่ ขึน้ ด้วย เนื่องจากตอนนี้มหาวิทยาลัยของรัฐมีเพิ่มเป็น 100 แห่ง อย่างมหาวิทยาลัยใหญ่ๆ ของรัฐรับปีละ 1 หมืน่ คน มีวทิ ยาเขต 5-6 แห่งทัว่ ประเทศไทย ไม่ทราบว่าสอนกันได้อย่างไร ท�ำไมมหาวิทยาลัย ของรัฐไม่เอาเด็กชัน้ เลิศไปผลิตให้เป็นคนชัน้ เลิศ แล้วให้สอบเข้ามหาวิทยาลัยชัน้ เลิศของโลกให้ได้ ท�ำไมต้องไปรับแบบล้วงลึกเพือ่ เข้ามหาวิทยาลัย และปัจจุบันก็สามารถรับนักศึกษาได้หลายช่อง ทางหลายครัง้ ทัง้ สอบตรง สอบรวม ฯลฯ ท�ำให้ คุณภาพนักศึกษาของมหาวิทยาลัยชั้นน�ำของ ประเทศคนทีเ่ ก่งทีส่ ดุ จนถึงคนทีต่ �่ำทีส่ ดุ แตกต่าง กั น อย่ า งมากและคนที่ เ ก่ ง ที่ สุ ด ก็ ไ ม่ ส ามารถ สอบเข้าแม้กระทั่งมหาวิทยาลัยประจ�ำรัฐของ อเมริกาได้ ท�ำไมไม่คดั นักศึกษาชัน้ เลิศเพือ่ ผลิต เป็นบัณฑิตชัน้ เลิศ และสามารถเข้ามหาวิทยาลัย ชัน้ เลิศของโลก GMBiZ : ตัวชี้วัดคุณภาพของระดับอุดมศึกษา ไทยจะช่วยตรงนีไ้ ด้หรือไม่ รศ.ดร.วรากรณ์ : ตั ว ชี้ วั ด การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาตอนนี้ ก็ ห ลี ก เลี่ ย งไปวั ด กั น ที่ กระบวนการมากกว่า เนื่องจากวัดกันที่ผลลัพธ์ วัดล�ำบาก แต่หากต้องการวัดกันจริงๆ ต้องท�ำ อย่างในต่างประเทศ นัน่ คือจะต้องมีการสอบในทุก สาขาทีเ่ รียน ถ้าได้กร็ บั รอง ถ้าไม่ได้กไ็ ม่รบั รอง แต่ในประเทศไทยท�ำไม่ได้ นอกจากเป็นสาขา วิชาชีพที่ต้องมีการควบคุมอย่างเข้มข้น เช่น พยาบาล บัญชี วิศวกร สถาปนิก โดยทัว่ ไปของ ประเทศไทยวั ด ผลกั น ที่ อิ น พุ ต (Input) ของ กระบวนการ แต่วดั ไปถึงสิง่ ทีไ่ ด้ออกมา (Output) หรือผลลัพธ์นนั้ น้อย นอกจากนี้ จุดอ่อนของตัวชี้วัดการศึกษา ในไทยยังใช้ตัวชี้วัดเกือบเหมือนกันหมด ตั้งแต่ วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนที่ มี อ ายุ แ ค่ 10 ปี แล้ ว เป็ น อนุปริญญา จนถึงมหาวิทยาลัยชัน้ น�ำของเมืองไทย เปรียบเหมือนวัดความสามารถระหว่างลิงปีนขึน้ ต้นมะพร้าวกับจระเข้ปนี ขึน้ ต้นมะพร้าว คือ เปรียบ เทียบระหว่างสัตว์ 2 ประเภท คือ ลิงกับจระเข้ โดยมีตัวชี้วัดเป็นต้นมะพร้าว ลิงขึ้นได้อย่าง คล่องแคล่ว แต่จระเข้กอ็ ย่างว่า GMBiZ : รูส้ กึ ท้อหรือไม่กบั วังวนของการศึกษา ทีด่ เู หมือนติดกับดักอย่างนีม้ านาน รศ.ดร.วรากรณ์ : ผมไม่ทอ้ ผมเป็นคนมองโลก ในแง่ดแี ละผมก็เห็นความเปลีย่ นแปลงเหมือนกัน โลกมันก็อย่างนีก้ ป็ รับตัวไปตามสภาพ เมือ่ ก่อน การศึกษาเป็นแบบ Exclusive คนจะเข้ามหาวิทยาลัย ได้ตอ้ งเรียนเก่ง ต้องมีเงิน แต่ปจั จุบนั การศึกษา เป็นแบบ Inclusive ทุกคนต้องเข้ามหาวิทยาลัยได้ โอเค เรือ่ งแบบนีก้ ถ็ กู ต้องตามสิทธิ แต่เมือ่ Inclusive ท�ำให้คณ ุ ภาพของผูเ้ รียน ลดลง เราก็มาช่วยกันแก้ไขให้มันดีขึ้น นี่ล่ะ ประวั ติ ศ าสตร์ ม นุ ษ ยชาติ ที่ ก ว่ า จะยื น สองขา ก็ใช้เวลา 150,000 ปี มันก็ต้องใช้เวลาในการ ปรับปรุงเปลีย่ นแปลงไปเรือ่ ยๆ เพียงแต่ในประเทศไทยนัน้ เราจะต้องคิดว่า ท�ำอย่างไรจึงจะท�ำให้การใช้เงินภาษีอากร 3-4 แสนล้านบาทเกิดคุณภาพทีด่ มี าได้
2 0 1 5 F E B RUA RY
GMBiZ 07
เรือ่ ง : โชติ เวส
Progressive University ดร.ดาริกา ลัทธพิพฒ ั น์
ภาพ : กิตตินนั ท์ จรรยางาม
การป้อนบุคลากรรุ่นใหม่ให้ก้าวไปสู่ตลาดงาน รวมถึงตลาดธุรกิจอย่างเชี่ยวชาญเป็นบทบาท ส�ำคัญของภาคสถาบันการศึกษาที่พัฒนาจาก ประสบการณ์แบบไม่หยุดนิง่ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) เป็นอีก สถาบันการศึกษาที่มีบทบาทอย่างมากในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาจากการปรับเปลี่ยนลุคเพื่อปั้น บุคลากรชัน้ ยอดเข้าไปสูส่ งั คม โดยปัจจุบนั ได้เปิด การเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ทัง้ หลักสูตรในประเทศ รวมทัง้ หลั ก สู ต รความร่ ว มมื อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ในต่างประเทศ ท�ำให้นักศึกษาได้มีโอกาสแลก เปลีย่ นความรูก้ บั อาจารย์จากมหาวิทยาลัยชัน้ น�ำ เช่น Northwestern University สหรัฐอเมริกา, University of Canberra, Australian National University ออสเตรเลีย โดยในทุกรายวิชา ได้เชิญ Guest Speakers มาถ่ายทอดประสบการณ์ ท�ำงานอย่างมืออาชีพโดยตรง ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ ทายาทรุ่นที่ 3 ของ มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ทมี่ บี ทบาทส�ำคัญใน การพัฒนาระบบการศึกษาของที่นี่ให้ก้าวหน้า อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ด้ ว ยนิ ย ามสั้ น แต่ ก ระชั บ ว่ า Progressive University หมายถึงสถาบันการ ศึกษาที่พัฒนาไปข้างหน้าไม่หยุดนิ่งทั้งวิชาการ และระบบการเรียนการสอน ภายใต้การวิเคราะห์ อินไซท์ (Insight) ใหม่ๆ จากโลกธุรกิจและ โลกการงานมาแปลงเป็นหลักสูตรที่ผสมผสาน ออกมาได้อย่างลงตัว เพื่อตอบโจทย์ทั้งตลาด แรงงานและโลกธุรกิจ
Progressive University หมายถึง สถาบันการศึกษา ทีพ ่ ฒ ั นาไปข้างหน้า ไม่หยุดนิง่ ทัง้ วิชาการและระบบ การเรียนการสอน ภายใต้การวิเคราะห์ อินไซท์ (Insight) ใหม่ๆ จากโลกธุรกิจและ โลกการงาน
08 GMBiZ
F E B RUA RY 2 0 1 5
GMBiZ : ในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ดูจะมีการเปลีย่ นแปลง หลายๆ ด้านทีน่ า่ จับตามอง ดร.ดาริกา : ถ้าพูดตามความจริง มันมาจาก การปรั บ ตั ว ตามทิ ศ ทางของการศึ ก ษาไทย โดยเฉพาะกับกลุ่มคนรุ่นใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น เราจึง ต้องสร้างสินค้าที่ตอบสนองต่อตลาดได้อย่าง ทันท่วงที สังเกตได้ว่า หากสถาบันใดไม่มีการ ปรับตัว โอกาสทีจ่ ะอยูร่ อดก็ยาก นัน่ จึงเป็นเหตุผล ที่มหาวิทยาลัยสเกลใหญ่ๆ แบบเราก็ต้องท�ำ การบ้านหนักขึ้นในเรื่องของหลักสูตรการศึกษา และการยกระดับมิตดิ า้ นต่างๆ ของแบรนด์ นอกจากนี้ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เราทุ่ม งบลงทุนหลักพันล้านบาท เพื่อพัฒนาความ ทันสมัยให้แก่อาคารสถานที่ อุปกรณ์การศึกษา รวมถึงบุคลากรทุกส่วนของเรา โดยเฉพาะในส่วน ของบุคลากร เช่น คณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญศาสตร์ แขนงต่ า งๆ ในระดั บ สากลมาเติ ม เต็ ม เป็ น จ�ำนวนมาก ท�ำให้ระบบการศึกษาของทีน่ เี่ ข้มแข็ง อย่างเห็นได้ชดั GMBiZ : DPU นิยามตนเองว่าเป็น Progressive University นั้นมีที่มาอย่างไรและหมายถึง อะไร ดร.ดาริกา : Progressive University หมายถึง สถาบันการศึกษาทีพ่ ฒ ั นาไปข้างหน้าไม่หยุดนิง่ ทัง้ วิชาการและระบบการเรียนการสอน เนือ่ งจาก พื้ น ฐานครอบครั ว ของแพรวเน้ น ท� ำ แต่ ธุ ร กิ จ ด้ า นการศึ ก ษาเพี ย งอย่ า งเดี ย ว เราจึ ง เข้ า ใจ ธรรมชาติและความเปลี่ยนแปลงของตลาดนี้ การหยุดอยู่กับที่ไม่ใช่สิ่งที่เราโฟกัส แต่เราจะ มองไปข้างหน้า ปรับตัวและสร้างสรรค์สินค้า (หลักสูตร) หรือแม้แต่บริการทีถ่ กู ต้องบนพืน้ ฐาน ของพฤติกรรมผูบ้ ริโภค ดังนั้น การเป็น Progressive University ในมุ ม ของเราจึ ง เป็ น เรื่ อ งของการเปิ ด กว้ า ง เราจับมือกับกลุ่มธุรกิจรวมถึงบุคคลในสังคม อย่างหลากหลาย เพือ่ สร้างกลุม่ ก้อนไอเดียใหม่ๆ สูอ่ งค์กรแห่งนี้ ขณะเดียวกัน บุคลากรภายในก็มี การเปิดกว้างในทุกๆ ระดับ ตัง้ แต่ระดับอธิการบดี จนถึ ง เจ้ า หน้ า ที่ ร ะดั บ ปฏิ บั ติ ก าร เหล่ า นี้ คื อ กระบวนการส�ำคัญทีท่ ำ� ให้เราผลักดันนวัตกรรม ด้านการศึกษาใหม่ๆ ออกมาได้ในช่วงหลายปี ทีผ่ า่ นมา GMBiZ : ถ้าขยายภาพของ Progressive ในรูปแบบของหลักสูตรจะออกมาเป็นอย่างไร ดร.ดาริกา : อย่างทีก่ ล่าวไปว่าพวกเราเปิดกว้าง ทางความคิ ด เพื่ อ รั บ ไอเดี ย ใหม่ ๆ ท� ำ ให้ เ รา พยายามวิ เ คราะห์ พ ฤติ ก รรมของคนและ ความต้ อ งการตลาดมาแปลงเป็ น หลั ก สู ต ร ที่ค่อนข้างตอบโจทย์ อย่างตอนนี้เราเปิดตัว หลักสูตรปริญญาตรี สาขาธุรกิจการบิน (Aviation Business) คณะการท่องเทีย่ วการโรงแรม เพือ่ ให้ คนในอุ ต สาหกรรมการบิ น ในด้ า นบริ ก าร เทคโนโลยี และการบริหารจัดการภาคพื้นดิน ได้เรียนภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 เช่น ภาษาจีน ภาษาบาฮาซาและอื่ น ๆ รวมทั้ ง ได้ เ รี ย นรู ้ กั บ สายวิ ช าที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ ธุ ร กิ จ การบิ น เช่ น บริษทั ทัวร์ บริษทั โลจิสติกส์ เป็นต้น
2 0 1 5 F E B RUA RY
ในส่วนของปริญญาโทก็จะมีหลักสูตรใหม่ ‘กฎหมายทางการแพทย์’ คณะนิตศิ าสตร์ปรีดี พนมยงค์ น�ำวิชาทางการแพทย์และวิชาชีพด้าน กฎหมายมาผสมผสานเป็นอีกความก้าวหน้า ของหลักสูตรนิติศาสตร์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ ต่อวิชาชีพอัยการ ผู้พิพากษา ทนาย รวมถึง นักกฎหมายทัว่ ไป ‘การบริหารจัดการธุรกิจแบบบูรณาการ’ คณะบริหารธุรกิจ เป็นการเรียนแบบบูรณาการ ไม่ได้เรียนแบบเนือ้ หาเป็นก้อนๆ หรือเจาะเฉพาะ ศาสตร์ ด ้ า นธุ ร กิ จ ใดธุ ร กิ จ หนึ่ ง แต่ เ รี ย นรู ้ กระบวนการในการท�ำธุรกิจจริง ‘สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรมข้ อ มู ล ขนาดใหญ่ ’ (Big Data Engineering) เป็นสาขาทีม่ สี ว่ นส�ำคัญ ในการวางแผนหรื อ การจั ด ระบบข้ อ มู ล ที่ มี ขนาดใหญ่ ใ ห้ เ ป็ น ระเบี ย บง่ า ยต่ อ การค้ น หา และดึงข้อมูลมาประกอบการตัดสินใจ ซึง่ แต่กอ่ น อาจจะเป็นแค่การบริหารจัดการข้อมูล แต่ตอนนี้ มันเป็นเทรนด์ที่ส�ำคัญมาก สาขาวิชาเหล่านี้ บางคนแทบจะนึกไม่ถึง แต่มันเป็นประโยชน์ ต่อการด�ำรงชีวติ และวิชาชีพในสมัยนี้ ซึง่ เรากล้า ทีจ่ ะสร้างสรรค์ออกมา GMBiZ : การทลายก� ำ แพงเพื่ อ คิ ด ค้ น หลักสูตรใหม่ๆ มีปจั จัยใดเป็นตัวกระตุน้ บ้าง ดร.ดาริกา : ต้องยอมรับว่า ยุคนี้เป็นยุคของ เจเนอเรชั่นวาย (Gen Y) เต็มตัว เด็กรุ่นใหม่ หลายคนมีวธิ คี ดิ ทีเ่ ปลีย่ นไปมาก บางคนเรียนจบ สาขาหนึ่ง แต่พอไปท�ำงานก็ไม่ตรงกับสาขา ที่เรียน เพราะเหมือนเรียนศาสตร์บังคับให้จบๆ แต่ในความเป็นจริงแล้วเราเชือ่ ว่าแต่ละคนมองหา สิง่ ทีต่ รงกับความเป็นตัวของตัวเอง แต่มนั ยังไม่มี ดังนั้น หลักคิดแบบ Progressive จึงเหมือนกับ การสอดรับกับสิง่ ทีพ่ วกเขาก�ำลังแสวงหา นอกจากนี้ เราก็พยายามสร้างบรรยากาศ ให้เข้ากับคนกลุ่มนี้ด้วย เช่น การเปิดกว้างเพื่อ การติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ คณาจารย์ แ ละบุ ค ลากร ส่วนส�ำคัญๆ กับนักศึกษา เราจะให้ทุกคนเปิด เฟซบุ๊คเพื่อติดต่อกับเด็กทุกคนเป็นการส่วนตัว ได้ทนั ที เพราะเราเชือ่ ว่าพฤติกรรมของเด็กยุคนี้ จะไม่อดทนเสียเวลาเมื่ออยากซักถามหรือบอก ปัญหา สิง่ เหล่านีจ้ งึ ต้องรวดเร็วแบบเรียลไทม์ บางกรณีเราก็เซ็ตอัพขึ้นมาเป็นบริการเลย ก็มี เช่น โครงการ Student Service คอนเซ็ปต์คอื ให้บริการนักศึกษาในทุกๆ เรื่อง ณ จุดๆ เดียว เพือ่ ใช้บริการได้ทกุ อย่าง เช่น จ่ายเงิน ลงทะเบียน ค�ำขอทรานสคริปต์ ตรงนีเ้ ป็นบริการทีเ่ ราท�ำเสิรฟ์ ให้นกั ศึกษา Gen Y และเป็นการรองรับนักศึกษา ทุกระดับตั้งแต่ปริญญาตรี โท เอก เพื่อให้เขา ได้ทำ� ธุรกรรมทันใจขึน้ GMBiZ : คนเจนนีเ้ อาแต่ใจพอสมควรเลยใช่ไหม ดร.ดาริกา : ใช่เลยและนัน่ ก็ทำ� ให้เราต้องปรับ ทัศนคติให้กับบุคลากรของเราเพิ่มเข้าไปด้วย เช่น เราใช้ระบบกัลยาณมิตรฝังเข้าไปอยู่ใน ดีเอ็นเอของอาจารย์ อาจารย์จะไม่ได้มีหน้าที่ ดูแลแค่เรื่องการเรียนการสอน แต่จะต้องดูแล นักศึกษาเหมือนกับแม่ดแู ลลูก พีด่ แู ลน้อง ไม่ใช่ แค่เรือ่ งเรียน แต่ยงั ต้องเสริมการดูแลสวัสดิภาพ สวัสดิการของนักศึกษา ซึ่งในส่วนนี้เป็นการ ต่อยอดแคมเปญสูอ่ อ้ มกอดทีเ่ ราท�ำมาร่วม 10 ปี ให้เข้มข้นขึน้
GMBiZ 09
ยุคนีเ้ ป็นยุคของ ‘Gen Y’ เราเชือ่ ว่า แต่ละคนมองหาสิง่ ทีต่ รงกับความ เป็นตัวของตัวเอง แต่มนั ยังไม่มี ดังนัน้ หลักคิดแบบ ‘Progressive’ จึงเหมือน กับการสอดรับกับสิง่ ทีพ ่ วกเขาก�ำลังแสวงหา GMBiZ : ท�ำไมต้องมีระบบกัลยาณมิตร ระบบ อาจารย์ทปี่ รึกษาไม่ตอบโจทย์หรือ ดร.ดาริกา : เพราะต้องยอมรับว่า เด็กนักศึกษา ส่ ว นใหญ่ จ ะมี สั ด ส่ ว นจากต่ า งจั ง หวั ด มากพอ สมควร ยิง่ ถ้าเป็นเด็กปีหนึง่ ด้วยแล้วเขาย่อมรูส้ กึ โดดเดีย่ ว แต่เราเซ็ตอัพสิง่ นีข้ นึ้ มาเพือ่ ให้เขารูส้ กึ ถึงความอบอุน่ เหมือนอยูก่ บั ครอบครัว เดินไปคุย กับอาจารย์ได้ทกุ เรือ่ ง ทัง้ เรือ่ งการเรียนการสอน การใช้ชวี ติ ในมหาวิทยาลัย กิจกรรมนอกห้องเรียน มีอะไรน่าสนใจให้ท�ำบ้าง ไม่ใช่เลิกเรียนแล้วไป รวมตัวกันเข้าแหล่งอบายมุข นีค่ อื เราดูแลเด็กปี 1 ให้ใกล้ชดิ กว่าปกติ ส่ ว นเด็ ก ใกล้ จ บเราก็ มี ก ารท� ำ โครงการ ในลักษณะเทรนน้องไปสูโ่ ลกอาชีพ ซึง่ ท�ำมาเป็น 10 ปีเช่นกัน เช่น พาไปเทรนเรื่องบุคลิกภาพ ทานข้าวในโรงแรม เต้นร�ำแบบยูโรเปี้ยน และ พัฒนาความคิดในการอยู่กับคนในสังคมต่างๆ และช่วงหลังๆ ก็เสริมพืน้ ฐานทางไอทีและภาษา อังกฤษเข้าไปให้แน่นด้วย GMBiZ : ไม่พดู ถึงเออีซคี งจะไม่ได้ เตรียมพร้อม รับมืออะไรไว้บา้ งแล้ว ดร.ดาริกา : ก่อนอืน่ ทีข่ าดไม่ได้คงเป็นเรือ่ งภาษา ที่หลากหลาย เราอยากเน้นเรื่องภาษาต่างชาติ ที่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมรอบตัว อย่างตอนนีเ้ ราเข้มข้นกับหลักสูตรด้านภาษาใหม่ๆ เช่น ภาษาบาฮาซา ซึง่ เป็นภาษาทีใ่ ช้ในเออีซมี าก ทีส่ ดุ ขณะเดียวกัน ภาษาจีนก็เป็นอีกภาษาทีเ่ รา ให้ ค วามส� ำ คั ญ มาก สถาบั น ของเราก็ ไ ด้ รั บ การยอมรับเรือ่ งนีส้ งู ในประเทศจีน มีนกั ศึกษาทัง้ ในและต่างประเทศเข้ามาเรียนกับเราเป็นจ�ำนวน มาก โดยเฉพาะกับนักศึกษาต่างประเทศ บางคนอาจจะมองว่า ท�ำไมเขาไม่ไปเรียนที่ ประเทศจีนโดยตรง เรามองว่านั่นเป็นเพราะ ประเทศไทยเป็นประเทศทีน่ า่ อยู่ การท่องเทีย่ วก็ดี วิถิ ชี วี ติ ความอบอุน่ ก็ดี ยิง่ สถาบันของเราให้ความ ส�ำคัญกับการดูแลนักศึกษา อีกทัง้ มีผสู้ อนทีม่ คี วาม สามารถด้านภาษาจีนขัน้ เลิศมาเป็นผูส้ อนด้วย
เร็วๆ นี้ จะมีการจัดตั้งสถาบันขงจื่อเส้นทาง สายไหมทางทะเล เพือ่ เผยแพร่วฒ ั นธรรมจีนและ ภาษาจีน ซึง่ เหตุทสี่ ถาบันฮัน่ ปัน่ แห่งสาธารณรัฐ ประชาชนจีนเลือกเราเป็นส�ำนักงานเลขานุการ เพื่อตั้งสถาบันในประเทศไทย นั่นเพราะเรามี ความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี กั บ พระพรหมมั ง คลาจารย์ (ท่านเจ้าคุณธงชัย) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไตรมิตร วิทยาราม ประธานมูลนิธริ ม่ ฉัตร ซึง่ ท่านจะเป็น ประธานของสถาบันนี้ ตอนนี้อยู่ในช่วงของการ วางแผนด�ำเนินงาน GMBiZ : แสดงว่าหลักสูตรภาษาจีนของ DPU แข็งแกร่งมาก ดร.ดาริกา : ใครพูดก็ตอ้ งบอกว่าของตัวเองดีกว่า (หั ว เราะ) แต่ เ รามองในเชิ ง ผลตอบรั บ จาก ผู้หลักผู้ใหญ่หรืออุปทูตคนจีนที่ให้การยอมรับ เรามาก เขามองเราเป็นมหาวิทยาลัยเบอร์หนึ่ง เกี่ยวกับเรื่องภาษาจีนในไทย แม้เราจะเพิ่งเริ่ม ในช่วง 3-4 ปีหลังก็ตาม เราคิดว่าตอนนีส้ ว่ นแบ่ง ตลาดของเรามีมากที่สุดในไทย และตอนนี้คนก็ สนใจมาเรียนกับเราเยอะมาก แต่เราก็ตอ้ งเบรกไว้ เพราะความสามารถในการรองรับคนของเรายังมี ไม่มาก ฉะนั้น จากนี้ไปเราต้องจัดทัพบุคลากร หลักสูตรนีใ้ ห้แข็งแกร่งก่อนทีจ่ ะเปิดตัวให้กว้างขวาง กว่านี้ เพราะเราไม่อยากรับมาแล้วดูแลไม่ได้ GMBiZ : คิดว่าการบริหารธุรกิจการศึกษาของ ทีน่ ยี่ งั ขาดอะไร อยากเพิม่ อะไร ดร.ดาริกา : สิ่งที่ขาดอยู่นั้นคือ ยังขาดคนที่มี ความคิดทีก่ ล้าฉีกกฎเดิมๆ เพราะเราต้องหมุนไป ตามโลก มันจะท�ำให้เราเจอความคิดแปลกๆ แผลงๆ แต่น�ำมาต่อยอดได้ ยกตัวอย่างกรณี คนเจนนี้ต้องมีว้าวไอเดีย (Wow Idea) สินค้า (หลักสูตร) ดัง 3 ปีดบั หากไปพูดกับคนสมัยก่อน ว่า ลองบอกเปิดหลักสูตรนี้ 4 ปีแล้วดับ เขาคง ไม่ ย อมเพราะเขาอยากให้ มั น อยู ่ ไ ปตลอด แต่เทรนด์ใหม่มันเป็นอย่างนั้น แต่เราจะจับ โครงสร้างเพื่อเปิด-ปิดได้ตลอดเวลา หลักสูตร ก็ตอ้ งเร็วตามความเปลีย่ นแปลงด้วย
GMBiZ : เราต้องการคนรุน่ ใหม่ ผสมผสานกับ ประสบการณ์ของคนรุน่ อาวุโสในองค์กร ดร.ดาริกา : เขาเชื่อมต่อกับลูกค้าเราไม่ติด เราไม่ได้มองว่าคนรุน่ เก่าไม่เวิรค์ เรามีคนรุน่ เก่า ทีก่ ล้าลอง กล้าบ้ากับเราก็มอี ย่าง ม.ร.ว.รมณียฉัตร ดิศกุล ที่ปรึกษาอธิการบดี DPU ท่านเป็นคนที่ี เปิดกว้าง พร้อมลุย พร้อมลองกับคนรุ่นใหม่ แต่ในเมื่อเราเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่เก่าแก่ ทีส่ ดุ เราก็ตอ้ งรีเฟรชตัวเองเป็น เพือ่ จับทางตลาด ให้ได้ เพราะหากเปรียบเทียบกับสถานีโทรทัศน์ ช่อง 3 ซึง่ มีบคุ ลากรเก่าๆ เหมือนกัน แต่เขาจับ คน Gen Y ได้ เราก็ตอ้ งพยายามท�ำให้ได้เช่นกัน และถือเป็นเรือ่ งส�ำคัญทีเ่ ราต้องท�ำ GMBiZ : ฝ่ายบุคคลของที่นี่ก็คงต้องท�ำงาน หนักขึน้ ดร.ดาริกา : เราต้องใช้ฝา่ ยทรัพยากรบุคคล (HR) เพื่อสร้างสมดุล น้องๆ แรง ไอเดียบรรเจิด HR ก็ต้องสร้าง Happy Workplace อันนี้ช่วยได้ บางครัง้ มันเป็นวัฒนธรรมทีเ่ ราต้องปรับเข้าหากัน ระหว่างคนรุน่ เก่ากับคนรุน่ ใหม่ คนรุน่ ใหม่อาจมี Passion แต่ประสบการณ์ของผูอ้ าวุโสก็มองข้าม ไม่ได้ ไม่มอี ะไรผิดและเป็นอย่างนีใ้ นทุกมหาวิทยาลัย GMBiZ : ท้ า ยสุ ด ในฐานะทายาทรุ ่ น ที่ 3 อยากเห็น DPU เป็นอย่างไรในอนาคต ดร.ดาริกา : อยากเห็นสถาบันการศึกษาใน บ้านเราเปิดให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนแบบ Customize ได้ เลือกเรียนได้ตามสไตล์ Gen Y ไม่ตอ้ ง สนใจว่าดีกรีคืออะไร เลือกวิชาที่อยากจะเรียน ให้เหมาะสมกับตัวตนของเรา ซึง่ นีค่ อื ความฝัน เราอยากเปิดให้นกั ศึกษาสามารถเลือกช้อป หลักสูตรที่ตนเองอยากเรียนเหมือน Shopping Basket ซึ่ ง ในต่ า งประเทศท� ำ ได้ แต่ ส� ำ หรั บ ประเทศไทยคงไปติ ด หลั ก เกณฑ์ ข องภาครั ฐ แต่นคี่ งเป็นอะไรทีต่ อ้ งสร้างมาตรฐานขึน้ มา เราเชื่อว่า นี่จะเป็นเทรนด์ของการศึกษา ในอนาคต
F E B RUA RY 2 0 1 5
10 GMBiZ
เรือ่ ง : โชติ เวส
MVNO การแข่งขันยุคใหม่แห่งโลกโทรคมนาคม (Mobile Virtual Network Operator)
ตลาดการให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นประเทศไทย ทัง้ ในอดีตและในปัจจุบนั ถูกควบคุม โดยผูป้ ระกอบการรายใหญ่ 3 ราย ซึง่ ท�ำให้เกิดสภาพการแข่งขันทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ โดยสามารถวัดได้จากค่าดัชนี Herfindahl - Hirschman Index หรือ HHI (ดัชนีวดั ขนาดของผู้ค้าและผู้ให้บริการที่สัมพันธ์ในธุรกิจและชี้วัดให้เห็นความรุนแรง ในการแข่งขันในวงการธุรกิจโทรคมนาคมระดับนานาชาติ) ระดับการแข่งขันที่ต�่ำเช่นนี้จะก่อให้เกิดผลเสียและ ปัญหาต่อผู้บริโภคและระบบเศรษฐกิจ โดยรวมในหลายๆ ด้าน เช่น อัตราค่า บริการทีอ่ ยูใ่ นระดับสูง หรือคุณภาพของ การให้บริการทีต่ ำ�่ จักรกฤษณ์ สังกิตติวรรณ์ เจ้าของ บริษัท TIME Consulting ซึ่งด�ำเนิน ธุ ร กิ จ ที่ี ป รึ ก ษาด้ า นกลยุ ท ธ์ ใ นธุ ร กิ จ โทรคมนาคมกว่า 15 ปี ในหลายๆ ประเทศ แถบเอเชี ย อาคเนย์ ต ะวั น ออกกลาง แอฟริกาและยุโรป เผยว่า มาเลเซีย อิ น โดนี เ ซี ย และเวี ย ดนามมี ส ภาพ การแข่งขันที่ดีกว่าในไทยหรือสิงคโปร์ เนื่ อ งจากมี ผู ้ ป ระกอบการในตลาด รายใหญ่มากกว่า 3 ราย อย่างไรก็ตาม ในการสร้างให้เกิด ผูป้ ระกอบการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ายใหญ่ รายใหม่ขนึ้ ในไทยเป็นเรือ่ งทีท่ ำ� ได้ยาก การจัดสรรคลืน่ ความถีเ่ พือ่ ให้รายใหม่นำ� มาประกอบกิจการ ก็ยงั ไม่ใช่ทางเลือก เนือ่ งจากสภาพตลาดมีความอิม่ ตัวสูง (ปัจจุบนั อัตราการใช้งานโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ในประเทศไทยอยูท่ ี่ 145% ต่อจ�ำนวนประชากร) ดังนัน้ การลงทุนในทรัพยากรหรือการสร้างโครงข่าย ทีต่ อ้ งใช้เงินลงทุนสูงจึงมีความเสีย่ งทางธุรกิจทีส่ งู มาก ทางเลือกทีด่ กี ว่าและมีการน�ำมาใช้อย่างประสบผลส�ำเร็จในหลายๆ ประเทศทีม่ รี ะดับการแข่งขัน ที่ดี คือ การสนับสนุนให้เกิด MVNO (Mobile Virtual Network Operator) โดยจะเห็นได้ว่า เกือบทุกประเทศใน EU จะมีผใู้ ห้บริการ MVNO อยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก เช่น ในสหราชอาณาจักรทีม่ ี MVNO กว่า 40 ราย ขณะเดียวกัน ประเทศทีม่ สี ว่ นแบ่งตลาดรวมสูง ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ (38%) เยอรมนี (35%) สหราชอาณาจักร (16%) ฝรัง่ เศส (11%) สเปน (11%) เป็นต้น และจะสังเกตได้อกี ว่า เกือบทุกประเทศ ใน EU จะมี MVNO รายใหญ่ทมี่ สี ว่ นแบ่งตลาดมากกว่า 1% จึงท�ำให้สามารถแข่งขันกับผูใ้ ห้บริการ โทรศัพท์เคลือ่ นทีห่ รือ MVNO ได้ในหลายๆ Segment ของตลาด ส�ำหรับในประเทศไทย การสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการให้บริการ MVNO อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะ MVNO รายใหญ่จงึ เป็นเรือ่ งทีจ่ ำ� เป็นอย่างยิง่ เพือ่ สร้างให้เกิดสภาพการแข่งขันทีด่ ขี นึ้ มีการแข่งขันด้านราคาและคุณภาพของบริการอย่างแท้จริง เพื่อให้ประชาชนผู้บริโภคได้รับประโยชน์สูงสุดจากการใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่เป็นเสมือนปัจจัยที่ 5 ในการด�ำรงชีวิตอยู่ในปัจจุบัน ดังนัน้ จึงเป็นเรือ่ งทีร่ ฐั ควรจะต้องเร่งด�ำเนินการสนับสนุนโดยเร็วเพือ่ ให้ประเทศไทยก้าวเข้าสูย่ คุ Digital Economy อย่างมีประสิทธิภาพตามแนวทางของ คสช.และรัฐบาลต่อไป
หากสภาพและโครงสร้าง ตลาดโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ยังคงเป็นเช่นเดิม ผูบ้ ริโภคมีทางเลือกทีจ่ ำ� กัดได้รบั อัตราค่าบริการทีส่ งู (สังเกตได้จากระดับราคาในปัจจุบนั และการลดลงของ ระดับราคาทีม่ ไี ม่มากนักในอดีต) ท�ำให้เป็นภาระค่าใช้ จ่ายเกินควรส�ำหรับผูบ้ ริโภค การน�ำเทคโนโลยีตา่ งๆ มาใช้งานในชีวติ ประจ�ำวัน หรือน�ำมาใช้ในการเพิม่ ประสิทธิภาพในการท�ำงานเป็น ไปอย่างเรือ่ ยๆ ไม่รวดเร็วนักอาจไม่สอดรับกับแนวทาง และเป้าหมายในการด�ำเนินงานไปสูย่ คุ เศรษฐกิจดิจติ อล ผู้ให้บริการได้รับผลประโยชน์ในระดับที่สูงจาก ระดับการแข่งขันทีไ่ ม่เพียงพอในปัจจุบนั โดยพิจารณา ได้จากอัตราส่วนก�ำไรจากการให้บริการ (Profit Margin) ของผูป้ ระกอบการ 3 รายหลักในตลาดทีอ่ ยูใ่ นระดับที่ สูงมาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผลก�ำไรจากการเปลีย่ นผ่าน จากระบบสัมปทานมาสู่ระบบใบอนุญาตจากการให้ บริการ 3G ปัญหาในการเลือกปฏิบตั ติ อ่ ผูใ้ ช้บริการ โดยผูใ้ ห้ บริการมีการให้สทิ ธิพเิ ศษแก่ผใู้ ช้บริการบางกลุม่ เช่น กลุม่ ทีต่ อ้ งการจะย้ายไปใช้บริการกับผูใ้ ห้บริการรายอืน่ โดยจะเสนอเพิม่ ปริมาณการใช้บริการทัง้ ประเภทเสียง และข้อมูลเพิ่มมากขึ้นอย่างมากเพื่อไม่ให้ผู้ใช้บริการ ย้ายไปอยู่กับรายอื่น พฤติกรรมเช่นนี้มีแนวโน้มเพิ่ม มากขึน้ เรือ่ ยๆ และมักเกิดกับกรณีทผี่ ใู้ ห้บริการค้าก�ำไร เกินควร ซึง่ สามารถท�ำได้ในตลาดทีม่ กี ารแข่งขันอย่าง ไม่มปี ระสิทธิภาพ ต้นทุนในการติดต่อสื่อสารของภาคส่วนต่างๆ ในประเทศอยู่ในระดับที่สูง ท�ำให้มีศักยภาพในการ แข่งขันทีต่ ำ�่ และไม่สามารถแข่งขันได้กบั นานาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประเทศเพือ่ นบ้านในภูมภิ าค
ตลาดผูส้ งู อายุในจีนสดใส ศูนย์ขอ้ มูลธุรกิจจีนในไทยระบุถงึ ผลการส�ำรวจของบริษทั แอ๊บบอตว่า สหประชาชาติคาดการณ์จำ� นวนผูส้ งู อายุของจีนทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่าง มหาศาลว่า ปี 2030 ประเทศจีนจะมีคนจีนวัยกว่า 60 ปีมากถึง 210 ล้านคน จากปัจจุบนั ทีม่ เี พียง 110 ล้านคน และปี 2050 จะมี คนกลุม่ นีค้ ดิ เป็น 1 ใน 4 ของประชากรจีนทัง้ หมด มากกว่าคนในอเมริกาทัง้ ประเทศ ประเด็นส�ำคัญจึงอยูท่ อี่ กี 35 ปีขา้ งหน้าจะมีคนอายุเกิน 60 ปี กว่า 500 ล้านคนอาศัยอยู่ในจีน ด้วยรายได้จากเงินบ�ำนาญเฉลี่ย ของผู ้ สู ง อายุ จี น ในเมื อ ง 2,000 หยวน (ประมาณ 320 เหรียญสหรัฐ) ซึง่ น้อยกว่า ค่าจ้างคนงานในเมืองถึง 50% นี้ แม้เงินจะ ไม่มากแต่ด้วยจ�ำนวนผู้สูงอายุที่มีมากขึ้น เป็นเท่าตัว คณะกรรมการดูแลผูส้ งู อายุจนี จึงคาดการณ์วา่ ตลาดสินค้าและบริการเพือ่ ผูส้ งู อายุจะเป็นตลาดใหญ่ทมี่ มี ลู ค่ารวมถึง 106 ล้านล้านหยวนในปี 2050 จากปี 2014 ทีเ่ พียง 4 ล้านล้านหยวน ตัวอย่างของการรุกตลาดนี้อย่างชัดเจนคือ เนสท์เล่ที่เริ่มขาย นมผงเพื่อผู้สูงอายุในตลาดจีนเมื่อปี 2009 และเริ่มติดตั้งเครื่อง ตรวจวัดความดันโลหิต สุขภาพหัวใจและหลอดเลือดเพือ่ ให้บริการฟรี
แก่ผสู้ งู อายุทเี่ คาน์เตอร์สนิ ค้าในห้างคาร์ฟรู แ์ ละวอลมาร์ทในปี 2011 หรือ ไฮเซนส์ (Hisense) บริษทั อิเล็กทรอนิกส์จนี ทีเ่ ปิดตัวสมาร์ทโฟน ส�ำหรับผูส้ งู อายุทมี่ รี ะบบให้ความช่วย เหลือทางการแพทย์และสามารถ ส่ ง ข้ อ ความอั ต โนมั ติ ถึ ง บุ ค คล ในครอบครั ว เมื่ อ ผู ้ สู ง อายุ เ ผชิ ญ สถานการณ์ฉกุ เฉินได้อกี ด้วย ปี 2013 ธนาคารเพือ่ การก่อสร้าง จี น ออกบั ต รเครดิ ต เพื่ อ ผู ้ สู ง อายุ ที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ การเรี ย กร้ อ งสิ ท ธิ ประโยชน์ ข องบริ ษั ท ประกั น ภั ย เมือ่ มีการรูดบัตรทีร่ า้ นขายยาหรือโรงพยาบาล บริษทั ประกันจะดูแล ค่าใช้จ่ายส่วนที่ประกันครอบคลุมและให้ผู้รับประกันจ่ายเพียง ส่วนต่างเท่านัน้
แอ๊บบอต ลาบอแรตอรีสทีเ่ ซีย่ งไฮ้กำ� ลังทดสอบรสชาติเครือ่ งดืม่ โภชนาการเพือ่ ผูส้ งู อายุของจีน และคาดว่าต้องใช้เวลากว่า 6 เดือน ในการกระจายสินค้าไปถึงร้านค้าปลีกและร้านขายยาทัว่ ประเทศจีน เพื่อเตรียมขายสินค้าช่วงตรุษจีน ซึ่งเป็นช่วงที่คนจีนซื้อของขวัญ มอบให้แก่ญาติผใู้ หญ่มากทีส่ ดุ ส่วนคิมเบอร์ลี่ย์-คล๊าคเปิดตัวโฆษณาโทรทัศน์ส�ำหรับผ้าอ้อม ผู้ใหญ่และท�ำตลาดบนออนไลน์จากบัญชีผู้ใช้เว็บไซต์อาลีบาบา ทั้งหมดที่มีอายุเกิน 50 ปีกว่า 2 ล้านรายชื่อ (ข้อมูลในปี 2013) นอกจากนั้น เว็บไซต์เถาเป่ายังมีลิงค์ส�ำหรับสินค้าเพื่อผู้สูงวัย โดยเฉพาะ นอกจากสินค้าสุขภาพเพื่อผู้สูงอายุแล้ว ยังมีกลุ่มธุรกิจที่มี อนาคตส�ำหรับคนกลุ่มนี้ด้วยคือ กลุ่มธุรกิจท่องเที่ยว โรงแรม สถานบันเทิง เป็นต้น
F E B RUA RY 2 0 1 5
12 GMBiZ
: All Thai Taxi
: JetBlue
ผูใ้ ห้บริการรถประจ�ำทางอย่างนครชัย แอร์กระโดดลงมาท�ำรถแท็กซี่ All Thai Taxi บ้าง แถมเป็นแท็กซีใ่ นฝันของคนไทยทัว่ ประเทศ ให้บริการผ่านแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนเหมือน กับอูเบอร์ หรือโทร 1624 ค่าธรรมเนียม 20 บาท แลกกับการไม่ตอ้ งกังวลว่าแท็กซีจ่ ะไม่จอดรับ หรือจะ โกงค่าโดยสาร แถมรับประกันความปลอดภัยให้ดว้ ย เป็นแท็กซีใ่ นฝันเลยใช่มยั้ ล่ะ
: For Sale Group
facebook เพิม่ ฟีเจอร์ใหม่เข้าไปใน facebook group ให้ผใู้ ช้โพสต์ขายสินค้าในกลุม่ ได้ ส ะดวกขึ้ น โดยผู ้ ใ ช้ ส ามารถใส่ ชื่ อ สิ น ค้ า อัพรูปภาพ ตัง้ ราคาและบรรยายสินค้าได้ไม่ตา่ ง จากโพสต์ปกติ แต่จะมีปมุ่ Sell เพิม่ ขึน้ มาในโพสต์ เพือ่ ให้งานขายง่ายขึน้
สายการบิน JetBlue ในสหรัฐอเมริกา ก�ำลังจะเป็นสายการบินแรกทีช่ ำ� ระเงิน ซื้ออาหารและเครื่องดื่มที่สั่งระหว่าง อยู่บนเครื่องบินผ่าน Apple Pay โดยพนักงาน ต้อนรับบนเครื่องบินจะมี iPad mini ที่ใส่เคส ที่สามารถอ่านบัตรเครดิตธรรมดาและรองรับ NFC ด้วย
: BTS
รอคอยกันมานาน ในเดือนกันยายน เราจะได้ ท ดลองใช้ ร ถไฟฟ้ า สาย สี ม ่ ว ง (บางใหญ่ - บางซื่ อ ) โดย ผู้โดยสารจะได้ใช้บริการฟรี 6 เดือน ก่อนจะ เปิดให้บริการเต็มรูปแบบภายในปลายปี 2559
: KFC Urban
: Detour
ไม่วา่ จะเทีย่ วทีไ่ หนก็มไี กด์ประจ�ำตัว ได้เสมอ เมือ่ มีแอพพลิเคชัน่ Detour อยู่ในสมาร์ทโฟน เพราะแอพพลิเคชั่นนี้จะท�ำ หน้าทีน่ ำ� เทีย่ วโดยจับต�ำแหน่งของผูใ้ ช้ในขณะนัน้ หากเดินไปจุดส�ำคัญจะมีเสียงเล่าเรื่องประกอบ ใส่หฟู งั เอาไว้ละ่ จะได้ไม่พลาดสิง่ ทีไ่ กด์อเิ ล็กทรอนิกส์ บอกคุณ
: Google Search
ความสามารถใหม่ของ Google Search คือสามารถ ซื้อตั๋วชมคอนเสิร์ตหรือตั๋วเข้างานอีเวนต์ต่างๆ ได้จากตารางงานอีเวนต์ที่แสดงหน้าค้นหาเลย โดยไม่ตอ้ งกดลิงก์ไปยังหน้าขายตัว๋ หลัก เพิม่ ความ สะดวกให้เหล่าสาวกศิลปินขึน้ เยอะเลยล่ะ
เคยเห็นร้าน KFC ที่ไม่ใช้สีแดง ตกแต่งร้านไหม? ลองไปดูทเี่ มือง ซิดนีย์ ออสเตรเลียดูสิ เพราะ KFC Urban เป็นร้าน ทีถ่ กู ดีไซน์ขนึ้ ใหม่ทงั้ หมดด้วยการใช้สดี ำ� และไม้ เป็นโทนหลักเพือ่ ให้ถกู ใจผูใ้ หญ่ ส่วนเมนูกเ็ พิม่ การเสิร์ฟเบอร์เกอร์พร้อมเบียร์ และมีส่วนผสม ของอาหารทีใ่ ส่ใจสุขภาพอย่าง ข้าวบาสมาติจาก อินเดีย เป็นต้น
: England
: Charlie Hebdo
หลั ง จากเกิ ด เหตุ ก ารณ์ โ ศกนาฏกรรมกั บ หนังสือพิมพ์ชาร์ลี เอ็บโด ฝรั่งเศสได้จัดงาน เทศกาลหนังสือการ์ตูนครั้งใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีบรรดานักวาดการ์ตูนจากหลายประเทศ และนักท่องเที่ยวหลายแสนคนไปรวมตัวกัน ภายในงานมี พิ ธี ม อบรางวั ล หนั ง สื อ การ์ ตู น ยอดเยีย่ มประจ�ำปี ซึง่ อุทศิ ให้กบั นักวาดการ์ตนู ของหนังสือพิมพ์ชาร์ลี เอ็บโดทีเ่ สียชีวติ
รั ฐ บาลอั ง กฤษเปิ ด ตั ว โครงการทดสอบ รถยนต์ไร้คนขับบนถนนสาธารณะ ซึ่งถือเป็นก้าวแรกที่จะน�ำไปสู่ เทคโนโลยียานยนต์ไร้คนขับ เพื่ อ ช่ ว ยเพิ่ ม ความปลอดภั ย บนท้องถนน และตัง้ เป้าจะเป็นผูน้ ำ� ด้านการพัฒนารถยนต์ไร้คนขับ โดยรัฐบาลอังกฤษจัดหาเงินทุน 19 ล้านปอนด์เพื่อสนับสนุนการ ทดสอบเทคโนโลยีนี้ในหลายพื้นที่ ของประเทศ
: Henn-na Hotel
สวนสนุ ก Huis Ten Bosch เมื อ ง นางาซากิ ประเทศญี่ปุ่น ก�ำลังจะเปิดโรงแรมชื่อ Henn-na Hotel ทีม่ หี นุ่ ยนต์มาท�ำงานแทนคนถึง 3 ต�ำแหน่ง คือ หุน่ ยนต์ตอ้ นรับลูกค้ามีลกั ษณะ เหมือนคนจริง หุน่ ยนต์จดั เก็บสัมภาระของลูกค้า เป็นลักษณะแขนกล และหุ่นยนต์แม่บ้านท�ำ ความสะอาดห้องพัก และยังเน้นใช้เทคโนโลยี เข้ามาช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้ลกู ค้าด้วย
2 0 1 5 F E B RUA RY
GMBiZ 13
: Starbucks
: Law
ร้านสตาร์บัคส์ในสหรัฐฯ เตรียมน�ำ ‘กะทิ’ มาใช้ชงกาแฟใน 12,123 สาขา เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่คนที่ไม่กิน นมวัวและนมถั่วเหลือง โดยลูกค้าต้องเพิ่มเงิน 60 เซนต์เมือ่ ต้องการให้ใช้กะทิ ในขณะทีร่ า้ นกาแฟ อื่นๆ ก็เริ่มน�ำนมชนิดอื่นๆ มาเป็นทางเลือกใช้ ชงกาแฟเช่นเดียวกัน
ไต้หวันออกกฎหมายให้ผู้ปกครอง ควบคุมบุตรหลานไม่ให้เล่นโทรศัพท์ นานเกินไป โดยไม่ได้ระบุให้แน่ชดั ว่า ‘นานเกินไป’ คือกีช่ วั่ โมงต่อวัน ถ้าหากผูป้ กครอง ละเลยจนส่งผลเสียต่อเด็กทัง้ ด้านสุขภาพร่างกาย หรื อ ทางด้ า นจิ ต ใจ จะต้ อ งถู ก ปรั บ สู ง สุ ด ถึ ง 50,000 บาท
: Vacation
รัฐบาลญีป่ นุ่ มีแนวคิดออกกฎหมาย บังคับให้ประชาชนใช้สิทธิ์ลางาน โดยได้รับค่าจ้างอย่างน้อยปีละ 5 วัน เพราะในแต่ละปีเหล่า Japanese Salary man ใช้สทิ ธิไ์ ม่ถงึ ครึง่ ของสิทธิท์ ลี่ าได้ และการท�ำงาน หนักเกินไปของชาวญีป่ นุ่ นีเ่ องจะเป็นต้นเหตุของ ปัญหาสุขภาพร่างกายและจิตใจ
: Watch
มหาวิ ท ยาลั ย หลายแห่ ง ใน อั ง กฤษห้ า มนั ก ศึ ก ษาใส่ นาฬิกาข้อมือเข้าห้องสอบ นั่นเพราะหลายคน อาจใช้ น าฬิ ก าอั จ ฉริ ย ะ หรื อ Smart Watch ซึ่งมีความสามารถเทียบเท่ากับใช้สมาร์ทโฟน เพื่อรับ-ส่งข้อความหรือดูบันทึกเพื่อใช้ในการ ทุจริตได้
: RFID
: Movie
หลั ง จากท� ำ ซี รี่ ส ์ ฉ ายผ่ า น อิ น เทอร์ เ น็ ต มาได้ สั ก พั ก อเมซอนเปิดแผนใหม่ประกาศสร้างภาพยนตร์ ฉายในโรง ในชือ่ บริษทั Amazon Original Movies โดยตั้งเป้าไว้ที่ 12 เรื่องต่อปี หลังจากหนังของ อเมซอนเข้าฉาย ภายใน 4-8 สัปดาห์หนังเรื่อง ดังกล่าวจะมาฉายบนระบบสตรีมมิ่ง ถือเป็นการ สร้ า งมาตรฐานใหม่ เพราะปกติ ต ้ อ งรอถึ ง 39-52 สัปดาห์กว่าภาพยนตร์ดังๆ จะมาฉาย ออนไลน์
ทุ ก วั น นี้ เ วลาเข้ า งานจะต้ อ ง สแกนบั ต รกั น ใช่ ไ หม แต่ ที่ บริษัท Epicenter ในประเทศ สวีเดนล�ำ้ ไปกว่านัน้ ด้วยการน�ำชิป RFID ซึง่ ก็คอื ชิปตัวเดียวกับทีม่ อี ยูใ่ นบัตรประจ�ำตัวพนักงาน นัน่ ล่ะมาฝังไว้ในตัวคนแทน ใช้สแกนเข้า-ออก ประตู และปลดล็อกเครือ่ งถ่ายเอกสาร ในอนาคต ยังมีแนวคิดเพิ่มบริการจ่ายเงินซื้ออาหารจาก ร้านค้าในเขตของบริษทั อีกด้วย
: Travel
องค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษ เพื่ อ การท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น ปั ้ น 66 โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพชุ ม ชนด้ า นการ ท่องเที่ยวแบบ 'โลว์คาร์บอน' โดยเน้นกิจกรรม ทีล่ ดการปลดปล่อยคาร์บอนจากภาคการท่องเทีย่ ว โดยเริม่ ทีน่ า่ นในโครงการ 'แอ่วม่วนใจ๋ ไม่เอาถ่าน' และกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงอาหารที่น�ำเสนอเมนู ท้องถิ่นและใช้วัตถุดิบที่หาได้ในท้องถิ่นไม่ต้อง ขนส่งจากพืน้ ทีอ่ นื่ ลดการปล่อยคาร์บอนในขัน้ ตอน ขนส่ง
: Uber
อูเบอร์พยายามอย่างเต็มที่เพื่อให้ บริการในอินเดียได้อย่างไร้ปญ ั หา จึ ง ติ ด ตั้ ง ปุ ่ ม เตื อ นภั ย ในรถแท็ ก ซี่ ส� ำ หรั บ ให้ ผู้โดยสารกดปุ่มแจ้งเตือนไปยังต�ำรวจท้องถิ่นได้ โดยตรงกรณีเกิดเหตุรา้ ย ในขณะเดียวกันก็สง่ ข้อมูล รายละเอี ย ดการเดิ น ทางและที่ อ ยู ่ ใ นขณะนั้ น ไปยังเพือ่ น 5 คน
: Yuan
สมใจพี่จีนเขาล่ะ เพราะในที่สุด สกุลเงินหยวนก็ก้าวขึ้นมาเป็น 1 ใน 5 สกุลเงินยอดนิยมของโลก สักที โดยมีมูลค่าการใช้จ่ายเงินหยวนทั่วโลก 2.17% เป็นรองจากสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ ยูโร ปอนด์ และเยน ตามล�ำดับ
F E B RUA RY 2 0 1 5
14 GMBiZ
disruptive innovation strategy ดร.ดนัย เทียนพุฒ
สืบสานธุรกิจ ให้ยงั่ ยืนเกิน 100 ปี เรือ่ งราวเกีย่ วกับกลยุทธ์ธรุ กิจทีส่ ะท้อนความส�ำเร็จในอดีตหรือ ตัวอย่างของธุรกิจในอดีต ถือเป็นบทเรียนอันทรงคุณค่าในการ ศึกษาว่ามีความส�ำเร็จและล้มเหลวเป็นมาอย่างไร มีเงือ่ นไขอะไร จึงก้าวหน้าเจริญเติบโตให้ธุรกิจรุ่นหลังและเกิดใหม่ได้เรียนรู้ บทเรียนดังกล่าว
การศึกษาธุรกิจหลายๆ ธุรกิจพบว่า มีกจิ การเป็นจ�ำนวนมากทีฝ่ า่ ฟัน มาได้เกินร้อยปี โดยเฉพาะในประเทศไทยมีการวิเคราะห์ศึกษากันไว้ ไม่มากนัก ถ ้ า พิ จ า ร ณ า จ า ก รู ป เราพบว่าองค์กรที่มีอายุเกิน 100 ปีมีลักษณะน่าสนใจอยู่ ดังนี้ 1. เป็นองค์กรรัฐประเภท รั ฐ วิ ส าหกิ จ เช่ น ธนาคาร ออมสิน 2. บริ ษั ท เอกชน ที่ มี ส�ำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ เช่น ธนาคาร ไทยพาณิชย์ (SCB), ปูนซิเมนต์ไทย (SCG) 3. บริษทั เอกชนในประเทศไทยในหลายลักษณะ เช่น ก่อตัง้ โดย ชาวต่างชาติ และรุน่ หลังได้สญ ั ชาติไทยด�ำเนินธุรกิจสืบต่อมา เช่น DHA สยามวาลา (นักธุรกิจชาวอินเดียเข้ามาตั้งกิจการในประเทศไทยสมัย รัชกาลที่ 5 สืบทอดธุรกิจจนถึงปัจจุบัน) ก่อตั้งโดยชาวต่างชาติและ นักธุรกิจไทยเข้าซือ้ กิจการหรือเป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ BJC (เบอร์ลยี่ คุ เกอร์ นักธุรกิจชาวสวิส ได้กอ่ ตัง้ กิจการตัง้ แต่ปี 2425 และปัจจุบนั กลุม่ บริษทั ไทยเจริญคอร์ปอเรชั่นเข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่) ห้างอังกฤษตรางู (มีเจ้าของเป็นชาวต่างชาติ ก่อนทีจ่ ะตกมาอยูภ่ ายใต้ธรุ กิจว่องวานิชกรุป๊ ) 4. บริ ษั ท ข้ า มชาติ ที่ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ในประเทศไทย เช่น IBM ลอรีอลั GE เนสท์เล่ อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ก่อตั้งจากนักธุรกิจชาวเยอรมัน) SINGER (บริ ษั ท อเมริ กั น ตั้ ง ใน ประเทศไทยตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ปัจจุบนั มี SINGER (THAILAND) B.V. เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ซึง่ เป็นนิตบิ คุ คลจัดตัง้ ขึน้ ในประเทศเนเธอร์แลนด์) ลองมาพิจารณาการวิเคราะห์ตามหลักธุรกิจของโลกตะวันตก ได้มา จากการศึกษาบริษัท Shell (มีอายุเกิน 100 ปี) มาเป็นต้นแบบและ เปรียบเทียบกับอีกหลายบริษัท พบว่าธุรกิจที่อยู่ได้อย่างยั่งยืนมีสิ่งที่ เหมือนกันใน 4 ปัจจัย (Aire de Geus, The living company) ดังนี้ มีความว่องไวต่อสภาพแวดล้อม หมายถึง ความสามารถของ บริษทั ในการเรียนรูแ้ ละปรับตัว มีเอกลักษณ์และการร่วมกันท�ำงาน เป็นสิง่ ทีเ่ ห็นได้อย่างชัดเจน นั่นคือประเด็นของความเชี่ยวชาญที่มีติดมาแต่ต้นของบริษัทเพื่อสร้าง ชุมชนและตัวตนของตนเอง ความทรหดและผลที่ตามมาจากการกระจายอ�ำนาจ เป็นทั้ง อาการของบริษทั ทีต่ ระหนักในระบบนิเวศ ความเชีย่ วชาญเฉพาะในการ สร้างความสัมพันธ์กบั หน่วยงานอืน่ ๆ ทัง้ ภายในและภายนอก เรือ่ งสุดท้ายคิดว่าเป็นการอนุรกั ษนิยมในการใช้เงิน เป็นหนึง่ ใน องค์ ป ระกอบส� ำ คั ญ ขององค์ ก ร พร้ อ มกั บ ความเชี่ ย วชาญพิ เ ศษ ในการจัดการ การเติบโตของตนเองและประสิทธิภาพตามวิวฒ ั นาการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : นักวิชาการผูท้ รงคุณวุฒิ และทีป่ รึกษา ด้านกลยุทธ์ธรุ กิจ ศูนย์พฒ ั นาทุนมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ
marketing runway กิตติพงษ์ วีระเตชะ
Culturalisation 2015 วัฒนธรรมครองแบรนด์ 2015 เป็นเสมือนรหัสใหม่ของยุค วัฒนธรรมครองแบรนด์
การก� ำ หนดยุ ท ธศาสตร์ ห รื อ การท� ำ ตลาดแบบเดียวกันหมดทัว่ โลกของแบรนด์ ระดับโลกนั้นอาจจะไม่เวิร์คอีกต่อไปแล้ว โดยเฉพาะตลาดเอเชี ย ที่ มี ร ากฐานทาง วัฒนธรรมทีแ่ ข็งแกร่งตกทอดกันมายาวนาน โอลิเวอร์ กิตติพงษ์ วีระเตชะ ประธาน บริหารฝ่ายสร้างสรรค์กลยุทธ์และนวัตกรรม บริษัท Y&R ประเทศไทย ในฐานะที่เป็น นักยุทธศาสตร์แบรนด์ เผยผลวิจยั ออนไลน์ ของ Y&R ทีร่ ว่ มกับ VML บริษทั ด้านดิจติ อล มาร์ เ ก็ ต ติ้ ง ระดั บ โลกที่ ล งไปเจาะใน 10 ประเทศเอเชีย ผ่านกลุม่ คนเอเชีย 3.2 หมืน่ คน ช่วงอายุ 18-60 ปี จากผลวิจยั พบว่า คนเอเชียในปัจจุบนั จะ รูส้ กึ ถึงวัฒนธรรมของตนเองทีก่ ำ� ลังสูญหาย และก� ำ ลั ง หาทางอนุ รั ก ษ์ โดยคนเอเชี ย จะเริม่ โหยหาความเป็นเอกลักษณ์และความ เชือ่ มโยงของตนเองและปฏิเสธความเหมือน ทีเ่ กิดขึน้ ทัว่ โลกของแบรนด์ระดับโลก ไม่วา่ จะเป็นรูปแบบของร้าน แคมเปญ สินค้า ภาพลั ก ษณ์ แม้ ค นเอเชี ย รุ ่ น ใหม่ อ าจจะ อยากเป็นคนทันสมัย เปิดรับวัฒนธรรมและ ความเป็นโลกตะวันตกบ้าง แต่คนพวกนีก้ ย็ งั ยึดติดกับวัฒนธรรมของตนเองและอยากได้ ประสบการณ์หรือความแตกต่างของแบรนด์ ไม่ใช่แบรนด์ทมี่ บี คุ ลิกลักษณะเหมือนกันทัง้ โลก Culturalisation หรือวัฒนธรรมครองแบรนด์ จึงเป็นประเด็นใหม่ทถี่ กู หยิบยกขึน้ มาของแบรนด์ ผ่านกรรมวิธใี นการผสาน แนวคิดและคุณค่าของการเป็นแบรนด์ระดับโลกให้เข้ากับวัฒนธรรม การเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตคนในท้องถิ่นและการ ปรับตัวท่ามกลางสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นไปเพือ่ สร้างความเกีย่ วข้องและเชือ่ มโยงกับแบรนด์ให้เหมาะสมกับท้องถิน่ นัน้ ๆ นีจ่ งึ เป็น 5 แนวทางทีแ่ ม้ไม่ใช่สตู รส�ำเร็จ แต่กเ็ ป็นการสร้างโอกาสให้กบั แบรนด์ในยุค Culturalisation ได้เรียนรู้ จากวัฒนธรรม แบรนด์ตอ้ งสังเกตความเชือ่ ทีม่ อี ยูร่ อบๆ จากนัน้ ต้องท�ำความเข้าใจต่อคุณค่านัน้ ๆ อย่างเช่น เชนค้าปลีก ‘บิก๊ บาร์ซาร์’ ของอินเดียทีใ่ ส่ขา้ วและเมล็ดพันธุผ์ กั ในถังและตกแต่งร้านเป็นร้านแบบเปิดเพือ่ ตอบสนอง คนอินเดียทีเ่ คยชินกับการใช้มอื ช้อนข้าวและเมล็ดพันธุผ์ กั เพือ่ เช็กคุณภาพสินค้าในร้านเล็กๆ ผสานความคิด + บริบทตลาด แบรนด์ควรทีจ่ ะใช้ไอเดียทีม่ บี ริบทชัดเจนบนรากเหง้าของแก่นวัฒนธรรม อย่างเช่น GAP เสื้อผ้าแบรนด์ดังที่อยากเข้าตลาดจีนและพบว่าคนจีนไม่ได้มองหรือคิดจะเลียนแบบ คนตะวันตกแล้ว แต่แบรนด์ตอ้ งมองจีนและคนจีนด้วยความเสมอภาคกับคนอืน่ ๆ ในโลก ซึง่ GAP ได้รว่ มมือ กับไอดอลของจีนออกแคมเปญ GAP Together ทีไ่ ม่ได้ขายความเป็นอเมริกนั ให้กบั คนจีนหรือพยายามจะเป็น คนจีน แต่นำ� เสนอถึงสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ ระหว่างอเมริกา–จีน เพือ่ แสดงให้เห็นว่า GAP เชือ่ จริงๆ ว่าคนจีนนัน้ เสมอภาค และสามารถทีจ่ ะเปลีย่ นโลกได้ผา่ นความร่วมมือกัน การเข้าถึงชุมชน + การมีความเป็นเจ้าของชุมชน + การสร้างสิง่ ดีๆ ให้กบั สังคม แม้วา่ การท�ำอย่างนี้ จะไม่คอ่ ยเกีย่ วอะไรกับแบรนด์นกั แต่กลับท�ำให้เกิดความเกีย่ วข้องกันอย่างมากทางวัฒนธรรม ซึง่ ท�ำได้จาก การท�ำความเข้าใจและแยกแยะถึงจิตวิญญาณของชุมชน และจะผูกมัดคนเหล่านีก้ บั ความหวัง ความฝัน หรือ แม้กบั ความกลัวได้อย่างไร อย่างเช่นดานอนในอินโดนีเซียทีอ่ ยากให้ชมุ ชนต่างๆ มัน่ ใจกับความปลอดภัย ของสินค้า จึงท�ำโครงการคัดเลือกผูค้ า้ ปลีกของ Aqua ทุกหัวระแหง เพือ่ ให้ผคู้ า้ ปลีกน�ำความรู้ ความคุน้ เคย ไปถึงเพือ่ นบ้านให้ได้สนิ ค้าอย่างรวดเร็ว แถมท�ำให้ชมุ ชนมีรายได้ มีความมัน่ ใจกับสินค้ามากขึน้ และช่วย Aqua กระจายสินค้าได้ดกี ว่าช่องทางปกติอกี ด้วย ต่อยอดแทนการใช้รปู แบบตายตัว วิธที ถี่ กู ต้องคือเดินตามแนวคิดของแบรนด์ซงึ่ เหมือนกันหมดทัว่ โลกได้ แต่อย่าสับสนกับแนวคิดหลักทีต่ ายตัว ซึง่ จะน�ำไปสูค่ วามผิดพลาดได้ แล้วดูวา่ จะใช้มนั เชือ่ มโยงและเข้ากับ วัฒนธรรมท้องถิน่ ได้อย่างไร การท�ำความเข้าใจกับแนวคิดเกีย่ วกับแบรนด์นนั้ ต้องตีโจทย์ทชี่ ดั เจน แล้วกรอง ด้วยว่าแบรนด์เลือกที่จะท�ำอะไรในตลาด อย่างเช่นคอลเกตที่มีแคมเปญสอนเด็กให้ดูแลสุขภาพ ในช่องปากมากมาย แต่เมื่อเข้าตลาดเมียนมาร์พวกนี้รู้ว่าจะต้องท�ำแคมเปญที่เหมาะสมกับสังคมและ วัฒนธรรมด้วย แต่แกนความคิดเรือ่ งการสอนให้ดแู ลสุขภาพช่องปากก็ยงั อยูส่ ำ� หรับคอลเกต ซึง่ เป็นผูบ้ กุ เบิก การดูแลสุขภาพช่องปากผ่านนวัตกรรมแต่ไม่ใช่การตีโจทย์เพือ่ ท�ำเช่นนัน้ ตามล่าหาความจริง การท�ำวิจยั ผูบ้ ริโภคเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมและการใช้รปู แบบทีเ่ หมาะสมกับการท�ำวิจยั เพือ่ การเข้าถึงผูบ้ ริโภคเพือ่ ศึกษาว่าท�ำไมผูค้ นจึงมีพฤติกรรมเช่นนัน้ เพือ่ จะได้เติมเต็มช่องว่างว่าพวกเขา คิด พูด และท�ำอะไร คล้ายกับแนวคิดทีว่ า่ ถ้าอยากรูว้ า่ สิงโตล่าอย่างไรคุณก็ตอ้ งเข้าป่า ไม่ใช่ไปทีส่ วนสัตว์ ซึง่ การท�ำโฟกัสกรุป๊ นัน้ เปรียบได้กบั สวนสัตว์ ซึง่ ไม่มโี อกาสทีจ่ ะเข้าใจผูบ้ ริโภคได้อย่างแท้จริง
2 0 1 5 F E B RUA RY
GMBiZ 15
brief ชาวเกาะทุบยอดขายโต สวนกระแสเศรษฐกิจโลก
อภิศกั ดิ์ เทพผดุงพร กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เทพผดุงพร มะพร้ า ว จ� ำ กั ด ผู ้ ผ ลิ ต และจั ด จ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารภายใต้ ตราสิ น ค้ า ‘ชาวเกาะ’ ‘แม่ พ ลอย’ และ ‘ยอดดอย’ เปิ ด เผยถึ ง ผลประกอบการในปี 2557 ซึง่ มียอดขายเติบโตทะลุเป้า 30% คิดเป็น มูลค่ากว่า 6,000 ล้านบาท ซึ่งสูงกว่าที่ได้เคยประมาณการไว้ที่ 5,000 ล้านบาทถึง 20% สวนกระแสเศรษฐกิจโลกที่มีการชะลอตัว ต่อเนือ่ งและนับเป็นยอดขายสูงสุดตัง้ แต่บริษทั เริม่ ด�ำเนินธุรกิจมา ปัจจัยการเติบโตมาจากการบริหารวัตถุดบิ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้เพิม่ ยอดขายได้เกินกว่าเป้าทีก่ ำ� หนดไว้ ส่วนปีนเี้ ตรียมงบลงทุน ไว้ 300 ล้านบาท เพื่อขยายก�ำลังการผลิตทั้งโรงงานชาวเกาะและ แม่พลอยอีก 15% รวมถึงเตรียมรุกตลาดก�ำลังซือ้ สูงอย่างตะวันออกกลาง จีน และญีป่ นุ่ เต็มสูบอีกด้วย
ปัน่ สบาย หายไม่หว่ ง
มี ก ารประเมิ น กั น ถึ ง ตั ว เลขผู ้ ใ ช้ จั ก รยานทั่ ว ประเทศไทยจ�ำนวน 2.25 ล้านคน แบ่งเป็นผู้ใช้ จักรยานในกรุงเทพฯ และปริมณฑล 1.5 แสนคน ผูใ้ ช้จกั รยานใน จังหวัดอืน่ ๆ อีก 2.1 ล้านคนและมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ โดยมีคนกว่า 80% ต้องการความคุม้ ครองประกันภัยจักรยาน ล่าสุด โสภา กาญจนรินทร์ ประธานบริหาร บริษัท ฟอลคอน ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) ก็เป็นเจ้าแรกทีก่ ระโดดเข้ามาในตลาด ประกันจักรยาน โดยใช้ชอื่ ‘ไอไบค์’ (iBIKE) ทีใ่ ห้ความคุม้ ครอง 3 ด้านหลักๆ ได้แก่ ตัวจักรยาน, ตัวนักปั่นและการชดใช้ความ เสียหายแก่คู่กรณี ตั้งเป้าในสิ้นปี 2559 หรืออีก 2 ปีข้างหน้า จะสามารถขายประกัน iBIKE ได้ไม่ต�่ำกว่า 3 หมื่นกรมธรรม์ หรือคิดเป็นเบีย้ ประกันรับรวมของประกันอยูท่ ปี่ ระมาณ 75 ล้านบาท หรือเฉลีย่ เบีย้ ประกัน 2,500 บาทต่อคัน
เปิดแผนงานเอไอเอส Digital Life Partner เพือ่ คนไทย
เอไอเอสเปิดวิสัยทัศน์การด�ำเนินงานในปี 2558 โดยชู แนวคิด LIVE Digital LIVE More เดินหน้ายกระดับชีวติ คนไทยอย่างเต็ม รูปแบบ พร้อมกับเผยแผนงาน 5 ปี ว่าจะเป็นผูส้ ร้างสรรค์บริการดิจติ อล เพื่อคนไทย ครอบคลุมทั้งบริการด้านเครือข่ายโทรศัพท์มือถือและ อินเทอร์เน็ตไร้สาย และโครงสร้างพืน้ ฐานด้านระบบสือ่ สารในทุกมิติ โดยเตรียมวางรากฐานขยายเครือข่าย 3G และเตรียมพร้อมสู่ การประมูล 4G พัฒนา AIS Super WiFi ด้วยความเร็วเริม่ ต้น 600 Mbps ซึง่ เร็วกว่า 4G ขยายบริการ Fixed Broadband ด้วยเทคโนโลยีลา่ สุด ความเร็ว 1Gbps ทัว่ กรุงเทพฯ ในวันนี้ และ 10 ล้านครัวเรือนทัว่ ประเทศ ในอีก 5 ปีขา้ งหน้า และขยายบริการดิจติ อลทีต่ อบโจทย์เศรษฐกิจและ วิถชี วี ติ คนไทย อาทิ AIS Play Box, AIS Cloud+, AIS E-Money และ AIS Business Solution ให้องค์กรธุรกิจ
management intrend รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์
ธุรกิจกับการเติบโตของคนชัน้ กลาง
สวัสดีครับท่านผูอ้ า่ นทุกท่าน ตัง้ แต่บดั นีเ้ ป็นต้นไปเราจะพบกันในคอลัมน์ Management Intrend ทางนิตยสาร GMBiZ กันเป็นประจ�ำนะครับ ทัง้ นี้ ผมจะน�ำเสนอ และเล่าเรือ่ งราวใหม่ๆ ทีน่ า่ สนใจทางการจัดการทีจ่ ะเป็นประโยชน์สำ� หรับท่านผูอ้ า่ นในการน�ำไปใช้บริหารจัดการภายในองค์กรของท่าน เรามาเริม่ จากสิง่ ทีอ่ ยูใ่ กล้ๆ ตัวพวกเราก่อนนะครับ นัน่ คือเรือ่ ง ของคนชั้นกลาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเติบโตของคนชั้นกลาง ทีม่ เี งินครับ ซึง่ คนกลุม่ นีก้ ำ� ลังเป็นกลุม่ คนทีไ่ ด้รบั ความสนใจจาก ทั้งนักวิชาการและนักธุรกิจทั่วโลก เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีการ เติบโตสูง และมีศักยภาพในการใช้เงิน ท�ำให้มีการเกิดขึ้นของ ธุรกิจใหม่ๆ และต่อยอดธุรกิจเดิมเพือ่ รองรับคนกลุม่ นีก้ นั มากขึน้ เมื่อมองที่การเติบโตนั้น จะพบว่าบางส�ำนักระบุเลยครับว่า ภายในปี 2020 ประชาชนทีถ่ อื ว่าอยูใ่ นกลุม่ คนชัน้ กลางนัน้ จะมี กว่า 50% ของประชากรทัว่ โลก และมากกว่า 50% ของคนชัน้ กลาง นั้นจะใช้ชีวิตอยู่ในทวีปเอเชีย การเติบโตของคนชั้นกลางนั้นได้ ก่อให้เกิดกระแสการเปลี่ยนแปลงทางด้านการบริหารจัดการ กันพอสมควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อคนชั้นกลางเหล่านี้มีและ พร้อมทีจ่ ะใช้เงินเพือ่ สร้างความแตกต่างให้กบั ตัวเอง ก่อนทีเ่ ราจะไปดูรายละเอียดเกีย่ วกับผลกระทบทีก่ ารเติบโต ของคนชัน้ กลางส่งผลต่อการจัดการ เรามาท�ำความเข้าใจกันก่อน นะครับว่าเราก�ำหนดคนชัน้ กลางกันได้อย่างไร? จริงๆ ก็มหี ลาย ต�ำรา หลายทฤษฎี แต่โดยส่วนใหญ่แล้วก็จะแบ่งคนในสังคมเป็น 3 ประเภท คือ Working Class หรือผู้ที่ท�ำงานและใช้แรงงาน Middle Class หรือคนชัน้ กลาง และ Upper Class หรือคนชัน้ สูง ครับ การแบ่งนัน้ ก็แล้วแต่ทฤษฎีและหลักการ เช่น บางต�ำราบอก ว่าคนชัน้ กลางคือกลุม่ คนทีม่ เี งินอย่างน้อย 1 ใน 3 ส�ำหรับซือ้ สินค้า และบริการต่างๆ นอกเหนือจากปัจจัยสีท่ เี่ ป็นความจ�ำเป็นในชีวติ ประจ�ำวัน หรืออีกนิยามทีด่ แู ปลกๆ แต่นา่ สนใจคือ ถ้าได้เงินเป็น รายสัปดาห์และเช่าบ้านอยู่ คือ Working Class ถ้าได้เงินเป็น รายเดือนและมีบา้ นเป็น Middle Class แต่ถา้ ไม่ตอ้ งท�ำงานและได้รบั บ้านและทีด่ นิ เป็นมรดก ถือเป็น Upper Class หรืออีกนิยามหนึง่ ที่ดูตลกและน่าสนใจก็คือ ตอนที่เราไปท�ำงานนั้น ถ้ามีชื่ออยู่ หน้าตึกถือเป็น Upper Class ถ้ามีชอื่ อยูบ่ นโต๊ะหรือหน้าห้องถือเป็น
Middle Class แต่ถา้ มีชอื่ ปักอยูบ่ นเสือ้ ถือเป็น Working Class จริงๆ แล้วไม่วา่ จะนิยามอย่างไร สิง่ ทีเ่ ป็นจริงก็คอื กลุม่ คนทีเ่ ป็น Middle Class หรือคนชั้นกลางนั้นจะเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ ในเอเชีย และการเพิ่มขึ้นของคนชั้นกลางเหล่านี้ก็จะน�ำไปสู่ การใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นของคนกลุ่มนี้ ซึ่งก็น�ำไปสู่ค�ำถามที่ส�ำคัญ ต่อมาก็คือ แล้วองค์กรจะต้องปรับตัวอย่างไรต่อการเติบโตของ คนชัน้ กลาง? ก่อนอืน่ ก็คงต้องไปดูกอ่ นนะครับว่าคุณลักษณะของ คนชัน้ กลางยุคใหม่นจี้ ะเป็นอย่างไร จริงๆ ไม่ตอ้ งมองอืน่ ไกลเลย นะครับ ท่านผูอ้ า่ นลองมองไปทีต่ วั ท่านเองและบุคคลรอบๆ ตัวท่าน ดูสคิ รับว่าคนเหล่านีม้ คี ณ ุ ลักษณะและพฤติกรรมอย่างไรบ้าง? สิง่ ทีเ่ ราเห็นได้กห็ นีไม่พน้ การทีค่ นชัน้ กลางรุน่ ใหม่จะมีการ ศึกษาที่ดีขึ้น (ส่วนใหญ่ก็จะจบอย่างน้อยในระดับปริญญาโท) เป็นคนทีพ่ ยายามจะก้าวตามการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีอยู่ ตลอดเวลา เป็นคนที่ต้องการแสวงหาความก้าวหน้าในชีวิตใน รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไม่ว่าจะเป็นด้านอาชีพการท�ำงาน ด้าน จิตใจ หรือด้านความรู้ การศึกษา รวมถึงเป็นกลุม่ คนทีเ่ ป็นผูท้ มี่ ี สิทธิท์ จี่ ะเลือกซือ้ เลือกใช้ เลือกรับประทานในสิง่ ทีด่ มี คี ณุ ภาพ และ ทีส่ ำ� คัญต้องการความแตกต่างทีไ่ ม่เหมือนคนอืน่ และต้องการให้ บุคคลรอบๆ ตัวมองเห็นถึงความแตกต่างของตนเองได้ นอกจากนี้ คนกลุม่ นีช้ อบความหลากหลาย ไม่ตอ้ งการความซ�้ำซาก หรือ จ�ำเจ คนชั้นกลางยุคใหม่จะคิดและมีพฤติกรรมที่แตกต่างจาก คนชั้นกลางในยุคคุณพ่อคุณแม่ของเรา คนยุคใหม่นี้จะมีการ เปิดรับสิง่ ใหม่ๆ ได้งา่ ยขึน้ จะค�ำนึงถึงอนาคตของบุตรหลานตนเอง และวางแผนอนาคตให้บตุ รหลานตนเองตัง้ แต่พวกเขายังเล็ก คราวนี้เมื่อเราเข้าใจว่าคนชั้นกลางคือใครและมีคุณลักษณะ อย่างไรแล้ว เราลองมาดูกนั นะครับว่าในปัจจุบนั ธุรกิจต่างๆ ได้ ปรับตัวเพือ่ รองรับต่อการเติบโตของคนชัน้ กลางเหล่านีอ้ ย่างไร? จริงๆ ก็ไม่ต้องมองไกลอีกเช่นเดียวกันครับ ในประเทศไทยเอง
ปัจจุบันเราจะเห็นธุรกิจและร้านค้าใหม่ๆ ที่เปิดกันมากมายเต็ม ไปหมดเพื่อรองรับต่อการเติบโตของคนชั้นกลางเหล่านี้ ไม่ว่า จะเป็นร้านอาหารหรือขนมเท่ๆ ชิคๆ ที่ผุดกันเต็มกรุงเทพฯ ไปหมด หรือสินค้าเครือ่ งประดับทางเทคโนโลยีชนิดใหม่ๆ หรือ ธุรกิจที่เติบโตขึ้นจากงานอดิเรกของคนชั้นกลางอย่างเช่นการ ขีจ่ กั รยาน หรือแม้กระทัง่ โรงเรียนนานาชาติทมี่ งุ่ เน้นลูกค้าคนไทย ทีพ่ อมีเงินส่งลูกเรียน ในเชิงธุรกิจนัน้ เราจะเห็นตลาดใหม่ทเี่ กิดขึน้ จากคนชัน้ กลาง 2 ลักษณะ ได้แก่ กลุม่ Masstige ทีเ่ ป็นสินค้าทีข่ ายเป็นจ�ำนวนมาก (Mass) แต่ขณะเดียวกันก็มคี วามแตกต่างหรือโดดเด่น (Prestige) และ กลุ่ม Massclusive ที่เป็นสินค้าหรือบริการที่ขายเป็น จ�ำนวนมาก (Mass) แต่ในขณะเดียวกันก็มเี อกลักษณ์หรือความ เฉพาะตัว (Exclusive) อยู่ ซึง่ ทัง้ กลุม่ Masstige และ Massclusive นั้นก็ต่างถือก�ำเนิดขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์คนชั้นกลางที่มีจ�ำนวน มากขึน้ แต่ขณะเดียวกันก็มเี งินเยอะขึน้ และต้องการความแตกต่าง และความโดดเด่นทีเ่ มือ่ บุคคลอืน่ เห็นแล้วยอมรับ ฝากการบ้านท่านผู้อ่านลองสังเกตบรรดาคนชั้นกลาง รอบๆ ตัวท่านดูนะครับว่าเขามีคณ ุ ลักษณะพฤติกรรมอย่างไร ขณะเดียวกันธุรกิจ สินค้า หรือบริการใดบ้างที่เกิดขึ้นมา เพือ่ ตอบสนองคนกลุม่ นี้ และมันยังมีโอกาสส�ำหรับธุรกิจใหม่ อะไรบ้างไหม?
รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ : คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
F E B RUA RY 2 0 1 5
16 GMBiZ
การศึกษาและเขียนรายงาน วางกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจ ไปจนถึงการจัดเตรียมเครื่องมือท�ำงานร่วมกัน จนกระทั่งเห็น ผลลัพธ์ รวมถึงให้คำ� ปรึกษาเรือ่ งเงินกูห้ รือแหล่งเงินทุนเพือ่ ขยาย ธุรกิจด้วย ตลาดรองลงมาคือ ธุรกิจทีม่ ขี นาดเล็กกว่ากลุม่ แรก แต่อยากได้ ตัวช่วยในการท�ำธุรกิจ ซึง่ อาจน�ำเสนอรูปแบบการให้บริการเป็น Group Coaching ในระยะเวลา 3 ชัว่ โมง เพือ่ พูดคุยกันถึงโจทย์ธรุ กิจ ประเด็นหนึ่งและให้คนที่มาเข้าร่วมได้พูดคุยในประเด็นดังกล่าว ร่วมกัน โดยมีผเู้ ชีย่ วชาญจากบิสเนส เนวิเกเตอร์คอยให้คำ� แนะน�ำ ส่วนตลาดกลุม่ เล็กสุด คือ กลุม่ ธุรกิจขนาดเล็กซึง่ จะออกแบบ การให้บริการในรูปแบบของเวิรค์ ช็อป
เรือ่ ง : rujrada ภาพ : อนุวฒ ั น์ เดชธ�ำรงค์วฒ ั น์
ให้กำ� เนิด ‘ล้มยักษ์’ ต้องยอมรับว่า ธุรกิจเอสเอ็มอีไทยส่วนใหญ่เก่งในเรือ่ งการผลิตสินค้า แต่ยังขาดการบริหารจัดการองค์กรให้เติบโต โดยเฉพาะเมื่อ องค์กรยิง่ โตขึน้ ย่อมต้องเจอปัญหาทีซ่ บั ซ้อนขึน้ ด้วย แต่ผปู้ ระกอบการ เอสเอ็มอี ยังไม่เจอที่ปรึกษาที่จะช่วยให้ท�ำแล้วเห็นผลได้อย่าง รวดเร็ว “เพราะเอสเอ็มอีใจร้อน ถ้าเราเข้าไปแล้วสามารถท�ำออกมา ให้เห็นผลภายใน 3-6 เดือน ผมว่าเขาจะเปิดกว้างมาก ดังนัน้ โมเดล ของการท�ำบริษัทที่ปรึกษาในรูปแบบเดิมที่ไปท�ำการศึกษาแล้ว เขียนออกมาเป็นรายงานจะไม่ตรงกับความต้องการของเอสเอ็มอี เขาไม่ได้ต้องการแค่คนมาบอกแล้วต้องไปท�ำเอง แต่เขาอยากได้ คนทีบ่ อกเขาว่า ควรท�ำอย่างไร แล้วลองท�ำกับเขาดู” บิสเนส เนวิเกเตอร์ คอนซัลติงมัน่ ใจว่าจะสามารถตอบสนอง ความต้องการนี้ จึงตัดสินใจแตกแบรนด์เพือ่ เป็นทีป่ รึกษาเอสเอ็มอี โดยเฉพาะในชือ่ ‘ล้มยักษ์’
ปพนธ์ มังคละธนะกุล เปิดวิธลี ม้ ยักษ์
ในวงการบริษัทที่ปรึกษาธุรกิจมักมีกลุ่มลูกค้าเป้าหมายเป็นธุรกิจใหญ่ๆ นั่นเป็นเพราะบริษัทใหญ่ มีความพร้อมและมีเงินทุนมากพอที่จะลงทุนด้านนี้เพื่อขยายธุรกิจ ในขณะเดียวกันธุรกิจเอสเอ็มอี แม้จะมีเงินทุนไม่มากเท่า แต่ก็อยากหาความรู้เพิ่มเติมไม่ต่างกัน ทว่าจะมีบริษัทที่ปรึกษาสักกี่ราย ทีล่ งมาเล่นในตลาดนี้
ปพนธ์ มังคละธนะกุล อดีตประธานเจ้าหน้าที่ บริหารเอสเอ็มอีและซัพพลายเชน ธนาคารทหารไทย ทีเ่ พิง่ ลาออกจากต�ำแหน่งมาสดๆ ร้อนๆ หันมาท�ำธุรกิจ ส่วนตัวเป็นหุน้ ส่วนคนใหม่ของบริษทั บิสเนส เนวิเกเตอร์ คอนซัลติง จ�ำกัด ซึง่ เดิมก็เน้นให้คำ� ปรึกษาลูกค้าธุรกิจ รายใหญ่ แต่เมื่อมีปพนธ์ซึ่งเก็บเกี่ยวประสบการณ์ ‘สร้างความต่าง’ จากองค์กรเดิมเกือบ 10 ปีมาร่วมทีม ประกอบกับต้องการหาจุดยืนที่แตกต่างจากบริษัท ที่ปรึกษารายอื่นในตลาด จึงเลือกเน้นกลุ่มเป้าหมาย เป็นเหล่า Challenger ทีต่ อ้ งการแข่งขันกับคูแ่ ข่งทีใ่ หญ่กว่า “กลุ่มเป้าหมายของเราคือลูกค้าที่ไม่ใช่ผู้น�ำตลาด เป็น Challenger ทีต่ อ้ งการท้าทายผูน้ ำ� ตลาด เราต้อง หาให้ได้ว่า ท�ำอย่างไรจึงจะสามารถแข่งขันกับคู่แข่ง
ที่ใหญ่กว่าได้ หรือมีตลาดเป็นของตัวเอง เพื่อให้ สามารถยืนอยูต่ อ่ ได้ในอนาคต” หุ ้ น ส่ ว นบริ ษั ท มี ป ระสบการณ์ ก ารท� ำ ธุ ร กิ จ หลากหลาย หุ้นส่วนคนแรกมีประสบการณ์ปรับ เปลีย่ นการด�ำเนินงานภายในบริษทั มานานถึง 20 ปี หุ้นส่วนคนที่สองอยู่ในธุรกิจที่ปรึกษาด้านกลยุทธ์ การจัดการและการเงินมา 20 ปีเต็ม ปพนธ์เองก็อยูใ่ น วงการการเงินและธนาคารมาเกือบ 20 ปี ดังนัน้ จึงเข้าใจ โจทย์ธรุ กิจชัดกว่าคนทีอ่ ยูเ่ ฉพาะในวงการทีป่ รึกษา มาตลอด บิสเนส เนวิเกเตอร์ คอนซัลติง แบ่งกลุม่ Challenger เป็น 3 กลุ่มย่อย ตลาดแรก คือ ธุรกิจรายใหญ่ ที่ต้องการที่ปรึกษาเต็มรูปแบบ ทั้งการเข้าไปท� ำ
แล้วเอสเอ็มอีแบบไหนล่ะทีจ่ ะต้องมีทปี่ รึกษา? ปพนธ์ให้ค�ำตอบว่า ธุรกิจที่ต้องมองหาที่ปรึกษาต้องมีคุณสมบัติ ประการแรกก็คือ ธุรกิจที่คนภายในองค์กรยังขาดอะไรบางอย่าง จึงต้องมีคนข้างนอกเข้ามาช่วยมองและชีแ้ นวทาง ประการทีส่ อง เมือ่ การใช้ทปี่ รึกษาคือการลงทุน ดังนัน้ บริษทั ต้องมีความพร้อมทีจ่ ะด�ำเนินการต่อได้ คือ บุคลากรทีจ่ ะรองรับงาน ในอนาคต และมีกำ� ไรมากพอทีจ่ ะลงทุนเพือ่ อนาคต ประการทีส่ าม เจ้าของธุรกิจต้องมองไกลและต้องการท้าทาย คนทีอ่ ยูใ่ นตลาดมาก่อน นัน่ หมายถึง ก่อนจะเข้าสูก่ ระบวนการล้มยักษ์ เอสเอ็มอีตอ้ งมี ความพร้อมทัง้ ทางใจและศักยภาพขององค์กรในระดับหนึง่ ก่อน วิธกี ารล้มยักษ์ของเหล่า Challenger อย่างแรก...ต้องลืมสิง่ ที่ ต�ำราเขียน เมินวิธกี ารทีธ่ รุ กิจอืน่ ในตลาดท�ำกัน “เพราะต�ำรานัน้ เขียนขึน้ จากบริษทั ใหญ่ทงั้ หมด ตลาดทีเ่ ราอยู่ ก็ถกู ก�ำหนดโดยบริษทั ใหญ่อยูด่ ี แต่เราต้องมองว่า มีอย่างอืน่ อีก ไหมที่เราสามารถท�ำได้มากกว่านี้ ยังมีตลาดไหนที่คนอื่นยัง ไม่เข้าไปอีกหรือเปล่า Challenger ต้องเรียนจากประสบการณ์ของตัวเอง ลองผิด ลองถูก ต้องไม่ยอมรับกับสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั ต้องยอมรับว่าสิง่ ที่ มีในปัจจุบันยังไม่ดีพอ สามารถท�ำได้มากกว่านี้ แล้ ว ค่ อ ยคิ ด หาทางออกและอย่ า หวั ง ว่ า วั น นี้ พ ลิ ก วิ ธี คิ ด แล้ ว จะเจอทั น ที ค่อยๆ คิด ค่อยๆ เปลีย่ น แล้วจะเห็นชัดเจนขึน้ เรือ่ ยๆ” สอง อย่าเล่นเกมรับมากเกินไป เอสเอ็มอีสว่ นใหญ่มกั ท�ำธุรกิจ แบบระมัดระวัง จึงท�ำให้ออกจากกรอบเดิมน้อย ดังนัน้ โอกาสชนะ ก็จะน้อยมากเช่นกัน หรือถ้าท�ำได้จริง ช่องว่างระหว่างเราเองกับ คูแ่ ข่งก็ยงั น้อยอยูด่ ี ดังนัน้ หากจะเปลีย่ นต้องท�ำให้เต็มที่ ในขณะที่ ต้องก�ำหนดลิมติ เพือ่ ไม่ให้หลงทิศทาง และต้องมีวธิ กี ารทดสอบว่า สิง่ ทีท่ ำ� ลงไปได้ผลหรือไม่ ถ้าหากไม่ได้ผลต้องหยุดและเปลีย่ นทันที สาม ต้ อ งวิ เ คราะห์ จุ ด แข็ ง และจุ ด อ่ อ นขององค์ ก รให้ ชั ด แล้วพยายามท�ำให้จุดแข็งของคู่แข่งไม่มีผลต่อตลาดที่เราจะเล่น แล้วตลาดนัน้ จะเป็นจุดแข็งของ Challenger “คุณต้องไปตลาดที่ยังไม่มีใครไป หรือตลาดที่มีอยู่แล้วแต่ คนอืน่ ยังมองข้าม ยังท�ำกันไม่เต็มที่ นัน่ จะเป็นตลาดทีค่ นยิง่ ตัวเล็ก จะยิง่ ได้เปรียบ เพราะว่าเข้าไปถึงได้เร็ว ปรับเปลีย่ นได้เร็ว คนตัวใหญ่ จะเข้ากลุม่ นีไ้ ด้ชา้ พอได้เข้าไปในตลาดใหม่ ต้องเข้าไปลองผิดลองถูก อีกเยอะ การเข้าไปก่อนจะพอมีเวลาให้ทดลอง และตลาดยังเปิดอยู่ แม้วา่ สินค้าเรายังไม่สมบูรณ์แบบก็ตาม เหมือนไอโฟนรุน่ แรกฟีเจอร์ ยังไม่เพอร์เฟ็ค แต่คนยอมจ่ายแพง เพราะนัน่ เป็น สิง่ ทีเ่ ขาหาอยู”่ ดั ง นั้ น เป็ น ธุ ร กิ จ ขนาดเล็ ก ก็ ไม่ต้องหวั่นไป แม้เจ้าตลาดจะเป็น ยักษ์ที่ตัวใหญ่แค่ไหน แค่หาจุดยืน ที่แตกต่างได้ ธุรกิจเล็กๆ ก็สามารถ ‘ล้มยักษ์’ ได้เหมือนกัน
F E B RUA RY 2 0 1 5
18 GMBiZ
อาเซียน เอาอยู่ เป้าหมายของการเปิดประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) อย่างเป็นทางการ เพื่อ สร้างพลังทางเศรษฐกิจให้กับภูมิภาค ในเวทีโลกเพิ่มขึ้น นับตั้งแต่มีข้อตกลง เรือ่ งนีเ้ กิดขึน้ ทัง้ ภาครัฐและเอกชนของทัง้ 9 ประเทศสมาชิ ก ต่ า งขยั บ ตั ว เตรี ย ม ความพร้อมล่วงหน้ากันมาเกือบสิบปี การเปิด AEC หรือการท�ำตลาดอาเซียน ทีจ่ ะมีการเชือ่ มโยงกันนัน้ แม้สภาพทาง ภู มิ ศ าสตร์ จ ะเป็ น แผ่ น ดิ น ใหญ่ ที่ มี อาณาเขตติดกัน มีโครงสร้างพืน้ ฐานของ แต่ละประเทศที่เชื่อมโยงกัน แต่ใช่ว่า การรุ ก ตลาดหรื อ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ จะเป็ น รูปแบบเดียวกันได้ ด้วยว่าอาเซียนวันนีม้ คี วามแปลกแยก และเปลีย่ นแปลงในอัตราเร่ง ดั ง นั้ น การปั ก ธงธุ ร กิ จ ในภู มิ ภ าค จึงต้องคิดใหม่ท�ำใหม่ด้วยความเร็วใหม่ ที่เร็วจี๋กว่าเดิม โดยเฉพาะชุดความคิด (Mindset) เกี่ ย วกั บ ยุ ท ธศาสตร์ แ ละ โมเดลธุรกิจบนสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ที่เปลี่ยนไปบนโลกแห่งความเป็นจริง ที่ ต ้ อ งอยู ่ บ นพื้ น ฐานของการบริ ห าร จัดการ ไม่วา่ จะเป็นด้านต้นทุน ทรัพยากร บุคลากร การลงทุน
หรือแม้แต่การเลือกด�ำเนินยุทธศาสตร์ การเติบโตของธุรกิจว่า ธุรกิจจะเลือก เติบโตแบบใด โฟกัสที่ความเชี่ยวชาญ เฉพาะที่ ต นถนั ด หรื อ จะจั บ มื อ กั บ พันธมิตรทางธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญ ในแต่ ล ะด้ า นหรื อ พั น ธมิ ต รท้ อ งถิ่ น เพื่อเติมเต็มซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะ เมือ่ คิดปักธงในต่างแดนเพือ่ ลดอุปสรรค ด้านภาษา วัฒนธรรม และกฎหมาย ส�ำหรับการเติบโตและการรุกสูต่ ลาด ได้ อ ย่ า งแหลมคม แม่ น ย� ำ ตลอดจน การพัฒนาขีดความสามารถหรือศักยภาพ ของทรัพยากรบุคคลถือเป็นความจ�ำเป็น และสามารถบ่มเพาะได้จากหลักสูตร MBA ของสถาบันการศึกษาต่างๆ ทีต่ า่ ง ก็ รั บ มื อ กั บ AEC ในอั ต ราเร่ ง เช่ น กั น เพื่ อ ผลิ ต บุ ค ลากร นั ก บริ ห าร และ ผู้ประกอบการที่มีความรู้ความสามารถ และทักษะ มีวสิ ยั ทัศน์กว้างไกล กล้าคิด กล้าท�ำที่พร้อมออกไปแข่งขันกับตลาด ระดับภูมภิ าค อีกทัง้ มีทกั ษะในการสือ่ สาร ขัน้ สูง หลักสูตร MBA ของแต่ละสถาบัน ในวันนี้ประหมัดกับ AEC แบบเอาอยู่ แน่ น อน ด้ ว ยกลยุ ท ธ์ ก ารยึ ด โยงกั บ
พันธมิตรองค์กรธุรกิจต่างๆ ซึ่งจะเปิด ให้ว่าที่นักรบทางธุรกิจได้เข้าไปศึกษา ดูการบริหารจัดการภายในองค์กรได้อย่าง หลากหลาย เพื่อเรียนรู้และเป็นสะพาน เชื่ อ มโยงต่ อ ไปยั ง ธุ ร กิ จ ข้ า งนอกและ ต่อยอดธุรกิจของตัวเองได้อกี เทรนด์ ก ารศึ ก ษา MBA วั น นี้ เ น้ น การเรียนการสอนแบบ Project-Based Learning การเรี ย นการสอนแบบ ภาคปฏิบัติที่เชื่อมโยงทฤษฎีที่เรียนมา ประยุกต์ใช้ น�ำสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับ ธุ ร กิ จ ของตั ว เองมาคิ ด และแก้ ป ั ญ หา ไปด้วยในขณะเรียน เพื่อเป็นตัวอย่าง ให้เห็นชัดเจนว่าภาคทฤษฎีนั้นสามารถ น�ำมาใช้จริงได้อย่างไร นีจ่ งึ เป็นโฉมใหม่ของ MBA ทีห่ ลุดจาก กรอบเดิมทีเ่ รียนรูจ้ ากฐานความรูก้ ว้างๆ และทักษะการบริหารจัดการเท่านัน้ เมื่ อ สามารถเชื่ อ มโยงทฤษฎี แ ล้ ว สามารถประยุกต์ใช้ได้จริงกับโลกธุรกิจ นัน่ แหละจึงจะถือว่าเป็นการบรรลุของการ ร�ำ่ เรียนหลักสูตร MBA โฉมใหม่ในวันนี้ ทีต่ อ้ งการจับตลาด AEC ให้อยูม่ อื
2 0 1 5 F E B RUA RY
GMBiZ 19
เรือ่ ง : รุจรดา วัฒนาโกศัย
นิดา้ กับโมเดลหลักสูตร บริหารธุรกิจใน AEC
ปี 2558 นีเ้ องทีจ่ ะเริม่ ต้นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอย่างเต็มรูปแบบ องค์กรธุรกิจ ต่างเตรียมความพร้อมเพือ่ รุกตลาดและตัง้ รับผูเ้ ล่นต่างสัญชาติทจี่ ะเข้ามา ซึง่ หนึง่ ในส่วนส�ำคัญทีจ่ ะท�ำให้ธรุ กิจด�ำเนินต่อไปได้นนั่ ก็คอื บุคลากรในองค์กร สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หรือ นิด้า เป็น Business School ชั้นน�ำที่ผลิต บุคลากรคุณภาพได้เตรียมผู้บริหารไทยมาล่วงหน้าหลายรุ่นเพื่อพร้อมรับกับ สถานการณ์เศรษฐกิจในวันนี้ ขณะเดียวกันนิดา้ เองก็ขยับตัวส่งเสริมภาคธุรกิจ ในระดับภูมภิ าคอาเซียน
ผศ.ดร.วิพธุ อ่องสกุล คณบดีคณะบริหารธุรกิจ กล่าวว่า นิด้าได้รับการยอมรับในประเทศไทย มานานและมองว่าในอนาคตนักศึกษาจะต้อง ท�ำงานในบริษทั ข้ามชาติมากขึน้ ดังนัน้ จึงต้องมี มาตรฐานสากลมารองรับ ซึ่งนิด้าเป็น 1 ใน 2 สถาบันการศึกษาของไทยทีไ่ ด้รบั รองมาตรฐาน AACSB หรือ Association to Advance Collegiate Schools of Business ซึง่ เป็นมาตรฐานการศึกษา ทางด้านบริหารธุรกิจและการบัญชีระดับโลก ดังนั้น เมื่อได้รับการยอมรับจากสากลแล้วย่อม ไม่ยาก หากนิด้าต้องการขยับขยายตัวในระดับ อาเซียน เมื่ อ มองในกลุ ่ ม ประเทศอาเซี ย นปั จ จุ บั น โดยโฟกัสมาทีก่ ลุม่ ประเทศเพือ่ นบ้านรอบตัวเรา อย่างลาว เมียนมาร์ กัมพูชา เมื่อเทียบกันแล้ว เมี ย นมาร์ เ ป็ น ประเทศที่ มี ศั ก ยภาพมากที่ สุ ด เหตุผลอยูท่ เี่ รือ่ งแรงงาน เพราะแรงงานเมียนมาร์ เข้ามาท�ำงานทีเ่ มืองไทยเป็นระยะเวลานานได้รบั การฝึกอบรมท�ำให้มีทักษะมากขึ้น หากย้าย กลับประเทศบ้านเกิดก็ย่อมจะท�ำให้เมียนมาร์ มีความพร้อมด้านแรงงานโดยที่รัฐไม่ต้องลงทุน ด้วยซ�ำ้ ส�ำหรับศักยภาพในเชิงทรัพยากรอืน่ ๆ ไม่วา่ จะเป็นทรัพยากรธรรมชาติของเมียนมาร์ยังมี อยูม่ าก อีกทัง้ ราคาทีด่ นิ ก็ไม่แพง ขณะทีร่ ฐั บาล เมียนมาร์เองก็เน้นเรือ่ งโครงสร้างพืน้ ฐานทีเ่ ข้ามา เชื่อมโยงทั้งภูมิภาค ดังนั้น เอกชนจึงสามารถ ใช้ประโยชน์จากความเชือ่ มโยงตรงนีไ้ ด้ “ในอดีตผูบ้ ริหารองค์กรธุรกิจส่วนใหญ่จะมอง ภาพเล็กเฉพาะ Micro Level คือ มองเฉพาะบริษทั ของตั ว เอง ลงทุ น เองทั้ ง หมด แต่ ใ นปั จ จุ บั น โมเดลนีใ้ ช้ไม่ได้แล้ว ถ้าคุณลงทุนเองก็ไม่มกี ำ� ไร และเดี๋ยวนี้ทรัพยากรในบริษัทก็มีไม่มากพอ ค่าใช้จ่ายของบริษัทก็แพงขึ้นจึงต้องเลือกการ ลงทุ น ที่ เ หมาะสม เริ่ ม โฟกั ส บางเรื่ อ ง นี่ เ ป็ น หนึ่งทักษะที่นักศึกษาที่เป็นผู้บริหารต้องมีเพื่อ เปิดรับโอกาสของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” แล้วการเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ส่งผลต่อตลาดการศึกษาอย่างไร ผศ.ดร.วิพุธ มองว่า เมียนมาร์ก�ำลังเนื้อหอมมีการลงทุนจาก ต่างชาติเข้ามามาก ซึ่งบริษัทเหล่านั้นต้องการ ผู้บริหารชาวเมียนมาร์ ซึ่งอัตราค่าตอบแทน ส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห ารที่ เ รี ย นจบปริ ญ ญาตรี จ ะได้ เงินเดือนประมาณ 600 ดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน หรือประมาณ 18,000 บาท แต่ถา้ หากจบปริญญาโท MBA ค่าตอบแทนจะเพิม่ ขึน้ เป็น 1,200 ดอลลาร์ สหรัฐต่อเดือนหรือเกือบ 40,000 บาท ซึ่งเห็น ได้ชดั ว่าก้าวกระโดดขึน้ เป็น 2 เท่า สถาบันการศึกษาที่ไปเปิดหลักสูตร MBA ทีเ่ มียนมาร์คดิ ค่าเรียนประมาณ 10,000 ดอลลาร์ สหรัฐหรือ 300,000 บาท เมือ่ เทียบกับหลักสูตร ทั่ ว ไปของนิ ด ้ า ที่ เ ปิ ด ในประเทศไทยขั้ น ต�่ ำ
300,000 บาทเช่นกัน นับว่าราคาค่าเรียนใน เมียนมาร์คอ่ นข้างสูง เมือ่ เทียบกับระดับเศรษฐกิจ และค่ า ครองชี พ ซึ่ ง นิ ด ้ า เองก็ ม องว่ า ตลาด การศึกษาที่นี่น่าสนใจ ถ้าจะต้องเปิดหลักสูตร ที่เมียนมาร์ต้องไปในแบบที่สร้างคุณค่าให้กับ นักศึกษาพม่าได้อย่างเต็มที่ โมเดลที่ ผศ.ดร.วิพธุ วางไว้คอื จะเชิญศิษย์เก่า ทีอ่ ยากจะลงทุนทีเ่ มียนมาร์ไปพร้อมกัน นักธุรกิจ ไทยเหล่านี้ย่อมอยากได้ผู้บริหารชาวเมียนมาร์ ทีจ่ ะช่วยดูแลกิจการ นัน่ หมายความว่าหลักสูตร ของนิด้าจะช่วยพัฒนาผู้บริหารให้กับศิษย์เก่า เหล่านี้ ในขณะที่คนเมียนมาร์เองก็มีทักษะและ มีงานท�ำ
จับมือ ก.ล.ต.ให้ทนุ นักศึกษาต่างชาติ
อี ก โมเดลหนึ่ ง ที่ นิ ด ้ า ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ให้ทนุ นักศึกษาจากประเทศเพือ่ นบ้าน มาเรี ย นหลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ ที่ นิ ด ้ า ในวั น เสาร์-อาทิตย์ และฝึกงานกับบริษทั ชัน้ น�ำของไทย ในวันจันทร์-ศุกร์ เมื่อเขาเรียนจบกลับประเทศ ก็สามารถไปเป็นผูบ้ ริหารได้ “ก.ล.ต.ของไทยเซ็น MOU เพื่อคัดเลือก ก.ล.ต.ของประเทศเพื่อนบ้านส�ำหรับการช่วย พั ฒ นา ก.ล.ต.ของเขา โดยให้ ม าฝึ ก งานที่ ก.ล.ต.ไทย และเรียนกับเราในวันเสาร์-อาทิตย์ แล้วยังได้รบั ปริญญาบัตรด้วย ถ้าวันนี้ 20 ทุนทีใ่ ห้ไปนัน้ ประสบความส�ำเร็จ ผมจะขยายไปร่ ว มมื อ กั บ บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ เนื่องจากเมียนมาร์จะเปิดตลาดทุนในช่วงปลาย ปี 2558 นี้ ถ้าเราท�ำกับบริษัทหลักทรัพย์ได้ นั่นก็หมายถึงเราสามารถคัดเลือกคนไปฝึกงาน กับบริษัทหลักทรัพย์ที่มีความประสงค์อยากจะ ไปเปิดรับการซือ้ -ขายหลักทรัพย์ทเี่ มียนมาร์ และ มีคนเมียนมาร์ที่เรียนรู้ระบบการท�ำงานของ เมืองไทย ก็จะได้ประโยชน์ทกุ ฝ่าย นีค่ อื โครงการ น�ำร่อง ถ้าโมเดลนี้ประสบความส�ำเร็จก็จะขยายไป ในธุรกิจอื่นด้วย และตอนที่เราไปเปิดหลักสูตร ที่เมียนมาร์เราก็จะไปแบบที่มีตัวอย่างให้เห็น เราจะไปช้าหรือเร็วไม่ส�ำคัญแต่ต้องไปให้ดีนี่คือ ประเด็นทีเ่ ราใส่ใจ”
นักบริหารรุน่ ใหม่ พร้อมรุก รูจ้ กั ตัง้ รับ
ขณะทีโ่ ครงการปริญญาโททางบริหารธุรกิจส�ำหรับ นักบริหารรุ่นใหม่หรือ YMBA ของนิด้าก็ผลิตผู้ บริหารรุ่นใหม่ไปเป็นผู้ประกอบการหรือผู้บริหาร ระดับสูงทีม่ คี วามพร้อมเต็มทีเ่ พือ่ เข้าสูต่ ลาดเออีซี จากสโลแกนว่า ‘เน้นปฏิบตั ิ รูจ้ กั ทุกวงการ’ นัน่ เพราะมีอาจารย์จากหลายวงการ โดยเฉพาะ คนทีท่ ำ� งานในระดับภูมภิ าคเอเชีย เช่นเดียวกับ นั ก ศึ ก ษาเองก็ ม าจากหลากหลายธุ ร กิ จ และ
ภาพ : กิตตินนั ท์ จรรยางาม
เปิดทางพัฒนานักบริหาร จากเมียนมาร์
หลายคนมี ศั ก ยภาพที่ จ ะเป็ น ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ Regional Manager ในบริษทั ข้ามชาติได้ นัน่ ท�ำให้นกั ศึกษาทีม่ าเรียนในหลักสูตรนีม้ ี เครือข่ายทีก่ ว้างไกล สามารถเข้าใจเรือ่ งของธุรกิจ การค้าระดับนานาชาติ รศ.ดร.อนุกลั ยณ์ จีระลักษณกุล ผูอ้ ำ� นวยการ โครงการ YMBA กล่าวว่า โครงการนี้มีดาวรุ่ง จากหลายวงการมาพบปะกันและอาจท�ำให้เกิด ธุรกิจใหม่ขนึ้ มาได้ “นอกจากจะมาเรียนเอาวิชาการแล้ว เขายัง มาเรียนกับเพื่อน แล้วก็พูดคุยแลกเปลี่ยนกัน แล้วรู้ว่าตัวเองขาดอะไร เพื่อนบางคนบริหาร อสังหาริมทรัพย์อาจจะเน้นหนักแต่เรื่องอาชีพ ตัวเองว่าจะสร้างอย่างไร ไม่สามารถจะปรับระดับ ขึ้นไปยังต่างประเทศหรือเข้าตลาดหุ้น แต่เมื่อ มาเรียนทีน่ ดิ า้ ก็สามารถน�ำพาบริษทั ตัวเองเข้าสู่ ตลาดหลักทรัพย์ได้” หลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ ของนิ ด ้ า มาจาก มาตรฐานของอเมริกาและยุโรป ซึง่ เมือ่ เรียนตรงนี้ แล้วสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้กบั บริบททีน่ กั ศึกษา จะเจอในบริบทของภูมภิ าคอาเซียนได้ ในขณะที่ ประสบการณ์หรือกรณีศึกษาต่างๆ ก็จะมาจาก
กรณีในประเทศไทยหรือภูมภิ าคอาเซียนนีเ่ อง “นักศึกษาทีเ่ รียนหลักสูตร YMBA ส่วนใหญ่ มีประสบการณ์ทำ� งานมา 3 ปี ซึง่ เป็นเรือ่ งยากมาก ที่ ป ระสบการณ์ เ ท่ า นี้ จ ะสามารถมองสภาพ แวดล้อมภายนอกและปัจจัยภายในขององค์กร แล้วสามารถวิเคราะห์ออกมาได้ว่าเราควรจะ ป้ อ งกั น หรื อ ควรจะออกไปสู ้ กั บ ประเทศอื่ น ๆ ในภูมิภาคได้อย่างไร เรามีกรณีศึกษาในวิชา MICROECONOMICS OF COMPETITIVENESS ซึ่ ง จะวิ เ คราะห์ ธุ ร กิ จ ว่ า จะบุ ก ไปตลาด ต่างประเทศอย่างไร วิเคราะห์ตลาดในประเทศว่า เป็นอย่างไร ดูวา่ ตรงไหนเป็นโอกาส ตรงไหนจะ ต้องป้องกัน ก่อนทีจ่ ะเรียนจบไปต้องมีการวิเคราะห์ธรุ กิจ ของตัวเองว่าเราจะไปต่ออย่างไรในสถานการณ์นี้ หรือเมื่อเจอวิกฤตินี้ เป็นโปรเจกต์ของแต่ละคน และมีอาจารย์เป็นทีป่ รึกษาให้” นี่เป็นสิ่งที่นิด้าเตรียมความพร้อมมานาน กว่า 7 ปี เพือ่ ให้คนทีเ่ รียนจบในวันนีพ้ ร้อมทีจ่ ะ ก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวมถึง นักศึกษาที่จบไปก่อนแล้วก็มีความแข็งแกร่ง พอทีจ่ ะเป็นทีป่ รึกษาให้กบั น้องๆ ได้
สอบถามข้อมูล YMBA NIDA ได้ที่ www.facebook.com/ymba.nida.th, โทร. 02 727 3934
F E B RUA RY 2 0 1 5
20 GMBiZ
เรือ่ ง : รุจรดา วัฒนาโกศัย
สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ สนามจริงแห่งโลกธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ หรือ ‘Panyapiwat Institute of Management’ (PIM) เป็น Corporate University เต็มรูปแบบแห่งแรกของประเทศไทยทีผ่ สมผสาน ความเชีย่ วชาญด้านธุรกิจค้าปลีก ทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนโดย ‘บริษทั ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน)’ ผูบ้ ริหารร้านสะดวกซือ้ เซเว่น-อีเลฟเว่น มาถ่ายทอดเป็นหลักสูตรการเรียน การสอนเชิงประสบการณ์ โดยปัจจุบนั มีหลักสูตรปริญญาโท อันได้แก่ หลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต (MBA) สาขาบริหารธุรกิจ เอกการจัดการธุรกิจค้าปลีก (Retail Business Management) และสาขาวิชากลยุทธ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์และองค์กร (Strategic Human Resource & Organization Management) เป็นหลักสูตรแม่แบบทีส่ ามารถ สร้างนักบริหารมืออาชีพด้านค้าปลีกทีเ่ ปิดตัวมาได้ราว 7 ปี
เนือ่ งจาก PIM เป็นสถาบันอุดมศึกษาทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนทุนในการก่อตัง้ จาก CP ALL ส่งผลให้พนั ธมิตรของ CP ALL ก็จะกลายเป็นพันธมิตรของกลุม่ นักศึกษาโดย อั ต โนมั ติ ท� ำ ให้ เ ห็ น ว่ า หลั ก สู ต รนี้ จ ะมี ทั้ ง Work-Based Learning หรื อ ฝึ ก ปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง เพื่อให้นักศึกษาได้ความรู้และประสบการณ์ ทัง้ ในและนอกห้องเรียนผนวกกับการรูจ้ กั สร้าง Network ด้านธุรกิจไปพร้อมๆ กัน “เราต้องการสร้างนักธุรกิจที่ประสบความส�ำเร็จผ่านสนามจริง สังเกตได้จาก นักศึกษาทีเ่ ข้ามาเรียนหากเป็นกลุม่ ทีม่ าจากหลากหลายธุรกิจ เราจะให้เขาร่วมมือกัน สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ การจัดจ�ำหน่ายและการตลาด โดยมีกูรูคอยเป็นผู้ประคอง สถานการณ์และช่วยแก้ไขทันทีหากเกิดปัญหาก่อนจะออกผลิตภัณฑ์มาขายจริง ขณะเดียวกันส�ำหรับบางคนทีม่ ธี รุ กิจเล็กๆ อยูแ่ ล้วและพอเข้ามาเรียนทีน่ กี่ เ็ หมือนกับ ได้ช่องทางในการร่วมธุรกิจกับ CP ALL และน�ำผลิตภัณฑ์เข้ามาขายในเซเว่น แคตตาล็อก หรือธุรกิจ E-commerce ของเรา ซึง่ ตรงนีธ้ รุ กิจของนักศึกษาปริญญาโท ของเราหลายธุรกิจสามารถสร้างยอดขายได้เพิ่มขึ้น ไม่เพียงเท่านี้บางรายที่เป็น พนักงานบริษทั ก็มองเห็นโอกาสหลังได้มาเรียน ได้พฒ ั นาตนเองขึน้ สูส่ ายงานต่างๆ ขององค์กร และบางคนก็ตดั สินใจไปสร้างธุรกิจของตัวเองเลยก็ม”ี ส�ำหรับหลักสูตรดังกล่าวจะได้รับการถ่ายทอดประสบการณ์ผ่านวิทยากรจาก ภาคธุรกิจที่มีประสบการณ์ระดับนานาชาติ ซึ่งปัจจุบันนักศึกษาจะมีโอกาสได้รับ ความรูจ้ ากวิทยากรทัง้ จาก CP ALL เองและจากภาคธุรกิจอืน่ ๆ มาแบ่งปันความส�ำเร็จ และกลยุทธ์ทางธุรกิจ เรียกได้วา่ ในทุกรายวิชามีสดั ส่วนของการเรียนจากกรณีศกึ ษา ขององค์กรชัน้ น�ำต่างๆ ไม่ตำ�่ กว่า 30% เลยทีเดียว รวมถึงยังมีการพานักศึกษาไปดูงาน แบบเข้มข้นทุกภาคการเรียนในองค์กรธุรกิจทีเ่ ชือ่ มโยงกับรายวิชาทีน่ กั ศึกษาก�ำลัง เรียนอยูแ่ ละต่างประเทศอีกปีการศึกษาละครัง้
ภาพ : ด�ำรงค์ฤทธิ์ สถิตด�ำรงธรรม
ปรับทิศพิชติ อาเซียน
สูตรธุรกิจฉบับ CP ALL
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรีไพร ศักดิร์ งุ่ พงศากุล คณบดีคณะบริหารธุรกิจและผูอ้ ำ� นวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ เล่าถึงรูปแบบการเรียนการสอนของทีน่ ี่ ซึง่ เน้น Project-Based Learning โดยน�ำเอาทฤษฎีมาเชือ่ มโยงกับภาคปฏิบตั ิ ทัง้ การใช้ปญ ั หาทางธุรกิจมาเป็นกรณีศกึ ษาให้ นักศึกษาได้อภิปรายและน�ำข้อสรุปนัน้ มาประยุกต์ใช้เมือ่ เกิดเหตุการณ์นนั้ ขึน้ กับธุรกิจของนักศึกษา ขณะเดียวกันก็ได้นำ� เอาแนวคิดการบริหารจัดการแบบตะวันออกเข้ามาสอดแทรกในหลักสูตร ไม่วา่ จะเป็นการสอน นักศึกษาเล่นหมากล้อมญี่ปุ่น เพื่อศึกษารูปแบบและการคิดวิเคราะห์ รวมถึงการขมวดเอาศาสตร์แบบตะวันออกและ ตะวันตกมาผสมผสานกันเพือ่ ให้นกั ศึกษาได้รจู้ กั เรียนรูแ้ ละแก้ไขปัญหาได้อย่างรอบด้านด้วย “เราใช้หลักการบริหารงานแบบตะวันออกมาถ่ายทอดในหลักสูตร ซึง่ สอดคล้องกับแนวทางการบริหารธุรกิจและองค์กร ของ CP ALL ที่มุ่งเน้นการศึกษาด้านวัฒนธรรมและพฤติกรรมผู้บริโภค ด้วยการใส่ใจในวัฒนธรรมการซื้อ, การกิน และการใช้ชวี ติ รวมถึงการสร้างเครือข่ายทางธุรกิจ เช่น การสร้างมิตรแท้ซงึ่ ส�ำคัญมาก เพราะหากประสบปัญหาเขาก็จะ พร้อมช่วยเหลือเราเสมอ ขณะเดียวกันเราก็เน้นปลูกฝังความกตัญญูและความซือ่ สัตย์ตอ่ ลูกค้าเข้าไปด้วย”
ไม่เพียงแค่หลักสูตรด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีกเท่านั้น ในส่วนของหลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชากลยุทธ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์และองค์การ ก็มคี วามเข้มข้นไม่แพ้กนั โดยเฉพาะกับการปรับทิศทางของหลักสูตรให้โฟกัสเออีซี ทีใ่ กล้เข้ามามากขึน้ ดร.เลิศชัย สุธรรมานนท์ ผูช้ ว่ ยอธิการบดีฝา่ ยวางแผนและพัฒนา และผูอ้ ำ� นวยการ หลักสูตรดังกล่าวเผยว่า การมาของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนท�ำให้ตอ้ งมีการปรับ หลักสูตรจากแต่กอ่ นไม่ได้เน้นหนักในเรือ่ งการบริหารทรัพยากรบุคคลข้ามประเทศ ก็ตอ้ งเน้นหนักมากขึน้ ในปีการศึกษาหน้าและก็ตอ้ งพยายามน�ำกรณีศกึ ษาส�ำคัญๆ มา ถ่ายทอดเสมอ เช่น กรณีแรงงานต่างชาติทเี่ ข้ามาท�ำงานในประเทศไทยหรือแม้แต่ บริษทั ทีเ่ ลือกรับแรงงานกลุม่ นีเ้ ข้ามา “ผมให้นกั ศึกษาจัดท�ำวิทยานิพนธ์ เรื่องการดูแลแรงงานต่างชาติ เช่น เมียนมาร์ เวียดนาม และลาว ในโรงงาน สถาบั น การจั ด การปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ ของเขา ซึ่งถือเป็นการศึกษาความ มีการมอบทุนการศึกษาจ�ำนวนมากให้ แตกต่างในแง่ของการบริหารคนของ แก่บคุ คลทัว่ ไป และองค์กรพันธมิตร แต่ละประเทศ เพราะแต่ละประเทศ ทางธุรกิจของ CP ALL หากท่านใด สนใจสามารถติดต่อมายังสถาบันฯ อาจจะมี ป ั จ จั ย และวั ฒ นธรรมที่ หรือเข้าร่วมกิจกรรมเปิดบ้าน MBA แตกต่ า งกั น และนั่ น อาจจะรวมถึ ง กับงาน PIM Open House for 2015 การศึกษาภาษาของคนในประเทศ MBA Candidates#2 ในวันอาทิตย์ นัน้ ๆ เพิม่ เติมด้วย” ที ่ 22 มีนาคม 2558 ทีจ่ ะเปิดโอกาส นอกจากนี้ ดร.เลิศชัย ยังมีความ ให้ ผ ท ้ ู ส ่ ี นใจหลักสูตรหรือผูส้ นใจสมัคร ตั้งใจที่จะปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรที่ ขอรั บ ทุ นการศึกษา ได้ไขทุกข้อสงสัย ตอบสนองความต้องการของคนทีอ่ ยู่ เกีย่ วกับหลักสูตรและแนวทางการสอบ ในองค์กรต่างๆ เราเชือ่ ว่าความส�ำเร็จ อีกทัง้ ในวันเดียวกันยังสามารถเข้าร่วม ของทุ ก ธุ ร กิ จ เกิ ด จากการบริ ห าร ฟั ง การบรรยายพิ เ ศษ ด้ ว ยการ ทีมงาน ดังนั้น เราจึงเรียกหลักสูตร ทดลอง Sit in ในห้องเรียน MBA ได้ ของเราว่าเป็นการจัดการทรัพยากร โดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ยใดๆ มนุษย์เพือ่ พัฒนาผูน้ ำ� ซึง่ คนทีท่ ำ� งาน ในสายงานทรัพยากรบุคคลเมื่อเข้า มาเรียนก็จะสามารถมองเห็นภาพของการบริหารธุรกิจทัง้ หมดโดยภาพรวมได้อย่าง เข้าใจ พร้อมกับหัวข้อส�ำคัญในเรือ่ งการบริหารคนควบคูก่ นั ไป ดังนัน้ นักศึกษาของ เราเมื่อเขาจบไปแล้วก็สามารถเป็นผู้บริหารสายงานทรัพยากรบุคคลที่สามารถมี บทบาทเป็น Business Partner หรือคูค่ ดิ ร่วมกับผูน้ ำ� องค์กรได้ ในทางกลับกันคนที่ ท�ำงานในสายงานอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ใช่งานด้านบุคคล เช่น บุคลากรระดับหัวหน้าของแต่ละ แผนกและแต่ละองค์กรเมือ่ เข้ามาเรียนก็จะได้รบั ความรูค้ วามเข้าใจและมุมมองด้าน การบริหารลูกน้อง การบริหารและพัฒนาทีมงาน การพัฒนาองค์การทีด่ แี ละยัง่ ยืน ดังนัน้ จึงเป็นเสมือนหลักสูตรทีเ่ หมาะส�ำหรับ Manager หรือ Future Leader ขององค์กร อย่างแน่นอน นี่ จึ ง เป็ น หลั ก สู ต รที่ จ ะท� ำ ให้ ป ระเทศไทยสามารถยกระดั บ บุ ค ลากร ในสายธุรกิจ ทั้งในด้านการบริหารจัดการธุรกิจค้าปลีกและบุคลากรสายงาน ทรัพยากรบุคคลหรือหัวหน้างานทุกระดับในองค์กรสามารถสร้างศักยภาพ ให้แก่ธุรกิจการค้า พร้อมทั้งสามารถบริหารจัดการคน ทีมงาน และองค์กรให้สามารถขับเคลื่อนไปได้อย่าง แม่นย�ำ บรรลุตามเป้าหมายของการเติบโตที่ตั้งไว้ได้ อย่างส�ำเร็จ
สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ http://mba.pim.ac.th หรือโทร. 02 832 0416, 02 832 0413, 02 832 0471, 081 481 7317 E-mail : mba@pim.ac.th
2 0 1 5 F E B RUA RY
GMBiZ 21
เรือ่ ง : รุจรดา วัฒนาโกศัย
“วันนีเ้ ราต้องมองเออีซใี ห้เป็นตลาดเดียวกัน โดยชีใ้ ห้นกั ศึกษา มองเห็นภาพว่าเออีซจี ะเข้ามามีบทบาทกับอนาคตหรือธุรกิจของเขา อย่างไร บางครัง้ เรามองเห็นเป็นโอกาสหรือจะเป็นอุปสรรคมากกว่า หรือเปล่า สิ่งเหล่านี้ถูกแทรกเข้าไปในแต่ละวิชา ตัวผู้เรียนจะ เข้าใจดีวา่ เมือ่ พูดถึงเรือ่ งโอกาสในเออีซมี นั ก็มอี ยูจ่ ริง แต่อกี มุมหนึง่ ก็มีผู้ประกอบการรายย่อยที่วันนี้เขาไม่พร้อมจะไปหาโอกาส เหล่านั้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการส่งออก การลงทุน สิ่งที่เขา ต้องเรียนรูค้ อื ถ้าโอกาสนัน้ ยังมาไม่ถงึ เราแต่มคี แู่ ข่งจากต่างประเทศ เข้ามาในตลาดของเรา เราจะป้องกันอย่างไร ในทุกๆ วิชาจึงมี การปลูกฝังมุมมองเพือ่ สร้างความเข้มแข็งกับตัวเองก่อนเสมอ” ฉะนั้ น จะสั ง เกตได้ ว ่ า หลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ ยุ ค ใหม่ ข อง หอการค้าไทยจะเพิ่มความเข้มข้นด้านเนื้อหาการท�ำธุรกิจใน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยแต่ละเทอมจะจัด Lunch Talk, Dinner Talk หรือ Money Talk เฉลีย่ 2 เดือนต่อ 1 ครัง้ ซึง่ แต่ละครัง้ จะมีประเด็นทางธุรกิจในปัจจุบันที่ต้องให้ความส�ำคัญในช่วงเวลา นั้ น ๆ แต่ เ นื่ อ งจากประเด็ น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นนี้ ถูกอธิบายมาหลายต่อหลายครั้ง ในปีนี้จึงเน้นไปที่การสร้าง ความมั่นคงให้เกิดกับผู้ประกอบการเพื่อพร้อมตั้งรับกับอุปสรรค ทีจ่ ะเกิดขึน้ “ประเด็นที่เราคุยแต่ละครั้งไม่ได้เน้นเรื่องของเออีซีทุกครั้ง แต่เราจะเน้นในส่วนของประเทศทีม่ บี ทบาทในเรือ่ งการซัพพลาย เช่น จีน อินเดีย เราต้องการจะบอกว่า ถ้าวันนีป้ ริมาณความต้องการ มีมาก เราจะหาวัตถุดบิ ส�ำคัญจากทีไ่ หน เรือ่ งแรงงานก็สำ� คัญ และ ถ้าเป็นโลจิสติกส์จะติดต่อกันอย่างไร ดังนัน้ เวลาทีเ่ ราไปศึกษาดูงาน เราจะให้เด็กเรียนรูว้ า่ องค์กรทีต่ อ้ งการเติบโตเขาวางแผนอย่างไร เขาจะต้องรับมือหรือเล่นเชิงรุกในปี 2559 โดยให้เขาเรียนรู้จาก ธุรกิจจริง”
ภาพ : กิตตินนั ท์ จรรยางาม
เนรมิตบรรยากาศแห่งโลกธุรกิจ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปัน้ มหาบัณฑิตป้อนตลาดธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยเป็นอีกหนึ่งมหาวิทยาลัยชั้นน�ำด้านธุรกิจที่มีเครือข่ายหอการค้าไทย ทัว่ ประเทศคอยเชือ่ มโยงและถ่ายเทองค์ความรูจ้ ากภาคธุรกิจสูน่ กั ศึกษาระดับมหาบัณฑิต จุดนีจ้ งึ ถือเป็นข้อได้เปรียบส�ำคัญจุดแรกที่ ดร.พีรพงษ์ ฟูศริ ิ คณบดีบณ ั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย มองว่าทีน่ มี่ คี วามแตกต่างจากสถาบันการศึกษาอืน่ ๆ หากลงลึกถึงรายละเอียดจะพบอีกว่า ทางมหาวิทยาลัย ยังมีการคัดเลือกคณาจารย์ผู้สอนที่ทรงคุณวุฒิและมีความ เชีย่ วชาญเฉพาะด้านหลากหลายท่าน ประกอบกับรูปแบบของ เนือ้ หารายวิชาก็มกี ารปรับปรุงหลักสูตรทุก 1-2 ปี เพือ่ ไม่ให้ ล้าสมัยและให้เหมาะสมกับความต้องการของผูเ้ รียนทีส่ ามารถ น�ำไปประยุกต์ใช้ได้ สุดท้ายคือสิง่ อ�ำนวยความสะดวกทีม่ ใี ห้กบั ผูเ้ รียนในทุกมิติ ไม่ ว ่ า จะเป็ น การเรี ย นรู ้ แ บบออนไลน์ การค้ น หาหนั ง สื อ อิเล็กทรอนิกส์ หรืออีบุ๊คซึ่งทางบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้พัฒนา ขึน้ เอง เป็นต้น
ทว่า ในช่วงไม่กปี่ ที ผี่ า่ นมา ทางบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย ยังได้เน้นการเรียนรู้นอกห้องเรียนหรือเรียนรู้ จากประสบการณ์จริงเพือ่ น�ำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมในอนาคต
ติดอาวุธก่อนลงสนามจริง (เออีซ)ี
อย่างไรก็ตาม ในจังหวะที่เออีซีขยับใกล้เข้ามามากขึ้นนั้น ดร.พีรพงษ์ ก็เล็งเห็นความส�ำคัญและวิเคราะห์ภาพประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนไม่วา่ จะเป็นในกลุม่ หรือ +6 หรือ +8 ทีจ่ ะมี ผลกับกลุม่ ธุรกิจค้าขายและสายอาชีพพืน้ ฐานทีส่ ามารถโยกย้าย ได้ให้เกิดเป็นภาพทีช่ ดั เจนแก่มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยมุง่ หวังให้ทกุ คนเติบโตอย่างแข็งแกร่ง โดยไม่ได้โฟกัสเพียงแค่นกั ศึกษาคณะบริหารธุรกิจ แต่หมายรวมถึง คณะอื่นๆ เช่น นิเทศศาสตร์หรือวิศวกรรมศาสตร์ ให้ผันตัวเอง เป็นผูป้ ระกอบการได้ดว้ ย ซึง่ ในส่วนนีเ้ ป็นอีกไฮไลท์สำ� คัญทีบ่ ณ ั ฑิต วิทยาลัยได้ร่วมมือกับ ‘ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ’ เพื่อให้นักศึกษา ต่างสาขาได้มีโอกาสเข้าสู่กระบวนการสร้างผู้ประกอบการ โดยมี บัณฑิตวิทยาลัยและศูนย์บม่ เพาะวิสาหกิจเป็นเสมือนพีเ่ ลีย้ ง “กรณีนกั ศึกษาทีเ่ รียนบัญชี หากเขาอยากเป็นผูป้ ระกอบการ เขาจะต้องค�ำนึงถึงเรือ่ งต้นทุนก่อน ในขณะทีน่ กั ศึกษาด้านการเงิน จะมองเห็นแต่เรือ่ งของรายได้หรือผลตอบแทน ถ้าเป็นนักการตลาด จะมองว่าจะท�ำตลาดอย่างไรให้ตราสินค้าของตนได้รบั ความสนใจ มากกว่าเรือ่ งของต้นทุนหรือผลก�ำไร การเรียนรูจ้ งึ ไม่ควรเกิดขึน้ จาก การมองแค่มติ ใิ ดมิตหิ นึง่ ” นอกจากนี้ บัณฑิตวิทยาลัยและศูนย์บม่ เพาะวิสาหกิจยังได้เปิด พืน้ ทีใ่ นมหาวิทยาลัยทีส่ ามารถท�ำการค้าขายได้มาเป็นจุดเริม่ ต้น ให้กับนักศึกษา ไม่ว่าจะเป็นด้านหน้าของมหาวิทยาลัย ด้านใน มหาวิทยาลัยให้สามารถด�ำเนินธุรกิจได้จริงตั้งแต่เริ่มทะเบียน การค้าเป็นต้นมา เพื่อให้ผู้เรียนได้เริ่มเรียนรู้สิ่งที่ถูกและสิ่งที่ผิด ทั้งยังเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจเป็นนักลงทุนภายนอกเข้ามาดู บิสซิเนสโมเดลนี้ด้วย ซึ่งวันนี้มีนักศึกษาจับมือเป็นพันธมิตรทาง ธุรกิจแล้วหลายธุรกิจ โดยทีผ่ เู้ รียนจะเป็นผูด้ ำ� เนินการส่วนไอเดีย และกระบวนการในการท�ำงานเอง “ในปัจจุบันพื้นที่ด้านล่างของตึกนอกจากจะให้นั่งโดยทั่วไป แล้วเราก็ให้พื้นที่กับนักศึกษาได้ท�ำร้านค้า สิ่งที่ท้าทายเขาก็คือ ในมหาวิทยาลัยนีเ้ องจุดทีเ่ ป็นร้านกาแฟเยอะมาก มีทงั้ ทรูคอฟฟี่ อเมซอน แต่ถ้าเขาจะเป็นผู้ประกอบการโดยไม่ต้องพึ่งแฟรนไชส์ เขาจะต้ อ งมี ห ลั ก การหนึ่ ง สอง สาม และได้ ล องดู ว ่ า เขาจะ เติบโตได้อย่างไร ให้เขาได้เรียนรู้ ได้ทดลอง แล้วก็บกุ เบิกตลาด ภายในนีก้ อ่ น แน่นอนว่า หลายแห่งพยายามสอนให้คนเป็นผูป้ ระกอบการ สอนให้เป็นนายจ้าง คนถูกปลูกฝังว่าการท�ำธุรกิจมีตั้งแต่ การเป็นเจ้าของคนเดียว ห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัด บริษทั จ�ำกัด คนทัว่ ไป ก็เลยท�ำตามหลักการนี้ แต่เวลาจะท�ำจริงก็ไม่รู้จะเริ่มต้นที่ ตรงไหนดี บัญชี ภาษีต้องเป็นอย่างไร อะไรท�ำได้หรือไม่ได้ แต่เมื่อเกิดการปฏิบัติจริงก็เหมือนเป็นตัวย�้ำเตือนให้เขาได้ ปลูกฝังความเข้าใจมากกว่าการท่องจ�ำ เขารู้ว่าหน่วยงานไหน มีความเกี่ยวข้องกับเขาอย่างไร และเขามีโอกาสที่จะวิ่งไปที่ กรมส่งเสริมการส่งออกได้ไหม กรมส่งเสริมฯ จะช่วยอะไรเขา ได้บา้ ง นัน่ คือสิง่ ทีเ่ ขาได้ลองและได้เรียนรู้ และในช่วงทีเ่ ขาอยูก่ บั เราเขาน่าจะเกิดการเรียนรู้นอกห้องเรียนที่สามารถมีธุรกิจ อาจจะเล็กๆ ไปก่อนในขณะทีว่ นั นีเ้ ขายังเป็นลูกจ้าง แต่ในวันหนึง่ ทีเ่ ขาพร้อมเขาก็อาจจะขยายตัวได้ด”ี
22 GMBiZ
F E B RUA RY 2 0 1 5
ออมสินจัดกิจกรรม ‘ดนตรีในไร่ เทิดไท้องค์ราชันย์’
ธนาคารออมสิน ภาค 9 จัดงานรับรอง ลูกค้าและแขกผูใ้ หญ่ของธนาคาร ระหว่าง วั น ที่ 4-5 ธั น วาคม 2557 ที่ ผ ่ า นมา ณ ไร่เชิญตะวัน จังหวัดเชียงราย โดยมีกจิ กรรม ไฮไลท์คอื การบรรเลงบทเพลงพระราชนิพนธ์ โดย Symphonic Band โรงเรียนราชวินติ บางแก้ว จ.สมุทรปราการ วงดนตรีชนะเลิศ ธนาคารโรงเรียนประจ�ำปี 2557 พร้อมกันนี้ คณะผู ้ บ ริ ห ารธนาคารออมสิ น และ แขกผู้มีเกียรติได้ร่วมจุดเทียนชัยถวาย พระพรชั ย มงคลแด่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิ ม พระชนมพรรษา 87 พรรษา และได้ รั บ ฟั ง การบรรยายธรรมเรื่ อ ง ‘พ่อพระโพธิสัตว์’ โดยพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี
เคทีซรี อ้ งเพลงภาษามือ ให้นอ้ งดูเพือ่ ส่งมอบความรัก แก่ผพ ู้ กิ ารทางการได้ยนิ
เทเลนอร์กรุป๊ ร่วมสร้างความปลอดภัย บนโลกอินเทอร์เน็ต
เนือ่ งในวัน Safer Internet Day 10 กุมภาพันธ์ เทเลนอร์กรุป๊ ประกาศ ความพยายามในการสร้างโลกอินเทอร์เน็ตทีป่ ลอดภัย เตรียมพร้อมรับ เยาวชนจ�ำนวน 55 ล้านคนทั่วโลกที่จะก้าวเข้าสู่โลกออนไลน์ภายในปี 2560 โดยได้รว่ มกับพันธมิตรระดับโลก อาทิ กูเกิล เฟซบุค๊ ไมโครซอฟท์ และท�ำงานร่วมกับคณะกรรมาธิการยุโรป เพือ่ หาวิธที ำ� ให้อนิ เทอร์เน็ตเป็น เทคโนโลยีทปี่ ลอดภัยส�ำหรับเด็ก และเป็นโอเปอเรเตอร์รายแรกของโลก ทีร่ ว่ มมือกับอินเตอร์โพล สร้างฟิลเตอร์เพือ่ คัดกรองเนือ้ หาทีเ่ กีย่ วกับการ กระท�ำผิดทางเพศทีเ่ กีย่ วข้องกับเยาวชน ส่งผลให้เกิดการจัดตัง้ พันธมิตร เครือข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ พือ่ การต่อต้านเนือ้ หาการกระท�ำผิดทางเพศ ทีเ่ กีย่ วข้องกับเยาวชนแห่งจีเอสเอ็มเอ ทัง้ นี้ ดีแทค ประเทศไทย ร่วมด�ำเนิน โครงการ Safe Internet โดยจะท�ำการศึกษาวิจยั เกีย่ วกับพฤติกรรมการ ใช้อนิ เทอร์เน็ตของเด็กและเยาวชนไทย รวมถึงวางแผนทีจ่ ะจัดการฝึกอบรม ให้กบั เด็ก สร้างเสริมทักษะด้านดิจติ อลเพือ่ ให้รเู้ ท่าทันสือ่ โดยมีวตั ถุประสงค์ ในการสร้างเยาวชนคุณภาพแห่งยุคดิจติ อล
บริษัท บัตรกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) น�ำทีม พนักงาน นิสติ นักศึกษาฝึกงานในโครงการ Learn & Earn @ KTC และสือ่ มวลชน ร่วมกันส่งมอบความรัก ในโอกาสวันวาเลนไทน์ที่ก�ำลังจะมาถึงแก่ผู้พิการ ทางการได้ยิน ด้วยการถ่ายทอดภาษามือประกอบ เพลง ‘ฤดูที่แตกต่าง’ และ ‘Live & Learn’ ภายใต้ กิจกรรม ‘เคทีซีร้องเพลงให้น้องดู’ ซึ่งได้รับการ สนับสนุนสิทธิเพลงดังกล่าวโดยไม่คดิ ค่าใช้จา่ ยจาก คุณบอย โกสิยพงษ์ ผูแ้ ต่งเพลง บริษทั เลิฟ อิส จ�ำกัด (LOVEiS) และได้รับความร่วมมือจากชมรมศิษย์ สัมพันธ์วทิ ยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมเป็น วิทยากรสอนภาษามือเพื่อให้การสื่อสารภาษามือ ถูกต้องและเป็นสากล
ดิอาจิโอฯ ประกาศผล WE JOURNALISM AWARDS ยกย่องสือ่ มวลชนส่งเสริมสตรีดเี ด่น
บริษัท ดิอาจิโอ โมเอ็ท เฮนเนสซี่ (ประเทศไทย) หรือ DMHT มอบรางวัล WOMEN’S EMPOWERMENT (WE) JOURNALISM AWARDS 2015 แก่สอื่ มวลชนไทยผูม้ บี ทบาทในการส่งเสริมสถานภาพสตรีดเี ด่น ในระดับประเทศ โดยบทความเรือ่ ง ‘ทอฝันในทัณฑสถาน’ ซึง่ รายงานโดย นางสาวชุตมิ า ซุน้ เจริญ จากหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ คว้ารางวัลชนะเลิศ ในสาขาสือ่ สิง่ พิมพ์แห่งปี ขณะทีบ่ ทความเรือ่ ง ‘The River of Dreams’ รายงานโดย นางสาวกาญจนา กาญจนทวี จากเว็บไซต์และหนังสือพิมพ์ Bangkok Post คว้ารางวัลชนะเลิศในสาขาสือ่ ออนไลน์แห่งปี นอกจากนี้ ยังมีรางวัลชมเชยเพิ่มเติมในแต่ละสาขา โดยโครงการ WOMEN’S EMPOWERMENT JOURNALISM AWARDS 2015 หรือ WE ประจ�ำปี 2558 จัดขึน้ เป็นปีที่ 2 และเป็นครัง้ แรกทีข่ ยายผลโครงการฯ โดยจัดการประกวด ในระดับประเทศขึน้ เพือ่ สนับสนุนและยกย่องสือ่ มวลชนผูท้ ำ� หน้าทีเ่ ป็น กระจกสะท้อนปัญหาด้านสิทธิของสตรี พร้อมทัง้ ส่งเสริมสถานภาพสตรี ดีเด่น อันเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างการเปลีย่ นแปลงในสังคมไทย และ เฟ้นหาตัวแทนประเทศเพือ่ เข้าแข่งขันในระดับภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ
24 GMBiZ
F E B RUA RY 2 0 1 5
เรือ่ ง : จุฑาทิพ อิงวัฒนโภคา
ภาพจ�ำลอง ส�ำหรับงานโฆษณาเท่านัน้
‘ชะอ�ำ’
ภาพจ�ำลอง ส�ำหรับงานโฆษณาเท่านัน้
ท�ำเลใหม่บา้ นพักตากอากาศ
กระแสการท่องเทีย่ วพักผ่อนในหัวหินเติบโตขึน้ มาก จากการเข้าพักแบบการจองโรงแรมบ่อยครัง้ จนน�ำไปสู่การพัฒนาคอนโดมิเนียม เพื่อสนองตอบคนที่เดินทางมาพักผ่อนที่หัวหินบ่อยๆ และอยากจะมีหอ้ งพักหรือบ้านพักเป็นของตัวเองเริม่ เกิดขึน้ เมือ่ 5-6 ปีกอ่ น หัวหินได้รบั การพัฒนาด้านท่องเทีย่ วอย่างต่อเนือ่ ง และกินพื้นที่จากเขาตะเกียบถึงชะอ�ำ ด้วยศักยภาพและความสวยงาม ของหัวหิน อีกทัง้ สิง่ อ�ำนวยความสะดวกอย่างครบครัน บวกกับสถานที่ ท่องเทีย่ วใหม่ๆ ทีเ่ ปิดตัวท�ำให้หวั หินถูกรีเฟรชอยูเ่ สมอจนท�ำให้ชายทะเล หัวหินเป็นท�ำเล ‘ไพร์มแอเรีย’ (Prime Area) ราคาคอนโดฯ ในหัวหิน จึงมีราคาสูงกว่าพื้นที่ติดชายทะเลบริเวณอื่น พื้นที่ติดชายทะเลถูกซื้อ ไปพัฒนาคอนโดฯ ไฮเอนด์และโรงแรมระดับ 5 ดาวไปเกือบหมด ท�ำให้ทดี่ นิ ติดชายทะเลหายากและหากมีกจ็ ะมีราคาแพงมาก ปัจจุบนั โครงการคอนโดฯ ทีอ่ ยูต่ ดิ ชายหาดหัวหินราคาขายเฉลีย่ อยูท่ ี่ 1.3 แสนบาท/ตร.ม. บางโครงการมีการรีเซลส์ขายในราคา 1.95 แสนบาท/ ตร.ม. การพัฒนาคอนโดฯ จึงถูกขยับขยายมายังพืน้ ทีเ่ ขตเขาตะเกียบและ เขาเต่า แต่ปจั จุบนั ราคาคอนโดฯ ติดชายหาดก็ขยับไปจนไม่มคี อนโดฯ ติดชายหาดในราคาต�ำ่ กว่า 2 ล้านบาทขายแล้ว เพราะพืน้ ทีต่ ดิ ทะเลมีนอ้ ย ‘ชะอ�ำ’ ซึง่ เป็นพืน้ ทีท่ ยี่ งั มีทดี่ นิ ติดชายหาดให้หาซือ้ ได้อยู่ จึงท�ำให้ ราคาที่ดินที่เสนอขายไม่สูงจนเกินไป และสามารถที่จะพัฒนาเป็น คอนโดฯ ตากอากาศในราคาไม่แพง จับกลุม่ คนระดับกลางๆ ได้ ล่าสุด บมจ.แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ ยักษ์ตลาดคอนโดฯ ของไทย ได้เปิดขาย โครงการ ‘ลุมพินี พาร์คบีช ชะอ�ำ’ บนพืน้ ทีต่ ดิ ชายหาด 15 ไร่ เป็น อาคารชุดพักอาศัยสูง 4 ชั้น จ�ำนวน 10 อาคาร ในราคาเริ่มต้นเพียง 1.9 ล้านบาท หรือราคาขายเริม่ ต้นอยูท่ รี่ าวๆ 68,000 บาท/ตร.ม. ถือเป็น คอนโดฯ ทีอ่ ยูต่ ดิ ชายหาดขายในราคาไม่แพง ในรูปแบบ 1 ห้องนอน ขนาด 28-49.50 ตร.ม. และแบบ 2 ห้องนอน ขนาด 57-76.50 ตร.ม. เพื่อตอบสนองลูกค้าเก่าที่ซื้อโครงการของ แอล.พี.เอ็น.อยูอ่ าศัยทีม่ จี ำ� นวนกว่า 2 แสนรายทีม่ คี วามต้องการบ้านพัก ตากอากาศติดชายหาดสักหลัง ซึ่งปรากฏว่า มีลูกค้าให้ความสนใจ ลงทะเบียนรับคิวจองกว่า 1,000 ราย จากจ�ำนวนห้องชุดทีม่ ขี ายทัง้ หมด 413 ยูนติ จึงท�ำให้มยี อดจองถึง 70%
โอภาส ศรีพยัคฆ์ กรรมการผู้จัดการ บมจ.แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ กล่าวถึงโครงการลุมพินี พาร์คบีช ชะอ�ำว่า “จากการที่ได้เปิดส�ำนักงานขายในกลางเดือนธันวาคม 2557 ที่ผ่านมา และได้มีการเก็บประวัติลูกค้า โดยให้ลูกค้าแสดงความ จ�ำนงจองผ่านเว็บไซต์ ปรากฏว่ามีลกู ค้าสนใจลงทะเบียน 1,070 ราย จึงท�ำให้สามารถขายได้ 70-80% ในวันเปิดตัว” นอกจากลุมพินี พาร์คบีช ชะอ�ำจะเป็นคอนโดฯ ทีอ่ ยูต่ ดิ ชายหาด ในราคาไม่แพง ซึ่งเป็นแรงส่งให้เกิดยอดจองจ� ำนวนมากแล้ว โครงการยังโดดเด่นเรื่อง กรีน ดีไซน์ ที่เน้นความเป็นมิตรกับ ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เช่น การลดการใช้พลังงานไฟฟ้า การทาสี สะท้อนความร้อนเป็นสีอ่อน (Heat Island Effect) การน�ำน�้ำทิ้ง กลับมาใช้ใหม่ การลดการใช้พลังงานเชือ้ เพลิง การจัดการระบาย น�ำ้ เสีย การจัดพืน้ ทีแ่ ยกขยะเพือ่ น�ำกลับไปรีไซเคิล ฯลฯ ซึง่ น่าจะเป็น แรงหนุนให้เกิดการตัดสินใจซื้ออีกทางหนึ่งด้วย เพราะโครงการ ในระดับราคา 1-2 ล้านบาท แทบไม่มใี ห้เห็นในเรือ่ งของกรีน ดีไซน์ เพราะทุกอย่าง คือต้นทุน นอกจากนี้ แอล.พี.เอ็น.ยังยกระดับโครงการแห่งนี้ให้เป็นรีสอร์ท คอนโดฯ หรูแห่งแรกในรอบ 25 ปี กับบริการระดับโรงแรมซึง่ บริษทั พัฒนาและ ต่อยอดมาจากแนวคิด ‘ชุมชนน่าอยู’่ ซึง่ เป็นจุดแข็งของบริษทั ด้าน บริษทั พลัส พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด ได้ให้ขอ้ มูลถึงตลาดคอนโดฯ ในพืน้ ที่ ชะอ�ำ หัวหิน และเขาเต่าว่า มีคอนโดฯ เปิดใหม่ตอ่ เนือ่ งจากปีทผี่ า่ นมา มีโครงการ ระหว่างขายริมทะเล (ด้านซ้ายของถนนเพชรเกษม) จ�ำนวน 29 โครงการ โดยรวม ความต้องการสินค้ากับสินค้าทีเ่ สนอขายอยูใ่ นตลาดยังคงสอดรับได้ดี ในพืน้ ทีม่ ี สินค้าทีเ่ สนอขายอยูใ่ นตลาด 14,187 ยูนติ และมีความต้องการห้องชุดตากอากาศ 10,402 ยูนติ คิดเป็นยอดขายเฉลีย่ 73% ซึง่ ถือว่าเป็นอัตราการดูดซับทีด่ ี โดยสินค้า ที่เสนอขายส่วนใหญ่อยู่ในเขตพื้นที่ชะอ�ำ ซึ่งในปี 2557 มีการเปิดตัวคอนโดฯ ทัง้ สิน้ 5 โครงการ จ�ำนวน 1,168 ยูนติ มีราคาขายต่อตารางเมตรและอัตราดูดซับ ดังนี้ ราคาและอุปสงค์-อุปทานรวมในโซนชะอ�ำ
ติดชายหาด
ราคาต�ำ่ สุด/ตร.ม. : 94,000 บาท ราคาเฉลีย่ /ตร.ม. : 111,000 บาท อุปทาน : 2,505 ยูนติ อุปสงค์ : 2,003 ยูนติ ยอดขายเฉลีย่ : 80%
วิวทะเล
ราคาต�ำ่ สุด/ตร.ม. : 43,000 บาท ราคาเฉลีย่ /ตร.ม. : 54,000 บาท อุปทาน : 87,000 ยูนติ อุปสงค์ : 7,957 ยูนติ ยอดขายเฉลีย่ : 76%
ภาพรวม
ราคาต�ำ่ สุด/ตร.ม. : 43,000 บาท ราคาเฉลีย่ /ตร.ม. : 68,000 บาท อุปทาน : 155,000 ยูนติ อุปสงค์ : 7,957 ยูนติ ยอดขายเฉลีย่ : 77%
เหตุใดคอนโดฯ จึงเปิดในพืน้ ทีช่ ะอ�ำมากสุด
หากวิเคราะห์แยกแต่ละท�ำเล จะพบว่าชะอ�ำ มี ห าดที่ ย าวที่ สุ ด เมื่ อ เที ย บกั บ หาดที่ เ หลื อ ในบริเวณนี้ ประกอบกับราคาทีด่ นิ ยังไม่สงู มาก จึงสามารถที่จะพัฒนาคอนโดฯ ตากอากาศ ในราคาไม่ แ พง ซึ่ ง ก็ ท� ำ ให้ ก ารเสนอขาย คอนโดฯ ตากอากาศในพื้นที่ชะอ�ำได้รับการ ตอบรั บ จากคนกรุ ง เทพฯ เป็ น อย่ า งดี ณ สิ้นปี 2557 มีสินค้าที่เสนอขายอยู่ทั้งหมด 10,462 ยู นิ ต และมี ค วามต้ อ งการอยู ่ ที่ 8,018 ยูนติ คิดเป็น 77% ราคาขายเฉลีย่ อยูท่ ี่ 68,000 บาท/ตร.ม. แต่สำ� หรับคอนโดฯ ติดหาด ราคาขายเฉลีย่ จะอยูท่ ี่ 110,000 บาทต่อตาราง เมตร โดยราคาสูงสุดอยูท่ ี่ 155,000 บาท/ตร.ม. ดังนั้น พื้นที่ชะอ�ำจึงเป็นอีกแหล่งบ้านพัก ตากอากาศชายทะเลใหม่ ข องคนไทยและ คนท�ำงานรุน่ ใหม่ แม้ชายหาดจะสวยด้อยกว่า ชายหาดหัวหินสักเล็กน้อย แต่กท็ ำ� ให้คนระดับ กลางได้มโี อกาสมีบา้ นพักตากอากาศชายทะเล เป็นของตัวเองสักหลัง
GMBiZ 25
2 0 1 5 F E B RUA RY
เรือ่ ง : โชติ เวส
พร้อมพงษ์ งามด�ำรงค์ จากมนุษย์เงินเดือนสูน่ กั ธุรกิจร้อยล้าน ‘ต้องกล้าออกจากมุมทีค่ นุ้ เคย’
ภาพ : กิตตินนั ท์ จรรยางาม
หัวใจส�ำคัญทีเ่ รามักจะได้ยนิ จากบรรดานักธุรกิจทีป่ ระสบความส�ำเร็จ แน่นอนว่าต้นทุนชีวติ ทีไ่ ม่เท่ากัน มักจะก�ำหนดโชคชะตาให้อนาคตของคนแต่ละคนมีความไม่เท่าเทียม บางคนมีพนื้ ฐานจากครอบครัว ทีด่ ี แต่นนั่ ก็เป็นส่วนน้อยของคนในสังคมส่วนใหญ่ทลี่ ว้ นแล้วแต่เป็นมนุษย์เงินเดือน
ถึงกระนั้น เราก็สามารถเป็นนักธุรกิจที่ประสบ ความส�ำเร็จได้ ถ้าเรากล้าที่จะเดินไปค้นหาเส้นทาง ใหม่ๆ พร้อมพงษ์ งามด�ำรงค์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไทย-วัน พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด เขาเป็นนักธุรกิจหนุม่ อสังหาริมทรัพย์เลือดใหม่ ทีเ่ พิง่ จะผันตัวจากการเป็น มนุษย์เงินเดือนได้ไม่นานนัก โดยพืน้ ฐานชีวติ ของเขา ก่อนที่จะก้าวมาเป็นนักธุรกิจระดับร้อยล้านได้ดั่งเช่น วันนี้ค่อนข้างน่าสนใจหากมองในมุมของคนที่เป็น มนุษย์เงินเดือนธรรมดา “ผมค่อนข้างโชคดีที่ได้รับโอกาสทางด้านการ ศึกษาและวิถชี วี ติ แต่ตอ้ งบอกก่อนว่าครอบครัวของผม ไม่ใช่คนร�่ำรวยอะไรมาก คุณพ่อกับคุณแม่เป็นอดีต ผู้บริหารระดับสูงในองค์กรใหญ่ แต่ก็ไม่ได้มีธุรกิจใด เป็นของตัวเอง”
ชีวิตของเขาก็เหมือนคนทั่วๆ ไปที่เรียนจบก็ต้อง ออกมาหางานท� ำ โดยงานที่ เ ขาเริ่ ม ก็ คื อ การเป็ น พนั ก งานบริ ษั ท ในบริ ษั ท ลงทุ น หลั ก ทรั พ ย์ ซึ่ ง เป็ น เส้นทางของคนทีจ่ บเศรษฐศาสตร์และด้านบริหารธุรกิจ ทว่า พอท�ำงานไปได้ระยะหนึง่ เขากลับเริม่ ตัง้ ค�ำถาม ถึงบั้นปลายของชีวิตมนุษย์เงินเดือนที่ดูจะไม่มีความ ยัง่ ยืนอย่างแท้จริง แต่จะให้ไปสร้างธุรกิจด้วยมือเปล่า ก็คงไม่ใช่เรือ่ งง่าย ทว่า ความน่าสนใจในตัวของพร้อมพงษ์อยู่ที่ การเป็นคนกล้าทีจ่ ะเผชิญกับสิง่ ใหม่ๆ คนใหม่ๆ แนวคิด ใหม่ๆ ในระหว่างที่เขาได้ท�ำงานในบริษัทหลักทรัพย์ สิง่ ทีเ่ ขาพยายามจะมองหาคือ ‘โอกาส’ และเส้นทางที่ คูข่ นานไปกับงานประจ�ำ ซึง่ การทีเ่ ขาได้มโี อกาสท�ำงาน กับบริษัทหลักทรัพย์หลายๆ แห่ง ท�ำให้เขาเป็นคน สังเกตถึงโอกาสต่างๆ ระหว่างเส้นทางในการท�ำงาน
“ผมมองว่าธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ยังมีการเติบโตที่ดีอยู่ ตลาดนี้ ยังไปได้ดเี พราะมีทงั้ ดีมานด์ของผูอ้ ยูอ่ าศัยและดีมานด์ของผูท้ ตี่ อ้ งการ ซือ้ ไว้เพือ่ ลงทุนมากพอสมควร ผมจึงค่อยๆ เก็บเงินและเริม่ ศึกษามันอย่าง จริงจังและหันไปลงทุนกับใบจองคอนโดฯ” โชคดีอย่างหนึง่ ของเขาก็คอื การท�ำงานในบริษทั ลงทุนหลักทรัพย์ ท�ำให้เห็นทิศทางของบริษทั อสังหาฯ รายต่างๆ และท�ำให้เขาเลือกทีจ่ ะ ลงทุนโดยสามารถวิเคราะห์ได้ถงึ องค์ประกอบด้านโลเกชัน่ และราคาที่ จะขายต่อจนได้กำ� ไร จนถึงขัน้ เป็นนักช้อปคอนโดฯ มืออาชีพเลยทีเดียว ความสนุกในการกล้าเดินออกไปหาโอกาสใหม่ๆ ท�ำให้เขาเห็น เม็ดเงินทีน่ อกเหนือจากเงินเดือนหลัง่ ไหลเข้ามาและเขาก็เริม่ ขยับขยาย จากนักช้อปคอนโดฯ จนกลายเป็นตัวแทนซือ้ ขาย และเช่าอสังหาริมทรัพย์แก่นักลงทุนที่สนใจ ซึ่งตรงนี้ส�ำคัญมากเพราะเป็นการขยาย เส้นทางทีเ่ ขาไม่คนุ้ เคย เขาได้เจอคนมากมายทัง้ นักลงทุนคนไทยและ ต่างประเทศ ประสบการณ์เหล่านี้ ถูกหลอมรวมไว้ดว้ ยกัน จนวันนีเ้ ขาพร้อมที่ จะก้าวเข้ามาสูภ่ าคธุรกิจ รายได้จากการเก็งก�ำไรราคาคอนโดฯ และการเป็นตัวแทนด้าน อสังหาฯ ท�ำให้เขามีเงินเย็นในกระเป๋าทีพ่ ร้อมจะต่อยอดทางธุรกิจใหม่ๆ และอย่างที่กล่าวไปข้างต้นว่าเขามีโอกาสได้พบปะนักลงทุนมากมาย โดยหนึง่ ในนัน้ ก็คอื กลุม่ นักธุรกิจชาวไต้หวันทุนหนาทีม่ ปี ระสบการณ์ใน การพัฒนาโครงการอสังหาฯ ซึ่งค่อนข้างชอบพอกันในแนวคิดและ ประสบการณ์ของพร้อมพงษ์ ‘THAI-ONE’ หรือ บริษทั ไทย-วัน พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด จึงถือก�ำเนิด ขึน้ เมือ่ 2 ปีกอ่ น โดยเปิดตัวโครงการแรกด้วย ฟอร์โมซ่า ลาดพร้าว 7 (Formosa Ladprao 7) คอนโดมิเนียมแบบโลว์ไรส์ 8 ชั้นมูลค่า 380 ล้านบาท ใจกลางย่านลาดพร้าวโปรเจกต์จำ� นวน 97 ยูนติ เริม่ ตัง้ แต่ 1 ห้องนอน ขนาด 31.72–41.86 ตร.ม. ไปจนถึง 2 ห้องนอน ขนาด 63.41–77.89 ตร.ม. ซึ่งเขามองว่าโครงการนี้จะเปลี่ยนชีวิตและท�ำให้ สามารถต่อยอดโครงการต่อไปได้อย่างแน่นอน ส�ำหรับโครงการนีจ้ ะเสร็จก่อนสิน้ ปี 2560 ใช้เวลาก่อสร้างประมาณ 12-18 เดือน และค่อนข้างมัน่ ใจว่าจะปิดโครงการได้อย่างรวดเร็วเพราะ มีการลงรายละเอียดด้านดีไซน์และการตอบสนองไลฟ์สไตล์คนเมือง ได้ครบครันในราคาที่เหมาะสม หลังจากนั้นก็จะเริ่มโครงการต่อทันที อีก 3-4 โปรเจกต์ โดยเน้นเฉพาะในกรุงเทพฯ เป็นหลักเพือ่ สร้างแบรนด์ ไปในตัว จากนัน้ ก็จะน�ำบริษทั เข้าสูต่ ลาด MAI ต่อไป “ทุกวันนี้บทบาทของผมชัดเจนในการเป็นเจ้าของธุรกิจเต็มตัว แต่มนั ก็มเี รือ่ งอืน่ ๆ ให้เรียนรู้ โดยเฉพาะเรือ่ งของการท�ำงานกับทีมงาน โชคดีทผี่ มเป็นพนักงานมาก่อนผมจึงเข้าใจคนเหล่านี้ ผมเปิดโอกาสให้ กับคนที่ร่วมท�ำงานได้เสนอมุมมองที่ดีที่สุด ผิดถูกไม่ว่ากัน เพราะผม เชือ่ ว่านีจ่ ะเป็นก้าวแรกทีท่ ำ� ให้พวกเขาคิดและกล้า ซึง่ ในอนาคตพวกเขา ก็อาจจะใช้ประสบการณ์จากตรงนี้ไปต่อยอดชีวิตได้มากกว่าการมา นัง่ รับฟังค�ำสัง่ จากผมและรอเงินเดือนๆ หนึง่ ” แน่นอนว่าบางคนอาจจะตัง้ ค�ำถามว่า พร้อมพงษ์หรืออีกหลายคน ทีก่ า้ วเป็นนักธุรกิจทีป่ ระสบความส�ำเร็จได้ในระดับหนึง่ นัน้ ส่วนหนึง่ มา จากความโชคดี ซึง่ เขาตอบค�ำถามนีไ้ ด้อย่างน่าสนใจทีเดียว “ผมเคยอ่านหนังสือของคุณประภาส ชลศรานนท์ เขาเขียนไว้ น่าสนใจอย่างมากเกี่ยวกับเรื่องโอกาสกับความสามารถ เขาบอกว่า ความสามารถเป็นสิ่งที่คนเราต้องหามาเอง แต่โอกาสคือสิ่งที่คนอื่น หยิบยืน่ ให้ แต่ถา้ ไม่มคี วามสามารถโอกาสก็จะไม่มาเยือน ผมเชื่ อ เรื่ อ งนี้ อ ย่ า งมาก เพราะผมก็ เ ป็ น คนหนึ่ ง ที่ ห มั่ น เสริ ม ความสามารถให้กบั ตนเองเสมอและวิธกี ารทีจ่ ะปลดล็อกท�ำให้เราไปสู่ จุดนัน้ ได้ สิง่ แรกคือการออกจากเซฟตีโ้ ซนหรือออกจากจุดทีต่ วั เองคิดว่า ปลอดภัยบ้าง เช่น เราต้องไม่เป็นพนักงานออฟฟิศทีช่ อบคิดว่าท�ำงาน แบบนีส้ นิ้ เดือนเราจะได้เงินเท่าไหร่ หลังจากท�ำไปสักปีเงินเดือนเราจะ ขึน้ เท่าไหร่ เพราะนัน่ คือจุดทีป่ ลอดภัยเกินไป มันจะท�ำให้เราตือ้ ถ้าอยู่ ในบริษทั ทีม่ นั่ คงและพร้อมดูแลเราไปตลอด ผมว่ามันก็โอเค แต่ถา้ เป็น บริษทั ทีต่ อ้ งการคนรุน่ ใหม่ไฟแรง ผมว่าเราอยูย่ าก เฉกเช่นเดียวกัน หากเรากล้าทีจ่ ะเดินออกจากเซฟตีโ้ ซน เราก็ตอ้ ง รู้จักออกไปอย่างระมัดระวัง เช่น ต่อให้ผมอยากลงทุนหรือท�ำธุรกิจ ผมก็ตอ้ งมีเงินส�ำรองทีท่ ำ� ให้ตวั เองปลอดภัยในช่วง 2-3 ปีขา้ งหน้าไว้กอ่ น” ท้ายทีส่ ดุ พร้อมพงษ์ ยังแชร์ให้ GMBiZ ฟังอีกว่าทุกเส้นทางมีเรือ่ ง ของค่าตอบแทนซ่อนอยู่ แต่ส�ำหรับเขาค่าตอบแทนที่ยิ่งใหญ่ที่สุด นอกจากเรือ่ งของรายได้ทยี่ กระดับขึน้ คือการเก็บเกีย่ วความคุม้ ค่าจาก เวลาและความทุม่ เททีเ่ สียไปในทุกๆ เส้นทาง “ทุกๆ งานทีท่ ำ� หรือ ทุกๆ ธุรกิจทีเ่ ราดูแล ล้วนแล้วแต่มผี ลตอบแทน บางอย่างซ่อนอยูม่ ากกว่าเงิน เช่น ตอนทีผ่ มเป็นพนักงาน ผมเก็บเกีย่ ว ประสบการณ์ในการท�ำงานเพือ่ ต่อยอดเส้นทางใหม่ๆ พอเป็นนักธุรกิจ เป็นเจ้าของ ผมก็เก็บเกีย่ วเอาความคิด พลังงาน ทัง้ จากทีมงานและหุน้ ส่วนมาแปรเปลี่ยนเป็นแรงบันดาลใจในการท�ำธุรกิจของผม นี่คือ ผลตอบแทนระหว่างทางทีอ่ าจจะบรรยายเป็นภาพได้ยาก แต่ผมอยาก ฝากเอาไว้ดว้ ย อย่ามองแค่ผลตอบแทนทีม่ าจากตัวเงินอย่างเดียว” จากมนุษย์เงินเดือนสูน่ กั ธุรกิจระดับร้อยล้าน
F E B RUA RY 2 0 1 5
26 GMBiZ
rich-onomics ชัยพล กฤตยาวาณิชย์
สิง่ เล็กๆ ทีเ่ รียกว่า ความสุข
ผมเป็นคนชอบอ่านเพราะเชือ่ ว่านีค่ อื การออกเดินทาง ค้นคว้าได้ ประสบการณ์แบบไม่มีวันจบ ไม่นานมานี้ก็สบโอกาสเปิดดู ไฟล์เก่าๆ ทีเ่ ก็บข้อคิดดีๆ ไว้เตือนความจ�ำ
ได้เรือ่ งเลยครับ ผมสะดุดกึกกับไฟล์หนึง่ ทีเ่ พือ่ นผมคัดมาจากหนังสือ ‘อะบุก๊ คอมโบ’ เป็นหน้าขาวด�ำแสนธรรมดาทีจ่ วั่ หัวว่า ‘Buying Happiness’ พร้อมมีสองบรรทัดเล็กๆ โยงก่อนเข้าเนือ้ หาชวนให้หมัน่ ไส้เล็กน้อย …ใครทีบ่ อกว่าความสุขเงินซือ้ ไม่ได้ … แสดงว่าคนนัน้ ใช้เงินไม่เป็น! ผมค่อยๆ ขยับนิว้ ตาม ตัง้ ใจละเลียดให้ถงึ แก่นทีน่ กั เขียนบรรจงเล่า ความสุขในแบบของตนเอง ที่สุดผมก็พบว่าความสุขมีง่ายๆ ไม่กี่บาท อย่างได้กินโกโก้เย็น สักแก้ว ก๋วยเตีย๋ วหมูตม้ ย�ำสักชาม ไล่ไปถึงหมอนข้างอวบๆ ไว้กอดสักใบ จนถึงตัว๋ เครือ่ งบินไปกลับกรุงเทพฯ-รัสเซีย ผมเริม่ สนุกและกดดันตัวเอง เปลีย่ นค�ำถามทีใ่ ส่รสชาติความท้าทายเพิม่ เติม ความสุขทีเ่ งินซือ้ ได้แต่สนนราคาแค่ยสี่ บิ บาทของผมคืออะไร??? การมีเงินแค่เศษสตางค์ เล่นเอาแวบแรกผมอึง้ แต่พอสติเริม่ มาไอเดีย ความสุขก็คอ่ ยๆ เล็ดลอด ของผมมีตงั้ แต่ออกไปซือ้ ซาลาเปาร้านโปรด วิ่ ง ในสวนหมู ่ บ ้ า นให้ เ หงื่ อ ออกแล้ ว ได้ น�้ ำ อั ด ลมไม่ มี น�้ ำ ตาลเย็ น ๆ สักกระป๋อง หรือได้ทำ� บุญให้ขอทานผมก็สขุ แล้ว จากนัน้ ผมก็เริม่ แกล้ง แหย่ชาวบ้าน ตั้งใจดูปฏิกิริยาโต้ตอบและสีสันแฮปปี้ในแบบต่างๆ หลายคนมีอาการคล้ายกัน เพียงแค่ได้ยินตัวเลขความสุขที่น้อยนิด ก็พานเหวอไม่ทนั ตัง้ ตัว เอาเข้าจริงสมัยเด็กๆ เราเองก็ยัง ‘สุข’ ได้กับเศษเงินไม่กี่สตางค์ แค่ได้กนิ ลูกชิน้ สักไม้ น�ำ้ หวานสักแก้ว หมูปง้ิ หน้าโรงเรียนใจก็อมิ่ เอมแล้ว แต่พอโตขึน้ ฐานะรายได้มากเข้า รสนิยมเสพสุขก็คอ่ ยๆ ผันแปรสูงขึน้ เคยกินก๋วยเตีย๋ วข้างทางได้กเ็ ริม่ ไม่เอา เทีย่ วเมืองไทยไม่พอขอขยับไป เรื่อยๆ จากเอเชียไปถึงยุโรป อเมริกา และบางคนถึงขนาดฝันจะไป นอกโลกก็มี นานวันเข้าภาวะ ‘ยึดติด’ ก็เข้าครอบจนลืมสิง่ เล็กๆ ง่ายๆ รอบตัว ถ้าคุณเคยไปทะเลเงียบๆ สักแห่ง บอกได้เลยครับนอกจากฟ้าสวยๆ น�ำ้ ทะเลใสๆ หาดทรายสีขาวแล้ว ทีบ่ างทีแ่ ทบจะหาความบันเทิง แสง สี ไม่ได้เลย แปลกนะหลายคนก็สามารถนั่งอยู่กลางธรรมชาติเป็นวันๆ โดยไม่ตอ้ งขยับไปไหน เคยมีคนบอกผม พอเศรษฐกิจไม่ดแี ทนทีจ่ ะหันไปหาอะไรเพลินๆ นอกบ้าน ก็เริม่ กลับมามองเรือ่ งใกล้ตวั ท�ำกับข้าวกินเองทีบ่ า้ นกับเมีย และลูก ใจก็เป็นสุข รถก็เป็นแค่ยานพาหนะไว้ขนส่ง ทีเ่ หลืออาจเป็นแค่กเิ ลส ความต้องการ ทีป่ รุงแต่งล้วนๆ ของแบรนด์เนมแม้จะบอกรสนิยม เสริมบุคลิก และให้ ความสุ ข แต่ ก ระนั้ น เราก็ อ าจต้ อ งหยุ ด คิ ด และเริ่ ม ตั้ ง ค� ำ ถาม ไม่หลอกตัวเอง นีค่ อื กับดักหรือเปล่า? ผมเองไม่ใช่คนวิเศษทีย่ งั ติดกรอบ ของความเคยชินจนบางทีละเลยความสุขง่ายๆ การได้เขียนเรื่องนี้จึง ช่วยเตือนตัวเองไม่ให้หลงอยูใ่ นโลกสมมุติ ใครสักคนเอ่ยถามต่อ เนือ้ หา ของเรือ่ งนีจ้ ะท�ำให้เราเป็นเศรษฐีขนึ้ หรือ? หากนิยามความร�ำ่ รวยขึน้ อยูก่ บั สิง่ ทีม่ แี ละความคาดหวัง …ค�ำตอบ ที่ได้ก็คงแตกต่าง แต่อย่างน้อยเราอาจฉุกคิดได้ว่า ความสุขที่แท้จริง ไม่ตอ้ งใช้เงินมากมาย ไม่ตอ้ งมีของหรู อานิสงส์ทไี่ ด้ไม่เพียงท�ำให้เรามีเงินเก็บไว้ใช้ยามฉุกเฉินเป็นเสบียง เลีย้ งตัวเมือ่ ใกล้ฝง่ั อีกนัยหนึง่ เท่ากับเป็นการสร้างสติ ลดทอนกิเลสทีม่ ี ให้เบาบาง ค่อยๆ เอาแอลกอฮอล์ลา้ งใจ ลด ละ เลิก และมองทุกอย่างตาม ความเป็นจริงมากขึน้ มือ้ อาหารมือ้ ต่อไป ลองมองอะไรง่ายๆ ใกล้ตวั แล้วหาความสุขกับ มันดูนะครับ
ชัยพล กฤตยาวาณิชย์ : ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ธุรกิจบัตรเครดิต ‘KTC’ บริษทั บัตรกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน)
how to invest สุรศักดิ์ ธรรมโม
มุมมองการลงทุนปี 2558
ตลาดหุน้ ยุโรป
ในส่วนของตลาดหุน้ ยุโรปนัน้ ข้อมูลเศรษฐกิจล่าสุดบอกว่า เศรษฐกิจยูโรโซนขยายตัว 0.2% QoQ ในไตรมาส 3/57 สูงกว่า ทีต่ ลาดคาดการณ์ไว้ที่ 0.1% เล็กน้อยและเพิม่ ขึน้ จาก ไตรมาส 2/57 ทีข่ ยายตัว 0.1% ทัง้ นี้ ถ้าดูเป็นรายประเทศ จะพบว่าประเทศหลักๆ ที่ช่วยสนับสนุนให้เศรษฐกิจ กลุม่ ยูโรโซนเริม่ ฟืน้ ตัวในไตรมาส 3/57 คือ ฝรัง่ เศส และ เยอรมนี ซึง่ เศรษฐกิจขยายตัว 0.3% QoQ และ 0.1% QoQ ตามลาํ ดับ แต่อติ าลีซงึ่ เป็นประเทศใหญ่อนั ดับ 3 ในยูโรโซน ยังคงเป็นตัวถ่ว งเพราะเศรษฐกิจหดตัวลง -0.1% ในไตรมาส 3/57 ทั้งนี้ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ปรับ ประมาณการอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจยูโรโซนในปี 2557 และปี 2558 ลดลงสู่ 0.8% และ 1.3% ตามลาํ ดับ แต่ถ้าดูในสิ้นเดือนมกราคม 2558 พบว่าดัชนีหุ้น ยุโรป (Euro Stoxx 600) เพิม่ จากเดือนก่อน +7.06% MoM อยูท่ ี่ 367.05 จุด เนือ่ งจาก นักลงทุนคาดว่าด้วยอัตราเงินเฟ้อใน 18 ประเทศทีใ่ ช้ ยูโรในเดือนธันวาคมอยูท่ ี่ -0.2% เมือ่ เทียบรายปี ซึง่ ลดลง จาก 0.3% ในเดือนพฤศจิกายน จะท�ำให้ธนาคารกลาง ยุโรป (ECB) ด�ำเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจหรือ มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในวันที่ 22 มกราคม 2558 นีจ้ งึ มีแรงซือ้ หุน้ ก่อนวันประชุมจริงเป็นระยะๆ ECB ประกาศมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในการประชุมวันที่ 22 มกราคม 2558 ด้วยวงเงินโครงการ รวมไม่ตำ�่ กว่า 1.1 ล้านล้านยูโร ซึง่ มากกว่าทีต่ ลาดคาดที่ ประมาณ 5 แสนล้านยูโร โดย ECB จะพิมพ์เงินเดือนละ 6.0 หมืน่ ล้านยูโร (6.8 หมืน่ ล้านดอลลาร์) เข้าสูเ่ ศรษฐกิจร่วม กับโครงการทีม่ อี ยูแ่ ล้วเพือ่ ซือ้ หุน้ กูภ้ าคเอกชน และสนับสนุน เม็ดเงินกู้ดอกเบี้ยต�่ำให้แก่ธนาคารต่างๆ จนถึงเดือน กันยายนปีหน้า หรือจนกว่าอัตราเงินเฟ้อทีค่ าดจะกลับมาที่ ระดับ 2% แต่มองไปทีแ่ นวโน้มปี 2558 ผมประเมินว่า การลงทุน ในตลาดหุน้ ยุโรปยังได้รบั ปัจจัยสนับสนุนจาก
ตอนที่ 2
1.ECB ด�ำเนินการ QE ในการประชุมวันที่ 22 มกราคม 2558 นีต้ ามคาดและด้วยเม็ดเงินและลักษณะของโครงการ QE ทีเ่ ป็นกึง่ ปลายเปิดกล่าวคือ ถ้าอัตราเงินเฟ้อทีค่ าดแตะระดับ 2% โครงการ QE จะยุตใิ นเดือนกันยายน 2016 แต่ถา้ อัตราเงินเฟ้อ ทีค่ าดไม่แตะ 2% ECB จะด�ำเนินการ QE ต่อไปจนกว่าเงินเฟ้อ ทีค่ าดจะแตะ 2% ถือเป็นปัจจัยบวกต่อดัชนีหนุ้ ยุโรป 2.การอ่อนค่าของยูโร จะช่วยกระตุ้นการส่งออกของ เยอรมนี และการท่องเทีย่ วของประเทศอืน่ ๆ ในยุโรป และเป็น ผลบวกให้เศรษฐกิจยุโรปฟืน้ ตัว 3.คณะกรรมาธิการยุโรป (EC) จะด�ำเนินการลงทุนวงเงิน 3 แสนล้านยูโรภายในปีนี้ ซึง่ เป็นผลบวกต่อหุน้ ยุโรป อย่างไรก็ตาม ความเสี่ยงต้องจับตาประเด็นของยูเครน การไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรการรัดเข็มขัดของกรีซหลังจากนายกรัฐมนตรี คนใหม่ของกรีซประกาศกร้าวว่ารัฐบาลยังคงจุดยืนคัดค้านการใช้ มาตรการรัดเข็มขัด และจะไม่ขยายโครงการรับเงินช่วยเหลือจาก เจ้าหนีต้ า่ งประเทศ ซึง่ อาจจะท�ำให้กรีซโดนลงโทษจากสหภาพยุโรป และสถานการณ์ทางการเงินของรัสเซียที่ย�่ำแย่ต่อเนื่องอาจจะ ส่งผลกระทบเชิงลบเป็นลูกโซ่ไปยังประเทศอืน่ ๆ ในยุโรป แต่ถา้ มอง Upside หรือก�ำไรในปีนี้ อ้างอิงจากระดับดัชนี เป้าหมายหุน้ ยุโรปปี 2558 นี้ โดย Goldman Sachs จะพบว่า อยู่ที่ 390 จุดหรือมี Upside ประมาณ 6.3% เพราะฉะนั้น จากประสบการณ์ในอดีตเราพบว่าประเทศที่มี QE นั้น หุ้น ในประเทศที่ด�ำเนินนโยบาย QE จะเป็นขาขึ้น เพราะฉะนั้น ถ้าดัชนีหุ้นยุโรปปรับลดลงจากวิกฤติเศรษฐกิจและหนี้สิน ของกรีซ ผมคิดว่าเป็นโอกาสในการเข้าซือ้ หุน้ ยุโรปนะครับ Index/Price as of End of Year 2015 Asset Class 30 Jan 2014 Target* 1,994.99 2,225.00 S&P 500 390.00 Euro Stoxx 600 367.05 17,674.39 20,000.00 Nikkei 225
Upside 11.5% 6.3% 13.2%
*Euro Stoxx 600 Index Target by Goldman Sachs
*บทความนีเ้ ป็นทัศนะส่วนตัวของผูเ้ ขียน
สุรศักดิ์ ธรรมโม : ผู้เชี่ยวชาญทั้งเศรษฐกิจมหภาคและเก่งฉกาจเรื่อง การให้คำ� แนะน�ำในด้านการลงทุน อาชีพของเขาคือ บริหารความมั่งคั่งให้นักลงทุน ซึ่งส่วนใหญ่เป็น นักลงทุนสถาบัน
2 0 1 5 F E B RUA RY
GMBiZ 27
รถยนต์ ไร้คนขับ อนาคตทีน่ า่ จับตามอง รถยนต์ไร้คนขับ (Self-Driving Car หรือ Driveless Car) ทีเ่ ราอาจจะเคยเห็นแต่ในการ์ตนู หรือในหนัง ไซไฟ กลายเป็นนวัตกรรมที่อยู่ไม่ไกลเกินความ จริงนักในโลกยุคปัจจุบัน เพราะเทคโนโลยีต่างๆ ได้พัฒนามาถึงขั้นที่สามารถสร้างเป็นรถต้นแบบ และพร้ อ มจะพั ฒ นาเพื่ อ ขายจริ ง ในอี ก ไม่เกิน 5 ปีขา้ งหน้านี้
ใครที่ติดตามข่าวสารเทคโนโลยี ด้านนี้มาบ้างคงพอจะรู้ว่า Google บริษัทไฮเทคยักษ์ใหญ่ของโลก ได้พฒ ั นารถยนต์ไร้คนขับต้นแบบ และทดลองวิ่ ง มาสั ก ระยะแล้ ว ซึ่งผลการทดลองวิ่งค่อนข้างน่า พอใจ มีการวิ่งรวมระยะทาง กว่า 1.1 ล้านกิโลเมตร โดย ยังไม่เคยมีอบุ ตั เิ หตุเกิดขึน้ เลย แม้แต่ครัง้ เดียว ผู ้ ผ ลิ ต รถยนต์ ร ายใหญ่ ของโลกทั้ ง Nissan, Ford, Mercedes, Volkswagen, Chevrolet, Audi และ Toyota ต่างก็กำ� ลังพัฒนารถยนต์ไร้คนขับ อยูเ่ ช่นกัน โลกใบนี้ ค งถึ ง เวลาเปลี่ ย นแปลงครั้ ง ใหญ่ อี ก ครั้ ง ครั บ ถ้ารถยนต์ไร้คนขับออกมาขายจริงและถูกใช้อย่างแพร่หลาย ด้วย เหตุผลหลายๆ ข้อ นึกภาพว่าเราสามารถให้รถยนต์ไร้คนขับไปส่งลูกทีโ่ รงเรียน ไปส่งเรายังทีท่ ำ� งาน แล้วให้มนั วิง่ กลับไปทีบ่ า้ น ไม่จำ� เป็นต้องง้อทีจ่ อดรถอีกต่อไป นอกจากผูผ้ ลิตรถยนต์ทกี่ �ำลังทดสอบรถยนต์ไร้คนขับ ยังมี ผูใ้ ห้บริการรถยนต์สว่ นบุคคลสาธารณะอย่าง Uber ทีจ่ บั มือกับ มหาวิทยาลัย Carnegie Mellon ซึ่งเป็นสถาบันชั้นน�ำด้าน Robotics เพือ่ ร่วมพัฒนาระบบรถยนต์ไร้คนขับเช่นกัน Travis Kalanick ซีอโี อของ Uber ตัง้ เป้าว่า Uber จะให้บริการ ด้วยรถยนต์ไร้คนขับแทนที่รถยนต์ที่ใช้คนขับ เพื่อเป็นการลด
ค่าใช้จา่ ยทีต่ อ้ งจ่ายเป็นส่วนแบ่งรายได้ให้กบั คนขับ ซึง่ จะช่วยให้ ค่าบริการของ Uber ถูกลง แม้ว่าจะยังไม่มีการระบุวันเวลาที่แน่นอน แต่ก็เป็นการ ส่งสัญญาณว่ารถยนต์ไร้คนขับจะเข้ามาปฏิวัติธุรกิจรถยนต์ โดยสาร รถยนต์ในระบบขนส่งมวลชนแน่นอน งานวิจัยจาก ’The Conference Board’ ประเทศ แคนาดาบอกว่ า รถยนต์ ไ ร้ ค นขั บ จะช่ ว ย ประหยั ด เวลาจากการขั บ รถรวมกั น ทั้งหมดที่ชาวแคนาดาใช้กว่า 5 พัน ล้ า นชั่ ว โมงต่ อ ปี คิ ด เป็ น มู ล ค่ า 20,000 ล้านดอลลาร์ และช่วยแก้ ปัญหารถติดเพราะความต้องการ เป็นเจ้าของรถยนต์นอ้ ยลง ต้นทุน ของปัญหาจราจรติดขัดก็จะลด ลงกว่า 5 พันล้านดอลลาร์ตอ่ ปี นอกจากนี้ รถยนต์ ไ ร้ คนขับยังช่วยให้ใช้น�้ำมันได้มี ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ท�ำให้ ต้นทุนการใช้น�้ำมันลดลงกว่า 2,600 ล้ า นดอลลาร์ เพราะ ไม่ตอ้ งขับรถวนไปวนมาเพือ่ หาทีจ่ อด ความปลอดภัยบนท้องถนนก็มมี ากขึน้ เพราะตัวรถเองจะมี เซ็นเซอร์อยู่มากมายรอบคันเพื่อป้องกันการชน มีการควบคุม ความเร็ ว ในการวิ่ ง ให้ เ หมาะกั บ สภาพการจราจรในช่ ว งนั้ น ไม่ขบั เร็วเกินไปอย่างทีค่ นขับ เส้นทางการวิง่ เลนการวิง่ ก็จะถูก ตัง้ โปรแกรมเอาไว้ ไม่ปาดซ้าย ปาดขวา เลีย้ วมัว่ ปัจจัยเหล่านี้ มักจะน�ำไปสู่อุบัติเหตุบนท้องถนนและ เกิดโดย ’คน’ทัง้ นัน้ ปี 2009 เกิดอุบตั เิ หตุบนท้องถนนในสหรัฐฯ กว่า 5.5 ล้านครัง้ มีความเสียหายเกิดกับรถยนต์ 9.5 ล้านคัน มีผู้เสียชีวิตจาก อุบตั เิ หตุกว่า 33,808 คน และบาดเจ็บกว่า 2.2 ล้านคน เกิดภาระค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องมากมาย ทัง้ ค่ารักษาพยาบาล ค่าชดเชยต่างๆ ค่าฟ้องร้องด�ำเนินคดี ค่าทรัพย์สินที่เสียหาย เสียงาน เสียเวลา คุณภาพชีวิตที่ด้อยลงของผู้ที่บาดเจ็บและ ครอบครัวผูเ้ สียชีวติ
digital update โชติ เวส
it trend
วรวิสทุ ธิ์ ภิญโญยาง
รัฐบาลสหรัฐฯ ประเมินมูลค่าความเสียหายเหล่านีเ้ ป็นจ�ำนวน กว่า 450,000 ล้านดอลลาร์ จากการคาดการณ์ของ Google ถ้ารถยนต์ไร้คนขับถูก น�ำมาใช้แทนทีร่ ถยนต์ปกติจะสามารถรักษาชีวติ คนจากอุบตั เิ หตุ รถยนต์ถงึ 30,000 คน และช่วยป้องกันการบาดเจ็บของคนกว่า 2 ล้านคน และลดมูลค่าความเสียหายทัง้ หมดลงได้กว่า 400,000 ล้านดอลลาร์ตอ่ ปี ข้อดีของการมีรถยนต์ไร้คนขับมีอยูม่ ากมาย แต่กม็ ขี อ้ เสีย เช่น เกิดปัญหาการว่างงานของคนกลุม่ ใหญ่ๆ อย่างคนขับรถแท็กซี่ รถเมล์ รถโดยสารต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่าง Consumer กับบริษทั รถยนต์จะลดลง เพราะ Consumer จะไม่อยากเป็นเจ้าของรถยนต์เอง แต่จะใช้ บริการรถยนต์โดยสารประเภท Ride-Sharing อย่าง Uber, GrabCar มากขึน้ แทน ด้วยเหตุผลนี้ ท�ำให้ผู้ผลิตรถยนต์ยักษ์ใหญ่อย่าง Toyota ยังลังเลทีจ่ ะลุยตลาดรถยนต์ไร้คนขับเต็มตัว ถึงแม้เทคโนโลยีจะพัฒนาไปไกลจนสามารถสร้างรถยนต์ ไร้คนขับออกมาได้ แต่กย็ งั มีขอ้ กฎหมายบางอย่างทีย่ งั ต้องถกเถียง กันต่อไป เช่น ถ้ารถยนต์ไร้คนขับ 2 คันชนกัน ใครผิด ใครถูก คงไม่ถกู ต้องถ้ากฎหมายจะด�ำเนินคดีกบั เจ้าของรถยนต์ไร้คนขับ คันทีท่ ำ� ผิด เพราะเป็นระบบทีต่ ดั สินใจแทนคน น่าจับตามองว่าโลกจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรยามที่ รถยนต์ไม่ตอ้ งการคนอย่างเราควบคุมมัน
วรวิสทุ ธิ์ ภิญโญยาง : Strategic Marketer ผูค้ ลัง่ ไคล้ใน เรือ่ งเทคโนโลยี เกาะติด Business Model ของ Startup ทัว่ โลก และทีป่ รึกษาด้านกลยุทธ์การตลาด
3D Printing การพิมพ์ยคุ อนาคต
นับถอยหลัง โฉมจริง Samsung S6 ใกล้เข้ามาทุกขณะกับการมาของ Samsung Galaxy S6 ที่คาดว่าจะมี การเปิดตัวขึน้ ในวันที่ 1 มีนาคม 2558 ทีจ่ ะถึงนี้ ในงาน MWC 2015 ทีเ่ มือง บาร์เซโลน่า ประเทศสเปน โดยในระหว่างที่ เราก�ำลังติดตามความเคลือ่ นไหวนีก้ ม็ กี าร หลุดโผสเปคและราคาคาดการณ์คร่าวๆ กัน บ้างแล้ว ส�ำหรับ Samsung Galaxy S6 คาดว่ามา พร้อมกับชิปเซ็ต Snapdragon 810 ทีซ่ มั ซุงเองก�ำลัง ซุ่มท�ำอยู่ในชื่อ Exynos Octa 7 จอแสดงผลขนาด 5.5 นิว้ ทีม่ คี วามหนาแน่นระดับ 534 ppi ในส่วนของ กล้องหลังน่าจะอยูท่ ี่ 16 ล้าน และกล้องหน้า 5 ล้านพิกเซล ส่วน RAM คาดว่าจะได้ 3GB เป็นอย่างต�ำ่ มาพร้อมระบบ ปฏิบัติการ Android 5.0 Lolipop และตัวเครื่องก็น่า จะเปลีย่ นเป็นอะลูมเิ นียมทัง้ หมด โดยเจ้า Samsung Galaxy S6 จะมาพร้อม 3 ความจุให้เลือกใช้อนั ได้แก่ 32GB, 64GB และ 128GB ระดับราคาก็นา่ จะอยุรู่ าวๆ 2 หมืน่ ปลายๆ ถึง 3 หมืน่ กลางๆ
เราคงได้ยินเรื่องราวเกี่ยวกับเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ที่ภาคอุตสาหกรรมการผลิต เริ่มน�ำไปสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ กันพอสมควร ไม่ว่าจะเป็นโมเดลเครื่องบินบังคับ ขนาดเล็ก, รถยนต์ ECO CAR ที่วิ่งได้จริงบนถนน, ชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, เครือ่ งประดับเงินและทองค�ำ, รองเท้า, เสือ้ ผ้า หรือแม้แต่ในวงการแพทย์และชีววิทยา ทีเ่ ชือ่ มโยงเทคโนโลยีการพิมพ์แบบ 3 มิตมิ าประยุกต์กบั การรักษาในหลายๆ ด้าน เช่น ช่วยสร้าง โครงร่างเพือ่ ปลูกถ่ายอวัยวะของผูป้ ว่ ย โครงร่างใบหูแทนกระดูกอ่อนเพือ่ ให้เซลล์ของผูป้ ว่ ยสร้างขึน้ มาห่อหุม้ เป็นใบหูใหม่ กระดูกนิว้ ชิน้ ส่วนกะโหลก ขาเทียมไปจนถึงการสร้างไตเทียมและหลอดเลือดเทียม เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ (3D Printing) แม้จะไม่ใช่เทคโนโลยีทเี่ กิดใหม่ แต่ถา้ มองในแง่การใช้งานแล้วยัง ถือว่าจ�ำกัดอยูก่ บั ภาคกลุม่ อุตสาหกรรมเสียมาก แต่ไม่นานมานีบ้ ริษทั วิจยั การ์ทเนอร์คาดการณ์วา่ ในปี 2015 ตลาดนี้อาจจะเติบโตได้ถึง 98% จากการที่แบรนด์ผู้ผลิตเครื่องพิมพ์พยายามพัฒนาสินค้าเพื่อเข้าสู่ผู้ใช้ใน ระดับครัวเรือนมากขึน้ ซึง่ ส่งผลให้ราคาสินค้าเริม่ ลงมาแตะหลักหมืน่ กันบ้างแล้ว จากเดิมทีต่ วั เครือ่ งจะอยูใ่ นระดับ หลักแสนและหลักล้าน จากตรงนีจ้ งึ มีความเป็นไปได้วา่ อนาคตอันใกล้เครือ่ งพิมพ์ 3 มิตจิ ะถูกใช้งานอย่างแพร่หลายเหมือนกับที่ เครื่องพิมพ์ 2 มิติเป็นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เพราะศักยภาพของเครื่องจะสามารถเปลี่ยนจินตนาการให้ กลายเป็นจริงได้มากขึ้นจนอาจกล่าวได้ว่าเทคโนโลยีจะกลายเป็นจุดเปลี่ยนของงานออกแบบ การผลิต และ การตลาดโลกเลยก็วา่ ได้
28 GMBiZ
F E B RUA RY 2 0 1 5
เรือ่ ง : พลสัน
จักรพล จันทวิมล
นันยาง : ความเก๋าจากรุน่ พ่อ สืบทอดมาถึงรุน่ ลูก เราเชื่อว่าช่วงชีวิตวัยเด็กของทุกคนโดยเฉพาะเด็กผู้ชายล้วนแล้วแต่เคยผ่านการใส่รองเท้า ‘นันยาง’ มากันแล้วทัง้ นัน้ อย่างน้อยๆ ก็คนละ 3 คู่ จนกลายเป็นว่า ‘นันยาง’ คือรองเท้าทีเ่ ป็น ดัง่ คูห่ ขู องเด็กมัธยมทุกคน ปั จุ จ บั น แม้ นั น ยางจะขึ้ น แท่ น เป็ น รองเท้ า นักเรียนเบอร์หนึง่ ทีค่ รองใจเด็กมัธยมค่อนประเทศ มานานพร้อมครองส่วนแบ่งในตลาดกว่า 50% ทว่าการจะเป็นแชมป์นนั้ ย่อมถูกท้าทายโดยผูท้ า้ ชิง บวกกับโลกที่หมุนไปไวกว่าในอดีต เทคโนโลยี เปลีย่ นพฤติกรรมผูบ้ ริโภคก็เปลีย่ น การพัฒนาธุรกิจ ขององค์กรจึงเป็นสิง่ ส�ำคัญและผูท้ รี่ บั หน้าทีพ่ ฒ ั นา ธุ ร กิ จ ของนั น ยางยุ ค ใหม่ ก็ คื อ ‘จั๊ ก -จั ก รพล จันทวิมล’ ผูจ้ ดั การฝ่ายการตลาด บริษทั นันยาง มาร์เก็ตติง้ จ�ำกัด ผูบ้ ริหารหนุม่ รุน่ ใหม่ทนี่ อกจาก จะมีความสามารถในการบริหารแล้ว ยังเชี่ยวชาญ ด้านออนไลน์มาร์เก็ตติ้ง ซึ่งกลยุทธ์ใหม่ที่ธุรกิจ ทัว่ โลกให้ความส�ำคัญ จักรพลจึงเป็นดัง่ ก�ำลังส�ำคัญ ของนันยางที่ช่วยเสริมความแข็งแกร่งให้นันยาง ยุคใหม่ทกี่ ารแข่งขันสูงไม่แพ้ยคุ ไหนเลย
“ตลาดรองเท้านักเรียนตอนนีย้ อมรับว่าดุเดือด เอาเป็นเอาตายมาก” จักรพลเปิดประเด็นด้วย รอยยิม้ “ปัจจุบันจ�ำนวนนักเรียนมัธยมของไทยที่ใส่ รองเท้านักเรียนอยูท่ รี่ าวๆ 10 ล้านคน ซึง่ ตัวเลขจะ ไม่หนีไปจากนีม้ านานแล้ว ฉะนัน้ ตลาดก็คงไม่โต ไปมากกว่านี้ หรือไม่มีทางที่จะขยายกลุ่มลูกค้าได้ มากขึน้ โดยเฉลีย่ นักเรียน 1 คน ซือ้ รองเท้า 1 คูต่ อ่ ปี เท่ากับว่านักเรียนหนึ่งคนจะมีรองเท้าตลอดชีวิตที่ เรียนมัธยม 6 คู่ วิธเี ดียวทีจ่ ะเพิม่ ยอดขายคือทุกค่าย ต้องแย่งลูกค้า รองเท้านักเรียนไม่เหมือนสินค้าอุปโภค บริโภคชนิดอืน่ ๆ ทีอ่ าจซือ้ ตุนได้ หรือซือ้ ไปทดลอง ใช้ได้ มากกว่า 1 ยีห่ อ้ ฉะนัน้ หน้าทีข่ องเราคือท�ำอย่างไร ก็ได้ไม่ให้เสียตลาดทีเ่ ราครอง และหาวิธขี ยายลูกค้า เพิม่ เติมด้วยการวางแผนพัฒนาธุรกิจทีเ่ รามี“
หากมองจากสายตาผู้บริโภค นันยางเป็นรองเท้านักเรียนเบอร์ 1 อย่างไม่ตอ้ งสงสัย สิง่ นีพ้ สิ จู น์ได้งา่ ยๆ เพียงเราไปยืนทีห่ น้าโรงเรียนทีไ่ หน สักแห่ง แล้วก้มมองที่รองเท้าเชื่อได้ว่า เกินครึ่งล้วนใส่นันยางทั้งนั้น การเป็นเบอร์หนึง่ ของนันยางไม่ใช่อยูเ่ ฉยๆ ก็ยนื บนบัลลังก์ได้ แต่นนั ยาง มีกระบวนการรักษาบัลลังก์ในยุคใหม่ โดยเฉพาะช่องทางออนไลน์ที่ จักรพลถนัด “การประชาสัมพันธ์เพื่อบอกตัวตนของเราคือสิ่งที่นันยางท�ำมา อย่างต่อเนื่องทั้งโฆษณาทางโทรทัศน์และสื่อสิ่งพิมพ์ แต่ในช่วงหลัง เราเพิม่ ช่องทางบนออนไลน์มากขึน้ เพราะจากการท�ำแบบส�ำรวจพบว่า เด็กนักเรียนทีเ่ ป็นกลุม่ เป้าหมายของเรานัน้ เล่นโซเชียลเน็ตเวิรค์ มากกว่า ดูโทรทัศน์ ช่องทางออนไลน์จงึ เป็นอีกจุดทีผ่ มช่วยดูแล ปัจจุบนั แฟนเพจ ของ ‘นันยาง Nanyang’ มีไลค์สงู กว่าสองแสนไลค์ เยอะกว่าทุกแบรนด์ รองเท้านักเรียนทีม่ ตี อนนี้ โดยเราได้สร้างตัวตนของเราให้เป็นเพือ่ นของ ลูกเพจ เพื่อให้เขารับรู้ว่าเราไม่ใช่แค่รองเท้า โดยที่เราวางตัวให้เป็น เด็กหลังห้องทีแ่ ม้จะมีนสิ ยั เก๋าๆ กวนๆ ครูจะไม่คอ่ ยชอบ แต่กลับเป็นคน ที่มีเพื่อนเยอะ เราวาง Positioning ให้นันยางเป็นแบบนี้มาตั้งแต่อดีต ถึงได้มสี โลแกนว่า ‘เก๋าตัง้ แต่รนุ่ พ่อ’ ปัจจุบนั เด็กเก๋าๆ หลังห้องนีร่ ะดับ ผูบ้ ริหารทัง้ นัน้ นะครับ (หัวเราะ) แม้ตอนนีก้ ารท�ำตลาดออนไลน์จะยัง ไม่ได้เยอะมากมาย แต่มีการขยายสัดส่วนการท�ำตลาดบนออนไลน์ เพิม่ ขึน้ ทุกปีแน่นอนครับ เพราะกลุม่ เป้าหมายเราอยูบ่ นนีก้ นั หมดแล้ว” นอกเหนือจากการตลาดออนไลน์แล้ว อีเวนต์มาร์เก็ตติง้ ของนันยาง ก็ชว่ ยรักษาฐานลูกค้ายุคใหม่ และต่อติดลูกค้าให้ผกู พันไปกับนันยางอย่าง ต่อเนือ่ ง หนึง่ ในนัน้ คือกิจกรรม ‘นันยางโกลหนู’ อีเวนต์ฟตุ บอลรายการ เดียวในไทยทีใ่ ห้ผเู้ ข้าแข่งขันใส่ชดุ นักเรียนลงแข่ง “เราท�ำกิจกรรมนันยางโกลหนูมา 4 ปี มีนักเรียนจากทั่วประเทศ เข้าร่วมอีเวนต์ราวๆ 200,000 คน แนวคิดการจัดอีเวนต์นี้มาจากชีวิต ประจ�ำวันของเด็กนักเรียนทีช่ อบเล่นฟุตบอลโกลหนู ทัง้ ช่วงเช้า พักเทีย่ ง และช่วงเย็น ลูกเล่นของอีเวนต์นี้ก็คือการที่ให้พวกเขาใส่ชุดนักเรียน ลงแข่ง เพราะมันก็คอื ชีวติ จริงของพวกเขา นันยางพยายามเข้าใจในธรรมชาติ ของลูกค้า แม้ปัจจุบันเราจะผ่านมาถึงปีที่ 63 แล้ว แต่เราไม่ได้แก่ ตามแบรนด์ เราพยายามท�ำตัวให้เด็กไปกับเขาเสมอ กิจกรรมที่จัดจึง โดนใจกลุม่ ลูกค้า เพราะเราคิดกิจกรรมด้วยความรูส้ กึ ทีเ่ ป็นเด็ก นันยาง จึงยังคงต่อติดกับลูกค้าในยุคนี้ และยุคต่อๆ ไปได้” “ปัจจุบนั เราพยายามเจาะตลาดนักเรียนประถมเพิม่ เติม แต่ยอมรับ ว่ายาก เพราะตลาดรองเท้านักเรียนประถมก็มเี จ้าตลาดอยูแ่ ล้ว และการ จะปรับแบรนด์ตัวเองเพื่อลดอายุให้เข้ากับเด็กประถมเราก็ห่วงกลุ่ม ลูกค้าเก่าที่เป็นนักเรียนมัธยมเหมือนกันเขาอาจจะหันหน้าหนีเพราะ นันยางไม่ใช่รองเท้าแห่งความเก๋าอย่างเดิม เราจึงต้องพยายามท�ำ การบ้านอย่างหนักเพือ่ สร้างฐานลูกค้าใหม่ และเก็บฐานลูกค้าเก่าไว้โดยที่ ภาพลักษณ์ของเราก็ยงั เป็นรองเท้าทีใ่ ส่แล้วดู ‘เก๋า’ อยูเ่ หมือนเดิม” “ท�ำไมวันนีน้ นั ยางถึงครองใจผูบ้ ริโภค?” เรายืน่ ค�ำถามสุดท้ายไปยัง จักรพล เขายิ้มและตอบกลับมาว่า “ความทนและคุณภาพคือจุดขาย ของเรามานาน เราปลูกฝังด้านคุณภาพมาโดยตลอด แม้วัตถุดิบจะ ขึน้ ราคาแต่เราจะไม่ลดคุณภาพ เพราะมันจะเสียชือ่ สมมติลกู ค้าของเรา ใส่นนั ยางมา 2 ปี ขึน้ ปีที่ 3 ปรากฏว่ารองเท้าขาดเร็วกว่าเดิม เขาจะรูส้ กึ ไม่ประทับใจและเปลีย่ นไปใส่ยหี่ อ้ อืน่ ทันที ความไว้ใจอาจสร้างได้ไม่ยาก แต่ถ้าเสียไปแล้ว มันเรียกคืนกลับมายาก ฉะนั้นคุณภาพของเราก็คือ สิง่ ทีส่ ร้างต�ำนานให้นนั ยาง” การทีน่ นั ยางได้คนรุน่ ใหม่อย่างจักรพลมาช่วยบริหารงาน ก็ยงิ่ มัน่ ใจ ได้ว่านันยางจะยังคงยืนหยัดอยู่บนบัลลังก์ผู้น�ำรองเท้านักเรียนไป อย่างต่อเนื่อง เราเชื่อว่าด้วยวิสัยทัศน์ของเขาในฐานะคนหนุ่มรุ่นใหม่ ที่เข้าใจในตัวผู้บริโภคยุคนี้ จะท�ำให้นันยาง สร้างต�ำนานความ ‘เก๋า’ ได้ตอ่ ไป เราเชือ่ มัน่ ในความ ‘เก๋า’ ทีซ่ อ่ นอยูใ่ นใบหน้าทีเ่ รียบร้อยของจักรพล
ภาพ : กาญจนา
‘รองเท้าแตะช้างดาว’ พระเอกอีกคนของ ‘นันยาง’
นอกจากรองเท้ า นั ก เรี ย นแล้ ว รองเท้ า หนี บ หู คี บ สี ฟ ้ า ตรา ‘ช้างดาว’ ก็เป็นอีกหนึ่งสินค้า เรือธงของนันยางทีท่ ำ� ยอดขายได้ ดีมากๆ ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน และไม่ ใ ช่ แ ค่ ใ นเมื อ งไทย แต่ ในประเทศเมียนมาร์ ช้างดาวก็คอื ผูน้ ำ� เบอร์หนึง่ และในตลาด AEC ช้างดาวก็สร้างชือ่ โดยเฉพาะเวียดนาม กัมพูชา ลาว อินโดนีเซีย รองเท้าแตะช้างดาวก็เป็นสินค้ายอดนิยมเช่นกัน ล่าสุดนันยางท�ำแคมเปญช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราในชื่อ ‘ใช้ยางไทย ใส่ชา้ งดาว’ เพือ่ ช่วยอุดหนุนผูผ้ ลิตยางพารา
Size : 245 x 350 mm / Job no.580252 / Es3
AD magazine : GM Biz
30 GMBiZ
F E B RUA RY 2 0 1 5
เรือ่ ง : Z-Da
think tank
25th hour
ภาพ : ด�ำรงค์ฤทธิ์ สถิตด�ำรงธรรม
เวลา / คือ / ชีวติ
อนุรตั น์ โค้วคาสัย หนทางสู่ความส�ำเร็จ บริหารกันได้จากพื้นฐานของเวลาก่อน คนเรามีตน้ ทุนเวลา 24 ชัว่ โมงเท่ากันทุกคน ทุกชัน้ วรรณะ เมือ่ ‘เวลา’ คือ ‘ชีวติ ’ ... ดังนั้น เราต้อง ‘ใช้’ ชีวิตให้มากกว่าเวลาที่เรา ‘มี’ เราควรต้อง เอ็นจอยกับชีวติ และรักษาสมดุลชีวติ กับเวลาของเราให้ได้ โดยเฉพาะกับเพือ่ นร่วมงาน หรือบางทีอาจรวมถึงการจัดระเบียบปรับปรุง ‘บอส’ ได้ดว้ ยซ�ำ้ อะฮ้า!! เมือ่ ‘เวลา–ชีวติ ’ ถูกผูกเงือ่ นกันไว้... แล้ว ‘งาน’ ล่ะ !?! อันดับแรก ถามตัวเองว่า พิสมัยงานทีท่ ำ� แค่ไหน? ได้ใช้ความรูค้ วามสามารถของตัวเองหรือเปล่า? ถ้าไม่...รับรองว่า คุณท�ำงานแบบอมทุกข์แน่นอน แล้วก็คงสักแต่ทำ� งานไปวันๆ แล้ว 80% ของคนท�ำงานส่วนใหญ่ ‘แค่ทำ� งาน’ นะ จะบอกให้! หากต้องการเส้นทางสูค่ วามส�ำเร็จ อันดับแรก : หาก่อนว่า คุณมี Passion หรือหลงใหลได้ปลืม้ อะไรในชีวติ อันดับสอง : ความรูค้ วามสามารถอะไรทีค่ ณ ุ อยากจะใช้หรือถนัด แต่หากว่า คุณเป็นหัวหน้างาน คุณก็มภี ารกิจทีจ่ ะต้องหา Passion ของลูกทีมด้วย เพือ่ ให้คนเหล่านีม้ คี วามสุขกับการท�ำงาน เพราะคนเราใช้ชวี ติ ถึง 1 ใน 3 กับการท�ำงานในชีวติ แล้วคนเหล่านี้ก็จะท�ำงานหนักเพื่อคุณ แล้วถ้าคุณช่วยเขาหา Passion แล้วช่วยพัฒนาเขาให้เขาสามารถเติบโตได้ คุณก็จะสามารถ รักษาคนๆ นัน้ ได้ตลอดไป... ไม่แน่อกี 3 ปีตอ่ ไป คนเหล่านีก้ อ็ าจจะมอง หางานในฝันของเขาในทีท่ ำ� งานอืน่ ๆ แต่ที่แน่ๆ นั่นหมายถึงว่า เขาก็จะท�ำงานอย่างหนักให้คุณในอีก 3 ปีขา้ งหน้าด้วยเช่นกันก่อนทีเ่ ขาจะลาออกไป แล้วก็จะพูดถึงคุณและ บริษทั ในแง่ทดี่ ี ... แล้วก็จะน�ำคนดีๆ ทีเ่ ชือ่ ว่าเป็นบุคคลทีน่ า่ ท�ำงานด้วย มาให้คุณ หากคุณท�ำให้เขาจากคุณและบริษัทไปด้วยความภักดีและ ความนับถือ แต่หากตรงกันข้าม เขาก็จะโบกมือบ๊ายบายแล้วหันหลังให้คณุ อย่าง แน่นอน!! Passion กับ Talent สูค่ วามส�ำเร็จนัน้ คล้ายกับกฎ 80/20 นั่ น คื อ แค่ ห าว่ า 20% ของสิ่ ง ที่ คุ ณ ท� ำ และเป็ น สิ่ ง ที่ คุ ณ รั ก (ทีจ่ ะท�ำ) นัน้ คืออะไร คุณถนัดทางด้านไหน? แล้วเอาสิ่งที่คุณรักบวกกับความถนัดที่มีสัดส่วนประมาณ 20% นัน่ แหละมาดูวา่ คุณจะท�ำอย่างไรให้มคี วามสัมพันธ์เกีย่ วข้องกับ 80% ทีเ่ หลือได้...ตรงนีส้ นุกแน่ ถ้าคุณรักงานทีค่ ณ ุ ท�ำ คุณจะท�ำมันอย่างมีความสุข เพราะเงินไม่ได้ ท�ำให้คณ ุ มีความสุขได้อย่างเดียว แล้วเงินก็ไม่ได้เปลีย่ นผูค้ นให้เปลีย่ น ไปจากที่ เ ขาเป็ น อยู ่ จ ริ ง ๆ หรอก ใช้ เ วลาเพี ย งไม่ กี่ น าที ค รุ ่ น คิ ด เพือ่ ก้าวย่างต่อไปอย่างมีความสุข เพือ่ เวลาทีผ่ กู ติดไปกับชีวติ ของคุณ!!!
ไมล์สะสมของนักล่าอดีต ช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์คุณท�ำอะไร? ค�ำตอบของคนทั่วไปอาจจะอยู่ที่ภูเขา ทะเล บ้านพัก ตากอากาศ ห้างสรรพสินค้า หรือสนามกอล์ฟ แต่วนั หยุดของ อนุรตั น์ โค้วคาสัย ประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายบริหาร บริษทั พรานทะเล มาร์เก็ตติง้ จ�ำกัด คือ ใช้เวลากับของสะสมได้ทงั้ วัน ของสะสมของเขาคือของเก่าหายาก ตัง้ แต่เหรียญกษาปณ์ ลอตเตอรีห่ ายาก และล่าสุด เขาก�ำลังสะสมนาฬิกาแดด อนุรตั น์พดู คุยถึงเส้นทางการสะสมของเขาในห้องท�ำงานทีต่ กแต่งด้วยของเก่าแบบเรโทร มีจดุ ดึงดูดสายตาคือโต๊ะท�ำงานและ โซฟาทีต่ ดั และดัดแปลงมาจากรถเก่าปี 1960 เข้ากับเรือ่ งราวของเก่าทีเ่ ราก�ำลังสนทนากันพอดิบพอดี “ตอนแรกก็ไม่รตู้ วั ว่าท�ำไมไปหลงใหลของเก่า ของโบราณ วันหนึง่ ไปเดินสวนจตุจกั รแล้วเราเห็นของเก่าโบราณแล้วรูส้ กึ อินมาก แต่เดิมสมัยเด็กๆ เริม่ เก็บแสตมป์อยูแ่ ล้ว ตอนผมเรียนมัธยมสมุดแสตมป์กห็ ายไป จนกระทัง่ มาเดินสวนจตุจกั รแล้วเห็น แสตมป์ที่เคยอยากได้มากตอนเด็กๆ ผมลองซื้อเป็นชุด และก็เริ่มซื้อมาเป็นเล่มๆ ได้เห็นว่าแสตมป์มีรุ่นรัชกาลที่ 5-6 ด้วย สมัยเด็กๆ ผมเก็บแต่ ร.9 ก็เลยไล่เก็บมานับตัง้ แต่นนั้ ” เมือ่ ต้องไปเสาะหาแสตมป์กไ็ ด้เห็นว่า ชาวต่างชาติเขาหาซือ้ เงินพดด้วงไปเก็บสะสม อนุรตั น์จงึ เริม่ เก็บบ้าง พร้อมกับหาเรือ่ ง ราวความเป็นมาของเงินพดด้วงแต่ละแบบ ซึง่ มีตงั้ แต่สมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ ต่อมาเขาจึงเริม่ เก็บเหรียญกษาปณ์ อนุรตั น์ถงึ กับออกปากว่า ตอนนัน้ เขาเข้าขัน้ หมกมุน่ มีเวลาว่างจากงานเมือ่ ไหร่ตอ้ งไปเดินดูทรี่ า้ นขายของเก่าย่านจตุจกั ร ท่าพระจันทร์ แบบทีเ่ รียกว่าทีไ่ หนมีเหรียญทีน่ นั่ ต้องมีอนุรตั น์ จากทีเ่ ป็นสมาชิกคนหนึง่ ของสมาคมเหรียญกษาปณ์คอยนัง่ ฟังฝรัง่ เป็นวิทยากรบรรยาย จนกลายเป็นวิทยากรของสมาคมเสียเอง เมื่อเก็บสะสมพดด้วงและเหรียญกษาปณ์จนครบ ตั้งแต่สมัยสุโขทัย จนถึงปัจจุบนั เขาก็ขายทัง้ หมดนัน้ ให้กบั นักสะสมท่านอืน่ โดยมีขอ้ ตกลง ว่าห้ามขายต่อให้กบั คนต่างชาติ สถานีของสะสมต่อไปของอนุรตั น์ คือ ลอตเตอรีโ่ บราณ ซึง่ หายาก ยิง่ กว่าเหรียญกษาปณ์หลายเท่านัก เพราะเมือ่ ซือ้ แล้วไม่ถกู รางวัลคนย่อม โยนทิง้ “ประวัติศาสตร์ของลอตเตอรี่สุดยอดเลย อย่างในช่วงสงครามโลก โรงพิมพ์จะใช้กระดาษแย่มาก หรือบางช่วงทีเ่ ดือนหนึง่ ออกลอตเตอรี่ 5-6 งวด ก็มี และเมื่อก่อนแต่ละจังหวัดสามารถออกลอตเตอรี่เองได้ เรามีหลักฐาน ชัดเจนมาก ส�ำหรับลอตเตอรี่ไม่มีใครบอกประวัติศาสตร์เรา เพราะกองสลากฯ ก็ไม่มี ลอตเตอรีเ่ ก่า เขาไม่ทนั เก็บไว้และถูกเผาไปไม่รกู้ รี่ อบ มีประท้วงกีค่ รัง้ ก็เผากองสลากฯ ก่อน หลักฐานก็ไม่เหลือ เพราะฉะนั้น เราจึงหาเรื่องราวของลอตเตอรี่โดยดูจากงวด และข้างหลังจะมีเขียนว่าใครเป็นประธาน ใครเป็นอนุกรรมการ แต่สิ่งที่ได้นอกเหนือจากนั้นคือภาษาที่ใช้ หรือรู้ว่าวันชาติของเราสมัยก่อนคือวันที่ 24 มิถุนายน เราฉลองปีใหม่กันในวันที่ 1 เมษายน” อนุรตั น์ใช้เวลากว่า 10 ปีสะสมลอตเตอรี่ อีกครัง้ ทีเ่ ขากลายเป็นผูส้ ะสมลอตเตอรีอ่ นั ดับ 1 ของประเทศ ของสะสมของเขาทวีความยากในการหามากขึน้ เรือ่ ยๆ ตอนนีเ้ ขาก�ำลังหลงใหล ‘นาฬิกาแดด’ ของโบราณทีห่ าในประเทศไทย ไม่ได้แม้แต่ชนิ้ เดียวต้องน�ำเข้าทัง้ หมด แต่เพียง 4 ปี เขาคือนักสะสมนาฬิกาแดดทีเ่ ยอะทีส่ ดุ ในเอเชียแล้ว “นาฬิกาแดดไม่มรี ปู แบบ เป็นแฮนด์เมดทัง้ นัน้ ซึง่ ไม่เพียงแค่สวย แต่นกั วิทยาศาสตร์เขาวาดและค�ำนวณแสงทีต่ ก เมือ่ นาฬิกา ตั้งตรงกับละติจูดแล้วจะสามารถบอกเวลาเราได้เป๊ะเลย นี่คือสิ่งเหลือเชื่อที่คนโบราณท� ำ เป็นทั้งเรื่องวิทยาศาสตร์และ ประวัตศิ าสตร์” “เวลาเราสะสมของเก่า เรามักมองเรือ่ งเหตุและผลตลอด อย่างในสมัยรัชกาลที่ 3 ออกเหรียญมาแล้วไม่ใช้เพราะว่าฝรัง่ ทีร่ บั ออกแบบไปลอกจากศรีลงั กามา ช้างบนเหรียญของเราจึงเหมือนของศรีลงั กาเป๊ะเลย แล้วพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 ทรงทราบก่อน นีค่ อื ประวัตศิ าสตร์ทกี่ องกษาปณ์เขียนไว้ นัน่ คือตัวตนทีเ่ ราเป็น เราศึกษาลึกและรูจ้ ริง เมือ่ ท�ำอะไรต้องท�ำให้สำ� เร็จและเป็นทีห่ นึง่ ” เมือ่ เก็บรวบรวมของสะสมได้ครบถ้วน เขาน�ำความรูท้ ไี่ ด้มาเขียนเป็นหนังสือเพือ่ ส่งมอบความรูไ้ ปยังผูอ้ นื่ ออกมาเป็นหนังสือ อาทิ ‘เหรียญกษาปณ์กบั คนรุน่ ใหม่’ และ ‘The Lottery’ อีกไม่นานเราอาจได้เห็นหนังสือเกีย่ วกับประวัตศิ าสตร์นาฬิกาแดดก็เป็นได้ ของสะสมกลายเป็นโลกใบหนึง่ ของอนุรตั น์ เขาอธิบายให้เราฟังว่า นีค่ อื โลกทีไ่ ม่มขี ดี จ�ำกัดและไม่มใี ครมาบงการ “พอกลับบ้านได้เห็นของพวกนี้ เราก็ลมื เรือ่ งงานหมดแล้ว พรุง่ นีเ้ ราก็จะท�ำงานต่อได้ ถ้าเราไม่มชี ว่ งผ่อนคลาย เราก็จะเครียดตลอด” เมือ่ ได้อยูก่ บั สิง่ ทีช่ อบ แม้ไม่ตอ้ งออกไปท่องเทีย่ ว อนุรตั น์กร็ สู้ กึ เหมือนเขาเป็นอิสระจากความคิดและงานทัง้ หมดแล้ว
32 GMBiZ
F E B RUA RY 2 0 1 5
เรือ่ ง : ญามินทร์
eat buffet
เรือ่ ง : Z-Da ภาพ : อนุวฒ ั น์ เดชธ�ำรงวัฒน์
AKA @Central World
ภาพ : กฤตพล
เราคุ ้ น เคยกั บ ร้ า นปิ ้ ง ย่ า งอากะในแบบ บุฟเฟ่ตม์ าตลอด 7 ปี ก็ได้เวลาปรับรูปโฉม ร้านจากเดิมทีม่ บี รรยากาศญีป่ นุ่ จ๋าให้มกี ลิน่ อายตะวันตกเข้ามาด้วยโทนสีแดงสะดุดตา สไตล์เรียบๆ เท่ๆ มีจดุ ดึงดูดสายตาเป็นเจ้าวัวสีแดงตัวโตบน Wall Print แถมภาพ แสดงเนือ้ ส่วนต่างๆ เรียกน�ำ้ ย่อยเราตัง้ แต่ได้เห็นรูปนัน่ เลยทีเดียว อากะโฉมใหม่นมี้ าพร้อมกับการเน้น บริการแบบอะลาคาร์ท (A la Carte) เพิม่ ความพิเศษด้วยวัตถุดบิ หลากหลายระดับ พรีเมียมแบบทีเ่ ราเห็นกันบน Wall Print นั่นล่ะ ซึ่งเมนูที่ไม่ควรพลาดก็คือ เนื้อ สันคอพิเศษฮิระนิกกุ เนือ้ สันคอชาบูยากิ แต่ถ้าใครไม่รับประทานเนื้อก็ต้องเลือก หมู คุ โ รบู ต ะสั น คอนี่ ล ่ ะ มาลิ้ ม ลองกั น ในขณะที่ยังมีเมนูเคียงอีกมากมายให้สั่งมารับประทานกันให้จุใจ สาวกเนื้อย่าง ทัง้ หลายรีบไปลองได้เลยทีช่ นั้ 7 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์
shop&café and gallery know me more
เรือ่ ง : Z-Da ภาพ : กิตตินนั ท์ จรรยางาม
ฟาน ศรี ไตรรัตน์
ภาพทีท่ กุ คนรูจ้ กั เขาคือคนหนุม่ รุน่ ใหม่ไฟแรง เป็นหนึง่ ในทายาทธุรกิจเรือด่วนเจ้าพระยาราชาแห่งสายน�ำ้ หัวเรีย่ วหัวแรง ส�ำคัญทีช่ ว่ ยต่อยอดและพัฒนาธุรกิจขององค์กรให้ยงั หายใจต่อไปได้ในยุคทีร่ ถไฟฟ้าครองเมือง อีกทัง้ เขายังเป็นคนรัก การออกก�ำลังกายเป็นชีวติ จิตใจ เราจึงอยากเชิญชวนให้คณ ุ ท�ำความรูจ้ กั ตัวตนของเขามากขึน้ ผ่าน 5 ค�ำถามทีเ่ รามัน่ ใจว่า เขายังไม่เคยถูกถามแบบนีท้ ไี่ หนมาก่อน แม่นำ�้ ส�ำคัญอย่างไรกับชีวติ คุณ ฟาน : ผมรักแม่น�้ำเจ้าพระยา ผมมีความทรงจ�ำในวัยเด็กกับสายน�้ำแห่งนี้เยอะมาก ช่วงเวลานั้นผมอยู่ บ้านคุณยายในซอยวัดระฆังฯ เวลาไปโรงเรียนก็ตอ้ งนัง่ เรือไป แม้กระทัง่ ถึงตอนนีว้ ยั ท�ำงานของผมก็ยงั ผูกติด อยู่กับแม่น�้ำเจ้าพระยา ดังจะเห็นได้จากธุรกิจต่างๆ ของครอบครัวเรียกว่าชีวิตของผมและแม่น�้ำเจ้าพระยา เป็นส่วนหนึง่ ของกันและกันเลยก็วา่ ได้ครับ ถ้าให้เปรียบเทียบแม่นำ�้ เป็นอวัยวะส่วนหนึง่ ของร่างกาย คุณจะเปรียบเป็นอะไร ฟาน : ส�ำหรับผมแล้ว แม่น�้ำเปรียบดั่งเส้นเลือดแดงและเส้นเลือดด�ำ เส้นเลือดต้องล�ำเลียงสารอาหาร ไปหล่อเลี้ยงร่างกายฉันใด แม่น�้ำก็เป็นเส้นทางคมนาคมที่ต้องล�ำเลียงผู้คนไปยังที่ต่างๆ ฉันนั้น สายน�้ำ ทีเ่ ชีย่ วไหลจะพาเราไปพบกับอากาศดีๆ ประสบการณ์ใหม่ๆ และวิวสวยๆ ทีต่ งั้ อยูร่ มิ สองฝัง่ แม่นำ�้ สมมติวา่ คุณมีเพือ่ นชือ่ แจ็ค สแปร์โรว์ คุณอยากให้เขาได้ไปพบดินแดนใหม่ทไี่ หน ฟาน : ไม่ตอ้ งไปไหนไกลเลย ผมว่าริม 2 ฝัง่ แม่นำ�้ เจ้าพระยาของเราก็มอี กี หลายทีท่ ผี่ คู้ นอีกจ�ำนวนไม่นอ้ ย ยังไม่เคยสัมผัส ทุกครัง้ ทีผ่ มเห็นนักท่องเทีย่ วเขาเซอร์ไพรส์กบั สถานทีต่ า่ งๆ ทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรมไทย ผมว่าเขาก็ไม่ตา่ งกับ แจ็ค สแปร์โรว์ ทีไ่ ด้คน้ พบดินแดนใหม่อนั น่าตืน่ ตาตืน่ ใจ หากจะเปรียบการบริหารงานของคุณเป็นการเดินเรือ คุณคิดว่าคุณคือส่วนไหนของเรือ ฟาน : ผมคิดว่าผมคงเป็นคนถือหางเสือเรือ เป็นคนทีช่ ว่ ยบังคับทิศทางให้เรือมุง่ หน้าไปยังเป้าหมายได้อย่าง ตรงจุด จริงอยูค่ ณุ อาจจะมีเรือทีย่ อดเยีย่ มทีส่ ดุ และมีลกู เรือทีเ่ จ๋งสุดๆ แต่ถา้ ขาดผูน้ ำ� ทีค่ อยตัดสินใจและช่วยควบคุม เรือให้ลอ่ งไปอย่างถูกทิศถูกทาง เรือล�ำนัน้ ก็คงลอยเท้งเต้งหรือน�ำ้ มันหมดอยูก่ ลางน�ำ้ ไปไม่ถงึ ฝัง่ เสียที ถ้ามีเทคโนโลยีอะไรบางอย่างอยู่ในเรือด่วนเจ้าพระยาแล้วผู้คนจะต้องร้อง ว้าว! คุณอยากให้สงิ่ นัน้ เป็นอะไร ฟาน : อยากให้มีสมาร์ทเทคโนโลยีที่ช่วยในเรื่องการจ่ายตั๋ว คล้ายกับ BTS และ MRT ผมมองว่าถ้าเป็น เช่นนั้นได้ ระบบขนส่งมวลชนทางเรือคงสะดวกสบายน่าดู ประชาชนก็จะหันมาใช้บริการกันมากขึ้น และหวังใจว่าในอนาคตข้างหน้า เรือด่วนเจ้าพระยาจะมีเทคโนโลยีเช่นว่านีใ้ ห้ได้สมั ผัสกัน
Sora City Bike & Café
ร้านจักรยานแห่งใหม่ในซอยสุขมุ วิท 26 ชือ่ ร้านคือชือ่ เดียวกับแบรนด์จกั รยาน ที่ ‘เนส’ ปั้นขึ้นมาเองกับมือ ร้านนี้ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ร้านจักรยาน คาเฟ่ และแกลอรี่ ภายในร้ า นเราเห็ น จั ก รยาน สี พ าสเทลหวานๆ เรี ย งรายอยู ่ ในขณะที่เจ้าของร้านอย่างเนสวุ่นอยู่กับการให้บริการลูกค้าด้วยใบหน้าเปื้อนยิ้ม ตลอดเวลา เขาบอกว่าจักรยานของ Sora City น�ำเข้าชิ้นส่วนจากไต้หวันและ น�ำมาประกอบตามความต้องการ ของลูกค้า อี ก ส่ ว นของร้ า นคื อ คาเฟ่ ที่จัดไว้แบบโปร่งๆ ผนังสีขาว และเฟอร์นเิ จอร์ไม้สอี อ่ น กาแฟ และชาได้รับการคัดสรรมาเป็น อย่ า งดี ส่ ว นเบเกอรี่ ที่ นี่ เ ป็ น โฮมเมด ว่ากันว่า ‘แพนเค้ก’ คือ เมนูทพี่ ลาดไม่ได้เลยล่ะ ส่วนชัน้ 2 เป็นส่วนแสดงนิทรรศการภาพถ่ายผลัดเปลีย่ นมาโชว์ในร้าน ในช่วงที่ เราไปคือนิทรรศการภาพถ่ายจากหนังสือ The Real Alaska ของเบนซ์ ธนชาติ ทีเ่ รา คุน้ เคยกันในฐานะผูเ้ ขียนหนังสือ NEW YORK 1st TIME รอลุน้ กันดูวา่ ครัง้ ต่อไปจะมี นิทรรศการดีๆ แบบไหนมาให้เราได้ดกู นั Contact : Sora City สุขมุ วิท 26 โทร.02 001 6600, www.facebook.com/soracity
34 GMBiZ
F E B RUA RY 2 0 1 5
ธนาคารกรุงเทพ ชวนช้อปสนุกศุกร์-เสาร์-อาทิตย์
บัตรเครดิตธนาคารกรุงเทพ เชิญชวนผู้ถือบัตรเครดิต ธนาคารกรุงเทพร่วมช้อป สนุ ก ศุ ก ร์ - เสาร์ - อาทิ ต ย์ เพียงแลกใช้คะแนนสะสม เท่ายอดซือ้ รับส่วนลด 15% ทีเ่ ดอะมอลล์, เอ็มโพเรียม, พารากอน, กูรเ์ มต์ มาร์เก็ต, โฮม เฟรช มาร์ท, ฟูด้ แลนด์, ริมปิง และโฮมโปร ตัง้ แต่วนั นีจ้ นถึง 28 กุมภาพันธ์ 2558 รายละเอียดเพิม่ เติมคลิก www.bangkokbank.com/CreditCard
กรมเจรจาฯ ชวนนักศึกษา ออกแบบแผนธุรกิจ รุกตลาด AEC
เฟรเกรนท์จบั มือเอวาซอน พัฒนาโครงการ Mixed Use คอนโดฯ ผสมโรงแรม
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ เชิญชวนนิสิต นักศึกษาระดับปริญญาตรีทวั่ ประเทศ ร่วมประกวด แผนธุรกิจและกลยุทธ์ทางการตลาดรับการเปิด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ภายใต้โครงการ DTN Business Plan Award 2015 ‘สร้ า ง LANDMARK ตลาดอาเซียน’ ชิงเงินรางวัลรวม 250,000 บาท พร้อมโล่และประกาศนียบัตร เพือ่ พัฒนาศักยภาพนิสติ นักศึกษาให้มคี วามพร้อม ต่อการเข้าสู่ AEC
Sloggi แบรนด์ชดุ ชัน้ ในส�ำหรับสาวสุดชิค แนะน�ำ คอลเลคชัน่ Sloggi Chantilly ทีม่ าแบบ ‘นุม่ สบาย เก๋ดว้ ยลูกไม้ฉลุลายดีไซน์นา่ รัก’ ให้สาวๆ ได้สนุก กับการใส่ชุดชั้นในตัวโปรดที่สามารถโชว์ลาย ขอบลูกไม้เข้ากับเสือ้ ผ้าสุดชิคได้ ผลิตจากเนือ้ ผ้า ทีม่ สี ว่ นผสมของสแปนเด็กซ์ซงึ่ มีความยืดหยุน่ สูง ผิวสัมผัสเนียนนุม่ และใช้เทคโนโลยีการตัดเย็บ ด้วยความร้อนเรียบเนียนไร้รอยต่อ พบกับชานทิลี่ คอลเลคชั่ น ใหม่ ไ ด้ ที่ ห ้ า งสรรพสิ น ค้ า ชั้ น น� ำ ทุกสาขา
สมศรี & จรั ญ : Rotation : สมศรี เตชะไกรศรี หน้ า ตาสดใสใครเห็ น เป็ น ต้ อ งทั ก ท� ำ ให้ ไ ด้ ค วามว่ า แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ กรุ๊ป ปรับโครงสร้างบริษัท ในเครือ ด้วยการโยกย้ายต�ำแหน่งของ สมศรี ทีเ่ คยนัง่ เป็น เอ็มดี พรสันติ ขายบ้านแนวราบ ให้มาหนุกหนานๆ กับ พนักงานทีท่ ำ� งานด้านการบริการ แล้วโยกย้าย จรัญ เกษร เอ็มดี ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ ไปบูก๊ บั งานแนวราบที่ พรสันติ แทนตัง้ แต่ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นต้นไป งานนีเ้ ป็นการโยกย้ายที่ ถูกทีถ่ กู ทาง เพราะงานเอ็นจิเนียร์นนั้ จรัญ ดี 1 ประเภท 1 ทีเดียว กฤษณ์ ณรงค์เดช : Art + Asset : ด้วย ความรั ก ในศิ ล ปะมาแต่ ค รั้ ง เยาว์ วั ย บวกกับการเติบโตในครอบครัวธุรกิจของตระกูลณรงค์เดช ท�ำให้วันนี้ กฤษณ์ ทายาทคนโตของคุณหญิง พรทิพย์ ณรงค์เดช และ ประธาน บริษทั เคพีเอ็น กรุป๊ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด เติมเต็มฝันของตัวเองด้วยการ เปิดคอนโดฯ ราคาแพงระยับระดับไฮเอนด์ทชี่ อื่ THE DIPLOMAT 39 บนถนนสุขมุ วิท 39 ภายใต้คอนเซ็ปต์ ‘The Timeless Treasure’ ทีผ่ สมผสานระหว่างความคลาสสิกและความโมเดิรน์ ไว้ดว้ ยกัน สมบัตลิ ำ�้ ค่าไร้กาลเวลาของกฤษณ์จะเป็นเยีย่ งไร และอยากรูว้ า่ ซอกหลืบความเป็นตัวตนของชายผูน้ คี้ อื อะไร ลองไปส�ำรวจดูกอ่ นที่ THE DIPLOMAT 39 แล้วค่อยย้อนมาดูอกี ครัง้ ว่าใช่ กฤษณ์ ณรงค์เดช ทีเ่ รารูจ้ กั หรือเปล่า
เปิดตัวเมืองไทย I Love You
สาระ ล�่ ำ ซ� ำ กรรมการผู ้ จั ด การและประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เปิดตัวแคมเปญ “เมืองไทย I Love You” ทีส่ ดุ แห่งกิจกรรมเพือ่ ลูกค้า พร้อม คว้ า ตั ว ‘จิ ร ายุ ตั้ ง ศรี สุ ข หรื อ เจมส์ จิ ’ เป็ น พรีเซ็นเตอร์ ชวนคนไทยบอก ‘รักเมืองไทย’ ให้ดงั ยิง่ ขึน้ ทีล่ านแฟชัน่ ฮอลล์ สยามพารากอน
บริษทั เฟรเกรนท์ พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด ขยายธุรกิจ สู่หัวเมืองเศรษฐกิจ เริ่มต้นที่นาจอมเทียนเป็นที่ แรกโดยจับมือกับเอวาซอน กลุม่ โรงแรมทีเ่ น้นการ ดูแลสุขภาพผสมผสานความเป็นธรรมชาติ ร่วม กันพัฒนาโครงการแบบ Mixed Use มูลค่ากว่า 10,000 ล้านบาทในชือ่ Sixth Element Na Jomtien ซึง่ มีทงั้ ส่วนโรงแรมและส่วนคอนโดมิเนียม โดยคง แนวคิดทีค่ ำ� นึงถึงสิง่ แวดล้อมเป็นส�ำคัญ
คอลเลคชัน่ ชุดชัน้ ในใหม่ Sloggi Chantilly
biz buzz
นิดา้ จัดสัมมนาน�ำเสนอ ยุทธศาสตร์ใหม่ให้เศรษฐกิจไทย
หลักสูตร Executive MBA ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่า คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ จัดสัมมนาหัวข้อ ยุทธศาสตร์ใหม่ เศรษฐกิจไทย (New Strategic : Thai Economy) ณ หอเกียรติยศ อาคารสยามบรมราชกุ ม ารี สถาบั น บั ณ ฑิ ต พัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) โดยเชิญ ดร.วรพล โสคติยานุรกั ษ์ เลขาธิการส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เป็นวิทยากร น�ำเสนอโมเดล ยุทธศาสตร์ใหม่ เพือ่ พัฒนาเศรษฐกิจไทยสูอ่ นาคตให้มกี ารเติบโต มัน่ คง และยัง่ ยืน ภายใต้พลวัตการเปลีย่ นแปลง ของปัจจัยแวดล้อมทัง้ ภายในประเทศและในโลก
อาร์เอสก้าวสูร่ ะดับผูน้ ำ� ธุรกิจ มีเดียบันเทิงเมืองไทย
อาร์เอสปักธงรบกระหึ่มวงการ เดินหน้าเปิดแผน ธุรกิจบุกปีแพะทอง รุกปรับเป้าหมายใหม่เป็นบริษทั สื่อชั้นน�ำ ชูคอนเซ็ปต์ มีเดีย เรโวลูชั่น (Media Revolutionist 2015) ใช้กลยุทธ์ คอร์ปอเรท รีดไี ซน์ (Corporate Redesign) ในทุกมิติทั้งในเรื่องของ คอนเทนต์, การบริหารลูกค้าและบุคลากร รวมถึงการ สร้างแบรนด์ดันองค์กรก้าวสู่ธุรกิจมีเดียเต็มสูบ ตั้งเป้าขึ้นแท่นผู้น�ำอุตสาหกรรมทีวีแห่งปีของ เมืองไทย คาดสิน้ ปีนโี้ กยรายได้ทะลุ 4.6 พันล้านบาท ดันก�ำไรสูงสุดเป็นประวัตกิ ารณ์ เนือ่ งด้วย การเปลี่ยนโมเดลธุรกิจเข้าสู่ธุรกิจสื่ออย่างเต็มตัว และเป็นปีที่ท�ำธุรกิจทีวีดิจิตอลโดยสมบูรณ์ เป็นปีแรก
กรมพัฒนาฯ จับมือ ธุรกิจบัณฑิตย์ปน้ั นักบัญชี คุณภาพรุน่ เยาว์
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จับมือมหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์ ร่วมปัน้ นักบัญชีคณุ ภาพรุน่ เยาว์ ปูพนื้ ฐาน สร้างความแข็งแกร่งด้านบัญชีของประเทศในระยะ ยาว พร้อม! ผลักดันเข้าสูต่ ลาดนักบัญชีอย่างมือ อาชีพหวังให้ขับเคลื่อนสู่ตลาด AEC และสากล เบือ้ งต้นจัดแข่งขันตอบปัญหาชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พร้อมทุนการศึกษาระดับปริญญาตรีดา้ นบัญชี
เปิดรับสมัคร ป.โท ปีการศึกษา 2558 www.tni.ac.th www.facebook.com/ThaiNichi TNI Channel
หลักสูตร
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.)
สาขา
การจัดการ อุตสาหกรรม (MIM)
หลักสูตร
วิศวกรรมศาสตร มหาบัณฑิต (M.Eng.)
สาขา
สาขา
บริหารธุรกิจญี่ปุ่น (MBJ)
การจัดการวิสาหกิจ สำ�หรับผู้บริหาร (EEM)
หลักสูตร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc.)
สาขา
สาขา
เทคโนโลยี สารสนเทศ (MIT)
เทคโนโลยี วิศวกรรม (MET)
TNI บ่มเพาะนักบริหารไทยสไตล์ญปี่ นุ่ ญี่ปุ่นนับเป็นคู่ค้าอันดับต้นๆ ของประเทศไทย ทั้งในแง่มุม การท� ำ ธุ ร กิ จ ร่ ว มกั น ระหว่ า งไทย-ญี่ ปุ ่ น และในมุ ม ที่ ภ าค อุตสาหกรรมญี่ปุ่นเข้ามาตั้งฐานการผลิตในประเทศไทยอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งแน่นอนว่าท�ำให้มีความต้องการนักบริหารระดับสูง ทีม่ ที กั ษะความสามารถ ทัง้ ยังสามารถใช้ภาษาญีป่ นุ่ สือ่ สาร เพือ่ ท�ำให้ธุรกิจด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด หลั ก สู ต รระดั บ มหาบั ณ ฑิ ต ของสถาบั น เทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น มี 3 คณะ 5 สาขา คือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา เทคโนโลยีวิศวกรรม (MET) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศ (MIT) และคณะบริหารธุรกิจ (MBA) 3 สาขา คือ สาขาการจัดการวิสาหกิจส�ำหรับผู้บริหาร (EEM)
สาขาการจัดการอุตสาหกรรม (MIM) จึงถูกพัฒนาขึน้ มาเพือ่ ตอบ สนองความต้องการของภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมนี้ รวมถึงหลักสูตรใหม่ คือ สาขาบริหารธุรกิจญี่ปุ่น (Master of Business Administration Program in Japanese Business Administration: MBA-MBJ) หลั ก สู ต รด้ า นบริ ห ารธุ ร กิ จ แห่งแรกที่มีการเรียนการสอนเป็นภาษาญี่ปุ่น ดังนั้น นักศึกษา จะได้เรียนรู้ทักษะการเป็นนักบริหารที่มีวิสัยทัศน์ สามารถมอง ภาพรวมขององค์การภาคอุตสาหกรรมได้อย่างชัดเจน มีความ สามารถในการใช้เครื่องมือการจัดการธุรกิจและอุตสาหกรรม เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อก�ำหนดแผนและด�ำเนิน กลยุทธ์พัฒนาองค์กรให้มีศักยภาพสูงขึ้น ในขณะเดียวกันก็ได้
สถาบันเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น 1771/1 ถนนพัฒนาการ (ระหว่างซอยพัฒนาการ 37-39) แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 E-mail: tniinfo@tni.ac.th Tel. 02 763 2601-5
เพิม่ เติมทักษะทางด้านภาษาญีป่ นุ่ ระดับสูงเพือ่ ท�ำให้การสือ่ สาร ในองค์กรมีความราบรื่นมากขึ้น คุณสมบัตขิ องผูเ้ รียนจะต้องจบการศึกษาระดับปริญญาตรี มี ความรูภ้ าษาญีป่ นุ่ ในระดับสือ่ สารได้เป็นอย่างดี เพราะหลักสูตร นี้ออกแบบมาให้เหมาะกับผู้ที่มีความรู้เรื่องภาษาญี่ปุ่นอยู่แล้ว และต้องการพัฒนาความรูด้ า้ นการบริหารในระดับทีส่ งู ขึน้ กระบวนการเรี ย นรู ้ ข องหลั ก สู ต ร MBJ มุ ่ ง เน้ น สร้ า ง นักบริหารธุรกิจทีค่ รบเครือ่ งเรือ่ งการบริหารในสไตล์ญปี่ นุ่ และ การสื่ อ สารโดยเฉพาะภาษาญี่ ปุ ่ น เพื่ อ จั ด การธุ ร กิ จ ให้ มี ประสิทธิภาพในโลกการท�ำธุรกิจ ทั้งยังขยายขอบเขตการท�ำ ธุรกิจไปได้อีกไกล
gmlive เป็นเว็บไซต์ในเครือ GM GROUP ที่ตอบโจทย์และสะท้อนตัวตนของ ผู้ชายได้อย่างครบถ้วน ไม่ว่าจะเป็น Gadget ใหม่ๆ หรือ Men Style นอกจากจะทันสมัยและมีไลฟ์สไตล์แล้ว ยังก้าวน�ำผู้อื่นไปข้างหน้า ด้วยความคิด ความรู้ และความเข้าใจโลกอีกด้วย