Gb#072

Page 1

6

th

ANNI VER SARY

GROWING A SUCCESSFUL NEWS MAGAZINE

THE BUSINESS NEWS MAGAZINE

VOL.6 NO.72

DECEMBER 2015

สุพฒ ั นพงษ์ พันธ์มเี ชาว์

THE

GLOBAL ORGANIZATION

หากสังเกตให้ดีจะพบว่า องค์กรธุรกิจที่สามารถก้าวขึ้นไปยืนอยู่ บนระดับเวทีโลกได้นนั้ ล้วนแล้วแต่มกี ลไกในการด�ำเนินงานทีม่ ไิ ด้ มองแค่เรื่องของผลก�ำไรเพียงอย่างเดียว หากแต่ยังมีการควบแน่น กระบวนการด�ำเนินธุรกิจให้สอดรับไปกับเศรษฐกิจ สังคม และ สิง่ แวดล้อม พร้อมๆ กันกับการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ อย่างสม�ำ่ เสมอ และ PTTGC คือ อีกหนึง่ ความภูมใิ จขององค์กรไทยทีไ่ ด้รบั การยอมรับ และสามารถก้าวขึน้ ไปสูเ่ วทีในระดับสากลได้อย่างเต็มภาคภูมิ

FREE MAGAZINE OF THE GM Group


DECEMBER 2015

02 GMBiZ

where to find GMBiZ coffee & bakery

money & bank

university & institute

THE BUSINESS NEWS MAGAZINE

showroom

เคยมีหลายคนตัง้ ค�ำถามถึงการท�ำธุรกิจ ให้ประสบความส�ำเร็จว่า...จะต้องท�ำอย่างไร ค�ำถามลักษณะนีม้ กั จะถูกน�ำไปถอดรหัสออกมาเป็นค�ำตอบ ทีห่ ลากหลายผ่านผูร้ ู้ งานสัมมนา งานวิจยั ต่างๆ เพือ่ แจ้งกระจ่าง แบบถูกบ้าง ผิดบ้าง แต่ก็เป็นเรื่องน่าสนใจติดตามแก่ผู้ที่สนใจ ในธุรกิจ ไม่นานมานี้ ผู้เขียนได้ประสบกับเหตุการณ์หนึ่งที่ท�ำให้ ตระหนักถึงเสี้ยวค�ำตอบของการท�ำธุรกิจให้ประสบความส�ำเร็จ อย่างแจ่มชัด ผ่านคนรู้จักที่ได้เข้าไปใช้บริการร้านอาหารแนว บุฟเฟ่ต์ (ขอไม่เอ่ยชือ่ ) โดยร้านดังกล่าวได้ถกู รีววิ ภาพของแบรนด์ ในมิติต่างๆ ตามโซเชียลมีเดียไว้ค่อนข้างดี ทั้งในแง่ของอาหาร สดใหม่ บริการด้วยใจ รวดเร็ว ของไม่มขี าด ซึง่ เชือ่ ว่าเป็นสไตล์ ของการ PR ในยุคโซเชียลของเจ้าของร้านและทีมการตลาด เพียงแต่เมื่อคนรู้จักของผู้เขียนได้เข้าไปสัมผัสจริง กลับไม่เป็น เช่นนัน้ และก็ตดั สินใจโพสต์เพือ่ วิจารณ์ถงึ บริการ คุณภาพอาหาร และอืน่ ๆ อีกมากมาย สิง่ ทีต่ ามมาจากร้านดังกล่าวก็คอื การกล่าวสอบถามถึงผูโ้ พสต์ ถึงเหตุผลที่คิดกับร้านเช่นนั้น ซึ่งก็คงเป็นเรื่องปกติ และคงจะ จบไปแต่เพียงเท่านี้ จนกระทัง่ มีกลุม่ ก้อนค�ำพูดปริศนาจ�ำนวนหนึง่ เข้ามาช่วยช�ำระความแทนร้านดังกล่าว และเชิดชูถึงความเยี่ยม ยอดของร้าน รวมถึงพยายามดิสเครดิตสิง่ ทีผ่ โู้ พสต์บอกกล่าวให้ เป็นลบ พร้อมทัง้ ใช้เทคนิคไทอินด้วยรูปภาพของบุคคลท่านหนึง่ ทีน่ �ำเสนออิมเมจอันเลิศหรูของร้าน ตัววัตถุดบิ อาหาร และบริการ ทว่า อาจจะเป็นความโชคร้ายของร้านดังกล่าวทีบ่ งั เอิญภาพ ของคนที่โพสต์ลงมา ดันเป็นทีมงานภายในร้านที่คนรู้จักของ ผู้เขียนได้เข้าไปใช้บริการและจดจ�ำได้สนิทตาถึงบริการและ คุณภาพอาหารทีท่ �ำให้เขาเกิดความไม่ประทับใจ และนัน่ ก็ท�ำให้ ค้นพบค�ำตอบว่า นีค่ อื กระบวนการทีป่ ราศจากความจริงใจในการ รับฟังและแก้ปญ ั หาอย่างแท้จริง

ที่กล่าวมาข้างต้น ก�ำลังจะชี้ให้เห็นว่า การท�ำธุรกิจในยุคนี้ ให้ประสบความส�ำเร็จและต้องส�ำเร็จอย่างยั่งยืนระยะยาวได้นั้น เรือ่ งของทริคหรือเทคนิคในการตลาดยังคงเป็นเรือ่ งส�ำคัญและควร แสวงหามาประดับองค์ความคิด แต่สงิ่ หนึง่ ทีไ่ ม่ตอ้ งคิดไกล และ สามารถสร้างผลลัพธ์ให้กบั ธุรกิจนัน้ ๆ ได้จริง คือ ความตัง้ มัน่ ทีจ่ ะ เป็นธุรกิจทีด่ ที งั้ ต่อหน้าและลับหลัง GMBiZ ฉบับนี้ หลากหลายไปด้วยบทสัมภาษณ์จากแบรนด์ ธุ ร กิ จ ที่ ป ระสบความส�ำเร็ จ แบบยั่ ง ยื น ที่ ไ ม่ อ ยากให้ พ ลาด โดยเฉพาะจากปกกับ PTTGC หนึง่ ในองค์กรไทยทีป่ ระสบความ ส�ำเร็จอย่างสูง ภายใต้การถ่วงดุลระหว่างผลประโยชน์ขององค์กร กับการรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมพร้อมๆ กัน จนกลายเป็น องค์กรไทยทีถ่ กู ขนานนามในเวทีโลกไปเป็นทีเ่ รียบร้อย ช่วงเดือนธันวาคมนี้ เต็มไปด้วยวันส�ำคัญต่างๆ หนึง่ ในนัน้ คือ วันที่คนไทยทั้งชาติต่างเฝ้ารอคอยในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษาพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว 88 พรรษา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พร้อมด้วยกิจกรรมที่ต้องบันทึกไว้ใน หน้าประวัติศาสตร์อย่าง Bike For Dad เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ที่ผ่านมา ซึ่งนับเป็นช่วงเวลาที่คนไทยทั้งชาติต่างพร้อมใจกัน เป็นอันหนึง่ อันเดียวอย่างทีส่ ดุ ส�ำหรับช่วงเวลานี้ หลายๆ ท่านคงเตรียมตัวเคาท์ดาวน์ ปีใหม่กนั บ้างแล้ว ทีมงาน GMBiZ จึงถือโอกาสนีข้ อให้ผอู้ า่ น ทุกท่านมีความสุข สมปรารถนาในทุกๆ สิง่ คิด และพร้อมเริม่ ต้น ปีใหม่ 2559 อย่างแข็งแกร่ง เฉกเช่นเดียวกันกับย่างก้าวสู่ ปีใหม่ปที ี่ 7 ของ GMBiZ ทีจ่ ะคงความเข้มข้นในการเป็นนิตยสาร เพือ่ กระตุกกระตุน้ ไอเดียทางธุรกิจยุคใหม่อย่างไม่หยุดยัง้ ...

beauty & spa

hotel

others

shopping mall

ติดต่อโฆษณา Tel : 02 241 8000 Fax : 02 241 5888

สามารถติดตามอ่าน e-Magazine หนังสือในเครือ GM GROUP ได้ที่

fitness

/GMBizMagazine www.gmbizmagazine

Money, Marketing & Management

บรรณาธิการทีป่ รึกษา : ณิพรรณ กุลประสูตร บรรณาธิการอำ�นวยการ : โตมร ศุขปรีชา ผูช้ ว่ ยบรรณาธิการ/MARKETING : โชติ เวสสวานิชกูล ผูช้ ว่ ยบรรณาธิการ/ไลฟ์สไตล์ : รุจรดา วัฒนาโกศัย บรรณาธิการอำ�นวยการศิลปกรรม : ประทีป ปัจฉิมทึก บรรณาธิการศิลปกรรม : ศุภฤกษ์ สมภมิตร บรรณาธิการศิลปกรรมโฆษณา : สันติจติ ไวยากรณ์ ศิลปกรรมโฆษณา : เอิกเกริก พันธุพ์ พิ ฒ ั น์ กราฟิกดีไซน์ : ประสิทธิ์ เอนกอนันตพันธุ์ บรรณาธิการฝ่ายภาพ : ดำ�รงค์ฤทธิ์ สถิตดำ�รงธรรม หัวหน้าช่างภาพ : กิตตินนั ท์ จรรยางาม หัวหน้าพิสจู น์อกั ษร : เจนจิรา ต่ายเทศ พิสจู น์อกั ษร : พรกรัณย์ พลับพลี หัวหน้าธุรการ : สมประสงค์ แสนจอม ผูจ้ ดั การฝ่ายผลิต : อุดมทรัพย์ ก๋องชัย ผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด : ก้องวรงค์ สมสา รองผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา / การตลาด : สมใจ จิราธิยตุ ฝ่ายโฆษณา / การตลาด : ภัสสร เทียมเนียม, เกตุวดี แก้วลิม้ วัฒนา ผูจ้ ดั การทัว่ ไป : ภานุวชั ร พงศ์วราภา รองผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนาการตลาด : กานต์ชนก มูณเี กิด บรรณาธิการผูพ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา : พีศลิ ป์ พงศ์วราภา แฟกซ์กองบรรณาธิการ : 02 241 4133 แฟกซ์ฝา่ ยโฆษณา / การตลาด : 02 241 5888

สำ�นักงาน GMBiZ : บริษทั จีเอ็ม มัลติมเี ดีย กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) อาคาร GM Group 914 ถนนพระราม 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300

www.gmgroup.in.th Email : gm@gmgroup.in.th โทรศัพท์ : 02 241 8000 แฟกซ์ : 02 241 8008

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูจ้ ดั การ : ปกรณ์ พงศ์วราภา รองประธานกรรมการบริหาร สายงานการเงิน : พรจิตต์ พงศ์วราภา สายงานพัฒนาธุรกิจ : ฤทธิณรงค์ กุลประสูตร สายงานการตลาด : สืบวงศ์ แก้วทิพรัตน์ สายงานนิวมีเดีย : พีศลิ ป์ พงศ์วราภา



04 GMBiZ

BIZ TALK

DECEMBER 2015

เรือ่ ง : โชติ เวส

ภาพ : กิตตินนั ท์ จรรยางาม

จากวันนัน้ ถึงวันนี้ นับเป็นเวลากว่า 1 ปี ทีเ่ ขาได้ เข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งเป็น CEO โดยภารกิจส�ำคัญ ที่เขาได้บอกกับ GMBiZ ภายหลังจากได้เข้ารับ ต�ำแหน่ง คือ การสานต่อ ‘ยุทธศาสตร์ตา่ งๆ’ ของ PTTGC เดิม เพือ่ ขับเคลือ่ นองค์กรให้กา้ วไปข้างหน้า แต่ เ ข้ ม ข้ น ขึ้ นเพื่ อ ตอกย�้ ำ การเป็ น ผู ้ น� ำ ในธุ ร กิ จ เคมีภณ ั ฑ์เพือ่ สร้างสรรค์คณ ุ ภาพชีวติ

สุพฒ ั นพงษ์ พันธ์มเี ชาว์

GMBiZ : ในมุมของคุณสุพัฒนพงษ์ โจทย์ไหน ที่เป็นความท้าทายในการน�ำพา PTTGC ไปสู่ ปลายทางความส�ำเร็จ สุพฒ ั นพงษ์ : ผมมองว่าการแข่งขันทางธุรกิจวันนี้ จ�ำเป็นจะต้องให้ความส� ำคัญกับการวางกลยุทธ์ ที่ถูกต้องเพื่อท้าทายกับโจทย์ใหม่ๆ อันจะช่วย ขับเคลือ่ นองค์กรไปในทิศทางทีถ่ กู ต้อง ซึง่ ผมเชือ่ ว่า กลยุทธ์ทดี่ จี ะต้องมีการก�ำหนดแนวทางการด�ำเนิน งาน มีระบบการควบคุม ติดตาม และประเมินผล เพือ่ พัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง ทีส่ ำ� คัญกลยุทธ์ทดี่ กี จ็ ะต้อง มีเป้าหมายทีม่ งุ่ สูค่ วามยัง่ ยืนในอนาคต ผมยังเชื่ออีกว่า เราต้องมุ่งหวังการเติบโตใน ระยะยาว มากกว่าหวังผลในระยะสั้น เพื่อให้การ ด�ำเนินงานด้านต่างๆ สามารถสอดคล้องและบรรลุ วิ สั ย ทั ศ น์ ข ององค์ ก รที่ จ ะมุ ่ ง เป็ น ผู ้ น� ำ ในธุ ร กิ จ เคมีภณ ั ฑ์เพือ่ สร้างสรรค์คณ ุ ภาพชีวติ พร้อมๆ ไปกับ มุง่ ยกระดับ ‘CSR’ สู่ ‘CSV’ เป็นการด�ำเนินธุรกิจ ที่ค�ำนึงถึงสังคมควบคู่กันไป มันเป็นลูปที่วนกัน เป็นห่วงโซ่แห่งคุณค่า ถ้าสังคมและสิ่งแวดล้อมดี เราก็จะดีไปด้วย นอกจากนี้ การสือ่ สารเพือ่ สร้างความเข้าใจ และ ผลักดันให้พนักงานของเราทั้งองค์กรตระหนักถึง การท�ำงานที่ค�ำนึงถึงความยั่งยืน ก็คืออีกความ ท้าทายส�ำคัญ เพราะการท�ำให้คนในองค์กรไม่มอง แต่ เ พี ย งเรื่ อ งผลก� ำ ไร แต่ ใ ห้ ค� ำ นึ ง ถึ ง สั ง คม สิ่งแวดล้อมควบคู่ไปด้วย เป็นเรื่องที่ไม่ง่าย แต่ถ้า ท�ำได้ดี จะท�ำให้องค์กรเกิดการพัฒนาทีค่ วบคูไ่ ปกับ การอยูร่ ว่ มกันกับสังคมและสิง่ แวดล้อมได้อย่างยัง่ ยืน GMBiZ : ดูเหมือนว่า PTTGC ก�ำลังจะมุง่ สูก่ ารเป็น องค์กรระดับโลกใช่หรือไม่ สุพัฒนพงษ์ : ถูกต้อง ถ้าคุณสังเกตให้ดีจะพบว่า ภาพใหญ่ๆ ในการสร้างความยั่งยืนทางธุรกิจของ PTTGC ในช่วงหลายๆ ปีทผี่ า่ นมานัน้ จะยังคงมุง่ เน้น ไปยังองค์ประกอบหลักๆ 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจ (Economic) สิง่ แวดล้อม (Environment) และสังคม (Social) ไปพร้อมๆ กัน และเราก็ทำ� ได้ดี จนได้รบั หลากหลายรางวัลระดับโลกมาช่วยการันตีสงิ่ ทีเ่ รา ได้ทำ� โดยทุกรางวัลทีไ่ ด้รบั มานัน้ ล้วนแล้วแต่เป็น ดัชนีสำ� คัญทีช่ วี้ ดั ให้เห็นความพร้อมสูก่ ารก้าวไปเป็น องค์กรระดับโลก นอกจากนี้ หนึง่ ในแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจ ของ PTTGC ยังมุง่ เน้นเรือ่ งการปฏิบตั งิ านเพือ่ ความ เป็นเลิศ เพื่อให้ได้ประสิทธิผลในการท�ำงานสูงสุด อาทิ ความคุ ้ ม ค่ า ในการใช้ พ ลั ง งาน (Energy Efficiency) และความเสถียรในกระบวนการผลิต (Reliability) ซึง่ บริษทั ฯ ได้มงุ่ เน้นมาอย่างต่อเนือ่ ง จนวันนี้สามารถพูดได้ว่ามีกระบวนการท�ำงาน ในระดับหัวแถวเลยทีเดียว

PTTGC :

The Global Organization เมือ่ ปลายปีทแี่ ล้ว ทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ PTTGC มีมติแต่งตัง้ ให้ สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพื่อเป็นหัวเรือใหญ่ ในการพัฒนาองค์กรสูค่ วามยัง่ ยืน เติบโตอย่างแข็งแกร่งในเวทีโลก


2015 DECEMBER

GMBiZ : PTTGC มีบทบาทส�ำคัญต่อประเทศ อย่างไร สุพัฒนพงษ์ : PTTGC เป็นองค์กรไทยที่มีส่วน ส�ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในมุมของการเข้าไปช่วยพัฒนาชีวิต ความเป็นอยูข่ องประชาชนมาโดยตลอด จากการ เป็นฐานผลิตอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและการกลัน่ ของประเทศ ซึ่งเป็นวัตถุดิบส�ำหรับผลิตข้าวของ เครือ่ งใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน ทัง้ บรรจุภณ ั ฑ์พลาสติก เครือ่ งนุง่ ห่ม ส่วนประกอบเครือ่ งใช้ไฟฟ้า ชิน้ ส่วน อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมยา และ อุปกรณ์การแพทย์ เป็นต้น GMBiZ : ความเคลื่อนไหวทางธุรกิจส�ำคัญๆ ของ PTTGC ในปัจจุบนั คืออะไร สุพัฒนพงษ์ : ปัจจุบัน PTTGC ได้ลงทุนเพื่อ ต่อยอดและสร้างคุณค่าผลผลิตทางการเกษตรของ ประเทศ ด้วยการพัฒนาและน�ำนวัตกรรมมาใช้ใน กระบวนการผลิต สร้างผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ สิ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก ชี ว ภาพ โดยน�ำวัตถุดบิ ธรรมชาติ อาทิ น�ำ้ มันปาล์ม น�ำ้ มัน ในเมล็ดปาล์ม น�ำ้ มันพืช และไขมันสัตว์ ไปผลิต ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มผลิตภัณฑ์โอลิโอเคมี ได้แก่ เมทิลเอสเทอร์ แฟตตี้ แอลกอฮอล์ กลีเซอรีน แฟตตี้ แอซิ ด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ หล่ า นี้ น� ำ ไปใช้ ใ น อุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมสุขอนามัย ส่วนบุคคล อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมอาหาร และเป็นส่วนผสมของน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง เหตุผลเพราะรัฐบาลมีนโยบายชัดเจนในการ ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมไบโอพลาสติ ก ให้ เ ป็ น อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ หรือทีเ่ รียกว่า ‘ซูเปอร์คลัสเตอร์’ เพราะเป็นอุตสาหกรรมทีม่ กี าร สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตทางการเกษตร ในประเทศ ด้ ว ยการพั ฒ นาทางด้ า นการใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในกระบวนการผลิต นอกจากช่วยเพิม่ รายได้ให้กบั ภาคการเกษตรของ ไทยแล้ว ยังก่อให้เกิดอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งทีจ่ ะน�ำ ไปสูก่ ารสร้างฐานอุตสาหกรรมแห่งอนาคตอีกด้วย GMBiZ : PTTGC ได้นำ� งานวิจยั ของผลิตภัณฑ์ ไบโอพลาสติก มาทดลองการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ ประเภทใดบ้าง สุพฒ ั นพงษ์ : เราได้พฒ ั นาอุตสาหกรรมพลาสติก ชีวภาพเพือ่ ต่อยอดผลผลิตทางการเกษตรให้กบั ประเทศ และยังเป็นหนึ่งในผู้น�ำนวัตกรรมมา พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมทีใ่ ช้ ในภาคการเกษตร โดย PTTGC มูลนิธโิ ครงการหลวง และส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) ได้ทำ� งานวิจยั และพัฒนาการผลิตถุงเพาะ ถุงปลูก และพลาสติกคลุมดินจากพลาสติกย่อยสลายได้ และการประยุกต์ใช้ส�ำหรับพื้นที่ปลูกทางการ เกษตรในประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือ การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ สิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีม่ ลู นิธโิ ครงการหลวง เป็นการ

BIZ TALK

คิดค้นและพัฒนาถุงเพาะ ถุงปลูกจากพลาสติก ชีวภาพทีย่ อ่ ยสลายได้ตงั้ แต่ระดับห้องปฏิบตั กิ าร พัฒนาไปสูก่ ารผลิตในเชิงพาณิชย์ รวมถึงมีการ ทดสอบใช้งานจริงในภาคสนามร่วมกับมูลนิธิ โครงการหลวง ท�ำให้ได้สูตรที่เหมาะสมกับการ ใช้งานและสามารถผลิตได้จริง โดยมุง่ เน้นการใช้ เพาะปลูกทัง้ พืชผัก และพืชยืนต้น ถุงเพาะ ถุงปลูกชนิดนี้ผลิตจากพลาสติก ชีวภาพประเภทพอลีแลคติคแอซิด (PLA) ซึ่ง พัฒนาและผลิตด้วยวัตถุดบิ ทีไ่ ด้จากกระบวนการ หมักแป้งและน�้ำตาล โดยเทคโนโลยีชีวภาพ ท�ำการเติมสารแต่งเรียกจุลินทรีย์ชนิดพิเศษที่ ท�ำให้ถงุ มีความแข็งแรง สามารถคงรูปอยูไ่ ด้ตลอด ระยะเวลาทีอ่ นุบาลกล้าในเรือนเพาะช�ำและเมือ่ ย้ายไปปลูกลงดินแล้ว สารเติมแต่งเรียกจุลนิ ทรีย์ ดังกล่าวจะเหนีย่ วน�ำให้เกิดการย่อยสลายภายใต้ สภาวะปกติ ท�ำให้รากทีเ่ กิดใหม่สามารถแทงทะลุ ถุงออกมาและชอนไชลงไปในดินได้ โดยไม่จำ� เป็น ต้องถอดถุง ซึ่งรากจะไม่ถูกกระทบกระเทือน ในระหว่างการย้ายไปปลูก และฟืน้ ตัวได้เร็วกว่า นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาและติดตามเรื่อง ผลกระทบของการใช้ถงุ เพาะ ถุงปลูกทีย่ อ่ ยสลาย ได้ตอ่ ประสิทธิภาพของดินอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ พบว่า จากกลไกในการย่ อ ยสลายด้ ว ยเอนไซม์ แ ละ แบคทีเรียตามธรรมชาติเมื่อย่อยสลายสมบูรณ์

แล้วจะได้น�้ำมวลชีวภาพ ก๊าซมีเทน และก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการ เจริญเติบโตและการด�ำรงชีวิตของพืช ท�ำให้ได้ ผลผลิตที่มีคุณภาพดี ช่วยลดปริมาณพลาสติก ที่ตกค้าง และลดภาระค่าใช้จ่ายในการก�ำจัดทิ้ง พลาสติกไปได้มาก การต่อยอดและสร้างมูลค่าในภาคการเกษตร ของประเทศ ยังมีส่วนช่วยในการสร้างขีดความ สามารถทางการแข่งขันให้กับประเทศ เพราะ ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์ เกษตรรายใหญ่ของโลก มีความพร้อมด้านวัตถุดบิ สูง หากสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี มาเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตทางการเกษตรได้ จะช่วยให้ภาคการเกษตรของไทยแข็งแกร่ง และ แข่งขันในเวทีการค้าโลกได้ GMBiZ : ทราบมาว่าตอนนี้ PTTGC ก�ำลังมุง่ สู่ การพัฒนานวัตกรรมพลาสติกชีวภาพใหม่ๆ อีกด้วย สุพฒ ั นพงษ์ : ใช่ครับ ตอนนีเ้ ราก�ำลังเร่งส่งเสริม ให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรม พลาสติกชีวภาพ ด้วยการถ่ายทอดเทคโนโลยี พลาสติกชีวภาพไปสูห่ น่วยงานต่างๆ และร่วมมือ กับภาคเอกชนเพื่อร่วมมือกันพัฒนาผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัทฯ ยังได้เดินหน้า ร่วมมือทางธุรกิจกับพันธมิตร อาทิ เครือสหพัฒน์

GMBiZ 05

ซึ่งเป็นผู้ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค เพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ รวมถึงผลิตภัณฑ์ที่ เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และกรมส่งเสริมการค้า ระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยได้ลงนาม ความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภณ ั ฑ์ เพือ่ ทดแทนการน�ำเข้า รักษาสิง่ แวดล้อม พร้อม แลกเปลี่ยนความเชี่ยวชาญ สู่การพัฒนาสินค้า ทีใ่ ช้วตั ถุดบิ ในประเทศให้ได้มากทีส่ ดุ สอดคล้อง กับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ซึง่ บริษทั ฯ พร้อมเป็นส่วนหนึง่ ในความร่วมมือกับ ภาครัฐทีจ่ ะผลักดันให้ไทยมีความพร้อมเป็นผูน้ ำ� ทางด้านไบโอฮับของภูมภิ าคในอนาคต GMBiZ : ฟังแบบนีแ้ ล้ว รูส้ กึ ได้วา่ ‘นวัตกรรม’ คือกุญแจสูก่ ารพัฒนาทีย่ งั่ ยืนของ PTTGC สุพัฒนพงษ์ : การวิจัยพัฒนานวัตกรรมและ เทคโนโลยีเป็นอีกตัวแปรส�ำคัญต่อการสร้างและ รักษาความเป็นผู้น�ำในธุรกิจเคมีภัณฑ์ เพื่อให้ ธุรกิจของ PTTGC เติบโตได้อย่างยัง่ ยืน เราจึงได้ ก� ำ หนดยุ ท ธศาสตร์ ใ นการพั ฒ นานวั ต กรรม วางแผนการวิ จั ย และพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ เทคโนโลยีทงั้ ในระยะสัน้ ระยะกลาง และระยะยาว รวมถึงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่แข็งแรง ให้กบั องค์กร PTTGC จึงได้เริ่มจัดตั้งศูนย์นวัตกรรมและ เทคโนโลยี (Science & Innovation Center) อยูท่ ี่ จังหวัดระยอง บนพืน้ ทีใ่ ช้สอยกว่า 4,500 ตารางเมตร มีนโยบายลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา มากกว่า 3% ของก�ำไรสุทธิแต่ละปี เพือ่ สนับสนุน การวิ จั ย และพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ิ โ ตรเคมี รวมทั้ ง ยั ง จั ด ตั้ ง ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพ (Life Science Research & Technology Center) บนพื้นที่ประมาณ 4,000 ตารางเมตร โดยมุ่งเน้นการวิจัยพัฒนาเพื่อสร้างการ เติบโตและศักยภาพการแข่งขันแก่ธุรกิจ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม (Green Chemicals Business) ได้แก่ เคมี ชี ว ภาพและพลาสติ ก ชี ว ภาพ รวมถึ ง ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องของผลิตภัณฑ์โอลิโอ เคมี (Oleochemicals) ที่ใช้ในการผลิต สินค้าเพือ่ การดูแลสุขอนามัยและสุขภาพ (Home & Personal Care)


06 GMBiZ

GMBiZ : ในช่วงทีผ่ า่ นมามีความเข้มข้นในเรือ่ ง นวัตกรรมมากน้อยแค่ไหน สุพฒ ั นพงษ์ : ปัจจุบนั เราได้ปรับเปลีย่ นระบบและ กระบวนการด้านงานนวัตกรรม เพือ่ ยกระดับการ บริหารจัดการนวัตกรรมให้เทียบเท่าองค์กรชัน้ น�ำ ในระดับสากล และหนึ่งในกระบวนการนั้นคือ การจัดตั้ง International Innovation Advisory Board (IIAB) ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒริ ะดับโลก ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ ด้านวิจัยและพัฒนา ทั้งจากภาคการศึกษาและ ภาคอุตสาหกรรม เพื่อให้ค�ำแนะน�ำและเป็น ทีป่ รึกษาในการพัฒนานวัตกรรม เพือ่ ผลักดันให้ งานวิจัยสามารถพัฒนาต่อยอดในเชิงพาณิชย์ ได้อย่างรวดเร็ว ตอบสนองความต้องการของตลาด ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีผลสัมฤทธิส์ งู สุด นอกจากนี้ PTTGC และบริษัทร่วมทุน ยังมี ความพร้อมและมีศกั ยภาพในการด�ำเนินงานวิจยั และพัฒนานวัตกรรมด้วยบุคลากรนักวิจัยที่มี ความรู้ ความเชีย่ วชาญ และประสบการณ์ในการ ท�ำงานวิจยั มากกว่า 220 คน มีศนู ย์วจิ ยั และพัฒนา

BIZ TALK

ทีม่ อี ปุ กรณ์/เครือ่ งมือวิจยั เฉพาะทาง เพือ่ รองรับ และสนับสนุนงานวิจัยในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก อาทิ สหรัฐอเมริกา เยอรมนี ฝรัง่ เศส มาเลเซีย ฯลฯ GMBiZ : เป้าหมายทางธุรกิจต่อจากนีค้ อื อะไร สุพฒ ั นพงษ์ : เรายังคงมุง่ มัน่ ในการพัฒนางาน วิจยั ของ PTTGC ในประเทศ เพือ่ ให้เกิดการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าทางการตลาด (High-Value Product หรือ HVP) ในกลุ่มบรรจุภัณฑ์ วัสดุ ก่ อ สร้ า งและอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า โดย PTTGC มีเป้าหมายจะพัฒนาผลิตภัณฑ์ HVP เพิ่มขึ้น และมี ร ายการสิ ท ธิ บั ต รซึ่ ง เป็ น ทรั พ ย์ สิ น ทาง ปั ญ ญา อั น เกิ ด ขึ้ น จากการวิ จั ย และพั ฒ นา นวั ต กรรมที่ ไ ด้ ยื่ น ขอรั บ ความคุ ้ ม ครองด้ า น ทรัพย์สนิ ทางปัญญารวมกันมากกว่า 700 รายการ ใน 23 ประเทศทัว่ โลก ขณะเดียวกัน PTTGC ยังมุง่ ขยายธุรกิจในระดับโลกสู่ธุรกิจเคมีภัณฑ์ชนิด พิเศษ (High Volume Specialties) และธุรกิจ ผลิตภัณฑ์เคมีเพือ่ สิง่ แวดล้อม (Green Chemicals) โดยมุง่ สูก่ ารเติบโตอย่างยัง่ ยืน

GMBiZ : ขอถามเกี่ยวกับการที่ PTTGC เป็น องค์กรไทยที่ติดอันดับดัชนีความยั่งยืน DJSI 3 ปีซอ้ น สุ พั ฒ นพงษ์ : ถือเป็นความภูมิใจอย่างมาก ขององค์กรไทยทีถ่ กู ยอมรับในระดับสากล เพราะ นอกเหนือจากการด�ำเนินงานโดยมีเป้าหมายมุง่ สู่ การเติบโตอย่างยั่งยืนแล้ว PTTGC ยังให้ความ ส�ำคัญกับการด�ำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส มีคณ ุ ธรรมตามหลักธรรมาภิบาล ด้วยการเคารพ สิทธิและปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่างเป็นธรรม ทั้งผู้มีส่วนได้เสียทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม มีนโยบายความรับผิดชอบต่อผู้มี ส่วนได้เสียอย่างชัดเจนในการด�ำเนินธุรกิจ เพื่อ สร้างการเติบโตในระยะยาว และสร้างความสมดุล ระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม แน่นอนว่า ตัวชี้วัดที่ชัดเจนในขณะนี้ คือ การที่ PTTGC ได้รบั การจัดอันดับให้เป็น 1 ใน 10 บริษัทชั้นน�ำของโลกด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน ในกลุ่มธุรกิจเคมีภัณฑ์ติดต่อกัน 3 ปีจาก Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) และยังเป็น บริษทั เดียวในภูมภิ าคเอเชียทีไ่ ด้รบั การจัดอันดับ ดังกล่าว ซึง่ DJSI เป็นดัชนีหลักทรัพย์ทปี่ ระเมิน ประสิทธิผลการด�ำเนินธุรกิจตามแนวทางการ พัฒนาอย่างยั่งยืนของบริษัทชั้นน�ำระดับโลก โดยกองทุนต่างๆ จากทั่วโลกต่างใช้ดัชนีนี้เป็น เกณฑ์ในการลงทุน ดังนัน้ บริษทั ทีเ่ ข้าร่วมการประเมินจะสามารถ เปรียบเทียบประสิทธิภาพการด�ำเนินงานของ บริษทั กับผูน้ ำ� ในอุตสาหกรรมระดับโลก ภายใต้ วิธีการประเมินของ DJSI ที่จะคัดเลือกบริษัท ในตลาดทุนในเวทีนานาชาติทเี่ ป็นผูน้ ำ� ด้านการ พัฒนาอย่างยั่งยืนจากกว่า 3,000 บริษัท และ ประเมินผลจากข้อมูลของบริษัท เพื่อคัดเลือก ให้เหลือเพียงบริษัทที่มีการด�ำเนินงานด้านการ พั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ที่ ชั ด เจนในแต่ ล ะกลุ ่ ม อุตสาหกรรม โดยกลุ่มอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ (Chemicals Sector) มี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มประเมิ น

DECEMBER 2015

122 บริษทั และมีผทู้ ไี่ ด้รบั การพิจารณา 86 บริษทั จากนั้ น จะคั ด เลื อ กบริ ษั ท ที่ มี ค วามเป็ น ผู ้ น� ำ ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดย Chemicals Sector มี Leader เพียง 10 บริษทั เท่านัน้ และ PTTGC เป็น 1 ใน 10 บริษทั ชัน้ น�ำด้านการพัฒนา อย่างยัง่ ยืนเมือ่ เทียบกับทัว่ โลก GMBiZ : ปัจจัยส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ DJSI เลือก PTTGC สุ พั ฒ นพงษ์ : PTTGC มี ก ารบริ ห ารจั ด การ ครบเครือ่ งในทุกมิติ ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และ สิง่ แวดล้อม อีกทัง้ มุง่ มัน่ ในการพัฒนานวัตกรรม และแนวคิดใหม่ๆ อยูเ่ สมอในทุกการด�ำเนินงาน ซึ่งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ‘เป็นผู้น�ำในธุรกิจ เคมีภณ ั ฑ์ เพือ่ สร้างสรรค์คณ ุ ภาพชีวติ ’ เห็นได้ จากการก�ำหนดทิศทางและแผนกลยุทธ์ในการ สร้างการเติบโตทางธุรกิจอย่างยัง่ ยืน เพือ่ ส่งมอบ คุณค่าที่ดีให้กับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มควบคู่กับ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม ในปี 2558 ภาวะเศรษฐกิจโลกยังคงฟืน้ ตัวอย่าง ช้าๆ จึงนับเป็นความท้าทายส�ำคัญของบริษัทฯ ส�ำหรับการด�ำเนินงานทีม่ งุ่ มัน่ ดูแลชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน เพื่อสร้างความ เติบโตร่วมกันอย่างยัง่ ยืน GMBiZ : ช่วงปีที่ผ่านมา PTTGC ยังไปคว้า รางวัลอื่นๆ จนเริ่มเป็นองค์กรที่คนพูดถึงใน เวทีโลกมากขึน้ สุพฒ ั นพงษ์ : การได้รบั การจัดอันดับจาก DJSI ต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 3 เป็นการพิสจู น์ให้เห็นถึงความ มุ่งมั่นขององค์กร ซึ่ง PTTGC มีการด�ำเนินงาน ตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนมายาวนาน แต่นอกเหนือจากการติดอันดับดัชนี DJSI แล้ว PTTGC ยังได้รบั การยอมรับจากอีกหลายองค์กร ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนี้ PTTGC ยังเป็นบริษัทไทยเพียง รายเดียวในกลุม่ บริษทั ชัน้ น�ำของโลกทีต่ ดิ อันดับ The Global Compact 100 Index ปี 2014 จาก United Nations Global Compact ซึ่งดัชนีนี้


2015 DECEMBER

BIZ TALK

GMBiZ 07

ทุกรางวัลที่ PTTGC ได้รบั คือบทพิสจู น์ความเป็นองค์กรระดับโลกที่ให้ความส�ำคัญ ต่อการพัฒนาศักยภาพของพนักงาน การน�ำนวัตกรรมมาประยุกต์ ใช้ ควบคูก่ บั การจัดการด้านพลังงาน การดูแลสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม ซึง่ ทัง้ หมดนี้ ล้วนแล้วแต่ เป็นส่วนส�ำคัญทีจ่ ะท�ำให้เราก้าวสูค่ วามเป็นองค์กรทีย่ งั่ ยืน และได้รบั การยอมรับในระดับ สากล เป็นดัชนีประเมินองค์กรที่ปฏิบัติตามกฎบัตร สากลโลกแห่งสหประชาชาติมาอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาคัดเลือกดัชนีหนุ้ ทีม่ คี วามโดดเด่น ด้านความยัง่ ยืนจาก 700 บริษทั ทีอ่ ยูใ่ น United Nations Global Compact ทัว่ โลก คัดให้เหลือ องค์กรทีด่ ที สี่ ดุ เพียง 100 อันดับแรกของโลก โดยหลั ก เกณฑ์ ส� ำ คั ญ ในการประเมิ น จะพิจารณาจากผลการด�ำเนินงานที่โดดเด่น ด้านความยั่งยืน ด�ำเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม รับผิดชอบต่อสังคม และการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม รวมถึงการมีผลประกอบการที่ดีอย่างสม�่ำเสมอ สอดคล้องกับกฎบัตรสากลโลกแห่งสหประชาชาติ 10 ประการ ในสาระส�ำคัญ 4 ด้าน คือ ด้านสิทธิมนุษยชน แรงงาน สิง่ แวดล้อม และการต่อต้าน การทุจริต เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการ พัฒนาสังคมโลกให้อยูร่ ว่ มกันอย่างสงบสุข เหล่านี้ สอดคล้องกับนโยบายการด�ำเนิน ธุรกิจของ PTTGC ทีด่ ำ� เนินงานตามกฎบัตรสากล โลก ด้วยการเข้าร่วมเป็นภาคีในปฏิญญาสากล ว่าด้วยสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ มีนโยบายและกลยุทธ์การด�ำเนินงานทีเ่ ป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีความรับผิดชอบด้าน กระบวนการผลิต และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ขณะเดียวกัน PTTGC ยังมีการก�ำหนดพันธกิจ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ซึง่ ไม่เพียง แต่อยู่ร่วมกับสังคมได้ แต่ต้องช่วยสร้างความ เข้มแข็งให้กบั ชุมชน พร้อมกับปลูกฝังจิตส�ำนึก สร้างความรูค้ วามเข้าใจให้พนักงานตระหนักถึง ความส�ำคัญเรือ่ งความรับผิดชอบต่อสังคมอีกด้วย GMBiZ : ถ้าจะพูดถึงความส�ำเร็จขององค์กร ในวันนี้ คุณจะบอกอะไร สุพฒ ั นพงษ์ : (ใช้เวลาคิดเล็กน้อย)...ความส�ำเร็จ ขององค์กร ผมว่ามันมาจากหลากหลายปัจจัยนะ แต่สิ่งหนึ่งที่ส�ำคัญมากๆ คือ การส่งเสริมและ พัฒนาพนักงานหรือบุคลากรภายในองค์กร นอกเหนือจากการพัฒนาให้บคุ ลากรมีศกั ยภาพ มีความรู้และความสามารถ สอดคล้องกับการ เติบโตของธุรกิจ เพื่อส่งเสริมพัฒนาองค์กร ให้ ส ามารถแข่ ง ขั น กั บ คู ่ แ ข่ ง ในระดั บ สากล

ได้ แ ล้ ว นั้ น เรายั ง ต้ อ งพั ฒ นาและบ่ ม เพาะ พนั ก งานให้ มี ทั ศ นคติ ที่ ดี เป็ น บุ ค ลากรที่ มี คุณภาพ เป็นทั้งคนเก่ง และเป็นคนดี ที่นึกถึง สังคม และสิง่ แวดล้อมควบคูก่ นั ไปพร้อมๆ กัน การได้รับการจัดอันดับให้เป็น 1 ใน 10 บริษทั ชัน้ น�ำของโลกด้านการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (DJSI) ในกลุ่มธุรกิจเคมีภัณฑ์ติดต่อกัน 3 ปี จึงนับเป็นความภาคภูมใิ จและตอกย�้ำให้เห็นถึง ความส�ำเร็จจากความมุง่ มัน่ ในการด�ำเนินธุรกิจ ตามแนวทางความยัง่ ยืน รวมถึง รางวัลแห่งความ ส�ำเร็จต่างๆ อาทิ รางวัลบริษทั จดทะเบียนด้าน ความยั่งยืนยอดเยี่ยม (SET Sustainability Awards 2015) รางวั ล อุ ต สาหกรรมดี เ ด่ น รางวัล Winner Petrochemicals Company Of The Year 2015 จากสถาบัน Petroleum Economist รางวัล Best Managed Companies in Asia จาก Euromoney โดยทุกรางวัลทีไ่ ด้ คือบทพิสจู น์ความเป็น องค์ ก รคุ ณ ภาพ ที่ มี ก ารพั ฒ นาศั ก ยภาพ ของพนั ก งาน และการน� ำ นวั ต กรรมมา ประยุ ก ต์ ใ ช้ ควบคู ่ กั บ การจั ด การด้ า น พลั ง งาน การดู แ ลสั ง คม ชุ ม ชน และ สิง่ แวดล้อม ทัง้ หมดนีจ้ ะเป็นส่วนส�ำคัญ ที่จะให้เราก้าวไปสู่ความเป็นองค์กร ที่ยั่งยืน และได้รับการยอมรับใน ระดับสากลอย่างต่อเนือ่ ง


A TO Z

08 G M B i Z

DECEMBER 2015

: Deutsche Bank

: ATM

ธนาคาร Deutsche Bank ของเยอรมนี ก�ำลังพัฒนาเทคโนโลยียนื ยันตัวตนบน โลกออนไลน์แบบใหม่ที่จะใช้แทนรหัส ผ่านที่เราคุ้นเคยกัน โดยใช้ข้อมูลหลายๆ อย่าง เช่น สถานที่ วิธกี ารถือโทรศัพท์ ลายนิว้ มือ ใบหน้า และอืน่ ๆ ร่วมกัน หากมีปัจจัยให้ไม่สามารถใช้การยืนยันอย่างใด อย่างหนึ่งได้ อาทิ ปกติใช้ลายนิ้วมือขวา ก็สามารถใช้ ลายนิ้วมือซ้ายหรือใบหน้าเพื่อล็อกอินแทนก็ได้ ดังนั้น การยืนยันตัวตนเพื่อใช้งานธุรกรรมการเงินออนไลน์ ในอนาคตจะรัดกุมและปลอดภัยมากกว่าปัจจุบันมาก ทีเดียว

ญีป่ นุ่ ก�ำลังส่งเสริมตลาดการท่องเทีย่ วอย่างมาก เห็นได้ ชัดจากการปรับโฉมตูเ้ อทีเอ็ม เพิม่ ภาษาต่างชาติ อาทิ อังกฤษ จีน เกาหลี โปรตุเกส อินโดนีเซีย และภาษาไทย เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้กบั นักท่องเทีย่ วต่างชาติ การท�ำให้ชาวต่างชาติ เบิกเงินจากตู้เอทีเอ็มได้ง่ายจะเป็นกุญแจส�ำคัญในการเพิ่มการขยายตัว ทางด้านเศรษฐกิจของญีป่ นุ่ ได้

: Bark ‘N’ Borrow

บางทีคนรักสุนขั ก็ไม่ได้เลีย้ งเอง ด้วยข้อจ�ำกัดทางด้านเวลา หรือทีพ่ กั อาศัย แอพฯ Bark ‘N’ Borrow จึงก�ำเนิดขึน้ ให้ เจ้าของสุนขั แชร์หมาทีต่ วั เองเลีย้ งให้คนอืน่ ได้เชยชม ผูย้ มื ก็ตอ้ งจ่ายเงินผ่าน PayPal ให้เจ้าของสุนขั แล้วก็นดั เจอพาเจ้าตูบไปดูแล ซึง่ น่าจะเป็นประโยชน์สำ� หรับฝัง่ เจ้าของสุนขั ทีต่ อ้ งเดินทางไปต่างจังหวัด หลายๆ วันได้ฝากสัตว์เลีย้ งไว้ในมือคนรักสุนขั เหมือนกัน โดยในแอพฯ จะมีการตรวจประวัติผู้ยืม และให้ดาวว่าเป็น Borrower ผู้ยืมที่มีความ รับผิดชอบระดับหนึ่ง หรือเป็น Sitter ผู้ที่เลี้ยงและดูแลสุนัขได้ระดับ มืออาชีพด้วย

: Hate Speech

: e-Tag

แบรนด์ Montblanc เปิดตัว อุปกรณ์เสริมส�ำหรับติดตาม สิ่งของส�ำคัญอย่างกุญแจหรือ กระเป๋าเงิน โดยเจ้า Montblanc e-Tag ในเชิงเทคโนโลยีนนั้ ใช้ Bluetooth เชือ่ มต่อเข้ากับ iPhone ท�ำให้สามารถระบุตำ� แหน่ง สิง่ ของและแจ้งเตือนเมือ่ อยูใ่ นระยะทีห่ า่ งกว่าทีก่ ำ� หนด คนขีล้ มื คงต้องหามาใช้ซะแล้วละ

: Facebook Messenger

เรี ย กแท็ ก ซี่ อู เ บอร์ ง ่ า ยๆ ไม่ต้องโทรฯ และไม่ต้องเข้า แอปพลิ เ คชั่ น อู เ บอร์ ก็ ไ ด้ เพียงแค่เปิดเฟซบุ๊คก็เรียก ได้แล้ว เพราะตอนนีเ้ ฟซบุค๊ ประกาศร่วมมือกับอูเบอร์เปิดฟีเจอร์ใหม่ให้เรียกแท็กซีอ่ เู บอร์ได้จากแอปพลิเคชัน่ Facebook Messenger ได้ไม่ตา่ งจากการเปิดแอพฯ อูเบอร์โดยตรง คือสามารถดูสถานะคนขับและอัพเดท เรียลไทม์วา่ รถจะมาถึงเมือ่ ไร รวมถึงดูบลิ ค่ารถเมือ่ ถึงทีห่ มายได้อกี ด้วย ตอนนีอ้ ยูใ่ นช่วงทดลอง ใช้ในสหรัฐฯ และมีแผนจะขยายไปทัว่ โลกอีกไม่นานเกินรอ

ทัง้ กูเกิล เฟซบุค๊ และทวิตเตอร์ ท�ำข้อ ตกลงกับรัฐบาลเยอรมนีว่าจะร่วมกัน ลบข้อความทีส่ ร้างความเกลียดชัง หรือ Hate Speech ออกจากหน้าเพจของ ตัวเองภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากที่มี การเหยียดผิวในสังคมออนไลน์เพิ่ม สูงขึ้นในขณะที่มีผู้ลี้ภัยอพยพเข้ามา ในเยอรมนีมากขึ้นเช่นกัน ข้อตกลง ดังกล่าวไม่ได้ลบเฉพาะเรือ่ งการเหยียด สี ผิ ว เท่ า นั้ น แต่ ยั ง ครอบคลุ ม ไปถึ ง ความเห็นในเชิงอาชญากรรม การปลุกปัน่ ให้ก่อความไม่สงบ หรือการกระท�ำ ความผิดทีค่ กุ คามผูอ้ นื่ ด้วย

: Informed Delivery

ไปรษณีย์สหรัฐอเมริกาเปิด บริการใหม่ สแกนหน้าซองจดหมาย แล้วส่งอีเมลไปถึงผู้รับในเวลาก่อน 11.00 น. ก่อนทีจ่ ดหมายจริงจะส่งไปถึง เพื่อให้ผู้รับได้รู้ล่วงหน้าว่าวันนี้จะมี จดหมายอะไรส่งมาบ้าง ตอนนีย้ งั เปิด บริ ก ารเฉพาะลู ก ค้ า ทั่ ว ไป ไม่ ร วม จดหมายธุรกิจต่างๆ และพัสดุ

: GunTV

: Crystal Pepsi

นอกจากรสชาติเป๊ปซี่ที่เราคุ้นเคยกันอยู่ทุกวันแล้ว เป๊ปซี่มักออกรุ่นพิเศษตามวาระโอกาสต่างๆ ช่วง คริสต์มาสปีนกี้ เ็ ช่นกัน ถึงแม้ไม่ได้ออกรสชาติใหม่ แต่ เป็นการน�ำ คริสตัลเป๊ปซี่ เครือ่ งดืม่ รสซ่าสีใส (คล้ายสไปรท์) ซึง่ เป็นรุน่ เก่าแก่ ทีเ่ คยวางขายในช่วงปี 1992 กลับมาอีกครัง้ มีทงั้ แบบธรรมดาและไดเอ็ท และแน่นอนว่าเป็นลิมเิ ต็ด เอดิชนั่ แฟนพันธุแ์ ท้เท่านัน้ จึงจะได้ครอบครอง

จะเป็ น อย่ า งไรเมื่ อ ประชาชนทั่ ว ไปจะ สามารถสัง่ ซือ้ ปืนได้ผา่ นโฮมช้อปปิง้ กันทีวี (GunTV) คือช่องทีวโี ฮมช้อปปิง้ ทีอ่ อกอากาศ ทางดาวเทียมและเคเบิลทีวี เพือ่ ให้ชาวอเมริกนั สัง่ ซือ้ อาวุธปืน ได้ตงั้ แต่วนั ที่ 20 มกราคม 2559 โดยเริม่ แรกจะออกอากาศเพียง วันละ 6 ชัว่ โมง คือ ตัง้ แต่ 01.00-07.00 น. แต่ตงั้ เป้าจะออกอากาศ 24 ชัว่ โมงให้ได้ การเปิดทีวชี อ่ งนีม้ าพร้อมกับความวิตกกังวลว่า จะส่งเสริมให้คนใช้ปืนกันง่ายขึ้น หลังจากที่สหรัฐฯ เพิ่งเกิด เหตุการณ์สงั หารหมูค่ รัง้ ใหญ่ถงึ 2 ครัง้ ในปี 2558

: KitKat

เนสท์เล่ญี่ปุ่นเตรียมฉลองปีใหม่ด้วยการวางขาย Sublime Gold Kit Kat หรือคิทแคททีม่ เี ปลือกหุม้ ท�ำจากทองค�ำแท้ ผลิตแบบลิมิเต็ด จัดจ�ำหน่าย เฉพาะลูกค้าที่มาเยี่ยมร้าน Nestle ที่โตเกียว เกียวโต นาโกย่า โอซาก้า ซัปโปโร และฟุกโุ อกะ กว่า 1 ล้านชิน้ ในราคา 2,016 เยน แถมใครซือ้ ไปยังได้ลนุ้ รับทองค�ำแท้นำ�้ หนัก 230 กรัมอีกด้วย


2015 DECEMBER

A TO Z

G M B i Z 09

: Lee City Kiosk

ปกติเราคุ้นเคยกับตู้หยอดเหรียญซื้อ เครื่องดื่มหรืออาหารเท่านั้น และแล้ว สินค้าเสือ้ ผ้าอย่าง Lee ก็เปิดตัวเครือ่ งขาย เสื้ อ ผ้ า อั ต โนมั ติ แ ห่ ง แรกของประเทศไทย ติ ด ตั้ ง ที่เซ็นทรัลเวิลด์, บิ๊กซี ราชด�ำริ, โรบินสัน พระราม 9 และอื่นๆ อีกในอนาคต เน้นกลุ่มลูกค้าคนรุ่นใหม่และ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว หลั ง จากสั่ ง ซื้ อ แล้ ว สิ น ค้ า จะออกมา พร้อมกับแพ็คเกจสุดเก๋เป็นกระบอกใส่เครื่องดื่มลาย วินเทจทีส่ ามารถน�ำไปใช้ใส่เครือ่ งดืม่ ทนความร้อนได้ถงึ 100 องศา ช่วงแรก Lee City Kiosk จะจ�ำหน่ายเฉพาะ T-shirt Limited Edition ไปจนถึงสิ้นเดือนธันวาคมนี้ ส่วนสินค้าชิน้ ต่อไปจะเป็นอะไรต้องติดตาม

: PlaceMeter

ปกติเจ้าของร้านก็ไม่ค่อยได้ นั บ ว่ า แต่ ล ะวั น มี ลู ก ค้ า ผ่ า น หน้าร้านกีร่ ายใช่ไหมล่ะ เรามี นวัตกรรมใหม่มาน�ำเสนอเรียกว่า PlaceMeter เป็นอุปกรณ์ที่มีกล้องและเครื่องส่งสัญญาณ Wi-Fi เมื่ อ น� ำ ไปติ ด ที่ ห น้ า ร้ า นก็ ส ามารถ นับจ�ำนวนคนที่เดินผ่านไปมาหน้าร้านได้ เมือ่ รูว้ า่ มีคนผ่านเท่าไร เราก็นำ� ไปใช้ประโยชน์วา่ จะติดโฆษณาตรงจุดไหนเพื่อดึงดูดคนเข้าร้านได้มากกว่า และท�ำการตลาดให้ตรงเป้ายิง่ กว่าเดิม

: My Burger

คนเราต่างมีความชอบเป็นของตัวเอง ใช่ไหม แมคโดนัลด์ประเทศไทยจึงออก แคมเปญใหม่ My Burger ให้ลูกค้า ปรับเปลีย่ นส่วนประกอบเมนูเบอร์เกอร์ได้ตามใจ โดยมีเมนู เบอร์เกอร์ตั้งแต่ 29 บาทขึ้นไป แล้วเลือกส่วนประกอบ เพิ่มเติม อาทิ ผักกาดแก้ว ผักสลัด มะเขือเทศ หัวหอม หอมแดง เห็ด และไข่ดาว ในราคาอย่างละ 10 บาท ถ้าหาก จะเพิม่ แบล็คเปปเปอร์ ชีส และเบคอน ก็จา่ ยเพิม่ อย่างละ 15 บาท เป็นต้น

: Uniqlo

ยูนโิ คล่ แบรนด์ แฟชั่นชื่อดัง เปิดต�ำแหน่ง งานในหลายสาขา ทัง้ ในยุโรป ญีป่ นุ่ และภูมภิ าคอืน่ ๆ รวมกว่า 100 ต�ำแหน่ง เพื่อสร้างงาน ให้แก่ผลู้ ภี้ ยั และผูอ้ พยพทัว่ โลก โดยยูนิโคล่เคยด�ำเนินนโยบาย จ้ า งงานผู ้ อ พยพเป็ น ลู ก จ้ า ง ทดลองตั้งแต่ปี 2554 จ�ำนวน 13 คน ในจ�ำนวนนี้ 2 คนได้ บรรจุเป็นลูกจ้างประจ�ำแล้ว

: Selfie Stick

ไม้เซลฟีไ่ ม่ได้มปี ระโยชน์เพือ่ การถ่ายรูปเท่านัน้ นะ แต่สามารถใช้เป็น อาวุธป้องกันตัวได้ดว้ ย นายทีมรู ์ ดูดาเยฟ จากศูนย์กฬี าป้องกันตัว ในกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เปิดสอนทักษะป้องกันตัวด้วยไม้เซลฟี่ เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วสามารถเอาตัวรอดจากโจรได้ เพียงแค่ใช้ไม้เซลฟีต่ เี ข้าให้ถกู จุด จนคนร้ายล้มลง เขาระบุว่าการใช้ไม้เซลฟี่บวกกับทักษะการป้องกันตัวเป็นวิธีที่ ใช้ได้จริงเมือ่ ต้องต่อสูบ้ นถนน

: Wristband

สายการบิ น แอร์ นิ ว ซี แ ลนด์ เ ปิ ด ตั ว แถบข้อมืออัจฉริยะ (Wristband) ในชือ่ Airband ส� ำ หรั บ เด็ ก อายุ ร ะหว่ า ง 5-11 ปีที่เดินทางคนเดียว ซึ่งจะส่งข้อความเตือนผู้ปกครอง ให้ทราบว่าลูกหลานของเขาอยู่ที่ไหน ส่วนเด็กที่อายุไม่เกิน 16 ปีสามารถเลือกว่าจะใช้บริการหรือไม่กไ็ ด้

: Old Cars

กระทรวงคมนาคมของอินเดียเตรียม บังคับใช้กฎหมายห้ามน�ำพาหนะ เพือ่ การพาณิชย์ทกุ ประเภททีม่ อี ายุ การใช้งานเกิน 15 ปีมาใช้งานบน ถนนตัง้ แต่วนั ที่ 1 เมษายน 2559 เป็นต้นไป ซึง่ เป็นมาตรการ เข้ ม งวดเพื่ อ ลดปริ ม าณมลพิ ษ ทางอากาศในประเทศ หลังจากที่หลายเมืองในอินเดียติดอันดับ 20 เมืองที่มี ค่ามลพิษในอากาศสูงทีส่ ดุ ในโลก

: Turkcell

Turkcell ผู้ให้บริการมือถือของตุรกีเปิดตัวแอปพลิเคชั่นที่ช่วยให้ คนตาบอดหรือผู้ที่บกพร่องทางสายตาสามารถชมภาพยนตร์เรื่อง Kiss of Life ได้ โดยผูใ้ ช้ตอ้ งเปิดแอปพลิเคชัน่ นีเ้ พือ่ รับฟังเสียงบรรยาย ประกอบในทุกฉากและทุกวินาทีของภาพยนตร์ ท�ำให้ไม่พลาดทัง้ รายละเอียดและ ความรูส้ กึ ในภาพยนตร์ Turkcell คาดว่าจะมีผบู้ กพร่องทางสายตาใช้แอปพลิเคชัน่ ถึง 800,000 คน ภายในปี 2559

: Yuan

คณะกรรมการบริหารไอเอ็มเอฟมีมติเห็นชอบ ให้เงินหยวนเป็นหนึ่งสกุลเงินส�ำรองระหว่าง ประเทศ ที่เรียกว่าตะกร้าสิทธิพิเศษถอนเงิน หรือ SDR แสดงให้เห็นว่าจีนจะมีบทบาทในเวทีเศรษฐกิจและ การเงินของโลกมากยิง่ ขึน้ จากเดิมทีม่ สี กุลเงินในตะกร้า SDR 4 สกุล คือ ดอลลาร์สหรัฐ, ยูโร, เยน และปอนด์


DECEMBER 2015

10 GMBiZ

JAPAN UNIQLO ผุดสาขาต่างแดนแซงญีป่ นุ่

การขยายจ�ำนวนสาขาทางธุรกิจในต่างประเทศ ถึงขนาดที่มีสาขามากกว่าในประเทศ ของตนเอง อาจจะเป็นก้าวส�ำคัญสู่การเป็นแบรนด์ระดับโลกของแฟชั่นค้าปลีกญี่ปุ่น รายใหญ่อย่าง UNIQLO ซึง่ ในช่วงสิน้ เดือนพฤศจิกายนทีผ่ า่ นมาปรากฏว่า Fast Fashion รายนี้ได้มีจ�ำนวนสาขาต่างประเทศแล้วถึง 864 แห่ง มากกว่าสาขาในบ้านเกิดที่มีอยู่ 844 แห่ง โดยมีประเทศจีนเป็นหมุดหลักในการขยายกิจการนอกญีป่ นุ่ ด้วยจ�ำนวนสาขาราว 410 แห่ง ตามมาด้วยเกาหลีใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทีม่ สี าขารวมกันได้ประมาณ 250 แห่ง และคาดว่าสิงหาคมปี 2016 จ�ำนวนสาขาในต่างประเทศจะเพิม่ ขึน้ เป็น 958 แห่ง ส่วนญีป่ นุ่ จะอยูท่ ี่ 846 แห่ง โดยอย่างหลังจะเน้นการขยายพืน้ ทีส่ าขาเดิมด้วยควบคูก่ นั ไป และตัง้ เป้าทีจ่ ะมีสาขาทัว่ โลกให้ได้ 3,000 แห่งต่อไปในอนาคตอันใกล้

AUSTRALIA E-PASSPORT ในออสเตรเลีย ผลส�ำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารระดับสูงจ�ำนวน 1,500 คน ทัว่ โลก ถึงบริษทั ในอุตสาหกรรมตัวเองและอุตสาหกรรมอืน่ ทีเ่ ห็นว่า เป็นบริษทั แห่งนวัตกรรม Apple คว้าอันดับหนึง่ ในการจัดอันดับ จาก Boston Consulting Group (BCG) บริษทั ทีป่ รึกษาในสหรัฐฯ พิจารณาจาก โดยแต่ละบริษทั ต้องมีผลประกอบการและผลตอบแทน ให้ผถู้ อื หุน้ เป็นทีน่ า่ พอใจ ตามมาด้วย Google, Tesla Motors, Microsoft และ Samsung ทีม่ า : bcgperspectives.com

หนังสือเดินทางอาจจะเป็นสิง่ จ�ำเป็นของการข้ามผ่านกันระหว่างประเทศ แต่กำ� ลัง จะกลายเป็นของล้าสมัยในประเทศออสเตรเลีย เมื่อกระทรวงต่างประเทศ ออสเตรเลียได้เตรียมทดลองใช้ E-Passport หรือ หนังสือเดินทางดิจิทัล กั บ ชาวต่ า งชาติ ที่ เ ดิ น ทางเข้ า มา ในประเทศ โดยข้อมูลส�ำคัญต่างๆ ทัง้ รูปถ่าย เพศ วันเกิด เชือ้ ชาติ หมายเลขหนังสือเดินทาง และวันหมดอายุ รวมถึงข้อมูลชีวภาพ (Biometric Data) เช่น โครงหน้า ใช้ระบุตวั ตนจะถูกเก็บไว้ใน Cloud ซึง่ จะท�ำให้เกิดความสะดวก ประหยัดเวลา และลดการใช้ ก ระดาษ ภายหลั ง กระทรวงต่ า งประเทศออสเตรเลี ย พบว่า เมือ่ ปีทผี่ า่ นมามีหนังสือเดินทางหายถึงเกือบ 40,000 เล่ม โดยหาก การทดลองใช้ประสบความส�ำเร็จ จะเป็นการสร้างมาตรฐานใหม่ให้กับ การตรวจคนเข้าเมืองตามสนามบินทัว่ โลก หรืออย่างน้อยก็เป็นอีกทางเลือกหนึง่ ให้นกั ท่องเทีย่ วคนรุน่ ใหม่ทเี่ บือ่ กับขัน้ ตอนยุง่ ยาก เพียงแต่แนวคิดดังกล่าว อาจจะไม่ได้รบั ความสนใจจากผูท้ กี่ งั วลเรือ่ งความเป็นส่วนตัวเท่าไรนัก

MOMENT IN AEC VIETNAM

Foodpanda อ�ำลาเวียดนาม

สุดท้ายก็จากไป ส�ำหรับบริษทั ส่งอาหารพุง่ แรงของ เอเชีย Foodpanda ที่ตัดสินใจถอนตัวออกจาก ประเทศเวียดนามเนื่องจากติดปัญหาหลายหลาก มากมาย โดย Foodpanda ยืนยันเรือ่ งการปิดกิจการ ในเวี ย ดนาม เพราะมองว่ า โอกาสระยะยาว ในเวียดนามน้อยกว่าเมือ่ เทียบกับโอกาสในตลาดอืน่ ๆ และอยากโฟกัสตลาดทีใ่ หญ่มากกว่าเพือ่ ท�ำก�ำไร ถึงกระนั้น มีการคาดเดากันถึงสาเหตุในการ ถอนตัวของ Foodpanda ทีไ่ ด้เข้าสูเ่ วียดนามภายใต้ ชือ่ HungryPanda เมือ่ ปี 2012 ซึง่ เป็นช่วงเวลาทีต่ ลาด ในลักษณะนีย้ งั ไม่แข่งขันรุนแรงกันมากนัก จนกระทัง่ ต่อมาต้องมาแข่งกับ Eat.vn ที่ได้รับการสนับสนุน จากสือ่ ออนไลน์ชอื่ ดังรายหนึง่ ส่งผลให้ในปี 2014 Foodpanda พยายามสู้กลับด้วยโฆษณาทางทีวี แต่ดูเหมือนว่าความพยายามจะไม่ประสบความส� ำเร็จ และท�ำให้ตอ้ งถอนตัวออกจากเวียดนามไปในทีส่ ดุ BRUNEI

บรูไนวาดฝันสูเ่ มดิคลั ฮับ

โรคความดันโลหิตสูงและโรคอ้วน ถือเป็นสาเหตุส�ำคัญทีจ่ ะ ท�ำให้เกิดการเป็นโรคสมองขาดเลือด ซึ่งเรื่องนี้ เดอะบรูไนไทม์ส ระบุว่า ประเทศบรูไน มีความสนใจในโรคสมองขาดเลือด เนื่องจากมีรายงานว่า คนบรูไนเป็นโรคความดันโลหิตสูงในอัตราที่ค่อนข้างสูง โดยมีรายงาน ก่อนหน้านีว้ า่ คนบรูไนทีอ่ ายุ 20 ปีและเป็นโรคความดันโลหิตสูงมีอตั ราสูง ถึง 20% ของประชากร ขณะที่คนอายุ 50 ปีขึ้นไปเป็นโรคนี้ถึง 50% การค้นพบว่าคนบรูไนมีอตั ราเป็นโรคความดันโลหิตสูงค่อนข้างสูง เป็นการ

THAILAND

อุตสาหกรรมน่าห่วงหลังเปิดเออีซี

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยข้อมูลว่า จากผลการศึกษาของ ภาครั ฐ และเอกชน ภายหลั ง เปิ ด ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (เออีซ)ี หรือหลังจากช่วง ปลายปีนี้เป็นต้นไป จะพบกลุ่มสินค้า ไทยทีค่ าดว่าจะเสียเปรียบแน่นอนหาก ไม่รบี ปรับตัว เช่น รองเท้า เครือ่ งดนตรี เชื้อเพลิงจากแร่ น�้ำมัน ผลิตภัณฑ์ทาง เภสัชกรรม ปุย๋ เครือ่ งหนัง ฯลฯ ขณะเดียวกัน ก็มกี ลุม่ สินค้าทีไ่ ทยสูญเสียความได้เปรียบไปแล้ว เช่น เหล็กและเหล็กกล้า เฟอร์นเิ จอร์ สิง่ ทอ จากพืช และร่ม นอกจากนีม้ กี ลุม่ ทีไ่ ด้เปรียบลดลง เช่น ผลิตภัณฑ์ยางพารา กระดาษและกระดาษแข็ง เครื่องจักร อากาศยาน อาวุธและกระสุน และมี 16 กลุ่มสินค้าที่ได้เปรียบมากขึ้น เช่น ยานยนต์ แ ละชิ้ น ส่ ว น พลาสติ ก และผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก เรื อ และสิ่ ง ก่ อ สร้ า งลอยน�้ ำ ผลิตภัณฑ์เหล็ก พรมและสิง่ ทอปูพนื้ ซึง่ การจะได้เปรียบหรือเสียเปรียบจะมาจาก 2 ปัจจัยหลัก คือ ‘การตลาด’ และ ‘วัตถุดบิ ’ ทีม่ สี นับสนุนอยูแ่ ล้ว และสินค้าไทยเป็นทีต่ อ้ งการ อีกประการ คือการปรับตัว บางรายคิดว่าสินค้าขายดีอยู่แล้วแต่ไม่ปรับตัว บางทีการที่ล่าสุดสินค้าขายได้ ลดลงอาจไม่ได้มาจากเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว แต่มาจากสภาพตลาดที่เปลี่ยนไปด้วย ดังนั้น ผูป้ ระกอบการต้องรับมือกับความเปลีย่ นแปลงนีใ้ ห้ดี ค้นพบครัง้ แรก และสร้างความประหลาดใจแก่คนในประเทศ และน�ำไป สูก่ ารปรับปรุงนโยบายทางการแพทย์ของประเทศ หลังจากทีม่ กี ารค้นพบว่าคนบรูไนเป็นโรคความดันโลหิตในอัตรา ทีส่ งู ท�ำให้สลุ ต่านแห่งบรูไน มีความประสงค์ให้บรูไนมีบริการทีม่ คี วาม ก้าวหน้าในระดับโลก ในแง่ของการรักษาโรคทางประสาทร้ายแรง โดยเฉพาะ โรคสมองขาดเลือด ด้วยการระดมผูเ้ ชีย่ วชาญจากต่างประเทศ และจัดตัง้ ศูนย์แพทย์พร้อมอุปกรณ์เครือ่ งไม้เครือ่ งมือทีม่ คี วามทันสมัยระดับโลก จนสามารถใช้ในการรักษาคนไข้จากประเทศเพือ่ นบ้านได้ดว้ ย ซึง่ จะท�ำให้ บรูไนมีโอกาสยกระดับเป็นเมดิคลั ฮับของภูมภิ าคได้ในอนาคตต่อไป


ดีแทค ร่วมถวายพระพรชัยมงคล ‘พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว’ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๘ พรรษา

เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๘๘ พรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๘ คณะผูบ้ ริหารและ พนักงานดีแทคทัว่ ประเทศได้รว่ มถวายความ จงรักภักดี โดยมี นายลาร์ ส นอร์ ลิ่ ง ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร เป็ น ผู ้ แ ทนกล่ า วเทิ ด พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว

ในพระอัจฉริยภาพด้านต่างๆ พระราชกรณียกิจ ที่ได้ทรงบ�ำเพ็ญและเสียสละเพื่อประโยชน์สุขของ พสกนิกร การคิดค้นสิง่ ใหม่ๆ เพือ่ พัฒนาประเทศไทย ไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองอย่างยั่งยืน และโครงการ ในพระราชด�ำริอกี หลายโครงการ ทัง้ นี้ คณะผูบ้ ริหาร และพนักงานดีแทค ได้ร่วมร้องเพลงสรรเสริญ พระบารมี และเพลงสดุดีมหาราชา พร้อมทั้งร่วม ลงนามถวายพระพรชั ย มงคลหน้ า พระบรมฉายาลักษณ์ ณ ดีแทคเฮาส์ จัตรุ สั จามจุรี บรรยากาศ เต็มไปด้วยความปลืม้ ปีตเิ ป็นอย่างยิง่ นายลาร์สกล่าวเพิม่ เติมว่า “ผมไม่แปลกใจเลยว่า ทุกๆ สถานทีท่ พี่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เสด็จฯ ไปพบกับพสกนิกรคนไทยทุกคน รวมถึงชาวต่างชาติ ทีช่ นื่ ชมพระบารมี ถึงมีนำ�้ ตาไหลออกมา เป็นน�ำ้ ตา แห่งความปลืม้ ปีติ เพราะพระองค์ทรงเป็นศูนย์รวม ดวงใจของปวงชนชาวไทย ทรงเสียสละความสุข ส่วนพระองค์เพื่อปฏิบัติพระราชกรณียกิจมากมาย ถึงแม้ผมจะมาอยูเ่ มืองไทยได้ไม่นาน แต่ตอนทีผ่ มอยู่ ต่างประเทศก็ซาบซึง้ ถึงพระบารมีของพระองค์เป็น อย่างดี และเมื่อผมได้มีโอกาสมาปฏิบัติหน้าที่ ในประเทศไทย ท�ำให้ผมยิ่งตระหนักและได้สัมผัส กับตัวเองว่า ความจงรักภักดีทพี่ สกนิกรชาวไทยมีให้

กับพระองค์นั้นมากล้นจนสุดที่จะพรรณนา และ ยังมีอีกหลายโครงการในพระราชด�ำริ รวมถึง พระราชด�ำรัสของพระองค์ ทีต่ วั ผม ผูบ้ ริหาร และ พนักงานดีแทค ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ พร้อมน้อมน�ำไปปฏิบัติเพื่อเป็นแนวทางในการ ท�ำความดีให้กบั แผ่นดินไทย ตราบนานเท่านาน”

นอกจากนี้ ดีแทคยังได้ส�ำนึกในพระมหา กรุณาธิคุณ ด้วยการเป็นส่วนหนึ่งในโครงการ ‘Bike for Dad ปั่นเพื่อพ่อ’ ร่วมขี่จักรยาน เฉลิมพระเกียรติ ในวันศุกร์ที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ เพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดีและความเป็น หนึง่ เดียวกันพร้อมกับพสกนิกรทัว่ ประเทศไทย

SOUTH KOREA ซัมซุงเบนเข็มรุกซอฟต์แวร์

INDIA ผู้ใช้โมบายในอินเดียแตะ 500 ล้าน

GSMA บริษทั วิจยั อุตสาหกรรมโมบายของอินเดียระบุการศึกษาใหม่วา่ อินเดียจะกลายเป็นประเทศทีม่ กี ารเติบโตของโมบายมาแรงทีส่ ดุ ในโลก ภายในปี 2020 หลังจากจ�ำนวนโมบายในอินเดียก�ำลังทะยานขึน้ แตะ 500 ล้านผูใ้ ช้ในปีนี้ ซึง่ จะท�ำให้อนิ เดียรัง้ ต�ำแหน่งประเทศผูใ้ ช้โมบาย เป็นอันดับสองของโลกรองจากจีน นอกจากนี้ GSMA ยังประเมินว่าอินเดียจะมีจำ� นวน SIM Connections กว่า 1.3 พันล้านซิมในปี 2020 ทัง้ ๆ ทีม่ ปี ระชากรเพียง 36% ของประเทศ ทีม่ มี อื ถือใช้เทียบกับอัตราเฉลีย่ ของทัว่ โลกทีม่ กี ว่า 50% หมายความว่า ยังมีช่องว่างทางการตลาดอีกมากมาย และน่าสนใจอีกเรื่องคือ Tech Startups ซึ่งเป็นตลาดขนาดใหญ่ในอินเดีย สามารถปรับตัวเข้าหา การใช้สมาร์ทโฟนได้มากขึ้น และยังชื่นชอบแบรนด์และบริการจาก ต่างประเทศอีกด้วย ตัวอย่างเช่น Xiaomi และ OnePlus ทีเ่ ข้าไปตัง้ ฐาน การผลิตในอินเดียนานแล้ว ขณะทีร่ ฐั บาลอินเดียก็สง่ โปรเจ็กต์ Digital India เพือ่ หวังส่งเสริมธุรกิจโมบาย

เป็นการเคลือ่ นไหวทีน่ า่ สนใจ ภายหลังจากซัมซุงได้ปรับเปลีย่ นตัวผูบ้ ริหารสูงสุด ในธุรกิจโทรศัพท์มือถือของซัมซุง โดยซัมซุง อิเล็กทรอนิกส์ ประกาศให้ เจ.เค.ชิน (Shin Jong-Kyun) มาด�ำรงต�ำแหน่งเป็นหัวหน้าฝ่ายวิจยั และพัฒนา ธุรกิจโมบาย ซึง่ เป็นผูด้ แู ลรับผิดชอบการพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างระบบปฏิบตั กิ าร ไทเซน และระบบโมบายเพย์เมนต์ ซัมซุงเพย์ โดยชินจะยังคงด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานและประธานเจ้าหน้าที่บริหารร่วมของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ของซัมซุง ต่อไป ซึ่งการปรับเปลี่ยนตัวผู้บริหารของซัมซุงในครั้งนี้ แสดงให้เห็นถึงการ ปรับแนวทางยุทธศาสตร์ในธุรกิจสมาร์ทโฟนของซัมซุง จากทีเ่ น้นด้านฮาร์ดแวร์ มาเป็นด้านซอฟต์แวร์มากขึน้ หลังจากในช่วง 2 ปีทผี่ า่ นมา ธุรกิจสมาร์ทโฟน ของซัมซุงเผชิญกับแรงกดดันอย่างหนัก ยอดขายสมาร์ทโฟนลดลงเป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน ซึง่ ชินเองถือเป็นทีร่ จู้ กั ในอุตสาหกรรมฐานะผูเ้ ชีย่ วชาญด้านฮาร์ดแวร์ โดยเขาเป็นผูท้ ี่ ช่วยน�ำพาซัมซุงก้าวขึน้ มาเป็นอันดับ 1 ในตลาดสมาร์ทโฟน โดยในปี 2554 ทีช่ นิ เข้ามารับหน้าที่ ดูแลธุรกิจโมบาย ซัมซุงมียอดขายสมาร์ทโฟน 94.2 ล้านเครื่องต่อปี ขณะที่ปีที่ผ่านมาซัมซุง ท�ำยอดขายได้ 318.2 ล้านเครือ่ ง จากข้อมูลของบลูมเบิรก์ และเขาน่าจะมียทุ ธศาสตร์ทางออกให้ กับเรือ่ งนีต้ อ่ ไป

USA

มะกันดึง TPP เจาะตลาดอาหาร เอเชีย

ทอม วิ ล แซค รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกา เปิดเผยถึงข้อตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (TPP) ซึ่งจะช่วยให้สหรัฐฯ และประเทศสมาชิก TPP สามารถเจาะตลาดอาหารในภูมภิ าคเอเชีย เพือ่ ถ่วงดุลอิทธิพลของจีน ในภูมภิ าคดังกล่าว โดยหากข้อตกลง TPP นีล้ ลุ ว่ งก็จะช่วยให้ผผู้ ลิตเนือ้ ของสหรัฐฯ สามารถเข้าสู่ ตลาดผู้บริโภคของชนชั้นกลางในเอเชียที่ต้องการผลิตภัณฑ์อาหารที่ปลอดภัยและมีมูลค่าสูง อย่างไรก็ตาม ข้อตกลงดังกล่าวยังต้องผ่านการให้สตั ยาบันจากรัฐสภาสหรัฐฯ และประเทศสมาชิก ซึง่ ปัจจุบนั ประเทศสมาชิก TPP ประกอบด้วย บรูไน, แคนาดา, ชิล,ี ญีป่ นุ่ , มาเลเซีย, เม็กซิโก, เปรู, นิวซีแลนด์, สิงคโปร์, สหรัฐอเมริกา, เวียดนาม และออสเตรเลียเสียก่อน


12 GMBiZ

TOP corporate brand

DECEMBER 2015

เรือ่ ง : รุจรดา วัฒนาโกศัย

โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา สร้างแบรนด์องค์กรเพือ่ ต่อยอดสูค่ วามยัง่ ยืน

ภาพ : กฤตธี อ้วนอร่ามวิไล

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมอบรางวัลให้กับองค์กรธุรกิจที่มีมูลค่าแบรนด์สูงสุดเป็น ปีที่ 4 หรือ ‘Thailand’s Top Corporate Brands 2015’ ใน 19 หมวดธุรกิจ เพือ่ สร้าง ความตระหนักในคุณค่าของแบรนด์องค์กร ซึ่งจะเป็นปัจจัยส�ำคัญในการขับเคลื่อน ธุรกิจสูค่ วามยัง่ ยืนในอนาคต

หลังจากที่ รศ.ดร.กุณฑลี รืน่ รมย์ และ อ.ดร.เอกก์ ภทรธนกุล อาจารย์ประจ�ำภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และ การบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นผูพ้ ฒ ั นาเครือ่ งมือ ที่สามารถใช้วัดมูลค่าแบรนด์องค์กรออกมาเป็นตัวเลขทาง การเงินได้เป็นเครื่องมือแรกของประเทศไทย ที่เรียกว่า CBS Valuation (Corporate Brand Success Valuation) โดยค� ำ นวณจากงบแสดงฐานะทางการเงิ น ของบริ ษั ท จดทะเบียนที่รายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งมูลค่า หลักทรัพย์ทมี่ กี ารซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3 ปียอ้ นหลัง นับตัง้ แต่วนั แรกทีต่ ลาดเปิดท�ำการในปี 2012 จนถึงวันสุดท้ายที่ตลาดเปิดท�ำการในปี 2014 ประมาณ 500 บริษทั มูลค่าแบรนด์องค์กรที่ค�ำนวณออกมาได้นั้นจะสะท้อน ให้ผู้บริหารเห็นถึงผลประกอบการของธุรกิจด้วยเช่นกัน และสามารถน�ำไปใช้เป็น Benchmarking ในการเปรียบเทียบ กับองค์กรตัวเองหรือคูแ่ ข่งได้ นอกจากนีย้ งั ใช้เป็นปัจจัยหนึง่ ในการพิจารณาการควบรวมหรือซือ้ กิจการได้อกี ด้วย ซึง่ ในหมวดการท่องเทีย่ วและสันทนาการ บริษทั โรงแรม เซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ผูบ้ ริหารโรงแรมและรีสอร์ท ในเครือเซ็นทารา ได้รบั รางวัลมูลค่าแบรนด์องค์กรสูงสุดด้วย ตัวเลข 18,093.38 ล้านบาท ดร.รณชิต มหัทธนะพฤทธิ์ รองประธานอาวุโสฝ่าย การเงินและบริหารโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา กล่าวว่า “เป็นรางวัลที่น�ำความภาคภูมิใจมาสู่เซ็นทารา เป็นก�ำลังใจที่จะท�ำให้มุมานะ และทุ่มก�ำลังท�ำให้เต็มที่มาก ยิ่งขึ้น ซึ่งกว่าจะถึงวันที่ได้รับรางวัล เราใช้เวลาตั้งแต่ปี 2007-2008 จนกระทัง่ ถึงตอนนีก้ ็ 7-8 ปี และทุกคนพยายาม ทุ ่ ม เท โดยส่ ว นหนึ่ ง ก็ เ นื่ อ งมาจากเราเป็ น บริ ษั ท ใน ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ เราจะมี ก ารแถลงผลการด� ำ เนิ น งาน ทุกไตรมาส และทุกครั้งที่แถลงผลการด�ำเนินงานก็จะมีชื่อ เซ็นทารา ว่าค่อนข้างจะมีผลงานโดดเด่น ถึงแม้หลายๆ ปี ที่ ผ ่ า นมา ประเทศไทยจะประสบกั บ หลายเหตุ ก ารณ์ ที่ มี ผลกระทบต่อการท่องเทีย่ วและการโรงแรม แต่เราก็สามารถ บริหารและสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั นักลงทุน อันนีก้ อ็ าจจะเป็น เหตุผลหนึง่ ทีค่ ณะกรรมการของจุฬาฯ ได้พจิ ารณาเปรียบเทียบ กับแบรนด์ไทยอื่น ก็เห็นว่าเซ็นทาราเหมาะสมที่จะได้รับ รางวัลนี้ “รางวัลนี้จะเป็นเครื่องประกันคุณภาพ และใช้อ้างอิงได้ เมื่อมีเจ้าของโรงแรมทั้งในและต่างประเทศมาขอให้เราช่วย บริหาร เราก็สามารถบอกได้ว่าแบรนด์เราได้รับเลือกจาก ผูเ้ ชีย่ วชาญ นักวิชาการอิสระ ซึง่ ก็พจิ ารณาด้วยความโปร่งใส” ดร.รณชิตเล่าให้ฟงั ถึงจุดเริม่ ต้นการสร้างแบรนด์ในเครือ เซ็นทารา จากการวางรากฐานแบรนด์เซ็นทาราหลังจากยกเลิก สัญญาการบริหารโรงแรมกับเชนโรงแรมระดับสากลอย่าง ไฮแอทและรีแบรนด์โรงแรมจาก ‘ไฮแอท เซ็นทรัลพลาซา’ มาเป็น ‘โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา’ ก่อนจะเป็น ‘เซ็นทารา แกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา’ ในปัจจุบนั “คุณสุทธิเกียรติ จิราธิวฒ ั น์ เรียกผูบ้ ริหารคนไทยมาประชุม กันว่าถ้าไฮแอทถอนตัว เราคนไทยพร้อมหรือยัง แล้วทุกคน บอกพร้ อ ม ก็ เ ลยเปิ ด เป็ น แบรนด์ เ ซ็ น ทรั ล ก็ ท� ำ มาได้ ดี ประกอบกับช่วงนั้นผมเอาเข้าตลาดหลักทรัพย์ ก็มีแรงด้าน ก�ำลังเงินหนุน ก็สามารถขยายงานได้


2015 DECEMBER

TOP corporate brand

GMBiZ 13

การท�ำงานสไตล์เซ็นทาราจะมองเป็นธุรกิจครอบครัวก็ ไม่ใช่ เพราะ ใช้ระบบการจัดการแบบมืออาชีพเข้ามาช่วย ต้องขอบคุณวิสยั ทัศน์ ของทีมผูบ้ ริหาร ทุกคนมีประสบการณ์มาจากเชนดังๆ เราคุน้ เคยกับการ บริหารจัดการแบบสากล ฉะนัน้ คุณสุทธิเกียรติดงึ คนเก่งๆ มารวมกันเพือ่ มาสร้างทีม จึงเรียกได้วา่ ‘มีความอบอุน่ แบบครอบครัว แต่มกี ารจัดการ แบบมืออาชีพ’

รางวัล Thailand’s Top Corporate Brand Value หมวดธุรกิจการท่องเทีย่ วและสันทนาการ

“ตอนหลังเราขยายโรงแรมเซ็นทรัลไปเรื่อยๆ ฝ่ายการตลาด เวลาท�ำเซลส์ตา่ งประเทศ เขาบอกว่าลูกค้าถามว่าแบรนด์เซ็นทรัล น่าจะอยู่ใจกลางเมือง แต่โรงแรมเรามีทั้งที่ชายทะเล ภูเขา ใช้ชื่อ เซ็นทรัล ท�ำให้ลกู ค้าเข้าใจผิด เราจึงเปลีย่ นเป็นเซ็นทารา” เซ็นทาราด�ำเนินธุรกิจโรงแรมด้วย 2 กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์แรก คือ ทุก 3-5 ปี เมือ่ กระแสเงินสดของกลุม่ ธุรกิจเหลือ จึงพิจารณา เปิดโรงแรมใหม่ขนึ้ เรือ่ ยๆ ซึง่ ปัจจุบนั มีทงั้ หมด 5 แบรนด์ดว้ ยกัน นัน่ คือ เซ็นทารา แกรนด์ ระดับ 5 ดาว, เซ็นทารา ระดับ 4 ดาว, เซ็นทารา ระดับ 3 ดาว, เซ็นทารา บูติค คอลเลคชั่น, เซ็นทารา เรสสิเดนท์แอนด์สวีท และล่าสุดแบรนด์ โคซี่ (COSI Hotels) ซึง่ เป็น โรงแรมระดับ Affordable Lifestyle Hotels จากเดิมที่เซ็นทาราเน้นท�ำโรงแรมตั้งแต่ 3 ดาวขึ้นไป แต่ละ แบรนด์โดยเฉพาะเซ็นทาราจะมีมาตรฐานคุณภาพเพือ่ ตอบสนอง ความคาดหวังของลูกค้าทีต่ งั้ ไว้สงู แต่เมือ่ เปิดโรงแรมระดับ Budget Hotel ในราคาประมาณ 1,200-1,500 บาท ซึง่ ลูกค้ามีความคาดหวัง น้อยกว่าแบรนด์สงู ๆ เพือ่ ป้องกันการสับสน จึงแตกแบรนด์เป็นโคซี่ โดยเฉพาะ “เราใช้ชอื่ แบรนด์ COSI ซึง่ หมายถึงอะไรทีง่ า่ ยๆ เรียบๆ สบายๆ พอเข้าไปมีแอร์เย็น มีนำ�้ อุน่ อาบ มีทนี่ อนนุม่ ๆ เพียงแต่หอ้ งอาหาร อาจจะมีหอ้ งเดียว หรือสิง่ อ�ำนวยความสะดวกอืน่ ๆ ไม่มี ซึง่ เทรนด์ ก�ำลังมาแนวนี้ เหมือนกับในประเทศที่พัฒนาแล้วในตะวันตก ยุโรปก็ดี อเมริกาก็ดี จะมีบัดเจ็ทโฮเต็ลเกิดมาค่อนข้างเยอะ ก็โตขึน้ ตาม Low Cost Airline ตามเทรนด์ของธุรกิจ ซึง่ หนุม่ สาว สมัยใหม่ หรือนักธุรกิจบางบริษทั อาจจะประหยัดในเรือ่ งค่าใช้จา่ ย ด้านที่พัก แต่ขอแค่มีที่นอนหลับสบายและมีความปลอดภัยใน ระดับหนึ่ง แล้วน�ำเงินที่เหลือไปท�ำอย่างอื่น อย่างช้อปปิ้ง หรือ กินอาหาร เราก็มาจับคอนเซ็ปต์นี้ “ก่ อ นท� ำ เราไปให้ บ ริ ษั ท ท� ำ วิ จั ย ไปถามทั้ ง คนไทยและ ต่างประเทศว่าถ้าเราท�ำ Budget Hotel โรงแรมหรือท�ำเลทีต่ งั้ อย่างไร ทีเ่ ขาต้องการ ผลออกมาว่า ไม่ใช่ Prime Location แต่เป็น Second Prime Location และไปดูวา่ เชนอินเตอร์เนชัน่ แนล ระยะ 5-6 ปีหลัง พบว่าจ�ำนวนประเภทโรงแรมทีเ่ ปิดขึน้ ส่วนมากเป็น Budget Hotel” หลังจากทีล่ งทุนสร้างโรงแรมของตัวเองมาโดยตลอด ในปี 2550 จึงเริม่ ยุทธศาสตร์ทเี่ รียกว่า ‘การลงทุนแต่นอ้ ย’ คือไม่เน้นลงทุนสร้าง โรงแรมใหม่เอง แต่ใช้ความรู้ความสามารถที่สั่งสมประสบการณ์ บริหารโรงแรมกว่า 20 ปีมารับบริหารจัดการเช่นเดียวกับเชนใหญ่ ระดับโลกบ้าง จนปัจจุบันมีโรงแรมที่สร้างเอง 15 โรงแรม และ โรงแรมอยู่ภายใต้การบริหารของเซ็นทาราทั้งหมด 25 โรงแรม ในปี 2560 มีโรงแรมทีจ่ ะเปิดเพิม่ อีก 20 โรงแรม ซึง่ ในจ�ำนวนนัน้ เป็นโรงแรมทีส่ ร้างเองเพียง 4 โรงแรม นอกเหนือจากนัน้ คือโรงแรม ที่เซ็นทารารับบริหารจัดการ กระจายตัวอยู่ในต่างประเทศ อาทิ ลาว, อินโดนีเซีย, กาตาร์, โอมาน, มัลดีฟส์ “การที่เรามีประสบการณ์และรู้ความต้องการของเจ้าของว่า เขาต้องการอะไร ท�ำให้เราสามารถตอบสนองความต้องการ ของเจ้าของโรงแรมทีเ่ ราไปรับบริหารได้วา่ เจ้าของโรงแรมเหล่านัน้ ต้องการเห็นอะไร และนอกจากจะรับบริหารให้แล้ว เราถือว่าเจ้าของ โรงแรมเหล่านั้นเป็นพันธมิตรทางด้านธุรกิจ คือเราจะถือว่า ถึงแม้จะเป็นเงินของเขาก็เหมือนกับเงินของเรา ทุกบาททุกสตางค์

ต้องใช้ให้คมุ้ ค่าและสามารถสร้างผลตอบแทนให้เขามากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะมากได้ “ถ้ามีเจ้าของมาเสนออยากให้เราบริหาร เราจะต้องมี ทีมพัฒนาธุรกิจไปพูดคุย ช่วยประมาณการ และดูว่าควรจะ ออกแบบโรงแรมประเภทกีด่ าว กับสถานทีต่ งั้ ของโรงแรมนัน้ ๆ และจะจับกลุ่มเป้าหมายใด ควรมีห้องอาหารกี่ห้อง มีสปา ฟิตเนสเราก็ออกแบบให้หมด เราใช้ต้นทุนโครงการทั้งหมด เท่าไร ควรกูเ้ ท่าไร ใช้เงินส่วนตัวเท่าไร ก็จะพูดคุยในลักษณะนี้ จนเจ้าของเขาเห็นว่าเราไม่ได้หวังจะได้ แล้วเจ้าของต้องการอะไร ก็ตามใจซะหมด เราจะร่วมกันคิด และอะไรที่เจ้าของยังไม่มี ประสบการณ์ และเราคิดว่าจะท�ำให้เขาเสียเงินเยอะเกินไป เราก็จะบอกเขา” สิ่งที่ลูกค้าคาดหวังจาก ‘เซ็นทารา’ คือความเป็นไทย เมือ่ เทียบกับเชนโรงแรมตะวันตกทีถ่ งึ แม้จะออกแบบโรงแรม ให้มีความเป็นไทยก็ยังมีกลิ่นอายความเป็นตะวันตกอยู่ด้วย แต่เซ็นทาราเป็นไทยแท้ ที่มีสปาแบบไทย ห้องอาหารไทย พนักงานส่วนใหญ่เป็นคนไทยที่ยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นมิตร บริการดี และอบอุน่ เช่นเดียวกับกรณีรับบริหารจัดการโรงแรม อาจจะมีเชน โรงแรมดังๆ หลายรายมาเป็นคูแ่ ข่ง ข้อได้เปรียบของเซ็นทารา คือวัฒนธรรมความเป็นมิตร และสุภาพอ่อนโยน

“ชาวตะวันตกส่วนใหญ่ไม่ค่อยยืดหยุ่น และแก้ไขสัญญาไม่ได้ แต่พอเจ้าของโรงแรมมาคุยกับคนไทยซึง่ เป็นคนเอเชียด้วยกัน บางที เขามีความรู้สึกผ่อนปรนมากกว่า และเวลาเราไปคุย เราเอาฝรั่งไป หนึง่ คน คนไทยหนึง่ คน ฝรัง่ เป็นอินเตอร์เป็นระบบ คนไทยอะลุม้ อล่วย ถ้าเขาขอแก้ไขสัญญาบ้าง แล้วเราเห็นว่าไม่ผิด ไม่ท�ำให้มาตรฐาน เซ็นทาราเปลี่ยนไป เราก็ยอมแก้ไขให้เขา แต่เราไม่ลงไปแข่งขัน ด้านราคา เขาก็มคี วามรูส้ กึ สบายใจมากกว่า” ด้วย 2 กลยุทธ์นี้ ท�ำให้เครือเซ็นทาราโดดเด่นมากในปี 2558 แม้จะเป็นปีที่หลายคู่แข่งบอกว่านักท่องเที่ยวเยอะและสัดส่วนรายได้ โตขึ้น แต่เมื่อมองไปที่ก�ำไรก็ยังสู้เซ็นทาราไม่ได้ เนื่องจากเซ็นทารา ได้รบั ในส่วนค่าบริหารจัดการเข้ามาด้วย เมือ่ พูดถึงวัฒนธรรมการท�ำงานสไตล์เซ็นทารา ดร.รณชิตบอกว่า จะมองเป็นธุรกิจครอบครัวก็ไม่ใช่ เพราะใช้ระบบการจัดการแบบ มืออาชีพเข้ามาช่วย “ต้องขอบคุณวิสัยทัศน์ของทีมผู้บริหาร ทุกคน มีประสบการณ์มาจากเชนดังๆ เราคุ้นเคยกับการบริหารจัดการแบบ สากล ฉะนัน้ คุณสุทธิเกียรติดงึ คนเก่งๆ มารวมกันเพือ่ มาสร้างทีม “จึงเรียกได้วา่ ‘มีความอบอุน่ แบบครอบครัว แต่มกี ารจัดการ แบบมืออาชีพ’ นัน่ เอง”


ÔºÏÜŠʼ£Ċ²·³ ²ĻÊØ´ÂÑĉ´¼È³ ʼ®č °ÍÜ»Ê ĶȾϺ #MyCentaraSecrets

ÃÊ £Ð® ĻʾɦºÅ¦Ãʯʲ°ÍÜ·É µĉŲ üÏÅ ĻʾɦÃʯʲ°ÍÜĸ¾Å¦´ā×úĉ ɳ£¼Å³£¼ÉÀ ĶȺͰÍÜØòijųÖĶ°»čØIJĊIJÍØ´ ÀĉÊÔ¨Û²°Ê¼Ê °ÍܺÍÖ¼¦Õ¼ºÕ¾È¼ÍÂżč°×²Ô£¼ÏÅ×ÃĊÔ¾ÏÅ ºÊ ºÊ» Ô§ĉ² ·É°»Ê ºл ¹ÑÔ Ûij ×ÃĊ£Ð®ØIJĊÔ¾ÏÅ Ø´·É µĉŲIJĊÀ»ÃĊŦ·É Ã¾Ê Ã¾Ê»¡²ÊIJ ÃÊIJ°¼Ê»¡ÊÀ ²ÝĻÊ°ÈÔ¾× վȻɦ×ÃĊ£Ð®ØIJĊijÏܲÔijĊ²Ø´ ɳÂÀ²²ÝĻÊÂÐIJžɦ ʼ ײ¼ÍÂÅ¼č°°Éݦ¹ÑÔ Ûijվȷɰ»Ê غĉÀĉÊÂØij¾čØÃ²Ú Ô¨Û²°Ê¼ÊĶÉIJ×ÃĊij¼¦×Ķ£Ð®ÔºŠ·ÌÔĹÁÂÐIJÚ ×²§ĉÀ¦ÀɲûÐIJÔ°Ĺ Ê¾²ÍÝ É³Ö´¼Öº§ÉܲÃĊŦ·É ¼Ê£Ê·ÌÔĹÁ Ô¼ÌܺijĊ²Ô·Í»¦ 1,699

³Ê° ĶŦIJĉÀ²Àɲ²ÍÝ Ðº¹Ê·É²±č ĶŦij¼¦ ɳԨ۲°Ê¼Ê°ÍÜÔÀ۳بijčÃ¾É Ô¼Ê¼É³´¼È ɲ¼Ê£Ê°ÍÜIJÍ°ÍÜÂÐIJ BDMS@Q@ BN SG ÷ T Ġ ÷ E QDRDQU@SHNMR BGQ BN SG

¼Ð¦Ô°·Ç ÷ ·É°»Ê ÷ ÃÉÀÃ̲ ÷ ¹ÑÔ Ûij ÷ ºл ÷ ¼È³ÍÜ ´¼ÈÔ°ĹØ°» ÷ ³ÊÃ¾Í ÷ ºÉ¾IJ͸Âà ÷ Ĺ¼Í¾É¦ Ê ÷ ÔÀÍ»IJ²Êº

8499_CHR_Ads_GMbiz_Rev01.indd 1

12/4/15 10:38 AM


2015 DECEMBER

special INTERVIEW

GMBiZ 15

เรือ่ ง : โชติ เวส

ตามรอยวิถี Honda เติบโตอย่างไรให้ยงั่ ยืน “ดังเช่นที่ฮอนด้าได้รับรางวัลธุรกิจยานยนต์ยอดนิยม (TAQA-Thailand Automotive Quality Award) ประเภท แบรนด์ยอดนิยม ด้านภาพลักษณ์มคี วามน่าเชือ่ ถือถึง 4 ปี ซ้อน (2555-2558) และยังได้รับรางวัล Thailand Top Company Awards ในด้าน Corporate Sustainability Awards ซึ่งเป็นรางวัลส�ำหรับองค์กรที่ให้ความส�ำคัญกับ ธุรกิจทีย่ งั่ ยืน โดยพิจารณาจากหลักเกณฑ์ทงั้ 3 ด้าน ได้แก่ ผลการด�ำเนินธุรกิจและธรรมาภิบาล ความใส่ใจในด้าน สังคมซึง่ เป็นความรับผิดชอบทัง้ ต่อสังคม ชุมชนทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง กับธุรกิจ รวมไปถึงความรับผิดชอบต่อพนักงาน” ต้องยอมรับว่าการด�ำเนินธุรกิจในช่วง 1-2 ปีนี้ ภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจที่ชะลอตัว นับเป็น เรื่ อ งที่ ท ้ า ทายส� ำ หรั บ หลายองค์ ก ร แต่ ก็ มี บางองค์กรทีม่ คี วามแข็งแกร่งในการด�ำเนินธุรกิจ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลีย่ นแปลงได้ อย่างรวดเร็ว จึงไม่ได้รบั ผลกระทบมากนัก ฮอนด้า ประเทศไทย นับเป็นอีกหนึง่ องค์กร ที่ด�ำเนินธุรกิจมาอย่างยาวนาน และเป็นบริษัท ทีเ่ ติบโตอย่างยัง่ ยืนมากว่า 50 ปีในประเทศไทย เหตุผลส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ฮอนด้าสามารถด�ำเนินธุรกิจ ได้อย่างราบรืน่ นัน้ พิทกั ษ์ พฤทธิสาริกร ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารปฏิบัติการ บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิ ล (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด เผยว่ า “เพราะฮอนด้ า มี ห ลั ก การท� ำ งานที่ ตั้ ง อยู ่ บ น เป้ า หมายและวิ สั ย ทั ศ น์ ที่ ชั ด เจนขององค์ ก ร เพื่อท�ำให้ฮอนด้าเป็นองค์กรที่สังคมต้องการให้ ด�ำรงอยู่ พร้อมกับการรักษาสมดุลทัง้ ในด้านการ ด�ำเนินธุรกิจ การช่วยเหลือสังคม และการรักษา สิ่ ง แวดล้ อ ม ภายใต้ ป รั ช ญาฮอนด้ า (Honda Philosophy) ที่ เ ป็ น แนวคิ ด หลั ก ของบริ ษั ท ในการบริหารงาน ต่อให้มกี ารเปลีย่ นแปลงภายใน องค์กรเช่นไร แต่ปรัชญาของฮอนด้าก็จะไม่ได้ เปลีย่ นไปตามนัน้ เพราะหลักการท�ำงานยังคงเป็น แบบเดิม และเป็นสิง่ ทีท่ กุ คนยึดถือเหมือนกัน” ทัง้ นี้ ฮอนด้าด�ำเนินธุรกิจตามแนวคิดหลักของ บริษทั ผ่าน 3 Joys ได้แก่ 1. Joy of Creating ยินดีทไี่ ด้สร้างสรรค์ คือ การมีส่วนร่วมของพนักงานในการสร้างสรรค์ พั ฒ นา และผลิ ต สิ น ค้ า ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ความ ต้ อ งการของลู ก ค้ า มากที่ สุ ด ความยิ น ดี ที่ ไ ด้ สร้างสรรค์จึงเกิดจากการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่มี คุณภาพมากกว่าความคาดหวังของลูกค้า 2. Joy of Selling ยินดีทไี่ ด้ขาย คือ การมี ส่ ว นร่ ว มของพนั ก งานและผู ้ จ� ำ หน่ า ยฮอนด้ า ที่ได้ส่งมอบความสุขในการใช้ผลิตภัณฑ์ฮอนด้า ให้กบั ลูกค้าทุกคน และการสร้างความสัมพันธ์ทดี่ ี กั บ ลู ก ค้ า บนพื้ น ฐานของความเชื่ อ มั่ น ซึ่ ง กั น และกัน 3. Joy of Buying ยินดีทไี่ ด้ซอื้ คือ การมี ส่วนร่วมของลูกค้าในการใช้ผลิตภัณฑ์ฮอนด้า เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกในการใช้ชวี ติ ประจ�ำวัน นอกจากนี้ อีกแนวคิดหนึ่ง คือ Respect Individual การเคารพปัจเจกบุคคล ใน 3 ด้าน ได้แก่ 1. Initiative การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คือ การคิดโดยไม่ยึดติดกับทัศนคติที่มีก่อนหน้านี้ แต่คิดอย่างสร้างสรรค์ ลงมือท�ำ และตัดสินใจ

ด้วยตัวของตัวเอง พร้อมทั้งรับผิดชอบต่อผล ของการกระท�ำทีเ่ กิดขึน้ นัน้ ด้วย 2. Equality ความเท่าเทียมกัน คือ การ ยอมรับในความแตกต่างของแต่ละคน และปฏิบตั ิ ต่อทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทจึงให้โอกาส ในการท�ำงานอย่างเสมอภาคกัน โดยไม่แบ่งแยก เชือ้ ชาติ เพศ อายุ ศาสนา การศึกษา หรือสถานะ ทางสังคม 3. Trust ความเชื่อมั่น คือ ความเชื่อมั่น ซึ่งกันและกันระหว่างพนักงาน ความเชื่อมั่นใน ปั จ เจกบุ ค คล การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ น พนักงานด้วยกัน การแบ่งปันข้อมูล และแสดงออก ถึงความจริงใจในงานทีร่ บั ผิดชอบ

Thailand Top Company Awards 2015

ภายใต้การด�ำเนินธุรกิจที่มีปรัชญาและแนวทาง การขับเคลือ่ นองค์กรทีช่ ดั เจนตลอดระยะเวลากว่า 50 ปี ทีฮ่ อนด้าได้ดำ� เนินธุรกิจในประเทศไทยนัน้ ทางบริ ษั ท ฯ ได้ มุ ่ ง มั่ น สร้ า งสรรค์ แ ละพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เสมอมา เพือ่ สร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กบั ลูกค้า ชาวไทย และด้วยเหตุนี้ จึงท�ำให้ฮอนด้ากลายเป็น แบรนด์รถยนต์ที่ได้รับความเชื่อมั่นจากลูกค้า ชาวไทยมาโดยตลอด “เพราะลูกค้าชื่นชอบในแบรนด์เรา และมี ความผูกพันกันมาอย่างยาวนาน ท�ำให้เรามุง่ เน้น การให้บริการอย่างเต็มที่ เพือ่ สร้างความพึงพอใจ สูงสุดให้กับลูกค้าเสมอมา เรามีเป้าหมายที่จะ ด�ำเนินธุรกิจให้ได้ตามแผนทีว่ างไว้ โดยทีไ่ ม่ได้ยดึ ติดที่เป้าหมายในการจะได้เป็นที่หนึ่งในตลาด รถยนต์นงั่ แต่มองว่า การเป็นแบรนด์ทไี่ ด้รบั ความ นิยมนัน้ จะต้องได้รบั ความชืน่ ชอบจากลูกค้า และ เป็นแบรนด์อันดับหนึ่งในใจลูกค้านั้น ท�ำให้เรา รูส้ กึ ภูมใิ จมากกว่าการเป็นแบรนด์อนั ดับหนึง่ ใน ด้านยอดขาย นั่นคือจุดที่เราวาง Brand Positioning ของเราไว้” แม้จะเป็นแบรนด์ระดับโลก แต่ ฮอนด้าก็ยงั คงด�ำเนินธุรกิจด้วยท่าที ทีน่ อบน้อมต่อสังคมเสมอ โดยเฉพาะ กับมุมที่ถ่ายทอดออกมาอย่างต่อ เนือ่ งผ่านการท�ำกิจกรรมเพือ่ สังคม (CSR) ซึง่ เป็นแนวคิดทีเ่ กิดจากความ ต้องการที่จะคืนก�ำไรให้กับสังคม อย่างต่อเนือ่ ง “การด�ำเนินกิจกรรมเพือ่ สังคม เป็นสิ่งที่ฮอนด้าให้ความส�ำคัญมา โดยตลอด เป็นแนวคิดหลักในการ

พัฒนาธุรกิจสู่ความยั่งยืน และเป็นความรับผิด ชอบที่ยั่งยืนขององค์กรที่มีต่อสังคมอีกด้วย โดย ฮอนด้ามีการแบ่งงบประมาณส�ำรองเก็บส�ำหรับท�ำ กิจกรรมเพื่อสังคมไว้อยู่แล้วในกองทุนฮอนด้า เคียงข้างไทย ซึง่ แยกต่างหากจากงบประมาณของ บริษัท และไม่ได้ขึ้นอยู่กับผลก�ำไรในแต่ละปี ท�ำให้เราสามารถเบิกจ่ายงบในส่วนนีไ้ ปช่วยเหลือ เหตุการณ์ต่างๆ ได้อย่างทันท่วงที ซึ่งปัจจุบัน กองทุนฯ มียอดเงินสะสมตัง้ แต่วนั ที่ 1 เมษายน 2555 ถึงเดือนมีนาคม 2558 เป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 890 ล้ า นบาท และทางกลุ ่ ม บริ ษั ท ฮอนด้ า ฯ ก็ได้ทยอยสะสมเงินเข้ากองทุนและหมุนเวียนใช้ อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ กิจกรรมบรรเทาความเดือดร้อน แก่ประชาชนชาวไทยในยามต้องเผชิญภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ ขณะเดียวกันก็ยังมีการให้การ สนับสนุนทางสังคมอีกมากมาย เช่น โครงการ แก้มลิงหนองน�ำ้ พล จังหวัดลพบุรี และ โครงการ พัฒนาแหล่งน�ำ้ ชุมชน ทีอ่ ำ� เภอกบินทร์บรุ ี จังหวัด ปราจีนบุรี เป็นต้น” ทัง้ นี้ เกีย่ วกับประเด็นฮอตของวงการรถยนต์ไทย ภายหลังจากการปรับโครงสร้างภาษีรถยนต์ใหม่

ที่จะคิดค�ำนวณจากขนาดเครื่องยนต์ (CC) และ ปริมาณไอเสีย (คาร์บอนไดออกไซด์) ซึง่ จะส่งผล ให้ราคารถยนต์ใหม่ทจี่ ำ� หน่ายในประเทศมีราคา เพิ่มขึ้นกว่าปัจจุบัน และอาจส่งผลกระทบต่อ ผูบ้ ริโภคนัน้ พิทกั ษ์เปิดเผยว่า ทางฮอนด้าก�ำลัง มุง่ เน้นพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้อยูใ่ นเกณฑ์ของภาษี ทีจ่ ะส่งผลกระทบต่อราคาให้นอ้ ยทีส่ ดุ นอกจากนี้ ผู้บริโภคในปัจจุบันมีไลฟ์สไตล์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป มี ค วามต้ อ งการใช้ ร ถที่ หลากหลายมากยิง่ ขึน้ ท�ำให้ตลาดรถยนต์มคี วาม หลากหลาย มีรถในเซกเมนต์ใหม่เพิ่มเข้ามา มากขึน้ เช่น รถ MUV, SUV มีความอเนกประสงค์ เพิม่ ขึน้ ฮอนด้าเป็นผูร้ เิ ริม่ ในการน�ำเสนอรถยนต์ SUV เพื่อตอบโจทย์การใช้งานที่หลากหลาย เริม่ ด้วย ฮอนด้า ซีอาร์-วี และเมือ่ ปลายปีทผี่ า่ นมา ได้มีการเปิดตัว ฮอนด้า เอชอาร์-วี ยนตรกรรม สปอร์ตครอสโอเวอร์ระดับพรีเมียม ที่มีกระแส ตอบรับที่ดีมาก ด้วยยอดจองกว่า 40,000 คัน ในระยะเวลาไม่ถึง 1 ปี และยังเตรียมแนะน�ำ เอชอาร์-วี ใหม่ ทีม่ กี ารพัฒนาผลิตภัณฑ์เพิม่ เติม และพร้อมส่งมอบให้กบั ลูกค้าภายในต้นปีหน้า นอกจากนี้ เพื่อต่อยอดความส�ำเร็จของ เอชอาร์-วี ฮอนด้ายังได้แนะน�ำ ฮอนด้า บีอาร์-วี รถยนต์อเนกประสงค์เจเนอเรชัน่ ใหม่ ทีม่ คี วาม โดดเด่นทัง้ ในเรือ่ งของดีไซน์ทพี่ ร้อมตอบโจทย์ การใช้งานทีห่ ลากหลาย ซึง่ ได้รบั การพัฒนาขึน้ เพื่อเข้ามาเติมเต็มไลน์ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มของ รถยนต์อเนกประสงค์ของฮอนด้าให้สมบูรณ์ มากยิง่ ขึน้ โดย ฮอนด้า บีอาร์-วี เตรียมพร้อม ขึ้นไลน์การผลิตในประเทศไทยเร็วๆ นี้ และ จะท�ำการเปิดตัวอย่างเป็นทางการต้นปี 2559


Marketing

16 GMBiZ

rich-onomics ชัยพล กฤตยาวาณิชย์

‘อยูอ่ ย่างจน ไม่มจี น’

คุณพ่อคุณแม่ ท่านเคยพูดประโยคนี้ให้ผมฟังอยู่บ่อยๆ เสมือน จะเตือนให้ผมและน้องๆ มีสติ ท�ำความเข้าใจในความหมายลึกๆ ทีซ่ อ่ นอยู่ หลายๆ ครัง้ ก็ทำ� ให้พวกเราต้องนิง่ นึกทบทวนถึงแผนการใช้เงิน ตัวเองไม่ได้ ด้วยไม่ต้องการให้ท่านอดเป็นห่วง ในวันที่ท่านเป็น ไม้ใกล้ฝง่ั ท่านบอกเสมอ ชีวติ ยังอีกไกล จึงต้องใช้เงินอย่างมีเหตุมผี ล แม้อนาคตจะเป็นเรื่องที่มองไม่เห็น แต่การท�ำปัจจุบันให้ดีที่สุด กิน อยู่ ใช้อย่างมีสติ น่าจะเป็นหลักใหญ่ทพี่ งึ กระท�ำ พูดถึงเรือ่ งนี้ ท�ำให้ผมนึกถึงคนหนึง่ ทีผ่ มรูจ้ กั เข้าข่ายมหาเศรษฐี ทีม่ พี นื้ ฐานต้นทุนทางสังคมและฐานะค่อนข้างดี ไม่ลำ� บาก แต่ทกุ วัน เธอก็ปฏิบตั ติ วั อย่างคนธรรมดา รวมถึงสอนลูกๆ ให้เป็น แบบอย่าง จะให้เงินไปโรงเรียน มหาวิทยาลัย ก็แค่เพียงทีต่ อ้ งใช้ ทีส่ ำ� คัญ เธอสอนคนในครอบครัวให้แยกแยะ ระหว่าง ‘ความจ�ำเป็น’ กับ ‘ความต้องการ’ ยิง่ กว่านัน้ เธอยังฝึกวินยั และฝังทัศนคติ ‘มัธยัสถ์’ กับคนรอบข้าง อย่างเมือ่ ได้เงินมาร้อยก็ตอ้ งกันเก็บไว้กอ่ นสามสิบ ทีเ่ หลือก็คอ่ ยใช้ ด้วยสมการที่ดี ต้องเป็น ‘เก็บก่อนแล้วค่อยใช้’ ไม่ใช่ ‘ใช้เหลือ เท่าไหร่จงึ ค่อยเก็บ’ ใครสักคนยังเคยพูดอีกว่า ต่อให้รวยแค่ไหน เราก็กินอิ่มได้แค่ สามมือ้ นอนก็เพียงบนเตียงเตียงเดียว ในห้องห้องเดียว กินเสร็จก็ตอ้ ง ขับถ่ายตามปกติ ชีวติ ทีม่ สี ขุ จึงไม่จำ� เป็นต้องติดหรู ติดสบาย สอดคล้องกับทีท่ า่ น ว.วชิรเมธี ได้เทศน์ไว้นา่ ฟัง ‘ความสุขไม่ได้ ขึน้ อยูก่ บั ขนาดหรือวัตถุทเี่ ราครอบครอง’ ผมเองไม่ได้มองโลกแง่รา้ ย แต่เมือ่ มองตามความเป็นจริง ก็เชือ่ ว่า สังคมนีย้ งั มีคนบางกลุม่ ทีเ่ ข้าใจผิด ตีคา่ ให้ราคากันทีเ่ ปลือกนอก จนบางครั้ง ถึงกับหลงผิด ให้ความส�ำคัญกับ ‘วัตถุ’ จนเกินไป ใช้เงินเกินตัว เกินฐานะ เกินขอบเขตทีต่ วั เองมี เงิ น ที่ ซื้ อ ความสุ ข ก็ คื อ เงิ น อนาคตที่ ห ยิ บ ยื ม จากบั ต รเครดิ ต บัตรกดเงิน และอีกสารพัดมาใช้ จนเป็นหนีเ้ ป็นสิน สร้างความเดือดร้อน ให้ตวั เอง และครอบครัว หากคิดอยากรวย ก็ตอ้ งอยูอ่ ย่างจนให้เป็นก่อนครับ ทัง้ นี้ ‘ความจน’ ไม่ได้แปลว่า ต้องอดอยาก กินไม่อร่อย กินไม่อมิ่ นอนไม่ดี ไม่เทีย่ ว ไม่ใช้เงิน แบบสุดโต่ง ทางสายกลาง น่าจะเป็นค�ำตอบที่ดีที่สุด เมื่อถึงเวลาใช้ก็ต้องใช้ ซือ้ ความสุขให้ตวั เองได้ในสนนราคาทีส่ มเหตุสมผล ไม่ทำ� ตัวฟุง้ เฟ้อ เกินงาม เกินความพอดี ทีส่ ำ� คัญ ไม่ทำ� ตัว ‘รวย’ กว่าความจริงทีเ่ ป็น และสุดท้าย ต้องสร้างสติ และมีวินัยในการออม แบบรู้จักหา รูจ้ กั เก็บ รูจ้ กั ใช้ ชีวติ ก็นา่ จะดีขนึ้ และโอกาสทีจ่ ะสัมผัสความจน ก็ยอ่ มไม่มคี รับ

ชัยพล กฤตยาวาณิชย์ : ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ธุรกิจบัตรเครดิต ‘KTC’ บริษทั บัตรกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน)

DECEMBER 2015

MRDA มิติใหม่แห่งการวัดเรตติง้ เป็นที่แน่ชัดแล้วว่าสมาคมมีเดีย เ อ เ ย น ซี่ แ ล ะ ธุ ร กิ จ สื่ อ แ ห ่ ง ประเทศไทย (MAAT) ได้ตดั สินใจ ร่ ว มกั น จั ด ตั้ ง สมาคมวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาสื่ อ (ประเทศไทย) หรื อ Media Research Development Association (Thailand): MRDA) เพือ่ ทีจ่ ะเข้ามาควบคุมดูแล ก�ำกับ งานวิ จั ย อุ ต สาหกรรมสื่ อ โดย มอบหมายให้ บริษัทกันตาร์มีเดีย เป็นตัวแทนในการท�ำวิจยั เรตติง้ ทีวี ในทุกๆ แพลตฟอร์ม จากเดิมทีเ่ คย ใช้ บ ริ ก ารวั ด เรตติ้ ง จากนี ล เส็ น มาเป็นระยะเวลายาวนาน ส� ำ หรั บ เหตุ ผ ลส� ำ คั ญ ในการ ก่อตัง้ MRDA นัน้ มาจากทางสมาคม มี เ ดี ย เ อ เ ย น ซี่ แ ล ะ ธุ ร กิ จ สื่ อ แห่งประเทศไทย ต้องการยกระดับคอนเทนต์ทวี ใี นประเทศไทยให้มคี ณ ุ ภาพ จากปัจจุบนั ทีวดี จิ ทิ ลั 24 ช่อง ไม่รวมช่องสาธารณะ ไม่มคี อนเทนต์ทแี่ ปลกใหม่หรือมีคณุ ภาพ แตกต่างจากทีวอี นาล็อกเดิม โดยช่องทีวเี น้นผลิตเพียงรายการเรียกเรตติง้ แทนรายการ คุณภาพ เพือ่ ความอยูร่ อดของช่อง ส่งผลให้รายการคุณภาพอยูไ่ ม่ได้เพราะไม่มเี รตติง้ จึงท�ำให้เกิดค�ำถามว่าการวัดเรตติง้ สะท้อน ความเป็นจริงและน่าเชือ่ ถือแค่ไหน ทั้งนี้ หากย้อนไปแต่ก่อน นีลเส็นเป็นเพียงผู้เดียวที่ผูกขาดในการวัดเรตติ้ง โดยมีเดียทุกรายต้องซื้อข้อมูลจากนีลเส็น ซึง่ มีราคาสูงขึน้ ทุกปี และนีลเส็นใช้วธิ เี ก็บข้อมูลเฉพาะหน้าจอทีวี จากกลุม่ ตัวอย่าง 6,000 ราย ติดตัง้ เครือ่ งวัดเรตติง้ 2,200 ราย ซึ่งทางสมาคมมองว่ายังไม่พอ และต้องการให้มีการวัดผลแบบ Multi-Screen ทั้งโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ มือถือ แท็บเล็ต ตามพฤติกรรมผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นไป เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้องและเป็นมาตรฐาน ปัจจุบนั MRDA มีสมาชิก 91 ราย ประกอบด้วย เอเยนซี่ 26 ราย ฟรีทวี ี 21 ช่อง ทีวดี าวเทียม 17 ช่อง เคเบิลทีวี 11 ช่อง ทรูวชิ นั่ ส์ 11 ช่อง ทีวสี าธารณะ 2 ช่อง ทีวชี อ้ ปปิง้ 2 ช่อง และอืน่ ๆ 2 ราย คือ ไทยคม และกูเกิล ขาดเพียง ช่อง 7 ผูน้ �ำเรตติง้ ในปัจจุบนั จากการวัดผลของนีลเส็น และช่อง 8 ของอาร์เอส ทีย่ งั ไม่เข้าร่วม ท�ำให้การวิจยั ผ่าน MRDA จะไม่มขี อ้ มูลของช่อง 7 และช่อง 8 ออกมาน�ำเสนอกับสมาชิก ส�ำหรับกลุ่มตัวอย่างในการส�ำรวจปีแรก 30,000 กลุ่มตัวอย่าง ลดลงเหลือ 20,000 กลุ่มตัวอย่างในปีถัดไป และเลือก 3,000 กลุม่ ตัวอย่างติดตัง้ เครือ่ งมือวัดเรตติง้ บนทีวี 3,000 เครือ่ ง และดีไวซ์อนื่ ๆ ทีใ่ ช้ในครัวเรือนรวม 9,600 ดีไวซ์ โดยทาง MRDA จะว่าจ้างกันตาร์มีเดียเป็นจ�ำนวนเงิน 1,500 ล้านบาท สัญญา 5 ปี ในการส�ำรวจเรตติ้ง เซ็นสัญญา 16 ธันวาคม 2558 พร้อมเก็บข้อมูล มกราคม 2559 และสามารถเผยแพร่ผลวิจยั เป็นเรตติง้ กลางทีใ่ ช้รว่ มกันครัง้ แรกอย่างเป็นทางการต้นปี 2560 โดยสมาชิกสามารถเข้าดูขอ้ มูลเรตติง้ ได้ทกุ ส่วน

10 สุดยอด

วิดีโอ

ประเทศไทย 2015

ต้องยอมรับว่า คนไทยเป็นชนชาติทตี่ ดิ อันดับ 1 ใน 10 ของประเทศ ทีใ่ ช้เวลาชมบน YouTube มากทีส่ ดุ ในโลก โดยเฉพาะ ในปีทผี่ า่ นมา จ�ำนวนเวลาการชมวิดโี อบน YouTube เพิม่ สูงถึง 70% ซึง่ หากลองมาดูประเภทคลิปทีม่ กี ารเสพจะพบถึง ความหลากหลายอย่างมาก และนีก่ เ็ ป็นประเพณีประจ�ำท้ายปีที่ YouTube Rewind จะเปิดเผยถึงคลิปวิดโี อยอดนิยม ของคนไทยประจ�ำปี 2015 10 อันดับวิดโี อยอดนิยมบน YouTube ได้แก่ 1. เมือ่ หม�ำ่ เจอแชมป์โคโยตีป้ ระเทศไทย 2. The Voice Thailand : หนอยแน่ : กลับไม่ได้ ไปไม่ถงึ 3. The Voice Thailand : เปอติด๊ ญาดา : Good Times 4. ปริศนาฟ้าแลบ : ดาว ข�ำมิน vs นนทัช 5. The Voice Kids Thailand : อาย - จิจ๊ ะ๊ 6. กิก๊ ดู๋ : ประชันเงาเสียง กระแต อาร์สยาม 7. The Voice Thailand : โบกี้ พิชญ์สนิ ี : กลับมา 8. ซีรสี ร์ กั นะเป็ดโง่ Ugly Duckling | Perfect Match 9. ตัวอย่างเต็ม แม่เบีย้ (Official Trailer) 10. Club Friday the Series 5 ตอน ความลับของห้อง ม.6/3 แน่นอนว่า คลิปเหล่านี้ไม่ได้มีหน้าที่แค่เรียกเสียงหัวเราะหรือความเพลิดเพลินเท่านั้น หากแต่ยิ่งมีจ�ำนวนคนดู มากเท่าไร ก็เท่ากับเป็นการสร้างมูลค่าให้คลิปนั้นๆ ได้อย่างมหาศาล ตามที่ YouTube ประเทศไทยได้เคยกล่าวไว้ โดยเฉพาะผลบวกต่อเจ้าของคลิปทีจ่ ะมีโอกาสได้รบั รายได้ผา่ นการโฆษณาของแบรนด์ธรุ กิจต่างๆ ทีส่ นใจจะลงโฆษณา ในคลิปนัน้ ๆ ภายใต้การแบ่งรายได้กบั YouTube ตามสัดส่วนทีถ่ กู ก�ำหนดต่อไป หมายเหตุ : ไม่ขอระบุจำ� นวนผูเ้ ข้าชม เนือ่ งจากมีการเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา



DECEMBER 2015

18 GMBiZ

Trend Watching.com

think out loud สมชาติ ลีลาไกรศร

Acacia Leroy

BRANDS WITH

BENEFITS ในยุ ค ที่ สั ง คมก� ำ ลั ง แสวงหาความโปร่งใส แ ล ะ ผู ้ ค น ส า ม า ร ถ แลกเปลี่ยนโอนย้ายข้อมูล ให้ กั น ได้ ภ ายในพริ บ ตานั้ น ได้กระทบชิง่ มาสูก่ ารเรียกร้องให้แบรนด์ และธุ ร กิ จ ต่ า งๆ เริ่ ม เปิ ด เผยข้ อ มู ล และมี ค วาม รับผิดชอบในธุรกิจหรือธุรกรรมที่ท�ำ อันจะส่งผล กระทบต่อชุมชนและสังคมมากขึ้น และนี่จึงเป็น เหตุผลที่ท�ำให้บริษัทและองค์กรต่างๆ เริ่มหันมาให้ความส�ำคัญ กับเรือ่ งของการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทัง้ แนวทางต่างๆ ทีจ่ ะตอบแทนและดูแลโลก เชือ่ ได้วา่ เราทุกคนคงจะคุน้ เคยกับค�ำว่า CSR (ความรับผิดชอบต่อ สังคมขององค์กร) มาสักระยะหนึ่งแล้ว และดูเหมือนว่ ากิจกรรม ในรูปแบบ CSR ต่างๆ นัน้ ก็ถกู น�ำมาใช้เกือบครบแล้วเช่นกัน ไม่ว่า จะเป็นการบริจาคให้กับองค์กรการกุศล การตั้งกองทุนเพื่อสนับสนุน การขับเคลือ่ นแนวคิดต่างๆ และอืน่ ๆ อีกมากมาย ดังนัน้ ลองมอง CSR ในบริบทใหม่ จะพบว่า สัมพันธภาพระหว่าง แบรนด์ใหญ่ๆ และผู้บริโภคดูเริ่มทัดเทียมกันมากขึ้นๆ เส้นแบ่งและ ขอบเขตต่างๆ เริ่มจางหายไปเรื่อยๆ ส่งผลให้เทรนด์ที่น่าสนใจก็คือ บรรดาแบรนด์ใหญ่ๆ พากันใช้ประโยชน์จากสิ่งของต่างๆ ที่ไม่ได้ใช้ ประโยชน์และอาจถูกปล่อยทิ้งไว้โดยเปล่าประโยชน์ มาเพิ่มคุณค่า บางอย่าง แนวคิดนี้ได้แรงหนุนส่วนหนึ่งจากประเด็นเรื่อง ‘การแบ่งปัน ออนไลน์’ ซึ่งเข้ามาช่วยปรับแต่งความคาดหวังของผู้บริโภคในเรื่อง ของการแบ่งปันทรัพยากรที่มีอยู่รอบตัว และนั่นก็ส่งผลให้ผู้บริโภค มีความคาดหวังลักษณะเดียวกันกับบรรดาแบรนด์ต่างๆ ด้วยเช่นกัน เพราะถ้าผู้บริโภคสามารถแบ่งปันทรัพยากรที่ไม่ได้ใช้ให้กับคนอื่น เพือ่ ท�ำให้ของนัน้ ๆ ได้ใช้งานอย่างเต็มทีแ่ ละคุม้ ค่าแล้ว ไหนเลยทีแ่ บรนด์ ต่างๆ จะท�ำไม่ได้... แบรนด์ตา่ งๆ มีความสามารถ มีอำ� นาจ และมีทรัพยากรทีส่ ามารถ สร้างความเปลีย่ นแปลงได้ และผูบ้ ริโภคก็ตอ้ งการให้แบรนด์ทำ� เช่นนัน้ การแบ่งปันทรัพยากรที่ไม่ได้ใช้ให้กับคนอื่นได้เพื่อท�ำให้ของนั้นๆ ได้ใช้งานอย่างเต็มที่ คุม้ ค่า ซึง่ ถ้าหากปล่อยทิง้ ไว้กเ็ ปล่าประโยชน์ เป็น วิถที างทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยไม่ได้ทำ� ให้เกิดค่าใช้จา่ ยอะไรมากมาย ในประเทศอินเดียมีตัวอย่างที่น่าสนใจภายใต้โครงการที่ชื่อว่า The Escalator Project ของ K Raheja Corp ทีม่ แี นวคิดจะใช้พลังงาน จากบันไดเลื่อนที่ต้องท�ำงานอยู่ตลอดในห้างสรรพสินค้าชื่อ InOrbit ซึง่ ทางบริษทั เป็นเจ้าของ โดยพลังงานจลน์ทเี่ กิดขึน้ จะถูกส่งผ่านไดนาโม ซึ่งอยู่ติดกับบันไดเลื่อน เพื่อเอาไปชาร์จตะเกียงที่ใช้พลังงานจาก แบตเตอรี่ และทางบริษัทจะน�ำตะเกียงเหล่านี้ไปแจกให้กับชาวบ้าน ในชนบท เพือ่ ให้มไี ฟฟ้าได้ใช้ ดังนั้น ขอให้ลองคิดดูว่ า ถ้าในบริษัทของคุณมีสิ่งของหรือ ทรัพยากรอะไรที่ปล่อยทิ้ง แต่สามารถน�ำกลับมาสร้างประโยชน์ ให้แก่ลกู ค้าหรือเพือ่ สังคม ด้วยวิธกี ารทีท่ ำ� ให้เข้าใจได้งา่ ย ไม่ซบั ซ้อน และเกิดประสิทธิผลสูงสุด จะส่งเสริมให้ CSR ของแบรนด์นั้นๆ มีคณ ุ ค่าพอทีจ่ ะท�ำให้มคี นรักคุณแบบหมดใจเลยทีเดียว

Acacia Leroy : Trend Strategist แห่ง Trend Watching Asia Pacific

ลายแทงสมบัติ บนผืนผ้าใบ

อะไรทีท่ ำ� ให้ผปู้ ระกอบการรายหนึง่ ประสบความส�ำเร็จได้มากกว่ารายอืน่ ทัง้ ๆ ทีอ่ ยูใ่ นธุรกิจเดียวกัน? สร้างธุรกิจทีม่ นั่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน มันท�ำได้จริง หรือเป็นเพียงแค่มายาคติ? จะรูไ้ ด้ยงั ไงว่าถึงเวลาแล้วทีจ่ ะต้องปรับเปลีย่ นรูปแบบธุรกิจ? ค�ำตอบทีท่ กุ คนอยากรู้ วัดกันทีต่ วั เลขส่วนแบ่งการตลาด (Market Share) อาจบอกได้วา่ ใครขายได้มากกว่าใคร แต่อตั ราการ เติบโตของรายได้ (Revenue Growth) เป็นตัวชีว้ ดั ว่าใครท�ำตลาดได้ดกี ว่ากัน หลายคนรูว้ า่ ปีไหนใครสร้างผลก�ำไรได้มากกว่า (Profit Margin) แต่นอ้ ยคนทีจ่ ะรูว้ า่ อายุขยั ธุรกิจทีต่ วั เองสร้างนัน้ เป็นเท่าไหร่ (Longevity) นีค่ อื เหตุทที่ ำ� ให้ธรุ กิจน้อยใหญ่พยายาม ทีจ่ ะแตกไลน์ สร้างหน่อ เพือ่ หล่อเลีย้ งรากเหง้าของตัวเองไม่ให้ดบั สูญ วิธจี บั ชีพจรธุรกิจว่ายังไหวมัย้ สูไ้ ด้หรือเปล่า ให้ดทู อี่ ตั ราการ สูญเสียลูกค้าให้กับคู่แข่งทั้งทางตรงและทางอ้อม (Churn Rate) คุณค่าของตราสินค้า (Brand Equity) และสภาพคล่อง ทางการเงิน (Cashflow) ถ้าเอาตัวเลขแต่ละตัวมาวิเคราะห์ แล้วเห็นเป็นลางๆ ว่าภัยร้ายก�ำลังมาเยือน แนะน�ำให้จบั ผืนผ้าใบขึน้ มากาง Business Model Canvas คือเครือ่ งมือทีใ่ ช้วเิ คราะห์ธรุ กิจด้วยการตัง้ ค�ำถามทีส่ ำ� คัญเกีย่ วกับธุรกิจ 4 ด้านคือ ท�ำอะไร? ท�ำให้ใคร? ท�ำอย่างไร? และคุม้ หรือไม่? จริงๆ เครือ่ งมือนีเ้ ป็นทีน่ ยิ มส�ำหรับเหล่า Startup เพราะมันท�ำให้เห็นภาพชัดว่าธุรกิจทีก่ ำ� ลังวางแผนนัน้ มีความ เป็นไปได้มากน้อยเพียงใด? อย่างไรก็ดี โมเดลนีส้ ามารถน�ำไปใช้กบั ธุรกิจดัง้ เดิมได้เช่นกัน เพราะมันคือการท้าทายสิง่ ทีเ่ ป็นอยู่ ในปัจจุบนั เพือ่ คาดหวังผลลัพธ์ทดี่ กี ว่าในอนาคต จากปัจจัยทัง้ 9 มิติ ผมขออนุญาตชูหมัดหลักเพียง 3 ด้านทีค่ ดิ ว่าเป็นหัวใจของ การปรับรูปแบบธุรกิจขึน้ มาพูดคุย ำเสนอคุณค่าทีเ่ ร้าใจ (Compelling Value Propositions) การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการให้มคี วาม หมัดทีห่ นึง่ : การน� โดดเด่นและแตกต่างอย่างเดียวมันเอาไม่อยู่ มันต้องน�ำเสนอคุณค่าใหม่ๆ ใส่ลงไปเพิม่ ให้ลกู ค้าร้องว้าว! อึง้ และทึง่ จนนึกสงสัยว่านีเ่ อ็งจะมาไม้ไหนเนีย่ ตัวอย่างเช่น WashBox24 บริการซักอบรีดผ่านตูล้ อ็ กเกอร์ ไม่ตอ้ งขนเสือ้ ผ้าไปส่งซักตาม ร้าน ไม่ตอ้ งยืนรอต่อคิวหยอดเหรียญ แค่สมัครสมาชิก น�ำเสือ้ ไปใส่ในตู้ ช�ำระเงินผ่านระบบออนไลน์ และไปรับเสือ้ กลับทีต่ เู้ ดิม ง่ายดีเนาะ หรืออย่าง Claim Di แอพฯ ทีพ่ ลิกโฉมวงการประกันรถในกรณีทเี่ กิดอุบตั เิ หตุ แทนที่ จะต้องรอตัวแทนประกันภัยมาด�ำเนินการเคลมให้ แค่หยิบโทรศัพท์ขนึ้ มาเขย่าใส่กนั ระบบจะเช็กว่ามีอบุ ตั เิ หตุเกิดขึน้ จริง รถมีกรมธรรม์คมุ้ ครองอยูจ่ ริง เสร็จแล้วก็ แยกย้ายกันกลับบ้านได้เลย ไม่ตอ้ งรอให้ใครมาเคลียร์ เออ...อันนีก้ ว็ า้ วจริง สร้างสายสัมพันธ์อย่างเข้าอกเข้าใจกับลูกค้าแต่ละกลุม่ หมัดทีส่ อง : (Bonding Customer Relationships) บางคนเข้าใจ ว่าการท�ำ CRM คือการท�ำโปรแกรมส่งเสริมความจงรักภักดีเท่านัน้ อันที่ จริงมันหมายรวมถึงการออกแบบวิธีการดูแลลูกค้าตั้งแต่เริ่มท�ำความ รู้จักกัน ได้เป็นลูกค้ากัน พัฒนาไปถึงขั้นลูกค้าตัวยง สาวกขั้นเทพ LINE เป็นตัวอย่างทีด่ ขี องการพัฒนาความสัมพันธ์จากการเป็นแค่ Chat Application ของลูกค้าทัว่ ไป เดีย๋ วนีม้ ี LINE@ และ LINE PAY เพือ่ รองรับกลุม่ ลูกค้าธุรกิจ มีการสร้างเครือข่ายชุมชนเพือ่ ให้คนติดตามผลงานของบุคคลและ ธุรกิจทีเ่ ขาชืน่ ชอบ ดูเหมือนคูแ่ ข่งของ LINE จะไม่ใช่แค่ Facebook อย่างเดียว แต่ยงั รวมถึง YouTube และบริการช�ำระเงินของธนาคารและค่ายโทรศัพท์มอื ถืออีกด้วย สร้างรูปแบบการสร้างรายได้แบบเผือ่ ใจ (Alternative Revenue Model) เริม่ จะหมดยุคของการท�ำธุรกิจแบบ หมัดทีส่ าม : พึง่ รายได้เพียงทางเดียวจากการขายสินค้าและบริการ Wongnai แอพฯ ค้นหาร้านอาหารเพิง่ เปิดตัวบริการ ล่าสุด Wongnai Marketplace ซึง่ ท�ำให้บริษทั ฯ มีรายได้เสริมจากการขาย e-Voucher นอกเหนือจากค่าโฆษณาทีเ่ ป็นรายได้หลัก Ookbee ก็เช่นกัน นอกเหนือรายได้ทมี่ าจากการแบ่งผลก�ำไรจากยอดขาย e-Book แล้ว ล่าสุดเริม่ ต่อยอดพัฒนามาเป็น Ookbee Mall ห้างสรรพสินค้าออนไลน์ทขี่ ายมากกว่าหนังสือ เป็นต้น สรุปได้วา่ ธุรกิจทีว่ า่ โดน ทีว่ า่ ใช่ และที่ ก�ำไร ไม่ได้เกิดจากการแค่ผลิตเก่ง โปรโมต เป็น และบังเอิญท�ำถูกจังหวะเท่านัน้ หาก เกิ ด จากการตั้ ง ค� ำ ถามอย่ า งต่ อ เนื่ อ งว่ า สมชาติ ลีลาไกรศร : ทีว่ า่ ดี ดีกว่านีไ้ ด้ไหม ทีว่ า่ ได้ใจลูกค้า ท�ำให้ เจ้าของผลงานการแต่งหนังสือ ‘คิดออกนอกหน้า’, มันเวิรก์ อย่างต่อเนือ่ งได้หรือเปล่า? เมือ่ ไหร่ กูรกู ลยุทธ์และยุทธศาสตร์ของธุรกิจ SME ทีค่ ณ ุ สามารถหารูปแบบทีถ่ กู จริตกับธุรกิจนี้ ได้ เมือ่ นัน้ กราฟชีวติ ก็จะมีแต่ขาขึน้



20 GMBiZ

DECEMBER 2015

เรือ่ ง : รุจรดา วัฒนาโกศัย

กรวุฒิ ลีนะบรรจง ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บลจ. อเบอร์ดนี กล่าวว่า “เรามีสไตล์การลงทุนของเรา ซึง่ เป็นเอกลักษณ์ เพราะฉะนัน้ ในระยะยาวจะให้ผลตอบแทนทีด่ ี และความเสีย่ งก็มไี ม่มาก นักลงทุนระยะยาว ผมว่าลงทุนกับเราเป็นสิง่ ทีเ่ ขาชอบ ถ้าช่วงไหนราคาหุน้ ตกลง แต่เราคิดว่าบริษทั ยังดี เราก็ซอื้ เพิม่ เราไม่ได้ ซือ้ หุน้ ตามดัชนีวา่ ตัวไหนจะขึน้ ตัวไหนจะลง ไม่ได้ลงทุนในหุน้ ตามกระแสของตลาด เรามีกระบวนการลงทุน ที่เป็นมาตรฐานเหมือนกันทั่วโลก เราจะเข้าเยี่ยมชมกิจการของบริษัท พบผู้บริหารเพื่อท�ำการพูดคุยถึง วิสยั ทัศน์ ศึกษางบกระแสเงินสด และท�ำความเข้าใจถึงรูปแบบธุรกิจทีเ่ ราก�ำลังจะตัดสินใจไปลงทุน เพือ่ ให้ได้ หุน้ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ คนทีล่ งทุนกับเรามาเรือ่ ยๆ เขาจะเห็นสัดส่วนพวกนีข้ องเราอย่างชัดเจน ซึง่ เป็นสิง่ ทีเ่ ราแตกต่าง จากหลาย บลจ.” ในมุมมองของกรวุฒิ มองว่ากองทุนรวม LTF และ RMF เป็นการส่งเสริมการออมให้กบั ผูล้ งทุนในระยะยาว เพราะ LTF ต้องถือ 5 ปี หรือ RMF ต้องถือกันไปจนถึงครบก�ำหนดอายุ 55 ปี เพือ่ ให้ได้สทิ ธิประโยชน์ทางภาษี เต็มรูปแบบ ทัง้ เป็นการฝึกวินยั ให้กบั นักลงทุน ต้องรูว้ า่ ตัวเองอยากลงทุนตราสารแบบไหนแล้วจัดสรรเงิน บางส่วนมาลงทุน นอกจากนี้กองทุน LTF และ RMF ท�ำให้นักลงทุนกระจายการลงทุนไปในตราสารต่างๆ อย่างตราสารหนี้ ตราสารทุนได้งา่ ย “ส่วนสิทธิประโยชน์ทางภาษีกค็ งเป็นผลประโยชน์รองลงไป ไม่อยากให้นกั ลงทุนมาเน้นเรือ่ งสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอย่างเดียว หลายคนมองว่านักลงทุนแค่อยากได้สิทธิทางภาษี พอได้ภาษีคืนเขาก็ขายออก ซึ่งก็มี ส่วนหนึง่ แต่คนทีล่ งทุน LTF กับเรา เขายังถือครองอยูห่ ลังจากครบ 5 ปีปฏิทนิ ไปแล้ว เพราะเห็นว่าเป็นโอกาส ในการสร้างผลตอบแทนทีด่ ใี ห้กบั พอร์ตการลงทุนของตนเอง” กองทุนรวมในอุตสาหกรรมการลงทุนในปัจจุบนั มีมลู ค่ารวมอยูป่ ระมาณ 4 ล้านล้านบาท ในจ�ำนวนนัน้ มีกองทุน LTF อยูป่ ระมาณ 6.4% และมีกองทุน RMF อยูป่ ระมาณ 4.2% ถึงแม้วา่ จะเป็นสัดส่วนที่ ไม่มากนัก แต่กเ็ ติบโตขึน้ ชัดเจนมากในแต่ละปี ซึ่ง บลจ. อเบอร์ดีนบริหารจัดการกองทุน LTF อยู่หนึ่งกอง คือ ‘กองทุนเปิด อเบอร์ดีน หุ้นระยะยาว’ (ABLTF) เน้นการลงทุนระยะยาวในหุ้นสามัญของบริษัทที่จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ทมี่ ปี จั จัยพืน้ ฐานดี และมีการเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง โดยมุง่ เน้นการเลือก หุน้ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ และประวัตกิ ารจ่ายเงินปันผลดี ในกลุม่ บริษทั จดทะเบียน 150 บริษทั แรก ทีม่ มี ลู ค่าตามราคาตลาดสูง มีความเสีย่ งของกองทุนระดับ 6 ในส่วนของกองทุน RMF มี 3 กอง คือ ‘กองทุนเปิด อเบอร์ดนี สมาร์ท อินคัม เพือ่ การเลีย้ งชีพ’ (ABSI-RMF) ซึ่งเน้นการลงทุนในตราสารหนี้ในประเทศ ความเสี่ยงของกองทุนระดับ 4, ‘กองทุนเปิด อเบอร์ดนี สมาร์ทแคปปิตอล เพือ่ การเลีย้ งชีพ’ (ABSC-RMF) เน้นการลงทุน

ภาพ : ด�ำรงค์ฤทธิ์ สถิตด�ำรงธรรม

บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน อเบอร์ดีน จ�ำกัด คือหนึ่งในผู้เชี่ยวชาญ การจัดการกองทุนระดับสากลที่เข้ามาเปิดส�ำนักงานสาขาในประเทศไทย โดยทีเ่ น้นการจัดการกองทุนเพียงอย่างเดียว ไม่ได้ประกอบธุรกิจอืน่ ดังนัน้ จึงถือได้วา่ มีความมุง่ มัน่ อย่างชัดเจนในการจัดการกองทุนให้กบั ลูกค้า อเบอร์ ดี น มี ป รั ช ญาการลงทุ น ที่ ชั ด เจน นั่ น ก็ คื อ เน้ น การลงทุ น ใน ระยะยาว ไม่ได้ซอื้ ขายหุน้ รายวันหรือรายเดือน สังเกตเห็นได้วา่ ไม่ได้มกี าร ปรับพอร์ตโฟลิโอมากนักในแต่ละปี แต่เน้นวิธีการเลือกหุ้นจากบริษัท ทีค่ ดิ ว่ามีปจั จัยพืน้ ฐานดี มีคณ ุ ภาพแล้วถือยาวไม่ตำ�่ กว่า 1 ปีหรือ 3 ปี

หุน้ ในประเทศ และ ‘กองทุนเปิด อเบอร์ดนี เอเชีย แปซิฟคิ เอคควิตี้ เพือ่ การเลีย้ งชีพ’ (ABAPACRMF) ลงทุนผ่านกองทุนหลักอเบอร์ดนี เอเชีย แปซิฟคิ เอคควิตี้ ฟันด์ ซึง่ ลงทุนผ่านกองทุนย่อย ตราสารทุนเอเชีย แปซิฟิค และหุ้นกลุ่มเอเชียแปซิฟิค ไม่รวมญี่ปุ่น โดยทั้ง 2 กองทุนหลังนี้ มีความเสีย่ งของกองทุนระดับ 6 “ส�ำหรับนักลงทุนที่สามารถกระจายความเสี่ยงและรับความเสี่ยงได้ ยอมรับความผันผวน ของราคาที่เปลี่ยนแปลง และอาจจะยอมรับผลขาดทุนได้บ้าง อาจจะเลือกประเภทกองทุนเปิด LTF และ RMF ทีเ่ ป็นการลงทุนในหุน้ แล้วก็อาจจะเหมาะกับนักลงทุนทีห่ วังผลตอบแทนมากกว่า ทีไ่ ด้ในตราสารหนี้ หรือการฝากเงิน ก็ควรจะมาลงทุนในกองทุนทีม่ ตี ราสารทุน ซึง่ เราก็มี 2 กอง คือ ‘กองทุนเปิด อเบอร์ดนี สมาร์ทแคปปิตอล เพือ่ การเลีย้ งชีพ’ (ABSC-RMF) กับ ‘กองทุนเปิด อเบอร์ดนี เอเชีย แปซิฟคิ เอคควิตี้ เพือ่ การเลีย้ งชีพ’ (ABAPAC-RMF) ส�ำหรับคนทีอ่ อมได้ใน ระยะยาว ต้องการผลตอบแทนทีส่ งู กว่าเงินฝากโดยทัว่ ไป ยอมรับความเสีย่ งจากความผันผวน ของราคาได้ เราคิดว่าน่าจะเหมาะกับกองทุนประเภทตราสารทุนเป็นหลัก “ส�ำหรับคนทีร่ บั ความเสีย่ งได้กลางๆ อาจจะแบ่งเงินส่วนหนึง่ ไปลงทุนใน RMF ตราสารหนี้ และแบ่งบางส่วนมาลงใน RMF ตราสารทุน อาจจะจัดสัดส่วน 90-10, 80-20, 70-30 ให้สอดคล้อง กับความต้องการ และความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ “ผมคิดว่านักลงทุนแต่ละคนจะต้องจัดสรรพอร์ตการลงทุนของตนเองให้เหมาะสมกับ ความเสีย่ งทีส่ ามารถรับได้ ส�ำหรับนักลงทุนทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการออมในระยะกลาง ระยะยาว ก็อยากจะให้สัดส่วนการลงทุนไปที่ตราสารทุนมากหน่อย ส�ำหรับคนที่คิดว่ามีระยะการลงทุน ได้นาน” กองทุนของอเบอร์ดนี ทุกกองทุนมีผลตอบแทนทีด่ สี ม�ำ่ เสมอ จากการลงทุนระยะยาวทีใ่ ห้ความ ส�ำคัญกับการเลือกสินทรัพย์ในการลงทุน ในปี 2558 ทีผ่ า่ นมา อเบอร์ดนี ได้รบั รางวัลมอร์นงิ่ สตาร์ 2015 ส�ำหรับกองทุน LTF และ RMF จ�ำนวน 2 กองทุนด้วยกัน ได้แก่ ‘กองทุนเปิดอเบอร์ดนี หุ้นระยะยาว’ (ABLTF) ได้รับรางวัลกองทุนรวมหุ้นระยะยาวยอดเยี่ยม และ ‘กองทุนเปิด อเบอร์ดีน สมาร์ทแคปปิตอล เพื่อการเลี้ยงชีพ’ (ABSC-RMF) ได้รับรางวัลกองทุนรวม เพือ่ การเลีย้ งชีพประเภทหุน้ ยอดเยีย่ ม “รางวัลเหล่านีแ้ สดงให้เห็นถึงผลการด�ำเนินงานของกองทุนได้ดสี ม�ำ่ เสมอ ซึง่ เป็นอีกหนึง่ เครื่องพิสูจน์ถึงความเชี่ยวชาญของเรา ส�ำหรับนักลงทุนที่สนใจลงทุนก็สามารถเปิดบัญชี ผ่านทางผู้สนับสนุนการขายหรือรับซื้อคืนหน่วยลงทุนต่างๆ ซึ่งมีทั้งธนาคารพาณิชย์ และ บริษทั หลักทรัพย์ชนั้ น�ำ อาทิ ธนาคารซิตี้ แบงก์ ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด ธนาคาร ทหารไทย หรือ บล.ภัทร, บล.โนมูระ, บล.ฟิลลิป เรามีเครือข่ายเยอะ”



investment

22 GMBiZ

e-Payment Insight by BOT ทัชชา ตรีเนตร

DECEMBER

2015

how to invest สุรศักดิ์ ธรรมโม

การขึน้ ดอกเบีย้ ของ FED

จะเป็นผลบวกต่อตลาดหุน้

ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา (Fed) ได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายตามคาดที่ 0.25% ขณะที่ปรับลดช่วงจังหวะ การขึ้นดอกเบี้ยในปีหน้าลงมา โดย Fed จะขึ้นดอกเบี้ยประมาณ 4 ครั้งในปี 2016 ขณะที่ตลาดตอบรับในเชิงบวก จากการที่ Fed ส่งสัญญาณเช่นนี้ โดยวันที่ 16 ธันวาคม หุ้นสหรัฐฯ ปรับขึ้น 1.5% และค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ แข็ ง ค่ า เล็ ก น้ อ ย 0.2% ขณะที่ อั ต ราผลตอบแทน (Yields) ของพั น ธบั ต รสหรั ฐ อเมริ ก าปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น เล็ ก น้ อ ย ที่ 3 Basis Points หรือ 0.03%

Omni Channel

การบริหารช่องทางการขายของธุรกิจ ที่ให้ผลลัพธ์อย่างคาดไม่ถงึ จากกระแสความนิยมของการใช้ Smart Phone และการเติบโตของ ธุรกิจ e-Commerce ท�ำให้ผู้บริโภคหันมาซื้อสินค้าและบริการผ่าน ช่องทางออนไลน์มากขึน้ เช่น อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์มอื ถือ รวมถึงโซเชียล มีเดีย อย่าง Facebook Line Instagram ทีก่ ำ� ลังมาแรง เพราะสะดวก รวดเร็ว และท�ำได้ตลอด 24 ชัว่ โมง ในขณะทีก่ ารซือ้ หน้าร้านก็ยงั สร้าง ความมั่นใจที่จะทดลองสินค้าได้ ดังนั้น การมีช่องทางการขายที่หลาก หลายที่ลูกค้าสามารถเข้าถึงบริการได้ง่าย จึงเป็นหัวใจส�ำคัญในการ ท�ำธุรกิจยุคดิจทิ ลั นี้ ปัญหาจากการใช้ชอ่ งทางแบบเดิมๆ ที่ผ่านมาธุรกิจได้เพิ่มช่องทางการขายที่หลากหลาย (Multi Channel) เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้ลกู ค้าทัง้ แบบออฟไลน์ เช่น หน้าร้าน แค็ตตาล็อก และแบบออนไลน์ เช่น เว็บไซต์ คอลเซ็นเตอร์ ตู้คีออส โทรศัพท์มือถือ โซเชียลมีเดีย เป็นต้น โดยมีวิธีบริหารจัดการแยกกันอย่างชัดเจน เช่น หากสั่งซื้อสินค้าบนเว็บไซต์ ลูกค้าต้องรับของโดยการส่งสินค้าไปยังที่ใด ทีห่ นึง่ เท่านัน้ ไม่สามารถเลือกรับของทีห่ น้าร้านได้ เกิดความไม่สะดวกแก่ ลูกค้า เนือ่ งจากอาจไม่มคี นอยูร่ อรับสินค้า หรือต้องการได้สนิ ค้าเร็วขึน้ Omni Channel : เทรนด์ใหม่ทตี่ อบโจทย์ Omni Channel คือ การบริหารช่องทางการขาย โดยผสมผสานทุกช่องทาง ให้เป็นหนึ่งเดียวกัน เพื่อท�ำให้ลูกค้าเข้าถึงบริการได้จากหลายช่องทาง โดยง่าย สะดวก และใกล้ตัว เช่น ค้นหาข้อมูลบนเว็บไซต์ แต่ไปซื้อที่ หน้าร้าน หรือดูสนิ ค้าหน้าร้าน แต่กลับไปสัง่ ซือ้ บนเว็บไซต์ เพือ่ ให้จดั ส่งของ ทีบ่ า้ น ซึง่ ประเทศทีน่ ำ� Omni Channel มาใช้อย่างกว้างขวางในธุรกิจค้าปลีก ได้แก่ ประเทศอังกฤษและฝรัง่ เศส โดยรูปแบบทีน่ ยิ มคือ Click and Collect (Buy Online, Pick Up in Store) ซึง่ เป็นการให้บริการสัง่ ซือ้ ทางออนไลน์ แล้วลูกค้าสามารถเลือกไปรับของเองทีส่ าขาใกล้บา้ น ทีช่ ว่ ยเพิม่ ความสะดวก ให้ลูกค้าเป็นอย่างมาก อีกทั้งร้านค้ายังสามารถลดต้นทุนในการจัดเก็บ และขนส่งสินค้าได้อกี ด้วย นอกจากนี้ ลูกค้ายังเลือกช�ำระเงินจากช่องทางไหนก็ได้ ไม่วา่ จะช�ำระ ทางออนไลน์หรือช�ำระที่ร้านค้าตอนไปรับสินค้า ซึ่งการช�ำระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส์สมัยนี้มีความก้าวหน้าไปมาก สามารถเลือกช�ำระได้หลาก หลายด้วยบัตรเครดิต บัตรเดบิต บัตร e-Money (เช่น Apple Pay AliPay PayPal) ทีล่ ว้ นแต่สะดวกและปลอดภัยทัง้ สิน้ ดังนัน้ การสร้างทางเลือกในทุกขัน้ ตอนตัง้ แต่เลือกชมสินค้า สัง่ ซือ้ รับของ จนถึงช�ำระเงิน เพื่อให้ลูกค้าเข้าถึงบริการได้จากทุกช่องทาง จะสามารถให้บริการได้หลากหลายและตรงใจลูกค้าแต่ละรายมากยิง่ ขึน้ ซึง่ สุดท้ายจะท�ำให้ยอดขายของท่านเพิม่ ขึน้ ได้อย่างคาดไม่ถงึ เลยทีเดียว

ทัชชา ตรีเนตร : ฝ่ายนโยบายระบบการช�ำระเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย

การขึน้ ดอกเบีย้ ของ Fed เป็นครัง้ แรกนับตัง้ แต่ปี 2006 เป็นต้นมา โดยการขึ้นดอกเบี้ยของ Fed ล่าสุดนี้ถือเป็น ครั้งแรกนับจากมิถุนายน 2006 โดย Fed ระบุในครั้งนี้ว่า เศรษฐกิจอยูใ่ นภาวะปกติและอยูห่ า่ งจากวิกฤติการเงินโลก และในปี 2016 Fed อาจจะขึ้นดอกเบี้ย 4 ครั้ง ครั้งละ 0.25% โดย Fed จะติดตามพัฒนาการของอัตราเงินเฟ้อ ควบคู ่ กั น ไปด้ ว ย และประเมิ น ว่ า เงิ น เฟ้ อ จะเร่ ง ตั ว ขึ้ น และแตะเป้าเงินเฟ้อที่ระดับ 2% ในระยะกลาง ทั้ ง นี้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงการคาดการณ์ เ ศรษฐกิ จ เล็กน้อยเมื่อเทียบกับเดือนกันยายน โดย Fed คาดว่า ในปี 2016 เศรษฐกิจสหรัฐฯ จะขยายตัว 2.3-2.5% และ ชะลอตัวลงที่ 2.0-2.3% ในปี 2017 ขณะทีอ่ ตั ราการว่างงาน จะลดลง 0.1% ทั้งในปี 2016 และ 2017 (มาที่ระดับ 4.6-4.8% ทั้ง 2 ปี) อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core PCE) คาดอยูท่ ี่ 1.5-1.7% และ 1.7%-2.0% ตามล�ำดับ สอดคล้อง กับการคาดครั้งก่อนของ Fed ข้อมูลในอดีตบอกกับเราว่าหลังจากที่ Fed เริ่มต้น วัฏจักรขาขึน้ ดอกเบีย้ แล้ว 6-12 เดือน พบว่าตลาดหุน้ สร้าง ผลตอบแทนได้โดดเด่น หุ้นยุโรปจะสร้างผลตอบแทนที่ดี และหุ้นกู้เอกชนโลกจะให้ผลตอบแทนเป็นบวก โดยหุ้นกู้ เอกชนที่ให้ดอกเบี้ยในอัตราสูง (HY Bonds) จะให้ผล ตอบแทนโดดเด่น การตอบสนองของเอเชียคือปัจจัยส�ำคัญ ก่อนหน้านี้ มีการคาดการณ์ว่าตลาดหุ้นเอเชียจะทนทานต่อการปรับ ขึ้นอัตราดอกเบี้ยของ Fed ได้หรือไม่ และสกุลเงินเอเชีย จะได้รบั การทดสอบจากวัฏจักรการขึน้ ดอกเบีย้ รอบนีข้ อง Fed ในวัฏจักรการขึ้นดอกเบี้ยของ Fed ใน 2 ครั้งก่อน เราพบว่าแตกต่างกันมาก-โดยหุน้ เอเชียสร้างผลตอบแทน ที่โดดเด่นในวัฏจักรหนึ่งแต่ปรับลงในอีกวัฏจักรหนึ่ง ทั้งนี้ เราคงมุมมองเดิมต่อหุ้นเอเชีย นั่นคือมุมมองเป็นกลาง (Neutral) ต่อตลาดหุ้นเอเชีย และคาดว่าการอ่อนค่าของ สกุลเงินเอเชียน่าจะสิ้นสุดลงในปี 2016 แต่เราจะจับตา สถานการณ์ อ ย่ า งใกล้ ชิ ด เพื่ อ ติ ด ตามสั ญ ญาณว่ า จะมี สกุ ล เงิ น ใดที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบไม่ ม ากจากการขึ้ น อั ต รา ดอกเบี้ยของ Fed ครั้งนี้ โดยเฉพาะเมื่อค�ำนึงถึงการที่ สกุลเงินหยวนของจีนนั้นไม่ได้ผูกค่าติดกับสหรัฐอเมริกา อย่างมากเหมือนในอดีต เมื่อค�ำนึงถึงวัฏจักรในอดีตแล้ว ท�ำให้เกิดบทเรียน ในการวิเคราะห์ทนี่ า่ สนใจ 4 ประการ โดยปกติแล้วหลังจาก ที่ Fed ขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งแรก ประมาณ 1-3 เดือน ตลาดหุ้นจะปรับลง อย่างไรก็ตาม มีโอกาสที่ตลาดหุ้น จะปรับตัวต่างจากประสบการณ์ในอดีตจากปัจจัยดังนี้ ปัจจัยเชิงฤดูกาลทีป่ กติแล้วในไตรมาสแรกของปี ตลาดหุน้ จะให้ผลตอบแทนเป็นบวก และการทีก่ อ่ นหน้านี้ ตลาดหุน้ ได้ปรับลงรับการขึ้นดอกเบี้ยนโยบายครั้งแรกของ Fed ไปบ้ า งแล้ ว ซึ่ ง นี่ จ ะเป็ น การลด ระดับการปรับลงของหุน้ ในอนาคต หุ้นและหุ้นกู้เอกชน จะสร้าง ผลตอบแทนที่โดดเด่นหลังจากที่ Fed เริ่มต้นการขึ้นดอกเบี้ย โดย เฉลี่ ย แล้ ว ตลาดหุ ้ น จะสร้ า ง ผลตอบแทนที่โดดเด่นใน 6 เดือน หลั ง จากที่ Fed เริ่ ม ต้ น การขึ้ น ดอกเบี้ยครั้งแรก

หุ้นยุโรปจะสร้างผลตอบแทนที่โดดเด่นเมื่อเทียบกับ ตลาดหลักอืน่ ๆ ของโลก แม้วา่ ตลาดหุน้ หลักอืน่ ๆ ในหลาย ตลาดจะสร้ า งผลตอบแทนที่ เ ป็ น บวกก็ ต าม ขณะที่ ผลตอบแทนของตลาดหุ ้ น เอเชี ย จะให้ ภ าพของผล ตอบแทนที่แตกต่างจากภูมิภาคอื่นๆ ทั้งนี้ หุ้นอินเดีย จะให้ผลตอบแทนที่โดดเด่นเช่นเดียวกัน หุ้นกู้เอกชนที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราที่สูง (HY Bond) และพันธบัตรรัฐบาลของประเทศตลาดเกิดใหม่ที่จ่าย ดอกเบีย้ ในรูปดอลลาร์สหรัฐ จะเป็นกลุม่ ทีใ่ ห้ผลตอบแทน สูงที่สุดในหมวดผลตอบแทนจากพันธบัตร ขณะที่หุ้นกู้ เอกชนประเภท Senior Loans ท�ำผลตอบแทนได้ดเี ช่นกัน ผลกระทบเบื้องต้นต่อตลาดประเทศเกิดใหม่ยังคง ไม่มากนักแต่จับตาดูตลาดเอเชีย สกุลเงินของประเทศ ละตินอเมริกาและประเทศตลาดเกิดใหม่โซนยุโรปแข็งค่า หลังจาก Fed ส่งสัญญาณว่าปรับขึ้นดอกเบี้ยในปีหน้า ไม่รุนแรง อย่างไรก็ตาม จับตาดูการตอบสนองของตลาด อัตราแลกเปลี่ยนเอเชียและตลาดเกิดใหม่อื่นๆ ในระยะ สองสามวันท�ำการหลังจากนี้ เพื่อประเมินว่าจะมีการ ไหลออกของเงินทุนจากประเทศเหล่านั้นหรือไม่ ทั้งนี้ การเคลื่อนไหวของค่าเงินหยวนเป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะต้อง จับตาหลังจากที่ล่าสุดรัฐบาลจีนเปลี่ยนนโยบายอัตรา แลกเปลี่ยนมาเป็นแบบตะกร้าเงินซึ่งสร้างความเสี่ยงของ ต่อสกุลเงินประเทศอื่นๆ ในแง่ที่ว่า เงินหยวนของจีน อาจจะมีการเคลื่อนไหวที่ไม่มีเสถียรภาพ การตัดสินใจขึ้นดอกเบี้ยของ Fed ช่วยให้มีความ น่าสนใจในการลงทุนในกองทุนประเภท Diversified Income Asset และกองทุนที่ลงทุนในสินทรัพย์ทางเลือก ซึง่ เป็น 2 สินทรัพย์หลักทีเ่ ราแนะน�ำลงทุน การย�ำ้ ต่อตลาด ของ Fed ที่ระบุว่า การขึ้นดอกเบี้ยนโยบายจากนี้ไป จะเป็นการทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ยแบบค่อยเป็นค่อยไป สะท้อนว่ากองทุนประเภท Diversified Income Asset ยั ง คงเป็ น กองทุ น ที่ เ หมาะสมต่ อ สถานการณ์ ล งทุ น เมื่อค�ำนึงถึงปัจจัยบวกจากอัตราผลตอบแทนที่น่าสนใจ และราคาของตราสารที่จะเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ดังทีเ่ ราเคยแสดงความเห็นในมุมมอง แนวโน้ ม การลงทุ น ในปี 2016 ว่ า ในปี 2016 นั้ น จะมีความไม่แน่นอนเพิม่ ขึน้ จากการทีเ่ ศรษฐกิจสหรัฐฯ ได้เดินทางมาถึงจุดปลายของวัฏจักรเศรษฐกิจขาขึ้น เมื่อค�ำนึงว่า Fed จะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายตลอด ในปี 2016 บ่งชี้ว่าอาจจะเป็นการเหมาะสมที่จะเริ่ม ลงทุ น ในกองทุ น ที่ ล งทุ น ในสิ น ทรั พ ย์ ท างเลื อ กและ กองทุนที่มีพันธบัตรหรือหุ้นกู้ที่มีคุณภาพสูง เพื่อเป็น เครื่องมือการลงทุนส�ำหรับจัดการความผันผวน หมายเหตุ : บทความนี้เป็นทัศนะส่วนตัวของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานที่สังกัด

สุรศักดิ์ ธรรมโม : นักกลยุทธ์การลงทุน ธนาคาร Standard Chartered และผู้เชี่ยวชาญทั้งเศรษฐกิจมหภาคและเก่งฉกาจ เรือ่ งการให้คำ� แนะน�ำในด้านการลงทุน อาชีพของเขา คือบริหารความมั่งคั่งให้นักลงทุน ซึ่งส่วนใหญ่เป็น นักลงทุนสถาบัน



24 GMBiZ

DECEMBER 2015

เรือ่ ง : โชติ เวส

ศกร ทวีสนิ

TRUEFITT & HILL

เสริมหล่อสุภาพบุรษุ อย่างเหนือระดับ

ภาพ : ด�ำรงค์ฤทธิ์ สถิตด�ำรงธรรม

ย้อนไปสัก 10 ปีกอ่ น Metrosexual หรือหนุม่ ๆ เจ้าส�ำอางทีเ่ ป็นตัวจุดกระแส Men’s Beauty ให้เกิดขึน้ จนเกิดปรากฏการณ์ของกลุม่ ผูช้ ายทีห่ ว่ งใยในความงามไม่แพ้ผหู้ ญิง แต่ในปัจจุบนั ตลาด Men’s Grooming กลายเป็นอีกตลาดทีถ่ กู จับตาไม่แพ้กนั หลังจาก คลืน่ ใต้นำ�้ ของ ‘Real-Men’ หรือกลุม่ ชายแท้ เริม่ ทีจ่ ะยอมจ่ายเงินเพือ่ เสริมภาพลักษณ์ ที่ดูดี ซึ่งผู้ชายกลุ่มนี้ ในบางครั้งหากดูจากภายนอก อาจไม่ได้บ่งบอกว่าเขาเป็น หนุ่มเจ้าส�ำอาง หรือมีคาแร็กเตอร์ที่สะท้อนถึงการดูแลตัวเองอย่างชัดเจนเหมือน Metrosexual แต่ความต้องการของพวกเขาจะเน้นไปที่การมีบุคลิกและภาพลักษณ์ ทีด่ ดู ี ซึง่ ช่วยเอือ้ ต่อการเข้าสังคม และการประสบความส�ำเร็จในหน้าทีก่ ารงาน

ฉะนั้น การท�ำเล็บมือ เล็บเท้า หรือการเดินเข้าแฮร์ซาลอน เพื่อ จัดแต่งทรงผมให้ดอู ลังการ อาจจะดูมากเกินไปส�ำหรับพวกเขา เพราะ พวกเขาก็แค่ต้องการภาพลักษณ์ที่ดูดี ผิวพรรณที่สะอาดสะอ้าน และ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความต้องการการออกแบบทรงผมและหนวดเครา ให้เข้าทีเ่ ข้าทาง นีจ่ งึ เป็นเหตุผลส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ ศกร ทวีสนิ เจ้าของร้าน บาร์เบอร์ชื่อดังจากราชวงศ์ประเทศอังกฤษในชื่อ Truefitt & Hill (ทรูฟทิ ท์ & ฮิลล์) ตัดสินใจน�ำธุรกิจแฟรนไชส์บาร์เบอร์ บริการเสริมหล่อ ตัดผมและบริการระดับ 5 ดาวเพือ่ คุณผูช้ ายตามแบบฉบับ Old English Barber มาเนรมิตที่ชั้น 4 ของศูนย์การค้า เซ็นทรัล เอ็มบาสซี และที่ ชัน้ 1 ดิ เอ็มโพเรียม สองห้างสรรพสินค้าใหญ่ใจกลางกรุงเทพมหานคร Truefitt & Hill เป็นร้านบาร์เบอร์ในต�ำนานของประเทศอังกฤษ ตั้งอยู่ที่ถนนเซนต์เจมส์ ซึ่งเป็นถนนสายไฮโซที่มีชื่อเสียงโด่งดังตั้งแต่ ในอดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น ร้ า นนี้ เ ป็ น ร้ า นตั ด ผมสไตล์ อั ง กฤษดั้ ง เดิ ม (Old English Barber Shop) ทีม่ ปี ระวัตคิ วามเป็นมาเก่าแก่ทสี่ ดุ ของโลก ได้รบั การรับรองโดย กินเนสส์บคุ๊ ออฟ เวิลด์ เรคคอร์ดส เริม่ ให้บริการ มากว่า 200 ปีแล้ว ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1805 โดย เซอร์ วิลเลียม ฟรานซิส

ทรูฟทิ ท์ (William Francis Truefit) ซึง่ เขามีการคิดค้นการตัดผมสุภาพบุรษุ และการโกนหนวดทีม่ ขี นั้ ตอนกว่า 20 ขัน้ อันเป็นเอกลักษณ์การบริการ ของทางร้าน และในแต่ละขั้นตอนจะได้รับการดูแลจากช่างผู้เชี่ยวชาญ ฝีมอื ดีทสี่ งั่ สมประสบการณ์มาอย่างยาวนาน จึงไม่นา่ แปลกใจทีล่ กู ค้าของ ร้านนี้จะเป็นเหล่าหนุ่มๆ ชนชั้นน�ำของสังคมอังกฤษ อย่างบรรดาผู้มี ชื่อเสียง นักการเมือง เอกอัครราชทูต วุฒิสมาชิก ไปจนถึงกลุ่มขุนนาง ราชวงศ์องั กฤษทีม่ าใช้บริการอย่างต่อเนือ่ ง จนได้รบั มอบตราสัญลักษณ์ การรับรองจากราชวงศ์อังกฤษ Royal Warrant Holders to H.R.H., The Duke of Edinburgh Hairdressers จากพระเจ้าจอร์จที่ 3 ศกรเล่าให้ฟงั ว่า เหตุผลทีเ่ ขาตัดสินใจน�ำธุรกิจนีเ้ ข้ามา เพราะปัจจุบนั เทรนด์ Real Men ก�ำลังเติบโตอย่างเห็นได้ชดั ชายไทยแท้ๆ เริม่ ให้ความ ส�ำคัญกับการดูแลตนเองมากขึน้ โดยเฉพาะเรือ่ งของทรงผม หนวดเครา ที่ต้องดูเนี้ยบและเข้ากับแต่ละบุคคล ซึ่งปัจจุบันตั้งแต่วัยรุ่นไปจนถึง วัยท�ำงาน และอาจจะรวมถึงวัยสูงอายุดว้ ย ก�ำลังใส่ใจกับเรือ่ งนีอ้ ย่างมาก เพียงแต่ในปัจจุบันสถานที่ที่จะตอบโจทย์อาจจะมีไม่มาก บางคนต้อง แบกหน้าเข้าไปใช้บริการซาลอนของผูห้ ญิง ซึง่ ท�ำให้เกิดความรูส้ กึ ขัดเขิน

ขณะเดียวกันต่อให้มีร้านแนวนี้ก็ไม่ได้อยู่ในท�ำเลที่ เดินทางสะดวกสบายนัก ฉะนั้น เขาจึงน�ำโมเดลนี้เข้ามาเปิดและเลือกท�ำเล ในห้ า งสรรพสิ น ค้ า เป็ น หลั ก เหตุ ผ ลเพราะจาก ประสบการณ์ในการท�ำงานกับเครือ CPN มาก่อน ท�ำให้ เขาเข้าใจว่าผูค้ นในยุคปัจจุบนั ส่วนใหญ่จะมีชวี ติ ผูกพัน กั บ ห้ า งสรรพสิ น ค้ า พอสมควร ไม่ ว ่ า จะเป็ น ระดั บ ศูนย์การค้า ห้างสรรพสินค้า คอมมูนิตี้มอลล์ ซึ่งท�ำเล เหล่านีต้ อบโจทย์ตอ่ กลุม่ คนทุกวัยในแง่ของการเดินทาง และสอดรับกับไลฟ์สไตล์ในการใช้ชีวิตแบบวันสต็อป ช้อปปิ้งจากตัวมอลล์ต่างๆ ซึ่งรวมถึงพฤติกรรมของ คุณผูช้ ายในกลุม่ Real Men ด้วย ถึงกระนั้น การเปิดให้บริการของ Truefitt & Hill ในประเทศไทย ก็ตอ้ งเลือกท�ำเลทีเ่ ข้ากับตัวโมเดลธุรกิจ ทีม่ คี วามลักชัวรีอยูใ่ นตัวเช่นกัน นัน่ จึงเป็นเหตุผลทีเ่ ลือก เปิดอยู่บนชั้น 4 ศูนย์การค้า เซ็นทรัล เอ็มบาสซี และ ดิ เอ็มโพเรียม และมีแผนทีจ่ ะขยายตัวปีละ 1 สาขาต่อไป ส� ำ หรั บ Truefitt & Hill มี พื้ น ที่ ภ ายในเฉลี่ ย 100 ตารางเมตร ตกแต่งอย่างหรูหราและคลาสสิก แบบ Old English โดยภายในร้านนี้ ด้านหน้าจะเป็น ส่วนของการรับแขก Reception Room มีโซฟาตัวโตไว้รอ ต้อนรับลูกค้า พร้อมกับมุมโชว์ผลิตภัณฑ์ Truefitt & Hill ทีน่ ำ� มาให้บริการและจ�ำหน่ายกว่า 100 รายการ ขณะที่ ด้านในจะเป็นส่วนของห้องเสริมหล่อ Men’s Grooming Room ทีจ่ ะให้บริการดูแลผมส�ำหรับคุณผูช้ ายครบครัน ตัง้ แต่การสระไดร์ ตัดผม โกนหนวดไฮโซสไตล์องั กฤษ และสปาเล็บมือเล็บเท้า หรือถ้าชอบความเป็นส่วนตัว ก็มหี อ้ งไพรเวทและบริการเฉพาะไว้บริการ ทัง้ สระไดร์ ตัดผม โกนหนวด สปาเล็บมือและเท้า ฯลฯ ภายใต้ความ พิถีพิถันละเมียดละไมในการตัดผม และศิลปะการ โกนหนวดตามแบบฉบับผูด้ ี โดยมีผเู้ ชีย่ วชาญประจ�ำอยู่ ในทุกสาขา ไม่ตา่ งจากร้านต้นต�ำรับทีอ่ งั กฤษแต่อย่างใด ทัง้ นี้ หากมองถึงเป้าหมายในการน�ำธุรกิจ Truefitt & Hill เข้ามาเปิดในเมืองไทยนัน้ ศกรเผยว่า ส่วนหนึง่ คือ ความต้องการที่จะเป็นเจ้าของธุรกิจ แต่อีกส่วนหนึ่งคือ การแสวงหาบุคลากรด้านการจัดแต่งทรงผมเก่งๆ ให้มี โอกาสได้ยืนอยู่ในจุดที่ถูกต้อง เพราะเขารู้สึกเสียดาย ทุกครัง้ ทีค่ นมีฝมี อื กลับมีรายได้ทไี่ ม่เหมาะกับความทุม่ เท เขาจึงมองว่าช่างและรวมถึงทีมงานอืน่ ๆ ใน Truefitt & Hill ต้องมีความสมดุลทั้งงานที่ชอบและรายได้ที่ใช่ เพราะนั่นจะส่งผลให้หัวใจส�ำคัญของธุรกิจนี้ นั่นก็คือ การบริ ก ารที่ เ หนื อ ระดั บ ถู ก ขั บ เคลื่ อ นไปได้ อ ย่ า ง ถูกทิศทาง “นี่คือธุรกิจบริการ และคนคือผู้ให้บริการที่ดีที่สุด แต่การทีเ่ ขาจะมีความสุขในการท�ำงานได้นนั้ มันก็ตอ้ ง มาจากความชืน่ ชอบในวิชาชีพ นัน่ คือเรือ่ งแรก และสอง ต้ อ งมี ร ายได้ ที่ เ หมาะสม ซึ่ ง ผมมองว่ า คนท� ำ ธุ ร กิ จ ส่วนใหญ่อาจจะละเลยในส่วนนีไ้ ป และมองว่าผลก�ำไร ของตนเองคือสิ่งส�ำคัญที่สุด ผมมองต่างเลยกับเรื่องนี้ ผมเชือ่ ในเรือ่ งของการท�ำธุรกิจแบบ Win-Win Situation อย่างผมเองผมได้ทำ� แผนธุรกิจไว้ลว่ งหน้าแล้วประมาณ 10 ปี โดยเน้นการอยู่รอดของบริษัท โดยที่พนักงาน มีรายได้เหนือกว่ามาตรฐานอุตสาหกรรม และสามารถ จ่ายค่าเช่าร้านให้กบั เจ้าของทีไ่ ด้อย่างสมเหตุสมผล “ฉะนัน้ ผมเชือ่ ว่าคนท�ำงานในวิชาชีพนี้ เขาต้องรัก และภูมใิ จในอาชีพของตัวเอง ผมอยากให้ทกุ ๆ คนในร้าน ตั้งแต่พนักงาน Front Team, ช่าง ไปจนถึงแม่บ้าน ท�ำความสะอาด ท�ำงานด้วยความสุขแบบรอบด้าน สุขกับรายได้ สุขกับการได้ทำ� งาน และสุขทีไ่ ด้เห็นผูม้ าใช้ บริการได้รบั ประสบการณ์ทดี่ ี และผมเชือ่ ว่ามันจะสะท้อน ออกมาเป็นความประทับใจแก่ลกู ค้าผ่านบุคลากรของเรา ที่มีความกระหายในการส่งความสุขอย่างเหนือระดับ ให้อย่างตัง้ ใจ” ปัจจุบนั Truefitt & Hill มีการขยายสาขาจากร้าน แห่งเดิมไปเปิดเพิม่ ยังหลากหลายหัวเมืองทัว่ โลกกว่า 10 แห่ง เพือ่ รองรับการบริการลูกค้าคนดัง เซเลบริตี้ และซุป’ตาร์ฮอลลีวดู ทัง้ ในทวีปอเมริกา ยุโรป และ เอเชีย แถมยังมีการออกผลิตภัณฑ์สำ� หรับ Grooming หนุ ่ ม ๆ ในแบบทรู ฟ ิ ท ท์ อ อกวางจ� ำ หน่ า ยที่ ห ้ า ง สรรพสินค้าชั้นน�ำของโลก อย่าง ห้างแฮร์รอดส์ ในลอนดอน ห้างอิเซตัน เมน ทีโ่ ตเกียว อีกด้วย



26 GMBiZ

DECEMBER 2015

เรือ่ ง : ธัญยธรณ์ นาราเต็มทรัพย์

พรรณแข นันทวิสยั TMB เข้าใจทุกความต้องการลูกค้า

ช่วงปลายเดือนตุลาคมที่ผ่านมา TMB ได้ออกโฆษณาชุดใหม่ ‘ความต้องการ ทีค่ ณ ุ ไม่เคยรู’้ โดยมี สัญญา คุณากร แบรนด์แอมบาสซาเดอร์ของธนาคาร มาพูด ถึงความต้องการทีท่ กุ คนอาจจะไม่เคยตระหนักมาก่อน และหน้าทีข่ องธนาคาร คือ ผูต้ อบโจทย์ความต้องการเหล่านัน้ TMB ไม่เพียงตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าในเรือ่ งธุรกรรมภายในประเทศ เท่านัน้ แต่ยงั ครอบคลุมไปถึงธุรกรรมระหว่างประเทศด้วย

พรรณแข นันทวิสยั ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่ง หัวหน้า เจ้าหน้าที่บริหารธุรกรรมระหว่างประเทศ ธนาคาร ทหารไทย หรือ TMB รับผิดชอบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การให้บริการ รวมถึงให้ค�ำแนะน�ำและเป็นที่ปรึกษา ด้านการน�ำเข้า-ส่งออกให้แก่ลกู ค้าธุรกิจตัง้ แต่ขนาด SME ไปจนถึงธุรกิจขนาดใหญ่ ได้ให้ขอ้ มูลว่า TMB ก�ำลังปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการให้บริการด้านธุรกรรมการค้า ระหว่างประเทศให้สอดคล้องกับปรัชญาของธนาคาร คือ TMB Make THE Difference ‘เปลีย่ นเพือ่ ให้ชวี ติ คุณดีขนึ้ ’ และค้นคว้าพัฒนาสิ่งที่จะตอบสนองความต้องการที่คุณ ไม่เคยรูอ้ ย่างเข้มข้น

เข้าใจทุกความต้องการของลูกค้า

“เราปรับปรุงการให้บริการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ โดย คิดจากมุมมองของลูกค้าว่าต้องการอะไร ไม่วา่ จะเป็นความ ต้องการที่มีอยู่ทุกวันนี้ และความต้องการที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต ซึง่ อาจเกิดขึน้ จากการเปลีย่ นแปลงต่างๆ ในโลก เราทุ ก วั น นี้ เช่ น การเปลี่ ย นแปลงของเทคโนโลยี กฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ มาพิจารณาด�ำเนินการ เพือ่ ตอบโจทย์ของลูกค้าได้ดยี งิ่ ขึน้ “นอกจากนี้ เรายังให้คำ� แนะน�ำและค�ำปรึกษาแก่ลกู ค้า ทีเ่ ป็นผูน้ ำ� เข้า-ส่งออก ซึง่ มีความต้องการอยู่ 3 เรือ่ งใหญ่ๆ คือ “เรือ่ งแรก : เมือ่ เขาค้าขายสินค้า เขาก็ยอ่ มอยากได้ เงินเร็ว หรือเมือ่ ซือ้ สินค้าก็อยากได้ของเร็ว ท�ำงานได้เสร็จ เรียบร้อยอย่างรวดเร็ว สะดวก ถูกต้อง นัน่ คือเรือ่ งของความ ต้องการด้านประสิทธิภาพในการด�ำเนินธุรกิจ “เรือ่ งทีส่ อง : เงินทุนเพือ่ การด�ำเนินธุรกิจ ธนาคาร ต้องมองให้ออกว่าผู้ส่งออกมีความต้องการที่จะกู้เงินมา ผลิตสินค้าหรือไม่ ธนาคารจะน� ำเสนอโซลูชั่นใดเพื่อ ตอบสนองความต้องการนั้น เช่นเดียวกับผู้น�ำเข้า เมื่อ สั่งสินค้าเข้ามา เขาอาจจ่ายเงินค่าสินค้าเองหรือต้องการ กูเ้ งินธนาคาร เป็นต้น “เรื่องที่สาม คือ เรื่องการบริหารความเสี่ยง ลูกค้า จะบริหารจัดการอย่างไรเพือ่ ให้ได้เงินหรือช�ำระค่าสินค้า ในจ�ำนวนทีค่ าดหวัง “พอเราเข้าใจความต้องการของลูกค้า เราก็จะย้อนมา ดูผลิตภัณฑ์และบริการของเราว่าตอบโจทย์ลูกค้าได้ แค่ไหน ซึง่ ทัง้ 3 เรือ่ งทีก่ ล่าวมานัน้ ล้วนเป็นสิง่ ทีเ่ ราจะต้อง ท�ำการปรับปรุงตลอดเวลา ถึงแม้เป็นสิง่ ทีด่ อี ยูแ่ ล้วในวันนี้ เราก็จะไม่หยุดคิดต่อ ว่ายังสามารถพัฒนาอะไรเพือ่ ให้ได้ ผลลัพธ์ทดี่ ยี งิ่ ขึน้ กว่าเดิม”

ลูกค้า และ AEC ความท้าทายของ TMB

ภาพ : กิตตินนั ท์ จรรยางาม

ในส่วนของ AEC การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ เพือ่ นบ้านในกลุม่ อาเซียนจะคล่องตัวกว่าเดิม โดยธนาคาร จะเป็นอีกส่วนที่จะสร้างความมั่นใจของผู้น�ำเข้า-ส่งออก และนักลงทุนว่าควรค้าขายหรือลงทุนหรือไม่ อย่างไร TMB ได้ศึกษาโอกาสในเรื่องนี้และก�ำลังด�ำเนินการเพื่อ ส่งเสริมธุรกิจและให้บริการลูกค้าในด้านนี้ “ลูกค้าธนาคารส่วนใหญ่เริม่ มองไปทีก่ ารขยายตลาด ไปในประเทศกลุม่ AEC มากขึน้ ซึง่ ต้องพิจารณาพืน้ ฐาน ในการท�ำธุรกิจ เช่น ระบบค่าเงิน กฎเกณฑ์ กติกา และ วิธกี ารของประเทศเพือ่ นบ้าน โดยเฉพาะในกลุม่ ประเทศ ทีก่ ำ� ลังถูกจับตาอย่าง CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมา และ เวียดนาม)” ส�ำหรับการค้าระหว่างประเทศ ในมุมของ พรรณแข เธอมองว่า การจะท�ำให้เกิดความแตกต่างด้านการบริการนัน้ ไม่ใช่เรือ่ งง่ายนัก แต่กถ็ อื เป็นเรือ่ งทีท่ า้ ทาย ทุกๆ โซลูชนั่ ต้องมีคณ ุ ค่าต่อลูกค้าอย่างแท้จริง และทีมงานของ TMB จะไม่หยุดพัฒนาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การค้าระหว่างประเทศและการให้บริการการค้าระหว่าง ประเทศอย่างดี เพื่อให้บริการลูกค้าได้เหนือความ คาดหวัง



28 GMBiZ

DECEMBER 2015

เรือ่ ง : รุจรดา วัฒนาโกศัย

สิรทิ ร สิทธิวฒ ั นาวงศ์ และ ลอเรนซ์ ชอง จาร์เค็น : จากธุรกิจออกแบบ ก้าวสูท่ ปี่ รึกษาการปรับโฉมธุรกิจ

ภาพ : ด�ำรงค์ฤทธิ์ สถิตด�ำรงธรรม

กลุม่ บริษทั จาร์เค็น จ�ำกัด หลังจากประสบความส�ำเร็จด้านธุรกิจดีไซน์ ทีค่ รอบคลุม ตัง้ แต่งานออกแบบสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมภายใน และการตกแต่งก่อสร้าง มาจนถึงงานกราฟิกดีไซน์ ที่ปรึกษาการพัฒนาแบรนด์สินค้า และท�ำผลิตภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์และแฟชัน่ ด้วยความคิดทีว่ า่ ‘ดีไซน์’ ไม่ใช่แค่เรือ่ งของงานสถาปัตย์ หรืองานออกแบบผลิตภัณฑ์เท่านัน้ แต่มองว่า ‘ดีไซน์’ คือ ส่วนหนึง่ ของธุรกิจ

สิริทร สิทธิวัฒนาวงศ์ กรรมการผู้จัดการ กลุ่มบริษัท จาร์เค็น จ�ำกัด กล่าวว่า “งานด้านดีไซน์ไม่ใช่แค่ความสวยงาม เพียงอย่างเดียว แต่เป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบโดยรวม ซึง่ การท�ำธุรกิจถือเป็นงานดีไซน์อย่างหนึง่ ทุกบริษทั ย่อมมีดไี ซน์ เป็นของตัวเอง มีความแตกต่างทีไ่ ม่เหมือนใคร ต้องออกแบบดีไซน์ ทุกแผนกขององค์กรเพือ่ ให้มคี วามโดดเด่น มีโครงสร้างทีม่ นั่ คง แข็งแกร่ง ตามวัตถุประสงค์ขององค์กรนั้นๆ และยังสามารถ เติบโต พร้อมทั้งพัฒนาศักยภาพจากภายในสู่ภายนอกอย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด” จาร์เค็นเติบโตมาเป็นเวลาถึง 12 ปี ด้วยการใช้หลักการ ออกแบบผสมผสานอยูใ่ นการพัฒนาธุรกิจ เมือ่ มาเจอกับ ลอเรนซ์ ชอง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท คอนซูรัส จ�ำกัด และ ได้รู้จักโมเดลธุรกิจของคอนซูรัส จึงอยากจะต่อยอดไปด้วยกัน ด้วยการเป็นทีป่ รึกษาให้คำ� แนะน�ำธุรกิจทีต่ อ้ งการเติบโต ไม่วา่ จะเป็นการขยายไลน์ธรุ กิจ ขยายโปรดักต์ได้ดขี นึ้ โดยใช้หลักการ ของคอนซูรสั นัน่ คือ ‘Shape the World’ ด้วยการจับมือเป็น พันธมิตรร่วมกัน ภายใต้ชอื่ ‘คอนซูรสั -จาร์เค็น’ ลอเรนซ์มองว่า ปัจจุบันการท�ำธุรกิจมีอัตราการแข่งขันสูง หากองค์กรใดตระหนักถึงความส�ำคัญและลงมือพัฒนาองค์กร อย่างเป็นระบบขั้นตอน จะช่วยสร้างโอกาสในการประสบความ ส�ำเร็จและน�ำหน้าคูแ่ ข่งไปอีกขัน้ โมเดลนีจ้ ะเข้าไปดูตงั้ แต่แผนการตลาด พนักงาน การบริหาร การเงิ น การสื่ อ สารประชาสั ม พั น ธ์ นั่ น หมายถึ ง การดู แ ล องค์ประกอบโดยรวมทั้งหมดขององค์กร จึงมีความแตกต่าง จากงานบริการให้คำ� ปรึกษาด้านการตลาดทัว่ ไป ซึง่ การร่วมมือ กันในครั้งนี้ คือการน�ำต้นแบบธุรกิจของคอนซูรัสมาปรับใช้ให้ เข้ากับวิถแี ละการด�ำเนินธุรกิจในประเทศไทยโดยเฉพาะ “คอนซูรสั -จาร์เค็น เรามองว่างานดีไซน์จะเข้ามาช่วยองค์กร โดยปรับวิธีคิดของคน ท�ำให้คนในองค์กรคิดเหมือนกับเป็น ดีไซเนอร์ ซึ่งดีไซเนอร์เวลาจะคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา เขาจะเริ่ม จากศูนย์ โดยไม่ต้องค�ำนึงถึงก�ำไร-ขาดทุน ดีไซเนอร์เวลาที่ ออกแบบบ้านหรืออาคาร เขาจะจับโจทย์ทมี่ อี ยูแ่ ล้วปัน้ ทุกอย่าง ขึน้ มาบนกระดาษ ทดลองความคิดด้วยดินสอแล้วลบทิง้ จนกระทัง่ ความคิดเริม่ เป็นรูปเป็นร่างก็นำ� มาขึน้ เป็นโมเดล “สิง่ ทีจ่ าร์เค็นท�ำร่วมกับคอนซูรสั เป็นงานทีป่ รึกษา ในการน�ำ แนวคิดต่างๆ มาถ่ายทอดให้คนในองค์กรสามารถเข้าใจและเกิด การทดลองท�ำ ซึง่ เป็นกระบวนการทีง่ านดีไซน์จะช่วยสร้างมูลค่า เพิ่มทางธุรกิจได้ ซึ่งที่สุดแล้วก็เป็นผลก�ำไรที่เพิ่มขึ้น บุคลากร มีพลังในการท�ำงาน มีแพสชั่นในการท�ำงาน เปลี่ยนวิธีคิด ของคนในองค์กรไป” สิริทรอธิบายถึงแนวคิดการน�ำ Business Design หรือแนวการท�ำธุรกิจเชิงออกแบบเข้ามาปรับใช้กบั องค์กร ซึง่ ระยะเวลาในการเป็นทีป่ รึกษานัน้ ต้องท�ำกันระยะยาวอย่างน้อย 6 เดือนถึง 1 ปี แต่ผลทีไ่ ด้จะอยูก่ บั องค์กรไปชัว่ ชีวติ การท�ำธุรกิจ โมเดลการพัฒนาธุรกิจของคอนซูรสั -จาร์เค็นสามารถใช้ได้กบั ทุกองค์กร แม้แต่องค์กรเล็กอย่างกลุม่ สตาร์ทอัพ พวกเขามองว่า บริษทั ทีด่ หี รือแบรนด์ทแี่ ข็งแรงไม่จำ� เป็นต้องใหญ่โต หรือต้องเข้า ตลาดหลักทรัพย์เท่านัน้ ‘Business Design’ จะท�ำให้องค์กร ทีไ่ ม่ใหญ่ มีภาพลักษณ์ทดี่ ี มีเสน่ห์ และแข็งแรงขึน้ กว่าเดิม การร่วมมือเป็น คอนซูรสั -จาร์เค็น ไม่ได้ตงั้ เป้าหมายในเชิง ผลก�ำไร แต่ตงั้ ความหวังว่าจะช่วยยกระดับองค์กรไทยให้แข็งแกร่ง มากขึ้น ผ่านมุมมองของวิศวกร สถาปนิก ซึ่งได้สร้างองค์กร ด้วยแนวคิดการออกแบบมาก่อนจนกระทัง่ ประสบความส�ำเร็จ “งานคอนซัลท์เป็นงานทีย่ ากมาก แต่เรามองว่าจะเติมเต็มให้ กลุม่ บริษทั จาร์เค็นเป็นทีร่ จู้ กั มากขึน้ และสิง่ ทีส่ ำ� คัญกว่าคือช่วยยก ระดับอุตสาหกรรมไทยให้เข้มแข็งและอยูร่ อดมากขึน้ ” สิรทิ รกล่าว ในขณะที่ลอเรนซ์มองว่าโมเดลธุรกิจที่จะเอามาใช้นี้จะช่วย ปรับให้ธรุ กิจต่างๆ ทันสมัยขึน้ เปรียบเทียบกับรถยนต์ เมือ่ ก่อน รถยนต์รุ่นเก่าใช้มือหมุนไขกระจก แต่สิ่งที่คอนซูรัสเข้ามา เหมือนเป็นการท�ำให้รถยนต์คันนี้โมเดิร์นขึ้น โดยมีจาร์เค็น เป็นเสมือนตัวรถ และคอนซูรัสเป็นพลังงานที่เข้ามาช่วยเสริม ให้แข็งแกร่งมากยิง่ ขึน้ ปัจจุบันคอนซูรัสได้รับความไว้วางใจจากลูกค้าในฐานะ ผูเ้ ชีย่ วชาญการปรับเปลีย่ นรูปแบบธุรกิจของบริษทั และองค์กร ให้ดขี นึ้ ผ่านการออกแบบธุรกิจ การพัฒนาองค์กรและบุคลากร ตลอดจนสร้างแบรนด์ให้นา่ จดจ�ำ เพือ่ ให้ธรุ กิจเติบโตอย่างมี ประสิทธิภาพอย่างยัง่ ยืนและสูงสุด ในกว่า 18 ประเทศทัว่ โลก อาทิ อิตาลี โอมาน ฮ่องกง จีน สิงคโปร์ ฟิลปิ ปินส์ มาเลเซีย และพม่า จะเห็นได้ว่าคอนซูรัสให้ค�ำปรึกษาในกลุ่มประเทศ เอเชียแปซิฟิกอยู่แล้ว ท�ำให้เข้าใจแนวคิดและวัฒนธรรม ของคนในแถบนี้ เมือ่ เข้าจับมือกับกลุม่ บริษทั จาร์เค็น จึงยิง่ เสริม ให้การน�ำโมเดลนีม้ าปรับใช้ในประเทศไทยเป็นเรือ่ งง่ายขึน้



บ้านแม่โจ้ เป็นหมูบ่ า้ น หนึง่ ของไทยทีต่ งั้ อยู่ ณ ตําบลบ้านเป้า อําเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ มีผอู้ ยูอ่ าศัยรวม ในพืน้ ที่ 111 ครัวเรือน ชาวบ้าน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทําการเกษตร ได้แก่ การทําสวนลําไย ข้าว ข้าวโพด กระเทียม และมันฝรัง่ โดยอาศัยนำ�้ จากอ่างเก็บนำ�้ ห้วยแม่เลิม ซึง่ ก่อสร้างตามแนวพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ตัง้ แต่ปี 2535 ขณะเดียวกัน ชาวบ้านในละแวกดังกล่าว ยังได้รวมกลุม่ กันภายใต้ชอื่ กลุม่ แม่โจ้บา้ นดิน ดําเนินการ ทําโฮมสเตย์บา้ นดิน การทํา การเกษตรปลอดสารเคมี การทําสวนสมุนไพร การคัดแยกขยะ กิจกรรมการปลูกป่าและการทํา แนวกันไฟ เพือ่ รักษาปริมาณนำ�้ ในอ่างเก็บนำ�้ ห้วยแม่เลิมให้เพียงพอ กับการทําการเกษตรและการอุปโภค บริโภคของชุมชนอีกด้วย

หลังจากนั้นก็ชักชวนชาวบ้านแม่โจ้ ให้เกิดการรวมกลุ่มจัดตั้ง วิสาหกิจชุมชนไฟฟ้าพลังน�้ำบ้านแม่โจ้ เพื่อจัดสรรรายได้จากการ จาํ หน่ายไฟฟ้า โดยในช่วงแรกจะนาํ รายได้สว่ นหนึง่ ทยอยซือ้ หุน้ คืน จาก ESCO Fund อีกส่วนหนึง่ นาํ มาใช้บริหารจัดการและซ่อมบาํ รุง ส่วนโรงไฟฟ้า ส่วนทีเ่ หลือจะใช้เป็นทุนเพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาให้ ชุมชนพึ่งตนเองได้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเงินทุนในส่วนนี้ ทางคณะกรรมการวิสาหกิจชุมชน ได้กาํ หนดแผนงานพัฒนาชุมชนครอบคลุมในมิตติ า่ งๆ ดังนี้ อย่างไรก็ตาม ไม่เพียงแค่อ่างเก็บน�้ำ ดั ง กล่ า วจะคอยหล่ อ เลี้ ย งวิ ถี ชี วิ ต ของ ชาวบ้านแม่โจ้ แต่ยังสามารถพัฒนาและ ต่อยอดมาสูก่ ารผลิตพลังงานสะอาดเพือ่ ไว้ ใช้อกี ด้วย ซึง่ ในส่วนนีส้ อดคล้องกับแนวทาง การดําเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อ สังคมของเครือไทยออยล์ ทีต่ อ้ งการส่งเสริม การผลิ ต พลั ง งานสะอาดให้ แ ก่ ชุ ม ชนที่ ห่างไกล โดยก่อนหน้านี้ เครือไทยออยล์ ได้ร่วมกับมูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม และกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์ พลังงาน (พพ.) ผ่านโครงการส่งเสริมการ ลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงาน ทดแทน (ESCO Revolving Fund) พัฒนา โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ บ้านแม่โจ้ โดยนํา น�ำ้ จากอ่างเก็บน�ำ้ ห้วยแม่เลิมมาผลิตกระแส ไฟฟ้ า มี กํ า ลั ง การผลิ ต 37 กิ โ ลวั ต ต์ ซึ่งเป็นการต่อยอดศักยภาพพลังน�้ำจาก อ่างเก็บน�้ำห้วยแม่เลิม ผลิตกระแสไฟฟ้า จําหน่ายเข้าระบบของการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค

ดูแลรักษาพืน้ ทีป่ า่ ต้นน�ำ้ ส่งเสริมให้คนในชุมชน มีสาํ นึก รักธรรมชาติและป่าต้นน�้ำบริเวณอุทยานแห่งชาติศรีลานนา เพิม่ พืน้ ทีป่ า่ ไม้เพือ่ เป็นแหล่งอาหาร รวมทัง้ ใช้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ และท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ พัฒนากลุม่ วัยโจ๋แม่โจ้บา้ นดิน กลุม่ เยาวชนนักศึกษาคืนถิน่ ของหมูบ่ า้ นแม่โจ้เป็นกลุม่ ผูน้ ำ� ในการดูแลรักษาป่าต้นน�ำ้ ดูแลผืนป่าชุมชน 1,000 ไร่ เพือ่ ฟืน้ ฟูสภาพป่าทีไ่ ม่สมบูรณ์ นอกจากนัน้ เยาวชนกลุม่ นีจ้ ะได้รบั การพัฒนาสร้างอาชีพให้เป็น ‘ช่างชุมชน’ เพือ่ ดูแลโรงไฟฟ้าด้วย พัฒนาการเกษตรอินทรีย์ ส่งเสริมและสร้างความเข้าใจกระบวนการเพาะปลูกแบบไร้สารเคมี พัฒนาผลิตภัณฑ์อนิ ทรีย์ มีแผนงานสร้างโรงผลิตปุย๋ อินทรียแ์ ละโรงผลิตสารอินทรียไ์ ล่แมลง พัฒนาสูก่ ารเป็น ‘ศูนย์การเรียนรูป้ ราชญ์ชาวบ้านเพือ่ อนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมและภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ’ ทัง้ นี้ โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ บ้านแม่โจ้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ 160,380 กิโลวัตต์-ชัว่ โมง ต่อปี หรือ เทียบเท่าหลอดไฟฟ้าคอมแพ็ค ขนาด 9 วัตต์ จาํ นวน 3,056 หลอด สามารถลดการปล่อย CO2 ได้ปลี ะ 88 ตัน หรือเท่ากับปลูกต้นไม้เพิม่ ปีละ 45,000 ต้น และทดแทนการนาํ เข้าน�ำ้ มันดิบได้ปลี ะ 15,890 ลิตร หรือ 100 บาร์เรล มูลค่า 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ มีชาวบ้านในชุมชนได้รบั ประโยชน์จาก โครงการ 111 ครัวเรือน

โรงไฟฟ้าพลังน้�ำ บ้านแม่โจ้

อีกหนึง่ ความรับผิดชอบต่อสังคมของเครือไทยออยล์

ส�ำหรับโครงการโรงไฟฟ า้ พลงั นำ�้ บา้ นแมโ่ จ้ ถอื เปน็ หนงึ่ ในโครงการด า้ นความรับผดิ ชอบ ตอ่ สงั คมของเครือไทยอ อยล์ ทมี่ งุ่ มนั่ พฒ ั นาคณ ุ ภาพชวี ติ ของชมุ ชน หา่ งไกล ผา่ นประสบการ ณแ์ ละ ความเชยี่ วชาญดา้ นพล งั งานมากกว่า 55 ปี โดยเนน้ การใชท้ รัพยาก รของแตล่ ะชมุ ชน ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ รวมทงั้ สร้างการ มสี ว่ นร่วมของพนกั งาน จิตอาสา ในการทาํ ความดี คนื สสู่ งั คมอยา่ งยงั่ ยนื


โรงไฟฟ้าพลังน้�ำ บ้านแม่โจ้ คว้ารางวัลดีเด่นด้านพลังงาน ในเวที

Thailand Energy Awards

เป็นเวลากว่า 4 ปี ทีเ่ ครือไทยออยล์ได้พฒ ั นาโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ บ้านแม่โจ้ ต�ำบลบ้านเป้า อ�ำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ขนาดก�ำลังการผลิตติดตัง้ 37 กิโลวัตต์ ร่วมกับ มูลนิธพิ ลังงานเพือ่ สิง่ แวดล้อม (มพส.) กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) และวิสาหกิจชุมชนไฟฟ้าพลังน�้ำบ้านแม่โจ้ ซึ่งถือเป็น โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ บ้านดิน ด�ำเนินงานโดยชุมชนแห่งแรกในประเทศไทยทีส่ ามารถขายไฟฟ้าเข้าระบบของการไฟฟ้า ส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) จากความพยายามร่วมแรงร่วมใจของพันธมิตร รวมทัง้ พนักงานจิตอาสาทีผ่ า่ นมา ท�ำให้วนั นี้ โรงไฟฟ้า พลังน�้ำบ้านแม่โจ้ ได้รับรางวัลดีเด่น ด้านพลังงาน ทดแทน ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (On-Grid) จาก การประกวดรางวัล Thailand Energy Awards 2015 โดย อธิคม เติบศิริ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ได้ขึ้นรับมอบรางวัล จาก พลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงพลังงาน ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรม อิ น เตอร์ ค อนติ เ นนตั ล กรุ ง เทพฯ เมื่ อ วั น ที่ 24 พฤศจิกายน 2558 ทีผ่ า่ นมา รางวัล Thailand Energy Awards จัดขึน้ เพือ่ แสดง ความชื่นชมและยกย่องผู้ที่มีผลงานดีเด่นด้านการ อนุรักษ์พลังงานและการพัฒนาพลังงานทดแทน อันจะเป็นตัวอย่างทีด่ แี ก่องค์กรต่างๆ ทัง้ ยังกระตุน้ ให้ เกิดการมีสว่ นร่วมของบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องในทุกระดับ โดยจะคัดเลือกโครงการที่ได้รับรางวัลไปประกวด ในเวที ASEAN Energy Awards ต่อไป ซึง่ โครงการ โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ บ้านแม่โจ้ ถือเป็นโครงการเพือ่ สังคม ของเครือไทยออยล์โครงการที่ 3 ทีไ่ ด้รบั รางวัลต่อจาก โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำชุมชนห้วยปูลิง จังหวัด เชียงใหม่ เมือ่ ปี 2554 (ได้รบั รางวัล ASEAN Energy Awards) และโครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากน�้ำเสีย ในการผลิตยางแผ่นและของเสียจากครัวเรือน รวมถึง ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารเคมีเพื่อสุขภาวะที่ดี ของชุมชนเกาะหมากน้อย จังหวัดพังงา เมือ่ ปี 2556 อธิคมเล่าว่า “เราพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้า พลังน�ำ้ บ้านแม่โจ้ โดยใช้ชมุ ชนเป็นศูนย์กลางร่วมคิด ร่วมพัฒนาโครงการจากความต้องการของชุมชน ในการน�ำน�ำ้ จากอ่างเก็บน�ำ้ พระราชด�ำริหว้ ยแม่เลิม มาต่อยอดให้เกิดประโยชน์สงู สุด สร้างความร่วมมือ

ส�ำหรับผูส้ นใจข้อมูล การประกวด Thailand Energy Awards หรือสนใจ ส่งโครงการเข้าร่วมประกวด ในหมวดอืน่ ๆ ทัง้ ในด้าน พลังงานทดแทน ด้านอนุรกั ษ์ พลังงาน บุคลากรด้านพลังงาน ด้านพลังงานสร้างสรรค์ หรือ ผูส้ ง่ เสริมด้านพลังงาน สามารถ เข้าไปดูขอ้ มูลและหลักเกณฑ์ การพิจารณาเพิม่ เติมได้ที่ http://www.thailand energyaward.com/

ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น แนวทางสร้ า งชุ ม ชนต้ น แบบที่ เข้มแข็ง และอยูไ่ ด้ดว้ ยตนเองอย่างยัง่ ยืน”

ระหว่างชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่ อ ยกระดั บ การขออนุ ญ าตต่ า งๆ ให้ มี ประสิทธิภาพมากขึน้ รวมทัง้ การสร้างความ มั่ น คงด้ า นพลั ง งานให้ กั บ ประเทศ ขณะ เดียวกันตัวโครงการยังมุง่ เน้นการลดปัญหา ด้านสิง่ แวดล้อม ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ บ้านแม่โจ้สามารถ จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ 160,380 กิโลวัตต์-ชัว่ โมง ต่อปี ซึง่ คิดเป็นค่าการลดการปลดปล่อยก๊าซ คาร์ บ อนไดออกไซด์ เ ท่ า กั บ 88.00 ตั น คาร์บอนไดออกไซด์ตอ่ เมกะวัตต์-ชัว่ โมง “นอกจากนี้ยังได้วางแผนพัฒนาชุมชน ไกลเพื่ อ สร้ า งชุ ม ชนที่ พึ่ ง พาตนเอง โดย วิสาหกิจชุมชนฯ มีแผนน�ำรายได้จากการ จ�ำหน่ายไฟฟ้ามาใช้ในการอนุรกั ษ์ปา่ ต้นน�ำ้ การส่งเสริมการท�ำเกษตรอินทรีย์เพื่อรักษา คุณภาพของทรัพยากรน�้ำให้กับชาวบ้านใน พืน้ ทีป่ ลายน�ำ้ ส่งเสริมบทบาทเยาวชนในการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยน้อมน�ำ

โครงการนี้ประสบผลส�ำเร็จอย่างดีเยี่ยม ด้วยความร่วมมือ อย่างดีจากพนักงานจิตอาสาเครือไทยออยล์ทไี่ ด้ไปร่วมคิดร่วมท�ำ และร่วมเรียนรู้กิจกรรมต่างๆ กับชุมชน ตั้งแต่ย�่ำดินและท�ำ บล็อกดินส�ำหรับก่อสร้างอาคารโรงไฟฟ้า ร่วมปลูกป่าชุมชน สร้างฝายชะลอน�้ำ โรงเพาะพันธุ์กล้าไม้ รวมไปถึงฉาบดินและ ตกแต่งผนังอาคารโรงไฟฟ้า ซึ่งถือเป็นกิจกรรมที่มีความส�ำคัญ ในการสร้างสัมพันธ์ทดี่ รี ะหว่างเครือไทยออยล์ และชุมชนชาวบ้าน แม่โจ้ เพือ่ ให้สามารถด�ำเนินโครงการได้อย่างมัน่ คงและสืบเนือ่ ง ต่อไป


32 GMBiZ

voice of executive

DECEMBER 2015

ภาพ : พิชญุตม์ คชารักษ์

เรือ่ ง : โชติ เวสวานิชกุล

อภิศกั ดิ์ เทพผดุงพร เทพผดุงพรมะพร้าว

แบรนด์ ไทยในเวทีระดับโลก หากเอ่ยชือ่ ‘เทพผดุงพรมะพร้าว’ คนทีอ่ ยูน่ อกแวดวงธุรกิจอาจไม่คนุ้ หูหรือได้ยนิ ชือ่ ไม่บอ่ ยนัก แต่ถ้าเอ่ยชื่อตราสินค้า ‘ชาวเกาะ’ ‘แม่พลอย’ ‘ยอดดอย’ เชื่อแน่ว่ากว่า 90% ต้องรู้จัก เป็นอย่างดี ซึง่ จุดเริม่ ต้นของแบรนด์เหล่านี้ ล้วนเกิดจากร่มเงาเดียวกันคือ บริษทั เทพผดุงพร มะพร้าว จ�ำกัด อภิศกั ดิ์ เทพผดุงพร กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เทพผดุงพร มะพร้าว จ�ำกัด ทายาทรุน่ ที่ 2 ผูม้ บี ทบาทส�ำคัญในการขับเคลือ่ นธุรกิจ ของเทพผดุงพรมะพร้าวทัง้ 3 แบรนด์ออกสูต่ ลาดโลก จนวันนีเ้ รียก ได้วา่ บริษทั เป็นเจ้าตลาดกะทิสำ� เร็จรูป เครือ่ งแกง เครือ่ งปรุงรส อีกทัง้ ยังมีแบรนด์ทลี่ กู ค้าชืน่ ชอบ ชืน่ ชมมากทีส่ ดุ แบรนด์หนึง่ เล่าให้ฟงั ว่า “ในอดีตคนส่วนใหญ่ยงั ไม่รวู้ า่ มีกะทิสำ� เร็จรูปขายในตลาด นัน่ จึง เป็นเหตุผลให้เทพผดุงพรฯ ต้องท�ำการตลาดมากขึ้น และมุ่งเน้น ในการสร้างแบรนด์ ด้วยการเริม่ กับแบรนด์ ‘ชาวเกาะ’ เป็นล�ำดับแรก เพื่อสื่อถึงมะพร้าวที่เราซื้อมาจากเกษตรกรทางตอนใต้ของประเทศ จากนั้นก็เริ่มส่งออกไปขายต่างประเทศคู่กับขายในประเทศอย่าง ต่อเนือ่ ง จนปัจจุบนั สามารถส่งออกไปกว่า 36 ประเทศทัว่ โลก ได้แก่ ทวีปอเมริกา 55% ประเทศกลุม่ โอเชียเนีย (ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และหมู่เกาะ) 16% เอเชียแปซิฟิก 15% ประเทศเขตยุโรป 13% และประเทศอื่นๆ อีกประมาณ 1% ซึ่งเราจะเน้นขายต่างประเทศ มากกว่าภายในประเทศ โดยสินค้าทีข่ ายดีทสี่ ดุ คือ ‘กะทิ’ รองลงมาคือ ‘น�ำ้ จิม้ ไก่’ และ ‘น�ำ้ พริกแกงส�ำเร็จรูป’

จากการสัง่ สมประสบการณ์และความตระหนักว่า ‘เทพผดุงพร มะพร้าว’ คือ บริษัทที่เป็นเสมือนแหล่งอาหารโลก ทุกบริษัทและ ทุกโรงงานในเครือจึงมุง่ พัฒนาโรงงานให้ได้มาตรฐานสากล อีกทัง้ ยังได้รบั การยอมรับจากองค์การอาหารและยาประเทศสหรัฐอเมริกา (USFDA) ท�ำให้สามารถเข้าสู่ตลาดประเทศสหรัฐอเมริกาอย่าง รวดเร็ว ถึงกระนั้น แม้เทพผดุงพรฯ จะเน้นค้าขายในตลาดโลก แต่ก็ ไม่ได้ละเลยตลาดภายในประเทศและตลาดเพื่อนบ้านในอาเซียน แต่อย่างใด “ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ ส ่ ง ออกกะทิ ก ระป๋ อ งมากเป็ น อันดับหนึ่ง โดยกลุ่มของเรามีการรับซื้อมะพร้าวจากเกษตรกรไทย เป็นหลัก แม้จะมีสวนของเราเอง แต่เมือ่ เทียบกับก�ำลังการผลิตแล้ว ถือว่าน้อยมาก และต้องยอมรับว่าประเทศไทยมีโรงงานผลิตกะทิ กระป๋องเพิม่ ขึน้ มาก ในอนาคตมะพร้าวก็อาจจะขาดแคลนได้ “สิง่ ทีโ่ ชคดี คือ เราอยูใ่ นอุตสาหกรรมนีม้ านาน เราจึงสามารถ ซื้อหาได้มากกว่าคนอื่น แต่เวลาที่มะพร้าวขาดมากจริงๆ ก็ต้องมี

การน�ำเข้าจากอินโดนีเซียหรือเวียดนามบ้าง เหตุทเี่ น้น 2 ประเทศนี้ เพราะอยูใ่ กล้ประเทศ เรามากหน่อย และผ่านการรับรองจากส�ำนัก ควบคุมพืช กรมวิชาการเกษตร แต่ปัญหาคือ การน�ำเข้ามะพร้าวมีมาตรการการจ่ายภาษี 54 เปอร์เซ็นต์ แม้จะจ่ายภาษี 6 เดือน ยกเว้น ภาษีได้ 6 เดือน ตามกรอบ AFTA หากมะพร้าว ขาดแคลนช่วงทีต่ อ้ งจ่ายภาษี บริษทั ก็มคี า่ ใช้จา่ ย เพิม่ ขึน้ มากพอสมควร “การเปิด AEC จึงน่าจะมีผลดีเรื่องการ น� ำ เข้ า มะพร้ า ว ซึ่ ง ถื อ เป็ น วั ต ถุ ดิ บ ของเรา ด้านการส่งออกก็น่าจะมีผลดีอยู่แล้ว เพราะ ประเทศเพือ่ นบ้านนิยมสินค้าไทย เนือ่ งจากเขา มองว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพดี และ เมืองไทยยังได้เปรียบเรือ่ งทีต่ งั้ เราอยูศ่ นู ย์กลาง ถ้ามองแค่สามสีป่ ระเทศทีต่ ดิ บ้านเรา เขาชืน่ ชม สินค้าไทยมาก แต่เราก็ตอ้ งเลือกสินค้าทีจ่ ะไป ท�ำตลาดให้เหมาะกับแต่ละประเทศเช่นกัน อย่างประเทศอินโดนีเซียหรือฟิลปิ ปินส์ เราก็คง ไม่เอามะพร้าวไปขาย เพราะเขามีเยอะมากอยูแ่ ล้ว “ปัจจุบนั สิง่ ทีท่ า้ ทายเราอยูค่ อื น�้ำมะพร้าว ซึง่ 4-5 ปีมานี้ คนสนใจประโยชน์ของน�ำ้ มะพร้าว มากขึน้ ในตลาดอเมริกา น�ำ้ มะพร้าวใหญ่กว่า กะทิมาก ผมคิดว่าไม่เกิน 2 ปี ยอดขายอาจจะ เปลีย่ น อันดับหนึง่ ยังคงเป็นกะทิ แต่อนั ดับสอง น่าจะเป็นน�้ำมะพร้าวแทนน�้ำจิ้มไก่ ส่วนตลาด ในประเทศ เราก�ำลังเน้นท�ำตลาดน�ำ้ มันมะพร้าว บริสทุ ธิ์ เพราะมีประโยชน์ตอ่ สุขภาพมาก ซึง่ ที่ ประเทศญีป่ นุ่ เราขายดีมากๆ” แน่นอนว่า หากจะล้วงลึกลงไปถึงองค์ประกอบ ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้องค์กรแห่งนีย้ งั คงครองใจคนไทย และคนทั่ ว โลกก็ คื อ ธรรมาภิ บ าลของบริ ษั ท ซึง่ อภิศกั ดิไ์ ด้ยกตัวอย่างหนึง่ ให้ฟงั ว่า “เราจะไม่ขายของตัดลูกค้าเราเอง ซึง่ แต่กอ่ น เคยมีตวั แทนขายสินค้าทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกา ได้แวะมางาน ThaiFex แล้วบอกกับผมว่า ‘ยูเจ้าเดียวทีไ่ ม่ยอมขายของให้ไอ’ หรืออย่าง ในออสเตรเลีย สมาคมร้านอาหารไทย เขาอยาก น�ำเข้าสินค้าโดยตรงจากเรา แต่เราก็ไม่ได้ขายให้ เพราะทัง้ สองรายนัน้ เขาซือ้ สินค้าผ่านคูค่ า้ ของ เราอยู่แล้ว ผมจึงบอกกับพวกเขาว่า เราไม่ สามารถท�ำเช่นนีไ้ ด้ เพราะเป็นการตัดขาคูค่ า้ ของเรา ซึง่ เราเองต้องการเติบโตไปพร้อมๆ กับ คูค่ า้ อย่างชัดเจน และคูค่ า้ หลายรายทีอ่ ยูก่ บั เรา ก็รสู้ กึ ดีทเี่ ราช่วยเขาเช่นนัน้ เมือ่ เขาเห็นความ จริงใจของเรา เราช่วยเขา เขาก็ชว่ ยเรา” นอกจากนี้ ด้วยความทีธ่ รุ กิจหลักต้องพึง่ พา โรงงานและการผลิต อภิศกั ดิจ์ งึ ต้องดูแลระบบ การดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างเต็มที่ ด้วยการใช้ งบประมาณกว่า 300 ล้านบาท ดูแลสิง่ แวดล้อม ภายในโรงงานอย่างครบวงจร ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ ง เขม่าควัน การบ�ำบัดน�ำ้ เสีย เพือ่ ไม่เกิดมลพิษ ไปรบกวนชุมชนรอบข้าง เป็นโรงงานสีเขียว เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม “ส� ำ หรั บ เรา การดู แ ลชุ ม ชนใกล้ เ คี ย ง โรงงานเป็นสิ่งส�ำคัญมาก เราติดต่อกับก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เขามีงานอะไร เราก็เข้าไปช่วย เราบริจาคเงินเพื่อสร้างอาคารเรียน ผมคิดว่า เราต้องคืนไปให้สงั คมมากหน่อย ใกล้ๆ โรงงาน เราจะมี แ จกทานให้ กั บ ชาวบ้ า นประมาณ 200-300 คนทุกปี เพราะเราอยูใ่ กล้กบั ชาวบ้าน ซึง่ เราสามารถช่วยเหลือดูแลเขาได้ ก็จะท�ำไป ตามก�ำลัง “ฉะนั้น สิ่งส�ำคัญที่เรายึดถือไม่เปลี่ยน คือ แนวคิดการเป็นผู้ให้ เราถือคติว่าเมื่อมี แล้วก็ตอ้ งให้กลับคืนสูส่ งั คมด้วยเช่นกัน ลูกค้า และคูค่ า้ ทีท่ ำ� ธุรกิจร่วมกับเรามานานๆ จะรูด้ ี หรือเห็นได้จากกิจกรรมและการสนับสนุน โครงการต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ซึ่งคิดว่านี่เป็นส่วนหนึ่งที่ดีมากในการอยู่ ร่วมกัน และท�ำให้คนรักเรา”


2015 DECEMBER

voice of executive

GMBiZ 33

เรือ่ ง : รุจรดา วัฒนาโกศัย

ธรรมศักดิ์ จิตติมาพร โอสถสภา...สร้างความเป็นปึกแผ่นเพือ่ ส่งต่อความยัง่ ยืน ธรรมศั ก ดิ์ จิ ต ติ ม าพร กรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั โอสถสภา จ�ำกัด คือหนึง่ ในทีมบริหารมืออาชีพ เขาคือผู้ขับเคลื่อน ธุรกิจของโอสถสภาในทุกมิติ ไม่ว่าจะเป็น การขาย การตลาด องค์กร หรือธุรการ ให้องค์กรที่อยู่มาอย่างยืนยงได้ก้าวต่อไป อย่างมัน่ คง “ผมว่าถ้าบริษทั เป็นคน ใครทีม่ อี ายุยนื ต้องมีหลายอย่างประกอบกัน และทุกช่วง เวลาที่เจออุปสรรคจะต้องมีภูมิต้านทาน เพียงพอ ส�ำหรับบริษทั เรามีรากฐานมาจาก ความรูส้ กึ เป็นครอบครัว “ถ้ามองเจาะลึกลงไป เรือ่ งทีท่ ำ� ให้บริษทั เรามาถึงวันนี้ได้ อันดับแรก คือ บริษัท มีแนวคิด ‘ธรรมาภิบาล’ เราต้องให้ความ ส�ำคัญในด้านการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ในทุกๆ กระบวนการ ตลอดจนการพัฒนา สิ น ค้ า และบริ ก าร เพื่ อ ตอบสนองความ ต้องการของผูบ้ ริโภคในทุกยุคทุกสมัย “เรื่องที่สอง คือ ความมหัศจรรย์ของ บริษทั เราเป็นธุรกิจครอบครัว ตอนนีเ้ ราคือ รุน่ ที่ 4 ต้องบอกว่าในเมืองไทยแทบจะไม่มี แล้ว พอมองลงถึงพนักงานเราก็มแี พตเทิรน์ แบบนี้ เราก็มีรุ่นหลานของพนักงานเก่าๆ มาท�ำงานที่นี่ และพอไปเจอลูกค้าที่เป็น เอเยนซี่ ก็พบว่าเขาค้าขายกับเรามาเป็น รุน่ ที่ 3-4 หรือไปเจอซัพพลายเออร์ทคี่ า้ ขาย ให้เราก็รนุ่ ที่ 4 อีก เราคบค้า ท�ำงานร่วมกัน แล้วส่งต่อกันมาเรื่อยๆ ภาษาสมัยใหม่เขา เรียก ‘ทีมเวิรก์ ’ แต่ถา้ ภาษาทีพ่ วกเราคุยกัน ก็คอื ‘ความเป็นปึกแผ่น’” ตอนนี้เรื่องหลักของโอสถสภาคือการ ปรับระบบการบริหารจัดการ ผสมผสาน ระหว่างมืออาชีพและธุรกิจครอบครัว ให้ สามารถแข่งขันกับบริษทั ข้ามชาติได้ ปรับตัว ทัง้ วิธบี ริหารงาน กระบวนการท�ำงาน สินค้า การบริการกับลูกค้า หรือการเจาะตลาด ต่างประเทศ การน�ำแบรนด์ของคนไทยไป เจาะตลาดต่างประเทศ เพือ่ ทีจ่ ะน�ำตัวเราเอง ไปสูค่ วามเจริญเติบโตในตลาดต่างประเทศ ได้อย่างยัง่ ยืน ปั จ จุ บั น โอสถสภามี ก ลุ ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ต อบสนองความต้ อ งการของผู ้ บ ริ โ ภค นับร้อยผลิตภัณฑ์ มากกว่า 30 แบรนด์ โดยในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมาเน้นขยายธุรกิจ ไปยังต่างประเทศมากขึ้น โดยมีผลิตภัณฑ์ เรือธงอย่าง M-150, Shark รวมถึงผลิตภัณฑ์ ในกลุ ่ ม ของใช้ ส ่ ว นบุ ค คล ทั้ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เบบีม้ ายด์, ยูทปิ และ 12 plus ซึง่ เป็นสินค้า ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มอย่ า งสู ง ในประเทศ เพื่ อ นบ้ า น รวมถึ ง การเปิ ด ตั ว เครื่ อ งดื่ ม Functional Drink ภายใต้แบรนด์ เปปทีน และขยายตลาดไปยังประเทศในภูมภิ าคนี้ “ในอนาคตจะเป็นเรือ่ งของ Product + Market เมือ่ ก่อนเป็นเรือ่ งของ Product และ Local ซึง่ โอสถสภามีศกั ยภาพไปได้ไกลกว่า

ภาพ : กิตตินนั ท์ จรรยางาม

โอสถสภา นับเป็นองค์กรไทยทีเ่ ป็นตัวอย่างของความยัง่ ยืนอย่างเห็นได้ชดั ทีส่ ดุ ด้วยอายุธรุ กิจถึง 124 ปี ภายใต้การส่งไม้ตอ่ การบริหาร แบบธุรกิจครอบครัวมา 4 ชั่วอายุคน ซึ่งปัจจุบันผู้กุมบังเหียนหลักคือ เพชร โอสถานุเคราะห์ และมีนักบริหารมืออาชีพมาเสริมทัพ ความแข็งแกร่ง น�ำโอสถสภาสูต่ ลาดโลก

แค่ ร ะดั บ อาเซี ย น ด้ ว ยปั จ จั ย ไม่ ว ่ า จะเป็ น คน เครือ่ งจักร ความรู้ ผลิตภัณฑ์ อยูใ่ นวิสยั ที่ ออกไปแข่งขันได้แล้ว เราต้องดึงตัวเองไปแข่ง กับเขาที่อื่นด้วย เพราะถึงเวลานี้แข่งเฉพาะ ในเมืองไทยอย่างเดียวไม่พอ หากรวม M-150, ลิโพ, ฉลาม เราก็มสี ว่ นแบ่งตลาดอยูถ่ งึ 2 ใน 3 ของประเทศ ดังนัน้ เราก็คดิ ว่า ถ้าเราท�ำได้ดที นี่ ี่ เราก็นา่ จะไปท�ำได้ดใี นตลาดต่างประเทศ” โอสถสภาเข้าไปท�ำตลาดในพม่ากว่าสิบปี แล้ว ผ่านการร่วมทุนกับบริษทั Loi Hein ซึง่ เป็น บริษทั ค้าขายเครือ่ งดืม่ อันดับต้นๆ ของประเทศพม่า

สร้างแบรนด์ Shark ขึน้ ในพม่า และน�ำ M-150 เข้ า ไปขาย จนถึ ง ตอนนี้ ทั้ ง สองแบรนด์ ค ว้ า ส่วนแบ่งการตลาดเป็นอันดับหนึง่ ในประเทศพม่า เมือ่ โมเดลธุรกิจนีส้ ำ� เร็จก็ขยายต่อไปยังประเทศ ต่างๆ อาทิ บริษทั PT M-150 Indonesia ช่วยดูแล ธุรกิจ M-150 ในประเทศอินโดนีเซีย นอกเหนือไปจากการผลิตสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพ ดีแล้ว ปัจจัยทีส่ ง่ เสริมให้โอสถสภาเป็นผูน้ ำ� ตลาด ได้ก็คือพันธมิตรทางธุรกิจที่ดี และการพัฒนา พนั ก งานบางส่ ว นให้ ส ามารถติ ด ต่ อ การค้ า ระหว่างประเทศได้มากขึน้ เรือ่ ยๆ เพราะสัดส่วน

การค้าในต่างประเทศจะยิง่ เติบโตขึน้ ในอนาคต การขยายธุรกิจไปยังประเทศใดก็ตามต้อง สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ให้ได้ ต้องรูจ้ กั ผูบ้ ริโภคในประเทศนัน้ ๆ เมือ่ รูจ้ กั มากพอแล้วจึงจะสามารถสร้างตลาดได้ ปัจจุบนั สินค้าของประเทศไทยเป็นทีน่ ยิ ม ในต่างประเทศว่าเป็นสินค้ามีคุณภาพ ซึ่ง โอสถสภามุ่งมั่นที่จะผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ เพือ่ ตอบสนองความต้องการ และไลฟ์สไตล์ที่ เปลีย่ นไปของผูบ้ ริโภค


สุดยอดประสบการณ์ระดับโลก

Experiences Trip ธนชาต น�ำผูโ้ ชคดี 10 ท่าน จากบัตรเครดิตธนชาตแมกซ์ วีซา่ แพลทินมั บินลัดฟ้าสูส่ หรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โดยสายการบิน Emirates ชัน้ ธุรกิจ เพือ่ เปิดประสบการณ์สดุ ยอดระดับโลกแบบแมกซ์กบั 8 จุดหมายปลายทางระดับโลกทีด่ ไู บ ทีบ่ ตั รเครดิตธนชาตมอบให้ครัง้ หนึง่ ในชีวติ ในแบบ ‘I AM MAX Experiences’

เริม่ เปิดประตูสดุ ยอดประสบการณ์บนความสูง 40,000 ฟิต กับ Sky Lounge ในเครือ่ งบินโดยสาร A380 ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก เป็น Open Bar สุดหรูทเี่ ปิดบริการ ตลอดเวลา เป็นจุดพักผ่อนพบปะพูดคุยกับเพือ่ นใหม่ๆ ระหว่างการเดินทาง สัมผัสแบบ ลึกๆ กับอาคารสูง 3 ตึกทีเ่ ป็นสัญลักษณ์ (Icon) ของมหานครดูไบ คือไม่ใช่แค่จอดรถถ่ายรูป • Burj Khalifa : ตึกทีส่ งู ทีส่ ดุ ในโลก 828 เมตร 163 ชัน้ คณะ I AM MAX ของเรา ได้ไปนั่งรับประทานอาหารแบบ Set Menu สุดหรูหราในภัตตาคารที่สูงที่สุดในโลก At.Mosphere บนชัน้ 123 ของ ARMANI Hotel โรงแรมทีส่ งู ทีส่ ดุ ในโลก และได้ขนึ้ ลิฟต์ ทีเ่ ร็วทีส่ ดุ ในโลกทีใ่ ช้เวลาเพียง 1 นาทีเพือ่ ไปชมมหานครแบบพานอรามา 360 องศา บนชัน้ 124-125 • Burj Al Arab : ตึกเรือใบ ริมชายหาดทีโ่ ดดเด่นด้วยสถาปัตยกรรมทีผ่ สมผสาน กันได้ลงตัว และอินทีเรียร์ดไี ซน์เป็นโรงแรม 7 ดาว ทีค่ ณะ I AM MAX ได้นงั่ รถลีมซู นี


มารับประทานอาหารกลางวันที่ Junsui Restaurant สนุกกับการเลือกชิมอาหารสไตล์ Pan-Asia และ เป็นความโชคดีแบบบังเอิญที่ได้พบกับ Sheikh Mohammed bin Rashid เจ้ า ผู ้ ค รองนครดู ไ บ มานั่งรับประทานอาหารอยู่ที่โต๊ะใกล้ๆ สุดยอด ประสบการณ์ทหี่ าได้ยากในชีวติ • Atlantis @ The Palm : อภิมหาโครงการ ของมหานครดูไบทีถ่ มทะเลเป็นรูปต้นปาล์มเป็นเกาะ กลางทะเล และ Atlantis เป็นรีสอร์ทสุดหรูอยู่สุด ปลายเกาะ มีร้านอาหารระดับโลกอย่าง Nobu, Gordon Ramsay’s Bread Street Kitchen & Bar เปิดบริการ รวมทัง้ Saffron ทีไ่ ด้ชอื่ ว่าเป็น The Best Brunch in Dubai ซึง่ คณะ I AM MAX ได้ลมิ้ รสทีน่ ี่ อิม่ ท้อง อิม่ ตา อิม่ ใจกันถ้วนหน้า โดยเฉพาะเมือ่ ได้ สัมผัสกับ Gold Vending Machines ตูจ้ �ำหน่ายทอง (เหมือนตูห้ ยอดเหรียญน�ำ้ อัดลม)

• High Flyer : แบบ Bird Eye View กับการนัง่ เฮลิคอปเตอร์ชมดูไบ บนมุมสูงทัง้ โครงการ The Palm ตึก Burj Khalifa และทีส่ ดุ คือโปรเจ็กต์ลา่ สุด The World ทีถ่ มทะเลจ�ำลองแผนทีโ่ ลกแล้วท�ำเป็นเกาะให้กบั ประเทศต่างๆ ในโลกนี้ เพือ่ ให้นกั ลงทุนไปซือ้ ท�ำโปรเจ็กต์ เกาะของเมืองไทยก็มี แต่ถกู ซือ้ ไปแล้วโดยคนอังกฤษ และเปลีย่ นเป็น Jasmine Island • Dune Safari : ตืน่ เต้นเร้าใจกับ 4WDrive ในทะเลทรายทีเ่ วิง้ ว้าง อันยิ่งใหญ่ของดินแดนอาหรับ แล้วไปสัมผัสชีวิตของชาวเบดูอิน สนุกกับ การขีอ่ ฐู รับประทานอาหารพืน้ เมืองใต้แสงจันทร์สดุ โรแมนติก พร้อมดูโชว์ ระบ�ำหน้าท้องทีห่ าดูได้ยาก

• Grand Mosque : สุ เ หร่ า ที่ ส วยงาม ติดอันดับโลก พื้นภายนอกสร้างด้วยหินอ่อนจาก อิตาลี ด้านในท�ำด้วยหินอ่อนจากสเปน บนเพดาน มีแชนเดอเลียร์ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก ประดับด้วยคริสตัล จากออสเตรีย ด้านล่างปูพรมทอมือผืนใหญ่ที่สุด ในโลก • Ferrari World : แห่งแรกและแห่งเดียว ในโลกที่ โ ดดเด่ น อลั ง การอยู ่ ก ลางทะเลทราย ด้วยสัญลักษณ์สแี ดงและม้าล�ำพอง • ชิ ม ชม ช้ อ ป : กับอาหาร Lebanese ทีอ่ ลังการบนเทอร์เรซและชมน�ำ้ พุเต้นระบ�ำประกอบ ดนตรีแบบใกล้ชดิ บริเวณ Dubai Mall ห้างสรรพสินค้า ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก นีค่ อื 8 สุดยอดประสบการณ์สดุ แมกซ์ทหี่ าทีไ่ หน ไม่ได้งา่ ยๆ ทีบ่ ตั รเครดิตธนชาตแมกซ์ วีซา่ แพลทินมั ได้รังสรรค์มอบประสบการณ์พิเศษนี้ให้กับเฉพาะ ลูกค้าของ ธนชาตแมกซ์ วีซา่ แพลทินมั เท่านัน้


วชิรพล

เขมนิพฐิ พนธ์

รองกรรมการผูจ้ ดั การ

บริษทั เมืองไทยประกันชีวติ จ�ำกัด (มหาชน) นั บ เป็ น เวลากว่ า ทศวรรษที่ บ ริ ษั ท เมื อ งไทยประกั น ชี วิ ต จ�ำกัด (มหาชน) ได้รีแบรนดิ้งบริษัทฯ มาใช้สีชมพูบานเย็น เปลีย่ นแปลงภาพลักษณ์ของธุรกิจประกันชีวติ ทีถ่ กู นึกถึงเฉพาะในยาม สูญเสียหรือเจ็บไข้ได้ป่วย มาสู่คาแร็กเตอร์แบรนด์แห่งความสุข ภายใต้สโลแกน ‘บริษัทของคนหัวคิดทันสมัย’ ที่ค�ำนึงถึงลูกค้า เป็นหลัก มุ่งเน้นด้านการบริการและบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า ทีแ่ ตกต่าง ท�ำให้ลกู ค้ารูส้ กึ รักและผูกพันกับแบรนด์ พัฒนาการ บริการทีค่ รอบคลุมในทุกมิตแิ ละในทุกพืน้ ที่

หนึ่งในบุคคลผู้อยู่เบื้องหลังความส�ำเร็จที่ท�ำให้ลูกค้าได้สัมผัสถึง แบรนด์แห่งความสุขอย่างแท้จริง เกิดความประทับใจ รักและผูกพันกับ องค์กรจากการพัฒนาการบริการในจุด Touch Point ต่างๆ ก็คือ วชิรพล เขมนิพฐิ พนธ์ รองกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เมืองไทยประกันชีวติ จ�ำกัด (มหาชน) ที่รับหน้าที่ดูแลงานด้านการบริการและบริหาร ความสัมพันธ์ลกู ค้ามาอย่างยาวนาน

การบริการลูกค้าสไตล์บริษทั ของคนหัวคิดทันสมัย

นโยบายส�ำคัญของเมืองไทยประกันชีวติ คือการยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง (Customer Centricity) ซึ่งถูกน�ำมาใช้เป็นรากฐานของการพัฒนาการ บริการในทุกๆ ด้าน เพือ่ ให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ อย่างรวดเร็ว และครอบคลุมเข้าถึงลูกค้าทุกคน ผมซึง่ ดูแลจุด Touch Point จึงยึดนโยบายนีเ้ ป็นหัวใจหลักของการพัฒนาการบริการในทุกๆ มิติ เริม่ กันตัง้ แต่ ศูนย์บริการลูกค้าทางโทรศัพท์ Call Center โทร. 1766 เมืองไทย Smile ทีเ่ ปิดให้บริการ ทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง เพิ่มความสะดวกให้ลูกค้าสามารถติดต่อสอบถามข้อมูล ในทุกช่วงเวลา และยังมีศนู ย์รบั เรือ่ งร้องเรียนลูกค้าซึง่ ได้รบั การการันตีคณ ุ ภาพด้วย รางวัลศูนย์รับเรื่องร้องเรียนและแก้ไขปัญหาให้กับผู้บริโภคดีเด่น (Call Center)


2 ปีตดิ ต่อกัน (2557–2558) จากส�ำนักงานคณะกรรมการคุม้ ครอง ผูบ้ ริโภค (สคบ.) อีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีทมี Outbound Service ที่ท�ำงานเชิงรุก ส�ำหรับบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า เช่น โทรฯ ต้อนรับลูกค้าใหม่ เตือนกรณีการช�ำระเบีย้ ประกันภัย เป็นต้น “ถ้าเรามองในแง่มุมของคนท�ำงาน เราจะคิดไปเองว่าเรื่อง ประกันชีวติ ลูกค้าไม่จำ� เป็นต้องติดต่อเราหลังเวลาเลิกงาน เพราะ ว่าเวลาไปรักษาทีโ่ รงพยาบาลก็มบี ตั รทีส่ ามารถใช้เคลมได้อยูแ่ ล้ว หรือในกรณีลกู ค้าเสียชีวติ ก็ไม่จำ� เป็นต้องบอกเราทันที นีค่ อื การที่ คนในธุรกิจมองออกไป แต่ถา้ เรามองในมุมของลูกค้า วันนีไ้ ลฟ์สไตล์ ของลู ก ค้ า เปลี่ ย นแปลงไปมาก เมื่ อ ก่ อ นลู ก ค้ า จะติ ด ต่ อ เรา ในช่วงเวลางาน เพราะอาจจะใช้โทรศัพท์บา้ นหรือโทรศัพท์ทที่ ำ� งาน ติดต่อมา แต่วันนี้มือถือเป็นปัจจัยที่ 5 เพราะฉะนั้นการติดต่อ มันง่ายมาก เขาเริม่ ติดต่อกับเราผ่านช่องทางต่างๆ ไม่วา่ จะเป็น Call Center หรือว่าจะเป็นการแช็ตเข้ามา มันอาจจะเกิดหลัง เวลางานก็ได้ เพราะเป็นช่วงเวลาทีล่ กู ค้าสะดวก คิดว่าถ้ามองในมุม ของลูกค้า ต่อให้ลกู ค้าไม่ได้มคี วามจ�ำเป็นจะต้องใช้บริการในช่วง เวลานั้น ไม่มีความจ�ำเป็นที่จะต้องได้รับค�ำตอบในเวลานั้น แต่ความร้อนใจของลูกค้าคือสิ่งที่เราค�ำนึงถึง เราจึงตัดสินใจว่า ควรทีจ่ ะขยายเวลาการให้บริการ Call Center 1766 เป็น 24 ชัว่ โมง” นอกจากนี้ เมืองไทยประกันชีวิตได้ขยายศูนย์บริการลูกค้า เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให้ ค รอบคลุ ม ทั่ ว ทุ ก พื้ น ที่ แ ละ เพิ่มศักยภาพในการให้บริการ มอบความสะดวกสบายในการ เข้าถึงมากยิง่ ขึน้ อย่างไลฟ์สไตล์ของลูกค้าในปัจจุบนั ทีเ่ ข้าไปใช้ บริการในห้างสรรพสินค้า ทีใ่ ห้บริการตามเวลาเปิด-ปิด ในเวลา ท�ำการของห้างสรรพสินค้าและในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ รวมถึงการ ขยายสาขาไปยังบริเวณจุดเชือ่ มต่อชายแดน เพือ่ รองรับการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economics Community) อีกด้วย ปัจจุบันมีศูนย์บริการลูกค้าเมืองไทยประกันชีวิตเกือบ 170 สาขาทัว่ ประเทศ โดยในแต่ละสาขาได้ถกู ออกแบบให้มคี วาม ทั น สมั ย เพื่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพของการบริ ก าร และมี เ อกลั ก ษณ์ ทีส่ วยงามสอดคล้องกับแต่ละสถานที่ สร้างความเป็นกันเองให้กบั ผูใ้ ช้บริการได้เป็นอย่างดี

การพัฒนาการบริการในยุคดิจทิ ลั การบริการในยุคสังคมออนไลน์ที่ปัจจุบันลูกค้าเข้าถึงข้อมูล ต่างๆ ผ่านสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต ท�ำให้ทกุ ธุรกิจต้องพัฒนา เครือ่ งมือขึน้ มารองรับการให้บริการผ่านระบบดิจทิ ลั แก่ลกู ค้าทีจ่ ะ

ขยายตัวเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ เนือ่ งจากมีความสะดวก เข้าถึงได้งา่ ย รวดเร็ว และประหยัดเวลา เมืองไทยประกันชีวิตเองจึงมุ่งมั่นที่จะพัฒนา ช่องทางบริการและการสือ่ สารในระบบดิจทิ ลั และออนไลน์ ให้มคี วาม หลากหลายและมีความทันสมัยอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เชือ่ มต่อข้อมูลที่ เป็นประโยชน์ไปยังลูกค้า ด้วยการพัฒนาแอปพลิเคชันต่างๆ เพือ่ ให้บริการแก่ลกู ค้า เริม่ มาตัง้ แต่เมือ่ 4 ปีทแี่ ล้ว ด้วยแอปพลิเคชัน เมืองไทย Smile E Magazine ส�ำหรับน�ำเสนอวารสารเมืองไทย Smile ใน iPad เป็นการเพิม่ อรรถรสในการอ่านได้ทงั้ ภาพและเสียงในเวลาเดียวกัน ด้วย ต่อมาที่แอปพลิเคชัน Smile Service ซึ่งช่วยอ�ำนวยความ สะดวกให้ลูกค้าสามารถตรวจสอบข้อมูลด้านการประกันชีวิตได้ อย่างสะดวกง่ายดาย อาทิ ความคุ้มครองและผลประโยชน์จาก กรมธรรม์ประกันชีวติ ข้อมูลการช�ำระเบีย้ ประกันภัย และยังสามารถ ขอรับหนังสือรับรองการช�ำระเบี้ยประกันภัย เพื่อน�ำไปใช้เป็น หลักฐานในการหักลดหย่อนภาษี “แอปพลิเคชัน Smile Secretary เป็นแอปฯ ล่าสุดทีเ่ ราเพิง่ เปิดตัวไป ต่อยอดมาจากบริการเลขาส่วนตัวทีเ่ ดิมให้บริการทาง โทรศัพท์เท่านั้น ปัจจุบันสามารถแช็ตสั่งงานได้ เชื่อว่ากลุ่มผู้ใช้ บริการเลขาส่วนตัวในลักษณะแอปพลิเคชันจะมากขึน้ เรือ่ ยๆ เพราะ ไลฟ์สไตล์ของคนทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป แอปฯ Smile Secretary เป็น บริการเสริมทีเ่ รามีให้กบั สมาชิกเมืองไทย Smile Club หลักๆ ใช้ใน เรื่องของการประสานงานหาข้อมูลต่างๆ เราพยายามที่จะเสิร์ฟ บริการเสริมต่างๆ ที่จะช่วยเหลือลูกค้าให้ลูกค้ามีผู้ช่วยที่ดี ก็คือ เมืองไทยประกันชีวติ ทีผ่ า่ นมาถือว่าเป็นหนึง่ ในการบริการทีไ่ ด้รบั การตอบรับที่ดี เพราะบ่อยครั้งที่ลูกค้าเกิดความประทับใจกับ การรับบริการทีเ่ หนือความคาดหมายจากการให้บริการของทีมงาน ของเรา”

นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีชอ่ งทางออนไลน์เพือ่ ให้ลกู ค้าเข้าถึง ได้งา่ ยขึน้ ทัง้ เว็บไซต์ www.muangthai.co.th หรือ Official Account : Muang Thai Life ใน Line Facebook Twitter Instagram และ YouTube อีกด้วย

การสร้างสรรค์งานด้วยความศรัทธาในธุรกิจ และงานบริการ

“หนึ่งในปัจจัยความส�ำเร็จที่ส�ำคัญ คือ ความศรัทธาในธุรกิจ ประกันชีวติ เนือ่ งจากผมเรียนจบสายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจประกัน ชีวติ โดยตรง จึงรูว้ า่ โดยหลักพืน้ ฐานของการประกันชีวติ ได้มาจาก การเก็บข้อมูลทางสถิติของการเสียชีวิต การเจ็บป่วยของคนไทย แล้วน�ำมาค�ำนวณเป็นเบีย้ ประกันและถูกควบคุมด้วยกระบวนการ และหลักเกณฑ์ของ คปภ. (ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและ ส่ ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ) ซึ่ ง ทั้ ง หมดผ่ า นสู ต ร การค�ำนวณที่เป็นธรรมในทุกกระบวนการ ท�ำให้ผมศรัทธาใน ธุรกิจประกัน และส�ำหรับผม งานบริการคืองานที่เราทุ่มเทและ รู้สึกดี เพราะทุกธุรกิจอยู่ได้เพราะลูกค้า เพราะฉะนั้นการที่ผม มาท�ำงานบริการลูกค้า จึงรูส้ กึ ว่านีค่ อื แกนส�ำคัญทีจ่ ะท�ำให้ธรุ กิจนัน้ เดินต่อไปได้ การที่เรามีมุมมองแบบนี้ ปัจจัยความส�ำเร็จก็คือ จะท�ำอย่างไรให้ทมี งานของเรารูส้ กึ เหมือนกัน ในเมือ่ เราเป็นองค์กร ที่เน้นเรื่องความสุขและรอยยิ้ม ตัวพนักงานของเราต้องรับรู้ถึง แบรนด์คาแร็กเตอร์ การทีเ่ ขาจะมีความสุขในการท�ำงานได้ เขาต้อง ศรัทธาในงาน ศรัทธาในธุรกิจ ศรัทธาในองค์กรที่เขาอยู่ ถ้าเรา สามารถถ่ายทอดดีเอ็นเอเหล่านีไ้ ปยังทีมงานได้ การส่งงานคุณภาพ ไปยังลูกค้าจะไม่ใช่ปญ ั หา”

เป้าหมายของเราคือ Customer Engagement เราอยากให้ลกู ค้ามีความรูส้ กึ รัก และผูกพันกับแบรนด์เมืองไทยประกันชีวติ จึงเป็นทีม่ าของแคมเปญเมืองไทย I Love You เราอยากให้ลูกค้ารู้สึกรักเมืองไทยประกันชีวิต ไม่ว่าจะมิติ ไหนก็ตาม มิติที่ ได้รับ ความคุม้ ครอง มิตจิ ากการได้รบั การบริการทีด่ ี รักเราในทุกมิติ

ศูนย์บริการลูกค้าเมืองไทยประกันชีวติ สาขาเชียงคาน

ศูนย์บริการลูกค้าเมืองไทยประกันชีวติ สาขาปาย

ศูนย์บริการลูกค้าเมืองไทยประกันชีวติ สาขาเอ็มควอเทียร์


SCG Innovative

Exposition 2015

‘เอสซีจี’ ถือเป็นองค์กรธุรกิจแถวหน้าของเมืองไทย ทีก่ ำ� ลัง ก้าวไปสูก่ ารเป็นองค์กรทีแ่ ข็งแกร่งอย่างยัง่ ยืนในระดับอาเซียน โดยมีกลยุทธ์สำ� คัญทีท่ ำ� ให้เอสซีจโี ดดเด่นและแตกต่าง ผ่านการให้ความ ส�ำคัญกับสิง่ ทีเ่ รียกว่า ‘นวัตกรรม’ อย่างเข้มข้น พิจารณาได้จากการทุม่ งบประมาณไปกับการวิจัยและพัฒนาเพิ่มขึ้นในทุกๆ ปี ซึ่งในปี 2559 ได้มีการตั้งงบประมาณในส่วนนี้ไว้ที่ 6,700 ล้านบาท และจะเพิ่มเป็น 8,300 ล้านบาทในปี 2560 นวัตกรรมของเอสซีจไี ม่เพียงสร้างคุณค่าให้กบั องค์กรเท่านัน้ แต่ยงั สร้างคุณค่าให้กบั สังคมและสิง่ แวดล้อมด้วย โดยเมือ่ เดือนพฤศจิกายน

ทีผ่ า่ นมา เอสซีจี ได้ยกทัพนวัตกรรมแห่งองค์กรเข้าไปจัดแสดงไว้ในงาน ‘SCG Innovative Exposition 2015’ ณ SCG Experience (เลียบทางด่วนเอกมัย-รามอินทรา) ภายใต้แนวคิด ‘Innovation that Cares : นวัตกรรมใส่ใจและสร้างสรรค์ เพือ่ ทุกวันทีย่ งั่ ยืน’ มุง่ เน้นเรือ่ ง ‘ความใส่ใจ’ ในทุกมิตขิ องชีวติ โดยหนึง่ ในไฮไลท์ของงานคือนวัตกรรม ทีอ่ ยูอ่ าศัยเพือ่ ผูส้ งู วัย SCG Eldercare Solution ซึง่ จะเข้ามาตอบโจทย์ เทรนด์สงั คมผูส้ งู วัยทัง้ ในวันนีแ้ ละอนาคต

>>

กานต์ ตระกูลฮุน กรรมการผู้จัดการใหญ่ เอสซีจี ได้กล่าวถึงนวัตกรรมทีเ่ ป็นไฮไลท์ของงานใน ครัง้ นีว้ า่ “ส�ำหรับงานนีเ้ อสซีจพี ร้อมใจกันยกทัพโชว์ ศักยภาพความเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมแบบจัดเต็ม ทุกพื้นที่ใน SCG Experience โดยมีไฮไลท์อยู่ที่ เทรนด์เรื่องของการเป็นสังคมผู้สูงวัยโดยสมบูรณ์ หรือ Aged Society ของประเทศไทย ซึง่ เราให้ความ ส�ำคัญมาอย่างต่อเนื่อง เพราะหากพิจารณาจาก ตัวเลขในปี 2567 คาดว่าจะพบสัดส่วนประชากรที่ มีอายุมากกว่า 60 ปี เพิม่ เป็นร้อยละ 20 ของจ�ำนวน ประชากรทัง้ หมด “ร่ า งกายที่ เ สื่ อ มถอยของผู ้ สู ง อายุ อ าจเป็ น อุ ป สรรคต่ อ การใช้ ชี วิ ต และเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ภายในบ้านได้ง่าย เราจึงร่วมกับผู้ช�ำนาญการ ด้ า นผู ้ สู ง อายุ พั ฒ นานวั ต กรรมที่ อ ยู ่ อ าศั ย เพื่ อ ผูส้ งู วัย ‘SCG Eldercare Solution’ เพือ่ ตอบสนอง ผูส้ งู อายุและคนในครอบครัว”


ความโดดเด่นของนวัตกรรมที่อยู่อาศัยเพื่อผู้สูงวัย ‘SCG Eldercare Solution’ คือการใส่ใจตั้งแต่ การออกแบบ การติดตัง้ ผลิตภัณฑ์และอุปกรณ์ตา่ งๆ อย่างเหมาะสม เพือ่ รองรับความเสือ่ มถอยของร่างกาย ป้องกัน การเกิดอุบตั เิ หตุ และเพิม่ ความสะดวกสบายในการใช้งาน เช่น ทางเดินทีก่ ว้างเพียงพอส�ำหรับรถเข็น พืน้ ลาดหรือ พืน้ ทีไ่ ม่ตา่ งระดับ สุขภัณฑ์และอ่างล้างหน้าทีม่ รี ะยะความสูงเหมาะสม รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้มาตรฐาน อาทิ ระบบไฟส่องสว่างอัตโนมัติ (Automatic Night Light) ระบบพืน้ ลดแรงกระแทก (Shock Absorption Floor) และ ระบบพื้นไร้ระดับ (Stepless Floor) ที่จะช่วยตอบโจทย์การอยู่อาศัยในทุกห้องของบ้านให้มีความปลอดภัย สะดวกสบาย และส่งเสริมสุขภาวะทีด่ ขี องผูส้ งู อายุและทุกคนในบ้าน นอกจาก ‘SCG Eldercare Solution’ ที่ถูกน�ำมาโชว์ ศักยภาพให้เห็นในงานนีจ้ ะได้รบั ความสนใจจากผูเ้ ข้าชมอย่าง มากแล้ว ในแต่ละกลุ่มธุรกิจของเอสซีจียังได้ขนเอานวัตกรรม ของตัวเองมาโชว์ไว้ที่งานนี้อีกมากมาย ซึ่งหลายนวัตกรรม ไม่ใช่เพียงแนวคิดเท่านั้น แต่ยังถูกพัฒนาเป็นสินค้าและ บริการจริงแล้ว เริม่ ตัง้ แต่ เอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์กอ่ สร้าง น�ำเสนอเรือ่ งของ เทรนด์การอยู่อาศัยในปี 2016-2017 โดยการท�ำงานร่วมกัน ระหว่างนักวิจยั นักการตลาด และนักออกแบบเพือ่ ตอบสนอง. ทุกไลฟ์สไตล์ทแี่ ตกต่าง อาทิ เทคโนโลยีบา้ น The Nest นวัตกรรม การออกแบบและก่อสร้างบ้านทีท่ ำ� ให้สามารถอยูอ่ าศัยได้โดย พึง่ พาเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ และสร้างสภาวะความอยูส่ บาย ภายในบ้านด้วยระบบ Active AIRflow System และทีโ่ ดดเด่น ล�้ำสมัยคือเทคโนโลยีการก่อสร้างแบบ 3 มิติ 3D Printing ตอบสนองการออกแบบสถาปัตยกรรมได้อย่างไร้ขอบเขต ทัง้ ยัง ลดภาระพึ่งพาแรงงาน และใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

เอสซีจี เคมิคอลส์ โชว์นวัตกรรมพลาสติกเพื่อวงการแพทย์ โดยชูพลาสติก เป็นวัสดุทางเลือกที่มีประสิทธิภาพสูง สะอาด และปลอดภัยต่อผู้ใช้งาน อาทิ เฝือกพอลิเมอร์ ที่ออกแบบให้เข้ากับสรีระผู้ป่วย สามารถอ่อนตัวได้ที่อุณหภูมิ 60°C จึงดัดรูปทรงได้ตามลักษณะอาการบาดเจ็บ และเครื่องมือผ่าตัดโรคพังผืดรัด เส้นประสาทข้อมือ Mini-Sure Kit ทีม่ นี ำ�้ หนักเบา จับถนัดมือ และลดอาการติดเชือ้ ได้ รวมทั้งนวัตกรรมเม็ดพลาสติกส�ำหรับผลิตวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่น่าสนใจ อีกมากมายก็ถกู น�ำมาจัดแสดงไว้ภายในงานนีด้ ว้ ย ปิดท้ายด้วย เอสซีจี แพคเกจจิ้ง ที่งานนี้เน้นห่วงใยเรื่องสุขภาพเป็นพิเศษ ด้วยนวัตกรรมบรรจุภณ ั ฑ์อาหารทีห่ ลากหลาย อาทิ นวัตกรรม Eazysteam บรรจุภณ ั ฑ์ แบบระบายอากาศได้เองเมื่ออุ่นร้อนในเตาอบไมโครเวฟ ช่วยป้องกันการปนเปื้อน โดยไม่ตอ้ งตัดหรือเจาะก่อนน�ำไปอุน่ บรรจุภณ ั ฑ์ลกู ฟูกลอนไมโครส�ำหรับใส่อาหาร ที่สามารถอุ่นในเตาไมโครเวฟได้อย่างปลอดภัย และสามารถย่อยสลายเองได้ โดยธรรมชาติ Peel & Clear Lid Film หรือฟิลม์ ใสเพือ่ บรรจุภณ ั ฑ์อาหาร ทีส่ ะดวกในการเปิดโดยฟิลม์ ไม่ตดิ หรือขาด พร้อมรักษาความสดและรสชาติอาหารได้นานขึน้ ส�ำหรับ SCG Innovative Exposition 2015 ใช้พนื้ ทีภ่ ายใน SCG Experience กว่า 4,000 ตารางเมตร (3 ชัน้ ) เพือ่ บอกเล่าเรือ่ งราวของนวัตกรรมแห่งความห่วงใยทีเ่ อสซีจมี งุ่ มัน่ ผลิตคิดค้นมา ตลอดกว่า 100 ปี ไม่วา่ จะเป็น Residential Area : CARE for Life ‘เมืองนวัตกรรมแห่งความใส่ใจ เพือ่ คุณภาพชีวติ ทีด่ กี ว่า’ และ CARE for Living ‘ชีวติ ง่ายอย่าง มีสไตล์ ตอบโจทย์ได้ทกุ ความต้องการ’


AT A GLANCE

40 GMBiZ

DECEMBER 2015

เปิดบ้านแนะหลักสูตร MRE มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุน่ ที่ 16

เอสซีจคี ว้ารางวัล Asia IP Elite 2015 2 ปีตดิ ต่อกัน

เอสซีจี รับรางวัล ‘Asia IP Elite 2015’ ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 ในงานประชุม IP Business Congress Asia 2015 ทีก่ รุงโตเกียว ประเทศญีป่ นุ่ จัดโดยนิตยสาร Intellectual Asset Management (IAM) นิ ต ยสารชั้ น น� ำ ระดั บ โลกด้ า นการบริ ห ารจั ด การ ทรัพย์สินทางปัญญาเชิงกลยุทธ์ ด้วยเอสซีจีให้ความส�ำคัญ กับการน�ำทรัพย์สนิ ทางปัญญามาเป็นกลยุทธ์ในการด�ำเนิน ธุรกิจอย่างจริงจัง รวมถึงมีความโดดเด่นด้านการบริหารจัดการ ทรัพย์สนิ ทางปัญญาอย่างต่อเนือ่ ง

กรุงศรีกวาด 3 รางวัลจากเวที Adman Awards & Symposium 2015

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) น�ำโดย สมหวัง โตรักตระกูล ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานการตลาดและ แบรนด์ (ที่ 2 จากซ้าย) รับ 3 รางวัล จากงาน Adman Awards & Symposium 2015 จากสมาคมโฆษณาแห่งประเทศไทย ส�ำหรับความโดดเด่นในการสร้างสรรค์ภาพยนตร์โฆษณาชุด ‘จีบ’ และ ‘แต่งงาน’ ในประเภทกลุม่ ธุรกิจประกัน การลงทุน และการธนาคาร

แคนนอนแตกไลน์ผลิตภัณฑ์ตอกย�ำ้ ผูน้ ำ� พรินเตอร์ อิงค์เจ็ท 15 ปีซอ้ น

แคนนอน ผูน้ ำ� ด้านการถ่ายภาพ การพิมพ์ภาพระดับโลก และผูน้ ำ� ตลาด พรินเตอร์องิ ค์เจ็ทเมืองไทย 15 ปีซอ้ น แนะน�ำพรินเตอร์เทคโนโลยีลา่ สุด Canon PIXMA G Series พรินเตอร์แท็งก์แท้ 3 รุน่ สูต่ ลาด ได้แก่ G1000, G2000 และ G3000 โดดเด่นด้วยจ�ำนวนการพิมพ์ทมี่ ากกว่า ประหยัดกว่า คุณภาพดีกว่า เพราะเป็นแท็งก์หมึกแท้ตดิ ตัง้ จากโรงงานผลิต หมึกด�ำพิมพ์ ได้สงู สุดถึง 6,000 แผ่น ขณะทีห่ มึกสีพมิ พ์ได้สงู สุด 7,000 แผ่น ตอบโจทย์ ความต้องการของผูใ้ ช้ทวั่ ไป นักศึกษา และผูป้ ระกอบการ SMEs

Royal Dominica จัดดินเนอร์การกุศล ช่วยผูป้ ระสบภัยพายุเฮอร์รเิ คนเอริกา

นิสติ จากรัว้ จามจุรคี ว้ารางวัล Beauty Queen by Beauti Drink

เจ้าของโครงการรีสอร์ท Royal Dominica จัดงานดินเนอร์ การกุศล ‘Aid for Dominica, A Fundraising Dinner by Royal Dominica and Harvey Law Group’ เพือ่ น�ำเงินรายได้จากการ จัดจ�ำหน่ายบัตรเข้างานร่วมช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากพายุ เฮอร์รเิ คนเอริกา โดยได้รบั เกียรติจากนายกรัฐมนตรี รูสเวลต์ สเกอร์ริต แห่งหมู่เกาะโดมินิกา และ มร. เกร็ก วอลลิส อัครราชทูตพาณิชย์ ประจ�ำประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมงาน

สรัญพัทธ์ วชิรเสรีชยั ผูจ้ ดั การผลิตภัณฑ์ เซ็ปเป้ บิวติ ดริง้ ค์ บมจ. เซ็ปเป้, ณพิรุณพร โพธิ์ดี Career Center Manager โรงเรียนดนตรีและศิลปะการแสดง ซูเปอร์สตาร์ อะคาเดมี่, ปนัดดา มัญจะวงศ์ Managing Director และ ณัฐฏ์ พันธุอ์ ทุ ยั Project Coordinator แบงคอกคลินกิ เรฟโวลูชนั่ และผลิตภัณฑ์ เครื่องส�ำอาง NYX ร่วมแสดงความยินดีกับ วินนี่-สุชานาถ ชูปรีดา จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่คว้ารางวัลชนะเลิศ จากกิจกรรม Beauty Queen by Beauti Drink 2015 พร้อมด้วย รองชนะเลิศทัง้ 5

กระเช้าแยมผลไม้สไตล์องั กฤษ ต้อนรับปีใหม่จากแยมฟอร์เรสท์

เอส แอนด์ พี มอบต�ำราอาหาร ‘เมนูโปรดของน้องวัยเรียน’

บริษทั ไทยฟอร์เรสท์ โปรดักส์ จ�ำกัด น�ำเสนอชุดกระเช้าแยม ผลไม้ในธีมและกลิน่ อายในสไตล์ตน้ ต�ำรับจากประเทศอังกฤษ ซึง่ มีประวัตอิ นั ยาวนานมากว่า 100 ปี ประกอบด้วยผลิตภัณฑ์ แยมฟอร์เรสท์สตู รน�ำ้ ตาลน้อย Less Sugar 3 รสชาติ สูตรส้ม สูตรสตรอว์เบอร์ร,ี่ สูตรสตรอว์เบอร์รผี่ สมบลูเบอร์รี่ และสูตร เลมอน บรรจุในถาดไม้ทรงเหลีย่ มแสนสวย เริม่ วางจ�ำหน่าย ในช่วงเทศกาลคริสต์มาสและเทศกาลปีใหม่ สนใจสัง่ จอง ชุดแยมฟอร์เรสท์กิ๊ฟเซต ติดต่อได้ที่ บริษัท ไทยฟอร์เรสท์ โปรดักส์ จ�ำกัด โทร. 0 2883 5827 8

บมจ. เอส แอนด์ พี ซิ น ดิ เ คท เห็ น ความ ส�ำคัญด้านโภชนาการ ส� ำ หรั บ เด็ ก วั ย เรี ย น จั ด ท� ำ หนั ง สื อ ต� ำ รา อาหาร เมนูจานโปรด ของน้องวัยเรียน มอบให้แก่โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยมี ดร.ผุสดี ตามไท รองผูว้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร และ จรูญ มีธนาถาวร ผู้อ�ำนวยการส�ำนักการศึกษา ให้เกียรติ ร่วมงาน ณ เอส แอนด์ พี ฮอลล์ สุขมุ วิท 26

โครงการปริญญาโทธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดงาน Open House MRE รุน่ ที่ 16 เพือ่ แนะน�ำหลักสูตร และวิธกี ารสมัครเข้าศึกษาต่อ โดย รศ.เยาวมาลย์ เมธาภิรกั ษ์ ผูอ้ ำ� นวยการโครงการ อาจารย์ประจ�ำคณะและรุน่ พีห่ ลากหลายรุน่ เมือ่ วันอาทิตย์ที่ 22 พฤศจิกายน 2558 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ พร้อมทัง้ เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 - 15 มกราคม 2559 สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม ได้ที่ http://www.re.tbs.tu. ac.th หรื อ โทร. 0 2613 2260, 0 2613 2297, 0 2623 5105

The Taste Thonglor ไลฟ์สไตล์มอลล์สดุ ท็อปใจกลางเมือง

บริษทั ท�ำเลทอง จ�ำกัด เปิดไลฟ์สไตล์มอลล์ ด้วยเงิน ลงทุ น กว่ า 200 ล้ า นบาท บนท� ำ เลสุ ด ท็ อ ปของ กรุงเทพมหานคร ทองหล่อซอย 11 สุขมุ วิท 55 รายล้อม ด้วยร้านค้า โรงแรม ร้านอาหาร สปาเสริมความงาม ทีต่ อบสนองต่อการใช้ชวี ติ อย่างไม่หยุดนิง่ ของคนเมือง ภายใต้ชอื่ ‘The Taste Thonglor : The Delicacy Destination’ กับคอนเซ็ปต์ ‘Be Bold โดดเด่นเป็นตัวเอง อย่างมัน่ ใจ ที่ The Taste Thonglor’ เจาะกลุม่ ลูกค้าทุกกลุม่ ทีร่ กั การใช้ชวี ติ สุดทันสมัย สไตล์คนเมือง รวมถึงนักธุรกิจชาวไทยและชาวต่างชาติ

ซีเอสพีมลี นุ้ รับงานเหล็ก ส�ำหรับท�ำเสา 4G

บริษทั ซีเอสพี สตีลเซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) CSP ผู้ด�ำเนินธุรกิจเหล็กแผ่นแบบครบวงจร มีแผนเข้าเสนองานเหล็กส�ำหรับเสาโทรคมนาคม บริษัทกับพันธมิตรมีความพร้อมในการผลิต จ�ำหน่าย และติดตัง้ ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวได้ทนั ที หากมีการเริ่มลงทุนด้านระบบหลังรู้ผลผู้ชนะ ประมูลคลื่นความถี่ โดยตั้งเป้าสัดส่วนรายได้ จากผลิตภัณฑ์กลุม่ นีไ้ ว้ที่ 30% และตัง้ เป้ารายได้ ปี 2559 เติบโต 10-15% จากปีนี้

APCO ปลืม้ คว้า 2 รางวัล 2 ปีซอ้ น งาน SET AWARDS 2015

ศ.ดร.พิเชษฐ์ วิรยิ ะจิตรา ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั เอเชียน ไฟย์โตซูตคิ อลส์ จ�ำกัด (มหาชน) (APCO) พร้อมกรรมการบริหาร เข้าร่วมพิธรี บั รางวัล 2 รางวัล กับ Best CEO Awards และ Best Company Performance Awards ในงาน SET Awards 2015 ณ โถงนิทรรศการ ชัน้ 1 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

โรงพยาบาลพญาไท 1 เปิดตัวหน่วยรักษาอัมพาต เฉียบพลันเคลือ่ นที่

ศูนย์โรคหลอดเลือดสมองพญาไท 1 เปิดตัว ‘หน่วยรักษาอัมพาตเฉียบพลัน เคลื่อนที่ หรือ Mobile CT & Stroke Treatment Unit’ คันแรกของเอเชีย เริม่ รักษาโรคหลอดเลือดสมองได้ตงั้ แต่หน้าบ้าน ผูป้ ว่ ย พร้อมระบบการสือ่ สารเชือ่ มต่อกับโรงพยาบาลด้วยระบบ Video Conference สามารถให้การรักษาได้อย่างรวดเร็วและครบวงจร ช่วยลดอัตราการเสียชีวิต หรือพิการ



ถวายพระพรชัยมงคล วันเฉลิมพระชนมพรรษา

วันที่ 4 ธันวาคม 2558 ร้อยต�ำรวจตรี มนตรี ฤกษ์จ�ำเนียร ผู้อ�ำนวยการท่าเรือแหลมฉบัง เป็นประธาน น�ำพนักงานท่าเรือแหลมฉบัง ผูป้ ระกอบการท่าเทียบเรือ ผูแ้ ทนหน่วยงาน ต่างๆ นักเรียน และประชาชน กล่าวถวาย พระพรชัยมงคล เนือ่ งในโอกาสพิธมี หามงคล เฉลิ ม พระชนมพรรษาพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราช 88 พรรษา 5 ธันวาคม 2558 ณ อาคารบริหาร ท่าเรือแหลมฉบัง

GB072001CN Trim_280x190 03-12-58

พิธมี งั คลาภิเษกพระรูป กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

พลเรือเอก อภิวัฒน์ ศรีวรรธนะ ประธานกรรมการการท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นประธานในพิธมี งั คลาภิเษกพระรูป พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า อาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ณ พระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร โดยมี หม่อมราชวงศ์อภิเดช อาภากร พร้อมด้วย ผูบ้ ริหารการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทยเข้าร่วมพิธี

แหลมฉบังเข้าร่วมงานประชุม APSN Council Meeting ครัง้ ที่ 8

ร้อยต�ำรวจเอก ธนาบดี ธูปเทียนรัตน์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก ปฏิบตั กิ าร ท่าเรือแหลมฉบัง เข้าร่วมงานประชุม APSN Council Meeting ครั้งที่ 8 และการสัมมนาเชิงปฏิบัติการภายใต้ หัวข้อ Improving Port and Supply Chain Connectivity ณ เมือง Cebu ประเทศฟิลปิ ปินส์ และมีโอกาสแลกเปลีย่ น ข้อมูล ประสบการณ์ แนวคิด หรือกรณีศกึ ษาในเรือ่ งเกีย่ วกับ การพัฒนาท่าเรือและการเชือ่ มโยงการขนส่งสินค้าจากท่าเรือ สูพ่ นื้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมหลังท่า รวมถึงการขนส่งไปยังท่าเรืออืน่ ในภูมภิ าค โดยการขนส่งทางล�ำน�ำ้ ชายฝัง่ และทางราง

ต้อนรับผูอ้ ำ� นวยการ การท่าเรือแห่งประเทศไทยคนใหม่

ร้อยต�ำรวจตรี มนตรี ฤกษ์จำ� เนียร ผูอ้ ำ� นวยการ ท่าเรือแหลมฉบัง พร้อมผูบ้ ริหารท่าเรือแหลมฉบัง เข้าร่วมพิธีประดับเครื่องหมายและแสดงความ ยินดีกบั เรือเอก สุทธินนั ท์ หัตถวงษ์ ผูอ้ ำ� นวยการ การท่าเรือแห่งประเทศไทยคนใหม่ ณ ห้องประชุม ชัน้ 19 อาคารทีท่ ำ� การการท่าเรือแห่งประเทศไทย โดยมี พลเรือเอก อภิวฒ ั น์ ศรีวรรธนะ ประธาน กรรมการการท่าเรือแห่งประเทศไทย เป็นประธาน ในพิธี




gmlive เป็นเว็บไซต์ในเครือ GM GROUP ที่ตอบโจทย์และสะท้อนตัวตนของ ผู้ชายได้อย่างครบถ้วน ไม่ว่าจะเป็น Gadget ใหม่ๆ หรือ Men Style นอกจากจะทันสมัยและมีไลฟ์สไตล์แล้ว ยังก้าวน�ำผู้อื่นไปข้างหน้า ด้วยความคิด ความรู้ และความเข้าใจโลกอีกด้วย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.