รายงานประจำำ�ปีี 2563 สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ พิิ มพ์์ ครั้้�งที่่� 1 มีีนาคม 2564 จำำ�นวน 50 เล่่ม
จััดพิิ มพ์์ โดย สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ (สพฉ.) 88/40 หมู่่�ที่่� 4 อาคารเฉลิิมพระเกีียรติิพระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หััว 84 พรรษา สาธารณสุุขซอย 6 ถนนติิวานนท์์ ตำำ�บลตลาดขวััญ อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดนนทบุุรีี 11000
ISBN 978-616-7951-51-5
ที่่�ปรึึกษา ร.อ.นพ.อััจฉริย ิ ะ แพงมา ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริิคำำ�ชััย นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ นพ.พงศ์์ธร เกีียรติิดำ�ำ รงวงศ์์ น.อ.นพ.พิิ สิิทธิ์์� เจริิญยิ่่�ง ดร.พิิ เชษฐ์์ หนองช้้าง ว่่าที่่� ส.ท.เอก โอฐน้้อย
กองบรรณาธิิการ
นางสาวอุุรา สุุวรรณรัักษ์์
นางจิิรวดีี เทพเกษตรกุุล
นางสิินีีนุุช ชััยสิิทธิ์์�
นางสุุนัันทา ทองพัั ฒน์์
นายรัังสรรค์์ คููหากาญจน์์
นางนฤมล พาพพิิ ล่่า
นายสุุวภััทร อภิิญญานนท์์
นางสาวคงขวััญ จัันทร์์แก้้ว
นางสาวรััชดาวรรณ แสนตา
นางสาวกิิตติิมา ยุุทธสารประสิิทธ์์
นางสาวสุุพััตรา กาญจนลออ
เรืือเอกสมััคร ใจแสน
นางสาวชนนิิกานต์์ จารุุพฤฒิิพงศ์์ นางสาวเอมิิกา ศิิริขั ิ ันธ์์
นางสาวอุุรุุพร ศิิริิวิิชยาภรณ์์
นางสาวรััตนา แพงไธสง
ออกแบบและพิิ มพ์์ ที่่� บริิษััท อััลทิิเมท พริ้้�นติ้้�ง จำำ�กััด
2
รายงานประจำ�ปี 2563
สารบััญ หน้้า
ส่่วนนำำ�
5
สารจากรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข
6
สารจากเลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
7
ภาพและรายนามกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
8
ส่่วนที่่� 1 ข้้อมููลทั่่�วไป
11
ความเป็็นมาของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
12
โครงสร้้างสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
14
สาระสำำ�คัญ ั ของแผนหลัักการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ (ฉบัับที่่� 3.1) ปีี 2562-2565
15
ส่่วนที่่� 2 ผลการดำำ�เนิินงานปีีงบประมาณ 2563
23
ผลการดำำ�เนิินงานของคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
24
• อำำ�นาจหน้้าที่่�
24
• ผลการดำำ�เนิินงานของคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่�สำำ�คััญ
25
ผลการดำำ�เนิินงานของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
35
• ผลการดำำ�เนิินงานตามตััวชี้้�วััด
35
• ผลการดำำ�เนิินงานที่่�สำำ�คััญ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2563
37
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
63
ส่่วนที่่� 3 ภาคผนวก
107
รายงานงบการเงิิน
108
• งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
108
• งบกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
122
รายชื่่�อคณะอนุุกรรมการ ภายใต้้คณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
131
รายชื่่�อบุุคลากรสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
134
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
3
4
รายงานประจำ�ปี 2563
ส่่วน นำำ�
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
5
สารจากประธานกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
ตลอดระยะเวลา 10 ปีีที่ผ่ ่� า ่ นมา สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ (สพฉ.)
ได้้ทำ� ำ หน้้าที่่ใ� นการบริิหารจััดการ ประสานหน่่วยงานที่่เ� กี่่�ยวข้้องทั้้�งภาครััฐและเอกชน
เพื่่�อมุ่่�งเน้้นให้้ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินได้้รับ ั การคุ้้�มครองสิิทธิิ ในการเข้้าถึึงการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่� ได้้มาตรฐานอย่่างทั่่�วถึึง เท่่าเทีียม อย่่างทัันท่่วงทีี ทั้้�งในภาวะปกติิและสาธารณภััย
จนระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินไทยมีีความก้้าวหน้้าอย่า่ งต่่อเนื่่อ � ง มีีผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิินได้้รับ ั บริิการ เกืือบ 1.8 ล้้านครั้้�งต่่อปีี
สำำ�หรัับปีี 2563 เป็็นปีีแห่่งความท้้าทายต่่อการดำำ�เนิินงานของทุุกหน่่วยงาน
จากสถานการณ์์การระบาดของ โรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่่เ� กิิดขึ้้น �
อย่่างไรก็็ตาม สพฉ. สามารถขัับเคลื่่�อนงานสำำ�คััญหลายด้้าน ได้้แก่่ การให้้บริิการ
ประชาชนตามนโยบายรััฐบาล “เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิิทธิิทุก ุ ที่่� (UCEP)” เพื่่อ � ลดการเหลื่่อ � มล้ำำ�และคุ้้�มครองสิิทธิิด้า ้ นการ
รัักษาพยาบาลของประชาชนกรณีีเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต ให้้สามารถเข้้ารับ ั การรัักษาพยาบาลในสถานพยาบาลได้้ทุก ุ แห่่ง
ภายใน 72 ชั่่�วโมงแรกโดยไม่่ต้้องเสีียค่่าใช้้จ่่าย จนเห็็นผลลััพธ์์เชิิงประจัักษ์์ ได้้รับ ั เลืือกเป็็นนโยบายของรััฐที่่�ประชาชน
พึึงพอใจที่่�สุุดใน 5 อัันดัับแรก นอกจากนี้้� สพฉ. ยัังได้้ขัับเคลื่่�อน “โครงการพััฒนาทัักษะด้้านการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิิน
และการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐานให้้ประชาชน 10 ล้้านไทยร่่วมใจ CPR” ภายใน 3 ปีี โดยจััดทำ� ำ หลัักสููตรอบรมครููผู้้�ช่ว ่ ย ครููผู้้�สอน
การปฐมพยาบาลและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน เพื่่�อให้้ความรู้้ �ด้้านการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐานและการใช้้เครื่่อ � ง AED แก่่ประชาชน
ทุุกกลุ่่�มวััย และมีีการมอบรางวััล HERO AWARD ให้้แก่่ผู้ที่ ้� ทำ ่� � ำ การช่่วยฟื้้� นคืืนชีีพผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินจนรอดชีีวิิต และผู้้�ปฏิิบัติ ั ิ
การประจำำ�ชุุดการปฏิิบััติิการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทางอากาศที่่�ช่่วยเหลืือลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินในพื้้�นที่่�ห่่างไกล รวมทั้้�งส่่งเสริิม
และสนัับสนุุนให้้องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดรับ ั โอนภารกิิ จศููนย์์รับ ั แจ้้ งเหตุุและสั่่�งการแล้้ ว 9 จัั งหวััด ซึ่่ง� มีีแผนผลัักดััน
และขยายผลให้้ครอบคลุุมทั่่�วประเทศ อีีกทั้้�งผลงานของ สพฉ. ยัังเป็็นที่่รู้� ้ �จัักและยอมรัับทั้้�งในระดัับประเทศและระดัับภููมิิภาค
อาเซีียนในฐานะองค์์กรหลัักร่่วมกัับกระทรวงสาธารณสุุข และ Japan International Cooperation Agency (JICA) ที่่�
สนัับสนุุนและสร้้างความเข้้มแข็็งด้้านระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและการจััดการภััยพิบั ิ ติ ั ิในเครืือข่่ายประเทศสมาชิิกอาเซีียน ทำำ�ให้้ประเทศไทยเป็็นผู้้�นำำ�ในการพััฒนาสาธารณสุุขอาเซีียนภายใต้้ประเด็็นความร่่วมมืือที่่� 12 : การจััดการภััยพิิบััติิ
ทางการแพทย์์และสาธารณสุุข ผลงานสำำ�คััญอีีกประการ คืือ การสร้้างความเข้้มแข็็งและเพิ่่�มขีีดความสามารถภายในองค์์กร รวมทั้้�งความโปร่่งใสในการทำำ�งาน ซึ่ง ่� เห็็นได้้จากผลการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของ สพฉ.
ประจำำ�ปีี 2563 ได้้รับ ั คะแนน 91.97 ระดัับเกรด A และเป็็นอัันดัับ 3 ในกลุ่่�มกระทรวงสาธารณสุุข
ในโอกาสนี้้� ผมขอชื่่�นชมและขอบคุุณทุุกหน่่วยงานที่่เ� กี่่ย � วข้้อง ทั้้�งหน่่วยงานภาครััฐ องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น
ภาคเอกชน มููลนิิธิิ องค์์กรภาคีีเครืือข่่าย และผู้้�ปฏิิบัติ ั ิงานของ สพฉ. ทุุกท่่าน ที่่ป � ฏิิบัติ ั ิหน้้าที่่ด้ � ้วยความเสีียสละและอดทน
เพื่่อ � ให้้ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินไทย ได้้รับ ั การพััฒนาตามแผนที่่กำ � ำ�หนดไว้้ทุก ุ ประการ
(นายอนุุ ทิิน ชาญวีีรกููล) รองนายกรััฐมนตรีี และรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข ประธานกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น
6
รายงานประจำ�ปี 2563
สารจากเลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ (สพฉ.) มุ่่�งมั่่�นพััฒนาระบบการแพทย์์
ฉุุกเฉิิน เพื่่�อให้้บรรลุุเป้้าหมายของแผนหลัักการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 3.1
พ.ศ. 2562 - 2565 “ลดการเสีียชีีวิิ ต และความพิิ ก ารจากการเจ็็ บ ป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ น ”
โดยมีีวิิ สัั ยทัั ศ น์์ ให้้ “ผู้้�ป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ น ได้้ รั ับ ปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น ที่่� ไ ด้้ ม าตรฐานและมีี ประสิิทธิิผลอย่่างทั่่�วถึึงและเท่่าเทีียม” สำำ�หรัับปีี 2563 เป็็นปีีแห่่งความท้้าทายต่อ ่ การ ดำำ�เนิินงานของ สพฉ. เป็็นอย่่างยิ่่�ง ท่่ามกลางสถานการณ์์การระบาดของโรคติิดเชื้้�อ
ไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่่ร� ะบาดเป็็นวงกว้้างตั้้�งแต่่ต้้นปีี ภายใต้้งบประมาณ ที่่มีีจำ � ำ�กััด สพฉ. ได้้ปรับ ั กลยุุทธ์แ ์ ละแผนการดำำ�เนิินงานให้้พร้้อมรัับมืือกัับสถานการณ์์
ที่่�เปลี่่�ยนแปลงตลอดเวลา ภายใต้้การกำำ�กัับดููแลที่่�เข้้มแข็็งจากคณะกรรมการการ
แพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จึึงสร้้างความมั่่�นใจได้้ว่่า สพฉ. จะยัังขัับเคลื่่�อนการทำำ�งานให้้แต่่ละ ภารกิิจมีีความก้้าวหน้้าอย่า ่ งต่่อเนื่่�องต่่อไป
สพฉ. ได้้ดำำ�เนิิ นภารกิิจสำำ�คััญ เพื่่�อขัับเคลื่่�อนระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นให้้มีีความก้้าวหน้้ า ในด้้านการพััฒนา มาตรฐานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ได้้จัดทำ ั � ำ ร่่างประกาศ กพฉ. เพื่่อส่ � ง่ เสริิมสนัับสนุุนให้้หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารมีีมาตรฐาน รวมทั้้�งส่่งเสริิม
สนัับสนุุนให้้องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดรับ ั โอนภารกิิจศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการแล้้ว 9 จัังหวััด ส่่งเสริิมให้้องค์์กรปกครอง
ส่่วนท้้องถิ่่�นจััดตั้้�ง/จััดให้้มีีหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการแพทย์์เพิ่่�มขึ้้�น มีีการพััฒนาระบบการตรวจประเมิินคุุณภาพระบบบริิการการ
แพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งประเทศไทย (TEMSA) และพััฒนาผู้้�เยี่่�ยมสำำ�รวจเพื่่�อรับ ั รองคุุณภาพของหน่่วยปฏิิบััติิการ ผลัักดัันให้้
นัักปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์เป็็นวิิชาชีีพสาขาหนึ่่�ง ตามกฎหมายว่่าด้้วยการประกอบโรคศิิลปะ ซึ่ง่� ได้้รับ ั ความเห็็นชอบ จากคณะรััฐมนตรีีแล้้ว อีีกทั้้�งมีีการจััดระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเพื่่อช่ � ว ่ ยเหลืือผู้้�ป่ว ่ ยในพื้้�นที่่พิ � เิ ศษต่่างๆ ทั้้�งพื้้�นที่่ที่ � เ่� ป็็นหุุบเขา
พื้้�นที่่�ที่่�เป็็นแหล่่งน้ำำ�ตลอดจนมีีการมอบรางวััล “HERO Award for sky doctor” แก่่บุุคลากรประจำำ�ทีีมแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ทางอากาศที่่�ช่่วยเหลืือลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินพื้้�นที่่�ห่่างไกล ทำำ�ให้้ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินเข้้าถึึงบริิการของระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
มากกว่่า 1.79 ล้้านครั้้�ง และจากการสำำ�รวจความพึึงพอใจของผู้้�ใช้้บริิการมีีความพึึงพอใจต่่อระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
มากกว่่าร้อย ้ ละ 85 อย่่างต่่อเนื่่�องทุุกปีี ด้้านการป้้องกัันการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน ได้้จัดทำ ั �ำ หลัักสููตรอบรมการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิิน
การกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน และพััฒนาทัักษะด้้านการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน “10 ล้้านไทยร่่วมใจ CPR” เพื่่�อให้้ความรู้้ �ด้้านการกู้้�ชีีพ
ขั้้�นพื้้�นฐานและการใช้้เครื่่อ � ง AED ให้้แก่่ประชาชน จนนำำ�ไปสู่่�การมอบรางวััล HERO AWARD ให้้กับ ั ผู้้ที่ � ทำ ่� � ำ การช่่วยฟื้้� นคืืนชีีพ
หรืือ CPR ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินจนรอดชีีวิิต ส่่วนภารกิิจการให้้ บ ริิก ารในสถานการณ์์ ร ะบาดของ COVID-19 มีีการจััดตั้้ง� ศููนย์์ ปฏิิ บัั ติิ ก ารสนัั บ สนุุ น การปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุก เฉิิ น สพฉ. (ศปก.สพฉ.) จัั ดอ บรมผู้้�ปฎิิ บัั ติิ สำ� ำ หรัับ ชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินพิิเศษ
(SCOT Team) เพื่่อออ � กปฏิิบัติ ั ก ิ ารช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วย สำำ�หรัับด้้านการบริิหารจััดการภายในองค์์กร มีีการพััฒนาคุุณภาพ
ISO 9001:2015 อย่่างต่่อเนื่่�อง นอกจากนี้้� ยัังได้้รับ ั การประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของ สพฉ. ประจำำ�ปีี 2563 ได้้รับ ั คะแนน 91.97 ระดัับ A
ในโอกาสนี้้� ขอขอบคุุ ณ คณะกรรมการการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น องค์์ ก รภาคีีเครืือข่่ าย ภาครััฐ องค์์ ก รปกครอง
ส่่วนท้้องถิ่่�น ภาคเอกชน มููลนิิธิิ รวมถึึงภาคประชาชน รวมถึึงผู้้�ปฎิิบัติ ั ิการทุุกท่่าน ที่่ใ� ห้้การสนัับสนุุน และร่่วมกัันขัับเคลื่่�อน งานการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นให้้พััฒนาก้้าวหน้้า ขอให้้ทุก ุ ท่่านประสบแต่่ความสุุข ความเจริิญ มีีพลัังกายและพลัังใจในการทำำ�งาน
เพื่่อป � ระโยชน์์สููงสุุดของประชาชน และประเทศชาติิต่่อไป
เรืืออากาศเอก
(อััจฉริิยะ แพงมา)
เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
7
คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน กรรมการโดยตำ�แหน่ง
นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการ
นายประสงค์ พูนธเนศ ปลัดกระทรวงการคลัง
นายสุขุม กาญจนพิมาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นายทศพล กฤตวงศ์วิมาน
เลขาธิการสำ�นักงานประกันสังคม
นายศักดิ์ชัย กาญจนวัฒนา เลขาธิการสำ�นักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ
กรรมการผู้แทน
นายเอื้อชาติ กาญจนพิทักษ์ กรรมการผู้แทนแพทยสภา
นายกำ�พล พลัสสินทร์ กรรมการผู้แทน สถานพยาบาลของเอกชน
8
รายงานประจำ�ปี 2563
พันเอกสุรจิต สุนทรธรรม กรรมการผู้แทนแพทยสภา
รองศาสตราจารย์ศิรอ ิ ร สินธุ
นายทรงยศ เทียนทอง กรรมการผู้แทนองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (พิเศษ) วิระศักดิ์ ฮาดดา
กรรมการผู้แทนสภาการพยาบาล
กรรมการผู้แทนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น
นายชาติชาย คล้ายสุบรรณ กรรมการผู้แทน สถานพยาบาลของรัฐ
นายสุเทพ ณัฐกานต์กนก
กรรมการผู้แทนองค์กรภาคเอกชน ที่ไม่แสวงหากำ�ไรและมีบทบาท ด้านบริการการแพทย์ฉก ุ เฉินก่อนถึง สถานพยาบาล ที่เป็ นนิติบุคคล
กรรมการผู้แทน
นายไพรทูรย์ รัตนพรวารีสกุล
กรรมการผู้แทนองค์กรภาคเอกชน ที่ไม่แสวงหากำ�ไรและมีบทบาท ด้านบริการการแพทย์ฉก ุ เฉินก่อนถึง สถานพยาบาล ที่เป็ นนิติบุคคล
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ศาสตราจารย์บรรเจิด สิงคะเนติ พลอากาศตรีเฉลิมพร บุญสิร ิ นายสาลี่ สุขเกิด กรรมการผูท ้ รงคุณวุฒิ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการผูท ้ รงคุณวุฒิ ด้านกฎหมาย ด้านการเงินและบัญชี ด้านการแพทย์ฉก ุ เฉิน
นายธีรพล โตพันธานนท์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านคุณภาพ
เรืออากาศเอกอัจฉริยะ แพงมา เลขาธิการสถาบัน การแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ กรรมการและเลขานุการ
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
9
10
รายงานประจำ�ปี 2563
ส่่วนที่่�
1
ข้้อมููลทั่่�วไป
ข้้อมููลทั่่�วไป ความเป็็นมาของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน EMERGENCY MEDICAL SYSTEM ได้้พััฒนาขึ้้�นด้้วยเหตุุผลเพื่่� อลดจำำ�นวนการตาย การทุุกข์์ทรมาน และการสิ้้�นเปลืืองค่่าใช้้จ่่ายอััน เกิิดจากความล่่าช้้าในการดููแลรัักษาผู้้�ป่่วย การลำำ�เลีียงเคลื่่�อนย้้ายไม่่ถููกวิิธีี รวมถึึงการนำำ�ส่่ง สถานพยาบาลที่่�ไม่่เหมาะสม โดยการจััดระบบรัับแจ้้งเหตุุ ที่่�ประชาชนทุุกคนสามารถเข้้าถึึงง่่าย มีีการดำำ�เนิินงานที่่�อาศัั ยความรู้้�ความเข้้าใจในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน การมีีส่่ วนร่่วมของผู้้�นำำ� ท้้องถิ่่�นและชุุมชน รวมถึึงการจััดสรรทรััพยากรที่่�มีีอยู่่�ในท้้องถิ่่�นร่่วมกััน ภายใต้้หลัักเกณฑ์์และ มาตรฐานซึ่่�งเป็็นที่่�ยอมรัับจากหน่่วยงานหรืือองค์์กรที่่�รัับผิิดชอบเฉพาะ เพื่่� อให้้การปฏิิบััติิการ ฉุุกเฉิินถููกวิิธีี ทัันท่่วงทีี สามารถช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินไม่่ให้้สููญเสีียชีีวิิต และลดความพิิ การลงได้้
ระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ของประเทศไทย
พ.ศ. 2461 พ.ศ. 2480 พ.ศ. 2512 พ.ศ. 2536
12
รายงานประจำ�ปี 2563
มีีการตราพระราชบััญญััติว่ิ าด้ ่ ว้ ยสภากาชาดสยาม เพื่่อช่ � ว่ ยเหลืือรัักษาพยาบาลผู้้�ป่ว่ ยไข้้ และบาดเจ็็บในสงครามและยามสงบ การบรรเทาทุุกข์์ในเหตุุการณ์์สาธารณภััย
มููลนิิธิิ “ฮั่่�วเคี้้�ยวป่่อเต็็กเซีียงตึ๊๊�ง”เป็็นองค์์กรการกุุศลไม่่แสวงหาผลกำำ�ไร ได้้ริเิ ริ่่�ม
ให้้บริิการขนส่่งศพไม่่มีีญาติิ ซึ่่ง � ค่่าใช้้จ่่ายในการดำำ�เนิินการได้้มาจากการบริิจาค
สมเด็็จพระศรีีนคริินทราบรมราชชนนีี ทรงตั้้�งกิิจการแพทย์์อาสาในนาม หน่่วยแพทย์์
อาสาสมเด็็จพระศรีีนคริินทราบรมราชชนนีี เพื่่อ � ให้้บริิการตรวจรัักษาประชานในพื้้�นที่่� ทุุรกัันดาร
กระทรวงสาธารณสุุขได้้รับ ั ความช่่วยเหลืือทางเทคนิิคจาก Japan International Cooperation Agency (JICA) ในการจััดตั้้�งศููนย์์อุุบัติ ั ิเหตุุ ณ โรงพยาบาลขอนแก่่น
ซึ่่ง � ครอบคลุุมการให้้บริิการช่่วยเหลืือก่่อนถึึงโรงพยาบาล (pre-hospital care)
พ.ศ. 2537
โรงพยาบาลวชิิรพยาบาลได้้ เปิิ ดให้้ บริิการรถพยาบาลฉุุกเฉิิ นโดยใช้้ชื่่�อว่่า SMART
(Surgico-Medical Ambulance and Rescue Team) ตามแผนป้้ อ งกัั น อุุ บััติิ ภััย ของกรุุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2538
กระทรวงสาธารณสุุ ข ได้้ เปิิ ดตัั ว ต้้ น แบบระบบรััก ษาพยาบาลก่่ อ นถึึ ง โรงพยาบาล
พ.ศ. 2540
ช่่ ว งแผนพัั ฒ นาเศรษฐกิิ จ และสัั ง คมแห่่ ง ชาติิ ฉบัั บ ที่่� 8 (พ.ศ. 2540-2544) มีีการ
ณ โรงพยาบาลราชวิิถีีในชื่่อ � “ศููนย์์กู้�ชีี ้ พนเรนทร” โดยภายหลัังโรงพยาบาลนพรััตนราชธานีี และโรงพยาบาลเลิิดสิน ิ ได้้เข้้าร่ว่ มเครืือข่่ายให้้บริิการด้้วย
บรรจุุแผนงานอุุ บััติิเหตุุและสาธารณภัั ย ให้้มีีการจัั ดตั้้� งและพััฒนาระบบบริิการการ
แพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ในทุุ ก จัั ง หวัั ด โดยเน้้ น ความสามารถในการจัั ด หน่่ ว ยบริิก ารมากกว่่ า
จัั ด ระบบบริิก าร แต่่ มีีข้้ อจำำ� กัั ด ในการบริิก าร เนื่่� อ งจากยัั ง ไม่่ มีี ระบบที่่� มีี กฎหมาย
และระบบการเงิินการคลัั งรองรัับ ในขณะที่่�กระทรวงสาธารณสุุข กรุุ งเทพมหานคร
กรมตำำ�รวจ (สำำ�นัั กงานตำำ�รวจแห่่งชาติิ) ได้้มีีส่่วนร่่วมในการริิเริ่่�มผลัักดัันให้้เกิิดการ บริิก ารผู้้�ป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ น ก่่ อ นถึึ ง โรงพยาบาล (pre-hospital care) แต่่ ยัั ง มีีข้้ อจำำ� กัั ด
ที่่แ � ตกต่่างกัันออกไป
พ.ศ. 2545
กระทรวงสาธารณสุุขได้้จััดตั้้�งสำำ�นัักงานระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน (ศููนย์์นเรนทร) ขึ้้� น ภายใต้้ สำ� ำ นัั ก งานปลัั ด กระทรวงสาธารณสุุ ข และผลัั ก ดัั น นโยบายการบริิก าร การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเป็็น 1 ใน 4 นโยบายหลัักของกระทรวงสาธารณสุุข พร้้อมทั้้�งจััดให้้มีี หน่่ วยกู้้�ชีีพประจำำ�โรงพยาบาลต่่างๆ โดยเริ่่�มที่่� 7 จัังหวััดนำำ�ร่่อง แล้้วขยายผลไปทั่่�ว
ประเทศ ในเวลาต่่ อมาโดยใช้้ศููนย์์กู้�ชีี ้ พ “นเรนทร” โรงพยาบาลราชวิิถีี เป็็นต้้ นแบบ
ในการดำำ� เนิิ น งานและจัั ด ให้้ มีีศูู นย์์ รั ั บ แจ้้ ง เหตุุ 1669 เพื่่� อป ระสานงาน สื่่� อสา ร
และควบคุุมสั่่�งการ ส่่วนงบประมาณดำำ�เนิินการได้้รับ ั จากสำำ�นัักงานหลัักประกัันสุุขภาพ แห่่งชาติิ ในระยะเริ่่�มแรกแต่่รููปแบบยัังคงไม่่เป็็นระบบที่่ชั � ด ั เจน
พ.ศ. 2551
เพื่่� อ ให้้ ผู้้�ป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ น ได้้ รั ับ ประโยชน์์ จ ากระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ที่่� มีีคุุ ณ ภาพและ มาตรฐาน ครอบคลุุ ม ทั่่� ว ถึึ ง และเท่่ า เทีียมตามเจตนารมณ์์ แห่่ ง พระราชบัั ญ ญัั ติิ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 2551 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ จึึงถููกจััดตั้้�งขึ้้�นตามมาตรา
ที่่� 14 แห่่งกฎหมายดัังกล่่าว ให้้เป็็นหน่่ วยงานของรััฐที่่�มีีฐานะเป็็นนิิ ติิบุุคคลในกำำ�กัับ
ของรััฐ มนตรีีว่่ า การกระทรวงสาธารณสุุ ข มีีรููปแบบการบริิห ารจัั ด การ ที่่� มีี ความ
คล่่ อ งตัั ว และสามารถบริิ ห ารงานตามนโยบายบริิ ห ารงานของคณะกรรมการ
การแพทย์์ ฉุุก เฉิิ น ได้้ อย่่ า งมีีประสิิ ท ธิิภ าพ โดยมีีอำำ� นาจหน้้ า ที่่� ในการบริิห ารจัั ด การ การประสานงานระหว่่ า งหน่่ ว ยงานที่่� เกี่่� ย วข้้ อ งทั้้� ง ภาครััฐ และเอกชน และการส่่ ง
เสริิมให้้องค์์ กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่� นเข้้ามามีีบทบาทในการบริิหารจัั ดการเพื่่�อให้้เกิิ ด
ความร่่วมมืือในการปฏิิ บััติิงานด้้ านการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นร่่วมกัั น ซึ่่�งเป็็นหน้้ าที่่�ใหม่่และ มีีขอบเขตที่่ก � ว้้างกว่่าเดิิม
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
13
โครงสร้้างสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ คณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ
รองเลขาธิิการ / ผู้้�ช่่วยเลขาธิิการ
ผู้้�เชี่่�ยวชาญพิิ เศษ
กลุ่่�มตรวจสอบภายใน
ผู้้�เชี่่�ยวชาญ
สำำ�นัักบริิหารกลาง
สำำ�นัักยุุทธศาสตร์์
กลุ่่�มงานบริิหารงานทั่่�วไป
กลุ่่�มงานนโยบายและแผน
กลุ่่�มงานการคลัั งและพััสดุุ
กลุ่่�มงานติิ ดตามและประเมิินผล
กลุ่่�มงานบริิหารทรััพยากรมนุุ ษย์์
กลุ่่�มงานเลขานุุ การ กพฉ. งานวิิเทศสััมพัันธ์์ งานบริิหารทั่่�วไป
สำำ�นัักรัับรองและกำำ�กัับมาตรฐาน กลุ่่�มงานรัับรองและกำำ�กัับมาตรฐาน ผู้้�ปฎิิบัติ ั ิการ
กลุ่่�มงานรัับรองและกำำ�กัับมาตรฐาน หน่่ วยปฎิิ บััติิการ กลุ่่�มงานรัับรองและกำำ�กัับมาตรฐาน สถานพยาบาล งานบริิหารทั่่�วไป
สำำ�นัักประสานการแพทย์์ฉุุกเฉิิน กลุ่่�มงานการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นพื้้�นที่่� 1 (พื้้�นที่่�ภาคเหนืือ)
กลุ่่�มงานการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นพื้้�นที่่� 2
(พื้้�นที่่�ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ)
กลุ่่�มงานการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นพื้้�นที่่� 3
(พื้้�นที่่�ภาคกลางและภาคตะวัันออก)
สำำ�นัักวิิจััยและพัั ฒนาวิิชาการ
สำำ�นัักสนัับสนุุนการปฎิิบััติิการฉุุกเฉิิน
กลุ่่�มงานวิิจััย
กลุ่่�มงานบริิหารกองทุุน
กลุ่่�มงานพััฒนาวิิชาการ
ศููนย์์นเรนทร
ศููนย์์วิชา ิ การเตรีียมความพร้้อม
งานสนัั บสนุุ นการปฎิิ บััติิการฉุุกเฉิิ น
ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ด้้ านสาธารณภัั ย
งานบริิหารทั่่�วไป
งานบริิหารทั่่�วไป
กลุ่่�มงานการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นพื้้�นที่่� 4
(พื้้�นที่่�ภาคใต้้ )
งานบริิหารทั่่�วไป
กลุ่่�มกฎหมายการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
14
รายงานประจำ�ปี 2563
กลุ่่�มสื่่�อสารองค์์การ
กลุ่่�มดิิจิิทััล
กลุ่่�มพัั ฒนาองค์์การ
สรุุปสาระสำำ�คััญแผนหลัักการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ (ฉบัับที่่� 3.1) ปีี 2562-2565 ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิ นได้้รับ ั ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิ นที่่�ได้้มาตรฐานและมีีประสิิทธิิผลอย่่างทั่่�วถึึง และเท่่าเทีียม
วิสัยทัศน์ (vision)
ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินได้้รับ ั ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินตั้้�งแต่่รับ ั รู้้ก � ารเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินจนถึึงเริ่่�มได้้รับ ั การ
บำำ�บััดเจาะจงหรืือพ้้นภาวะฉุุกเฉิิน โดยพััฒนาห่่วงโซ่่ปฏิิบัติ ั ก ิ ารทั้้�งในและนอกสถานพยาบาล ให้้ได้้มาตรฐานและมีีประสิิทธิิผลอย่่างทั่่�วถึึงและเท่่าเทีียม โดยทุุกภาคส่่วนมีีบทบาท
พันธกิจ (mission)
1. ลดการเสีียชีีวิิตจากการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน 2. ลดความพิิการจากภาวะฉุุกเฉิิน
เป้าหมายสูงสุด (ultimate goals)
1. ลดอััตราเสีียชีีวิิตจากการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินต่่อประชากรแสนคน
1.1 ลดอััตราเสีียชีีวิิตจากการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินต่่อประชากรแสนคนของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน ก่่อนรัับไว้้ในโรงพยาบาล
เป้าหมายเฉพาะ (Specific goals)
1.2 ลดอััตราเสีียชีีวิิตจากการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินต่่อประชากรแสนคนของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน
ที่่รั � บ ั ไว้้ในโรงพยาบาล
2. ลดอััตราป่่วยตาย (Case Fatality Rate) ในกลุ่่�มโรคที่่มีี � ภาวะฉุุกเฉิิน ได้้แก่่ การบาดเจ็็บ โรคหลอดเลืือดหััวใจเฉีียบพลััน โรคหลอดเลืือดสมองเฉีียบพลััน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
15
ยุุทธศาสตร์์ที่่�
1
พัั ฒนามาตรฐานการแพทย์์ฉุุกเฉิิน วััตถุุประสงค์์ 1. เพื่่อพั � ฒ ั นามาตรฐานตามห่่วงโซ่่การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินครอบคลุุมตั้้�งแต่่การรัับรู้้ก � ารเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินจนได้้รับ ั บำำ�บััด เจาะจงหรืือพ้้นภาวะฉุุกเฉิิน
2. เพื่่อ � ให้้การจััดบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินได้้มาตรฐานที่่กำ � � ำ หนดตลอดห่่วงโซ่่การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินให้้ครอบคลุุมทุุกพื้้�นที่่� 3. เพื่่อส่ � ง ่ เสริิมและพััฒนาระบบเทคโนโลยีีการสื่่อสา � รและสารสนเทศดิิจิิทัล ั ในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ตััวชี้้�วััด 1. จำำ�นวนจัังหวััดที่่มีี � ระบบอำำ�นวยการทางการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
10. จำำ�นวนจัังหวััดมีีระบบการบัันทึึกข้้อมููลแบบ Real time
2. จำำ� นวนจัั ง หวัั ด ที่่� มีี การดำำ� เนิิ น งานและบริิห ารจัั ด การ
ถึึงส่่งผู้้�ป่ว่ ยไปยัังสถานพยาบาลปลายทาง และการบัันทึึก
ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินโดยองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด
(อบจ.) และกรุุงเทพมหานคร ตามเกณฑ์์ที่กำ ่� ำ�หนด
3. จำำ� นวนจัั ง หวัั ด ที่่� มีี การคัั ด แยกระดัั บ ความฉุุ ก เฉิิ น ที่่� ต่ำำ�กว่่าระดัับความฉุุกเฉิินจริิงของผู้้�ป่ว ่ ย (Under Triage)
ไม่่เกิินร้้อยละ 15 และการคััดแยกระดัับความฉุุกเฉิินที่่� สููงกว่่าระดัับความฉุุกเฉิินจริิงของผู้้�ป่ว ่ ย (Over Triage)
ไม่่เกิินร้้อยละ 30
4. จำำ�นวนจัังหวััดที่่�มีีผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤตที่่�ได้้รับ ั การนำำ�ส่่ง
โดยชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินระดัับสููง (ALS) เกิินกว่่า 200
ต่่อประชากรแสนคน
5. ร้้อยละผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิ นวิิกฤตที่่�เริ่่�มได้้ รับ ั การปฏิิ บััติิการ ฉุุกเฉิินภายใน 8 นาทีี
6. อััตราการตอบสนองต่่อข้อร้ ้ อ ้ งเรีียนสำำ�หรัับผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน ตามนโยบายเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤตมีีสิิทธิิทุก ุ ที่่�
7. จำำ� นวนจัั ง หวัั ด ที่่� มีี การใช้้ TEMSA ในการประเมิิ น
มาตรฐานและคุุณภาพการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินด้้วยตนเอง เพื่่อ � หาโอกาสพััฒนาตนเอง
8. ร้้อยละของผู้้�ป่่วย STEMI & Stroke ที่่�ได้้รับ ั แจ้้งผ่่าน 1669 และได้้รับ ั ยาละลายลิ่่�มเลืือด หรืือได้้รับ ั PCI
9. ร้้อยละของผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน Level 1, Level 2 และ Level 3 ได้้รับ ั การดููแลตามเวลาที่่กำ � ำ�หนด
16
รายงานประจำ�ปี 2563
ภายใน 15 นาทีี ในการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินตั้้�งแต่่การรัับแจ้้ง
ข้้อมููลการปฏิิบัติ ั ก ิ าร (ITEMS) แล้้วเสร็็จภายใน 8 ชั่่�วโมง
กรอบกลวิิธีี หรืือวิิธีีการ 1. จััดทำ� ำ มาตรฐาน หลัักเกณฑ์์และวิิธีีปฏิิบัติ ั ิตลอดห่่วงโซ่่ บริิการครอบคลุุมทุุกมิิติิ
2. ศููนย์์ รั ับ แจ้้ ง เหตุุ ฉุุก เฉิิ น ที่่� มีี มาตรฐานโดยดำำ� เนิิ น งาน ภายใต้้องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น และแยกศููนย์์สั่่ง� การ
และอำำ�นวยการด้้านการแพทย์์และสาธารณสุุขที่่มีี � มาตรฐาน อยู่่�ใต้้การดำำ�เนิินงานของกระทรวงสาธารณสุุข 1
3. สนัั บ สนุุ น การพัั ฒ นาบริิก ารนอกเวลาสำำ� หรัับ ผู้้�ป่่ ว ย
ไม่่ฉุก ุ เฉิินเพื่่อ � ลดความแออััดในห้้องฉุุกเฉิินโรงพยาบาล
รััฐบาล
4. มีีหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินด้้านการแพทย์์และสาธารณสุุข
สถานพยาบาลและการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินที่่มีี � มาตรฐาน
5. มีีการคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตให้้ได้้รับ ั การรัักษา ที่่ไ� ด้้มาตรฐานอย่่างเท่่าเทีียม
6. มีีระบบสารสนเทศสำำ� หรัับ การพัั ฒ นาคุุ ณ ภาพระบบ
การแพทย์์ฉุุ ก เฉิิ น ที่่� บูู รณาการข้้ อมูู ลด้้ า นการแพทย์์
ฉุุ ก เฉิิ น นอกโรงพยาบาล การบริิก ารในห้้ อ งฉุุ ก เฉิิ น
การส่่งต่่อผู้้�ป่ว่ ยและการจััดการสาธารณภััยด้า้ นการแพทย์์
__________________________________________________________________________ 1 การดำำ�เนิินงานและบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในพื้้�นที่่�โดยองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ให้้คำำ�นึึงถึึงความพร้้อมขององค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น หากมีีความพร้้อมในการรัับถ่่ายโอนภารกิิจ ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทั้้�งการบริิหารจััดการระบบและจััดบริิการให้้ครอบคลุุมทุุกพื้้�นที่่ใ� นจัังหวััด ควร มีีแผน ขั้้�นตอน ระยะเวลา การสนัับสนุุนจากทุุกฝ่่ายทั้้ง � ให้้สามารถ � ในส่่วนกลางและระดัับพื้้�นที่่� เพื่่อ
ดำำ�เนิินการได้้ตามมาตรฐาน
ยุุทธศาสตร์์ที่่�
2
พัั ฒนาระบบบริิหารจััดการผู้้�ปฏิิบััติิการในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
วััตถุุประสงค์์ 1. เพื่่อ � ผลิิตธำำ�รงรัักษาและพััฒนาขีีดความสามารถผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการให้้เพีียงพอ ทั้้�งที่่เ� ป็็นผู้้�ประกอบวิิชาชีีพและไม่่เป็็น ผู้้�ประกอบวิิชาชีีพด้้านการแพทย์์และสาธารณสุุข
2. เพื่่อ � กระจายผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการทั้้�งในหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการสถานพยาบาล ให้้มีีสัดส่ ั ว ่ นที่่เ� หมาะสม ครอบคลุุมทุุกพื้้�นที่่�
ตััวชี้้�วััด 1. ระดัั บ ความสำำ� เร็็ จ ในการผลิิ ต
บุุ ค ลากรที่่� เพีียงพอโดยเฉพาะ สำำ�หรัับผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต
2. ระดัับความสำำ�เร็็จในการส่่งเสริิม
สนัับสนุุนการธำำ�รงรัักษาบุุคลากร ในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
3. ระดัับความสำำ�เร็็จในการฝึึกอบรม เพิ่่�มพููนความรู้้แ � ละทัักษะบุุคลากร
กรอบกลวิิธีี หรืือวิิธีีการ 1. แผนผลิิตและธำำ�รงรัักษาผู้้�ปฏิิบััติิการด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินให้้เพีียงพอ แก่่ความต้้องการในระยะ 10 ปีี
2. ผลิิ ต ผู้้�ป ฏิิ บัั ติิ ก ารให้้ มีีปริ ม ิ าณและคุุ ณ ภาพเพีียงพอในการคุ้้�มครอง ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน
3. สนัับสนุุนส่่งเสริิมและร่่วมดำำ�เนิินการธำำ�รงรัักษาผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ าร เพื่่อคุ � ณ ุ ภาพ การปฏิิบัติ ั ิงานและธำำ�รงรัักษาผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการให้้คงอยู่่�ในระบบ
4. สนัั บสนุุ นส่่งเสริิมและฝึึกอบรมเพิ่่�มพููนความรู้้ แ � ละทัักษะผู้้�ปฏิิบััติิการ ร่่วมกัับสภา/สมาคมวิิชาชีีพหรืือหน่่วยงานที่่เ� กี่่�ยวข้้อง
ในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นทั้้�งใน
ความเชี่่�ยวชาญเฉพาะหรืือพื้้�นที่่�
เฉพาะ เช่่น ชายแดน เขตเศรษฐกิิจ พิิเศษ เขตสุุขภาพพิิเศษ
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
17
ยุุทธศาสตร์์ที่่�
3
พัั ฒนากลไกการอภิิบาลระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
วััตถุุประสงค์์ 1. เพื่่�อทบทวนโครงสร้้าง กลไกการจัั ดการ และอภิิ บาลระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นให้้สอดรับ ั แผนปฏิิ รููปประเทศ ด้้านสาธารณสุุขประเด็็นระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
2. เพื่่อพั � ฒ ั นา ระเบีียบ ข้้อบังั คัับและกฎหมายต่่าง ๆ ให้้สนับ ั สนุุนการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินได้้อย่า ่ งเพีียงพอ และมีีการบัังคัับใช้้ได้้อย่า ่ งเหมาะสม
3. เพื่่อพั � ฒ ั นาระบบการเงิินการคลัังให้้มีีงบประมาณเพีียงพอต่่อการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินอย่่างเหมาะสม และยั่่�งยืืน
4. เพื่่�อสนัับสนุุนให้้เกิิดการบริิหารจััดการความรู้้แ � ละงานวิิจััยที่่�นำำ�ไปสู่่�การใช้้ประโยชน์์ในทางปฏิิบััติิได้้อย่่างเป็็น รููปธรรม
ตััวชี้้�วััด 1. มีีการทบทวนโครงสร้้าง กลไกการจััดการและอภิิบาล ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
2. การบริิหารพััฒนาทุุนหมุุนเวีียนให้้มีีประสิิทธิิภาพ 2.1 การบริิหารความเสี่่ย � งและการควบคุุมภายใน 2.2 ระดัับความสำำ�เร็็จในการพััฒนามาตรฐานระบคุุณภาพ
การบริิ ห ารงานคุุ ณ ภาพเพื่่� อ เพิ่่� ม ประสิิ ท ธิิ ภ าพ ในการดำำ�เนิินงาน ISO 9001 : 2015
2.3 การตรวจสอบภายใน 2.4 การบริิหารจััดการสารสนเทศดิิจิทั ิ ล ั 2.5 ระดัั บความสำำ�เร็็จในการพััฒนาระบบสารสนเทศ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน (ITEMS)
2.10 การจััดทำ�ำ รายงานวิิเคราะห์์ผู้้�ใช้้บริิการหลัักและ ผู้้�มีีส่่ ว นได้้ ส่่ ว นเสีียทั้้� ง ทางตรงและทางอ้้ อ ม ของทุุนหมุุนเวีียน
3. จำำ�นวนการนำำ�ประกาศมาตรา 29 วรรคหนึ่่�งมาใช้้บังั คัับ และมีีการดำำ�เนิินการตามมาตรา 29 วรรคสอง สาม สี่่�
และมาตรา 30 31 32 37 38 39 อย่่างน้้อยเรื่่อ � งละ 1 ครั้้�ง จนสำำ�เร็็จลงโทษเสร็็จสิ้้�น
4. ประสิิ ท ธิิภ าพการบริิห ารค่่ าชด เชยปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุก เฉิิ น สำำ�หรัับผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต
5. ระดัับความสำำ�เร็็จของการจััดตั้้ง� กองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ระดัับท้้องถิ่่�น/มีีการจ่่ายเงิิน เพื่่อส่ � ง่ เสริิมให้้มีี matching
grant มากขึ้้�นในพื้้�นที่่ที่ � ห่ ่� า่ งไกลและพื้้�นที่่ที่ � เ่� ข้้าไม่่ถึงึ บริิการ 6. จำำ�นวนองค์์ความรู้้ห � รืือนวััตกรรมที่่ไ� ด้้จากงานวิิจััยและ
2.6 การบริิหารทรััพยากรบุุคคล
กระบวนการทางวิิชาการเพื่่อ � หนุุนเสริิมภารกิิจตามแผน
2.7 การเบิิกจ่่ายเงิินตามแผนการเบิิกจ่่ายที่่ไ� ด้้รับ ั อนุุมัติ ั ิ
แพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
2.8 การรายงานทางการเงิิน 2.9 การดำำ�เนิินการตามแผนพััฒนาระบบการจ่่ายเงิินและ การรัับเงิินของทุุนหมุุนเวีียนผ่่านระบบอิิเล็็กทรอนิิกส์์
หลัักการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ และภารกิิจสถาบัันการ
7. ระดัั บความสำำ�เร็็จในการพััฒนาผลงานวิิจััยเพื่่�อให้้ได้้
องค์์ความรู้้เ� รื่่อ � งการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่เ� หมาะสมกัับประเทศไทย
ภายใน 2564 รวมทั้้�งการจััดการความรู้้บ � ริิหารฐานความรู้้ � และจัั ด ให้้ มีี คลัั ง ความรู้้ � เพื่่� อนำ� ำ มาใช้้ ในการกำำ� หนด นโยบาย/บริิหาร และปรัับปรุุงบริิการ
18
รายงานประจำ�ปี 2563
กรอบกลวิิธีี หรืือวิิธีีการ ด้้านโครงสร้้างการบริิหารจััดการและอภิิบาลระบบ 1. ทบทวนบทบาทหน้้าที่่ข� องหน่่วยงานที่่เ� กี่่ย � วข้้องกัับระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 2. มีีคณะกรรมการนโยบายระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นระดัั บชาติิ และ ระดัับเขต (National and Regional ECS Boar)
3. มีีโครงสร้้ า งและกลไกการประสานงานด้้ า นการแพทย์์ แ ละ สาธารณสุุขในภาวะโรค/ภััยสุุขภาพระดัับประเทศ ระดัับเขตและ
ระดัับจัังหวััด ด้้านกฎหมาย
1. วิิเคราะห์์และจััดทำ� ำ แผนในการพััฒนา ปรัับปรุุง ระเบีียบ ข้้อบัง ั คัับ และกฎหมายต่่าง ๆ ให้้สามารถสนัับสนุุนระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินได้้
อย่่างเพีียงพอและมีีการบัังคัับใช้้ได้้อย่า ่ งเหมาะสม
2. ประสานความร่่วมมืือกัับทุุกภาคส่่วนเพื่่อ � ดำำ�เนิินการตามแผนที่่กำ � � ำ หนด 3. มีีมาตรการในการคุ้้�มครองผู้้�ปฏิิบััติิการในขณะปฏิิบััติิงาน เหมืือน ปฏิิบัติ ั ิงานในฐานะเจ้้าหน้้าที่่ข � องรััฐ
ด้้านการเงิินการคลััง 1. กองทุุนระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินระดัับเขต 2. กองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและสามกองทุุนสุุขภาพหลัักกำำ�หนดชุุดสิท ิ ธิิ ประโยชน์์ด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นและวิิธีีการชดเชยบริิการตามชุุด สิิทธิิประโยชน์์
3. ระบบการจััดการการคลัังและการเงิินในการคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิิน ด้้านวิิจััยและพััฒนาวิิชาการ 1. วิิเคราะห์์ช่อ ่ งว่่างระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่ต้ � ้องการสนัับสนุุนข้้อมููล จากงานวิิจััย/บริิหารจัั ดการความรู้้ เ� พื่่�อกำำ�หนดกรอบทิิศทางให้้
สอดคล้้องและเชื่่อ � มโยงกัับนโยบายประเทศ
2. ดำำ�เนิินงานวิิจััยอย่า ่ งเป็็นระบบ ถููกต้้องตามหลัักวิิชาการครอบคลุุม
�
ประเด็็นนโยบายเร่่งด่่วนของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิที่่่� เชื่่อ � มโยงกัับทิิศทางนโยบายระดัับชาติิ โดยมีีการบริิหารจััดการงาน
วิิจััยที่่มีีป � ระสิิทธิิภาพ
3. บริิหารจััดการความรู้้ต � ามขั้้�นตอนเพื่่�อให้้เกิิด Right Knowledge, Right People, Right Time
4. การผลัักดัันให้้มีีการเผยแพร่่เพื่่อ � ใช้้องค์์ความรู้้ � ผลงานวิิจััย ผลงาน วิิชาการและนวััตกรรมในการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นผ่่าน ช่่องทางต่่างๆ
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
19
ยุุทธศาสตร์์ที่่�
4
พัั ฒนาศัักยภาพและการมีีส่่วนร่่วมของภาคีีเครืือข่่ายทั้้�งในและต่่างประเทศ วััตถุุประสงค์์ 1. เพื่่อ � ให้้เกิิดความร่่วมมืือของหน่่วยงานภาครััฐทุุกระดัับและภาคประชาสัังคมในการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
2. เพื่่�อให้้ องค์์ กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่� นบููรณาการร่่วมเครืือข่่ายอื่่�นในการดำำ�เนิิ นงานและบริิหารจัั ดการระบบ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในพื้้�นที่่ไ� ด้้อย่า ่ งมีีคุุณภาพ ครอบคลุุมทุุกพื้้�นที่่ทั้้ � ง � กติิและพื้้�นที่่พิ � เิ ศษ � พื้้�นที่่ป
3. เพื่่�อให้้เกิิ ดความร่่วมมืือกัั บหน่่ วยงานที่่�เกี่่� ยวข้้องทั้้�งในและต่่ างประเทศ ในการสนัั บสนุุ นการพััฒนาระบบ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ทั้้�งในภาวะปกติิและสาธารณภััย
ตััวชี้้�วััด
กรอบกลวิิธีี หรืือวิิธีีการ
1 . จำำ� น ว น ศูู น ย์์ รัั บ แจ้้ ง เห ตุุ แ ล ะ
1. กำำ�หนดมาตรการสนัับสนุุนทางการเงิิน มาตรการทางกฎหมายและสนัับสนุุนระบบ
การอำำ� นวยการทางการแพทย์์
และการเข้้าถึึงบริิการได้้อย่า ่ งมีีประสิิทธิิภาพ โดยคำำ�นึึงถึึงประเภทของกลุ่่�มผู้้�ป่ว ่ ย
จ่่ าย งานการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น และ
ระดัั บจัั งหวััดภายใต้้ การดำำ�เนิิ น
ง า น แ ล ะ บ ริิ ห า ร จัั ด ก า ร ข อ ง
องค์์ ก ารบริิห ารส่่ ว นจัั ง หวัั ด /
กรุุ ง เทพมหานคร
2. จำำ�นวนจัังหวััดที่่อ � งค์์กรปกครอง
ส่่วนท้้องถิ่่�นขนาดใหญ่่มีีศููนย์์รับ ั
แจ้้ ง และจ่่ าย งานตามเกณฑ์์ วิิ ธีี (protocol) ที่่�แพทย์์อำำ�นวยการ กำำ�หนด
การสื่่อสา � รและเทคโนโลยีีสารสนเทศ ในด้้านการป้้องกัันภาวะฉุุกเฉิิน การแจ้้งเหตุุฉุก ุ เฉิิน
ประเภทของกลุ่่�มอาการฉุุกเฉิิ นรวมถึึงผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิ นในเขตพื้้�นที่่�หรืือภููมิิประเทศ
ที่่ไ� ม่่มีีผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการ หน่่วยปฏิิบัติ ั ิการหรืือสถานพยาบาลเพีียงพอ
2. ส่่งเสริิมสนัับสนุุนให้้องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นเป็็นผู้้ดำ � ำ�เนิินงานและบริิหารจััดการ ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในระดัับท้้องถิ่่�นและพื้้�นที่่� โดยให้้องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด/
กรุุ ง เทพมหานคร เป็็ น หน่่ ว ยงานหลัั ก ในการบริิห ารจัั ด การการแพทย์์ ฉุุก เฉิิ น
ในระดัับจัังหวััด โดยให้้มีีระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินอย่่างมีีส่่วนร่่วมของภาคีีเครืือข่่าย
เพื่่�อให้้การปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินเข้้าถึึงผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน ณ จุุดเกิิดเหตุุได้้ตามมาตรฐาน ที่่กำ � ำ�หนด
3. มีีมาตรการทางกฎหมาย มาตรการสนัับสนุุนทางการเงิิน และสนัับสนุุนระบบการสื่่อสา � ร
และเทคโนโลยีีสารสนเทศ เพื่่อ � ให้้องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นสามารถดำำ�เนิินการ
3. ระดัับความสำำ�เร็็จในการเป็็นผู้้�นำำ�
และบริิหารจัั ดการการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นได้้ อย่่างมีีประสิิทธิิภาพโดยให้้เป็็นภารกิิ จ
การแพทย์์ ฉุุก เฉิิ น กัั บ ประชาคม
4. ผลัักดัันให้้องค์์กรภาคีีเครืือข่่ายทุก ุ ภาคส่่วนมีีส่่วนร่่วมในการพััฒนาการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ความร่่วมมืือระดัับประเทศด้้าน
อาเซีียนและนานาชาติิ
บริิการสาธารณะที่่ต้ � ้องให้้บริิการแก่่ประชาชน
ทั้้�งในระดัั บจัั งหวััดและระดัั บประเทศในด้้ านการปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิิ น การศึึกษา
การฝึึกอบรม การค้้นคว้้า และการวิิจััยเกี่่�ยวกัับการประเมิินการจััดการ การบำำ�บััด
รัักษาผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินและการป้้องกัันการเจ็็บป่่วยที่่เ� กิิดขึ้้น � ฉุุกเฉิินให้้ประสบความสำำ�เร็็จ
5. ส่่งเสริิมสนัับสนุุนและพััฒนาขีีดความสามารถของสำำ�นัักงานสาธารณสุุขจัังหวััด
สถานพยาบาล หน่่วยปฏิิบัติ ั ิการ และภาคีีเครืือข่่ายที่่เ� กี่่�ยวข้้องเพื่่อ � ให้้ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน ได้้รับ ั การคุ้้�มครองสิิทธิิอย่า ่ งทั่่�วถึึงและได้้มาตรฐาน
6. ส่่งเสริิมสนัั บสนุุ นให้้มีีการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นในระดัั บอาเซีียนและ
นานาชาติิ โดยการมีีส่่วนร่่วม การแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้แ � ละการประสานความร่่วมมืือ กัับองค์์กร หน่่วยงานระหว่่างประเทศ
7. ส่่ ง เสริิม สนัั บ สนุุ น และพัั ฒ นาระบบการประสานงานเพื่่� อสนัั บ สนุุ น ปฏิิ บัั ติิ ก าร
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินระหว่่างหน่่วยงานที่่เ� กี่่ย � วข้้องทั้้�งในและต่่างประเทศ ในกรณีีภััยพิบั ิ ติ ั ิ หรืือสาธารณภััย
20
รายงานประจำ�ปี 2563
ยุุทธศาสตร์์ที่่�
5
การสื่่�อสารสาธารณะในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินสู่่�ประชาชน
วััตถุุประสงค์์ 1. เพื่่�อให้้ประชาชนกลุ่่�มเสี่่�ยงต่่ อการเจ็็ บป่่วยฉุุกเฉิิ นและครอบครััวมีีความตระหนัั กรู้้ ใ� นภาวะฉุุกเฉิิ นขอความ ช่่วยเหลืือและช่่วยเหลืือเบื้้�องต้้นเมื่่�อเกิิดการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน
2. เพื่่�อจััดระบบสนัับสนุุนและประสานงานกัับหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้อง ให้้ประชาชนกลุ่่�มเสี่่�ยงสามารถเข้้าถึึงบริิการ เหมาะสมและรวดเร็็ว
3. เพื่่อ � ให้้มีีการจััดการระดัับชุุมชนเข้้มแข็็งและปลอดภััยเกี่่�ยวกัับการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ตััวชี้้�วััด 1. ร้้อย ละความพึึ ง พอใจของผู้้� ใช้้ บริิการต่่อระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
2. ร้้อยละของประชาชนกลุ่่�มเป้้าหมาย
มีีความรู้้เ� บื้้�องต้้นและสามารถดููแล ตนเองและช่่วยเหลืือผู้้�อื่น ่� เมื่่อ � เกิิด การเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินได้้อย่า่ งถููกต้้อง รวมทั้้�งสามารถขอความช่่วยเหลืือ และอำำ�นวยความสะดวกต่่อการให้้ บริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
3. ดัั ชนีี การรัั บ รู้้ � แ ละเชื่่� อมั่่� น ของ ประชาชน /นัักท่่องเที่่ย � ว / นัักลงทุุน
ที่่มีีต่ � อ ่ ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินของ ประเทศ
4. ร้้อยละตำำ�บลทั่่�วประเทศที่่�มีีการ จััดการชุุมชนและปลอดภััยเข้้มแข็็ง
ได้้ ม าตรฐานการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น เชิิงพื้้�นที่่�
กรอบกลวิิธีี หรืือวิิธีีการ 1. มีีการจััดทำ� ำ แผนการสร้้างความรอบรู้้/� ตระหนัักรู้้ � เพื่่อสร้ � า้ งการรัับรู้้ � เกี่่�ยวกัับการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในประชาชนกลุ่่�มเป้้าหมาย
2. จััดทำ� ำ ฐานข้้อมููลประชาชนกลุ่่�มเป้้าหมายและเครืือข่่ายที่่�เกี่่�ยวข้้อง (ระบบ digital platform)
3. ผลิิตเนื้้�อหาความรู้้ �พื้้�นฐานเกี่่�ยวกัับการบริิการเพื่่�อเผยแพร่่ผ่่านสื่่�อ
สาธารณะช่่องทางต่่าง ๆ และพััฒนาหลัักสููตรความรู้้ �พื้้น � ฐานการบริิการ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสำำ�หรัับประชาชนกลุ่่�มเป้้าหมายต่่าง ๆ
4. ให้้มีีศููนย์์หรืือหน่่วยที่่รั� บ ั ผิิดชอบอย่่างเป็็นทางการ (official) เพื่่อจั � ัด
ทำำ�และเผยแพร่่ความรู้้ใ� นแต่่ละประเด็็นที่่�ประชาชนกลุ่่�มเป้้าหมาย
เข้้าใจง่่ายในลัักษณะ one page /week และมีีการกำำ�กัับและติิดตาม อย่่างต่่อเนื่่�อง
5. ส่่งเสริิมและสนัับสนุุนด้้วยการประชาสััมพัันธ์์ หรืือ วิิธีีการใดวิิธีีการ
หนึ่่� งให้้ ประชาชนกลุ่่�มเป้้าหมายและครััวเรืือนเข้้าถึึงองค์์ ความรู้้ � สาธารณะในการป้้องกััน ตระหนัักรู้้ � เตรีียมพร้้อม สามารถให้้การ
ปฐมพยาบาลช่่วยฟื้้� นคืืนชีีพ CPR) เบื้้�องต้้นและแจ้้งเหตุุฉุก ุ เฉิินได้้ เหมาะสม
6. สื่่�อสารทำำ�ความเข้้าใจเพื่่�อให้้หน่่วยบริิการกัับประชาชนเข้้าใจและ
ไว้้วางใจต่่อกััน สร้้างความมั่่�นใจ จะลดการร้้องทุุกข์์ร้อ ้ งเรีียน สาระ สำำ�คััญที่่ค � วรสื่่อสา � ร
7. จััดการสื่่อสา � รความรู้้ �ด้า้ นการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในหมู่่�บ้้าน/ตำำ�บลทั่่�วประเทศ ให้้มีีการจััดการชุุมชนและปลอดภััยเข้้มแข็็ง ได้้มาตรฐานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
เชิิงพื้้�นที่่�
8. มีีระบบการจััดการศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการที่่ไ� ด้้มาตรฐาน โดยใช้้ ระบบการจััดการความรู้้ � (knowledge management)
9. กำำ�กัับติิดตามและประเมิินผลการดำำ�เนิินกิิจกรรม
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
21
22
รายงานประจำ�ปี 2563
ส่่วนที่่�
2
ผลการดำำ�เนิินงาน ปีีงบประมาณ 2563 สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
23
ผลการดำำ�เนิินงานของคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
ตามมาตรา 5 แห่่งพระราชบััญญััติิการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น พ.ศ. 2551 กำำ�หนดให้้มีีคณะกรรมการคณะหนึ่่�งเรีียกว่่า “คณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน” ซึ่ง่� เรีียกโดยย่่อว่า ่ “กพฉ.” มีีรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุขเป็็นประธาน กรรมการ และมีีเลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ เป็็นกรรมการ และเลขานุุการ ปฏิิบัติ ั ิหน้้าที่่ต � ามมาตรา 11 (1) - (13) และมาตรา 12
อำำ�นาจหน้้าที่่� ของคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
(1) กำำ�หนดมาตรฐานและหลัักเกณฑ์์เกี่่�ยวกัับระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
(2) เสนอแนะหรืือให้้คำำ�ปรึึกษาต่่อคณะรััฐมนตรีีเกี่่�ยวกัับนโยบายด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
(3) เสนอแนะแนวทางการแก้้ไขปััญหาหรืืออุุปสรรคอัันเกิิดจากการดำำ�เนิินงานเกี่่�ยวกัับการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินต่่อ
(4) กำำ�หนดนโยบายการบริิหารงาน ให้้ความเห็็นชอบแผนการดำำ�เนิินงานและอนุุมัติ ั แ ิ ผนการเงิินของสถาบััน
(5) ควบคุุมดููแลการดำำ�เนิินงานและการบริิหารงานทั่่�วไป การจััดตั้้ง� และยกเลิิกสำำ�นัักงานสาขา ตลอดจนออก ข้้อบัังคัับ ระเบีียบ หรืือประกาศเกี่่�ยวกัับการบริิหารงานทั่่�วไป การบริิหารงานบุุคคล การงบประมาณ
การเงิินและทรััพย์์สิน ิ การติิดตามประเมิินผลและการดำำ�เนิินการอื่่�นของสถาบััน
(6) ออกข้้อบัังคัับเกี่่�ยวกัับการรัับรององค์์กรและหลัักสููตรการศึึกษาหรืือฝึึกอบรมผู้้�ปฏิิบััติิการ และการให้้
ประกาศนีียบัั ต รหรืือเครื่่อ � งหมายวิิ ทย ฐานะแก่่ ผู้้�ผ่่ า นการศึึ ก ษาหรืือฝึึ ก อบรม เว้้ น แต่่ ก ารดัั งกล่่ า ว
คณะรััฐมนตรีีเพื่่อพิ � จ ิ ารณา
จะมีีกฎหมายเกี่่�ยวกัับการประกอบวิิชาชีีพด้้านการแพทย์์และการสาธารณสุุขเป็็นการเฉพาะก็็ให้้เป็็นไป
ตามกฎหมายนั้้�น
(7) ออกข้้อบังั คัับเกี่่ย � วกัับการให้้เข็็มเชิิดชููเกีียรติิเพื่่อ � มอบให้้แก่่บุค ุ คลผู้้�สนับ ั สนุุนกิิจการด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน (8) ดำำ�เนิินการให้้มีีระบบสื่่อสา � รและเทคโนโลยีีสารสนเทศเพื่่อป � ระโยชน์์ในการประสานงานและการปฏิิบัติ ั งิ าน
ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
(9) ดำำ�เนิินการให้้มีีการประสานความร่่วมมืือระหว่่างหน่่วยงานที่่เ� กี่่�ยวข้้องในการเข้้าถึึงข้้อมููลข่่าวสารเพื่่อ �
ประโยชน์์ในการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน
(10) ออกระเบีียบเกี่่�ยวกัับการรัับเงิิน การจ่่ายเงิิน และการรัักษาเงิินกองทุุน รวมทั้้�งการจััดหาผลประโยชน์์
(11) ให้้ความเห็็นชอบการกำำ�หนดค่่าบริิการทางการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและการดำำ�เนิินกิิจการของสถาบััน
ตามมาตรา 36
(12) สรรหา แต่่งตั้้�ง ประเมิินผลการปฏิิบัติ ั ิงานและถอดถอนเลขาธิิการ
(13) ปฏิิบัติ ั ห ิ น้้าที่่อื่ � น ่� ตามที่่กำ � ำ�หนดไว้้ในพระราชบััญญััตินี้้ ิ ห � รืือกฎหมายอื่่น � หรืือตามที่่ค � ณะรััฐมนตรีีหรืือนายก
รััฐมนตรีีมอบหมาย
มาตรา 12 กพฉ. มีีอำำ�นาจแต่่งตั้้�งคณะอนุุกรรมการ หรืือที่่ปรึ � ก ึ ษาเพื่่อ � ให้้ปฏิิบัติ ั ห ิ น้้าที่่ต � ามพระราชบััญญััตินี้้ ิ �
คณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ได้้ดำ� ำ เนิินภารกิิจต่่างๆ ตามเจตนารมณ์์ของพระราชบััญญััติก ิ ารแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
หรืือตามที่่� กพฉ. มอบหมาย
พ.ศ. 2551 เพื่่อกำ � ำ�หนดมาตรฐาน หลัักเกณฑ์์ และวิิธีีปฏิิบัติ ั เิ กี่่ย � วกัับการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน อัันจะทำำ�ให้้ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน
ได้้รับ ั การคุ้้�มครองสิิทธิิในการเข้้าถึึงระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินอย่่างทั่่�วถึึง เท่่าเทีียม มีีคุุณภาพมาตรฐาน
24
รายงานประจำ�ปี 2563
ผลการดำำ�เนิินงานของคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่�สำำ�คััญ ในปีีงบประมาณ 2563 การเข้้าร่่วมประชุุมของคณะกรรมการ
คณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินมีีการประชุุมเป็็นประจำำ�อย่่างสม่ำำ�เสมอ เดืือนละ 1 ครั้้�ง ในปีีงบประมาณ 2563
มีีการประชุุมทั้้�งสิ้้�น 12 ครั้้�ง (ตุุลาคม 2562 - กัันยายน 2563) เป็็นการประชุุมเพื่่อพิ � จ ิ ารณาและตััดสิน ิ ใจประเด็็นสำำ�คััญ ต่่างๆ อีีกทั้้�งได้้มีีการประชุุมทบทวนนโยบายและยุุทธศาสตร์์ สู่่�การปฏิิรููประบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เมื่่�อวัันที่่� 17 – 18
สิิงหาคม 2563 ณ โรงแรมรามาดา พลาซ่่า แม่่น้ำำ� ริิเวอร์์ไซด์์ กรุุงเทพมหานคร เพื่่อปรั � บ ั ทิิศทางกระบวนการทำำ�งานใน การขัับเคลื่่�อนระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน และแลกเปลี่่�ยนความคิิดเห็็นในการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ตลอดจนรัับฟััง
ความเห็็นจากหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการและผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
฿
ด้้านการบริิหารงบประมาณ
กพฉ. มีีมติิ ดัังนี้้�
1. เห็็นชอบแผนการดำำ�เนิินงานและแผนการเงิินของ สพฉ. ประจำำ�ปีี 2563 วงเงิินทั้้�งสิ้้�น 947.054 ล้้านบาท เพื่่อ � ให้้ สพฉ. สามารถดำำ�เนิินงานไปก่่อน ประกอบด้้วย
1.1) งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ และเงิินสะสม ของสถาบัันจำำ�นวน
136.56 ล้้านบาท
(1) รายจ่่ายบุุคลากร
61.89 ล้้านบาท
และก่่อสร้า้ งอาคาร
10.11 ล้้านบาท
จำำ�แนกเป็็น
(2) รายจ่่ายประจำำ�พื้้�นฐาน 48.16 ล้้านบาท (3) รายจ่่ายยุุทธศาสตร์์
16.40 ล้้านบาท
1.2) งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 810.49 ล้้านบาท จำำ�แนกเป็็น
แผนการเงิิน
947.054 ล้้านบาท
งบสถาบัันฯ 136.56 ล้้านบาท บุุคลากร 61.89 ล้้านบาท ประจำำ�พื้้� นฐาน 48.16 ล้้านบาท ก่่อสร้้าง 10.11 ล้้านบาท ยุุทธศาสตร์์ 16.40 ล้้านบาท งบกองทุุนฯ 810.49 ล้้านบาท สนัับสนุุนชดเชย 728.99 ล้้านบาท พัั ฒนาระบบ 81.50 ล้้านบาท
(1) สนัับสนุุนและชดเชยการจััดบริิการ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
728.99 ล้้านบาท
เพื่่อสนั � ับสนุุนพื้้�นที่่�
81.50 ล้้านบาท
(2) พััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
25
2. เห็็นชอบดำำ�เนิินการปรัับเกลี่่�ยงบประมาณได้้ตามความเหมาะสม และรายงาน กพฉ. เพื่่อท � ราบ โดยงบกองทุุน
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ให้้ปรับ ั เกลี่่�ยเฉพาะภายในงบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน และงบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ให้้ปรับ ั เกลี่่�ยเฉพาะภายในงบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยไม่่ข้า ้ มแผนงาน และปรัับเกลี่่�ยงบประมาณภายในแผนงาน
ได้้ไม่่เกิินร้้อยละ 10 ของงบแผนงาน
3. เห็็นชอบให้้ดำำ�เนิินการขอแปรญััตติิงบประมาณรายจ่่ายประจำำ�ปีีงบประมาณ 2563 เพิ่่�มเติิม วงเงิินทั้้�งสิ้้�น 856.64
ล้้านบาท ประกอบด้้วย งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ จำำ�นวน 64.70 ล้้านบาท และ งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
จำำ�นวน 791.94 ล้้านบาท
4. เห็็นชอบให้้เบิิกจ่่ายสนัับสนุุนและชดเชยการจััดบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2562 ที่่สูู � งกว่่าเป้้าหมาย จำำ�นวน
5. เห็็นชอบอัั ตราจ่่ ายชดเชยการปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิิ นสำำ�หรัับผู้้�ปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิิ น โดยอิิ งตามอัั ตราที่่�กระทรวง
94,371,912.96 บาท จากงบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีีงบประมาณ 2563
สาธารณสุุขกำำ�หนด หากกระทรวงสาธารณสุุขไม่่ได้้กำำ�หนดอััตราไว้้ ให้้ใช้้อััตราจ่่ายดัังนี้้�
5.1 จ่่ายค่าชด ่ เชยการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินสำำ�หรัับชุุดปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินพิิเศษ กรณีี COVID-19 (SCOT) ในอััตรา 2 เท่่า ของค่่าชดเชยการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินปกติิ คืือ ALS ในอััตรา 2,000 บาท BLS ในอััตรา 1,000 บาท และ FR
ในอััตรา 700 บาท
5.2 จ่่ายค่าชด ่ เชยการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินสำำ�หรัับผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ าร กรณีีอยู่่�เวร COVID-19 ในอััตรา 600 บาท/คน/เวร สำำ�หรัับผู้้�ช่ว ่ ยเวชกรรมที่่ป � ฏิิบัติ ั ิหน้้าที่่ใ� นชุุด SCOT
5.3 จ่่ายค่่าชดเชยความเสีียหายให้้แก่่ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการเมื่่�อถููกกัักกัันโรคและรัักษาโรค กรณีี COVID-19 ในอััตรา 325 บาท/คน/วััน สำำ�หรัับผู้้�ช่ว ่ ยเวชกรรมปฏิิบัติ ั ิหน้้าที่่ใ� นชุุด SCOT
5.4 เห็็นชอบจ่่ายค่่าชดเชยการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินของหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์เฉพาะทางและหน่่วย ปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินอำำ�นวยการระดัับที่่ปรึ � ก ึ ษา ตามอััตราที่่� สพฉ. เคยเสนองบกลางปีี 2563
6. เห็็นชอบการปรัับแผนการดำำ�เนิิ นงานและแผนการเงิินกลางปีี 2563 เป็็นจำำ�นวนเงิิน 26,721,590 บาท
ประกอบด้้วย (1) งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ จำำ�นวนเงิิน 3,894,574 บาท (2) เงิินสะสม จำำ�นวนเงิิน 2,827,680 บาท (3) งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จำำ�นวนเงิิน 20,000,000 บาท
7. เห็็นชอบในหลัักการแผนการของบกลางรายการเงิินสำำ�รองจ่่ายปีี 2563 กรณีีฉุุกเฉิินหรืือจำำ�เป็็น จำำ�นวนเงิินทั้้�งสิ้้�น
326,876,848 บาท ประกอบด้้วย (1) งบบุุคลากร จำำ�นวนเงิิน 37,936,185 บาท (2) งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จำำ�นวนเงิิน 288,940,663 บาท
8. เห็็นชอบการขอรัับการจััดสรรงบกลางรายการเงิินสำำ�รองจ่่ายฯ ปีีงบประมาณ 2563 กรณีีโรคติิดเชื้้�อไวรััส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ระยะที่่� 2 และเตรีียมการรองรัับระยะที่่� 3 จำำ�นวนทั้้�งสิ้้�น 403,388,400 บาท สำำ�หรัับงบกองทุุน การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน โดยวงเงิินสอดคล้้องกัับอััตราสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ง ิ านด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน รวมทั้้�งอุุดหนุุน หรืือชดเชย
กรณีี COVID-19 ให้้แก่่ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการ หน่่วยปฏิิบัติ ั ิการ และสถานพยาบาล และค่่าชดเชยความเสีียหายให้้แก่่ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการ
เมื่่�อถููกกัักกัันโรคและ/หรืือรัักษาโรค กรณีี COVID-19 ตามที่่� กพฉ. เห็็นชอบ
9. เห็็นชอบในหลัักการในการสนัับสนุุนงบประมาณเพิ่่�มเติิม จำำ�นวน 10 ล้้านบาท เพื่่อ � ดำำ�เนิินงานในการพััฒนา
ศัักยภาพผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน โดยให้้ สพฉ. ใช้้งบกลางในการดำำ�เนิินการ ทั้้�งนี้้� หากยัังไม่่ได้้รับ ั การจััดสรร
งบกลาง ให้้ใช้้งบประมาณโครงการสนัับสนุุนการดำำ�เนิินงานในภาวะฉุุกเฉิิน เพื่่อธำ � � ำ รงรัักษาความมั่่�นคงระบบการแพทย์์
ฉุุกเฉิิน ในการรองรัับการระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไปพลางก่่อน และมอบ สพฉ. ดำำ�เนิินการ
จัั ดทำ� ำ แนวทางการคุ้้�มครองผู้้�ปฏิิ บััติิการเพื่่�อเสนอรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุขปรัับปรุุ งระเบีียบที่่�เกี่่� ยวข้้อง
ในการคุ้้�มครอง/เยีียวยาผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการต่่อไป
26
รายงานประจำ�ปี 2563
10. เห็็นชอบแผนการดำำ�เนิินงานและแผนการเงิินของ สพฉ. ปีี 2564 วงเงิินทั้้�งสิ้้�น 1,098,451,900 บาท ดัังนี้้�
10.1 งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ จำำ�นวน 159,301,900 บาท จำำ�แนกเป็็น (1) รายจ่่ายบุุคลากร
และประจำำ�พื้้�นฐาน 90,960,900 บาท (2) ก่่อสร้า้ งอาคาร 57,250,220 บาท (3) รายจ่่ายยุุทธศาสตร์์
11,090,800 บาท
10.2 งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 939,150,000 บาท จำำ�แนกเป็็น (1) สนัับสนุุนและชดเชยการจััดบริิการ
การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น 857,650,000 บาท (2) พัั ฒ นาระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น เพื่่� อสนัั บ สนุุ น พื้้� น ที่่� 81,500,000 บาท
11. เห็็นชอบให้้ดำำ�เนิินการปรัับเกลี่่�ยงบประมาณระหว่่างประเภทได้้ ตามความเหมาะสมและรายงาน กพฉ.
เพื่่อท � ราบ ดัังนี้้�
11.1 งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินให้้ปรับ ั เกลี่่�ยเฉพาะภายในงบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
11.2 งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิให้้ปรับ ั เกลี่่�ยเฉพาะภายในงบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
12. มอบ สพฉ. จััดทำ� ำ รายละเอีียดแผนการดำำ�เนิินงานและแผนการเงิินเสนอ กพฉ. หลัังจากพระราชบััญญััติิ
13. เห็็ นชอบกรอบวงเงิินและคำำ�ขอเพิ่่�มงบประมาณรายจ่่ ายประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ สพฉ.
งบประมาณรายจ่่ายประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประกาศใช้้ในกรณีีมีีการปรัับเพิ่่�ม/ลด งบประมาณ
เพื่่�อ สพฉ. จะได้้จััดทำ� ำ แผนการดำำ�เนิินงานและแผนการเงิิน ประจำำ�ปีี 2564 และจััดทำ� ำ คำำ�ขอเพิ่่�มงบประมาณรายจ่่าย ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (แปรญััตติิ) ต่่อไป
14. รัับทราบความก้้าวหน้้าในการของบกลางสำำ�รองจ่่าย วงเงิินทั้้�งสิ้้�น 326.88 ล้้านบาท ประกอบด้้วย งบสถาบััน
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ จำำ�นวน 37 ล้้านบาท และงบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จำำ�นวน 288 ล้้านบาท ขณะนี้้�อยู่่�ระหว่่าง การพิิจารณาของสำำ�นัักงบประมาณ
15. รัับ ทราบผลการพิิ จ ารณาการสนัั บ สนุุ น งบกลางรายการเงิิ น สำำ� รองจ่่ าย เพื่่� อ กรณีีฉุุ ก เฉิิ น หรืือจำำ� เป็็ น
16. เห็็นชอบให้้ สพฉ. ดำำ�เนิินการ ดัังนี้้�
เพื่่อสนั � ับสนุุนการปฏิิบัติ ั ิงานด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน สำำ�หรัับงบประมาณปีี 2563 ที่่ไ� ม่่เพีียงพอ
16.1 งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ เห็็นชอบให้้ปรับ ั เกลี่่� ยเงิินเหลืือจ่่ ายจากแผนงานยุุ ทธศาสตร์์ จำำ�นวน 3,574,261 บาท เป็็นค่่ าใช้้จ่่ายสำำ�หรัับแผนงานพื้้�นฐาน (ค่่ าใช้้จ่่ายประจำำ�) ที่่�ไม่่เพีียงพอ
ส่่วนเงิินเหลืือจ่่าย ในแผนงานยุุ ทธศาสตร์์อีี ก จำำ�นวน 117,160 บาท รวมกัั บแผนงานวิิจััย จำำ�นวน
458,646 บาท และเงิินสะสมสถาบัันที่่อยู่่� � ในแผน จำำ�นวน 919,567 บาท รวมเป็็นเงิิน 1,495,373 บาท
3,937,101 บาท ให้้ นำำ� ไปพิิ จ ารณาในระเบีียบวาระที่่� 4.1.1.1 เรื่่�อ ง ขอปรัับ ปรุุ ง วงเงิิ น โครงการ
นำำ�ไปรวมกัับเงิินสะสมคงเหลืือในบััญชีีของ สพฉ. ปีี 2563 จำำ�นวน 2,441,727 บาท รวมเป็็นเงิินทั้้�งสิ้้�น
ภายใต้้แผนการดำำ�เนิินงานและแผนการเงิิน ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2564
ปีี 2563 จำำ�นวน 18,813,099 บาท
16.2 งบกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น ให้้ปรับ ั เกลี่่� ยเงิินเหลืือจ่่ ายและเงิินสะสมคงเหลืือในบััญชีีของกองทุุน
17. เห็็นชอบให้้ สพฉ. ใช้้งบประมาณปีี 2564 ทั้้�งในส่่วนของงบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและงบสถาบัันการแพทย์์
ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ไปดำำ�เนิินการชำำ�ระหนี้้�คงค้้างของปีีงบประมาณ 2563 ทั้้�งนี้้�โดยไม่่ขัดต่ ั ่อพระราชบััญญััติิวินั ิ ัยการเงิินการ
คลัังของรััฐ พ.ศ. 2561 และกฎหมายอื่่�นที่่เ� กี่่�ยวข้้อง
18. เห็็นชอบให้้ สพฉ. ปรัับปรุุงวงเงิินแผนการดำำ�เนิินงานและแผนการเงิินตามพระราชบััญญััติงิ บประมาณรายจ่่าย
ประจำำ�ปีี 2564 วงเงิิน 1,141,201,900 บาท จำำ�แนกเป็็น (1) งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ จำำ�นวน 159,301,900 บาท
(2) งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จำำ�นวน 959,150,000 บาท (3) เงิินสะสม จำำ�นวน 22,750,199 บาท
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
27
19. เห็็นชอบให้้ สพฉ. ปรัับปรุุงวงเงิินระดัับโครงการงบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ตามแผนการดำำ�เนิินงาน
20. รัับทราบมาตรการเพิ่่�มประสิิทธิิภาพการบริิหารงบประมาณ ปีี 2564
21. เห็็นชอบให้้ สพฉ. ใช้้งบประมาณปีี 2564 ทั้้�งในส่่วนของงบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิและงบกองทุุน
และแผนการเงิิน ปีีงบประมาณ 2564 วงเงิิน 15,059,800 บาท โดยไม่่รวมเงิินสะสม 1,533,200 บาท
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินไปดำำ�เนิินการชำำ�ระหนี้้�คงค้้างของปีีงบประมาณ 2563 ทั้้�งนี้้� ให้้ศึก ึ ษาพระราชบััญญััติิวินั ิ ัยการเงิินการ คลัังของรััฐ พ.ศ. 2561 และกฎหมายอื่่�นที่่เ� กี่่�ยวข้้อง
22. เห็็นชอบกรอบวงเงิินคำำ�ของบประมาณรายจ่่ายปีีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ สพฉ. วงเงิินรวมทั้้�งสิ้้�น
2,699,725,319 บาท แบ่่งเป็็น งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ จำำ�นวน 443,224,859 บาท งบกองทุุนการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน จำำ�นวน 2,256,500,460 บาท
23. เห็็นชอบและอนุุ มััติิเงิินสะสมสำำ�หรัับรายจ่่ ายจำำ�เป็็นพื้้�นฐานประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพิ่่�มเติิ ม
24. รัับทราบความคืืบหน้้าการของบประมาณรายจ่่ายประจำำ�ปีีงบประมาณ 2563 เพิ่่�มเติิม ของ สพฉ. โดยมอบ
จำำ�นวน 7,450,000 บาท และมอบ สพฉ. ดำำ�เนิินการใช้้จ่่ายงบประมาณตามความจำำ�เป็็นต่่อไป
สพฉ. จััดทำ� ำ รายละเอีียดและข้้อมููลให้้ครบถ้้วนในส่่วนของการของบกลางรายการเงิินสำำ�รองจ่่ายฯ กรณีีงบไม่่เพีียงพอ
วงเงิิน 326.88 ล้้านบาท งบกลางรายการเงิินสำำ�รองจ่่ายฯ กรณีี COVID 19 ครั้้�งที่่� 2 วงเงิิน 177.86 ล้้านบาท และงบเงิินกู้้�
วงเงิิน 499.987 ล้้านบาท
28
รายงานประจำ�ปี 2563
ด้้านการบริิหารจััดการ กพฉ. มีีมติิ ดัังนี้้�
1. เห็็นชอบการเสนอปรัับค่่าน้ำำ�หนัักคะแนนการประเมิินผล การดำำ�เนิินงานตามตััวชี้วั ้� ด ั ของ สพฉ. และเลขาธิิการ สพฉ.
ประจำำ�ปีี 2563 (1 ตุุลาคม 2562 - 30 กัันยายน 2563)
ดัังนี้้�
1.1 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
กลุ่่�ม A : ภาคบัังคัับจากหน่่วยงานประเมิินภายนอก
ปรัับจาก ร้้อยละ 50 เป็็น ร้้อยละ 30
กลุ่่�ม B : ภารกิิจหลัักด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปรัับจาก ร้้อยละ 50 เป็็น ร้้อยละ 70
1.2 เลขาธิิการ สพฉ.
กลุ่่�ม A : ภาคบัังคัับจากหน่่วยงานประเมิินภายนอก
ปรัับจาก ร้้อยละ 48 เป็็น ร้้อยละ 30
กลุ่่�ม B : ภารกิิจหลัักด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปรัับจาก ร้้อยละ 32 เป็็น ร้้อยละ 50
และการประเมิินสมรรถนะการบริิหาร 360 องศา
ร้้อยละ 20 คงเดิิม
2. เห็็นชอบตััวชี้้วั � ด ั การประเมิินผลการดำำ�เนิินงานของ สพฉ. และเลขาธิิการ สพฉ. ประจำำ�ปีี 2564 เพื่่อ � ใช้้ในการกำำ�กัับ ติิดตามประเมิินผลการดำำ�เนิินงาน และใช้้ประกอบการ
พิิจารณากำำ�หนดค่่าตอบแทนพิิเศษของเลขาธิิการ สพฉ. โดยตัั วชี้้�วััดตามมาตรา 15 (9) เลืือกจุุดเน้้ นนโยบาย การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินฯ ข้้อ 5 “บููรณาการการมีีส่่วนร่่วมของภาคีี
เครืือข่่าย ภาครััฐ ภาคเอกชน และประชาชนให้้ผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิิน
เข้้าถึึงปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินขั้้�นสููงได้้ครอบคลุุม โดยเฉพาะ
พื้้�นที่่�ห่่างไกล ทุุรกัันดารและพื้้�นที่่�เฉพาะ และประสาน
5. รัับทราบผลการปฏิิบัติ ั งิ านตามภารกิิจของทุุนหนุุนเวีียน 5 ด้้าน ไตรมาส 1 - 4 ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2563
6. เห็็นชอบตััวชี้้�วััดการประเมิินผลการดำำ�เนิินงานกองทุุน
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ประจำำ�ปีีบัญ ั ชีี 2564 เพื่่อ � ให้้ สพฉ.
ดำำ�เนิินการจััดทำ�ำ บัันทึึกข้้อตกลงการประเมิินผลการดำำ�เนิินงาน ร่่วมกัับกรมบััญชีีกลางต่่อไป
7. รัับ ทราบรายงานผลการประเมิิ น การใช้้ จ่่ าย เงิิ น และ
ทรััพย์์สิน ิ – กองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2560 - 2561 โดยสำำ�นัั กงานการตรวจเงิินแผ่่นดิิ น และมอบ สพฉ.
ดำำ�เนิินการตามข้้อสังั เกตของสำำ�นัักงานตรวจเงิินแผ่่นดิิน รวมถึึงข้้อคิิดเห็็นของคณะอนุุกรรมการตรวจสอบและ
ประเมิินผล
8. รัับทราบผลการประเมิินการใช้้จ่่ายเงิินและทรััพย์์สิิน
ของ สพฉ. สำำ�หรัับปีีสิ้้�นสุุดวัันที่่� 30 กัั นยายน 2561 โดยสำำ�นัักงานการตรวจเงิินแผ่่นดิิน
9. รัับทราบผลการตรวจสอบภายใน ไตรมาส 1 - 4 ประจำำ� ปีีงบประมาณ 2563
10. รัั บ ทราบแผนการตรวจสอบ ประจำำ � ปีี 2564 และ
แผนการตรวจสอบระยะยาว 3 ปีี (พ.ศ.2564 - 2566) ของ สพฉ.
การปฏิิบััติิการในพื้้�นที่่�ที่่�มีีหน่่วยปฏิิบััติิการจำำ�นวนมาก
และหลากหลายสัังกััด” มากำำ�หนดเป็็นตััวชี้้วั � ด ั และมอบ คณะอนุุกรรมการยุุทธศาสตร์์การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินพิิจารณา
จััดทำ� ำ รายละเอีียดเกณฑ์์การวััดความสำำ�เร็็จของตััวชี้วั ้� ด ั
ข้้อ 5
3. เห็็นชอบหลัั กการในการนำำ� OKRs (Objective and
Key Results) มาเป็็นเครื่่อ � งมืือในการตั้้�งเป้้าหมาย และ
กำำ�หนดตััววััดผลการดำำ�เนิินงานของ สพฉ. และเลขาธิิการ
สพฉ. ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2564 โดยพิิจารณาร่่วมกัับ การประเมิินผลการดำำ�เนิินงานตามตััวชี้วั้� ด ั ของกรมบััญชีีกลาง
4. รัับทราบผลการดำำ�เนิินงานตามแผนการดำำ�เนิินงานและ
แผนการเงิิน และตััวชี้้วั � ด ั ของ สพฉ. และเลขาธิิการ สพฉ. ไตรมาส 1 - 4 ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2563
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
29
การแต่่งตั้้�งคณะอนุุกรรมการภายใต้้ กพฉ. กพฉ. มีีมติิ ดัังนี้้�
1. รัับรองนายทรงยศ เทีียนทอง เป็็นประธานคณะอนุุกรรมการพััฒนาศัักยภาพและการมีีส่่วนร่่วมของภาคีีเครืือข่่าย และการสื่่อสา � รสาธารณะ
2. เห็็นชอบแต่่งตั้้�งคณะอนุุกรรมการพิิจารณาเรื่่องร้้องทุุ � กข์์หรืืออุุทธรณ์์ (ตั้้�งแต่่วัน ั ที่่� 20 มีีนาคม 2563 – วัันที่่� 31 กรกฎาคม 2563) ดัังนี้้�
(1) นายพงษ์์ ภััฏ เรีียงเครืือ ประธานอนุุกรรมการ
(2) นายสุุเทพ ณััฐกานต์์กนก อนุุกรรมการ
(3) นายสาลี่่� สุุขเกิิด อนุุกรรมการ (4) รศ.ศิิริอ ิ ร สิินธุุ อนุุกรรมการ
(5) นางจริิยา ปััญญา อนุุกรรมการ
โดยมีีผู้้อำ � ำ�นวยการกลุ่่�มกฎหมายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เป็็นผู้้�ช่ว ่ ยเลขานุุการ
3. เห็็นชอบแต่่งตั้้�ง พ.อ.สุุรจิิต สุุนทรธรรม เป็็นประธานคณะอนุุกรรมการฉุุกเฉิินการแพทย์์ในวาระเริ่่�มแรก 4. รัับทราบรายชื่่อ � กรรมการที่่ไ� ด้้รับ ั การเลืือกและแต่่งตั้้�งตามพระราชบััญญััติิการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน พ.ศ. 2551 มาตรา 5 (5) (6) (7) และ (8) ตามประกาศคณะกรรมการอำำ�นวยการกลาง เรื่่อ � ง รายชื่่�อกรรมการผู้้�แทนสถานพยาบาล องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น และองค์์กรเอกชน ในคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน สมััยวาระ 2563 – 2566 ดัังนี้้�
(1) นายชาติิชาย คล้้ายสุบ ุ รรณ
กรรมการผู้้แ � ทนสถานพยาบาลของรััฐ
(3) นายทรงยศ เทีียนทอง
กรรมการผู้้แ � ทนองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น
(2) นายกำำ�พล พลััสสิน ิ ทร์์
(4) ผศ.(พิิเศษ) วิิระศัักดิ์์� ฮาดดา
(5) นายไพรทููรย์์ รััตนพรวารีีสกุุล
(6) นายสุุเทพ ณััฐกานต์์กนก
กรรมการผู้้แ � ทนสถานพยาบาลของเอกชน
กรรมการผู้้แ � ทนองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น
กรรมการผู้้แ � ทนองค์์กรภาคเอกชนที่่ไ� ม่่แสวงหากำำ�ไรและมีีบทบาทด้้าน บริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินก่่อนถึึงสถานพยาบาลที่่เ� ป็็นนิิติิบุุคคล
กรรมการผู้้แ � ทนองค์์กรภาคเอกชนที่่ไ� ม่่แสวงหากำำ�ไรและมีีบทบาทด้้าน บริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินก่่อนถึึงสถานพยาบาลที่่เ� ป็็นนิิติิบุุคคล
5. รัับทราบคำำ�สั่่�งกระทรวงสาธารณสุุข ที่่� 777/2563 เรื่่อ � ง แต่่งตั้้�งคณะกรรมการผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ ในคณะกรรมการ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ดัังนี้้�
(1) นายสาลี่่� สุุขเกิิด ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิด้ ิ ้านการเงิินและบััญชีี
(2) ศ.บรรเจิิด สิิงคะเนติิ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิด้ ิ ้านกฎหมาย
(3) พล.อ.ต. เฉลิิมพร บุุญสิิริ ิ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิด้ ิ ้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
(4) นายธีีรพล โตพัันธานนท์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิด้ ิ ้านคุุณภาพ
6. เห็็นชอบแต่่งตั้้�งคณะอนุุกรรมการพิิจารณาเรื่่อ � งร้้องทุุกข์์หรืืออุุทธรณ์์ ตั้้�งแต่่วัน ั ที่่� 1 สิิงหาคม 2563 เป็็นต้้นไป ดัังนี้้� (1) ศ.บรรเจิิด สิิงคะเนติิ ประธานอนุุกรรมการ
(2) นายสุุเทพ ณััฐกานต์์กนก อนุุกรรมการ
(3) นายสาลี่่� สุุขเกิิด อนุุกรรมการ (4) รศ.ศิิริอ ิ ร สิินธุุ อนุุกรรมการ
(5) นางจริิยา ปััญญา อนุุกรรมการ
โดยมีีผู้้อำ � ำ�นวยการกลุ่่�มกฎหมายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เป็็นผู้้�ช่ว ่ ยเลขานุุการ
30
รายงานประจำ�ปี 2563
7. เห็็นชอบองค์์ประกอบคณะอนุุกรรมการตามพระราชบััญญััติิการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 2551 จำำ�นวน 6 คณะ ดัังนี้้� 7.1 คณะอนุุกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้้วย
(1) นายธีีรพล โตพัันธานนท์์ ประธานอนุุกรรมการ (2) นายกำำ�พล พลััสสิน ิ ทร์์ อนุุกรรมการ (3) ผู้้แ � ทนกรมบััญชีีกลาง อนุุกรรมการ (4) นางสาวอมรจิิตต์์ เอี่่�ยววิิบููลย์์วิท ิ ย์์ อนุุกรรมการ
(5) นางสาวบุุญมีี เลิิศพิิเชฐ อนุุกรรมการ
(6) ผู้้อำ � ำ�นวยการกลุ่่�มตรวจสอบภายใน
เลขานุุการ
7.2 คณะอนุุกรรมการบริิหารงานบุุคคลสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ประกอบด้้วย (1) รศ.ศิิริอ ิ ร สิินธุุ
ประธานอนุุกรรมการ
(2) นายบุุญปลููก ขายเกตุุ อนุุกรรมการ (3) นายสุุเทพ ณััฐกานต์์กนก อนุุกรรมการ
(4) นายสุุรพงษ์์ มาลีี อนุุกรรมการ
(5) นายเรืืองรััตน์์ บััวสััมฤทธิ์์� อนุุกรรมการ
(6) นางจริิยา ปััญญา อนุุกรรมการ
(7) เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งขาติิ อนุุกรรมการและเลขานุุการ
7.3 คณะอนุุกรรมการบริิหารกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ประกอบด้้วย
(1) นายสาลี่่� สุุขเกิิด ประธานอนุุกรรมการ (2) เลขาธิิการสำำ�นัักงานหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งขาติิ อนุุกรรมการ
(3) เลขาธิิการสำำ�นัักงานประกัันสัังคม อนุุกรรมการ
(4) หััวหน้้าผู้ต ้� รวจราชการกระทรวงสาธารณสุุข อนุุกรรมการ
(5) ผู้้แ � ทนกรมบััญชีีกลาง อนุุกรรมการ
(6) ผู้้อำ � ำ�นวยการสำำ�นัักบริิหารการคลัังท้้องถิ่่�น
/กรมส่่งเสริิมการปกครองท้้องถิ่่�น อนุุกรรมการ
(7) นายสุุรศัักดิ์์� ฐานีีพานิิชสกุล ุ อนุุกรรมการ
(8) นายพรชััย หาญยืืนยงสกุุล อนุุกรรมการ
(9) เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งขาติิ อนุุกรรมการและเลขานุุการ
7.4 คณะอนุุกรรมการคุ้้�มครองสิิทธิิและความปลอดภััยผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน ประกอบด้้วย (1) ผู้้แ � ทนสำำ�นัักงานคณะกรรมการคุ้้�มครองผู้้บ � ริิโภค
ที่่ปรึ � ก ึ ษาคณะอนุุกรรมการ
(2) พล.อ.ต.เฉลิิมพร บุุญสิิริ ิ ประธานอนุุกรรมการ (3) นายทรงยศ เทีียนทอง อนุุกรรมการ
(4) นายเอื้้�อชาติิ กาญจนพิิทัก ั ษ์์ อนุุกรรมการ
(5) นายชาติิชาย คล้้ายสุบ ุ รรณ อนุุกรรมการ
(6) นายไพรฑููรย์์ รััตนพรวารีีสกุุล อนุุกรรมการ
(7) นางอำำ�มร บรรจง อนุุกรรมการ (8) นายกสมาคมนัักปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ อนุุกรรมการ
(9) นายกสมาคมพยาบาลฉุุกเฉิิน ประเทศไทย อนุุกรรมการ
(10) เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ อนุุกรรมการและเลขานุุการ
7.5 คณะอนุุกรรมการกฎหมายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ประกอบด้้วย
(1) ศ.บรรเจิิด สิิงคะเนติิ ประธานอนุุกรรมการ (2) พ.อ. สุุรจิิต สุุนทรธรรม อนุุกรรมการ
(3) ผศ.(พิิเศษ) วิิระศัักดิ์์� ฮาดดา
อนุุกรรมการ
(4) นายสุุรเชษฐ์์ สถิิตนิิรามััย อนุุกรรมการ
(5) ผู้้แ � ทนสำำ�นัักงานคดีีปกครอง สำำ�นัักงานอััยการสููงสุุด อนุุกรรมการ
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
31
(6) ผู้แทนส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา อนุกรรมการ
(7) เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งขาติ อนุกรรมการและเลขานุการ
7.6 คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์การแพทย์ฉก ุ เฉิน ประกอบด้วย
(1) ประธานอนุกรรมการตรวจสอบ อนุกรรมการ
(2) ประธานอนุกรรมการฉุกเฉินการแพทย์ อนุกรรมการ
(3) ประธานอนุกรรมการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์หรืออุทธรณ์ อนุกรรมการ
(4) ประธานอนุกรรมการบริหารงานบุคคลสถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ อนุกรรมการ
(5) ประธานอนุกรรมการบริหารกองทุนการแพทย์ฉก ุ เฉิน อนุกรรมการ
(6) ประธานอนุกรรมการคุ้มครองสิทธแ ิ ละความปลอดภัยผู้ป่วยฉุกเฉิน อนุกรรมการ (7) ประธานอนุกรรมการกฎหมายการแพทย์ฉก ุ เฉิน อนุกรรมการ (8) เลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อนุกรรมการ
(9) เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ อนุุกรรมการและเลขานุุการ
การออกข้อบังคับ ระเบียบ หรือประกาศต่างๆ ภายใต้พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ พ.ศ.2551 ข้้อบัังคัับ
1. ข้้อบัังคัับคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น ว่่าด้้วยการบริิหารงานบุุคคลของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ (ฉบัับที่่� 2) พ.ศ. 2563
2. ข้้ อบัั ง คัั บ คณะกรรมการการแพทย์์ ฉุุก เฉิิ น ว่่ าด้้ ว ยการกำำ� หนด ผู้้�ป ฏิิ บัั ติิ ก าร การรัับ รององค์์ ก รและหลัั ก สููตร การศึึกษาหรืือฝึึกอบรมผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการและการให้้ประกาศนีียบััตรหรืือเครื่่อ � งหมายวิิทยฐานะแก่่ผู้้�ผ่า ่ นการศึึกษาหรืือ ฝึึกอบรม พ.ศ. 2563
3. ข้้อบัังคัับคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น ว่่าด้้วยการให้้ประกาศนีียบััตรนัักปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิ นการแพทย์์ (1 ปีี) พ.ศ. 2563
ระเบีียบ
1. ระเบีียบคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ว่่าด้้วย การรัับเงิิน การจ่่ายเงิิน และการเก็็บรัักษาเงิินกองทุุน (ฉบัับที่่� 5) พ.ศ. 2563
2. ระเบีียบคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ว่่าด้้วยการร้้องทุุกข์์ การอุุทธรณ์์ การพิิจารณาเรื่่อ � งร้้องทุุกข์์หรืืออุุทธรณ์์ ของผู้้�ปฏิิบัติ ั ิงานในสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ พ.ศ. 2563
3. ระเบีียบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ว่่าด้้วยกองทุุนสวััสดิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ พ.ศ. 2563
4. ระเบีียบคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ว่่าด้้วยการประชุุมของคณะกรรมการและคณะอนุุกรรมการ (ฉบัับที่่� 2) พ.ศ. 2563
5. ระเบีียบคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ว่่าด้้วย สวััสดิิการ เงิินช่่วยเหลืือ และค่่าตอบแทนอื่่�นของผู้้�ปฏิิบััติิงาน (ฉบัับที่่� 2) พ.ศ. 2563
6. ระเบีียบคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ว่่าด้้วย การรัับเงิิน การจ่่ายเงิิน และการเก็็บรัักษาเงิินกองทุุน (ฉบัับที่่� 6) พ.ศ. 2563
ประกาศ
1. ประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ ฉุุกเฉิิ น เรื่่อ � ง ค่่ า ใช้้ จ่่ายในการปฏิิ บัั ติิงานของเลขาธิิก ารสถาบัั น การแพทย์์ ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ พ.ศ. 2562
2. ประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น เรื่่�อ ง การจัั ดส รรและการบริิห ารเงิิ น กองทุุ น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2563
3. ประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น เรื่่�อ ง การจัั ดส รรและการบริิห ารเงิิ น กองทุุ น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2563
32
รายงานประจำ�ปี 2563
4. ประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เรื่่อ � ง หลัักเกณฑ์์ วิิธีีการและเงื่่อ � นไข การสรรหา การเสนอชื่่อ � และการแต่่งตั้้�ง รองเลขาธิิการและผู้้�ช่ว ่ ยเลขาธิิการ ตามสััญญาจ้้าง พ.ศ. 2563
5. ประกาศสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ เรื่่อ � ง การจััดทำ� ำ มาตรฐานและหลัักเกณฑ์์เกี่่ย � วกัับระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน และมาตรฐานการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน พ.ศ. 2563
การดำำ�เนิินงานด้้านอื่่�นๆ กพฉ. มีีมติิ ดัังนี้้� การให้้บริิการประชาชน
1. รัับทราบผลการดํําเนิินการตามนโยบาย “เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิิทธิิทุก ุ ที่่”� (Universal Coverage for Emergency Patients: UCEP ตั้้�งแต่่ 1 เมษายน 2560 – 31 เมษายน 2562 ดัังนี้้� ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต (เข้้าเกณฑ์์) จำำ�นวน 73,851 ราย
ร้้อยละ 12.11 เฉลี่่�ยเดืือนละ 1,996 ราย กลุ่่�มอาการที่่ม � ารัับบริิการสููงสุุด 5 อัันดัับ ได้้แก่่ (1) ป่่วยอ่่อนเพลีีย (2) เด็็ก
(3) ปวดท้้อง /หลััง/เชิิงกราน/ขาหนีีบ (4) พลััดตกหกล้้ม/อุุบัติ ั เิ หตุุ และ (5) อุุบัติ ั เิ หตุุยานยนต์์ เมื่่อจำ � ำ�แนกตามสิิทธิิการ รัักษา เป็็นสิิทธิิหลัักประกัันสุุขภาพมากที่่สุ � ด ุ รองลงมาเป็็นสิิทธิิสวัสดิ ั ก ิ ารรัักษาพยาบาลข้้าราชการ สิิทธิิประกัันสัังคม
และสิิทธิิกองทุุนอื่่น � ๆ ตามลำำ�ดัับ สรุุปค่ารั ่ ก ั ษาพยาบาลที่่� สปสช. พิิจารณาให้้มีีการเบิิกจ่่าย รวมทั้้�งสิ้้�น 1,573 ล้้านบาท
2. มอบ สพฉ. แจ้้งกรมสนัับสนุุนบริิการสุุขภาพทราบเกี่่�ยวกัับอำำ�นาจหน้้าที่่�ตามพระราชบััญญััติิการแพทย์์ฉุุกเฉิิน พ.ศ. 2551 ในการดำำ�เนิินงานโครงการ “เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิิทธิิทุุกที่่�” เพื่่�อให้้คณะกรรมการสถานพยาบาล
ทบทวนมติิที่ป ่� ระชุุม ครั้้�งที่่� 5/2563 เมื่่�อวัน ั ที่่� 9 เมษายน 2563 ในส่่วนที่่เ� กี่่�ยวข้้อง โดยเฉพาะประเด็็นที่่ใ� ห้้ สพฉ.
เป็็นหน่่วยงานรัับข้้อร้อ ้ งเรีียนหรืืออุุทธรณ์์ กรณีีการพิิจารณาผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตว่่าเข้้าเกณฑ์์หรืือไม่่เข้้าเกณฑ์์ และให้้ผล การพิิจารณาของ สพฉ. เป็็นที่่สุ � ด ุ ในฝ่่ายปกครอง
3. รัับทราบผลการวิิเคราะห์์ผู้้�ใช้้บริิการหลัักและผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียทั้้�งทางตรงและทางอ้้อมของกองทุุนหมุุนเวีียน ปีี 2561 ซึ่่� ง เป็็ น การนำำ� เสนอสถานการณ์์ ปัั จ จุุ บัั น และบทบาทของ สพฉ. ในการบริิก ารการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น
ก่่ อนถึึ งโรงพยาบาลร่่วมกัั บภาคีีเครืือข่่ายที่่�เกี่่� ยวข้้อง จากการลงสััมภาษณ์์ ในระดัั บจัั งหวััดทำ� ำ ให้้เห็็นช่่องว่่าง
ของระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จึึงมีีข้้อเสนอต่่อการพััฒนาและการขัับเคลื่่�อนยุุทธศาสตร์์การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในอนาคต
และเสนอปรัับบทบาทของ สพฉ. ต่่อการขัับเคลื่่อ � นงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทั้้�งในระยะสั้้�น ระยะกลาง และระยะยาว เป็็นต้้น
4. รัับทราบการฝึึกอบรมทัักษะด้้านการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน (CPR & AED) และการป้้องกัันเด็็กจมน้ำำ�
ผลการดำำ�เนิินงานเกี่่�ยวกัับผู้้�ปฏิิบััติิการ
1. อนุุมััติิให้้ผู้้�ปฏิิบััติิการที่่�สมััครขอขึ้้�นทะเบีียนชุุดปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินพิิเศษ (SCOT) ที่่�ประกาศนีียบััตรหมดอายุุตั้้�งแต่่
วัันที่่� 1 มกราคม 2562 - 29 กุุมภาพัันธ์์ 2563 ให้้ได้้รับ ั ประกาศนีียบััตรชั่่�วคราว ในระดัับที่่เ� คยมีี เพื่่อป � ฏิิบัติ ั ิการ
ในชุุดปฏิิบัติ ั ิการ SCOT เท่่านั้้�น โดยมีีอายุุ 1 ปีี นัับตั้้�งแต่่วัน ั ที่่� 1 มีีนาคม 2563 และเห็็นชอบให้้ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการที่่ไ� ด้้สมััคร
ขอขึ้้�นทะเบีียนชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินพิิเศษ (SCOT) ยื่่น � เอกสารเพิ่่�มเติิม หาก สพฉ. ตรวจสอบแล้้ว พบว่่ามีีคุณ ุ สมบััติิ เป็็นไปตามเงื่่อ � นไขใดเงื่่อ � นไขหนึ่่�งในกลุ่่�ม 1 - 6 ก็็ให้้ดำำ�เนิินการตามแนวทางเงื่่อ � นไขนั้้�น
2. อนุุมัติ ั ใิ ห้้ขยายอายุุประกาศนีียบััตรให้้กับ ั ผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ ารที่่ป � ระกาศนีียบััตรหมดอายุุ ตั้้�งแต่่วัน ั ที่่� 1 มีีนาคม–30 กัันยายน 2563 ออกไป 1 ปีี โดยนัับตั้้�งแต่่วัน ั ที่่� 30 กัันยายน 2563 ถึึงวัันที่่� 30 กัันยายน 2564 และมีีสิิทธิิต่่ออายุุได้้ตามหลัักเกณฑ์์
เงื่่อ � นไข เกณฑ์์และวิิธีีการต่่ออายุุประกาศนีียบััตร
3. อนุุมััติิต่่ออายุุประกาศนีียบััตรพนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ โดยให้้มีีผลนัับจากวัันถััดจากวัันที่่�ประกาศนีียบััตรเดิิม
หมดอายุุแก่่ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการจำำ�นวน 4 ราย ได้้แก่่ (1) นายธเนศ พรมแสง (2) นายจัักรพงษ์์ พรมนน (3) นายจิิรายุุทธ
แก้้วเบี่่ย � ง และ (4) นางสาวธิิดารัต ั น์์ พรหมไหม และมอบคณะอนุุกรรมการฉุุกเฉิินการแพทย์์ พิิจารณาอนุุมัติ ั ิต่่ออายุุ
ประกาศนีียบััตรให้้กัับผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการที่่ป � ระกาศนีียบััตรหมดอายุุ โดยใช้้หลัักการเดีียวกัันนี้้�ในคราวต่่อไป
4. อนุุมััติิให้้ประกาศนีียบััตรนัักปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ (1 ปีี) ให้้กัับผู้้�สำำ�เร็็จการศึึกษาหลัักสููตร วทบ.ปฏิิบััติิการ ฉุุกเฉิินการแพทย์์ (หลัักสููตรใหม่่) ปีีการศึึกษา 2561 และปีีการศึึกษา 2562 ที่่สำ � � ำ เร็็จก่่อนวัันที่่� 1 มิิถุน ุ ายน 2563
ตามวัันที่่ส � ภามหาวิิทยาลัยอนุ ั มั ุ ติ ั ิ โดยประกาศนีียบััตรมีีอายุุหนึ่่�งปีี นัับตั้้�งแต่่ 1 มิิถุน ุ ายน 2563 – 31 พฤษภาคม 2564 จำำ�นวน 116 คน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
33
5. มอบคณะอนุุกรรมการฉุุกเฉิินการแพทย์์เป็็นผู้้�วิินิิจฉััยชี้้�ขาดในการอนุุมััติิให้้ประกาศนีียบััตร นัักปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน
การแพทย์์ฝึก ึ หััด แก่่ผู้สำ ้� � ำ เร็็จการศึึกษาในหลัักสููตรวิิทยาศาสตรบััณฑิิต (เวชกิิจฉุุกเฉิิน) ที่่ยั � งั ไม่่เคยได้้รับ ั ประกาศนีียบััตร นัักปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินการแพทย์์ฝึก ึ หััดและประกาศนีียบััตรนัักปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินการแพทย์์ (5 ปีี) โดยประกาศนีียบััตร มีีอายุุหนึ่่�งปีี นัับตั้้�งแต่่ 1 มิิถุน ุ ายน 2563 - 31 พฤษภาคม 2564 จำำ�นวน 36 คน
6. มอบคณะอนุุกรรมการฉุุกเฉิินการแพทย์์เป็็นผู้้�วินิ ิ จ ิ ฉััยชี้้ข � าดในการอนุุมัติ ั ต่ ิ ออายุ ่ ป ุ ระกาศนีียบััตร นัักปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน การแพทย์์(ฝึึกหััด)เป็็นระยะเวลาหนึ่่�งปีีแก่่ผู้ที่ ้� เ่� คยได้้รับ ั ประกาศนีียบััตรนัักปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินการแพทย์์ฝึก ึ หััด แต่่ยังั ไม่่ได้้ รัับประกาศนีียบััตรนัักปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ (5 ปีี) โดยนัับตั้้�งแต่่วัน ั ถััดจากวัันที่่ป � ระกาศนีียบััตรเดิิมหมดอายุุ
ในกรณีีประกาศนีียบััตรนัักปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ฝึึกหััดเดิิมหมดอายุุเกิินหนึ่่�งปีี ให้้ต่่ออายุุได้้ โดยนัับอายุุ ประกาศนีียบััตรตั้้�งแต่่วัน ั ที่่� 1 มิิถุน ุ ายน 2563 ถึึงวัันที่่� 31 พฤษภาคม 2564
7. รัับทราบการรัับมอบกรมธรรม์์ประกัันภััยจากบริิษััททิิพยประกัันภััย จำำ�กััด (มหาชน) เพื่่�อมอบให้้กัับผู้้�ปฏิิบััติิการ ชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินพิิเศษ
8. เห็็นชอบให้้ สพฉ. ดำำ�เนิิ นการจััดการอบรมชุุดปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิ นพิิเศษ กรณีี COVID-19 (Special COVID-19 Operation Team : SCOT) โดยเร็็ว และมอบ สพฉ. สนัับสนุุนอุุปกรณ์์การป้้องกัันอัันตรายส่่วนบุุคคล (Personal
Protection Equipment : PPE) ที่่เ� หมาะสมสำำ�หรัับชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินในแต่่ละระดัับ ให้้เป็็นไปตามหลัักวิิชาการ
9. รัับทราบผลการดำำ�เนิินงานการจััดทำ� ำ MOU คุ้้�มครองสิิทธิิแก่่บุุคลากรในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ระหว่่างสถาบััน การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิกัับกระทรวงยุุติิธรรม และสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิกัับสำำ�นัักงานอััยการสููงสุุด
ผลการดำำ�เนิินงานด้้านต่่างๆ
1. เห็็นชอบในหลัักการเรื่่อ � ง แผนแม่่บทการสื่่อสา � รและเทคโนโลยีีสารสนเทศการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
2. รัับทราบความก้้าวหน้้าการดำำ�เนิินงานโครงการตำำ�บลปลอดภััย และมอบ สพฉ. ประชาสััมพัันธ์์ให้้เกิิดการรัับรู้้ � และขยายผล
3. รัับทราบบทบาทหน้้าที่่แ � ละผลการดำำ�เนิินการของศููนย์์ปฏิิบัติ ั ิการสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน สถาบัันการแพทย์์
ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ (ศปก.สพฉ.) กรณีีโรคปอดอัักเสบจากเชื้้�อไวรััสโคโรนาสายพัันธุ์์�ใหม่่ 2019 (Novel Coronavirus : 2019 Pneumonia : COVID-19) และมอบ สพฉ. รัับข้้อสัง ั เกตไปพิิจารณา
4. รัับทราบความก้้าวหน้้าในการสนัับสนุุนให้้ อปท. มามีีส่่วนร่่วมในการบริิหารจััดการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีีงบประมาณ 2563 5. รัับทราบการมอบรางวััล Health Emergency Response Outstanding AWARD หรืือ HERO AWARD
6. รัับทราบเกณฑ์์การคััดเลืือกบุุคคลที่่เ� หมาะสมที่่จ � ะได้้รับ ั เข็็มเชิิดชููเกีียรติิ ปีี 2563
8. รัับทราบพิิธีีลงนามบัันทึึกความร่่วมมืือการคุ้้�มครองสิิทธิิในการเข้้าถึึงระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทางน้ำำ� ระหว่่าง สพฉ. และกรมเจ้้าท่า ่
9. รัับทราบผลการดำำ�เนิินงานโครงการสนัับสนุุนสร้้างความเข้้มแข็็งด้้านระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและการจััดการภััยพิบั ิ ติ ั ิ ในเครืือข่่ายประเทศสมาชิิกอาเซีียน (The Project for Strengthening the ASEAN Regional Capacity on
Disaster Health Management : ARCH Project) โดย ARCH Project ระยะต่่อขยายจะถููกต่่อขยายออกไป
อีีก 9 เดืือน (ธัันวาคม 2564) และ ARCH Project ระยะที่่� 2 จะเริ่่�มดำำ�เนิินการในเดืือนมกราคม 2565 ถึึงมีีนาคม
2569 (5 ปีี)
10.รัับทราบผลการประเมิิ นคุุ ณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ� เนิิ น งานของสถาบัั น การแพทย์์ ฉุุก เฉิิ น แห่่ งชาติิ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) ประจำำ�ปีี 2563 ได้้รับ ั คะแนน 91.97 ผลการประเมิินระดัับ A
34
รายงานประจำ�ปี 2563
ผลการดำำ�เนิินงานของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ผลการดำำ�เนิินงานตามตััวชี้้�วััด ปีีงบประมาณ 2563
Part – A : Compulsory ตััวชี้้�วััด
หน่่วย วััด
ด้้านที่่� 1 การเงิิน ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 1.1
ค่่าเกณฑ์์วััดประจำำ�ปีีบััญชีี 2563 น้ำำ��หนััก
ระดัับ
1
ระดัับ
2
ระดัับ
3
ระดัับ
4
ระดัับ
5
ผลการดำำ�เนิินงาน ต.ค.62ก.ย.63
10 ประสิิทธิิภาพการบริิหารค่่าชดเชยปฏิิบััติิการ ฉุุกเฉิินสำำ�หรัับผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตและเร่่งด่่วน
ระดัับ
ด้้านที่่� 2 การสนองประโยชน์์ต่อ ่ ผู้้�มีีส่ว ่ นได้้ส่ว ่ นเสีีย
10
คะแนน ที่่�ได้้
คะแนนถ่่วง � น้ำำ�หนั ก ั
5.0000 1
2
3
4
5
5
25
5.0000
0.5000
3.2800
-
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 2.1
การพััฒนาฐานข้้อมููลสารสนเทศเพื่่อ � การประเมิิน ผลลััพธ์์และผลกระทบของทุุนหมุุนเวีียน(ตััวชี้วั้� ดร่ ั ่วม)
ระดัับ
5
1
2
3
4
5
5
5.0000
0.2500
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 2.2
ความพึึงพอใจของผู้้�มีีส่ว ่ นได้้ส่ว ่ นเสีีย
ร้้อยละ
5
65
70
75
80
85
86.4
5.0000
0.2500
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 2.3
ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตที่่ไ� ด้้รับ ั การปฎิิบัติ ั ิกาฉุุกเฉิิน ภายใน 8 นาทีี
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 2.3.1
ร้้อย ละของผู้้�ป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ น วิิ ก ฤติิ ที่่� ไ ด้้ รั ับ การ ปฎิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินภายใน 8 นาทีี
ร้้อยละ
7
36.54
1.0000
0.0700
ร้้อยละของผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินที่่ไ� ด้้รับ ั การปฎิิบัติ ั ิการ ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 2.3.2 ฉุุกเฉิินภายใน 8 นาทีี และปฎิิบัติ ั ก ิ ารในระยะทาง ไม่่เกิิน 10 กิิโลเมตร
ร้้อยละ
3
43
44
45
46
47
49.37
5.0000
0.1500
จำำ�นวนจัั งหวััดที่่�มีีผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิ นวิิกฤติิ ที่่�ได้้ รับ ั การนำำ� ส่่ ง โดยชุุ ดปฎิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น ระดัั บ สููง จัังหวััด (ALS) เกิินกว่่า 200 ต่่อแสนประชากร
5
< 40
45
50
45
60
64
5.0000
0.2500
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 2.4
ด้้านทีี 3 การปฏิิบัติ ั ิการ
36.73 37.23 37.73 38.23 38.73
30
4.4444
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 3.1
จำำ�นวนเขตสุุขภาพซึ่ง่� มีีจัังหวััดที่่มีี � ระบบอำำ�นวย จัังหวััด การทางการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
10
1
2
3
4
5
7
5.0000
0.5000
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 3.2
ความสำำ�เร็็จของความเพีียงพอและสมรรถนะ หลัักของบุุคลากรในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
5
1
2
3
4
5
5
5.0000
0.2500
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 3.3
จำำ�นวนจัังหวััดที่่มีี � การคััดแยกระดัับความรุุนแรง วิิ ก ฤติิ ทา งโทรศัั พ ท์์ ต่ำำ� กว่่ า ที่่� โ รงพยาบาล (Under Triage) ไม่่เกิินร้้อยละ 30 และการคััดแยก จัังหวััด ระดัั บความรุุ นแรงวิิกฤติิ ทางโทรศััพท์์สููงกว่่า ที่่โ� รงพยาบาล (Over Triage)ไม่่เกิินร้้อยละ 30
10
1
3
6
9
12
7
3.3333
0.3333
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 3.4
ระดัับความสำำ�เร็็จในการเป็็นผู้้�นำำ�ความร่่วมมืือ ร ะ ดัั บ ป ร ะ เท ศ ด้้ า น ก า ร แพ ท ย์์ ฉุุ ก เฉิิ น กัั บ ประชาคมอาเซีียนและนานาชาติิ
5
1
2
3
4
5
5
5.0000
0.2500
ระดัับ
ระดัับ
ด้้านที่่� 4 การบริิหารพััฒนาทุุนหมุุนเวีียน
15
4.4617
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 4.1
การบริิหารความเสี่่ย � งและควบคุุมภายใน
ระดัับ
5
1
2
3
4
5
4.4500
4.4500
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 4.2
การตรวจสอบภายใน
ระดัับ
5
1
2
3
4
5
4.7600
4.7600
0.2380
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 4.3
การบริิหารจััดการสารสนเทศและดิิจิิทัล ั
ระดัับ
5
1
2
3
4
5
4.1750
4.1750
0.2088
4.2400
-
ด้้านที่่� 5 การปฏิิบัติ ั ิงานของคณะกรรมการบริิหารผู้้�บริิหาร ทุุนหมุุนเวีียน พนัักงาน และลููกจ้้าง
10
0.2225
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 5.1
บทบาทคณะกรรมการบริิหารทุุนหมุุนเวีียน
ระดัับ
5
1
2
3
4
5
4.6800
4.6800
0.2340
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 5.2
การบริิหารทรััพยากรบุุคคล
ระดัับ
5
1
2
3
4
5
3.8000
3.8000
0.1900
ด้้านที่่� 6 การดำำ�เนิินงานตามนโยบายรััฐ/กระทรวงการคลััง
10
การใช้้จ่่ายตามแผนการเบิิกจ่่ายที่่ไ� ด้้รับ ั อนุุมััติิ
5
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 6.1
ตััวชี้วั ้� ด ั ที่่� 6.2
4.7100
- ร้้อยละการใช้้จ่่ายงบลงทุุนที่่เ� กิิดขึ้้น � จริิงเทีียบ กัั บแผนการเบิิกจ่่ ายงบลงทุุน ประจำำ�ปีีบััญชีี 2562
ร้้อยละ
0
92
94
96
98
100
0
- ร้้อยละการใช้้จ่่ายภาพรวมที่่เ� กิิดขึ้้น � จริิงเทีียบ กัั บแผนการเบิิกจ่่ ายภาพรวม ประจำำ�ปีีบััญ ชีี 2562
ร้้อยละ
5
92
94
96
98
100
98.84
4.4200
0.2210
การดำำ�เนิินการตามแผนพััฒนาระบบการจ่่ายเงิิน และการรัับ เงิิ น ของทุุ น หมุุ น เวีียนผ่่ า นระบบ อิิเล็็กทรอนิิกส์์
ระดัับ
5
1
-
-
-
5
5
5.0000
0.2500
น้ำำ�หนัักรวม
100
คะแนนเฉลี่่�ย
4.3676
หมายเหตุ ผลการประเมินการดำ�เนินงานตามตัวชี้วัดของกรมบัญชีกลาง เป็ นผลการประเมินเบื้องต้น
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
35
Part – B : Core Business ตััวชี้้�วััด
หน่่วย วััด
ค่่าเกณฑ์์วััดประจำำ�ปีีบััญชีี 2563 น้ำำ��หนััก
ระดัับ
1
Part - B : Core Business B-1
จำำ�นวนองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นระดัับจัังหวััดที่่�รับ ั ดำำ�เนิินการหน่่วยปฏิิบััติิการประเภทอำำ�นวยการระดัับ พื้้�นฐาน
B-2
2
ระดัับ
3
ระดัับ
4
ระดัับ
5
คะแนน ผลงาน
ระดัับ
70
61.60
แห่่ง
20
6
7
8
9
10
9 แห่่ง
4
80
ร้้อยละตำำ�บลที่่มีีป � ฏิิบัติ ั ก ิ ารขั้้�นพื้้�นฐาน (BLS) ขึ้้�นไป
ร้้อยละ
10
16.5
17.0
17.5
18.0
18.5
17.52 %
3
30
B-3
จำำ�นวนตำำ�บลที่่มีี � การจััดการชุุมชนปลอดภััยและเข้้มแข็็ง ได้้มาตรฐานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเชิิงพื้้�นที่่�
ตำำ�บล
10
9
12
15
18
>20
21 ตำำ�บล
5
50
B-4
จำำ�นวนจัังหวััดที่่�มีีหน่่ วยปฏิิบััติิการเข้้าสู่่�กระบวนการ จัังหวััด พััฒนาเพื่่อ � บรรลุุตามมาตรา 29 วรรค 2
20
20
25
30
35
40
35
4
80
B-5
จำำ�นวนองค์์ความรู้้ ห � รืือนวััตกรรมที่่�ได้้จากการศึึกษา วิิจััย และกระบวนการวิิเคราะห์์สัง ั เคราะห์์ทางวิิชาการ ด้้ า นการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ที่่� ผ่่ า นกระบวนการประเมิิ น คุุณภาพตามที่่กำ � ำ�หนดฯ
เรื่่อ � ง
10
2
3
4
5
6
8 เรื่่อ � ง
5
50
B-6
ระดัับความสำำ�เร็็จในการพััฒนาระบบสารสนเทศและ ดิิจิิทัล ั ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ระดัับ
30
1
2
3
4
5
5
5
150
รวม ร้้อยละ 88.00
36
ระดัับ
ผลการดำำ�เนิินงาน
รายงานประจำ�ปี 2563
100
440
ผลการดำำ�เนิินงานที่่�สำำ�คััญ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ในปีีงบประมาณ 2563 ที่่ผ่ � า ่ นมา สพฉ. ได้้ดำำ�เนิินการในฐานะที่่เ� ป็็นหน่่วยงานรัับผิิดชอบ
ด้้านการบริิหารจััดการ การประสานระหว่่างหน่่วยงานที่่เ� กี่่ย � วข้้องทั้้�งภาครััฐและเอกชน และการส่่ง
เสริิมให้้องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นเข้้ามามีีบทบาทในการบริิหารจััดการเพื่่อ � ให้้เกิิดความร่่วมมืือ
ในการปฏิิบัติ ั ิงานด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินร่่วมกััน อัันจะทำำ�ให้้ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินได้้รับ ั การคุ้้�มครองสิิทธิิ ในการเข้้าถึึงระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินอย่่างทั่่�วถึึง เท่่าเทีียม มีีคุุณภาพมาตรฐาน สมดัังเจตนารมณ์์
ที่่�ระบุุไว้้ในพระราชบััญญััติิการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน พ.ศ. 2551 และวิิสััยทััศน์์ของสถาบัันที่่�กล่่าวว่่า
“ประเทศไทยมีีระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่�ได้้ มาตรฐาน ซึ่่�งบุุ คคลเข้้าถึึงได้้ อย่่างทั่่�วถึึ งและ
เท่่าเทีียมทั้้�งในภาวะปกติิและสาธารณภััย โดยมีีการจััดการอย่่างมีีส่ว ่ นร่่วม” โดยมีีแผนหลััก
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 3.1 พ.ศ. 2560 – 2565 กำำ�หนดทิิศทางในการขัับเคลื่่อ � นการดำำ�เนิิน งานพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน โดยมีีเป้้าหมาย “ลดอััตราเสีียชีวิ ี ต ิ และพิิการจากภาวะฉุุกเฉิิน
ที่่�เกิิดจากโรคและภััย” ซึ่่ง � เป็็นไปตามอำำ�นาจหน้้าที่่� มาตรา 15 พรบ.การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน พ.ศ. 2551 การจััดทำ� ำ แผนหลัักการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติินั้้�น ได้้จััดทำ� ำ โดยให้้มีีความสอดคล้้องและเชื่่อ � มโยง
กัับแผนยุุทธศาสตร์์ชาติิ 20 ปีี แผนพััฒนาสัังคมและเศรษฐกิิจ ฉบัับที่่� 12 แผนปฏิิรููปและแผน ปฏิิรููปด้้านสาธารณสุุข และแผนหลัักการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 3.1 พ.ศ. 2562 - 2565 นั้้�น
มีี 5 ยุุทธศาสตร์์ที่่�เป็็นกลไกการขัับเคลื่่�อนการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นให้้ได้้มาตรฐาน
ซึ่่�งบุุคคลเข้้าถึึงได้้อย่่างทั่่�วถึึงและเท่่าทีียม ทั้้�งในภาวะปกติิและสาธารณภััย โดยการจััดให้้ภาคีี
เครืือข่่ายเข้้ามามีีส่่วนร่่วม
นอกจากนี้้� สพฉ. ยัั ง มีีหน้้ า ที่่� ในการจัั ดทำ� ำ มาตรฐานและหลัั ก เกณฑ์์ เกี่่� ย วกัั บ ระบบ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน รวมทั้้�งกำำ�หนดเกณฑ์์และวิิธีีการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินให้้สอดคล้้องกัับมาตรฐาน
การจััดให้้มีีระบบปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน รวมถึึงการบริิหารจััดการพััฒนาระบบสื่่อสา � รและเทคโนโลยีี
สารสนเทศเพื่่�อประโยชน์์ในการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน การศึึกษา ค้้นคว้้า วิิจััยและพััฒนา รวมทั้้�ง
การเผยแพร่่ความรู้้ �ทางการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน การจััดให้้มีีการศึึกษาและฝึึกอบรมการปฏิิบััติิหน้้าที่่� การประสานงาน ติิดตาม และประเมิินผลการปฏิิบััติิการ รวมถึึงการเป็็นศููนย์์กลางประสานกัับ
หน่่วยงานภาครััฐและเอกชนทั้้�งในประเทศและต่่างประเทศที่่ดำ � ำ�เนิินงานเกี่่ย � วกัับการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
37
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 1 พัั ฒนามาตรฐานการแพทย์์ฉุุกเฉิิน สพฉ. ได้้มีีการพััฒนามาตรฐานและคุุณภาพระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน โดยมีีการจััดทำ� ำ มาตรฐาน หลัักเกณฑ์์ เกณฑ์์
และวิิธีีปฏิิบัติ ั ิเกี่่�ยวกัับระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเสนอคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเห็็นชอบ และสนัับสนุุนให้้ทุก ุ ภาคส่่วน
จััดตั้้ง ั ก ิ าร/ชุุดปฏิิบัติ ั ก ิ าร และนำำ�มาตรฐาน หลัักเกณฑ์์ เกณฑ์์และวิิธีีการปฏิิบัติ ั ิ ไปถืือปฏิิบัติ ั ิ เพื่่อ � ให้้การปฏิิบัติ ั ิ � หน่่วยปฏิิบัติ
การฉุุกเฉิินตั้้�งแต่่การรัับแจ้้งเหตุุ การสั่่�งการ การออกปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน ณ จุุดเกิิดเหตุุและนำำ�ส่่ง
โรงพยาบาล จนได้้รับ ั การรัักษาจนพ้้นภาวะฉุุกเฉิิน โดยมีีความก้้าวหน้้าในการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ดัังนี้้�
1. การจััดตั้้�งหน่่วยปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินและชุุดปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน
การปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินเพื่่�อช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินให้้ได้้มาตรฐานและมีีคุุณภาพ จำำ�เป็็นต้้องมีีการจััดตั้้�งหน่่วยปฏิิบััติิ
ประเภทต่่างๆ เพื่่อทำ � � ำ หน้้าที่่ป � ฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินที่่ไ� ด้้มาตรฐาน โดยต้้องจััดการให้้มีีทรัพ ั ยากรที่่ไ� ด้้มาตรฐาน ทั้้�งผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการ
ยานพาหนะ และเครื่่อ � งมืือ อุุปกรณ์์และเวชภััณฑ์์ที่เ่� หมาะสม ประกอบกัันเป็็นชุุดปฏิิบัติ ั ิฉุก ุ เฉิินระดัับต่่างๆ ตามมาตรฐาน
ที่่กำ � ำ�หนด พร้้อมทั้้�งสนัับสนุุนและส่่งเสริิมให้้ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินปฏิิบัติ ั ิงานตามสมรรถนะที่่� กพฉ. กำำ�หนด รวมทั้้�งได้้ชี้แ ้� จง
ทำำ�ความเข้้าใจกัับทุุกส่่วนที่่เ� กี่่�ยวข้้องทั้้�งภาครััฐและภาคเอกชน เพื่่อ � ให้้ทุก ุ ภาคส่่วนมีีบทบาทในการพััฒนาระบบการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน ประกอบด้้วย
1) หน่่วยปฏิิบัติ ั ิการอำำ�นวยการ (ศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการ) มีีหน้้าที่่ใ� นการรัับแจ้้งเหตุุและทำำ�การประเมิินคััดแยก
ระดัับความฉุุกเฉิินเพื่่อสั่่ � ง� การชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินช่่วยเหลืือผู้้�ป่ว ่ ยให้้เหมาะสม โดยผ่่านหมายเลขฉุุกเฉิิน 1669 ปััจจุุบัน ั มีี
จำำ�นวน 80 แห่่ง โดยเป็็นศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการที่่ดำ � ำ�เนิินการ จำำ�แนกตามหน่่วยงานที่่สั � ง ั กััด ประชาชนโทรแจ้้งเหตุุขอ
ความช่่วยเหลืือและขอรัับคำำ�ปรึึกษาของประชาชนผ่่านหมายเลขฉุุกเฉิิน 1669 มีี จำำ�นวน 1,770,543 ครั้้�ง มีีการออกปฏิิบัติ ั ิ
การฉุุกเฉิิน จำำ�นวน 1,770,528 ครั้้�ง นอกจากนี้้� ยัังมีีการแจ้้งเหตุุผ่า ่ นช่่องทางอื่่�น ๆ เช่่น ประชาชนแจ้้งผ่่านหมายเลขอื่่�น
แจ้้งผ่่านเจ้้าหน้้าที่่ตำ � ำ�รวจหรืือหน่่วยกู้้�ชีีพและกู้้�ภััย รวมถึึงแจ้้งผ่่านวิิทยุุสื่อสา ่� ร เป็็นต้้น
2) หน่่วยปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ ในปีี 2563 มีีหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการที่่ขึ้้ � น � ทะเบีียนในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จำำ�นวน
8,199 หน่่วย ประกอบด้้วย หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินที่่ดำ � ำ�เนิินการโดยสถานพยาบาล จำำ�นวน 2,005 หน่่วยและหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ าร
ฉุุกเฉิินที่่ดำ � ำ�เนิินการโดยหน่่วยงานนอกสถานพยาบาล จำำ�นวน 6,194 หน่่วย รายละเอีียดตามตารางที่่� 1 ตารางที่่� 1 จำำ�แนกประเภทหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ประเภทหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉิน ดำ�เนินการโดยสถานพยาบาล ดำ�เนินการโดยหน่วยงานนอกสถานพยาบาล รวม
สังกัด
ภาครัฐ
สังกัด
สังกัด
ภาค
อปท.
เอกชน
1,698
306
171
-
1,869
306
สังกัด
รวม ้ ทังหมด
มูลนิธ/ ิ
สมาคม 1
2,005
5,044
979
6,194
5,044
980
8,199
ชุุดปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินภายใต้้หน่่วยปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ในข้้อ 2 ทุุกระดัับที่่�ขึ้้�นทะเบีียนและพร้้อมให้้บริิการ
ตั้้�งแต่่ปีี 2555 – 2563 พบว่่า ชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินมีีแนวโน้้มเพิ่่�มขึ้้�นอย่่างต่่อเนื่่�อง โดยในปีี 2563 มีีชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน
จำำ�นวนทั้้�งสิ้้�น 20,660 ชุุด จำำ�แนกเป็็น 3 ประเภท ดัังนี้้�
1) ชุุดปฏิิบัติ ั ิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินระดัับสููง (Advance Life Support:ALS)
4,206 ชุุด
3) ชุุดปฏิิบัติ ั ิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเบื้้�องต้้น (First Responder: FR )
11,407
2) ชุุดปฏิิบัติ ั ิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินระดัับพื้้�นฐาน (Basic Life Support: BLS)
5,047 ชุุด
ชุุด
3) ระบบการปฏิิ บัั ติิ ฉุุ ก เฉิิ น ทางน้ำำ� และอากาศยาน ระบบปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุก เฉิิ น ทางน้ำำ� มีีเรืือร่่ว มออกปฏิิ บัั ติิ ก าร
จากการประสานความร่่วมมืือกัับภาคีีเครืือข่่ายที่่เ� กี่่�ยวข้้อง และระบบปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางอากาศยาน มีีเครื่่อ � งบิินและ
เฮลิิคอปเตอร์์ออกปฏิิบัติ ั ิการ จากการประสานความร่่วมมืือกัับหน่่วยงานภาคีีเครืือข่่ายที่่เ� กี่่�ยวข้้องทั้้�งภาครััฐและเอกชน
38
รายงานประจำ�ปี 2563
2. การตรวจประเมิินและรัับรองคุุณภาพระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งประเทศไทย (Thai Emergency Medical Service Accreditation: TEMSA) สพฉ. ได้้มีีการพััฒนามาตรฐานและคุุณภาพตามห่่วงโซ่่การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินครอบคลุุมตั้้�งแต่่การรัับรู้้ก � ารเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน
จนได้้รับ ั การบำำ�บััดเจาะจงหรืือพ้้นภาวะวิิกฤต จนปััจจุุบัันได้้มีีการพััฒนาการตรวจประเมิินและรัับรองคุุณภาพระบบ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในประเทศไทยขึ้้�น เพื่่�อยกระดัับการบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินของประเทศไทย และยกระดัับมาตรฐาน
คุุณภาพชีีวิิตของประชาชนเมื่่�อเกิิดเหตุุฉุก ุ เฉิิน
ปััจจุุบััน สพฉ. ได้้พััฒนาแบบประเมิินตนเองและแนวทางในการตรวจรัับรองคุุณภาพการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิ นของ
หน่่วยปฏิิบัติ ั ิการในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินของประเทศไทย ที่่เ� รีียกว่่า “SAR” มีีเป้้าหมายเพื่่อพั � ฒ ั นาคุุณภาพระบบบริิการ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน และส่่งเสริิมให้้เกิิดความปลอดภััยต่่อผู้้�ป่่วย และผู้้�ปฏิิบััติิการในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน แบ่่งออกเป็็น 3 ระดัับ คืือ
SAR-01
เกณฑ์์แบบประเมิินตนเอง การตรวจประเมิินและรัับรองคุุณภาพระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่ง
ประเทศไทย สำำ�หรัับหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการ (Emergency Operation Division) ด้้านอำำ�นวยการ ประเภท ปฏิิบัติ ั ิการอำำ�นวยการ และประเภทช่่วยอำำ�นวยการ
เกณฑ์์แบบประเมิินตนเอง การตรวจประเมิินและรัับรองคุุณภาพระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่ง
SAR-02
ประเทศไทย สำำ�หรัับการปฏิิบััติิการด้้านช่่วยเวชกรรม ประเภทปฏิิบััติิการแพทย์์ในสถานพยาบาล ของรััฐ/เอกชน
เกณฑ์์แบบประเมิินตนเอง การตรวจประเมิินและรัับรองคุุณภาพระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่ง
SAR-03
ประเทศไทย สำำ�หรัับหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการด้้านช่่วยเวชกรรม ประเภทปฏิิบัติ ั ิการแพทย์์ในองค์์กรปกครอง
ส่่วนท้้องถิ่่�น/องค์์กรภาคเอกชนที่่ไ� ม่่แสวงหากำำ�ไร
ทั้้�งนี้้� สพฉ. ได้้มีีการนำำ� SAR1-03 ไปทดลองใช้้จริิงในหน่่วยงาน แล้้วมีีการปรัับแก้้ไข และประชาสััมพัันธ์์ให้้หน่่วย
ปฏิิบัติ ั ิการที่่อยู่่� � ในระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ได้้ทำ� ำ การประเมิินตนเอง โดยผลประโยชน์์หรืือสิิทธิ์์ที่ ่� น่่วยปฏิิบัติ ั ิการ � ห
ทุุกประเภท ทุุกระดัับจะได้้รับ ั จากการทำำ�แบบประเมิินตนเอง
ภายใต้้การพััฒนามาตรฐานและคุุณภาพระบบปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิ น ยัังครอบคลุุมถึึงการพััฒนาคุุณภาพทั้้�ง ทางบก
ทางอากาศยาน ทางน้ำำ� และพื้้�นที่่พิ � เิ ศษอย่่างต่่อเนื่่�อง โดยในปีีงบประมาณ 2563 มีีผลการออกปฏิิบัติ ั ิการ จำำ�นวนทั้้�งสิ้้�น
1,770,528 ครั้้�ง จำำ�แนกเป็็น
1) ระบบปฎิิบััติิการฉุุกเฉิินทางบก
เป้้าหมายการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินนอกโรงพยาบาลที่่�กำำ�หนดใน พรบ.งบประมาณรายจ่่ายประจำำ�ปีีงบประมาณ
2563 เท่่ากัับ 1,500,000 ครั้้�ง แต่่ผลการปฏิิบัติ ั ิการ ที่่เ� ป็็นการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางบก รวมทั้้�งสิ้้�น 1,768,938 ครั้้�ง ทั้้�งนี้้�
สพฉ. ยัังได้้มีีการพััฒนามาตรฐานคุุณภาพทางบกมาอย่่างต่่อเนื่่�อง เช่่น ประกาศ กพฉ. เรื่่อ � งหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการการแพทย์์
ฉุุกเฉิิน พ.ศ. 2561 การจััดทำ� ำ หลัักเกณฑ์์การรัับรองมาตรฐานหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการ การจััดทำ� ำ หลัักเกณฑ์์การรัับรองรถบริิการ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน บัันทึึกความร่่วมมืือกัับ SCG ในการพััฒนาหลัักสููตรอบรมพนัักงานขัับรถพยาบาลฉุุกเฉิินปลอดภััย เป็็นต้้น สพฉ. ได้้ส่ง่ เสริิมและสนัับสนุุนให้้ท้อ ้ งถิ่่�นเข้้ามามีีส่่วนร่่วมในการจััดตั้้ง� หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารอำำ�นวยการ และได้้ผลัักดััน
ให้้มีีการนำำ�เข้้าในคณะกรรมการการกระจายอำำ�นาจให้้แก่่องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น เพื่่อพิ � จ ิ ารณาให้้เป็็นกิิจกรรมหนึ่่�ง ในแผนกระจายอำำ�นาจ ตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เรื่่อ � ง หลัักเกณฑ์์ให้้องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น
เป็็นผู้้�ดำำ�เนิินงานและบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินในระดัับท้้องถิ่่�น พ.ศ. 2560 เพื่่�อให้้ท้้องถิ่่�นบริิหารจััดการ
และดำำ�เนิินการระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินในระดัับท้้องถิ่่�นตามความพร้้อม เหมาะสม และความจำำ�เป็็นของประชาชนใน
ท้้องถิ่่�นนั้้�น ถึึงแม้้จะมีีการผลัักดัันในหลายด้้านแล้้วก็็ตาม ก็็ยังั มีีพื้้�นที่่ที่ � ก ่� ารจััดบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินยัังไม่่ความครอบคลุุม
รวมทั้้�งการจััดการหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินที่่ขึ้้ � น � ทะเบีียนแล้้ว แต่่ไม่่ปฏิิบัติ ั ิงานก็็ยัง ั คงมีี ซึ่่ง � จะต้้องให้้ท้อ ้ งถิ่่�นเร่่งแก้้ปัญ ั หา
ดัังกล่่าวอย่่างต่่อเนื่่�อง เพื่่อ � ให้้เกิิดการดำำ�เนิินการต่่อไปได้้
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
39
2) ระบบปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินทางอากาศยาน
สพฉ. จััดให้้มีีระบบปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางอากาศยาน ครั้้�งแรกเมื่่อ � ปีี พ.ศ.2552 วััตถุุประสงค์์เพื่่อ � ให้้บริิการผู้้�ป่ว ่ ย
ฉุุก เฉิิ น ที่่� ไ ด้้ รั ับ การบาดเจ็็ บ หรืือป่่ ว ยอยู่่�ในขั้้� น วิิ ก ฤตและฉุุก เฉิิ น ที่่� มีีอา การและอาการแสดงที่่� เป็็ น อัั น ตรายต่่ อชีีวิิ ต รวมทั้้� ง ผู้้�ป่่ ว ยอยู่่�ในพื้้� น ที่่� ทุุ ร กัั น ดารห่่ า งไกลหรืือพื้้� น ที่่� ที่่� ไ ม่่ สา มารถเคลื่่� อ นย้้ ายด้้ ว ยยานพาหนะปกติิ ไ ด้้ ให้้ สา มารถ
เคลื่่�อนย้้ายได้้โดยใช้้ยานพาหนะทางอากาศยานในการลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วย ทำำ�ให้้ประชาชนคนไทยที่่�มีีความจำำ�เป็็นต้้องได้้
รัับการดููแลอย่่างทัันท่่วงทีี สามารถเข้้าถึึงบริิการที่่�มีีคุุณภาพได้้ ในกรณีีที่่�ไม่่สามารถลำำ�เลีียงด้้วยระบบปฏิิบััติิการปกติิ โดยไม่่มีีค่่าใช้้จ่่ายเป็็นอุุปสรรค
ผลการดำำ�เนิินงานปีีงบประมาณ 2563 สามารถนำำ�ส่่งผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินไปยัังโรงพยาบาลปลายทางที่่เ� หมาะสมได้้
อย่่างทัันท่่วงทีี จำำ�นวนทั้้�งสิ้้�น 78 เที่่ย � วบิิน
นอกจากนี้้� สพฉ. ได้้พัฒ ั นาหลัักสููตรฝึึกอบรมการลำำ�เลีียงผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินด้้วยอากาศยานแบบเข้้มข้้น (Intensive
Emergency Aeromedical Transportation Training Course) ขึ้้�น โดยรุ่่�นที่่� 1 ได้้ทำ� ำ การฝึึกอบรมให้้กัับบุุคลากรที่่ป � ฏิิบัติ ั ิ
งานในศููนย์์นเรนทร ซึ่่ง� บุุคลากรเหล่่านี้้นั � บ ั เป็็นหััวใจและองค์์ประกอบสำำ�คััญของระบบปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินทางอากาศยานด้้วย ทิิศทางการขัับเคลื่่�อนเพื่่อ � ความยั่่�งยืืนของปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินด้้วยอากาศยาน
ทิิศทางการขัับเคลื่่�อนเพื่่อ � ความยั่่�งยืืนของระบบปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางอากาศยาน ที่่มุ่่� � งเน้้นให้้ประชาชนในพื้้�นที่่�
ห่่างไกลและทุุรกัันดาร สามารถเข้้าถึงึ ระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินได้้อย่า ่ งทั่่�วถึึงและท่่าเทีียม มีีเป้้าหมายคืือ การมีีระบบ ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิ นในการลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิ นด้้วยอากาศยาน ให้้ครอบคลุุมทั้้�งประเทศ โดยมีีแผนที่่�จะขยายลงไปสู่่�
เขตระเบีียงเศรษฐกิิจภาคตะวัันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) และมีีการเตรีียมความพร้้อมแผนปฏิิบัติ ั ิการ
ฉุุกเฉิิน เพื่่อรั � บ ั มืือกัับอุุบัติ ั ิเหตุุจากการเดิินทางในช่่วงเทศกาลหรืือวัันหยุุดยาว โดยที่่ผ่ � า ่ นมาได้้มีีการฝึึกซ้้อมเคลื่่�อนย้้าย ผู้้�ป่ว ่ ยบนการทางพิิเศษแห่่งประเทศไทย ควบคู่่�กัับการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางบกเพื่่อสร้ � า้ งความเชื่่อมั่่ � น � ให้้กัับประชาชน ใน
การสััญจรในช่่วงเทศกาล สามารถเข้้าถึึงระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินได้้อย่า ่ งมีีคุุณภาพ รวมถึึง ให้้ความสำำ�คััญกัับบุุคลากร พััฒนาบุุคลากรทางการแพทย์์ในพื้้�นที่่� ให้้มีีความพร้้อมและทำำ�การฝึึกร่่วมกัับภาคีีเครืือข่่ายอย่า ่ งสม่ำำ�เสมอ เพื่่อ � ให้้พร้้อม ในการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทั้้�งในภาวะปกติิและภััยพิบั ิ ติ ั ิต่่างๆ
3) ระบบการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินทางน้ำำ��
สพฉ. จััดให้้มีีปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางน้ำำ� เพื่่อ � ให้้บริิการผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินที่่ไ� ด้้รับ ั บาดเจ็็บหรืือป่่วยอยู่่�ในขั้้�นวิิกฤติิและ
ฉุุกเฉิิน ที่่มีีอา � การและอาการแสดงที่่เ� ป็็นอัันตรายต่่อชีีวิต ิ ที่่อยู่่� � ในบริิเวณชายฝั่่�งทะเล หรืือแหล่่งน้ำำ�ที่่ไ� ม่่สามารถเคลื่่อ � นย้้าย ด้้วยยานพาหนะปกติิได้้ ให้้สามารถเคลื่่�อนย้้ายได้้ โดยใช้้ยานพาหนะทางน้ำำ�ในการลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วย ซึ่่�งเริ่่�มดำำ�เนิินการมา ตั้้�งแต่่ปีี 2553 ทำำ�ให้้ประชาชนคนไทยที่่มีี � ความจำำ�เป็็นต้้องเข้้าถึึงบริิการ แต่่ไม่่สามารถลำำ�เลีียงด้้วยวิิธีีการปกติิ สามารถ ได้้รับ ั บริิการที่่มีีคุ � ณ ุ ภาพ โดยไม่่มีีค่่าใช้้จ่่ายเป็็นอุุปสรรค
ในปีีงบประมาณ 2563 ผลการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางน้ำำ� มีีจำำ�นวนทั้้�งสิ้้�น 1,521 ครั้้�ง ซึ่่ง � ที่่ผ่ � า ่ นมา สพฉ. มีีการ
จััดหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางน้ำำ�ร่่วมกัับกระทรวงสาธารณสุุข ท้้องถิ่่�น และภาคีีเครืือข่่าย มีีการทำำ�บัันทึึกข้้อตกลงร่่วม
กัับกองทััพเรืือในการพััฒนาวิิชาการและจััดทำ� ำ หลัักสููตรการอบรมด้้านการช่่วยเหลืือและดููแลผู้้�ป่ว ่ ยทางน้ำำ�และทางทะเล
โดย สพฉ. ได้้จััดให้้มีีการอบรมหลัักสููตรดัังกล่่าวทั่่�วประเทศ
40
รายงานประจำ�ปี 2563
4) ระบบปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินในพื้้� นที่่�พิิเศษและกลุ่่�มเฉพาะ
การจััดระบบปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินในพื้้�นที่่�พิิเศษที่่�กำำ�หนดขึ้้�น สำำ�หรัับเขตพื้้�นที่่�หรืือภููมิิประเทศที่่�ไม่่มีีผู้้�ปฏิิบััติิการ
หน่่วยปฏิิบััติิการหรืือสถานพยาบาลเพีียงพอ เช่่น ภููมิิประเทศทุุรกัันดารหรืืออยู่่�ห่่างไกล ผู้้�ปฏิิบััติิการ หน่่วยปฏิิบััติิการ
กระจายตััวไม่่ครอบคลุุม การติิดต่่อสื่่�อสาร การลำำ�เลีียงหรืือขนส่่งลำำ�บาก ต้้องใช้้พาหนะพิิเศษ รวมถึึงพื้้�นที่่�ที่่�ประกาศ
เป็็นเขตสาธารณภััย หรืือมีีสถานการณ์์ความรุุนแรงและความไม่่สงบ สพฉ. ได้้ดำำ�เนิินการแสวงหาแนวทาง รููปแบบการ
จััดบริิการที่่มีีป � ระสิิทธิิภาพ และจากความร่่วมมืือของกรมอุุทยานแห่่งชาติิ สััตว์์ป่า ่ และพัันธ์์พืืช ซึ่่ง � มีี 151 แห่่ง โดยการ
ทำำ�ความเข้้าใจและสร้้างเครืือข่่าย เพื่่อร่ � ว่ มพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในพื้้�นที่่อุ � ุทยานแห่่งชาติิ ซึ่่ง� ถืือเป็็นพื้้�นที่่ห่ � า ่ งไกล
ทุุรกัันดาร เป็็นพื้้�นที่่�เฉพาะที่่�หน่่วยปฏิิบััติิการภายนอกไม่่สามารถเข้้าไปปฏิิบััติิการได้้ และมีีความร่่วมมืือกัันอย่่างดีีจน
กรมอุุทยานแห่่งชาติิ สััตว์์ป่่าและพัันธ์์พืืช ได้้จััดตั้้�งหน่่วยงาน “ส่่วนกู้้�ภััยอุุทธยานแห่่งชาติิ” โดยได้้จััดตั้้�งศููนย์์ประสาน
กู้้�ภััยอุุทยานแห่่งชาติิ 7 แห่่ง มีีเจ้้าหน้้าที่่�ที่่�สามารถให้้บริิการช่่วยเหลืือนัักท่่องเที่่�ยว ประชาชนที่่�เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน และจะ
ขยายผลให้้มีีหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการครบทุุกพื้้�นที่่ข � องกรมทั้้�ง 151 แห่่ง คืือ มีีหน่่วยปฐมพยาบาล ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน รถบริิการ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน และลานจอดฮอลิิคอปเตอร์์
สพฉ. ยัังได้้ให้้ความสำำ�คััญกัับการจััดระบบปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินกลุ่่�มเฉพาะ ประกอบด้้วย การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในแหล่่ง
อุุตสาหกรรม การท่่องเที่่ย � ว กีีฬา และกลุ่่�มเปราะบาง ซึ่ง่� เป็็นกลุ่่�มพิิเศษ ที่่จ � ะต้้องได้้รับ ั การดููแลเฉพาะที่่แ � ตกต่่างจากกลุ่่�ม
ปกติิ โดยได้้ดำำ�เนิินการนำำ�ร่่องในกลุ่่�มเหล่่านี้้� เช่่น กลุ่่�มอุุตสาหกรรมมีีการอบรมกลุ่่�มที่่อยู่่� � แท่่นเจาะน้ำำ�มัันของบริิษััท ปตท.
สผ.จำำ�กััด มหาชน (PTTEP) และกำำ�ลัังดำำ�เนิินการความร่่วมมืือกัับพื้้�นที่่� EEC ในการที่่จ � ะไปจััดระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่�
ได้้มาตรฐาน คุุณภาพเทีียบเท่่าสากล เพื่่�อให้้เกิิดความมั่่�นใจให้้กัับต่่างชาติิหรืือประชาชนที่่�อยู่่�บริิเวณใกล้้เคีียง ได้้รับ ั
บริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่�ทัันท่่วงทีีและมีีประสิิทธิิภาพ โดยได้้รับ ั ความร่่วมมืือจากทุุกภาคส่่วนไม่่ว่่าจะเป็็นภาครััฐหรืือ
เอกชน ส่่วนกลุ่่�มการกีีฬาได้้มีีการบัันทึึกความร่่วมมืือที่่จ � ะจััดระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่ไ� ด้้มาตรฐาน คุุณภาพ ที่่ส � นามกีีฬา ทุุกแห่่ง ซึ่ง ่� เริ่่�มมีีการพััฒนามาตั้้�งแต่่ปีี 2562 เป็็นต้้นมา
นอกจากนี้้� สพฉ. ยัังได้้ประสานกัับภาคีีเครืือข่่ายอื่่�นๆ ที่่เ� ข้้าเงื่่อ � นไขพื้้�นที่่เ� ฉพาะ เพื่่อ � ให้้ดำำ�เนิินการจััดระบบปฏิิบัติ ั ิ
การฉุุกเฉิิน สามารถช่่วยเหลืือประชาชนเบื้้�องต้้นในกรณีีเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน และประสานการส่่งต่่อหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน
ภายนอกต่่อไป
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
41
5) การสนัับสนุุนเพื่่� อพัั ฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินในพื้้� นที่่�ที่่�มุ่่�งเน้้นการปิิดช่่องว่่าง (GAP) ของ พื้้� นที่่�จัังหวััด สพฉ. มีีการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในพื้้�นที่่ที่ � มุ่่� ่� งเน้้นการปิิดช่อ ่ งว่่าง (GAP) ของพื้้�นที่่จั � ง ั หวััด เพื่่อสนั � ับสนุุน
การพััฒนางานให้้สอดคล้้องกัับปััญหาในพื้้�นที่่� โดยประเมิินจากผลการดำำ�เนิินงานตามตััวชี้้วั � ด ั ในระดัับพื้้�นที่่� ความพร้้อม
ในการปฏิิบัติ ั ิงาน ความรุุนแรงของปััญหาในพื้้�นที่่� จำำ�นวนประชากรที่่แ � ตกต่่าง ความเสี่่ย � งของการเกิิดภาวะฉุุกเฉิิน
3. การพัั ฒนาระบบบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินในสถานพยาบาล
ตามที่่ค � ณะรััฐมนตรีีมีีมติิเห็็นชอบหลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่่อ � นไขการกำำ�หนดค่่าใช้้จ่่ายในการดำำ�เนิินการผู้้�ป่ว ่ ย
ฉุุกเฉิินวิิกฤต เมื่่�อวัน ั ที่่� 28 มีีนาคม 2560 และให้้เริ่่�มดำำ�เนิินการในโครงการ “ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิิทธิิทุก ุ ที่่”� เพื่่อ � ให้้เกิิด
ความครอบคลุุมไม่่ให้้เกิิดความเหลื่่�อมล้ำำ�ในการรัักษาพยาบาลผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต อัันจะทํําให้้ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตได้้รับ ั การคุ้้�มครองสิิทธิิในการเข้้าถึึงบริิการอย่่างปลอดภััย โดยไม่่มีีเงื่่�อนไขในการเรีียกเก็็บค่่ารัก ั ษาพยาบาล เพื่่�อให้้ไม่่เป็็น
อุุปสรรคและความเสี่่ย � งของการดููแลรัักษา โดยไม่่ต้้องเสีียค่่าใช้้จ่่ายภายใน 72 ชั่่�วโมงหรืือจนกว่่าจะพ้้นภาวะวิิกฤต
ผลงานเด่น ศูนย์ประสานคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (ศคส.สพฉ.)
การเข้้าถึึงบริิการการแพทย์์และสาธารณสุุขในปััจจุุบััน ผู้้�ป่่วยต้้ องเข้้ารับ ั บริิการตามสถานพยาบาลของรััฐ
หรืือเอกชนคู่่�สััญญาที่่�กองทุุนตามสิิทธิิการรัักษากำำ�หนดไว้้ ทั้้�งนี้้�มีีผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤตบางรายไม่่สามารถเข้้ารับ ั บริิการ
สถานพยาบาลตามที่่ก � องทุุนตามสิิทธิิการรัักษากำำ�หนดให้้ได้้ เนื่่�องจากจุุดเกิิดเหตุุกัับสถานพยาบาลอยู่่�ไกลกััน หรืืออาจ
อยู่่�ใกล้้กัับสถานพยาบาลที่่ก � องทุุนตามสิิทธิิการรัักษากำำ�หนด แต่่สถานพยาบาลนั้้�นไม่่มีีศัก ั ยภาพในการรัักษาเฉพาะโรค ผู้้�ป่่วยจึึงจำำ�เป็็นต้้องเข้้ารัก ั ษาพยาบาล ที่่�สถานพยาบาลเอกชนนอกคู่่�สััญญาของกองทุุนการรัักษา และเมื่่�อเข้้ารัก ั ษา
สถานพยาบาลเอกชนแล้้ว บางกองทุุนกำำ�หนดสิิทธิิการรัักษาหรืือสวััสดิิการเกี่่�ยวกัับรัักษาพยาบาล ให้้ผู้้�ป่่วยสามารถ เบิิกค่่ารัก ั ษาพยาบาลหรืือเบิิกได้้บางส่่วน แต่่บางกองทุุนไม่่ได้้กำำ�หนดสิิทธิิหรืือสวััสดิิการเกี่่�ยวกัับรัักษาพยาบาลให้้ผู้้�ป่ว ่ ย
ที่่เ� ข้้ารัก ั ษาสถานพยาบาลนอกคู่่�สััญญา ซึ่ง่� จากปััญหาดัังกล่่าวทำำ�ให้้ผู้้�ป่ว ่ ยเกิิดความเหลื่่อ � มล้ำำ�ของสิิทธิิการรัักษา ส่่งผลให้้
ผู้้�ป่ว ่ ยไม่่ได้้รับ ั การบริิการทางการแพทย์์และสาธารณสุุข ได้้อย่า ่ งเหมาะสม และทัันท่่วงทีี เสี่่ย � งต่่อการเสีียชีีวิิตหรืือพิิการ
จากปััญหาดัังกล่่าว กระทรวงสาธารณสุุขและหน่่วยงานที่่เ� กี่่ย � วข้้องได้้ร่ว่ มกัันหาทางแก้้ไขปััญหา และได้้เสนอให้้
แก้้ไขกฎหมายว่่าด้้วยสถานพยาบาล จึึงได้้ออกเป็็น พ.ร.บ.สถานพยาบาล ฉบัับที่่� 4 พ.ศ. 2559 ให้้รัฐ ั มนตรีีโดยคํําแนะนํํา
ของคณะกรรมการสถานพยาบาล มีีอำำ�นาจประกาศกํําหนดผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน และกำำ�หนดหลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่่�อนไข การช่่วยเหลืือเยีียวยา แก่่ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน การระดมทรััพยากรและมีีส่่วนร่่วมในการช่่วยเหลืือเยีียวยา และการจััดการรัับ - ส่่ง
ต่่อผู้้�ป่่วยไปยัังสถานพยาบาลอื่่�น รวมทั้้�งให้้มีีการกํําหนดค่่าใช้้จ่่ายในการดํําเนิินการผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤตด้้วย จากการที่่�
พ.ร.บ.สถานพยาบาล ฉบัับที่่� 4 มีีผลบัังคัับใช้้ รััฐบาลจึึงได้้ประชุุมหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องในการปรัับเปลี่่�ยนนโยบายและ
แนวทางปฏิิบััติิในการคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน โดยกำำ�หนดเป็็นนโยบายใหม่่ ภายใต้้แนวคิิด “เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต
มีีสิิทธิิทุุกที่่�” เพื่่�อลดความเลื่่�อมล้ำำ�ด้้านการรัักษาพยาบาลของประชาชนในกรณีีเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต จะทํําให้้ผู้้�ป่่วย
42
รายงานประจำ�ปี 2563
ฉุุกเฉิินวิิกฤตได้้รับ ั การคุ้้�มครองสิิทธิิในการเข้้าถึง ึ บริิการอย่่างปลอดภััย โดยไม่่มีีเงื่่อ � นไขในการเรีียกเก็็บค่่ารัก ั ษาพยาบาล
เพื่่อ � ให้้ไม่่เป็็นอุุปสรรคและความเสี่่ย � งของการดููแลรัักษา โดยไม่่ต้อ ้ งเสีียค่่าใช้้จ่าย ่ ภายใน 72 ชั่่�วโมง หรืือจนกว่่าจะพ้้นภาวะ วิิกฤต โดยกระทรวงสาธารณสุุขได้้ออกประกาศภายใต้้ พ.ร.บ.สถานพยาบาล และประกาศในราชกิิจจานุุเบกษา เมื่่อวั � น ั ที่่�
31 มีีนาคม 2560 ซึ่่ง � มีีผลบัังคัับใช้้ตั้้�งแต่่วัน ั ที่่� 1 เมษายน 2560 จำำ�นวน 3 ฉบัับ ดัังนี้้� 1) ประกาศกระทรวงสาธารณสุุข เรื่่อ � ง กํําหนดผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน
2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุุข เรื่่อ � ง หลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่่�อนไขการช่่วยเหลืือเยีียวยาแก่่ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิ น
การระดมทรััพยากรและมีีส่่วนร่่วมในการช่่วยเหลืือเยีียวยา และการจััดให้้มีีการส่่งต่่อผู้้�ป่ว ่ ยไปยัังสถานพยาบาลอื่่น �
3) ประกาศกระทรวงสาธารณสุุข เรื่่อ � ง หลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่่�อนไขการกํําหนดค่่าใช้้จ่่ายในการดํําเนิินการ
ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต
การด�ำเนินงานในปี 2563
โครงการ “ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิิทธิิทุก ุ ที่่”� เริ่่�มดำำ�เนิินการตั้้�งแต่่วัน ั ที่่� 1 เมษายน 2560 เป็็นต้้นมา รััฐบาลได้้กำำ�หนด
ให้้เริ่่�มดำำ�เนิินการตามนโยบาย “เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิิทธิิทุก ุ ที่่”� (Universal Coverage for Emergency Patients:
UCEP) เพื่่�อลดความเหลื่่�อมล้ำำ�และคุ้้�มครองสิิทธิิ ด้้านการรัักษาพยาบาลของประชาชน ในกรณีีเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต
ให้้สามารถเข้้ารับ ั การรัักษาพยาบาลในสถานพยาบาลได้้ทุก ุ แห่่ง และให้้สถานพยาบาลต้้องให้้การดููแลรัักษาผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน
วิิกฤตจนพ้้นภาวะวิิกฤต โดยผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตไม่่ต้้องเสีียค่่าใช้้จ่่ายตั้้�งแต่่แรกเข้้ารัก ั ษาจนพ้้นภาวะวิิกฤต มีีโรงพยาบาล
เอกชน (ทั่่�วประเทศ) จำำ�นวน 382 แห่่ง มีีผลการปฏิิบัติ ั ิงานดัังนี้้�
1) มีีการพััฒนาและจัั ดทำ� ำ โปรแกรมการคัั ดแยก Pre Authorization เพื่่�อใช้้ประกอบการวิินิิจฉัั ยของแพทย์์
ตามการประเมิินระดัับความฉุุกเฉิินของสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ให้้เป็็นมาตรฐานเดีียวกััน และใช้้กัับ โรงพยาบาลทุุกแห่่งทุุกระดัับทั่่�วประเทศ มีีการออกใบประเมิิน (ใบ PA) แจ้้งให้้ผู้้�ป่่วยทราบว่่าผู้้�ป่่วยเข้้าเกณฑ์์ ฉุุกเฉิินวิิกฤตหรืือไม่่ ทุุกราย
2) มีีการจััดตั้้�ง “ศููนย์์ประสานคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต” ที่่ส � ถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ (ศคส.สพฉ.)
ในการติิดตามกำำ�กัับ การให้้คำำ�ปรึึกษาทางการแพทย์์ การบริิหารจััดการการคััดแยกผู้้�ป่ว ่ ย และการรัับเรื่่อ � งร้้องเรีียน โดยมีีผู้้�ปฏิิบัติ ั ิงานประกอบด้้วย แพทย์์ พยาบาล และเจ้้าหน้้าที่่� Call center ตลอด 24 ชั่่�วโมง ผ่่านหมายเลข
02-872-1669
3) นำำ�ประกาศ “พระราชบััญญััติิสถานพยาบาล” มาประกอบใช้้กัับสถานพยาบาลเอกชน ทุุกแห่่งทั่่�วประเทศ ไม่่ให้้ปฏิิเสธการรัักษาผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน
4) มีีการกำำ�หนดราคาค่่ารัก ั ษาพยาบาลหมวดต่่าง ๆ สำำ�หรัับเป็็นราคามาตรฐาน (Fee Schedule) และได้้เพิ่่�ม รายการยาและเวชภััณฑ์์มิิใช่่ยา ให้้ครอบคลุุมการรัักษาพยาบาลเพิ่่�มมากขึ้้�น
5) กำำ�หนด ขั้้�นตอน แนวทางการดำำ�เนิินงานให้้สถานพยาบาลเอกชน สามารถปฏิิบัติ ั ิงานได้้สะดวกมากยิ่่�งขึ้้�น
6) จััดตั้้�งคณะทำำ�งานพิิจารณารัับเรื่่อ � งร้้องเรีียน ในกรณีีมีีความขััดแย้้งในด้้านการประเมิินคััดแยกระดัับความ ฉุุกเฉิินระหว่่างสถานพยาบาลเอกชน กัับผู้้�ป่ว ่ ย/ญาติิ
นัับตั้้�งแต่่เริ่่�มดำำ�เนิินการเป็็นระยะเวลา 3 ปีี 6 เดืือน (ข้้อมููล ณ วัันที่่� 30 กัันยายน 2563) มีีผลการมีีผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน
ใช้้บริิการ 827,312 ราย เป็็นผู้้�ป่ว ่ ยเข้้าเกณฑ์์เพีียง 91,091 ราย (ร้้อยละ 11.01) ดำำ�เนิินการสรุุปพอสัังเขปดัังนี้้�
โรงพยาบาลเอกชน (ทั่่�วประเทศ) จำำ�นวน
โรงพยาบาลเอกชนบัันทึึก PA จำำ�นวน
ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินที่่ม � ารัับบริิการทั้้�งสิ้้�น จำำ�นวน
เป็็นผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต (เข้้าเกณฑ์์) จำำ�นวน
จำำ�นวนผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตต่่อเดืือน จำำ�นวน
ผู้้�ป่ว ่ ยที่่ม � ารัับบริิการในเขต กทม. จำำ�นวน
ผู้้�ป่ว ่ ยที่่ม � ารัับบริิการต่่างจัังหวััด จำำ�นวน
ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน เป็็นผู้้�ป่ว ่ ย Non Trauma จำำ�นวน
การมาโรงพยาบาล โดยญาติินำำ�ส่่ง มากที่่สุ � ด จำ ุ ำ�นวน
382
แห่่ง
827,312
ราย
370
91,091
~ 2,200
341,985
485,327
692,622
379,308
แห่่ง
(ร้้อยละ 96.86)
ราย
(ร้้อยละ 11.01)
ราย
(ร้้อยละ 41.34)
ราย
ราย
ราย
ราย
(ร้้อยละ 58.66)
(ร้้อยละ 83.72)
(ร้้อยละ 92.30)
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
43
เรื่่อ � งร้้องเรีียน 327 ราย (คิิดเป็็นร้้อยละ 0.04) ประเด็็นเรื่่อ � งร้้องเรีียนตามลำำ�ดัับ คืือ รายการ
่ จำ�นวน (เรือง)
คิดเป็ นร้อยละ
่ื ่ ยุติเรองได้ (เรือง)
ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ แต่รพ.เอกชน เรียกเก็บค่ารักษา
133
40.67
57
ผู้ป่วยไม่เห็นด้วยกับผลการวินิจฉัย
129
39.45
39
รพ.ไม่ลงข้อมูลใน PA และเก็บเงิน
54
16.51
8
11
3.36
2
327
100
106
่ื ่น ๆ เรองอื
รวมทั้งสิ้น
ทั้้�งนี้้� โครงการ “เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิิทธิิทุก ุ ที่่”� (Universal Coverage for Emergency Patient
: UCEP) ได้้รับ ั การโหวตจากประชาชน ให้้เป็็นโครงการที่่ป � ระชาชนชื่่น � ชอบมากที่่สุ � ด ุ อัันดัับ 1 ผลงานเด่่น
ของกระทรวงสาธารณสุุข และเป็็นนโยบายที่่ป � ระชาชนพึึงพอใจที่่สุ � ด ุ ใน 5 อัันดัับแรก ของรััฐบาล
ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ ความร่่วมมืือของทุุกภาคส่่วน และความยั่่�งยืืนของนโยบาย โดยเฉพาะการส่่งเสริิมจากรััฐบาลที่่มีี � ความ
ต่่อเนื่่�องในการจััดสรรงบประมาณ เพื่่อ � ใช้้ในการดำำ�เนิินการคุ้้�มครองสิิทธิิให้้กัับประชาชนคนไทยทุุกคน
ตลอดจนการสร้้างความตระหนัักรู้้ใ� นการดููแลและการป้้องกัันการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินเบื้้�องต้้น
44
รายงานประจำ�ปี 2563
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 2
พัั ฒนาระบบบริิหารจััดการผู้้�ปฏิิบััติิการในระบบ การแพทย์์ฉุุกเฉิิน ทรััพยากรที่่สำ � � ำ คััญและเป็็นหััวใจของการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน คืือ ทรััพยากรบุุคคล ดัังนั้้�นการพััฒนาบุุคลากร เพื่่อ � ให้้มีี
ความรู้้แ � ละทัักษะในการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน เพื่่อคุ้้� � มครองความปลอดภััยของผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินนั้้�น เป็็นบทบาทหน้้าที่่ข � องสถาบััน
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ตามพระราชบััญญััติิการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน พ.ศ.2551 มาตรา 28 และ 29 และอำำ�นาจหน้้าที่่ต � าม
มาตรา 15 (5) ในการจััดให้้มีีการศึึกษา ฝึึกอบรมการปฏิิบัติ ั ิหน้้าที่่เ� กี่่�ยวกัับการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
สำำ�หรัับบุุคลากรในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน มีี 2 กลุ่่�ม คืือ กลุ่่�มที่่� 1 คืือแพทย์์/พยาบาล ซึ่่ง� อยู่่�ภายใต้้การกำำ�กัับดููแล
ของสภาวิิชาชีีพ กลุ่่�มที่่� 2 คืือ ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการตามที่่กำ � ำ�หนดไว้้ตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ซึ่่ง � จะอยู่่�ภายใต้้
การกำำ� กัั บ ดููแลของคณะอนุุ ก รรมการรัับ รององค์์ ก รและหลัั ก สููตรการศึึ ก ษาหรืือฝึึ ก อบรมผู้้�ป ฏิิ บัั ติิ ก าร และการให้้
ประกาศนีียบััตรหรืือเครื่่อ � งหมายวิิทยฐานะแก่่ผู้้�ผ่า ่ นการศึึกษาหรืือฝึึกอบรม (อศป.) ซึ่่ง� ปฏิิบัติ ั ห ิ น้้าที่่ค � ณะกรรมการวิิชาชีีพ และมีีอำำ�นาจหน้้าที่่ต � ามพระราชบััญญััติิการประกอบโรคศิิลปะ พ.ศ. 2542 โดยอนุุโลม
การพััฒนาบุุคลากรในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน มีีเป้้าหมายให้้บุค ุ คลากรมีีคุุณภาพ สามารถให้้การดููแลผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน
ได้้ตามมาตรฐาน และปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน ได้้ตามมาตรฐานที่่� กพฉ. กำำ�หนด โดยต้้องได้้รับ ั ประกาศนีียบััตรปฏิิบััติิการ
ฉุุกเฉิิน โดยมีีข้้อมููลจำำ�นวนบุุคคลากร ดัังนี้้�
1. ประสานความร่่วมมืือระหว่่างสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิกัับแพทยสภา สภาการพยาบาล เพื่่อส่ � ง่ เสริิมและ สนัับสนุุนการผลิิตและพััฒนาบุุคลากรให้้ได้้ตามเป้้าหมายรองรัับการดำำ�เนิินงานในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
2. สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิร่ว่ มกัับกระทรวงสาธารณสุุข ในการผลัักดัันให้้มีีการกำำ�หนดโครงสร้้างตำำ�แหน่่ง เจ้้าพนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์และนัักปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ของกระทรวงสาธารณสุุข
3. มีีการรัับรององค์์กรการศึึกษาระดัับปริิญญาตรีี สาขาปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินการแพทย์์รวม 4 สถาบััน คืือ มหาวิิทยาลัย ั มหาสารคาม คณะแพทย์์ศาสตร์์รามาธิิบดีี มหาวิิทยาลััยนวมิินทราธิิราช และมหาวิิทยาลััยพะเยา
4. มีีการรัับรององค์์กรการฝึึกอบรมหลัักสููตรปฐมพยาบาและช่่วยปฏิิบัติ ั ิการแพทย์์ขั้้น � พื้้�นฐาน 372 แห่่ง หลัักสููตร ปฐมพยาบาลและช่่วยปฏิิบััติิการแพทย์์ขั้้�นพื้้�นฐาน (อุุทธยาน) 8 แห่่ง และช่่วยปฏิิบััติิการแพทย์์ขั้้�นพื้้�นฐาน และช่่วยปฏิิบัติ ั ิการแพทย์์ขั้้น � า ่ นการรัับรองจาก อศป. � สููง 63 แห่่ง ที่่ผ่
5. มีีการรัับรององค์์กรการฝึึกอบรมผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการอำำ�นวยการ 8 แห่่ง คืือ คณะแพทยศาสตร์์มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่
คณะแพทยศาสตร์์มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น คณะแพทยศาสตร์์มหาวิิทยาลััยสงขลานคริินทร์์ คณะแพทยศาสตร์์ รามาธิิ บ ดีี วิิทยาลััยแพทยศาสตร์์พระมงกุุฎเกล้้ า โรงพยาบาลราชวิิถีี โรงพยาบาลภููมิิพลอดุุลยเดช และ โรงพยาบาลขอนแก่่น
6. ได้้ดำำ�เนิินการผลัักดัันนัักปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ (นฉพ.) เป็็นผู้้�ประกอบโรคศิิลปะ
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
45
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 3
พัั ฒนากลไกการอภิิบาลระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน 1. การวิจัย และพัฒนาความรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉิน
สพฉ. ได้้รับ ั การสนัับสนุุนงบประมาณเพื่่อ � ดำำ�เนิินการศึึกษาวิิจััยที่่สำ � � ำ คััญ 1 เรื่่อ � ง คืือ โครงการการบริิหารจััดการและ
สร้้างองค์์ความรู้้จ � ากงานวิิจัย ั ในระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน มีีผลการดำำ�เนิินงานตามวััตถุุประสงค์์ 3 ประเด็็น ได้้แก่่
ั า่ งเป็็นระบบ เพื่่อสนั � บ ั สนุุนให้้เกิิดงานวิิจัย ั ที่่มีีคุ � ณ ุ ภาพ มีีการบริิหารจััดการเพื่่อสร้ � า้ งองค์์ความรู้้ � 1) บริิหารจััดการงานวิิจัยอย่ ประเด็็น “การวิิจัย ั และพััฒนารููปแบบการเข้้าถึงึ บริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่เ� หมาะสมสำำ�หรัับผู้้�พิก ิ ารในประเทศไทย”
มีีงานวิิจัย ั ที่่ค � รอบคลุุมประเด็็นดัังกล่่าว 2 โครงการ ได้้แก่่ (1) โครงการการพััฒนารููปแบบการเข้้าถึงึ บริิการการแพทย์์ ฉุุกเฉิินที่่เ� หมาะสมสำำ�หรัับคนพิิการทางการได้้ยิน ิ และสื่่อ � ความหมายและคนพิิการทางการมองเห็็นในประเทศไทย
และ (2) การศึึกษาเพื่่อจั � ดทำ ั �ำ ข้้อเสนอแนะเกี่่�ยวกัับระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสำำ�หรัับผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินจิิตคุ้้�มคลั่่�ง
แบบบููรณาการในพื้้�นที่่�
ึ ษาโครงการวิิจััย 2) พััฒนาศัักยภาพและคุุณภาพด้้านการวิิจััยแก่่นัักวิิจััยทั้้�งส่่วนกลางและนัักวิิจััยพื้้�นที่่�เป็็นที่่�ปรึก
พััฒนาหลัั กสููตรและกระบวนการถ่่ ายทอดการเรีียนรู้้ �ด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นในโรงเรีียนอย่่างมีีส่่วนร่่วมและ “การพััฒนางานประจำำ�สู่่�งานวิิจััย” ของบุุคลากร สพฉ. และเครืือข่่ายวิจั ิ ัย R2R
ุ เฉิินสู่่�สาธารณชน โดยได้้มีีการจััดทำ� ำ เอกสารวิิจััยฉบับ ั ย่่อ หรืือ 3) การเผยแพร่่งานวิิจััยในระบบบริิการการแพทย์์ฉุก EMS Brief จำำ�นวน 5 เรื่่อ � ง ได้้แก่่ (1) รููปแบบการบริิหารจััดการด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสำำ�หรัับการแข่่งขััน
กีีฬาระดัับชาติิในประเทศไทย (2) รููปแบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในแหล่่งท่่องเที่่ย � ว: กรณีีศึึกษาพื้้�นที่่ภูู � เขา อำำ�เภอเขาค้้อ จัังหวััดเพชรบููรณ์์ (3) การจััดบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสำำ�หรัับพื้้�นที่่ค � วามมั่่�นคงของประเทศไทย (4) การพััฒนา
ต้้นแบบเปลยกเคลื่่อ � นย้้ายผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิินในระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน (5) ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเพื่่อผู้ � ้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิิน
วิิกฤตสุุขภาพจิิต และค้้นหาเอกสารงานวิิจัย ั บทความที่่เ� กี่่ย � วข้้องด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเพื่่อ � เผยแพร่่ในเว็็บไซต์์ สพฉ. อย่่างต่่อเนื่่�อง
2. การพัฒนาระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน
1) ระบบคลัังข้้อมููลการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน (Data Warehouse) ซึ่่ง� เป็็นศููนย์์กลางในการให้้บริิการข้้อมููลสารสนเทศที่่สำ � �ำ คััญ ที่่เ� กี่่ย � วกัับระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เพื่่อสนั � ับสนุุนการตััดสิน ิ ใจของผู้้บ � ริิหาร สนัับสนุุนข้้อมููลให้้แก่่ผู้ใ้� ช้้งานทั้้�งภายใน และภายนอกองค์์กร สามารถนำำ�ข้้อมููลสารสนเทศที่่ใ� ห้้บริิการไปพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินระดัับพื้้�นที่่� โดยมีีการรัับข้้อมููล
จากระบบสารสนเทศการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน (ITEMS) ซึ่ง่� มีีข้้อมููลทรััพยากรพื้้�นฐาน ข้้อมููลการปฏิิบัติ ั ก ิ ารการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ข้้อมููลผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตมีีสิิทธิิทุก ุ ที่่� (UCEP) ข้้อมููลการบริิหารจััดการกองทุุน (E-Budget) ข้้อมููลการตรวจประเมิิน และรัับรองคุุณภาพระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งประเทศไทย (TEMSA) และข้้อมููลสนัับสนุุนตััวชี้วั ้� ด ั การแพทย์์ ฉุุกเฉิิน เป็็นต้้น ข้้อมููลดัังกล่่าวจะถููกวิิเคราะห์์และแปรผลให้้สามารถนำำ�มาใช้้ประโยชน์์ต่่อไปได้้
2) การพััฒนาระบบ ITEMS - OIS มีีรายละเอีียดการพััฒนา ดัังนี้้�
- เชื่่อ � มระบบ Telemedicine บนรถพยาบาล เพื่่อพั � ฒ ั นาระบบแพทย์์อำ� ำ นวยการให้้สามารถเข้้าถึงึ ข้้อมููลผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน ในรถพยาบาลได้้ทัน ั ทีี ช่่วยในการตััดสิน ิ ใจของผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ ารในการดููแลรัักษาอาการผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิินได้้แบบ real time
- พััฒนาระบบ Call center รัับแจ้้งเหตุุและสั่่�งการเชื่่อ � มระบบ Telemedicine
- เชื่่อ � มข้้อมููลแพทย์์อำำ�นวยการ ระบบ Telemedicine ในรถปฎิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน และระบบฝึึกอบรมนัักปฎิิบัติ ั ิการ
- พััฒนา GIS Tracking รถพยาบาล ติิดตามและวิิเคราะห์์เส้้นทางการเดิินรถ เพื่่�ออำำ�นวยความสะดวกให้้กัับ รถพยาบาล ให้้สามารถเข้้าจุด ุ เกิิดเหตุุได้้เร็็วแม่่นยำำ�ยิ่่�งขึ้้�น
- พััฒนาระบบรัับแจ้้งเหตุุและสั่่�งการ (ITEMS OIS) ติิดตามชุุดปฎิบั ิ ติ ั ก ิ ารผ่่านระบบแผนที่่� (GIS Map) ศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุ
และสั่่�งการ สามารถรู้้ �สถานะรถพยาบาลที่่ออ � กปฎิิบัติ ั ิการ และสนัับสนุุนข้้อมููลเกี่่�ยวเส้้นทางการเดิินรถให้้กัับ ชุุดปฎิิบัติ ั ิการที่่ออ � กปฎิิบัติ ั ิการได้้
3) พััฒนาระบบเชื่่อ � มข้้อมููลสถานพยาบาลและรถพยาบาลจากหน่่วยงานภายนอก เพื่่อนำ � ำ�มาใช้้ในการตรวจสอบใน ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและนำำ�มาใช้้ในระบบ ITEMS ต่่อไป
4) มีีการปรัับปรุุงข้้อมููล หน่่วยปฎิิบัติ ั ิ (EMS Agency profile) สถานพยาบาล (Hospital profile) และผู้้�ปฎิิบัติ ั ิการ (EMS personnel profile) ให้้มีีความถููกต้้อง สมบููรณ์์มากขึ้้�น
46
รายงานประจำ�ปี 2563
ผลงานเด่น
การประเมินคุณธรรมความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของ สถาบันการแพทย์ฉุกฉินแห่งชาติ ประจำ�ปี 2563
สำำ�นัักงานคณะกรรมการป้้องกัันและปราบปรามการทุุจริิตแห่่งชาติิ (สำำ�นัักงาน ป.ป.ช.) ได้้พััฒนาเครื่่อ � งมืือ
การประเมิินเชิิงบวกเพื่่�อเป็็นมาตรการป้้องกัันการทุุจริิต และเป็็นกลไกในการสร้้างความตระหนัักให้้หน่่วยงานภาครััฐ
มีีการดำำ�เนิินงานอย่่างโปร่่งใสและมีีคุุณธรรม โดยใช้้ชื่่�อว่่า “การประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงาน ของหน่่วยงานภาครััฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA)”
การประเมิิน ITA ได้้เริ่่�มดำำ�เนิินการในปีีงบประมาณ พ.ศ. 2556 เป็็นต้้นมาจนถึึงปััจจุุบัน ั และมีีการขยายขอบเขต
และพััฒนาให้้มีีประสิิทธิิภาพมากยิ่่�งขึ้้�นตามลำำ�ดัับ ทั้้�งนี้้� คณะรััฐมนตรีีได้้มีีมติิเมื่่�อวัันที่่� 23 มกราคม 2561 เห็็นชอบให้้
หน่่วยงานภาครััฐทุุกหน่่วยงานให้้ความร่่วมมืือและเข้้าร่ว่ มการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของ
หน่่วยงานภาครััฐ ในงบประมาณ พ.ศ. 2561 - 2564 โดยใช้้แนวทางและเครื่่อ � งมืือการประเมิินตามที่่สำ � � ำ นัักงาน ป.ป.ช. กำำ�หนด
การดำำ�เนิินงาน ในปีี 2563 1. การบริิหารจััดการระบบคุุณธรรมและความโปร่่งใส
1.1 ประชาสััมพัันธ์์ทำ� ำ ความเข้้าใจถึึงผลการประเมิินในปีีที่ผ่ ่� า ่ นมาให้้กัับผู้้�ปฏิิบัติ ั ิงานของสถาบัันทราบ
1.2 จััดประชุุมผู้้บ � ริิหารและคณะทำำ�งานในการกำำ�หนดยุุทธศาสตร์์ในการบริิหารระบบ ITA
1.3 วิิเคราะห์์และออกแบบแผนการดำำ�เนิินงานพััฒนาคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการทำำ�งาน
1.4 ส่่งเสริิม สนัับสนุุนให้้สำ� ำ นััก/กลุ่่�ม ดำำ�เนิินการตามแผนการดำำ�เนิินงานพััฒนาคุุณธรรมและความโปร่่งใส ในการทำำ�งาน
1.5 การสื่่อสา � รระบบงานและการบริิหารจััดการที่่มีีคุ � ณ ุ ธรรมและความโปร่่งใส
1.6 กำำ�กัับติิดตามแผนการดำำ�เนิินงานพััฒนาคุุณธรรมและความโปร่่งใส และรายงานความก้้าวหน้้าต่่อที่่� ประชุุม MEC
2. เสริิม สร้้า งองค์์ ค วามรู้้ แ � ละความตระหนัั ก รู้้ � ให้้ มีีค่่ านิิ ย มร่่ว มในการต่่ อต้้ า นการทุุ จ ริิต และปลููกจิิ ต สำำ� นึึ ก
โดยคำำ�นึึงถึึงประโยชน์์ส่ว ่ นรวม
2.1 จััดฝึึกอบรมเสริิมสร้้างคุุณธรรม จริิยธรรม วิินััย การปลููกฝัังวิิธีีคิิดแยกแยะผลประโยชน์์ ส่่วนตััวและ ผลประโยชน์์ส่ว ่ นรวม และประกาศเจตจำำ�นงสุุจริิต
2.2 จัั ดกิิ จ กรรมปลููกจิิ ต สำำ� นึึ ก คำำ� นึึ ง ถึึ ง ประโยชน์์ ส่่ ว นรวม เพื่่� อ การพัั ฒ นาจิิ ต ใจ และนำำ� มาประยุุ ก ต์์ ใช้้ ในการทำำ�งาน กุุมภาพัันธ์์ - มีีนาคม (ลงพื้้�นที่่สอ � น CPR) ในกิิจกรรมต่่างๆ
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
47
ผลการประเมินคุณธรรมความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของสถาบันการแพทย์ฉุกฉินแห่งชาติ ประจำ�ปี 2563 ได้คะแนน 91.97 อยู่ในระดับ A
ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ การร่่วมมืือร่่วมใจในการปฏิิบััติิงานของบุุคลากร เพื่่�อแสดงถึึงความโปร่่งใสในการปฏิิบััติิงานและ
สามารถตรวจสอบได้้ โดยแสดงหลัักฐานเชิิงประจัักษ์์ หรืือการประชาสััมพัันธ์์ข้้อมููลที่่�ประชาชนควร
รัับรู้้ � ที่่ห � น้้าเว็็บไซต์์ของสถาบััน
48
รายงานประจำ�ปี 2563
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 4
พัั ฒนาศัักยภาพและการมีีส่่วนร่่วมของภาคีีเครืือข่่าย ทั้้�งในและต่่างประเทศ 1. การสนัับสนุุนให้้มีีการจััดตั้้�งหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินขององค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่น �
สพฉ. ส่่งเสริิมและสนัั บสนุุ นให้้องค์์ กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่� นมีีส่่วนร่่วมในการดำำ�เนิิ นงานและบริิหารจัั ดการระบบ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน โดยมีีการจััดตั้้ง� หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ าร/ชุุดปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน ให้้การช่่วยเหลืือประชาชนในพื้้�นที่่� เริ่่�มตั้้�งแต่่ปีี 2554 ในช่่วงแรกยัังมีีปััญหาการตรวจสอบของสำำ�นัักงานการตรวจเงิินแผ่่นดิิน (สตง.) ว่่าไม่่มีีระเบีียบรองรัับ ต่่อมาในปีี 2560 สพฉ. ได้้ผลัักดัันให้้มีีมติิของคณะกรรมการกระจายอำำ�นาจให้้การแพทย์์ฉุุกเฉิินเป็็นอำำ�นาจหน้้าที่่�ขององค์์กรปกครอง
ส่่วนท้้องถิ่่�นในการบริิหารจััดบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในพื้้�นที่่� ทำำ�ให้้ในปีี 2563 มีีองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นขึ้้�นทะเบีียน
จำำ�นวน 5,890 แห่่ง คิิดเป็็นร้้อยละ 75.01 ขององค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นทั้้�งหมด 7,852 แห่่ง แต่่มีีการปฏิิบัติ ั ิงานจริิง จำำ�นวน 3,431 ร้้อยละ 58.25 ขององค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นที่่ขึ้้ � น �
ในส่่วนของบทบาทองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด (อบจ.) หรืือองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นรููปแบบพิิเศษ ในปีี 2563
มีีการบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในท้้องถิ่่�นตามเกณฑ์์ที่กำ ่� ำ�หนด ที่่เ� ป็็นรููปธรรมอย่่างชััดเจน จำำ�นวน 9 จัังหวััด คืือ กรุุงเทพมหานคร สงขลา อุุบลราชธานีี มหาสารคาม ลำำ�พููน สระแก้้ว พััทลุง ุ ชุุมพร และ แพร่่
ทั้้�งนี้้� สพฉ. ยัังได้้หารืือร่่วมกัับกระทรวงมหาดไทย ในการเร่่งรััดและผลัักดัันแผนงานการจััดตั้้ง� ศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นขนาดใหญ่่ เช่่น กรุุงเทพมหานคร เมืืองพััทยา และองค์์การบริิหารส่่วน
จัังหวััด เพื่่�อช่่วยชีีวิิตประชาชนจากเหตุุฉุก ุ เฉิินต่่างๆ ซึ่่�ง อบจ. ต่่างมีีความพร้้อมในการจััดตั้้�งเป็็นศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและ
สั่่�งการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินได้้ โดยแผนงานดัังกล่่าวเป็็นไปตามมติิการกระจายอำำ�นาจเมื่่�อเดืือนพฤษภาคม 2562 ซึ่่ง � มีีมติิ ให้้มีีการจััดตั้้�งศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เพื่่�อรองรัับและให้้บริิการประชาชนในท้้องถิ่่�นนั้้�น ซึ่่�งศููนย์์ฯ
ที่่มีี � ความพร้้อมในการช่่วยชีีวิิตพี่่น้ � ้องประชาชน จะก่่อให้้เกิิดประโยชน์์อย่า ่ งแท้้จริิงต่่อสัง ั คมโดยรวม
2. การประสานความร่่วมมืือเพื่่� อพัั ฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินระหว่่างประเทศ
สพฉ. ได้้ดำำ�เนิินโครงการและกิิจกรรมความร่่วมมืือกัับต่่างประเทศ เพื่่อพั � ฒ ั นาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินของประเทศไทย
โดยมีีรายละเอีียด ดัังนี้้�
2.1 ความร่่วมมืือในลัักษณะพหุุภาคีี (Multilateral Cooperation)
สพฉ. ได้้ให้้การสนัับสนุุนกรอบความร่่วมมืือระหว่่างรััฐ ในระดัับสหประชาชาติิ (United Nations) ซึ่่ง � เป็็นกรอบ
ความร่่วมมืือที่่�เป็็นสากล และประกอบไปด้้วยรััฐสมาชิิกกว่่า 193 รััฐทั่่�วโลก อย่่างต่่อเนื่่�อง ทั้้�งนี้้� ได้้มีีการเข้้าร่ว ่ มและ
จััดการประชุุมหารืือที่่�มีีเนื้้�อหาเกี่่�ยวข้้องการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น/การบริิหารจััดการภััยพิิบััติิทางการแพทย์์และสาธารณสุุข
ในระดัับอาเซีียนและ/หรืือนานาชาติิ อาทิิเช่่น
- การประชุุมหารืือการดำำ�เนิินโครงการ The Project for Strengthening the ASEAN Regional Capacity
on Disaster Health Management (ARCH Project) ร่่วมกัับคณะผู้้เ� ชี่่ย � วชาญชาวญี่่ปุ่่� � น (Bilateral Meeting) ครั้้�งที่่�
2/2562 ระหว่่างวัันที่่� 24 – 26 ตุุลาคม 2562 ณ ห้้องประชุุมโรงแรมรามาดา พลาซ่่า แม่่น้ำำ� ริิเวอร์์ไซด์์ กรุุงเทพมหานคร
- การประชุุม 7th Project Working Group 2 วัันที่่� 29 พฤศจิิกายน 2562 ณ เมืืองบาหลีี สาธารณรััฐอิินโดนีีเซีีย
โดย สพฉ. ได้้รับ ั มอบหมายให้้ดำำ�เนิินการในเรื่่อ � งของการฝึึกซ้้อมแผนการประสานระหว่่างประเทศสมาชิิกอาเซีียน โดยมีี
หััวข้้อในการฝึึกซ้้อม เรื่่อ � ง การบริิหารจััดการทางการแพทย์์ในอุุบัติ ั ิเหตุุหมู่่�และโรคระบาด และสถานการณ์์จำำ�ลองเรื่่อ � ง
ภััยจากสารเคมีี ชีีวภาพ รัังสีี และนิิวเคลีียร์์ CBRNE (chemical, biological, radiological and nuclear emergency) - การประชุุม Project Working Group 1 ครั้้�งที่่� 9 (9th PWG1) และระหว่่างวัันที่่� 21 มกราคม 2563 ณ โรงแรม
โนโวเทล กรุุงเทพ สยามสแควร์์ กรุุงเทพมหานคร เป็็นการพิิจารณาแผนการดำำ�เนิินงานภายใต้้ประเด็็นความร่่วมมืือที่่� 12 :
การจััดการภััยพิบั ิ ติ ั ิทางการแพทย์์และสาธารณสุุข (Health Priority ที่่� 12 : Disaster Health Management) เพื่่อนำ � ำ�เข้้า สู่่�เวทีีการประชุุมด้้านการบริิหารจััดการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในภาวะภััยพิบั ิ ติ ั ิในระดัับอาเซีียน หรืือ Regional Coordination Committee on Disaster Health Management (RCCDHM)
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
49
- การประชุุมคณะกรรมการจััดการด้้านสุุขภาพ กรณีีภััยพิบั ิ ติ ั ิระดัับภููมิิภาคอาเซีียน ครั้้�งที่่� 1 (The 1st Meeting of
Regional Coordination Committee on Disaster Health Management: RCC-DHM) ระหว่่างวัันที่่� 22 - 23 มกราคม
2563 ณ โรงแรมโนโวเทล กรุุงเทพ สยามสแควร์์ กรุุงเทพมหานคร สพฉ. ได้้มีีการนำำ�เสนอผลการดำำ�เนิินงานของ Project Working Group 1 และ 2 โดยที่่ป � ระชุุมมีีมติิเห็็นชอบ ให้้นำำ�เสนอต่่อในที่่ป � ระชุุมกลุ่่�มประเด็็นสุุขภาพที่่� 2: เรื่่อ � งการตอบโต้้
อัันตรายและภััยคุก ุ คามต่่าง ๆ (Health Cluster 2: Responding to All Hazards and Emerging Threats)
- การประชุุม 1st Meeting of Sub-Working Group (SWG) on Curriculum Development ระหว่่างวัันที่่� 13 - 14
กุุมภาพัันธ์์ 2563 ณ โรงแรมพููลแมนกรุุงเทพแกรนด์์ สุุขุม ุ วิิท (Pullman Bangkok Grande Sukhumvit) กรุุงเทพมหานคร
เป็็นการประชุุมคณะทำำ�งานระหว่่าง สพฉ. กัับราชวิิทยาลััยจุุฬาภรณ์์ โดยได้้ร่ว ่ มกัันจััดทำ� ำ หลัักสููตรพััฒนาความรู้้แ � ละ
ทัักษะทางเวชศาสตร์์ภััยพิบั ิ ติ ั ิพื้้น � ฐาน (Basic Disaster Health Management BDHM) และนำำ�ไปผลัักดัันให้้เป็็นหลัักสููตร มาตรฐานอาเซีียน
นอกจากนี้้� สพฉ. ร่่วมการจััดการฝึึกอบรม การซ้้อมแผน และแลกเปลี่่�ยนองค์์ความรู้้ �ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน/การ
บริิหารจััดการภััยพิบั ิ ติ ั ิทางการแพทย์์และสาธารณสุุขร่่วมกัับประเทศกลุ่่�มอาเซีียนและ/หรืือนานาชาติิ ดัังนี้้�
- มีีการฝึึ ก ซ้้ อ มแผนบนโต๊๊ ะ (Table Top Exercise:TTX) เพื่่� อบูู รณาการตามแนวทาง/มาตรฐานขั้้� น ตอน
การประสานงานด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นในภาวะภััยพิิบััติิระหว่่างประเทศสมาชิิกอาเซีียน หรืือ ASEAN Emergency Medical Team Standard Operating Procedure (ASEAN EMT SOP) เข้้าบรรจุุเป็็นเนื้้�อหาในมาตรฐานระเบีียบวิิธีีปฏิิบัติ ั ิ เพื่่� อ เตรีียมความพร้้อ มและประสานงานในการปฏิิ บัั ติิ ร่ ่ว มกัั น ของอาเซีียนในการบรรเทาภัั ยพิิ บัั ติิ แ ละการตอบโต้้
สถานการณ์์ฉุก ุ เฉิิน (Standard Operating Procedure for Regional Standby Arrangements and Coordination of Joint Disaster Relief and Emergency Response Operations : SASOP) ระหว่่างวัันที่่� 6 - 8 พฤศจิิกายน 2562
ณ กรุุงจาการ์์ตา สาธารณรััฐอิินโดนีีเซีีย
- มีีการจััดฝึก ึ ซ้้อมแผน 4th Regional Collaboration Drill (RCD) ระหว่่างวัันที่่� 25 - 28 พฤศจิิกายน 2562
ณ เมืืองบาหลีี สาธารณรััฐอิินโดนีีเซีีย เป็็นการฝึึกซ้้อมแผนการตามแนวทาง/มาตรฐาน ขั้้�นตอนการประสานงานด้้าน
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในภาวะภััยพิบั ิ ติ ั ิระหว่่างประเทศสมาชิิกอาเซีียน หรืือ ASEAN Emergency Medical Team Standard Operating Procedure (ASEAN EMT SOP) เพื่่อพั � ฒ ั นา ประเมิินผล และปรัับปรุุงให้้มีีประสิิทธิิภาพมากยิ่่�งขึ้้�น
- การเข้้าร่ว่ มประชุุมและนำำ�เสนอผลงานในการประชุุม 25th Japan Association of Disaster Medicine (JADM)
ระหว่่างวัันที่่� 19 - 23 กุุมภาพัันธ์์ 2563 ณ เมืืองโกเบ ประเทศญี่่ปุ่่� � น สพฉ. ได้้มีีการนำำ�เสนอผลงานวิิชาการ จำำ�นวน 4 เรื่่อ � ง
ได้้แก่่ 1) เรื่่อ � ง Pilot Study of Thai Disaster Health Management Course 2) เรื่่อ � ง The International Cooperation
between Thailand and Japan through the Project for Strengthening the ASEAN Regional Capacity on Disaster Health Management (ARCH Project): Strengthening the Quality of Rajavithi Hospital’s Disaster
Health Management 3) เรื่่อ � ง Effectiveness of Thai Disaster Management Course 4) เรื่่อ � ง The Efficacy of
the ARCH Project’s First Regional Collaboration Drill in Increasing Knowledge and Skills in International Emergency Medical Team Coordination
- การประชุุมเพื่่�อสำำ�รวจข้้อมููลในการพััฒนาศัักยภาพทางด้้ านการบริิหารจัั ดการภัั ยพิิบััติิทางการแพทย์์และ
สาธารณสุุขในกลุ่่�มประเทศอาเซีียน ในเขตอนุุภููมิิภาคลุ่่�มแม่่น้ำำ�โขง (Great Mekong Subregion) ระหว่่างวัันที่่� 10 – 20
กุุมภาพัันธ์์ 2563 ณ สาธารณรััฐประชาธิิปไตยประชาชนลาว และ ราชอาณาจัักรกััมพููชา เพื่่�อสำำ�รวจและเก็็บข้้อมููล
ศัักยภาพด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและการจััดการภััยพิบั ิ ติ ั ใิ นกลุ่่�มประเทศอาเซีียนในเขตอนุุภููมิภ ิ าคลุ่่�มแม่่น้ำำ�โขง แต่่เนื่่�องจาก สถานการณ์์ Covid-19 ทำำ�ให้้ดำำ�เนิินการได้้เพีียง 2 ประเทศ คืือ ลาว และ กััมพููชา ยัังเหลืือ เมีียนมาร์์ และเวีียดนามที่่ยั � ง ั
ไม่่ได้้ดำำ�เนิินการ
2.2 ความร่่วมมืือในลัักษณะทวิิภาคีี (Bilateral Cooperation)
สพฉ. ดำำ�เนิินความร่่วมมืือในลัักษณะทวิิภาคีีกัับหน่่วยงานในต่่างประเทศ ที่่�มีีภารกิิจในด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
เป็็นจำำ�นวนมาก โดยที่่�ความร่่วมมืือส่่วนใหญ่่จะเป็็นความร่่วมมืือระหว่่างหน่่ วยงาน มากกว่่าความร่่วมมืือระหว่่าง
หน่่วยงานกัับรััฐ โครงการความร่่วมมืือที่่� สพฉ. ให้้การสนัับสนุุนและเข้้าร่ว่ มอย่่างต่่อเนื่่�อง ประกอบไปด้้วยโครงการและ กิิจกรรมต่่างๆ ดัังต่่อไปนี้้�
1) การจัั ดทำ� ำ ความตกลงที่่� เกี่่� ยวข้้ อ งกัั บ ความร่่ว มมืือด้้ า นการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ในระดัั บ อาเซีี ย นและ/หรืือ
นานาชาติิ
1.1) การจััดทำ� ำ และปรัับแก้้บัน ั ทึึกความเข้้าใจ (Memorandum of Understanding: MOU) ครั้้�งที่่� 1 กัับ Asian Disaster Preparedness Center (ADPC) เพื่่�อปรับ ั ปรุุ งข้้อตกลงระหว่่างหน่่วยงานที่่�ระบุุในบัันทึึก
50
รายงานประจำ�ปี 2563
ความเข้้าใจฉบัับปััจจุุบัน ั ให้้มีีความชััดเจนและครอบคลุุมกิิจกรรม/ความเชี่่ย � วชาญของทั้้�งสองหน่่วยงาน มากขึ้้�น เช่่น การปรัับกิิจกรรมทางด้้านวิิชาการ และการระบุุขอบเขตความร่่วมมืือในด้้านการบริิหารจััดการภััยพิบั ิ ติ ั ิ โดยกำำ�ลัังอยู่่�ในระหว่่างดำำ�เนิินการขอความเห็็นจากกระทรวงการต่่างประเทศ
1.2) การพััฒนาปฏิิญญา (Charter) เพื่่อพั � ฒ ั นาการเป็็นพัันธมิิตรด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ภายใต้้โครงการ Life Saver Alliance ร่่วมกัับหน่่วยงานต่่างๆ เช่่น Airbus Helicopters เพื่่อสร้ � า้ งกรอบความร่่วมมืือระหว่่าง
หน่่วยงานภาคีีเครืือข่่ายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในประเทศไทยร่่วมกัับหน่่วยงานชั้้�นนำำ�ในทวีีปยุุโรป
2) การริิเริ่่�มและพััฒนาโครงการความร่่วมมืือด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิินกัับหน่่วยงานในต่่างประเทศ
2.1) การพััฒนาโครงการด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและการบริิหารจััดการภาวะโรคระบาดร่่วมกัับ Asian Disaster Preparedness Center (ADPC) เพื่่อ � ขอทุุนในการดำำ�เนิินโครงการระยะ 5 ปีี เป็็นมููลค่่า 15 ล้้านเหรีียญ
สหรััฐจาก US CDC สหรััฐอเมริิกา ในช่่วงเดืือนมีีนาคม – พฤษภาคม 2563 โดยสามารถพััฒนาโครงการ
ได้้สำ� ำ เร็็จและอยู่่�ในกระบวนการพิิจารณาของผู้้ใ� ห้้ทุน ุ
2.2) การพััฒนาและดำำ�เนิินงานโครงการความช่่วยเหลืือโรงพยาบาลของรััฐ ในการรัับมืือกัับโรค COVID-19 ระหว่่าง สพฉ. และมููลนิิธิิ Temasek Foundation International ประเทศสิิงคโปร์์ ซึ่่ง � สพฉ. ได้้ตกลง
ที่่จ � ะเป็็นสื่่อ � กลางในการจััดสรรสิ่่�งของบริิจาคและความช่่วยเหลืือจาก Temasek Foundation International ในเดืือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563 ได้้บริิจาคเครื่่อ � งมืือแพทย์์สำ� ำ หรัับผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินจากการติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา
สายพัันธุ์์�ใหม่่ 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย ให้้กัับโรงพยาบาลที่่ข � าดแคลน ซึ่่ง � ประกอบด้้วยรายการ เครื่่อ � งมืือแพทย์์ ดัังนี้้�
(1) เครื่่อ � งผลิิตออกซิิเจน (Oxygen Concentrators) จำำ�นวน 100 เครื่่อ � ง
(2) เครื่่อ � งช่่วยหายใจชนิิดแรงดััน 2 ระดัับ (Bi-level Positive Airway Pressure: BiPAP) ยี่่ห้ � ้อ Yuwell รุ่่�น 9F-5AW จำำ�นวน 50 เครื่่อ � ง
(3) อุุปกรณ์์เสริิมที่่ใ� ช้้ร่ว่ มกัับเครื่่อ � งช่่วยหายใจชนิิดแรงดััน 2 ระดัับ ยี่่ห้ � ้อ Yuwell จำำ�นวน 1,750 ชิ้้�น
(4) เครื่่อ � งช่่วยหายใจชนิิดแรงดััน 2 ระดัับ (Bi-level Positive Airway Pressure: BiPAP) ยี่่ห้ � อ ้ Philips รุ่่�น A30 จำำ�นวน 150 เครื่่อ � ง
(5) อุุปกรณ์์เสริิมที่่ใ� ช้้ร่ว่ มกัับเครื่่อ � งช่่วยหายใจชนิิดแรงดััน 2 ระดัับ ยี่่ห้ � ้อ Philips เครื่่อ � งละ 5 ชุุด เช่่น เครื่่อ � งช่่วยหายใจ ให้้แก่่กลุ่่�มเป้้าหมายที่่ต้ � ้องการรัับความสนัับสนุุน
2.3) การพััฒนาโครงการเพื่่�อเตรีียมความพร้้อมและรัับมืือการระบาดของโรค COVID-19 ร่่วมกัับกระทรวง สาธารณสุุข เพื่่อ � ขอทุุนความช่่วยเหลืือจากธนาคารการพััฒนาเอเชีีย (Asian Development Bank : ADB)
ในการจััดฝึก ึ อบรมและให้้ความรู้้ใ� นการสวมใส่่ชุดป้ ุ อ ้ งกัันตนเอง (Personal Protective Equipment: PPE) ก่่อนเข้้าไปให้้การดููแลช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยที่่�สงสััยว่่าอาจมีีการติิดเชื้้�อ COVID-19 และเพื่่�อแบ่่งเบาภาระงาน ของบุุคลากรทางการแพทย์์ในการเคลื่่�ยนย้้ายส่ง่ ต่่อผู้้�ป่ว ่ ยทำำ�ให้้บุุคลากรทางการแพทย์์มีีเวลาในการดููแล
รัักษาผู้้�ป่่วยในโรงพยาบาลที่่�มีีอาการหนัักเพิ่่�มมากขึ้้�น โครงการดัังกล่่าวได้้รับ ั การพััฒนาจนแล้้วเสร็็จ และกำำ�ลัังอยู่่�ในขั้้�นตอนการเสนอโครงการต่่อ ADB
3) การเข้้าร่่วมประชุุมที่่�มีเี นื้้�อหาเกี่่�ยวข้อ ้ งกัับการดำำ�เนิินงานด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิินในระดัับนานาชาติิ
3.1) การประชุุม Collaborative Arrangement for the Prevention and Management of Public Health Events in Civil Aviation Asia Pacific (CAPSCA-AP/11) วัันที่่� 21 - 24 ตุุลาคม 2562 ณ สาธารณรััฐ
ประชาชนบัังกลาเทศ เพื่่อรั � บ ั ทราบ แลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้ � และหารืือประเด็็นด้้านการแพทย์์และสาธารณสุุข ในกิิจการการบิินพลเรืือนที่่�สำ� ำ คััญ เช่่น ประเด็็นการดำำ�เนิินงานตามกรอบความร่่วมมืือจากกฎอนามััย
ระหว่่างประเทศ หรืือ International Health Regulations: IHR และการแจ้้งความคืืบหน้้าเกี่่�ยวกัับ
กิิจกรรมเพื่่อ � ความมั่่�นคงปลอดภััยด้า้ นสุุขภาพระหว่่างการบิิน (Public Health Security in Travel and Transport) 3.2) การประชุุม Regional Consultative Meeting on Integrated Approaches to Mine /ERW Risk Education ในวัันที่่� 6 กุุมภาพัันธ์์ 2563 เมืืองเสีียมราฐ ราชอาณาจัักรกััมพููชา เพื่่อรั � บ ั ทราบความคืืบหน้้า
ในการดำำ�เนิินการกวาดล้้างและกู้้�ทุ่่�นระเบิิด รวมถึึงโครงการ/กิิจกรรมการให้้ความรู้้ �ประชาชนเกี่่�ยวกัับ
ทุ่่�นระเบิิดในประเทศสมาชิิกอาเซีียน และระดมความเห็็นต่่อการศึึกษาเรื่่อ � ง Integrated Approaches
to Mine/ERW Risk Education in ASEAN Member States ของ ASEAN Regional Mine Action Center โดย สพฉ. ได้้เสนอแนวคิิดในการปรัับปรุุงการศึึกษา และเสนอข้้อแนะนำำ� เพื่่อ � การปรัับปรุุงการให้้
ความรู้้ �ประชาชนด้้านทุ่่�นระเบิิด และการบริิหารจััดการความเจ็็บป่่วยที่่อา � จเกิิดขึ้้น � จากทุ่่�นระเบิิดในอนาคต
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
51
3.3) การแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้ �ด้้านการให้้บริิการด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นของ Japanese Red Cross Osaka
Hospital และ Saiseikai Senri Hospital ในวัันที่่� 20 กุุมภาพัันธ์์ 2563 เมืืองโอซาก้้า ประเทศญี่่ปุ่่� � น
เพื่่อ � เรีียนรู้้ร� ะบบของกาชาดสากล และการจััดระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินของ Disaster-based Hospital
3.4) การประชุุมสััมมนาทางไกล (Webinar) ของ ASEAN Regional Mine Action Center ในชุุดหััวข้้อ Explosive Ordnance Risk Education in ASEAN in a Time of Pandemic ในวัันที่่� 19 พฤษภาคม
2563 เพื่่อรั � บ ั ทราบปััญหาและอุุปสรรคที่่เ� กิิดขึ้้น � ต่่อการให้้ความรู้้แ � ละการศึึกษาเรื่่อ � งทุ่่�นระเบิิดในช่่วงการ ระบาดของโรค COVID-19 จากการประชุุมสถาบัันฯ ได้้ศึก ึ ษาข้้อชี้้แ � นะจากผู้้เ� ชี่่ย � วชาญทางสาธารณสุุข ในการปฏิิบัติ ั ิงานในช่่วงการระบาดของโรคติิดต่่อ
� บ ั ทราบผลการดำำ�เนิินงานด้้าน 3.5) การประชุุม Global Health ครั้้�งที่่� 1 ในวัันที่่� 11 พฤศจิิกายน 2563 เพื่่อรั
Global Health ของหน่่วยงานต่่างๆ ในกระทรวงสาธารณสุุข และเรีียนรู้้ร� ะเบีียบวิิธีีการปฏิิบัติ ั ิงานของ
หน่่วยงานต่่างๆ ในการประชุุมนี้้� สพฉ. ได้้รายงานผลการดำำ�เนิินงานด้้านการต่่างประเทศของสถาบัันฯ ให้้แก่่ที่ป ่� ระชุุมทราบ
3.6) การประชุุม Global Health ครั้้�งที่่� 2 ในวัันที่่� 13 มกราคม 2563 เพื่่�อรับ ั ทราบผลการดำำ�เนิินงานด้้าน
Global Health ของหน่่วยงานต่่างๆ ในกระทรวงสาธารณสุุข และเรีียนรู้้ร� ะเบีียบวิิธีีการปฏิิบัติ ั ิงานของ หน่่วยงานต่่างๆ
4) การบริิหารจััดการทุุนการศึึกษาฝึึกอบรมด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิินในต่่างประเทศ
4.1) มีีกระบวนการบริิห ารจัั ด การโครงการเพื่่� อส่่ ง บุุ ค ลากรการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ไปฝึึ ก อบรม ณ SAMU des-Hauts-de-Seine โดยในปีี 2563 สถาบัันฯ ได้้ส่ง ่ บุุคลากรไปศึึกษา ณ ประเทศฝรั่่�งเศส เป็็นจำำ�นวน
4 รุ่่�น รุ่่�นละ 2 คน และได้้ฝึก ึ อบรมเสร็็จสิ้้�น ในช่่วงเดืือนกุุมภาพัันธ์์ 2563 สพฉ. ได้้รับ ั ความอนุุเคราะห์์
จาก SAMU des-Hauts-de-Seine เสมอมาและอย่่างต่่อเนื่่�อง และคาดหวัังว่่าจะยัังคงสามารถดำำ�เนิิน
ความสััมพัันธ์์ที่ดีี ่� เช่่นนี้้�ต่่อไปอีีกในอนาคต
4.2) มีีกระบวนการบริิหารจััดการโครงการส่่งบุุคลากรการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินไปฝึึกอบรมด้้านการลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วย
ด้้วยอากาศยานและการปฏิิบัติ ั ิงานของห้้องฉุุกเฉิิน ณ Nippon Medical School โดยในปีี 2563 สพฉ.
สามารถคััดเลืือกผู้้�สมััครไปฝึึกอบรมได้้ 4 รุ่่�น ทั้้�งนี้้� การฝึึกอบรม 3 รุ่่�น ต้้องถููกเลื่่�อนออกไป เนื่่�องจาก ได้้รับ ั ผลกระทบการการระบาดของโรค COVID-19
5) การสนัับสนุุนภาคีีเครืือข่่ายการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
สพฉ. ดำำ�เนิินการเป็็นศููนย์์กลางการประสานงานด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นในระดัับนานาชาติิ ให้้กัับเครืือข่่าย
โดยสนัั บสนุุ นการขอศึึกษาดููงานระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นและการศึึกษาของนัั กปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิิ นการแพทย์์ (นฉพ.) ของ Kokushikan University และมหาวิิทยาลััยพะเยา
ผลงานเด่น
The Project for Strengthening the ASEAN Regional Capacity on Disaster Health Management (ARCH Project)
โครงการ “The Project for Strengthening the ASEAN Regional Capacity on Disaster Health Manage-
ment (ARCH Project)” เป็็นโครงการความร่่วมมืือทางด้้านวิิชาการในระดัับทวิิภาคีี (Bilateral Cooperation) ระหว่่าง
รััฐบาลไทยและรััฐบาลญี่่ปุ่่� � น โดยมีีองค์์การความร่่วมมืือระหว่่างประเทศแห่่งญี่่ปุ่่� � น (Japan International Cooperation Agency: JICA) สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ (สพฉ.) และกระทรวงสาธารณสุุข ร่่วมเป็็นภาคีีในการดำำ�เนิินโครงการ ซึ่ง่� มีีกลุ่่�มเป้้าหมายพื้้�นที่่ดำ � ำ�เนิินการ และผลลััพธ์์ที่ค ่� าดว่่าจะได้้รับ ั ครอบคลุุมภููมิิภาคอาเซีียน ดัังนั้้�น โครงการ ARCH Proj-
ect จึึงเป็็นโครงการระดัับอาเซีียน ภายใต้้ประเด็็นความร่่วมมืือที่่� 12: การจััดการภััยพิบั ิ ติ ั ิทางการแพทย์์และสาธารณสุุข
(Health Priority 12: Disaster Health Management) ซึ่่ง � เป็็น 1 ใน 5 ประเด็็นฯ ภายใต้้การพััฒนาสาธารณสุุขอาเซีียน
กลุ่่�มประเด็็นที่่� 2 : เรื่่อ � งการโต้้ตอบอัันตรายและภััยคุก ุ คามต่่าง ๆ (Health Cluster 2: Responding to All Hazards and Emerging Threats) โดยโครงการดัังกล่่าวได้้รับ ั การอนุุมััติิ (Endorsement) จากที่่ป � ระชุุมเจ้้าหน้้าที่่อาวุ � โุ สด้้าน
การพััฒนาสาธารณสุุข (Senior Officials Meeting on Health Development: SOMHD) ให้้ประเทศไทย โดย สพฉ.
เป็็นหน่่วยงานหลัักในการดำำ�เนิินการโครงการดัังกล่่าวในระดัับอาเซีียนอย่่างเป็็นทางการ
52
รายงานประจำ�ปี 2563
จากสถานการณ์์การระบาดของโรค COVID-19 ทั่่�วโลก รวมถึึงประเทศไทยนั้้�น ส่่งผลกระทบต่่อการดำำ�เนิิน
งานการต่่างประเทศของ สพฉ. ค่่อนข้้างมาก จึึงมีีการปรัับแผนการทำำ�งานให้้สอดคล้้องกัับภาวะดัังกล่่าว โดยการส่่ง
บุุคลากรการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินไปฝึึกอบรมในต่่างประเทศ มีีการชะลอไว้้ก่่อน จนกว่่าสถานการณ์์ดัังกล่่าวจะเข้้าสู่่�ภาวะปกติิ
วััตถุุประสงค์์หลัักในการดำำ�เนิินโครงการ ARCH Project คืือ เพื่่�อเสริิมสร้้างความเข้้มแข็็งของเครืือข่่ายและ ระบบการประสานงานด้้านการจััดการภััยพิบั ิ ติ ั ิทางการแพทย์์ ระหว่่างประเทศสมาชิิกอาเซีียนและหน่่วยงานที่่เ� กี่่�ยวข้้อง
ที่่�เป็็นมาตรฐานระดัับอาเซีียนหรืือระดัับสากล และสอดคล้้องกัับปฏิิญญาอาเซีียนว่่าด้้วยการจััดการภััยพิิบััติิทางการ
แพทย์์ (ASEAN Leaders’ Declaration on Disaster Health Management) และปฏิิญญาอาเซีียนว่่าด้้วยความเป็็น
หนึ่่�งเดีียวในการตอบโต้้ภััยพิบั ิ ติ ั ิทั้้ง� ภายในและภายนอกภููมิิภาค (ASEAN Declaration on One ASEAN, One Response : ASEAN Responding to Disaster as One in the Region and Outside Region)
อนึ่่� ง โครงการ ARCH Project ได้้ เริ่่�มดำำ�เนิิ นการมาแล้้ ว ตั้้� งแต่่ วัันที่่� 10 กรกฎาคม 2559 จนถึึ งปััจจุุบััน โดยมีีการขยายระยะเวลาโครงการฯ ออกไปถึึงวัันที่่� 31 ธัันวาคม 2564
กิิจกรรมการดำำ�เนิินงาน
1. วัันที่่� 6 – 8 พฤศจิิกายน 2562 โครงการ ARCH Project ได้้ร่ว่ มกัับศููนย์์ประสานงานการให้้ความช่่วยเหลืือ
ด้้านมนุุษยธรรมของอาเซีียน (The ASEAN Coordinating Centre for Humanitarian Assistance on disaster management: AHA Centre) จััดการฝึึกซ้้อมแผนบนโต๊๊ะ (Table-Top Exercise: TTX) ณ กรุุงจาการ์์ต้า้ สาธารณรััฐอิินโดนีีเซีีย
เพื่่�อทดสอบ/ประเมิินผลการใช้้งานแนวทาง/มาตรฐาน ขั้้�นตอนการประสานงานและเครื่่อ � งมืือที่่�ใช้้ในการประสานงาน ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในภาวะภััยพิบั ิ ติ ั ิระหว่่างประเทศสมาชิิกอาเซีียน (ASEAN Emergency Medical Team Standard
Operating Procedure: ASEAN EMT SOP) โดยสหวิิชาชีีพที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับการให้้การช่่วยเหลืือในภาวะภััยพิิบััติิ ทั้้�งนี้้�
การซ้้อมแผนดัังกล่่าวเป็็นหนึ่่�งในขั้้�นตอนการผลัักดััน ASEAN EMT SOP ซึ่ง่� เป็็นผลผลิิตภายใต้้โครงการ ARCH Project
เข้้าบรรจุุเป็็นเนื้้�อหาในมาตรฐานระเบีียบวิิธีีปฏิิบัติ ั ิ เพื่่อ � เตรีียมความพร้้อมและประสานงานในการปฏิิบัติ ั ร่ิ ว่ มกัันของอาเซีียน
ในการบรรเทาภััยพิบั ิ ติ ั ิและการตอบโต้้สถานการณ์์ฉุก ุ เฉิิน (Standard Operating Procedure for Regional Standby Arrangements and Coordination of Joint Disaster Relief and Emergency Response Operations: SASOP)
2. วัันที่่� 25 – 28 พฤศจิิกายน 2562 โครงการ ARCH Project ร่่วมกัับกระทรวงสาธารณสุุขอิินโดนีีเซีีย
ได้้จัด ั การฝึึกซ้้อมแผนการประสานความช่่วยเหลืือด้้านการแพทย์์และสาธารณสุุขในกรณีีภััยพิบั ิ ติ ั ิ ระหว่่างประเทศสมาชิิก
ในภููมิิภาคอาเซีียน (Regional Collaboration Drill: RCD) ครั้้�งที่่� 4 ณ เมืืองบาหลีี สาธารณรััฐอิินโดนีีเซีีย เพื่่อทดสอ � บ/
ประเมิินผล (PDCA) การใช้้งาน ASEAN EMT SOP โดยใช้้กระบวนการการฝึึกซ้้อมแผนฯบนโต๊๊ะ (Table-top Exercise: TTX) การฝึึกซ้้อมภาคสนาม (Field Exercise: FTX) และการอภิิปรายถอดบทเรีียนการฝึึกซ้้อมเพื่่อ � การปรัับปรุุงพััฒนา
(After Action Review: AAR)
3. เมื่่�อเดืือนกุุมภาพัันธ์์ 2563 โครงการ ARCH Project โดย สพฉ. ร่่วมกัับราชวิิทยาลััยจุุฬาภรณ์์ จััดการ
ประชุุมคณะทำำ�งานย่่อย ด้้านการพััฒนาหลัักสููตร (Sub Working Group on Curriculum Development: SWG on CD)
เพื่่�อหารืือร่่วมกัับประเทศสมาชิิกอาเซีียนในการพััฒนาหลัักสููตรด้้านการจััดการภััยพิิบััติิทางการแพทย์์และสาธารณสุุข ที่่เ� ป็็นมาตรฐานระดัับอาเซีียน
ผลการดำำ�เนิินงาน ในปีี 2563
1. ผลจากการฝึึกซ้้อมแผนบนโต๊๊ะ (Table-Top Exercise: TTX) ณ กรุุงจาการ์์ต้้า สาธารณรััฐอิินโดนีีเซีีย พบว่่า
สามารถบููรณาการ ASEAN EMT SOP ในการฝึึกซ้้อมแผนฯ ของสหวิิชาชีีพได้้ ทั้้�งนี้้� ขั้้�นตอนถััดไป คืือการทดสอบใช้้งาน
ASEAN EMT SOP ในการฝึึกซ้้อมแผนรัับมืือภััยพิิบััติิฉุก ุ เฉิินและการช่่วยเหลืือด้้านมนุุษยธรรมระดัับภููมิิภาคอาเซีียน
(ASEAN Regional Disaster Emergency Response Simulation Exercise 2020: ARDEX-20) ณ สาธารณรััฐฟิิลิปปิ ิ น ิ ส์์ แต่่เนื่่�องจากสถานการณ์์ COVID-19 จึึงจำำ�เป็็นต้้องเลื่่�อนการฝึึกซ้้อมดัังกล่่าวออกไปโดยไม่่มีีกำำ�หนด
2. การฝึึกซ้้อมแผนการประสานความช่่วยเหลืือด้้านการแพทย์์และสาธารณสุุขในกรณีีภััยพิบั ิ ติ ั ิ ระหว่่างประเทศ
สมาชิิกในภููมิิภาคอาเซีียน (Regional Collaboration Drill: RCD) ครั้้�งที่่� 4 ทำำ�ให้้มีีการฝึึกซ้้อมแนวทาง/มาตรฐานขั้้�น ตอนการประสานงานและเครื่่อ � งมืือที่่ใ� ช้้ในการประสานงานด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในภาวะภััยพิบั ิ ติ ั ิระหว่่างประเทศสมาชิิก
อาเซีียน (ASEAN Emergency Medical Team Standard Operating Procedure: ASEAN EMT SOP) ร่่วมกัันอย่่างต่่อเนื่่อ � ง
3. ผลจากการประชุุมคณะทำำ�งานย่่อยด้้านการพััฒนาหลัักสููตร (SWG on CD) หารืือในการพััฒนาหลัักสููตร
ด้้ านการจัั ดการภัั ยพิิบััติิทางการแพทย์์และสาธารณสุุข ร่่วมกัั บประเทศสมาชิิกอาเซีียน มีีการเสนอจัั ดทำ� ำ หลัั กสููตร
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
53
ที่่เ� ป็็นมาตรฐานอาเซีียน จำำ�นวน 2 หลัักสููตร ได้้แก่่ หลัักสููตร Domestic Deployment of National EMT Course และ
หลัักสููตร Disaster Medical Operation Coordination Course (DMOCC) ทั้้�งนี้้� ปััจจุุบัน ั อยู่่�ระว่่างการจััดทำ� ำ เนื้้�อหาหลัักสููตร
ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ 1. ผู้้�บริิหาร สพฉ. มีีความเข้้าใจในเนื้้�อหาของโครงการและให้้ความสำำ�คััญ รวมทั้้�งสนัับสนุุนการ
ดำำ�เนิินโครงการเป็็นอย่่างดีี
2. คณะนัักวิิชาการชาวไทยให้้ความร่่วมมืือเป็็นอย่่างดีีในการระดมสมองและลงมืือปฏิิบัติ ั เิ พื่่อ � ดำำ�เนิิน
กิิจกรรมและสร้้างผลงานโครงการ
3. ภาคีีเครืือข่่ายที่่�เข้้มแข็็ง ได้้แก่่ กลุ่่�มนัักวิิชาการและผู้้�แทนประเทศของเครืือข่่ายสมาชิิกอาเซีียน
ด้้านการจััดการภััยพิบั ิ ติ ั ิทางการแพทย์์ องค์์กรระหว่่างประเทศที่่เ� กี่่�ยวข้้อง ได้้แก่่ องค์์การความร่่วมมืือ
ระหว่่างประเทศญี่่�ปุ่่�น (Japan International Cooperation Agency: JICA) สำำ�นัั กเลขาธิิการ
อาเซีียน (ASEAN Secretariat: ASEC) และศููนย์์ประสานงานการให้้ความช่่วยเหลืือด้้านมนุุษยธรรม
ของอาเซีียน (The ASEAN Coordinating Centre for Humanitarian Assistance on disaster management: AHA Centre) ให้้การสนัับสนุุนการดำำ�เนิินโครงการเป็็นอย่่างดีี
54
รายงานประจำ�ปี 2563
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 5
การพัั ฒนาการสื่่�อสารสาธารณะในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน สู่่�ประชาชน สพฉ. ได้้จััดให้้มีีการผลิิตและเผยแพร่่สื่อป ่� ระชาสััมพัันธ์์ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน การป้้องกัันการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน
และสายด่่วนเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน โทร 1669 ในรููปแบบสื่่อต่ � ่างๆ เช่่น มีีแอปพลิิเคชั่่�น 1669 สำำ�หรัับประชาชนที่่สา � มารถใช้้ใน
การเรีียก 1669 การแนะนำำ�การให้้การช่่วยเหลืือผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินเบื้้�องต้้น สามารถรู้้ �พิกั ิ ัด ณ จุุดเกิิดเหตุุได้้ และถ่่ายภาพส่่ง
ให้้ดููได้้ เป็็นต้้น การทำำ�ออนไลน์์สอนการทำำ�ช่่วยคืืนชีีพ (CPR) และการใช้้เครื่่อ � ง AED ที่่�ถููกต้้อง เพื่่�อเป็็นการให้้ความรู้้ �
แก่่ประชาชน และได้้จััดทำ� ำ คลิิปวิิดีีโอในการหลีีกทางให้้กัับรถพยาบาลฉุุกเฉิินในกรณีีที่่�มีีผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน ซึ่่�งภายหลัังได้้ ประชาสััมพัันธ์์ไปแล้้ว
ในขณะเดีียวกััน เมื่่�อเกิิดสถานการณ์์การระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID – 19) สพฉ. ได้้มีี
การผลิิตสื่่�อประชาสััมพัันธ์์ให้้ความรู้้ �กัับประชาชนและผู้้�ปฏิิบััติิการในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน เช่่น ผู้้�ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน
ปฏิิบัติ ั ิงานอย่่างไรในสถานการณ์์ฉุก ุ เฉิิน ตาม พ.ร.ก. ฉุุกเฉิิน แนวทางปฏิิบัติ ั ิงานของรถ EMS ช่่วงสถานการณ์์โรคติิดเชื้้�อ
ไวรััสโคโรนา 2019 (COVID – 19) หรืือการป้้องกัันที่่มีีป � ระสิิทธิิภาพจากโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
รวมถึึงการร่่วมรณรงค์์การสวมหน้้ากากอนามััยก่อ ่ นออกจากบ้้าน และได้้มีีการเปิิดรับ ั บริิจาค หน้้ากากอนามััย แอลกอฮอลล์์
และเจลล้้างมืือ เพื่่อนำ � ำ�ไปมอบให้้กัับผู้้�ปฏิิบัติ ั ิงานในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
สพฉ. กรมสนัับสนุุนบริิการสุุขภาพ และหน่่วยงานต่่างๆ ได้้ร่ว่ มจััดทำ� ำ โครงการอบรมให้้กับ ั อาสาสมััครสาธารณสุุข ประจำำ�หมู่่�บ้้าน (อสม.) และประชาชนทั่่�วไป กำำ�หนดเป้้าหมาย มีีประชาชนสามารถทำำ� CPR ได้้อย่า ่ งน้้อย 10 ล้้านคน ภายใน
3 ปีี
โดยในปีีงบประมาณ 2563 สพฉ. ได้้จััดทำ� ำ โครงการพััฒนาทัักษะด้้านการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน “10 ล้้านไทยร่่วมใจ
CPR “ ร่่วมกัับเครืือข่่ายจิิตอาสาทั้้�งภาครััฐและเอกชน จากทั่่�วประเทศ เพื่่อ � เฉลิิมพระเกีียรติิพระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หัว ั
รััชกาลที่่� 10 ที่่ผ่ � า ่ นมามีีจำำ�นวนผู้้�ผ่า ่ นการอบรมในระดัับต่่างๆ ดัังนี้้�
1. ผลิิตครููผู้้�สอนการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐานฯ จำำ�นวน 243 คน
2. ผลิิตผู้้�ช่ว ่ ยครููผู้้�สอนการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐานฯ จำำ�นวน 358 คน
3. อบรมประชาชนให้้มีีความรู้้ �ขั้้น � พื้้�นฐานในการทำำ� CPR รวมกัับเครืือข่่ายจากทั่่�วประเทศ จำำ�นวน 12,560 คน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
55
ผลงานเด่่น
การพัั ฒนาทัักษะด้้านการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้� นฐาน ให้้ประชาชน 10 ล้้านคน “10 ล้้านไทยร่่วมใจ CPR”
จากสถิิติิการดููแลผู้้�ป่ว ่ ยในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินของประเทศไทย พบผู้้�ป่ว ่ ยที่่ใ� ช้้บริิการห้้องฉุุกเฉิินในปีี 2544
ประมาณ 12 ล้้านครั้้�ง โดยเป็็นผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน ประมาณร้้อยละ 30 หรืือ 4 ล้้านครั้้�ง และคาดประมาณว่่ามีีผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน
เสีียชีีวิิตนอกโรงพยาบาล ปีีละประมาณ 60,000 คน (สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2560) หากประเทศไทย
มีีระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่มีีป � ระสิิทธิิภาพ จะสามารถช่่วยรัักษาชีีวิิตผู้้เ� จ็็บป่่วยฉุุกเฉิินดัังกล่่าวได้้ ถึึงประมาณร้้อยละ 15 - 20
หรืือประมาณปีีละ 9,000 - 12,000 คน สำำ�หรัับอััตราการเสีียชีีวิิตของผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินก่่อนถึึงโรงพยาบาลเฉพาะที่่ใ� ช้้บริิการ ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2555 - 2560 จากฐานข้้อมููลระบบสารสนเทศการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน (ซึ่่�งเป็็นข้้อมููลการเสีียชีีวิิต
ของผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินส่่วนหนึ่่�งเท่่านั้้�น) พบว่่าผู้เ้� สีียชีีวิิตนอกโรงพยาบาลที่่ใ� ช้้บริิการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินมีีแนวโน้้มเพิ่่�มขึ้้�น
จากจำำ�นวน 7,776 คน (ปีี 2555) หรืือคิิดเป็็นอััตราเสีียชีีวิิต 12.06 ต่่อประชากรแสนคน และเพิ่่�มเป็็นจำำ�นวน 13,580 คน
(ปีี 2560) หรืือคิิดเป็็นอััตราเสีียชีีวิิต 20.52 ต่่อประชากรแสนคน ซึ่่�งส่่วนใหญ่่เป็็นการเสีียชีีวิิตก่่อนชุุดปฏิิบััติิการไปถึึง
ณ จุุดเกิิดเหตุุ มีีอััตรา 9.86-14.93 ต่่อประชากรแสนคน รองลงมาเป็็นรัักษาแล้้วเสีียชีีวิิต ณ จุุดเกิิดเหตุุ มีีอััตรา 1.41 - 4.78
ต่่อประชากรแสนคน เมื่่อวิ � เิ คราะห์์การเสีียชีีวิิตนอกโรงพยาบาล แบ่่งตามกลุ่่�มเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินกัับกลุ่่�มบาดเจ็็บ พบว่่า ส่่วนใหญ่่
เป็็นการเสีียชีีวิิตของกลุ่่�มเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน (Non Trauma) และมีีแนวโน้้มเพิ่่�มขึ้้�น จากอััตรา 6.56 ต่่อประชากรแสนคน (ปีี 2555)
56
รายงานประจำ�ปี 2563
เป็็นอััตรา 13.55 ต่่อประชากรแสนคน (ปีี 2560) ส่่วนใหญ่่การเสีียชีีวิิตเป็็นการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินที่่�ใช้้ระยะเวลาตั้้�งแต่่
รัับ แจ้้ ง เหตุุ จ นชุุ ดป ฏิิ บัั ติิ ก ารไปถึึ ง จุุ ด เกิิ ด เหตุุ ม ากกว่่ า 8 นาทีี ดัั ง นั้้� น หากประเทศไทยมีีระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ที่่มีีป � ระสิิทธิิภาพจะสามารถช่่วยรัักษาชีีวิิตผู้้เ� จ็็บป่่วยฉุุกเฉิินดัังกล่่าวได้้
ในยุุทธศาสตร์์ที่่� 5 ของแผนหลัักการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 3.1 พ.ศ. 2562 – 2565 กำำ�หนดให้้มีีการปฏิิรููป
ระบบความรู้้แ � ละความสามารถเรื่่อ � งการปฐมพยาบาล และการช่่วยฟื้้� นคืืนชีีพเบื้้�องต้้นของประชาชน เพื่่�อให้้ประชาชน เข้้าใจภาวะเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิ น มีีความรู้้ � มีีทัักษะในการปฐมพยาบาล และการช่่วยฟื้้� นคืืนชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน โดยได้้กำำ�หนด
กรอบกลวิิธีีหรืือวิิธีีทำ� ำ งานไว้้หลายวิิธีี และหนึ่่�งในนั้้�นก็็คืือ การจััดอบรมความรู้้ �พื้้�นฐานเกี่่�ยวกัับการบริิการการแพทย์์
ฉุุกเฉิิน (การปฐมพยาบาลเบื้้�องต้้น การช่่วยฟื้้� นคืืนชีีพ การใช้้เครื่่อ � ง AED) ให้้กัับประชาชน โดยเฉพาะกลุ่่�มเสี่่�ยงต่่างๆ
ซึ่่ง� จะมีีผลต่่อการรอดชีีวิิตของผู้้�ป่ว ่ ยในภาวะฉุุกเฉิินช่่วงก่่อนถึึงโรงพยาบาล เนื่่อ � งจากผู้้ที่ � พ ่� บเห็็นเหตุุการณ์์คนแรกสามารถ
ทำำ�การกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน (CPR) ได้้อย่า่ งถููกต้้อง สามารถแจ้้งเหตุุฉุก ุ เฉิินได้้ทัน ั เวลาและถููกช่่องทาง ระหว่่างที่่ร� อรถพยาบาลมาถึึง
สพฉ. ให้้ความสำำ�คััญกัับการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน (CPR) เพื่่อช่ � ว ่ ยชีีวิิตของประชาชนที่่มีี � ภาวะหััวใจหยุุดเต้้นเฉีียบพลััน กอร์์ปกัับเพื่่�อเป็็นการสืืบสานพระราชปณิิธานของพระบาทสมเด็็จพระบรมชนกาธิิเบศร มหาภููมิิพลอดุุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิิตร ที่่�ว่่า “คนไทยทุุกคนต้้องได้้รับ ั โอกาสในการบริิการรัักษาอย่่างดีีที่่�สุุด ได้้รับ ั การบำำ�บััดปกป้้องกััน อย่่างดีีที่่�สุุดเพื่่�อให้้คนไทยมีีสุุขภาพดีีถ้้วนหน้้ า” และพระราชปณิิธานอัันแน่่วแน่่ของพระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หััว
มหาวชิิราลงกรณ์์ บดิินทรเทพยวรางกููร ที่่จ � ะปลููกจิิตสำำ�นึึกให้้ประชาชนไทยได้้ร่ว่ มกัันบำำ�เพ็็ญประโยชน์์ และทำำ�ความดีี
เพื่่อ � ถวายเป็็นพระราชกุุศลแด่่พระบาทสมเด็็จพระปรมิินทรมหาภููมิิพลอดุุลยเดช ซึ่ง่� ได้้ทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ ให้้จัดตั้้ ั ง�
โครงการจิิตอาสา “เราทำำ�ความดีี ด้้วยหัว ั ใจ” ได้้มีีการจััดอบรมจิิตอาสาให้้ทำ� ำ CPR เป็็น นอกจากนี้้� ยัังเป็็นการตอบสนอง ต่่ อ นโยบายของท่่ า นรองนายกรััฐ มนตรีีและรััฐ มนตรีีว่่ า การกระทรวงสาธารณสุุ ข ที่่� ม อบให้้ ก ระทรวงสาธารณสุุ ข
และ สพฉ. ดำำ�เนิินการจััดอบรม “การปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน” ให้้อาสาสมัค ั รสาธารณสุุขประจํํา
หมู่่�บ้้าน (อสม.), อาสาสมััครสาธารณสุุขเรืือนจำำ� (อสรจ.) อาสาฉุุกเฉิินชุุมชน (อฉช.) และประชาชนทั่่�วไป ให้้มีีความรู้้แ � ละทัักษะ
ในการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐานจำำ�นวน 10 ล้้านคน ภายใน 3 ปีี ภายใต้้โครงการ “10 ล้้านไทยร่่วมใจ CPR” เพื่่อ � ให้้ผู้ที่ ้� อยู่่� ่� ณ จุุดเกิิดเหตุุ มีีขีีดความสามารถในการช่่วยเหลืือผู้้ที่ � มีีอา ่� การของภาวะหััวใจหยุุดเต้้นเฉีียบพลัันในสถานที่่ต่ � า่ งๆ ได้้อย่า่ งถููกต้้อง เป็็นการป้้องกััน
และลดอััตราการเสีียชีีวิิตที่่อา � จเกิิดขึ้้น � ได้้ในอนาคต อีีกทั้้�งยัังช่่วยลดความสููญเสีียทางด้้านเศรษฐกิิจและสัังคม ลดค่่าใช้้จ่าย ่
ในการรัักษาพยาบาล ลดการพลัั ดพรากก่่ อนวััยอัันสมควร ทำำ�ให้้สัังคมและชุุมชนมีีความปลอดภัั ย และอยู่่�ร่่วมกัั น
อย่่างมีีความสุุข ส่่งเสริิมคุุณภาพชีีวิิตของประชาชนให้้ดีียิ่่ง � ขึ้้�น
การดำำ�เนิินงานในปีี 2563
1. จััดทำ� ำ หลัักสููตรการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน (Emergency First Aid and Basic Life
Support Training Course) สำำ�หรัับอาสาสมััครสาธารณสุุขประจํําหมู่่�บ้้าน (อสม.) อาสาสมััครสาธารณสุุขเรืือนจำำ� (อสรจ.) และอาสาฉุุกเฉิินชุุมชน (อฉช.) และกำำ�หนดแนวทางขั้้�นตอนในการจััดการฝึึกอบรม มีีการแต่่งตั้้�งคณะกรรมการหลัักสููตร การปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน สำำ�หรัับอาสาสมััครสาธารณสุุขประจำำ�หมู่่�บ้้าน อาสาสมััครสาธารณสุุข
เรืือนจำำ� และอาสาฉุุกเฉิินชุุมชน โดยได้้มีีการเชิิญผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิที่่�มีีความรู้้ค � วามสามารถที่่�เป็็นทั้้�งแพทย์์และพยาบาลที่่�
มีีประสบการณ์์ด้้านการสอน และภาคประชาชนที่่�มีีส่่วนเกี่่�ยวข้้อง มาร่่วมเป็็นคณะกรรมการจััดทำ� ำ หลัักสููตร และได้้มีี
การกำำ�หนดคุุณสมบััติิของผู้้เ� ข้้ารับ ั การอบรมในระดัับต่่างๆ ตามที่่กำ � ำ�หนดไว้้ในหลัักสููตร ซึ่่ง � ได้้มีีการประกาศใช้้หลัักสููตร อย่่างเป็็นทางการในวัันที่่� 8 พฤษภาคม 2563 โดยมีีผลบัังคัับใช้้ตั้้�งแต่่วัันที่่� 4 กุุมภาพัันธ์์ 2563 และได้้มีีการแต่่งตั้้�ง
ผู้้อำ � ำ�นวยการฝึึกอบรม และครููผู้้�สอนการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินฯ รุ่่�นแรกขึ้้�น เพื่่อ � เป็็นการขัับเคลื่่อ � นองค์์ความรู้้ �สู่่�ประชาชนต่่อไป
2. ผลัักดัันให้้เกิิด “ศููนย์์การเรีียนรู้้ �ด้้านการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน” ที่่ตั้้ � �งขึ้้�นโดยองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น และองค์์กร
ภาคเอกชนที่่ไ� ม่่แสวงหาผลกำำ�ไร เพื่่อจั � ด ั การฝึึกอบรมให้้แก่่ประชาชนในพื้้�นที่่� โดยกำำ�หนดคุุณสมบััติเิ บื้้�องต้้นของหน่่วยงาน
ที่่จ � ะขอเปิิดเป็็นศููนย์์การเรีียนรู้้ฯ � ต้้องจััดหาหุ่่�นฝึึก CPR อย่่างน้้อย 5 ตััว และเครื่่อ � งฝึึก AED อย่่างน้้อย 1 เครื่่อ � ง ปััจจุุบัน ั
ได้้มีีการเปิิดศููนย์์การเรีียนรู้้ใ� นส่่วนขององค์์กรไม่่แสวงหาผลกำำ�ไรไปแล้้ว 2 ศููนย์์การเรีียนรู้้ฯ � คืือ มููลนิิธิสว่ ิ า ่ งเบญจธรรม
สมุุทรสงคราม และมููลนิิธิสว่ ิ า ่ งบริิบููรณ์์ พััทยา และอีีกหลายหน่่วยงานที่่กำ � ำ�ลัังเตรีียมการเปิิดดำำ�เนิินการในเร็็วๆ นี้้�
3. สนัับสนุุนส่่งเสริิมให้้โรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพตำำ�บล จััดส่ง ่ เจ้้าหน้้าที่่เ� ข้้ารับ ั การอบรม เพื่่อพั � ฒ ั นาศัักยภาพ
บุุคลากรด้้านการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน ในหลัักสููตรครููผู้้�สอนฯ และผลิิต อสม. และผู้้�ปฏิิบััติิการ
ฉุุกเฉิิน ให้้เป็็นผู้้�ช่ว ่ ยครููผู้้�สอนฯ ให้้ได้้ตามเป้้าหมายที่่กำ � ำ�หนด ซึ่ง่� ปััจจุุบัน ั ได้้ดำำ�เนิินการไปแล้้วหลายจัังหวััด ได้้แก่่ สระแก้้ว
เชีียงราย ประจวบคีีรีีขัันธ์์ สมุุทรสงคราม ปทุุมธานีี นครนายก เป็็นต้้น
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
57
4. ผลัักดัันให้้เกิิดโครงการ “หนึ่่�งครััวเรืือนหนึ่่�งกู้้�ชีีพ (อฉช.)” และ “คนไทยต้้องทำำ� CPR เป็็น” โดยเครืือข่่าย
ครููจิิตอาสาของศููนย์์ EMPAC ของ สพฉ. จากทุุกภาคส่่วน ได้้ออกไปให้้ความรู้้ แ � ก่่ประชาชน เด็็กนัักเรีียน นัักศึึกษา ในพื้้�นที่่ต่ � ่างๆ ทั่่�วทุุกพื้้�นที่่ข � องประเทศ
5. ผลัักดัันให้้มีีการบรรจุุการเรีียนการสอนวิิชา “การกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน” ให้้อยู่่�ในระบบการศึึกษาตั้้�งแต่่ระดัับ
ชั้้�นปฐมศึึกษา มััธยมศึึกษาในการเรีียนปกติิ หรืือบรรจุุอยู่่�ในกิิจกรรมลููกเสืือและเนตรนารีี และในระดัับมหาวิิทยาลััย
ในเบื้้�องต้้ น สำำ�นัั กวิิจััยและพััฒนาวิิชาการได้้ ส่่งผู้้�แทนเข้้าร่ว ่ มเป็็นคณะกรรมการดำำ�เนิิ นงานโครงการผลิิ ตรายการ
วีีดีีทััศน์์ เพื่่อ � เผยแพร่่องค์์ความรู้้เ� กี่่�ยวกัับกิิจกรรมลููกเสืือ สำำ�นัักงานปลััดกระทรวงศึึกษา โดยสำำ�นัักการลููกเสืือ ยุุวกาชาด
และกิิจการนัักเรีียน โดยมีีวััตถุุประสงค์์เพื่่อจั � ัดทำ� ำ ต้้นฉบัับสื่่อกิ � ิจกรรมลููกเสืือ เพื่่อนำ � ำ�ไปเผยแพร่่ยัง ั หน่่วยงาน สถานศึึกษา และบุุคลากรที่่เ� กี่่�ยวข้้อง รวมทั้้�งครููผู้้�สอนและบุุคลากรทางการลููกเสืือ สามารถนำำ�สื่่อ � เทคโนโลยีีไปใช้้ในกิิจกรรมลููกเสืือได้้
หลากหลายแนวทางมากขึ้้�น ซึ่่�งได้้มีีการประชุุมกำำ�หนดกรอบการจััดทำ� ำ สื่่�อเสร็็จเรีียบร้้อยแล้้ว อยู่่�ระหว่่างรอดำำ�เนิินการ
จััดทำ� ำ สื่่อ � เนื่่�องจากติิดปัญ ั หาการระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID – 19) จึึงจำำ�เป็็นต้้องเลื่่�อนออกไปก่่อน
6. สนัับสนุุนส่่งเสริิม เชิิญชวนให้้หน่่วยงานภาครััฐองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นองค์์กรภาคเอกชนไม่่แสวงหาผลกำำ�ไร
จิิตอาสาพระราชทาน 904 ประชาชนจิิตอาสา ฯลฯ ได้้เข้้ามามีีส่่วนร่่วมในการฝึึกอบรม (เข้้ารับ ั การอบรมหลัักสููตรครูู/ผู้้�ช่ว่ ยครููฯ)
เพื่่�อให้้มีีองค์์ความรู้้แ � ละสามารถนำำ�ไปถ่่ายทอดต่่อแก่่ประชาชนได้้อย่่างถููกต้้อง และแพร่่หลายครอบคลุุมทั่่�วทุุกพื้้�นที่่�
ของประเทศได้้รวดเร็็วยิ่่�งขึ้้�น ซึ่่�งปััจจุุบัันได้้มีีการดำำ�เนิิ นการไปแล้้วในหลายจัังหวััด เช่่น กรุุ งเทพมหานคร เชีียงราย ปทุุมธานีี สมุุทรสงคราม ชลบุุรีี ระยอง นครนายก ประจวบคีีรีีขัันธ์์ ชุุมพร สงขลา สระแก้้ว ขอนแก่่น ร้้อยเอ็็ด เป็็นต้้น
7. พััฒนาระบบการจััดเก็็บข้้อมููลผู้้�ผ่า ่ นการฝึึกอบรมหลัักสููตรการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน
ในระดัับต่่าง ๆ เพื่่อป � ระโยชน์์ในการควบคุุมกำำ�กัับติิดตามคุุณภาพในการฝึึกอบรม และทราบจำำ�นวนผู้้�ผ่า ่ นการฝึึกอบรมที่่�
ชััดเจน ซึ่ง่� ปััจจุุบัน ั ได้้มีีการจััดทำ� ำ การจััดเก็็บข้้อมููลของผู้้เ� ข้้ารับ ั การฝึึกอบรมอย่่างเป็็นระบบ แบ่่งเป็็นระดัับต่่างๆ เตรีียมพร้้อม
ที่่จ � ะนำำ�ขึ้้�น website (เฉพาะระดัับ 2, 3, 4) ของ สพฉ. ในส่่วนของศููนย์์ EMPAC เพื่่อ � ให้้สามารถตรวจสอบได้้
8. ประสานความร่่วมมืือกัับกระทรวง ทบวง กรม หน่่วยงานต่่าง ๆ เพื่่อจั � ดทำ ั � ำ บัันทึึกความร่่วมมืือ (MOU) ให้้เข้้ามา
9. จััดพิธีี ิ มอบรางวััลเชิิดชููเกีียรติิ (HERO award) ให้้กัับผู้้ที่ � มีี ่� ผลงานในการช่่วยฟื้้� นคืืนชีีวิิตผู้้�ป่ว ่ ยที่่หั � ว ั ใจหยุุดเต้้น
มีีส่่วนร่่วมในการสนัับสนุุนส่่งเสริิมและดำำ�เนิินการให้้บุค ุ ลากรเข้้ารับ ั การฝึึกอบรมหรืือเผยแพร่่องค์์ความรู้้ �สู่่�ประชาชนต่่อไป
นอกโรงพยาบาลรอดชีีวิิต หรืือผู้้ที่ � อุ ่� ุทิศ ิ ตนเสีียสละเพื่่อช่ � ว ่ ยเหลืือผู้้�ป่ว ่ ยในยามวิิกฤตหรืือภััยพิบั ิ ติ ั ิต่่าง ๆ ได้้ดำำ�เนิินการจััด
พิิธีีมอบรางวััล “HERO Award” ครั้้�งแรกขึ้้�นเมื่่�อวัน ั ที่่� 15 กรกฎาคม 2563 โดยได้้รับ ั เกีียรติิจากท่่านรองนายกรััฐมนตรีี
และรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข มาเป็็นประธานในพิิธีีมอบรางวััลอัันทรงเกีียรติินี้้�ด้้วยตนเอง
10. การประชาสััมพัันธ์์ รณรงค์์ กิิจกรรมสื่่อสา � รสาธารณะ เพื่่อ � ให้้ประชาชนได้้รับ ั ความรู้้ � และเข้้ารับ ั การฝึึกอบรม
ผ่่านสื่่อต่ � ่างๆ เช่่น เพจ facebook ของศููนย์์วิชา ิ การเตรีียมความพร้้อมด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน และ website ของ สพฉ.
ในส่่วนของ KMIS ร่่วมกิิจกรรมการให้้ความรู้้ใ� นงานต่่างๆ เช่่น งานกาชาด งานเฉลิิมพระเกีียรติิฯ เป็็นต้้น
สพฉ. ได้้เริ่่�มดำำ�เนิินการจััดการฝึึกอบรม หลัักสููตรการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน(ระดัับ 1, 2, และ 3) ตั้้�งแต่่วัน ั ที่่� 5 กุุมภาพัันธ์์ 2563 จนถึึงวัันที่่� 30 กัันยายน 2563 มีีผู้้ที่ � ผ่ ่� า ่ นการอบรมหลัักสููตรการปฐมพยาบาล
ฉุุกเฉิิ นและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน และได้้รับ ั ใบรัับรองผู้้�ผ่่านการอบรมในระดัับต่่างๆ จำำ�นวนทั้้�งสิ้้�น 1,452 คน ซึ่่�งแบ่่ง
การดำำ�เนิินงานออกเป็็น 3 กลุ่่�มดัังนี้้�
กลุ่่�มที่่� 1 คืือกลุ่่�มที่่� สพฉ. ให้้การสนัับสนุุนงบประมาณในการจััดการอบรมในจัังหวััดต่่างๆ ได้้แก่่ เชีียงราย
ประจวบคีีรีีขัันธ์์ กรุุงเทพมหานคร และร้้อยเอ็็ด ผลิิตครููผู้้�สอนฯ (ระดัับ 3) จำำ�นวน 4 รุ่่�น มีีผู้้ที่ � ผ่ ่� า ่ นการอบรมจำำ�นวน 218 คน
และผู้้�ช่ว ่ ยครููผู้้�สอนจำำ�นวน 3 รุ่่�น มีีผู้้�ผ่า ่ นการอบรมจำำ�นวน 125 คน
กลุ่่�มที่่� 2 คืือกลุ่่�มที่่� สพฉ. ให้้การสนัับสนุุนวิิทยากรในการฝึึกอบรมให้้กัับหน่่วยงานในจัังหวััดต่่างๆ ได้้แก่่ สระแก้้ว
เชีียงใหม่่ สุุราษฎร์์ธานีี กรุุงเทพมหานคร ผลิิตครููผู้้�สอนฯ (ระดัับ 3) จำำ�นวน 4 รุ่่�น มีีผู้้�ผ่า ่ นการอบรม 125 คน ผลิิตผู้้�ช่ว ่ ย
ครููผู้้�สอนฯ (ระดัับ 2) จำำ�นวน 1 รุ่่�น มีีผู้้�ผ่า ่ นการอบรม 133 คน และผู้้�ผ่า ่ นการอบรมหลัักสููตรการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและ การกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน (ระดัับ 1) จำำ�นวน 297 คน
กลุ่่�มที่่� 3 คืือกลุ่่�มที่่� สพฉ. ดำำ�เนิินงานแบบจิิตอาสา จััดอบรมโดยไม่่ได้้ใช้้งบประมาณแผ่่นดิินในจัังหวััดต่่างๆ
ได้้แก่่ ปทุุมธานีี นครนายก ประจวบคีีรีีขัันธ์์ ชลบุุรีี สมุุทรสงคราม ผลิิตผู้้�ช่ว ่ ยครููผู้้�สอนฯ (ระดัับ 2) จำำ�นวน 6 รุ่่�น มีีผู้้�ผ่า ่ น
การอบรม 369 คน และผู้้�ผ่า ่ นการอบรมหลัักสููตรการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน (ระดัับ 1) จำำ�นวน 185 คน
58
รายงานประจำ�ปี 2563
ทั้้�งนี้้� ไม่่นัับรวมจำำ�นวนผู้้เ� ข้้ารับ ั การอบรมที่่เ� ครืือข่่ายครููจิิตอาสาของศููนย์์ EMPAC สพฉ. ออกไปให้้บริิการความรู้้ � ด้้านการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐานให้้กัับประชาชนกลุ่่�มต่่างๆ ได้้แก่่ อาสาสมััครสาธารณสุุขประจำำ�หมู่่�บ้้าน อาสาสมััครสาธารณสุุข
เรืือนจำำ� นัักเรีียน นัักศึึกษา จิิตอาสาพระราชทาน และประชาชนทั่่�วไป โดยไม่่ได้้ออกใบรัับรองในพื้้�นที่่�ทั่่�วประเทศอีีก จำำ�นวนนัับหมื่่�นคน
ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ 1. ปััจจััยด้้านผู้้�บริิหาร การได้้รับ ั การสนัับสนุุน ส่่งเสริิมและผลัักดัันจากผู้้บ � ริิหารระดัับสููงของ สพฉ.
และกระทรวงสาธารณสุุข ร่่วมกัั บการมีีนโยบายที่่�ชััดเจนจากแผนหลัั กการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ
ฉบัับที่่� 3.1 พ.ศ. 2562 – 2565
2. ปััจจััยด้้านความร่่วมมืือจากเครืือข่่าย การได้้รับ ั การสนัับสนุุนจากเครืือข่่ายครููจิิตอาสาที่่ผ่ � า ่ น
การอบรมหลัักสููตรครููผู้้�สอนฯ และผู้้�ช่ว ่ ยครููผู้้�สอนฯ ของศููนย์์วิชา ิ การเตรีียมความพร้้อมด้้านการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน (EMPAC) สวว. สพฉ. รวมทั้้�งเครืือข่่ายครููจิิตอาสาจากชมรมกู้้�ชีีพทางน้ำำ�ประเทศไทย (TWRS) ที่่�
ร่่วมกัันออกไปให้้ความรู้้แ � ก่่ผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ าร อสม. อสรจ. อฉช. นัักเรีียน นัักศึึกษา บุุคลากรของหน่่วยงานต่่างๆ
และประชาชนในพื้้�นที่่จั � งั หวััดของตนเองแบบจิิตอาสา ทำำ�ให้้สามารถเผยแพร่่องค์์ความรู้้ไ� ด้้อย่า่ งต่่อเนื่่อ � ง และคลอบคลุุมทั่่�วทุุกพื้้�นที่่ข � องประเทศ
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
59
สถานการณ์์การระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID – 19) มีีผลการดำำ�เนิินงาน ที่่�สำำ�คััญ ดัังนี้้�
1. การดำำ�เนิินการเกี่่�ยวกัับการระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
สพฉ. ได้้มีีการดำำ�เนิินการจััดตั้้ง� ศููนย์์ปฏิิบัติ ั ก ิ ารสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
(ศปก.สพฉ.) กรณีีโรคปอดอัั ก เสบจากเชื้้� อ ไวรััส โคโรนาสายพัั น ธุ์์�ใหม่่ (Corona Virus Disease : COVID – 19) โดยมีีวัั ต ถุุ ป ระสงค์์ แ ละภารกิิ จ ในการเฝ้้ า ระวัั ง ติิ ด ตามสถานการณ์์ รวบรวมข้้ อมูู ล วิิ เ คราะห์์ ข้้ อมูู ล เพื่่� อจัั ดทำ� ำ
เป็็นข้้อเสนอและมาตรการในการสนัั บสนุุ นการปฏิิ บััติิการของบุุ คลากรในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น รวมถึึ งการจัั ดทำ� ำ
ข่่ า วสารเพื่่� อ เผยแพร่่ต่่ อสาธา รณะและผู้้�ป ฏิิ บัั ติิ ง านในระบบการแพทย์์ ฉุุก เฉิิ น โดยได้้ มีี การจัั ด หาอุุ ป กรณ์์ ป้้ อ งกัั น
การติิ ดเชื้้�อ ได้้ แก่่ หน้้ ากากอนามััย และชุุด PPE (Level C) แอลกอฮอล์์ แว่่นตา ถุุงมืือ ชุุดกัันฝน หมวกคุุลมผม Face Shield เพื่่อสนั � ับสนุุนให้้ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
สพฉ. ได้้ ออ กประกาศสถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ เรื่่�อ งรายชื่่� อ หน่่ ว ยปฏิิ บัั ติิ ก ารและผู้้�ป ฏิิ บัั ติิ ก าร
ที่่�ขึ้้�นทะเบีียนชุุดปฏิิบััติิฉุก ุ เฉิินพิิเศษ (Special COVID – 19 Operation Team : SCOT) โดยได้้มีีการพััฒนาความรู้้ �
ทัักษะในการปฏิิบััติิการที่่�มีีการป้้องกัันการติิดเชื้้�อที่่�ได้้มาตรฐาน เพื่่�อเป็็นทีีมสำำ�รองในการสนัับสนุุนการช่่วยเหลืือนำำ�ส่่ง
ผู้้�ป่ว ่ ยสงสััยติิดเชื้้�อหรืือติิดเชื้้�อ COVID – 19 ในทุุกจัังหวััดทั่่ว � ประเทศ มีีการจััดตั้้�งทีีม SCOT จำำ�นวน 63 ทีีม ใน 57 จัังหวััด
ซึ่ง่� มีีความพร้้อมในการปฏิิบัติ ั ง ิ านตลอด 24 ชั่่�วโมง ภายใต้้การสั่่�งการของศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการของจัังหวััด โดย สพฉ.
ได้้จัดอ ั บรมให้้กับ ั ผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ ารที่่จ � ะขึ้้�นทะเบีียนเป็็นชุุดปฏิิบัติ ั ก ิ ารพิิเศษ ซึ่ง่� ได้้รับ ั ความอนุุเคราะห์์จากแพทย์์ผู้เ้� ชี่่ย � วชาญจาก
สถาบัันบำำ�ราศนราดููรในการอบรมผ่่านระบบ Social ให้้กับ ั ผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ าร และได้้ทำ� ำ เป็็น VDO สำำ�หรัับใช้้เป็็นสื่่อ � การเรีียนการ
สอนลงใน Website เพื่่อนำ � ำ�ไปฝึึกอบรมสวมชุุด ถอดชุุดอุป ุ กรณ์์ป้อ ้ งกัันการติิดเชื้้�อ การทำำ�ความสะอาด พาหนะการทำำ�ลาย เชื้้�อและการจััดการร่่างผู้้�เสีียชีีวิิตจากการติิ ดเชื้้�อ พร้้อมทั้้�งได้้ จััดทำ� ำ คู่่�มืือแนวทางปฏิิ บััติิการและวิิธีีการปฏิิ บััติิเพื่่�อใช้้
ประกอบการปฏิิบัติ ั ิงานในพื้้�นที่่�
ทั้้�งนี้้� สพฉ. ยัังได้้มีีการปรัับแผนการดำำ�เนิินงานประจำำ�ปีี เพื่่อนำ � ำ�งบประมาณส่่วนหนึ่่�งมาสบทบเป็็นค่่าใช้้จ่่ายใน
การจััดหาอุุปกรณ์์และจ่่ายค่่าตอบแทนให้้กัับผู้้�ปฏิิบััติิการชุุด SCOT ในกรณีีที่่�ออกเหตุุและอยู่่�เวร รวมถึึงผู้้�ปฏิิบััติิการที่่� ต้้องกัักตััว 14 วััน หลัังจากออกปฏิิบัติ ั ิการ
2. การพััฒนาระบบ New Nomol ของระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เพื่่�อรับ ั การระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา
2019 (COVID – 19)
เริ่่�มตั้้�งแต่่ต้้นปีี 2563 มีีการระบาดทั่่�วโลกรวมถึึงไทย ซึ่่ง � เป็็นอุุบัติ ั ิการณ์์ของโรคติิดต่่อสายพัน ั ธุ์์�ใหม่่ที่เ่� กิิดขึ้้น �
อย่่างรวดเร็็วและรุุนแรง และได้้คร่่าชีีวิต ิ ประชากรเป็็นจำำ�นวนมากและรวดเร็็ว ดัังนั้้�นทางรััฐบาลได้้มีีประกาศสถานการณ์์
ฉุุก เฉิิ น ทั่่� ว ราชอาณาจัั ก ร ตามพระราชกำำ� หนดการบริิห ารราชการในสถานการณ์์ ฉุุก เฉิิ น พร้้อ มทั้้� ง ตั้้� ง ศููนย์์ บ ริิห าร
สถานการณ์์แพร่่ระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ในการเร่่งรััดการป้้องกัันและรัักษาให้้พร้้อมรัับสถานการณ์์
สพฉ. ได้้ปรับ ั กลยุุทธ์แ ์ ละแผนการดำำ�เนิินงานให้้พร้้อมรัับมืือกัับสถานการณ์์ที่เ่� ปลี่่�ยนแปลงตลอดเวลา โดยมีีการปรัับเกลี่่�ย
งบประมาณภายในสถาบัันฯ เพื่่อสนั � ับสนุุนการดำำ�เนิินการด้้านการระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
โดยดำำ�เนิินการ ดัังนี้้�
2.1 จััดตั้้�งศููนย์์ปฏิิบััติิการสนัับสนุุนการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ (ศปก.สพฉ.) กรณีีโรคปอดอัักเสบจากเชื้้�อไวรััสโคโรนาสายพัันธุ์์�ใหม่่ (Corona Virus Disease : COVID – 19)
เพื่่�อเฝ้้าระวัังติิดตามสถานการณ์์ รวบรวมข้้อมููล พร้้อมทั้้�งวิิเคราะห์์เพื่่�อจััดหาข้้อเสนอและมาตรการ ในการสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ิการของบุุคลากรในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ำ หลัักสููตรผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินพิิเศษ (Special COVID – 19 Operration Team : SCOT) พร้้อมทั้้�ง 2.2 จััดทำ� เร่่งอบรมผู้้�ปฏิิบัติ ั ิงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จำำ�นวน 6,000 คน
2.3 จััดทำ� ำ แนวทางชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินพิิเศษ
2.4 สนัั บสนุุ นวััสดุุอุุปกรณ์์ ในการป้้องกัั นสำำ�หรัับการออกปฏิิ บััติิงานของชุุดปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิิ นพิิเศษและ ผู้้�ปฏิิบัติ ั งิ านด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
2.5 จััดทำ� ำ แผนประคองกิิจการภายใน สพฉ. (Business Continuity Plan : BCP) ประกอบด้้วย Social
Distancing Work from Home ปรัับใช้้ระบบสารบรรณอิิเล็็กทรอนิิกส์์ ระบบการประชุุมทางไกลผ่่าน
อิิเล็็กทรอนิิกส์์ จััดหาความคุ้้�มครองเป็็นกรมธรรม์์ประกัันภััยจาก Covid – 19 มอบให้้แก่่บุค ุ ลากร สพฉ. และ
ผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ ารในเครืือข่่าย จำำ�นวน 6,000 ราย (ได้้รับ ั การสนัับสนุุนจากบริิษััททิพ ิ ยประกัันภััย จำำ�กััด (มหาชน) เป็็นต้้น
60
รายงานประจำ�ปี 2563
ผลลััพธ์์ที่่�เกิิดแก่่ประชาชน
ประชาชนเข้้าถึึงบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินด้้วยการแจ้้งเหตุุผ่า ่ นหมายเลข 1669
ประชาชนหรืือผู้้�ประสบเหตุุสามารถแจ้้งเหตุุการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินผ่่านหมายเลข 1669 ได้้ตลอด 24 ชั่่�วโมง โดย
ไม่่เสีียค่่าใช้้จ่่าย ซึ่่ง� ศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการทั่่�วประเทศทั้้�ง 80 ศููนย์์ จะทำำ�หน้้าที่่ป � ระสานงานเพื่่อ � ให้้ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินได้้รับ ั
การคุ้้�มครองสิิทธิิในการเข้้าถึึงระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินอย่่างทั่่�วถึึง เท่่าเทีียม มีีคุุณภาพมาตรฐาน และได้้รับ ั การช่่วยเหลืือ
และรัักษาพยาบาลที่่มีีป � ระสิิทธิิภาพและทัันต่่อเหตุุการณ์์มากขึ้้�น และเจ้้าหน้้าที่่ผู้ � ้�ปฏิิบัติ ั ิงานศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการจะ
ประเมิินอาการ คััดแยกระดัับความฉุุกเฉิินแล้้ว พิิจารณาสั่่�งการให้้ชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินออกช่่วยเหลืือผู้้�ป่ว ่ ยที่่เ� หมาะสม
ตามระดัับความรุุนแรงของการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน รวมทั้้�งให้้คำำ�ปรึึกษาในการดููและช่่วยเหลืือเบื้้�องต้้น
ในปีีงบประมาณ 2563 ประชาชนโทรผ่่านหมายเลข 1669 โดยการแจ้้งเหตุุขอความช่่วยเหลืือและขอรัับคำำ�ปรึึกษา
ของประชาชนผ่่ า นหมายเลขฉุุ ก เฉิิ น 1669 จำำ� นวน 5,793,682 ครั้้� ง ผู้้�ป่่ ว ยมาด้้ ว ยระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น
จำำ� นวน 1,770,543 ครั้้�ง โดยผู้้�ป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ น วิิ ก ฤตที่่� ไ ด้้ รั ับ การปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น ณ จุุ ด เกิิ ด เหตุุ ภายใน 8 นาทีี
ในระยะทาง 10 กิิ โ ลเมตร จำำ� นวน 1,033,258 ครั้้�ง คิิ ด เป็็ น ร้้อย ละ 58.36 ของผู้้�ป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ น วิิ ก ฤตทั้้� ง หมด
การปฏิิ บัั ติิ การฉุุ ก เฉิิ นเป็็ น การช่่ ว ยเหลืือผู้้�ป่่ ว ยที่่� ไ ด้้ รัั บ บาดเจ็็ บและผู้้�ป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ นให้้ ถูู กวิิ ธีีอย่่ า งทัั น ท่่ ว งทีี
จะทำำ�ให้้ลดการสููญเสีียชีีวิิตหรืือการตายก่่อนถึึงวััยอัน ั สมควร และลดความพิิการของผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิินลงได้้ และหากชุุดปฏิิบัติ ั ก ิ าร ฉุุกเฉิินสามารถเข้้าถึึงจุุดเกิิดเหตุุได้้รวดเร็็วจะทำำ�ให้้ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินได้้รับ ั การดููแลอย่่างทัันท่่วงทีี
นอกจากนี้้� ยัังมีีการแจ้้งเหตุุผ่า ่ นช่่องทางอื่่�น ๆ เช่่น ประชาชนแจ้้งผ่่านหมายเลขอื่่�น แจ้้งผ่่านเจ้้าหน้้าที่่ตำ � ำ�รวจ
หรืือหน่่วยกู้้�ชีีพและกู้้�ภััย รวมถึึงแจ้้งผ่่านวิิทยุุสื่อสา ่� ร เป็็นต้้น
สรุุปปััญหาอุุปสรรคการดำำ�เนิินงาน และแนวทางแก้้ไข
การดำำ�เนิินงานในรอบปีีงบประมาณ 2563 ยัังมีีปััญหาอุุปสรรคการดำำ�เนิินงานด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ซึ่ง่� จำำ�แนก
ออกเป็็น 3 ด้้าน ดัังนี้้�
ปั ญหา อุปสรรคการดำ�เนินงาน 1. ด้้านการบริิหารจััดการ
1.1 ระบบการเงิินการคลัั งไม่่เพีียงพอต่่ อการดำำ�เนิิ นงาน และยัังไม่่สามารถสนัั บสนุุ นส่่งเสริิมให้้พื้้�นที่่�ห่่างไกล
แ ล ะ เข้้ า ไ ม่่ ถึึ ง ร ะ บ บ ไ ด้้ อย่่ า ง เพีีย ง พ อ ร ว ม ทั้้� ง
พััฒนาได้้ช้้ากว่่าความต้้องการการดููแลเมื่่�อเจ็็บป่่วย ฉุุกเฉิินวิิกฤตในพื้้�นที่่ด้ � ้อยโอกาส
1.2 กระทรวงมหาดไทยได้้ มีี บทบัั ญ ญัั ติิ อํํา นาจหน้้ า ที่่� ตามมาตรา 16 และ มาตรา 17 แห่่งพระราชบััญญััติิ กระจายอํํานาจฯ พ.ศ. 2542 ที่่�ระบุุ ไว้้กว้้างในเรื่่อ � ง
แนวทางแก้ไข 1. ด้้านการบริิหารจััดการ 1.1 เสนอของบประมาณจากสำำ� นัั ก งบประมาณให้้ ไ ด้้ รั ับ อย่่างเพีียงพอและเหมาะสม รวมถึึงการดำำ�เนิินการตาม
มาตรา 35 แห่่ง พรบ.การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 2551 ในการ เรีียกเก็็บจากกองทุุนอื่่�นที่่เ� กี่่�ยวข้้อง
1.2 ประสานกระทรวงมหาดไทยในการปรัับ ปรุุ งระเบีียบ
ให้้เกิิดความชััดเจนของแนวทางเพื่่อ � รองรัับอํํานาจหน้้าที่่� ขององค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ในการใช้้ง บประมาณ
สํําหรัับดํําเนิินการและบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินขึ้้�น
ที่่ใ� ห้้เป็็นอํํานาจหน้้าที่่ข � ององค์์กรปกครอง ส่่วนท้้องถิ่่�น
1.3 ส่่งเสริิมและสนัับสนุุนให้้ อบจ. และ กทม. จััดตั้้ง� ศููนย์์รั ับแจ้้งเหตุุ
โรงพยาบาล ยัังมีีข้้อจํํากััดและอุุปสรรคจากระเบีียบ
อำำ�นวยการที่่�ได้้ มาตรฐาน รวมทั้้�งให้้ อปท. เพิ่่�มหน่่วย
จััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ฉุุกเฉิินวิิกฤติิในพื้้�นที่่ที่ � ยั ่� งั ไม่่มีีหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารครอบคลุุม
ใ น ก า ร บ ริิ ห า ร จัั ด ก า ร ก า ร แ พ ท ย์์ ฉุุ ก เ ฉิิ น น อ ก
ที่่� ข าดความชัั ด เจน สํําหรัับ ดํําเนิิ น การและบริิห าร
1.3 โครงสร้้างการจััดการและการอภิิบาลระบบการแพทย์์ ฉุุกเฉิินยัังไม่่เป็็นเอกภาพ
1.4 ระบบเทคโนโลยีีสื่่�อสารและสารสนเทศยัังไม่่เชื่่�อมโยง กัั บฐานข้้อมูู ลอื่่� น เพื่่�อสนัั บสนุุ นการปฏิิ บััติิการ และ
การบริิหารจััดการ รวมทั้้�งการตััดสิน ิ ใจเชิิงนโยบาย
1.5 จำำ� น ว น แ ล ะ ก ร ะ จ าย ข อ ง บุุ ค ล า ก ร ใน ร ะ บ บ ยัั ง
และจ่่ายงานบููรณาการกัับฉุุกเฉิินทุุกกรณีีและมีีระบบ
ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ระดัับสููง เพื่่�อรองรัับผู้้�ป่่วย
โดยให้้ปฏิิบัติ ั ก ิ ารได้้ภายใน 8 นาทีี ตามมาตรฐานที่่กำ � � ำ หนด
1.4 ท บ ท ว น โ ค ร ง สร้้ า ง แ ล ะ ก ล ไ ก ก า ร ป ร ะ สา น ง า น
ด้้านการแพทย์์และสาธารณสุุขระดัับประเทศ/เขต/จว. และกำำ�หนดให้้มีีมีีคณะกรรมการนโยบายระบบการแพทย์์
ฉุุกเฉิิ นระดัั บชาติิ /เขตให้้ชััดเจน มีีกองทุุนการแพทย์์ ฉุุกเฉิินระดัับเขต
ไม่่เพีียงพอต่่อความต้้องการ และระบบการธำำ�รงรัักษา
1.5 พััฒนาระบบสารสนเทศ (NECIS) ให้้เชื่่�อมโยงข้้อมููล
และสวััสดิก ิ าร ความก้้าวหน้้าในสายงาน (career path)
1.6 ควรเร่่งดำำ�เนิิ นการจัั ดทำ� ำ แผนผลิิ ตและความต้้ องการ
ยัังไม่่มีีความชััดเจน เช่่น โครงสร้้าง กรอบอััตรากำำ�ลััง
ที่่สำ � �ำ คััญ เพื่่อป � ระโยชน์์ในการใช้้กำ� ำ หนดทิิศทางที่่ชั � ด ั เจนขึ้้�น
พร้้อมทั้้�งธำำ�รงรัักษาบุุคลากรด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
61
ปั ญหา อุปสรรคการดำ�เนินงาน 2. ด้านการบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
แนวทางแก้ไข 2. ด้านการบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
2.1 มาตรฐานและคุุ ณ ภาพของระบบปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุก เฉิิ น
ั แจ้้งเหตุุฉุก ุ เฉิินที่่มีี � มาตรฐาน 2.1 เร่่งดำำ�เนิินการจััดตั้้ง� ศููนย์์รับ
ให้้เท่่าเทีียมกัับมาตรฐานระดัับสากล เช่่น หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ าร
และอำำ� นวยการด้้ านการแพทย์์ แ ละสาธารณสุุ ข
ยัั ง ไม่่ เป็็ น มาตรฐานสากลต้้ อ งพัั ฒ นาเพื่่� อย กระดัั บ ฉุุกเฉิินอำำ�นวยการ, หน่่วยปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์
ั ก ิ ารฉุุกเฉิินการแพทย์์ที่ขึ้้ ่� น � ทะเบีียนทุุกประเภท 2.2 หน่่วยปฏิิบัติ
/ระดัั บ ยัั ง มีีปริิม าณไม่่ เพีียงพอและการกระจายที่่� ไม่่ ค รอบคลุุ ม ทุุ ก พื้้� น ที่่� โดยเฉพาะหน่่ ว ยปฏิิ บัั ติิ ก าร
ฉุุ ก เฉิิ น ระดัั บ สููง ทำำ� ให้้ ก ารเข้้ าถึึ ง บริิก ารการแพทย์์
ฉุุกเฉิินของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินไม่่ทั่่�วถึึง หน่่วยปฏิิบััติิการใน พื้้�นที่่เ� ฉพาะ/พื้้�นที่่พิ � เิ ศษยัังอยู่่�ในระหว่่างการสร้้างรููปแบบ
โมเดลให้้เหมาะสมแต่่ละพื้้�นที่่�
่ ยฉุุกเฉิิน 2.3 ห้้องฉุุกเฉิินในสถานพยาบาลมีีความแออััด ผู้้�ป่ว ได้้รับ ั บริิการที่่ล่ � ่าช้า ้ และยัังมีีเหตุุการณ์์ไม่่พึง ึ ประสงค์์ เช่่น การทำำ�ร้้ายเจ้้าหน้้าที่่�
3. ด้้านภาคประชาชนและการมีีส่ว ่ นร่่วม
โดยดำำ� เนิิ น งานภายใต้้ อปท.และแยกศููนย์์ สั่่� ง การ
ที่่มีี � มาตรฐาน อยู่่�ใต้้กระทรวงสาธารณสุุข 2.2 เร่่งขยายหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินที่่มีี � มาตรฐานและคุุณภาพ 2.3 พััฒนาหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินในพื้้�นที่่พิ � เิ ศษ ให้้สามารถ ให้้ บ ริิก ารช่่ ว ยเหลืือเบื้้� อ งต้้ น แก่่ ป ระชาชน เจ้้ า หน้้ า ที่่�
ในพื้้�นที่่พิ � เิ ศษ 2.4 พััฒนาระบบการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินที่่�ดููแลผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน
อย่่ า งไร้้ร อยต่่ อ ตั้้� ง แต่่ ชุุ ม ชน การปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุก เฉิิ น นอกโรงพยาบาล การปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินในโรงพยาบาล
และระหว่่างโรงพยาบาล จนผู้้�ป่ว ่ ยได้้รับ ั การดููแลจนพ้้น ภาวะฉุุกเฉิิน (definitive care)
3. ด้้านภาคประชาชนและการมีีส่ว ่ นร่่วม
3.1 พัั ฒ นาองค์์ ค วามรู้้ �ด้้ า นการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น สำำ� หรัั บ ประชาชน ผลิิตสื่่อ � และเผยแพร่่ในช่่องทางต่่าง ๆ ที่่เ� หมาะสม
3.1 ประชาชนยัังรัับรู้้แ� ละตระหนัักถึึงภาวะฉุุกเฉิินทางการแพทย์์
กัับกลุ่่�มเป้้าหมาย โดยเฉพาะกลุ่่�มเสี่่ย � ง รวมทั้้�งการส่่งเสริิม
การเข้้าถึงึ บริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินน้้อยจะเห็็นได้้จากสััดส่ว่ น
ฉุุกเฉิินวิิกฤต เช่่น รู้้ �วิธีีร้ ิ อ ้ งขอความช่่วยเหลืือ การช่่วย
และการเข้้าถึงึ บริิการที่่เ� หมาะสม ในสััดส่ว ่ นที่่ต่ำ � � ำ ส่่งผลให้้
ผู้้�ป่่วยฉุุก เฉิิ น วิิ กฤตที่่�ม าด้้ ว ยระบบการแพทย์์ ฉุก ุ เฉิิน ต่่อผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตที่่ห้ � อ ้ งฉุุกเฉิินเพีียง ร้้อยละ 22.51
ทั้้�งนี้้� เนื่่�องจากสถานการณ์์การระบาดของโรคติิดเชื้้�อ
ไวรััสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ส่่งผลให้้ภาครััฐประกาศใช้้ พ.ร.ก.ฉุุกเฉิิน อีีกทั้้�งออกมาตรการควบคุุมต่่าง ๆ โดยเฉพาะ
มาตรการเว้้ น ระยะห่่ า งทางสัั ง คม (Social Distancing)
เป็็นผลให้้ไม่่สามารถดำำ�เนิินกิิจกรรมใด ๆ ภายใต้้โครงการได้้ ไม่่ ว่่ า จะเป็็ น การประชุุ ม และการเดิิ น ทางต่่ า ง ๆ ตั้้� ง แต่่
ช่่วงมีีนาคม 2563 เป็็นต้้ นมา เป็็นเหตุุให้้กิิจกรรมโครงการ
ส่่ ว น ให ญ่่ แ ล ะ ง บ ป ร ะ ม า ณ โ ค ร ง ก า ร ต้้ อ ง ห ยุุ ดช ะ งัั ก และเลื่่�อนกำำ�หนดการออกไปโดยไม่่มีีกำำ�หนด
ให้้ประชาชนมีีความรู้้ เ� บื้้�องต้้ นในการช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วย
ฟื้้� นคืืนชีีพ การใช้้เครื่่อ � งฟื้้� นคืืนคลื่่�นหััวใจไฟฟ้้าอััตโนมััติิ (AED)
3.2 พััฒนาระบบการสื่่อสา � รให้้ประชาชนทราบถึึงช่่องทาง การเข้้าถึึงบริิการที่่เ� หมาะสมอย่่างทัันท่่วงทีี
3.3 แสวงหาความร่่ว มมืือกัั บ หน่่ ว ยงานอื่่� น ที่่� เกี่่� ย วข้้ อ ง และแสวงหาแหล่่งทุุน เพื่่อขั � บ ั เคลื่่�อนงานโดยมุ่่�งเน้้น
3.3.1 การสร้้างระบบการจััดการความรู้้ที่ � ไ่� ด้้มาตรฐาน
สร้้างเครืือข่่ายนัักวิิจััย เพื่่�อให้้เกิิดการสร้้างและ
การจัั ด การองค์์ ค วามรู้้ �ที่่� เ อื้้� อต่่ อ การนำำ� ไปใช้้ ประโยชน์์
3.3.2 ก า ร จัั ด ก า ร แ ล ะ พัั ฒ น า ร ะ บ บ สา ร ส น เท ศ
ด้้ านการแพทย์์ฉุุ ก เฉิิ น ให้้ เ กิิ ด การบููรณาการ ระหว่่างหน่่วยงาน และให้้ครอบคลุุมทุุกกลุ่่�มโรค ที่่มีี � ความจำำ�เป็็นเพื่่อ � การเชื่่อ � มโยงไปสู่่�การตััดสิน ิ ใจ
เชิิงนโยบาย
3.4 ประสานความร่่วมมืือกัับภาคีีเครืือข่่ายต่า่ งๆ ในการกระจาย องค์์ ค วามรู้้ �ด้้ า นการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ให้้ กัั บ ประชาชน
เช่่น สภานิิติิบััญญััติิแห่่งชาติิ หน่่วยงานรััฐและเอกชน โรงเรีียน โรงงาน สมาคมสื่่อ � มวลชน ฯ
3.5 ประสานความร่่วมมืือกัับสถาบัันวิิชาการ สภาวิิชาชีีพ
ราชวิิทยาลััย สมาคมต่่าง ๆ พััฒนาองค์์ความรู้้สำ � � ำ หรัับ
กลุ่่�มเสี่่� ย ง ทั้้� ง กลุ่่�มเสี่่� ย งที่่� จ ะบาดเจ็็ บ และกลุ่่�มเสี่่� ย ง โรคเรื้้�อรังั เพื่่�อให้้กลุ่่�มเสี่่�ยงตระหนัักรู้้ �ถึึงภาวะฉุุกเฉิิ น
และหากมีีภาวะฉุุ ก เฉิิ น สามารถเข้้ าถึึ ง บริิ ก ารได้้
อย่่างทัันท่่วงทีี
62
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 3 ตุุลาคม 2562 ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุ ญ ศิิ ริ ิคำำ� ชัั ย รองเลขาธิิ ก าร พร้้อ มด้้ ว ย
บุุคลากร สพฉ. เข้้าร่ว ่ มการประชุุม Towards Emergency
Medical Service Data Standardization ณ ห้้องประชุุมชั้้�น 6
บริิษััท ทีีโอทีี จำำ�กััด (มหาชน) โดยมีี พ.อ.นพ.สุุรจิิต สุุนทรธรรม เป็็นประธานในการประชุุม
วัันที่่� 7 ตุุลาคม 2562 ผู้้�แทน สพฉ. จััดประชุุมคณะทำำ�งานพััฒนาและแก้้ไขปััญหาการ
ดำำ�เนิินงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินของหน่่วยปฏิิบััติิการประเภทปฏิิบััติิ
การแพทย์์ระดัับพื้้�นฐาน ครั้้�งที่่� 1/2562 ณ ห้้องประชุุม 602 ชั้้�น 6
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี นายพงษ์์ ภััฏ เรีียงเครืือ เป็็นประธานการประชุุม
วัันที่่� 8 ตุุลาคม 2562 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
ประชุุ ม หารืือร่่ว มกัั บ ผู้้� บ ริิห ารสำำ� นัั ก งานคณะกรรมการ ส่่ ง เสริิ ม วิิ ทยา ศาสตร์์ วิิ จัั ย และนวัั ต กรรม (สกสว.)
ณ อาคาร SM Tower เพื่่อทำ � � ำ ความเข้้าใจระบบวิิทยาศาสตร์์ วิิ จัั ย และนวัั ต กรรม และ แผนงานด้้ า นความปลอดภัั ย
ทางถนน (Road safety flagship)
วัันที่่� 9 ตุุลาคม 2562 ผู้้�แทน สพฉ. เข้้าร่ว ่ มประชุุมการปฏิิบััติิการอำำ�นวยการจราจร
ให้้แก่่ รถฉุุกเฉิินในกรณีีมีีขบวนเสด็็จ ณ ห้้องประชุุมแสงสิิงแก้้ว
กองบัังคัับการตำำ�รวจจราจร โดยมีี พล.ต.ท.ดำำ�รงศัักดิ์์� กิิตติิประภััสร์ ์
ผู้้�ช่ว ่ ยผู้้�บัญ ั ชาการตำำ�รวจแห่่งชาติิ เป็็นประธาน
วัันที่่� 10 ตุุลาคม 2562 สพฉ. ร่่ ว มกัั บ สำำ� นัั กงานหลัั ก ประกัั น สุุ ข ภาพแห่่ ง ชาติิ
และโรงพยาบาลรามาธิิ บ ดีี ประชุุ ม หารืือแนวทางการจัั ด
ระบบการแพทย์์ ฉุุก เฉิิ น ด้้ า นพิิ ษ วิิ ทยา ณ ห้้ อ งประชุุ ม 601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา
เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธานการประชุุม
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
63
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 10 ตุุลาคม 2562 ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ สพฉ. ให้้สัม ั ภาษณ์์ในรายการ
พบหมอรามา ช่่วง Rama Health Talk เกี่่�ยวกัับประเด็็นการให้้ความรู้้ � กัับประชาชน เรื่่อ � ง เจ็็บป่่วยทั่่�วไปงดใช้้ห้้องฉุุกเฉิินและความเข้้าใจลำำ�ดัับ อาการฉุุกเฉิินในแต่่ละระดัับ
วัันที่่� 11 ตุุลาคม 2562 นพ. สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
ร่่ว มประชุุ ม พัั ฒ นาประเด็็ น วิิ จัั ย เสาที่่� 5 เรื่่�อ ง การตอบ สนองหลัั ง เกิิ ดอุุ บัั ติิ เหตุุ ร่่ว มกัั บ เสาอื่่� น ๆ ในด้้ า นความ
ปลอดภัั ยทางถนน เพื่่�อเสนอแก่่ สำ� ำ นัั กงานคณะกรรมการ
ส่่ ง เสริิ ม วิิ ทยา ศ าส ต ร์์ วิิ จัั ย แ ล ะ น วัั ต ก ร ร ม ( ส ก ส ว . ) ณ โรงแรมอามารีีย์์แอร์์พอร์์ต
วัันที่่� 16 ตุุลาคม 2562 สพฉ. ร่่ว มประชุุ ม หารืือกัั บ กรมสุุ ข ภาพจิิ ต เกี่่� ย วกัั บ แนวทาง
การพัั ฒ นาระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น กรณีีผู้้�ป่่ ว ยวิิ ก ฤตจิิ ต เวช ฉุุกเฉิิน ณ ห้้องประชุุม 602 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน การประชุุม
วัันที่่� 17 ตุุลาคม 2562 สพฉ. จััดประชุุมคณะอนุุกรรมการรัับรององค์์กรและหลัักสููตรการศึึกษา และฝึึกอบรมผู้้�ปฏิิบััติิการ และการให้้ประกาศนีียบััตรหรืือ เครื่่อ � งหมาย
วิิ ทย ฐานะแก่่ ผู้้�ผ่่ า นการศึึ ก ษาหรืือฝึึ ก อบรม (อศป.) ครั้้�ง ที่่� 10/2562
ณ ห้้องประชุุม 601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี พ.อ.นพ.สุุรจิิต สุุนทรธรรม เป็็นประธาน
วัันที่่� 18 ตุุลาคม 2562 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เข้้าร่ว ่ มการ อภิิ ปรายการพิิจารณา ร่่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่่ าย
ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2563 วาระที่่� 1 ของสภาผู้้แ � ทนราษฏร
ณ อาคารรััฐสภา (เกีียกกาย)
64
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 21 - 23 ตุุลาคม 2562 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เข้้าร่ว่ ม
การจััดงานความร่่วมมืือการป้้องกัันและจััดการด้้านสาธารณสุุขการบิิน
เอเชีียแปซิิฟิก ิ หรืือ CAPSCA-AP/11 ณ สาธารณรััฐประชาชนบัังคลาเทศ
วัันที่่� 24 ตุุลาคม 2562 ผู้้แ � ทน สพฉ. เข้้าร่ว่ มประชุุม จััดทำ� ำ หลัักสููตรสำำ�หรัับอาสาสมััครสาธารณสุุขเรืือนจำำ�
(อสรจ.) ในโครงการ “ราชทััณฑ์์ ปัันสุุขฯ” ณ ห้้องประชุุมชั้้�น 9 กรมสนัับสนุุน
บริิการสุุขภาพ โดยมีี นพ.ธเรศ กรััษนััยรวิิวงค์์ อธิิบดีีกรมสนัับสนุุนบริิการสุุขภาพ เป็็นประธานการประชุุม
วัันที่่� 24 ตุุลาคม 2562 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม คณะอนุุ ก รรมการคุ้้�มครองสิิ ท ธิิผู้้�ป่่ ว ยฉุุก เฉิิ น ตามนโยบายรัั ฐ บาล “เจ็็ บ ป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ น วิิ ก ฤต มีีสิิ ท ธิิ ทุุ ก ที่่� ”
ครั้้�งที่่� 6/2562 ณ ห้้องประชุุม 601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี นพ.ชาตรีี เจริิญชีีวะกุุล เป็็นประธาน
วัันที่่� 24 ตุุลาคม 2562 ผู้้�แทน สพฉ. ร่่วมบรรยาย ในหััวข้้อบทบาทและการดำำ�เนิินงานเพื่่�อการ
ช่่วยเหลืือผู้้�ประสบภัั ยจากทุ่่�นระเบิิด และให้้ความรู้้ ก � ารกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน CPR & AED ในการปฐมนิิเทศกำำ�ลัังพลปฏิิบัติ ั งิ านทุ่่�นระเบิิดเพื่่อ � มนุุษยธรรม
ประจำำ� ปีี ง บประมาณ 2563 ณ ศููนย์์ ศึึ ก ษายุุ ทธ ศาสตร์์ก องทัั พ ไทย
เฉลิิ ม พระเกีียรติิ 80 พรรษา จ.ชลบุุ รีี โดยมีี พ.อ.ท.สิิ ท ธิิพ ล นิ่่� ม นวล ผู้้อำ � ำ�นวยการศููนย์์ปฏิิบัติ ั ิการทุ่่�นระเบิิดแห่่งชาติิ เป็็นประธานในการประชุุม
วัันที่่� 24 – 25 ตุุลาคม 2562 สพฉ. จัั ด การอบรมคณะทำำ� งานเพื่่� อ เตรีียมความพร้้อ มการ
ประเมิินคุุณภาพรางวััล EMS AWARDS 2019 ณ โรงแรมอมารีี แอร์์พอร์์ต ดอนเมืือง โดยมีี นายสุุรชััย ศิิลาวรรณ ผู้้อำ � ำ�นวยการ
สำำ�นัักประสานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เป็็นประธาน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
65
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 25 ตุุลาคม 2562 ผู้้แ � ทน สพฉ. เข้้าร่ว่ มการหารืือแนวทางการพััฒนาการยกระดัับการ
ให้้บริิการ EMS ด้้วยอากาศยาน ณ ห้้องประชุุมชั้้�น 3 อาคารมะเร็็ง
โรงพยาบาลพระปกเกล้้าจัันทบุุรีี โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา
เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธานการประชุุม
วัันที่่� 1 พฤศจิิกายน 2562 ร.อ.นพ.อัั จฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ร่่วมบรรยายในหัั วข้้อ
อนาคต 10 ปีี การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินไทย ในการประชุุม Regional Medical Direction เขตสุุขภาพที่่� 7 ครั้้�งที่่� 4 ณ สำำ�นัักงานสาธารณสุุขจัังหวััด
มหาสารคาม โดยมีี น.พ.ภาคีี ทรััพย์์พิิพััฒน์์ นายแพทย์์สาธารณสุุข จัังหวััดมหาสารคาม เป็็นประธาน
วัันที่่� 1 พฤศจิิกายน 2562 ผู้้แ � ทน สพฉ. ให้้ความรู้้ใ� นการฝึึกอบรมหลัักสููตร Emergency vehicle
operation course ณ โรงแรมทัักษะพิิพัฒ ั น์์ จ.สระบุุรีี เพื่่อสร้ � า้ งความ ตระหนัักเกี่่�ยวกัับความปลอดภััยในการขัับรถพยาบาล และลดความ สููญเสีียที่่อา � จเกิิดขึ้้น � ได้้ในอนาคต
วัันที่่� 4 พฤศจิิกายน 2562 ส พ ฉ . แ ล ะ สำำ� นัั ก ง า น สาธา ร ณ สุุ ข จัั ง ห วัั ดสุุ พ ร ร ณ บุุ รีี
จัั ดอ บ ร ม พัั ฒ น าศัั ก ย ภ า พ วิิ ทยา ก ร ค รูู ก ใ น ร ะ บ บ
การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ณ เดอะไพน์์ รีีสอร์ ์ท จ.ปทุุ ม ธานีี โดยมีี
น.พ.วรงค์์ รุ่่�งเรืือง นายแพทย์์สาธารณสุุขจัั งหวััดสุุพรรณบุุ รีี
เป็็นประธานเปิิดการฝึึกอบรม
วัันที่่� 7 พฤศจิิกายน 2562 ผู้้� แทน สพฉ. เข้้ าร่ ่ว มประชุุ ม เตรีียมความพร้้อ ม การซ้้ อ มแผน
ลำำ�เลีียงผู้้�ป่ว ่ ยทางอากาศยาน (Skydoctor เขตบริิการสุุขภาพที่่� 6 )
ณ ห้้ อ งประชุุ ม วิิ ริ ิยกิิ จ จา สำำ� นัั ก งานสาธารณสุุ ข จัั ง หวัั ดช ลบุุ รีี
โดยมีี น.พ.ชาติิชาย คล้้ายสุบ ุ รรณ รองผู้้อำ � ำ�นวยการฝ่่ายการแพทย์์
โรงพยาบาลเจ้้าพระยาอภััยภููเบศ เป็็นประธานในการประชุุม
66
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 7 พฤศจิิกายน 2562 ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร สพฉ. เข้้ าร่ ่ว มการประชุุ ม คณะ
กรรมการกู้้�ชีี พฉุุ ก เฉิิ น และความปลอดภัั ยทา งถนน ครั้้�ง ที่่� 1/2562 ณ ห้้องประชุุม 2501 อาคารสุุขประพฤติิ สำำ�นัักงานเลขาธิิการวุุฒิิสภา
โดยมีี นายสุุรชััย เลี้้�ยงบุุญเลิิศชััย สมาชิิกวุุฒิส ิ ภา เป็็นประธานในการประชุุม
วัันที่่� 10 พฤศจิิกายน 2562 ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร สพฉ. ร่่ว มเสวนา หัั ว ข้้ อ “ทำำ�
อย่่างไรไม่่ให้้มีีนัักวิ่่�งหััวใจหยุุ ดเต้้ นอีีกต่่ อไป” ในการประชุุมวิิชาการ
Running Science จััดโดย สมาคมวิิทยาศาสตร์์การกีีฬาแห่่งประเทศไทย ณ โรงพยาบาลกรุุงเทพ
วัันที่่� 11 พฤศจิิกายน 2562 ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย และนพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ สพฉ.
เข้้าร่ว่ มงาน Dinner talk Digital Government Transformation “Driving
Digital Government for the Future of Thailand” ณ สำำ�นัักงาน Ananda Development อาคาร 2 ชั้้�น 11 อาคารเอฟวายไอ เซ็็นเตอร์์ คลองเตย
วัันที่่� 12 พฤศจิิกายน 2562 นพ.สัั ญ ชัั ย ชาสมบัั ติิ รองเลขาธิิ ก าร สพฉ. เข้้ าร่ ่ว มการประชุุ ม
คณะกรรมการที่่ปรึ � ึกษาการจััดงาน Healthcare Technology Summit 2020 ครั้้�งที่่� 1 ณ ห้้องประชุุม 701 กระทรวงดิิจิิทัล ั เพื่่อ � เศรษฐกิิจและสัังคม
โดยมีี น.อ.สมศัักดิ์์� ขาวสุุวรรณ์์ อธิิบดีีกรมอุุตุนิ ุ ย ิ มวิิทยา เป็็นประธาน การประชุุม
วัันที่่� 12 พฤศจิิกายน 2562 ผู้้� แทน สพฉ. เข้้ าร่ ่ว มสัั ม มนาเรื่่�อ งความร่่ว มมืือในการค้้ น หาและ
ช่่วยเหลืือของประเทศไทยสู่่�สากล ซึ่่�งจัั ดขึ้้�นโดย สำำ�นัั กงานการบิิน พลเรืือนแห่่ ง ประเทศไทย ณ โรงแรมมิิ ร าเคิิ ล แกรนด์์ เขตหลัั ก สี่่� กรุุงเทพมหานคร โดยมีี Mr. Brian Frank Day ผู้้�เชี่่�ยวชาญพิิเศษ
ด้้านการค้้นหาและช่่วยเหลืือการบิินพลเรืือน จากประเทศออสเตรเลีีย
เป็็นผู้้บ � รรยาย
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
67
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 14 พฤศจิิกายน 2562 ผู้้�แทน สพฉ. เข้้าประชุุมปรึึกษาหารืือการพััฒนาระบบบริิการสุุขภาพ
service plan สาขาโรคหลอดเลืือดสมอง (Stroke) เขตสุุขภาพที่่� 13 ครั้้�งที่่� 4/2562 ณ ห้้องประชุุมเฉลิิมวัันชููทรััพย์์ อาคารเฉลิิมพระเกีียรติิ
สถาบัันประสาทวิิทยา โดยมีี น.พ.สุุชาติิ หาญไชยพิิบููลย์์กุล ุ เป็็นประธาน
วัันที่่� 15 พฤศจิิกายน 2562 ผู้้แ � ทน สพฉ. เข้้าร่ว่ มประชุุมเตรีียมการจััดทำ� ำ โครงการฝึึกอบรมทัักษะ
ด้้านการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐานและการป้้องกัันเด็็กจมน้ำำ� ร่่วมกัับองค์์การ
บริิหารส่่วนตำำ�บลคลองสาม ณ องค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บลคลองสาม
จ.ปทุุมธานีี เพื่่อ � เตรีียมความพร้้อมก่่อนจััดการอบรมให้้กัับเด็็กและ
เยาวชน ประชาชนในพื้้�นที่่� ในงานวัันพ่่อแห่่งชาติิ
วัันที่่� 16 พฤศจิิกายน 2562 สพฉ. จััดอบรมหลัักสููตรอาสาฉุุกเฉิินชุุมชน เพื่่�อให้้ความรู้้ �ด้้านการกู้้�ชีีพ ขั้้�นพื้้�นฐาน (CPR) และการใช้้เครื่่อ � ง AED แก่่อาสาสมััครป้้องกัันภััยฝ่่าย
พลเรืือน เขตบางบอนและประชาชนในพื้้�นที่่� ณ ห้้องประชุุมทรััพย์์ศิิริ ิ ตลาดศิิริชั ิ ย ั เขตบางบอน
วัันที่่� 18 พฤศจิิกายน 2562 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ เข้้าร่ว่ มประชุุมเพื่่อนำ � ำ�เสนอผลและ
รัับฟัังความคิิ ดเห็็นต่่ อรายงานการทบทวนสถานะประเทศไทยโดยใช้้ กรอบเป้้ า หมายโลกสำำ� หรัับ การดำำ� เนิิ น งานความปลอดภัั ยทา งถนน
โดยมีี นายนิิพนธ์์ บุุญญามณีี รััฐมนตรีีช่่วยว่่าการกระทรววมหาดไทย
เป็็ น ประธาน ณ ห้้ อ งประชุุ ม กมลมาศ ชั้้� น 6 โรงแรมศุุ โ กศล กรุุงเทพมหานคร
วัันที่่� 19 พฤศจิิกายน 2562 สพฉ. ร่่ว มสนัั บ สนุุ น กิิ จ กรรมบููธนิิ ท รรศการกระทรวงสาธารณสุุ ข
โดยมีีการสาธิิตและให้้ความรู้้ก � ารช่่วยฟื้้� นคืืนชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน (CPR) และ สาธิิตการใช้้เครื่่อ � ง AED ให้้แก่่ประชาชน ในงานกาชาดประจำำ�ปีี 2562 ณ สวนลุุมพิินีี กรุุงเทพมหานคร
68
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 21 พฤศจิิกายน 2562 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม เชิิ ง ปฏิิ บัั ติิ ก าร การแพทย์์ ฉุุก เฉิิ น ในพื้้� น ที่่� เขตพัั ฒ นา พิิ เ ศษภาคตะวัั น ออกและกฎหมายที่่� เ กี่่� ย วข้้ อ ง เขตสุุ ข ภาพที่่� 6
ณ ห้้องประชุุมเฉลิิมราชสมบััติิ โรงพยาบาลชลบุุรีี โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
วัันที่่� 22 พฤศจิิกายน 2562 นพ.สัั ญ ชัั ย ชาสมบัั ติิ รองเลขาธิิก าร พร้้อ มด้้ ว ยบุุ ค ลากร สพฉ.
เข้้าร่ว ่ มประชุุมขัับเคลื่่� อนนโยบาย UCEP เฉพาะสิิทธิิข้้าราชการ
ในเขตพื้้�นที่่ก � รุุงเทพมหานคร ครั้้�งที่่� 1/63 ณ ห้้องประชุุมราชพฤกษ์์
ชั้้�น 11 อาคารเฉลิิมพระเกีียรติิ โรงพยาบาลราชวิิถีี
วัันที่่� 25 พฤศจิิกายน 2562 ผู้้�แทน สพฉ.จััดประชุุมหารืือแนวทางการรัับรองพาหนะการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น
ทางบก ณ ห้้ อ งประชุุ ม 102 สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ โดยมีี
น.พ.พงศ์์ธร เกีียรติิดำำ�รงวงศ์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิฯ ิ เป็็นประธาน
วัันที่่� 25 พฤศจิิกายน 2562 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม คณะทำำ� งานตรวจสอบและรัับ เรื่่�อ งร้้อ งเรีียน
ของสถาบัั น การแพทย์์ ฉุุก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ ครั้้�ง ที่่� 6/2562 โดยมีี
นายสุุรชััย ศิิลาวรรณ ผู้้อำ � ำ�นวยการสำำ�นัักประสานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เป็็นประธาน ณ ห้้องประชุุม 601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
วัันที่่� 26 พฤศจิิกายน 2562 สพฉ. จััดประชุุมพััฒนาโครงร่่างวิิจััย ภายใต้้แผนงานวิิจััยด้้าน
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน มีีการนำำ�เสนอโครงร่่างงานวิิจััยจำำ�นวน 7 เรื่่อ � ง
จากเครืือข่่ายนัักวิิจััยด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ณ ห้้องประชุุม 601
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี นพ.อนุุชา เศรษฐเสถีียร เป็็นประธาน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
69
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 26 พฤศจิิกายน 2562 ผู้้แ � ทน สพฉ. ร่่วมประชุุมกัับเครืือข่่ายผู้้�ปฏิิบัติ ั งิ านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
และลงพื้้�นที่่�ปฏิิบััติิการซ้้อม เพื่่�อเตรีียมการซ้้อมแผนปฏิิบััติิการ
ก า ร แพ ท ย์์ ฉุุ ก เฉิิ น พื้้� น ที่่� เข ต พัั ฒ น าพิิ เ ศ ษ ภ า ค ต ะ วัั น ออ ก ณ สำำ�นัักงานด่่านเก็็บเงิินหนองขาม จ.ชลบุุรีี
วัันที่่� 26 พฤศจิิกายน 2562 ดร.นพ.ไพโรจน์ บุญศิรค ิ �ำชัย รองเลขาธิการ เข้าร่วมประชุม
อนุสัญญาภาคีระหว่างประเทศ Mine Free World เกี่ยวกับ
การกวาดล้างทุ่นระเบิด ซึ่งมีรฐ ั ภาคีจ�ำนวนกว่า 164 ประเทศ เข้าร่วมประชุม ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์
วัันที่่� 27 พฤศจิิกายน 2562 สพฉ. จััดประชุุมคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ครั้้�งที่่� 11/2562 ณ ห้้ อ งประชุุ ม 601 สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ โดยมีี
นายอนุุ ทิิน ชาญวีีรกุุล รองนายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการ
กระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธาน
วัันที่่� 28 พฤศจิิกายน 2562 สพฉ. จััดประชุุมคณะอนุุกรรมการรัับรององค์์กรและหลัักสููตรการ ศึึกษาและฝึึกอบรมผู้้�ปฏิิบััติิการ และการให้้ประกาศนีียบััตรหรืือ
เครื่่อ � งหมายวิิทยฐานะแก่่ ผู้้�ผ่่านการศึึกษาหรืือฝึึกอบรม (อศป.) ครั้้�งที่่� 11/2562 ณ ห้้องประชุุม 601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
โดยมีี พ.อ.นพ.สุุรจิิต สุุนทรธรรม เป็็นประธาน
วัันที่่� 28 พฤศจิิกายน 2562 สพฉ. จััดประชุุมคณะกรรมการจััดทำ� ำ หลัักสููตรการปฐมพยาบาล
ฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน (Emergency First Aid and Basic Life Support Training Course) สำำ�หรัับอาสาสมััครสาธารณสุุข
ประจำำ�หมู่่�บ้้าน (อสม.) อาสาสมััครสาธารณสุุขเรืือนจำำ� (อสรจ.) และอาสาฉุุกเฉิินชุุมชน (อฉช.) ครั้้�งที่่� 1/2562 ณ ห้้องประชุุม 601
สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ โดยมีี พล.อ.อ.สุุบิิน ชิิวปรีีชา กรมวัังผู้้ใ� หญ่่ เป็็นประธาน
70
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 29 พฤศจิิกายน 2562 สพฉ. ร่่ว มกัั บ กระทรวงสาธารณสุุ ข องค์์ ก ารความร่่ว มมืือ ระหว่่างประเทศแห่่งญี่่�ปุ่่�น (JICA) และกระทรวงสาธารณสุุข
ประเทศอิินโดนีีเซีีย จััดการฝึึกซ้้อมแผน Regional Collaboration Drill (RCD) ครั้้�งที่่� 4 ณ เมืืองบาหลีี สาธารณรััฐอิินโดนีีเซีีย
โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะแพงมา เลขาธิิการ กล่่าวเปิิดงานและเข้้าร่ว่ ม การฝึึกซ้้อม
วัันที่่� 30 พฤศจิิกายน 2562 ร.อ.นพ. อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ ลงพื้้�นที่่ง� านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
พื้้�นที่่� 3 จ.กาญจนบุุรีี เพื่่อ � ตรวจเยี่่ย � มและให้้กำำ�ลัังใจ ภาคีีเครืือข่่าย การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน พร้้อมแลกเปลี่่ย � นเรีียนรู้้ � ตลอดจนรัับฟัังปััญหา
และข้้อเสนอแนะต่่างๆจากภาคีีฯ ณ ห้้องประชุุมมููลนิิธิพิ ิ ทั ิ ก ั ษ์์กาญน์์
จ.กาญจนบุุรีี
วัันที่่� 4 ธัันวาคม 2562 ร.อ.นพ.อัั จฉริิย ะ แพงมา เลขาธิิการ ร่่วมประชุุ ม ผู้้� บริิห ารระดัั บสููง
กระทรวงสาธารณสุุข ครั้้�งที่่� 3/2562 ณ ห้้องประชุุมชััยนาทนเรนทร สำำ�นัั กงานปลัั ดกระทรวงสาธารณสุุข โดยมีี นายอนุุ ทิิน ชาญวีีรกููล รองนายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธาน
การประชุุม
วัันที่่� 4 ธัันวาคม 2562 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เข้้าร่ว่ มประชุุมหารืือการช่่วยฟื้้� นคืืนชีีพ
ขั้้�นพื้้�นฐาน (CPR) ในเด็็ก ร่่วมกัับ รศ.ดร.วิินััย วีีระวััฒนานนท์์ รััฐมนตรีีช่่วย ว่่าการกระทรวงศึึกษาธิิการ ประธานคณะทำำ�งานจิิตอาสา ณ ห้้องประชุุม หมายเลข 2202 อาคารสุุขประพฤติิ สำำ�นัักงานเลขาธิิการวุุฒิส ิ ภา
วัันที่่� 5 ธัันวาคม 2562 สพฉ. ร่่วมกัับกองสาธารณสุุขฉุุกเฉิิน กระทรวงสาธารณสุุข จััดนิิทรรศการ “ปณิิธานความดีี มีีแล้้วแบ่่งบััน” กิิจกรรม
การให้้ความรู้้ � การช่่วยชีีวิิตขั้้�นพื้้�นฐาน (CPR) เนื่่�องในโอกาส
วัันพ่่อแห่่งชาติิ ณ ท้้องสนามหลวง โดยมีีประชาชนที่่�มา ร่่วมงานให้้ความสนใจเข้้าร่ว่ มกิิจกรรมเป็็นจำำ�นวนมาก
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
71
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 6 ธัันวาคม 2562 ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ พร้้อมด้้วย
บุุคลากร สพฉ. ร่่วมพิิธีีประกาศเจตนารมณ์์การต่่อต้้าน การทุุจริิต กระทรวงสาธารณสุุขประจำำ�ปีีงบประมาณ 2563
ณ บริิเวณลานกิิจกรรม อาคารสำำ�นัักงานปลััดกระทรวง สาธารณสุุข
วัันที่่� 6 ธัันวาคม 2562 ผู้้� แทน สพฉ. เข้้ าร่ ่ว มประชุุ ม การถ่่ ายทอด โปรแกรมการเรีียนรู้้ �แ ละ กระบวนการถ่่ายทอดความรู้้ �ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสู่่�การนำำ�ร่่องไปใช้้ใน
โรงเรีียนต้้นแบบเชีียงราย ณ โรงเรีียนเวีียงเชีียงรุ้้�งวิิทยาคม จ.เชีียงราย
โดยมีีทีีมวิิทยากรจาก รพ.เชีียงรายประชานุุเคราะห์์ เข้้าร่ว ่ มสอนการ กู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน (CPR) และการใช้้เครื่่อ � ง AED ให้้กัับครููโรงเรีียนที่่เ� ข้้าร่ว่ ม
โครงการจำำ�นวน 9 แห่่ง วัันที่่� 9 ธัันวาคม 2562
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้วย นายสุุเทพ ณััฐกานต์์กนก
กรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน และบุุคลากร สพฉ. เข้้าร่ว่ มแลกเปลี่่ย � นเรีียนรู้้ � และรัับฟัังความคิิดเห็็น ปััญหาอุุปสรรค การดำำ�เนิินงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
รวมทั้้�งรัับฟัังความคิิ ดเห็็ นต่่ อร่า ่ งข้้อบัังคัั บ กพฉ.ว่่าด้้วยผู้้�ปฏิิ บััติิการ
ณ มููลนิิธิสว่ ิ า ่ งบริิธรรมสถาน เมืืองพััทยา จ. ชลบุุรีี
วัันที่่� 9 ธัันวาคม 2562 ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ เป็็นประธาน
เปิิดการประชุุมชี้้�แจงแนวทางการพััฒนายกระดัั บหน่่ วย ปฏิิบัติ ั ก ิ ารของภาคีีเครืือข่่ายให้้มีีคุณ ุ ภาพ เขตสุุขภาพที่่� 7-10
ณ โรงแรมอวานีี ขอนแก่่นโฮเทล จ. ขอนแก่่น
วัันที่่� 11 ธัันวาคม 2562 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เข้้าร่ว ่ มการประชุุม
คณะอนุุกรรมการศึึกษาเสนอแนะแนวทางการพััฒนาการ กู้้�ชีีพฉุุกเฉิิน ครั้้�งที่่� 2/2562 ณ ห้้องประชุุมหมายเลข 2403
อาคารสุุขประพฤติิ สำำ�นัั กงานเลขาธิิการวุุฒิิสภา โดยมีี
นายสุุรชััย เลี้้�ยงบุุญเลิิศชััย เป็็นประธานในการประชุุม
72
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 12 ธัันวาคม 2562 สพฉ. ร่่วมกัับเครืือข่่ายจัังหวััดอุุดรธานีี จััดประชุุมเชิิงปฏิิบััติิการ
การพัั ฒ นาระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น สำำ� หรัับ ผู้้�ป่่ ว ยจิิ ต คลุ้้�มคลั่่� ง
ณ สำำ� นัั ก งานสาธารณสุุ ข จัั ง หวัั ดอุุ ด รธานีี โดยมีี ดร.พิิ เชษฐ์์
หนองช้้าง ผู้้อำ � ำ�นวยการสำำ�นัักวิิจัย ั และพััฒนาวิิชาการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 12 ธัันวาคม 2562 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม คณะทำำ� งานพัั ฒ นาและแก้้ ไขปัั ญ หาการดำำ� เนิิ น
งานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินของหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการประเภทปฏิิบัติ ั ิการแพทย์์
ระดัับพื้้�นฐานครั้้�งที่่� 3/2562 ณ ห้้องประชุุม 102 สถาบัันการแพทย์์
ฉุุกเฉิิน โดยมีี ดร.พงษ์์ ภััฏ เรีียงเครืือ กรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน เป็็นประธาน
วัันที่่� 13 ธัันวาคม 2562 ผู้้�แทน สพฉ. เข้้าร่ว ่ มการประชุุมคณะกรรมการปฏิิรููปห้้องฉุุกเฉิิน
ครั้้� ง ที่่� 1 ณ ห้้ อ งประชุุ ม แสงสิิ ง แก้้ ว กรมการแพทย์์ โดยมีี นพ.ประพนธ์์ ตั้้� ง ศรีีเกีียรติิ กุุ ล รองปลัั ด กระทรวงสาธารณสุุ ข เป็็นประธาน
วัันที่่� 13 ธัันวาคม 2562 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
เข้้ าร่ ่ว มประชุุ ม เชิิ ง ปฏิิ บัั ติิ ก ารนำำ� เสนอเกณฑ์์ ม าตรฐาน/
แนวทางปฏิิบัติ ั ิงาน Protocol ในเขตสุุขภาพที่่� 1 ณ โรงแรม เชีียงรายแกรนด์์ รูู ม จัั ง หวัั ด เชีียงราย โดยมีี นพ.ทศเทพ
บุุญทอง นายแพทย์์สาธารณสุุขจัังหวััดเชีียงราย เป็็นประธาน
วัันที่่� 15 ธัันวาคม 2562 ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร พร้้อ มด้้ ว ยบุุ ค ลากร สพฉ. เข้้าร่ว่ มสัังเกตการณ์์การซ้้อมแผนรัับมืือภััยพิบั ิ ติ ั ิระดัับเอเชีีย-แปซิิฟิก ิ
เพื่่อ � ตอบโต้้เหตุุแผ่่นดิินไหวปีี 2019 (Earthquake Response Exercise (Asia-Pacific) 2019 ณ Chiang Mai International Exhibition and Convention Centre จ.เชีียงใหม่่
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
73
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 17 ธัันวาคม 2562 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม การพัั ฒ นาชุุ ด โครงร่่า งวิิ จัั ย ภายใต้้ แ ผนงานความ ปลอดภัั ยทา งถนน (Road safety Flagship) ปีี 2563-2565
ณ ห้้องประชุุม 413 กองวิิศวกรรมการแพทย์์ กรมสนัับสนุุนบริิการสุุขภาพ
วัันที่่� 17 ธัันวาคม 2562 ผู้้แ � ทน สพฉ. ให้้ความรู้้ก � ารช่่วยชีีวิิตขั้้�นพื้้�นฐาน (CPR) และการใช้้
เครื่่อ � ง AED แก่่ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิงานภายใน อพวช. ณ ห้้องประชุุมยููเรก้้า
พิิพิิธภััณฑ์์วิิทยาศาสตร์์แห่่งชาติิ โดยมีี ดร.ชนิินทร วรรณวิิจิิตร รองผู้้อำ � ำ�นวยการ อพวช. เป็็นประธานในการอบรม
วัันที่่� 18 ธัันวาคม 2562 สพฉ. จััดประชุุมคณะทำำ�งานบริิหารจััดการระบบการต่่ออายุป ุ ระกาศนีียบััตร
ปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น และการศึึ ก ษาต่่ อ เนื่่� อ งด้้ า นการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น
(CEPA) ณ ห้้ อ งประชุุ ม 602 สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ โดยมีี นพ.วีีรศัักดิ์์� พงษ์์ พุทธา ุ เป็็นประธาน
วัันที่่� 18 ธัันวาคม 2562 สพฉ. จััดประชุุมคณะอนุุกรรมการพััฒนาศัักยภาพและการมีีส่่วน ร่่วมของภาคีีเครืือข่่ายและการสื่่อสา � รสาธารณ ณ ห้้องประชุุม 102
สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ โดยมีี นายทรงยศ เทีียนทอง
เป็็นประธานการประชุุม
วัันที่่� 18 ธัันวาคม 2562 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ ร่่วมงานแถลงข่่าว สธ. ห่่วงใย คนไทย เที่่�ยวปีีใหม่่ปลอดภััย ณ ห้้องประชุุมชััยนาทนเรนทร สำำ�นัักงานปลััด
กระทรวงสาธารณสุุข โดยมีี นายอนุุทิน ิ ชาญวีีรกุุล รองนายกรััฐมนตรีี และรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธาณสุุข เป็็นประธาน
74
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 20 ธัันวาคม 2562 สพฉ. ร่่วมกัับโรงพยาบาลจุุฬาลงกรณ์์ จััดให้้มีีการสอบภาคทฤษฎีี
(MCQ) เพื่่อ � การให้้ประกาศนีียบััตรนัักปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ ณ อาคาร อปร. โรงพยาบาลจุุ ฬ าลงกรณ์์ โดยมีี นพ.ธนดล
โรจนศานติิกุล ุ เป็็นประธานควบคุุมการสอบ
วัันที่่� 23 ธัันวาคม 2562 ผู้้�แทน สพฉ. เข้้าร่ว ่ มพิิธีีเปิิดการอบรมให้้ความรู้้ ก � ารช่่วยชีีวิิต
ขั้้�นพื้้�นฐาน(CPR) และการใช้้เครื่่อ � ง AED แก่่ข้้าราชการตำำ�รวจ กองกำำ�กัับการ 1 กองบัังคัับการตำำ�รวจทางหลวง กองบััญชาการ
ตำำ� รวจสอบสวนกลาง ณ มหาวิิ ทยาลัั ย วไลอลงกรณ์์ โดยมีี
พ.ต.อ.เอกราช ลิ้้� ม สัั ง กาศ รองผู้้�บัั ง คัั บ การตำำ� รวจทางหลวง เป็็นประธานในการอบรม
วัันที่่� 23 ธัันวาคม 2562 ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เข้้าร่ว ่ มประชุุมการเตรีียมความพร้้อมและกำำ�หนดแนวทางการถ่่าย
โอนภารกิิจด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ณ ห้้องประชุุม 1 องค์์การบริิหาร
ส่่วนจัั งหวััดระยอง โดยมีี นพ.ชััยวััฒน์์ จัั ตตุุพร เลขานุุ การนายก
องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดระยอง เป็็นประธาน
วัันที่่� 24 ธัันวาคม 2562 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม คณะกรรมการจัั ดทำ� ำ หลัั ก สููตรการแพทย์์
ฉุุกเฉิินด้้านการกีีฬา (Sport Emergency Medical Service) ณ ห้้องประชุุม 102 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 26 ธัันวาคม 2562 ผู้้แ � ทน สพฉ. เข้้าร่ว่ มพิิธีีเปิิดโครงการอำำ�นวยความสะดวกปลอดภััย
เทศกาลปีีใหม่่ 2020 พร้้อมทั้้�งสาธิิตการช่่วยฟื้้� นคืืนชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน (CPR) ณ ด่่านเก็็บค่่าผ่า ่ นทางพิิเศษบางแก้้ว โดยมีี นายศัักดิ์์�สยาม ชิิดชอบ รััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงคมนาคม เป็็นประธาน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
75
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 26 ธัันวาคม 2562 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการเข้้าร่ว่ ม พิิธีีเปิิดงานณรงค์์ลด
อุุบัติ ั เิ หตุุปีใี หม่่ปลอดภััย เมาไม่่ขับ ั ณ สถานีีขนส่่งหมอชิิต บริิเวณ อาคารผู้้โ� ดยสารภาคกลาง ชั้้�น 1 โดยมีี พล.อ.ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา
นายกรััฐมนตรีี เป็็นประธาน
วัันที่่� 27 ธัันวาคม 2562 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ ร่่วมพิิธีีเปิิดศููนย์์อำำ�นวยป้้องกััน และลดอุุ บัั ติิ เหตุุ ทา งถนนช่่ ว งเทศกาลปีี ใหม่่ แ ละการประชุุ ม คณะ
กรรมการศููนย์์อำำ�นวยความปลอดภััยทางถนน ณ ห้้องประชุุม 1 ปภ. กรมป้้องกัันและบรรเทาสาธารณภััย โดยมีี นายนิิพนธ์์ บุุญญามณีี
รััฐมนตรีีช่่วยว่่าการกระทรวงมหาดไทยเป็็นประธาน
วัันที่่� 27 ธัันวาคม 2562 ผู้้�แทน สพฉ. ให้้บริิการวิิชาการด้้านการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน (CPR) และระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเบื้้�องต้้นให้้กัับประชาชน ในโครงการ
สร้้างความเข้้าใจแก่่ประชาชนในการบัังคัับใช้้กฎหมายเพื่่�อความ ปลอดภัั ยและลดอุุ บััติิเหตุุทางถนน ณ ร้้านข้้าวแกงบ้้านสวน 2
วัันที่่� 28 ธัันวาคม 2562 ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิย ะ แพงมา เลขาธิิก าร ร่่ว มงานแถลงข่่ า วศููนย์์ อำำ� นวย การและลดอุุบัติ ั ิเหตุุทางถนนช่่วงเทศกาลปีีใหม่่ 2563 ณ ห้้องประชุุม 1
กรมป้้ อ งกัั น และบรรเทาสาธารณภัั ย โดยมีี นายอนุุ ทิิ น ชาญวีีรกููล
รองนายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธาน
วัันที่่� 3 มกราคม 2563 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม หารืือบทบาทการเป็็ น พื้้� น ที่่� พี่่� เ ลี้้� ย งเพื่่� อ
ขัั บ เคลื่่� อ นและขยายตำำ� บลปลอดภัั ย เพื่่� อ ให้้ พื้้� น ที่่� พี่่� เ ลี้้� ย ง
ต่่ า งๆ ได้้ รับ ั ทราบถึึ งบทบาทหน้้ าที่่�ในการทำำ�งานเบื้้�องต้้ น ณ ห้้องประชุุม 601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี
ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ � ำ ชััย รองเลขาธิิการ เป็็นประธาน
76
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 6 มกราคม 2563 สพฉ. จััดการอบรมเชิิงปฏิิบัติ ั ิการพััฒนางานประจำำ�สู่่�งานวิิจััย
ด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น (R2R) ครั้้�งที่่� 1 ณ ห้้องประชุุม 602 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี นายสมหมาย คชนาม
เป็็นวิิทยากรในการฝึึกอบรม
วัันที่่� 7 มกราคม 2563 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม คณะทำำ� งานประเมิิ น และการสอบเพื่่�อให้้
ประกาศนีียบััตรหรืือเครื่่อ � งหมายวิิทยฐานะแก่่ผู้้�ผ่า ่ นการศึึกษา
หรืือฝึึ ก อบรมจากองค์์ ก รการศึึ ก ษาหรืือฝึึ ก อบรมที่่� อศป. รัับ รอง ชุุ ดนัั ก ปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น การแพทย์์ (คปส.นฉพ.)
ณ ห้้ อ งประชุุ ม 602 สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ โดยมีี ผศ.นพ.นเรนทร์์ โชติิรสนิิรมิิต เป็็นประธาน
วัันที่่� 9 มกราคม 2563 สพฉ. จััดประชุุมตรวจรัับรององค์์กรฝึึกอบรมโรงพยาบาลหนองคาย หลัักสููตรปฏิิบััติิการแพทย์์ขั้้�นพื้้�นฐานและช่่วยปฏิิบััติิการแพทย์์ขั้้�นสููง
ณ ห้้องประชุุมพิิกุุล โรงพยาบาลหนองคาย โดยมีี นพ.สุุรกิิจ ยศพล
ผู้้อำ � ำ�นวยการโรงพยาบาลหนองคาย เป็็นประธานกล่่าวต้้อนรัับ
วัันที่่� 10 มกราคม 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ. ร่่วมให้้ข้อ ้ เสนอแนะโครงร่่างวิิจััยรููปแบบการบริิหารจััดการ
เชิิงระบบในการใช้้เครื่่อ � งช็็อกไฟฟ้้าอัต ั โนมััติิ (AED) นอกสถานพยาบาลใน ประเทศไทย ณ ห้้องประชุุมสถาบัันวิิจัย ั และประเมิินเทคโนโลยีีทางการแพทย์์
วัันที่่� 11 มกราคม 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ. ร่่วมจััดบููธกิิจกรรม งานวัันเด็็กแห่่งชาติิ ร่่วมกัับศููนย์์ปฏิิบัติ ั ิ
การทุ่่�นระเบิิดแห่่งชาติิ ร่่วมรณรงค์์ “จิิตอาสาสอน CPR ในเด็็กนัักเรีียน”
ณ ศููนย์์บัญ ั ชาการทางทหาร กองบััญชาการกองทััพไทย ถนนแจ้้งวััฒนะ กรุุงเทพมหานคร
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
77
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 11 มกราคม 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ร่่วมกิิจกรรม
การให้้ ค วามรู้้ �ด้้ า นการกู้้�ชีี พขั้้� น พื้้� น ฐาน (CPR) ในงานวัั น เด็็ ก
สััญจร ณ โรงเรีียนบ้้านห้้ วยหวาย อ.หนองปรืือ จ.กาญจนบุุ รีี
โดยมีี พล.อ.อ.เอกสุุบิน ิ ชิิวปรีีชา กรมวัังผู้้ใ� หญ่่ ให้้เกีียรติิมาร่่วมเป็็น ประธานเปิิดงาน
วัันที่่� 13 มกราคม 2563 สพฉ. จััดประชุุมหารืือแนวทางการจััดเก็็บข้้อมููล CPR ปฏิิบัติ ั ิการ ฟื้้� นคืืนชีีพ ร่่วมกัั บแพทย์์ผู้้�เชี่่�ยวชาญ อัั นจะนำำ�ไปสู่่�การพััฒนา
ศัักยภาพผู้้�ปฏิิ บััติิการในการดููแลผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิ นที่่�ได้้ มาตรฐาน ลดอััตราการเสีียชีีวิิตและพิิการ ณ ห้้องประชุุม 601 สถาบัันการ
แพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ. อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธาน วัันที่่� 14 มกราคม 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ. ร่่วมเป็็นวิิทยากรในโครงการพััฒนาศัักยภาพบุุคลากร
และเครืือข่่ายของศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการจัังหวััดอุุบลราชธานีี
ณ ห้้องประชุุม OTOP CENTER จ.อุุบลราชธานีี โดยมีี นายอุุทัย ั วะรงค์์ รองปลััดองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดอุุบลราชธานีี เป็็นประธาน
วัันที่่� 14 มกราคม 2563 ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
เข้้ าร่ ่ ว มประชุุ ม เรื่่� อ งการจัั ดตั้้� ง ศููนย์์ รั ั บ แจ้้ ง เหตุุ แ ละสั่่� ง การ ณ องค์์ ก ารบริิ ห ารส่่ ว นจัั ง หวัั ด เชีียงใหม่่ โดยมีี นายบุุ ญ เลิิ ศ
บููรณุุ ป กรณ์์ นายกองค์์ ก ารบริิห ารส่่ ว นจัั ง หวัั ด เชีียงใหม่่ ให้้ ก าร ต้้อนรัับ
วัันที่่� 14 มกราคม 2563 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม ตรวจรัับ รององค์์ ก รฝึึ ก อบรมโรงพยาบาลสตููล
หลัักสููตรปฏิิบัติ ั ก ิ ารแพทย์์ขั้้น ั ก ิ ารแพทย์์ขั้้น � พื้้�นฐานและช่่วยปฏิิบัติ � สููง ณ ห้้องประชุุมทัับทิิม โรงพยาบาลสตููล โดยมีี พญ.วัันทนา ไทรงาม
ผู้้อำ � ำ�นวยการโรงพยาบาลสตููล เป็็นประธาน
78
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 15 มกราคม 2563 สพฉ. จััดประชุุมเชิิงปฏิิบัติ ั ิการ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินด้้านการกีีฬา
(Sport EMS) ณ โรงแรมแม่่น้ำำ� รามาด้้ า กรุุ งเทพมหานคร โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 21 มกราคม 2563 สพฉ. จััดประชุุมหารืือการพััฒนามาตรฐานการให้้บริิการรัับ-ส่่ง ผู้้�ป่่ ว ยของผู้้�ป ระกอบการภาคเอกชน ณ ห้้ อ งประชุุ ม 413 กองวิิศวกรรมการแพทย์์ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เป็็นประธาน
วัันที่่� 21 มกราคม 2563 สพฉ. จััดประชุุมคณะทำำ�งานจััดระบบการสำำ�รองเตีียงสำำ�หรัับผู้้�ป่่วย ฉุุกเฉิินวิิกฤต ครั้้�งที่่� 1/2563 ณ ห้้องประชุุม 602 ชั้้�น 6 สถาบัันการ
แพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี นพ.มานััส โพธาภรณ์์ เป็็นประธาน
วัันที่่� 23 มกราคม 2563 สพฉ. ร่่วมกัับ ปตท.สผ. IRSG และเครืือข่่ายผู้้�ปฏิิบัติ ั งิ านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
จ.ขอนแก่่น จัั ดประชุุมเชิิงปฏิิบััติิการการจัั ดการภาวะฉุุกเฉิิ นทาง
การแพทย์์ ใ นกรณีีอุุ บัั ติิ ภัั ย หมู่่�ในฐานปฏิิ บัั ติิ ก ารโครงการสิิ น ภูู ฮ่่อม ณ โรงแรมราชาวดีี รีีสอร์์ท แอนด์์ โฮเทล จ.ขอนแก่่น โดยมีี
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 23 มกราคม 2563 ร.อ.นพ.อัั จฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ ร่่วมรัับฟัังผลการดำำ�เนิิ นงาน การแพทย์์ ฉุุก เฉิิ น จัั ง หวัั ดอุุ ด รธานีี รวมทั้้� ง ปัั ญ หา อุุ ปส รรคพร้้อ ม
แลกเปลี่่�ยนในการพััฒนางาน EMS ณ โรงพยาบาลอุุดรธานีี โดยมีี
นพ.ณรงค์์ ธาดาเดช ผู้้อำ � ำ�นวยการโรงพยาบาลอุุดรธานีี ให้้การต้้อนรัับ
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
79
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 26 มกราคม 2563 ร.อ.นพ. อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เข้้าร่ว่ มการประชุุมมาตรการ การป้้องกัันและควบคุุมการแพร่่ระบาดของโรคปอดอัักเสบจาก เชื้้�อไวรััสโคโรนาสายพัันธุ์์�ใหม่่ 2019 ในประเทศไทย ณ ห้้องประชุุม
ชััยนาทนเรนทร สํํานัั กงานปลัั ดกระทรวงสาธารณสุุข โดยมีี
นายอนุุทิิน ชาญวีีรกููล รองนายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการ กระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธาน
วัันที่่� 1 กุุมภาพัันธ์์ 2563 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ เข้้าร่ว่ มประชุุมด้้านเทคโนโลยีีรถพยาบาล ในอนาคตของประเทศไทยหััวข้้อ“IntegratingEmergingTechnologyIdentification
into Scenario-Based Technology Roadmapping for technology Foresight: A Case of Thailand’s Ambulance Technologies” ณ ห้้ อ งประชุุ ม
ชั้้�น 10 อาคารวิิศวกรรมอุุตสาหกรรมอุุตสาหการ มหาวิิทยาลัย ั เกษตรศาสตร์์ บางเขน
วัันที่่� 1 กุุมภาพัันธ์์ 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ร่่วมชม การสาธิิตการลำำ�เลีียงผู้้�ป่ว ่ ยด้้วยอากาศยาน ณ ค่่ายสิริ ิ ท ิ ร จ.ปััตตานีี
โดยมีี พล.ต.นพ.เกษม ภิิ ญโญชนม์์ ผู้้�อำำ�นวยการศููนย์์อำำ�นวยการ จัังหวััดชายแดนภาคใต้้ให้้การต้้อนรัับ
วัันที่่� 1 กุุมภาพัันธ์์ 2563 ร.อ.นพ.อัั จฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้ วยบุุ คลากร สพฉ.
ร่่ ว มสัั ง เกตการณ์์ แ ละสนัั บ สนุุ น การเตรีียมความพร้้ อ มด้้ า น
การแพทย์์ ในงานแข่่งขัันวิ่่�งมาราธอน AMAZING THAILAND MARATHON BANGKOK 2020 ณ แอร์์พ อร์์ต ลิ้้� ง ค์์ มัั ก กะสัั น สนามราชมัังคลากีีฬาสถาน กรุุงเทพมหานคร
วัันที่่� 3 กุุมภาพัันธ์์ 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ. เข้้าร่ว่ มหารืือวางแผนวางระบบการแจ้้งเหตุุฉุก ุ เฉิิน และการสอนฟื้้� นคืืนชีีพ CPR และการใช้้เครื่่อ � ง AED เพื่่อ � ให้้เกิิด
ประสิิทธิิภาพสููงสุุดในกลุ่่�มผู้้�เปราะบาง ร่่วมกัับ นพ.ไชยพร
ยุุ ก เซ็็ น และคณะผู้้� เชี่่� ย วชาญทางการแพทย์์ ณ โรงเรีียน
สอนคนตาบอด กรุุงเทพมหานคร
80
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 5 กุุมภาพัันธ์์ 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ. ร่่วมลงนามเป็็นพยาน ในพิิธีีลงนามบัันทึึกความร่่วมมืือ
การพััฒนาระบบการลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินทางน้ำำ�พื้้�นที่่�เหนืือเขื่่�อน
ภููมิิพล อ.สามเงา จ.ตาก ณ ห้้องประชุุมเขื่่อ � นภููมิิพล จ.ตาก โดยมีี นายอรรษิิ ษฐ์์ สััมพัันธรััตน์์ ผู้้�ว่า ่ ราชการจัังหวััดตาก เป็็นประธาน
วัันที่่� 6 กุุมภาพัันธ์์ 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ. เข้้าร่ว่ มการประชุุมติิดตามและแลกเปลี่่�ยนการปฏิิบัติ ั ิ
ที่่� ดีี จากรััฐ สมาชิิ ก อาเซีียนที่่� ไ ด้้ รั ับ ผลกระทบจากทุ่่�นระเบิิ ด และ วััตถุุระเบิิดที่่�ตกค้้างหลัังสงคราม ติิดตามสถานการณ์์ความเสี่่�ยง
ในระดัับโลก (Regional Consultative Meeting on the Good Practices and Integrated Approaches to Mine/ERW Risk
Education for Affected Communities in ASEAN Member States.) ณ เมืืองเสีียมราฐ ประเทศกััมพููชา วัันที่่� 6 กุุมภาพัันธ์์ 2563 สพฉ. จััดประชุุมหารืือวางแผนการดำำ�เนิินงานในการจััดทำ� ำ หลัักเกณฑ์์ ในการคััดแยก คััดกรอง และวิินิิจฉััยภาวะฉุุกเฉิิน ณ ห้้องประชุุม 602
สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ โดยมีี นพ.ชาติิ ชาย คล้้ ายสุุบรรณ เป็็นประธาน
วัันที่่� 12 กุุมภาพัันธ์์ 2563 ร.อ.นพ.อัั จฉริิยะ แพงมา พร้้อมด้้ วยบุุ คลากร สพฉ. เข้้าร่ว ่ มประชุุมและ
นำำ�เสนอหลัักสููตรการฝึึกอบรมและผลงานวิิจััยของ สพฉ ในที่่�ประชุุมการ ขัับเคลื่่อ � นการดำำ�เนิินงานด้้านการปฐมพยาบาล การช่่วยฟื้้� นคืืนชีีพ การใช้้ AED
กรณีีเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินในสถานศึึกษาครั้้�งที่่� 2/2563 ณ ห้้องประชุุมอภััยจนทวิิมล
กระทรวงศึึ ก ษาธิิ ก าร โดยมีี นายธีีรพงศ์์ สานแสน รองปลัั ด กระทรวง ศึึกษาธิิการ เป็็นประธานในการประชุุม
วัันที่่� 12 กุุมภาพัันธ์์ 2563 น.พ.สััญชััย ชาสมบััติิ พร้้อมทีีมงาน ARCH Project เข้้าพบ น.พ.รายิิน
อโรร่่า รองอธิิการบดีีวิิทยาลััยวิทยา ิ ศาสตร์์การแพทย์์เจ้้าฟ้าจุ ้ ฬ ุ าภรณ์์
และรัักษาการคณบดีีสำำ�นัักวิิชาการศึึกษาคลิินิิกชั้้�นสููง เพื่่อ � หารืือความ ร่่วมมืือในการจััดการภััยพิิบััติิทางด้้านการแพทย์์ในภููมิิภาคอาเซีียน
ณ ราชวิิทยาลััยจุฬ ุ าภรณ์์ กรุุงเทพมหานคร
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
81
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 13 กุุมภาพัันธ์์ 2563 สพฉ. จััดประชุุมรัับฟัังความคิิดเห็็น(ร่่าง)แผนแม่่บทการสื่่�อสารและ
เทคโนโลยีีสารสนเทศการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ฉบัับที่่� 3 ณ โรงแรมเบสเวส เทริินพลััสแวนด้้าแกรนด์์ จ.นนทบุุรีี โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 13 กุุมภาพัันธ์์ 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
ร่่วมโครงการอบรมความรู้้ �อาสาสมััครสาธารณสุุขเรืือนจำำ�
(อสรจ.) ประจำำ�ปีี 2563 ณ เรืือนจำำ�กลางคลองเปรม โดยมีี นายวิิชัย ั โชติิปฏิิเวชกุุล ผู้้�บังั คัับบััญชาเรืือนจำำ�กลางคลองเปรม เป็็นประธาน
วัันที่่� 15 กุุมภาพัันธ์์ 2563 สพฉ. จััดอบรมความรู้้ �ด้้านการปฐมพยาบาล “ฝึึกCPR สร้้างซุุปตาร์์ เป็็น HERO” และ มอบรางวััลHERO Award (Health Emergency
Response Outstanding Award) ณ ห้้ อ งรััช โยธิิ น ชั้้� น 20 โรงแรมเดอะบาซาร์์ โฮเทลบางกอก กรุุ ง เทพมหานคร โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 17 กุุมภาพัันธ์์ 2563 ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
ร่่ ว ม ห ารืือ ง า น ก า ร แพ ท ย์์ ฉุุ ก เฉิิ น สำำ� ห รัั บ ก ลุ่่� ม เฉ พ า ะ ( เรืือ น จำำ� )
กัับพ.ต.อ.ดร.ณรััชต์์ เศวตนัันทน์์ อธิิบดีีกรมราชทััณฑ์์ และหััวหน้้าส่ว ่ น
ราชการต่่างๆ ณ ห้้องประชุุมกรมราชทััณฑ์์ กรุุงเทพมหานคร
วัันที่่� 17 กุุมภาพัันธ์์ 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ. ร่่วมสัังเกตการณ์์และเก็็บข้้อมููล “ถอดบทเรีียนความสำำ�เร็็จ ของระบบคััดแยกระดัับความฉุุกเฉิินของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินระดัับจัังหวััด” ณ โรงพยาบาลปทุุมธานีี จ.ปทุุมธานีี โดยมีี รศ.ดร.ประภาพรรณ อุ่่�นอบ
(ผู้้เ� ชี่่ย � วชาญ) และทีีม ดำำ�เนิินการถอดบทเรีียนฯ
82
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 19 กุุมภาพัันธ์์ 2563 สพฉ. จััดประชุุมตรวจรัับรององค์์กรฝึึกอบรม หลัักสููตรปฏิิบัติ ั ก ิ ารแพทย์์ ขั้้�นพื้้�นฐานและช่่วยปฏิิบัติ ั ิการแพทย์์ขั้้น � สููง ณ ห้้องประชุุมโรงพยาบาล
สมเด็็จพระบรมราชิินีี นาถ จ. สงขลา โดยมีี นพ.กััมปนาถ จัันทนะ
รองผู้้อำ � ำ�นวยการโรงพยาบาลสมเด็็จพระบรมราชิินีีนาถ เป็็นประธาน
วัันที่่� 19 กุุมภาพัันธ์์ 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ. ร่่วมเป็็นวิิทยากรในการฝึึกอบรมด้้านการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน
(CPR) แก่่กำำ�ลัังพลหน่่วยบััญชาการป้้องกัันภััยทางอากาศกองทััพบก
ณ หน่่ วยบัั ญ ชาการป้้ อ งกัั น ภัั ยทา งอากาศกองทัั พ บก โดยมีี
พล.ท.พััลลพ เฟื่่�องฟูู เป็็นประธานในการฝึึกอบรม
วัันที่่� 21 กุุมภาพัันธ์์ 2563 สพฉ. จััดกิจ ิ กรรมจิิตอาสาสอนการช่่วยฟื้้� นคืืนชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน CPR ให้้กับ ั
นัักเรีียนโรงเรีียนวััดไทรใหญ่่ (นนททิิวากรราษฎ์์บำ� ำ รุุง) ในโครงการส่่ง เสริิมคุุณธรรมและความโปร่่งใสแบบบููรณาการ ณ โรงเรีียนวััดไทรใหญ่่ (นนททิิวากรราษฎ์์บำ� ำ รุุง) จ.นนทบุุรีี
วัันที่่� 25 กุุมภาพัันธ์์ 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธานเปิิดการ ประชุุ ม เชิิ ง ปฏิิ บัั ติิ ก ารชี้้� แจงแนวทางพัั ฒ นายกระดัั บ หน่่ ว ย
ปฏิิบัติ ั ิการของภาคีีเครืือข่่ายให้้มีีคุณ ุ ภาพ เขตสุุขภาพที่่� 11 - 12 และบรรยายพิิเศษเรื่่อ � งก้้าวต่่อไประบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินไทย
2020 ณ โรงแรมศิิวา รอยััล โฮเตล อ. เมืือง จ. พััทลุง ุ
วัันที่่� 28 กุุมภาพัันธ์์ 2563 สพฉ. จััดประชุุมเชิิงปฏิิบัติ ั ิการหลัักสููตรการปฏิิบัติ ั ิการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินใน
สถานการณ์์พิิเศษ (TTEMS) กรณีีเหตุุการณ์์ผู้้�ร้าย ้ กราดยิิงกลางเมืือง
นครราชสีีมา ณ ห้้องประชุุมหลวงพ่่อพุุธ ตึึ กอุุ บััติิเหตุุ โรงพยาบาล มหาราชนครราชสีีมา โดยมีี นพ.รุ่่�งเรืือง กิิจผาติิ เป็็นประธาน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
83
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 9 มีีนาคม 2563 สพฉ. ออกให้้ บ ริิก ารวิิ ชา การด้้ า นการกู้้�ชีี พขั้้� น พื้้� น ฐาน (CPR) แก่่
บุุคลากรมููลนิิธิอาสาส ิ มเด็็จพระศรีีนคริินทราบรมราชชนนีี (พอ.สว.)
โดยมีี นพ.ยุุทธ โพธารามิิก เลขาธิิการมููลนิิธิิ พอ.สว. เป็็นประธาน ในการเปิิดการอบรม
วัันที่่� 12 มีีนาคม 2563 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ เข้้าร่ว่ มประชุุมเพื่่อ � เตรีียม
ความพร้้อมในการบริิหารสถานการณ์์ การแพร่่ระบาดไวรััส COVID-19 ณ ห้้องประชุุมวิิจิิตรวาทการ สำำ�นัักงานสภาความ
มั่่�นคงแห่่งชาติิ โดยมีี นายสมศัักดิ์์� รุ่่�งสิิตา เลขาธิิการสภาความ มั่่�นคงแห่่งชาติิ เป็็นประธาน
วัันที่่� 16 มีีนาคม 2563 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม องค์์ ก รภาคเอกชนไม่่ แ สวงหากำำ� ไรเพื่่� อ เตรีียม ความพร้้อมกรณีีการแพร่่ระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรน่่า 2019
ณ ห้้องประชุุม 413 กองวิิศวกรรมการแพทย์์ โดยมีี ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย และ นพ. สััญชััย ชาสมบััติิ เป็็นประธานการประชุุม
วัันที่่� 23 มีีนาคม 2563 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ เข้้าร่ว่ มการประชุุมเตรีียมการ จัั ดทำ� ำ ร่่า งหลัั ก เกณฑ์์ การกำำ� หนดค่่ า ใช้้ จ่่ าย ในการช่่ ว ยเหลืือ
เยีียวยาผู้้�ป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ น โรคติิ ดต่่ ออัั น ตรายตามกฏหมายว่่ าด้้ ว ย โรคติิดต่่อ กรณีีโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19) ครั้้�งที่่� 2
ณ ห้้องประชุุมชั้้�น 6 อาคารกรมสนัั บสนุุ นบริิการสุุขภาพ โดยมีี นพ.พิิศิษ ิ ฐ์์ ศรีีประเสริิฐ รองปลััดกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธาน
วัันที่่� 25 มีีนาคม 2563 สพฉ. จััดอบรมการป้้องกัันและการสวมใส่่ป้อ ้ งกัันการติิดเชื้้�อขณะออก ปฏิิบัติ ั ิการช่่วยเหลืือผู้้�ป่ว ่ ยโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนาสายพัันธุ์์�ใหม่่ 2019
(COVID-19) สำำ�หรัับผู้้�ปฎิิบัติ ั ิ ทีีม SCOT (Special COVID-19 Opera-
tion Team) ณ ลานอเนกประสงค์์ ร่่วมกตััญญูู จ.สมุุทรปราการ โดยมีี
ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ เป็็นประธาน
84
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 26 มีีนาคม 2563 สพฉ.จััดอบรมการป้้องกัันและควบคุุมการติิดเชื้้�อ สำำ�หรัับชุุดปฏิิบัติ ั ก ิ ารพิิเศษ ( SCOT ) ผ่่านระบบวิิดีีโอทางไกล ณ สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดย ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 26 มีีนาคม 2563 สพฉ. จััดพิิธีีรับ ั มอบอุุปกรณ์์ป้้องกัันการติิดเชื้้�อส่่วนบุุคคล พร้้อมส่่งมอบยััง เครืือข่่ายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและมููลนิิธิต่ ิ ่างๆ ทั่่�วประเทศ ณ สถาบัันการแพทย์์ ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี นายเรวััต อารีีรอบ ผู้้�ช่ว ่ ยเลขานุุการรััฐมนตรีีว่่าการ
กระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธาน
วัันที่่� 30 มีีนาคม 2563 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ พร้้อมด้้ วยบุุ คลากร สพฉ.
เข้้าเยี่่�ยมชมการดำำ�เนิินงาน พร้้อมรัับฟัังปััญหาของศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุ และสั่่�งการ ณ โรงพยาบาลพระนั่่�งเกล้้า จ.นนทบุุรีี
วัันที่่� 24 เมษายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เข้้าหารืือแนวทางการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นทางทะเล
และชายฝั่่�ง กัับพล.ร.ต.อภิิชัย ั สมพลกรััง ผอ.สำำ�นัักนโยบายและแผน ศรชล. กรมยุุทธการทหารเรืือและคณะ ณ กรมยุุทธการทหารเรืือ
จ.ชลบุุรีี
วัันที่่� 29 เมษายน 2563 สพฉ. จััดพิธีี ิ ลงนามบัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือ “โครงการจััดทำ� ำ บััตร Smart Card สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ ” ระหว่่างสถาบััน
การแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ และธนาคารเพื่่�อการเกษตรและสหกรณ์์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) ณ ห้้องประชุุม 602 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
โดยมีี นพ.พงศ์์ธร เกีียรติิดำำ�รงวงศ์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ เป็็นประธาน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
85
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 5 พฤษภาคม 2563 สพฉ. รัับมอบหน้้ากากป้้องกัันใบหน้้า (Face shield) จากเพจ
คนไทย Face shield เพื่่�อส่่งมอบสนัั บสนุุ นยัังเครืือข่่ายการ
แพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น มููลนิิ ธิิ กู้�ชีี ้ พกู้้�ภัั ยทั่่� ว ประเทศ โดยได้้ รั ับ ความ
อนุุเคราะห์์ในการจััดส่ง ่ จาก SCG EXPRESS ดำำ�เนิินการจััดส่ง ่ ให้้ฟรีีทั่่ว � ประเทศ
วัันที่่� 8 พฤษภาคม 2563 สพฉ. จััดการถ่่ายทำ� ำ วิิดีีโอสาธิิตการเคลื่่อ � นย้้ายผู้บ ้� าดเจ็็บจากกรณีีต่่าง ๆ
ณ คณะแพทยศาสตร์์มหาวิิทยาลัย ั นวมิินทราธิิราช โดยได้้รับ ั การสนัับสนุุน
วิิทยากรจากมหาวิิทยาลััยนวมิินธราธิิราช
วัันที่่� 13 พฤษภาคม 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
ร่่วมประชุุมหารืือกัับ นพ.พรเทพ แซ่่เฮ้้ง ผู้้อำ � ำ�นวยการศููนย์์เอราวััณ เรื่่อ � งแนวปฏิิบัติ ั งิ านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน การกำำ�กัับติิดตามมาตรฐาน
การดำำ�เนิินงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินพื้้�นที่่�เขต 13 กรุุงเทพมหานคร
ณ ศููนย์์เอราวััณ สำำ�นัักการแพทย์์ กรุุงเทพมหานคร
วัันที่่� 15 พฤษภาคม 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ. เข้้าร่ว่ มประชุุม The New Normal Emergency Medical
Services เพื่่อพั � ฒ ั นาแนวปฏิิบัติ ั ิของ Dispatch Center ณ กรมการแพทย์์ กระทรวงสาธารณสุุข โดยมีี นพ.ณรงค์์ อภิิกุล ุ วณิิชย์์ รองอธิิบดีีกรมการ
แพทย์์ เป็็นประธาน
วัันที่่� 15 พฤษภาคม 2563 ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
ประชุุมหารืือการวางแผนการดำำ�เนิิ นการร่่วมกัันโครงการพััฒนา ศููนย์์รั บ ั เรื่่อ � งและจ่่ ายงานฉุุกเฉิิ นให้้ เป็็ นดิิ จิิ ทัั ล ร่่ว มกัั บ ผู้้� บริิห าร
บริิษััท ทีีโอทีี จำำ�กััด (มหาชน) สวทช. และมหาวิิทยาลัย ั เกษตรศาสตร์์
ณ ห้้องประชุุม DOC อาคาร 1 บริิษััท ทีีโอทีี จำำ�กััด (มหาชน)
86
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 20 พฤษภาคม 2563 สพฉ. จััดประชุุมติิดตามและประเมิินผล (ระยะที่่� 1) “ระบบบริิการการแพทย์์ ฉุุกเฉิินสำำ�หรัับผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินจิิตคลุ้้�มคลั่่�งแบบบููรณาการในประเทศไทย”
ผ่่ า นระบบวิิ ดีี โอทางไกล ร่่ว มกัั บ ผู้้�ท รงคุุ ณ วุุ ฒิิ จ ากกรมสุุ ข ภาพจิิ ต
ณ ห้้ อ งประชุุ ม 602 ส ถ าบัั น ก า ร แพ ท ย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ โ ดยมีี
ดร.พิิเชษฐ์์ หนองช้้าง ผู้้อำ � ำ�นวยการวิิจััยและพััฒนาวิิชาการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 21 พฤษภาคม 2563 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ รัับมอบเจลแอลกอฮอล์์ 70% รวมทั้้�งสิ้้�น
3,000 ลิิ ต ร จากบริิษัั ท บางจากคอร์์ปอ เรชั่่� น จำำ� กัั ด เพื่่� อสนัั บ สนุุ น การ
ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินในช่่วงสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19)
วัันที่่� 21 พฤษภาคม 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เข้้าหารืือ
การดำำ� เนิิ น งานการแพทย์์ ฉุุก เฉิิ น ในองค์์ ก ารปกครองส่่ ว นท้้ อ งถิ่่� น
ร่่วมกัับ นายนิิพนธ์์ บุุญญามณีี รััฐมนตรีีช่่วยว่่าการกระทรวงมหาดไทย
ณ กระทรวงมหาดไทย กรุุงเทพมหานคร
วัันที่่� 26 พฤษภาคม 2563 สพฉ. จััดประชุุมหารืือเพื่่�อการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นทางน้ำำ� ร่่วมกัับ กองบัังคัับการตำำ�รวจน้ำำ� ณ ห้้องประชุุม 601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธานการประชุุม
วัันที่่� 27 พฤษภาคม 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
เข้้าหารืือการดำำ�เนิิ นงานการถ่่ ายโอนภารกิิ จศููนย์์รับ ั แจ้้ งเหตุุ
และสั่่�งการจัังหวััด ไปยัังองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด ร่่วมกัับ นายชาญ พวงเพ็็ชร นายกองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดปทุม ุ ธานีี
ณ องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดปทุม ุ ธานีี
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
87
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 28 พฤษภาคม 2563 สพฉ. จััดพิิธีีลงนามบัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือเพื่่�อการวิิจััยและพััฒนาเพื่่�อ การยกระดัับเทคโนโลยีีสื่่�อสารและสารสนเทศในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นให้้
เป็็นระบบดิิจิทั ิ ล ั ร่่วมกัับ สำำ�นัักงานพััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีแห่่งชาติิ
บริิษััท ทีีโอทีี จำำ�กััด (มหาชน) และมหาวิิทยาลัย ั เกษตรศาสตร์์ ณ ห้้องประชุุม 601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี เลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 2 มิิถุน ุ ายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ ประชุุมหารืือทบทวนอำำ�นาจหน้้าที่่�
ประเด็็นการประเมิินคััดแยก ผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต ภายใต้้โครงการตามนโยบาย
รััฐบาล “เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิ นวิิกฤต...มีีสิิทธิิทุุกที่่�” UCEP ร่่วมกัับหน่่วยงาน
ที่่เ� กี่่�ยวข้้อง ณ ห้้องรัับรอง อาคาร 1 สำำ�นัักงานปลััดกระทรวงสาธารณสุุข
นพ.มล.สมชาย จัักรพัันธุ์์� ประธานคณะที่่ปรึ � ก ึ ษา รััฐมนตรีีว่่าการกระทรวง
สาธารณสุุข เป็็นประธาน
วัันที่่� 2 มิิถุน ุ ายน 2563 สพฉ. จััดพิธีีป ิ ฐมนิิเทศผู้้ไ� ด้้รับ ั ประกาศนีียบััตรนัักปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน การแพทย์์ (1 ปีี) ณ ห้้องประชุุม ชั้้�น 5 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธานในพิิธีี
วัันที่่� 3 มิิถุน ุ ายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. จััดกิิจกรรม
จิิตอาสาบำำ�เพ็็ญสาธารณประโยชน์์ เนื่่อ � งในโอกาสวัันเฉลิิมพระชนมพรรษา
สมเด็็จพระนางเจ้้าฯ พระบรมราชิินีี โดยการแจกหน้้ากากอนามััยให้้กับ ั ประชาชน ณ บริิเวณท่่าเรืือและตลาดท่่าน้ำำ�นนท์์ จ.นนทบุุรีี
วัันที่่� 4 มิิถุน ุ ายน 2563 ผู้้�แทน สพฉ. เข้้าร่ว ่ มประชุุมหารืือแนวทางการดำำ�เนิิ นงานการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น ในเขตพื้้�นที่่อำ � ำ�เภอวัังจัันทร์์ ณ ห้้องประชุุมชััยพฤกษ์์ สำำ�นัักงานสาธารณสุุขจัังหวััด
ระยอง โดยมีี น.พ.สุุนทร เหรีียญภููมิิการกิิจ นายแพทย์์สาธารณสุุขจัังหวััดระยอง
เป็็นประธาน
88
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 4 มิิถุน ุ ายน 2563 สพฉ. จััดประชุุม Bilateral Meeting in the Extension Phase of the ARCH Project ร่่วมกัับ JICA และกระทรวงสาธารณสุุข เพื่่�อ หารืือความก้้าวหน้้าและการปรัับเปลี่่�ยนตารางการดำำ�เนิินกิิจกรรม
ของ ARCH Project ในช่่วงการระบาดของ COVID-19 ผ่่านระบบ วีีดิิโอทางไกล โดยมีี นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 5 มิิถุน ุ ายน 2563 สพฉ. จััดประชุุมเชิิงปฏิิบัติ ั ก ิ ารแนวทางพััฒนายกระดัับหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารของ
ภาคีีเครืือข่่ายให้้มีีคุณ ุ ภาพ ณ ห้้องประชุุมไมดาส 1 โรงแรมไมด้้า จ.นนทบุุรีี โดยมีี ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 8 มิิถุน ุ ายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เข้้าหารืือกัับ นายบุุญเสริิม ศุุภศรีี เจ้้าหน้้าที่่มูู � ลนิิธิร่ิ ว่ มกตััญญูู เพื่่อ � ตรวจดููความพร้้อมทีีม ปฏิิบัติ ั ก ิ ารพิิเศษ (Scot) ในการรัับผู้้�ติด ิ เชื้้�อ Covid-19 ทั้้�งนัักท่่องเที่่ย � วและคนไทย
ที่่เ� ดิินทางมาจากต่่างประเทศ ณ มููลนิิธิร่ิ ว่ มกตััญญูู
วัันที่่� 8 มิิถุน ุ ายน 2563 น.พ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.เข้้าร่ว่ ม
การประชุุ ม การจัั ดทำ� ำ ข้้ อ เสนอการพัั ฒ นาระบบคุ้้�มครองสิิ ท ธิิ ผู้้�ป่่ ว ย
ฉุุกเฉิิ นวิิกฤต (UCEP) เพื่่�อการจัั ดระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น การรัักษา พยาบาล การส่่งต่่ อ ให้้มีีประสิิทธิิภาพ ณ ห้้องประชุุมราชวิิถีี ชั้้�น 11
อาคารเฉลิิมพระเกีียรติิ โรงพยาบาลราชวิิถีี โดยมีี นพ.ณรงค์์ อภิิกุล ุ วณิิช รองอธิิบดีีกรมการแพทย์์ เป็็นประธาน
วัันที่่� 8 มิิถุน ุ ายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เข้้าเยี่่ย � มชมการจััดการเรีียนการ
สอนหลัักสููตรวิิทยาศาสตรบััณฑิิต สาขาปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินการแพทย์์
คณะแพทยศาสตร์์โรงพยาบาลรามาธิิบดีี มหาวิิทยาลััยมหิิดล โดยมีี
รศ.ดร.นพ.ไชยพร ยุุกเซ็็น หััวหน้้าภาควิิชาเวชศาสตร์์ฉุก ุ เฉิิน ให้้การต้้อนรัับ
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
89
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 8 มิิถุน ุ ายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ ให้้สัม ั ภาษณ์์กับ ั เพจ อีีจััน ในหััวข้้อเรื่่อ � ง
Thai Sky Doctor จากเหตุุการณ์์เด็็กหญิิงวััย 12 ปีี มีีอาการไตวายเรื้้�อรังั
และระบบทางเดิินหายใจล้้มเหลว จึึงต้้องนำำ�ตััวจากโรงพยาบาล จ.ตาก
ไปยััง จ.พิิษณุุโลก เป็็นการด่่วน โดยเฮลิิคอปเตอร์์ จากทีีม Sky doctor ณ สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
วัันที่่� 10 มิิถุน ุ ายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
พร้้อมบุุคลากร สพฉ. เข้้าหารืือร่่วมกัับกรมเจ้้าท่า่ ในประเด็็นเกี่่ย � วกัับ แนวทาง การพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทางน้ำำ� ณ ห้้องประชุุมบุุญเลื่่อ � น ชั้้�น 3 กรมเจ้้าท่า่ โดยมีี นายวิิทยา ยาม่่วง อธิิบดีีกรมเจ้้าท่า่ และทีีมผู้้บ � ริิหาร
ให้้การต้้อนรัับ
วัันที่่� 10 มิิถุน ุ ายน 2563 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ เข้้าหารืือร่่วมกัับกรมสนัับสนุุนบริิการสุุขภาพ
เรื่่อ � งการจััดทำ� ำ ข้้อเสนอการพััฒนาระบบ นำำ�เสนอผลการดำำ�เนิินงานต่่อรองนายก
รััฐมนตรีี ณ กรมการแพทย์์ กระทรวงสาธารณสุุข โดยมีี ทพ.อาคม ประดิิษฐ์์สุว ุ รรณ
รองอธิิบดีีกรมสนัับสนุุนบริิการสุุขภาพ เป็็นประธาน
วัันที่่� 10 มิิถุน ุ ายน 2563 ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
เข้้าร่ว่ มประชุุมและนำำ�เสนอ โครงการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินดิิจิทั ิ ล ั เพื่่อ � แก้้ไขปััญหาและเยีียวยาจากสถานการณ์์ระบาดของโรค COVID 19
ณ ห้้องประชุุมสำำ�นัักงานปลััดกระทรวงสาธารณสุุข โดยมีี นายวััชรพงศ์์
คููวิิจิต ิ รสุุวรรณ เลขานุุการรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธาน
วัันที่่� 10 มิิถุน ุ ายน 2563 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม หารืือแนวทางการพัั ฒ นาระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ร่่ ว มกัั บกองบัั ญ ชาการตำำ� รวจท่่ อ งเที่่� ย ว ณ ห้้ อ งประชุุ ม ห้้ อ ง 602
สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิ ย ะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธานการประชุุม
90
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 13 มิิถุน ุ ายน 2563 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ เข้้าร่ว่ มการประชุุมการเตรีียมความ
พร้้อมด้้านการรัักษาพยาบาลและการป้้องกัันโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019
(COVID-19) ณ ห้้องประชุุมแสงสิิงแก้้ว ชั้้�น 1 กรมการแพทย์์ โดยมีี ดร.สาธิิต ปิิตุเุ ตชะ รััฐมนตรีีช่่วยว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธาน
วัันที่่� 15 มิิถุน ุ ายน 2563 สพฉ. ร่่วมกัั บ กรมสนัั บสนุุ นบริิการสุุขภาพ กระทรวงสาธารณสุุข จัั ดพิิธีี มอบรางวััล Health Emergency Response Outstanding AWARD หรืือ HERO AWARD แก่่ผู้้�ปั๊๊�มหััวใจช่่วยผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินให้้รอดชีีวิิต ณ ห้้องประชุุม 1
กรมสนัับสนุุนบริิการสุุขภาพ โดยมีี นายอนุุทิน ิ ชาญวีีรกููล รองนายกรััฐมนตรีี และรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธานในพิิธีี
วัันที่่� 15 มิิถุน ุ ายน 2563 นายอนุุทิน ิ ชาญวีีรกุุล รองนายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวง
สาธารณสุุข พร้้อมด้้วย เลขาธิิการ สพฉ. เยี่่ย � มชมการฝึึกอบรมหลัักสููตร
การปฐมพยาบาลฉุุกเฉิิ นและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน สำำ�หรัับอาสาสมััคร
สาธารณสุุขประจำำ�หมู่่�บ้้าน (อสม.) ในภาวะปกติิใหม่่ (New normal)
ณ ห้้องประชุุม 1 กรมสนัับสนุุนบริิการสุุขภาพ โดยมีี นพ.ธเรศ กรััษนััยรวิิวงค์์ อธิิบดีีกรมสนัับสนุุนบริิการสุุขภาพ เป็็นประธาน
วัันที่่� 15 มิิถุน ุ ายน 2563 สพฉ. จััดประชุุมการนำำ�เสนอระบบ AI Ambulance (ambulance) กัับ บริิษััท ทรููมููฟ จำำ�กััด ผ่่านระบบวีีดิิโอทางไกลโปรแกรม Google meet
โดยมีี นพ.พงศ์์ธร เกีียรติิดำำ�รงวงศ์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ เป็็นประธาน
วัันที่่� 19 มิิถุน ุ ายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เข้้าหารืือร่่วมกัับ พล.ต.ต.ศิิร์ธั ์ ช ั เขต ครููวััฒนเศรษฐ์์ ผบก.รน. เรื่่อ � งการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางน้ำำ�และทางทะเล
การทำำ�บัันทึึกความร่่วมมืือและสร้้างทีีมปฏิิบัติ ั ก ิ ารช่่วยเหลืือผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน
ทางน้ำำ� ณ กองบัังคัับการตำำ�รวจน้ำำ�
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
91
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 22 มิิถุน ุ ายน 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ. เข้้าศึก ึ ษาดููงาน ศููนย์์เคลื่่�อนย้้ายผู้้�ป่ว ่ ย BDMS Medevac Center
ในเรื่่อ � ง Flight Director และ Flight coordinator ณ ศููนย์์เคลื่่อ � นย้้ายผู้้�ป่ว ่ ย BDMS Medevac Center โรงพยาบาลกรุุงเทพ โดยมีี นพ.เอกกิิตติ์์� สุุรการ ผู้้อำ � ำ�นวยการ ฝ่่ายการแพทย์์ศููนย์์อุุบัติ ั ิเหตุุ กล่่าวต้้อนรัับ
วัันที่่� 23 มิิถุน ุ ายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เข้้ามอบเอกสารการรัับรอง
มาตรฐานรถการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน (รถพยาบาลพระราชทาน) แก่่ศููนย์์
การแพทย์์ทหารบก จัังหวััดชายแดนใต้้ ณ ค่่ายสิริ ิ น ิ ธร จ.ปััตตานีี
โดยมีี พล.ท.ชาญชัั ย ติิ ก ขะปัั ญ โญ เจ้้ า กรมแพทย์์ ท หารบก เป็็นผู้้�รับ ั มอบ
วัันที่่� 24 มิิถุน ุ ายน 2563 สพฉ. จััดประชุุมรัับฟัังความคิิดเห็็น (ร่่าง) ประกาศสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
เรื่่อ � ง เกณฑ์์ วิิธีีการ และแนวทางการรัับรองมาตรฐานรถบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
พ.ศ.2563 ณ ห้้องประชุุม 601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี นพ.พงศ์์ธร เกีียรติิดำำ�รงวงศ์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ เป็็นประธานการประชุุม
วัันที่่� 24 มิิถุน ุ ายน 2563 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม คณะทำำ� งานพิิ จ ารณาปรัั บ ปรุุ งและอัั ต ราการจ่่ าย ฯ Fee schedule ครั้้�งที่่� 1/2563 เพื่่อพิ � จ ิ ารณา ทบทวน และวิิเคราะห์์ปรับ ั ปรุุง
และอััตราค่่าใช้้จ่าย ่ ณ ห้้องประชุุม 601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ เป็็นประธานในการประชุุม
วัันที่่� 26 มิิถุน ุ ายน 2563 สพฉ. จััดประชุุมคััดเลืือกกรรมการ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุุข เรื่่อ � งหลัักเกณฑ์์และวิิธีีการเลืือกหรืือแต่่งตั้้�งกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
พ.ศ.2562 ณ ห้้องประชุุมโรงพยาบาลพระพุุทธบาท จ.สระบุุรีี โดยมีี นพ.สมยศ ศรีีจารนััย สาธารณสุุขนิิเทศก์์ เขตสุุขภาพที่่� 4 เป็็นประธาน
92
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 26 มิิถุน ุ ายน 2563 ผู้้�แทน สพฉ. เข้้าเป็็นวิิทยากรฝึึกอบรมการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐานให้้แก่่กำำ�ลััง
พลของหน่่ ว ยบัั ญ ชาการป้้ อ งกัั น ภัั ยทา งอากาศกองทัั พ บก (นปอ.) พร้้อมทั้้�งมอบเครื่่อ � ง AED จำำ�นวน 10 เครื่่อ � ง เพื่่อนำ � ำ�ไปติิดตั้้�งในพื้้�นที่่�
รัับผิิดชอบ ณ หน่่วยบััญชาการป้้องกัันภััยทางอากาศกองทััพบก โดยมีี
พล.ท.พัั ล ลภ เฟื่่� องฟูู ผู้้�บัั ญ ชาการหน่่ ว ยบัั ญ ชาการป้้ อ งกัั น ภัั ยทา ง อากาศกองทััพบก เป็็นประธาน
วัันที่่� 29 มิิถุน ุ ายน 2563 สพฉ. จััดประชุุมคััดเลืือกกรรมการ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุุข
เรื่่อ � งหลัักเกณฑ์์และวิิธีีการเลืือกหรืือแต่่งตั้้�งกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
พ.ศ.2562 ณ ห้้องประชุุมสำำ�นัั กงานสาธารณสุุขจัั งหวััดสระบุุ รีี โดยมีี
นพ.อภิิชาติิ รอดสม สาธารณสุุขนิิเทศก์์ เขตสุุขภาพที่่� 6 เป็็นประธาน
วัันที่่� 29 มิิถุน ุ ายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เข้้าร่ว่ มการคััดเลืือกผู้้ที่ � ไ่� ด้้รับ ั การเสนอชื่่อ � เป็็นคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เขตสุุขภาพที่่� 1 ณ ห้้องประชุุมสำำ�นัักงาน
สาธารณสุุขจัังหวััดเชีียงใหม่่ โดยมีี ร.อ.ภููรีีวรรธน์์ โชคเกิิด สาธารณสุุขนิิเทศก์์ เขตสุุขภาพที่่� 1 เป็็นประธานกรรมการ
วัันที่่� 30 มิิถุน ุ ายน 2563 ผู้้� แทน สพฉ. เข้้ าร่ ่ว มประชุุ ม การขึ้้� น ทะเบีียนหน่่ ว ยปฏิิ บัั ติิ ก าร
ฉุุกเฉิิ นขององค์์ กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่� น ณ โรงพยาบาลบางบ่่อ
จ.สมุุ ท รปราการ โดยมีี นพ.นนท์์ จิิ น ดาเวช รองนายแพทย์์
สาธารณสุุขจัังหวััดสมุุทรปราการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 30 มิิถุน ุ ายน 2563 สพฉ. จััดประชุุมคััดเลืือกผู้้แ � ทนระดัับเขตสุุขภาพ ที่่� 13 ณ ห้้องประชุุม 601 และ 601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี พญ.อััมพร เบญจพลพิิทัก ั ษ์์ ผู้้ต � รวจราชการกระทรวงสาธารณสุุข เขต 13 เป็็นประธาน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
93
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 2 กรกฎาคม 2563 สพฉ. จัั ด การคัั ด เลืือกผู้้� ที่่� ไ ด้้ รั ับ การเสนอชื่่� อ เป็็ น คณะกรรมการ การแพทย์์ฉุุกเฉิิ น เขตสุุขภาพที่่� 3 ณ ห้้องประชุุมราชาวดีี ชั้้�น 3
สำำ�นัักงานสาธารณสุุขจัังหวััดนครสวรรค์์ โดยมีี นพ.บุุญชััย ธีีระกาญจน์์ ผู้้ต � รวจราชการกระทรวงเขตสุุขภาพที่่� 3 เป็็นประธานกรรมการ
วัันที่่� 8 กรกฎาคม 2563 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ เป็็นวิิทยากรงานประชุุมวิิชาการ “ UCEP ในผู้้�ป่ว ่ ยโรคหััวใจ ” โดยมีีวััตถุุประสงค์์เพื่่อ � เพิ่่�มพููนความรู้้ � และพััฒนาศัักยภาพ
บุุคลากรที่่ป � ฏิิบัติ ั ิงานเกี่่�ยวกัับการเบิิกจ่่ายงานด้้าน UCEP ณ ห้้องประชุุม 7R-1 อาคารเวชศาสตร์์ฟื้นฟููกรุุ ้� งเทพ โรงพยาบาลกรุุงเทพสำำ�นัักงานใหญ่่
วัันที่่� 9 กรกฎาคม 2563 สพฉ. จััดประชุุมคณะทำำ�งานหลัักสููตรนัักบริิหารการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
สำำ� หรัับ ผู้้� บ ริิห ารระดัั บ สููง ครั้้�ง ที่่� 1/2563 ณ ห้้ อ งประชุุ ม 413
อาคารกองวิิศวกรรมการแพทย์์ และผ่่านโปรแกรม MS Team โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 10 กรกฎาคม 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ. ร่่วมประชุุมให้้ข้อมูู ้ ลการประเมิินคััดแยกผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน กรณีีได้้ รัับเรื่่อ � งร้้องเรีียน รพ.กรุุงสยามเซนต์์คาร์์ลอส รพ.ประทุุมเวช และรพ.ราชธานีี
ณ ห้้ อ งประชุุ ม 3 กรมสนัั บ สนุุ น บริิก ารสุุ ข ภาพ กระทรวงสาธารณสุุ ข
โดยมีี ทพ.อาคม ประดิิษฐสุุวรรณ รองอธิิบดีีกรมสนัับสนุุนบริิการสุุขภาพ เป็็นประธาน
วัันที่่� 13 กรกฎาคม 2563 สพฉ. ประชุุมคณะทำำ�งานบริิหารจััดการโครงการพััฒนาศููนย์์รับ ั เรื่่อ � งและจ่่ายงาน
ฉุุกเฉิินการแพทย์์ให้้เป็็นระบบดิิจิทั ิ ล ั ร่่วมกัับภาคีีเครืือข่่าย ณ ห้้องประชุุม 601 สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ โดยมีี ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุ ญ ศิิ ริ ิคำำ� ชัั ย
รองเลขาธิิการ เป็็นประธาน
94
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 13 กรกฎาคม 2563 ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิย ะ แพงมา เลขาธิิก าร พร้้อ มด้้ ว ยบุุ ค ลากร สพฉ. เข้้ า พบ นายอนุุ ทิิน ชาญวีีรกุุ ล รองนายกรััฐ มนตรีีและรััฐ มนตรีีว่่ า การกระทรวง
สาธารณสุุ ข เพื่่� อ หารืือในการผลัั ก ดัั น โครงการพัั ฒ นาทัั ก ษะด้้ า นการ
ปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐานให้้ประชาชน 10 ล้้านคน “10 ล้้าน
ไทยร่่วมใจ CPR” ใน 3 ปีี ณ ทำำ�เนีียบรััฐบาล กรุุงเทพมหานคร
วัันที่่� 14 กรกฎาคม 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ. เป็็นวิิทยากรในการฝึึกอบรมหลัักสููตรวิิทยากร ครูู ก กรมอุุทยาน
แห่่งชาติิ สััตว์์ป่า ่ และพัันธุ์์�พืืช ณ อุุทยานแห่่งเขาใหญ่่ จ.นครราชสีีมา โดยมีี
นายวิิชััย พรลีีแสงสุุวรรณ ผู้้�อำำ�นวยการส่่วนอุุทยานแห่่งชาติิ สำำ�นัักบริิหาร พื้้�นที่่อนุ � ุรัก ั ษ์์ ที่่� 1 (ปราจีีนบุุรีี) เป็็นประธาน
วัันที่่� 15 กรกฎาคม 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้วย นพ.วัันชััย เหล่่าเสถีียรกิิจ
สาธารณสุุขนิิเทศก์์ เขตสุุขภาพที่่� 11 ลงพื้้�นที่่จั � งั หวััดพังั งา ร่่วมหารืือ
หน่่วยงานที่่เ� กี่่ย � วข้้อง ประกอบด้้วย สสจ.พัังงา อบจ.พัังงา ตำำ�รวจน้ำำ� กองทัั พ เรืือ เพื่่� อ วางแนวทางการพัั ฒ นาการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น
พื้้�นที่่ชายฝั่่ � � งทะเลอัันดามััน
วัันที่่� 16 กรกฎาคม 2563 ผู้้� แทน สพฉ. เข้้ าร่ว ่ มประชุุ ม คณะอนุุ ก รรมการศึึ ก ษาเสนอแนะแนวทางการ
พััฒนาการกู้้�ชีีพฉุุกเฉิิน (System of Care Medical Emergency) ครั้้�งที่่� 8/2563 ณ ห้้ อ งประชุุ ม หมายเลข 2701 ชั้้� น 27 อาคารสุุ ข ประพฤติิ วุุ ฒิิ ส ภา โดยมีี นายสุุรชััย เลี้้�ยงบุุญเลิิศชััย เป็็นประธานการประชุุม
วัันที่่� 17 กรกฎาคม 2563 สพฉ. จัั ดประชุุมหารืือเพื่่�อเตรีียมการจัั ดประชุุม Ambulance Officer Conference ร่่วมกัับ ผู้้แ � ทนจากบริิษััท โซลล์์ เมดดิิคอล ณ ห้้องประชุุมชั้้�น 5 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ
เป็็นประธาน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
95
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 17 กรกฎาคม 2563 สพฉ. จัดประชุมหารือ เพื่อจัดท�ำแนวทางปฏิบต ั ก ิ ารอ�ำนวยการระบบการ แพทย์ฉก ุ เฉิน เขตพื้นที่ 11 และ 12 ร่วมกับผู้รบ ั ผิดชอบงาน EMS ในพื้นที่
ณ ห้องประชุมท่าอากาศยานหาดใหญ่ จ.สงขลา โดยมี ร.อ.นพ.อัจฉริยะ แพงมา เลขาธิการ เป็นประธาน
วัันที่่� 17 กรกฎาคม 2563 สพฉ. จััดการประชุุมเพื่่อคั � ด ั เลืือกกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน หรืือ กพฉ.
ณ กรมสนัั บ สนุุ น บริิก ารสุุ ข ภาพ โดยมีี นพ.ธเรศ กรััษ นัั ย รวิิ ว งค์์ อธิิบดีีกรมสนัับสนุุนบริิการสุุขภาพ เป็็นประธานในการประชุุม
วัันที่่� 21 กรกฎาคม 2563 สพฉ. จััดประชุุมชี้้แ � จงบทบาทหน้้าที่่ค � ณะทำำ�งานกำำ�กัับ ติิดตามและประเมิินผล
ตำำ�บลปลอดภััย ณ ห้้องประชุุม 602 ชั้้�น 6 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 22 กรกฎาคม 2563 สพฉ. จััดการประชุุมพััฒนาโครงร่่างงานวิิจััย ภายใต้้แผนงานวิิจััย
ปีีงบประมาณ 2565 “การวิิจััยเพื่่�อพััฒนาคุุณภาพของระบบการ แพทย์์ฉุก ุ เฉิินสู่่�ภาวะปกติิใหม่่ (EMS new normal)” ณ โรงแรมรามา การ์์เด้้น กรุุงเทพมหานคร โดยมีี นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ
เป็็นประธาน
วัันที่่� 3 สิิงหาคม 2563 สพฉ. จััดพิธีี ิ ลงนามบัันทึึกความร่่วมมืือเพื่่อ � การคุ้้�มครองสิิทธิิในการเข้้าถึึง ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทางน้ำำ� ระหว่่าง สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
และกรมเจ้้าท่า ่ พร้้อมสาธิิตการช่่วยเหลืือผู้้�ประสบภััยและการกู้้�ชีีพทางน้ำำ� ณ ท่่าเทีียบเรืือ กรมเจ้้าท่า ่ กรุุงเทพมหานคร
96
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 6 สิิงหาคม 2563 สพฉ. จั ดป ระชุ ม หารือการจั ดท�ำ ร่า งมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ฉุ ก เฉิ น การแพทย์ (มคฉ.๑) ณ ห้องประชุม 602 สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ และผ่านทาง โปรแกรม Zoom โดยมี รศ.ไชยพร ยุกเซ็น เป็นประธาน
วัันที่่� 7 สิิงหาคม 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ รัับมอบเงิินสนัับสนุุนการจััดทำ� ำ วิิดีีโอ สื่่อ � การเรีียนรู้้ �ด้้านการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐานสำำ�หรัับเด็็กและเยาวชน
จากประธานกรรมการผู้้�จัั ด การ บริิษัั ทมิิ ต รแท้้ ป ระกัั น ภัั ย จำำ� กัั ด
(มหาชน) และผู้้บ � ริิหาร บริิษััท วิิริย ิ ะประกัันภััย จำำ�กััด (มหาชน) เพื่่อ �
ใช้้เป็็นสื่่อ � ให้้กัับนัักเรีียน นัักศึึกษา ให้้มีีความรู้้เ� รื่่อ � ง CPR และการใช้้
เครื่่อ � ง AED ณ ห้้องประชุุมชั้้�น 5 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ วัันที่่� 13 สิิงหาคม 2563 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ เลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เข้้าประชุุม
หารืือและติิดตามการดำำ�เนิินงาน พร้้อมรัับฟัังปััญหาอุุปสรรคการดำำ�เนิิน
งานตามนโยบายเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิิทธิิทุุกที่่� UCEP ร่่วมกัับทีีม
ผู้้บ � ริิหารโรงพยาบาล ณ ห้้องประชุุมโรงพยาบาลเกษมราษฎร์์ ประชาชื่่น �
โดยมีี รศ.นพ.ปิิยะ เนตรวิิเชีียร ผู้้�อำำ�นวยการโรงพยาบาลเกษมราษฎร์์ ประชาชื่่น � เป็็นประธาน
วัันที่่� 14 สิิงหาคม 2563 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม แลกเปลี่่� ย นเรีียนรู้้ �ก ารจัั ดทำ� ำ วารสารวิิ ชา การ ณ ห้้องประชุุมชั้้�น 6 สำำ�นัักวิิชาการสาธารณสุุข สำำ�นัักปลััดกระทรวง
สาธารณสุุข โดยมีี ดร.ณััฏฐญา พััฒนะวาณิิชนัันท์์ หััวหน้้าสำำ�นััก
วิิชาการสาธารณสุุข เป็็นประธาน และ นพ.วิิวััฒน์์ โรจนพิิทยากร บรรณาธิิการวารสารวิิชาการสาธารณสุุข เป็็นวิิทยากร
วัันที่่� 14 สิิงหาคม 2563 นายอนุุ ทิิ น ชาญวีีรกููล รองนายกรััฐ มนตรีีและรััฐ มนตรีีว่่ า การกระทรวง สาธารณสุุข เป็็นประธานพิิธีีมอบรางวััล “HERO Award for skydoctor” แก่่
บุุคลากรประจำำ�ทีีมแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทางอากาศ (Thai Skydoctor) ช่่วยเหลืือลำำ�เลีียง
ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินพื้้�นที่่�ห่่างไกลในเขตสุุขภาพที่่� 1 ณ โรงพยาบาลศรีีสัังวาลย์์ อ.เมืือง
จ.แม่่ฮ่่องสอน โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นผู้้บ � รรยายสรุุปผล การดำำ�เนิินงาน พร้้อมนำำ�คณะผู้้�บริิหารกระทรวงสาธารณสุุข ชมการสาธิิตการ ลำำ�เลีียงผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินทางอากาศด้้วยเฮลิิคอปเตอร์์
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
97
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 17 สิิงหาคม 2563 ผู้้�แทน สพฉ. เข้้ารับ ั การอบรมขั้้�นตอนการเตรีียมอากาศยาน พร้้อมทั้้�ง ศึึกษาดููงานการเคลื่่อ � นย้้ายผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินทางอากาศยาน ณ กองบิินตำำ�รวจ
เขตรามอิินทรา กรุุงเทพมหานคร โดยมีี ร.ต.ชาติิชาย สุุขภาพ และนายวิิวิศ ิ น์์
จิิระศิิริวั ิ ัฒน์์ ให้้ความรู้้แ � นวทางการปฏิิบััติิด้้านความปลอดภััย แนวทาง การเคลื่่�อนย้้าย และการดููแลผู้้�ป่ว ่ ย
วัันที่่� 17 สิิงหาคม 2563 สพฉ. ร่่วมกัับ สำำ�นัักการลููกเสืือ ยุุวกาชาดและกิิจการนัักเรีียน (สกก.) และ
มููลนิิธิิครููดีีของแผ่่นดิิน ร่่วมจััดฝึึกอบรมหลัักสููตรครููผู้้�สอน CPR&AED ในภาวะปกติิใหม่่ สำำ�หรัับบุุคลากรในระบบการศึึกษา เพื่่อช่ � ว ่ ยเหลืือผู้้�ป่ว ่ ย ฉุุกเฉิินในสถานศึึกษา ศููนย์์พัฒ ั นาบุุคลากรทางการลููกเสืือ ยุุวกาชาดและ
กิิจกรรมเยาวชน “ผิิน แจ่่มวิิชาสอน” เขตบางแค กรุุงเทพมหานคร โดยมีี
นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 18 สิิงหาคม 2563 สพฉ. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดท�ำเนื้อหาหลักสูตรการแพทย์ฉก ุ เฉิน
ด้านการกีฬาเบื้องต้น (Sport EMS-Basic Course) ส�ำหรับบุคลากรใน วงการกีฬา และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดงานกีฬา ณ โรงพยาบาลกรุงเทพ โดยมี ดร.พิเชษฐ์ หนองช้าง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวิจัยและพัฒนาวิชาการ เป็นประธาน
วัันที่่� 19 สิิงหาคม 2563 สพฉ. จััดประชุุมคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ครั้้�งที่่� 8/2563 และ
ผ่่านระบบโปรแกรม Microsoft Teams ณ โรงแรมรามาดา พลาซ่่า
แม่่น้ำำ� ริิเวอร์์ไซด์์ ห้้องประชุุมเจริิญกรุุง โดยมีี นพ.ม.ล.สมชาย จัักรพัันธุ์์�
เป็็นประธานในการประชุุม
วัันที่่� 20 สิิงหาคม 2563 สพฉ. จััดประชุุมหารืือแนวทางการดำำ�เนิินงานและหารบริิหารจััดการระบบ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินขององค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดเชีียงราย ณ ห้้องประชุุมภููคำำ�
โรงแรมภููฟ้้าวารีีรีีสอร์์ท จ.เชีียงราย โดยมีี ร.อ.นพ. อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธาน
98
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 20 สิิงหาคม 2563 สพฉ. ร่่วมกัับภาคีีเครืือข่่าย จััดการประชุุมเชิิงปฏิิบััติิการการฝึึกการบริิหาร
จัั ด การด้้ า นการแพทย์์ กรณีีสาธารณภัั ยท่่ าอา กาศยาน เพื่่� อ ให้้ บุุ ค ลากร
ด้้ า นการแพทย์์ ไ ด้้ มีี การพัั ฒ นาด้้ า นองค์์ ค วามรู้้ ใ� นการฝึึ ก ซ้้ อ มการบริิห าร จััดการด้้านการแพทย์์ (Thai SIMM) ณ ห้้องประชุุมโรงแรมภููฟ้้าวารีีรีีสอร์์ท
จ.เชีียงราย โดยมีี นพ.ทศเทพ บุุญทอง นายแพทย์์สาธารณสุุขจัังหวััดเชีียงราย เป็็นประธาน
วัันที่่� 21 สิิงหาคม 2563 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ ร่่วมให้้ข้อมูู ้ ลประเด็็นระบบการทำำ� Pre Authorization ที่่มีี � การปรัับปรุุงใหม่่ และรายละเอีียดเกี่่�ยวกัับขั้้�น
ตอนในการส่่งต่่อคนไข้้ UCEP ในการประชุุมคณะกรรมการบริิหาร
สมาคมโรงพยาบาลเอกชน วาระปีี2562-2564 ณ ห้้องสััมมนา 5-6 อาคารเฉลิิมพระบารมีี 50 ปีี ศููนย์์วิจั ิ ัย กรุุงเทพมหานคร
วัันที่่� 24 สิิงหาคม 2563 สพฉ. จัั ดหารืือร่่วมกัั บผู้้�แทนของบริิษััทมิิตรแท้้ประกัั นภัั ยเพื่่�อหารืือแนวทาง
ความร่่วมมืือในการหาแนวทางการจััดทำ� ำ ประกัันภััยรถยนต์์ภาคสมััครใจให้้กัับ
รถบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ณ ห้้องประชุุม 601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ และทาง MS Team โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 24 สิิงหาคม 2563 ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
เข้้าร่ว ่ มประชุุมชี้้�แจงแนวทางการดำำ�เนิินงานการถ่่ายโอนภารกิิจด้้านการ
แพทย์์ฉุุกเฉิิน และจััดเตรีียมการจััดทำ� ำ บัันทึึกความร่่วมมืือกัับหน่่วยงาน
ที่่เ� กี่่ย � วข้้อง ณ องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดระยอง โดยมีี นายกิิตติิ เกีียรติ์์�มนตรีี รองนายกองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดระยอง เป็็นประธาน
วัันที่่� 25 สิิงหาคม 2563 สพฉ. จัั ดป ระชุุ ม หารืือแนวทางการปฏิิ บัั ติิ ง านแพทย์์ อำำ� นวยการ ปฏิิบัติ ั ก ิ าร ศููนย์์ประสานคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต ครั้้�งที่่� 1/2563 ณ โรงแรมทีีเค พาเลซ แจ้้งวััฒนะ โดยมีี นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ
เป็็นประธาน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
99
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 26 สิิงหาคม 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เป็็นประธานในการเปิิดศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุ
และสั่่�งการ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดแพร่่ และ พิิธีีลงนามบัันทึึกความร่่วมมืือ เพื่่�อดำำ�เนิิ นงานและบริิหารจััดการ ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินจัังหวััดแพร่่ ร่่วมกัับ นายอนุุวััธ วงศ์์วรรณ
นายกองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดแพร่่ โดยมีีหน่่วยงานหลายภาค
ส่่วนเข้้าร่ว่ มพิิธีี
วัันที่่� 26 สิิงหาคม 2563 นพ.สัั ญ ชัั ย ชาสมบัั ติิ รองเลขาธิิ ก าร พร้้ อ มด้้ ว ยบุุ ค ลากร สพฉ.
เข้้าร่ว ่ มประชุุมหารืือและติิดตามการดำำ�เดิินงาน พร้้อมทั้้�งรัับฟัังปััญหา
อุุ ปสรรคการดำำ�เนิิ นงานตามนโยบาย ร่่วมกัั บทีีมผู้้�บริิหารโรงพยาบาล
วิิภารามพััฒนาการ ณ โรงพยาบาลวิิภารามพััฒนาการ เขตสวนหลวง กรุุงเทพมหานคร
วัันที่่� 27 สิิงหาคม 2563 ผู้้�แทน สพฉ. ร่่วมประชุุมคณะอนุุกรรมการฝึึกซ้้อมการค้้นหาและช่่วยเหลืือ
อากาศยานประสบภััยประจำำ�ปีี 2563 ครั้้�งที่่� 2/2563 ณ ห้้องประชุุมจัันทรางศุุ
กรมท่่าอากาศยาน โดยมีี พลตำำ�รวจโท วิิสนุุ ปราสาททองโอสถ เป็็นประธาน
วัันที่่� 27 สิิงหาคม 2563 นายอนุุทิน ิ ชาญวีีรกุุล รองนายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวง
สาธารณสุุข พร้้อมด้้วยปลััดกระทรวงสาธารณสุุข อธิิบดีีกรมสุุขภาพจิิต
และ ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ ลงพื้้�นที่่ต � รวจเยี่่ย � มและให้้กำำ�ลัังใจ
ผู้้�ประสบอุุทกภััยในพื้้�นที่่� อ.สวรรคโลก จ.สุุโขทััย พร้้อมมอบยาสามััญ ประจำำ�บ้้านและเครื่่อ � งอุุปโภคบริิโภคให้้กัับชาวบ้้าน ในพื้้�นที่่ป � ระสบเหตุุ
วัันที่่� 27 สิิงหาคม 2563 ผูแ ้ ทน สพฉ. ลงพน ื้ ที่เพื่อก�ำกับติดตามและประเมินผลต�ำบลปลอดภัย ณ องค์การ
บริหารส่วนต�ำบลบางกระเจ้า จ.สมุทรปราการ น�ำทีมโดย นายสุรชัย ศิลาวรรณ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักประสานการแพทย์ฉก ุ เฉิน
100
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 28 สิิงหาคม 2563 คณะอนุุ ก รรมการศึึ ก ษาและเสนอแนะแนวทางการป้้ อ งกัั น และลดอุุ บัั ติิ เหตุุ
ทางถนน เยี่่�ยมชมการทำำ�งานของศููนย์์นเรนทร ณ ห้้องปฏิิบััติิการศููนย์์นเรนทร
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พาเยี่่ย � มชม
วัันที่่� 28 สิิงหาคม 2563 สพฉ. ให้้การสนัับสนุุนวิิทยากร ในการสััมนาเรื่่อ � ง การบููรณาการ ความรู้้เ� รื่่อ � งการกู้้�ขีีพกู้้�ภััย จััดโดยคณะกรรมาธิิการการป้้องกัันและ
ลดผลกระทบจากภัั ยธรรมชาติิ และสาธารณภัั ย ณ โรงแรมไมด้้ า แกรนด์์ ทวารวดีี จ.นครปฐม โดยมีีนายพาณุุ วััฒน์์ สะสมทรััพย์์
รองประธานคณะกรรมาธิิการฯ คนที่่� 4 เป็็นประธานในพิิธีีเปิิด
วัันที่่� 1 กัันยายน 2563 ร.อ.นพ.อัั จฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ ร่่วม บรรยายในหััวข้้อ
“Disaster Health Management System on Thailand” ในการประชุุมวิิชาการ Updated Competency of Nurse Practitioner in Disruptive World ณ โรงแรมนารายณ์์ กรุุงเทพมหานคร
วัันที่่� 1 กัันยายน 2563 สพฉ. จัั ดประชุุมหารืือแนวทางการบููรณาการ การใช้้อากาศยาน
ระหว่่างภาครััฐและเอกชน ร่่วมกัับผู้้�แทนจากโรงพยาบาลกรุุ งเทพ
ณ ห้้ อ งประชุุ ม 602 สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ โดยมีี
ร.อ.นพ. อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 2 กัันยายน 2563 สพฉ. จัั ดประชุุมแลกเปลี่่� ยนเรีียนรู้้ แ � ละประเมิินผล “ระบบบริิการ
การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น สำำ� หรัั บ ผู้้�ป่่ ว ยจิิ ต คลุ้้�มคลั่่� ง แบบบููรณาการใน
ประเทศไทย” ณ โรงแรมอมารีี ดอนเมืือง แอร์์พอร์์ต กรุุงเทพมหานคร โดยมีี นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ เป็็นประธาน
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
101
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 3 กัันยายน 2563 ผู้้�แทน สพฉ. เข้้าร่ว ่ มสัังเกตการณ์์โครงการฝึึกอบรมการลำำ�เลีียง และการส่่ง
กลัับผู้้�ป่ว ่ ยด้้วยอากาศยานปีีกหมุุนกองทััพเรืือทางยุุทธวิธีี ิ ณ กองบิินทหารเรืือ
จ.ระยอง โดยมีีกองเวชศาสตร์์ใต้้น้ำ� ำ และการบิินกองทััพเรืือ เป็็นผู้้ดำ � � ำ เนิินการฝึึกอบรม
วัันที่่� 8 กัันยายน 2563 ร.อ.นพ.อัั จฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ ร่่วมเป็็นวิิทยากร การประชุุมวิิชาการ
กระทรวงสาธารณสุุข ประจำำ�ปีี 2563 กัับการเปลี่่�ยนแปลงสู่่�ยุุค New Normal
ในการอภิิปรายเรื่่อ � ง “การพััฒนาระบบสาธารณสุุขไทยอย่่างยั่่�งยืืน จากบทเรีียน COVID-19” ณ ห้้องแกรนด์์บอลรููม โรงแรมริิชมอนด์์ จ.นนทบุุรีี
วัันที่่� 8 กัันยายน 2563 สพฉ. ร่่วมกัับ สำำ�นัักงานสาธารณสุุขจัังหวััดพังั งา จััดอบรมโครงการการกู้้�ชีีพและ
ช่่วยเหลืือผู้้�ประสบภััยทางน้ำำ� (Maritime and Aquatic Life Support) เพื่่อพั � ฒ ั นา เครืือข่่ายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในพื้้�นที่่ใ� ห้้มีีความรู้้ � ความสามารถ มีีทัักษะในการช่่วย
เหลืือตััวเองและผู้้�ประสบภััยทางน้ำำ� ณ โรงแรมเดอะบีีช รีีสอดร์์ท เขาหลััก จ.พัังงา
วัันที่่� 9 กัันยายน 2563 นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ เข้้าร่ว ่ มประชุุมคณะอนุุกรรมการ
ศึึกษาและเสนอแนะแนวทางฯและลงพื้้�นที่่เ� พื่่อสรุ � ุปแนวทางการป้้องกััน
และลดอุุ บััติิเหตุุทางถนนเพื่่�อการปฏิิรููปประเทศด้้ านความมั่่�นคงและ ความปลอดภััยในชีีวิิตและทรััพย์์สิินและโลจิิสติิก ณ กรมป้้องกัันและ
บรรเทาสาธารณภััย โดยมีี นายนิิพนธ์์ บุุญญามณีี รััฐมนตรีีช่่วยว่่าการ กระทรวงมหาดไทย เป็็นประธาน
วัันที่่� 10 กัันยายน 2563 ดร.นพ.ไพโรจน์ บุญศิรค ิ �ำชัย รองเลขาธิการ พร้อมด้วยบุคลากร สพฉ.
ร่วมประชุมติดตามการจัดตั้งศูนย์รบ ั เรื่องและจ่ายงานฉุกเฉินการแพทย์
ให้เป็นระบบดิจิทัล ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุร ี
โดยมี นายบุญชู จันทร์สว ุ รรณ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสพ ุ รรณบุร ี
เป็นประธาน
102
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 12 กัันยายน 2563 สพฉ. จััดการสอบภาคทฤษฎีี (MCQ) เพื่่อ � การให้้ประกาศนีียบััตร เจ้้าพนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ (จฉพ.) ณ โรงพยาบาลรามาธิิบดีี
โดยมีี รศ.ดร.นพ.ไชยพร ยุุกเซ็็น เป็็นประธานควบคุุมการสอบ
วัันที่่� 12 กัันยายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ลงพื้้�นที่่�
จ.ระนอง เพื่่�อเข้้าหารืือแนวทางการสนัับสนุุนระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทาง
น้ำำ� ณ ศููนย์์อำำ�นวยการรัักษาผลประโยชน์์ของชาติิทางทะเล โดยมีีกรรมการ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินร่่วมสัังเกตการณ์์
วัันที่่� 15 กัันยายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นวิิทยากร บรรยายเรื่่อ � งนโยบาย
ทิิศทางการดำำ�เนิินงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ในการประชุุมวิิชาการการสรุุป
ผลการดำำ�เนิินงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เครืือข่่ายจัังหวััดปทุุมธานีี ปีี 2563 ณ โรงแรมเอเชีียแอร์์พอร์์ท จ.ปทุุมธานีี
วัันที่่� 17 กัันยายน 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ.เข้้าร่ว่ มประชุุมให้้ข้อ ้ เสนอแนะในการพััฒนาศููนย์์ข้อมูู ้ ลระบบควบคุุม
ความปลอดภััยในการขนย้้ายผู้้�ป่ว ่ ย การเชื่่อ � มต่่อฐานข้้อมููลโรงพยาบาลกัับระบบ
ITEMS, PHER/IS Only, Refer link, e-claim โดยมีี ดร.นพ.พงศธร พอกเพิ่่�มดีี
ผู้้�ช่่วยปลัั ดกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธาน ณ ห้้องประชุุมร่่มโพธิ์์�ทอง 1
สำำ�นัักงานสาธารณสุุขจัังหวััดอุุดรธานีี
วัันที่่� 17 กัันยายน 2563 ผู้้� แทน สพฉ. เข้้ าร่ ่ ว มรัั บ ฟัั ง และกล่่ า วแนะนำำ� หน่่ ว ยงาน
พร้้อมจััดบููธนิิทรรศการในงานการฝึึกซ้้อมการค้้นหาและช่่วย
เหลืืออากาศยานประสบภััยประจำำ�ปีี 2563 (SAREX 2020)
ระหว่่างวัันที่่� 17-18 กัันยายน 63 ณ ค่่ายพระรามหก จ.เพชรบุุรีี
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
103
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 17 กัันยายน 2563 สพฉ. จัั ดประชุุ ม เชิิ ง ปฏิิ บััติิ เพื่่� อจัั ดทำ� ำ ร่่า งแนวทางการพัั ฒ นาระบบ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทางน้ำำ� ทางทะเล และโครงการพััฒนาระเบีียงเศรษฐกิิจ
พิิเศษภาคตะวัันออก EEC รวมถึึงการกำำ�หนดแนวทางการปฏิิบัติ ั ิ เกณฑ์์
การจ่่ายค่่าชดเชยการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางน้ำำ� ณ โรงแรมพััทยาโมดััส
บีีชฟร้้อนรีีสอร์์ท จ.ชลบุุรีี โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เป็็นประธาน
วัันที่่� 19 กัันยายน 2563 สพฉ. จัั ด การประชุุ ม เชิิ ง ปฏิิ บัั ติิ ก ารจัั ดทำ� ำ ร่่า งมาตรฐานคุุ ณ วุุ ฒิิ ฉุุ ก เฉิิ น
การแพทย์์ (มคฉ.1) ณ โรงแรมพััทยา โมดััส บีีชฟร้้อนท์์ รีีสอร์์ท จ.ชลบุุรีี โดยมีี รศ.ดร.นพ.ไชยพร ยุุกเซ็็น เป็็นประธาน
วัันที่่� 20 กัันยายน 2563 ร.อ.นพ.อัั จฉริิย ะ แพงมา เลขาธิิการ ร่่วมพิิ ธีีเปิิ ดศูู นย์์ เรีียนรู้้ �ด้้า น
การปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน และบรรยายพิิเศษ
ในการอบรมผู้้�ช่ว ่ ยครููผู้้�สอนการปฐมพยาบาลและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐาน
(ระดัับ 2) ณ มููลนิิธิสว่ ิ า ่ งเบญจธรรมสมุุทรสงคราม โดยมีี นายวงเทพ เขมวิิรัต ั น์์ รองผู้้�ว่า ่ ราชการจัังหวััดสมุุทรสงคราม เป็็นประธานในพิิธีี
วัันที่่� 20 กัันยายน 2563 ผู้้แ � ทน สพฉ. ร่่วมให้้ความรู้้ภ � าคปฏิิบัติ ั ิ วิิชา Tactical EMS และ
ความปลอดภััยในการใช้้ปืืน แก่่นัักศึึกษาพาราเมดิิก ชั้้�นปีีที่่� 4 มหาวิิทยาลัย ั นวมิินธราธิิราช ณ กองพัันทหารช่่างที่่� 1 รัักษาพระองค์์
วัันที่่� 22 กัันยายน 2563 ผู้แทน สพฉ. เข้าร่วมประชุมคณะท�ำงานปรับปรุง ทบทวน และจัดท�ำร่างแผน แม่บทป้องกันและบรรเทาภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม และแผนแม่บท
ป้องกันและบรรเทาภัยจากคลื่นสึนามิ ณ ห้องประชุม 1 ปภ. อาคาร 3 กรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย โดยมี นายเชษฐา โมสิกรัตน์ รองอธิบดีกรมป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย เป็นประธาน
104
รายงานประจำ�ปี 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย วัันที่่� 23 กัันยายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เข้้าร่ว่ มการประชุุมเชิิงปฏิิบัติ ั ก ิ าร เพื่่�อจััดทำ� ำ แผนงานรองรัับนโยบายสำำ�คััญด้้านสาธารณสุุข ประจำำ�
ปีีงบประมาณ 2564 ภายใต้้แนวคิิด “ก้้าวข้้ามความท้้าทาย สู่่�วิิถีีใหม่่
แห่่ ง อนาคตสาธารณสุุ ข ไทย” ณ โรงแรมเซ็็ น ทรา ศููนย์์ ร าชการ
แจ้้งวััฒนะ กรุุงเทพมหานคร โดยมีี นายอนุุทิน ิ ชาญวีีรกููล รองนายก รััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธาน
วัันที่่� 23 กัันยายน 2563 ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ เข้้าร่ว่ มการประชุุมทาง teleconference
เพื่่�อหารืืองานวิิจััย The development of Smartphone Applications for Bystander CPR in Pre-hospital setting in Thailand พร้้อมด้้วย
Professor Tanaka Hidetana จาก Kokushikan University บริิษััท Zoll medical และผู้้แ � ทนจาก NSTDA ประเทศไทย
วัันที่่� 24 กัันยายน 2563 ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร พร้้อ มด้้ ว ยบุุ ค ลากร สพฉ.
ร่่ ว มพิิ ธีี วางพวงมาลาถวายราชสัั ก การะ พระราชานุุ สาวรีีย์์ สมเด็็ จ พระมหิิ ต ลาธิิ เ บศร อดุุ ล ยเดชวิิ ก รม พระบรมราชชนก
เนื่่อ � งในวัันมหิิดล 24 กัันยายนของทุุกปีี ณ บริิเวณลานพระราชานุุสาวรีีย์์ฯ กระทรวงสาธารณสุุข
วัันที่่� 25 กัันยายน 2563 ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิ ย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร พร้้ อ มด้้ ว ยบุุ ค ลากร สพฉ.
ร่่วมประชุุมหารืือการเปลี่่�ยนแปลงบัันทึึกความร่่วมมืือระหว่่างกองทััพเรืือ โ ดย ก ร ม แพ ท ย์์ ท ห า ร เรืือกัั บ ส ถ าบัั น ก า ร แพ ท ย์์ ฉุุ ก เ ฉิิ น แห่่ ง ชาติิ
ณ ห้้องประชุุมกรมแพทย์์ทหารเรืือ 3 อาคารกองบัังคัับการกรมแพทย์์ทหารเรืือ โดยมีี พล.ร.ท.วิิชัย ั มนััสศิริ ิ วิิ ทยา ิ เจ้้ากรมแพทย์์ทหารเรืือ เป็็นประธาน
วัันที่่� 30 กัันยายน 2563 ผู้้� แทน สพฉ.ในการอบรมหลัั ก สููตรครููผู้้�สอ นการปฐมพยาบาลฉุุ ก เฉิิ น
แ ล ะ ก า ร กู้้�ชีี พ ขั้้� น พื้้� น ฐ า น ให้้ กัั บ ก อ ง บัั ง คัั บ ก า ร ตำำ� ร ว จ ท่่ อ ง เที่่� ย ว 1
ณ ห้้องประชุุมสำำ�นัักงานตลาดนััดสวนจตุุจัก ั ร โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา
เลขาธิิการ เยี่่ย � มชมให้้กำำ�ลัังใจและให้้แนวทางในการปฏิิบัติ ั ใิ นการดำำ�เนิินงาน แก่่ทีีมวิิทยากร
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
105
106
รายงานประจำ�ปี 2563
ส่่วนที่่�
3
ภาคผนวก สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
107
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
108
รายงานประจำ�ปี 2563
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
109
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
110
รายงานประจำ�ปี 2563
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
111
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
112
รายงานประจำ�ปี 2563
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
113
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
114
รายงานประจำ�ปี 2563
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
115
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
116
รายงานประจำ�ปี 2563
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
117
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
118
รายงานประจำ�ปี 2563
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
119
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
120
รายงานประจำ�ปี 2563
รายงานงบการเงิิน
งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2563
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
121
รายงานงบการเงิิน
งบกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ปีี 2563
122
รายงานประจำ�ปี 2563
รายงานงบการเงิิน
งบกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ปีี 2563
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
123
รายงานงบการเงิิน
งบกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ปีี 2563
124
รายงานประจำ�ปี 2563
รายงานงบการเงิิน
งบกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ปีี 2563
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
125
รายงานงบการเงิิน
งบกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ปีี 2563
126
รายงานประจำ�ปี 2563
รายงานงบการเงิิน
งบกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ปีี 2563
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
127
รายงานงบการเงิิน
งบกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ปีี 2563
128
รายงานประจำ�ปี 2563
รายงานงบการเงิิน
งบกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ปีี 2563
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
129
รายงานงบการเงิิน
งบกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ปีี 2563
130
รายงานประจำ�ปี 2563
รายชื่่�อคณะอนุุกรรมการ ภายใต้้คณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
ตามคำำ�สั่่�งคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่� 10/2562 ลงวัันที่่� 16 ตุุลาคม พ.ศ. 2562 1. คณะอนุุกรรมการตรวจสอบและประเมิินผล
1. นายธีีรพล โตพัันธานนท์์ ประธานอนุุกรรมการ 2. น.อ.(พิิเศษ) ไพศาล จัันทรพิิทัก ั ษ์์ อนุุกรรมการ 3. นายเอื้้�อชาติิ กาญจนพิิทัก ั ษ์์ อนุุกรรมการ 4. นางสาวอมรจิิตต์์ เอี่่�ยววิิบููลย์์วิท ิ ย์์ อนุุกรรมการ 5. นางสาวบุุญมีี เลิิศพิิเชฐ อนุุกรรมการ 6. ผู้้อำ � ำ�นวยการกลุ่่�มตรวจสอบภายใน เลขานุุการ
2. คณะอนุุกรรมการสรรหา ค่่าตอบแทน และบริิหารงานบุุคคล
1. รศ.ศิิริอ ิ ร สิินธุุ ประธานอนุุกรรมการ 2. ผู้้แ � ทนปลััดกระทรวงสาธารณสุุข อนุุกรรมการ 3. นายสุุเทพ ณััฐกานต์์กนก อนุุกรรมการ 4. นางจริิยา ปััญญา อนุุกรรมการ 5. นายสุุรพงษ์์ มาลีี อนุุกรรมการ 6. นายบุุญปลููก ชายเกตุุ อนุุกรรมการ 7. นายเสมอ กาฬภัักดีี อนุุกรรมการ 8. เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ อนุุกรรมการและเลขานุุการ
3. คณะอนุุกรรมการพัั ฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินและสารสนเทศ
1. พ.อ. สุุรจิิต สุุนทรธรรม ประธานอนุุกรรมการ 2. นายณรงค์์ ธาดาเดช อนุุกรรมการ 3. นายทรงยศ เทีียนทอง อนุุกรรมการ 4. นายพงษ์์ ภััฏ เรีียงเครืือ อนุุกรรมการ 5. รศ.ศิิริอ ิ ร สิินธุุ อนุุกรรมการ 6. นายนิิติิศัก ั ดิ์์� บุุญมานนท์์ อนุุกรรมการ 7. นายธีีรพล โตพัันธานนท์์ อนุุกรรมการ 8. นายสุุริย ิ ะ ประสาทบััณฑิิต อนุุกรรมการ 9. เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ อนุุกรรมการเลขานุุการ
4. คณะอนุุกรรมการบริิหารกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
1. เลขาธิิการสำำ�นัักงานหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ ประธานอนุุกรรมการ 2. เลขาธิิการสำำ�นัักงานประกัันสัังคม กระทรวงแรงงาน อนุุกรรมการ 3. หััวหน้้าผู้ต ้� รวจราชการกระทรวงสาธารณสุุข อนุุกรรมการ 4. ผู้้แ � ทนกรมบััญชีีกลาง กระทรวงการคลััง อนุุกรรมการ 5. นายสััมฤทธิ์์� ศรีีธำำ�รงค์์สวัสดิ์์ ั � อนุุกรรมการ 6. นายสุุรศัักดิ์์� ฐานีีพานิิชสกุล ุ อนุุกรรมการ 7. นายสุุเทพ ณััฐกานต์์กนก อนุุกรรมการ 8. นายสาลี่่� สุุขเกิิด อนุุกรรมการ 9. เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ อนุุกรรมการและเลขานุุการ
5. คณะอนุุกรรมการคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินตามนโยบายรััฐบาล “เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิิทธิิทุุกที่่�” 1. นายชาตรีี เจริิญชีีวะกุุล ประธานอนุุกรรมการ 2. รองปลััดกระทรวงสาธารณสุุข อนุุกรรมการ ซึ่ง ่� รัับผิิดชอบงานการคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน ตามนโยบายรััฐบาล “เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิิทธิิทุก ุ ที่่”� 3. เลขาธิิการสำำ�นัักงานหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ อนุุกรรมการ 4. รองอธิิบดีีกรมสนัับสนุุนบริิการสุุขภาพที่่อ � ธิิบดีีมอบหมาย อนุุกรรมการ
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
131
5. นายไพโรจน์์ เครืือกาญจนา อนุุกรรมการ 6. นายเอื้้�อชาติิ กาญจนพิิทัก ั ษ์์ อนุุกรรมการ 7. น.อ.(พิิเศษ) ไพศาล จัันทรพิิทัก ั ษ์์ อนุุกรรมการ 8. เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ อนุุกรรมการและเลขานุุการ
6. คณะอนุุกรรมการพัั ฒนาศัักยภาพและการมีีส่่วนร่่วมของภาคีีเครืือข่่ายและการสื่่�อสารสาธารณะ 1. ผู้้แ � ทนวิิทยาลััยแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งประเทศไทย อนุุกรรมการ 2. นายทรงยศ เทีียนทอง อนุุกรรมการ 3. นายนิิติิศัก ั ดิ์์� บุุญมานนท์์ อนุุกรรมการ 4. นางอำำ�มร บรรจง อนุุกรรมการ 5. นายไพฑููรย์์ บุุญอารัักษ์์ อนุุกรรมการ 6. นายณรงค์์ ธาดาเดช อนุุกรรมการ 7. ผศ.(พิิเศษ) วิิระศัักดิ์์� ฮาดดา อนุุกรรมการ 8. เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ อนุุกรรมการเลขานุุการ
7. คณะอนุุกรรมการกฎหมายการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
1. นายพงษ์์ ภััฏ เรีียงเครืือ ประธานอนุุกรรมการ 2. นางกอร์์ปกุล ุ วิินิิจนััยภาค อนุุกรรมการ 3. ศ.ศุุภลัักษณ์์ พิินิิจภููวดล อนุุกรรมการ 4. พ.อ. สุุรจิิต สุุนทรธรรม อนุุกรรมการ 5. ผู้้แ � ทนสำำ�นัักงานคณะกรรมการกฤษฎีีกา อนุุกรรมการ 6. นายสุุพจน์์ ฤชุุพัน ั ธุ์์� อนุุกรรมการ 7. นายกุุศล สัังขนัันท์์ อนุุกรรมการ 8. นายธวััชชัย ั ไทยเขีียว อนุุกรรมการ 9. เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ อนุุกรรมการและเลขานุุการ
8. คณะอนุุกรรมการยุุทธศาสตร์์การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
1. นายธีีรพล โตพัันธานนท์์ ประธานอนุุกรรมการ ประธานคณะอนุุกรรมการตรวจสอบและประเมิินผล 2. รศ.ศิิริอ ิ ร สิินธุุ อนุุกรรมการ ประธานคณะอนุุกรรมการสรรหา ค่่าตอบแทนและบริิหารงานบุุคคล
3. เลขาธิิการสำำ�นัักงานหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ อนุุกรรมการ ประธานคณะอนุุกรรมการบริิหารกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 4. พ.อ. สุุรจิิต สุุนทรธรรม อนุุกรรมการ ประธานอนุุกรรมการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและสารสนเทศ และประธานอนุุกรรมการรัับรององค์์กรและหลัักสููตรการศึึกษา และฝึึกอบรมผู้้�ปฎิิบัติ ั ิการและการให้้ประกาศนีียบััตรหรืือเครื่่อ � งหมาย วิิทยฐานะแก่่ผู้้�ผ่า ่ นการศึึกษาหรืือฝึึกอบรม 5. นายชาตรีี เจริิญชีีวะกุุล อนุุกรรมการ ประธานคณะอนุุกรรมการคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน ตามนโยบายรััฐบาล “เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิิทธิิทุก ุ ที่่”� 6. นายพงษ์์ ภััฏ เรีียงเครืือ อนุุกรรมการ ประธานคณะอนุุกรรมการกฎหมายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 7. นายสาลี่่� สุุขเกิิด อนุุกรรมการ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิใิ นคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 8. เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ อนุุกรรมการและเลขานุุการ
132
รายงานประจำ�ปี 2563
9. คณะอนุุกรรมการฉุุกเฉิินการแพทย์์ (ประกาศสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ลงวัันที่่� 11 มิิถุุนายน พ.ศ. 2563 และคำำ�สั่่�งคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่� 3/2563 ลงวัันที่่� 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2563)
1. พ.อ. สุุรจิิต สุุนทรธรรม ประธานอนุุกรรมการ 2. กรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่เ� ป็็นแพทย์์ผู้้�มีีความรู้้ค � วามชำำ�นาญ อนุุกรรมการ 3. กรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่เ� ป็็นผู้้แ � ทนสภาการพยาบาล อนุุกรรมการ 4. กรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่เ� ป็็นผู้้�ทรงคุุณวุุฒิด้ ิ ้านกฎหมาย อนุุกรรมการ 5. หััวหน้้าสำำ�นัักงานคณะกรรมการมาตรฐาน อนุุกรรมการ การบริิหารงานบุุคคลส่่วนท้้องถิ่่�น กระทรวงมหาดไทย 6. ผู้้อำ � ำ�นวยการศููนย์์สรรหาและเลืือกสรร สำำ�นัักงาน ก.พ. อนุุกรรมการ 7. ประธานวิิทยาลััยแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งประเทศไทย อนุุกรรมการ 8. นายกสมาคมพยาบาลฉุุกเฉิินประเทศไทย อนุุกรรมการ 9. นายสุุรเชษฐ์์ สถิิตนิิรามััย อนุุกรรมการ 10. ผศ.บริิบููรณ์์ เชนธนากิิจ อนุุกรรมการ 11. รศ.ไชยพร ยุุกเซ็็น อนุุกรรมการ 12. นายจิิรกิิตต์์ เฮงรััศมีี อนุุกรรมการ 13. นายอิิสระ อริิยะชััยพาณิิชย์์ อนุุกรรมการ 14. นางนิิตยา ภููริิพัน ั ธ์์ อนุุกรรมการ 15. เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ อนุุกรรมการและเลขานุุการ
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
133
รายชื่่�อบุุคลากรสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชััย รองเลขาธิิการ นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ รองเลขาธิิการ นพ.พงศ์์ธร เกีียรติิดำำ�รงวงศ์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ นายสุุชาติิ ได้้รููป ผู้เ้� ชี่่ย � วชาญพิิเศษ สำำ�นัักบริิหารกลาง นาง วนิิชยา ทองแนบ ผู้้อำ � ำ�นวยการ นางสาว กีีรติิสุดา ุ บำำ�เพ็็ญบุุญชูู นางสาว อนััญญา พัันธ์์คุณ ุ าวััฒน์์ นาง ดารณีี ชููศรีี นางสาว นภมณีี พลไพรสรรพ์์ นางสาว พััชรนัันท์์ ปราบปราม นางสาว รััชดาวรรณ แสนตา นาย วรพล หััสโนดาต นาย ศิิวพล อนัันตสิิทธิ์์� นางสาว อโนทััย โวหาร นางสาว เอมิิกา ศิิริขั ิ น ั ธ์์ นาย ธวััชชัย ั ใจมั่่�น นางสาว ดวงพร เสืืออิินทร์์ นาย พรเทพ ภููมะธน นางสาว ศุุภจิิรา พัันธุ์์�ทอง นาย วัันเฉลิิม คงยืืน นาง ปทิิตตา เดชบุุรัม ั ย์์ นางสาว วรพิินธุ์์� กาญจนภููมิิ นาย รุ่่�งเกล้้า แสงฝาก นาย อนุุลัักษณ์์ ทองทิิพย์์ นาย ปรััชญา จัันทร์์ธรรม นาย ธนภััทร ญานเนตร นาง ดรุุษกร กล้้าวิก ิ ย์์กรณ์์ สำำ�นัักยุุทธศาสตร์์ นางสาว กมลทิิพย์์ แซ่่เล้้า ผู้อำ ้� ำ�นวยการ นางสาว อุุรา สุุวรรณรัักษ์์ นาง จิิรวดีี เทพเกษตรกุุล นาง สิินีีนุุช ชััยสิทธิ์์ ิ � นาง สุุนัันทา ทองพััฒน์์ นาง นฤมล พาพพิิล่่า นาง ชุุติิมณฑน์์ ยาใจ นาย สุุวภััทร อภิิญญานนท์์ นางสาว สุุนััชฌา ไชยกาล นางสาว สุุพัต ั รา กาญจนลออ นางสาว ดัังฝััน พรมขำำ� ว่่าที่่� ร.ต.หญิิง ขวััญตา มัังสีี นางสาว อุุรุุพร ศิิริวิิ ชยา ิ ภรณ์์ สำำ�นัักประสานการแพทย์์ฉุุกเฉิิน นาย สุุรชััย ศิิลาวรรณ ผู้้อำ � ำ�นวยการ นาง ชิิดชนก สุุวคนธ์์ นาย ศิิริชั ิ ย ั นิ่่�มมา นางสาว เทีียมจัันทร์์ ฉััตรชััยกนัันท์์ นาง สิิริม ิ า อเดไจ นาง พััชรีี รณทีี นางสาว สุุพิช ิ ญา ศีีลสารรุ่่�งเรืือง นางสาว เนาวนิิต ยิ้้�มวััน นางสาว ปญาดา ชื่่น � สำำ�โรง นางสาว นวลจัันทร์์ รื่่น � คุุณ สำำ�นัักวิิจััยและพััฒนาวิิชาการ นาย พิิเชษฐ์์ หนองช้้าง ผู้้อำ � ำ�นวยการ นางสาว ตรึึงตา พููลผลอำำ�นวย นาย วสัันต์์ เวีียนเสี้้�ยว นางสาว อำำ�พััน รุุจนสุุธีี นาง พรทิิพย์์ วชิิรดิิลก นางสาว พรธิิดา แย้้มพยนต์์ นาย สุุรเดช ดวงทิิพย์์สิริ ิ กุ ิ ล ุ นางสาว ชนนิิกานต์์ จารุุพฤฒิิพงศ์์ นาย ธีีระ ศิิริสมุ ิ ุด
134
รายงานประจำ�ปี 2563
เรืือเอก สมััคร ใจแสน นางสาว เปรมสิิณีี คำำ�ใบสีี นางสาว แก้้วศิิกานต์์ สวััสดิ์์�ประสิิทธิ์์� สำำ�นัักรัับรองและกำำ�กัับมาตรฐาน นาย อรรถพล ถาน้้อย ผู้อำ ้� ำ�นวยการ นางสาว ณญาดา เผืือกขำำ� นาย พงษ์์ พิษ ิ ณุุ ศรีีธรรมานุุสาร นาง สุุนิิสา สุุวรรณรัักษ์์ นาย ไพโรจน์์ วรรณโรจน์์ นาย บรรณรัักษ์์ สนองคุุณ นางสาว ชฎารััตน์์ เกิิดเรีียน นางสาว ณััฐนรีี กาญจนพิิบููลย์์ นาย โชคชััย นุ่่�มกลิ่่�น นาย สิิทธิิศัก ั ดิ์์� กี่่�สวัสดิ์์ ั �คอน นางสาว สุุพัต ั รา ลีีเลิิศ นางสาว สััจภรณ์์ ธนศิิริศ ิ าสตร์์ สำำ�นัักสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน นาง ธััณณ์์จิิรา ธนาศิิริธั ิ ชนั ั ันท์์ ผู้อำ ้� ำ�นวยการ นางสาว กรองกาญจน์์ พุ่่�มวิิเศษ นาย รัังสรรค์์ คููหากาญจน์์ นางสาว กิิตติิมา ยุุทธสารประสิิทธิ์์� นางสาว พรรณทิิพา จิิตอุ่่�น นางสาว ศัันสนา ลิิมปาภรณ์์ นางสาว กััลยา จิิตรอุ่่�น นางสาว ศกุุนตลา เนื่่�องทวีี นาย ภาคภููมิิ ท่่านััดทีี นาย อานนท์์ ม่่วงงาม นาย วิิทููล ศรีีระโส นางสาว นัันฐ์์สิณีี ิ นัักพรานบุุญ นาย ศุุภชััย พึ่่�งผลพรึึก นาย อภิิชัย ั ยิ้้�มพััธน์์ นาย ภัักดีี ศิิริกุ ิ ล ุ ทอง นางสาว อรวรรณ สุ่่�มงาม นาย โกสิินทร์์ ยิ้้�มสุุข นางสาว ศรีีสุุดาวรรณ นิิยมทรััพย์์ นางสาว กัันต์์นภััทร มณีีอััครโยธิิน นางสาว อวยพร แย้้มชมสวน กลุ่่�มตรวจสอบภายใน นางสาว ศิิริม ิ า สัังข์์ทอง ผู้้อำ � ำ�นวยการ นาง พิิชามญชุ์์� อาจหาญ กลุ่่�มกฎหมายการแพทย์์ฉุุกเฉิิน นาย พรหมมิินทร์์ หอมหวล ผู้้อำ � ำ�นวยการ นาย ภราดร นิ่่�มนุุช นาง รชยา เกีียรติิจิิรโชติิ นางสาว กััณฐิิกา เปลยพลอย กลุ่่�มสื่่อ � สารองค์์การ นางสาว สุุดารัต ั น์์ นิิราพาธ อำำ�นวยการ ว่่าที่่ร้ � อย ้ ตรีี การัันต์์ ศรีีวััฒนบููรพา นางสาว จิิตติิมา ศรมณีี นางสาว อุุรศา ศรีีวััฒนบููรพา กลุ่่�มดิิจิิทัล ั นางสาว พรพิิมล ธนบััตรชััย ผู้อำ ้� ำ�นวยการ นาย บััณฑิิต พีีระพัันธ์์ นาย โสรััจจะ ชููแสง นาย อนุุรัต ั น์์ สมตน ว่่าที่่ร้ � อย ้ เอก อรรณพ สุุขไพบููลย์์ นาย ประสงค์์ เตชาภรณ์์พงศ์์ นาย สมบููรณ์์สิท ิ ธิิ คงนิ่่�ม นางสาว ศิิริลั ิ ักษณ์์ พิิทัก ั ษา นางสาว รุ่่�งทิิวา โฉมคำำ� นาย ภาณุุวัฒ ั น์์ ศรีีเจริิญ กลุ่่�มพััฒนาองค์์การ นาง พิิศมััย พัันธ์์ครุุฑ ผู้อำ ้� ำ�นวยการ นางสาว คงขวััญ จัันทร์์แก้้ว นาง นวนัันทน์์ อิินทรัักษ์์
สถาบันการแพทย์ฉก ุ เฉินแห่งชาติ
135