การอำนวยการทั่วไป ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เกณฑ์มาตรฐาน / แนวปฏิบัติ. ส่วนที่ 1

Page 1

L=GM3A< L=1K_A[5 Z3=J44 L=X81< $R W$N3 W -+ ;L/=*L3 X3A5)N4K/N

C & 4 7 6 "5 6 6'17 +& 6' 5I+E D '4 6'B" &ğ < A 8 5 /+5 A 9& '6& B)4A 'ë1 ě6&A .< $6" 9I ã "4A&6 )7"Ą ¢ ã ãã æäãå ã


การอำนวยการทัว่ ไประบบการแพทยฉกุ เฉิน ในการดูแลผูป ว ยกลุม โรคและภัยสุขภาพ ระบบการรับ – สง ผูป ว ยทีส่ ำคัญ เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 พืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงราย พะเยา ลำพูน (protocol) ทีป่ รึกษา ผูเ รียบเรียง

ผูต รวจราชการเขตสุขภาพที่ 1 นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย พะเยา ลำพูน นายประเสริฐ วันดี นางเรือนทอง ใหมอารินทร นายณรงคศกั ดิ์ วันดี นายแพทยเกรียงศักดิ์ ปนตาธรรม บรรณาธิการ นายแพทยเกรียงศักดิ์ ปนตาธรรม แพทยหญิงพรธีรา พรหมยวง แพทยหญิงณัชชา หาญสุทธิเวชกุล นางเรือนทอง ใหมอารินทร นายประเสริฐ วันดี นายณรงคศกั ดิ์ วันดี จัดพิมพโดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย พิมพครัง้ ที่ 1 กุมภาพันธ 2562 จำนวน 1,000 เลม พิมพท่ี เอ.ไอ.กราฟฟก 137 หมู 14 ตำบลแมยาว อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ISBN 978-616-11-4213-1

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


รายนามผูนิพนธ

การจัดทำแนวทางและเกณฑมาตรฐาน การอำนวยการทั่วไประบบการแพทยฉุกเฉิน ในการดูแลผูปวยกลุมโรคและภัยสุขภาพ ระบบการรับ – สงผูปวยที่สำคัญ (Protocol) เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดเชียงราย พะเยา ลำพูน กิตติยา ไทยธวัช เกรียงศักดิ์ ปนตาธรรม เกศนภา นาใจ เกศรา สารทอง จริยา วงศตาปน จำลองลักษณ สายแกว ชนิกานต มาไพโรจน ชูเกียรติ เหลืองโสภาพรรณ เชิดศักดิ์ สมสวย ญารวี จันธิมา ณรงคศักดิ์ วันดี ณัชชา หาญสุทธิเวชกุล ณิชานันท ศรีวิชัย ดวงเดือน ราชคมภ ดำรงค ชวยแกไข ตวงเพชร ถานอย ทัศนีย ภาคภูมิวินิจฉัย ธวัชชัย ขันติวงศ นิตยา มอยนา นิภาภร พรหมประสิทธิ์ บุญญาภัทร ชาติพัฒนานันท ปฎิญญา ใจแปง ประเสริฐ วันดี ปรีชา มะโนยศ พงศกร สวามิภักดิ์ พนาวัน พรหมเผา พรทิพย ปนตาคำ พรธีรา พรหมยวง พรรณี สุรินทรชัย พัฒนาการ ผลศุภรักษ พิชามญชุ วุฒิ ภัทรกร ตะตองใจ

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยพะเยา นายแพทยชำนาญการ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติกา โรงพยาบาลแมจัน พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงราย เจาพนักงานฉุกเฉินการแพทย โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลพาน นายแพทยชำนาญการ โรงพยาบาลลำพูน พนักงานฉุกเฉินการแพทย สมาคมศิริกรณเชียงรายบรรเทาสาธารณภัย เจาพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลแมลาว พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนยมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเวียงเชียงรุง นายแพทยชำนาญการ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลลำพูน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเชียงแสน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลพญาเม็งราย ผูชวยนักวิชาการสาธารณสุข ศูนยรับแจงเหตุและสั่งการ อบจ.ลำพูน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห พนักงานบริการ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห นายแพทยชำนาญการ โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเชียงคำ ผูชวยศาสตราจารย สำนักวิชาพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลขุนตาล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเทิง ประธานสมาคม สมาคมกูภัยอัมรินทรใต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลปาแดด เจาพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลแมจัน นายแพทยชำนาญการ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ โรงพยาบาลพะเยา นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา เจาพนักงานฉุกเฉินการแพทย โรงพยาบาลแมสรวย เวชกิจฉุกเฉิน โรงพยาบาลเวียงปาเปา

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


ภัทราวดี ใจคำ มยุรี หมั่นคิด ยุวลักษณ บุตรศรี รุงวิภา นามมะยอม เรือนทอง ใหมอารินทร วนัฏธนันท ยาวิชัย วรวิช บุญสิทธิ์ วสุ เตชะวัฒนากุล วันเพ็ญ โพธิยอด วิมลรัตน ทองศรี วุฒิไกร สมนาม ศิริพร จักรออม ศุภกฤษ เจริญขำ สมชาย สิทธิหลา สมนึก แซตั้ง สายสม รุจิพรรณ แสงทอง สุวรรณ อดุลย สุขเกษม อนุสรณ อินทวงค เอม สิรวราภรณ

เจาพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเวียงเชียงรุง นายแพทยชำนาญการ โรงพยาบาลเชียงคำ เจาพนักงานฉุกเฉินการแพทย โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย พยาบาลวิขาชีพปฏิบัติการ ศูนยรับแจงเหตุและสั่งการ อบจ.ลำพูน เจาพนักงานฉุกเฉินการแพทย โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห นายแพทยเวชศาสตฉุกเฉิน โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงราย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลลำพูน เจาพนักงานฉุกเฉินการแพทย โรงพยาบาลเชียงคำ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลแมสาย นายแพทยชำนาญการ โรงพยาบาลเชียงคำ ประธานสมาคมสมาคมแสงธรรมสาธารณกุศลเชียงราย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเวียงปาเปา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลแมสรวย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเชียงของ ประธานมูลนิธิสยามเชียงราย นายแพทยชำนาญการ โรงพยาบาลพะเยา

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำนำ การเจ็บปวยฉุกเฉินเปนสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ โดยไมสามารถคาดการณลว งหนาได และนับวันจะมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ ทัง้ ปริมาณ ความรุนแรงและเปนสาเหตุการตายอันดับ 1 ของโลก โดยเฉพาะผูป ว ยโรคเรือ้ รังทีม่ คี วามเสีย่ งสูงตอการเจ็บปวยฉุกเฉิน มีโอกาสเกิดโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน โรคหลอดเลือดสมอง อุบตั เิ หตุ สารพิษ และอุบตั ภิ ยั ตาง ๆ ดังนัน้ ระบบการแพทย ฉุกเฉินจึงตองมีคณ ุ ภาพมาตรฐาน สามารถปฏิบตั กิ ารไดอยางเหมาะสมภายใตการกำกับดูแลของแพทยอำนวยการ และ พัฒนาใหมกี ารเชือ่ มโยงทุกมิติ มีแนวทางการปฏิบตั กิ ารรายโรคทีใ่ ชเปนแนวปฏิบตั เิ ดียวกันของโรคและภาวะฉุกเฉินทีต่ อ ง ไดรบั การชวยเหลืออยางเรงดวนทัง้ การปฏิบตั กิ ารทางบก ทางน้ำและทางอากาศยาน เพือ่ สนับสนุนการดำเนินงานของหนวย ปฏิบตั กิ ารทัง้ ระดับศูนยสง่ั การ หนวยปฏิบตั กิ ารระดับสูง หนวยปฏิบตั กิ ารระดับพืน้ ฐาน ตามพระราชบัญญัตกิ ารแพทย ฉุกเฉินแหงชาติ พ.ศ.2551 ป พ.ศ. 2562 จังหวัดเชียงราย ไดเปนเจาภาพจัดทำโครงการการจัดทำแนวทางเกณฑมาตรฐาน/แนวทางปฏิบตั ิ การอำนวยการทัว่ ไประบบการแพทยฉกุ เฉิน ในการดูแลผูป ว ยกลุม โรคและภัยสุขภาพ ระบบการรับ – สงผูป ว ยทีส่ ำคัญ ของเครือขายเขตสุขภาพที่ 1 พืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงราย พะเยา ลำพูน (protocol) โดยไดรบั การสนับสนุนงบประมาณจากสถาบัน การแพทยฉกุ เฉินแหงชาติ (สพฉ.) เพือ่ จัดทำแนวทางแนวทางเกณฑมาตรฐาน/แนวทางปฏิบตั ิ การอำนวยการทัว่ ไประบบ การแพทยฉกุ เฉิน จำนวน 14 เรือ่ ง มีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหหนวยปฏิบตั กิ ารระดับอำนวยการ ระดับสูงและระดับพืน้ ฐานใน พืน้ ทีข่ องเขตสุขภาพที่ 1 นำไปเปนแนวทางใชในการออกปฏิบตั กิ ารใหบริการแกผปู ระสบเหตุตามมาตรฐานการปฏิบตั กิ าร ของแตละระดับใหมคี วามปลอดภัย และสามารถเขาถึงระบบการรักษาพยาบาลทีเ่ หมาะสมตอไป การจัดทำแนวทางและเกณฑมาตรฐาน การอำนวยการทัว่ ไประบบการแพทยฉกุ เฉิน ในการดูแลผูป ว ยกลุม โรค และภัยสุขภาพ ระบบการรับ – สงผูป ว ยทีส่ ำคัญ (Protocol) สำเร็จลุลว งดวยดี จากความรวมมืออยางดียง่ิ ของคณะ กรรมการจาก 3 จังหวัดคือ เชียงราย พะเยา ลำพูน ทัง้ ทีเ่ ปนแพทยเวชศาสตรฉกุ เฉิน แพทย พยาบาล นักวิชาการสาธารณสุข นักปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินการแพทยระดับสูง เวชกรฉุกเฉิน อาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย จากทัง้ ภาครัฐและเอกชน ไดชว ยกันยกราง จัดทำ นำไปทดลองใช ปรับปรุง วิพากษ แนวทางจนสำเร็จลุลว ง รวมทัง้ ผูท รงคุณวุฒิ วิทยากรผูว พิ ากษ ทีไ่ ดใหขอ เสนอ แนะทีเ่ ปนประโยชนตอ การพัฒนาแนวทางและเอกสารนี้ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงรายจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณผูต รวจราชการเขตสุขภาพที่ 1 นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 1 เลขาธิการ สถาบันการแพทยฉกุ เฉินแหงชาติและทีมงานสถาบันการแพทยฉกุ เฉินแหงชาติ ขอขอบคุณนายแพทยเกรียงศักดิ์ ปนตาธรรม หัวหนากลุม เวชศาสตรฉกุ เฉิน โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห ประธานกรรมการและ คณะทีมงานจากสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดเชียงราย เปนอยางสูง ทีส่ นับสนุนโครงการเปนอยางดี หวังเปนอยางยิง่ วาเอกสาร แนวทางและเกณฑ ม าตรฐาน การอำนวยการทัว่ ไประบบการแพทยฉกุ เฉิน (Protocol) นีจ้ ะนำไปสูก ารพัฒนาบริการระบบการแพทยฉกุ เฉิน ในพืน้ ทีใ่ หบรรลุเปาหมาย บริการไดมาตรฐาน ลดอัตราการตายและความรุนแรงของการบาดเจ็บ หรือปวยฉุกเฉิน ประชาชน สามารถเขาถึงบริการไดอยางทัว่ ถึงตอไป

คณะผูจ ดั ทำ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ธันวาคม 2562

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


สารบัญ รายนามผูนิพนธ

คำนำ สารบัญ 1. แนวทางการประเมินดูแลผูบาดเจ็บทั่วไปนอกโรงพยาบาล ( NON Trauma) ระดับพื้นฐาน ระดับสูง 2. แนวทางการประเมินดูแลผูบาดเจ็บทั่วไปนอกโรงพยาบาล (Trauma) ระดับพื้นฐาน ระดับสูง 3. คำสัง่ อำนวยการทัว่ ไปการดูแลผูบ าดเจ็บรุนแรง (Trauma) และสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain Injury) ระดับอำนวยการ ระดับพื้นฐาน ระดับสูง 4. คำสัง่ อำนวยการทัว่ ไปการดูแลผูป ว ยหัวใจหยุดเตนนอกโรงพยาบาล (Out-of-Hospital Cardiac arrest; OHCA) ระดับอำนวยการ ระดับพื้นฐาน ระดับพื้นสูง 5. คำสั่งอำนวยการทั่วไปการประกาศเสียชีวิต (Declare death) ระดับอำนวยการ ระดับพื้นฐาน ระดับพื้นสูง 6. คำสั่งอำนวยการทั่วไปการดูแลผูปวยโรคติดเชื้อในกระแสเลือด ( Sepsis) ระดับอำนวยการ ระดับพื้นฐาน ระดับพื้นสูง 7. คำสั่งอำนวยการทั่วไปการดูแลผูปวยปฏิกิริยาภูมิแพรุนแรง (Anaphylaxis) ระดับอำนวยการ ระดับพื้นฐาน ระดับพื้นสูง

หนา ก ค ง 1 4 7 13

19 22 24

27 29 32 36 38 40 43 46 48 51 54 56 เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


สารบัญ (ตอ) หนา

8. คำสั่งอำนวยการทั่วไปการจัดการสาธารณภัยหรืออุบัติภัยหมู (Mass Casualty Incident: MCI) ระดับอำนวยการ 59 63 ระดับพื้นฐาน ระดับพื้นสูง 66 9. คำสั่งอำนวยการทั่วไปการดูแลผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) 69 ระดับอำนวยการ 71 ระดับพื้นฐาน 73 ระดับพื้นสูง 10. คำสัง่ อำนวยการทัว่ ไปการดูแลผูป ว ยโรคกลามเนือ้ หัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Myocardial infarction ; MI) 79 ระดับอำนวยการ ระดับพื้นฐาน 81 83 ระดับพื้นสูง 11. คำสั่งอำนวยการทั่วไปการดูแลผูปวยแนวทางปฏิบัติสารพิษ หรือยาเกินขนาด (Toxicology) 86 ระดับอำนวยการ ระดับพื้นฐาน 88 92 ระดับพื้นสูง 12. คำสั่งอำนวยการทั่วไปการดูแลผูปวยการปฏิบัติการกูชีพทางน้ำ (Water Rescue) ระดับอำนวยการ 94 ระดับพื้นฐาน 96 98 ระดับพื้นสูง 13. คำสั่งอำนวยการทั่วไปการลำเลียงผูปวยทางอากาศ (Air Transport) 100 ระดับอำนวยการ 103 ระดับพื้นฐาน 106 ระดับพื้นสูง 14. คำสั่งอำนวยการทั่วไปการดูแลผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิต (Psychiatric Emergency) ระดับอำนวยการ 109 ระดับพื้นฐาน 111 113 ระดับพื้นสูง ภาคผนวก 115

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน แนวทางการประเมินดูแลผูปวยทั่วไปนอกโรงพยาบาล (Non-Trauma) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

1. ผูปวยฉุกเฉินไมรูสึกตัว 2. ผูปวยฉุกเฉินที่มีทางเดินหายใจผิดปกติ เชน หายใจมีเสียงครืดคราด, มีสารคัดหลั่งในทางเดินหายใจ หรือมีสิ่งแปลกปลอมในปาก 3. ผูปวยฉุกเฉินที่มีการหายใจผิดปกติ เชน อัตราการหายใจ <10 หรือ >30 ครั้ง/นาที หรือความเขมขนของออกซิเจน (Oxygen saturation<94%) 4. ผูปวยฉุกเฉินที่มีระบบไหลเวียนโลหิตผิดปกติ เชน อัตราการเตนของหัวใจ <50 หรือ >150 ครั้ง/นาที, สีผิวซีด เหงื่อออก ตัวเย็น, ความดันโลหิตคาบน (Systolic blood pressure) <90 mmHg.

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration) สถานการณที่เกิดเหตุไมปลอดภัย ใหประเมินความปลอดภัยกอนเขาชวยเหลือผูปวย

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ประเมินความรูส กึ ตัวตามหลัก AVPU ถาผูป ว ยฉุกเฉินไมรสู กึ ตัว (U) ใหคลำชีพจรทีค่ อ 10 วินาที หากไมมชี พี จร ไมหายใจ หรือหายใจเฮือก ใหทำการ CPR ตามแนวกูช พี และแจงศูนยสง่ั การ 1669 เพือ่ ขอคำแนะนำ และความชวยเหลือทันที ผูป ว ยฉุกเฉินทีม่ ที างเดินหายใจผิดปกติ เชน หายใจมีเสียงครืดคราด ใหจดั ทากดหนาผาก เชยคาง (Head tilt-chin lift) ใสอปุ กรณชว ยเปดทางเดินหายใจขัน้ พืน้ ฐาน (Oropharyngeal airway), มีสารคัดหลัง่ ในทางเดินหายใจ ใหทำการดูด เสมหะ หรือสารคัดหลัง่ ดวยลูกสูบยางแดง หรือหากมีสง่ิ แปลกปลอมในปากถามองเห็นใหนำออกมา ผูป ว ยฉุกเฉินทีม่ กี ารหายใจผิดปกติ เชน อัตราการหายใจ <10 หรือ >30 ครัง้ /นาที ใหจดั ทานอนศีรษะสูง 45 องศา หรือความเขมขนของออกซิเจน (Oxygen saturation<94%) ใหแจงศูนยสง่ั การ 1669 เพือ่ ขอคำแนะนำ และความ ชวยเหลือทันที ผูป ว ยฉุกเฉินทีม่ รี ะบบไหลเวียนโลหิตผิดปกติ เชน อัตราการเตนของหัวใจ <50 หรือ >150 ครัง้ /นาที, สีผวิ ซีด เหงือ่ ออก ตัวเย็น, ความดันโลหิตคาบน (Systolic blood pressure) <90 mmHg. ใหจดั ทาผูป ว ยนอนราบ, Keep warm (หมผา) ใหแจงศูนยสง่ั การ 1669 เพือ่ ขอคำแนะนำ และความชวยเหลือทันที วัดระดับน้ำตาลในเลือดจากปลายนิว้ (DTX) <60 mg% ใหรายงานศูนยสง่ั การ 1669 อุปกรณชว ยเปดทางเดินหายใจขัน้ พืน้ ฐาน (Oropharyngeal airway) ลูกสูบยางแดง วัดระดับน้ำตาลในเลือดจากปลายนิว้ (DTX) แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รายงานศูนยสง่ั การทันทีหากประเมินแลวพบวาผูป ว ยมีความผิดปกติในระบบใดระบบ หนึง่ (ABC) เพือ่ ขอความชวยเหลือจากหนวยปฏิบตั กิ ารการแพทยขน้ั สูง และติดตอไป ยังโรงพยาบาลปลายทาง และขอคำแนะนำจากแพทยอำนวยการ ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

1

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


เอกสารอางอิง

EMERGENCY CARE THE POCKET GUIDE BOOK ฉบับปรับปรุง พิมพ ครั้งที่6 คณะแพทยศาสาตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เวชศาสตรฉกุ เฉิน1 คณะแพทยศาสาตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เกณฑและวิธปี ฏิบตั กิ ารแพทยของผูช ว ยเวชกรรมตามคำสัง่ แพทยและการอำนวยการ

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

2

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


3

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน แนวทางการประเมินดูแลผูปวยทั่วไปนอกโรงพยาบาล (Non-Trauma) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. ผูป ว ยฉุกเฉินไมรสู กึ ตัว 2. ผูป ว ยฉุกเฉินทีม่ ที างเดินหายใจผิดปกติ เชน หายใจมีเสียงครืดคราด (Stridor), มีสารคัดหลัง่ ในทางเดินหายใจ หรือมีสง่ิ แปลกปลอมในปาก

3. ผูปวยฉุกเฉินที่มีการหายใจผิดปกติ เชน อัตราการหายใจ <10 หรือ >30 ครั้ง/นาที หรือความเขมขนของออกซิเจน (Oxygen saturation<94%) หรือฟง Lung มีเสียง Wheezing 4. ผูปวยฉุกเฉินที่มีระบบไหลเวียนโลหิตผิดปกติ เชน อัตราการเตนของหัวใจ <50 หรือ >150 ครั้ง/นาที, สีผิวซีด เหงื่อออก ตัวเย็น, ความดันโลหิตคาบน (Systolic blood pressure) <90 mmHg. 5. ผูปวยฉุกเฉินที่มีระดับความรูสึกตัวลดลง ที่ประเมินดวยระบบ Glasgow Coma Score <8 คะแนน

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration) สถานการณที่เกิดเหตุไมปลอดภัย ใหประเมินความปลอดภัยกอนเขาชวยเหลือผูปวย

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ประเมินความรูสึกตัวตามหลัก AVPU ถาผูปวยฉุกเฉินไมรูสึกตัว (U) ใหคลำชีพจรที่คอ 10 วินาที หากไมมีชีพจร ไมหายใจ หรือหายใจเฮือก ใหทำการ CPR ตามแนวกูชีพ และแจงศูนยสั่งการ 1669 เพื่อขอคำแนะนำ และความ ชวยเหลือทันที ผูป ว ยฉุกเฉินทีม่ ที างเดินหายใจผิดปกติ เชน หายใจมีเสียงครืดคราด ใหจดั ทากดหนาผาก เชยคาง (Head tilt-chin lift) ใสอุปกรณชวยเปดทางเดินหายใจขั้นพื้นสูง Advanced airway management (ETT, LMA) มีสารคัดหลั่งในทาง เดินหายใจ ใหทำการ Suction, Clear airway หรือหากมีสิ่งแปลกปลอมในปากถามองเห็นใหนำออกมา หรือ Heimlich Maneuver (Complete obstrucrion) ผูป ว ยฉุกเฉินทีม่ กี ารหายใจผิดปกติ เชน อัตราการหายใจ <10 หรือ >30 ครัง้ /นาที ใหจดั ทานอนศีรษะสูง 45 องศา, ฟง Lung ไดเสียง Wheezing ในผูป ว ยมีมปี ระวัตหิ อบหืด หรือถุงลมโปงพอง ใหพน ยา Berodual Forte 1 Nebute หรือความเขมขนของออกซิเจน (Oxygen saturation<94%) ใหออกซิเจน และแจงศูนยสง่ั การ 1669 เพือ่ ขอคำแนะนำ และความชวยเหลือทันที ผูปวยฉุกเฉินที่มีระบบไหลเวียนโลหิตผิดปกติ เชน อัตราการเตนของหัวใจ <50 หรือ >150 ครั้ง/นาที, สีผิวซีด เหงื่อออก ตัวเย็น, ความดันโลหิตคาบน (Systolic blood pressure) <90 mmHg. ใหสารน้ำ NSS , Acetar ให จัดทาผูปวยนอนราบ, Keep warm ใหแจงศูนยสั่งการ 1669 เพื่อขอคำแนะนำ และความชวยเหลือทันที ผูปวยฉุกเฉินที่มีระดับความรูสึกตัวลดลง ที่ประเมินดวยระบบ Glasgow Coma Score <8 คะแนน ใหใสอุปกรณ ชวยเปดทางเดินหายใจขั้นพื้นสูง Advanced airway management (ETT, LMA) และแจงศูนยสั่งการ 1669 เพื่อขอคำแนะนำ และความชวยเหลือทันที วัดระดับน้ำตาลในเลือดจากปลายนิว้ (DTX) <60 mg% ให 50% Glucose 50 ml IV และรายงานศูนยสง่ั การ 1669

4

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


อุปกรณชว ยเปดทางเดินหายใจขัน้ พืน้ สูง Advanced airway management (ETT, LMA) IV access ให NSS , Acetar ฟง Lung ไดเสียง Wheezing ในผูป ว ยมีมปี ระวัตหิ อบหืด หรือถุงลมโปงพอง ใหพน ยา Berodual Forte 1 Nebute วัดระดับน้ำตาลในเลือดจากปลายนิว้ (DTX) <60 mg% ให 50% Glucose 50 ml IV แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รายงานศูนยสง่ั การทันทีหากประเมินแลวพบวาผูป ว ยมีความผิดปกติในระบบใดระบบ หนึง่ (ABC) เพือ่ ขอความชวยเหลือจากหนวยปฏิบตั กิ ารการแพทยขน้ั สูง และติดตอไป ยังโรงพยาบาลปลายทาง และขอคำแนะนำจากแพทยอำนวยการ เอกสารอางอิง EMERGENCY CARE THE POCKET GUIDE BOOK ฉบับปรับปรุง พิมพ ครั้งที่6 คณะแพทยศาสาตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เวชศาสตรฉกุ เฉิน1 คณะแพทยศาสาตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เกณฑและวิธปี ฏิบตั กิ ารแพทยของผูช ว ยเวชกรรมตามคำสัง่ แพทยและการอำนวยการ ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

5

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


6

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน แนวทางการประเมินดูแลผูบาดเจ็บทั่วไปนอกโรงพยาบาล (Trauma) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. ผูบาดเจ็บทั่วไปนอกโรงพยาบาล (trauma)

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration) Scene Size – up BSI (body Substance Isolation) Universal Precaution การใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ตองมี การสวมอุปกรณปองกันใหครบถวนไมสัมผัสผูบาดเจ็บโดยตรง ใชอุปกรณปองกันอันตรายอยางเหมาะสมกอนเขาไป ชวยเหลือตามสถานการณ เชน ถุงมือ แวนตาปองกัน ผาปดปากและจมูก เสือ้ คลุม และอุปกรณปอ งกันสารเคมี เปนตน Scene safety การประเมินความปลอดภัยของที่เกิดเหตุ หามเขาพื้นที่เสี่ยงอันตราย เชน สารพิษ สารเคมี ไฟไหม กาซพิษ หรือมีความรุนแรงโดยเด็ดขาด จอดรถหางจากจุดเกิดเหตุประมาณ 30 เมตร อยูจุดที่สูงกวาจุดเกิดเหตุ อยูเหนือลมและใหรถหันหนาออกจากที่เกิดเหตุ MOI (Mechanism of injury) การประเมินผูบาดเจ็บตามกลไกการบาดเจ็บ Number of patients จำนวนผูบาดเจ็บ หากมีจำนวน 4 รายขึ้นไป แจงศูนยสั่งการรับทราบ Additional resources การรองขอความชวยเหลือจากแหลงสนับสนุนที่ตองการผานศูนยสั่งการ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ประเมินสถานการณ ณ จุดเกิดเหตุ พรอมสวมใสอุปกรณปองกัน เมื่อประเมินสถานการณมีความปลอดภัยจึงเริ่มใหการดูแลโดยการประเมินผูบาดเจ็บดังนี้

1 1.1 ประเมินระดับความรูส กึ ตัวแบงระดับดังนี้ A : Alert รูส กึ ตัวดี V : Response to voice ตอบสนองตอเสียงเรียก P : Response to pain ตอบสนองต อ ความเจ็ บ ปวด ( ใช ป ากกากดปลายเล็ บ ไม เ กิ น 10 วิ น าที ผูบาดเจ็บจะมีการตอบสนองรางกายหรือคำพูดหรือสงเสียงใหไดยนิ ) U : Unresponsive ไมตอบสนองตอสิง่ กระตุน

7


1.2 หากผูบาดเจ็บไมที่การตอบสนองใด ๆ ใหทำการประเมินชีพจร โดยการคลำชีพจรบริเวณลำคอ และขอมือ (คลำไมเกิน 10 วินาที) 1.3 หากคลำไมพบชีพจรใหรายงานศูนยสั่งการ ขอ ว 7 รวม (กำลังสนับสนุนจากทีมหนวยปฏิบัติการขั้นสูง) และทำการ CPR ตามแนวทางการกูช พี OHCA protocol (เอกสารหมายเลข 4 ) ทันที * 1.4 หากผูบ าดเจ็บไมรสู กึ ตัวแตคลำชีพจรได ใหประเมินบาดแผลทีท่ ำใหสญ ู เสียเลือดจำนวนมาก (กลองขอความที่ 2) หมายเหตุ * หากผูบาดเจ็บพื้นคืนชีพหรือคลำชีพจรไดใหทำตามขั้นตอนตามลำดับ กรณีไมมีสัญญาณชีพกลับมาใหรีบสวมเฝอกดามคอชนิดแข็ง ใสกระดานรองหลัง และรีบนำขึ้นรถ ambulance เพื่อ CPR ตอในรถ ambulance (ใหระวังการหยุดนวดหัวใจไมควรเกิน 10 วินาที)

2 2.1 ประเมินบาดแผลที่มีเลือดพุงทั้งใน ผูบาดเจ็บที่รูสึกตัว ไมรูสึกตัวคลำชีพจรพบ และไมรูสึกตัวคลำชีพจรไมพบ หากไมพบบาดแผลที่มีเลือดพุงออกมาตอเนื่องรุนแรงไมหยุดใหประเมินผูบาดเจ็บตอทางเดินหายใจตอ (กลองขอความที่ 3) 2.2 กรณี พ บบาดแผลที ่ ม ี เ ลื อ ดพุ  ง ออกมาต อ เนื ่ อ งรุ น แรงไม ห ยุ ด ให ท ำการห า มเลื อ ดโดยการกดป ด บาดแผล ดวยผากอซรวมกับผายืดพันแผล (Elastic bandage) กรณีเลือดหยุดไหล ใหประเมินผูบ าดเจ็บตอทางเดินหายใจตอ (กลองขอความที่ 3) 2.3 กรณีกดหามเลือดแลวเลือดไมหยุด หากเปนอวัยวะสวนรยางค คือ แขน ขา ใหทำการขันชะเนาะ (Tourniquet) หากเลือดหยุดไหล ใหประเมินผูบ าดเจ็บตอทางเดินหายใจตอ (กลองขอความที่ 3) หากไมหยุดไหล ชันชะเนาะ เหนือตำแหนงเดิมอีก 1 ตำแหนง และใหรายงานศูนยสั่งการเพื่อขอคำแนะนำกรณีเลือดไมหยุดไหล

3 3.1 กอนทำการประเมินทางเดินหายใจใหทำการประคองคอดวยมือปองกันการขยับเคลื่อนกระดูกคอ (Manual in-line stabilization) 1 คน 3.2 ทำการประเมินทางเดินหายใจ ( A : airway ) โดยพิจารณาดังนี้ หายใจครืดคราดผิดปกติ มีสิ่งแปลกปลอมในปาก มีเลือด / สารคัดหลั่งในทางเดินหายใจ ผูบาดเจ็บสามารถตอบคำถามไดดี หรือไม (คุณชื่ออะไร,เหตุการณเกิดขึ้นอยางไร) น้ำเสียงการพูดผิดปกติ คลายมีสิ่งขัดขวางทางเดินหายใจ 3.3 กรณีไมพบความผิดปกติใหประเมินการหายใจ (กลองขอความที่ 4) 3.4 กรณีที่พบความผิดปกติใหดูแลทางเดินหายใจขั้นพื้นฐานดังนี้ การยกกระดูกกรามเปดทางเดินหายใจ (Jaw thrust) Suction, clear airway (ใชลูกสูบยางแดงดูดสารคัดหลั่งในชองปาก) นำสิ่งแปลกปลอมออกจากปากถามองเห็น Oropharyngeal airway ใชอุปกรณเปดทางเดินหายใจขั้นพื้นฐาน Oropharyngeal airway กรณีสามารถแกไขความผิดปกติได ใหประเมินการหายใจ (กลองขอความที่ 4) กรณีไมสามารถแกไขความผิดปกติไดใหรายงานศูนยสั่งการเพื่อขอคำแนะนำในการชวยเหลือ

8


4 4.1 การประเมินการหายใจ (B : Breathing) ประเมินผูบาดเจ็บ ดังนี้ ดู : การเคลื่อนไหวของทรวงอก วามีการขยับขึ้นลงตามการหายใจเขาและหายใจออกหรือไม นับ : อัตราการหายใจ คาปกติ 10-20 ครั้งตอนาที วัด : ระดับความเขมขนของออกซิเจนในเลือด (SpO2 ) คาปกติมากกวา 94% 4.2 หากประเมินการหายใจปกติ ใหไปประเมินการไหลเวียนโลหิตตอไป 4.3 หากประเมินการหายใจผิดปกติ ดังนี้ ไมหายใจหรือหายใจชา อัตรานอยกวา 10 ครั้งตอนาที รวมกับระดับความเขมขนของออกซิเจน ในเลือด (SpO2)นอยกวา 95 % ใหทำการชวยหายใจผานหนากากชนิดพกพา (Pocket mask) หายใจเร็ว อัตราการหายใจ 20-30 ครั้งตอนาที รวมกับระดับความเขมขน ของออกซิเจนในเลือด (SpO2) นอยกวา 95 % ใหออกซิเจนตามคำสัง่ ศูนยสง่ั การ หายใจเร็วอัตราการหายใจมากกวา 30 ครัง้ ตอนาที ใหประสานกลับไปยังศูนยสง่ั การ เพือ่ ขอคำแนะนำการดูแลผูบ าดเจ็บเหมาะสม และไปทำการประเมินการไหลเวียน โลหิต C :Circulation ตอไป 4.4 ประเมินการไหลเวียนโลหิต (C: circulation) ดังนี้ คลำชีพจร ที่บริเวณขอมือและตนคอ Pocket mask นับอัตราการเตนของหัวใจ ดูสีผิว และการคืนตัวของเลือดปลายนิ้วโดยการกดบริเวณปลายเล็บ 3 วินาที หากปกติจะคืนตัวภายใน 2 วินาที ประเมินอุณหภูมิกายโดยการสัมผัส 4.5 กรณีไมมีความผิดปกติของระบบการไหลเวียน ใหไปประเมินยังกลองขอความที่ 5 ตอ

5 5.1 การประเมินบาดแผลและใหความชวยเหลือดังนี้ กรณี แ ผลที ่ ม ี เ ลื อ ดไหลออกให ก ดป ด บาดแผล (Pressure dressing) ถ า เลื อ ดหยุ ด ไหล ใหปดแผลและทำแผล หากเลือดยังไมหยุดไหล ใหแจงกลับไปยังศูนยสั่งการเพื่อขอคำแนะนำ กรณีแผลที่ไมมีเลือดไหลออก ใหเตรียมการนำสง ดังนี้ 5.2 ขั้นตอนการเตรียมนำสง ใสอุปกรณดามกระดูกคอ (Cervical collar) พลิกตะแคงตัวผูบาดเจ็บไมใหกระดูกสันหลังเคลื่อนดวยวิธีพลิกแบบทอนซุง (Log roll) นำผูบาดเจ็บขึ้นบนกระดานรองหลัง ยึดตรึงศีรษะและลำตัวดวยอุปกรณยึดตรึง และนำผูบาดเจ็บ ขึ้นรถฉุกเฉิน 5.3 การดูแลขณะนำสงสถานพยาบาล ประเมินอัตราการหายใจ อัตราการเตนของหัวใจ ความเขมขนออกซิเจน และความดันโลหิตทุก 5 นาที ประเมินระบบประสาทเบื้องตน D : Disability ดวยระบบ AVPU ดังที่กลาวในกลองขอความที่ 1 ขางตน รวบรวมขอมูลของเหตุแลวแจงกลับไปยังศูนยสั่งการพรอมรับคำสั่ง

9


กรณีภาวะช็อค/เสียเลือดมาก ประเมินผลการกดปดแผลซ้ำ หากไมมีประสิทธิภาพใหกดปด บาดแผลใหมห รื อ ทำการขั น ชะเนาะ พร อ มทั ้ ง บั น ทึ ก เวลาที ่ เ ริ ่ ม ทำการขั น ชะเนาะด ว ยขณะนำ สงโรงพยาบาล พิจารณาดามกระดูกทอนเล็กที่สามารถทำการดามในรถ ambulance ได รายงานศูนยสั่งการตามระบบ MIST หมายเหตุ

ระยะเวลาการดูแล ณ จุดเกิดเหตุ ภายใน 10 นาที

อุปกรณเปดทางเดินหายใจ oropharyngeal airway ลูกสูบยางแดง อุปกรณใหออกซิเจน pocket mask และถังออกซิเจน อุปกรณหา มเลือด และ Tourniquet อุปกรณดามกระดูก เฝอกดามคอชนิดแข็ง กระดานรองหลัง และอุปกรณยดึ ตรึงศีรษะ แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ MIST M: Mechanism of injury (กลไกการบาดเจ็บ) I: Injury found or suspected (การบาดเจ็บทีต่ รวจพบ) S: Signs and symptoms (อาการ และอาการแสดง) T: Treatment initiated (การรักษาทีไ่ ดใหแกผบู าดเจ็บ) ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

เอกสารอางอิง ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

แนวทางการประเมินดูแลผูบ าดเจ็บนอกโรงพยาบาล PHTLS 9th ATLS 10th

10


11

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


12

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน แนวทางการประเมินดูแลผูบาดเจ็บทั่วไปนอกโรงพยาบาล (Trauma) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. ผูบาดเจ็บทั่วไปนอกโรงพยาบาล (trauma)

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration) Scene Size – up BSI (body Substance Isolation) Universal Precaution การใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ตองมี การสวมอุปกรณปองกันใหครบถวนไมสัมผัสผูบาดเจ็บโดยตรง ใชอุปกรณปองกันอันตรายอยางเหมาะสมกอนเขาไป ชวยเหลือตามสถานการณ เชน ถุงมือ แวนตาปองกัน ผาปดปากและจมูก เสือ้ คลุม และอุปกรณปอ งกันสารเคมี เปนตน Scene safety การประเมินความปลอดภัยของที่เกิดเหตุ หามเขาพื้นที่เสี่ยงอันตราย เชน สารพิษ สารเคมี ไฟไหม กาซพิษ หรือมีความรุนแรงโดยเด็ดขาด จอดรถหางจากจุดเกิดเหตุประมาณ 30 เมตร อยูจุดที่สูงกวาจุดเกิดเหตุ อยูเหนือลมและใหรถหันหนาออกจากที่เกิดเหตุ MOI (Mechanism of injury) การประเมินผูบาดเจ็บตามกลไกการบาดเจ็บ Number of patients จำนวนผูบาดเจ็บ หากมีจำนวน 4 รายขึ้นไป แจงศูนยสั่งการรับทราบ Additional resources การรองขอความชวยเหลือจากแหลงสนับสนุนที่ตองการผานศูนยสั่งการ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ประเมินสถานการณ ณ จุดเกิดเหตุ พรอมสวมใสอุปกรณปองกัน เมื่อประเมินสถานการณมีความปลอดภัยจึงเริ่มใหการดูแลโดยการประเมินผูบาดเจ็บดังนี้

1 1.1 ประเมินระดับความรูสึกตัวแบงระดับดังนี้ A : Alert รูส กึ ตัวดี V : Response to voice ตอบสนองตอเสียงเรียก P : Response to pain ตอบสนองต อ ความเจ็ บ ปวด ( ใช ป ากกากดปลายเล็ บ ไม เ กิ น 10 วิ น าที ผูบาดเจ็บจะมีการตอบสนองรางกายหรือคำพูดหรือสงเสียงใหไดยนิ ) U : Unresponsive ไมตอบสนองตอสิง่ กระตุน

13

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


1.2 หากผูบาดเจ็บไมทีการตอบสนองใด ๆ ใหทำการประเมินชีพจร โดยการคลำชีพจรบริเวณขอมือ ขาหนีบและ ลำคอ ตามลำดับ (คลำไมเกิน 10 วินาที) 1.3 หากคลำไมพบชีพจรใหรายงานศูนยสั่งการ ทำการ CPR ตามแนวทางการกูชีพ OHCA protocol (เอกสารหมายเลข 4 ) ทันที * พรอมรายงานศูนยสั่งการ 1.4 กรณีสงสัยผูป ว ยมีภาวะ tension pneumothorax ( มีการบาดเจ็บบริเวณทรวงอก, jugular vein distension, หายใจผิดปกติ, คลำ trachea mid line shift , decrease breath sound ) ใหรายงานศูนยสั่งการเพื่อ พิจารณาทำ needle thoracocentesis 1.5 หากผูบ าดเจ็บไมรสู กึ ตัวแตคลำชีพจรได ใหประเมินบาดแผลทีท่ ำใหสญ ู เสียเลือดจำนวนมาก ( กลองขอความที่ 2) หมายเหตุ * หากผูบาดเจ็บพื้นคืนชีพหรือคลำชีพจรไดใหทำตามขั้นตอนตามลำดับ กรณีไมมีสัญญาณชีพกลับมาใหรีบสวมเฝอกดามคอชนิดแข็ง ใสกระดานรองหลัง และรีบนำขึ้นรถ ambulance เพื่อ CPR ตอในรถ ambulance (ใหระวังการหยุดนวดหัวใจไมควรเกิน 10 วินาที)

2 2.1 ประเมินบาดแผลที่มีเลือดพุงทั้งใน ผูบาดเจ็บที่รูสึกตัว ไมรูสึกตัวคลำชีจรพบ และไมรูสึกตัวคลำชีพจรไมพบ หากไมพบบาดแผลที่มีเลือดพุงออกมาตอเนื่องรุนแรงไมหยุดใหประเมินผูบาดเจ็บตอทางเดินหายใจตอ (กลองขอความที่ 3) 2.2 กรณี พ บบาดแผลที ่ ม ี เ ลื อ ดพุ  ง ออกมาต อ เนื ่ อ งรุ น แรงไม ห ยุ ด ให ท ำการห า มเลื อ ดโดยการกดป ด บาดแผล ดวยผากอซรวมกับผูย ดื พันแผล (Elastic bandage) กรณีเลือดหยุดไหล ใหประเมินผูบ าดเจ็บตอทางเดินหายใจตอ (กลองขอความที่ 3) 2.3 กรณีกดหามเลือดแลวเลือดไมหยุด หากเปนอวัยวะสวนรยางค คือ แขน ขา ใหทำการขันชะเนาะ (Tourniquet) หากเลือดหยุดไหล ใหประเมินผูบ าดเจ็บตอทางเดินหายใจตอ (กลองขอความที่ 3) หากไมหยุดไหล ชันชะเนาะ เหนือตำแหนงเดิมอีก 1 ตำแหนง และใหรายงานศูนยสั่งการเพื่อขอคำแนะนำกรณีเลือดไมหยุดไหล

3 3.1 กอนทำการประเมินทางเดินหายใจใหทำการประคองคอดวยมือปองกันการขยับเคลือ่ นกระดูกคอ (Manual in-line stabilization) 1 คน 3.2 ทำการประเมินทางเดินหายใจ ( A : airway ) โดยพิจารณาดังนี้ หายใจครืดคราดผิดปกติ มีสง่ิ แปลกปลอมในปาก มีเลือด / สารคัดหลัง่ ในทางเดินหายใจ Oropharyngeal airway ผูป ว ยสามารถตอบคำถามไดดี หรือไม (คุณชือ่ อะไร,เหตุการณเกิดขึน้ อยางไร) น้ำเสียงการพูดผิดปกติ คลายมีสง่ิ ขัดขวางทางเดินหายใจ 3.3 กรณีไมพบความผิดปกติใหประเมินการหายใจ (กลองขอความที่ 4) 3.4 กรณีทพ่ี บความผิดปกตใหดแู ลทางเดินหายใจขัน้ พืน้ ฐานดังนี้ nasopharyngeal airway การยกกระดูกกรามเปดทางเดินหายใจ (Jaw thrust) Suction, clear airway (ใชลกู สูบยางแดงดูดสารคัดหลัง่ ในชองปากหรือ เครือ่ ง suction)

14

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


นำสิง่ แปลกปลอมออกจากปากถามองเห็น ใชอปุ กรณเปดทางเดินหายใจขัน้ พืน้ ฐาน Oropharyngeal airway , nasopharyngeal airway พิจารณา Advance airway กรณีทไ่ี มสามารถ Protect airway ได (Endrotracheal tube , LMA) กรณีสามารถแกไขความผิดปกติได ใหประเมินการหายใจ (กลองขอความที่ 4) กรณีไมสามารถแกไขความผิดปกติไดใหรายงานศูนยสั่งการเพื่อขอคำแนะนำในการชวยเหลือ

4 4.1 การประเมินการหายใจ (B : Breathing) ประเมินผูบาดเจ็บ ดังนี้ ดู : การเคลื่อนไหวของทรวงอก วามีการขยับขึ้นลงตามการหายใจเขาและหายใจออกหรือไม นับ : อัตราการหายใจ คาปกติ 10-20 ครั้งตอนาที วัด : ระดับความเขมขนของออกซิเจนในเลือด (SpO2 ) คาปกติมากกวา 94% 4.2 หากประเมินการหายใจปกติ ใหไปประเมินการไหลเวียนโลหิตตอไป 4.3 หากประเมินการหายใจผิดปกติ ดังนี้ ไมหายใจหรือหายใจชา อัตรานอยกวา 10 ครัง้ ตอนาที รวมกับระดับความเขมขน ของออกซิเจนในเลือด (SpO2) นอยกวา 95 % ใหทำการชวยหายใจผาน bag mask device หายใจเร็ว อัตราการหายใจ 20-30 ครั้งตอนาที รวมกับระดับความเขมขนของออกซิเจนในเลือด (SpO2) นอยกวา 95 % ใหออกซิเจนทาง mask with bag flow 10 LPM ตามคำสั่งศูนยสั่งการ หายใจเร็วอัตราการหายใจมากกวา 30 ครั้งตอนาที ใหประสานกลับไปยังศูนยสั่งการ และประเมินซ้ำ หลังจากนั้นใหทำการประเมินการไหลเวียนโลหิต C :Circulation ตอไป 4.4 ประเมินการไหลเวียนโลหิต (C: circulation) ดังนี้ คลำชีพจร ที่บริเวณขอมือและตนคอ นับอัตราการเตนของหัวใจ ดูสีผิว และการคืนตัวของเลือดปลายนิ้วโดยการกดบริเวณปลายเล็บ 3 วินาที หากปกติจะคืนตัว ภายใน 2 วินาที bag mask device ประเมินอุณหภูมิกายโดยการสัมผัส 4.5 กรณีไมมีความผิดปกติของระบบการไหลเวียน ใหไปประเมินยังกลองขอความที่ 5 ตอ

5 5.1 การประเมินบาดแผลและใหความชวยเหลือดังนี้ กรณีแผลทีม่ เี ลือดไหลออกใหกดปดบาดแผล (Pressure dressing) ถาเลือดหยุดไหล ใหปด แผลและทำแผล หากเลือดยังไมหยุดไหล ใหแจงกลับไปยังศูนยสง่ั การเพือ่ ขอคำแนะนำ กรณีแผลทีไ่ มมเี ลือดไหลออก ใหเตรียมการนำสง ดังนี้ 5.2 ขัน้ ตอนการเตรียมนำสง ใสอปุ กรณดามกระดูกคอ (Cervical collar) พลิกตะแคงตัวผูบ าดเจ็บไมใหกระดูกสันหลังเคลือ่ นดวยวิธพี ลิกแบบทอนซุง (Log roll) นำผูบ าดเจ็บขึน้ บนกระดานรองหลัง ยึดตรึงศีรษะและลำตัวดวยอุปกรณยดึ ตรึง และนำผูบ าดเจ็บขึน้ รถฉุกเฉิน

15

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


5.3 การดูแลขณะนำสงสถานพยาบาล- ประเมินอัตราการหายใจ อัตราการเตนของหัวใจ ความเขมขน ออกซิเจนและความดันโลหิต ทุก 5 นาที พิจารณา Advance airway ในกรณีทไ่ี มสามารถProtect airwayขางตนได (Endotracheal Tube, LMA) ประเมินระบบประสาทเบือ้ งตน D : Disability ดวยระบบ Glasgow Coma Score และตรวจการตอบสนองรูมา นตา รวบรวมขอมูลของเหตุแลวแจงกลับไปยังศูนยสง่ั การพรอมรับคำสัง่ กรณีภาวะช็อค/เสียเลือดมาก ประเมินผลการกดปดแผลซ้ำ หากไมมปี ระสิทธิภาพใหกดปดบาดแผลใหมหรือทำการ ขันชะเนาะพรอมทัง้ บันทึกเวลาทีเ่ ริม่ ทำการขันชะเนาะดวย ขณะนำสงโรงพยาบาล หากสงสัยมีลกั ษณะผิดปกติบริเวณกระดูกเชิงกราน พิจารณาทำ Pelvic wrap ประเมินอาการผูป ว ยซ้ำขณะนำสงโรงพยาบาล 5-15 นาที พิจารณาดามกระดูกทอนเล็กทีส่ ามารถทำการดามในรถได รายงานศูนยสั่งการตามระบบ MIST หมายเหตุ

ระยะเวลาการดูแล ณ จุดเกิดเหตุ ภายใน 10 นาที

อุปกรณเปดทางเดินหายใจ oropharyngeal airway ลูกสูบยางแดง อุปกรณใหออกซิเจน pocket mask และถังออกซิเจน อุปกรณหา มเลือด และ Tourniquet อุปกรณดามกระดูก เฝอกดามคอชนิดแข็ง กระดานรองหลัง และอุปกรณยดึ ตรึงศีรษะ แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ MIST M: Mechanism of injury (กลไกการบาดเจ็บ) I: Injury found or suspected (การบาดเจ็บทีต่ รวจพบ) S: Signs and symptoms (อาการ และอาการแสดง) T: Treatment initiated (การรักษาทีไ่ ดใหแกผบู าดเจ็บ) เอกสารอางอิง แนวทางการประเมินดูแลผูบ าดเจ็บนอกโรงพยาบาล PHTLS 9th ATLS 10th ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

16

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


17

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


18

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน ผูบ าดเจ็บรุนแรง (Trauma) และสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain Injury) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับอำนวยการ

1. มีแผลเลือดออกไมหยุด หรือ ตองใชสายรัดขันชะเนาะ (Tourniquet) ในการหยุดเลือด 2. ความดันโลหิตตัวบนต่ำ (SBP < 90 mmHg) หรือ ซีด เหงือ่ ออก ตัวเย็น หรือ การคืนตัวของเลือดปลายนิ้ว (capillary refill) มากกวา 2 วินาที 3. หมดสติ ไมรูสึกตัว (U: unresponsive) หรือ ตอบสนองตอการกระตุนดวยความเจ็บปวด (P: response to pain)

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานทีเ่ กิดเหตุกอ นเขาชวยเหลือผูบ าดเจ็บ ไดแก สภาพการจราจร กระแสไฟฟา ควันไฟ ระเบิด สารเคมี การกอการราย ฯลฯ ที่จะสงผลอันตรายตอผูชวยเหลือ ผูบาดเจ็บมากกวา 4 ราย ใหใชคำสั่งแผนอุบัติภัยหมู (MCI) มีผูบาดเจ็บติดภายใน ใหประสานทีมตัดถาง

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) รับแจงเหตุ ซักประวัตคิ ำถามสำคัญและใหคำแนะนำเบือ้ งตนแกผแู จงเหตุ สัง่ การหนวยปฏิบตั กิ ารการแพทย ระดับพืน้ ฐาน และระดับสูง ใหออกปฏิบตั กิ ารรวมกัน รับรายงานจากหนวยปฏิบตั กิ ารการแพทย ตามระบบ MIST หากผูบ าดเจ็บมีอาการเขากับขอใดขอหนึง่ ดังตอไปนี้ มีแผลเลือดออกไมหยุด หรือ ตองใช Tourniquet ในการหยุดเลือด ความดันโลหิตตัวบนต่ำ (SBP < 90 mmHg) หรือ ซีด เหงือ่ ออก ตัวเย็น หรือ capillary refill มากกวา 2 วินาที หมดสติ ไมรสู กึ ตัว (U: unresponsive) หรือตอบสนองตอการกระตุน ดวยความเจ็บปวด (P: response to pain) หรือ Glasgow Coma Scale ≤≤ 8 ใหคำแนะนำในการดูแลผูบ าดเจ็บเพิม่ เติมตามสภาพผูบ าดเจ็บและศักยภาพของหนวยปฏิบตั กิ ารโดยไมใหเสียเวลานำสง กรณีผบู าดเจ็บรุนแรง (Trauma) ใหออกซิเจน โดยรักษาระดับออกซิเจนปลายนิว้ มากกวาหรือเทากับรอยละ 95 ใหสารน้ำ crystalloid (NSS, LRS) ครัง้ ละ 200-500 มิลลิลติ ร ภายใน 10 นาที และประเมินสัญญาณชีพซ้ำ กรณีสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain Injury) พิจารณาใส Advanced airway (ET tube, LMA) ดวยวิธี manual inline stabilization ใหออกซิเจน โดยรักษาระดับออกซิเจนปลายนิว้ มากกวาหรือเทากับรอยละ 95 ชวยหายใจ 20 ครัง้ /นาที (Hyperventilation) เมือ่ มีอาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increase intracranial pressure) หรือ ภาวะสมองเคลือ่ น (Brain herniation) เชน

19

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


รูมานตาสองขางมีขนาดไมเทากัน รูมานตาขยาย และไมตอบสนองตอแสง หรือ ตอบสนองตอการกระตุนดวยความเจ็บปวดในทาเหยียด หรือไมตอบสนองตอการกระตุน หรือ Glasgow Coma Scale ลดลงจากเดิมมากกวาหรือเทากับ 2 คะแนน ใหสารน้ำ crystalloid (NSS, LRS) รักษาระดับความดันโลหิต SBP ≥ 90 mmHg เฝาระวังการชัก เลือกโรงพยาบาลปลายทาง โดยพิจารณาตามสภาพผูบาดเจ็บ และศักยภาพของโรงพยาบาลปลายทาง ประสานงานโรงพยาบาลปลายทาง อุปกรณสอ่ื สาร แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ MIST M: Mechanism of injury (กลไกการบาดเจ็บ) I: Injury found or suspected (การบาดเจ็บทีต่ รวจพบ) S: Signs and symptoms (อาการ และอาการแสดง) T: Treatment initiated (การรักษาทีไ่ ดใหแกผบู าดเจ็บ) เอกสารอางอิง แนวทางประเมินผูบ าดเจ็บตามแนวทางการประเมินดูแลผูบ าดเจ็บนอกโรงพยาบาล PHTLS 9th แนวทางการชวยชีวิตผูบาดเจ็บขั้นสูง ATLS 10th ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

20

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


21

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน ผูบ าดเจ็บรุนแรง (Trauma) และสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain Injury) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

1. มีแผลเลือดออกไมหยุด หรือ ตองใชสายรัดขันชะเนาะ (Tourniquet) ในการหยุดเลือด 2. ความดันโลหิตตัวบนต่ำ (SBP < 90 mmHg) หรือ ซีด เหงือ่ ออก ตัวเย็น หรือ การคืนตัวของเลือดปลายนิ้ว (capillary refill) มากกวา 2 วินาที 3. หมดสติ ไมรูสึกตัว (U: unresponsive) หรือ ตอบสนองตอการกระตุนดวยความเจ็บปวด (P: response to pain)

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานทีเ่ กิดเหตุกอ นเขาชวยเหลือผูบ าดเจ็บ ไดแก สภาพการจราจร กระแสไฟฟา ควันไฟ ระเบิด สารเคมี การกอการราย ฯลฯ ที่จะสงผลอันตรายตอผูชวยเหลือ ผูบาดเจ็บมากกวา 4 ราย หรือมีผูบาดเจ็บติดภายใน ใหรายงานศูนยสั่งการ ใหการพยาบาลเบื้องตนโดยใชระยะเวลา ณ จุดเกิดเหตุ ไมเกิน 10 นาที

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment)

สวมอุปกรณปอ งกันตนเอง ประเมินผูบ าดเจ็บตามแนวทางการประเมินดูแลผูบ าดเจ็บนอกโรงพยาบาล รายงานศูนยสง่ั การตามระบบ MIST แจงศูนยสง่ั การเมือ่ ผูบ าดเจ็บมีอาการเขากับขอใดขอหนึง่ ดังตอไปนี้ มีแผลเลือดออกไมหยุด หรือ ตองใชสายรัดขันชะเนาะ (Tourniquet) ในการหยุดเลือด ความดันโลหิตตัวบนต่ำ (SBP < 90 mmHg) หรือ ซีด เหงื่อออก ตัวเย็น หรือการคืนตัวของเลือดปลายนิ้ว (capillary refill) มากกวา 2 วินาที หมดสติ ไมรสู กึ ตัว (U: unresponsive) หรือตอบสนองตอการกระตุน ดวยความเจ็บปวด (P: response to pain) เคลือ่ นยายผูบ าดเจ็บจากจุดเกิดเหตุ และสงตอใหแกหนวยปฏิบตั กิ ารการแพทย ระดับสูง ประเมินผูบ าดเจ็บซ้ำเปนระยะขณะนำสง อุปกรณเปดทางเดินหายใจ ลูกสูบยางแดง อุปกรณใหออกซิเจน และถังออกซิเจน อุปกรณหา มเลือด และ Tourniquet อุปกรณดามกระดูก เฝอกดามคอชนิดแข็ง กระดานรองหลัง และอุปกรณยดึ ตรึงศีรษะ อุปกรณสอ่ื สาร แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ MIST M : Mechanism of injury (กลไกการบาดเจ็บ) I : Injury found or suspected (การบาดเจ็บทีต่ รวจพบ) S : Signs and symptoms (อาการ และอาการแสดง) T : Treatment initiated (การรักษาทีไ่ ดใหแกผบู าดเจ็บ) เอกสารอางอิง แนวทางประเมินผูบ าดเจ็บตามแนวทางการประเมินดูแลผูบ าดเจ็บนอกโรงพยาบาล PHTLS 9th ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

22

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


23

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน ผูบ าดเจ็บรุนแรง (Trauma) และสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain Injury) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

1. มีแผลเลือดออกไมหยุด หรือ ตองใชสายรัดขันชะเนาะ (Tourniquet) ในการหยุดเลือด 2. ความดันโลหิตตัวบนต่ำ (SBP < 90 mmHg) หรือ ซีด เหงือ่ ออก ตัวเย็น หรือ การคืนตัวของเลือดปลายนิ้ว (capillary refill) มากกวา 2 วินาที 3. หมดสติ ไมรูสึกตัว (U: unresponsive) หรือ ตอบสนองตอการกระตุนดวยความเจ็บปวด (P: response to pain)

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานทีเ่ กิดเหตุกอ นเขาชวยเหลือผูบ าดเจ็บ ไดแก สภาพการจราจร กระแสไฟฟา ควันไฟ ระเบิด สารเคมี การกอการราย ฯลฯ ที่จะสงผลอันตรายตอผูชวยเหลือ ผูบาดเจ็บมากกวา 4 ราย หรือมีผูบาดเจ็บติดภายใน ใหรายงานศูนยสั่งการ ใหการพยาบาลเบื้องตนโดยใชระยะเวลา ณ จุดเกิดเหตุ ไมเกิน 10 นาที

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment)

สวมอุปกรณปอ งกันตนเอง ประเมินผูบ าดเจ็บตามแนวทางการประเมินดูแลผูบ าดเจ็บนอกโรงพยาบาล รายงานศูนยสง่ั การตามระบบ MIST แจงศูนยสง่ั การเมือ่ ผูบ าดเจ็บมีอาการเขากับขอใดขอหนึง่ ดังตอไปนี้ มีแผลเลือดออกไมหยุด หรือ ตองใชสายรัดขันชะเนาะ (Tourniquet) ในการหยุดเลือด ความดันโลหิตตัวบนต่ำ (SBP < 90 mmHg) หรือ ซีด เหงือ่ ออก ตัวเย็น หรือ capillary refill มากกวา 2 วินาที หมดสติ ไมรสู กึ ตัว (U: unresponsive) หรือตอบสนองตอการกระตุน ดวยความเจ็บปวด (P: response to pain) หรือ Glasgow Coma Scale ≤≤ 8 ใหรายงานศูนยสง่ั การ และใหการพยาบาลตามศักยภาพของหนวยปฏิบตั กิ ารโดยไมใหเสียเวลานำสง กรณีผบู าดเจ็บรุนแรง (Trauma) ใหออกซิเจน โดยรักษาระดับออกซิเจนปลายนิว้ มากกวาหรือเทากับรอยละ 95 ใหสารน้ำ crystalloid (NSS, LRS) ครัง้ ละ 200-500 มิลลิลติ ร ภายใน 10 นาที และประเมินสัญญาณชีพซ้ำ เก็บตัวอยางเลือดเพือ่ สงตรวจ (CBC, BUN, Creatinine, Electrolyte, Coagulogram, Cross matching) และตรวจระดับน้ำตาลปลายนิว้ กรณีสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain Injury) พิจารณาใส Advanced airway (ET tube, LMA) ดวยวิธี manual inline stabilization ใหออกซิเจน โดยรักษาระดับออกซิเจนปลายนิว้ มากกวาหรือเทากับรอยละ 95 ชวยหายใจ 20 ครัง้ /นาที (Hyperventilation) เมือ่ มีอาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increase intracranial pressure) หรือ ภาวะสมองเคลือ่ น (Brain herniation) เชน

24

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


รูมานตาสองขางมีขนาดไมเทากัน รูมานตาขยาย และไมตอบสนองตอแสง หรือ ตอบสนองตอการกระตุนดวยความเจ็บปวดในทาเหยียด หรือไมตอบสนองตอการกระตุน หรือ Glasgow Coma Scale ลดลงจากเดิมมากกวาหรือเทากับ 2 คะแนน ใหสารน้ำ crystalloid (NSS, LRS) รักษาระดับความดันโลหิต SBP ≥ 90 mmHg เฝาระวังการชัก เก็บตัวอยางเลือดเพื่อสงตรวจ (CBC, BUN, Creatinine, Electrolyte, Coagulogram, Cross matching) ตรวจระดับน้ำตาลปลายนิ้ว (80-180 mg%) เฝาระวังการชัก ขอคำสั่งศูนยสั่งการเพื่อนำสงโรงพยาบาลปลายทางที่เหมาะสม ตรวจและประเมินผูบาดเจ็บอยางละเอียด (Secondary survey) ประเมินผูบาดเจ็บซ้ำโดยการวัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที ขณะนำสง อุปกรณเปดทางเดินหายใจ เครือ่ งดูดสุญญากาศ Magill’s forceps อุปกรณใหออกซิเจน และถังออกซิเจน อุปกรณใหสารน้ำ สารน้ำ crystalloid อุปกรณหา มเลือด และ Tourniquet ไฟฉาย หลอดเก็บสิง่ สงตรวจ และเครือ่ งตรวจระดับน้ำตาลปลายนิว้ อุปกรณดามกระดูก เฝอกดามคอชนิดแข็ง กระดานรองหลัง และอุปกรณยดึ ตรึงศีรษะ อุปกรณสอ่ื สาร แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ MIST M: Mechanism of injury (กลไกการบาดเจ็บ) I: Injury found or suspected (การบาดเจ็บทีต่ รวจพบ) S: Signs and symptoms (อาการ และอาการแสดง) T: Treatment initiated (การรักษาทีไ่ ดใหแกผบู าดเจ็บ) เอกสารอางอิง แนวทางประเมินผูบ าดเจ็บตามแนวทางการประเมินดูแลผูบ าดเจ็บนอกโรงพยาบาล PHTLS 9th แนวทางการชวยชีวิตผูบาดเจ็บขั้นสูง ATLS 10th ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

25

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


26

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน หัวใจหยุดเตนนอกโรงพยาบาล (Out-of-Hospital Cardiac arrest;OHCA) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับอำนวยการ

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. หมดสติ 2. เรียกไมรสู กึ ตัว 3. หายใจเฮือก

รวมกับ ไมมชี พี จร

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

กรณีสงสัย อุบัติเหตุ ใหใส hard collar กรณีทำ Advanced CPR 30 นาที ยังเปน Asystole/PEA พิจารณาหยุด โดยใหคำอธิบายแกญาติ และปฏิบัติ ตามแนวทางการประกาศการเสียชีวิตนอกโรงพยาบาล ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ และความเหมาะสมของสถานที่ชวยฟนคืนชีพ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) เมื่อไดรับแจงเหตุ ผูปวยอาการเขาไดกับภาวะหัวใจหยุดเตน ไดแก หมดสติ เรียกไมรูสึกตัว หายใจเฮือกรวมกับ ไมมีชีพจร ใหสั่งการหนวยปฏิบัติการทางการแพทยระดับสูงออกเหตุ กรณีพน้ื ทีเ่ กิดเหตุมหี นวยปฏิบตั กิ ารระดับพืน้ ฐานอยูใ กล ใหสง่ั การออกเหตุรว ม หนวยปฏิบตั กิ ารทางการแพทยระดับพืน้ ฐานและระดับสูงประเมินอาการและการรักษาผูป ว ยตามมาตรฐาน BLS ALS หนวยปฏิบัติการประสานศูนยสั่งการ ตามรูปแบบดังนี้ ผูปวยเพศ อายุ โรคประจำตัว อาการ/การบาดเจ็บ เวลาที่ ใชในการ CPR การไดรับหรือไมไดรับการช็อกไฟฟาหัวใจ และสัญญาณชีพ ลาสุด กอนนำสง ศูนยสง่ั การเปนผูป ระสานสงตอขอมูลใหโรงพยาบาลปลายทาง ตามรูปแบบการรายงาน

รูปแบบการรายงาน 1. เพศ,อายุ 2. โรคประจำตัว 3. อาการ/การบาดเจ็บ 4. ระยะเวลาการทำ CPR 5. การช็อคไฟฟาหัวใจ ไดรับ................ครั้ง 6. สัญญาณชีพลาสุด

ไมไดรับ

ยา/หัตถการ/ทรัพยากร แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รูปแบบการรายงาน คูม อื การชวยชีวติ ขัน้ สูง สำหรับบุคลากรทางการแพทย ป ค.ศ.2015 เอกสารอางอิง ISBN 978-616-8023-03-7 ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

27

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


28

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน หัวใจหยุดเตนนอกโรงพยาบาล (Out-of-Hospital Cardiac arrest;OHCA) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. หมดสติ 2. เรียกไมรสู กึ ตัว 3. หายใจเฮือก

รวมกับ ไมมชี พี จร

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

กรณีสงสัย อุบัติเหตุ ใหใส hard collar ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ และความเหมาะสมของสถานที่ชวยฟนคืนชีพ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ประเมินการตอบสนองของผูปวย โดยการตบบริเวณไหลของผูปวย พรอมทั้งปลุกผูปวยดวยเสียงดัง ตรวจดู การหายใจและคลำชีพจรใหทำไปพรอมๆ กัน ใหตรวจดูการหายใจวา หยุดหายใจหรือมีการหายใจผิดปกติ เชน หายใจเฮือก โดยการมองดูวามีการขยับขึ้น-ลงของหนาอกหรือไม ในเวลา 5-10 วินาที การคลำชีพจร บริเวณหลอดเลือดแดงขางลำคอ (carotid artery) ใหใชเวลา 5-10 วินาที ถาพบวาผูปวยหมดสติ เรียกไมรูสึกตัว หายใจเฮือกรวมกับคลำแลวไมมีชีพจรภายใน 10 วินาที ใหเริ่มชวยชีวิตโดยการกดหนาอก (CPR) ตามดวยการ ชวยหายใจอยางมีประสิทธิภาพใหเร็วที่สุดรวมกับการใสกระดานรองหลัง และนำเครื่อง AED ติดผูปวย (ถามี) การทำ CPR อยางมีประสิทธิภาพประกอบดวย กดหนาอกลึกอยางนอย 2 นิ้วหรือ 5 เซนติเมตร แตไมควรเกิน 6 เซนติเมตร กดหนาอกดวยอัตราเร็ว 100-120 ครั้งตอนาที ขัดจังหวะการกดหนาอกใหนอยทีสุด ไมเกิน 10 วินาที หลีกเลี่ยงการชวยหายใจที่มากเกินไป ใหทำการกดหนาอกสลับกับการชวยหายใจในอัตราสวน กดหนาอก 30 ครั้ง ตอชวยหายใจ 2 ครั้ง (นับเปน 1 รอบ) เปลี่ยนคนกดหนาอกทุก 5 รอบ หรือถาคนกดหนาอกหมดแรงสามารถเปลี่ยนคนกดกอนได หากเครื่อง AED ตรวจสอบวาจังหวะการเตนของหัวใจนั้นสามารถช็อกได ใหทำการช็อกไฟฟาหัวใจใหเร็วที่สุด โดยสามารถหยุดทำการกดหนาอกไมเกิน 10 วินาที จากนั้นใหรีบ ทำการ CPR ตออีก 5 รอบ เมื่อทำ CPR ครบ 5 รอบ ใหรีบกลับมาประเมินผูปวยอีกครั้งดวยการคลำชีพจรไมเกิน 10 วินาทีและ ใหเครื่อง AED ตรวจสอบวาจังหวะการเตนของหัวใจวาสามารถช็อกไดหรือไม หากยังสามารถช็อกได และผูปวยยังไมมีชีพจรใหทำการช็อกไฟฟาหัวใจอีก ตามดวย CPR ตออีก 5 รอบทันที

29

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


หากเครื่อง AED ตรวจสอบวาจังหวะการเตนของหัวใจนั้นไมสามารถช็อกไดใหกดหนาอกตอจนครบ 5 รอบและประเมินชีพจรซ้ำ กรณีสงสัยอุบัติเหตุใหใส hard collar ทุกครั้ง แจงศูนยสั่งการ , นำสงโรงพยาบาลปลายทาง โดยรายงาน ผูปวยเพศ อายุ โรคประจำตัว อาการ/การบาดเจ็บ ระยะเวลาการทำ CPR การไดรับหรือไมไดรับการช็อกไฟฟาหัวใจ สัญญาณชีพลาสุด หยุดการกดหัวใจเมื่อมีชุดปฏิบัติการระดับสูงรับชวงตอ

รูปแบบการรายงาน 1. เพศ,อายุ 2. โรคประจำตัว 3. อาการ/การบาดเจ็บ 4. ระยะเวลาการทำ CPR 5. การช็อคไฟฟาหัวใจ ไดรับ................ครั้ง 6. สัญญาณชีพลาสุด

ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

ไมไดรับ

กดหนาอกคุณภาพ • ลึกอยางนอย 2 นิว้ หรือ 5 เซนติเมตร แตไมควรเกิน 6 เซนติเมตร • กดหนาอกดวยอัตราเร็ว 100-120 ครัง้ ตอนาที • ขัดจังหวะการกดหนาอกใหนอ ยทีสดุ < 10 วินาที • หลีกเลีย่ งการชวยหายใจทีม่ ากเกินไป • เปลีย่ นคนกดหนาอกทุก 2 นาที

แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รูปแบบการรายงาน

เอกสารอางอิง

คูมือการชวยชีวิตขั้นสูง สำหรับบุคลากรทางการแพทย ป ค.ศ.2015 ISBN 978-616-8023-03-7

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

30

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


31

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน หัวใจหยุดเตนนอกโรงพยาบาล (Out-of-Hospital Cardiac arrest;OHCA) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. หมดสติ 2. เรียกไมรสู กึ ตัว 3. หายใจเฮือก

รวมกับ ไมมชี พี จร

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

กรณีสงสัย อุบัติเหตุ ใหใส hard collar กรณีทำ Advanced CPR 30 นาที ยังเปน Asystole/PEA พิจารณาหยุด โดยใหคำอธิบายแกญาติ และปฏิบัติ ตามแนวทางการประกาศการเสียชีวิตนอกโรงพยาบาล ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ และความเหมาะสมของสถานที่ชวยฟนคืนชีพ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ประเมินการตอบสนองของผูป ว ย โดยการตบบริเวณไหลของผูป ว ย พรอมทัง้ ปลุกผูป ว ยดวยเสียงดัง ตรวจดูการหายใจ และคลำชีพจรหลอดเลือดแดงขางลำคอ (carotid artery) โดยใชเวลา 5-10 วินาที หากพบวาผูปวยหมดสติ ใหเริ่มชวยชีวิตโดยการทำ high quality CPR โดยการกดหนาอกตามดวยการชวยหายใจอยางมีประสิทธิภาพ ใหเร็วที่สุดใส spinal board ใหออกซิเจน 100% รีบนำเครื่อง AED หรือ defibrillator มาใหเร็วที่สุดเพื่อวิเคราะห ภาพคลื่นไฟฟาหัวใจวาตองช็อกไฟฟา(defibrillation) หรือไม การทำ CPR อยางมีประสิทธิภาพประกอบดวย กดหนาอกลึกอยางนอย 2 นิ้วหรือ 5 เซนติเมตร แตไมควรเกิน 6 เซนติเมตร กดหนาอกดวยอัตราเร็ว 100-120 ครั้งตอนาที ขัดจังหวะการกดหนาอกใหนอยทีสุด หลีกเลี่ยงการชวยหายใจที่มากเกินไป เปลี่ยนคนกดหนาอกทุก 2 นาที หรือถาคนกดหนาอกหมดแรงสามารถเปลี่ยนคนกดกอนได ในกรณีที่ไมไดใสทอหายใจ ใหทำการกดหนาอกสลับกับการชวยหายใจในอัตราสวน กดหนาอก 30 ครั้ง ตอชวยหายใจ 2 ครั้ง นับเปน 1 รอบ เปลี่ยนคนกดหนาอกทุก 5 รอบ ในกรณีที่ใสทอหายใจแลว ใหทำการกดหนาอกอยางตอเนื่อง 100-120 ครั้งตอนาที แยกกับการชวยหายใจ ทุก 6 วินาที (10 ครั้งตอนาที) หากมีการใช quantitative waveform capnography แลวพบวาคา PETCO2 < 10 mmHg ใหปรับปรุง คุณภาพการทำ CPR

32

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


ถาภาพคลื่นไฟฟาหัวใจเปน VF/pulseless VTหรือหากเครื่อง AED ตรวจสอบวาจังหวะการเตน ของหัวใจนั้นสามารถช็อกได a) ใหทำการช็อกไฟฟาหัวใจใหเร็วที่สุด โดยสามารถหยุดทำการกดหนาอกไมเกิน 10 วินาที จากนั้นใหรีบทำการ กดหนาอกตออีก 2 นาที (ระหวางเตรียมเครือ่ ง defibrillator ควรทำการกดหนาอกจนกวาจะพรอมปลอยกระแสไฟฟา) ควรทำการเปดหลอดเลือดโดยอาจเปน peripheral IV พลังงานในการช็อกไฟฟาหัวใจ defibrillation สำหรับ biphasic waveform ใหใชพลังงานทีบ่ ริษทั ผูผ ลิตแนะนำ ประมาณ 120-200 J แตหากไมทราบใหใชพลังงาน สูงสุดที่มีในเครื่องนั้น สวนเครื่อง monophasic waveform ใหใชขนาดพลังงาน 360 J b) เมื่อทำ CPR ครบ 2 นาที ใหรีบกลับมาประเมินผูปวยอีกครั้งวาภาพคลื่นไฟฟาหัวใจจำเปนตองช็อกไฟฟาหรือ ไมพรอมกับคลำชีพจรใชเวลาไมเกิน 10 วินาที หากยังเปน VF/pulseless VT ใหทำการช็อกไฟฟาหัวใจอีก และควรเพิม่ พลังงานหากยังไมไดใชพลังงานสูงสุดในตอนแรก โดยระหวางรอประจุพลังงานใหทำการกดหนาอก จนกวาเครื่อง defibrillator จะพรอม c) หลังการช็อกไฟฟาหัวใจครั้งที่ 2 ใหทำการกดหนาอกทันทีตออีก 2 นาที และใหยา epinephrine 1 mg IV ทุก 3-5 นาที พิจารณาใส advanced airway และติด waveform capnograph เพื่อยืนยันตำแหนงของทอ หายใจวาถูกตองหรือไม แตจะตองไมหยุดการกดหนาอก หากไมสามารถใสทอหายใจไดใหทำการชวยหายใจ ดวยการทำ Positive pressure ventilation ไปกอน หลังจากการกดหนาอกครบ 2 นาที ใหรบี กลับมาประเมินภาพ คลืน่ ไฟฟาหัวใจอีกครัง้ วาจำเปนตองช็อกไฟฟาหรือไม พรอมกับคลำชีพจรใชเวลาไมเกิน 10 วินาที หากยังเปน VF/pulseless VT ใหทำการช็อกไฟฟาหัวใจ ตามดวยการกดหนาอกทันทีอีก 2 นาที d) หลังการช็อกไฟฟาหัวใจครั้งที่ 3 รีบกดหนาอกตอทันที และใหยา amiodarone 300 mg IV bolus เนื่องจาก เปนภาวะ refractory VF/pulseless VT พรอมทัง้ พิจารณาหาสาเหตุ 5H 5T เมือ่ ทำ CPR ครบ 2 นาทีใหวน กลับไปยังขัน้ ตอนที่ 2.2 ตอไป สำหรับยา amiodarone ถาจะตองใหเปนครัง้ ที่ 2 ใหใชขนาด 150 mg IV bolus โดยควรใหหางจาก dose แรก 5-10 นาที หรือใหยาหลังการช็อกครั้งที่ 5 **ระหวางการวิเคราะหภาพคลื่นไฟฟาหัวใจพรอมกับคลำชีพจรหากพบวาคลื่นไฟฟาหัวใจไมเปน VF/pulseless VT และยังคงไมมีชีพจร ใหเปลี่ยนไปรักษาตามแนวทางของ asystole/PEA แตหากคลำไดวามีชีพจร แสดงวาผูปวย กลับมามีสัญญาณชีพ (ROSC) ใหเริ่มรักษาตามแนวทางการดูแลผูปวยหลังภาวะหัวใจหยุดเตน ถาคลืน่ ไฟฟาหัวใจเปน asystole/PEA หรือหากเครือ่ ง AED ตรวจสอบวาจังหวะการเตนของหัวใจนัน้ ไมสามารถช็อกได a) ใหทำการกดหนาอกอยางตอเนื่องและทำการเปดหลอดเลือดดำ ใหยา epinephrine 1 mg ทุก 3-5 นาที พิจารณาใส advanced airway และติด waveform capnograph เพือ่ ยืนยันตำแหนงของทอหายใจวาถูกตองหรือไม โดยยอมใหหยุดกดหนาอกไดไมเกิน 10 วินาที แตหากสาเหตุของ cardiac arrest เปนปญหาเรือ่ งทางเดินหายใจ เชน anaphylaxis จมน้ำ อาจพิจารณาใส advance airway เร็วขึ้นเพื่อแกไขสาเหตุของ cardiac arrest b) วิเคราะหภาพคลื่นไฟฟาหัวใจวาตองช็อกไฟฟา (defibrillation) หรือไมพรอมกับคลำชีพจรไมเกิน 10 วินาที ถาพบวาเปน asystole/PEA ใหทำ CPR ตอไปอีก 2 นาทีพรอมทั้งตรวจหาและแกไขสาเหตุ 5H 5T c) วิเคราะหภาพคลื่นไฟฟาหัวใจวาตองช็อกไฟฟาหรือไมพรอมกับคลำชีพจรไมเกิน 10 วินาที ถาผูปวยยังไมมี ชีพจรและเปน asystole/PEA ใหยอนกลับไปขั้นตอนที่ 4 a) ทำการ CPR ตอ

33

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


d) ระหวางทำการวิเคราะหภาพคลื่นไฟฟาหัวใจพรอมกับคลำชีพจร หากพบวายังคงไมมีชีพจร และภาพคลื่นไฟฟาหัวใจเปลี่ยนเปน VF/pulseless VT ใหเปลี่ยนไปรักษาตามแนวทางของ VF/pulseless VT แตหากคลำไดวามีชีพจร แสดงวาผูปวยกลับมามีสัญญาณชีพ (ROSC) ใหเริ่มรักษาตาม แนวทางการดูแลผูปวยหลังภาวะหัวใจหยุดเตน แจงศูนยสั่งการและนำสงโรงพยาบาลปลายทาง โดยรายงาน ผูปวยเพศ อายุ โรคประจำตัว อาการ/การบาดเจ็บ ระยะเวลาการทำ CPR การไดรับหรือไมไดรับการช็อกไฟฟาหัวใจ สัญญาณชีพลาสุด หมายเหตุ

1. ROSC ไดแก การคลำชีพจรไดชวงที่ไมทำการกดหนาอก ระดับ PETCO2 ≥ 40 mmHg มี spontaneous arterial pressure wave 2. ระหวางการชวยเหลือผูปวยจะตองหาสาเหตุที่เปนไปไดพรอมกัน ตามประวัติและขอมูลที่มีอยูและรีบใหการรักษาเบื้องตน 3. กรณีทำ Avanced CPR 30 นาที ยังเปน Asystole/PEA พิจารณาหยุดโดยใหคำอธิบายแกญาติ และปฏิบัติตามแนวทางการประกาศ การเสียชีวิตนอกโรงพยาบาล 4. สาเหตุของหัวใจหยุดเตน 5H 5T ไดแก hypovolemia, hypoxia, hydrogen ion (acidosis), hypo/hyperkalemia, hypothermia, hypoglycaemia (ในเด็ก), acute myocardial infarction, pulmonary embolism, cardiac tamponade, tension pneumothorax, toxin

รูปแบบการรายงาน 1. เพศ,อายุ 2. โรคประจำตัว 3. อาการ/การบาดเจ็บ 4. ระยะเวลาการทำ CPR 5. การช็อคไฟฟาหัวใจ ไดรับ................ครั้ง 6. สัญญาณชีพลาสุด

ไมไดรับ

Adrenaline 1 mg iv ทุก 3-5 นาที Amiodarone rfi st dose 300 mg IV bolus, second dose 150 mg iv bolus หางจาก dose แรก 5-10 นาที แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รูปแบบการรายงาน เอกสารอางอิง คูมือการชวยชีวิตขั้นสูง สำหรับบุคลากรทางการแพทย ป ค.ศ.2015 ISBN 978-616-8023-03-7 ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

34

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


35

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การประกาศเสียชีวิต declare death หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับอำนวยการ

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. หมดสติ ไมรสู กึ ตัว ไมตอบสนอง 2. คลำชีพจรไมได

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานการณโดยหลักทั่วไป

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment)

เมือ่ ไดรบั แจงผูป ว ยไมรสู กึ ตัว หรือคลำชีพจรไมได ใหแจงหนวยปฏิบตั กิ ารในพืน้ ทีอ่ อกตรวจสอบเหตุ กรณี BLS อยูใ กลใหออกตรวจสอบเหตุกอ น พรอมสัง่ การ ALS ออกเหตุรว ม ใหประเมินผูป ว ยดังตอไปนี้ อาการแสดงของการเสียชีวติ ไดแก รางกายเนาเปอ ย อาจเห็นสีเขียวเกิดขึน้ ทีท่ อ งนอย เสนเลือดเกิดสีเขียวคล้ำเปนลายคลายหินออน ทองอืด ผิวหนังโปงตึง ลอก สงกลิน่ เหม็น พบการเเข็งตัวของกลามเนือ้ (rigor mortis) โดยจะพบการแข็งเกร็งของกลามเนือ้ ขนาดเล็กกอน เชน ขากรรไกร นิว้ มือ ตอมาจะลามทัว่ ตัว พบเลือดตกตามแรงโนมถวง (livor mortis) พบสีแดงคล้ำของผิวหนังในสวนทีอ่ ยูต ำ่ เชนบริเวณหลังถา ผูป ว ยนอนหงาย อาจพบผิวหนังสีซดี ตามรอยกด แนวการรัดของเสือ้ ผา ผูป ว ยมีคำสัง่ ปฏิเสธการกูช พี (DNR) เชน ผูป ว ยมีเอกสารเปนลายลักษณอกั ษรชัดเจนในการปฏิเสธการกูช พี หรือ กรณีไมมเี อกสารยืนยัน แตญาติสายตรงแจงวาผูป ว ยไดแจงเจตนาในการปฏิเสธการกูช พี และญาติ สายตรงลงนามในเอกสารปฏิเสธการกูช พี กรณี สาเหตุจากบาดเจ็บ (Trauma) ไดแก พบหัวหรือตัวขาด ไหมเกรียมทัง้ ตัว ชิน้ สวนของหัวใจออกมานอกรางกาย เมือ่ ALS ยืนยันการเสียชีวติ หรือไดทำการกูช พี ตามแนวทางการกูช พี ขัน้ สูง (ACLS algorithm) เปนเวลา 30 นาที ยังไมมชี พี จร และคลืน่ ไฟฟาหัวใจเปน non shockable rhythm (PEA/Asystole) ใหทมี ALS ประกาศการเสียชีวติ หลังไดรบั แจงจากหนวย ALS ประกาศยืนยันการเสียชีวติ ศูนยสง่ั การมีหนาทีแ่ จงผูเ กีย่ วของ ไดแก เจาหนาทีต่ ำรวจ และนิตเิ วช ตอไป กรณีญาติ ยืนยันใหชว ยชีวติ ไมตอ งการใหหยุด ใหดำเนินการชวยชีวติ ตอตามแนวทางหัวใจหยุดเตนนอกโรงพยาบาล (OHCA Protocol) เอกสารหมายเลข 4 และนำสงโรงพยาบาล ไมมี ยา/หัตถการ/ทรัพยากร แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ เพศ อายุ อาการแสดงของการเสียชีวติ ทีพ่ บ เวลาประกาศการเสียชีวติ ระยะเวลาการตายและการเปลีย่ นแปลงหลังตาย โดย พลตำรวจตรี เลีย้ ง หุยประเสริฐ พบ.,อว. เอกสารอางอิง (นิตเิ วชศาสตร) ผูบ งั คับการ สถาบันนิตเิ วชวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

36

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


37

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การประกาศเสียชีวิต declare death หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. หมดสติ ไมรสู กึ ตัว ไมตอบสนอง 2. คลำชีพจรไมได

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานการณโดยหลักทั่วไป

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) เมือ่ พบผูป ว ย หมดสติ ไมรสู กึ ตัว ไมตอบสนอง คลำชีพจรไมได และไมทราบเวลาทีแ่ นนอน ถาพบอาการแสดง ของการเสียชีวติ ทีแ่ นชดั ใหตดิ ตอศูนยสง่ั การ อาการแสดงของการเสียชีวติ ไดแก รางกายเนาเปอ ย อาจเห็นสีเขียวเกิดขึน้ ทีท่ อ งนอย เสนเลือดเกิดสีเขียวคล้ำเปนลายคลายหินออน ทองอืด ผิวหนังโปงตึง ลอก สงกลิน่ เหม็น พบการเเข็งตัวของกลามเนือ้ (rigor mortis) โดยจะพบการแข็งเกร็งของกลามเนือ้ ขนาดเล็กกอน เชน ขากรรไกร นิว้ มือ ตอมาจะลามทัว่ ตัว พบเลือดตกตามแรงโนมถวง (livor mortis) พบสีแดงคล้ำของผิวหนังในสวนทีอ่ ยูต ำ่ เชนบริเวณหลังถา ผูป ว ยนอนหงายอาจพบผิวหนังสีซดี ตามรอยกด แนวการรัดของเสือ้ ผา ผูป ว ยมีคำสัง่ ปฏิเสธการกูช พี (DNR) เชน ผูป ว ยมีเอกสารเปนลายลักษณอกั ษรชัดเจนในการปฏิเสธการกูช พี หรือ กรณีไมมเี อกสารยืนยัน แตญาติสายตรงแจงวาผูป ว ยไดแจงเจตนาในการปฏิเสธการกูช พี และญาติ สายตรงลงนามในเอกสารปฏิเสธการกูช พี กรณี สาเหตุจากบาดเจ็บ (Trauma) พบหัวหรือตัวขาด ไหมเกรียมทัง้ ตัว ชิน้ สวนของหัวใจออกมานอกรางกาย กรณีญาติ ยืนยันใหชว ยชีวติ ไมตอ งการใหหยุด ใหดำเนินการชวยชีวติ ตอตามแนวทางหัวใจหยุดเตนนอกโรงพยาบาล (OHCA protocol) เอกสารหมายเลข 4 และนำสงโรงพยาบาล ยา/หัตถการ/ทรัพยากร เครือ่ งติดตามการทำงานของหัวใจ (Monitor) แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ เพศ อายุ อาการแสดงของการเสียชีวติ ทีพ่ บ เวลาประกาศการเสียชีวติ คูม อื การชวยชีวติ ขัน้ สูง สำหรับบุคลากรทางการแพทย ป ค.ศ.2015 ISBN 978-616-8023-03-7 เอกสารอางอิง ระยะเวลาการตายและการเปลีย่ นแปลงหลังตาย โดย พลตำรวจตรี เลีย้ ง หุยประเสริฐ พบ.,อว.(นิตเิ วชศาสตร) ผูบ งั คับการ สถาบันนิตเิ วชวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

38

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


39

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การประกาศเสียชีวิต declare death หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. หมดสติ ไมรสู กึ ตัว ไมตอบสนอง 2. คลำชีพจรไมได

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานการณโดยหลักทั่วไป

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) เมือ่ พบผูป ว ย หมดสติ ไมรสู กึ ตัว ไมตอบสนอง คลำชีพจรไมได และไมทราบเวลาทีแ่ นนอน ถาพบอาการแสดง ของการเสียชีวติ ทีแ่ นชดั ใหตดิ ตอศูนยสง่ั การ อาการแสดงของการเสียชีวติ ไดแก รางกายเนาเปอ ย อาจเห็นสีเขียวเกิดขึน้ ทีท่ อ งนอย เสนเลือดเกิดสีเขียวคล้ำเปนลายคลายหินออน ทองอืด ผิวหนังโปงตึง ลอก สงกลิน่ เหม็น พบการเเข็งตัวของกลามเนือ้ (rigor mortis) โดยจะพบการแข็งเกร็งของกลามเนือ้ ขนาดเล็กกอน เชน ขากรรไกร นิว้ มือ ตอมาจะลามทัว่ ตัว พบเลือดตกตามแรงโนมถวง (livor mortis) พบสีแดงคล้ำของผิวหนังในสวนทีอ่ ยูต ำ่ เชนบริเวณหลังถา ผูป ว ยนอนหงายอาจพบผิวหนังสีซดี ตามรอยกด แนวการรัดของเสือ้ ผา ผูป ว ยมีคำสัง่ ปฏิเสธการกูช พี (DNR) เชน ผูป ว ยมีเอกสารเปนลายลักษณอกั ษรชัดเจนในการปฏิเสธการกูช พี หรือ กรณีไมมเี อกสารยืนยัน แตญาติสายตรงแจงวาผูป ว ยไดแจงเจตนาในการปฏิเสธการกูช พี และญาติ สายตรงลงนามในเอกสารปฏิเสธการกูช พี กรณี สาเหตุจากบาดเจ็บ (Trauma) พบหัวหรือตัวขาด ไหมเกรียมทัง้ ตัว ชิน้ สวนของหัวใจออกมานอกรางกาย กรณี กูช พี ตามแนวทางการกูช พี ขัน้ สูง (ACLS algorithm) เปนเวลา 30 นาที ยังไมมชี พี จร และคลืน่ ไฟฟาหัวใจเปน non shockable rhythm (PEA/Asystole) ใหทมี ALS แจงศูนยสง่ั การ เพือ่ หยุดการกูช พี และประกาศการเสียชีวติ กรณีญาติ ยืนยันใหชวยชีวิต ไมตองการใหหยุด CPR ใหดำเนินการชวยชีวิตตอตามแนวทางหัวใจหยุดเตนนอก โรงพยาบาล (OHCA protocol) เอกสารหมายเลข 4 และนำสงโรงพยาบาล ยา/หัตถการ/ทรัพยากร เครือ่ งติดตามการทำงานของหัวใจ (Monitor) แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ เพศ อายุ อาการแสดงของการเสียชีวติ ทีพ่ บ เวลาประกาศการเสียชีวติ คูม อื การชวยชีวติ ขัน้ สูง สำหรับบุคลากรทางการแพทย ป ค.ศ.2015 ISBN 978-616-8023-03-7 เอกสารอางอิง ระยะเวลาการตายและการเปลีย่ นแปลงหลังตาย โดย พลตำรวจตรี เลีย้ ง หุยประเสริฐ พบ.,อว.(นิตเิ วชศาสตร) ผูบ งั คับการ สถาบันนิตเิ วชวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

40

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


หนังสือแสดงเจตนาไมประสงครับการกูชีพ วันที่ .................................................... เวลา ..............น. ขาพเจา ....................................... นามสกุล ............................................ อายุ ................ ป บัตรประชาชนเลขที่ ....................................................................... ทีอ่ ยู .................................................................................................................................................... เบอรโทร .......................................................................... ความสัมพันธเกีย่ วของเปน ............................... ของ ...................................................

มีความประสงคไมขอรับการกูช พี เนือ่ งจาก ............................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................ .......................................................................... ขาพเจา ขอรับรองวา ขอความขางตนเปนจริงทุกประการ

ลงชือ่ ......................................................... (ผูแ สดงเจตนา) (...............................................................................)

ลงชือ่ .......................................................... พยาน (ญาติ) (...............................................................................)

ลงชือ่ .......................................................... พยาน (เจาหนาที)่ (...............................................................................)

41

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


42

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน โรคติดเชื้อในกระแสเลือด ( Sepsis) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับอำนวยการ

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

ผูป ว ยทีส่ งสัยมีภาวะติดเชือ้ รวมกับ 1 ใน 3 ขอ ตอไปนี้ 1. หายใจเหนื่อยหอบ 2. ระดับความรูสึกตัวเปลี่ยนแปลง 3. มีอาการแสดงถึงภาวะช็อก เชน เหงื่อออก ปลายมือปลายเทาเย็น ตัวลาย ซีด

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) เมือ่ ไดรบั แจงเหตุ ใหซกั ประวัตอิ าการบงชีก้ ารติดเชือ้ เชน ไขสงู รวมกับ 1 ใน 3 ขอ ตอไปนี้ หายใจเหนือ่ ยหอบ ระดับความรูส กึ ตัวลดลง ไดแก มีอาการซึม สับสน หรือไมรสู กึ ตัว มีอาการแสดงของภาวะช็อก เชน เหงือ่ ออก ตัวเย็น ซีด ตัวลาย หรือ วัดความดันโลหิตแลวไดความดันโลหิตคาบน นอยกวาหรือเทากับ 100 mmHg สัง่ หนวยปฏิบตั กิ ารในพืน้ ทีอ่ อกประเมินผูป ว ย กรณี BLS ออกประเมิน ใหถามคำถามตอไปนี้ ระดับความรูส กึ ตัว อัตราการหายใจตอนาที, คา SpO2 อาการแสดงของภาวะช็อค หรือ คาความดันโลหิต หากพบวา ระดับความรูส กึ ตัวลดลง หรือเปลีย่ นแปลงจากเดิม อัตราการหาย มากกวาหรือเทากับ 22 ครัง้ ตอนาที หรือคา SpO2 นอยกวา 90% มีอาการแสดงของภาวะช็อค หรือ ความดันโลหิตคาบน นอยกวาหรือเทากับ 100 mmHg ใหประสาน ALS ออกปฏิบตั กิ ารรวม และใหคำแนะนำในการรักษาตอไป การใหการรักษาเบือ้ งตน ปญหาทางเดินหายใจ จัดทา เปดทางเดินหายใจ ใหออกซิเจนตามคำแนะนำจากศูนยสง่ั การ ปญหาการหายใจ ปญหาชีพจรเบาเร็ว รอ ALS มาประเมินและปฏิบตั ติ ามคำแนะนำจากศูนยสง่ั การ กรณี ALS ออกประเมิน ใหถามคำถามตอไปนี้ ประเมินทางเดินหายใจ ลักษณะการหายใจ และคา SpO2 คาความดันโลหิต GCS, DTX

43

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


ให ALS ใหการรักษาเบือ้ งตนตามแนวทางการรักษา non trauma และ sepsis การใหการรักษาเบือ้ งตน ปญหาทางเดินหายใจ -> จัดทา เปดทางเดินหายใจ ใชอปุ กรณชว ยจัดการทางเดินหายใจ เชน oropharyngeal airway ปญหาการหายใจ -> พิจารณาใหออกซิเจนตามความเหมาะสม, พนยา Berodual หากฟง lung ไดเสียง wheeze ปญหาความดันโลหิตต่ำ (BP < 90/60 mmHg or MAP < 65 mmHg) หรือ CRT > 2 วินาที -> load crystalloid (Acetar or NSS 30 ml/kg ( ระมัดระวังในผูป ว ยสงสัยภาวะน้ำเกินหรือมีโรค ประจำตัวเปนโรคหัวใจ หรือมีอาการแสดง ดังนี้ คือ neck vein engorgement, ขาบวม, หนังตาบวม, ฟง lungs มี crepitation ทัง้ สองขาง ) ถา DTX < 60 mg% ใหรกั ษาภาวะ hypoglycemia โดยให 50% glucose 50 ml IV push หากพบปญหาระหวางการประเมินและใหการรักษา ใหแจงศูนยสง่ั การทราบ หากพบปญหานอกเหนือจากนี้ ใหศนู ยสง่ั การ รายงานแพทยอำนวยการ รับแจงขอมูลจากหนวยปฏิบตั กิ ารและแจงโรงพยาบาลปลายทางรับทราบขอมูลเพือ่ เตรียมรับสถานการณตอ ไป ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

อุปกรณชว ยดูแลทางเดินหายใจ อุปกรณใหออกซิเจน เชน cannular, mask with bag, ambu bag,IV ufl ids, Berodual NB, เครือ่ งเจาะ DTX, เครือ่ ง suction

แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ

เอกสารอางอิง

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

The Surviving Sepsis Campaign Bundle: 2018 update

44

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


45

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน โรคติดเชื้อในกระแสเลือด ( Sepsis) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

ผูป ว ยทีส่ งสัยมีภาวะติดเชือ้ รวมกับ 1 ใน 3 ขอ ตอไปนี้ 1. หายใจเหนื่อยหอบ 2. ระดับความรูสึกตัวเปลี่ยนแปลง 3. มีอาการแสดงถึงภาวะช็อก เชน เหงื่อออก ปลายมือปลายเทาเย็น ตัวลาย ซีด

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ประเมินผูป ว ยโดยใชเกณฑดงั ตอไปนี้ สงสัยมีภาวะติดเชือ้ เชน ไขสงู รวมกับ 1 ใน 3 ขอตอไปนี้ หายใจเหนือ่ ยหอบ ระดับความรูส กึ ตัวเปลีย่ นแปลง ไดแก มีอาการซึม สับสน หรือไมรสู กึ ตัว มีอาการแสดงของภาวะช็อก เชน เหงือ่ ออก ตัวเย็น ซีด ตัวลาย หรือ วัดความดันโลหิตแลวความดันโลหิต คาบน นอยกวาหรือเทากับ 100 mmHg รายงานศูนยสง่ั การเพือ่ รับคำสัง่ นำสงโรงพยาบาล หรือรับคำสัง่ การรักษาเบือ้ งตนและรอ ALS รับชวงตอ

การใหการรักษาเบือ้ งตน

ปญหาทางเดินหายใจ จัดทา เปดทางเดินหายใจ ปญหาการหายใจ ใหออกซิเจนตามคำแนะนำจากศูนยสง่ั การ ปญหาชีพจรเบาเร็ว รอ ALS มาประเมินและปฏิบตั ติ ามคำแนะนำจากศูนยสง่ั การ

ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

ใหออกซิเจนตามศูนยสง่ั การพิจารณา

แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รายงานศูนยสง่ั การทันทีหลังจากประเมินแลวคิดถึงภาวะ sepsis และรายงานการประเมินผูป ว ยเปนระยะ

เอกสารอางอิง

The Surviving Sepsis Campaign Bundle: 2018 update

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

46

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


47

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน โรคติดเชื้อในกระแสเลือด ( Sepsis) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

ผูป ว ยทีส่ งสัยมีภาวะติดเชือ้ รวมกับ 1 ใน 3 ขอ ตอไปนี้ 1. หายใจเหนื่อยหอบ 2. ระดับความรูสึกตัวเปลี่ยนแปลง 3. มีอาการแสดงถึงภาวะช็อก เชน เหงื่อออกปลายมือปลายเทาเย็น ตัวลาย ซีด

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ประเมินและใหการดูแลผูป ว ยตาม Protocol non-trauma (เอกสารหมายเลข 1) หากสงสัยมีภาวะติดเชือ้ เชน ไขสงู ใหประเมิน qSOFA ดังตอไปนี้ ระดับความรูส กึ ตัวเปลีย่ นแปลงจากเดิม ไดแก ซึมลง สับสน หรือ ไมรสู กึ ตัว หายใจมากกวาหรือเทากับ 22 ครัง้ ตอนาที มีอาการแสดงของภาวะช็อก เชน เหงือ่ ออก ตัวเย็น ซีด ตัวลาย หรือ วัดความดันโลหิตแลวไดความดันโลหิต คาบน นอยกวาหรือเทากับ 100 mmHg หากมีไขสงู รวมกับอยางนอย 2 ใน 3 ขอของ qSOFA ใหสงสัยภาวะติดเชือ้ ในกระแสเลือด พิจารณาใหการดูแล ตามแนวทางการรักษาผูป ว ยสงสัยภาวะติดเชือ้ ในกระแสเลือด ดังนี้ ใหสารน้ำ (Acetar หรือ Normal saline) 30 ml/kg ( ระมัดระวังในผูป ว ยสงสัยภาวะน้ำเกินหรือมีโรคประจำตัว เปนโรคหัวใจ หรือมีอาการแสดง ดังนี้ คือ neck vein engorgement, ขาบวม, หนังตาบวม, ฟง lungs มี crepitation ทัง้ สองขาง ) เก็บตัวอยางเลือดสงตรวจ CBC, BUN, Cr, Electrolyte, Blood lactate, LFT, PT, PTT, INR, H/C x II Spp., DTX ถา DTX < 60 mg% ใหรกั ษาภาวะ hypoglycemia โดยให 50% glucose 50 ml iv push รายงานศูนยสง่ั การเพือ่ รับคำสัง่ นำสงโรงพยาบาล หากพบปญหาระหวางการประเมินหรือใหการรักษา ใหแจงศูนยสง่ั การทราบ รายงานขอมูลกลับศูนยสง่ั การ โดยใชหลัก ISBAR I: ระบุตวั ตนผูร ายงานและผูป ว ย ไดแก เพศ อายุของผูป ว ย S: สถานการณทเ่ี กิดขึน้ ทีท่ ำใหเราตองรายงาน ไดแก อาการสำคัญ B: ขอมูลภูมหิ ลังของสถานการณทเ่ี กิดขึน้ A: การประเมินสถานการณของพยาบาล เชน สัญญาณชีพ การรักษาเบือ้ งตน R: ขอแนะนำหรือความตองการของพยาบาล หรือการชวยเหลือเพิม่ เติม

48

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

อุปกรณใหออกซิเจน, อุปกรณชว ยดูแลทางเดินหายใจ เชน oropharyngeal airway เครือ่ ง suction, Acetar or NSS, 50% glucose IV ถามี hypoglycemia รวมดวย, Berodual NB + set พนยา

แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รายงานศูนยสง่ั การทันทีหลังจากประเมินแลวคิดถึงภาวะ sepsis และรายงานการประเมินผูป ว ย และการรักษาเบือ้ งตนเปนระยะ

เอกสารอางอิง

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

The Surviving Sepsis Campaign Bundle: 2018 update

49

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


50

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การดูแลผูปวยปฏิกิริยาภูมิแพรุนแรง (Anaphylaxis) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับอำนวยการ

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. ผูป ว ยมีปฏิกริ ยิ าภูมแิ พจากการกินอาหาร การถูกแมลงสัตวกดั ตอย 2. ผูป ว ยมีอาการปฏิกริ ยิ าภูมแิ พทเ่ี ขาไดกบั เกณฑวนิ จิ ฉัย

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

สถานการณที่มีสัตวหรือแมลงกัดผูปวยมีอาการแพรุนแรงผูใหการชวยเหลือควรระมัดระวังผูชวยเหลือถูกกัดซ้ำ ซึ่งจะทำใหผูประสบเหตุมีมากกวา 1 ราย กรณีผูปวยถูกสัตวกัดมีปฏิกิริยาภูมิแพหลายราย เชน แมลงตอยผูปวยจำนวนมาก เปนตน หนวยปฏิบัติการที่ เขาไปถึงหนวยแรกควรปองกันการถูกกัดซ้ำ ตั้งจุดปลอดภัย คัดแยกผูปวย และแจงกลับมายังศูนยสั่งการเพื่อ ขอทีมปฏิบัติการฉุกเฉินเพิ่มเติม กรณีนี้ใหใชการอำนวยการกรณีเกิดอุบัติเหตุหมูหรือสาธารณภัย

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) การวินิจฉัยปฏิกิริยาภูมิแพรุนแรง (Anaphylaxis) มีขอใดขอหนึ่งตอไปนี้ ไมมีประวัติสัมผัสสารที่นาจะเปนสารกอภูมิแพ มีอาการทางระบบผิวหนัง (ลมพิษ คัน ผื่นแดงตามรางกาย เยื่อบุบวม) รวมกับอาการ 1 ใน 2 ขอ ดังนี้ อาการทางระบบหายใจ (หายใจเหนื่อย, เสียงวี้ด, แนนอก) ความดันโลหิตลดลง* มีประวัติสัมผัสสารที่นาจะเปนสารกอภูมิแพ มีอาการอยางนอย 2 ใน 4 ขอ อาการทางระบบผิวหนัง (ลมพิษ คัน ผื่นแดงตามรางกาย,เยื่อบุบวม) อาการทางระบบหายใจ (หายใจเหนื่อย, เสียงวี้ด, แนนอก) ความดันโลหิตลดลง* อาการทางระบบทางเดินอาหาร (ปวดทอง, อาเจียน, ทองเสีย) มีประวัติสัมผัสสารที่ทราบวาแพมากอน (เกิดอาการภายในเวลาเปนนาทีหรือไมกี่ชั่วโมง)รวมกับมีความดัน โลหิตลดลง*

หมายเหตุ

เด็ก

อายุ 1 เดือน - 1 ป ความดันโลหิตต่ำนอยกวา 70 มม.ปรอท อายุ 1 ป- 10 ป ความดันโลหิตต่ำนอยกวา 70 มม.ปรอท + [2x อายุ (ป)] อายุ 11 ป – 17 ป ความดันโลหิตต่ำนอยกวา 90 มม.ปรอท ผูใหญ อายุ 18 ปขึ้นไป ความดันโลหิตต่ำนอยกวา 90 มม.ปรอท

ไดรับแจงเหตุ 1669 อาการเขาไดกับภาวะภูมิแพรุนแรง (Anaphylaxis) อาการเขาไดกับเกณฑคัดแยก ใหหนวยปฏิบัติการระดับ ALS ออกเหตุ หาก BLS อยูใกล ให BLS ออกเหตุกอนแลวตามดวย ALS ทันที

51

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


รับติดตอจากหนวยปฏิบัติการ หลังจากที่หนวยปฏิบัติการประเมินผูปวยแลว หาก BLS ประเมินแลว ไมสามารถดูแลรักษาผูปวยได ใหแจงหนวยปฏิบัติการระดับ ALS ออกเหตุ เพื่อรับชวงตอทันที หากมีปญหาเกี่ยวกับการดูแลรักษา ใหติดตอแพทยอำนวยการ/แพทยหองฉุกเฉิน ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

อุปกรณสอ่ื สาร

แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ หนวยปฏิบตั กิ ารประเมินผูป ว ยมีอาการเขาไดกบั เกณฑการวินจิ ฉัยปฏิกริ ยิ าภูมแิ พรนุ แรงและไดรบั การรักษาแลวอาการไมคงที่ ใหรายงานแพทยอำนวยการทันที

เอกสารอางอิง

แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการดูแลผูปวยที่มีการแพชนิดรุนแรง พ.ศ. 2560

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

52

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


53

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การดูแลผูปวยปฏิกิริยาภูมิแพรุนแรง (Anaphylaxis) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. ผูป ว ยมีปฏิกริ ยิ าภูมแิ พจากการกินอาหาร การถูกแมลงสัตวกดั ตอย 2. ผูป ว ยมีอาการปฏิกริ ยิ าภูมแิ พทเ่ี ขาไดกบั เกณฑวนิ จิ ฉัย

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration) สถานการณที่มีสัตวหรือแมลงกัดผูปวยมีอาการแพรุนแรงผูใหการชวยเหลือควรระมัดระวังผูชวยเหลือถูกกัดซ้ำ ซึ่งจะทำใหผูประสบเหตุมีมากกวา 1 ราย กรณีผูปวยถูกสัตวกัดมีปฏิกิริยาภูมิแพหลายราย เชน แมลงตอยผูปวยจำนวนมาก เปนตน หนวยปฏิบัติการที่ เขาไปถึงหนวยแรกควรปองกันการถูกกัดซ้ำ ตั้งจุดปลอดภัย คัดแยกผูปวย และแจงกลับมายังศูนยสั่งการเพื่อ ขอทีมปฏิบัติการฉุกเฉินเพิ่มเติม กรณีนี้ใหใชการอำนวยการกรณีเกิดอุบัติเหตุหมูหรือสาธารณภัย

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment)

การวินิจฉัยปฏิกิริยาภูมิแพรุนแรง (Anaphylaxis) มีขอใดขอหนึ่งตอไปนี้ ไมมีประวัติสัมผัสสารที่นาจะเปนสารกอภูมิแพ มีอาการทางระบบผิวหนัง (ลมพิษ คัน ผื่นแดงตามรางกาย เยื่อบุบวม) รวมกับอาการ 1 ใน 2 ขอ ดังนี้ อาการทางระบบหายใจ (หายใจเหนื่อย, เสียงวี้ด, แนนอก) ความดันโลหิตลดลง* มีประวัติสัมผัสสารที่นาจะเปนสารกอภูมิแพ มีอาการอยางนอย 2 ใน 4 ขอ อาการทางระบบผิวหนัง (ลมพิษ คัน ผื่นแดงตามรางกาย,เยื่อบุบวม) อาการทางระบบหายใจ (หายใจเหนื่อย, เสียงวี้ด, แนนอก) ความดันโลหิตลดลง* อาการทางระบบทางเดินอาหาร (ปวดทอง, อาเจียน, ทองเสีย) มีประวัติสัมผัสสารที่ทราบวาแพมากอน (เกิดอาการภายในเวลาเปนนาทีหรือไมกี่ชั่วโมง)รวมกับมีความดัน โลหิตลดลง* หมายเหตุ การใหการรักษาเบื้องตน เด็ก อายุ 1 เดือน - 1 ป ความดันโลหิตต่ำนอยกวา 70 มม.ปรอท ประเมินผูปวยเบื้องตนตามเกณฑ อายุ 1 ป- 10 ป ความดันโลหิตต่ำนอยกวา 70 มม.ปรอท + [2x อายุ (ป)] และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินทั่วไป อายุ 11 ป – 17 ป ความดันโลหิตต่ำนอยกวา 90 มม.ปรอท ผูใหญ อายุ 18 ปขึ้นไป ความดันโลหิตต่ำนอยกวา 90 มม.ปรอท ให Oxygen cannula 3 LPM เมื่อวัดความเขมขนระดับออกซิเจน ปลายนิ้วไดนอยกวา 94% ใหออกซิเจนตามศูนยสง่ั การพิจารณาเครือ่ ง Monitor สัญญาณชีพ ยา/หัตถการ/ทรัพยากร Oxygen cannula 3 LPM แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รายงานศูนยสง่ั การทันทีหลังจากประเมินแลวคิดถึงภาวะ sepsis และรายงานการประเมินผูป ว ยเปนระยะ

เอกสารอางอิง

The Surviving Sepsis Campaign Bundle: 2018 update

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

54

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


55

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การดูแลผูปวยปฏิกิริยาภูมิแพรุนแรง (Anaphylaxis) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. ผูป ว ยมีปฏิกริ ยิ าภูมแิ พจากการกินอาหาร การถูกแมลงสัตวกดั ตอย 2. ผูป ว ยมีอาการปฏิกริ ยิ าภูมแิ พทเ่ี ขาไดกบั เกณฑวนิ จิ ฉัย

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

สถานการณที่มีสัตวหรือแมลงกัดผูปวยมีอาการแพรุนแรงผูใหการชวยเหลือควรระมัดระวังผูชวยเหลือถูกกัดซ้ำ ซึ่งจะทำใหผูประสบเหตุมีมากกวา 1 ราย กรณีผูปวยถูกสัตวกัดมีปฏิกิริยาภูมิแพหลายราย เชน แมลงตอยผูปวยจำนวนมาก เปนตน หนวยปฏิบัติการที่ เขาไปถึงหนวยแรกควรปองกันการถูกกัดซ้ำ ตั้งจุดปลอดภัย คัดแยกผูปวย และแจงกลับมายังศูนยสั่งการเพื่อ ขอทีมปฏิบัติการฉุกเฉินเพิ่มเติม กรณีนี้ใหใชการอำนวยการกรณีเกิดอุบัติเหตุหมูหรือสาธารณภัย

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) การวินิจฉัยปฏิกิริยาภูมิแพรุนแรง (Anaphylaxis) มีขอใดขอหนึ่งตอไปนี้ ไมมีประวัติสัมผัสสารที่นาจะเปนสารกอภูมิแพ มีอาการทางระบบผิวหนัง (ลมพิษ คัน ผื่นแดงตามรางกาย เยื่อบุบวม) รวมกับอาการ 1 ใน 2 ขอ ดังนี้ อาการทางระบบหายใจ (หายใจเหนื่อย, เสียงวี้ด, แนนอก) ความดันโลหิตลดลง* มีประวัติสัมผัสสารที่นาจะเปนสารกอภูมิแพ มีอาการอยางนอย 2 ใน 4 ขอ อาการทางระบบผิวหนัง (ลมพิษ คัน ผื่นแดงตามรางกาย,เยื่อบุบวม) อาการทางระบบหายใจ (หายใจเหนื่อย, เสียงวี้ด, แนนอก) ความดันโลหิตลดลง* อาการทางระบบทางเดินอาหาร (ปวดทอง, อาเจียน, ทองเสีย) มีประวัติสัมผัสสารที่ทราบวาแพมากอน (เกิดอาการภายในเวลาเปนนาทีหรือไมกี่ชั่วโมง)รวมกับมีความดัน โลหิตลดลง*

หมายเหตุ

เด็ก

อายุ 1 เดือน - 1 ป ความดันโลหิตต่ำนอยกวา 70 มม.ปรอท อายุ 1 ป- 10 ป ความดันโลหิตต่ำนอยกวา 70 มม.ปรอท + [2x อายุ (ป)] อายุ 11 ป – 17 ป ความดันโลหิตต่ำนอยกวา 90 มม.ปรอท ผูใหญ อายุ 18 ปขึ้นไป ความดันโลหิตต่ำนอยกวา 90 มม.ปรอท

การใหการรักษาเบื้องตน ประเมินผูปวยเบื้องตนตามเกณฑและวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินทั่วไปให Oxygen cannula 3 LPM เมื่อวัดความเขมขนระดับออกซิเจนปลายนิ้วไดนอยกวา 94%

56

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

เอกสารอางอิง

เครื่อง Monitor สัญญาณชีพ Oxygen cannula 3 LPM Adrenaline: ผูใหญ Adrenaline(1:1,000) 0.5 mg IM เด็ก Adrenaline(1:1,000) 0.01 mg/kg IM (max0.3 mg) *สามารถใหซ้ำได 1-2 ครั้ง ทุก 5 – 15 นาที Chlorpheniramine (CPM): ผูใหญ dose 10 mg IV/ IM เด็ก dose 0.3 mg/kg IV/ IM Steroid: ผูใหญ Dexamethasone 4 mg IV/ IM หรือ Hydrocortisone 200 mg IV เด็ก Dexamethasone 0.6 mg/kg IV/ IM หรือ Hydrocortisone 4-6 mg/kg IV (max100 mg) Ventolin ผูใหญ Ventolin 1ml+NSS 3 ml NB เด็ก Ventolin 0.15 mg/kg + NSS up to 3 ml NB IV access: ผูใหญ IV load NSS ครั้งละ 200 ml เด็ก IV load NSS ครั้งละ 20 ml/kg รายงานศูนยสง่ั การทันที เมือ่ ประเมินหากผูป ว ยมีอาการเขาไดกบั เกณฑการวินจิ ฉัย ปฏิกริ ยิ าภูมแิ พรนุ แรง

แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการดูแลผูปวยที่มีการแพชนิดรุนแรง พ.ศ. 2560 ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

57

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


58

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การจัดการสาธารณภัยหรืออุบัติภัยหมู (Mass casualty incident) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับอำนวยการ

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. อุบัติเหตุหรือเหตุที่มีผูประสบเหตุมากกวาหรือเทากับ 4 คน และ 2. อุบัติเหตุหรือเหตุที่ตองอาศัยหนวยปฏิบัติการขั้นสูงมากกวาหนึ่ง หนวยหรือหนวยปฏิบัติการขั้นพื้นฐานมากกวา 2 หนวยขึ้นไป

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

กำชับหนวยแรกที่เขาไปถึงที่เกิดเหตุใหทำการตรวจสอบความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ ใหหนวยปฏิบัติการรายงานใหศูนยรับแจงเหตุและสั่งการทราบโดยทันทีเมื่อทราบวาเปนเหตุฉุกเฉินหมู ตามหลัก ของ METHANE ศูนยสง่ั การประสานขอความชวยเหลือไปยังหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ เชน ตำรวจ ไฟฟา เทศบาล เปนตน ตามคำรองขอ ของหนวยปฏิบัติที่ออกปฏิบัติการ ณ จุดเกิดเหตุ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) รับแจงเหตุผา นสายดวน 1669 หรือวิทยุสอ่ื สาร สงสัยวาเปนสาธารณภัยหรืออุบตั ภิ ยั หมู โดยทำการซักถามขอมูล จากผูแ จงเหตุตามหลัก METHANE ดังนี้ M: Major incident ลักษณะของเหตุการณทเ่ี กิดขึน้ E: Exact location สถานทีเ่ กิดเหตุทช่ี ดั เจน T: Type of incident ลักษณะเหตุของสาธารณภัย H: Hazard มีอนั ตรายหรืออาจเกิดอันตรายอะไรไดบา ง A: Access and egress ขอมูลทางเขาออกสถานทีเ่ กิดเหตุ N: Number and severity of casualties จำนวนผูป ระสบเหตุและระดับความรุนแรง E: Emergency services มีปฏิบตั กิ ารการแพทยทป่ี ฏิบตั หิ นาทีอ่ ยูแ ลวหรือยัง สัง่ หนวยปฏิบตั กิ ารหนวยแรกทีเ่ ขาไปถึงทีเ่ กิดเหตุใหทำการตรวจสอบความปลอดภัยของสถานทีเ่ กิดเหตุ ศูนยรบั แจงเหตุและสัง่ การรับรายงานขอมูลจากหนวยปฏิบตั กิ ารตามหลักของ METHANE ศูนยสง่ั การประสานขอความชวยเหลือไปยังหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ เชน ตำรวจ ไฟฟา เทศบาล ดับเพลิง เปนตน ตามคำรองขอของหนวยปฏิบตั ทิ อ่ี อกปฏิบตั กิ าร ณ จุดเกิดเหตุ รับรายงานขอมูลจากหนวยปฏิบตั กิ ารทีร่ บั ออกปฏิบตั กิ ารตามแบบฟอรมรับแจงขาวและรายงานเหตุดว นสาธารณภัย ดานการแพทยและสาธารณสุข ตามแนวทางของ METHANE (เอกสารภาคผนวก) ภายใน 1 ชัว่ โมง หลังจากสถาน การณเสร็จสิน้ สรุปรายงานจำนวนผูบ าดเจ็บเพือ่ รายงานสถาบันการแพทยฉกุ เฉินแหงชาติตอ ไป

59

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


ยา/หัตถการ/ทรัพยากร แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ

เครื่องตัดถาง ชุดประดาน้ำ การรายงานอุบตั เิ หตุหมู/ สาธารณภัย เกิดอุบตั เิ หตุหมู/ สาธารณภัยหมู รายงาน METHANE เปนเอกสารภายใน 1 ชัว่ โมงหลังเกิดเหตุ

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ศูนยสง่ั การ

สถานการณเสร็จสิน้ สรุปรายงานผูป ว ย

สถาบันการแพทยฉกุ เฉินแหงชาติ

กระทรวงสาธารณสุข

เอกสารอางอิง ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

60

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


61

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


62

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การจัดการสาธารณภัยหรืออุบัติภัยหมู (Mass casualty incident) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. อุบัติเหตุหรือเหตุที่มีผูประสบเหตุมากกวาหรือเทากับ 4 คน และ 2. อุบัติเหตุหรือเหตุที่ตองอาศัยหนวยปฏิบัติการขั้นสูงมากกวาหนึ่ง หนวยหรือหนวยปฏิบัติการขั้นพื้นฐานมากกวา 2 หนวยขึ้นไป

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

หนวยแรกที่เขาไปถึงที่เกิดเหตุใหทำการตรวจสอบความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ การรายงานใหศูนยรับแจงเหตุและสั่งการทราบโดยทันทีเมื่อทราบวาเปนเหตุฉุกเฉินหมู ตามหลักของ METHANE เมื่อพบความไมปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุใหแจงศูนยรับแจงเหตุและสั่งการทราบ และศูนยสั่งการประสาน ขอความชวยเหลือไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ตำรวจ ไฟฟา เทศบาล เปนตน ตามคำรองขอของหนวยปฏิบัติ ที่ออกปฏิบัติการ ณ จุดเกิดเหตุ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment)

หลักการ DISASTER Paradigm

D (Detection) : การประเมินสถานการณวาเกินกำลังความสามารถที่จะใหการชวยเหลือไดหรือไม I (Incident command) : ระบบผูบัญชาเหตุการณเปนผูที่มีอำนาจสูงสุดในการจัดการเหตุการณทั้งหมดเปนผูู ภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมดสามารถใชไดทั้งในโรงพยาบาลและที่เกิดเหตุ S (Safety and Security) : ความปลอดภัยตอผูปฏิบัติงาน ตองมีการปองกันตนเองและทีม กอนที่จะเขาไปให การชวยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุเปนอันดับแรก จากนั้นจึงคอยคำนึงถึงการปองกันผูบาดเจ็บการปองกันชุมชนการ ปองกันสิ่งแวดลอม ตามลำดับ เพื่อสรางความมั่นใจใหกับผูเขาไปใหการชวยเหลือในพื้นที่เกิดเหตุ นอกจากนี้ ควรมีการเขียนแผนผังของพื้นที่สำคัญ เชน พื้นที่ปลอดภัย เสนทาง/ถนน ตำแหนงของโรงพยาบาลทิศทางลม และสภาพภูมิประเทศที่อาจมีผลตอการวางแผนเรื่องความปลอดภัยรวมทั้งการจัดตั้งจุดรวบรวมจำนวนผูประสบภัย /ผูบาดเจ็บ จุดปลอยผูบาดเจ็บ และจุดที่ผูบาดเจ็บอยู เปนตน A (Assess Hazards) : การประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดเหตุซ้ำเพื่อระมัดระวังวัตถุอันตรายตางๆที่อาจหลงเหลือ ตกคางในที่เกิดเหตุ ไดแก อาจมีระเบิดซ้ำที่วางไวโดยผูกอการราย เปนตน ความรูที่สำคัญคือ ทำงานใหเสร็จ และยายออกใหเร็วที่สุด นอกจากนี้ควรคำนึงถึงการปองกันตนเองอีกดวย S (Support) : การเตรียมการลวงหนา จากการศึกษาขอมูลที่ผานมาในอดีตของการเผชิญกับภัยพิบัติตางๆ จะชวยสามารถคาดการณถึงสิ่งของจำเปนพื้นฐานที่ตองการเตรียมอุปกรณและทรัพยากรสามารถใชในที่เกิดเหตุได และมีแนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจนเปนตน T (Triage/Treatment/Transport) : การคัดแยกและการใหการรักษาแกผบู าดเจ็บตามความเรงดวน และการสงรักษาตอ E (Evacuation) : การอพยพผูบาดเจ็บระหวางที่เกิดเหตุการณ และการอพยพหนวยกูชีพ กูภัยเมื่อถึงเวลาจำเปน รวมถึงการดูแลครอบครัวของผูที่ประสบภัย R (Recovery) : การฟนฟูสภาพ เริ่มทันทีหลังจากเกิดเหตุการณ ควรลดผลกระทบของเหตุการณตอผูประสบภัย และสมาชิกในครอบครัวในระยะยาว เชน การจัดหาที่อยูอาศัยและเครื่องมือเครื่องใชการซอมแซมสิ่งปลูกสราง สาธารณูปโภค สิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเปนในพื้นที่คาใชจายการใหคำปรึกษาในการจัดการกับภาวะวิกฤตทั้ง ดานรางกายและสภาวะของจิตใจของผูประสบภัยและครอบครัวที่เกิดขึ้นในชุมชน และมีการทบทวนเรียนรูจาก เหตุการณที่เกิดขึ้น รวมกันวางแผนหาแนวทางปฏิบัติปองกันหรือบรรเทาเหตุการณที่เกิดขึ้น เพื่อเตรียมความ พรอมรับกับภัยพิบัติที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตตอไป

63

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


การจัดพื้นที่การปฏิบัติงาน (Zoning)

ในภาวะภัยพิบัติ มีการแบงพื้นที่ออกเปน 3 บริเวณ ไดแก Hot (Red) Zone : เปนบริเวณที่มีอันตราย หรือมีสารเคมีปนเปอนและสารพิษ มากที่สุดหามทีมปฏิบัติการเขาไปในบริเวณนี้ ผูที่จะเขาไปตองสวมใสอุปกรณปองกันอยางเหมาะสม (Personal Protective Equipment; PPE) Warm (Yellow) Zone : บริเวณที่อยูถัดจากบริเวณที่มีอันตราย หรือมีสารเคมี ปนเปอนเปนบริเวณที่มีการลางสารพิษ (decontamination corridor) ทีมปฏิบัติการกูชีพเบื้องตน สามารถที่ จะเขาไปในบริเวณนี้ได Cold (Green) Zone : เปนบริเวณพื้นที่ปลอดภัยจากอันตราย หรือมีสารเคมี ปนเปอนและสารพิษผูปฏิบัติการทุกคนจะตองถอดอุปกรณปองกันสารพิษ กอนที่จะออกมาอยูในบริเวณนี้ เปนพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารจัดตัง้ Command post, treatment area, loading/ transportation area, staging area เปนตน

การรายงานตามหลัก METHANE

M: Major incident ลักษณะของเหตุการณที่เกิดขึ้น E: Exact location สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน T: Type of incident ลักษณะเหตุของสาธารณภัย H: Hazard มีอันตรายหรืออาจเกิดอันตรายอะไรไดบาง A: Access and egress ขอมูลทางเขาออกสถานที่เกิดเหตุ N: Number and severity of casualties จำนวนผูประสบเหตุและระดับความรุนแรง E: Emergency services มีปฏิบัติการการแพทยที่ปฏิบัติหนาที่อยูแลวหรือยัง

การคัดแยกผูปวย (Triage)

เปนการจัดกลุมผูปวยตามความรุนแรง เพื่อสงตอไปรับการรักษาในสถานที่ที่เหมาะสม โดยใชแนวทางการคัดแยกผูปวย ดังนี้ อุปกรณปดกั้นบริเวณที่เกิดเหตุ เชน เทปพลาสติก กรวยจราจร เปนตน ยา/หัตถการ/ทรัพยากร Triage Tag แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รายงาน METHANE กลับมาทันทีที่ถึงจุดเกิดเหตุ M: Major incident ลักษณะของเหตุการณที่เกิดขึ้น E: Exact location สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน T: Type of incident ลักษณะเหตุของสาธารณภัย H: Hazard มีอันตรายหรืออาจเกิดอันตรายอะไรไดบาง A: Access and egress ขอมูลทางเขาออกสถานที่เกิดเหตุ N: Number and severity of casualties จำนวนผูป ระสบเหตุและระดับความรุนแรง E: Emergency services มีปฏิบัติการการแพทยที่ปฏิบัติหนาที่อยูแลวหรือยัง เมื่อมีการนำสงผูปวยใหรายงานผูปวยกอนการนำสง โดยรายงานขอมูลดังนี้ ผูปวยรายที่......การคัดแยกสี.........นำสงที่โรงพยาบาล.........โดยหนวย.............. เอกสารอางอิง

รพีพร โรจนแสงเรือง. (2552). ภัยพิบตั ิ (disaster) และอุบตั ภิ ยั หมู (mass casualty incident, MCI).วารสารเวชศาสตรฉกุ เฉินไทย, (1), 6-14.

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

64

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


65

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การจัดการสาธารณภัยหรืออุบัติภัยหมู (Mass casualty incident) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. อุบัติเหตุหรือเหตุที่มีผูประสบเหตุมากกวาหรือเทากับ 4 คน และ 2. อุบัติเหตุหรือเหตุที่ตองอาศัยหนวยปฏิบัติการขั้นสูงมากกวาหนึ่ง หนวยหรือหนวยปฏิบัติการขั้นพื้นฐานมากกวา 2 หนวยขึ้นไป

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

หนวยแรกที่เขาไปถึงที่เกิดเหตุใหทำการตรวจสอบความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ การรายงานใหศูนยรับแจงเหตุและสั่งการทราบโดยทันทีเมื่อทราบวาเปนเหตุฉุกเฉินหมู ตามหลักของ METHANE เมื่อพบความไมปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุใหแจงศูนยรับแจงเหตุและสั่งการทราบ และศูนยสั่งการประสาน ขอความชวยเหลือไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ตำรวจ ไฟฟา เทศบาล เปนตน ตามคำรองขอของหนวยปฏิบัติ ที่ออกปฏิบัติการ ณ จุดเกิดเหตุ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment)

หลักการ DISASTER Paradigm

D (Detection) : การประเมินสถานการณวาเกินกำลังความสามารถที่จะใหการชวยเหลือไดหรือไม I (Incident command) : ระบบผูบัญชาเหตุการณเปนผูที่มีอำนาจสูงสุดในการจัดการเหตุการณทั้งหมดเปนผูู ภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมดสามารถใชไดทั้งในโรงพยาบาลและที่เกิดเหตุ S (Safety and Security) : ความปลอดภัยตอผูปฏิบัติงาน ตองมีการปองกันตนเองและทีม กอนที่จะเขาไปให การชวยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุเปนอันดับแรก จากนั้นจึงคอยคำนึงถึงการปองกันผูบาดเจ็บการปองกันชุมชนการ ปองกันสิ่งแวดลอม ตามลำดับ เพื่อสรางความมั่นใจใหกับผูเขาไปใหการชวยเหลือในพื้นที่เกิดเหตุ นอกจากนี้ ควรมีการเขียนแผนผังของพื้นที่สำคัญ เชน พื้นที่ปลอดภัย เสนทาง/ถนน ตำแหนงของโรงพยาบาลทิศทางลม และสภาพภูมิประเทศที่อาจมีผลตอการวางแผนเรื่องความปลอดภัยรวมทั้งการจัดตั้งจุดรวบรวมจำนวนผูประสบภัย /ผูบาดเจ็บ จุดปลอยผูบาดเจ็บ และจุดที่ผูบาดเจ็บอยู เปนตน A (Assess Hazards) : การประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดเหตุซ้ำเพื่อระมัดระวังวัตถุอันตรายตางๆที่อาจหลงเหลือ ตกคางในที่เกิดเหตุ ไดแก อาจมีระเบิดซ้ำที่วางไวโดยผูกอการราย เปนตน ความรูที่สำคัญคือ ทำงานใหเสร็จ และยายออกใหเร็วที่สุด นอกจากนี้ควรคำนึงถึงการปองกันตนเองอีกดวย S (Support) : การเตรียมการลวงหนา จากการศึกษาขอมูลที่ผานมาในอดีตของการเผชิญกับภัยพิบัติตางๆ จะชวยสามารถคาดการณถึงสิ่งของจำเปนพื้นฐานที่ตองการเตรียมอุปกรณและทรัพยากรสามารถใชในที่เกิดเหตุได และมีแนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจนเปนตน T (Triage/Treatment/Transport) : การคัดแยกและการใหการรักษาแกผบู าดเจ็บตามความเรงดวน และการสงรักษาตอ E (Evacuation) : การอพยพผูบาดเจ็บระหวางที่เกิดเหตุการณ และการอพยพหนวยกูชีพ กูภัยเมื่อถึงเวลาจำเปน รวมถึงการดูแลครอบครัวของผูที่ประสบภัย R (Recovery) : การฟนฟูสภาพ เริ่มทันทีหลังจากเกิดเหตุการณ ควรลดผลกระทบของเหตุการณตอผูประสบภัย และสมาชิกในครอบครัวในระยะยาว เชน การจัดหาที่อยูอาศัยและเครื่องมือเครื่องใชการซอมแซมสิ่งปลูกสราง สาธารณูปโภค สิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเปนในพื้นที่คาใชจายการใหคำปรึกษาในการจัดการกับภาวะวิกฤตทั้ง ดานรางกายและสภาวะของจิตใจของผูประสบภัยและครอบครัวที่เกิดขึ้นในชุมชน และมีการทบทวนเรียนรูจาก เหตุการณที่เกิดขึ้น รวมกันวางแผนหาแนวทางปฏิบัติปองกันหรือบรรเทาเหตุการณที่เกิดขึ้น เพื่อเตรียมความ พรอมรับกับภัยพิบัติที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตตอไป

66

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


การจัดพื้นที่การปฏิบัติงาน (Zoning)

ในภาวะภัยพิบัติ มีการแบงพื้นที่ออกเปน 3 บริเวณ ไดแก Hot (Red) Zone : เปนบริเวณที่มีอันตราย หรือมีสารเคมีปนเปอนและสารพิษ มากที่สุดหามทีมปฏิบัติการเขาไปในบริเวณนี้ ผูที่จะเขาไปตองสวมใสอุปกรณปองกันอยางเหมาะสม (Personal Protective Equipment; PPE) Warm (Yellow) Zone : บริเวณที่อยูถัดจากบริเวณที่มีอันตราย หรือมีสารเคมี ปนเปอนเปนบริเวณที่มีการลางสารพิษ (decontamination corridor) ทีมปฏิบัติการกูชีพเบื้องตน สามารถที่ จะเขาไปในบริเวณนี้ได Cold (Green) Zone : เปนบริเวณพื้นที่ปลอดภัยจากอันตราย หรือมีสารเคมี ปนเปอนและสารพิษผูปฏิบัติการทุกคนจะตองถอดอุปกรณปองกันสารพิษ กอนที่จะออกมาอยูในบริเวณนี้ เปนพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารจัดตัง้ Command post, treatment area, loading/ transportation area, staging area เปนตน

การรายงานตามหลัก METHANE

M: Major incident ลักษณะของเหตุการณที่เกิดขึ้น E: Exact location สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน T: Type of incident ลักษณะเหตุของสาธารณภัย H: Hazard มีอันตรายหรืออาจเกิดอันตรายอะไรไดบาง A: Access and egress ขอมูลทางเขาออกสถานที่เกิดเหตุ N: Number and severity of casualties จำนวนผูประสบเหตุและระดับความรุนแรง E: Emergency services มีปฏิบัติการการแพทยที่ปฏิบัติหนาที่อยูแลวหรือยัง

การคัดแยกผูปวย (Triage)

เปนการจัดกลุมผูปวยตามความรุนแรง เพื่อสงตอไปรับการรักษาในสถานที่ที่เหมาะสม โดยใชแนวทางการคัดแยกผูปวย ดังนี้ อุปกรณปดกั้นบริเวณที่เกิดเหตุ เชน เทปพลาสติก กรวยจราจร เปนตน ยา/หัตถการ/ทรัพยากร Triage Tag แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รายงาน METHANE กลับมาทันทีที่ถึงจุดเกิดเหตุ M: Major incident ลักษณะของเหตุการณที่เกิดขึ้น E: Exact location สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน T: Type of incident ลักษณะเหตุของสาธารณภัย H: Hazard มีอันตรายหรืออาจเกิดอันตรายอะไรไดบาง A: Access and egress ขอมูลทางเขาออกสถานที่เกิดเหตุ N: Number and severity of casualties จำนวนผูป ระสบเหตุและระดับความรุนแรง E: Emergency services มีปฏิบัติการการแพทยที่ปฏิบัติหนาที่อยูแลวหรือยัง เมื่อมีการนำสงผูปวยใหรายงานผูปวยกอนการนำสง โดยรายงานขอมูลดังนี้ ผูปวยรายที่......การคัดแยกสี.........นำสงที่โรงพยาบาล.........โดยหนวย.............. เอกสารอางอิง

รพีพร โรจนแสงเรือง. (2552). ภัยพิบตั ิ (disaster) และอุบตั ภิ ยั หมู (mass casualty incident, MCI).วารสารเวชศาสตรฉกุ เฉินไทย, (1), 6-14.

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

67

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


68

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับอำนวยการ

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. ผูปวยที่มีอาการที่สงสัยโรคหลอดเลือดสมอง ไดแก ออนแรงซีกใด ซีกหนึง่ ชาซีกใดซีกหนึง่ พูดไมชดั ปากเบีย้ ว ซึม ไมรสู กึ ตัว เดินเซ 2. ผูป ว ยทีม่ อี าการเขาไดกบั โรคหลอดเลือดสมอง และมีอาการภายใน 4.5 ชม.)

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

สถาณการณที่เกิดเหตุไมปลอดภัย ใหประเมินความปลอดภัยกอนเขาชวยเหลือผูปวย

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ไดรับแจงเหตุ 1669 อาการผูปวยเขาไดกับโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) ไดแกออนแรงซีกใดซีกหนึ่ง ชาซีกใด ซีกหนึ่ง พูดไมชัด ปากเบี้ยว ซึม ไมรูสึกตัว เดินเซ ถามีอาการภายใน 4.5 ชั่วโมงแจงทีม ALS ออกปฏิบัติการ ถามีอาการมากกวา 4.5 ชั่วโมงแจงทีม BLS ออกปฏิบัติการ กรณีทีม BLS ออกปฏิบัติการ ประเมินแลววา มีอาการเขาไดกับโรคหลอดเลือดสมองและ/หรือ มีอาการ เปลี่ยนแปลง เชน ซึมลง หมดสติ หายใจเหนื่อย หรือหัวใจหยุดเตน ใหแจงศูนยสั่งการเพื่อขอ ทีมALS ออกปฏิบัติการรวม ประสานงานหองฉุกเฉินโรงพยาบาลปลายทาง เพื่อเตรียมรับผูปวย เอกสารอางอิง

AHA/ASA Stroke Early Management Guidelines 2018 เกณฑและวิธปี ฏิบตั กิ ารแพทยของผูช ว ยเวชกรรมตามคำสัง่ แพทยและการอำนวยการ

69

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


70

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. ผูปวยที่มีอาการที่สงสัยโรคหลอดเลือดสมอง ไดแก ออนแรงซีกใด ซีกหนึง่ ชาซีกใดซีกหนึง่ พูดไมชดั ปากเบีย้ ว ซึม ไมรสู กึ ตัว เดินเซ 2. ผูป ว ยทีม่ อี าการเขาไดกบั โรคหลอดเลือดสมอง และมีอาการภายใน 4.5 ชม.)

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

สถาณการณที่เกิดเหตุไมปลอดภัย ใหประเมินความปลอดภัยกอนเขาชวยเหลือผูปวย

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ทำการประเมินผูปวยเบื้องตนตาม เกณฑและวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินทั่วไป กรณีผูปวยซึม ไมรูสึกตัว รายงานและรอรับคำสั่งศูนยสั่งการ กรณีผูปวยรูสึกตัวดี ไมซึม ใหซักประวัติเพิ่มเติม วามีอาการดังตอไปนี้หรือไม ไดแก อาการออนแรงซีกใดซีกหนึ่ง ชาซีกใดซีกหนึ่ง พูดไมชัด ปากเบี้ยว เดินเซ จากนั้นรายงานและรอรับคำสั่งศูนยสั่งการ รายงานขอมูลที่สำคัญดังนี้ ชื่อ-นามสกุล เพศ เลขที่บัตรประชาชน อาการสำคัญ,เวลาที่เกิดอาการ เวลาที่เห็นผูปวยปกติครั้งสุดทาย สัญญาณชีพ(BP,PR,RR,SpO2) + DTX โรคประจำตัว AHA/ASA Stroke Early Management Guidelines 2018 เอกสารอางอิง เกณฑและวิธปี ฏิบตั กิ ารแพทยของผูช ว ยเวชกรรมตามคำสัง่ แพทยและการอำนวยการ

71

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


72

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1. ผูปวยที่มีอาการที่สงสัยโรคหลอดเลือดสมอง ไดแก ออนแรงซีกใด ซีกหนึง่ ชาซีกใดซีกหนึง่ พูดไมชดั ปากเบีย้ ว ซึม ไมรสู กึ ตัว เดินเซ 2. ผูป ว ยทีม่ อี าการเขาไดกบั โรคหลอดเลือดสมอง และมีอาการภายใน 4.5 ชม.)

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

สถาณการณที่เกิดเหตุไมปลอดภัย ใหประเมินความปลอดภัยกอนเขาชวยเหลือผูปวย

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ทำการประเมินผูปวยเบื้องตนตามหลัก ABCD และวัด V/S,O2 sat หากผูปวยมีอาการที่สงสัยโรคหลอดเลือดสมอง ไดแก ออนแรงซีกใดซีกหนึ่ง ชาซีกใดซีกหนึ่ง พูดไมชัด ปากเบี้ยว ซึม ไมรูสึกตัว เดินเซ โดยอาการเกิดภายใน 4.5 ชั่วโมง ใหmonitor EKGและเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว(ถานอยกวา 60 mg%ให 50% glucose 50 ml. IV รายงานศูนยสั่งการ โดยมีขอมูลสำคัญ ที่ตองรายงานกลับศูนยสั่งการ ดังนี้ ชื่อ-นามสกุล เพศ เลขที่บัตรประชาชน อาการสำคัญ,เวลาที่เกิดอาการ เวลาที่เห็นผูปวยปกติครั้งสุดทาย สัญญาณชีพ(BP,PR,RR,SpO2) + DTX โรคประจำตัว activated stroke fast tract ใหปฏิบัติดังนี้ เปด IV NSS 1000 ml IV 80 ml/hr (ถาไมมีขอหามใหสารน้ำ**) เจาะ lab CBC,BUN,Cr,Electrolyte,PT,PTT.INR ประเมิน NIHSS (ถาทำได) ประเมินขอหามการให Rtpa (ถาทำได) stroke non fast tract ใหเปด IV NSS 1000 ml IV 80 ml/hr (ถาไมมีขอหามใหสารน้ำ**) ขณะนำสง ประเมินสภาพผูปวยซ้ำทุก 15 นาที เอกสารอางอิง

AHA/ASA Stroke Early Management Guidelines 2018 เกณฑและวิธปี ฏิบตั กิ ารแพทยของผูช ว ยเวชกรรมตามคำสัง่ แพทยและการอำนวยการ

73

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


แบบประเมิน National Institute of Health Stroke Scale (NIHSS) หัวขอประเมิน

วิธีประเมินการใหคะแนน

แรกรับ

0 = รูสึกตัวดี ตอบสนองเปนปกติ 1 = งวงซึม ปลุกตื่นไดงาย เมื่อตื่น ถามตอบรูเรื่องและสามารถทำ ตามคำสั่งได 2 = หลับตลอดเวลา ปลุกตื่นไดแต ตองใชตัวกระตุนแรงๆซ้ำๆกัน หลายครั้ง 3 = ไมตอบสนอง แตสามารถตรวจ พบปฏิกิริยาอัตโนมัติได 0 = ตอบไดถกู ตองทัง้ 2 ขอ 1.2 ระดับ ความรูสึกตัวให 1 = ตอบไดถกู เพียง 1 ขอ ถามชื่อเดือนและ 2 = ไมสามารถตอบคำถามไดหรือ ตอบผิดทัง้ 2 ขอ อายุในขณะปจจุบนั ของผูปวย 1.3 ระดับความรูส กึ ตัว 0 = ทำไดถกู ตองทัง้ 2 อยาง 1.หลับตาและลืมตา 1 = ทำไดถกู ตองเพียงอยางเดียว 2.กำมือและแบมือ 2 = ไมทำตามคำสัง่ หรือทำไมถกู ตอง ขางทีไ่ มออ นแรง 2.การเคลือ่ นไหว 0 = มองตามไดเปนปกติ ของตาใหผปู ว ย 1= ตาขางใดขางหนึง่ หรือทัง้ 2 ขาง เหลือบมองไปดานขางไดแตไมสดุ กลอกตาไปมา 2= เหลือบมองไปดานขางไมไดเลย มองซายขวา หรือมองไปดานหนึง่ ดานใดจนสุด โดยไมสามารถแกไขไดดว ย oculocephalic maneuver 3. การมองเห็น 0 = ลานสายตาปกติ ผูต รวจจะทำการ 1 = ลานสายตาผิดปกติบางสวน ตรวจตาทีละขาง (Partial Hemianopia) โดยอาจใชมอื ปด 2 = ลานสายตาผิดปกติครึ่งซีก (Complete Hemianopia) ตาอีกขางหนึง่ กอน ผูป ว ยมองนิว้ ผูต รวจ 3 = มองไมเห็นทั้ง 2 ตา (ตาบอด) 4. การเคลื่อนไหว 0 = ไมพบมีอาการออนแรงของกลาม ของกลามเนือ้ ใบหนา เนื้อใบหนา ใบหนาไดเปนปกติ ใหผูปวยยิงฟนหรือ 1 = กลามเนือ้ ใบหนาออนแรงเล็กนอย ยิ้มและหลับตา พอสังเกตเห็นมุมปากตก 2 = กลามเนื้อใบหนาออนแรงมาก แตยังพอเคลื่อนไหวกลามเนื้อไดบาง 3 = ไมสามารถเคลื่อนไหวกลามเนื้อ ใบหนาขางหนึ่งขางใดหรือทั้ง 2 ขางไดเลย 1.1.ระดับ ความรูสึกตัว

74

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


หัวขอประเมิน

แรกรับ

วิธีประเมินการใหคะแนน

5. กำลังของกลามเนือ้ แขน

0 = ยกแขนสูง 90 องศากับลำตัวในทานั่ง หรือ 45 องศาใน ทานอนหงาย และสามารถคงไวในตำแหนงที่ตองการได ตลอด 10 วินาที 1 = ยกแขนสูง 90 องศาทำกับลำตัวในทานั่ง หรือ 45 องศา ในทานอนหงายและสามารถคงไวในตำแหนงที่ตองการ ไดไมถึง 10 วินาที โดยที่แขนไมตกลงบนเตียง 2 = ยกแขนขึ้นไดบางแตไมสามารถคงไวในตำแหนงที่ตอง การไดจากนั้นแขนตกลงบนเตียง 3 = ไมสามารถยกแขนขึ้นได 4 = ไมมกี ารเคลือ่ นไหวของกลามเนือ้ แขน UN = แขนพิการหรือถูกตัด หรือพบมีปญหาขอยึดติด 6. กำลังของกลามเนื้อขา 0 = สามารถยกขาขางทีอ่ อ นแรงขึน้ ไดโดยสะโพกทำมุม 30 องศา กับพืน้ ในทานอนหงาย และคงตำแหนงที่ตองการไดตลอด 5 วินาที 1 = สามารถยกขาขางทีอ่ อ นแรงขึน้ ใหสะโพกทำมุม 30 องศา กับพืน้ ในทานอนหงายไดไมถงึ 5 วินาที ก็ตอ งลดขาลงมา แตขาไมตกลงบนเตียง 2 = ยกขาขึน้ ไดบา งในทานอนหงายแตไมถงึ ตำแหนงทีต่ อ งการ หรือขาตกลงบนเตียงกอน 5 วินาที 3 = ไมสามารถยกขาขึน้ จากเตียงไดในทานอนหงาย 4 = ไมมกี ารเคลือ่ นไหวของกลามเนือ้ ขา UN = ขาพิการหรือถูกตัด หรือพบมีปญ  หาขอยึดติด 7. การประสานงานของแขน 0 = การประสานงานของแขนขาทั้ง 2 ขาง เปนปกติ ขาโดยใหผปู ว ยใชนว้ิ ชีแ้ ตะ 1 = มีปญหาในการประสานงานของแขนหรือขา 1 ขาง ปลายจมูกของตนเองจาก 2 = มีปญหาของการประสานงานของแขนหรือขา 2 ขาง UN = แขนหรือขาพิการหรือถูกตัดหรือพบมีปญหาขอติดยึด นั้นใหเหยียดแขนจนสุด เพือ่ แตะปลายนิว้ ของผูต รวจ 8. การรับความรูสึกโดยให 0 = การรับความรูสึกเปนปกติ ผูปวยหลับตาขณะตรวจ 1 = สูญเสียการรับความรูสึกในระดับนอยถึงปานกลาง การรับ และผูตรวจใชวัตถุปลาย ความรูส กึ จากวัตถุปลายแหลมลดลง แตยงั สามารถบอกไดถงึ แหลม จิ้มบริเวณ แขน ความรูส กึ ในบริเวณทีถ่ กู กระตุน ขา ลำตัว ใบหนา ของ 2 = สูญเสียการรับความรูส กึ ในระดับรุนแรงหรือไมรสู กึ วาถูกสัมผัส ที่บริเวณใบหนา แขนและขา ผูปวย และใหผูปวยบอก ความรูสึก 9. ความสามารถดานภาษา 0 = การสื่อภาษาเปนปกติ ใหผปู ว ยบรรยายสิ่งที่เกิด 1 = การสือ่ ภาษาสูญเสียไปในระดับนอยถึงปานกลาง แตผทู ดสอบ ขึน้ ในภาพ บอกชือ่ สิ่งของ ยังพอที่จะเขาใจไดวาผูปวยกำลังพูดถึงอะไรอยู ตางๆและใหอานประโยค 2 = การสื่อภาษาสูญเสียอยางรุนแรงผูปวยไมสามารถสื่อสาร ใหเขาใจไดและผูต รวจไมสามารถทราบไดวา ผูป ว ยกำลังพูดถึงอะไร 3 = ไมพดู หรือไมเขาใจภาษาทีผ่ ตู รวจพยายามสือ่ และไมสามารถ แสดงทาทางพูด หรือเขียนใหผูอื่นเขาใจ (Global Aphasia)

75

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


หัวขอประเมิน

แรกรับ

วิธีประเมินการใหคะแนน

10. การออกเสียงโดยใหผู 0 = เปลงเสียงไดเปนปกติ ปวยอานคำหรือประโยคสัน้ ๆ 1 = พูดไมชัดเล็กนอยถึงปานกลาง ผูปวยพูดไมชัดเปนบางคำ แตผูตรวจพอเขาใจได 2 = พูดไมชัดอยางมากหรือไมพูดไมสามารถเขาใจคำพูดของ ผูปวยได โดยไมมีความผิดปกติของความเขาใจภาษา UN= ผูที่ไดรับการใสทอชวยหายใจ หรือมีปญหาทางกายอื่นๆ ที่มีผลตอการเปลงเสียงเทานั้น

11. การขาดความสนใจใน 0 = ไมพบความผิดปกติ ดานหนึง่ ดานใดของรางกาย 1 = พบความผิดปกติของการรับรูช นิดใดชนิดหนึง่ ดังตอไปนีค้ อื การมองเห็น การสัมผัส หรือการไดยนิ เมือ่ มีการกระตุน 2 ขาง พรอมๆ กัน 2 = มีความผิดปกติในดานการรับรู มากกวา 1 ชนิด หรือผูป ว ยไม รับรูว า เปนมือของตัวเอง หรือสนใจตอสิง่ เราเพียงดานเดียว รวมคะแนน ผูป ระเมิน

แนวทางการให rtPA ในผูปวยโรคหลอดเลือดสมองตีบเฉียบพลัน ขอบงชี้ (inclusion criteria) ตองมีทั้งหมด ใช ไมใช 1. อายุมากกวา 18 ป ใช ไมใช 2. ผล CT scan ของสมองเบื้องตนไมพบภาวะเลือดออก ใช ไมใช 3. มีอาการของหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันภายใน 4.5 ชั่วโมง ในกรณีที่ไมทราบเวลาที่เริ่มมีอาการอยางชัดเจน หรือมีอาการหลังตืน่ นอน ใหนบั เวลาลาสุดทีม่ พี ยานยืนยันวายังเปนปกติเปนเวลาที่เริ่มมีอาการ

ใช ไมใช 1. ความดันโลหิตในชวงกอนการใหการรักษาสูง (SBP ≥185 mmHg หรือ DBP ≥110 mmHg) และไมสามารถลด ความดันโลหิตลงไดกอน ใหยาละลายลิ่มเลือด ใช ไมใช 2. ผล CT brain พบเนื้อสมองขาดเลือดมากกวา 1 กลีบ (hypodensity >1/3 ของ cerebral hemisphere) ใช ไมใช 3. มีประวัติเลือดออกในสมองหรือกะโหลกศีรษะใน 3 เดือน

76

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


ใช ไมใช 4. มีอาการที่สงสัยวาเปนโรคเลือดออกใตชั้นเยื่อหุมสมอง (subarachnoid hemorrhage) ใช ไมใช 5. มีประวัติเปนโรคหลอดเลือดสมองหรือบาดเจ็บที่ศีรษะรุนแรงภายใน 3 เดือน ใช ไมใช 6. มีประวัติไดรับยาตานการแข็งตัวของเลือด โดยมีคา prothrombin time (PT) ≥15 วินาที หรือ INR ≥1.7 ใช ไมใช 7. ไดรับยา heparin ภายใน 48 ชั่วโมง หรือมีคา partial thromboplastin time (PTT) ผิดปกติ ใช ไมใช 8. มีปริมาณเกล็ดเลือดนอยกวา 100,000 /mm3 ใช ไมใช 9. ตรวจรางกายพบมีภาวะเลือดออก (active bleeding) ใช ไมใช 10. มีการเจาะหลอดเลือดแดงขนาดใหญในตำแหนงที่ไมสามารถกดหามเลือดไดภายใน 7 วัน ใช ไมใช 11. มีระดับน้ำตาลในเลือด ≤50 mg/dL (2.7 mmol/L) ใช ไมใช 12. อาการทางระบบประสาทดีขึ้นอยางรวดเร็ว หรือมีอาการอยางเดียวไมรุนแรง เชน แขนขาออนแรงเล็กนอย (NIHSS <4) ยกเวน aphasia หรือมี hemianopsia* ใช ไมใช 13. มีประวัติผาตัดใหญภายใน 14 วัน* ใช ไมใช 14. มีเลือดออกในทางเดินอาหารหรือทางเดินปสสาวะภายใน 21 วัน* ใช ไมใช 15. มีอาการชักตอนเริ่มมีอาการรวมกับออนแรงหลังชัก (Todd’s paralysis)* ใช ไมใช 16. มีประวัติ recent myocardial infarction ภายใน 3 เดือน*! *Relative exclusion criteria ใหพิจารณาเปรียบเทียบความเสี่ยงและประโยชนที่ไดรับ (risk/benefit) กอนใหยา

ขอหาม (exclusion criteria)

เพิ่มเติมในกรณีที่ผูปวยมาถึงโรงพยาบาลเกินกวา 3 ชั่วโมงหลังมีอาการแตไมเกิน 4.5 ชั่วโมง ใช ไมใช 1. อายุมากกวา 80 ป ใช ไมใช 2. มีอาการทางระบบประสาทรุนแรง คะแนน NIHSS >25 ใช ไมใช 3. เปนโรคเบาหวานรวมกับมีอาการของโรคหลอดเลือดสมองเดิม (old infarction) ใช ไมใช 4. ไดรับยาตานการแข็งตัวของเลือด (warfarin) โดยไมพิจารณาคา INR ลงชื่อ .................................................................. แพทยผูประเมิน วันที่ ............................................. เวลา ........................

77

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


78

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน โรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับอำนวยการ

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1.เจ็บแนนอก 2.ใจสั่น เหงื่อแตก 3.จุกใตลิ้นป

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ผูปวยโรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน มีความเสี่ยง ตองเฝาระวังภาวะหัวใจหยุดเตน กรณีผูปวยอาการทรุดลงระหวางนำสง ใหขอ ว.7 เรียกหนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูงทันที

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) เมือ่ รับแจงเหตุผปู ว ยมีอาการเจ็บแนนอก ซักประวัตอิ าการทีเ่ ขาไดกบั โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ดังตอไปนี้ มีอาการราวไปคอ ,กราม,แขน,หลัง ใจสัน่ เหงือ่ แตกตัวเย็น หนามืด เปนลม หายใจลำบาก และมีโรคประจำตัว ทีม่ คี วามเสีย่ ง ไดแก เบาหวาน หัวใจขาดเลือด ไขมันสูง ความดันโลหิตสูง ผูป ว ยมีอาการขางตนอยางนอย 1 ขอ รวมกับมีโรคประจำตัวทีม่ คี วามเสีย่ ง ใหแจงหนวยปฏิบตั กิ ารระดับสูงออกเหตุ ประเมินผูป ว ยตามแนวทาง ALS protocol ติดEKG 12 leads EKG เขาไดกบั STEMI หนวยปฏิบตั กิ ารระดับสูงประสานศูนยสง่ั การ ศูนยประสานโรงพยาบาลปลายทาง EKG ไมเขากับภาวะ STEMI หรือไมชดั เจน ใหหนวยปฏิบตั กิ ารระดับสูงนำสงโรงพยาบาลปลายทางตามปกติ * การวินจิ ฉัยEKG ทำโดย แพทยเวรประจำโรงพยาบาล กรณีไมมแี พทยเวรประจำใหหนวยปฏิบตั กิ ารระดับสูง ติดตอศูนยสง่ั การ เพือ่ สงEKG ใหแพทยเวรศูนยสง่ั การวินจิ ฉัย ผูป ว ยไมมอี าการหรือโรคประจำตัวทีม่ คี วามเสีย่ ง แจงหนวยปฏิบตั กิ ารระดับพืน้ ฐานออกเหตุ หนวยปฏิบตั กิ ารระดับพืน้ ฐานประเมินผูป ว ยตามแนวทาง BLS protocol หนวยปฏิบตั กิ ารระดับพืน้ ฐานประสานศูนยสง่ั การ ถาอาการเขาไดกบั ภาวะโรคกลามเนือ้ หัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ศูนยสง่ั การแจงหนวยปฏิบตั กิ ารระดับสูงรับชวงตอ ถาอาการไมเขากับโรคกลามเนือ้ หัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ศูนยสง่ั การแจงหนวยปฏิบตั กิ ารการแพทย ระดับพืน้ ฐาน นำสงเอง คูม อื การชวยชีวติ ขัน้ สูง สำหรับบุคลากรทางการแพทย ป ค.ศ.2015 เอกสารอางอิง ISBN 978-616-8023-03-7

79

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


80

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน โรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1.เจ็บแนนอก 2.ใจสั่น เหงื่อแตก 3.จุกใตลิ้นป

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ผูปวยโรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน มีความเสี่ยง ตองเฝาระวังภาวะหัวใจหยุดเตน ถาเกิดภาวะหัวใจหยุดเตน ใหติดเครื่องกระตุกไฟฟาหัวใจ AED (ถามี) และช็อกไฟฟาตามเครื่องแนะนำทันที กรณีผูปวยอาการทรุดลงระหวางนำสง ใหขอ ว.7 เรียกหนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูงทันที

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) เมื่อผูปวยมีอาการเขาไดกับโรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ไดแก : เจ็บแนนอก ราวไปคอ ,กราม,แขน, หลัง หรือ ใจสั่น เหงื่อแตกตัวเย็น หนามืด หายใจลำบาก ใหดำเนินการดังตอไปนี้ ซักประวัติโรคประจำตัว ที่มีความเสี่ยง ไดแก เบาหวาน หัวใจ ไขมันสูง ความดันโลหิตสูง วัดสัญญาณชีพ ความดันโลหิต ชีพจร อัตราการหายใจ ความอิ่มตัวของออกซิเจน(O2sat) ติดตอศูนยสั่งการ กรณีอาการเขาไดกับ โรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหรือมีอาการทรุดลง แจงศูนยสั่งการ เพื่อขอหนวยระดับสูงรับชวงตอ กรณีอาการไมเขากับ โรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันและสัญญาณชีพปกติ แจงแจงศูนยสั่ง การเพื่อขอคำแนะนำ กรณีศูนยสั่งการใหนำสงเอง ระหวางนำสง วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที เฝาระวังภาวะหัวใจหยุดเตน ถาผูปวยอาการทรุดลงให ว.7 ทีม advance ทันที รายงานโรงพยาบาลปลายทาง ตามรูปแบบ ดังนี้ ผูปวย เพศ...........อายุ.......ป โรคประจำตัว.......................... เลขที่บัตรประชาชน................................................................... เริ่มมีอาการเจ็บอก ..................น. V/Sลาสุด..................................................................................... การรักษาที่ให.............................................................................. เอกสารอางอิง

คูม อื การชวยชีวติ ขัน้ สูง สำหรับบุคลากรทางการแพทย ป ค.ศ.2015 ISBN 978-616-8023-03-7

81

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


82

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน โรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

1.เจ็บแนนอก 2.ใจสั่น เหงื่อแตก 3.จุกใตลิ้นป

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration) ระวังการให ASA ซักประวัติ เลือดออกในทางเดินอาหาร ภายใน 2 สัปดาหที่ผานมา หรือประวัติแพยา aspirin หามใหยาถาผูปวยมีประวัติแพ ระวังการให isordil ในผูปวย ที่มีความดันโลหิตต่ำ ,ใชยากลุม Phosphodiesterase inhibitor (Viagra) หรือ ผูปวยที่มี RV infarction (EKG ST-elevation in V1)

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment)

เมื่อผูปวยมีอาการเขาไดกับโรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ไดแก : เจ็บแนนอก ราวไปคอ ,กราม,แขน,หลัง หรือ ใจสั่น เหงื่อแตกตัวเย็น หนามืด หายใจลำบาก ใหดำเนินการดังตอไปนี้ ซักประวัติโรคประจำตัว ที่มีความเสี่ยง ไดแก เบาหวาน หัวใจ ไขมันสูง ความดันโลหิตสูง วัดสัญญาณชีพ ความดันโลหิต ชีพจร อัตราการหายใจ ความอิ่มตัวของออกซิเจน(O2sat) ติด monitor EKG 12 leads ติดตอศูนยสั่งการ ใหแพทยวินิจฉัย EKG แพทยวินิจฉัย STEMI ใหรักษาดังตอไปนี้ Oxygen supplement if spO2 <90% ASA gr.V 1 tab เคี้ยว Isodril(5) 1 tab SL. prn for chest pain q 5 min. (ขอหาม SBP <90, RV infarction,ใช viagra) เปด injection plug เก็บเลือดสำหรับสงตรวจ: CBC,PT,PTT,INR,BUN,Cr,Electrolyte,Ca,Mg,PO4, Trop-T/Trop-I สอบถามผูปวยหรือญาติ ขอหาม SK (ตามเอกสาร แบบซักประวัติขอหามการให SK) เคยมี hemorrhagic stroke หรือมี structural cerebral vascular lesion Malignant intracranial neoplasm เคยมี ischemic stroke ใน 3 เดือน สงสัย aortic dissection มี active bleeding ประวัติบาดเจ็บที่หนา หรือศีรษะรุนแรงใน 3 เดือน Intracranial or intraspinal surgery ใน 2 เดือน Severe uncontrolled HT (ที่ไม respond ตอ emergency Rx) For SK, prior SK ใน 6 เดือน แพทยวินิจฉัย NSTEMI/ACS/ ไมชัดเจน ดูแล A B C นำสงโรงพยาบาลที่มีศักยภาพ ตามศูนยสั่งการแจง โดย Monitor EKG และวัดสัญญาณชีพทุก 5 นาที รายงานโรงพยาบาลปลายทาง ตามรูปแบบดังนี้ ผูปวย เพศ...........อายุ.......ป โรคประจำตัว.......................... เอกสารอางอิง เลขที่บัตรประชาชน................................................................... คูม อื การชวยชีวติ ขัน้ สูง สำหรับบุคลากรทางการ เริ่มมีอาการเจ็บอก ..................น. V/Sลาสุด..................................................................................... แพทย ป ค.ศ.2015 ISBN 978-616-8023-03-7 การรักษาที่ให..............................................................................

83

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


แบบซักประวัติผูปวยการไดยา Streptokinase ขอหาม (Absolute contraindications)

เคย ไมเคย

1. มีประวัติเลือดออกในสมอง 2. มีความผิดปกติของหลอดเลือดในสมอง (Arteriovenous malformation, Aneurysm) 3. เปนโรคเนื้องอกในสมอง 4. Ischemic stroke ภายใน 3 เดือน (ยกเวน Acute ischemic stroke ภายใน 3 ชั่วโมง) 5. สงสัยวามีเลือดเซาะในหลอดเลือดแดง (Suspected aortic dissection) 6. มีเลือดออกหรือถายเปนเลือดสดๆอยางรุนแรง (ยกเวนการมีประจำเดือน) 7. ไดรับความกระทบกระเทือนอยางรุนแรงบริเวณศีรษะและใบหนา ภายใน 3 เดือน

ขอควรระวัง (Relative contraindications)

เคย ไมเคย

1. มีประวัติความดันโลหิตสูงเรื้อรัง และไมสามารถควบคุมได 2. ความดันโลหิตสูงที่ไมสามารถควบคุมได (Systolic BP > 180 mmHg หรือ Diastolic BP > 110 mmHg) 3. มีประวัติ ischemic stroke ภายใน 12 เดือน 4. ไดรบั บาดเจ็บหรือทำ CPR นานเกิน 10 นาที หรือไดรบั การผาตัดใหญภายใน 3 สัปดาห ทีผ่ า นมา 5. มีเลือดออกจากรางกายภายใน 2-4 สัปดาห 6. เจาะเลือดแลวพบวาเลือดหยุดยาก ถึงแมวาจะกดไวนานก็ไมหยุดไหล 7. เคยไดรบั ยาละลายลิม่ เลือด (Streptokinase) > 5 วันทีผ่ า นมา หรือมีประวัตแิ พยา ละลายลิม่ เลือด 8. กำลังมีครรภ 9. เปนโรคกระเพาะอาหารอยางรุนแรง 10. เคยไดรับยาละลายลิ่มเลือด และคา INR สูงเกินคามาตรฐาน

84

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


85

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน แนวทางปฏิบัติสารพิษ หรือยาเกินขนาด หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับอำนวยการ

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

สงสัยผูปวยรับประทานยาเกินขนาด หรือไดรับสารพิษ

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุกอนเขาชวยเหลือผูบาดเจ็บ ไดแก ควัน สารเคมีรั่วไหล เปนตน หากสถานการณไมปลอดภัย ใหขอความชวยเหลือจากหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ดับเพลิง ตำรวจ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) รับแจงเหตุ ซักประวัติคำถามสำคัญและใหคำแนะนำเบื้องตนแกผูแจงเหตุ สั่งการหนวยปฏิบัติการการแพทยที่อยูใกลและเหมาะสมตามระดับความฉุกเฉิน ออกประเมินผูปวย รับรายงานขอมูล และชวยประสานงานระหวางหนวยปฏิบัติการการแพทย ใหคำแนะนำการดูแลผูปวยเพิ่มเติม กรณีไดรับสารพิษทางการรับประทาน ใหหลีกเลี่ยงการกระตุนใหผูปวยอาเจียน และงดรับประทานทุกสิ่ง ถอดเสื้อผาที่เปอนสารพิษ คราบอาเจียนหรือสารคัดหลั่งออก เช็ดลางรางกายที่เปอนสารพิษดวยผา และน้ำสะอาดปริมาณมาก จัดใหผูปวยอยูในบริเวณที่อากาศถายเทสะดวก ให Oxygen mask with bag > 11 ลิตร ในผูปวยที่ สงสัยภาวะเปนพิษจากคารบอนมอนอกไซด เชน สูดควันหลังไฟไหม หรือ พบนอนในรถหมดสติ สั่งการใหเก็บตัวอยางยา สารพิษ และภาชนะบรรจุสารที่พบ ณ จุดเกิดเหตุ สงโรงพยาบาลพรอมผูปวย ประสานงานหองฉุกเฉินโรงพยาบาลปลายทางใหเตรียมพื้นที่ และอุปกรณปองกันตามชนิดของสารพิษ อุปกรณสอ่ื สาร ยา/หัตถการ/ทรัพยากร แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ 1. ชื่อผูปวย เพศ อายุ (โดยประมาณ) 2. โรคประจำตัว 3. อาการ และอาการแสดงที่ตรวจพบ 4. ชนิดสารพิษ หรือ ยาที่ไดรับ 5. สัญญาณชีพ คูมือระงับอุบัติภัยจากวัตถุอันตราย 2559 เอกสารอางอิง สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

86

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


87

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน แนวทางปฏิบัติสารพิษ หรือยาเกินขนาด หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

สงสัยผูปวยรับประทานยาเกินขนาด หรือไดรับสารพิษ

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุกอนเขาชวยเหลือผูบาดเจ็บ ไดแก ควัน สารเคมีรั่วไหล เปนตน หากสถานการณไมปลอดภัย ใหประสานศูนยสั่งการเพื่อขอหนวยสนับสนุนกอนเขาปฏิบัติการ งดเวนการใหออกซิเจน ในผูปวยที่มีประวัติสัมผัสยาฆาหญา/สารกรัมมอกโซน (Paraquat) เพราะจะทำใหเกิดพิษ มากขึ้น ยกเวนผูที่มีระดับออกซิเจนปลายนิ้วต่ำกวา 92% รวมกับภาวะหายใจเร็วลึก หรือใชกลามเนื้อทอง/อก ชวยในการหายใจ สามารถใหออกซิเจนได

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment)

สวมอุปกรณปองกันตนเอง ชุดปองกันระดับ C หรือ D ประเมินอาการ และปฏิบัติตามแนวทางการประเมินดูแลผูปวยนอกโรงพยาบาล (Non-trauma) ประเมินทางเดินหายใจ (Airway) โดยเปดทางเดินหายใจ ดูดเสมหะ สารคัดหลั่ง หรือคราบอาเจียน ประเมินการหายใจ (Breathing) นับอัตราการหายใจ วัดระดับออกซิเจนปลายนิ้ว ใหออกซิเจนเมื่อมีขอบงชี้ ประเมินการไหลเวียนโลหิต (Circulation) คลำชีพจร วัดความดัน ดูสีผิว ใหการดูแลเบื้องตน กรณีไดรับสารพิษทางการรับประทาน ใหหลีกเลี่ยงการกระตุนใหผูปวยอาเจียน และงดรับประทานทุกสิ่ง ถอดเสื้อผาที่เปอนสารพิษ คราบอาเจียนหรือสารคัดหลั่งออก เช็ดลางรางกายที่เปอนสารพิษดวยผาและ น้ำสะอาดปริมาณมาก จัดใหผูปวยอยูในบริเวณที่อากาศถายเทสะดวก ให Oxygen mask with bag > 11 ลิตร ในผูปวยที่สงสัย ภาวะเปนพิษจากคารบอนมอนอกไซด เชน สูดควันหลังไฟไหม หรือ พบนอนในรถหมดสติ รายงานศูนยสั่งการ และขอหนวยปฏิบัติการการแพทยระดับสูงสนับสนุน เก็บตัวอยางยา สารพิษ และภาชนะบรรจุสารที่พบ ณ จุดเกิดเหตุ โดยหลีกเลี่ยงการสัมผัสสารโดยตรง ประเมินผูปวยเปนระยะขณะนำสง อุปกรณปอ งกันตนเอง หมวกคลุมผม หนากากอนามัย ถุงมือ แวนตา ผากันเปอ น รองเทาบูท อุปกรณเปดทางเดินหายใจ ลูกสูบยางแดง อุปกรณใหออกซิเจน และถังออกซิเจน อุปกรณสอ่ื สาร 1. ชื่อผูปวย เพศ อายุ (โดยประมาณ) แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ 2. โรคประจำตัว 3. อาการ และอาการแสดงที่ตรวจพบ 4. ชนิดสารพิษ หรือ ยาที่ไดรับ 5. สัญญาณชีพ คูมือระงับอุบัติภัยจากวัตถุอันตราย 2559 เอกสารอางอิง สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

88

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


วิธีการสวมอุปกรณปองกันตนเอง ระดับ C • สวมถุงหุมขาบริเวณใตเขาทั้งสองขาง • ดึง hood ดานหลังศีรษะคลุมใหครอบ แวนตา และใบหนา • แกะเทปกาวทีต่ ดิ อยูก บั ชุดปองกันเพือ่ ปดทับรอยซิปอีกชั้น • สวมชุดปองกันจากดานลางขึ้นดานบน

• สวมหนากากอนามัยชนิด N95 โดยถือ หนากากไวในอุงมือ และรวบสายรัดศีรษะ ไวดา นหนาของหนากาก จากนัน้ ครอบหนากาก ใหปด ปากและจมูก ดึงสายรัดเสนลางไปบริเวณ หลังศีรษะใตใบหู และดึงสายรัดเสนบนไป บริเวณหลังศีรษะเหนือใบหู

• สวมถุงมือไนไตรท 2 ชั้น ชัน้ ทีห่ นึง่ สวมไวดา นในของชุดปองกัน จากนัน้ ใชสายรัดทีต่ ดิ อยูก บั ชุดปองกัน คลองนิ้วมือที่สวมถุงมือชั้นแรกไว ชัน้ ทีส่ องใหคลุมทับปลายแขนดานนอก ของชุดปองกันทั้งสองขาง

• สวม face shield

• ตรวจสอบความแนบสนิทของหนากาก อนามัยและใบหนา • ทำ fit test โดยใชมือทั้งสองขางทาบที่ หนากาก ถาใสหนากากถูกตอง เวลาหายใจ เขาหนากากจะยุบตัว หายใจออกหนากาก จะพองตัว • สวมแวนครอบตา (goggles) จากนั้น ดึงสายรัดดานขางทีละขางใหแนน • ตรวจสอบความแนบสนิทบริเวณหนา ผากและใตตา

• สำรวจความเรียบรอยครัง้ สุดทาย กอนเขาพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน

• สวมรองเทาบูท แลวดึงใหชุดปองกัน คลุมทับรองเทาบูท

89

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


วิธีการถอดอุปกรณปองกันตนเอง ระดับ C • ถอดถุงมือชัน้ นอก

• ถอดถุงหุม ขาออก โดยใชมอื ทัง้ สองขางสอดเขาทางดานใน ของถุงหุมขา • ลางมือดวยแอลกอฮอลเจล รอจนแหง

• ถอด face shield โดยใชมือ ที่ใสถุงมือชั้นในจับสายรัดดานหลัง

• ถอดแวนครอบตา (goggles) โดยจับบริเวณสายรัดดานขางศีรษะ ยกขึน้ เหนือศีรษะในทิศทางตรง และทิง้ ลงในถุงขยะติดเชือ้ สีแดง • ลางมือดวยแอลกอฮอลเจล รอจนแหง

• แกะเทปบริเวณชุดปองกันและ รูปซิปจากบนลงลาง ดึงชุดปองกัน บริเวณศีรษะไปดานหลัง จากนั้นใช ถุงมือชั้นในจับชุดปองกันและคอยๆ ถอดชุดใหหลุดจากไหล และลำตัว ดวยความระมัดระวัง ถอดชุดปองกัน ใหคลุมรองเทาบูทที่ดานลางไว • ถอดรองเทาบูทโดยยังไมถอดถุงหุม ขา โดยกาวเขามาในพื้นที่ที่ไมปนเปอน หรือบนผาชุบน้ำยาฆาเชือ้ ทีเ่ ตรียมไว • จับบริเวณชุดปองกันทีค่ ลุมรองเทาบูท หยิบชุดและรองเทาทิง้ ลงในถุงขยะติด เชือ้ สีแดงพรอมกัน

• ถอดถุงมือชัน้ ใน โดยไมใหมอื เปลา สัมผัสโดนถุงมือดานนอก • ลางมือดวยแอลกอฮอลเจล รอจนแหง

90

• ถอดหนากากอนามัยชนิด N95 โดยเงยศีรษะขึน้ เล็กนอย ดึงสายรัดดานหลังศีรษะบริเวณ ใตใบหูขามศีรษะมาดานหนา แลวดึงไวใตคาง จากนั้นดึง สายรั ด บริ เวณเหนื อ ใบหู ย ก ขามศีรษะมาดานหนา ทิง้ หนา กากลงในถุงขยะติดเชื้อสีแดง • ลางมือดวยแอลกอฮอลเจล รอจนแหง • ตรวจสอบการปนเปอนอีก ครั้งกอนออกจากพื้นที่ไปทำ ภารกิจตอไป • หลังสิ้นสุดภารกิจทั้งหมด แลวใหเจาหนาทีท่ ำการอาบน้ำ ชำระล า งร า งกายในพื ้ นที ่ ท ี ่ กำหนดก อ นเปลี ่ ย นเป นชุ ด ทำงานปกติ

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


91

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน แนวทางปฏิบัติสารพิษ หรือยาเกินขนาด หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

สงสัยผูปวยรับประทานยาเกินขนาด หรือไดรับสารพิษ

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุกอนเขาชวยเหลือผูบาดเจ็บ ไดแก ควัน สารเคมีรั่วไหล เปนตน หากสถานการณไมปลอดภัย ใหประสานศูนยสั่งการเพื่อขอหนวยสนับสนุนกอนเขาปฏิบัติการ งดเวนการใหออกซิเจน ในผูปวยที่มีประวัติสัมผัสยาฆาหญา/สารกรัมมอกโซน (Paraquat) เพราะจะทำใหเกิดพิษ มากขึ้น ยกเวนผูที่มีระดับออกซิเจนปลายนิ้วต่ำกวา 92% รวมกับภาวะหายใจเร็วลึก หรือใชกลามเนื้อทอง/อก ชวยในการหายใจ สามารถใหออกซิเจนได

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment)

สวมอุปกรณปองกันตนเอง ชุดปองกันระดับ C หรือ D ประเมินอาการ และปฏิบัติตามแนวทางการประเมินดูแลผูปวยนอกโรงพยาบาล (Non-trauma) ประเมินทางเดินหายใจ (Airway) โดยเปดทางเดินหายใจ ดูดเสมหะ สารคัดหลั่ง หรือคราบอาเจียน ประเมินการหายใจ (Breathing) นับอัตราการหายใจ วัดระดับออกซิเจนปลายนิ้ว ใหออกซิเจนเมื่อมีขอบงชี้ ประเมินการไหลเวียนโลหิต (Circulation) คลำชีพจร วัดความดัน ดูสีผิว ใหการดูแลเบื้องตน กรณีไดรับสารพิษทางการรับประทาน ใหหลีกเลี่ยงการกระตุนใหผูปวยอาเจียน และงดรับประทานทุกสิ่ง ถอดเสื้อผาที่เปอนสารพิษ คราบอาเจียนหรือสารคัดหลั่งออก เช็ดลางรางกายที่เปอนสารพิษดวยผาและ น้ำสะอาดปริมาณมาก จัดใหผูปวยอยูในบริเวณที่อากาศถายเทสะดวก ให Oxygen mask with bag > 11 ลิตร ในผูปวยที่สงสัย ภาวะเปนพิษจากคารบอนมอนอกไซด เชน สูดควันหลังไฟไหม หรือ พบนอนในรถหมดสติ รายงานศูนยสั่งการ และขอหนวยปฏิบัติการการแพทยระดับสูงสนับสนุน เก็บตัวอยางยา สารพิษ และภาชนะบรรจุสารที่พบ ณ จุดเกิดเหตุ โดยหลีกเลี่ยงการสัมผัสสารโดยตรง ประเมินผูปวยเปนระยะขณะนำสง อุปกรณปอ งกันตนเอง หมวกคลุมผม หนากากอนามัย ถุงมือ แวนตา ผากันเปอ น รองเทาบูท อุปกรณเปดทางเดินหายใจ ลูกสูบยางแดง อุปกรณใหออกซิเจน และถังออกซิเจน อุปกรณสอ่ื สาร 1. ชื่อผูปวย เพศ อายุ (โดยประมาณ) แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ 2. โรคประจำตัว 3. อาการ และอาการแสดงที่ตรวจพบ 4. ชนิดสารพิษ หรือ ยาที่ไดรับ 5. สัญญาณชีพ คูมือระงับอุบัติภัยจากวัตถุอันตราย 2559 เอกสารอางอิง สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

92

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


93

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.