1
พิมพ์ครั้งที่ 1 : มีนาคม 2563 จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย : ศูนย์อานวยการทางการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดปราจีนบุรี โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร โรงพยาบาลประจันตคาม โรงพยาบาลศรีมหาโพธิ โรงพยาบาลกบินทร์บุรี โรงพยาบาลศรีมโหสถ โรงพยาบาลบ้านสร้าง โรงพยาบาลนาดี
2
คณะผู้ จั ด ท ำขอขอบคุ ณ ผู้ ต รวจรำชกำรเขตสุ ข ภำพที่ 6 ที่ ส นั บ สนุ น นโยบำยกำรพัฒนำระบบแพทย์อำนวยกำร ขอขอบคุณ เลขำธิกำรสถำบัณกำรแพทย์ฉุกเฉินแห่งชำติ (สพฉ.) ที่สนับสนุนงบประมำณและวำงแนวทำงในกำรพัฒนำระบบแพทย์อำนวยกำร รวมถึงกำรพัฒนำ EMS protocol ขอขอบคุณ หน่วยปฏิบัติกำรทุกระดับในจังหวัดปรำจีนบุรี ที่ร่วมแรงร่วม ใจนำ EMS protocol ไปปฏิบัติ นอกจำกนี้ยังมีผู้ที่ให้ควำมร่วมมือช่วยเหลืออีกหลำยท่ำน ซึ่งผู้เขียนไม่ สำมำรถกล่ำวนำมในที่นี้ได้หมด จึงขอขอบคุณทุกท่ำนเหล่ำนั้นไว้ ณ โอกำสนี้ ด้วย
คณะผู้จัดทำ
3
ระบบกำรแพทย์ฉุกเฉิน หรือ Emergency Medical Service system (EMS) มีเป้ำหมำยเพื่อ เพิ่มกำรเข้ำถึงบริกำรของผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ลดอัตรำ กำรเสียชีวิตและทุพพลภำพ และพัฒนำระบบริกำรที่มีมำตรฐำน ระบบกำรแพทย์ฉุก เฉินที่มีมำตรฐำนนั้ น จำเป็ น ต้องมีองค์ ป ระกอบ หลำยอย่ ำ ง หนึ่ ง ในนั้ น คื อ กำรพั ฒ นำระบบแพทย์ อ ำนวยกำร หรื อ EMS Medical Direction System โดยแพทย์อำนวยกำรมีบทบำทหลักอยู่ 2 ส่วน คือ กำรพัฒนำระบบบริหำรจัดกำรที่มีคุณภำพ (Quality of Management) และกำรพัฒนำคุณภำพกำรรักษำ (Quality of Care) ในส่ ว นของกำรพั ฒ นำคุ ณ ภำพกำรรั ก ษำจ ำเป็ น ต้ อ งมี แ นวปฏิ บั ติ (Protocol) เพื่อเป็นแนวทำงในกำรดูแลผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุและ ระหว่ ำ งน ำส่ ง โรงพยำบำล ซึ่ ง จะท ำให้ ผู้ ป่ ว ยได้ รั บ กำรดู แ ลที่ ถู ก ต้ อ งตำม มำตรฐำน ปลอดภัย รวมถึงสอดคล้องกับกฎหมำย ระเบียบและเหมำะสม ระบบกำรแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่นั้นๆ แนวปฏิบัติ.... เล่มนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อให้หน่วยปฏิบัติกำรทุกระดับตั้งแต่ ระดับเบื้องต้น ระดับพื้นฐำน ระดับสูง จนถึงระดับอำนวยกำร ใช้เป็นแนวทำง ในกำรดูแลผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน โดยคณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ แนวปฏิบัติ เล่มนี้จะเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในกำรพัฒนำระบบกำรแพทย์ฉุกเฉินที่มี ประสิทธิภำพ อันจะส่งผลให้ผู้ป่วยและบุคลำกรปลอดภัย
4
เนื้อเรื่อง เกณฑ์การปฏิบัติการแพทย์ของผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งแพทย์ และการอานวยการ หน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินการแพทย์ระดับสูง หมวดผู้ป่วย ผู้ป่วยฉุกเฉิน ผู้ป่วยเด็กเบื้องต้น ภาวะทางเดินหายใจอุดกั้น ผู้ป่วยที่ไม่สามารถใส่ท่อช่วยหายใจได้ ภาวะแพ้รุนแรง ผู้ป่วยระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยเจ็บหน้าอก ผู้ป่วยเจ็บครรภ์คลอด ผู้ป่วยเจ็บครรภ์มีสายสะดือย้อย ทารกแรกคลอด ผู้ป่วยจมน้า ผู้ป่วยระดับน้าตาลต่า ภาวะหายใจวิกฤต ผู้ป่วยชักเกร็ง ภาวะช็อก ผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยได้รับสารพิษ ผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน ผู้ป่วยหัวใจเต้นช้า หรือ เร็ว ผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น เกณฑ์การปฏิบัติการแพทย์ของผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งแพทย์ และการอานวยการ หน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินการแพทย์ระดับสูง หมวดผู้บาดเจ็บ ผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน ผู้บาดเจ็บช่องท้อง ผู้บาดเจ็บทรวงอก ผู้บาดเจ็บจากการถูกบดทับ
หน้า
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 5
เนื้อเรื่อง (ต่อ) ผู้บาดเจ็บดวงตา ผู้บาดเจ็บรยางค์ ผู้บาดเจ็บใบหน้า ผู้บาดเจ็บที่ศีรษะ ผู้บาดเจ็บบริเวณลาคอ ผู้บาดเจ็บจากความร้อน ผู้บาดเจ็บกระดูกสันหลัง ผู้บาดเจ็บจากความร้อน ผู้บาดเจ็บมีวัตถุปักคา หัตถการสาหรับผู้ปฏิบัติการฉุกเฉิน Procedure การเปิดทางเดินหายใจแบบไม่ใช้อุปกรณ์ การใช้ Oropharyngeal airway (OPA) สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน การใส่อุปกรณ์พยุงทางหายใจชนิดครอบกล่อง การให้ออกซิเจน การช่วยหายใจ หน้ากากกันสัมผัสช่วยใจ การใส่ท่อช่วยหายใจ การใส่ท่อช่วยหายใจด้วยการใช้ยา การดูดของเหลวทางปาก การดูดของเหลวทางหลอดคาในท่อลม การตรวจวัดความอิ่มตัวออกซิเจนของฮีโมโกบิล การลดแรงดันในช่องเยื่อหุ้มปอด การปิดแผลทรวงอกสามทาง การห้ามเลือด การขันชะเนาะห้ามเลือด การดูแลอวัยวะถูกตัดขาด การกดนวดหัวใจในผู้ใหญ่ การกดนวดหัวใจในเด็ก
หน้า 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 36 38 40 41 45 46 47 48 52 53 54 55 57 58 59 61 62 63
6
เนื้อเรื่อง (ต่อ) การกดนวดหัวใจในเด็กทารก (อายุ <1 ปี) การใส่เฝือกดามคอชนิดปรับขนาดได้ การใส่เฝือกดามคอชนิดประกบหน้าหลัง กระดานสั้นดามกระดูกสันหลัง กระดานรองหลังชนิดยาว การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยใช้เปลตัก การใช้แถบรัดตรึงกระดูกเชิงกรานยี่ห้อแซม การใช้ผ้ารัดตรึงกระดูกเชิงกราน การดาม การถอดหมวกนิรภัย การตรวจวัดระดับน้าตาลในกระแสเลือด การช่วยคลอดฉุกเฉิน การล้างตา การดูแลแผลที่มีวัตถุปักคา การยึดตรึงผู้ป่วยพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายภาพ
หน้า 64 65 66 69 70 72 73 74 75 76 78 79 82 83 84
7
เกณฑ์การปฏิบัติการแพทย์ ของผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งแพทย์ และการอานวยการ หน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินการแพทย์ระดับสูง หมวดผู้ป่วย
8
รับแจ้ง
ประเมิน สถานการณ์ 1.สวมอุปกรณ์ปองกันตัวเอง 2.ประเมิน และสร้า งความปลอดภัยในที่เกิดเหตุ 3.อาการป่วย/กลไกการบาดเจ็บ 4.จานวนผู้ป่วยหรือบาดเจ็บ 5.หน่วยงานสนับ สนุนที่ต้องร้องขอ
ประเมิน ผู้ป่วยขั้นต้น 1.สภาพของผู้ป ่วย 2.ความรู้สึก ตัวระดับใด AVPU 3.ทางเดินหายใจ อุดตันหรือเปิดโล่ง 4.หายใจ ปกติห รือไม่ป กติ 5.ไหลเวียนโลหิตและบาดแผลภายนอก
ไม่คงที่
คงที่หรือไม่คงที่
คงที่ ซักประวัติ SAMPLE+OPQRST
ประเมิน หัวถึงเท้าหาภาวะคุกคามต่อชีว ิต DCAP-BLS-TIC
ตรวจร่างกายเน้นเฉพาะจุด Focus assessment
วัดสัญญาณชีพ ระดับ น้าตาล GCS, pupils ดูแลผู้ป่วยตามแนวทางที่เหมาะสม As appropriate protocol
วัดสัญญาณชีพ
ซักประวัติ SAMPLE+OPQRST
ดูแลผู้ป่วยตามแนวทางที่เหมาะสม As appropriate protocol
ประเมิน ซ้า ทุก 5 นาที
ประเมิน ซ้า ทุก 15 นาที รายงานศูน ย์สั่งการ
19
102
ประเมิน และให้การช่วยเหลือผู้ป่วย ตามหลักการประเมินทั่วไป
ตาดู หู ัง
ประเมิน พบมีภาวะทางเดินหายเดินหายใจอุดกั้น
ไม่
อุดกั้นจากสิ่ง แปลกปลอม
จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ กดหน้าผากเชยคาง หรือ ดันกราม
สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นสมบูรณ์ มีประวัติสาลักสิ่งแปลกปลอม เช่น อาหาร ัน ปลอม ผู้ป่วยใช้มือกุมคอ ไอ ร้อง แต่ไม่มีเสีย ง
ใช่
ไม่
อุดกั้นสมบูรณ์หรือไม่
ใช่
ทา Heimlich maneuver เห็นสิ่งแปลกปลอม ในช่องปาก
ใช่
Finger sweep
เฝาระวังภาวะ ทางเดินหายใจอุดกั้นสมบูรณ์
ไม่
มีน้าลาย /เสมหะ / อาเจียน/เลือด
ใช่
ไปที่แนวทาง ช่วย ืนคืนชีพ (CPR)
ไม่ ใช่
ไม่
GCS 8
ผู้ป่วยหมดสติ
ลูกสูบยางแดงหรือ ใช้เครื่องดูดเสมหะ มีความเสี่ยงสาลัก
ใช่
ขอ ว.7 รถกู้ชีพ จัดท่าผู้ป่วยในท่าสบาย
เอาสิ่งแปลกปลอม ออกสาเร็จ
ใส่ท ่อช่วยหายใจทางปาก
ใส่ท ่อช่วยหายใจไม่ได้ ไปที่แนวทางการปฏิบัติ เปิดทางเดินหายใจไม่สาเร็จ ไม่
ไม่
ประเมิน ต่อตามแนวทางการประเมิน
รายงานศูน ย์สั่งการ
113
ผู้ป่วยไม่สามารถใส่ท ่อช่วยหายใจทางปาก
BVM 15 LPM
SpO2 > 94 %
ใช่
ช่วยหายใจแบบ BVM
ไม่
ไม่
มีการบาดเจ็บที่ใบหน้า หรือหน้าบวม หรือเปิดปากได้น้อย
ใช่
ใส่ LMA
SpO2 > 94%
ไม่
ใช่
รายงานศูน ย์สั่งการ
ช่วยหายใจผ่าน LMA Needle cricothyroidotomy วัดระดับ SpO2 > 94 % และ ETCO2 35-45
รายงานศูน ย์สั่งการ
124
ประเมิน ผู้ป ่วยและให้ก ารช่วยเหลือ ตามหลัก การประเมินทั่วไป สงสัยภาวะแพ้
ใช่
แพ้ร ุนแรง
เฝาระวังภาวะทางเดินทางใจอุดกั้น ให้ออกซิเจนMask with bag 10 LPM นอนยกขาสูงเล็กน้อย
ไม่
เปิดเส้นให้สารน้าหลอดเลือดดา On NSS 1,000 ml. IV 80 ml/hr CPM 10 mg IV
Adrenaline (1:1000) 0.3 – 0.5 ml IM ให้สารน้าทางหลอดเลือด NSS IV Free flow CPM 10 mg IV Ranitidine 50 mg IV Dexamethasone 4-8 mg IV ประเมิน ซ้า รายงานศูน ย์สั่งการ
ภาวะแพ้รุนแรง มีข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ 1.อาการทางผิว หนัง ร่วมกับ อาการทางระบบทางเดินอาหาร หรือ การหายใจผิดปกติ หรือ การไหลเวียนโลหิตผิดปกติ 2.อาการทางผิว หนัง หรือ อาการทางระบบทางเดิน อาหาร หรือ การหายใจผิดปกติ หรือ การไหลเวียนโลหิตผิดปกติ (อย่างน้อย 2 จาก 4 ข้อ) 3. ความดันโลหิตต่า
135
ประเมิน และให้การช่วยเหลือผู้ป่วยตามหลักการประเมินทั่วไป
ประเมิน พบระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง กรณี 1.ไม่ท ราบสาเหตุแน่ชัด 2.อุบัติเหตุ
ยึดตรึงกระดูกสัน หลัง ประเมิน และช่ว ยเหลือ AB
ไม่
น้าตาลปลายนิ้ว > 60mg %
50% glucose 50 ml IV
ประเมิน ระดับ ความรู้สึกตัว
ใช่
รายงานศูน ย์สั่งการ
ยังมีระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง VPU
ตรวจติดตาม คลื่นไ าหัวใจ ซักประวัติ ตรวจวัดสัญญาณชีพ
ดูแลเพิ่มเติมตาม แนวทางที่เหมาะสม As appropriate protocol
กลับมาเท่าปกติ A
สาเหตุท ี่ทาให้ระดับความ รู้สึกตัว เปลี่ยนแปลง AEIOU TIPS Alcohol Electrolyte/endocrine Infection Oxygen Uremia Trauma Insulin Psychiatric/poison Seizure/stroke/syncope
รายงานศูน ย์สั่งการ
146
ประเมิน ผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือ ตามแนวทางการประเมินทั่วไป
อาการคงที่
ดูแลตามแนวทางที่เหมาะสมและ รายงานข้อมูลกลับศูนย์สั่งการ
ไม่
ใช่ ซักประวัติสงสัย โรคหัวใจขาดเลือด?
ไม่
ทา EKG 12 leads ได้
ไม่
รายงานศูน ย์สั่งการ
ใช่ ส่ง EKG ปรึกษา แพทย์อานวยการ
STEMI
ม
ดูแล ู้ปวยตามแนวทางทีเหมาะสม
ใช่ STEMI bundle
ASA 160-325 mg Isordil Isotonic saline
รายงานศูน ย์สั่งการ
157
ประเมิน มารดาเบื้องต้น
ส่ว นนาเปนศีรษะ
ให้ช่วยคลอดฉุกเฉินเมื่อ ส่ว นนาเลื่อนต่าถึงอวัยวะเพศ ภายนอก ไม่
รายงานศูน ย์สั่งการ และรีบ นาส่งโรงพยาบาล
ใช่
ไม่
ต้องช่วยคลอดฉุก เฉิน
ใช่
จับ การบีบตัว ของมดลูก
รายงานศูน ย์สั่งการ
ติดตามสัญญาณชีพ ซักประวัติ
ช่วยคลอดฉุก เฉิน
ประเมิน มารดาซ้า
แนวทางการดูแลทารก คลอดนอกโรงพยาบาล
หากพบสายสะดือย้อย ใช้แนวทางการดูแลสายสะดือย้อย
ประเมิน มารดาซ้า รายงานศูน ย์สั่งการ
168
จัดทา ู้ปวยนอนหงาย หนุนสะโพกด้วยหมอนหรือ ้าหมให้สูงทีสุด ให้ออกซิเจนด้วยหน้ากากพร้อมถุงกักอากาศ 15 ลิตรตอนาที เปิดนาเกลือด้วย NSS 1000 ml rate 100 ml/hr ให้ ู้ปวยสูดลมหายใจเข้าถ้ามีการหดของมดลูก ห้าม ู้ปวยเบง สวมถุงมือ ใช้สองนิวดันสวนนากลับขึน ปในชองคลอดจนสวนนา มทับสายสะดือ พันสายสะดือด้วยก๊อซชุมนาเกลือ รีบนาสงโรงพยาบาล วัดและติดตามสัญญาณชีพ ู้ปวย รายงานกลับศูนย์สังการ
179
ทารกคลอดภายนอกโรงพยาบาล
อายุครรภ์ครบกาหนดคลอด และความตึงตัวของกล้ามเนื้อดีและร้องดี
-เช็ดตัวให้แห้งและห่อตัว -จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ -ดูดสารคัดหลั่งในปากและจมูก -ให้เด็กอยู่กับมารดา
ใช่
ไม่
ไม่
ไม่ห ายใจ/หายใจเฮือก หรือชีพจร < 100
ไม่
ตัวเขียวหรือหายใจหอบ
ใช่
ใช่
BVM (1..2..บีบ) วัด SpO2 ติด EKG 3 leads DTX < 60 รายงานศูน ย์สั่งการ
ชีพจร < 100
ไม่
ใช่ MRSOPA
ชีพจร < 60
ใช่ เริ่มทาการกดหน้าอก ( 1 และ 2 และ 3 และ บีบ)
ไม่ เปิดทางเดินหายใจ วัดค่า SpO2 และให้ออกซิเจน
รายงานศูน ย์สั่งการ
18 10
ประเมิน ผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือ ตามหลักการประเมินทั่วไป ผู้ป่วยจมน้า
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยขึ้นจากน้า ให้ทาในกรณี 1.อยู่ในอาการมึนเมา 2.ประวัติกระโดดน้า หรือเล่นกี าทางน้า
ยึดตรึงกระดูกสัน หลัง ประเมิน ผู้ป่วยตามขั้นตอนการ ประเมิน ผู้ป่วยขั้นต้น ระดับความ รู้สึกตัว
U
AVP แนวทางการช่วยเหลือ ทางเดินหายใจ
ไม่
จมน้าน้อยกว่า 1 ชั่วโมง
มีชีพจร
ใช่
แนวทางการช่วยเหลือ ทางเดินหายใจ ใช่
BVM 5 ครั้ง
ให้สารน้า ช่วยหายใจด้วย BVM
แนวทางการ ืนคืนชีพ ภายนอกโรงพยาบาล
ไม่
ให้ออกซิเจน Mask with bag 15 LPM
ตรวจติดตามคลื่นไ าหัวใจ ถอดเสื้อผ้าเปียกออก หรือเช็ดตัวและห่มผ้า
รายงานศูน ย์สั่งการ
เฝาระวังค่าความอิ่มตัวของ ออกซิเจน (SpO2) ปลายนิ้วให้มากกว่า 95%
19 11
ประเมิน ผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือ ตามหลักการประเมินทั่วไป ระดับน้าตาลปลายนิ้ว < 60 mg%
ประเมิน ระดับความรู้สึกตัว
A
VPU
จิบน้าหวานหรือ น้าอัดลมสูตรปกติหรือ น้า 1 แก้วผสมน้าตาล 3 ช้อนชา
50% glucose 50 ml IV slowly push
เปิดเส้นให้สารน้าทางหลอดเลือดดา 5%DN/2 1000 ml iv 100 ml/hr ประเมิน ระดับน้าตาลและ ระดับความรู้สึกตัว ซ้า ทุก 15 นาที
ใช่
รู้สึกตัว หรือไม่
ประเมิน และดูแลผู้ป่วย ตามแนวทางที่เหมาะสม
ไม่
รายงานศูน ย์สั่งการ
รายงานศูน ย์สั่งการ
20 12
ภาวะหายใจวิกฤติ มีการหายใจช้าหรือเร็วผิดปกติ ร่วมกับผิว ซีดเขียว อาจมีร ะดับความรู้สึกตัวผิดปกติ (ประเมิน ในการประเมินขั้นต้น)
ประเมิน ผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือ ตามหลักการประเมินทั่วไป มีภาวะหายใจวิกฤติ
ภาวะหายใจล้มเหลว SpO2 < 92% และ RR > 30 และ ใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ
นับอัตราการหายใจ < 10 ครั้งต่อนาที หรือหยุดหายใจ
> 24 ครั้งต่อนาที
เปิดทางเดินหายใจ
จัดท่าผู้ป่วยอยู่ในท่า ที่สบาย
BVM 10-12 ครั้งต่อนาที
มีภาวะหายใจ ล้มเหลวหรือไม่
ใช่
ประเมิน และดูแลผู้ป่วยตาม แนวทางการดูแลผู้ป่วยต่อ
ไม่
ซักประวัติการใช้ยาเสพติด
ให้ออกซิเจน Mask with bag 10 LPM
BVM
ตรวจร่างกายเพิ่มเติม Salbutamol หรือ Ipratropium bromide
wheezing ไม่ ไม่
สงสัยน้าท่วมปอด
ใช่ จัดท่าผู้ป่วย ห้ามให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
รายงานศูน ย์สั่งการ
21 13
ผู้ป่วยก าลังชักเกร็ง เคลื่อนย้า ยผู้ป่วยออกจาก สภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย เปิดทางเดินหายใจ ให้ออกซิเจน Mask with bag 10 LPM Diazepam 10 mg IV/dose PR
เจาะระดับน้าตาลปลายนิ้ว
< 60 mg %
50% glucose iv
> 60 mg %
ไม่
หยุดชักหรือไม่
ใช่
แจ้งแพทย์อานวยการ
วัดสัญญาณชีพ
Diazepam 10 mg IV / dose PR
ประเมิน ซ้า ABCD
รีบน าส่งโรงพยาบาล
วัดสัญญาณชีพ
รายงานศูน ย์สั่งการ
22 14
ประเมิน ผู้ป่วยและให้ก ารช่วยเหลือ ตามหลักการประเมินทั่วไป
ไม่ ดูแลรักษาตามปัญหา ที่ตรวจพบ
ตรวจพบ ภาวะช็อค
ใช่ ติดตามคลื่นไ หัวใจ วัดค่า SpO2
สงสัยภาวะช็อคจากการ เสีย เลือด / เสีย น้า
ใช่
หาจุดเลือดออกและทาการหยุดห้ามเลือด Keep SpO2 > 95% ให้สารน้า NSS 250 ml IV in 15 min
ใช่
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอาการแพ้
ไม่
สงสัยภาวะช็อคจาก การแพ้รุนแรง
ไม่ สงสัยภาวะช็อคจาก หัวใจล้มเหลว
ใช่
จัดท่านอนยกศีรษะสูง Keep SpO2 > 95% หากมีอาการเหนื่อยหอบหายใจเร็วใช้ แนวทางการดูแลผู้ป่วยหายใจล้มเหลว
ไม่ รายงานศูน ย์สั่งการ
ประเมิน สัญญาณชีพหลังท าการรักษา
23 15
ประเมิน ผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือ ตามหลัก การประเมินทั่วไป
คงที่
ไม่
แจ้งศูนย์สั่งการและทาการดูแลตามความเหมาะสม
ใช่
ซักประวัติสงสัยภาวะ เส้นเลือดสมองแตก ตีบ ตัน
เจาะน้าตาลปลายนิ้ว
F (Face) ใบหน้าเบี้ยว ปากเบี้ยว A (Arm) แขนขาอ่อนแรง หรือชา อ่อนแรงครึ่งซีก เดิน เซ S (Speech)ลิ้น แข็ง พูดไม่ชัด พูดลาบาก T (Time) มีอาการมาไม่เกิน 4.5 ชั่วโมง
< 60 mg %
แนวทางการดูแลผู้ป่วยน้าตาลต่า
> 60 mg% ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา NSS IV 80 cc / hr ซักข้อห้าม Fibrinolytic drug
รายงานศูน ย์สั่งการ
24 16
ประเมิน สถานการณ์ + PPE Level C ขึ้นไป
ประเมิน ผู้ป่วยตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยทั่วไป
รู้สึกตัว
ใช่
รู้สึกตัว หรือไม่?
ซักประวัติแบบ SAMPLE และตรวจร่า งกาย
ใช่
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ ศูนย์สั่งการเพื่อรีบนาผู้ป่วยออก จากสถานที่เกิดเหตุ
ไม่ร ู้สึกตัว
มีชีพจรหรือไม่?
มีชีพจร
ได้รับสารพิษหรือไม่?
ไม่มีชีพจร
ไม่ ถูกสัตว์พิษกัด/ต่อย
ได้รับสารพิษ สูดดม
ไม่
สัมผัส
กิน ห้ามกระตุ้นให้ผู้ป่วย อาเจียนหรือให้กินทางปาก
แนวทางการดูแลผู้ป่วย อาการแพ้
ใช่
แนวทางการช่วย ืนคืนชีพ
มีอาการแพ้ร ุนแรงหรือไม่? ไม่
งู
ใช่
พิษงูประเภทใด
ลดการปนเปือนสารพิษ Decontamination ไม่ท ราบชนิดงู ถ่า ยรูปบรรจุภัณฑ์ ของสารเคมีมาด้วย
มีผลต่อระบบเลือด
มีผลต่อระบบประสาท
ระวังภาวะเลือดออก
ระวังภาวะหายใจล้มเหลว และระดับความรู้สึกตัว
ไม่
วัดสัญญาณชีพและติดตามคลื่นไ าหัวใจ
ประเมิน อาการซ้าระหว่างนาส่งหรือเปลี่ยนถ่าย
รายงานศูน ย์สั่งการ
25 17
ผู้ป่วยจิตเวชมีอาการก้า วร้าว
เรียกตารวจออกปฏิบัติการร่วมด้วย มองหาทางหนีทีไล่ สวมอุปกรณ์ปองกันตัวเอง แบ่งหน้าที่ก่อนเข้าหาผู้ป่ว ย
ปฏิบัติตามแนวทางความปลอดภัย
ใช่
ผู้ป่วยมีอาการก้าวร้าวหรือ แนวโน้มใช้ความรุนแรง
ไม่ เคลื่อนย้า ยผู้ป่วย **เฝาระวังความปลอดภัย ของผู้ปฏิบัติงาน
ยึดตรึงผู้ป่ว ยทางกาย Diazepam 10 mg IV เฝาระวังการไหลเวีย นส่วนปลาย
ประเมิน และดูแลผู้ป่วย ตามหลักการประเมินทั่วไป
รายงานกลับศูน ย์สั่งการ
26 18
แนวทางการดูแลผู้ป่วยหัวใจเต้นเร็วมากกว่า 150 ครั้งต่อนาทีหรือน้อยกว่า 50 ครั้งต่อนาที ประเมินดูแล ู้ปวยขันต้นตามแนวทางการดูแล ู้ปวยทัว ป ตรวจคาสัญญาณชีพ คาความอิมตัวของออกซิเจน และคลืน ฟฟ้าหัวใจ ถามและตรวจอาการแสดงของนาทวมปอด ด้แก เหนือย ขาบวม มีประวัตินอนราบ ม ด้ ปัสสาวะ ม ออกหรือออกน้อย ฟังเสียงปอด ด้ crepitus สองข้าง ถามประวัติเจ็บหน้าอก ให้สารนาทางหลอดเลือดดาด้วย NSS ปรึกษาแพทย์อานวยการและสงรูปคลืน ฟฟ้าหัวใจ ประเมินความรู้สึกตัว สัญญาณชีพ คาความอิมตัวของออกซิเจน และคลืน ฟฟ้าหัวใจซาหลัง ด้คาสัง การรักษาจากแพทย์อานวยการ แจ้งข้อมูลกลับศูนย์สังการ
27 19
ประเมิน ผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือ ตามหลักการประเมินทั่วไป
ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บไม่มีชีพจร
เกณฑ์การเสียชีวิต * มีการแข็งตัวของกล้ามเนื้อมัดเล็ก เช่น กราม นิ้วมือ
เข้าเกณฑ์การ เสีย ชีวิต
ไม่
* มีการแข็งตัวของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ เช่น แขน ขา
ใช่
*มีสัญญาณหลังตาย เช่น การตกเลือด *จมน้าเกิน 1 ชั่วโมง *บาดเจ็บรุนแรง เช่น ศีรษะขาด ลาตัวขาด
แจ้งศูนย์สั่งการ
* เน่า เริ่มกระบวนการ ืนคืนชีพ 20 นาที มีครบ 4 ข้อ -หัวใจหยุดเต้นโดยไม่มีพยานรู้เห็น -ไม่มีการกดหน้าอกโดยบุคคลในที่เกิดเหตุ -คลื่นไ าหัวใจเปน Non-shockable -ตลอดกระบวนการ ืนคืน ชีพ 20 นาทีไม่มีชีพจร
ไม่
ใช่
เคลื่อนย้า ยนาส่ง โรงพยาบาล
รายงานศูน ย์สั่งการ หยุดการ ืนคืนชีพ
รายงานศูน ย์สั่งการ
28 20
เกณฑ์การปฏิบัติการแพทย์ ของผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งแพทย์ และการอานวยการ หน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินการแพทย์ระดับสูง หมวดผู้บาดเจ็บ
29
ประเมิน สถานการณ์ แนวทางยึดตรึงกระดูกสันหลัง ประเมิน ผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือ ตามหลัก การประเมินทั่วไป
หากคลาชีพจรไม่ได้ให้ทาการ ระบายลมจากช่องอกทั้งสองข้าง
แนวทางการดูแลหัวใจหยุดเต้น
อาการคงที่ หรือไม่
ไม่ ช่วยเปิดทางเดิน หายใจ
BVM หรือ ETT
<10 ประเมิน การ หายใจ
รักษา SpO2 94
Mask c bag 10 LMP
10-28
BVM หรือ ETT ังปอดหาภาวะ pneumothorax
>28
ใช่ ซักประวัติ SAMPLE
ตรวจร่างกาย DCAPBLSTIC วัดสัญญาณชีพ
ทาการห้า มเลือดบาดแผล ที่มีเลือดออกมาก รีบท าการเคลื่อนย้าย จากที่เกิดเหตุใน 10 นาที
ช่วยเหลือ ตามความเหมาะสม
วัดสัญญาณชีพ
ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา Isotonic solution ประเมิน GCS ซักประวัติ SAMPLE+DCAPBLSTIC กลไกการบาดเจ็บรุนแรง ไม่
ประเมิน ซ้าทุก 15 นาที
SBP < 90 mmHg
ใช่
ใช่
ไม่
HR > 110 bpm ประเมิน ซ้าทุก 5 นาที
ใช่
Tranexamic acid 1 กรัม
รายงานศูน ย์สั่งการ
30 21
ตรวจพบการบาดเจ็บที่ท้อง ตรวจร่างกายช่องท้อง ดูบาดแผลภายนอกมีอวัยวะใน ช่องท้องไหลออกมาหรือไม่ เปนต้น คลา มีจุดกดเจ็บ มีภาวะช็อค
แนวทางการดูแลผู้ป่วยช็อค จากการเสียเลือด
มีอวัยวะภายใน ไหลออกจากช่องท้อง
ให้หุ้มด้วยผ้ากอซสะอาดชุบน้าเกลือชุ่ม ห้ามยัดอวัย วะกลับ
ตรวจติดตามความรู้สึกตัว วัดสัญญาณชีพ ค่าความอิ่มตัวออกซิเจน
รายงานศูน ย์สั่งการ
31 22
ประเมิน ผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือ ตามหลักการประเมินทั่วไป การตรวจทรวงอก ดู : บาดแผลภายนอกและการขยับอกสองข้าง คลา : หลอดลม, เสีย งกร็อบแกร็บ เคาะ : โปร่งหรือทึบ ัง : ระดับเสียงการหายใจเข้าออก
ตรวจประเมินพบการบาดเจ็บทรวงอก
ไม่
อาการคงที่หรือไม่
ใช่
สัน นิษ านการบาดเจ็บ จากภาวะใด
Tension pneumothorax
Open chest wound
Needle thoracocenthesis
3-side dressing
Hemothorax
Fracture rib / flail chest
ให้สารน้า NSS 250 ml iv ใน 15 นาที
การตรวจพบในภาวะ Pneumothorax อาจตรวจพบบาดแผลบริเวณทรวงอก หายใจเร็ว ค่าความอิ่มตัวออกซิเจน (SpO2) ลดลงหลอดลม (trachea) เบนไปด้านหนึ่ง เส้นเลือดดาที่คอโป่ง เสีย งปอดลดลง ด้านที่มีโรค เปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว
การตรวจพบในภาวะ Hemothorax อาจตรวจพบบาดแผลบริเวณทรวงอก หายใจเร็ว ค่าความอิ่มตัวออกซิเจน (SpO2 ) ลดลง เสีย งปอดลดลงด้านที่มีโรค
Mask with bag 10 LPM On oxygen supplement keep ค่าความอิ่มตัวออกซิเจน (SpO2) > 94%
เฝาระวังอาการและสัญญาณชีพ
ตรวจหาการบาดเจ็บอื่น ตามแนวทางการดูแลผู้บาดเจ็บ
32 23
ประเมิน ผู้ป่วยและให้ก ารช่วยเหลือ ตามหลัก การประเมินทั่วไป
ผู้ป่วยมีอวัยวะถูก บดทับ
ประเมิน ความปลอดภัยในที่เกิดเหตุ
ร้องขอหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากศูนย์สั่งการ
เข้าประเมินผู้ป่ว ยเมื่อสถานการณ์ปลอดภัย
ประเมิน ผู้ป่วยและให้ก ารช่วยเหลือ ตามหลัก การประเมินทั่วไป
ติดตามสัญญาณชีพ
ติดตามคลื่นไ าหัวใจ
ให้สารน้า NSS IV 1500 ml/hr ผู้บาดเจ็บหลุดออกจากสิ่งบดทับ ประเมิน ผู้บาดเจ็บซ้า
รักษาภาวะคุก คาม ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา NSS IV 1500 ml/hr
ติดตามสัญญาณชีพ
ส่งภาพคลื่นไ าหัวใจให้แพทย์อานวยการ
เฝาระวังภาวะหัวใจหยุดเต้น
รายงานศูน ย์สั่งการ
33 24
ประเมิน ู้บาดเจ็บตามแนวทางการดูแล ู้บาดเจ็บ หากอาการ มคงทีให้ดูแลภาวะคุกคามชีวิต หากตรวจพบการบาดเจ็บทีบริเวณดวงตาให้ปฏิบัติดังนี หากพบวุ้นหรือของเหลว หลออกจากลูกตา ห้ามใช้แรงกด ครอบลูกตาด้วยถ้วยนากระดาษ หากเป็นสารเคมีเข้าตา ให้นาการล้างตาด้วยนาเกลือ 1000 ml (ดูขันตอนปฏิบัติล้างตา) หากมีวัสดุปักคาหรือสิงแปลกปลอม ห้ามดึงออก และยึดตรึงให้แนนหนาและระมัดระวังการ ขยับของวัสดุปักคา ข้อควรระวัง : ถ้า ู้ปวยใสคอนแทคเลนส์ ให้ถอดคอนแทคเลนส์ออกกอนเสมอ หาก มจาเป็นต้องจากัดการเคลือน หวของกระดูกสันหลัง ให้ ู้บาดเจ็บนังในทาสบาย รายงานศูนย์สังการ ระหวางนาสงให้ประเมินดูแล ู้บาดเจ็บตามหลักการดูแล ู้บาดเจ็บ
34 25
ประเมิน ผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือ ตามหลัก การประเมินทั่วไป
ประเมิน ตรวจพบการบาดเจ็บรยางค์
อวัย วะส่วนปลาย ถูกตัดขาด
ล้า งด้วยน้าเกลือ ห้ามเลือด เก็บอวัยวะส่วนปลายใส่ถุงและเก็บในภาชนะบรรจุน้าแข็ง เขียนชื่อผู้ป่วย ชิ้นส่วนอวัย วะ บันทึกเวลาที่เริ่มเก็บอวัย วะ
ใช่
ไม่
มีเลือดออกหรือไม่
ใช่
ห้ามเลือด
ใช่
คลาชีพจรส่วนปลาย หากคลาชีพจรส่วนปลายไม่ได้ ให้รายงานศูนย์สั่งการ
ไม่
รยางค์ผิดรูป
ไม่
มีแผลเปิดบริเวณที่ผิดรูป ล้า งแผลด้วยน้าเกลือ 1-2 ลิตร และปิดแผลห้ามเลือด ทาการดาม
ดูแลผู้บาดเจ็บต่อตามแนวทางการประเมิน
35 26
ตรวจพบการบาดเจ็บที่ใบหน้า
ประเมิน ทางเดินหายใจ
ไม่
มีเลือดออกจาก ช่องปากหรือจมูกมาก หรือใบหน้า บวม ใช่ เปิดทางเดินหายใจ
Suction ในจมูกและปาก
เปิดทางเดินหายใจ สาเร็จ ใช่
ไม่
Mask with bag 10 LPM
ประเมิน ทางเดินหายใจซ้าทุก 5 นาที
ใส่ท ่อช่วยหายใจทางปาก
36 27
ประเมิน ผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือ ตามหลักการประเมินทั่วไป ยึดตรึงกระดูกสัน หลัง
มีการบาดเจ็บที่ ศีรษะอย่างเดียว
ใช่
Tranexamic acid 1 gm
12
GCS
ไม่
>12
ประเมิน และดูแลผู้บาดเจ็บต่อ
ไม่
GCS < 8?
ใช่ ไม่ได้ BVM
ใส่ ETT ได้หรือไม่
Mask with bag 10 LPM
ได้ ETT
มีอาการชักเกร็ง
ใช่
รายงานแพทย์อานวยการให้ Valium 10 mg IV
ไม่ เจาะระดับน้าตาลปลายนิ้ว
< 60 mg %
รายงานแพทย์อานวยการให้ 50 % glucose 50 ml IV bolus
> 60 mg % ให้สารน้า NSS Keep SBP > 100
ประเมิน ซ้าทุก 5 นาที
รายงานศูน ย์สั่งการ
37 28
ประเมิน ู้ปวยตามแนวทางการประเมินทัว ป โดยเฉพาะสิงคุกคามทางเดินหายใจและการเสียเลือด หาก ู้บาดเจ็บมีสิงคุกคาม ให้ติดตอแพทย์อานวยการ ห้ามเลือดบริเวณลาคอด้วยการกดก๊อซสะอาดกดแนน (direct pressure) โดยระวัง อย่ากดลง บนหลอดลม คอ จะทาให้เกิดอุดกัน้ ทางเดินหายใจได้ เฝ้าระวังสัญญาณชีพ และความรู้สึกตัว ระหวางการกดหยุดเลือด ชวยหายใจหาก ู้ปวยมีภาวะหายใจล้มเหลว รักษาระดับความอิมตัวของออกซิเจนมากกวา 94% หากมีภาวะช็อกให้ใช้แนวทางการดูแล ู้บาดเจ็บมีภาวะช็อก รีบนาสงโรงพยาบาล
38 29
ประเมิน ผู้บาดเจ็บและให้การช่วยเหลือ ตามหลักการประเมินทั่วไป
รักษาภาวะคุกคามต่อชีวิต ประมาณพื้นที่ผิวของการไหม้
BSA < 20%
หากสงสัยภาวะสาลักควัน *ให้แจ้งศูนย์สั่งการ BSA > 20% ให้สารน้า Latate Ringer Solution ตามสูตร การคานวณ 4 x พื้นที่ผิวไหม้**x BW(kg)
ปิดแผลด้วยผ้ากอสแห้ง ถอดเครื่องประดับและแหวน ห่มผ้า ตรวจวัดสัญญาณชีพ และคลื่นไ าหัวใจ
ภาวะสาลักควัน *ภาวะสาลักควัน สังเกตจากมีขนที่ใบหน้า ไหม้ มีเขม่าในรูจมูก ดูดเสมหะได้สีดา ได้ยินเสียง Stirdor หรือผู้บาดเจ็บพูดเสียงแหบ **พื้นที่ผิวไหม้ในการคานวณสารน้า นับเฉพาะ Second degree burn ขึ้นไป
รายงานศูน ย์สั่งการ
39 30
ประเมิน ผู้บาดเจ็บตามหลักการประเมินทั่วไป Distracting injury ได้แก่ อวัยวะถูกตัดขาด มีกระดูกท่อนยาวหัก แผลไหม้ แผลโดนบดทับ
ใช่
อาการคงที่
ไม่
ดูแ ลตามความเหมาะสม
รัก ษาภาวะคุก คามชีวิต
พิจารณายึด ตรึงสันหลังก่อนเคลื่อนย้าย ใช่
GCS < 15
ไม่ กดเจ็บกลางหลัง
ใช่
ไม่
ใช่
Neurodeficit
ไม่ ใช่
Spine deformity
ไม่ มึนเมาหรือ ใช้ สารเสพติด
ใช่
ไม่
ใช่
Distracting injury
ไม่
มีอุปสรรคการ สื่อ สาร
ใช่
ยึด ตรึงสันหลัง ไม่ เคลื่อนย้ายนาส่งโรงพยาบาล
40 31
สงสัยผู้ป่วยบาดเจ็บจากความร้อน
ประเมิน ผู้ป ่วยตาม หลักการประเมินทั่วไป วัดอุณหภูมิกาย
ใช่
BT > 40 C
ไม่ใ ช่
รายงานศูน ย์สั่งการ
รีบน าผู้ป่วยออกจากสิ่งแวดล้อมที่ผู้ป่วยอยู่
ให้ผู้ป่วยหยุดกิจกรรมที่ทาอยู่ ถอดเสื้อผ้าของผู้ป่วย
นอนราบพัก ในที่เย็น ฉีดน้าอุณหภูมิห ้องที่ผิวของผู้ป่วยโดยตรงและใช้ลมเป่า จิบน้าเกลือแร่เย็น ใช้ถุงน้าแข็งประคบบริเวณคอ รัก แร้
ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา NSS free flow ถ้า มีอาการชัก เกร็งหรือสั่น Valium 10 mg IV รายงานศูน ย์สั่งการ ลัก ษณะผู้ป่ว ยที่ต้องสงสัยว่าบาดเจ็บ จากความร้อน 1. ผู้สูงอายุหรือเด็กที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีความร้อนสูงนาน เช่น ในรถที่จ อด ตากแดด ในบ้า นที่มีการระบายความร้อ นไม่ดี เปนต้น 2. ผู้ป่วยมีการออกกาลังมากเกินไปในอุณหภูมิสูง ความชื้นสัมพัท ์สูง เช่น ทหาร เกณฑ์ฝกกะใหม่ การแข่งขันกี าที่มีระยะเวลาต่อเนื่องยาวนานกลางแจ้ง ร่วมกับ มีอาการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว มีความผิดปกติของสัญญาณชีพ
41 32
ประเมินสถานการณ์ ประเมิน ้บู าดเจ็บตามแนวทางการดูแล ู้บาดเจ็บ หากอาการ มคงที ให้แจ้งศูนย์สังการ หากตรวจพบวัสดุปักคาให้ปฏิบัติดังนี ห้ามเอาสิงทีเสียบคาออก ยกเว้นขัดขวางการทาหัตถการชวยชีวิต ยึดตรึงวัตถุทีติดคาบาดแ ล ทาการห้ามเลือดด้วยการกดห้ามเลือดด้วยความระมัดระวัง อาจทาการตัดปลายวัสดุหักคา หากขัดขวางการเคลือนย้าย ซักประวัติ สัญญาณชีพ เพือแจ้งข้อมูลกลับศูนย์สังการ ระหวางรอเปลียนถาย หรือนาสง วัดสัญญาณชีพและทาารประเมิน ู้ปวยซา
42 33
43
ข้อบ่งชี้ :
ลดการกีดขวางหรืออุดกันทางเดินหายใจเพือให้อากาศ านเข้าออก ด้ ใน ู้ปวยที มรู้สึกตัว
วิ ีกดหน้าผากและเชยคาง (Head tilt-chin lift maneuver) ใช้เปิดทางเดินหายใจใน ปู้ วยที มสงสัยบาดเจ็บบริเวณกระดูกคอ ขั้นตอนการทาหัตถการ 1. ใช้ฝามือของมือข้างหนึงวางบนหน้า ากของ ู้ปวย กดลงเพือให้ศีรษะแหงน ปทางด้านหลัง 2. ใช้นิวชีและนิวกลางของมืออีกข้างหนึงวางใต้กระดูกปลายคาง แล้วดันปลายคางให้ยกขึน 3. ประเมินซาวาเสียงการอุดกันทางเดินหายใจหาย ปหรือ ม หรือเห็นสิงอุดกันอยูในปากของ ู้ปวยหรือ ม ข้อควรระวัง : อยาให้นิวทีดันกระดูกปลายคาง ปดันสวนทีเป็นเนือใต้คางเพราะจะทาให้ทางเดินหายใจ ถูกอุดกันมากขึน
วิ ยี กกระดูกขากรรไกรล่างขึ้น (Jaw thrust maneuver) ใช้เปิดทางเดินหายใจใน ปู้ วย/บาดเจ็บทีสงสัยมีบาดเจ็บบริเวณกระดูกคอ ขั้นตอนการทาหัตถการ 1. ู้ชวยเหลืออยูด้านบนศีรษะของ ู้ปวย มือสองข้างประคองศีรษะของ ู้ปวย นิวโป้งอยูทีโหนก แก้มของ ู้ปวย/บาดเจ็บ ปลายนิวชี กลาง และนาง วางตรงมุมกราม 2. ยกกระดูกขากรร กรลางขึนด้านหน้าและ ลักลง ปทางด้านปลายเท้าของ ู้บาดเจ็บ 3. ประเมินซาวาเสียงการอุดกันทางเดินหายใจหาย ปหรือ ม หรือเห็นสิงอุดกันอยูในปากของ ู้ปวยหรือ ม 44 34
วิ ียกกระดูกขากรรไกรล่างขึ้น โดยผู้ช่วยเหลืออยู่ด้านข้างผู้ป่วย (Alternate Jaw thrust maneuver) ใช้เปิดทางเดินหายใจใน ู้ปวย/บาดเจ็บทีสงสัยมีบาดเจ็บบริเวณกระดูกคอ ที มสามารถเข้าชวยเหลือทาง ด้านบนศีรษะของ ู้ปวย ด้ ขั้นตอนการทาหัตถการ 1. ู้ชวยเหลือเข้า ปด้านข้างของ ู้ปวยโดยหันหน้า ปดานศีรษะของ ู้ปวย 2. วางนิวโป้งทังสองข้างบนโหนกแก้มของ ู้ปวย สีนิวทีเหลือวาง ว้ตรงมุมกราม 3. ออกแรงดันกระดูกขากรร กรลางขึน และดันลง ปด้านเท้าของ ู้บาดเจ็บ
45 35
ข้อบ่งชี้ : 1. เพือเปิดทางเดินหายใจให้โลง 2. ใช้ใน ู้ปวยทีหมดสติเทานัน ข้อห้าม :
ห้ามใช้ใน ู้ปวยทียังรู้สึกตัวดี
ขั้นตอนการทาหัตถการ 1. ให้วัดจากมุมปาก ปถึงมุมกราม 2. เปิดปาก ู้ปวยโดยวิธี ขว้นิว (cross-finger) วิ ีที่ 1 1. จับทอให้ปลายทอหงายขึนชี ปทางเพดานปากของ ู้ปวย 2. สอดปลายทอเข้า ปในชองปากจนถึงบริเวณด้านหลังของชองปาก 3. หมุนทอ 180 องศา ให้ปลายทอชีลงลาง พร้อมกับสอดทอ านเข้า ปจนสุด วิ ีที่ 2 1. ใช้ ม้กดลินชวยเปิดทาง โดยกดลินของ ู้ปวยลง 2. ใสทอเข้า ปในปากตามความโค้งของชองปาก
46 36
ข้อบ่งชี้
1. มีการอุดกันทางเดินหายใจสวนบนที มสามารถแก้ ข ด้แม้วาจะนาสิงอุดกันออกแล้วหรือจัดทา Head tilt chin lift หรือ Jaw thrust แล้วก็ตาม 2. มสามารถใส OPA ด้ 3. สามารถใช้ ด้ใน ู้ปวยทีรู้สึกตัวหรือ มรู้สึกตัวก็ ด้ 4. ู้ปวยมีบาดแ ลในปากหรืออ้าปาก ม ด้ ข้อห้าม
1. ห้ามใช้ใน ู้ปวยทีมีการบาดเจ็บบริเวณใบหน้า 2. ห้ามใช้ใน ู้ปวยทีสงสัยวาจะมีฐานกะโหลกศีรษะแตก 3. มควรใช้ใน ู้ปวยทีมีปัญหาเลือดแข็งตัว ิดปกติ 4. มควรใช้ใน ้ปู วยทีมีการติดเชือในโพรงจมูก ขั้นตอนการทาหัตถการ 1. เลือกขนาดทีเหมาะสม โดยวัดจากจมูก ปยังรูหู 2. เคลือบด้วยเจลหลอลืน 3. สอดใสเข้าทางรูจมูกด้านใดด้านหนึง(ควรเลือกใสทอทางรูจมูกข้างที ู้ปวยหายใจ ด้โลงและ สะดวกทีสุด)อยางนิมนวล 4. จับทอในแนวตังฉาก โดยหันทอ(ด้านเอียง)เข้าหา นังกันจมูก แล้วสอดทอ ปตามแนวพืนจมูก 5. หากใส ม ด้ ให้ลองใสเข้าทางรูจมูกอีกข้างหนึง หรือเปลียนเป็นทอทีมีขนาดเล็กลง
47 37
การช่วยเหลือกรณีการอุดกั้นไม่สมบูรณ์ (Incomplete upper airway obstruction) ลักษณะอาการ : พูดเสียงแหบ เหนือย ยังสามารถหายใจ ด้ อแรงๆ ด้ ขั้นตอนการช่วยเหลือ การ อเป็นการเพิมแรงดันในทางเดินหายใจ อาจชวยขับสิงแปลกปลอมออกมา ด้ หาก ู้ปวยมีการอุด กัน มรุนแรง ให้ ู้ชวยเหลือกระตุ้นให้ ู้ปวย อด้วยตนเองและคอยสังเกตการเปลียนแปลงทีอาจเกิดขึน เชนเปลียนเป็นการอุดกัน การช่วยเหลือกรณีการอุดกั้นสมบูรณ์ (Complete upper airway obstruction) ลักษณะอาการ : ใช้มือกุมบริเวณลาคอ โน้มตัว พูดหรือร้อง มมีเสียง หายใจลาบาก มสามารถ อ ออกมา ด้ หน้าเขียว ปากเขียว การช่วยเหลือเด็กโตและผู้ใหญ่ ใช้วิธีรัดกระตุกหน้าท้อง (Heimlich maneuver) เพือขจัดสิงแปลกปลอมออกจากทางเดินหายใจ สวนบน ขั้นตอนการช่วยเหลือ 1. ยืนหรือคุกเขาด้านหลัง ู้ปวย ใช้มือโอบรอบเอวของ ู้ปวย 2. กามือข้างหนึงโดยเก็บนิวโป้งเข้าด้านใน อีกสีนิวกาทับนิวโป้ง 3. วางมือทีกา ว้โดยให้นิวโป้งอยูใต้ลินปี่ของ ู้ปวย ในแนวกึงกลาง 4. ใช้มืออีกข้างรัดกระตุกกาปั้นกระทุ้งดันบนมือทีกาในแนวเข้าหาตัว ู้ชวยเหลือและเฉียงขึนบน ทา 5 ครัง 5. ประเมินในปาก ู้ปวยวาสิงแปลกปลอมหลุดออกมาหรือ ม ทาซาหากสิงแปลกปลอมยังติดอยู 6. ทาขันตอนที 1-5 ซาจนกวาสิงแปลกปลอมจะหลุดออกมา หรือ ู้ปวยหมดสติ 7. หาก ู้ปวยหมดสติ ให้ทาการกดหน้าอกทันที มต้องคลาชีพจร *กรณีสตรีตังครรภ์ และ ู้ปวยทีมีภาวะอ้วน ให้ทาการรัดกระตุกบริเวณหน้าอกของ ู้ปวยแทน (chest thrusts) 38
การช่วยเหลือกรณีเด็กทารกอายุน้อยกว่า 1 ปี ที่ยังมีสติ การตบหลัง 5 ครัง ( back blow ) และการกดหน้าอก 5 ครัง (chest thrusts) ขั้นตอนการช่วยเหลือ 1. ู้ชวยเหลือนังบนเก้าอีหรือนังคุกเขา วางเด็กบนตักของ ู้ชวยเหลือ 2. หากสามารถทา ด้ให้ถอดเสือ ้าเด็กเพือให้มองเห็นตาแหนงในการตบหลังและกดหน้าอก 3. ใช้มือข้างหนึงประคองศีรษะและกรามเด็กให้มันคงในทาควาหน้า วางตัวเด็กบนทอนแขนลักษณะศีรษะ ตากวาลาตัว อาจพักแขนบนหน้าขา ระวังอยากดบริเวณใต้คางหรือคอของทารก 4. ใช้ ส้ น มื อ อี ก ข้ า งตบกึ งกลางระหว างสะบั ก ทั งสองข้ า งในแนวเฉี ย งลงด้ ว ยแรงที มากเพี ย งพอให้ สิ ง แปลกปลอมหลุดออก ด้ ทาซา 5 ครัง 5. พลิกตัวเด็กทารกกลับมาในทานอนหงาย ใช้มือและแขนทังสองข้างประคองตัวเด็ก วางบนทอนแขนของ มืออีกข้าง ประคองศีรษะให้มันคงลักษณะศีรษะตากวาลาตัว กดหน้าอก 5 ครัง บริเวณกึงกลางหน้าอก บนกระดูกหน้าอกสวนลาง ใต้ตอเส้นราวนมเล็กน้อย 6. ตรวจดูวามีสิงแปลกปลอมออกมาในปากเด็กหรือ ม หากมีและสามารถมองเห็น ด้ชัดเจนให้ใช้นิวกวาด สิงแปลกปลอมออกมา (finger sweep) แตหาก มแนใจหรือมอง มเห็นห้ามใช้นิวกวาด 7. หากยังคงมีการอุดกันอยู ให้ทาการชวยเหลือซาจนกวาสิงแปลกปลอมจะหลุดออกมาหรือเด็กจะหมดสติ 8. หากเด็กหมดสติให้ทาการกดหน้าอกทันทีโดย มต้องคลาชีพจร หากมี ู้ชวยเหลือคนเดียวให้กดหน้าอก 30 ครังสลับกับการชวยหายใจ 2 ครัง แตหากมี ู้ชวยเหลือ 2 คน ให้กดหน้าอก 15 ครังสลับกับการชวย หายใจ 2 ครัง ในชวงทีทาการชวยหายใจให้สารวจหาสิงแปลกปลอมในปากของ ู้ปวยทุกครัง
39
ข้อบ่งชี้ : 1. เพือป้องกันการอุดกันทางเดินหายใจสวนบน 2. ใช้ในกรณี มสามารถใสทอชวยหายใจ ด้ 3. ใช้ใน ู้ปวยทีหมดสติ ข้อห้าม : 1. ห้ามใสใน ู้ปวยทีมีภาวะเสียงตอการสาลักนายอย (Full stomach) 2. ห้ามใสใน ู้ปวยทีมีความยืดหยุนของปอดลดลง หรือ ู้ปวยทีจาเป็นต้อง ด้รับการชวย หายใจแบบแรงดันบวก 3. ห้ามใสใน ู้ปวยทีอ้าปาก ด้น้อย หรือมีก้อนขนาดใหญในชองปาก ขั้นตอนการทาหัตถการ 1. ทาการเลือกขนาดของ LMA จากนาหนักตัวของ ู้ปวย 2. ทาการดูดลมออกจาก Cuff 3. หลอลืนสวนปลายด้านหลังของ LMA ด้วยเจลหลอลืน 4. ยกกระดูกขากรร กรลางขึน และเปิดปากของ ู้ปวย 5. คอยๆ ใส LMA โดยใช้มืออีกข้างหนึงจับบริเวณปลาย Cuff และคอย ๆ ใสเข้า ปในปากตาม แนวของเพดานแข็ง 6. คอย ๆ ใส LMA ลง ปยังตาแหนง Hypopharynx หรือใส LMA จนกระทังรู้สึกวามีแรงต้าน 7. ทาการอัดอากาศเข้า ปใน Cuff ให้เต็มพอดี และ มอัดอากาศเข้า ปมากจนเกิน ป ขนาดของ LMA 1 1.5 2 2.5 3 4 5 6
น้าหนักผู้ป่วย (กิโลกรัม) <5 5-10 10-20 20-30 30-50 50-70 70-100 >100
50 40
ข้อบ่งชี้ : 1. 2. 3.
้ปู วยหรือ ้บู าดเจ็บทีอยูในภาวะพรองออกซิเจน (hypoxia) ู้ปวยหรือ ู้บาดเจ็บทีมีภาวะหายใจล้มเหลว ู้ปวยหรือ ู้บาดเจ็บทีการให้ออกซิเจนมี ลดีตออวัยวะภายใน
การให้ออกซิเจนโดย Cannula 1. 2. 3. 4.
ตอ Cannula เข้ากับกระบอกทาความชืนแล้วเปิดออกซิเจน 3-5 ลิตร/นาที ทดสอบวามีออกซิเจนออกมาทางรูเปิดทังสองดีหรือ ม ใสรูเปิด Cannula เข้า ปในรูจมูกทังสองข้าง จัดสายให้เข้าที แล้วรัดสายยาง ว้รอบศีรษะ ู้ปวย
การให้หน้ากากออกซิเจนพร้อมถุงกักอากาศ Mask with reservoir bag 1. 2. 3. 4. 5.
การให้หน้ากากออกซิเจนพร้อมถุงกักอากาศ Mask with reservoir bag เลือกขนาดของหน้ากากให้พอดีกับ ู้ปวย ตอหน้ากากเข้ากับกระบอกทาความชืนแล้วเปิดออกซิเจน 10-15 ลิตร/นาที ครอบหน้ากากบริเวณจมูกและปากโดย มกดตา ู้ปวย จัดสายรัดให้เข้าทีรอบศีรษะ ู้ปวย
51 41
ถุงบีบลมผ่านหน้ากากกันลมย้อนพร้อมถุงกักอากาศ (bag valve mask with reservoir bag) ข้อบ่งชี้ : ใน ู้ปวยทีมีภาวะหายใจ มเหมาะสม ด้แก การหายใจล้มเหลว หายใจเร็ว (RR > 28 ครัง ตอนาที) หายใจช้า ( RR < 10 ครังตอนาที) ู้ปวยหยุดหายใจ โดยต้องมีการใช้ OPA และ NPA รวมด้วยทุก ภาวะแทรกซ้อน หาก ู้ชวยเหลือมีเทคนิคการเปิดทางเดินหายใจ มเหมาะสม ลมจะเข้า ปทีทางเดินอาหาร แทนปอดและเกิดอาเจียนหรือสาลักนายอยหรือเศษอาหารเข้าปอด เกิดการอักเสบของปอดตามมา ด้ วิ ีการปฏิบัติ การช่วยหายใจด้วยถุงบีบลมผ่านหน้ากากกันลมย้อนพร้อมถุงกักอากาศ ผู้ปฏิบัติ 1 คน 1. ประกอบและตรวจสอบอุปกรณ์ วาล์ว และข้อตอของชุดอุปกรณ์ วาอยูในสภาพพร้อมใช้งาน 2. ประเมิน MOANS เพือดูวา ู้ปวยจะมีปัญหากับการครอบหน้ากากหรือ ม a) Mask seal หน้าตอบ b) Obesity/obstruction อ้วนหรือมีสิงอุดกันทางเดินหายใจ c) Age > 55 อายุมากกวา 55 ปี d) No teeth มมีฟัน e) Stiff lung (asthma, COPD, pulmonary edema) ปอดเหนียว 3. เปิดทางเดินหายใจเพือตรวจสอบวามีสิงอุดกันใดหรือ ม ถ้ามีให้เอาออก 4. เลือกหน้ากากให้พอดีกับใบหน้า โดยต้องครอบบริเวณจมูกและปากให้สนิท มกดบริเวณตา มเลย บริเวณคาง 5. ตอสายออกซิเจนเข้าทีปลายของถุงลมซิลิโคน เข้ากับกระบอกทาความชืน 6. เปิดออกซิเจน 15 ลิตร/นาที 7. ทดสอบวาถุงกักออกซิเจนมีลมรัวออกหรือ ม ถ้า มมีรอให้ถุงลมโปงออกกอนใช้งาน 8. ครอบหน้ากากเข้ากับใบหน้าของ ู้ปวย ใช้เทคนิค C-E คือ ให้นิวหัวแมมือและนิวชีจับหน้ากากด้านบน และด้านลางให้หน้ากากแนบกับใบหน้าของ ู้ปวย นิวกลาง นิวนาง และนิวก้อยจับทีกระดูกขากรร กร พร้อมยกกระดูกขากรร กรขึนเพือชวยเปิดทางเดินหายใจ 52 42
9. ประเมินการขยายของทรวงอกทุกครังทีบีบ และการคืนตัวของทรวงอกทุกครังทีปลอย หากบีบถุงลม ซิลิโคนแล้วหน้าอก มขยับ หรือคาความอิมตัวออกซิเจนในเลือดยังตากวา 95% ให้ตรวจสอบดังนี a) จัดทาเปิดทางเดินหายใจใหม b) ใส OPA หรือ NPA c) ตรวจสอบวาภายในชองปากของ ู้ปวยมีการอุดกันหรือ ม เชนจากนาเลือด นาลาย เป็นต้น d) เปลียนมาใช้การบีบแบบ ู้ชวยเหลือ 2 คน e) ตรวจสอบขนาดของหน้ากากและเสียงลมรัววาหน้ากากครอบจมูกและปากของ ู้ปวย ด้พอดี หรือ ม f) ตรวจรางกาย ู้ปวยซาวามีภาวะลมรัวในชองปอด (pneumothorax) หรือ ม g) หากตรวจสอบอุปกรณ์และวิธีการชวยหายใจครบแล้ว ู้ปวยยังมีภาวะหายใจล้มเหลว หรือคา ความอิมตัวของออกซิเจน มกลับมาปกติ ให้พิจารณาปรึกษาแพทย์อานวยการ
ภาพแสดงวิธีการครอบหน้าการด้วย C-E technique
53 43
วิ ีการปฏิบัติ การช่วยหายใจด้วยถุงบีบลมผ่านหน้ากากกันลมย้อนพร้อมถุงกักอากาศ ผู้ปฏิบัติอย่างน้อย 2 คน 1. ประกอบและตรวจสอบอุปกรณ์ วาล์ว และข้อตอของชุดอุปกรณ์ วาอยูในสภาพพร้อมใช้งาน 2. ประเมิน MOANS เพือดูวา ู้ปวยจะมีปัญหากับการครอบหน้ากากหรือ ม a) Mask seal หน้าตอบ b) Obesity/obstruction อ้วนหรือมีสิงอุดกันทางเดินหายใจ c) Age > 55 อายุมากกวา 55 ปี d) No teeth มมีฟัน e) Stiff lung (asthma, COPD, pulmonary edema) ปอดเหนียว 3. เปิดทางเดินหายใจเพือตรวจสอบวามีสิงอุดกันใดหรือ ม ถ้ามีให้เอาออก 4. เลือกหน้ากากให้พอดีกับใบหน้า โดยต้องครอบบริเวณจมูกและปากให้สนิท มกดบริเวณตา มเลย บริเวณคาง 5. ตอสายออกซิเจนเข้าทีปลายของถุงลมซิลิโคน เข้ากับกระบอกทาความชืน 6. เปิดออกซิเจน 15 ลิตร/นาที 7. ทดสอบวาถุงกักออกซิเจนมีลมรัวออกหรือ ม ถ้า มมีรอให้ถุงลมโปงออกกอนใช้งาน 8. ครอบหน้ากากเข้ากับใบหน้าของ ู้ปวย ใช้เทคนิค double C-E คือ ให้นิวหัวแมมือและนิวชีของทังสอง มือจับหน้ากากด้านบนและด้านลางให้หน้ากากแนบกับใบหน้าของ ู้ปวย นิวกลาง นิวนาง และนิวก้อย จับทีกระดูกขากรร กรพร้อมยกกระดูกขากรร กรขึนเพือชวยเปิดทางเดินหายใจ 9. ู้ชวยเหลือคนที 2 บีบถุงลม านหน้ากากกันลมย้อน โดยอัตราการบีบ 10-12 ครังตอนาที ข้อควรระวัง อยากดหน้ากากเข้าทีใบหน้าของ ู้ปวยโดยใช้แรงทีมากเกิน ป เพราะอาจจะทาให้ลินตกปิด กันทางเดินหายใจ ด้
2 person technique: EC technique 2 person technique: alternative method
54 44
ข้อบ่งชี้ : 1. 2. 3.
้ปู วยหรือ ้บู าดเจ็บ มหายใจ ู้ปวยหรือ ู้บาดเจ็บมีการหายใจ มเหมาะสม เชนหายใจเร็วหรือหายใจช้าเกิน ป ู้ปวยหรือ ู้บาดเจ็บหัวใจหยุดเต้น ต้องมีการชวยฟื้นคืนชีพ การช่วยหายใจแบบปากต่อปากโดยมีอุปกรณ์ปองกัน (Mouth-to-mask)
1. วางอุปกรณ์ป้องกัน (plastic face shield) ลงบนปากของ ู้ปวย 2. ใช้นิวโป้ง และนิวชีมือซ้ายบีบจมูก ู้ปวยให้สนิท และนิวทีเหลือกดลงบนหน้า าก มืออีกข้าง หนึงเชยคาง ู้ปวยขึน 3. ก้มหน้าลงเอาปากประกบปาก ู้ปวย านอุปกรณ์ป้องกัน 4. เปาลมออกจากปากของเราเข้า ปในปากของ ู้ปวยช้าๆ (ใช้เวลาประมาณเกิน 1 วินาทีตอการ เปา 1 ครัง) และเห็นวาหน้าอกของ ู้ปวยยกตัวสูงขึน 5. ถอนปากของเราออกจากปากของ ู้ปวย เพือปลอยให้ลมทีเปาเข้า ป หลกลับออกจากปาก ของ ู้ปวย 6. ทาตามวิธีการตามข้อ 2 ถึงข้อ 5 ซา โดย a) หาก ู้ปวยมีชีพจร ให้ชวยหายใจ 10-12 ครังตอนาที b) หาก ู้ปวย มมีชีพจร ให้รีบเข้ากระบวนการฟื้นคืนชีพ กดหน้าอก 30 ครัง เปาปาก 2 ครัง การช่วยหายใจแบบปากต่อปากและจมูกโดยมีอุปกรณ์ปองกัน (Mouth to mouth and nose)
การชวยหายใจในเด็ก และทารก ทีกายวิภาคแตกตางจาก ู้ใหญ คือ ในกรณีทีปากเด็กเล็กมาก การ วางครอบอุปกรณ์ป้องกันตนเองและการเปาปากควรอ้าปากให้ครอบทังปาก-จมูกของ ู้ปวย โดยขันตอนการ ทาปฏิบัติแบบเดียวการการชวยหายใจแบบปากตอปาก 55 45
Pocket mask (หน้ากากกันสัมผัส) เป็นอุปกรณ์ทีใช้ในการชวยหายใจขันพืนฐาน ป้องกันการ สัม ัสโดยตรงระหวาง ู้ชวยเหลือและ ู้ปวยหรือ ู้บาดเจ็บ ข้อบ่งชี้ : 1. ชวยหายใจหาก ู้ปวยหรือ ู้บาดเจ็บมีภาวะหายใจช้า หรือ มหายใจ (respiratory arrest) 2. ชวยหายใจหาก ู้ปวยหรือ ู้บาดเจ็บมีภาวะหัวใจหยุดเต้น รวมกับการกดหน้าอก ด้ (CPR) การใช้งาน Pocket mask (หน้ากากกันสัม ัส) มีวิธีการใข้ 2 วิธี คือ
วิ ีที่ 1 เมือ ู้ปฏิบัติการนังอยูเหนือศีรษะ ู้ปวย 1. วางหน้ากากครอบปาก และจมูกของ ู้ปวย ว้ ให้ด้านแหลมครอม ปตามสันจมูก 2. ใช้หัวแมมือ และอุ้งมือทังสองข้างกดขอบด้านข้างของหน้ากากให้แนบกับหน้าของ ู้ปวยให้สนิท ใช้นิว ทีเหลือดึงกระดูกขากรร กรลางขึน 3. ู้ชวยเหลือสูดหายใจเข้า อมสวนทีเปาของหน้ากาก ว้ในปาก แล้วเปาลมเข้าปอดจนหน้าอกมีการขยับ ยกขึนค้าง ว้นานประมาณ 1 วินาที 4. ปลอยให้ลมหายใจออก านออก ปโดย มต้องคลายหน้ากาก วิ ีที่ 2 เมือ ู้ปฏิบัติการนังอยูข้าง ู้ปวย 1. ครอบหน้ากากครอมจมูก และปาก ู้ปวย ว้ 2. ใช้มือหนึงดันหน้า ากด้วยฝามือพร้อมกับเอาหัวแมมือ และนิวชีมือข้างเดียวกันกดสวนยอดของ หน้ากากลง บนสันจมูกให้สนิท 3. มือหนึงดึงคางให้หน้าเงยขึน พร้อมกับใช้หัวแมมือกดด้านลางของ หน้ากากแนบกับคางของ ู้ปวยให้ สนิท 4. สูดหายใจเข้าเต็ม อมสวนทีเปาของหน้ากาก ว้ในปาก แล้วเปาลมเข้าปอดจนหน้าอกมีการขยับยกขึน ค้าง ว้นานประมาณ 1 วินาที 5. ปลอยให้ลมหายใจออก านออก ปโดย มต้องคลายหน้ากาก 56 46
การใสทอชวยหายใจ (Endotracheal Intubation) สามารถควบคุมทางเดินหายใจ ด้ดีทีสุด ซึงใช้ใน ู้ปวยที มหายใจหรือต้องการการชวยหายใจ อยาง รก็ดีการใสทอชวยหายใจนันต้องใช้ความชานาญ และ ต้ อ งการเวลาในการใส จึ ง ควรพิ จ ารณาถึ ง ประโยชน์ ที ู้ ป วยจะ ด้ รั บ เที ย บกั บ ความเสี ยงที อาจเกิ ด ขึ น เนืองจาก ู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ หาก ด้รับการสงตอและรักษาลาช้า ซึงสง ลเสียตอ ู้บาดเจ็บ รวมถึงภาวะ ขาดออกซิเจนหากใช้เวลาในการใสทอชวยหายใจนาน ข้อดีของการใสทองชวยหายใจ คือสามารถชวยหายใจด้วย 100% ออกซิเจน ด้ มต้องหวงเรือง Maskface seal ลดความเสียงของการเกิด Aspiration ด้อยางมาก สามารถดุดเสมหะ เลือดจาก trachea ด้
ข้อบ่งชี้ : ู้ปวยที มสามารถ Protect airway ตัวเอง ด้ ู้ปวยทีต้องการออกซิเจนทีเข้มข้นสูง และ ู้ปวยทีมีปัญหาการหายใจ ข้อห้าม : ู้ชวยเหลือ มมีทักษะและขาดการฝึกฝน มมีข้อบงชีในการใสและมีโอกาส ิดพลาดในการ ใสทอชวยหายใจสูง ภาวะแทรกซ้อน 1. Hypoxemia และ Hypercarbia จากการใช้เวลาใสทอชวยหายใจนาน และใสหลายครังถึงจะ สาเร็จ 2. Vagal stimulation ทาให้หัวใจเต้นช้า 3. การเพิมความดันในกะโหลกศีรษะ 4. บาดเจ็บตอทางเดินหายใจ ทาให้เกิดเลือดออกหรือบวม ด้ 5. ใสทอชวยหายใจเข้า ปที right main bronchus หรือ esophagus 6. อาเจียนระหวางใสทาให้เกิด aspiration 7. ฟันหัก หลุด 8. บาดเจ็บตอ vocal cords 9. บาดเจ็บตอกระดูกสันหลังสวนคอเพิมเติม ทาให้เกิด neurologic deficit ด้
57 47
การใสทอชวยหายใจด้วยการใช้ยา (Drug Assisted Intubation: DAI) คือ การใสทอชวยหายใจทีมี การใช้ยาทีทาให้ ู้ปวยหมดสติระยะสันๆ ตามด้วยการให้ยาคลายกล้ามเนือ คล้ายกับ ู้ปวยทีใสทอชวย หายใจในห้อง าตัดทัว ป ข้อห้าม : ู้ปวยมีลักษณะทีใสทอชวยหายใจยากหรือ มสามารถให้ยานาสลบหรือยาคลายกล้ามเนือ ด้ โดยขันตอนการทา RSI ประกอบด้วย 7 ขันตอน (7P) ดังนี P1 : Preparation 1. การเตรียมอุปกรณ์ - Laryngoscope ( ู้ใหญใช้ curved blades, เด็กใช้ straight blade) เลือกตามขนาดของ ู้ปวย ู้ใหญขนาดมาตรฐานใช้เบอร์ 3 เช็คแบตเตอรีและ ฟกอนใช้งาน เตรียมขนาด blade หลายๆขนาด มี อุปกรณ์สารอง กรณีมีปัญหา - Suction และสายดูดทังแบบเข็งและแบบออน - Stylet ชวยให้ใสทอชวยหายใจงายขึน - Gum elastic bougie เ ือใสทอชวยหายใจ ม ด้ - 10 ml Syringe เพือใสลมใน Balloon ของ endotracheal tube - Water-soluble lubricant - Magill forceps คีบสิงแปลกปลอมออกจากปาก ฟัน ฟันปลอม - End-tidal detection และ Wave form capnography เพือเช็ค ETCO2 วาใสทอชวยหายใจถูก ตาแหนงหรือ ม - Tube-securing device ยึดตรึงทอชวยหายใจ 2. การประเมินวา ู้ปวยใสทอชวยหายใจยาก? (Difficult airway evaluation) โดยการใช้อักษร “LEMON” L = Look externally ดูวา ู้ปวยมีคางสัน คอสัน ลินใหญ เปิดปาก ด้น้อย บาดเจ็บบริเวณคอทีต้อง ทา cervical immobilization บาดเจ็บทีใบหน้า มีเลือดออกจากทางเดินหายใจ มีโอกาสอาเจียน และภาวะ อ้วน สิงเหลานีพอจะคาดการณ์ ด้วา ู้ปวยมีโอกาสใสทอชวยหายใจ ด้ยาก 58 48
E = Evaluate the 3-3-2 Rule เช็ค alignment ของ pharyngeal, laryngeal และ oral axes โดยดูระยะระหวางฟัน incisor บนกับลางวาสันกวา 3 นิวหรือ ม ระยะระหวาง hyoid bone กับปลายคาง สันกวา 3 นิวหรือ ม และระยะระหวาง thyroid notch กับ floor of mouth สันกวา 2 นิวหรือ ม ถ้ามีอัน ใดอันหนึงสันกวา จะบอกวามีโอกาสใสทอชวยหายใจยาก M = Mallampati การดูวา hypopharynx เห็นชัดเจนแค หน ถ้าเป็น ป ด้ให้ ู้ปวยนัง อ้าปากให้สุด ถ้าเห็น ด้ดีทัง soft palate, uvula, fauces และ pillars เป็น class I ถ้าเห็น soft palate, uvula และ fauces เป็น class II ถ้าเห็น soft palate, base of uvula เป็น class III และถ้าเห็น hard palate เป็น class IV โดย class I ใสงายสุดและ class IV ใสยากสุด O = Obstruction ู้ปวยมีภาวะทางเดินหายใจอุดกันหรือ ม เชน epiglottis, peritonsillar abscess หรือการบาดเจ็บขากอุบัติเหตุ N = Neck mobility การขยับคาง ปทางหน้าอกของ ู้ปวย และ extend คอจะชวยให้มองเห็น vocal cord และใสทอชวยหายใจ ด้งายขึน กรณี ู้ปวย มสามารถขยับคอ ด้ จะให้ใสทอชวยหายใจ ด้ยาก ขึน 3. การประเมินวา ู้ปวยสามารถให้การชวยหายใจโดยใช้ face mask ด้งายหรือ ม โดยใช้อักษร“MOANS” M = Mask seal การชวยหายใจโดยใช้ face mask สามารถครอบ ด้สนิทกับหน้าหรือ ม (มีปัญหา กรณีที ู้ปวยมีหนวดเคราหรือมีการ ิดรูปของใบหน้า) O = Obesity ภาวะอ้วน A = Age > 55 ปี N = No teeth ู้ปวย มมีฟัน S = Stiffness of lung: โรคประจาตัว Asthma/ COPD 4. ู้ปวยสามารถทาการกระดูก ครคอยด์ (cricoid pressure) ด้สะดวกหรือ ม ู้ปวยทีอาจมีปัญหาคือ กลุมทีมีรองรายการ าตัด, Hematoma, Scarring, Subcutaneous air บริเวณกระดูก ครคอยด์
59 49
P2 : Preoxyenation ให้ อ อกซิ เจน 100% แก ู้ ปวยประมาณ 3-5 นาที หรื อ ให้ ู้ ป วยสู ด หายใจเข้ า -ออกเต็ ม ที (vital capacity) อยางน้อย 8 ครัง แล้วแตความเรงดวนของสภาพ ู้ปวย โดย มมีการชวยหายใจแบบ positive pressure ventilation (PPV) จน ด้คาออกซิเจนในกระแสเลือด 100% หรือใกล้เคียง P3 : Pretreatment เป็นการให้บาเพือลด reflex sympathetic response ทีจะเพิมความดันโลหิตและอัตราการเต้นของ หัวใจ ซึงอาจเป็นอันตรายตอ ู้ปวยทีมีเลือดออกในสมอง กล้ามเนือหัวใจขาดเลือด โดยให้ยา ปประมาณ 3 นาทีกอนให้ยานาสลบ ซึงในปัจจุบันยัง มมีการศึกษามากพอทีจะยืนยันวา ด้ประโยชน์จริงๆ จึงอาจข้าม ขันตอนนี ป ด้ P4 : Paralysis with Induction เป็นการให้ยาทีทาให้ ู้ปวยหมดสติ (induction agents) ตอด้วยการทา Sellick maneuver คือการ กด Cricoid cartilage เพือกันเศษอาหารในกระเพราะอาหารทีอาจเคลือนย้อยขึนมาแล้วเกิดการสาลักเข้า หลอดลม แล้วจึงให้ยาคลายกล้ามเนือเป็นลาดับถัด ป ยาทีเป็นทีนิยมใช้กันทัว ปคือ Etomedate ซึงมีข้อดีคือ เป็นยาที มมี ลกับความดันโลหิตและออก ฤทธิ์เร็ว หลังจากที ู้ปวยหลับสนิทจะให้ยาคลายกล้ามเนือ ซึงมีทังกลุม Depolarizing neuromuscular blocking agents เชน Succinylcholine และกลุม Nondepolarizing neuromuscular blocking agents เชน Vecuronium, Rocuronium หรือ Atracurium แล้วตามด้วยการใสทอชวยหายใจเข้า หลอดลมคอทันทีทียาออกฤทธิ์คลายกล้ามเนือแล้ว การใช้ Succinylcholine ขนาดของยา 1.5 mg/km เวลาทียาเริมออกฤทธิ์ 45-60 วินาที ระยะเวลาที ยาออกฤทธิ์ 5-9 นาที ภาวะแทรกซ้อน อาจพบภาวะ Hyperkalemia ใน ู้ปวยมีประวัติ ด้รับแ ล ฟ หม้ (Burns) มากกวา 5 วัน หรือ crush injures ทาให้ต้องดู ลเลือดของ ู้ปวยกอนการให้ยาวามีภาวะ ภาวะ Hyperkalemia หรือ ม หรือ อาจทาให้ อ าการของ apnea ยาวนานขึ นใน ู้ ป วยที เป็ น pseudo cholinesterase deficiency หรือ myasthenia gravis การใช้ Rocuronium (intermediate/long) ขนาดของยา 1 mg/km เวลาทียาเริมออกฤทธิ์ 1-3 นาที ระยะเวลาทียาออกฤทธิ์ 30-45 นาที ระยะเวลาทียาออกฤทธิ์ยาวนาน โดยอาจพิจารณาเลือกใช้ยาตัวนีเป็น ลาดับที2 เมือการใช้ยา Succinylcholine มีข้อห้าม 60 50
P5 : Protection and Positioning หลังจากที ู้ปวยหลับจากการให้ยาแล้ว ให้ทาทา Sellick maneuver คือการกดบน Cricoid ด้วยแรง ทีมากพอ เพือให้มีการกดหลอดอาหารทาให้ป้องกันการเกิดการสาลักทีอาจเกิดขึน ด้ การจัดทาเป็นสิ งที ชวยในการใส ทอช วยหายใจ ด้ง ายมากยิงขึน เราควรที จัดทา ู้ ปวยให้ อยูในทา Sniffing position คือการทา Flex lover neck และ Extend atlento-occipital joint ในทานีจะทาให้ มองเห็น Vocal cord ชัดเจนทีสุดเวลาใช้ Direct Laryngoscope เพราะทาให้ Oral axis, Pharyngeal axis และ Laryngeal axis อยูในแนวเดียวกัน P6 : Placement (and Proof) หลังจากอัดอากาศเข้าใน cuff (inflate cuff) และตรวจสอบวาทอชวยหายใจอยูในตาแหนงทีถูกต้อง โดยการฟัง 5 ตาแหนงแล้ว จากนันตอทอชวยหายใจเข้ากับมุมปากในอยูในตาแหนงทีถูกต้อง P7 : Post-intubation Management หลังจากใสทอชวยหายใจแล้ว ควรตอ ETCO2 และตามเอ็กซเรย์ (CxR Portable) เพือเพือเป็นการ ยืนยันตาแหนงทอชวยหายใจ และตอ Ventilator ควรให้ยาเพือให้ ู้ปวยหลับ (Sedate) หลังจากใสทอชวย หายใจ ปแล้วด้วยหาก ู้ปวยต้านมาก และทาการประเมินสัญญาณชีพ ู้ปวยเป็นลาดับถัด ป
61 51
ข้อบ่งชี้ :
กาจัดของเหลว เชน นาลาย อาเจียน หรือเลือด อยูในชองปากและคอหอย (Pharynx)
ภาวะแทรกซ้อน 1. การบาดเจ็บทีฟัน ลิน ในชองปากและคอ อาจมีเลือดออก ด้ 2. อาจกระตุ้นให้อาเจียน สาลัก 3. เกิดการหดเกร็งของสายเสียง (Laryngospasm) นา ปสูภาวะพรองออกซิเจน ด้ 4. การดูดสารคัดหลังเป็นเวลานานอาจทาให้คน ข้เกิดภาวะขาดออกซิเจน ด้
อุปกรณ์ 1. 2. 3. 4.
เครืองดูดเสมหะ สายดูดเสมหะทีสะอาดปราศจากเชือ (เลือกขนาดให้เหมาะสมกับ ู้ปวย) ถุงมือสะอาดปราศจากเชือ ขวดสะอาดปราศจากเชือใสนาสะอาด 500-1000 มล. สาหรับล้างสายดูดเสมหะ
วิ ีการปฏิบัติ 1. เปิดทางเดินหายใจ ู้ปวย/ ู้บาดเจ็บ 2. ให้ออกซิเจนแก ู้ปวย/ ู้บาดเจ็บกอนทาการดูดกาจัดของเหลว 3. ใสสายยางดูดเสมหะเข้า ปในชองปากด้านข้างตรงกระพุง้ แก้ม ระวัง ู้ปวยกัด มควรใช้เวลาดูด เกิน 15 วินาที 4. หลังทาการดูดของเหลวให้ออกซิเจนแก ู้ปวย 5. ดูดล้างสายด้วยนาสะอาดจนหมดคราบ
62 52
ข้อบ่งชี้ :
กาจัดของเหลว เชน นาลาย อาเจียน หรือเลือด ในหลอดคาในทอลม (endotracheal tube)
ภาวะแทรกซ้อน 1. ขาดออกซิเจนระหวางดูดของเหลว 2. การบาดเจ็บตอเยือออนทางเดินหายใจ 3. สัญญาณชีพเปลียนแปลง ด้แก ความดันสูงหรือตา ชีพจรเร็วหรือช้า 4. หัวใจเต้น ิดจังหวะ
อุปกรณ์ :
1. สายดูดของเหลว เลือกขนาดตามตาราง 2. ถุงมือปราศจากเชือ ขนาด Endotracheal tube (มม.) 6 ขึน ป 5-5.5 4-4.5 3-3.5
ขนาดสายดูดของเหลว (French) 16 12 8 4
ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. เฝ้าติดตามคลืน ฟฟ้าหัวใจและ O2 saturation 2. ให้ออกซิเจน 100% กอนประมาณ 2 นาที 3. ใช้ sterile technique ใสสายลง ปในทอทางเดินหายใจ โดน มให้นิวหัวแมมือปิดรูควบคุม 4. ใช้นิวหัวแมมือทีปิดรูควบคุม แล้วหมุนขณะทีถอนสายขึนช้าๆให้เวลาประมาณ 10 วินาที 5. ให้ออกซิเจน 100% ตออีก 2 นาที กอนทีจะใสสายเข้า ปใหม ข้อควรระวัง หากต้องการดูดของเหลวภายในชองปากด้วย ให้เริมดูดในทอลมกอน ห้ามใช้อุปกรณ์ที านการดูดใน ชองปากแล้วมาดูดทอลม 63 53
ข้อบ่งชี้ :
เพือชวยในการประเมินระดับออกซิเจนในรางกาย
ข้อควรระวัง : การใช้เครืองวัดความอิมตัวออกซิเจนเพียงอยางเดียว มเพียงพอในการประเมินและ ชวยเหลือ ู้ปวยหรือ ู้บาดเจ็บ ควรพิจารณาอาการของ ู้ปวยและ ู้บาดเจ็บเป็นหลัก อุปกรณ์ :
เครืองตรวจวัดความอิมตัวออกซิเจนของฮีโมโกบิลจากชีพจร (Pulse Oximeter)
วิ ีการปฏิบัติ 1. เปิดเครือง 2. นา pulse oximeter หนีบบริเวณทีนิวของ ู้ปวย 3. รอประมาณ 6-30 วินาที 4. อานคาทีแสดงบนหน้าจอ โดยคาทีแสดงบนหน้าจอจะมี 2 คา คือชีพจรและคาความอิมตัวของ ออกซิเจน
64 54
ภาวะที่มีลม และมีแรงดันในช่องเยื่อหุ้มปอด (Tension Pneumothorax) คือ ภาวะทีมีลมอยู เหยือหุ้มปอดปริมาณมากจนทาให้มีแรงดันในชองอกเพิมสูงขึนจนดัน mediastinum ให้เอียง ปด้านตรงข้าม จนทาให้เส้นเลือดดาใหญทีรับเลือดกลับเข้าสูหัวใจ (Inferior vena cava) ตีบ งอ จนเลือดดากลับเข้าสูหัวใจ น้อยลง ทาให้ความดันโลหิตลดลง การวินิจฉัยภาวะ Tension Pneumothorax ควรสงสัยใน ู้ปวยทีมีการบาดเจ็บทีทรวงอก การตรวจรางกายอาจจะพบวา ู้ปวยมีการหายใจลาบาก เส้นเลือดดาทีคอโปงหลอมลมถูกดัน ปด้านตรงกัน ข้ามกับปอดทีมีลมรัว เคาะโปรงมากกวาอีกด้าน เสียงหายใจเบาลงกวาอีกด้าน มีความดันโลหิตลดตาลง หัวใจหยุดเต้น เมือสามารถวินิจฉัย ด้แล้ว ให้ทาการรักษาโดยการทา Needle thoracostomy หรือ Needle decompression อุปกรณ์ที่จาเปนในการทา Needle decompression ประกอบ ปด้วย 1. เข็มเจาะสาหรับทา Needle decompression (medicut) เบอร์ 10 - 14 และยาวประมาณ 3.25 นิว (ประมาณ 8 เซนติเมตร) หรืออาจจะให้ใช้เข็มเบอร์ 16 ถ้า มสามารถจัดหาเบอร์ 10 – 14 ด้ 2. กระบอกฉีดยา 3. เทปกาวขนาด ½ นิว 4. สาลีชุบแอลกอฮอล์สาหรับเช็ดทาความสะอาด
65 55
ขั้นตอนการทา Needle decompression 1. ตาแหนงการทา Needle decompression ในด้านทีมีพยาธิสภาพ โดยตาแหนงทีเหมาะสมคือ ชองซีโครงชองที 5 ระหวางเส้นหน้ารักแร้กับเส้นกลางรักแร้ (Anterior to middle axillary line) 2. เช็ดทาความสะอาดบริเวณทีจะเจาะ 3. ยึดตรึง ิวหนังบริเวณทีจะทาการเจาะด้วยมือข้างที มถนัด และวางตาแหนงเข็ม ว้เหนือซีโครง ของชองทีจะเจาะ (เจาะทีขอบบนของกระดูกซีโครง) 4. ตังเข็มให้ตังฉากกับ ิวหนังของ ู้บาดเจ็บ 5. เมือเจาะเข็มเข้า ปในชองอก จะรู้สึกถึงอากาศพุงออกทางเข็มหรือ ด้ยินเสียงลม านออกจากรู เข็ม อยาดันเข็มลึก ปกวาตาแหนงนี 6. ดึงเข็มออกด้วยความระมัดระวัง ในขณะเดียวกันให้ดันปลอกพลาสติกลง ปให้ติดกับ ิวหนัง 7. ให้คงปลอกพลาสติกนัน ว้ตาแหนงเดิม มควรเอาออก เพือแสดงวา ด้พยายามทา needle decompression มากอนหน้านีแล้ว 8. ยึดปลอกพลาสติกด้วยเทปกาว ประเมินและติดตามอาการ ู้บาดเจ็บอยางใกล้ชิด และรีบทา การเคลือนย้าย ปยังโรงพยาบาลทีมีความเหมาะสม
66 56
ข้อบ่งชี้ : เพือลดการเกิดภาวะลมรัวในเยือหุ้มปอด (Pneumothorax) มากยิงขึนเพือให้ชวงหายใจเข้า ลมสามารถ านเข้ารูแ ล ม ด้ แตชวงหายใจออกลมทีค้างอยูสามารถระบายออกมา ด้บ้าง อุปกรณ์ : 1. แ นพลาสติก หรือพลาสติกหอก๊อซขนาดใหญมากกวาแ ลอยางน้อยด้านละ 2 นิว 2. พลาสเตอร์ปิดแ ล ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ใช้แ นพลาสติกปิดทีปากแ ล แล้วใช้พลาสเตอร์ปิดทีขอบพลาสติก 3 ด้านติดให้สนิท ให้เหลือ เพียง 1 ด้าน โดยขอบแ นพลาสติกต้องหางจากปากแ ลอยางน้อยด้านละ 2 นิว 2. เตรียม ู้ปวย และเตรียมอุปกรณ์เพือชวยระบายลม (Intercostal drainage)
67 57
ข้อบ่งชี้ :
หยุดห้ามเลือด
อุปกรณ์ : 1. อุปกรณ์ป้องกันตัวเอง ด้แก ถุงมือ 2. ้าก๊อซสะอาด ขนาดเหมาะสมกับขนาดของบาดแ ล 3. เทปใสปิดแ ล 4. ้ายืดพันแ ล (Elastic bandage)
ขั้นตอนการห้ามเลือด การกดบริเวณบาดแผลโดยตรง (Direct pressure) 1. ใช้ ้าก๊อซสะอาดใสเข้าในบาดแ ลโดยแพ็คเข้าในแผลให้แน่น 2. ใช้สวนแข็งของ ู้ชวยเหลือเชน นิวมือ ฝามือ เขา (พิจารณาตามขนาดแ ล) กดลงบน ้าปิดแ ล แนว การกดให้กดลง ปตรงๆ 3. ใช้เวลาอยางน้อยในการกด 10 นาทีหรือจนกวาเลือดจะหยุด หล 4. หากพบวามีเลือดออกจากบาดแ ลมากจนชุม ให้ใส ้าก๊อซเพิม ปและใช้ส้นมือกดบริเวณบาดแ ล โดยตรงเชนเดิม 5. ห้ามดึงก๊อซออกถ้าสามารถหยุดห้ามเลือด ด้สาเร็จ การทา Pressure dressing 1. ใช้ ้าก๊อซสะอาดใสเข้าในบาดแ ลโดยแพ็คเข้าในแผลให้แน่น 2. ให้ใช้ ้ายืดพันแ ล พันรอบบาดแ ลให้แนน หลังทาการห้ามเลือดทุกครั้ง ให้ดามส่วนที่ห้ามเลือดแล้วให้อยู่นิ่ง
68 58
ข้อบ่งชี้ : ู้บาดเจ็บทีมีลักษณะบาดแ ลทีมีเลือดออกปริมาณมากบริเวณรยางค์ และ มสามารถทาการ ห้ามเลือดโดยการกดลงบนบาดแ ล อุปกรณ์ :
Combat Application Tourniquet (C-A-T)
วิ ีการปฏิบัติ 1. ให้ ู้ช วยเหลื อใช้เขาของตนเองกดลงบนตาแหนงของหลอดเลื อ ดแดงทีทอด านเหนือ ต อ บาดแ ล เชน ทีขาหนีบหรือรักแร้ เพือชวยห้ามเลือดชัวคราวระหวางทีเตรียมสายรัดห้ามเลือด 2. แจ้ง ู้บาดเจ็บถึงความจาเป็นทีต้องใช้สายรัดห้ามเลือด 3. ในกรณีที มสามารถระบุหรือมองเห็ นบาดแ ล ด้ชั ดเจน ให้ทาการรัดสายรั ดห้า มเลื อดใน ตาแหนงทีสูงทีสุดและรัดให้แนนทีสุด (High and Tight) ทีรยางค์นัน โดย มเสียเวลาถอดหรือ ตัดเสือ ้าเพือหาบาดแ ล 4. หากบาดแ ลอยูทีขา ให้คลายสายรัดห้ามเลือดให้เป็นเส้นตรง หงายสาย สอดหัวเข็มขัดของ สายรัดห้ามเลือดเข้าชองวางใต้ข้อพับเขา เลือยให้สูงทีสุดเกือบชิดขาหนีบ มควรสวมสายรัด ห้ามเลือดในลักษณะทีเป็นบวงหรือยกขาขึน เนืองจาก ู้บาดเจ็บอาจมีกระดูกหักแล้วอาจเกิด อันตรายตอหลอดเลือดและเส้นประสาท ด้ 5. หากบาดแ ลอยูทีแขน ให้จัดสายรัดห้ามเลือดในลักษณะเป็นบวง แล้วคล้องสอดเข้าจากปลาย แขน ให้หางของสายรัดห้ามเลือดหันมาทาง ู้ชวยเหลือ เพือให้ดึงรูด ด้ถนัด เลือนสายรัดให้สูง ทีสุดจนเกือบชิดรักแร้ 6. หากสามารถมองเห็นบาดแ ล ด้ชัดเจน ให้รัดสายรัดห้ามเลือดทีตาแหนงเหนือบาดแ ลขึน ป 2-3 นิวหรือประมาณ 5-10 ซม. 7. ตรวจสอบในกระเป๋ากางเกงของ ู้บาดเจ็บวา มมีวัตถุแข็ง เชน กระเป๋าสตางค์ โทรศัพท์มือถือ พวงกุญแจ ทีอาจกดกับตัว ู้บาดเจ็บ รูดสายรัดจนกระชับ แล้วตรงแทบยึดตีนตุ๊กแก พันแทง ขันจนเลือดหยุดและคลาชีพจรสวนปลาย ม ด้ ขัดแทงขัน ว้กับสลัก มให้แทงขันคลายเกลียว ออก เก็บปลายสายรัดและบันทึกเวลาทีเริมใช้สายรัดห้ามเลือด 69 59
8. ควรแสดงบันทึกเวลา ว้ในตาแหนงที ู้ให้การรักษาในลาดับถัด ปมองเห็น ด้ชัด 9. หากใช้สายรัดห้ามเลือดแล้ว พบวา มสามารถห้ามเลือด ด้สนิท ให้ใช้สายรัดห้ามเลือดอีกอัน คล้องตอ สายรัดห้ามเลือดอันแรกโดยรัดเหนือกวาสายรัดอันแรก แล้วรัดให้แนนจนเลือดหยุด 10. ห้ามคลุมหรือดึง ้าลงมาปิดบริเวณทีคล้องสายรัดเพือป้องกันการหลงลืม และห้ามคลายสายรัดห้าม เลือดเด็ดขาด 11. ู้บาดเจ็บอาจมีความปวดบริเวณทีรัด ให้พิจารณาปรึกษาแพทย์อานวยการให้ยาแก้ปวดทางหลอด เลือดดา ถ้า มมีข้อห้าม
70 60
ขั้นตอนดูแลกรณีอวัยวะถูกตัดขาด 1. 2. 3. 4.
ล้างแ ลทีถูกตัดขาดด้วยนาเกลือ ทาการห้ามเลือด ล้างอวัยวะสวนปลายทีขาดออกให้สะอาดด้วยนาเกลือ หออวัยวะสวนปลายทีถูกตัดขาดด้วย ้าก๊อซชุมนาเกลือ เก็บใสถุงพลาสติกสะอาด ห้ามแชอวัยวะในนาเกลือ 5. แชอวัยวะทีใสถุงพลาสติกแล้วลงในกลองโฟมหรือกระติกบรรจุนาแข็ง ขั้นตอนดูแลกรณีอวัยวะเกือบถูกตัดขาด 1. ล้างแ ลด้วยนาเกลือ 2. ปิดแ ลด้วยก๊อซชุมนาเกลือ พันปิดแ ลโดยให้อวัยวะนันอยูในทาสบาย (functional position) 3. วางถุงนาเย็นบนแ ลทีถูกปิดแล้ว 4. ดามบริเวณทีทาแ ลเสร็จแล้วเพือลดการเลือด หล
71 61
ข้อบ่งชี้ : ู้ปวย ู้ใหญหัวใจหยุดเต้น ข้อห้าม : ู้ปวยมีเอกสารแสดงความจานงค์ปฏิเสธการชวยฟื้นคืนชีพตัวจริง ลงลายลักษณ์อักษร ชือของ ู้ปวย พร้อมพยาน มีสัญญาณหลังตายปรากฏ ด้แก กล้ามเนือแข็ง การตกเลือดหลัง การ ตาย หรือมีการบาดเจ็บรุนแรง เชน หัวขาด ลาตัวขาดออกจากกัน จมนาเกิน 60 นาที ขั้นตอนการทาหัตถการการกดนวดหัวใจในผู้ใหญ่ 1. นา ู้ปวยออกจากทีเกิดเหตุที มปลอดภัย 2. ู้ชวยเหลือสวมอุปกรณ์ป้องกันตนเอง 3. เตรียมอุปกรณ์การชวยชีวิตตามศักยภาพของ ู้ชวยเหลือ เชน ยาชวยชีวิต เครืองกระตุก ฟฟ้าหัวใจ อัตโนมัติ (AED) 4. จัดทา ู้ปวยนอนหงายบนพืนแข็งราบ แกะเสือ ้า ู้ปวยออก 5. วางมือข้างทีถนัดลงบนกึงกลางหน้าอกในแนวกึงกลางระหวางหัวนมทังสองข้าง 6. วางมืออีกข้างหนึงซ้อนทับบนมือข้างทีถนัด 7. โน้มตัว ปข้างหน้า ข้อศอกเหยียดตรง 8. กดหน้าอกให้ลึก 5 เซนติเมตร มเกิน 6 เซนติเมตร 9. ขณะ อนให้อกขยายตัวเต็มที ส้นมือ มลอยออกจากหน้าอก 10. กดด้วยความเร็ว 100 – 120 ครัง/นาที 11. ทาการชวยหายใจ a. กรณียัง ม ด้ใสทอชวยหายใจ : กดหน้าอก 30 ครัง ตอ การชวยหายใจ 2 ครัง (30:2) b. กรณีใสทอชวยหายใจแล้ว : ชวยหายใจด้วยอัตราเร็ว 10 ครัง/นาที 12. เปลียนคนกดนวดหัวใจทุก 2 นาที โดยใช้เวลาในการเปลียนคนกดนวดหัวใจ มเกิน 5 วินาที 13. หลีกเลียงการหยุดกดนวดหัวใจโดย มจาเป็น
72 62
ข้อบ่งชี้ : ู้ปวยเด็กทีหัวใจหยุดเต้น ข้อห้าม : ู้ปวยมีเอกสารแสดงความจานงค์ปฏิเสธการชวยฟื้นคืนชีพตัวจริง ลงลายลักษณ์อักษร ชือของ ู้ปวย พร้อมพยาน มีสัญญาณหลังตายปรากฏ ด้แก กล้ามเนือแข็ง การตกเลือดหลัง การตาย หรือมีการบาดเจ็บรุนแรง เชน หัวขาด ลาตัวขาดออกจากกัน จมนาเกิน 60 นาที ขั้นตอนการทาหัตถการการกดนวดหัวใจในเด็ก 1. นา ู้ปวยออกจากทีเกิดเหตุที มปลอดภัย 2. ู้ชวยเหลือสวมอุปกรณ์ป้องกันตนเอง 3. เตรียมอุปกรณ์การชวยชีวิตตามศักยภาพของ ู้ชวยเหลือ เชน ยาชวยชีวิต เครืองกระตุก ฟฟ้าหัวใจ อัตโนมัติ (AED) 4. จัดทา ู้ปวยนอนหงายบนพืนแข็งราบ แกะเสือ ้า ู้ปวยออก 5. วางมือข้างทีถนัดลงบนกึงกลางหน้าอกในแนวกึงกลางระหวางหัวนมทังสองข้าง 6. โน้มตัว ปข้างหน้า ข้อศอกเหยียดตรง 7. กดหน้าอกให้ลึก 5 เซนติเมตร 8. อาจวางมืออีกข้างหนึงซ้อนทับบนมือข้างทีถนัดหากกด ม ด้ความลึกทีเหมาะสม 9. ขณะ อนให้อกขยายตัวเต็มที ส้นมือ มลอยออกจากหน้าอก 10. กดด้วยความเร็ว 100 – 120 ครัง/นาที 11. ทาการชวยหายใจ a. กรณียัง ม ด้ใสทอชวยหายใจ : ชวยเหลือ 1 คน กดหน้าอก 30 ครัง ตอ การชวยหายใจ 2 ครัง (30:2) ชวยเหลือ 2 คน กดหน้าอก 15 ครัง ตอ การชวยหายใจ 2 ครัง (15:2) b. กรณีใสทอชวยหายใจแล้ว : ชวยหายใจด้วยอัตราเร็ว 10 ครัง/นาที 12. เปลียนคนกดนวดหัวใจทุก 2 นาที โดยใช้เวลาในการเปลียนคนกดนวดหัวใจ มเกิน 5 วินาที 13. หลีกเลียงการหยุดกดนวดหัวใจโดย มจาเป็น
73 63
ข้อบ่งชี้ : 1. เด็กทารกทีคลา ม ด้ชีพจร 2. เด็กทารกทีมีอัตราการเต้นของหัวใจตากวา 60 ครัง/นาทีโดยทีมีการชวยหายใจและให้ ออกซิเจนแล้วเกิน 30 วินาที ขั้นตอนการทาหัตถการการกดนวดหัวใจในทารก 1. นา ู้ปวยออกจากทีเกิดเหตุที มปลอดภัย 2. ู้ชวยเหลือสวมอุปกรณ์ป้องกันตนเอง 3. เตรียมอุปกรณ์การชวยชีวิตตามศักยภาพของ ู้ชวยเหลือ เชน ยาชวยชีวิต เครืองกระตุก ฟฟ้าหัวใจ อัตโนมัติ (AED) 4. จัดทา ู้ปวยนอนหงายบนพืนแข็งราบ 5. ใช้มือโอบหลังทารกโดยให้นิวหัวแมมือทังสองข้างชิดกันบริเวณกึงกลางหน้าอกทารก (2-Thumb technique) หรือ ใช้มือข้างใดข้างหนึงประคองหลังทารก ว้ แล้วใช้สองนิวทาการกดบริเวณใต้ตอ ราวนม (2- Finger technique) 6. กดหน้าอกให้ลึกอยางน้อย 4 เซนติเมตร หรือ 1 ใน 3 ของความหนาของอก ู้ปวยวัดจากหน้าอก ด้านหน้าถึงหลัง 7. กดนวดหัวใจ 3 ครัง ตอการชวยหายใจ 1 ครัง (3:1) โดยภายใน 1 นาทีต้องกดหัวใจให้ ด้ 90 ครัง ตอการชวยหายใจ 30 ครัง 8. ใช้เวลาในการกดนวดหัวใจ 60 วินาทีตอ 1 รอบการกด 9. ประเมินการตอบสนองของทารก หากอัตราการเต้นของหัวใจตากวา 60 ครัง/นาที ให้ทาการกดนวด หัวใจตอ ป
74 64
ข้อบ่งชี้ : ใช้ใน ู้บาดเจ็บทีสงสัยวามีบาดเจ็บกระดูกสันหลัง อุปกรณ์ : เฝือกตามคอชนิดปรับขนาด ด้ Cervical hard collar วิ ีการปฏิบัติในการใส่เฝือกดามคอ 1. ู้ชวยเหลือคนที 1 ทา manual in line ประคองศีรษะและคอ ในทานอนหงาย (neutral position) ลากเส้นสมมติ านหน้ากระดูกข้างใบหู (tragus) จะต้องอยูในระนาบเดียวกับกระดูก หปลาร้า (clavicle) โดย ู้ชวยเหลือห้ามทา manual in line กรณีดังตอ ปนี A. ู้ปวยมีกล้ามเนือคอแข็งเกร็ง (muscle spasm) B. หลังทา manual in line แล้ว ู้บาดเจ็บมีความเจ็บปวดมากขึน C. หลังทา manual in line ู้บาดเจ็บมีอาการทางระบบประสาทแยลง D. ู้บาดเจ็บมีทางเดินหายใจอุดกัน หรือ มสามารถชวยหายใจ ด้เหมาะสม * ให้พิจารณาจากัดการเคลือน หวของ ู้ปวยด้วยวิธีและอุปกรณ์อืนๆตามสถานการณ์ * 1. ู้ชวยเหลือคนที 2 วัดขนาดคอของ ู้บาดเจ็บ โดยการ ลากเส้นสมมติเส้นที 1 านปลายคาง ลากเส้นสมมติ เส้นที 2 านต้นคอ (root of neck) ให้ขนานกับเส้นที 1 วัดระยะระหวางเส้นที 1 และ 2 เป็นหนวยนิวมือ (fingerbreadth) 2. ู้ชวยเหลือคนที 2 เลือกและปรับขนาดเฝือกดามคอ 3. พับลินแถบตีนตุ๊กแก (Velcro) เข้าด้านในเพือป้องกันการเปื้อนฝุน 4. เปิดลินรองคาง ู้บาดเจ็บกอนสวมใสทุกครัง 5. สอดเฝือกดามคอจากทางด้านขวา จนพอเห็นแถบตีนตุ๊กแกโ ลพ้นหลังคอ 6. ปาดสวนทีเหลือของเฝือก านหน้าอกเข้ารองรับใต้ปลายคาง พร้อมตรวจสอบวาเฝือกดามคออยูในแนว กึงกลางลาตัวหรือ ม 7. กระชับเฝือกดามคอด้วยการกดลงให้แนบคอ (ห้ามดันคอ) และดึงแถบตีนตุ๊กแกขึน 8. ตรวจสอบวาเฝือกดามคออยูในแนวกึงกลาง โดยดูจากกระดุมของเฝือกด้านหน้าให้แนวเดียวกับปลายจมูก และต้องมอง มเห็นปุมยึดโฟมใต้คาง 9. หลังสวมเฝือกดามคอแล้ว ยังจาเป็นต้องทา manual in line ว้จนกวาจะเคลือนย้าย ู้บาดเจ็บบนอุปกรณ์ จากัดการเคลือน ว้ของกระดูกสันหลังและยึดตรึง ู้บาดเจ็บ ด้อยางเหมาะสมแล้ว
ข้อควรระวัง หากสวมเฝือกดามคอ ด้กระชับและเหมาะสม ู้บาดเจ็บจะอ้าปาก ด้น้อย มสามารถจัดการ ทางเดินหายใจ ด้ 75 65
ข้อบ่งชี้ : ใช้ใน ู้บาดเจ็บสงสัยวามีการบาดเจ็บบริเวณคอและกระดูกสันหลัง อุปกรณ์ : Philadelphia collar วิ ีการปฏิบัติในการใส่ cervical hard collar 1. ู้ชวยเหลือคนที1 ทา manual in line ประคองศีรษะและคอ ในทานอนหงาย (neutral position) ลากเส้ น สมมติ านหน้ ากระดู ก ข้ า งใบหู (tragus) จะต้ อ งอยู ในระนาบเดี ย วกั บ กระดู ก หปลาร้ า (clavicle) 2. ู้ชวยเหลือคนที2 เลือก Philadelphia collar ขนาดทีเหมาะสมกับ ู้บาดเจ็บ โดยเมือวางทีรองคาง ของเฝือกชินหน้าเข้ากับคาง ู้บาดเจ็บแล้วขอบบนของ sternal pad ของเฝือกชินหน้าต้องอยูใต้ sternal notch เล็กน้อย 3. สอดเฝือกชินหลังเข้าทางด้านหลังของ ู้บาดเจ็บอยางนุมนวล พับลินแถบ Velcro เข้าด้านในเพือ ป้องกันการเปื้อนฝุน 4. จัด Philadelphia collar สวนหลังให้ขอบลางของเฝือกอยูชิดกับบาของ ู้บาดเจ็บ 5. กาง Philadelphia collar สวนด้านหน้าเข้าใต้คางของ ู้บาดเจ็บ กางปีกให้สวนหน้าครอมสวนหลัง เพือให้สวนVelcro มีพืนทีในการติดมากทีสุด 6. ปรับ Philadelphia collar ให้กระชับและติดแถบ Velcro 7. ตรวจสอบวา Philadelphia collar อยูในแนวกึงกลาง 8. หลังสวม Philadelphia collar แล้ว ยังต้องประคองศีรษะของ ู้บาดเจ็บจนกวาจะยึดตรึงกับ spinal board และติด head immobilizer เสร็จ
76 66
อุปกรณ์ชนิดนีใช้สาหรับชวยเหลือ ู้บาดเจ็บทีนังภายในรถยนต์ทีมีอาการคงที และ มมีสิงกีดขวางทีอันตราย รอบตัว ู้บาดเจ็บ ใช้ ู้ชวยเหลือยางน้อย 3 คน ข้อบ่งชี้ :
ู้บาดเจ็บอยูในทานัง เชน ภายในรถยนต์ และสงสัยวา ด้รับการบาดเจ็บบริเวณกระดูกสันหลัง
ข้อห้าม : 1. ู้บาดเจ็บมีอาการ มคงที 2. สถานการณ์ทีเกิดเหตุ มปลอดภัย
ข้อควรระวัง : 1. กรณี ู้บาดเจ็บตังครรภ์ อาจะหลีกเลียงการรัดสายกลางลาตัว 2. กรณี ู้บาดเจ็บสงสัยกระดูกเชิงกรานหัก ให้ระมัดระวังการรัดสายใต้ขาและสายเส้นลาง วิ ีการปฏิบัติกรณีนาผู้บาดเจ็บออกจากพาหนะ 1. ู้ชวยเหลือคนที 1 (หัวหน้าทีม) ยืนอยูบริเวณด้านหน้ารถยนต์เฉียง ปทางด้านขวาเล็กน้อย ป้องกันรถพุง ใส พร้อมแนะนาตัว วามาจากหนวยงาน หน พร้อมพูดวา”นีคือความชวยเหลือ อยาขยับศีรษะและคอ มองมาทางนีตลอดเวลาจะมีคนเข้า ปประคองศีรษะ มต้องตกใจ”พร้อมให้สัญญาณ ู้ชวยเหลือคนที2 2. ู้ชวยเหลือคนที 2 ปิดประตูจากด้านหลังเข้า ปประคองศีรษะ 3. ู้ชวยเหลือคนที 1 เข้า ปเปิดประตูฝั่งคนขับตรวจสอบความปลอดภัยอีกครังพร้อมปลดเข็มขัดนิรภัย ดึง เบรกมือ 4. ู้ชวยเหลือคนที 1 ประเมินอาการ ู้บาดเจ็บวามีอาการคงทีหรือ ม หากอาการ มคงทีให้เปลียนวิธีการ เคลือนย้ายแบบรวดเร็ว (rapid extrication) แทน 5. หาก ู้บาดเจ็บอาการคงที ู้ชวยเหลือคนที 1 ใช้มือประคอง ู้บาดเจ็บหน้าหลังตามแนวกระดูกสันอก และ กระดูกสันหลัง 6. ู้ชวยเหลือให้สัญญาณกันเพือเอน ู้บาดเจ็บมาด้านหน้าเล็กน้อย 7. ู้ชวยเหลือคนที 3 เปิดประตูทีฝั่งตรงข้ามข้างคนขับ เข้า ปประคองกระดูกลาตัวแทน ู้ชวยเหลือคนที 1 พร้อมให้สัญญาณ 8. ู้ชวยเหลือคนที1 สวมเฝือกดามคอ ู้บาดเจ็บ 9. ู้ชวยเหลือคนที3 ให้สัญญาณเอนตัว ู้บาดเจ็บมาด้านหน้าอีกเล็กน้อยเพือทาการสอด KED 77 67
10. ้ชู วยเหลือคนที 1 ทาการตรวจดูด้านหลังวามีสิงใดในกระเป๋าหลังของ ู้ปวยหรือ ม หากมีให้เอาออก 11. ้ชู วยเหลือคนที 1 กางกระดานสันดามกระดูกสันหลัง(KED) ออกจากนันสอดกระดานสันดามกระดูกสัน หลัง(KED) เข้าทางด้านหลัง ู้บาดเจ็บจากทางด้านลาง นาสายรัดขาด้านซ้ายของ ู้บาดเจ็บให้อยูฝั่งซ้าย ของ ู้บาดเจ็บ ระวัง มให้สายรัดขาอยูด้านหลัง ู้บาดเจ็บ 12. ู้ชวยเหลือคนที3 เอนตัว ู้บาดเจ็บให้หลังพิงกับแ นกระดานสันดามกระดูกสันหลัง (KED) และ ู้ชวย เหลือคนที1 จัดให้ขอบบนของสวนรัดลาตัว (torso flap) ชิดรักแร้ของ ู้บาดเจ็บ พร้อมดึงหูหิวบนขึน เพือจัดให้อยูระดับกึงกลาง และรองรับตัว ู้บาดเจ็บ ด้ 13. ู้ ช วยเหลื อ คนที 1 และ ู้ ช วยเหลื อ คนที 3 ท าการติ ด สายรั ด ล าตั ว ให้ ก ระชั บ โดยเริ มจากสายรั ด ตามลาดับ “MY LADY LOOK HOT TONIGHT” 1. M – Middle strap สายรัดกลางลาตัว 2. L – lower strap สายรัดลาตัวเส้นลาง 3. L – leg strap สายรัดขา 2 เส้น โดยสอดสายรัดขาใต้ขาจากนันเลือนสายรัดขาเข้าแนบชิดตัว ู้บาดเจ็บด้วยความนุมนวล โดยตรวจสอบระบบการ หลเวียนโลหิตและระบบประสาทของขา กอนรัดสายรัดขา 4. H – Head strap สายรัดศีรษะ 5. T – Thorax สายรัดเส้นบน 14. ู้ชวยเหลือคนที1 ตรวจสอบระยะหางระหวางศีรษะสวนบริเวณท้ายทอยและกระดานรองหลังโดยใช้นิว วัดเพือใช้เทียบขนาดของหมอนรองศีรษะทีจะใช้หนุน จากนันใสหมอนรองศีรษะ ู้บาดเจ็บ 15. ู้ชวยเหลือคนที 1 เปลียนเป็นคนประคองศีรษะและคาง ู้บาดเจ็บจากด้านหน้าของ ู้ปวย ู้ชวยเหลือ คนที2 โอบแ นประคองศีรษะมารอบศีรษะ ู้ปวย ู้ชวยเหลือคนที 3 ติดสายรัดคาดทีหน้า ากและคาง ตามลาดับให้กระชับ 16. เคลือนย้าย ู้บาดเจ็บลงกระดานยาวดามกระดูกสันหลัง ( long spinal board ) โดยให้ ู้ชวยเหลือคนที 1 จับทีหูหิวด้านข้างเอียง ู้บาดเจ็บ ู้ชวยเหลือคนที2 สอดแ นกระดานยาวดามกระดูกสันหลัง เข้ามาใต้ ก้น จัดให้ ู้บาดเจ็บนังทับสวนปลายแ นกระดานพร้อมคุกเขาลงวางแ นกระดานลงบนหน้าขา จัดให้ ปลายแ นกระดานด้านศีรษะตากวาเบาะคนขับพร้อมออกแรงดันกระดานยันกับเบาะระวังเลือนหลุด 78 68
17. ู้ชวยเหลือคนที 1 คอยๆหมุนและเอนลาตัว ู้บาดเจ็บลงบนแ นกระดาน ู้ชวยเหลือคนที 3 ยกขา ู้บาดเจ็บข้ามคอนโซลกลาง หากคอนโซลกว้างให้หมุนทีละ45องศา จน ู้บาดเจ็บนอนราบบนแ น กระดาน 18. ทีมชวยเหลือเลือน ู้บาดเจ็บจน หลชิดติดเบาะหมอนประคองศีรษะ 19. ทีมชวยเหลือประจาอยูสองข้างของแ นกระดานยาวดามกระดูกสันหลัง ( long spinal board ) เพือ เตรียมยก ู้ชวยเหลือทีอยูด้านบนศีรษะสังการเคลือนย้ายพร้อมนับเป็นจังหวะเสียงพร้อมๆกัน เมือวาง ู้บาดลงพืนให้คลายสายรัดสวนบนสุดบริเวณหน้าอก และคลายสายรัดขาทังสองข้างเพือให้เลือด หลเวียน ด้สะดวก
79 69
ข้อบ่งชี้ :
ู้บาดเจ็บทีสงสัยวามีการบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง
ข้อควรระวัง 1. ควรมีทีมชวยเหลืออยางน้อย 3 คน 2. ต้องใช้รวมกับเฝือกดามคอชนิดแข็ง ชุดอุปกรณ์ยึดตรึงศีรษะ และสายรัดอยางน้อย 3 เส้น 3. อุปกรณ์โดยทัว ปสามารถรับนาหนัก ด้ 130-200 กก. ขั้นตอนการใช้กระดานรองหลังชนิดยาว 1. สวมใสเฝือกดามคอ 2. ู้ชวยเหลือคนที 1 ประคองศีรษะ ู้บาดเจ็บเตรียมอยูในทา manual in line 3. เตรียมอุปกรณ์และทีมการเคลือนย้าย ู้บาดเจ็บ 4. ทีม ู้ชวยเหลือนังเขาชิด ู้บาดเจ็บฝั่งตรงข้ามทีจะพลิก ู้บาดเจ็บลง โดยพิจารณาข้างทีจะพลิก ตะแคงตัวลงจากการบาดเจ็บ - ข้างทีจะเอาลง มควรเป็นข้างทีมีการบาดเจ็บหรือ มมีบาดเจ็บ รุนแรง 5. ู้ชวยเหลือคนที 2 ทา head grip change เพือให้ ู้ชวยเหลือคนที 1 เปลียนจาก manual in line ปเป็นทา modified trapezius grip – ( ู้ชวยเหลือคนที 1 จับบาของ ู้บาดเจ็บข้างทีจะ พลิกตะแคงลง) 6. ู้ชวยเหลือคนที 2 จับที หล ู้บาดเจ็บ อีกมือจับบริเวณสะโพกของ ู้บาดเจ็บ 7. ู้ชวยเหลือคนที 3 จับทีเอวและเหนือเขาของ ู้บาดเจ็บ 8. ู้ชวยเหลือคนที 1 สังการให้พลิก 90 องศา โดยออกคาสังจังหวะ ู้ชวยเหลือคนที 2 และ 3 ใช้ เขายัน ู้บาดเจ็บ มให้เคลือนทีขณะทาการพลิกตัว 9. ู้ชวยเหลือคนที 2 ปลอยมือขวาจับบริเวณสะโพกตรวจหาบาดแ ลด้านหลังของ ู้บาดเจ็บ 10. หลังตรวจการบาดเจ็บด้านหลัง ู้ชวยเหลือคนที 2 ใช้มือเลือนกระดานรองหลังมาแนบหลังของ ู้ปวยโดยให้ปลายกระดานรองหลังอยูระหวางเขาและปลายเท้าของ ู้บาดเจ็บ 11. ู้ชวยเหลือคนที 1 สังเป็นจังหวะเสียง ให้พลิกวางตัว ู้บาดเจ็บลงบนกระดานรองหลังพร้อมกับ คอยๆวางกระดานรองหลังลงบนพืน 12. ู้ชวยเหลือคนที 2 ทา head grip change เพือให้ ู้ชวยเหลือคนที 1 เปลียนจาก manual in 80 line ป จับที หลทัง 2 ข้าง (trapezius grip) 70
13. ้ชู วยเหลือคนที 2 กลับมาจับบริเวณใต้รักแร้ของ ู้บาดเจ็บ 2 ข้าง ู้ชวยเหลือคนที 3 จับบริเวณ สะโพก เมือพร้อมให้บอก ู้ชวยเหลือคนที 1 สังจังหวะเสียงเพือเลือนตัวย้าย ู้บาดเจ็บในแนวทแยง เฉียงขึนกระดานรองหลัง 14. เลือนตัว ู้บาดเจ็บจนอยูในตาแหนงทีเหมาะสมคือขอบลางของแ นรองคออยูพอดีกับขอบ หลของ ู้บาดเจ็บ 15. ู้ชวยเหลือคนที 2 ทา head grip change เพือให้ ู้ชวยเหลือคนที 1 เปลียนจากจับที หลทัง 2 ข้าง (trapezius grip) เป็น manual in line 16. ทาการยึดตรึง ู้บาดเจ็บบนกระดานรองหลังโดยเริมจากรัดบริเวณลาตัวกอนเสมอ 13. สายรัดเส้นที 1 สอดเข้าใต้รักแร้พาดเหนือหัวนม 14. สายรัดเส้นที 2 พาดเหนือกระดูกเชิงกราน 15. สายรัดเส้นที 3 พาดเหนือหัวเข้า 17. ประเมินระบบประสานและการ หลเวียนสวนปลายหลังการทาการยึดตรึงลาตัวเสมอ 18. ู้ชวยเหลือคนที 2 ทา head grip change 19. ู้ชวยเหลือคนที 1 ติดหมอนของชุดตรึงศีรษะ และพาดสายรัดของชุดตรึงศีรษะทีหน้า ากและใต้คาง ของ ู้บาดเจ็บ ระวังการบาดเจ็บของดวงตา 20. หม ้ารักษาความอบอุนอุณหภูมิกายให้ ู้บาดเจ็บ
81 71
ข้อบ่งชี้ : 1. ใช้ใน ู้บาดเจ็บ ทีกระดูกแขน ขา สะโพกหัก 2. ใช้ในการเคลือนย้าย ู้บาดเจ็บทีสงสัยวามีการบาดเจ็บกระดูกสันหลังออกจากจุดเกิดเหตุใน ระยะเวลาสันๆ 3. เคลือนย้าย ู้ปวยทีชวยเหลือตนเอง ม ด้ ข้อควรระวัง : ควรมีชวยเหลืออยางน้อย 2 คนขึน ป
วิ ีการปฏิบัติ 1. (กรณี ู้บาดเจ็บ) สวมใสเฝือกดามคอและมี ู้ชวยเหลือประคองศีรษะของ ู้บาดเจ็บ ว้ตลอด 2. นาเปลตักวางด้านข้าง ู้ปวย/บาดเจ็บ หางประมาณ 30 เซนติเมตร วางเปลตักด้านกว้าง ปทาง ศีรษะของ ู้บาดเจ็บ เอาด้านแคบ ปทางปลายเท้า 3. วัดขนาดความยาวของเปลตักกับ ู้ปวย/บาดเจ็บ โดยคนทีอยูด้านศีรษะจับเปลตัก ว้ให้พอดีกับ ศีรษะคน ทีอยูด้านปลายเท้า ปลดปุมล็อคความยาวของเปลขึนค้าง ว้พร้อมกับขยับความยาว ของเปลให้พอดีกับ ู้ปวย/บาดเจ็บ เมือ ด้ทีให้ล็อคความยาวของเปลด้านปลายเท้าทังสองฝั่ง 4. แยกเปลออกพร้อมกันทังสองด้าน ยกชินทีอยูใกล้ตัว ู้ปวย/ ู้บาดเจ็บ ป ว้ฝั่งตรงข้าม 5. ู้ชวยเหลือคนที 2 และ 3 นังเข้าประชิดตัว ู้ปวย เตรียมพลิกตะแคง ู้ปวย/ ู้บาดเจ็บในทาง พลิกทอนซุง (log roll) 6. จับมือ ู้ปวย/บาดเจ็บทังสองข้างวางบนตัวของ ู้ปวย/ ู้บาดเจ็บ นาเปลเข้าชิดตัว ู้ชวยเหลือ 2 คนชวยกันพลิกตะแคงตัวพร้อมกับนาเปลสอดใต้ตัว ู้ปวย/บาดเจ็บทีละด้านอยางนิมนวล 7. ประกอบเปล โดย เริมล็อคจากด้านศีรษะกอน จากนันขยับชวงกลางลาตัวเข้าหากันและล็อค สวนเท้าสุดท้าย 8. ยึดตรึง ู้ปวย/ ู้บาดเจ็บด้วยสายรัดลาตัวและศีรษะ 9. เคลือนย้าย ู้ปวย
82 72
ข้อบ่งชี้ :
ู้บาดเจ็บทีสงสัยกระดูกเชิงกรานหัก
วิ ีปฏิบัติในการดามกระดูกเชิงกราน 1. สอดหัวเข็มขัดของแถบรัดเข้า ปทีชองวางใต้ข้อพักเขา มแนะนาให้สวมแถบรัดตรึงกระดูกเชิง กรานโดยการยกขาของ ู้บาดเจ็บ เนืองจากอาจทาให้กระดูกเชิงกรานทีหักแบบ มคงทีมีการ ขยับมากขึนกวาเดิม 2. ขึงแถบรัดให้ตรึงและราบ ปกับพืน เลือนแถบรัดขึนมาในระดับสะโพกด้วยการดึงสลับซ้าย-ขวา ให้สุดคล้ายกับการเลือย ม้ ตรวจสอบและจัดตาแหนงให้กึงกลางของแถบรัดตรึงกระดูกเชิง กรานให้อยูตรงกับ Greater trochanter ทัง 2 ข้าง ซึงเป็นระดับเดียวกันกับกระดูกหัวหนาว 3. ตรวจสอบในกระเป๋ากางเกงของ ู้บาดเจ็บ และบริเวณตลอดแนวทีจะพันแถบรัดกระดูกเชิง กรานว า ม มี วั ต ถุ แ ข็ ง เช นกระเป๋ า สตางค์ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ พวงกุ ญ แจที อาจกดลงบนตั ว ู้บาดเจ็บขณะรัดแถบรัดแล้ว จัดให้ขาทัง 2 ข้าง หมุนเข้าด้านในและชิดกัน เนืองจากหากขา ทัง 2 ข้างแบะออกจากกัน จะทาให้เชิงกรานเคลือน ปด้านหน้าและตาแหนงของจุดทีหัก ม คงที 4. สอดปลายสายเข้า ปทีหัวเข็มขัด ู้ชวยเหลือทัง 2 คนออกแรงดึงหูจับข้างหัวเข็มขัดและดึงหาง เข็มขัดในด้านตรงกันข้ามกัน ด้วยแรงสมาเสมอ จน ด้ยินเสียงดัง “คลิก” และ มสามารถดึง ตอ ป ด้ 5. ติดสายด้านหางเข็มขัดลงบนแถบยึดติดตีนตุ๊กแก ตรวจสอบตาแหนงแถบรัดตรึงกระดูกเชิง กรานหลังใสวายังตรงกับ Greater trochanter 6. พัน ้าบริเวณต้นขาเหนือเขาทัง 2 ข้างเข้าด้วยกัน เพือ มให้ขาทัง 2 ข้าง แบะออกจากกัน ระวัง อยาพัน ้าใต้ข้อพับเขา เนืองจากจะ ปกดหลอดเลือดแดง Popliteal ด้ บันทึกเวลาทีใสแถบ รัดตรึงกระดูกเชิงกรานและรีบนาสงโรงพยาบาล
83 73
ข้อบ่งชี้ :
ู้บาดเจ็บทีสงสัยกระดูกเชิงกรานหัก
อุปกรณ์ : 1. ้าขวางเตียง สาหรับรัดรอบกระดูกเชิงกราน 2. ้าสาหรับรัดขาและข้อเท้า 3. Surgical clamp วิ ีปฏิบัติในการดามกระดูกเชิงกราน 1. พลิกตัว ู้ปวยด้วยวิธียกแบบทอนซุง (log roll) จากนันสอด ้าขวางเตียงเข้าใต้ตัว ู้บาดเจ็บเข้า บริเวณสะโพก จากด้านข้าง ประมาณให้กึงกลางของ ้าขวางเตียงอยูระดับเดียวกับ Greater trochanter 2. ดึง ้าขวางเตียงให้ตึงทีละข้างให้แนน จัดให้ขาทัง 2 ข้าง หมุนเข้าด้านในและชิดกัน จากนันใช้ surgical clamp ยึด ้าขวางให้แนน โดยห้ามขมวดปมหรือ ูกปม 3. กรณี มสงสัยวามีกระดูกขาหักให้พัน ้าบริเวณเหนือเขาทัง 2 ข้างเข้าด้วยกัน เพือ มให้ขาทัง 2 ข้าง แบะออกจากกัน
84 74
ข้อบ่งชี้ : 1. ู้บาดเจ็บสงสัยภาวะกระดูกหัก 2. ู้บาดเจ็บมีการปวดบริเวณรยางค์ 3. หลังทาการห้ามเลือด ต้องการให้อวัยวะทีห้ามเลือด ด้สาเร็จแล้วอยูนิง อุปกรณ์ : 1. อุปกรณ์การดาม ควรเป็นอุปกรณ์ทีมีความยาวพอเหมาะกับสวนทีต้องการดาม มีความนุม มแข็ง 2. ้าพันเฝือกดาม เชน ้ายืด (Elastic bandage) ้าพันคอ ้าสามเหลียม วิ ีการปฏิบัติ 1. วั ส ดุ ทีใช้ ด ามต้ อ งยาวกวาอวัย วะส วนที หัก โดยเฉพาะจะต้อ งยาวพอที จะบั ง คั บ ข้ อ ตอที อยู เหนื อ และใต้ บริเวณที สงสั ย ว ากระดูก หัก เช น ขาทอนล างหั ก ข้ อ เข าและข้ อ เท้ าจะต้ อง ถู ก บั ง คั บ ว้ ด้วย ม้ ดามเป็ นต้ น 2. รองอุ ป กรณ์ก ารดามด้ว ยวัส ดุ อ อนนุม เช น ้ า หรื อ สาลี ว าง ว้ ตลอด เพื อ ม ทาให้ เกิ ดการ เจ็ บ ปวดและเกิดเป็ นแ ลจากกด ด้ 3. ประเมิ น ชี พจร การ หลเวียนโลหิ ตส วนปลาย และตรวจระบบประสาทส วนปลาย 4. หากมี ส วนของกระดูก หัก ทิ มออกมาหรือ แ ลมี ก ารเปรอะเปื้ อ นมาก ให้ ล้ า งแ ลด้ว ย นาเกลื อ ล้ างแ ลก อน 1-2 ลิ ต ร (ตามความเหมาะสม) และปิ ดแ ลด้ วย ้ าปิ ดแ ลสะอาด ห้ า มดั ด ดั น กระดู ก 5. ทาบอุ ป กรณ์ทีใช้ ด ามกั บ อวั ย วะที มี ก ารบาดเจ็บ หรือ มี แ ล 6. รั ด ด้ ว ย ้ าที เตรีย ม ว้ ให้ แนนพอที จะประคองสวนที หัก ด้ แต ต้ อ ง ม แนนเกิ น ป 7. ประเมิ น ชี พจร การ หลเวี ย นโลหิ ตส วนปลาย และตรวจระบบประสาทส วนปลายซาเป็ น ระยะ ถ้ ารัดแนนจนเกิ น ปจะกดขัดขวางการ หลเวี ย นของเลือ ดทาให้ อวั ย วะส วนปลาย บวม ปวด เกิ ด อวั ย วะขาดเลื อ ด ด้ ซึ งจะต้ อ งคลาย ้ ายื ดที ู ก ให้แนนน้อ ยลง 8. จั ด ทาบริเวณที ดามอยูในทาที สุ ขสบายที สุ ด 85 75
ข้อบ่งชี้ :
ู้ปวยยังสวมใสหมวกนิรภัยขณะทีทีมชวยเหลือเข้า ปถึงตัว ู้บาดเจ็บ
วัตถุประสงค์ : เพือประเมินการหายใจเบืองต้นและเปิดทางเดินหายใจหรือป้องกันทางเดินหายใจอุดกัน ณ ทีเกิดเหตุ อุปกรณ์ :
1. ้ารองศีรษะ
วิ ีปฏิบัติในการถอดหมวกกันนิรภัย 1. มี ู้ชวยเหลืออยางน้อย 2 คน โดยที ู้ชวยเหลือคนแรกทาการประคองศีรษะ ู้บาดเจ็บด้วยวิธี Manual in line โดยใช้ฝามือทัง 2 ข้างประกบด้านข้างของหมวกนิรภัย เพือประคองหมวกนิรภัย คอ และศีรษะ ในอยูในทา Neutral position โดยยัง มต้องเรียก ู้บาดเจ็บเพือป้องกันการเคลือน หวของกระดูกสวน คอ (ข้อศอกของ ู้ชวยเหลือควรวางบนพืนเพือให้การทา Manual in line มีความมันคง) 2. ู้ชวยเหลือคนที 2 ทาการเปิดหน้ากากของหมวกนิรภัย ทาการประเมินระบบทางเดินหายใจเบืองต้น โดยการถามชือของ ู้บาดเจ็บ 3. แจ้ง ู้บาดเจ็บวาทานกาลังจะทาการถอดหมวกนิรภัย หาก ู้บาดเจ็บใสแวน ให้ถอดแวนกอนทาการ ถอดหมวกนิรภัย 4. ทาการตัดหรือปลดสายรัดของหมวกนิรภัยบริเวณคางออก 5. ู้ชวยเหลือคนที 2 ใช้มือข้างหนึงประคองทีท้ายทอย โดยสวนแขนและศอกต้องวางบนพืน เพือให้การ ประคองคอมีความมันคง (Neck grip) และใช้นิวหัวแมมือและนิวชีของมืออีกข้างจับทีมุมคางทัง 2 ข้าง และประคองตามแนวกระดูกคาง แขนด้านขวาวางระหวางกึงกลางของทรวงอก ู้บาดเจ็บ (Chin grip) หลังจากทีประคอง ด้อยางมังคงให้สงสัญญาณให้ ู้ชวยเหลืออีกคนทราบ
86 76
6.
7. 8. 9. 10.
ู้ชวยเหลือคนที 1 ทาการถอดหมวกนิรภัยออก โดยมีข้อควรคานึงถึง ดังนี A. หมวกนิรภัยมีรูปรางเป็นทรงรูป ข ดังนันจะต้องดึงถางออกด้านข้างเพือนให้พ้นหู B. หากใสหมวกนิรภัยชนิดคลุมหน้าทังหมด จะต้องเอาแ นพลาสติกใสด้านหน้าออกกอน C. หากใสหมวกนิรภัยชนิดคลุมหน้าขณะเอาออกอาจติดทีจมูก ให้โยกหมวก ปด้านหลังเล็กน้อย และยกขึน เพือให้พ้นจมูก D. หมวกนิรภัยบางชนิดมีถุงลมอยู จะต้องปลอยลมออกกอน ถอดหมวกนิรภัยโดยให้ขอบลางของหมวกนิรภัย านปลายคางและจมูก หลังจากหมุนหมวกนิรภัย ายปลายจมูก ให้ดึงหมวกในแนวตรง โดยที ู้ชวยเหลือคนที2 คอยๆเลือนมือ ทีประคองบริเวณท้ายทอยตามหมวกนิรภัยทีถอด หลังถอดหมวก ู้ชวยเหลือคนที1 ทาทา Head grip และพยายามจัดทา ู้ปวยในทา Neutral position (คอยๆวางศีรษะลงพืนอยางช้างๆ ถ้ามีอาการเกร็งของกล้ามเนือต้นคอให้หยุด และนา ้ามา รองให้พอดีกับความสูงของศีรษะ) กลับมาประคองศีรษะ ู้บาดเจ็บให้อยูในทา manual – in- line
87 77
ข้อบ่งชี้ :
เพือวัดระดับนาตาลในกระแสเลือด
อุปกรณ์ :
1. เครืองตรวจวัดระดับนาตาลในกระแสเลือดชนิดพกพาและแถบทดสอบ (กลูโคสมิเตอร์)
2. สาลีแอลกอฮอล์/สาลีแห้ง 3. เข็มใหมและสะอาด ขั้นตอนการเจาะ Capillary Blood glucose 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
ล้างมือให้สะอาด เตรียมเครืองตรวจวัด และแถบทดสอบ ให้อยูในสภาพ พร้อมใช้งาน ปรับระดับความลึกของอุปกรณ์เข็มเจาะเลือดให้เหมาะสมกับสภาพ ความหนาของ ิวบริเวณปลายนิว ใช้สาลีแอลกอฮอล์เช็ดปลายนิวนางหรือนิวกลาง รอให้นิวแห้ง แล้วใช้เข็มเจาะบริเวณด้านข้างของปลายนิว นาเลือดหยดในแถบทดสอบด้วยปริมาณทีเหมาะสม รอเครืองประมวล ล แล้วอานคา กดห้ามเลือดบริเวณทีเจาะด้วยสาลีแห้งทีสะอาดจนเลือดหยุด ทิงเข็มทีใช้แล้วและวัสดุปนเปื้อนอืน ๆ ในภาชนะทีป้องกันการแทงทะลุ
ข้อควรระวัง เลือดทีหยดมีปริมาณ มเพียงพอ เวลาในการเสียบแ นวัดเพืออาน ล มเหมาะสม แ นวัด/แถบทดสอบหมดอายุ เสือม หรือเก็บในอุณหภูมิที มเหมาะสม มปฏิบัติตามคาแนะนาของเครืองตรวจวัด มมีการปรับเครืองให้ตรงตามโค้ดของแถบตรวจเมือเปลียนแถบตรวจขวดใหม อานคา ิด
88 78
ALS
ข้อบ่งชี้ :
ู้ปวยตังครรภ์ทีมีสวนนาของทารกหรือตุงบริเวณปากชองคลอด
การเตรียมความพร้อมในการช่วยคลอด 1. สวมอุปกรณ์การป้องกันตนเอง 2. เตรียมอุปกรณ์ 3. เตรียมสถานทีหรือพืนทีให้เหมาะสม ปิดเครืองปรับอากาศ อุปกรณ์ในการช่วยคลอด 1. ลูกสูบยางแดง สาหรับใช้กับทารก 1 ลูก 2. Clamp จานวน 2 อัน 3. ถุงมือปราศจากเชือ 2 คู 4. สาลีปราศจากเชือ 5. ้าสะอาด จานวน 2 ืน 6. ้าสาหรับเช็ดตัวทารก 7. ้าสาหรับหอตัวทารก ขั้นตอนการช่วยคลอด 1. จัดทาให้มารดานอนหงาย ตังเขาทังสองข้างและแยกขาออกจากกัน มหนีบขาเข้าหากัน 2. ปู ้าสะอาดรองใต้ก้นของ ู้ปวย เพือเตรียมรับการคลอดของทารก 3. ให้มารดาเบงเมือมีลมเบง 4. เมือศีรษะทารกคลอดพ้นปากชองคลอดแล้ว ู้ชวยเหลือใช้มือทังสองประคองศีรษะ 5. ชวยคลอด หลหน้าของทารก โดยกดลาตัวทารกลง เมือ หลหน้าพ้นจากชองคลอดให้ยกตัวของ ทารกขึนเพือคลอด หลหลัง มดึงทารก 6. เมือลาตัวทารกออกพ้นชองคลอด ใช้มือประคองตัวทารก ว้ ระวังตก คอยๆวางตัวทารกใน ระดับเดียวกับชองคลอด บนพืนทีปู ้าแห้ง ว้รอ 89 79
BLS
ข้อบ่งชี้ :
EMR
ู้ปวยตังครรภ์ทีมีสวนนาของทารกหรือตุงบริเวณปากชองคลอด
การเตรียมความพร้อมในการช่วยคลอด 1. รายงานศูนย์สังการขอสนับสนุนรถพยาบาล 2. สวมอุปกรณ์การป้องกันตนเอง 3. เตรียมอุปกรณ์ 4. เตรียมสถานทีหรือพืนทีให้เหมาะสม ปิดเครืองปรับอากาศ
อุปกรณ์ในการช่วยคลอด 1. ลูกสูบยางแดง สาหรับใช้กับทารก 1 ลูก 2. Clamp จานวน 2 อัน 3. ถุงมือปราศจากเชือ 2 คู 4. สาลีปราศจากเชือ 5. ้าสะอาด จานวน 2 ืน 6. ้าสาหรับเช็ดตัวทารก 7. ้าสาหรับหอตัวทารก ขั้นตอนการช่วยคลอด 1. จัดทาให้มารดานอนหงาย ตังเขาทังสองข้างและแยกขาออกจากกัน มหนีบขาเข้าหากัน 2. ปู ้าสะอาดรองใต้ก้นของ ู้ปวย เพือเตรียมรับการคลอดของทารก 3. ให้มารดาเบงเมือมีลมเบง 4. เมือสวนนาโ ลพ้นชองคลอด ใช้สองมือประคองทารก ห้ามดึงตัวทารก ปลอยให้ทารกคอยๆ หลออกจากชองคลอด 5. เมือลาตัวทารกออกพ้นชองคลอด ใช้มือประคองตัวทารก ว้ ระวังตก คอยๆวางตัวทารกใน ระดับเดียวกับชองคลอด บนพืนทีปู ้าแห้ง ว้รอ 6. ใช้ลูกสูบยางแดงดูดในปากกอน จากนันดูดในจมูกทังสองข้างของทารก 2-3 ครังจนหมด 90 80
BLS
EMR
7. หนีบสายสะดือทารกด้วยวัสดุอุปกรณ์ทีเตรียม ว้ใน 2 จุดๆทีหนึงหางจากลาตัวทารกประมาณ 4 นิว หรือ 1 ฝามือ จุดทีสองหางจากจุดแรกอีกประมาณ 4 นิวหรือ 1 ฝามือเชนกันโดยห้ามตัดสายสะดือ 8. ประเมินสภาวะของทารกเบืองต้น (term, tone, breathing) และให้คะแนน ตาม APGAR Score หากประเมินเบืองต้น ม าน ให้ปรึกษาแพทย์อานวยการและชวยเหลือทารกตามแนวทางการชวยเหลือ เด็กทารก 9. เช็ดตาทารกโดยเริมจากเช็ดทีหัวตา ปยังหางตาทังสองข้างด้วยสาลีชุบนาเกลือหมาดๆ 10. เช็ดตัวทารกให้แห้ง 11. หอตัวทารกด้วย ้าหม หรือ ้าสะอาดทีเตรียม ว้ 12. วางทารก ว้กับมารดาในตาแหนงหน้าท้อง หรือข้างลาตัว 13. ประเมินปริมาณการเสียเลือดของมารดาและการแข็งตัวของมดลูก หากมดลูก มแข็งตัว ให้ทาการนวด คลึงมดลูก และใช้แนวทางการดูแล ู้ปวยหลังคลอด
91 81
ข้อบ่งชี้ :
เพือชะล้างสิงแปลกปลอมและสารเคมีตางๆจากดวงตา
อุปกรณ์ : 1. สารนา 0.9% NSS และ Set ให้สารนา ู้ใหญ 2. 0.5% Hydrochloride (ยาชาสาหรับตา) 3. ก๊อซ Sterile 2-3 แ น 4. ถุงพลาสติกสีแดงรองรับนาล้างตา 5. Micropore / Transpore
ขั้นตอนปฏิบัติ 1. ล้างมือให้สะอาด 2. เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมและอธิบายให้ ู้ปวยทราบ 3. จัดทาให้นอนหงายราบ มหนุนหมอน 4. เอียงศีรษะ ู้ปวยลงด้านทีจะล้างตาเล็กน้อยนาถุงรองรับนารองใต้หางตา ู้ปวย 5. หยอด 0.5% Hydrochloride 1-2 หยด กอนล้างตา 6. ใช้หัวแมมือและนิวชีซ้าย เปิดหนังตา ู้ปวยโดยนิวหัวแมมือเปิดหนังตาบนและให้แรงกดอยูบน คิว นิวชีเปิดหนังตาลางและให้แรงกดอยูบนโหนกแก้ม 7. ใช้มือหยิบสายให้สารนาหางจากหัวตาประมาณ 1 นิว แล้วปลอยสารนาหยดลงบนเยือบุตา บริเวณหัวตา พร้อมทังแนะนาให้ ู้ปวยกลอกตา ปรอบๆ ตลอดเวลาทีล้าง เพือสิงแปลกปลอม จะ ด้หลุดออกให้ ด้มากทีสุด 8. ใช้ ก๊อซสะอาด เช็ดจากหัวตา ปหางตาโดย มนามาเช็ดซา 9. ถ้าเป็นสารเคมีเข้าตาควรล้าง 0.9%NSS ปริมาณมากๆจนกวาคา pH จะเป็นกลาง (pH 7) ทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส
92 82
ข้อบ่งชี้ :
เพือลดการขยับของวัสดุปักคาให้ ด้มากทีสุดเพือลดการบาดเจ็บของอวัยวะทีวัสดุปักคา เสียบคาอยู
ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. อยาพยายามดึงวัสดุปักคาออก เพราะอาจจะทาให้เกิดเลือดออกภายในและมีอวัยวะภายใน บาดเจ็บมากขึน 2. ห้ามเลือดด้วยการกด ห้ามกดตรงวัสดุทีปักคาและตรงขอบด้านข้างโดยตรง 3. ตัดวัสดุปักคาเฉพาะกรณีวัสดุปักคามีขนาดใหญ หนัก หรือขัดขวางการเคลือนย้าย ู้บาดเจ็บ 4. ตัด ้าพันแ ลตรงกลางครึงหนึงของความกว้าง หลายๆแ น นามาซ้อนกัน โดยให้สวนทีตัด ซ้อนกัน 5. เมือ ด้ความหนาเพียงพอแล้ว ยึดตรึงวัสดุปักคาด้วย ้ายืดหรือเทปใส 6. ถ้าวัสดุมีขนาดใหญ อาจจะพิจารณาใช้ ้าขนหนูม้วนพันรอบวัสดุปักคา 7. ดามสวนทีถูกวัสดุปักคา มให้ขยับหรือขยับน้อยทีสุด
93 83
ข้อบ่งชี้ :
เมือต้องเ ชิญกับ ู้ปวยพฤติกรรมก้าวร้าวและการเจรจากับ ู้ปวยล้มเหลว
ข้อควรระวัง 1. ควรคานึงถึงความปลอดภัยของ ู้ปฏิบัติงานตลอดเวลา 2. ต้องมีการสือสารกับญาติ และ ู้ปวยเสมอ ทังกอน ระหวางและหลังการยึดตรึง โดยการสือสาร นันต้องให้เกียรติ ู้ปวย มตัดสิน มเป็นการยัวยุ หรือดูถูก 3. แบงหน้าทีกันให้ชัด กอนเข้าทาการยึดตรึง ู้ปวยเสมอ 4. ห้ามใช้ความรุนแรงกับ ู้ปวย อุปกรณ์การยึดตรึง 1. อุปกรณ์สาหรับรัดข้อมือ ข้อเท้า ต้องมีลักษณะออนนุม มทาให้เกิดการบาดเจ็บต้องอวัยวะที รัด เชน ้าขนหนู ืนเล็กทีมีความยาวเพียงพอ 2. อุปกรณ์รัดลาตัว ู้ปวย เชน สายรัดของกระดานรองหลังแบบยาว ้าขนหนู ืนใหญ ้าพันยืด * ห้ำมใช้เชือก สำยไฟ ลวดรัดสำยไฟ กุญแจมือ โซ่ เพรำะอำจทำให้เกิดกำรบำดเจ็บเพิ่มเติมกับผู้ป่วยได้ ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ข้อสาคัญกอนการเข้ายึดตรึง ู้ปวย ต้องแนใจวามีเจ้าหน้าทีตารวจอยูรวมด้วย มีบุคลากร, อุปกรณ์เพียงพอ และมี ู้มีประสบการณ์ในการยึดตรึง ู้ปวยรวมในทีมด้วย 2. ห้ามใช้กาลังกระทากับ ู้ปวย 3. กอนการยึดตรึง ให้ลองใช้วาจาพูดกับ ู้ปวยกอน หาก ู้ปวยมีทาทีออนลง อาจจะ มจาเป็นต้อง ยึดตรึงทางกาย 4. หาก ู้ปวยยังมีทาทีแข็งกร้าว ู้ปฏิบัติคนที 1 และ 2 เข้าขนาบข้าง โดยยืน ปด้านหลัง ู้ปวย เล็กน้อย จากนันเข้าประชิด ู้ปวย ใช้เท้าด้านทีอยูชิด ู้ปวยก้าว ปขัดขา ู้ปวยด้านใน มือด้าน นอกของ ู้ปฏิบัติจับข้อมือ ู้ปวย มือด้านในของ ู้ปฏิบัติจับที หลของ ู้ปวย เพือพยายามดันตัว ู้ปวยให้ลงชิดกับพืน 94 84
5. สมาชิกทีมทีเหลือนาอุปกรณ์ทีใช้เคลือนย้ายและยึดตรึง ู้ปวยเข้ามา เตรียมพร้อม 6. สมาชิกทีมจับแขนและขา ู้ปวย จัดทาเพือเตรียมรัดอุปกรณ์ โดยทาทีดีทีสุดในการยึดตรึง ู้ปวย นอกโรงพยาบาลคือทานอนหงายราบ 7. รัดอุปกรณ์ยึดตรึง โดยต้องประเมินการ หลเวียนโลหิตสวนปลายทีข้อมือและเท้ากอนรัด อุปกรณ์เสมอ 8. ประเมิน ู้ปวยตามหลักการประเมิน ู้ปวย วัดสัญญาณชีพ และรายงานข้อมูลศูนย์สังการ ภาวะแทรกซ้อนจากการยึดตรึงทางกาย 1. เกิดจากการรัดสายหรืออุปกรณ์ทีใช้ยึดตรึงแนนเกิน ป 2. เส้นเลือดสวนปลายถูกกดรัด โดยเฉพาะสวนรยางค์ จะเห็นวาอวัยวะสวนปลายนันมีสีคลา เย็น 3. กดการหายใจ โดยเฉพาะ ู้ปวยทีอาจจะมีโรคเกียวกับทางเดินหายใจอยูเดิม
95 85
9696
96