การอำนวยการทั่วไป ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เกณฑ์มาตรฐาน / แนวปฏิบัติ. ส่วนที่ 2

Page 1

คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การปฏิบัติการกูชีพทางน้ำ หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับอำนวยการ

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

อุบัติเหตุผูปวยจมน้ำ

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

กำชับหนวยแรกที่เขาไปถึงที่เกิดเหตุใหทำการตรวจสอบความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ ใหหนวยปฏิบัติการรายงานใหศูนยรับแจงเหตุและสั่งการทราบโดยทันทีเมื่อทราบวาเปนเหตุฉุกเฉินหมู ตามหลักของ METHANE ศูนยสั่งการประสานขอความชวยเหลือไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ทีมปฏิบัติการกูชีพขั้นสูง ทีมกูภัยทางน้ำ ทีมคนหา เปนตน ตามคำรองขอของหนวยปฏิบัติที่ออกปฏิบัติการ ณ จุดเกิดเหตุ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) รับแจงเหตุผานสายดวน 1669 หรือวิทยุสื่อสารผูปวยจมน้ำ โดยทำการซักถามขอมูลเพิ่มเติมจากผูแจงเหตุตามหลัก METHANE ดังนี้ M: Major incident ลักษณะของเหตุการณที่เกิดขึ้น E: Exact location สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน T: Type of incident ลักษณะเหตุของสาธารณภัย H: Hazard มีอันตรายหรืออาจเกิดอันตรายอะไรไดบาง A: Access and egress ขอมูลทางเขาออกสถานที่เกิดเหตุ N: Number and severity of casualties จำนวนผูประสบเหตุและระดับความรุนแรง E: Emergency services มีปฏิบัติการการแพทยที่ปฏิบัติหนาที่อยูแลวหรือยัง ตรวจสอบขอมูลการคนหาผูประสบภัย สั่งการหนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน และระดับสูง ใหออกปฏิบัติการรวมกัน รับรายงานจากหนวยปฏิบัติการการแพทยที่ออกปฏิบัติงาน ณ จุดเกิดเหตุ ใหคำแนะนำในการชวยเหลือคนจมน้ำ รับรายงานขอมูลจากหนวยปฏิบตั กิ ารทีร่ บั ออกปฏิบตั กิ ารตามแบบรายงานผูบ าดเจ็บหรือเสียชีวติ จากการตกน้ำ จมน้ำ

94

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


95

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การปฏิบัติการกูชีพทางน้ำ หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

อุบัติเหตุผูปวยจมน้ำ

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

หนวยแรกที่เขาไปถึงที่เกิดเหตุใหทำการตรวจสอบความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ การรายงานใหศูนยรับแจงเหตุและสั่งการทราบโดยทันทีเมื่อทราบวาเปนเหตุฉุกเฉินหมู ตามหลักของ METHANE เมื่อพบความไมปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุใหแจงศูนยรับแจงเหตุและสั่งการทราบ และศูนยสั่งการประสานขอ ความชวยเหลือไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ทีมกูภัยทางน้ำ ทีมคนหา เปนตน ตามคำรองขอของหนวยปฏิบัติที่ ออกปฏิบัติการ ณ จุดเกิดเหตุ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment)

การชวยเหลือผูปวยจมน้ำ ประเมินการหายใจ เปดทางเดินหายใจ ถาไมหายใจให เปาปาก 5 ครั้ง ประเมินชีพจร ถาไมมีชีพจรและไมหายใจ เริ่ม Start CPR โดยทำการกดนวดหนาอกจากภายนอก รวมกับการ เปาปากในอัตราสวน 30:2 จำนวน 5 Cycle หรือ 2 นาที ประเมินชีพจรซ้ำ ถายังไมมีชีพจรและไมหายใจ ใหติด AED โดยระหวางการรอ AED ใหทำ CPR อยางตอเนื่อง ประเมินอาการและวัดสัญญาณชีพและระดับออกซิเจนปลายนิ้วซ้ำทุก 5 นาที การดูแลรักษา ใหออกซิเจน รักษาระดับออกซิเจนปลายนิ้วมากกวารอยละ 94 ตรวจระดับน้ำตาลปลายนิ้ว กรณีน้ำตาลต่ำใหแจงศูนยสั่งการ เพื่อขอคำแนะนำ รักษาความอบอุนของรางกายผูปวย เช็ดตัวใหแหง เปลี่ยนเสื้อผา (ถาทำได) และหมผา นำสงโรงพยาบาลทุกราย ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

อุปกรณปด กัน้ บริเวณทีเ่ กิดเหตุ เชน เทปพลาสติก กรวยจราจร เปนตน Triage Tag แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รายงาน METHANE กลับมาทันทีที่ถึงจุดเกิดเหตุ M: Major incident ลักษณะของเหตุการณที่เกิดขึ้น E: Exact location สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน T: Type of incident ลักษณะเหตุของสาธารณภัย H: Hazard มีอันตรายหรืออาจเกิดอันตรายอะไรไดบาง A: Access and egress ขอมูลทางเขาออกสถานที่เกิดเหตุ N: Number and severity of casualties จำนวนผูประสบเหตุและระดับความรุนแรง E: Emergency services มีปฏิบัติการการแพทยที่ปฏิบัติหนาที่อยูแลวหรือยัง เมื่อมีการนำสงผูปวยใหรายงานผูปวยกอนการนำสง โดยรายงานขอมูลดังนี้ ผูปวยรายที่......การคัดแยกสี.................นำสงที่โรงพยาบาล...................โดยหนวย..................... Szpilman D et al.N Engl J Med 2012;366:2102-2110.Treatment of Person เอกสารอางอิง Who have Drowned ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

96

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


97

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การปฏิบัติการกูชีพทางน้ำ หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

อุบัติเหตุผูปวยจมน้ำ

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration) หนวยแรกที่เขาไปถึงที่เกิดเหตุใหทำการตรวจสอบความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ การรายงานใหศูนยรับแจงเหตุและสั่งการทราบโดยทันทีเมื่อทราบวาเปนเหตุฉุกเฉินหมู ตามหลักของ METHANE เมื่อพบความไมปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุใหแจงศูนยรับแจงเหตุและสั่งการทราบ และศูนยสั่งการประสานขอ ความชวยเหลือไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ทีมกูภัยทางน้ำ ทีมคนหา เปนตน ตามคำรองขอของหนวยปฏิบัติที่ ออกปฏิบัติการ ณ จุดเกิดเหตุ

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment)

การชวยเหลือผูปวยจมน้ำ ประเมินการหายใจ เปดทางเดินหายใจ ถาไมหายใจให เปาปาก 5 ครั้ง ประเมินชีพจร ถาไมมีชีพจรและไมหายใจ เริ่ม Start CPR โดยทำการกดนวดหนาอกจากภายนอกรวมกับการ เปาปาก ในอัตรา 30:2 จำนวน 5 Cycle หรือ 2 นาที ประเมินสภาพซ้ำ พิจารณาใส Advanced airway (ET tube, LMA) ดวยวิธี manual inline stabilization ถายังไมมีชีพจร และไมหายใจ ใหติด AED โดยระหวางการรอ AED ใหทำ CPR อยางตอเนื่อง ประเมินอาการและวัดสัญญาณชีพและระดับออกซิเจนปลายนิ้วซ้ำทุก 5 นาที การดูแลรักษา Hypotension and shock BP drop SBP < 90 mmHg ใหเปด IV 0.9 % NSS • ผูใหญ : load NSS 200 CC • เด็ก : load NSS 20 cc/kg ใหออกซิเจน รักษาระดับออกซิเจนปลายนิ้วมากกวารอยละ 94 ตรวจระดับน้ำตาลปลายนิ้ว กรณีน้ำตาลต่ำใหการดูแลตามแนวทางการดูแลรักษา ภาวะ Hypoglycemia Keep warm เช็ดตัวใหแหง เปลี่ยนเสื้อผา(ถาทำได)และหมผา นำสงโรงพยาบาลทุกราย ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

อุปกรณปด กัน้ บริเวณทีเ่ กิดเหตุ เชน เทปพลาสติก กรวยจราจร เปนตน Triage Tag แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รายงาน METHANE กลับมาทันทีที่ถึงจุดเกิดเหตุ M: Major incident ลักษณะของเหตุการณที่เกิดขึ้น E: Exact location สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน T: Type of incident ลักษณะเหตุของสาธารณภัย H: Hazard มีอันตรายหรืออาจเกิดอันตรายอะไรไดบาง A: Access and egress ขอมูลทางเขาออกสถานที่เกิดเหตุ N: Number and severity of casualties จำนวนผูประสบเหตุและระดับความรุนแรง E: Emergency services มีปฏิบัติการการแพทยที่ปฏิบัติหนาที่อยูแลวหรือยัง เมื่อมีการนำสงผูปวยใหรายงานผูปวยกอนการนำสง โดยรายงานขอมูลดังนี้ ผูปวยรายที่......การคัดแยกสี.................นำสงที่โรงพยาบาล...................โดยหนวย..................... Szpilman D et al.N Engl J Med 2012;366:2102-2110.Treatment of Person เอกสารอางอิง Who have Drowned ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

98

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


99

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การลำเลียงทางอากาศ หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับอำนวยการ

1. ผูป ว ยทีม่ ภี าวะวิกฤตเรงดวนทีจ่ ำเปนตองไดรบั การดูแลเพือ่ ชวยชีวติ หรือ อวัยวะสำคัญในสถานที่ที่มีศักยภาพเหมาะสม โดยไมสามารถลำเลียงดวย วิธีปกติไดทันเวลา 1) ผูปวยกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่จำเปนตองไดรับการสวนหัวใจหรือใส IVBP 2) ผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บและจำเปนตองไดรับการชวยชีวิตอยางเรงดวน 3) ผูปวย Stroke ที่เขาเกณฑไดรับยาสลายลิ่มเลือด 4) ผูป ว ยหรืออวัยวะทีเ่ ขาเกณฑตอ งไดรบั การผาตัดปลูกถายอยางเรงดวน 5) การบาดเจ็บหรือเจ็บปวยทีม่ ผี ปู ว ยวิกฤตจำนวนมากเกินศักยภาพ รพ. ในพื้นที่ 2. ทีมรักษา ยาหรือเวชภัณฑที่แพทยผูดูแลและแพทยอำนวยการประเมินแลวเห็นวา การลำเลียงทางอากาศจะเกิดประโยชน ตอการรักษาชีวิตและอวัยวะมากกวาลำเลียงดวยวิธีอื่น 3. การลำเลียงสงตอในกรณีสาธารณภัย ที่ พอป. เห็นวา การลำเลียงทางอากาศสามารถปองกันการเสียชีวติ และลดความรุนแรง การเจ็บปวยฉุกเฉินนัน้

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

การเตรียมผูปวยและอุปกรณเครื่องมือแพทยใหมีความปลอดภัย กอนการลำเลียง การคำณวนน้ำหนักบุคคลากรทางการแพทย ผูปวย อุปกรณตางๆที่จะนำขึ้นอากาศยาน การเตรียมออกซิเจนใหเพียงพอตลอดการเดินทาง

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ขอบงชี้ของผูปวยลำเลียงทางอากาศ

ผูป ว ยทีม่ ภี าวะวิกฤตเรงดวนทีจ่ ำเปนตองไดรบั การดูแลเพือ่ ชวยชีวติ หรืออวัยวะสำคัญในสถานทีท่ ม่ี ศี กั ยภาพเหมาะสม โดยไมสามารถลำเลียงดวยวิธปี กติไดทนั เวลา ผูป ว ยกลามเนือ้ หัวใจขาดเลือดเฉียบพลันทีจ่ ำเปนตองไดรบั การสวนหัวใจหรือใส IVBP ผูป ว ยทีไ่ ดรบั บาดเจ็บและจำเปนตองไดรบั การชวยชีวติ อยางเรงดวน ผูป ว ย Stroke ทีเ่ ขาเกณฑไดรบั ยาสลายลิม่ เลือด ผูป ว ยหรืออวัยวะทีเ่ ขาเกณฑตอ งไดรบั การผาตัดปลูกถายอยางเรงดวน การบาดเจ็บหรือเจ็บปวยทีม่ ผี ปู ว ยวิกฤตจำนวนมากเกินศักยภาพ รพ. ในพืน้ ที่ ทีมรักษา ยาหรือเวชภัณฑทแ่ี พทยผดู แู ลและแพทยอำนวยการประเมินแลวเห็นวา การลำเลียงทางอากาศจะเกิด ประโยชนตอ การรักษาชีวติ และอวัยวะมากกวาลำเลียงดวยวิธอี น่ื การลำเลียงสงตอในกรณีสาธารณภัย ที่ พอป. เห็นวา การลำเลียงทางอากาศสามารถปองกันการเสียชีวติ และลดความ รุนแรงการเจ็บปวยฉุกเฉินนัน้

ผูปวยที่ควรหลีกเลี่ยงการลำเลียงทางอากาศ

ผูป ว ยทีไ่ ดรบั บาดเจ็บหรือเจ็บปวยขัน้ รุนแรงทีไ่ ดรบั การลงความเห็นจากทีมแพทยวา ไมสามารถทำการแกไขใหดี ขึน้ ได หรือใหไดเพียงการรักษาแบบประคับประคองเทานัน้ (Terminal condition of the patient) เชน ผูป ว ย มะเร็งระยะสุดทาย ผูป ว ยทีไ่ ดรบั บาดเจ็บศีรษะรุนแรงและไมพบการตอบสนองของระบบประสาท เปนตน ผูปวยที่มีภาวะหัวใจหยุดเตนและยังไมมีการกลับคืนของสัญญาณชีพ ผูปวยที่มีความเสี่ยงสูงวาจะมีอาการแยลงจนเสียชีวิตในระหวางการลำเลียง ไดแก

100


ผูปวยที่มีภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นและยังไมสามารถเปดทางเดินหายใจได ผูปวยที่มีสัญญาณชีพไมคงที่และแยลงเรื่อยๆ (Vital signs instability and on-going deterioration) ผูปวยที่มีอาการชักแบบ uncontrolled seizure ผูปวยเจ็บครรภคลอดที่มีแนวโนมคลอดในระหวางการลำเลียงสงตอ ผูปวยที่มีอาการทางจิตที่ไมใหความรวมมือในการรักษาและมีแนวโนมเปนอันตรายตอทีมลำเลียง โดยไม สามารถบรรเทาอาการสงบไดโดยการยึดตรึงดวยอุปกรณหรือยา ผูปวยที่สงสัยหรือไดรับการปนเปอนสารพิษหรือสารเคมีที่มีโอกาสกออันตรายสูผูอื่นได ผูปวยโรคติดตอรายแรงทางระบบหายใจที่อยูในระยะแพรเชื้อ โดยไมมีการปองกันที่เหมาะสม

ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติการดานการแพทยฉุกเฉินดวยอากาศยาน

ในการปฏิบัติการดานการแพทยฉุกเฉินดวยอากาศยานตามเกณฑของสพฉ. แบงเปน 5 กรณี ดังตอไปนี้ กรณีเคลื่อนยายจากจุดเกิดเหตุ กรณีสงตอระหวางสถานพยาบาล กรณีเคลื่อนยายจากพื้นที่เปราะบางใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต กรณีการลำเลียงยาหรือเวชภัณฑรวมถึงบุคลากรทางการแพทย กรณีขนยายอวัยวะหรือชิ้นสวนของมนุษยเพื่อการชวยเหลือผูปวยฉุกเฉิน โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติโดยทั่วไปที่เกี่ยวของกับหนวยงานตาง ๆ ตอไปนี้ ศูนยรับแจงเหตุและสั่งการจังหวัดตนทาง (ศูนย 1669 ตนทาง) เมื่อศูนย 1669 ตนทางไดรับการรองขอใชอากาศยานจากผูปฏิบัติการฉุกเฉินหรือ สถานพยาบาล ใหศูนย ประเมินและรายงานความจำเปนของการลำเลียงผูปวยทางอากาศตอ พอป. ระดับพื้นที่ กรณีที่ไมมีพอป. ระดับพื้นที่ หรือ พอป.ระดับพื้นที่ไมสามารถตัดสินใจได ใหรายงานตอพอป. ระดับชาติโดยตรงผานศูนย นเรนทร สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ (สพฉ.) ศูนย 1669 ตนทางหรือสพฉ.แจงเบอรโทรศัพทแพทยเวรพอป. แกแพทยเจาของไข ชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน ทางอากาศตนทาง เพือ่ โทรปรึกษาและใหพอป.ประเมิน ความเหมาะสมในการลำเลียงทางอากาศภายในเวลา 10 นาทีตามแบบฟอรมการประเมิน ผูปวยและปรึกษาทางการแพทยกอนบิน (HEMS 1/2) ศูนย 1669 ตนทาง ปฏิบตั ดิ งั นี้ 1) กรณีสง ตอผูป ว ยระหวางสถานพยาบาล ใหประสานขอมูลตามแบบฟอรม การขอใช อากาศยานสงตอผูปวย (HEMS 1/1) 2) กรณีเคลื่อนยายจากจุดเกิดเหตุหรือเกิดเหตุนอกสถาน พยาบาล ใหประสาน หนวยปฏิบัติการ ภาคพื้นเพื่อออกไปประเมินสถานการณ (หากสามารถทำได) 3) กรณีลำเลียงยาหรือเวชภัณฑ รวมถึงบุคลากรทางการแพทยและกรณีขนยายอวัยวะ หรือชิ้นสวนของ มนุษยเพื่อการชวยเหลือผูปวยฉุกเฉิน ใหประสานขอมูลตาม แบบฟอรมการขอใชอากาศยานสงตอผูปวย (HEMS 1/1) 4) กรณีเคลื่อนยายจากพื้นที่เปราะบางใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใตใหประสานขอมูลกับ หนวยแพทยตนทางและศูนยแพทยทหารบกจังหวัดชายแดนภาคใต กอ.รมน.ภาค 4 สวนหนา เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในการลำเลียงทางอากาศภายในระยะเวลา 10 นาทีพรอมแจงแพทยเวรพอป.ระดับชาติเพื่อ ทราบและสนับสนุน ศูนย 1669 ตนทางประสานเตรียมชุดปฏิบัติการฉุกเฉินทางอากาศ พรอมอุปกรณจาก โรงพยาบาลตนทาง หรือปลายทาง ใหขอมูลผูปวยและความพรอมของการลำเลียงแกทีม ศูนย 1669 ตนทางแจงสพฉ.เพือ่ ประสานหนวยงานสนับสนุนอากาศยานตามขอตกลงเพือ่ ขอ ใหอากาศยาน ทีเ่ หมาะสม 1.6. ศูนย 1669 ตนทางประสานชุดปฏิบตั กิ ารลำเลียงผูป ว ยทางอากาศ หนวยปฏิบตั กิ ารภาคพืน้ ตนทางและปลายทาง สถานพยาบาลปลายทางเพื่อเตรียมการในสวนที่เกี่ยวของ ศูนย 1669 ตนทางกรอกขอมูลผานระบบ ITEMS (Information Technology for Emergency Medical System)

เอกสารอางอิง

บุญฤทธิ์คำทิพยและ กรองกาญจนสุธรรม. สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ. คูมือแนวทาง ปฏิบัติการลำเลียงผูปวยฉุกเฉินทางอากาศ เขตบริการสุขภาพที่ 1 พ.ศ.2561. พิมพครั้งที่ 1: กรกฎาคม 2561

101


102

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การลำเลียงทางอากาศ หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

1. ผูป ว ยทีม่ ภี าวะวิกฤตเรงดวนทีจ่ ำเปนตองไดรบั การดูแลเพือ่ ชวยชีวติ หรือ อวัยวะสำคัญในสถานที่ที่มีศักยภาพเหมาะสม โดยไมสามารถลำเลียงดวย วิธีปกติไดทันเวลา 1) ผูปวยกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่จำเปนตองไดรับการสวนหัวใจหรือใส IVBP 2) ผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บและจำเปนตองไดรับการชวยชีวิตอยางเรงดวน 3) ผูปวย Stroke ที่เขาเกณฑไดรับยาสลายลิ่มเลือด 4) ผูป ว ยหรืออวัยวะทีเ่ ขาเกณฑตอ งไดรบั การผาตัดปลูกถายอยางเรงดวน 5) การบาดเจ็บหรือเจ็บปวยทีม่ ผี ปู ว ยวิกฤตจำนวนมากเกินศักยภาพ รพ. ในพื้นที่ 2. ทีมรักษา ยาหรือเวชภัณฑที่แพทยผูดูแลและแพทยอำนวยการประเมินแลวเห็นวา การลำเลียงทางอากาศจะเกิดประโยชน ตอการรักษาชีวิตและอวัยวะมากกวาลำเลียงดวยวิธีอื่น 3. การลำเลียงสงตอในกรณีสาธารณภัย ที่ พอป. เห็นวา การลำเลียงทางอากาศสามารถปองกันการเสียชีวติ และลดความรุนแรง การเจ็บปวยฉุกเฉินนัน้

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

การเตรียมผูปวยและอุปกรณเครื่องมือแพทยใหมีความปลอดภัย กอนการลำเลียง การคำนวนน้ำหนักบุคคลกรทางการแพทย ผูปวย อุปกรณตางๆที่จะนำขึ้นอากาศยาน การเตรียมออกซิเจนใหเพียงพอตลอดการเดินทาง

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ขอบงชี้ของผูปวยลำเลียงทางอากาศ

ผูป ว ยทีม่ ภี าวะวิกฤตเรงดวนทีจ่ ำเปนตองไดรบั การดูแลเพือ่ ชวยชีวติ หรืออวัยวะสำคัญในสถานทีท่ ม่ี ศี กั ยภาพเหมาะสม โดยไมสามารถลำเลียงดวยวิธปี กติไดทนั เวลา ผูป ว ยกลามเนือ้ หัวใจขาดเลือดเฉียบพลันทีจ่ ำเปนตองไดรบั การสวนหัวใจหรือใส IVBP ผูป ว ยทีไ่ ดรบั บาดเจ็บและจำเปนตองไดรบั การชวยชีวติ อยางเรงดวน ผูป ว ย Stroke ทีเ่ ขาเกณฑไดรบั ยาสลายลิม่ เลือด ผูป ว ยหรืออวัยวะทีเ่ ขาเกณฑตอ งไดรบั การผาตัดปลูกถายอยางเรงดวน การบาดเจ็บหรือเจ็บปวยทีม่ ผี ปู ว ยวิกฤตจำนวนมากเกินศักยภาพ รพ. ในพืน้ ที่ ทีมรักษา ยาหรือเวชภัณฑทแ่ี พทยผดู แู ลและแพทยอำนวยการประเมินแลวเห็นวา การลำเลียงทางอากาศจะเกิด ประโยชนตอ การรักษาชีวติ และอวัยวะมากกวาลำเลียงดวยวิธอี น่ื การลำเลียงสงตอในกรณีสาธารณภัย ที่ พอป. เห็นวา การลำเลียงทางอากาศสามารถปองกันการเสียชีวติ และลดความ รุนแรงการเจ็บปวยฉุกเฉินนัน้

ผูปวยที่ควรหลีกเลี่ยงการลำเลียงทางอากาศ

ผูป ว ยทีไ่ ดรบั บาดเจ็บหรือเจ็บปวยขัน้ รุนแรงทีไ่ ดรบั การลงความเห็นจากทีมแพทยวา ไมสามารถทำการแกไขใหดี ขึน้ ได หรือใหไดเพียงการรักษาแบบประคับประคองเทานัน้ (Terminal condition of the patient) เชน ผูป ว ย มะเร็งระยะสุดทาย ผูป ว ยทีไ่ ดรบั บาดเจ็บศีรษะรุนแรงและไมพบการตอบสนองของระบบประสาท เปนตน ผูปวยที่มีภาวะหัวใจหยุดเตนและยังไมมีการกลับคืนของสัญญาณชีพ ผูปวยที่มีความเสี่ยงสูงวาจะมีอาการแยลงจนเสียชีวิตในระหวางการลำเลียง ไดแก

103

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


ผูปวยที่มีภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นและยังไมสามารถเปดทางเดินหายใจได ผูปวยที่มีสัญญาณชีพไมคงที่และแยลงเรื่อยๆ (Vital signs instability and on-going deterioration) ผูปวยที่มีอาการชักแบบ uncontrolled seizure ผูปวยเจ็บครรภคลอดที่มีแนวโนมคลอดในระหวางการลำเลียงสงตอ ผูปวยที่มีอาการทางจิตที่ไมใหความรวมมือในการรักษาและมีแนวโนมเปนอันตรายตอทีมลำเลียง โดยไม สามารถบรรเทาอาการสงบไดโดยการยึดตรึงดวยอุปกรณหรือยา ผูปวยที่สงสัยหรือไดรับการปนเปอนสารพิษหรือสารเคมีที่มีโอกาสกออันตรายสูผูอื่นได ผูปวยโรคติดตอรายแรงทางระบบหายใจที่อยูในระยะแพรเชื้อ โดยไมมีการปองกันที่เหมาะสม

ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติการดานการแพทยฉุกเฉินดวยอากาศยาน

ในการปฏิบัติการดานการแพทยฉุกเฉินดวยอากาศยานตามเกณฑของสพฉ. แบงเปน 5 กรณี ดังตอไปนี้ กรณีเคลื่อนยายจากจุดเกิดเหตุ กรณีสงตอระหวางสถานพยาบาล กรณีเคลื่อนยายจากพื้นที่เปราะบางใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต กรณีการลำเลียงยาหรือเวชภัณฑรวมถึงบุคลากรทางการแพทย กรณีขนยายอวัยวะหรือชิ้นสวนของมนุษยเพื่อการชวยเหลือผูปวยฉุกเฉิน โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติโดยทั่วไปที่เกี่ยวของกับหนวยงานตาง ๆ ตอไปนี้ ศูนยรับแจงเหตุและสั่งการจังหวัดตนทาง (ศูนย 1669 ตนทาง) เมื่อศูนย 1669 ตนทางไดรับการรองขอใชอากาศยานจากผูปฏิบัติการฉุกเฉินหรือ สถานพยาบาล ใหศูนย ประเมินและรายงานความจำเปนของการลำเลียงผูปวยทางอากาศตอ พอป. ระดับพื้นที่ กรณีที่ไมมีพอป. ระดับพื้นที่ หรือ พอป.ระดับพื้นที่ไมสามารถตัดสินใจได ใหรายงานตอพอป. ระดับชาติโดยตรงผานศูนย นเรนทร สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ (สพฉ.) ศูนย 1669 ตนทางหรือสพฉ.แจงเบอรโทรศัพทแพทยเวรพอป. แกแพทยเจาของไข ชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน ทางอากาศตนทาง เพือ่ โทรปรึกษาและใหพอป.ประเมิน ความเหมาะสมในการลำเลียงทางอากาศภายในเวลา 10 นาทีตามแบบฟอรมการประเมิน ผูปวยและปรึกษาทางการแพทยกอนบิน (HEMS 1/2) ศูนย 1669 ตนทาง ปฏิบตั ดิ งั นี้ 1) กรณีสง ตอผูป ว ยระหวางสถานพยาบาล ใหประสานขอมูลตามแบบฟอรม การขอใช อากาศยานสงตอผูปวย (HEMS 1/1) 2) กรณีเคลื่อนยายจากจุดเกิดเหตุหรือเกิดเหตุนอกสถาน พยาบาล ใหประสาน หนวยปฏิบัติการ ภาคพื้นเพื่อออกไปประเมินสถานการณ (หากสามารถทำได) 3) กรณีลำเลียงยาหรือเวชภัณฑ รวมถึงบุคลากรทางการแพทยและกรณีขนยายอวัยวะ หรือชิ้นสวนของ มนุษยเพื่อการชวยเหลือผูปวยฉุกเฉิน ใหประสานขอมูลตาม แบบฟอรมการขอใชอากาศยานสงตอผูปวย (HEMS 1/1) 4) กรณีเคลื่อนยายจากพื้นที่เปราะบางใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใตใหประสานขอมูลกับ หนวยแพทยตนทางและศูนยแพทยทหารบกจังหวัดชายแดนภาคใต กอ.รมน.ภาค 4 สวนหนา เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในการลำเลียงทางอากาศภายในระยะเวลา 10 นาทีพรอมแจงแพทยเวรพอป.ระดับชาติเพื่อ ทราบและสนับสนุน ศูนย 1669 ตนทางประสานเตรียมชุดปฏิบัติการฉุกเฉินทางอากาศ พรอมอุปกรณจาก โรงพยาบาลตนทาง หรือปลายทาง ใหขอมูลผูปวยและความพรอมของการลำเลียงแกทีม ศูนย 1669 ตนทางแจงสพฉ.เพือ่ ประสานหนวยงานสนับสนุนอากาศยานตามขอตกลงเพือ่ ขอ ใหอากาศยาน ทีเ่ หมาะสม 1.6. ศูนย 1669 ตนทางประสานชุดปฏิบตั กิ ารลำเลียงผูป ว ยทางอากาศ หนวยปฏิบตั กิ ารภาคพืน้ ตนทางและปลายทาง สถานพยาบาลปลายทางเพื่อเตรียมการในสวนที่เกี่ยวของ ศูนย 1669 ตนทางกรอกขอมูลผานระบบ ITEMS (Information Technology for Emergency Medical System)

เอกสารอางอิง

บุญฤทธิ์คำทิพยและ กรองกาญจนสุธรรม. สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ. คูมือแนวทาง ปฏิบัติการลำเลียงผูปวยฉุกเฉินทางอากาศ เขตบริการสุขภาพที่ 1 พ.ศ.2561. พิมพครั้งที่ 1: กรกฎาคม 2561

104

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


105

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การลำเลียงทางอากาศ หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

1. ผูป ว ยทีม่ ภี าวะวิกฤตเรงดวนทีจ่ ำเปนตองไดรบั การดูแลเพือ่ ชวยชีวติ หรือ อวัยวะสำคัญในสถานที่ที่มีศักยภาพเหมาะสม โดยไมสามารถลำเลียงดวย วิธีปกติไดทันเวลา 1) ผูปวยกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่จำเปนตองไดรับการสวนหัวใจหรือใส IVBP 2) ผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บและจำเปนตองไดรับการชวยชีวิตอยางเรงดวน 3) ผูปวย Stroke ที่เขาเกณฑไดรับยาสลายลิ่มเลือด 4) ผูป ว ยหรืออวัยวะทีเ่ ขาเกณฑตอ งไดรบั การผาตัดปลูกถายอยางเรงดวน 5) การบาดเจ็บหรือเจ็บปวยทีม่ ผี ปู ว ยวิกฤตจำนวนมากเกินศักยภาพ รพ. ในพื้นที่ 2. ทีมรักษา ยาหรือเวชภัณฑที่แพทยผูดูแลและแพทยอำนวยการประเมินแลวเห็นวา การลำเลียงทางอากาศจะเกิดประโยชน ตอการรักษาชีวิตและอวัยวะมากกวาลำเลียงดวยวิธีอื่น 3. การลำเลียงสงตอในกรณีสาธารณภัย ที่ พอป. เห็นวา การลำเลียงทางอากาศสามารถปองกันการเสียชีวติ และลดความรุนแรง การเจ็บปวยฉุกเฉินนัน้

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

การเตรียมผูปวยและอุปกรณเครื่องมือแพทยใหมีความปลอดภัย กอนการลำเลียง การคำณวนน้ำหนักบุคคลากรทางการแพทย ผูปวย อุปกรณตางๆที่จะนำขึ้นอากาศยาน การเตรียมออกซิเจนใหเพียงพอตลอดการเดินทาง

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) ขอบงชี้ของผูปวยลำเลียงทางอากาศ

ผูป ว ยทีม่ ภี าวะวิกฤตเรงดวนทีจ่ ำเปนตองไดรบั การดูแลเพือ่ ชวยชีวติ หรืออวัยวะสำคัญในสถานทีท่ ม่ี ศี กั ยภาพเหมาะสม โดยไมสามารถลำเลียงดวยวิธปี กติไดทนั เวลา ผูป ว ยกลามเนือ้ หัวใจขาดเลือดเฉียบพลันทีจ่ ำเปนตองไดรบั การสวนหัวใจหรือใส IVBP ผูป ว ยทีไ่ ดรบั บาดเจ็บและจำเปนตองไดรบั การชวยชีวติ อยางเรงดวน ผูป ว ย Stroke ทีเ่ ขาเกณฑไดรบั ยาสลายลิม่ เลือด ผูป ว ยหรืออวัยวะทีเ่ ขาเกณฑตอ งไดรบั การผาตัดปลูกถายอยางเรงดวน การบาดเจ็บหรือเจ็บปวยทีม่ ผี ปู ว ยวิกฤตจำนวนมากเกินศักยภาพ รพ. ในพืน้ ที่ ทีมรักษา ยาหรือเวชภัณฑทแ่ี พทยผดู แู ลและแพทยอำนวยการประเมินแลวเห็นวา การลำเลียงทางอากาศจะเกิด ประโยชนตอ การรักษาชีวติ และอวัยวะมากกวาลำเลียงดวยวิธอี น่ื การลำเลียงสงตอในกรณีสาธารณภัย ที่ พอป. เห็นวา การลำเลียงทางอากาศสามารถปองกันการเสียชีวติ และลดความ รุนแรงการเจ็บปวยฉุกเฉินนัน้

ผูปวยที่ควรหลีกเลี่ยงการลำเลียงทางอากาศ

ผูป ว ยทีไ่ ดรบั บาดเจ็บหรือเจ็บปวยขัน้ รุนแรงทีไ่ ดรบั การลงความเห็นจากทีมแพทยวา ไมสามารถทำการแกไขใหดี ขึน้ ได หรือใหไดเพียงการรักษาแบบประคับประคองเทานัน้ (Terminal condition of the patient) เชน ผูป ว ย มะเร็งระยะสุดทาย ผูป ว ยทีไ่ ดรบั บาดเจ็บศีรษะรุนแรงและไมพบการตอบสนองของระบบประสาท เปนตน ผูปวยที่มีภาวะหัวใจหยุดเตนและยังไมมีการกลับคืนของสัญญาณชีพ ผูปวยที่มีความเสี่ยงสูงวาจะมีอาการแยลงจนเสียชีวิตในระหวางการลำเลียง ไดแก

106

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


ผูปวยที่มีภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นและยังไมสามารถเปดทางเดินหายใจได ผูปวยที่มีสัญญาณชีพไมคงที่และแยลงเรื่อยๆ (Vital signs instability and on-going deterioration) ผูปวยที่มีอาการชักแบบ uncontrolled seizure ผูปวยเจ็บครรภคลอดที่มีแนวโนมคลอดในระหวางการลำเลียงสงตอ ผูปวยที่มีอาการทางจิตที่ไมใหความรวมมือในการรักษาและมีแนวโนมเปนอันตรายตอทีมลำเลียง โดยไม สามารถบรรเทาอาการสงบไดโดยการยึดตรึงดวยอุปกรณหรือยา ผูปวยที่สงสัยหรือไดรับการปนเปอนสารพิษหรือสารเคมีที่มีโอกาสกออันตรายสูผูอื่นได ผูปวยโรคติดตอรายแรงทางระบบหายใจที่อยูในระยะแพรเชื้อ โดยไมมีการปองกันที่เหมาะสม

ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติการดานการแพทยฉุกเฉินดวยอากาศยาน

ในการปฏิบัติการดานการแพทยฉุกเฉินดวยอากาศยานตามเกณฑของสพฉ. แบงเปน 5 กรณี ดังตอไปนี้ กรณีเคลื่อนยายจากจุดเกิดเหตุ กรณีสงตอระหวางสถานพยาบาล กรณีเคลื่อนยายจากพื้นที่เปราะบางใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต กรณีการลำเลียงยาหรือเวชภัณฑรวมถึงบุคลากรทางการแพทย กรณีขนยายอวัยวะหรือชิ้นสวนของมนุษยเพื่อการชวยเหลือผูปวยฉุกเฉิน โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติโดยทั่วไปที่เกี่ยวของกับหนวยงานตาง ๆ ตอไปนี้ ศูนยรับแจงเหตุและสั่งการจังหวัดตนทาง (ศูนย 1669 ตนทาง) เมื่อศูนย 1669 ตนทางไดรับการรองขอใชอากาศยานจากผูปฏิบัติการฉุกเฉินหรือ สถานพยาบาล ใหศูนย ประเมินและรายงานความจำเปนของการลำเลียงผูปวยทางอากาศตอ พอป. ระดับพื้นที่ กรณีที่ไมมีพอป. ระดับพื้นที่ หรือ พอป.ระดับพื้นที่ไมสามารถตัดสินใจได ใหรายงานตอพอป. ระดับชาติโดยตรงผานศูนย นเรนทร สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ (สพฉ.) ศูนย 1669 ตนทางหรือสพฉ.แจงเบอรโทรศัพทแพทยเวรพอป. แกแพทยเจาของไข ชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน ทางอากาศตนทาง เพือ่ โทรปรึกษาและใหพอป.ประเมิน ความเหมาะสมในการลำเลียงทางอากาศภายในเวลา 10 นาทีตามแบบฟอรมการประเมิน ผูปวยและปรึกษาทางการแพทยกอนบิน (HEMS 1/2) ศูนย 1669 ตนทาง ปฏิบตั ดิ งั นี้ 1) กรณีสง ตอผูป ว ยระหวางสถานพยาบาล ใหประสานขอมูลตามแบบฟอรม การขอใช อากาศยานสงตอผูปวย (HEMS 1/1) 2) กรณีเคลื่อนยายจากจุดเกิดเหตุหรือเกิดเหตุนอกสถาน พยาบาล ใหประสาน หนวยปฏิบัติการ ภาคพื้นเพื่อออกไปประเมินสถานการณ (หากสามารถทำได) 3) กรณีลำเลียงยาหรือเวชภัณฑ รวมถึงบุคลากรทางการแพทยและกรณีขนยายอวัยวะ หรือชิ้นสวนของ มนุษยเพื่อการชวยเหลือผูปวยฉุกเฉิน ใหประสานขอมูลตาม แบบฟอรมการขอใชอากาศยานสงตอผูปวย (HEMS 1/1) 4) กรณีเคลื่อนยายจากพื้นที่เปราะบางใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใตใหประสานขอมูลกับ หนวยแพทยตนทางและศูนยแพทยทหารบกจังหวัดชายแดนภาคใต กอ.รมน.ภาค 4 สวนหนา เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในการลำเลียงทางอากาศภายในระยะเวลา 10 นาทีพรอมแจงแพทยเวรพอป.ระดับชาติเพื่อ ทราบและสนับสนุน ศูนย 1669 ตนทางประสานเตรียมชุดปฏิบัติการฉุกเฉินทางอากาศ พรอมอุปกรณจาก โรงพยาบาลตนทาง หรือปลายทาง ใหขอมูลผูปวยและความพรอมของการลำเลียงแกทีม ศูนย 1669 ตนทางแจงสพฉ.เพือ่ ประสานหนวยงานสนับสนุนอากาศยานตามขอตกลงเพือ่ ขอ ใหอากาศยาน ทีเ่ หมาะสม 1.6. ศูนย 1669 ตนทางประสานชุดปฏิบตั กิ ารลำเลียงผูป ว ยทางอากาศ หนวยปฏิบตั กิ ารภาคพืน้ ตนทางและปลายทาง สถานพยาบาลปลายทางเพื่อเตรียมการในสวนที่เกี่ยวของ ศูนย 1669 ตนทางกรอกขอมูลผานระบบ ITEMS (Information Technology for Emergency Medical System)

เอกสารอางอิง

บุญฤทธิ์คำทิพยและ กรองกาญจนสุธรรม. สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ. คูมือแนวทาง ปฏิบัติการลำเลียงผูปวยฉุกเฉินทางอากาศ เขตบริการสุขภาพที่ 1 พ.ศ.2561. พิมพครั้งที่ 1: กรกฎาคม 2561

107

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


108

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การดูแลผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิต หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับอำนวยการ

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

ผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิต ที่มีอาการคลุมคลั่ง อาระวาด เสี่ยงทำราย ตนเอง ทำรายคนใกลตัว และทำลายขาวของใหเสียหาย

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานการณและสถานที่เกิดเหตุ : มีอาวุธ/อันตราย หรือไม

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) เมื่อไดรับแจงผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิต ที่มีอาการคลุมคลั่ง อาระวาด เสี่ยงทำรายตนเอง ทำรายคนใกลตัว และทำลายขาวของใหเสียหาย ประสานตำรวจ ออกเหตุรวม แจงหนวย BLS ออกตรวจสอบ ใหประเมินผูปวยดังตอไปนี้ หากผูป ว ยมีอาวุธหรือมีอนั ตรายอืน่ ๆ ใหแจงกลับศูนยสง่ั การ เพือ่ ขอความชวยเหลือจากตำรวจเฝาสังเกตการณ , หามเขาปฏิบัติการ จนกวาตำรวจจะมาถึง หากผูปวยไมมีอาวุธ ใหพูดคุย,เกลี้ยกลอม หากผูปวยใหความรวมมือ ใหหนวย BLS ประสานศูนยสั่งการ และนำผูปวยสงโรงพยาบาล หากผูป ว ยไมมอี าวุธ ใหพดู คุย,เกลีย้ กลอม หากผูป ว ยไมใหความรวมมือ ใหหนวย BLS ประสานศูนยสง่ั การเพือ่ ขอความความชวยเหลือจากหนวย ALS และเขาชวยเหลือตำรวจในการยึดตรึงผูปวย กรณีแจงหนวย ALS ออกปฏิบัติการรวม หากผูปวยไมมีอาวุธ ใหพูดคุย,เกลี้ยกลอม หากผูปวยไมใหความรวมมือ ใหหนวย ALS ประสานศูนยสั่งการเพื่อ ขอรับคำสั่งการรักษาจากแพทยอำนวยการ ชวยเหลือตำรวจเขายึดตรึงผูปวย ประสานขอคำสั่งจากแพทยอำนวยการเพื่อใหยา ดังนี้ Diazepam 10 mg IV พิจารณาใหซ้ำทุก 3-5 นาที Haloperidol 5 mg IM เมื่อผูปวยสงบ ประสานศูนยสั่งการ นำผูปวยสงโรงพยาบาล ศูนยสั่งการประสานหองฉุกเฉิน อุปกรณผูกยึด/ยึดตรึง Diazepam 10 mg IV พิจารณาใหซ้ำทุก 3-5 นาที Haloperidol 5 mg IM แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รายละเอียดผูปวย กลไกการบาดเจ็บ การรักษา แนวทางปฏิบัติในการดูแลผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิตแบบไรรอยตอสำหรับหองฉุกเฉินใน เอกสารอางอิง โรงพยาบาล,สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ(สพฉ.),พิมพครั้งที่ 2 ,สิงหาคม 2562 การรับแจงเหตุกรณีผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิตในระบบการแพทยฉุกเฉิน สำหรับศูนยรับ แจงเหตุและสัง่ การจังหวัด, สถาบันการแพทยฉกุ เฉินแหงชาติ(สพฉ.) ,พิมพครัง้ ที่ 2 ,สิงหาคม 2562 ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

109

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


110

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การดูแลผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิต หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับพื้นฐาน

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

ผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิต ที่มีอาการคลุมคลั่ง อาระวาด เสี่ยงทำราย ตนเอง ทำรายคนใกลตัว และทำลายขาวของใหเสียหาย

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานการณและสถานที่เกิดเหตุ : มีอาวุธ/อันตราย หรือไม

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) เมือ่ ไดรบั แจงผูป ว ยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิต ทีม่ อี าการคลุม คลัง่ อาระวาด เสีย่ งทำรายตนเอง ทำรายคนใกลตวั และทำลายขาวของใหเสียหาย แจงหนวย BLS ออกตรวจสอบ ใหประเมินผูป ว ยดังตอไปนี้ หากผูป ว ยมีอาวุธหรือมีอนั ตรายอืน่ ๆ ใหแจงกลับศูนยสง่ั การ เพือ่ ขอความชวยเหลือจากตำรวจเฝาสังเกตการณ , หามเขาปฏิบตั กิ าร จนกวาตำรวจจะมาถึง หากผูป ว ยไมมอี าวุธ ใหพดู คุย,เกลีย้ กลอม หากผูป ว ยใหความรวมมือ ใหหนวย BLS ประสานศูนยสง่ั การ และนำ ผูป ว ยสงโรงพยาบาล หากผูป ว ยไมมอี าวุธ ใหพดู คุย,เกลีย้ กลอม หากผูป ว ยไมใหความรวมมือ ใหหนวย BLS ประสานศูนยสง่ั การเพือ่ ขอความความชวยเหลือจากหนวย ALS และเขาชวยเหลือตำรวจในการยึดตรึงผูป ว ย อุปกรณผูกยึด/ยึดตรึง ยา/หัตถการ/ทรัพยากร แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รายละเอียดผูปวย กลไกการบาดเจ็บ การรักษา แนวทางปฏิบัติในการดูแลผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิตแบบไรรอยตอสำหรับหองฉุกเฉินใน เอกสารอางอิง โรงพยาบาล,สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ(สพฉ.),พิมพครั้งที่ 2 ,สิงหาคม 2562 การรับแจงเหตุกรณีผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิตในระบบการแพทยฉุกเฉิน สำหรับศูนยรับ แจงเหตุและสัง่ การจังหวัด, สถาบันการแพทยฉกุ เฉินแหงชาติ(สพฉ.) ,พิมพครัง้ ที่ 2 ,สิงหาคม 2562

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

111

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


112

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


คำสั่งอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทยฉุกเฉิน การดูแลผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิต หนวยปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการการแพทย ระดับสูง

เกณฑในการใชคำสั่งอำนวยการ (Criteria)

ผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิต ที่มีอาการคลุมคลั่ง อาระวาด เสี่ยงทำราย ตนเอง ทำรายคนใกลตัว และทำลายขาวของใหเสียหาย

การประเมินสถานการณ/ขอควรระมัดระวังเปนพิเศษ (Scene size up and Special consideration)

ประเมินความปลอดภัยของสถานการณและสถานที่เกิดเหตุ : มีอาวุธ/อันตราย หรือไม

การประเมินและการใหการรักษา (Evaluation and treatment) เมื่อไดรับแจงผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิต ที่มีอาการคลุมคลั่ง อาระวาด เสี่ยงทำรายตนเอง ทำรายคนใกลตัว และทำลายขาวของใหเสียหาย แจงหนวย ALS ออกปฏิบัติการรวม หากผูปวยไมมีอาวุธ ใหพูดคุย,เกลี้ยกลอม หากผูปวยไมใหความรวมมือ ใหหนวย ALS ประสานศูนยสั่งการเพื่อ ขอรับคำสั่งการรักษาจากแพทยอำนวยการ ชวยเหลือตำรวจเขายึดตรึงผูปวย ประสานขอคำสั่งจากแพทยอำนวยการเพื่อใหยา ดังนี้ Diazepam 10 mg IV พิจารณาใหซ้ำทุก 3-5 นาที Haloperidol 5 mg IM เมื่อผูปวยสงบ ประสานศูนยสั่งการ นำผูปวยสงโรงพยาบาล อุปกรณผูกยึด/ยึดตรึง Diazepam 10 mg IV พิจารณาใหซ้ำทุก 3-5 นาที Haloperidol 5 mg IM แนวทางการรายงานมายังศูนยสง่ั การ รายละเอียดผูปวย กลไกการบาดเจ็บ การรักษา แนวทางปฏิบัติในการดูแลผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิตแบบไรรอยตอสำหรับหองฉุกเฉินใน เอกสารอางอิง โรงพยาบาล,สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ(สพฉ.),พิมพครั้งที่ 2 ,สิงหาคม 2562 การรับแจงเหตุกรณีผูปวยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิตในระบบการแพทยฉุกเฉิน สำหรับศูนยรับ แจงเหตุและสัง่ การจังหวัด, สถาบันการแพทยฉกุ เฉินแหงชาติ(สพฉ.) ,พิมพครัง้ ที่ 2 ,สิงหาคม 2562 ยา/หัตถการ/ทรัพยากร

ผูรับรองคำสั่งอำนวยการทั่วไป (แพทยอำนวยการ)

113

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


114

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


ภาคผนวก


คำสั่งสำนักงานเขตสุขภาพที่ 1 ที่ 21 /2562 เรื่อง แตงตั้งและแกไขเพิ่มเติมคณะกรรมการพัฒนาหนวยปฏิบัติการอำนวยการการแพทยฉุกเฉิน ระบบสั่งการและ ประสานงานระดับจังหวัดเชียงรายและเครือขายเขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดพะเยา ลำพูน การเจ็บปวยฉุกเฉินเปนสิ่งที่เกิดขึ้นโดยไมสามารถคาดการณลวงหนาได และนับวันจะมีแนวโนม เพิ่มขึ้นทั้งปริมาณ ความรุนแรงและเปนสาเหตุการตายอันดับ 1 ของโลก โดยเฉพาะผูปวยโรคเรื้อรังที่มีความเสี่ยงสูง ตอการเจ็บปวยฉุกเฉิน มีโอกาสเกิดโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน โรคหลอดเลือดสมอง ดังนั้นระบบการแพทยฉุกเฉิน จึงตองมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถปฏิบัติการไดอยางเหมาะสมภายใตการกำกับดูแลของแพทยอำนวยการ และ พัฒนาใหมีการเชื่อมโยงทุกมิติ มีแนวทางการปฏิบัติการรายโรคที่ใชเปนแนวปฏิบัติเดียวกันของโรคและภาวะฉุกเฉิน ที่ตองไดรับการชวยเหลืออยางเรงดวนทั้งการปฏิบัติการทางบก ทางน้ำและทางอากาศยาน และไดมีคำสั่งแตงตั้ง คณะกรรมการพัฒนาหนวยปฏิบัติการอำนวยการการแพทยฉุกเฉิน ระบบสั่งการและประสานงานระดับจังหวัด เชียงรายและเครือขายเขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดพะเยา ลำพูน ตามคำสั่งที่ 16/2562 ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2562 ดังนั้นเพื่อใหการดำเนินงานดังกลาวมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมหนวยบริการทุกระดับ จึงไดแตงตั้ง และแกไขเพิ่มเติมคณะกรรมการพัฒนาหนวยปฏิบัติการอำนวยการการแพทยฉุกเฉิน ระบบสั่งการและประสานงาน ระดับจังหวัดเชียงรายและเครือขายเขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดพะเยา ลำพูนใหม ดังนี้ 1. คณะกรรมการที่ปรึกษา 1.1 นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ประธานกรรมการ 1.2 นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดพะเยา รองประธานกรรมการ 1.3 นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดลำพูน รองประธานกรรมการ 1.4 นายแพทยเชี่ยวชาญดานเวชกรรมปองกัน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย กรรมการ 1.5 นายแพทยเชี่ยวชาญดานเวชกรรมปองกัน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา กรรมการ 1.6 นายแพทยเชี่ยวชาญดานเวชกรรมปองกัน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน กรรมการ 1.7 นายกองคการบริหารสวนจังหวัดลำพูน กรรมการ 1.8 ผูอำนวยการโรงพยาบาลทุกแหงในจังหวัดเชียงราย พะเยา ลำพูน กรรมการ 1.9 หัวหนากลุมการพยาบาลโรงพยาบาลทุกแหงในจังหวัดเชียงราย พะเยา ลำพูน กรรมการ 1.10 ผูอำนวยการโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห กรรมการและเลขานุการ บทบาทหนาที่ 1. ใหคำปรึกษา แนะนำ อำนวยการและสนับสนุนการพัฒนาหนวยปฏิบัติการอำนวยการแพทยฉุกเฉิน จังหวัดเชียงรายและเครือขายเขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดพะเยา และจังหวัดลำพูน 1. คณะกรรมการ...

115

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


2. คณะกรรมการดำเนินงาน 2.1. นายเกรียงศักดิ์ ปนตาธรรม

นายแพทยชำนาญการ ประธานกรรมการ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห 2.2. นางสาวพรธีรา พรหมยวง นายแพทยชำนาญการ รองประธานกรรมการ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห 2.3. นางสาวณัชชา หาญสุทธิเวชกุล นายแพทยชำนาญการ กรรมการ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห 2.4. นางชนิกานต มาไพโรจน นายแพทยชำนาญการ กรรมการ โรงพยาบาลลำพูน 2.5. นางสาวเอม สิรวราภรณ นายแพทยชำนาญการ โรงพยาบาลพะเยา กรรมการ 2.6. นายศุภกฤษ เจริญขำ นายแพทยชำนาญการ โรงพยาบาลเชียงคำ กรรมการ 2.7. นางสาวยุวลักษณ บุตรศรี นายแพทยชำนาญการ โรงพยาบาลเชียงคำ กรรมการ 2.8. นายวสุ เตชะวัฒนากุล นายแพทยชำนาญการ โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงราย กรรมการ 2.9. ผูชวยศาสตราจารย ดร.บุญญาภัทร ชาติพัฒนานันท มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง กรรมการ 2.10. นางสาวกิตติยา ไทยธวัช คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยพะเยา กรรมการ 2.11. นางสาววนัฏธนันท ยาวิชัย พยาบาลวิขาชีพปฏิบัติการ กรรมการ ศูนยรับแจงเหตุและสั่งการ องคการบริหารสวนจังหวัดลำพูน 2.12. นางสาวตวงเพชร ถานอย ผูชวยนักวิชาการสาธารณสุข กรรมการ ศูนยรับแจงเหตุและสั่งการ องคการบริหารสวนจังหวัดลำพูน 2.13. นางวันเพ็ญ โพธิยอด นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กรรมการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน 2.14. นางสาวณิชานันท ศรีวิชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลลำพูน กรรมการ 2.15. นางสาววิมลรัตน ทองศรี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลลำพูน กรรมการ 2.16. นายดุสิต พรมคำตัน เจาพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน กรรมการ โรงพยาบาลลำพูน 2.17. นางทัศนีย ภาคภูมิวินิจฉัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กรรมการ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห 2.18. นางสายสม รุจิพรรณ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ กรรมการ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห 2.19. นางภัทราวดี ใจคำ เจาพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน กรรมการ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห 2.20. นายวรวิช บุญสิทธิ์ เจาพนักงานฉุกเฉินการแพทย กรรมการ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห 2.21 นางสาวรุงวิภา...

116

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


2.21. นางสาวรุงวิภา นามมะยอม 2.22. นางสาวจริยา วงศตาปน 2.23. นายธวัชชัย ขันติวงศ 2.24. นายดำรงค ชวยแกไข 2.25 นายปรีชา มะโนยศ 2.26. นางมยุรี หมั่นคิด 2.27. นายณรงคศักดิ์ วันดี 2.28. นางจำลองลักษณ สายแกว 2.29. นางพนาวัน พรหมเผา 2.30. นางแสงทอง สุวรรณ 2.31. นางสาวพิชามญชุ วุฒิ 2.32. นางสาวดวงเดือน ราชคมภ 2.33. นางปฎิญญา ใจแปง 2.34. นางสาวเกศนภา นาใจ 2.35. นางสาวพรทิพย ปนตาคำ 2.36. นายภัทรกร ตะตองใจ 2.37. นายสมนึก แซตั้ง 2.38. นางสาวญารวี จันธิมา 2.39. นางสาวศิริพร จักรออม 2.40. นายเชิดศักดิ์ สมสวย 2.41. นางสาวเกศรา สารทอง 2.42. นายชูเกียรติ เหลืองโสภาพรรณ 2.43. นายสมชาย สิทธิหลา 2.44. นายอนุสรณ อินทวงค 2.45. นายพงศกร สวามิภักดิ์

เจาพนักงานฉุกเฉินการแพทย โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห เจาพนักงานฉุกเฉินการแพทย โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห พนักงานบริการ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลพญาเม็งราย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเทิง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเวียงเชียงรุง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเวียงเชียงรุง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลพาน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลปาแดด พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลแมสรวย เจาพนักงานฉุกเฉินการแพทย โรงพยาบาลแมสรวย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเชียงแสน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลขุนตาล พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ โรงพยาบาลแมจัน เจาพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลแมจัน เวชกิจฉุกเฉิน โรงพยาบาลเวียงปาเปา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเวียงปาเปา พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนยมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลแมสาย เจาพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลแมลาว พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงราย พนักงานฉุกเฉินการแพทย สมาคมศิริกรณเชียงรายบรรเทาสาธารณภัย พนักงานฉุกเฉินการแพทย สมาคมแสงธรรมสาธารณกุศลเชียงราย ประธานมูลนิธิ มูลนิธิสยามเชียงราย ประธานสมาคม สมาคมกูภัยอัมรินทรใต

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

2.46 นางพัฒนาการ...

117

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


2.46. นางพัฒนาการ ผลศุภรักษ

นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กรรมการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา 2.47. นางพรรณี สุรินทรชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ กรรมการ โรงพยาบาลพะเยา 2.48. นายอดุลย สุขเกษม พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กรรมการ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเชียงของ 2.49. นางสาวนิตยา มอยนา นายแพทยชำนาญการ กรรมการ โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร 2.50. นางนิภาภร พรหมประสิทธิ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กรรมการ โรงพยาบาลเชียงคำ 2.51. นายวุฒิไกร สมนาม เจาพนักงานฉุกเฉินการแพทย โรงพยาบาลเชียงคำ กรรมการ 2.52. นางเรือนทอง ใหมอารินทร นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย 2.53. นายประเสริฐ วันดี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กรรมการและผูชวยเลขานุการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย บทบาทหนาที่ 1. ดำเนินการพัฒนาหนวยปฏิบัติการอำนวยการการแพทยฉุกเฉินระดับจังหวัด 2. จัดทำหลักเกณฑ วิธีการปฏิบัติของหนวยปฏิบัติการอำนวยการการแพทยฉุกเฉินระดับจังหวัด 3. ที่สามารถใหคำแนะนำการปฏิบัติการแพทยและกลุมโรคที่กำหนดในการรับ-สงผูปวยฉุกเฉิน 4. ประสานความรวมมือ และสนับสนุนการดำเนินงานระบบการแพทยฉุกเฉินระหวางหนวยงาน องคกรตางๆ ในจังหวัดเชียงราย พะเยา ลำพูน 5. แกไขปญหา อุปสรรคระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของกับหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน 6. ปฏิบัติหนาที่อื่นที่ไดรับมอบหมาย ทั้งนี้ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป สั่ง ณ วันที่ ๓๐ เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2562

(นายธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ) ผูตรวจราชการกระทรวง

118

เครือขายเขตสุขภาพที่ 1 เชียงราย พะเยา ลำพูน


การอำนวยการทั่วไป ในระบบการแพทยฉุกเฉิน เกณฑมาตรฐาน / แนวปฏิบัติ เกณฑ มาตรฐาน / แนวปฏิบัติ

โดย คณะทำงานพัฒนาการอำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย ฉุกเฉิน จังหวัดเชียงราย และเคร�อข ายเขตสุขภาพที่ 1 จ.พะเยา จ.ลำพ�น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.