เกณฑวิธีและแนวปฏิบัติตามคำสั่งการแพทย และการอำนวยการสำหรับหนวยปฏิบัติการแพทยฉุกเฉิน เขตสุขภาพที่
11, 12
พ.ศ. 2564
เรือกูชีพฉุกเฉิน 1669
Emergency Medical Protocol Under Medical Direction
เกณฑ์์วิิธีีและแนวปฏิิบััติิตามคำำ�สั่่�งการแพทย์์ และการอำำ�นวยการ สำำ�หรัับหน่่วยปฏิิบััติิการแพทย์์ฉุุกเฉิิน เขตสุุขภาพที่่� 11, 12 พ.ศ. 2564 Emergency Medical Protocol Under Medical Direction ที่่�ปรึึกษา เรืืออากาศเอกอััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ บรรณาธิิการ นายแพทย์์ภควััต จุุลทอง
โรงพยาบาลหาดใหญ่่
ผู้้�ช่่วยบรรณาธิิการ แพทย์์หญิิงสุุมาลิิน ชุุมคช
โรงพยาบาลสงขลา
กองบรรณาธิิการ นางธััณณ์์จิิรา ธนาศิิริิธััชนัันท์์ ผู้้�อำ�ำ นวยการสำำ�นัักประสานการแพทย์์ฉุุกเฉิิน นางชิิดชนก สุุวคนธ์์ สำำ�นัักประสานการแพทย์์ฉุุกเฉิิน นางพััชรีี รณทีี สำำ�นัักประสานการแพทย์์ฉุุกเฉิิน นางสาวสุุพิิชญา ศีีลสารรุ่่�งเรืือง สำำ�นัักประสานการแพทย์์ฉุุกเฉิิน นางสาวอุุรศา ศรีีวััฒนบููรพา สำำ�นัักประสานการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ผู้้�ออกแบบปก นางสาวจิิตติิมา ศรมณีี สำำ�นัักประสานการแพทย์์ฉุุกเฉิิน จััดพิิมพ์์โดย สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ พิิมพ์์ที่่� บจก.อััลทิิเมท พริ้้�นติ้้�ง จำำ�กััด ISBN : 978-616-7951-61-4
คำนิยม เรืออากาศเอก นพ.อัจฉริยะ แพงมา เลขาธิการสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ความสำเร็จของการจัดทำเกณฑวิธีและแนวปฏิบัติตามคำสั่งการแพทยและ การอำนวยการสำหรับหนวยปฏิบัติการแพทยฉุกเฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564 ถือเปนอีกกาวหนึ่งของการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉิน นอกโรงพยาบาลของทีมแพทย เวชศาสตรฉกุ เฉินและบุคลากรทางดานการแพทยฉกุ เฉินของเขตสุขภาพที่ 11, 12 ซึง่ จะเปน ประโยชนหากไดนำแนวทางปฏิบัติฉบับนี้ไปใชควบคูกับระบบอำนวยการทางการแพทย (Medical Director) ใหเกิดความครอบคลุมในเขตพืน้ ทีภ่ าคใต ทัง้ 2 เขต จะทำใหผปู ว ย ฉุกเฉินไดรับการดูแลที่ไดมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน ผูปฏิบัติการในระบบทุกคนก็เกิด ความมั่นใจในการดูแลใหความชวยเหลือผูปวย ดังนั้น จึงนับเปนเครื่องมือที่สำคัญ อีกอยางหนีง่ สำหรับระบบปฏิบัติการฉุกเฉินนอกโรงพยาบาลของเขตสุขภาพทั้ง 2 เขต ในโอกาสนี้ สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ขอชื่นชมความมุมานะ อุตสาหะ และทุมเทแรงกายแรงใจของทีมแพทยและบุคลากรผูนิพนธ รวมทั้งคณะทำงานทุกคนที่มี สวนเกี่ยวของในการจัดทำและรวมระดมความคิดเห็น จนทำใหแนวทางปฏิบัติฉบับนี้ จัดพิมพเปนรูปเลมสมบูรณที่บุคคลากรทางดานการแพทยฉุกเฉินทุกระดับตั้งแตอาสาสมัคร ฉุกเฉินการแพทย (อฉพ.) พนักงานฉุกเฉินการแพทย (พฉพ.) เจาพนักงานฉุกเฉินการแพทย (จฉพ.) นักปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย (นฉพ.) และพยาบาลวิชาชีพ (พว.) สามารถ นำไปใชประโยชนเพื่อการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพตอไป
รายนามผู้้�นิิพนธ์์ เกณฑ์์วิิธีีและแนวปฏิิบััติิตามคำำ�สั่่�งการแพทย์์ และการอำำ�นวยการ สำำ�หรัับหน่่วยปฏิิบััติิการแพทย์์ฉุุกเฉิิน เขตสุุขภาพที่่� 11 และ 12 พ.ศ.2564 Emergency Medical Protocol Under Medical Direction 1. นายแพทย์์ภควััต จุุลทอง 2. นายแพทย์์นภััส ลาวััณย์์ทัักษิิณ 3. นายแพทย์์จารุุวััฒน์์ สำำ�ลีีพัันธ์์ 4. นายแพทย์์มรรษยุุว์์ อิิงคภาสกร 5. แพทย์์หญิิงวัันดีี เหลืืองพููนลาภ 6. นายแพทย์์สุุขสัันต์์ คำำ�นวณศิิลป์์ 7. แพทย์์หญิิงกัันต์์กนก ปิิยะธรรม 8. แพทย์์หญิิงกาญจนา ผาณิิตพิิเชษวงศ์์ 9. แพทย์์หญิิงจัันทร์์จิิรา แต่่ศัักดาธรรม 10. แพทย์์หญิิงชััชฎาภรณ์์ ไกรศรพรสรร 11. แพทย์์หญิิงชนิิดา เข็็มเงิิน 12. แพทย์์หญิิงภััทรา พรกุุลวััฒน์์ 13. แพทย์์หญิิงสศิิริิ ดิิลกธราดล 14. นายแพทย์์ณััฎฐภััทร ถาวรพััฒนพงศ์์ 15. แพทย์์หญิิงวรััญญา เตชภานุุวััฒน์์ 16. นายแพทย์์จรุุงวิิทย์์ ปลื้้�มเปรมจิิตร 17. นายแพทย์์ซารีีมััน เจ๊๊ะแว 18. แพทย์์หญิิงวิิภาดา พิิศพรรณ 19. แพทย์์หญิิงขวััญชนก ลืือวีีระวงษ์์ 20. แพทย์์หญิิงดวงกมล รััตตะพัันธ์ุุ� 21. นายแพทย์์สุุรนัันต์์ นิิลมาลย์์ 22. นายแพทย์์ชารีีฟ หะยีีบืือซา 23. แพทย์์หญิิงชญาณีี บุุญวิิทยา ก
โรงพยาบาลหาดใหญ่่ โรงพยาบาลมหาราช นครศรีีธรรมราช โรงพยาบาลสุุราษฎร์์ธานีี โรงพยาบาลเกาะสมุุย โรงพยาบาลระนอง โรงพยาบาลวชิิระภููเก็็ต โรงพยาบาลวชิิระภููเก็็ต โรงพยาบาลวชิิระภููเก็็ต โรงพยาบาลวชิิระภููเก็็ต โรงพยาบาลวชิิระภููเก็็ต โรงพยาบาลวชิิระภููเก็็ต โรงพยาบาลป่่าตอง โรงพยาบาลพััทลุุง โรงพยาบาลพััทลุุง โรงพยาบาลตรััง โรงพยาบาลสุุไหงโก-ลก โรงพยาบาลสุุไหงโก-ลก โรงพยาบาลสุุไหงโก-ลก โรงพยาบาลนราธิิวาสราชนคริินทร์์ โรงพยาบาลนราธิิวาสราชนคริินทร์์ โรงพยาบาลตากใบ โรงพยาบาลปััตตานีี โรงพยาบาลเบตง
24. แพทย์์หญิิงสาธญา บุุรีี 25. แพทย์์หญิิงจุุฑารััตน์์ จรลัักษณ์์ 26. แพทย์์หญิิงจัันทิิมา โอภาวััฒนสิิน 27. แพทย์์หญิิงณััฐยา พรมวััง 28. แพทย์์หญิิงพรพิิชชา ยงวณิิชชา 29. นายแพทย์์ธณดล เศีียรอิินทร์์ 30. แพทย์์หญิิงณิิชยา วััฒนกำำ�ธรกุุล 31. แพทย์์หญิิงธััมพรรษ ปิิยสุุวรรณกุุล 32. แพทย์์หญิิงลลิิตา ฉลองกุุลศัักดิ์์� 33. นายแพทย์์ชััยวุุฒิิ สุุขสมานวงศ์์ 34. แพทย์์หญิิงสุุมาลิิน ชุุมคช 35. นายแพทย์์วริิษ คุุปต์์กาญจนากุุล 36. แพทย์์หญิิงสุุธิิสา เผืือกเดช 37. แพทย์์หญิิงวรััญญา เตชภานุุวััฒน์์
โรงพยาบาลยะลา โรงพยาบาลหาดใหญ่่ โรงพยาบาลหาดใหญ่่ โรงพยาบาลหาดใหญ่่ โรงพยาบาลหาดใหญ่่ โรงพยาบาลหาดใหญ่่ โรงพยาบาลกรุุงเทพ หาดใหญ่่ คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยสงขลานคริินทร์์ โรงพยาบาลสงขลา โรงพยาบาลสงขลา โรงพยาบาลสงขลา โรงพยาบาลสงขลา โรงพยาบาลชุุมพร เขตอุุดมศัักดิ์์� โรงพยาบาลตรััง
ข
ค�ำน�ำ การเจ็บป่วยฉุกเฉินเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นโดยไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า หากเกิดขึน้ มาแล้วถ้าไม่สามารถรักษาได้ทนั ท่วงทีหรอื รักษาไม่ถกู ต้องตามมาตรฐาน อาจท�ำให้เกิดความพิการ การเจ็บป่วยที่รุนแรงขึ้นหรืออาจเสียชีวิตได้ ในระบบการแพทย์ฉกุ เฉิน เมือ่ เกิดภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉินขึน้ ศูนย์รบั แจ้งเหตุ และสัง่ การจะเป็นหน่วยแรกทีเ่ ริม่ ปฏิบตั กิ ารฉุกเฉิน โดยจะมีการสัง่ หน่วยปฏิบตั กิ าร ฉุกเฉินระดับพืน้ ฐาน หรือหน่วยปฏิบตั กิ ารระดับสูง เป็นหน่วยทีไ่ ปปฏิบตั กิ ารฉุกเฉิน ที่ จุ ด เกิ ด เหตุ ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้การปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น สามารถท�ำได ้ อ ย่ า งถู ก ต้อง ได้มาตรฐานภายใต้การก�ำกับดูแลของแพทย์อ�ำนวยการ จึงจ�ำเป็นต้องมีคมู่ อื เกณฑ์ วิธแี ละแนวปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการส�ำหรับหน่วยปฏิบตั กิ าร แพทย์ฉุกเฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564 โดยการสนับสนุนจากสถาบัน การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ จึงได้จัดท�ำคู่มือเล่มนี้ขึ้นเพื่อให้ปฏิบัติการฉุกเฉิน ที่จุดเกิดเหตุ ในเขตบริการสุขภาพทั้งสองเขตมีมาตรฐานไปในทิศทางเดียวกัน ขอขอบคุณแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินในเขตบริการสุขภาพที่ 11 และ 12 ทุกท่านที่เสียสละเวลาเพื่อจัดท�ำคู่มือในครั้งนี้ และหวังว่าคู่มือนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อหน่วยปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินทุกระดับ ทีจ่ ะสามารถลดการบาดเจ็บ ลดอาการเจ็บป่วย และลดการเสียชีวิตของประชาชนได้ คณะผู้จัดท�ำ เขตสุขภาพที่ 11 และ 12 สิงหาคม 2564
ค
สารบัญ
หน้้า ก รายนามผู้้�นิิพนธ์์ ค คำำ�นำำ� ง สารบััญ 1 CBD ที่ 1 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยปวดท้อง 3 CBD ที่ 2 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยแพ้รุนแรงชนิด อนาฟัยแลกซิส (Anaphylaxis) 5 CBD ที่ 3 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยถูกสัตว์กัด 7 CBD ที่ 4 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยเลือดออกที่ไม่ได้ เกิดจากการเกิดอุบัติเหตุ/การบาดเจ็บ 9 CBD ที่ 5 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยหายใจล�ำบาก 10 CBD ที่ 6 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น 15 CBD ที่ 7 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยเจ็บแน่นหน้าอก CBD ที่ 8 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยส�ำลักอุดกั้นทางเดินหายใจ 18 21 CBD ที่ 9 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยมีอาการเบาหวาน CBD ที่่� 10 คำำ�สั่่�งอำำ�นวยการทั่่�วไปสำำ�หรับั ผู้้ป่� ว่ ยมีีภาวะอุุณหภููมิิกายสููงเกิิน 23 25 CBD ที่่� 11 เว้้นว่่าง 26 CBD ที่ 12 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะ 27 CBD ที่ 13 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยคลุ้มคลั่ง CBD ที่่� 14 คำำ�สั่่�งอำำ�นวยการทั่่�วไปสำำ�หรับั ผู้้ป่� ว่ ยได้้รัับสารพิิษหรืือยาเกิินขนาด 29 31 CBD ที่ 15 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยเจ็บครรภ์คลอด 35 CBD ที่ 16 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยชัก 37 CBD ที่ 17 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยอาการเหนื่อย 39 CBD ที่ 18 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 41 CBD ที่ 19 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยหมดสติ/ไม่ตอบสนอง 45 CBD ที่ 20 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยเด็ก (กุมารเวขกรรม) 55 CBD ที่ 21 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยถูกท�ำร้ายร่างกาย 57 CBD ที่ 22 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยไฟไหม้ น�้ำร้อนลวก กระแสไฟฟ้า และสารเคมี ง
CBD ที่ 23 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยจมน�้ำ CBD ที่ 24 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยพลัดตกหกล้ม CBD ที่ 25 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยอุบัติเหตุยานยนต์
หน้้า 59 64 66
Appendix Appendix 1 การประเมินความปลอดภัย ณ จุดเกิดเหตุ 70 Appendix 2 การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน 72 Appendix 3 การข่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูง 75 Appendix 4 ยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพส�ำหรับเด็ก 79 Appendix 5 ยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพส�ำหรับผู้ใหญ่ 80 Appendix 6 การช่่วยเหลือผู้ที่ส�ำลักอุดกั้นทางเดินหายใจ 83 Appendix 7 การประเมิินความเจ็็บปวดด้้วย Numerical Rating Scale 86 Appendix 8 การประเมิินความรู้้สึ� ึกตััวด้้วย AVPU และ GCS 87 Appendix 9 ภาวะช็อคและการห้ามเลือดในผู้ป่วยบาดเจ็บ 88 Appendix 10 หัตถการติดตั้งเครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าชนิด 90 อัตโนมัติ AED Appendix 11 หัตถการยึดตรึงกระดูกเชิงกราน (Pelvic Binder) 91 Appendix 12 แนวทางการพิิจารณาการส่่งต่่อผู้้ป่� ว่ ยฉุุกเฉิินด้้วยอากาศยาน 92 Appendix 13 รหััสวิิทยุุ 93 Appendix 14 หมายเลขโทรศัพท์ 94 Appendix 15 การดูแลผู้ป่วยสมองบาดเจ็บรุนแรง 99 Appendix 16 การประกาศเสียชีวิต 109 Appendix 17 การจัดการสาธารณภัยหรืออุบัติภัยหมู่ 117 Appendix 18 การปฏิบัติการกู้ชีพทางน�้ำ 131 Appendix 19 แนวทางการปฏิบัติงานกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 140 รายนามผู้้�จััดทำำ�
จ
151
คำำ�แนะนำำ�การปฏิิบััติติ ามเกณฑ์์วิิธีีและแนวปฏิิบััติติ ามคำำ�สั่่�งการแพทย์์ และการอำำ�นวยการสำำ�หรัับหน่่วยปฏิิบััติิการแพทย์์ฉุุกเฉิิน และนิิยามศััพท์์ เกณฑ์์วิิธีีและแนวปฏิิบััติิตามคำำ�สั่่�งการแพทย์์และการอำำ�นวยการฉบัับนี้้� เป็็น คำำ�สั่่�งการแพทย์์ที่่�แพทย์์อำำ�นวยการจััดทำำ�ขึ้้�น เพื่่�อมอบหมายให้้ผู้้�ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินใน หน่่วยปฏิิบััติิการแพทย์์ทุุกระดัับนำำ�ไปปฏิิบััติิตามคำำ�สั่่�งการแพทย์์นี้้� เพื่่�อให้้เกิิดความ ปลอดภััยต่่อผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน กรณีีที่่�คำ�สั่่� ำ งการแพทย์์และการอำำ�นวยการทั่่�วไป (Offline) ที่่�ไม่่ได้้กำำ�หนดไว้้ให้้ ติิดต่่อแพทย์์อำำ�นวยการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน (พอป.) ผ่่านศููนย์์รัับแจ้้งเหตุุและสั่่�งการเพื่่�อ ขอคำำ�สั่่�งการแพทย์์และการอำำ�นวยการตรง (Online) ต่่อไป “ปฏิิบััติิการอำำ�นวยการ” หมายความว่่า การปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินที่่�ไม่่ได้้กระทำำ�โดยตรงต่่อผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน ประกอบด้้วยการจััดการ การประสานงาน การควบคุุมดููแล และการติิดต่่อสื่่�อสาร อัันมีี ความจำำ�เป็็นเพื่่�อให้้ผู้้ป่� ว่ ยฉุุกเฉิินได้้รัับการปฏิิบัติั กิ ารแพทย์์ที่่�ถููกต้้อง สมบููรณ์์ และทัันท่่วงทีี “ปฏิิบััติิการแพทย์์” หมายความว่่า การปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินที่่�กระทํําโดยตรงต่่อผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน เกี่่�ยวกัับ การประเมิิน การดููแล การเคลื่่�อนย้้ายหรืือลํําเลีียง การนํําส่่งต่่อ การตรวจวิินิิจฉััย และ การบํําบััดรัักษาพยาบาล รวมถึึงการเจาะหรืือผ่่าตััด การใช้้อุุปกรณ์์หรืือเครื่่�องมืือแพทย์์ การให้้หรืือบริิหารยา หรืือสารอื่่�น หรืือการสอดใส่่วัตถุ ั ุใด ๆ เข้้าไปในร่่างกายผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน และให้้หมายรวมถึึ ง การรัั บ แจ้้ง และจ่่ า ยงานให้้ผู้้� ป ฏิิ บัั ติิ ก ารอื่่�นกระทํําโดยตรงต่่ อ ผู้้ป่� ว่ ยฉุุกเฉิิน รวมทั้้�งการปฏิิบัติั กิ ารฉุุกเฉิินที่่�ต้้องกระทํําตามคํําสั่่�งการแพทย์์ด้้วย แต่่ไม่่รวมถึึง การกระทํําใดอัันเป็็นการปฐมพยาบาล “อำำ�นวยการทั่่�วไป” หมายความว่่า การอำำ�นวยการซึ่่�งได้้จััดทำำ�และประกาศไว้้เป็็นเอกสารด้้วยวิิธีี การที่่�กำำ�หนดไว้้ล่่วงหน้้า เพื่่�อเป็็นคำำ�สั่่�งประจำำ� ขั้้�นตอนวิิธีี หรืือเกณฑ์์วิิธีีปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน ให้้ผู้้� ช่่ ว ยเวชกรรมดำำ� เนิิ น การหรืื อ ปฏิิ บัั ติิ ต าม รวมทั้้� ง การตรวจสอบและพิิ จ ารณา กระบวนการและผลการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินย้้อนหลัังด้้วย
ฉ
“อำำ�นวยการตรง” หมายความว่่า การอำำ�นวยการเชื่่�อมตรงระหว่่างบุุคคลต่่อบุุคคลขณะกำำ�ลััง ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน ณ สถานที่่�ที่่�มีีผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินหรืือที่่�เกิิดเหตุุการณ์์ หรืือผ่่านการสื่่�อสาร ทางไกลด้้วยวาจา ลายลัักษณ์์อัักษร อิิเล็็กทรอนิิกส์์ โทรคมนาคม หรืือวิิธีีการสื่่�อสารอื่่�น แพทย์์อำำ�นวยการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน (พอป.) หมายถึึง แพทย์์ที่่�ได้้รัับประกาศนีียบััตรแพทย์์อำำ�นวยการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน ซึ่่�งผู้้�ที่่�มีีสิิทธิ์์�จะได้้ประกาศนีียบััตร มีี ๒ กลุ่่�ม ดัังนี้้� - แพทย์์เฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์์ฉุุกเฉิินซึ่่�งผ่่านการอบรมแพทย์์เฉพาะทาง และสอบผ่่านวุุฒิิบััตร หรืืออนุุมััติิบััตรผู้้�เชี่่�ยวชาญสาขาเวชศาสตร์์ฉุุกเฉิินจากแพทยสภา - ผู้้�ประกอบวิิชาชีีพเวชกรรมสาขาอื่่�นที่่�มีีประสบการณ์์ด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิน และอบรมเพิ่่�มเติิม เพื่่�อสอบ ขอรัับประกาศนีียบััตร พอป. จากคณะกรรมการการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน แพทย์์อำำ�นวยการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน (พอป.) มีีอำำ�นาจหน้้าที่่�ตามกฏหมาย การแพทย์์ฉุกุ เฉิินในการอำำ�นวยการ สั่่�งการทางการแพทย์์ไปยัังผู้้ช่� ว่ ยเวชกรรมให้้ดููแลรัักษา ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินนอกสถานพยาบาลได้้ตามอำำ�นาจหน้้าที่่�และขอบเขตความรัับผิิดชอบของ แต่่ละระดัับ อัันจะทำำ�ให้้ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินได้้รัับการดููแลรัักษาทัันทีีที่่�ผู้้�ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินไปถึึง แม้้แพทย์์จะไม่่ได้้เดิินทางไปด้้วยตนเอง “วุุฒิิแพทย์์ฉุุกเฉิิน” หมายความว่่า ผู้้�ประกอบวิิชาชีีพเวชกรรมที่่�ได้้รัับหนัังสืืออนุุมััติิ หรืือวุุฒิิบััตร แสดงความรู้้�ความชำำ�นาญในการประกอบวิิชาชีีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตร์์ฉุุกเฉิิน และ สาขาอื่่�นที่่�เป็็นวุุฒิิบััณฑิิตวิิทยาลััยแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งประเทศไทย “ผู้้�ประกอบวิิชาชีีพ” หมายความว่่า ผู้้�ปฏิิบััติิการซึ่่�งเป็็นผู้้�ประกอบวิิชาชีีพตามกฎหมายว่่าด้้วย สถานพยาบาล ซึ่่�งปฏิิบััติิการแพทย์์ตามอํํานาจหน้้าที่่� ขอบเขต ความรัับผิิดชอบ และ ข้้อจํํากััด ตามกฎหมายว่่าด้้วยวิิชาชีีพนั้้�น ประกอบไปด้้วย (๑) ผู้้�ประกอบวิิชาชีีพเวชกรรม (๒) พยาบาลวิิชาชีีพ
ช
“นัักฉุุกเฉิินการแพทย์์” หมายถึึง ผู้้ป� ฏิิบัติั กิ ารฉุุกเฉิินซึ่่�งเป็็นผู้้ป� ระกอบโรคศิิลปะ ตามกฏหมายว่่าด้้วย การประกอบโรคศิิลปะ “ผู้้�ช่่วยเวชกรรม” หมายความว่่า ผู้้�ปฏิิบััติิการที่่�ได้้รัับประกาศนยีีบััตรประเภทปฏิิบััติิการแพทย์์ ตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ฉุกุ เฉิิน เรื่่�อง การให้้ประกาศนีียบััตรและการปฏิิบัติั ิ การฉุุกเฉิินของผู้้ป� ฏิิบัติั กิ าร พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่่�งได้้รัับมอบหมายให้้ทํําปฏิิบัติั กิ ารแพทย์์โดยที่่� ไม่่ได้้เป็็นผู้้�ประกอบวิิชาชีีพ หรืือเป็็นผู้้�ประกอบวิิชาชีีพซึ่่�งทํําปฏิิบััติิการแพทย์์นอกเหนืือ อํํานาจหน้้าที่่� ขอบเขต ความรัับผิิดชอบ และข้้อจํํากััดตามกฎหมายว่่าด้้วยวิิชาชีีพนั้้�น ประกอบไปด้้วย (๑) นัักปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ (นฉพ.) (๒) เจ้้าพนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ (จฉพ.) (๓) พนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ (พฉพ.) (๔) อาสาสมััครฉุุกเฉิินการแพทย์์ (อฉพ.) หน่่วยปฏิิบััติิการ ประเภทปฏิิบััติิการแพทย์์ มีีระดัับดัังต่่อไปนี้้� ก. ระดัับพื้้�นฐาน (Basic) ได้้แก่่ หน่่วยปฏิิบััติิการซึ่่�งดำำ�เนิินกิิจการปฏิิบััติิการ แพทย์์ขั้้น� พื้้�นฐาน ตามการอำำ�นวยการ ให้้แก่่ผู้ป่้� ว่ ยฉุุกเฉิินที่่�มีีความเสี่่�ยงต่ำำ��ต่อ่ การเสีียชีีวิติ หรืือการรุุนแรงขึ้้�นของ การบาดเจ็็บ หรืืออาการป่่วยนั้้�นในห้้วงเวลาขณะทำำ�การปฏิิบััติิ การฉุุกเฉิินนั้้�น ข. ระดัับสููง (Advance) ได้้แก่่ หน่่วยปฏิิบัติั กิ ารซึ่่�งดำำ�เนิินกิิจการจััดการปฏิิบัติั ิ การแพทย์์ข้ัั�นสููง ตามการอำำ�นวยการ ให้้แก่่ผู้ป่้� ว่ ยฉุุกเฉิินที่่�มีีความเสี่่�ยงสููงต่่อการเสีียชีีวิติ หรืือการรุุนแรงขึ้้�นในห้้วงเวลา ขณะทำำ�การปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินนั้้�น ค. *ระดัับเฉพาะทาง (Specialist) ได้้แก่่ หน่่วยปฏิิบััติิการซึ่่�งดำำ�เนิินกิิจการ จััดการปฏิิบัติั กิ ารแพทย์์เฉพาะทางให้้แก่่ผู้ป่้� ว่ ยฉุุกเฉิินที่่�มีีความเสี่่�ยงสููงยิ่่�งต่่อการเสีียชีีวิติ การเกิิดภาวะแทรกซ้้อน หรืือการรุุนแรงขึ้้�นของการบาดเจ็็บหรืืออาการเจ็็บป่่วยนั้้�น อย่่างรวดเร็็วในห้้วงเวลาขณะทำำ�การปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินนั้้�น หมายเหตุุ * ระดัับเฉพาะทาง ไม่่มีใี นคู่่�มืือเกณฑ์์วิธีิ แี ละแนวปฏิิบัติั ิ ฯ ฉบัับนี้้� แต่่เนื่่�องจาก หน่่ ว ยปฏิิ บัั ติิ ก ารแพทย์์ มีี ร ะดัั บพื้้� น ฐาน ระดัั บสูู ง และระดัั บ เฉพาะทาง ตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ฉุกุ เฉิิน เรื่่�อง ประเภท ระดัับ อำำ�นาจหน้้าที่่� ขอบเขต ความรัับผิิดชอบ และข้้อจำำ�กััดของหน่่วยปฏิิบััติิการ พ.ศ.๒๕๖๒ ซ
CBD 1 ปวดท้อง แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐาน สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ ประเมินอาการผู้ป่วย ผู้ป่วยมีอาการที่เป็นอันตรายคุกคามต่อชีวิตหรือไม่ (เจ็บแน่นหน้าอก หายใจหอบเหนื่อย เหงื่อออกมาก ผิวซีดเย็น หน้ามืด เป็นลม ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง) มี ไม่มี Airway : ผู้ป่วยอาเจียนหรืออาเจียนเป็นเลือด ปริมาณมาก - จัดผู้ป่วยนอนหงาย ตะแคงหน้า และเปิด ทางเดินหายใจ Breathing : ผู้ป่วยหายใจเร็วมากกว่า 20 ครั้งต่อนาที หรือความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือด น้อยกว่า 94% - จัดท่านอนหัวสูง Circulation : ผู้ป่วยหน้าซีด เหงื่อแตกตัวเย็น ชีพจรเร็ว - จัดท่านอนราบ คล�ำชีพจรผู้ป่วยไม่ได้ - ให้การช่วยเหลือผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น Disability : ผู้ป่วยซึมลง หมดสติ - ให้การช่วยเหลือเหมือนผู้ป่วยหมดสติ
ประเมินอาการและให้การดูแลรักษา เบื้องต้นตามความเหมาะสม เฝ้าระวัง และติดตามอาการผู้ป่วยเป็นระยะ ระหว่างน�ำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ ประสานงานกับหน่วยปฏิบัติการ ระดับสูง เพื่อน�ำส่งโรงพยาบาล
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
1
CBD ที่ 1 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยปวดท้อง แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูง สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ ประเมินอาการผู้ป่วย ผู้ป่วยมีอาการที่เป็นอันตรายคุกคามต่อชีวิตหรือไม่ (เจ็บแน่นหน้าอก หายใจหอบเหนื่อย เหงื่อออกมาก ผิวซีดเย็น หน้ามืด เป็นลม ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง) มี ไม่มี Airway : ผู้ป่วยอาเจียนหรืออาเจียนเป็นเลือดปริมาณ มาก - จัดท่าผู้ป่วย เปิดทางเดินหายใจ - Suction secretion - พิจารณา advanced airway Breathing : ผู้ป่วยหายใจเร็วมากกว่า 20 ครั้งต่อนาที หรือความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือด น้อยกว่า 94% - ให้ oxygen therapy ที่เหมาะสม Circulation : ผู้ป่วยมีภาวะ shock หรือสัญญาณชีพไม่คงที่ - จัดท่านอนราบ - Monitor EKG - พิจารณา IV fluid ที่เหมาะสม คล�ำชีพจรผู้ป่วยไม่ได้ - ให้การช่วยเหลือผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น Disability : ผู้ป่วยซึมลง หมดสติ - ให้การช่วยเหลือเหมือนผู้ป่วยหมดสติ 2
ประเมินอาการและให้การดูแลรักษา เบื้องต้นตามความเหมาะสม เฝ้าระวัง และติดตามอาการผู้ป่วยเป็นระยะ ระหว่างน�ำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
ประเมินอาการผู้ป่วยเป็นระยะ ระหว่างน�ำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 2 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยปฏิกิริยาแพ้รุนแรง ชนิดอนาฟัยแลกซิส Anaphylaxis การปฏิบัติการเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วย ที่มีภาวะแพ้รุนแรง ประเมินผู้ป่วยตามหลักการประเมินทั่วไป ใช่
สงสัยภาวะแพ้รุนแรง
ไม่ใช่
ขอ ว.7 รถกู้ชีพ เฝ้าระวังภาวะทางเดินหายใจอุดกั้น
น�ำส่ง
ให้ออกซิเจน 10 ลิตรต่อนาที
เฝ้าระวังภาวะแพ้รุนแรง
นอนยกขาสูงเล็กน้อย ประเมินซ�้ำ รายงานศูนย์สั่งการ เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะแพ้รุนแรง 1. กรณีไม่มปี ระวัตสิ มั ผัสสารทีน่ า่ จะเป็นสารก่อภมู แิ พ้ มีอาการทางระบบผิวหนัง (ลมพิษ คัน ผืน่ แดงตามร่างกาย เยื่อบุบวม) ร่วมกับอาการ 1 ใน 2 ข้อดังนี้ 1.1 อาการทางระบบหายใจ (หายใจเหนื่อย เสียงวี๊ด แน่นหน้าอก) 1.2 ความดันโลหิตลดลง 2. กรณีมีประวัติสัมผัสสารที่น่าจะเป็นสารก่อภูมิแพ้ มีอาการอย่างน้อย 2 ใน 4 ข้อ 2.1 อาการทางระบบผิวหนัง (ลมพิษ คัน ผื่นแดงตามร่างกาย เยื่อบุบวม) 2.2 อาการทางระบบหายใจ (หายใจเหนื่อย เสียงวี๊ด แน่นหน้าอก) 2.3 ความดันโลหิตต�่ำ 2.4 อาการทางระบบอาหาร (ปวดท้อง อาเจียน ท้องเสีย) 3. มีประวัติสัมผัสสารที่ทราบว่าแพ้มาก่อน (เกิดอาการภายในเวลาเป็นนาทีหรือไม่กี่ชั่วโมง) ร่วมกับมีความดัน โลหิตลดลง
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
3
CBD ที่ 2 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยปฏิกิริยาแพ้รุนแรง ชนิดอนาฟัยแลกซิส Anaphylaxis การปฏิบัติการระดับสูงส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วย ที่มีภาวะแพ้รุนแรง ประเมินผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือตามหลักการประเมินทั่วไป ใช่
สงสัยภาวะแพ้รุนแรง
ไม่ใช่
เฝ้าระวังภาวะทางเดินหายใจอุดกลั้น ให้ออกซิเจน Mask with bag 10 LPM ยกขาสูงเล็กน้อย Adrenaline (1:1000) 0.3-0.5 ml IM ผู้ใหญ่ Adrenaline (1:1000) 0.01 ml/kg IM เด็ก (Max 0.3 ml) *สามารถให้ซ�้ำได้ 1-2 ครั้ง ทุก 5-15 นาที IV load NSS ครั้งละ 200 ml ผู้ใหญ่ IV load NSS ครั้งละ 20 ml/kg เด็ก CPM 10 mg IV ผู้ใหญ่ CPM 0.3 mg/kg IV เด็ก Dexamethasone 4-8 mg IV ผู้ใหญ่ Dexamethasone 0.6 mg/kg IV เด็ก ประเมินซ�้ำ รายงานศูนย์สั่งการ
4
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
เปิดเส้นให้สารน�้ำ ทางหลอดเลือดด�ำ น�ำส่งโรงพยาบาล
CBD ที่ 3 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยถูกสัตว์กัด การปฏิบัติการเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วยที่ถูกสัตว์กัด ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล ประเมินความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ, สวมอุปกรณ์ป้องกัน น�ำผู้ป่วยออกห่างจากบริเวณที่มีสัตว์อยู่ ประเมินระดับความรู้สึกตัว ทางเดินหายใจ และอาการของผู้ป่วย ว่าเข้าข่ายปฏิกิริยาแพ้รุนแรงชนิดอนาฟัยแลกซิสหรือไม่ ใช่
ไม่ใช่
- ท�ำการดูแลผู้ป่วยตามแนวปฏิบัติระดับ Basic ปฏิกิริยาแพ้รุนแรง - ถ้าหากมีสิ่งแปลกปลอมบนแผล เช่น เหล็กใน ให้น�ำออก
ประเมินบาดแผล บาดแผลขนาดใหญ่ หรือมีเลือดออกปริมาณมากหรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ สงสัยว่าโดนงูพิษกัด หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่
- ท�ำการห้ามเลือดผู้ป่วย ตามแนวทางช็อกและ การห้ามเลือด - ประเมินระดับความรู้สึกตัวและสัญญาณชีพ รายงานกลับไปยังศูนย์สั่งการ - เฝ้าสังเกตอาการผู้ป่วยระหว่างน�ำส่ง - ราดบริเวณที่ถูกแมงกะพรุนด้วย น�้ำสม้ สายชูหรือน�้ำทะเล ยกเว้นบริเวณตา ใช้เป็น NSS ล้างแทน - หลังราดแผลแล้ว หากยังมีหนวด แมงกะพรุนติดอยู่ ให้ใช้ Forcep หรือ สันบัตรแข็ง ๆ ปัดออก
- ท�ำการยึดตรึงอวัยวะที่ถูก กัดให้นิ่งไม่ต้องขันชะเนาะ - ถา้ หากเป็นไปได้ ให้น�ำงมู าด้วย - เฝ้าระวังอาการทางระบบ ประสาท เช่น หนังตาตก หายใจล�ำบาก กลืนล�ำบาก ระหว่างน�ำส่ง ใช่
โดนแมงกะพรุนหรือไม่ ไม่ใช่ ดูแลบาดแผลเบื้องต้นและ น�ำส่งโรงพยาบาล
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
5
CBD ที่ 3 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยถูกสัตว์กัด การปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยที่ถูกสัตว์กัด ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล ประเมินความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ, สวมอุปกรณ์ป้องกัน น�ำผู้ป่วยออกห่างจากบริเวณที่มีสัตว์อยู่ ประเมินผู้ป่วยตาม ABC และดูว่าเข้าเกณฑ์วินิจฉัยปฏิกิริยา แพ้รุนแรง (Anaphylaxis) หรือไม่ ใช่ - ท�ำการดูแลผู้ป่วยตามแนวปฏิบัติระดับ Advance ปฏิกิริยาแพ้รุนแรง - ถ้าหากมีสิ่งแปลกปลอมบนแผล เช่น เหล็กใน ให้น�ำออก
ไม่ใช่ - ระดับภาวะคุกคามอื่นๆ ตาม ABCD - บาดแผลใหญ่/เลือดออกมากหรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ สงสัยว่าโดนงูพิษกัด หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่
- ท�ำการห้ามเลือดผู้ป่วย - เปิดเส้นเลือดด�ำให้สารน�้ำ (ตามแนวทางช็อก และการห้ามเลือด) - monitor vital sign - รายงานกลับไปยังศูนย์สั่งการ - ราดบริเวณที่ถูกแมงกะพรุนด้วย น�้ำส้มสายชูหรือน�้ำทะเล ยกเว้นบริเวณ ตา ใช้เป็น NSS ล้างแทน - หลังราดแผลแล้ว หากยังมีหนวด แมงกะพรุนติดอยู่ ให้ใช้ Forcep หรือ สันบัตรแข็ง ๆ ปัดออก - Monitor Vital Sign และเปิดเส้น เลือดด�ำ
6
- Splint & immobilization - ไม่ต้องขันชะเนาะ - หากเป็นไปได้ ให้น�ำงมู าด้วย - เฝ้าระวัง ถ้ามีอาการ Neurotoxicity พิจารณา เปิดทางเดินหายใจ ช่วย หายใจ - ซักประวัติโรคประจ�ำตัว แพ้ยา วัคซีน ใช่
โดนแมงกะพรุนหรือไม่ ไม่ใช่ ดูแลบาดแผลเบื้องต้นและ น�ำส่งโรงพยาบาล
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 4 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยเลือดออกที่ไม่ได้ เกิดจากการเกิดอุบัติเหตุ/การบาดเจ็บ การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วยเลือดออก ที่ไม่ได้เกิดจากการเกิดอุบัติเหตุ/การบาดเจ็บ ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย และประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ พบผู้ป่วยที่เลือดออก อาเจียนเป็นเลือดสด ถ่ายเป็นเลือดสด เลือดก�ำเดาไหล เลือดออกทางช่องคลอด ปัสสาวะเป็นเลือดสด เลือดออกในผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคเลือดหรือการแข็งตัว ของเลือด หรือพบผู้ป่วยร่วมกับกองเลือดที่ไม่ใช่อุบัติเหตุ หมดสติหรือไม่ ใช่
ไม่ใช่
คล�ำชีพจร ได้หรือไม่ ได้ ไม่ได้ ปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น ระดับ Basic หน้า 9 - จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ (head tilt-chin lift) - น�ำสิ่งแปลกปลอมออกจากทางเดินหายใจ - ให้ออกซิเจน oxygen mask with bag 10 ลิตร/นาที - ประเมินอัตราชีพจร อัตราการหายใจ การไหลเวียน กลับของเลือดฝอย - ประสานงานกับหน่วยกู้ชีพระดับสูง (dual protocol) - น�ำส่งโรงพยาบาล
มีเลือดออกทางเดินหายใจหรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ มีภาวะช็อกหรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ประเมินผู้ป่วยเป็นระยะ ๆ ขณะน�ำส่งโรงพยาบาล
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
7
CBD ที่ 4 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยเลือดออกที่ไม่ได้ เกิดจากการเกิดอุบัติเหตุ/การบาดเจ็บ แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยเลือดออกที่ไม่ได้ เกิดจากการเกิดอุบัติเหตุ/การบาดเจ็บ ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม อาเจียนเป็นเลือดสด ถ่ายเป็นเลือดสด เลือดก�ำเดาไหล เลือดออกทางช่องคลอด ปัสสาวะเป็นเลือดสด เลือดออกในผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคเลือดหรือการแข็งตัว ของเลือด หรือพบผู้ป่วยร่วมกับ กองเลือดที่ไม่ใช่อุบัติเหตุ แนวปฏิบัติผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น ระดับ Advanced หน้า 40 - จัดท่ายกหัวสูงหรือนั่ง หากไม่มีข้อห้าม - (Paramedics) พิจารณา LMA หรือ ET tube
ใช่
หมดสติ ไม่มีชีพจร ไม่ใช่
ใช่
มีหรือเสี่ยงต่อภาวะ Airway obstruction ? (ไอเป็นเลือด อาเจียนเป็นเลือด เลือดออกในช่องปาก)
- O2 mask 10 LPM - Monitor O2 sat
ไม่ใช่ มี Severe respiratory distress? หายใจหอบ หายใจเร็ว
ใช่
ไม่ใช่ - กดห้ามเลือด หากมองเห็นจุดเลือดออก - Continuous EKG monitoring - เปิดเส้นเลือดด�ำ 2 ต�ำแหน่ง ให้สารน�้ำ RLS
ใช่
มีภาวะ Shock ? Pulse>120/min, BP<90/60 mmHg ไม่ใช่ รายงานศูนย์สื่อสารและ สั่งการขณะน�ำส่ง
8
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 5 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยหายใจล�ำบาก ส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐาน/หน่วยปฏิบัติการระดับสูง ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย และประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ผู้ป่วยหายใจช้า หรือเร็วผิดปกติ หรือหายใจไม่สม�่ำเสมอ ผู้ป่วยหมดสติหรือไม่ ใช่
ไม่ใช่
ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติ ผู้ป่วยหมดสติ
ใช่
มีอาการและอาการแสดงภาวะหายใจล้มเหลวหรือไม่ - ในผู้ใหญ่ หายใจ <12 หรือ >24 ครั้งต่อนาที ในเด็ก ดูตามตารางอัตราการหายใจตามช่วงอายุ* - O2sat <92% หรือใช้กล้ามเนื้อส่วนอื่นในการหายใจ ไม่ใช่
การดูแลรักษา : - ใช้ O2 mask with bag 10 LPM - Monitor O2sat และประเมินผู้ป่วย เป็นระยะ - รายงานศูนย์สื่อสารและสั่งการ - ประสานงานร่วมกับหน่าวยปฏิบตั กิ าร ระดับสูงเพื่อน�ำส่งโรงพยาบาล *อัตราการหายใจในเด็กตามช่วงอายุ ดังนี้ - เด็กแรกเกิด ถึง 12 เดือน <30 หรือ >60 ครั้งต่อนาที - เด็กอายุ 1 ถึง 3 ปี : <24 หรือ >40 ครั้งต่อนาที - เด็กอายุ 4 ถึง 5 ปี : <22 หรือ >34 ครั้งต่อนาที - เด็กอายุ 6 ถึง 12 ปี : <18 หรือ >30 ครั้งต่อนาที - เด็กอายุ 12 ปีขึ้นไป : เหมือนผู้ใหญ่
การดูแลรักษา : - จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่สบายที่สุด (นอนยกหัวสูง หากไม่มีประวัติหรือสงสัย Trauma) - ซักประวัติเพิ่มเติม ได้แก่ เจ็บแน่นหน้าอก ไข้สูง ไอ เหนื่อยเมื่อออกแรงหรือท�ำกิจกรรม - หากมีโรคประจ�ำตัวเป็นหอบหืด ให้ฟังเสียงปอด หากได้ยินเสียงวี๊ด ให้พ่นยาขยายหลอดลมชนิดพ่น (AEMT ใช้ยาพ่นของผู้ป่วย โดยช่วยให้ผู้ป่วยกด พ่นยาได้ หรือรายงานแพทย์อ�ำนวยการเพื่อขอพ่นยา ขยายหลอดลมชนิดพ่น NB) - พิจารณาให้ O2 cannula 3 LPM - รายงานข้อมูลศูนย์สื่อสารและสั่งการ - รีบน�ำส่งโรงพยาบาลและประเมินอาการเป็นระยะ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
9
CBD ที่ 6 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น (Out of Hospital Cardiac Arrest, OHCA)
หน่วยปฏิบัติการระดับสูง ให้ดูรายละเอียดที่ Appendix 3 ค�ำสั่งอ�ำนวยการ - เกณฑ์ในการใช้ค�ำสั่งอ�ำนวยการ คือ ผู้ป่วยมีอาการหมดสติ หรือเรียก ไม่รู้สึกตัว หรือหายใจเฮือก ร่วมกับไม่มีชีพจร การประเมินสถานการณ์ - กรณีสงสัยอุบัติเหตุให้ใส่ Hard collar - กรณีท�ำ Advanced CPR ครบ 30 นาที EKG ยังเป็น Asystole/PEA พิจารณาหยุด โดยให้ค�ำอธิบายแก่ญาติและปฏิบัติตามแนวทางการเสียชีวิต นอกโรงพยาบาล - ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ และความเหมาะสมของสถานที่ ช่วยฟื้นคืนชีพ การประเมินและการให้การรักษา - เมื่อได้รับแจ้งเหตุผู้ป่วยอาการเข้าได้กับภาวะหัวใจหยุดเต้น ได้แก่ หมดสติ หรือเรียกไม่รู้สึกตัว หรือหายใจเฮือก ร่วมกับไม่มีชีพจร ให้สั่งการหน่วย ปฏิบัติการทางการแพทย์ระดับสูงออกเหตุ - กรณีพนื้ ทีเ่ กิดเหตุมหี น่วยปฏิบตั กิ ารระดับพืน้ ฐานอยใู่ กล้ ให้สัง่ การออกเหตุรว่ ม - หน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานและระดับสูงประเมินอาการและให้การรักษา ผู้ป่วยตามมาตรฐาน BLS และ ALS - หน่วยปฏิบัติการประสานศูนย์สั่งการตามรูปแบบก่อนน�ำส่ง - ศูนย์สั่งการเป็นผู้ประสานส่งต่อข้อมูลให้โรงพยาบาลปลายทางตามรูปแบบ การรายงาน รูปแบบการรายงาน 1. เพศ อายุ 2. โรคประจ�ำตัว 3. อาการ/การบาดเจ็บ 4. ระยะเวลาการท�ำ CPR 5. ได้รับการช็อคไฟฟ้าหัวใจหรือไม่ ถ้าได้รับกี่ครั้ง 6. หัตถการที่ได้ท�ำ เช่น ใส่ท่อช่วยหายใจ การให้ยา 7. สัญญาณชีพล่าสุด
10
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน กรณีหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล (Out of Hospital Cardiac Arrest, OHCA) รับแจ้งเหตุ 1669 อาการเข้าได้กับภาวะหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล (หมดสติ / เรียกไม่รู้สึกตัว / หายใจเฮือก ร่วมกับไม่มีชีพจร)
แจ้ง ALS ออกเหตุ
หาก BLS อยู่ใกล้ ให้ BLS ออกเหตุก่อน
ประเมินอาการและให้การรักษาตาม OHCA Protocol ระดับสูง
ประเมินอาการและให้การรักษาตาม OHCA Protocol ระดับพื้นฐาน
ประสานศูนย์สั่งการน�ำส่ง โรงพยาบาลปลายทาง
ประสานศูนย์สั่งการ
ศูนย์สั่งการประสานห้องฉุกเฉิน
ให้การช่วยเหลือตาม BLS Protocol จนกว่าทีม ALS จะมาถึง
หมายเหตุ รูปแบบการรายงาน 1. เพศ อายุ 2. โรคประจ�ำตัว 3. อาการ/การบาดเจ็บ 4. ระยะเวลาการท�ำ CPR 5. ได้รับการช็อคไฟฟ้าหัวใจหรือไม่ ถ้าได้รับกี่ครั้ง 6. หัตถการที่ได้ท�ำ เช่น ใส่ท่อช่วยหายใจ การให้ยา 7. สัญญาณชีพล่าสุด
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
11
การช่วยฟื้นคืนชีพพื้นฐาน (BLS Protocol) กรณีหวั ใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล (Out of Hospital Cardiac Arrest, OHCA) ส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐาน การประเมินสถานการณ์ - กรณีสงสัยอุบัติเหตุให้ใส่ Hard collar - ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ และความเหมาะสมของสถานที่ ช่วยฟื้นคืนชีพ การประเมินและการให้การรักษา - ประเมินการตอบสนองของผู้ป่วย โดยการตบบริเวณไหล่ของผู้ป่วยพร้อมทั้ง ปลุกผู้ป่วย - ตรวจดูการหายใจและคล�ำชีพจรไปพร้อมกัน โดยตรวจดูการหายใจว่า หยุดหายใจหรือมีหายใจผิดปกติ เช่น หายใจเฮือกหรือไม่ โดยสังเกตการขยับ ขึน้ -ลงของหน้าอก ภายในเวลา 5-10 วินาที ส่วนการคล�ำชีพจรให้คล�ำบริเวณ หลอดเลือดแดงข้างล�ำคอ (Carotid artery) โดยใช้เวลา 5-10 วินาที - ถา้ พบว่าผู้ป่วยหมดสติ เรียกไม่รู้สกึ ตัว หายใจเฮือก ร่วมกับคล�ำแล้วไม่มชี พี จร ภายใน 10 วินาที ให้เริ่มช่วยชีวิตโดยการกดหน้าอก (CPR) ตามด้วยการช่วย หายใจอย่างมีประสิทธิภาพให้เร็วที่สุด ร่วมกับการใส่กระดานรองหลัง และ น�ำเครื่อง AED ติดผู้ป่วย o การ CPR อย่างมีประสิทธิภาพประกอบด้วย กดหน้าอกลึกอย่างน้อย 5 – 6 เซนติเมตร กดหน้าอกด้วยอัตราเร็ว 100 – 120 ครั้งต่อนาที ขัดจังหวะการกดหน้าอกให้น้อยที่สุด (ไม่เกิน 10 วินาที) หลีกเลี่ยงการช่วยหายใจที่มากเกินไป ให้ท�ำการกดหนา้ อกสลับกับการช่วยหายใจในอัตราส่วน กดหนา้ อก 30 ครัง้ ต่อการช่วยหายใจ 2 ครัง้ หากไม่มอี ปุ กรณ์ปอ้ งกันในการช่วยหายใจ สามารถ กดหน้าอกต่อเนื่องอย่างเดียวได้ (นับเป็น 1 รอบ) เปลี่ยนคนกดหน้าอกทุก 5 รอบ หรือถ้าคนกดหน้าอกหมดแรงสามารถ เปลี่ยนคนกดก่อนได้ - หากเครื่อง AED ตรวจสอบว่าจังหวะการเต้นของหัวใจสามารถช็อคได้ o ให้ท�ำการช็อคไฟฟ้าหัวใจให้เร็วที่สุด โดยสามารถหยุดท�ำการกดหน้าอก โดยไม่เกิน 10 วินาที จากนั้นให้รีบท�ำการกดหน้าอก (CPR) ต่ออีก 5 รอบ 12
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
o เมื่อท�ำกดหน้าอก (CPR) ครบ 5 รอบให้รีบกลับมาประเมินผู้ป่วยอีกครั้งด้วย การคล�ำชีพจรไม่เกิน 10 วินาที และให้เครือ่ ง AED ตรวจสอบจังหวะการเต้น ของของหัวใจว่าสามารถช็อคได้หรือไม่ หากยังสามารถช็อคได้และผู้ป่วยยัง ไม่มีชีพจรให้ท�ำการช็อคไฟฟ้าหัวใจอีก ตามด้วยกดหน้าอก (CPR) ต่ออีก 5 รอบ ทันที - หากเครื่อง AED ตรวจสอบว่าจังหวะการเต้นของหัวใจว่าไม่สามารถช็อคได้ ให้กดหน้าอกต่อจนครบ 5 รอบและประเมินชีพจรซ�้ำ - กรณีสงสัยอุบัติเหตุให้ใส่ Hard collar ทุกครั้ง - แจ้งศูนย์สั่งการ เพื่อน�ำส่งโรงพยาบาลปลายทาง โดยรายงานตามรูปแบบ การรายงาน - หยุดการกดหน้าอกกรณีหน่วยปฏิบตั กิ ารระดับสงู มารับช่วงต่อหรือคล�ำชีพจรได้
รูปแบบการรายงาน 1. เพศ อายุ 2. โรคประจ�ำตัว 3. อาการ/การบาดเจ็บ 4. ระยะเวลาการท�ำ CPR 5. ได้รับการช็อคไฟฟ้าหัวใจหรือไม่ ถ้าได้รับกี่ครั้ง 6. หัตถการที่ได้ท�ำ เช่น ใส่ท่อช่วยหายใจ การให้ยา 7. สัญญาณชีพล่าสุด
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
13
การช่วยฟื้นคืนชีพพื้นฐาน (BLS Protocol) กรณีหวั ใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล (Out of Hospital Cardiac Arrest, OHCA) ส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐาน ตรวจดูความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ ประเมินการตอบสนองของผู้ป่วย ตรวจดูการหายใจและคล�ำชีพจร ภายใน 10 วินาที ตรวจพบไม่มีชีพจร ไม่หายใจ หรือหายใจเฮือก CPR โดยกดหน้าอก 30 ครั้ง ช่วยหายใจ 2 ครั้ง บนกระดานรองหลังติดเครื่อง AED ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของ AED ในการช็อคไฟฟ้า CPR ต่อจบครบ 5 รอบและประเมินชีพจรซ�้ำ แจ้งศูนย์สั่งการ เพื่อน�ำส่งโรงพยาบาลปลายทาง โดยรายงานตามรูปแบบการรายงาน หยุด CPR เมื่อ ALS มารับช่วงต่อหรือสามารถคล�ำชีพจรได้
หมายเหตุ รูปแบบการรายงาน 1. เพศ อายุ 2. โรคประจ�ำตัว 3. อาการ/การบาดเจ็บ 4. ระยะเวลาการท�ำ CPR 5. ได้รับการช็อคไฟฟ้าหัวใจหรือไม่ ถ้าได้รับกี่ครั้ง 6. หัตถการที่ได้ท�ำ เช่น ใส่ท่อช่วยหายใจ การให้ยา 7. สัญญาณชีพล่าสุด 14
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 7 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยเจ็บแน่นหน้าอก แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐาน แนวทางการรับผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจขาดเลือดแบบเฉียบพลัน STEMI โรงพยาบาลชุมชน
STEMI
โรงพยาบาลต่างจังหวัด คลินิก
Consult LINE STEMI Cardiologist/Interventionist ศูนย์หัวใจพัทลุง 24 ชม.
Consult CCU/LINE STEMI Cardiologist/Interventionist ศูนย์หัวใจพัทลุง 24 ชม.
แจ้งศูนย์ประสาน เพื่อรับ ประเมินอาการเบื้องต้น
แพทย์ Intervention พิจารณา รับ Case ตาม Clinical Practice Guideline
แพทย์ Intervention visit ER เพือ่ ร่วมประเมินอาการเบือ้ งต้น พิจารณารับ Case ตาม Clinical Practice Guideline
Heart CO แจ้งแพทย์ Intervention เพือ่ ร่วมประเมิน อาการและให้แนวทาง การรักษาตาม CPG
HEART CO รับเวรจาก โรงพยาบาลต้นสังกัด
CCU รับเวรเพิ่มเติมจาก ER
แพทย์ Intervention พิจารณารับ Case
ประสานงาน CARHLAB/CCU
CATH LAB FOR PROCEDURE
ประสานงาน CATHLAB/CCU
CCU POST OP CARE
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
15
Flow การรับผู้ป่วย CCU
Emergency Case
STEMI
High risk
Elective Case - Case นัดจาก OPD - Case จาก Ward หรือโรงพยาบาลอื่น ที่แพทย์ประเมินว่ารอได้
CCU
Cath Lab
CCU
16
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 7 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยเจ็บแน่นหน้าอก แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูง Offline protocol chest pain (ตามแนวทาง AOC)
เรียกรู้สึกตัว
เรียกไม่รู้สึกตัว
A - airway B - breathing : O2 supplementation C - circulation : IV fluid, blood sampling อาการเจ็บหน้าอกเข้าได้กับ ACS
EKG เข้าได้กับ NSTEMI, STEMI-equivalent, STEMI Consult Expert +/-
ACLS
EKG 12 leads Consult AOC
EKG อื่น
หาสาเหตุอื่น ๆ ของอาการเจ็บหน้าอก
อาการเจ็บหน้าอกเข้าได้กับ ACS เจ็บหน้าอกที่ไม่ได้เกิดจากอุบัติเหตุและปวดระหว่างกรามถึงสะดือ แน่นหน้าอก, ใจสั่น, หมดสติ (Syncope) หัวใจเต้นช้า ภาวะอ่อนแรงในผู้ป่วยที่อายุมากกว่า 45 ปี อาการที่เกิดขึ้นใหม่และเข้าได้กับภาวะสมองขาดเลือด หายใจล�ำบากที่ยังหาสาเหตุที่แน่ชัดไม่ได้ (นอกเหนือจากหอบหืด หัวใจล้มเหลว เป็นต้น)
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
17
CBD ที่ 8 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยส�ำลักอุดกั้นทางเดินหายใจ แนวทางปฏิบัติที่ 8 Basic : ส�ำลักอุดกั้นทางเดินหายใจ การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วย ที่ส�ำลักอุดกั้นทางเดินหายใจ ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย และประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ
ประเมินความรู้สึกตัว
ไม่รู้สึกตัว
รู้สึกตัว เป็นภาวะอุดกั้นทางเดิน หายใจอย่างสมบูรณ์ ไม่สามารถส่งเสียงได้ ใช่
ไม่ใช่
- เด็กไม่เกิน 1 ปี : 5 back blow 5 chest trust - อายุมากกว่า 1 ปี : Heimlich maneuver (รัดกระตุกหน้าอก) - ประเมินซ�้ำทุก 1 นาที
- ปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติผู้ป่วยหมดสติ ระดับ Basic - เริ่มท�ำการกดหน้าอกผู้ป่วย - เปิดดูปากผู้ป่วยเมื่อกดหน้าอกครบ 30 ครั้ง หากเห็นสิ่งแปลกปลอม สามารถหยิบออกได้ หากไม่เห็นให้กดหน้าอกซ�้ำอีก 30 ครั้ง - ประสานงานหน่วยกู้ชีพระดับสูงในการน�ำส่ง โรงพยาบาล - รายงาน พอป.
18
ประเมินเป็นระยะ ๆ และน�ำส่ง
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
ข้อมูลที่ควรทราบ 5 back blow, 5 chest thrust (ตบหลัง 5 ครั้ง กระทุ้งอก 5 ครั้ง) หมายถึง การท�ำให้สิ่งแปลกปลอมออกมาจากทางเดินหายใจ โดยผู้ช่วยเหลือ จัดท่าผู้ป่วยคว�่ำหน้า หัวต�่ำให้ตัวของเด็กวางอยู่บนแขนข้างหนึ่งของผู้ช่วยเหลือ มือประคองส่วนกรามของเด็กไว้ วางแขนข้างนั้นลงบนต้นขาข้างเดียวกันของ ผู้ช่วยเหลือ เพื่อรองรับน�้ำหนักของเด็ก ใช้ส้นมืออีกข้างกระแทกระหว่างสะบัก ของเด็ก 5 ครั้ง จากนั้นพลิกหงายตัวเด็กมาวางบนแขนอีกข้างของผู้ช่วยเหลือ โดย ใช้มือข้างเดียวกันประคองศีรษะ และวางแขนข้างนั้นลงบนต้นขาอีกข้างเพื่อรองรับ น�้ำหนักเด็ก กดนิ้วชี้และนิ้วกลางลงตรงลิ้นปี่ลึกประมาณ ½ นิ้ว อย่างรวดเร็วและ แรงทั้งหมด 5 ครั้ง Heimlich maneuver หรือ Abdominal thrust (รัดกระตุกหน้าท้อง) หมายถึง การท�ำให้สิ่งแปลกปลอมออกมาจากทางเดินหายใจ โดยให้ผู้ช่วยเหลือ ยืนด้านหลังผู้ป่วยใช้แขนโอบรอบล�ำตัว มือ 2 ข้าง ก�ำหมัดวางที่ต�ำแหน่งใต้ลิ้นปี่ (หากเป็นคนอ้วนหรือตั้งครรภ์ให้วางก�ำหมัดบนกระดูกกลางอก) จากนั้นออกแรง กระตุกอย่างรวดเร็วในแนวแรงเข้าหาล�ำตัวและขึน้ บนจ�ำนวน 5 ครัง้ หรือหากผู้ป่วย นอนราบกับพืน้ ให้ผู้ช่วยเหลือนัง่ คร่อมตัวผู้ป่วย ขาอยทู่ รี่ ะดับต้นขาของผู้ป่วยใชม้ อื 2 ข้าง กดอย่างรวดเร็วที่ใต้ลิ้นปี่ของผู้ป่วยในมุมเอียงขึ้นด้านศีรษะผู้ป่วยจ�ำนวน 5 ครั้ง จนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
19
แนวทางปฏิบัติที่ 8 Advance : ส�ำลักอุดกั้นทางเดินหายใจ การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วย ที่ส�ำลักอุดกั้นทางเดินหายใจ ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย และประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ
ประเมินความรู้สึกตัว
ไม่รู้สึกตัว
รู้สึกตัว เป็นภาวะอุดกั้นทางเดิน หายใจอย่างสมบูรณ์ ไม่สามารถส่งเสียงได้ ใช่
ไม่ใช่
ประเมินเป็นระยะ ๆ และน�ำส่ง
- เด็กไม่เกิน 1 ปี : 5 back blow 5 chest trust - อายุมากกว่า 1 ปี : Heimlich maneuver (รัดกระตุกหน้าอก) - ประเมินซ�้ำทุก 1 นาที หน้าอกไม่ยกตัว
ประเมินความรู้สึกตัว
มีชีพจร
ไม่มีชีพจร - ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติผู้ป่วยหมดสติ ระดับ Advance - เปิดดูปากผู้ป่วยเมื่อกดหน้าอกครบ 30 ครั้ง หากเห็นสิ่งแปลกปลอม สามารถหยิบออกได้ หากไม่เห็นให้กดหน้าอกซ�้ำอีก 30 ครั้ง - รายงาน พอป.
20
เปิดทางเดินหายใจโดย head tilt-chin lift, jaw thrust จากนั้นช่วยหายใจ หน้าอกยกตัว ช่วยหายใจต่อเนื่องและน�ำส่ง
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 9 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยมีอาการเบาหวาน การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วย ที่มีอาการของเบาหวาน ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย และประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ หมดสติหรือไม่ ใช่
ไม่ใช่
ปฏิบัติตาม ปฏิบัติตามค�ำสั่งอ�ำนวยการ ทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยหมดสติ/ ไม่ตอบสนอง (CBD 19)
(AEMT) ระดับน�้ำตาลในเลือด น้อยกว่าไม่60ใช่ mg% ? ใช่ ไม่ใช่
ประเมินความรู้สึกตัว อาการเหงื่อออก ใจสั่น วูบ หากมีอาการเล็กน้อยและ ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ให้ทานน�้ำหวานเอง - ซักประวัติยาที่ใช้ประจ�ำ และน�ำยามาพร้อมกับผู้ป่วย - เฝ้าระวังภาวะชัก หรือระดับความรู้สึกตัวที่ลดลง - (AEMT) ถ้ามีภาวะหายใจหอบ และ O2sat< 94% ให้ O2 mask with bag 10 LPM แก่ผู้ป่วย - รายงานอาการผู้ป่วยแก่ศูนย์สื่อสารและสั่งการ ติดตาม อาการเป็นระยะ ๆ ขณะน�ำส่งโรงพยาบาล
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
21
แนวปฏิบัติที่ 9 Advanced : อาการเบาหวาน แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยที่มีอาการของเบาหวาน ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม หมดสติ ไม่ใช่
ใช่
ปฏิบัติตาม ปฏิบัติตามค�ำสั่งอ�ำนวยการ ทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยหมดสติ/ ไม่ตอบสนอง (CBD 19)
ระดับน�้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 60 mg% ? ใช่ ไม่ใช่ - ประเมินความรู้สึกตัว เหงื่อออก ใจสั่น วูบ - หากผู้ป่วยมีอาการเล็กน้อย สามารถ ช่วยเหลือตัวเองได้ ให้ทานน�้ำหวานเอง - หากผู้ป่วย มีระดับความรู้สึกตัวลดลง พิจารณาให้ 50% Glucose 50 ml ทาง IV และให้สารน�้ำที่มีน�้ำตาล 10% DN/2 60 ml/hr - เฝ้าระวังภาวะชัก - Monitor สัญญาณชีพ EKG, O2 sat เป็นระยะ - ซักประวัติ ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรค การใช้ยากิน ยาฉีด ไข้
22
- (Paramedics) มีภาวะหายใจล้มเหลว พิจารณา LMA หรือ ET tube - หากระดับน�้ำตาลสูง > 250 mg% ให้พิจารณาเปิดเส้น ให้ NSS rate 120 ml/hr ทาง หลอดเลือดด�ำ และเฝ้าระวังภาวะชัก - Monitor สัญญาณชีพ EKG, O2 sat เป็น ระยะ ๆ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 10 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยมีภาวะอุณหภูมิกายสูงเกิน การปฏิบัติการเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วย ที่มีภาวะอุณหภูมิกายสูงเกิน ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล ประเมินความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ, สวมอุปกรณ์ป้องกัน ใช่
หมดสติและไม่มีชีพจร ไม่ใช่ ประเมินระบบหายใจ
ผิดปกติ
ไม่พบความผิดปกติ ประเมินชีพจรและ ความดันโลหิต
ผิดปกติ
ไม่พบความผิดปกติ ประเมินความรู้สึกตัว ผิดปกติ ไม่พบความผิดปกติ รีบลดอุณหภูมิกายของผู้ป่วย หากอุณหภูมิ > 40 °C
- ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยหัวใจ หยุดเต้น (CBD 6) - รายงานศูนย์สั่งการ ขอความช่วยเหลือทีมกู้ชีพ ระดับสูง - สิ่งแปลกปลอมหรืออาเจียนอุดกั้นทางเดินหายใจ ดูด (suction) สารคัดหลั่งหรืออาเจียนออก เปิดทางเดินหายใจท�ำ jaw thrust - วัดออกซิเจนปลายนิ้ว (ให้ค่าออกซิเจน ≥ 94%) - หายใจเหนื่อย ให้ oxygen mask with bag 10 LPM - ชีพจรเร็วและเบา และ/หรือความดันโลหิตต�่ำ ให้ oxygen รายงานศูนย์สั่งการ - ซึม GCS score < 9 ช่วยหายใจด้วย Ambu bag +/- oral airway - เจาะน�้ำตาลปลายนิ้ว DTX - รายงานศูนย์สั่งการ - ให้ผู้ป่วยอยู่ที่อากาศเย็นและถ่ายเท - ถอดเสื้อผ้าของผู้ป่วยป่วยออก - วางผ้าเปียกเย็นหรือน�้ำแข็งบนตัวของผู้ป่วยจนทัว่ และ/หรือ พ่นละอองน�้ำเย็นบนตัวผู้ป่วยจนทั่ว แล้วเป่าพัดลม - ลดอุณหภมู ใิ ห้อยทู่ รี่ ะดับเป้าหมายคือประมาณ 39 °C - รายงานศูนย์สั่งการ
หมายเหตุ : วัดอุณหภูมิจากอุณหภูมิแกนของร่างกาย (Core Temperature) โดยวัดทางทวารหนัก
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
23
CBD ที่ 10 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยมีภาวะอุณหภูมิกายสูงเกิน การปฏิบัติการระดับสูงส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วย ที่มีภาวะอุณหภูมิกายสูงเกิน ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม มีชีพจรหรือไม่
ไม่มีชีพจร - ท�ำการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูง - รายงานศูนย์สั่งการ
มีชีพจร ประเมินระบบหายใจ
ผิดปกติ
ไม่พบความผิดปกติ ประเมินชีพจรและ ความดันโลหิต
ผิดปกติ
ไม่พบความผิดปกติ ประเมินความรู้สึกตัว ผิดปกติ
- สิ่งแปลกปลอมหรืออาเจียนอุดกั้นทางเดินหายใจ clear airway, suction secretion/foreign body เปิดทางเดินหายใจท�ำ jaw thrust - Keep oxygen sat ≥ 94% - หายใจหอบเหนื่อย ให้ oxygen mask with bag 10 LPM - มีภาวะ shock/hypotension 0.9% NSS 1-2 L IV - Monitor EKG - GCS score < 9 ETT intubation - DTX < 60 mg% 50% glucose 50 ml IV
ไม่พบความผิดปกติ รีบลดอุณหภูมิกายของผู้ป่วย หากอุณหภูมิ > 40 °C
- ให้ผู้ป่วยอยู่ที่อากาศเย็นและถ่ายเท - ถอดเสื้อผ้าของผู้ป่วยป่วยออก - วางผ้าเปียกเย็นหรือน�้ำแข็งบนตัวของผู้ป่วยจนทัว่ และ/หรือ พ่นละอองน�้ำเย็นบนตัวผู้ป่วยจนทั่ว แล้วเป่าพัดลม - ลดอุณหภมู ใิ ห้อยทู่ รี่ ะดับเป้าหมายคือประมาณ 39 °C
หมายเหตุ - วัดอุณหภูมิจากอุณหภูมิแกนของร่างกาย (core temperature) โดยวัดทางทวารหนัก - ประเมินอาการผู้ป่วยและรายงานกลับศูนย์สั่งการเป็นระยะ
24
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
แนวปฏิบัติที่ 11
เว้นว่าง
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
25
CBD ที่ 12 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะ การปฏิบัติการเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐาน/ หน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยที่มีอาการปวดศรีษะ ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย, ประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ มีอาการโรคหลอดเลือดสมองตาม CPSS* อาการปากเบี้ยวหน้าเบี้ยว, ลิ้นแข็งพูดไม่ชัด หรือแขนขาอ่อนแรงครึ่งซีก ใช่ ปฏิ บั ติ ต ามค�ำสั่ ง อ�ำนวยการ ทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยโรคหลอด เลือดสมอง (CBD ที่ 18)
ไม่ใช่ พิจารณาอาการและอาการแสดงของภาวะความดัน ในกะโหลกศีรษะสูง หรือสาเหตุจากสมอง ดังนี้ - อาเจียนมากกว่า 3 ครั้ง - ซึมลง - ชักเกร็ง - มองเห็นภาพซ้อน - เดินเซ ใช่ ไม่ใช่
- รีบน�ำส่งโรงพยาบาล (อยู่ในที่เกิดเหตุไม่เกิน 10 นาที ถ้าสามารถท�ำได้) - วัดความดันโลหิต รายงานทันทีหากสูงกว่า 180/110 mmHg - (AEMT) เจาะระดับน�้ำตาลในเลือด DTX ถ้าสามารถท�ำได้ - ให้ออกซิเจนถ้ามีอาการเหนื่อยหอบหรือ O2sat < 94% - ประเมินอาการซ�้ำ รายงานศูนย์สื่อสารและสั่งการ เป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง
น�ำส่งโรงพยาบาล ให้การ ดูแลประคับประคอง
*CPSS : Cincinati Prehospital Stroke Scale ดังนี้ F = Facial droop หน้าเบี้ยวหรือปากเบี้ยว A = Arm drift แขนขาอ่อนแรงครึ่งซีกด้านใดด้านหนึ่ง S = Slur speech พูดไม่ชัดลิ้นแข็ง
26
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 13 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยคลุ้มคลั่ง การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วยคลุ้มคลั่ง ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล ประเมินสถานการณ์, ประเมินระดับความรุนแรงของผู้ป่วย มีอาวุธ/เป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น ไม่มี
มี
- พูดคุย/เกลี้ยกล่อม - ประเมินอาการ ระดับความรู้สึกตัว ส�ำเร็จ
ไม่ส�ำเร็จ
รายงานศูนย์สื่อสารและสั่งการ - ขอความช่วยเหลือจากต�ำรวจ/ปภ./มูลนิธิ - ขอความช่วยเหลือทีม ALS - ช่วยเหลือในการยึดตรึง
ประสานศูนย์สั่งการ น�ำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
27
CBD ที่ 13 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยคลุ้มคลั่ง การปฏิบัติระดับสูงส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยคลุ้มคลั่ง ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size up และ BSI ที่เหมาะสม มีอาวุธ/เป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น ไม่มี - พูดคุย/เกลี้ยกล่อม - ประเมินอาการ ระดับความรู้สึกตัว ส�ำเร็จ
มี ไม่ส�ำเร็จ
ประสานศูนย์สั่งการ ขอ ว.7 - ขอความช่วยเหลือจากต�ำรวจ/ปภ./มูลนิธิ ประสานศูนย์สั่งการเพื่อขอค�ำสั่งจากแพทย์ อ�ำนวยการ - เข้าช่วยเหลือในการยึดตรึง - ให้ยา Diazepam 10 mg IV Haloperidol 5 mg IM อย่างละ 1 dose หากไม่สงบรายงาน แพทย์อ�ำนวยการ
ประสานศูนย์สั่งการ น�ำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
28
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 14 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยได้รับสารพิษหรือยาเกินขนาด การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วย ที่ได้รับสารพิษหรือยาเกินขนาด สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ มีผู้ป่วยสงสัยได้รับสารพิษหรือยาเกินขนาด ประเมินอาการผู้ป่วย ผู้ป่วยรู้สึกตัวอยู่หรือไม่ ใช่
ไม่ใช่
- จัดผู้ป่วยนอนหงาย และเปิดทางเดินหายใจ - ประเมินอัตราการหายใจ และค่าความเข้มข้น ของออกซิเจนในเลือด - ประเมินชีพจร - ลดการปนเปื้อนของสารพิษตามความ เหมาะสมกับชนิดของสารและทางที่ผู้ป่วย ได้รับสารพิษ - น�ำตัวอย่างยา หรือสารพิษที่สงสัยไปด้วย - ประสานงานกับหน่วยปฏิบัติการระดับสูง เพื่อน�ำส่งโรงพยาบาล - เฝ้าระวังและประเมินอาการผู้ป่วยเป็นระยะ ระหว่างน�ำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
ลดการปนเปื้อนของสารพิษตาม ความเหมาะสมพร้อมปฏิบัติตาม ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วย หมดสติ/ไม่ตอบสนอง
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
29
CBD ที่ 14 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยได้รับสารพิษหรือยาเกินขนาด การปฏิบัติระดับสูงส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วย ที่ได้รับสารพิษหรือยาเกินขนาด สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ มีผู้ป่วยสงสัยได้รับสารพิษหรือยาเกินขนาด ประเมินอาการผู้ป่วย ผู้ป่วยรู้สึกตัวอยู่หรือไม่ ไม่มี มี ผู้ป่วยมีความเสี่ยงเกิดทางเดินหายใจอุดกั้น หรือระบบทางเดินหายใจล้มเหลวหรือไม่ มีความเสี่ยง ไม่มีความเสี่ยง
ปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ อ�ำนวยการทัว่ ไป ส�ำหรับผู้ป่วยหมดสติ/ไม่ตอบ สนอง
จัดท่าผู้ป่วย เปิดทางเดินหายใจ พิจารณา advanced airway ให้ oxygen therapy ที่เหมาะสม
ผู้ป่วยมีภาวะ shock หรือสัญญาณชีพ ไม่คงที่หรือไม่ ไม่คงที่ คงที่
IV access และให้สารน�้ำที่เหมาะสม Monitor EKG
น�ำตัวอย่างยา หรือสารพิษที่สงสัยไปด้วย รายงานศูนย์สั่งการเพื่อเตรียมน�ำส่งผู้ป่วย ประเมินอาการผู้ป่วยเป็นระยะ ขณะน�ำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
30
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 15 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยเจ็บครรภ์คลอด การปฏิบตั กิ ารเบือ้ งต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบตั กิ ารระดับพืน้ ฐานต่อผู้ป่วยคลอดฉุกเฉิน ให้ช่วยคลอดฉุกเฉิน เมื่อส่วนน�ำเลื่อนต�่ำถึง อวัยวะเพศภายนอก
ประเมินมารดาเบื้องต้น ไม่ใช่
ส่วนน�ำเป็นศีรษะ ใช่
รายงานศูนย์สั่งการเพื่อเปลี่ยนถ่าย หรือน�ำส่งโรงพยาบาล
ต้องช่วยคลอดฉุกเฉิน ไม่ใช่
ใช่
ติดตามสัญญาณชีพ ซักประวัติ
รายงานศูนย์สั่งการ
ประเมินมารดาซ�้ำ
ปล่อยทารกให้คลอด แนวทางการดูแลทารกคลอด นอกโรงพยาบาล ประเมินมารดาซ�้ำ รายงานศูนย์สั่งการ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
31
การปฏิบัติการเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วยเจ็บครรภ์ มีสายสะดือย้อย o รายงานกลับศูนย์สั่งการเพื่อเปลี่ยนถ่ายรถกู้ชีพ o จัดท่าผู้ป่วยนอนหงาย หนุนสะโพกด้วยหมอนหรือผ้าห่มให้สูงที่สุด o ให้ออกซิเจนด้วยหน้ากากพร้อมถุงกักอากาศ 15 ลิตรต่อนาที o ให้ผู้ป่วยสูดลมหายใจเข้าถ้ามีการหดตัวของมดลูก แนะน�ำผู้ป่วยห้ามเบ่ง o วัดแลติดตามสัญญาณชีพผู้ป่วย o หากต้องน�ำส่งเอง ให้รีบเคลือ่ นย้ายและน�ำส่งพร้อมประเมินติดตามผู้ป่วยตลอดทาง การปฏิบตั กิ ารเบื้องต้นส�ำหรับ หน่วยปฏิบตั กิ ารระดับพืน้ ฐานต่อผู้ป่วยเจ็บครรภ์ คลอด o ถ้าผู้ป่วยให้ประวัตวิ า่ มีสว่ นน�ำตุง/จะคลอด ให้ดูบริเวณอวัยวะเพศ หากมีสว่ นน�ำ เป็นศีรษะตุง ให้รายงานกลับศูนย์สั่งการและเตรียมการช่วยคลอด *** หากเป็นส่วนขาน�ำ ให้รีบน�ำส่งโรงพยาบาล *** o หากยังไม่มสี ว่ นน�ำตุง ให้รีบน�ำส่งโรงพยาบาล ระหว่างน�ำส่งให้ผู้ป่วยนอนตะแคง ซ้ายหัวสูง 15-30 องศา o ประเมินสัญญาณชีพ ซักประวัติ o น�ำสมุดฝากครรภ์ของผู้ป่วยมาด้วย o ให้ออกซิเจนด้วยหน้ากากพร้อมถุงครอบ 10 ลิตรต่อนาที o หากผู้ป่วยมีอาการจุกแน่นใต้ลิน้ ปี่ อาเจียน เวียนศีรษะ BP > 140/90 ให้รายงาน ศูนย์สั่งการและเฝ้าระวังมารดาชัก
32
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 15 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยเจ็บครรภ์คลอด การปฏิบัติการระดับสูงส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยคลอดฉุกเฉิน ประเมินมารดาเบื้องต้น ส่วนน�ำเป็นศีรษะ ใช่
ไม่ใช่
ให้ช่วยคลอดฉุกเฉินเมื่อส่วนน�ำ เลื่อนต�่ำถึงอวัยวะเพศภายนอก รายงานศูนย์สั่งการ และรีบน�ำส่งโรงพยาบาล
ต้องช่วยคลอดฉุกเฉิน ไม่ใช่
ใช่
จับการบีบตัว ของมดลูก
รายงานศูนย์สั่งการ
ติดตามสัญญาณชีพ ซักประวัติ
ช่วยคลอดฉุกเฉิน
ส่วนน�ำเป็นศีรษะ
หากพบสายสะดือย้อย ใช้แนวทางการดูแล สายสะดือย้อย
แนวทางการดูแลทารกคลอด นอกโรงพยาบาล ประเมินมารดาซ�้ำ รายงานศูนย์สั่งการ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
33
การปฏิบัติการระดับสูงส�ำหรับ หน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยเจ็บครรภ์ มีสายสะดือย้อย o จัดท่าผู้ป่วยนอนหงาย หนุนสะโพกด้วยหมอนหรือผ้าห่มให้สูงที่สุด o ให้ออกซิเจนด้วยหน้ากากพร้อมถุงกักอากาศ 15 ลิตรต่อนาที o เปิดน�้ำเกลือด้วย NSS 1000 ml IV rate 100 ml/hr o ให้ผู้ป่วยสูดลมหายใจเข้าถ้ามีการหดตัวของมดลูก แนะน�ำผู้ป่วยห้ามเบ่ง o สวมถุงมือ ใช้สองนิ้วดันส่วนน�ำกลับขึน้ ไปในช่องคลอดจนส่วนน�ำไม่ทบั สายสะดือ o พันสายสะดือด้วยก๊อซชุ่มน�้ำเกลือ o รีบน�ำส่งโรงพยาบาล o วัดและติดตามสัญญาณชีพผู้ป่วย
34
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 16 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยชัก การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วยที่ชัก ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย, ประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ก�ำลังชัก
หยุดชัก แต่ยังไม่ได้สติ
หยุดชัก รู้ตัวดี
แนวปฏิบัติผู้ป่วยหมดสติ ระดับ Basic
เฝ้าระวังการชักช�้ำ และน�ำส่ง
- จ่าท่าเปิดทางเดินหายใ (Head tilt-chin lift) และระวังการหมุน ของกระดูกต้นคอในผู้ป่วยที่สงสัยการบาดเจ็บ - (AEMT) ให้ Oxygen mask with bag 10 ลิตร/นาที - ประสานงานร่วมกับหน่วยกู้ชีพระดับสูง (Dual Protocal) น�ำส่งโรงพยาบาล
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
35
CBD ที่ 16 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยชัก การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยที่ชัก ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย, ประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ก�ำลังชัก
หยุดชัก แต่ยังไม่ได้สติ
หยุดชัก รู้ตัวดี
แนวปฏิบัติผู้ป่วยหมดสติ ระดับ Advance
เฝ้าระวังการชักช�้ำ และน�ำส่ง
- จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ (head tilt-chin lift) และระวังการหมุน ของกระดูกต้นคอในผู้ป่วยที่สงสัยการบาดเจ็บ - ให้ Oxygen mask with bag 10 ลิตร/นาที - Valium 10 mg iv stat - Oropharyngeal airway/Nasopharyngeal airway - Capillary blood glucose
36
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 17 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยอาการเหนื่อย การปฏิบัติการเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วย ที่มีอาการหายใจเหนื่อย ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล หากไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ ให้รายงาน ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย, ประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ อ�ำนวยการทัว่ ไป ส�ำหรับผู้ป่วยหมดสติ/ ไม่ตอบสนอง (CBD ที่ 19) - ประเมินเบื้องต้น (อัตราชีพจร, อัตราการหายใจ, การไหลเวียนกลับ ของเลือดฝอย) - (AEMT) วัดความอิ่มตัว ออกซิเจน (O2 sat) - ให้ออกซิเจนถ้า O2 sat<95% - ประสานงานร่วมกับหน่วยกู้ชีพขั้นสูง น�ำส่งโรงพยาบาล
ใช่
หมดสติ หรือไม่ ? ไม่ใช่
ใช่
อาการที่คุกคามต่อชีวิตหรือไม่? - หายใจหอบ - แน่นหน้าอก - หน้ามืด เป็นลม - ใจสั่น - เสียงผิดปกติ เช่น เสียงแหบ หายใจเสียงดัง ไม่ใช่ - ประเมินอาการและตรวจรักษา ภาวะอื่นตามความเหมาะสม - ประสานงานกับศูนย์สื่อสารและ สั่งการระหว่างการน�ำส่ง
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
37
CBD ที่ 17 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยอาการเหนื่อย การปฏิบัติการระดับสูงส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วย ที่มีอาการหายใจเหนื่อย ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล หากไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ ให้รายงาน ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย, ประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ อ�ำนวยการทัว่ ไป ส�ำหรับผู้ป่วยหมดสติ/ ไม่ตอบสนอง (CBD ที่ 19) - พิจารณาการให้ O2 mask with bag 10 LPM - (Paramedics) พิจารณา LMA/ET tube หาก มี Respiratory Failure - Monitor สัญญาณชีพ EKG, O2 sat - พิจารณาให้สารน�้ำเมื่อมีภาวะ Shock - ประเมินผู้ป่วยเป็นระยะ และรายงาน ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ
ใช่
หมดสติ หรือไม่ ? ไม่ใช่
ใช่
มีอาการของภาวะหายใจล้มเหลว หรือไม่? O2sat นอ้ ยกว่า 92%, RR> 28/นาที และใชก้ ลา้ มเนือ้ accessory muscle ในการหายใจ? ไม่ใช่
- จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ท่าสบายที่สุด (นอนยกหัวสูงได้ หากไม่มีประวัติหรือสงสัย trauma) - ซักประวัติเพิ่มเติม เจ็บแน่นหน้าอก ไข้สูง ไอ Orthopnea, PND - หากมีโรคประจ�ำตัว Asthma/COPD และตรวจ ร่างกายได้ยิน Wheezing ใช้ยา Ventolin NB - พิจารณาให้ออกซิเจน หาก O2sat < 94% - พิจารณาให้สารน�้ำเมือ่ มีภาวะ Shock - Monitor สัญญาณชีพ EKG และ O2 sat - ประเมินอาการซ�้ำเป็นระยะๆ และรายงาน ข้อมูลกลับศูนย์สื่อสารและสั่งการ
38
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 18 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การปฏิบัติการเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วย ที่มีอาการโรคหลอดเลือดสมอง ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดปลอดภัย ประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ
มีอาการโรคหลอดเลือดสมองตาม Cincinati Prehospital Stroke Scale มีอาการปากเบี้ยว ลิ้นแข็งพูดไม่ชัด หรือ แขนขาอ่อนแรงครึ่งซีก ใช่
ไม่ใช่
เริ่มมีอาการน้อยกว่า 4 ชั่วโมง ใช่
ไม่ใช่
รายงานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ เพื่อท�ำการรักษาและประสานงาน Stroke Fast Tract
- ประเมินอาการและรักษาเบื้องต้น (ABCD) และประเมินเพื่อรักษาภาวะอื่นตามเหมาะสม - รายงานข้อมูลศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ ขณะน�ำส่งโรงพยาบาล
- ประเมินอาการและรักษาเบื้อต้น ( ABCD) - (AEMT) เจาะระดับน�้ำตาลในเลือด หาก Dtx น้อยกว่า 60 mg% ให้ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติผู้ป่วยเบาหวาน ระดับ Basic - ให้ออกซิเจน หาก O2 Sat < 94% และปรึกษาศูนย์สื่อสารและสั่งการ - ประเมินอาการซ�้ำเป็นระยะ รายงานศูนย์สื่อสารและสั่งการเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
39
CBD ที่ 18 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การปฏิบัติการระดับสูงส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วย ที่มีอาการโรคหลอดเลือดสมอง ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม มีอาการหลอดเลือดสมอง อาการปากเบี้ยว หน้าเบี้ยว, ลิ้นแข็ง พูดไม่ชัด หรือแขนขาชา/อ่อนแรงครึ่งซีก
ไม่ใช่
ประเมินอาการและรักษาภาวะคุกคาม (ABCD) และตรวจประเมินเพื่อรักษา ภาวะอื่นตามความเหมาะสม
ใช่ - ประเมิน ABCD และวัด Vital Sign >> รักษาภาวะคุกคาม - วัดออกซิเจนปลายนิ้ว (keep sat ≥ 94%) - Monitor EKG - เจาะน�้ำตาลปลายนิ้ว (ถ้าน้อยกว่า 60 mg% ให้ 50% glucose 50 cc IV) - มีอาการภายใน 4.5 ชั่วโมง ให้รีบ Activate Stroke Fast tract รายงานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ Activated Stroke Fast Tract (มีอาการใน 4.5 ชม) - เปิด NSS IV 80 cc/hr - เจาะ lab stroke: CBC, BUN, Cr, Electrolyte, PT, PTT, INR - ประเมิน NIHSS (ถ้าท�ำได้) - ประเมินข้อห้ามในการให้ rTPA - ขณะน�ำส่งประเมินสภาพผู้ป่วยซ�้ำทุก 15 นาที
Stroke non fast tract (มีอาการเกิน 4.5 ชม.) - เปิด NSS IV 80 cc/hr ข้อมูลส�ำคัญที่รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ 1. ชื่อ- นามสกุล 2. เลขบัตรประชาชน 3. อาการส�ำคัญและเวลาที่เกิดอาการ 4. เวลาที่เห็นผู้ป่วยปกติครั้งสุดท้าย 5. สัญญาณชีพ + DTX 6. โรคประจ�ำตัว
หมายเหตุ - เปิดเส้นเลือดแขนข้างที่ไม่มีอาการอ่อนแรงและไม่มีเส้นฟอกไต - ห้ามให้สารน�้ำในผู้ป่วยที่มีภาวะน�้ำเกิน เช่น ขาบวม เหนื่อย 40
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 19 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยหมดสติ/ไม่ตอบสนอง การปฏิบัติการเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วย ที่มีหมดสติ/ไม่ตอบสนอง ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย, ประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ
ปลุกผู้ป่วยตื่น ด้วยการตบไหล่ทั้งสองข้าง พร้อมเรียกด้วยเสียงอันดัง ผู้ป่วยยังหายใจ ไม่ใช่ ใช่
- ผู้ป่วยหายใจเฮือก หรือ ไม่หายใจ เริม่ กดหนา้ อก ตามค�ำสัง่ อ�ำนวยการทัว่ ไปส�ำหรับผู้ป่วยหัวใจ หยุดเต้น (CBD ที่ 6) - (AEMT) ติดตั้ง AED - รายงานศูนย์สื่อสารและสั่งการ
- จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ (head tilt-chin lift) น�ำสิ่งแปลกปลอมออกจากทางเดินหายใจ - ระวังการหมุนของกระดูกต้นคอ ในรายที่สงสัย การบาดเจ็บ - ประเมินอัตราชีพจร อัตราการหายใจ การไหลเวียนกลับของเลือดฝอย - (AEMT) วัดความอิ่มตัวออกซิเจนตามชีพจร (pulse oximetry) หาก O2 sat<94% ให้ oxygen mask with bag 10 ลิตร/นาที - ยึดตรึงด้วย hard collar ที่ยึดศีรษะ และ long spinal board - ประสานงานร่วมกับหน่วยกู้ชีพระดับสูง (dual protocol) ในการน�ำส่งโรงพยาบาล - การซักประวัติจากญาติหรือผู้เห็นเหตุการณ์** **การซักประวัติจากญาติหรือผู้เห็นเหตุการณ์ • เวลาเริ่มมีอาการ • อาการที่พบร่วม เช่น ปวดศีรษะ แขนขาอ่อนแรงซีกใดซีกหนึ่ง แน่นหน้าอก เหงื่อแตก ใจสั่น ชักเกร็ง เป็นต้น • โรคประจ�ำตัว ยาต่างๆ หรือแอลกอฮอล์ • ประวัติอุบัติเหตุที่อาจเกี่ยวข้อง
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
41
ข้อมูลที่ควรทราบ หมดสติ เป็นอาการที่ต้องได้รับการค้นหาภาวะคุกคามต่อชีวิต ภาวะความผิด ปกติบางอย่างเกิดจากสาเหตุทสี่ ามารถรักษาไดแ้ ละช่วยเหลือไดท้ นั ท่วงที การเปลีย่ นแปลง ของระดับความรู้สึกตัว คือภาวะใด ๆ ก็ตามทีค่ วามตืน่ ตัวของบุคคลไม่อยูใ่ นระดับปกติเกิด การเปลี่ยนแปลงในการท�ำงานของสมอง ระดับของความรู้สึกตัวที่เปลี่ยนแปลง จากน้อย ไปมาก ประกอบด้วย สับสน >> ซึม >> ไม่รู้สึกตัว >> ไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า (Coma) การประเมินความรู้สึกตัวด้วย AVPU Alert ผู้ป่วยตื่นดี Verbal response ตอบสนองต่อเสียง Painful response ตอบสนองต่อความเจ็บปวด Unresponsiveness ผู้ป่วยไม่ตอบสนอง การประเมินผู้ป่วย A : Airway ประเมินว่าผู้ป่วยจะสามารถ Maintain airway ของตนเองได้หรือ ไม่ มี secretion หรือเสียงที่บ่งบอกถึงการมี Obstruction หรือไม่ ต้องให้การช่วยเหลือ เปิดทางเดินหายใจหรือไม่ในผู้ป่วยที่ Unresponsive ควรได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจ B : Breathing ประเมินลักษณะการหายใจ อัตราการหายใจ Pattern การหายใจ ดู Oxygen Saturation C : Circulation ประเมินชีพจร ความดันโลหิต ดูperfusion ดูว่าต้องเปิดเส้น และให้สารน�้ำหรือไม่ บางครั้งอาการ Unresponsive อาจเกิดจาก Poor Cerebral Perfusion เพียงอย่างเดียว D : Disability ประเมิน GCS score, ดูลักษณะ Pupil และการตอบสนอง ต่อแสง ข้อแนะน�ำอื่นๆ - ควรเจาะวัดระดับน้าตาลในเลือดทุกราย หากมีภาวะ Hypoglycemia ให้ IV Glucose Push - หลังจาก Stabilize ผู้ป่วยแล้วให้ท�ำการซักประวัติ และตรวจร่างกายเท่าที่ ประเมินได้ - การวัดสัญญาณชีพ สามารถประเมินบางภาวะได้ เช่น อัตราการหายใจ ที่ช้ามากร่วมกับ Pinpoint Pupils อาจท�ำให้สงสัย Opioid Overdose หรือความดันโลหิตสูงและอัตราชีพจรทีช่ า้ อาจท�ำให้สงสัย Cushing’s Reflex หากผู้ป่วยมี Clinical SIRS ร่วมกับมีไข้ อาจท�ำให้ สงสัยการติดเชื้อในร่างกาย เป็นต้น 42
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 19 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยหมดสติ/ไม่ตอบสนอง การปฏิบัติการระดับสูงส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วย ที่มีหมดสติ/ไม่ตอบสนอง ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม ดูการหายใจ คล�ำชีพจร Carotid ไม่เกิน 10 วินาที มีชีพจร
ไม่มีชีพจร ไม่แน่ใจ
- เริ่มกดหน้าอก ตามค�ำสั่งอ�ำนวยการ ทั่วไป ส�ำหรับผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น - ติดตั้ง Defibrillator - รายงานศูนย์สื่อสารและสั่งการ
- Airway clearing ทั้งจาก FB หรืออาเจียน head tilt, chin lift - ให้ท�ำ jaw thrust ร่วมกับ manual in-line stabilization (trauma) - Mask with bag 10 LPM หรือพิจารณา LMA มีภาวะ Shock ? BP <90/60 mmHg, pulse >120/min ใช่ รายงาน พอป.
ไม่ใช่ - เจาะ DTX. หาก < 60 mg% ให้ 50% glucose 50 ml IV push ต่อด้วย 10% DN/2 IV drip 60 ml/hr - EKG 12 lead หากพบ STEMI ให้รายงาน พอป. - ซักประวัติจากผู้เห็นเหตุการณ์ * - หากสงสัย trauma ให้ hard collar, head immobilize และ long spinal board - ประเมินอาการซ�้ำเป็นระยะระหว่างการน�ำส่งโรงพยาบาล - รายงานศูนย์สื่อสารและสั่งการอย่างต่อเนื่อง
**การซักประวัติจากญาติหรือผู้เห็นเหตุการณ์ • เวลาเริ่มมีอาการ • อาการที่พบร่วม เช่น ปวดศีรษะ แขนขาอ่อนแรงซีกใดซีกหนึ่ง แน่นหน้าอก เหงื่อแตก ใจสั่น ชักเกร็ง เป็นต้น • โรคประจ�ำตัว ยาต่างๆ หรือแอลกอฮอล์ • ประวัติอุบัติเหตุที่อาจเกี่ยวข้อง เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
43
ข้อมูลที่ควรทราบ หมดสติ เป็นอาการที่ต้องได้รับการค้นหาภาวะคุกคามต่อชีวิต ภาวะความผิด ปกติบางอย่างเกิดจากสาเหตุทสี่ ามารถรักษาไดแ้ ละช่วยเหลือไดท้ นั ท่วงที การเปลีย่ นแปลง ของระดับความรู้สึกตัว คือภาวะใด ๆ ก็ตามทีค่ วามตืน่ ตัวของบุคคลไม่อยูใ่ นระดับปกติเกิด การเปลี่ยนแปลงในการท�ำงานของสมอง ระดับของความรู้สึกตัวที่เปลี่ยนแปลง จากน้อย ไปมาก ประกอบด้วย สับสน >> ซึม >> ไม่รู้สึกตัว >> ไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า (Coma) การประเมินความรู้สึกตัวด้วย AVPU Alert ผู้ป่วยตื่นดี Verbal response ตอบสนองต่อเสียง Painful response ตอบสนองต่อความเจ็บปวด Unresponsiveness ผู้ป่วยไม่ตอบสนอง การประเมินผู้ป่วย A : Airway ประเมินว่าผู้ป่วยจะสามารถ Maintain airway ของตนเองได้หรือ ไม่ มี secretion หรือเสียงที่บ่งบอกถึงการมี Obstruction หรือไม่ ต้องให้การช่วยเหลือ เปิดทางเดินหายใจหรือไม่ในผู้ป่วยที่ Unresponsive ควรได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจ B : Breathing ประเมินลักษณะการหายใจ อัตราการหายใจ Pattern การหายใจ ดู Oxygen Saturation C : Circulation ประเมินชีพจร ความดันโลหิต ดูperfusion ดูว่าต้องเปิดเส้น และให้สารน�้ำหรือไม่ บางครั้งอาการ Unresponsive อาจเกิดจาก Poor Cerebral Perfusion เพียงอย่างเดียว D : Disability ประเมิน GCS score, ดูลักษณะ Pupil และการตอบสนอง ต่อแสง ข้อแนะน�ำอื่นๆ - ควรเจาะวัดระดับน้าตาลในเลือดทุกราย หากมีภาวะ Hypoglycemia ให้ IV Glucose Push - หลังจาก Stabilize ผู้ป่วยแล้วให้ท�ำการซักประวัติ และตรวจร่างกายเท่าที่ ประเมินได้ - การวัดสัญญาณชีพ สามารถประเมินบางภาวะได้เช่น อัตราการหายใจที่ช้า มากร่วมกับ Pinpoint Pupils อาจท�ำให้สงสัย Opioid Overdose หรือความดันโลหิตสูงและอัตราชีพจรทีช่ า้ อาจท�ำให้สงสัย Cushing’s Reflex หากผู้ป่วยมี Clinical SIRS ร่วมกับมีไข้ อาจท�ำให้ สงสัยการติดเชื้อในร่างกาย เป็นต้น 44
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
แนวปฏิบัติที่ 20 Basic : ผู้ป่วยเด็ก (กุมารเวขกรรม) การปฏิบัติการเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วยเด็ก ไม่เคลื่อนไหว หรือไม่ตอบสนอง โทรตามเบอร์ฉุกเฉิน และเครื่องช็อกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (AED)
เปิดทางเดินหายใจ ตรวจการหายใจ
ผู้ช่วยชีวิตคนเดียว ในกรณีล้มลงทันที โทรตามเบอร์ฉุกเฉิน และเครื่องช็อกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (AED)
ถ้าไม่หายใจ ช่วยหายใจ 2 ครั้ง จนหน้าอกยกขึ้น ถ้าไม่ตอบสนอง ตรวจชีพจรว่ามี ภายใน 10 วินาที ไม่มีชีพจร
มีชีพจร
- ช่วยหายใจ 1 ครั้ง ทุก 3 วินาที - ตรวจชีพจรทุก 2 นาที
ผู้ช่วยชีวิตคนเดียวให้กดหน้าอก 30 ครั้ง ต่อช่วยหายใจ 2 ครั้ง กดแรงและเร็ว (100 ครั้งต่อนาที) ปล่อยมือเต็มที่ และขัดจังหวะการกดหน้าอกให้น้อยที่สุด ผู้ช่วยชีวิต 2 คน กดหน้าอก 15 ครั้ง ต่อช่วยหายใจ 2 ครั้ง ถ้ายังไม่ได้ปฏิบัติให้โทรตามเบอร์ฉุกเฉิน และเครื่องช็อกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (AED) เด็กทารก < 1 ปี ช่วยชีวิตจนทีม PALS มาถึงหรือผู้ป่วยเริ่มขยับตัว เด็ก > 1 ปี ช่วยชีวติ และใชเ้ ครือ่ งช็อกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (AED) หลังท�ำ CPR ครบ 5 รอบ (ใช้เครื่องช็อกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (AED) ในกรณีล้มลงเฉียบพลัน)
ได้
เด็ก > 1 ปี ตรวจชีพจรว่า ช็อกได้หรือไม่
ใชช้ อ็ ก 1 หน ตามด้วย CPR 5 รอบทันที
AED = เครื่องซ็อกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ
ไม่ได้
ให้ท�ำ CPR 5 รอบ ตรวจชีพจรทุก 5 รอบ จนกว่า ทีม PALS มา หรือผู้ป่วยเริ่มขยับตัว
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
45
• Child หรือ วัยเด็ก: อายุ 1 ปี - วัยหนุ่มสาว (Puberty) การประเมินสถานการณ์ Scene safety : ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุก่อนเสมอ การประเมินและการให้การรักษา Recognize & Activate emergency response system • เมือ่ พบคนทีไ่ ม่รู้สกึ ตัว ให้ตะโกนร้องขอความช่วยเหลือจากคนทีอ่ ยูใ่ กล้ ๆ แล้ว เข้าช่วยเหลือ (Activated Emergency Response สามารถท�ำตั้งแต่ขั้นนี้ได้ ถ้าสถานการณ์เหมาะสมหรือมีผู้ช่วยเหลือคนที่สอง โดยเปิด Speaker โทรศัพท์ และโทร. 1669) • ดูการหายใจพร้อมกับคล�ำ Pulse (Newborn คล�ำ Umbilical, Infant คล�ำ Brachial, Child คล�ำ Carotid หรือ Femoral) ใช้เวลาไม่เกิน 10 วินาที (5-10 วินาที) • ถ้ามีชีพจร > 60 ครั้ง/นาที (ไม่มี Signs ของ Poor Perfusion) แต่ต้องการ การช่วยหายใจ ให้ช่วยหายใจ 3-5 วินาทีต่อครั้ง (12-20 ครั้งต่อนาที) หลังการช่วย 2 นาที ให้ Activated Emergency Response ท�ำการตรวจ ชีพจรทุก 2 นาที • ถ้าไม่หายใจ หายใจเฮือก หรือไม่มี Pulse (รวมถึงในเด็กที่มี Pulse <60/min ร่วมกับมี Poor Perfusion) ให้เริ่มท�ำ CPR เมื่อครบ 2 นาที แล้วให้ Activated Emergency Response • ยกเว้น : เด็ก/ทารกทีเ่ ป็น Witnessed Collapse ให้ Activated Emergency Response ก่อนท�ำ CPR
46
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CPR : CAB • จัดผู้ป่วยนอนหงายบนพื้นผิวที่แข็งในสถานที่ปลอดภัย • กดหนา้ อกบริเวณครึง่ ล่างของกระดกู หนา้ อก (ต�่ำกว่า intermammary line) โดยในเด็กใช้ส้นมือ 1-2 ข้าง ตามขนาดตัว ในทารกใช้ 2 fingers หรือ 2 thumb-encircling (ถ้ามีผู้ช่วย) • กดหน้าอกอย่างมีประสิทธิภาพ • กดลึกอย่างน้อย 1/3 ของทรวงอก ประมาณ 5 ซม. ในเด็ก และประมาณ 4 ซม.ในทารก (ไม่เกิน 6 ซม. ทั้ง 2 กลุ่ม) • กดเร็ว 100-120 ครั้งต่อนาที • ปล่อยสุด ไม่เอนตัวทิ้งน�้ำหนักบนหน้าอก โดยให้ทรวงอกกลับคืนจนสุด พยายามให้เวลาในการกดและปล่อยทรวงอกพอ ๆ กัน • รบกวนการกดหนา้ อกให้นอ้ ยทีส่ ดุ หยุดไดไ้ ม่เกิน 10 วินาที ในกรณี ช่วยหายใจ คล�ำชีพจร ช็อกไฟฟ้าหัวใจ ใส่ ETT CPR : CAB • เปิดทางเดินหายใจโดยท�ำ Head tilt-chin lift • Jaw thrust : ในผู้ป่วยที่สงสัยว่ามีการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังบริเวณคอ • ท�ำ manual inline immobilization ในผู้ป่วยที่สงสัยการบาดเจ็บของ ไขสันหลัง
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
47
CPR : CAB • หลังจากท�ำการกดหน้าอกไป 15 ครั้ง จึงเริ่มช่วยหายใจ 2 ครั้ง (30:2 ใน single rescuer) • ช่วยหายใจแต่ละครั้งมากกว่า 1 วินาที • ให้ปริมาตรเพียงที่เห็นหน้าอกเคลื่อนไหว • เวลารวมในการช่วยหายใจไม่เกิน 10 วินาที • กดหน้าอก 15 ครั้ง สลับกับการช่วยหายใจ 2 ครั้ง (15:2) เปลี่ยนผู้ท�ำการ กดหน้าอกทุก 2 นาที (~10 รอบ) **ใช้เวลาเปลีย่ นต�ำแหน่งกันภายใน 5 วินาที • การช่วยหายใจมีหลายวิธี เช่น mouth-to-mouth, mouth-to-nose, mouth-to-stoma, mouth-to-mask เป็นต้น • Bag-mask ventilation • เลือกขนาดอย่างน้อย 450 mL ในทารกและเด็กเล็ก; อย่างน้อย 1000 mL ในเด็กโตและวัยรุ่น • บีบให้ปริมาตรเพียงที่เห็นหน้าอกเคลื่อนไหว • ให้ 100% O2 ระหว่าง CPR (หลัง ROSC ค่อย wean ให้ O2 sat > 93%) • ถ้าผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจแล้วให้ช่วยหายใจ 1 ครั้งทุกๆ 6-8 วินาที (8-10 ครั้งต่อนาที) โดยที่ไม่ต้องหยุดขณะท�ำการกดหน้าอก Rapid defibrillation • เมื่อเครื่อง AED มาถึงให้เริ่มใช้ได้เลยไม่ต้องรอ CPR ให้ครบ Cycle • ช็อกไฟฟ้าหัวใจทันทีทที่ �ำได้ (เมือ่ มีขอ้ บ่งชี)้ รบกวนการกดหน้าอกให้น้อยทีส่ ดุ ทั้งก่อนและหลังการช็อกไฟฟ้า ท�ำการกดหน้าอกต่อทันทีหลังการช็อกไฟฟ้า • ในเด็กแนะน�ำให้ใช้ AED with paediatric attenuator หรือ manual defibrillator เริ่มจาก 2 J/kg (4 J/kg ใน dose ที่สอง) และใช้ paddle เด็ก ถ้า < 10 kg
48
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
ข้อควรระวัง • ห้ามสัมผัสผู้ป่วยขณะท�ำการช๊อกไฟฟ้าหัวใจ แม้ว่าจะใส่ถุงมือ 2 ชั้น ก็ยังอาจ ไม่ปลอดภัย • ถ้าผู้ป่วยอยู่บนที่เปียกให้เคลื่อนย้ายมาที่แห้งก่อน • Manual defibrillator ให้ถือชี้ลงล่างเสมอ การชี้แผ่นเข้าหากันหรือโบกแผ่น ไปมาอาจท�ำให้พลังงานถูก discharge ออกเองได้ • ในคนที่ผิวหนังเปียกชุ่ม ให้เช็ดให้แห้งก่อน (ไม่ถึงกับต้องแห้งสนิท) • ถ้ามีโลหะบนร่างกาย หรือแผ่น nitroglycerine ให้เอาออกก่อน • ระวังไม่ให้มี O2 ไหลผ่านบริเวณที่จะช๊อกไฟฟ้า • ไม่ให้ gel กระจายไปใกล้ paddle อื่นภายใน 5 cm • ไม่วาง paddle ใกล้กับ internal pacemaker < 12.5 cm
Audiovisual feedback device ระหว่าง CPR เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ CPR **ยังไม่มีแนวทางปฏิบัติส�ำหรับการใช้ artifact-filtering algorithms
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
49
Recovery position • ถ้าผู้ป่วยหมดสติ แต่หายใจได้เอง ไม่มีการบาดเจ็บบริเวณกระดูกสันหลัง บริเวณคอ ให้จัดท่าพักฟื้น Foreign body obstruction • ในรายที่ยังหายใจได้ มีเสียง ให้ปล่อยให้เด็กไอออกมาเอง เฝ้าระวังขณะที่รอ ความช่วยเหลือ • ถ้าไอไม่ได้ ไม่มีเสียง หรือไม่หายใจ ในรายที่ยังรู้สึกตัวอยู่ • Infant : ให้ทารกนอนคว�่ำบนแขน และแขนวางพาดไปบนต้นขา ให้หัวต�ำ่ กว่า ล�ำตัว ท�ำ back blows 5 ครั้ง บริเวณ interscapular area แล้วหมุน กลับมานอนหงายบนแขน (ทารกตัวใหญ่อาจให้นอนบนพืน้ ) ท�ำ chest thrusts 5 ครั้ง เช่นเดียวกับการท�ำ cardiac compression ท�ำซ�้ำไปมาจนกระทั่ง สิ่งอุดกั้นหลุด หรือทารกไม่รู้สึกตัว • Child : ท�ำ Heimlich maneuver โดยผู้ช่วยเหลือคุกเข่าหรือยืนด้านหลัง ก�ำมือออ้ มมาวางไว้ระดับสะดือ แล้วดึงก�ำปัน้ กระตุกขึน้ เข้าหาตัว ดันสิง่ แปลก ปลอมให้หลุดออกมา ท�ำซ�้ำจนกระทั้งสิ่งอุดกั้นหลุด หรือเด็กไม่รู้สึกตัว • ในเด็กที่ไม่รู้สึกตัวให้ CPR : CAB ท�ำ chest compression 30 ครั้ง ขณะเปิดทางเดินหายใจให้ดูว่ามี FB ในปากหรือไม่ แล้วช่วยหายใจ 2 ครั้ง ท�ำซ�้ำในอัตราส่วน 30:2 หรือ 15:2 ใน 2 rescuer จนกระทั้งสิ่งอุดกั้นหลุด
The Heimlich Maneuver
Back blow X5 Chest trusts X5 50
Heimlich Maneuver
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน กรณีการปฏิบัติต่อผู้ป่วยเด็กขั้นสูง
ค�ำสั่งอ�ำนวยการ - กรณีผู้ป่วยเด็กมีอาการหมดสติ ไม่หายใจ หายใจเฮือก ภาวะช็อก ไม่รู้สึกตัว หรือระดับความ รู้สึกตัวลดลง ขั้นตอนวิธีการประเมินและรักษาาอย่างเป็นระบบส�ำหรับผู้ป่วยเด็ก ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล ตรวจสอบความปลอดภัยจุดเกิดเหตุ และป้องกันตนเอง ประเมินการวิเคราะห์เมื่อแรกเห็น โดย Pediatric Triangle - A; appearance ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น ระดับการรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง - B; breathing หายใจล�ำบาก/แรงเร็วช้า ใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ - C; circulation สีผิวซีด คล�้ำเขียว ตัวลาย ใช่
ถ้าเด็กไม่รู้สึกตัว ไม่หายใจหรือหายใจเฮือก ตะโกนขอความช่วยเหลือ และตามทีมช่วยเหลือฉุกเฉิน การคล�ำชีพจร เด็กเล็ก บริเวณข้อพับ (brachial artery) เด็กโต บริเวณข้างล�ำคอ (carotid artery) หรือขาหนีบ (femoral artery) โดยใช้เวลา คล�ำชีพจรไม่เกิน 10 วินาที
ใช่
ตรวจจับชีพจร
มีชีพจร
ไม่มีชีพจร ใช่
การประเมิน ปลุกเรียก ตบบริเวณหัวไหล่ 2 ข้าง ในเด็กเล็ก กระตุ้นตบบริเวณฝ่าเท้า
ไม่ใช่
เปิดทางเดินหายใจ ช่วยหายใจให้ O2
ถ้าชีพจร <60 ครั้ง/นาที และการไหลเวียนเลือดไม่เพียงพอ ไม่ใช่ ทั้งที่ได้ O2 และการช่วยหายใจแล้ว
เริ่ม CPR (C-A-B) จนกว่าเริ่มมีการกู้ชีพขั้นสูง ท�ำตาม Pediatric cardiac arrest algorithm (หน้าที่ 2)
ประเมินตรวจรักษาภาวะ คุกคามเบื้องต้น (หน้าที่ 3)
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
51
การกู้ชีพผู้ป่วยเด็กขั้นสูง (Pediatric cardiac life support) การประเมิน - การคล�ำชีพจร เด็กเล็ก บริเวณข้อพับ(brachial artery) เด็กโต บริเวณ ข้างล�ำคอ (carotid artery) หรือขาหนีบ (femoral artery) ใช้เวลาคล�ำไม่เกิน 10 วินาที - ใส่แผ่นกระดานรองหลังขณะการท�ำช่วยชีวิต
กดหน้าอก CPR ให้ Oxygen ติดแผ่น AED/ เครื่อง Defibrillator
ใช่
ประเมินคลื่นไฟฟ้าหัวใจ รักษาด้วยไฟฟ้าได้หรือไม่ ?
VF/pVT Shock
ประเมินคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ไม่ใช่ รักษาด้วยไฟฟ้าได้หรือไม่ ? ใช่
CPR 2 นาที ให้ Epinephrine ทุก 3-5 นาที พิจารณาช่วยทางเดินหายใจขั้นสูง
ประเมินคลื่นไฟฟ้าหัวใจ รักษาด้วยไฟฟ้าได้หรือไม่ ? Shock
Asystole/PEA
ใช่
CPR 2 นาที เปิดเส้น IV/IO
Shock
ไม่ใช่
ใช่
CPR 2นาที ให้ Amiodarone รักษาสาเหตุที่แก้ไขได้
CPR 2 นาที เปิดเส้น IV/IO ให้ Epinephrine ทุก 3-5 นาที พิจารณาช่วยทางเดินหายใจขั้นสูง/ETT ใช่
ประเมินคลื่นไฟฟ้าหัวใจ รักษาด้วยไฟฟ้าได้หรือไม่ ? ไม่ใช่ CPR 2 นาที รักษาสาเหตุที่แก้ไขได้
ประเมินคลื่นไฟฟ้าหัวใจ รักษาด้วยไฟฟ้าได้หรือไม่ ? ไม่ใช่ Asystole/PEA ไม่ใช่ ถ้ามีชีพจร (ROSC) ดูแลต่อตามการ ช่วยผู้ป่วยหลังภาวะหัวใจหยุดเต้น
สูตรค�ำนวณน�้ำหนัก 1-12 เดือน = (อายุเป็นเดือนx 0.5)+4 1-5 ปี = (อายุเป็นปีx 2)+8 6-12 ปี = ((อายุเป็นปีx7)-5)/2
52
การ CPR อย่างมีประสิทธิภาพ - กดหน้าอกลึก 1/3 ของความลึกหน้าอก หรือ 4 cm ในอายุน้อยกว่า 1 ปี และ 5 cm ในอายุมากกว่า 1 ปี และกดด้วยอัตราเร็ว 100-120 ครั้งต่อนาที และต้องให้ หน้าอกคลายตัวจนสุด - ขัดจังหวะการกดหน้าอกให้น้อยที่สุด ไม่เกิน 10 วินาที - หลีกเลี่ยงการช่วยหายใจที่มากเกินไป - เปลี่ยนคนกดทุก 2 นาที หรือถ้าหมดแรงสามารถเปลี่ยน ก่อนได้ - หากยังไม่มีท่อทางเดินหายใจขั้นสูง ให้ใช้อัตราช่วยกด หน้าอก ต่อช่วยทางเดินหายใจ (15:2) พลังงานไฟฟ้าส�ำหรับปล่อยกระแสไฟฟ้า - ครั้งแรก 2 J/kg - ครั้งที่สอง 4 J/kg - ครั้งต่อ ๆ ไป ≥ 4 J/kg แต่ไม่เกินขนาดสูงสุด 10 J/kg หรือขนาดสูงสุดผู้ใหญ่ การให้ยา รายงาน พอป. - Epinephrine 0.01 mg/kg (0.1mL/kg ของความเข้มข้น 1:10000) ทาง IV/IO หรือ 0.1 mg/kg (0.1mL/kg ของยา ความเข้มข้น 1:1000) ทาง ET - Amiodarone 5mg/kg IV/IO bolus dose (แต่ไม่เกิน ขนาดสูงสุด 300 mg) สามารถให้ซ�้ำได้ 2 ครั้ง ถ้า VF/pVT ยังไม่หาย ครั้งละ 5mg/kg IV/IO bolus dose (จนถึงไม่เกิน ขนาดสะสมเท่ากับ 15mg/kg) - ดูรายละเอียดเพิ่มเติม บทยาที่ใช้ในการช่วยชีวิตเด็ก การใส่ท่อช่วยหายใจขั้นสูง รายงาน พอป. - พิจารณาใส่ endotracheal intubation หรือ supra-glottic advanced airway - ใช้ waveform จาก capnography หรือ capnometry - การช่วยหายใจ 1 ครั้ง ทุก 2-3 วินาที (20-30 ครั้งต่อนาที) และคงการกดหน้าอกไว้ต่อเนื่อง สาเหตุที่แก้ไขได้ Hypovolemia Hypoxia Hydrogen ino (acidosis) Hyper/hypokalemia hypokalemia hypothemia
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
Tension pneumothorax Tamponade (cardiac) Toxins Thrombosis, pulmonary Thrombosis, coronary หากตรวจพบสาเหตุที่ แก้ไขได้ รายงาน พอป.
การตรวจรักษาภาวะคุกคามเบื้องต้น (Primary Assessment) Airway ผิดปกติ ทางเดินหายใจ : ทางเดินหายใจอุดกั้น การเคลื่อนไหวของทรวงอก เสียง Stridor ปกติ แก้ไขส�ำเร็จ ประเมินต่อ Breathing อัตราการและแรงการหายใจ การขยายทรวงอก เสียงหายใจ การวัดออกซิเจน Tachypnea/bradypnea, dyspnea, retraction, wheezing ปกติ
- จัดท่าและเปิดทางเดินหายใจ : การกดหน้าผากเชยคาง (ห้ามท�ำกรณีสงสัย การบาดเจ็บกระดูกต้นคอ) หรือการดันขากรรไกรออก - การดูดเสมหะทางคอและจมูก - เอาสิง่ งแปลกปลอมออกจากทางเดินหายใจ (ถา้ มี ดูรายละเอียดบทส�ำลักอุดกัน้ ทางเดินหายใจ) - การช่วยหายใจด้วย Bag mask ventilation ตามความเหมาะสม
ผิดปกติ
- ให้ออกซิเจนทาง cannula/face mask - พ่นยาละอองฝอย เช่น salbutamol, epinephrine ตามความจ�ำเป็น
แก้ไขส�ำเร็จ ประเมินต่อ
Circulation
การไหลเวียนเลือด อัตรและจังหวะการเต้นหัวใจ ผิดปกติ คล�ำชีพจรส่วนกลางและส่วนปลาย Capillay Refill สีอุณหภูมิผิวหนัง ความดันโลหิต Tachycardia/ bradycardia, poor perfusion, BP drop ปกติ แก้ไขส�ำเร็จ ประเมินต่อ Disability ความผิดปกติทางสมอง : ระดับความรู้สึกตัว การตอบสนองของม่านตา ตอบสนองต่อเสียง/ ความเจ็บปวด/ไม่ตอบสนอง ปกติ Exposure ถอดเสื้อผ้าเท่าที่จ�ำเป็นเพื่อตรวจจุดที่สงสัย หลักฐานการบาดเจ็บ รอยจ�้ำช�้ำ ผิดรูป ปกติ ซักประวัติอาการ อาการน�ำและเวลาเริ่มมีอาการ อาการอื่นที่พบร่วม การแพ้ยาอาหาร ยารักษาที่ก�ำลังได้รับอยู่ โรคประจ�ำตัวและสุขภาพที่ผ่านมา การรับประทานอาหารหรือน�้ำครั้งล่าสุด ประวัติเหตุการณ์ที่น�ำมาสู่การเจ็บป่วยครั้งนี้
ผิดปกติ
- เปิดเส้นเลือด เพื่อให้สารน�้ำ 0.9% NaCl 10-20ml/kg loading - พิจารณา รายงาน พอป.
- เจาะ DTX - พิจารณาให้ diazepam 0.5 mg/kg ทางก้น หรือ 0.3 mg/kg iv ถ้าชัก
แก้ไขส�ำเร็จ ประเมินต่อ
ผิดปกติ
- การดามกระดูก - ห้ามเลือด - ป้องกันภาวะตัวเย็น
วัด Vital sign พิจารณาเช็ดตัวลดไข้ ยึงตรึงผู้ป่วย ประเมินซ�้ำระหว่างน�ำส่งโรงพยาบาล
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
53
การประเมินสัญญาณชีพผู้ป่วยเด็กตามช่วงอายุต่าง ๆ อัตราการหายใจ อายุ อัตรา (ครั้งต่อนาที) เด็ก <1 ปี 30 ถึง 60 เด็ก 1-3 ปี 24 ถึง 40 เด็ก 4-5 ปี 22 ถึง 34 เด็ก 6-12 ปี 18 ถึง 30 เด็กวัยรุ่น 12 ถึง 16 อัตราการเต้นหัวใจ อายุ แรกเกิด ถึง 3 เดือน 3 เดือน ถึง 2 ปี 2 ปี ถึง 10 ปี >10 ปี
อัตราขณะตื่น 85 ถึง 205 100 ถึง 190 60 ถึง 140 60 ถึง 100
อัตราขณะหลับ (ครั้ง/นาที) 80 ถึง 160 75 ถึง 160 60 ถึง 90 50 ถึง 90
การค�ำนวณเกณฑ์วินิจฉัยระดับความดันโลหิตต�่ำในช่วงอายุต่าง ๆ อายุ ความดันขณะหัวใจบีบตวั (SBP) (mmHg) เด็กทารกแรกคลอด (0-28 วัน) <60 เด็กทารก (1-12 เดือน) <70 เด็ก 1-10 ปี <70+( อายุเป็นปี x2) เด็ก > 10 ปี < 90 สูตรค�ำนวณน�้ำหนัก 1-12 เดือน = (อายุเป็นเดือน x 0.5)+4 1-5 ปี = (อายุเป็นปี x 2)+8 6-12 ปี = ((อายุเป็นปี x7)-5)/2
54
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 21 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยถูกท�ำร้ายร่างกาย การปฏิบัติการเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วย ถูกท�ำร้ายร่างกาย สถานที่ปลอดภัยในการเข้าช่วยเหลือผู้ป่วยหรือไม่ (Scene Safety) ปลอดภัย
ไม่ปลอดภัย
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี
ไม่ใช่
ใช่ - ตรวจประเมินเบื้องต้นตามความ เหมาะสม - ให้การรักษาเบื้องต้น - สอบถามเบื้องต้นเพื่อประเมินการ ล่วงละเมิดทางเพศ รายงานศูนย์สั่งการและน�ำส่งโรงพยาบาล
รายงานศูนย์สั่งการและปฏิบัติดังนี้ - จอดรถในต�ำแหน่งปลอดภัย - ป้องกันตนเองตามความเหมาะสม - รอหน่วยงานช่วยเหลือสบทบ - ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของศูนย์สั่งสาร - ประเมินความปลอดภัยเป็นระยะ มีอาการดังต่อไปนี้ หมดสติ/ชัก/หายใจผิดปกติ/ แผลเลือดออกมาก
- ประเมินและรักษาเบื้องต้น (ABCD & Initial resuscitation) - ประเมินสัญญาณชีพ (Vital sign) - ให้ออกซิเจนถ้า O2sat < 95% - ตรวจระดับน�้ำตาลในเลือด DTX (AEMT) - สอบถามเบื้องต้นเพื่อประเมินการล่วงละเมิด ทางเพศ - รายงานศูนย์สั่งการและรีบน�ำส่งโรงพยาบาล
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
55
CBD ที่ 21 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยถูกท�ำร้ายร่างกาย การปฏิบัติการระดับสูงส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูง ต่อผู้ป่วย ถูกท�ำร้ายร่างกาย สถานที่ปลอดภัยในการเข้าช่วยเหลือผู้ป่วยหรือไม่ (Scene Safety) ปลอดภัย
ไม่ปลอดภัย
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี
ไม่ใช่
ใช่ มีการล่วงละเมิดทางเพศหรือไม่
รายงานศูนย์สั่งการและปฏิบัติดังนี้ - จอดรถในต�ำแหน่งปลอดภัย - ป้องกันตนเองตามความเหมาะสม - รอหน่วยงานช่วยเหลือสบทบ - ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของศูนย์สั่งสาร - ประเมินความปลอดภัยเป็นระยะ มีอาการดังต่อไปนี้ หมดสติ/ชัก/หายใจผิดปกติ/ แผลเลือดออกมาก
ไม่ใช่
ใช่
- ประเมินและรักษาเบื้องต้น (ABCD& Initial resuscitation) - ประเมินสัญญาณชีพ (Vital sign) หากวัด - ประเมินและรักษาเบื้องต้น ความดันโลหิต SBP < 90 mmHg หรือ (ABCD) capillary refill >2 sec ให้ IV fluid (NSS) - ประเมินสัญญาณชีพ (Vital sign) ***หากไม่แน่ใจปริมาณสารน�้ำให้ปรึกษาแพทย์ อ�ำนวยการ*** - รายงานศูนย์สั่งการเพื่อ Activate - ให้ออกซิเจนถ้า O2sat < 95% OSCC Team ตาม protocol - ตรวจระดับน�้ำตาลในเลือด : ถ้า DTX≤70 mg/dl ของโรงพยาบาล ในคนไข้เบาหวาน หรือ ≤50 mg/dl ในคนไข้ที่ไม่ เป็นเบาหวาน ให้ 50% glucose 50 ml IV push - ประเมินและรักษาเบือ้ งต้น (ABCD) then 10% DN/2 IV drip 60 ml/hr. - ประเมินสัญญาณชีพ (Vital sign) - ตรวจระดับน�้ำตาลในเลือดจากปลายนิ้วซ�้ำ หลังจากได้ Glucose 15 นาที - สอบถามเบื้องต้นเพื่อประเมินการล่วงละเมิด ทางเพศ รายงานศูนย์สั่งการและ - รายงานศูนย์สั่งการและรีบน�ำส่งโรงพยาบาล น�ำส่งโรงพยาบาล - สังเกตสัญญาณชีพเป็นระยะ (Vital signs)
ใช่
56
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 22 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยไฟไหม้ น�้ำร้อนลวก กระแสไฟฟ้า และสารเคมี การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วย ที่ได้รับอันตรายจากไฟไหม้ น�้ำร้อนลวก กระแสไฟฟ้า และสารเคมี ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล หากไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ ให้รายงานศูนย์ สื่อสารประสานงาน สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย และประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน เช่น การตัด กระแสไฟฟ้า การควบคุมเพลิง การเปลี่ยน เสื้อผ้าผู้ป่วยที่สัมผัสสารเคมี การล้างตัวผู้ป่วยที่มีสารเคมี หมดสติหรือไม่
ไม่หมดสติ
หมดสติ
- ตรวจประเมินเพื่อรักษาภาวะอื่นตาม ความเหมาะสมและน�ำส่งโรงพยาบาล - แจ้งข้อมูลสารเคมี เช่น UN number
หมดสติ/ซึม/ชัก/หายใจผิดปกติ/เลือดออกมาก/ ขนตาขนจมกู ไหม/้ มีประวัตสิ �ำลักควันไฟ/ เสมหะมีสดี �ำ - ประเมินอาการและรักษาภาวะคุกคามเบื้องต้น (ABCD and Resuscitation) - เจาะระดับน�้ำตาลในเลือด (หากท�ำได้) ถ้าน้อยกว่า 60 mg% ให้รายงานศูนย์สื่อสารและสั่งการ - ให้ออกซิเจน หาก O2sat< 94% - รีบน�ำส่งโรงพยาบาล ประเมินอาการซ�้ำเป็นระยะ - แจ้งข้อมูลสารเคมี เช่น UN number (ถ้ามี)
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
57
CBD ที่ 22 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยไฟไหม้ น�้ำร้อนลวก กระแสไฟฟ้า และสารเคมี การปฏิบัติการระดับสูงส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วย ที่ได้รับอันตรายจากไฟไหม้ น�้ำร้อนลวก กระแสไฟฟ้าและสารเคมี ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล หากไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ ให้รายงานศูนย์ สื่อสารประสานงาน สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย และประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน เช่น การตัด กระแสไฟฟ้า การควบคุมเพลิง การเปลี่ยน เสื้อผ้าผู้ป่วยที่สัมผัสสารเคมี การล้างตัวผู้ป่วยที่มีสารเคมี หมดสติหรือไม่
ไม่หมดสติ
หมดสติ
- ตรวจประเมินเพื่อรักษาภาวะอื่นตาม ความเหมาะสมและน�ำส่งโรงพยาบาล - แจ้งข้อมูลสารเคมี เช่น UN number
หมดสติ/ซึม/ชัก/หายใจผิดปกติ/เลือดออกมาก/ ขนตาขนจมกู ไหม/้ มีประวัตสิ �ำลักควันไฟ/ เสมหะมีสดี �ำ - ประเมินอาการและรักษาภาวะคุกคามเบื้องต้น (ABCD and Resuscitation) - เจาะประเมินระดับน�้ำตาลในเลือด หากน้อยกว่า 60 mg% พิจารณาให้ 50% Glucose 50 ml IV push - ให้ออกซิเจน mask with bag 10 LPM หาก O2sat< 94% - (Paramedics) พิจารณา LMA หรือ ET tube หากมีแนวโน้มที่อาจเกิด upper airway obstruction/respiratory failure - แจ้งข้อมูลสารเคมี เช่น UN number (ถ้ามี) - รีบน�ำส่งโรงพยาบาล ประเมินอาการซ�้ำเป็นระยะ
58
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 23 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยจมน�้ำ ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ (Dispatch Center) - รับแจ้งเหตุผ่านสายด่วน 1669 หรือวิทยุสื่อสารผู้ป่วยจมน�้ำ โดยท�ำการ ซักถามข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้แจ้ง - ตรวจสอบข้อมูลการค้นหาผู้ประสบภัย - ศูนย์สั่งการประสานขอความช่วยเหลือไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ระดับพื้นฐานและระดับสูงให้ออกปฏิบัติการร่วมกัน, ทีมกู้ภัยทางน�้ำ, ทีมค้นหา เป็นต้น - รับรายงานจากหน่วยปฏิบตั กิ ารการแพทย์ทอี่ อกปฏิบตั งิ าน ณ จุดเกิดเหตุ - ให้ค�ำแนะน�ำในการช่วยเหลือคนจมน�้ำ - รับรายงานข้อมูลจากหน่วยปฏิบัติการที่รับออกปฏิบัติการตามแบบ รายงานผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากการตกน�้ำ จมน�้ำ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
59
แนวทางปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการพื้นฐานต่อผู้ป่วยจมน�้ำ ประเมินสถานการณ์ Scene Size up รายงานกลับศูนย์สั่งการ / ร้องขอความช่วยเหลือ ประเมินการหายใจ
ไม่หายใจ
หายใจ
เป่าปาก 5 ครั้ง
ประเมินชีพจร มีชีพจร
ไม่มีชีพจร
- ให้ออกซิเจน และรักษาระดับออกซิเจน ปลายนิ้วมากกว่าร้อยละ 94 - รักษาความอบอุ่นของร่างกาย โดยการเช็ดตัว ห่มผ้า หรือเปลี่ยน เสื้อผ้าผู้ป่วย
- เริ่มต้น CPR - ติดเครื่อง Monitor
60
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
แนวทางปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยจมน�้ำ ประเมินสถานการณ์ Scene Size up ประเมินความรู้สึกตัวของผู้ป่วยด้วยการเรียกปลุกพร้อมตบไหล่กระตุ้น ประเมินอาการและรักษาภาวะคุกคามเบื้องต้นตามหลัก ABC กรณีผู้ป่วยตอบสอง/รู้สึกตัว ประเมินทางเดินหายใจและการหายใจ หายใจ ไม่หายใจ - เช็ดตัวให้แห้งและ เปลีย่ นเสือ้ ผ้า (ถ้าท�ำได)้ - รายงานศูนย์รับแจ้ง เหตุและสั่งการ - น�ำส่งโรงพยาบาล - ประเมินสัญญาณชีพซ�้ำ ทุก 5-10 นาที ระหว่าง น�ำส่ง
- ให้ oxygen mask with bag 10 LPM - รายงานศูนย์รับแจ้ง เหตุและสั่งการ - น�ำส่งโรงพยาบาล - ประเมินสัญญาณชีพซ�้ำ ทุก 5-10 นาที ระหว่าง น�ำส่ง
ประวัติจมน�้ำ >1 ชั่วโมง
ประวัตจิ มน�้ำ <=1 ชัว่ โมง
Declare death
กรณีผู้ป่วยไม่ตอบสนอง/ไม่รู้สึกตัว A : เปิดทางเดินหายใจ (กรณีสงสัย c-spine injury ให้เปิดทางเดิน หายใจด้วยวิธี Jaw Thrust)
B : ช่วยหายใจ 5 ครั้ง C : ประเมินชีพจร ไม่มีชีพจร
มีชีพจร
- วัด blood pressure - ถ้า SBP < 90 mmHg ให้สารน�้ำ - CPR ในอัตรา 30:2 จ�ำนวน 5 cycle ชนิด NSS/RLS load 20 cc/kg หรือ 2 นาที แล้วประเมินชีพจรซ�้ำ - ถ้า SBP > 90 mmHg ให้สารน�้ำ - ถ้ามีชีพจรให้ปฏิบัติตามแนวทาง ชนิด NSS/RLS maintenance rate - ถ้าไม่มีชีพจร ให้ CPR ต่อ และ - ประเมินระดับออกซิเจน ประเมินชีพจรทุก 2 นาที หรือ 5 cycle - ระดับออกซิเจนน้อยกว่าร้อยละ 94 - ติดเครื่อง AED ให้ oxygen mask with bag 10 LPM - พิจารณาใส่ Advance airway และพิจารณาใส่ Advance airway (ET tube, LMA) (ET tube, LMA) - ให้สารน�้ำชนิด NSS/RLS - ระดับออกซิเจนมากกว่าร้อยละ 94 - ให้ Epinephrine 1 mg IV ให้ oxygen mask with bag 10 LPM ทุก 3-5 นาที เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
61
แนวปฏิบตั ิ Basic : โรคจากการลดความดันอากาศ (Decompression illness) การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วย โรคจากการลดความดันอากาศ ผู้ป่วยเจ็บจากการด�ำน�้ำสคูบา และอุปกรณ์หายใจใต้น�้ำโดยใช้อากาศอัดจากอุปกรณ์ ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล ประเมินความปลอดภัย ในการเข้าช่วยเหลือ
หมดสติหรือไม่ ไม่หมดสติ อาการเข้าได้หรือสงสัยโรคจากการลด ความดันอากาศ อาการปวด เช่น ปวดศีรษะ ปวดตามข้อ อาการ ชา ไม่รู้สัมผัส หรือเป็นเหน็บกล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือเป็นอัมพาต มึนงง เวียนศีรษะ ปัญหาการ ทรงตัว ผื่นหรือปื้นที่ผิวหนัง เจ็บหน้าอก ไอ หายใจขัด ระดับการรู้สึกตัวลดลงมีการ เปลี่ยนแปลงในการมองเห็น การพูด หรือการ ได้ยิน อ่อนเพลียผิดปกติ ปรึกษาแพทย์เวรเวชศาสตร์ใต้น�้ำ 24 ชั่วโมง ผ่านประชาสัมพันธ์ รพ.วชิระภูเก็ต โทร 076-361234 - จัดท่าผู้ป่วย : นอนหงายราบ หากไม่รู้สติ หรืออาเจียน ให้นอนตะแคงข้าง - ออกซิเจน : ให้ผ่านทางหน้ากากออกซิเจน อัตราการไหล 15 ลิตรต่อนาที - สารน�้ำ : หากผู้ป่วยรู้สติ ให้ดื่มน�้ำเปล่า อย่างน้อย 1 ลิตรใน 1 ชั่วโมงแรก - ทั่วไป : ให้ความอบอุ่นกับผู้ป่วย ติดตาม ดูแลบันทึกอาการ ประสานงานและเคลื่อนย้ายไปยัง โรงพยาบาลที่มีห้องปรับแรงดันบรรยากาศสูง (รพ.วชิระภูเก็ต/ รพ.ฐานทัพเรือพังงา/ รพ.ฐานทัพเรือสงลา)
62
หมดสติ ให้รายงานศูนย์สื่อสารประสานงาน เพื่อหาวิธีส่งตัวผู้ป่วยกลับฝั่ง กรณีที่เกิดเหตุกลางทะเล เปิดทางเดินหายใจ ประเมินอาการ และรักษาตัวภาวะคุกคามเบื้องต้น (ABCD and Resuscitation) หายใจปกติ
หายใจไม่ปกติ/ ไม่หายใจ
มีชีพจร
ครั้งแรกช่วย หายใจ 5 ครั้ง ปฏิบัติตามการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน ด้วยการกดหน้าอก 30 ครั้ง สลับช่วยหายใจ 2 ครั้ง ประเมินทุก 5 วงรอบ การกู้ฟื้นคืนชีพขั้นสูง และ การใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
แนวปฏิบตั ิ Advanced : โรคจากการลดความดันอากาศ (Decompression illness) การปฏิบตั สิ �ำหรับหน่วยปฏิบตั กิ ารระดับสูงต่อผู้ป่วยโรคจากการลดความดันอากาศ ผู้ป่วยเจ็บจากการด�ำน�้ำสคูบา และอุปกรณ์หายใจใต้น�้ำ โดยใช้อากาศอัดจากอุปกรณ์ อาการเข้าได้หรือสงสัยโรคจากการลดความดันอากาศ อาการปวด เช่น ปวดศีรษะ ปวดตามข้อ อาการชา ไม่รู้สัมผัส หรือเป็นเหน็บ กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือเป็นอัมพาต มึนงง เวียนศีรษะ ปัญหาการทรงตัว ผื่น หรือปื้นที่ผิวหนัง เจ็บหน้าอก ไอ หายใจขัด ระดับการรู้สึกตัวลดลงมีการ เปลี่ยนแปลงในการมองเห็น การพูด หรือการได้ยิน อ่อนเพลียผิดปกติ ปรึกษาแพทย์เวรเวชศาสตร์ใต้น�้ำ 24 ชั่วโมง ผ่านประชาสัมพันธ์ รพ.วชิระภูเก็ต โทร 076-361234 ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม ใช่
รู้สึกตัวดีหรือไม่
1. นอนหงายราบ หากไม่รู้สติหรืออาเจียน ให้นอนตะแคงข้าง 2. 100% O2 Fitting mask with bag 15 LPM 3. NSS 1000 ml IV rate 100-120 ml/hr 4. รีบน�ำส่งโรงพยาบาลที่มีเครื่องปรับแรงดัน บรรยากาศสูง ที่ใกล้ที่สุด (รพ.วชิระภูเก็ต / รพ.ฐานทัพเรือพังงา / รพ.ฐานทัพเรือสงลา)
ไม่ใช่ หมดสติ/ ซึม/ ชัก/ หายใจผิดปกติ/ไม่หายใจ/ คล�ำชีพจรไม่ได้
ครั้งแรกช่วยหายใจ 5 ครั้ง ปฏิบัติตามการกู้ชีพขั้นพื้นฐานด้วยการกด หน้าอก 30 ครั้ง สลับช่วยหายใจ 2 ครั้ง ประเมินทุก 5 วงรอบ
การกู้ฟื้นคืนชีพขั้นสูง และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจ รีบน�ำส่งโรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด ประเมินอาการซ�้ำเป็นระยะ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
63
CBD ที่ 24 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยพลัดตกหกล้ม การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วยที่พลัดตกหกล้ม ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม จอดรถในจุดที่ปลอดภัย, ประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ประคองศีรษะและคอ โดยการท�ำ Manual in-line stabilization ประเมิน Primary survey และการช่วยเหลือที่เหมาะสม X การห้ามเลือดออกปริมาณมากที่แขนขา A การประเมินทางเดินหายใจและการเปิดทางเดินหายใจ B การประเมินการหายใจ ช่วยหายใจ และแก้ไขการบาดเจ็บทรวงอกที่ท�ำให้เสียชีวิต C การห้ามเลือดในต�ำแหน่งอื่นและประเมินการไหลเวียนโลหิต D การประเมินระบบประสาท E การตรวจหาการบาดเจ็บของระบบอื่นๆ ***หากผู้ป่วยอาการวิกฤตให้ประเมินแค่ XABCแล้วรีบน�ำผู้ป่วยขึ้นรถพยาบาล • ตรึงผู้ป่วยด้วย cervical hard collar ร่วมกับ head stabilizer และ long spinal board • ยึดตรึง splint ระยางค์ที่บาดเจ็บให้อยู่นิ่ง • รีบน�ำส่งโรงพยาบาล รายงานศูนย์สื่อสาร และสั่งการ
64
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CBD ที่ 24 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยพลัดตกหกล้ม การปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยที่พลัดตกหกล้ม ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม ไม่ใช่
ผู้ป่วยรู้ตัวดีหรือไม่ ใช่
สงสัยมีการบาดเจ็บที่ศีรษะ กระดูกคอและกระดูกสันหลัง ใช่
ตรึงผู้ป่วยด้วย cervical hard collar ร่วมกับ head stabilizer และ long spinal board
ไม่ใช่
ปฏิบัติตามค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไป ส�ำหรับผู้ป่วยหมดสติ/ไม่ตอบสนอง (CBD ที่ 19)
- ประเมินอาการและรักษาภาวะคุกคาม เบื้องต้น (ABCD) - ให้ O2 mask with bag 10 LPM หากพบว่า O2 sat< 94% - ให้ NSS หากมีภาวะช็อก - ยึดตรึง splint รยางค์ที่บาดเจ็บให้อยู่นิ่ง - ประเมินอาการซ�้ำเป็นระยะ - รีบน�ำส่งโรงพยาบาล พร้อมรายงาน ศูนย์สื่อสารและสั่งการ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
65
CBD ที่ 25 ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปส�ำหรับผู้ป่วยอุบัติเหตุยานยนต์ การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วย อุบัติเหตุยานยนต์ แนวทางการประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บทั่วไปนอกโรงพยาบาล (Trauma) หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ระดับพื้นฐาน จุดเกิดเหตุ (จุดเกิดเหตุปลอดภัย, สวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน)
ระยะเวลาการดูแล ณ จุดเกิดเหตุ ภายใน 10 นาที
ประคองคอด้วยมือ ป้องกัน การขยับเคลื่อนกระดูกคอ รายงานศูนย์สั่งการ ไม่มีชีพจร CPR ตามแนวทาง คล�ำชีพจร ระดับความรู้สึกตัว AVPU การกู้ชีพ OHCA ไม่เกิน 10 วินาที รู้สึกตัว AVP มี ปฏิบัติตามแนวทาง ไม่หยุดไหล แผลที่เลือดพุ่งออกมา มี กดปิดบาดแผล การห้ามเลือดภายนอก หยุดเลือด ต่อเนื่องรุนแรงไม่หยุด หยุดไหล ไม่รู้สึกตัว
ไม่มี ให้การดูแลทางเดินหายใจขั้นพื้นฐาน ประเมินการหายใจ การยกกระดูกกรามเปิดทางเดินหายใจ A : Airway Suction clear airway ผิ ด ปกติ หายใจครืดคราดผิดปกติ น�ำสิ่งแปลกปลอมออกจากปากถ้ามองเห็น มีสิ่งแปลกปลอมในปาก มีเลือด สารคัดหลั่งในทางเดินหายใจ สามารถพูดตอบค�ำถามได้ปกติดีหรือไม่ ทางเดินหายใจดีขึ้น ทางเดินหายใจไม่ดีขึ้น ประเมินการหายใจ B : Breathing
66
ปกติ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
รายงานศูนย์สั่งการ ขอค�ำแนะน�ำ
ไม่หายใจหรือหายใจช้า อัตรา น้อยกว่า 10 ครั้งต่อนาที ประเมินการหายใจ หรื อมากกว่า 30 ครั้งต่อนาที B : Breathing ร่วมกับ SpO2 น้อยกว่า 95% ดู : การเคลื่อนไหวของทรวงอก นับ : อัตราการหายใจ ผิดปกติ วัด : ระดับความเข้มข้นของ หายใจเร็วอัตราการหายใจ ออกซิเจน (SpO2) 20-30 ครั้งต่อนาที ปกติ ร่วมกับ SpO2 น้อยกว่า 95% อัตราการหายใจ 10-20 ครั้งต่อนาที
แจ้งศูนย์สั่งการ ขอค�ำแนะน�ำ
ให้ออกซิเจน mask with bag flow 10 LPM
ประเมินการไหลเวียนโลหิต C : Circulation คล�ำชีพจรนับการเต้นของหัวใจ ดูสีผิว capillary refill<2sec สัมผัสประเมินอุณหภูมิกาย มีแผลที่เลือดไหลออกหรือไม่
มี
กดปิดบาดแผล หยุดไหล
ไม่หยุดไหล
ไม่มี รายงานศูนย์สั่งการ ขอค�ำแนะน�ำ เตรียมการน�ำส่ง ใส่อุปกรณ์ดามกระดูกคอ พลิกตะแคงด้วยวิธี log roll น�ำผู้ป่วยขึ้นบน spinal board ยึดตรึงศีรษะและล�ำตัว
น�ำผู้ป่วย ขึ้นรถ ฉุกเฉิน
A : Alert : รู้สึกตัวดี V : response to voice : ตอบสนองต่อเสียงเรียก P : response to pain : ตอบสนองต่อความเจ็บปวด U : Unresponsesive : ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
เมื่อขึ้นมาบนรถฉุกเฉิน ประเมินอัตราการหายใจ อัตราการเต้น หัวใจ ความเข้มข้นออกซิเจน ความดัน โลหิตทุก 5 นาที ดามกระดูกท่อนเล็ก ที่สามารถดามในรถได้ รวบรวมข้อมูล ของเหตุแจ้งกลับศูนย์สั่งการพร้อมรับ ค�ำสั่ง
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
67
แนวปฏิบัติที่ 25 Advance : อุบัติเหตุยานยนต์ การปฏิบัติระดับสูงส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยอุบัติเหตุยานยนต์ แนวทางการประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บทั่วไปนอกโรงพยาบาล (Trauma) หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง จุดเกิดเหตุ (จุดเกิดเหตุปลอดภัย, สวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน)
ระยะเวลาการดูแล ณ จุดเกิดเหตุ ภายใน 10 นาที
ประคองคอด้วยมือ ป้องกัน การขยับเคลื่อนกระดูกคอ ระดับความรู้สึกตัว AVPU
ไม่รู้สึกตัว
คล�ำชีพจร
รู้สึกตัว AVP
ไม่มีชีพจร
มี
แผลที่เลือดพุ่งออกมา มี กดปิดบาดแผล หยุดเลือด ต่อเนื่องรุนแรงไม่หยุด
ไม่หยุดไหล หยุดไหล
รายงานศูนย์สั่งการ CPR ตามแนวทาง การกู้ชีพ OHCA ปฏิบัติตามแนวทาง การห้ามเลือดภายนอก
ไม่มี
ให้การดูแลทางเดินหายใจขั้นพื้นฐาน การยกกระดูกกรามเปิดทางเดินหายใจ ประเมินการหายใจ Suction clear airway A : Airway ผิ ด ปกติ น�ำสิ่งแปลกปลอมออกจากปากถ้ามองเห็น หายใจครืดคราดผิดปกติ พิจารณา advance airway มีสิ่งแปลกปลอมในปาก กรณีที่ไม่สามารถ maintain airway ได้ มีเลือด สารคัดหลั่งในทางเดินหายใจ สามารถพูดตอบค�ำถามได้ปกติดีหรือไม่ ทางเดินหายใจดีขึ้น ทางเดินหายใจไม่ดีขึ้น ประเมินการหายใจ B : Breathing
68
ปกติ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
รายงานศูนย์สั่งการ ขอค�ำแนะน�ำ
ไม่หายใจหรือหายใจช้า อัตรา น้อยกว่า 10 ครั้งต่อนาที ประเมินการหายใจ ร่ ว มกั บ SpO2 น้อยกว่า 95% B : Breathing ผิ ด ดู : การเคลื่อนไหวของทรวงอก ปกติ หายใจเร็วอัตราการหายใจ นับ : อัตราการหายใจ 20-30 ครั้งต่อนาที วัด : ระดับความเข้มข้นของ ร่วมกับ SpO2 น้อยกว่า 95% ออกซิเจน (SpO2) หายใจเร็วอัตราการหายใจ ปกติ มากกว่า 30 ครั้งต่อนาที อัตราการหายใจ 10-20 ครั้งต่อนาที
ช่วยหายใจผ่าน Bag-mask device ให้ออกซิเจน mask with bag flow 10 LPM แจ้งศูนย์สั่งการ ขอค�ำแนะน�ำ
ประเมินการไหลเวียนโลหิต C : Circulation คล�ำชีพจรนับการเต้นของหัวใจ ดูสีผิว capillary refill<2sec สัมผัสประเมินอุณหภูมิกาย มีแผลที่เลือดไหลออกหรือไม่
มี
กดปิดบาดแผล หยุดไหล
ไม่หยุดไหล
ไม่มี รายงานศูนย์สั่งการ ขอค�ำแนะน�ำ เตรียมการน�ำส่ง ใส่อุปกรณ์ดามกระดูกคอ พลิกตะแคงด้วยวิธี log roll น�ำผู้ป่วยขึ้นบน spinal board ยึดตรึงศีรษะและล�ำตัว
น�ำผู้ป่วย ขึ้นรถ ฉุกเฉิน
A : Alert : รู้สึกตัวดี V : response to voice : ตอบสนองต่อเสียงเรียก P : response to pain : ตอบสนองต่อความเจ็บปวด U : Unresponsesive : ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
เมื่อขึ้นมาบนรถฉุกเฉิน ประเมินอัตราการหายใจ อัตราการเต้นหัวใจ ความเขม้ ขน้ ออกซิเจน ความดันโลหิตทุก 5 นาที ประเมินระบบประสาทเบือ้ งต้น D : Disability สงสัยลักษณะผิดปกติของกระดูกเชิงกราน พิจารณาท�ำ pelvic wrap สามารถให้สารน�้ำ ได้ โดยให้ NSS หรือ RLS หากมีภาวะช๊อค/ เสียเลือดมาก ต้องให้สารน�้ำมาด้วย รวบรวมข้อมูลของเหตุแจ้งกลับศูนย์สั่งการ พร้อมรับค�ำสั่ง
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
69
Appendix 1 การประเมินความปลอดภัย ณ จุดเกิดเหตุ การประเมินจุดเกิดเหตุ (Scene size-up) เป็นการประเมินสถานการณ์ อย่างรวดเร็วทีจ่ ดุ เกิดเหตุ เพือ่ ให้แน่ใจว่าจุดเกิดเหตุเป็นสถานทีท่ ปี่ ลอดภัยเพียงพอ ต่อการปฏิบัติงานส�ำหรับเจ้าหน้าที่หน่วยปฏิบัติการกู้ชีพ, ผู้ป่วย และคนทั่วไป และ เพื่อให้สามารถตัดสินใจด�ำเนินการช่วยชีวิตผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม การประเมินจุดเกิดเหตุ มีหลักการส�ำคัญดังนี้ 1. เป็นสิ่งแรกที่หน่วยปฏิบัติการต้องท�ำที่จุดเกิดเหตุ 2. ต้องมีความปลอดภัย และได้ข้อมูลส�ำคัญเพื่อประกอบการตัดสินใจ ช่วยเหลือผู้ป่วย 3. ต้องมีการประเมินอย่างต่อเนือ่ ง เนือ่ งจากสถานทีเ่ กิดเหตุสามารถมีการ เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ขั้นตอนในการประเมินจุดเกิดเหตุ ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้ 1. ใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเองให้เรียบร้อย (Body substance isolation หรือ BSI) 2. ประเมินความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ (Scene Safety) 3. ประเมินลักษณะของเหตุที่เกิดขึ้น (Mechanism of injury หรือ MOI ส�ำหรับเหตุ trauma และ Nature of illness หรือ NOI ส�ำหรับเหตุ non-trauma) 4. ประเมินจ�ำนวนผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ (Number of patients) 5. ประเมินความช่วยเหลือเพิ่มเติมที่ต้องการ (Additional resource) Body substance isolation (BSI) ผู้ปฏิบัติการกู้ชีพควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเองอย่างเหมาะสม โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อปกป้องตนเองจากการสัมผัสสารคัดหลั่งตลอดจนถึงการสัมผัส ละอองฝอยจากผู้ป่วย อุปกรณ์ทคี่ วรใช้ ได้แก่ ถุงมือ หน้ากากอนามัย ชุดกันเปือ้ น หมวกกันเปือ้ น และแว่นตาหรือฉากกันใบหนา้ ในกรณีทสี่ งสัยโรคติดต่อทีต่ ดิ ผ่านอากาศ เช่น วัณโรค อาจต้องใช้หนา้ กากอนามัยชนิด N-95 หรือชุดกรองอากาศทีม่ ี HEPA filter ร่วมด้วย
70
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
Scene safety การประเมินความปลอดภัยที่จุดเกิดเหตุ มีประเด็นส�ำคัญที่สุด คือ ห้าม เขา้ ไปในพืน้ ทีท่ ยี่ งั ไม่ปลอดภัย เพือ่ ไม่ให้เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบตั งิ านกชู้ พี โดยหน่วย ปฏิบตั กิ ารต้องพยายามมองหาจุดทีย่ งั เป็นอันตรายภายในพืน้ ทีจ่ ดุ เกิดเหตุ และตอบ ค�ำถามต่อไปนี้ คือ 1. ปลอดภัยหรือยัง 2. มีการป้องกันอันตรายซ�้ำซ้อนหรือไม่ 3. จะช่วยเหลือผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความปลอดภัยอย่างไร การประเมินความปลอดภัยนี้ จ�ำเป็นต้องมีการประเมินต่อเนื่องตั้งแต่ ก่อนถึงจุดเกิดเหตุ จนกระทั่งก่อนลงจากรถพยาบาล และคอยประเมินต่อเนื่อง ขณะเข้าให้การช่วยเหลือ หากจุดเกิดเหตุมกี ารเปลีย่ นแปลงท�ำให้เกิดความไม่ปลอดภัย ให้รีบออกจากจุดเกิดเหตุ Mechanism of injury/Nature of illness (MOI/NOI) หน่วยปฏิบัติการควรมีการประเมินเหตุว่ามีกลไกหรือสาเหตุการเกิด อย่างไร เพือ่ ประเมินระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บคร่าว ๆ และตัดสินใจให้การ ช่วยเหลือที่เหมาะสม ตัวอย่างกลไกการบาดเจ็บที่มีความรุนแรง เช่น กระเด็นออกจากรถยนต์ มีผู้โดยสารเสียชีวิต ยานพาหนะพลิกคว�่ำ อุบัติเหตุรถชนคนเดินถนน ตกจากที่สูง มากกว่า 20 ฟุต เป็นต้น Number of patients จ�ำนวนผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเป็นข้อมูลที่ใช้ประเมินความสามารถในการ ให้การช่วยเหลือของหน่วยปฏิบ้ติการว่ามีความพร้อมเพียงพอหรือไม่ ในกรณีที่ จ�ำนวนผู้ป่วยมากเกินกว่าศักยภาพของหน่วยปฏิบ้ตกิ าร ควรเรียกขอความช่วยเหลือ เพิ่มเติม หรือประเมินความจ�ำเป็นในการใช้แผนอุบัติภัยหมู่ Additional resources ความช่วยเหลืออื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น หน่วยปฏิบ้ติการกู้ชีพระดับสูง ต�ำรวจ ดับเพลิง เป็นหน่วยงานที่สามารถให้ความช่วยเหลือเพิ่มเติมในเหตุที่เกินศักยภาพ ของหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐาน
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
71
Appendix 2 การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล (Scene size up, Universal precaution) หากไม่ปลอดภัย หรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานศูนย์ ตอบสนองการกระตุ้น
ผู้ป่วยหมดสติ
• ประเมินอัตราชีพจร(PR), อัตราการหายใจ(RR), การไหลเวียนกลับ ของหลอดเลือดฝอย (Capillary Refill) • วัดความอิ่มตัวของออกซิเจน (EMT) ให้ออกซิเจนหากน้อยกว่า 94% • เฝ้าระวังการหยุดหายใจ หรือหัวใจ หยุดเต้น • ขอความช่วยเหลือจากทีมกู้ชีพระดับสูง และประเมินอาการซ�้ำเป็นระยะ ขณะน�ำส่งโรงพยาบาล
หมดสติและไม่หายใจ
• เริ่มท�ำการกดหน้าอกตามการช่วย ฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน หากไม่มี o ลักษณะที่บ่งบอกว่าเสียชีวิตแล้ว (สภาพแข็งทื่อหลังเสียชีวิต, รอยช�้ำ หลังเสียชีวิต, เน่าเปื่อย, ศีรษะ หรือ ล�ำตัวถูกตัดขาด) o มี “ค�ำสั่งปฏิเสธการกู้ชีพ” (DNAR) • รายงานศูนย์สั่งการ มีสัญญาณชีพ หรือหายใจเอง
หมายเหตุ : การประเมินการตอบสนองผู้ป่วย เช่น เรียก, ตบบ่า หากผู้ป่วยไม่มปี ฏิกริ ยิ าตอบสนองให้ถือว่า “หมดสติ” และหากไม่พบการเคลื่อนไหวของหน้าอกและท้อง หรือหายใจเฮือก ให้ถือว่า “หยุดหายใจ”
72
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
หากพบภาวะหมดสติร่วมกับหยุดหายใจ ให้ถือว่าเป็น “ภาวะหัวใจหยุดเต้น” การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (BLS) ผู้ป่วยหมดสติ ไม่รู้สึกตัว และไม่หายใจ หรือหายใจเฮือก (ที่เกิดเหตุปลอดภัย และสวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน) กดหน้าอก (CPR) และประสานขอการสนับสนุนจากทีมกู้ชีพขั้นสูง • กดหน้าอก 30 ครั้ง ช่วยหายใจ 2 ครั้ง (1 รอบ) ท�ำทั้งหมด 5 รอบ หรือ 2 นาที *หากไม่มีอุปกรณ์ช่วยหายใจให้กดหน้าอกอย่างเดียว 2 นาที • ติดเครื่อง AED โดยไม่ต้องรอครบรอบ และท�ำตามเครื่องแนะน�ำ (หากมีเครื่อง)
ประเมินชีพจร หรือการตอบสนองของผู้ป่วย ภายใน 10 วินาที
มีชีพจร/มีการตอบสนอง หยุดกดหน้าอก • ประเมินอัตราชีพจร(PR), อัตราการหายใจ (RR), การไหล เวียนกลับของหลอดเลือดฝอย (Capillary Refill) • วัดความอิ่มตัวของออกซิเจน (EMT) ให้ออกซิเจนหาก น้อยกว่า 94% • เฝ้าระวังการหยุดหายใจ หรือหัวใจหยุดเต้น • ขอความช่วยเหลือจากทีมกู้ชีพ ระดับสูง และประเมินอาการซ�้ำ เป็นระยะ ขณะน�ำส่งโรงพยาบาล
เครื่อง AED ไม่ให้ท�ำ การ shock หรือไม่มี เครื่อง AED
ไม่มีชีพจร หรือการตอบสนอง เครื่อง AED ให้ท�ำการ shock
กดปุ่ม shock (ตาม ค�ำแนะน�ำเครื่อง AED) และกลับมากดหน้า อกทันทีหลัง shock เสร็จ
กดหน้าอก 30 ครั้ง ช่วยหายใจ 2 ครั้ง (1 รอบ) ท�ำทั้งหมด 5 รอบ หรือ 2 นาที *หากไม่มีอุปกรณ์ ช่วยหายใจให้กด หน้าอกอย่างเดียว 2 นาที
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
73
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (BLS) (ต่อ) การประเมินผู้ป่วยที่สงสัยว่าอาจมีภาวะหัวใจหยุดเต้น (Cardiac Arrest) 1. ปลุกโดยการเรียก และตบบ่า พร้อมกับคล�ำชีพจร Carotid Artery (หากท�ำได้) โดยใช้เวลาประเมินไม่เกิน 10 วินาที 2. หากไม่มีการตอบสนอง หรือไม่มีชีพจร ให้เริ่มท�ำการฟื้นคืนชีพโดยการ กดหน้าอกทันทีอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้ • มือสองข้างซ้อนกันใช้บริเวณสันมือกดหน้าอกต�ำแหน่งกึ่งกลางระหว่าง ราวนม 2 ข้าง • กดด้วยความลึกอย่างน้อย 5 เซนติเมตร • กดด้วยความเร็ว 100-120 ครั้งต่อนาที • รบกวนการกดหน้าอกให้น้อยที่สุด • ให้มีการขยายตัวของหน้าอกเต็มที่ทุกครั้งก่อนกดหน้าอกครั้งต่อไป • เปลีย่ นผู้กดหนา้ อกทุก 2 นาที หรือเปลีย่ นทันทีทผู้ี่ กดหน้าอกไม่สามารถ กดหน้าอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. การช่วยหายใจให้ปฏิบิติ ดังนี้ • หากมี One way mask ให้ท�ำการช่วยหายใจด้วยอัตรากดหน้าอก 30 ครั้ง ช่วยหายใจ 2 ครั้ง • หาก ไม่มี One way mask ให้ท�ำการช่วยหายใจด้วยกดหน้าอกเพียง อย่างเดียว 2 นาที หรือกดหน้าอกรอบละ 30 ครั้ง ทั้งหมด 5 รอบ 4. หากมีเครื่อง AED มาแล้ว ให้รีบเปิดเครื่อง และแปะแผ่น ปฏิบัติตาม ค�ำแนะน�ำของเครื่อง 5. รีบติดต่อศูนย์สื่อสารสั่งการ เพื่อขอความช่วยเหลือจากหน่วยปฏิบัติ การระดับสูงด้วย Dual Protocol
74
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
Appendix 3 การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูง ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล (Scene size up, Universal precaution) หากไม่ปลอดภัย หรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานศูนย์ ตอบสนองการกระตุ้น
หมดสติ ไม่หายใจ และคล�ำชีพจรไม่ได้
ผู้ป่วยหมดสติ
• ประเมินอัตราชีพจร(PR), อัตราการหายใจ(RR), การไหลเวียนกลับ ของหลอดเลือดฝอย (Capillary Refill) • วัดความอิ่มตัวของออกซิเจน ให้ออกซิเจนหากน้อยกว่า 94% • เฝ้าระวังการหยุดหายใจ หรือหัวใจ หยุดเต้น • ประเมินอาการซ�้ำเป็นระยะ ขณะน�ำส่งโรงพยาบาล
• เริ่มท�ำการกดหน้าอกตามการช่วย ฟื้นคืนชีพขั้นสูง หากไม่มี o ลักษณะที่บ่งบอกว่าเสียชีวิตแล้ว (สภาพแข็งทื่อหลังเสียชีวิต, รอยช�้ำ หลังเสียชีวิต, เน่าเปื่อย, ศีรษะ หรือ ล�ำตัวถูกตัดขาด) o มี “ค�ำสั่งปฏิเสธการกู้ชีพ” (DNAR) • รายงานศูนย์สั่งการ • (Paramedic) ใส่ท่อช่วยหายใจทาง ปาก, ให้ยา epinephrine • (Paramedic) หากเป็น VF, pulseless VT ให้ปรึกษา พอป. พิจารณา Defibrillation
มีสัญญาณชีพ หรือหายใจเอง หมายเหตุ : การประเมินการตอบสนองผู้ป่วย เช่น เรียก, ตบบ่า หากผู้ป่วยไม่มปี ฏิกริ ยิ าตอบสนองให้ถือว่า “หมดสติ” และหากไม่พบการเคลื่อนไหวของหน้าอกและท้อง หรือหายใจเฮือก ให้ถือว่า “หยุดหายใจ” หากพบภาวะหมดสติร่วมกับหยุดหายใจ ให้ถือว่าเป็น “ภาวะหัวใจหยุดเต้น”
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
75
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูง (ACLS) 1
Start CPR ให้ Oxygen / ติด Defibrillator Yes
2
VF/pVT 3
4
Shockable? 9
Asystole/PEA
10
CPR 2 นาที Epinephrine
Shock
CPR 2 นาที เปิดเส้นให้ IV Shockable? 5
6
Shock
CPR 2 นาที Epinephrine
7
Shock
1
CPR 2 นาที แก้ไขสาเหตุ
CPR 2 นาที Amiodarone
หากไม่มี ROSC ไป 10 หรือ 11
76
Yes
Shockable?
Shockable?
8
No
• กดหน้าอก 100-120 ครั้งต่อนาที • กดลึก 5-6 เซนติเมตร • รบกวนการกดหน้าอกให้น้อยที่สุด และให้มีการขยายตัวของหน้าอก อย่างเต็มที่ทุกครั้ง • เปลี่ยนผู้กดหน้าอกทุก 2 นาที หรือเมื่อเหนื่อย • ถ้ายังไม่ใส่ ETT ช่วยหายใจ 30:2 • ใส่ ETT ช่วยหายใจ 10 ครั้งต่อนาที • Defibrillation 120-200J • Epinephrine (1:1000) 1 mg IV q 3-5 นาทีพร้อมให้ NSS ตามทุกครั้ง • Amiodarone 300 mg และ 150 mg IV push ในการท�ำ Defibrillation ครั้งที่ 3 และครั้งที่ 5 • ประเมินชีพจรและคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ทุก 2 นาที
No
Shockable?
Yes
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
ไปที่ 5 หรือ 7
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูง (ACLS) การประเมินผู้ป่วยเมื่อสงสัยว่าผู้ป่วยอาจมีภาวะหัวใจหยุดเต้น (Cardiac Arrest) 1. ปลุกเรียกและคล�ำชีพจรบริเวณ Carotid artery โดยใช้เวลาไม่เกิน 10 วินาที 2. หากไม่มีชีพจรให้ท�ำการเริ่มช่วยฟื้นคืนชีพโดยการกดหน้าอกทันที พร้อมติด Monitor EKG โดยการกดหน้าอกที่มีประสิทธิภาพ ดังนี้ • มือสองข้างซ้อนกันใช้บริเวณสันมือกดหน้าอกต�ำแหน่งกึ่งกลางระหว่าง ราวนม 2 ข้าง • กดด้วยความเร็ว 100 -120 ครั้งต่อนาที • กดด้วยความลึก 5-6 เซนติเมตร • รบกวนการกดหน้าอกให้น้อยที่สุด • ให้มีการขยายตัวของหน้าอกอย่างเต็มที่ทุกครั้ง • เปลี่ยนผู้กดหน้าอกทุก 2 นาที หรือเปลี่ยนทันทีเมื่อผู้กดหน้าอกไม่สามารถ กดหน้าอกอย่างมีประสิทธิภาพ 3. การช่วยหายใจให้ปฏิบัติ ดังนี้ • หากผู้ป่วยยังไม่ได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจ ให้ท�ำการช่วยหายใจด้วยอัตรา กดหน้าอก 30 ครั้ง ช่วยหายใจ 2 ครั้ง • หากผู้ป่วยยังได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจแล้ว ให้ช่วยหายใจด้วยอัตราเร็ว 10 ครั้งต่อนาที 4. ยาและการช่วยเหลืออื่นๆ • กรณีใช้เครื่อง Defibrillator หาก EKG เป็นกลุ่ม Shockable Rhythm (pulselessVT/VF) ให้ท�ำการ Defibrillation ทันทีด้วยพลังงาน 120-200 จูล แต่หากเป็นกลุ่ม Non-Shockable Rhythm (PEA/Asystole) ให้ท�ำการกด หน้าอกต่อ • กรณีใช้เครื่อง AED ให้ท�ำตามค�ำแนะน�ำของเครื่อง • ให้ยา Epinephrine (1:1,000) 1 mg IV ให้ทางเส้นเลือดทุก 3-5 นาที (Paramedic) พร้อมให้ NSS ตามทุกครั้ง • ประเมินชีพจรและคลื่นไฟฟ้าหัวใจทุก ๆ 2 นาที หากยังไม่มีชีพจรให้ท�ำการ กดหน้าอกต่อ • พิจารณาให้ Amiodarone 300 mg และ 150 mg IV push ในการท�ำ Defibrillation ครั้งที่ 3 และ 5 ตามล�ำดับ (Paramedic) เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
77
• หาสาเหตุที่พบบ่อยใน Cardiac Arrest ที่ควรค้นหาและให้การรักษา เมื่อผู้ป่วยมีภาวะหัวใจหยุดเต้น Hypovolemia Thrombosis,cardiac Hypoxia Thrombosis, pulmonary Hydrogen ion (acidosis) Tamponade, cardiac Hypo/Hyperkalemia Tension pneumothorax Hypoglycemia Toxins Hypothermia Trauma • ติ ด ต่ อ ประสานงานขอค�ำปรึ ก ษาไปยั ง พอป. หรื อ เข ้ า รั บ การรั ก ษาที่ โรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด ยาที่ใช้ในการ Resuscitation ส�ำหรับผู้ใหญ่ (ต้องได้ รับความเห็นชอบจาก พอป. ก่อนเสมอ) Medication Epinephrine (Adrenalin) Amiodarone (Cordarone) Lidocaine
Dosage and recommendation Anaphylaxis : 0.2-0.5 mg IM ทุก 5 นาที Cardiac arrest : 1 mg IV ทุก 3-5 นาที หรือ 2-2.5 mg ทาง ETT ทุก 3-5 นาที Refractory VF/Pulseless VT in cardiac arrest: 300 mg IV bolus ให้ครั้งถัดไป 150 mg IV bolus Stable VT/conversion AF : 150 mg in 100 ml of D5W IV over 10 min Infusion 1 mg /min for 6 hr (max 2.2 gm/day) Refractory VF/Pulseless VT in cardiac arrest: first dose 1-1.5 mg/kg Second dose: 0.5-0.75 mg/kg Bradycardia : 0.5 mg IV ทุก 3-5 นาที (Max 3 mg ) Torsade : 1-2 gm IV over 2 min, followed infusion of 1-2gm/hr
Atropine Magnesium sulfate Calcium 10-20 ml IV gluconate (10%) NaHCO3 50-150 mEq IV
78
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
Appendix 4 ยาที่ใช้ในการ Resuscitation ส�ำหรับเด็ก (ต้องได้รับความเห็นชอบจาก พอป. ก่อนเสมอ)
1. Diazepam : จะไม่ใช้ในเด็กทารกที่อายุต�่ำกว่า 6 เดือน ยา Diazepam สามารถให้ทาง IV หรือ IO ขนาด 0.1-0.3 mg/kg (Max10mg) ให้ทางทวารหนัก (Rectal) ให้ขนาด 0.5 mg/kg (Max20mg) 2. Epinephrine : 0.01 mg/kg (0.1mL/kg 1:10,000) ทาง IV/IO 0.1 mg/kg (0.1mL/kg 1:1,000) ทาง ET (Max dose 1 mg IV/IO;2.5mgET) 3. Salbutamol : Salbutamol nebule (2.5mg/2.5mL) ส�ำหรับ acute asthmatic attack ขนาดยา : 0.05-0.15 mg/kg/dose หรือ 0.05-0.15 mL/kg/dose (Max 5 mL/ครั้ง) ผสมเจือจางด้วย NSS จนได้ปริมาตร 3 mL พ่นห่างกันทุก 20 นาที ไม่เกิน 3 ครั้ง 4. Shock Energy for Defibrillation : Shock ครั้งแรกใช้พลังงาน 2 J/kg ครั้งที่สอง และหลังจากนั้นใช้พลังงาน 4 J/kg (Max 10 J/kg หรือ Adult dose) 5. Shock Energy for Synchronized cardioversion : ครั้งแรก 0.5-1.0 J/kg ครั้งที่สองและหลังจากนั้นใช้พลังงาน 2 J/kg Medication Dosage and recommendation Amiodarone 5mg/kg IV/IO สามารถซ�้ำได้ 2 ครัง้ ในกรณี refactory VF/pulseless VT (Max single dose 300 mg) Epinephrine 0.01 mg/kg (0.1 mL/kg 1:10,000) IV/IO 0.1 mg/kg (0.1 mL/kg 1:1,000) ทาง ET (Max dose 1 mg IV/IO ; 2.5 mg ET) Glucose Newborn : 5-10 mL/kg 10DW Infants and Children : 2-4mL/kg 25DW Adolescents : 1-2mL/kg 50DW 50% MgS O4 25-50 mg/kg IV/IO slow push (500mg/mL) (Max2gm) NaHCO3 1 mEq/kg per dose IV/IO slowly
Remark หาก cardiac arrest ใช้ IV push ส�ำหรับ perfusion rhythm ให้ช้า ๆ 20-60 นาที CPR : สามารถให้ซ�้ำ ทุก 3-5 นาที ทุก 3-5 นาที Torsades de pointe with pulse After adequate ventilation
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
79
Appendix 5 ยาที่ใช้ในการ Resuscitation (ผู้ใหญ่) Peripheral IV drug delivery (IV)
การให้ยาทาง IV Catheter ควรจะ Bolus IV Fluid ตามประมาณ 20 ml เพื่อส่งยาเข้าสู่ Central Circulation และควรยกแขนสูง 10-20 วินาที หลังฉีด Intraosseous Drug Delivery (IO) ในกรณีที่ไม่สามารถเปิดเส้นเพื่อบริหารยาทาง IV สามารถบริหารยาทาง IO ได้ โดยใช้ขนาดยาเท่ากัน Endotracheal drug delivery Lidocaine, Epinephrine, Atropine และ Naloxone เป็นยาที่สามารถ ดูดซึมผ่านทาง Trachea ได้ การให้ยาทาง ET tube จะให้เฉพาะในกรณีที่ไม่สามารถ บริหารยาทาง IV/IO เท่านั้น เนื่องจากไม่สามารถท�ำนายการดูดซึมหรือประสิทธิภาพของ ยาได้ มักให้ยาในปริมาณมากกว่าทาง IV/IO ประมาณ 2-2.5 เท่า และควรเจือจางด้วย NSS หรือ Sterile Water ให้เป็น 5-10 ml ก่อนเสมอ และตามด้วยการบีบ Ambu Bag ตามหลาย ๆ ครั้ง ชื่อยา ข้อบ่งชี้ Dosage หมายเหตุ Sudden Cardiac Arrest 1. Vasopressors 1.1 Epinephrine - Asystole/ PEA IV/IO : 1 mg (1:10000) การให้ high dose (Adrenaline) - Pulseless VT/ VF IV ทุก ๆ 3-5 นาที ไม่ช่วยเพิ่มอัตรา (1:1000) (1 mg ผสม NSS ให้เป็น 10 ml) การรอดชีวิต และ ET : 2-2.5 mg (ผสม NSS หรือ อาจท�ำให้เกิดภาวะ sterile water 10 ml) ทุก ๆ 3-5 นาที post resuscitation myocarditis 2. Antiarrhythmics 2.1 Amiodarone - Refractory 1st dose : 300 mg IV/IO bolus (Cordarone) VF/pulseless VT 2nd dose : 150 mg IV/IO bolus in cardiac arrest (ควร dilute ใน D5W 20 ml) 2.2 Lidocaine
80
Alternative drug 1st dose : 1-1.5mg/kg IV/IO ของ amiodarone 2nd dose : 0.5-0.75 mg/kg IV/IO ใน pulseless VT /VF ให้ซ�้ำได้ทุก 5-10 นาที, maximum 3 doses หรือ total 3 mg/kg
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
ชื่อยา 2.3 Magnesium Sulfate
ข้อบ่งชี้ Dosage หมายเหตุ - Torsade de points 1-2 g diluted in 10 ml of D5W (irregular/ IV/IO in 2 min. followed infusion polymorphic VT of 1–2 gm/hr associated with prolonged QT interval) - Hypomagnesemia - Ventricular arrhythmia จาก digitalis toxicity 3. Sodium - Pre-existing hyperK 1 mEq/kg IV/IO bolus ไม่ใช้เป็น routine bicarbonate - Pre-existing ใน cardiac arrest bicarbonate(ไม่มีประโยชน์หาก responsive acidosis ไม่ได้ intubation) (TCA overdose, aspirin, cocaine, DKA) - Prolong resuscitation with effective ventilation 4. Calcium - HyperK 500-1000 mg IV/IO หรือ ห้ามผสมกับ gluconate - Toxic effect จาก 15-30 ml of 10% calcium bicarbonate และ Ca-channel blocker/ gluconate IV/IO ไม่ใช้เป็น routine Beta blocker ใน cardiac arrest overdose Symptomatic Bradycardia and Tachycardia with a pulse Bradycardia 1. Atropine 1st line drug for 1 mg IV/IO/ ET ทุก 3-5 min - หลีกเลี่ยงในภาวะ acute symptomatic (max 3 mg) hypothermic bradycardia *ในประเทศไทยมีขนาด Ampule bradycardia, ละ 0.6 mg สามารถให้ครั้งละ - อาจไม่ได้ผล 1.2 mg ได้* ใน type II second หรือผสม 2 Ampule Dilute เป็น degree/third 6 ml แล้วดููด 5 ml degree AV block ที่มี wide QRS complex
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
81
ชื่อยา 2. Dopamine
ข้อบ่งชี้ Dosage เป็น alternative ของ IV drip 2-20 mcg/kg/min dopamine ในภาวะ ที่มี hypotension ร่วมด้วย
3. Epinephrine (adrenaline) Tachycardia 1. Adenosine
เป็น alternative ของ IV drip 2-10 mcg/kg/min dopamine
First line drug ของ stable narrow complex tachycardia 2. Amiodarone Stable VT/ (Cordarone) conversion AF
Seizure Diazepam Eclampsia Magnesium sulfate
6 mg IV push within 1-3 seconds ห้ามให้ใน irregular ตามด้วย NSS bolus 20 ml (double polymorphic syringe technique) พร้อมยกแขนสูง wide complex สามารถให้ซ�้ำได้ อีก 12 mg tachycardia Rapid infusion : 150 mg in 100 ml เกิด hypotension of D5W IV over 10 min (ให้ซ�้ำได้ ได้ ถ้าให้เร็วเกินไป ทุก 10 นาที) Slow infusion : 360 mg /min IV over in 6 hr (1 mg/min) Maintenance infusion : 540 mg IV over in 18 hr (0.5 mg /min) ** max 2.2gm/day**
Convulsion seizure 5-10 mg (0.15 mg/kg) IV ให้ซ�้ำ ได้ใน 5 นาที Eclampsia
50% MgSO4 10 mL IM each buttock ตามด้วย 4 gm IV หลังจากได้ IV access
Opioids overdose Naloxone Opioids overdose 0.04-0.4 mg IV/IM ค่อย ๆ เพิ่ม (ในกรณีที่มีการกด ขนาดยาตามอาการ จนถึง 2 mg. การหายใจ) หรือ 2 mg พ่นทางจมูก ให้ซ�้ำได้ ทุก 3-5 นาที
82
หมายเหตุ -ต้องแก้ ไ ขภาวะ hypovolemia ก่อน - อาจท�ำเกิดภาวะ tachyarrhythmias หรือ excessive vasoconstriction ได้ - ห้ามผสมกับ bicarbonate เหมือน dopamine
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
อาจเกิดอาการ opioids withdrawal ในผู้ป่วยที่ติดยา หรือ pulmonary edema ได้
Appendix 6 การช่วยเหลือผู้ที่ส�ำลักอุดกั้นทางเดินหายใจ
ภาวะส�ำลักท�ำให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ แบ่งเป็นการอุดกั้น แบบ สมบูรณ์ (หายใจไม่ได้ ไอไม่มีเสียง) และไม่สมบูรณ์ (มีเสียง) การส�ำลักที่มีการอุดกั้นของ ทางเดินหายใจแบบสมบูรณ์ เป็นภาวะฉุกเฉินทีต้่ องเขา้ ช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน ซึง่ มีแนวทาง การช่วยเหลือผู้ป่วย ดังนี้ ระดับความ รู้สึกตัว
รู้สึกตัว
ไม่รู้สึกตัว
มีเสียง
ไม่มีเสียง
มีชีพจร
น�ำส่ง โรงพยาบาล
Heimlich maneuver 5 back blow chesttrust
เปิดทางเดิน หายใจ, Abdominal trust
ไม่มีชีพจร CPR AED
1. ประเมินระดับความรู้สึกตัว 2. ถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ให้กระตุ้นให้ผู้ป่วยไอด้วยตนเอง a. ถ้าไอได้มเี สียงไอ ให้ไอจนกว่าสิง่ แปลกปลอมจะหลุดออกมา ถ้าไอไม่ออก ให้น�ำส่งโรงพยาบาลระหว่างน�ำส่งต้องเฝ้าระวังภาวะอุดกั้นของทางเดิน หายใจแบบสมบูรณ์ b. ถ้าไม่สามารถไอได้ ไอไม่มีเสียง หรือมีอาการเขียว บ่งถึงภาวะการอุดกั้น สมบูรณ์ของทางเดินหายใจ ให้รีบช่วยเหลือโดย ผู้ป่วยอายุไม่เกิน 1 ปี ให้ท�ำ 5 back blow, 5 chest thrust ผู้ป่ วยอ ายุ 1 ปี ขึ้ น ไป ให้ยื น ด ้ า นหลั ง ผู้ป่ ว ยใช้ แขนโอบรอบล�ำตั ว มือข้างหนึ่งก�ำหมัด และใช้มืออีกข้างก�ำรอบอีกครัั้งหนึ่ง วางมือที่ต�ำแหน่งใต้ลิ้นปี่ จากนั้น ออกแรงกระตุกขึ้น 5 ครั้ง (Heimlich maneuver) หากเป็นผู้ป่วยอ้วนหรือตั้งครรภ์ สามารถออกแรงกระตุกที่หน้าอกแทนได้) ท�ำซ�้ำจนสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมา และหายใจได้ปกติ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
83
รูปแสดงวิธีท�ำ Heimlich maneuver
รูปแสดงวิธีท�ำ 5 back blow-5 chest thrust
3. ถ้าผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่หายใจ หรือไม่มีชีพจร ให้เริ่มกระบวนการฟื้นคืนชีพ โดยการกดหน้าอกร่วมกับเครื่อง AED เปิดปาก โดยใช้ วิธี jaw-toungue lift ท�ำได้โดย การใช้มือข้างหนึ่งยกขากรรไกรพร้อมกับลิ้นผู้ป่วยขึ้น มองหาสิ่งแปลกปลอม ถ้ามองเห็น ให้ใชน้ ิ้วมือกวาดล้วงออก (finger sweep) ถา้ ไม่เห็นห้ามล้วงหาเด็ดขาด จากนัน้ ช่วยหายใจ ตามปกติ (30:2)
84
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
4. ถ้าผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว แต่ยงั คล�ำชีพจรได้ ให้เปิดปากมองหาสิง่ แปลกปลอมและ กวาดล้วงออก ถา้ ไม่เห็นสิง่ แปลกปลอม ให้เปิดทางเดินหายใจและช่วยหายใจ 2 ครัง้ สังเกต การขยับตัวของทรวงอก ถ้าขยับให้ช่วยหายใจตามปกติ ถ้าทรวงอกไม่ขยับ ให้ช่วยเหลือ ดังนี้ ผู้ป่วยอายุไม่เกิน 1 ปี จัดท่าคว�่ำหน้าหัวต�่ำ ใช้ส้นมือทุบระหว่างสะบัก 2 ข้าง 5 ครั้ง จากนั้นพลิกตัวผู้ป่วยนอน หงายหัวต�่ำ กดที่กระดูกสันอก 5 ครั้ง (5 back blow, 5 chest thrust) ผู้ป่วยอายุ 1 ปี ขึน้ ไป จัดท่านอนราบ ผู้ช่วยเหลือนั่งคร่อมที่ระดับต้นขาของผู้ป่วย ประสานมือลักษณะเช่นเดียวกับการทา CPR วางส้นมือกดตรงตาแหน่งใต้ลิ้นปี่ ในมุมเฉียงขึ้น ไปทางศีรษะของผู้ป่วย 5 ครั้ง (abdominal thrust) จากนัน้ ประเมินมองหาสิง่ แปลกปลอม ในช่องปาก และท�ำซ�้ำเรื่อย ๆ จนกว่าสิ่งแปลก ปลอมจะหลุดออกมา
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
85
Appendix 7 การประเมินความเจ็บปวดด้วย Numerical Rating Scale
การประเมินอาการปวดเป็นขั้นตอนที่สาคัญ เนื่องจากเราจ�ำเป็นต้องน�ำข้อมูล มาประเมินเพือ่ พิจารณาให้การรักษาทีเ่ หมาะสม เพือ่ ทีจ่ ะบรรเทาอาการเจ็บปวดของผู้ป่วย ให้ได้มากทีส่ ดุ แต่เนือ่ งจากขอ้ มลู ความเจ็บปวดไดม้ าจากค�ำบอกเล่าของผู้ป่วย ซึง่ เป็นความ รู้สกึ จึงต้องมีเครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการจัดระดับความรุนแรงของอาการปวด เพือ่ ใชใ้ นการสือ่ สาร และวางแผนการรักษาระหว่างทีมผู้รักษา การประเมินความรุนแรงของอาการเจ็บปวด (Severity) นั้น ผู้ป่วยจะเป็น ผู้ประเมินด้วยตนเอง ในปัจจุบนั มีเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการประเมินความเจ็บปวด หลายรูปแบบ ได้แก่ Visual analog scale, Verbal rating scale หรือ Numerical rating scale การประเมินอาการปวดทีน่ ยิ มใชก้ นั คือ Numerical rating scale โดยผู้ป่วยจะ เป็นผู้ให้คะแนนตามความเจ็บปวดที่ตนเองรู้สึก (ตั้งแต่ 0 คะแนน คือไม่มีอาการปวดเลย จนถึง 10 คะแนน คือมีอาการปวดมากทีส่ ดุ ) ซึง่ คะแนนนีจ้ ะถกู แบ่งเป็นระดับความรุนแรง ของความเจ็บปวดได้เป็น 3 ระดับ คือ
0
1
None
2 Mild
3
4
5
6
7
Moderate
8
9
10
Severe
ปวดในระดับน้อย (mild pain) : 1-3 คะแนน ปวดในระดับปานกลาง (moderate pain) : 4-6 คะแนน ปวดรุนแรง (severe pain) : 7-10 คะแนน นอกจากนีย้ งั สามารถประเมินอาการปวด โดยสังเกตจากอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ ความดันโลหิต เหงื่อออก ตัวเย็น หรือจากพฤติกรรมที่ผู้ป่วยแสดงออก เช่น การเคลื่อนไหว สีหน้า ท่าทาง หรือการส่งเสียงร้อง โดยปกติ ถ้าผู้ป่วยให้คะแนนความปวดมากกว่าหรือเท่ากับ 4 คะแนนขึ้นไป จ�ำเป็นต้องได้รับการจัดการอาการปวด เช่น ให้ทานยาแกป้ วด หรือถา้ มากกว่า หรือเท่ากับ 6 คะแนนขึ้นไป อาจต้องพิจารณาเลือกยาฉีดลดปวด เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบายขึ้น
86
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
Appendix 8 การประเมินความรู้สึกตัวด้วย AVPU และ GCS
U
Voice Pain
V P
Unresponsive
A
Alert
การประเมินความรู้สึกตัวด้วย AVPU Scale ผู้ใหญ่ - ลืมตาเอง - ตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม - ท�ำตามค�ำสั่ง มองตามบุคคลหรือสิ่งของ - ไม่ลืมตาเอง แต่ลืมตาเวลาเรียก - สามารถตอบสนองอย่างมีความหมายเมื่อพูดถึงสิ่งนั้นอยู่ ไม่สามารถตอบค�ำถามได้ แต่เคลื่อนไหวหรือ ส่งเสียงร้องเพื่อตอบสนองสิ่งการกระตุ้นความ เจ็บปวด (pain) เช่น การบีบที่ผิวหนังหรือติ่งหู
เด็ก เด็ก active หรือมีความกระตือรือร้น และตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น/สิ่งเร้า อย่างเหมาะสม ตอบสนองเฉพาะต่อเสียงเรียกชื่อตัวเอง
ผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าใดทั้งสิ้น
ผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าใดทั้งสิ้น
ตอบสนองต่อเมื่อได้รับสิ่งเร้าที่ท�ำให้ เจ็บ เช่น การกดที่ฐานเล็บ
การประเมินความรู้สึกตัวด้วย Glasgow Coma Score/Scale : GCS ลืมตาได้เอง ลืมตาเมื่อเรียก ลืมตาเมื่อรู้สึกเจ็บปวด ไม่ลืมตาเลย พูดคุยไม่สับสน การสื่อภาษา พูดคุยได้แต่สับสน V (verbal response) พูดเป็นค�ำๆ ส่งเสียงไม่เป็นค�ำพูด ไม่ออกเสียงเลย ท�ำตามค�ำสั่งได้ ยกมือปัดต�ำแหน่งที่เจ็บได้ การเคลื่อนไหว ชักแขน ขาหนีเมื่อเจ็บ M (motor response) แขนงอผิดปกติเมื่อกระตุ้นให้เจ็บ แขนเหยียดผิดปกติเมื่อกระตุ้นให้เจ็บ ไม่มีการเคลื่อนไหวเมื่อกระตุ้นให้เจ็บ การลืมตา E (Eye opening)
4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 6 คะแนน 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
แปลผล : 1. การบาดเจ็บที่ศีรษะระดับเล็กน้อย (Mild or minor head injury) GCS = 13-15 2. การบาดเจ็บที่ศีรษะระดับปานกลาง (Moderate head injury) GCS = 9-12 3. การบาดเจ็บที่ศีรษะระดับรุนแรง (Severe head injury) GCS = 3-8
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
87
Appendix 9 ช็อคและการห้ามเลือดในผู้ป่วยบาดเจ็บ
ประเมินภาวะช็อกที่เกิดจากการเสียเลือด โดยแบ่งออกเป็น 4 ระดับ Figure 9-3 Classification of Hemorrhagic Shock Class I
< 750 < 15% < 100 Normal Normal or increased 14 to 20 Slightly anxious Crystalloid
Blood loss (ml) Blood loss (% blood volume) Pulse rate Blood pressure Pulse pressure (mm Hg) Ventilatory rate CNS / mentl status Fluid replacement
Class II
750-1500 15-30% 100-120 Normal Decreased 20 to 30 Mildly anxious Crystalloid
Class III
Class IV
1500-2000 > 2000 30-40% > 40% 120-140 > 140 Decreased Decreased Decreased Decreased 30 to 40 > 35 Anxious, confused Confused, lethargic Crystalloid and blood Crystalloid and blood
สามารถให้การรักษาระหว่างน�ำส่งโรงพยาบาลโดยการห้ามเลือดและการให้สารน�้ำทดแทน เลือดที่เสียไปได้ การรักษา : - เปิดเส้นเลือดส�ำหรับให้สารน�้ำด้วยเข็มเบอร์ 16-18 - ให้สารน�้ำด้วย NSS 1000ml or RLS 1,000 ml or 20ml/kg iv bolus การห้ามเลือดภายนอก
Tourniquet
เลือดออกภายนอกจ�ำนวนมาก ใช่
แขน/ขา ขาด ไม่ใช่
ใช้แรงกดโดยตรง
ได้ผลดี
ไม่ได้ผล ไม่ได้ผล
ใช้แรงกดที่เส้นเลือดแดง
ได้ผลดี
ส่งต่อไปโรงพยาบาล แนวทางการห้ามเลือดภายนอก
88
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
พันแผลให้แน่น
หมายเหตุ • หากมีภาวะฉุกเฉินอื่นที่คุกคามคนไข้ร่วมกับการมีเลือดออกภายนอก ควรให้มีผู้ดูแล ห้ามเลือดหนึ่งคน โดยผู้ช่วยอื่นให้การดูแลส่วนอื่น และรีบน�ำส่งโรงพยาบาล • การให้สารน�้ำแก่ผู้ป่วยควรท�ำบนรถพยาบาลระหว่างน�ำส่งโรงพยาบาล ไม่ควรเสียเวลา ท�ำ ณ จุดเกิดเหตุ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
89
Appendix 10 หัตถการติดตั้ง AED 1. เปิดเครื่อง AED 2. แกะซองและติดแผ่นอิเล็คโทรดตามต�ำแหน่งที่ติดอยู่บนแผ่นอิเลคโทรด 3. แน่ใจว่าต�ำแหน่งที่ติดไม่มีขน (ให้โกนขน) แห้ง (เช็ดผิวหนังให้แห้ง) 4. ห้ามสัมผัสผู้ป่วย 5. รอให้เครื่องวิเคราะห์คลื่นหัวใจประมาณ 5 วินาที และรอท�ำตามค�ำสั่งเครื่อง วิเคราะห์ a. หากเครือ่ งให้ shock ให้กดปุม่ shock ทีต่ วั เครือ่ งโดยทีไ่ ม่มใี ครแตะต้องผู้ป่วย และเริ่มกดหน้าอกหลังจากกดปุ่ม shock b. หากเครือ่ งให้ปัม้ หัวใจให้กดหน้าอก 120 ครัง้ ต่อนาที 2 นาที แล้วหยุดรอเครือ่ ง วิเคราะห์ 6. ครบ 2 นาที ท�ำตามข้อ 5 ไปเรื่อย ๆ จนกว่ามีรถพยาบาลไปช่วย
90
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
Appendix 11 หัตถการยึดตรึงกระดูกเชิงกราน หัตถการยึดตรึงกระดูกเชิงกราน เป็นหัตถการเบื้องต้นที่ใช้รักษาภาวะกระดูก เชิงกรานหักเพื่อป้องกันไม่ให้มีภาวะเสียเลือดมากขึ้นจากการมีเลือดออกในอุ้งเชิงกราน อาการและอาการแสดงที่ท�ำให้สงสัยภาวะกระดูกเชิงกรานหัก - ปวดสะโพกมาก ขยับต้นขาล�ำบาก - มีรอยช�้ำบริเวณหัวเหน่า หรือมีเลือดออกจากปลายท่อปัสสาวะหรือทวารหนัก - บริเวณเชิงกรานผิดรูป - มีภาวะความดันโลหิตต�่ำ โดยไม่สามารถอธิบายได้ด้วยสาเหตุอื่น และกลไก การบาดเจ็บมีความรุนแรง อุปกรณ์ทใี่ ช้ในการท�ำหัตถการนีส้ ามารถเลือกใช้ผ้าแถบทีม่ คี วามยาวเพียงพอที่ จะพันรอบเอวผู้บาดเจ็บ และกว้างประมาณช่วงสะโพกของผู้บาดเจ็บ หรือใช้ชุด Pelvic binder ก็ได้ หัตถการยึดตรึงกระดูกเชิงกราน สามารถท�ำได้ดังนี้ 1. จัดท่าผู้บาดเจ็บให้นอนหงาย 2. เลือกใช้ผ้าแถบหรือ pelvic binder พันรอบผู้ป่วย โดยสอดผ้าเข้าทางด้าน หลังผู้ป่วยระดับเอว 3. คลีผ้่ าออกตรงต�ำแหน่งของสะโพก โดยให้กึง่ กลางผ้าอยบร ู่ เิ วณปุม่ ของกระดกู ต้นขา 4. ดึงชายผ้าออกมาให้มีความยาวเท่าๆกันทั้งสองข้าง 5. พันชายผ้าทัง้ สองขา้ งเขา้ หากันรอบสะโพกผู้บาดเจ็บ ผูกรัดให้แน่นให้สะโพก ของผู้บาดเจ็บหุบเข้า 6. ใช้อุปกรณ์หนีบปมผ้า เช่น arterial clamp หรือ towel clip เพื่อไม่ให้ปม เลื่อนหลุดหรือคลายออก ในกรณีผู้ป่วยอยู่บนแผง spinal board ห้ามพันรวม spinal board เข้าไปใน การท�ำหัตถการด้วย เนื่องจากจะยึดตรึงกระดูกเชิงกรานได้ไม่แน่นพอ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
91
Appendix 12 แนวทางการพิจารณาการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินด้วยอากาศยาน ด�ำเนินการตามคู่มือการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยอากาศยานภาคใต้ พ.ศ. 2561 (ฉบับปรับปรุง 2563)
Download
92
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
Appendix 13 รหัสวิทยุ ว. 00 ว. 01 ว. 02 ว. 0 ว. 1 ว.2 ว. 3 ว. 4 ว. 5 ว. 6 ว. 7 ว. 8 ว. 9 ว. 10 ว. 11 ว. 12 ว. 13 ว. 14 ว. 15 ว. 16 ว. 16-1 ว. 16-2 ว. 16-3 ว. 16-4 ว. 16-5 ว.17 ว. 18 ว. 19 ว. 20 ว. 21 ว. 22 ว. 23 ว. 24 ว. 25 ว. 26 ว. 27
คอยก่อนให้คอยอยู่ ที่ท�ำงาน ที่พัก ขอทราบค�ำสั่ง อยู่ไหนอยู่ที่ ได้ยินหรือไม่ตอบด้วย ได้ยินแล้ว ทบทวนข้อความซ�้ำอีกครั้ง ปฏิบัติหน้าที่/ ด�ำเนินการ ราชการลับ/ ความลับ ขอติดต่อ/ โต้ตอบด้วย ขอความช่วยเหลือ ข่าวสาร/ ข้อความ มีเหตุฉุกเฉิน อยู่ประจ�ำที่ติดต่อทาง ว.ได้ หยุดพักติดต่อทาง ว.ได้ หยุดพักติดต่อทาง ว.ไม่ได้ ติดต่อทางโทรศัพท์ ปิดสถานี พบ/ ให้ไปพบ ทดสอบสัญญาณวิทยุ จับใจความไม่ได้ เสียงไม่ชัดเจน เสียงชัดเจนพอใช้ได้ เสียงชัดเจนดี เสียงชัดเจนดีมาก มีอันตรายห้ามผ่าน น�ำรถออกทดลองเครื่องยนต์/ รถยนต์เสีย สถานีถูกยึด/ ถูกโจมตี ตรวจค้น/ จับกุม ออกเดินทางจาก ถึงสถาที่ ผ่าน (สถานที่ใด) เวลา ขอทราบเวลา ไปสถานที่ ให้ติดต่อวิทยุให้น้อยที่สุด ให้ติดต่อทางโทรพิมพ์
ว. 28 ว. 29 ว. 30 ว. 31 ว. 32 ว. 33 ว. 34 ว. 35 ว. 36 ว. 37 ว. 38 ว. 39 ว. 40 ว. 41 ว. 42 ว. 43 ว. 44 ว. 50 ว. 55 ว. 60 ว. 61 ว. 62 ว. 63 ว. 64 ว. 601 ว. 602 ว. 603 ว. 604 ว. 605 ว. 606 ว. 607 ว. 608 ว. 609 ว. 610 ว. 100
ประชุม มีราชการ/ ธุระ ขอทราบจ�ำนวน เปลี่ยนไปใช้ความถี่ช่องที่ 1 เปลี่ยนไปใช้ความถี่ช่องที่ 2 เปลี่ยนไปใช้ความถี่ช่องที่ 3 เปลี่ยนไปใช้ความถี่ช่องที่ 4 เตรียมพร้อมเพื่อปฏิบัติการ เตรียมพร้อมเต็มอัตรา เตรียมพร้อมครึ่งอัตรา เตรียมพร้อม 1/3 อัตรา สภาพการจราจรคับคั่ง อุบัติเหตุรถยนต์ สัญญาณไฟจราจร ขบวนจัดพาหนะน�ำขบวน จุดตรวจยานพาหนะ ติดต่อทางโทรสาร (FAX) รับประทานอาหาร ให้อ�ำนวยความสะดวก ญาติ/ พี่น้อง ขอบคุณ สิ่งของ บ้าน ธุระส่วนตัว เครื่องรับ-ส่งวิทยุ สายอากาศวิทยุ รถยนต์ ดูโทรทัศน์ รับประทานอาหาร พูดไม่เป็นความจริง กิจธุระส่วนตัว คนก่อกวน คลื่นรบกวน คิดถึง ขอโทษ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
93
Appendix 14 หมายเลขโทรศัพท์
เบอร์โทรศัพท์ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัด เขตสุขภาพ
ชื่อจังหวัด
ห้องศูนย์สั่งการ จว.
เบอร์มือถือ
หมายเลขพื้นฐาน
เบอร์แฟ็กซ์
1 เชียงราย 053-711-669 093-138-6690 053-910-600 ต่อ 1669 1 เชียงใหม่ 053-999-299 053-999-299 053-999-200 1 น่าน 054-771-669 095-6975498 054-772169 054-771669 1 พะเยา 054-409-345 054-484-403 054-409-300 ต่อ 1229 1 แพร่ 054-533-428 054-533550 054-533420 1 แม่ฮ่องสอน 088-2571744 053-611907 053-611907 1 ล�ำปาง 054-237404 081-951-1482 054-237400 054-237404 1 ล�ำพูน (อบจ.) 053-584-172 053-584171 053-584172 2 ตาก 055-510-003 055-510-003 055-513-168 2 ตาก (แม่สอด) 055-532-304 086-440-3616 055-531229 ต่อ 1669 055-542-336 2 พิษณุโลก 055-252928 055-247235 055-252928 2 เพชรบูรณ์ 056-720-010 081-707-8648 056-717-699 056-717-699 2 สุโขทัย 097-9238037 055-614336 2 อุตรดิตถ์ 055-830730 055-830401 055-832601 ต่อ 1669 3 ก�ำแพงเพชร 055-741-761-62 083-951-5673 3 ชัยนาท 056-412-398 056-411-055 ต่อ 1115 3 นครสวรรค์ 056-212-523 086-441-4956 056-219888 056-219-888 ต่อ 1669 3 พิจิตร 056-616-497 056-611-355 ต่อ 1999 3 อุทัยธานี 056-571523 056-511-081/153 056-514943 4 นครนายก 037-311-600 061-386-3301 037-312-440-1 ต่อ 207 037-312-172 4 นนทบุรี 02-5272385 02-526-1407 4 ปทุมธานี 02-598-8866 02-598-8911 02-5988866 02-598-8866 4 พระนครศรีอยุธยา 035-322-555 089-901-2811 035-211-888 ต่อ 2112 035-242182 4 ลพบุรี 098-2534461 036-785444 ต่อ 1218 036-785422 4 สระบุรี 036-343585 082-199-6226 036-212470 036-343584 4 สิงห์บุรี 036-512-486 036-512486 4 อ่างทอง 035-616-265 081-852-5995 035-616-265 5 กาญจนบุรี 034-587-800 063-239-2225 034-587-800 ต่อ 1669 034-513-187 5 นครปฐม 034-271-624 034-271-659 5 ประจวบคีรีขันธ์ 032-604-839 032-604-350 032-604350 5 เพชรบุรี 032-402-071 032-401100 032-426965 5 ราชบุรี 032-328-151 032-328053 032-326538 5 สมุทรสงคราม 034-715441 034-710607 034-715441 5 สมุทรสาคร 034-870-725 085-187-1669
94
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
เขตสุขภาพ
ชื่อจังหวัด
ห้องศูนย์สั่งการ จว.
เบอร์มือถือ
หมายเลขพื้นฐาน
5 สุพรรณบุรี 035-511-175 5 ประจวบคีรขี นั ธ์ (หัวหนิ ) 032-520-371 6 จันทบุรี 039-301658 081-356-5734 039-319666 ต่อ 4007 6 ฉะเชิงเทรา 061-390-5530 038-814375-8 ต่อ 3217 6 ชลบุรี 038-931-191 038-931-191 6 ตราด 039-512-100 092-489-8638 039-511040 ต่อ 652 6 ปราจีนบุรี 065-716-3342 Radio 037-211-088 ต่อ 4107 6 ระยอง 038-011-666 038-611-104/1669 038-617-631 6 สมุทรปราการ 02-173-8347 088-002-9201 02-701-8132 6 สระแก้ว (อบจ.) 037-550-310 097-193-6921 037-240-170 7 กาฬสินธุ์ 043-840-6925 097-727-6744 043-816-500 7 ขอนแก่น 043-237-137 064-896-5747 043-236-006 7 มหาสารคาม (อบจ.) 043-719-677 043-719-677 7 ร้อยเอ็ด 043-516-215 043-516-209 8 นครพนม 086-458-5198 042-511-424 ต่อ 1669 8 บึงกาฬ 082-311-3065 063-904-3838 042-494900 8 เลย 062-197-7928 042-862-123 ต่อ 2222 8 สกลนคร 042-970-506 042-970-506-10 8 หนองคาย 042-413-672 086-456-3881 042-413-456 ต่อ 612 8 หนองบัวล�ำภู 042-313-091 084-428-0028 042-311-999 ต่อ 1103 8 อุดรธานี 042-223-702 096-8637924 042-221-735 9 ชัยภูมิ 044-816-267 044-811-005 ต่อ 1125 9 นครราชสีมา 044-235-906 044-235989 044-235-906 9 บุรีรัมย์ 044-601-059 092-8415533 9 สุรินทร์ 044-140-209-213 10 มุกดาหาร 042-612-742 042-615-064 10 ยโสธร 045-715-530 045-714-326 10 ศรีสะเกษ 045-611-389 081-760-5934 045-611-503 ต่อ 1669 10 อ�ำนาจเจริญ 045-511-254 045-525-991 10 อุบลราชธานี (อบจ.) 045-352450 093-138-1669 045-352450 11 กระบี่ 088-7729926 083-592-3960 075-611-227 11 ชุมพร 077-630-232 064-398-9174 077-630-454 11 นครศรีธรรมราช 075-356-336 089-586-9669 11 สุราษฎร์ธานี 077-206-415 081-4768199 077-915615 11 นเรนทรอ่าวไทย (สมุย) 077-420-552 093-583-2980 11 พังงา 076-410721-23 11 ภูเก็ต 076-354-177 076-354418 11 ระนอง 077-813-300 077-813-300 12 ตรัง 075-217-504 075-217-504
เบอร์แฟ็กซ์
035-511175 039-319-660 038-514-367 038-272-830 039-522-776 037-212-525 ER 038-616-616
043-816-371 043-246-202 043725118 043-513-875 042-513-180 042-862145 042-730568 042-311-990 042-248-261 044-822-364
045-511-944 075-611-921 083-526-1471 077-915643 077-426111 076-361271 077-821765
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
95
เขตสุขภาพ
ชื่อจังหวัด
ห้องศูนย์สั่งการ จว.
เบอร์มือถือ
12 นราธิวาส 073-510-448 073-510-445 12 ปัตตานี 073-337-839 073-332-391 12 พัทลุง 085-6726363 12 ยะลา 12 สงขลา (อบจ) 074-890-968 12 สตูล 074-723-375 13 กรุงเทพมหานคร 02-220-7597 02-220-8400 13 ศูนย์นเรนทร 02-872-1619 088-549-1669
96
หมายเลขพื้นฐาน
073-510-446 073-337-837 074-673504-6 073-215918 074-303177 074-723-375 02-220-7599 02-872-1669
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
เบอร์แฟ็กซ์
073-332-695 074-673507 074-303178 074-723-375 02-220-7598 02-591-9140
ชื่อผู้ประสานงาน พื้นที่ 4 เขต จังหวัด หน่วยงาน ชื่อ-นามสกุล เบอร์มือถือ อีเมล์ สุขภาพที่ (ผู้รับผิดชอบหลัก) (ผู้รับผิดชอบหลัก) 11 นครศรีธรรมราช ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นางณัฐนันท์ ทัศนวิสุทธิ์ 0952469263 june2nattanan@gmail.com 11 นครศรีธรรมราช ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ นางสาววรรณี มีขวด 0810827601 Primp1124@gmail.com 11 พังงา ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นางสาวทัศนีย์ ทัศการ 0810823053 Junghuy@gmail.com 11 พังงา ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ นายถนอมศักดิ์สมมิตร 0812732642 tanomgo@hotmail.com 11 กระบี่ ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นางศรัญยา โชคไพศาล 0894745112 saranya.chokpaisarn @gmail.com 11 กระบี่ ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ นางสาวพักตร์วิภา กงสะเด็น 0897286794 waw-kitty@hotmail.com 11 ระนอง ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นายชัยณรงค์ ยิ้มน้อย 0869436661 pandabay@hotmail.com 11 ระนอง ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ พญ.วันดี เหลืองพูนลาภ 0896838197 Madagusga1@gmail.com 11 ภูเก็ต ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นางอรชร อัฐทวีลาภ 0898730147 nokonchon@gmail.com 11 ภูเก็ต ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ พญ.จันทร์จิรา แต่ศักดาธรรม 0953935656 chanchira.tae@gmail.com 11 สุราษฎร์ธานี ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นางสาววรรณดี ศุภวงศานนท์ 0816912569 wandee.sup@gmail.com 11 สุราษฎร์ธานี ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ นพ.จารุวัฒน์ ส�ำลีพันธ์ 0887513250 fonokuya@gmail.com 11 ชุมพร ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นายศรชัย เพ็ชรเวช 0897243826 rayes2520@hotmail.com 11 ชุมพร องค์การบริหารส่วนจังหวัด นางสาวเรืองพร นาควิรัตน์ 092-6151669 porn.er.cph@gmail.com (รับผิดชอบ 1669) 080-2269236 065-6611596 12 สตูล ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นางอรนุช ณ นคร 0812761283 nuch3216@hotmail.com 12 สตูล ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ นางพุดตาล ศรีสุวงศ์ 0897339386 Pudtan2511@gmail.com 12 ยะลา ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นายจิรายุวัฒน์ ชัยพานิชยกุล 0894634249 yala_ncd@hotmail.com 12 ยะลา ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ พญ.สาธยา บุรี 0937849783 12 ปัตตานี ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นางสาวต่วนนุรมา หะมะ 0918480122 nanarak_t@hotmail.com 12 ปัตตานี ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ นายแพทย์ชารีฟ หะยีบือซา 084-1958456 shareef.medic@gmail.com 12 นราธิวาส ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นายธันวา พยัคฆโยธี 0876321669 thanwa58@hotmail.com 12 นราธิวาส ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ นางชฎาพร ฟองสุวรรณ 0891983595 kobernara@hotmail.com 12 ตรัง ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นางจันทร์ทราทิพย์ เพทาย 0876250066 sangthong42@gmail.com 12 ตรัง ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ พญ.วรัญญา เตชภานุวัฒน์ 0867481921 ann_waran@hotmail.com 12 สงขลา ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นายวรพจน์ รัสกิจ 0850818796 ems1669.songkhla@ gmail.com 12 สงขลา องค์การบริหารส่วนจังหวัด นางสาวนาถลดา จิตสุวรรณ 0919595987 nartlada5987@gmail.com (รับผิดชอบ 1669) 12 พัทลุง ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นายเจริญ ปราบปรี 0954383518 Charoem_ems@hotmail.com 12 พัทลุง ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ นางประไพ กาญจนก�ำเหนิด 0887826857 prapai_2208@hotmail.com
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
97
หมายเลขโทรศัพท์หน่วยงานเพื่อการสนับสนุนอากาศยาน หน่วยงาน ผู้ประสาน มือถือ โทรศัพท์ โทรสาร กองทัพบก ในเวลาราชการ พันเอก ด�ำรงค์ 081-879-2024 0-2280-2435 0-2280-2499 นอกเวลาราชการ นายทหารยุทธการ 064-586-5479 0-2280-2500 กองทัพอากาศ หน่วยแพทย์ รพ.ภูมิพล 0-2534-1710 0-2534-1700 กองทัพเรือ ศูนย์ปฏิบัติการ ทร. 0-2475-4521 0-2466-1697 กองทัพเรือภาค 2 (อ่าวไทย) นาวาตรี ด�ำรง 095-438-7520 074-325-8045 กองทัพเรือภาค 3 (อันดามัน) นาวาโท ธนากร 092-979-5497 กองบินต�ำรวจ พันต�ำรวจตรี สราวุธ 089-918-4561 0-2510-9142 0-2510-4381 ร้อยต�ำรวจเอก สกุลพรรณ 087-217-1040 0-2509-1520 รพ. กรุงเทพ Flight Coordination 0-2755-1776 0-2755-1777 0-2755-1778 ศูนย์ประสานและ 02-286-0506 0-2286-0594 0-2287-3186 การช่วยเหลือทางอากาศ กรมการบินพลเรือน กระทรวงทรัพยากร นายศราวุธ ชาติโยธิน 081-912-4928 0-2278-8657 0-2265-6188 ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผอ.ส่วนปฏิบัติการบิน 0-2278-8673 กรมฝนหลวงและ คุณพิพิต ฉัตรพัฒน์ 091-774-1463 0-2940-5960 การบินเกษตร ผอ.ส่วนปฏิบัติการบิน ต่อ 504,666 บริษัท Wisdom Flight Coordination 097-095-3626 053-904880
98
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
Appendix 15 การดูแลผู้ป่วยสมองบาดเจ็บรุนแรง ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เขต 11-12 ผู้บาดเจ็บรุนแรง (Trauma) และสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain Injury) หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ระดับอ�ำนวยการ เกณฑ์ในการใช้ค�ำสั่งอ�ำนวยการ (Criteria) 1. มีแผลเลือดออกไม่หยุด หรือต้องใช้สายรัดขันชะเนาะ (Tourniquet) ในการ หยุดเลือด 2. ความดันโลหิตตัวบน (Systolic Blood Pressure) ต�่ำกว่า 90 มิลลิเมตร ปรอท หรือ ซีด เหงื่อแตก ตัวเย็น หรือการคืนตัวของเลือดปลายนิ้ว (Capillary refill) มากกว่า 2 วินาที 3. หมดสติ ไม่รู้สึกตัว (U : unresponsive) หรือ ตอบสนองต่อการกระตุ้น ด้วยความเจ็บปวด ( P : Response to pain) การประเมินสถานการณ์ หรือข้อควรระวังเป็นพิเศษ (Scene size up and Special consideration) • ประเมินความปลอดภัยของสถานทีเ่ กิดเหตุกอ่ นเข้าช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ได้แก่ สภาพการจราจร กระแสไฟฟ้า ควันไฟ ระเบิด สารเคมี การก่อการร้าย • ผู้บาดเจ็บมากกว่า 4 ราย ให้ใช้ค�ำสั่งแผนอุบัติภัยหมู่ (MCI) • มีผู้บาดเจ็บติดภายใน ให้ประสานทีมตัดถ่วง การประเมินและการให้การรักษา (Evaluation and treatment) • รับแจ้งเหตุ ซักประวัติค�ำถามส�ำคัญ และให้ค�ำแนะน�ำเบื้องต้นแก่ผู้แจ้งเหตุ • สั่งการหน่วยปฏิบัติการแพทย์ ระดับพื้นฐาน และระดับสูง ให้ออกปฏิบัติการ ร่วมกัน • รับรายงานจากหน่วยปฏิบัติการการแพทย์ ตามระบบ MIST • หากผู้บาดเจ็บมีอาการเข้ากับข้อใดข้อหนึ่ง ต่อไปนี้ o มีแผลเลือดออกไม่หยุด หรือต้องใช้ Tourniquet ในการหยุดเลือด o ความดันโลหิตตัวบน (Systolic Blood Pressure) ต�่ำกว่า 90 มิลลิเมตร ปรอท หรือ ซีด เหงื่อแตก ตัวเย็น หรือการคืนตัวของเลือดปลายนิ้ว (Capillary refill) มากกว่า 2 วินาที
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
99
o หมดสติ ไม่รู้สึกตัว (U : unresponsive) หรือตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วย
ความเจ็บปวด (P : Response to pain) หรือ Glasgow Coma Score ≤ 8 ให้ค�ำแนะน�ำในการดูแลผู้บาดเจ็บเพิม่ เติมตามสภาพผู้บาดเจ็บและศักยภาพของ หน่วยปฏิบัติการโดยไม่ให้เสียเวลาน�ำส่งกรณีผู้บาดเจ็บรุนแรง (Trauma) o ให้ออกซิเจน โดยรักษาระดับออกซิเจนปลายนิ้วมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 95 o ให้สารน�้ำ Crystalloid (NSS, LRS) ครั้งละ 200-500 มิลลิลิตร ภายใน 10 นาที และประเมินสัญญาณชีพซ�้ำกรณีสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain injury) o พิจารณาใส่ Advanced airway (Endotracheal tube, LMA) ด้วยวิธี Manual Inline Stabilization o ให้ออกซิเจน โดยรักษาระดับออกซิเจนปลายนิ้วมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 95 o ช่วยหายใจ 20 ครั้งต่อนาที (Hyperventilation) เมื่อมีอาการแสดงของ ความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increase Intracranial Pressure) หรือภาวะ สมองเคลื่อน (Brain herniation) เช่น รูม่านตาสองข้างมีขนาดไม่เท่ากัน หรือไม่ตอบสนองต่อแสง, ตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด ในท่าเหยียด หรือไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น หรือ GCS ลดลงจากเดิม มากกว่าหรือเท่ากับ 2 คะแนน o ให้สารน�้ำ Crystalloid (NSS, LRS) o รักษาระดับความดันโลหิต SBP 90 mmHg o เฝ้าระวังการชัก • เลือกโรงพยาบาลปลายทาง โดยพิจารณาตามสภาพผู้บาดเจ็บ และศักยภาพ ของโรงพยาบาลปลายทาง • ประสานงานโรงพยาบาลปลายทาง ยา/หัตถการ/ทรัพยากร แนวทางการรายงานมายัง ศูนย์สั่งการ (MIST) เอกสารอ้างอิง ผู้รับรองค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไป (แพทย์อ�ำนวยการ) 100
อุปกรณ์สื่อสาร M : Mechanism of injury (กลไกการบาดเจ็บ) I : Injury found or suspected (การบาดเจ็บที่ตรวจพบ) S : Signs and symptoms (อาการและอาการแสดง) T : Treatment initiated (การรักษาที่ได้ให้แก่ผู้บาดเจ็บ) แนวทางประเมินผู้บาดเจ็บนอกโรงพยาบาล PHTLS 9th แนวทางการช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บชั้นสูง ATLS 10th
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เขต 11-12 ผู้บาดเจ็บรุนแรง (Trauma) และสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain Injury) หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ระดับอ�ำนวยการ รับแจ้งเหตุ ซักประวัติค�ำถามส�ำคัญ และให้ค�ำแนะน�ำเบื้องต้นแก่ผู้แจ้งเหตุ สั่งการหน่วยปฏิบัติการการแพทย์ระดับพื้นฐาน และระดับสูงให้ออกปฏิบัติการร่วมกัน รับรายงานจากหน่วยปฏิบัติการ การแพทย์ ตามระบบ MIST
- ผู้บาดเจ็บมากกว่า 4 ราย MCI protocol - ผู้บาดเจ็บติดภายใน ประสานทีมตัดถ่าง
ซักประวัติจากหน่วยปฏิบัติการ ผู้บาดเจ็บมีอาการ เข้ากับข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ • มีแผลเลือดออกไม่หยุด หรือต้องใช้ Tourniquet ในการหยุดเลือด • ความดันโลหิตตัวบน SBP ต�่ำกว่า 90 mmHg หรือซีด เหงื่อแตก ตัวเย็น หรือ Capillary refill > 2 seconds • หมดสติ ไม่รู้สึกตัว (U : unresponsive) หรือ ตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด (P : Response to pain) หรือ Glasgow Coma Score ≤ 8 ให้ค�ำแนะน�ำในการดูแลผู้บาดเจ็บเพิ่มเติม ตามสภาพผู้บาดเจ็บและศักยภาพของ หน่วยปฏิบัติการ โดยไม่ให้เสียเวลาน�ำส่ง ประสานงานกับโรงพยาบาล ปลายทางให้เตรียมความพร้อม โรงพยาบาล ที่อยู่ใกล้ที่สุด
โรงพยาบาล ที่มีศักยภาพ (ศัลยแพทย์, ประสาท ศัลยแพทย์)
กรณีบาดเจ็บรุนแรง (Trauma) - ให้ออกซิเจน โดยรักษาระดับ O2 ≥ 95% - ให้สารน�้ำ Crystalloid (NSS/LRS) 200-500 cc ภายใน 10 นาที และประเมิณสัญญาณชีพซ�้ำ กรณีสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic brain injury) - ใส่ Advanced airway ด้วยวิธี Manual in line stabilization - ให้ออกซิเจน โดยรักษาระดับ O2 ≥ 95% - ช่วยหายใจ 20 ครั้ง/นาที (Hyperventilation) เมื่อผู้บาดเจ็บ มีอาการแสดงความดันในกะโหลกศีรษะสูง หรือภาวะสมองเคลื่อน (Brain herniation) - การตอบสนองรูม่านตาสองข้างผิดปกติ - Abnormal Extension - GCS ลดลงจากเดิม≥ 2 คะแนน - ให้สารน�้ำ Crystalloid (NSS/LRS) - รักษาความดันโลหิต SBP≥ 90 mmHg - เฝ้าระวังการชัก
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
101
ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เขต 11-12 ผู้บาดเจ็บรุนแรง (Trauma) และสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain Injury) หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ระดับพื้นฐาน เกณฑ์ในการใช้ค�ำสั่งอ�ำนวยการ (Criteria) 1. มีแผลเลือดออกไม่หยุด หรือต้องใช้สายรัดขันชะเนาะ (Tourniquet) ในการหยุดเลือด 2. ความดันโลหิตตัวบน (Systolic Blood Pressure) ต�่ำกว่า 90 มิลลิเมตร ปรอท หรือ ซีด เหงื่อแตก ตัวเย็น หรือการคืนตัวของเลือดปลายนิ้ว (Capillary refill) มากกว่า 2 วินาที 3. หมดสติ ไม่รู้สึกตัว ( U : unresponsive) หรือ ตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วย ความเจ็บปวด ( P : Response to pain) การประเมินสถานการณ์ หรือข้อควรระวังเป็นพิเศษ (Scene size up and Special consideration) • ประเมินความปลอดภัยของสถานทีเ่ กิดเหตุกอ่ นเข้าช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ได้แก่ สภาพการจราจร กระแสไฟฟ้า ควันไฟ ระเบิด สารเคมี การก่อการร้าย • ผู้บาดเจ็บมากกว่า 4 ราย ให้ใช้ค�ำสั่งแผนอุบัติภัยหมู่ (MCI) • ให้การพยาบาลเบื้องต้นโดยใช้ระยะเวลา ณ จุดเกิดเหตุ ไม่เกิน 10 นาที การประเมินและการให้การรักษา (Evaluation and Treatment) • สวมอุปกรณ์ป้องกันตนเอง • ประเมินผู้บาดเจ็บตามแนวทางการประเมินดูแลผู้บาดเจ็บนอกโรงพยาบาล • รายงานศูนย์สั่งการตามระบบ MIST • แจ้งศูนย์สั่งการเมื่อผู้บาดเจ็บมีอาการเข้ากับข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ o มีแผลเลือดออกไม่หยุด หรือต้องใช้ Tourniquet ในการหยุดเลือด o ความดันโลหิตตัวบน (Systolic Blood Pressure) ต�่ำกว่า 90 มิลลิเมตร ปรอท หรือซีด เหงื่อแตก ตัวเย็น หรือการคืน ตัวของเลือดปลายนิ้ว (Capillary refill) มากกว่า 2 วินาที o หมดสติ ไม่รู้สึกตัว (U : unresponsive) หรือตอบสนองต่อการกระตุน้ ด้วย ความเจ็บปวด (P : Response to pain) 102
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
• เคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บจากจุดเกิดเหตุ และส่งต่อให้แก่หน่วยปฏิบัติการการ แพทย์ระดับสูง • ประเมินผู้บาดเจ็บซ�้ำเป็นระยะขณะน�ำส่ง ยา/หัตถการ/ทรัพยากร
แนวทางการรายงานมายัง ศูนย์สั่งการ (MIST) เอกสารอ้างอิง ผู้รับรองค�ำสั่งอ�ำนวยการ ทั่วไป (แพทย์อ�ำนวยการ)
อุปกรณ์เปิดทางเดินหายใจ ลูกสูบยางแดง อุปกรณ์ให้ออกซิเจน และถังออกซิเจน อุปกรณ์ห้ามเลือด และ Tourniquet อุปกรณ์ดามกระดูก เฝือกดามคอชนิดแข็ง กระดานรองหลัง และอุปกรณ์ยึดตรึงศีรษะ อุปกรณ์สื่อสาร M : Mechanism of injury (กลไกการบาดเจ็บ) I : Injury found or suspected (การบาดเจ็บที่ตรวจพบ) S : Signs and symptoms (อาการและอาการแสดง) T : Treatment initiated (การรักษาที่ได้ให้แก่ผู้บาดเจ็บ) แนวทางประเมินผู้บาดเจ็บนอกโรงพยาบาล PHTLS 9th
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
103
ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เขต 11-12 ผู้บาดเจ็บรุนแรง (Trauma) และสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain Injury) หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ระดับพื้นฐาน ประเมินผู้บาดเจ็บ ตามแนวทางการประเมิน ผู้บาดเจ็บทั่วไป นอกโรงพยาบาล (Trauma) Scene time 10 นาที (เวลาการดูแล ณ จุดเกิดเหตุ ไม่เกิน 10 นาที)
รายงานศูนย์สั่งการ ตามระบบ MIST
M : Mechanism of injury (กลไกการบาดเจ็บ) I : Injury found or suspected (การบาดเจ็บที่ตรวจพบ) S : Signs and symptoms (อาการและอาการแสดง) T : Treatment initiated (การรักษาที่ได้ให้แก่ผู้บาดเจ็บ)
ซักประวัติจากหน่วยปฏิบัติการ ผู้บาดเจ็บมีอาการเข้ากับข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ • มีแผลเลือดออกไม่หยุด หรือต้องใช้ Tourniquet ในการหยุดเลือด • ความดันโลหิตตัวบน SBP ต�่ำกว่า 90 mmHg หรือซีด เหงื่อแตก ตัวเย็น หรือ Capillary refill > 2 seconds • หมดสติ ไม่รู้สึกตัว (U : unresponsive) หรือตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด (P : Response to pain) แจ้งศูนย์สั่งการ ขอค�ำแนะน�ำและขอหน่วยสนับสนุน ประเมินผู้บาดเจ็บซ�้ำเป็นระยะ ขณะน�ำส่ง
104
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เขต 11-12 ผู้บาดเจ็บรุนแรง (Trauma) และสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain Injury) หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง เกณฑ์ในการใช้ค�ำสั่งอ�ำนวยการ (Criteria) 1. มีแผลเลือดออกไม่หยุด หรือต้องใช้สายรัดขันชะเนาะ (Tourniquet) ในการ หยุดเลือด 2. ความดันโลหิตตัวบน (Systolic Blood Pressure) ต�่ำกว่า 90 มิลลิเมตร ปรอท หรือซีด เหงื่อแตก ตัวเย็น หรือการคืนตัวของเลือดปลายนิ้ว (Capillary refill) มากกว่า 2 วินาที 3. หมดสติ ไม่รู้สึกตัว (U : unresponsive) หรือ ตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วย ความเจ็บปวด (P : Response to pain) การประเมินสถานการณ์ หรือข้อควรระวังเป็นพิเศษ (Scene size up and Special consideration) • ประเมินความปลอดภัยของสถานทีเ่ กิดเหตุกอ่ นเขา้ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ไดแ้ ก่ สภาพการจราจร กระแสไฟฟ้า ควันไฟ ระเบิด สารเคมี การก่อการร้าย ฯลฯ ที่จะส่งผล อันตรายต่อผู้ช่วยเหลือ • ผู้บาดเจ็บมากกว่า 4 ราย ให้ใช้ค�ำสั่งแผนอุบัติภัยหมู่ (MCI) • ให้การพยาบาลเบื้องต้นโดยใช้ระยะเวลา ณ จุดเกิดเหตุ ไม่เกิน 10 นาที การประเมินและการให้การรักษา (Evaluation and treatment) • สวมอุปกรณ์ป้องกันตนเอง • ประเมินผู้บาดเจ็บตามแนวทางการประเมินดูแลผู้บาดเจ็บนอกโรงพยาบาล • รายงานศูนย์สั่งการตามระบบ MIST • แจ้งศูนย์สั่งการเมื่อผู้บาดเจ็บมีอาการเข้ากับข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ o มีแผลเลือดออกไม่หยุด หรือต้องใช้ Tourniquet ในการหยุดเลือด o ความดันโลหิตตัวบน (Systolic Blood Pressure) ต�่ำกว่า 90 มิลลิเมตร ปรอท หรือซีด เหงื่อแตก ตัวเย็น หรือการคืนตัวของเลือดปลายนิ้ว (Capillary refill) มากกว่า 2 วินาที o หมดสติ ไม่รู้สึกตัว (U : unresponsive) หรือตอบสนองต่อการกระตุน้ ด้วย ความเจ็บปวด (P : Response to pain) หรือ Glasgow Coma Score ≤ 8 เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
105
• ให้รายงานศนู ย์สงั่ การและให้การพยาบาลตามศักยภาพของหน่วยปฏิบตั กิ าร โดยไม่ให้เสียเวลาน�ำส่ง • กรณีสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain Injury) o พิจารณาใส่ Advanced airway (ET tube, LMA) ด้วยวิธี manual inline stabilization o ให้ออกซิเจน โดยรักษาระดับออกซิเจนปลายนิ้วมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 95 o ช่วยหายใจ 20 ครั้งต่อนาที (Hyperventilation) เมื่อมีอาการแสดงของ ความดันในกะโหลกศีรษะสงู (Increase Intracranial Pressure) หรือภาวะ สมองเคลื่อน (Brain herniation) เช่น รูม่านตาสองข้างมีขนาดไม่เท่ากัน รูม่านตาขยาย และไม่ตอบสนองต่อแสง หรือ ตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยความเจ็บปวดในท่าเหยียด หรือไม่ตอบสนอง ต่อการกระตุ้น หรือ GCS ลดลงจากเดิมมากกว่าหรือเท่ากับ 2 คะแนน o ให้สารน�้ำ Crystalloid (NSS, LRS) o รักษาระดับความดันโลหิต SBP 90 mmHg o เก็บตัวอย่างเลือดเพื่อส่งตรวจ (CBC, BUN, Creatinine, Electrolyte, Coagulogram, Cross matching) o ตรวจระดับน�้ำตาลปลายนิ้ว (80-180 mg%) o เฝ้าระวังการชัก • ขอค�ำสั่งศูนย์สั่งการเพื่อน�ำส่งโรงพยาบาลปลายทางที่เหมาะสม • ตรวจและประเมินผู้เบาดเจ็บอย่างละเอียด (Secondary survey) • ประเมินผู้บาดเจ็บซ�้ำโดยการวัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที ขณะน�ำส่ง
106
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
ยา/หัตถการ/ทรัพยากร
แนวทางการรายงานมายัง ศูนย์สั่งการ (MIST) เอกสารอ้างอิง ผู้รับรองค�ำสั่งอ�ำนวยการ ทั่วไป (แพทย์อ�ำนวยการ)
อุปกรณ์เปิดทางเดินหายใจ เครือ่ งดดู สุญญากาศ Magill’s forceps อุปกรณ์ให้ออกซิเจน และถังออกซิเจน อุปกรณ์ให้สารน�้ำ สารน�้ำ crystalloid อุปกรณ์ห้ามเลือด และ Tourniquet ไฟฉาย หลอดเก็บสิ่งส่งตรวจ และเครื่องตรวจระดับน�้ำตาลปลายนิ้ว อุปกรณ์ดามกระดูก เฝือกดามคอชนิดแข็ง กระดานรองหลัง และอุปกรณ์ยึดตรึงศีรษะ อุปกรณ์สื่อสาร M : Mechanism of injury (กลไกการบาดเจ็บ) I : Injury found or suspected (การบาดเจ็บที่ตรวจพบ) S : Signs and symptoms (อาการและอาการแสดง) T : Treatment initiated (การรักษาที่ได้ให้แก่ผู้บาดเจ็บ) แนวทางประเมินผู้บาดเจ็บนอกโรงพยาบาล PHTLS 9th แนวทางการช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บชั้นสูง ATLS 10th
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
107
ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เขต 11-12 ผู้บาดเจ็บรุนแรง (Trauma) และสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic Brain Injury) หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง รับดูแลผู้บาดเจ็บต่อจาก หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ระดับพื้นฐาน
รับแจ้งออกปฏิบัติการ ดูแลผู้บาดเจ็บ Scene time 10 นาที (เวลาการดูแล ณ จุดเกิดเหตุ ไม่เกิน 10 นาที)
ประเมินผู้บาดเจ็บ ตามแนวทางการประเมิน ผู้บาดเจ็บทั่วไป นอกโรงพยาบาล (Trauma)
M : Mechanism of injury (กลไกการบาดเจ็บ) I : Injury found or suspected (การบาดเจ็บที่ตรวจพบ) S : Signs and symptoms (อาการและอาการแสดง) T : Treatment initiated (การรักษาที่ได้ให้แก่ผู้บาดเจ็บ)
รายงานศูนย์สั่งการตามระบบ MIST
ซักประวัติจากหน่วยปฏิบัติการ ผู้บาดเจ็บมีอาการเข้ากับข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ • มีแผลเลือดออกไม่หยุด หรือต้องใช้ Tourniquet ในการหยุดเลือด • ความดันโลหิตตัวบน SBP ต�่ำกว่า 90 mmHg หรือซีด เหงื่อแตก ตัวเย็น หรือ Capillary refill > 2 seconds • หมดสติ ไม่รู้สึกตัว (U : unresponsive) หรือตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด (P : Response to pain) หรือ Glasgow Coma Score ≤ 8 มีอาการข้อใดข้อหนึ่ง
ไม่ใช่
ประเมินผู้บาดเจ็บ ตามแนวทางการประเมิน ผู้บาดเจ็บทั่วไป นอกโรงพยาบาล (Trauma)
ใช่
ดูแลรักษาขณะน�ำส่ง กรณีสมองบาดเจ็บรุนแรง (Severe Traumatic brain injury) - ใส่ Advanced airway ด้วยวิธี Manual in line กรณีบาดเจ็บรุนแรง (Trauma) stabilization - ให้ออกซิเจน โดยรักษาระดับ - ให้ออกซิเจน โดยรักษาระดับ O2 ≥ 95% O2 ≥ 95% - ช่วยหายใจ 20 ครั้ง/นาที (Hyperventilation) - ให้สารน�้ำ Crystalloid (NSS/LRS) เมื่อผู้บาดเจ็บมีอาการแสดงความดันในกะโหลก 200-500 cc ภายใน 10 นาที ศีรษะสูง หรือภาวะสมองเคลื่อน (Brain herniation) และประเมินสัญญาณชีพซ�้ำ - การตอบสนองรูม่านตาสองข้างผิดปกติ - เก็บตัวอย่างส่งตรวจ (CBC, BUN, - Abnormal Extension Cr, Electrolyte, Coagulogram, - GCS ลดลงจากเดิม≥ 2 คะแนน Cross matching) และตรวจ - ให้สารน�้ำ Crystalloid (NSS/LRS) ระดับน�้ำตาลปลายนิ้ว - รักษาระดับความดันโลหิต SBP 90 mmHg - เก็บตัวอย่างเลือดเพื่อส่งตรวจ - ตรวจระดับน�้ำตาลปลายนิ้ว (80-180 mg%) - เฝ้าระวังการชัก - รักษาความดันโลหิต SBP≥ 90 mmHg - เฝ้าระวังการชัก
108
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
แจ้งศูนย์สั่งการ และค�ำสั่งน�ำส่ง โรงพยาบาลปลายทาง ตรวจและประเมิน ผู้ป่วยอย่างละเอียด (Secondary survey) ประเมินสัญญาณชีพ ผู้บาดเจ็บซ�้ำ ทุก 15 นาที ขณะน�ำส่ง
Appendix 16 การประกาศเสียชีวิต ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน การประกาศเสียชีวิต Declare Death หน่วยปฏิบัติการ : หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับอ�ำนวยการ เกณฑ์ในการใช้ค�ำสั่งอ�ำนวยการ (Criteria)* 1. หมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง 2. คล�ำชีพจรไม่ได้ การประเมินสถานการณ์/ข้อควรระมัดระวังเป็นพิเศษ ให้ประเมินความปลอดภัยของสถานการณ์โดยหลักทั่วไป ก่อนเข้าสถานที่ เกิดเหตุ การประเมินและการให้การรักษา เมื่อได้รับแจ้งผู้ป่วยหมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง หรือคล�ำชีพจรไม่ได้ ให้แจ้งหน่วยปฏิบัติการในพื้นที่ออกตรวจสอบเหตุ กรณี BLS อยู่ใกล้ให้ออกตรวจสอบ เหตุก่อน พร้อมสั่งการ ALS ออกเหตุร่วม ตรวจสอบอาการแสดงของการเสียชีวิต (อย่างใดอย่างหนึ่ง) 1. พบหัวหรือตัวขาด หรือ มีชิ้นส่วนของสมองไหล 2. ไหม้เกรียมทั้งตัว 3. ชิ้นส่วนของหัวใจออกมานอกร่างกาย 4. ร่างกายเน่าเปื่อย อาจเห็นสีเขียวเกิดขึ้นที่ท้องน้อย เส้นเลือดเกิดสีเขียวคล�้ำ เป็นลายคล้ายหินอ่อน ท้องอืด ผิวหนังโป่งตึง ลอก ส่งกลิ่นเหม็น 5. พบการเเข็งตัวของกล้ามเนื้อ (rigor mortis) โดยจะพบการแข็งเกร็งของ กล้ามเนื้อขนาดเล็กก่อน เช่น ขากรรไกร นิ้วมือ ต่อมาจะลามทั่วตัว 6. พบเลือดตกตามแรงโนม้ ถ่วง (livor mortis) พบสีแดงคล�้ำของผิวหนังในส่วน ที่อยู่ต�่ำ เช่น บริเวณหลังถ้าผู้ป่วยนอนหงาย อาจพบผิวหนังสีซีดตามรอยกด แนวการรัด ของเสื้อผ้า
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
109
ถ้าพบอาการแสดงของการเสียชีวิตที่แน่ชัด แจ้งให้ญาติทราบ
o หากญาติยืนยันให้กู้ชีพ >> ให้ด�ำเนินการช่วยชีวิตตามแนวทางหัวใจ หยุดเต้นนอกโรงพยาบาล และน�ำส่งโรงพยาบาล o หากญาติรับทราบเข้าใจดี ปฏิเสธกู้ชีพ >> ให้ประกาศการเสียชีวิต และติดต่อศูนย์สั่งการ โดยไม่ต้องด�ำเนินการกู้ชีพ ถ้าไม่พบอาการแสดงของการเสียชีวิตที่แน่ชัด แจ้งให้ญาติทราบ o หากญาติยืนยันให้กู้ชีพ >> ให้ด�ำเนินการช่วยชีวิตตามแนวทางหัวใจ หยุดเต้นนอกโรงพยาบาล และน�ำส่งโรงพยาบาล o หากญาติปฏิเสธกู้ชีพ เนื่องจาก 1. ผู้ป่วยมีค�ำสั่งปฏิเสธการกู้ชีพ (DNR) ผู้ป่วยมีเอกสารเป็นลายลักษณ์ อักษรชัดเจนในการปฏิเสธการกู้ชีพ 2. ญาติสายตรงแจ้งว่าผู้ป่วยได้แจ้งเจตนาในการปฏิเสธการกู้ชีพ >> ให้ญาติสายตรงลงนามในเอกสารปฏิเสธการกู้ชีพ (หนังสือแสดง เจตนาไม่ประสงค์การกู้ชีพ) พร้อมลงชื่อพยาน >> ให้ประกาศการเสียชีวติ และติดต่อศูนย์สงั่ การ โดยไม่ต้องด�ำเนินการ กู้ชีพ พิจารณาหยุดการกู้ชีพในกรณีที่ o กรณีตรวจพบอาการแสดงของการเสียชีวิต ได้แก่ ร่างกายเน่าเปื่อย (decomposition), การเเข็งตัวของกล้ามเนื้อ (rigor mortis), พบเลือดตก ตามแรงโน้มถ่วง (livor mortis) ในเวลาต่อมา o เมื่อได้ท�ำการกู้ชีพตามแนวทางการกู้ชีพขั้นสูง (ACLS algorithm) เป็น เวลา 30 นาที ยังไม่มีชีพจร และคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็น non shockable rhythm (PEA/Asystole) >> ให้ทีม ALS ประกาศการเสียชีวิต และติดต่อศูนย์สั่งการ หลังได้รับแจง้ ประกาศยืนยันการเสียชีวต ิ ศนู ย์สงั่ การมีหน้าทีแ่ จ้งผู้เกีย่ วข้อง ได้แก่ เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ และนิติเวช ต่อไป
110
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน การประกาศเสียชีวิต Declare Death หน่วยปฏิบัติการ : หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินระดับอ�ำนวยการ ผู้ป่วยหมดสติ ไม่รู้ตัว คล�ำชีพจรไม่ได้ แจ้งหน่วย BLS ออกตรวจสอบ
แจ้งหน่วย ALS ออกยืนยัน
อาการแสดงของการเสียชีวิต (อย่างใดอย่างหนึ่ง) 1. พบหัวหรือตัวขาด หรือมีชิ้นส่วนของสมองไหล 2. ไหม้เกรียมทั้งตัว 3. ชิ้นส่วนของหัวใจออกมานอกร่างกาย 4. ร่างกายเน่าเปื่อย 5. พบการเเข็งตัวของกล้ามเนื้อ (rigor mortis) 6. พบเลือดตกตามแรงโน้มถ่วง (livor mortis)
ไม่พบ ยืนยันให้กู้ชีพ
ปฏิบัติตาม OHCA protocol
แจ้งให้ญาติทราบ
พบ ปฏิเสธกู้ชีพ
ปฏิเสธกู้ชีพ
แจ้งให้ญาติทราบ
ตรวจสอบเอกสาร/ ให้ญาติลงชื่อ ในใบปฏิเสธการกู้ชีพ
EKG : PEA/Asystole หลัง ACLS ครบ 30 นาที
ยืนยันให้กู้ชีพ
ปฏิบัติตาม OHCA protocol
ประกาศการเสียชีวิต
EKG : PEA/Asystole หลัง ACLS ครบ 30 นาที
แจ้งศูนย์สั่งการ แจ้งต�ำรวจ/นิติเวช เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
111
ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน การประกาศเสียชีวิต Declare Death หน่วยปฏิบัติการ : หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับพื้นฐาน เกณฑ์ในการใช้ค�ำสั่งอ�ำนวยการ (Criteria)* 1. หมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง 2. คล�ำชีพจรไม่ได้ การประเมินสถานการณ์/ข้อควรระมัดระวังเป็นพิเศษ ให้ประเมินความปลอดภัยของสถานการณ์โดยหลักทั่วไป ก่อนเข้าสถานที่ เกิดเหตุ การประเมินและการให้การรักษา เมื่อพบผู้ป่วยหมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง หรือคล�ำชีพจรไม่ได้ ตรวจสอบอาการแสดงของการเสียชีวิต (อย่างใดอย่างหนึ่ง) 1. พบหัวหรือตัวขาด หรือมีชิ้นส่วนของสมองไหล 2. ไหม้เกรียมทั้งตัว 3. ชิ้นส่วนของหัวใจออกมานอกร่างกาย 4. ร่างกายเน่าเปื่อย อาจเห็นสีเขียวเกิดขึ้นที่ท้องน้อย เส้นเลือดเกิดสีเขียว คล�้ำเป็นลายคล้ายหินอ่อน ท้องอืด ผิวหนังโป่งตึง ลอก ส่งกลิ่นเหม็น ถ้าพบอาการแสดงของการเสียชีวิตที่แน่ชัด แจ้งให้ญาติทราบ o หากญาติยืนยันให้กู้ชีพ >> ให้ด�ำเนินการช่วยชีวิตตามแนวทางหัวใจ หยุดเต้นนอกโรงพยาบาล รอทีม ALS มาถึง o หากญาติรับทราบเข้าใจดี ปฏิเสธกู้ชีพ >> ให้ประกาศการเสียชีวิต และ ติดต่อศูนย์สั่งการ โดยไม่ต้องด�ำเนินการกู้ชีพ ถ้าไม่พบอาการแสดงของการเสียชีวิตที่แน่ชัด แจ้งให้ญาติทราบ o หากญาติยืนยันให้กู้ชีพ >> ให้ด�ำเนินการช่วยชีวิตตามแนวทางหัวใจ หยุดเต้นนอกโรงพยาบาล รอทีม ALS มาถึง o หากญาติปฏิเสธกู้ชีพ เนื่องจาก 1. ผู้ป่วยมีค�ำสัง่ ปฏิเสธการกชู้ พี (DNR) ผู้ป่วยมีเอกสารเป็นลายลักษณ์อกั ษร ชัดเจนในการปฏิเสธการกู้ชีพ 2. ญาติสายตรงแจ้งว่าผู้ป่วยได้แจ้งเจตนาในการปฏิเสธการกู้ชีพ >> ให้ญาติสายตรงลงนามในเอกสารปฏิเสธการกู้ชีพ (หนังสือแสดงเจตนา ไม่ประสงค์การกู้ชีพ) พร้อมลงชื่อพยาน >> ให้ประกาศการเสียชีวติ และติดต่อศูนย์สงั่ การ โดยไม่ต้องด�ำเนินการกชู้ พี
112
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน การประกาศเสียชีวิต Declare Death หน่วยปฏิบัติการ : หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินระดับพื้นฐาน ผู้ป่วยหมดสติ ไม่รู้ตัว คล�ำชีพจรไม่ได้
อาการแสดงของการเสียชีวิต (อย่างใดอย่างหนึ่ง) 1. พบหัวหรือตัวขาด หรือมีชิ้นส่วนของสมองไหล 2. ไหม้เกรียมทั้งตัว 3. ชิ้นส่วนของหัวใจออกมานอกร่างกาย 4. ร่างกายเน่าเปื่อย
ไม่พบ ยืนยันให้กู้ชีพ
แจ้งให้ญาติทราบ
ปฏิบัติตาม OHCA protocol
รอทีม ALS มาถึง
พบ ปฏิเสธกู้ชีพ
ปฏิเสธกู้ชีพ
แจ้งให้ญาติทราบ
ตรวจสอบเอกสาร/ ให้ญาติลงชื่อ ในใบปฏิเสธการกู้ชีพ
ยืนยันให้กู้ชีพ
ปฏิบัติตาม OHCA protocol
ประกาศการเสียชีวิต
รอทีม ALS มาถึง
แจ้งศูนย์สั่งการ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
113
ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน การประกาศเสียชีวิต Declare Death หน่วยปฏิบัติการ : หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับสูง เกณฑ์ในการใช้ค�ำสั่งอ�ำนวยการ (Criteria)* 1. หมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง 2. คล�ำชีพจรไม่ได้ การประเมินสถานการณ์/ข้อควรระมัดระวังเป็นพิเศษ ให้ประเมินความปลอดภัยของสถานการณ์โดยหลักทั่วไป ก่อนเข้าสถานที่ เกิดเหตุ การประเมินและการให้การรักษา เมื่อพบผู้ป่วยหมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง หรือคล�ำชีพจรไม่ได้ ตรวจสอบอาการแสดงของการเสียชีวิต (อย่างใดอย่างหนึ่ง) 1. พบหัวหรือตัวขาด หรือมีชิ้นส่วนของสมองไหล 2. ไหม้เกรียมทั้งตัว 3. ชิ้นส่วนของหัวใจออกมานอกร่างกาย 4. ร่างกายเน่าเปื่อย อาจเห็นสีเขียวเกิดขึ้นที่ท้องน้อย เส้นเลือดเกิดสีเขียว คล�้ำเป็นลายคล้ายหินอ่อน ท้องอืด ผิวหนังโป่งตึง ลอก ส่งกลิ่นเหม็น 5. พบการเเข็งตัวของกล้ามเนื้อ (rigor mortis) โดยจะพบการแข็งเกร็งของ กล้ามเนื้อขนาดเล็กก่อน เช่น ขากรรไกร นิ้วมือ ต่อมาจะลามทั่วตัว 6. พบเลือดตกตามแรงโน้มถ่วง (livor mortis) พบสีแดงคล�้ำของผิวหนัง ในส่วนทีอ่ ยต�ู่ ำ่ เช่น บริเวณหลังถา้ ผู้ป่วยนอนหงาย อาจพบผิวหนังสีซดี ตาม รอยกด แนวการรัดของเสื้อผ้า ถ้าพบอาการแสดงของการเสียชีวิตที่แน่ชัด แจ้งให้ญาติทราบ o หากญาติยืนยันให้กู้ชีพ >> ให้ด�ำเนินการช่วยชีวิตตามแนวทางหัวใจ หยุดเต้นนอกโรงพยาบาล และน�ำส่งโรงพยาบาล o หากญาติรับทราบเข้าใจดี ปฏิเสธกู้ชีพ >> ให้ประกาศการเสียชีวิต และ ติดต่อศูนย์สั่งการ โดยไม่ต้องด�ำเนินการกู้ชีพ ถ้าไม่พบอาการแสดงของการเสียชีวิตที่แน่ชัด แจ้งให้ญาติทราบ o หากญาติยืนยันให้กู้ชีพ >> ให้ด�ำเนินการช่วยชีวิตตามแนวทางหัวใจ 114
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
หยุดเต้นนอกโรงพยาบาล และน�ำส่งโรงพยาบาล o หากญาติปฏิเสธกู้ชีพ เนื่องจาก 1. ผู้ป่วยมีค�ำสัง่ ปฏิเสธการกชู้ พี (DNR) ผู้ป่วยมีเอกสารเป็นลายลักษณ์อกั ษร ชัดเจนในการปฏิเสธการกู้ชีพ 2. ญาติสายตรงแจ้งว่าผู้ป่วยได้แจ้งเจตนาในการปฏิเสธการกู้ชีพ >> ให้ญาติสายตรงลงนามในเอกสารปฏิเสธการกู้ชีพ (หนังสือแสดงเจตนา ไม่ประสงค์การกู้ชีพ) พร้อมลงชื่อพยาน >> ให้ประกาศการเสียชีวิต และติดต่อศูนย์สั่งการ โดยไม่ต้องด�ำเนินการฅ กู้ชีพ พิจารณาหยุดการกู้ชีพ ในกรณีที่ o กรณีตรวจพบอาการแสดงของการเสียชีวิต ได้แก่ ร่างกายเน่าเปื่อย (decomposition), การเเข็งตัวของกลา้ มเนือ้ (rigor mortis) , พบเลือดตก ตามแรงโน้มถ่วง (livor mortis) ในเวลาต่อมา o เมื่อได้ท�ำการกู้ชีพตามแนวทางการกู้ชีพขั้นสูง (ACLS algorithm) เป็น เวลา 30 นาที ยังไม่มีชีพจร และคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็น non shockable rhythm (PEA/Asystole) >> ให้ทีม ALS ประกาศการเสียชีวิต และติดต่อศูนย์สั่งการ
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
115
ค�ำสั่งอ�ำนวยการทั่วไปในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน การประกาศเสียชีวิต Declare Death หน่วยปฏิบัติการ : หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินระดับสูง ผู้ป่วยหมดสติ ไม่รู้ตัว คล�ำชีพจรไม่ได้
อาการแสดงของการเสียชีวิต (อย่างใดอย่างหนึ่ง) 1. พบหัวหรือตัวขาด หรือมีชิ้นส่วนของสมองไหล 2. ไหม้เกรียมทั้งตัว 3. ชิ้นส่วนของหัวใจออกมานอกร่างกาย 4. ร่างกายเน่าเปื่อย 5. พบการเเข็งตัวของกล้ามเนื้อ (rigor mortis) 6. พบเลือดตกตามแรงโน้มถ่วง (livor mortis)
ไม่พบ ยืนยันให้กู้ชีพ
ปฏิบัติตาม OHCA protocol
แจ้งให้ญาติทราบ
พบ ปฏิเสธกู้ชีพ
ปฏิเสธกู้ชีพ
แจ้งให้ญาติทราบ
ตรวจสอบเอกสาร/ ให้ญาติลงชื่อ ในใบปฏิเสธการกู้ชีพ
EKG : PEA/Asystole หลัง ACLS ครบ 30 นาที
ประกาศการเสียชีวิต
ปฏิบัติตาม OHCA protocol
EKG : PEA/Asystole หลัง ACLS ครบ 30 นาที
แจ้งศูนย์สั่งการ
116
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ยืนยันให้กู้ชีพ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
Appendix 17 การจัดการสาธารณภัยหรืออุบัติภัยหมู่ (Mass Casualty Incident or Disaster) เกณฑ์การใช้ค�ำสั่งอ�ำนวยการ (Criteria) o อุบัติภัยที่มีผู้ประสบภัยตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป และ o หน่วยปฏิบัติการระดับสูงตั้งแต่ 2 หน่วย หรือหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานตั้งแต่ 3 หน่วยขึ้นไป หรือ o อุบัติภัยเฉพาะที่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษ หรือทีมเฉพาะเจาะจง เช่น ทีมตัดถ่าง ทีมผจญสารเคมี (HAZMAT team) แนวทางการปฏิบัติของศูนย์สื่อสารสั่งการ o สอบถามข้อมูลสถานการณ์ [METHANE] ดังนี้ ผู้แจง ้ เหตุคอื ใคร เบอร์ตดิ ต่อ เหตุการณ์เป็นเหตุอบุ ตั ภิ ยั หมูหร ่ อื ภัยพิบตั ใิ ช่หรอื ไม่ [M: My call sign, major incident] สถานที่เกิดเหตุ (รายละเอียดชัดเจนมากที่สุด) [E: exact location] ลักษณะเหตุ [T: type of incident] ความเสี่ยงหรือภัยคุกคามร่วมที่อาจเกิดขึ้น [H: hazards] เส้นทางเข้า-ออกและการเดินทาง [A: access] จ�ำนวนผู้บาดเจ็บ (จ�ำนวนในแต่ละระดับความรุนแรงหากมีข้อมูล) [N: number and severity of casualties] หน่วยปฏิบัติงานที่ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุและความต้องการสนับสนุนเพิ่มเติม แบ่งระดับเป็นระดับต้น (basic) และระดับสูง (advanced) [E: emergency medical service present and required] o รายงานสถานการณ์ตอ่ Supervisor และแพทย์อ�ำนวยการปฏิบตั กิ ารฉุกเฉิน (พอป.) o ประสานหน่วยปฏิบัติการระดับต้นและระดับสูงออกปฏิบัติการร่วมกัน พร้อมแจ้ง ข้อมูล METHANE o ประสานหน่วยงานอื่นๆ เช่น ต�ำรวจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดับเพลิง หรือ ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (กรณีต้องการสนับสนุนชุดปฏิบตั กิ ารหรืออุปกรณ์ปฏิบตั กิ าร พิเศษ เช่น ทีมปฏิบัติการสารเคมี ทีมตัดถ่าง) เป็นต้น
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
117
o ประสานผู้บังคับบัญชาเหตุการณ์ (incident commander) ในพื้นที่เกิดเหตุ หรือผู้ประสานงาน (Liaison) เพื่อสอบถามสถานการณ์ การบริหารจัดการ และการ ปฏิบัติงานของทีมการแพทย์ฉุกเฉิน o ประสานหน่วยปฏิบัติการในพื้นที่เกิดเหตุและพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อเตรียมความพร้อม (Standby) พร้อมส�ำรวจจ�ำนวนทีมปฏิบัติการที่พร้อมปฏิบัติงาน o ประสานสถานพยาบาลทัง้ รัฐและเอกชนในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุและพืน้ ทีใ่ กล้เคียงเพือ่ เตรียม ความพร้อม (Standby) และส�ำรวจศักยภาพด้านต่าง ๆ ดังนี้ ศักยภาพสถานพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยได้สูงสุด แบ่งเป็นผู้ใหญ่และเด็ก จ�ำนวนผู้ป่วยที่สามารถให้การดูแลได้ในแผนกฉุกเฉิน แบ่งเป็น แดง เหลือง เขียว และด�ำ จ�ำนวนห้องผ่าตัด จ�ำนวนเตียงในหอผู้ป่วยวิฤต จ�ำนวนเครื่องช่วยหายใจ (ถ้ามี) o บันทึกขอ้ มลู สถานการณ์ตามแบบฟอร์มรับแจ้งข่าวและรายงานเหตุดว่ นสาธารณภัย ด้านการแพทย์และสาธารณสุข (เอกสารแนบ 1) และรายงานตาม Workflow (เอกสารแนบ 2)
118
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
เอกสารแนบ 1 แบบฟอร์มรับแจง้ ข่าวและรายงานเหตุดว่ นสาธารณภัยดา้ นการแพทย์และ สาธารณสุข
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
119
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้บริหารระดับสูง
ส�ำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน
ส�ำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน
ส�ำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน
1. แจ้ง DCIRs ทันที
2. รายงาน DCIRs เบือ้ งต้น (ภายใน 1 ชั่วโมง)
3. แจ้ง DCIRs ส�ำหรับปลัดกระทรวง สาธารณสุข (ภายใน 1 ชั่วโมง)
ส�ำนักสาธารณสุขจังหวัด
ส�ำนักสาธารณสุขจังหวัด
เมื่อเกิดเหตุ
สสจ. ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ, รพศ., รพท.
ภายในเวลา 1 ชั่วโมง
ภายในเวลา 1 ชั่วโมง
เอกสารแนบ 2 Workflow การปฏิบัติงาน
แนวทางการปฏิบัติของทีมปฏิบัติงาน o จัดเตรียมทีมและอุปกรณ์ โดยเฉพาะชุดป้องกันตนเองส่วนบุคคล (Personal protective equipment: PPE) ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ตามที่ได้รับข้อมูล METHANE จากศูนย์สื่อสารสั่งการ o ประเมินสถานการณ์ ความเสีย่ งหรือภัยคุกคามทีอ่ าจเกิดขึน้ และสวมใส่ PPE ระหว่าง การออกปฏิบัติการ o เมื่อถึงสถานที่เกิดเหตุให้ปฏิบัติดังนี้ ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ (Scene size up) ประเมินความปลอดภัย ความเสี่ยงหรือภัยคุกคาม และสวมใส่ PPE ที่เหมาะสม บริหารจัดการทีมโดยการใช้ระบบบังคับบัญชาเหตุการณ์ (Incident command system: ICS) ก�ำหนดหัวหน้าทีมปฏิบัติงานด้านการแพทย์ (Medical incident command: MIC) ซึ่งให้หัวหน้าทีมระดับสูงที่สุดทีมแรกท�ำหน้าที่ในบทบาท ดังกล่าว กรณี มี ผู้บั ง ตั บบั ญ ชาเหตุ ก ารณ์ (Incident commander: IC) ปฏิ บั ติ ง าน ณ จุดเกิดเหตุ 120
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
• หัวหน้าทีมปฏิบัติงานด้านการแพทย์ รายงานตัวกับผู้บังคับบัญชาเหตุการณ์ • รับทราบสถานการณ์ แนวทางการปฏิบัติงาน และพื้นที่ในการปฏิบัติงานจาก ผู้บังคับบัญชาเหตุการณ์ • รายงานข้อมูล METHANE ไปยังศูนย์สื่อสารสั่งการ • หารือกับ IC เพื่อให้วางแผนการปฏิบัติงานด้านรักษาพยาบาล เช่น ก�ำหนด สถานที่ปฏิบัติงาน ระบบรักษาความปลอดภัย แนวทางการสื่อสาร จัดแบ่งทีม และผู้รับผิดชอบการปฏิบัติงานด้านต่างๆ เป็นต้น • ปฏิบัติงานด้านการรักษาพยาบาลตามแผน กรณีไม่มีผู้บังคับบัญชาเหตุการณ์ปฏิบัติงาน ณ จุดเกิดเหตุ • หัวหน้าทีมปฏิบัติงานด้านการแพทย์ ประเมินสถานการณ์ • รายงานข้อมูล METHANE ไปยังศูนย์สื่อสารสั่งการ • ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่เข้ามาปฏิบัติงานในพื้นที่ • วางแผนการปฏิบตั งิ านดา้ นรักษาพยาบาล เช่น ก�ำหนดสถานทีป่ ฏิบตั งิ าน ระบบ รักษาความปลอดภัย แนวทางการสื่อสาร จัดแบ่งทีมและผู้รับผิดชอบการ ปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ เป็นต้น • ปฏิบัติงานด้านการรักษาพยาบาลตามแผน แนวทางการจัดสถานที่เพื่อในการปฏิบัติงาน o ก�ำหนดพื้นที่การปฏิบัติงานของทีมรักษาพยาบาล เหตุการณ์ทั่วไป • Inner zone: ระยะจากจุดเกิดเหตุไม่เกิน 100 ฟุต (33 เมตร) • Outer zone: ระยะห่างจากจุดเกิดเหตุอย่างน้อย 100 ฟุต (33 เมตร) และ สวมใส่ PPE ระดับ D • รูปภาพ 1 เหตุการณ์สารเคมี • เบื้องต้น o Hot/Bronze ระยะห่างจากจุดเกิดเหตุไม่เกิน 300 ฟุต (100 เมตร) และให้ทีมเฉพาะ เข้าปฏิบัติงาน (Hazard management team: HAZMAT) ซึ่งจะสวมใส่ PPE ระดับ A หรือ B o Warm/Silver ระยะห่างจากจุดเกิดเหตุไม่เกิน 360 ฟุต (360 เมตร) และสวมใส่ PPE ระดับ C ในการปฏิบัติการลดการปนเปื้อน (decontamination) o Cold/Gold ระยะห่างจากจุดเกิดเหตุอย่างน้อย 360 ฟุต (360 เมตร) และสวมใส่ PPE ระดับ D เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
121
o รูปภาพ 2 o หรือตามข้อต�ำแนะน�ำจากคู่มือ emergency response guidebook (ERG) (เอกสารแนบ) o ก�ำหนดพื้นที่จอดรถพยาบาล (Ambulance parking) o ก�ำหนดพื้นที่ขนย้ายผู้ป่วย หรือผู้ประสบภัย (Ambulance loading) o ก�ำหนดพื้นที่คัดแยก (Triage area) o ก�ำหนดพืน้ ทีรวบรว ่ มผู้ป่วย (Collection area) (อาจเป็นพืน้ ทีเ่ ดียวกับพืน้ ทีค่ ดั แยก) o ก�ำหนดเส้นทางเข้า-ออก แนวทางการจัดทีมปฏิบัติงาน o หัวหน้าทีมด้านการรักษาพยาบาล (MIC) o ผู้ประสานงาน (Liaison officer) o ทีมคัดแยก (Triage team) o ทีมเคลื่อนย้าย (Transportation team) o ทีมรักษาพยาบาลแบ่งตามระดับความรุนแรง (แดง เหลือง เขียว ด�ำ) o ผู้ประสานงานการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย (Ambulance loading officer) o ผู้บริหารจัดการจุดจอดรถพยาบาล (Ambulance parking officer) แนวทางการคัดแยกผู้ป่วย o ระบบคัดแยกขึ้นกับบริบทและความเหมาะสมของหน่วยงาน o ตัวอย่างระบบการคัดแยกที่ส�ำคัญ เช่น Simple triage and rapid treatment (START) SIEVE and SORT (รูปภาพที่ 3) o การคัดแยกเบือ้ งต้นอาจด�ำเนินการ ณ จุดคัดแยก หรือจุดรวบรวมผู้ป่วย ผู้ประสบภัย โดยใช้ระบบ START หรือ SIEVE o การคัดแยก ณ จัดให้การรักษาพยาบาล (โซน) โดยใช้ระบบ START หรือ SORT (รูปภาพที่ 4) แนวทางการดูแลรักษาพยาบาล o ประเมินและให้การดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้น ดังนี้ จ�ำกั ด การเคลื่ อ นของกระดู ก สั น หลั ง ส่ ว นต้นคอ [Cervical spine motion restriction] ในกรณีอุบัติเหตุ 122
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
ทางเดินหายใจ [Airway] • ประเมินทางเดินหายใจ และค้นหาสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ • ให้การดูแลเพื่อก�ำจัดสิ่งแปลกปลอม หรือเปิดทางเดินหายใจ ระบบการพายใจ [Breathing] • ประเมินระบการหายใจ โดยค้นหาภาวะคุกคามต่อชีวิต ได้แก่ tension pneumothorax massive hemothorax เป็นต้น • ให้การดู แ ลระบบการหายใจเบื้ อ งต้น เช่ น การให้ออกซิ เจน needle decompression เป็นต้น ระบบไหลเวียนโลหิต [Circulation] • ประเมินระบบไหลเวียนโลหิต โดยเฉพาะค้นหาจุดเลือดออก • การห้ามเลือด เช่น pressure, pelvic binding, splinting เป็นต้น และการให้ สารน�้ำอย่างเหมาะสม ระบบประสาทและระดับความรู้สึกตัว [Disability] • ประเมินระดับความรู้สึกตัว (Glasgow coma scale: GCS) • ดูแลและป้องกันภาวการณ์บาดเจ็บเพิ่มเติมต่อระบบประสาท (Secondary brain injury) ตรวจตามร่ า งกายและควบคุ ม สิ่ ง แวดล้ อ ม [Exposure and environment control] • ประเมิ น และค้ น หารอยโรคตามร่ า งกายและป้ อ งกั น ภาวะภยั น ตรายจาก สิ่งแวดล้อม เช่น ภาวะอุณหภูมิร่างกายต�่ำ เป็นต้น o หมายเหตุ ในสถานการณ์สาธารณภัย ให้พิจารณาทรัพยากรด้านการแพทย์ก่อน การด�ำเนินการนวดหัวใจกู้ชีพ (Cardiopulmonary resuscitation: CPR)
แนวปฏิบัติของผู้ประสานงานการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย (Ambulance loading officer) o ประสานงานกับผู้ประสานงานของผู้บังคับบัญชาเหตุการณ์ในด้านสถานการณ์ และ การบริหารจัดการผู้ป่วยหรือผู้ประสบภัย o ประสานงานกับหวห ั นา้ ทีมรักษาพยาบาลระดับตา่ ง ๆ เพือ่ บริหารจัดการการเคลือ่ น ย้ายผู้ป่วย o ประสานงานกับสถานพยาบาลในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อตรวจสอบศักยภาพ ดังนี้ ศักยภาพสถานพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยได้สูงสุด แบ่งเป็นผู้ใหญ่และเด็ก จ�ำนวนผู้ป่วยที่สามารถให้การดูแลได้ในแผนกฉุกเฉิน แบ่งเป็น แดง เหลือง เขียว และด�ำ เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
123
จ�ำนวนห้องผ่าตัด จ�ำนวนเตียงในหอผู้ป่วยวิฤต จ�ำนวนเครื่องช่วยหายใจ (ถ้ามี) o ประสานงานกับศูนย์สื่อสารสั่งการ เพื่อประสานการปฏิบัติงานและตรวจสอบ ศักยภาพสถานพยาบาลในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง o ประสานข้อมูลผู้ป่วยหรือผู้ประสบภัย ทีส่ ง่ ต่อไปยังสถานพยาบาลแต่ละแห่ง ตัวอย่าง เช่น MIST SBAR MIST • กลไกการบาดเจ็บหรือป่วย [Mechanism of injury/illness] • การบาดเจ็บหรืออาการป่วยที่สงสัย [Injury suspected] • อาการและอาการแสดง [Signs and symptoms] • การรักษาที่ได้ด�ำเนินการ [Treatment] SBAR • สถานการณ์ [Situation] • ปัจจัยพื้นฐาน [Background] • ผลการประเมิน [Assessment] • ข้อเสนอแนะ [Recommendation]
124
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
รูปภาพที่ 1 การจัดสถานที่ปฏิบัติงานในอุบัติภัยหมู่ทั่วไป
รูปภาพที่ 2 แสดงการจัดสถานที่ปฏิบัติงานกรณีอุบัติภัยสารเคมี
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
125
รูปภาพที่ 3 Triage SIEVE
126
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
รูปภาพที่ 4 Triage SORT แนวทางการปฏิบัติเมื่อเสร็จสิ้นภารกิจ o รายงานผลการปฏิบัติงาน จ�ำนวนผู้ป่วย ผู้ประสบภัย โดยแบ่งตามระดับความรุนแรง (แดง เหลือง เขียว ด�ำ หรือน�้ำเงิน) จ�ำนวนผู้ป่วย ผู้ประสบภัยที่น�ำส่งสถานพยาบาลต่าง ๆ โดยแบ่งตามระดับความ รุนแรง (แดง เหลือง เขียว ด�ำหรือน�้ำเงิน) จ�ำนวนทีมเข้าร่วมการปฏิบัติงาน โดยแบ่งเป้นระดับเบื้องต้น และระดับสูง o สรุปภาพรวมการปฏิบัติงาน และข้อเสนอแนะ (ถ้ามี) o หัวหนา้ ทีมดแู ลรักษาพยาบาลรายงานผลการปฏิบตั งิ านต่อผู้บังคับบญ ั ชาเหตุการณ์ o บันทึกผลการตอบสนองต่อเหตุการณ์ตามแบบฟอร์มแบบรายงานสถานการณ์ สาธารณภัย (Disaster) ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อรายงานต่อกอง สาธารณสุขฉุกเฉิน ส�ำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข (เอกสารแนบ) เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
127
128
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
129
130
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
Appendix 18 การปฏิบัติการกู้ชีพทางน�้ำ หลักการในการดูแลผู้ป่วยเจ็บทางน�้ำ Check : ตรวจสอบ Call : ร้องขอความช่วยเหลือ Care : ดูแลคนที่บาดเจ็บ Check 1. ตรวจสอบสถานการณ์ What : เกิดอะไรขึ้น Who : เกิดกับใคร มีผู้ป่วยจ�ำนวนกี่คน อาการเป็นอย่างไร Where : เกิดที่ไหน เส้นทางการเข้าถึงท�ำได้ง่ายหรือยาก When : เกิดเมื่อไหร่ Why : สาเหตุการเกิด Scene safety : ความปลอดภัยในการส่งคนเข้าไปช่วยเหลือ 2. ตรวจสอบทรัพยากร D : Danger : ตรวจสอบอันตรายต่างๆ ต้องเตรียมทรัพยากรอะไรบ้าง R : Response : ตรวจสอบอุปกรณ์และของที่จะน�ำไปใช้ในส่วนหน้า S : Send : การสื่อสารและการขอความช่วยเหลือต่างๆ 3. การตรวจสอบผู้ป่วย 3.1 primary survey A : Airway with c-spine precautions B : Breathing C : circulation D : Disability E: Environment and exposure 3.2 การประเมินความรู้สึกตัว A : Alert ประเมิน GCS V: verbal P : pain U : unresponsive
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
131
3.3 การตรวจร่างกายคร่าวๆ D : Deformity : การผิดรูปของอวัยวะ C : Contusion : การฟกช�้ำ A : Abrasion : การถลอก P : Puncture and penetration : การแทงหรือทะลุ B : Burns : การไหม้ T : Tenderness : การเจ็บปวดส่วนไหนหรือไม่ S : swelling : มีการบวมตรงไหนหรือไม่ 3.4 Call ขอความช่วยเหลือที่เกิดเหตุ (At scene) 1. การร้องตะโกนขอความช่วยเหลือ 2. การเป่านกหวีด 3. การส่งสัญญาณวิทยุ,ส่งสัญญาณมือ 4. ปืนสัญญาณ, ควัน, กระจก,ป้าย v-sheet 5. การส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม, Emergency position indicating radio beacon (EPIRBS) or Search and rescue transporter (SART) 3.5 rescue center (ศูนย์1669 + กรมเจ้าท่า + ป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย + ทหารเรือ + ศรชล + ต�ำรวจน�้ำ + พื้นที่ + สื่อสาร + ททท. + ต�ำรวจจราจร + ทหารอากาศ) 1. รับแจ้งเหตุ 2. ส่งทีม first responder 3. ประสานงานหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. Activate incident command system ทางทะเล (ในกรณีที่ต้องการ ทรัพยากรและเกินศักยภาพของหน่วย Rescue center)
132
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
การช่วยชีวิตทางน�้ำ 1. Basic maritime and aquatic life support บุคคลทั่วไปอาสาสมัครกู้ชีพ ร้อง : ร้องขอความช่วยเหลือ เช่น โทร 1669 ตะโกน : ตะโกนบอกผู้ประสบภัยว่าไม่ต้องตกใจผมมาช่วยแล้วเพื่อเรียกสติผู้ ประสบภัย โยน : โยนเชือก หรือส่งของที่ลอยน�้ำได้ไปให้ผู้ประสบภัย ยื่น : ยื่นกิ่งไม้ ยื่นท่อยาวๆ เพื่อไปให้ผู้ประสบภัยจับลากเข้าฝั่ง การลุยน�้ำตื้น : น�้ำต้องไม่เกินระดับเอวของผู้ป่วยน�ำสิ่งของยาวๆติดตัวไปด้วย 2. Advanced marine aquatics life support first responder หน่วยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พยาบาล/paramedic/ EMT ทหารเรือ ต�ำรวจน�้ำ การช่วยเหลือแบบประชิดตัวแล้วลากพาผู้ประสบภัยขึ้นจากน�้ำ การน�ำเรืออกไปช่วยเหลือ ข้อแตกต่างในการช่วยชีวิตทางน�้ำมีความแตกต่างดังนี้ การประเมิน ประเมิน A B C D E Basic life support ช่วยหายใจ 5 ครัง้ ต่อด้วยการปัม๊ หัวใจและช่วยหายใจ 30:2 การท�ำ chest compression อย่างเดียวไม่แนะน�ำให้ท�ำการใช้ AED ต้องระวัง ถ้าผู้ประสบภัยเปียกหรือพื้นที่เปียกจะท�ำให้ไฟฟ้าช็อตผู้ช่วยเหลือได้ C-spine : avoid in hx trauma case
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
133
CPG Drowning พบผู้ป่วยจมน�้ำโทร 1669 น�ำผู้ป่วยขึ้นจากน�้ำให้เร็วที่สุด ต้องระวัง C-spine กรณีที่มีประวัติอุบัติเหตุต่าง ๆ ประเมินสติ/การรับรู้ของผู้ป่วย รู้สติ/ตอบสนอง
ไม่รู้สติ/ไม่ตอบสนอง
Clear Airway เอาสิ่งแปลกปลอมออก
โทรขอความช่วยเหลือ 1669 มาพร้อม AED
Recovery Position (นอนตะแคงข้าง ให้ศีรษะหงายไปด้านหลัง เอาสิ่ง แปลกปลอมออก เพื่อให้น�้ำไหล ออกจากปาก)
ประเมินการหายใจ
ถอดเสื้อผ้าถอดเสื้อผ้าที่เปียกออก เช็ดตัวให้แห้ง ให้ความอบอุ่นแก่ ร่างกายห้ามให้กินอาหารและดื่มน�้ำ น�ำส่งโรงพยาบาลทุกราย
เอาสิ่งแปลกปลอมออกจากปาก ไม่หายใจ/ไม่มีชีพจร
หายใจ/มีชีพจร
ช่วยหายใจ 5 ครั้ง
Clear Airway
Start CPR 30:2
Recovery Position
รอทีม Advance มาถึง
น�ำส่งโรงพยาบาลทุกราย
Advance MALS Airway Management ประเมินชีพจร
134
ไม่มีชีพจร
มีชีพจร
ติดเครื่อง AED
Monitor EKG
CPR
On O2 Support Mask C bag 10 L/min
น�ำส่งโรงพยาบาล
น�ำส่งโรงพยาบาล
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
แผนภูมิการดูแลผู้ป่วยถูกพิษจากแมงกระพรุน ผู้ช่วยเหลือต้องแน่ใจว่าตัวเองปลอดภัยจากแมงกะพรุน น�ำผู้บาดเจ็บขึ้นจากน�้ำ หรือไปยังบริเวณที่ปลอดภัย เรียกให้คนช่วย หรือเรียกรถพยาบาลและควรอยู่กับ ผู้บาดเจ็บ เพราะอาจหมดสติได้ภายในไม่กี่นาที ให้ผู้บาดเจ็บอยู่นิ่ง ๆ เพื่อลดการยิงพิษ จากแมงกะพรุน ห้ามขัดถูบริเวณที่ถูกแมงกะพรุน ประเมินรู้สติ/ตอบสนอง
ประเมินไม่รู้สติ/ไม่ตอบสนอง
1. ใช้น�้ำส้มสายชูราดบริเวณที่ถูกแมงกะพรุนให้ ทัว่ ถึงและอย่างต่อเนือ่ ง นานอย่างน้อย 30 วินาที (ห้ามราดน�้ำจืด) 2. ถ้าไม่มีน�้ำส้มสายชู ให้ใช้น�้ำทะเล ให้น�ำหนวด แมงกะพรุนทีต่ ดิ อยอู่ อกอย่างรวดเร็ว โดยใช้บัตร แข็งๆ หลีกเลี่ยงการขัดถูหรือขยี้หนวด 3. ถ้าปวดมากใช้น�้ำแข็งประคบหรือแช่ในน�้ำร้อน 40 องศาเชลเชียส บริเวณแผล
โทร. 1669 ขอความ ช่วยเหลือฉุกเฉิน
สังเกตอาการอย่างน้อย 45 นาที ว่าไม่มีอาการ ต่อไปนี้ ปวดบริเวณบาดแผล หลังล�ำตัว หรือศีรษะมาก กระสับกระส่าย หรือสับสน เหงื่อออกมาก ขนลุก คลื่นไส้ หรืออาเจียน ใจสั่น เจ็บหน้าอก หรือแน่นหน้าอก หายใจล�ำบาก หายใจเร็ว หรือหอบเหนื่อย หน้าซีด หรือ ปลายมือปลายเท้าเขียว กลับบ้านได้
เปิดทางเดินหายใจ และประเมิน หายใจปกติ
หายใจไม่ปกติ/ ไม่หายใจ ช่วยหายใจ 5 ครั้ง ให้ O2 100%
มีชีพจร ให้ O2 100%
ปฏิบัติตามการช่วยฟื้นคืนชีพ ขั้นพื้นฐานด้วยการกดหน้าอก 30 ครั้ง สลับช่วยหายใจ 2 ครั้ง 1. ใช้น�้ำส้มสายชูราดบริเวณที่ถูก แมงกะพรุ น ให้ทั่ ว ถึ ง และอย่ า ง ต่อเนื่องนานอย่างน้อย 30 วินาที (ห้ามราดด้วยน�้ำจืด) 2. ช่ ว ยฟื ้ น คื น ชี พ ต่ อ จนกว่ า รถพยาบาลจะมาถึงหรืออาการ ดีขึ้น รีบน�ำส่งโรงพยาบาล พักรักษาตัว 24-72 ชม. เพื่อเฝ้าระวังอาการที่อาจเกิด ในเวลาต่อมา
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
135
CPG Maritime Animal bite (หอยเม่น, ปลากระเบน, ปลาสาก, ปลาฉลาม ฯลฯ) โทร. 1669 และน�ำผู้ป่วยขึน้ จากน�้ำ ล้างด้วยน�้ำสะอาดจ�ำนวนมาก ถ้ามีสิ่งแปลกปลอมปักคาอยู่อย่าพยายามดึงออก ไม่ใช่
เสียเลือดจ�ำนวนมาก
น�ำส่งโรงพยาบาล
ใช่ ใช้ผ้าสะอาดกดบริเวณ ปากบาดแผลไว้
ไม่ใช่
อาการไม่ดี - เสียเลือดมาก เปิดเส้นให้ 0.9% NSS - มีสิ่งแปลกปลอมปักอยู่ ตัดส่วนเกิน ที่ยาวเกินไปออก ห้ามดึงออกเองเด็ดขาด - คนไข้หมดสติ ให้ท�ำตาม CPR Protocol
ประเมินคนไข้ ใช่ อาการดี Pressure Immobilization technique น�ำส่งโรงพยาบาล
น�ำส่งโรงพยาบาล
136
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
CPG Venomous marine Animal (เช่น หมึกสายวงน�้ำเงิน, หอยเต้าปูน, ปลาหิน, ปลาแมงป่อง) Scene Safety / PPE ไม่ใช่ ไม่มีชีพจร / ไม่หายใจ โทร. 1669 Start CPR
ประเมินคนไข้ ABCD
ใช่ - มีชีพจร - พูดจารู้เรื่องดี - ไม่มีปัญหาเรื่องการหายใจ ประเมินบาดแผล
ช่วยหายใจ 5 ครั้ง *ส�ำคัญ Chest compression 30 ครั้ง เป่าปาก 2 ครั้ง (30:2)
Pressure Immobilization technique
น�ำส่งโรงพยาบาล
Advance + AED Aggressive Airway Management CPR Protocol น�ำส่งโรงพยาบาล
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
137
Screening จิตเวช ผู้ต้องสงสัยมีอาการ เก็บตัว พูดคนเดียว หูแว่ว อาการซึมเศร้า มีความเสี่ยง
138
แบบประเมิน ST-5
ความเสี่ยงน้อย
≥ 8 คะแนน
≥ 8 คะแนน
2Q
ติดตามดูแลใกล้ชิด
9Q
Psychosocial support
8Q
ประเมินทุกสัปดาห์ ทุกวัน
ติดต่อส่งกลับ
ส่งกลับท่าเรือต่อไป
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
แนวทางการด�ำเนินงานผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต ทางทะเล Acute Psychosis - พูดคนเดียว - หูแว่ว - มีอาการทางจิตเห็นภาพหลอน ใช่
SAFER - R model diazepam hs pc pc
1*1 1*2 1*3
ควบคุมไม่ได้
พูดคุยรู้เรื่อง หรือไม่
ไม่ใช่
Haloperidol 5 mg. IM. q 4 - 6 hr. Max 40 mg. พยายามเข้าฝั่ง Refer โรงพยาบาล ใกล้ฝั่งที่สุด
SAFER -R Model for Acute Stress 1. Stabilize พูดคุย 2. Acknowledge เข้าใจ 3. Facilitate understanding ไว้วางใจ 4. Encourage adaptive coping ก�ำลังใจ 5. Restore functioning ยอมรับความจริงปรับให้พฤติกรรมให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม 6. Refer ส่งต่อโรงพยาบาลใกล้ฝั่งมากที่สุด
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
139
Appendix 19 แนวทางการปฏิบัติงานกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การออกปฏิบัติการฉุกเฉิน 1.รับแจ้งเหตุและสั่งการ (dispatch) 1) การรับแจ้ง : ซักประวัติจากผู้แจ้งเหตุ ดังนี้ - อาการเพือ่ ประเมินความรุนแรงของเหตุ แบ่งเป็นรหัสแดง เหลือง เขียว ขาว ด�ำ - ประวัตคิ วามเสีย่ งทีเ่ ข้าเกณฑ์กลุม่ เสีย่ งต่อการติดเชือ้ COVID-19 ตามแนวทาง ปฏิบัติ ฉบับปรับปรุงของกรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข 2) สั่งการออกปฏิบัติการ โดยค�ำนึงถึงอาการและความรุนแรง และประวัติเสี่ยง ดังนี้ กลุ่มที่ให้ประวัติเข้าเกณฑ์สงสัย (patient under investigation;PUI) หรือ มาจากสถานที่กักกันของรัฐ - แดง/เหลือง สัง่ การ “หน่วยปฏิบตั กิ ารระดับสงู เฉพาะกิจ (ALS-Full)” ออกรับเหตุ - เขียว สั่งการ “หน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานเฉพาะกิจ (BLS new)” หรือ หากไม่มีในพื้นที่ ใช้ “หน่วยปฏิบัติการระดับสูงทั่วไป(ALS)” แทน - ขาว และด�ำ ให้ค�ำแนะน�ำทางโทรศัพท์ กลุ่มผู้ป่วยทั่วไป ไม่มีประวัติเข้าเกณฑ์สงสัย - สั่งการตามปกติ 2. ขณะออกปฏิบัติการ - สวมชุดอุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสม - ระมัดระวังการปนเปื้อน ณ จุดเกิดเหตุ พยายามให้มีผู้เกี่ยวข้องน้อยที่สุด - สวมหน้ากากอนามัยให้ผู้ป่วยทันที หากเป็นไปได้ โดยไม่ขัดขวางการท�ำหัตถการ ช่วยชีวิต - หลีกเลี่ยงการท�ำหัตถการที่เป็นฝอยละออง (aerosol generating procedure) โดยไม่จ�ำเป็นในพื้นที่ที่ควบคุมไม่ได้ - ประสานแจ้งโรงพยาบาลปลายทางก่อนน�ำส่ง เพื่อจัดเตรียมพื้นที่
140
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
3. หลังเสร็จสิ้นการออกปฏิบัติการ 1) เจ้าหน้าที่ทุกคน ถอดชุด PPE ตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง และอาบน�้ำท�ำความ สะอาดร่างกาย ในสถานที่ที่เตรียมไว้ 2) ท�ำความสะอาดรถและอุปกรณ์ที่ใช้ทันที ในบริเวณจุด decontamination ที่จัด เตรียมไว้ ตามแนวทางมาตรฐาน 3) หากสัมผัสสารคัดหลั่ง ให้แจ้งผู้บังคับบัญชาทันที 4. การท�ำความสะอาดรถหลังการใช้งาน - ผู้ท�ำความสะอาดใส่ชุดอุปกรณ์ป้องกัน (PPE) ตามมาตรฐาน - เปิดประตู หน้าต่าง ท้ายรถ ท�ำความสะอาดตามขั้นตอนที่ก�ำหนดในรายการ โดยเริ่มท�ำจากบริเวณที่ปนเปื้อนน้อยที่สุด ไปบริเวณที่ปนเปื้อนมากที่สุด - น�ำอุปกรณ์และ stretcher ออกจากรถให้หมด กรณีที่ปูแผ่นพลาสติกไว้ ให้ม้วน เก็บโดยเอาด้านนอกม้วนเข้าในบนลงล่าง จากด้านหน้ารถไปด้านหลังรถ - เช็ดสารคัดหลั่งและเลือดออกด้วยกระดาษช�ำระ (การเช็ดไม่ฆ่าเชื้อ แต่จะลด ปริมาณ) ใช้น�้ำและน�้ำยาท�ำความสะอาดเช็ดถูเพื่อขจัดคราบที่เกาะอยู่ตามพื้นผิว เช็ดด้วย ผ้าอย่างน้อย 10-12 ผืน ไม่ใช้ผ้าผืนเดิมเช็ด ผ้าที่เช็ดแล้วให้ทิ้งในขยะติดเชื้อ ห้ามน�ำมาใช้ ใหม่ แล้วจึงใช้ 0.1% Sodium Hypochlorite (เช่นไฮเตอร์, ไฮยีน, Chlorox, HighRox) หรือ 70% แอลกอฮอล์เช็ด ทิ้งไว้นาน 30 นาที แล้วเช็ดถูตามปกติ (ถ้าเป็นอุปกรณ์ ให้แช่ ในน�้ำยาท�ำลายเชื้อ) - อุปกรณ์ที่ใช้แล้วให้ทิ้งในถุงขยะติดเชื้อ มัดปากถุงให้แน่น ใส่ถุงขยะ 2 ชั้น ปิดเทปเหนียว น�ำไปไว้ที่พักขยะติดเชื้อ - ระบายอากาศในรถ เปิดประตูและกระจกทิ้งไว้นานอย่างน้อย 30 นาที
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
141
แนวทางปฏิบัติงานกรณีผู้ติดเชื้อโคโรนา 2019 : การออกปฏิบัติการฉุกเฉิน รับแจ้งเหตุ ประเมินความรุนแรงของเหตุ แดง เหลือง เขียว ขาว ด�ำ
สั่งการออกปฏิบัติการ
ประวัติความเสี่ยง เข้าเกณฑ์ PUI ตามแนวทางปฏิบัติ ฉบับปรับปรุงของกรมควบคุมโรคติดต่อหรือไม่
เข้าเกณฑ์ PUI
ไม่เข้าเกณฑ์ PUI
แดง/เหลือง
เขียว
ขาว/ด�ำ
ALS-Full
BLS new or ALS
ให้ค�ำแนะน�ำ ทางโทรศัพท์
สั่งการตามปกติ
ขณะออกปฏิบัติการ - สวมชุดอุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสมกับความเสี่ยงและความรุนแรง - ระมัดระวังการปนเปื้อน ณ จุดเกิดเหตุ พยายามให้มีผู้เกี่ยวข้องน้อยที่สุด - สวมหน้ากากอนามัยให้ผู้ป่วยทันที หากเป็นไปได้ โดยไม่ขัดขวางการท�ำหัตถการ ช่วยชีวิต - หลีกเลี่ยงการท�ำหัตถการที่เป็นฝอยละออง (aerosol generating procedure) โดยไม่จ�ำเป็นในพื้นที่ที่ควบคุมไม่ได้ - ควรรักษาระยะห่างจากผู้ป่วยอย่างเหมาะสม นัง่ อยูบ่ นรถทางดา้ นศีรษะของผู้ป่วย - ประสานแจ้งโรงพยาบาลปลายทางก่อนน�ำส่ง เพื่อจัดเตรียมพื้นที่ หลังเสร็จสิ้นการออกปฏิบัติการ - ถอดชุด PPE ตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง และอาบน�้ำท�ำความสะอาดร่างกาย ใน สถานที่ที่เตรียมไว้ - ท�ำความสะอาดรถและอุปกรณ์ที่ใช้ทันที ในบริเวณจุด decontamination ที่จัด เตรียมไว้ ตามแนวทางมาตรฐาน - หากสัมผัสสารคัดหลั่ง ให้แจ้งผู้บังคับบัญชาทันที 142
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
การท�ำความสะอาดรถหลังการใช้งาน - ผู้ท�ำความสะอาดใส่ชุดอุปกรณ์ป้องกัน (PPE) ตามมาตรฐาน - เปิดประตู หน้าต่าง ท้ายรถ ท�ำความสะอาดตามขั้นตอนที่ก�ำหนดในรายการ โดยเริ่มท�ำจากบริเวณที่ปนเปื้อนน้อยที่สุด ไปบริเวณที่ปนเปื้อนมากที่สุด - น�ำอุปกรณ์และ stretcher ออกจากรถให้หมด กรณีที่ปูแผ่นพลาสติกไว้ ให้ม้วน เก็บโดยเอาด้านนอกม้วนเข้าในบนลงล่าง จากด้านหน้ารถไปด้านหลังรถ - เช็ดสารคัดหลั่งและเลือดออกด้วยกระดาษช�ำระ (การเช็ดไม่ฆ่าเชื้อ แต่จะลด ปริมาณ) ใช้น�้ำและน�้ำยาท�ำความสะอาดเช็ดถูเพื่อขจัดคราบที่เกาะอยู่ตามพื้นผิว เช็ดด้วย ผ้าอย่างน้อย 10-12 ผืน ไม่ใช้ผ้าผืนเดิมเช็ด ผ้าที่เช็ดแล้วให้ทิ้งในขยะติดเชื้อ ห้ามน�ำมา ใชใ้ หม่ แล้วจึงใช้ 0.1% Sodium Hypochlorite (เช่น ไฮเตอร์, ไฮยีน, Chlorox, HighRox) หรือ 70% แอลกอฮอล์เช็ด ทิ้งไว้นาน 30 นาที แล้วเช็ดถูตามปกติ (ถ้าเป็นอุปกรณ์ ให้แช่ ในน�้ำยาท�ำลายเชื้อ) - อุปกรณ์ที่ใช้แล้วให้ทิ้งในถุงขยะติดเชื้อ มัดปากถุงให้แน่น ใส่ถุงขยะ 2 ชั้น ปิดเทปเหนียว น�ำไปไว้ที่พักขยะติดเชื้อ - ระบายอากาศในรถ เปิดประตูและกระจกทิ้งไว้นานอย่างน้อย 30 นาที
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
143
หน่วยปฏิบัติการ : ภาวะปกติแบบใหม่ของหน่วยปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน (New normal EMS team) หน่วยปฏิบัติการ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ ระดับสูง เฉพาะกิจ
ALS-Full
ระดับสูง ระดับพื้นฐาน เฉพาะกิจ
ALS BLS new**
ระดับพื้นฐาน หรืออาสาสมัคร
BLS/EMR
144
ชุดอุปกรณ์ป้องกัน (PPE)* ระดับการแพร่กระจายทางอากาศและการสัมผัส (Airborne + Contact Precautions) Cover all ถ้าไม่มีใช้ Protective gown ถุงมือ หน้ากากชนิด N95 กระจังหน้า หรือแว่น ป้องกันตา หมวกคลุมผม และทีค่ ลุมเทา้ (leg cover) ระดับการแพร่กระจายละอองฝอยน�้ำมูก น�้ำลาย และการสัมผัส (droplet + contact precautions) Protective gown ถุงมือ หน้ากากอนามัย กระจังหน้า และหมวกคลุมผม ระดับการสัมผัส (contact precautions) ถุงมือ กระจังหน้า และหน้ากากอนามัย
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
นิยามผู้สงสัยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่เข้าเกณฑ์สอบสวนโรค (Patient Under Investigation : PUI) 16 มิถุนายน 2563 (ปรับปรุง 23 มิถุนายน 2563 อาการและอาการแสดง ปัจจัยเสี่ยง (สถานการณ์ปัจจุบันไม่พบ ผู้ป่วยติดเชื้อในประเทศ) กรณีที่ 1 การเฝ้าระวังที่ ด่านควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ 37.3 องศาเซลเซียสขึ้นไป หรืออาการของระบบทาง เดินหายใจอย่างใดอย่าง หนึ่ง ดังต่อไปนี้ ไอ น�้ำมูก เจ็บคอ ไม่ได้กลิ่น หายใจ เร็ว หายใจเหนื่อย หรือ หายใจล�ำบาก กรณีที่ 2 การเฝ้าระวังใน ผู้สงสัยติดเชื้อ/ผู้ป่วย กรณีที่ 2.1 ผู้สงสัยติดเชื้อ ที่มีอาการ ได้แก่ อาการของระบบทางเดิน หายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ ไอ น�้ำมูก เจ็บ คอ ไม่ได้กลิ่น หายใจเร็ว หายใจเหนื่อย หรือหายใจ ล�ำบาก และ/หรือ ประวัติ มีไข้ หรืออุณหภูมิกาย ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียส ขึ้นไป
มาตรการการกักกัน
1. มีประวัติเดินทางไปยัง หรือ มาจากต่าง ประเทศทุกเที่ยวบิน ทุกช่องทางระหว่าง ประเทศ
1) กรณีตรวจไม่พบเชื้อ กักกันอย่างน้อย 14 วัน หรือเป็นไปตามาตรการ ที่รัฐบาลก�ำหนด
2.1 การมีประวัติในช่วงเวลา 14 วันก่อนวันเริ่ม ป่วย อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยแบ่ง 2 กลุ่ม ดังนี้ 1. กลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยงสูง 1) มีประวัติเดินทางไปยัง หรือ มาจาก หรืออยู่ อาศัยในพื้นที่เกิดโรคในช่วงเวลานั้น 2) สัมผัสกับผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 3) ไปในสถานที่ชุมนุมชน หรือ สถานที่ที่มีการ รวมกลุ่มคน ที่มีการรายงานผู้ป่วยยืนยันฯ เช่น ตลาดนัด ห้างสรรพสินค้า สถานพยาบาล หรือ ขนส่งสาธารณะ 2. กลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยงต�่ำ 1) ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับนักท่องเที่ยว สถานที่แออัด หรือติดต่อกับคนจ�ำนวนมาก 2) ไปในสถานที่ชุมนุมชน หรือ สถานที่ที่มีการ รวมกลุ่มคน เช่น ตลาดนัด ห้างสรรพสินค้า สถานพยาบาล หรือ ขนส่งสาธารณะ
2.1) 1.กรณีตรวจไม่พบเชื้อ กักกันอย่างน้อย 14 วัน
2.กรณีตรวจไม่พบเชื้อ รักษาตามแนวทาง เวชปฏิบัติของโรคที่เป็น
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
145
อาการและอาการแสดง ปัจจัยเสี่ยง (สถานการณ์ปัจจุบันไม่พบ มาตรการการกักกัน ผู้ป่วยติดเชื้อในประเทศ) กรณีที่ 2.2 ผู้ป่วยโรค ปอดอักเสบ กรณีที่ 3 การเฝ้าระวังใน บุคลากรด้านการแพทย์ และสาธารณสุข อาการของระบบทางเดิน หายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ ไอ น�้ำมกู เจ็บคอ ไม่ได้กลิ่น หายใจเร็ว หายใจเหนื่อย หรือหายใจ ล�ำบาก และ/หรือ ประวัติ มีไข้ หรืออุณหภูมิร่างกาย ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียส ขึ้นไป หรือปอดอักเสบ กรณีที่ 4 การเฝ้าระวังผู้มี อาการติดเชื้อระบบทาง เดินหายใจเป็นกลุ่มก้อน ผู้มีอาการติดเชื้อระบบทาง เดินหายใจเป็นกลุ่มก้อน (cluster) ตั้งแต่ 5 ราย ขึ้นไป ในสถานที่เดียวกัน (กรณีโรงเรียน ในห้องเรียน เดียวกัน)
146
2.2 ไม่พบสาเหตุที่ชัดเจน หรือแพทย์ผู้ตรวจ 2.2) กรณีตรวจไม่พบ รักษาสงสัยว่าเป็นโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชื้อรักษาตามแนวทาง เวชปฏิบัติของโรคที่เป็น
3. แพทย์ผู้ตรวจรักษาสงสัยว่าเป็นโรคติดเชื้อ 3) กรณีตรวจไม่พบเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 หรือมีประวัติสัมผัสผู้ป่วย/ รักษาตามแนวทางเวช ผู้สงสัยว่าป่วยฯ ปฏิบัติของโรคที่เป็น
4. เป็นกลุ่มก้อนในสถานที่ และช่วงสัปดาห์ 4) กรณีตรวจไม่พบเชื้อ เดียวกัน โดยมีความเชื่อมโยงทางระบาดวิทยา รักษาตามแนวทางเวช ปฏิบัติของโรคที่เป็น
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
147
148
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
149
150
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
รายนามคณะผู้จัดท�ำ เรืออากาศเอกอัจฉริยะ แพงมา เขตสุขภาพที่ 11 นายแพทย์นภัส ลาวัณย์ทักษิณ นายแพทย์พงศ์ธร จันเตมีย์ นางสาวชนณพรรษ ชัยธรรม นายแพทย์จารุวัฒน์ ส�ำลีพันธ์ แพทย์หญิงอมรรัตน์ มณีรัตน์ประเสริฐ นายแพทย์คันธศักดิ์ สนธนวณิชย์ แพทย์หญิงน�้ำทิพย์ สังสันไทย แพทย์หญิงมัลลิกา บุญเนียม นายแพทย์ภาณุพันธุ์ สุวรรณวงศ์ แพทย์หญิงธิดารัตน์ รัตนนิคม นายแพทย์ปิยวัฒน์ จริยาวัฒนะ แพทย์หญิงสิรินาถ จันทร์ลา นางสาววรรทนี นาคะพัฒกุล แพทย์หญิงภาวิตา ชุมเกลี้ยง แพทย์หญิงวลีรัตน์ ชะอุ่มเครือ แพทย์หญิงสุธิสา เผือกเดช นางสาวเรืองพร นาควิรัตน์ นายแพทย์อิทธิชัย หังสพฤกษ์ แพทย์หญิงวันดี เหลืองพูนลาถ นางสาวศิริรัตน์ เพ็ญแสงทอง นางสาวจันทิมา อารีชนม์ นายแพทย์สุขสันต์ ค�ำนวณศิลป์ แพทย์หญิงกาญจนา ผาณิตพิเชฐวงศ์ แพทย์หญิงกันต์กนก ปิยะธรรม แพทย์หญิงจันทร์จิรา แต่ศักดาธรรม แพทย์หญิงชัชฎาภรณ์ ไกรศรพรสรร แพทย์หญิงชนิดา เข็มเงิน นายแพทย์รัฐพล สร้างผล นายแพทย์มรรษยุว์ อิงคภาสกร นายแพทย์เอกไพบูลย์ เชื้อทองฮัว แพทย์หญิงภัทรา พรกุลวัฒน์
เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ที่ปรึกษา หน่วยงาน จังหวัด โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลกาญจนดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลท่าโรงช้าง สุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ชุมพร โรงพยาบาลชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ชุมพร โรงพยาบาลชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ชุมพร ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัดชุมพร ชุมพร โรงพยาบาลกระบี่ กระบี่ โรงพยาบาลระนอง ระนอง โรงพยาบาลระนอง ระนอง ศูนย์รับแจ้งและสั่งการจังหวัดพังงา พังงา โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต ภูเก็ต โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต ภูเก็ต โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต ภูเก็ต โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต ภูเก็ต โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต ภูเก็ต โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต ภูเก็ต โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต ภูเก็ต โรงพยาบาลเกาะสมุย ภูเก็ต โรงพยาบาลป่าตอง ภูเก็ต โรงพยาบาลป่าตอง ภูเก็ต
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
151
เขตสุขภาพที่ 12 แพทย์หญิงสศิริ ดิลกธราดล นายแพทย์ณัฎฐภัทร ถาวรพัฒนพงศ์ นางประไพ กาญจนก�ำเหนิด แพทย์หญิงวรัญญา เตชภานุวัฒน์ แพทย์หญิงเพ็ญภัสสร์ ธนัชทัศน์ แพทย์หญิงพนิตนันท์ จินดามณี นางฉัตรสิริ ชัยสิทธิ์ นายแพทย์จรุงวิทย์ ปลื้มเปรมจิตร นายแพทย์ซารีมัน เจ๊ะแว แพทย์หญิงวิภาดา พิศพรรณ แพทย์หญิงขวัญชนก ลือวีระวงษ์ แพทย์หญิงดวงกมล รัตตะพันธุ์ นางชฎาพร ฟองสุวรรณ นายแพทย์สุรนันต์ นิลมาลย์ นายแพทย์จักรพงศ์ จันทนา นางพุดตาล ศรีสุวงศ์ นายแพทย์ชารีฟ หะยีบือชา แพทย์หญิงชญาณี บุญวิทยา แพทย์หญิงสาธญา บุรี นางสอลีห๊ะ เล๊าะมะ นายแพทย์ภควัต จุลทอง แพทย์หญิงจุฑารัตน์ จรลักษณ์ แพทย์หญิงณัฐยา พรมวัง แพทย์หญิงพรพิชชา ยงวณิชชา แพทย์หญิงจันทิมา โอภาวัฒนสิน นายแพทย์ธณดล เศียรอินทร์ แพทย์หญิงธนพร จิตติพาณิชย์ แพทย์หญิงธัมพรรษ ปิยสุวรรณกุล นายแพทย์ณปฐม ซุ้นสุวรรณ แพทย์หญิงลลิตา ฉลองกุลศักดิ์ นายแพทย์ชัยวุฒิ สุขสมานวงศ์ แพทย์หญิงสุมาลิน ชุมคช นายแพทย์วริษ คุปต์กาญจนากุล 152
หน่วยงาน จังหวัด โรงพยาบาลพัทลุง พัทลุง โรงพยาบาลพัทลุง พัทลุง โรงพยาบาลพัทลุง พัทลุง โรงพยาบาลตรัง ตรัง โรงพยาบาลตรัง ตรัง โรงพยาบาลตรัง ตรัง โรงพยาบาลตรัง ตรัง โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก นราธิวาส โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก นราธิวาส โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก นราธิวาส โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ นราธิวาส โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ นราธิวาส โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ นราธิวาส โรงพยาบาลตากใบ นราธิวาส โรงพยาบาลสตูล สตูล โรงพยาบาลสตูล สตูล โรงพยาบาลปัตตานี ปัตตานี โรงพยาบาลเบตง ยะลา โรงพยาบาลยะลา ยะลา โรงพยาบาลยะลา ยะลา โรงพยาบาลหาดใหญ่ สงขลา โรงพยาบาลหาดใหญ่ สงขลา โรงพยาบาลหาดใหญ่ สงขลา โรงพยาบาลหาดใหญ่ สงขลา โรงพยาบาลหาดใหญ่ สงขลา โรงพยาบาลหาดใหญ่ สงขลา โรงพยาบาลหาดใหญ่ สงขลา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ สงขลา ณ อ�ำเภอนาทวี โรงพยาบาลสงขลา สงขลา โรงพยาบาลสงขลา สงขลา โรงพยาบาลสงขลา สงขลา โรงพยาบาลสงขลา สงขลา
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
นางสาวนาถลดา จิตสุวรรณ แพทย์หญิงณิชยา วัฒนก�ำธรกุล
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา โรงพยาบาลกรุงเทพ หาดใหญ่
สงขลา สงขลา
ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เขตสุขภาพที่ 11 นางณัฐนันท์ ทัศนวิสุทธิ์ ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช นางสาววรรรณดี ศุภวงศานนท์ ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี นายศรชัย เพ็ชรเวช ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชุมพร นางศรัญยา โชคไพศาล ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกระบี่ นายชัยณรงค์ ยิ้มน้อย ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง นางสาวทัศนีย์ ทัศการ ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพังงา นางอรชร อัฐทวีลาภ ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เขตสุขภาพที่ 12 แพทย์หญิงสศิริ ดิลกธราดล ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง นางจันทราทิพย์ แพทาย ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง นายธันวา พยัคฆโยธี ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส นางอรนุช ณ นคร ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล นายนายสมยศ อินทรสุวรรณ ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี นายจิรายุวัฒน์ ชัยพานิชยกุล ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา นายประสิทธิ์ ง๊ะสตูล ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ นางธัณณ์จิรา ธนาศิริธัชนันท์ นายอรรถพล ถาน้อย นางชิดชนก สุวคนธ์ นางพัชรี รณที นางสาวสุพิชญา ศีลสารรุ่งเรือง นางสาวอุรศา ศรีวัฒนบูรพา
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
นนทบุรี นนทบุรี นนทบุรี นนทบุรี นนทบุรี นนทบุรี
เกณฑ์วธ ิ แ ี ละแนวปฏิบต ั ต ิ ามค�ำสัง ่ การแพทย์ และการอ�ำนวยการ
ส�ำหรับหน่วยปฏิบต ั ก ิ ารแพทย์ฉก ุ เฉิน เขตสุขภาพที่ 11, 12 พ.ศ. 2564
153