พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 1 มีีนาคม 2565
จััดพิิมพ์์โดย
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ (สพฉ.)
88/40 หมู่่�ที่่� 4 อาคารเฉลิิมพระเกีียรติิพระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หัว ั 84 พรรษา
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานประจำำ�ปีี 2564 สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
สาธารณสุุขซอย 6 ถนนติิวานนท์์ ตำำ�บลตลาดขวััญ อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดนนทบุุรีี 11000
ISBN
978-616-7951-63-8
ที่่ป � รึึกษา
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา
น.อ.นพ.พิิสิท ิ ธิ์์� เจริิญยิ่่ง�
น.พ.พงศ์์ธร เกีียรติิดำำ�รงวงศ์์
นายพิิเชษฐ์์ หนองช้้าง
น.พ.ชายวุุฒิิ สววิิบููลย์์
นพ.ชััยพร สุุชาติิสุน ุ ทร
นายสุุรชััย ศิิลาวรรณ
นางสาวอุุรา สุุวรรณรัักษ์์ ว่่าที่่� ส.ท.เอก โอฐน้้อย
กองบรรณาธิิการ
นางธััณณ์์จิิรา ธนาศิิริธั ิ ช ั นัันท์์
พ.ต.ท.ปริิญญา ศรีีบุุญสม
นางนฤมล พาพพิิล่่า
นายสุุวภััทร อภิิญญานนท์์
นางสิินีนุ ี ช ุ ชััยสิท ิ ธิ์์�
นางสาวสุุพัต ั รา กาญจนลออ
นางสาวเอมิิกา ศิิริขั ิ น ั ธ์์ นางสาวอุุรุุพร ศิิริวิ ิ ิชยาภรณ์์
นางสุุนัน ั ทา ทองพััฒน์์
นางสาวรััชดาวรรณ แสนตา นางสาวทัักษิิณา วงศ์์ใหญ่่ นางสาวรััตนา แพงไธสง
ออกแบบและพิิมพ์์ที่่�
บริิษััท อััลทิิเมท พริ้้น � ติ้้�ง จำำ�กััด Umnart_p@hotmail.com โทร. 08 7555 7932
1
รายงานประจำำ�ปีี 2564
สารบััญ
ส่่วนนำำ� สารจากประธานกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
3
4
สารจากเลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
5
รายนามที่่ป � รึึกษาเลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
9
รายนามคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
6
อำำ�นาจหน้้าที่่ข � องคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
10
ส่่วนที่่� 1 ข้้อมููลทั่่�วไป
11
โครงสร้้างสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
15
ความเป็็นมาของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ สรุุปสาระสำำ�คััญแผนหลัักการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ (ฉบัับที่่� 3.1) พ.ศ. 2562 - 2565
ส่่วนที่่� 2 ผลการดำำ�เนิินงานปีีงบประมาณ 2564 ผลการดำำ�เนิินงานของคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
- ผลการดำำ�เนิินงานของคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่�สำ�คั ำ ัญ
ผลการดำำ�เนิินงานของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ - ผลการดำำ�เนิินงานตามตััวชี้้�วััด
- ผลการดำำ�เนิินงานที่่�สำ�คั ำ ัญ ปีีงบประมาณ 2564 กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ.และเครืือข่่าย
ส่่วนที่่� 3 ภาคผนวก
รายงานงบการเงิิน ปีีงบประมาณ 2564 - งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ - งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน รายชื่่�อคณะอนุุกรรมการ ภายใต้้คณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน รายชื่่�อบุุคลากรสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
2
หน้้า
12 16
23
24 24
33
33
35 66
104
105
105 131
148 150
ส่่ ว นนำำ �
รายงานประจำำ�ปีี 2564
สารจากประธานกรรมการ การแพทย์์ฉุุกเฉิิ น
ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินไทยได้้รับ ั การพััฒนามาอย่่างต่่อเนื่่� องในระยะ 10 ปีี
ที่่�ผ่่านมาภายใต้้การกำำ�หนดนโยบายของคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน (กพฉ.) และสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ (สพฉ.) ซึ่่�งได้้ ทำำ�หน้้าที่่� ในการบริิหาร จัั ดการประสานหน่่วยงานที่่� เกี่่� ยวข้้องทั้้� งภาครััฐและเอกชน รวมทั้้� งผลัั กดัั น กฎหมายที่่� ส่่ ง เสริิ ม และสนัั บ สนุุ น ให้้ อ งค์์ ก รปกครองส่่ ว นท้้ อ งถิ่่� น เข้้ า มามีี บทบาทในการดำำ� เนิิ น งานและบริิ ห ารจัั ด การระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น
เ พื่่� อ ใ ห้้ ผู้้�ป่่ ว ย ฉุุ ก เ ฉิิ น เ ข้้ า ถึึ ง ร ะ บบ ก า ร แ พ ท ย์์ ฉุุ ก เ ฉิิ น ที่่� ไ ด้้ ม า ต ร ฐ า น มีีคุณ ุ ภาพ อย่่างทั่่�วถึึง เท่่าเทีียม
สำำ�หรัับปีี 2564 เป็็นปีีแห่่งความท้้าทายในการดำำ�เนิินงานของ สพฉ.
เป็็นอย่่างยิ่่�ง เนื่่� องจากสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019
(COVID-19) ระลอกใหม่่มีค ี วามรุุนแรงเพิ่่�มมากขึ้้�น สพฉ. เป็็นหน่่วยงานที่่�เป็็นกำำ�ลังั สำำ�คัญ ั
สารจากประธานกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ของรััฐบาลในการสนัับสนุุนการปฎิิบัติ ั ิการทางสาธารณสุุขต่่างๆ ได้้มีก ี ารส่่งผู้้�ป่่วยติิดเชื้้�อ
ผู้้�ป่่วยโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ไปยัังโรงพยาบาลและการส่่งกลัับภููมิิลำำ�เนา และการสนัับสนุุนภารกิิจการฉีีดวััคซีีน
โควิิด 19 นอกสถานพยาบาล โดยมีีการประสานหน่่วยงานเครืือข่่ายรถพยาบาลของมููลนิิธิต่ ิ ่างๆ ทั้้�งในกรุุงเทพมหานครและ จัั ง หวัั ด ใกล้้ เ คีี ย ง รวมไปถึึงบริิ ษัั ท รถพยาบาลเอกชน และกองทัั พ ภาคที่่� 1 เพื่่� อเป็็ น จิิ ต อาสา อย่่ า งไรก็็ ต าม สพฉ. ยัังขัับเคลื่่�อนการดำำ�เนิินงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินอย่่างต่่อเนื่่�องให้้บรรลุุตามเป้้าหมายของแผนหลัักการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 3.1 โดยมีีผลงานสำำ�คััญ ดัังนี้้�
1) ด้้านการพััฒนากลไกการป้้องกัันและแก้้ไขปััญหาการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน ได้้ พััฒนาตำำ�บลปลอดภัั ยต้้นแบบ
กระจายอยู่่�ทั่่�วประเทศ สนัับสนุุนให้้มีีศููนย์์การเรีียนรู้้�ชุุมชนด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ผลิิตครููและครููผู้้�ช่่วย อบรมการช่่วย ฟื้้�นคืืนชีีพและการใช้้ AED ให้้แก่่ประชาชน
2) ด้้ านการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นในพื้้�นที่่� ได้้ ส่่งเสริิมและสนัับสนุุนให้้องค์์ การบริิหารส่่วนจัั งหวัั ด
ดำำ�เนิินงานจััดตั้้�งศููนย์์รัับแจ้้งเหตุุและสั่่�งการ ควบคู่่�ไปกัับการพััฒนาระบบการปฏิิบััติิการอำำ�นวยการให้้เป็็นระบบดิิจิิทััล ภายใต้้โครงการพััฒนาศููนย์์รับ ั เรื่่�องและจ่่ายงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ให้้เป็็นระบบดิิจิิทััล (D1669) และส่่งเสริิมให้้มีก ี ารจััดตั้้�ง จััดให้้มีหน่ ี ว ่ ยปฏิิบัติ ั ิการแพทย์์เพิ่่�มขึ้้�น
3) ด้้ านการพััฒนาวิิ ชาการ ได้้ เริ่่�มโครงการจัั ดตั้้� งวิิ ทยาลัั ยวิิชาการเตรีียมความพร้้อมด้้ านการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
เพื่่� อเป็็นศููนย์์กลางเตรีียมความพร้้อมด้้ านการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ศููนย์์วิิจััยและพััฒนานวัั ตกรรม และศููนย์์พััฒนาวิิ ชาการ ในการฝึึกอบรม ศึึกษา ค้้นคว้้า วิิจััย สนัับสนุุนการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน และ
4) ด้้านการพััฒนาคุุณภาพภายในองค์์กรอย่่างต่่อเนื่่� อง โดยมีีผลงานเชิิงประจัักษ์์ จากผลการประเมิินคุุณธรรม
และความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงาน ประจำำ�ปีี 2564 คะแนนภาพรวมอยู่่�ที่่�ร้อ ้ ยละ 93.7 ได้้ระดัับ A รวมทั้้�งผ่่านการรัับรอง ระบบบริิหารคุุณภาพ ISO 9001:2015 อย่่างต่่อเนื่่�อง และผู้้�ใช้้บริิการมีีความพึึงพอใจต่่อระบบบริิการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน อยู่่ใ� นระดัับสููงถึึงร้้อยละ 93.2 นัับเป็็นผลสำำ�เร็็จที่่�สำ�คั ำ ัญของ สพฉ. และระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ในโอกาสนี้้� ผมขอชื่่� นชมและขอบคุุณทุุกหน่่วยงานที่่เ� กี่่ย � วข้้อง ทั้้�งหน่่วยงานภาครััฐ ภาคเอกชน องค์์กรปกครอง
ส่่ ว นท้้ อ งถิ่่� น มูู ล นิิ ธิิ องค์์ ก รภาคีีเครืือข่่ า ย และผู้้�ปฏิิ บัั ติิ ง านของสถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ ที่่� ป ฏิิ บัั ติิ ห น้้ า ที่่� อย่่างเสีียสละและอดทน เพื่่� อให้้ระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินไทยได้้รัับการพััฒนาไปสู่่�เป้้าหมายที่่�กำำ�หนดไว้้ทุุกประการ
(นายอนุุทิิน ชาญวีีรกููล) รองนายกรััฐมนตรีี และรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข ประธานกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
4
สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ ปีี 2564 เป็็นปีีแห่่งความท้้าทายต่่อเนื่่� องจากปีีที่่ผ่ � า่ นมา ในท่่ามกลางสถานการณ์์ การระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่่�ระบาดเป็็นวงกว้้าง ไปทั่่�วประเทศไทย สพฉ. ได้้ขับ ั เคลื่่�อนการทำำ�งานในแต่่ละภารกิิจให้้มีค ี วามก้้าวหน้้า อย่่างต่่อเนื่่� อง มีีการปรัับกลยุุทธ์์และแผนการดำำ�เนิินงานเพื่่� อรัับมือ ื กัับสถานการณ์์ ที่่�เปลี่่�ยนแปลงตลอดเวลา ภายใต้้การกำำ�หนดนโยบายและการกำำ�กัับดููแลที่่�เข้้ม
แข็็ ง จากคณะกรรมการการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น เพื่่� อให้้ บ รรลุุ ต ามเป้้ า หมาย
ของแผนหลัักการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 3.1 พ.ศ. 2562 - 2565 “ลดการ
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
สารจากเลขาธิิ การ
เสีียชีีวิิตและความพิิการจากการเจ็็ บป่่วยฉุุกเฉิิน” และวิิ สััยทััศน์์ที่่� กำ�ห ำ นดให้้
“ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินได้้รับ ั ปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินที่่ไ� ด้้มาตรฐานและมีีประสิิทธิิผลอย่่างทั่่�วถึึง 1) ด้้านการให้้บริิการในสถานการณ์์ระบาดของเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19)
สพฉ. ได้้รับม ั อบหมายจากรััฐบาลให้้ปฏิิบัติ ั ภ ิ ารกิิจนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยจากบ้้านไปยัังโรงพยาบาลปลายทางในเขตกรุุงเทพมหานครและปริิมณฑล
และให้้เป็็นหน่่วยงานหลัักในการนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยติิดเชื้้�อกลัับภููมิลำ ิ �ำ เนา ดัังนั้้�น สพฉ. จึึงได้้จัดตั้้ ั ง� ศููนย์์ปฏิิบัติ ั ก ิ ารสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ก ิ าร
ฉุุกเฉิิน (ศปก.สพฉ.) เพื่่�อสนัับสนุุนให้้การปฏิิบัติ ั ก ิ ารด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทั่่�วประเทศ ดำำ�เนิินงานไปอย่่างมีีประสิิทธิิภาพและประสิิทธิิผล โดยผู้้�ปฏิิบัติ ั งิ านปลอดภััย ผู้้�ป่่วยปลอดภััยและสัังคมปลอดภััย ดัังนี้้� (1) จััดตั้้ง� ชุุดปฏิิบัติ ั ก ิ ารหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ าร (ชั่่�วคราว) (2) จััดอบรมจิิต
อาสาเป็็นผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน (ชั่่�วคราว) เพื่่�อเตรีียมความพร้้อมของผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ ารในการปฏิิบัติ ั งิ านให้้มีค ี วามปลอดภััย (3) ประสานหน่่วย งานเครืือข่่ายทั้้�งใน กทม. และจัังหวััดใกล้้เคีียง จััดเตรีียมรถในการรัับและนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยติิดเชื้้�อไปยัังโรงพยาบาลหรืือส่่งกลัับภููมิลำ ิ �ำ เนา (4) การจััดหางบประมาณในการบริิหารจััดการ
2) ด้้านการพััฒนามาตรฐานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน สพฉ. ได้้จััดทำ�ำ เกณฑ์์มาตรฐานคุุณวุุฒิฉุ ิ ก ุ เฉิินการแพทย์์ (มคฉ.1)
เพื่่�อการผลิิตหรือ ื เพิ่่�มพููนคุุณวุุฒิข ิ องผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ ารตามกรอบคุุณวุุฒิแ ิ ห่่งชาติิ รวมทั้้�งการรัับรองหลัักสููตรฝึึกอบรมขององค์์กรฝึึกอบรม
รวมทั้้�งมีีการส่่งเสริิมให้้ อปท. มีีบทบาทในการบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและจััดงบประมาณ เพื่่�อระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ในพื้้� นที่่�อย่่างต่่อเนื่่� อง และสนัับสนุุนให้้จังั หวััดจัด ั ระบบอำำ�นวยการทางการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินระดัับเขตเพิ่่�มขึ้้น � รวมทั้้�งจััดให้้มีรี ะบบ
อำำ�นวยการทางแพทย์์ระดัับที่่�ปรึึกษาด้้านพิิษวิิทยาขึ้้�น นอกจากนี้้� ได้้พััฒนาศููนย์์รัับแจ้้งและจ่่ายงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ ให้้เป็็นระบบปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินดิิจิทั ิ ล ั D1669 ใน 15 จัังหวััด
3) ด้้านการป้้องกัันการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน ได้้ดำ�ำ เนิินการโครงการตำำ�บลปลอดภััยด้า้ นการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน โดยใช้้ชุม ุ ชนเป็็นฐาน
ในการพััฒนาสร้้างความปลอดภััยด้า้ นการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินกระจายอยู่่�ทั่่ว� ประเทศ พร้้อมกัับการสนัับสนุุนให้้เกิิดศููนย์์การเรีียนรู้้�ชุุมชน
ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ใน 5 จัังหวััด และได้้ผลิิตครูู ก. ครููผู้้�ช่่วย เพื่่�ออบรมการช่่วยฟื้้�นคืืนชีีพและการใช้้ AED (CPR & AED) ให้้แก่่ประชาชน คนไทย
สารจากเลขสธิิการสถาบัันการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
และเท่่าเทีียม” สพฉ. มีีการดำำ�เนิินงานภารกิิจสำำ�คัญ ั ดัังนี้้�
4) ด้้านวิิชาการ สพฉ. ได้้เริ่่�มโครงการจััดตั้้ง� วิิทยาลััยวิช ิ าการเตรีียมความพร้้อมด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เมื่่�อ 1 กรกฏาคม 2564
ซึ่่ง� ประกอบด้้วย ศููนย์์วิช ิ าการเตรีียมความพร้้อมด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ศููนย์์วิจั ิ ย ั และพััฒนานวััตกรรม และศููนย์์พัฒ ั นาวิิชาการ เพื่่�อดำำ�เนิินการฝึึกอบรม ศึึกษา ค้้นคว้้า วิิจัย ั และสนัับสนุุนการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
5) ด้้านการบริิหารจััดการภายในองค์์กร มีีการพััฒนาคุุณภาพองค์์กรอย่่างต่่อเนื่่�องจนได้้รับ ั การรัับรองระบบบริิหารคุุณภาพ
ISO 9001:2015 ต่่อเนื่่�อง และผลการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงาน ประจำำ�ปีี 2564 คะแนนอยู่่�ที่่ร้� อ ้ ยละ 93.7
ได้้ระดัับ A เป็็นอัันดัับ 3 ของกระทรวงสาธารณสุุข และอัันดัับ 27 ขององค์์การมหาชน
ในโอกาสนี้้� ขอขอบคุุณคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน องค์์กรภาคีีเครืือข่่ายภาครััฐ องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่น ่�
ภาคเอกชน มููลนิิธิิ รวมถึึงภาคประชาชน ที่่ใ� ห้้การสนัับสนุุน และร่่วมกัันขัับเคลื่่� อนงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินให้้พัฒ ั นาก้้าวหน้้า ขอให้้ทุุกท่่านประสบแต่่ความสุุข ความเจริิญ มีีพลัังกาย และพลัังใจในการทำำ�งาน เพื่่� อประโยชน์์สููงสุุดของประชาชน และประเทศชาติิต่่อไป
เรืืออากาศเอก (อััจฉริย ิ ะ แพงมา) เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
5
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายนามคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น ประธานกรรมการ
นายอนุุทิิน ชาญวีีรกููล รองนายกรััฐมนตรีี และรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข คณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ที่่�ปรึึ กษาคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น
หม่่อมหลวงสมชาย จัักรพัันธุ์์�
นายศัักดิ์์�ชัย ั กาญจนวััฒนา
กรรมการโดยตำำ�แหน่่ ง
นายกฤษฎา จีีนะวิิจารณะ ปลััดกระทรวงการคลััง
6
นายเกีียรติิภูมิ ู ิ วงศ์์รจิิต ปลััดกระทรวงสาธารณสุุข
นายทศพล กฤตวงศ์์วิิมาน นายจเด็็จ ธรรมธััชอารีี เลขาธิิการสำำ�นัก ั งาน เลขาธิิการ สำำ�นัก ั งานประกัันสัังคม หลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
กรรมการผู้้�แทน
ศาสตราจารย์์สารเนตร์์ ไวคกุุล กรรมการผู้้�แทนแพทยสภา
ศาสตราจารย์์ศิริิ อ ิ ร สิินธุุ กรรมการผู้้�แทนสภาการพยาบาล
นายชาติิชาย คล้้ายสุุบรรณ กรรมการผู้้�แทนสถานพยาบาล ของรััฐ
นายกำำ�พล พลััสสิินทร์์ กรรมการผู้้�แทนสถานพยาบาล ของเอกชน
นายทรงยศ เทีียนทอง กรรมการผู้้�แทนองค์์กรปกครอง ส่่วนท้้องถิ่่�น
ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ (พิิเศษ) วิิระศัักดิ์์� ฮาดดา กรรมการผู้้�แทนองค์์กรปกครอง ส่่วนท้้องถิ่่�น
คณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
นายเอื้้�อชาติิ กาญจนพิิทัักษ์์ กรรมการผู้้�แทนแพทยสภา
นายสุุเทพ ณััฐกานต์์กนก นายไพรทููรย์์ รััตนพรวารีีสกุุล กรรมการผู้้�แทนองค์์กรภาคเอกชน กรรมการผู้้�แทนองค์์กรภาคเอกชน ที่่�ไม่่แสวงหากำำ�ไรและมีีบทบาท ที่่�ไม่่แสวงหากำำ�ไรและมีีบทบาท ด้้านบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ด้้านบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ก่่อนถึึงสถานพยาบาล ที่่�เป็็น ก่่อนถึึงสถานพยาบาล ที่่�เป็็น นิิติิบุุคคล นิิติิบุุคคล
7
รายงานประจำำ�ปีี 2564 คณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
8
กรรมการผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ
นายธีีรพล โตพัันธานนท์์ กรรมการผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ ด้้านคุุณภาพ
ศาสตราจารย์์บรรเจิิด สิิงคะเนติิ กรรมการผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ ด้้านกฎหมาย
นายสาลี่่� สุุขเกิิด กรรมการผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ ด้้านการเงิินและบััญชีี
เรืืออากาศเอกอััจฉริย ิ ะ แพงมา
พลอากาศตรีีเฉลิิมพร บุุญสิิริิ กรรมการผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
กรรมการและเลขานุุการ
สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ
ร้้อยตำำ�รวจเอก รุ่่�งเรืือง กิิจผาติิ ด้้านบริิหารยุุทธศาสตร์์และวิิชาการ
นายวััชรวิิชญ์์ กีีรติิดุสิ ุ ต ิ โรจน์์ ด้้านบริิหารแผนยุุทธศาสตร์์
นางสาวกมลทิิพย์์ แซ่่เล้้า ด้้านบริิหารแผนยุุทธศาสตร์์
นายประจัักษวิิช เล็็บนาค ด้้านบริิหารดิิจิิทััล
ที่่ป � รึึกษาเลขาธิิการสถาบัันการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
นายชาตรีี เจริิญชีีวะกุุล ด้้านบริิหารเครืือข่่าย
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายนามที่่�ปรึึกษาเลขาธิิ การ
9
รายงานประจำำ�ปีี 2564
อำำ�นาจหน้้ าที่่�
ของคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น ตามมาตรา 5 แห่่งพระราชบััญญััติก ิ ารแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน พ.ศ. 2551 กำำ�หนดให้้มีค ี ณะกรรมการคณะหนึ่่ง� เรีียก ว่่า “คณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน” ซึ่่�งเรีียกโดยย่่อว่่า “กพฉ.” มีีรัฐม ั นตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข
เป็็นประธานกรรมการ และมีีเลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ เป็็นกรรมการและเลขานุุการ ปฏิิบัติ ั ิหน้า้ ที่่�ตามมาตรา 11 (1) - (13) และมาตรา 12 อำำ�นาจหน้้าที่่ต � ามมาตรา 11 (1) - (13)
(1) กำำ �หนดมาตรฐานและหลัั กเกณฑ์์ เกี่่� ยวกัั บระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
(2) เสนอแนะหรืือให้้คำำ�ปรึึกษาต่่อคณะรััฐมนตรีีเกี่่� ยวกัับนโยบายด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
อำำ�นาจหน้้าที่ข ่� องคณะกรรมกรารการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
(3) เสนอแนะแนวทางการแก้้ไขปััญหาหรืืออุุปสรรคอัันเกิิดจากการดำำ�เนิินงานเกี่่�ยวกัับการแพทย์์ ฉุุกเฉิินต่่ อคณะรััฐมนตรีีเพื่่� อพิิจารณา
(4) กำำ�หนดนโยบายการบริิหารงาน ให้้ความเห็็นชอบแผนการดำำ�เนิินงานและอนุุมัติ ั แ ิ ผนการเงิิน ของสถาบััน
(5) ควบคุุมดููแลการดำำ�เนิินงานและการบริิหารงานทั่่�วไป การจััดตั้้�งและยกเลิิกสำำ�นัักงานสาขา ตลอดจนออกข้้อบัังคัั บ ระเบีียบ หรืือประกาศเกี่่� ยวกัั บการบริิหารงานทั่่� วไป การบริิหาร
งานบุุคคล การงบประมาณ การเงิินและทรััพย์์สิน ิ การติิดตามประเมิินผลและการดำำ�เนิินการ
อื่่�นของสถาบััน
(6) ออกข้้อบัังคัับเกี่่�ยวกัับการรัับรององค์์กรและหลัักสููตรการศึึกษาหรืือฝึึกอบรมผู้้�ปฏิิบััติิการ และการให้้ประกาศนีียบััตรหรืือเครื่่�องหมายวิิทยฐานะแก่่ผู้้�ผ่่านการศึึกษาหรืือฝึึกอบรม เว้้ น แต่่ ก ารดัั ง กล่่ า วจะมีี ก ฎหมายเกี่่� ย วกัั บ การประกอบวิิ ช าชีี พ ด้้ า นการแพทย์์ แ ละ
การสาธารณสุุขเป็็นการเฉพาะก็็ให้้เป็็นไปตามกฎหมายนั้้�น
(7) ออกข้้ อ บัั ง คัั บ เกี่่� ย วกัั บ การให้้ เ ข็็ ม เชิิ ดชูู เกีี ย รติิ เ พื่่� อ มอบให้้ แ ก่่ บุุ ค คลผู้้�สนัั บ สนุุ น กิิ จ การ ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
(8) ดำำ�เนิินการให้้มีีระบบสื่่� อสารและเทคโนโลยีีสารสนเทศเพื่่� อประโยชน์์ในการประสานงาน และการปฏิิบััติิงานด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
(9) ดำำ�เนิินการให้้มีีการประสานความร่่วมมืือระหว่่างหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องในการเข้้าถึึงข้้อมููล ข่่าวสารเพื่่� อประโยชน์์ในการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน
(10) ออกระเบีียบเกี่่�ยวกัับการรัับเงิิน การจ่่ายเงิิน และการรัักษาเงิินกองทุุน รวมทั้้�งการจััดหา ผลประโยชน์์ตามมาตรา 36
(11) ให้้ความเห็็นชอบการกำำ �หนดค่่ าบริิการทางการแพทย์์ฉุุกเฉิินและการดำำ �เนิินกิิ จการของ สถาบััน
(12) สรรหา แต่่งตั้้�ง ประเมิินผลการปฏิิบัติ ั ิงานและถอดถอนเลขาธิิการ
(13) ปฏิิ บัั ติิ หน้้ า ที่่� อื่่� นตามที่่� กำำ �ห นดไว้้ ใ นพระราชบัั ญ ญัั ติิ นี้้� หรืื อ กฎหมายอื่่� นหรืื อ ตามที่่� ค ณะ รััฐมนตรีีหรือ ื นายกรััฐมนตรีีมอบหมาย
อำำ�นาจหน้้าที่่ต � ามมาตรา 12
กพฉ. มีี อำำ � นาจแต่่ ง ตั้้� ง คณะอนุุ ก รรมการ หรืื อ ที่่� ป รึึกษา เพื่่� อให้้ ป ฏิิ บัั ติิ หน้้ า ที่่� ต าม พระราชบัั ญ ญัั ติิ นี้้� หรืื อ ตามที่่� กพฉ. มอบหมาย
10
ส่่ ว นที่่� 1
ข้้ อมูู ล ทั่่� ว ไป
รายงานประจำำ�ปีี 2564
ความเป็็นมา
ของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ การปฏิิ บัั ติิ ก ารด้้ า นการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ในอดีี ตยัั ง ขาดระบบบริิ ห าร
จััดการด้้านบุุคลากร อุุปกรณ์์ และเครื่่�องมืือช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินรวมทั้้�ง ยัังขาดหน่่วยงานรัับผิด ิ ชอบ ประสานการปฏิิบัติ ั ิการทำำ�ให้้มีผู้้�ป่ ี ว ่ ยฉุุกเฉิิน ต้้ อ งสููญเสีี ยชีี วิิ ต อวัั ย วะ หรืื อ เกิิ ด ความบกพร่่ อ งในการทำำ� งานของ อวัั ย วะสำำ�คัั ญ รวมทั้้� ง ทำำ � ให้้ ก ารบาดเจ็็ บหรืื อ อาการป่่ ว ยรุุ น แรงขึ้้� น
โดยไม่่สมควร เพื่่� อลดและป้้องกัันความสููญเสีียดัังกล่่าวจึึงกำำ�หนดให้้มีี ความเป็็นมาของสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
12
คณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิินขึ้้�น เพื่่� อกำำ�หนดมาตรฐานหลัักเกณฑ์์
และวิิธีีปฏิิบััติิเกี่่� ยวกัั บการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ตลอดจนกำำ�หนดให้้มีีสถาบััน
การแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ขึ้้�นเป็็นหน่่วยรัับผิิดชอบการบริิหารจัั ดการ การประสานระหว่่างหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องทั้้� งภาครััฐและเอกชน และ
การส่่งเสริิมให้้องค์์ กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่น � เข้้ามามีีบทบาทในการบริิหาร
จััดการ เพื่่� อให้้เกิิดความร่่วมมืือในการปฏิิบััติิงานด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ร่่วมกัั น อัั นจะทำำ�ให้้ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินได้้ รัับการคุ้้�มครองสิิทธิิในการเข้้าถึึง ระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น อย่่ า งทั่่� ว ถึึง เท่่ า เทีี ยม มีี คุุ ณ ภาพมาตรฐาน โดยได้้รัับการช่่วยเหลืือและรัักษาพยาบาลที่่�มีีประสิิทธิิภาพและทัันต่่อ เหตุุการณ์์มากขึ้้�น
ระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินของประเทศไทย
พ.ศ. 2461
มีีการตราพระราชบััญญััติิว่่าด้้วยสภากาชาดสยาม เพื่่� อช่่วยเหลืือรัักษาพยาบาล ผู้้�ป่่วยไข้้และบาดเจ็็บในสงครามและยามสงบ การบรรเทาทุุกข์์ในเหตุุการณ์์สาธารณภััย
พ.ศ. 2480
มููลนิิธิิ “ฮั่่�วเคี้้�ยวป่่อเต็็กเซีียงตึ๊๊�ง”เป็็นองค์์กรการกุุศลไม่่แสวงหาผลกำำ�ไร ได้้ริิเริ่่�มให้้ บริิการขนส่่งศพไม่่มีญ ี าติิ ซึ่่�งค่่าใช้้จ่่ายในการดำำ�เนิินการได้้มาจากการบริิจาค
พ.ศ. 2512
สมเด็็จพระศรีีนคริินทราบรมราชชนนีี ทรงตั้้�งกิิจการแพทย์์อาสา ในนาม หน่่วยแพทย์์ อาสาสมเด็็ จพระศรีีนคริินทราบรมราชชนนีี เพื่่� อให้้บริิการตรวจรัักษาประชาชน ในพื้้� นที่่�ทุรุ กัันดาร
พ.ศ. 2536
กระทรวงสาธารณสุุขได้้รับ ั ความช่่วยเหลืือทางเทคนิิคจาก Japan International Cooperation Agency (JICA) ในการจััดตั้้�งศููนย์์อุุบัติ ั ิเหตุ ณ โรงพยาบาลขอนแก่่น ซึ่่�งครอบคลุุมการให้้บริก ิ ารช่่วยเหลืือก่่อนถึึงโรงพยาบาล (pre-hospital care)
พ.ศ. 2537
โรงพยาบาลวชิิรพยาบาลได้้เปิิดให้้บริิการรถพยาบาลฉุุกเฉิินโดยใช้้ชื่่�อว่่า SMART (Surgico-Medical Ambulance and Rescue Team) ตามแผนป้้องกัันอุุบัติ ั ิภััยของ กรุุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2540
พ.ศ. 2551
ช่่วงแผนพััฒนาเศรษฐกิิจและสัังคมแห่่งชาติิฉบับ ั ที่่� 8 (พ.ศ. 2540 - 2544) มีีการ บรรจุุแผนงานอุุ บััติิเหตุุและสาธารณภััย ให้้มีีการจัั ดตั้้� งและพััฒนาระบบบริิการ การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ในทุุ ก จัั ง หวัั ด โดยเน้้ น ความสามารถในการจัั ดหน่่ ว ยบริิ ก าร มากกว่่ า จัั ด ระบบบริิ ก าร แต่่ มีี ข้้ อ จำำ�กัั ด ในการบริิ ก าร เนื่่� อ งจากยัั ง ไม่่ มีี ร ะบบที่่� มีี กฎหมายและระบบการเงิิ น การคลัั ง รองรัั บ ในขณะที่่� ก ระทรวงสาธารณสุุ ข กรุุงเทพมหานคร กรมตำำ�รวจ (สำำ�นัก ั งานตำำ�รวจแห่่งชาติิ) ได้้มีส่ ี ว ่ นร่่วมในการริิเริ่่�ม ผลัักดัันให้้เกิิ ดการบริิการผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินก่่อนถึึงโรงพยาบาล (pre-hospital care) แต่่ยังั มีีข้อ ้ จำำ�กััดที่่�แตกต่่างกัันออกไป กระทรวงสาธารณสุุขได้้จัดตั้้ ั ง� สำำ�นัก ั งานระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน (ศููนย์์นเรนทร) ขึ้้�นภายใต้้ สำ�นั ำ ักงานปลัั ดกระทรวงสาธารณสุุข และผลัั กดัั นนโยบายการบริิการ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเป็็น 1 ใน 4 นโยบายหลัักของกระทรวงสาธารณสุุข พร้้อมทั้้�งจััดให้้ มีีหน่ว ่ ยกู้้�ชีีพประจำำ�โรงพยาบาลต่่างๆ โดยเริ่่�มที่่� 7 จัังหวััดนำ�ร่ ำ อ ่ งแล้้วขยายผลไปทั่่�ว ประเทศ ในเวลาต่่อมาโดยใช้้ศููนย์์กู้้�ชีพ ี “นเรนทร” โรงพยาบาลราชวิิถีี เป็็นต้้นแบบ ในการดำำ�เนิินงานและจััดให้้มีีศููนย์์รัับแจ้้งเหตุุ 1669 เพื่่� อประสานงาน สื่่�อสาร และ ควบคุุมสั่่�งการ ส่่วนงบประมาณดำำ�เนิินการได้้รัับจากสำำ�นัักงานหลัักประกัันสุุขภาพ แห่่งชาติิในระยะเริ่่�มแรก แต่่รููปแบบยัังคงไม่่เป็็นระบบที่่�ชัด ั เจน เพื่่� อให้้ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินได้้ รัับประโยชน์์จากระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่� มีีคุุณภาพและ มาตรฐาน ครอบคลุุ มทั่่� ว ถึึงและเท่่ า เทีี ยมต ามเจตนารมณ์์ แ ห่่ ง พระราชบัั ญ ญัั ติิ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 2551 สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ จึึงถููกจัั ดตั้้� ง ขึ้้� น ตาม มาตราที่่� 14 แห่่งกฎหมายดัังกล่่าว ให้้เป็็นหน่่วยงานของรััฐที่่�มีีฐานะเป็็นนิิติิบุุคคล ในกำำ�กัับของรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข มีีรูู ปแบบการบริิหารจััดการ ที่่�มีี ความคล่่องตััวและสามารถบริิหารงานตามนโยบายบริิหารงานของคณะกรรมการ การแพทย์์ฉุุกเฉิินได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ โดยมีีอำำ�นาจหน้้าที่่�ในการบริิหารจััดการ การประสานงานระหว่่างหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องทั้้�งภาครััฐและเอกชน และการส่่งเสริิม ให้้ อ งค์์ ก รปกครองส่่ ว นท้้ อ งถิ่่� น เข้้ า มามีี บ ทบาทในการบริิ ห ารจัั ด การเพื่่� อ ให้้ เ กิิ ด ความร่่วมมืือในการปฏิิบััติิงานด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิินร่่วมกััน ซึ่่�งเป็็นหน้้าที่่�ใหม่่และ มีีขอบเขตที่่�กว้้างกว่่าเดิิม
ความเป็็นมาของสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
พ.ศ. 2545
กระทรวงสาธารณสุุขได้้เปิิดตััวต้้นแบบระบบรัักษาพยาบาลก่่อนถึึงโรงพยาบาล ณ โรงพยาบาลราชวิิ ถีี ใ นชื่่� อ “ศูู น ย์์ กู้้�ชีีพ นเรนทร” โดยภายหลัั ง โรงพยาบาล นพรััตนราชธานีีและโรงพยาบาลเลิิดสิน ิ ได้้เข้้าร่่วมเครืือข่่ายให้้บริก ิ ารด้้วย
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
พ.ศ. 2538
13
รายงานประจำำ�ปีี 2564 ความเป็็นมาของสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
14
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ (สพฉ.) เป็็นหน่่วยงานที่่� จััดตั้้� งขึ้้� นตามพระราชบััญญััติิการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น พ.ศ. ๒๕๕๑ เพื่่� อเป็็ น องค์์ ก รที่่� รัั บผิิ ด ชอบการบริิ ห ารจัั ด การ การประสานระหว่่ า งหน่่ ว ยงานที่่� เกี่่� ย วข้้ อ งทั้้� ง ภาครัั ฐ และเอกชนทั้้� ง ในประเทศและต่่ า งประเทศ รวมถึึงการส่่ ง เสริิ ม การปกครองส่่ ว นท้้ อ งถิ่่� น ให้้เข้้ามามีีบทบาทในการบริิหารจััดการ เพื่่� อให้้เกิิดความร่่วมมืือในการปฎิิบััติิงานด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิินร่่วมกััน เพื่่� อทำำ� ให้้ ผู้้� เจ็็ บป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ น ได้้ รัั บ การคุ้้�มครองสิิ ท ธิิ ใ นการเข้้ า ถึึงระบบบริิ ก ารการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น อย่่ า งทั่่� ว ถึึงและเท่่ า เทีี ยม และมีี คุุ ณ ภาพมาตรฐาน โดยได้้ รัั บ การช่่ ว ยเหลืื อ และรัั ก ษาพยาบาลที่่� มีี ป ระสิิ ท ธิิ ภ าพ และทัั น ต่่ อ เหตุุ ก ารณ์์ ม ากขึ้้� น โดยมีี ค ณะกรรมการการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ทำำ�หน้้ า ที่่� กำำ�ห นดมาตรฐาน หลัั ก เกณฑ์์ และวิิธีป ี ฎิิบัติ ั ิเกี่่�ยวกัับการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
พ.ศ. 2553
สร้้างอาคาร สพฉ. หลัังที่่� 1 เป็็นอาคารสำำ�นัก ั งาน ใช้้ชื่่�อว่่า “อาคารเฉลิิมพระเกีียรติิพระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หััว 84 พรรษา สถาบัันการ แพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ” มีีพิธี ิ เี ปิิดอาคาร เมื่่�อวัันที่่� 8 พฤษภาคม 2556
พ.ศ. 2561
สร้้างอาคาร สพฉ. หลัังที่่� 2 ใช้้ชื่่�อว่่า “อาคารพััฒนาบุุคลากรการแพทย์์ฉุุกเฉิิน” ก่่อสร้้างเสร็็จ พ.ศ.2563 งบประมาณในการก่่อสร้้าง จำำ�นวน 67,770,481.70 บาท
เลขาธิิการของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ คนที่่�
1
คนที่่�
2
คนที่่�
3
นายแพทย์์ชาตรีี เจริิญชีีวกุุล ดำำ�รงตำำ�แหน่่ง ตั้้�งแต่่วัันที่่� 16 ธัันวาคม พ.ศ.2551 ถึึงวัันที่่� 15 ธัันวาคม พ.ศ.2555 นายแพทย์์อนุุชา เศรษฐเสถีียร ดำำ�รงตำำ�แหน่่ง ตั้้�งแต่่วัันที่่� 1 มีีนาคม พ.ศ. 2556 ถึึงวัันที่่� 28 กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. 2560 เรืืออากาศเอกนายแพทย์์อััจฉริิยะ แพงมา ดำำ�รงตำำ�แหน่่งวัันที่่� 1 มีีนาคม พ.ศ.2560 - ปััจจุุบัน ั
สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ คณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ
รองเลขาธิิการ / ผู้้�ช่่วยเลขาธิิการ
ผู้้�เชี่่�ยวชาญพิิเศษ
กลุ่่�มตรวจสอบภายใน
สำำ�นัก ั ยุุทธศาสตร์์
สำำ�นัก ั รัับรองและกำำ�กัับมาตรฐาน
กลุ่่�มงานบริิหารทั่่�วไป
กลุ่่�มงานนโยบายและแผน
กลุ่่�มงานรัับรองและกำำ�กัับมาตรฐานผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการ
กลุ่่�มงานบริิหารทรััพยากรมนุุษย์์
กลุ่่�มงานเลขานุุการ กพฉ.
กลุ่่�มงานรัับรองและกำำ�กัับมาตรฐานสถานพยาบาล
กลุ่่�มงานการคลัังและพััสดุุ
กลุ่่�มงานติิดตามและประเมิินผล งานวิิเทศสััมพัน ั ธ์์ งานบริิหารทั่่�วไป
กลุ่่�มงานรัับรองและกำำ�กัับมาตรฐานหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการ งานบริิหารทั่่�วไป
สำำ�นัก ั วิิจััยและพััฒนาวิิชาการ
สำำ�นัก ั สนัับสนุุนการปฎิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน
กลุ่่�มงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินพื้้� นที่่� 1
กลุ่่�มงานวิิจััย
กลุ่่�มงานบริิหารกองทุุน
กลุ่่�มงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินพื้้� นที่่� 2
ศููนย์์วิิชาการเตรีียมความพร้้อม
งานสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินด้้านสาธารณภััย
สำำ�นัก ั ประสานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
(พื้้� นที่่�ภาคเหนืือ)
(พื้้� นที่่�ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ)
กลุ่่�มงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินพื้้� นที่่� 3 (พื้้� นที่่�ภาคกลางและตะวัันออก)
กลุ่่�มงานพััฒนาวิิชาการ ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน งานบริิหารทั่่�วไป
โครงสร้้างสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ผู้้�เชี่่�ยวชาญ
สำำ�นัก ั บริิหารกลาง
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
โครงสร้้าง
ศููนย์์นเรนทร
งานบริิหารทั่่�วไป
กลุ่่�มงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินพื้้� นที่่� 4 (พื้้� นที่่�ภาคใต้้) งานบริิหารทั่่�วไป
กลุ่่�มกฎหมายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
กลุ่่�มสื่่� อสารองค์์กร
กลุ่่�มดิิจิิทััล
กลุ่่�มพััฒนาองค์์การ
15
รายงานประจำำ�ปีี 2564
สรุุ ปสาระสำำ�คััญ
แผนหลัักการแพทย์์ฉุุุ�กเฉิิ นแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 3.1 พ.ศ. 2562 – 2565
ั ศ วิิสัยทั ั น์์ (VISION)
ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินได้้รัับปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน ที่่�ได้้มาตรฐานและมีีประสิิทธิิผลอย่่างทั่่�วถึึง และเท่่าเทีียม
แผนกลัักการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 3.1 พ.ศ. 2562-2565
พัันธกิิจ (MISSION) ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินได้้รัับปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน ตั้้� งแต่่รัับรู้้�การเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินจนถึึง เริ่่�มได้้ รัับการบำำ�บััดเจาะจงหรืือพ้้นภาวะฉุุกเฉิิน โดยพััฒนาห่่วงโซ่่ปฏิิบััติิการ ทั้้�งในและ นอกสถานพยาบาลให้้ได้้มาตรฐานและมีีประสิิทธิิผลอย่่างทั่่� วถึึง และเท่่าเทีียม โดยทุุกภาคส่่วนมีีบทบาท
เป้้าหมาย (ULTIMATE GOALS) 1. ลดการเสีียชีวิ ี ิตจากการเจ็็บป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน 2. ลดความพิิการจากภาวะฉุุกเฉิิน
เป้้าหมายเฉพาะ (SPECIFIC GOALS)
1. ลดอััตราเสีียชีีวิิตจากการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินต่่อประชากรแสนคน 1.1 ลดอััตราเสีียชีีวิิตจากการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินต่่อประชากรแสนคน ของผู้้�ป่่วย ฉุุกเฉิินก่่อนรัับไว้้ในโรงพยาบาล 1.2 ลดอััตราเสีียชีีวิิตจากการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินต่่อประชากรแสนคน ของผู้้�ป่่วย ฉุุกเฉิินที่่�รัับไว้้ในโรงพยาบาล 2. ลดอััตราป่่วยตาย (Case Fatality Rate) ในกลุ่่�มโรคที่่�มีีภาวะฉุุกเฉิิน ได้้แก่่
การบาดเจ็็บ โรคหลอดเลืือดหััวใจเฉีียบพลััน โรคหลอดเลืือดสมองเฉีียบพลััน
และการเป็็นพิิษ
ยุุทธศาสตร์์
1. พััฒนามาตรฐานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 2. พััฒนาระบบบริิหารจััดการผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 3. พััฒนากลไกการอภิิบาลระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 4. พััฒนาศัักยภาพและการมีีส่ว ่ นร่่วมของภาคีีเครืือข่่ายทั้้�งในและต่่างประเทศ 5. การสื่่�อสารสาธารณะในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสู่่ป � ระชาชน
16
วััตถุุประสงค์์
1. เพื่่� อพัั ฒ นามาตรฐานตามห่่ ว งโซ่่ ก ารแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ครอบคลุุ มตั้้� ง แต่่ การรัับรู้้�การเจ็็บป่ว่ ยฉุุกเฉิินจนได้้รับบำ ั �ำ บััดเจาะจงหรืือพ้้นภาวะฉุุกเฉิิน
2. เพื่่� อให้้ ก ารจัั ดบริิ ก ารการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ได้้ ม าตรฐานที่่� กำำ�ห นดตลอด ห่่วงโซ่่การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินให้้ครอบคลุุมทุก ุ พื้้� นที่่�
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 1 พััฒนามาตรฐานการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น
3. เพื่่� อส่่ ง เสริิ ม และพัั ฒ นาระบบเทคโนโลยีี ก ารสื่่� อสารและสารสนเทศ ดิิจิิทััลในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
1. จำำ�นวนจัังหวััดที่่�มีรี ะบบอำำ�นวยการทางการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 2. จำำ�นวนจัังหวััดที่่มี � ก ี ารดำำ�เนิินงานและบริิหารจััดการระบบ
การแพทย์์ฉุุกเฉิินโดยองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด (อบจ.) และกรุุงเทพมหานคร ตามเกณฑ์์ที่่�กำำ�หนด
กรอบกลวิิธีี หรืือวิิธีี การ 1. จััดทำ�ม ำ าตรฐาน หลัักเกณฑ์์และวิิธีป ี ฏิิบัติ ั ตล ิ อดห่่วงโซ่่ บริิการครอบคลุุมทุก ุ มิิติิ
2. ศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุฉุก ุ เฉิินที่่�มีม ี าตรฐาน โดยดำำ�เนิินงาน
ภายใต้้องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น และแยกศููนย์์สั่่ง� การ
3. จำำ�นวนจัังหวััดที่่�มีีการคััดแยกระดัับความฉุุกเฉิินที่่�กรอบ
และอำำ�นวยการด้้านการแพทย์์และสาธารณสุุขที่่� มีี
กลวิิธีี หรืือวิิธีก ี ารต่ำำ�กว่่าระดัับความฉุุกเฉิินจริิงของผู้้�ป่่วย (Under Triage) ไม่่เกิินร้้อยละ 15 และการคััดแยกระดัับ
ความฉุุกเฉิินที่่� สููงกว่่ าระดัั บความฉุุกเฉิินจริิงของผู้้�ป่่วย
มาตรฐานอยู่่ใ� ต้้การดำำ�เนิินงานของกระทรวงสาธารณสุุข 1
3. สนัับสนุุนการพััฒนาบริิการนอกเวลาสำำ�หรัับผู้้�ป่่วย ไม่่ฉุก ุ เฉิินเพื่่�อลดความแออััดในห้้องฉุุกเฉิิน โรงพยาบาล
(Over Triage) ไม่่เกิินร้้อยละ 30
4. จำำ�นวนจัังหวััดที่่มี � ผู้้�ป่ ี ว่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตที่่�ได้้รับ ั การนำำ�ส่ง่ โดย
ชุุ ดปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิินระดัั บสููง (ALS) เกิิ นกว่่ า 200 ต่่ อ
ประชากรแสนคน
5. ร้้อยละผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤตที่่�เริ่่�มได้้รับ ั การปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน ภายใน 8 นาทีี
6. อััตราการตอบสนองต่่อข้้อร้้องเรีียนสำำ�หรัับผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน
รััฐบาล
4. มีีหน่ว่ ยปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินด้้านการแพทย์์และสาธารณสุุข
สถานพยาบาลและการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินที่่�มีม ี าตรฐาน
5.มีีการคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตให้้ได้้รับ ั การรัักษา ที่่�ได้้มาตรฐานอย่่างเท่่าเทีียม
6.มีีระบบสารสนเทศสำำ�หรัับการพััฒนาคุุณภาพระบบ
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 1 : พััฒนามาตรฐานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ตััวชี้้�วััด
การแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่�บููรณาการข้้อมููลด้้านการแพทย์์
ตามนโยบายเจ็็บป่ว่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตมีีสิท ิ ธิิทุก ุ ที่่�
ฉุุกเฉิินนอกโรงพยาบาล การบริิการในห้้องฉุุกเฉิิน
7. จำำ�นวนจัังหวััดที่่มี � ก ี ารใช้้ TEMSA ในการประเมิินมาตรฐาน
ก า ร ส่่ ง ต่่ อ ผู้้�ป่่ ว ย แ ล ะ ก า ร จัั ด ก า ร ส า ธ า ร ณ ภัั ย
และคุุณภาพการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินด้้วยตนเองเพื่่�อหาโอกาส
ด้้านการแพทย์์
พััฒนาตนเอง
8.ร้้อยละของผู้้�ป่่วย STEMI & Stroke ที่่�ได้้รับ ั แจ้้งผ่่าน 1669 และได้้รับย ั าละลายลิ่่�มเลืือด หรืือได้้รับ ั PCI
9.ร้้อยละของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน Level 1, Level 2 และ Level 3 ได้้รับ ั การดููแลตามเวลาที่่�กำำ�หนด
10. จำำ�นวนจัังหวััดมีีระบบการบัันทึึกข้้อมููลแบบ Real time ภายใน 15 นาทีี ในการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินตั้้�งแต่่การรัับแจ้้ง
ถึึงส่่งผู้้�ป่่วยไปยัังสถานพยาบาลปลายทางและการบัันทึึก
ข้้อมููลการปฏิิบัติ ั ก ิ าร (ITEMS) แล้้วเสร็็จภายใน 8 ชั่่�วโมง
การดำำ�เนิินงานและบริิหารจััดการระบบการแพทย์์จุก ุ เฉิินในพื้้�นที่่� โดย องค์์ ก รปกครองส่่ ว นท้้ อ งถิ่่� น ให้้ คำ�นึึ ำ งถึึงความพร้้ อ มขององค์์ ก ร ปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น หากมีีความพร้้อมในการรัับถ่่ายโอนภารกิิจ ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทั้้�งการบริิหารจััดการระบบและจััดบริก ิ ารให้้ ครอบคลุุ มทุุ ก พื้้� นที่่� ใ นจัั ง หวัั ด ควรมีี แ ผน ขั้้� น ตอน ระยะเวลา การสนัับสนุุนจากทุุกฝ่่ายทั้้� งในส่่วนกลางและระดัับพื้้�นที่่� เพื่่� อให้้ สามารถดำำ�เนิินการได้้ตามมาตรฐาน 1
17
รายงานประจำำ�ปีี 2564
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 2 พััฒนาระบบบริิหารจััดการผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ าร ในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น วััตถุุประสงค์์
1. เพื่่� อผลิิตธำ�ำ รงรัักษาและพััฒนาขีีดความสามารถผู้้�ปฏิิบััติิการให้้เพีียงพอ
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 2 : พััฒนาระบบบริิหารจััดการผู้้�ปฏิิบััติิการในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
18
ทั้้�งที่่�เป็็นผู้้�ประกอบวิิชาชีีพและ ไม่่เป็็นผู้้�ประกอบวิิชาชีีพด้้านการแพทย์์
และสาธารณสุุข
2. เพื่่� อกระจายผู้้�ปฏิิ บัั ติิ ก ารทั้้� ง ในหน่่ ว ยปฏิิ บัั ติิ ก ารสถานพยาบาลให้้ มีี สััดส่ว ่ นที่่�เหมาะสม ครอบคลุุมทุก ุ พื้้� นที่่�
ตััวชี้้�วััด 1. ระดัับความสำำ�เร็็จในการผลิิตบุค ุ ลากรที่่�เพีียงพอ โดยเฉพาะ สำำ�หรับผู้้�ป่ ั ว่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต
2. ระดัับความสำำ�เร็็จในการส่่งเสริิมสนัับสนุุนการธำำ�รงรัักษา บุุคลากรในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
3. ระดัับความสำำ�เร็็จในการฝึึกอบรมเพิ่่�มพููนความรู้้�และทัักษะ บุุคลากรในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินทั้้�งในความเชี่่�ยวชาญ เฉพาะหรืือพื้้� นที่่�เฉพาะ เช่่น ชายแดน เขตเศรษฐกิิจพิิเศษ
เขตสุุขภาพพิิเศษ
กรอบกลวิิธีี หรืือวิิธีี การ 1. แผนผลิิตและธำำ�รงรัักษาผู้้�ปฏิิบััติิการด้้านการแพทย์์ ฉุุกเฉิินให้้เพีียงพอแก่่ความต้้องการในระยะ 10 ปีี
2. ผลิิ ตผู้้�ปฏิิ บััติิการให้้มีีปริิมาณและคุุณภาพเพีียงพอ ในการคุ้้�มครองผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน
3. สนัับสนุุนส่่งเสริิมและร่่วมดำำ�เนิินการธำำ�รงรัักษาผู้้�ปฏิิบัติ ั ิ การเพื่่� อคุุณภาพการปฏิิบัติ ั งิ านและธำำ�รงรัักษาผู้้�ปฏิิบัติ ั ิ การให้้คงอยู่่ใ� นระบบ
4. สนัับสนุุนส่่งเสริิมและฝึึกอบรมเพิ่่�มพููนความรู้้�และ
ทัักษะผู้้�ปฏิิบััติิการร่่วมกัับสภา/สมาคมวิิชาชีีพหรืือ
หน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้อง
พััฒนากลไกการอภิิบาลระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน วััตถุุประสงค์์
1. เพื่่� อทบทวนโครงสร้้าง กลไกการจััดการ และอภิิบาลระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ให้้สอดรัับแผนปฏิิรูู ปประเทศด้้านสาธารณสุุขประเด็็นระบบการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 3
2. เพื่่� อพััฒนา ระเบีียบ ข้้อบัังคัับและกฎหมายต่่าง ๆ ให้้สนัับสนุุนการพััฒนา
3. เพื่่� อพััฒนาระบบการเงิินการคลัังให้้มีีงบประมาณเพีียงพอต่่อการพััฒนา ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินอย่่างเหมาะสมและยั่่�งยืืน
4. เพื่่� อสนัั บ สนุุ น ให้้ เ กิิ ด การบริิ ห ารจัั ด การความรู้้�และงานวิิ จัั ยที่่� นำำ � ไปสู่่� การใช้้ประโยชน์์ในทางปฏิิบัติ ั ิได้้อย่่างเป็็นรููปธรรม
ตััวชี้้�วััด 1. มีีการทบทวนโครงสร้้าง กลไกการจัั ดการ และอภิิ บาล
4. ประสิิทธิิภาพการบริิหารค่่าชดเชยปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินสำำ�หรับ ั
2. การบริิหารพััฒนาทุุนหมุุนเวีียนให้้มีป ี ระสิิทธิิภาพ
5. ระดัับความสำำ�เร็็จของการจััดตั้้�งกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
2.1 การบริิหารความเสี่่�ยงและการควบคุุมภายใน
2.2 ระดัั บ ความสำำ � เร็็ จ ในการพัั ฒ นามาตรฐานระบบ
คุุณภาพการบริิหารงานคุุณภาพเพื่่� อเพิ่่�มประสิิทธิิภาพ ในการดำำ�เนิินงาน ISO 9001: 2015
2.3 การตรวจสอบภายใน
2.4 การบริิหารจััดการสารสนเทศดิิจิิทััล
2.5 ระดัั บ ความสำำ � เร็็ จ ในการพัั ฒ นาระบบสารสนเทศ การแพทย์์ฉุุกเฉิิน (ITEMS)
ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต
ระดัับท้้องถิ่่�น/มีีการจ่่ายเงิิน เพื่่� อส่่งเสริิมให้้มีี matching
grant มากขึ้้�นในพื้้� นที่่�ที่่ห่ � า่ งไกลและพื้้� นที่่�ที่่เ� ข้้าไม่่ถึึงบริิการ
6. จำำ�นวนองค์์ความรู้้�หรืือนวััตกรรมที่่� ได้้จากงานวิิจััยและ กระบวนการทางวิิชาการเพื่่�อหนุุนเสริิมภารกิิจตามแผนหลััก
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ และภารกิิจสถาบัันการแพทย์์
ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
7. ระดัับความสำำ�เร็็จในการพััฒนาผลงานวิิจััยเพื่่� อให้้ได้้องค์์
ความรู้้�เรื่่�องการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่�เหมาะสมกัับประเทศไทย
2.6 การบริิหารทรััพยากรบุุคคล
ภายใน 2564 รวมทั้้�งการจััดการความรู้้�บริิหารฐานความรู้้�
2.8 การรายงานทางการเงิิน
บริิหาร และปรัับปรุุงบริิการ
2.7 การเบิิกจ่่ายเงิินตามแผนการเบิิกจ่่ายที่่�ได้้รัับอนุุมััติิ 2.9 การดำำ�เนิินการตามแผนพััฒนาระบบการจ่่ายเงิินและ
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 3 : พััฒนากลไกการอภิิบาลระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินได้้อย่่างเพีียงพอและมีีการบัังคัับใช้้ได้้อย่่างเหมาะสม
และจััดให้้มีค ี ลัังความรู้้� เพื่่�อนำำ�มาใช้้ในการกำำ�หนดนโยบาย/
การรัับเงิินของทุุนหมุุนเวีียนผ่่านระบบอิิเล็็กทรอนิิกส์์
2.10 การจัั ดทำำ � รายงานวิิ เ คราะห์์ ผู้้� ใช้้ บริิ ก ารหลัั ก และ
ผู้้�มีี ส่่ ว นได้้ ส่่ ว นเสีี ยทั้้� ง ทางตรงและทางอ้้ อ มของ
ทุุนหมุุนเวีียน
3. จำำ�นวนการนำำ�ประกาศมาตรา 29 วรรคหนึ่่ง� มาใช้้บังั คัับ และ
มีีการดำำ�เนิินการตามมาตรา 29 วรรคสอง สาม สี่่� และมาตรา
30 31 32 37 38 39 อย่่างน้้อยเรื่่�องละ 1 ครั้้�ง จนสำำ�เร็็จ ลงโทษเสร็็จสิ้้�น
19
รายงานประจำำ�ปีี 2564
กรอบกลวิิธีี หรืือวิิธีี การ ด้้านโครงสร้้างการบริิหารจััดการและอภิิบาลระบบ
1. ทบทวนบทบาทหน้้าที่่�ของหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับระบบ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
2. มีีคณะกรรมการนโยบายระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินระดัับชาติิ และระดัับเขต (National and Regional ECS Boar)
3. มีีโครงสร้้างและกลไกการประสานงานด้้านการแพทย์์ และสาธารณสุุขในภาวะโรค/ภััยสุุขภาพระดัับประเทศ
ระดัับเขตและระดัับจัังหวััด
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 3 : พััฒนากลไกการอภิิบาลระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
20
ด้้านกฎหมาย
1. วิิเคราะห์์และจััดทำ�ำ แผนในการพััฒนา ปรัับปรุุง ระเบีียบ
ข้้อบัังคัับและกฎหมายต่่าง ๆ ให้้สามารถสนัับสนุุนระบบ การแพทย์์ฉุุกเฉิินได้้ อย่่างเพีียงพอและมีีการบัังคัั บใช้้
ได้้อย่่างเหมาะสม
2. ประสานความร่่วมมืือกัับทุก ุ ภาคส่่วน เพื่่� อดำำ�เนิินการตาม แผนที่่�กำำ�หนด
3. มีีมาตรการในการคุ้้�มครองผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ ารในขณะปฏิิบัติ ั งิ าน เหมืือนปฏิิบัติ ั ิงานในฐานะเจ้้าหน้้าที่่�ของรััฐ
ด้้านการเงิินการคลััง
1. กองทุุนระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินระดัับเขต
2. กองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิินและสามกองทุุนสุุขภาพหลััก กำำ �ห นดชุุ ดสิิ ท ธิิ ป ระโยชน์์ ด้้ า นการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น และ
วิิธีก ี ารชดเชยบริิการตามชุุดสิท ิ ธิิประโยชน์์
3. ระบบการจััดการการคลัังและการเงิินในการคุ้้�มครองสิิทธิิ ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน
ด้้านวิิจััยและพััฒนาวิิชาการ
1. วิิเคราะห์์ช่่องว่่างระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่�ต้้องการ
สนัับสนุุนข้้อมููลจากงานวิิจััย/บริิหารจััดการความรู้้�
เพื่่� อกำำ�หนดกรอบทิิศทางให้้สอดคล้้องและเชื่่�อมโยง
กัับนโยบายประเทศ
2. ดำำ�เนิินงานวิิจัย ั อย่่างเป็็นระบบ ถููกต้้องตามหลัักวิิชาการ ครอบคลุุมประเด็็นนโยบายเร่่งด่่วนของสถาบัันการแพทย์์
ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิที่่เ� ชื่่�อมโยงกัับทิศ ิ ทางนโยบายระดัับชาติิ
โดยมีีการบริิหารจััดการงานวิิจััยที่่�มีป ี ระสิิทธิิภาพ
3. บริิหารจััดการความรู้้�ตามขั้้�นตอนเพื่่� อให้้เกิิด Right Knowledge, Right People, Right Time
4. การผลัักดัันให้้มีก ี ารเผยแพร่่เพื่่� อใช้้องค์์ความรู้้� ผลงาน วิิ จัั ย ผลงานวิิ ช าการและนวัั ต กรรมในการพัั ฒ นา ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินผ่่านช่่องทางต่่างๆ
วััตถุุประสงค์์
1. เพื่่� อให้้เกิิดความร่่วมมืือของหน่่วยงานภาครััฐทุก ุ ระดัับและภาคประชาสัังคม ในการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 4 พััฒนาศัักยภาพและการมีีส่่วนร่่วมของ ภาคีีเครืือข่่ายทั้้� งในและต่่างประเทศ
2. เพื่่� อให้้ อ งค์์ ก รปกครองส่่ ว นท้้ อ งถิ่่� น บููรณาการร่่ ว มเครืื อ ข่่ า ยอื่่� นใน การดำำ � เนิิ น งานและบริิ ห ารจัั ด การระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ในพื้้� นที่่�
3. เพื่่� อให้้เกิิ ดความร่่วมมืือกัั บหน่่วยงานที่่� เกี่่� ยวข้้องทั้้� งในและต่่างประเทศ ในการสนัับสนุุนการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ทั้้�งในภาวะปกติิและ
สาธารณภััย
ตััวชี้้�วััด 1. จำำ�นวนศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและจ่่ายงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและ การอำำ � นวยการทางการแพทย์์ ร ะดัั บจัั ง หวัั ด ภายใต้้ การดำำ � เนิิ น งานและบริิ ห ารจัั ด การขององค์์ ก ารบริิ ห าร ส่่วนจัังหวััด /กรุุงเทพมหานคร 2. จำำ�นวนจัังหวััดที่่�องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นขนาดใหญ่่ มีี ศูู นย์์ รัั บ แจ้้ ง และจ่่ า ยงานตามเกณฑ์์ วิิ ธีี (protocol) ที่่�แพทย์์อำำ�นวยการกำำ�หนด 3. ระดัับความสำำ�เร็็จในการเป็็นผู้้�นำำ�ความร่่วมมืือระดัับประเทศ ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินกัับประชาคมอาเซีียนและนานาชาติิ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินอย่่างมีีส่ว่ นร่่วมของภาคีีเครืือข่่าย เพื่่� อให้้
การปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินเข้้าถึึงผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน ณ จุุดเกิิดเหตุุได้้ ตามมาตรฐานที่่�กำ�ห ำ นด
3. มีีมาตรการทางกฎหมาย มาตรการสนัับสนุุนทางการเงิิน และสนัับสนุุนระบบการสื่่�อสารและเทคโนโลยีีสารสนเทศ
เพื่่� อให้้องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น สามารถดำำ�เนิินการและ
บริิหารจััดการการแพทย์์ฉุุกเฉิินได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ โดยให้้เป็็นภารกิิ จบริิการสาธารณะที่่� ต้้องให้้บริิการแก่่
ประชาชน
4. ผลัักดัันให้้องค์์กรภาคีีเครืือข่่ายทุุกภาคส่่วน มีีส่ว่ นร่่วมใน การพััฒนาการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทั้้�งในระดัับจัังหวััดและระดัับ
ประเทศ ในด้้านการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน การศึึกษา การฝึึกอบรม
กรอบกลวิิธีี หรืือวิิธีี การ 1. กำำ�หนดมาตรการสนัับสนุุนทางการเงิิน มาตรการทางกฎหมาย
และสนัับสนุุนระบบการสื่่�อสารและเทคโนโลยีีสารสนเทศ
ในด้้านการป้้องกัันภาวะฉุุกเฉิิน การแจ้้งเหตุุฉุุกเฉิินและ
การเข้้าถึึงบริิการได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพโดยคำำ�นึึงถึึงประเภท
ของกลุ่่�มผู้้�ป่่วยประเภทของกลุ่่�มอาการฉุุกเฉิิน รวมถึึงผู้้�ป่่วย
ฉุุ ก เฉิิ น ในเขตพื้้� น ที่่� หรืื อ ภููมิิ ป ระเทศที่่� ไ ม่่ มีี ผู้้� ปฏิิ บัั ติิ ก าร
หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารหรืือสถานพยาบาลเพีียงพอ
2. ส่่ ง เสริิ ม สนัั บ สนุุ น ให้้ อ งค์์ ก รปกครองส่่ ว นท้้ อ งถิ่่� น เป็็ น
ผู้้�ดำำ�เนิินงานและบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินใน ระดัับท้อ ้ งถิ่่�นและพื้้� นที่่� โดยให้้องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด/
กรุุงเทพมหานคร เป็็นหน่่วยงานหลัักในการบริิหารจััดกา
การแพทย์์ฉุุกเฉิินในระดัับจัังหวััด โดยให้้มีีระบบบริิการ
การค้้นคว้้า และการวิิจััยเกี่่�ยวกัับการประเมิิน การจััดการ
การบำำ�บััดรัก ั ษาผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน และการป้้องกัันการเจ็็บป่ว่ ย
ที่่�เกิิดขึ้้น � ฉุุกเฉิินให้้ประสบความสำำ�เร็็จ
5. ส่่งเสริิมสนัับสนุุนและพััฒนาขีีดความสามารถของสำำ�นัก ั งาน
สาธารณสุุขจัังหวััด สถานพยาบาล หน่่วยปฏิิบัติ ั ิการ และ ภาคีีเครืือข่่ายที่่�เกี่่�ยวข้้องเพื่่�อให้้ผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิินได้้รับ ั การคุ้้�มครอง
สิิทธิิอย่่างทั่่�วถึึงและได้้มาตรฐาน
6. ส่่งเสริิมสนัับสนุุนให้้มีก ี ารพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินใน ระดัั บอาเซีี ย นและนานาชาติิ โดยการมีี ส่่ ว นร่่ ว ม การแลกเปลี่่� ย นเรีี ย นรู้้�และการประสานความร่่ ว มมืื
กัั บองค์์ กร หน่่วยงานระหว่่ างประเทศ
7. ส่่ ง เสริิ ม สนัั บ สนุุ น และพัั ฒ นาระบบการประสานงาน
เพื่่� อสนัับสนุุนปฏิิบัติ ั ก ิ ารการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินระหว่่างหน่่วยงา
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 4 : พััฒนาศัักยภาพและการมีีส่่วนร่่วมของภาคีีเครืือข่่ายทั้้ง � ในและต่่างประเทศ
ได้้ อย่่างมีีคุุณภาพ ครอบคลุุมทุุกพื้้� นที่่� ทั้้� งพื้้� นที่่� ปกติิ และพื้้� นที่่� พิิเศษ
ที่่�เกี่่�ยวข้้องทั้้� งในและต่่างประเทศ ในกรณีีภััยพิิบััติิหรืือ
สาธารณภััย
21
รายงานประจำำ�ปีี 2564
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 5 การสื่่�อสารสาธารณะใน ระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นสู่่�ประชาชน วััตถุุประสงค์์
1. เพื่่� อให้้ประชาชนกลุ่่�มเสี่่�ยงต่่อการเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินและครอบครััวมีีความ ตระหนัักรู้้�ในภาวะฉุุกเฉิินขอความช่่วยเหลืือและช่่วยเหลืือเบื้้� องต้้นเมื่่�อเกิิด
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 5 : การสื่่�อสารสาธารณะในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสู่่�ประชาชน
การเจ็็บป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน
2. เพื่่� อจัั ด ระบบสนัั บ สนุุ น และประสานงานกัั บหน่่ ว ยงานที่่� เ กี่่� ย วข้้ อ ง ให้้ประชาชนกลุ่่�มเสี่่�ยงสามารถเข้้าถึึงบริิการเหมาะสมและรวดเร็็ว
3. เพื่่� อให้้มีีการจััดการระดัับชุุมชนเข้้มแข็็งและปลอดภััยเกี่่�ยวกัับการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน
ตััวชี้้�วััด 1. ร้้อยละความพึึงพอใจของผู้้�ใช้้บริก ิ ารต่่อระบบการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน
2. ร้้อยละของประชาชนกลุ่่�มเป้้าหมายมีีความรู้้�เบื้้� องต้้นและ
สามารถดููแลตนเองและช่่วยเหลืือผู้้�อื่่�น เมื่่�อเกิิดการเจ็็บ
ป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ น ได้้ อ ย่่ า งถููกต้้ อ ง รวมทั้้� ง สามารถขอความ ช่่ ว ยเหลืื อ และอำำ� นวยความสะดวกต่่ อ การให้้ บริิ ก าร
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
3. ดััชนีีการรัับรู้้�และเชื่่�อมั่่�นของประชาชน /นัักท่่องเที่่�ยว / นัักลงทุุนที่่�มีต่ ี ่อระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินของประเทศ
4. ร้้ อ ยละตำำ�บลทั่่� ว ประเทศที่่� มีี ก ารจัั ด การชุุ ม ชนและ ปลอดภััยเข้้มแข็็งได้้มาตรฐานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเชิิงพื้้� นที่่�
(Official) เพื่่� อ จัั ดทำำ� และเผยแพร่่ ค วามรู้้�ในแต่่ ล ะ
ประเด็็ น ที่่� ป ระชาชนกลุ่่�มเป้้ า หมายเข้้ า ใจง่่ า ยใน ลัั ก ษณะ Onepage/Week และมีี ก ารกำำ �กัั บ และ
ติิดตามอย่่างต่่อเนื่่� อง
5. ส่่งเสริิมและสนัับสนุุนด้้ วยการประชาสััมพัันธ์์ หรืือ
วิิธีีการใดวิิธีีการหนึ่่�งให้้ประชาชนกลุ่่�มเป้้าหมายและ
ครััวเรืือนเข้้าถึึงองค์์ความรู้้�สาธารณะในการป้้องกััน
ตระหนัักรู้้� เตรีียมพร้้อม สามารถให้้การปฐมพยาบาล ช่่วยฟื้้�นคืืนชีีพ CPR เบื้้� องต้้นและแจ้้งเหตุุฉุุกเฉิินได้้
เหมาะสม
6. สื่่�อสารทำำ�ความเข้้าใจเพื่่� อให้้หน่ว่ ยบริิการกัับประชาชน เข้้ า ใจและไว้้ ว างใจต่่ อ กัั น สร้้ า งความมั่่� น ใจ จะลด
การร้้องทุุกข์์ร้อ ้ งเรีียน สาระสำำ�คััญที่่�ควรสื่่�อสาร
7. จััดการสื่่�อสารความรู้้�ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในหมู่่�บ้า้ น/
กรอบกลวิิธีี หรืือวิิธีี การ 1. มีี ก ารจัั ดทำำ � แผนการสร้้ า งความรอบรู้้�/ตระหนัั ก รู้้� เพื่่�อสร้้างการรัับรู้้� เกี่่�ยวกัับการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในประชาชน
กลุ่่�มเป้้าหมาย
2. จััดทำ�ฐ ำ านข้้อมููลประชาชนกลุ่่�มเป้้าหมายและเครืือข่่าย ที่่�เกี่่�ยวข้้อง (ระบบ Digital Platform)
3. ผลิิ ตเนื้้� อหาความรู้้�พื้้� นฐานเกี่่� ยวกัั บการบริิการ เพื่่� อ เผยแพร่่ ผ่่ า นสื่่� อสาธารณะช่่ อ งทางต่่ า ง ๆ และ พััฒนาหลัักสููตรความรู้้�พื้้� นฐานการบริิการการแพทย์์
ฉุุกเฉิินสำำ�หรับ ั ประชาชนกลุ่่�มเป้้าหมายต่่าง ๆ
22
4. ให้้ มีี ศูู นย์์ หรืื อ หน่่ ว ยที่่� รัั บผิิ ด ชอบอย่่ า งเป็็ น ทางการ
ตำำ�บลทั่่�วประเทศให้้มีก ี ารจััดการชุุมชนและปลอดภััย
เข้้มแข็็ง ได้้มาตรฐานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเชิิงพื้้� นที่่�
8. มีี ร ะบบการจัั ด การศููนย์์ รัั บ แจ้้ ง เหตุุ แ ละสั่่� ง การ
ที่่�ได้้ ม าตรฐาน โดยใช้้ ร ะบบการจัั ด การความรู้้�
(Knowledge Management)
9. กำำ �กัับติิ ดตามและประเมิินผลการดำำ �เนิินกิิ จกรรม
B
ส่่ ว นที่่� 2
ผลการดำำ � เนิิ น งาน ปีี ง บประมาณ
รายงานประจำำ�ปีี 2564
ผลการดำำ�เนิิ นงานของคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2564
การดำำ�เนิินงานของคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่สำ � ำ�คััญ ในปีี 2564
การเข้้าร่ว ่ มประชุุมของคณะกรรมการ คณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินมีีการประชุุมเป็็นประจำำ� อย่่างสม่ำำ�เสมอ เดืือนละ 1 ครั้้�งในปีีงบประมาณ 2564 มีีการประชุุม ทั้้�งสิ้้�น 13 ครั้้�ง (ตุุลาคม 2563 - กัันยายน 2564) เป็็นวาระประจำำ�
ผลการดำำ�เนิินงาน : ด้้านการบริิหารงบประมาณ
จำำ�นวน 11 ครั้้�ง และวาระพิิเศษ จำำ�นวน 2 ครั้้�ง ซึ่่�งเป็็นการประชุุม เพื่่� อพิิจารณาและตััดสิินใจประเด็็นสำำ�คััญต่่างๆ เพื่่� อขัับเคลื่่�อน ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน และเพื่่� อรองรัับสถานการณ์์การแพร่่ระบาด โรคติิ ดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่่� ส่่งผลกระทบต่่ อ ประชาชน และระบบการบริิการสุุขภาพของประเทศ
การดำำ�เนิินงานของสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
B
ด้้านการบริิหารงบประมาณ กพฉ. มีีมติิ
1. เห็็นชอบให้้นำำ�เงิินสะสมของงบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ปีีงบประมาณ 2564 จำำ�นวน 3,937,100 บาท สมทบค่่าใช้้จ่า่ ยดำำ�เนิินงานประจำำ�พื้้�นฐาน 2,403,900 บาท และโครงการพััฒนา
เพิ่่�มประสิิทธิิภาพการขัับเคลื่่�อนนโยบายรััฐบาลฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิท ิ ธิิทุก ุ ที่่�” จำำ�นวน 1,533,200 บาท และนำำ� เงิิ น สะสมของกองทุุ น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น จำำ� นวน 18,399,587 บาท สำำ�หรัั บ ชดเชย
การปฏิิบัติ ั ก ิ าร จำำ�นวน 13,000,000 บาท และสำำ�รองกรณีีฉุก ุ เฉิิน เป็็นเงิิน 5,399,587 บาท (หากมีี
เงิินคงเหลืือให้้นำ�ำ ไปจ่่ายเป็็นค่่าชดเชยการปฏิิบัติ ั ิการทั้้�งหมด)
2. เห็็นชอบแผนการใช้้จ่า่ ยเงิินงบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ และงบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมอบ สพฉ. ดำำ�เนิินการ ดัังนี้้�
2.1 ขอรัับจััดสรรเพิ่่�มเติิ ม งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ค่่ าใช้้จ่่ายบุุ คลากร จำำ �นวน 68,796,130 บาท เพื่่� อชำำ�ระหนี้้�ปีี 2563 จำำ�นวน 32,410,288 บาท และค่่าใช้้จ่่ายบุุคลากร
ที่่�ได้้รับจั ั ัดสรรไม่่เพีียงพอ ปีี 2564 จำำ�นวน 36,385,842 บาท
2.2 ขอรัับจัด ั สรรงบกลาง สำำ�หรับ ั กองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เป็็นค่่าชดเชยปฏิิบัติ ั ก ิ ารด้้านการแพทย์์
ฉุุ ก เฉิิ น ที่่� ไ ม่่ เ พีี ย งพอ จำำ � นวน 275,968,513 บาท ในโอกาสต่่ อ ไปและเห็็ น ชอบการขอ
เปลี่่�ยนแปลงรายการ จากค่่าครุุภัณ ั ฑ์์ จำำ�นวน 5,160,000 บาท เป็็นค่่าใช้้จ่า่ ยดำำ�เนิินงานประจำำ� พื้้� นฐาน จำำ �นวน 4,326,475 บาท และโครงการพััฒนาเพิ่่�มประสิิทธิิภาพการขัับเคลื่่� อน
นโยบายรััฐบาล“ฉุุกเฉิินวิิฤต มีีสิท ิ ธิิทุก ุ ที่่�” จำำ�นวน 833,525 บาท กรณีีที่่�สำ�นั ำ ก ั งบประมาณ
ให้้ความเห็็นชอบ หรืือให้้ความเห็็นว่่าเป็็นอำำ�นาจหน้้าที่่�ของ กพฉ.
24
แห่่งชาติิ จำำ�นวน 411,400,300 บาท (สี่่�ร้อ ้ ยสิิบเอ็็ดล้้านสี่่�แสนสามร้้อยบาทถ้้วน) และงบกองทุุน การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จำำ�นวน 1,335,348,000 บาท (หนึ่่�งพัันสามร้้อยสามสิิบห้า้ ล้้านสามแสนสี่่�หมื่่�น
แปดพัันบาทถ้้วน) เพื่่� อเสนอสำำ�นัักงบประมาณต่่อไป และเห็็นชอบในหลัักการให้้ สพฉ. ขอรัับ การสนัับสนุุนงบประมาณในการผลิิตนัก ั ปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ โดยร่่วมมืือกัับกรมส่่งเสริิม
การปกครองท้้องถิ่่�น กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงสาธารณสุุข เสนอ กพฉ. พิิจารณาใน การประชุุมครั้้�งต่่อไป เพื่่� อเตรีียมการเสนอต่่อคณะรััฐมนตรีี
4. เห็็นชอบในหลัักการแผนการใช้้จ่า่ ยเงิินงบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ประจำำ�ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (รวมเงิินสะสม) และมอบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิดำ�ำ เนิินการขอรัับการสนัับสนุุนงบกลาง
รายการเงิินสำำ�รองจ่่ายเพื่่� อกรณีีฉุก ุ เฉิินหรืือจำำ�เป็็นเพิ่่�มเติิมต่่อไป
5. รัับทราบรายงานการเงิิ น – สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ และกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
3. เห็็นชอบกรอบวงเงิินคำำ�ของบประมาณรายจ่่ายประจำำ�ปีี 2564 งบสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
ไตรมาส 1 ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2564
6. รัับทราบรายงานผลการตรวจสอบ ไตรมาส 1 ปีีงบประมาณ 2564 ณ วัันที่่� 31 ธัันวาคม 2563
7. รัับทราบผลการพิิจารณาของสำำ�นัก ั งบประมาณ โดยมอบ สพฉ. ดำำ�เนิินการตามระเบีียบราชการ อย่่างเคร่่งครััด และให้้เป็็นไปตามมติิ กพฉ. ครั้้�งที่่� 10/2563 และครั้้�งที่่� 11/2563 และดำำ�เนิินการ 7.1 สพฉ. นำำ�งบประมาณปีี 2564 ทั้้�งในส่่วนของงบสถาบัันฯ และงบกองทุุนฯ ไปชำำ�ระหนี้้�คงค้้าง ของปีีงบประมาณ 2563 ดัังนี้้�
(1) ชำำ�ระหนี้้�งบกองทุุนฯ ค่่าชดเชยปฏิิบััติิการด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่�ค้้างจ่่ายในปีี 2563 จำำ�นวน 98,257,960 บาท
(2) ชำำ�ระหนี้้�งบสถาบัันฯ ค่่าใช้้จ่่ายบุุคลากร ปีี 2563 จะดำำ�เนิินการเมื่่�อสำำ�นัักงบประมาณ
พิิ จ ารณาจัั ด สรรงบกลางรายการสำำ � รองจ่่ า ยกรณีี ฉุุ ก เฉิิ น หรืื อ จำำ � เป็็ น แล้้ ว เนื่่� อ งจาก
ค่่ าใช้้จ่่ายบุุ คลากร ปีี 2564 มีีวงเงิิ นคงเหลืื อไม่่เพีียงพอในการชำำ�ระหนี้้� (อยู่่�ระหว่่าง
การพิิจารณาจััดสรรของสำำ�นัก ั งบประมาณ)
7.2 สพฉ. เปลี่่�ยนแปลงรายการค่่าครุุ ภััณฑ์์ จำำ�นวน 5,160,000 บาท เป็็นค่่าใช้้จ่่ายดำำ�เนิินงาน ประจำำ�พื้้�นฐานจำำ�นวน 4,326,475 บาท และโครงการพััฒนาเพิ่่�มประสิิทธิิภาพการขัับเคลื่่�อน
นโยบายรััฐบาล “ฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิท ิ ธิิทุก ุ ที่่�” จำำ�นวน 833,525 บาท ตามที่่�สำ�นั ำ ก ั งบประมาณ
ให้้ความเห็็นว่่าเป็็นอำำ�นาจหน้้าที่่�ของ กพฉ. และ กพฉ. มีีมติิเห็็นชอบแล้้ว
8. เห็็ น ชอบกรอบวงเงิิ น ค่่ า ใช้้ จ่่ า ยและแหล่่ ง งบประมาณ เพื่่� อ สนัั บ สนุุ น การปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น กรณีีโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ให้้ใช้้เงิินกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จำำ�นวน 11,400,000 บาท
และเงิินสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ (เงิินบริิจาค) จำำ�นวน 665,000 บาท เพื่่� อสนัับสนุุน
ผลการดำำ�เนิินงาน : ด้้านการบริิหารงบประมาณ
ตามผลการพิิจารณาของสำำ�นัก ั งบประมาณ ดัังนี้้�
การปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิิน กรณีีโรคติิ ดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 และเห็็นชอบในหลัั กการให้้ใช้้เงิิ น
สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ (เงิิ น บริิ จ าค) กรณีี ที่่� มีี ก ารบริิ จ าคเพิ่่� ม เติิ ม เพื่่� อ สนัั บ สนุุ น
การปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น กรณีี โ รคติิ ด เชื้้� อ ไวรัั ส โคโรนา 2019 และให้้ ร ายงาน กพฉ. ทราบใน
การประชุุมครั้้�งต่่อไป กรณีีเงิินบริิจาคให้้ สพฉ. ดำำ�เนิินการอย่่างโปร่่งใส ให้้เป็็นไปตามระเบีียบ
ที่่�เกี่่�ยวข้้อง
9. รัับทราบเงิินบริิจาคที่่�สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิได้้รัับเพิ่่�มเติิม และเห็็นชอบให้้ใช้้เงิิน
บริิจาคเพิ่่�มเติิม จำำ�นวน 1,431,000 บาท เพื่่� อสนัับสนุุนการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินกรณีีโรคติิดเชื้้�อ
ไวรััสโคโรนา 2019
10. รัับทราบผลการพิิจารณาของสำำ�นัก ั งบประมาณในการขอรัับการสนัับสนุุนงบประมาณรายจ่่าย
ประจำำ�ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2564 งบกลาง รายการเงิินสำำ�รองจ่่ายเพื่่� อกรณีีฉุุกเฉิินหรืือจำำ�เป็็น สำำ�หรัับเป็็นค่่าใช้้จ่่ายบุุคลากรที่่� ได้้รัับจััดสรรไม่่เพีียงพอ และให้้ สพฉ. เบิิกจ่่ายงบประมาณ รายจ่่ า ยประจำำ �ปีี พ.ศ. 2564 งบกลาง รายการเงิิ น สำำ � รองจ่่ ายเพื่่� อ กรณีี ฉุุก เฉิิ น หรืื อ จำำ � เป็็ น
จำำ�นวน 52,416,644 บาท สำำ�หรับ ั เป็็นค่่าใช้้จ่่ายบุุคลากรที่่�ได้้รับจั ั ัดสรรไม่่เพีียงพอ ให้้เป็็นตาม
วััตถุุประสงค์์ และปฏิิบััติิตามกฎหมาย ระเบีียบ ข้้อบัังคัับ มติิคณะรััฐมนตรีีและหนัังสืือเวีียนที่่�
เกี่่�ยวข้้อง ตลอดจนมาตรฐานของทางราชการให้้ถููกต้้องครบถ้้วนในทุุกขั้้�นตอน
25
รายงานประจำำ�ปีี 2564
11. เห็็นชอบกรอบและทิิ ศทางการขัับเคลื่่� อนยุุ ทธศาสตร์์ปีีงบประมาณ 2565 ตามกรอบ ECSI และแผนการดำำ�เนิินงานและแผนการเงิินของ สพฉ. ปีี 2565 วงเงิินทั้้�งสิ้้�น 1,338,612,100 บาท
ดัังนี้้�
11.1 งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ จำำ�นวน 155,462,100 บาท จำำ�แนกเป็็น (1) ค่่าใช้้จ่่ายบุุคลากร จำำ�นวน 85,775,600 บาท
(2) ค่่าใช้้จ่่ายแผนงานพื้้� นฐาน จำำ�นวน 55,806,500 บาท - ค่่าใช้้จ่่ายพื้้� นฐานประจา จำำ�นวน 18,728,700 บาท - ค่่าใช้้จ่่ายลงทุุน จำำ�นวน 33,108,800 บาท
- ค่่าใช้้จ่่ายโครงการแผนงานพื้้� นฐาน จำำ�นวน 3,969,000 บาท
(3) ค่่าใช้้จ่่ายดำำ�เนิินงานโครงการแผนงานยุุทธศาสตร์์ จำำ�นวน 11,000,000 บาท
(4) ค่่ าใช้้จ่่ายดำำ �เนิินงาน แผนงานบููรณาการเขตพััฒนาพิิเศษภาคตะวัั นออก จำำ �นวน 2,880,000 บาท
11.2 งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 1,183,150,000 บาท จำำ�แนกเป็็น
(1) สนัับสนุุนและชดเชยการจััดบริก ิ ารการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จำำ�นวน 1,101,650,000 บาท - ค่่าใช้้จ่่ายชำำ�ระหนี้้�ค่่าชดเชยปีีก่่อนๆ จำำ�นวน 224,000,000 บาท
ผลการดำำ�เนิินงาน : ด้้านการบริิหารงบประมาณ
- ค่่าชดเชยการจััดบริก ิ ารการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จำำ�นวน 877,650,000 บาท
(2) พััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเพื่่� อสนัับสนุุนพื้้� นที่่� จำำ�นวน 81,500,000 บาท
(3) เห็็นชอบให้้ สพฉ. ดำำ �เนิินการปรัับเกลี่่� ยงบประมาณภายในประเภทได้้ ตามความ เหมาะสมและรายงาน กพฉ. เพื่่� อทราบ ดัังนี้้�
- งบกองทุุนฯ ให้้ปรัับเกลี่่�ยเฉพาะภายในงบกองทุุนฯ
- งบสถาบัันฯ ให้้ปรัับเกลี่่�ยเฉพาะภายในงบสถาบัันฯ โดยไม่่ข้้ามแผนงาน กรณีีที่่�
สพฉ. จะปรัับเกลี่่�ยงบประมาณข้้ามแผนงานให้้เสนอ กพฉ. เพื่่� อพิิจารณาอนุุมัติ ั ิ
(4) กรณีีค่่าใช้้จ่่ายด้้านบุุคลากรเกิินกว่่าสััดส่่วนร้้อยละ 30 ตามที่่�คณะรััฐมนตรีีกำำ�หนด มอบ สพฉ. ขอผ่่อนผัันกัับสำำ�นัักงานคณะกรรมการพััฒนาระบบราชการ เพื่่� อให้้เป็็น
ไปตามมติิคณะรััฐมนตรีี
(5) มอบ สพฉ. ดำำ�เนิินการตามกรอบหลัักเกณฑ์์การประเมิินผลการดำำ�เนิินงานทุุนหมุุนเวีียน ประจำำ�ปีบั ี ญ ั ชีี 2564
ด้้านการบริิหารจััดการ
1. รัับทราบรายงานผลการปฏิิบััติิงานตามภารกิิจของทุุนหมุุนเวีียน 5 ด้้าน ไตรมาส 1 ประจำำ�ปีี งบประมาณ 2564
2. รัับทราบแนวทางปฏิิ บััติิการหัักภาษีี ณ ที่่� จ่่าย กรณีีการจ่่ ายเงิิ นค่่ าเบี้้�ยประชุุ มกรรมการและ อนุุกรรมการ
3. รัับทราบกรอบการจััดทำำ�แผนหลัักการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 4 (พ.ศ. 2566 – 2570) โดยมอบ สพฉ. ไปปรัับกรอบระยะเวลาตามที่่�ประชุุมให้้ข้้อสัังเกตและวางแผนการดำำ�เนิินการ
กรณีีเสนอแผนเข้้าสู่่�การพิิจารณาของคณะรััฐมนตรีีไม่่ทัันตามกำำ�หนดระยะเวลาไว้้ด้้วย และ
การนำำ� (ร่่าง) แผนหลัักการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) ที่่�ผ่่านความ
เห็็นชอบจาก กพฉ. เสนอเข้้าสู่่ก � ารพิิจารณาของคณะรััฐมนตรีี
4. รัับทราบรายงานประจำำ�ปีี 2563 ของสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
5. รัับทราบรายงานผลการปฏิิบััติิงานตามภารกิิจของทุุนหมุุนเวีียน 5 ด้้าน ไตรมาสที่่� 2 ประจำำ�ปีี งบประมาณ 2564
6. รัับทราบรายงานผลการตรวจสอบ ไตรมาส 2 ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2564
7. รัั บ ทราบรายงานการเงิิ น สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ และกองทุุ น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ไตรมาส 2 ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2564 ณ วัันที่่� 31 มีีนาคม 2564
26
และทรััพย์์สิน ิ ของสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิและกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน สำำ�หรับปี ั สิ้้ ี น � สุุด
ณ วัันที่่� 30 กัันยายน 2563 ที่่�ผู้้�ตรวจสอบภายนอก บริิษััท นิิลสุว ุ รรณ จำำ�กััด ตรวจสอบแล้้ว
9. เห็็นชอบปรัับเกณฑ์์และเป้้าหมายตััวชี้้�วัด ั ของ สพฉ. ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2564 จำำ�นวน 4 ตััวชี้้�วัด ั รายละเอีียดดัังนี้้�
9.1 ให้้ สพฉ. ปรัับเป้้าหมายการดำำ�เนิินงานตามตััวชี้้�วััด ปีีงบประมาณ 2564 จำำ�นวน 3 ตััวชี้้�วััด ดัังนี้้�
1) ตัั ว ชี้้� วัั ด 15(3).1 จำำ � นวนเขตสุุ ข ภาพที่่� มีี จัั ง หวัั ดที่่� มีี ร ะบบอำำ � นวยการทางการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน จาก “ระดัั บ 1 = 1 เขต ระดัั บ 2 = 2 เขต ระดัั บ 3 = 3 เขต ระดัั บ 4 = 4 เขต
ระดัับ 5 = 5 เขต” เป็็น “ระดัับ 1 = 1 เขต ระดัับ 3 = 2 เขต ระดัับ 5 = 3 เขต”
2) ตัั ว ชี้้� วัั ด 15(4) จำำ � นวนการศึึกษา ค้้ น คว้้ า และวิิ จัั ย และพัั ฒ นาด้้ า นการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
8. รัับทราบรายงานผลการตรวจสอบรายงานการเงิิน และรายงานผลการประเมิินการใช้้จ่่ายเงิิน
สนัับสนุุนการจััดทำ�ำ แผนหลัักการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 4 จาก “ระดัับ 1 = 1 เรื่่�อง
ระดัั บ 2 = 2 เรื่่� อง ระดัั บ 3 = 3 เรื่่� อง ระดัั บ 4 = 4 เรื่่� อง ระดัั บ 5 = 6 เรื่่� อง” เป็็ น
“ระดัับ 1 = 1 เรื่่�อง ระดัับ 2 = 2 เรื่่�อง ระดัับ 3 = 3 เรื่่�อง ระดัับ 4 = 4 เรื่่�อง ระดัับ 5 = 5 เรื่่�อง”
3) ตััวชี้้�วััด 15 (7) จำำ�นวนองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นระดัับจัังหวััดที่่�รัับดำำ�เนิินการหน่่วย
2 แห่่ง ระดัับ 3 = 3 แห่่ง ระดัับ 4 = 4 แห่่ง ระดัับ 5 = 5 แห่่ง” เป็็น “ระดัับ 1 = 1 แห่่ง
ระดัับ 3 = 2 แห่่ง ระดัับ 5 = 3 แห่่ง”
9.2 ให้้ สพฉ. ปรัับเกณฑ์์ตัว ั ชี้้�วัด ั ปีีงบประมาณ 2564 จำำ�นวน 1 ตััวชี้้�วัด ั ดัังนี้้� ตััวชี้้�วัด ั 15 (9) ระดัับ ความสำำ�เร็็จของการดำำ �เนิินการด้้ านการเข้้าถึึงบริิการการแพทย์์ฉุุกเฉิินในกลุ่่�มผู้้�สููงอายุุ
ปรัับเกณฑ์์จาก “พิิจารณาจากการพััฒนาระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน หรืือ การจััดระบบ บริิ ก ารการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น นอกโรงพยาบาลสำำ �หรัั บ กลุ่่�มผู้้�สููงอายุุ ” เป็็ น “พิิ จ ารณาจาก
การพัั ฒ นาระบบบริิ ก ารการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น หรืื อ การจัั ด ระบบบริิ ก ารการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น
นอกโรงพยาบาล สำำ�หรับ ั กลุ่่�มผู้้�สููงอายุุ ในกลุ่่�มโรค Stroke, STEMI, HIP fracture”
10. รัั บ ทราบการปรัั บ แผนการดำำ � เนิิ น งานและแผนการเงิิ น ประจำำ �ปีี ง บประมาณ 2564 ของ สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
11. เห็็นชอบแต่่ งตั้้� ง นางสาวอริิสา ชุุ มวิิสููตร ผู้้�สอบบััญชีีรัับอนุุญาต ทะเบีียนเลขที่่� 9393 หรืือ นายสุุวัฒน์ ั ์ มณีีกนกสกุุล ทะเบีียนเลขที่่� 8134 บริิษััท สอบบััญชีีธรรมนิิติิ จากััด เป็็นผู้้�สอบบััญชีี
ผลการดำำ�เนิินงาน : ด้้านบริิหารจััดการ
ปฏิิบััติิการประเภทอำำ�นวยการ เพิ่่�มขึ้้�นจากปีี 2563 จาก “ระดัับ 1 = 1 แห่่ง ระดัับ 2 =
ของสถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ งวดปีี บัั ญ ชีี 2565 เมื่่� อได้้ รัั บ ความเห็็ น ชอบจาก
สำำ�นัก ั งานการตรวจเงิินแผ่่นดิิน
12. รัับทราบรายงานการเงิิน - สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ และกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ไตรมาส 3 ประจำำ�งบประมาณ 2564 ณ วัันที่่� 30 มิิถุน ุ ายน 2564
13. รัับทราบรายงานผลการตรวจสอบภายใน ไตรมาส 3 ปีีงบประมาณ 2564
14. รัั บ ทราบผลการปฏิิ บัั ติิ ง านตามภารกิิ จ ของทุุ น หมุุ น เวีี ย น 5 ด้้ า น ไตรมาสที่่� 3 ประจำำ �ปีี งบประมาณ 2564
15. เห็็นชอบตััวชี้้�วััดการดำำ�เนิินงานของ สพฉ. และเลขาธิิการ สพฉ. ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2565 และมอบคณะอนุุกรรมการยุุทธศาสตร์์การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ดำำ�เนิินการ ดัังนี้้�
15.1 กำำ�หนดกรอบหลัักเกณฑ์์ ค่่าน้ำำ�หนััก และรายละเอีียดตััวชี้้�วััดการดำำ�เนิินงานของ สพฉ. และ เลขาธิิการ สพฉ. ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2565 และรายงาน กพฉ. ทราบต่่อไป
15.2 เป็็นผู้้�แทน กพฉ. เข้้าประชุุมหารืือร่่างตััวชี้้�วัด ั การประเมิินทุุนหมุุนเวีียน (กองทุุนการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน) ร่่วมกัับกรมบััญชีีกลางและบริิษััททริิส และรายงาน กพฉ. ทราบต่่อไป
16. รัับทราบแผนการตรวจสอบ ประจำำ�ปีี 2565 ของสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
27
รายงานประจำำ�ปีี 2564
ผลการดำำ�เนิินงานเกี่่ย � วกัับผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการ กพฉ. มีีมติิ
1. เห็็นชอบให้้ผู้้�ที่่ไ� ด้้รับ ั อนุุมัติ ั ป ิ ระกาศนีียบััตรชั่่�วคราวตามมติิ กพฉ. ครั้้�งที่่� 4/2563 จำำ�นวน 135 คน มีีสิิทธิิใช้้ประกาศนีียบััตรต่่อไปได้้อีีก 1 ปีี เป็็นการเฉพาะคราว นัับตั้้�งแต่่วัันที่่� 1 มีีนาคม 2564
ถึึงวัันที่่� 28 กุุมภาพัันธ์์ 2565 เพื่่� อปฏิิบัติ ั ิการในชุุดปฏิิบัติ ั ิการ SCOT เท่่านั้้�น
2. เห็็นชอบมอบเข็็มเชิิดชููเกีียรติิประจำำ�ปีี พ.ศ. 2563 จำำ�นวน 1,560 ราย ตามรายชื่่� อที่่�คณะกรรมการ กลั่่�นกรองเสนอ ดัังนี้้�
(1) ประเภทกิิตติิมศัก ั ดิ์์� จำำ�นวน 10 ราย
(2) ประเภทสมนาคุุณ ชั้้�น 1 จำำ�นวน 2 ราย ชั้้�น 2 จำำ�นวน 2 ราย ชั้้�น 3 จำำ�นวน 3 ราย
(3) ประเภทสรรเสริิญ ชั้้� น 1 จำำ �นวน 1 ราย ชั้้� น 4 จำำ �นวน 545 ราย ชั้้� น 5 จำำ �นวน 997 ราย และเรีียนเชิิญให้้ประธานกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเป็็นผู้้�มอบเข็็มเชิิดชููเกีียรติิ ประจำำ�ปีี 2563
ประเภทกิิตติิมศัก ั ดิ์์� ประเภทสมนาคุุณ และประเภทสรรเสริิญชั้้�น 1 และเรีียนเชิิญผู้้�ว่่าราชการ
จัั งหวัั ดแต่่ ละจัั งหวัั ดเป็็นผู้้�มอบเข็็มเชิิดชูู เกีี ยรติิ ประจาปีี 2563 ประเภทสรรเสริิญชั้้� น 4
และประเภทสรรเสริิญ ชั้้�น 5
3. เห็็นชอบเกณฑ์์มาตรฐานคุุณวุุฒิฉุ ิ ก ุ เฉิินการแพทย์์ (มคฉ.1) จำำ�นวน 6 สาขา ได้้แก่่ (1) สาขานัักปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์
(2) สาขาเจ้้าพนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ขั้้�นสููง (3) สาขาเจ้้าพนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์
ผลการดำำ�เนิินงาน : ผู้้ป � ฏิิบัติ ั ก ิ าร
(4) สาขาพนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์พิเิ ศษ (5) สาขาพนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ และ (6) สาขาอาสาสมััครฉุุกเฉิินการแพทย์์
ผลการดำำ � เนิิ น งานตอบสนองสถานการณ์์ โ รคติิ ด เชื้้� อไวรัั ส โคโรนา 2019 (COVID-19) กพฉ. มีีมติิ
1. รัับทราบ ผลการพิิจารณาโครงการฯ ของ สพฉ. ภายใต้้แผนงานตามพระราชกำำ�หนดเงิินกู้้�รััฐบาลใน
การรัับเงิินเข้้าสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ตาม มาตรา 16 (1) โดยการเบิิกจ่่ายเงิินกู้้�ให้้ปฏิิบัติ ั ิ
ตามหนัั ง สืื อ กระทรวงการคลัั ง ด่่ ว นที่่� สุุ ด ที่่� กค 0402.2/ว75 ลงวัั น ที่่� 24 เมษายน 2563
เรื่่�อง หลัักเกณฑ์์การเบิิกจ่่ายเงิินจากคลัังตามโครงการเงิินกู้้�เพื่่� อแก้้ไขปััญหา เยีียวยา และฟื้้�นฟูู เศรษฐกิิจและสัังคมที่่�ได้้รับ ั ผลกระทบจากสถานการณ์์การระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019
และรัั บ ทราบอัั ต ราการจ่่ า ยเงิิ น แก่่ หน่่ ว ยปฏิิ บัั ติิ ก ารตามวัั ตถุุ ป ระสงค์์ ข องโครงการที่่� ไ ด้้ รัั บ
การจััดสรร เพื่่� อเป็็นค่่าอุุดหนุน ุ การปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ให้้แก่่หน่ว ่ ยปฏิิบัติ ั ิการในการออก
ปฏิิบัติ ั ิ ดัังนี้้�
1.1 ชุุ ดปฏิิ บััติิการ ALS (SCOT) จำำ �นวน 3,500 บาท/ครั้้� ง (ค่่ าชดเชยปฏิิ บััติิการ 2,000 บาท และค่่าอุุปกรณ์์ป้อ ้ งกัันส่่วนบุุคคลของผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการ 1,500 บาท)
1.2 ชุุ ดปฏิิ บััติิการ BLS (SCOT) จำำ �นวน 2,500 บาท/ครั้้� ง (ค่่ าชดเชยปฏิิ บััติิการ 1,000 บาท และค่่าอุุปกรณ์์ป้อ ้ งกัันส่่วนบุุคคลของผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการ 1,500 บาท)
2. รัับทราบผลการดำำ�เนิินงาน“โครงการพััฒนาระบบปกติิใหม่่ของการบริิการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
และพร้้อมรัับมือ ื กัับสถานการณ์์ระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่่”
ของ สพฉ. ตาม พ.ร.ก. เงิินกู้้�เพื่่� อแก้้ ไขปััญหา เยีียวยา และฟื้้�นฟููเศรษฐกิิ จและสัังคมที่่� ได้้ รัับ
ผลกระทบจากสถานการณ์์การระบาดของโรคติิ ดเชื้้�อไวรััส โคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 และ
การขอขยายระยะเวลาดำำ�เนิินโครงการฯ ดัังกล่่าว ต่่อไปอีีก 6 เดืือน ตั้้�งแต่่ เมษายน - กัันยายน 2564
3. มอบหมายให้้ สพฉ. ปฏิิบััติิการตามคำำ�สั่่�งกระทรวงสาธารณสุุข ที่่� 1380/2563 เรื่่�อง จััดตั้้�งศููนย์์ ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินด้้านการแพทย์์และสาธารณสุุข กรณีีโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ประสาน
หน่่วยงานภาครััฐ เอกชน มาปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิินภายใต้้ สพฉ. ตามคำำ �สั่่�งกระทรวงสาธารณสุุข
ที่่� 1380/2563 เรื่่�อง จััดตั้้�งศููนย์์ปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินด้้านการแพทย์์และสาธารณสุุข กรณีีโรคติิดเชื้้�อ
ไวรัั ส โคโรนา 2019 ให้้ บุุ ค คลอื่่� นนอกเหนืื อ จากผู้้�ที่่� เ คยได้้ รัั บ ประกาศนีี ย บัั ต รผู้้�ปฏิิ บัั ติิ ก าร
28
โคโรนา 2019 ซึ่่�งผ่่านการฝึึกอบรมตามที่่� สพฉ. กำำ�หนดและปฏิิบััติิงานภายใต้้คำำ�สั่่�งของ สพฉ.
ให้้เป็็นผู้้�ปฏิิ บััติิการ (อาสาสมััครฉุุกเฉิินการแพทย์์ชั่่�วคราว) ตามกฎหมายว่่ าด้้ วยการแพทย์์
ฉุุกเฉิิน และระเบีียบคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ว่่าด้้วย การรัับเงิิน การจ่่ายเงิิน และการเก็็บ
รัักษาเงิินกองทุุน และเห็็นชอบให้้ชุุดปฏิิ บััติิการหรืือหน่่วยปฏิิ บััติิการนอกเหนืือจากที่่� เคยขึ้้�น
ทะเบีียนและปฏิิบััติิงานตามที่่� สพฉ. กำำ�หนด และมาปฏิิบััติิงานสนัับสนุุนการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน
กรณีีโรคติิ ดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ซึ่่�งผ่่านการประเมิินตามที่่� สพฉ. กำำ �หนดและปฏิิ บััติิงาน ภายใต้้คำำ�สั่่�งของ สพฉ. ให้้เป็็นชุุดปฏิิบััติิการหรืือหน่่วยปฏิิบััติิการ (ชั่่�วคราว) ตามกฎหมายว่่า
ด้้วยการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน และระเบีียบคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ว่่าด้้วย การรัับเงิิน การจ่่าย
เงิิน และการเก็็บรัก ั ษาเงิินกองทุุน
5. รัับทราบผลการดำำ�เนิินงานและผลการใช้้จ่่ายงบประมาณตามกรอบที่่� กพฉ. เห็็นชอบ
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ตามที่่� กพฉ.กำำ �หนด และมาปฏิิ บััติิงานสนัับสนุุนการปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิิน กรณีีโรคติิ ดเชื้้�อไวรััส
6. มอบ สพฉ. ดำำ�เนิินการตามประกาศ หรืือคำำ�สั่่�งที่่�เกี่่�ยวข้้อง ดัังนี้้�
6.1 ประกาศ เรื่่�อง การกำำ�หนดอำำ�นาจหน้้าที่่�ของรััฐมนตรีีตามกฎหมายเป็็นอำำ�นาจหน้้าที่่�ของ
6.2 ประกาศ เรื่่�อง หลัักเกณฑ์์ที่่น � ายกรััฐมนตรีีกำ�ห ำ นด ตามประกาศ เรื่่�อง การกำำ�หนดอำำ�นาจหน้้าที่่�
ของรัั ฐม นตรีี ต ามกฎหมายเป็็ น อำำ � นาจหน้้ า ที่่� ข องนายกรัั ฐม นตรีี (ฉบัั บที่่� 3) ลงวัั น ที่่� 29
เมษายน พ.ศ. 2564
6.3 คำำ�สั่่�งนายกรััฐมนตรีี ที่่� 6/2564 และ คำำ�สั่่�งนายกรััฐมนตรีี ที่่� 7/2564
6.4 มติิ การประชุุ มศููนย์์บูู รณาการแก้้ ไขสถานการณ์์โควิิ ด 19 ในพื้้� นที่่� กรุุ งเทพมหานครและ ปริิ ม ณฑล ในวัั น ที่่� 12 และวัั น ที่่� 19 พฤษภาคม 2564 และเห็็ น ชอบให้้ มีี ก ารสนัั บ สนุุ น
การปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น กรณีี เ ตรีี ยม พร้้ อ ม ณ จุุ ดฉีี ดวัั ค ซีี น นอกสถานพยาบาล เห็็ น ชอบ
กรอบวงเงิินที่่�ขอรัับการจััดสรรงบกลางฯ เพิ่่�มเติิม ตามที่่�เสนอ มอบ สพฉ. จััดทำำ�รายละเอีียด และเหตุุ ผ ลความจำำ � เป็็ น เพื่่�อเสนอของบกลางกรณีี ฉุุ ก เฉิิ น ฯ เพิ่่� ม เติิ ม และมอบ สพฉ.
ปรัับค่่าเป้้าหมายตัั วชี้้�วััดและผลการดำำ �เนิินงานของ สพฉ. ให้้สอดคล้้ องกัั บสถานการณ์์ และภารกิิจเร่่งด่่วนที่่� ได้้รัับมอบหมาย
7. รัับทราบรายงานผลการประเมิินการดำำ�เนิินงานกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ประจำำ�ปีีบััญชีี 2563 ของกรมบััญชีีกลาง และมอบคณะอนุุกรรมการยุุทธศาสตร์์การแพทย์์ฉุุกเฉิินกำำ�กัับติิดตามผล
การดำำ�เนิินงานของกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินตามข้้อสัังเกตของกรมบััญชีีกลางต่่อไป
8. รัั บ ทราบผลการปฏิิ บัั ติิ ก ารของ สพฉ. ในสถานการณ์์ โ รคติิ ด เชื้้� อไวรัั ส โคโรนา 2019 และ
ประกาศสถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ เรื่่� อง เกณฑ์์ วิิ ธีี ก าร และแนวทางการรัั บ รอง มาตรฐานชุุ ด ปฏิิ บัั ติิ ก าร/หน่่ ว ยปฏิิ บัั ติิ ก าร (ชั่่� ว คราว) และอาสาสมัั ค รฉุุ ก เฉิิ น การแพทย์์
(ชั่่�วคราว) เพื่่� อการสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน กรณีีโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564
เห็็นชอบอััตราค่่าชดเชยหน่่วยปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน/ชุุดปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน และผู้้�ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน
ผลการดำำ�เนิินงาน : งานตอบสนองสถานการณ์์ COVID-19
นายกรััฐมนตรีี (ฉบัับที่่� 3) ลงวัันที่่� 27 เมษายน พ.ศ. 2564
ในสถานการณ์์โรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 และร่่างระเบีียบคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
ว่่าด้้วยการรัับเงิิน การจ่่ายเงิิน และการเก็็บรัักษาเงิินกองทุุน (ฉบัับที่่� 8) พ.ศ. ... และมอบคณะ
อนุุกรรมการกฎหมายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินตรวจสอบข้้อกฎหมายก่่อนออกประกาศฯ ใช้้ต่่อไป
9. เห็็นชอบการขอรัับการสนัับสนุุนงบประมาณ เพื่่�อบริิหารจััดการนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำำ�นวน 76,752,000 บาท โดยมอบ สพฉ. ไปพิิจารณาว่่าจะขอรัับการสนัับสนุุน จากเงิินกู้้�จากแผนงานหรืือโครงการที่่�มีวั ี ัตถุป ุ ระสงค์์ เพื่่� อแก้้ไขปััญหาการระบาดของโรคติิดเชื้้�อ
ไวรััสโคโรนา 2019 ตาม พรก. ให้้อำำ�นาจกระทรวงการคลัังกู้้�เงิินเพื่่� อแก้้ไขปััญหาเศรษฐกิิจและ
สัั ง คม จากการระบาดของโรคติิ ด เชื้้� อไวรัั ส โคโรนา 2019 เพิ่่� ม เติิ ม พ.ศ. 2564 หรืื อ ขอรัั บ
การสนัับสนุุนจากงบกลางกรณีีฉุุกเฉิินจากสำำ�นัักงบประมาณ และมอบ สพฉ. เสนอเพื่่� อขอรัับ
การสนัับสนุุนงบประมาณต่่อไป
29
รายงานประจำำ�ปีี 2564
ผลการดำำ�เนิินงานด้้านต่่างๆ กพฉ. มีีมติิ
1. เห็็นชอบค่่าบริิการทางการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและการดำำ�เนิินกิิจการของสถาบััน
2. รัั บ ทราบผลการดำำ � เนิิ น งานโครงการส่่ ง เสริิ มตำำ �บล ปลอดภัั ย เข้้ ม แข็็ ง ด้้ า นการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2563 และแผนเป้้าหมายดำำ�เนิินการประจำำ�ปีงี บประมาณ 2564
3. รัับทราบผลการศึึกษาการสำำ�รวจการรัับรู้้�และความพึึงพอใจของผู้้�ใช้้บริิการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2563
4. เห็็นชอบข้้อเสนออััตราค่่าชดเชยการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางน้ำำ�
การดำำ�เนิินงานเกี่่ย � วกัับเลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ กพฉ. มีีมติิ 1. เห็็นชอบปฏิิทิินการคััดเลืือกเลขาธิิการ สพฉ. และประกาศสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
เรื่่� อง การรัั บ สมัั ค รบุุ ค คลเข้้ า รัั บ การคัั ด เลืื อ กเพื่่� อแต่่ ง ตั้้� ง เป็็ น เลขาธิิ ก ารสถาบัั น การแพทย์์
ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ สมััยวาระการดำำ�รงตำำ�แหน่่ง พ.ศ. 2564 – 2568 และมอบ สพฉ. ดำำ�เนิินการ
ตามขั้้�นตอนที่่�กำำ�หนดไว้้ในปฏิิทิินการคััดเลืือกเลขาธิิการ สพฉ.
2. เห็็นชอบวััตถุุประสงค์์ เป้้าหมาย ตััวชี้้�วััด ผลผลิิตการดำำ�เนิินงาน และกรอบวงเงิินค่่าตอบแทน
ในการสรรหาเลขาธิิ ก ารสถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ สมัั ย วาระการดำำ � รงตำำ � แหน่่ ง
พ.ศ. 2564 – 2568
3. เห็็นชอบรายงานผลการดำำ�เนิินงานของเรืืออากาศเอก อััจฉริิยะ แพงมา ระหว่่างดำำ�รงตำำ�แหน่่ง
ผลการดำำ�เนิินงานด้้านต่่างๆ
เลขาธิิ ก าร สพฉ. ปีี 2560 – 2564 เพื่่� อ ใช้้ ป ระกอบการพิิ จ ารณากำำ �ห นดค่่ า ตอบแทนพิิ เ ศษ
และให้้ นำำ � แบบประเมิิ น ผลการดำำ � เนิิ น งานตามนโยบาย 9 ข้้ อ ของเลขาธิิ ก าร สพฉ. ส่่ ง ให้้
กรรมการทุุกท่่านประเมิินตามแบบที่่� พัันเอก สุุรจิิต สุุนทรธรรม เสนอ
4. เห็็นชอบแผนยุุ ทธศาสตร์์การขัับเคลื่่� อนระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ปีี พ.ศ. 2564 – 2568 และ แผนปฏิิบััติิการขัับเคลื่่�อนระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ประจำำ�ปีี 2564 ของเลขาธิิการ สพฉ. และ เงื่่� อนไขในการดำำ � เนิิ น งานให้้ บ รรลุุ ต ามเป้้ า หมาย และมอบคณะอนุุ ก รรมการยุุ ท ธศาสตร์์
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ดัังนี้้�
4.1 พิิจารณารายละเอีียดแผนยุุทธศาสตร์์ฯ ดัังกล่่าว เพื่่� อใช้้ในการกำำ�กัับติิดตามประเมิินผล การดำำ�เนิินงาน และใช้้ประกอบการพิิจารณากำำ�หนดค่่าตอบแทนพิิเศษของเลขาธิิการ สพฉ.
4.2 กำำ �ห นดกรอบหลัั ก เกณฑ์์ ใ นการประเมิิ น ผลการปฏิิ บัั ติิ ง านของเลขาธิิ ก าร สพฉ. ตั้้� ง แต่่
1 เมษายน 2564 – 31 มีีนาคม 2568 เพื่่� อประกอบการพิิจารณาจ่่ายค่่าตอบแทนพิิเศษ
ของเลขาธิิการ สพฉ.
5. เห็็นชอบกรอบและหลัักเกณฑ์์การประเมิินผลการปฏิิบัติ ั ิงานของเลขาธิิการ สพฉ. เรืืออากาศเอก
อััจฉริิยะ แพงมา ตั้้�งแต่่ 1 เมษายน 2564 – 31 มีีนาคม 2568 เห็็นชอบตััวชี้้�วััดการประเมิินผล
การปฏิิบััติิงานของเลขาธิิการ สพฉ. ครั้้�งที่่� 1 (1 เมษายน – 30 กัันยายน 2564) และมอบคณะ
อนุุกรรมการยุุทธศาสตร์์การแพทย์์ฉุุกเฉิิน ดำำ�เนิินการประเมิินผลการดำำ�เนิินงานตามตััวชี้้�วััด
ของ สพฉ. ประจำำ �ปีี ง บประมาณ 2564 และเลขาธิิ ก าร สพฉ. ประจำำ �ปีี ง บประมาณ 2564
(1 เมษายน – 30 กัันยายน 2564) เพื่่� อประกอบการพิิจารณาจ่่ายค่่าตอบแทนของเลขาธิิการ
สพฉ. ต่่อไป
30
1. แต่่งตั้้�ง หม่่อมหลวงสมชาย จัักรพัันธุ์์� ที่่�ปรึึกษารััฐมนตรีีว่า่ การกระทรวงสาธารณสุุขเป็็นที่่�ปรึึกษา กพฉ. โดยให้้มีีวาระการดำำ �รงตำำ �แหน่่งตามวาระของนายอนุุทิิน ชาญวีี รกููล รััฐมนตรีีว่่าการ
กระทรวงสาธารณสุุ ข และเห็็ น ชอบแนวทางแต่่ งตั้้� งที่่� ป รึึกษาของคณะกรรมการการแพทย์์
ฉุุกเฉิิน
2. เห็็นชอบแต่่งตั้้�งคณะอนุุกรรมการสรรหาเลขาธิิการ สพฉ. ประกอบด้้วย (1) ศ.บรรเจิิด สิิงคะเนติิ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิด้ ิ ้านกฎหมาย
ประธานอนุุกรรมการ
(3) นางสาวสุุนทรีี สุุภาสงวน รองเลขาธิิการ ก.พ.ร.
อนุุกรรมการ
(2) นายเกีียรติิภููมิิ วงศ์์รจิิต ปลััดกระทรวงสาธารณสุุข (4) พล.อ.ต.เฉลิิมพร บุุญสิิริิ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิด้ ิ ้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
(5) นายสุุเทพ ณััฐกานต์์กนก ผู้้�แทนองค์์กรภาคเอกชนที่่�ไม่่แสวงหากำำ�ไรฯ
(6) ผู้้�อำำ�นวยการกลุ่่�มกฎหมายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน สพฉ. เลขานุุการ
อนุุกรรมการ อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการ
ฉุุกเฉิิน เรื่่�อง หลัักเกณฑ์์และวิิธีก ี ารคััดเลืือกเลขาธิิการ สพฉ. และดำำ�เนิินการสรรหาให้้แล้้วเสร็็จ
ภายในวัันที่่� 2 มีีนาคม 2564
3. เห็็นชอบแต่่งตั้้�งคณะอนุุกรรมการเจรจาค่่าตอบแทนและเงื่่�อนไขการจ้้าง ประกอบด้้วย (1) นายสาลี่่� สุุขเกิิด ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิด้ ิ ้านการเงิินและบััญชีี
ประธานอนุุกรรมการ
(3) นางสาวสุุนทรีี สุุภาสงวน รองเลขาธิิการ ก.พ.ร.
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการ
(4) รศ.ศิิริอ ิ ร สิินธุุ ผู้้�แทนสภาการพยาบาล
อนุุกรรมการ
(6) ผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นัก ั ยุุทธศาสตร์์ สพฉ.
เลขานุุการ
(5) นายไพรทููรย์์ รััตนพรวารีีสกุุล ผู้้�แทนองค์์กรภาคเอกชนที่่�ไม่่แสวงหากำำ�ไรฯ อนุุกรรมการ
โดยมีีหน้้าที่่�และอำำ�นาจเป็็นไปตามข้้อ 20 วรรค 1 และข้้อ 22 ของประกาศคณะกรรมการ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เรื่่�อง หลัักเกณฑ์์และวิิธีก ี ารคััดเลืือกเลขาธิิการ สพฉ.
4. เห็็นชอบแต่่งตั้้� งนายเกีียรติิภููมิิ วงศ์์รจิิต ปลััดกระทรวงสาธารณสุุข รัักษาการแทนเลขาธิิการ สพฉ.ตามมาตรา 21 วรรคสอง แห่่งพระราชบััญญััติิการแพทย์์ฉุุกเฉิิน พ.ศ. 2551 ทั้้�งนี้้�ให้้มีีผล
ตั้้�งแต่่วัันที่่� 1 มีีนาคม 2564
5. มอบหมาย พล.อ.ต.เฉลิิ มพร บุุ ญสิิริิ เป็็นอนุุกรรมการในคณะอนุุกรรมการฉุุกเฉิินการแพทย์์
แทน พ.อ.สุุรจิิต สุุนทรธรรม ตามข้้อ 28 (1) แห่่งข้้อบัังคัับคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
ว่่าด้้วยการกำำ�หนดผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ าร การรัับรององค์์กรและหลัักสููตรการศึึกษาหรืือฝึึกอบรมผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ าร
และการให้้ประกาศนีียบััตรหรืือเครื่่�องหมายวิิทยฐานะแก่่ผู้้�ผ่า่ นการศึึกษาหรืือฝึึกอบรม พ.ศ. 2563
ผลการดำำ�เนิินงาน : การแต่่งตั้้�งที่่ป � รึึกษาคณะกรรมการ
โดยมีีหน้า้ ที่่�และอำำ�นาจเป็็นไปตามข้้อ 8 ข้้อ 13 และข้้อ 14 ของประกาศคณะกรรมการการแพทย์์
(2) นางสาววิิลาวรรณ พยาน้้อย รองอธิิบดีีกรมบััญชีีกลาง
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
การแต่่งตั้้� งที่่�ปรึึกษาคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น และคณะอนุุกรรมการ ภายใต้้ กพฉ. เพิ่่�มเติิม กพฉ. มีีมติิ
6. เห็็นชอบแต่่งตั้้�งนายศัักดิ์์�ชัย ั กาญจนวััฒนา เป็็นที่่�ปรึึกษาของ กพฉ. โดยมีีวาระการดำำ�รงตำำ�แหน่่ง
ตามวาระของ นายอนุุทิิน ชาญวีีรกููล รััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข ทั้้� งนี้้� ให้้ได้้รัับเบี้้�ย
ประชุุมเหมาจ่่ายเป็็นรายเดืือนเท่่ากัับกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน เฉพาะเดืือนที่่�เข้้าร่่วมประชุุม
และมีีสิิทธิิได้้รัับเข็็มเชิิดชููเกีียรติิหรืือเครื่่�องหมายแสดงวิิทยฐานะ ตลอดจนให้้ได้้รัับประโยชน์์
ตอบแทนตามที่่� กพฉ. กำำ�หนด
31
รายงานประจำำ�ปีี 2564
การออกข้้อบัังคัับ ระเบีียบ หรืือประกาศต่่างๆ ภายใต้้พระราชบััญญััติิ การแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ พ.ศ.2551 ระเบีียบ กพฉ. มีีมติิ
1. เห็็นชอบ (ทางเลืือกที่่� 2) ชะลอการใช้้ระเบีียบคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินว่่าด้้วย การรัับเงิิน การจ่่ายเงิินและการเก็็บรัก ั ษาเงิินกองทุุน (ฉบัับที่่� 6) พ.ศ. 2563 ในการจ่่ายค่่าชดเชยการปฏิิบัติ ั ิ
การแพทย์์ระดัั บสููงในอัั ตรา 1,100 บาทต่่ อครั้้� ง โดยให้้มีีผลบัังคัั บใช้้ในปีีงบประมาณ 2565
ตั้้�งแต่่วัันที่่� 1 ตุุลาคม 2564
2. เห็็ น ชอบ ร่่ า งระเบีี ยบ คณะกรรมการการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ว่่ า ด้้ ว ยการรัั บ เงิิ น การจ่่ า ยเงิิ น และ
การเก็็บรัักษาเงิินกองทุุน (ฉบัับที่่� 8) พ.ศ. .... โดยมีีผลบัังคัับใช้้ตั้้�งแต่่วัันที่่� 1 ตุุลาคม 2564 และ มอบคณะอนุุกรรมการกฎหมายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินตรวจสอบถ้้อยคำำ�และความชอบด้้วยกฎหมาย
ผลการดำำ�เนิินงาน : การออกข้้อบัังคัับ ระเบีียบ หรืือประกาศต่่างๆ
ก่่อนประกาศในราชกิิจจานุุเบกษาต่่อไป
ประกาศ กพฉ. มีีมติิ
1. ยกเลิิก (ร่่าง) ประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เรื่่�อง การกำำ�หนดหลัักเกณฑ์์วิธี ิ ก ี ารแต่่งตั้้�ง ที่่� ปรึึกษาและที่่� ปรึึกษากิิตติิมศัักดิ์์� ของคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน พ.ศ. 2563 ประกาศ
คณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน เรื่่�อง การจััดสรรและการบริิหารเงิินกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2563
2. เห็็นชอบ (ร่่าง) ประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เรื่่�อง การจััดสรรและการบริิหารจััดการ เงิิ นกองทุุนการแพทย์์ฉุุกเฉิินปีีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และมอบคณะอนุุกรรมการกฎหมาย
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินพิิจารณาถ้้อยคำำ�ทางกฎหมายก่่อนออกประกาศ
3. เห็็นชอบ (ร่่าง) ประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน เรื่่�อง ค่่าบริิการทางการแพทย์์ฉุุกเฉิิน และการดำำ�เนิินกิิจการของสถาบััน (ฉบัับที่่� 2) พ.ศ. 2563 และมอบคณะอนุุกรรมการกฎหมาย
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ตรวจสอบถ้้อยคำำ�ทางกฎหมาย ก่่อนประกาศในราชกิิจจานุุเบกษาต่่อไป
4. เห็็นชอบ (ร่่าง) ประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน เรื่่�อง หลัักเกณฑ์์และวิิธีีการคััดเลืือก
เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ พ.ศ. .... โดยมีีผลใช้้บัังคัับตั้้�งแต่่วัันที่่� 28 มกราคม
2564 เป็็นต้้นไป
5. เห็็นชอบให้้แก้้ไขประกาศทั้้�ง 2 ฉบัับ และให้้ยกร่่างเป็็นประกาศสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ เรื่่�อง ค่่าบริิการทางการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและการดำำ�เนิินกิิจการของสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
6. รัับทราบการดำำ �เนิินการในการออกประกาศสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ตามที่่� กพฉ. มอบหมาย โดยคณะอนุุกรรมการกฎหมายการแพทย์์ฉุุกเฉิินได้้ปรัับปรุุ งเป็็นประกาศสถาบััน
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ เรื่่�อง ค่่าดำำ�เนิินการออกใบรัับรองผลการฝึึกอบรมและค่่าดำำ�เนิินการ
ลงทะเบีียนฝึึกอบรม พ.ศ. 2564
7. เห็็นชอบแก้้ไขประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เรื่่�อง หลัักเกณฑ์์ วิิธีก ี ารแต่่งตั้้�ง ผู้้�ปฏิิบัติ ั งิ าน
ให้้ดำำ�รงตำำ�แหน่่งที่่�สููงขึ้้�น และแต่่งตั้้�งผู้้�ปฏิิบััติิงานไปดำำ�รงตำำ�แหน่่งอื่่�น พ.ศ. 2561 และเห็็นชอบ (ร่่าง) ประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน เรื่่�อง หลัักเกณฑ์์ วิิธีีการแต่่งตั้้�งผู้้�ปฏิิบััติิงานให้้
ดำำ�รงตำำ�แหน่่งที่่�สููงขึ้้�น และแต่่งตั้้�งผู้้�ปฏิิบััติิงานไปดำำ�รงตำำ�แหน่่งอื่่�น (ฉบัับที่่� 2) พ.ศ. 25.... ตาม
ที่่� คณะอนุุกรรมการบริิหารงานบุุคคลฯ เสนอโดยมอบคณะอนุุกรรมการกฎหมายฯ พิิจารณา
ปรัับถ้้อยคำำ�ให้้เหมาะสม
32
ผลการดำำ�เนิิ นงานตามตััวชี้้�วััด ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2564
Part – A : Compulsory ค่่าเกณฑ์์วััดประจำำ�ปีบั ี ญ ั ชีี 2564 ตััวชี้้�วััด
หน่่วย วััด
ด้้านที่่� 1 การเงิิน ตััวชี้้�วััดที่่�
1.1
น้ำำ� หนััก
ผลการดำำ�เนิินงาน
ระดัับ
ระดัับ
ระดัับ
ระดัับ
ระดัับ
32
34
36
38
40
1
2
3
4
5
ต.ค.63 -ก.ย .64 ผล งาน
คะแนน ที่่ไ� ด้้
คะแนน ถ่่วงน้ำำ� หนััก
63
5.0000
0.5000
10
ประสิิทธิิภาพการบริิหารค่่าชดเชยปฏิิบััติิการ ฉุุกเฉิินสำำ�หรับผู้้�ป่ ั ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตและเร่่งด่่วน
จัังหวััด
ด้้านที่่� 2 การสนองประโยชน์์ต่่อผู้้�มีีส่่วนได้้ส่ว ่ นเสีีย
10
25
3.4000
ระดัับ
5
1
2
3
4
5
5
5.0000
0.2500
ตััวชี้้�วััดที่่�
ร้้ อ ยละความพึึงพอใจของผู้้�ใช้้ บริิ ก ารต่่ อ ระบบบริิ ก ารการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น
ร้้อยละ
5
65
70
75
80
85
88.94
5.0000
0.2500
ตััวชี้้�วััดที่่�
ผู้้�ป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ น วิิ ก ฤตที่่� ไ ด้้ รัั บ การปฎิิ บัั ติิ ก าร ฉุุ ก เฉิิ น ภายใน 8 นาทีี
ร้้อยละ
10
36.4
36.5
36.6
36.7
36.8
33.18
1.0000
0.1000
จำำ�นวนจัังหวััดที่่�มีีผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤติิที่่�ได้้รัับ การนำำ �ส่่ ง โดยชุุ ด ปฎิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น ระดัั บสูู ง (ALS) เกิินกว่่า 200 ต่่อแสนประชากร
จัังหวััด
5
54
55
56
57
58
71
5.0000
0.2500
2.1 2.2 2.3
ตััวชี้้�วััดที่่�
2.4
ด้้านที่่� 3 การปฏิิบัติ ั ิการ ตััวชี้้�วััดที่่�
3.1
ตััวชี้้�วััดที่่�
3.2
ตััวชี้้�วััดที่่�
3.3
30
ระดัั บ ความสำำ � เร็็ จ ของความเพีี ย งพอและ สมรรถะหลัักของบุุคลากรในระบบการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน
ระดัับ
10
1
2
3
4
5
5
5.0000
0.5000
จำำ�นวนจัังหวััดที่่มี � ก ี ารคััดแยกระดัับความรุุนแรง วิิ ก ฤติิ ท างโทรศัั พ ท์์ ต่ำำ � กว่่ า ที่่� โ รงพยาบาล (Under Triage) ไม่่เกิินร้้อยละ 15
จัังหวััด
10
5
6
7
8
9
9
5.0000
0.5000
ระดัับความสำำ�เร็็จในการเป็็นผู้้�นำำ�ความร่่วมมืือ ระดัั บ ประเทศด้้ า นการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น กัั บ ประชาคมอาเซีี ย นและนานาชาติิ
ระดัับ
10
1
2
3
4
5
5
5.0000
0.5000
ด้้านที่่� 4 การบริิหารพััฒนาทุุนหมุุนเวีียน ตััวชี้้�วััดที่่�
4.1
ตััวชี้้�วััดที่่�
4.2
ตััวชี้้�วััดที่่�
4.3
15
5.1
ตััวชี้้�วััดที่่�
5.2
ระดัับ
5
1
2
3
4
5
3.71
3.7100
0.1855
การตรวจสอบภายใน
ระดัับ
5
1
2
3
4
5
4.46
4.4600
0.2233
การบริิหารจััดการสารสนเทศและดิิจิิทััล
ระดัับ
5
1
2
3
4
5
4.4
4.4000
0.2200
10
6.1
ตััวชี้้�วััดที่่�
6.2
4.3000
บทบาทคณะกรรมการบริิหารทุุนหมุุนเวีียน
ระดัับ
5
1
2
3
4
5
4.8
4.8000
0.2400
การบริิหารทรััพยากรบุุคคล
ระดัับ
5
1
2
3
4
5
3.8
3.8000
0.1900
ด้้านที่่� 6 การดำำ�เนิินงานตามนโยบายรััฐ/ กระทรวงการคลััง (ตััวชี้้�วััดร่ว ่ ม) ตััวชี้้�วััดที่่�
4.1900
การบริิหารความเสี่่�ยงและการควบคุุมภายใน
ด้้านที่่� 5 การปฏิิบัติ ั ิงานของคณะกรรมการบริิหาร ผู้้�บริิหารทุุนหมุุนเวีียน พนัักงาน และลููกจ้้าง ตััวชี้้�วััดที่่�
5.0000
10
5.0000
การใช้้จ่่ายตามแผนการเบิิกจ่่ายที่่�ได้้รับ ั อนุุมัติ ั ิ
ระดัับ
5
1
2
3
4
5
5
5.0000
0.2500
การดำำ�เนิินการตามแผนพััฒนาระบบการจ่่ายเงิิน และการรัับเงิิ นของทุุนหมุุนเวีี ยนผ่่านระบบ อิิ เ ล็็ ก ทรอนิิ ก ส์์
ระดัับ
5
1
-
-
-
5
5
5.0000
0.2500
น้ำำ�หนัักรวม
100
ผลการดำำ�เนิินงานตามตััวชี้้�วัด ั : Part A - Compulsory
การดำำ � เนิิ น งานตามแผนพัั ฒ นาฐานข้้ อ มููล สารสนเสนเพื่่� อการประเมิิ น ผลลัั พ ธ์์ แ ละ ผลกระทบของทุุ น หมุุ น เวีี ย น (ตัั ว ชี้้� วัั ดร่่ ว ม)
ตััวชี้้�วััดที่่�
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ผลการดำำ�เนิิ นงานของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น
หมายเหตุุ ผลการประเมิินการดำำ�เนิินงานตามตััวชี้้�วััดของกรมบััญชีีกลาง เป็็นผลการประเมิินเบื้้� องต้้น
คะแนนเฉลี่่ย �
4.4085
33
รายงานประจำำ�ปีี 2564
Part – B : Core Business ตััวชี้้�วััด
หน่่วย วััด
15(2) จัั ด ทำำ� มาตรฐานและหลัั ก เกณฑ์์ เ กี่่� ย วกัั บ ระบบ การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น เสนอต่่ อ กพฉ. รวมทั้้� ง กำำ�ห นดเกณฑ์์ และวิิธีีการปฎิิบััติิการฉุุกเฉิินตามาตรฐานและหลัักเกณฑ์์ ที่่� กพฉ.กำำ�หนด
ค่่าเกณฑ์์วััดประจำำ�ปีบั ี ญ ั ชีี 2564
ผลการดำำ�เนิินงาน
ระดัับ
ระดัับ
ระดัับ
ระดัับ
ระดัับ
5
ผลงาน
ระดัับ
คะแนน
1
2
3
4
15
KPI15(2).1 ระดัับความสำำ�เร็็จของการมีีหลัักเกณฑ์์ เงื่่�อนไข และเกณฑ์์ ก ารปฎิิ บัั ติิ หน้้ า ที่่� ข องหน่่ ว ยปฎิิ บัั ติิ ก ารตาม มาตรา 29(2) ประกาศในราชกิิจจาฯ
ระดัับ
7.5
1
2
3
4
5
ระดัับ 3
3
22.5
KPI15(2).2 ระดัั บ ความสำำ� เร็็ จ ของความเพีี ย งพอและ สมรรถนะหลัั ก ของบุุ ค ลากรในระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น (ตััวชี้้�วััด 3.1 กรมบััญชีีกลาง)
ระดัับ
7.5
1
2
3
4
5
ระดัับ 5
5
37.5
ผลการดำำ�เนิินงานตามตััวชี้้�วัด ั : Part B - Core Business
15(3) จัั ดให้้มีีระบบปฎิิ บััติิการฉุุ กเฉิิ นรวมถึึ งการบริิหาร จัั ด การและการพัั ฒ นาระบบสื่่� อสารและเทคโนโลยีี สารสนเทศเพื่่�อประโยชน์์ในการปฎิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน
10
KPI15(3).1 จำำ�นวนเขตสุุขภาพที่่�มีีจัังหวััดที่่�มีีระบบอำำ�นวย การทางการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
เขต
5
0
0
1
2
3
3 เขต
5
25
KPI15(3).2 ร้้ อ ยละความสำำ� เร็็ จ ในการดำำ� เนิิ น การตาม แผนของโครงการพัั ฒ นาศููนย์์ รัั บ เรื่่� อ งและจ่่ า ยงานฉุุ ก เฉิิ น การแพทย์์ให้้เป็็นระบบดิิจิิทััล
ร้้อยละ
5
20
40
60
80
100
ร้้อยละ 100
5
25
1
2
3
4
5
5 เรื่่�อง
5
75
5
10
15
20
25
ร้้อยละ 43
5
100
15(4) ศึึ ก ษา ค้้ น คว้้ า วิิ จัั ย และพัั ฒ นา รวมทั้้� ง เผยแพร่่ ความรู้้�ทางการแพทย์์ฉุุกเฉิิน 15(4) จำำ� นวนการศึึกษา ค้้ น คว้้ า วิิ จัั ย และพัั ฒ นาด้้ า น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น เพื่่� อสนัั บ สนุุ น การจัั ดทำำ� แผนหลัั ก การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ฉบัับที่่� 4
15
เรื่่�อง
15(5) จัั ด ให้้ มีีการศึึก ษาและฝึึ ก อบรมการปฎิิ บัั ติิ หน้้ า ที่่� เกี่่ย � วกัับการแพทย์์ฉุุกเฉิิน 15(5) ร้้อยละของผู้้�เข้้ารัับการศึึกษาหรืือฝึึกอบรมผู้้�ปฎิิบัติ ั ก ิ าร ฉุุกเฉิินขั้้�นสููงเพิ่่�มขึ้้�นจากปีีงบประมาณ 2563
ร้้อยละ
15(6) ประสานงาน ติิดตาม และประเมิินผลการปฎิิบัติ ั ก ิ าร ฉุุกเฉิิน 15(6).1 ประสิิ ท ธิิ ภ าพการบริิ ห ารค่่ า ชดเชยปฎิิ บัั ติิ ก าร ฉุุกเฉิินสาหรัับผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤติิและเร่่งด่่วน (ตััวชี้้�วััดที่่� 1.1 กรมบััญชีีกลาง)
15
20 20 15
จัังหวััด
5
32
34
36
38
40
63 จัังหวััด
5
25
โดยชุุ ดปฎิิ บััติิการฉุุกเฉิินระดัั บสููง (ALS) เกิิ นกว่่ า 200 ต่่ อ
จัังหวััด
5
54
55
56
57
58
71 จัังหวััด
5
25
15(6).3 จำำ � นวนจัั ง หวัั ดที่่� มีี ก ารคัั ด แยกระดัั บ ความรุุ น แรง วิิ กฤติิ ทางโทรศััพท์์ ต่ำำ�กว่่ าที่่� โรงพยาบาล (Under Triage) ไม่่เกิิน ร้้อยละ 15 (ตััวชี้้�วััดที่่� 3.2 กรมบััญชีีกลาง)
จัังหวััด
5
5
6
7
8
9
9 จัังหวััด
5
25
0
0
1
2
3
1 แห่่ง
3
45
5
10
15
20
25
ร้้อยละ 54.77
5
25
1
2
3
4
5
ระดัับ 5
5
25
15(6).2 จำำ�นวนจัังหวััดที่่มี � ผู้้�ป่ ี ว่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตที่่�ได้้รับ ั การนำำ�ส่ง่ แสนประชากร (ตััวชี้้�วััดที่่� 2.4 กรมบััญชีีกลาง)
15(7) เป็็ น ศูู น ย์์ ก ลางประสานกัั บหน่่ ว ยงานภาครััฐ และ
เอกชนทั้้�งในประเทศและต่่างประเทศที่่ดำ � � ำ เนิินงานเกี่่ย � วกัับ
15
การแพทย์์ฉุุกเฉิิน
15(7) จำำ�นวนองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นระดัับจัังหวััดที่่�รัับ
ดำำ�เนิินการหน่่วยปฎิิบััติิการประเภทอำำ�นวยการเพิ่่�มขึ้้�นจาก ปีีงบประมาณ 2563
แห่่ง
15(8) เรีียกเก็็ บค่่ า บริิ ก ารทางการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น และ การดำำ�เนิินกิิจการของสถาบัันฯ 15(8) ร้้อยละเรีียกเก็็บค่่าบริิการทางการแพทย์์ฉุุกเฉิินและ การดำำ�เนิินกิิจการของสถาบััน เพิ่่�มขึ้้�นจากปีี 2563
ร้้อยละ
น้ำำ�หนัักรวม
5 5
ตามที่่�กำำ�หนดไว้้ในพระราชบััญญััติินี้้�
15(9) ระดัับความสำำ�เร็็จของการดำำ�เนิินการด้้านการเข้้าถึึง บริิการการแพทย์์ฉุุกเฉิินในกลุ่่�มผู้้�สููงอายุุ
15
5
15(9) รัับผิิดชอบงานธุุ รการของ กพฉ. หรืือปฎิิบััติิการอื่่�น
34
น้ำำ� หนััก
ระดัับ
5
100
ร้้อยละ 89.00
445
ของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ ปีีงบประมาณ 2564 สถานการณ์์การแพร่่ระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ได้้ส่่งผลกระทบอย่่างกว้้างขวาง และรุุนแรงในเกืือบทุุกประเทศทั่่�วโลกรวมถึึงประเทศไทย การแพร่่ระบาดของโรคอย่่างรุุนแรงและต่่อเนื่่� อง มิิ ไ ด้้ เ ป็็ น เพีี ย งวิิ ก ฤตการณ์์ ท างสาธารณสุุ ข เท่่ า นั้้� น แต่่ ไ ด้้ ส่่ ง ผลกระทบไปถึึงมิิ ติิ ด้้ า นเศรษฐกิิ จ สัั ง คม การใช้้ชีวิี ต ิ ของประชากร โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�งกระทบต่่อทิิศทางการพััฒนาประเทศในทุุกด้้านอย่่างมีีนัยสำ ั �คั ำ ญ ั รวมทั้้�งส่่งผลกระทบต่่อการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินของประเทศไทยด้้วย ทำำ�ให้้ไม่่บรรลุุเป้้าหมาย
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ผลการดำำ�เนิิ นงานที่่�สำำ�คััญ
ที่่�กำำ�หนด อย่่างไรก็็ตามการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินยัังคงขัับเคลื่่�อนการพััฒนาต่่อไป ท่่ามกลาง ความท้้ าทายของสถานการณ์์การระบาดโรคติิ ดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ภาวะวิิ กฤตเศรษฐกิิ จที่่� หดตััว และงบประมาณของประเทศที่่�มีีจำำ�กััด สพฉ. ยัังคงมุ่่�งมั่่�นพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่�ตอบสนองต่่อ การให้้บริิการผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน และตอบสนองต่่อภารกิิจที่่�ได้้รัับมอบหมายเพิ่่�มเติิมจากรััฐบาลและกระทรวง สาธารณสุุ ข ในการบููรณาการแก้้ ไ ขสถานการณ์์ โ ควิิ ด - 19 ในพื้้� น ที่่� ก รุุ ง เทพมหานครและปริิ ม ณฑล รวมทั้้� ง บููรณาการด้้ า นการแพทย์์ แ ละสาธารณสุุ ข ทั่่� ว ประเทศ เพื่่� อ ให้้ ป ระชาชนได้้ รัั บ การบริิ ก ารที่่� ไ ด้้ มาตรฐาน ทั่่�วถึึงและเท่่าเทีียม ในปีีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพฉ. ในฐานะที่่�เป็็นหน่่วยงานรัับผิิดชอบด้้านการบริิหารจััดการ การประสานระหว่่ างหน่่วยงานที่่� เกี่่� ยวข้้องทั้้� งภาครััฐและเอกชน และการส่่งเสริิมให้้องค์์ กรปกครอง ส่่วนท้้องถิ่่�นเข้้ามามีีบทบาทในการบริิหารจััดการเพื่่� อให้้เกิิดความร่่วมมืือในการปฏิิบัติ ั ิงานด้้านการแพทย์์ ฉุุกเฉิินร่่วมกัั น อัั นจะทำำ �ให้้ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินได้้ รัับการคุ้้�มครองสิิทธิิในการเข้้าถึึงระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน อย่่ า งทั่่� ว ถึึง เท่่ า เทีี ยม มีี คุุ ณ ภาพมาตรฐาน ดัั ง เจตนารมย์์ ที่่� ร ะบุุ ไ ว้้ ใ นพระราชบัั ญ ญัั ติิ ก ารแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น พ.ศ. 2551 และวิิ สัั ยทัั ศน์์ ข องสถาบัั น “ประเทศไทยมีีระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ที่่� ไ ด้้
มาตรฐาน ซึ่่� ง บุุ ค คลเข้้ า ถึึ ง ได้้ อ ย่่ า งทั่่� ว ถึึ ง และเท่่ า เทีียมทั้้� ง ในภาวะปกติิ แ ละสาธารณภัั ย โดยมีีการจัั ด การอย่่ า งมีีส่่ ว นร่่ว ม” สำำ �หรัั บทิิ ศ ทางการขัั บ เคลื่่� อนและพัั ฒ นาระบบการแพทย์์
ฉุุกเฉิินของประเทศไทย ปััจจุุบัันใช้้แผนหลัักการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 3.1 พ.ศ. 2562 – 2565 ที่่�มีค ี วามสอดคล้้องและเชื่่�อมโยงกัับแผนยุุทธศาสตร์์ชาติิ 20 ปีี แผนพััฒนาสัังคมและเศรษฐกิิจ ฉบัับที่่� 12
แผนปฏิิรููปด้้านสาธารณสุุข ประเด็็นระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน โดยมีีเป้้าหมายแผนหลัักต้้องการ “ลดอััตรา
เสีียชีีวิิ ต และพิิ ก ารจากภาวะฉุุ ก เฉิิ น ที่่� เ กิิ ด จากโรคและภัั ย ” และกำำ �ห นด 5 ยุุ ท ธศาสตร์์
ในการขัับเคลื่่� อนการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินให้้ได้้ มาตรฐานซึ่่�งบุุ คคลเข้้าถึึงได้้ อย่่างทั่่� วถึึงและ เท่่าเทีียมทั้้�งในภาวะปกติิและสาธารณภััย ผลการดำำ�เนิินการที่่�สำำ�คััญ มีีรายละเอีียดดัังนี้้�
35
รายงานประจำำ�ปีี 2564
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 1
การพััฒนามาตรฐานการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น การพัั ฒ นามาตรฐานและคุุ ณ ภาพระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ในปีี 2564 สพฉ. ได้้ จัั ดทำำ � เกณฑ์์ ม าตรฐานคุุ ณ วุุ ฒิิ
ฉุุกเฉิินการแพทย์์ (มคฉ.1) เพื่่� อเป็็นข้้อกำำ�หนดขั้้�นต่ำำ�เกี่่�ยวกัับคุุณลัักษณะ คุุณภาพ และเกณฑ์์อื่่�นในการจััดการฝึึกอบรม เพื่่� อการผลิิ ตหรืือเพิ่่�มพููนคุุณวุุ ฒิิของผู้้�ปฏิิ บััติิการ กลุ่่�มช่่วยฉุุกเฉิินการแพทย์์ รวมทั้้� งการรัับรองหลัั กสููตรฝึึกอบรมของ
องค์์กรฝึึกอบรม เพื่่� อให้้ผู้้�ปฏิิบััติิการที่่�ผ่่านการอบรมมีีคุุณวุุฒิิตามกรอบคุุณวุุฒิิแห่่งชาติิ รวมทั้้� งมีีการส่่งเสริิมให้้ อปท. มีีบทบาทในการบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและจััดงบประมาณเพื่่� อระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในพื้้� นที่่�อย่่างต่่อเนื่่� อง มีีความก้้าวหน้้าในการดำำ�เนิินงาน ดัังนี้้�
1. การจััดตั้้ง ั ก ิ ารฉุุกเฉิินและชุุดปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน � หน่่วยปฏิิบัติ
การปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิินเพื่่� อช่่วยเหลืื อผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินให้้ได้้ มาตรฐานและมีีคุุณภาพ จำำ �เป็็นต้้ องมีีหน่่วยปฏิิ บััติิการ
ประเภทต่่างๆ ทำำ�หน้า้ ที่่�ปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินระดัับต่่างๆ ที่่�ได้้มาตรฐานในการจััดตั้้�งหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินจะต้้องมีีทรััพยากร
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 1 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
ทั้้�งผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ าร ยานพาหนะ และเครื่่�องมืือ อุุปกรณ์์และเวชภััณฑ์์ รวมทั้้�งดำำ�เนิินการตามหลัักเกณฑ์์ เกณฑ์์ วิิธีก ี ารเป็็นไปตาม ที่่� กพฉ. และ สพฉ. กำำ�หนด
1.1 หน่่วยปฏิิบััติิการประเภทปฏิิบััติิการอำำ�นวยการ มีี 3 ระดัับ ได้้แก่่ ระดัับพื้้�นฐาน ระดัับสููงและระดัับที่่�ปรึึกษา
หน่่วยปฏิิบััติิการอำำ�นวยการมีีบทบาทหน้้าที่่�ในการรัับแจ้้งเหตุุและทำำ�การประเมิินคััดแยกระดัับความฉุุกเฉิิน เพื่่� อสั่่�งการ ชุุดปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินให้้สอดคล้้องกัับระดัับความฉุุกเฉิิน รวมทั้้� งมีีการอำำ�นวยการทางการแพทย์์ช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยให้้ได้้รัับ
การดููแลรัักษาที่่�เหมาะสม ปััจจุุบัน ั หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารอำำ�นวยการที่่�มีอ ี ยู่่เ� ป็็นหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารอำำ�นวยการระดัับพื้้�นฐาน จำำ�นวน 80 แห่่ง จำำ�แนกตามหน่่วยงานที่่�สังั กััด ได้้แก่่ กระทรวงสาธารณสุุข จำำ�นวน 70 แห่่ง และองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด จำำ�นวน 10 แห่่ง
(อบจ. แพร่่ ลำำ�พููน สระแก้้ว มหาสารคาม อุุบลราชธานีี ชุุมพร สงขลา พััทลุุง กทม. และสุุพรรณบุุรี)ี ซึ่่�งปีีงบประมาณ 2564 มีีการประสานส่่งเสริิมให้้องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดสุพ ุ รรณบุุรีดำ ี �ำ เนิินการหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารประเภทอำำ�นวยการเพิ่่�มขึ้้น � 1 แห่่ง และสนัับสนุุนให้้จังั หวััดจัด ั ระบบอำำ�นวยการทางการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินระดัับเขต เพิ่่�มขึ้้น � ใน 3 เขต คืือ 3, 5, 8 รวมเป็็น 8 เขตสุุขภาพ
ส่่วนหน่่วยปฏิิ บััติิการประเภทอำำ �นวยการระดัั บที่่� ปรึึกษามีีระบบอำำ �นวยการทางการแพทย์์ระดัั บที่่� ปรึึกษาแล้้ ว 1 ด้้ าน คืือ ด้้านพิิษวิิทยา นอกจากนี้้� ได้้พัฒ ั นาศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและจ่่ายงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ให้้เป็็นระบบปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินดิิจิิทััล D1669 จำำ � นวน 15 จัั ง หวัั ด และสนัั บ สนุุ น ให้้ มีี ก ารจัั ดตั้้� ง ศููนย์์ รัั บ แจ้้ ง เหตุุ แ ละสั่่� ง การด้้ า นการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ทางทะเล เขตอ่่ าวไทยตอนบน ณ โรงพยาบาลอาภากรเกีี ยรติิ วงศ์์ ฐานทัั พเรืือสััตหีีบอีีกด้้ วย
1.2. หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินประเภทปฏิิบัติ ั ก ิ ารแพทย์์ มีี 3 ระดัับ ได้้แก่่ ระดัับพื้้�นฐาน ระดัับสููง และระดัับเฉพาะทาง
ปีี 2564 มีีหน่่วยปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินประเภทปฏิิบััติิการแพทย์์ที่่�ขึ้้�นทะเบีียนในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินและออกปฏิิบััติิการ จำำ � นวน 5,597 หน่่ ว ย ส่่ ว นใหญ่่ เ ป็็ น หน่่ ว ยปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น ประเภทปฏิิ บัั ติิ ก ารแพทย์์ ร ะดัั บพื้้� นฐาน รองลงมาเป็็ น
หน่่วยปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิินประเภทปฏิิ บััติิการแพทย์์ระดัั บสููง ส่่วนระดัั บเฉพาะทางอยู่่�ระหว่่ างการพััฒนา หากวิิ เคราะห์์ หน่่วยปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิินประเภทปฏิิ บััติิการแพทย์์ตามประเภทหน่่วยงานที่่� ดำำ�เนิินการ พบว่่ าหน่่วยปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิิน ปฏิิ บััติิการแพทย์์ที่่� ดำำ�เนิินการโดยสถานพยาบาล จำำ �นวน 1,260 หน่่วย และหน่่วยปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิินที่่� ดำำ�เนิินการโดย หน่่วยงานนอกสถานพยาบาล จำำ�นวน 4,337 หน่่วย
สำำ�หรัับชุุดปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินทุุกระดัับที่่�อยู่่�ภายใต้้หน่่วยปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินการแพทย์์ที่่�ขึ้้�นทะเบีียนและพร้้อมให้้
บริิการในปีีงบประมาณ 2564 มีีชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทั้้�งสิ้้�น จำำ�นวน 12,868 ชุุด ประกอบด้้วย 1) ชุุดปฏิิบัติ ั ิการทางบก จำำ�นวน 12,746 ชุุด แบ่่งเป็็น
ชุุดปฏิิบัติ ั ิการระดัับสููง (ALS) จำำ�นวน
3,168
ชุุด
ชุุดปฏิิบัติ ั ิการระดัับพื้้�นฐาน (BLS) จำำ�นวน
2,643
ชุุด
2) ชุุดปฏิิบัติ ั ิการทางน้ำำ� จำำ�นวน
69
ชุุดปฏิิบัติ ั ิการระดัับกลาง (ILS) จำำ�นวน ชุุดปฏิิบัติ ั ิการระดัับต้้น (FR) จำำ�นวน
3) ชุุดปฏิิบัติ ั ิการทางอากาศ จำำ�นวน
36
303
6,905
53
ชุุด ชุุด
ชุุด ชุุด
ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินทางน้ำำ� มีีเรืือเป็็นยานพาหนะสำำ�หรัับใช้้ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน และระบบปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินทางอากาศยาน
มีีเครื่่�องบิินและเฮลิิคอปเตอร์์เป็็นยานพาหนะสำำ�หรับ ั ใช้้ปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน ซึ่่ง� ได้้รับ ั การสนัับสนุุนจากการประสานความร่่วมมืือ กัับหน่ว ่ ยงานภาคีีเครืือข่่ายที่่�เกี่่�ยวข้้องทั้้�งภาครััฐและเอกชน
2. การพััฒนาระบบการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน
ภายใต้้การพััฒนามาตรฐานและคุุณภาพระบบปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน ยัังครอบคลุุมถึึงการพััฒนาคุุณภาพทั้้�งทางบก
ทางอากาศยาน ทางน้ำำ � และพื้้� นที่่� พิิ เ ศษอย่่า งต่่ อ เนื่่� อ ง ทำำ � ให้้ มีี ผลการออกปฏิิ บััติิ ก าร ในปีี งบประมาณ 2564 จำำ �นวน
1,807,929 ครั้้�ง และมีีจำำ�นวนผู้้�ป่่วย จำำ�นวน 1,775,753 ราย โดยมีีช่อ ่ งทางการรัับแจ้้งเหตุุ ส่่วนใหญ่่แจ้้งเหตุุผ่า่ นช่่องทาง
1669 (First call) ร้้อยละ 79.7 รองลงมาเป็็นวิิทยุุสื่่�อสาร ร้้อยละ 9.0 และช่่องทาง 1669 (Second call) ร้้อยละ 9.2 ตามลำำ�ดับ ั
ในการประเมิินระดัับความรุุนแรง (Phone Triage) พบว่่าในปีี 2564 มีีผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต (สีีแดง) ร้้อยละ 21.6 ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
นอกจากนี้้� ยัั ง มีี ย านพาหนะเคลื่่� อนย้้ า ยผู้้�ป่่ ว ยในระบบการปฏิิ บัั ติิ ฉุุ ก เฉิิ น ทั้้� ง ทางน้ำำ � และอากาศยาน โดยระบบ
เร่่งด่่วน (สีีเหลืือง) ร้้อยละ 69.9 และผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินไม่่รุุนแรง (สีีเขีียว) ร้้อยละ 7.7 ซึ่่ง� จำำ�นวนชุุดปฏิิบัติ ั ก ิ ารที่่�ออกเหตุุ ส่่วนใหญ่่ เป็็นชุุดปฏิิบััติิการเบื้้� องต้้น (FR) ร้้อยละ 53.34 รองลงมาเป็็นชุุดปฏิิบััติิการระดัับสููง (ALS) ร้้อยละ 23.34 ชุุดปฏิิบััติิการ
ระดัับต้น ้ (BLS) ร้้อยละ 21.88 และ ชุุดปฏิิบัติ ั ก ิ ารระดัับกลาง (ILS) ร้้อยละ 1.41 ตามลำำ�ดับ ั ซึ่่ง� มีีอาการนำำ�สำ�คั ำ ญ ั จำำ�แนกตาม
CBD 5 ลำำ�ดัับแรก ดัังนี้้� อัันดัับ 1 เป็็นอาการ CBD 25 อุุบัติ ั ิเหตุุยานยนต์์ ร้้อยละ 24.2 รองลงมาเป็็น CBD 17 ป่่วย/อ่่อนเพลีีย หลััง/เชิิงกรานและขาหนีีบ ร้้อยละ 8.5 และ อาการ CBD 24 พลััดตกหกล้้ม/อุุบััติิเหตุุ/เจ็็บปวด ร้้อยละ 8.1 ตามลำำ�ดัับ ทั้้�งนี้้� มีีการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินจำำ�แนกตามรููปแบบการปฏิิบัติ ั ิการ ดัังนี้้�
2.1 ระบบปฎิิบััติิการฉุุกเฉิินทางบก
สำำ�หรัับปีีงบประมาณ 2564 เป้้าหมายการให้้บริิการผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินตามที่่� กำำ�หนดใน พรบ.งบประมาณรายจ่่ าย
ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2564 จำำ�นวน 1,650,000 ครั้้�ง โดยผลงานการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินทางบก รวมทั้้�งสิ้้�น 1,806,272 ครั้้�ง ทั้้�งนี้้� สพฉ. ได้้มีีการพััฒนามาตรฐานคุุณภาพทางบกมาอย่่างต่่อเนื่่� อง ได้้ส่่งเสริิมและสนัับสนุุนให้้ท้้องถิ่่�นเข้้ามามีีส่่วนร่่วม
ในการจััดตั้้�งหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารอำำ�นวยการ และได้้ผลัักดัันให้้มีก ี ารนำำ�เรื่่�องการดำำ�เนิินงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินโดยท้้องถิ่่�นเสนอเข้้า ในคณะกรรมการการกระจายอำำ�นาจให้้แก่่องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น เพื่่� อให้้เป็็นกิิจกรรมหนึ่่�งในแผนกระจายอำำ�นาจ ตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น เรื่่� อ ง หลัั ก เกณฑ์์ ใ ห้้ อ งค์์ ก รปกครองส่่ ว นท้้ อ งถิ่่� น เป็็ น ผู้้�ดำำ � เนิิ น งานและ บริิหารจัั ดการระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินในระดัั บท้้องถิ่่� น พ.ศ. 2560 เพื่่� อให้้ท้้องถิ่่� นบริิหารจัั ดการ และดำำ �เนิินการระบบ การแพทย์์ฉุุกเฉิิ ุ� นในระดัับท้้องถิ่่�นตามความพร้้อม เหมาะสม และความจำำ�เป็็นของประชาชนในท้้องถิ่่�นนั้้�น
2.2 ระบบปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินทางอากาศยาน (Thai Sky Doctor Service)
สพฉ. จััดให้้มีรี ะบบปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางอากาศยาน มีีวััตถุป ุ ระสงค์์เพื่่� อให้้บริก ิ ารผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินที่่�ได้้รับ ั การบาดเจ็็บ
หรืือป่่วยอยู่่�ในขั้้�นฉุุกเฉิินวิิกฤต ที่่�มีีอาการและแสดงอาการที่่�เป็็นอัันตรายต่่อชีีวิิต และอยู่่�ในพื้้� นที่่�ทุุรกัันดารห่่างไกลหรืือ
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 1 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
(ไม่่จำำ�เพาะ/ไม่่พบสาเหตุุ)/อื่่�นๆ ร้้อยละ 22.4 อาการ CBD 5 หายใจลำำ�บาก/ติิดขััด ร้้อยละ 9.6 อาการ CBD 1 ปวดท้้อง/
พื้้� น ที่่� ที่่� ไ ม่่ ส ามารถเคลื่่� อนย้้ า ยด้้ ว ยยานพาหนะปกติิ ไ ด้้ ให้้ ส ามารถเคลื่่� อนย้้ า ยได้้ โ ดยใช้้ ย านพาหนะทางอากาศยาน
ในการลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วย ทำำ�ให้้ประชาชนคนไทยที่่�มีีความจำำ�เป็็นต้้องได้้รัับการดููแลอย่่างทัันท่่วงทีี สามารถเข้้าถึึงบริิการที่่�มีี คุุณภาพได้้ในกรณีีที่่�ไม่่สามารถลำำ�เลีียงด้้วยระบบปฏิิบัติ ั ิการปกติิ โดยไม่่มีค่ ี ่าใช้้จ่่ายเป็็นอุุปสรรค กลวิิธีใี นการพััฒนาระบบ ปฎิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางอากาศยานดำำ�เนิินการ ดัังนี้้�
1. บริิหารจััดการเชิิงบููรณาการระหว่่างหน่่วยงานด้้วยการลงนามบัันทึึกความร่่วมมืือและทำำ�ข้อ ้ ตกลงกัับหน่ว ่ ยงาน
ต่่างๆ ที่่�มีีทรััพยากรพร้้อมในด้้านอากาศยานและจััดงบประมาณสนัับสนุุน ได้้แก่่ กองทััพบก กองทััพเรืือ กองทััพอากาศ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ และกระทรวงทรััพยากรธรรมชาติิและสิ่่�งแวดล้้อม โรงพยาบาลกรุุ งเทพ สำำ�นัักงานตำำ�รวจ แห่่งชาติิ กองทุุนหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ สำำ�นัก ั งานหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ กระทรวงสาธารณสุุขและสำำ�นัก ั งาน การบิินพลเรืือนแห่่งประเทศไทย (กพท. : CAAT)
2. พััฒนาระบบปฏิิบัติ ั ก ิ ารแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทางอากาศยานที่่�เรีียกว่่า “Thai Sky Doctor” ใน 5 ภููมิิภาค รวม 13 จัังหวััด
ได้้แก่่ จัังหวััดแม่่ฮ่่องสอน จัังหวัั ดเชีียงใหม่่ จัังหวัั ดตาก จัั งหวัั ดกาญจนบุุ รีี จัั งหวัั ดจัันทบุุ รีี จัั งหวัั ดระยอง จัั งหวัั ดตราด จัังหวััดภููเก็็ต จัังหวััดสุรุ าษฎร์์ธานีี จัังหวััดปัตต ั านีี จัังหวััดยะลา จัังหวััดนราธิิวาส และกรุุงเทพมหานคร ในปีีงบประมาณ 2564 สามารถนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินไปยัังโรงพยาบาลปลายทางที่่�เหมาะสมได้้อย่่างทัันท่่วงทีี จำำ�นวนทั้้�งสิ้้�น 95 เที่่�ยวบิิน
37
รายงานประจำำ�ปีี 2564
ทิิศทางการขัับเคลื่่�อนเพื่่� อความยั่่�งยืืนของปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินด้้วยอากาศยาน ที่่�มุ่่�งเน้้นให้้ประชาชนในพื้้� นที่่�ห่า่ งไกล
และทุุรกัันดาร สามารถเข้้าถึึงระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินได้้อย่่างทั่่�วถึึงและเท่่าเทีียม มีีเป้้าหมาย คืือ การมีีระบบบริิการ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในการลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินด้้วยอากาศยานให้้ครอบคลุุมทั้้�งประเทศ โดยมีีแผนที่่�จะขยายลงไปสู่่เ� ขตระเบีียง เศรษฐกิิจภาคตะวัันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ตามนโยบายในการพััฒนาจััดระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทางอากาศ
ในเขตพื้้� นที่่� EEC (Thailand Helicopter Emergency Medical Service : THEMS) เพื่่� อออกแบบการพััฒนาระบบการแพทย์์ ฉุุกเฉิินที่่�บููรณาการการปฏิิบัติ ั ก ิ ารทางบก น้ำำ� อากาศยาน ให้้สามารถช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินเท่่าเทีียบมาตรฐานสากล ในปีี 2564 มีีการดำำ�เนิินการ ดัังนี้้�
1. มีีการสำำ�รวจจุุดจอดเฮลิิคอปเตอร์์ โรงพยาบาลกรุุ งเทพพััทยา บริิษััท ดุุสิิตเวชการ จำำ�กััด (มหาชน) เพื่่� อเตรีียม ความพร้้อมในการรัับส่ง่ ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินในเขตพื้้� นที่่� EEC
2. หารืือร่่วมกัับเขตสุุขภาพที่่� 6 และโรงพยาบาลประสาท เรื่่�องการช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินที่่�มีปั ี ญ ั หาด้้านหลอดเลืือด สมอง ด้้วยอากาศยาน เพื่่� อเพิ่่�มอััตราการรอดชีีวิิตและลดอััตราการเป็็นอััมพฤกษ์์ อััมพาต เนื่่� องจากสาเหตุุสมอง
ขาดเลืือด เพื่่� อให้้เข้้าถึึงระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินได้้อย่่างทัันท่่วงทีี
3. หารืือการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ร่่วมกัับนายกองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด
จัันทบุุรีี กรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน สำำ�นัก ั งานสาธารณสุุขจัังหวััดจัันทบุุรีี และโรงพยาบาลพระปกเกล้้าจัันทบุุรีี
เพื่่� อจััดระบบ Thai Sky Doctor และระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทางทะเล
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 1 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
4. สพฉ. ร่่วมกัับสำ�นั ำ ก ั งานคณะกรรมการนโยบายเขตพััฒนาพิิเศษภาคตะวัันออก กระทรวงสาธารณสุุข ตำำ�รวจน้ำำ� กองทััพเรืือ มหาวิิทยาลััย อปท. โรงพยาบาลเอกชน เพื่่�อร่่วมกัันจััดทำ�ำ แผนโครงการพััฒนาการยกระดัับการให้้บริก ิ าร
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินด้้วยอากาศยาน ของประเทศไทย พื้้� นที่่�นำ�ร่ ำ อ ่ งในเขตพััฒนาพิิเศษภาคตะวัันออก
นอกจากนี้้�ยังั มีีการเตรีียมความพร้้อมแผนปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน เพื่่� อรัับมือ ื กัับอุุบัติ ั ิเหตุุจากการเดิินทางในช่่วงเทศกาล
หรืือวัันหยุุดยาว โดยที่่�ผ่่านมาได้้มีีการฝึึกซ้้อมเคลื่่�อนย้้ายผู้้�ป่่วยบนการทางพิิเศษแห่่งประเทศไทย ควบคู่่�กัับการปฏิิบััติิ การฉุุกเฉิินทางบก เพื่่� อสร้้างความเชื่่�อมั่่�นให้้กัับประชาชน ในการสััญจรในช่่วงเทศกาล สามารถเข้้าถึึงระบบการแพทย์์
ฉุุกเฉิินได้้อย่่างมีีคุุณภาพ รวมถึึงให้้ความสำำ�คััญกัับบุุคลากรพััฒนาบุุคลากรทางการแพทย์์ในพื้้� นที่่� ให้้มีีความพร้้อมและ ทำำ�การฝึึกร่่วมกัับภาคีีเครืือข่่ายอย่่างสม่ำำ�เสมอ เพื่่� อให้้พร้้อมในการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทั้้�งในภาวะปกติิและภััยพิบั ิ ติ ั ิต่่างๆ
2.3 ระบบการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินทางน้ำำ� (Marine EMS)
สพฉ. จััดให้้มีป ี ฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินทางน้ำำ� เพื่่� อให้้บริก ิ ารผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินที่่�ได้้รับบ ั าดเจ็็บหรือ ื ป่่วยอยู่่ใ� นขั้้�นวิิกฤติิและฉุุกเฉิิน
ที่่�มีีอาการและอาการแสดงที่่�เป็็นอัันตรายต่่อชีีวิิต ที่่�อยู่่�ในบริิเวณชายฝั่่�ง ทะเล หรืือแหล่่งน้ำำ�ที่่�ไม่่สามารถเคลื่่�อนย้้ายด้้วย ยานพาหนะปกติิได้้ ให้้สามารถเคลื่่�อนย้้ายได้้ โดยใช้้ยานพาหนะทางน้ำำ�ในการลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วย ทำำ�ให้้ประชาชนคนไทยที่่�มีี ความจำำ�เป็็นต้้องเข้้าถึึงบริิการ แต่่ไม่่สามารถลำำ�เลีียงด้้วยวิิธีีการปกติิ สามารถได้้รัับบริิการที่่�มีีคุุณภาพ โดยไม่่มีีค่่าใช้้จ่่าย เป็็นอุุปสรรค กลวิิธีใี นการพััฒนาระบบปฎิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางน้ำำ�ดำำ�เนิินการ ดัังนี้้�
1. ประสานความร่่วมมืือกัับสถาบัันและหน่่วยงานทั้้�งภาครััฐและเอกชน ดำำ�เนิินการจััดทำำ�หลัักสููตรและฝึึกอบรม การลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วยทางน้ำำ�ให้้แก่่บุุคลากรในระบบ
2. พััฒนาหลัักสููตรการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินทางน้ำำ� (ต้้นแบบ) สำำ�หรับ ั ประเทศไทย เพื่่� อขยายผลไปยัังพื้้� นที่่�ทางน้ำำ�อื่่�น ๆ 3. จััดทำำ�แนวปฏิิบัติ ั ิการกู้้�ชีีพทางน้ำำ� และมีีการจััดฝึึกซ้้อมเตรีียมความพร้้อมในการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางน้ำำ�
4. จััดระบบปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินทางน้ำำ�ในพื้้� นที่่�ชายฝั่่�งทะเล เกาะ แหล่่งน้ำำ�ให้้สามารถช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินได้้ทัน ั ท่่วงทีี
ในปีีงบประมาณ 2564 ผลการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินทางน้ำำ� มีีจำำ�นวนทั้้�งสิ้้�น จำำ�นวน 1,562 ครั้้�ง ซึ่่�งที่่�ผ่่านมา สพฉ. มีี
การจััดหน่ว่ ยปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินทางน้ำำ�ร่ว่ มกัับกระทรวงสาธารณสุุขในท้้องถิ่่�น รวมทั้้�งมีีการทำำ�บัันทึึกข้้อตกลงร่่วมกัับกองทััพเรืือ ในการพััฒนาวิิชาการ และจััดทำำ�หลัักสููตรการอบรมด้้านการช่่วยเหลืือและดููแลผู้้�ป่่วยทางน้ำำ�และทางทะเล ซึ่่�ง สพฉ. ได้้ ใช้้ในการอบรมหลัักสููตรดัังกล่่าวทั่่�วประเทศ
2.4 ระบบปฏิิบัติ ั ก ิ ารการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในพื้้�นที่่พิ � เิ ศษและกลุ่่�มเฉพาะ
การจััดระบบปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินในพื้้� นที่่�พิเิ ศษ สพฉ. กำำ�หนดพื้้� นที่่�พิเิ ศษ คืือ เขตพื้้� นที่่�หรือ ื ภููมิิประเทศที่่�ไม่่มีผู้้� ี ปฏิิบัติ ั ก ิ าร
หน่่วยปฏิิบััติิการหรืือสถานพยาบาลเพีียงพอ เช่่น ภููมิิประเทศทุุรกัันดารหรืืออยู่่�ห่่างไกล ผู้้�ปฏิิบััติิการ หน่่วยปฏิิบััติิการ
กระจายตััวไม่่ครอบคลุุม การติิดต่่อสื่่�อสาร การลำำ�เลีียงหรืือขนส่่งลำำ�บาก ต้้องใช้้พาหนะพิิเศษ รวมถึึงพื้้� นที่่�ที่่�ประกาศเป็็น
เขตสาธารณภััยหรืือมีีสถานการณ์์ความรุุ นแรงและความไม่่สงบ สพฉ. ได้้ดำำ�เนิินการแสวงหาแนวทาง และค้้นหาปััจจััย ปััญหาอุุปสรรค รููปแบบการจััดบริก ิ ารที่่�มีป ี ระสิิทธิิภาพที่่�ผ่า่ นมา ได้้รับ ั ความร่่วมมืือจากกรมอุุทยานแห่่งชาติิ สััตว์ป่ ์ า่ และพัันธ์ุุ�พืืช
38
ภายนอกไม่่สามารถเข้้าไปปฏิิบััติิการได้้ สพฉ. จึึงได้้ทำำ�ความเข้้าใจ และสร้้างเครืือข่่ายเพื่่� อร่่วมพััฒนาระบบการแพทย์์ ฉุุกเฉิินในพื้้� นที่่� อุุทยานแห่่งชาติิ ซึ่่�งได้้ มีีความร่่วมมืือกัั นอย่่างดีี จนกรมอุุ ทยานแห่่งชาติิ สััตว์์ป่่าและพัันธ์ุุ�พืืช ได้้ จััดตั้้� ง
หน่่วยงาน “ส่่วนกู้้�ภััยอุุทธยานแห่่งชาติิ” โดยได้้จััดตั้้�งศููนย์์ประสานกู้้�ภััยอุุทยานแห่่งชาติิ 7 แห่่ง มีีเจ้้าหน้้าที่่�สามารถให้้ บริิการช่่วยเหลืือนัักท่่องเที่่�ยว ประชาชนที่่�เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน มีีหน่่วยปฐมพยาบาล ผู้้�ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน รถบริิการการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน และลานจอดฮอลิิคอปเตอร์์ และจะขยายผลให้้มีหน่ ี ว ่ ยปฏิิบัติ ั ิการครบทุุกพื้้� นที่่�ทั้้�ง 151 แห่่ง
นอกจากนี้้� สพฉ. ยัังได้้ประสานกัับภาคีีเครืือข่่ายอื่่� นๆ ที่่�เข้้าเงื่่�อนไขพื้้� นที่่�เฉพาะ เพื่่� อให้้ดำ�ำ เนิินการจััดระบบปฏิิบัติ ั ก ิ าร
ฉุุกเฉิินดููแลประชาชน เจ้้าหน้้าที่่�ของตนเอง ให้้สามารถช่่วยเหลืือเบื้้� องต้้น ในกรณีีเจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินและประสานการส่่งต่่อ หน่่วยปฏิิบััตการฉุุกเฉิินภายนอกต่่อไป โดย สพฉ. ได้้จััดระบบปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินกลุ่่�มเฉพาะ ซึ่่�งจะประกอบด้้วย การแพทย์์ ฉุุกเฉิินในแหล่่งอุุตสาหกรรม การท่่องเที่่�ยว กีีฬา และกลุ่่�มเปราะบาง ซึ่่�งเป็็นกลุ่่�มที่่�จะต้้องได้้รัับการดููแลเฉพาะที่่�แตกต่่าง
จากกลุ่่�มปกติิ สพฉ. ได้้ให้้ความสำำ�คััญจึึงได้้ดำำ�เนิินการนำำ�ร่่องในหลายกลุ่่�มเหล่่านี้้� เช่่น กลุ่่�มอุุตสาหกรรมนั้้�นก็็มีีการอบรม
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ซึ่่�งมีีพื้้�นที่่� อุุทยานแห่่งชาติิ 151 แห่่งทั่่� วประเทศ ซึ่่�งถืื อเป็็นพื้้� นที่่� ห่่างไกลทุุรกัั นดาร เป็็นพื้้� นที่่� เฉพาะที่่� หน่่วยปฏิิ บััติิการ
กลุ่่�มที่่�อยู่่�แท่่นเจาะน้ำำ�มัันของบริิษััท ปตท.สผ. จำำ�กััด มหาชน (PTTEP) และกำำ�ลัังดำำ�เนิินการความร่่วมมืือกัับพื้้�นที่่� EEC ในการที่่�จะไปจััดระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่�ได้้มาตรฐานคุุณภาพเทีียบเท่่าสากล เพื่่� อให้้เกิิดความมั่่�นใจให้้กัับต่่างชาติิหรืือ ประชาชนที่่�อยู่่�บริิเวณใกล้้เคีียงได้้รัับบริิการการแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่�ทัันท่่วงทีีและมีีประสิิทธิิภาพ โดยได้้รัับความร่่วมมืือจาก ทุุกภาคส่่วนไม่่ว่่าจะเป็็นภาครััฐหรือ ื เอกชน
ตามที่่� คณะรััฐมนตรีีมีีมติิเห็็นชอบหลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่่�อนไขการกำำ�หนดค่่าใช้้จ่่ายในการดำำ�เนิินการผู้้�ป่่วย
ฉุุกเฉิินวิิกฤต เมื่่�อวัันที่่� 28 มีีนาคม 2560 และให้้เริ่่�มดำำ�เนิินการในโครงการ “ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิิทธิิทุุกที่่�” เพื่่� อให้้เกิิด
ความครอบคลุุมไม่่ให้้เกิิดความเหลื่่� อมล้ำำ�ในการรัักษาพยาบาลผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤตอัันจะทํําให้้ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤตได้้รัับ การคุ้้�มครองสิิทธิิในการเข้้าถึึงบริิการอย่่างปลอดภัั ย โดยไม่่มีีเงื่่� อนไขในการเรีียกเก็็ บค่่ารัักษาพยาบาล เพื่่� อให้้ไม่่เป็็น อุุปสรรคและความเสี่่�ยงของการดููแลรัักษา โดยไม่่ต้้องเสีียค่่าใช้้จ่่ายภายใน 72 ชั่่�วโมงหรืือพ้้นภาวะวิิกฤต เริ่่�มดำำ�เนิินการ ตั้้�งแต่่ วัันที่่� 1 เมษายน 2560 จนถึึงปััจจุุบัน ั รวมเป็็นระยะเวลา 4 ปีี
สพฉ. ได้้จััดให้้มีศูู ี นย์์ประสานคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตร่่วมกัันแก้้ไขปััญหา รัับข้อ ้ ร้้องเรีียนของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน
เพื่่� อคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตให้้ได้้รับ ั ความเป็็นธรรมในการเข้้าบริิการ ตามนโยบาย “เจ็็บป่ว่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิท ิ ธิิทุก ุ ที่่�” โดยทำำ�งานร่่วมกัับหน่ว ่ ยงานเครืือข่่ายที่่�เกี่่�ยวข้้อง ได้้แก่่ กระทรวงสาธารณสุุข กรมสนัับสนุุนบริิการสุุขภาพ กองเศรษฐกิิจ สุุขภาพและหลัั กประกัั นสุุขภาพ สำำ�นัักงานหลัั กประกัั นสุุขภาพแห่่งชาติิ กรมบััญชีีกลาง สำำ�นัักงานประกัั นสัังคม และ วิิทยาลััยแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งประเทศไทย รวมทั้้�งสถานพยาบาลรััฐและสถานพยาบาลเอกชน ที่่�ผ่่านมาได้้มีีการพััฒนางาน อย่่างต่่อเนื่่� อง โดยมีีกลวิิธีใี นการทำำ�งานดัังต่่อไปนี้้�
1. สพฉ. จััดประชุุมชี้้�แจงทำำ�ความเข้้าใจในการดำำ�เนิินโครงการคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤตตามนโยบาย “เจ็็บ
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 1 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
3. การพััฒนาระบบบริิหารจััดการระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในสถานพยาบาล
ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิท ิ ธิิทุก ุ ที่่�” ให้้แก่่สถานพยาบาลเอกชนทุุกแห่่ง และชี้้�แจงให้้เกิิดความเข้้าใจในการใช้้โปรแกรม
ให้้กัับผู้้�ปฏิิบัติ ั ิ
2. การจัั ดระบบการใช้้โปรแกรมฯ มารวมที่่� ศููนย์์ประสานคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิ กฤต (ศคส.สพฉ.) เพื่่� อให้้ ทำำ �หน้้าที่่� ตรวจสอบ กำำ �กัับ ติิ ดตาม การให้้บริิการผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิ กฤต ให้้เป็็นไปตามหลัั กเกณฑ์์ ที่่� กำำ�หนด ซึ่่�ง
ปััจจุุบัน ั สามารถใช้้งานได้้เป็็นอย่่างดีี
3. สพฉ. จััดตั้้�งศููนย์์ประสานคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต (ศคส.สพฉ.) เพื่่� อเป็็นศููนย์์ประสานงานในการกำำ�กัับ ดููแลระบบข้้อมููลจากโปรแกรมฯ ตลอด 24 ชั่่�วโมง
4. สพฉ. จััดตั้้�งคณะทำำ�งานตรวจสอบและรัับเรื่่�องร้้องเรีียนของ สพฉ. เพื่่� อดำำ�เนิินการคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต ที่่�มีก ี ารบัันทึึกข้้อมููลในโปรแกรมฯ ในข้้อร้้องเรีียนที่่�เกิิดขึ้้น � โดยในปีี 2564 มีีเรื่่�องร้้องเรีียนทั้้�งหมดจำำ�นวน 547 เรื่่�อง
5. การพััฒนาโปรแกรมฯ ให้้เป็็นแบบ Real time เพื่่� อใช้้สรุุปค่่าใช้้จ่า่ ย ส่่งให้้กับสำ ั �นั ำ ก ั งานหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ
และแจ้้งให้้กองทุุนของผู้้�มีีสิท ิ ธิิในการเบิิกค่่ารัักษาพยาบาล พร้้อมทั้้�งพััฒนาโปรแกรมฯ ให้้มีค ี วามสมบููรณ์์มากขึ้้�น
การร้้องขอเตีียงในการส่่งต่่อผู้้�ป่่วยไปตามสิิทธิิการรัักษา และให้้สถานพยาบาลที่่�รัับผิิดชอบเตรีียมสำำ�รองเตีียง
ทราบข้้อมููลผู้้�ป่่วย และรองรัับการส่่งต่่อได้้
6. มีีการพััฒนาโปรแกรมฯ โดยจััดประชุุมแพทย์์อำำ�นวยการเพื่่� อแก้้ไขปััญหาที่่�พบ ในการช่่วยการประเมิินคััดแยก ให้้มีค ี วามครอบคลุุมภาวะฉุุกเฉิิน และถููกต้้องเหมาะสมมากยิ่่�งขึ้้�น
39
รายงานประจำำ�ปีี 2564
7. การสื่่�อสารประชาสััมพัน ั ธ์์ให้้ประชาชนรัับรู้้�สิท ิ ธิิและอาการฉุุกเฉิินวิิกฤตที่่�จำ�ำ เป็็นต้้องเข้้าถึึงบริิการอย่่างทัันท่่วงทีี
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 1 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � � ชุุดสื่่�อประชาสััมพัันธ์์เกี่่ย � วกัับสิิทธิิและอาการฉุุกเฉิินวิิกฤตที่่จำ � ำ�เป็็นต้้องเข้้าถึึงบริิการ
40
พััฒนาระบบบริิหารจััดการผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ ารในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น การพัั ฒ นาทรัั พ ยากรบุุ ค ลากร เพื่่� อให้้ มีี ค วามรู้้�และทัั ก ษะในการปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น เป็็ น บทบาทหน้้ า ที่่� ข อง
สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ (สพฉ.) ตามพระราชบััญญััติิการแพทย์์ฉุุกเฉิิน พ.ศ. 2551 มาตรา 28 และ มาตรา 29
เพื่่� อคุ้้�มครองความปลอดภััยของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินนั้้�น คณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน (กพฉ.) มีีอำำ�นาจหน้้าที่่�ตามมาตรา 11 (6)
ในการออกข้้อบัังคัับเกี่่�ยวกัับการรัับรององค์์กรและหลัักสููตรการศึึกษาและฝึึกอบรม ผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ าร และการให้้ประกาศนีียบััตร หรืือเครื่่�องหมายวิิทยฐานะแก่่ผู้้�ผ่่านการศึึกษาหรืือฝึึกอบรม และ สพฉ. มีีอำำ�นาจหน้้าที่่�ตามมาตรา 15 (5) ในการจััดให้้มีี
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 2
การศึึกษาฝึึกอบรมการปฏิิบัติ ั ิการปฏิิบัติ ั ิหน้า้ ที่่�เกี่่�ยวกัับการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
การพััฒนาระบบบริิหารจััดการผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ ารในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ได้้ดำ�ำ เนิินการมาอย่่างต่่อเนื่่� อง ในช่่วงแผนหลััก
การแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 3.1 (2560 - 2565) สพฉ. ได้้ร่่วมกัับภาคีีเครืือข่่ายพััฒนาบุุคลากรให้้มีีขีีดความสามารถ
ทั้้�งในด้้านความรู้้� ทัักษะและเจตคติิ ให้้สามารถช่่วยเหลืือและคุ้้�มครองความปลอดภััยของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินได้้อย่่างมีีคุุณภาพ และประสิิทธิิภาพ สอดคล้้องกัับแผนแม่่บทกำำ�ลัังคนในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 20 ปีี (พ.ศ.2558 - 2577) ที่่� กพฉ. เห็็นชอบ
ปริิมาณที่่�เพีียพอกัับความต้้องการของระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินต่่อไป และสามารถคงอยู่่ใ� นระบบได้้อย่่างมีีความสุุข รวมทั้้�ง มีีความก้้าวหน้้าในอาชีีพ สามารถมีีคุณ ุ ภาพชีีวิิตที่่�ดีีตามศัักยภาพ
สพฉ. ได้้มีป ี รัับปรุุงกฎหมายว่่าด้้วยการกำำ�หนดผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการ การรัับรององค์์กรและหลัักสููตรการศึึกษาหรืือฝึึกอบรม
ผู้้�ปฏิิ บััติิการ และการให้้ประกาศนีียบััตรหรืือเครื่่�องหมายวิิ ทยฐานะแก่่ ผู้้�ผ่่านการศึึกษาหรืือฝึึกอบรม และสนัับสนุุน
การปฏิิบััติิงานด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิินของผู้้�ปฏิิบััติิการ เพื่่� อให้้สอดคล้้องกัับสถานการณ์์ การรัับรองผู้้�ปฏิิบััติิการให้้เป็็นไป ตามกรอบของสำำ�นัักงานคณะกรรมการพลเรืือน คณะกรรมการมาตรฐานการบริิหารงานบุุคคลส่่วนท้้องถิ่่�น กฎหมายที่่�
เกี่่�ยวข้้องกัับวิช ิ าชีีพ รวมทั้้�งเพื่่� อปรัับปรุุงหลัักสููตรให้้เหมาะสมสอดคล้้องกัับความต้้องการและมาตรฐานที่่�เปลี่่�ยนไป นำำ�ไปสู่่� การรัับผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการให้้เป็็นหลัักสููตรเทีียบเท่่าปริิญญาตรีี อนุุปริิญญา และประกาศนีียบััตร สามารถนำำ�ไปประกอบอาชีีพได้้
ดัังนั้้�น กพฉ. จึึงได้้ออกข้้อบัังคัับว่่าด้้วยการกำำ�หนดผู้้�ปฏิิบััติิการ การรัับรององค์์กรและหลัักสููตรการศึึกษาหรืือฝึึกอบรม
ผู้้�ปฏิิ บัั ติิ ก าร และการให้้ ป ระกาศนีี ย บัั ต รหรืื อ เครื่่� องหมายวิิ ท ยฐานะแก่่ ผู้้�ผ่่ า นการศึึกษาหรืื อ ฝึึ ก อบรม พ.ศ. 2563 ทำำ�ให้้มีีสาระสำำ�คััญที่่�เปลี่่�ยนไป ตั้้� งแต่่กำำ�หนดผู้้�ปฏิิบััติิการและกรอบคุุณวุุฒิิฉุุกเฉิินการแพทย์์แห่่งชาติิ โดยผู้้�ปฏิิบััติิการ ประกอบด้้วย
1. ผู้้�ปฏิิบััติิงานด้้านปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน ได้้แก่่ บุุคคลที่่�ปฏิิบััติิงานเกี่่�ยวกัับการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินตามหมวด 3 แห่่ง
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 2 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
โดยได้้มีีการรัับรององค์์กรการศึึกษาและฝึึกอบรม เพื่่� อให้้มีีองค์์กรที่่�มีีคุุณภาพ และสามารถผลิิตบุุคคลากรที่่�มีีคุุณภาพใน
พระราชบััญญััติิการแพทย์์ฉุุกเฉิิน พ.ศ. 2551 โดยได้้ ขึ้้�นทะเบีียนเป็็นผู้้�ปฏิิ บััติิการด้้ านปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิินกัั บ หน่่วยปฏิิบััติิการ สถานพยาบาล หรืือองค์์กรอื่่�นตามที่่� กพฉ. กำำ�หนด
2. ผู้้�ปฏิิบััติิงานด้้านวิิชาการ ได้้แก่่ บุุคคลที่่�ปฏิิบััติิงานเกี่่�ยวกัับการศึึกษา การฝึึกอบรม การค้้นคว้้า และการวิิจััย เกี่่�ยวกัับการประเมิิน การจััดการ การบำำ�บััดรัักษาผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน และการป้้องกัันการเจ็็บป่่วยที่่�เกิิดขึ้้�นฉุุกเฉิิน
ปััจจุุ บัันอยู่่�ระหว่่ างการจัั ดทำำ�กรอบคุุณวุุ ฒิิฉุุกเฉิินการแพทย์์แห่่งชาติิ สำำ�หรัับผลการดำำ �เนิินงานปีี 2564 ได้้ ดำำ�เนิินการ ดัังนี้้�
2.1. ประสานความร่่วมมืือระหว่่างสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิกับ ั แพทยสภา สภาการพยาบาล เพื่่� อส่่งเสริิม และสนัับสนุุนการผลิิตและพััฒนาบุุคลากรให้้ได้้ตามเป้้าหมายรองรัับการดำำ�เนิินงานในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
2.2. สพฉ. ร่่วมกัับกระทรวงสาธารณสุุข กระทรวงมหาดไทย องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น สำำ�นัก ั งานคณะกรรมการ
พลเรืือน ในการผลัักดัันให้้มีก ี ารกำำ�หนดโครงสร้้างตำำ�แหน่่งเจ้้าพนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ และนัักปฏิิบัติ ั ก ิ าร
ฉุุกเฉิินการแพทย์์ของกระทรวงสาธารณสุุข และองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นของกระทรวงมหาดไทย
2.3. จััดทำำ�เกณฑ์์มาตรฐานคุุณวุุฒิิฉุุกเฉิินการแพทย์์ (มคฉ.1) จำำ�นวน 6 สาขา ผ่่านความเห็็นชอบ กพฉ. ได้้แก่่
(1) สาขานัักปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินการแพทย์์ (2) สาขาเจ้้าพนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ขั้้น � สููง (3) สาขาเจ้้าพนัักงาน
ฉุุกเฉิินการแพทย์์ (4) สาขาพนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์พิิเศษ (5) สาขาพนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ และ
(6) สาขาอาสาสมััครฉุุกเฉิินการแพทย์์ ซึ่่�งจะนำำ�ไปสู่่ก � ารออกประกาศเพื่่� อบัังคัับใช้้ต่่อไป
41
รายงานประจำำ�ปีี 2564
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 3
พััฒนากลไกการอภิิบาลระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น 1. การศึึกษา ค้้นคว้า ้ วิิจัย ั และพััฒนา รวมทั้้�งเผยแพร่่ความรู้้ท � างการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
การวิิจัย ั และการพััฒนาความรู้้�เป็็นเครื่่�องมืือสำำ�คัญ ั ในการออกแบบและพััฒนาระบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินให้้สอดคล้้องบริิบท
และสถานการณ์์จริิง ซึ่่�ง สพฉ. ได้้จััดตั้้�งวิิทยาลััยวิิชาการเตรีียมความพร้้อมด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิน เมื่่�อ 1 กรกฏาคม 2564 ประกอบด้้วย ศููนย์์วิิชาการเตรีียมความพร้้อมด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิน (EMPAC) ศููนย์์วิิจััยและพััฒนานวััตกรรม (Research and Innovation Development Center) และศููนย์์พััฒนาวิิ ชาการ (Academic Development Center) เพื่่� อดำำ �เนิิน
การฝึึกอบรม ศึึกษา ค้้นคว้้า วิิจัย ั และสนัับสนุุนการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน สำำ�หรับปี ั งี บประมาณ 2564 สพฉ. ได้้พัฒ ั นา การวิิจััยและความรู้้�มาอย่่างต่่อเนื่่� อง มีีองค์์ความรู้้�เกิิดขึ้้�นจำำ�นวนมาก ดัังนี้้�
1.1 การดำำ�เนิินงานวิิจััยเพื่่� อพััฒนาการเข้้าถึึงบริิการและการเตรีียมความพร้้อมระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน สู่่�ภาวะปกติิใหม่่
มีีการดำำ�เนิินงานวิิจัย ั เพื่่� อพััฒนาการเข้้าถึึงบริิการและการเตรีียมความพร้้อมระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสู่่ภ � าวะปกติิใหม่่
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 3 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
จำำ�นวน 15 เรื่่�อง โดยได้้รับ ั งบประมาณสนัับสนุุนการวิิจััยจาก 2 แหล่่ง ได้้แก่่ งบแผนวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (ววน.) กองทุุนส่่งเสริิมวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม สำำ�นัก ั งานคณะกรรมการส่่งเสริิมวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (สกสว.) และงบสำำ�นัักงานบริิหารการวิิจััยและนวััตกรรมสาธารณสุุข (สบวส.) สำำ�นัักวิิชาการสาธารณสุุข สำำ�นัักงานปลััดกระทรวง สาธารณสุุข ดัังนี้้�
(1) งบแผนวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (ววน.) กองทุุนส่่งเสริิมวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม สำำ�นัักงาน คณะกรรมการส่่งเสริิมวิท ิ ยาศาสตร์์ วิิจัย ั และนวััตกรรม (สกสว.) ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2564 จำำ�นวน 15,146,900 บาท
ภายใต้้โครงการวิิจัย ั และพััฒนาการเข้้าถึึงระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่�ครอบคลุุม ทั่่�วถึึง และเท่่าเทีียมของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน
ในประเทศไทยอย่่างมีีคุณ ุ ภาพและการมีีส่ว ่ นร่่วม” ซึ่่�งมีีโครงการย่่อยจำำ�นวน 11 โครงการ ได้้แก่่
- การวิิจัย ั เรื่่�อง “การนำำ�ไปใช้้และการติิดตามประเมิินผลระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสำำ�หรับผู้้�ป่ ั ว่ ยฉุุกเฉิินจิิตคลุ้้�มคลั่่�ง แบบบููรณาการในประเทศไทย”
- การวิิจัย ั เรื่่�อง “การวิิจัย ั และพััฒนาโปรแกรมการเรีียนรู้้�และแนวทางปฏิิบัติ ั ด้ ิ า้ นการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในโรงเรีียน”
- การวิิจััยเรื่่�อง “รููปแบบการจััดการความปลอดภััยและเพิ่่�มประสิิทธิิภาพการให้้บริิการการแพทย์์ฉุุกเฉิินของ รถพยาบาลในประเทศไทย”
- การวิิจัย ั เรื่่�อง “ผลของการพััฒนาแนวทางการคััดแยกทางโทรศััพท์์ของบุุคคลากรศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและประสานงาน ในผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินโรคหลอดเลืือดสมอง”
- การวิิจััยเรื่่�อง “การพััฒนาเครื่่�องต้้นแบบทำำ�ลายเชื้้�อในอากาศสำำ�หรับ ั รถพยาบาล”
- การวิิจัย ั เรื่่�อง “การพััฒนาสื่่�อวีีดิทั ิ ศน์ ั ์ การป้้องกัันการติิดเชื้้�ออุุบัติ ั ใิ หม่่ระบบทางเดิินหายใจสำำ�หรับผู้้� ั ปฏิิบัติ ั ก ิ าร ฉุุกเฉิินเบื้้� องต้้น”
- การวิิจัย ั เรื่่�อง “ประสิิทธิิผลของการใช้้แอพพลิิเคชั่่�นสมาร์์ทโฟนการช่่วยฟื้้�นคืืนชีีพ สำำ�หรับผู้้� ั พบเห็็นเหตุุการณ์์ นอกโรงพยาบาล”
- การวิิจััยเรื่่�อง “ผลโปรแกรมบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสำำ�หรับผู้้�สูู ั งอายุุกระดููกสะโพกหัักแบบครบวงจร” - การวิิจััยเรื่่�อง “การพััฒนารููปแบบการจััดการและแก้้ปัญ ั หาความรุุนแรง ณ แผนกอุุบัติ ั ิเหตุุ – ฉุุกเฉิิน”
- การวิิ จััยเรื่่�อง “การพััฒนาระบบอัั จฉริิยะสำำ�หรัับสนัับสนุุนการตัั ดสิินใจในการนำำ�ส่่งผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินไปยััง โรงพยาบาลที่่�เหมาะสม”
- การวิิจัย ั เรื่่�อง “การพััฒนาข้้อเสนอเชิิงนโยบายเพื่่� อขยายผลปฏิิบัติ ั ก ิ ารพััฒนาระบบบริิการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสำำ�หรับ ั ผู้้�สููงอายุุที่่�อาศััยอยู่่ใ� นชุุมชนด้้วยนวััตกรรมและเทคโนโลยีีด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน”
42
กระทรวงสาธารณสุุข จำำ�นวน 4,000,0000 บาท “โครงการบริิหารจััดการและพััฒนางานวิิจัย ั เพื่่�อเตรีียมความพร้้อม
ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสู่่ภ � าวะปกติิใหม่่” โดยมีีโครงการย่่อย 4 โครงการ
- การวิิจััยเรื่่�อง “การศึึกษาอััตราการรอดชีีวิิต ปััจจััยที่่�สัมพั ั น ั ธ์์และระบบให้้บริก ิ ารทางการแพทย์์ของผู้้�ป่่วยที่่�มีี ภาวะหััวใจหยุุดเต้้นนอกโรงพยาบาล (out of hospital cardiac arrest) ของระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินของประเทศไทย”
- การวิิจััยเรื่่�อง “การพััฒนาระบบฐานข้้อมููลด้้านสุุขภาพ (Big data) ของผู้้�ป่่วยที่่�มีภ ี าวะหััวใจหยุุดเต้้น (Cardiac arrest) ในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินของประเทศไทยในยุุคชีีวิิตวิิถีีใหม่่”
- การวิิจััยเรื่่�อง “การสัังเคราะห์์องค์์ความรู้้�เพื่่� อให้้ข้้อเสนอแนะเชิิงนโยบายจากหลัักสููตรการปฐมพยาบาล ฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้� นฐานในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินของประเทศไทยภายใต้้ชีวิ ี ิตวิิถีีใหม่่”
- การวิิจััยเรื่่�อง “การวิิจััยเพื่่� อรองรัับการจััดระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในกรณีีโรคติิดเชื้้�ออุุบัติ ั ิใหม่่อุุบัติ ั ิซ้ำ�ร้ ำ า้ ยแรง: กรณีีศึึกษา COVID-19”
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
(2) งบสำำ�นัก ั งานบริิหารการวิิจััยและนวััตกรรมสาธารณสุุข (สบวส.) สำำ�นัก ั วิิชาการสาธารณสุุข สำำ�นัก ั งานปลััด
1.2 การศึึกษาเพื่่� อสนัับสนุุนการจััดทำำ�แผนหลัักการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ฉบัับที่่� 4
มีีการดำำ�เนิินการศึึกษาเพื่่� อสนัับสนุุนการจััดทำำ�แผนหลัักการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ฉบัับที่่� 4 และตอบตััวชี้้�วััดของ สพฉ.
เรื่่�องการเข้้าถึึงบริิการของกลุ่่�มผู้้�สููงอายุุ จำำ�นวน 8 เรื่่�อง ดัังนี้้�
(1) การศึึกษาเปรีียบเทีียบระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและผลลััพธ์์ของประเทศไทยกัับต่่างประเทศ
(3) การศึึกษาความชุุก อุุบัติ ั ิการณ์์ และสาเหตุุของการตาย และความพิิการจากการเจ็็บป่ว ่ ยฉุุกเฉิินของประเทศไทย (4) การประเมิินผลแผนหลัักการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 3.1 พ.ศ. 2562 - 2565
(5) การทบทวนวรรณกรรมอย่่างเป็็นระบบ เปรีียบเทีียบผลลััพธ์์การปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินระหว่่างชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน ระดัับสููงกัับชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินระดัับพื้้�นฐาน
(6) โครงการสำำ�รวจการรัับรู้้�และความพึึงพอใจของประชาชนต่่อระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินประจำำ�ปีี งบประมาณ 2564
(7) การศึึกษาสถานการณ์์ ก ารใช้้ บริิ ก ารการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น และรููปแบบการจัั ด ระบบบริิ ก ารการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ในกลุ่่�มผู้้�สููงอายุุ
(8) การดำำ�เนิินงานการพััฒนารููปแบบระบบสุุขภาพชุุมชนสู่่�ระบบบริิการสุุขภาพอย่่างไร้้รอยต่่อสำำ�หรัับผู้้�สููงอายุุ กลุ่่�มเสี่่�ยง Stroke, STEMI และ Hip fracture ใน 5 จัังหวััดนำ�ร่ ำ อ ่ ง
1.3 การพััฒนาและเผยแพร่่ความรู้้�ด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
(1) มีีการจััดทำำ�เอกสารสรุุ ปความรู้้� การดููแลตนเองสำำ�หรัับผู้้�ป่่วยความดัันโลหิิตสููง และการปฐมพยาบาลเบื้้� องต้้น เมื่่�อมีีเลืือดออกหรืือมีีการเสีียเลืือด จำำ�นวน 8 เรื่่�อง
- ความรู้้�โรคกล้้ามเนื้้� อหััวใจตายเฉีียบพลััน ชนิิดเอสทีียกสููง (ST-elevation myocardial infarction) สำำ�หรัับ ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 3 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
(2) การศึึกษาการเข้้าถึึงบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤตที่่�มารัับบริก ิ ารที่่�ห้อ ้ งฉุุกเฉิินของประเทศไทย
- ความรู้้�โรคหลอดเลืือดสมอง สำำ�หรับผู้้� ั ปฏิิบัติ ั ิการด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
- ความรู้้�ภาวะบาดเจ็็บ (Trauma) สำำ�หรับผู้้� ั ปฏิิบัติ ั ิการด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
- ความรู้้�โรคกล้้ามเนื้้� อหััวใจตายเฉีียบพลััน ชนิิดเอสทีียกสููง (ST-elevation myocardial infarction) สำำ�หรัับ ประชาชน
- ความรู้้�โรคหลอดเลืือดสมอง สำำ�หรับ ั ประชาชน
- ความรู้้�ภาวะบาดเจ็็บ (Trauma) สำำ�หรับ ั ประชาชน
- Infographic ความรู้้�เรื่่�อง การดููแลตนเองสำำ�หรับผู้้�ป่ ั ว ่ ยความดัันโลหิิตสููง
- Infographic ความรู้้�เรื่่�อง การปฐมพยาบาลเบื้้� องต้้นเมื่่�อมีีเลืือดออกหรืือมีีการเสีียเลืือด
(2) มีีการจััดทำำ�วารสารการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งประเทศไทย ปีีที่่� 1 ฉบัับที่่� 1 (มกราคม – มิิถุน ุ ายน 2564) (3) มีีการจััดทำำ�หลัักสููตรและจััดให้้มีก ี ารอบรมหลัักสููตรต่่าง ๆ ดัังนี้้�
- การปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้� นฐาน (Emergency First Aid and Basic Life Support Training
Course: EFA & BLS) สำำ�หรัับอาสาสมััครสาธารณสุุขประจำำ�หมู่่�บ้้าน (อสม.) อาสาสมััครสาธารณสุุขเรืือนจำำ�
(อสรจ.) และอาสาฉุุกเฉิินชุุมชน (อฉช.) แบ่่งเป็็น 4 ระดัับ ได้้แก่่
ระดัับ 1 สำำ�หรับ ั ประชาชนทั่่�วไป การปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการช่่วยชีีวิิตขั้้�นพื้้� นฐาน ระดัับ 2 เป็็นผู้้�ช่่วยครููผู้้�สอน การปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการช่่วยชีีวิิตขั้้�นพื้้� นฐาน ระดัับ 3 เป็็นครููผู้้�สอน การปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการช่่วยชีีวิิตขั้้�นพื้้� นฐาน
ระดัับ 4 เป็็นผู้้�อำำ�นวยการหลัักสููตรการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการช่่วยชีีวิิตขั้้�นพื้้� นฐาน
43
รายงานประจำำ�ปีี 2564
ผลการดำำ�เนิินงานสนัับสนุุนการฝึึกอบรมพััฒนาความรู้้�ทัักษะผู้้�ปฏิิบััติิการด้้านการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและ
การกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้� นฐานสำำ�หรัับ อสม. อสรจ. และ อฉช. (หลัักสููตรครููผู้้�สอน CPR&AED) จำำ�นวน 6 แห่่ง ได้้แก่่ โรงพยาบาล
จัังหวััดหนองคาย มููลนิิธิิในเครืือสว่่างฯ (เม่่งเลี้้�ยง) มููลนิิธิิร่่วมกตััญญูู มููลนิิธิิป่่อเต็็กตึ๊๊�ง มููลนิิธิิกู้้�ภััยร่่มไทร องค์์การบริิหาร ส่่วนตำำ �บลลำำ�ไทร จัั งหวัั ดปทุุมธานีี และสนัับสนุุนการฝึึกอบรมโครงการจิิ ตอาสาพระราชทาน ฝึึกอบรมพััฒนาความรู้้� ทัักษะผู้้�ปฏิิบััติิการด้้านการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้� นฐานการ CPR & AED โดยมีีการฝึึกอบรมครููผู้้�สอน
(Instructor) จำำ�นวน 290 คน อบรมผู้้�ช่่วยครููผู้้�สอน (Assistant Instructor) จำำ�นวน 292 คน และอบรมให้้กัับประชาชน ทั่่�วไป จำำ�นวน 1,872 คน
- จััดทำำ�หลัักสููตรนัักบริิหารการแพทย์์ฉุุกเฉิิน สำำ�หรัับผู้้�บริิหารหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับงานการแพทย์์ฉุุกเฉิิน และสาธารณสุุข
- จััดทำ�หลั ำ ก ั สููตรวิิทยุุสื่่�อสารทางการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน สำำ�หรับผู้้� ั ปฏิิบัติ ั ก ิ ารในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและสาธารณสุุข
- จััดทำำ�หลัักสููตรการลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วยทางอากาศขั้้�นพื้้� นฐาน (Basic Aeromedical Evacuation: BAME) ร่่วมกัับ
สถาบัันเวชศาสตร์์การบิิน กองทััพอากาศ เป็็นหลัักสููตรสำำ�หรับ ั แพทย์์ พยาบาล นัักปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินการแพทย์์ (นฉพ.)
เจ้้าพนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ (จฉพ.) พนัักงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ (พฉพ.)
- จััดทำ�หลั ำ ก ั สููตรการลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วยทางอากาศขั้้�นสููง (Advanced Care Air Transport: ACAT) ร่่วมกัับโรงพยาบาล กรุุ งเทพ เป็็นหลัักสููตรสำำ�หรัับบุุคลากรที่่�ผ่่านการฝึึกอบรมหลัักสููตรการลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วยทางอากาศขั้้�นพื้้� นฐาน
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 3 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
(Basic Aeromedical Evacuation: BAME) และ/หรืือ ACLS, ATLS
- จััดทำำ�หลัักสููตรการแพทย์์ฉุุกเฉิินด้้านการกีีฬาขั้้�นพื้้� นฐาน (Sport EMS - Basic Course) ร่่วมกัับ โรงพยาบาล กรุุงเทพและวิิทยาลััยแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งประเทศไทย เป็็นหลัักสููตรสำำ�หรับผู้้� ั ปฏิิบัติ ั ก ิ ารในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน และ
บุุคลากรที่่�เกี่่�ยวข้้องด้้านการกีีฬา ซึ่่ง� มีีพื้้�นฐานด้้านวิิทยาศาสตร์์การกีีฬา เช่่น แพทย์์สนาม แพทย์์ประจำำ�ทีม ี โค้้ช
นัักกายภาพบำำ�บััด ผู้้�จัั ดการแข่่งขัันกีี ฬา (อยู่่�ระหว่่ างการพััฒนาหลัั กสููตร)
- จัั ดทำำ �หลัั ก สููตรการจัั ด การทางการแพทย์์ กรณีี อุุ บัั ติิ ภัั ยหมู่่� แ ละสาธารณภัั ย (Thai Simulation in Mass
Casualty Management: Thai SIMM) ร่่วมกัับคณะแพทยศาสตร์์มหาวิิทยาลััย สงขลานคริินทร์์ เป็็นหลัักสููตรสำำ�หรับ ั
ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน และหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับอุุบัติ ั ิภััยหมู่แ ่� ละสาธารณภััย
- จัั ดทำำ �หลัั ก สููตรการดููแลรัั ก ษาผู้้�บาดเจ็็ บก่่ อ นถึึงโรงพยาบาล (Prehospital Trauma Life Support:
PHTLS) ร่่วมกัับคณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ ราชวิิทยาลััยศััลยแพทย์์แห่่งประเทศไทย และ
โรงพยาบาลพระมงกุุฎเกล้้า แพทย์์ พยาบาล และนัักปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินการแพทย์์
- สพฉ. ร่่ ว มกัั บวิิ ท ยาลัั ย แพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ประเทศไทย จัั ดทำำ �หลัั ก สููตรประกาศนีี ย บัั ต รแพทย์์ อำำ � นวยการ
ปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิิน (EMS Medical Director Course) เป็็นหลัั กสููตรสำำ�หรัับแพทย์์ประจำำ �บ้้านเวชศาสตร์์
ฉุุกเฉิินที่่� ผ่่านหลัักสููตรแพทย์์สั่่�งการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน
- จัั ดทำำ �หลัั ก สููตรปฐมพยาบาลในถิ่่� น ทุุ ร กัั น ดารขั้้� น สููง (Wilderness Advance First Aid: WAFA) ร่่ ว มกัั บ มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่
44
การพััฒนาระบบสารสนเทศการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เป็็นสิ่่�งจำำ�เป็็นสำำ�หรับ ั การพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ทั้้�งในการพััฒนา
และออกแบบข้้อมููลต่่างๆ ที่่�จะนำำ�มาสู่่�การกำำ�หนดนโยบายและการตััดสิินในการบริิหารจััดการได้้อย่่างเหมาะสม รวมทั้้�ง เทคโนโลยีีและระบบสื่่� อสารจะช่่วยสนัับสนุุนการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินให้้มีีประสิิทธิิภาพมากขึ้้�น ช่่วยให้้เข้้าถึึงผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน
วิิ กฤตได้้ ทัันท่่ วงทีี ได้้ มากขึ้้� น ดัั งนั้้� น สพฉ. จึึงได้้ จััดทำำ�แผนแม่่บทเทคโนโลยีีสื่่�อสารด้้ านการแพทย์์ฉุุกเฉิินระยะยาวขึ้้� น เพื่่� อเป็็นกรอบทิิศทางในการพััฒนาให้้สอดคล้้องกัับทิิศทางของแผนหลัักการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ พ.ศ. 2562 - 2565 และมีีการแต่่งตั้้� งคณะทำำ�งานบริิหารเทคโนโลยีีสารสนเทศของสถาบัันฯ เพื่่� อให้้ปฏิิบััติิงานในการขัับเคลื่่�อนการพััฒนา
รััฐบาลดิิ จิิทััล และผลัั กดัั นให้้การปรัับรูู ปแบบการบริิการและการทำำ �งานของสถาบััน มีีความทัั นสมััย รวดเร็็ว โปร่่งใส เชื่่�อมโยงอย่่างเป็็นเครืือข่่ายทั้้�งภายในและภายนอก ซึ่่�งผลการดำำ�เนิินงานในการพััฒนาระบบสารสนเทศการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ที่่�นำำ�มาใช้้ประโยชน์์ คืือ ระบบ ITEMS - OIS ที่่�มีีระบบการทำำ�งานเชื่่�อมโยงกัับระบบต่่างๆ สนัับสนุุนการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน ที่่�มีีประสิิทธิิผลและแม่่นยำำ� ดัังนี้้�
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
2. การพััฒนาระบบสารสนเทศการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
1. เชื่่�อมระบบ Telemedicine บนรถพยาบาล เพื่่� อพััฒนาระบบแพทย์์อำำ�นวยการสามารถเข้้าถึึงข้้อมููล ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน ในรถพยาบาลได้้ทัันทีีในการตััดสิินใจอาการผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินได้้แบบ real time
2. พััฒนาระบบ Call center รัับแจ้้งเหตุุและสั่่�งการเชื่่�อมระบบ Telemedicine
3. เชื่่�อมข้้อมููลแพทย์์อำำ�นวยการกัับระบบ Telemedicine ในรถปฎิิบััติิการฉุุกเฉิิน และระบบฝึึกอบรมนัักปฎิิบััติิการ
4. พััฒนา GIS Tracking ในรถพยาบาล ติิ ดตามและวิิ เคราะห์์เส้้นทางการเดิิ นรถ เพื่่� ออำำ �นวยความสะดวก ให้้กัับ
5. พััฒนาระบบรัับแจ้้งเหตุุและสั่่�งการ (ITEMS OIS) ติิดตามชุุดปฎิิบัติ ั ิการผ่่านระบบแผนที่่� (GIS Map) ศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุ และสั่่�งการสามารถรู้้�สถานะรถพยาบาลได้้ปฎิิบัติ ั ก ิ าร และสนัับสนุุนข้้อมููลเกี่่�ยวกัับเส้้นทางการเดิินรถให้้กับชุ ั ด ุ ปฎิิบัติ ั ก ิ าร
ออกปฎิิบััติิการ
6. พััฒนาระบบเชื่่�อมข้้อมููลสถานพยาบาลและรถพยาบาลจากหน่่วยภายนอก เพื่่� อนำำ�มาใช้้ในการตรวจสอบในระบบ การแพทย์์ฉุุกเฉิินและนำำ�มาใช้้ในระบบ ITEMS
โดยการพััฒนาดัังกล่่าว นำำ�มาใช้้เพื่่� อเพิ่่�มประสิิทธิิภาพในการให้้บริิการเป็็นรููปธรรมอย่่างรวดเร็็ว ถููกต้้อง แม่่นยำำ�
ทัันสมััย หน่่วยงานภายนอกที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับภารกิิจด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน สามารถเข้้าถึึงสารสนเทศและการบริิการอย่่างทั่่�วถึึง
และเท่่ า เทีี ยมกัั น ได้้ ต ามเป้้ า ประสงค์์ ข องการบริิ ก ารที่่� มีี ป ระสิิ ท ธิิ ภ าพและประสิิ ท ธิิ ผ ล จึึงได้้ พัั ฒ นาระบบการบริิ ก าร อิิเล็็กทรอนิิกส์์กลางเป็็น Portal EMS เพื่่� อให้้สามารถพััฒนาหรืือปรัับไปสู่่� Online Information หรืือ Data Transformations
โดยสมบููรณ์์ นอกจากนี้้� สพฉ. ยัังได้้ดำำ�เนิินการพััฒนาระบบเทคโนโลยีีสารสนเทศเพื่่� อสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ิงานของบุุคลากร ภายใน สพฉ. ดัังนี้้�
(1) การปรัับเปลี่่�ยนระบบสื่่� อสารอีีเมลภายในองค์์กร
สพฉ. มีี ก ารดำำ � เนิิ น การเปลี่่� ย นระบบอีี เ มล จากระบบอีี เ มล Lotus Notes เป็็ น ระบบอีี เ มล MailGoThai เป็็ น
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 3 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
รถพยาบาลให้้สามารถเข้้าจุุดเกิิดเหตุุได้้เร็็วแม่่นยำำ�ยิ่่�งขึ้้�น
ระบบอีีเมลหลัักในการรัับ - ส่่ง อีีเมลของสถาบัันฯ เพื่่� อลดความซ้ำำ�ซ้้อนในการลงทุุน และการดำำ�เนิินการด้้านการรัักษา
ความปลอดภัั ยของข้้อมููลภาครััฐ โดยเน้้นการใช้้ทรััพยากรร่่วมกัั นให้้เกิิ ดประโยชน์์สููงสุุด ตามที่่� มีีมติิ จากคณะทำำ �งาน
บริิหารเทคโนโลยีีสารสนเทศของสถาบัันฯ โดยสำำ�นัักงานพััฒนารััฐบาลดิิจิิทััล (องค์์การมหาชน) (สพร.) ให้้การสนัับสนุุน ระบบจดหมายอิิเล็็กทรอนิิกส์์ และเจ้้าหน้้าที่่�ในการย้้ายระบบ ดำำ�เนิินการติิดตั้้�งระบบ MailGoThai และระบบปฏิิทิินบน สมาร์์ทโฟน และบนแท็็บเล็็ต ให้้กัับผู้้�บริห ิ าร และพนัักงาน สพฉ. ทุุกท่่าน และจััดอบรมสอนการใช้้งานระบบ MailGoThai ผ่่านโปรแกรม Microsoft teams
หน้้า Web login เข้้าระบบ MailGoThai
หน้้าเข้้าใช้้งานระบบ MailGoThai
45
รายงานประจำำ�ปีี 2564
(2) ด้้านข้้อมููลสารสนเทศการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
สพฉ. เป็็นหน่่วยหลัักในการให้้บริิการระบบสารสนเทศการแพทย์์ฉุุกเฉิิน เก็็บรวบรวมข้้อมููลซึ่่�งมีีความสำำ�คััญ
ต่่อการอำำ�นวยการ การสนัับสนุุนการตััดสิน ิ ใจการปฏิิบัติ ั ก ิ ารการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน รวมถึึงการนำำ�ข้อ ้ มููลสารสนเทศดัังกล่่าว ไปใช้้ ประกอบการศึึกษาวิิจััยเพื่่� อบููรณาการระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินในประเทศต่่อไป โดย สพฉ. มีีระบบโครงสร้้างพื้้� นฐานที่่�มีี ความพร้้อม มีีระบบสารสนเทศการแพทย์์ฉุุกเฉิินที่่�มีีความทัันสมััย รวมถึึงข้้อมููลสารสนเทศมีีความครอบคลุุมครบถ้้วน
สพฉ. มีี ร ะบบคลัั ง ข้้ อ มููลการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น (Data Warehouse) ซึ่่� ง เป็็ น ศููนย์์ ก ลางในการให้้ บริิ ก ารข้้ อ มููล
สารสนเทศที่่�สำ�คั ำ ัญ ที่่�เกี่่�ยวกัับระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเพื่่� อสนัับสนุุนการตััดสิน ิ ใจของผู้้�บริิหาร สนัับสนุุนผู้้�ใช้้งานทั้้�งภายใน และภายนอกองค์์ กร สามารถนำำ�ข้้อมููลสารสนเทศที่่� ให้้บริิการ เพื่่� อไปบููรณาการในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินระดัั บพื้้�นที่่�
โดยมีีการรัับข้้อมููลจากระบบสารสนเทศการแพทย์์ฉุุกเฉิิน (ITEMS) ซึ่่�งมีีข้้อมููลทรััพยากรพื้้� นฐาน ข้้อมููลการปฏิิบััติิการ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ข้้อมููลผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิท ิ ธิิทุก ุ ที่่� (UCEP) ข้้อมููลการบริิหารจััดการกองทุุน (E-Budget) ข้้อมููลการตรวจ ประเมิิ น และรัั บ รองคุุ ณ ภาพระบบบริิ ก ารการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ประเทศไทย (TEMSA) และข้้ อ มููลสนัั บ สนุุ น ตัั ว ชี้้� วัั ด การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เป็็นต้้น ข้้อมููลดัังกล่่าวจะถููกวิิเคราะห์์และแปรผล เพื่่� อนำำ�มาใช้้ประโยน์์ต่่อไป
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 3 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � � (3) ด้้านการบริิหารจััดการระบบประชุุมออนไลน์์ (Microsoft Teams)
เนื่่� องด้้วยสถานการณ์์การระบาดโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ผู้้�บริิหารมีีนโยบายให้้พนัักงานมีีการทำำ�งาน
Work form home เพื่่� อให้้มีก ี ารประชุุมและดำำ�เนิินงานได้้ต่่อเนื่่� อง สพฉ. จึึงได้้อำำ�นวยความสะดวกในการทำำ�งาน ให้้สามารถ
จััดประชุุมในสถาบัันได้้ ลดความแออััดในการทำำ�งาน และลดความเสี่่�ยงในการติิดเชื้้�อไวรััสโคโรน่่า โดยดำำ�เนิินการจััดหา โปรแกรมระบบประชุุ ม ออนไลน์์ (Microsoft Teams) เพื่่� อ มาช่่ ว ยอำำ � นวยความสะดวกในการจัั ด ประชุุ ม ของสถาบัั น พร้้อมทั้้�งจััดทำ�คู่ ำ �มื ่ อ ื การใช้้งานระบบประชุุมออนไลน์์ (Microsoft Teams) และกำำ�หนดมาตรการในการบริิหารจััดการห้้องประชุุม ให้้เกิิดประสิิทธิิภาพ เพื่่� อให้้สำ�นั ำ ก ั /กลุ่่�มดำำ�เนิินการตามมาตรการที่่�วางไว้้ เพื่่� อไม่่เกิิดความผิิดพลาดต่่อการทำำ�งาน (4) ด้้านการให้้บริก ิ าร แก้้ไขปััญหา ตอบคำำ�ถามการใช้้งานทั้้�งภายในและภายนอกองค์์กร
สพฉ. ได้้ พััฒนาระบบสารสนเทศการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ให้้กัับผู้้�ใช้้บริิการทั้้� งศููนย์์รัับแจ้้ งเหตุุและสั่่� งการจัั งหวัั ด
งานระบบบริิการการแพทย์์ฉุุกเฉิินจัังหวััดทุุกจัังหวััด มีีทีีมงานหลายส่่วนร่่วมกัันในการตอบปััญหาหรืือแก้้ไขปััญหาระบบ
สารสนเทศหรืือโปรแกรมให้้สำำ�เร็็จทัันท่่วงทีีของผู้้�ใช้้บริิการ ได้้แก่่ ทีีมเทคนิิคหรืือผู้้�เชี่่�ยวชาญแต่่ละด้้าน ได้้แก่่ ด้้านระบบ ข้้อมููล ด้้าน Network ด้้าน System และ Software application เป็็นต้้น เกิิดประโยชน์์สููงสุุดต่่อสถาบัันและประชาชน เพื่่� อให้้สามารถใช้้งานระบบสารสนเทศได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ และสามารถใช้้งานได้้อย่่างต่่อเนื่่� อง สพฉ. จึึงจััดให้้มีเี จ้้าหน้้าที่่�
สำำ�หรัับให้้บริิการตอบปััญหาระบบสารสนเทศการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ให้้กัับผู้้�ใช้้บริิการทั้้� งศููนย์์รัับแจ้้งเหตุุและสั่่�งการจัังหวััด งานระบบบริิการการแพทย์์ฉุุกเฉิินจัังหวััด ทุุกจัังหวััด เพื่่� อให้้สามารถใช้้งานระบบสารสนเทศได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ และ
สามารถใช้้งานได้้ อย่่างต่่ อเนื่่� อง พร้้อมทั้้� งสนัับสนุุนให้้ระบบการใช้้งานได้้ อย่่างต่่ อเนื่่� อง รวมถึึงการแก้้ ไขปััญหา และ
46
การติิดตามผลได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ
ระบบการเงิินการคลัังการแพทย์์ฉุุกเฉิิน เป็็นกลไกสำำ�คััญหนึ่่�งที่่�จะช่่วยสนัับสนุุนให้้การพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
มีี ค วามก้้ า วหน้้ า สอดรัั บกัั บ ความต้้ อ งการของประชาชนที่่� เ จ็็ บป่่ ว ยฉุุ ก เฉิิ น ที่่� เ พิ่่� มม ากขึ้้� น สพฉ. เป็็ น หน่่ ว ยที่่� ทำำ �หน้้ า ที่่�
ในการบริิหารจััดการให้้มีบริ ี ก ิ ารการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ได้้รับจั ั ัดสรรงบประมาณไม่่เพีียงพอในการขัับเคลื่่�อนการทำำ�งาน รวมทั้้�ง
ยัังไม่่มีแ ี หล่่งรายได้้หลัักจากแหล่่งอื่่�น ดัังนั้้�น เพื่่� อความยั่่�งยืืนของระบบการเงิินการคลัังการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน สพฉ. จึึงได้้จััดทำำ� แผนการพััฒนากลไกการจ่่ายเงิินอุุดหนุุน/ชดเชยการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินฯ Road Map 2564 –2569 ซึ่่�งเป็็นการปรัับปรุุ ง และทบทวนให้้สอดคลองกัับแผนปฏิิรูู ปประเทศด้้านสาธารณสุุข ระบบบริิการการแพทย์์ฉุุกเฉิินและแผนหลัักการแพทย์์ ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ฉบัับที่่� 3.1 โดยมุ่่�งเน้้นการเพิ่่�มการเข้้าถึึงระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน โดยเน้้นการเข้้าถึึงของผู้้�ป่่วยวิิ กฤติิ
โดยต้้องมีีการบููรณาการงบประมาณร่่วมกัันให้้เกิิดประโยชน์์สููงสุุด โดยได้้มีีการนำำ�เสนอแผนการพััฒนากลไกการจ่่ายเงิิน อุุดหนุน ุ /ชดเชยการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน Road Map 2564 - 2566 เพื่่�อความยั่่�งยืืนของระบบการเงิินการคลััง ซึ่่ง� ได้้ผ่า่ นความเห็็นชอบ จาก กพฉ. ให้้ดำำ�เนิินการขัับเคลื่่� อนได้้โดยเป้้าหมายการพััฒนากลไกการจ่่ายเงิิ นอุุ ดหนุุน/ชดเชยการปฏิิ บััติิการฉุุกเฉิิน
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
3. การพััฒนาระบบการเงิินการคลัังการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
เพื่่� อความยั่่�งยืืน
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 3 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
แผนการพััฒนากลไกการจ่่ายเงิินอุุดหนุุน/ชดเชยการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน (Road Map 2564 - 2566)
47
รายงานประจำำ�ปีี 2564
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 4
พััฒนาศัักยภาพและการมีีส่่วนร่่วมของภาคีีเครืือข่่าย ทั้้� งในและต่่างประเทศ ่ นร่่วมของภาคีีเครืือข่่ ายในประเทศ 1. การพััฒนาศัักยภาพและการมีีส่ว 1.1 การสนัับสนุุนให้้มีีการจััดตั้้�งหน่่วยปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินของทุุกภาคีีเครืือข่่าย
สพฉ. ได้้ส่ง่ เสริิมสนัับสนุุนให้้ทุก ุ ภาคีีเครืือข่่ายร่่วมดำำ�เนิินงานในการจััดตั้้ง� หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน เพื่่� อให้้การปฏิิบัติ ั ก ิ าร
ฉุุกเฉิินการแพทย์์สามารถให้้บริก ิ ารได้้ครอบคลุุมทุก ุ พื้้� นที่่� โดยสามารถเข้้าถึึงจุุดเกิิดเหตุุในการช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต ภายใน 8 นาทีี ผลการดำำ�เนิินงานมีีการจััดตั้้ง� หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารและขึ้้�นทะเบีียน จำำ�นวน 8,322 แห่่ง จำำ�แนกเป็็น หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ าร ในสัังกััดสถานพยาบาล จำำ�นวน 2,033 แห่่ง และหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารนอกสัังกััดสถานพยาบาล จำำ�นวน 6,289 แห่่ง
1.2 การสนัับสนุุนให้้มีีการจััดตั้้�งหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินขององค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น
สพฉ. ได้้ส่ง่ เสริิมและสนัับสนุุนให้้องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นมีีส่ว ่ นร่่วมในการดำำ�เนิินงานและบริิหารจััดการระบบ
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 4 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
การแพทย์์ฉุุกเฉิิน เพื่่� อให้้เป็็นไปตามเจนตนารมย์์ของ พรบ.การแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ พ.ศ. 2551 มาตรา 33 สพฉ. จึึงได้้
ส่่งเสริิมสนัับสนุุนการจััดตั้้ง� หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารและชุุดปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินให้้การช่่วยเหลืือประชาชนในพื้้�นที่่� สำำ�หรับ ั ผลการดำำ�เนิินงาน สนัับสนุุนให้้มีก ี ารจััดตั้้ง� หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน ในปีี 2564 องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นที่่�ขึ้้น � ทะเบีียนสะสมจำำ�นวน 5,030 แห่่ง
จากองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นทั้้�งหมดจำำ�นวน 7,852 แห่่ง แต่่มีหน่ ี ว ่ ยปฏิิบัติ ั ิการที่่�มีก ี ารปฏิิบัติ ั ิงานจริิง จำำ�นวน 3,424 แห่่ง คิิดเป็็นร้้อยละ 68.08 ของหน่่วยที่่�ขึ้้�นทะเบีียนทั้้�งหมด
1.3 การประชุุมการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินในองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น
สพฉ. ได้้จัด ั การประชุุมการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น เมื่่�อวัันที่่� 18 มีีนาคม 2564
ณ โรงแรมอมารีี ดอนเมืือง แอร์์พอร์์ต กรุุงเทพมหานคร โดยมีีวััตถุป ุ ระสงค์์ เพื่่� อต้้องการให้้เกิิดการบููรณาการ สอดประสาน การบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินให้้มีีประสิิทธิิภาพ เพิ่่�มโอกาสในการเข้้าถึึงบริิการของประชาชน ซึ่่�งสำำ�คััญต่่อ
ประชาชนที่่�บาดเจ็็บหรืือป่่วยฉุุกเฉิิน ทั้้�งนี้้� อปท. เป็็นหน่่วยงานที่่�มีีความใกล้้ชิิดกัับประชาชน ซึ่่�งมีีความสำำ�คััญและจำำ�เป็็น
อย่่างมากต่่อการพััฒนาระบบ เนื่่� องจากมีีทั้้�งทรััพยากรบุุคคล และองค์์ความรู้้�ที่่�สำำ�คััญ ทั้้� งฐานข้้อมููลความต้้องการของ ประชาชนในพื้้� นที่่� อััตราการเกิิดเหตุุ ลดอััตราการสููญเสีีย ประกอบกัับการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินถืือว่่าเป็็นอำำ�นาจของ อปท. ตาม พ.ร.บ.
จััดตั้้ง� องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น พ.ร.บ.กำำ�หนดแผนและขั้้�นตอนการกระจายอำำ�นาจให้้องค์์กรปกครองส่่วนท้้อนถิ่่�น พ.ศ. 2542
และ พ.ร.บ.การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน พ.ศ.2551 ซึ่่ง� มีีแนวทางการดำำ�เนิินงานตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่�กำ�ห ำ นดให้้ อบจ. มีีอำำ�นาจหน้้าที่่�ในการจััดให้้มีีโรงพยาบาลจัังหวััดรัักษาพยาบาลการป้้องกัันและควบคุุมโรคติิดต่่อเป็็นผู้้�ดำำ�เนิินงาน
และบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในระดัับท้้องถิ่่�น ดัังนั้้�นการทำำ�งานแบบบููรณาการร่่วมกัันจากทุุกภาคส่่วนจึึงเป็็น สิ่่�งสำำ�คัญ ั อย่่างยิ่่�งต่่อการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินไทย จึึงถืือเป็็นเรื่่�องที่่�ดีที่่ ี � อปท. ให้้ความสำำ�คัญ ั ยกระดัับในการปฏิิบัติ ั งิ านด้้านการแพทย์์
ฉุุกเฉิินร่่วมกัับหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้อง ทำำ�ให้้ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินได้้รัับการคุ้้�มครองในการเข้้าถึึงระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินอย่่างทั่่�วถึึง
เท่่ า เทีี ยม มีี คุุ ณ ภาพ และได้้ รัั บ การรัั ก ษาพยาบาลทัั น ต่่ อ สถานการณ์์ จะเป็็ น การลดอัั ต ราการสููญเสีี ย ให้้ ไ ด้้ ม ากที่่� สุุ ด พร้้ อ มกัั น นี้้� สพฉ. ยัั ง ขอความร่่ ว มมืื อ จากองค์์ ก ารบริิ ห ารส่่ ว นจัั ง หวัั ด จัั ดตั้้� ง ศููนย์์ รัั บ แจ้้ ง เหตุุ แ ละสั่่� ง การระดัั บจัั ง หวัั ด เพื่่� อเพิ่่�มประสิิทธิิภาพและยกระดัับมาตรฐานการแพทย์์ฉุุกเฉิินอีีกด้้วย
1.4 การพััฒนาให้้ “ตำำ�บลปลอดภััย ประเทศไทยปลอดภััย ไร้้ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน”
สพฉ. ได้้มีก ี ารดำำ�เนิินการโครงการ “ตำำ�บลปลอดภััย ประเทศไทยปลอดภััยไร้้ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิิน” โดยสนัับสนุุนให้้ชุุมชน
สัังคมในระดัั บตำำ�บลเป็็นฐานในการพััฒนา เพื่่� อสร้้างความปลอดภัั ยในตำำ �บลและลดอัั ตราการเสีียชีีวิิต และพิิการจาก ภาวะฉุุกเฉิิน โดยพััฒนากลไกการป้้องกัั นและแก้้ ไขปััญหาการเจ็็ บป่่วยฉุุกเฉิินทั้้� งในภาวะปกติิ และภัั ยพิิบััติิ ซึ่่�งจากผล การดำำ�เนิินงานตามโครงการได้้ตำำ�บลที่่�ผ่า่ นเกณฑ์์ทั้้�งสิ้้�น 24 ตำำ�บล กระจายไปทั่่�วประเทศ
เมื่่�อวัันที่่� 12 พฤศจิิกายน 2563 สพฉ. ได้้จัด ั ให้้มีก ี ารมอบโล่่รางวััล “ตำำ�บลปลอดภััยเข้้มแข็็งด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน”
ให้้กัับเทศบาลและองค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บล ซึ่่�งคััดเลืือกจากเทศบาลและองค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บล ที่่�มีีการจััดการชุุมชน
ปลอดภััยและเข้้มแข็็งได้้มาตรฐานการแพทย์์ฉุุกเฉิินเชิิงพื้้� นที่่� โดยนายอนุุทิิน ชาญวีีรกููล รองนายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีี ว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข ได้้มอบหมายให้้ น.พ.เกีียรติิภููมิิ วงศ์์รจิิต ปลััดกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธานในการมอบโล่่รางวััล
48
ฉุุกเฉิิน รวมไปถึึงการป้้องกัันภาวะเจ็็บป่ว่ ยฉุุกเฉิินที่่�อาจจะเกิิดขึ้้น � ได้้จากปััญหาด้้านสุุขภาพจิิต การสููญเสีียจากภาวะแทรกซ้้อน ความดัั นโลหิิตสููงเป็็นปััจจัั ยเสี่่�ยงอัั นดัั บต้้นของการเกิิ ดภาวะหลอดเลืื อดสมองเฉีียบพลัั นและหััวใจขาดเลืื อด อุุ บััติิเหตุุ ทั้้� งนี้้� ประเทศไทยมีีจำำ�นวนเทศบาล/องค์์ การบริิหารส่่วนตำำ �บล ทั้้� งสิ้้�น 7,772 แห่่ง การดำำ �เนิินการตำำ �บลปลอดภัั ย เป็็น ประเด็็นใหม่่และเป็็นประเด็็นใหญ่่ที่่�เมื่่�อดำำ�เนิินการแล้้วจะสามารถแก้้ปัญ ั หาความไม่่ปลอดภััยในประเทศอย่่างก้้าวกระโดด
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ทั้้�งนี้้� น.พ.เกีียรติิภููมิิ วงศ์์รจิิต กล่่าวว่่า จากสถานการณ์์ปัจ ั จุุบัน ั ประชาชนยัังขาดความรู้้�ความเข้้าใจในการช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วย
พิิธีีการมอบโล่่รางวััล “ตำำ�บลปลอดภััยเข้้มแข็็งด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิน”
สพฉ. ร่่วมกัับบริษั ิ ท ั Zoll Medical จััดประชุุมวิช ิ าการนานาชาติิ APAC Ambulance Officers’ Webinar ภายใต้้หัวั ข้้อ
Moving Care Forward ในวัันที่่� 24 พฤศจิิกายน 2563 ซึ่่ง� เป็็นการประชุุมแบบออนไลน์์ผสมกัับการฝึึกปฏิิบัติ ั ิ ณ กรุุงเทพมหานคร ประเทศไทย ซึ่่ง� มีีจุุดประสงค์์เพื่่� อแลกเปลี่่�ยนองค์์ความรู้้�ในด้้านดููแลรัักษาผู้้�ป่่วยระหว่่างการนำำ�ส่ง่ ในสถานการณ์์การระบาด เชื้้�อไวรััสโคโรนาสายพัันธุ์์�ใหม่่ 2019 (COVID-19) โดยมีีบริิษััท Zoll Medical เป็็นผู้้�สนัับสนุุนงบประมาณหลัักและดููแล การจััดประชุุม การประชุุม APAC Ambulance Officers’ Webinar เป็็นการประชุุมออนไลน์์และออนไซต์์ โดยได้้รับ ั เกีียรติิ
จากวิิทยากรจากประเทศต่่างๆ เช่่น Dr. Jocasta Ball และวิิทยากรในประเทศไทย บรรยายในหััวข้้อต่่างๆ ที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับ
การให้้การช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินระหว่่างการลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วยด้้วยพาหนะฉุุกเฉิิน เช่่น How to Manage Difficult Situations During Transportation และ 7 Cardiac Survivability Tools มีีผู้้�เข้้าประชุุมทั้้�งจากประเทศและทั่่�วโลก
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 4 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
1.5 การประสานความร่่วมมืือเพื่่� อพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินกัับภาคีีเครืือข่่ายในประเทศ
การประชุุมวิิชาการนานาชาติิ APAC Ambulance Officers’ Webinar ภายใต้้หัว ั ข้้อ Moving Care Forward
2. การประสานความร่่วมมืือเพื่่�อพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินระหว่่างประเทศ
ในปีีงบประมาณ 2564 สถานการณ์์การแพร่่ระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยัังคงมีีความรุุนแรงทั้้�ง
ในประเทศไทยและประเทศอื่่� น ๆ ในกลุ่่�มอาเซีียน เป็็นเหตุุให้้ต้อ ้ งมีีการปรัับเปลี่่�ยนวิิธีก ี ารดำำ�เนิินโครงการ ARCH Project รวมถึึง
ปรัับเป้้าหมายกิิจกรรมและตััวชี้้�วัด ั ให้้มีค ี วามเป็็นไปได้้และสอดคล้้องกัับสถานการณ์์ปัจ ั จุุบัน ั โดยปรัับกิจ ิ กรรมการประชุุมและ การสััมมนาวิิชาการให้้เป็็นรููปแบบการประชุุมผ่า่ นระบบ Video Conference อย่่างไรก็็ตาม แม้้จะเกิิดสถานการณ์์การแพร่่ระบาด
ของโรค COVID-19 สพฉ.ยัังคงดำำ�เนิินการประสานความร่่วมมืือเพื่่� อพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินระหว่่างประเทศอย่่าง ต่่อเนื่่� อง ดัังนี้้�
49
รายงานประจำำ�ปีี 2564
1. มีีการจัั ดทำำ�แผนปฏิิ บััติิการพััฒนาภาคีี เครืือข่่ายด้้ านการแพทย์์ฉุุกเฉิินในระดัั บอาเซีียน ตามแผนงานประเด็็ น
ความร่่วมมืือที่่� 12 การจััดการภััยพิบั ิ ติ ั ท ิ างการแพทย์์และสาธารณสุุข (Health Priority 12 Disaster Health Management)
ภายใต้้กลุ่่�มประเด็็นสุุขภาพที่่� 2 เรื่่�องการตอบโต้้อัันตรายและภััยคุุกคามต่่างๆ (Health Cluster 2 Responding to All Hazards and Emerging Threats) ประจำำ�ปีี 2564 - 2568 (ASEAN Health Cluster 2 : Work Programme 2021 – 2025) โดยผ่่านการพิิจารณาเห็็นชอบจากที่่�ประชุุมกลุ่่�มประเด็็นสุุขภาพที่่� 2 เรื่่�องการตอบโต้้อัน ั ตรายและภััยคุก ุ คามต่่าง ๆ ครั้้�งที่่� 6
(6th Meeting of ASEAN Health Cluster 2 on Responding to All Hazards and Emerging Threats) เมื่่�อวัันที่่� 24 - 26 พฤศจิิกายน 2563 ณ กรุุ งมนิิลา สาธารณรััฐฟิิลิิปปิินส์์
2. สพฉ. ได้้ส่ง่ ผู้้�แทนเข้้าร่่วมประชุุมหารืือที่่�มีเี นื้้� อหาเกี่่�ยวข้้องกัับการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในระดัับอาเซีียน จำำ�นวน 10 ครั้้�ง ดัังนี้้� (1) 1st Online Project Working Group 1 Conference เมื่่�อวัันที่่� 1 ตุุลาคม 2563 ผ่่านระบบ Video Conference
(2) 1st Online Project Working Group 2 Conference เมื่่�อวัันที่่� 20 ตุุลาคม 2563 ผ่่านระบบ Video Conference
(3) ประชุุ มกลุ่่�มประเด็็ นสุุขภาพที่่� 2 เรื่่�องการตอบโต้้ อัันตรายและภัั ยคุุกคามต่่ าง ๆ ครั้้� งที่่� 6 (6th Meeting of ASEAN Health Cluster 2 on Responding to All Hazards and Emerging Threats) ระหว่่างวัันที่่� 24 – 26
พฤศจิิกายน 2563 ณ กรุุงมนิิลา สาธารณรััฐฟิลิ ิ ิปปิินส์์ ผ่่านระบบ Video Conference
(4) ประชุุมคณะกรรมการจััดการด้้านสุุขภาพกรณีีภััยพิิบััติิระดัับอาเซีียน ครั้้�งที่่� 2 (2nd Regional Collaboration Committee on Disaster Health Management: RCC-DHM) เมื่่�อวัันที่่� 9 ธัันวาคม 2565 ผ่่านระบบ Video
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 4 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
Conference
(5) 2nd Online Project Working Group 2 Conference เมื่่�อวัันที่่� 22 ธัันวาคม 2564 ผ่่านระบบ Video Conference (6) 2nd Online Project Working Group 1 Conference เมื่่�อวัันที่่� 23 ธัันวาคม 2564 ผ่่านระบบ Video Conference
(7) 18th Meeting of State Parties on the Anti-Personnel Mine Ban Convention ระหว่่ างวัั นที่่� 16 - 20 พฤศจิิกายน 2563 ด้้วยระบบออนไลน์์
(8) Victim Assistance of the Anti-Personnel Mine Ban Convention เมื่่�อวัันที่่� 4 ธัันวาคม 2563 ด้้วยระบบออนไลน์์ (9) ประชุุม Intersessional Meeting on Victim Assistance เมื่่�อวัันที่่� 22 มิิถุน ุ ายน 2564 ด้้วยระบบออนไลน์์
(10) ประชุุม WHO Regional Committee for Southeast Asia (RC74) ระหว่่างวัันที่่� 6-10 ก.ย. 64 ด้้วยระบบออนไลน์์
3. มีีการจััดการฝึึกอบรม แลกเปลี่่�ยนองค์์ความรู้้�ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินร่่วมกัับต่่างประเทศ จำำ�นวน 3 ครั้้�ง ดัังนี้้�
(1) Webinar on Good Practice on Medical Response Against COVID-19 เมื่่�อวัันที่่� 8 พฤศจิิกายน 2563 ผ่่าน ระบบการประชุุมทางไกล (Video Conference)
(2) การประชุุม Helicopters Emergency Medical Services (HEMS) webinar series ผ่่านระบบการประชุุมทางไกล (Video Conference) จำำ�นวน 3 ครั้้�ง - ครั้้�งที่่� 1 วัันที่่� 10 ธัันวาคม 2563 - ครั้้�งที่่� 2 วัันที่่� 20 มกราคม 2564
- ครั้้�งที่่� 3 วัันที่่� 3 กุุมภาพัันธ์์ 2564
(3) ประชุุมสำำ�รวจข้้อมููลในการพััฒนาศัักยภาพทางด้้านการบริิหารจััดการภััยพิิบััติิทางการแพทย์์และสาธารณสุุข ของสาธารณรััฐเวีียดนาม ในวัันที่่� 1 มีีนาคม 2564 ผ่่านระบบการประชุุมทางไกล (Video Conference)
4. มีีการจััด/ร่่วมจััดประชุุมวิช ิ าการระดัับนานาชาติิเพื่่� อแลกเปลี่่�ยนองค์์ความรู้้�ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในระดัับนานาชาติิ ปีี 2564 จำำ�นวน 2 ครั้้�ง ดัังนี้้�
(1) APAC Ambulance Officer Webinar เมื่่�อวัันที่่� 24 พฤศจิิกายน 2563 ณ โรงแรมเซนทาราแกรนด์์ ลาดพร้้าว (โดยสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิร่ว ่ มกัับบริษั ิ ัท Zoll Medical)
(2) 2nd Webinar on Good Practice on Medical Response Against COVID-19 Outbreak เมื่่�อวัันที่่� 8 ธัันวาคม 2564 ผ่่านระบบ Video Conference
5. มีีการจััดทำำ�ความตกลงระหว่่างประเทศที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับความร่่วมมืือด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินระหว่่างประเทศฯ ดัังนี้้�
(1) Project for Strengthening the ASEAN Regional Capacity on Disaster Health Management ข้้อตกลง การขยายเวลาการดำำ�เนิินงาน ARCH project ระยะที่่�สอง ระหว่่างวัันที่่� 1 เมษายน – 31 ธัันวาคม 2564 ระหว่่าง JICA
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ และกระทรวงสาธารณสุุข
(2) Memorandum of Understanding (MOU) between the National Institute for Emergency Medicine (NIEM) and the Asian Disaster Preparedness Center (ADPC) หรืือบัันทึึกความเข้้าใจระหว่่าง สถาบัันการแพทย์์
ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ และ Asian Disaster Preparedness Center (ADPC)
50
การพััฒนาการสื่่�อสารสาธารณะในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสู่่�ประชาชน การคุ้้�มครองสิิทธิิผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินให้้เข้้าถึึงระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินอย่่างทั่่�วถึึง เท่่าเทีียม มีีคุณ ุ ภาพมาตรฐาน โดยได้้รับ ั
การช่่วยเหลืื อและรัักษาพยาบาลที่่� มีีประสิิทธิิภาพและทัั นท่่ วงทีี ภารกิิ จหนึ่่�งที่่� สำำ�คััญ นอกเหนืือจากการจัั ดให้้มีีระบบ ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินที่่�ได้้มาตรฐานมีีคุุณภาพแล้้ว การสื่่�อสารและประชาสััมพัันธ์์ ประชาชนทั่่� วไป กลุ่่�มเสี่่�ยง ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน
และบุุคลากรในระบบให้้มีค ี วามรอบรู้้�ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เช่่น ภาวะฉุุกเฉิินโรค ถึึงการดููแลปฐมพยาบาลตนเองและผู้้�อื่่�น รวมถึึงการร้้องขอความช่่วยเหลืือ และการเข้้าถึึงบริิการที่่�เหมาะสมอย่่างทัันท่่วงทีี เพื่่� อป้้องกัันบรรเทาความรุุ นแรงและ
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ยุุทธศาสตร์์ที่่� 5
ความเสีียหายแก่่ชีวิ ี ิตของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน
สพฉ. ได้้จัดกิ ั จ ิ กรรมการประชาสััมพัน ั ธ์์และผลิิตสื่่�อประชาสััมพัน ั ธ์์ในรููปแบบต่่างๆ เพื่่� อเผยแพร่่ทางสื่่�อต่่างๆ ทั้้�ง On
Ground Media สื่่�อมวลชล/ สื่่�อดิิจิทั ิ ล ั รวมถึึงช่่องทาง Online และ Social Media รวมทั้้�งการเฝ้้าระวััง ประเมิินและติิดตาม ข้้อมููลข่่าวสาร
- การเฝ้้าระวััง ติิดตามและวิิเคราะห์์ข้อ ้ มููลข่่าวสารที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและข่่าวสารที่่�ส่ง่ ผลกระทบ และวิิเคราะห์์สถานการณ์์ข่า่ วที่่�มีผ ี ลกระทบต่่อสถาบััน
- การสื่่�อสารและสร้้างการมีีส่ว่ นร่่วมกัับสื่่�อมวลชนในการจััดทำ�ข่ ำ า่ วประชาสััมพัน ั ธ์์ในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินรููปแบบ ต่่างๆ ได้้ดำ�ำ เนิินการจััดงานแถลงข่่าว จำำ�นวน 1 ครั้้�ง
- กิิจกรรมประชาสััมพัน ั ธ์์ในรููปแบบห้้องข่่าว EMS เพื่่� อเป็็นช่่องทางการสื่่�อสารกัับผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินและประชาชน ทั่่�วไป โดยการจััดทำ�ำ 1669 Channal
- จััดให้้มีก ี ารผลิิตและเผยแพร่่สื่่�อประชาสััมพัน ั ธ์์ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน การป้้องกัันการเจ็็บป่ว่ ยฉุุกเฉิิน และสายด่่วน เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิิน 1669 ในรููปแบบสื่่� อต่่างๆ เช่่น มีีแอปพลิิเคชั่่�น 1669 สำำ�หรัับประชาชนที่่�สามารถใช้้ในการเรีียก 1669 การแนะนำำ�การให้้การช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินเบื้้� องต้้น สามารถรู้้�พิิกััด ณ จุุดเกิิดเหตุุได้้ และถ่่ายภาพส่่งได้้
เป็็นต้้น การทำำ�ออนไลน์์สอนการช่่วยฟื้้�นคืืนชีีพ (CPR) และการใช้้เครื่่�อง AED ที่่�ถููกต้้อง เพื่่� อเป็็นการให้้ความรู้้�แก่่
ประชาชน การจััดทำำ�คลิิปวิิดีีโอในการหลีีกทางให้้กัับรถพยาบาลฉุุกเฉิินในกรณีีที่่�มีีผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน การผลิิตสื่่�อเพื่่� อ
ส่่งเสริิม สื่่�อสาร และประชาสััมพัน ั ธ์์การรัับรู้้�ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในมิิติต่ ิ า่ งๆ แก่่ประชาชนทั่่�วไป ในช่่วงสถานการณ์์ การแพร่่ระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (covid-19)
ำ คััญ : ยุุทธศาสตร์์ที่่� 5 ผลการดำำ�เนิินงานที่่สำ � �
ต่่อภาพลัักษณ์์องค์์กรจากหลากหลายช่่องทาง ได้้ดำำ�เนิินการจััดจ้้างทำำ� Clipping ข่่าว เป็็นรายเดืือน เพื่่� อเฝ้้าระวััง
51
รายงานประจำำ�ปีี 2564
ผลงานเด่่น ประจำำ�ปีี 2564
1
การบููรณาการเพื่่อ � แก้้ไขปััญหาโรคติิดเชื้อ ้� ไวรััสโคโรนา 2019
สถานการณ์์การระบาดโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ที่่�เกิิดขึ้้�นตั้้�งปีี 2563 ได้้ส่่งผลกระทบอย่่างกว้้างขวางและ
รุุ นแรงในเกืือบทุุกประเทศทั่่� วโลกรวมถึึงประเทศไทย การแพร่่ระบาดของโรคอย่่างรุุ นแรงและต่่อเนื่่� อง มิิได้้ เป็็นเพีียง
วิิกฤตการณ์์ทางสาธารณสุุขเท่่านั้้�น แต่่ได้้ส่ง่ ผลกระทบไปถึึงมิิติด้ ิ า้ นเศรษฐกิิจ สัังคม การใช้้ชีวิี ต ิ ของประชากร และโดยเฉพาะ อย่่างยิ่่�งต่่อทิิศทางการพััฒนาประเทศในระยะต่่อไปในทุุกด้้านอย่่างมีีนัยสำ ั �คั ำ ัญ
ประเทศไทยเกิิดสถานการณ์์การระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ระลอกใหม่่ขึ้้�น ในปีี 2564 เริ่่�มตั้้�งแต่่
ผลงานเด่่น
เดืือนมีีนาคม 2564 เป็็นต้้นมา รััฐบาลจึึงได้้ออกข้้อกำำ�หนด ตามมาตรา 9 แห่่ง พรก.บริิหารราชการในสถานการณ์์ฉุุกเฉิิน พ.ศ. 2548 ฉบัับที่่� 20 กรณีีโรคติิดเชื้้�อโควิิด 19 และออกประกาศ เรื่่�อง การกำำ�หนดอำำ�นาจหน้้าที่่�ของรััฐมนตรีีตามกฎหมาย
เป็็นอำำ�นาจหน้้าที่่�ของนายกรััฐมนตรีี (ฉบัับที่่� 3) ลงวัันที่่� 27 เมษายน พ.ศ. 2564 และประกาศ เรื่่�อง หลัักเกณฑ์์ที่่�นายก
รััฐมนตรีีกำ�ห ำ นด ตามประกาศ เรื่่�อง การกำำ�หนดอำำ�นาจหน้้าที่่�ของรััฐมนตรีีตามกฎหมายเป็็นอำำ�นาจหน้้าที่่�ของนายกรััฐมนตรีี
(ฉบัับที่่� 3) ลงวัันที่่� 29 เมษายน พ.ศ. 2564 หลัังจากนั้้�นจึึงมีีคำำ�สั่่�งนายกรััฐมนตรีี ที่่� 6/2564 เรื่่�อง จััดตั้้�งศููนย์์บููรณาการ แก้้ไขสถานการณ์์โควิิด 19 ในพื้้� นที่่�กรุุงเทพมหานครและปริิมณฑล ลงวัันที่่� 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 และคำำ�สั่่ง� นายกรััฐมนตรีี ที่่� 7/2564 เรื่่�อง แต่่งตั้้�งคณะกรรมการเฉพาะกิิจเพื่่� อการบููรณาการด้้านการแพทย์์และสาธารณสุุข ลงวัันที่่� 5 พฤษภาคม 2564
อย่่างไรก็็ตาม สถานการณ์์ยังั มีีแนวโน้้มจำ�ำ นวนผู้้�ติด ิ เชื้้�อทั้้�งสะสมและรายใหม่่เพิ่่�มจำ�ำ นวนขึ้้�นอย่่างต่่อเนื่่� อง การระบาด
ได้้แพร่่กระจายออกไปในหลายพื้้� นที่่�ทั่่�วประเทศอย่่างรวดเร็็ว โดยเฉพาะในพื้้� นที่่�กรุุงเทพมหานครและปริิมณฑลมีีคลััสเตอร์์
ใหม่่ๆ เกิิดขึ้้น � า้ นจำำ�นวนมาก ในการประชุุมเตรีียมความพร้้อม � อย่่างต่่อเนื่่� อง ส่่งผลให้้ผู้้�ป่ว่ ยสะสม ผู้้�ป่่วยรายใหม่่ตกค้้างอยู่่�ที่่บ้ ด้้ า นการรัั ก ษาพยาบาลและป้้ อ งกัั น การติิ ด เชื้้� อ ในโรงพยาบาล ในเขตกรุุ ง เทพมหานคร ของกลุ่่�มภารกิิ จ ปฏิิ บัั ติิ ก าร
ด้้ านการจัั ดการเตีี ยงและรัักษาพยาบาล เพื่่� อบููรณาการการบริิหารจัั ดการให้้ผู้้�ป่่วยได้้ รัับการรัักษาที่่� รวดเร็็วเหมาะสม
ตามระดัับความรุุ นแรงของโรค กระทรวงสาธารณสุุขจึึงมีีข้้อสั่่�งการ เมื่่�อวัันที่่� 16 เมษายน 2564 มอบให้้ สพฉ. บริิหาร จัั ด การนำำ �ส่่ ง ผู้้�ป่่ ว ยโรคติิ ด เชื้้� อไวรัั ส โคโรนา 2019 ไปยัั ง โรงพยาบาลสนาม hospital และเป็็ น ศููนย์์ สั่่� ง การจัั ด ระบบ การรัั บส่่ ง ผู้้�ป่่ ว ยจากบ้้ า นไปโรงพยาบาลสนาม โดยให้้ ป ฏิิ บัั ติิ ง านร่่ ว มกัั บ กรมการแพทย์์ สปสช. และศููนย์์ เ อราวัั ณ
เพื่่� อให้้การดำำ�เนิินการตอบสนองต่่อภารกิิจที่่�ได้้รัับมอบหมายทั้้�งภารกิิจการปฏิิบััติิการนำำ�ส่่งผู้้�ติิดเชื้้�อและผู้้�ป่่วยโรคติิดเชื้้�อ ไวรััสโคโรนา 2019 สพฉ. จึึงได้้มีีคำำ�สั่่�งสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิที่่� 48/2564 เรื่่�อง จััดตั้้�งศููนย์์ปฏิิบััติิการสนัับสนุุน การปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ (ศปก.สพฉ.) กรณีีโรคปอดอัักเสบจากเชื้้�อไวรััสโคโรนาสายพัันธุ์์�ใหม่่ เพื่่� อ สนัั บ สนุุ น ให้้ ก ารปฏิิ บัั ติิ ก ารด้้ า นการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ทั่่� ว ประเทศ ให้้ ส ามารถปฏิิ บัั ติิ ง านได้้ โ ดยผู้้�ปฏิิ บัั ติิ ง านปลอดภัั ย ผู้้�ป่่วยปลอดภััย และสัังคมปลอดภััย รวมทั้้�งสนัับสนุุนให้้การปฏิิบัติ ั ก ิ ารที่่� สพฉ. ได้้รับม ั อบหมายดำำ�เนิินงานอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ และประสิิทธิิผล โดยได้้ดำำ�เนิินการ ดัังนี้้�
(1) จััดตั้้�งชุุดปฏิิบัติ ั ิการหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการ (ชั่่�วคราว)
(2) จััดอบรมจิิตอาสา เป็็นผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน (ชั่่�วคราว) เพื่่� อเตรีียมความพร้้อมของผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการในการปฏิิบัติ ั ิงาน ให้้มีีความปลอดภัั ย เช่่น การสวมและถอดชุุ ด PPE การปฏิิ บััติิตััวที่่� ถููกวิิ ธีีทั้้� งก่่ อนและหลัั งออกปฏิิ บััติิการ
การช่่วยฟื้้�นคืืนชีีพ และการใช้้เครื่่�อง AED
52
เครืือข่่ายที่่�มีค ี วามพร้้อม ทั้้�งเครืือข่่ายรถพยาบาลของมููลนิิธิต่ ิ ่างๆ ทั้้�งใน กทม. และจัังหวััดใกล้้เคีียง รวมไปถึึง
บริิษััทรถพยาบาลเอกชนต่่างๆ และกองทััพภาคที่่� 1 ร่่วมปฏิิบัติ ั ิการ
(4) การจััดหางบประมาณในการบริิหารจััดการการนำำ�ส่่งผู้้�ป่่วยโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ไปยัังโรงพยาบาล และการส่่งกลัับภููมิลำ ิ �ำ เนา การสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน กรณีีการฉีีดวัค ั ซีีน COVID-19 นอกสถานพยาบาล
จากสถานการณ์์ดัังกล่่าว ส่่งผลให้้หน่่วยปฏิิบััติิการ ชุุดปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน ผู้้�ปฏิิบััติิการที่่�มีีอยู่่�ในระบบไม่่เพีียงพอ
ต่่อการรัับ – ส่่งผู้้�ป่่วย ผู้้�ติิดเชื้้�อไปยัังโรงพยาบาล โรงพยาบาลสนาม/hospital และเพื่่� อไม่่ต้้องการให้้กระทบต่่อระบบ
ปฏิิบััติิฉุุกเฉิินที่่�ต้้องให้้บริิการในระบบปกติิ สพฉ. จึึงมีีความจำำ�เป็็นต้้องระดมทรััพยากรนอกระบบปฏิิบััติิการฉุุกเฉิินมา สนัับสนุุนในการปฏิิบัติ ั ิการ และคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินได้้มีม ี ติิในการประชุุมครั้้�งที่่� 4/2564 เมื่่�อวัันที่่� 28 เมษายน 2564 เห็็นชอบให้้ดำำ�เนิินการ ดัังนี้้�
(1) มอบหมายให้้ สพฉ. ปฏิิบัติ ั ิการตามคำำ�สั่่�งกระทรวงสาธารณสุุข ที่่� 1380/2563
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
(3) การจััดเตรีียมรถในการรัับและนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยติิดเชื้้�อไปยัังโรงพยาบาลหรืือส่่งกลัับภููมิลำ ิ �ำ เนา โดยประสานหน่่วยงาน
(2) เห็็นชอบให้้บุค ุ คลอื่่� นนอกเหนืือจากผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ ารตามที่่� กพฉ. กำำ�หนด และมาปฏิิบัติ ั งิ านสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ก ิ าร ฉุุกเฉิิน กรณีีโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 โดยต้้องผ่่านการฝึึกอบรมตามที่่� สพฉ. กำำ�หนด และปฏิิบััติิงาน
ภายใต้้คำำ�สั่่�งของสพฉ. ให้้เป็็นผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการ (อาสาสมััครฉุุกเฉิินการแพทย์์ชั่่�วคราว)
(3) เห็็นชอบให้้ชุด ุ ปฏิิบัติ ั ก ิ าร หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ าร นอกเหนืือจากที่่�เคยขึ้้�นทะเบีียนและปฏิิบัติ ั งิ านตามที่่� สพฉ. กำำ�หนด และมาปฏิิบัติ ั งิ านสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน กรณีีโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 โดยต้้องผ่่านการประเมิิน
ตามที่่� สพฉ.กำำ�หนด และปฏิิบัติ ั ิงานภายใต้้คำำ�สั่่�งของ สพฉ. เป็็นชุุดปฏิิบัติ ั ิการ หน่่วยปฏิิบัติ ั ิการ (ชั่่�วคราว)
(4) เห็็ น ชอบกรอบวงเงิิ น ค่่ า ใช้้ จ่่ า ย เพื่่� อ สนัั บ สนุุ น การปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น กรณีี โ รคติิ ด เชื้้� อ ไวรัั ส โคโรนา 2019 จำำ�นวน 27,184,587 บาท จากโครงการเงิินกู้้� เงิินสะสมกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
และเงิินบริิจาค
ผลงานเด่่น ทั้้�งนี้้� ในการประชุุมศููนย์์บููรณาการแก้้ไขสถานการณ์์โควิิด 19 ในพื้้� นที่่�กรุุ งเทพมหานครและปริิมณฑล เมื่่�อวัันที่่�
12 พฤษภาคม 2564 มีีมติิมอบให้้ สพฉ. ให้้ดำำ�เนิินการรัับแจ้้งเหตุุเกี่่�ยวกัับผู้้�ป่ว ่ ย การอำำ�นวยความสะดวก การบริิการขนย้้าย ลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วย และการประชุุมศููนย์์บููรณาการแก้้ไขสถานการณ์์โควิิด 19 ในพื้้� นที่่�กรุุงเทพมหานครและปริิมณฑล เมื่่�อวัันที่่�
19 พฤษภาคม 2564 มีีมติิมอบให้้ สพฉ. สนัับสนุุนรถฉุุกเฉิินและชุุดปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน สำำ�หรัับการเตรีียมความพร้้อมด้้าน
การแพทย์์ฉุุกเฉิินในจุุดฉีีดวััคซีีน เนื่่� องจากสถานการณ์์การระบาดไม่่คลี่่�คลาย การได้้รัับมอบหมายภารกิิจเพิ่่�มเติิม ทำำ�ให้้ กรอบวงเงิินค่่าใช้้จ่่ายและแหล่่งงบประมาณที่่�มีีไม่่เพีียงพอต่่อการขัับเคลื่่�อนภารกิิจดัังกล่่าว สพฉ. จึึงได้้นำำ�เสนอต่่อคณะ กรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน (กพฉ.) ในการประชุุม ครั้้�งที่่� 5/2564 เมื่่�อวัันที่่� 27 พฤษภาคม 2564 และมีีมติิ ดัังนี้้�
53
รายงานประจำำ�ปีี 2564
(1) มอบ สพฉ. ดำำ�เนิินการตามประกาศ หรืือคำำ�สั่่�งที่่�เกี่่�ยวข้้อง
(2) เห็็นชอบให้้มีก ี ารสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน กรณีีเตรีียมพร้้อม ณ จุุดฉีดวั ี ัคซีีนนอกสถานพยาบาล
(3) เห็็นชอบกรอบวงเงิินที่่�ขอรัับการจััดสรรงบกลางฯ เพิ่่�มเติิม จำำ�นวน 127,820,000 บาท เพื่่� อเสนอให้้รััฐบาล พิิจารณาจััดสรรต่่อไป
สพฉ. ได้้ดำ�ำ เนิินการบริิหารจััดการในการนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ไปยัังโรงพยาบาลสนาม/hospital
โดยได้้จััดทำำ�แนวปฏิิบัติ ั ิในการปฏิิบัติ ั ิการนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 มีีการอบรมให้้ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการผ่่านหลัักสููตร
ที่่� สพฉ. กำำ�หนดในการฝึึกพิิทัก ั ษ์์บุค ุ คลจากการติิดเชื้้�อโรคติิดต่อ ่ อัันตรายและความปลอดภััยของผู้้�ป่่วย ทำำ�ให้้มีชุ ี ด ุ ปฏิิบัติ ั ก ิ าร ฉุุ ก เฉิิ น ที่่� พ ร้้ อ มปฏิิ บัั ติิ ง านนำำ �ส่่ ง ผู้้�ป่่ ว ยโรคติิ ด เชื้้� อ ไวรัั ส โคโรนา 2019 ทั่่� ว ประเทศ จำำ � นวน 12,306 ชุุ ด อย่่ า งไรก็็ ต าม จำำ�นวนหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการ ชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน ชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินพิิเศษ (SCOT) ที่่�มีอ ี ยู่่ใ� นระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินดัังกล่่าว
มีีไม่่เพีียงพอในการรัับ - ส่่งผู้้�ป่่วย/ผู้้�ติิดเชื้้�อไปยัังรพ./รพ.สนาม/hospital รวมทั้้� งไม่่ต้้องการให้้กระทบต่่อระบบปฏิิบััติิ การฉุุกเฉิินที่่�ต้้องให้้บริิการในระบบปกติิ จึึงมีีความจำำ�เป็็นต้้องระดมทรััพยากรนอกระบบปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน มาสนัับสนุุน
ในการปฏิิบััติิการครั้้�งนี้้� โดยทรััพยากรนอกระบบที่่�สนัับสนุุนการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน ในการลำำ�เลีียงนำำ�ส่่งผู้้�ป่่วยโรคติิดเชื้้�อ ไวรััสโคโรนา 2019 ได้้แก่่ รถพยาบาลเอกชน หน่่วยงานรััฐ เช่่น ทหาร ตำำ�รวจ กระทรวงพััฒนาสัังคมและความมั่่�นคงของมนุุษย์์ หน่่วยงานเอกชน เช่่น บริิษััทรถพยาบาลเอกชน ห้้างร้้าน และประชาชนทั่่� วไปที่่�มีีจิิตอาสา และต้้องผ่่านการฝึึกพิิทัักษ์์
บุุคคลจากการติิดเชื้้�อโรคติิดต่่ออัันตรายและความปลอดภััยของผู้้�ป่่วยตามที่่� สพฉ. กำำ�หนด และปฏิิบััติิงานภายใต้้คำำ�สั่่�ง ของ สพฉ. จำำ�นวน 128 ทีีม รายละเอีียดดัังตาราง
ผลงานเด่่น
ประเภทชุุด
จำำ�นวนชุุดที่่พ � ร้้อมปฏิิบัติ ั ิงาน
1. ชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินระดัับสููงหรืือชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินระดัับสููงพิิเศษ (ALS/ALS SCOT)
3,005
2. ชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินระดัับพื้้�นฐานหรืือชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินระดัับ พื้้� นฐานพิิเศษ (BLS/BLS SCOT)
3. ชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินระดัับต้้นหรืือชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินระดัับต้้นพิิเศษ (FR/FR SCOT) 4. ชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิิน (ชั่่�วคราว)
2,570 6,731 128
รวม
12,434
ตารางแสดงจำำ�นวนชุุดปฏิิบัติ ั ิการประเภทต่่างๆ ที่่ส � นัับสนุุนการนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019
สำำ�หรัับภารกิิจการสนัับสนุุนการปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน กรณีีเตรีียมพร้้อม ณ จุุดฉีีดวััคซีีนนอกสถานพยาบาล มีีการ
ออกประกาศแนวทางการจััดระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน เพื่่� อรองรัับอาการไม่่พึึงประสงค์์จากการฉีีดวััคซีีนป้้องกัันโรคติิดเชื้้�อ ไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรณีีการฉีีดวัค ั ซีีนจำำ�นวนมากนอกโรงพยาบาล พ.ศ. 2564 โดยสนัับสนุุนรถและทีีมปฏิิบัติ ั ก ิ าร
ฉุุกเฉิิน เพื่่� อสนัับสนุุนการจััดบริิการฉีีดวััคซีีนในพื้้� นที่่�ต่่างๆ และให้้เป็็นไปตามมาตรการป้้องกัันโรคโควิิด 19 เช่่น ณ จุุดฉีีด วััคซีีนนอกโรงพยาบาล ได้้แก่่สำ�นั ำ ก ั งานปลััดกระทรวงสาธารณสุุข สถานีีกลางบางซื่่�อ และ เดอะมอลล์์บางแค
นอกจากนี้้� สพฉ. ยัังสนัับสนุุนภารกิิจองค์์กรด้้านการปฏิิบัติ ั ิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ช่่วงสถานการณ์์การแพร่่ระบาด
โควิิด-19 โดยนำำ�รถสื่่�อสารเฉพาะกิิจ รถสื่่�อสารดาวเทีียม และทีีมสื่่�อสารเฉพาะกิิจออกปฏิิบััติิหน้้าที่่� ณ ศููนย์์แรกรัับและ
ส่่งต่่อกระทรวงสาธารณสุุข อาคารนิิมิิบุุตร โดยทำำ�หน้้าที่่�เป็็นผู้้�ประสานงานในการจััดรถพยาบาล รัับ - ส่่งผู้้�ป่่วยที่่�ติิดเชื้้�อ Covid - 19 จากบ้้านพัักมาสู่่�ศููนย์์แรกรัับฯ และนำำ�ส่ง่ จากศููนย์์แรกรัับฯ และส่่งต่่อไปยัังโรงพยาบาลสนาม หรืือ Hospitel ต่่างๆ
ตามที่่�ได้้รัับการประสานงานจากกระทรวงสาธารณสุุข เพื่่� อให้้บรรลุุเป้้าหมายในภารกิิจ โดยเริ่่�มดำำ�เนิินการตั้้�งแต่่วัันที่่� 29 เมษายน – 30 กัันยายน 2564 เป็็นเวลา 155 วััน ผลการปฏิิบััติิหน้้าที่่� สามารถนำำ�ส่่งผู้้�ป่่วยตามที่่�กรมการแพทย์์ร้้องขอ สนัับสนุุนได้้ 100% ไม่่มีีผู้้�ป่่วยตกค้้างในวัันนั้้�นๆ
54
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ผลการดำำ�เนิินงานในสถานการณ์์โรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของ สพฉ. 1. ผลการปฏิิบัติ ั ิงานนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยจากบ้้าน ส่่งโรงพยาบาลสนามในเขต กทม. และปริิมณฑล ตั้้�งแต่่ 19 เมษายน - 30
กัันยายน พ.ศ. 2564 จำำ�นวน 19,961 ราย โดยนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยจากบ้้านไปยัังสถานพยาบาล จำำ�นวน 10,361 ราย และนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยจากสถานพยาบาล จำำ�นวน 9,600 ราย
2. ผลการประสานการนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยในเขตกรุุงเทพมหานครและปริิมณฑลกลัับภููมิลำ ิ ำ�เนา ต่่างจัังหวััด ตั้้�งแต่่วัันที่่� 21
กรกฎาคม - 30 กัันยายน พ.ศ. 2564จำำ�นวน 1,534 ราย และปฏิิบัติ ั ิการโดยรถตู้้� จำำ�นวน 583 ราย รถบััส จำำ�นวน 925 ราย และรถไฟ จำำ�นวน 26 ราย และนำำ�ส่ง่ กลัับภููมิลำ ิ ำ�เนา โดยชุุดปฏิิบัติ ั ิการส่่วนภููมิิภาค 173,599 ราย
3. ผลการนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วย COVID-19 ทั่่�วประเทศในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทั้้�งสิ้้�น 134,758 ราย
ผลการนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วย COVID-19 ทั่่�วประเทศในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
55
รายงานประจำำ�ปีี 2564 4. การจััดทำำ�คู่�มื ่ อ ื แนวทางการปฏิิบัติ ั ิของชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินพิิเศษ จำำ�นวน 5 ฉบัับ ดัังนี้้�
- จััดทำำ�และปรัับปรุุงคู่่�มือ ื แนวทางปฏิิบัติ ั ิของชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินพิิเศษ Special COVID-19 Operation Team : SCOT
- คู่่�มือ ื แนวทางการปฏิิบัติ ั แ ิ ละการจ่่ายเงิินชดเชยปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน กรณีีโรคติิดเชื้้�อ ไวรััสโคโรนา 2019 ในเขตกรุุงเทพและปริิมณฑล
- คู่่�มือ ื แนวทางการปฏิิบัติ ั แ ิ ละการจ่่ายเงิินชดเชยปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน กรณีีโรคติิดเชื้้�อ
ไวรััสโคโรนา 2019 ในระดัับจัังหวััด
- คู่่�มือ ื แนวทางการปฏิิบัติ ั แ ิ ละการจ่่ายเงิินการปฏิิบัติ ั ฉุ ิ ก ุ เฉิินสนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน กรณีีโรคติิดเชื้้�อไวรััส
โคโรนา 2019 ส่่งต่่อผู้้�ป่่วยกลัับภููมิลำ ิ ำ�เนา
- แนวทางการจััดระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เพื่่� อรองรัับอาการไม่่พึึงประสงค์์จากการฉีีดวััคซีีนป้้องกัันโรคติิดเชื้้�อ
ไวรััสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรณีีการฉีีดวััคซีีนจำำ�นวนมาก นอกโรงพยาบาล
5. การปฏิิบััติิการด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิินในการช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วย ในสถานการณ์์น้ำ�ท่ ำ ่วม สพฉ. ได้้ระดมทรััพยากร
ผลงานเด่่น
ผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ าร หน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ าร หรืือสถานพยาบาลเข้้าสนัับสนุุนท้้องถิ่่�นหรืือพื้้� นที่่�เพื่่� อช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินตามเกณฑ์์วิธี ิ ก ี าร ที่่� สพฉ. กำำ�หนด พร้้อมทั้้�งจััดชุดอุ ุ ป ุ กรณ์์สวมใส่่ให้้เกิิดความปลอดภััย เช่่น เสื้้�อชููชีีพ เสื้้�อกัันฝนและอื่่�นๆ ทั้้�งนี้้� หากผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ าร
หน่่วยปฏิิบัติ ั ิการ ไม่่เพีียงพอ จะจััดให้้มีผู้้� ี ปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินชั่่�วคราว หรืือหน่่วย/ชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินชั่่�วคราว ในการดำำ�เนิิน การดัังกล่่าว
6. ประสานความร่่วมมืือกัับมููลนิธิ ิ เิ ทมาเสก อิินเตอร์์เนชั่่�นเนล ประเทศสิิงค์์โปร์์ให้้ความช่่วยเหลืือผู้้�ปฏิิบัติ ั ิงานและ
บุุคลากรสาธารณสุุขที่่�ต้้องปฏิิบัติ ั ิงานในภาวะภััยพิบั ิ ติ ั ต่ ิ า่ งๆ ในสถานการณ์์การระบาดของเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 มููลนิิธิเิ ท
มาเสกได้้แสดงความจำำ�นงในการให้้ความช่่วยเหลืือ โดยการมอบเครื่่�องช่่วยหายใจ เครื่่�องผลิิตออกซิิเจน และชุุดอุุปกรณ์์
ป้้องกัันตนเอง เพื่่� อให้้โรงพยาบาลในประเทศไทยได้้ใช้้บำ�ำ บััดรัก ั ษาผู้้�ป่่วยที่่�มีค ี วามต้้องการใช้้เครื่่�องดัั งกล่่ าว โดยได้้ มอบให้้ ปลัั ดกระทรวงสาธารณสุุขรัับมอบไป เมื่่�อวัันที่่� 4 พฤศจิิกายน 2563 จำำ�นวนทั้้�งสิ้้�น 156,285 ชิ้้�น
56
1. ได้้รับ ั ความร่่วมมืือจากเครืือข่่ายรถพยาบาล ได้้แก่่ รถพยาบาลของมููลนิิธิร่ิ ว่ มกตััญญูู รถพยาบาล เอกชน บริิษัท ั Standby Ambulance บริิษัท ั MST Thailand เข้้ามาร่่วมภารกิิจประมาณ ๕๐ คััน
2. บุุคลากรมีีความเข้้มแข็็ง อดทน ภายใต้้แรงกดดัันของสภาวะความเครีียดของผู้้�ป่่วย รวมถึึงญาติิ เจ้้าของสถานประกอบการ ผู้้�นำำ�ชุุมชน ที่่�ต้้องการจะนำำ�ผู้้�ติิดเชื้้�อให้้ออกจากสถานที่่�โดยเร็็ว
3. การได้้ รัั บ สนัั บ สนุุ น วิิ ท ยุุ สื่่� อสาร LTE จากสำำ �นัั ก งานตำำ � รวจแห่่ ง ชาติิ ที่่� มีี ป ระสิิ ท ธิิ ภ าพ ในการประสานงานจึึงสามารถทำำ�งานได้้รวดเร็็ว
4. มีีภาคีีเครืือข่่ายที่่�ดีี โดยบุุคคลากรที่่�ไปปฏิิบััติิงานในภารกิิจนี้้�เป็็นผู้้�ที่่�ไม่่เคยผ่่านประสบการณ์์ สถานการณ์์โรคระบาดมาก่่อน และมาเรีียนรู้้�ร่่วมกัันปฏิิบััติิงานร่่วมกัันจนภารกิิจสำำ�เร็็จลงได้้
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ปััจจััยแห่่งความสำำ�เร็็จ
ด้้วยความเข้้าใจกััน ช่่วยเหลืือกััน เห็็นอกเห็็นใจกััน และมุ่่�งมั่่�นที่่�จะทำำ�ให้้ภารกิิจสำำ�เร็็จ จนเกิิด
เป็็น Connection หลัังจบภารกิิจ
ผลงานเด่่น
57
รายงานประจำำ�ปีี 2564
2
การขัับเคลื่่อ � นรููปแบบการดำำ�เนิินงานและบริิหารจััดการ ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่น ่� ขนาดเล็็ก ประจำำ�ปีง ี บประมาณ 2564
เหตุุผลความเป็็นมา ในปีีงบประมาณ 2564 สพฉ. ได้้นำ�ำ นโยบายของผู้้�บริิหารมาขัับเคลื่่�อนให้้เกิิดเป็็นรููปธรรม เพื่่� อให้้เป็็นไปตาม
ผลงานเด่่น
มาตรา 33 แห่่ ง พระราชบัั ญ ญัั ติิ ก ารแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น พ.ศ. 2551 โดยมีี เ งื่่� อนไขภายใต้้ ป ระกาศคณะกรรมการ ก า ร แ พ ท ย์์ ฉุุ ก เ ฉิิ น เ รื่่� อ ง หลัั ก เ ก ณ ฑ์์ ใ ห้้ อ ง ค์์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่่ ว น ท้้ อ ง ถิ่่� น เ ป็็ น ผู้้�ดำำ� เ นิิ น ง า น แ ล ะ บริิ ห า ร จัั ด ก า ร ระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินในระดัับท้้องถิ่่�น พ.ศ. 2560 ตามข้้อ 5 ให้้สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ประสานหน่่วยงาน
ที่่�เกี่่�ยวข้้อง ส่่งเสริิมสนัับสนุุนให้้องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นขนาดเล็็ก ให้้เป็็นผู้้�ดำำ�เนิินงานหรืือบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ ฉุุกเฉิินท้้องถิ่่�น ตามความพร้้อม ความเหมาะสม และความจำำ�เป็็นของประชาชนในท้้องถิ่่�นนั้้�น ดัังนี้้�
1. ให้้มีก ี ารกำำ�หนดงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินไว้้ในการแบ่่งส่่วนราชการขององค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นนั้้�น
2. จััดให้้มีหน่ ี ว่ ยปฏิิบัติ ั ก ิ ารประเภทช่่วยเวชกรรม ประกอบด้้วยยานพาหนะผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ าร อุุปกรณ์์ และองค์์ประกอบอื่่� น ตามหลัักเกณฑ์์ เงื่่�อนไขและมาตรฐานที่่� กพฉ. กำำ�หนด
3. จััดให้้มีงี บประมาณ เพื่่� อให้้สามารถดำำ�เนิินงานระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินท้้องถิ่่�นนั้้�น ได้้อย่่างต่่อเนื่่� อง ตามหลัักเกณฑ์์ เงื่่�อนไข และมาตรฐานที่่� กพฉ. กำำ�หนด
4. ดำำ�เนิินการเพื่่� อให้้ได้้รับ ั ความเห็็นชอบจากสภาท้้องถิ่่�นหรืือมีีข้อ ้ บััญญััติิการดำำ�เนิินงานและบริิหารจััดการระบบ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินท้้องถิ่่�นนั้้�น
5. บููรณาการความร่่วมมืือกัับองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นอื่่�นหรืือหน่่วยงานหรืือองค์์กรอื่่�นที่่�เกี่่�ยวข้้อง เพื่่�อการดำำ�เนิินงาน
หรืือบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินท้้องถิ่่�นนั้้�น ให้้เป็็นไปตามหลัักเกณฑ์์และเงื่่�อนไขเกี่่�ยวกัับการปฏิิบัติ ั ิ
หน้้าที่่� และมาตรฐานการปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินที่่� กพฉ. กำำ�หนด
6. ดำำ�เนิินงานหรืือบริิหารจััดการเพื่่� อปฏิิบััติิการช่่วยเวชกรรม โดยจััดให้้มีีหน่่วยปฏิิบััติิการประเภทช่่วยเวชกรรม ประกอบด้้วยยานพาหนะ ผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ าร อุุปกรณ์์ ระบบสื่่� อสารและสารสนเทศและองค์์ประกอบอื่่� น ตามหลัักเกณฑ์์ เงื่่�อนไขและมาตรฐานที่่� กพฉ. กำำ�หนด
โดยมีี คณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ซึ่่�งได้้ให้้ความสำำ�คััญต่่อการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในท้้องถิ่่�น จึึงได้้
กำำ�หนดให้้เป็็นเกณฑ์์ชี้้วั � ัดการดำำ�เนิินงานประจำำ�ปีงี บประมาณ 2564 ของ สพฉ.
58
สพฉ. ได้้จััดให้้มีกิ ี ิจกรรมการส่่งเสริิมสนัับสนุุนหน่่วยงานเครืือข่่ายในระดัับและท้้องถิ่่�น ครอบคลุุมหน่ว ่ ยปฏิิบัติ ั ิการ
ผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการในระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินผ่่านผู้้�รัับผิด ิ ชอบงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทั้้�งในสำำ�นัก ั งานสาธารณสุุขจัังหวััดและศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการจัังหวััด ดัังนี้้�
1. ประสานสำำ�นัักงานสาธาณสุุขจัังหวััด ส่่งรายชื่่� อ ตำำ�บล/ท้้องถิ่่�น ที่่�มีีการบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
ให้้มีคุ ี ณ ุ ภาพ ตามข้้อ 5 ให้้สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ประสานหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้อง ส่่งเสริิมสนัับสนุุน
ให้้องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นขนาดเล็็ก ให้้เป็็นผู้้�ดำำ�เนิินงานหรืือบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินท้้องถิ่่�น ตามความพร้้อม ความเหมาะสม และความจำำ�เป็็นของประชาชนในท้้องถิ่่�นนั้้�น
2. ส่่งหนัังสืือแจ้้งถึึงองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นขนาดเล็็กที่่�สำ�นั ำ ก ั งานสาธาณสุุขจัังหวััดแจ้้งรายชื่่� อมาที่่�ผู้้�ประสานงาน
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
การดำำ�เนิินงาน
เขตสุุขภาพ ให้้ส่ง่ ผลงานตามหลัักเกณฑ์์ ข้้อ 5
3. ผู้้�รัับผิด ิ ชอบกิิจกรรมและสำำ�นัก ั ยุุทธศาสตร์์ดำำ�เนิินการตรวจสอบผลงานและความครบถ้้วนสมบููรณ์์ของเอกสาร เพื่่� อให้้เป็็นไปตามเกณฑ์์ที่่�กำำ�หนด
4. สพฉ. จััดทำ�ำ ประกาศสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ เพื่่� อประกาศ รายชื่่� อ แจ้้งให้้ ตำำ�บล/ท้้องถิ่่�น ที่่�มีก ี ารบริิหาร จััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินให้้มีคุ ี ณ ุ ภาพ ประจำำ�ปีี 2564 ทราบผลการพิิจารณา
ผลการดำำ�เนิินงาน
ที่่�มีก ี ารบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินให้้มีคุ ี ณ ุ ภาพ ประจำำ�ปีี 2564 จำำ�นวน 13 แห่่ง มีีดัังนี้้� เขตสุุขภาพที่่� 1
เทศบาลตำำ�บลป่า่ สััก จัังหวััดลำำ�พููน
เขตสุุขภาพที่่� 3
องค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บลวัังแขม จัังหวััดกำำ�แพงเพชร
เขตสุุขภาพที่่� 2 เขตสุุขภาพที่่� 4 เขตสุุขภาพที่่� 5
องค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บลบ้า้ นกร่่าง จัังหวััดพิษ ิ ณุุโลก องค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บลคลองสาม จัังหวััดปทุุมธานีี เทศบาลเมืืองไร่่ขิงิ จัังหวััดนครปฐม
เขตสุุขภาพที่่� 6
องค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บลคลองหิินปููน จัังหวััดสระแก้้ว
เขตสุุขภาพที่่� 8
องค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บลบ้า้ นเอื้้�อง จัังหวััดนครพนม
เขตสุุขภาพที่่� 7 เขตสุุขภาพที่่� 9
ผลงานเด่่น
ผลการพิิจารณารายชื่่� อ ตำำ�บล/ท้้องถิ่่�นขนาดเล็็กกว่่าระดัับจังั หวััด อย่่างน้้อยจำำ�นวน 1 ตำำ�บล/ท้้องถิ่่�นต่่อเขตสุุขภาพ
องค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บลเหนืือเมืือง จัังหวััดร้อ ้ ยเอ็็ด เทศบาลตำำ�บลหัว ั ทะเล จัังหวััดนครราชสีีมา
เขตสุุขภาพที่่� 10 องค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บลคำำ�เขื่่�อนแก้้ว จัังหวััดอำำ�นาจเจริิญ เขตสุุขภาพที่่� 11 เทศบาลตำำ�บลวัังไผ่่ จัังหวััดชุุมพร เขตสุุขภาพที่่� 12 องค์์การบริิหารส่่วนตำำ�บลปากน้ำำ� จัังหวััดสตููล เขตสุุขภาพที่่� 13 เอราวััณ จัังหวััดกรุุงเทพมหานคร
59
รายงานประจำำ�ปีี 2564 ผลงานเด่่น ปััจจััยแห่่งความสำำ�เร็็จ 1. ผู้้�บริิหารในระดัั บตำำ�บลหรืือระดัั บท้้องถิ่่� น ให้้ความสนใจและเห็็นความสำำ�คััญของงาน การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น โดยการกำำ �ห นดให้้ มีี ง านการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ในโครงสร้้ า งขององค์์ ก ร
ตลอดจนให้้การสนัับสนุุนงบประมาณดำำ�เนิินการ
2. ความมุ่่�งมั่่�น ความร่่วมมืือและทุ่่�มเทในงานของผู้้�ปฏิิบััติิงานและชุุดปฏิิบััติิงานขององค์์กร ปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นขนาดเล็็กในการออกปฏิิบัติ ั ิการช่่วยเหลืือ
3. การบริิ ห ารจัั ด การเครืื อ ข่่ า ยการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ในท้้ อ งถิ่่� น จนทำำ � ให้้ เ กิิ ด ความร่่ ว มมืื อ ระหว่่างหน่่วยงานในพื้้� นที่่�
60
ในปีีงบประมาณ 2564 สพฉ. ได้้มีก ี ารส่่งเสริิมสนัับสนุุนให้้พื้้�นที่่�ระดัับจังั หวััดและระดัับเขตสุุขภาพ ให้้เกิิดกระบวนการ
พััฒนาระบบอำำ�นวยการทางการแพทย์์อย่่างต่่อเนื่่� องจากปีีงบประมาณที่่�ผ่า่ นมา เพื่่� อเป็็นการเพิ่่�มศัก ั ยภาพในการดููแลผู้้�ป่่วย หรืือผู้้�บาดเจ็็บ ส่่งผลให้้ลดอััตราความพิิการหรืือเสีียชีวิ ี ิตลงได้้ โดยการมุ่่�งเน้้นให้้เกิิดคุณ ุ ภาพของการดููแลนอกโรงพยาบาล
ผลงานเด่่น
เหตุุผลความเป็็นมา
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
3
การพััฒนาระบบอำำ�นวยการทางการแพทย์์ เกณฑ์์วิธี ิ ี และแนวปฏิิบัติ ั ิ ตามคำำ�สั่่ง ี บประมาณ 2564 � การแพทย์์และการอำำ�นวยการ ประจำำ�ปีง
(Pre hospital care) ซึ่่�งการจััดทำำ�เกณฑ์์วิิธีี และแนวปฏิิบัติ ั ิตามคำำ�สั่่�งการแพทย์์และการอำำ�นวยการ จะเป็็นการจััดทำำ�และ
ประกาศไว้้เป็็นเอกสารด้้วยการกำำ�หนดไว้้ล่ว ่ งหน้้า เพื่่� อเป็็นคำำ�สั่่ง� ประจำำ� ขั้้�นตอนวิิธีก ี าร หรืือเกณฑ์์วิธี ิ ก ี ารปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินให้้ ผู้้�ช่่วยเวชกรรมดำำ�เนิินการหรืือปฏิิบัติ ั ิตามอัันจะทำำ�ให้้ผู้้�ป่ว ่ ยฉุุกเฉิินได้้รับบริ ั ก ิ ารการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่�มีคุ ี ณ ุ ภาพและมาตรฐาน
การดำำ�เนิินงาน 1. ตั้้�งคณะทำำ�งานพััฒนาระบบปฏิิบัติ ั ิการอำำ�นวยการระดัับพื้้�นที่่�
2. จััดประชุุมคณะทำำ�งานพััฒนาระบบปฏิิบัติ ั ิการอำำ�นวยการระดัับพื้้�นที่่�
3. สนัับสนุุนให้้มีก ี ารจััดทำ�ำ เกณฑ์์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่่ง� การแพทย์์และการอำำ�นวยการสำำ�หรับหน่ ั ว่ ยปฏิิบัติ ั ก ิ าร แพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น (Offline EMS Medical Protocol) สำำ�หรับ ั เขตสุุขภาพ/จัังหวััด
4. ประสานรวบรวมเนื้้� อหาในการจััดทำำ�รููปเล่่ม 5. จััดพิมพ์ ิ เ์ ล่่ม และเผยแพร่่
6. จััดทำ�ำ ไฟล์์อิเิ ล็็กทรอนิิกส์์ และ e-book /เผยแพร่่ช่อ ่ งทาง website สพฉ / Line Group 7. ทำำ �หนัั ง สืื อ ขอรัั บ รองทางวิิ ช าการไปยัั ง วิิ ท ยาลัั ย แพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ประเทศไทย
61
รายงานประจำำ�ปีี 2564
ผลการดำำ�เนิินงาน 1. ดำำ�เนิินการปรัับปรุุงคำำ�สั่่�งคณะทำำ�งานพััฒนาระบบปฏิิบัติ ั ิการอำำ�นวยการระดัั บพื้้�นที่่� ที่่� 7/2561 ลงวัั นที่่� 29
มกราคม พ.ศ. 2561 โดยปรัับปรุุ งองค์์ประกอบของคณะทำำ�งาน หน้้าที่่�และอำำ�นาจ ซึ่่ง� คณะทำำ�งานประกอบด้้วยตััวแทนแพทย์์
เวชศาสตร์์ฉุก ุ เฉิินทุุกเขตสุุขภาพ และจากโรงเรีียนแพทย์์ จำำ�นวน 36 ท่่าน ตามคำำ�สั่่�งที่่� 75/2564 ลงวัันที่่� 17 มิิถุน ุ ายน 2564 2. สนัับสนุุนให้้พื้้�นที่่�จัดทำ ั �ำ Offline EMS Medical Protocol เพื่่�อมอบหมายให้้ผู้้� ปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น ในหน่่ ว ยปฏิิ บัั ติิ
การแพทย์์ ทุุ ก ระดัั บนำำ � ไปปฏิิ บัั ติิ ตามคำำ�สั่่�งการแพทย์์ เพื่่� อให้้เกิิดความปลอดภััยต่่อผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน จััดพิมพ์ ิ รูู์ ปเล่่มให้้แก่่เขต
สุุขภาพที่่� 1 และเขตสุุขภาพที่่� 11 – 12 และจััดทำ�ำ Offline EMS Medical Protocol ของเขตสุุ ข ภาพที่่� 1 ,3 ,6 ,7 ,8 , 11 – 12 ให้้อยู่่ใ� นรููปของ e-book เพื่่�อสะดวกในการใช้้งานและเผยแพร่่ จำำ�นวน 3 เล่่ม ดัังนี้้�
- เกณฑ์์ วิิ ธีี แ ละแนวปฏิิ บัั ติิ ต ามคำำ �สั่่� ง การแพทย์์ และการอำำ � นวยการ สำำ�หรับหน่ ั ว ่ ยปฏิิบัติ ั ิการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จัังหวััดนครสวรรค์์ พ.ศ. 2564
- เกณฑ์์ วิิ ธีี แ ละแนวปฏิิ บัั ติิ ต ามคำำ �สั่่� ง การแพทย์์ และการอำำ � นวยการ สำำ�หรับหน่ ั ว ่ ยปฏิิบัติ ั ิการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน เขตสุุขภาพที่่� 8 พ.ศ. 2564
- แนวทางการดููแลผู้้�ป่่ ว ยนอกโรงพยาบาล (EMS Offline Protocol) โรงพยาบาลเจ้้ า พระยายมราช จัังหวััดสุพ ุ รรณบุุรีี
ผลงานเด่่น ปััจจััยแห่่งความสำำ�เร็็จ 1. ผู้้�บริิ ห ารให้้ ค วามสำำ �คัั ญ ต่่ อ ประเด็็ น การพัั ฒ นาโดยเป็็ น ที่่� ป รึึกษาคณะทำำ � งานฯ และ ร่่วมประชุุม
2. ความสนใจ ใส่่ใจของทีีมแพทย์์และพยาบาลตลอดเจ้้าหน้้าที่่�ทุุกส่่วนที่่�เกี่่�ยวข้้อง จนทำำ�ให้้ สามารถรวบรวมเนื้้� อหาและเขีียนเป็็นรููปเล่่มได้้สมบููรณ์์
62
การพััฒนาศููนย์์รัับเรื่่�องและจ่่ายงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ ให้้เป็็นระบบดิิจิิทััล (Developing the Digital Medical Emergency Call and Dispatch Center: D1669) เป็็นการยกระดัับศููนย์์รัับเรื่่�องและจ่่ายงานในการพััฒนา ระบบแจ้้งเหตุุฉุุกเฉิินดิิจิิทััล สพฉ. ได้้รับ ั การสนัับสนุุน งบประมาณจากกองทุุน พััฒ นาดิิจิิทัล ั เพื่่� อพััฒ นาเศรษฐกิิจและสััง คมให้้ดำำ �เนิิน งาน
โครงการพััฒ นาศููนย์์รัับ เรื่่� องและจ่่า ยงานฉุุก เฉิิน การแพทย์์ ให้้เป็็น ระบบดิิจิิทัล ั (Developing the Digital Medical
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
4
Emergency Call and Dispatch Center : D1669) เป็็นการยกระดัับศููนย์์รับ ั เรื่่�องและจ่่ายงานในการพััฒนาระบบแจ้้งเหตุุ
ฉุุกเฉิินดิิจิทั ิ ล ั (Call Information System (CIS)) โดยเปลี่่� ยนจากการแจ้้งเหตุุด้ว้ ยเสีียงเท่่านั้้� น เป็็นการแจ้้งเหตุุด้ว้ ย ข้้อความ เสีียง ภาพ และภาพเคลื่่�อนไหว (Total Conversation) รองรัับผู้้�พิก ิ ารทางการได้้ยิินภาษาต่่างประเทศ เพื่่� อให้้ทุก ุ คนเข้้าถึึงได้้
รวมถึึงผู้้�บกพร่่องทางการได้้ยิินและยัังพััฒนาระบบอำำ�นวยการทางการแพทย์์ดิจิ ิ ิทัล ั ส่่วนออฟไลน์์โปรโตคอล (Medical Information system (MIS) Offline Protocol) เพื่่� อให้้แพทย์์อำำ�นวยการได้้ข้อ ้ มููลที่่� จำำ�เป็็น สำำ�หรับ ั การช่่วยเหลืือชีีวิต ิ ในภาวะฉุุกเฉิินระหว่่างการนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยที่่�โรงพยาบาลปลายทาง (Pre-hospital care)
ทั้้� งนี้้� สพฉ. ได้้ทำำ�งานประสานความร่่วมมืือกัับหลายหน่่วยงาน ได้้แก่่ สำำ�นัก ั งานพััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี
แห่่งชาติิ (สวทช.) บริิษัท ั ทีีโอทีี จำำ �กัด ั (มหาชน) (บริิษัท ั โทรคมนาคมแห่่งชาติิ ในปััจจุุบัน ั ) มหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์ และองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด ซึ่่� งมีี อบจ. ที่่� เป็็นจัังหวััดนำำ�ร่อ ่ งทั้้� งหมด 15 จัังหวััด ได้้แก่่ เชีียงใหม่่ ลำำ�พููน แพร่่ สุุพรรณบุุรีี ต้้องผ่่านการอบรมการใช้้ระบบเพื่่� อใช้้งานระบบ D1669 ซึ่่�งมีี อบจ. ที่่�ผ่า่ นการอบรมไปแล้้ว ได้้แก่่ ลำำ�พููน มหาสารคาม สงขลา และสุุพรรณบุุรีี แต่่เนื่่� องจากสถานการณ์์ Covid-19 ทำำ�ให้้บางจัังหวััดยัังไม่่สามารถติิดตั้้� งระบบและอบรมได้้ตามเวลาที่่�กำำ�หนด
ซึ่่�งจะดำำ�เนิินการได้้แล้้วเสร็็จภายในปีีงบประมาณ 2564 ทั้้� งนี้้� ยัังมีี อบจ. ที่่�อยู่่ร� ะหว่่างการดำำ�เนิินการ เพื่่� อเข้้าร่่วมอีีก 4 จัังหวััด
ที่่� ไม่่ ได้้เป็็นจัังหวััดนำำ�ร่อ ่ งแต่่มีค ี วามประสงค์์จะพััฒนาระบบฯ และจััดตั้้� งเป็็นศููนย์์รับ ั เรื่่� องและจ่่ายงานฯ ได้้แก่่ กาญจนบุุรีี
ผลงานเด่่น
ระยอง จัันทบุุรีี สระแก้้ว มหาสารคาม หนองคาย อุุบลราชธานีี ชุุมพร กระบี่่� สงขลา พััทลุุง และปััตตานีี โดย อบจ. ดัังกล่่าว
ศรีีสะเกษ ตราด และลำำ�ปาง
63
รายงานประจำำ�ปีี 2564 ผลลััพธ์์ที่่�เกิิดขึ้้�นจากการดำำ�เนิินงานของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ 1. การเข้้าถึึงบริิการการแพทย์์ฉุุกเฉิินของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน การพััฒ นาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ของประเทศไทย ทำำ�ให้้ผู้้�ป่ว่ ยฉุุกเฉิิน เข้้าถึึงบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินจนได้้รับ ั
การบำำ�บััดรัก ั ษาอย่่างทัันท่่วงทีี แนวโน้้มเพิ่่�มขึ้้� นอย่่างต่่อเนื่่� องในทุุก ๆ ปีี ตั้้� งแต่่ปีี 2560 ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินเข้้าถึึงบริิการ จำำ�นวน
1,579,743 ราย และเพิ่่� มขึ้้� นในปีี 2561 - 2562 จนกระทั่่� งปีี 2563 ผลงานลดลงเล็็กน้้อย เนื่่� องมาจากผลกระทบจาก สถานการณ์์โรคติิด เชื้้� อไวรััสโคโรนา 2019 แต่่เ มื่่� อดููสััดส่่ว นของผู้้�ป่่ว ยฉุุก เฉิิน ต่่อ ประชากรแสนคนมีีแนวโน้้ม เพิ่่� มขึ้้� น ในจำำ�นวนผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินเหล่่านี้้� จะมีีผู้้�ป่่วยที่่� เป็็นผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤตที่่� ต้อ้ งได้้รับ ั การบำำ�บััดรัก ั ษาอย่่างทัันท่่วงทีี เพื่่� อให้้มีโี อกาส
รอดชีีวิต ิ ในการเข้้าถึึงการบำำ�บััดรัก ั ษาเฉพาะ ถึึงร้้อยละ 14 - 19 ของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินทั้้� งหมด สอดคล้้องกัับผลการปฏิิบัติ ั ก ิ าร
ฉุุกเฉิินก่่อนถึึงโรงพยาบาลที่่� ช่ว่ ยให้้ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต รอดชีีวิต ิ ตั้้� งแต่่ปีี 2560 - 2564 พบว่่า มีีอัต ั ราการรอดชีีวิต ิ ของผู้้�ป่่วย
ผลงานเด่่น
ฉุุกเฉิินวิิกฤต ถึึงร้้อยละ 99.00 - 99.10 และอััตราการรอดชีีวิต ิ ของผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน ร้้อยละ 99.71 - 99.78
อย่่างไรก็็ตาม แม้้ว่า่ ระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสามารถช่่วยให้้ผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินรอดชีีวิต ิ ในอััตราที่่� สููง แต่่ก็ยั ็ งั พบว่่ามีีผู้้�ป่่วย
ฉุุกเฉิินอีีกจำำ�นวนหนึ่่� งที่่� ใช้้บริก ิ ารการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแล้้วเสีียชีวิี ต ิ นอกโรงพยาบาล ส่่วนใหญ่่เป็็นการเสีียชีวิี ตก่ ิ อ ่ นชุุดปฏิิบัติ ั ก ิ าร ไปถึึงและเป็็นการปฏิิบัติ ั ก ิ ารที่่� เข้้าถึึงจุุดเกิิดเหตุุเกิิน 8 นาทีี จึึงสะท้้อนถึึงความครอบคลุุมของหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ าร/ชุุดปฏิิบัติ ั ก ิ าร ฉุุกเฉิิน ที่่�ยัังไม่่สามารถให้้บริิการการแพทย์์ฉุกุ เฉิิน เพื่่� อช่่วยเหลืือชีีวิตผู้้�ป่ ิ ่วยฉุุกเฉิินได้้อย่่างทั่่� วถึึงและเท่่าเทีียมในทุุกพื้้� นที่่�
2. ความพึึงพอใจของประชาชนต่่อการให้้บริิการ
ในปีี 2564 สพฉ. ได้้ดำำ�เนิินการสำำ�รวจการรัับรู้้�และความพึึงพอใจของผู้้�ใช้้บริก ิ ารต่่อระบบบริิการการแพทย์์ฉุกุ เฉิิน โดย
มีีวัตถุ ั ุประสงค์์เพื่่� อสำำ�รวจการรัับรู้้�ของประชาชนต่่อระบบการแพทย์์ฉุกุ เฉิิน และความพึึงพอใจของผู้้�ใช้้บริิการต่่อระบบการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน และความคิิดเห็็นของกลุ่่�มภาคีีเครืือข่่ายระบบการแพทย์์ฉุกุ เฉิิน เพื่่� อนำำ�ข้้อมููลมาใช้้ประกอบการพััฒนาประสิิทธิิภาพการ ดำำ�เนิินงานระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
การศึึกษาครั้้� งนี้้� ดำำ�เนิินการโดยศููนย์์บริก ิ ารวิิชาการแห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย โดยทำำ�การเก็็บตัวั อย่่างจำำ�นวน
ทั้้� งสิ้้� น 850 ตััวอย่่าง แบ่่งเป็็นเก็็บข้อ ้ มููลเชิิงปริิมาณด้้วยแบบสอบถามในเรื่่� องการรัับรู้้�ของประชาชนต่่อระบบการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน จำำ�นวน 400 ตััวอย่่าง ความพึึงพอใจของผู้้�ที่่� ใช้้บริก ิ ารระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน จำำ�นวน 400 ตััวอย่่าง และข้้อมููล
เชิิง คุุณ ภาพด้้ว ยการสััม ภาษณ์์เชิิง ลึึกกลุ่่�มภาคีีเ ครืือ ข่่า ย จำำ� นวน 50 ตััว อย่่า ง วิิเ คราะห์์ข้อ ้ มููลด้้ว ยสถิิติิเชิิง พรรณนา
(Descriptive Statistics) ได้้แก่่ ค่่าสถิิติค ิ วามถี่่� (Frequency) ค่่าร้้อยละ (Percentage) และค่่าคะแนนเฉลี่่� ย (Mean) และ การจััดระดัับความคิิดเห็็น (Rating scale) ผลการสำำ�รวจสรุุปได้้ดัังนี้้�
1. การสำำ�รวจการรัับรู้้�ของประชาชนต่่อระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน พบว่่า
(1) ระดัับการรัับรู้้�ในด้้านความรู้้� ความเข้้าใจ และสิิทธิิเกี่่� ยวกัับระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในภาพรวมอยู่่� ใน ระดัับปานกลาง คิิดเป็็นร้้อยละ 74.27
(2) ระดัับการรัับรู้้�ในด้้านการเข้้าเกณฑ์์การใช้้สิิทธิิ “เจ็็บป่่วยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิท ิ ธิิทุกุ ที่่�” ในภาพรวมอยู่่�ในระดัับมาก คิิดเป็็นร้้อยละ 69.46 เมื่่�อเปรีียบเทีียบผลการสารวจปีีที่่� ผ่า่ นมาแนวโน้้มสููงขึ้้� น
64
ออนไลน์์ คิิดเป็็นร้้อยละ 60.25 โปสเตอร์์ ป้้ายประชาสััมพัน ั ธ์์ ป้้ายโฆษณา คิิดเป็็นร้้อยละ 52.25 และ
เอกสาร/แผ่่นพัับ/คู่่�มือ ื คิิดเป็็นร้้อยละ 34.00 ตามลำำ�ดับ ั
2. การสำำ�รวจความพึึงพอใจของผู้้�ใช้้บริิการต่่อระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน พบว่่า ความพึึงพอใจในภาพรวมต่่อการใช้้บริิการ
การแพทย์์ฉุุกเฉิิน อยู่่ใ� นระดัับมากที่่�สุุด มีีค่า่ เฉลี่่�ย 4.45 คิิดเป็็นร้้อยละ 88.94 เมื่่�อเปรีียบเทีียบผลการสำำ�รวจ 3 ปีีย้้อนหลััง แนวโน้้มสููงขึ้้� น โดยลำำ�ดับหนึ่ ั ั อ ่ มา �่ง คืือมีีความพึึงพอใจต่่อ ณ จุุดเกิิดเหตุุ หรืือบนรถพยาบาลฉุุกเฉิินมากที่่�สุดุ ลำำ�ดับต่ คืือมีีความพึึงพอใจของการให้้บริก ิ ารรัับแจ้้งเหตุุ และ ณ จุุดบริก ิ ารห้้องฉุุกเฉิิน ตามลำำ�ดับ ั
3. ผลการสััมภาษณ์์ความคิิดเห็็นต่่อนโยบายการดำำ�เนิินการตามแผนงานและภาพอนาคตของ สพฉ. พบว่่าภาพรวม มีีความพึึงพอใจในการเข้้าร่่วมภาคีีเครืือข่่ายกัับ สพฉ. แต่่ละเครืือข่่าย ดัังนี้้�
- กลุ่่�มสำำ�นัก ั งานสาธารณสุุขจัังหวััด มีีความพึึงพอใจอยู่่�ที่่�คะแนนเฉลี่่� ย 7.5/10 คะแนน - กลุ่่�มโรงพยาบาล มีีความพึึงพอใจอยู่่�ที่่�คะแนนเฉลี่่� ย 7.5/10 คะแนน
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
(3) ช่่องทางที่่� ได้้รับข่ ั า่ วสารของระบบบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 1669 จากสื่่� อของ สพฉ. ส่่วนใหญ่่ ได้้แก่่ สื่่� อ
- กลุ่่�มองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด มีีความพึึงพอใจอยู่่�ที่่�คะแนนเฉลี่่� ย 7.6/10 คะแนน - กลุ่่�มมููลนิิธิิในจัังหวััด มีีความพึึงพอใจอยู่่�ที่่�คะแนนเฉลี่่� ย 7.3/10 คะแนน
- กลุ่่�มมููลนิิธิใิ นกรุุงเทพฯ ปริิมณฑลและเมืืองใหญ่่ (10 ราย) มีีความพึึงพอใจ (n=5) อยู่่�ที่่�คะแนนเฉลี่่�ย 6.4/10 คะแนน และไม่่พึึงพอใจ 5 ราย
3. การบริิหารจััดการองค์์กรที่่�มีีประสิิทธิิภาพและมีีคุุณภาพ
สพฉ. มีีการบริิหารจััดการองค์์กรด้้วยระบบบริิหารคุุณภาพ และการส่่งเสริิมคุณ ุ ธรรมความโปร่่งใสในการทำำ�งาน
จนนำำ�มาสู่่ก � ารได้้รับ ั รางวััล ได้้แก่่
1. การบริิหารจััดการภายในองค์์กร มีีการพััฒนาคุุณ ภาพองค์์กรอย่่างต่่อเนื่่� องจนได้้รับ ั การรัับรองระบบบริิหาร 2. ผลการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใสในการดำำ�เนิินงานของหน่่วยงานภาครััฐ ประจำำ�ปีี 2564 คะแนนอยู่่�ที่่� ร้้อยละ 93.7 ได้้ระดัับ A คะแนน เป็็นอัันดัับ 3 ของกระทรวงสาธารณสุุข และอัันดัับ 27 ขององค์์การมหาชน
ผลงานเด่่น
คุุณภาพ ISO 9001: 2015 จากบริิษัท ั United Registrar of System (Thailand) ต่่อเนื่่� องอีีก 1 ปีี
65
รายงานประจำำ�ปีี 2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย 1 ตุุ ลาคม 2563
ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ �ชั ำ ย ั รองเลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. บริิษัท ั โทรคมนาคม จำำ�กัด ั (มหาชน) และมหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์ ร่่วมหารืือการเชื่่�อม
ข้้ อ มููล F i n g e r p r i n t กัั บ ก ร ม ก า ร ป ก ค ร อ ง ก ร ะ ท ร ว ง มห า ด ไ ท ย ณ ห้้องประชุุมสำ�นั ำ ก ั งานเขตพื้้� นที่่�การศึึกษา (สพท.)
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
1 ตุุ ลาคม 2563
5 ตุุ ลาคม 2563
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
เข้้าหารืือแลกเปลี่่�ยนการดำำ�เนิินการเกี่่�ยวกัับงานต่่างประเทศ กัับรอง อธิิบดีก ี รมความร่่วมมืือระหว่่างประเทศ กระทรวงการต่่างประเทศ
ผู้้�แทน สพฉ. เข้้าร่่วมประชุุมกำำ�หนดกรอบแนวทางการผลิิตรายการวีีดิิทััศน์์ เพื่่� อเผยแพร่่องค์์ ความรู้้�เกี่่� ยวกัั บกิิจกรรมลููกเสืือ ในหััวข้้อการดำำ�เนิินการ
เรื่่�องของการปรัับปรุุ งเนื้้�อหาสาระในส่่วนของการสอนปฐมพยาบาลให้้กัับ ลููกเสืือในระดัับต่่างๆ ให้้มีีความเหมาะสมและทัันสมััย และได้้มีีการบรรจุุ
เรื่่�องการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้� นฐาน การป้้องกัันเด็็กจมน้ำำ� การช่่วยเหลืือคนตกน้ำำ� และ เรื่่�องสาธารณภััยเข้้าไว้้ในหลัักสููตร ณ ห้้องประชุุมแกรนด์์ บีียอนด์์ ชั้้�น 2
โรงแรมบีียอนด์์ สวีี ท กรุุ งเทพมหานคร โดยมีี นายโอฬาร เก่่งรัักษ์์ สััตว์์ ผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นัก ั การลููกเสืือ ยุุวกาชาด และกิิจการนัักเรีียน สำำ�นัก ั งานปลััด กระทรวงศึึกษาธิิการ เป็็นประธาน
66
เข้้าร่่วมชี้้�แจงต่่อคณะกรรมาธิิการกฤษฎีีการ่่างพระราชกฤษฎีีกากำำ�หนดให้้สาขา ฉุุกเฉิินการแพทย์์เป็็นสาขาประกอบโรคศิิลปะ พ.ศ. .... ตามที่่�กระทรวงสาธารณสุุข
2563
เสนอ ณ ห้้องประชุุมสมภพ โหตระกิิตย์์ สำำ�นัก ั งานคณะกรรมการกฤษฎีีกา
2563
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ไลฟ์์สดบรรยายในงานประชุุมวิช ิ าการ 5th EMTAC ในหััวข้้อ "EMS THAILAND 2020” ทิิศทางของการก้้าวสู่่�วิช ิ าชีีพ
ของผู้้�ปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินการแพทย์์ และการส่่งเสริิม สนัับสนุุนในด้้านต่่าง ๆ
ซึ่่ง� เป็็นการจััดประชุุมวิิชาการแบบออนไลน์์ ณ ภาควิิชาเวชศาสตร์์ฉุก ุ เฉิิน อาคารศููนย์์อุบั ุ ติ ั เิ หตุุและเวชศาสตร์์ฉุก ุ เฉิิน คณะแพทย์์ศาสตร์์โรงพยาบาล รามาธิิบดีี มหาวิิทยาลััยมหิดล ิ
10 ตุุ ลาคม 2563
ผู้้�แทน สพฉ. เข้้าร่่วมกิิ จกรรมโครงการหน่่วยแพทย์์อาสาเฉพาะทางร่่วมใจ
เฉลิิมพระเกีียรติิสมเด็็จพระขนิิษฐาธิิราชเจ้้ากรมสมเด็็จพระเทพรััตนราชสุุดาฯ
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
9 ตุุ ลาคม
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วย พ.อ.นพ.สุุรจิิต สุุนทรธรรม
6 ตุุ ลาคม
สยามบรมราชกุุมารีี โดยมููลนิิธิิธรรมาภิิ บาลทางการแพทย์์ แพทยสภา และ
นัั ก ศึึกษาหลัั ก สููตร ประกาศนีี ย บัั ต รธรรมาภิิ บ าลทางการแพทย์์ สำำ�หรัั บ
ผู้้�บริิหารระดัับสููง (ปธพ.7) ร่่วมกัับ รพ.อุุทััยธานีี สอนการฟื้้�นคืืนชีีพ (CPR) ให้้ กัับบุค ุ ลากรของโรงพยาบาลอุุทัย ั ธานีี อสม. และประชาชน ณ โรงพยาบาลอุุทัย ั ธานีี
67
รายงานประจำำ�ปีี 2564
16 ตุุ ลาคม 2563
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เข้้าร่่วม ประชุุมคณะกรรมการการศึึกษาขั้้�นพื้้� นฐาน ครั้้�งที่่� 10/2563 เพื่่� อให้้ข้้อมููล
และแนวทางการขัับเคลื่่�อนการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้� นฐาน ในนัักเรีียน ครูู และบุุคลากรทางการศึึกษา ณ ห้้องประชุุม สพฐ.1 กระทรวง ศึึกษาธิิการ โดยมีี รศ.ดร.เอกชััย กี่่�สุข ุ พัันธ์์ เป็็นประธาน
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
29 ตุุ ลาคม 2563
30 ตุุ ลาคม 2563
ผู้้�แทน สพฉ. เข้้าหารืือการใช้้อากาศยานแบบไร้้คนขัับ (UAV) ในระบบการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน พร้้อมหารืือเพิ่่�มเติิมถึึงการทำำ�บัันทึึกความร่่วมมืือในด้้านวิิชาการต่่างๆ ร่่วมกัับสถาบัันเทคโนโลยีีป้อ ้ งกัันประเทศ ณ สถาบัันเทคโนโลยีีป้อ ้ งกัันประเทศ
ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิ ย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร สพฉ. พร้้ อ มด้้ ว ยบุุ ค ลากร สพฉ. เข้้าประชุุมแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้�การสนัับสนุุนการดำำ�เนิินงานที่่�ช่่วยพััฒนาการ เรีียนการสอนของศููนย์์นวััตกรรมการเรีียนรู้้�แห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย
เพื่่� อนำำ�มาพััฒนาการเผยแพร่่ความรู้้� รููปแบบและวิิธีก ี ารพััฒนาบุุคลากรและ
หลัั กสููตรฝึึกอบรม รวมทั้้� งการประเมิินผลการฝึึกอบรมของศููนย์์วิิชาการ เตรีียมความพร้้อมด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินต่่อไป ณ จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย
68
2563
4 พฤศจิิ กายน
ฉุุ ก เฉิิ น ประจำำ�ปีี 2564 ณ ห้้ อ งประชุุ ม A601 และห้้ อ งประชุุ ม A602 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เป็็นประธาน
สพฉ. จัั ดการประชุุ มพััฒนาและฝึึกอบรม (นำำ�ร่่อง) หลัั กสููตรผู้้�ช่่วยครููผู้้�สอน
การปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้� นฐาน ระดัับ 2 สำำ�หรัับผู้้�ปฏิิบััติิการ บนอากาศยาน ณ ห้้องประชุุม B602 สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี นพ.สััญชััย ชาสมบััติิ
รองเลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธานในพิิธีเี ปิิดการฝึึกอบรม
และ ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. มอบใบรัับรองผู้้�ผ่่านการฝึึกอบรม
5 พฤศจิิ กายน 2563
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เข้้าร่่วมพิิธีีลงนามบัันทึึก ข้้อตกลง (MOU) ว่่าด้้วยความร่่วมมืือในการบููรณาการและขัับเคลื่่�อน ก า ร ใ ช้้ ง า น ร ะ บบฐ า น ข้้ อ มููลภัั ยพิิ บัั ติิ แ ล ะ ร ะ บบภููมิิ ส า ร ส น เ ท ศ
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
2563
สพฉ. ประชุุมชี้้�แจงนโยบายและแนวทางในการดำำ�เนิินงานระบบการแพทย์์
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
4-5 พฤศจิิ กายน
เพื่่� อการช่่วยเหลืือผู้้�ประสบภััย ณ ห้้อง Mitrtown Hall ชั้้�น 5 สามย่่าน มิิตรทาวน์์ กทม.
69
รายงานประจำำ�ปีี 2564
7-8 พฤศจิิ กายน 2563
สพฉ. จััดฝึึกอบรมการพััฒนาความรู้้�ทัักษะบุุคลากรด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในพื้้�นที่่�
พิิ เ ศษเหตุุ ก ารณ์์ ด้้ า นความมั่่� น คง (Thailand Tactical EMS : TTEMS)
ณ ห้้องประชุุม B602 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ และบริิเวณสนามกีีฬา กระทรวงสาธารณสุุข โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็น ประธานกล่่าวเปิิดการฝึึกอบรม
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
7 พฤศจิิ กายน 2563
สพฉ. จััดฝึึกอบรมการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้� นฐาน ให้้กัับกลุ่่�ม
ผู้้�ปกครอง "กลุ่่�มแม่่หนููมกรา-กลุ่่�มแม่่หนููกุม ุ ภา" ซึ่่ง� ได้้รับ ั การสนัับสนุุนทีีมครููจิิตอาสา จากเครืือข่่ายศููนย์์ EMPAC และชมรมกู้้�ชีีพทางน้ำำ�ประเทศไทย ณ ห้้องประชุุม B401
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธานกล่่าวเปิิดการฝึึกอบรม
13 พฤศจิกายน 2563
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เข้้าร่่วมสััมมนา “รััฐสภาไทย
มุ่่�งมั่่�น ลดเจ็็บ ลดตาย บนท้้องถนน” โดยเป็็นความร่่วมมืือของรััฐสภา
ร่่วมกัับองค์์การอนามััยโลกประจำำ�ประเทศไทย ตลอดจนหน่่วยงานภาคีี
เครืือข่่าย ที่่�มั่่�งมั่่�นในการแก้้ปัญ ั หาวิิกฤติิของประเทศที่่�เกิิดจากอุุบัติ ั ิเหตุุ ทางถนน ณ ห้้องประชุุม 402 และ 403 ชั้้�น 4 อาคารรััฐสภาเกีียกกาย โดยมีี นายชวน หลีีกภััย ประธานรััฐสภา เป็็นประธาน
70
2563
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เข้้าร่่วมกิิจกรรม World Day of Remembrance for Road Traffic Victims ซึ่่�งเป็็นการจััดกิิจกรรมโดย
องค์์การสหประชาชาติิและองค์์การอนามััยโลก เพื่่� อรำ��ลึึกและไว้้อาลััย
ให้้ แ ก่่ ผู้้�ที่่� เ สีี ยชีี วิิ ต จากอุุ บัั ติิ เ หตุุ จ ราจรทั่่� ว โลก ณ บริิ เ วณหน้้ า อาคาร สำำ�นัก ั งานองค์์การสหประชาชาติิประจำำ�ประเทศไทย
2563
ให้้บริิการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน กู้้�ชีีพและกู้้�ภััย ณ ท่่าอากาศยาน ร่่วมกัับ
ผู้้�แทนการท่่าอากาศยาน ณ ห้้องประชุุมชั้้�น B401 สถาบัันการแพทย์์ ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
18 พฤศจิิกายน 2563
18 พฤศจิกายน 2563
สพฉ. จััดประชุุมการจััดประเภทรถบริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน และการขออนุุญาตใช้้ไฟ วัับวาบและเสีียงสััญญาณ ณ ห้้องประชุุม A602 สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี นพ.พงศ์์ธร เกีียรติิดำำ�รงวงศ์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ เป็็นประธาน
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
16 พฤศจิิกายน
สพฉ. จััดประชุุมหารืือการจััดทำำ�บัันทึึกความร่่วมมืือการดำำ�เนิินงานการ
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
15 พฤศจิิกายน
ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิ ย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร สพฉ. รัั บ เชิิ ญ ปาฐกถาพิิ เ ศษ เรื่่� อง ยุุ ท ธศาสตร์์ ก ารขัั บ เคลื่่� อนวิิ ช าชีี พ นัั ก ฉุุ ก เฉิิ น การแพทย์์ ข อง
ประเทศไทย ผ่่านทางออนไลน์์ ในการประชุุ มวิิชาการ “1 ทศวรรษ ก า ร ผ ลิิ ต Pa r a m e d i c ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ” แ ล ะ วัั น ส ถ า ป น า คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยมหาสารคาม
71
รายงานประจำำ�ปีี 2564
18 พฤศจิิกายน 2563
สพฉ. จััดประชุุมการจััดทำำ� Simulation
การสอบขัับรถพยาบาล ณ ห้้องประชุุม A602 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
โดยมีี น พ.พงศ์์ ธ ร เกีี ย รติิ ดำำ� รงวงศ์์
ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ เป็็นประธาน
18 พฤศจิกายน 2563
สพฉ. จัั ดประชุุ มหารืือแนวทางขัับเคลื่่� อน การปฏิิ บัั ติิ การฉุุ ก เฉิิ น ด้้ วยอากาศยาน
ในพื้้� นที่่� เ ขตบริิ ก ารสุุ ข ภาพที่่� 6 ณ ห้้ อ ง ประชุุ มชั้้� น 5 สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น
แห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อัั จฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
24 พฤศจิิกายน 2563
สพฉ. จััดประชุุม Ambulance Officer Webinar
โดยบริิษััท Zoll medical สนัับสนุุนงบประมาณ และการจัั ด งานรููปแบบการประชุุม Online และ
On site ณ ห้้องประชุุมกรุุงเทพ 2 โรงแรมเซ็็นทารา แกรนด์์ ลาดพร้้าว โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา
เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธานกล่่าวเปิิดการประชุุม
24 พฤศจิิกายน 2563
สพฉ. จััดประชุุมหารืือกัับสถาบัันเทคโนโลยีีป้้องกััน ประเทศ เรื่่�องการพััฒนานวััตกรรมด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน โดยใช้้อากาศยานไร้้คนขัับ (Unmanned Aerial Vehicle:
UAV) โดยจััดทำ�ร่ ำ า่ งบัันทึึกความร่่วมมืือด้้านวิิชาการและ พััฒนาศัักยภาพบุุ คลากรให้้มีีความรู้้�ความสามารถ
ในการใช้้อากาศยานแบบไร้้คนขัับ ณ ห้้องประชุุม A601
สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ. อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
25 พฤศจิิกายน 2563
สพฉ. จัั ดประชุุ มหารืือและระดมความคิิ ด
เห็็นเกี่่�ยวกัับโครงการพััฒนายกระดัับการให้้ บริิการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในเขตพััฒนาพิิเศษ ภาคตะวัันออก ภายใต้้แผนบููรณาการ EEC
ปีีงบประมาณ 2565 ร่่วมกัับผู้้�บริห ิ าร ผู้้�แทน
จากหน่่วยงานและองค์์กรเครืือข่่ายผู้้�ปฏิิบััติิ งานการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น พื้้� นที่่� จัั ง หวัั ด EEC (จัังหวััดชลบุุรีี ระยอง และฉะเชิิงเทรา) ณ
ห้้องประชุุมโรงพยาบาลชลบุุรีี จัังหวััดชลบุุรีี โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
72
2563
บุุ ค ลากรโรงพยาบาลกรุุ ง เทพ เวชศาสตร์์ ก ารบิิ น กองกำำ�กัั บ การ 5 กองบัังคัับการตำำ�รวจน้ำำ� ศรีีราชา และกรมแพทย์์ทหารเรืือ เข้้าเยี่่�ยมชม
การบริิหารจััดการลานจอดเฮลิิคอปเตอร์์ เพื่่� อเตรีียมความพร้้อมโครงการ พัั ฒ นายกระดัั บ การให้้ บริิ ก ารการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ในเขตพัั ฒ นาพิิ เ ศษ ภาคตะวัันออก ภายใต้้แผนบููรณาการ EEC ณ โรงพยาบาลสมิิติเิ วช ชลบุุรีี และ โรงพยาบาลสมเด็็จพระบรมราชเทวีี ณ ศรีีราชา
27 พฤศจิิกายน
สพฉ. ร่่วมพิิธีีวางพานพุ่่�มสัักการะพระอนุุสาวรีีย์์สมเด็็ จพระเจ้้ าบรมวงศ์์เธอ กรมพระยาชััยนาทนเรนทร เนื่่� องในวัันสถาปนากระทรวงสาธารณสุุข ประจำำ�ปีี 2563 ณ ลานอนุุสาวรีีย์ส ์ มเด็็จพระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมพระยาชััยนาทนเรนทร สำำ�นัักงานปลััดกระทรวงสาธารณสุุข โดยมีี นายอนุุทิิน ชาญวีีรกุุล รองนายก รััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธานในพิิธีี
27 พฤศจิิกายน 2563
สพฉ. เข้้าร่่วมหารืือบัันทึึกข้้อตกลงการดำำ�เนิินงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ด้้านการกีีฬา
ร่่วมกัับการกีีฬาแห่่งประเทศไทย เพื่่� อส่่งเสริิมและสนัับสนุุนการพััฒนาศัักยภาพ บุุคลากรทางแพทย์์และบุุคลากรที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับการกีีฬา โดยแลกเปลี่่�ยนองค์์ความรู้้�ทาง
วิิชาการ งานวิิจัย ั การฝึึกอบรม การศึึกษาดููงาน และการประชุุมวิช ิ าการ ที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับการ แพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ด้้ า นการกีี ฬ า รวมถึึงการพัั ฒ นานวัั ต กรรมเกี่่� ย วข้้ อ งกัั บ งาน การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินด้้านการกีีฬา และเพื่่� อพััฒนาหลัักเกณฑ์์ แนวทางและมาตรฐาน
การจััดระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินด้้านการกีีฬาในสถานที่่�ฝึึกซ้้อมและแข่่งขัันกีีฬา ณ การกีีฬาแห่่งประเทศไทย
28 พฤศจิิกายน 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
2563
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
25 พฤศจิิกายน
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. และ
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เข้้าเยี่่�ยมชม
ลานจอดเฮลิิคอปเตอร์์ โรงพยาบาลกรุุงเทพ พััทยา บริิษัท ั กรุุงเทพดุุสิต ิ เวชการ
จำำ�กััด (มหาชน) โดยมีี นพ.สีีหราช โลหชิิตรานนท์์ ผู้้�อำำ�นวยการโรงพยาบาล
กรุุงเทพ พััทยา ให้้การต้้อนรัับ
73
รายงานประจำำ�ปีี 2564
สพฉ. สนัับสนุุนวิิทยากรในการอบรมการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพ
29 พฤศจิิกายน
ขั้้�นพื้้� นฐานให้้กับผู้้� ั เข้้ารัับการอบรม หลัักสููตรเจ้้าหน้้าที่่�บริห ิ ารงานและบรรเทา
สาธารณภััย (จบ.ปภ.) รุ่่�นที่่� 18 ให้้แก่่ข้า้ ราชการกรมป้้องกัันและบรรเทาสาธารณภััย
2563
และบุุ คลากรจากหน่่ ว ยงานภายนอก ณ สถาบัั น พัั ฒ นาบุุ คลากร ด้้านการป้้องกัันและบรรเทาสาธารณภััย (วิิทยาลััยป้อ ้ งกัันและบรรเทาสาธารณภััย วิิทยาเขตปทุุมธานีี)
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
30 พฤศจิิกายน 2563
2
ธั ันวาคม 2563
สพฉ. รัับการตรวจติิดตามการรัักษาระบบบริิหารคุุณภาพ ISO 9001 : 2015 โดยมีีผู้้�ตรวจประเมิินจากบริิษััท URS ณ ห้้องประชุุม A601 สถาบััน
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ . เป็็นประธาน
ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิ ย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร สพฉ. พร้้ อ มด้้ ว ยบุุ ค ลากร สพฉ. รัั บ โล่่ ป ระกาศเกีี ย รติิ คุุ ณ ในการประเมิิ น คุุ ณ ธรรมและความโปร่่ ง ใส
ในการดำำ� เนิิ น งานของหน่่ ว ยงานภาครัั ฐ ประจํําปีี 2563 โดยได้้ ร ะดัั บ
เกรด A อัันดัับ 3 ในกลุ่่�มกระทรวงสาธาณสุุข และร่่วมประกาศเจตนารมณ์์ “ ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุุ ข ใ ส ส ะ อ า ด ร่่ ว มต้้ า น ทุุ จ ริิ ต ( M O P H Z e r o
Tolerance)” เพื่่� อกระตุ้้�นจิิ ตสำ�นึึ ำ กบุุ ค ลากร ไม่่ ย อมรัั บ ไม่่ ท นการโกง สร้้ า งเครืื อ ข่่ า ยป้้ อ งกัั น ทุุ จ ริิ ต ให้้ ยั่่� ง ยืื น เนื่่� อ งในวัั น ต่่ อ ต้้ า นคอร์์ รัั ป ชั่่� น สากล (ประเทศไทย) ณ สำำ�นัก ั งานปลััดกระทรวงสาธารณสุุข โดยมีี นายอนุุทิน ิ ชาญวีีรกููล
รองนายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่า่ การกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธานในพิิธีี
74
2563
เข้้าร่่วมประชุุมสัมม ั นาแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้�การพััฒนาระบบบริิการสุุขภาพ ครั้้�งที่่� 7 (7th Service Plan Sharing) : New normal Health system
ปีีงบประมาณ2564 ณ โรงแรมเซ็็นทรา บายเซ็็นทาราศููนย์์ราชการและ คอนเวนชั่่�นเซ็็นเตอร์์ กรุุงเทพมหานครกทม. โดยมีี นพ.เกีียรติิภููมิิ วงศ์์รจิิต ปลััดกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธานเปิิดการประชุุม
2563
7 ธั ันวาคม 2563
สพฉ. ให้้การสนัับสนุุนวิิทยากรอบรมหลัักสููตรครููผู้้�สอนการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิิน
และการกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้� นฐาน ให้้กัับ "ชมรมกู้้�ภััยสว่่าง" หน่่วยกู้้�ภััยสว่่างในเครืือ สมาคมพุุ ท ธมามกสงเคราะห์์ แ ห่่ ง ประเทศไทย โดยมีี นายประสิิ ท ธิ์์� ทองทิิตย์์เจริิญ เป็็นประธานในพิิธีเี ปิิดการอบรม
ผู้้�แทน สพฉ. รัับมอบรางวััลเชิิดชููเกีียรติิหน่ว่ ยงาน
สนัั บ สนุุ น บริิ ก ารถ่่ า ยทอดการสื่่� อสารดีี เ ด่่ น ประจำำ�ปีี 2563 (TTRS OK) ณ โรงแรมอิินเตอร์์ คอนติิเนนตััล กรุุงเทพฯ
8 ธั ันวาคม 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
4-6 ธั ันวาคม
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
3 ธั ันวาคม
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
ผู้้�แทน สพฉ. เข้้ า ร่่ ว มซ้้ อ มแผนทางด้้ า นการแพทย์์ แ ละสาธารณสุุ ข กรณีีอุบั ุ ติ ั เิ หตุุกลุ่่�มชนทางถนนจัังหวััดสระบุุรีี ร่่วมกัับสำ�นั ำ ก ั งานสาธารณสุุข
จัังหวััดสระบุุรีี และหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้อง ณ บริิเวณหน้้าโรงเรีียนเทพศิิริิ จัังหวััดสระบุุรีี โดยมีี นายศราวุุธ สุุวรรณจููฑะ นายอำำ�เภอเฉลิิมพระเกีียรติิ จัังหวััดสระบุุรีี เป็็นผู้้�บัญ ั ชาการเหตุุการณ์์
75
รายงานประจำำ�ปีี 2564
9 ธั ันวาคม 2563
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ให้้การต้้อนรัับ Mr. Takahiro MORITA, Chief Representative of JICA
Thailand และ Mr.Keiichiro YUASA ในโอกาสที่่�ได้้รับ ั
ตำำ�แหน่่ง Chief Representative ประจำำ�ประเทศไทย ณ ห้้องประชุุม A601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
14 ธั ันวาคม 2563
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ประกาศ เจตนารมณ์์การต่่อต้้านการทุุจริิต "สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิร่ว ่ มต้้าน ทุุจริิต" (NIEM Zero Tolerance for Dishonesty) และประกาศนโยบาย
เป็็นองค์์กรคุุณธรรม "พอเพีียง วิินัย ั สุุจริิต จิิตอาสา" ของสถาบัันการแพทย์์
ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2564 ณ ห้้องประชุุม B602 สถาบััน การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
14 ธั ันวาคม 2563
สพฉ. ให้้การสนัับสนุุนวิิทยากรในการฝึึกอบรมการช่่วยเหลืือปฐมพยาบาล
เบื้้� องต้้น (First aid) ให้้แก่่นัักเรีียนโรงเรีียนสตรีีมหาพฤต ในพระราชููปถััมภ์์
จัั ดโดยคณะกรรมาธิิการการสาธารณสุุข สภาผู้้�แทนราษฎร ณ หอประชุุ ม โรงเรีียนสตรีีมหาพฤต ในพระราชููปถััมภ์์
15-16 ธั ันวาคม 2563
17 ธั ันวาคม 2563
ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิ ย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร สพฉ. พร้้ อ มด้้ ว ยบุุ ค ลากรสพฉ.
เข้้ า ร่่ว มประชุุ ม การพิิ จ ารณาแนวทางการแก้้ ไ ขปัั ญ หาเชิิ ง ระบบเกี่่� ย วกัั บ ความปลอดภััยทางน้ำำ� ระบบสาธารณสุุขทางทะเลของจัังหวััดพังั งา ณ ห้้องประชุุม โรงแรมบริิษา เขาหลััก จ.พัังงา
สพฉ. ให้้ ก ารสนัั บ สนุุ น วิิ ท ยากรในการฝึึ ก อบรมด้้ า นการกู้้�ชีี พ ขั้้� น พื้้�นฐาน ในการประชุุมเชิิงปฏิิบัติ ั ก ิ ารถ่่ายทอดความรู้้�ตามหลัักสููตรพื้้� นฐานการเฝ้้าระวััง
โรคและภัั ยสุุ ข ภาพ สำำ�หรัั บ เครืื อ ข่่ า ยภายในช่่ อ งทางระหว่่ า งประเทศ ของด่่านควบคุุมโรคติิดต่่อระหว่่างประเทศ ณ โรงแรมแคนทารีี เบย์์ โฮเทล แอนด์์ เซอร์์วิิสอพาร์์ตเม้้น ศรีีราชา จ.ชลบุุรีี
76
2563
สพฉ. จััดอบรมหลัักสููตรผู้้�ช่่วยครููผู้้�สอน การปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและการกู้้�ชีีพ ขั้้�นพื้้� นฐาน ให้้กัับเครืือข่่ายผู้้�ปฏิิบัติ ั ิการ ด้้ า นการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ในพื้้� นที่่� ภ าคใต้้ ณ จัังหวััดสตููล
21 ธั ันวาคม 2563
ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิ ย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร สพฉ. พร้้ อ มด้้ ว ยบุุ ค ลากรสพฉ.
ลงนามบัันทึึกความร่่วมมืือ Ambulance Safety Solution ระหว่่างกระทรวง
สาธารณสุุข สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ และบริิษััท เอสซีีจีี โลจิิสติิกส์์
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
19 ธั ันวาคม
แมเนจเม้้นท์์ จำำ�กััด เพื่่� อร่่วมมืือและแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้�ทางวิิชาการ สนัับสนุุน
การพััฒนาเทคโนโลยีีอัันเกี่่�ยวข้้องกัับการปฎิิบััติิการฉุุกเฉิิน ความปลอดภััย ของรถบริิการการแพทย์์ฉุุกเฉิิน และสนัับสนุุนการฝึึกอบรมพััฒนาศัักยภาพ
จัังหวััดอุุดรธานีี โดยมีี นพ.ประพนธ์์ ตั้้�งศรีีเกีียรติิกุุล ผู้้�ช่่วยรััฐมนตรีีประจำำ� สำำ�นัก ั นายกรััฐมนตรีี เป็็นประธานในพิิธีี
23 ธั ันวาคม 2563
ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิ ย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ประชุุมหารืือเรื่่�อง
การพััฒนาหลัักสููตรการแพทย์์ในถิ่่�นทุุรกัันดาร wilderness medicine ร่่วมกัับ นพ.ประสาน
เปี่่�ยมอนัันต์์ และ นพ.ธีีรพล ตั้้� งสุุวรรณรัักษ์์ ณ โรงแรมดิิเอ็็มเพรส จัังหวััดเชีียงใหม่่
24 ธั ันวาคม 2563
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
ผู้้�ปฏิิ บััติิการในระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ณ ศููนย์์ประชุุ มมณฑาทิิ พย์์ ฮอลล์์
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมคณะผู้้�บริิหาร เข้้าร่่วมงานการ
มอบของขวััญปีีใหม่่ 2564 คนไทยทุุกครอบครััวมีีหมอประจำำ�ตััว 3 คน “ดููแล ใกล้้ตััว ใกล้้บ้า้ น ใกล้้ใจ” ทั้้�งนี้้� สพฉ. ได้้จััดบููธนิิทรรศการให้้ความรู้้� จััดกิิจกรรม
สาธิิตการทำำ� CPR และการใช้้เครื่่�อง AED ให้้กัับ อสม. และผู้้�มาร่่วมงาน ณ กระทรวงสาธารณสุุข โดยมีี นายอนุุทิิน ชาญวีีรกููล รองนายกรััฐมนตรีีและ รััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธานในพิิธีี
77
รายงานประจำำ�ปีี 2564
28 ธั ันวาคม
ปลอดโรคปลอดภัั ย "ขัับไม่่ดื่่� ม ดื่่� มไม่่ขัับ" พร้้อมกัั นนี้้� สพฉ. ได้้ รณรงค์์ ให้้ ผู้้�มาร่่วมงานและประชาชนทั่่�วไปโทร 1669 เวลาเกิิดเหตุุฉุก ุ เฉิิน ณ กระทรวง
2563
สาธารณสุุข โดย ดร.สาธิิต ปิิตุเุ ตชะ รััฐมนตรีีช่ว ่ ยว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธาน
11 มกราคม กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
2564
สพฉ. จััดประชุุมหารืือการทำำ�ความเข้้าใจกัับทีีม SCOT และศููนย์์รัับแจ้้งเหตุุ 1669 ประจำำ�จัั ง หวัั ด ในสถานการณ์์ COVID 19 ณ ห้้ อ งประชุุ มชั้้� น 5
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
11 มกราคม 2564
12 มกราคม 2564
78
ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิ ย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร สพฉ. ร่่ ว มงานรณรงค์์ คาถาปีี ใ หม่่
สพฉ. จัั ด ประชุุ มห ารืื อ การจัั ดทำำ�ร่่ า งมาตรฐานคุุ ณ วุุ ฒิิ ฉุุ ก เฉิิ น การแพทย์์
(มคฉ.1) ณ ห้้องประชุุม A602 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ และผ่่านทาง
ออนไลน์์ โดยมีี รศ.ไชยพร ยุุกเซ็็น เป็็นประธาน และพ.อ.นพ.สุุรจิิต สุุนทรธรรม เป็็นที่่�ปรึึกษา
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ได้้รับ ั เชิิญจากสถานีีโทรทััศน์ไ์ ทย พีีบีเี อส (Thai PBS) เพื่่� อให้้สัม ั ภาษณ์์ประเด็็นหน่่วยปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินพิิเศษ :
SCOT ในสถานการณ์์ ก ารแพร่่ ร ะบาดของโรคติิ ด เชื้้� อ ไวรัั ส โคโรนา 2019 (COVID-19) ณ สถานีีโทรทััศน์ไ์ ทยพีีบีเี อส
2564
13 มกราคม
ร่่วมกัับกองบัังคัับการตำำ�รวจน้ำำ� ณ ห้้องประชุุม A601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน แห่่งชาติิ
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เข้้าร่่วมประชุุม
เพื่่� อรัับฟังั แผนงานการดำำ�เนิินการ ขอบเขตงาน ซึ่่�งเป็็นส่่วนหนึ่่�งของการดำำ�เนิินงาน
ภายใต้้ โ ครงการพัั ฒ นาศููนย์์ รัั บ เรื่่� องและจ่่ า ยงานฉุุ ก เฉิิ น การแพทย์์ ใ ห้้ เ ป็็ น ระบบดิิจิิทััล ณ อาคาร 20 บริิษััท โทรคมนาคมแห่่งชาติิ จำำ�กััด (มหาชน)
20 มกราคม 2564
สพฉ. จััดประชุุมเชิิงปฏิิบััติิการพััฒนาเสริิมสร้้างความรู้้� เพิ่่�มพููน ทัักษะ ความตระหนััก จััดทำำ�ระบบในการบริิหารความเสี่่�ยงและ ควบคุุมภายใน ณ ห้้องประชุุ ม A601 สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิน แห่่งชาติิ โดยมีี ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ �ชั ำ ย ั รองเลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
20 มกราคม 2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
2564
การทำำ� บัั น ทึึกข้้ อ ตกลงว่่ า ด้้ ว ยการปฏิิ บัั ติิ ก ารการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ทางน้ำำ�
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
13 มกราคม
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ร่่วมหารืือการเตรีียมความพร้้อมใน
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เข้้าร่่วมประชุุมคณะอนุุกรรมการศึึกษา เสนอแนะแนวทางการพััฒนาการกู้้�ชีีพฉุุกเฉิิน วุุฒิส ิ ภา ณ ห้้องประชุุม 412 ชั้้�น 4 อาคารรััฐสภาเกีียกกาย โดยมีี นายสุุรชััย เลี้้�ยงบุุญเลิิศชัย ั สมาชิิกวุุฒิส ิ ภา เป็็นประธาน
79
รายงานประจำำ�ปีี 2564
สพฉ. เป็็ น ผู้้�แทนมอบอุุ ป กรณ์์ ก ารแพทย์์
21 มกราคม
จากมููลนิิธิิ เทมาเสก อิินเตอร์์เนชั่่�นแนล ให้้กับ ั
โรงพยาบาลรามาธิิบดีี โรงพยาบาลราชวิิถีี
2564
ตััวแทนสำำ�นัก ั งานสาธารณสุุขจัังหวััดเพชรบููรณ์์ และตัั ว แทนสำำ�นัั ก งานสาธารณสุุ ข จัั ง หวัั ด เชีียงใหม่่ ณ สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
26 มกราคม 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ประชุุมหารืือระบบสารสนเทศ ภููมิิศาสตร์์ประยุุกต์์ เพื่่� อการติิดตามอากาศยาน พาหนะ และบุุคคล ร่่วมกัับ พล.อ.ต.ชัั ย ณรงค์์ พัั น ธุ์์�เทศ ผู้้�บัั ง คัั บศูู นย์์ ก ารลาดตะเวนทางอากาศและ เทคโนโลยีีภููมิิสารสนเทศ ณ ห้้องประชุุมศููนย์์การลาดตะเวนทางอากาศและ เทคโนโลยีีภููมิส ิ ารสนเทศ กรมควบคุุมการปฏิิบัติ ั ก ิ ารทางอากาศ กองทััพอากาศ
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
26 มกราคม 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เข้้าหารืือ
การดำำ�เนิินงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทางอากาศ และแนวทางการจััดฝึึกอบรมการลำำ�เลีียง ผู้้�ป่่วยทางอากาศ ในสถานการณ์์การแพร่่ระบาดระลอกใหม่่ของโรคติิดเชื้้�อไวรััส โคโรนา (COVID-19) ร่่วมกัับ พล.อ.ต วรงค์์ ลาภานัันต์์ ผู้้�อำำ�นวยการสถาบัันเวชศาสตร์์ การบิินกองทััพอากาศ ณ สถาบัันเวชศาสตร์์การบิินกองทััพอากาศ
27 มกราคม 2564
สพฉ. จััดประชุุมหารืือการบููรณาการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ในนิิ ค มอุุ ต สาหกรรมทั่่� ว ประเทศ กัั บ รองผู้้�ว่่ า การนิิ ค ม อุุตสาหกรรม และเจ้้าหน้้าที่่� ณ ห้้องประชุุมชั้้�น 5 สถาบััน
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
28 มกราคม 2564
สพฉ. เข้้าร่่วมประชุุมหารืือแนวทางการเบิิกจ่่าย
ค่่ า ช ด เ ช ย อ า ก า ศย า น แ ล ะ ก า ร ข ย า ย บัั น ทึึ ก ความร่่วมมืือเพิ่่�มเติิมในเรื่่�องยานพาหนะทางบก
และทางน้ำำ�ของกองทััพบก ณ ห้้องประชุุม ชั้้�น 3 กองการบิินทหารบก กรมยุุทธการทหารบก
80
2564
เรื่่� องนโยบายและทิิ ศ ทางการพัั ฒ นาระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ให้้ กัั บนิิ สิิ ต หลัั ก สููตรวิิ ท ยาศาสตรบัั ณ ฑิิ ต สาขาวิิ ช าปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น การแพทย์์
คณะแพทยศาสตร์์ มห าวิิ ท ยาลัั ย พะเยา พร้้ อ มกัั บ เข้้ า ตรวจเยี่่� ยม ระบบ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่�ห้อ ้ งฉุุกเฉิินโรงพยาบาลมหาวิิทยาลััยพะเยา และห้้องศููนย์์ รัับแจ้้งเหตุุและสั่่�งการโรงพยาบาลพะเยา โดยมีี ศ.นพ.สุุกิิจ พัันธุ์์�พิิมานมาศ รัักษาการแทนคณบดีี คณะแพทยศาสตร์์มหาวิิทยาลััยพะเยา เป็็นประธาน
ก า ร พัั ฒ น า ร ะ บบ แ พ ท ย์์ อำำ� น ว ย ก า ร แ ล ะ ก า ร แ พ ท ย์์ ฉุุ ก เ ฉิิ น ท า ง อ า ก า ศ เขตสุุขภาพที่่� 8 ณ สำำ�นัก ั งานสาธารณสุุขจัังหวััดอุุดรธานีี โดยมีี นพ.ปรเมษฐ์์ กิ่่�งโก้้
2564
9 กุุ มภาพั ันธ์ ์ 2564
นายแพทย์์สาธารณสุุขจัังหวััดอุุดรธานีี ให้้การต้้อนรัับ
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร
สพฉ. เข้้าประชุุมหารืือแนวทางความร่่วมมืือในการออกแบบ
การให้้บริิการระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินในเขตพื้้� นที่่�พิิเศษ EEC ระหว่่าง สพร. และ สพฉ. ณ ห้้องประชุุมวิภ ิ าวดีี ชั้้�น 18 อาคาร บางกอกไทยทาวเวอร์์ 108 สำำ�นัก ั งานพััฒนารััฐบาลดิิจิิทััล
10 กุุมภาพั ันธ์ ์ 2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เข้้าร่่วมประชุุม
4 กุุ มภาพั ันธ์ ์
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
2 กุุ มภาพั ันธ์ ์
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. บรรยาย
ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิ ย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร สพฉ. พร้้ อ มด้้ ว ยบุุ ค ลากร สพฉ.
เข้้ า ร่่ ว มประชุุ ม ประสานโครงการภายใต้้ แ ผนบููรณาการเขตพัั ฒ นาพิิ เ ศษ ภาคตะวัันออกปีีงบประมาณ 2565 กัับเครืือข่่ายแพทย์์ฉุุกเฉิินในเขตพื้้� นที่่�
พัั ฒ นาพิิ เ ศษ ณ ห้้ อ งประชุุ ม องค์์ ก ารบริิ ห ารส่่ว นจัั งหวัั ด ระยอง พร้้ อ มทั้้� ง
เข้้ า ศึึกษาดููงานและเยี่่� ยม ให้้ กำำ�ลัั ง ผู้้�ปฏิิ บัั ติิ ง านในระบบการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ณ มููลนิิธิส ิ ว่่างพรกุุศลและศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการโรงพยาบาลระยอง
81
รายงานประจำำ�ปีี 2564
11 กุุมภาพั ันธ์ ์ 2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
16 กุุมภาพั ันธ์ ์ 2564
สพฉ. จัั ด อบรมความรู้้�เสริิ ม สร้้ า งคุุ ณ ธรรมความโปร่่ ง ใสและ ไขข้้ อ ข้้ อ งใจในข้้ อ คำำ� ถามการประเมิิ น ITA ประจำำ�ปีี 2564 ณ ห้้ อ งประชุุ ม A602 สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ โดยมีี วิิทยากรจาก สำำ�นัก ั งาน ปปช.
ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิ ย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร สพฉ. พร้้ อ มด้้ ว ยบุุ ค ลากร สพฉ. เข้้าหารืือการเตรีียมความพร้้อมในการทำำ�บัันทึึกความร่่วมมืือการปฏิิบััติิการ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทางน้ำำ� รวมทั้้�งการปฎิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินทางน้ำำ�เพื่่� อรองรัับกรณีี
สาธารณภััยทางฝั่่�งแม่่น้ำ�ำ โขงระหว่่างตำำ�รวจน้ำำ�และสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิน แห่่งชาติิ ณ กองบัังคัับการตำำ�รวจน้ำำ� จัังหวััดสมุุทรปราการ
19 กุุมภาพั ันธ์ ์ 2564
23 กุุมภาพั ันธ์ ์ 2564
สพฉ. และการกีีฬาแห่่งประเทศไทย (กกท.) ร่่วมลงนามบัันทึึกความร่่วมมืือ
การดำำ� เนิิ น งานการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ด้้ า นการกีี ฬ า เพื่่� อสร้้ า งความปลอดภัั ย ในการจัั ด การแข่่ ง ขัั น กีี ฬ าและการเล่่ น กีี ฬ า ณ ห้้ อ งประชุุ ม 1 ชั้้� น 4 อาคารเฉลิิมพระเกีียรติิ 7 รอบ พระชนมพรรษา การกีีฬาแห่่งประเทศไทย
สพฉ. จััดประชุุมชี้้แ � จงประกาศสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
เรื่่�อง เกณฑ์์ วิิธีก ี าร และแนวทางการรัับรองมาตรฐานรถบริิการ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน พ.ศ.2564 กัับหน่ว่ ยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องทั่่�วประเทศ ณ ห้้ อ งประชุุ ม A601 สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
82
2564
25 กุุมภาพั ันธ์ ์ 2564
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในพื้้� นที่่� ณ โรงพยาบาลกรุุงเทพ โรงพยาบาลสมุุทรปราการ และมููลนิิธิร่ิ ว ่ มกตััญญููสมุุทรปราการ
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
23 กุุมภาพั ันธ์ ์
สพฉ. พร้้อมด้้ วยคณะสำำ�นัักงบประมาณศึึกษาดููงานเพื่่� อศึึกษาดููงานระบบ
พลเอกประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีี นายอนุุทิิน ชาญวีีรกููล รองนายก รััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่า่ การกระทรวงสาธารณสุุข และ ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา
เลขาธิิการ สพฉ. ตรวจเยี่่�ยมการฉีีดวััคซีีนโควิิด 19 ครั้้�งแรกในประเทศไทย
1 มีี นาคม
สพฉ. จััดประชุุมเตรีียมความพร้้อมทีีมวิิทยากรในการประชุุมเชิิงปฏิิบััติิการ
“การเข้้าสู่่ก � ระบวนการการฝึึกเป็็นผู้้�เยี่่�ยมสำ�ำ รวจเพื่่� อตรวจประเมิินและรัับรอง
2564
คุุณภาพระบบบริิการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งประเทศไทย ณ ห้้องประชุุม A601
2-3 มีี นาคม
สพฉ. ร่่วมกัับสำ�นั ำ ก ั งานเขตสุุขภาพที่่� 10 จััดการประชุุมรููปแบบระบบสุุขภาพ
2564
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
ณ หอประชุุมอััจฉรา สถาบัันบำำ�ราศนราดููร กระทรวงสาธารณสุุข
ชุุมชนสู่่ร� ะบบบริิการสุุขภาพอย่่างไร้้รอยต่่อ สำำ�หรับผู้้�สูู ั งอายุุกลุ่่�มเสี่่�ยง STROKE, STEMI, Hip Fracture แบบบููรณาการในเขตสุุขภาพที่่� 10 ณ ห้้องประชุุม โรงแรม
บ้้านสวน คุุณตา กอล์์ฟ แอนด์์รีส ี อร์์ท อ.วาริินชำำ�ราบ จ.อุุบลราชธานีี โดยมีี นพ.สุุวิท ิ ย์์ โรจนศัักดิ์์�โสธร ผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นัก ั งานเขตสุุขภาพที่่� 10 เป็็นประธาน
83
รายงานประจำำ�ปีี 2564
11-12 มีี นาคม 2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
17-19 มีี นาคม 2564
สพฉ. ประชุุมศึึกษาและเก็็บข้้อมููลพื้้� นที่่�โครงการวิิจััย “รููปแบบ
การจัั ดการความปลอดภัั ยและเพิ่่�มประสิิทธิิภาพการให้้บริิการ การแพทย์์ฉุุกเฉิินของรถพยาบาลในประเทศไทย” จัังหวััดลำ�พูู ำ น ณ จัังหวััดลำ�พูู ำ น โดยมีี ดร.พิิเชษฐ์์ หนองช้้าง เป็็นประธาน
สพฉ. จััดประชุุมเชิิงปฏิิบััติิการ “การเตรีียมความพร้้อมผู้้�เยี่่�ยมสำ�ำ รวจ เพื่่� อเข้้าสู่่�กระบวนการตรวจประเมิินและรัับรองคุุณภาพระบบบริิการ
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งประเทศไทย (Thai Emergency Medical Service Accreditation : TEMSA) รุ่่�นที่่� 1” ณ ห้้องประชุุมทิวิ ลิิป โรงแรมรามาการ์์เดนส์์ กรุุ งเทพมหานคร โดยมีี นพ.พงศ์์ธร เกีี ยรติิ ดำ�ำ รงวงศ์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุ ฒิิ
เป็็นประธาน
18 มีี นาคม 2564
สพฉ. จััดประชุุมคณะทำำ�งานประเมิินและการสอบ
เพื่่� อให้้ประกาศนีียบััตรหรืือเครื่่�องหมายวิิทยฐานะ
แก่่ ผู้้�ผ่่ า นการศึึกษาหรืื อ ฝึึ ก อบรมจากองค์์ ก ร
การศึึกษาหรืือฝึึกอบรมที่่� อศป. รัับรองชุุดเจ้้าพนัักงาน
ฉุุกเฉิินการแพทย์์ (คปส.จฉพ.) ณ ห้้องประชุุม A601
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี พญ.วนััชพร อุุสส่่าห์์กิิจ เป็็นประธาน
26 มีี นาคม 2564
84
สพฉ. จััดประชุุมเชิิงปฏิิบัติ ั ิการการวิิเคราะห์์ผลิิตภััณฑ์์องค์์กร การจััดทำำ� Risk Matrix & Risk Profile ณ ห้้องประชุุม B602 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี นพ.พงศ์์ธร เกีียรติิดำำ�รงวงศ์์ เป็็นประธาน
2564
2 เมษายน
จาก รพ.เทศบาล และมููลนิิ ธิิ ณ โรงแรมริิ เ วอร์์ ไ ซด์์ จ.นครปฐม โดยมีี นพ.ปริิพนธ์์ จุุลเจิิม รอง นพ.สสจ.นครปฐม เป็็นประธาน
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เข้้าร่่วม ประชุุมการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินเพื่่� อบููรณาการทางบก ทางน้ำำ� และ ทางอากาศจัังหวััดระนอง เพื่่� อร่่วมหารืือแนวทางการดำำ�เนิินงานการแพทย์์
ฉุุ ก เฉิิ น ในพื้้� นที่่� จัั ง หวัั ด ระนอง ณ ห้้ อ งประชุุ มม รกต ชั้้� น 3 อาคาร 1 สำำ�นัก ั งานสาธารณสุุข จ.ระนอง
7 เมษายน 2564
7 เมษายน 2564
นพ.พงศ์์ธร เกีียรติิดำำ�รงวงศ์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ร่่วมประชุุมเพื่่� อประชาสััมพัันธ์์ประกาศเกณฑ์์มาตรฐานรถบริิการการแพทย์์ ฉุุกเฉิิน และหารืือข้้อราชการ ณ ห้้องประชุุม 2 กรมขนส่่งทางบก กทม.
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
2564
ฉุุกเฉิินวิิกฤตสุุขภาพจิิต สำำ�หรับบุ ั ุคลากรกู้้�ชีีพ ประกอบเครืือข่่ายผู้้�ปฏิิบัติ ั ิงาน
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
2 เมษายน
ผู้้�แทน สพฉ. เข้้าร่่วมการจััดอบรมฟื้้�นฟููความรู้้�ทางวิิชาการ การดููแลผู้้�ป่่วย
สพฉ. จัั ดประชุุ มคณะกรรมการคัั ดเลืื อกผู้้�มีีสิิทธิิเข้้ารัับการอบรมหลัั กสููตร
การลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วยทางอากาศ (Basic Aeromedical Evacuation Course) ครั้้�งที่่� 1/2564 เพื่่� อพิิจารณาเกณฑ์์และคุุณสมบััติิของผู้้�มีีสิท ิ ธิิเข้้ารัับการอบรม หลัักสููตรดัังกล่่าว ณ ห้้องประชุุม A602 สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี น.อ.นพ.พิิสิท ิ ธิ์์� เจริิญยิ่่�ง เป็็นประธาน
85
รายงานประจำำ�ปีี 2564
8 เมษายน 2564
15-16 เมษายน กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
2564
ผู้้�แทน สพฉ. เข้้ า ร่่ ว มการฝึึ ก ซ้้ อ มบนโต๊๊ ะ จำำ�ล อง (Tabletop Exercise)
ตามแผนฉุุ ก เฉิิ น ท่่ า อากาศยานสุุ ว รรณภููมิิ ประจำำ�ปีี ง บประมาณ 2564 (SEMEX-21) ณ ห้้องประชุุม AOB 1 ชั้้�น 5 อาคารสำำ�นัักงานท่่าอากาศยาน สุุวรรณภููมิิ
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ลงพื้้�นที่่�เพื่่�อประชุุมปรึึกษาหารืือ
การพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินในองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นและ การจััดระบบ Skydoctor ร่่วมกัับนายธนภณ กิิจกาญน์์ นายก อบจ.จัันทบุุรีี และ นายทรงยศ เทีี ย นทอง กรรมการการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น และ พญ.ธนัันญา ศัักดาเดช ณ มููลนิิธิส ิ ว่่างกตััญญููจัันทบุุรีี
21 เมษายน 2564
สพฉ. จัั ด ประชุุ มชี้้� แ จงเกณฑ์์ วิิ ธีี ก ารและแนวทางการปฏิิ บัั ติิ ข อง ชุุดปฏิิบัติ ั ิการฉุุกเฉิินพิิเศษที่่�ออกปฏิิบัติ ั ิการในกรณีีผู้้�ป่ว ่ ยโรคติิดเชื้้�อไวรััส โควิิด 2019 (ฉบัับที่่� 3) พ.ศ.2564 ณ ห้้องประชุุม B401 สถาบัันการแพทย์์
ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชัย ั รองเลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
24 เมษายน 2564
สพฉ. จัั ด ปฐมนิิ เ ทศเพื่่� อเตรีี ยม ความพร้้ อ มของทีี ม ปฏิิ บัั ติิ ก ารพิิ เ ศษ ในการออกรัับผู้้�ติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ในพื้้� นที่่�กทม. ไปยัังโรงพยาบาล เพื่่� อ ใ ห้้ มีี ค ว า ม พ ร้้ อ ม แ ล ะ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร อ อ ก ป ฏิิ บัั ติิ ก า ร ด้้ ว ย ความปลอดภัั ย ณ ห้้ อ งประชุุ ม B401 สถาบัั น การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น แห่่ ง ชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ร่่วมสัังเกตการณ์์
86
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ลงพื้้� นที่่�เยี่่�ยมศููนย์์สื่่�อสารสั่่�งการ โรงพยาบาลพระนั่่� ง เกล้้ า เพื่่� อติิ ดต ามสถานการณ์์ แ ละประเด็็ น ปัั ญ หา ของการปฏิิ บัั ติิ ง านในช่่ ว งการระบาดของเชื้้� อไวรัั ส โคโรนา 2019 และ
2564
29 เมษายน 2564
มอบของที่่�ระลึึกและ PPE ส่่วนหนึ่่�งเพื่่� อสนัับสนุุนการปฏิิบััติิงาน
นายอนุุ ทิิ น ชาญวีี ร กููล รองนายกรัั ฐม นตรีี แ ละรัั ฐม นตรีี ว่่ า การกระทรวง
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
25 เมษายน
สาธารณสุุ ข เดิิ น ทางมาตรวจเยี่่� ยม ความพร้้ อ มของทีี ม ปฎิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก ฉิิ น
จากมููลนิิธิิ องค์์กร และจิิตอาสา ที่่�จะทำำ�หน้า้ ที่่�รับ ั และส่่งผู้้�ป่่วยโควิิด 19 มายััง ศููนย์์แรกรัับอาคารนิิมิบุ ิ ต ุ ร สนามกีีฬาแห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา
เลขาธิิการ สพฉ. ให้้คำำ�แนะนำำ�ถึึงความพร้้อมต่่างๆ ในส่่วนของรถปฎิิบัติ ั ิการ
มาประจำำ�การ เพื่่� อการประสานงานสื่่�อสารที่่� ดีีระหว่่ างศููนย์์แรกรัับและทีี ม ชุุดปฏิิบัติ ั ิการรัับ-ส่่งผู้้�ป่่วยโควิิด19
29 เมษายน 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เข้้าร่่วม
ประชุุ ม การสนัั บ สนุุ น การเคลื่่� อนย้้ า ยผู้้�ป่่ ว ยโควิิ ด 19 ที่่� เ ป็็ น ผู้้�ป่่ ว ยสีี เ ขีี ย ว ร่่วมกัับกรมยุุทธบริิการทหารและกองทััพ ภาคที่่� 1 ซึ่่ง� ได้้มีก ี ารตั้้�งศููนย์์สนัับสนุุน
การเคลื่่� อนย้้ายผู้้�ติิ ดเชื้้�อโควิิ ด 19 ศููนย์์ปฏิิ บััติิการแก้้ ไขสถานการณ์์ฉุุกเฉิิน ด้้านความมั่่�นคง ณ กรมยุุทธบริิการทหาร กองบััญชาการกองทััพไทย
5 พฤษภาคม 2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
รัับส่่งผู้้�ป่่วย และในด้้านการสื่่�อสาร ซึ่่�ง สพฉ. จััดเตรีียมรถสื่่�อสารเฉพาะกิิจ
ผู้้�แทน สพฉ. จััดปฐมนิิเทศให้้กับ ั ทหารอาสา กรมทหารขนส่่ง และเจ้้าหน้้าที่่�จิต ิ อาสา
จากมููลนิิธิิเพชรเกษมกรุุงเทพ เพื่่� อเตรีียมความพร้้อมในการออกปฏิิบััติิการพิิเศษ
ไปรัับผู้้�ติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ในการเตรีียมความพร้้อมการใส่่ชุุด PPE และ การปฏิิ บััติิตััวที่่� ถููกวิิ ธีีทั้้� งก่่ อนและหลัั งออกปฏิิ บััติิการ รวมถึึงการเตรีียมพาหนะ ออกรัับผู้้�ป่ว ่ ยติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ณ กรมทหารขนส่่ง กรุุงเทพมหานคร
87
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วย คุุณธััณณ์์จิริ า ธนาศิินิธั ิ ช ั นัันท์์
รายงานประจำำ�ปีี 2564
9 พฤษภาคม
ผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นัก ั ประสานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ลงพื้้� นที่่�ตรวจเยี่่�ยมศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุ
และสั่่�งการ 1669 มููลนิิธิก ิ ารกุุศลสมุุทรสาคร และจัังหวััดในเขตปริิมณฑล
2564
13 พฤษภาคม 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ร่่วมกัับผู้้�บริห ิ ารกระทรวงสาธารณสุุข
ตรวจความพร้้ อ มและระบบส่่ ง ต่่ อ ผู้้�ป่่ ว ยโควิิ ด ณ โรงพยาบาลบุุ ษ ราคัั ม บริิเวณ Impact Challenger 1-3 เมืืองทองธานีี ซึ่่�ง พล.อ.ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีี เป็็นประธานในพิิธีเี ปิิด
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
สพฉ. จัั ดพิิ ธีี ม อบอุุ ป กรณ์์ สำ�หรั ำ ั บหน่่ ว ยปฎิิ บัั ติิ ก าร
14 พฤษภาคม
มููลนิิ ธิิ แ ละองค์์ ก รปกครองส่่ ว นท้้ อ งทิ่่� น ทั่่� ว ประเทศ เพื่่� อสนัับสนุุนการปฏิิบััติิการของผู้้�ปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน
2564
ในสถานการณ์์การระบาดของเชื้้�อไวรััส COVID 19 ณ สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี นายอนุุทิน ิ ชาญวีี รกููล รองนายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการ
กระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธานในพิิธีม ี อบ
17 พฤษภาคม 2564
ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิ ย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร สพฉ. และ ว่่ า ที่่� ส.ท.เอก โอฐน้้ อ ย ผู้้�เชี่่� ย วชาญ
ด้้านดิิจิิทััล เข้้าร่่วมการประชุุมศููนย์์ปฏิิบััติิการ ศููนย์์บริห ิ ารสถานการณ์์โควิิด 19 (ศปก. ศบค.) และศููนย์์บููรณาการการแก้้ไขสถานการณ์์โควิิด - 19
ในพื้้� นที่่� ก รุุ งเทพมหานคร และปริิ ม ณฑล ณ ตึึกสัันติิไมตรีี ทำำ�เนีียบรัฐบ ั าล
18 พฤษภาคม 2564
88
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เข้้าร่่วมตรวจเยี่่�ยมการปฏิิบัติ ั ิงาน
ของเจ้้าหน้้าที่่�โรงพยาบาลบุุษราคััม ร่่วมกัับนายอนุุทิิน ชาญวีีรกููล รองนายก
รััฐม นตรีีแ ละรัั ฐม นตรีี ว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข ณ อาคารชาเลนเจอร์์ อิิมแพคเมืืองทองธานีี
2564
บรรยากาศในการทำำ�งานและสอบถามปััญหาอุุปสรรคในการทำำ�งาน พร้้อมกัับ
ให้้นโยบายในการทำำ�งานกัั บผู้้�ปฏิิ บััติิการที่่� ศููนย์์แรกรัับและส่่งต่่ อกระทรวง สาธารณสุุข ณ อาคารนิิมิบุ ิ ุตร
26 พฤษภาคม
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ร่่วมกัับ คณะนายจุุริน ิ ทร์์ ลัักษณวิิศิษ ิ ฏ์์ รองนายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่า่ การกระทรวง พาณิิชย์์ ลงพื้้� นที่่�ตรวจเยี่่�ยมเพื่่� อเตรีียมความพร้้อมการจััดตั้้�งโรงพยาบาลสนาม บ้้านวิิทยาศาสตร์์
สิิริน ิ ธรเพื่่� อคนพิิการ ในการบริิหารจััดการเพื่่� อให้้บริก ิ าร
ผู้้�ป่่วยพิิการที่่�อายุุระหว่่าง 15 - 65 ปีี ที่่�ได้้รับ ั เชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ณ อาคาร
บ้้านวิิทยาศาสตร์์สิริิ น ิ ธร อุุทยานวิิทยาศาสตร์์ประเทศไทย อำำ�เภอคลองหลวง จัังหวััดปทุุมธานีี
26 พฤษภาคม 2564
นายอนุุ ทิิ น ชาญวีี ร กููล รองนายกรัั ฐม นตรีี แ ละรัั ฐม นตรีี ว่่ า การกระทรวง สาธารณสุุข ร่่วมกัับ ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วย
บุุคลากร สพฉ. ตรวจเยี่่�ยมการดำำ�เนิินงานบริิการฉีีดวััคซีีนป้้องกััน COVID-19 ณ ศููนย์์ฉีดวั ี ัคซีีนกลางบางซื่่�อ (Central Vaccination Center) ณ สถานีีกลาง บางซื่่�อ
27 พฤษภาคม 2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
2564
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
19 พฤษภาคม
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. เยี่่�ยมชม
สพฉ. จััดประชุุมหารืือการดำำ�เนิินการหลัักสููตร
การศึึกษาของสถาบัันพระบรมราชชนก โดยมีี ดร.วิิ นัั ย สยอวรรณ คณบดีี ค ณะสาธารณสุุ ข
ศาสตร์์และสหเวชศาสตร์์ พร้้อมด้้ วยผู้้�บริิหาร และคณาจารย์์ ป ระจำำ�หลัั ก สููตรเข้้ า ร่่ ว มหารืื อ
ผ่่านระบบออนไลน์์ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
89
รายงานประจำำ�ปีี 2564
28 พฤษภาคม 2564
29 พฤษภาคม 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ลงพื้้� นที่่�
เพื่่� อติิดตามและรัับทราบถึึงปััญหาการเคลื่่�อนย้้ายผู้้�ป่่วยทางอากาศในพื้้� นที่่�
จัั งหวัั ดกาญจนบุุ รีี ณ กองร้้อยบิิน กองพลทหารราบที่่� 9 กองกำำ�ลัังสุุรสีีห์์ โดยมีี พ.ท.สมชาย วงศ์์รุ้้�ง ให้้ข้อ ้ มููล
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ลงพื้้� นที่่�
เพื่่� อประชุุ มหารืือและให้้ข้้อแนะนำำ�ในเรื่่�องการพััฒนาและขัับเคลื่่� อนระบบ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทางอากาศในพื้้� นอำำ�เภอทองผาภููมิิ ณ โรงพยาบาลทองผาภููมิิ จัังหวััดกาญจนบุุรีี
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
31 พฤษภาคม 2564
ส พ ฉ . ป ร ะ ชุุ ม ก า ร กำำ�กัั บ ติิ ดต า ม แ ล ะ
ขัั บ เ ค ลื่่� อ น ก า ร ดำำ� เ นิิ น ง า น แ น ว ท า ง
การดำำ� เนิิ น การตาม มคฉ.1 โครงการ ตำำ� ราของสถาบัั น ฯ การจัั ดตั้้� ง วิิ ท ยาลัั ย
วิิ ช าการการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น นวัั ต กรรม การแพทย์์ฉุุกเฉิิน โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
1 มิิถุน ุ ายน 2564
น.อ.นพ.พิิสิิทธิ์์� เจริิญยิ่่�ง ผู้้�เชี่่�ยวชาญพิิเศษด้้านปฏิิบััติิการฉุุกเฉิิน พร้้อมด้้วย
บุุคลากร สพฉ. ลงพื้้� นที่่�เยี่่�ยมชมจุุดบริิการฉีีดวััคซีีนป้้องกัันเชื้้�อไวรััสโคโรน่่า 2019 นอกสถานพยาบาลที่่�ขอสนัับสนุุนทีีม BLS จากสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
แห่่งชาติิ ตามสถานที่่� ต่่างๆ ได้้ แก่่ สำำ�นัักปลัั ดกระทรวงสาธารณสุุข สถานีี กลางบางซื่่�อ และเดอะมอลล์์บางแค
90
2564
9 มิิถุน ุ ายน 2564
โรคโควิิด 19 นอกสถานพยาบาลที่่�สำ�นั ำ ก ั อนามััยขอสนัับสนุุนทีีม BLS จากสถาบััน การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ณ โรบิินสัันลาดกระบััง และธััญญาพาร์์ค ศรีีนคริินทร์์
ผู้้�แทน สพฉ. เข้้าร่่วมการแถลงข่่าวและพิิธีล ี งนามบัันทึึกข้้อตกลง โครงการ 2 หลัักสููตร
“หลัักสููตรวิิทยาศาสตร์์ สาขาวิิชาการฉุุกเฉิินการแพทย์์” และ “หลัักสููตรวิิทยาศาสตร์์
สาขาวิิชาวิิทยาศาสตร์์การกีีฬา” เพื่่� อสร้้างนัักฉุุกเฉิินการแพทย์์ด้า้ นการกีีฬา ระหว่่าง
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
8 มิิถุน ุ ายน
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ลงพื้้� นที่่�เยี่่�ยมจุดบริ ุ ก ิ ารฉีีดวัค ั ซีีนป้้องกััน
คณะแพทยศาสตร์์โรงพยาบาลรามาธิิบดีี และวิิทยาลััยวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี
การกีีฬา มหาวิิทยาลััยมหิดล ิ ณ ห้้องประชุุม 913 B - C ชั้้�น 9 อาคารเรีียนและปฏิิบัติ ั ก ิ ารฯ โรงพยาบาลรามาธิิบดีี
2564
“หลัักสููตรวิิทยาศาสตร์์ สาขาวิิชาการฉุุกเฉิินการแพทย์์” และ “หลัักสููตรวิิทยาศาสตร์์ สาขาวิิ ชาวิิ ทยาศาสตร์์การกีี ฬา” เพื่่� อสร้้างนัักฉุุกเฉิินการแพทย์์ด้้านการกีี ฬา ระหว่่ า งคณะแพทยศาสตร์์ โรงพยาบาลรามาธิิ บดีี และวิิ ท ยาลัั ยวิิท ยาศาสตร์์
และเทคโนโลยีีการกีีฬา มหาวิิทยาลััยมหิดล ิ ณ ห้้องประชุุม 913 B - C ชั้้�น 9 อาคาร เรีียนและปฏิิบัติ ั ิการฯ โรงพยาบาลรามาธิิบดีี
9 มิิถุน ุ ายน 2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
9 มิิถุน ุ ายน
ผู้้�แทน สพฉ. เข้้าร่่วมการแถลงข่่าวและพิิธีล ี งนามบัันทึึกข้้อตกลง โครงการ 2 หลัักสููตร
ดร.สาธิิต ปิิตุเุ ตชะ รััฐมนตรีีช่ว่ ยว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข พร้้อมด้้วย ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ
แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ตรวจเยี่่�ยมการฉีีดวัค ั ซีีนโควิิดที่่เ� กาะเสม็็ดแบบปููพรม ซึ่่ง� เป็็นต้้น
แบบการฉีี ดวัั ค ซีี น ใน รพ.สต. ครั้้� ง แรก วัั น เดีี ย วครอบคลุุ ม กลุ่่�มเป้้ า หมายบนเกาะ 100 เปอร์์เซ็็นต์์ ทั้้�งเจ้้าหน้้าที่่�อุท ุ ยาน ประชาชน กลุ่่�มแรงงานต่่างด้้าว เร่่งสร้้างความเชื่่�อมั่่�น
เดิินหน้้าภาคเศรษกิิจท่่องเที่่�ยวให้้กลัับคืืนโดยเร็็ว และยัังมีีการเตรีียมรองรัับสถานการณ์์
ฉุุกเฉิิน ได้้เตรีียมเรืือสปีีดโบ๊๊ท ไว้้บริเิ วณท่่าเรืือหน้้าด่่าน และ สพฉ. ได้้สนัับสนุุนเฮลิิคอปเตอร์์
สำำ�หรับ ั เคลื่่�อนย้้ายและส่่งต่่อผู้้�ที่่�พบอาการไม่่พึึงประสงค์์ หลัังการวััคซีีนไปยัังโรงพยาบาล ระยอง ใช้้เวลาประมาณ 10 นาทีี หากมีีความจำำ�เป็็น ณ รพ.สต.บ้้านเกาะเสม็็ด จ.ระยอง
91
รายงานประจำำ�ปีี 2564
10 มิิถุน ุ ายน 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ร่่วมเตรีียมข้อ ้ มููลในการอภิิปราย พรก.
เงิินกู้้�ฯ ณ ห้้อง 303 อาคารรััฐสภา เกีียกกาย โดยมีี นายอนุุทิิน ชาญวีีระกููล รองนายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธาน
สพฉ. จััดประชุุมคณะทำำ�งานพััฒนาระบบอำำ�นวยการ
10 มิิถุน ุ ายน
ปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น ระดัั บพื้้� นที่่� ครั้้� ง ที่่� 1/2564 ณ ห้้องประชุุม A601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
แห่่ ง ชาติิ โดยมีี น.พ.ชาติิ ช าย คล้้ า ยสุุ บ รรณ เป็็นประธาน
10 มิิถุน ุ ายน 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. หารืือ แนวทางในการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินทางอากาศยาน โดยมุ่่�งเน้้นความ
ร่่วมมืือในการพััฒนาศัักยภาพของชุุดปฏิิบััติิการทางอากาศยานให้้สอดคล้้อง กัับจุุดจอดของอากาศยาน ซึ่่�งเบื้้� องต้้นจะมีีการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
ของโรคหลอดเลืือดสมองในพื้้� นที่่�ภาคใต้้และการพััฒนาพื้้� นที่่�เขตเศรษฐกิิจ พิิเศษภาคตะวัันออก (EEC) ร่่วมกัับ พล.ต.ต.สุุทธิิพงษ์์ เพชรรัักษ์์ ผู้้�บัังคัับการ กองบิินตำำ�รวจ ณ กองบิินตำำ�รวจ
14 มิิถุน ุ ายน 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. หารืือ
และเยี่่� ยม ชมสถานที่่� จุุ ดฉีี ดวัั ค ซีี น ไวรัั ส โคโรนา 2019 ของแพทยสภา เพื่่� อนำำ� ไปสู่่� ก ารวางแผนสนัั บ สนุุ น รถฉุุ ก เฉิิ น และชุุ ด ปฏิิ บัั ติิ ก ารฉุุ ก เฉิิ น
เตรีียมพร้้อมด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในจุุดฉีดวั ี ค ั ซีีนดัังกล่่าวข้้างต้้น ณ สำำ�นัก ั งาน เลขาธิิการแพทยสภา
92
2564
การแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น เตรีี ยม ความพร้้ อ มสู่่�ผู้้�บริิ ห ารจัั ด การพื้้� นที่่� (SMART Regional EMS Team) โดย ร.อ.นพ.อัั จฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ.
เข้้าร่่วมรัับฟังั การนำำ�เสนอผลงานของผู้้�ปฏิิบัติ ั ิงาน สปพ. ณ ห้้องประชุุม B601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ว่่าที่่�สิบ ิ โทเอก โอฐน้้อย ผู้้�เชี่่�ยวชาญ ด้้านดิิจิิทััล เป็็นวิิทยากร
2564
22 มิิถุน ุ ายน 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ให้้สัม ั ภาษณ์์ประเด็็นเกี่่�ยวกัับปฏิิบัติ ั ิ การนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วย COVID-19 ในรายการ Police Talk ช่่อง Police TV ณ สถานีี โทรทััศน์สำ ์ �นั ำ ก ั งานตำำ�รวจแห่่งชาติิ โดยมีี คุุณศุุภรััตน์์ นาคบุุญนำำ� เป็็นผู้้�ดำำ�เนิิน รายการ ณ สำำ�นัก ั งานตำำ�รวจแห่่งชาติิ
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ให้้สัม ั ภาษณ์์เกี่่�ยวกัับประเด็็นขั้้�นตอน
การนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วย COVID 19 จากบ้้านไปยัังโรงพยาบาลปลายทาง ในรายการ “คนชนข่่าว” ทางช่่อง TNN16 ณ สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี คุุณโมไนย เย็็นบุุตร เป็็นผู้้�สััมภาษณ์์
24 มิิถุน ุ ายน 2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
17 มิิถุน ุ ายน
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
15 มิิถุน ุ ายน
สพฉ. จััดอบรมเชิิงปฏิิบัติ ั ิการส่่งเสริิมและสนัับสนุุนผู้้�ปฏิิบัติ ั ิงานสำำ�นัก ั ประสาน
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ร่่วมประชุุมหารืือการพััฒนาความร่่วมมืือ ทางการวิิจัย ั และพััฒนาวิิชาการ ระหว่่างสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิและภาค
วิิชาสัังคมและสุุขภาพ คณะสัังคมศาสตร์์และมนุุษยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยมหิดล ิ ณ ห้้องประชุุมชั้้น ุ เฉิินแห่่งชาติิ � 5 สถาบัันการแพทย์์ฉุก
93
รายงานประจำำ�ปีี 2564
28 มิิถุน ุ ายน 2564
30 มิิถุน ุ ายน 2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
1 กรกฏาคม 2564
ดร.นพ.ไพโรจน์์ บุุญศิิริคำ ิ �ชั ำ ย ั รองเลขาธิิการ สพฉ. ประชุุมหารืือความร่่วมมืือ ในการช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วย COVID 19 กัับทีม ี งานการไฟฟ้้าฝ่่ายผลิิตแห่่งประเทศไทย โดยประชุุมผ่า่ นระบบออนไลน์์
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ลงพื้้� นที่่�
ตรวจเยี่่�ยมหารืือแนวทางการดำำ�เนิินงานและบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ในจัังหวััดเชีียงใหม่่ โดยมีี นายพิิชัย ั เลิิศพงศ์์อดิิศร นายกองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด เชีียงใหม่่ ให้้การต้้อนรัับ
สพฉ. เปิิดโครงการจััดตั้้�งวิิทยาลััยวิิชาการเตรีียมความพร้้อมด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิิน
เพื่่�อให้้เป็็นศููนย์์กลางทางวิิชาการด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินระดัับชาติิ โดยมีีการพััฒนางานวิิจัย ั และนวััตกรรม การพััฒนาวิิชาการและการจััดการความรู้้� และการพััฒนาศัักยภาพบุุคลากร ด้้านการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินและผู้้�ที่่�เกี่่�ยวข้้อง ณ ประชุุมชั้้น � 5 อาคารพััฒนาบุุคลากร สถาบััน
การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน ในพิิธีี
2 กรกฏาคม 2564
สพฉ. จััดให้้มีก ี ารสอบภาคทฤษฎีี (MCQ) ครั้้�งที่่� 1 เพื่่� อการให้้ประกาศนีียบััตร นัักปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินการแพทย์์ (นฉพ.) และเพื่่�อให้้เป็็นไปตามมาตรการการควบคุุม
และป้้องกัันการติิดเชื้้�อ COVID-19 ได้้จััดให้้มีส ี นามสอบทั้้�งหมด 4 แห่่ง คืือ คณะแพทยศาสตร์์โรงพยาบาลรามาธิิบดีี คณะแพทยศาสตร์์วชิิรพยาบาล
คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยพะเยา และคณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััย มหาสารคาม โดยมีี พญ.ทิิพา ชาคร เป็็นประธานควบคุุมการสอบ
94
2564
ให้้สัม ั ภาษณ์์กับที ั ม ี งานศููนย์์โรคหลอดเลืือดสมอง โรงพยาบาลศิิ ริิ ร าช เพื่่� อนำำ� ไปใช้้ ใ นวิิ ดีี โอ
presentation ในงาน Mobile Stroke Unit stroke one stop ที่่�รวมภาคีีเครืือข่่ายต่่างๆ ในการรัับมือ ื
กัับภาวะโรคหลอดเลืือดสมอง ณ สถาบัันการแพทย์์ ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
6 กรกฏาคม 2564
2564
ตรวจเยี่่�ยมหน่ว่ ยแพทย์์ฉุก ุ เฉิินสถาบัันการแพทย์์จัก ั รีีนฤบดิินทร์์ เพื่่�อให้้คำ�ำ แนะนำำ�
ถึึงการทำำ�งานในปััจจุุบัน ั รวมทั้้�งความร่่วมมืือในอนาคตระหว่่างทั้้�งสองหน่่วยงาน
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ให้้สัม ั ภาษณ์์ในหััวข้้อ “ติิดเชื้้�อโควิิด-19
กัักตััวที่่�บ้า้ น หรืือชุุมชนต้้องทำำ�อย่่างไร” หากอยากกลัับบ้า้ นไปรัักษาที่่�ต่า่ งจัังหวััด ต้้องติิดต่อ ่ ใคร ผ่่านทางมติิชนไลฟ์์สด
10 กรกฏาคม 2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
8 กรกฏาคม
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ลงพื้้� นที่่�
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
2 กรกฏาคม
ร.อ.นพ.อัั จ ฉริิ ย ะ แพงมา เลขาธิิ ก าร สพฉ.
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. นายทรงยศ เทีียนทอง กรรมการ การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ประชุุมหารืือการขัับเคลื่่�อน
การดำำ�เนิินงานการบริิหารการจััดตั้้�งศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและจ่่ายงาน 1669 และการพััฒนาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินจัังหวััดพังั งา ร่่วมกัับรองนายก องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดพังั งาและคณะ รองนายแพทย์์สาธารณสุุข
จัังหวััดพังั งา ผู้้�อำำ�นวยการโรงพยาบาลพัังงา ณ ห้้องประชุุมสภาองค์์การ บริิหารส่่วนจัังหวััดพังั งา
95
รายงานประจำำ�ปีี 2564
สพฉ. จััดการปฐมนิิเทศให้้กับ ั กลุ่่�มจิิตอาสา ที่่�มาจากภาครััฐ มููลนิิธิิ เอกชน
15 กรกฏาคม
และส่่วนบุุคคล เพื่่�อเตรีียมความพร้้อมของทีีมปฏิิบัติ ั ก ิ ารพิิเศษในการออกรัับ ผู้้�ติิ ด เชื้้� อไวรัั สโคโรนา เพื่่� อ เตรีี ยม ความพร้้ อ มการใส่่ชุุด PPE และ
2564
การปฏิิบัติ ั ตั ิ วั ที่่�ถููกวิิธีทั้้ ี ง� ก่่อนและหลัังออกปฏิิบัติ ั ก ิ าร การเตรีียมรถออกรัับ
ผู้้�ป่่วยติิดเชื้้�อ อีีกทั้้�งยัังเสริิมความรู้้�ในเรื่่�องการปฐมพยาบาลฉุุกเฉิินและ การกู้้�ชีีพขั้้�นพื้้� นฐาน CPR และการใช้้เครื่่�อง AED ณ ห้้องประชุุม B602 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
21 กรกฏาคม 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ร่่วมประชุุ มเตรีียมการส่่งผู้้�ป่่วยโควิิ ด 19 กลัั บภููมิิลำ�ำ เนาในพื้้� นที่่� 6
จัังหวััดภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ (บุุรีรัี ม ั ย์์ ยโสธร อำำ�นาจเจริิญ สุุริน ิ ทร์์ อุุบลราชธานีี ศรีีสะเกษ ) ประชุุมแนวทางการดำำ�เนิินงานให้้ สปสช.ทำำ�หน้า้ ที่่�
เป็็นแกนหลัักประสานระหว่่างผู้้�ป่่วยกัับหน่ว่ ยงานที่่�เกี่่�ยวข้้อง ในการจััดส่ง่ ผู้้�ป่่วยกลัับภููมิลำ ิ �ำ เนา ผ่่านเบอร์์โทรศััพท์์ 1330 ประชุุมผ่า่ นระบบออนไลน์์
โดยมีี นายศัักดิ์์�สยาม ชิิดชอบ รััฐมนตรีีว่า่ การกระทรวงคมนาคม เป็็นประธาน
22 กรกฏาคม 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เดิินทางไปยัังฝููงเครื่่�องบิิน กองการบิิน ศููนย์์การเคลื่่�อนย้้ายกองทััพบก เพื่่� อร่่วมวางแผนกัับ พ.อ.อิิทธิินัน ั ท์์ โชติิช่ว่ ง
รองผู้้�อำำ�นวยการกองวิิทยาการ กรมแพทย์์ทหารบก(เวชศาสตร์์การบิิน) ในการเตรีียมพร้้อมเครื่่�องบิินให้้ได้้มาตรฐานความปลอดภััยต่อ ่ ผู้้�ปฏิิบัติ ั งิ าน และ
ผู้้�ป่่วย ในการทำำ�หน้า้ ที่่�เพื่่�อส่่งผู้้�ป่่วยโควิิด 19 ที่่�ประสงค์์จะเดิินทางกลัับภููมิลำ ิ �ำ เนา ซึ่่ง� เป็็นความร่่วมมืือระหว่่าง กระทรวงสาธารณสุุข สำำ�นัก ั งานสาธารณสุุขจัังหวััด สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ และกองทััพบก/การรถไฟฯ
96
2564
25 กรกฏาคม
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เข้้าร่่วมการประชุุมหารืือ การลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วยโควิิด 19 กลัับภููมิลำ ิ �ำ เนาด้้วยอากาศยาน ร่่วมกัับกรมขนส่่ง ทางบก กรมส่่งกำำ�ลัังบำำ�รุุงทหารบก กองการบิิน ศููนย์์การเคลื่่�อนย้้าย
กองทััพบก และหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องอื่่�นๆ ประชุุมผ่า่ นระบบออนไลน์์
25 กรกฏาคม 2564
26 กรกฏาคม 2564
สถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เข้้าร่่วมการประชุุมหารืือแนวทาง การดำำ�เนิินการระบบบููรณาการเชื่่�อมโยงสายด่่วนโควิิด 19 และระบบส่่งต่่อ
ผู้้�ป่่วยโควิิด 19 เข้้ารัับการรัักษาพยาบาล ประชุุมผ่า่ นระบบออนไลน์์ โดยมีี พล.ต.ท.โสภณ พิิสุท ุ ธิิวงษ์์ รองผู้้�ว่่าราชการกรุุงเทพมหานคร เป็็นประธาน
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
2564
เพื่่� อเตรีียมรัับผู้้�ป่่วยโควิิ ด19 กลัั บภููมิิลำ�ำ เนา ณ ห้้องประชุุ ม B602
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
25 กรกฏาคม
สพฉ. จัั ด อบรมให้้ ค วามรู้้�แก่่ พ นัั ก งานบริิ ษัั ท ขนส่่ ง จำำ�กัั ด (บขส.)
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. และนายสุุรชััย ศิิลาวรรณ
ผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นัก ั สนัับสนุุนการปฎิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน ร่่วมประชุุมเตรีียมการ กำำ�หนดแนวทางและวางระบบการดููแลจััดส่ง่ ผู้้�ป่่วยโควิิด 19 กลัับภููมิลำ ิ �ำ เนา
โดย“รถไฟ” ปลายทาง จัังหวััดอุบล ุ ราชธานีี ผ่่านระบบ Zoom meeting โดยมีี นายศัักดิ์์�สยาม ชิิดชอบ รััฐมนตรีีว่า่ การกระทรวงคมนาคม เป็็นประธาน
97
รายงานประจำำ�ปีี 2564
27 กรกฏาคม 2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
27 กรกฏาคม 2564
98
บทบาทการทำำ�งานของ สพฉ. ในช่่วงสถานการณ์์โควิิด 19 ดำำ�เนิินรายการโดย ดร.สุุรชััย พรมพัันธ์ุุ� ทางสถานีีโทรทััศน์์ TNN2
Emergency Pre-authorization ตามนโยบาย “เจ็็บป่ว ่ ยฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิิทธิิทุุกที่่� ณ ห้้องประชุุม 601 โดยมีี นพ.พงศ์์ธร เกีียรติิดำ�ำ รงวงศ์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ ด้้านมาตรฐานและคุุณภาพเป็็นประธาน
2564
2564
สัังคมดีี เกี่่�ยวกัับการจััดการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในสถานการณ์์ที่่ไ� ม่่ปกติิ และ
สพฉ.จััดประชุุมหารืือปรัับปรุุงเกณฑ์์การประเมิินคััดแยกผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน
31 กรกฏาคม
2 สิิงหาคม
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ให้้สัม ั ภาษณ์์ออนไลน์์ รายการคิิดดีี
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ลงพื้้� นที่่� สำ�ำ รวจความพร้้อมของการดำำ�เนิินการส่่งผู้้�ป่่วยติิ ดเชื้้�อไวรััส โคโรนา 2019 กลัับภููมิลำ ิ ำ�เนา ณ กรมขนส่่งทางบกบางเขน
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ลงพื้้�นที่่�สำ�ำ รวจความพร้้อมของ
การดำำ�เนิินการส่่งผู้้�ป่่วยติิดเชื้้�อไวรััสโคโรน่่า 2019 กลัับภููมิลำ ิ �ำ เนา พร้้อมกัับ
ให้้สัม ั ภาษณ์์สื่่�อในเรื่่�องแนวทางการนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วยกลัับภููมิลำ ิ �ำ เนา โดยมีีบุค ุ ลากร สพฉ. ปฏิิบัติ ั ก ิ ารนำำ�ส่ง่ ผู้้�ป่่วย ณ ศููนย์์การเคลื่่�อนย้้านกองทััพบก
2564
น.อ.นพ.พิิสิท ิ ธิ์์� เจริิญยิ่่�ง รองเลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วย พล.อ. แอร์์บููล สุุทธิิวรรณ
ผู้้�บัญ ั ชาการทหารอากาศ เดิินทางมาร่่วมติิดตามการเตรีียมการเติิมออกซิิเจน
เพื่่�อช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยโควิิด-19 ตามบ้้าน ในโครงการ “ทััพฟ้้าต่่อลมหายใจ ต้้านภััย โควิิด” แผนกผลิิตก๊า๊ ซ กองซ่่อมบริิภัณ ั ฑ์์ กรมช่่างอากาศ ศููนย์์ทหารอากาศโยธิิน ดอนเมืือง กรุุงเทพฯ
16 สิิงหาคม 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ร่่วมประชุุมหารืือกัับ นายปรีีดา ยัังสุุขสถาพร ผู้้�อำำ�นวยการองค์์การสะพานปลา พร้้อมคณะผู้้�บริิหารองค์์การสะพานปลา เพื่่�อหารืือ
ความร่่วมมืือและเตรีียมการจััดทำ�ำ MOU เพื่่� อส่่งเสริิมและสนัับสนุุนการจััดระบบ การแพทย์์ฉุุกเฉิินทางทะเลให้้กัับเครืือข่่ายชาวประมง รวมทั้้�งสะพานปลาและ ณ ห้้องประชุุม A602 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ และผ่่านทางออนไลน์์
20 สิิงหาคม 2564
สพฉ. ผลิิตรายการเรื่่�องเด่่นประเด็็นฉุุกเฉิินทาง Facebook สถาบััน การแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ - สพฉ 1669 ซึ่่ง� ได้้พููดคุยกั ุ บที ั ม ี ปฏิิบัติ ั ก ิ าร
SCOT ภาคเอกชน กัับนายชลธีี เลาหกรรณวนิิช หน่่วยกู้้�ภััยมููลนิธิ ิ ิ
สว่่างเบญจธรรม จ.สมุุทรสงคราม และนายชััยวัฒน์ ั ์ แซ่่ตั้้ง� หััวหน้้าทีีม รถพยาบาลเอกชน บริิษัท ั สแตนบายแอมบููแลนซ์์เซอร์์วิส ิ ดำำ�เนิินรายการ
โดย ว่่าที่่�ร้อ ้ ยตรีี การัันต์์ ศรีีวัฒ ั นบููรพา ผู้้�ชำำ�นาญการงานสื่่�อสารองค์์การ
2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
ท่่าเทีียบเรืือ มีีความปลอดภััย สามารถจะลดอััตราการเสีียชีวิี ต ิ และเจ็็บป่ว่ ยฉุุกเฉิิน
21 สิิงหาคม
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
11 สิิงหาคม
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ลงพื้้�นที่่�ติดต ิ าม
และตรวจเยี่่�ยมการดำำ�เนิินงานด้้านการแพทย์์ฉุุกเฉิินของสมาคมกู้้�ภััยข่่าวภาพ จัังหวััดพิษ ิ ณุุโลก และมููลนิิธิต่ ิ า่ งๆ ในจัังหวััดพิษ ิ ณุุโลก เพื่่�อให้้แนวทางในการทำำ�งาน ในสถานการณ์์การติิดเชื้้�อไวรััสโคโรน่่า 2019 และมอบอุุปกรณ์์ป้อ ้ งกัันส่่วนบุุคคล ให้้กับ ั เจ้้าหน้้าที่่�นำ�ำ ไปใช้้ในพื้้� นที่่�อีีกด้้วย
99
รายงานประจำำ�ปีี 2564
26 สิิงหาคม 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เข้้าร่่วมเป็็นวิิทยากร
ในห้้วข้้อวิิชาระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินกัับการบาดเจ็็บทางจราจร ให้้กับ ั หลัักสููตรเวชศาสตร์์การจราจรระยะสั้้�น รุ่่�นที่่� 5 ของสมาคมเวชศาสตร์์
การจราจร โดยเป็็ น การจัั ด ฝึึก อบรมให้้ กัั บนัั กบริิ ห ารการแพทย์์ และสาธารณสุุขจำำ�นวน 70 คน ในรููปแบบการถ่่ายทอดสดออนไลน์์
27 สิิงหาคม 2564
สพฉ. จััดประชุุมหารืืออััตราการจ่่ายยานพาหนะที่่�ใช้้ปฏิิบัติ ั ก ิ ารในพื้้� นที่่�พิเิ ศษ
(ภาคเหนืือ) เพื่่� อให้้การช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิินและ ไม่่ฉุก ุ เฉิินได้้รับ ั การปฏิิบัติ ั ิ อย่่างทั่่� วถึึงและเท่่าเทีียม ทั้้� งในภาวะปกติิและภััยพิิบััติิ ซึ่่�งพื้้� นที่่�ภาคเหนืือ
ในบางพื้้� นที่่�เป็็นพื้้� นที่่�ที่่�ไม่่มีีถนน ภููเขาสููง จึึงเป็็นการลำำ�เลีียงผู้้�ป่่วยที่่�จำ�ำ เป็็น
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
ต้้องใช้้พาหนะพิิเศษ โดยประชุุมผ่า่ นระบบออนไลน์์
6 กั ันยายน 2564
สพฉ. จััดประชุุมเพิ่่�มประสิิทธิิภาพพััฒนาบุุคลากร แลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้�
และการแก้้ไขปััญหาระหว่่างการดำำ�เนิินงาน ตามนโยบาย “เจ็็บป่ว่ ย ฉุุกเฉิินวิิกฤต มีีสิท ิ ธิิทุก ุ ที่่�” โดยมีีเจ้้าหน้้าที่่�ศููนย์์นเรนทรร่่วมประชุุม
เพื่่�อการพััฒนาศัักยภาพ เรีียนรู้้� และช่่วยกัันแก้้ไขปััญหาอุุปสรรคระหว่่าง การทำำ�งาน ณ ห้้องประชุุม A602 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ โดยมีี น.อ.นพ.พิิสิท ิ ธิ์์� เจริิญยิ่่�ง รองเลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
7 กั ันยายน 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. ร่่วมลงนามบัันทึึกความร่่วมมืือทางการเชื่่�อมต่่อ ข้้อมููลด้้านการส่่งต่่อข้้อมููลผู้้�ติิดเชื้้�อโรคโควิิด 19 เพื่่�อยกระดัับการเข้้าถึึงการรัักษาและฟื้้�นฟูู สมรรถภาพทางการแพทย์์ ระหว่่างกรมการแพทย์์ สำำ�นัก ั งานหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ
กรุุงเทพมหานคร (สำำ�นัก ั อนามััย) สำำ�นัก ั งานพััฒนารััฐบาลดิิจิทั ิ ล ั สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน แห่่งชาติิ และภาคประชาสัังคม ณ ห้้องประชุุมแสงสิิงแก้้ว ชั้้�น 1 อาคาร 1 กรมการแพทย์์
กระทรวงสาธารณสุุข โดยมีี นายสาธิิต ปิิตุเุ ตชะ รััฐมนตรีีช่ว่ ยว่่าการกระทรวงสาธารณสุุข เป็็นประธาน
100
2564
10 กั ันยายน
ระบบดิิจิทั ิ ล ั โดยประชุุมผ่า่ นระบบออนไลน์์ ณ สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน แห่่งชาติิ โดยมีี ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
สพฉ. จััดพิิธีีลงนามบัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือการพััฒนาระบบ การแพทย์์ฉุุกเฉิินเพื่่� อพััฒนาคุุณภาพชีีวิิตของชาวประมง ร่่วมกัับ องค์์การสะพานปลา โดยมีี ร.อ.นพ. อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ.
และนายวัั ชรวิิ ชญ์์ กีี รติิ ดุุสิิตโรจน์์ รองผู้้�อำำ�นวยการสะพานปลา เป็็นผู้้�ลงนาม ณ ห้้องประชุุมชั้้น ั งานสะพานปลาสมุุทรสาคร � 3 สำำ�นัก จ.สมุุทรสาคร
15 กั ันยายน 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ลงพื้้� นที่่�เพื่่� อเยี่่�ยมชมศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและจ่่ายงานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด ศููนย์์ป้้องกัันและบรรเทาสาธารณภััย
และแพปลา เพื่่� อเตรีียมระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในพื้้� นที่่�ฝั่่�งอัันดามััน
โดยมีี นายกองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดกระบี่่� รองนายแพทย์์สาธารณสุุข จัังหวััดกระบี่่� และผู้้�บริิหารในจัังหวััดกระบี่่�ร่ว่ มเยี่่�ยมชม
16 กั ันยายน 2564
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
2564
โครงการพััฒนาศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและจ่่ายงานฉุุกเฉิินการแพทย์์ให้้เป็็น
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
8 กั ันยายน
สพฉ. จััดประชุุมสาธิิตระบบ D1669 และความก้้าวหน้้าของการดำำ�เนิินงาน
สพฉ. จััดประชุุมคณะทำำ�งานกำำ�หนดมาตรฐานการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน ในการติิดตั้้ง� เครื่่�องฟื้้�นคืืนคลื่่�นหััวใจด้้วยไฟฟ้้าแบบอััตโนมััติิ (Automateed External Defibrllator : AED) ในอาคารสููงหรืืออาคารขนาดใหญ่่พิเิ ศษ
ที่่�เป็็นอาคารสาธารณะ ณ ห้้องประชุุม A601 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
แห่่งชาติิ และประชุุมผ่า่ นทางออนไลน์์ โดยมีี น.อ.นพ.พิิสิท ิ ธิ์์� เจริิญยิ่่�ง รองเลขาธิิการ สพฉ. เป็็นประธาน
101
รายงานประจำำ�ปีี 2564
18 กั ันยายน 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
ลงพื้้�นที่่�ติดต ิ ามการดำำ�เนิินงานและบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ในองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น จัังหวััดแพร่่ พร้้อมกัับรับฟั ั งั ถึึงปััญหา อุุปสรรค ของศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการ พร้้อมกัับแนวทางการแก้้ไข ปััญหา ณ องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดแพร่่ และลงพื้้� นที่่�ไปตรวจเยี่่�ยม
งานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน พร้้อมทั้้�งเข้้าเยี่่�ยมโรงพยาบาลสนามจัังหวััดแพร่่ ณ หอประชุุ ม และแสดงศิิ ล ปวัั ฒ นธรรมล้้ า นนาตะวัั น ออก และกลุ่่�มประเทศ GMS (กอเปา) โดยมีี นพ.เกรีียงศัักดิ์์� ธนอััศวนนท์์ ผู้้�อำำ�นวยโรงพยาบาลสมเด็็จพระยุุพราชเด่่นชััย
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
20 กั ันยายน 2564
สพฉ. จััดประชุุมการดำำ�เนิินการตรวจประเมิินการขอขึ้้�นทะเบีียนหน่่วยปฏิิบัติ ั ก ิ าร ประเภทปฏิิบัติ ั ก ิ ารอำำ�นวยการระดัับสููง ศููนย์์รับ ั แจ้้งเหตุุและสั่่�งการด้้านการแพทย์์ ทางทะเล ทััพเรืือภาคที่่� 1 ณ ห้้องประชุุม A602 สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
และประชุุมผ่า่ นทางออนไลน์์ โดยมีี นพ.พงศ์์ธร เกีียรติิดำ�ำ รงวงศ์์ เป็็นประธาน
ในการดำำ�เนิินการ
20 กั ันยายน 2564
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ. ลงพื้้�นที่่�หารืือ แนวทางการดำำ�เนิินงานและบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินในองค์์กร ปกครองส่่วนท้้ องถิ่่� น จัั งหวัั ดลำ�ำ ปาง โดยมีี นางสาวตวงรััตน์์ โล่่ ห์์สุุนทร นายกองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดลำ�ำ ปาง ให้้การต้้อนรัับ และลงพื้้�นที่่�ไปตรวจเยี่่�ยม งานการแพทย์์ฉุุกเฉิิน ณ ศููนย์์รัับแจ้้งเหตุุและสั่่�งการโรงพยาบาลลำำ�ปาง
และองค์์กรภาคเอกชนไม่่แสวงหากำำ�ไร (สมาคมสว่่างนครลำำ�ปางธรรมสถาน) พร้้ อ มกัั บ เดิิ น ทางลงพื้้� น ที่่� เ พื่่� อ ติิ ดต ามการดำำ� เนิิ น งานการแพทย์์ ฉุุ ก เฉิิ น ของเจ้้าหน้้าที่่�กรมอุุทยานแห่่งชาติิเขลางค์์บรรพต จัังหวััดลำำ�ปาง
102
2564
ประชุุ มหารืือประเด็็ นการให้้องค์์ การบริิหารส่่วนจัั งหวัั ด มีีส่่วนร่่วม ในการพััฒนาและบริิหารจััดการระบบการแพทย์์ฉุุกเฉิินระดัับจัังหวััด
ร่่วมกัับ พล.ต.ท.คำำ�รณวิิทย์์ ธููปกระจ่่าง นายองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด
ปทุุมธานีี และ นพ.อภิิชน จีีนเสวก รองนายแพทย์์สาธารณสุุขจัังหวััด ปทุุมธานีี ณ บริิเวณ Alive Park Hall ชั้้�น G ศููนย์์การค้้าฟิิวเจอร์์พาร์์ค รัังสิิต
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
24 กั ันยายน
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ แพงมา เลขาธิิการ สพฉ. พร้้อมด้้วยบุุคลากร สพฉ.
กิิจกรรมความเคลื่่�อนไหวของ สพฉ. และเครืือข่่าย
103
B
ส่่ ว นที่่� 3
ภาคผนวก
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
105
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
106
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
107
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
108
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
109
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
110
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
111
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
112
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
113
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
114
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
115
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
116
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
117
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
118
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
119
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
120
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
121
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
122
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
123
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
124
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
125
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
126
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
127
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
128
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
129
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ ปีี 2564
130
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
131
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
132
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
133
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
134
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
135
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
136
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
137
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
138
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
139
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
140
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
141
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
142
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
143
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
144
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
145
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
146
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ รายงานงบการเงิิน : งบกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ปีี 2564
147
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายชื่่�อคณะอนุุ กรรมการ ภายใต้้คณะกรรมการการแพทย์์ฉุุกเฉิิ น ตามคำำ�สั่่� งคณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินที่่� 5/2563 ลงวัันที่่� 3 ธัันวาคม พ.ศ. 2563 เรื่่� อง แต่่งตั้้� ง
คณะอนุุกรรมการตามพระราชบััญญััติก ิ ารแพทย์์ฉุกุ เฉิิน พ.ศ.2551 ให้้แต่่งตั้้� งคณะอนุุกรรมการตามพระราชบััญญััติิ การแพทย์์ฉุกุ เฉิิน พ.ศ.2551 จำำ�นวน 6 คณะ ดัังนี้้�
1. คณะอนุุกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้้วย 1) นายธีีรพล
รายชื่่�อคณะอนุุกรรมการ ภายใต้้คณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
2) นายกำำ�พล
โตพัันธานนท์์
พลััสสิินทร์์
ประธานอนุุกรรมการ อนุุกรรมการ
3) แทนกรมบััญชีีกลาง
อนุุกรรมการ
5) นางสาวบุุญมีี
อนุุกรรมการ
4) นางสาวอมรจิิตต์์
เอี่่� ยววิิบููลย์์วิท ิ ย์์
เลิิศพิเิ ชฐ
6) ผู้้�อำำ�นวยการกลุ่่�มตรวจสอบภายใน
อนุุกรรมการ เลขานุุการ
2. คณะอนุุกรรมการบริิหารงานบุุคคลสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ประกอบด้้วย 1) ศาสตราจารย์์ศิริิ อ ิ ร สิินธุุ
ประธานอนุุกรรมการ
3) นายสุุเทพ ณััฐกานต์์กนก
อนุุกรรมการ
5) นายเรืืองรััตน์์
อนุุกรรมการ
2) นายบุุญปลููก
ชายเกตุุ
4) นายสุุรพงษ์์ มาลีี บััวสััมฤทธิ์์�
6) นางจริิยา ปััญญา 7) เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
3. คณะอนุุกรรมการบริิหารกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ประกอบด้้วย
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการและเลขานุุการ
1) นายสาลี่่� สุุขเกิิด
ประธานอนุุกรรมการ
3) เลขาธิิการสำำ�นัก ั งานประกัันสัังคม
อนุุกรรมการ
2) เลขาธิิการสำำ�นัก ั งานหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ
4) หััวหน้้าผู้้�ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุุข 5) ผู้้�แทนกรมบััญชีีกลาง
6) ผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นัก ั บริิหารการคลัังท้้องถิ่่� น กรมส่่งเสริิมการปกครองท้้องถิ่่� น
7) นายสุุรศัักดิ์์� ฐานีีพานิิชสกุุล 8) นายพรชััย หาญยืืนยงสกุุล 9) เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการ อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการและเลขานุุการ
4. คณะอนุุกรรมการคุ้้�มครองสิิทธิิและความปลอดภััยผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน ประกอบด้้วย
1) ผู้้�แทนสำำ�นัก ั งานคณะกรรมการคุ้้�มครองผู้้�บริิโภค ที่่� ปรึึกษาคณะอนุุกรรมการ 2) พลอากาศตรีี เฉลิิมพร บุุญสิิริ ิ
ประธานอนุุกรรมการ
4) นายเอื้้� อชาติิ
อนุุกรรมการ
3) นายทรงยศ
เทีียนทอง
5) นายชาติิชาย
คล้้ายสุุบรรณ
กาญจนพิิทัก ั ษ์์
6) นายไพฑููรย์์ รััตนพรวารีีสกุุล
148
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการ
8) นายกสมาคมนัักปฎิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิินการแพทย์์ 9) นายกสมาคมพยาบาลฉุุกเฉิิน ประเทศไทย
10) เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ 5. คณะอนุุกรรมการกฎหมายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ประกอบด้้วย
1) ศาสตราจารย์์บรรเจิิด สิิงคะเนติิ
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการและเลขานุุการ
ประธานอนุุกรรมการ
2) พัันเอกสุุรจิิต สุุนทรธรรม
อนุุกรรมการ
4) นายสุุรเชษฐ์์
อนุุกรรมการ
3) ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์(พิิเศษ) วิิระศัักดิ์์� ฮาดดา สถิิตนิริ ามััย
5) ผู้้�แทนสำำ�นัก ั งานคณะกรรมการกฤษฎีีกา
6) เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการและเลขานุุการ
1) ประธานอนุุกรรมการตรวจสอบ
อนุุกรรมการ
3) ประธานอนุุกรรมการพิิจารณาเรื่่�องร้้องทุุกข์์หรือ ื อุุทรณ์์
อนุุกรรมการ
2) ประธานอนุุกรรมการฉุุกเฉิินการแพทย์์
อนุุกรรมการ
4) ประธานอนุุกรรมการบริิหารงานบุุคคลสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
อนุุกรรมการ
6) ประธานอนุุกรรมการคุ้้�มครองสิิทธิิและความปลอดภััยผู้้�ป่่วยฉุุกเฉิิน
อนุุกรรมการ
8) เลขาธิิการสำำ�นัก ั งานหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ
อนุุกรรมการ
5) ประธานอนุุกรรมการบริิหารกองทุุนการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน 7) ประธานอนุุกรรมการกฎหมายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
9) เลขาธิิการสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการ
อนุุกรรมการและเลขานุุการ
รายชื่่�อคณะอนุุกรรมการ ภายใต้้คณะกรรมการการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน
6. คณะอนุุกรรมการยุุทธศาสตร์์การแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน ประกอบด้้วย
อนุุกรรมการ
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
7) นางอำำ�มร บรรจง
149
รายงานประจำำ�ปีี 2564
รายชื่่�อบุุคลากรสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิิ นแห่่งชาติิ
ร.อ.นพ.อััจฉริิยะ
น.อ.นพ.พิิสิท ิ ธิ์์�
นาง วนิิชยา
ทองแนบ
นาง ดารณีี
ชููศรีี
นางสาว กีีรติิสุด ุ า
รายชื่่�อบุค ุ ลากรสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
นางสาว อนััญญา นางสาว นภมณีี
นางสาว พััชรนัันท์์ นาย วรพล
บำำ�เพ็็ญบุุญชูู
นาย ธวััชชััย
นาย พรเทพ
นางสาว ดวงพร นางสาว เอมิิกา
นพ.พงศ์์ธร
ผู้้�อำำ�นวยการ
นาง ดรุุษกร
เสืืออิินทร์์
นางสาว อิินทุุกร
กล้้าวิิกย์์กรณ์์
นิ่่�มมา
นาง พััชรีี
รณทีี
150
สุุวคนธ์์
อดเอไจ
ศีีลสารรุ่่�งเรืือง ยิ้้� มวััน
ศรมณีี
นางสาว ปญาดา
ชื่่�นสำำ�โรง
นางสาว อุุรศา
ศรีีวัฒ ั นบููรพา
วรรณโรจน์์
รื่่�นคุุณ
สนองคุุณ นุ่่�มกลิ่่� น
กี่่� สวััสดิ์์� คอน
ลีีเลิิศ
ธนศิิริศ ิ าสตร์์
เกิิดเรีียน
ดาษจัันทึึก
นาง สิินีนุ ี ุช
ชััยสิท ิ ธิ์์�
นาย สุุวภััทร
เทพเกษตรกุุล
ทองพััฒน์์ พาพพิิล่า่
อภิิญญานนท์์
นางสาว สุุนััชฌา
ไชยกาล
นางสาว ดัังฝััน
พรมขำำ�
นางสาว อุุรุุพร
ศิิริวิิ ช ิ ยาภรณ์์
นางสาว สุุพััตรา
กาญจนลออ
ว่่าที่่� ร.ต.หญิิงขวััญตา มัังสีี นางสาว ทัักษิิณา
ผู้้�อำำ�นวยการ
เวีียนเสี้้� ยว
สุุวรรณรัักษ์์
นาง นฤมล
ผู้้�อำำ�นวยการ
เผืือกขำำ�
นางสาว อุุรา
นาง สุุนัันทา
ทองทิิพย์์
นาย ศิิริชั ิ ย ั
นางสาว นวลจัันทร์์
ชููแสง
นาง จิิรวดีี
ธนาศิิริธั ิ ช ั นัันท์์
นาย ไพโรจน์์
นาย โสรััจจะ
คงยืืน
นาง ธััณณ์์จิริ า
นางสาว จิิตติิมา
ศรีีสุุวรรณ
นางสาว ชฎารััตน์์
สำำ�นัก ั ประสานการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
นางสาว เนาวนิิต
นาย กิิตติิเดช
สำำ�นัก ั ยุุทธศาสตร์์
จัันทร์์ธรรม
นางสาว สุุพิิชญา
สุุวรรณรัักษ์์
กาญจนภููมิิ
นาย ปรััชญา
นาง สิิริม ิ า
นางสาว สุุนิิสา
นางสาว ณญาดา
นางสาว สััจภรณ์์
ศิิริขั ิ น ั ธ์์
แสงฝาก
นาง ชิิดชนก
ถาน้้อย
นางสาว สุุพััตรา
ภููมะธน
นาย รุ่่�งเกล้้า
นาย อนุุลัก ั ษณ์์
สำำ�นัก ั รัับรองและกำำ�กับ ั มาตรฐาน
นาย อรรถพล
นาย สิิทธิิศัก ั ดิ์์�
ใจมั่่� น
ญาณเนตร
ผู้้�เชี่่�ยวชาญ
นาย โชคชััย
โวหาร
นาย ธนภััทร
โอฐน้้อย
ผู้้�ช่่วยเลขาธิิการ
นาย บรรณรัักษ์์
หััสโนดาด
พัันธุ์์�ทอง
นาย วัันเฉลิิม
ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ
รองเลขาธิิการ
นาย วสัันต์์
ปราบปราม
นางสาว ศุุภจิิรา
นางสาว วรพิินธุ์์�
เกีียรติิดำำ�รงวงศ์์
สุุชาติิสุุนทร
พัันธ์์คุณ ุ าวััฒน์์
เดชบุุรััมย์์
รองเลขาธิิการ
นพ.ชััยพร
พลไพรสรรพ์์
นาง ปทิิตตา
เจริิญยิ่่� ง
บุุญศิิริคำ ิ ำ�ชัย ั
นางสาว รััชดาวรรณ แสนตา นางสาว อโนทััย
เลขาธิิการ
นพ.ไพโรจน์์
ว่่าที่่� ส.ท.เอก
สำำ�นัก ั บริิหารกลาง
แพงมา
วงศ์์ใหญ่่
รองผู้้�อำำ�นวยการ
นาย พิิเชษฐ์์
นางสาว ตรึึงตา
หนองช้้าง
พููลผลอำำ�นวย
นาย พงษ์์พิษ ิ ณุุ
ศรีีธรรมานุุสาร
นางสาว อำำ�พัน ั
รุุจนสุุธีี
นาย สุุรเดช
ดวงทิิพย์์สิริิ กุ ิ ล ุ
นาย ธีีระ
ศิิริส ิ มุุด
นาง พรทิิพย์์
นางสาว พรธิิดา นางสาว ชนนิิกานต์์ เรืือเอก สมััคร
ผู้้�อำำ�นวยการ
กลุ่่�มดิิจิทั ิ ล ั
นางสาว พรพิิมล นาย บััณฑิิต
แย้้มพยนต์์
นาย อนุุรััตน์์
นาย ประสงค์์
นางสาว รุ่่�งทิิวา
นางสาว ศิิริลั ิ ก ั ษณ์์ นาย ภาณุุวััฒน์์
กลุ่่�มพััฒนาองค์์การ นางสาว คงขวััญ นาง นวนัันทน์์
นางสาว ศัันสนา
ลิิมปาภรณ์์
จิิตอุ่่�น
จิิตรอุ่่�น
นางสาว ศกุุนตลา
เนื่่� องทวีี
นาย วิิทููล
ศรีีระโส
นัักพรานบุุญ
นาย ศุุภชััย
พึ่่� งผลพรึึก
นางสาว กัันต์์นภััทร
มณีีอัค ั รโยธิิน
นางสาว อรวรรณ
สุ่่�มงาม
นาย อภิิชัย ั
นิ่่�มนุุช
เปลยพลอย
ม่่วงงาม
นางสาว นัันฐ์์สิณี ิ ี นาย ภาคภููมิิ
เกีียรติิจิริ โชติิ
สมตน
ยุุทธสารประสิิทธิ์์�
นาย อานนท์์
ใจแสน
ธนบััตรชััย
คููหากาญจน์์
นางสาว กิิตติิมา
นางสาว กััลยา
จารุุพฤฒิิพงศ์์
พีีระพัันธ์์
นางสาว กรองกาญจน์์ พุ่่�มวิิเศษ
ท่่านััดทีี
ยิ้้� มพััธน์์
นางสาว ศรีีสุด ุ าวรรณ นิิยมทรััพย์์
รองผู้้�อำำ�นวยการ
นาย ภัักดีี
ศิิริกุ ิ ล ุ ทอง
นาย โกสิินทร์์
ยิ้้� มสุุข
นางสาว อวยพร
แย้้มชมสวน
เตชาภรณ์์พงศ์์
กลุ่่�มตรวจสอบภายใน
พิิทัก ั ษา
นาง พิิชามญชุ์์�
โฉมคำำ�
ศรีีเจริิญ
จัันทร์์แก้้ว อิินทรัักษ์์
ผู้้�อำำ�นวยการ
นางสาว ศิิริม ิ า
สัังข์์ทอง
นางสาว สุุวรรณา
วัันปาน
อาจหาญ
กลุ่่�มสื่่� อสารองค์์การ ว่่าที่่� ร้้อยตรีี การัันต์์ นาย วิิทวััส
ศรีีวัฒ ั นบููรพา
ชััชวาลย์์ปรีีชา
ผู้้�อำำ�นวยการ
รายชื่่�อบุค ุ ลากรสถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
นางสาว กััณฐิิกา
ศิิลาวรรณ
นางสาว พรรณทิิพา
กลุ่่�มกฎหมายการแพทย์์ฉุก ุ เฉิิน นาย ภราดร
นาย สุุรชััย
นาย รัังสรรค์์
วชิิรดิิลก
นางสาว แก้้วศิิกานต์์ สวััสดิ์์� ประสิิทธิ์์�
นาง รชยา
สำำ�นัก ั สนัับสนุุนการปฏิิบัติ ั ก ิ ารฉุุกเฉิิน
สถาบัันการแพทย์์ฉุก ุ เฉิินแห่่งชาติิ
สำำ�นัก ั วิิจัย ั และพััฒนาวิิชาการ
151