แนวปฏิบัติ BLS EMR ปราจีนบุรี

Page 1

1


คณะผู้จัดทำ

พิมพ์ครั้งที่ 1 : มีนาคม 2563 จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย : ศูนย์อานวยการทางการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดปราจีนบุรี โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร โรงพยาบาลประจันตคาม โรงพยาบาลศรีมหาโพธิ โรงพยาบาลกบินทร์บุรี โรงพยาบาลศรีมโหสถ โรงพยาบาลบ้านสร้าง โรงพยาบาลนาดี


กิตติกรรมประกำศ คณะผู้ จั ด ท ำขอขอบคุ ณ ผู้ ต รวจรำชกำรเขตสุ ข ภำพที่ 6 ที่ ส นั บ สนุ น นโยบำยกำรพัฒนำระบบแพทย์อำนวยกำร ขอขอบคุณ เลขำธิกำรสถำบัณกำรแพทย์ฉุกเฉินแห่งชำติ (สพฉ.) ที่สนับสนุนงบประมำณและวำงแนวทำงในกำรพัฒนำระบบแพทย์อำนวยกำร รวมถึงกำรพัฒนำ EMS protocol ขอขอบคุณ หน่วยปฏิบัติกำรทุกระดับในจังหวัดปรำจีนบุรี ที่ร่วมแรงร่วม ใจนำ EMS protocol ไปปฏิบัติ นอกจำกนี้ยังมีผู้ที่ให้ควำมร่วมมือช่วยเหลืออีกหลำยท่ำน ซึ่งผู้เขียนไม่ สำมำรถกล่ำวนำมในที่นี้ได้หมด จึงขอขอบคุณทุกท่ำนเหล่ำนั้นไว้ ณ โอกำสนี้ ด้วย

คณะผู้จัดทำ


คำนำ ระบบกำรแพทย์ฉุกเฉิน หรือ Emergency Medical Service system (EMS) มีเป้ำหมำยเพื่อ เพิ่มกำรเข้ำถึงบริกำรของผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ลดอัตรำ กำรเสียชีวิตและทุพพลภำพ และพัฒนำระบบริกำรที่มีมำตรฐำน ระบบกำรแพทย์ฉุก เฉินที่มีมำตรฐำนนั้ น จำเป็ น ต้องมีองค์ ป ระกอบ หลำยอย่ ำ ง หนึ่ ง ในนั้ น คื อ กำรพั ฒ นำระบบแพทย์ อ ำนวยกำร หรื อ EMS Medical Direction System โดยแพทย์อำนวยกำรมีบทบำทหลักอยู่ 2 ส่วน คือ กำรพัฒนำระบบบริหำรจัดกำรที่มีคุณภำพ (Quality of Management) และกำรพัฒนำคุณภำพกำรรักษำ (Quality of Care) ในส่ ว นของกำรพั ฒ นำคุ ณ ภำพกำรรั ก ษำจ ำเป็ น ต้ อ งมี แ นวปฏิ บั ติ (Protocol) เพื่อเป็นแนวทำงในกำรดูแลผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุและ ระหว่ ำ งน ำส่ ง โรงพยำบำล ซึ่ ง จะท ำให้ ผู้ ป่ ว ยได้ รั บ กำรดู แ ลที่ ถู ก ต้ อ งตำม มำตรฐำน ปลอดภัย รวมถึงสอดคล้องกับกฎหมำย ระเบียบและเหมำะสม ระบบกำรแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่นั้นๆ แนวปฏิบัติ.... เล่มนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อให้หน่วยปฏิบัติกำรทุกระดับตั้งแต่ ระดับเบื้องต้น ระดับพื้นฐำน ระดับสูง จนถึงระดับอำนวยกำร ใช้เป็นแนวทำง ในกำรดูแลผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน โดยคณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ แนวปฏิบัติ เล่มนี้จะเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในกำรพัฒนำระบบกำรแพทย์ฉุกเฉินที่มี ประสิทธิภำพ อันจะส่งผลให้ผู้ป่วยและบุคลำกรปลอดภัย


สำรบัญ เนื้อเรื่อง เกณฑ์การปฏิบัติการแพทย์ของผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งแพทย์ และการอานวยการ หน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินการแพทย์ระดับต้น หมวดผู้ป่วย ผู้ป่วยฉุกเฉิน ภาวะทางเดินหายใจอุดกั้น ภาวะแพ้รุนแรง ผู้ป่วยระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น ผู้ป่วยเจ็บหน้าอก ผู้ป่วยคลอดฉุกเฉิน ผู้ป่วยเจ็บครรภ์มีสายสะดือย้อย ผู้ป่วยเจ็บครรภ์คลอด ทารกแรกคลอด ผู้ป่วยจมน้า ผู้ป่วยหายใจเกินหรือหอบจากอารมณ์ ผู้ป่วยระดับน้าตาลต่า ภาวะหายใจวิกฤต ผู้ป่วยชักเกร็ง ผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยได้รับสารพิษ ผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน เกณฑ์การปฏิบัติการแพทย์ของผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งแพทย์ และการอานวยการ หน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินการแพทย์ระดับพื้นฐาน หมวดผู้ป่วย ผู้ป่วยฉุกเฉิน ภาวะทางเดินหายใจอุดกั้น ภาวะแพ้รุนแรง ผู้ป่วยระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น

หน้า

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23


สำรบัญ เนื้อเรื่อง (ต่อ) เกณฑ์การปฏิบัติการแพทย์ของผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งแพทย์ และการอานวยการ หน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินการแพทย์ระดับพื้นฐาน หมวดผู้ป่วย ผู้ป่วยเจ็บหน้าอก ผู้ป่วยคลอดฉุกเฉิน ผู้ป่วยเจ็บครรภ์มีสายสะดือย้อย ผู้ป่วยเจ็บครรภ์คลอด ทารกแรกคลอด ผู้ป่วยจมน้า ผู้ป่วยหายใจเกินหรือหอบจากอารมณ์ ผู้ป่วยระดับน้าตาลต่า ภาวะหายใจวิกฤต ผู้ป่วยชักเกร็ง ผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยได้รับสารพิษ ผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน เกณฑ์การปฏิบัติการแพทย์ของผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งแพทย์ และการอานวยการ หน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินการแพทย์ระดับต้น หมวดผู้บาดเจ็บ ผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน ผู้บาดเจ็บช่องท้อง ผู้บาดเจ็บทรวงอก ผู้บาดเจ็บจากการถูกบดทับ ผู้บาดเจ็บดวงตา ผู้บาดเจ็บรยางค์ ผู้บาดเจ็บใบหน้า ผู้บาดเจ็บที่ศีรษะ ผู้บาดเจ็บจากความร้อน ผู้บาดเจ็บมีวัตถุปักคา

หน้า

24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36

37 38 39 40 41 42 43 44 45 46


สำรบัญ เนื้อเรื่อง (ต่อ) ผู้บาดเจ็บบริเวณลาคอ ผู้บาดเจ็บกระดูกสันหลัง เกณฑ์การปฏิบัติการแพทย์ของผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งแพทย์ และการอานวยการ หน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินการแพทย์ระดับพื้นฐาน หมวดผู้บาดเจ็บ ผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน ผู้บาดเจ็บช่องท้อง ผู้บาดเจ็บทรวงอก ผู้บาดเจ็บจากการถูกบดทับ ผู้บาดเจ็บดวงตา ผู้บาดเจ็บรยางค์ ผู้บาดเจ็บใบหน้า ผู้บาดเจ็บที่ศีรษะ ผู้บาดเจ็บจากความร้อน ผู้บาดเจ็บมีวัตถุปักคา ผู้บาดเจ็บบริเวณลาคอ ผู้บาดเจ็บกระดูกสันหลัง หัตถการสาหรับผู้ปฏิบัติการฉุกเฉิน Procedure การเปิดทางเดินหายใจแบบไม่ใช้อุปกรณ์ การใช้ Oropharyngeal airway (OPA) สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน การให้ออกซิเจน การช่วยหายใจ หน้ากากกันสัมผัสช่วยใจ การดูดของเหลวทางปาก การตรวจวัดความอิ่มตัวออกซิเจนของฮีโมโกบิล การปิดแผลทรวงอกสามทาง การห้ามเลือด การขันชะเนาะห้ามเลือด การดูแลอวัยวะถูกตัดขาด

หน้า 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 63 64 66 70 71 72 73 74 75 76 78


สำรบัญ เนื้อเรื่อง (ต่อ) การกดนวดหัวใจในผู้ใหญ่ การกดนวดหัวใจในเด็ก การกดนวดหัวใจในเด็กทารก (อายุ <1 ปี) การใส่เฝือกดามคอชนิดปรับขนาดได้ การใส่เฝือกดามคอชนิดประกบหน้าหลัง กระดานสั้นดามกระดูกสันหลัง กระดานรองหลังชนิดยาว การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยใช้เปลตัก การใช้แถบรัดตรึงกระดูกเชิงกรานยี่ห้อแซม การใช้ผ้ารัดตรึงกระดูกเชิงกราน การดาม การถอดหมวกนิรภัย การตรวจวัดระดับน้าตาลในกระแสเลือด การช่วยคลอดฉุกเฉิน การล้างตา การดูแลแผลที่มีวัตถุปักคา การยึดตรึงผู้ป่วยพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายภาพ

หน้า 79 80 81 82 83 84 87 89 90 91 92 93 95 96 98 99 100


เกณฑ์การปฏิบัติการแพทย์ ผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งแพทย์และการอานวยการ หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ระดับต้น หมวดผู้ป่วย


รับแจ้ง ประเมิน สถานการณ์ 1.สวมอุปกร ์ปองกันตัว เอง 2.ประเมินและสร้างความปลอดภัย นทีเกิดเหตุ 3.อาการปวย/กล กการบาดเจบ 4.จานวน ู้ปวยหรอบาดเจบ 5.หนวยงานสนับสนุนทีต้อ งร้อง อ ประเมิน ผู้ป ่วยขั้นต้น 1.สภาพ อง ู้ปวย 2.ความรู้สกตัวระดับ ด AVPU 3.ทางเดินหาย จ อุดตันหรอเปดโลง 4.หาย จ ปกติหรอ มปกติ 5. หลเวียนโลหิตและบาดแ ลภายนอก

มคงที

คงทีหรอ มคงที

ักประวัต ิ SAMPLE+OPQRST

อ ว.7 รถกู้ ีพสนับสนุนหรอเปลียนถาย วัด สั

คงที

า ีพ

ตรวจรางกายเน้นเฉพาะจุด Focus assessment

ดูแล ู้ปวยตามแนวทางทีเหมาะสม As appropriate protocol

วัด สั

ักประวัต ิ SAMPLE+OPQRST

า ีพ

ดูแล ู้ปวยตามแนวทางทีเหมาะสม As appropriate protocol

ประเมิน า ทุก 5 นาที เคลอนย้ายนาสง

ประเมิน า ทุก 15 นาที รายงานศูนย์สังการ

1


ตาดู หู ัง

ประเมิน พบมีภาวะหายเดินหายใจอุดกั้น

อุดกั้นจาก สิ่งแปลกปลอม

ไม่

สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นสมบูรณ์ มีประวัติสาลักสิ่งแปลกปลอม เช่น อาหาร ัน ปลอม ผู้ป่วยใช้มือกุมคอ ไอ ร้อง แต่ไม่มีเสีย ง

ใช่

จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ กดหน้าผากเชยคาง หรือ ดันกราม

ไม่

อุดกั้นสมบูรณ์หรือไม่

ไม่

เห็นสิ่งแปลกปลอม ในช่องปาก

ใช่

ทา Heimlich maneuver ใช่

กวาดนิ้ว Finger sweep เฝาระวังภาวะ หายเดินทางใจอุดกั้นสมบูรณ์

ไม่

ผู้ป่วยหมดสติ

ใช่

เริ่มกระบวนการ ืนคืนชีพ

ไม่

ไม่ร ู้สึกตัว

ใช่

OPA

ขอว.7 รถกู้ชีพ เอาสิ่งแปลกปลอมออก สาเร็จ

ใช่

ไม่ น้าลาย/เสมหะ/ อาเจียน/เลือด

ใช่

ลูก สูบยางแดงหรือ suction

จัดท่าผู้ป่วยในท่าสบาย

ไม่

ประเมิน ผู้ป่วยตามหลักการประเมินทั่วไป

รายงานศูน ย์สั่งการ

ไม่

2


ประเมิน ผู้ป ่วยตามหลักการประเมินทั่วไป

สงสัยภาวะแพ้

แพ้ร ุนแรง

ใช่

ไม่

ขอ ว.7 รถกู้ชีพ เฝาระวังภาวะทางเดินทางใจอุดกั้น

นาส่ง

ให้ออกซิเจน 10 ลิตรต่อนาที

เฝาระวังภาวะแพ้ร ุนแรง

นอนยกขาสูงเล็กน้อย

ประเมิน ซ้า

รายงานศูน ย์สั่งการ

ภาวะแพ้รุนแรง มีข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ 1.อาการทางผิว หนัง ร่วมกับ อาการทางระบบทางเดินอาหาร หรือ การหายใจผิดปกติ หรือ การ ไหลเวียนโลหิตผิดปกติ 2.อาการทางผิว หนัง หรือ อาการทางระบบทางเดิน อาหาร หรือ การหายใจผิดปกติ หรือ การ ไหลเวียนโลหิตผิดปกติ (อย่างน้อย 2 จาก 4 ข้อ) 3. ความดันโลหิตต่า

3


ประเมิน พบระดับความรู้สึก ตัวเปลี่ยนแปลง

ขอ ว.7 รถกู้ชีพ ยึดตรึงกระดูกสัน หลัง

กรณี 1.ไม่ท ราบสาเหตุแน่ชัด 2.อุบัติเหตุ

ประเมิน และช่ว ยเหลือทางเดิน หายใจและการหายใจ ซักประวัติ SAMPLE OPQRST

วัดสัญญาณชีพ

รายงานศูน ย์สั่งการ

4


5


อาการเจ็บหน้า อกที่อาจจะเกิดจากหัวใจขาดเลือ ด เจบหน้าอกร้า ว ปทีกราม รักแร้ เจบเหมอนมี องหนักมาทับ มีอาการเหงอแตกตัว เยนร วมด้วย มีเจบหน้าอก หมดสติ เจบหน้าอกรวมกับคลน ส้อาเจียน เวียนศีร ะ

ผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอก

อาการคงที่

ไม่

ใช่

ซักประวัติสงสัยโรคหัวใจขาดเลือด ?

ดูแลตามปัญหาที่ตรวจพบ

ดูแลตามแนวทางที่เหมาะสม รายงานศูน ย์สั่งการ

6


ผู้ป่วยคลอดฉุกเฉิน

ประเมิน มารดาเบื้องต้น

ให้ช่วยคลอดฉุกเฉินเมื่อส่วนนา เลื่อนต่าถึงอวัยวะเพศภายนอก

ส่ว นนาเปนศีรษะ

รายงานศูน ย์สั่งการเพื่อเปลี่ยนถ่า ย หรือนาส่งโรงพยาบาล

ไม่

ใช่

ไม่

ต้องช่วยคลอดฉุก เฉิน

ติดตามสัญญาณชีพ ซักประวัติ

ใช่ รายงานศูน ย์สั่งการ

ปล่อยทารกให้คลอด แนวทางการดูแลทารกคลอด นอกโรงพยาบาล ประเมิน มารดาซ้า

ประเมิน มารดาซ้า

รายงานศูน ย์สั่งการ

7


     

รายงานกลับศูนย์สังการเพอเปลียนถายรถกู้ ีพ จัดทา ู้ปวยนอนหงาย หนุนสะโพกด้วยหมอนหรอ ้าหม ห้สูงทีสุด ห้ออก ิเจนด้วยหน้ากากพร้อมถุงกักอากาศ 15 ลิตรตอนาที ห้ ู้ปวยสูดลมหาย จเ ้าถ้ามีการหด องมดลูก แนะนา ู้ปวยห้ามเบง วัดและติดตามสั า ีพ ู้ปวย หากต้องนาสงเอง ห้รีบเคลอนย้ายและนาสงพร้อมประเมินติดตาม ู้ปวยตลอดทาง

8


 ถ้า ู้ปวย ห้ประวัติวามีสวนนาตุง/จะคลอด ห้ดูบริเว อวัยวะเพศ หากมีสวนนาเป็นศีร ะตุง ห้รายงานกลับศูนย์สังการและเตรียมการ วยคลอด ***หำกเป็นส่วนขำนำ ให้รีบนำส่งโรงพยำบำล***  หากยัง มมีสวนนาตุง ห้รีบนาสงโรงพยาบาล ระหวางนาสง ห้นอนตะแคง ้ายหัวสูง 15-30 องศา  ประเมินสั า ีพ ักประวัติ  นาสมุดฝากครรภ์ อง ู้ปวยมาด้วย  ห้ออก ิเจนด้วยหน้ากากพร้อมถุงครอบ 10 ลิตรตอนาที  หาก ู้ปวยมีอาการจุกแนนลินปี่ อาเจียน เวียนศีร ะ BP > 140/90 ห้รายงานศูนย์สังการและเฝา ระวังมารดา ัก  หากมารดา ัก ห้ ้แนวทางดูแล ู้ปวย ักเกรง

9


ทารกคลอดภายนอกโรงพยาบาล

อายุครรภ์ครบกาหนดคลอดและ ความตึงตัวของกล้ามเนื้อดีและร้องดี

ใช่

- เช็ดตัวให้แห้งและห่อตัว - จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ - ดูดสารคัดหลั่งในปากและจมูก -ให้เด็กอยู่กับมารดา

ไม่

- จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ - ดูดเสมหะในปากและจมูก - เช็ดตัว กระตุ้น

รายงานศูน ย์สั่งการ

10


ผู้ป่วยจมน้า ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยขึ้นจากน้า ให้ทาในกรณี 1.อยู่ในอาการมึนเมา 2.ประวัติกระโดดน้า หรือเล่นกี าทางน้า

ยึดตรึงกระดูกสัน หลัง ประเมิน ผู้ป่วยตามหลักการ ประเมิน ทั่วไป ระดับความ รู้สึกตัว

U

ไม่

จมน้าน้อยกว่า 1 ชั่วโมง

มีชีพจร

ใช่

รายงานศูน ย์สั่งการ

ช่วยหายใจ 5 ครั้ง ไม่

AVP

แนวทางการช่วยเหลือ ทางเดินหายใจ

ใช่

แนวทางการช่วยเหลือ ทางเดินหายใจ

ให้ออกซิเจน 15 ลิตรต่อนาที

ช่วยหายใจด้วย Pocket mask หรือเป่าปาก

ถอดเสื้อผ้าเปียกออก หรือเช็ดตัวและห่มผ้า

แนวทางการ ืนคืนชีพ ภายนอกโรงพยาบาล รายงานศูน ย์สั่งการ เฝาระวังค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน ปลายนิ้วให้มากกว่า 95%

11


อาการหาย จเกิน (hyperventilation syndrome) แสดงอาการด้วยการหอบหาย จเรว มักมีอาการเครียด หรอวิตกกังวล นามากอน อาจจะเกิดอาการ าปลายมอ มอจีบเกรง รวมด้วย ทา ห้ ู้ปวยตก จ กลัว    

แยก ู้ปวยออกจากสภาพแวดล้อมทีกระตุ้น ห้ ู้ปวยมีอาการ ประเมิน ู้ปวยตามการดูแลทัว ป วัดสั า ีพ นาสง ู้ปวย ระหวางการนาสง ห้ ู้ วยเหลอปลอบ ฝึกหาย จโดย ้หน้าท้อง เพอ ห้อัตราการหาย จ อง ู้ปวย ้าลง ห้ามครอบถุงกระดาษ  หาย จเ ้าสุดจนท้องปอง  หาย จออกสุดจนท้องแฟบ  หากฝึกหาย จและปลอบแล้วอาการ มดี น แจ้งศูนย์สังการ

12


 หากประเมินวา ู้ปวยมีภาวะ มคงที ห้แจ้งศูนย์สังการเพอเปลียนถาย  หากมีภาวะคงที และ ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ห้ดมนาหวาน (นา 1 แก้ว สมนาตาล 3 ้อน า/นาอัดลมสูตรปกติ)  ประเมิน ักประวัติ วัดสั า ีพและดูแล ู้ปวยตามแนวทางทัว ป  เจาะนาตาลปลายนิว าหลัง ห้กินนาหวาน 15 นาที  นาสง ู้ปวย

13


ภาวะหายใจวิกฤต มีการหายใจช้าหรือเร็วผิดปกติ ร่วมกับผิวซีดเขียว อาจมีระดับความ รู้สึกตัว ผิดปกติ (ประเมิน ในการประเมินขั้นต้น)

มีภาวะหายใจวิกฤต

นับอัตราการหายใจ < 10 ครั้งต่อนาที หรือหยุดหายใจ

> 24 ครั้งต่อนาที

เปิดทางเดินหายใจ

จัดท่าผู้ป่วยอยู่ในท่า ที่สบาย

ช่วยทาการหายใจ ผ่านพ็อคเก็ตแมส

มีภาวะหายใจ ล้มเหลวหรือไม่

ประเมิน และดูแลผู้ป่วยตาม แนวทางการดูแลผู้ป่วยต่อ

ซักประวัติการใช้ยาเสพติด

ภาวะหายใจล้มเหลว SpO2 <92% และ RR > 30 และ ใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ

ใช่

หน้า กากออกซิเจนพร้อม ถุงกักอากาศ 10 ลิตรต่อนาที

ไม่ ออกซิเจนแคนูล่า 3-5 ลิตรต่อนาที

ตรวจร่างกายเพิ่มเติม

เสีย งวี้ด รายงานกลับศูน ย์สั่งการ

ใช่

หากผู้ป่วยมียาพ่น ให้ช่วยใช้ยาพ่น

ไม่

14


ผู้ป่วยก าลังชักเกร็ง

ขอ ว.7 รถกู้ชีพ เคลื่อนย้า ยผู้ป่วยออกจาก สภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย เปิดทางเดินหายใจ ให้ออกซิเจนด้วยหน้ากาก พร้อมถุงลมกักอากาศ 10 ลิตรต่อนาที รีบน าส่ง/เปลี่ยนถ่าย วัดสัญญาณชีพ ประเมิน ซ้า รายงานศูน ย์สั่งการ 15


ประเมิน ผู้ป่วยตามหลักการประเมินทั่วไป

คงที่

ไม่

รายงานศูน ย์สั่งการและทาการดูแลตามความเหมาะสม

ใช่ ซักประวัติ สงสัยภาวะ เส้นเลือดสมองแตก ตีบ ตัน

F (Face) ใบหน้าเบี้ยว ปากเบี้ยว A (Arm) แขนขาอ่อนแรง หรือชา อ่อนแรงครึ่งซีก เดิน เซ S (Speech)ลิ้น แข็ง พูดไม่ชัด พูดลาบาก T (Time) มีอาการมาไม่เกิน 4.5 ชั่วโมง

รายงานศูน ย์สั่งการ

16


ประเมิน สถานการณ์ + PPE Level C ขึ้นไป

ประเมิน ผู้ป่วยตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยทั่วไป

รู้สึกตัว

ใช่

รู้สึกตัว หรือไม่?

ซักประวัติแบบ SAMPLE และตรวจร่า งกาย

ใช่

ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ ศูนย์สั่งการเพื่อรีบนาผู้ป่วยออก จากสถานที่เกิดเหตุ

ไม่ร ู้สึกตัว

มีชีพจรหรือไม่?

มีชีพจร

ได้รับสารพิษหรือไม่?

ไม่มีชีพจร

ไม่ ถูกสัตว์พิษกัด/ต่อย

ได้รับสารพิษ สูดดม

ไม่

สัมผัส

กิน ห้ามกระตุ้นให้ผู้ป่วย อาเจียนหรือให้กินทางปาก

แนวทางการดูแลผู้ป่วย อาการแพ้

ใช่

แนวทางการช่วย ืนคืนชีพ

มีอาการแพ้ร ุนแรงหรือไม่? ไม่ งู

ใช่

พิษงูประเภทใด

ลดการปนเปือนสารพิษ Decontamination ไม่ท ราบชนิดงู

มีผลต่อระบบเลือด

มีผลต่อระบบประสาท

ระวังภาวะเลือดออก

ระวังภาวะหายใจล้มเหลว และระดับความรู้สึกตัว

ไม่

ถ่า ยรูปบรรจุภัณฑ์ ของสารเคมีมาด้วย

วัดสัญญาณชีพและติดตามคลื่นไ าหัวใจ

ประเมิน อาการซ้าระหว่างนาส่งหรือเปลี่ยนถ่าย

รายงานศูน ย์สั่งการ

17


ผู้ป่วยจิตเวชมีอาการก้า วร้าว -ประสานตารวจก่อนเข้า หาผู้ป่วย -มองหาทางหนีทีไล่ -สวมอุปกรณ์ปองกันตัวเอง -แบ่งหน้าที่ก่อนเข้าหาผู้ป่ว ย

ปฏิบัติตามแนวทางความปลอดภัย

ใช่

ผู้ป่วยมีอาการก้าวร้าวหรือ ใช้ความรุนแรง

ไม่

เคลื่อนย้า ยผู้ป่วย **เฝาระวังความปลอดภัยของ ผู้ปฏิบัติงาน

ขอ ว.7 รถกู้ชีพสนับสนุน

ยึดตรึงผู้ป่ว ยทางกาย

เฝาระวังการไหลเวีย นส่วนปลาย

ประเมิน และดูแลผู้ป่วย ตามหลักการประเมินทั่วไป

รายงานศูน ย์สั่งการ

18


เกณฑ์การปฏิบัติการแพทย์ ผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งแพทย์และการอานวยการ หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ระดับพื้นฐาน หมวดผู้ป่วย


รับแจ้ง

ประเมิน สถานการณ์ 1.สวมอุปกรณ์ปองกันตัวเอง 2.ประเมิน และสร้า งความปลอดภัยในที่เกิดเหตุ 3.อาการป่วย/กลไกการบาดเจ็บ 4.จานวนผู้ป่วยหรือ บาดเจ็บ 5.หน่วยงานสนับ สนุนที่ต้องร้อ งขอ

ประเมิน ผู้ป ่วยขั้นต้น 1.สภาพของผู้ป ่วย 2.ความรู้สึก ตัวระดับ ใด AVPU 3.ทางเดินหายใจ อุดกั้นหรือเปิดโล่ง 4.หายใจ ปกติห รือไม่ป กติ 5.ไหลเวียนโลหิตและบาดแผลภายนอก

ไม่คงที่

คงที่หรือไม่คงที่

คงที่

ขอ ว.7 รถกู้ชีพสนับสนุนหรือ เปลี่ยนถ่าย

ซักประวัติ SAMPLE+OPQRST

ประเมิน หัวถึงเท้าหาภาวะคุกคามต่อ ชีวิต DCAP-BLS-TIC

ตรวจร่างกายเน้นเฉพาะจุด Focus assessment

วัดสัญญาณชีพระดับน้าตาล GCS, pupils

วัดสัญญาณชีพ

ดูแลผู้ป่วยตามแนวทางที่เหมาะสม As appropriate protocol

ดูแลผู้ป่วยตามแนวทางที่เหมาะสม As appropriate protocol

ซักประวัติ SAMPLE+OPQRST

เคลื่อนย้า ยนาส่ง

ประเมิน ซ้า ทุก 5 นาที

ประเมิน ซ้า ทุก 15 นาที รายงานศูน ย์สั่งการ

19


ตาดู หู ัง

ประเมิน พบมีภาวะหายเดินหายใจอุดกั้น

อุดกั้นจากสิ่ง แปลกปลอม

ไม่

ไม่ เห็นสิ่งแปลกปลอม ในช่องปาก

ใช่

ไม่

จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ กดหน้าผากเชยคาง หรือดันกราม

สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นสมบูรณ์ มีประวัติสาลักสิ่งแปลกปลอม เช่น อาหาร ัน ปลอม ผู้ป่วยใช้มือกุมคอ ไอ ร้อง แต่ไม่มีเสีย ง

อุดกั้นสมบูรณ์หรือไม่

เฝาระวังภาวะหาย เดิน ทางใจอุดกั้น สมบูรณ์ ใช่

ใช่

ทา Heimlich maneuver

กวาดนิ้ว finger sweep ผู้ป่วยหมดสติ

ไม่ น้าลาย/เสมหะ/ อาเจียน/เลือด

ใช่

เริ่มกระบวนการ ืนคืนชีพ

ไม่ ขอว.7 รถกู้ชีพ ใช่

ลูกสูบยางแดง

เอาสิ่งแปลกปลอม ออกสาเร็จ

ใช่ จัดท่าผู้ป่วยในท่าสบาย

ไม่ ประเมิน ผู้ป่วยตามหลักการ ประเมิน ทั่วไป

รายงานศูน ย์สั่งการ

ไม่

20


ประเมิน ผู้ป่วยตามหลักการประเมินทั่วไป

สงสัยภาวะแพ้

แพ้ร ุนแรง

ใช่

ไม่

ขอ ว.7 รถกู้ชีพ เฝาระวังภาวะทางเดินทางใจอุดกั้น

นาส่ง

ให้ออกซิเจน 10 ลิตรต่อนาที

เฝาระวังภาวะแพ้ร ุนแรง

นอนยกขาสูงเล็กน้อย

ประเมิน ซ้า

รายงานศูน ย์สั่งการ

ภาวะแพ้รุนแรง มีข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ 1.อาการทางผิว หนัง ร่วมกับ อาการทางระบบทางเดินอาหาร หรือ การหายใจผิดปกติ หรือ การไหลเวียนโลหิตผิดปกติ 2.อาการทางผิว หนัง หรือ อาการทางระบบทางเดิน อาหาร หรือ การหายใจผิดปกติ หรือ การไหลเวียนโลหิตผิดปกติ (อย่างน้อย 2 จาก 4 ข้อ) 3. ความดันโลหิตต่า

21


ประเมิน พบระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง

แจ้งขอ ว.7

ยึดตรึงกระดูกสัน หลัง

กรณี 1.ไม่ท ราบสาเหตุแน่ชัด 2.อุบัติเหตุ

ประเมิน และช่ว ยเหลือทางเดิน หายใจและการหายใจ

เจาะระดับน้าตาลปลายนิ้ว ซักประวัติ SAMPLE OPQRST

วัดสัญญาณชีพ

ดูแลเพิ่มเติมตามแนวทางที่เหมาะสม As appropriate protocol

รายงานศูน ย์สั่งการ

22


ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บไม่มีชีพจร เกณฑ์การเสียชีวิต * บาดเจ็บรุนแรง เช่น ศีรษะขาด ลาตัวขาด

ใช่

เข้าเกณฑ์เสีย ชีวิต

* เน่า *จมน้าเกิน 1 ชั่วโมง

ไม่ แจ้งศูนย์สั่งการขอ ว.7

เริ่มกระบวนการ ืนคืนชีพ 20 นาที

มีครบ 3 ข้อ -หัวใจหยุดเต้นโดยไม่มีพยานรู้เห็น -ไม่มีก ารช็อคด้วย AED -ตลอด 20 นาทีไม่มีชีพจร ไม่ครบ 3 ข้อ

เคลื่อนย้า ยนาส่งโรงพยาบาล

ครบ 3 ข้อ

รายงานศูน ย์สั่งการ

23


อาการเจ็บหน้า อกที่อาจจะเกิดจากหัวใจขาดเลือ ด เจบหน้าอกร้า ว ปทีกราม รักแร้ เจบเหมอนมี องหนักมาทับ มีอาการเหงอแตกตัว เยนร วมด้วย มีเจบหน้าอก หมดสติ เจบหน้าอกรวมกับคลน ส้อาเจียน เวียนศีร ะ

ผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอก

อาการคงที่

ไม่

ใช่

ซักประวัติสงสัยโรคหัวใจขาดเลือด ?

ดูแลตามปัญหาที่ตรวจพบ

ดูแลตามแนวทางที่เหมาะสม รายงานศูน ย์สั่งการ

24


ผู้ป่วยคลอดฉุกเฉิน

ประเมิน มารดาเบื้องต้น

ให้ช่วยคลอดฉุกเฉินเมื่อส่วนนา เลื่อนต่าถึงอวัยวะเพศภายนอก

ส่ว นนาเปนศีรษะ

รายงานศูน ย์สั่งการเพื่อเปลี่ยนถ่า ย หรือนาส่งโรงพยาบาล

ไม่

ใช่

ไม่ ติดตามสัญญาณชีพ ซักประวัติ

ต้องช่วยคลอดฉุก เฉิน

ใช่ รายงานศูน ย์สั่งการ

ปล่อยทารกให้คลอด แนวทางการดูแลทารกคลอด นอกโรงพยาบาล ประเมิน มารดาซ้า

ใช้แนวทางผู้ป่วยเจ็บครรภ์คลอด

รายงานศูน ย์สั่งการ

25


     

รายงานกลับศูนย์สังการเพอเปลียนถายรถกู้ ีพ จัดทา ู้ปวยนอนหงาย หนุนสะโพกด้วยหมอนหรอ ้าหม ห้สูงทีสุด ห้ออก ิเจนด้วยหน้ากากพร้อมถุงกักอากาศ 15 ลิตรตอนาที ห้ ู้ปวยสูดลมหาย จเ ้าถ้ามีการหด องมดลูก แนะนา ู้ปวยห้ามเบง วัดและติดตามสั า ีพ ู้ปวย หากต้องนาสงเอง ห้รีบเคลอนย้ายและนาสงพร้อมประเมินติดตาม ู้ปวยตลอดทาง

26


 ถ้า ู้ปวย ห้ประวัติวามีสวนนาตุง/จะคลอด ห้ดูบริเว อวัยวะเพศ หากมีสวนนาเป็นศีร ะตุง ห้รายงานกลับศูนย์สังการและเตรียมการ วยคลอด ***หำกเป็นส่วนขำนำ ให้รีบนำส่งโรงพยำบำล***  หากยัง มมีสวนนาตุง ห้รีบนาสงโรงพยาบาล ระหวางนาสง ห้นอนตะแคง ้ายหัวสูง 15-30 องศา  ประเมินสั า ีพ ักประวัติ  นาสมุดฝากครรภ์ อง ู้ปวยมาด้วย  ห้ออก ิเจนด้วยหน้ากากพร้อมถุงครอบ 10 ลิตรตอนาที  หาก ู้ปวยมีอาการจุกแนนลินปี่ อาเจียน เวียนศีร ะ BP > 140/90 ห้รายงานศูนย์สังการและเฝา ระวังมารดา ัก  หากมารดา ัก ห้ ้แนวทางดูแล ู้ปวย ักเกรง

27


ทารกคลอดภายนอกโรงพยาบาล

อายุครรภ์ครบกาหนดคลอดและ ความตึงตัวของกล้ามเนื้อดีและร้องดี

ใช่

- เช็ดตัวให้แห้งและห่อตัว - จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ - ดูดสารคัดหลั่งในปากและจมูก -ให้เด็กอยู่กับมารดา

ไม่

- จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ - ดูดเสมหะในปากและจมูก - เช็ดตัว กระตุ้น

รายงานศูน ย์สั่งการ

28


ผู้ป่วยจมน้า

ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยขึ้นจากน้า ให้ทาในกรณี 1.อยู่ในอาการมึนเมา 2.ประวัติกระโดดน้า หรือเล่นกี า ทางน้า

ยึดตรึงกระดูกสัน หลัง ประเมิน ผู้ป่วยตามขั้นตอน การประเมินผู้ป่วยขั้นต้น

U

ไม่ จมน้าน้อยกว่า 1 ชั่วโมง

ชีพจร

ใช่

รู้สึกตัว

AVP

แนวทางการช่วยเหลือ ทางเดินหายใจ

ใช่

แนวทางการช่วยเหลือ ทางเดินหายใจ

รายงานศูน ย์สั่งการ

ช่วยหายใจด้วย BVM

ให้ออกซิเจน 15 ลิตรต่อนาที ถอดเสื้อผ้าเปียกออกหรือ เช็ดตัวและห่มผ้า

BVM 5 ครั้ง เฝาระวังค่าความอิ่มตัวของ ออกซิเจนปลายนิ้วให้มากกว่า 95%

แนวทางการ ืนคืนชีพ ภายนอกโรงพยาบาล

ไม่

รายงานศูน ย์สั่งการ

29


อาการหาย จเกิน (hyperventilation syndrome) แสดงอาการด้วยการหอบหาย จเรว มักมีอาการเครียด หรอวิตกกังวล นามากอน อาจจะเกิดอาการ าปลายมอ มอจีบเกรง รวมด้วย ทา ห้ ู้ปวยตก จ กลัว    

แยก ู้ปวยออกจากสภาพแวดล้อมทีกระตุ้น ห้ ู้ปวยมีอาการ ประเมิน ู้ปวยตามการดูแลทัว ป วัดสั า ีพ นาสง ู้ปวย ระหวางการนาสง ห้ ู้ วยเหลอปลอบ ฝึกหาย จโดย ้หน้าท้อง เพอ ห้อัตราการหาย จ อง ู้ปวย ้าลง ห้ามครอบถุงกระดาษ  หาย จเ ้าสุดจนท้องปอง  หาย จออกสุดจนท้องแฟบ  หากฝึกหาย จและปลอบแล้วอาการ มดี น แจ้งศูนย์สังการ

30


 หากประเมินวา ู้ปวยมีภาวะ มคงที ห้แจ้งศูนย์สังการเพอเปลียนถาย  หากมีภาวะคงที และ ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ห้ดมนาหวาน (นา 1 แก้ว สมนาตาล 3 ้อน า/นาอัดลมสูตรปกติ)  ประเมิน ักประวัติ วัดสั า ีพและดูแล ู้ปวยตามแนวทางทัว ป  เจาะนาตาลปลายนิว าหลัง ห้กินนาหวาน 15 นาที  นาสง ู้ปวย

31


มีภาวะหายใจวิกฤติ ภาวะหายใจวิกฤติ มีการหายใจช้าหรือเร็วผิดปกติ ร่วมกับผิวซีดเขียว อาจมีระดับความ รู้สึกตัว ผิดปกติ (ประเมิน ในการประเมินขั้นต้น)

นับอัตราการหายใจ

< 10 ครั้งต่อนาที หรือหยุดหายใจ

> 24 ครั้งต่อนาที

เปิดทางเดินหายใจ

จัดท่าผู้ป่วยอยู่ในท่า ที่สบาย

BVM 10-12 ครั้งต่อนาที

มีภาวะหายใจ ล้มเหลวหรือไม่

ประเมิน ผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือ ตามหลักการประเมินทั่วไป

ภาวะหายใจล้มเหลว SpO2 <92% และ RR > 30 และ ใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ ใช่

ไม่

BVM

ให้ออกซิเจน ตามความเหมาะสม

ซักประวัติการใช้ยาเสพติด

ตรวจร่างกายเพิ่มเติม เสีย งวี้ด

ใช่

หากผู้ป่วยมียาพ่น ให้ช่วยใช้ยาพ่น

ไม่ รายงานกลับศูน ย์สั่งการ

32


ผู้ป่วยก าลังชักเกร็ง

ขอ ว.7 รถกู้ชีพ

เคลื่อนย้า ยผู้ป่วยออกจาก สภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

เปิดทางเดินหายใจ

ให้ออกซิเจนด้วยหน้ากากพร้อม ถุงลมกักอากาศ 10 ลิตรต่อนาที รีบน าส่ง/เปลี่ยนถ่าย

เจาะระดับน้าตาลปลายนิ้ว

วัดสัญญาณชีพ

ประเมิน ซ้า

รายงานศูน ย์สั่งการ

33


ประเมิน ผู้ป่วยตามหลักการประเมินทั่วไป

คงที่

ไม่

รายงานศูน ย์สั่งการและทาการดูแลตามความเหมาะสม

ใช่ ซักประวัติ สงสัยภาวะ เส้นเลือดสมองแตก ตีบ ตัน

F (Face) ใบหน้าเบี้ยว ปากเบี้ยว A (Arm) แขนขาอ่อนแรง หรือชา อ่อนแรงครึ่งซีก เดิน เซ S (Speech)ลิ้น แข็ง พูดไม่ชัด พูดลาบาก T (Time) มีอาการมาไม่เกิน 4.5 ชั่วโมง

เจาะระดับน้าตาลปลายนิ้ว

รายงานศูน ย์สั่งการ

34


ประเมิน สถานการณ์ + PPE Level C ขึ้นไป

ประเมิน ผู้ป่วยตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยทั่วไป

รู้สึกตัว

ใช่

รู้สึกตัว หรือไม่?

ซักประวัติแบบ SAMPLE และตรวจร่า งกาย

ใช่

ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ ศูนย์สั่งการเพื่อรีบนาผู้ป่วยออก จากสถานที่เกิดเหตุ

ไม่ร ู้สึกตัว

มีชีพจรหรือไม่?

มีชีพจร

ได้รับสารพิษหรือไม่?

ไม่มีชีพจร

ไม่ ถูกสัตว์พิษกัด/ต่อย

ได้รับสารพิษ สูดดม

ไม่

สัมผัส

กิน ห้ามกระตุ้นให้ผู้ป่วย อาเจียนหรือให้กินทางปาก

แนวทางการดูแลผู้ป่วย อาการแพ้

ใช่

แนวทางการช่วย ืนคืนชีพ

มีอาการแพ้ร ุนแรงหรือไม่? ไม่ งู

ใช่

พิษงูประเภทใด

ลดการปนเปือนสารพิษ Decontamination ไม่ ถายรูปบรรจุภั ์ อง สารเคมีมาด้ว ย

ไม่ท ราบชนิดงู

มีผลต่อระบบเลือด

มีผลต่อระบบประสาท

ระวังภาวะเลือดออก

ระวังภาวะหายใจล้มเหลว และระดับความรู้สึกตัว

วัดสัญญาณชีพและติดตามคลื่นไ าหัวใจ

ประเมิน อาการซ้าระหว่างนาส่งหรือเปลี่ยนถ่าย

รายงานศูน ย์สั่งการ

35


ผู้ป่วยจิตเวชมีอาการก้า วร้าว -ประสานตารวจก่อนเข้า หาผู้ป่วย -มองหาทางหนีทีไล่ -สวมอุปกรณ์ปองกันตัวเอง -แบ่งหน้าที่ก่อนเข้าหาผู้ป่ว ย

ปฏิบัติตามแนวทางความปลอดภัย

ใช่

ผู้ป่วยมีอาการก้าวร้าวหรือ ใช้ความรุนแรง

ไม่

เคลื่อนย้า ยผู้ป่วย **เฝาระวังความปลอดภัยของ ผู้ปฏิบัติงาน

ขอ ว.7 รถกู้ชีพสนับสนุน

ยึดตรึงผู้ป่ว ยทางกาย

เฝาระวังการไหลเวีย นส่วนปลาย

ประเมิน และดูแลผู้ป่วย ตามหลักการประเมินทั่วไป

รายงานศูน ย์สั่งการ

36


เกณฑ์การปฏิบัติการแพทย์ ผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งแพทย์และการอานวยการ หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ระดับต้น หมวดผู้บาดเจ็บ


ประเมิน สถานการณ์ แนวทางยึดตรึงกระดูกสันหลัง

ประเมิน ผู้ป่วยตามหลักการ ประเมิน ทั่วไป

ไม่

อาการคงที่หรือไม่

แจ้งขอ ว.7 รถกู้ชีพ

หากคลาชีพจรไม่ได้ให้ปฏิบัติตาม แนวทางการดูแลหัวใจหยุดเต้น

รายงานศูน ย์สั่งการ

ใช่ ซักประวัติ SAMPLE

ช่วยเปิดทางเดินหายใจ ตรวจร่างกาย DCAPBLSTIC

ให้ออกซิเจนด้วยหน้ากาก พร้อมถุงกักอากาศ 10 ลิตรต่อนาที

วัดสัญญาณชีพ

ทาการห้า มเลือดบาดแผล ที่มีเลือดออกมาก รีบท าการเคลื่อนย้าย จากที่เกิดเหตุใน 10 นาที

ช่วยเหลือ ตามความเหมาะสม

วัดสัญญาณชีพ

ซักประวัติตรวจร่างกาย SAMPLE+DCAPBLSTIC

ประเมิน ซ้าทุก 15 นาที

ประเมิน ซ้าทุก 5 นาที

รายางานศูนย์สั่งการ

37


ตรวจร่างกายสงสัยการบาดเจ็บช่องท้อง ตรวจร่างกายช่องท้อง ดูบาดแผลภายนอกมีอวัยวะ ในช่องท้องไหลออกมาหรือไม่ เปนต้น คลา มีจุดกดเจ็บ

มีภาวะช็อค

แนวทางการดูแลผู้ป่วยช็อค จากการเสียเลือด

มีอวัยวะภายใน ไหลออกจากช่องท้อง

 ให้หุ้มด้วยผ้ากอซสะอาดชุบน้าเกลือชุ่ม  ห้ามยัดอวัย วะกลับ

ตรวจติดตามความรู้สึกตัว วัดสัญญาณชีพ ค่าความอิ่มตัวออกซิเจน

รายงานศูน ย์สั่งการ

38


39


 ประเมินความปลอดภัย นทีเกิดเหตุ  ร้อง อหนวยงานทีเกียว ้องจากศูนย์สังการ (รถกู้ ีพ, หนวยงานทีมีอุปกร ์ตัดถาง) และทีจุดเกิดเหตุ (เจ้าหน้าทีดูแลเครองจักร เป็นต้น)  เ ้าประเมิน ู้ปวยเมอสถานการ ์ปลอดภัย  ประเมิน ู้บาดเจบตามหลักการประเมินทัว ปและรัก าภาวะคุกคามทีตรวจพบ  วัดสั า ีพ คาความอิมตัว องออก ิเจน  เมอ ู้บาดเจบหลุดออกจากสิงบดทับ ด้แล้ว ห้ประเมิน ู้บาดเจบ า  เฝาระวังภาวะหัว จหยุดเต้น  รายงาน ้อมูลกลับศูนย์สังการ  ักประวัติ ตรวจรางกายหาจุดบาดเจบเพิมเติม ประเมิน ู้บาดเจบ าระหวางนาสงหรอเปลียนถาย

40


 ประเมิน ู้บาดเจบตามแนวทางการดูแล ู้บาดเจบ หากอาการ มคงที ห้ดูแลภาวะคุกคาม ีวิต  หากตรวจพบการบาดเจบทีบริเว ดวงตา ห้ปฏิบัติดังนี  หากพบวุ้นหรอ องเหลว หลออกจากลูกตา ห้าม ้แรงกด ครอบลูกตาด้วยถ้วยนากระดา  หากเป็นสารเคมีเ ้าตา ห้นาการล้างตาด้วยนาเกลอ 1000 ml (ดู ันตอนปฏิบัติล้างตา)  หากมีวัสดุปักคาหรอสิงแปลกปลอม ห้ามดงออก และยดตรง ห้แนนหนาและระมัดระวังการ ยับ องวัสดุปักคา ข้อควรระวัง : ถ้า ู้ปวย สคอนแทคเลนส์ ห้ถอดคอนแทคเลนส์ออกกอนเสมอ  หาก มจาเป็นต้องจากัดการเคลอน หว องกระดูกสันหลัง ห้ ู้บาดเจบนัง นทาสบาย  รายงานศูนย์สังการ  ระหวางนาสง ห้ประเมินดูแล ู้บาดเจบตามหลักการดูแล ู้บาดเจบ

41


ประเมิน ตรวจพบการบาดเจ็บรยางค์

อวัย วะส่วนปลาย ถูกตัดขาด

 ล้า งด้วยน้าเกลือ  ห้ามเลือด  เก็บอวัยวะส่วนปลายใส่ถุงและเก็บในภาชนะบรรจุน้าแข็ง เขียนชื่อผู้ป่วย ชิ้นส่วนอวัย วะ  บันทึกเวลาที่เก็บอวัยวะ

ใช่

ไม่

มีเลือดออกหรือไม่

ใช่

ห้ามเลือด

ใช่

คลาชีพจรส่วนปลาย หากคลาชีพจรส่วนปลายไม่ได้ ให้รายงานศูนย์สั่งการ

ไม่

รยางค์ผิดรูป

ไม่

มีแผลเปิดบริเวณที่ผิดรูป ล้า งแผลด้วยน้าเกลือ 1-2 ลิตร และปิดแผลห้ามเลือด

ทาการดาม ดูแลผู้บาดเจ็บต่อตามแนวทางการประเมิน

42


ตรวจพบการบาดเจ็บ ที่ใบหน้า

ประเมิน ทางเดินหายใจ

ไม่

มีเลือดออกจากช่องปาก หรือจมูกมากหรือ ใบหน้าบวม

ใช่ เปิดทางเดินหายใจ ใช้ลูก ยางแดงดูดในจมูกและปาก

ยังมีเลือดออกมาก

ใช่

ขอ ว.7 รถกู้ชีพ

ไม่ หน้า กากออกซิเจน พร้อมถุงกักอากาศ 10 ลิตรต่อนาที

ประเมิน ทางเดินหายใจซ้าทุก 5 นาที

รายงานศูน ย์สั่งการ

43


ประเมิน ผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือ ตามหลักการประเมินทั่วไป

ยึดตรึงกระดูกสัน หลัง

มีการบาดเจ็บที่ศีรษะ อย่างเดียว

ใช่

P/U

ระดับ ความรู้สึกตัว

ไม่

ประเมิน และดูแลผู้บาดเจ็บต่อ

A/V ขอ ว.7 รถกู้ชีพ

หน้ากากออกซิเจนพร้อม ถุงกักอากาศ 10 ลิตรต่อนาที มีอาการชักเกร็ง

ใช่

แนวทางการดูแลผู้ป่วยชักเกร็ง

ไม่ วัดสัญญาณชีพ

ประเมิน ซ้าทุก 5 นาที

รายงานศูน ย์สั่งการ

44


สงสัยผู้ป่วยบาดเจ็บจากความร้อน

ประเมิน ผู้ป ่วยตาม หลักการประเมินทั่วไป วัดอุณหภูมิกาย

BT > 40 C

ใช่

ไม่

รายงานศูน ย์สั่งการ

รีบน าผู้ป่วยออกจากสิ่งแวดล้อมที่ผู้ป่วยอยู่

ให้ผู้ป่วยหยุดกิจกรรมที่ทาอยู่

ถอดเสื้อผ้าของผู้ป่วย

นอนราบพัก ในที่เย็น

ฉีดน้าอุณหภูมิห ้องที่ผิวของผู้ป่วยโดยตรงและใช้ลมเป่า

จิบ น้าเกลือแร่เย็น

ใช้ถุงน้าแข็งประคบบริเวณคอ รัก แร้

รายงานศูน ย์สั่งการ

ลัก ษณะผู้ป่ว ยที่ต้องสงสัยว่าบาดเจ็บ จากความร้อน 1. ผู้สูงอายุหรือเด็กที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีความร้อนสูงนาน เช่น ในรถที่จ อดตาก แดด ในบ้านที่มีก ารระบายความร้อนไม่ดี เปนต้น 2. ผู้ป่วยมีการออกกาลังมากเกินไปในอุณหภูมิสูง ความชื้นสัมพัท ์สูง เช่น ทหารเกณฑ์ ฝกกะใหม่ การแข่งขันกี าที่มีระยะเวลาต่อเนื่องยาวนานกลางแจ้ง ร่วมกับ มีอาการ เปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว มีความผิดปกติของสัญญาณชีพ

45


 ประเมินสถานการ ์  ประเมิน ู้บาดเจบตามแนวทางการดูแล ู้บาดเจบ หากอาการ มคงที ห้แจ้งศูนย์สังการ  หากตรวจพบวัสดุปักคา ห้ปฏิบัติดังนี  ห้ามเอาสิงทีเสียบคาออก ยกเว้น ัด วางการทาหัตถการ วย ีวิต  ยดตรงวัตถุทีติดคาบาดแ ล  ทาการห้ามเลอดด้วยการกดห้ามเลอดด้วยความระมัดระวัง  อาจทาการตัดปลายวัสดุหักคา หาก ัด วางการเคลอนย้าย  ักประวัติ สั า ีพ เพอแจ้ง ้อมูลกลับศูนย์สังการ  ระหวางรอเปลียนถาย หรอนาสง วัดสั า ีพและทาการประเมิน ู้ปวย า

46


 ประเมิน ู้ปวยตามแนวทางการประเมินทัว ป โดยเฉพาะสิงคุกคามทางเดินหาย จและการเสียเลอด หาก ู้บาดเจบมีสิงคุกคาม ห้ติดตอศูนย์สังการ อเปลียนถายรถพยาบาล  ห้ามเลอดบริเว ลาคอด้วยการกดก๊อ แนน direct pressure  เฝาระวังสั า ีพ และความรู้สกตัว ระหวางการกดหยุดเลอด  ห้ออก ิเจนด้วยหน้ากากครอบพร้อมถุงกักอากาศ เปดความเ ้ม ้น 10 ลิตรตอนาที  วยหาย จหาก ู้ปวยมีภาวะหาย จล้มเหลว รัก าระดับความอิมตัว องออก ิเจนมากกวา 95%  รีบเปลียนถายหรอนาสงโรงพยาบาล ตามคาสังศูนย์สังการ

47


Distracting injury ด้แก -อวัยวะถูก ตัด าด -มีก ระดูกทอนยาวหัก -แ ล หม้ -แ ลโดนบดทับ

ประเมิน ู้บาดเจบตามหลัก การประเมินทัว ป อาการคงที

ดูแลตามความเหมาะสม

รัก าภาวะคุก คาม ีว ิต

พิจาร ายดตรงกระดูก สันหลัง กอนเคล อนย้าย

อ ว.7 รถกู้ ีพ

GCS <15 ม

เจบสันหลัง ม ออนแรงหรอ า ม

สันหลัง ิดรูป ม ด้รับสารเสพติด หรอเมา

ม Distracting injury ม มีอ ุปสรรค การสอสาร

ยดตรงกระดูกสันหลัง ม

รายงานศูนย์สังการ

48


เกณฑ์การปฏิบัติการแพทย์ ผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งแพทย์และการอานวยการ หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ระดับพื้นฐาน หมวดผู้บาดเจ็บ


ประเมิน สถานการณ์ แนวทางยึดตรึงกระดูกสันหลัง ประเมิน ผู้ป่วยและให้ก าร ช่วยเหลือตามหลัก การประเมินทั่ว ไป

หากคลาชีพจรไม่ได้ให้ปฏิบัติตาม แนวทางการดูแลหัวใจหยุดเต้น รายงานศูน ย์สั่งการ

ไม่

อาการคงที่หรือไม่

ใช่ ซักประวัติ SAMPLE

แจ้งขอ ว.7 รถกู้ชีพ

ช่วยเปิดทางเดิน หายใจ

ตรวจร่างกาย DCAPBLSTIC <10 หรือ > 28

BVM

ประเมิน การ หายใจ

วัดสัญญาณชีพ 10-28

Mask c bag 10 LMP

รักษา SpO2 94

ทาการห้า มเลือดบาดแผล ที่มีเลือดออกมาก

ช่วยเหลือ ตามความเหมาะสม

รีบท าการเคลื่อนย้ายจากที่ เกิดเหตุใน 10 นาที วัดสัญญาณชีพ ซักประวัติตรวจร่างกาย SAMPLE+DCAPBLSTIC

ประเมิน ซ้าทุก 15 นาที ประเมิน GCS ประเมิน ซ้าทุก 5 นาที

รายงานศูน ย์สั่งการ

49


ตรวจร่างกายสงสัยการบาดเจ็บช่องท้อง ตรวจร่างกายช่องท้อง ดูบาดแผลภายนอกมีอวัยวะ ในช่องท้องไหลออกมาหรือไม่ เปนต้น คลา มีจุดกดเจ็บ

มีภาวะช็อค

แนวทางการดูแลผู้ป่วยช็อค จากการเสียเลือด

มีอวัยวะภายใน ไหลออกจากช่องท้อง

 ให้หุ้มด้วยผ้ากอซสะอาดชุบน้าเกลือชุ่ม  ห้ามยัดอวัย วะกลับ

ตรวจติดตามความรู้สึกตัว วัดสัญญาณชีพ ค่าความอิ่มตัวออกซิเจน

รายงานศูน ย์สั่งการ

50


ตรวจประเมินพบการบาดเจ็บของทรวงอก

อาการคงที่หรือไม่

ไม่

ใช่

ขอ ว.7รถกู้ชีพ

มีแผลเปิดที่ทรวงอก หรือไม่

ไม่

ใช่

ปิดแผล 3 ด้าน

ให้ออกซิเจน รักษาระดับค่า ความอิ่มตัวของออกซิเจนมากกว่า 94%

เฝาระวังอาการและวัดสัญญาณชีพ

ตรวจหาการบาดเจ็บอื่น ตามแนวทางการดูแลผู้บาดเจ็บ

รายงานศูน ย์สั่งการ

51


 ประเมินความปลอดภัย นทีเกิดเหตุ  ร้อง อหนวยงานทีเกียว ้องจากศูนย์สังการ (รถกู้ ีพ, หนวยงานทีมีอุปกร ์ตัดถาง) และทีจุดเกิดเหตุ (เจ้าหน้าทีดูแลเครองจักร เป็นต้น)  เ ้าประเมิน ู้ปวยเมอสถานการ ์ปลอดภัย  ประเมิน ู้บาดเจบตามหลักการประเมินทัว ปและรัก าภาวะคุกคามทีตรวจพบ  วัดสั า ีพ คาความอิมตัว องออก ิเจน  เมอ ู้บาดเจบหลุดออกจากสิงบดทับ ด้แล้ว ห้ประเมิน ู้บาดเจบ า  เฝาระวังภาวะหัว จหยุดเต้น  รายงาน ้อมูลกลับศูนย์สังการ  ักประวัติ ตรวจรางกายหาจุดบาดเจบเพิมเติม ประเมิน ู้บาดเจบ าระหวางนาสงหรอเปลียนถาย

52


 ประเมิน ู้บาดเจบตามแนวทางการดูแล ู้บาดเจบ หากอาการ มคงที ห้ดูแลภาวะคุกคาม ีวิต  หากตรวจพบการบาดเจบทีบริเว ดวงตา ห้ปฏิบัติดังนี  หากพบวุ้นหรอ องเหลว หลออกจากลูกตา ห้าม ้แรงกด ครอบลูกตาด้วยถ้วยนากระดา  หากเป็นสารเคมีเ ้าตา ห้นาการล้างตาด้วยนาเกลอ 1000 ml (ดู ันตอนปฏิบัติล้างตา)  หากมีวัสดุปักคาหรอสิงแปลกปลอม ห้ามดงออก และยดตรง ห้แนนหนาและระมัดระวังการ ยับ องวัสดุปักคา ข้อควรระวัง : ถ้า ู้ปวย สคอนแทคเลนส์ ห้ถอดคอนแทคเลนส์ออกกอนเสมอ  หาก มจาเป็นต้องจากัดการเคลอน หว องกระดูกสันหลัง ห้ ู้บาดเจบนัง นทาสบาย  รายงานศูนย์สังการ  ระหวางนาสง ห้ประเมินดูแล ู้บาดเจบตามหลักการดูแล ู้บาดเจบ

53


ประเมิน ตรวจพบการบาดเจ็บรยางค์

อวัย วะส่วนปลาย ถูกตัดขาด

 ล้า งด้วยน้าเกลือ  ห้ามเลือด  เก็บอวัยวะส่วนปลายใส่ถุงและเก็บในภาชนะบรรจุน้าแข็ง เขียนชื่อผู้ป่วย ชิ้นส่วนอวัย วะ  บันทึกเวลาที่เก็บอวัยวะส่วนปลาย

ใช่

ไม่

มีเลือดออกหรือไม่

ใช่

ห้ามเลือด

ใช่

คลาชีพจรส่วนปลาย หากคลาชีพจรส่วนปลายไม่ได้ ให้รายงานศูนย์สั่งการ

ไม่

รยางค์ผิดรูป

ไม่

มีแผลเปิดบริเวณที่ผิดรูป ล้า งแผลด้วยน้าเกลือ 1-2 ลิตร และปิดแผลห้ามเลือด

ทาการดาม ดูแลผู้บาดเจ็บต่อตามแนวทางการประเมิน

54


ตรวจพบการบาดเจ็บ ที่ใบหน้า

ประเมิน ทางเดินหายใจ

ไม่

มีเลือดออกจากช่องปาก หรือจมูกมาก

ใช่

เปิดทางเดินหายใจ ใช้เครื่องดูดในจมูกและปาก

เปิดทางเดินหายใจสาเร็จ

ไม่

ใช่

หน้า กากออกซิเจน พร้อมถุงกักอากาศ 10 ลิตรต่อนาที

รายงานศูน ย์สั่งการ

ประเมิน ทางเดินหายใจซ้า ทุก 5 นาที

รายงานศูน ย์สั่งการ

55


ประเมิน ผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือ ตามหลักการประเมินทั่วไป ยึดตรึงกระดูกสัน หลัง

มีการบาดเจ็บที่ศีรษะอย่า งเดียว

ใช่

<8

>8

GCS

ไม่

ประเมิน และดูแลผู้บาดเจ็บต่อ

หน้า กากออกซิเจน พร้อมถุงกักอากาศ 10 ลิตรต่อนาที

ถุงบีบลมพร้อมถุงกักอากาศ

มีอาการชักเกร็ง

ใช่

ใช้แนวทางการดูแลผู้ป่วยชักเกร็ง

ไม่ เจาะระดับน้าตาลปลายนิ้ว

< 60 Mg %

>60 mg % วัดสัญญาณชีพ

ประเมิน ซ้าทุก 5 นาที

รายงานศูน ย์สั่งการ

56


57


 ประเมินสถานการ ์  ประเมิน ู้บาดเจบตามแนวทางการดูแล ู้บาดเจบ หากอาการ มคงที ห้แจ้งศูนย์สังการ  หากตรวจพบวัสดุปักคา ห้ปฏิบัติดังนี  ห้ามเอาสิงทีเสียบคาออก ยกเว้น ัด วางการทาหัตถการ วย ีวิต  ยดตรงวัตถุทีติดคาบาดแ ล  ทาการห้ามเลอดด้วยการกดห้ามเลอดด้วยความระมัดระวัง  อาจทาการตัดปลายวัสดุหักคา หาก ัด วางการเคลอนย้าย  ักประวัติ สั า ีพ เพอแจ้ง ้อมูลกลับศูนย์สังการ  ระหวางรอเปลียนถาย หรอนาสง วัดสั า ีพและทาการประเมิน ู้ปวย า

58


 ประเมิน ู้ปวยตามแนวทางการประเมินทัว ป โดยเฉพาะสิงคุกคามทางเดินหาย จและการเสียเลอด หาก ู้บาดเจบมีสิงคุกคาม ห้ติดตอศูนย์สังการ อเปลียนถายรถพยาบาล  ห้ามเลอดบริเว ลาคอด้วยการกดก๊อ แนน direct pressure  เฝาระวังสั า ีพ และความรู้สกตัว ระหวางการกดหยุดเลอด  ห้ออก ิเจนด้วยหน้ากากครอบพร้อมถุงกักอากาศ เปดความเ ้ม ้น 10 ลิตรตอนาที  วยหาย จหาก ู้ปวยมีภาวะหาย จล้มเหลว รัก าระดับความอิมตัว องออก ิเจนมากกวา 95%  รีบเปลียนถายหรอนาสงโรงพยาบาล ตามคาสังศูนย์สังการ

59


Distracting injury ด้แก -อวัยวะถูก ตัด าด -มีก ระดูกทอนยาวหัก -แ ล หม้ -แ ลโดนบดทับ

ประเมิน ู้บาดเจบตามหลัก การประเมินทัว ป อาการคงที

ดูแลตามความเหมาะสม

รัก าภาวะคุก คาม ีว ิต

พิจาร ายดตรงกระดูก สันหลัง กอนเคล อนย้าย

อ ว.7 รถกู้ ีพ

GCS <15 ม

เจบสันหลัง ม ออนแรงหรอ า ม

สันหลัง ิดรูป ม ด้รับสารเสพติด หรอเมา

ม Distracting injury ม มีอ ุปสรรค การสอสาร

ยดตรงกระดูกสันหลัง ม

รายงานศูนย์สังการ

60



ข้อบ่งชี้ :

ลดการกีด วางหรออุดกันทางเดินหาย จเพอ ห้อากาศ านเ ้าออก ด้ น ู้ปวยที มรู้สกตัว

วิ ีกดหน้าผากและเชยคาง (Head tilt-chin lift maneuver) ้เปดทางเดินหาย จ น ปู้ วยที มสงสัยบาดเจบบริเว กระดูกคอ ขั้นตอนการทาหัตถการ 1. ้ฝามอ องมอ ้างหนงวางบนหน้า าก อง ู้ปวย กดลงเพอ ห้ศีร ะแหงน ปทางด้านหลัง 2. ้นิว ีและนิวกลาง องมออีก ้างหนงวาง ต้กระดูกปลายคาง แล้วดันปลายคาง ห้ยก น 3. ประเมิน าวาเสียงการอุดกันทางเดินหาย จหาย ปหรอ ม หรอเหนสิงอุดกันอยู นปาก อง ู้ปวยหรอ ม ข้อควรระวัง : อยา ห้นิวทีดันกระดูกปลายคาง ปดันสวนทีเป็นเนอ ต้คางเพราะจะทา ห้ทางเดินหาย จ ถูกอุดกันมาก น

วิ ยี กกระดูกขากรรไกรล่างขึ้น (Jaw thrust maneuver) ้เปดทางเดินหาย จ น ปู้ วย/บาดเจบทีสงสัยมีบาดเจบบริเว กระดูกคอ ขั้นตอนการทาหัตถการ 1. ู้ วยเหลออยูด้านบนศีร ะ อง ู้ปวย มอสอง ้างประคองศีร ะ อง ู้ปวย นิวโปงอยูทีโหนก แก้ม อง ู้ปวย/บาดเจบ ปลายนิว ี กลาง และนาง วางตรงมุมกราม 2. ยกกระดูก ากรร กรลาง นด้านหน้าและ ลักลง ปทางด้านปลายเท้า อง ู้บาดเจบ 3. ประเมิน าวาเสียงการอุดกันทางเดินหาย จหาย ปหรอ ม หรอเหนสิงอุดกันอยู นปาก อง ู้ปวยหรอ ม 61


วิ ียกกระดูกขากรรไกรล่างขึ้น โดยผู้ช่วยเหลืออยู่ด้านข้างผู้ป่วย (Alternate Jaw thrust maneuver) ้เปดทางเดินหาย จ น ู้ปวย/บาดเจบทีสงสัยมีบาดเจบบริเว กระดูกคอ ที มสามารถเ ้า วยเหลอทาง ด้านบนศีร ะ อง ู้ปวย ด้ ขั้นตอนการทาหัตถการ 1. ู้ วยเหลอเ ้า ปด้าน ้าง อง ู้ปวยโดยหันหน้า ปดานศีร ะ อง ู้ปวย 2. วางนิวโปงทังสอง ้างบนโหนกแก้ม อง ู้ปวย สีนิวทีเหลอวาง ว้ตรงมุมกราม 3. ออกแรงดันกระดูก ากรร กรลาง น และดันลง ปด้านเท้า อง ู้บาดเจบ

62


ข้อบ่งชี้ : 1. เพอเปดทางเดินหาย จ ห้โลง 2. ้ น ู้ปวยทีหมดสติเทานัน

ข้อห้าม :

ห้าม ้ น ู้ปวยทียังรู้สกตัวดี

ขั้นตอนการทาหัตถการ 1. ห้วัดจากมุมปาก ปถงมุมกราม 2. เปดปาก ู้ปวยโดยวิธี ว้นิว (cross-finger) วิ ีที่ 1 1. จับทอ ห้ปลายทอหงาย น ี ปทางเพดานปาก อง ู้ปวย 2. สอดปลายทอเ ้า ป น องปากจนถงบริเว ด้านหลัง อง องปาก 3. หมุนทอ 180 องศา ห้ปลายทอ ีลงลาง พร้อมกับสอดทอ านเ ้า ปจนสุด วิ ีที่ 2 1. 2.

้ ม้กดลิน วยเปดทาง โดยกดลิน อง ู้ปวยลง สทอเ ้า ป นปากตามความโค้ง อง องปาก

63


การช่วยเหลือกรณีการอุดกั้นไม่สมบูรณ์ (Incomplete upper airway obstruction) ลัก ะอาการ : พูดเสียงแหบ เหนอย ยังสามารถหาย จ ด้ อแรงๆ ด้ ขั้นตอนการช่วยเหลือ การ อเป็นการเพิมแรงดัน นทางเดินหาย จ อาจ วย ับสิงแปลกปลอมออกมา ด้ หาก ู้ปวยมีการอุด กัน มรุนแรง ห้ ู้ วยเหลอกระตุ้น ห้ ู้ปวย อด้วยตนเองและคอยสังเกตการเปลียนแปลงทีอาจเกิด น เ นเปลียนเป็นการอุดกัน การช่วยเหลือกรณีการอุดกั้นสมบูรณ์ (Complete upper airway obstruction) ลัก ะอาการ : ้มอกุมบริเว ลาคอ โน้มตัว พูดหรอร้อง มมีเสียง หาย จลาบาก มสามารถ อ ออกมา ด้ หน้าเ ียว ปากเ ียว การช่วยเหลือเด็กโตและผู้ใหญ่ ้วิธีรัดกระตุกหน้าท้อง (Heimlich maneuver) เพอ จัดสิงแปลกปลอมออกจากทางเดินหาย จ สวนบน ขั้นตอนการช่วยเหลือ 1. ยนหรอคุกเ าด้านหลัง ู้ปวย ้มอโอบรอบเอว อง ู้ปวย 2. กามอ ้างหนงโดยเกบนิวโปงเ ้าด้าน น อีกสีนิวกาทับนิวโปง 3. วางมอทีกา ว้โดย ห้นิวโปงอยู ต้ลินปี่ อง ู้ปวย นแนวกงกลาง 4. ้มออีก ้างรัดกระตุกกาปั้นกระทุ้งดันบนมอทีกา นแนวเ ้าหาตัว ู้ วยเหลอและเฉียง นบน ทา 5 ครัง 5. ประเมิน นปาก ู้ปวยวาสิงแปลกปลอมหลุดออกมาหรอ ม ทา าหากสิงแปลกปลอมยังติดอยู 6. ทา ันตอนที 1-5 าจนกวาสิงแปลกปลอมจะหลุดออกมา หรอ ู้ปวยหมดสติ 7. หาก ู้ปวยหมดสติ ห้ทาการกดหน้าอกทันที มต้องคลา ีพจร *กร ีสตรีตังครรภ์ และ ู้ปวยทีมีภาวะอ้วน ห้ทาการรัดกระตุกบริเว หน้าอก อง ู้ปวยแทน (chest thrusts) 64


การช่วยเหลือกรณีเด็กทารกอายุน้อยกว่า 1 ปี ที่ยังมีสติ การตบหลัง 5 ครัง ( back blow ) และการกดหน้าอก 5 ครัง (chest thrusts) ขั้นตอนการช่วยเหลือ 1. ู้ วยเหลอนังบนเก้าอีหรอนังคุกเ า วางเดกบนตัก อง ู้ วยเหลอ 2. หากสามารถทา ด้ ห้ถอดเสอ ้าเดกเพอ ห้มองเหนตาแหนง นการตบหลังและกดหน้าอก 3. ้มอ ้างหนงประคองศีร ะและกรามเดก ห้มันคง นทาควาหน้า วางตัวเดกบนทอนแ นลัก ะศีร ะ ตากวาลาตัว อาจพักแ นบนหน้า า ระวังอยากดบริเว ต้คางหรอคอ องทารก 4. ้ ส้ น ม ออี ก ้ า งตบก งกลางระหว างสะบั ก ทั งสอง ้ า ง นแนวเฉี ย งลงด้ ว ยแรงที มากเพี ย งพอ ห้ สิ ง แปลกปลอมหลุดออก ด้ ทา า 5 ครัง 5. พลิกตัวเดกทารกกลับมา นทานอนหงาย ้มอและแ นทังสอง ้างประคองตัวเดก วางบนทอนแ น อง มออีก ้าง ประคองศีร ะ ห้มันคงลัก ะศีร ะตากวาลาตัว กดหน้าอก 5 ครัง บริเว กงกลางหน้าอก บนกระดูกหน้าอกสวนลาง ต้ตอเส้นราวนมเลกน้อย 6. ตรวจดูวามีสิงแปลกปลอมออกมา นปากเดกหรอ ม หากมีและสามารถมองเหน ด้ ัดเจน ห้ ้นิวกวาด สิงแปลกปลอมออกมา (finger sweep) แตหาก มแน จหรอมอง มเหนห้าม ้นิวกวาด 7. หากยังคงมีการอุดกันอยู ห้ทาการ วยเหลอ าจนกวาสิงแปลกปลอมจะหลุดออกมาหรอเดกจะหมดสติ 8. หากเดกหมดสติ ห้ทาการกดหน้าอกทันทีโดย มต้องคลา ีพจร หากมี ู้ วยเหลอคนเดียว ห้กดหน้าอก 30 ครังสลับกับการ วยหาย จ 2 ครัง แตหากมี ู้ วยเหลอ 2 คน ห้กดหน้าอก 15 ครังสลับกับการ วย หาย จ 2 ครัง น วงทีทาการ วยหาย จ ห้สารวจหาสิงแปลกปลอม นปาก อง ู้ปวยทุกครัง

65


ข้อบ่งชี้ : 1. 2. 3.

ู้ปวยหรอ ้บู าดเจบทีอยู นภาวะพรองออก ิเจน (hypoxia) ู้ปวยหรอ ้บู าดเจบทีมีภาวะหาย จล้มเหลว ู้ปวยหรอ ้บู าดเจบทีการ ห้ออก ิเจนมี ลดีตออวัยวะภาย น

การให้ออกซิเจนโดย Cannula 1. ตอ Cannula เ ้ากับกระบอกทาความ นแล้วเปดออก ิเจน 3-5 ลิตร/นาที 2. ทดสอบวามีออก ิเจนออกมาทางรูเปดทังสองดีหรอ ม 3. สรูเปด Cannula เ ้า ป นรูจมูกทังสอง ้าง 4. จัดสาย ห้เ ้าที แล้วรัดสายยาง ว้รอบศีร ะ ู้ปวย

การให้หน้ากากออกซิเจนพร้อมถุงกักอากาศ Mask with reservoir bag 1. 2. 3. 4. 5.

การ ห้หน้ากากออก ิเจนพร้อมถุงกักอากาศ Mask with reservoir bag เลอก นาด องหน้ากาก ห้พอดีกับ ู้ปวย ตอหน้ากากเ ้ากับกระบอกทาความ นแล้วเปดออก ิเจน 10-15 ลิตร/นาที ครอบหน้ากากบริเว จมูกและปากโดย มกดตา ู้ปวย จัดสายรัด ห้เ ้าทีรอบศีร ะ ู้ปวย

66


ถุงบีบลมผ่านหน้ากากกันลมย้อนพร้อมถุงกักอากาศ (bag valve mask with reservoir bag) ข้อบ่งชี้ : น ู้ปวยทีมีภาวะหาย จ มเหมาะสม ด้แก การหาย จล้มเหลว หาย จเรว (RR > 28 ครัง ตอนาที) หาย จ ้า ( RR < 10 ครังตอนาที) ู้ปวยหยุดหาย จ โดยต้องมีการ ้ OPA และ NPA รวมด้วยทุก ภาวะแทรกซ้อน หาก ู้ วยเหลอมีเทคนิคการเปดทางเดินหาย จ มเหมาะสม ลมจะเ ้า ปทีทางเดินอาหาร แทนปอดและเกิดอาเจียนหรอสาลักนายอยหรอเศ อาหารเ ้าปอด เกิดการอักเสบ องปอดตามมา ด้ วิ ีการปฏิบัติ การช่วยหายใจด้วยถุงบีบลมผ่านหน้ากากกันลมย้อนพร้อมถุงกักอากาศ ผู้ปฏิบัติ 1 คน 1. ประกอบและตรวจสอบอุปกร ์ วาล์ว และ ้อตอ อง ุดอุปกร ์ วาอยู นสภาพพร้อม ้งาน 2. ประเมิน MOANS เพอดูวา ู้ปวยจะมีปั หากับการครอบหน้ากากหรอ ม a) Mask seal หน้าตอบ b) Obesity/obstruction อ้วนหรอมีสิงอุดกันทางเดินหาย จ c) Age > 55 อายุมากกวา 55 ปี d) No teeth มมีฟัน e) Stiff lung (asthma, COPD, pulmonary edema) ปอดเหนียว 3. เปดทางเดินหาย จเพอตรวจสอบวามีสิงอุดกัน ดหรอ ม ถ้ามี ห้เอาออก 4. เลอกหน้ากาก ห้พอดีกับ บหน้า โดยต้องครอบบริเว จมูกและปาก ห้สนิท มกดบริเว ตา มเลย บริเว คาง 5. ตอสายออก ิเจนเ ้าทีปลาย องถุงลม ิลิโคน เ ้ากับกระบอกทาความ น 6. เปดออก ิเจน 15 ลิตร/นาที 7. ทดสอบวาถุงกักออก ิเจนมีลมรัวออกหรอ ม ถ้า มมีรอ ห้ถุงลมโปงออกกอน ้งาน 8. ครอบหน้ากากเ ้ากับ บหน้า อง ู้ปวย ้เทคนิค C-E คอ ห้นิวหัวแมมอและนิว ีจับหน้ากากด้านบน และด้านลาง ห้หน้ากากแนบกับ บหน้า อง ู้ปวย นิวกลาง นิวนาง และนิวก้อยจับทีกระดูก ากรร กร พร้อมยกกระดูก ากรร กร นเพอ วยเปดทางเดินหาย จ 67


9. ประเมินการ ยาย องทรวงอกทุกครังทีบีบ และการคนตัว องทรวงอกทุกครังทีปลอย หากบีบถุงลม ิลิโคนแล้วหน้าอก ม ยับ หรอคาความอิมตัวออก ิเจน นเลอดยังตากวา 95% ห้ตรวจสอบดังนี a) จัดทาเปดทางเดินหาย จ หม b) ส OPA หรอ NPA c) ตรวจสอบวาภาย น องปาก อง ู้ปวยมีการอุดกันหรอ ม เ นจากนาเลอด นาลาย เป็นต้น d) เปลียนมา ้การบีบแบบ ู้ วยเหลอ 2 คน e) ตรวจสอบ นาด องหน้ากากและเสียงลมรัววาหน้ากากครอบจมูกและปาก อง ู้ปวย ด้พอดี หรอ ม f) ตรวจรางกาย ู้ปวย าวามีภาวะลมรัว น องปอด (pneumothorax) หรอ ม g) หากตรวจสอบอุปกร ์และวิธีการ วยหาย จครบแล้ว ู้ปวยยังมีภาวะหาย จล้มเหลว หรอคา ความอิมตัว องออก ิเจน มกลับมาปกติ ห้พิจาร าปรก าแพทย์อานวยการ

ภาพแสดงวิธีการครอบหน้าการด้วย C-E technique

68


วิ ีการปฏิบัติ การช่วยหายใจด้วยถุงบีบลมผ่านหน้ากากกันลมย้อนพร้อมถุงกักอากาศ ผู้ปฏิบัติอย่างน้อย 2 คน 1. ประกอบและตรวจสอบอุปกร ์ วาล์ว และ ้อตอ อง ุดอุปกร ์ วาอยู นสภาพพร้อม ้งาน 2. ประเมิน MOANS เพอดูวา ู้ปวยจะมีปั หากับการครอบหน้ากากหรอ ม a) Mask seal หน้าตอบ b) Obesity/obstruction อ้วนหรอมีสิงอุดกันทางเดินหาย จ c) Age > 55 อายุมากกวา 55 ปี d) No teeth มมีฟัน e) Stiff lung (asthma, COPD, pulmonary edema) ปอดเหนียว 3. เปดทางเดินหาย จเพอตรวจสอบวามีสิงอุดกัน ดหรอ ม ถ้ามี ห้เอาออก 4. เลอกหน้ากาก ห้พอดีกับ บหน้า โดยต้องครอบบริเว จมูกและปาก ห้สนิท มกดบริเว ตา มเลย บริเว คาง 5. ตอสายออก ิเจนเ ้าทีปลาย องถุงลม ิลิโคน เ ้ากับกระบอกทาความ น 6. เปดออก ิเจน 15 ลิตร/นาที 7. ทดสอบวาถุงกักออก ิเจนมีลมรัวออกหรอ ม ถ้า มมีรอ ห้ถุงลมโปงออกกอน ้งาน 8. ครอบหน้ากากเ ้ากับ บหน้า อง ู้ปวย ้เทคนิค double C-E คอ ห้นิวหัวแมมอและนิว ี องทังสอง มอจับหน้ากากด้านบนและด้านลาง ห้หน้ากากแนบกับ บหน้า อง ู้ปวย นิวกลาง นิวนาง และนิวก้อย จับทีกระดูก ากรร กรพร้อมยกกระดูก ากรร กร นเพอ วยเปดทางเดินหาย จ 9. ู้ วยเหลอคนที 2 บีบถุงลม านหน้ากากกันลมย้อน โดยอัตราการบีบ 10-12 ครังตอนาที

ข้อควรระวัง อยากดหน้ากากเ ้าที บหน้า อง ู้ปวยโดย ้แรงทีมากเกิน ป เพราะอาจจะทา ห้ลินตกปด กันทางเดินหาย จ ด้

2 person technique: EC technique 2 person technique: alternative method

69


ข้อบ่งชี้ : 1. 2. 3.

ู้ปวยหรอ ้บู าดเจบ มหาย จ ู้ปวยหรอ ้บู าดเจบมีการหาย จ มเหมาะสม เ นหาย จเรวหรอหาย จ ้าเกิน ป ู้ปวยหรอ ้บู าดเจบหัว จหยุดเต้น ต้องมีการ วยฟื้นคน ีพ การช่วยหายใจแบบปากต่อปากโดยมีอุปกรณ์ปองกัน (Mouth-to-mask)

1. วางอุปกร ์ปองกัน (plastic face shield) ลงบนปาก อง ู้ปวย 2. ้นิวโปง และนิว ีมอ ้ายบีบจมูก ู้ปวย ห้สนิท และนิวทีเหลอกดลงบนหน้า าก มออีก ้าง หนงเ ยคาง ู้ปวย น 3. ก้มหน้าลงเอาปากประกบปาก ู้ปวย านอุปกร ์ปองกัน 4. เปาลมออกจากปาก องเราเ ้า ป นปาก อง ู้ปวย ้าๆ ( ้เวลาประมา เกิน 1 วินาทีตอการ เปา 1 ครัง) และเหนวาหน้าอก อง ู้ปวยยกตัวสูง น 5. ถอนปาก องเราออกจากปาก อง ู้ปวย เพอปลอย ห้ลมทีเปาเ ้า ป หลกลับออกจากปาก อง ู้ปวย 6. ทาตามวิธีการตาม ้อ 2 ถง ้อ 5 า โดย a) หาก ู้ปวยมี ีพจร ห้ วยหาย จ 10-12 ครังตอนาที b) หาก ู้ปวย มมี ีพจร ห้รีบเ ้ากระบวนการฟื้นคน ีพ กดหน้าอก 30 ครัง เปาปาก 2 ครัง การช่วยหายใจแบบปากต่อปากและจมูกโดยมีอุปกรณ์ปองกัน (Mouth to mouth and nose) การ วยหาย จ นเดก และทารก ทีกายวิภาคแตกตางจาก ู้ ห คอ นกร ีทีปากเดกเลกมาก การ วางครอบอุปกร ์ปองกันตนเองและการเปาปากควรอ้าปาก ห้ครอบทังปาก-จมูก อง ู้ปวย โดย ันตอนการ ทาปฏิบัติแบบเดียวการการ วยหาย จแบบปากตอปาก 70


Pocket mask (หน้ากากกันสัมผัส) เป็นอุปกร ์ที ้ นการ วยหาย จ ันพนฐาน ปองกันการ สัม ัสโดยตรงระหวาง ู้ วยเหลอและ ู้ปวยหรอ ู้บาดเจบ

ข้อบ่งชี้ : 1. วยหาย จหาก ู้ปวยหรอ ู้บาดเจบมีภาวะหาย จ ้า หรอ มหาย จ (respiratory arrest) 2. วยหาย จหาก ู้ปวยหรอ ู้บาดเจบมีภาวะหัว จหยุดเต้น รวมกับการกดหน้าอก ด้ (CPR) การ ้งาน Pocket mask (หน้ากากกันสัม ัส) มีวิธีการ ้ 2 วิธี คอ วิ ีที่ 1 เมอ ู้ปฏิบัติการนังอยูเหนอศีร ะ ู้ปวย 1. วางหน้ากากครอบปาก และจมูก อง ู้ปวย ว้ ห้ด้านแหลมครอม ปตามสันจมูก 2. ้หัวแมมอ และอุ้งมอทังสอง ้างกด อบด้าน ้าง องหน้ากาก ห้แนบกับหน้า อง ู้ปวย ห้สนิท น้ ิว ทีเหลอดงกระดูก ากรร กรลาง น 3. ู้ วยเหลอสูดหาย จเ ้า อมสวนทีเปา องหน้ากาก ว้ นปาก แล้วเปาลมเ ้าปอดจนหน้าอกมีการ ยับ ยก นค้าง ว้นานประมา 1 วินาที 4. ปลอย ห้ลมหาย จออก านออก ปโดย มต้องคลายหน้ากาก วิ ีที่ 2 เมอ ู้ปฏิบัติการนังอยู ้าง ู้ปวย 1. ครอบหน้ากากครอมจมูก และปาก ู้ปวย ว้ 2. ้มอหนงดันหน้า ากด้วยฝามอพร้อมกับเอาหัวแมมอ และนิว ีมอ ้างเดียวกันกดสวนยอด อง หน้ากากลง บนสันจมูก ห้สนิท 3. มอหนงดงคาง ห้หน้าเงย น พร้อมกับ ห้ วั แมมอกดด้านลาง อง หน้ากากแนบกับคาง อง ปู้ วย ห้ สนิท 4. สูดหาย จเ ้าเตม อมสวนทีเปา องหน้ากาก ว้ นปาก แล้วเปาลมเ ้าปอดจนหน้าอกมีการ ยับยก น ค้าง ว้นานประมา 1 วินาที 5. ปลอย ห้ลมหาย จออก านออก ปโดย มต้องคลายหน้ากาก 71


ข้อบ่งชี้ :

กาจัด องเหลว เ น นาลาย อาเจียน หรอเลอด อยู น องปากและคอหอย (Pharynx)

ภาวะแทรกซ้อน 1. การบาดเจบทีฟัน ลิน น องปากและคอ อาจมีเลอดออก ด้ 2. อาจกระตุ้น ห้อาเจียน สาลัก 3. เกิดการหดเกรง องสายเสียง (Laryngospasm) นา ปสูภาวะพรองออก ิเจน ด้ 4. การดูดสารคัดหลังเป็นเวลานานอาจทา ห้คน ้เกิดภาวะ าดออก ิเจน ด้ อุปกรณ์ 1. เครองดูดเสมหะ 2. สายดูดเสมหะทีสะอาดปราศจากเ อ (เลอก นาด ห้เหมาะสมกับ ู้ปวย) 3. ถุงมอสะอาดปราศจากเ อ 4. วดสะอาดปราศจากเ อ สนาสะอาด 500-1000 มล. สาหรับล้างสายดูดเสมหะ วิ ีการปฏิบัติ 1. เปดทางเดินหาย จ ู้ปวย/ ู้บาดเจบ 2. ห้ออก ิเจนแก ู้ปวย/ ู้บาดเจบกอนทาการดูดกาจัด องเหลว 3. สสายยางดูดเสมหะเ ้า ป น องปากด้าน ้างตรงกระพุง้ แก้ม ระวัง ู้ปวยกัด มควร ้เวลาดูด เกิน 15 วินาที 4. หลังทาการดูด องเหลว ห้ออก ิเจนแก ู้ปวย 5. ดูดล้างสายด้วยนาสะอาดจนหมดคราบ

72


ข้อบ่งชี้ :

เพอ วย นการประเมินระดับออก ิเจน นรางกาย

ข้อควรระวัง : การ เ้ ครองวัดความอิมตัวออก ิเจนเพียงอยางเดียว มเพียงพอ นการประเมินและ วยเหลอ ู้ปวยหรอ ู้บาดเจบ ควรพิจาร าอาการ อง ู้ปวยและ ู้บาดเจบเป็นหลัก อุปกรณ์ :

เครองตรวจวัดความอิมตัวออก ิเจน องฮีโมโกบิลจาก ีพจร (Pulse Oximeter)

วิ ีการปฏิบัติ 1. เปดเครอง 2. นา pulse oximeter หนีบบริเว ทีนิว อง ู้ปวย 3. รอประมา 6-30 วินาที 4. อานคาทีแสดงบนหน้าจอ โดยคาทีแสดงบนหน้าจอจะมี 2 คา คอ ีพจรและคาความอิมตัว อง ออก ิเจน

73


ข้อบ่งชี้ : เพอลดการเกิดภาวะลมรัว นเยอหุ้มปอด (Pneumothorax) มากยิง นเพอ ห้ วงหาย จเ ้า ลมสามารถ านเ ้ารูแ ล ม ด้ แต วงหาย จออกลมทีค้างอยูสามารถระบายออกมา ด้บ้าง

อุปกรณ์ : 1. แ นพลาสติก หรอพลาสติกหอก๊อ นาด ห มากกวาแ ลอยางน้อยด้านละ 2 นิว 2. พลาสเตอร์ปดแ ล ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ้แ นพลาสติกปดทีปากแ ล แล้ว ้พลาสเตอร์ปดที อบพลาสติก 3 ด้านติด ห้สนิท ห้เหลอ เพียง 1 ด้าน โดย อบแ นพลาสติกต้องหางจากปากแ ลอยางน้อยด้านละ 2 นิว 2. เตรียม ู้ปวย และเตรียมอุปกร ์เพอ วยระบายลม (Intercostal drainage)

74


ข้อบ่งชี้ :

หยุดห้ามเลอด

อุปกรณ์ : 1. อุปกร ์ปองกันตัวเอง ด้แก ถุงมอ 2. ้าก๊อ สะอาด นาดเหมาะสมกับ นาด องบาดแ ล 3. เทป สปดแ ล 4. ้ายดพันแ ล (Elastic bandage) ขั้นตอนการห้ามเลือด การกดบริเวณบาดแผลโดยตรง (Direct pressure) 1. 2.

้ า้ ก๊อ สะอาด สเ ้า นบาดแ ลโดยแพ็คเข้าในแผลให้แน่น ้สวนแ ง อง ู้ วยเหลอเ น นิวมอ ฝามอ เ า (พิจาร าตาม นาดแ ล) กดลงบน ้าปดแ ล แนว การกด ห้กดลง ปตรงๆ 3. ้เวลาอยางน้อย นการกด 10 นาทีหรอจนกวาเลอดจะหยุด หล 4. หากพบวามีเลอดออกจากบาดแ ลมากจน ุม ห้ ส ้าก๊อ เพิม ปและ ้ส้นมอกดบริเว บาดแ ล โดยตรงเ นเดิม 5. ห้ามดงก๊อ ออกถ้าสามารถหยุดห้ามเลอด ด้สาเรจ การทา Pressure dressing

1. 2.

้ า้ ก๊อ สะอาด สเ ้า นบาดแ ลโดยแพ็คเข้าในแผลให้แน่น ห้ ้ ้ายดพันแ ล พันรอบบาดแ ล ห้แนน หลังทาการห้ามเลือดทุกครั้ง ให้ดามส่วนที่ห้ามเลือดแล้วให้อยู่นิ่ง

75


ข้อบ่งชี้ : ู้บาดเจบทีมีลัก ะบาดแ ลทีมีเลอดออกปริมา มากบริเว รยางค์ และ มสามารถทาการ ห้ามเลอดโดยการกดลงบนบาดแ ล

อุปกรณ์ :

Combat Application Tourniquet (C-A-T)

วิ ีการปฏิบัติ 1. ห้ ู้ วยเหล อ ้เ า องตนเองกดลงบนตาแหนง องหลอดเล อดแดงทีทอด านเหนอต อ บาดแ ล เ น ที าหนีบหรอรักแร้ เพอ วยห้ามเลอด ัวคราวระหวางทีเตรียมสายรัดห้ามเลอด 2. แจ้ง ู้บาดเจบถงความจาเป็นทีต้อง ้สายรัดห้ามเลอด 3. นกร ีที มสามารถระบุหรอมองเห นบาดแ ล ด้ ั ดเจน ห้ทาการรัดสายรั ดห้า มเล อด น ตาแหนงทีสูงทีสุดและรัด ห้แนนทีสุด (High and Tight) ทีรยางค์นัน โดย มเสียเวลาถอดหรอ ตัดเสอ ้าเพอหาบาดแ ล 4. หากบาดแ ลอยูที า ห้คลายสายรัดห้ามเลอด ห้เป็นเส้นตรง หงายสาย สอดหัวเ ม ัด อง สายรัดห้ามเลอดเ ้า องวาง ต้ ้อพับเ า เลอย ห้สูงทีสุดเกอบ ิด าหนีบ มควรสวมสายรัด ห้ามเลอด นลัก ะทีเป็นบวงหรอยก า น เนองจาก ู้บาดเจบอาจมีกระดูกหักแล้วอาจเกิด อันตรายตอหลอดเลอดและเส้นประสาท ด้ 5. หากบาดแ ลอยูทีแ น ห้จัดสายรัดห้ามเลอด นลัก ะเป็นบวง แล้วคล้องสอดเ ้าจากปลาย แ น ห้หาง องสายรัดห้ามเลอดหันมาทาง ู้ วยเหลอ เพอ ห้ดงรูด ด้ถนัด เลอนสายรัด ห้สูง ทีสุดจนเกอบ ิดรักแร้ 6. หากสามารถมองเหนบาดแ ล ด้ ัดเจน ห้รัดสายรัดห้ามเลอดทีตาแหนงเหนอบาดแ ล น ป 2-3 นิวหรอประมา 5-10 ม. 7. ตรวจสอบ นกระเป๋ากางเกง อง ู้บาดเจบวา มมีวัตถุแ ง เ น กระเป๋าสตางค์ โทรศัพท์มอถอ พวงกุ แจ ทีอาจกดกับตัว ู้บาดเจบ รูดสายรัดจนกระ ับ แล้วตรงแทบยดตีนตุ๊กแก พันแทง ันจนเลอดหยุดและคลา ีพจรสวนปลาย ม ด้ ัดแทง ัน ว้กับสลัก ม ห้แทง ันคลายเกลียว ออก เกบปลายสายรัดและบันทกเวลาทีเริม ้สายรัดห้ามเลอด 76


8. ควรแสดงบันทกเวลา ว้ นตาแหนงที ู้ ห้การรัก า นลาดับถัด ปมองเหน ด้ ัด 9. หาก ้สายรัดห้ามเลอดแล้ว พบวา มสามารถห้ามเลอด ด้สนิท ห้ ้สายรัดห้ามเลอดอีกอัน คล้องตอ สายรัดห้ามเลอดอันแรกโดยรัดเหนอกวาสายรัดอันแรก แล้วรัด ห้แนนจนเลอดหยุด 10. ห้ามคลุมหรอดง ้าลงมาปดบริเว ทีคล้องสายรัดเพอปองกันการหลงลม และห้ามคลายสายรัดห้าม เลอดเดด าด 11. ู้บาดเจบอาจมีความปวดบริเว ทีรัด ห้พิจาร าปรก าแพทย์อานวยการ ห้ยาแก้ปวดทางหลอด เลอดดา ถ้า มมี ้อห้าม

77


ขั้นตอนดูแลกรณีอวัยวะถูกตัดขาด 1. 2. 3. 4.

ล้างแ ลทีถูกตัด าดด้วยนาเกลอ ทาการห้ามเลอด ล้างอวัยวะสวนปลายที าดออก ห้สะอาดด้วยนาเกลอ หออวัยวะสวนปลายทีถูกตัด าดด้วย ้าก๊อ ุมนาเกลอ เกบ สถุงพลาสติกสะอาด ห้ามแ อวัยวะ นนาเกลอ 5. แ อวัยวะที สถุงพลาสติกแล้วลง นกลองโฟมหรอกระติกบรรจุนาแ ง ขั้นตอนดูแลกรณีอวัยวะเกือบถูกตัดขาด 1. ล้างแ ลด้วยนาเกลอ 2. ปดแ ลด้วยก๊อ ุมนาเกลอ พันปดแ ลโดย ห้อวัยวะนันอยู นทาสบาย (functional position) 3. วางถุงนาเยนบนแ ลทีถูกปดแล้ว 4. ดามบริเว ทีทาแ ลเสรจแล้วเพอลดการเลอด หล

78


ข้อบ่งชี้ : ู้ปวย ู้ ห หัว จหยุดเต้น ข้อห้าม : ู้ปวยมีเอกสารแสดงความจานงค์ปฏิเสธการ วยฟื้นคน ีพตัวจริง ลงลายลัก ์อัก ร อ อง ู้ปวย พร้อมพยาน มีสั า หลังตายปรากฏ ด้แก กล้ามเนอแ ง การตกเลอดหลัง การ ตาย หรอมีการบาดเจบรุนแรง เ น หัว าด ลาตัว าดออกจากกัน จมนาเกิน 60 นาที ขั้นตอนการทาหัตถการการกดนวดหัวใจในผู้ใหญ่ 1. นา ู้ปวยออกจากทีเกิดเหตุที มปลอดภัย 2. ู้ วยเหลอสวมอุปกร ์ปองกันตนเอง 3. เตรียมอุปกร ์การ วย ีวิตตามศักยภาพ อง ู้ วยเหลอ เ น ยา วย ีวิต เครองกระตุก ฟฟาหัว จ อัตโนมัติ (AED) 4. จัดทา ู้ปวยนอนหงายบนพนแ งราบ แกะเสอ ้า ู้ปวยออก 5. วางมอ ้างทีถนัดลงบนกงกลางหน้าอก นแนวกงกลางระหวางหัวนมทังสอง ้าง 6. วางมออีก ้างหนง ้อนทับบนมอ ้างทีถนัด 7. โน้มตัว ป ้างหน้า ้อศอกเหยียดตรง 8. กดหน้าอก ห้ลก 5 เ นติเมตร มเกิน 6 เ นติเมตร 9. ะ อน ห้อก ยายตัวเตมที ส้นมอ มลอยออกจากหน้าอก 10. กดด้วยความเรว 100 – 120 ครัง/นาที 11. ทาการ วยหาย จ a. กร ียัง ม ด้ สทอ วยหาย จ : กดหน้าอก 30 ครัง ตอ การ วยหาย จ 2 ครัง (30:2) b. กร ี สทอ วยหาย จแล้ว : วยหาย จด้วยอัตราเรว 10 ครัง/นาที 12. เปลียนคนกดนวดหัว จทุก 2 นาที โดย ้เวลา นการเปลียนคนกดนวดหัว จ มเกิน 5 วินาที 13. หลีกเลียงการหยุดกดนวดหัว จโดย มจาเป็น

79


ข้อบ่งชี้ : ู้ปวยเดกทีหัว จหยุดเต้น ข้อห้าม : ู้ปวยมีเอกสารแสดงความจานงค์ปฏิเสธการ วยฟื้นคน ีพตัวจริง ลงลายลัก ์อัก ร อ อง ู้ปวย พร้อมพยาน มีสั า หลังตายปรากฏ ด้แก กล้ามเนอแ ง การตกเลอดหลัง การตาย หรอมีการบาดเจบรุนแรง เ น หัว าด ลาตัว าดออกจากกัน จมนาเกิน 60 นาที ขั้นตอนการทาหัตถการการกดนวดหัวใจในเด็ก 1. นา ู้ปวยออกจากทีเกิดเหตุที มปลอดภัย 2. ู้ วยเหลอสวมอุปกร ์ปองกันตนเอง 3. เตรียมอุปกร ์การ วย ีวิตตามศักยภาพ อง ู้ วยเหลอ เ น ยา วย ีวิต เครองกระตุก ฟฟาหัว จ อัตโนมัติ (AED) 4. จัดทา ู้ปวยนอนหงายบนพนแ งราบ แกะเสอ ้า ู้ปวยออก 5. วางมอ ้างทีถนัดลงบนกงกลางหน้าอก นแนวกงกลางระหวางหัวนมทังสอง ้าง 6. โน้มตัว ป ้างหน้า ้อศอกเหยียดตรง 7. กดหน้าอก ห้ลก 5 เ นติเมตร 8. อาจวางมออีก ้างหนง ้อนทับบนมอ ้างทีถนัดหากกด ม ด้ความลกทีเหมาะสม 9. ะ อน ห้อก ยายตัวเตมที ส้นมอ มลอยออกจากหน้าอก 10. กดด้วยความเรว 100 – 120 ครัง/นาที 11. ทาการ วยหาย จ a. กร ียัง ม ด้ สทอ วยหาย จ : วยเหลอ 1 คน กดหน้าอก 30 ครัง ตอ การ วยหาย จ 2 ครัง (30:2) วยเหลอ 2 คน กดหน้าอก 15 ครัง ตอ การ วยหาย จ 2 ครัง (15:2) b. กร ี สทอ วยหาย จแล้ว : วยหาย จด้วยอัตราเรว 10 ครัง/นาที 12. เปลียนคนกดนวดหัว จทุก 2 นาที โดย ้เวลา นการเปลียนคนกดนวดหัว จ มเกิน 5 วินาที 13. หลีกเลียงการหยุดกดนวดหัว จโดย มจาเป็น

80


ข้อบ่งชี้ : 1. เดกทารกทีคลา ม ด้ ีพจร 2. เดกทารกทีมีอัตราการเต้น องหัว จตากวา 60 ครัง/นาทีโดยทีมีการ วยหาย จและ ห้ ออก ิเจนแล้วเกิน 30 วินาที ขั้นตอนการทาหัตถการการกดนวดหัวใจในทารก 1. นา ู้ปวยออกจากทีเกิดเหตุที มปลอดภัย 2. ู้ วยเหลอสวมอุปกร ์ปองกันตนเอง 3. เตรียมอุปกร ์การ วย ีวิตตามศักยภาพ อง ู้ วยเหลอ เ น ยา วย ีวิต เครองกระตุก ฟฟาหัว จ อัตโนมัติ (AED) 4. จัดทา ู้ปวยนอนหงายบนพนแ งราบ 5. ้มอโอบหลังทารกโดย ห้นิวหัวแมมอทังสอง ้าง ิดกันบริเว กงกลางหน้าอกทารก (2-Thumb technique) หรอ ้มอ ้าง ด ้างหนงประคองหลังทารก ว้ แล้ว ้สองนิวทาการกดบริเว ต้ตอ ราวนม (2- Finger technique) 6. กดหน้าอก ห้ลกอยางน้อย 4 เ นติเมตร หรอ 1 น 3 องความหนา องอก ู้ปวยวัดจากหน้าอก ด้านหน้าถงหลัง 7. กดนวดหัว จ 3 ครัง ตอการ วยหาย จ 1 ครัง (3:1) โดยภาย น 1 นาทีต้องกดหัว จ ห้ ด้ 90 ครัง ตอการ วยหาย จ 30 ครัง 8. ้เวลา นการกดนวดหัว จ 60 วินาทีตอ 1 รอบการกด 9. ประเมินการตอบสนอง องทารก หากอัตราการเต้น องหัว จตากวา 60 ครัง/นาที ห้ทาการกดนวด หัว จตอ ป

81


ข้อบ่งชี้ : ้ น ู้บาดเจบทีสงสัยวามีบาดเจบกระดูกสันหลัง อุปกรณ์ : เฝือกตามคอ นิดปรับ นาด ด้ Cervical hard collar วิ ีการปฏิบัติในการใส่เฝือกดามคอ 1. ู้ วยเหลอคนที 1 ทา manual in line ประคองศีร ะและคอ นทานอนหงาย (neutral position) ลากเส้นสมมติ านหน้ากระดูก ้าง บหู (tragus) จะต้องอยู นระนาบเดียวกับกระดูก หปลาร้า (clavicle) โดย ู้ วยเหลอห้ามทา manual in line กร ีดังตอ ปนี A. ู้ปวยมีกล้ามเนอคอแ งเกรง (muscle spasm) B. หลังทา manual in line แล้ว ู้บาดเจบมีความเจบปวดมาก น C. หลังทา manual in line ู้บาดเจบมีอาการทางระบบประสาทแยลง D. ู้บาดเจบมีทางเดินหาย จอุดกัน หรอ มสามารถ วยหาย จ ด้เหมาะสม * ห้พิจาร าจากัดการเคลอน หว อง ู้ปวยด้วยวิธีและอุปกร ์อนๆตามสถานการ ์ * 1. ู้ วยเหลอคนที 2 วัด นาดคอ อง ู้บาดเจบ โดยการ ลากเส้นสมมติเส้นที 1 านปลายคาง ลากเส้นสมมติ เส้นที 2 านต้นคอ (root of neck) ห้ นานกับเส้นที 1 วัดระยะระหวางเส้นที 1 และ 2 เป็นหนวยนิวมอ (fingerbreadth) 2. ู้ วยเหลอคนที 2 เลอกและปรับ นาดเฝือกดามคอ 3. พับลินแถบตีนตุ๊กแก (Velcro) เ ้าด้าน นเพอปองกันการเปื้อนฝุน 4. เปดลินรองคาง ู้บาดเจบกอนสวม สทุกครัง 5. สอดเฝือกดามคอจากทางด้าน วา จนพอเหนแถบตีนตุ๊กแกโ ลพ้นหลังคอ 6. ปาดสวนทีเหลอ องเฝือก านหน้าอกเ ้ารองรับ ต้ปลายคาง พร้อมตรวจสอบวาเฝือกดามคออยู นแนว กงกลางลาตัวหรอ ม 7. กระ ับเฝือกดามคอด้วยการกดลง ห้แนบคอ (ห้ามดันคอ) และดงแถบตีนตุ๊กแก น 8. ตรวจสอบวาเฝือกดามคออยู นแนวกงกลาง โดยดูจากกระดุม องเฝือกด้านหน้า ห้แนวเดียวกับปลายจมูก และต้องมอง มเหนปุมยดโฟม ต้คาง 9. หลังสวมเฝือกดามคอแล้ว ยังจาเป็นต้องทา manual in line ว้จนกวาจะเคลอนย้าย ู้บาดเจบบนอุปกร ์ จากัดการเคลอน ว้ องกระดูกสันหลังและยดตรง ู้บาดเจบ ด้อยางเหมาะสมแล้ว ข้อควรระวัง หากสวมเฝือกดามคอ ด้กระ ับและเหมาะสม ู้บาดเจบจะอ้าปาก ด้น้อย มสามารถจัดการ ทางเดินหาย จ ด้ 82


ข้อบ่งชี้ : ้ น ู้บาดเจบสงสัยวามีการบาดเจบบริเว คอและกระดูกสันหลัง อุปกรณ์ : Philadelphia collar วิ ีการปฏิบัติในการใส่ cervical hard collar 1. ู้ วยเหลอคนที1 ทา manual in line ประคองศีร ะและคอ นทานอนหงาย (neutral position) ลากเส้ น สมมติ านหน้ ากระดู ก ้ า ง บหู (tragus) จะต้ อ งอยู นระนาบเดี ย วกั บ กระดู ก หปลาร้ า (clavicle) 2. ู้ วยเหลอคนที2 เลอก Philadelphia collar นาดทีเหมาะสมกับ ู้บาดเจบ โดยเมอวางทีรองคาง องเฝือก ินหน้าเ ้ากับคาง ู้บาดเจบแล้ว อบบน อง sternal pad องเฝือก ินหน้าต้องอยู ต้ sternal notch เลกน้อย 3. สอดเฝือก ินหลังเ ้าทางด้านหลัง อง ู้บาดเจบอยางนุมนวล พับลินแถบ Velcro เ ้าด้าน นเพอ ปองกันการเปื้อนฝุน 4. จัด Philadelphia collar สวนหลัง ห้ อบลาง องเฝือกอยู ิดกับบา อง ู้บาดเจบ 5. กาง Philadelphia collar สวนด้านหน้าเ ้า ต้คาง อง ู้บาดเจบ กางปีก ห้สวนหน้าครอมสวนหลัง เพอ ห้สวนVelcro มีพนที นการติดมากทีสุด 6. ปรับ Philadelphia collar ห้กระ ับและติดแถบ Velcro 7. ตรวจสอบวา Philadelphia collar อยู นแนวกงกลาง 8. หลังสวม Philadelphia collar แล้ว ยังต้องประคองศีร ะ อง ู้บาดเจบจนกวาจะยดตรงกับ spinal board และติด head immobilizer เสรจ

83


อุปกร ์ นิดนี ส้ าหรับ วยเหลอ ู้บาดเจบทีนังภาย นรถยนต์ทีมีอาการคงที และ มมีสิงกีด วางทีอันตราย รอบตัว ู้บาดเจบ ้ ู้ วยเหลอยางน้อย 3 คน

ข้อบ่งชี้ :

ู้บาดเจบอยู นทานัง เ น ภาย นรถยนต์ และสงสัยวา ด้รับการบาดเจบบริเว กระดูกสันหลัง

ข้อห้าม : 1. ู้บาดเจบมีอาการ มคงที 2. สถานการ ์ทีเกิดเหตุ มปลอดภัย ข้อควรระวัง : 1. กร ี ู้บาดเจบตังครรภ์ อาจะหลีกเลียงการรัดสายกลางลาตัว 2. กร ี ู้บาดเจบสงสัยกระดูกเ ิงกรานหัก ห้ระมัดระวังการรัดสาย ต้ าและสายเส้นลาง วิ ีการปฏิบัติกรณีนาผู้บาดเจ็บออกจากพาหนะ 1. ู้ วยเหลอคนที 1 (หัวหน้าทีม) ยนอยูบริเว ด้านหน้ารถยนต์เฉียง ปทางด้าน วาเลกน้อย ปองกันรถพุง ส พร้อมแนะนาตัว วามาจากหนวยงาน หน พร้อมพูดวา”นีคอความ วยเหลอ อยา ยับศีร ะและคอ มองมาทางนีตลอดเวลาจะมีคนเ ้า ปประคองศีร ะ มต้องตก จ”พร้อม ห้สั า ู้ วยเหลอคนที2 2. ู้ วยเหลอคนที 2 ปดประตูจากด้านหลังเ ้า ปประคองศีร ะ 3. ู้ วยเหลอคนที 1 เ ้า ปเปดประตูฝั่งคน ับตรวจสอบความปลอดภัยอีกครังพร้อมปลดเ ม ัดนิรภัย ดง เบรกมอ 4. ู้ วยเหลอคนที 1 ประเมินอาการ ู้บาดเจบวามีอาการคงทีหรอ ม หากอาการ มคงที ห้เปลียนวิธีการ เคลอนย้ายแบบรวดเรว (rapid extrication) แทน 5. หาก ู้บาดเจบอาการคงที ู้ วยเหลอคนที 1 ้มอประคอง ู้บาดเจบหน้าหลังตามแนวกระดูกสันอก และ กระดูกสันหลัง 6. ู้ วยเหลอ ห้สั า กันเพอเอน ู้บาดเจบมาด้านหน้าเลกน้อย 7. ู้ วยเหลอคนที 3 เปดประตูทีฝั่งตรง ้าม ้างคน ับ เ ้า ปประคองกระดูกลาตัวแทน ู้ วยเหลอคนที 1 พร้อม ห้สั า 8. ู้ วยเหลอคนที1 สวมเฝือกดามคอ ู้บาดเจบ 9. ู้ วยเหลอคนที3 ห้สั า เอนตัว ู้บาดเจบมาด้านหน้าอีกเลกน้อยเพอทาการสอด KED 84


10. ู้ วยเหลอคนที 1 ทาการตรวจดูด้านหลังวามีสิง ด นกระเป๋าหลัง อง ู้ปวยหรอ ม หากมี ห้เอาออก 11. ู้ วยเหลอคนที 1 กางกระดานสันดามกระดูกสันหลัง(KED) ออกจากนันสอดกระดานสันดามกระดูกสัน หลัง(KED) เ ้าทางด้านหลัง ู้บาดเจบจากทางด้านลาง นาสายรัด าด้าน ้าย อง ู้บาดเจบ ห้อยูฝั่ง ้าย อง ู้บาดเจบ ระวัง ม ห้สายรัด าอยูด้านหลัง ู้บาดเจบ 12. ู้ วยเหลอคนที3 เอนตัว ู้บาดเจบ ห้หลังพิงกับแ นกระดานสันดามกระดูกสันหลัง (KED) และ ู้ วย เหลอคนที1 จัด ห้ อบบน องสวนรัดลาตัว (torso flap) ิดรักแร้ อง ู้บาดเจบ พร้อมดงหูหิวบน น เพอจัด ห้อยูระดับกงกลาง และรองรับตัว ู้บาดเจบ ด้ 13. ู้ วยเหล อคนที 1 และ ู้ วยเหล อคนที 3 ท าการติ ด สายรั ด ล าตั ว ห้ ก ระ ั บ โดยเริ มจากสายรั ด ตามลาดับ “MY LADY LOOK HOT TONIGHT” 1. M – Middle strap สายรัดกลางลาตัว 2. L – lower strap สายรัดลาตัวเส้นลาง 3. L – leg strap สายรัด า 2 เส้น โดยสอดสายรัด า ต้ าจากนันเลอนสายรัด าเ ้าแนบ ิดตัว ู้บาดเจบด้วยความนุมนวล โดยตรวจสอบระบบการ หลเวียนโลหิตและระบบประสาท อง า กอนรัดสายรัด า 4. H – Head strap สายรัดศีร ะ 5. T – Thorax สายรัดเส้นบน 14. ู้ วยเหลอคนที1 ตรวจสอบระยะหางระหวางศีร ะสวนบริเว ท้ายทอยและกระดานรองหลังโดย ้นิว วัดเพอ ้เทียบ นาด องหมอนรองศีร ะทีจะ ้หนุน จากนัน สหมอนรองศีร ะ ู้บาดเจบ 15. ู้ วยเหลอคนที 1 เปลียนเป็นคนประคองศีร ะและคาง ู้บาดเจบจากด้านหน้า อง ู้ปวย ู้ วยเหลอ คนที2 โอบแ นประคองศีร ะมารอบศีร ะ ู้ปวย ู้ วยเหลอคนที 3 ติดสายรัดคาดทีหน้า ากและคาง ตามลาดับ ห้กระ ับ 16. เคลอนย้าย ู้บาดเจบลงกระดานยาวดามกระดูกสันหลัง ( long spinal board ) โดย ห้ ู้ วยเหลอคนที 1 จับทีหูหิวด้าน ้างเอียง ู้บาดเจบ ู้ วยเหลอคนที2 สอดแ นกระดานยาวดามกระดูกสันหลัง เ ้ามา ต้ ก้น จัด ห้ ู้บาดเจบนังทับสวนปลายแ นกระดานพร้อมคุกเ าลงวางแ นกระดานลงบนหน้า า จัด ห้ ปลายแ นกระดานด้านศีร ะตากวาเบาะคน ับพร้อมออกแรงดันกระดานยันกับเบาะระวังเลอนหลุด 85


17. ู้ วยเหลอคนที 1 คอยๆหมุนและเอนลาตัว ู้บาดเจบลงบนแ นกระดาน ู้ วยเหลอคนที 3 ยก า ู้บาดเจบ ้ามคอนโ ลกลาง หากคอนโ ลกว้าง ห้หมุนทีละ45องศา จน ู้บาดเจบนอนราบบนแ น กระดาน 18. ทีม วยเหลอเลอน ู้บาดเจบจน หล ิดติดเบาะหมอนประคองศีร ะ 19. ทีม วยเหลอประจาอยูสอง ้าง องแ นกระดานยาวดามกระดูกสันหลัง ( long spinal board ) เพอ เตรียมยก ู้ วยเหลอทีอยูด้านบนศีร ะสังการเคลอนย้ายพร้อมนับเป็นจังหวะเสียงพร้อมๆกัน เมอวาง ู้บาดลงพน ห้คลายสายรัดสวนบนสุดบริเว หน้าอก และคลายสายรัด าทังสอง ้างเพอ ห้เลอด หลเวียน ด้สะดวก

86


ข้อบ่งชี้ :

ู้บาดเจบทีสงสัยวามีการบาดเจบ องกระดูกสันหลัง

ข้อควรระวัง 1. ควรมีทีม วยเหลออยางน้อย 3 คน 2. ต้อง ้รวมกับเฝือกดามคอ นิดแ ง ุดอุปกร ์ยดตรงศีร ะ และสายรัดอยางน้อย 3 เส้น 3. อุปกร ์โดยทัว ปสามารถรับนาหนัก ด้ 130-200 กก. ขั้นตอนการใช้กระดานรองหลังชนิดยาว 1. สวม สเฝือกดามคอ 2. ู้ วยเหลอคนที 1 ประคองศีร ะ ู้บาดเจบเตรียมอยู นทา manual in line 3. เตรียมอุปกร ์และทีมการเคลอนย้าย ู้บาดเจบ 4. ทีม ู้ วยเหลอนังเ า ิด ู้บาดเจบฝั่งตรง ้ามทีจะพลิก ู้บาดเจบลง โดยพิจาร า ้างทีจะพลิก ตะแคงตัวลงจากการบาดเจบ - ้างทีจะเอาลง มควรเป็น ้างทีมีการบาดเจบหรอ มมีบาดเจบ รุนแรง 5. ู้ วยเหลอคนที 2 ทา head grip change เพอ ห้ ู้ วยเหลอคนที 1 เปลียนจาก manual in line ปเป็นทา modified trapezius grip – ( ู้ วยเหลอคนที 1 จับบา อง ู้บาดเจบ ้างทีจะ พลิกตะแคงลง) 6. ู้ วยเหลอคนที 2 จับที หล ู้บาดเจบ อีกมอจับบริเว สะโพก อง ู้บาดเจบ 7. ู้ วยเหลอคนที 3 จับทีเอวและเหนอเ า อง ู้บาดเจบ 8. ู้ วยเหลอคนที 1 สังการ ห้พลิก 90 องศา โดยออกคาสังจังหวะ ู้ วยเหลอคนที 2 และ 3 ้ เ ายัน ู้บาดเจบ ม ห้เคลอนที ะทาการพลิกตัว 9. ู้ วยเหลอคนที 2 ปลอยมอ วาจับบริเว สะโพกตรวจหาบาดแ ลด้านหลัง อง ู้บาดเจบ 10. หลังตรวจการบาดเจบด้านหลัง ู้ วยเหลอคนที 2 ้มอเลอนกระดานรองหลังมาแนบหลัง อง ู้ปวยโดย ห้ปลายกระดานรองหลังอยูระหวางเ าและปลายเท้า อง ู้บาดเจบ 11. ู้ วยเหลอคนที 1 สังเป็นจังหวะเสียง ห้พลิกวางตัว ู้บาดเจบลงบนกระดานรองหลังพร้อมกับ คอยๆวางกระดานรองหลังลงบนพน 12. ู้ วยเหลอคนที 2 ทา head grip change เพอ ห้ ู้ วยเหลอคนที 1 เปลียนจาก manual in 87 line ป จับที หลทัง 2 ้าง (trapezius grip)


13. ู้ วยเหลอคนที 2 กลับมาจับบริเว ต้รักแร้ อง ู้บาดเจบ 2 ้าง ู้ วยเหลอคนที 3 จับบริเว สะโพก เมอพร้อม ห้บอก ู้ วยเหลอคนที 1 สังจังหวะเสียงเพอเลอนตัวย้าย ู้บาดเจบ นแนวทแยง เฉียง นกระดานรองหลัง 14. เลอนตัว ู้บาดเจบจนอยู นตาแหนงทีเหมาะสมคอ อบลาง องแ นรองคออยูพอดีกับ อบ หล อง ู้บาดเจบ 15. ู้ วยเหลอคนที 2 ทา head grip change เพอ ห้ ู้ วยเหลอคนที 1 เปลียนจากจับที หลทัง 2 ้าง (trapezius grip) เป็น manual in line 16. ทาการยดตรง ู้บาดเจบบนกระดานรองหลังโดยเริมจากรัดบริเว ลาตัวกอนเสมอ 13. สายรัดเส้นที 1 สอดเ ้า ต้รักแร้พาดเหนอหัวนม 14. สายรัดเส้นที 2 พาดเหนอกระดูกเ ิงกราน 15. สายรัดเส้นที 3 พาดเหนอหัวเ ้า 17. ประเมินระบบประสานและการ หลเวียนสวนปลายหลังการทาการยดตรงลาตัวเสมอ 18. ู้ วยเหลอคนที 2 ทา head grip change 19. ู้ วยเหลอคนที 1 ติดหมอน อง ุดตรงศีร ะ และพาดสายรัด อง ุดตรงศีร ะทีหน้า ากและ ต้คาง อง ู้บาดเจบ ระวังการบาดเจบ องดวงตา 20. หม ้ารัก าความอบอุนอุ หภูมิกาย ห้ ู้บาดเจบ

88


ข้อบ่งชี้ : 1. 2.

้ น ู้บาดเจบ ทีกระดูกแ น า สะโพกหัก ้ นการเคลอนย้าย ู้บาดเจบทีสงสัยวามีการบาดเจบกระดูกสันหลังออกจากจุดเกิดเหตุ น ระยะเวลาสันๆ 3. เคลอนย้าย ู้ปวยที วยเหลอตนเอง ม ด้

ข้อควรระวัง : ควรมี วยเหลออยางน้อย 2 คน น ป วิ ีการปฏิบัติ 1. (กร ี ู้บาดเจบ) สวม สเฝือกดามคอและมี ู้ วยเหลอประคองศีร ะ อง ู้บาดเจบ ว้ตลอด 2. นาเปลตักวางด้าน ้าง ู้ปวย/บาดเจบ หางประมา 30 เ นติเมตร วางเปลตักด้านกว้าง ปทาง ศีร ะ อง ู้บาดเจบ เอาด้านแคบ ปทางปลายเท้า 3. วัด นาดความยาว องเปลตักกับ ู้ปวย/บาดเจบ โดยคนทีอยูด้านศีร ะจับเปลตัก ว้ ห้พอดีกับ ศีร ะคน ทีอยูด้านปลายเท้า ปลดปุมลอคความยาว องเปล นค้าง ว้พร้อมกับ ยับความยาว องเปล ห้พอดีกับ ู้ปวย/บาดเจบ เมอ ด้ที ห้ลอคความยาว องเปลด้านปลายเท้าทังสองฝั่ง 4. แยกเปลออกพร้อมกันทังสองด้าน ยก ินทีอยู กล้ตัว ู้ปวย/ ู้บาดเจบ ป ว้ฝั่งตรง ้าม 5. ู้ วยเหลอคนที 2 และ 3 นังเ ้าประ ิดตัว ู้ปวย เตรียมพลิกตะแคง ู้ปวย/ ู้บาดเจบ นทาง พลิกทอน ุง (log roll) 6. จับมอ ู้ปวย/บาดเจบทังสอง ้างวางบนตัว อง ู้ปวย/ ู้บาดเจบ นาเปลเ ้า ิดตัว ู้ วยเหลอ 2 คน วยกันพลิกตะแคงตัวพร้อมกับนาเปลสอด ต้ตัว ู้ปวย/บาดเจบทีละด้านอยางนิมนวล 7. ประกอบเปล โดย เริมลอคจากด้านศีร ะกอน จากนัน ยับ วงกลางลาตัวเ ้าหากันและลอค สวนเท้าสุดท้าย 8. ยดตรง ู้ปวย/ ู้บาดเจบด้วยสายรัดลาตัวและศีร ะ 9. เคลอนย้าย ู้ปวย

89


ข้อบ่งชี้ :

ู้บาดเจบทีสงสัยกระดูกเ ิงกรานหัก

วิ ีปฏิบัติในการดามกระดูกเชิงกราน 1. สอดหัวเ ม ัด องแถบรัดเ ้า ปที องวาง ต้ ้อพักเ า มแนะนา ห้สวมแถบรัดตรงกระดูกเ ิง กรานโดยการยก า อง ู้บาดเจบ เนองจากอาจทา ห้กระดูกเ ิงกรานทีหักแบบ มคงทีมีการ ยับมาก นกวาเดิม 2. งแถบรัด ห้ตรงและราบ ปกับพน เลอนแถบรัด นมา นระดับสะโพกด้วยการดงสลับ ้าย- วา ห้สุดคล้ายกับการเลอย ม้ ตรวจสอบและจัดตาแหนง ห้กงกลาง องแถบรัดตรงกระดูกเ ิง กราน ห้อยูตรงกับ Greater trochanter ทัง 2 ้าง งเป็นระดับเดียวกันกับกระดูกหัวหนาว 3. ตรวจสอบ นกระเป๋ากางเกง อง ู้บาดเจบ และบริเว ตลอดแนวทีจะพันแถบรัดกระดูกเ ิง กรานว า ม มี วั ต ถุ แ ง เ นกระเป๋ า สตางค์ โทรศั พ ท์ ม อถ อ พวงกุ แจที อาจกดลงบนตั ว ู้บาดเจบ ะรัดแถบรัดแล้ว จัด ห้ าทัง 2 ้าง หมุนเ ้าด้าน นและ ิดกัน เนองจากหาก า ทัง 2 ้างแบะออกจากกัน จะทา ห้เ ิงกรานเคลอน ปด้านหน้าและตาแหนง องจุดทีหัก ม คงที 4. สอดปลายสายเ ้า ปทีหัวเ ม ัด ู้ วยเหลอทัง 2 คนออกแรงดงหูจับ ้างหัวเ ม ัดและดงหาง เ ม ัด นด้านตรงกัน ้ามกัน ด้วยแรงสมาเสมอ จน ด้ยินเสียงดัง “คลิก” และ มสามารถดง ตอ ป ด้ 5. ติดสายด้านหางเ ม ัดลงบนแถบยดติดตีนตุ๊กแก ตรวจสอบตาแหนงแถบรัดตรงกระดูกเ ิง กรานหลัง สวายังตรงกับ Greater trochanter 6. พัน ้าบริเว ต้น าเหนอเ าทัง 2 ้างเ ้าด้วยกัน เพอ ม ห้ าทัง 2 ้าง แบะออกจากกัน ระวัง อยาพัน ้า ต้ ้อพับเ า เนองจากจะ ปกดหลอดเลอดแดง Popliteal ด้ บันทกเวลาที สแถบ รัดตรงกระดูกเ ิงกรานและรีบนาสงโรงพยาบาล

90


ข้อบ่งชี้ :

ู้บาดเจบทีสงสัยกระดูกเ ิงกรานหัก

อุปกรณ์ : 1. ้า วางเตียง สาหรับรัดรอบกระดูกเ ิงกราน 2. ้าสาหรับรัด าและ ้อเท้า 3. Surgical clamp วิ ีปฏิบัติในการดามกระดูกเชิงกราน 1. พลิกตัว ู้ปวยด้วยวิธียกแบบทอน ุง (log roll) จากนันสอด ้า วางเตียงเ ้า ต้ตัว ู้บาดเจบเ ้า บริเว สะโพก จากด้าน ้าง ประมา ห้กงกลาง อง ้า วางเตียงอยูระดับเดียวกับ Greater trochanter 2. ดง ้า วางเตียง ห้ตงทีละ า้ ง ห้แนน จัด ห้ าทัง 2 ้าง หมุนเ ้าด้าน นและ ิดกัน จากนัน ้ surgical clamp ยด ้า วาง ห้แนน โดยห้าม มวดปมหรอ ูกปม 3. กร ี มสงสัยวามีกระดูก าหัก ห้พัน ้าบริเว เหนอเ าทัง 2 ้างเ ้าด้วยกัน เพอ ม ห้ าทัง 2 ้าง แบะออกจากกัน

91


ข้อบ่งชี้ : 1. ู้บาดเจบสงสัยภาวะกระดูกหัก 2. ู้บาดเจบมีการปวดบริเว รยางค์ 3. หลังทาการห้ามเลอด ต้องการ ห้อวัยวะทีห้ามเลอด ด้สาเรจแล้วอยูนิง อุปกรณ์ : 1. อุปกร ์การดาม ควรเป็นอุปกร ์ทีมีความยาวพอเหมาะกับสวนทีต้องการดาม มีความนุม มแ ง 2. ้าพันเฝือกดาม เ น ้ายด (Elastic bandage) ้าพันคอ ้าสามเหลียม วิ ีการปฏิบัติ 1. วั ส ดุ ที ้ ด ามต้ อ งยาวกวาอวัย วะส วนที หัก โดยเฉพาะจะต้อ งยาวพอที จะบั ง คั บ ้ อ ตอที อยู เหน อและ ต้ บริเว ที สงสั ย ว ากระดูก หัก เ น าทอนล างหั ก ้ อ เ าและ ้ อ เท้ าจะต้ อง ถู ก บั ง คั บ ว้ ด้วย ม้ ดามเป็ นต้ น 2. รองอุ ป กร ์ก ารดามด้ว ยวัส ดุ อ อนนุม เ น ้ า หร อ สาลี ว าง ว้ ตลอด เพ อ ม ทา ห้ เกิ ดการ เจ บปวดและเกิดเป็ นแ ลจากกด ด้ 3. ประเมิ น ี พจร การ หลเวี ย นโลหิ ตส วนปลาย และตรวจระบบประสาทส วนปลาย 4. หากมี ส วน องกระดูก หัก ทิ มออกมาหรอแ ลมี ก ารเปรอะเปื้ อ นมาก ห้ ล้ า งแ ลด้ว ย นาเกล อล้ างแ ลก อน 1-2 ลิ ต ร (ตามความเหมาะสม) และป ดแ ลด้ วย ้ าป ดแ ลสะอาด ห้ า มดั ด ดั น กระดู ก 5. ทาบอุ ป กร ์ที ้ ด ามกั บ อวั ย วะที มี ก ารบาดเจบหรอมี แ ล 6. รัด ด้ วย ้ าที เตรียม ว้ ห้ แนนพอที จะประคองสวนที หัก ด้ แต ต้ อ ง ม แนนเกิ น ป 7. ประเมิ น ี พจร การ หลเวี ย นโลหิ ตส วนปลาย และตรวจระบบประสาทส วนปลาย าเป็ น ระยะ ถ้ ารัดแนนจนเกิ น ปจะกด ัด วางการ หลเวี ย น องเลอดทา ห้ อวั ย วะส วนปลาย บวม ปวด เกิ ด อวั ย วะ าดเล อด ด้ งจะต้ อ งคลาย ้ าย ดที ู ก ห้แนนน้อ ยลง 8. จั ด ทาบริเว ที ดามอยู นทาที สุ สบายที สุ ด 92


ข้อบ่งชี้ :

ู้ปวยยังสวม สหมวกนิรภัย ะทีทีม วยเหลอเ ้า ปถงตัว ู้บาดเจบ

วัตถุประสงค์ : เพอประเมินการหาย จเบองต้นและเปดทางเดินหาย จหรอปองกันทางเดินหาย จอุดกัน ทีเกิดเหตุ อุปกรณ์ :

1. ้ารองศีร ะ

วิ ีปฏิบัติในการถอดหมวกกันนิรภัย 1. มี ู้ วยเหลออยางน้อย 2 คน โดยที ู้ วยเหลอคนแรกทาการประคองศีร ะ ู้บาดเจบด้วยวิธี Manual in line โดย ้ฝามอทัง 2 ้างประกบด้าน ้าง องหมวกนิรภัย เพอประคองหมวกนิรภัย คอ และศีร ะ นอยู นทา Neutral position โดยยัง มต้องเรียก ู้บาดเจบเพอปองกันการเคลอน หว องกระดูกสวน คอ ( ้อศอก อง ู้ วยเหลอควรวางบนพนเพอ ห้การทา Manual in line มีความมันคง) 2. ู้ วยเหลอคนที 2 ทาการเปดหน้ากาก องหมวกนิรภัย ทาการประเมินระบบทางเดินหาย จเบองต้น โดยการถาม อ อง ู้บาดเจบ 3. แจ้ง ู้บาดเจบวาทานกาลังจะทาการถอดหมวกนิรภัย หาก ู้บาดเจบ สแวน ห้ถอดแวนกอนทาการ ถอดหมวกนิรภัย 4. ทาการตัดหรอปลดสายรัด องหมวกนิรภัยบริเว คางออก 5. ู้ วยเหลอคนที 2 ้มอ ้างหนงประคองทีท้ายทอย โดยสวนแ นและศอกต้องวางบนพน เพอ ห้การ ประคองคอมีความมันคง (Neck grip) และ ้นิวหัวแมมอและนิว ี องมออีก ้างจับทีมุมคางทัง 2 ้าง และประคองตามแนวกระดูกคาง แ นด้าน วาวางระหวางกงกลาง องทรวงอก ู้บาดเจบ (Chin grip) หลังจากทีประคอง ด้อยางมังคง ห้สงสั า ห้ ู้ วยเหลออีกคนทราบ

93


6.

7. 8. 9.

10.

ู้ วยเหลอคนที 1 ทาการถอดหมวกนิรภัยออก โดยมี ้อควรคานงถง ดังนี A. หมวกนิรภัยมีรูปรางเป็นทรงรูป ดังนันจะต้องดงถางออกด้าน า้ งเพอน ห้พ้นหู B. หาก สหมวกนิรภัย นิดคลุมหน้าทังหมด จะต้องเอาแ นพลาสติก สด้านหน้าออกกอน C. หาก สหมวกนิรภัย นิดคลุมหน้า ะเอาออกอาจติดทีจมูก ห้โยกหมวก ปด้านหลังเลกน้อย และยก น เพอ ห้พ้นจมูก D. หมวกนิรภัยบาง นิดมีถุงลมอยู จะต้องปลอยลมออกกอน ถอดหมวกนิรภัยโดย ห้ อบลาง องหมวกนิรภัย านปลายคางและจมูก หลังจากหมุนหมวกนิรภัย ายปลายจมูก ห้ดงหมวก นแนวตรง โดยที ู้ วยเหลอคนที2 คอยๆเลอนมอ ทีประคองบริเว ท้ายทอยตามหมวกนิรภัยทีถอด หลังถอดหมวก ู้ วยเหลอคนที1 ทาทา Head grip และพยายามจัดทา ู้ปวย นทา Neutral position (คอยๆวางศีร ะลงพนอยาง ้างๆ ถ้ามีอาการเกรง องกล้ามเนอต้นคอ ห้หยุด และนา ้ามา รอง ห้พอดีกับความสูง องศีร ะ) กลับมาประคองศีร ะ ู้บาดเจบ ห้อยู นทา manual – in- line

94


ข้อบ่งชี้ :

เพอวัดระดับนาตาล นกระแสเลอด

อุปกรณ์ :

1. เครองตรวจวัดระดับนาตาล นกระแสเลอด นิดพกพาและแถบทดสอบ (กลูโคสมิเตอร์)

2. สาลีแอลกอฮอล์/สาลีแห้ง 3. เ ม หมและสะอาด ขั้นตอนการเจาะ Capillary Blood glucose 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

ล้างมอ ห้สะอาด เตรียมเครองตรวจวัด และแถบทดสอบ ห้อยู นสภาพ พร้อม ้งาน ปรับระดับความลก องอุปกร ์เ มเจาะเลอด ห้เหมาะสมกับสภาพ ความหนา อง ิวบริเว ปลายนิว ้สาลีแอลกอฮอล์เ ดปลายนิวนางหรอนิวกลาง รอ ห้นิวแห้ง แล้ว ้เ มเจาะบริเว ด้าน ้าง องปลายนิว นาเลอดหยด นแถบทดสอบด้วยปริมา ทีเหมาะสม รอเครองประมวล ล แล้วอานคา กดห้ามเลอดบริเว ทีเจาะด้วยสาลีแห้งทีสะอาดจนเลอดหยุด ทิงเ มที ้แล้วและวัสดุปนเปื้อนอน ๆ นภา นะทีปองกันการแทงทะลุ

ข้อควรระวัง  เลอดทีหยดมีปริมา มเพียงพอ  เวลา นการเสียบแ นวัดเพออาน ล มเหมาะสม  แ นวัด/แถบทดสอบหมดอายุ เสอม หรอเกบ นอุ หภูมิที มเหมาะสม  มปฏิบัติตามคาแนะนา องเครองตรวจวัด  มมีการปรับเครอง ห้ตรงตามโค้ด องแถบตรวจเมอเปลียนแถบตรวจ วด หม  อานคา ิด

95


BLS

ข้อบ่งชี้ :

EMR

ู้ปวยตังครรภ์ทีมีสวนนา องทารกหรอตุงบริเว ปาก องคลอด

การเตรียมความพร้อมในการช่วยคลอด 1. รายงานศูนย์สังการ อสนับสนุนรถพยาบาล 2. สวมอุปกร ์การปองกันตนเอง 3. เตรียมอุปกร ์ 4. เตรียมสถานทีหรอพนที ห้เหมาะสม ปดเครองปรับอากาศ อุปกรณ์ในการช่วยคลอด 1. ลูกสูบยางแดง สาหรับ ้กับทารก 1 ลูก 2. Clamp จานวน 2 อัน 3. ถุงมอปราศจากเ อ 2 คู 4. สาลีปราศจากเ อ 5. ้าสะอาด จานวน 2 น 6. ้าสาหรับเ ดตัวทารก 7. ้าสาหรับหอตัวทารก ขั้นตอนการช่วยคลอด 1. จัดทา ห้มารดานอนหงาย ตังเ าทังสอง ้างและแยก าออกจากกัน มหนีบ าเ ้าหากัน 2. ปู ้าสะอาดรอง ต้ก้น อง ู้ปวย เพอเตรียมรับการคลอด องทารก 3. ห้มารดาเบงเมอมีลมเบง 4. เมอสวนนาโ ลพ้น องคลอด ้สองมอประคองทารก ห้ามดงตัวทารก ปลอย ห้ทารกคอยๆ หลออกจาก องคลอด 5. เมอลาตัวทารกออกพ้น องคลอด ้มอประคองตัวทารก ว้ ระวังตก คอยๆวางตัวทารก น ระดับเดียวกับ องคลอด บนพนทีปู ้าแห้ง ว้รอ 6. ้ลูกสูบยางแดงดูด นปากกอน จากนันดูด นจมูกทังสอง ้าง องทารก 2-3 ครังจนหมด 96


BLS

EMR

7. หนีบสายสะดอทารกด้วยวัสดุอุปกร ์ทีเตรียม ว้ น 2 จุดๆทีหนงหางจากลาตัวทารกประมา 4 นิว หรอ 1 ฝามอ จุดทีสองหางจากจุดแรกอีกประมา 4 นิวหรอ 1 ฝามอเ นกันโดยห้ามตัดสายสะดอ 8. ประเมินสภาวะ องทารกเบองต้น (term, tone, breathing) และ ห้คะแนน ตาม APGAR Score หากประเมินเบองต้น ม าน ห้ปรก าแพทย์อานวยการและ วยเหลอทารกตามแนวทางการ วยเหลอ เดกทารก 9. เ ดตาทารกโดยเริมจากเ ดทีหัวตา ปยังหางตาทังสอง ้างด้วยสาลี ุบนาเกลอหมาดๆ 10. เ ดตัวทารก ห้แห้ง 11. หอตัวทารกด้วย ้าหม หรอ ้าสะอาดทีเตรียม ว้ 12. วางทารก ว้กับมารดา นตาแหนงหน้าท้อง หรอ ้างลาตัว 13. ประเมินปริมา การเสียเลอด องมารดาและการแ งตัว องมดลูก หากมดลูก มแ งตัว ห้ทาการนวด คลงมดลูก และ ้แนวทางการดูแล ู้ปวยหลังคลอด

97


ข้อบ่งชี้ :

เพอ ะล้างสิงแปลกปลอมและสารเคมีตางๆจากดวงตา

อุปกรณ์ : 1. สารนา 0.9% NSS และ Set ห้สารนา ู้ ห 2. 0.5% Hydrochloride (ยา าสาหรับตา) 3. ก๊อ Sterile 2-3 แ น 4. ถุงพลาสติกสีแดงรองรับนาล้างตา 5. Micropore / Transpore ขั้นตอนปฏิบัติ 1. ล้างมอ ห้สะอาด 2. เตรียมอุปกร ์ ห้พร้อมและอธิบาย ห้ ู้ปวยทราบ 3. จัดทา ห้นอนหงายราบ มหนุนหมอน 4. เอียงศีร ะ ู้ปวยลงด้านทีจะล้างตาเลกน้อยนาถุงรองรับนารอง ต้หางตา ู้ปวย 5. หยอด 0.5% Hydrochloride 1-2 หยด กอนล้างตา 6. ้หัวแมมอและนิว ี ้าย เปดหนังตา ู้ปวยโดยนิวหัวแมมอเปดหนังตาบนและ ห้แรงกดอยูบน คิว นิว ีเปดหนังตาลางและ ห้แรงกดอยูบนโหนกแก้ม 7. ้มอหยิบสาย ห้สารนาหางจากหัวตาประมา 1 นิว แล้วปลอยสารนาหยดลงบนเยอบุตา บริเว หัวตา พร้อมทังแนะนา ห้ ู้ปวยกลอกตา ปรอบๆ ตลอดเวลาทีล้าง เพอสิงแปลกปลอม จะ ด้หลุดออก ห้ ด้มากทีสุด 8. ้ ก๊อ สะอาด เ ดจากหัวตา ปหางตาโดย มนามาเ ด า 9. ถ้าเป็นสารเคมีเ ้าตาควรล้าง 0.9%NSS ปริมา มากๆจนกวาคา pH จะเป็นกลาง (pH 7) ทดสอบด้วยกระดา ลิตมัส

98


ข้อบ่งชี้ : เพอลดการ ยับ องวัสดุปักคา ห้ ด้มากทีสุดเพอลดการบาดเจบ องอวัยวะทีวัสดุปักคา เสียบคาอยู

ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. อยาพยายามดงวัสดุปักคาออก เพราะอาจจะทา ห้เกิดเลอดออกภาย นและมีอวัยวะภาย น บาดเจบมาก น 2. ห้ามเลอดด้วยการกด ห้ามกดตรงวัสดุทีปักคาและตรง อบด้าน า้ งโดยตรง 3. ตัดวัสดุปักคาเฉพาะกร ีวัสดุปักคามี นาด ห หนัก หรอ ัด วางการเคลอนย้าย ู้บาดเจบ 4. ตัด ้าพันแ ลตรงกลางครงหนง องความกว้าง หลายๆแ น นามา ้อนกัน โดย ห้สวนทีตัด ้อนกัน 5. เมอ ด้ความหนาเพียงพอแล้ว ยดตรงวัสดุปักคาด้วย ้ายดหรอเทป ส 6. ถ้าวัสดุมี นาด ห อาจจะพิจาร า ้ ้า นหนูม้วนพันรอบวัสดุปักคา 7. ดามสวนทีถูกวัสดุปักคา ม ห้ ยับหรอ ยับน้อยทีสุด

99


ข้อบ่งชี้ :

เมอต้องเ ิ กับ ู้ปวยพฤติกรรมก้าวร้าวและการเจรจากับ ู้ปวยล้มเหลว

ข้อควรระวัง 1. ควรคานงถงความปลอดภัย อง ู้ปฏิบัติงานตลอดเวลา 2. ต้องมีการสอสารกับ าติ และ ู้ปวยเสมอ ทังกอน ระหวางและหลังการยดตรง โดยการสอสาร นันต้อง ห้เกียรติ ู้ปวย มตัดสิน มเป็นการยัวยุ หรอดูถูก 3. แบงหน้าทีกัน ห้ ัด กอนเ ้าทาการยดตรง ู้ปวยเสมอ 4. ห้าม ้ความรุนแรงกับ ู้ปวย อุปกรณ์การยึดตรึง 1. อุปกร ์สาหรับรัด ้อมอ ้อเท้า ต้องมีลัก ะออนนุม มทา ห้เกิดการบาดเจบต้องอวัยวะที รัด เ น ้า นหนู นเลกทีมีความยาวเพียงพอ 2. อุปกร ์รัดลาตัว ู้ปวย เ น สายรัด องกระดานรองหลังแบบยาว ้า นหนู น ห ้าพันยด * ห้ำมใช้เชือก สำยไฟ ลวดรัดสำยไฟ กุญแจมือ โซ่ เพรำะอำจทำให้เกิดกำรบำดเจ็บเพิ่มเติมกับผู้ป่วยได้ ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ้อสาคั กอนการเ ้ายดตรง ู้ปวย ต้องแน จวามีเจ้าหน้าทีตารวจอยูรวมด้วย มีบุคลากร, อุปกร ์เพียงพอ และมี ู้มีประสบการ ์ นการยดตรง ู้ปวยรวม นทีมด้วย 2. ห้าม ้กาลังกระทากับ ู้ปวย 3. กอนการยดตรง ห้ลอง ้วาจาพูดกับ ู้ปวยกอน หาก ู้ปวยมีทาทีออนลง อาจจะ มจาเป็นต้อง ยดตรงทางกาย 4. หาก ู้ปวยยังมีทาทีแ งกร้าว ู้ปฏิบัติคนที 1 และ 2 เ ้า นาบ ้าง โดยยน ปด้านหลัง ู้ปวย เลกน้อย จากนันเ ้าประ ิด ู้ปวย ้เท้าด้านทีอยู ิด ู้ปวยก้าว ป ัด า ู้ปวยด้าน น มอด้าน นอก อง ู้ปฏิบัติจับ ้อมอ ู้ปวย มอด้าน น อง ู้ปฏิบัติจับที หล อง ู้ปวย เพอพยายามดันตัว ู้ปวย ห้ลง ิดกับพน 100


5. สมา ิกทีมทีเหลอนาอุปกร ์ที ้เคลอนย้ายและยดตรง ู้ปวยเ ้ามา เตรียมพร้อม 6. สมา กิ ทีมจับแ นและ า ู้ปวย จัดทาเพอเตรียมรัดอุปกร ์ โดยทาทีดีทีสุด นการยดตรง ู้ปวย นอกโรงพยาบาลคอทานอนหงายราบ 7. รัดอุปกร ์ยดตรง โดยต้องประเมินการ หลเวียนโลหิตสวนปลายที ้อมอและเท้ากอนรัด อุปกร ์เสมอ 8. ประเมิน ู้ปวยตามหลักการประเมิน ู้ปวย วัดสั า ีพ และรายงาน ้อมูลศูนย์สังการ ภาวะแทรกซ้อนจากการยึดตรึงทางกาย 1. เกิดจากการรัดสายหรออุปกร ์ที ้ยดตรงแนนเกิน ป 2. เส้นเลอดสวนปลายถูกกดรัด โดยเฉพาะสวนรยางค์ จะเหนวาอวัยวะสวนปลายนันมีสีคลา เยน 3. กดการหาย จ โดยเฉพาะ ู้ปวยทีอาจจะมีโรคเกียวกับทางเดินหาย จอยูเดิม

101



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.