Offline EMS Medical Protocols of Nakhonsawan

Page 1

Offline EMS Medical Protocols of Nakhonsawan B.E. 2564

เกณฑวิธีและแนวปฏิบัติ

ตามคําสั่งการแพทย และการอํานวยการ สําหรับหนวยปฏิบัติการแพทยฉุกเฉิน จังหวัดนครสวรรค พ.ศ. 2564


เกณฑ์​์วิ​ิธี​ีและแนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ตามคำำ�สั่​่�งการแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแพทย์​์ฉุ​ุกเฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์ พ.ศ. 2564

ISBN : 978-616-7951-59-1 จั​ัดพิ​ิมพ์​์และเผยแพร่​่โดย : ศู​ูนย์​์อำำ�นวยการทางการแพทย์​์ฉุ​ุกเฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์ สนั​ับสนุ​ุนงบประมาณ โดย สถาบั​ันการแพทย์​์ฉุ​ุกเฉิ​ินแห่​่งชาติ​ิ กลุ่​่�มงานเวชศาสตร์​์ฉุ​ุกเฉิ​ิน โรงพยาบาลสวรรค์​์ประชารั​ักษ์​์ 43 ถนนอรรถกวี​ี ตำำ�บลปากน้ำำ��โพ อำำ�เภอเมื​ือง จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์ 60000 โทร. 0 5621 9888 ต่​่อ 12104 https://emspr101013667.wordpress.com


คำนิยม เรืออากาศเอก นพ.อัจฉริยะ แพงมา เลขาธิการสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ความสำเร็ จ ของการจั ด ทำเกณฑ ว ิ ธ ี แ ละแนวปฏิ บ ั ต ิ ต ามคำสั ่ ง การแพทย และการอำนวยการ สำหรับหนวยปฏิบตั กิ ารแพทยฉกุ เฉินจังหวัดนครสวรรค พ.ศ. 2564 ถือเปนอีกกาวหนึ่งของการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉิน นอกโรงพยาบาลของทีมแพทย เวชศาสตรฉุกเฉินและบุคลากรทางดานการแพทยฉุกเฉินของจังหวัดนครสวรรค ซึ่งจะเปน ประโยชนหากไดนำแนวทางปฏิบัติฉบับนี้ไปใชควบคูกับระบบอำนวยการทางการแพทย (Medical Director) ใหเกิดความครอบคลุมในเขตสุขภาพที่ 3 จะทำใหผูปวยฉุกเฉินได รับการดูแลทีไ่ ดมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน ผูป ฏิบตั กิ ารในระบบทุกคนก็เกิดความมัน่ ใจ ในการดูแลใหความชวยเหลือผูป ว ย ดังนัน้ จึงนับเปนเครือ่ งมือทีส่ ำคัญอีกอยางหนีง่ สำหรับ ระบบปฏิบัติการฉุกเฉินนอกโรงพยาบาลของจังหวัดนครสวรรค ในโอกาสนี้ สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ขอชื่นชมความมุมานะ อุตสาหะ และทุมเทแรงกายแรงใจของทีมแพทยและบุคลากรผูนิพนธ รวมทั้งคณะทำงานทุกคนที่มี สวนเกี่ยวของในการจัดทำและรวมระดมความคิดเห็น จนทำใหแนวทางปฏิบัติฉบับนี้ จัดพิมพเปนรูปเลมสมบูรณที่บุคคลากรทางดานการแพทยฉุกเฉินทุกระดับตั้งแตอาสาสมัคร ฉุกเฉินการแพทย (อฉพ.) พนักงานฉุกเฉินการแพทย (พฉพ.) เจาพนักงานฉุกเฉินการแพทย (จฉพ.) นักปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย (นฉพ.) และพยาบาลวิชาชีพ (พว.) สามารถ นำไปใชประโยชนเพื่อการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพตอไป


ค�ำน�ำ การให้บริการทางการแพทย์ฉกุ เฉิน (Emergency Services System) คือ การดูแลรักษาอาการผู้เจ็บป่วยนอกโรงพยาบาลและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินที่มี อาการป่วยหรือบาดเจ็บที่เกิดขึ้นฉุกเฉิน เฉียบพลัน พร้อมทั้งการน�ำส่งโรงพยาบาล ทีเ่ หมาะสม โดยมีจดุ ประสงค์หลัก คือช่วยชีวติ ผูป้ ว่ ยฉุกเฉิน ป้องกันไม่ให้สถานการณ์ เลวร้าย ซึ่งผู้ปฏิบัติการจ�ำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับระบบการ แพทย์ฉุกเฉิน และมาตรฐาน หลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉิน แนวทางปฏิบตั นิ ี้ เหมาะส�ำหรับบุคลากรทางด้านการแพทย์ฉกุ เฉินทุกระดับ ตั้งแต่อาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ (EMR) พนักงานฉุกเฉินการแพทย์ (EMT) เจ้​้าพนั​ักงานฉุ​ุกเฉิ​ินการแพทย์​์ (AEMT) พยาบาลวิ​ิชาชี​ีพ (RN) และนั​ักปฏิ​ิบั​ัติ​ิการ ฉุ​ุกเฉิ​ินการแพทย์​์ (Paramedics) ในการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล และสามารถ ใช้​้แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ินี้​้�ควบคู่​่�กั​ับระบบอำำ�นวยการทางการแพทย์​์ ที่​่�มี​ีแพทย์​์อำำ�นวยการ ปฏิ​ิบัติั กิ ารฉุ​ุกเฉิ​ิน (พอป.) เป็​็นที่​่�ปรึ​ึกษา เพื่​่�อช่​่วยในการพั​ัฒนาระบบการแพทย์​์ฉุกุ เฉิ​ิน ที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ อั​ันจะส่​่งผลให้​้ผู้​้�ป่​่วยและบุ​ุคลากรปลอดภั​ัย ผู้จัดท�ำ


สารบัญ เนื้อหา หลั​ักการเบื้​้�องต้​้นในการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ิน ณ จุ​ุดเกิ​ิดเหตุ​ุ ส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการทุกระดับ แนวปฏิ​ิบั​ัติสำิ ำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 1 ปวดท้​้อง แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 2 ปฏิ​ิกิริ​ิ ิยาแพ้​้รุ​ุนแรง ชนิ​ิดอนาฟั​ัยแลกซิ​ิส แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 3 สั​ัตว์​์กั​ัด แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 4 เลื​ือดออก (ไม่​่มี​ีสาเหตุ​ุจากการบาดเจ็​็บ) แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 5 หายใจลำำ�บาก แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 6 หั​ัวใจหยุ​ุดเต้​้น แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 7 เจ็​็บแน่​่นหน้​้าอก แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 8 สำำ�ลั​ักอุ​ุดกั้​้�นทางเดิ​ินหายใจ แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 9 อาการของเบาหวาน แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 10 ภาวะอุ​ุณหภู​ูมิ​ิกายสู​ูงเกิ​ิน แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 12 ปวดศี​ีรษะ แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 13 คลุ้​้�มคลั่​่�ง แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 14 ได้​้รั​ับสารพิ​ิษหรื​ือยาเกิ​ินขนาด แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 15 อาการเจ็​็บครรภ์​์คลอด แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 16 ชั​ัก แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 17 อาการเหนื่​่�อย แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 18 โรคหลอดเลื​ือดสมอง แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 19 หมดสติ​ิ/ไม่​่ตอบสนอง แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 20 เด็​็ก (กุ​ุมารเวชกรรม) แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 21 ทำำ�ร้​้ายร่​่างกาย แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 22 ไฟไหม้​้ กระแสไฟฟ้​้า และสารเคมี​ี แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 23 จมน้ำำ�� แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 24 พลั​ัดตกหกล้​้ม แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 25 อุ​ุบั​ัติ​ิเหตุ​ุยานยนต์​์

หน้า 1 5 6 8 10 12 14 17 19 21 23 25 26 27 29 30 31 32 34 36 37 39 41 43 45


สารบั​ัญ เนื้​้�อหา หน้​้า แนวปฏิ​ิบั​ัติสำิ ำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับสู​ูง แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 1 ปวดท้​้อง 49 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 2 ปฏิ​ิกิริ​ิ ิยาแพ้​้รุ​ุนแรง ชนิ​ิดอนาฟั​ัยแลกซิ​ิส 50 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 3 สั​ัตว์​์กั​ัด 52 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 4 เลื​ือดออก (ไม่​่มี​ีสาเหตุ​ุจากการบาดเจ็​็บ) 53 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 5 หายใจลำำ�บาก 54 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 6 หั​ัวใจหยุ​ุดเต้​้น 55 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 7 เจ็​็บแน่​่นหน้​้าอก 56 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 8 สำำ�ลั​ักอุ​ุดกั้​้�นทางเดิ​ินหายใจ 57 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 9 อาการของเบาหวาน 59 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 10 ภาวะอุ​ุณหภู​ูมิ​ิกายสู​ูงเกิ​ิน 60 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 11 การดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ินสงสั​ัยโรคติ​ิดเชื้​้�อไวรั​ัสโคโรนา 2019 62 ภายนอกโรงพยาบาล แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 12 ปวดศี​ีรษะ 63 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 13 คลุ้​้�มคลั่​่�ง 64 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 14 ได้​้รั​ับสารพิ​ิษหรื​ือยาเกิ​ินขนาด 65 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 15 อาการเจ็​็บครรภ์​์คลอด 68 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 16 ชั​ัก 69 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 17 อาการเหนื่​่�อย 70 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 18 โรคหลอดเลื​ือดสมอง 72 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 19 หมดสติ​ิ/ไม่​่ตอบสนอง 73 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 20 เด็​็ก (กุ​ุมารเวชกรรม) 75 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 21 ทำำ�ร้​้ายร่​่างกาย 77 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 22 ไฟไหม้​้ กระแสไฟฟ้​้า และสารเคมี​ี 78 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 23 จมน้ำำ�� 79 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 24 พลั​ัดตกหกล้​้ม 80 แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 25 อุ​ุบั​ัติ​ิเหตุ​ุยานยนต์​์ 81


สารบั​ัญ เนื้​้�อหา ภาคผนวก 1. การประเมิ​ินความปลอดภั​ัย ณ จุ​ุดเกิ​ิดเหตุ​ุ 2. การช่​่วยฟื้​้�นคื​ืนชี​ีพขั้​้�นพื้​้�นฐาน 3. การช่​่วยฟื้​้�นคื​ืนชี​ีพขั้​้�นสู​ูง 4. ยาที่​่�ใช้​้ในการ resuscitation สำำ�หรั​ับเด็​็ก 5. ยาที่​่�ใช้​้ในการ resuscitation สำำ�หรั​ับผู้​้�ใหญ่​่ 6. การช่​่วยเหลื​ือผู้​้�ที่​่�สำำ�ลั​ักอุ​ุดกั้​้�นทางเดิ​ินหายใจ 7. การประเมิ​ินความเจ็​็บปวดด้​้วย Numerical rating scale 8. การประเมิ​ินความรู้​้�สึ​ึกตั​ัวด้​้วย AVPU และ Glascow Coma Score 9. ช็​็อกและการห้​้ามเลื​ือดในผู้​้�ป่​่วยบาดเจ็​็บ 10. หั​ัตถการติ​ิดตั้​้�งเครื่​่�องกระตุ​ุกหั​ัวใจไฟฟ้​้าชนิ​ิดอั​ัตโนมั​ัติ ิ 11. หั​ัตถการยึ​ึดตรึ​ึงกระดู​ูกเชิ​ิงกราน 12. แนวทางการดำำ�เนิ​ินการปรั​ับระบบการทำำ�งาน (New norm) เพื่​่�อรองรั​ับสถานการณ์​์ผู้​้�ป่​่วยโรคติ​ิดเชื้​้�อไวรั​ัสโคโรนา 2019

หน้​้า

คำำ�ย่​่อ

110

85 87 88 90 92 93 94 95 96 100 103 105


คำำ�แนะนำำ�การปฏิ​ิบั​ัติติ ามเกณฑ์​์วิ​ิธี​ีและแนวปฏิ​ิบั​ัติติ ามคำำ�สั่​่�งการแพทย์​์ และการอำำ�นวยการสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแพทย์​์ฉุ​ุกเฉิ​ิน และนิ​ิยามศั​ัพท์​์ เกณฑ์​์วิ​ิธี​ีและแนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามคำำ�สั่​่�งการแพทย์​์และการอำำ�นวยการฉบั​ับนี้​้� เป็​็น คำำ�สั่​่�งการแพทย์​์ที่​่�แพทย์​์อำำ�นวยการจั​ัดทำำ�ขึ้​้�น เพื่​่�อมอบหมายให้​้ผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ินใน หน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแพทย์​์ทุ​ุกระดั​ับนำำ�ไปปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามคำำ�สั่​่�งการแพทย์​์นี้​้� เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดความ ปลอดภั​ัยต่​่อผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ิน กรณี​ีที่​่�คำำ�สั่​่�งการแพทย์​์และการอำำ�นวยการทั่​่�วไป (Offline) ที่​่�ไม่​่ได้​้กำำ�หนดไว้​้ให้​้ ติ​ิดต่​่อแพทย์​์อำำ�นวยการปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ิน (พอป.) ผ่​่านศู​ูนย์​์รั​ับแจ้​้งเหตุ​ุและสั่​่�งการเพื่​่�อ ขอคำำ�สั่​่�งการแพทย์​์และการอำำ�นวยการตรง (Online) ต่​่อไป “ปฏิ​ิบั​ัติ​ิการอำำ�นวยการ” หมายความว่​่า การปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ินที่​่�ไม่​่ได้​้กระทำำ�โดยตรงต่​่อผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ิน ประกอบด้​้วยการจั​ัดการ การประสานงาน การควบคุ​ุมดู​ูแล และการติ​ิดต่​่อสื่​่�อสาร อั​ันมี​ี ความจำำ�เป็​็นเพื่​่�อให้​้ผู้​้�ป่ว่ ยฉุ​ุกเฉิ​ินได้​้รับั การปฏิ​ิบัติั กิ ารแพทย์​์ที่​่�ถูกู ต้​้อง สมบู​ูรณ์​์ และทั​ันท่​่วงที​ี “ปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแพทย์​์” หมายความว่​่า การปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ินที่​่�กระทํ​ําโดยตรงต่​่อผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ิน เกี่​่�ยวกั​ับ การประเมิ​ิน การดู​ูแล การเคลื่​่�อนย้​้ายหรื​ือลํ​ําเลี​ียง การนํ​ําส่​่งต่​่อ การตรวจวิ​ินิ​ิจฉั​ัย และ การบํ​ําบั​ัดรั​ักษาพยาบาล รวมถึ​ึงการเจาะหรื​ือผ่​่าตั​ัด การใช้​้อุ​ุปกรณ์​์หรื​ือเครื่​่�องมื​ือแพทย์​์ การให้​้หรื​ือบริ​ิหารยา หรื​ือสารอื่​่�น หรื​ือการสอดใส่​่วั​ัตถุ​ุใด ๆ เข้​้าไปในร่​่างกายผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ิน และให้​้ ห มายรวมถึ​ึ ง การรั​ั บ แจ้​้ ง และจ่​่ าย งานให้​้ ผู้​้� ปฏิ​ิ บั​ั ติ​ิ ก ารอื่​่�นกระทํ​ําโดยตรงต่​่ อ ผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ิน รวมทั้​้�งการปฏิ​ิบัติั กิ ารฉุ​ุกเฉิ​ินที่​่�ต้​้องกระทํ​ําตามคํ​ําสั่​่�งการแพทย์​์ด้ว้ ย แต่​่ไม่​่รวมถึ​ึง การกระทํ​ําใดอั​ันเป็​็นการปฐมพยาบาล “อำำ�นวยการทั่​่�วไป” หมายความว่​่า การอำำ�นวยการซึ่​่�งได้​้จั​ัดทำำ�และประกาศไว้​้เป็​็นเอกสารด้​้วยวิ​ิธี​ี การที่​่�กำำ�หนดไว้​้ล่​่วงหน้​้า เพื่​่�อเป็​็นคำำ�สั่​่�งประจำำ� ขั้​้�นตอนวิ​ิธี​ี หรื​ือเกณฑ์​์วิ​ิธี​ีปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ิน ให้​้ ผู้​้�ช่​่ ว ยเวชกรรมดำำ� เนิ​ิ น การหรื​ื อ ปฏิ​ิ บั​ั ติ​ิ ตา ม รวมทั้​้� ง การตรวจสอบและพิ​ิ จา รณา กระบวนการและผลการปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ินย้​้อนหลั​ังด้​้วย


คำำ�แนะนำำ�การปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามเกณฑ์​์วิ​ิธี​ีและแนวปฏิ​ิบั​ัติติ ามคำำ�สั่​่�งการแพทย์​์ และการอำำ�นวยการสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแพทย์​์ฉุ​ุกเฉิ​ิน และนิ​ิยามศั​ัพท์​์ (ต่​่อ) “อำำ�นวยการตรง” หมายความว่​่า การอำำ�นวยการเชื่​่�อมตรงระหว่​่างบุ​ุคคลต่​่อบุ​ุคคลขณะกำำ�ลั​ัง ปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ิน ณ สถานที่​่�ที่​่�มี​ีผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ินหรื​ือที่​่�เกิ​ิดเหตุ​ุการณ์​์ หรื​ือผ่​่านการสื่​่�อสาร ทางไกลด้​้วยวาจา ลายลั​ักษณ์​์อั​ักษร อิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ โทรคมนาคม หรื​ือวิ​ิธี​ีการสื่​่�อสารอื่​่�น แพทย์​์อำำ�นวยการปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ิน (พอป.) หมายถึ​ึง แพทย์​์ที่​่�ได้​้รั​ับประกาศนี​ียบั​ัตรแพทย์​์อำำ�นวยการปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ิน ซึ่​่�งผู้​้�ที่​่�มี​ีสิ​ิทธิ์​์�จะได้​้ประกาศนี​ียบั​ัตร มี​ี ๒ กลุ่​่�ม ดั​ังนี้​้� - แพทย์​์เฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์​์ฉุ​ุกเฉิ​ินซึ่​่�งผ่​่านการอบรมแพทย์​์เฉพาะทาง และสอบผ่​่านวุ​ุฒิ​ิบัตั ร หรื​ืออนุ​ุมั​ัติ​ิบั​ัตรผู้​้�เชี่​่�ยวชาญสาขาเวชศาสตร์​์ฉุ​ุกเฉิ​ินจากแพทยสภา - ผู้​้�ประกอบวิ​ิชาชี​ีพเวชกรรมสาขาอื่​่�นที่​่�มี​ีประสบการณ์​์ด้​้านการแพทย์​์ฉุ​ุกเฉิ​ิน และอบรมเพิ่​่�มเติ​ิม เพื่​่�อสอบ ขอรั​ับประกาศนี​ียบั​ัตร พอป. จากคณะกรรมการการแพทย์​์ ฉุ​ุกเฉิ​ิน แพทย์​์อำำ�นวยการปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ิน (พอป.) มี​ีอำำ�นาจหน้​้าที่​่�ตามกฏหมาย การแพทย์​์ฉุกุ เฉิ​ินในการอำำ�นวยการ สั่​่�งการทางการแพทย์​์ไปยั​ังผู้​้�ช่​่วยเวชกรรมให้​้ดูแู ลรั​ักษา ผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ินนอกสถานพยาบาลได้​้ตามอำำ�นาจหน้​้าที่​่�และขอบเขตความรั​ับผิ​ิดชอบของ แต่​่ละระดั​ับ อั​ันจะทำำ�ให้​้ผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ินได้​้รั​ับการดู​ูแลรั​ักษาทั​ันที​ีที่​่�ผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ินไปถึ​ึง แม้​้แพทย์​์จะไม่​่ได้​้เดิ​ินทางไปด้​้วยตนเอง “วุ​ุฒิ​ิแพทย์​์ฉุ​ุกเฉิ​ิน” หมายความว่​่า ผู้​้�ประกอบวิ​ิชาชี​ีพเวชกรรมที่​่�ได้​้รั​ับหนั​ังสื​ืออนุ​ุมั​ัติ​ิ หรื​ือวุ​ุฒิ​ิบั​ัตร แสดงความรู้​้�ความชำำ�นาญในการประกอบวิ​ิชาชี​ีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตร์​์ฉุ​ุกเฉิ​ิน และ สาขาอื่​่�นที่​่�เป็​็นวุ​ุฒิ​ิบั​ัณฑิ​ิตวิ​ิทยาลั​ัยแพทย์​์ฉุ​ุกเฉิ​ินแห่​่งประเทศไทย


คำำ�แนะนำำ�การปฏิ​ิบั​ัติติ ามเกณฑ์​์วิ​ิธี​ีและแนวปฏิ​ิบั​ัติติ ามคำำ�สั่​่�งการแพทย์​์ และการอำำ�นวยการสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแพทย์​์ฉุ​ุกเฉิ​ิน และนิ​ิยามศั​ัพท์​์ (ต่​่อ) “ผู้​้�ประกอบวิ​ิชาชี​ีพ” หมายความว่​่า ผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิการซึ่​่�งเป็​็นผู้​้�ประกอบวิ​ิชาชี​ีพตามกฎหมายว่​่าด้​้วย สถานพยาบาล ซึ่​่�งปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแพทย์​์ตามอํ​ํานาจหน้​้าที่​่� ขอบเขต ความรั​ับผิ​ิดชอบ และ ข้​้อจํ​ํากั​ัด ตามกฎหมายว่​่าด้​้วยวิ​ิชาชี​ีพนั้​้�น ประกอบไปด้​้วย (๑) ผู้​้�ประกอบวิ​ิชาชี​ีพเวชกรรม (๒) พยาบาลวิ​ิชาชี​ีพ “นั​ักฉุ​ุกเฉิ​ินการแพทย์​์” หมายถึ​ึง ผู้​้�ปฏิ​ิบัติั กิ ารฉุ​ุกเฉิ​ินซึ่​่�งเป็​็นผู้​้�ประกอบโรคศิ​ิลปะ ตามกฏหมายว่​่าด้ว้ ย การประกอบโรคศิ​ิลปะ “ผู้​้�ช่​่วยเวชกรรม” หมายความว่​่า ผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิการที่​่�ได้​้รั​ับประกาศนยี​ีบั​ัตรประเภทปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแพทย์​์ ตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์​์ฉุกุ เฉิ​ิน เรื่​่�อง การให้​้ประกาศนี​ียบัตั รและการปฏิ​ิบัติั ิ การฉุ​ุกเฉิ​ินของผู้​้�ปฏิ​ิบัติั กิ าร พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่​่�งได้​้รับั มอบหมายให้​้ทํ​ําปฏิ​ิบัติั กิ ารแพทย์​์โดยที่​่� ไม่​่ได้​้เป็​็นผู้​้�ประกอบวิ​ิชาชี​ีพ หรื​ือเป็​็นผู้​้�ประกอบวิ​ิชาชี​ีพซึ่​่�งทํ​ําปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแพทย์​์นอกเหนื​ือ อํ​ํานาจหน้​้าที่​่� ขอบเขต ความรั​ับผิ​ิดชอบ และข้​้อจํ​ํากั​ัดตามกฎหมายว่​่าด้​้วยวิ​ิชาชี​ีพนั้​้�น ประกอบไปด้​้วย (๑) นั​ักปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ินการแพทย์​์ (นฉพ.) (๒) เจ้​้าพนั​ักงานฉุ​ุกเฉิ​ินการแพทย์​์ (จฉพ.) (๓) พนั​ักงานฉุ​ุกเฉิ​ินการแพทย์​์ (พฉพ.) (๔) อาสาสมั​ัครฉุ​ุกเฉิ​ินการแพทย์​์ (อฉพ.)


คำำ�แนะนำำ�การปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามเกณฑ์​์วิ​ิธี​ีและแนวปฏิ​ิบั​ัติติ ามคำำ�สั่​่�งการแพทย์​์ และการอำำ�นวยการสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแพทย์​์ฉุ​ุกเฉิ​ิน และนิ​ิยามศั​ัพท์​์ (ต่​่อ) หน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการ ประเภทปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแพทย์​์ มี​ีระดั​ับดั​ังต่​่อไปนี้​้� ก. ระดั​ับพื้​้�นฐาน (Basic) ได้​้แก่​่ หน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการซึ่​่�งดำำ�เนิ​ินกิ​ิจการปฏิ​ิบั​ัติ​ิการ แพทย์​์ขั้​้�นพื้​้�นฐาน ตามการอำำ�นวยการ ให้​้แก่​่ผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ินที่​่�มี​ีความเสี่​่�ยงต่ำำ��ต่​่อการเสี​ียชี​ีวิ​ิต หรื​ือการรุ​ุนแรงขึ้​้น� ของ การบาดเจ็​็บ หรื​ืออาการป่​่วยนั้​้�นในห้​้วงเวลาขณะทำำ�การปฏิ​ิบัติั กิ าร ฉุ​ุกเฉิ​ินนั้​้�น ข. ระดั​ับสู​ูง (Advance) ได้​้แก่​่ หน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการซึ่​่�งดำำ�เนิ​ินกิ​ิจการจั​ัดการปฏิ​ิบั​ัติ​ิ การแพทย์​์ข้ั​ั�นสู​ูง ตามการอำำ�นวยการ ให้​้แก่​่ผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ินที่​่�มี​ีความเสี่​่�ยงสู​ูงต่​่อการเสี​ียชี​ีวิ​ิต หรื​ือการรุ​ุนแรงขึ้​้�นในห้​้วงเวลา ขณะทำำ�การปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ินนั้​้�น ค. *ระดั​ับเฉพาะทาง (Specialist) ได้​้แก่​่ หน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการซึ่​่�งดำำ�เนิ​ินกิ​ิจการ จั​ัดการปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแพทย์​์เฉพาะทางให้​้แก่​่ผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ินที่​่�มี​ีความเสี่​่�ยงสู​ูงยิ่​่�งต่​่อการเสี​ียชี​ีวิ​ิต การเกิ​ิดภาวะแทรกซ้​้อน หรื​ือการรุ​ุนแรงขึ้​้�นของการบาดเจ็​็บหรื​ืออาการเจ็​็บป่​่วยนั้​้�นอย่​่าง รวดเร็​็วในห้​้วงเวลาขณะทำำ�การปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ินนั้​้�น หมายเหตุ​ุ * ระดั​ับเฉพาะทาง ไม่​่มี​ีในคู่​่�มื​ือเกณฑ์​์วิ​ิธี​ีและแนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ฯ ฉบั​ับนี้​้� แต่​่เนื่​่�องจากหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแพทย์​์ มี​ีระดั​ับพื้​้�นฐาน ระดั​ับสู​ูง และระดั​ับเฉพาะทาง ตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์​์ฉุกุ เฉิ​ิน เรื่​่�อง ประเภท ระดั​ับ อำำ�นาจหน้​้าที่​่� ขอบเขต ความรั​ับผิ​ิดชอบ และข้​้อจำำ�กั​ัดของหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการ พ.ศ.๒๕๖๒


หลักการเบื้องต้นในการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ ของหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ทุกระดับ ออกรับผู้ป่วยจุดเกิดเหตุ ประเมินความปลอดภัยจุดเกิดเหตุ ผู้ป่วยรู้ไม่สึกตัว คล�ำชีพจรไม่ได้, หายใจเฮือก หรือไม่หายใจ ใช่ ช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) รายงาน ศูนย์รับแจ้งเหตุ และสั่งการ

ประเมินอาการผู้ป่วย

ไม่ใช่

ผู้ป่วยรู้สึกตัว

การประเมิ​ินดู​ูแลรั​ักษาเบื้​้�องต้​้น A : การดู​ูแลทางเดิ​ินหายใจ (Airway) - เปิ​ิดทางเดิ​ินหายใจ ตรวจดู​ูสิ่​่�งแปลกปลอมและนํ​ําออก - (ALS) ใส่​่อุ​ุปกรณ์​์พยุ​ุงทางเดิ​ินหายใจ เช่​่น OPA, NPA - (ALS) ดู​ูดเสมหะและสารคั​ัดหลั่​่�งหรื​ือเลื​ือด B : การดู​ูแลการหายใจ (Breathing) - ประเมิ​ินอั​ัตราการหายใจ ลั​ักษณะการหายใจ การขยั​ับของ ทรวงอก วั​ัดระดั​ับออกซิ​ิเจนปลายนิ้​้�ว - ให้​้ออกซิ​ิเจนถ้​้ามี​ีข้​้อบ่​่งชี้​้�, ช่​่วยหายใจถ้​้ามี​ีข้​้อบ่​่งชี้​้� C : การดู​ูแลระบบไหลเวี​ียน (Circulation) - ประเมิ​ินอั​ัตราเร็​็วของชี​ีพจร, วั​ัดความดั​ันโลหิ​ิตถ้าทำ ้ ำ�ได้​้, ประเมิ​ินสี​ีผิ​ิวซี​ีด เย็​็น - (ALS) ให้​้สารน้ำำ�� หากมี​ีข้อบ่ ้ ง่ ชี้​้,� (ALS) ตรวจคลื่​่�นไฟฟ้​้าหั​ัวใจ และให้​้การแก้​้ไขรั​ักษาตามเหมาะสม หรื​ือปรึ​ึกษาศู​ูนย์​์ สื่​่�อสาร และสั่​่�งการฯ D : ประเมิ​ินระดั​ับความรู้​้�สึ​ึกตั​ัว (Disability) และอาการ ระบบประสาท

- ให้​้การรั​ักษาภาวะคุ​ุกคาม ABCD ตามข้​้อบ่​่งชี้​้� และตามความเหมาะสม พร้​้อม ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการดู​ูแลรั​ักษา ตามกลุ่​่�มอาการ (CBD) นั้​้�น ๆ - น�ำส่งโรงพยาบาลและประสานรายงานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ หรือปรึกษา แพทย์อ�ำนวยการปฏิบัติการฉุกเฉิน (พอป.) หากมีข้อบ่งชี้การอ�ำนวยการตรง เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

1


แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐาน (Basic)

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

3


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 1 Basic : ปวดท้​้อง การปฏิบตั เิ บื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบตั กิ ารระดับพืน้ ฐานต่อผูป้ ว่ ยทีม่ อา ี การปวดท้อง ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของอุบัติเหตุ มีอาการที่คุกคามต่อชีวิต หรือไม่ ? เจ็บหน้าอก หายใจไม่อิ่ม เหงื่อท่วมตัว ผิวซีด เย็น หน้ามืด เป็นลม ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ใช่​่ ไม่​่ใช่​่ Airway - ประเมินอาการและรักษาภาวะอื่น ผู ้ ป ่ ว ยอาเจี ย นมากหรื ออา เจี ย นเป็ น ตามความเหมาะสม เลือดปริมาณมาก ให้จัดท่านอนตะแคง - เฝ้าระวังและติดตามอาการผู้ป่วย หน้าและเปิดทางเดินหายใจ เป็นระยะ ๆ น�ำส่งโรงพยาบาล Breathing เมื่อพร้อม หายใจหอบ >20 ครั้​้�งต่​่อนาที​ี, SpO2 - พิจารณารายงาน พอป. เมื่อต้องการ sat≤ 94% จั​ัดท่​่านอนหั​ัวสู​ูง, (AEMT) ค�ำแนะน�ำการปฏิบัติ ให้​้ O2canular 3 LPM Circulation ผูป้ ว่ ยหน้าซีด เหงือ่ แตก ตัวเย็น ชีพจรเร็ว - ประเมินอัตราชีพจร, อัตราการหายใจ, ให้​้จั​ัดท่​่านอนราบหรื​ือนอนหั​ัวต่ำำ�� หาก การไหลเวียนกลับของหลอดเลือดฝอย คลำำ�ชี​ีพจรไม่​่ได้​้ ให้​้ปฏิ​ิบัติั ตา ิ มแนวปฏิ​ิบัติั ิ - (AEMT) ปริมาณออกซิเจนในเลือด ผู้​้�ป่​่วยหั​ัวใจหยุ​ุดเต้​้นระดั​ับ Basic (Pulse Oximetry) หน้​้า 14 - ประสานงานกั บ หน่ ว ยปฏิ บั ติ ก าร Disability ระดับสูง (Dual Protocol) เพื่อน�ำ ผู้ป่วยซึมลง หมดสติไม่รู้สึกตัว ส่งโรงพยาบาล แนวปฏิ​ิบัติั ผู้​้�ป่ ิ วย ่ หมดสติ​ิ ระดั​ับ Basic หน้​้า 34

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

5


แนวปฏิ​ิบัติั ที่​่ิ � 2 Basic : ปฏิ​ิกิริ​ิ ยิ าแพ้​้รุนุ แรงชนิ​ิดอนาฟั​ัยแลกซิ​ิส (Anaphylaxis) การปฏิบตั เิ บื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบตั กิ ารระดับพืน้ ฐานต่อปฏิกริ ยา ิ แพ้รนุ แรง ชนิดอนาฟัยแลกซิส (Anaphylaxis) ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันตนเองให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัย - ประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะแพ้รุนแรง 1. กรณีไม่มีประวัติสัมผัสสารที่น่าจะเป็นสารก่อภูมิแพ้ • มีอาการทางระบบผิวหนัง (ลมพิษ/คัน/ผื่นแดงตามร่างกาย) ร่วมกับอาการ 1 ใน 3 ข้อนี้ 1.1 อาการทางระบบหายใจ(หายใจเหนือย ่ /แน่นหน้าอก/หายใจไม่อมิ่ /คัดจมูก/เสียงแหบ) 1.2 ความดันโลหิตลดลง* 1.3 อาการทางระบบทางเดินอาหาร(ปวดท้อง/คลื่นไส้/อาเจียน/ถ่ายเหลว) 2. กรณีมปี ระวัตสิ มั ผัสสิง่ ทีน่ าจ ่ ะเป็นสารก่อภูมแิ พ้ มีอาการอย่างน้อย 2 ใน 4 ข้อตอ่ ไปนี้ 2.1 อาการทางระบบผิวหนัง(ลมพิษ/คัน/ผื่นแดงตามร่างกาย) 2.2 อาการทางระบบหายใจ(หายใจเหนื่​่�อย/แน่​่นหน้​้าอก/หายใจไม่​่อิ่​่�ม/คั​ัดจมู​ูก/เสี​ียงแหบ) 2.3 ความดันโลหิตลดลง* 2.4 อาการทางระบบทางเดินอาหาร(ปวดท้อง/คลื่นไส้/อาเจียน/ถ่ายเหลว) 3. กรณี​ีมี​ีประวั​ัติ​ิสั​ัมผั​ัสสารที่​่�ทราบว่​่าแพ้​้มาก่​่อน (เกิ​ิดอาการทั​ันที่​่�ภายในเวลาไม่​่กี่​่�นาที​ี หรื​ือไม่​่กี่​่�ชั่​่�วโมง) • ร่วมกับความดันโลหิตลดลง* *หมายเหตุ เด็ก อายุ 1 เดือน-1 ปี ความดันโลหิตซิสโตลิค (SBP) ต�่ำน้อยกว่า 70 มม.ปรอท อายุ 1 ปี-10 ปี ความดันโลหิตซิสโตลิค (SBP) ต�่ำน้อยกว่า 70 มม.ปรอท + [2 x อายุ (ปี)] อายุ 11 ปี-17 ปี ความดันโลหิตซิสโตลิค (SBP) ต�่ำน้อยกว่า 90 มม.ปรอท ผู้ใหญ่ อายุ 18 ปีขึ้นไป ความดันโลหิตซิสโตลิค (SBP) ต�่ำน้อยกว่า 90 มม.ปรอท

6

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


ไม่​่ใช่​่

เข้าเกณฑ์อย่างน้อย 1 ข้อ

ไม่สงสัยภาวะแพ้รุนแรง

ใช่​่ สงสัยภาวะแพ้รุนแรง รายงานกลั​ับศู​ูนย์​์สั่​่�งการเพื่​่�อขอ ที​ีม Advance Life Support (Advanced) สนั​ับสนุ​ุน

รายงานกลั​ับศู​ูนย์​์สั่​่�งการเพื่​่�อขอที​ีม Advanced สนั​ับสนุ​ุน - ทำำ�การเปิ​ิดทางเดิ​ินหายใจ Head tilt chin lift maneuver - จัดท่ายกศรีษะสูง รายงานกลั​ับศู​ูนย์​์สั่​่�งการเพื่​่�อขอที​ีม Advanced สนั​ับสนุ​ุน - ให้​้ออกซิ​ิเจน Cannula 3 ลิ​ิตร/นาที​ี - จัดท่ายกศรีษะสูง

รายงานกลั​ับศู​ูนย์​์สั่​่�งการเพื่​่�อขอที​ีม Advanced สนั​ับสนุ​ุน - จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนราบ

มี

ประเมิน A : Airway - ผู้ป่วยมีเสียงหายใจ ครืดคราดผิดปกติหรือไม่

ไม่มี ประเมิน B : Breathing - ผูป้ ว่ ยหายใจ > 20 ครัง้ /นาที มี หรือไม่ - ปริ​ิมาณออกซิ​ิเจนในเลื​ือด SpO2 ≤ 94% หรื​ือไม่​่ ไม่มี ประเมิน C : Circulation - ความดันโลหิตลดลง* มี - การไหลเวียนกลับของ หลอดเลือดฝอย Capillary refill > 2 วินาที - ซีด/เหงื่อออก/ตัวเย็น ไม่มี รายงานอาการผู้ป่วยกลับ ศูนย์สั่งการตามหลัก MIST และน�ำส่งโรงพยาบาล

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

7


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 3 Basic : สั​ัตว์​์กั​ัด การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วยที่ถูกสัตว์กัด ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ

ใช่

มีอาการแพ้รุนแรงตามเกณฑ์ วินิจฉัย ชนิดอนาฟัยแลกซิส (Anaphylaxis) หรื​ือไม่​่

ไม่ใช่

ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 2 ปฏิ​ิกิ​ิริ​ิยาแพ้​้รุ​ุนแรงชนิ​ิด อนาฟั​ัยแลกซิ​ิส (Anaphylaxis) - ยึดตรึงบริเวณที่โดนกัด (Splint) ให้ บริเวณทีโ่ ดนกัด เคลือ่ นไหวน้อยทีส่ ดุ - น�ำงูที่กัดมาโรงพยาบาลหากสามารถ ท�ำได้

หยุดห้ามเลือดไม่ให้ไหล

ใช่

สงสัยว่าเป็นงูหรือไม่ ไม่ใช่

ใช่

แผลขนาดใหญ่ มีเลือดออกมาก หรือไม่ ไม่ใช่

8

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


ประเมิน A : Airway - ผูป้ ว่ ยมีเสียงหายใจครืดคราดผิดปกติ หรือไม่

รายงานกลั​ั บ ศู​ู น ย์​์ สั่​่� งการเพื่​่�อขอที​ี ม Advanced สนั​ับสนุ​ุน - ท�ำการเปิดทางเดินหายใจ Head tilt chin lift maneuver - จัดท่ายกศรีษะสูง

มี

รายงานกลั​ั บ ศู​ู น ย์​์ สั่​่� งการเพื่​่�อขอที​ี ม Advanced สนั​ับสนุ​ุน - ให้ออกซิเจน Cannula 3 ลิตร/นาที - จัดท่ายกศรีษะสูง

ประเมิน B : Breathing มี - ผู้ป่วยหายใจ > 20 ครั้ง/นาที หรือไม่ - ปริ​ิมาณออกซิ​ิเจนในเลื​ือด SpO2 ≤ 94% หรือไม่ ไม่มี

รายงานกลั​ั บ ศู​ู น ย์​์ สั่​่� งการเพื่​่�อขอที​ี ม Advanced สนั​ับสนุ​ุน - จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนราบ

ไม่มี

มี

ประเมิน C : Circulation - ความดันโลหิตลดลง* - การไหลเวียนกลับของหลอดเลือดฝอย Capillary refill > 2 วินาที - ซีด/เหงื่อออก/ตัวเย็น ไม่มี รายงานอาการผู้ป่วยกลับศูนย์สั่งการ ตามหลัก MIST และน�ำส่งโรงพยาบาล

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

9


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 4 Basic : มี​ีเลื​ือดออก (ไม่​่มี​ีสาเหตุ​ุจากการบาดเจ็​็บ) การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วยมีเลือดออก (ไม่มีสาเหตุจากการบาดเจ็บ) ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ พบผู้ป่วยที่เลือดออก อาเจียนเป็นเลือดสด ถ่ายเป็นเลือดสด เลือดก�ำเดาไหล เลือดออกทางช่องคลอด ปัสสาวะ เป็นเลือดสด เลือดออกในผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคเลือด หรือการแข็งตัวของเลือด หรือพบ ผู้ป่วยร่วมกับกองเลือดที่ไม่ใช่อุบัติเหตุ

ใช่

คล�ำชีพจรได้หรือไม่ ไม่ได้

ไม่ใช่

หมดสติหรือไม่

ได้

ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 6 หั​ัวใจหยุ​ุดเต้​้น หน้​้า 14 รายงานกลั​ับศู​ูนย์​์สั่​่�งการเพื่​่�อขอที​ีม Advanced สนั​ับสนุ​ุน - ท�ำการเปิดทางเดินหายใจ Head tilt chin lift maneuver - จัดท่ายกศรีษะสูง

10

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

มี

ประเมิน A : Airway - ผู้ป่วยมีเสียงหายใจ ครืดคราดผิดปกติหรือไม่ ไม่มี


รายงานกลั​ั บ ศู​ู น ย์​์ สั่​่� งการเพื่​่�อขอที​ี ม Advanced สนั​ับสนุ​ุน - ให้ออกซิเจน Cannula 3 ลิตร/นาที - จัดท่ายกศรีษะสูง รายงานกลั​ั บ ศู​ู น ย์​์ สั่​่� งการเพื่​่�อขอที​ี ม Advanced สนั​ับสนุ​ุน - จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนราบ

ประเมิน B : Breathing - ผู ป ้ ว ่ ยหายใจ > 20 ครั้ง/นาที หรือไม่ มี - ปริ​ิมาณออกซิ​ิเจนในเลื​ือด SpO2 ≤ 94% หรือไม่ ไม่มี มี

ประเมิน C : Circulation - ความดันโลหิตลดลง* - การไหลเวียนกลับของหลอดเลือดฝอย Capillary refill > 2 วินาที - ซีด/เหงื่อออก/ตัวเย็น ไม่มี รายงานอาการผู้ป่วยกลับศูนย์สั่งการ ตามหลัก MIST และน�ำส่งโรงพยาบาล

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

11


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 5 Basic : หายใจลำำ�บาก การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วยหายใจล�ำบาก ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ประเมินการหายใจ 1. หายใจช้า < 10 ครั้ง/นาที 2. หายใจเร็ว > 29 ครั้ง/นาที 3. ปริ​ิมาณออกซิ​ิเจนในเลื​ือด SpO2 ≤ 94% 4. หายใจไม่สม�่ำเสมอ 5. หายใจโดยใช้กล้ามเนื้อส่วนอื่นในการช่วยหายใจ 6. หายใจเป่าปาก/ต้องอ้าปากเพื่อหายใจ 7. ต้องลุกนั่งเพื่อหายใจ/นอนราบแล้วหายใจไม่ได้

มี

คล�ำชีพจรได้หรือไม่ ได้

ไม่ได้

ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 6 หั​ัวใจหยุ​ุดเต้​้น หน้​้า 14

รายงานกลั​ับศู​ูนย์​์สั่​่�งการเพื่​่�อขอที​ีม Advanced สนั​ับสนุ​ุน - ท�ำการเปิดทางเดินหายใจ Head tilt chin lift maneuver - จัดท่ายกศรีษะสูง 12

ไม่มี

มีอาการ 1 ใน 7 ข้อ

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

มี

ประเมิน A : Airway - ผู้ป่วยมีเสียงหายใจ ครืดคราดผิดปกติหรือไม่ ไม่มี


ไม่​่มี​ี รายงานกลั​ั บ ศู​ู น ย์​์ สั่​่� งการเพื่​่�อขอที​ี ม Advanced สนั​ับสนุ​ุน - ให้ออกซิเจน Cannula 3 ลิตร/นาที - จัดท่ายกศรีษะสูง รายงานกลั​ั บ ศู​ู น ย์​์ สั่​่� งการเพื่​่�อขอที​ี ม Advanced สนั​ับสนุ​ุน - จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนราบ

ประเมิน B : Breathing - ผู ป ้ ว ่ ยหายใจ > 20 ครั้ง/นาที หรือไม่ มี - ปริ​ิมาณออกซิ​ิเจนในเลื​ือด SpO2 ≤ 94% หรือไม่ ไม่มี มี

ประเมิน C : Circulation - ความดันโลหิตลดลง* - การไหลเวียนกลับของหลอดเลือดฝอย Capillary refill > 2 วินาที - ซีด/เหงื่อออก/ตัวเย็น ไม่มี รายงานอาการผู้ป่วยกลับศูนย์สั่งการ ตามหลัก MIST และน�ำส่งโรงพยาบาล

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

13


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 6 Basic : หั​ัวใจหยุ​ุดเต้​้น การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ไม่ใช่

ผู้ป่วยนอนนิ่ง คล�ำชีพจรไม่ได้ - หายใจเฮือก ร่วมกับคล�ำชีพจรที่คอไม่ได้ - ไม่รู้สึกตัว/เรียกไม่ตื่น ร่วมกับคล�ำชีพจรที่คอไม่ได้ หยุ​ุดเมื่​่�อมี​ีชุ​ุดปฏิ​ิบั​ัติ​ิการ ระดั​ับสู​ูง Advanced มาถึ​ึง

ใช่

รายงานกลั​ับศู​ูนย์​์สั่​่�งการ เพื่​่�อขอที​ีม Advanced สนั​ับสนุ​ุน

- เริ่มกดหน้าอก (CPR**) (กดหน้าอก 30 ครั้ง ต่อการช่วยหายใจ*** 2 ครั้ง = 1 รอบ) - ใส่ไม้กระดานรองหลัง ก่อนกดหน้าอก - ติดเครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ (AED) ถ้ามี - กรณีสงสัยอุบัติเหตุให้สวม Cervical hard collar มีชีพจร

14

ประเมินชีพจรซ�้ำทุก 2 นาที / 5 รอบ

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

ไม่มีชีพจร


รายงานกลับศูนย์สั่งการเพื่อขอทีม ประเมิน A : Airway มี Advanced สนั​ับสนุ​ุน - ผู้ป่วยมีเสียงหายใจครืดคราดผิดปกติ - จัดให้อยู่ในท่า Recovery Position หรือไม่ ไม่​่มี​ี ประเมิน B : Breathing - ผู้ป่วยหายใจ > 20 ครั้ง/นาที หรือไม่ มี รายงานกลั​ั บ ศู​ู น ย์​์ สั่​่� งการเพื่​่�อขอที​ี ม - ปริ​ิมาณออกซิ​ิเจนในเลื​ือด SpO2 ≤ Advanced สนั​ับสนุ​ุน 94% หรือไม่ ไม่​่มี​ี ประเมิน C : Circulation - ความดันโลหิตลดลง* รายงานกลั​ั บ ศู​ู น ย์​์ สั่​่� งการเพื่​่�อขอที​ี ม - การไหลเวียนกลับของหลอดเลือดฝอย มี Advanced สนั​ับสนุ​ุน Capillary refill > 2 วินาที - จัดท่าให้ผ้ปู ่วยนอนราบ - ซีด/เหงื่อออก/ตัวเย็น ไม่​่มี​ี รายงานอาการผู้ป่วยกลับศูนย์สั่งการ ตามหลัก MIST และน�ำส่งโรงพยาบาล

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

15


*ความดันโลหิตต�่ำ

เด็​็ก อายุ​ุ 1 เดื​ือน - 1 ปี​ี อายุ​ุ 1 ปี​ี - 10 ปี​ี + [2 x อายุ​ุ (ปี​ี)] อายุ​ุ11 ปี​ี - 17 ปี​ี ผู้​้�ใหญ่​่ อายุ​ุ 18 ปี​ีขึ้​้�นไป

ความดั​ันโลหิ​ิตซิ​ิสโตลิ​ิค (SBP) ต่ำำ��น้​้อยกว่​่า 70 มม.ปรอท ความดั​ันโลหิ​ิตซิ​ิสโตลิ​ิค (SBP) ต่ำำ��น้​้อยกว่​่า 70 มม.ปรอท ความดั​ันโลหิ​ิตซิ​ิสโตลิ​ิค (SBP) ต่ำำ��น้​้อยกว่​่า 90 มม.ปรอท ความดั​ันโลหิ​ิตซิ​ิสโตลิ​ิค (SBP) ต่ำำ��น้​้อยกว่​่า 90 มม.ปรอท

**Quality CPR - กดลึ​ึก 5-6 เซนติ​ิเมตร - กดเร็​็ว 100-120 ครั้​้�ง/นาที​ี - ปล่​่อยหน้​้าอกให้​้คื​ืนตั​ัวให้​้สุ​ุดก่​่อนที่​่�จะกดหน้​้าอกในแต่​่ละครั้​้�ง - เปลี่​่�ยนคนกดหน้​้าอกทุ​ุก 2 นาที​ี - รบกวนการกดหน้​้าอกให้​้น้​้อยที่​่�สุ​ุด/ไม่​่ควรหยุ​ุดกดหน้​้าอกเกิ​ิน 10 วิ​ินาที​ี

16

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 7 Basic : เจ็​็บแน่​่นหน้​้าอก การปฏิ​ิบั​ัติ​ิเบื้​้�องต้​้นสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน ต่​่อผู้​้�ป่​่วยที่​่�มี​ีอาการเจ็​็บแน่​่นหน้​้าอก เจ็บแน่นหน้าอก แน่นร้าวไปกราม ไหล่ เหงื่อออกตัวเย็น Onset ภายใน 12 ชม.

1. ประเมินความรู้สึกตัว 2. ประเมินการหายใจ : เปิดทางเดินหายใจ,จัดท่าผูป้ ว่ ย, Clear airway และ ให้ออกซิเจน ตามความเหมาะสม 3. วั​ัดสั​ัญญาณชี​ีพ (BP, pulse, RR, O2sat, temp) 4. ติด monitor EKG 12 lead (ถ้ามี)

1. แจ้​้งศู​ูนย์​์สั่​่�งการ ขอที​ีม Advanced สนั​ับสนุ​ุน 2. ศูนย์สั่งการรายงานแพทย์ที่ ER เพื่อดู EKG

STEMI

NSTEMI

Activate STEMI fast track

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

17


1. ประเมินความรู้สึกตัว 2. ประเมินการหายใจ เพื่อให้อุปกรณ์ช่วยหายใจตามความเหมาะสม, keep O2sat > 90% 3. วั​ัดสั​ัญญาณชี​ีพ (BP, Pulse, RR, O2sat, Temp) 4. NSS 1000 ml IV 60 ml/hr ให้แทงที่แขนซ้าย ห้ามแขนขวา!!!! 5. เก็บเลือดเตรียม CBC, BUN, Cr, Electrolyte, PT, PTT, INR, hs-Trop T (หลอดม่วง/เขียว/ฟ้า/แดง) 6. ติด Monitor EKG โดยใช้ Soft Paddle และ Red Dot 3 จุด 7. เฝ้าระวัง/เตรียมพร้อม CPR 8. ซักประวัติเพิ่มเติม (ตามแนวทาง SAMPLE), Pain Score 9. Monitor สัญญาณชีพ พร้อมจดบันทึก 10. รายงานศูนย์สั่งการ(ตามแนวทาง MIST) 11. น�ำส่งโรงพยาบาล

(ข้​้อ 4-8 ถ้​้าศักั ยภาพขอหน่​่วย BLS สามารถทำำ�ได้​้ให้​้ทำ�ำ ระหว่​่างรอที​ีม Advanced มาสนั​ับสนุ​ุน)

18

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 8 Basic : สำำ�ลั​ักอุ​ุดกั้​้�นทางเดิ​ินหายใจ การปฏิ​ิบั​ัติ​ิเบื้​้�องต้​้นสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน ต่​่อผู้​้�ป่​่วยที่​่�สำำ�ลั​ักอุ​ุดกั้​้�นทางเดิ​ินหายใจ ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ประเมินความรู้สึกตัว

รู้​้�สึ​ึกตั​ัว

เป็นภาวะอุดกั้นทางเดิน หายใจอย่างสมบูรณ์ ไม่สามารถส่งเสียงได้

ไม่​่ใช่​่

ประเมินอาการเป็น ระยะ ๆ และน�ำส่ง

ใช่ ไม่รู้สึกตัว

เด็กไม่เกิน 1 ปี : 5 back blows 5 chest thrust1 (ตบหลัง 5 ครั้ง กระทุ้งอก 5 ครั้ง) อายุมากกว่า 1 ปี : Heimlich maneuver2 (รัดกระตุกหน้าอก) ประเมินซ�้ำทุก 1 นาที หน้าอกไม่ยกตัว

ประเมินชีพจร

มีชีพจร

ไม่มีชีพจร

ท�ำ finger sweep3 และ tongue-jaw lift4 ร่วมกับ เปิดทางเดินหายใจโดย head tilt-chin lift, jaw thrust จากนั้น ช่วยหายใจ

- ปฏิ​ิบัติั ติ ามแนวปฏิ​ิบัติั ผู้​้�ป่ ิ วยหั ่ วั ใจหยุ​ุดเต้​้น ระดั​ับ Basic (หน้​้า 14) - ท�ำ finger sweep และ tongue-jaw lift เมื่อกดหน้าอกครบ 30 ครั้ง แต่ละรอบ - รายงาน พอป.

หน้าอกยกตัว ช่วยหายใจต่อเนื่องและน�ำส่ง

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

19


ข้อมูลที่ควรทราบ

1. 5 Back Blow, 5 Chest Thrust (ตบหลั​ัง 5 ครั้​้�ง กระทุ้​้�งอก 5 ครั้​้�ง) หมายถึ​ึง การ ทำำ�ให้​้สิ่​่�งแปลกปลอม ออกมาจากทางเดิ​ินหายใจออกทารก โดยผู้​้�ช่​่วยเหลื​ือจั​ัดท่​่าผู้​้�ป่ว่ ยคว่ำำ�� หน้​้าหั​ัวต่ำำ��ทุ​ุบหลั​ังระหว่​่างสะบั​ัก 2 ข้​้าง 5 ครั้​้�ง จากนั้​้�นจั​ัดท่​่านอนหงายหั​ัวต่ำำ�� ทุ​ุบที่​่�กระดู​ูก สั​ันอก 5 ครั้​้ง� แต่​่ละครั้​้ง� ออกแรงและเร็​็วไม่​่เกิ​ิน 1 วิ​ินาที​ี จนกว่​่าสิ่​่�งแปลกปลอมหลุ​ุดออกมา 2. Heimlich Maneuver หรื​ือ Abdominal Thrust (รั​ัดกระตุ​ุกหน้​้าท้อ้ ง) หมายถึ​ึง การทำำ� ให้​้ สิ่​่� งแปลกปลอมออกมาจากทางเดิ​ิ น หายใจ โดยให้​้ ผู้​้�ช่​่ ว ยเหลื​ื อ ยื​ื น ด้​้ า นหลั​ั ง ผู้​้�ป่​่ ว ยใช้​้ แขนโอบรอบลำำ� ตั​ั ว มื​ื อ 2 ข้​้ า งกำำ� หมั​ั ด วางที่​่�ตำำ� แหน่​่ ง ใต้​้ ลิ้​้� น ปี่​่� จากนั้​้�นออกแรงกระตุ​ุกอย่​่างรวดเร็​็วในแนวแรงเข้​้าหาลำำ�ตั​ัวและขึ้​้�นบนจำำ�นวน 5 ครั้​้�ง หรื​ือ หากผู้​้�ป่​่วยนอนราบกั​ับพื้​้�น ให้​้ผู้​้�ช่​่วยเหลื​ือนั่​่�งคร่​่อมตั​ัวผู้​้�ป่​่วย ขาอยู่​่�ที่​่�ระดั​ับต้​้นขาของผู้​้�ป่​่วย ใช้​้มื​ือ 2 ข้​้างกดอย่​่างรวดเร็​็วที่​่�ใต้​้ลิ้​้�นปี่​่�ของผู้​้�ป่​่วยในมุ​ุมเอี​ียงขึ้​้�นด้​้านศี​ีรษะผู้​้�ป่​่วยจำำ�นวน 5 ครั้​้�ง จนกว่​่าสิ่​่�งแปลกปลอมหลุ​ุดออกมา หากเป็​็นผู้​้�ป่​่วยอ้​้วนหรื​ือตั้​้�งครรภ์​์ สามารถออกแรงกระตุ​ุกที่​่�หน้​้าอกแทนได้​้ เรี​ียกว่​่า Chest thrust 3. Finger Sweep หมายถึ​ึง การใช้​้นิ้​้�วมื​ือล้​้วงกวาดเอาสิ่​่�งแปลกปลอมที่​่�มองเห็​็นได้​้ และอยู่​่�ในความลึ​ึกที่​่�นิ้​้�วไปถึ​ึงออกมาจากทางเดิ​ินหายใจส่​่วนบน 4. Tongue-Jaw Lift หมายถึ​ึง วิ​ิธี​ีการใช้​้นิ้​้�วหั​ัวแม่​่มื​ือและนิ้​้�วชี้​้�ของมื​ือข้​้างที่​่�ไม่​่ถนั​ัด จั​ับยกลิ้​้�นและขากรรไกรผู้​้�ป่​่วย ขึ้​้�นในแนวตรงขณะผู้​้�ป่​่วยนอนราบ โดยใช้​้นิ้​้�วหั​ัวแม่​่มื​ือสอด เข้​้าไปจั​ับลิ้​้�นและนิ้​้�วชี้​้�จั​ับคางออกแรงบี​ีบเข้​้าหากั​ัน แล้​้วยกขึ้​้�น ทำำ�ร่​่วมกั​ับ Finger Sweep เพื่​่�อเปิ​ิดช่​่องปากให้​้มองเห็​็นสิ่​่�งแปลกปลอมได้​้ดี​ีมากขึ้​้�นและนำำ�ออกมาได้​้ง่​่ายขึ้​้�น

20

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 9 Basic : เบาหวาน การปฏิ​ิบั​ัติ​ิเบื้​้�องต้​้นสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน ต่​่อผู้​้�ป่​่วยที่​่�มี​ีอาการของเบาหวาน ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ

คนไข้ไม่รู้สึกตัว ชัก/เกร็ง/กระตุก Suspected Hypoglycemia CBG < 50 ในคนปกติ, CBG < 70 ในคนไข้ DM

Box 1 1. ประเมินความรู้สึกตัว 2. ประเมินการหายใจ : เปิดทางเดินหายใจ, จัดท่าผู้ป่วย, Clear airway และให้ออกซิเจนตามความเหมาะสม 3. วั​ัดสั​ัญญาณชี​ีพ (BP, pulse, RR,O2sat, temp)

เจาะ CBG

คนไข้ไม่รู้สึกตัว ชัก/เกร็ง/กระตุก Suspected Hypoglycemia CBG < 50 ในคนปกติ, CBG < 70 ในคนไข้ DM

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

21


< 50 mg%

50-100 mg%

>100 mg%

Repeat DTX

1. 50% Glucose 50 ml IV push then 10% D/N/2 rate 100 cc/hr 2. [เด็ก <30 kg ให้ 50% Glucose 2 cc/kg IV load (max. 50ml) then 10% Dextrose 5 cc/kg/hr (max. 80 cc/hr)]

>100 mg%

0.9% NaCl rate KVO 1. 50% Glucose 50 cc.IV than 5% Dextrose 80 cc/hr - เด็ก <30 kg ให้ 50% Dextrose4 cc/kg (Max 80 cc/hr) Box 1 น�ำส่งโรงพยาบาล, รายงานศูนย์สั่งการและ Monitor สัญญาณชีพ พร้อมจดบันทึก

22

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 10 Basic : ภาวะอุ​ุณหภู​ูมิ​ิกายสู​ูงเกิ​ิน การปฏิ​ิบั​ัติ​ิเบื้​้�องต้​้นสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน ต่​่อผู้​้�ป่​่วยที่​่�ได้​้รั​ับภยั​ันตรายจากสภาพแวดล้​้อมภาวะอุ​ุณหภู​ูมิ​ิกายสู​ูงเกิ​ิน ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ มีชีพจรหรือไม่

ไม่มีชีพจร

มีชีพจร ประเมินระบบหายใจ

ผิดปกติ

ปกติ ประเมินชีพจรและความดันโลหิต ปกติ ประเมินความรู้สึกตัว > 40° C ซึม, สับสน ปกติ

ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตาม แนวปฏิ​ิบั​ัติผู้​้�ป่ ิ ่วยหั​ัวใจ หยุ​ุดเต้​้นระดั​ับ Basic หน้​้า 14 - สิง่ แปลกปลอมหรืออาเจียน อุดกัน้ ทาง เดินหายใจ : ล้วงสิ่งแปลกปลอมออก ดูดสารคัดหลั่งหรืออาเจียน - เปิดทางเดินหายใจ head tilt-chin lift, jaw thrust - หายใจหอบเร็ว : ให้ oxygen mask with bag 10 LMP - ชีพจรเร็วและเบา และ/หรือความดัน โลหิตต�่ำ (น้อยกว่า 90/60 mmHg) ให้รายงาน พอป. - ขอที​ีม Advanced สนั​ับสนุ​ุน - เจาะวัดระดับน�้ำตาลปลายนิ้ว หาก <60 mg% แจ้งศูนย์สั่งการ รายงานแพทย์อ�ำนวยการ - ขอที​ีม Advanced สนั​ับสนุ​ุน

- ประสานงานศูนย์สั่งการ พร้อมรายงานอาการก่อนน�ำส่ง - กรณีผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว เพื่อเรียกขอความช่วยเหลือทีมกู้ชีพระดับสูง มีการก�ำหนด จุดเปลี่ยนถ่ายอย่างชัดเจน (Dual Protocol) และวัดสัญญาณชีพ วัดอุณหภูมิ ทางหูหรือทวารหนัก และประเมินเป็นระยะขณะน�ำส่ง เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

23


ข้อมูลที่ควรทราบ

ภยั​ันตรายจากภาวะอุ​ุณหภู​ูมิ​ิกายสู​ูงเกิ​ิน หมายถึ​ึง ภาวะที่​่�ร่​่างกายได้​้รั​ับ หรื​ือสั​ัมผั​ัส ความร้​้อนเป็​็นเวลานาน อาจเกิ​ิดขึ้​้น� จากการอยู่​่�ในสภาพแวดล้​้อมที่​่�ร้​้อนจั​ัด เช่​่น การทำำ�งาน กลางแจ้​้ง วิ่​่�งมาราธอน หรื​ือร่​่างกายไม่​่สามารถกำำ�จั​ัดความร้​้อนที่​่�สะสมในร่​่างกายได้​้ดี​ี เช่​่น ผู้​้�สู​ูงอายุ​ุ เป็​็นต้​้น ทำำ�ให้​้อุ​ุณหภู​ูมิ​ิกายสู​ูงขึ้​้�น และเกิ​ิดภาวะความผิ​ิดปกติ​ิต่​่าง ๆ ดั​ังนี้​้� อาการไม่​่รุ​ุนแรง ได้​้แก่​่ ผื่​่�นคั​ัน, มื​ือเท้​้าบวม, เกร็​็งกล้​้ามเนื้​้�อ เป็​็นตะคริ​ิว, หน้​้ามื​ืดเป็​็น ลม, ปวดศี​ีรษะ คลื่​่�นไส้​้อาเจี​ียน อาการรุ​ุนแรง ได้​้แก่​่ สั​ับสน, ซึ​ึม, หมดสติ​ิ, ชั​ัก, สั​ัญญาณชี​ีพผิ​ิดปกติ​ิเมื่​่�อวั​ัดทางหู​ู หรื​ือ ทวารหนั​ักมากกว่​่า 40°C, ความดั​ันโลหิ​ิตต่ำำ��หรื​ือสู​ูงผิ​ิดปกติ​ิ, หายใจเร็​็ว หรื​ือหายใจลำำ�บาก และชี​ีพจรเร็​็วหรื​ือผิ​ิดจั​ังหวะ

24

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 12 Basic : ปวดศี​ีรษะ การปฏิบตั เิ บื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบตั กิ ารระดับพืน้ ฐานต่อผูป้ ว่ ยทีม่ อา ี การปวดศีรษะ ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ มี​ีอาการโรคหลอดเลื​ือดสมอง ตาม CPSS* อาการปากเบี้​้�ยวหน้​้าเบี้​้�ยว, ลิ้​้�นแข็​็งพู​ูดไม่​่ชั​ัด หรื​ือ แขนขาอ่​่อนแรงครึ่​่�งซี​ีกด้​้านใดด้​้านหนึ่​่�ง ใช่ ไม่ใช่ แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ผู้​้�ป่​่วยหลอดเลื​ือด พิจารณาอาการและการแสดงของภาวะความดัน ในกะโหลกศีรษะสูง หรือสาเหตุจากสมอง สมอง ระดั​ับ Basic หน้​้า 32 - อาเจียนมากกว่า 3 ครั้ง - มองเห็นภาพซ้อน - ระดับการรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง - เดินเซ - มีอาการชักเกร็ง ใช่ ไม่ใช่ - รี​ีบนำำ�ส่​่งโรงพยาบาล (อยู่​่�ในที่​่�เกิ​ิดเหตุ​ุไม่​่เกิ​ิน 10 นาที​ี น�ำส่งโรงพยาบาล ถ้​้าสามารถทำำ�ได้​้) - วั​ัดความดั​ันโลหิ​ิต รายงานทั​ันที​ีหากสู​ูงกว่​่า 180/120 mmHg *CPSS : Cincinati Prehospital Stroke Scale - เจาะระดั​ับน้ำำ��ตาลในเลื​ือด CBG. ถ้​้าสามารถทำำ�ได้​้ - ให้​้ออกซิ​ิเจนถ้​้าหอบหายใจ >20 ครั้​้ง� /นาที​ี หรื​ือ O2sat <94% ดั​ังนี้​้� F = Facial Droop หน้​้าเบี้​้�ยว - ประเมิ​ินอาการซ้ำำ�� รายงานศู​ูนย์​์สื่​่�อสารและสั่​่�งการเป็​็น หรื​ือปากเบี้​้�ยว ระยะ ๆ อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง A = Arm Drift แขนขาอ่​่อน แรงครึ่​่�งซี​ีกด้​้านใดด้​้านหนึ่​่�ง กรณี​ีผู้​้�ป่​่วยระดั​ับความรู้​้�สึ​ึกตั​ัวเปลี่​่�ยนแปลง หรื​ือมีอา ี การ S = Slur Speech พู​ูดไม่​่ชั​ัด ชั​ักเกร็​็ง ให้​้แจ้​้งศู​ูนย์​์สั่​่�งการ ขอที​ีม Advanced สนั​ับสนุ​ุน ลิ้​้�นแข็​็ง T = Time เวลาที่​่�เกิ​ิดอาการ

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

25


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 13 Basic : คลุ้​้�มคลั่​่�ง การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วยคลุ้มคลั่ง ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ

สามารถเข้าถึงตัวผู้ป่วยได้หรือไม่ ได้ - ประเมิน อาการ ระดับความรู้สึกตัวและ รักษาเบื้องต้นตามอาการ - ดูแลขณะน�ำส่งและรายงานศูนย์สั่งการ

ไม่ได้ - รายงานศูนย์สั่งการ - ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง*

หมายเหตุ : *หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ มูลนิธิ ต�ำรวจ

26

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 14 Basic : ได้​้รั​ับสารพิ​ิษหรื​ือยาเกิ​ินขนาด การปฏิ​ิบั​ัติ​ิเบื้​้�องต้​้นสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน ต่​่อผู้​้�ป่​่วยที่​่�ได้​้รั​ับสารพิ​ิษหรื​ือยาเกิ​ินขนาด ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ

กรณี​ีสถานการณ์​์ไม่​่ปลอดภั​ัย สารเคมี​ีรั่​่�วไหล ให้​้ประสานศู​ูนย์​์สั่​่�งการ เพื่​่�อขอความช่​่วยเหลื​ือจากหน่​่วยงานอื่​่�น เช่​่น ดั​ับเพลิ​ิง ตำำ�รวจ

ผู้ป่วยรู้สึกตัวดีหรือไม่

ไม่รู้สึกตัว

ปฏิ​ิบัติั ติ าม แนวปฏิ​ิบัติั ผู้​้�ป่ ิ วยหั ่ วั ใจ หยุ​ุดเต้​้นระดั​ับ Basic หน้​้า 14

รู้สึกตัว ช่วยเหลือขั้นพื้นฐานตามหลัก ABCD - จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ (Head tilt- chin lift) - วั​ัดระดั​ับออกซิ​ิเจนปลายนิ้​้�ว O2sat < 94% อั​ัตราการหายใจเร็​็ว หรื​ือช้​้าเกิ​ินไปพิ​ิจารณาให้​้ออกซิ​ิเจนตามความเหมาะสม - กรณี​ีซั​ักประวั​ัติ​ิได้​้ชั​ัดเจนว่​่าเป็​็น ยาฆ่​่าหญ้​้า (กรั​ัมม็​็อกโซน) ห้​้ามให้​้ ออกซิ​ิเจนเพราะจะเกิ​ิดพิ​ิษมากขึ้​้�น หากความอิ่​่�มตั​ัวของออกซิ​ิเจน ปลายนิ้​้�ว O2sat < 92% หายใจเร็​็วลึ​ึก สามารถให้​้ออกซิ​ิเจนได้​้ - ประเมินชีพจรและการไหลเวียนกลับของหลอดเลือดฝอย

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

27


- รวบรวมภาชนะบรรจุสารพิษหรือยาที่ผู้ป่วยใช้ประจ�ำ น�ำมาที่ โรงพยาบาล โดยจัดเก็บใส่ถุงมัดให้เรียบร้อย ป้องกันการปนเปื้อน พร้อมกับญาติที่สามารถให้ประวัติได้ - รายงานข้อมูลกลับศูนย์สั่งการตามหลัก MIST - น�ำส่งโรงพยาบาลปลายทาง หรือจุดเปลี่ยนถ่ายตามค�ำสั่ง ศู​ูนย์​์สั่​่�งการ 1669 (กรณี​ีที่​่�ให้​้ที​ีม Advanced สนั​ับสนุ​ุน)

28

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 15 Basic : อาการเจ็​็บครรภ์​์คลอด การปฏิ​ิบั​ัติ​ิเบื้​้�องต้​้นสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน ต่​่อผู้​้�ป่​่วยที่​่�มี​ีอาการเจ็​็บครรภ์​์คลอด ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ

- มารดามีอาการปวดเบ่งถี่ขึ้น - ตรวจพบส่วนน�ำที่เป็นศีรษะของทารกเลื่อนต�่ำลงจนถึงอวัยวะภายนอก ใช่

ไม่ใช่

- รายงานศูนย์สั่งการเพื่อขอความ ช่วยเหลือจากทีมปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินขัน้ สูง - ประเมินอาการผู้ป่วยขั้นต้นตามหลัก ABCD - ช่วยเหลือการคลอดหากจ�ำเป็น - แจ้งจุดนัดพบให้ชดั เจนในกรณีทรี่ อ้ งขอ ทีมปฏิบัติการฉุกเฉินขั้นสูง

- ปฏิบัติตามหลักประเมินอาการผู้ป่วย ขั้นต้นตามหลัก ABCDและแก้ไขภาวะ เร่งด่วนหากมีภาวะคุกคามต่อชีวิต - จัดท่าผู้ป่วยให้นอนตะแคงซ้าย - ประเมินอาการพร้อมสัญญาณชีพ ทุก 5 - 15 นาที

- รายงานข้อมูลกลับศูนย์สั่งการตามหลัก MIST - ส่งโรงพยาบาลปลายทาง หรือจุดเปลี่ยนถ่ายตามค�ำสั่งศูนย์สั่งการ

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

29


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 16 Basic : ชั​ัก การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐานต่อผู้ป่วยชัก ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ

ผู้ป่วยก�ำลังชัก

หยุดชัก แต่ไม่รู้สึกตัว

หยุดชัก รู้สึกตัวดี

ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิผู้​้�ป่​่วยหั​ัวใจ หยุ​ุดเต้​้น ระดั​ับ Basic หน้​้า 14 - รายงานศูนย์สั่งการเพื่อขอความ ช่วยเหลือจากทีมปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินขัน้ สูง - ประเมินอาการผู้ป่วยขั้นต้นตามหลัก ABCD - จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ (Head tilt-chin lift) - หากสงสัยการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ (Trauma) ร่วมด้วยให้ท�ำการประคอง ศีรษะและล�ำคอ เปิดทางเดินหายใจ แบบ Jaw thrush - ให้ Oxygen mask with bag 10 LPM ตามค�ำแนะน�ำจากศูนย์สั่งการ - แจ้งจุดนัดพบให้ชดั เจนในกรณีทรี่ อ้ งขอ ทีมปฏิบัติการฉุกเฉินขั้นสูง 30

- ปฏิบัติตามหลักประเมินอาการผู้ป่วย ขั้นต้นและแก้ไขภาวะเร่งด่วนหากมี ภาวะคุกคามต่อชีวิต - เฝ้าระวังการชัก - ประเมินอาการพร้อมสัญญาณชีพ ทุก 5-15 นาที - ซักประวัติตามหลัก SAMPLE - รายงานข้อมูลกลับศูนย์สั่งการตาม หลัก MIST - น�ำส่งโรงพยาบาลปลายทาง หรือจุดเปลี่ยน ถ่ายตามค�ำสั่ง ศูนย์สั่งการ 1669

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 17 Basic : อาการเหนื่​่�อย การปฏิบตั เิ บื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบตั กิ ารระดับพืน้ ฐานต่อผูป้ ว่ ยทีม่ อา ี การเหนือย ่ ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ใช่

หมดสติหรือไม่

ไม่ใช่

แนวปฏิ​ิบัติั ผู้​้�ป่ ิ วย ่ หมดสติ​ิ/ไม่​่ตอบสนอง มีอาการที่คุกคามต่อชีวิตหรือไม่ ระดั​ับ BASIC หน้​้า 34 ใช่ - หายใจมีเสียงดังครืดคราด ไม่ใช่ - หายใจเหนื่อยหอบ - แน่นหน้าอก ใจสั่น - รายงานศูนย์สั่งการเพื่อขอความช่วยเหลือ จากทีมปฏิบัติการฉุกเฉินขั้นสูง - ประเมินอาการผู้ป่วยขั้นต้นตามหลัก ABCD - จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ (Head tilt-chin lift) - ประเมินอัตราการหายใจและวัดความอิ่มตัว ของออกซิ​ิเจนปลายนิ้​้�ว ถ้​้า O2sat < 94% พิจารณาให้ออกซิเจน ตามค�ำแนะน�ำจาก ศูนย์สั่งการ

- ปฏิบัติตามหลักประเมินอาการ ผู้ป่วยขั้นต้นตามหลัก ABCD และแก้ไขภาวะเร่งด่วน หากมีภาวะคุกคามต่อชีวิต - หากผู้ป่วยมีอาการหายใจ เหนื่อยให้จัดท่าผู้ป่วยนอน ศีรษะสูง

- ประเมิ​ินอาการพร้​้อมสั​ัญญาณชี​ีพทุ​ุก 5-15 นาที​ี - ซั​ักประวั​ัติ​ิตามหลั​ัก SAMPLE - รายงานข้​้อมู​ูลกลั​ับศู​ูนย์​์สั่​่�งการตามหลั​ัก MIST - นำำ�ส่​่งโรงพยาบาลปลายทาง หรื​ือจุ​ุดเปลี่​่�ยนถ่​่ายตามคำำ�สั่​่�งศู​ูนย์​์สั่​่�งการ 1669 เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

31


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 18 Basic : โรคหลอดเลื​ือดสมอง การปฏิ​ิบั​ัติ​ิเบื้​้�องต้​้นสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน ต่​่อผู้​้�ป่​่วยที่​่�มี​ีอาการของโรคหลอดสมอง ปฏิ​ิบั​ัติติ ามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์​์ไม่​่ปลอดภั​ัยหรื​ือไม่​่สามารถเข้​้าประเมิ​ินผู้​้�ป่​่วยได้​้ให้​้รายงานกลั​ับ ศู​ูนย์​์สั่​่�งการ - สวมชุ​ุดป้​้องกั​ันให้​้เหมาะสม - จอดรถในจุ​ุดปลอดภั​ัยประเมิ​ินสภาพความปลอดภั​ัยของจุ​ุดเกิ​ิดเหตุ​ุ

ใช่​่

มี​ีอาการของโรคหลอดเลื​ือดสมองตาม CPSS* ไม่​่ใช่​่ -ปากเบี้​้�ยว - แขนขาอ่​่อนแรง - ลิ้​้�นแข็​็ง พู​ูดไม่​่ชั​ัด พู​ูดลำำ�บาก

เริ่​่�มมี​ีอาการน้​้อยกว่​่า 4.5 ชั่​่�วโมง

Activate stroke fast track - รายงานศู​ูนย์​์สั่​่�งการเพื่​่�อขอความ ช่​่วยเหลื​ือจากที​ีมปฏิ​ิบัติั กิ ารฉุ​ุกเฉิ​ินขั้​้น� สู​ูง - ประเมิ​ินอาการผู้​้�ป่​่วยขั้​้�นต้​้นตามหลั​ัก ABCD - จั​ัดท่​่าเปิ​ิดทางเดิ​ินหายใจ (Head tilt chin lift) - ประเมิ​ินอั​ัตราการหายใจและวั​ัดระดั​ับ ออกซิ​ิเจนปลายนิ้​้�ว ถ้​้า O2sat < 94% พิ​ิจารณาให้​้ออกซิ​ิเจน ตามคำำ�แนะนำำ� จากศู​ูนย์​์สั่​่�งการ 32

ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามหลั​ักประเมิ​ินอาการผู้​้�ป่​่วย ขั้​้�นต้​้นตามหลั​ัก ABCD และแก้​้ไขภาวะ เร่​่งด่​่วนหากมี​ีภาวะคุ​ุกคามต่​่อชี​ีวิ​ิต

- ประเมิ​ินอาการพร้​้อมสั​ัญญาณชี​ีพ ทุ​ุก 5-15 นาที​ี - ซั​ักประวั​ัติ​ิตามหลั​ัก SAMPLE - รายงานข้​้อมู​ูลกลั​ับศู​ูนย์​์สั่​่�งการ ตามหลั​ัก MIST - นำำ�ส่​่งโรงพยาบาลปลายทาง หรื​ือ จุ​ุดเปลี่​่�ยนถ่​่ายตามคำำ�สั่​่�งศู​ูนย์​์สั่​่�งการ

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


CPSS* : Cincinnati Prehospital Stroke Scale F : Facial Droop หน้​้าหรื​ือปากเบี้​้�ยว A : Arm Drift แขนขาอ่​่อนแรงครึ่​่�งซี​ีกด้​้านใดด้​้านหนึ่​่�ง S : Slur Speech พู​ูดไม่​่ชั​ัด ลิ้​้�นแข็​็ง พู​ูดลลำำ�บาก T : Time เวลาที่​่�เกิ​ิดอาการ

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

33


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 19 Basic : หมดสติ​ิ / ไม่​่ตอบสนอง การปฏิบัติเบื้องต้นส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐาน ต่อผู้ป่วยหมดสติ / ไม่ตอบสนอง ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ปลุกผู้ป่วยด้วยการตบไหล่ทั้งสองข้างพร้อมเรียกด้วยเสียงดัง หมดสติ/ปลุกไม่ตื่น หายใจ ไม่หายใจ ผู้ป่วยหายใจหรือไม่ - รายงานศูนย์สั่งการเพื่อขอความ ช่วยเหลือจากทีมปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินขัน้ สูง - ประเมินอาการผู้ป่วยขั้นต้นตามหลัก ABCD - จัดท่าเปิดทางเดินหายใจ (Head tilt chin lift) - หากสงสัยการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ (Trauma) ร่วมด้วยให้ท�ำการประคอง ศีรษะและล�ำคอ เปิดทางเดินหายใจ แบบ Jaw thrush - วัดความอิ่มตัวของออกซิเจนปลายนิ้ว ถ้​้า O2sat < 94% ให้​้ Oxygen mask with bag 10 LPM ตามค�ำแนะน�ำจาก ศูนย์สั่งการ - ซักประวัตจา ิ กญาติหรือผูเ้ ห็นเหตุการณ์ 34

- ผู้ป่วยหายใจเฮือก หรือไม่หายใจ เริ่​่�มกดหน้​้าอก แนวปฏิ​ิบัติั ผู้​้�ป่ ิ วยหั ่ วั ใจ หยุ​ุดเต้​้น ระดั​ับ Basic หน้​้า 14 - รายงานศูนย์สั่งการเพื่อขอความ ช่วยเหลือจากทีมปฏิบัติการฉุกเฉิน ขั้นสูง อาการที่ควรซักถามเพิม่ เติม - เวลาเริม่ มีอาการ - อาการทีพ่ บร่วม เช่น ปวดศีรษะ แขนขา อ่อนแรงซีกใดซีกหนึง่ เหงือ่ แตก ใจสัน่ ชักเกร็ง เป็นต้น - โรคประจ�ำตัว ยาต่าง ๆ หรือแอลกอฮอล์ - ประวัตอิ บุ ตั เิ หตุทอาจ ี่ เกีย่ วข้อง

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


ข้อมูลที่ควรทราบ หมดสติ​ิ เป็​็ น อาการที่​่�ต้​้ อ งได้​้ รั​ั บ การค้​้ น หาภาวะคุ​ุ ก คามต่​่ อชี​ี วิ​ิ ต ภาวะผิ​ิ ด ปกติ​ิ บางอย่​่างเกิ​ิดจากสาเหตุ​ุที่​่�สามารถรั​ักษาได้​้และช่​่วยเหลื​ือได้​้ทันั ท่​่วงที​ี การเปลี่​่�ยนแปลงของ ระดั​ับความรู้​้�สึ​ึกตั​ัว คื​ือ ภาวะใด ๆ ก็​็ตามที่​่�ความตื่​่�นตั​ัวของบุ​ุคคลไม่​่อยู่​่�ในระดั​ับปกติ​ิ เกิ​ิดการเปลี่​่�ยนแปลงในการทำำ�งานของสมอง ระดั​ับของความรู้​้�สึ​ึกตั​ัวที่​่�เปลี่​่�ยนแปลง จากน้​้อยไปมาก ประกอบด้​้วย สั​ับสน >> ซึ​ึม >> ไม่​่รู้​้�สึกึ ตั​ัว >> ไม่​่ตอบสนองต่​่อสิ่​่�งเร้​้า (Coma) การประเมินระดับความรู้สึกตัวด้วย AVPU Alert ผู้ป่วยตื่นดี Verbal response ตอบสนองต่อเสียง Painful response ตอบสนองต่อความเจ็บปวด Unresponsiveness ผู้ป่วยไม่ตอบสนอง การประเมินผู้ป่วย A : Airway ประเมิ​ินว่​่าผู้​้�ป่​่วยจะสามารถ Maintain Airway ของตนเองได้​้ หรื​ือไม่​่ มี​ี Secretion หรื​ือเสี​ียงที่​่�บ่​่งบอกถึ​ึงการมี​ี Obstruction หรื​ือไม่​่ ต้​้องให้​้การช่​่วยเหลื​ือ เปิ​ิดทางเดิ​ินหายใจหรื​ือไม่​่ในผู้​้�ป่​่วย Unresponsive ควรได้​้รั​ับการใส่​่ท่​่อช่​่วยหายใจ B : Breathing ประเมิ​ิ น ลั​ั ก ษณะการหายใจ อั​ั ต ราการหายใจ Pattern การหายใจ ดู​ู oxygen saturation C : Circulation ประเมิ​ินชี​ีพจร ความดั​ันโลหิ​ิต ดู​ู Perfusion ดู​ูว่​่าต้อ้ งเปิ​ิดเส้​้นและ ให้​้สารน้ำำ��หรื​ือไม่​่ บางครั้​้�งอาการ Unresponsive อาจเกิ​ิด Poor Cerebral Perfusion เพี​ียงอย่​่างเดี​ียว D : Disability ประเมิ​ิน GCS Score ดู​ูลักั ษณะ Pupil และการตอบสนองต่​่อแสง ข้อแนะน�ำอื่นๆ - ควรเจาะวั​ัดระดั​ับน้ำำ��ตาลในเลื​ือดทุ​ุกราย หากมี​ีภาวะ Hypoglycemia ให้​้ IV Glucose Push - หลั​ังจาก Stabilize ผู้​้�ป่ว่ ยแล้​้วให้​้ทำ�ำ การซั​ักประวั​ัติ​ิ และตรวจร่​่างกายเท่​่าที่​่�ประเมิ​ินได้​้ - การวั​ัดสั​ัญญาณชี​ีพ สามารถประเมิ​ินบางภาวะได้​้ เช่​่น อั​ัตราการหายใจที่​่�ช้​้ามาก ร่​่วมกั​ับ Pinpoint Pupils อาจทำำ�ให้​้สงสั​ัย Opioid Overdose หรื​ือมี​ีความดั​ัน โลหิ​ิตสู​ูงและอั​ัตราชี​ีพจรที่​่�ช้​้าอาจทำำ�ให้​้สงสั​ัย Crushing’s Reflex หากผู้​้�ป่​่วยมี​ี Clinical SIRS ร่​่วมกั​ับมี​ีไข้​้ อาจทำำ�ให้​้สงสั​ัยการติ​ิดเชื้​้�อในร่​่างกายเป็​็นต้​้น เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

35


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 20 Basic : เด็​็ก (กุ​ุมารเวชกรรม) การปฏิ​ิบั​ัติ​ิเบื้​้�องต้​้นสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน ต่​่อผู้​้�ป่​่วยเด็​็ก (กุ​ุมารเวชกรรม) ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ ประเมินอาการทั่วไป (สภาพภายนอกที่เห็นครั้งแรก) 1. สภาพสีผิวของเด็ก (ซีด/แดง/เขียวคล�้ำ/ม่วงคล�้ำ 2. การหายใจ (เร็ว/ช้า/เสียงหายใจผิดปกติ/ไม่หายใจ) 3. ระดับความรู้สึกตัวของเด็ก ซึมหรือไม่ ตอบสนองดีหรือไม่ ลักษณะการหายใจ ไม่หายใจ ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ ผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น

ผิดปกติ - ขอหน่วยกู้ชีพระดับสูงกว่า ออกเปลีย่ นถ่าย พร้อมบอก เส้ น ทางการเปลี่ ย นถ่ าย และแจ้ ง จุ ด เปลี่ ย นถ่ าย ที่ ชัดเจน (จุดที่ ท�ำการเปลีย่ น ถ่ายควรมีแสงสว่างส่องถึง และปลอดภัย) - ประเมินผูป้ ว่ ยซ�้ำ จนกว่าทีม ระดับสูงกว่ามาเปลีย่ นถ่าย

ปกติ ประเมินสภาพผูป้ ว่ ยเบื้องต้น (ABCDE), วัดสัญญาณชีพ และซักประวัติจากญาติ/ผู้รู้ ข้อมูลเด็ก (อาการและเวลา ที่เริ่มเป็น, โรคประจ�ำตัว, ประวัติการผ่าตัด, ประวัติ การแพ้, ประวัติอุบัติเหตุ) (SAMPLE) เพื่ อ หาภาวะ คุกคามต่อผู้ป่วย

รายงานกลับศูนย์ตามหลัก MIST 36

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 21 Basic : ทำำ�ร้​้ายร่​่างกาย การปฏิ​ิบั​ัติ​ิเบื้​้�องต้​้นสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน ต่​่อผู้​้�บาดเจ็​็บถู​ูกทำำ�ร้​้ายร่​่างกาย ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ - คูก่ รณีอยใู่ นทีเ่ กิดเหตุหรือไม่/ต�ำรวจอยูใ่ นทีเ่ กิดเหตุหรือไม่/เหตุการณ์สงบแล้วหรือไม่ *ประคองศีรษะและล�ำคอก่อนประเมิน ไม่รู้สึกตัว

แนวปฏิ​ิบัติั ผู้​้�ป่ ิ วย ่ หมดสติ​ิ หน้​้า 34

รู้สึกตัวหรือไม่

รู้สึกตัว

มีชีพจรหรือไม่

ไม่มี

แนวปฏิ​ิบัติั หัิ วั ใจหยุ​ุดเต้​้น หน้​้า 14

มี

ประเมิน X = exsanguinate มีบาดแผลทีม่ เี ลือดออกมาก จากการบาดเจ็บทีห่ ลอดเลือด ขนาดใหญ่ มีเลือดพุง่ ออกจากบาดแผล ให้ท�ำการห้ามเลือดโดยการกดห้ามเลือดโดยตรง หรือใช้ผ้าพันรัดรอบบาดแผลเพื่อห้ามเลือด จนเลือดหยุดไหล ประเมิน A = Airway With c-spine หากสงสัยมีการบาดเจ็บที่กระดูกต้นคอหรือไม่ ถ้ามี ให้ใส่ Cervical Hard Collar หากหายใจมีเสียงครืดคราด มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ ภายในปากและจมูกเสี่ยงต่อการอุดกั้นทางเดินหายใจ ให้น�ำสิ่งแปลกปลอมออก เปิด ทางเดินหายใจท่า Jaw thrust (ดึงขากรรไกร) หากไม่สงสัยกระดูกต้นคอได้รบั บาดเจ็บ เปิดทางเดินหายใจท่า Head Tilt Chin Lift ประเมิน B=Breathing หายใจเร็วมากกว่า 30 ครั้งต่อนาที หรือหายใจช้า กว่​่า 10 ครั้​้�งต่​่อนาที​ี หายใจเฮื​ือก หายใจเองแล้​้วออกซิ​ิเจนในร่​่างกายน้​้อย กว่​่า (O2sat) 94% ช่​่วยหายใจโดยการ On Mask With Bag 10 LPM

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

37


ประเมิน C = Circulation ซีด เหงื่อออก ตัวเย็น มีบาดแผลจุดอื่นที่ท�ำให้ เลือดออกมากอีกหรือไม่ ถ้ามีให้ห้ามเลือดทันที คล�ำชีพจรที่ข้อมือได้แรง ดีหรือไม่ ชีพจรเต้นเร็วหรือช้า เต้นสม�่ำเสมอหรือไม่

ประเมิน D = Disability วัดระดับความรู้สึกตัว

ประเมิน E= Expose/environment หาจุดเลือดออกบาดแผลใต้เสื้อผ้า (ควรท�ำบนรถ ในที่ปิด) ท�ำการ Keep Warm

- วัดสัญญาณชีพ - ประเมินซ�้ำ ใหม่อีกรอบหากส่วนที่แก้ไขไปยังไม่ดีขึ้นให้ขอทีมระดับสูง ออกเปลี่ยนถ่าย - ซักประวัติ - รายงานกลับศูนย์สั่งการณ์ตามหลัก MIST *กรณีผู้บาดเจ็บสงสัยได้รับการดบาดเจ็บกระดูกต้นคอให้ตรึงผู้ป่วยด้วย Cervical Hard Collar ร่วมกับ Head Immobilizer with Long Spinal Board

38

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 22 Basic : ไฟไหม้​้ น้ำำ��ร้​้อนลวก กระแสไฟฟ้​้า และสารเคมี​ี การปฏิ​ิบั​ัติ​ิเบื้​้�องต้​้นสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน ต่​่อผู้​้�บาดเจ็​็บที่​่�ได้​้รั​ับอั​ันตรายจากไฟไหม้​้ น้ำำ��ร้​้อนลวก กระแสไฟฟ้​้า และสารเคมี​ี ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ - คูก่ รณีอยใู่ นทีเ่ กิดเหตุหรือไม่/ต�ำรวจอยูใ่ นทีเ่ กิดเหตุหรือไม่/เหตุการณ์สงบแล้วหรือไม่ *ประคองศีรษะและล�ำคอก่อนประเมิน ไม่รู้สึกตัว

แนวปฏิ​ิบัติั ผู้​้�ป่ ิ วย ่ หมดสติ​ิ หน้​้า 34

รู้สึกตัวหรือไม่

รู้สึกตัว

มีชีพจรหรือไม่

ไม่มี

แนวปฏิ​ิบัติั หัิ วั ใจหยุ​ุดเต้​้น หน้​้า 14

มี

ประเมินผู้ป่วยเบื้องต้น ตาม ABC พูดเสียงแหบ, มีขนตาขนจมูกไหม้, หายใจมีเสียงวีด้ หรือเสียงครืดคราด หากสงสัยมีการ บาดเจ็บที่กระดูกต้นคอให้ใช้ Jaw Thrust หากไม่สงสัยให้ใช้ Head tilt chin lift หายใจปกติหรือไม่ หายใจเฮือกหรือไม่ ปริมาณออกซิเจนในเลือดหากน้อยกว่า 94% ให้ on mask with bag 10 ลิตร/นาที - ประเมินหาบาดแผลและจุดที่ท�ำให้เลือดออกมาก หากมี ให้ท�ำการห้ามเลือด - ชีพจรเต้นเร็วหรือช้า สม�่ำเสมอหรือไม่ มีภาวะซีด เหงื่อออก ตัวเย็นหรือไม่ - วัดสัญญาณชีพ - ซักประวัติ - ประเมินซ�้ำหากผู้บาดเจ็บอาการไม่ดีขึ้นขอทีมระดับสูงเปลี่ยนถ่าย - รายงานกลับศูนย์สั่งการตามหลัก MIST เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

39


- กรณี​ีเพลิ​ิงไหม้​้ต้​้องควบคุ​ุมเพลิ​ิงได้​้แล้​้ว - กรณี​ีกระแสไฟฟ้​้า ควรตั​ัดกระแสไฟฟ้​้าก่​่อน - กรณี​ีสารเคมี​ีควรแจ้​้งข้​้องมู​ูลประเภทและชนิ​ิดของสารเคมี​ี และเตรี​ียมสถานที่​่� สำำ�หรั​ับการล้​้างตั​ัวผู้​้�บาดเจ็​็บ - กรณี​ีผู้​้�บาดเจ็​็บสงสั​ัยได้​้รั​ับการดบาดเจ็​็บกระดู​ูกต้​้นคอให้​้ตรึ​ึงผู้​้�ป่​่วยด้​้วย Cervical Hard Collar ร่​่วมกั​ับ Head Immobilizer With Long Spinal Board - หากมี​ีบาดแผลที่​่�เป็​็นแผลไหม้​้ ให้​้ทำำ�ความสะอาดแผลด้​้วย Sterile Water

40

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 23 Basic : จมน้ำำ�� การปฏิ​ิบั​ัติ​ิเบื้​้�องต้​้นสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน ต่​่อผู้​้�บาดเจ็​็บที่​่�ได้​้รั​ับอั​ันตรายจากจมน้ำำ�� ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ รู้สึกตัวหรือไม่ รู้สึกตัว

มีชีพจรหรือไม่

ไม่รู้สึกตัว ไม่มี

แนวปฏิ​ิบัติั ผู้​้�ป่ ิ วย ่ หมดสติ​ิ หน้​้า 34 แนวปฏิ​ิบัติั หัิ วั ใจหยุ​ุดเต้​้น หน้​้า 14

มี

ประเมิน X = exsanguinate มีบาดแผลทีม่ เี ลือดออกมาก จากการบาดเจ็บทีห่ ลอดเลือด ขนาดใหญ่ มีเลือดพุง่ ออกจากบาดแผล ให้ท�ำการห้ามเลือดโดยการกดห้ามเลือดโดยตรง หรือใช้ผ้าพันรัดรอบบาดแผลเพื่อห้ามเลือด จนเลือดหยุดไหล ประเมิน A = Airway With c-spine หากสงสัยมีการบาดเจ็บที่กระดูกต้นคอหรือไม่ ถ้ามี ให้ใส่ Cervical Hard Collar หากหายใจมีเสียงครืดคราด มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ ภายในปากและจมูกเสี่ยงต่อการอุดกั้นทางเดินหายใจ ให้น�ำสิ่งแปลกปลอมออก เปิด ทางเดินหายใจท่า Jaw thrust (ดึงขากรรไกร) หากไม่สงสัยกระดูกต้นคอได้รบั บาดเจ็บ เปิดทางเดินหายใจท่า Head Tilt Chin Lift ประเมิ​ิน B=Breathing หายใจปกติ​ิหรื​ือไม่​่ หายใจเฮื​ือกหรื​ือไม่​่ ปริ​ิมาณ ออกซิ​ิเจนในร่​่างกายหากน้​้อยกว่​่า 94% ให้​้ on mask with bag 10 ลิ​ิตร/นาที​ี

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

41


ประเมิน C = Circulation ซีด เหงื่อออก ตัวเย็น มีบาดแผลจุดอื่นที่ท�ำให้ เลือดออกมากอีกหรือไม่ ถ้ามีให้ห้ามเลือดทันที คล�ำชีพจรที่ข้อมือได้แรง ดีหรือไม่ ชีพจรเต้นเร็วหรือช้า เต้นสม�่ำเสมอหรือไม่

ประเมิน D = Disability วัดระดับความรู้สึกตัว

ประเมิน E= Expose/environment หาจุดเลือดออกบาดแผลใต้เสื้อผ้า (ควรท�ำบนรถ ในที่ปิด) ท�ำการ Keep Warm

- วัดสัญญาณชีพ - ประเมินซ�้ำ ใหม่อีกรอบหากส่วนที่แก้ไขไปยังไม่ดีขึ้นให้ขอทีมระดับสูง ออกเปลี่ยนถ่าย - ซักประวัติ - รายงานกลับศูนย์สั่งการณ์ตามหลัก MIST - กรณีจมน�้ำ ผู้ได้รับบาดเจ็บมักมีภาวะพร่องออกซิเจน การช่วยหายใจจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ - ห้ามกดหน้าท้อง เพราะจะยิ่งเป็นการกระตุ้นให้เกิดการส�ำลัก เกิดภาวะอุดกั้น ทางเดินหายใจ - กรณีผู้บาดเจ็บสงสัยได้รับการดบาดเจ็บกระดูกต้นคอให้ตรึงผู้ป่วยด้วย Cervical Hard Collar ร่วมกับ Head Immobilizer With Long Spinal Board ก่อนเคลื่อนย้าย ผู้บาดเจ็บ

42

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 24 Basic : พลั​ัดตกหกล้​้ม การปฏิ​ิบั​ัติ​ิเบื้​้�องต้​้นสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน ต่​่อผู้​้�บาดเจ็​็บพลั​ัดตกหกล้​้ม ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ - คูก่ รณีอยใู่ นทีเ่ กิดเหตุหรือไม่/ต�ำรวจอยูใ่ นทีเ่ กิดเหตุหรือไม่/เหตุการณ์สงบแล้วหรือไม่ รู้สึกตัวหรือไม่ รู้สึกตัว

มีชีพจรหรือไม่

ไม่รู้สึกตัว ไม่มี

แนวปฏิ​ิบัติั ผู้​้�ป่ ิ วย ่ หมดสติ​ิ หน้​้า 34 แนวปฏิ​ิบัติั หัิ วั ใจหยุ​ุดเต้​้น หน้​้า 14

มี

ประเมิน X = exsanguinate มีบาดแผลทีม่ เี ลือดออกมาก จากการบาดเจ็บทีห่ ลอดเลือด ขนาดใหญ่ มีเลือดพุง่ ออกจากบาดแผล ให้ท�ำการห้ามเลือดโดยการกดห้ามเลือดโดยตรง หรือใช้ผ้าพันรัดรอบบาดแผลเพื่อห้ามเลือด จนเลือดหยุดไหล ประเมิน A = Airway With c-spine หากสงสัยมีการบาดเจ็บที่กระดูกต้นคอหรือไม่ ถ้ามี ให้ใส่ Cervical Hard Collar หากหายใจมีเสียงครืดคราด มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ ภายในปากและจมูกเสี่ยงต่อการอุดกั้นทางเดินหายใจ ให้น�ำสิ่งแปลกปลอมออก เปิด ทางเดินหายใจท่า Jaw thrust (ดึงขากรรไกร) หากไม่สงสัยกระดูกต้นคอได้รบั บาดเจ็บ เปิดทางเดินหายใจท่า Head Tilt Chin Lift ประเมิ​ิน B=Breathing หายใจปกติ​ิหรื​ือไม่​่ หายใจเฮื​ือกหรื​ือไม่​่ ปริ​ิมาณ ออกซิ​ิ เจนในร่​่ า งกายหากน้​้ อย กว่​่ า 94% ให้​้ on mask with bag 10 ลิ​ิตร/นาที​ี

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

43


ประเมิน C = Circulation ซีด เหงื่อออก ตัวเย็น มีบาดแผลจุดอื่นที่ท�ำให้ เลือดออกมากอีกหรือไม่ ถ้ามีให้ห้ามเลือดทันที คล�ำชีพจรที่ข้อมือได้แรง ดีหรือไม่ ชีพจรเต้นเร็วหรือช้า เต้นสม�่ำเสมอหรือไม่

ประเมิน D = Disability วัดระดับความรู้สึกตัว

ประเมิน E= Expose/environment หาจุดเลือดออกบาดแผลใต้เสื้อผ้า (ควรท�ำบนรถ ในที่ปิด) ท�ำการ Keep Warm

- วัดสัญญาณชีพ - ประเมินซ�้ำ ใหม่อีกรอบหากส่วนที่แก้ไขไปยังไม่ดีขึ้นให้ขอทีมระดับสูง ออกเปลี่ยนถ่าย - ซักประวัติ - รายงานกลับศูนย์สั่งการณ์ตามหลัก MIST *กรณีผู้บาดเจ็บสงสัยได้รับการดบาดเจ็บกระดูกต้นคอให้ตรึงผู้ป่วยด้วย Cervical Hard Collar ร่วมกับ Head Immobilizer with Long Spinal Board

44

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 25 Basic : อุ​ุบั​ัติ​ิเหตุ​ุยานยนต์​์ การปฏิ​ิบั​ัติ​ิเบื้​้�องต้​้นสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับพื้​้�นฐาน ต่​่อผู้​้�บาดเจ็​็บอุ​ุบั​ัติ​ิเหตุ​ุยานยนต์​์ ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล - หากสถานการณ์ไม่ปลอดภัยหรือไม่สามารถเข้าประเมินผู้ป่วยได้ให้รายงานกลับ ศูนย์สั่งการ - สวมชุดป้องกันให้เหมาะสม - จอดรถในจุดปลอดภัยประเมินสภาพความปลอดภัยของจุดเกิดเหตุ รู้สึกตัวหรือไม่ รู้สึกตัว

มีชีพจรหรือไม่

ไม่รู้สึกตัว ไม่มี

แนวปฏิ​ิบัติั ผู้​้�ป่ ิ วย ่ หมดสติ​ิ หน้​้า 34 แนวปฏิ​ิบัติั หัิ วั ใจหยุ​ุดเต้​้น หน้​้า 14

มี

ประเมิน X = exsanguinate มีบาดแผลทีม่ เี ลือดออกมาก จากการบาดเจ็บทีห่ ลอดเลือด ขนาดใหญ่ มีเลือดพุง่ ออกจากบาดแผล ให้ท�ำการห้ามเลือดโดยการกดห้ามเลือดโดยตรง หรือใช้ผ้าพันรัดรอบบาดแผลเพื่อห้ามเลือด จนเลือดหยุดไหล ประเมิน A = Airway With c-spine หากสงสัยมีการบาดเจ็บที่กระดูกต้นคอหรือไม่ ถ้ามี ให้ใส่ Cervical Hard Collar หากหายใจมีเสียงครืดคราด มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ ภายในปากและจมูกเสี่ยงต่อการอุดกั้นทางเดินหายใจ ให้น�ำสิ่งแปลกปลอมออก เปิด ทางเดินหายใจท่า Jaw thrust (ดึงขากรรไกร) หากไม่สงสัยกระดูกต้นคอได้รบั บาดเจ็บ เปิดทางเดินหายใจท่า Head Tilt Chin Lift ประเมิ​ิน B=Breathing หายใจปกติ​ิหรื​ือไม่​่ หายใจเฮื​ือกหรื​ือไม่​่ ออกซิ​ิเจน ในร่​่างกายหากน้​้อยกว่​่า 94% ให้​้ on mask with bag 10 ลิ​ิตร/นาที​ี

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

45


ประเมิน C = Circulation ซีด เหงื่อออก ตัวเย็น มีบาดแผลจุดอื่นที่ท�ำให้ เลือดออกมากอีกหรือไม่ ถ้ามีให้ห้ามเลือดทันที คล�ำชีพจรที่ข้อมือได้แรง ดีหรือไม่ ชีพจรเต้นเร็วหรือช้า เต้นสม�่ำเสมอหรือไม่

ประเมิน D = Disability วัดระดับความรู้สึกตัว

ประเมิน E= Expose/environment หาจุดเลือดออกบาดแผลใต้เสื้อผ้า (ควรท�ำบนรถ ในที่ปิด) ท�ำการ Keep Warm

- วัดสัญญาณชีพ - ประเมินซ�้ำ ใหม่อีกรอบหากส่วนที่แก้ไขไปยังไม่ดีขึ้นให้ขอทีมระดับสูง ออกเปลี่ยนถ่าย - ซักประวัติ - รายงานกลับศูนย์สั่งการณ์ตามหลัก MIST *กรณี​ีผู้​้�บาดเจ็​็บสงสั​ัยได้​้รั​ับการบาดเจ็​็บกระดู​ูกต้​้นคอให้​้ตรึ​ึงผู้​้�ป่​่วยด้​้วย Cervical Hard Collar ร่วมกับ Head Immobilizer with Long Spinal Board

46

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูง (Advanced)

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

47


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 1 Advanced : ปวดท้​้อง แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยที่อาการปวดท้อง ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม ใช่

อาการคงที่ ?

- ประเมินอาการและตรวจรักษาภาวะอื่น ตามความเหมาะสม - ติดตามอาการระหว่างน�ำส่งเป็นระยะ ๆ

ไม่ใช่

Airway patent? ผู้ป่วยอาเจียนมากหรืออาเจียนเป็นเลือด ใช่

- จัดท่าและเปิดทางเดินหายใจ/suction - พิจารณา ET Tube เพือ่ ป้องกัน aspiration

ไม่ใช่

Inadequate breathing หรือไม่ RR > 20, O2sat < 94% ใช่

ไม่ใช่

มีภาวะ shock? หรือ unstable vital sign?

แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ผู้​้�ป่​่วยหายใจลำำ�บาก ระดั​ับ Advanced ใช่

- จัดท่านอนราบหรือหัวต�่ำ - ท�ำ EKG และ Monitor EKG - พิจารณาเปิดเส้นให้ 0.9% NaCl IV loading

แนวปฏิ​ิบั​ัติผู้​้�ป่ ิ ่วยหมดสติ​ิ ระดั​ับ Advanced

ไม่ใช่

ผู้ป่วยซึมลง หมดสติ? ใช่

ไม่ใช่

ติดตามอาการเป็นระยะ ๆ ขณะน�ำส่งโรงพยาบาล

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

49


แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิการที่​่� 2 Advanced : ปฏิ​ิกิ​ิริยิ าแพ้​้รุ​ุนแรง ชนิ​ิด Anaphylaxis แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยปฏิกิริยาแพ้รุนแรง ชนิดอนาฟัยแลกซิส ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม เข้าเกณฑ์วินิจฉัยภาวะ Anaphylaxis ? ใช่

ไม่ใช่

ฉีด Epinephrine (1:1,000 ) 0.2 - 0.5 mg - ประเมินและรักษาภาวะอื่นตามความ IM ( Anterolateral thigh) ในผู้ใหญ่และ เหมาะสม ประเมินอาการเพิ่มเติมที่คุกคามต่อชีวิต - ติดตามอาการขณะน�ำส่งเป็นระยะ ๆ - Airway : stridor ปากบวม ลิ้นบวม - Breathing : Wheezing, O2 sat <94% - Circulation : Monitor BP, HR, EKG, V/S ซ�้ำทุก 5 นาที ใช่

- Head tilt, Chin lift, airway clearing - Oro / Nasopharyngeal airway หรือ LMA / ET-tube - Salbutamol ( Ventolin ) 1:3 NB stat (กรณีฟัง lungs มี wheezing) - if BP < 90/60 mmHg Load NSS 200 ml - รายงาน พอป. เมื่อมี Life Threatened Condition 50

ไม่ใช่

- CPM 10 mg IV - Dexamethasone 4-5 mg IV

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


ขนาดยา epinephrine (Adrenaline)

- Epinephrine (1:1,000) ขนาด 0.01 mg / kg IM - ขนาดสู​ูงสุ​ุดคื​ือ 0.3 mg ในเด็​็ก และ 0.2-0.5 mg ในผู้​้�ใหญ่​่ หากน้ำำ��หนั​ักตั​ัวอยู่​่�ในเกณฑ์​์ปกติ​ิหรื​ือคนท้​้อง ควรให้​้ขนาด 0.3 mg - สามารถให้​้ Epinephrine ซ้ำำ��ได้​้อี​ีก1-2 ครั้​้�ง ทุ​ุก 5-15 นาที​ี

ข้​้อมู​ูลที่​่�ควรทราบ เกณฑ์​์การวิ​ินิ​ิจฉัยั ภาวะ Anaphylaxis

1. ไม่​่ทราบสารก่​่อภูมิู แิ พ้​้ แต่​่มีอา ี การที่​่�เกิ​ิดขึ้​้น� เฉี​ียบพลั​ันของระบบผิ​ิวหนั​ังและเยื่​่�อบุ​ุลมพิ​ิษ ขึ้​้�นทั่​่�วตั​ัว คั​ัน ผื่​่�นแดง บวมของปาก ลิ้​้�น เพดานอ่​่อน ร่​่วมกั​ับอาการอย่​่างน้​้อย 1 อาการ ดั​ังต่​่อไปนี้​้� - อาการระบบทางเดิ​ิ น หายใจ เช่​่ น คั​ั ด จมู​ู ก น้ำำ�� มู​ู ก ไหล เสี​ี ย งแหบ หอบ เหนื่​่�อย หายใจไม่​่สะดวก หายใจมี​ีเสี​ียงหวี​ีด เสี​ียงฮื้​้�ด - ปวดท้​้องคลื่​่�นไส้​้ อาเจี​ียน ถ่​่ายเหลว - ความดั​ันโลหิ​ิตลดลง หรื​ือมี​ีอาการของระบบต่​่าง ๆ ล้​้มเหลว 2. มี​ีอาการ มากกว่​่าหรื​ือเท่​่ากั​ับ 2 ข้​้อ ดั​ังต่​่อไปนี้​้� ในผู้​้�ป่​่วยที่​่� น่​่าจะสั​ัมผั​ัสกั​ับสารที่​่�น่​่าจะ เป็​็นสารก่​่อภู​ูมิ​ิแพ้​้ - ลมพิ​ิษขึ้​้�นทั่​่�วตั​ัว คั​ัน ผื่​่�นแดง - คั​ัดจมู​ูก น้ำำ��มู​ูกไหล เสี​ียงแหบ หอบเหนื่​่�อย หายใจมี​ีเสี​ียงหวี​ีด เสี​ียงฮื้​้�ด - ใจสั่​่�น แน่​่นหน้​้าอก ความดั​ันโลหิ​ิตลดลง - ปวดท้​้องคลื่​่�นไส้​้อาเจี​ียน 3. ความดั​ันโลหิ​ิตลดลง (MAP < 65) หลั​ังจากสั​ัมผั​ัสกับส ั ารที่​่�ผู้​้�ป่วย ่ ทราบว่​่าแพ้​้มาก่​่อน

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

51


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 3 Advanced : สั​ัตว์​์กั​ัด แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยที่ถูกสัตว์กัด ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม เข้​้าเกณฑ์​์วินิ​ิ ิจฉั​ัยภาวะ Anaphylaxis หน้​้า 51 ไม่ใช่

ใช่

- ฉีด Epinephrine (1:1,000) 0.5 mg IM ทีบ่ ริเวณ Anterolateral ของ Thigh ในผู้ใหญ่ - ปฏิ​ิบัติั ิตาม แนวปฏิ​ิบัติั ิ Anaphylaxis ระดั​ับ Advanced หน้​้า 50 สงสั​ัยว่​่าเป็​็น งู​ูพิ​ิษ* หรื​ือไม่​่ ไม่ใช่ ใช่

งู​ูพิ​ิษ* งู​ูพิ​ิษทางระบบประสาท : งู​ูจงอาง งู​ูเห่​่า งู​ู ทั​ับสมิ​ิงคลา งู​ูสามเหลี่​่�ยม งู​ูพิษิ ทางระบบเลื​ือด : งู​ูแมวเซา งู​ูเขี​ียวหาง ไหม้​้ งู​ูกะปะ

52

- ให้ท�ำการหยุดห้ามเลือดหากแผล ขนาดใหญ่มีเลือดออกมา - ประเมินและรักษาภาวะคุกคามตาม ABCD - พิจารณาน�ำส่งโรงพยาบาล

ดูแลแผลเบื้องต้นและพิจารณาน�ำส่ง ถ้าสงสัยว่าเป็นแมลงทีมีเหล็กใน ให้น�ำ เหล็กในออก ทาบริเวณที่ถูกต่อย ด้วยแอมโมเนีย - ท�ำความสะอาดบาดแผล - Splint & Immobilization ไม่ขนั ชะเนาะ - Vital Sign Monitoring - สังเกตอาการที่ผิดปกติ: หนังตาตก หายใจล�ำบาก กลืนล�ำบาก พิจารณา ช่วยหายใจ - น�ำงูมาด้วย (หากสามารถท�ำได้ ) - ซักประวัติชนิดของสัตว์ที่กัด เวลา และ สภาพสิ่งแวดล้อมขณะที่ถูกกัด - การใช้ยา สารเสพติด โรคประจ�ำตัว การได้รับวัคซีนบาดทะยัก เป็นต้น

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 4 Advanced : มี​ีเลื​ือดออก (ไม่​่มี​ีสาเหตุ​ุจากการบาดเจ็​็บ) แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยมีเลือดออก (ไม่มีสาเหตุจากการบาดเจ็บ) ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม อาเจียนเป็นเลือดสด ถ่ายเป็นเลือดสด เลือดก�ำเดาไหล เลือดออก ทางช่องคลอด หรือพบผู้ป่วยร่วมกับกองเลือดที่ไม่ใช่อุบัติเหตุ หมดสติ ไม่มีชีพจร ใช่

ไม่ใช่

แนวปฏิ​ิบัติั ิ ผู้​้�ป่​่วยหัวั ใจหยุ​ุดเต้​้น ระดั​ับ Advanced หน้​้า 55

มีหรือเสี่ยงต่อภาวะ Airway obstruction ? (ไอเป็นเลือด อาเจียนเป็นเลือด เลือดออก ในช่องปาก) ใช่

- จัดท่ายกหัวสูงหรือนั่ง หากไม่มีข้อห้าม - เปิดทางเดินหายใจ / Suction - ให้​้ O2 - พิจารณา LMA หรือ ET tube

ไม่ใช่

มี Severe respiratory distress ? หายใจหอบ หายใจเร็ว ใช่

แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ผู้​้�ป่​่วยหายใจลำำ�บาก ระดั​ับ Advanced หน้​้า 54 ใช่

- กดห้ามเลือด หากมองเห็นจุดเลือดออก - monitor v/s ทุก 5 นาที - Continuous EKG monitoring - เปิดเส้นเลือด 2 ต�ำแหน่ง ให้สารน�้ำ RLS/Acetar/NSS - รายงานศูนย์สั่งการขณะน�ำส่ง

ไม่ใช่

มีภาวะ Shock ? Pulse > 120/min, SBP < 90 หรือ MAP ≤ 65 ไม่ใช่

- รายงานศูนย์สั่งการขณะน�ำส่ง - ติดตามอาการขณะน�ำส่ง โรงพยาบาลเป็นระยะ

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

53


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 5 Advanced : หายใจลำำ�บาก แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยหายใจล�ำบาก ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม ใช่

สงสัยส�ำลักอุดกั้นทางเดินหายใจ ใช่

แนวปฏิ​ิบั​ัติสำิ ำ�ลั​ักอุ​ุดกั้​้�น ทางเดิ​ินหายใจ หน้​้า 57

รู้สึกตัวดี หรือไม่

แนวปฏิ​ิบัติั ิ ผู้​้�ป่วย ่ หมดสติ​ิ ระดั​ับ Advanced หน้​้า 73

ไม่ใช่

มี​ีอาการของภาวะหายใจล้​้มเหลวหรื​ือไม่​่? O2 sat น้อยกว่า 92%, RR > 30/นาที หรือ < 10/นาที และ ใช้กล้ามเนื้อ Accessory muscle ในการหายใจ? ใช่

- พิ​ิจารณาการให้​้ O2 mask with bag 10 LPM - พิจารณาพ่นยาหากคงยังได้ยินเสียง wheezing / Rhonchi โดยใช้ MDI with spacer หรือ Nebulizer - พิจารณา LMA / ET tube หากมี respiratory failure - Monitor สั​ัญญาณชี​ีพ, EKG, O2sat - ประเมินบาดแผลภายนอกถ้ามี Sucking Chest Wound พิจารณาท�ำ Three Side Dressing - พิจารณาให้สารน�้ำเมื่อมีภาวะ Shock - หากสงสัย ภาวะ Tension Pneumothorax ทีมรายงานศูนย์สั่งการ เพื่อพิจารณาท�ำ Needle Decompression - ประเมิ​ิ น ภาวะ Anaphylaxis ตาม แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่� 2 หน้​้า 50 - ประเมินผู้ป่วยเป็นระยะ และรายงาน ศูนย์สั่งการ 54

ไม่ใช่

ไม่ใช่

- จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ท่าสบายที่สุด (นอน ยกหัวสูงได้ หากไม่มีประวัติหรือสงสัย trauma) - ซักประวัตเิ พิม่ เติมเจ็บแน่นหน้าอก ไข้สงู ไอ Orthopnea, PND - หากไม่มีโรคประจ�ำตัว Asthma หรือ COPD และตรวจร่างกายได้ยินเสียง wheezing ใช้ยา Ventolin NB หรือ MDI with spacer - พิ​ิจารณาให้​้ออกซิ​ิเจน หาก O2 sat < 94% - พิจารณาให้สารน�้ำเมื่อมีภาวะ shock - Monitor สั​ัญญาณชี​ีพ EKG และ O2 sat - ประเมินอาการซ�้ำเป็นระยะ ๆ และ รายงานข้อมูลกลับศูนย์สอื่ สารและสัง่ การ

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 6 Advanced : หั​ัวใจหยุ​ุดเต้​้น แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม ติดต่อศูนย์สั่งการ ใช่

ผู้ป่วยหมดสติ คล�ำชีพจรไม่เกิน 10 วินาที คล�ำไม่ได้

เสียชีวิตนานแล้ว/DNR ไม่ใช่

คล�ำได้

แนวปฏิ​ิบัติั ิ ผู้​้�ป่วย ่ หมดสติ​ิ ระดั​ับ Advanced หน้​้า 73

- เริ่มกดหน้าอกอย่างมีประสิทธิภาพ ตามการช่วย ฟื้นคืนชีพขั้นสูง ร่วมกับใช้ออกซิเจน 100% - ห้ามเลือดออกภายนอก เมื่อพบมีการเสียเลือด - พิจารณาสวม Hard Collar หรือ Manual In line Immobilization กรณีสงสัย Trauma - หากเป็น VF, Pulseless VT ให้ปรึกษา พอป. พิจารณา Defibrillation - ให้ Epinephrine ด้วยขนาดของช่องทางตาม AHA Guideline 2020 หน้า 71 - หาสาเหตุของภาวะหัวใจหยุดเต้นด้วย 6H6T - รายงานแพทย์ พอป. หากมีความจ�ำเป็นต้องใช้ยา นอกเหนือจาก Epinephnine ไม่มี ROSC

มี ROSC

- Monitor สั​ัญญาณชี​ีพ ( Keep O2 sat ≥ 94%, SBP > 90 mmHg) - พิจารณาใส่ ET - tube ( กรณียังไม่ได้ใส่ ) - Monitor EKG + EKG 12 leads - แจ้งศูนย์สอื่ สารและสัง่ การขอน�ำส่งผูป้ ว่ ยไปโรงพยาบาล ที่ใกล้และมีศักยภาพที่เหมาะสมที่สุดประเมินอาการ ผูป้ ว่ ยอย่างใกล้ชดิ และรายงานสัญญาณชีพอย่างต่อเนือ่ ง - ติดตั้ง Telemedicine (ถ้ามี)

แจ้งศูนย์สั่งการขอยุติ การ CPR กรณีมี ข้อบ่งชี้ หากไม่มขี อ้ บ่งชี้ พิจารณา CPR ต่อ + น�ำส่งโรงพยาบาล

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

55


แนวทางปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 7 Advanced : เจ็​็บแน่​่นหน้​้าอก แนวปฏิบัติหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม อาการเจ็บแน่นหน้าอก จากโรคหัวใจขาดเลือด ? เจ็บแน่นอก ร้าวไปกราม/ไหล่ มีเหงื่อแตกตัวเย็น ใช่

ไม่ใช่

- ท�ำ EKG 12 Lead - Continuous EKG monitoring

- ประเมินอาการและตรวจรักษา ภาวะอื่นตามความเหมาะสม - น�ำส่งโรงพยาบาล

สงสัย STEMI ใช่

มีอาการน้อยกว่า 12 ชั่วโมง ?

ไม่ใช่

HR < 50 bpm หรือ > 150 bpm

ใช่

รายงาน พอป. เพื่อ Activate STEMI Fast Tract

ใช่

- ประเมินอาการและรักษาภาวะ คุกคามเบื้องต้น (ABCD and Resuscitation) - เจาะประเมินน�้ำตาลในเลือด (CBG) - พิจารณาให้ออกซิเจนหรือสารน�้ำ ตามข้อบ่งชี้ - รายงานศูนย์สื่อสารและสั่งการ - ประเมินอาการซ�้ำเป็นระยะ ๆ ขณะน�ำ ส่งโรงพยาบาลที่ใกล้และมีศักยภาพ

- ประเมินอาการและรักษาภาวะคุกคามเบื้องต้น (ABCD and Resuscitation) - อยู่ในจุดเกิดเหตุไม่เกิน 10 นาที - เจาะเลือด Dtx เตรียมส่ง CBC/BUN/Cr/Electrolyte/PT INR/hs-Trop-T (หลอดม่วงเขียวฟ้าแดง) - Monitor EKG สั​ัญญาณชี​ีพ, Keep O2 > 90% - พิจารณาให้สารน�ำเป็น NSS 1000 ml iv 60 ml /hr - เฝ้าระวังเตรียมพร้อม CPR - ซักประวัติเพิ่มเติมตามแนวทาง SAMPLE, Pain Score - รายงานศูนย์สั่งการตามแนวทาง MIST 56

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 8 Advanced : สำำ�ลั​ักอุ​ุดกั้​้�นทางเดิ​ินหายใจ หน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยที่ส�ำลักอุดกั้นทางเดินหายใจ ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม หมดสติหรือไม่ ไม่ใช่

ใช่

ประเมินชีพจร

สามารถส่งเสียงได้ ?

มี

ใช่

ประเมินอาการเป็น ระยะ ๆ และนําส่ง

ไม่มี

- แนวปฏิ​ิบัติั สำิ �ำ หรั​ับผู้​้�ป่วย ่ หั​ั ว ใจหยุ​ุ ด เต้​้ น ระดั​ั บ Advanced หน้​้า 55 - รายงาน พอป.

ไม่ใช่

สิ่งอุดกลั้นหลุด

- ท�ำ Finger Sweep และ Tongue-Jaw Lift ร่วมกับ - เปิดทางเดินหายใจโดย Head tilt chin lift jaw thrust จากนัน้ ช่วยหายใจ - ท�ำ Chest Compression - ช่วยหายใจต่อเนื่อง และประเมิน ชีพจรเป็นระยะ ก่อนน�ำส่ง

เด็ก < 1 ปี : 5 back blows 5 chest thrust เด็ก >1 ปี และผู้ใหญ่ : Heimlich Maneuver ผู้หญิงตั้งครรภ์, คนอ้วน : Chest Trust สิ่งอุดกลั้นไม่หลุด ประเมินความรู้สึกตัว และสัญญาณชีพอีกครั้ง

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

57


ข้อมูลที่ควรทราบ

Finger Sweep หมายถึ​ึง การใช้​้นิ้​้ว� มื​ือล้ว้ งกวาดเอาสิ่​่�งแปลกปลอมที่​่�มองเห็​็นได้​้และ อยู่​่�ในความลึ​ึกที่​่�นิ้​้�วไปถึ​ึง ออกมาจากทางเดิ​ินหายใจส่​่วนบน Tongue-jaw lift หมายถึ​ึ ง วิ​ิ ธี​ี ก ารใช้​้ นิ้​้� ว หั​ั ว แม่​่ มื​ื อ และนิ้​้� ว ชี้​้� ข องมื​ื อข้​้ า ง ที่​่�ไม่​่ถนั​ัด จั​ับยกลิ้​้�นและขากรรไกรผู้​้�ป่​่วย ขึ้​้�นในแนวตรงขณะผู้​้�ป่​่วยนอนราบ โดยใช้​้นิ้​้�วหั​ัว แม่​่ มื​ื อ สอดเข้​้ า ไปจั​ั บ ลิ้​้� น และนิ้​้� ว ชี้​้� จั​ั บ คางออกแรงบี​ี บ เข้​้ า หากั​ั น แล้​้ ว ยกขึ้​้� น ทำำ�ร่​่วมกั​ับ finger Sweep เพื่​่�อเปิ​ิดช่​่องปากให้​้มองเห็​็นสิ่​่�งแปลกปลอมได้​้ดี​ีมากขึ้​้�นและนํ​ํา ออกมาได้​้ ง่​่ายขึ้​้�น 5 back blow, 5 chest thrust (ตบหลั​ัง 5 ครั้​้�ง กระทุ้​้�งอก 5 ครั้​้�ง) หมายถึ​ึง การ ทำำ�ให้​้สิ่​่�งแปลกปลอม ออกมาจากทางเดิ​ินหายใจออกทารก โดยผู้​้�ช่​่วยเหลื​ือจั​ัดท่​่าผู้​้�ป่ว่ ยคว่ำำ�� หน้​้าหั​ัวตำำ� ทุ​ุบหลั​ังระหว่​่างสะบั​ัก 2 ข้​้าง 5 ครั้​้�ง จากนั้​้�นจั​ัดท่​่านอนหงายหั​ัวตำำ� ทุ​ุบที่​่�กระดู​ูก สั​ันอก 5 ครั้​้ง� แต่​่ละครั้​้ง� ออกแรงและเร็​็วไม่​่เกิ​ิน 1 วิ​ินาที​ี จนกว่​่าสิ่​่�งแปลกปลอมหลุ​ุดออกมา Heimlich Maneuver หรื​ือ Abdominal thrust (รั​ัดกระตุ​ุกหน้​้าท้​้อง) หมายถึ​ึง การทำำ� ให้​้ สิ่​่� งแปลกปลอมออกมาจากทางเดิ​ิ น หายใจ โดยให้​้ ผู้​้�ช่​่ ว ยเหลื​ื อ ยื​ืนด้​้านหลั​ังผู้​้�ป่​่วยใช้​้แขนโอบรอบลํ​ําตั​ัว มื​ือ 2 ข้​้างกํ​ําหมั​ัด วางที่​่� ตำำ�แหน่​่งใต้​้ลิ้​้�นปี่​่� จากนั้​้�น ออกแรงกระตุ​ุกอย่​่างรวดเร็​็วในแนวแรงเข้​้าหาลํ​ําตั​ัวและขึ้​้�นบนจำำ�นวน 5 ครั้​้�ง หรื​ือหากผู้​้� ป่​่วยนอกราบกั​ับพื้​้�น ให้​้ผู้​้�ช่​่วยเหลื​ือนั่​่�งคร่​่อมตั​ัวผู้​้�ป่​่วย ขาอยู่​่�ที่​่�ระดั​ับต้​้นขาของผู้​้�ป่​่วย ใช้​้มื​ือ 2 ข้​้างกดอย่​่าง รวดเร็​็วที่​่�ใต้​้ลิ้​้�นปี่​่�ของผู้​้�ป่​่วยในมุ​ุมเอี​ียงขึ้​้�นด้​้านศี​ีรษะผู้​้�ป่​่วยจำำ�นวน 5 ครั้​้�ง จนกว่​่าสิ่​่�งแปลกปลอมหลุ​ุดออกมา หากเป็​็นผู้​้�ป่​่วยอ้​้วนหรื​ือตั้​้�งครรภ์​์ สามารถออกแรงกระตุ​ุกที่​่�หน้​้าอกแทนได้​้ เรี​ียกว่​่า Chest thrust

58

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 9 Advanced : อาการเบาหวาน แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยที่มีอาการของเบาหวาน ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม ผู้ป่วยหมดสติหรือไม่ ไม่ใช่

ใช่

เจาะวัดระดับน�้ำตาลในเลือด CBG <50 mg/dl ในคนปกติ, CBG < 70 mg/dl ในคนไข้เบาหวาน ใช่

แนวปฏิ​ิบัติั ิ ผู้​้�ป่วย ่ หมดสติ​ิ ระดั​ับ Advanced หน้​้า 73 ไม่ใช่

- ประเมินความรู้สึกตัว เหงื่อออก ใจสั่น วูบ - หากผูป้ ว่ ย มีอาการเล็กน้อย สามารถ ช่วยเหลือตวั เองได้ ให้ทานน�้ำหวานเอง - หากผูป้ ว่ ย มีระดับความรูส้ กึ ตัวลดลง พิจารณาให้ 50% glucose 50 ml ทาง IV และให้สารน�้ำที่มีน�้ำตาล 10DN/2 80 ml/hr (กรณีเด็ก<30kg หรืออายุ < 30 kg ให้ 50% glucose 2 ml /kg dilute เท่าตัว IV load (max 50 ml) then 10% D/N/2 5 ml/kg/hr (max 40 ml/hr) - เฝ้าระวังภาวะชักเกร็ง - Monitor สั​ัญญาณชี​ีพ EKG, O2Sat เป็นระยะ - ซักประวัติ ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ โรค การใช้ยากิน ยาฉีด ไข้

- มีภาวะหายใจล้มเหลว พิจารณา LMA หรือ ET tube - หากระดั​ับน้ำำ��ตาลสู​ูง >250 mg% ให้​้พิ​ิจารณาเปิ​ิดเส้​้น ให้​้ 0.9% Nacl rate 120 ml/hr ทางหลอดเลือดด�ำ หากไม่มีอาการที่สงสัย น�้ำท่วมปอด และเฝ้าระวังภาวะชัก - Monitor สั​ัญญาณชี​ีพ EKG, O2sat เป็นระยะ ๆ - ซักประวัติ ข้อมูลเพิ่มเติมเท่าที่ท�ำได้

**เก็บเลือดผู้ป่วยเพื่อ confirm blood sugar ก่อนให้ glucose เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

59


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 10 Advanced : ภาวะอุ​ุณหภู​ูมิ​ิกายสู​ูงเกิ​ิน แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการขั้นสูงต่อผู้ป่วยที่ได้รับภยันตราย จากสภาพแวดล้อม ภาวะอุณหภูมิกายสูงเกิน ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม ปลุกเรียก ประเมินว่ามีชีพจร หรือไม่ ไม่มี

มี

Clear airway ล้วง FB ออก ดูดสารคัดหลั่งหรือ อาเจียน เปิดทางเดินหายใจ head tilt-Chin lift, jaw thrust หายใจเร็วหอบเหนื่อย ใช่

O2 mask with bag 10LPM

แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ผู้​้�ป่​่วยหั​ัวใจ หยุ​ุดเต้​้นระดั​ับ Advanced หน้​้า 55

ประเมินความรู้สึกตัว

Shock หรือไม่?

ไม่ใช่

ประเมินอาการ เป็นระยะ

ใช่

ไม่ใช่

ประเมิ​ินอาการเป็​็น ระยะ หรื​ือให้​้ดื่​่�มเกลื​ือแร่​่ - ให้ 0.9 Nacl 300 ml IV ใน 15 นาที - รายงาน พอป. < 40°C

วั​ัดสั​ัญญาณชี​ีพ วั​ัดอุ​ุณหภู​ูมิกิ าย วั​ัดทางหู​ูหรื​ือทวารหนั​ัก และ ประเมิ​ินเป็​็นระยะขณะนํ​ําส่​่ง

ให้ผู้ป่วยอยู่ในที่ อากาศเย็น และถ่ายเท ปลดเสื้อผ้า > 40°C

ปกติ

ซึม, สับสน

Dtx< 60 mg% ใช่

ไม่ใช่

50% glucose 50 ml IV slowly push ตาม ด้​้วย แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ผู้​้�ป่​่วยหมดสติ​ิ 10% ระดั​ับ D N/2 drip 80 ml/hr Advanced

- นําผ้าเปียกเย็น หรือห่อน�้ำแข็งวางตามซอกคอ รักแร้ ซอกขา ข้อพับ - ใช้กระบอกฉีดน�้ำ ฉีดพ่นละอองน�้ำเย็น (15°C) ลง บนตัวผูป้ ว่ ยจนทัว่ แล้วเป่าพัดลมตาม 60

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


ข้อมูลที่ควรทราบ

ภยั​ันตรายจากภาวะอุ​ุณหภู​ูมิ​ิกายสู​ูงเกิ​ิน หมายถึ​ึง ภาวะที่​่�ร่​่างกายได้​้รั​ับ หรื​ือสัมั ผั​ัส ความร้​้อนเป็​็นเวลานาน อาจเกิ​ิดขึ้​้น� จากการอยู่​่�ในสภาพแวดล้​้อมที่​่�ร้อ้ นจั​ัด เช่​่น การทำำ�งาน กลางแจ้​้ง วิ่​่�งมาราธอน หรื​ือร่​่างกายไม่​่สามารถกํ​ําจั​ัดความร้​้อนที่​่�สะสมในร่​่างกายได้​้ดี​ี เช่​่น ผู้​้�สู​ูงอายุ​ุ เป็​็นต้​้น ทำำ�ให้​้อุ​ุณหภู​ูมิ​ิกายสู​ูงขึ้​้�น และเกิ​ิดภาวะความผิ​ิดปกติ​ิต่​่าง ๆ ดั​ังนี้​้� • อาการไม่​่รุ​ุนแรง ได้​้แก่​่ ผื่​่�นคั​ัน, มื​ือ เท้​้าบวม, เกร็​็งกล้​้ามเนื้​้�อ เป็​็นตะคริ​ิว, หน้​้ามื​ืด เป็​็นลม, ปวดศี​ีรษะคลื่​่�นไส้​้อาเจี​ียน • อาการรุ​ุนแรง ได้​้แก่​่ สั​ับสน, ซึ​ึม, หมดสติ​ิ, ชั​ัก, สั​ัญญาณชี​ีพผิ​ิดปกติ​ิเมื่​่�อวั​ัดทางหู​ู หรื​ือทวารหนั​ัก มากกว่​่า 40°C, ความดั​ันโลหิ​ิตตำำ�หรื​ือสู​ูงผิ​ิดปกติ​ิ, หายใจเร็​็ว หรื​ือหายใจ ลํ​ําบาก และชี​ีพจรเร็​็วหรื​ือผิ​ิดจั​ังหวะ

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

61


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 11 Advanced : การดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ินผู้​้�ป่​่วยสงสั​ัยหรื​ือติ​ิดเชื้​้�อ ไวรัสโคโรนา 2019 ภายนอกโรงพยาบาล ศูนย์รับแจ้งเหตุผ่าน 1669 หรือผ่านทางระบบอื่น ๆ Phone triage และคัดแยกประวัติเกณฑ์สงสัยติดเชื้อ COVID-19***ทุกราย ไม่เข้าเกณฑ์ PUI เจ้าหน้าที่ทุกคนสวมชุด standard PPE หัวหน้าทีมประเมินประวัติเกณฑ์สงสัยติดเชื้อ COVID-19 อีกครั้งผ่านการซักประวัติที่ระยะห่าง 2 เมตร โดยผู้ป่วยและญาติสวมหน้ากากอนามัย

ไม่เข้าเกณฑ์ รหั​ัสแดงหรื​ือเหลื​ือง - หากพ่​่นยา ใช้​้แบบ MDI with Spacer - กรณี​ีให้​้ O2 ให้​้ใช้​้ Surgical Mask ครอบ ทั​ับ Cannula หรื​ือ Mask with Bag - กรณี​ีช่​่วยหายใจ ใช้​้ Bag-Mask Device with HEPA Filter - เลี่​่�ยงการใส่​่ Endotracheal Tube แต่​่หากมี​ีความจำำ�เป็​็น ผู้​้�ใส่​่ Tube ให้​้สวมชุ​ุด Full/Enhanced PPE และใช้​้ HEPA Filter ทุ​ุกครั้​้�ง

เข้าเกณฑ์ - เจ้​้าหน้​้าที่​่�ทุ​ุกคนเปลี่​่�ยน เป็​็นชุ​ุด enhance PPE - แจ้​้งข้​้อมูลู กลั​ับศู​ูนย์​์รั​ับ แจ้​้งเหตุ​ุ เพื่​่�อแจ้​้งข้​้อมูลู ให้​้โรงพยาบาลปลายทาง เตรี​ียมความพร้​้อม - ปฏิ​ิบั​ัติตา ิ มแนวทาง การดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยสงสั​ัย ติ​ิดเชื้​้�อ COVID-19

รหั​ัสเขี​ียว - ผู้ป่วยและญาติสวมหน้ากากอนามัย - อนุญาตให้ญาติขึ้นรถพยาบาลเพียง 1 คน - เจ้าหน้าที่นั่งห่างจากผู้ป่วยอย่างน้อย 1 เมตร

62

เข้าเกณฑ์ PUI เจ้าหน้าที่ทุกคนสวมชุด enhanced PPE

รหัสแดงหรือเหลือง - กรณี​ีให้​้ O2 ให้​้ใช้​้ Surgical Mask ครอบ ทั​ับ Cannula หรื​ือ Mask With Bag - ไม่​่ใส่​่ Endotracheal Tube แต่​่ช่ว่ ยหายใจ โดยใช้​้ Bag-Mask Device with HEPA with Tight Seal (2-Rescuers) รวมถึ​ึง กรณี​ี Cardiac Arrest ที่​่�ช่​่วยหายใจ แบบ 30:2 ด้​้วย - กรณี Cardiac Arrest • ใช้​้ Mechanical CPR Device (ถ้​้ามี​ี) • หากเจ้​้าหน้​้าที่​่�ไม่​่ พอที่​่�จะทำำ� Positive Ventilation ได้​้ ให้​้ใส่​่ O2 Mask With Bag และสวม Surgical Mask ครอบทั​ับ ระหว่​่างการทำำ� Compression-only CPR - ใช้​้ Soft Paddle ทุ​ุก ครั้​้�งที่​่�ต้​้อง Cardioversion หรื​ือ Defibrillation

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

รหัสเขียว - ไม่​่อนุญาต ุ ให้​้ญาติ​ินั่​่�ง บนรถพยาบาลร่​่วมกั​ับ ผู้​้�ป่​่วย - ผู้​้�ป่​่วยสวม Surgical Mask - จำำ�กั​ัดจำำ�นวนเจ้​้าหน้​้าที่​่� ที่​่�อยู่​่�ร่​่วมห้​้องโดยสาร ให้​้น้อยที่​่�สุ ้ ดุ และห่​่างจาก ผู้​้�ป่ว่ ยอย่​่างน้​้อย 1 เมตร


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 12 Advanced : ปวดศี​ีรษะ แนวปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติการระดับสูงต่อผู้ป่วยที่มีอาการปวดศีรษะ ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่เหมาะสม อาการคงที่ (Stable) ?

- ให้การรักษา Resuscitation

ไม่ใช่ (Unstable) ตามความเหมาะสม

ใช่

มี​ีอาการโรคหลอดเลื​ือดสมอง ตาม CPSS* อาการปากเบี้ยวหน้าเบี้ยว, ลิน้ แข็งพูดไม่ชดั หรือแขนขาอ่อนแรงครึ่งซีก ใช่

ไม่ใช่

แนวปฏิ​ิบั​ัติผู้​้�ป่ ิ ่วย หลอดเลื​ือดสมอง ระดั​ับ Advanced หน้​้า 72

- รายงานศูนย์สื่อสารสั่งการ หรือปรึกษา พอป.

พิจารณาอาการและอาการแสดงของภาวะความดัน ในกะโหลกศีรษะสูง หรือสาเหตุจากสมอง - อาเจียนมากกว่า 3 ครั้ง - มองเห็นภาพซ้อน - มีอาการชักเกร็ง - เดินเซ - ระดับการรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง : ซึม หมดสติ

- ให้​้การดู​ูแลประคั​ับประคองอย่​่างเหมาะสม - รี​ีบนํ​ําส่​่งโรงพยาบาล (อยู่​่�ในที่​่�เกิ​ิดเหตุ​ุไม่​่ เกิ​ิน 10 นาที​ี) - วั​ัดสั​ัญญาณชี​ีพ - เจาะระดั​ับน้ำำ��ตาลในเลื​ือด DTX - ให้​้ออกซิ​ิเจนถ้​้าหอบหรื​ือ O2sat < 95% - เปิ​ิดเส้​้นให้​้สารน้ำำ�� - ประเมิ​ินอาการ รายงานศู​ูนย์​์สื่​่�อสารและสั่​่�งการ

ไม่ใช่ ใช่

นำำ�ส่​่งโรงพยาบาล ให้​้การดู​ูแล ประคั​ับประคอง อย่​่างเหมาะสม

* CPSS: Cincinati Prehospital Stroke Scale ดั​ังนี้​้� F = facial droop หน้าเบี้ยวหรือปากเบี้ยว A = Arm drift แขนขาอ่อนแรงครึ่งซีกด้านใดด้านหนึ่ง S = Slur speech พูดไม่ชัดลิ้นแข็ง เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

63


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 13 Advanced : คลุ้​้�มคลั่​่�ง แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับสู​ูงต่​่อผู้​้�ป่​่วยคลุ้​้�มคลั่​่�ง ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่​่�เหมาะสม สามารถเข้​้าถึ​ึงตั​ัวผู้​้�ป่​่วย ได้​้หรื​ือไม่​่ ? ไม่​่ใช่​่ ใช่​่

รายงานศู​ูนย์​์สั่​่�งการ/ รายงาน พอป. ขอความช่​่วยเหลื​ือจากหน่​่วยงานที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง* สามารถควบคุ​ุมได้​้

- ประเมิ​ิน ระดั​ับความรู้​้�สึ​ึกตั​ัวและรั​ักษาเบื้​้�องต้​้นตามอาการ - ตรวจหาการบาดเจ็​็บอย่​่างอื่​่�นที่​่�อาจพบร่​่วมด้​้วย - เตรี​ียมอุ​ุปกรณ์​์สำำ�หรั​ับการยึ​ึดตรึ​ึงผู้​้�ป่​่วย - ดู​ูแลขณะนํ​ําส่​่งโรงพยาบาล รายงานศู​ูนย์​์สั่​่�งการ - หาก พิ​ิจารณาจำำ�เป็​็นต้​้องให้​้ยาเพื่​่�อควบคุ​ุมอาการของผู้​้�ป่​่วย ให้​้รายงาน พอป. หมายเหตุ​ุ : *หน่​่วยงานที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง ได้​้แก่​่ มู​ูลนิ​ิธิ​ิ ตำำ�รวจ

64

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 14 Advanced : ได้​้รับส ั ารพิ​ิษหรื​ือยาเกิ​ินขนาด แนวปฏิ​ิบัติั สำิ �ำ หรั​ับ หน่​่วยปฏิ​ิบัติั กิ ารขั้​้น� สู​ูง ต่​่อผู้​้�ป่ว่ ยที่​่�ได้​้รับั สารพิ​ิษหรื​ือยาเกิ​ินขนาด ปฏิ​ิบัติั ติ ามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่​่�เหมาะสม พิ​ิจารณา dry decontamination หมดสติ​ิและไม่​่มีชี​ี พี จร แนวปฏิ​ิบัติั ิ ผู้​้�ป่​่วยหัวั ใจหยุ​ุดเต้​้น ระดั​ับ Advanced หน้​้า 55

ใช่​่

ไม่​่ใช่​่

มี​ีความเสี่​่�ยงต่​่อภาวะ Airway obstruction หรื​ือเสี่​่�ยง respiratory failure RR >24, O2 Sat<92%

- จั​ัดท่​่าเปิ​ิดทางเดิ​ินหายใจ (Head tilt-chin lift) - ให้​้ O2 - พิ​ิจารณาใส่​่ LMA หรื​ือ ET tube หากเสี่​่�ยง Airway obstruction - ประเมิ​ินซี​ีพจร, อั​ัตราการหายใจ, O2sat

มี​ีภาวะ Shock ? หรื​ือ Unstable vital sign? ใช่​่

เปิ​ิดหลอดเลื​ือด 2 เส้​้นเพื่​่�อให้​้สารน้ำำ�� Monitor EKG 3 Lead

ไม่​่ใช่​่

- รายงาน พอป. ขอคำำ�แนะนํ​ําการให้​้ Antidote - พิ​ิจารณาล้​้างตา หรื​ือล้า้ งผิ​ิวหนั​ัง บริ​ิเวณที่​่�ปนเปื้​้อ� น - นำำ�ตั​ัวอย่​่างยา, ซองยา, ขวดสารพิ​ิษ ไปโรงพยาบาล - ติ​ิดตามอาการเป็​็นระยะๆ รายงานข้​้อมู​ูลไปศู​ูนย์​์ สื่​่�อสารและสั่​่�งการขณะนำำ�ส่​่ง

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

65


ข้​้อมูลู ที่​่�ควรทราบ

การดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยที่​่�ได้​้รับั สารพิ​ิษหรื​ือยาเกิ​ินขนาด (Intoxication or drug Overdose) พิ​ิจารณาใช้​้ หลั​ักการกู้​้�ชี​ีพองค์​์รวมตามแนวทางปฏิ​ิบัติั ิ เพื่​่�อช่​่วยเหลื​ือและแก้​้ไขภาวะที่​่�คุ​ุกคาม ชี​ีวิติ ก่​่อนจะมุ่​่�งเน้​้นไปที่​่� การ ให้​้ยาต้า้ นพิ​ิษ ผู้​้�ที่​่�ได้​้รับั สารพิ​ิษหรื​ือยาเกิ​ินขนาดจะมี​ีอาการ/ อาการแสดงเข้​้าได้​้กับั กลุ่ม่� อาการ/อาการแสดง ของสารพิ​ิษต่า่ ง ๆ ตามตารางกลุ่ม่� อาการพิ​ิษ (toxidrome) ข้​้างล่​่างนี้​้� กลุ่​่�มอาการพิ​ิษ Toxidrome Narcotic toxidrome เช่​่น ฝิ่​่น� , Heroin, Morphine, Pethidine, Codeine Cholinergic toxidrome เช่​่น Carbamate /Organophosphate poisoning

อาการ อาการแสดง หมดสติ​ิ, หายใจช้​้าจากการถู​ูกกดหายใจ, ม่​่านตาขนาดเล็​็ก สารคั​ัดหลั่​่�ง, น้ำำ��ลาย, เสมหะปริ​ิมาณมาก, ปั​ัสสาวะคั่​่�ง, ท้​้องผู​ูก คลื่​่�นไส้​้ อาเจี​ียน, ปวด ท้​้องจากลํ​ําไส้​้บี​ีบเกร็​็ง Anticholinergic toxidrome ตั​ัวร้​้อน, มี​ีใช้​้, ผิ​ิวหนั​ังแดง, ปากแห้​้ง, คอแห้​้ง เช่​่น Amphetamine, ยาบ้​้า, ยาไอซ์​์, ยาอี​ี , ม่​่านตาขยาย, ตาพร่​่ามั​ัว, สั​ับสน,เพ้​้อคลั่​่�ง (Delirium), ชี​ีพจรเร็​็ว Sympathomimetic toxidrome ความดั​ั น โลหิ​ิ ตสู​ู ง , ชี​ี พ จรเร็​็ ว , ตั​ั ว ร้​้ อ น , ม่​่านตาขยาย, กระสั​ับกระส่​่าย, สั​ับสน , เพ้​้อคลั่​่�ง Sedative-hypnotic toxidrome สั​ับสน, หมดสติ​ิ, หายใจข้​้า, ความดั​ันโลหิ​ิตต่ำ�ำ� เช่​่น ยานอนหลั​ับ, ยากล่​่อมประสาท , อุ​ุณหภู​ูมิ​ิร่​่างกายลดลง ตั​ัวอย่า่ งสารพิ​ิษที่​่�มียี าต้​้านพิ​ิษ Carbon monoxide (CO) Opiates Carbamate / Organophosphates Ca channel blockers

66

ยาต้​้านพิ​ิษ (Antidote)

Oxygen Naloxone Atropine, 2-PAM Calcium gluconate / Calcium chloride/ Glucagons

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


ตรวจดู​ูการบาดเจ็​็บอื่​่�นเพิ่​่�มเติ​ิม เช่​่น บาดแผลฉี​ีกขาด, รอยฟกช้ำำ�� บวมโน, กระดู​ูกหั​ัก สาเหตุ​ุที่​่�ได้​้รับั สารพิ​ิษหรื​ือยาเกิ​ินขนาดนั้​้�น อาจเกิ​ิดจากการเสพเกิ​ินขนาด / โดยรู้​้�เท่​่าไม่​่ถึงึ การณ์​์ / อุ​ุบัติั เิ หตุ​ุ หรื​ือความ พยายามทำำ�ร้​้ายตนเอง จากความผิ​ิดปกติ​ิทางจิ​ิตเวช เช่​่น โรค ซึ​ึมเศร้​้า, จิ​ิตเภท จึ​ึงควรประเมิ​ินสาเหตุ​ุเพื่​่�อ ช่​่วยเหลื​ือต่อ่ ไป ซั​ักประวั​ัติโิ รคประจำำ�ตั​ัวหรื​ือยา อื่​่�นที่​่�ผู้​้�ป่ว่ ยฉุ​ุกเฉิ​ินใช้​้ร่ว่ มด้​้วย

ศู​ูนย์​์พิษิ วิ​ิทยารามาธิ​ิบดี​ี 1367 ศู​ูนย์​์พิษิ วิ​ิทยาศิ​ิริริ าช 02-4197007, 02-4197371

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

67


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 15 Advanced : อาการเจ็​็บครรภ์​์คลอด แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิสำำ�หรั​ับ หน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับสู​ูง ต่​่อผู้​้�ป่​่วยที่​่�มี​ีอาการเจ็​็บครรภ์​์คลอด ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่​่�เหมาะสม มารดามี​ีอาการปวดเบ่​่ง หรื​ือไม่​่ ใช่​่ ประเมิ​ินช่​่องทางคลอดได้​้ ? ไม่​่ได้​้ ได้​้ พบส่​่วนนํ​ําของทารก เลื่​่�อนตำำ�ลงจนถึ​ึงอวั​ัยวะเพศ ภายนอก ไม่​่พบ พบ ส่​่วนนำำ�เป็​็นศี​ีรษะ ใช่​่

ไม่​่ใช่​่

- เปิ​ิดเส้​้นให้​้สารน้ำำ��มารดา - ทำำ�คลอดปกติ​ิ ตั​ัดสายสะดื​ือทารก - บั​ันทึ​ึกเวลาคลอดทารก, เวลาคลอดรก - ดู​ูแลมารดาและทารกหลั​ังคลอด - นํ​ําส่​่ง รายงานศู​ูนย์​์สื่​่�อสารและสั่​่�งการ - รายงาน พอป. หากต้​้อง resuscitate ทารก หรื​ือ มารดา

ไม่​่ใช่​่ - ปฏิ​ิบัติั ตา ิ มหลั​ักประเมิ​ินอาการผู้​้�ป่​่วยขั้​้�นต้​้น และแก้​้ไขภาวะคุ​ุกคามต่​่อชี​ีวิ​ิต (Initial assessment ABCD and Resuscitation for life-threaten condition) - จั​ัดท่​่านอนตะแคงซ้​้าย - ประเมิ​ินอาการเป็​็นระยะนํ​ําส่​่งโรงพยาบาล - รายงานข้​้อมูลู ศู​ูนย์​์สั่​่�งการ - เปิ​ิดเส้​้นให้​้สารน้ำำ�� - ปฏิ​ิบัติั ตา ิ มหลั​ักประเมิ​ินอาการผู้​้�ป่​่วยขั้​้�น ต้​้นและแก้​้ไขภาวะคุ​ุกคาม ต่​่อชี​ีวิ​ิต - หากพบภาวะสายสะดื​ือโผล่​่ (prolapse cord) ให้​้ยกก้​้นมารดาขึ้​้�นสู​ูง ด้​้วยหมอน 2 ใบ ในท่​่าตะแคงซ้​้าย - รายงาน พอป.

ติ​ิดตามอาการเป็​็นระยะๆ ขณะนำำ�ส่​่งโรงพยาบาล

68

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 16 Advanced : ชั​ัก แนวปฏิ​ิบั​ัติสำิ ำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับสู​ูงต่​่อผู้​้�ป่​่วยชั​ัก ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่​่�เหมาะสม กำำ�ลั​ังชั​ัก หรื​ือ ชั​ักซ้ำำ�� รู้​้�ตั​ัวดี​ี

ไม่​่ใช่​่ ใช่​่

หมดสติ​ิ ? หมดสติ​ิ

Diazepam 10 mg IV push stat

เฝ้​้าระวั​ังการชั​ักซ้ำำ�� และ นำำ�ส่​่ง โรงพยาบาล แนวปฏิ​ิบัติั ิ ผู้​้�ป่วย ่ หมดสติ​ิ ระดั​ับ Advanced หน้​้า 73

Status epilepticus ? ชั​ักเกิ​ินกว่​่า 5 นาที​ี หรื​ือ ชั​ักซ้ำำ��ขณะที่​่�ยั​ังไม่​่ตื่​่�น

- Airway clearing ทั้​้�งจาก FB หรื​ืออาเจี​ียน head tilt, chin lift (ทำำ� jaw thrust ร่​่วมกั​ับ manual in-line stabilization หากสงสั​ัย trauma) - หากหายใจได้​้เอง พิ​ิจารณาให้​้ mask with bag 10 LPM - หากหายใจเองไม่​่ได้​้ หรื​ือ หายใจติ​ิดขั​ัดให้​้พิ​ิจารณา LMA หรื​ือ ETTube - เจาะระดั​ับน้ำำ��ตาลในเลื​ือด DTX หาก < 60 mg% ให้​้ 50% glucose 50 ml IV push ต่​่อด้​้วย 10%DN/2 IV drip 60 ml/hr - ประเมิ​ิน vital sign, monitor EKG - ประเมิ​ินอาการซ้ำำ��เป็​็นระยะๆ รายงานศู​ูนย์​์สื่​่�อสารและสั่​่�งการอย่​่างต่​่อเนื่​่�องระหว่​่าง การนำำ�ส่​่ง - รายงาน พอป. หากพิ​ิจารณาจำำ�เป็​็นต้​้องใช้​้ยากั​ันชั​ัก - ซั​ักประวั​ัติ​ิเพิ่​่�มเติ​ิมจากญาติ​ิหรื​ือผู้​้�เห็​็นเหตุ​ุการณ์​์

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

69


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 17 Advanced : อาการเหนื่​่�อย แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับสู​ูงต่​่อผู้​้�ป่​่วยที่​่�มี​ีอาการเหนื่​่�อย ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่​่�เหมาะสม Airway obstruction?

- จั​ัดท่​่าและเปิ​ิดทางเดิ​ินหายใจ/ suction - พิ​ิจารณา LMA/ ET tube แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ผู้​้�ป่​่วยหายใจลำำ�บาก ระดั​ับ Advanced หน้​้า 54 - จั​ัดท่​่านอนราบหรื​ือนอนหั​ัวต่ำำ�� - ทำำ� EKG และ monitor EKG อย่​่าง ต่​่อเนื่​่�อง - รายงาน พอป. - หากไม่​่มี​ีชี​ีพจร ทำำ�ตาม แนวปฏิ​ิบั​ัติ ิ ผู้​้�ป่​่ วยหั​ั ว ใจหยุ​ุ ดเต้​้ นระดั​ั บ Advanced หน้​้า 55

ใช่​่

มี​ีอาการ dyspnea ? หรื​ือพบว่​่า RR >20, O2 sat< 94%

ใช่​่

ไม่​่ใช่​่

ภาวะ Shock ?/ Unstable vital sign ? ใช่​่

70

ไม่​่ใช่​่

มี​ีอาการที่​่�เข้​้าได้​้กั​ับ stroke ตาม CPSS ? ใช่​่

แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ผู้​้�ป่​่วยหลอดเลื​ือดสมอง ระดั​ับ Advanced หน้​้า 72

ไม่​่ใช่​่

ไม่​่ใช่​่

- ประเมิ​ินอาการและตรวจรั​ักษา ภาวะอื่​่�น ตามความเหมาะสม - ติ​ิดตามอาการเป็​็นระยะๆ ขณะนำำ�ส่​่ง

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


ข้​้อมู​ูลที่​่�ควรทราบ ความแตกต่​่างระหว่​่างอาการ Dyspnea, Fatigue และ Weakness Dyspnea Symptom Objective + Subjective RR↑↑, HR↑↑, Retraction, O2 sat ↓↓ Cardiac cause, Airway dz, Lung dz, Metabolic (metabolicrespiratory acidosis), Hypoxia

Fatigue

Weakness Symptom Objective + Subjective Motor power ↓↓

Feeling Subjective Normal V/S Normal PE Physical pathology Stroke, GBS, Myositis, VS Spinal cord dz, psychotic pathology Hypoglycemia, Hypokalemia, Neuritis, Intracranial lesion

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

71


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 18 Advanced : โรคหลอดเลื​ือดสมอง แนวปฏิ​ิบัติั สำิ �ำ หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติั กิ ารระดั​ับสู​ูงต่​่อผู้​้�ป่ว่ ยที่​่�มี​ีอาการโรคหลอดเลื​ือดสมอง ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่​่�เหมาะสม มี​ีอาการโรคหลอดเลื​ือดสมอง ตาม CPSS* อาการปากเบี้​้�ยวหน้​้าเบี้​้�ยว, ลิ้​้�นแข็​็งพู​ูดไม่​่ชั​ัด หรื​ือแขนขาอ่​่อนแรงครึ่​่�งซี​ีก ไม่​่ใช่​่

ใช่​่

น้ำำ��ตาลในเลื​ือด มากกว่​่า 70 mg% ไม่​่ใช่​่

ใช่​่

เวลาเริ่​่�มมี​ีอาการ น้​้อยกว่​่า 4.5 ชั่​่�วโมง ใช่​่

ไม่​่ใช่​่

- ประเมิ​ินอาการและรั​ักษาภาวะ คุ​ุกคาม (ABCD) และตรวจ ประเมิ​ินเพื่​่�อรั​ักษาภาวะอื่​่�นตาม ความเหมาะสม แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ผู้​้�ป่​่วยเบาหวาน ระดั​ับ Advanced หน้​้า 59 - ประเมิ​ินอาการและรั​ักษา เบื้​้�องต้​้น (ABCD) - ให้​้ออกซิ​ิเจนถ้​้ามี​ีข้อบ่ ้ ่งชี้​้� ให้​้สารน้ำำ��ตามข้​้อบ่​่งชี้​้� - ประเมิ​ินอาการซ้ำำ��เป็​็นระยะ - รี​ีบนำำ�โรงพยาบาล รายงานศู​ูนย์​์ สื่​่�อสารและสั่​่�ง การอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง

- Activate Stroke Fast Tract - รายงานศู​ูนย์​์สื่​่�อสารประสานงานและ พอป. - อยู่​่�ในจุ​ุดเกิ​ิดเหตุ​ุไม่​่เกิ​ิน 10 นาที​ี - ประเมิ​ินอาการและรั​ักษาภาวะคุ​ุกคาม - เจาะเลื​ือดเตรี​ียมส่​่ง CBC/ BUN/ Cr/ Electrolyte/ PT/ INR * CPSS: Cincinati Prehospital - ให้​้ผู้​้�ป่​่วยงดน้ำำ�� Stroke Scale ดั​ังนี้​้� - Monitor ECG หากทำำ�ได้​้ F= facial droop หน้​้าเบี้​้�ยวหรื​ือ - ให้​้ 0.9% Nacl iv 8o ml/hr ปากเบี้​้�ยว A= arm drift แขนขาอ่​่อนแรงครึ่​่�งซี​ีก ด้​้านใดด้​้านหนึ่​่�ง S= slur speech พู​ูดไม่​่ชั​ัดลิ้​้�นแข็​็ง

72

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 19 Advanced : หมดสติ​ิ / ไม่​่ตอบสนอง แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับสู​ูงต่​่อผู้​้�ป่​่วยหมดสติ​ิ / ไม่​่ตอบสนอง ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่​่�เหมาะสม ดู​ูการหายใจ, คลำำ�ชี​ีพจร carotid - เริ่​่�มกดหน้​้าอก ตาม แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ผู้​้�ป่​่วยหั​ัวใจ ไม่​่เกิ​ิน 10 วิ​ินาที​ี หยุ​ุดเต้​้นระดั​ับ Advanced หน้​้า 55 ติ​ิ ไม่​่ใช่​่,ไม่​่แน่​่ใจ ดตั้​้ง� defibrillator - รายงานศู​ูนย์​์รั​ับแจ้​้งเหตุ​ุและสั่​่�งการ ใช่​่ - Airway clearing ทั้​้�งจาก FB หรื​ืออาเจี​ียน head tilt, chin lift - ให้​้ทำำ� jaw thrust ร่​่วมกั​ับ manual in-line stabilization (trauma) - mask with bag 10 LPM หรื​ือ ช่​่วยหายใจ แบบ Bag vale mask หรื​ือพิ​ิจารณา LMA - เจาะ CBG หาก < 60 mg% ให้​้ 50% glucose 50 ml IV push ต่​่อด้​้วย มี​ีภาวะ Shock ? 10%DN/2 IV drip 80 ml/hr BP <90/60 mmHg, pulse - EKG 12 lead หากพบ STEMI ให้​้ >120/min รายงาน พอป. ใช่​่ ไม่​่ใช่​่ - ซั​ักประวั​ัติ​ิจากผู้​้�เห็​็นเหตุ​ุการณ์​์ * รายงาน พอป. - หากสงสั​ัย trauma ให้​้ hard collar, head immobilize และ long spinal * การซั​ักประวั​ัติจิ ากญาติ​ิหรื​ือผู้​้�เห็​็นเหตุ​ุการณ์​์ board - ประเมิ​ินอาการซ้ำำ��เป็​็นระยะ ระหว่​่าง • เวลาเริ่​่�มมี​ีอาการ การนำำ�ส่​่งโรงพยาบาล • อาการที่​่�พบร่​่วม เช่​่น ปวดศี​ีรษะ แขนขา อ่​่อนแรงซี​ีกใดซี​ีกหนึ่​่�ง แน่​่น หน้​้าอก เหงื่​่�อแตก - รายงานศู​ูนย์​์รั​ับแจ้​้งเหตุ​ุและสั่​่�งการ อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ใจสั่​่�น ชั​ักเกร็​็ง เป็​็นต้​้น • โรคประจำำ�ตั​ัว ยาต่​่าง ๆ หรื​ือแอลกอฮอล์​์ • ประวั​ัติอุิ ุบั​ัติ​ิเหตุ​ุที่​่�อาจเกี่​่�ยวข้​้อง เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

73


ข้​้อมู​ูลที่​่�ควรทราบ

หมดสติ​ิ เป็​็นอาการที่​่�ต้​้องได้​้รั​ับการค้​้นหาภาวะคุ​ุกคามต่​่อชี​ีวิ​ิต ภาวะความผิ​ิด ปกติ​ิบางอย่​่างเกิ​ิดจาก สาเหตุ​ุที่​่�สามารถรั​ักษาได้​้และช่​่วยเหลื​ือได้​้ทันั ท่​่วงที​ี การเปลี่​่�ยนแปลง ของระดั​ับความรู้​้�สึกึ ตั​ัว คื​ือภาวะใดๆก็​็ ตามที่​่�ความตื่​่�นตั​ัวของบุ​ุคคลไม่​่อยู่​่�ในระดั​ับปกติ​ิ เกิ​ิด การเปลี่​่�ยนแปลงในการท างานของสมอง ระดั​ับของความ รู้​้�สึกึ ตั​ัวที่​่�เปลี่​่�ยนแปลง จากน้​้อย ไปมาก ประกอบด้​้วย สั​ับสน >> ซึ​ึม >> ไม่​่รู้​้�สึ​ึกตั​ัว >> ไม่​่ตอบสนองต่​่อสิ่​่�งเร้​้า (coma) การประเมิ​ินความรู้​้�สึ​ึกตั​ัวด้​้วย AVPU Alert ผู้​้�ป่​่วยตื่​่�นดี​ี Verbal response ตอบสนองต่​่อเสี​ียง Painful response ตอบสนองต่​่อความเจ็​็บปวด Unresponsiveness ผู้​้�ป่​่วยไม่​่ตอบสนอง การประเมิ​ินผู้​้�ป่​่วย A : Airway ประเมิ​ินว่​่าผู้​้�ป่​่วยจะสามารถ maintain airway ของตนเองได้​้หรื​ือไม่​่ มี​ี secretion หรื​ือเสี​ียงที่​่�บ่​่ง บอกถึ​ึงการมี​ี obstruction หรื​ือไม่​่ ต้​้องให้​้การช่​่วยเหลื​ือเปิ​ิด ทางเดิ​ินหายใจหรื​ือไม่​่ในผู้​้�ป่​่วยที่​่� unresponsive ควรได้​้รั​ับการใส่​่ท่​่อช่​่วยหายใจ B : Breathing ประเมิ​ินลั​ักษณะการหายใจ อั​ัตราการหายใจ pattern การหายใจ ดู​ู oxygen saturation C : Circulation ประเมิ​ินชี​ีพจร ความดั​ันโลหิ​ิต ดู​ูperfusion ดู​ูว่​่าต้​้องเปิ​ิดเส้​้นและให้​้ สารน้ำำ��หรื​ือไม่​่ บางครั้​้�ง อาการ unresponsive อาจเกิ​ิดจาก poor cerebral perfusion เพี​ียงอย่​่างเดี​ียว D : Disability ประเมิ​ิน GCS score, ดู​ูลั​ักษณะ pupil และการตอบสนองต่​่อแสง ข้​้อแนะนำำ�อื่​่�นๆ - ควรเจาะวั​ัดระดั​ับน้​้าตาลในเลื​ือดทุ​ุกราย หากมี​ีภาวะ hypoglycemia ให้​้ IV glucose push - หลั​ังจาก stabilize ผู้​้�ป่​่วยแล้​้วให้​้ทำำ�การซั​ักประวั​ัติ​ิ และตรวจร่​่างกายเท่​่าที่​่�ประเมิ​ินได้​้ - การวั​ัดสั​ัญญาณชี​ีพ สามารถประเมิ​ินบางภาวะได้​้ เช่​่น อั​ัตราการหายใจที่​่�ช้​้ามากร่​่วมกั​ับ Pinpoint pupils อาจทำำ�ให้​้สงสั​ัย Opioid overdose หรื​ือ ความดั​ันโลหิ​ิตสูงู และอั​ัตรา ชี​ีพจรที่​่�ช้​้าอาจทำำ�ให้​้สงสั​ัย Cushing’s reflex หากผู้​้�ป่​่วยมี​ี clinical SIRS ร่​่วมกั​ับมี​ีไข้​้ อาจทำำ�ให้​้สงสั​ัยการติ​ิดเชื้​้�อในร่​่างกาย เป็​็นต้​้น 74

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 20 Advanced : เด็​็ก (กุ​ุมารเวชกรรม) แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับสู​ูงต่​่อผู้​้�ป่​่วยเด็​็ก (กุ​ุมารเวชกรรม) ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่​่�เหมาะสม ประเมิ​ิน อาการสาม (pediatric triangle) หน้​้า 76 ปกติ​ิ

- ตรวจรั​ักษาภาวะคุ​ุกคามเบื้​้�องต้​้น (ABCD Resuscitation) และ ตรวจ ประเมิ​ินเพื่​่�อรั​ักษา ภาวะอื่​่�นตามความเหมาะสม - นำำ�ส่​่งโรงพยาบาล

- จั​ัดท่​่าและเปิ​ิดทาง เดิ​ินหายใจ/suction - พิ​ิจารณา LMA/ ET tube

การซั​ักประวั​ัติ​ิ • อาการนำำ�และเวลาเริ่​่�มมี​ี อาการ • อาการที่​่�พบร่​่วม เช่​่น ซึ​ึมลง กิ​ินอะไรเข้​้า ชั​ัก ไข้​้ กลื​ืน ลำำ�บาก ถ่​่ายเหลว • โรคประจำำ�ตั​ัว ยาต่​่างๆ • ประวั​ัติ​ิอุ​ุบั​ัติ​ิเหตุ​ุที่​่�อาจ เกี่​่�ยวข้​้อง - ยึ​ึดตรึ​ึงผู้​้�ป่​่วย วั​ัด v/s และ ประเมิ​ินซ้ำำ�� ระหว่​่างการนำำ�ส่​่ง อาจคำำ� นวณน้ำำ�� หนั​ั ก จากการใช้​้ Ped card * สู​ูตรคำำ�นวณน้ำำ��หนั​ัก (Kg) 1-12 เดื​ือน = (age in month x 0.5) + 4 1-5 ปี​ี = (age in year x 2) + 8 6-12 ปี​ี = (age in year x 3) + 7

ผิ​ิดปกติ​ิ Airway: Stridor ใช่​่

ไม่​่ใช่​่

Breathing: tachypnea, wheezing, ให้​้ออกซิ​ิเจน, retraction? พ่​่นยา ใช่​่ ไม่​่ใช่​่ Circulation: BP drop, - 0.9% Nacl poor perfusion ? 20ml/kg IV* ใช่​่ loading ไม่​่ใช่​่ - พิ​ิจารณา Disability: mental รายงาน พอป. status changes ใช่​่ - เจาะ CBG - เช็​็ดตั​ัวลดไข้​้ - พิ​ิจารณาให้​้ diazepam IV ไม่​่ใช่​่ 0.3mg/kg Rectal suppo 0.5 ml/kg หากผู้​้�ป่​่วยชั​ัก

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

75


ข้​้อมู​ูลที่​่�ควรทราบ อาการสาม (pediatric triangle) มี​ีองค์​์ประกอบ ได้​้แก่​่ ลั​ักษณะปรากฏทั่​่�วไป การหายใจและ อาการแสดงการไหลเวี​ียนเลื​ือดที่​่�ผิ​ิวหนั​ัง เนื่​่�องจากการวั​ัดสั​ัญญาณชี​ีพทั่​่�วไป เช่​่น ชี​ีพจรและความ ดั​ันเลื​ือดใช้​้ในการทราบภาวะผู้​้�ป่​่วยเด็​็กขาดเสถี​ียรภาพไม่​่ได้​้ จึ​ึงอาจประเมิ​ินประเมิ​ินดั​ังกล่​่าวใช้​้ การดู​ูเป็​็นหลั​ัก ซึ่​่�งง่​่ายด้​้วย 1. ลั​ักษณะปรากฏทั่​่�วไป (APPEARANCE) : ลั​ักษณะปรากฏทั่​่�วไป บอกถึ​ึงภาวะได้​้ออกซิ​ิเจน การได้​้รั​ับเลื​ือด ของสมอง และการทำำ�งานของระบบประสาทกลาง ได้​้แก่​่ - ความตื่​่�นตั​ัว (Alertness) : เด็​็ก ตอบสนองหรื​ือไม่​่ : ไม่​่อยู่​่�นิ่​่�ง กระวนกระวาย หรื​ือเซื่​่�องซึ​ึม - การดึ​ึงดู​ูดความสนใจไม่​่ได้​้ (Distractibility) : สามารถดึ​ึงดู​ูดความสนใจของเด็​็ก ได้​้ด้​้วยสิ่​่�งล่​่อ หรื​ือไม่​่ - การกล่​่อมให้​้นิ่​่�งได้​้ (Consolability) : พ่​่อแม่​่หรื​ือผู้​้�เลี้​้�ยงเด็​็กกล่​่อมให้​้เด็​็กรู้​้�สึ​ึกสบายขึ้​้�น ได้​้หรื​ือไม่​่ - การสบตา (Eye contact) : เด็​็กคงการสบตาได้​้หรื​ือไม่​่ - การพู​ูด/ร้​้อง (Speech/Cry) : การพู​ูด/ร้​้องเป็​็นอย่​่างไร: เสี​ียงอ่​่อนหรื​ืออู้​้�อี้​้�หรื​ือแหบห้​้าวหรื​ือไม่​่ - การเคลื่​่�อนไหวด้​้วยตนเอง : เด็​็กมี​ีการเคลื่​่�อนไหวหรื​ือไม่​่ กล้​้ามเนื้​้�อมี​ีกำำ�ลั​ังดี​ีหรื​ือไม่​่ - สี​ีผิ​ิว (Color) : ผิ​ิว เด็​็กเป็​็นสี​ีชมพู​ูหรื​ือไม่​่ หรื​ือซี​ีด, หมองคล่ำำ�� หรื​ือเป็​็นดวง ๆ 2. การหายใจ (WORK OF BREATHING): ท่​่าทางผิ​ิดปกติ​ิ, การดึ​ึงรั้​้�งกล้​้ามเนื้​้�อหายใจ และการ ได้​้ยิ​ิน เสี​ียงหายใจ เป็​็นอาการแสดงถึ​ึงการเพิ่​่�มงานการหายใจและการ หายใจยากลำำ�บาก - ท่​่านั่​่�งสามขา (Tripod position) : โน้​้มตั​ัวไปข้​้างหน้​้าเพื่​่�อหายใจ ซึ่​่�งอาจช่​่วยให้​้เด็​็กหายใจได้​้ดีขึ้​้ี น� ด้​้วยการทำำ�ให้​้ทางหายใจเหยี​ียดตรงขึ้​้�น - การดึ​ึงรั้​้ง� กล้​้ามเนื้​้�อหายใจ (Retractions) : การมองเห็​็นเนื้​้�อเยื่​่�ออ่​่อนบุ๋​๋�มลงไปในผนั​ังทรวงอกหรื​ือ ลำำ�คอ บ่​่งถึ​ึงการเพิ่​่�มงานการหายใจอย่​่างมี​ีนั​ัยสำำ�คั​ัญ - เสี​ียงหวี​ีด (Wheezes) : เสี​ียงแหลมดั​ัง ซึ่​่�งได้​้ยิ​ินขณะหายใจออกคล้​้ายเสี​ียงนกหวี​ีด เกิ​ิดจาก หลอดลม ตี​ีบเกร็​็งหรื​ือทางหายใจขนาดใหญ่​่บวม - เสี​ียงฮื้​้�ดขณะหายใจเข้​้า (Stridor) : เสี​ียงแหลมปร่​่าได้​้ยิ​ินขณะหายใจเข้​้า เกิ​ิดจากทางหายใจ ส่​่วนบนบวมและหดเกร็​็ง 3. อาการแสดงการไหลเวี​ียนเลื​ือดที่​่�ผิ​ิวหนั​ัง : อาการแสดงที่​่�ผิ​ิวหนั​ังสะท้​้อนโดยตรงถึ​ึงสภาวะ ระบบไหลเวี​ียนเลื​ือด - สี​ีผิ​ิว (Skin Color) : ปกติ​ิหรื​ือไม่​่ : สี​ีชมพู​ู เป็​็นดวง ๆ ซี​ีด หรื​ือหมองมั​ัว - อาการเขี​ียวคล้ำำ�� (Cyanosis) เป็​็นอาการที่​่�พบในระยะท้​้าย ๆ และมั​ักใช้​้ประเมิ​ินเด็​็กป่​่วยไม่​่ค่อย ่ ได้​้ - อุ​ุณหภู​ูมิ​ิ (Temperature) : ปกติ​ิหรื​ือไม่​่ : ร้​้อนหรื​ือเย็​็น - เวลาเติ​ิมเต็​็มหลอดเลื​ือดฝอย (Capillary Refill Time) : วิ​ิธีที่​่�ี แม่​่นยำำ�ที่​่�สุ​ุดในการประเมิ​ินสภาวะ ระบบ ไหลเวี​ียนของผู้​้�ป่​่วยทุ​ุกคน กดปลายเล็​็บจนเห็​็นสี​ีชมพู​ูจางลงแล้​้วปล่​่อย สี​ีชมพู​ูที่​่�ปลายเล็​็บ ควรกลั​ับมาภายใน 2 วิ​ินาที​ี หากช้​้ากว่​่านี้​้�บ่​่งถึ​ึงปั​ัญหาการกำำ�ซาบเลื​ือด

76

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 21 Advanced : ทำำ�ร้​้ายร่​่างกาย แนวปฏิ​ิบั​ัติสำิ ำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการขั้​้�นสู​ูงต่​่อผู้​้�ป่​่วยที่​่�ถู​ูกทำำ�ร้​้ายร่​่างกาย ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่​่�เหมาะสม รู้​้�สึ​ึกตั​ัวดี​ีหรื​ือไม่​่ ใช่​่ ไม่​่ใช่​่ ล่​่วงละเมิ​ิดทางเพศ ? หมดสติ​ิ/ ซึ​ึม/ ชั​ัก/ หายใจ ใช่​่ ไม่​่ใช่​่ ผิ​ิดปกติ​ิ/ เลื​ือดออกมาก - ประเมิ​ินอาการและรั​ักษาภาวะ คุ​ุกคามเบื้​้�องต้​้น - ประเมิ​ินการบาดเจ็​็บอื่​่�นที่​่�พบร่​่วม - ประเมิ​ินอาการและรั​ักษาภาวะ - ไม่​่ควรให้​้ผู้​้�ป่​่วยอาบน้ำำ��ก่​่อนไป คุ​ุกคาม เบื้​้�องต้​้น (ABCD and โรงพยาบาลและนำำ�เสื้​้�อผ้​้าขณะ Resuscitation) เกิ​ิดเหตุ​ุไปด้​้วย - เจาะประเมิ​ินระดั​ับน้ำำ�� ตาลในเลื​ือด - นำำ�ส่​่งโรงพยาบาล แจ้​้งศู​ูนย์​์สื่​่�อสาร หาก CBG น้​้อยกว่​่า 60mg% และสั่​่�งการให้​้ activate OSCC พิ​ิจารณาให้​้ 50% Glucose 50 โดยห้​้ามแจ้​้งข้​้อความเกี่​่�ยวกั​ับการ ml IV push ล่​่วงละเมิ​ิดทางเพศผ่​่านทางวิ​ิทยุ​ุ - รี​ีบนำำ�ส่​่งโรงพยาบาล - ตรวจประเมิ​ินเพื่​่�อรั​ักษาภาวะอื่​่�น - รายงานศู​ูนย์​์สื่​่�อสารประสานงาน เช่​่น สุ​ุขภาพจิ​ิต เป็​็นระยะๆ อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง - สอบถามถึ​ึงเหตุ​ุล่ว่ งละเมิ​ิดทางเพศ จากญาติ​ิ หรื​ือผู้​้�พบเห็​็น - ประเมิ​ินอาการและรั​ักษาภาวะ คุ​ุกคาม เบื้​้�องต้​้นและตรวจรั​ักษา ภาวะอื่​่�นตามความ เหมาะสม - นำำ�ส่​่งโรงพยาบาล ถ้​้ามี​ีสิ่​่�งเสี​ียบคาอยู่​่�ให้​้ยึ​ึดตรึ​ึงวั​ัตถุกัุ ับปากแผลและห้​้ามเลื​ือด หากส่​่วนปลายยื่​่�นออกมามาก อาจจะตั​ัดให้​้สั้​้�นลงได้​้ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

77


แนวปฏิ​ิบัติั ที่​่ิ � 22 Advanced : ไฟไหม้​้ น้ำำ��ร้อ้ นลวก กระแสไฟฟ้​้า และ สารเคมี​ี แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับสู​ูงต่​่อผู้​้�ป่​่วยที่​่�ได้​้รั​ับอั​ันตรายจาก ไฟไหม้​้ น้ำำ��ร้​้อนลวก กระแสไฟฟ้​้า และสารเคมี​ี ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่​่�เหมาะสม ความปลอดภั​ัยของผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิงาน เช่​่น การตั​ัด กระแสไฟฟ้​้า การควบคุ​ุมเพลิ​ิง การเปลี่​่�ยน เสื้​้�อผ้​้าผู้​้�ป่​่วยที่​่�สั​ัมผั​ัสสารเคมี​ี การปั​ัดหรื​ือ ล้​้างตั​ัวผู้​้�ป่​่วยที่​่�สั​ัมผั​ัสสารเคมี​ี - ตรวจประเมิ​ินเพื่​่�อรั​ักษาภาวะอื่​่�น ตามความเหมาะสม - แจ้​้งข้​้อมู​ูลสารเคมี​ี เช่​่น UN number - นำำ�ส่​่งโรงพยาบาล

รู้​้�สึ​ึกตั​ัวดี​ีหรื​ือไม่​่ ใช่​่

ไม่​่ใช่​่

หมดสติ​ิ/ ซึ​ึม/ ชั​ัก/ หายใจ ผิ​ิดปกติ​ิ/เลื​ือดออกมาก/ ขน ตาขนจมู​ูกไหม้​้/ มี​ีประวั​ัติ​ิ สำำ�ลั​ักควั​ันไฟ/ เสมหะมี​ีสี​ีดำำ�

ประเมิ​ินอาการและรั​ักษาภาวะคุ​ุกคามเบื้​้�องต้​้น (ABCD and Resuscitation) - เจาะประเมิ​ินระดั​ับน้ำำ��ตาลในเลื​ือด หาก Dtx.น้​้อยกว่​่า 60 mg% พิ​ิจารณาให้​้ 50% Glucose 50 ml IV push - ให้​้ออกซิ​ิเจน mask with bag 10 LPM หาก O2sat< 94% - พิ​ิจารณา LMA หรื​ือ ET tube หากมี​ีแนวโน้​้มที่​่�อาจเกิ​ิด airway obstruction - EKG monitor โดยเฉพาะผู้​้�ป่​่วยที่​่�ถู​ูกกระแสไฟฟ้​้า หรื​ือมี​ีบาดแผลขนาดใหญ่​่ - ให้​้สารน้ำำ�� หากเป็​็นแผลไหม้​้ขนาดใหญ่​่พิจา ิ รณาใช้​้ RLS - แจ้​้งข้​้อมู​ูลสารเคมี​ี เช่​่น UN number (ถ้​้ามี​ี) - รี​ีบนำำ�ส่​่งโรงพยาบาล ประเมิ​ินอาการซ้ำำ��เป็​็นระยะ

78

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 23 Advanced : จมน้ำำ�� แนวปฏิ​ิบั​ัติสำิ ำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับสู​ูงต่​่อผู้​้�ป่​่วยจมน้ำำ�� ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่​่�เหมาะสม - ตรวจประเมิ​ินเพื่​่�อรั​ักษาภาวะอื่​่�นตาม ความเหมาะสม - ป้​้องกั​ันการบาดเจ็​็บกระดู​ูกสั​ันหลั​ัง บริ​ิเวณคอ - นำำ�ส่​่งโรงพยาบาล - เช็​็ดตั​ัวเปลี่​่�ยนเสื้​้�อผ้​้าที่​่�เปี​ียก

รู้​้�สึ​ึกตั​ัวดี​ีหรื​ือไม่​่ ใช่​่

ไม่​่ใช่​่

หมดสติ​ิ/ ซึ​ึม/ ชั​ัก/ หายใจ ผิ​ิดปกติ​ิ/เลื​ือดออกมาก/ สงสั​ัยบาดเจ็​็บกระดู​ูกสั​ันหลั​ัง บริ​ิเวณคอ

- ประเมิ​ินอาการและรั​ักษาภาวะคุ​ุกคามเบื้​้�องต้​้น (ABCD and Resuscitation) - ป้​้องกั​ันการบาดเจ็​็บกระดู​ูกสั​ันหลั​ังบริ​ิเวณคอ - พิ​ิจารณา LMA with Cervical spine protection หากมี​ี respiratory failure - ให้​้ออกซิ​ิเจนหาก O2sat< 94% mask with bag 10 LPM - เจาะประเมิ​ินระดั​ับน้ำำ��ตาลในเลื​ือด หากCBG.น้​้อยกว่​่า 60 mg% พิ​ิจารณาให้​้ 50% Glucose 50 ml IV push - รี​ีบนำำ�ส่​่งโรงพยาบาล ประเมิ​ินอาการซ้ำำ��เป็​็นระยะ - เช็​็ดตั​ัวเปลี่​่�ยนเสื้​้�อผ้าที่​่� ้ เปี​ียก

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

79


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 24 Advanced : พลั​ัดตกหกล้​้ม แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิสำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับสู​ูงต่​่อผู้​้�ป่​่วยที่​่�พลั​ัดตกหกล้​้ม ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่​่�เหมาะสม ผู้​้�ป่​่วยรู้​้�ตั​ัวดี​ี หรื​ือไม่​่ ? ไม่​่ใช่​่

ใช่​่

แนวปฏิ​ิบัติั ผู้​้�ป่ ิ วย ่ หมดสติ​ิ ระดั​ับ Advanced หน้​้า 73

สงสั​ัยมี​ีการบาดเจ็​็บที่​่�ศี​ีรษะ กระดู​ูกคอและกระดู​ูกสั​ันหลั​ัง ใช่​่

ไม่​่ใช่​่

ตรึ​ึงผู้​้�ป่​่วยด้​้วย cervical hard collar ร่​่วมกั​ับ head stabilizer และ long spinal board

80

- ประเมิ​ินอาการและรั​ักษาภาวะคุ​ุกคาม เบื้​้�องต้​้น (ABCD) - ให้​้ O2 mask with bag 10 LPM หากพบว่​่า O2sat< 94% - ให้​้ 0.9% NaCl หากมี​ีภาวะช็​็อก - ยึ​ึดตรึ​ึง splint ระยางค์​์ที่​่�บาดเจ็​็บให้​้อยู่​่�นิ่​่�ง - ประเมิ​ินอาการซ้ำำ��เป็​็นระยะ - รี​ีบนำำ�ส่​่งโรงพยาบาล รายงานศู​ูนย์​์สื่​่�อสาร และสั่​่�งการ

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ � 25 Advanced : อุ​ุบั​ัติ​ิเหตุ​ุยานยนต์​์ แนวปฏิ​ิบัติั สำิ �ำ หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติั กิ ารระดั​ับสู​ูงต่​่อผู้​้�ที่​่�ได้​้รับั บาดเจ็​็บจากอุ​ุบัติั เิ หตุ​ุยานยนต์​์ ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล Scene Size-Up และ BSI ที่​่�เหมาะสม ผู้​้�ป่​่วยรู้​้�ตั​ัวดี​ี หรื​ือไม่​่ ? ใช่​่

ไม่​่ใช่​่

สงสั​ัยมี​ีการบาดเจ็​็บที่​่�ศี​ีรษะ กระดู​ูกคอและกระดู​ูกสั​ันหลั​ัง ใช่​่

ไม่​่ใช่​่

ตรึ​ึงผู้​้�ป่​่วยด้​้วย cervical hard collar ร่​่วมกั​ับ head stabilizer และ long spinal board

แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ผู้​้�ป่​่วยหมดสติ​ิ ระดั​ับ Advanced หน้​้า 73

- ประเมิ​ินอาการและรั​ักษาภาวะคุ​ุกคาม เบื้​้�องต้​้น (ABCD) - ให้​้ O2 mask with bag 10 LPM หาก พบว่​่า O2Sat< 94% - ให้​้ 0.9% NaCl หากมี​ีภาวะช็​็อก - ยึ​ึดตรึ​ึง splint ระยางค์​์ที่​่�บาดเจ็​็บให้​้อยู่​่�นิ่​่�ง - ประเมิ​ินอาการซ้ำำ��เป็​็นระยะ - รี​ีบนำำ�ส่​่งโรงพยาบาล รายงานศู​ูนย์​์สื่​่�อสาร

*MIST • Mechanism of injury กลไกของการบาดเจ็​็บ เช่​่น เกิ​ิดจากการกระแทกหรื​ือการทิ่​่�มแทง • Injury part(s) อวั​ัยวะส่​่วนที่​่�ได้​้รบบาดเจ็​็บ • Signs อาการและอาการแสดงของผู้​้�บาดเจ็​็บที่​่�ปรากฏ • Treatment การรั​ักษาหรื​ือการดู​ูแลเบื้​้�องต้​้นที่​่�ได้​้รั​ับ

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

81


ภาคผนวก

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

83


ภาคผนวกที่​่� 1 การประเมิ​ินความปลอดภั​ัย ณ จุ​ุดเกิ​ิดเหตุ​ุ การประเมิ​ิน Scene เพื่​่�อให้​้แน่​่ใจว่​่าปลอดภั​ัย สำำ�หรั​ับผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิกู้​้�ชี​ีพ ผู้​้�ป่​่วย และคนทั่​่�วไป และเป็​็นการประเมิ​ินอย่​่างรวดเร็​็ว เพื่​่�อให้​้การตั​ัดสิ​ินใจว่​่าจะบริ​ิหารจั​ัดการทรั​ัพยากรอย่​่างไร ให้​้พอเพี​ียง การประเมิ​ิน Scene สำำ�คั​ัญ ดั​ังนี้​้� - เป็​็นสิ่​่�งแรกที่​่�หน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการต้​้องทำำ�เป็​็นอั​ันดั​ับแรก - ต้​้องปลอดภั​ัยและได้​้ข้​้อมูลู การตั​ัดสิ​ินใจบริ​ิหารจั​ัดการทรั​ัพยากร - ต้​้องประเมิ​ินซ้ำำ��แล้​้วซ้ำำ��อี​ีก เนื่​่�องจาก scene เปลี่​่�ยนแปลงตลอดเวลา ต้​้องถื​ือว่​่าความ ปลอดภั​ั ยต้​้ อ งเป็​็ น สิ่​่�งที่​่�สำำ� คั​ั ญอั​ั น ดั​ั บ หนึ่​่�ง ต้​้ อ งพยายามค้​้ น หาสภาวะอั​ั น ตรายต่​่ า ง ๆ ที่​่�ซ่​่อนเร้​้นอยู่​่� มี​ีขั้​้�นตอนการปฏิ​ิบั​ัติ​ิเพื่​่�อประเมิ​ิน Scene ดั​ังนี้​้� 1. ประเมิ​ินอุ​ุบั​ัติ​ิการณ์​์ที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นร่​่วมกั​ับประเมิ​ินจำำ�นวนผู้​้�บาดเจ็​็บสู​ูงสุ​ุด และความต้​้องการ ของการดู​ูแล 2. ประเมิ​ินว่​่ามี​ีอั​ันตรายใน scene นั้​้�นหรื​ือไม่​่ ? 3. ต้​้องใช้​้ Mass casualty หรื​ือ Major incident plan หรื​ือไม่​่ ? 4. รายงานศู​ูนย์​์สั่​่�งการ หากต้​้องการความช่​่วยเหลื​ือเพิ่​่�มเติ​ิม เช่​่น ตำำ�รวจ ดั​ับเพลิ​ิง กู้​้�ภั​ัย เป็​็นต้​้น 5. กำำ�หนดจุ​ุดจอดรถพยาบาลและกั้​้�นเขต และ secure scene อย่​่างรวดเร็​็ว กั​ันผู้​้�ที่​่�ไม่​่ เกี่​่�ยวข้​้องออก จุ​ุดจอดรถพยาบาล (Parking) 1. เจ็​็บป่​่วยทั่​่�วไปหรื​ืออุ​ุบั​ัติ​ิเหตุ​ุจารจรปกติ​ิ 50 ฟุ​ุต (15 เมตร) 2. อุ​ุบั​ัติ​ิเหตุ​ุจราจรที่​่�มี​ีควั​ันหรื​ือไฟลุ​ุกไหม้​้ หรื​ืออุ​ุบั​ัติ​ิเหตุ​ุหมู่​่� 100 ฟุ​ุต (30 เมตร) 3. สารเคมี​ี 600 เมตร 4. วั​ัตถุ​ุระเบิ​ิด 620 เมตร (หรื​ือตามน้ำำ��หนั​ักของวั​ัตถุ​ุระเบิ​ิด) การกั้​้�นกรวยจราจร Speed limit ระยะวางกรวย 45 km/h (30 mph) 30 m (105ฟุ​ุต) 60 km/h (40 mph) 50 m (165 ฟุ​ุต) 80 km/h (50 mph) 75 m (225 ฟุ​ุต) 90 km/h (60 mph) 110 m (335 ฟุ​ุต) 110 km/h (70 mph) 150 m (455 ฟุ​ุต)

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

85


ข้​้อแนะนำำ�อื่​่�น ๆ 1. อยู่​่�ห่​่างจากสายไฟอย่​่างน้​้อย 72 ฟุ​ุต (23.2 m.) 2. สั​ังเกตทางเข้​้าออกที่​่�ปลอดภั​ัย 3. สั​ังเกตและวิ​ิเคราะห์​์เหตุ​ุการณ์​์ จำำ�นวนผู้​้�บาดเจ็​็บ และแหล่​่งสนั​ับสนุ​ุนที่​่�ต้​้องการ 4. กรณี​ี crime scene ไม่​่ท้​้าทาย ยั่​่�วยุ​ุ แนะนำำ�ตั​ัวว่​่าเป็​็นบุ​ุคลากรทางการแพทย์​์ มี​ีวั​ัตถุ​ุประสงค์​์มาเพื่​่�อให้​้การช่​่วยเหลื​ือด้​้วยท่​่าที​ีของความเป็​็นมิ​ิตร 5. ป้​้องกั​ันตนเอง personal protective equipment ด้​้วย standard precaution devices เพื่​่�อป้​้องกั​ันโรคที่​่�สามารถติ​ิดต่​่อได้​้ เช่​่น Hepatitis B และ HIV อย่​่างน้​้อย แว่​่นกั​ันน้ำำ��, Mask, ถุ​ุงมื​ือ, เอี๊​๊�ยมกั​ันน้ำำ��

86

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


ภาคผนวกที่​่� 2 การช่​่วยฟื้​้�นคื​ืนชี​ีพขั้​้�นพื้​้�นฐาน การประเมิ​ินผู้​้�ป่​่วยเมื่​่�อสงสั​ัยว่าผู้​้�ป่ ่ ่วยอาจมี​ี cardiac arrest 1. ปลุ​ุกเรี​ียกและคลำำ�ชี​ีพจรบริ​ิเวณ Carotid artery โดยใช้​้เวลาไม่​่เกิ​ิน 10 วิ​ินาที​ี 2. หากไม่​่มีชี​ี ีพจรให้​้ทำำ�การเริ่​่�มช่​่วยฟื้​้�นคื​ืนชี​ีพ โดยการกดหน้​้าอกทั​ันที​ีอย่​่างประสิ​ิทธิ​ิภาพ ดั​ังนี้​้� 2.1. กดหน้​้าอกบริ​ิเวณกึ่​่�งกลางระหว่​่างราวนมทั้​้�ง 2 ข้​้าง 2.2. กดด้​้วยความเร็​็ว 100-120 ครั้​้�งต่​่อนาที​ี 2.3. กดด้​้วยความลึ​ึก 5-6 เซนติ​ิเมตร 2.4. รบกวนการกดหน้​้าอกให้​้น้​้อยที่​่�สุ​ุด 2.5. ให้​้มี​ีการขยายตั​ัวของหน้​้าอกอย่​่างเต็​็มที่​่�ทุ​ุกครั้​้�ง 2.6. เปลี่​่�ยนผู้​้�กดหน้​้าอกทุ​ุก 2 นาที​ี หรื​ือเปลี่​่�ยนทั​ันที​ีเมื่​่�อผู้​้�กดหน้​้าอกไม่​่สามารถกด หน้​้าอกอย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพต่​่อได้​้ 3. การช่​่วยหายใจให้​้ปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ดั​ังนี้​้� 3.1. หากมี​ี one way mask ให้​้ทำำ�การช่​่วยหายใจด้​้วยอั​ัตรากดหน้​้าอก 30 ครั้​้�ง ช่​่วยหายใจ 2 ครั้​้�ง 3.2. หาก ไม่​่มี​ี one way mask ให้​้ทำำ�การช่​่วยหายใจด้​้วยกดหน้​้าอกเพี​ียงอย่​่างเดี​ียว หรื​ือกดหน้​้าอกรอบ ละ 30 ครั้​้�ง 4. หากมี​ีเครื่​่�อง AED มาแล้​้ว ให้​้รีบี เปิ​ิดเครื่​่�อง และแปะแผ่​่น ปฏิ​ิบัติั ตา ิ มคำำ�แนะนำำ�ของเครื่​่�อง 5. รี​ีบติ​ิดต่​่อศู​ูนย์​์สื่​่�อสารสั่​่�งการเพื่​่�อขอความช่​่วยเหลื​ือจากหน่​่วยปฏิ​ิบั​ัติ​ิการระดั​ับสู​ูงด้​้วย dual protocol

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

87


ภาคผนวกที่​่� 3 การช่​่วยฟื้​้�นคื​ืนชี​ีพขั้​้�นสู​ูง การประเมิ​ินผู้​้�ป่​่วยเมื่​่�อสงสั​ัยว่าผู้​้�ป่ ่ ่วยอาจมี​ี cardiac arrest 1. ปลุ​ุกเรี​ียกและคลำำ�ชี​ีพจรบริ​ิเวณ Carotid artery โดยใช้​้เวลาไม่​่เกิ​ิน 10 วิ​ินาที​ี 2. EKG เป็​็น Asystole, Ventricular Fibrillation, Pulseless Ventricular Tachycardia หรื​ือ PEA 3. หากไม่​่มี​ีชี​ีพจรให้​้ทำำ�การเริ่​่�มช่​่วยฟื้​้�นคื​ืนชี​ีพโดยการกดหน้​้าอกทั​ันที​ี พร้​้อมติ​ิด Monitor EKG โดยการกด หน้​้าอกที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ ดั​ังนี้​้� 3.1. กดหน้​้าอกบริ​ิเวณกึ่​่�งกลางระหว่​่างราวนมทั้​้�ง 2 ข้​้าง 3.2. กดด้​้วยความเร็​็ว 100-120 ครั้​้�งต่​่อนาที​ี 3.3. กดด้​้วยความลึ​ึก 5-6 เซนติ​ิเมตร 3.4. รบกวนการกดหน้​้าอกให้​้น้​้อยที่​่�สุ​ุด 3.5. ให้​้มี​ีการขยายตั​ัวของหน้​้าอกอย่​่างเต็​็มที่​่�ทุ​ุกครั้​้�ง 3.6. เปลี่​่�ยนผู้​้�กดหน้​้าอกทุ​ุก 2 นาที​ี หรื​ือเปลี่​่�ยนทั​ันที​ีเมื่​่�อผู้​้�กดหน้​้าอกไม่​่สามารถ กดหน้​้าอกอย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพต่​่อได้​้ 4. การช่​่วยหายใจให้​้ปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ดั​ังนี้​้� 4.1. หากผู้​้�ป่​่วยยั​ังไม่​่ได้​้รับั การใส่​่ท่อช่ ่ ว่ ยหายใจ ให้​้ทำำ�การช่​่วยหายใจด้​้วยอั​ัตรากดหน้​้าอก 30 ครั้​้�ง ช่​่วยหายใจ 2 ครั้​้�ง 4.2. หากผู้​้�ป่​่วยยั​ังได้​้รั​ับการใส่​่ท่​่อช่​่วยหายใจแล้​้ว ให้​้ช่​่วยหายใจด้​้วยอั​ัตราเร็​็ว 10 ครั้​้�ง ต่​่อนาที​ี 5. ยาและการช่​่วยเหลื​ืออื่​่�นๆ 5.1. หาก EKG เป็​็นกลุ่ม่� shockable rhythm (pVT / VF) ให้​้ทำำ�การ Defibrillation ทั​ันที​ีด้​้วยพลั​ังงาน 120-200 จู​ูล แต่​่หากเป็​็นกลุ่​่�ม non-shockable rhythm (PEA/ Asystole) ให้​้ทำำ�การกดหน้​้าอกต่​่อ 5.2. ให้​้ยา Adrenaline (1:1,000) 1 mg ละลายใน 0.9% NaCl ให้​้เป็​็น (1:10,000) และให้​้ทางเส้​้น เลื​ือดทุ​ุก 3-5 นาที​ี พร้​้อมทั้​้�งให้​้ 0.9% NSS ปริ​ิมาณ 10-20 ml ตามทุ​ุกครั้​้�ง 5.3. ประเมิ​ินชี​ีพจรและคลื่​่�นไฟฟ้​้าหั​ัวใจทุ​ุก ๆ 2 นาที​ี หากยั​ังไม่​่มี​ีชี​ีพจรให้​้ทำำ�การกด หน้​้าอกต่​่อ 5.4. พิ​ิจารณาให้​้ Amiodarone 300 mg และ 150 mg IV push ในการท า Defibrillation ครั้​้�งที่​่� 3 และ 5 ตามลำำ�ดั​ับ 5.5. หาสาเหตุ​ุของการเกิ​ิดภาวะหั​ัวใจหยุ​ุดเต้​้น 5H5T 5.6. ติ​ิดต่​่อประสานงานขอคำำ�ปรึ​ึกษาไปยั​ังแพทย์​์ผ่​่านระบบ on-line medical direction หรื​ือเข้​้ารั​ับการรั​ักษาที่​่�โรงพยาบาลที่​่�ใกล้​้ที่​่�สุ​ุด 88

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


іѬюъѨ ѷ ୳еьшѠьњѧ Ѥҟ ыд Ѩ ѥінҕњѕнѨњш ѧ ѓѥњѣў ѤњѲлўѕѫчѯшҖьѲьяѬѲҖ ўрҕ

8

American Heart Association

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

89


ภาคผนวกที่​่� 4 ยาที่​่�ใช้​้ในการ resuscitation สำำ�หรั​ับเด็​็ก (ต้​้องได้​้รั​ับความเห็​็นชอบจาก พอป. ก่​่อนเสมอ) 1. Diazepam จะไม่​่ใช้​้ในเด็​็กทารกที่​่�อายุ​ุต่ำำ��กว่​่า 6 เดื​ือน ยา Diazepam สามารถให้​้ทาง IV หรื​ือ IO ขนาด 0.1–0.3 mg/kg (max10 mg) ให้​้ทางทวารหนั​ัก (Rectal) ใช้​้ขนาด 0.5 mg/kg (max 20 mg) 2. Epinephrine ให้​้ทาง IV หรื​ือ IO ขนาด 0.01 mg/kg (0.1 mL/kg 1:10,000) ให้​้ทาง ET ขนาด 0.1 mg/kg (0.1 mL/kg 1:1,000) (max dose 1 mg IV/IO; 2.5 mg ET) 3. Salbutamol : Salbutamol nebule (2.5 mg/2.5 ml) สำำ�หรั​ับ acute asthmatic attack ขนาดยา : 0.05-0.15 mg/kg/dose หรื​ือ 0.05-0.15 ml/kg/dose (max = 5 ml/ครั้​้�ง) ผสมเจื​ือจางด้​้วย NSS จนได้​้ปริ​ิมาตร 3 ml พ่​่นห่​่างกั​ันทุ​ุก 20 นาที​ี ไม่​่เกิ​ิน 3 ครั้​้�ง 4. Shock Energy for Defibrillation: shock ครั้​้�งแรกใช้​้พลั​ังงาน 2 J/kg ครั้​้�งที่​่�สองและ หลั​ังจากนั้​้�นใช้​้ พลั​ังงาน 4 J/kg (max 10 Joules/kg หรื​ือ adult dose ) 5. Shock Energy for synchronized cardioversion : ครั้​้�งแรก 0.5-1.0 J/kg ครั้​้�งที่​่�สองและหลั​ังจากนั้​้�นใช้​้พลั​ังงาน 2 J/Kg

90

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


Medication Dosage and recommendation Amiodarone 5 mg/kg IV/IO สามารถซ้ำำ��ได้​้ 2 ครั้​้�ง ในกรณี​ี refactory VF/pulseless VT (max single dose 300 mg)

Remark หาก cardiac arrest ใช้​้ IV push สำำ�หรั​ับ perfusing rhythm ให้​้ ช้​้าๆ 20–60 นาที​ี Epinephrine 0.01 mg/kg (0.1 mL/kg 1:10,000) IV/IO CPR : สามารถให้​้ซ้ำำ�� 0.1 mg/kg (0.1 mL/kg 1:1,000) ทาง ทุ​ุก 3 – 5 นาที​ี ET (max dose 1 mg IV/IO; 2.5 mg ET) Glucose newborn: 5–10 mL/kg 10DW Infants and children: 2–4 mL/kg 25DW adolescents: 1–2 mL/kg 50DW 50%MgSO4 25-50 mg/kg IV/IO slow push Torsades de pointe (500mg/mL) (max 2 gm) with pulses NaHCO3 1 mEq/kg per dose IV/IO slowly after adequate ventilation

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

91


ภาคผนวกที่​่� 5 ยาที่​่�ใช้​้ในการ resuscitation สำำ�หรั​ับผู้​้�ใหญ่​่ (ต้​้องได้​้รั​ับความเห็​็นชอบจาก พอป. ก่​่อนเสมอ)

Medication Epinephrine (Adrenaline)

Dosage and recommendation Anaphylaxis : 0.2-0.5 mg IM ทุ​ุก 5 นาที​ี Cardiac arrest : 1 mg IV ทุ​ุก 3-5 นาที​ี หรื​ือ 2-2.5 mg ทาง ET ทุ​ุก 3-5 นาที​ี Amiodarone Refractory VF/pulseless VT in cardiac arrest : (Cordarone) 300 mg IV bolus ให้​้ ครั้​้�งถั​ัดไป 150 mg iv bolus stable VT/conversion AF: 150 mg in 100 ml of D5W IV over 10 min; infusion 1 mg /min for 6 hr (max 2.2gm/day) Lidocaine Refractory VF/pulseless VT in cardiac arrest first dose : 1-1.5mg/kg second dose : 0.5-0.75 mg/kg Atropine Bradycardia : 0.5 mg IV ทุ​ุก 3-5 min (max 3 mg) Magnesium sulfate Torsades : 1-2 gm IV over 2 min, followed infusion of 1–2 gm/hr Eclampsia : 50% MgSO4 10 mL IM each buttock ตามด้​้วย 4 gm IV หลั​ังจากได้​้ IV access Calcium gluconate 10–20 ml IV (10%) NaHCO3 50–150 mEq IV Diazepam Convulsive seizure: 5-10 mg (0.15 mg/kg) IV ให้​้ซ้ำำ��ได้​้ ใน 5 นาที​ี

92

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


ภาคผนวกที่​่� 6 การช่​่วยเหลื​ือผู้​้�ที่​่�สำำ�ลั​ักอุ​ุดกั้​้�นทางเดิ​ินหายใจ แนวทางปฏิ​ิบั​ัติ​ิมี​ีดั​ังนี้​้� 1. ไม่​่รู้​้�สึกึ ตั​ัว ไม่​่มีชี​ี พี จร ปฏิ​ิบัติั ตา ิ ม แนวทางการช่​่วยฟื้​้น� คื​ืนชี​ีพขั้​้น� พื้​้�นฐาน ตามภาคผนวกที่​่� 2 หน้​้า 87 พร้​้อมทั้​้�งใช้​้เครื่​่�อง AED ร่​่วมกั​ับเปิ​ิดดู​ูภายในช่​่องปาก หากมองเห็​็นสิ่​่�งแปลกปลอม ใช้​้นิ้​้ว� มื​ือกวาดล้​้วง ออกมา (ห้​้ามล้​้วงหากมองไม่​่เห็​็น) ในทุ​ุกรอบหลั​ังกดหน้​้าอกครบ 30 ครั้​้ง� 2. ไม่​่รู้​้�สึ​ึกตั​ัว มี​ีชี​ีพจร เปิ​ิดดู​ูในช่​่องปาก ใช้​้มื​ือข้า้ งถนั​ัดดึ​ึงยกลิ้​้�นและคางขึ้​้�น (tongue-jaw lift) หากมองเห็​็น สิ่​่�งแปลกปลอมใช้​้นิ้​้�วมื​ือกวาดล้​้วงออกมา (ห้​้ามล้​้วงหากมองไม่​่เห็​็น) จากนั้​้�นเปิ​ิดทางเดิ​ินหายใจและช่​่วย หายใจ 2 ครั้​้�งหากหน้​้าอกยกตั​ัวให้​้ช่​่วยหายใจต่​่อเนื่​่�อง ต่​่อไป หากหน้​้าอกไม่​่ยกตั​ัว ให้​้ - ผู้​้�ป่​่วยอายุ​ุไม่​่เกิ​ิน 1 ปี​ี จั​ัดท่​่าคว่ำำ��หน้​้าหัวั ต่ำำ��ทุ​ุบหลั​ังระหว่​่างสะบั​ัก 2 ข้​้าง 5 ครั้​้ง� จากนั้​้�น จั​ัดท่​่านอน หงายหั​ัวต่ำำ��ทุ​ุบที่​่�กระดู​ูกสั​ันอก 5 ครั้​้�ง (5 back blow, 5 chest thrust) - ผู้​้�ป่​่วยอายุ​ุ 1 ปี​ีขึ้​้น� ไป จั​ัดท่​่านอนราบ นั่​่�งคร่​่อมตั​ัวผู้​้�ป่​่วยให้​้ขาอยู่​่�ที่​่�ระดั​ับต้​้นขาของผู้​้�ป่​่วย ใช้​้มื​ือ 2 ข้​้างกดใต้​้ลิ้​้�นปี่​่�ในมุ​ุมเอี​ียงขึ้​้�นด้​้านบน 5 ครั้​้�ง ประเมิ​ินหลั​ังการรั​ักษา และทำำ�ขั้​้�นตอนในข้​้อ 2 ซ้ำำ��จนผู้​้�ป่​่วยตอบสนอง หายใจได้​้ หากไม่​่มี​ี ชี​ีพจรให้​้ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามตามขั้​้�นตอนข้​้อ 1 3. ผู้​้�ป่​่วยรู้​้�สึ​ึกตั​ัว - ส่​่งเสี​ียงไม่​่ได้​้ บ่​่งบอกภาวะสำำ�ลั​ักอุ​ุดกั้​้�นทางเดิ​ินหายใจอย่​่างสมบู​ูรณ์​์ • ผู้​้�ป่​่วยอายุ​ุไม่​่เกิ​ิน 1 ปี​ี ให้​้ทำำ� 5 back blow, 5 chest thrust • ผู้​้�ป่​่วยอายุ​ุ 1 ปี​ีขึ้​้�นไป ให้​้ยื​ืนด้​้านหลั​ังผู้​้�ป่​่วยใช้​้แขนโอบรอบลำำ�ตั​ัว มื​ือ 2 ข้​้างกำำ�หมั​ัด วางที่​่�ตำำ�แหน่​่งใต้​้ลิ้​้น� ปี่​่� จากนั้​้�นออกแรงกระตุ​ุก 5 ครั้​้ง� (Heimlich maneuver) หากเป็​็น ผู้​้�ป่​่วยอ้​้วนหรื​ือครั้​้�งครรภ์​์ สามารถออกแรงกระตุ​ุกที่​่�หน้​้าอกแทนได้​้ • ทำำ�ซ้ำำ��จนสิ่​่�งแปลกปลอมหลุ​ุดออกมา และหายใจได้​้ปกติ​ิ - หากส่​่งเสี​ียงได้​้ พู​ูดได้​้ ประเมิ​ินอาการซ้ำำ��เป็​็นระยะ

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

93


ภาคผนวกที่​่� 7 การประเมิ​ินความเจ็​็บปวดด้​้วย Numerical rating scale วิ​ิธี​ีการประเมิ​ินความปวด การประเมิ​ินความปวดอย่​่างครอบคลุ​ุมจะเป็​็นพื้​้�นฐานที่​่�นำำ�ไปสู่​่�การรั​ักษาพยาบาล ที่​่�เหมาะสม มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพและมี​ีผลข้​้างเคี​ียงน้​้อยที่​่�สุดุ ข้​้อมูลที่​่�จ ู ะนำำ�ไปประเมิ​ินเป็​็นข้​้อมูลู ที่​่�ได้​้จากคำำ�บอกเล่​่าของผู้​้�ป่​่วย ซึ่​่�งเป็​็นข้​้อมูลที่​่� ู เชื่​่�อถื​ือไดมากที่​่�สุ​ุด เพราะความปวดเป็​็นความ รู้​้�สึ​ึกส่​่วนตั​ัวที่​่�ไม่​่มี​ีใครสามารถบอกหรื​ือบรรยายแทนกั​ันได้​้ดี​ีเท่​่าตั​ัวผู้​้�ป่​่วยเองนอกจากนี้​้�ยั​ัง สามารถสั​ังเกตได้​้จากอั​ัตราการเต้​้นของหั​ัวใจ อั​ัตราการหายใจ ความดั​ันโลหิ​ิต เหงื่​่�อออก ตั​ัวเย็​็น หรื​ือจากพฤติ​ิกรรมที่​่�ผู้​้�ป่​่วยแสดงออก เช่​่น การเคลื่​่�อนไหว สี​ีหน้​้าท่า่ ทาง หรื​ือการ ส่​่งเสี​ียง การวั​ัดระดั​ับความปวด มี​ีหลายวิ​ิธี​ีแต่​่วิ​ิธี​ีการบอกความรู้​้�สึ​ึกเป็​็นตั​ัวเลข (numerical rating scales : NRS) น่​่าจะเหมาะสำำ�หรั​ับ การดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยนอกโรงพยาบาล ผู้​้�ป่​่วยว่​่า ถ้​้าไม่​่ปวดเลยแทนด้​้วยเลข 0 และปวดรุ​ุนแรงมากแทนด้​้วยเลข 10 อย่​่างใดอย่​่างหนึ่​่�ง ให้​้ผู้​้�ป่​่วยเลื​ือกว่​่าปวดตอนนี้​้�อยู่​่�ที่​่�เลขใด ปวดน้​้อย ปวดปานกลาง ปวดมาก

ระดั​ับความรุ​ุนแรงของการปวด ระดั​ับปวดน้​้อย คะแนน 1-3 ระดั​ับปวดปานกลาง คะแนน 4-6 ระดั​ับปวดมาก คะแนน 7-10 หากคะแนนมากกว่​่า 6 ขึ้​้�นไป ถื​ือว่​่าควรได้​้รั​ับการดู​ูแลลดปวด อาจใช้​้ยาแก้​้ปวดร่​่วม ด้​้วยซึ่​่�งไม่​่ควรรอ ให้​้ถึ​ึง 10 หรื​ือจนผู้​้�ป่​่วยบอกว่​่าทนไม่​่ไหวเพราะการรั​ักษาความปวด แต่​่เนิ่​่�น ๆ เป็​็นวิ​ิธี​ีการที่​่�ถู​ูกต้​้องและให้​้ผลดี​ีทั้​้�งทางด้​้านร่​่างกายและจิ​ิตใจ

94

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


ภาคผนวกที่​่� 8 การประเมิ​ินความรู้​้�สึ​ึกตั​ัวด้​้วย AVPU และ Glascow Coma Score การประเมิ​ินความรู้​้�สึ​ึกตั​ัวด้​้วย AVPU Alert ผู้​้�ป่​่วยตื่​่�นดี​ี Verbal response ตอบสนองต่​่อเสี​ียง Painful response ตอบสนองต่​่อความเจ็​็บปวด Unresponsiveness ผู้​้�ป่​่วยไม่​่ตอบสนอง การประเมิ​ินความรู้​้�สึ​ึกตั​ัวด้​้วย Glascow Coma Score การลื​ืมตา การสื่​่�อภาษา 6 คะแนน - - 5 คะแนน - พู​ูดคุ​ุยไม่​่สั​ับสน 4 คะแนน ลื​ืมตาได้​้เอง พู​ูดคุ​ุยได้​้แต่​่สั​ับสน 3 คะแนน ลื​ืมตาเมื่​่�อเรี​ียก พู​ูดเป็​็นคำำ�ๆ 2 คะแนน ลื​ืมตาเมื่​่�อรู้​้�สึ​ึกเจ็​็บปวด ส่​่งเสี​ียงไม่​่เป็​็นคำำ�พู​ูด 1 คะแนน ไม่​่ลื​ืมตาเลย ไม่​่ออกเสี​ียงเลย

การเคลื่​่�อนไหว ทำำ�ตามคำำ�สั่​่�งได้​้ ทราบตำำ�แหน่​่งที่​่�เจ็​็บ ชั​ักแขน ขาหนี​ีเมื่​่�อเจ็​็บ แขนงอผิ​ิดปกติ​ิ แขนเหยี​ียดผิ​ิดปกติ​ิ ไม่​่มี​ีการเคลื่​่�อนไหว

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

95


ภาคผนวกที่​่� 9 ช็​็อกและการห้​้ามเลื​ือดในผู้​้�ป่​่วยบาดเจ็​็บ

ช็​็อกในผู้​้�บาดเจ็​็บ ส่​่วนใหญ่​่ เกิ​ิดจาก Hypovolemic shock สาเหตุ​ุของการเสี​ียเลื​ือด ทราบได้​้จากประวั​ัติกิ ลไก การบาดเจ็​็บ ซึ่​่�งการประเมิ​ินการสู​ูญเสี​ียเลื​ือดแบ่​่งออกได้​้ 4 ระดั​ับ ดั​ังตารางข้​้างล่​่าง Class I Class II Class III Class IV ปริ​ิมาณเลื​ือดที่​่�สู​ูญเสี​ีย < 750 750-1500 1500-2000 > 2000 (ml)* ร้​้ อยล ะของปริ​ิ ม าณ < 15 % 15-30 % 30-40 % > 40 % เลื​ือดในร่​่างกาย การรั​ักษาด้​้วยสารน้ำำ�� crystalloid crystalloid Crystalloid Crystalloid และ เลื​ือด และ เลื​ือด ชี​ีพจร (ครั้​้�ง/นาที​ี) < 100 100-120 120-140 > 140 Systolic blood ปกติ​ิ ปกติ​ิ ลดลง ลดลง pressure Pulse pressure ปกติ​ิ / กว้​้าง แคบ แคบ แคบมาก ปริ​ิมาณปั​ัสสาวะ > 30 15 - 30 5 - 15 <5 (ml/hr) อั​ัตราการหายใจ 14 - 20 20 - 30 30 - 40 >35 (ครั้​้�ง/นาที​ี) สติ​ิ กระวนกระวาย กระวนกระวาย กระวนกระวาย สั​ับสน ซึ​ึม เล็​็กน้​้อย ปานกลาง มาก สั​ับสน * คิ​ิดจากน้ำำ��หนั​ักผู้​้�ป่​่วย 70 กก. ตาม ATLS ผู้​้�ป่​่วยที่​่�สู​ูญเสี​ียเลื​ือดมากการรั​ักษาที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุดคื​ือ การหยุ​ุดการเสี​ียเลื​ือดและทดแทนเลื​ือด ที่​่�เสี​ียไป ควรมี​ีการรั​ักษาเบื้​้�องต้​้นด้​้วยการกดแผลเพื่​่�อลดการเสี​ียเลื​ือดและเปิ​ิดเส้​้นให้​้สารน้ำำ��

96

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


สั​ัญญาณชี​ีพ ประเมิ​ินร้​้อยละของ เลื​ือดที่​่�สู​ูญเสี​ีย ความต้​้องการ crystalloid เพิ่​่�ม ความต้​้องการเลื​ือด ชนิ​ิดของเลื​ือดที่​่�ต้​้อง เตรี​ียม การผ่​่าตั​ัด

ตอบสนองอย่​่าง ตอบสนอง รวดเร็​็ว ชั่​่�วคราว (rapid (transient response) response) กลั​ับสู่​่�ปกติ​ิ กลั​ับสู่​่�ปกติ​ิชั่​่�วคราว 10 - 20 ปานกลางและยั​ังคง เสี​ียเลื​ือด 20-40 น้​้อย น้​้อยถึ​ึงปานกลาง น้​้อย Type and cross-match มี​ีโอกาส

ไม่​่ตอบสนอง (no response) ไม่​่ดี​ีขึ้​้�น รุ​ุนแรง > 40

ปานกลาง เตรี​ียม ให้​้เลื​ือด ปานกลางถึ​ึงมาก ทั​ันที​ี Type specific ใช้​้ emergency blood ต้​้องการ ต้​้องการมากและ ต้​้องการ เพิ่​่�มขึ้​้�น เรื่​่�อยๆ

แนวทางการห้​้ามเลื​ือดภายนอก เลื​ือดออกภายนอกจำำ�นวนมาก ใช่​่

Tourniq

แขน / ขา ขาด ไม่​่ใช่​่ ใช้​้แรงกดโดยตรง

ไม่​่ได้​้ผล

ไม่​่ได้​้ผล

ได้​้ผลดี​ี พั​ันแผลให้​้แน่​่น

ใช้​้แรงกดที่​่�เส้​้นเลื​ือดแดง ได้​้ผลดี​ี

ส่​่งต่​่อไปโรงพยาบาล

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

97


วิ​ิธี​ีการห้​้ามเลื​ือดภายนอกแบบ direct pressure ใช้​้สั​ันมื​ือกดลงตรงจุ​ุดเลื​ือดออกจน เลื​ือดหยุ​ุดไหล โดยใช้​้ผ้​้าก๊​๊อซสะอาดวางบนจุ​ุดเลื​ือดออก แล้​้วใช้​้สนมื​ือกดลงบนผ้​้ากอซจน เลื​ือดหยุ​ุดไหล ในกรณี​ีที่​่�แขนหรื​ือขาขาดและเสี​ียเลื​ือดมาก หรื​ือในกรณี​ีที่​่�ไม่​่สามารถห้​้ามเลื​ือดออก ภายนอกจำำ�นวน มากด้​้วยการกดเส้​้นเลื​ือดแดง ให้​้ใช้​้วิธีิ ี tourniquet อาจจะใช้​้สามเหลี่​่�ยม หรื​ือใช้​้ commercial tourniquet เมื่​่�อขั​ันชะเนาะจนเลื​ือดหยุ​ุดเป็​็นที่​่�เรี​ียบร้​้อยแล้​้วให้​้รี​ีบ นำำ�ส่​่งโรงพยาบาล ห้​้ามคลาย tourniquet อย่​่างเด็​็ดขาด

การชั​ันชะเนาะ

98

ตั​ัวอย่​่างของ commercial tourniquet

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


หมายเหตุ​ุ 1. วิ​ิธี​ีการห้​้ามเลื​ือด อาจใช้​้เวลานานทำำ�ให้​้การตรวจหาภาวะคุ​ุกคามชี​ีวิ​ิตอื่​่�นในขั้​้�นตอน ต่​่อไปล้​้าช้​้า หากมี​ีเลื​ือดมากควรมี​ีผู้​้�ช่​่วยคนหนึ่​่�งรั​ับผิ​ิดชอบเรื่​่�องการห้​้ามเลื​ือด โดยให้​้ ผู้​้�ช่​่วยหลั​ักได้​้ตรวจหาภาวะคุ​ุกคามชี​ีวิตอื่​่� ิ นในลำำ�ดั​ับต่​่อไป และถ้​้าแก้​้ไขได้​้ให้​้แก้​้ไขไปพร้​้อม กั​ับการห้​้ามเลื​ือด 2. หากห้​้ามเลื​ือดไม่​่สำำ�เร็​็จหรื​ือได้​้ผลไม่​่ดี​ี ให้​้รี​ีบนำำ�ส่​่งโรงพยาบาลโดยเร็​็ว

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

99


ภาคผนวกที่​่� 10 หั​ัตถการติ​ิดตั้​้�งเครื่​่�องกระตุ​ุกหั​ัวใจไฟฟ้​้าชนิ​ิดอั​ัตโนมั​ัติ​ิ (AED) 1. ปุ่​่�มสำำ�หรั​ับเปิ​ิดการทำำ�งาน AED 2. แผ่​่นอิ​ิเล็​็กโตรด AED สำำ�หรั​ับติ​ิดผู้​้�ป่​่วย 3. จอแสดงคลื่​่�นไฟฟ้​้าหั​ัวใจ 4. Shock Button

การปฏิ​ิบัติั กิ ารช่​่วยเหลื​ือด้ว้ ย AED ทำำ�เมื่​่�อผู้​้�ป่​่วยมี​ีภาวะ Cardiac Arrest โดยใช้​้ AED ให้​้ เร็​็วที่​่�สุ​ุดเท่​่าที่​่�จะทำำ�ได้​้ มี​ีการขั​ัดจั​ังหวะการกดหน้​้าอกให้​้น้​้อยที่​่�สุ​ุดทั้​้�งก่​่อนและหลั​ัง Shock 1. เปิ​ิดเครื่​่�อง แกะซองและติ​ิดแผ่​่นอิ​ิเล็​็กโตรด ตามคำำ�แนะนำำ�บนแผ่​่น 2. หยุ​ุดการกดหน้​้าอกชั่​่�วคราว ไม่​่สั​ัมผั​ัสผู้​้�ป่​่วยเพื่​่�อให้​้เครื่​่�องวิ​ิเคราะห์​์คลื่​่�นไฟฟ้​้าหั​ัวใจ 3. หากเครื่​่�องแนะนำำ�ให้​้ shock (shock advise) ให้​้ระมั​ัดระวั​ังไม่​่ให้​้ผู้​้�ใดสั​ัมผั​ัสผู้​้�ป่​่วย หรื​ือเตี​ียงผู้​้�ป่​่วย หลั​ังจากนั้​้�นให้​้กดปุ่​่�ม shock button เพื่​่�อปล่​่อยพลั​ังงาน CPR ต่​่อทั​ันที​ี หากเป็​็น non-shockable rhythm ให้​้ CPR ต่​่ออี​ีก 2 นาที​ี หรื​ือ 5 รอบ หลั​ังจากนั้​้�นให้​้ เครื่​่�อง analyze

100

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


การเปิ​ิดเครื่​่�องนำำ�แผ่​่นอิ​ิเล็​็กโตรดออกมาจากซอง

ติ​ิดแผ่​่นอิ​ิเล็​็กโตรดตามคำำ�แนะนำำ�ตามรู​ูปที่​่�ปรากฏบนแผ่​่น

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

101


เมื่​่�อติ​ิ ด แผ่​่ น เสร็​็ จ ให้​้ ห ยุ​ุ ด กดหน้​้ าอ ก เพื่​่�อทำำ� การวิ​ิ เ คราะห์​์ ค ลื่​่�นไฟฟ้​้ าหั​ั ว ใจ หากเครื่​่�องแนะนำำ�ให้​้ shock ให้​้กดปุ่​่�ม shock button เพื่​่�อปล่​่อยพลั​ังงานและ ทำำ�CPR ต่​่อทั​ันที​ี

102

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


ภาคผนวกที่​่� 11 หั​ัตถการยึ​ึดตรึ​ึงกระดู​ูกเชิ​ิงกราน หั​ัตถการยึ​ึดตรึ​ึงกระดู​ูกเชิ​ิงกราน เป็​็นการรั​ักษาเบื้​้�องต้​้นในภาวะกระดู​ูกเชิ​ิงกรานหั​ัก เคลื่​่�อนแบบไม่​่คงที่​่� (unstable pelvic fracture) ซึ่​่�งเป็​็นผลให้​้มี​ีเลื​ือดออกปริ​ิมาณมาก ภายในอุ้​้�งเชิ​ิงกราน ประมาณ -3-4 ลิ​ิตร เป็​็นเหตุ​ุให้​้ผู้​้�ได้​้รับั บาดเจ็​็บเกิ​ิดภาวะความดั​ันโลหิ​ิต ต่ำำ��จากการเสี​ียเลื​ือดได้​้ (Hypovolemic shock) อาการและอาการแสดงของผู้​้�ที่​่�ได้​้รั​ับบาดเจ็​็บที่​่�สงสั​ัยภาวะกระดู​ูกเชิ​ิงกรานหั​ัก แบบไม่​่คงที่​่� 1. ผู้​้�ป่​่วยมี​ีอาการปวดสะโพกมาก ขยั​ับต้​้นขาลำำ�บาก 2. มี​ีรอยช้ำำ��บริ​ิเวณหั​ัวเหน่​่าหรื​ือฝี​ีเย็​็บ (perineum ecchymosis) และ/หรื​ือมี​ีเลื​ือด ออกจากปลายท่​่อปั​ัสสาวะหรื​ือทวารหนั​ัก 3. กระดู​ูกเชิ​ิงกรานผิ​ิดรู​ูป 4. มี​ีภาวะความดั​ันโลหิ​ิตต่ำำ�� โดยไม่​่มี​ีสาเหตุ​ุอื่​่�นที่​่�สามารถอธิ​ิบายได้​้ และกลไกการ บาดเจ็​็บค่​่อนข้​้างรุ​ุนแรง 5. ข้​้อพึงึ ระมั​ัดระวั​ัง ห้​้ามกดหรื​ือขยั​ับถ่​่างบริ​ิเวณกระดู​ูกเชิ​ิงกรานของผู้​้�ได้​้รับั บาดเจ็​็บ มากเกิ​ินไปเพื่​่�อตรวจสอบว่​่ามี​ีกระดู​ูกเชิ​ิงกรานหั​ักหรื​ือไม่​่

A

B

Perineum ecchymosis (A) และมี​ีเลื​ือดออกจาก urethral meatus (B)

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

103


ทำำ�การยึ​ึดตรึ​ึงกระดู​ูกเชิ​ิงกราน (Pelvic wrap) ดั​ังนี้​้� 1. จั​ัดท่​่าผู้​้�บาดเจ็​็บให้​้นอนหงาย 2. ใช้​้ผ้า้ แถบที่​่�มี​ีความยาวเพี​ียงพอที่​่�จะพั​ันรอบตั​ัวผู้​้�บาดเจ็​็บ และความกว้​้างประมาณ ช่​่วงสะโพกของ ผู้​้�ป่​่วยหรื​ือใช้​้วั​ัสดุ​ุอื่​่�นแทน เช่​่น pelvic binder เป็​็นต้​้น 3. สอดผ้​้าเข้​้าทางด้​้านหลั​ังผู้​้�ป่​่วยโดยสอดบริ​ิเวณช่​่องว่​่างของกระดู​ูกสั​ันหลั​ังระดั​ับเอว (lumbar lordosis) หรื​ือใช้​้วิ​ิธี​ี log roll ช่​่วยในการสอดผ้​้า

A

B

แสดงการทำำ� pelvic wrap ด้​้วยด้​้วยการใช้​้ผ้า้ (A) หรื​ือ commercial pelvic binder (B) 4. คลี่​่�ผ้​้าออกตรงตำำ�แหน่​่งของสะโพกโดยให้​้กึ่​่�งกลางผ้​้าอยู่​่�บริ​ิเวณปุ่​่�มของกระดู​ูกต้​้นขา 5. ดึ​ึงชายผ้​้าออกมาให้​้มี​ีความยาวเท่​่าๆกั​ันในแต่​่ละข้​้าง 6. พั​ันชายผ้​้าทั้​้�งสองข้​้างเข้​้าหากั​ันให้​้ปมผ้​้าอยู่​่�บริ​ิเวณหั​ัวเหน่​่า รั​ัดแน่​่นให้​้สะโพก ผู้​้�บาดเจ็​็บหุ​ุบเข้​้าหากั​ัน ใช้​้ arterial clamp หรื​ือ towel clip หนี​ีบเพื่​่�อไม่​่ให้​้ปมเลื่​่�อนหลุ​ุด หรื​ือผ้​้าที่​่�พั​ันคลายออก หมายเหตุ​ุ : ในกรณี​ีที่​่�ผู้​้�บาดเจ็​็บ on long spinal board ไม่​่พันั ผ้​้าในการยึ​ึดตรึ​ึงกระดู​ูก เชิ​ิงกรานโดยสอด ผ้​้าใต้​้ long spinal board เพราะจะทำำ�ให้​้ยึ​ึดตรึ​ึงกระดู​ูกเชิ​ิงกรานได้​้ ไม่​่แน่​่นเพี​ียงพอ

แสดงการพั​ันชายผ้​้าเข้​้าหากั​ัน arterial clamp หรื​ือ towel clip หนี​ีบเพื่​่�อไม่​่ให้​้ปมเลื่​่�อนหลุ​ุด

104

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


ภาคผนวกที่​่� 12 แนวทางการดำำ�เนิ​ินการปรั​ับระบบการทำำ�งาน (New norm) เพื่​่�อรองรั​ับ สถานการณ์​์ผู้​้�ป่​่วย โรคติ​ิดเชื้​้�อไวรั​ัสโคโรนา 2019 กลุ่​่�มงานเวชศาสตร์​์ฉุ​ุกเฉิ​ิน โรงพยาบาลสวรรค์​์ประชารั​ักษ์​์ คำำ�ถามคั​ัดกรองโรคติ​ิดเชื้​้�อโคโรนา 2019 โรงพยาบาลสวรรค์​์ประชารั​ักษ์​์ อาการและอาการแสดง 1. มี​ีประวั​ัติไิ ข้​้ หรื​ือวัดั อุ​ุณหภู​ูมิไิ ด้​้มากกว่​่า 37.5 องศาเซลเซี​ียสขึ้​้น� ไป 2. มี​ีอาการของระบบทางเดิ​ินหายใจอย่​่างใดอย่​่างหนึ่​่�ง ดั​ังต่​่อไปนี้​้� ไอ น้ำำ��มู​ูก เจ็​็บคอ หายใจเหนื่​่�อย หรื​ือ หายใจลำำ�บาก 3. ประวั​ัติ​ิเดิ​ินทางกลั​ับจากต่​่างประเทศ ภายใน 14 วั​ัน โปรดระบุ​ุประเทศ________________________ 4. ประกอบอาชี​ีพที่​่�มี​ีความเสี่​่�ยงต่​่อการสั​ัมผั​ัสใกล้​้ชิดิ กั​ับนั​ักท่​่องเที่​่�ยว ที่​่�มาจากประเทศหรื​ือจั​ังหวั​ัดที่​่�มี​ีรายงานการระบาด เช่​่น เจ้​้าหน้​้าที่​่� ด่​่านตรวจคนเข้​้าเมื​ือง, เจ้​้าหน้​้าที่​่�หรื​ือพนั​ักงานต้​้อนรั​ับโรงแรมที่​่�มี​ี นั​ักท่​่องเที่​่�ยวจากประเทศดั​ังกล่​่าวพั​ักอาศั​ัย, เป็​็นมั​ัคคุ​ุเทศก์​์หรื​ือ พนั​ักงานขั​ับรถกลุ่​่�มทั​ัวร์​์, เป็​็นพนั​ักงานร้​้านอาหารที่​่�รั​ับกลุ่​่�มทั​ัวร์​์ เป็​็นต้​้น 5. มี​ีประวั​ัติใิ กล้​้ชิดิ หรื​ือสัมั ผั​ัสกั​ับผู้​้�ป่​่วยเข้​้าข่าย ่ หรื​ือยืนื ยั​ันโรคติ​ิดเชื้​้�อ ไวรั​ัสโคโรนา 2019

ใช่​่

ไม่​่ใช่​่

*** ผู้​้�ป่​่วยที่​่�มี​ี ข้​้อ 1+2 และ ข้​้อ 3 หรื​ือ 4 หรื​ือ 5 ให้​้ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามแนวทางการจั​ัดการผู้​้�ป่​่วย PUI *** เกณฑ์​์ PUI เปลี่​่�ยนแปลงตามของกระทรวงสาธารณสุ​ุข กลุ่​่�มงานเวชศาสตร์​์ฉุ​ุกเฉิ​ิน โรงพยาบาลสวรรค์​์ประชารั​ักษ์​์

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

105


แนวทางการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยฉุ​ุกเฉิ​ินภายนอกโรงพยาบาล ศู​ูนย์​์รั​ับแจ้​้งเหตุ​ุผ่​่าน 1669 หรื​ือผ่​่านทางระบบอื่​่�น ๆ Phone triage และคั​ัดแยกประวั​ัติ​ิเกณฑ์​์สงสั​ัยติ​ิดเชื้​้�อ COVID-19***ทุ​ุกราย ไม่​่เข้​้าเกณฑ์​์ PUI เข้​้าเกณฑ์​์ PUI : เจ้​้าหน้​้าที่​่�ทุ​ุกคนสวมชุ​ุด standard PPE : เจ้​้าหน้​้าที่​่�ทุ​ุกคนสวมชุ​ุด enhanced PPE หั​ัวหน้​้าที​ีมประเมิ​ินประวั​ัติ​ิเกณฑ์​์สงสั​ัยติ​ิดเชื้​้�อ รหั​ัสเขี​ียว รหั​ัสแดงหรื​ือเหลื​ือง COVID-19 อี​ีกครั้​้�งผ่​่านการซั​ักประวั​ัติที่​่�ิ ระยะห่​่าง - กรณี​ีให้​้ O ให้​้ใช้​้ ไม่​่ อนุ ุญาตให้​้ญาติ​ิ 2 2 เมตร โดยผู้​้�ป่​่วยและญาติ​ิสวมหน้​้ากากอนามั​ัย surgical mask ครอบ นั่​่�งบนรถพยาบาล ร่​่วมกั​ับผู้​้�ป่​่วย ทั​ับ cannula หรื​ือ ไม่​่เข้​้าเกณฑ์​์ เข้​้าเกณฑ์​์ - ผู้​้�ป่​่วยสวม surgical mask with bag mask - ไม่​่ใส่​่ endotracheal รหั​ัสแดงหรื​ือเหลื​ือง - เจ้​้าหน้​้าที่​่�ทุกุ คน tube แต่​่ช่ว่ ยหายใจโดยใช้​้ - จำำ�กั​ัดจำำ�นวนเจ้​้า - หากพ่​่นยา ใช้​้แบบ MDI เปลี่​่�ยนเป็​็นชุ​ุด bag-mask device with หน้​้าที่​่�ที่​่�อยู่​่�ร่​่วมห้​้อง with spacer enhance PPE โดยสารให้​้น้​้อยที่​่�สุ​ุด HEPA with tight seal - กรณี​ีให้​้ O2 ให้​้ใช้​้ surgical - แจ้​้งข้​้อมูลู กลั​ับ (2-rescuers) รวมถึ​ึงกรณี​ี และห่​่างจากผู้​้�ป่​่วย mask ครอบทั​ับ cannula ศู​ูนย์​์รับั แจ้​้งเหตุ​ุ อย่​่างน้​้อย 1 เมตร cardiac arrest ที่​่�ช่​่วย หรื​ือmask with bag เพื่​่�อแจ้​้งข้​้อมูลู ให้​้ หายใจแบบ 30:2 ด้​้วย - กรณี​ีช่ว่ ยหายใจ ใช้​้ รพ.ปลายทาง bag-mask device เตรี​ียมความพร้​้อม - กรณี​ี cardiac arrest with HEPA filter - ปฏิ​ิบัติั ตา ิ มแนวทาง • ใช้​้ mechanical CPR - เลี่​่�ยงการใส่​่ endotracheal การดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยสงสั​ัย device (ถ้​้ามี)ี • หากเจ้​้าหน้​้าที่​่�ไม่​่พอที่​่� tube แต่​่หากมี​ีความ ติ​ิดเชื้​้อ� COVID-19 จะทำำ� positive ventilation จำำ�เป็​็น ผู้​้�ใส่​่ tube ให้​้ ได้​้ ให้​้ใส่​่ O2 mask with สวมชุ​ุด full/enhanced bag และสวม surgical PPEและใช้​้ HEPA filter mask ครอบทั​ับ ระหว่​่าง ทุ​ุกครั้​้ง� การทำำ� รหั​ัสเขี​ียว compression-only CPR - ผู้​้�ป่​่ ว ยและญาติ​ิ ส วม - ใช้​้ soft paddle ทุ​ุกครั้​้ง� หน้​้ากากอนามั​ัย ที่​่�ต้​้อง cardioversion - อนุ​ุญาตให้​้ญาติ​ิขึ้​้�นรถ หรี​ีอ defibrillation พยาบาลเพี​ียง 1 คน 106

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


แนวทางการ CPR ผู้​้�ป่​่วย PUI เกณฑ์​์ ER โรงพยาบาลสวรรค์​์ประชารั​ักษ์​์ EMS หรื​ือ Refer

ผู้​้�ป่​่วย Walk-in พนง.เปล (mask+ Face shield) นำำ�ผู้​้�ป่​่วยมาที่​่�จุ​ุด triage

N.Triage C1 (mask+ Face shield+หมวก) 1. ซั​ักประวั​ัติ​ิพบเข้​้าเกณฑ์​์ PUI ของ ER 2. ใส่​่ N95 + ชุ​ุด Isolate + ถุ​ุงมื​ือ 3. คลำำ�ชี​ีพจรที่​่� carotid a. 5-10 วิ​ินาที​ี พบ Cardiac arrest ภายในห้​้องฉุ​ุกเฉิ​ิน 4. ถ้​้า ญาติ​ิ DNR ให้​้นำำ�ศพเข้​้าห้​้องแยกโรคแล้​้วแจ้​้ง 1. Incharge N. แจ้​้งรั​ับทราบ CODE แพทย์​์เวร จากใน ER 5. ประกาศ CODE C arrest ให้​้ ER รั​ับทราบ 2. ผู้​้�ช่​่วยฯ เปิ​ิดห้​้องแยกโรค พร้​้อมนำำ� Defib และ Soft paddle N.Triage C1 และ พนง.เปล ไปด้​้วย (N95+ Face shield+หมวก+ชุ​ุด Isolate + ถุ​ุงมื​ือ) 6. ให้​้ พนง.เปล ใส่​่ N95 + ชุ​ุด Isolate + ถุ​ุงมื​ือ 3. ที​ีม CPR: EP, C2, C3 ใส่​่ชุ​ุด PPE 7. ใส่​่ Mask และคลุ​ุมพลาสติ​ิกใสให้​้ผู้​้�ป่​่วย แล้​้วเข้​้าห้​้องแยก 8. นำำ�ผู้​้�ป่​่วยเข้​้าห้​้องแยกโรค 4. นำำ�อุ​ุปกรณ์​์รั​ักษาเข้​้าห้​้องแยก (หากห้​้องเปิ​ิดไม่​่ทั​ันให้​้ รอที่​่�จุ​ุดรอคอยที่​่�กำำ�หนดก่​่อน) 9. N.C3 และ พนง.เปล ใส่​่ชุ​ุด PPE หน้​้าห้​้องแยกโรค (ยั​ังไม่​่ต้​้อง CPR) 10. N.C3 เข้​้าห้​้องแยกโรคเริ่​่�มลำำ�ดั​ับการช่​่วยเหลื​ือ หลั​ังจากใส่​่ชุ​ุด PPE แล้​้วเท่​่านั้​้�น ปฏิ​ิบั​ัติ​ิตามลำำ�ดั​ับการ CPR ในห้​้องแยกโรค (รายละเอี​ียดในหน้​้าถั​ัดไป) • ต้​้องใส่​่ Full PPE ทุ​ุกคน • EP + C1 + C2 อยู่​่�ในห้​้องแยกโรค <-----> C3 + พนง.เปล อยู่​่�นอกห้​้องแยกโรค • ใช้​้ Soft paddle ในการ monitor และ Defib • ใช้​้เครื่​่�อง Auto-CPR • ถ้​้ายั​ังไม่​่ใส่​่ Tube: ให้​้ Manual hand only CPR + ผู้​้�ป่​่วยต้​้องใส่​่ Surgical mask • ถ้​้าใส่​่ Tube แล้​้ว: ต้​้องต่​่อ HEPA Filter เสมอ + ให้​้ช่​่วยหายใจทุ​ุก 6 วิ​ินาที​ีด้​้วยเครื่​่�อง Ventilator (Setting: FiO2 1.0, RR 10/min, Pressure/Volume ที่​่�ทำำ�ให้​้ chest raising) • แนะนำำ�ใช้​้ Zoll ventilator ในห้​้องแยก • พิ​ิจารณาหยุ​ุด CPR เมื่​่�อ 30 นาที​ี หรื​ือ DNR ถ้​้า Shockable rhythm อาจพิ​ิจารณา extended CPR เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

107


การ CPR ต้​้อง Full PPE และ ในห้​้องแยกโรคเท่​่านั้​้�น (ผู้​้�ช่​่วยฯ เปิ​ิดห้​้อง) ลำำ�ดั​ับ หน้​้าที่​่� 1 C1 หรื​ือ ที​ีม CPR ที่​่� PPE พร้​้อม 2 C1 หรื​ือ C2 3 C2 + EP C1 4

5

ข้​้อปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ติ​ิด Soft paddle และ Defib ตามข้​้อบ่​่งชี้​้�ปกติ​ิ

ลำำ�ดับอุ ั ปุ กรณ์​์ที่​่ต้� อ้ งใช้​้ เครื่​่�อง Defib + Soft paddle

Manual hand only CPR

ติ​ิดตั้​้ง� เครื่​่�อง Auto-CPR ถ้​้าเครื่​่�องมี​ีปัญั หาให้​้ C2 Manual CPR เตรี​ียมอุ​ุปกรณ์​์ Airway และ Ventilator **ต่​่อ HEPA filter** EP+C1 Intubation ตามคำำ�แนะนำำ� • ควรใช้​้กล่​่องใส่​่ tube • ควรใช้​้ Glide scope • ต้​้องหยุ​ุด CPR เมื่​่�อเริ่​่�ม Intubation • ควร Check tube ด้​้วย End Tidal CO2 • Setting: FiO2 1.0, RR 10/min, Pressure/Volume ที่​่�ทำำ�ให้​้ chest raising C2 เปิ​ิด IV + เตรี​ียมให้​้ยา C3 จั​ับเวลา + Record EP + C1 • Defib และ ใช้​้ยา ตามข้​้อบ่​่งชี้​้�ปกติ​ิ + C2 • หา 5H5T ด้​้วย POC **ไม่​่ส่​่งเลื​ือดออกนอกห้​้องแยก** • กรณี​ี Trauma ICD?? EP+C3 ซั​ักประวั​ัติ+ิ Advice ญาติ​ิ+ปรึ​ึกษาแพทย์​์อายุรุ กรรมโรคติ​ิดเชื้​้อ�

ROSC • รั​ักษาตาม Post cardiac arrest algorithm ปกติ​ิ • ไม่​่ CXR Port ที่​่�ห้​้องแยกให้​้ทำำ�ที่​่� ward • Case trauma?? CT brain • ใบ Standing order และ Admit รคส (Record OPD Card ภายหลั​ัง) • พนง.เปล + C1 Transfer ผู้​้�ป่​่วยด้​้วย Negative capsule

เครื่​่�อง Auto-CPR อุ​ุปกรณ์​์ Airway Zoll Ventilator กล่​่องใส่​่ tube Glide scope End Tidal CO2

รถ IV + ยา CPR POC: iSTAT, CBG, Lactate, Hct วิ​ิธี​ีคุ​ุยกั​ับญาติ​ิ

พิ​ิจารณาหยุ​ุด CPR เมื่​่�อ 30 นาที​ี หรื​ือ DNR • ทุ​ุกคนถอดชุ​ุด PPE ตามขั้​้�นตอนที่​่�บริ​ิเวณ ห้​้องแยกโรค • แจ้​้งนิ​ิติ​ิเวชรอคำำ�แนะนำำ�ในการเคลื่​่�อน ย้​้ายศพ • ทำำ�ความสะอาดห้​้องและอุ​ุปกรณ์​์ทั้​้ง� หมด

สิ้​้�นสุ​ุดการรั​ักษา • พนง เปล + C1: ถอดชุ​ุด PPE ที่​่� ward และ หยุ​ุดงาน?? รอฟั​ังผล COVID • EP+C2+C3: ถอดชุ​ุด PPE ตามขั้​้�นตอนที่​่�บริ​ิเวณห้​้องแยกโรคและปฏิ​ิบั​ัติ​ิงานต่​่อ • Inchage บั​ันทึ​ึกรายชื่​่�อบุ​ุคลากรที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการ CPR ทั้​้�งหมดและแจ้​้งหั​ัวหน้​้า ER 108

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


คำำ�แนะนำำ�ด้​้านอุ​ุปกรณ์​์ เพื่​่�อปรั​ับระบบงานในห้​้องฉุ​ุกเฉิ​ิน รองรั​ับสถานการณ์​์โรคติ​ิดเชื้​้�อไวรั​ัสโคโรนา 2019 A, S M, F ระดั​ับรพ.

ต้​้องปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ควรปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ตามความ ต้​้องปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ควรปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ตามความ เหมาะสม เหมาะสม

การแต่​่งกายของเจ้​้าหน้​้าที่​่�

✓ กระทรวง

✓ ตามคำำ�แนะนำำ� กระทรวง

✓ ✓

✓ ✓

ตามคำำ�แนะนำำ�

ผู้​้�ป่​่วยใส่​่หน้​้ากากอนามั​ัย ญาติ​ิใส่​่หน้​้ากากอนามั​ัย มี​ีอุ​ุปกรณ์​์กั้​้�นป้​้องกั​ันในโซน คั​ัดกรองผู้​้�ป่​่วยหน้​้า ER คั​ัดกรองวั​ัดไข้​้ผู้​้�ป่​่วยและ ญาติ​ิก่​่อนเข้​้า ER ทุ​ุกราย มี​ีบริ​ิเวรแยกโรคของ ER ผู้​้�ป่​่วยที่​่�ใส่​่ท่​่อช่​่วยหายใจใส่​่ HEPA filter Suction close system Soft paddle ในผู้​้�ป่​่วย PUI CXR ก่​่อน refer เครื่​่�องช่​่วยหายใจ พ่​่นยาด้​้วย MDI with spacer VDO laryngoscope RSI End Tidal CO2 isolation chamber (แบบประดิ​ิษฐ์​์เองก็​็ได้​้) Mechanical CPR device

✓ ✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

109


คำำ�ย่​่อ ALS Advanced Life Support Unit (ชุ​ุดปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ินระดั​ับสู​ูง ) ACLS Advanced cardiac life support (การช่​่วยชี​ีวิ​ิตขั้​้�นสู​ูง) AED Automated External Defibrillator (เครื่​่�องกระตุ​ุกหั​ัวใจไฟฟ้​้าชนิ​ิดอั​ัตโนมั​ัติ​ิ) AEMT Advanced Emergency Medical Technician (เจ้​้าพนั​ักงานฉุ​ุกเฉิ​ินการแพทย์​์ (จฉพ.)) AHA American heart association BLS Basic Life Support Unit (ชุ​ุดปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ินระดั​ับต้​้น) BSI Body Substance Isolation (การป้​้องกั​ันตนเองโดยใช้​้อุปุ กรณ์​์ป้​้องกั​ันตนเอง) CBG Capillary blood glucose (น้ำำ��ตาลในเลื​ือดเส้​้นเลื​ือดฝอย) CPR Cardiopulmonary resuscitation (การช่​่วยฟื้​้�นคื​ืนชี​ีพ) EMR Emergency Medical Responder (อาสาสมั​ัครฉุ​ุกเฉิ​ินการแพทย์​์ (อฉพ.)) FR First Responder Unit (ชุ​ุดปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ินเบื้​้�องต้​้น ) IO Intraosseous (การให้​้สารน้ำำ��ในกระดู​ูก ) IV Intravenous (ทางหลอดเลื​ือดดำำ�) LMA Laryngeal Mask Airway MAP Mean arterial pressure (ค่​่าเฉลี่​่�ยของความดั​ันโลหิ​ิต) MDI Metered Dose Inhaler (ยาสู​ูดพ่​่น) NSTEMI กล้​้ามเนื้​้�อหั​ัวใจตายชนิ​ิด non-ST elevation myocardial infarction OSCC One Stop Crisis Center (ศู​ูนย์​์ช่​่วยเหลื​ือสั​ังคม) PEA Pulseless electrical activity PPE Personal Protective Equipment (อุ​ุปกรณ์​์ป้​้องกั​ันส่​่วนบุ​ุคคล) POC Point of care PUI Patient Under Investigation (ผู้​้�ป่​่วยสงสั​ัยติ​ิดเชื้​้�อไวรั​ัสโคโรนา 2019) RR Respiratory Rate (อั​ัตราการหายใจ) 110

่� การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่ง สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์


คำำ�ย่​่อ RSI Rapid Sequence Intubation SBP Systolic Blood Pressure (ความดั​ันโลหิ​ิตซิ​ิสโตลิ​ิก) STEMI ST-segment Elevation Myocardial Infarction (หลอดเลื​ือดหั​ัวใจอุ​ุดตั​ัน เฉี​ียบพลั​ัน) VF Ventricular Fibrillation VT Ventricular Tachycardia พอป. แพทย์​์อำำ�นวยการปฏิ​ิบั​ัติ​ิการฉุ​ุกเฉิ​ิน

เกณฑ์​์วิธี ิ แ ี ละแนวปฏิ​ิบัติ ั ต ิ ามคำำ�สั่​่ง � การแพทย์​์และการอำำ�นวยการ สำำ�หรั​ับหน่​่วยปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารแพทย์​์ฉุก ุ เฉิ​ิน จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์

111


จัดพิมพและเผยแพรโดย : ศูนยอํานวยการทางการแพทยฉุกเฉิน จังหวัดนครสวรรค สนับสนุนงบประมาณ โดย สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ กลุมงานเวชศาสตรฉุกเฉิน โรงพยาบาลสวรรคประชารักษ 43 ถนนอรรถกวี ตําบลปากนํ้าโพ อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค 60000 โทร 0 5621 9888 ตอ 12104 สแกนเพื่อเขาสูเว็บไซต EMSPR Nakhonsawan: EMSPR101013667.WORDPRESS.COM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.