2
a side
3
a side
Content
November 2018 Vol.15 No.168
News Special Eatery Coming Up Recipe Scoop Talk Art Music Report
08 14 16 18 19 20 28 30 32 34
20 Scoop
ก้าวขึ้นสู่ปีที่ 15 ของ HIP Magazine เราขอ ชักชวนคนอ่านไปท�ำความรูจ้ กั กับหน่วยงานหรือองค์กร การกุศลในเชียงใหม่ ที่ทุกแห่งล้วนต้องการทั้งก�ำลังใจ และการสนับสนุนจากสังคม เผื่อว่าใครพอมีเหลือ จะได้ ‘ช่วยเหลือเกือ้ กูล’ ให้คนทีย่ งั ขาดในสังคมได้มชี วี ติ ทีด่ ขี นึ้
Cover A ขึ้นปีที่ 15
TIME TO SHARE
28 Talk
เรื่องราวของทีมนักวิจัยไทยที่ศึกษาเกี่ยวกับ รังสีคอสมิกกับการท�ำภารกิจตัดข้ามละติจดู ด้วยการ น�ำอุปกรณ์ตรวจวัดใส่คอนเทนเนอร์ แล้วน�ำไปติดตัง้ บนเรื อ ตั ด น�้ ำ แข็ ง ที่ มี เ ป้ า หมายจะเดิ น ทางไปสู ่ ท วี ป แอนตาร์กติกา โดยหนึ่งในนักวิจัยจะเดินทางไปกับเรือ ที่ว่านี้ด้วย
เจ้าของ บริษัท เชียงใหม่ ฮิพ แม็กกาซีน จำ�กัด ที่ปรึกษา
HIP EVENT
ฐานิศร์ สมบัติพิบูลย์ / วรพจน์ จันทร์หนองสรวง / ธนิต ชุมแสง สมชาย ขันอาษา
ชนัญชิตา สงวนโชคกุล ชัยชาญ คุณธรรมพิสฐิ พัชรี วังคำ�คน
บรรณาธิการฝ่ายศิลป์
นักศึกษาฝึกงาน
วชิรดล ไชยภูมิ
เพชรรัตน์ โทอื้น
บรรณาธิการ
บรรณาธิการผู้ช่วย (Magazine) ระพินทรนาถ บรรณจักร์
บรรณาธิการผู้ช่วย (Digital) ศมนภรณ์ สุ่นศิริ
กองบรรณาธิการ ชวัลวัฒน์ ศิริ
นักเขียนประจำ�ฉบับ วัฒนาวรรณ ขันอาษา นำ�ธน มุทิตานันท์ ธันยภฤศ ฟองดาวิรัตน์ ศีลวัตร สาธร
ติดต่อ: กองบรรณาธิการ / การตลาด Mail: hipthailand.cm@gmail.com โทร. 0-5332-9420 / 08-1681-0037
ส�ำนักงานนิตยสาร HIP Magazine
บริษัท เชียงใหม่ ฮิพ แม็กกาซีน จำ�กัด เลขที่ 5/1 หมู่ 5 ต.สุเทพ อ.เมือง เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์/ แฟ็กซ์ 0-5332-9420 Email : hipthailand.cm@gmail.com Website : WWW.HIPTHAILAND.NET Facebook : HIP Magazine & Event YouTube : HIP THAILAND Instagram : HIP THAILAND #HIPMagazine
5
a side
Editor
November 2018 Vol.15 No.168
คนเล่นดนตรี และ คนฟัง ริมถนนในเมือง Strasbourg (30.09.2018)
ขึ้นปีที่ 15 HIP Magazine เดินทางผ่านร้อน ฝน หนาว เข้าสู่ปีท่ี 15 แม้วา่ ปี ทผ่ี ่านมานี้จะมีซวนเซไปบ้างในช่วงหน้าฝน (ขนาดทีต่ อ้ งควบเล่มรวมสองเดือนในเดือนมิถนุ ายน - กรกฎาคม) แต่ถงึ อย่างไรก็ยงั ผ่านมาจนได้ HIP ฉบับขึ้นปี ท่ี 15 เล่มนี้ มีความตัง้ ใจอยากน�ำเสนอข้อมูลและชักชวนให้คนอ่าน ‘แบ่งปัน’ ให้กบั ผูค้ นในสังคม ทีล่ ำ� บากกว่า มีโอกาสน้อยกว่า โดยเลือกองค์กรต่างๆ ในจังหวัดเชียงใหม่ข้นึ มาบางส่วน ซึง่ จริงๆ แล ้วยังมีอกี มากมายทีต่ อ้ งการ ‘การแบ่งปัน’ ใครสะดวกช่วยแบบไหน กับทีไ่ หน ได้ทงั้ นัน้ นะครับ นอกจากเรื่องของ ‘การแบ่งปัน’ ทีต่ งั้ ใจในเล่มนี้ เราก็ยงั มีเรื่องทีน่ ่าสนใจให้ได้อ่านกันอีกเยอะ ทัง้ เรื่องของคน, เรื่องอาหารการกิน, ท่องเทีย่ ว, ปัน่ จักรยาน - วิง่ , ศิลปะ เชื่อว่าเรื่องราวใน HIP Magazine ในปัจจุบนั คงให้ทงั้ สาระและความบันเทิงกับคนอ่านได้บา้ ง ไม่มากก็นอ้ ย ช่วงนี้ไม่พดู มากครับ เจ็บคอ! ขอขอบคุณ สปอนเซอร์ทงั้ หลายทีใ่ ห้การสนับสนุน HIP Magazine มาโดยตลอด และ คนอ่านทีย่ งั คงติดตาม อ่านแบบพิมพ์เป็ นเล่มกันอยู่ เดือนหน้ายังเจอกันอยู่ครับ (ฮา) สมชาย ขันอาษา บรรณาธิการ Email: somchai.khanasa@gmail.com IG: hip_editor_thailand ID Line: s.khan-asa
News
Pop Pongkool Live
@ The Good View Village The Good View มีดนตรีดีๆ ให้สนุกสนานกันเหมือนเช่นเคย ในเดือนที่ผ่านมา เมื่อศิลปินหนุ่มอารมณ์ดี ป๊อป - ปองกูล สืบซึ้ง มาเยือน The Good View Village ท�ำเอาแฟนเพลงอยู่ไม่ติดโต๊ะกันเลยทีเดียว ต้องขยับมาฟังเสียงร้องเพราะๆ กันใกล้ๆ จนเต็มหน้าเวที ด้านหนุ่มป๊อป ก็ไม่ท�ำให้แฟนเพลงที่รอผิดหวัง ขนเพลงเพราะเพลงฮิตมาร้องให้ฟัง แบบจุใจ ด้วยลีลาการร้องที่สร้างความบันเทิงให้ผู้ชมได้สนุกกันทั่วหน้า
Italian Food Festival
@ Kantary Hills Hotel, Chiang Mai เอาใจคนทีช่ นื่ ชอบรสชาติอาหารอิตาเลียนแท้ กับวัตถุดบิ และเมนูอาหาร เลิ ศ รสที่ เ ชน� ำ มาให้ ไ ด้ ลิ้ ม ลองกั น ทั้ ง สเต๊ ก เนื้ อ วั ว ชั้ น ดี พาสต้ า เส้ น สด ซอสเพสโต้ ซี่โครงแกะในซอสไวน์แดงกระเทียม ปลากะพงขาวในซอสเจนัว หรือเมนูซีฟู้ดก็มีให้เลือกมากมาย พร้อมด้วยขบวนขนมหวานและเครื่องดื่ม อย่ า งไวน์ อิ ต าลี ชั้ น เยี่ ย มที่ เ หมาะทานคู ่ กั บ เมนู ซี ฟู ้ ด เรี ย กว่ า งานนี้ ถู ก ใจ คนรักอาหารอิตาเลียนจริงๆ
The Prince Royal’s Half Marathon 2019 @ Prince Royal Collage
แถลงข่ า วและเปิ ด รั บ สมั ค รกั น ไปเป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว ส� ำ หรั บ The Prince Royal’s Half Marathon 2019 การแข่งขันวิ่งครั้งแรก ในประวั ติ ศ าสตร์ ของสมาคมนั ก เรี ย นเก่ า ปริ น ส์ ร อยแยลล์ วิ ท ยาลั ย ที่ เ ชิ ญ ชวนเหล่ า เจ้ า ชายและเจ้ า หญิ ง แห่ ง วงการนั ก วิ่ ง ทุ ก ท่ า น มาวิ่ ง กั น ในวันอาทิตย์ที่ 13 มกราคม 2562 ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติฯ รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.prcrunning.com
8
a side
Warm Up Cafe
Live Music @ Warm Up Cafe วอร์มอัพ คาเฟ่ มีงานดนตรีดีๆ เหมือนเช่นเคยในเดือนที่ผ่านมา เริ่มกันด้วย Singha Light Presents Blue Planet Revolution 4.5 ที่น�ำสามหนุ่มแร็พเปอร์ J S R มาสร้างความสนุกสนนานตตรงเวทีด้านใน ส่วนที่เวทีด้านนอก ได้ บุรินทร์ บุญวิสุทธิ์ และ เอิ๊ต ภัทรวี มาเปิดปาร์ตี้ ขนเพลงเพราะมาให้ฟังกันอย่างครบถ้วน รวมถึงความมันจาก DJ. SURA ดีเจคนสวยจากเกาหลี ที่มาสร้างความบันเทิงให้ขาแดนซ์ได้เต้นกันกระจาย (ภาพ Siam2nite)
News
CentralFestival Chiangmai October Events @ CentralFestival Chiangmai
เดือนทีผ ่ า่ นมา เซ็นทรัลเฟสติวลั เชียงใหม่ มีหลายกิจกรรมทีน่ า่ สนใจ เริม่ ด้วย ‘Chiangmai Auto Fest 2018’ งานที่รวบรวมรถยนต์พร้อม โปรโมชัน่ พิเศษจากค่ายรถชัน้ น�ำ ตามด้วย ‘เทศกาลอาหารเจ เซ็นทรัลเฟสติวลั เชียงใหม่ : อิ่มเจ สุขกาย ได้บุญ’ ที่รวมเมนูเด็ดจากร้านดังมาไว้ภายในงาน จากนั้นเป็นคิวของ ‘Chiangmai Dance Fest 2018’ มหกรรมเต้น ครัง้ ยิง่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในภาคเหนือ ส่วนใครทีม่ าช้อปบิวตีไ้ อเท็มในงาน ‘Beauty Salebration’ ก็จะได้พบกับมินิคอนเสิร์ตสุดพิเศษจาก ‘เอ๊ะ จิรากร’ และ ‘ทอม Room39’ ก่อนจะปิดท้ายด้วยการเปิด ‘Mi Store’ ให้ได้สัมผัส เทคโนโลยีสมาร์ทโฟนรุ่นล่าสุด พร้อมโปรโมชั่นสุดคุ้มมากมาย
Chiang Mai Ice Hockey Challenge Cup 2018 @ Sub - Zero Ice Skate Club
มีนกั กีฬา 600 คนจาก 28 ทีมมาร่วมชิงชัย ใน ‘เชียงใหม่ ไอซ์ฮอกกี้ ชาลเลนจ์ คัพ 2018’ การแข่งขันฮอกกี้น�้ำแข็งที่ใหญ่ที่สุดในภาคเหนือ งานนี้นอกจากจะจัดขึ้นเพื่อสร้างกระแสกีฬาฮอกกี้น�้ำแข็งให้เป็นที่นิยมแล้ว ยังเป็นการปูทางให้วงการฮอกกี้น�้ำแข็งของไทยก้าวไปสู่เวทีโลก ในระดับ World Ice Hockey Championships อีกด้วย
Canon EOS R On Tour In Chiang Mai @ X2 Chiang Mai Riverside Resort
แคนนอน มาร์เก็ตติ้ง (ไทยแลนด์) เปิดตัวกล้อง EOS R อย่างเป็น ทางการในภาคเหนือ โดยเป็นกล้องมิเรอร์เลสฟูลเฟรมรุ่นแรกของแคนนอน ภายใต้แนวคิด Reimagine Optical Excellence ปลดล็อคให้ทุก จินตนาการแห่งภาพถ่ายเป็นไปได้มากกว่าที่เคย เสริมด้วยกองทัพเลนส์ รุ่นใหม่และอุปกรณ์เสริมครบครัน เพื่อให้มั่นใจได้ว่าผู้ใช้งานจะมีอุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ภาพถ่ายตามแบบที่จินตนาการอย่างครบถ้วน
10
a side
Toyota Big Day Special @ Chiangmai Convention Hall
บริษัท โตโยต้า เชียงใหม่ จ�ำกัด ร่วมกับ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด จัดกิจกรรม Toyota Big Day Special ณ ศูนย์ประชุม และแสดงสินค้านานาชาติฯ เมื่อวันที่ 28 กันยายน - 7 ตุลาคม ที่ผ่านมา ภายในงานมีกจิ กรรมให้รว่ มสนุกมากมาย เช่น กิจกรรม ‘ไฮลักซ์ รีโว่ ขับจริง ประหยัดจริง’ ให้ลกู ค้าได้ทดลองขับรถประหยัดน�ำ้ มัน กับการแข่งขันระยะทาง รวม 94.9 กิโลเมตร ซึ่งผู้ชนะในรุ่นสมาร์ทแค็ป คือคุณศิวกร ไชยพรม ตัวแทนลูกค้า บริษัท โตโยต้า เชียงใหม่ จ�ำกัด
News
Central Plaza Chiangmai Airport October Events @ Central Plaza Chiangmai Airport
เซ็นทรัลพลาซ่า เชียงใหม่ แอร์พอร์ต มีหลายกิจกรรมที่น่าสนใจใน เดือนที่ผ่านมา เริ่มด้วยเทศกาลกินเจ ‘รวมเจรวมใจ’ อิ่มเจ สุขกาย ได้บุญ กับเมนูเจมากมายกว่า 100 เมนู ต่อด้วย ‘Chiangmai Motor Expo 2018’ งานรถสุดยิ่งใหญ่ของภาคเหนือ ที่ยกขบวนยานยนต์รุ่นใหม่ และโปรโมชั่น สุดร้อนแรงมาให้ได้เลือกเป็นเจ้าของ พร้อมสนุกกับมินิคอนเสิร์ตจากศิลปิน ชื่อดัง ปิดท้ายกันด้วย ‘Chiangmai Pet Fair 2018’กับบรรดาสัตว์เลี้ยง หลากหลายสายพันธุ์ที่มาสร้างความสุขให้คนรักสัตว์ พร้อมด้วยกิจกรรม Meet & Greet กับนางเอกสาว ‘เบลล่า ราณี’
Histories of Chiang Mai Social Installation @ วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม)
การเสวนา ‘ประวั ติ ศ าสตร์ ข องเชี ย งใหม่ จั ด วางสั ง คม’ โดย บรรณาธิการหนังสือ ‘Artist-to-Artist : Independent Art Festivals in Chiang Mai 1992 - 98’ และผู้มีส่วนร่วมในการจัดท�ำหนังสือเล่มนี้ ชวนผู้ร่วมงานมาร่วมมองประวัติศาสตร์หลากหลายแง่มุมของเทศกาล เชียงใหม่จัดวางสังคม กิจกรรมที่เกิดขึ้นในเชียงใหม่เมื่อกว่า 20 ปีก่อน จากการริเริ่มของศิลปินและพื้นที่อิสระในท้องถิ่น กับการจัดแสดงงานศิลปะ ร่วมสมัยของชีวิตประจ�ำวันในเมือง จากวัดและสุสาน สู่ข่วงกลางเวียง ห้องสมุด และแม้กระทั่งคลินิกทันตกรรม
โกอินเตอร์ม่วนใจ๋กับแอร์เอเชีย
@ Central Plaza Chiangmai Airport แอร์ เ อเชี ย ชวนไปสั ม ผั ส ประสบการณ์ ท ่ อ งเที่ ย วใหม่ ๆ ได้ เ ลย ไม่ต้องรอ ในงาน ‘โกอินเตอร์ม่วนใจ๋กับแอร์เอเชีย’ กับเส้นทางใหม่ ย่างกุ้ง ฮานอย และไทเป พร้อมโปรโมชั่นสุดคุ้ม ราคาเริ่มต้นเพียง 1,000 บาท ต่อเทีย่ ว เดินทางได้ตงั้ แต่บดั นีจ้ นถึง 30 มิถนุ ายน 2562 และอีกหลากหลาย เส้นทางทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ พร้อมแพ็คเกจทัวร์สุดประหยัด จากตัวแทนจ�ำหน่ายชั้นน�ำ และกิจกรรมแจกคูปองบินฟรี
12
a side
Young Artist & Junior Chef #2 @ Anantara Resort, Chiang Mai
Chiang Mai Edutainment Studio by Kru Napat & Dr. Nan ร่วมกับ อนันตรา รีสอร์ท เชียงใหม่ จัด Workshop ศิลปะบนผ้ากันเปื้อน และ Cooking Class by Chef Gem (ผู้เข้าแข่งขันรายการ Top Chef Thailand Season 2) ภายใต้แนวคิด ‘Happy Learning’ เน้นการเรียนรู้ อย่างมีความสุข สร้างสรรค์ และการมีสว่ นร่วมกับผูป้ กครอง ในบรรยากาศ หรูหราและเป็นกันเอง
Chiang Mai Original #1 @ One Nimman
‘เชียงใหม่ออริจินอล ครั้งที่ 1’ งานดนตรี อาหาร และเครื่องดื่ม ที่ ร วมเอาศิ ล ปิ น เชี ย งใหม่ แ ท้ ๆ ไม่ ว ่ า จะเป็ น คณะสุ เ ทพการบั น เทิ ง , The Stereo Boys, เรืองฤทธิ์ บุญรอด, Klee Bho, YONLAPA, Rie Kubota, เอก แซ็กป่า, เขียนไขและสุขเสมอ พร้อมด้วยศิลปินรับเชิญ สุดพิเศษจากสกลนครอย่าง จุลโหฬาร มาสร้างความบันเทิงครบรสให้กับ แฟนเพลง
Special
CHIANG MAI TRISHAW เปลี่ยน ‘สามล้อเชียงใหม่’ ให้อยู่ ได้อย่างยั่งยืน เรื่อง / ภาพ : HIP Team
“เดี๋ยวนี้ยังมีเหลืออยู่อีกเหรอ? ไม่เห็นตั้งนานแล้วนะ” “มีแต่รถเก่าๆ คนขี่ก็แก่ๆ ทั้งนั้น” “เขาปั่นช้า มันเกะกะนะ รีบๆ แล้วต้องชะลอรถให้ทางเขาเนี่ย” “เดี๋ยวนี้ไม่ค่อยมี ใครเขาใช้บริการกันแล้วล่ะ มีแต่นักท่องเที่ยวนี่ล่ะที่ชอบนั่งรถเที่ยวกัน” นี่คอื ส่วนหนึ่งของค�ำตอบทีไ่ ด้ เมือ่ เอ่ยถามถึง ‘สามล ้อ’ ยานพาหนะ ทีม่ คี วามหมายแตกต่างกันไปในมุมมองของแต่ละคน ไม่วา่ จะเป็ น อาชีพ ทีท่ ำ� เพือ่ หาเลี้ยงครอบครัว ความทรงจ�ำของการเดินทางในวัยเยาว์ สิง่ ของ จากอดีตทีร่ อวันหายไปตามกาลเวลา หรือแม้แต่สนิ ค้าทีแ่ ปลกตาและเป็ น ประสบการณ์ทน่ี ่าสนใจส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว ในยุคปัจจุบนั บทบาทของสามลอ้ ที่เคยเป็ นส่วนหนึ่งในวิถีชีวติ ของชาวเชียงใหม่ค่อยๆ ลดน้อยลงไปเรือ่ ยๆ ตามกาลเวลา ดังจะเห็นได้จาก อายุของ ‘คนขีส่ ามลอ้ ’ ที่เต็มไปด้วยผูท้ ่อี ายุเข้าข่าย ‘ผูส้ ู งวัย’ เป็ นส่วน มาก และไม่มีคนในวัยหนุ่ มประกอบอาชีพนี้เลยในปัจจุบนั ‘จ�ำนวน’ ของสามลอ้ ในเชียงใหม่ท่หี ลงเหลืออยู่ไม่ถงึ ครึ่งร้อย ความนิยมในการ ใช้บริการ และรายได้ของคนขีส่ ามลอ้ ซึ่งมาจากลูกค้าประจ�ำที่ใช้บริการ มานาน กับนักท่องเทีย่ วต่างชาติทต่ี อ้ งการประสบการณ์แปลกใหม่ในการ เทีย่ วชมเมืองเท่านัน้
ยังมีคนกลุม่ หนึ่งทีเ่ ชื่อว่า ถ้าลอง ‘เปลี่ยน’ บางสิง่ บางอย่าง สิง่ ที่ หลายคนมองว่าก�ำลังรอวันสูญหายไปตามกาลเวลาอย่างสามล ้อ ก็สามารถ เป็ นงานที่สร้างความมัน่ คงให้กบั ผู ท้ ่ียึดเป็ นอาชีพ และสามารถสืบสาน ให้คงอยู่คู่กบั เมืองเชียงใหม่ไปจนถึงคนรุ่นต่อๆ ไป และจากความเชื่อ ดังกล่าว จึงเป็ นทีม่ าของสามล ้อจากทัง้ 3 จุดทีใ่ ห้บริการในตัวเมืองเชียงใหม่ อันประกอบไปด้วยตลาดวโรรสหรือกาดหลวง ตลาดประตูเชียงใหม่ และ ตลาดประตูชา้ งเผือก มารวมตัวกันเพือ่ เข้าร่วมใน กิจกรรมเปลีย่ นชุมชน เพือ่ ความยัง่ ยืน โครงการ ‘รักษ์สามล ้อ เชียงใหม่’ ซึง่ จัดขึ้นโดยอาสาสมัคร ทีเอ็มบี ทีมเชียงใหม่ ณ พุทธสถาน จังหวัดเชียงใหม่ เมือ่ วันที่ 21 ตุลาคม ทีผ่ ่านมา โครงการ ‘รักษ์สามล้อ เชียงใหม่’ เป็ น 1 ใน 37 กิจกรรมเปลีย่ นชุมชน เพือ่ ความยัง่ ยืน หรือ FAI-FAH For Community ทีอ่ าสาสมัครทีเอ็มบี จากทัว่ ประเทศได้ดำ� เนินการขึ้น ภายใต้แนวคิด Make THE Difference 14
a side
ทีม่ เี ป้ าหมายเพือ่ แก้ไขปัญหาในชุมชนอย่างยัง่ ยืน และพัฒนาคุณภาพชีวติ ให้ก บั คนในพื้น ที่ ผ่ า นการลงพื้น ที่ศึ ก ษาและวางแผนปฏิบ ตั ิง านของ อาสาสมัครทีเอ็มบี ซึง่ ก็คอื พนักงานจากสาขาในพื้นทีข่ องธนาคารนัน่ เอง ส�ำ หรับ โครงการ ‘รัก ษ์ส ามล อ้ เชี ย งใหม่ ’ ที่ ด �ำ เนิ น การใน เมือ งเชีย งใหม่น นั้ มาจากความต้อ งการของทีม งานที่อ ยากจะพัฒ นา คุณภาพชีวิตให้คนขี่สามลอ้ และสร้างคุณค่ าให้อาชีพนี้สามารถคงอยู่ และสืบทอดสู่ลูกหลานได้ ซึ่งจากการพูดคุยกับกลุ่มสามลอ้ ท�ำให้ได้ โจทย์ออกมาว่า การสร้างรูปแบบของสามล ้อให้เป็ นทีจ่ ดจ�ำและมีมาตรฐาน ทัง้ การแต่งกาย รูปลักษณ์ของรถ การบริการ รวมถึงการรวบรวมประวัติ ความเป็ นมาของรถสามล ้อเพือ่ น�ำเสนอผ่านช่องทาง Facebook : Chiang Mai Trishaw Project โครงการสามล้อ เชียงใหม่ และการจัดเส้นทาง ส�ำหรับนักท่องเที่ยวโดยสามลอ้ คือแนวทางที่จะช่วยให้อาชีพสามลอ้ คง อยู่ต่อไป จึงเป็ นทีม่ าของกิจกรรมทีเ่ กิดขึ้น ซึง่ ในวันนัน้ ได้รบั เกียรติจาก คุ ณ ปิ ติ ตัณ ฑเกษม ประธานเจ้า หน้า ที่บ ริห าร ทีเ อ็ม บี เป็ น ประธาน ในการส่งมอบโครงการ โดยอาสาสมัครทีเอ็มบีเชียงใหม่ได้จดั เตรียม สิง่ ของทีป่ ระกอบไปด้วย เสื้อ, หมวก และหลังคาผ้าใบ ทีจ่ ดั ท�ำขึ้นใหม่ ทัง้ หมด เพือ่ มอบให้สามลอ้ ในจังหวัดเชียงใหม่ได้นำ� ไปใช้งาน รวมทัง้ ยัง ได้จดั ท�ำสถานีรถสามลอ้ ขึ้นทีบ่ ริเวณตลาดวโรรส เพือ่ เป็ นจุดจอดรถและ จุดแสดงประวัตคิ วามเป็ นมาของรถสามล ้ออีกด้วย และหลังจากทีไ่ ด้ตดิ ตัง้ หลังคาผ้าใบพร้อมทัง้ รับเสื้อและหมวกแลว้ ขบวนสามลอ้ ทัง้ หมดทีม่ าร่วมกิจกรรมในครัง้ นี้ก็ได้นำ� ทีมงานอาสาสมัคร ทีเอ็มบีออกเดินทางเที่ยวชมเมือง บนเส้นทางจากพุทธสถานมุ่งหน้าสู่ วัดมหาวันบนถนนท่าแพ จากนัน้ ไปตามเส้นทางถนนช้างม่อยเก่า เข้าสู่ ถนนช้า งม่อ ย มุ่ง หน้า สู่ ตลาดวโรรสหรือ กาดหลวง เพื่อ แวะเยี่ยมชม Trishaw Station หรือจุดจอดรถสามล ้อทีต่ งั้ อยู่ใกล ้กับสะพานจันทร์สม อนุ สรณ์ แลว้ จึงกลับสู่พทุ ธสถานซึ่งเป็ นสถานที่จดั งาน เพื่อรับประทาน อาหารกลางวันร่วมกัน ภาพของรถสามล อ้ ที่ ผ่ า นการลงมือ ท�ำ ความสะอาดจากการ ร่ ว มแรงร่ ว มใจของอาสาสมัค รทีเ อ็ม บี และปรับ เปลี่ย นโฉมใหม่จ าก หลังคาผ้าใบ เสื้อ และหมวกทีจ่ ดั เตรียมส�ำหรับสามล ้อแต่ละคัน เป็ นสิง่ ที่ คุณเจษฏา บุญมี ผู จ้ ดั การเขตธุ รกิจสาขา (บริการและลู กค้าสัมพันธ์) ส�ำนักงานเขตธุรกิจสาขาเชียงใหม่ ส�ำนักงานภาคธุรกิจสาขา 5 ในฐานะ หัว หน้า โครงการบอกว่ า นี่ คื อ งานที่อ าสาสมัค รทุก คนรู ส้ ึก ภู มิใ จที่ไ ด้ มีสว่ นร่วม เพราะเป็ นโครงการทีเ่ กิดจากความต้องการของผูร้ บั อย่างแท้จริง รวมทัง้ เห็นสิง่ ทีต่ วั เองมีส่วนร่วมคิดและลงมือท�ำเกิดผลขึ้นมา “จุดเริ่มต้นของโครงการนี้ คือเราอยากรักษาสามล้อให้ยงั อยู่คู่กบั เมืองเชียงใหม่ แต่จากการส�ำรวจ เราพบว่าทุกวันนี้สามล ้อเหลือน้อยแล ้ว คนขีก่ ็อายุค่อนข้างมาก โจทย์คอื เราจะท�ำอย่างไรให้คนทีป่ ระกอบอาชีพนี้ อยูไ่ ด้ เป็ นทีม่ าของการท�ำป้ ายและสถานีรถสามล ้อทีต่ ลาดวโรรสเพือ่ ให้ผูค้ น
เกิดการรับรูถ้ งึ ความเป็ นมาของสามล ้อ ปรับปรุงรถสามล ้อ โดยอาสาสมัคร จะมาช่วยกันท�ำความสะอาดท�ำสีรถให้ดูดขี ้ นึ และเพิ่มผ้าใบคลุมหลังคา ที่มคี ำ� ว่า Taxi อยู่ดว้ ย เพื่อให้นกั ท่องเที่ยวรู ว้ ่าสามารถเรียกใช้บริการ รถสามลอ้ ได้ ส่วนคุณลุงคนขีส่ ามลอ้ เรามีเสื้อม่อฮ่อมแขนกุดกับหมวก เป็ นเครื่องแบบใหม่ให้คุณลุงได้ใช้กนั ซึง่ ทัง้ หมดนี้ ในเบื้องต้นน่าจะช่วย ให้เกิดการใช้บริการเพิม่ มากขึ้น ส่วนหลังจากนี้ก็จะเป็ นงานในระยะต่อไป อย่างการท�ำเว็บเพจ การท�ำการตลาดกับโรงแรมต่างๆ ที่จะท�ำให้อาชีพนี้ พัฒนาไปได้อย่างยัง่ ยืนมากขึ้น “กับกิจกรรมทีเ่ กิดขึ้นในครัง้ นี้ พวกเราพอใจกันมาก เพราะนี่เป็ น กิจกรรมทีเ่ กิดขึ้นโดยชุมชนและมาจากความต้องการของชุมชนจริงๆ ซึง่ ตรง กับเป้ าหมายของทีเอ็มบีทอ่ี ยากจะมีสว่ นร่วมในการพัฒนาสังคมอย่างยัง่ ยืน ท�ำยังไงให้ชมุ ชนยืนอยู่ได้ดว้ ยตัวเอง ไม่ใช่แค่วา่ เราเอาเงินไปให้เขาแล ้วก็จบ กันไป หรือในส่วนของพนักงานด้วยกันเองก็รูส้ กึ ดีมากทีไ่ ด้มาท�ำงานนี้ อย่าง เวลาน้องๆ มาคุยกับผมส่วนใหญ่กม็ กั จะเป็ นเรื่องงาน แต่การท�ำโครงการนี้ พวกเราได้ลงพื้นทีพ่ ดู คุยกับคุณลุงคนขีส่ ามล ้อ นัดไปช่วยกันท�ำความสะอาด และทาสีรถสามลอ้ ใหม่ ท�ำให้เรามีเรื่องอื่นๆ มาคุยกัน มีกจิ กรรมทีไ่ ด้ทำ� ร่วมกัน นอกจากนี้นอ้ งๆ จากต่างสาขาก็ได้มาเจอกันด้วย และเมือ่ มาถึง วันส่งมอบโครงการ เราได้ส่งมอบรถที่ดูดขี ้ นึ สวยขึ้น กลับไปให้คุณลุง คนขีส่ ามลอ้ ก็ทำ� ให้ทุกคนรู ส้ กึ ดีกบั สิ่งที่ได้ลงแรงท�ำกันตลอด 3 เดือน ทีผ่ ่านมาด้วย” ขณะทีฝ่ งั ่ ผูร้ บั อย่างกลุม่ สามล ้อเองก็รูส้ กึ ยินดี ทีม่ คี นให้ความสนใจ ในอาชีพที่พวกเขาท�ำ และลงไม้ลงมือช่ วยปรับปรุงภาพลักษณ์และการ ให้บริการของพวกเขาให้ดยี ง่ิ ขึ้น โดย คุณกิตชิ า บุญธรรม ประธานกลุม่ สามล ้อเชียงใหม่ ในฐานะตัวแทนของกลุม่ คนขีส่ ามล ้อกล่าวว่า “จุดเริ่มต้น มาจากการทีท่ เี อ็มบีมาคุยกับกลุม่ สามล ้อว่า สนใจอยากท�ำโครงการเกีย่ วกับ รถสามลอ้ เป็ นทีม่ าของการมาช่วยท�ำความสะอาดและทาสีรถ กับการน�ำ หลังคาผ้าใบ เสื้อ และหมวก มาให้ใช้งาน ซึง่ ก็น่าจะมีส่วนช่วยจูงใจให้คน สนใจมาใช้บริการ “นอกจากนี้กจ็ ะมีการท�ำงานในล�ำดับต่อไป อย่างการประชาสัมพันธ์ ผ่านเว็บไซต์และสื่อออนไลน์ ซึ่งเป็ นเรื่องที่กลุ่มสามลอ้ อาจจะไม่ถนัด เท่าไหร่นกั ตรงจุดนี้น่าจะเป็ นสิง่ ทีช่ ่วยได้มาก ก็ตอ้ งขอขอบคุณทางทีเอ็มบี ทีเ่ ข้ามาช่วยเหลือและจัดเตรียมสิง่ ต่างๆ ให้ ซึง่ พวกเราก็หวังว่าภาพลักษณ์ ทีด่ ูดขี ้นึ นี้ จะมีสว่ นช่วยให้คนสนใจใช้บริการในฤดูการท่องเทีย่ วปี น้ มี ากขึ้น” ภาพรอยยิ้ มของเหล่ า คนขี่ ส ามล อ้ ที่ ไ ด้เ ห็ น รถของตนเอง ในรู ปลักษณ์ใหม่ กับรอยยิ้มของทีมงานอาสาสมัครทีเอ็มบีท่ีเ อาใจใส่ และคอยช่ ว ยเหลื อ สามล อ้ แต่ ล ะคั น ตลอดระยะเวลาของการ จัดกิจกรรม ไม่เพียงแต่จะแสดงให้เห็นว่า ทุกฝ่ ายต่างพอใจกับผลลัพธ์ ทีเ่ กิดขึ้นเท่านัน้ แต่ยงั ท�ำให้เราได้ตระหนักด้วยว่า เมือ่ ผูใ้ ห้ให้โดยทีค่ ดิ ถึง ผลทีไ่ ด้ในระยะยาวของผูร้ บั และผูร้ บั ได้รบั ในสิง่ ทีต่ นต้องการจริงๆ ไม่ใช่ สิง่ ทีค่ นอื่นน�ำมาให้เพราะคิดเอาเองว่าผูร้ บั ต้องการ ผลของการ ‘เปลี่ยน’ จึงไม่ได้เป็ นเพียงเรือ่ งทีเ่ กิดขึ้นชัว่ คราวแล้วผ่านไป แต่จะเป็ น ‘ความยัง่ ยืน’ ที่ช่วยให้คณ ุ ภาพชีวติ ของทุกคนที่เกี่ยวข้องดีข้ ึนได้อย่างแท้จริง
15
a side
Eatery
EDITOR’S FAVORITE PLACES ลูกน้องบอกร้านโปรด บก. เรื่อง : ศมนภรณ์ ภาพ : ศมนภรณ์ / เพชรรัตน์
ฉบับนี้ HIP ขอตามใจตัวเองหน่อย ก็ฉบับขึน้ ปีที่ 15 ทัง้ ที! ปรบมืออออออออออ การทีห่ นังสืออยูม่ านานขนาดนี้ เราบอกได้วา่ HIP นัน้ ได้เห็นและอยูใ่ นการเกิด ล้มหายตายจาก หรือ Reborn ของหลายๆ ร้านทีเ่ กิขนึ้ เป็นวัฎจักร ด้วยว่าเชียงใหม่ เป็นเมืองแคบ รูจ้ กั กันหมด เราว่ามันมีองค์ประกอบหลายๆ อย่างทีจ่ ะท�ำให้คนๆ หนึง่ หรือคุณก็ตาม ชอบร้านใดร้านหนึง่ เป็นพิเศษ เพราะเราเชือ่ ว่าไม่มที ไี่ หนเป็นทีส่ ดุ หรอก เพราะเรือ่ งแบบนีม้ นั มาพร้อมกับอารมณ์ ความรูส้ กึ และจังหวะโอกาสทีท่ ำ� ให้เราประทับใจ ทีน่ นั้ ๆ เป็นพิเศษ ด้วยเหตุนเี้ ราจึงเลือก 3 ร้านทีล่ กู น้องคนนีเ้ ห็น บก. ตัวเองไปบ่อยๆ (และตามไปลองเองด้วย)
NIMMAN BAR & GRILL เพื่อนขอฝากไว้ ในอ้อมใจ Carvery Night Special Buffet ทีห่ อ้ งอาหาร Nimman Bar & Grill โรงแรมแคนทารี ฮิลส์ ดินเนอร์ บุฟเฟ่ ตส์ ุดอลังการ ทีม่ ี ให้เลือกมากมายกว่า 30 เมนู แบ่งออกเป็ น 3 โซนใหญ่ๆ ได้แก่ โซน Carvery Station เนื้อคุณภาพ เกรด A จากออสเตรเลีย อย่าง Roast Beef และ Leg of Lamb Provencal ส�ำหรับคนรักเนื้อ, โซน Salad Bar ปลอดภัยไร้สาร ใส่ใจคุณภาพ และ โซน Hot Dish Station อย่าง สตูวเ์ นื้อ มันบด ปลาแซลมอน ซุปต่าง ๆ ไก่และหมูอบ ขนมปัง และอื่นๆ หลากหลายให้เลือกตามใจชอบ นอกจากนี้ยงั มี โซนพิเศษ คือของหวานเอาใจสายหวานอีกด้วย เหตุผลที่เลือกที่น่ีมาน�ำเสนอให้ผูอ้ ่านทุกท่าน อย่างแรกคือ ทีน่ ่ีให้บริการระดับโรงแรม และราคาจับต้องได้ หรือพูดง่ายๆ ก็คือ ถ้าอยากกินอาหารมีคุณภาพและหลากหลาย มีเซอร์วสิ จากพนักงาน คุม้ ค่าคุม้ ราคา ในราคา 720++ บาท คุณจะไม่เสียดายเงินในกระเป๋ า ของคุณเลยถ้าได้มาลองทีน่ ่ี ที่ตั้ง : ห้องอาหาร Nimman Bar & Grill โรงแรมแคนทารี ฮิลส์ เวลา : Carvery Night Buffet ทุกวันศุกร์ 18:00 - 22:00 น. โทร : 0 5322 2111 Facebook : Kantary Hills Hotel, Chiang Mai
16
a side
324 HOUSE BAR | CAFE เมื่อเพื่อนสนิทกลับมาท�ำในสิ่งที่รัก เขาว่ า มิต รภาพดีๆ ต้อ งเกิ ด จากการสะสมความสัม พัน ธ์ เป็ นเวลานาน ร้านนี้กเ็ ช่นกัน เมือ่ พีด่ ้ ี แห่ง 22 Bar เพือ่ นรุ่นเดียวกัน กับ HIP กลับมาท�ำในสิ่งที่เขารักอีกครัง้ จนเกิดมาเป็ นร้าน 324 (ที่มาแนวตัวเลขอีกแลว้ ) แต่ คราวนี้มาในคอนเส็ปท์ท่ีหลากหลาย กว่าเดิม ให้สมกับประสบการณ์ทผ่ี ่านมา ศิ ลปะ บาร์ คาเฟ่ และมิตรภาพดีๆ คือใจความหลักของ สถานทีแ่ ห่งนี้ เคยมัย้ ทีจ่ ะนัดใครซักคนหรือเพือ่ นในเวลาเช้า สาย บ่าย หรื อ เย็ น แล ว้ นึ ก ไม่ อ อกว่ า ที่ ไ หนที่ มี ท งั้ คาเฟ่ และอาหารครบ จบในร้านเดียว ขอแต่งร้านสวยๆ ด้วยนะ ขอนัง่ ชิลด้วย แถม Hangout นัง่ ต่อยาวไปได้อกี เหมือนมาบ้านเพือ่ น เพือ่ นท�ำ Cocktail ดีๆ ให้ดม่ื เพื่อนท�ำอาหารให้ทาน เป็ นเพื่อนสนิทที่เชื่อใจได้ว่าจะไม่ทำ� ให้คุณ ผิดหวังแน่นอน ที่ตั้ง : ถนนราชพฤกษ์ (ตรงข้ามโรงเรียนอนุบาลซันชายน์) เวลา : 08:00 – 12:00 น. (หยุดทุกวันพุธ) โทร : 09 1632 9656 Facebook : 324house bar cafe
TENDER VALLEY เพื่อนสายเนื้อมารวมกัน ถ้าคุณเคยพบเจอปัญหาเกี่ยวกับการทานเนื้อในระดับความสุก ทีไ่ ม่แน่นอน หรือไม่มรี า้ นไหนเข้าใจฉัน! ร้านนี้จะเป็ นทางออกให้คุณเอง ด้วยความที่เจ้าของร้านก็คงจะมีปญั หาเหมือนกันนี่แหละ ว่ามีเนื้อดี เแต่ทำ� ไม Cook หรือ Grill ออกมามันไม่ถกู ปากตัวเองซักที ย่างเอง นี่แหละชัวร์สุด! แน่นอนว่าทุกคนมีระดับความสุกของเนื้อทีจ่ ะท�ำให้ ลิ้นเราเป็ นสุขแตกต่างกันหลายร้อยเลเวล บางคนกินดิบ (เฮ้ย ไม่ใช่ลาบ!) แรร์ มีเดียมแรร์ สุกนิด สุกหน่อย สุกๆ เยอะแยะมากมาย เพือ่ นคนนี้ จึงคิดระบบใหม่ ด้วยการให้ชอ้ ปเนื้อไปย่างเอง ด้วยอุปกรณ์ขนั้ เทพ อย่างกระทะหล่อ คงความร้อนยาวนานไม่ทำ� ให้เนื้อแห้ง และเครือ่ งเคียง รอบกายทีจ่ ะท�ำให้คณ ุ มีความสุข เนื้อมีให้เลือกตัง้ แต่ราคาสบายกระเป๋ า คนไทยจนถึงเนื้อน�ำเข้าสุดพรีเมียมทีต่ อ้ งลองซักครัง้ ในชีวติ (มันดีจริงๆ เราไปกินเองจิ้มแค่เกลือก็ฟินสุดๆ แล ้ว!) ส่วนใครไม่กนิ เนื้อวัว เขาก็มี เนื้อหมูและไก่ให้บริการด้วยนะ แต่เน้นเนื้อวัวมากกว่า! ทีต่ งั้ : ถนนคันคลองชลประทาน (ตรงข้ามมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฝัง่ แม่เหียะ) เวลา : 17:00 – 22:30 น. โทร : 09 1632 9656 Facebook : Tender Valley
17
a side
Coming Up
TOWN’S UPDATE ไม่รักไม่บอกนะเนี่ย คอลัมน์ใหม่แกะกล่อง ให้เป็นเครือ่ งเตือนใจว่าเราเป็นคนมีเพือ่ นเยอะ เมือ่ เพือ่ น ส่งข่าวมาบอก ก็อยากจะบอกต่อให้คณ ุ ผูอ้ า่ นทีน่ า่ รักทุกคนด้วย ไม่รกั ไม่บอกนะเนีย่
WIN Cosmetics มาวินจริงๆ ค่ะร้านนี้ ร้านขายของเกี่ยวกับความสวยความงามของเหล่าสาวๆ รุ่นเล็กจนถึง รุ่นใหญ่ ทีเ่ ก่าแก่คู่เมืองเชียงใหม่ ดีใจมากไม่ตอ้ งไปกาดหลวงหาทีจ่ อดรถอีกแล ้ว วินเขามาเปิ ด สาขาแจ่งหัวลิน ให้เราได้ชอ้ ปกันมากขึ้น เปิ ด 09:00 - 21:00 น. อย่าลืมไปเดินเล่นกันนะจ๊ะ
CRU 2nd floor wine bar เพิง่ มีปาร์ต้เี ปิ ดตัวสดๆ ร้อนๆ กับร้านครูว ทีน่ ำ� ไวน์ดๆี มาเขย่าวงการ นักดืม่ ไวน์ คนทีก่ ำ� ลังเริ่มดืม่ ใหม่ๆ มาแล ้วต้องได้รบั ค�ำแนะน�ำเรื่องไวน์ดๆี กลับไปแน่นอน หาไม่ยาก อยูช่ นั้ 2 บนตึกเส้นพระสิงห์ ไปส่องที่ Facebook : CRU 2nd floor wine bar กันได้ ร้านเปิ ด 5 โมงเย็น - เทีย่ งคืน
Prairie โปรเจ็คท์ลบั ดินเนอร์สุดพิเศษเฉพาะฤดูหนาวนี้ เพราะเขาเปิ ดแค่ 4 เดือนเท่านัน้ ถ้าคุณเคยขับรถมาทางสายหางดง - สะเมิงและเคยแวะ ร้านสหายหมืน่ จอก จะจ�ำวิวทุ่งนาด้านล่างได้ ตอนนี้ได้กลายเป็ นพื้นที่ ดินเนอร์สุดโรแมนติก ภายในแสงจันทร์และแชนเดอเลียร์สุดสวยงาม พร้อมการตกแต่งด้วยเฟอร์นิเจอร์สะสมทีส่ วยงาม ผูน้ ำ� โปรเจ็คท์กระซิบ บอกว่า ก่อนมาโทรมาจองก่อนนะจ๊ะ ที่ 08 1556 5913, 08 1912 8238 คุม้ ค่าคุม้ ราคาแถมได้รูปสวยๆ กลับบ้านอีกต่างหาก! 18
a side
ART & CRAFTS 2018 จัดเต็ม 3 งานเรือธงใหญ่ของเชียงใหม่ประจ�ำปี 2561 เปิ ดเผยวัน ออกมาแล ้ว งานนี้สลับคิวกันให้ดวี า่ จะไปงานไหน เริ่มต้นด้วย งาน *NAP ทีน่ ิมมานเหมินท์ซอย 1 วันที่ 5 - 11 ธันวาคม ต่อด้วย Chiang Mai Design Week 2018 วันที่ 8 - 16 ธันวาคม ปิ ดท้ายด้วย เทศกาลหนังข้างวัด ครัง้ ที่ 3 วันที่ 21 - 25 ธันวาคม เตรียมเงินพร้อมเปย์ เดีย๋ วจะหาว่าไม่เตือน!
Recipe
สปาเกตตี้ ครีมซอส กะหรี่กุ้งย่าง
SPAGHETTI CURRY CREAM SAUCE WITH GRILLED SHRIMPS เรื่อง/ภาพ : ครัว HIP * สูตรนี้ เสิรฟ์ ได้ 2 - 3 จาน
ส่วนผสมกุ้งย่าง
กุง้ กระเทียมสับละเอียด ตะไคร้สบั หยาบ เกลือ น�ำ้ มะนาว พริกไทยด�ำบดหยาบ น�ำ้ มันมะกอก
วิธีท�ำกุ้งย่าง
12 - 15 4 1 1/2 3 1/2 2
ตัว กลีบใหญ่ ต้น ช้อนชาพูน ช้อนชา ช้อนชา ช้อนโต๊ะ
หมักเครือ่ งปรุงทัง้ หมดกับกุง้ คลุกเคล ้าให้เข้ากัน พักไว้ในตูเย็้ นซัก 15 นาที เสร็จแล ้วน�ำไปนาบบนเตาย่างกับน�ำ้ มะกอกจนกุง้ สุกและน�ำไปเสียบไม้รอไว้
ส่วนผสมครีมซอสกะหรี่
หอมหัวใหญ่ซอยบางๆ กระเทียมจีนสับละเอียด แครอทหัน่ เต๋าเล็กๆ เมล็ดถัวลั ่ นเตา นมสดพาสเจอร์ไรส์ กะทิสำ� เร็จรูป เกลือ น�ำ้ ตาล ผงกะหรี่ ผงยีห่ ร่า พริกไทยด�ำบดหยาบ น�ำ้ มันมะกอก แป้ งข้าวโพด น�ำ้ เปล่า
1 4 1 1 3 2 2 3 2 1/2 1 2 2 2
ทัพพีพนู กลีบ ทัพพี ทัพพี ทัพพี ทัพพี ช้อนชา ช้อนชา ช้อนชา. ช้อนชา ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ช้อนโต๊ะ ทัพพี
วิธีท�ำครีมซอสกะหรี่
- ผสมนมสด กะทิ เกลือ น�ำ้ ตาล ผงกะหรี่ ผงยีห่ ร่า พริกไทยด�ำ คนให้เข้ากัน… พักไว้ - ตัง้ กระทะใส่นำ�้ มันมะกอก ผัดหอมหัวใหญ่ให้นุ่มและเริ่มเหลือง ตามด้วยกระเทียม ผัดให้หอม - ใส่แครอทและเมล็ดถัวลั ่ นเตา ผัดต่อพอได้ท่ี แล ้วน�ำซอสทีผ่ สมไว้ ลงไปคนให้เข้ากัน - ตามด้วยแป้ งข้าวโพดทีล่ ะลายกับน�ำ้ เปล่า (เพิม่ ความข้นของซอส) คนให้เข้ากัน ปิ ดไฟ ก็ได้ครีมซอสกะหรี่… พักไว้
วิธีกิน
เส้นสปาเกตตี้ทต่ี ม้ แล ้ว น�ำมาวางบนจาน ราดด้วยครีมซอสกะหรี่ โรยด้วยพริกไทยด�ำ วางกุง้ ทีเ่ สียบไม้ ไว้ดา้ นบน เสิรฟ์ ร้อมมะนาว 1 ซีก เวลากินค่อยบีบมะนาวลงบนกุง้ เสียบไม้ แค่น้ ีกก็ นิ ได้แล ้ว
ช้อนชา = ช้อนที่ใช้ส�ำหรับชา กาแฟทั่วไป ช้อนโต๊ะ = ช้อนส้อมที่ใช้กินข้าวทั่วไป ทัพพี = ทัพพีเมลามีนตักข้าวทั่วไป
Scoop
TIME TO SHARE
HIP ชวนคนอ่านมา ‘ช่วยเหลือเกื้อกูล’
เรื่อง / ภาพ : HIP Team
HIP Magazine ฉบับที่คุณก�ำลังอ่านอยู่ตอนนี้ เป็นฉบับขึ้นปีที่ 15 โดยธรรมเนียมของพวกเราที่กองบรรณาธิการ HIP Magazine ‘ฉบับครบรอบ’ ทีเ่ ราเรียก จะมีเรือ่ งราว พิเศษมาน�ำเสนอกันเป็นประจ�ำ ส่วนจะเกีย่ วกับเรือ่ งอะไอร ท�ำง่ายหรือท�ำยากแค่ไหนนั้น ก็แล้วแต่ว่าปีนั้นมีอะไรที่เรา คิ ด ว่ า น่ า สนใจอยากจะน� ำ เสนอในวาระพิ เ ศษดั ง กล่ า ว ซึ่งฉบับครบรอบคราวนี้ สิ่งที่เราคิดกันไว้ และเป็นที่มา ของ Scoop ในฉบับนีก้ ค็ อื อยากจะชวนคนอ่านของเรา มา ‘ช่วยเหลือเกื้อกูล’ เพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
สิ่ง ที่ร อพบกับ คุ ณ ผู อ้ ่ า นต่ อ จากนี้ คื อ เรื่ อ งราวขององค์ก รหรื อ หน่ ว ยงาน ที่ ‘ภารกิจ ’ ของทุก แห่ ง คือ การช่ ว ยเหลือ เพื่อ นมนุ ษ ย์ด ว้ ยกัน ที่ตกอยู่ในสภาวะล�ำบาก ขาดแคลนโอกาส หรือมีอุปสรรคในชีวติ จากความ ไม่สมบูรณ์พร้อมของร่างกายและจิตใจ เพื่อให้เขาเหล่านี้มคี ุณภาพชีวติ ที่ดีข้ นึ กว่าเดิม ซึ่งการที่จะท�ำเช่นนัน้ ได้ นอกจากความปรารถนาดีท่มี ตี ่อเพือ่ นมนุ ษย์ ด้วยกันแล ้ว พวกเขายังต้องมีกำ� ลังคน มีทนุ ทรัพย์ทเ่ี พียงพอต่อการท�ำงาน รวมทัง้ ต้องการความเข้าใจและการสนับสนุ นจากสังคม เพื่อให้ความปรารถนาที่จะ ช่วยเหลือผูอ้ น่ื นัน้ สามารถเป็ นไปได้อย่างแท้จริง จากการไปเยือนองค์กรและหน่วยงานทัง้ หมดทีอ่ ยู่ในเรื่องนี้ รวมถึง ที่อ่นื ๆ ที่เราค้นหาข้อมูลไว้ แต่ไม่ได้เลือกมาน�ำเสนอด้วยปัจจัยต่างๆ สิ่งที่เรา ได้เรียนรูก้ ค็ อื ยังมีคนอีกมากมายทีล่ ำ� บากและต้องการความช่วยเหลือ ดังนัน้ ถ้าเรื่องนี้จะดลใจให้ใครสักคนคิดอยากจะช่วยเหลือผูอ้ ่นื ได้ ก็เป็ นเรื่องทีพ่ วกเราจะรูส้ กึ ยินดีเป็ นอย่างยิง่
หมายเหตุ : นอกจากองค์กรหรือหน่วยงานทีเ่ ราน�ำเสนอในเรือ่ งนี้แล ้ว ยังมีองค์กรและหน่วยงานอืน่ ๆ อีกหลายแห่ง ทีท่ ำ� งานด้านการช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาสและงานสาธารณกุศลต่างๆ ซึง่ หากมีจติ ศรัทธา และไม่เป็ นการเบียดเบียนต่อการใช้ชวี ติ จนเกินไป คุณผูอ้ ่านสามารถเลือกให้ความช่วยเหลือได้ตามทีส่ นใจหรือสะดวก
20
a side
โครงการพั ฒนาคุณภาพชีวิต เด็กด้อยโอกาส เด็กก�ำพร้า และเด็กยากจน วัดดอนจั่น 700 คือตัวเลขระบุจำ� นวนของเด็กก�ำพร้า เด็กยากจน เด็ก ด้อยโอกาส ที่อาศัยอยู่ท่วี ดั ดอนจัน่ ซึ่งผูม้ าเยือนสามารถพบเห็น ตัวเลขนี้พร้อมกับข้อความเชิญชวนให้ผูม้ จี ติ ศรัทธาร่วมถวายสิง่ ของ ตามแผ่นป้ ายต่างๆ ทีม่ อี ยู่ทวั ่ ไปภายในบริเวณวัด แต่ตวั เลขกับสิง่ ทีเ่ ห็นต่อหน้านัน้ ก็ให้ความรูส้ กึ ทีต่ ่างกันมาก ส�ำหรับผูพ้ บเห็น อย่างเช่นทีมงาน HIP เอง ทีค่ วามรูส้ กึ แรกของเรา เมื่อได้เ ห็น เด็ก ๆ และเยาวชนรอต่ อ แถวรับประทานอาหารเย็น ในวันทีเ่ ราเดินทางไปทีว่ ดั ดอนจัน่ ก็คอื “ได้มาเท่าไหร่กไ็ ม่น่าจะพอ” หากพิจ ารณาจากอาคารสถานที่ต่ า งๆ ที่ถู ก ก่ อ สร้า งขึ้น ภายในบริเวณวัดเพื่อเป็ นที่อยู่อาศัยและที่เรียนหนังสือของเด็กๆ และเยาวชน รวมทัง้ ปริมาณสิง่ ของทีม่ ผี ูน้ ำ� มาท�ำบุญถวายในแต่ละวัน ซึง่ มีแต่ตงั้ แต่อาหารสด อาหารแห้ง ของใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน ไปจนถึง เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ต้องยอมรับว่าโครงการนี้ได้รบั การยอมรับ ว่าเป็ นโครงการทีใ่ ห้ความช่วยเหลือเด็กๆ ผูด้ อ้ ยโอกาสอย่างแท้จริง ไม่วา่ จะเป็ นการให้ทอ่ี ยู่อาศัยทีป่ ลอดภัย มีอาหารอิม่ ท้อง และได้รบั การศึกษา แต่ดว้ ยจ�ำนวนทีก่ ล่าวไปข้างต้น ท�ำให้ไม่วา่ จะมีข ้าวของเข้ามา สักเท่าไหร่ หรือมีคนใจบุญเข้ามาเลี้ยงอาหารบ่อยแค่ไหน ก็ดูเหมือน จะไม่ เ พีย งพอกับ ความต้อ งการ (แม้ว าทางวัด เองจะสามารถ ด�ำเนินการมาได้เป็ นอย่างดีตลอดหลายปี ท่ผี ่านมา) ยังไม่รวมถึง ค่าใช้จ่ายอืน่ ๆ ทีท่ างวัดต้องใช้ อย่างเช่นค่าน�ำ้ ค่าไฟ ท�ำให้นอกจาก ค�ำชืน่ ชมทีต่ อ้ งให้เครดิตกับทางวัด ในการคิดท�ำโครงการทีช่ ่วยเหลือ เด็กๆ ให้มชี ีวติ ที่ดีข้ นึ แลว้ ก็ตอ้ งรวมเอาความเป็ นห่วงเป็ นใยว่า ถ้าไม่มคี นใจบุญมาช่วยอย่างสม�ำ่ เสมอ (เพราะทางวัดไม่มรี ายได้ใดๆ นอกเหนือจากการรับบริจาคสิ่งของ หรือเงินที่ผูม้ จี ิตศรัทธาน�ำมา ถวายท�ำบุญ) แลว้ เด็กๆ หลายร้อยคนทีน่ ่ี (ซึง่ ต้องไม่ลมื ด้วยว่า ยังจะมีมาเพิม่ อีกเรื่อยๆ) จะอยู่กนั อย่างไร? พระประชานาถมุนี เจ้า อาวาสวัด ดอนจัน่ บอกกับ เราว่ า ถ้าไม่รูว้ ่าจะเอาอะไรมาให้ทางวัดดี แค่ซ้ อื เนื้อหมูหรือเนื้อไก่มาให้ ก็ช่วยทางวัดได้แลว้ เพราะนี่คือสิ่งที่ตอ้ งน�ำมาท�ำอาหารให้เด็กๆ ได้รบั ประทานกันทุกวัน เราคิดว่าค�ำกล่าวของท่านเจ้าอาวาส ท�ำให้เห็นภาพได้ชดั เจน ว่าสิง่ ทีว่ ดั แห่งนี้ตอ้ งรับมือในแต่ละวันนัน้ เป็ นเช่นไร
About This Place
เชื่อว่าผู้อ่าน HIP เคยได้ยินเรื่องราวการ รับเลี้ยงเด็กก�ำพร้า เด็กยากจน และเด็กด้อยโอกาส ของทางวัดดอนจัน่ มาบ้างแล้ว แต่สงิ่ ทีน่ า่ สนใจก็คอื ‘โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็กด้อยโอกาส เด็กก�ำพร้า และเด็กยากจน วัดดอนจัน่ ’ ซึง่ ก่อตัง้ โดย พระประชานาถมุนี เจ้าอาวาสวัดดอนจั่นนั้น เริ่มมา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 ซึ่งจนถึงปัจจุบันก็เป็นเวลา กว่า 30 ปีแล้ว ทีส่ ถานทีแ่ ห่งนีไ้ ด้ให้ความช่วยเหลือ แก่เด็กๆ ที่ไร้ที่พึ่งมาโดยตลอด เด็กๆ ทีท่ างโครงการรับมาดูแลนัน้ เริม่ ตัง้ แต่ เด็กเล็กในระดับชั้นอนุบาลไปจนถึงเด็กโต โดยเป็น ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย และจะมีพี่ที่โตแล้วท�ำหน้าที่ เป็นพี่เลี้ยงช่วยดูแลน้องๆ การมาอยู่ที่น่ีของเด็กๆ พวกเขาและเธอจะมีที่พักอาศัย (แยกชาย – หญิง) อาหารครบสามมื้ อ และได้ รั บ การศึ ก ษาไปตาม ล�ำดับชั้น ขณะที่เด็กๆ เองก็ต้องช่วยงานทางวัด ในด้านต่างๆ ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
Contact
ที่ตั้ง : ต.ท่าศาลา อ.เมืองเชียงใหม่ (ถนนซุปเปอร์ ไฮเวย์ เชียงใหม่ – ล�ำปาง ขาออก เข้าซอยข้างสถานีต�ำรวจทางหลวง 4 กองก�ำกับการ 5) โทร : 0 5324 0184, 08 1111 1006 และ 09 2415 9341 Website : www.watdonchan.org Facebook : วัดดอนจั่น เชียงใหม่ สถานสงเคราะห์ เด็กก�ำพร้า
21
a side
สถานคุ้มครองคนไร้ที่พ่ึ ง สันมหาพน
About This Place
‘สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งสันมหาพน’ เป็น หน่วยงานในสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงพัฒนาสังคมละความมั่นคงของมนุษย์ หน้าทีห่ ลักคือให้การสงเคราะห์บคุ คลทีป่ ระสบปัญหา ความยากจนไม่มีที่อยู่อาศัย ขาดผู้อุปการะ ไม่มี อาชีพ หรือขาดคามสามารถในการประกอบอาชีพ รวมทั้ ง ผู ้ ท� ำ ผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม การขอทาน พ.ศ. 2484 ถ้าจะให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น กลุ ่ ม คนที่ ส ถานคุ ้ ม ครองคนไร้ ที่ พึ่ ง สั น มหาพน ดูแลอยู่น้ันจะประกอบไปด้วยคนไร้ที่พึ่ง ขอทาน และผู ้ ป ่ ว ยที่ มี อ ากรทางจิ ต และได้ รั บ การรั ก ษา จนอาการทุเลาลงแล้ว แม้โดยหลักการแล้วที่นี่มีหน้าที่ดูแลแค่เรื่อง ปัจจัย 4 และการฟื้นฟูให้คนไร้ที่พึ่งพร้อมในการ กลับสูค่ รอบครัว แต่ในความเป็นจริงแล้ว ส่วนหนึง่ ของคนไร้ที่พึ่งที่นี่เป็นผู้ป่วยนอนติดเตียงหรือ เป็นโรคทีต่ อ้ งดูแลเป็นพิเศษ และหลายครัง้ ทีน่ กี่ ต็ อ้ ง รับผิดชอบเรื่องการฌาปนกิจศพให้กับผู้ไร้ที่พึ่ง ที่เสียชีวิตด้วย
22
a side
สิ่งแรกที่ผูท้ ่มี าเยือนจะได้พบเมือ่ ผ่านประตูเข้าสู่พ้ นื ที่ ด้านในของ ‘สถานคุม้ ครองคนไร้ทพ่ี ง่ึ สันมหาพน’ คือรอยยิ้มและ ค�ำกล่าวทักทายจาก ‘ลุงชาติ’ ผูร้ บั หน้าทีเ่ ฝ้ าและเปิ ดปิ ดประตูให้แก่ แขกผูม้ าเยือน และถ้าเข้าไปทีบ่ ริเวณเรือนนอนของผูห้ ญิง ก็จะเห็น ‘คุ ณ ยายเจีย มจุน ’ ที่ว่า กัน ว่า เป็ น ผู อ้ าวุ โ สที่สุ ด ในสถานที่แ ห่ ง นี้ กวาดใบไม้ร่วงทีอ่ ยู่บนลานอย่างตัง้ อกตัง้ ใจ ดูเผินๆ คนทัง้ คู่ก็ดูเหมือนคนปกติทวั ่ ไป แต่ส่งิ ที่เขา และเธอ รวมไปถึงคนอีกกว่า 200 ชีวติ ทีม่ าพักอาศัยอยู่ ณ ทีแ่ ห่งนี้ มีเหมือนๆ กัน ก็คอื พวกเขามี ‘สาเหตุ’ บางประการ ทีท่ ำ� ให้ไม่สามารถ ใช้ชวี ติ อยู่ในสังคมปกติได้ ถ้าพิจารณาจากสิง่ ทีร่ ะบุในวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน หน้าที่ของที่น่ีคือการฟื้ นฟูและเตรียมความพร้อมให้กลุ่มเป้ าหมาย สามารถดู แลตนเองและกลับไปอยู่ กบั ครอบครัวได้ แต่ กบั สิ่งที่ เกิดขึ้นจริงนัน้ คุณสุรศักดิ์ หนู พรหม ผูป้ กครองสถานคุม้ ครอง คนไร้ทพ่ี ง่ึ สันมหาพน บอกกับเราว่า มีนอ้ ยคนทีจ่ ะได้กลับไปอยู่กบั ครอบครัว “ส่วนใหญ่ถา้ มาอยู่กบั เราแลว้ ก็จะอยู่กนั ไปเรื่อยๆ มีทงั้ ที่สบื หาครอบครัวไม่ได้ เหลือตัวคนเดียวไม่มญ ี าติพน่ี อ้ ง รวมถึง ครอบครัวปฏิเสธหรือแจ้งว่าไม่พร้อมทีจ่ ะรับกลับไปดูแล” การใช้ชีวติ อยู่ท่ีสถานคุม้ ครองคนไร้ท่ีพ่ึงสันมหาพน แม้จะมีทพ่ี กั พิงปลอดภัย มีอาหารรับประทานครบสามมื้อ มีการดูแล ในเรื่องสุขภาพอนามัย และมีกจิ กรรมอาชีวบ�ำบัด ทีใ่ ห้กลุม่ ผูไ้ ร้ทพ่ี ง่ึ เหล่านี้ได้ฝึกหัดงานวิชาชีพเล็กๆ น้อยๆ แต่กไ็ ม่ใช่เรือ่ งง่ายเลยในการ ดูแลคนทัง้ หมดภายใต้งบประมาณของทางราชการทีไ่ ม่ได้มากมาย อะไร โดยทีต่ วั เลขของคนทีอ่ าศัยอยู่ทน่ี ่ีนนั้ สูงกว่าตัวเลขทีเ่ หมาะสม กับสถานที่ ยังไม่รวมถึงประเด็นที่ว่าเมื่อมีคนรู จ้ กั ที่น่ีไม่มากนัก การมีค นแสดงความจ�ำ นงขอเข้า มาเลี้ย งอาหารให้ก บั ผู ไ้ ร้ท่ีพ่ึง จึงมีเพียงแค่เดือนละครัง้ สองครัง้ เท่านัน้ ถึงจะท�ำงานโดยที่ยงั ขาดแคลนหลายสิ่งหลายอย่ าง แต่ คุ ณ สุ ร ศัก ดิ์ ใ นฐานะตัว แทนของสถานคุ ม้ ครองคนไร้ท่ีพ่ึง สันมหาพนก็บอกว่า “อาจจะล�ำบากอยู่บา้ ง แต่พวกเราก็พยายาม ทีจ่ ะดูแลทุกๆ คนทีอ่ ยู่น่ีให้ดที ส่ี ุดเท่าทีจ่ ะท�ำได้ครับ”
Contact
ที่ตั้ง : ต.สันมหาพน อ.แม่แตง (ก่อนถึงเรือนจ�ำกลางจังหวัดเชียงใหม่) โทร : 0 5304 7337 Website : www.sanmahaphon.go.th Facebook : สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งสันมหาพน จังหวัดเชียงใหม่
ศูนย์ฝึกวิชาชีพคนตาบอด ระหว่ า งที่พ วกเราจาก HIP ก�ำ ลัง สอบถามข้อ มู ล จากคุณครูของ ‘ศูนย์ฝึกวิชาชีพคนตาบอด’ ในวันทีเ่ ราเดินทางไปยัง สถานที่แห่งนี้นนั้ สิ่งที่มองเห็นตลอดการสนทนา คือชายผูพ้ กิ าร ทางสายตาทีป่ ระคองถาดทีม่ ไี ข่ไก่เรียงอยูเ่ ต็มความจุ ค่อยๆ เดินจาก บริเวณที่น่าจะเป็ นโรงเรือนเลี้ยงไก่ มาสู่หอ้ งข้างๆ ห้องที่เราอยู่ รอบแล ้วรอบเล่าโดยไม่มที ที ่าว่าจะเหน็ดเหนื่อย ‘พงษ์พนั ธ์’ คือชื่อของชายคนดังกล่าว และข้อมูลทีเ่ รา ได้รูเ้ พิม่ เติมจากคุณครูก็คือ พงษ์พนั ธ์น่าจะเป็ น ‘นักเรียนอาวุโส’ ของทีน่ ่ี เพราะอยู่มาตัง้ แต่เริ่มก่อตัง้ โรงเรียนเมือ่ ปี พ.ศ. 2540 แล ้ว อีกทัง้ จะเรียกเขาว่าเด็กวัยรุ่นก็คงจะไม่ถกู นัก เพราะพงษ์พนั ธ์อายุ 36 ปี แล ้ว “ผมมาจากเชียงรายครับ อยู่ทน่ี ่กี ช็ ่วยครูทำ� งาน เลี้ยงไก่ เลี้ยงหมู ปลูกผัก อยู่ทน่ี ่ีก็ดคี รับ มีเพือ่ นเยอะดี” เขาตอบค�ำถาม ของเราทีถ่ ามถึงกิจกรรมทีท่ ำ� ในแต่ละวัน ไข่ทเ่ี ราเห็นพงษ์พนั ธ์ทยอยขนมานัน้ เป็ นส่วนหนึ่งของ ผลผลิตที่ได้จากการฝึ กฝนวิชาชีพให้กบั นักเรียนของศู นย์แห่งนี้ โดยรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ต่างๆ ก็จะเก็บไว้เป็ นเงินลงทุน ส�ำหรับการผลิตในรอบต่ อๆ ไป ส่วนความเป็ นอยู่ ในด้านอื่นๆ นักเรียนทุกคนทีน่ ่จี ะมีสวัสดิการทัง้ ทีพ่ กั ตลอดช่วงเปิ ดภาคการศึกษา สวัสดิการอาหารครบ 3 มื้อ และส่งเสริมให้เรียนผ่านระบบการศึกษา นอกโรงเรียนควบคู่ ไปกับการฝึ กวิชาชีพในด้านต่างๆ ซึ่งทัง้ หมด จัดให้โดยทีไ่ ม่ตอ้ งเสียค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม ถือเป็ นเรือ่ งปกติของหน่วยงานในลักษณะนี้ ทีง่ บประมาณทีไ่ ด้รบั จะยังไม่เพียงส�ำหรับการด�ำเนินการ โดยเฉพาะ กับการทีศ่ ูนย์แห่งนี้ไม่ได้เป็ นทีร่ ูจ้ กั ในวงกว้าง ท�ำให้ความช่วยเหลือ จากภายนอกยังมีนอ้ ย แต่ ถึงกระนัน้ สิ่งที่ศูนย์แห่งนี้พยายามท�ำ มาโดยตลอด ก็คอื พยายามให้ทกั ษะความรูท้ างวิชาชีพต่างๆ เพือ่ ที่ นักเรียนจะได้นำ� ไปใช้หาเลี้ยงชีพในอนาคต เมือ่ แต่ละคนพร้อมทีจ่ ะ กลับสู่บา้ นเกิด แม้บางคนอาจจะยังไม่รูว้ า่ เมือ่ ไหร่จะได้กลับก็ตาม
Contact
ที่ตั้ง : ต.หนองหาร อ.สันทราย (ด้านหลังโรงเรียนศรีสังวาลย์เชียงใหม่) โทร : 0 5349 8211
About This Place
‘ศูนย์ฝึกวิชาชีพคนตาบอด’ เป็นหน่วยงาน ภายใต้ โ รงเรี ย นสอนคนตาบอดภาคเหนื อ ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ แต่คนทัว่ ไปมักจะคุน้ เคยกับ โรงเรียนสอนคนตาบอดที่ตั้งอยู่ในเมือง ซึ่งเป็น เหมือน ‘โรงเรียนแม่’ มากกว่า ภ า ร กิ จ ข อ ง ที่ นี่ จ ะ เ น ้ น ไ ป ที่ ก า ร ดู แ ล กลุ่มนัก เรียนตาบอดที่ไม่สามาถเรียนวิช าสามัญ ในชัน้ เรียนปกติได้ ทัง้ จากความพิการอืน่ ๆ ร่วมกับ พิการตาบอด (พิการซ้อน) หรือเข้าสูร่ ะบบการศึกษา เมื่ออายุมาก (อธิบายง่ายๆ ก็คือ ถ้าเป็นเด็กตาบอด ที่มีอายุเกิน 15 ปี ก็จะถูกส่งมาที่นี่) จนกลายเป็น ข้อจ�ำกัดทางการศึกษา ดังนั้นที่นี่จึงจะเน้นหนักไปที่ การสอนทางด้านวิชาชีพต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้าน เกษตรกรรม, ดนตรี, การนวดแผนโบราณ, และ งานหัตถกรรม เพือ่ ให้นกั เรียนทีเ่ ข้ามาเรียนสามารถ น�ำทักษะทีไ่ ด้ไปใช้ในการประกอบอาชีพเพือ่ เลีย้ งตัว ต่อไปในอนาคต และในขณะเดียวกันก็สนับสนุน ให้เด็กเข้าสูร่ ะบบการศึกษานอกโรงเรียนเพือ่ ให้มวี ฒ ุ ิ ทางการศึกษาติดตัวด้วย
สมาคมส่งเสริมอาชีพ คนพิ การ จังหวัดเชียงใหม่
About This Place
สมาคมส่งเสริมอาชีพคนพิการ จังหหวัด เชียงใหม่ เกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของกลุ่มคน พิการ ที่ในยุคแรกประกอบอาชีพเดียวกัน นั่นคือ การจ�ำหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาล ซึ่งท�ำให้พวกเขา เกิ ด ความคิ ด ว่ า ควรจะต้ อ งมี ก ารดั ด แปลงรถ จักรยานยนต์ให้กลายเป็นพาหนะทีช่ ว่ ยอ�ำนวยความ สะดวกในการเดินทางให้กับตัวผู้พิการ รวมทั้ง สะดวกในการจ�ำหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาลด้วย ในปัจจุบันรถที่ทางสมาคมผลิตออกมานั้น เป็นการผลิตตามความต้องการของผู้ใช้งาน ที่มี ตั้งแต่การใช้เป็นยานพาหนะในการเดินทาง ไปจนถึง เป็นเครือ่ งมือในการหาเลีย้ งชีพ โดยผูท้ ตี่ อ้ งการรถ จะต้องเข้ามาพูดคุยและให้ข้อมูลกับทีมงานช่าง เพื่อ ท�ำการออกแบบรถให้เหมาะสมกับการใช้งาน และหลัง จากตกลงวางมัดจ�ำกันแล้ว ทีมงานช่างก็จะด�ำเนิน การผลิตตามล�ำดับคิวเพือ่ ให้ได้รถมาส่งมอบให้คน พิการได้ใช้งานต่อไป
แม็ก – ด�ำรงฤทธิ์ ค�ำแท่ง หนึ่งในช่ างของสมาคม ส่งเสริมอาชีพคนพิการ จังหวัดเชียงใหม่ บอกกับ HIP ว่า “รถทุกคัน ทีอ่ อกจากทีน่ ่ี มีคนั เดียวเท่านัน้ ในโลก” หันไปมองสารพัดรถจักรยานยนต์ท่ถี ูกน�ำมาดัดแปลง สภาพ ทัง้ ทีก่ ารดัดแปลงคืบหน้าไปมากแล ้ว หรือว่าอยู่ในขัน้ เริ่มต้น เชื่อว่าหลายคนคงจะรูส้ กึ สงสัยในค�ำพูดดังกล่าว แต่หากได้รบั ฟัง ค�ำอธิบายเหมือนอย่างที่เราได้รบั แลว้ ก็เชื่ออีกเช่นกันว่าทุกๆ คน จะเห็นด้วยโดยไม่โต้แย้งใดๆ เลย เหตุท่แี ม็กกล่าวเช่นนัน้ เพราะรถที่ผ่านการผลิตจาก ฝี มอื ช่างของสมาคมแห่งนี้ ไม่ได้เป็ นเพียงแค่รถจักรยานยนต์พว่ งข้าง อย่างทีห่ ลายคนเข้าใจเมือ่ มองอย่างผิวเผิน หากแต่เป็ นการดัดแปลง รถทีเ่ กิดจากการพูดคุยกับ ‘ผูใ้ ช้’ มาแลว้ อย่างละเอียด เพือ่ ให้รูถ้ งึ คุณสมบัตแิ ละข้อจ�ำกัดของผูใ้ ช้งานแต่ละราย รวมถึงเป้ าหมายของ การน�ำรถไปใช้งาน ซึง่ หรัง่ – ปรัชญา สร้างนา หัวหน้าช่างของสมาคม ส่งเสริมอาชีพคนพิการ จังหวัดเชียงใหม่ บอกว่า ก่อนทีจ่ ะเริ่มลงมือ ผลิตรถแต่ละคัน พวกเขาจะขอให้ผูท้ จ่ี ะใช้รถเข้ามาพูดคุยกันก่อน เพือ่ ให้มขี อ้ มูลเพียงพอทีจ่ ะสามารถผลิตรถทีเ่ หมาะสมกับการใช้งาน ของคนคนนัน้ ได้มากทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะเป็ นไปได้ กระบวนการผลิต รถดัด แปลงเพื่อ คนพิก ารของที่น่ี ครอบคลุมไปถึงการช่วยจัดหารถจักรยานยนต์ (ทัง้ ของใหม่หรือ รถมือสอง) ในกรณี ท่ีผูใ้ ช้งานไม่มรี ถหรือไม่สะดวกในการหารถ ขณะทีร่ ะยะเวลาการผลิต คุณหรัง่ บอกว่าขึ้นอยูก่ บั ลักษณะการใช้งาน ของผูใ้ ช้งานแต่ละคน ซึง่ จะมีผลต่อความยากง่ายในการออกแบบและ ผลิตรถ รวมถึงคิวการผลิตทีท่ ำ� ไปตามล�ำดับ แต่ถงึ แม้วา่ อาจจะต้อง ใช้เวลาบ้าง ก็ถอื ว่าคุม้ ค่า เพราะไม่เพียงแต่จะได้ยานพาหนะทีช่ ่วยให้ สามารถเดินทางไปไหนมาไหนหรือประกอบอาชีพได้เท่านัน้ ค่าใช้จ่าย ในการด�ำเนินการก็ไม่สูงมาก ตามความตัง้ ใจของสมาคมทีต่ อ้ วงการ จะช่วยเหลือผู ้พิการให้มีโอกาสในชีวติ มากยิง่ ขึ้น “พี่ลองนึกถึงภาพคนที่เขาเคยไปไหนมาไหนล�ำบาก พอถึงวันทีเ่ ขามารับรถจากเรา ได้รถทีต่ วั เองสามารถใช้งานได้ ไปไหน มาไหนได้โดยไม่ตอ้ งพึง่ พาคนอื่นเหมือนแต่ก่อนอีก การเห็นอะไร แบบนี้ทำ� ให้พวกผมรูส้ กึ มีความสุขไปด้วย” คือค�ำอธิบายจากแม็ก ทีน่ ่าจะท�ำให้หลายคนเข้าใจว่า ท�ำไมคนเหล่านี้จงึ ยอมเหน็ดเหนื่อย ทัง้ คิดและลงมือผลิตรถออกมาให้คนพิการได้ใช้งานกัน
Contact
ที่ตั้ง : บ้านใหม่ห้วยทราย ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ (เลยสนามกีฬาเทศบาลต�ำบลสุเทพ) โทร : 0 5328 3659 Facebook : สมาคมส่งเสริมอาชีพคนพิการ จังหวัดเชียงใหม่
24
a side
มูลนิธิบ้านมารีนา นอกจากความน่าสนใจในแนวทางการท�ำงาน ทีม่ งุ่ เน้น ไปทีก่ ารให้ความรูแ้ ละฝึ กฝนให้เยาวชนหญิงมีทกั ษะความรูท้ างด้าน การตัดเย็บเสื้อผ้าแลว้ สิง่ ทีต่ ามมาอีกอย่าง คือความประหลาดใจ ที่ได้รบั รู ว้ ่า ‘มูลนิธิบา้ นมารีนา’ นัน้ ท�ำงานในด้านนี้มาตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2508 แล ้ว นับตัง้ แต่ คณะของซิสเตอร์ชาวต่ างชาติเข้ามาเริ่มต้น ท�ำงานในเชียงใหม่ และตามมาด้วยซิสเตอร์ชาวไทยทีเ่ ข้ามาช่วยงาน ในเวลาต่ อมา มูลนิธิแห่งนี้ยึดมัน่ ในแนวทางของตนอย่างชัดเจน นัน่ คือการสอนให้เยาวชนหญิงทีข่ าดแคลนโอกาส ได้เรียนรูท้ กั ษะ ทางด้านวิชาชีพการตัดเย็บเสื้อผ้า โดยทางมูลนิธใิ ห้การดูแลพวกเธอ ในเรื่องของที่พกั อาหาร วัสดุอุปกรณ์ท่ใี ช้ในการเรียน รวมไปถึง การดูแลอบรมเกี่ยวกับการใช้ชีวติ ในสังคม เพือ่ ให้พวกเธอทุกคน ทีม่ าอยู่ทน่ี ่ี สามารถน�ำความรูท้ ไ่ี ด้รบั ไปใช้ประกอบอาชีพเพือ่ เลี้ยง ตนเองและครอบครัวต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ทางมูลนิธยิ งั ส่งเสริม ให้เยาวชนทีม่ าฝึ กวิชาชีพได้เข้าเรียนในระบบการศึกษานอกโรงเรียน ควบคู่กนั ไปด้วย เช่นเดียวกับการส่งเสริมให้ผูท้ ผ่ี า่ นการเรียนกับทาง มูลนิธใิ ห้เข้ารับการทดสอบมาตรฐานฝี มอื วิชาชีพตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี เพือ่ ทีจ่ ะได้วุฒบิ ตั รจากภาครัฐเป็ นเครื่องยืนยันความสามารถ อีกสิ่งหนึ่งที่ถือเป็ นจุดเด่นของที่น่ี คือเครือข่ายของ บรรดาศิษย์เก่าทีย่ งั คงมีการติดต่อกันและมาร่วมในกิจกรรมส�ำคัญๆ ของทางมูลนิธอิ ย่างสม�ำ่ เสมอ, คอยส่งเศษผ้าทีเ่ หลือจากการใช้งาน มาให้นอ้ งๆ ได้ใช้ฝึกปรือฝี มอื หรือหลายคนก็กลายมาเป็ น ‘พีค่ รู’ ทีช่ ่วยเหลือซิสเตอร์ในการดูแลน้องๆ อย่าง พิงค์ – อรวรรณ จะโพ ที่แ ม้จ ะเรี ย นจบไปหลายปี แ ล ว้ แต่ ก็ ก ลับ มาช่ ว ยงานที่มู ล นิ ธิ จนกลายเป็ นทีมงานที่ช่วยดู แลน้องๆ ทัง้ ในเรื่องการเรียนตัดเย็บ เสื้อผ้า และห้องเรียน กศน. ทีเ่ ธอได้รบั มอบหมายให้ดูแลในส่วนนี้ “ตอนทีม่ าเป็ นนักเรียนก็คอื มาฝึ กหัดใหม่ทกุ อย่างเลยค่ะ เพราะไม่เ คยท�ำ มาก่ อ นเลย รู ส้ ึก ว่า ที่น่ี ใ ห้อ ะไรกับ เราเยอะมาก ทัง้ วิชาความรู ้ มีทพ่ี กั อาหารการกิน มีซสิ เตอร์คอยดูแลในเรื่องต่างๆ จากทีไ่ ม่รูเ้ รื่องการตัดเย็บเลย ก็ได้เรียนจนท�ำได้ พอเรียนจบไปแล ้ว รู ส้ กึ ว่าอยากจะมาช่วยซิสเตอร์กบั น้องๆ เพราะจ�ำได้ว่าตอนที่เรา มาเรียนใหม่ๆ ทุกอย่างมันก็ยากทัง้ นัน้ ก็เลยกลับมาช่วยงานซิสเตอร์ มาจนถึงปัจจุบนั นี้ค่ะ”
Contact
About This Place
ทางมูลนิธิบ้านมารีนาตั้งระยะเวลาในการ ฝึกอบรมวิชาชีพตัดเย็บเสือ้ ผ้าเอาไว้ 2 ปี เนือ่ งจาก เป็นเวลาที่เห็นว่าเหมาะสมต่อการฝึกหัดการตัดเย็บ ในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งยังมีเวลาส�ำหรับศึกษาต่อ ผ่านระบบการศึกษานอกโรงเรียนา และมีเวลาพอ ที่จะช่วยอบรมและให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการใช้ชีวิต ในด้านต่างๆ ให้เยาวชนหญิงด้วย และนี่จึงเป็น เหตุผลว่าท�ำไมที่นี่จึงต้องรับนักเรียนเข้ามาพักอยู่ ที่มูลนิธิ ไม่ได้ให้มาเรียนแบบนักเรียน ไป – กลับ นอกจากจะมีที่ตั้งที่เชียงใหม่แล้ว มูลนิธิ บ้านมารีนายังมีที่ จ.ล�ำพูน และ จ.พะเยา อีกด้วย โดยที่ พ ะเยานั้ น มี ก ารเปิ ด ฝึ ก อบรมวิ ช าชี พ ตัดเย็บเสื้อผ้าให้กับเยาวชนหญิงด้วยเช่นกัน แต่ใช้ ระยะเวลาอบรม 1 ปี ก่อนจะให้เยาวชนเข้ามาเรียนต่อ ที่มูลนิธิบ้านมารีนา เชียงใหม่ ส่วนที่ล�ำพูนนั้นไม่ได้ เปิดการฝึกอบรบให้เยาวชน แต่มีการฝึกอบรม ให้ กั บ ประชาชนที่ ส นใจบ้ า งตามความเหมาะสม หรือหากได้รับการร้องขอเข้ามา
ที่ตั้ง : ถ.อารักษ์ ซ.5 ต.ศรีภูมิ อ.เมืองเชียงใหม่ โทร : 0 5321 7381
25
a side
HOW TO SHARE แน่นอนว่าหน่วยงานหรือองค์กรที่เราได้น�ำเสนอเรื่อราวไปนั้น ต่างก็ยัง ‘ขาดแคลน’ หลายสิ่งหลายอย่าง การที่จะช่วยให้สิ่งที่แต่ละแห่งก�ำลังท�ำอยู่นั้นสามารถด�ำเนินไปได้โดยไม่ติดขัดบกพร่อง นอกจากการบริจาคเงิน ซึ่งทุกที่ยินดีหากได้รับการสนับสนุนจากผู้มีจิตศรัทธาแล้ว เรายังได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งอื่นๆ ที่แต่ละแห่ง ขาดแคลนหรือต้องการเป็นพิเศษ เพื่อที่ผู้ที่สนใจได้มีโอกาสช่วยเหลือเกื้อกูลและแบ่งปันไปยังแต่ละแห่งได้
สถานคุ้มครอง คนไร้ที่พ่ึ งสันมหาพน ทางสถานคุม้ ครองคนไร้ท่พี ง่ึ สันมหาพน ยินดีตอ้ นรับ ผู ม้ จี ิตศรัทธาที่ประสงค์จะเข้ามาเป็ นเจ้าภาพจัดเลี้ยงอาหาร ให้กบั กลุ่มผู ไ้ ร้ท่ีพ่ึง โดยจะจัดเตรียมอาหารมาเองทัง้ หมด น�ำอาหารบางส่วนมาร่ วมจัดเลี้ยง หรือจะให้ทางห้องครัว ของสถานคุ ม้ ครองคนไร้ท่ีพ่ึง สัน มหาพนเป็ น ผู ด้ �ำ เนิ น การ จัดท�ำอาหารให้ในนามของเจ้าภาพก็ได้ ส่ วนสิ่งของที่ข าดแคลนนัน้ มีหลายรายการ แต่ ส่ิงที่ อยากได้เป็ นพิเศษ คือแพมเพิรส์ ส�ำหรับผูป้ ่ วยติดเตียง และ ชุดชัน้ ในผูห้ ญิง ส่วนสิง่ ของขนาดใหญ่ทห่ี ากได้รบั การสนับสนุน จะเป็ นประโยชน์ต่อการท�ำงานของสถานคุม้ ครองคนไร้ท่ีพ่งึ สันมหาพนอย่างมาก คือโต๊ะเก้าอี้สนาม – โต๊ะเก้าอี้มา้ หินอ่อน เพราะช่วงกลางวันคนทีอ่ ยู่ทน่ี ่ีจะไม่ได้อยู่ภายในโรงนอน แต่จะ ออกมาอยู่ดา้ นนอก ที่นงั ่ ที่มอี ยู่จงึ ไม่เพียงพอ อีกอย่างที่ทาง หน่ วยงานอยากได้ คือเปลขนย้ายผู ป้ ่ วยแบบที่มีสายรัดตัว เพราะในแต่ ละเดือนจะมีกรณี ท่ีมผี ู ป้ ่ วยฉุ กเฉิ นที่ตอ้ งเข้ารับ การรักษาที่โรงพยาบาล ท�ำให้ตอ้ งท�ำการขนย้ายผูป้ ่ วยกันเอง ด้วยรถของทางหน่วยงาน
โครงการพั ฒนาคุณภาพชีวิต เด็กด้อยโอกาส เด็กก�ำพร้า และเด็กยากจน วัดดอนจั่น อย่างที่บอกไว้ก่อนหน้านี้ว่า เด็กๆ ที่ทางวัดดอนจัน่ ดูแลอยู่ในปัจจุบนั มีประมาณ 700 คน ดังนัน้ จึงมีความต้องการ สิ่งของต่างๆ เป็ นจ�ำนวนมาก ซึ่งสิ่งของที่ทางวัดต้องการนัน้ มีดงั ต่อไปนี้ : ข้าวสาร / ปลากระป๋ อง / บะหมีก่ ่งึ ส�ำเร็จรูป / ผักสด / ผลไม้ / เนื้อหมู เนื้อไก่ กุนเชียง ไข่ไก่ / เครื่องปรุง อาหาร น�ำ้ มันพืช น�ำ้ ปลา ซอส / อุปกรณ์การเรียน เครื่องเขียน / ผ้าอนามัย และแพมเพิรส์ / สบู่ แชมพู ยาสีฟนั ไม้แปรงฟัน น�ำ้ ยาล ้างจาน น�ำ้ ยาล ้างห้องน�ำ้ และถุงด�ำใส่ขยะทุกขนาด นอกจากนี้ผูม้ จี ิตศรัทธายังสามารถเข้ามาเป็ นเจ้าภาพ จัดเลี้ยงอาหารให้แก่ เด็กๆ ได้อีกด้วย โดยสามารถติดต่ อ สอบถามรายละเอียดกับทางวัดได้ ส่วนกรณีท่ตี อ้ งการส่งสิง่ ของมาให้กบั วัดทางไปรษณีย ์ สามารถส่งมาได้ตามที่อยู่น้ ี : วัดดอนจัน่ เลขที่ 2 หมู่ 4 ถนนเชียงใหม่ - ล�ำปาง ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ 50000
26
a side
ศูนย์ฝึกวิชาชีพคนตาบอด ศู นย์ฝึกวิชาชีพคนตาบอด ยินดีตอ้ นรับผูม้ จี ติ ศรัทธา ที่ประสงค์จะเข้ามาเป็ นเจ้าภาพจัดเลี้ยงอาหารให้กบั นักเรียน คนตาบอดที่อยู่ภายในศู นย์ โดยจะจัดเตรียมอาหารมาเอง ทัง้ หมด น�ำอาหารบางส่วนมาร่วมจัดเลี้ยง หรือจะให้ทางห้องครัว ของศูนย์ฝึกวิชาชีพคนตาบอดเป็ นผูด้ ำ� เนินการจัดท�ำอาหารให้ ในนามของเจ้าภาพก็ได้ (ทางศูนย์สะดวกในการจัดเลี้ยงเฉพาะ มื้อกลางวัน) รวมทัง้ ยินดีรบั บริจาคสิ่งของ อย่างเช่นข้าวสาร อาหารแห้ง สิง่ ของเครื่องใช้ต่างๆ ซึง่ จะน�ำมาใช้ในการประกอบ อาหารเลี้ยงนักเรียนของทางศูนย์ต่อไป นอกจากนี้ผูท้ ส่ี นใจยังสามารถซื้อสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ของทางศูนย์ได้เช่นกัน อีกเรื่องหนึ่งที่น่าสนใจ ที่ทางศู นย์ยินดีหากมีผูส้ นใจ จะด�ำเนินการ คือการน�ำนักเรียนของศู นย์ออกไปทัศนศึกษา ภายนอกโรงเรียน เนื่องจากปกตินกั เรียนจะเรียนหนังสือและ กินนอนอยู่ทศ่ี ูนย์เป็ นหลัก กับการออกไปภายนอกจ�ำเป็ นต้องมี เจ้า หน้า ที่ข องศู น ย์ต ามออกไปดู แ ลด้ว ย ซึ่ง ในทางปฏิบ ตั ิ เป็ นเรื่องยากส�ำหรับทางศูนย์ทม่ี เี จ้าหน้าทีจ่ ำ� นวนจ�ำกัด ดังนัน้ หากมีผูร้ บั ผิดชอบยินดีดูแลและพานักเรียนออกไปทัศนศึกษา ตามสถานทีต่ ่างๆ ได้ ทางศูนย์กย็ นิ ดี
มูลนิธิบ้านมารีนา สิง่ ทีม่ ลู นิธบิ ้านมารีนาต้องการเป็ นพิเศษ ได้แก่ผา้ ส�ำหรับ การฝึ กหัดตัดเย็บเสื้อผ้าแบบต่างๆ เพราะในปัจจุบนั แม้ทาง มูลนิธิจะได้รบั บริจาคผ้าจากทัง้ ห้องเสื้อและศิษย์เก่าที่ทำ� งาน ด้านการตัดเย็บเสื้อผ้า แต่ จะเป็ นเศษผ้าเป็ นส่วนใหญ่ ไม่มี ผ้าปริมาณเพียงพอส�ำหรับการวางแพทเทิรน์ ตัดเย็บออกมา เป็ นเสื้อผ้าจริงๆ ได้แค่ใช้ในการฝึ กเท่านัน้ ท�ำให้แต่ละครัง้ ทีจ่ ะ ฝึ ก หัด ท�ำ การตัด เย็บ เสื้อ ผ้า จริง ๆ ทางมูล นิ ธิ ต อ้ งไปซื้อ ผ้า เป็ นเมตรๆ จากตลาดตามจ�ำนวนนักเรียน แล ้วเอามาตัดแบ่งกัน เพื่อใช้ในการฝึ กหัด ดังนัน้ ถ้ามีผูใ้ ห้การสนับสนุ นจัดหาผ้า เป็ นม้วนใหญ่ๆ ทีเ่ หมาะกับการตัดเย็บเสื้อผ้าในแบบต่างๆ เช่น ผ้าส�ำหรับตัดชุดนอน ตัดเสื้อเชิ้ต ตัดกระโปรง ชุดสูท ก็จะช่วย ให้นกั เรียนของทีน่ ่ีฝึกหัดการตัดเย็บได้สะดวกมากยิง่ ขึ้น
สมาคมส่งเสริมอาชีพคนพิ การ จังหวัดเชียงใหม่ โดยปกติทางสมาคมส่งเสริมอาชีพคนพิการ จังหวัด เชียงใหม่ ไม่ได้เปิ ดรับบริจาคสิง่ ของ แต่มกั จะมีคนน�ำสิง่ ของ มามอบให้กบั ทางสมาคม ซึง่ ทางสมาคมก็จะรับไว้และแจกจ่าย ให้กบั กลุ่มคนพิการในเครือข่าย ดังนัน้ ขอแนะน�ำให้สอบถาม กับทางสมาคมก่อนทีจ่ ะน�ำสิง่ ของไปบริจาค ส่วนสิ่งที่สมาคมจ�ำเป็ นต้องใช้งานอย่างต่อเนื่อง ก็คือ อุปกรณ์ช่างต่ างๆ ที่ตอ้ งใช้ในการดัดแปลงรถจักรยานยนต์ เป็ นรถส�ำหรับคนพิการ ส่วนนี้แนะน�ำให้สอบถามกับทางสมาคม ก่อนเช่นกัน หากต้องการจะจัดหาเครื่องมือช่างมามอบให้ นอกจากนี้ ถ้าหากอยูไ่ ม่ไกลจากย่านเทศบาลต�ำบลสุเทพ และใช้รถจักรยานยนต์ สามารถน�ำรถมาใช้บริการซ่อมแซม ทีส่ มาคมได้ เพราะทางสมาคมรับซ่อมแซมรถของคนทัว่ ไปด้วย โดยรายได้ท่ีได้รบั ก็จะน�ำมาเป็ นเงินค่ าแรงของช่ างและเป็ น เงินทุนในการซื้ออะไหล่ต่างๆ 27
a side
Talk
CHANGVAN FROM CHIANG MAI TO ANTARCTICA งานวิจัยไทย ส�ำรวจไกลถึงแอนตาร์กติกา เรื่อง : เพชรรัตน์ ภาพ : เพชรรัตน์ / สดร. เรียบเรียง : HIP Team
HIP ชวน ดร.วราภรณ์ นันทิยกุล และ พงษ์พจิ ติ ร ชวนรักษาสัตย์ มาถ่ายทอดเรื่องราวของการน�ำ ‘ช้างแวน’ คอนเทนเนอร์ที่มีอุปกรณ์ ตรวจวัดรังสีคอสมิกไปติดตัง้ บนเรือตัดน�ำ้ แข็งสัญชาติจนี เพือ่ เดินทาง ไปยังแอนตาร์กติกา ซึง่ การศึกษาวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับความรูด้ า้ นฟิสกิ ส์ ดาราศาสตร์งานนี้ นอกจากจะต้องเตรียมคอนเทนเนอร์ ให้พร้อม ภายในเวลา 77 วันแล้ว ตัวพงษ์พิจิตรเองก็ต้องใช้ชีวิตอยู่บนเรือ กับเจ้าคอนเทนเนอร์นี้ไปอีกหลายเดือนด้วย!
ดร.วราภรณ์ นัน ทิย กุ ล อาจารย์ป ระจ�ำ ภาควิช าฟิ สิก ส์แ ละ วัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียใหม่ ในฐานะหัวหน้า โครงการวิจ ยั การส�ำ รวจตัด ข้า มละติจู ด เริ่ม ต้น อธิ บ ายความเป็ น มา ของโครงการนี้ว่า ‘ช้างแวน(Changvan)’ เป็ นชือ่ ของคอนเทนเนอร์ทภ่ี ายใน ติดตัง้ เครือ่ งตรวจวัดอนุภาคนิวตรอนเอาไว้ โดยคอนเทนเนอร์น้ เี ป็ นส่วนหนึง่ ของ โครงการวิจยั การส�ำรวจตัดข้ามละติจูด (Latitude Survey Project) ซึง่ เกิดจากความร่วมมือระหว่างสถาบันวิจยั ดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช.) ในโครงการความร่วมมือศึกษาวิจยั ดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์ขวั้ โลก ที่มเี ป้ าหมายเพื่อศึกษาผลกระทบ ของรังสีคอสมิกต่อโลก ด้วยการน�ำเครื่องตรวจวัดอนุภาคนิวตรอนบรรทุก บนเรือตัดน�ำ้ แข็งเพือ่ ท�ำการตรวจวัดรังสีคอสมิกจากอวกาศทีเ่ ข้ามายังโลก โดยผลการวิจยั ที่ได้จะถูกน�ำมาเปรียบเทียบและยืนยันกับผลวิจยั จาก การส�ำรวจในลักษณะเดียวกันทีเ่ คยเกิดขึ้นก่อนหน้านี้โดยกลุม่ นักวิจยั ใน ต่างประเทศ ซึง่ ตัว ดร.วราภรณ์นนั้ เคยมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ทีไ่ ด้จากการวิจยั ในครัง้ นัน้ ด้วย อย่างไรก็ตาม กว่าทีก่ ารวิจยั นี้จะเกิดขึน้ ได้ไม่ใช่เรือ่ งง่าย โดย ดร.วราภรณ์ อธิบายว่า เนื่องจากจะต้องน�ำคอนเทนเนอร์ท่ีมเี ครื่องตรวจวัดอนุ ภาค นิวตรอนไปติดตัง้ บนเรือตัดน�ำ้ แข็งเพือ่ เดินทางไปยังทวีปแอนตาร์กติกา ดังนัน้ ทางโครงการวิจยั จึงต้องส่งข้อเสนอไปยังสถาบันวิจยั ขัว้ โลกแห่งจีน เพือ่ ขออนุ มตั ใิ นการน�ำตูค้ อนเทนเนอร์ไปติดตัง้ บนเรือ และเมือ่ ทางจีนตกลง
28
a side
อนุมตั ใิ ห้สามารถน�ำ ‘ช้างแวน’ ไปติดตัง้ บน ‘เชว่หลง (Xue Long)’ หรือ ‘เรือมังกรหิมะ’ ซึง่ จะออกเดินทางเก็บข้อมูลจากเมืองเซีย่ งไฮ้ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ไปยังสถานีวจิ ยั จงซาน (Zhongshan) ทีต่ งั้ อยู่บริเวณชายฝัง่ ของทวีปแอนตาร์กติกาได้ ทีมนักวิจยั ของไทยก็มเี วลาในการเตรียม ‘ช้างแวน’ ให้พร้อมส�ำหรับการเดินทางเพียง 77 วันเท่านัน้ “การที่ทางจีนตกลงตอบรับเป็ นเรื่องที่น่าเหลือเชื่อมาก เพราะ โครงการของเราเป็ นโครงการทีใ่ ช้อปุ กรณ์ทม่ี ขี นาดใหญ่และน�ำ้ หนักเยอะ ขนาดของคอนเทนเนอร์ของเราอยู่ท่ี 20 x 8 ฟุต น�ำ้ หนัก 10 ตัน แต่เรือ ตัดน�ำ้ แข็งจะต้องประหยัดพื้นทีแ่ ละน�ำ้ หนักอย่างมาก เราเลยคิดกันว่าเขา ไม่น่าจะสนใจ แต่เมือ่ จีนอนุมตั ิ เรามีเวลาเตรียมการแค่ 77 วันเท่านัน้ ช่วงนัน้ ทุกคนเครียดมาก ต้องเกณฑ์คนมาช่วย ทัง้ ทีมงานจาก สดร. และ มช. รวมถึงนักศึกษา มาช่วยกันติดตัง้ อุปกรณ์ตรวจวัดนิวตรอนในคอนเทนเนอร์ ให้เสร็จทันเวลา ซึง่ ส่วนหนึง่ ต้องขอบคุณมหาวิทยาลัยชินชู ประเทศญีป่ ่ นุ ที่ บริจาคตูค้ อนเทนเนอร์ให้กบั งานวิจยั นี้ และมหาวิทยาลัยเดลาแวร์ กับ มหวิทยาลัยวิสคอนซิน ริเวอร์ฟอลส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ทีช่ ่วยสนับสนุน ด้านอิเล็กทรอนิกส์และการพัฒนาอุปกรณ์ เพราะนอกจากเวลาจะจ�ำกัดแล ้ว งบประมาณที่เราได้รบั มาก็ไม่มากพอที่จะซื้ออุปกรณ์ใหม่ แต่เมื่อได้รบั ความช่วยเหลือในเรื่องอุปกรณ์ต่างๆ ท�ำให้เราเหลือแค่ค่าใช้จ่ายในการ ขนส่งอุปกรณ์เท่านัน้ ” หลังจากแก้ปญั หาเรื่องอุปกรณ์กนั ไปแลว้ อีกเรื่องทีต่ อ้ งแก้ปญั หา
ก็ คื อ เนื่ อ งจากจี น ไม่ อ นุ ญ าตให้ผู ห้ ญิ ง เดิน ทางไปกับ เรื อ ตัด น�ำ้ แข็ง ซึ่งหมายความว่า ดร.วราภรณ์ผูเ้ ป็ นหัวหน้าโครงการไม่สามารถเดินทาง ไปท�ำการวิจยั ด้วยตัวเองได้ จึงต้องหาตัวแทนที่จะไปกับเรือตัดน�ำ้ แข็ง เพือ่ ดูแลคอนเทนเนอร์และส่งข้อมูลการวิจยั กลับมาให้กบั ดร.วราภรณ์ ด้วย พงษ์พจิ ติ ร ซึง่ เป็ นนักวิจยั ของ สดร. จึงถูกเลือกให้มารับภารกิจดังกล่าว โดยพงษ์พิจิ ต รกล่ า วถึง การเตรี ย มตัว เพื่อ เดิ น ทางไปกับ เรื อ ตัดน�ำ้ แข็งสู่ทวีปแอนตาร์กติกาว่า “อย่างแรกก็เตรียมร่างกายให้พร้อมครับ เพราะเป็ นเรื่องส�ำคัญมาก ส่วนเรื่องของภาษาจีนผมพอรูบ้ า้ งอยู่แลว้ แต่ ก็ตอ้ งศึกษาเพิม่ เติม อย่างเช่นค�ำศัพท์ทจ่ี ำ� เป็ น ถ้าเกิดสถานการณ์แบบนี้ จะต้องคุยกับคนบนเรือยังไง เพือ่ ขอความช่วยเหลือจากเขาและท�ำให้เขา เข้าใจว่าเราต้องการอะไร ด้านอุปกรณ์ซง่ึ ผมไม่คุน้ เคยมาก่อน ก็เป็ นสิง่ ที่ จะต้องเรียนรูใ้ หม่ทงั้ หมด พยายามถามคนทีเ่ ขารูใ้ ห้ได้มากทีส่ ุด ตัวอุปกรณ์ มันสามารถทีจ่ ะท�ำงานได้ดว้ ยตัวเองอยู่แลว้ หน้าทีห่ ลักๆ ของผมคือการ เก็บข้อมูลจากเครื่องตรวจวัดอนุภาคนิวตรอน และคอยสังเกตหากอุปกรณ์ เกิดปัญหาขึ้น เพือ่ จะได้ทำ� การซ่อมแซมให้อปุ กรณ์ทำ� งานต่อไปได้ “อีกเรื่องคือการสือ่ สารระหว่างผมกับทีมงานทีเ่ มืองไทย ตอนแรก เราวางแผนว่าจะใช้โทรศัพท์ดาวเทียม แต่เนื่องจากมีงบประมาณจ�ำกัด การสือ่ สารทีเ่ ป็ นไปได้จงึ เหลือแค่การส่งอีเมล ซึง่ จะไม่ใช่อเี มลแบบทีค่ นทัวไป ่ ใช้กนั แต่เป็ นการส่งอีเมลเป็ นบิท การส่งแบบนี้ค่อนข้างยากและใช้เวลานาน แต่ข ้อมูลทีจ่ ะส่งกลับมาเป็ นข้อความสัน้ ๆ เท่านัน้ ก็คดิ ว่าจะพอไหว ช่วงแรกๆ ผมอาจต้องส่งอีเมลให้อาจารย์วราภรณ์ทกุ วัน เพือ่ เป็ นการเช็คว่าทุกอย่าง ยังโอเคดี แต่เมื่อทุกอย่างอยู่ตวั แลว้ ทัง้ เรื่องของการท�ำงานของอุปกรณ์ และข้อมูลทีไ่ ด้ ผมก็อาจจะรอให้ข้นึ ฝัง่ สักฝัง่ หนึ่งตามจุดจอดของเรือก่อน แล ้วค่อยส่งข้อมูลกลับมาให้ทเี ดียว” ทัง้ นี้ ดร.วราภรณ์และพงษ์พพิ ฒั น์ยอมรับว่า การน�ำ ‘ช้างแวน’ ออกไปท�ำการส�ำรวจและรวบรวมข้อมูลตลอดระยะเวลา 5 เดือนนัน้ แม้จะมีการเตรียมการกันมาอย่างดี และได้รบั ความร่วมมือจากหลายๆ ฝ่ าย
แต่สุดท้ายแลว้ นี่ก็ยงั เป็ นครัง้ แรก ทีง่ านวิจยั ของไทยจะได้ไปท�ำการวิจยั กันถึงทวีปแอนตาร์กติกา ซึง่ ดร.วราภรณ์บอกว่าคงจะมีปญั หาต่างๆ อีก มากทีจ่ ะเกิดขึ้นและต้องหาทางแก้ไข และสุดท้ายก็อาจจะไม่สามารถยืนยัน ได้ว่าผลลัพธ์ท่ีได้จะเป็ นไปตามที่ตอ้ งการหรือไม่ “แต่ อย่ างน้อยที่สุด ทุกคนที่เกี่ยวข้องก็จะได้เรียนรู จ้ ากปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างทางและเก็บ เกี่ยวไว้เป็ นประสบการณ์ เราไม่รูว้ า่ การส�ำรวจครัง้ นี้จะประสบความส�ำเร็จ มากน้อยเพียงใด แต่ส่งิ ที่ได้กลับมาจะต้องเป็ นประโยชน์ต่อการท�ำวิจยั ในครัง้ ต่อๆ ไป เพราะเราตัง้ เป้ าไว้ว่าจะต้องท�ำการศึกษาเรื่องนี้อย่างต่อ เนื่อง เรื่องของรังสีคอสมิกจ�ำเป็ นต้องใช้เวลาในการรวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูล แต่สง่ิ ทีไ่ ด้จะสามารถน�ำไปต่อยอดในการศึกษาวิจยั อืน่ ๆ รวมถึงสร้าง ความร่วมมือในการศึกษาวิจยั ได้อกี มาก” มาถึง ตรงนี้ น่ า จะมีค นที่ส งสัย ว่ า การตรวจวัด รัง สีค อสมิก นัน้ มีความส�ำคัญอย่างไร ซึ่ง ดร.วราภรณ์ได้ให้คำ� ตอบในเรื่องนี้เอาไว้ว่า “การศึกษาเรื่องการตรวจวัดรังสีคอสมิกเป็ นเรื่องที่มคี นศึกษาน้อยมาก ถ้าดูจากทัง้ โลกก็มเี พียง 4 ประเทศเท่านัน้ ทีศ่ กึ ษาเรือ่ งนี้ นัน่ คือสหรัฐอเมริกา จีน ญี่ ป่ ุ น และไทย ส่ ว นผลลัพ ธ์ท่ีไ ด้จ ะน�ำ ไปสู่ ค วามรู ใ้ หม่ ใ นด้า น ฟิ สกิ ส์ดาราศาสตร์ พูดให้เข้าใจง่ายขึ้นก็คอื จะช่วยให้เรามีความเข้าใจต่อ สภาพอวกาศได้มากขึ้น นอกจากนี้สำ� หรับคนไทยแลว้ เราอยากให้มอง ว่านี่คือจุดเริ่มต้นของการมีขอ้ มูลงานวิจยั ในระดับโลกที่เป็ นของเราเอง ก่อนหน้านี้หากเราจะศึกษาเรื่องรังสีคอสมิก เราจะต้องศึกษาจากข้อมูล ที่นกั วิจยั ต่างประเทศได้ทำ� ไว้ แต่ครัง้ นี้ขอ้ มูลที่ได้จะเป็ นสิทธิ์ของเราเอง และเราสามารถน�ำไปท�ำอะไรก็ได้ นอกจากนี้ยงั อยากให้การวิจยั โครงการ นี้เป็ นสิง่ ทีส่ ร้างแรงบันดาลใจให้กบั คนไทยว่าเราก็ทำ� ได้ อยากให้คนไทย เห็นถึงความส�ำคัญของงานวิจยั และได้เห็นว่างานวิจยั ของคนไทยก็เป็ นที่ ยอมรับในระดับโลก” ** สามารถติดตามความเคลื่อนไหวของคอนเทนเนอร์ ‘ช้างแวน’ และ ความคืบหน้าของโครงการวิจยั การส�ำรวจตัดข้ามละติจดู ได้ที่ Facebook : หอดูดาวสิรนิ ธร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และห้องปฏิบตั กิ ารวิจยั ดาราศาสตร์ ** 29
a side
Art
THE BUBBLE ARTS-GROUP SPACE สหกรณ์ศิลปะเพื่อช่องทางที่มากกว่า เรื่อง : ระพินทรนาถ ภาพ : น�ำธน
ถึงที่ตั้งของ The Bubble Arts-Group Space ออกจะลึ ก ลั บ อยู ่ สั ก หน่ อ ยส� ำ หรั บ คนที่ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู ่ แ ถวๆ โซนตลาดต้นพยอม – ถนนเลียบคลองชลประทาน แต่นั่น ก็ไม่ ใช่เรื่องที่ล�ำบากอะไรเลย เพราะการได้สนทนาถึงที่มาที่ไป ของการรวมตัวกันของเหล่าศิลปินทีม่ แี นวทางทีห่ ลากหลาย และเป็นกลุ่มศิลปินที่มีความเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องนั้น คุ้มค่ากับการบุกบั่นเข้าไปเจอกับพวกเขาและเธอจริงๆ
อุน – สุรเจต ทองเจือ หนึ่งในสมาชิกของ The Bubble Arts-Group Space และเป็ นคนทีจ่ ะมาอธิบายถึงความเป็ นมาของกลุม่ ศิลปิ นกลุม่ นี้ บอก เล่าเรื่องราวของสถานทีซ่ ง่ึ เป็ นทัง้ สตูดโิ อท�ำงาน แกลเลอรี่แสดงงาน และสถานที่ นัดพบประชุมปรึกษาหารือกันในหมูส่ มาชิกของกลุม่ ว่า โกดังเก่าแห่งนี้ผ่านการ เช่าเป็ นเจ้าของโดยศิลปิ นต่อเนื่องกันมาหลายรุ่นแลว้ รวมทัง้ ตัวเขาเองทีม่ าเช่า พื้นทีต่ รงนี้เอาไว้ทำ� งาน และเมือ่ ไอเดียในการก่อตัง้ กลุม่ The Bubble เกิด ผลเป็ นรูปธรรม ข้อเสนอในการเช่าสถานทีต่ รงนี้เพือ่ ท�ำเป็ นแกลเลอรี่แสดงงาน จึงถูกน�ำมาหารือกัน 30
a side
“ส่วนหนึ่งมาจากการที่เรามีโอกาสไปแสดงที่ต่างจังหวัดด้วยกัน แลว้ พบว่าค่าใช้จ่ายในการไปแสดงงานมันพอๆ กับค่าเช่าทีต่ รงนี้ทงั้ ปี เลย ก็เลยเกิดค�ำถามขึ้นมาว่า โอเค บางคนบอกว่าเป็ นศิลปิ นก็ตอ้ งหาโอกาส หาสถานทีแ่ สดงงาน แต่ถา้ ปี หนึ่งเรามีโอกาสแบบนี้แค่ครัง้ เดียว เอาผลงาน ของสมาชิกทุกคนในกลุม่ ไปจัดแสดงแลว้ ไม่มอี ะไรมากไปกว่าการเอางาน ไปแขวนให้คนดู เฉยๆ ยังไม่รวมถึงต้องลุน้ ด้วยว่าสถานที่นนั้ ๆ เขาจะ เลือกงานของเราหรือเปล่า จะได้ไปแสดงงานทีไ่ หน ก็เลยคิดกันว่า ถ้าเรา มีพ้นื ทีข่ องตัวเอง เราก็จะมีโอกาสในการน�ำเสนอผลงานของเราเองมากขึ้น ซึ่ง น่ า จะดีก ว่า การไปแสดงงานที่อ่ืน ที่มีค่ า ใช้จ่ า ยสู ง และอาจจะท�ำ ได้ เพียงแค่ปีละครัง้ สองครัง้ เท่านัน้ ” อุ น กล่ า วว่ า เมื่อ ไอเดีย เกี่ ย วกับ การรวมตัว กัน เป็ น กลุ่ ม ศิ ล ปิ น ที่มีพ้ ืน ที่ท างศิ ล ปะเป็ น ของตัว เองเริ่ ม เผยแพร่ อ อกไปในหมู่เ พื่อ นฝู ง และต่อเนื่องไปสู่เพื่อนของเพื่อนด้วย ในที่สุดก็ทำ� ให้เกิดการมารวมตัว กันเป็ นกลุม่ ก้อนในนาม The Bubble ทีท่ กุ คนเห็นตรงกันในแนวทางว่า ‘จะผลักดันผลงานด้วยตัวศิลปิ นเอง’ โดยยึดแนวทางที่อุนเรียกว่าเป็ น ‘สหกรณ์ศิลปะ’ เพือ่ ให้กลุม่ และผลงานของแต่ละคนมีตวั ตนในวงการศิลปะ มากยิง่ ขึ้น “อย่างแรกเลยคือพื้นที่ เราคุยกันว่าเราจะต้องมีพ้ นื ที่ของตัวเอง ให้คนรับรู ว้ ่าเรามีตวั ตน ก็ได้พ้ ืนที่ตรงโกดังนี้ เอามาท�ำเป็ นแกลเลอรี่ แสดงงาน จากนัน้ ก็เป็ นเรื่องของระบบการท�ำงานซึ่งมีอยู่สองส่วน อย่าง แรกคือการเอาเงินมาลงขันกัน เพือ่ เอาไว้เป็ นทุนส�ำหรับจ่ายค่าเช่าสถานที่ และเป็ นเงินส่วนกลางให้สมาชิกในกลุม่ ได้ใช้ในกรณีทจ่ี ะต้องไปแสดงงาน ทีอ่ น่ื กับสองคือการลงแรง ทีเ่ ราตกลงกันว่าใครถนัดอะไรก็มาช่วยๆ กัน หมายความว่าในเมือ่ ทุกคนเป็ นศิลปิ น มีโอกาสทีจ่ ะแสดงงานทีน่ ่เี หมือนกัน เมื่อถึงช่ วงเวลาที่เพื่อนคนอื่นจะแสดงผลงาน เราก็ตอ้ งเปลี่ยนบทบาท ไปท�ำงานเบื้องหลังหรือด้านอื่นๆ ให้กบั เพือ่ นที่จะแสดงงานด้วย หรือถ้า ไม่สะดวกที่จะมาลงแรงช่วยก็ตอ้ งช่วยในช่องทางอื่นๆ อย่างเช่น ฝากท�ำ โปสเตอร์งานได้หรือเปล่า เอาบัญชีไปช่วยจัดการได้ไหม โพสต์เฟซบุก๊ โปรโมทงานหรือ ยัง อะไรประมาณนี้ คือ เรารวมกัน ดู เ หมือ นจะชิล ๆ แต่จริงๆ แล ้วมีการจัดการทีเ่ ป็ นระบบ และทุกคนต้องรูบ้ ทบาทของตัวเอง ในแต่ละเวลาว่าต้องท�ำอะไร” เมือ่ เราถามต่อว่า แลว้ ท�ำไมในกลุ่มจึงมีสมาชิก 13 คน กับพวก เขาใช้เกณฑ์อะไรในการเลือกคนเข้ากลุ่ม อุนตอบว่าจริงๆ แลว้ พวกเขา ไม่ได้กำ� หนดจ�ำนวนใดๆ ไว้เลย และการมารวมกลุ่มของเพื่อนๆ นัน้ หลัก ๆ ก็ ม าจากการที่แ ต่ ล ะคนสนใจและเข้า ใจในสิ่ง ที่ท างกลุ่ม ก�ำ ลัง จะท�ำ “บางคนก็มารูจ้ กั กันก็ตอนทีม่ ารวมตัวกันเป็ น The Bubble นี่ละ่ ครับ เหมือนกับว่าพอเขารู ว้ ่ากลุ่มนี้กำ� ลังคิดจะท�ำอะไรแลว้ เขาเข้าใจไอเดียนี้ สนใจอยากมีส่วนร่ วม ก็เลยเกิดการรวมตัวกันขึ้นมา ส่วนสมาชิกก็มี หลักเกณฑ์ทใ่ี ช้ในการพิจารณารับเพือ่ นร่วมกลุม่ ไม่วา่ จะเป็ นการทีศ่ ิลปิ น คนนัน้ ต้องยังท�ำงานศิลปะอยู่ โอเคว่าอาจจะไม่ได้ยดึ เป็ นงานหลัก แต่ว่า อย่างน้อยก็ยงั ท�ำอย่างต่อเนื่อง กับตัวงานของเขามีสไตล์ทน่ี ่าสนใจ มาอยู่ ด้วยกันแล ้วช่วยกันผลักดันได้” นัน่ จึงเป็ นทีม่ าของการทีส่ มาชิกทัง้ หมดของ The Bubble ต่างมี แนวทางของงานที่หลากหลาย ซึ่งอุนมองว่านี่คือข้อดี เพราะแต่ละคนมี ฐานผูช้ มของตัวเองอยู่แล ้ว แต่การมาเป็ นสมาชิกกลุม่ The Bubble จะช่วย เชื่อมโยงคนแต่ละกลุม่ เข้าหากัน และท�ำให้ผูช้ มได้รูจ้ กั งานแบบอืน่ ๆ ด้วย “จากทีส่ งั เกต นิทรรศการศิลปะในเชียงใหม่มสี ง่ิ หนึ่งทีเ่ กิดขึ้น ก็คือการที่ ผูช้ มเป็ นคนหน้าเดิมๆ คือเป็ นคนทีม่ คี วามเกี่ยวข้องกับศิลปิ นทีแ่ สดงงาน แต่ไม่มผี ู ช้ มหน้าใหม่สกั เท่าไหร่ เราก็คิดกันว่าในเมื่อแต่ละคนก็มคี นที่ ติดตามผลงานอยู่ เวลามีงานของคนในกลุม่ แสดง ก็จะเป็ นการดึงคนกลุม่ นี้ให้มารูจ้ กั กับงานของศิลปิ นคนอืน่ ๆ ในกลุม่ The Bubble ด้วย ซึง่ เรา
เชื่อว่ามันจะมีผลทีต่ ามมา อย่างน้อยๆ ผูช้ มเองก็ได้รูจ้ กั งานอีกแบบหนึ่ง หรืออาจจะท�ำให้คนหันมาสนใจผลงานอืน่ ๆ นอกเหนือจากทีต่ นสนใจอยูแ่ ล ้ว มากขึ้นก็ได้ หรือที่เกิดขึ้นแลว้ ก็คือ พอมีคนมาดูงานของคนในกลุ่มแลว้ เกิดความสนใจ ก็นำ� ไปสูก่ ารชักชวนให้ศิลปิ นเอาผลงานออกไปแสดงในพื้นที่ ข้างนอก ซึง่ ก็ถอื เป็ นเรื่องทีด่ อี กี อย่างหนึ่ง” นับตัง้ แต่ The Bubble Arts-group Space เปิ ดตัวต่อสาธารณะ พวกเขามีนิ ท รรศการที่แ สดงงานของคนในกลุ่ม มาแล ว้ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทัง้ การที่ผลงานของคนในกลุ่มได้ไปแสดงที่แกลเลอรี่อ่ืนๆ ซึ่งอุน บอกว่าทุกอย่างเป็ นสิง่ ที่ช่วย ‘เพิม่ โอกาส’ ให้กบั ทุกๆ คน “อย่างที่บอก ไปว่าเราต้องขับเคลือ่ นงานของเรากันเอง จะท�ำยังไงให้คนรู จ้ กั เรา รู จ้ กั งานของเรา ซึง่ ต่อจากนี้ทแ่ี กลเลอรี่ก็จะเป็ นคิวของศิลปิ นในกลุม่ คนอื่นๆ ขึ้นอยู่กบั ว่าใครจะพร้อมก่อน และจะเปิ ดพื้นทีร่ บั ผลงานของคนนอกด้วย เพือ่ ให้แกลเลอรี่มงี านหมุนเวียนและมีความเคลือ่ นไหวอยู่ตลอด” ส่วนเป้ าหมายต่ อไปของทางกลุ่มนัน่ อุนบอกว่า นอกจากจะท�ำ ให้เพื่อนๆ ทุกคนได้โชว์ผลงานของตัวเอง เพราะเชื่อว่าคนที่สร้างสรรค์ ผลงานควรจะมีพ้ ืน ที่ใ ห้ไ ด้น�ำ เสนอผลงานของตัว เองแล ว้ ทางกลุ่ ม ยังหวังด้วยว่า ในอนาคตจะมีโอกาสได้ร่วมมือกับกลุม่ ศิลปิ นอืน่ ๆ เพือ่ สร้าง เครือข่ายระหว่างกัน “ถ้ามีคอนเน็กชัน่ มีคนน�ำพวกเราไปน�ำเสนอ ก็จะท�ำให้ เราได้เป็ นทีร่ ูจ้ กั มากยิง่ ขึ้น รวมทัง้ อยากจะเอาผลงานของพวกเราไปแสดง ในงาน Art Fair ด้วย เพราะงานศิลปะ อยู่ดๆี ใครเขาจะมาให้เงินเรา ถ้าอยากจะขับเคลือ่ นให้เป็ นไปอย่างไร ก็ตอ้ งพยายามหาทางผลักดันทัง้ งาน และศิลปิ นออกไปให้คนได้เห็น ให้ต่อติดไปถึงคนข้างนอกให้ได้”
** The Bubble Arts-group Space ประกอบด้วย กรุณา รวมธรรมรักษ์, จิรวงษ์ วงษ์ตระหง่าน, ชัชชัยวัชร ชังชู, ชยะกร การุณเดช, ณุพล วิริยะวงษ์, ธัญลักษณ์ มีช�ำนะ, นวพล ปูธิปิน, พิชากร ชูเขียว, รณกร เกิดโชติ, วัชรวิทย์ พริบไหว, สุธาทิพย์ เขื่อนรอบเขต, สุรเจต ทองเจือ และ อุเทน สุวรรณมณีกุล ติดตามกิจกรรมต่างๆ ของ The Bubble Arts-group Space ได้ที่ Facebook : TheBubble Arts-groupSpace **
31
a side
Music
THE VUNIYERSE ‘ก้าวที่กล้า’ ของ The Vuniyerse เรื่อง / ภาพ : ชวัลวัฒน์
เหตุผลที่ HIP ชวน The Vuniyerse ซึง่ มีสมาชิกคือ นัส - อรรถกร พงษ์เทิดศักดิ์ (ร้องน�ำ/กีตาร์), บิก๊ - พัธนันท์ อนันต์หน่อ (ร้องน�ำ/ซินธิไซเซอร์/คีย์บอร์ด), นนท์ - ชนนปวร สุขวณิช (คอรัส/กีตาร์ริทึม), บอส - สหธัช ศรีวิไล (เบส), เจมส์บอนด์ เกรียงศักดิ์ จันทร์ดี (กลอง) และ บิว - ฐิติเดช อุ่นค�ำมี (วิชวล/อาร์ตไดเรกเตอร์) มาพูดคุยกัน เพราะพวกเขาถือเป็ นวงหน้าใหม่ทม่ี พี ฒั นาการโดดเด่นแบบก้าวกระโดด กับการมีผลงานออกมาแลว้ 1 ชุด และก�ำลังจะตามมา เร็วๆ นี้อกี 1 ชุด ทัง้ ๆ ทีว่ งเพิง่ จะมีอายุครบ 1 ปี ในเดือนนี้, มีงานแสดงสดอย่างต่อเนื่อง รวมทัง้ ได้เป็ นสมาชิกของค่าย Macrowave นอกจากนี้พวกเขา ยังมีแนวทางของตัวเองชัดเจน รวมทัง้ มีความตัง้ ใจและทะเยอทะยาน ซึง่ น่าจะท�ำให้พวกเขาเดินทางไปในเส้นทางนี้ได้อกี ไกลตามเป้ าหมายทีฝ่ นั ไว้
‘ความเป็นมา’
บิ๊ก : ชื่อวงเกิดจากตอนนัง่ คุยกัน มีหนังเรื่องหนึ่งทีอ่ ยากดูมากๆ มันมี ค�ำว่า ‘Universe’ อยูข่ ้างหลังชือ่ แล ้วเราก็พดู ผิดเป็ น ‘วูนเิ ยิรส์ ’ พอนัสได้ยนิ ก็บอกว่าชอบชื่อนี้ เอาไว้ใช้เป็ นชื่อวง แล ้วเราก็เริ่มเล่นดนตรีตงั้ แต่ตอนนัน้ มาเลย นนท์ : พวกเรารวมตัวกันจะครบ 1 ปี เดือนนี้แหละครับ เล่นครัง้ แรกในงาน Open House ของ มช. จุดเริ่มต้นคือพวกเราท�ำงานโปรดักชัน่ ด้วยกัน แลว้ บังเอิญว่าแต่ละคนมีความสามารถทางดนตรี ไม่เชิงว่าเก่งมาก แต่วา่ เล่นด้วยกันได้ ก็เลยลองชวนกันไปเล่นดนตรีดู แต่อย่าง ผม นัส บิว เป็ นเพือ่ นกันตัง้ แต่สมัยอนุบาลแล ้ว นัส : เพิง่ เริ่มมาท�ำงานด้วยกันก็ตอนเรียนมหาลัยแล ้ว บิก๊ กับบอสก็เพิง่ มา เจอกันทีม่ หาลัย อย่างบิก๊ เขาไม่มที กั ษะทางดนตรีเลย แต่มเี ครื่องดนตรี ที่บา้ น และมีพ้ นื ฐานด้านการร้องเพลงอยู่แลว้ เลยชวนมาเล่นด้วยกันดู ส่วนเจมส์บอนด์หรือเกรียง เป็ นรุ่ นน้องที่โรงเรียนของผมตอนมัธยม เราบังเอิญเจอน้องเลยชวนมาท�ำโปรดักชัน่ ด้วยกัน เอาไปเอามาเล่นดนตรีได้ ตีกลองเป็ น เลยให้มาตีกลอง ส่วนบิวเข้ามาในฐานะของโปรดักชัน่ ดีไซน์เนอร์ เป็ นอาร์ต ไดเรกเตอร์ของวง 32
a side
‘ผลงาน’
นัส : ก่อนหน้านี้กม็ มี นิ ิอลั บัม้ ‘Season Sandwiched’ เป็ นงานทีพ่ วกเรา ท�ำกันเองโดยไม่มโี ปรดิวเซอร์ ส่วนผลงานใหม่ทต่ี อนนี้กำ� ลังท�ำอยู่ อาจจะ ไม่สามารถเรียกว่าอัลบัม้ ได้ จะเป็ นมินอิ ลั บัม้ หรืออีพมี ากกว่า ตัวเพลงมีเก็บ ไว้บา้ งแล ้ว รอแค่ช่วงเวลาทีจ่ ะปล่อย ซึง่ ตอนนี้เราปรับเปลีย่ นพาร์ทดนตรี นิดหนึง่ เพือ่ ให้มีการพัฒนา ให้แต่ละเพลงทีอ่ ยูใ่ นอัลบัม้ เข้ากันมากขึน้ ทีค่ ดิ ไว้ คือเราจะพยายามท�ำงานออกมาเป็ นซีซนั ่ โดยซีซนนี ั ่ ้ จะรวมฤดูฝนกับฤดูหนาว ไปเลย เพราะ 2 ฤดู น้ ี มีเ รื่ อ งราวให้คุ ย ได้แ ละเชื่ อ มโยงกัน ได้ง่ า ย ก็พยายามจะท�ำให้เสร็จภายในปี น้ ี
‘แนวเพลง’
นนท์ : อัลบัม้ ชุดที่ 2 เราสร้างคอนเทนต์ทแ่ี ตกต่างจากอัลบัม้ แรก ให้มกี าร พัฒนาและต่อเนื่อง คือเรามีคอนเทนต์ท่ชี ดั เจน แต่ตวั เพลงมันต่างกัน ขึ้นอยู่ กบั ไอเดียและสิ่งแวดลอ้ ม อย่ างตอนเริ่มต้นท�ำเพลง เราจะมา แชร์ไอเดียกัน พอท�ำเพลงต่อไปเราก็มไี อเดียใหม่เข้ามาเรื่อยๆ ถ้าถามว่า เป็ นแนวอะไร คนฟังส่วนใหญ่เขาจะบอกว่าเป็ นเซิรฟ์ ป๊ อป, โลว์-ไฟ, ซิต้ปี ๊ อป แต่อยากให้เรียกว่าอัลเทอร์เนทีฟมากกว่า ให้กว้างๆ ไว้ก่อน
นัส : อัลเทอร์เนทีฟมันครอบคลุมแนวเพลงทีเ่ ราชอบกันอยู่แลว้ แต่เรา ไม่ได้ฟิกซ์ว่าต้องเป็ นแบบนี้อย่างเดียว เพราะไอเดียมันเปลีย่ นไปตลอด เราอยากทดลองท�ำอะไรใหม่ๆ มากกว่านี้ บิ๊ก : คนฟังสามารถตีความให้วงเป็ นอะไรก็ได้ แนวอะไรก็ได้ ด้วยตัวของ คนฟังเอง แล ้วแต่วา่ คนฟังจะคิดยังไง
นัส : ค่อนข้างจะแปลกใจทีม่ คี นตัง้ ใจมาฟังเพลงของเรา ร้องเพลงของเราได้ มีคนมาขอลายเซ็น เหมือนกับพวกเราเริ่มเป็ นทีร่ ูจ้ กั แล ้วนิดหนึ่ง นนท์ : พอไปเล่นสดแลว้ ได้ผลตอบรับค่อนข้างดี คนฟังเพลงรูส้ กึ ชอบ รูส้ กึ สนุกกับโชว์ของเรา เขาก็จะมาติดตามกันมากขึ้น
‘การท�ำงาน’
นัส : Macrowave เป็ นเหมือนกึ่งค่ายกึ่งคอมมูนิต้ ี เขาอยากจะรวมวง ทีม่ ศี กั ยภาพในการท�ำเพลงกันเองได้ เอามาท�ำงานเป็ นกลุม่ เดียวกันกับเขา เพือ่ เวลามีโชว์ทไ่ี หนเขาก็จะรวมเอาวงต่างๆ เหล่านี้ไปเล่น นนท์ : เชื่อว่าทาง Macrowave เล็งเห็นว่าศิลปิ นทีช่ กั ชวนมาอยู่กบั ค่ายนัน้ มีศกั ยภาพอยู่แล ้ว แต่ไม่ค่อยมีโอกาสทีจ่ ะได้ดูงา่ ยๆ เขาก็เลยมาช่วยเรื่อง การท�ำงาน การพรีเซนต์ตวั เอง มาจัดการในส่วนที่เราไม่รูห้ รือส่วนที่เรา จัดการกันไม่ได้ ให้ความสะดวกกับเรามากขึ้น ซึง่ พอเราได้รบั โอกาสมาแล ้ว ก็ตอ้ งพัฒนาศักยภาพของวงขึ้นไปด้วย แล ้วพอมีสญั ญากับค่ายแล ้ว เราก็ ต้องท�ำงานและมีวนิ ยั มากขึ้น เหมือนมีค่ายเพือ่ กระตุน้ ตัวเองให้ทำ� เพลง และพัฒนาตัวเอง นัส : การท�ำงานตามหลักการของค่าย เขาจะให้อสิ ระ ไม่มายุ่งเรื่องเพลง ของเราเลย เขาอยากให้เราเป็ นแบบเดิม
นนท์ : ตอนท�ำมินิอลั บัม้ เราไม่ได้มคี อนเทนต์ท่จี ะสร้างเป็ นคอนเส็ปท์ แต่เมือ่ เริ่มท�ำแต่ละเพลง มันก็มไี อเดียโผล่มาเรื่อยๆ ซึ่งพอรวมกันแลว้ ทุกคนรูส้ กึ สนุกไปกับมัน ซึง่ เนื้อหาจะมีความทะเล ้น มีความกวนเบาๆ และ ด้วยความทีเ่ ราไม่ได้เก่งภาษาอังกฤษมาก เราแต่งเนื้อเพลงได้ในระดับหนึ่ง ของพวกเรา แต่ดใี จทีไ่ ด้ทำ� มันออกมา ฟังแลว้ สบายใจ เหมือนการได้ไป พักผ่อนหน้าร้อน แต่ตอนนี้การท�ำเพลงของเดอะ วูนิเยิรส์ จะเหมือนหนัง แนว Road Movie กับ Coming of Age รวมกัน เหมือนแสดงให้เห็น การเติบโตของวง แนวเพลงก็จะเคลือ่ นไปตามช่วงเวลา นัส : ตอนท�ำมินิอลั บัม้ ไอเดียจะเริ่มมาจากนนท์ ให้นนท์เป็ นคนแต่ง เนื้อเพลง แลว้ เราก็ช่วยกันคิดท�ำนอง โดยผมจะเป็ นคนเรียบเรียงต่ อ เสร็จแลว้ ก็อดั เลยโดยที่ไม่ตอ้ งซ้อม เพราะเราจะอัดกลองในโปรแกรม ถ้าเขียนเสร็จแล ้วก็อดั กีตาร์เข้าไปเลยทันที ทีเ่ ราไม่อยากยืดระยะเวลาการ Process ให้นาน เพราะมันจะท�ำให้เพลงบูดและเก่า แล ้วจะรูส้ กึ อยากแก้ ต่อไปเรื่อยๆ ท�ำให้ไม่จบสักที ถ้าไม่ดจี ริงๆ ค่อยกลับไปแก้ ตรงนี้ทำ� ให้เรา มีเพลงค่อนข้างเยอะ แต่เรารูจ้ ดุ บาลานซ์วา่ จะต้องพอดียงั ไง ส่วนอัลบัม้ ทีก่ ำ� ลัง ท�ำกันอยู่ เราพยายามท�ำให้มนั เนี้ยบขึ้น เรียนรูก้ ระบวนการท�ำแผ่นกันเอง ช่วยกันออกไอเดียมากขึ้น แลว้ มาเคลียร์กนั ว่าจะให้เป็ นไปในทิศทางไหน เริ่มใส่เรื่องราวของแต่ละคนลงไป บิว : ผมเป็ นคนท�ำวิชวลกับ Lyrics Video เพราะเรามาใหม่ ไม่มใี ครรูจ้ กั เรา เลยพยายามให้เข้าถึงได้งา่ ย การที่เพลงของเราเป็ นภาษาอังกฤษ แค่ฟงั อย่างเดียวอาจจะไม่เข้าใจ เลยเปิ ดเนื้อร้องไปด้วย ส่วนในอนาคตอาจจะ พัฒนาตรงนี้ ไม่ให้มแี ค่เนื้อเพลง เหมือนการท�ำงานศิลปะ เพราะว่าผม ไม่ได้เก่งเรื่องดนตรี แต่มคี วามสามารถด้านการวาด เป็ นอะไรทีค่ ่อนข้าง สอดคลอ้ งกันมาก เลยอยากให้มนั ประสานกัน พอฟังแลว้ ต้องตีความ คิดไอเดียการน�ำเสนอให้เชื่อมโยงกับโชว์ นนท์ : เพราะวงเราเพิง่ ก่อตัง้ ขึ้นมา ไม่ได้มคี นรูจ้ กั มากนัก แต่เรารูส้ กึ ว่า การท�ำวิชวล เป็ นส่วนทีส่ ามารถติดต่อกับคนดูได้งา่ ย เลยพยายามให้ดนตรี ทีเ่ ล่นสดสามารถสือ่ สารกันระหว่างเรากับคนดูได้ ไม่ใช่แค่เราส่งไปให้คนดู อย่างเดียว บางทีคนดูอาจจะรูส้ กึ ในจุดอืน่ ทีไ่ ม่ใช่แค่เรื่องดนตรี
‘ความคาดหวัง’
นนท์ : พอวงท�ำงานมาถึงในระดับหนึ่งแลว้ เราก็อยากจะน�ำเสนอผลงาน ของเราให้ท วั ่ ถึง และเป็ น วงกว้า งมากขึ้น เพราะอย่ า งมินิ อ ลั บัม้ แรก มันจ�ำกัดมากๆ เพราะเราไม่รูว้ า่ คนฟังเพลงของเราอยู่ทไ่ี หนบ้าง แต่จดุ ต่อ ไปอยากให้วงได้ขยายไปสู่วงกว้าง อย่างเช่นการเล่นสด อาจจะไม่ใช่แค่ท่ี เชียงใหม่หรือกรุงเทพฯ แต่อาจจะเป็ นต่างจังหวัด ต่างประเทศ ให้มมี ากขึ้น ส่วนแผ่นก็เหมือนกัน อาจจะท�ำมาในปริมาณทีม่ ากขึ้น อยากให้คนทีซ่ ้อื ไป รูส้ กึ ดี คุม้ ค่าทีไ่ ด้ครอบครอง
‘Macrowave’
‘วงดนตรี’
นนท์ : ตอนนี้ก็ถอื ว่า The Vuniyerse เป็ นงานหลักแล ้ว เพราะทุกคน ว่างงานกัน อาจจะมีงานอืน่ แต่ไม่ได้ลงดีเทลเยอะเท่าวงดนตรี นัส : เราเรียนจบกันมา 1 - 2 ปี ละ คิดว่าถ้าเราไม่ทำ� เพลงในช่วงเวลานี้ ก็ไม่รูว้ า่ อนาคตจะได้ทำ� หรือเปล่า เราใช้เวลาตรงนี้ทม่ี นั ว่างมาท�ำประโยชน์ ที่หล่อเลี้ยงความคิดสร้างสรรค์ของเราได้ เราก็ควรที่จะเก็บเกี่ยวมันไว้ เหมือนเป็ นขัน้ บันได ให้เราพัฒนาได้ต่อเนื่องตลอดเวลา นนท์ : ถ้าเกิดเราท�ำในสิง่ ทีด่ ี แลว้ มันเป็ นไปในทิศทางทีด่ ี เดีย๋ ววันหนึ่ง มันก็ได้กบั ตัวเราเอง ถ้าไม่ดกี ถ็ อื ว่าเป็ นประสบการณ์ แล ้วเราก็เอาสิง่ ทีไ่ ม่ดี มาแก้ไข พัฒนาตัวเอง นัส : ถ้าเราท�ำแบบนี้ไปเรื่อยๆ โอกาสมันจะมาตลอด จะเป็ นโอกาสที่ดี หรือไม่ดกี ไ็ ม่เป็ นไร
‘สิ่งที่เรียนรู้’
นัส : ท�ำไปเถอะ ถ้าไม่ทำ� ตอนนี้กไ็ ม่รูว้ า่ จะได้ทำ� เมือ่ ไหร่ ไม่ตอ้ งไปแคร์วา่ คนอืน่ เขาจะมองยังไง นนท์ : ดูอย่างเนื้อเพลงภาษาอังกฤษทีถ่ กู ๆ ผิดๆ แต่อย่างน้อยเราได้กล ้า ทีจ่ ะน�ำเสนอมันออกมา นัส : เหมือนเป็ นรถไฟทีไ่ ปตามใจเรา แล ้วมีคนขึ้นมาบนรถไฟ มีคนมาสนใจ ติดตาม ก็เป็ นผลพลอยได้ แต่เราท�ำเพราะเราชอบ อยากจะน�ำเสนอดนตรี แบบนี้ออกไป ** ติดตาม The Vuniyerse ได้ตามช่องทางต่างๆ เหล่านี้ ** - www.facebook.com/TheVuniyerse - www.instagram.com/thevuniyerse - www.youtube.com/channel/UCl9UG_21bPDHMDRJlTBBYKw - https://soundcloud.com/thevuniyerse
‘แสดงสด’
นนท์ : ส่วนใหญ่ท่ีเราได้ไปเล่นก็จะเป็ นงานเล่นเปิ ดให้ศิลปิ น กับงาน อะคูสติกเล็กๆ ใครรูจ้ กั เขาก็ชวนไปเล่น ทัง้ ทีเ่ ชียงใหม่และกรุงเทพฯ บิ๊ก : แต่กม็ งี านทีเ่ ราเป็ นหนึ่งในวงหลักของโชว์ดว้ ย อย่างทีก่ รุงเทพฯ ทีเ่ คย ไปเล่นก็จะมีงานของฟังใจ, ช่างชุ่ย, Playyard เราก็เก็บเกี่ยวประสบการณ์ จากตรงนี้ เพือ่ พัฒนาขึ้นไปอีก 33
a side
Report
COME TOGETHER
A NIGHT FOR JOHN LENNON ค�่ำคืนของ ‘จอห์น เลนนอน’ เรื่อง / ภาพ : น�ำธน
ใครทีผ่ า่ นไปมาบนถนนสามล้านในช่วงเย็นวันที่ 9 ตุลาคมทีผ่ า่ นมา น่าจะสะดุดตากับ การจัดเวทีและเก้าอี้สำ� หรับผู้ชม รวมถึงการประดับตกแต่งสถานทีภ่ ายในร้าน The Cutler Barber and Tattoo Parlor และถ้าหากสังเกตอีกสักนิดก็จะพบว่า บทเพลงที่บรรเลง ออกมาผ่านล�ำโพงให้ ได้ฟังกันนั้น นอกจากจะมาจากการเปิดแผ่นเสียงแล้ว ทุกเพลง ยังเป็นบทเพลงของ จอห์น เลนนอน อีกด้วย กิจกรรมต่างๆ ทีเ่ กิดขึ้นภายในร้าน The Cutler Barber and Tattoo Parlor ในวันนัน้ ไม่ใช่เรื่องบังเอิญ แต่เป็ นเพราะ HIP Magazine และทางร้าน The Cutler Barber and Tattoo Parlor ได้ร่วมกันจัดงาน ‘COME TOGETHER : A Night For John Lennon’ ขึ้น เนื่องในโอกาสวันครบรอบ วันคล ้ายวันเกิดปี ท่ี 78 ของ จอห์น เลนนอน รวมทัง้ เพือ่ ให้ผูท้ ช่ี ่นื ชอบ จอห์น เลนนอน ได้มาร�ำลึกถึงศิลปิ นผูน้ ้ ีร่วมกัน เมือ่ แสงสุดท้ายของวันเริ่มจะเลือนหายไป ผูค้ นก็เริ่มทยอยกัน เข้ามาภายในงาน ทัง้ คนไทยและคนต่างชาติ จากผูค้ นทีด่ ูประปรายก็เริ่ม
34
a side
กลายเป็ นกลุม่ ก้อน บ้างก็เข้าไปจับจองทีน่ งั ่ ในฝัง่ ของสวนทีม่ กี ารขายอาหาร อย่ า งบาร์บีคิว และเฟรนช์ฟ รายส์ บ้า งก็ เ ลือ กนัง่ อยู่ บ ริเ วณหน้า ศาลา เพื่อ ฟัง เพลงและชมบรรยากาศภายในงาน เก้า อี้ท่ีน งั ่ ถูก ผู ค้ นจับ จอง มากขึ้นเรือ่ ยๆ เพือ่ รอให้เวลาของการแสดงดนตรีมาถึง โดยในส่วนการแสดง ของศิลปิ นทีม่ าร่วมงานในครัง้ นี้ แบ่งเป็ นสามช่วง เริม่ ต้นด้วย โบ - ต้องจักษ์ ศุภผลศิริ จากนัน้ จะเป็ นคิวของ BINKEY - Lawrence Binkey Tolefree ศิลปิ นชาวสหรัฐอเมริกา และ บอล - อัศนัย ไชยรักษา รับหน้าทีใ่ นช่วงท้าย จนกระทัง่ เมือ่ เสียงเพลงจากแผ่นไวนิลทีบ่ รรเลงหยุดลง การแสดง ดนตรีกไ็ ด้เริ่มต้นขึ้น ส�ำหรับการแสดงในช่วงแรกนัน้ รับหน้าทีโ่ ดย โบ - ต้องจักษ์ ศุภพลศิริ ซึง่ เป็ นศิลปิ นทีม่ ผี ลงานในฐานะสมาชิกวงดนตรี (FOXY, Stone Cold ฯลฯ) และการท�ำงานเบื้องหลังให้กบั ศิลปิ นอีกมากมาย ในระหว่างที่โบจัดแจง ทดสอบไมโครโฟนบนเวทีอยู่นนั้ ก็มผี ูค้ นทยอยเข้างานเพิม่ เติมมาเรื่อยๆ ทว่ายังดูกระจัดกระจาย แต่เมือ่ เสียงกีตาร์โปร่งดังขึ้น ทีน่ งั ่ ทีจ่ ดั เตรียมไว้ บริเวณด้านหน้าของงานก็ถกู ใช้งาน การร้องเพลงภาษาอังกฤษส�ำเนียงไทย ที่ไ ม่ไ ด้มีค วามเคอะเขิน เทคนิ ค การใช้น้ ิ ว ขยับ เขยื้อ นบนเฟรทบอร์ด และจัง หวะที่เ ที่ย งตรงในการดีด กีต าร์ ที่ส่ ง ผ่ า นบทเพลงต่ า งๆ ของ จอห์น เลนนอน และ เดอะ บีทเทิลส์ เรียกความสนใจจากผูช้ ม และท�ำให้ บรรยากาศภายในงานคึกคักได้เป็ นอย่างดี ส่วนช่วงทีส่ องของงาน การทีไ่ ด้ BINKEY - Lawrence Binkey Tolefree ซึง่ เป็ นศิลปิ นฟรีสไตล์แร็ป, ฮิป ฮอป และ บีตบ็อกซ์ มารับหน้าที่ ท�ำให้อดสงสัยไม่ได้ว่าจะเหมาะกับบทเพลงของ จอห์น เลนนอน หรือ เดอะ บีทเทิลส์ หรือเปล่า แต่ความสงสัยก็กลับกลายเป็ นความสนุกสนาน เมื่อ BINKEY เริ่มทักทายและเชิญชวนให้ผูช้ มเล่นตามเสียงร้องของเขา ก่อนที่ ‘Come Together’ เพลงที่ จอห์น เลนนอน แต่งขึน้ ตอนทีย่ งั อยูใ่ นวง
เดอะ บีทเทิลส์ จะถูกถ่ายทอดออกมา โดย BINKEY เริ่มสร้างเพลงของเขา ด้วยจังหวะจากการบีตบ็อกซ์ และเอฟเฟคดีเลย์ทส่ี ามารถอัดเสียงแล ้วร้อง ทับแทร็คทีอ่ ดั ไว้แล ้วได้ บวกกับจังหวะกลองทีใ่ ช้เสียงของเขาเอง เกิดเป็ น เสียงต่างๆ ทับซ้อนกันเพิม่ ขึ้นเรื่อยๆ ท�ำให้ ‘Come Together’ ในค�ำ่ คืนนี้ แตกต่างไปจากทีค่ ุน้ เคย แต่กน็ ่าฟังและน่าสนใจมากเลยทีเดียว หลังการแสดงของ BINKEY จบลง ก็มาถึงช่วงสุดท้าย กับศิลปิ น คนสุดท้ายของงาน บอล - อัศนัย ไชยรักษา จากบรรยากาศของงาน ในช่วงที่สองที่ความสนุ กสนานเฮฮาใช้พลังงานของผูช้ มกันไปพอสมควร เมือ่ เสียงกีตาร์โปร่งของบอลกับเสียงร้องทีม่ เี อกลักษณ์ในเพลง ‘Woman’ เริ่มต้นขึ้น ก็ทำ� ให้รูส้ ึกว่า เสียงร้องและกีตาร์โปร่ งเช่ นนี้ดูจะเหมาะกับ ช่ วงโค้งสุดท้ายของงานดี บทเพลงต่ างๆ ของ จอห์น เลนนอน และ เดอะ บีทเทิลส์ ถูกถ่ายทอดออกมาอย่างต่อเนื่อง ค่อยๆ ขับกล่อมผูช้ มด้วย ความละมุนละไมไปจนสิ้นสุดการแสดงดนตรี และเป็ นการสิ้นสุดของ กิจกรรมทัง้ หมดในงานครัง้ นี้ ตลอดเวลาที่อยู่ภายในงานในค�ำ่ คืนวันนัน้ สิ่งต่างๆ ที่ได้พบเห็น ท�ำให้คดิ ถึงประโยคหนึ่งของ จอห์น เลนนอน ทีไ่ ด้กล่าวไว้วา่ “A Dream You Dream Alone Is Only A Dream, A Dream You Dream Together Is Reality - ความฝันทีค่ ุณฝันถึงคนเดียว สิง่ นัน้ คือความฝัน ความฝันที่คุณฝันร่วมกันกับผูอ้ ่นื สิ่งนัน้ คือความเป็ นจริง” เพราะงานที่ จบลงไปในค�ำ่ คืนนัน้ ไม่ได้เป็ นเพียงแค่การมาฟังดนตรีเพียงอย่างเดียว แต่ยงั ท�ำให้เราได้เห็นว่า จากคนกลุม่ เล็กๆ ในช่วงหัวค�ำ่ สามารถกลายมาเป็ น คนกลุม่ ใหญ่ได้ และจากค�ำ่ คืนอันเหงาหงอยในวันอังคาร ก็กลายมาเป็ น ค�ำ่ คืนทีส่ นุกสนานและอบอุ่นใจ รวมทัง้ ยังแสดงให้เห็นด้วยว่า แม้เวลาจะผ่านมานาน แต่ความรัก และคิดถึงที่ผูค้ นมีให้กบั จอห์น เลนนอน และความสุขที่ทุกคนได้รบั จากเสียงเพลงของเขานัน้ ยังคงมีอยู่เสมอ
35
a side